รายงานประจำปี 2562

Page 1

ANNUAL

REPORT รายงานประจําป 2561


วิสัยทัศน “เปนองคกรมาตรฐาน ในการสรางหลักประกัน ความปลอดภัยของชุมชน จากผูกระทำผิดในระบบ การคุมประพฤติ ในป 2563”


พันธกิจ 1. แกไขฟนฟูผูกระทำผิดในชุมชน 2. ขับเคลื่อนการทำงานแบบบูรณาการ กับทุกภาคสวนดวยบุคลากรมืออาชีพ

วัฒนธรรม องคกร “ซื่อสัตยสุจริต อุทิศและพัฒนาตน มุงผลสัมฤทธิ์ ผูกจิตสามัคคี มีน้ำใจ เคารพในอาวุโส”


Contents สารบัญ

4 6

สารจากอธิบดีกรมคุมประพฤติ ผู้บริหารกรมคุมประพฤติ

ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน

10

ประวัติความเป็นมาของระบบงานคุมประพฤติ

12

โครงสร้างกรมคุมประพฤติ

13

กรอบอัตราก�ำลังกรมคุมประพฤติ

16

แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี กรมคุมประพฤติ พ.ศ. 2561 – 2564

ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการ

20

ผลการด�ำเนินการตัวชี้วัดการประเมิน ส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุง ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของ กรมคุมประพฤติ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

21

ผลการปฏิบัติราชการประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

31

การตรวจราชการของผู้ตรวจราชการ กรมคุมประพฤติ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

35

การตรวจสอบของกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมคุมประพฤติ


ส่วนที่ 3 รายงานการเงิน

38

รายงานการเงิน

44

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

55

ต้นทุนกิจกรรม

ส่วนที่ 4 ผลงานส�ำคัญ

58

ระบบงานคุมประพฤติและงานฟื้นฟู สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดที่มีประสิทธิภาพ

76

การบูรณาการการแก้ไขฟื้นฟู ติดตาม ดูแล ช่วยเหลือ และสงเคราะห์ผู้กระท�ำผิด

78

ระบบงานคุมประพฤติเพือ ่ ให้บริการแบบดิจท ิ ล ั (Probation Digital Service : PSD)

79

โครงการในพระด�ำริ

82

การพัฒนาบุคลากร

86

การพัฒนาองค์กร

89

โครงการโรงเรียนยุติธรรมอุปถัมภ์

91

การด�ำเนินการตามบันทึกข้อตกลงระหว่าง กรมคุมประพฤติกับหน่วยงานอื่นๆ

94

รายชื่อคณะผู้บริหาร


สารจาก

อธิบดีกรมคุมประพฤติ ปีนถี้ อื เป็นปีทสี่ ำ� คัญของก้าวย่างแห่งการเดินทาง เข้ า สู ่ ป ี ที่ 40 ของการด� ำ เนิ น งานคุ ม ประพฤติ ในประเทศไทย นับตัง้ แต่มกี ารตราพระราชบัญญัติ วิ ธี ด� ำ เนิ น การคุ ม ความประพฤติ ต ามประมวล กฎหมายอาญา พ.ศ. 2522 และได้มีการจัดตั้ง ส� ำ นั ก งานคุ ม ประพฤติ ก ลาง ซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยงาน ระดับกอง สังกัดส�ำนักงานส่งเสริมงานตุลาการ กระทรวงยุติธรรม เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2522 นั บ ว่ า ระบบงานคุ ม ประพฤติ ได้ ด� ำ เนิ น งาน อย่ า งจริ ง จั ง ในปี พ.ศ. 2522 และต่ อ มาได้ มี การขยายงานสู ่ ภู มิ ภ าค จนได้ รั บ การยกฐานะ ให้เป็นกรมคุมประพฤติ เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2535 ถือได้วา่ กรมคุมประพฤติกอ่ ก�ำเนิดขึน้ มาเพือ่ อ�ำนวยความยุตธิ รรมให้แก่ประชาชนเรือ่ ยมาจนถึง ทุกวันนี้

จากวั น นั้ น จนถึ ง วั น นี้ สภาวการณ์ ต ่ า งๆ เปลี่ยนแปลงไป สังคมสมัยใหม่มีการน�ำเทคโนโลยี มาใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เพื่ออ�ำนวยความสะดวก ในด้านต่างๆ มากขึ้น การติดต่อสื่อสารเป็นไปด้วย ความรวดเร็วอันอาจกล่าวได้วา ่ “เป็นสังคมดิจทิ ลั ” ระบบงานคุ ม ประพฤติ เ องก็ จ� ำ ต้ อ งปรั บ เปลี่ ย น กระบวนทัศน์ในการท�ำงานเพือ่ ให้มคี วามสอดคล้อง กับสภาวการณ์ทเี่ ปลีย่ นแปลงไปภายใต้กรอบทิศทาง ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนปฏิรปู ประเทศ นโยบาย Thailand 4.0 ยุ ท ธศาสตร์ ก ระทรวงยุ ติ ธ รรม 20 ปี และแผนแม่บทกรมคุมประพฤติ 20 ปี ดังนัน้ นโยบาย Smart Probation เพือ่ มุง่ สู่ Probation 4.0 จึ ง เป็ น นโยบายส� ำ คั ญ ที่ จ ะท� ำ ให้ คุ ม ประพฤติ ขับเคลื่อนไปได้ด้วยความรวดเร็ว ทันสมัย และมี ความคาดหวังว่าจะเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพ และตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนและ สังคมได้


อย่ า งไรก็ ดี ไม่ ว ่ า กรมคุ ม ประพฤติ จ ะวางเป้ า หมายองค์ ก ร ตามกรอบทิ ศ ทางยุ ท ธศาสตร์ ช าติ แผนปฏิ บั ติ ร าชการกระทรวง ยุ ติ ธ รรม ระยะที่ 1 พ.ศ. 2562 – 2565 และแผนปฏิ บั ติ ร าชการ 4 ปี กรมคุมประพฤติ พ.ศ. 2561 – 2564 ไว้อย่างไร การขับเคลื่อน องค์ ก รไปสู ่ เ ป้ า หมายที่ ว าดหวั ง ไว้ ก็ ไ ม่ อ าจส� ำ เร็ จ ลุ ล ่ ว งไปได้ หากไม่ ได้ รั บ ความร่ ว มแรงร่ ว มใจจากบุ ค ลากรในองค์ ก ร การปรั บ เปลี่ ย น กระบวนทั ศ น์ ใ นการท� ำ งานให้ มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ สภาวการณ์ ที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อก้าวเข้าสู่สังคมดิจิทัล อาจยังคงมีความยากล�ำบาก อยู่บ้างในระยะเริ่มแรก แต่หากเรามีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาตนเอง เปิดใจ ยอมรับสิ่งใหม่ๆ เปิดใจเรียนรู้ แล้วก้าวไปพร้อมกัน ความยากล�ำบากนั้น ก็จะมลายหายไป และเข้าสู่ยุค Probation 4.0 ได้อย่างเต็มภาคภูมิ

นายประสาร มหาลี้ตระกูล อธิบดีกรมคุมประพฤติ

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

5


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

ผู้บริหารกรมคุมประพฤติ

นายประสาร มหาลี้ตระกูล อธิบดีกรมคุมประพฤติ

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

6


ผู้บริหารกรมคุมประพฤติ

นางอัญชลี พัฒนสาร รองอธิบดีกรมคุมประพฤติ

นายพยนต์ สินธุนาวา รองอธิบดีกรมคุมประพฤติ

นางสาวพวงแก้ว เชื้อเชย รองอธิบดีกรมคุมประพฤติ รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

7



ส่วนที่ 1

ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน

PROFILE DEPARTMENT OF PROBATION ANNUAL REPORT 2018 กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม รายงานประจ�ำปี 2561


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

ประวัติความเป็นมาของระบบงานคุมประพฤติ

ประวัติความเป็นมาของระบบงานคุมประพฤติ พ.ศ. 2495

เริ่มน�ำระบบคุมประพฤติมาใช้ครั้งแรกในประเทศไทยโดยใช้กับผู้กระท�ำผิดที่เป็นเด็ก และเยาวชน

พ.ศ. 2449

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 56, 57, 58 ได้บญ ั ญัตถิ งึ วิธกี ารเกีย่ วกับการคุมประพฤติ ไว้แต่มาตรการรอการก�ำหนดโทษหรือรอการลงโทษเพียงอย่างเดียวโดยไม่ใช้วธิ กี ารคุมประพฤติ

พ.ศ. 2522

จั ด ตั้ ง ส� ำ นั ก งานคุ ม ประพฤติ ก ลาง ซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยงานระดั บ กอง สั ง กั ด ส� ำ นั ก งาน ส่งเสริมตุลาการ กระทรวงยุติธรรมด�ำเนินการคุมประพฤติผู้กระท�ำผิดที่เป็นผู้ใหญ่ ในเขตกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2522

พ.ศ. 2526

เริ่มเปิดด�ำเนินการส�ำนักงานคุมประพฤติในส่วนภูมิภาคทั่วประเทศ

พ.ศ. 2528

ริเริม่ น�ำแนวคิดการท�ำงานบริการสังคมมาปฏิบตั ติ อ่ ผูก้ ระท�ำผิดเป็นครัง้ แรกในประเทศไทย

พ.ศ. 2529

ถือก�ำเนิดอาสาสมัครคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรมขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2529

พ.ศ. 2535

ส�ำนักงานคุมประพฤติกลาง สังกัดส�ำนักงานส่งเสริมตุลาการได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น กรมคุมประพฤติในวันที่ 15 มีนาคม 2535

พ.ศ. 2544

มติ ค ณะรั ฐ มนตรี เ มื่ อ วั น ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 เห็ น ชอบแนวทางรู ป แบบ การลดปริมาณคดีขนึ้ สูศ่ าล ท�ำให้กรมคุมประพฤติเป็นหน่วยงานหลักในงานคุมประพฤติ ได้แก่ งานคุมประพฤติเด็กและเยาวชน งานคุมประพฤติผพู้ กั การลงโทษ และลดวันต้องโทษ รวมถึงการสงเคราะห์ผู้กระท�ำผิดภายหลังพ้นการคุมประพฤติ และภายหลังปล่อย และการด�ำเนินการตามพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด

พ.ศ. 2546

- กรมคุ ม ประพฤติ ด� ำ เนิ น การตามพระราชบั ญ ญั ติ ฟ ื ้ น ฟู ส มรรถภาพผู ้ ติ ด ยาเสพติ ด พ.ศ. 2545 เต็มรูปแบบ เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2546 พร้อมกันทั่วประเทศ - ด�ำเนินการในภารกิจการท�ำงานบริการสังคมแทนค่าปรับตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 30/1 มาตรา 30/2 และมาตรา 30/3 - พัฒนาฐานข้อมูลกลางระบบสารสนเทศงานคุมประพฤติ

พ.ศ. 2547 กรมคุมประพฤติประกาศใช้มาตรฐานแห่งชาติวา่ ด้วยการปฏิบตั งิ านของกรมคุมประพฤติ

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

10


ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน

พ.ศ. 2548

- การน�ำประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการด�ำเนินงานกับกรมคุมประพฤติในรูปแบบ เครือข่ายยุติธรรมชุมชน ภายใต้ยุทธศาสตร์ “ยุติธรรมถ้วนหน้า ประชามีส่วนร่วม” - ริเริ่มน�ำแนวคิดจัดท�ำโครงการเสริมสร้างความยุติธรรมใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ - การน�ำกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาใช้ในงานคุมประพฤติ

พ.ศ. 2553

- เริม่ ด�ำเนินการตามโครงการก�ำลังใจในพระด�ำริพระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าพัชรกิตยิ าภา ที่น�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้

พ.ศ. 2556

- กรมคุมประพฤติรเิ ริม่ ในการจัดให้มกี ารประชุมในระบบการคุมประพฤติและมาตรการ แบบไม่ควบคุมตัวในภูมิภาคอาเซียนบวกสาม - เริ่มทดลองน�ำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว (Electronic Monitoring) มาใช้ ในระบบงานคุมประพฤติ

พ.ศ. 2557

- เริม่ ด�ำเนินการโครงการ TO BE NUMBER ONE โดยทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิ ริ วั ฒ นาพรรณวดี องค์ ป ระธานโครงการฯ มอบเข็ ม ที่ ร ะลึ ก และกล่ า วต้ อ นรั บ กรมคุมประพฤติเข้าเป็นสมาชิกอย่างเป็นทางการในวันที่ 31 มีนาคม 2557 - เริ่มด�ำเนินการโครงการน�ำร่องใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว (Electronic Monitoring) มาใช้ในระบบงานคุมประพฤติ

พ.ศ. 2558

- เริ่มด�ำเนินการขยายอาสาสมัครคุมประพฤติให้ครบทุกต�ำบล โดยใช้อาสาสมัครอื่นๆ

พ.ศ. 2559

- มติ ครม. เรือ่ งการบูรณาการแก้ไขฟืน้ ฟู ติดตาม ดูแล ช่วยเหลือและสงเคราะห์ผกู้ ระท�ำผิด ในชุมชน - ประกาศใช้พระราชบัญญัติคุมประพฤติ พ.ศ. 2559 - เริ่มโอนภารกิจงานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดแบบไม่ควบคุมตัวให้กระทรวง สาธารณสุขและกรุงเทพมหานครเป็นผู้บ�ำบัดรักษา

พ.ศ. 2560

- การจัดตั้งคณะกรรมการคุมประพฤติ เพื่อก�ำหนดทิศทางและนโยบายการบริหาร งานคุมประพฤติ

พ.ศ. 2561

- น�ำเทคโนโลยีมาใช้ในงานคุมประพฤติ ด้วยการเริม่ น�ำร่องโครงการระบบงานคุมประพฤติ เพื่อให้บริการระบบดิจิทัล (Probation Digital Service : PDS) - เริม่ เปิดบริการศูนย์ประสานงานและส่งเสริมการมีงานท�ำ หรือ ศูนย์แคร์ (Care Center)

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

11


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

โครงสร้างกรมคุมประพฤติ กรมคุมประพฤติ

กลุ่มตรวจสอบภายใน

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

ส�ำนักตรวจราชการกรมคุมประพฤติ

กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม

ราชการบริหารส่วนกลาง

ราชการบริหารส่วนภูมิภาค

กองพัฒนาการคุมประพฤติ

ส�ำนักงานเลขานุการกรม

กองส่งเสริมและพัฒนา เครือข่ายคุมประพฤติ

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน

ส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัด 76 แห่ง

ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสาขา (29 แห่ง)

กองพัฒนาการฟื้นฟู สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด

กองบริหารทรัพยากรบุคคล

ส�ำนักงานคุมประพฤติ กรุงเทพมหานคร 1-5

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการคุมประพฤติ

ส�ำนักงานคุมประพฤติ กรุงเทพมหานคร 6-12

ศูนย์พัฒนาทรัพยากรบุคคล

ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติดลาดหลุมแก้ว

หน่วยงานปรากฏตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2561

ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติดปัตตานี

หน่วยงานจัดตั้งขึ้นเป็นการภายใน

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

12


ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน

กรอบอัตรากําลังกรมคุมประพฤติ กรมคุมประพฤติมีกรอบอัตราก�ำลัง จ�ำนวน

พนักงาน ราชการ

ลูกจ้างประจ�ำ

209

4,400 อัตรา ดังนี้ 2,099*

จ�ำนวน (อัตรา)

รวมทั้งหมด

4,400

ข้าราชการ

ลูกจ้าง ชั่วคราว

1,461

631

*หมายเหตุ : กรอบพนักงานราชการเป็นกรอบที่สามารถจ้างได้ กรอบที่กันไว้ทดแทนลูกจ้างประจ�ำ กรอบที่ไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ

จ�ำนวน 1,920 อัตรา จ�ำนวน 99 อัตรา จ�ำนวน 80 อัตรา ข้อมูล ณ พฤศจิกายน 2561

กรอบอัตรากําลังกรมคุมประพฤติ พ.ศ. 2561 จ�ำนวน

4,400 อัตรา ดังนี้

จ�ำนวน

1

2

3

4

ข้าราชการ

อัตรา

1,461

อัตรา

1.1 ต�ำแหน่งพนักงานคุมประพฤติ 1.2 ต�ำแหน่งอื่นๆ

997 464

อัตรา อัตรา

ลูกจ้างประจ�ำ

209

อัตรา

2.1 กลุ่มงานบริการพื้นฐาน 2.2 กลุม ่ งานสนับสนุน

7 202

อัตรา อัตรา

พนักงานราชการ

2,099

อัตรา

3.1 ต�ำแหน่งพนักงานคุมประพฤติ 3.2 ต�ำแหน่งอื่นๆ

1,073 1,026

อัตรา อัตรา

ลูกจ้างชั่วคราว

631

อัตรา

4.1 ต�ำแหน่งพนักงานคุมประพฤติ 4.2 ต�ำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการ

392 239

อัตรา อัตรา

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

13


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

แผนภูมิอัตราก�ำลังกรมคุมประพฤติ

แผนภูมิอัตราก�ำลัง กรมคุมประพฤติ

ลูกจางชั่วคราว 631 อัตรา (14.34%)

ลูกจางประจำ 209 อัตรา (4.75%)

ขาราชการ 1,461 อัตรา (33.2%)

พนักงานราชการ 2,099 อัตรา (47.7%)

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

14


ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน

แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี กรมคุมประพฤติ พ.ศ. 2561 – 2564

1. วิสัยทัศน์

“เป็นองค์กรมาตรฐานในการสร้างหลักประกัน ความปลอดภัยของชุมชนจากผู้กระท�ำผิดในระบบ การคุมประพฤติ ในปี 2563” 2. พันธกิจ

1. แก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิดในชุมชน 2. ขั บ เคลื่ อ นการทํางานแบบบู ร ณาการกั บ ทุกภาคส่วนด้วยบุคลากรมืออาชีพ 3. ก ร อ บ เ ป ้ า ห ม า ย ก า ร บ ริ ห า ร ง า น คุมประพฤติ

1. พั ฒ น า ร ะ บ บ ง า น คุ ม ป ร ะ พ ฤ ติ ใ ห ้ มี ประสิ ท ธิ ภ าพและเป็ น ไปตามมาตรฐาน เพื่ อ ความปลอดภั ย และความสงบสุ ข ของสังคม 2. สร้างสมดุลระหว่างการแก้ไขฟืน้ ฟูผกู้ ระท�ำผิด กับการบังคับใช้กฎหมาย

4. ทิศทางการบริหารงานคุมประพฤติ

1. ส่งเสริมและสนับสนุนระบบการแก้ไขฟื้นฟู ผูก้ ระท�ำผิดในระบบคุมประพฤติให้สอดคล้อง กับมาตรฐานสากล 2. ผลักดันให้มีการบูรณาการการปฏิบัติงาน และการเชื่อมโยงข้อมูลผู้กระท�ำผิดร่วมกัน ในกระบวนการยุติธรรม 3. ให้มกี ารน�ำเทคโนโลยีมาสนับสนุนการแก้ไข ฟื้นฟูผู้กระท�ำผิด 4. ส่งเสริมให้ภาคประชาชน ภาคประชาสังคม เอกชนทุกระดับ มีสว่ นร่วมในการแก้ไขฟืน้ ฟู ผู้กระท�ำผิด

5. พัฒนาระบบการติดตาม ดูแล ช่วยเหลือ ผู้กระท�ำผิดที่อยู่ในระบบงานคุมประพฤติ และผู้กระท�ำผิดภายหลังปล่อย 5. ค่านิยมร่วม

P R O B A T I O N

Professional

มืออาชีพ

Rehabilitation

แก้ไขฟื้นฟู

Opportunity

ให้โอกาส

Behavior Change

ปรับเปลีย่ นพฤติกรรม

Attitude

สร้างทัศนคติที่ดี

Teamwork

ท�ำงานเป็นทีม

Integrity

ซื่อสัตย์

Observation

สังเกต

Non - Custodial Treatment ด้วยระบบ ไม่ควบคุมตัว

6. ประเด็นยุทธศาสตร์

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

1. พัฒนาระบบการปฏิบัติต่อผู้กระท�ำผิดในชุมชน 2. บูรณาการการแก้ไขฟื้นฟู ติดตามดูแล ช่วยเหลือ และสงเคราะห์ผู้กระทําผิดในชุมชน 3. พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพบุคลากร 4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัล 5. พัฒนาการบริหารจัดการองค์กร

15


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบการปฏิบัติต่อผู้กระท�ำผิดในชุมชน

เป้าประสงค์ ชุมชนและสังคมมีความปลอดภัยและสงบสุข กลยุทธ์การด�ำเนินงาน 1. ยกระดับการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทําผิดในชุมชนตามมาตรฐานสากล 2. ยกระดับมาตรการให้ผู้กระท�ำผิดปฏิบัติตามเงื่อนไข/แผนการฟื้นฟูฯ 3. ส่งเสริมและขยายมาตรการทางเลือก 4. พัฒนาความร่วมมือด้านการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทําผิดระหว่างประเทศ 5. พัฒนาและปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 บูรณาการการแก้ไขฟื้นฟู ติดตามดูแล ช่วยเหลือ และสงเคราะห์ผู้กระทําผิด ในชุมชน

เป้าประสงค์ บูรณาการการแก้ไขฟืน้ ฟู ติดตามดูแล ช่วยเหลือและสงเคราะห์ผกู้ ระท�ำผิดในชุมชน กลยุทธ์การด�ำเนินงาน 1. ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วนในการแก้ไขฟืน้ ฟู ติดตามดูแลช่วยเหลือ และสงเคราะห์ ผู้กระท�ำผิดในชุมชน 2. ยกระดับงานอาสาสมัครคุมประพฤติและเครือข่ายชุมชน 3. สร้างการรับรู้ผลงานและบทบาทของกรมคุมประพฤติ

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

16


ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพบุคลากร

เป้าประสงค์ บุคลากรมีสมรรถนะสูง มีคุณธรรม จริยธรรมและประสิทธิภาพในการบริการ ประชาชน กลยุทธ์การด�ำเนินงาน 1. พัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพ 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อให้ปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ 3. เสริมสร้างระบบคุณธรรม จริยธรรม 4. ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของบุคลากรเพื่อให้มีขวัญก�ำลังใจในการปฏิบัติงาน

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัล

เป้าประสงค์ บริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศ และการปรับระบบการท�ำงานเป็นดิจิทัล กลยุทธ์การด�ำเนินงาน 1. พัฒนาระบบฐานข้อมูล 2. พัฒนาเทคโนโลยีการบริหารจัดการและให้บริการงานคุมประพฤติ 3. พัฒนาและปรับปรุงเทคโนโลยีการปฏิบัติต่อผู้กระท�ำผิดในชุมชนให้เหมาะสมและทันสมัย

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาการบริหารจัดการองค์กร

เป้าประสงค์ พัฒนาการบริหารจัดการองค์กร กลยุทธ์การด�ำเนินงาน 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการแผนงานและงบประมาณ 2. พัฒนาระบบบริหารราชการ

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

17



ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการ

OUTPUT DEPARTMENT OF PROBATION ANNUAL REPORT 2018 กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม รายงานประจ�ำปี 2561


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

ผลการด�ำเนินการตัวชี้วัดการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติราชการของกรมคุมประพฤติ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ตัวชี้วัด

ค่าเป้าหมาย

องค์ประกอบที่ 1 (Functional Based)

ผลการด�ำเนินงาน

เป็นไปตามเป้าหมาย

1.1 ร้อยละความครบถ้วนของการน�ำเข้าข้อมูลในระบบสารสนเทศ ของกรมคุมประพฤติ (DOPIS)

ร้อยละ 100

ร้อยละ 100

1.2 ร้อยละของจ�ำนวนคดีสืบเสาะและพินิจที่สามารถเสนอรายงาน ต่อศาลภายในระยะเวลาที่ก�ำหนด

ร้อยละ 90

ร้อยละ 94.00

1.3 ร้อยละของผูถ้ กู คุมความประพฤติทไี่ ด้รบั การจ�ำแนกว่ามีความเสีย่ งสูง ได้รับการแก้ไขฟื้นฟูตามแผนที่ก�ำหนด

ร้อยละ 80

ร้อยละ 81.12

1.4 ร้ อ ยละของผู ้ ถู ก คุ ม ความประพฤติ ที่ ก ระท� ำ ผิ ด เงื่ อ นไข การคุมความประพฤติ

ร้อยละ 14.73

ร้อยละ 16.49

องค์ประกอบที่ 2 (Agenda Based)

เป็นไปตามเป้าหมาย

2.1 การสร้างความรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน 1) ร้อยละการด�ำเนินการตามแผนการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ ประชาชน 2) ร้อยละการชี้แจงประเด็นส�ำคัญที่ทันต่อสถานการณ์

ร้อยละ 100

ร้อยละ 100

1.5 คะแนน (เต็ม 3 คะแนน)

-ไม่มีประเด็นชี้แจง-

องค์ประกอบที่ 3 (Area Based)

-ไม่มีตัวชี้วัดในองค์ประกอบนี้องค์ประกอบที่ 4 (Innovation Based)

4.1 การพัฒนานวัตกรรม (เสนอนวัตกรรม)

เป็นไปตามเป้าหมาย

50 คะแนนขึ้นไป

ด�ำเนินการได้ตามเป้าหมาย

ร้อยละ 80

ร้อยละ 100

4.2 การพัฒนาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน (จัดท�ำแผนการด�ำเนินงานเพือ่ พัฒนาประสิทธิภาพงาน 12 กิจกรรม) องค์ประกอบที่ 5 (Potential Based)

เป็นไปตามเป้าหมาย

5.1 การจัดท�ำและด�ำเนินการตามแผนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ

- ผลการด�ำเนินงาน/ผลผลิต ไม่ตำ�่ กว่า ร้อยละ 70 - ผลการเบิกจ่าย ไม่ต�่ำกว่า ร้อยละ 70

- ผลการด�ำเนินงาน/ ผลผลิต ด�ำเนินการได้ ร้อยละ 100 - ผลการเบิกจ่าย ด�ำเนินการได้ ร้อยละ 90.79

5.2 การจัดท�ำแผนปฏิรูปองค์การ

สามารถจัดท�ำข้อมูล ครบถ้วนตามที่ก�ำหนด

ด�ำเนินการจัดส่งแผนปฏิรูป องค์การได้ตามเป้าหมาย ที่ก�ำหนด

หมายเหตุ : ผลการประเมินตนเอง

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

20


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการ

ผลการปฏิบัติราชการประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

1. งานคดี

1.1 การคุมประพฤติ งานสืบเสาะและพินิจ งานสืบเสาะและพินิจเป็นกระบวนการแสวงหาข้อเท็จจริงและการสืบเสาะข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับ ประวัตภิ มู หิ ลังทางสังคม และพฤติการณ์คดีของผูก้ ระท�ำผิด รวมทัง้ รายละเอียดหลักฐานต่างๆ ของผูก้ ระท�ำผิด โดยพนักงานคุมประพฤติเป็นผู้น�ำข้อมูลต่างๆ มาวิเคราะห์ประเมิน และจัดท�ำรายงาน พร้อมความเห็น เพื่อประกอบดุลพินิจของผู้มีอ�ำนาจในการพิจารณาว่า จะใช้มาตรการใดจึงเหมาะสมกับผู้กระท�ำผิด เป็นรายบุคคล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กรมคุมประพฤติด�ำเนินการแสวงหาข้อเท็จจริง จ�ำนวน 71,356 คดี โดยเป็นผู้กระท�ำผิดที่เป็นผู้ใหญ่ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 56 จ�ำนวน 41,752 คดี คิดเป็น ร้อยละ 58.51 ผู้ได้รับการพักการลงโทษ จ�ำนวน 13,093 คดี คิดเป็นร้อยละ 18.35 และผู้ได้รับ การลดวันต้องโทษจ�ำคุก จ�ำนวน 16,511 คดี คิดเป็นร้อยละ 23.14 งานสืบเสาะและพินิจ จ�ำนวน 71,356 คดี ลดวันตองโทษ พักการลงโทษ 13,093 คดี

16,511 คดี

ผูใหญ

41,752 คดี

(23.14%)

(58.51%)

(18.35%)

งานคุมความประพฤติ งานคุมความประพฤติ เป็นกระบวนการควบคุม สอดส่อง ติดตาม ดูแล ให้คำ� แนะน�ำ และช่วยเหลือ ผูก้ ระท�ำผิดภายใต้เงือ่ นไขการคุมความประพฤติ เพือ่ ช่วยให้ผกู้ ระท�ำผิดปรับปรุงแก้ไขนิสยั ความประพฤติ จนสามารถกลับไปใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุขและไม่หวนกลับไปกระท�ำผิดซ�้ำอีก

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

21


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กรมคุมประพฤติ ด�ำเนินการคุมความประพฤติผู้กระท�ำผิดทั้งสิ้น 393,315 คดี โดยเป็นคดีที่ต่อเนื่องมาจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 จ�ำนวน 202,516 คดี และเป็นคดี รับใหม่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จ�ำนวน 190,799 คดี โดยผูก้ ระท�ำผิดรายใหม่ จ�ำแนกเป็นผูก้ ระท�ำผิด ที่เป็นผู้ใหญ่ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 56 จ�ำนวน 170,648 คดี คิดเป็นร้อยละ 89.44 เด็กและเยาวชน จ�ำนวน 4,044 คดี คิดเป็นร้อยละ 2.12 ผูไ้ ด้รบั การพักการลงโทษ จ�ำนวน 4,624 คดี คิดเป็น ร้อยละ 2.42 และผู้ได้รับการลดวันต้องโทษจ�ำคุก จ�ำนวน 11,483 คดี คิดเป็นร้อยละ 6.02 งานควบคุมและสอดส่อง จ�ำนวน 190,799 คดี พักการลงโทษ เด็กและเยาวชน 4,624 คดี (2.42%) 4,044 คดี (2.12%)

ลดวันตองโทษ 11,483 คดี (6.02%)

ผูใหญ 170,648 คดี (89.44%)

ผลสัมฤทธิข ์ องการด�ำเนินงานด้านคุมความประพฤติประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ผลการคุมความประพฤติเสร็จสิ้นไป กลุ่มเป้าหมาย

ด้วยดี จ�ำนวน

ผู้ใหญ่

ผิดเงื่อนไข ร้อยละ

จ�ำนวน

รวมทั้งสิ้น

อื่นๆ

ร้อยละ

จ�ำนวน

ร้อยละ

119,419

81.64

24,592

16.81

2,260

1.55

146,271

เด็กและเยาวชน

5,030

76.35

1,366

20.73

192

2.91

6,588

พักการลงโทษ

2,151

89.07

188

7.78

76

3.15

2,415

ลดวันต้องโทษ

9,275

95.55

343

3.53

89

0.92

9,707

135,875

82.36

26,489

16.06

2,617

1.59

164,981

รวม

ทั้งนี้ผลการคุมประพฤติเสร็จสิ้นไปทั้งสิ้นจ�ำนวน 164,981 ราย พบว่าผู้ถูกคุมความประพฤติ ที่พ้นคุมความประพฤติด้วยดีจ�ำนวน 135,875 ราย คิดเป็นร้อยละ 82.36 คดีเสร็จสิ้นไปโดยผิดเงื่อนไข การคุมความประพฤติ จ�ำนวน 26,489 ราย คิดเป็นร้อยละ 16.06 และอื่นๆ เช่น เจ็บป่วย พิการร้ายแรง ตาย เดินทางไปต่างประเทศ ศาลสูงเปลีย่ นแปลงค�ำพิพากษา จ�ำนวน 2,617 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.59

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

22


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการ

1.2 การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดในระบบบังคับบ�ำบัดถือว่า ผู้เสพยาเสพติดเป็นผู้ป่วยมิใช่ อาชญากร จึงน�ำเข้ารับการบ�ำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพตามพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 โดยมีการด�ำเนินงาน 2 ด้าน ได้แก่ - งานตรวจพิสูจน์ การตรวจพิสูจน์เป็นการแสวงหาและประมวลข้อเท็จจริงเกี่ยวกับผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ เพื่อวิเคราะห์และประเมินองค์ประกอบทางกาย จิตใจและสังคมว่า ผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์เป็นผู้เสพ หรือผู้ติดยาเสพติดหรือไม่ พร้อมทั้งก�ำหนดแผนการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดที่เหมาะสมส�ำหรับ ผู้เสพหรือผู้ติดยาเสพติดแต่ละรายนั้น ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กรมคุมประพฤติด�ำเนินการตรวจพิสูจน์ จ�ำนวน 127,627 ราย งานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด งานฟืน้ ฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติดเป็นการด�ำเนินการบ�ำบัดอาการติดยาเสพติดและฟืน้ ฟูสภาพ ร่างกายและจิตใจของผูต้ ดิ ยาเสพติด รวมถึงการเตรียมความพร้อมทางร่างกายและจิตใจของผูเ้ สพยาเสพติด ให้สามารถกลับไปใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างปกติสุข ซึ่งแบ่งออกเป็นการฟื้นฟูฯ แบบควบคุมตัว และการฟื้นฟูฯ แบบไม่ควบคุมตัว ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กรมคุมประพฤติดำ� เนินการฟืน้ ฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติดในระบบ บังคับรักษา จ�ำนวน 117,465 ราย โดยแบ่งออกเป็นการฟื้นฟูฯ แบบควบคุมตัว จ�ำนวน 25,796 ราย คิดเป็นร้อยละ 21.96 และการฟื้นฟูฯ แบบไม่ควบคุมตัว จ�ำนวน 91,669 ราย คิดเป็นร้อยละ 78.04 ซึ่งมีผลการฟื้นฟูฯ ทั้งหมด จ�ำนวน 128,853 ราย โดยมีผลการฟื้นฟูฯ พอใจ จ�ำนวน 68,869 ราย คิดเป็นร้อยละ 53.45 ผลการฟื้นฟูฯ ไม่พอใจ จ�ำนวน 48,392 ราย คิดเป็นร้อยละ 37.56 และอื่นๆ จ�ำนวน 11,592 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.00 งานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด จ�ำนวน 117,465 คดี

ควบคุมตัว 25,796 ราย (21.96%)

ไมควบคุมตัว 91,669 ราย (78.04%)

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

23


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

2. การแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิด

การแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิดเป็นการปฏิบัติงานของพนักงานคุมประพฤติในการปรับเปลี่ยน แก้ไข และ เสริมสร้างคุณลักษณะทางจิตใจ พฤติกรรม และนิสัยความประพฤติของผู้กระท�ำผิด ด้วยกระบวนการ/ วิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งที่เรียกว่า กิจกรรมแก้ไขฟื้นฟูหรือโปรแกรมแก้ไขฟื้นฟู ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้กระท�ำผิด มีการเปลีย่ นแปลงไปสูส่ ภาวะของการมีพฤติกรรมทีพ่ งึ ปรารถนา เคารพกฎระเบียบของสังคม ไม่กระท�ำผิด กฎหมาย มีคุณภาพชีวิตและสามารถใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กรมคุมประพฤติได้ดำ� เนินการจัดกิจกรรมแก้ไขฟืน้ ฟู โดยแบ่งประเภทเป็น การคุมประพฤติ การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด และการน�ำครอบครัวผู้ถูกคุมความประพฤติและ ผู้เข้ารับการฟื้นฟูเข้าร่วมกิจกรรม โดยจัดกิจกรรมแก้ไขฟื้นฟูต่างๆ ดังนี้ 1. การปฐมนิเทศ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จ�ำนวน 161,204 ราย 2. การอบรมความรู้ ได้แก่ อบรมเกี่ยวกับจราจร กฎหมาย และอาชีพฯ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จ�ำนวน 123,927 ราย 3. โปรแกรมพื้นฐาน ประกอบด้วย 5 กิจกรรม คือ กิจกรรมความรู้เรื่องยาเสพติด การรู้จักและเข้าใจ ตนเอง การเห็นคุณค่าในตนเอง การวางแผนชีวติ และการอยูร่ ว่ มกับครอบครัว มีผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม จ�ำนวน 111,441 ราย 4. การอบรมธรรมะ ค่ายจริยธรรม และค่ายวิถีพุทธ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จ�ำนวน 31,436 ราย 5. การใช้กิจกรรมกลุ่มในการแก้ไขฟื้นฟู มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จ�ำนวน 24,584 ราย 6. ปัจฉิมนิเทศ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จ�ำนวน 22,344 ราย 7. โปรแกรมเฉพาะด้าน ประกอบด้วย 6 กิจกรรม คือ กิจกรรมทักษะการสือ่ สารและการปฏิเสธ ทักษะ การแก้ปญ ั หาและการตัดสินใจ ทักษะการจัดการกับอารมณ์และความเครียด ความเชือ่ และเจตคติ ความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัวและสังคม และการสร้างสัมพันธภาพ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จ�ำนวน 21,622 ราย 8. ค่ายยาเสพติด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จ�ำนวน 2,517 ราย 9. กิจกรรมอื่นๆ เช่น ส่งเสริมการสร้างงานสร้างอาชีพ (ศูนย์แคร์) อบรมป้องกันการเสพซ�้ำ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จ�ำนวน 32,238 ราย

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

24


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการ

โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กรมคุมประพฤติได้ด�ำเนินการจัดกิจกรรมให้กับผู้กระท�ำผิดและ ครอบครัว ประกอบด้วย กิจกรรมแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิด จ�ำนวน 531,313 ราย จ�ำแนกเป็นปฐมนิเทศ คิดเป็นร้อยละ 30.34 การอบรมให้ความรู้แก่ผู้กระท�ำผิด คิดเป็นร้อยละ 23.32 โปรแกรมพื้นฐาน คิดเป็นร้อยละ 20.97 การอบรมธรรมะ ค่ายจริยธรรม ค่ายวิถีพุทธ คิดเป็นร้อยละ 5.92 การให้ค�ำปรึกษา แบบกลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 4.63 ปัจฉิมนิเทศ คิดเป็นร้อยละ 4.21 โปรแกรมเฉพาะด้าน คิดเป็นร้อยละ 4.07 ค่ายยาเสพติด คิดเป็นร้อยละ 0.47 และกิจกรรมอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 6.07 แก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิด จ�ำนวน 531,313 ราย 4.07% 4.63% 5.92%

4.21%

ปฐมนิเทศ จำนวน 161,204 ราย (30.34%)

6.07%

อบรมความรู/อาชีพ จำนวน 123,927 ราย (23.32%)

0.47%

30.34%

โปรแกรมพื้นฐาน จำนวน 111,441 ราย (20.97%) อบรมธรรมะ/คายจริยธรรม/คายวิถีพุทธ จำนวน 31,436 ราย (5.92%) การใหคำปรึกษาแบบกลุม  จำนวน 24,584 ราย (4.63%) ปจฉิมนิเทศ จำนวน 22,344 ราย (4.21%) โปรแกรมเฉพาะดาน จำนวน 21,622 ราย (4.07%)

20.97%

คายยาเสพติด จำนวน 2,517 ราย (0.47%)

23.32%

อื่นๆ จำนวน 32,238 ราย (6.07%)

3. การสงเคราะห์ผู้กระท�ำผิด

การสงเคราะห์ผู้กระท�ำผิดที่กรมคุมประพฤติได้ด�ำเนินการประกอบด้วย การสงเคราะห์ผู้กระท�ำผิด ระหว่างคุมประพฤติ และการสงเคราะห์ผู้กระท�ำผิดภายหลังปล่อยหรือภายหลังพ้นการคุมความประพฤติ เป็นการช่วยส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพในการแก้ไขฟืน้ ฟูและฝึกฝนตัวเองของผูก้ ระท�ำผิด เพือ่ ให้ผกู้ ระท�ำผิด สามารถช่วยเหลือตนเองและด�ำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้ตามสมควร และไม่หวนกลับไปกระท�ำผิดอีก โดยมี บริการให้การสงเคราะห์ เช่น การให้การศึกษา การส่งเสริมด้านการหางาน การฝึกอาชีพ การสงเคราะห์ ด้านทุนประกอบอาชีพ ค่าอาหารและค่าพาหนะ เป็นต้น

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

25


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กรมคุมประพฤติดำ� เนินการสงเคราะห์ จ�ำนวน 47,928 ราย ซึง่ จ�ำแนกเป็น การสงเคราะห์ผกู้ ระท�ำผิดระหว่างคุมประพฤติจำ� นวน 42,775 ราย โดยแยกเป็นกลุม่ ผูถ้ กู คุมความประพฤติ จ�ำนวน 18,189 ราย กลุ่มผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์และฟื้นฟูฯ จ�ำนวน 24,586 ราย ขณะที่การสงเคราะห์ ภายหลังปล่อยหรือภายหลังพ้นการคุมความประพฤติ จ�ำนวน 3,977 ราย จ�ำแนกเป็นกลุ่มผู้ที่พ้น การคุมความประพฤติ จ�ำนวน 2,623 ราย และกลุม่ ผูพ้ น้ การฟืน้ ฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติด จ�ำนวน 1,354 ราย รวมทั้งผู้ที่ได้รับการสงเคราะห์บ้านกึ่งวิถี จ�ำนวน 1,176 ราย ทั้งนี้จากการให้บริการสงเคราะห์ทั้งสิ้น จ�ำนวน 47,928 ราย จ�ำแนกได้ตามตาราง ดังนี้ แผนภูมิแสดงประเภทการให้บริการสงเคราะห์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 (ราย)

100,000 10,000

24,584

11,218

8,516 1,707

1,000

1,176 463

100

110

66

42

13

10

33

ๆ อื่น

ระก

อบ

อา

ชีพ

ี นก บา

รฝ กา ก อ รให าช ทุน พี ปร ะก อบ อา ชีพ สง เสร ิมก ารห างา น กา รรัก ษา พย าบ สน าล ับส นุน กา รศ ึกษ า

ีพ

กา

รให

ยืม

ทุน ป

กา

ยังช คา

คา

พา

หน

ร หา อา คา

ึ่งวิถ

0

กรมคุมประพฤติมีมูลนิธิที่คอยช่วยเหลือในเรื่องการสงเคราะห์ จ�ำนวน 2 แห่ง ได้แก่ 1. มูลนิธิฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด มูลนิธิฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด (Thai Drug Rehabilitation Foundation) จัดตั้งขึ้นเพื่อ สนับสนุนกิจการการด�ำเนินการตามพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 และได้ จดทะเบียนจัดตัง้ กฎหมายเมือ่ วันที่ 27 เมษายน 2542 ด้วยทุนจะทะเบียน 710,000 บาท โดยมีวตั ถุประสงค์ ดังนี้ 1. สนับสนุนส่งเสริมกิจการของหน่วยงานทีก่ ยี่ วข้องกับพระราชบัญญัตฟิ น้ื ฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติด พ.ศ. 2545 และการด�ำเนินงานของหน่วยงานตามพระราชบัญญัตฟิ น้ื ฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติด พ.ศ. 2545 2. ด�ำเนินการและร่วมกับหน่วยงานราชการ ตลอดจนหน่วยงานเอกชนด�ำเนินการในการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดรวมทั้งการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด การสงเคราะห์ผู้ติดยาเสพติด และ ครอบครัวและกรณีอื่นใดที่เกี่ยวข้องตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

26


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการ

3. สนับสนุนส่งเสริมการศึกษาวิจัยการประชุมสัมมนาทางวิชาการหรือการหาแนวทางในการฟื้นฟู สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ตลอดจนวิธีการป้องกันการใช้ยาเสพติดซ�้ำ 4. ส่งเสริมงานวัฒนธรรม 5. ด�ำเนินการเพื่อสาธารณประโยชน์ หรือ ร่วมมือกับองค์การการกุศลอื่นๆ เพื่อสาธารณประโยชน์ 6. ไม่ด�ำเนินการเกี่ยวข้องกับการเมืองแต่ประการใด มูลนิธฟิ น้ื ฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติด ด�ำเนินการโดยคณะกรรมการมูลนิธิ ประกอบด้วยผูท้ รงคุณวุฒิ ภายในกระทรวงยุติธรรมและภาคเอกชน จ�ำนวน 12 คน ทั้งนี้ การด�ำเนินงานในปี พ.ศ. 2561 มูลนิธิฯ ได้มกี ารจัดประชุมคณะกรรมการมูลนิธฯิ จ�ำนวน 2 ครัง้ เพือ่ พิจารณาเรือ่ งการแต่งตัง้ กรรมการทีค่ รบวาระ และแต่งตั้งกรรมการใหม่การจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการมูลนิธิฯ การเปลี่ยนแปลงรายชื่อ ผูม้ อี ำ� นาจในการเบิกจ่ายเงินมูลนิธฯิ การอนุมตั ใิ ช้เงินดอกผลของมูลนิธฯิ เพือ่ เป็นค่าใช้จา่ ยในการสงเคราะห์ ผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดกรณีเสียชีวิต จ�ำนวน 2 ราย ด้านการประกอบอาชีพ จ�ำนวน 2 ราย ค่าพาหนะและค่าอาหาร จ�ำนวน 36 ราย ค่ารักษาพยาบาล จ�ำนวน 1 ราย รวมจ�ำนวนทั้งสิ้น 41 ราย เป็นเงินจ�ำนวน 57,058 ราย การรายงานการเงิน การท�ำบัญชีรายรับ-รายจ่ายการตรวจสอบ งบดุล และงบรายได้คา่ ใช้จา่ ยประจ�ำปี พ.ศ. 2560 การแก้ไขระเบียบมูลนิธฟิ น้ื ฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติดว่าด้วย การสงเคราะห์ผู้ติดยาเสพติด ตามกฎหมายว่าด้วยการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด และการแต่งตั้ง ผู้ตรวจสอบบัญชีในปี พ.ศ. 2561 และปี พ.ศ. 2562 ปีงบประมาณ

พ.ศ. 2561

ประเภทการสงเคราะห์

กรณีเสียชีวิต ด้านการประกอบอาชีพ ค่าพาหนะและค่าอาหาร ค่ารักษาพยาบาล รวม

จ�ำนวน (ราย)

จ�ำนวนเงิน (บาท)

2 2 36 1 41

13,000 23,018 16,040 5,000 57,058

2. มูลนิธิแก้ไขฟื้นฟูและสงเคราะห์ผู้กระท�ำผิด มู ล นิ ธิ แ ก้ ไ ขฟื ้ น ฟู แ ละสงเคราะห์ ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ก่ อ ตั้ ง เมื่ อ วั น ที่ 23 มกราคม 2525 จากแนวคิ ด ที่ จ ะสนั บ สนุ น การให้ ก ารสงเคราะห์ ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ที่ เ ป็ น ผู ้ ใ หญ่ ใ ห้ ก ลั บ ตนเป็ น พลเมื อ งดี ข องสั ง คม มีวตั ถุประสงค์เพือ่ สนับสนุนและส่งเสริมกิจการและการด�ำเนินงานคุมประพฤติผกู้ ระท�ำผิด ร่วมกับหน่วยงาน ราชการและเอกชนด�ำเนินการในการแก้ไขฟืน้ ฟูและสงเคราะห์ผกู้ ระท�ำผิดให้กลับตนเป็นพลเมืองดี ด�ำเนินการ และร่วมกับหน่วยงานราชการและเอกชนในการสนับสนุนงานกระบวนการยุติธรรมทางอาญา สนับสนุน ส่งเสริมการศึกษาวินิจฉัยการประชุม การสัมมนาทางวิชาการ หรือการสาธิตวิธีการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิด ประเภทต่างๆ ตลอดจนวิธีการป้องกันอาชญากรรม บ�ำเพ็ญและร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ บ�ำเพ็ญการกุศล สาธารณประโยชน์และสังคมสงเคราะห์ รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

27


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

นับตัง้ แต่เริม่ ด�ำเนินการมูลนิธแิ ก้ไขฟืน้ ฟูและสงเคราะห์ผกู้ ระท�ำผิดได้ให้การสนับสนุนการด�ำเนินงาน ของกรมคุมประพฤติ ในหลายด้าน ตัง้ แต่การให้การสนับสนุนหลักทรัพย์สำ� หรับใช้ในการประกันตัวจ�ำเลย ทีอ่ ยูใ่ นระหว่างการสืบเสาะและพินจิ การช่วยเหลือสงเคราะห์ ค่าอาหาร ค่าพาหนะเดินทางกลับภูมลิ ำ� เนา ค่ายังชีพ เพือ่ แก้ปญ ั หาเร่งด่วนเฉพาะหน้า และให้การช่วยเหลือสงเคราะห์คา่ ใช้จา่ ยในการศึกษา การส่งเสริม ด้านการงาน การฝึกอาชีพ การสนับสนุนให้ยืมทุนประกอบอาชีพ สงเคราะห์ ค่ารักษาพยาบาลอาการ เจ็บป่วย ทางกาย ทางจิต อาการติดยาเสพติดให้โทษ สนับสนุนกิจกรรมเพื่อแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิด เช่น การสนับสนุนค่าเครื่องอัฐบริขารในการบรรพชา อุปสมบท กิจกรรมบ�ำเพ็ญสาธารณประโยชน์หรือ บริการสังคมต่างๆ สนับสนุน การศึกษาวิจัย เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้กระท�ำผิดได้กลับตนเป็นพลเมืองดี ของสังคมไม่หวนกลับไปกระท�ำผิดซ�้ำ ซึ่งมูลนิธิแก้ไขฟื้นฟูและสงเคราะห์ผู้กระท�ำผิดได้มีส่วนร่วมกับ กรมคุมประพฤติในการช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้กระท�ำผิดเพื่อคืนคนดีสู่สังคมมาแล้วมากกว่า 100,000 ราย สรุปผลการด�ำเนินงานสงเคราะห์ผู้กระท�ำผิดจากมูลนิธิแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิด ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มูลนิธิแก้ไขฟื้นฟูและสงเคราะห์ผู้กระท�ำผิด ได้ให้การสนับสนุนทุนประกอบอาชีพแก่ผู้กระท�ำผิด ในระบบงานคุมประพฤติ จ�ำนวน 2 ราย เป็นจ�ำนวนเงินทั้งสิ้น 10,000 บาท เพื่อให้ผู้กระท�ำผิดน�ำทุน ไปประกอบอาชีพเลี้ยงจิ้งหรีดและจ�ำหน่ายไส้กรอกอีสาน

4. การท�ำงานบริการสังคม

งานบริการสังคมเป็นมาตรการเพื่อการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิดประการหนึ่ง ด้วยการให้โอกาส แก่ผกู้ ระท�ำผิดได้ทำ� งานชดใช้สงั คม โดยการมอบหมายงานให้ทำ� ซึง่ ผูก้ ระท�ำผิดจะไม่ได้รบั ค่าตอบแทนใดๆ แต่ขณะเดียวกันการได้ท�ำประโยชน์เพื่อสังคมส่งผลให้ผู้กระท�ำผิดเกิดความรู้สึกว่า ตนเองยังมีคุณค่า ทั้ ง การท� ำ งานจะช่ ว ยเสริ ม สร้า งประสบการณ์ แ ละให้ โ อกาสผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ได้ ฝ ึ ก หั ด เรี ย นรู ้ ทดสอบ ความสามารถ พัฒนาความมีวินัย ความรับผิดชอบ เสริมสร้างสมาธิ ทักษะในการท�ำงาน รวมทั้งการสร้าง สัมพันธภาพระหว่างบุคคลโดยผู้ที่ต้องท�ำงานบริการสังคมในความดูแลรับผิดชอบของกรมคุมประพฤติ ประกอบด้วย 1. ผู้กระท�ำผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 56 2. ผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 มาตรา 23 (4) 3. ผู้กระท�ำผิดที่ศาลพิพากษาลงโทษปรับแต่ผู้กระท�ำผิดไม่มีเงินช�ำระค่าปรับตามประมวลกฎหมาย อาญามาตรา 30/1 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กรมคุมประพฤติได้ดำ� เนินการบริหารจัดการให้ผกู้ ระท�ำผิดท�ำงานบริการ สังคมแบบรายบุคคล และแบบกลุม่ จ�ำนวน 47,029 คน รวมจ�ำนวนชัว่ โมงการท�ำงานบริการสังคม 690,502 ชั่วโมง และยังบริหารจัดการให้ผู้กระท�ำผิดท�ำงานบริการสังคมภายใต้ความร่วมมือจากภาคประชาสังคม ได้แก่ อาสาสมัครคุมประพฤติ เครือข่ายยุตธิ รรมชุมชน หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนทีไ่ ม่แสวงหาผลก�ำไรหรือ รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

28


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการ

ผลประโยชน์ทางการเมือง ซึ่งบุคคล/องค์กรเหล่านี้เข้ามาเป็นผู้สนับสนุนงานบริการสังคมในลักษณะ การบริหารจัดการ รวมทั้งร่วมเป็นหน่วยงานภาคีบริการสังคม โดยปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มีหน่วยงาน ภาคีบริการสังคมทั่วประเทศ จ�ำนวน 18,210 แห่งที่มีบทบาทในการช่วยจัดให้ผู้กระท�ำผิดท�ำงานบริการ สังคม ก่อให้เกิดผลการด�ำเนินงานบริการสังคมแบบรายบุคคล จ�ำนวน 39,402 คน รวมจ�ำนวนชั่วโมง การท�ำงานบริการสังคม 649,065 ชั่วโมง จ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานบริการสังคมและประเภทงานบริการสังคม แบบรายบุคคล และแบบกลุ่ม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 (จ�ำนวนชั่วโมงท�ำงาน) วา มส ะอ

าด

515,425 532,798

ฝม าน ง/ง

31,466 28,207

งส แต

ตก ิจา

คโล

หิต

งาน

17,394 13,537 98,003 42,221

อื่น

บร

งาน

บร

ิกา

รช

วย

เหล

ือ/ง

วน

าน

ชา

พัฒ

นา

ือ

/ท

ำค

28,214 32,302

0

10

100

จำนวนชั่วโมงที่สำนักงานฯ จัดใหทำ จำนวนชั่วโมงที่หนวยงานภาคีจัดใหทำ

1,000

10,000

10o,000

1,000,000

รวม จำนวนชั่วโมงที่สำนักงานฯ จัดใหทำ 690,502 ชั่วโมง จำนวนชั่วโมงที่หนวยงานภาคีจัดใหทำ 649,065 ชั่วโมง

ผลสัมฤทธิ์ที่สังคมได้รับจากการท�ำงานบริการสังคม 1. สถานที่จัดกิจกรรมสาธารณประโยชน์ได้รับการพัฒนา โดยการท�ำความสะอาดและปรับภูมิทัศน์ ให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย 2. สภาพแวดล้อมในชุมชนได้รับการดูแลและฟื้นฟู ซึ่งท�ำให้ไม่เกิดมลพิษที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ และสุขอนามัยของชุมชน 3. มี การอนุรักษ์ทรัพ ยากรธรรมชาติ ได้แก่ การปลูกป่า การบ�ำรุงรักษาสวนป่า การป้องกัน แนวกันไฟป่า และการสร้างฝายชะลอน�้ำ 4. การช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยในโรงพยาบาลและการบริจาคโลหิต ท�ำให้ได้ปริมาณโลหิตจ�ำนวนกว่า 900,000 ซีซี ส�ำหรับการช่วยเหลือผู้ป่วยและผู้ที่ประสบอุบัติเหตุ 5. องค์กรภาครัฐและองค์กรภาคประชาสังคมได้รับการสนับสนุน และช่วยเหลือจากการด�ำเนินงาน ตามภารกิจ เช่น งานจัดเก็บเอกสาร งานซ่อมแซมวัสดุครุภัณฑ์ งานซ่อมคอมพิวเตอร์ งานสอนหนังสือ งานอาสาจราจร เป็นต้น รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

29


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

5. การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน

กรมคุมประพฤติได้น�ำภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในภารกิจ ดังนี้ 5.1 งานอาสาสมัครคุมประพฤติ งานอาสาสมัครคุมประพฤติ มีหลักการอยู่บนพื้นฐานแนวความคิดการมีส่วนร่วมของประชาชน ซึ่งกรมคุมประพฤติมุ่งส่งเสริมให้ประชาชนที่มีความสนใจ เสียสละ มีคุณสมบัติเหมาะสมสมัครเข้ามา มีสว่ นร่วมในการด�ำเนินงาน แสวงหาข้อเท็จจริง การติดตาม การสอดส่อง รวมทัง้ การแก้ไขฟืน้ ฟูผกู้ ระท�ำผิด ตลอดจนกิจกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการคืนคนดีสู่สังคม อาสาสมัครคุมประพฤติ (อ.ส.ค.) ในปัจจุบัน มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 22,967 คน มีศูนย์ประสานงานอาสาสมัครคุมประพฤติ จ�ำนวน 709 ศูนย์ ผลการด�ำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของอาสาสมัครคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม มีดังนี้ 1. การปฏิบตั งิ านด้านคดีสบื เสาะข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 56 จ�ำนวน 871 คดี 2. การปฏิบัติงานแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิด จ�ำนวน 6,599 คดี 3. คดีฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตาม พ.ร.บ.ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด จ�ำนวน 1,638 คดี 4. การติดตามผล/ช่วยเหลือผู้พ้นการคุมความประพฤติ จ�ำนวน 1,305 คดี และผู้ผ่านการฟื้นฟู สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด จ�ำนวน 75 คดี 5.2 โครงการเครือข่ายยุติธรรมชุมชน โครงการเครือข่ายยุติธรรมชุมชนได้ด�ำเนินงานมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 จนถึงปัจจุบัน โดยเปิด โอกาสให้ประชาชนในชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมกับกระทรวงยุติธรรมในฐานะเป็นหุ้นส่วนและมีบทบาท ในการด�ำเนินงาน เช่น การป้องกันและแก้ไขอาชญากรรม การแก้ไขและฟื้นฟูและช่วยเหลือสงเคราะห์ ผู้กระท�ำผิด การลดข้อพิพาทความขัดแย้งในชุมชน เป็นต้น โดยกรมคุมประพฤติได้อบรมพัฒนาให้ความรู้ ความเข้าใจแก่สมาชิกเครือข่ายยุตธิ รรมชุมชนเกีย่ วกับบทบาทภารกิจของกระทรวงยุตธิ รรมอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ เพิม่ ศักยภาพในการปฏิบตั งิ านร่วมกับภาครัฐให้ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ นอกจากนีไ้ ด้มกี ารรวมตัว ของสมาชิกเครือข่ายยุตธิ รรมชุมชนในการจัดตัง้ ศูนย์ยตุ ธิ รรมชุมชน เพือ่ เป็นการบูรณาการการท�ำงานร่วมกัน ระหว่างภาครัฐกับเอกชนในการสร้างความเข้มแข็ง ความเป็นธรรมและความสงบสุขแก่ชุมชนและสังคม ต่อไป ปัจจุบันมีสมาชิกเครือข่ายยุติธรรมชุมชนจ�ำนวนทั้งสิ้น 60,877 คน มีการจัดตั้งศูนย์ยุติธรรมชุมชน จ�ำนวน 636 แห่ง โดยเป็นศูนย์ยุติธรรมชุมชนเข้มแข็ง จ�ำนวน 360 แห่ง

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

30


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการ

ผลการด�ำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของเครือข่ายยุติธรรมชุมชน มีดังนี้ 1. การให้ข้อมูลเพื่อหาข้อเท็จจริงเบื้องต้นในขั้นตอนการสืบเสาะและตรวจพิสูจน์ โดยมีเครือข่ายฯ จ�ำนวน 4,541 คน จ�ำนวน 1,945 คดี 2. การแก้ไขฟืน้ ฟูผกู้ ระท�ำผิด เครือข่ายยุตธิ รรมชุมชน จ�ำนวน 11,889 คน ปฏิบตั งิ าน จ�ำนวน 17,267 เรือ่ ง 3. การช่วยเหลือและสงเคราะห์ผกู้ ระท�ำผิดภายหลังปล่อย/ภายหลังพ้นคุมความประพฤติเครือข่ายฯ จ�ำนวน 6,223 คน จ�ำนวน 770 เรื่อง 4. การให้คำ� แนะน�ำเพือ่ ลดข้อพิพาทและความขัดแย้งในชุมชนเครือข่ายยุตธิ รรมชุมชน จ�ำนวน 1,519 คน ปฏิบัติงาน จ�ำนวน 1,103 เรื่อง 5. ปฏิบตั งิ านทีศ่ นู ย์ยตุ ธิ รรมชุมชน จ�ำนวน 612 แห่ง โดยเป็นศูนย์ยตุ ธิ รรมชุมชนเข้มแข็ง จ�ำนวน 360 แห่ง

การตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกรมคุมประพฤติ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

การตรวจราชการกรมคุมประพฤติ เป็นการด�ำเนินการตามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการ ตรวจราชการ พ.ศ. 2548 ซึ่งก�ำหนดวัตถุประสงค์ในการตรวจราชการไว้ ดังนี้ (1) เพื่อชี้แจง แนะน�ำ หรือท�ำความเข้าใจกับหน่วยงานของรัฐและเจ้าหน้าที่ของรัฐเกี่ยวกับแนวทาง และการปฏิบตั งิ านหรือการจัดท�ำภารกิจตามนโยบายของรัฐบาล และแผนต่างๆ ของชาติและของหน่วยงาน ของรัฐ (2) เพือ่ ตรวจติดตามว่า หน่วยงานของรัฐได้ปฏิบตั ถิ กู ต้องตามกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับประกาศ มติของคณะรัฐมนตรีและค�ำสั่งของนายกรัฐมนตรี ว่าเป็นไปตามความมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ตามนโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการบริหารราชการ แผ่นดิน แผนหรือยุทธศาสตร์ใดๆ ที่ก�ำหนดเป็นยุทธศาสตร์ชาติ หรือวาระแห่งชาติหรือไม่ (3) เพื่อติดตามความก้าวหน้า ปัญหา และอุปสรรค รวมทั้งประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและ ความคุ้มค่าในการปฏิบัติงานหรือการจัดท�ำภารกิจของหน่วยงานของรัฐ (4) เพื่อสดับตรับฟังทุกข์ สุข ความคิดเห็นและความต้องการของเจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชน (5) เพื่อแสวงหาข้อเท็จจริงและสืบสวน สอบสวนเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์ในพื้นที่

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

31


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

สรุปผลการตรวจราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ผู้ตรวจราชการกรมคุมประพฤติได้ด�ำเนินการตรวจราชการหน่วยรับการตรวจตามแผนการตรวจ ราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 โดยแบ่งเขตการตรวจราชการตามค�ำสั่งกรมคุมประพฤติ ที่ 423/2560 ลงวันที่ 12 ตุลาคม 2560 ให้สอดคล้องกับค�ำสั่งส�ำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 97/2554 ลงวันที่ 12 พฤษภาคม 2554 ซึ่งแบ่งเป็นเขตการตรวจราชการ ออกเป็น 18 เขต ประกอบด้วย ส�ำนักงาน คุมประพฤติส่วนกลาง ได้แก่ ส�ำนักงานคุมประพฤติกรุงเทพมหานคร 1 - 12 และศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผูต้ ดิ ยาเสพติด ส�ำนักงานคุมประพฤติสว่ นภูมภิ าค ได้แก่ ส�ำนักงานคุมประพฤติจงั หวัด/สาขาในส่วนภูมภิ าค รวมทั้งสิ้น จ�ำนวน 119 แห่ง การตรวจราชการด�ำเนินการเป็น 2 ช่วง ช่วงแรกระหว่างไตรมาสที่ 1 - 3 เป็นการตรวจราชการปกติ โดยด�ำเนินการตรวจราชการครบทุกส�ำนักงานฯ ช่วงที ่ 2 ในไตรมาสที ่ 4 เป็นการตรวจติดตามผลการด�ำเนินการ ตามค�ำแนะน�ำของผูต้ รวจราชการโดยการลงพืน้ ทีแ่ ละให้ส�ำนักงานฯรายงานผลการด�ำเนินงานตามค�ำแนะน�ำ ของผู้ตรวจราชการเป็นหนังสือ สรุปผลการตรวจราชการได้ดังนี้

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

32


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการ

1. การด�ำเนินการตามภารกิจกรมคุมประพฤติ การบริ ห ารจั ด การคดี และการด� ำ เนิ น การ ตามมาตรฐาน ส�ำนักงานฯ ด�ำเนินการตามมาตรฐาน การปฏิบัติงานและแนวทางที่ ก รมคุ ม ประพฤติ ก� ำ หนด มี ก ารประเมิ น คั ด กรองผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ก่ อ นศาลมี ค� ำ พิ พ ากษาคดี ที่ เ ข้ า หลั ก เกณฑ์ มีการน�ำกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์มาใช้ ในการปฏิบัติงาน ซึ่งท�ำให้คดีสืบเสาะและพินิจ มีมาตรฐานและสร้างความน่าเชือ่ ถือต่อศาล ส่วนงาน ควบคุมและสอดส่องมีการจ�ำแนกและด�ำเนินการ แก้ ไ ขฟื ้ น ฟู ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ ระดั บ ความเสี่ ย ง และปัญหาความต้องการ โดยท�ำงานร่วมกับอาสาสมัคร คุมประพฤติ แ ละบู ร ณาการกั บ หน่ ว ยงานภาคี ในพื้นที่ 2. การด�ำเนินการตามนโยบายกระทรวยุตธิ รรม ส� ำ นั ก งานฯทุ ก แห่ ง ด� ำ เนิ น โครงการต่ า งๆ ตามนโยบายกระทรวงยุตธิ รรม เช่น โครงการก�ำลังใจ ในพระด�ำริพระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าพัชรกิตยิ าภา โครงการสร้างงาน สร้างอาชีพ บ้านสงเคราะห์ คุมประพฤติ (บ้านกึง่ วิถ)ี การขับเคลือ่ นงานยุตธิ รรม จั ง หวั ด และการจั ด ท� ำ ค� ำ สั่ ง เสนอผู ้ ว ่ า ราชการ จังหวัดแต่งตัง้ คณะกรรมการพัฒนาการบริหารงาน ยุติธรรมระดับจังหวัด (กพยจ.) โรงเรียนยุติธรรม อุปถัมภ์ โดยการด�ำเนินการจะบูรณาการร่วมกับ หน่วยงานภาคีทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง ในพื้นที่

3. สภาพปัญหา ข้อขัดข้อง พร้อมข้อเสนอแนะ ปัญหาข้อขัดข้องในการปฏิบตั งิ านของส�ำนักงานฯ ส่วนใหญ่ได้แก่ อัตราก�ำลัง งบประมาณ อาคาร สถานที่ ยานพาหนะ วั ส ดุ ค รุ ภั ณ ฑ์ กฎหมาย กฎระเบี ย บหนั ง สื อ เวี ย นที่ ไ ม่ เ อื้ อ ต่ อ การปฏิ บั ติ งานและระบบสารสนเทศ ผู้ตรวจราชการจะให้ ค� ำ แนะน� ำ หรื อ ช่ ว ยแก้ ไ ขปั ญ หาในเบื้ อ งต้ น ส่ ว นปั ญ หาที่ ต ้ อ งได้ รั บ การแก้ ไ ขในระดั บ กรม ผู้ตรวจราชการจะเสนอให้ผ้บู ริหารและกอง/ส�ำนัก ที่เกี่ยวข้องทราบเพื่อด�ำเนินการหาแนวทางแก้ไข ปัญหาต่อไป

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

33


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

4. สรุปผลการด�ำเนินงานเกีย่ วกับเรือ่ งร้องเรียน ร้องทุกข์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มีเรื่องร้องเรียน ที่ผู้ตรวจราชการรับด�ำเนินการสดับตรับฟังและ สอบสวนข้อเท็จจริง จ�ำนวน 9 เรื่อง ซึ่งส่วนใหญ่ เป็นกรณีข้อขัดข้องในการปฏิบัติงานและปัญหา ในการบริหารจัดการของส�ำนักงาน 5. สรุ ป ผลส� ำ เร็ จ ของการตรวจราชการ กรมคุมประพฤติ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 5.1 ผู ้ บ ริ ห ารส� ำ นั ก งานฯและเจ้ า หน้ า ที่ ได้รับทราบนโยบายของรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง ยุ ติ ธ รรมและอธิ บ ดี ก รมคุ ม ประพฤติ ไ ด้ ท บทวน ความรู้ความเข้าใจและร่วมกันท�ำงานให้เป็นไป ในทิ ศ ทางเดี ย วกั น และยึ ด มั่ น ในความเป็ น มืออาชีพเพือ่ บรรลุวสิ ยั ทัศน์ “เป็นองค์กรมาตรฐาน ในการสร้างหลักประกันความปลอดภัยของชุมชน จากผูก้ ระท�ำผิดในระบบการคุมประพฤติ”

5.2 ส�ำนักงานฯ ได้รบั ข้อสังเกตและค�ำแนะน�ำ ในการปฏิบัติงานจากผู้ตรวจราชการ โดยเฉพาะ การปฏิ บั ติ ง านด้ า นส� ำ นวนคดี ใ ห้ เ ป็ น ไปตาม มาตรฐานการปฏิ บั ติ ง านของกรมคุ ม ประพฤติ และช่วยสนับสนุนพนักงานคุมประพฤติให้สามารถ บริหารจัดการส�ำนวนคดีได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีปริมาณคดีคั่งค้างในภาพรวมลดลง 5.3 ผู้ตรวจราชการได้รับทราบข้อร้องเรียน ร้ อ งทุ ก ข์ ข องเจ้ า หน้ า ที่ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านในระดั บ พื้นที่และด�ำเนินการสดับตรับฟังกรณีร้องเรียน กับผู้เกี่ยวข้องครบถ้วนทุกด้าน ตลอดทั้งมีการ สือ่ สารจนเกิดความเข้าใจระหว่างกัน และน�ำความ เห็นเสนอต่อผู้บริหารเพื่อพิจารณาสั่งการ 5.4 การตรวจราชการเป็นการสร้างขวัญก�ำลังใจ แก่ผบู้ ริหารส�ำนักงานฯ และเจ้าหน้าทีใ่ นการท�ำงาน ภายใต้ข้อจ�ำกัดด้านต่างๆ ส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ ยึดมั่นในวัฒนธรรมองค์กร คุณธรรมและจริยธรรม ในหน่วยงาน สร้างความสามัคคีและรักองค์กร มากขึ้น

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

34


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการ

การตรวจสอบของกลุ่มตรวจสอบภายในกรมคุมประพฤติ

งานตรวจสอบภายในกรมคุมประพฤติมภี ารกิจในงานตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ของหน่วยงานในสังกัดกรมคุมประพฤติ กลุ ่ ม ตรวจสอบภายใน มี ห น้ า ที่ ต รวจสอบการด� ำ เนิ น งานและสนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง าน ของกรมคุมประพฤติ ซึ่งรับผิดชอบงานขึ้นตรงต่ออธิบดีกรมคุมประพฤติ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน ได้มีการให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ เพื่อปรับปรุงการด�ำเนินงานของหน่วยงานให้เกิดความคุ้มค่า มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น 1. สรุปผลการตรวจสอบของกลุ่มตรวจสอบภายใน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 การตรวจสอบด้านการเงิน การบัญ ชีและการพัส ดุของหน่วยงานในสังกัดกรมคุมประพฤติ ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคในประเด็น ดังนี้ 1.1.1 การแต่งตั้งคณะกรรมการเก็บรักษาเงิน 1.1.2 เงินทดรองราชการ 1.1.3 การยืมเงิน 1.1.4 ใบเสร็จรับเงิน 1.1.5 การเบิกจ่ายเงินไม่เป็นไปตามระเบียบที่ก�ำหนด 1.1.6 การปฏิบัติงานด้านการจัดซื้อจัดจ้าง 1.1.7 การควบคุมพัสดุ 1.1.8 การตรวจนับพัสดุประจ�ำปี 2. ผลการติดตามการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของกลุ่มตรวจสอบภายใน ผลการติดตามการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของกลุ่มตรวจสอบภายในพบว่า หน่วยงานสังกัด กรมคุมประพฤติในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคได้ปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของกลุ่มตรวจสอบภายใน คิดเป็นร้อยละ 96.17 % 3. ผลส�ำเร็จของการตรวจสอบภายใน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 หน่วยงานสังกัดกรมคุมประพฤติในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคได้รับข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ ในการปฏิบัติงานด้านการเงิน การบัญชีและการพัสดุจากผู้ตรวจสอบภายในท�ำให้ปฏิบัติงานเป็นไป ตามกฎ ระเบี ย บและข้ อ บั ง คั บ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง รวมทั้ ง เจ้ า หน้ า ที่ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านของหน่ ว ยงานในสั ง กั ด กรมคุมประพฤติในส่วนกลางและส่วนภูมภิ าคสามารถแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องในการปฏิบตั งิ านด้านการเงิน การบัญชีและการพัสดุของหน่วยงานสังกัดกรมคุมประพฤติในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

35



ส่วนที่ 3 รายงานการเงิน

Finance DEPARTMENT OF PROBATION ANNUAL REPORT 2018 กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม รายงานประจ�ำปี 2561


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม งบแสดงฐานะการเงิน

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561

หมายเหตุ

2561

(หน่วย : บาท) 2560

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 5 306,693,991.92 252,568,176.99 ลูกหนี้ระยะสั้น 6 27,272,360.01 23,260,774.61 วัสดุคงเหลือ 9,058,313.80 10,270,249.81 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 343,024,665.73 286,099,201.41 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 7 495,138,757.66 512,072,089.54 สินทรัพย์โครงสร้างพื้นฐาน 8 192,866.04 210,714.95 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน 9 (41,667.76) (41,667.76) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 123,379.13 123,379.13 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 495,413,335.07 512,364,515.86 รวมสินทรัพย์ 838,438,000.80 798,463,717.27 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

38


ส่วนที่ 3 รายงานการเงิน

กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม งบแสดงฐานะการเงิน

ณ วันที่ 30 กันยายน 2561

หมายเหตุ

2561

(หน่วย : บาท) 2560

หนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้ระยะสั้น 10 69,666,779.41 58,973,069.02 เงินรับฝากระยะสั้น 11 111,620,819.66 74,183,944.43 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 1,601,862.48 1,587,344.90 รวมหนี้สินหมุนเวียน 182,889,461.55 134,744,358.35 หนี้สินไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้เงินโอนและรายการอุดหนุนระยะยาว 2,378,054.21 3,306,811.69 เงินทดรองราชการรับจากคลังระยะยาว 2,821,500.00 2,821,500.00 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 5,199,554.21 6,128,311.69 รวมหนี้สิน 188,089,015.76 140,872,670.04 สินทรัพย์สุทธิ/ส่วนทุน 650,348,985.04 657,591,047.23 สินทรัพย์สุทธิ/ส่วนทุน หนี้สินหมุนเวียน ทุน 317,822,241.46 317,822,241.46 รายได้สูง/(ต�่ำ)กว่าค่าใช้จ่ายสะสม 12 332,526,743.58 339,768,805.77 รวมสินทรัพย์สุทธิ/ส่วนทุน 650,348,985.04 657,591,047.23 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

39


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม งบแสดงผลการด�ำเนินงานทางการเงิน

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2561

หมายเหตุ

2561

(หน่วย : บาท) 2560

รายได้ รายได้จากงบประมาณ 13 1,786,642,586.66 1,758,239,591.41 รายได้จากการขายสินค้าและบริการ 61,174.00 1,796,106.98 รายได้จากการอุดหนุนและบริจาค 105,940,584.55 173,098,767.21 รายได้อื่น 5,450.00 2,160.00 รวมรายได้ 1,892,649,795.21 1,933,136,625.60 ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายบุคลากร 14 1,262,057,913.72 1,220,905,276.07 ค่าบ�ำเหน็จบ�ำนาญ 15 50,392,170.25 41,551,744.77 ค่าตอบแทน 16 5,436,264.50 12,331,387.50 ค่าใช้สอย 17 374,659,363.87 367,110,325.32 ค่าวัสดุ 18 66,974,886.49 85,595,819.68 ค่าสาธารณูปโภค 19 48,949,138.61 47,377,425.54 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย 20 48,782,954.35 40,777,047.07 ค่าใช้จ่ายจากการอุดหนุนและบริจาค 21 20,838,399.17 16,612,198.38 ค่าใช้จ่ายอื่น (1,445,831.21) (187,161.60) รวมค่าใช้จ่าย 1,876,645,259.75 1,832,074,062.73 รายได้สูง/(ต�่ำ)กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ 16,004,535.46 101,062,562.87 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

40


ส่วนที่ 3 รายงานการเงิน

กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม รายงานรายได้แผ่นดิน

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2561

หมายเหตุ

2561

(หน่วย : บาท) 2560

รายได้แผ่นดินที่จัดเก็บ รายได้แผ่นดิน-นอกจากภาษี 15,475,430.05 17,097,410.57 หัก รายได้แผ่นดินถอนคืนจากคลัง 306.45 - รวมรายได้แผ่นดินที่จัดเก็บ 15,475,123.60 17,097,410.57 รายได้แผ่นดินน�ำส่งคลัง 17,966,077.60 17,130,226.57 รายได้แผ่นดินรอน�ำส่งคลัง (2,490,954.00) (32,816.00) ปรับ รายได้แผ่นดินรอน�ำส่งคลัง - - รายการรายได้แผ่นดินสุทธิ (2,490,954.00) (32,816.00) รายได้แผ่นดิน-นอกจากภาษี รายได้จากการขายสินค้าและบริการ 507,586.22 985,796.11 รายได้ดอกเบี้ยเงินฝากที่สถาบันการเงิน 253,383.78 93,429.12 รายได้อื่น 14,714,460.05 16,018,185.34 รวม รายได้แผ่นดิน-นอกจากภาษี 15,475,430.05 17,097,410.57 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

41


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม รายงานฐานะเงินงบประมาณรายจ่ายปีปัจจุบันและปีก่อน

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2561 รายงานฐานะเงินงบประมาณรายจ่าย ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 รายการ

งบสุทธิ

การส�ำรอง เงิน

แผนงบประมาณ 2561 งบบุคลากร 1,067,979,433.23 งบด�ำเนินงาน 490,761,464.84 งบลงทุน 59,361,890.08 งบอุดหนุน 6,487,500.00 665,607.75 งบรายจ่ายอื่น 1,806.45 รวม 1,624,592,094.60 665,607.75 งบประมาณเบิกแทนกัน (ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม) งบด�ำเนินงาน 7,329,892.56 งบรายจ่ายอื่น 66,247,035.48 งบลงทุน 481,700.00 รวม 74,058,628.04 งบประมาณเบิกแทนกัน (กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ) งบด�ำเนินงาน 11,434,238.23 งบรายจ่ายอื่น 1,622,945.00 รวม 13,057,183.23 รวมเบิกแทนส่วน 87,115,811.27 ราชการอื่น รวมทั้งสิ้น 1,711,707,905.87 665,607.75

ใบสั่งซื้อ/ สัญญา

เบิกจ่าย

คงเหลือ

- 1,068,899,694.20 37,224,465.47 437,774,470.92 10,490,700.00 43,416,273.24 5,767,209.25 1,806.45 47,715,165.47 1,555,859,454.06

(920,260.97) 15,762,528.45 5,454,916.84 54,683.00 20,351,867.32

-

7,322,366.62 65,725,903.00 481,700.00 73,529,969.62

7,525.94 521,132.48 528,658.42

-

11,281,112.32 1,495,668.52 12,776,780.84 86,306,750.46

153,125.91 127,276.48 280,402.39 809,060.81

47,715,165.47 1,642,166,204.52

21,160,928.13

รายงานฐานะเงินงบประมาณรายจ่ายจากเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี ก่อนปีงบประมาณ พ.ศ.2561 รายการ

แผนงบประมาณ ก่อนปี 2561 งบด�ำเนินงาน งบอุดหนุน งบลงทุน งบรายจ่ายอื่น รวม

งบสุทธิ

เบิกจ่าย

15,024,563.00 1,779,114.00 13,653,000.00 2,050,000.00 32,506,677.00 รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

15,022,563.00 1,774,941.00 1,115,000.00 17,912,504.00

42

คงเหลือ

2,000.00 4,173.00 13,653,000.00 935,000.00 14,594,173.00


ส่วนที่ 3 รายงานการเงิน

กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม รายงานฐานะเงินงบประมาณรายจ่ายปีปัจจุบันและปีก่อน

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2561 รายงานฐานะเงินงบประมาณรายจ่าย ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 การส�ำรอง ใบสั่งซื้อ/ รายการ งบสุทธิ เบิกจ่าย คงเหลือ สัญญา เงิน

แผนงบประมาณ 2560 งบบุคลากร 1,012,908,899.79 งบด�ำเนินงาน 565,721,589.26 4,646,000.00 งบลงทุน 36,250,162.14 งบอุดหนุน 11,937,100.00 1,779,114.00 งบรายจ่ายอื่น 4667.74 รวม 1,626,822,418.93 6,425,114.00 งบประมาณเบิกแทนกัน (ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม) งบด�ำเนินงาน 4,613,604.04 งบรายจ่ายอื่น 70,838,074.24 1,700,000.00 รวม 75,451,678.28 1,700,000.00 งบประมาณเบิกแทนกัน (กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ) งบด�ำเนินงาน 10,375,527.01 งบรายจ่ายอื่น 1,590,918.00 รวม 11,966,445.01 รวมเบิกแทนส่วน 87,418,123.29 1,700,000.00 ราชการอื่น รวมทั้งสิ้น 1,714,240,542.22 8,125,114.00

- 1,012,984,749.79 -75,850.00 10,416,811.81 406,259,327.22 144,399,450.23 36,228,319.84 21,842.30 10,066,409.60 91,576.40 4667.74 10,416,811.81 1,465,543,474.19 144,437,018.93 350,000.00 350,000.00

4,548,587.60 66,052,265.48 70,600,853.08

65,016.44 2,735,808.76 2,800,825.20

350,000.00

10,216,792.27 1,576,311.52 11,793,103.79 82,393,956.87

158,734.74 14,606.48 173,341.22 2,974,166.42

10,766,811.81 1,547,937,431.06 147,411,185.35

รายงานฐานะเงินงบประมาณรายจ่ายจากเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี ก่อนปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 รายการ

แผนงบประมาณ ก่อนปี 2560 งบด�ำเนินงาน งบลงทุน งบอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น รวม

งบสุทธิ

เบิกจ่าย

26,287,274.01 1,337,575.00 51,303,624.00 200,000.00 79,128,473.01

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

24,842,921.03 1,315,861.00 37,650,624.00 200,000.00 64,009,406.03

43

คงเหลือ

1,444,352.98 21,714.00 13,653,000.00 15,119,066.98


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม หมายเหตุประกอบงบการเงิน

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2561

หมายเหตุ 1 ข้อมูลทั่วไป

หมายเหตุ 2 เกณฑ์การจัดท�ำรายงานการเงิน

ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2561 กรมคุมประพฤติได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี จ�ำนวน 2,041,717,600.00 บาท (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 จ�ำนวน 2,177,146,300.00 บาท) ได้รับ งบกลางรายการเงินเลือ่ นเงินเดือนและเงินปรับวุฒขิ า้ ราชการ จ�ำนวน 46,162,833.23 บาท โอนให้หน่วยงาน พหุภาคี จ�ำนวน 441,266,538.63 บาท และมีพระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจ่ายคืนงบลงทุน จ�ำนวน 22,021,800.00 บาท คงเหลืองบประมาณ จ�ำนวน 1,624,592,094.60 บาท โดยแยกเป็นงบลงทุน จ�ำนวน 59,361,890.08 บาท และงบประจ�ำ จ�ำนวน 1,565,230,204.52 บาท เพือ่ ใช้จา่ ยในแผนงานบุคลากร ภาครัฐ แผนงานพื้นฐานด้านความมั่นคง แผนงานพื้นฐานด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหาร แผนงานบูรณาการป้องกัน ปราบปราม และบ�ำบัดผู้ติดยาเสพติด และแผนงานบูรณาการปฏิรูปกฎหมาย และพัฒนากระบวนการยุติธรรม อนึ่ง หน่วยงานได้รับงบประมาณเบิกแทนกันจาก 2 หน่วยงาน เป็นเงินจ�ำนวน 87,115,811.27 บาท รวมงบประมาณ (สุทธิ) จ�ำนวน 1,711,707,905.87 บาท กรมคุมประพฤติ มีหน่วยงานระดับหน่วยเบิกจ่ายภายใต้สงั กัด จ�ำนวน 111 แห่ง ซึง่ รับผิดชอบบริหาร จัดการเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณทีไ่ ด้รบั จัดสรรในส่วนของแต่ละแห่ง หน่วยเบิกจ่ายดังกล่าว ไม่เป็นหน่วยงานที่เสนอรายงาน และไม่มีการจัดท�ำงบการเงินแยกกัน รายการบัญชีหน่วยเบิกจ่ายทุกแห่ง จึงได้น�ำมาแสดงรวมไว้ในงบการเงินฉบับนี้ งบการเงินนี้จัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานและนโยบายการบัญชีภาครัฐที่กระทรวงการคลังประกาศใช้ ซึ่งรวมถึงหลักการและนโยบายบัญชีส�ำหรับหน่วยงานภาครัฐ มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ และนโยบาย การบัญชีภาครัฐ และแสดงรายการในงบการเงินตามแนวปฏิบัติทางการบัญชีตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0410.3/ว 357 ลงวันที่ 15 สิงหาคม 2561 เรือ่ ง รูปแบบการน�ำเสนอรายงานการเงินของหน่วยงานของรัฐ งบการเงินนี้จัดท�ำขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิม เว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี งบการเงินของกรมคุมประพฤติ ซึ่งถือเป็นหน่วยงานที่เสนอรายงานตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐ รวมรายการบัญชีที่เกิดขึ้นทั้งที่หน่วยงานในส่วนกลางและหน่วยงานในส่วนภูมิภาค

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

44


ส่วนที่ 3 รายงานการเงิน

หมายเหตุ 3 มาตรฐานและนโยบายการบัญชีภาครัฐฉบับใหม่ และมาตรฐานและ นโยบายการบัญชีภาครัฐที่ปรับปรุงใหม่

หมายเหตุ 4 สรุปนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ

ในระหว่างปีปัจจุบัน กระทรวงการคลังได้ก�ำหนดมาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชี ภาครัฐให้หน่วยงานของรัฐที่มิใช่รัฐวิสาหกิจและทุนหมุนเวียนถือปฏิบัติในการจัดท�ำบัญชีและรายงาน การเงิน โดยออก “ประกาศกระทรวงการคลัง เรือ่ งมาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ.ศ. 2561” โดยให้ถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ ดังนี้ - มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 1 เรือ่ ง การน�ำเสนอรายงานการเงิน ถือปฏิบตั ติ งั้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2561 - มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 3 เรื่องนโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการ ทางบัญชี และข้อผิดพลาด ถือปฏิบัติตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2561 - มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 5 เรื่องต้นทุนการกู้ยืม ถือปฏิบัติตั้งแต่วันที่ 1ตุลาคม 2561 - มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 12 เรื่องสินค้า ถือปฏิบัติตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2561 - มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 13 เรื่องสัญญาเช่า ถือปฏิบัติตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2561 - มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 14 เรื่องเหตุการณ์ภายหลังวันที่ในรายงาน ถือปฏิบัติตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2561 - มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 16 เรื่อง อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ถือปฏิบัติตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2561 - มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 17 เรือ่ ง ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ ถือปฏิบตั ติ งั้ แต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2561 - มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 31 เรือ่ ง สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน ถือปฏิบตั ติ งั้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2561 - นโยบายการบัญชีภาครัฐ เรื่อง เงินลงทุน ถือปฏิบัติตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2561 ฝ่ายบริหารเชือ่ ว่ามาตรฐานการบัญชีภาครัฐฉบับใหม่ขา้ งต้นจะไม่มผี ลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญ ต่องบการเงินในงวดปัจจุบัน 4.1 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินทดรองราชการ เป็นเงินที่หน่วยงานได้รับจากรัฐบาลเพื่อทดรองจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายปลีกย่อย ในการด�ำเนินงานของหน่วยงานตามวงเงินที่ได้รับอนุมัติและต้องคืนให้รัฐบาลเมื่อหมดความจ�ำเป็น ในการใช้เงินแสดงไว้เป็นเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ซึ่งมียอดตรงกันข้ามกับรายการเงินทดรอง ราชการรับจากคลังภายใต้หัวข้อหนี้สินไม่หมุนเวียน รายการเทียบเท่าเงินสด ได้แก่ เงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่อง ซึ่งมีระยะเวลาครบก�ำหนด ที่จะเปลี่ยนเป็นเงินสดได้ภายใน 3 เดือน เช่น เงินฝากประจ�ำที่มีก�ำหนดจ่ายคืนไม่เกิน 3 เดือน

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

45


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

4.2 วัสดุคงเหลือ วัสดุคงเหลือ หมายถึง ของใช้สิ้นเปลืองนอกจากสินค้าที่หน่วยงานมีไว้เพื่อใช้ในการด�ำเนินงาน ตามปกติ โดยทั่วไปมีมูลค่าไม่สูงและไม่มีลักษณะคงทนถาวร แสดงตามราคาทุนและตีราคาวัสดุคงเหลือ ด้วยวิธี เข้าก่อนออกก่อน และหน่วยงานบันทึกวัสดุคงคลังเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อซื้อ 4.3 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - ที่ ดิ น ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ที่ ดิ น ราชพั ส ดุ ที่ ห น่ ว ยงานครอบครองและใช้ ป ระโยชน์ แต่ มิ ไ ด้ เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ - อาคารและสิ่งปลูกสร้าง รวมทั้งส่วนปรับปรุงอาคาร ทั้งอาคารและสิ่งปลูกสร้างที่หน่วยงาน มีกรรมสิทธิแ์ ละไม่มกี รรมสิทธิ์ แต่หน่วยงานได้ครอบครองและน�ำมาใช้ประโยชน์ในการด�ำเนินงาน แสดงมูลค่าสุทธิตามบัญชีที่เกิดจากราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม อาคารที่อยู่ระหว่าง การก่อสร้างแสดงตามราคาทุน - อุปกรณ์ ได้แก่ ครุภัณฑ์ประเภทต่างๆ แสดงมูลค่าตามมูลค่าสุทธิตามบัญชีที่เกิดจากราคาทุน หักค่าเสื่อมราคาสะสม ดังนี้ (1) อุปกรณ์ที่ได้มาก่อนปี 2540 ไม่น�ำมาบันทึกบัญชี แต่บันทึกไว้ในทะเบียนคุมสินทรัพย์ (2) อุปกรณ์ทไี่ ด้มาตัง้ แต่ปงี บประมาณ 2540 – 2545 รับรูเ้ ป็นสินทรัพย์เฉพาะรายการทีม่ มี ลู ค่า ต่อหน่วยตั้งแต่ 30,000.00 บาทขึ้นไป (3) อุปกรณ์ทไี่ ด้มาตัง้ แต่ปงี บประมาณ 2546 เป็นต้นไป บันทึกรับรูเ้ ป็นสินทรัพย์เฉพาะรายการ ที่มีมูลค่าต่อหน่วยตั้งแต่ 5,000.00 บาทขึ้นไป - ราคาทุนของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ รวมถึงรายจ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงเพื่อให้สินทรัพย์ อยูใ่ นสถานทีแ่ ละสภาพทีพ่ ร้อมใช้งาน ต้นทุนในการต่อเติมหรือปรับปรุงซึง่ ท�ำให้หน่วยงานได้รบั ประโยชน์ ต ลอดอายุ ก ารใช้ ง านของสิ น ทรั พ ย์ เ พิ่ ม ขึ้ น จากมาตรฐานเดิ ม ถื อ เป็ น ราคาทุ น ของสินทรัพย์ ค่าใช้จา่ ยในการซ่อมแซม ถือเป็นค่าใช้จา่ ยในงบแสดงผลการด�ำเนินงานทางการเงิน - ค่าเสื่อมราคาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบแสดงผลการด�ำเนินงานทางการเงิน ค�ำนวณโดยวิธี เส้นตรงตามอายุการใช้งานที่ก�ำหนดไว้ในหลักการและนโยบายบัญชีภาครัฐฉบับที่ 2 และที่ แก้ไขเพิ่มเติมโดยกรมบัญชีกลาง ดังนี้ อาคารและสิ่งปลูกสร้าง 15 - 40 ปี อุปกรณ์ 2 - 12 ปี 4.4 สินทรัพย์โครงสร้างพื้นฐาน - สินทรัพย์โครงสร้างพืน้ ฐาน หมายถึง สินทรัพย์ทหี่ น่วยงานมีไว้เพือ่ ให้บริการแก่สาธารณะ ได้แก่ ถนน หน่วยงานแสดงสินทรัพย์โครงสร้างพื้นฐานด้วยมูลค่าสุทธิตามบัญชี - ค่าเสื่อมราคาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบแสดงผลการด�ำเนินงานทางการเงิน ค�ำนวณโดยวิธี เส้นตรงตามอายุการใช้งานที่ก�ำหนดไว้ในหลักการและนโยบายบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 2 ดังนี้ ถนนพื้นคอนกรีต 20 ปี - ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาส�ำหรับสินทรัพย์โครงสร้างพื้นฐานระหว่างก่อสร้าง รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

46


ส่วนที่ 3 รายงานการเงิน

4.5 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สินทรัพย์ไม่มีตัวตน แสดงมูลค่าด้วยมูลค่าสุทธิตามบัญชี - ค่าตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนบันทึกเป็นค่าใช้จา่ ยในงบแสดงผลการด�ำเนินงานทางการเงิน โดยวิธีเส้นตรงตามอายุการให้ประโยชน์โดยประมาณ ดังนี้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3 - 5 ปี 4.6 รายได้รอการรับรู้ระยะยาว รายได้รอการรับรูร้ ะยะยาว เป็นสินทรัพย์ทหี่ น่วยงานได้รบั ความช่วยเหลือจากรัฐบาลต่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศ หรือบุคคลใด ๆ เพือ่ สนับสนุนการด�ำเนินงานของหน่วยงานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ และสินทรัพย์รบั บริจาค โดยมีผมู้ อบให้หน่วยงานไว้ใช้ในการด�ำเนินงาน รวมทัง้ การได้รบั เงินสดทีม่ เี งือ่ นไข เป็นข้อจ�ำกัดในการใช้จา่ ยเงิน ซึง่ หน่วยงานยังไม่อาจรับรูเ้ ป็นรายได้ บันทึกเป็นหนีส้ นิ ไม่หมุนเวียนรายการ เจ้าหนี้เงินโอนและรายการอุดหนุนระยะยาวในงบแสดงฐานะการเงิน รายได้รอการรับรู้จะถูกทยอยตัดบัญชีเพื่อรับรู้รายได้ตามเกณฑ์ที่เป็นระบบและสมเหตุสมผล ตลอดระยะเวลาที่จ�ำเป็น เพื่อจับคู่รายได้กับค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง เช่น ทยอยรับรู้รายได้ตามเกณฑ์สัดส่วน ของค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ที่ได้รับความช่วยเหลือหรือรับบริจาค 4.7 รายได้จากเงินงบประมาณ รายได้จากเงินงบประมาณรับรู้ตามเกณฑ์มีดังนี้ 1. เมื่อยื่นค�ำขอเบิกเงินจากกรมบัญชีกลาง ในกรณีเป็นการขอรับเงินเข้าบัญชีหน่วยงาน 2. เมื่ออนุมัติจ่ายเงินให้กับผู้มีสิทธิได้รับเงินแล้ว ในกรณีเป็นการจ่ายตรงให้กับผู้มีสิทธิรับเงิน 3. เมื่อยื่นค�ำขอเบิกเงินจากกรมบัญชีกลาง ในกรณีเป็นการเบิกหักผลักส่งไม่รับตัวเงิน หน่วยงานแสดงรายได้จากเงินงบประมาณในงบแสดงผลการด�ำเนินงานทางการเงินตามจ�ำนวนเงิน งบประมาณที่ ข อเบิ ก สุ ท ธิ จ ากเงิ น งบประมาณเบิ ก เกิ น ส่ ง คื น งบประมาณเบิ ก แทนกั น แสดงรายได้ จากเงินงบประมาณในงบแสดงผลการด�ำเนินงานทางการเงินของหน่วยงานผู้เบิกแทน 4.8 รายได้แผ่นดิน รายได้แผ่นดินเป็นรายได้ที่หน่วยงานไม่สามารถน�ำมาใช้จ่ายในการด�ำเนินงานรับรู้เมื่อเกิดรายได้ ด้วยยอดสุทธิหลังจากหักส่วนที่จัดสรรเป็นเงินนอกงบประมาณตามที่ได้รับการยกเว้น รายได้แผ่นดิน และรายได้แผ่นดินน�ำส่งคลังไม่ต้องแสดงเป็นรายได้และค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน แต่แสดงไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินเป็นรายงานแยกต่างหาก 4.9 รายได้จากการอุดหนุนและบริจาค รายได้จากเงินโอนและเงินบริจาคจากบุคคลอื่นนอกจากหน่วยงานภาครัฐรับรู้เมื่อได้รับเงิน ยกเว้น ในกรณีที่มีเงื่อนไขเป็นข้อจ�ำกัดที่ต้องปฏิบัติตามในการใช้จ่ายเงิน หรือได้รับความช่วยเหลือ และบริจาค เป็นสินทรัพย์ที่ให้ประโยชน์แก่หน่วยงานเกินหนึ่งปี จะทยอยรับรู้เป็นรายได้ตามสัดส่วนของค่าใช้จ่าย เพื่อการนั้นเกิดขึ้น หรือเกณฑ์การค�ำนวณค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ที่ได้รับตลอดอายุของสินทรัพย์นั้น

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

47


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

หมายเหตุ 5 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 2561

(หน่วย:บาท) 2560

5,665,229.37 2,821,500.00 175,402,100.91 44,215,793.81 78,589,367.83 306,693,991.92

5,952,837.14 2,821,500.00 156,189,396.52 775,000.00 86,829,443.33 252,568,176.99

เงินสดในมือ เงินทดรองราชการ เงินฝากสถาบันการเงิน เงินฝากประจ�ำที่มีก�ำหนดจ่ายคืนไม่เกิน 3 เดือน เงินฝากคลัง รวม เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

เงินสดในมือ เป็นเงินสดและเช็คธนาคาร นอกจากส่วนทีห่ น่วยงานถือไว้เพือ่ ใช้จา่ ยส�ำหรับการด�ำเนินงาน ปกติตามวัตถุประสงค์ของหน่วยงานแล้ว ยังรวมถึงส่วนที่หน่วยงานได้รับไว้เพื่อรอน�ำส่งคลังเป็นรายได้ แผ่นดินตามกฎหมาย ซึ่งไม่สามารถน�ำไปใช้เพื่อประโยชน์ของหน่วยงานได้ เงินทดรองราชการ เป็นเงินที่หน่วยงานมีไว้เพื่อใช้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายปลีกย่อยในส�ำนักงานตามวงเงิน ที่ได้รับอนุมัติจากกระทรวงการคลัง ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการ พ.ศ. 2547 ซึง่ จะต้องส่งคืนเมือ่ หมดความจ�ำเป็นในการใช้จา่ ย ยอดคงเหลือสิน้ ปีประกอบด้วย เงินสด เงินฝากธนาคาร และใบส�ำคัญที่เบิกจากเงินทดรองราชการแล้วรอเบิกชดเชย เงินฝากสถาบันการเงิน ได้แก่ เงินฝากธนาคารเงินงบประมาณ เงินฝากธนาคารเงินนอกงบประมาณ เงินฝากธนาคารเงินกู้ เงินฝากธนาคารกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารออมทรัพย์ เงินฝากคลัง เป็นเงินที่หน่วยงานฝากไว้กับกระทรวงการคลังภายใต้ข้อก�ำหนดตามกฎหมาย โดยไม่มี ดอกเบีย้ ซึง่ สามารถเบิกถอนได้เมือ่ ต้องการใช้จา่ ยตามรายการทีก่ ำ� หนดไว้ในระเบียบทีร่ ะบุขอ้ จ�ำกัดในการ ใช้จ่าย เงินฝากคลัง จ�ำนวน 78,589,367.83 บาท (ปี 2560 จ�ำนวน 86,829,443.33 บาท) เป็นเงินนอกงบประมาณ ทีม่ ขี อ้ จ�ำกัดในการใช้จา่ ยต่อไปให้บคุ คลหรือหน่วยงานอืน่ ตามวัตถุประสงค์ทรี่ ะบุไว้ในกฎหมาย อันเป็นทีม่ า ของเงินฝากคลังนัน้ หน่วยงานไม่สามารถน�ำไปใช้จา่ ยเพือ่ ประโยชน์ในการด�ำเนินงานของหน่วยงานตามปกติได้ แต่มีหน้าที่ถือไว้เพื่อจ่ายตามวัตถุประสงค์ของเงินฝากคลัง ดังนี้

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

48


ส่วนที่ 3 รายงานการเงิน

2561

(หน่วย:บาท) 2560

69,181,210.76 711,649.00 - 8,706,191.94 (9,683.87) 78,589,367.83

77,388,290.76 2,115,560.05 7,335,276.39 (9,683.87) 86,829,443.33

2561

(หน่วย:บาท) 2560

18,460,687.38 1,549,827.00 7,147,478.49 114,367.14 27,272,360.01

17,604,583.01 1,549,827.00 3,991,997.46 114,367.14 23,260,774.61

2561

(หน่วย:บาท) 2560

327,979,983.42 159,717,524.58 168,262,458.84 673,117,302.95 549,120,134.13 123,997,168.82 202,879,130.00 495,138,757.66

327,979,983.42 134,536,084.87 193,443,898.55 642,546,329.28 519,451,638.29 123,094,690.99 195,533,500.00 512,072,089.54

เงินฝากเงินประกันตัว เงินฝากเงินประกันสัญญา เงินประกันผลงาน เงินฝากอื่นของส�ำนักงานเลขาธิการ เงินฝากอื่นของส�ำนักงานคุมประพฤติ เงินฝากคลังที่แสดงยอดคงเหลือไม่ถูกต้อง ตามดุลบัญชี (ติดลบ)

หมายเหตุ 6 ลูกหนี้ระยะสั้น

ลูกหนี้เงินยืมในงบประมาณ ลูกหนี้เงินยืมนอกงบประมาณ รายได้ค้างรับ ลูกหนี้อื่น รวม ลูกหนี้ระยะสั้น

หมายเหตุ 7 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

อาคารและสิ่งปลูกสร้าง หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม-อาคารและสิ่งปลูกสร้าง อาคารและสิ่งปลูกสร้าง-สุทธิ ครุภัณฑ์ หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม-ครุภัณฑ์ ครุภัณฑ์-สุทธิ งานระหว่างก่อสร้าง รวม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์-สุทธิ

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

49


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

หมายเหตุ 8 สินทรัพย์โครงสร้างพื้นฐาน 2561

(หน่วย:บาท) 2560

784,088.00 591,221.96 192,866.04

784,088.00 573,373.05 210,714.95

2561

(หน่วย:บาท) 2560

20,586,796.03 20,628,463.79 (41,667.76)

20,586,796.03 20,628,463.79 (41,667.76)

2561

(หน่วย:บาท) 2560

24,736,612.55 2,308,880.73 42,621,286.13 69,666,779.41

19,193,224.13 2,408,001.11 37,371,843.78 58,973,069.02

2561

(หน่วย:บาท) 2560

43,579,743.81 53,493,812.94 17,000.00 14,530,262.91 111,620,819.66

44,631,979.91 29,551,964.52 74,183,944.43

ถนน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม-ถนน รวม สินทรัพย์โครงสร้างพื้นฐาน–สุทธิ

หมายเหตุ 9 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม-โปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวม สินทรัพย์ไม่มีตัวตน–สุทธิ

หมายเหตุ 10 เจ้าหนี้ระยะสั้น

เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย รวม เจ้าหนี้ระยะสั้น

หมายเหตุ 11 เงินรับฝากระยะสั้น

เงินรับฝากจากเงินทุนหมุนเวียน เงินรับฝากอื่น เงินประกันผลงาน เงินประกันอื่น รวม เงินรับฝากระยะสั้น

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

50


ส่วนที่ 3 รายงานการเงิน

หมายเหตุ 12 รายได้สูง/(ต�่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม 2561

(หน่วย:บาท) 2560

339,768,805.77 20,755,643.65 319,013,162.12 16,004,535.46 (2,490,954.00) 13,513,581.46 332,526,743.58

259,567,690.66 20,828,631.76 238,739,058.90 101,062,562.87 (32,816.00) 101,029,746.87 339,768,805.77

2561

(หน่วย:บาท) 2560

รายได้สูง/(ต�่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายยกมา หัก ปรับปรุงบัญชี บวก รายได้สูง/(ต�่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ รายการรายได้แผ่นดินสุทธิ รวม รายได้สูง/(ต�่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม

หมายเหตุ 13 รายได้จากงบประมาณ

รายได้จากงบประมาณปีปัจจุบัน รายได้จากงบบุคลากร 1,064,011,218.68 1,011,015,698.08 รายได้จากงบด�ำเนินงาน 483,837,047.29 424,131,144.25 รายได้จากงบลงทุน 41,357,433.35 36,271,104.89 รายได้จากงบอุดหนุน 5,952,256.25 10,866,178.00 รายได้จากงบกลาง 131,607,769.93 119,377,474.57 รายได้จากงบรายจ่ายอื่น 73,028,517.80 73,703,147.68 หัก เบิกเกินส่งคืนเงินงบประมาณ 15,009,132.54 17,132,509.56 รวม รายได้จากงบประมาณปีปัจจุบัน-สุทธิ 1,784,785,110.76 1,658,232,237.91 รายได้จากงบประมาณปีก่อนๆ (เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี เบิกจ่ายปีปัจจุบัน) รายได้จากงบบุคลากร - 9,500.00 รายได้จากงบด�ำเนินงาน 53,603.61 30,346,496.65 รายได้จากงบลงทุน - 67,921,726.95 รายได้จากงบอุดหนุน 1,799,045.00 1,315,861.00 รายได้จากงบรายจ่ายอื่น 4,827.29 413,768.90 รวม รายได้จากงบประมาณปีก่อนๆ 1,857,475.9 100,007,353.50 รวม รายได้จากงบประมาณ 1,786,642,586.66 1,758,239,591.41

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

51


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

หมายเหตุ 14 ค่าใช้จ่ายบุคลากร 2561

เงินเดือน ค่าล่วงเวลา เงินประจ�ำต�ำแหน่ง ค่าจ้าง ค่าตอบแทนพนักงานราชการ เงินช่วยค่าครองชีพ เงินรางวัลประจ�ำปี ค่ารักษาพยาบาล เงินช่วยการศึกษาบุตร เงินช่วยเหลือพิเศษกรณีเสียชีวิต เงินชดเชย กบข. เงินสมทบ กบข. เงินสมทบ กสจ. เงินสมทบกองทุนประกันสังคม ค่าเช่าบ้าน ค่าใช้จ่ายบุคลากรอื่น รวม ค่าใช้จ่ายบุคลากร

(หน่วย:บาท) 2560

546,543,131.27 517,437,493.51 7,861,894.65 14,598,776.00 48,000.00 118,760,585.63 127,631,859.10 422,635,365.10 416,333,367.56 5,109,579.04 5,377,869.30 - 2,040.00 50,394,253.18 48,085,232.71 5,903,823.25 5,687,888.75 260,407.20 435,180.00 8,674,939.35 8,279,969.01 13,012,409.06 12,421,013.24 1,585,732.39 1,580,666.69 20,565,451.81 21,249,994.88 14,269,457.92 14,055,389.66 46,432,883.87 27,728,535.66 1,262,057,913.72 1,220,905,276.07

หมายเหตุ 15 ค่าบ�ำเหน็จบ�ำนาญ 2561

(หน่วย:บาท) 2560

30,195,582.44 1,713,329.12 6,443,529.56 3,143,453.87 3,890,114.15 4,693,059.31 131,850.00 181,251.80 50,392,170.25

24,825,863.39 1,736,913.12 5,201,894.30 2,731,398.16 3,788,179.80 2,917,430.15 207,028.25 143,037.60 41,551,744.77

บ�ำนาญ เงินช่วยค่าครองชีพ บ�ำเหน็จ บ�ำเหน็จตกทอด บ�ำเหน็จด�ำรงชีพ ค่ารักษาพยาบาล เงินช่วยการศึกษาบุตร บ�ำเหน็จบ�ำนาญอื่น รวม ค่าบ�ำเหน็จบ�ำนาญ รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

52


ส่วนที่ 3 รายงานการเงิน

หมายเหตุ 16 ค่าตอบแทน 2561

(หน่วย:บาท) 2560

430,600.00 4,758,914.50 246,750.00 5,436,264.50

616,700.00 7,925,307.50 3,789,380.00 12,331,387.50

2561

(หน่วย:บาท) 2560

41,110,319.92 16,992,522.88 9,038,287.54 166,962,611.43 5,385,250.00 1,601,300.00 23,944,711.68 52,747,269.00 1,860,125.00 1,034,192.80 53,982,773.62 374,659,363.87

48,459,945.35 18,707,459.31 15,613,533.15 137,077,719.17 1,730,627.00 2,899,800.00 31,399,213.20 58,097,040.49 853,391.17 1,769,021.00 50,502,575.48 367,110,325.32

2561

(หน่วย:บาท) 2560

50,444,481.47 16,372,153.29 158,251.73 66,974,886.49

53,615,510.03 19,383,472.32 12,596,837.33 85,595,819.68

ค่าตอบแทนตามต�ำแหน่ง ค่าตอบแทนเฉพาะงาน ค่าตอบแทนอื่น รวม ค่าตอบแทน

หมายเหตุ 17 ค่าใช้สอย

ค่าใช้จ่ายฝึกอบรม ค่าใช้จ่ายเดินทาง ค่าซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษา ค่าจ้างเหมาบริการ ค่าธรรมเนียม ค่าจ้างที่ปรึกษา ค่าใช้จ่ายในการประชุม ค่าเช่า ค่าใช้จ่ายผลักส่งเป็นรายได้แผ่นดิน ค่าประชาสัมพันธ์ ค่าใช้สอยอื่น รวม ค่าใช้สอย

หมายเหตุ 18 ค่าวัสดุ

ค่าวัสดุ ค่าเชื้อเพลิง ค่าครุภัณฑ์มูลค่าต�่ำกว่าเกณฑ์ รวม ค่าวัสดุ

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

53


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

หมายเหตุ 19 ค่าสาธารณูปโภค

2561

(หน่วย:บาท) 2560

26,977,267.70 2,486,578.68 10,068,432.54 1,515,583.77 7,901,275.92 48,949,138.61

23,852,474.33 2,652,866.31 10,075,057.24 1,694,767.66 9,102,260.00 47,377,425.54

ค่าไฟฟ้า ค่าประปา ค่าโทรศัพท์ ค่าบริการสื่อสารและโทรคมนาคม ค่าบริการไปรษณีย์ รวม ค่าสาธารณูปโภค

หมายเหตุ 20 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย 2561

(หน่วย:บาท) 2560

15,747,370.84 33,015,956.10 17,848.91 1,778.50 48,782,954.35

9,603,147.14 31,156,051.02 17,848.91 40,777,047.07

อาคารและสิ่งปลูกสร้าง ครุภัณฑ์ สินทรัพย์โครงสร้างพื้นฐาน สินทรัพย์ไม่มีตัวตน รวม ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย

หมายเหตุ 21 ค่าใช้จ่ายจากการอุดหนุนและบริจาค 2561

(หน่วย:บาท) 2560

ค่าใช้จ่ายอุดหนุน -หน่วยงานภาครัฐ 14,823,177.90 ค่าใช้จ่ายอุดหนุนเพื่อการด�ำเนินงาน – ภาคครัวเรือน 5,702,728.25 ค่าใช้จ่ายอุดหนุนเพื่อการด�ำเนินงาน – ภาคธุรกิจ 39,000.00 ค่าใช้จ่ายอุดหนุนเพื่อการด�ำเนินงาน – องค์กรไม่หวังผลก�ำไร 11,983.00 ค่าใช้จ่ายอุดหนุนเพื่อการด�ำเนินงานอื่น 261,510.00 รวม ค่าใช้จ่ายจากการอุดหนุนและบริจาค 20,838,399.17

7,129,962.38 8,832,785.00 41,665.00 12,340.00 595,446.00 16,612,198.38

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

54


ส่วนที่ 3 รายงานการเงิน

ต้นทุนกิจกรรม ปีงบประมาณ 2560 (หน่วย : บาท) ล�ำดับที่

กิจกรรมหลัก

1

ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐ

2

การพัฒนาระบบสารสนเทศ

3

การตรวจพิสูจน์และสนับสนุน การปฏิบัติงานด้านการฟื้นฟู

4

สารสนเทศและการสื่อสาร

5

การสืบเสาะและพินิจ

6

ต้นทุนรวม

ปริมาณ

หน่วยนับ

ต้นทุนต่อหน่วย

273,011,374.21

3,144

ราย

86,835.68

2,336,920.36

1

ราย

2,336,920.36

713,564,181.18

86,413

ราย

8,257.60

7,552,173.83

109,198

ราย

69.16

16,594,385.41

90,610

ราย

183.14

การควบคุมสอดส่องและแก้ไข ฟื้นฟูผู้กระท�ำผิด

413,121,499.91

170,357

ราย

2,425.03

7

การฟื้นฟูในระบบบังคับบ�ำบัด

30,231,869.94

79,766

ราย

379.01

8

สนับสนุนให้ผู้กระท�ำผิด และผู้พ้นโทษมีงานท�ำ

167,059,319.19

289

ราย

578,059.93

9

การน�ำ อ.ส.ค. เข้ามามีสว่ นร่วม ในการป้องกันสังคมให้ปลอด อาชญากรรม

1,624,730.87

817

ราย

1,988.65

1,625,096,454.90

540,595

รวมต้นทุนผลผลิต

3,006.13

หมายเหตุ : 1. ต้นทุนต่อหน่วยระดับกิจกรรม (ล�ำดับที่ 1-9 ) หมายถึง ต้นทุนรวม/ปริมาณ = ต้นทุนต่อหน่วย (บาท) 2. รวมต้นทุนผลผลิต หมายถึง ผลรวมของต้นทุนระดับกิจกรรม/ผลรวมของปริมาณระดับกิจกรรม = ต้นทุนต่อหน่วย (บาท)

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

55



ส่วนที่ 4 ผลงานที่ส�ำคัญ

achievement DEPARTMENT OF PROBATION ANNUAL REPORT 2018 กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม รายงานประจ�ำปี 2561


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

1. ระบบงานคุมประพฤติและงานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ที่มีประสิทธิภาพ 1.1 มาตรฐานแห่งชาติว่าด้วยการปฏิบัติงานคุมประพฤติ

ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2547 กรมคุมประพฤติได้กำ� หนด “มาตรฐานแห่ ง ชาติ ว ่ า ด้ ว ยการปฏิ บั ติ ง านของ กรมคุมประพฤติ” เพือ่ เป็นกรอบการบริหารจัดการ การด�ำเนินงาน และการปฏิบตั งิ าน ซึง่ กรมคุมประพฤติ ได้ด�ำเนินภารกิจในความรับผิดชอบตามมาตรฐาน แห่ ง ชาติ ฯ ดั ง กล่ า วตลอดมา อย่ า งไรก็ ต าม ในปั จ จุ บั น มี ก ารพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องต่างๆ ในปี พ.ศ. 2561 กรมคุมประพฤติ จึงจ�ำเป็นต้องมีการทบทวน “มาตรฐานแห่งชาติ ว่ า ด้ ว ยการปฏิ บั ติ ง านของกรมคุ ม ประพฤติ ” ให้เป็นปัจจุบัน การจัดท�ำมาตรฐานฯ ได้ก�ำหนดให้มีความ สอดคล้องตามรัฐธรรมนูญ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง แผนปฏิ รู ป ประเทศด้ า นกระบวนการยุ ติ ธ รรม ยุทธศาสตร์ระดับชาติ แผนแม่บทด้านการบริหาร งานยุติธรรมยุทธศาสตร์ระดับกระทรวงยุติธรรม และระดับกรมคุมประพฤติ หลักสิทธิมนุษยชน เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals) และมาตรฐานสากล ได้แก่ มาตรฐานขัน้ ต�ำ่ แห่งสหประชาชาติวา่ ด้วยมาตรการ ไม่ควบคุมตัว (ข้อก�ำหนดโตเกียว –Tokyo Rules) มาตรฐานขั้ น ต�่ ำ แห่ ง สหประชาชาติ ว ่ า ด้ ว ยการ บริหารงานยุติธรรมเด็กและเยาวชน (ข้อก�ำหนด

ปั ก กิ่ ง - Beijing Rules) มาตรฐานขั้ น ต�่ ำ แห่งสหประชาชาติวา่ ด้วยการปฏิบตั ติ อ่ ผูต้ อ้ งขังหญิง ในเรือนจ�ำและมาตรการที่มิใช่การคุมขังส�ำหรับ ผู้กระท�ำผิดหญิง (ข้อก�ำหนดกรุงเทพ - Bangkok Rules) รวมทั้ ง ข้ อ แนะน� ำ หรื อ หลั ก การอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การปฏิ บั ติ ต ่ อ ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ด้ ว ย เพื่อให้งานคุมประพฤติไทยเป็นที่ยอมรับในระดับ สากล โดยผ่านการรับฟังความคิดเห็นจากบุคลากร ในสังกัด นอกจากนี้ กรมคุมประพฤติได้จัด “โครงการ ประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร (ร่ า ง) มาตรฐานงาน กรมคุมประพฤติ” เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2561 ณ โรงแรมเซ็นทรา บายเซ็นทาราศูนย์ราชการและ คอนเวนชัน่ เซนเตอร์ แจ้งวัฒนะ‎ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่ อ เป็ น เวที ใ นการระดมความคิ ด และข้ อ เสนอ แนะจากผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญในกระบวนการ ยุติธรรม และผู้บริหารกรมคุมประพฤติต่อ (ร่าง) มาตรฐาน ผลจากการประชุ ม ดั ง กล่ า วท� ำ ให้ ไ ด้ มาตรฐานฯ ที่มีความสมบูรณ์ ครบถ้วน สอดคล้อง กับกฎหมายและมาตรฐานสากล ต่อมา มาตรฐานฯ ได้ รั บ การพิ จ ารณาเห็ น ชอบจากคณะกรรมการ คุมประพฤติ และน�ำไปประกาศใช้ต่อไป

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

58


ส่วนที่ 4 ผลงานที่ส�ำคัญ

1.2 โครงการฝึกอบรมหลักสูตร TCTP

โครงการฝึกอบรมหลักสูตร The Third Country Training Programme (TCTP) for Development of Effective Community-Based Treatment of Offenders in the CLMV Countries ปีที่ 2 ระหว่างวันที่ 9 – 19 มกราคม 2561 ณ กรมคุมประพฤติ ประเทศไทย องค์ ก ารความร่ ว มมื อ ระหว่ า งประเทศ แห่งญีป่ นุ่ (JICA) กรมความร่วมมือระหว่างประเทศ (TICA) และ กรมคุมประพฤติในฐานะเจ้าภาพ ได้ร่วมกันจัดโครงการ TCTP ปีที่ 2 เพื่อส่งเสริม ให้ประเทศกลุ่ม CLMV (กัมพูชา ลาว เมียนมา เวี ย ดนาม) สามารถพั ฒ นาระบบการปฏิ บั ติ ต่ อ ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ในชุ ม ชนที่ เ หมาะสมกั บ บริ บ ท ในแต่ ล ะประเทศ โดยหลั ก สู ต รการฝึ ก อบรม ในครั้งนี้เน้นถึงการเรียนรู้การวางแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิ บั ติ ก าร โดยเริ่ ม จากการวิ เ คราะห์ สถานการณ์ปัจจุบันของการปฏิบัติต่อผู้กระท�ำผิด ในประเทศของตน การก�ำหนดเป้าหมายในระยะสัน้ และระยะยาว และการด� ำ เนิ น การเพื่ อ ให้ ไ ปสู ่ เป้าหมายนั้น กิจกรรมการฝึกอบรม ประกอบด้วย การรายงาน ความก้าวหน้าในการน�ำระบบการปฏิบตั ติ อ่ ผูก้ ระท�ำผิด ไปใช้ ใ นแต่ ล ะประเทศ การบรรยายถึ ง ความ ส�ำคัญของการจ�ำแนกความเสีย่ ง ปัญหา และความ ต้องการของผูก้ ระท�ำผิด และการบรรยายขัน้ ตอนการ

แสวงหาข้อเท็จจริงในการพักการลงโทษและการลด วันต้องโทษจ�ำคุก รวมทั้งการศึกษาดูงาน การปฏิบตั งิ านจริงในพืน้ ที่ ได้แก่ การสืบเสาะ และพินิจ การควบคุมและสอดส่อง ณ ส�ำนักงาน คุ ม ประพฤติ ก รุ ง เทพมหานคร 1 ส� ำ นั ก งาน คุ ม ประพฤติ ก รุ ง เทพมหานคร 2 ส� ำ นั ก งาน คุ ม ประพฤติ จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี และส� ำ นั ก งาน คุมประพฤติจงั หวัดภูเก็ต การฝึ ก อบรมครั้ ง นี้ เ ป็ น โอกาสที่ ดี ส� ำ หรั บ กรมคุมประพฤติ ประเทศไทย ในการมีบทบาท ในฐานะผูน้ ำ� ระดับอนุภมู ภิ าคและเป็นเวทีให้เกิดการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการและการปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่หน่วยงานคุมประพฤติ ทั่วทั้งภูมิภาคอาเซียน ต่ อ มา เพื่ อ ติ ด ตามความก้ า วหน้ า จากการ ฝึกอบรมปีที่ 2 สถาบัน UNAFEI จึงจัดการสัมมนา ติดตามผลขึ้น ระหว่างวันที่ 26 – 28 มิถุนายน 2561 ณ สถาบัน UNAFEI กรุงโตเกียว ประเทศ ญี่ปุ่น โดยมีผู้แทนจากกรมคุมประพฤติ จ�ำนวน 4 ราย น�ำโดย นายพยนต์ สินธุนาวา รองอธิบดี กรมคุ ม ประพฤติ เ ป็ น หั ว หน้ า คณะ เพื่ อ ติ ด ตาม ความก้าวหน้า สภาพปัญหา และความท้าทายของ แต่ละประเทศ รวมทั้งแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ วิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ต ่ อ ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ที่ ล ะเมิ ด เงื่ อ นไข/ กระท�ำผิดซ�้ำ

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

59


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

1.3 โครงการแลกเปลีย ่ นบุคลากรด้านการปฏิบต ั ต ิ อ ่ ผูก ้ ระท�ำผิดระหว่างประเทศในอาเซียน บวกสาม

คณะฝึ ก ปฏิ บั ติ ง านกลุ ่ ม แรกเดินทางไปฝึกปฏิบตั งิ าน ณ กรมราชทัณฑ์ (Directorate General of Correction: DGC) กระทรวงกฎหมายและสิ ท ธิ มนุษยชน สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ระหว่างวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 21 มีนาคม 2561 ประกอบด้วย น า ย ป ร ะ เ ส ริ ฐ อิ น ท รั ต น ์ ผู้ อ� ำ นวยการส� ำนักงานคุมประพฤติจัง หวัด ตาก สาขาแม่สอด นางสาวกัณญดานันทน์ เครือแก้ว พนั ก งานคุ ม ประพฤติช�ำนาญการ และนางสาว ณั ฐ นี ณ เชี ย งใหม่ พนั ก งานคุ ม ประพฤติ ปฏิ บั ติ ก าร คณะฝึ ก งานมี โ อกาสศึ ก ษาดู ง าน ในหน่วยงานส่วนกลางและร่วมปฏิบัติงานดูแล ผูก้ ระท�ำผิดในชุมชน ตลอดช่วงระยะเวลา 1 เดือน คณะศึกษาดูงานได้เรียนรูเ้ กีย่ วกับการจัดการทะเบียน ผู ้ พั ก การลงโทษและผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ที่ เ ป็ น เยาวชน การพิจารณาการพักการลงโทษและการวางแผน แก้ไขฟืน้ ฟู มาตรการหันเหคดีของผูก้ ระท�ำผิดทีเ่ ป็น เยาวชน การแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิดที่เป็นเยาวชน และการดูแลต่อเนื่องหลังจากได้รับการปล่อยตัว เพื่อพักการลงโทษ การสอดส่องและดูแลผู้พักการ ลงโทษ การใช้เทคโนโลยีในการพัฒนางานและ การส่งเสริมความโปร่งใสและต่อต้านการทุจริต พบว่าการปฏิบัติงานการดูแลผู้กระท�ำผิดในชุมชน ที่โดดเด่นของประเทศอินโดนีเซีย คือการท�ำงาน ร่วมกันอย่างไร้รอยต่อของหน่วยงานทีด่ แู ลผูก้ ระท�ำผิด ทีเ่ ป็นเด็กและเยาวชน เรือนจ�ำ และส�ำนักงานพักการ ลงโทษและคุมประพฤติ คณะฝึกปฏิบัติงานจากกรมคุมประพฤติคณะ ทีส่ องได้เดินทางไปฝึกปฏิบตั งิ าน ณ กรมราชทัณฑ์

กระทรวงมหาดไทย ประเทศมาเลเซีย ระหว่างวันที่ 11 - 24 มีนาคม 2561 ประกอบด้วย นางรัชนี กันทะสี พนักงานคุมประพฤติชำ� นาญการพิเศษ นายภราดร บุญจันทร์คง พนักงานคุมประพฤติชำ� นาญการ และ นางสาววิชาดา จิตติกรยุทธนา พนักงานคุมประพฤติ ปฏิบตั กิ าร ในช่วงระยะเวลา 10 วัน คณะฝึกปฏิบตั งิ าน ได้ มี โ อกาสเรี ย นรู ้ ก ารท� ำ งานในเรื อ นจ� ำ ผ่ า น กระบวนการจ�ำแนก สร้างระเบียบวินยั แก้ไขฟืน้ ฟู ฝึกอาชีพ และการเตรียมความพร้อมก่อนกลับสูช่ มุ ชน จากการทีป่ ระเทศมาเลเซียไม่มรี ะบบงานคุมประพฤติ แต่มรี ะบบการพักการลงโทษทีถ่ อื เป็นสิทธิทนี่ กั โทษ ทีเ่ ข้าตามเงือ่ นไขทุกคนจะได้รบั การพิจารณาให้ได้ รับการพักการลงโทษจะเป็นไปอย่างเข้มข้น โดยจะ พิจารณาให้พกั การลงโทษโดยค�ำนึงถึงความปลอดภัย ของชุมชนเป็นส�ำคัญ ในส่วนกระบวนการควบคุม และสอดส่องจากพนักงานพักการลงโทษด�ำเนินการ อย่างใกล้ชดิ ตลอดระยะเวลาประมาณ 1 เดือนของการ ฝึกปฏิบตั งิ าน คณะผูแ้ ทนกรมคุมประพฤติได้รบั การ ต้อนรับจากหน่วยงานของทัง้ 2 ประเทศอย่างอบอุน่ ความรู ้ ที่ ไ ด้ รั บ จากการฝึ ก ปฏิ บั ติ ง านมี คุ ณ ค่ า อย่างมากในการน�ำมาพัฒนาและปรับปรุงระบบ งานคุมประพฤติของไทยต่อไป

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

60


ส่วนที่ 4 ผลงานที่ส�ำคัญ

1.4 โครงการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบ ประเมิ น ความเสี่ ย ง ปั ญ หาและความ จ�ำเป็นในการจ�ำแนกผูก ้ ระท�ำผิดในงาน คุมประพฤติ”

กองพัฒนาการคุมประพฤติ กรมคุมประพฤติ ได้ ด� ำ เนิ น โครงการ “การพั ฒ นาแบบประเมิ น ความเสี่ยง ปัญหาและความจ�ำเป็นในการจ�ำแนก ผูก้ ระท�ำผิดในงานคุมประพฤติ” โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาแบบประเมิ น ระดั บ ความเสี่ยงในการกระท�ำผิดซ�้ำและสภาพปัญหา ความต้องการของผู้กระท�ำผิด ซึ่งเป็นเครื่องมือ ทีพ่ นักงานคุมประพฤติใช้ในการจ�ำแนก เพือ่ ก�ำหนด ความเข้มงวดในการปฏิบตั ติ อ่ ผูก้ ระท�ำผิด และก�ำหนด วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ หมาะสมในการควบคุมและสอดส่อง รวมทั้งจัดให้เข้ากิจกรรมการแก้ไขฟื้นฟูโครงการ ดังกล่าวเป็นโครงการต่อเนือ่ ง 3 ปี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ศึกษาการจ�ำแนก ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมถึงศึกษาเอกสารวิชาการ/ งานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การจ� ำ แนกผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด และแบบประเมินผูก้ ระท�ำผิดทัง้ ในและต่างประเทศ ทีใ่ ช้ในปัจจุบนั และทดลองในกลุม่ ตัวอย่างขนาดเล็ก โดยผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเบือ้ งต้นได้แสดงให้เห็นว่า แบบประเมิ น ที่ พั ฒ นานี้ มี จุ ด เด่ น คื อ ลดการใช้ ดุลพินจิ เก็บข้อมูลทีจ่ ำ� เป็นต่อการประเมินจ�ำแนก ได้ ล ะเอี ย ดและครอบคลุ ม และเชิ ญ พนั ก งาน คุมประพฤติทรี่ บั ผิดชอบงานสอดส่องจ�ำนวน 60 คน จากส�ำนักงานคุมประพฤติ 20 แห่ง ซึง่ เป็นตัวแทน ส�ำนักงานคุมประพฤติทั่วประเทศมาให้ความเห็น และปรั บ ปรุ ง แบบประเมิ น เบื้ อ งต้ น รวมทั้ ง จั ด อบรมให้พนักงานคุมประพฤติกลุม่ ดังกล่าว เพือ่ น�ำ แบบประเมินที่พัฒนาขึ้นไปเก็บข้อมูลกับผู้ถูกคุม ความประพฤติในส�ำนักงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 เป็นการด�ำเนินการ วิจยั ในปีที่ 2 ได้ตดิ ตามข้อมูลจากการน�ำแบบประเมิน ไปเก็บข้อมูลกับกลุม่ ตัวอย่างผูถ้ กู คุมความประพฤติ

ทั่วประเทศ และน�ำข้อมูลชุดดังกล่าวมาวิเคราะห์ คุ ณ ภาพแบบประเมิ น ผลการวิ เ คราะห์ พ บว่ า แบบประเมินความเสีย่ งและความต้องการมีคณ ุ ภาพ อยูใ่ นเกณฑ์ดี และสามารถท�ำนายการมารายงานตัว ครัง้ ที่ 1 ได้ โดยทุกคะแนนทีเ่ พิม่ ขึน้ ทัง้ ในด้านความเสีย่ ง และความต้องการ เพิม่ โอกาสในการไม่มารายงานตัว ของผูถ้ กู คุมความประพฤติ ส่วนแบบประเมินปัจจัย ภายในองค์ประกอบด้านกฎหมายสามารถท�ำนาย สถานการณ์การมารายงานตัวครัง้ แรกได้ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีกจิ กรรมอยูร่ ะหว่าง การด�ำเนินการ ได้แก่ การพัฒนาแบบประเมินเพือ่ ใช้ ในกลุ ่ ม ผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ การพั ก การลงโทษ/ลดวั น ต้ อ งโทษจ� ำ คุ ก และกลุ ่ ม ผู ้ ถู ก คุ ม ความประพฤติ เด็กและเยาวชน การติดตามผลการกระท�ำผิดซ�้ำ ของกลุ่มตัวอย่างผู้ถูกคุมความประพฤติในปีที่ 1 เพือ่ น�ำมาวิเคราะห์ความสามารถของแบบประเมิน ในการท�ำนายการกระท�ำผิดซ�้ำ รวมทั้งเผยแพร่ แบบประเมินเพื่อน�ำไปใช้ทั่วประเทศ ด้วยการจัด กิจกรรมอบรมและเผยแพร่ ในระหว่างเดือนเมษายน พ.ศ. 2562 ตลอดจนพัฒนาต่อยอดเพือ่ ตอบสนอง การปฏิบัติงานของพนักงานคุมประพฤติให้เป็น มาตรฐานและส่งเสริมการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ ใ นการปฏิ บั ติ ง านด้ ว ยการพั ฒ นาระบบ สารสนเทศแบบประเมินจ�ำแนก เพือ่ ให้การประเมิน จ�ำแนกเป็นไปอย่างรวดเร็วและถูกต้อง ซึง่ คาดว่าระบบ ดังกล่าวจะพัฒนาแล้วเสร็จในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2562

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

61


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

1.5 โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการส่งเสริมอาชีพผู้กระท�ำผิด The Hero

กรมคุมประพฤติด�ำเนินโครงการตามนโยบาย ของ พล.อ.อ.ประจิ น จั่ น ตอง รั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวงยุติธรรม โดยมีค�ำสั่งแต่งตั้งคณะท�ำงาน พัฒนาและส่งเสริมอาชีพผู้กระท�ำผิดอย่างยั่งยืน มี น ายพงศธร สั จ จชลพั น ธุ ์ ผู ้ ช ่ ว ยรั ฐ มนตรี ฯ เป็ น ประธานคณะท� ำ งานฯ เป็ น คณะท� ำ งานฯ ที่มีการบูรณาการระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และ ภาคประชาสังคม ที่ร่วมกันแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิด ที่อยู่ในความดูแลของกรมคุมประพฤติ กรมพินิจ และคุ้มครองเด็กและเยาวชน และกรมราชทัณฑ์ โดยมีการสรรหากลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ที่ต้องการ และมี ค วามพร้ อ มในการเข้ า รั บ การฝึ ก อบรม ด้านการพัฒนาทางอาชีพให้ประสบความส�ำเร็จ ในฐานะผูป้ ระกอบการทางด้านอาหาร (The Hero) โดยใช้องค์ความรู้ 6 ด้าน ประกอบด้วยสูตรอาหาร การบริหารจัดการ การสร้างแบรนด์ การเลือก ท�ำเลสถานที่ อุปกรณ์ และเงินทุน ซึง่ เป้าหมายหลัก

ต้ อ งท� ำ ให้ ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด และครอบครั ว มี ร ายได้ เดือนละ 100,000 บาทต่อคน กรมคุมประพฤติ จึ ง ได้ ด� ำ เนิ น การจั ด โครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพ บุ ค ลากรด้ า นการส่ ง เสริ ม อาชี พ ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ขึ้ น ในระหว่างเดือนสิงหาคม-กันยายน 2561 ซึ่งจัด ในส�ำนักงานคุมประพฤติ 9 ภาค ได้แก่ จังหวัด นนทบุรี ชลบุรี ขอนแก่น นครราชสีมา เชียงใหม่ พิษณุโลก นครปฐม สุราษฎร์ธานี และสงขลา ผลสัมฤทธิ์ของการด�ำเนินโครงการ 1. มีผเู้ ข้าร่วมโครงการทัง้ หมด จ�ำนวน 535 ราย จ�ำแนกเป็นกรมคุมประพฤติ จ�ำนวน 225 ราย กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จ�ำนวน 129 ราย และกรมราชทัณฑ์ จ�ำนวน 181 ราย จากการด� ำ เนิ น โครงการทั้ ง 9 ภู มิ ภ าค โดยมี ผู้เข้าร่วมโครงการต่างพร้อมที่จะเป็นพี่เลี้ยงให้ ผูก้ ระท�ำผิดในการประกอบอาชีพอิสระเกีย่ วกับการ ประกอบอาหาร

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

62


ส่วนที่ 4 ผลงานที่ส�ำคัญ

2. ผู้เข้าร่วมโครงการจากทั้ง 3 กรม ให้ความ ร่ ว มมื อ ในการฟั ง บรรยายและท� ำ กิ จ กรรมกลุ ่ ม เป็นอย่างดี และสามารถน�ำความรู้ท่ีได้ไปต่อยอด ในการท�ำ workshop ซึ่งมีการแบ่งกลุ่มเชิงพื้นที่ เพือ่ ให้งา่ ยต่อรายละเอียดของงานและการวางแผนงาน เพื่ออนาคต ท�ำให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีแนวคิดใหม่ ไปช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้กระท�ำผิด ที่อยู่ในความ ดูแลของตน รวมถึงใช้สงิ่ ทีม่ อี ยูอ่ ย่างเฉพาะในพืน้ ที่ ของตนเพือ่ สร้างเอกลักษณ์และสร้างความโดดเด่น เชิงพื้นที่ได้อีกด้วย การด�ำเนินการที่ต่อเนื่อง 1) ผูท้ เี่ ข้าอบรมตามโครงการคัดเลือกผูท้ สี่ นใจ เข้าร่วมการฝึกอบรมเพื่อเตรียมความพร้อมที่จะ ประกอบธุรกิจ โดยบุคลากรผู้เข้าร่วมโครงการได้ น�ำเนื้อหาสาระการเรียนรู้ไปถ่ายทอดสู่ผู้ถูกคุม ความประพฤติ เพื่อท�ำให้ผู้ถูกคุมความประพฤติ เห็นช่องทางในการประกอบอาชีพและน�ำครอบครัว เข้ า มามี ส ่ ว นร่ ว มซึ่ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการเพิ่ ม ขัน้ ตอนการให้ความรู้ การให้คำ� ปรึกษาด้านแผนธุรกิจ

และความรู้ด ้ า นการตลาดส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ ป ระสงค์ จะประกอบอาชีพส่วนตัว อันเป็นจุดเน้นหนึ่งของ Road Map โครงการส่งเสริมอาชีพผู้กระท�ำผิด อย่างยั่งยืน ไปต่อยอดและแนะน�ำให้ผู้กระท�ำผิด ที่อยู่ในความดูแลรับผิดชอบของหน่วยงานของตน โดยทางกรมคุมประพฤติได้รับการประสานงาน จากส�ำนักงานคุมประพฤติวา่ มีผถู้ กู คุมความประพฤติ สนใจเข้ า ร่ ว มโครงการภายหลั ง จากเข้ า รั บ การ แนะน�ำจากพนักงานคุมประพฤติ โดยมีผู้ถูกคุม ความประพฤติพักการลงโทษ 1 ราย ได้ยื่นค�ำร้อง ขอรั บ การสงเคราะห์ ด ้ า นทุ น ประกอบอาชี พ เพื่อน�ำไปต่อยอดการท�ำร้านก๋วยเตี๋ยวตามแนวคิด ของโครงการดังกล่าว 2) รายงานผลการด�ำเนินโครงการต่อคณะท�ำงานฯ เพื่อรอมติจากผู้บริหารระดับสูงในการจัดโครงการ ในระยะต่ อ ไป โดยอาจมี ห น่ ว ยงานกลาง เช่ น ส�ำนักงานส่งเสริมสัมมาชีพและผลิตภัณฑ์เพื่อการ พัฒนาพฤตินิสัย (สมภพ.) ของกระทรวงยุติธรรม เป็นต้น

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

63


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

1.6

การพั ฒ นาระบบการให้ ค� ำ ปรึ ก ษา โดยพนักงานคุมประพฤติ เพื่อสร้าง แรงจูงใจผูก ้ ระท�ำผิดในการปรับเปลีย ่ น พฤติกรรมการดืม ่ สุรา

กรมคุมประพฤติรว่ มกับกรมสุขภาพจิตด�ำเนิน โครงการวิจัย เพื่อพัฒนาระบบการให้ค�ำปรึกษา โดยพนักงานคุมประพฤติเพือ่ สร้างแรงจูงใจผูก้ ระท�ำผิด ในการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการดืม่ สุรา เพือ่ ศึกษา ประสิทธิผลของการสนทนาสร้างแรงจูงใจ (Motivational Interviewing) ต่อการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม ในผู้ถูกคุมความประพฤติความผิดฐานขับรถขณะ เมาสุราของส�ำนักงานคุมประพฤติกรุงเทพมหานคร 1- 6 และ 9 ส�ำนักงานคุมประพฤติจงั หวัดปทุมธานี ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสมุทรปราการและ ส�ำนักงานคุมประพฤติจงั หวัดปทุมธานี สาขาธัญบุรี เก็บข้อมูลช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 - 2560 ท�ำการคัดเลือกกลุม่ ตัวอย่างทีส่ มัครใจเข้าร่วมโครงการ 205 คน แบ่ ง เป็ น กลุ ่ ม ทดลองรั บ การสนทนา สร้างแรงจูงใจ 144 คน และกลุ่มควบคุมปฏิบัติ ตามกระบวนการปกติ 61 คน สรุปผลการวิจัย พบว่ า กระบวนการแก้ ไ ขฟื ้ น ฟู ที่ มี อ ยู ่ แ ล้ ว นั้ น มีประสิทธิภาพในการปรับเปลีย่ นผูถ้ กู คุมความประพฤติ โดยประเมินได้จากพฤติกรรมการดื่มสุราที่ลดลง การรายงานตัวครบและการผิดเงื่อนไขที่ต�่ำ และ เมื่อผนวกเทคนิคการสนทนาสร้างแรงจูงใจเข้าไป ในการด�ำเนินงานก็ท�ำให้สัดส่วนความส�ำเร็จนั้น สูงขึ้นอย่างชัดเจน เช่น พฤติกรรมหยุดดื่มสุรา ของกลุ ่ ม ที่ ใช้ ก ารสนทนาสร้างแรงจูง ใจเพิ่มขึ้น อย่างชัดเจน ปริมาณการดื่มสุราของกลุ่มที่ได้รับ การสนทนาสร้างแรงจูงใจลดลงแตกต่างอย่างชัดเจน จ�ำนวนวันหยุดดื่มสุราของกลุ่มที่ได้รับการสนทนา สร้างแรงจูงใจมากขึ้น เมื่อเทียบกับการแก้ไขฟื้นฟู ตามปกติ เป็นต้น ซึง่ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

มีการด�ำเนินการต่อเนือ่ ง โดยท�ำการขยายการเก็บข้อมูล ไปยังส�ำนักงานคุมประพฤติระดับภูมิภาค ได้แก่ ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดชัยนาท ส�ำนักงาน คุมประพฤติจังหวัดระยอง ส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดนครนายก ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัด สระแก้ว ส�ำนักงานคุมประพฤติจงั หวัดอุบลราชธานี ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดอุดรธานี ส�ำนักงาน คุมประพฤติจงั หวัดสกลนคร ส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดนครสวรรค์ ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัด เพชรบูรณ์ ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดพิจิตร ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดอุทัยธานี ส�ำนักงาน คุมประพฤติจงั หวัดสุพรรณบุรี ส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดกาญจนบุรี ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัด สมุทรสาคร จากผลการศึกษาสามารถสรุปได้วา ่ กระบวนการ สนทนาสร้างแรงจูงใจ มีประสิทธิผลในการปรับเปลีย่ น พฤติกรรมผูถ้ กู คุมความประพฤติความผิดฐานขับรถ ขณะเมาสุรา ทัง้ นีส้ ามารถใช้รว่ มไปกับกระบวนการ แก้ไขฟืน้ ฟูทดี่ ำ� เนินอยูแ่ ล้วเพือ่ เพิม่ ผลลัพธ์ให้ดมี าก ยิ่งขึ้น โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ทางกรม คุมประพฤติจะการจัดท�ำคู่มือแนวทางปฏิบัติการ สนทนาสร้างแรงจูงใจเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ผูถ้ กู คุมความประพฤติ โดยพนักงานคุมประพฤติ

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

64


ส่วนที่ 4 ผลงานที่ส�ำคัญ

1.7 การน�ำอุปกรณ์ติดตามตัวอิเล็กทรอนิกส์ (EM) มาใช้กับผู้กระท�ำผิด

อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ตดิ ตามตัว (Electronic Monitoring : EM) นั บ เป็ น เครื่ อ งมื อ ส� ำ คั ญ ที่จะน�ำมาใช้ในการพัฒนางานคุมประพฤติและ ระบบกระบวนการยุติธรรมในประเด็นต่างๆ ได้แก่ 1. ลดความเหลื่ อ มล�้ ำ ในสั ง คม ประชาชน ทุกระดับสามารถเข้าถึงความยุตธิ รรมได้อย่างเสมอภาค 2. กระบวนการยุติธรรมมีทางเลือกมาตรการ ลงโทษและวิธีการปฏิบัติต่อผู้กระท�ำผิดได้อย่าง เหมาะสม หลากหลาย ท�ำให้บุคคลที่ไม่จ�ำเป็นต้อง รับโทษจ�ำคุก ได้มโี อกาสกลับตัวเป็นพลเมืองดี และ ผูพ้ กั การลงโทษซึง่ มีความเสีย่ งต่อการกระท�ำผิดซ�ำ้ จะถูกติดตาม ตรวจสอบอย่างเข้มงวด เพือ่ เป็นการ ป้องกันสังคมให้ปลอดภัยจากอาชญากรรม 3. บรรเทาปั ญ หาความแออั ด ในเรื อ นจ� ำ ทั้งกรณีที่บุคคลใดที่ยังไม่จ�ำเป็นต้องรับโทษจ�ำคุก แต่ ต ้ อ งได้ รั บ การติ ด ตามดู แ ลอย่ า งเข้ ม งวด รวมถึ ง กรณี ก ารปล่ อ ยตั ว ผู ้ ต ้ อ งขั ง ที่ ไ ด้ รั บ การพักการลงโทษ/ลดวันต้องโทษจ�ำคุก ผลการด� ำ เนิ น งานของกรมคุ ม ประพฤติ ในปีงบประมาณ 2561 1. การปรับปรุงศูนย์ควบคุมการติดตามตัว ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Monitoring Center) ซึง่ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นศูนย์ควบคุมกลางส�ำหรับ การน�ำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวมาใช้ใน ภารกิจของกรมคุมประพฤติ

2 . ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อเช่า อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ติ ด ตามตั ว มาใช้ กั บ ผูก้ ระท�ำผิด จ�ำนวน 4,000 เครื่อง พร้อมระบบ ควบคุมการท�ำงาน 3. การเตรียมความพร้อมบุคลากรส�ำนักงาน คุ ม ประพฤติ ทั่ ว ประเทศ โดยการจั ด โครงการ พั ฒ นาศั ก ยภาพผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านเพื่ อ น� ำ อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ติ ด ตามตั ว ไปใช้ กั บ ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 วันที่ 20 - 21 สิงหาคม 2561 และ ครั้งที่ 2 วันที่ 29 - 30 สิงหาคม 2561 ณ โรงแรม ทีเค พาเลซ กรุงเทพมหานคร 4. มีการเตรียมความพร้อมหน่วยงานภาครัฐ และภาคประชาชน โดยการจัดโครงการสัมมนา เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้มีอ�ำนาจสั่งใช้ อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ติ ด ตามตั ว ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด แก่บุคลากรจากภาครัฐ อาสาสมัครคุมประพฤติ และภาคประชาชนระดั บ พื้ น ที่ ซึ่ ง ด� ำ เนิ น งาน โดยส�ำนักงานคุมประพฤติทั่วประเทศ 5. การพัฒนาอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ตดิ ตามตัว กรมคุ ม ประพฤติ ร่ ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย สงขลา นครินทร์ ด�ำเนินโครงการพัฒนาการผลิตอุปกรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ติ ด ตามตั ว โดย มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เป็ น เจ้ า ภาพในการขอรั บ ทุ น สนับสนุนจากกองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

65


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

1.8 การจัดท�ำอนุบัญญัติ

กรมคุมประพฤติได้ด�ำเนินการจัดท�ำกฎหมาย ล�ำดับรองออกตามพระราชบัญญัติคุมประพฤติ พ.ศ. 2559 จ� ำ นวน 19 ฉบั บ ซึ่ ง ได้ ป ระกาศ ในราชกิจจานุเบกษา และมีผลบังคับใช้แล้วทัง้ หมด มีรายละเอียด ดังนี้ 1. กฎกระทรวงก�ำหนดบุคคลซึ่งอาจได้รับ การสงเคราะห์จากพนักงานคุมประพฤติ พ.ศ. 2561 2. ประกาศกระทรวงยุตธิ รรม เรือ่ ง หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขในการตรวจหรือทดสอบว่าผูร้ บั การตรวจหรือทดสอบมียาเสพติดอยู่ในร่างกาย หรือไม่ พ.ศ. 2560 3. ประกาศกระทรวงยุติธรรม เรื่อง ก�ำหนด สถานทีเ่ พือ่ ให้การสงเคราะห์บคุ คลตามมาตรา 41 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ คุ ม ประพฤติ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2561 และประกาศกระทรวงยุ ติ ธ รรม เรื่อง ก�ำหนดสถานที่เพื่อให้การสงเคราะห์บุคคล ตามมาตรา 41 แห่งพระราชบัญญัติคุมประพฤติ พ.ศ. 2559 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 4. ระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยบทบาท และวิธีการปฏิบัติงานของอาสาสมัครคุมประพฤติ และบทบาทของภาคประชาชน พ.ศ. 2560 5. ระเบียบกระทรวงยุตธิ รรมว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธกี ารเกีย่ วกับการสืบเสาะและพินจิ พ.ศ. 2560 6. ระเบียบกระทรวงยุตธิ รรมว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการคุมความประพฤติ พ.ศ. 2560 7. ระเบียบกระทรวงยุตธิ รรมว่าด้วยการสงเคราะห์ พ.ศ. 2560

8. ระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยเงินเพิ่ม ส�ำหรับต�ำแหน่งพนักงานคุมประพฤติ พ.ศ. 2560 9. ระเบี ย บกระทรวงยุ ติ ธ รรมว่ า ด้ ว ยการ จ่ายค่าป่วยการ ค่าพาหนะเดินทาง และค่าเช่าทีพ่ กั แก่ล่ามที่กรมคุมประพฤติจัดหาให้ พ.ศ. 2561 10. ระเบียบกระทรวงยุตธิ รรมว่าด้วยการจ่าย ค่าตอบแทนผู้ประสานงานและบุคคลที่เข้าร่วม ประชุมในการด�ำเนินการเพื่อสร้างความยุติธรรม เชิงสมานฉันท์ พ.ศ. 2561 11. ระเบียบกระทรวงยุตธิ รรมว่าด้วยการจ่าย ค่ า ตอบแทนในการปฏิ บั ติ ง านของอาสาสมั ค ร คุมประพฤติ พ.ศ. 2561 12. ระเบียบกรมคุมประพฤติวา่ ด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจ�ำแนกผู้ถูกสืบเสาะและ พินิจ ผู้ถูกคุมความประพฤติ และบุคคลที่ศาล หรือ เจ้าพนักงานผู้มีอ�ำนาจมีค�ำสั่ง พ.ศ. 2560 13. ระเบียบกรมคุมประพฤติวา่ ด้วยหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขเกีย่ วกับแผนการคุมความประพฤติ และแผนการแก้ไขฟื้นฟู พ.ศ. 2560 14. ระเบียบกรมคุมประพฤติวา่ ด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการท�ำงานบริการสังคมหรือ สาธารณประโยชน์ พ.ศ. 2560 15. ระเบียบกรมคุมประพฤติวา่ ด้วยหลักเกณฑ์ และวิธกี ารในการด�ำเนินการเพือ่ สร้างความยุตธิ รรม เชิงสมานฉันท์ พ.ศ. 2560 16. ระเบียบคณะกรรมการคุมประพฤติวา่ ด้วย การแต่งตั้งและถอดถอนอาสาสมัครคุมประพฤติ พ.ศ. 2561

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

66


ส่วนที่ 4 ผลงานที่ส�ำคัญ

1.9 โครงการคืนคนดีสู่สังคม

1. การจ้างงานผู้กระท�ำผิดและผู้พ้นโทษ ผลการด�ำเนินงาน การด� ำ เนิ น การจ้ า งงานในหน่ ว ยงานของ กรมคุมประพฤติ กรมราชทัณฑ์ กรมพินจิ และคุม้ ครอง เด็กและเยาวชน รวมการจ้างงานทั้งหมด จ�ำนวน 773 ราย โดยมีรายละเอียด ดังนี้

ต�ำแหน่ง หน่วยงาน

กรมคุมประพฤติ กรมราชทัณฑ์ กรมพินจิ และคุม้ ครอง เด็กและเยาวชน รวม

กรอบ อัตรา

ผลการ ด�ำเนินงาน

พนักงาน ธุรการ

พนักงาน ทั่วไป

พนักงาน ขับรถ

พนักงานครู สอนนวด/ เสริมสวย

พี่เลี้ยง ผู้ติดยา เสพติด

รวม

200 200

396 185

149 -

178 163

13

9

69 -

396 185

160

192

-

192

-

-

-

192

560

773

149

533

13

9

69

773

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

67


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

2. การอบรมวิชาชีพ สร้างอาชีพ เพื่อคืนคนดีสู่สังคม

กรมราชทัณฑ์ได้ด�ำเนินการจัดโครงการอบรมวิชาชีพ สร้างอาชีพ เพื่อคืนคนดีสู่สังคมโดยจัดอบรม การฝึกวิชาชีพระยะสั้นในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานที่มีการจ้างงานโครงการคืนคนดี จ�ำนวน 46 แห่ง จ�ำนวน 3 หลักสูตร ระยะเวลาการอบรม 3 วันขึ้นไป โดยมีผู้ต้องขังเข้าร่วมการอบรม จ�ำนวนทั้งสิ้น 3,954 คน 3. การพัฒนาพฤตินิสัยและฝึกวิชาชีพส�ำหรับเด็กและเยาวชน กรมพินจิ และคุม้ ครองเด็กและเยาวชนได้ดำ� เนินการจัดโครงการพัฒนาพฤตินสิ ยั และฝึกวิชาชีพส�ำหรับ เด็กและเยาวชน จ�ำนวน 5 แห่ง ได้แก่ สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดเชียงราย นนทบุรี ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน เขต 3 เขต 7 และศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนบ้านมุทิตา และ เบิกจ่ายงบประมาณ จ�ำนวน 999,559.66 บาท

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

68


ส่วนที่ 4 ผลงานที่ส�ำคัญ

4. การน�ำเสนอผลงานและนวัตกรรมในงาน Thailand Social Expo 2018 ก ร ม คุ ม ป ร ะ พ ฤ ติ ไ ด ้ น� ำ เ ส น อ ผ ล ง า น ในระหว่างวันที่ 3 - 5 สิงหาคม 2561 ณ อิมแพ็ค อารี น า เมื อ งทองธานี เพื่ อ เป็ น การเผยแพร่ ประชาสั ม พั น ธ์ ก ระบวนการงานคุ ม ประพฤติ การแก้ไขฟืน้ ฟูผกู้ ระท�ำผิดให้เป็นคนดี ไม่กระท�ำผิดซ�ำ้ โดยการสร้ า งงานสร้ า งอาชี พ และได้ จั ด ตั้ ง ศู น ย์ แคร์ จ� ำ ลอง มี ก ารจั ด นิ ท รรศการแสดงตู ้ รั บ รายงานตัวอัตโนมัติ (Kiosk) และเครื่องติดตามตัว อิเล็กทรอนิกส์ (EM) และจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ของ ผูถ้ กู คุมความประพฤติทไี่ ด้รบั ทุนการประกอบอาชีพ จากกรมคุมประพฤติ อีกทั้งมีการเสวนา สัมภาษณ์ ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ที่ ไ ด้ รั บ การสงเคราะห์ โดยตลอด ระยะเวลา 3 วั น มี ป ระชาชนทั่ ว ไป นั ก เรี ย น นักศึกษา ข้าราชการ เข้าชมผลงาน จ�ำนวน 885 ราย และมีความพึงพอใจ ในการจัดนิทรรศการของ กรมคุ ม ประพฤติ ม ากที่ สุ ด เนื่ อ งจากได้ รั บ ความรู้เพิ่มเติมซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินชีวิต

อี ก ทั้ ง เป็ น การให้ โ อกาสผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ได้ เ ข้ า มามี ส่วนร่วมในการจัดนิทรรศการท�ำให้เกิดความภาคภูมใิ จ ในผลงานของตนเอง

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

69


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

5. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการส่งเสริมอาชีพผู้กระท�ำผิด กรมคุมประพฤติ ได้ดำ� เนินการให้สำ� นักงานคุมประพฤติ 9 ภาค จัดโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้า นการส่ งเสริ มอาชีพ ผู้กระท�ำผิด ได้แ ก่ ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดนนทบุรี ชลบุรี ขอนแก่น นครราชสีมา เชียงใหม่ พิษณุโลก นครปฐม สุราษฎร์ธานี และสงขลา เพื่อให้บุคลากรทั้ง 3 กรม ได้แก่ กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กรมราชทัณฑ์และกรมคุมประพฤติ ให้มีองค์ความรู้เข้าใจบทบาท ของการเป็นผู้ประกอบการแล้วสามารถน�ำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการขับเคลื่อนโครงการคืนคนดี สู่สังคมให้สามารถประกอบธุรกิจของตนได้ โดยมีผู้เข้าร่วมทั้งหมด 535 ราย จ�ำแนกเป็นกรมคุมประพฤติ จ�ำนวน 225 ราย กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จ�ำนวน 129 ราย และกรมราชทัณฑ์ จ�ำนวน 181 ราย จากการด�ำเนินโครงการทั้ง 9 ภูมิภาคมีผู้ที่มีความประสงค์จะเริ่มธุรกิจของตนเอง จ�ำนวน 170 ราย มีผู้ที่ประสงค์จะต่อยอดธุรกิจครอบครัวจ�ำนวน 81 ราย และมีผู้ที่ไม่ประสงค์แต่พร้อมที่จะเป็นพี่เลี้ยง ให้ผู้กระท�ำผิด จ�ำนวน 284 ราย

6. การพัฒนาพฤตินิสัยและฝึกอาชีพ กรมคุมประพฤติ ได้ด�ำเนินการให้ส�ำนักงาน คุมประพฤติทงั้ 15 แห่ง ได้แก่ ส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดนครปฐม ฉะเชิงเทรา ขอนแก่น นครราชสีมา กรุงเทพมหานคร 2 กรุงเทพมหานคร 4 ราชบุรี อุบลราชธานี ระยอง สมุทรปราการ ศรีสะเกษ เชียงราย ชลบุรี เชียงใหม่ และสุรินทร์ จัดโครงการ พั ฒ นาพฤติ นิ สั ย และฝึ ก อาชี พ โดยมี ผู ้ เ ข้ า ร่ ว ม โครงการ จ�ำนวนทัง้ สิน้ 333 คน ผลการจัดโครงการ ในภาพรวม ผู้กระท�ำผิดได้รับความรู้ความเข้าใจ การท�ำงานร่วมกับผู้อื่น และมีเจตคติที่ดีต่อการ ท�ำงานและประกอบอาชีพ ทั้งยังมีโอกาสเข้าสู่ ระบบแรงงาน ประกอบอาชีพอิสระ เพือ่ ให้มรี ายได้ เลี้ยงตนเองและครอบครัว รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

70


ส่วนที่ 4 ผลงานที่ส�ำคัญ

7. การส่งเสริมและพัฒนาด้านการประกอบอาชีพ กรมคุ ม ประพฤติ โ อนงบประมาณให้ กั บ ส�ำนักงานคุมประพฤติทั่วประเทศจัดการฝึกอบรม โครงการส่งเสริมและพัฒนาด้านการประกอบอาชีพ เพือ่ สร้างแรงจูงใจในการประกอบอาชีพได้มโี อกาส เข้าสู่ระบบแรงงานและการประกอบอาชีพอิสระ เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาครัฐและเอกชน ด�ำเนินการฝึกอบรมแล้ว จ�ำนวน 127 ครั้ง โดยมี ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการฯ รวมจ� ำ นวน 5,212 คน ซึ่ ง มี ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการฯ เกิ น กว่ า ที่ เ ป้ า หมาย (3,630) ก�ำหนด จ�ำนวน 1,582 ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2561) โดยเบิกจ่ายงบประมาณ 2,312,156.60 บาท 8. การจ้างบุคลากรช่วยปฏิบัติงานโครงการ คืนคนดี กรมคุ ม ประพฤติ ไ ด้ ด� ำ เนิ น การจ้ า งเหมา เจ้าหน้าที่ช่วยปฏิบัติงานโครงการคืนคนดีสู่สังคม แล้ ว จ� ำ นวน 6 อั ต รา โดยเริ่ ม จ้ า งตั้ ง แต่ เ ดื อ น กุมภาพันธ์ถงึ วันที่ 30 กันยายน 2561 มีการเบิกจ่าย งบประมาณ จ�ำนวน 649,080.69 บาท

9. ระบบสารสนเทศ โครงการคืนคนดีสู่สังคม กรมคุมประพฤติ ด�ำเนินการ จัดซือ้ จัดจ้างโดย บริษทั เอ็นพีซี โซลชั่น แอนด์ เซอร์วิส จ�ำกัด พัฒนาระบบสารสนเทศคืนคนดี เพือ่ รองรับการด�ำเนินงานเกีย่ วกับ โ ค ร ง ก า ร คื น ค น ดี สู ่ สั ง ค ม ประกอบด้วย การบริหารจัดการงบประมาณการ บริ ห ารจั ด การจ้ า งงาน การจ้ า งเหมาบุ ค ลากร การฝึ ก อบรม มี ก ารเบิ ก จ่ า ยงวดที่ 1 จ� ำ นวน 233,000 บาท ขณะนี้อยู่ระหว่างตรวจรับงาน งวดที่ 2 รวมมี ก ารเบิ ก จ่ า ยแล้ ว ทั้ ง สิ้ น จ� ำ นวน 2,974,645.10 บาท 10. การติดตามผลโครงการคืนคนดีสู่สังคม กองพัฒนาการคุมประพฤติ โดยกลุม่ พัฒนางาน สงเคราะห์ผู้กระท�ำผิดได้ด�ำเนินการติดตามผล โครงการคืนคนดีสู่สังคมและเยี่ยมเยียนผู้เข้าร่วม โครงการฯ ในพืน้ ทีจ่ งึ หวัดทีม่ กี ารจ้างงานผูก้ ระท�ำผิด หรื อ ผู ้ พ ้ น โทษ ครอบคลุ ม ทั้ ง 3 กรม จ� ำ นวน 18 จงั หวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร พระนครศรีอยุธยา ราชบุ รี นครราชสี ม า ชั ย ภู มิ ลพบุ รี เชี ย งราย พะเยา นครสวรรค์ สงขลา สตูล เชียงใหม่ พิจิตร ก� ำ แพงเพชร ปทุ ม ธานี ยโสธร สระแก้ ว และ ปัตตานี และมีการเบิกจ่ายงบประมาณ จ�ำนวน 223,255.54 บาท โดยการสัมภาษณ์ผู้อ�ำนวยการ ผู้บัญชาการ หัวหน้าหน่วยงาน ผู้แทนหน่วยงาน เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการและผู้กระท�ำผิด หรือผูพ้ น้ โทษ รวมจ�ำนวน 243 ราย โดยมีการติดตาม แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

71


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

1. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความพึงพอใจ ในระดับมาก เนือ่ งจากเป็นการให้โอกาสผูท้ เ่ี คยกระท�ำ ความผิ ด ได้ เ ริ่ ม ต้ น ในการปรั บ ตั ว เข้ า กั บ สั ง คม เป็ น การฝึ ก การมี วิ นั ย การอยู ่ ใ นกฎระเบี ย บ การตรงต่อเวลา การสร้างความส�ำนึกและความซือ่ สัตย์ ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ทั้ ง ยั ง เป็ น การสร้ า งภาพลั ก ษณ์ ข องผู ้ พ ้ น โทษ ให้ เ กิ ด การยอมรั บ จากครอบครั ว ชุ ม ชนและ สังคม เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้กระท�ำผิดมีความ มั่ น ใจ เกิ ด การยอมรั บ ตนเองและกล้ า ที่ จ ะ เปิดใจเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทัศนคติทางลบ ต่อสังคมและไม่กลับไปกระท�ำผิดซ�้ำ อีกทั้งการ เข้าร่วมโครงการฯ ยังท�ำให้มีรายได้เลี้ยงดูตนเอง และครอบครัว มีรายได้เก็บสะสมเพื่อเป็นทุนการ ศึกษา (กศน.) ให้กับตนเอง และเป็นการเตรียม ความพร้อมเพื่อจะออกไปท�ำงานในหน่วยงานอื่น ต่อไปในอนาคต โดยสามารถน�ำความรูท้ ไี่ ด้จากการ จ้างงานในหน่วยงานภาครัฐไปใช้ในการประกอบ อาชีพต่อไปได้

2. เจ้ า หน้ า ที่ ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบโครงการฯ มี ค วามพึ ง พอใจในระดับมาก เนื่องจากเป็นการ เปิ ด โอกาสผู ้ ที่ เ คยกระท� ำ ความผิ ด ให้ มี ง านท� ำ มี ค วามรู ้ แ ละทั ก ษะในการประกอบอาชี พ ใน หน่วยงานอืน่ ๆ ในอนาคต โดยผูเ้ ข้าร่วมโครงการฯ มี ค วามสามารถและช่ ว ยเหลื อ ในหน่ ว ยงานที่ จ้างงานได้ ท�ำให้งานของหน่วยงานบรรลุส�ำเร็จ ลุล่วงได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งผู้กระท�ำผิดหรือผู้พ้นโทษ ที่เข้าร่วมโครงการฯ สามารถเป็นแบบอย่างให้กับ องค์กรภาครัฐและเอกชน เพือ่ รับผูท้ เี่ คยกระท�ำผิด และผู้พ้นโทษเข้าร่วมท�ำงานได้ 3. ผูบ้ งั คับบัญชาหรือผูท้ ไี่ ด้รบั มอบหมาย มีความพึงพอใจในระดับมาก เนื่องจากเป็นการ เปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ได้มีการเตรียม ความพร้ อ มในการท� ำ งาน ทั้ ง ในลั ก ษณะงานที่ ได้รับมอบหมาย ซึ่งมีผลการปฏิบัติงานที่ดี และ ผู้เข้าร่วมโครงการฯ สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคม การท�ำงาน อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี อีกทั้งมี รายได้เลี้ยงดูตนเองและครอบครัว ซึ่งผู้เข้าร่วม โครงการฯ สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับหน่วย งานภาครัฐและเอกชนในการปรับทัศนคติที่ดีต่อ ผู้ที่เคยกระท�ำความผิดและเป็นการเปิดโอกาส ในการรับเข้าท�ำงาน

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

72


ส่วนที่ 4 ผลงานที่ส�ำคัญ

1.10 โครงการบ้านกึ่งวิถี

บ้ า นกึ่ ง วิ ถี กรมคุ ม ประพฤติ เ ป็ น สถานที่ รองรั บ ผู ้ ต ้ อ งหาหรื อ ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ในทุ ก ภารกิ จ ของกรมคุ ม ประพฤติ ที่ มี ค วามสมั ค รใจเข้ า อยู ่ ในความดู แ ลของบ้ า นกึ่ ง วิ ถี ได้ แ ก่ ผู ้ ถู ก คุ ม ความประพฤติ ผูพ้ น้ จากการคุมความประพฤติ ทัง้ ที่ เป็นเด็กและเยาวชน ผู้ใหญ่ ผู้ได้รับการพักการ ลงโทษและลดวั น ต้ อ งโทษจ� ำ คุ ก ผู ้ อ ยู ่ ร ะหว่ า ง การฟืน้ ฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติด ผูผ้ า่ นการฟืน้ ฟู สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ผู้ได้รับการปล่อยตัว เมือ่ พ้นโทษหรือได้รบั พระราชทานอภัยโทษเด็กและ เยาวชนทีพ่ น้ จากการฝึกและอบรมตามค�ำพิพากษา ทีไ่ ม่มพี กั อาศัยหรือ มีแต่ยงั ไม่สามารถปรับตัวให้กบั ครอบครัวหรือชุมชนได้ให้มีที่พักอาศัยชั่วคราว เพื่อให้ผู้เข้ารับบริการสามารถปรับตัวและมีความ พร้อมที่จะออกไปใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างมั่นใจ รวมทั้งสนับสนุนด้านการหางานและฝึกอาชีพ

ผลจากการน�ำระบบบ้านกึ่งวิถีมาใช้ในการ สงเคราะห์ช่วยเหลือและแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิด ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 เป็นต้น มีบ้าน กึง่ วิถที ไี่ ด้รบั รองให้เป็นบ้านกึง่ วิถขี องกรมคุมประพฤติ จ� ำ นวน 134 แห่ ง ครอบคลุ ม ทั่ ว ประเทศทุ ก ส�ำนักงานคุมประพฤติ และอยู่ระหว่างด�ำเนินการ ประกาศก�ำหนดสถานทีเ่ พือ่ ให้การสงเคราะห์บคุ คล ตามมาตรา 41 แห่งพระราชบัญญัติคุมประพฤติ พ.ศ. 2559 และระเบียบกระทรวงยุติธรรม ว่าด้วย การสงเคราะห์ พ.ศ. 2560 หมวด 3 เรื่องสถานที่ เพื่อให้การสงเคราะห์โดยการพัฒนาบ้า นกึ่งวิถี ที่ มี ห รื อ ส ถ า น ที่ อื่ น ป ร ะ ส ง ค ์ เ ป ็ น ส ถ า น ที่ เพื่อให้การสงเคราะห์ ผู้กระท�ำผิดทั้งในระหว่าง คุมความประพฤติระหว่างการฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู ้ ติ ด ยาเสพติ ด และภายหลั ง ปล่ อ ยรวมทั้ ง สิ้ น 3,339 ราย

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

73


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

1.11 การพัฒนาคุณภาพสถานทีเ่ พือ ่ การฟืน ้ ฟูสมรรถภาพผูต ้ ด ิ ยาเสพติดแบบควบคุมตัว ให้เป็นไปตามมาตรฐาน

กรมคุ ม ประพฤติ กระทรวงยุ ติ ธ รรม เป็นหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบในการด�ำเนินการบ�ำบัด ฟืน้ ฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติด ตามพระราชบัญญัติ ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.2545 และ มีหน่วยงานพหุภาคีร่วมด�ำเนินงานเป็นสถานที่ เพื่ อ การฟื ้ น ฟู ส มรรถภาพผู ้ ติ ด ยาเสพติ ด แบบ ควบคุ ม ตั ว ได้ แ ก่ กองทั พ บก กองทั พ อากาศ ก อ ง ทั พ เ รื อ ก อ ง บั ญ ช า ก า ร ก อ ง ทั พ ไ ท ย ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ และกรมการปกครอง ดังนั้น เพื่อให้สถานที่เพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติดแต่ละแห่งด�ำเนินการบ�ำบัดฟื้นฟูฯ ให้ เ ป็ น ไปตามข้ อ ก� ำ หนดและเกณฑ์ ม าตรฐาน ส�ำหรับสถานที่เพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยา เสพติ ด ในระบบบั ง คั บ บ� ำ บั ด จึ ง มี ค วามจ� ำ เป็ น ต้องมีการติดตามและประเมินผล เพื่อให้กลไก ในการกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาระบบงานภายใน ของสถานที่ เ พื่ อ การฟื ้ น ฟู ฯ อย่ า งเป็ น ระบบ ทั้ ง องค์ ก ร ท� ำ ให้ เ กิ ด การเรี ย นรู ้ มี ก ารพั ฒ นา ตนเองอย่างสม�่ำเสมอและมีแนวทางในการพัฒนา

คุณภาพระบบบริการครอบคลุมในเชิงโครงสร้าง และกระบวนการของการให้บริการบ�ำบัดฟื้นฟูฯ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ได้รับบริการที่ดีทั้งในด้านร่างกายจิตใจ อารมณ์ สั ง คม และด้ า นอาชี พ โดยคณะอนุ ก รรมการ ด้ า นการพั ฒ นาและรั บ รองคุ ณ ภาพสถานฟื ้ น ฟู สมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติด ซึง่ มีอธิบดีกรมการแพทย์ เป็ น ประธานคณะอนุ ก รรมการฯ รองอธิ บ ดี กรมคุมประพฤติทอี่ ธิบดีกรมคุมประพฤติมอบหมาย เป็ น รองประธานฯ และผู ้ แ ทนของหน่ ว ยงาน ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง โดยมี ผู ้ แ ทนกองพั ฒ นาการฟื ้ น ฟู สมรรถภาพผู ้ ติ ด ยาเสพติ ด กรมคุ ม ประพฤติ เป็นเลขานุการฯ ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มีสถานที่เพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ผ่านการรับรองคุณภาพและต่ออายุการรับรอง คุณภาพ จ�ำนวน 24 แห่ง ดั ง นั้ น เพื่ อ เป็ น การรั บ รองว่ า สถานที่ เ พื่ อ การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดได้ผ่านการ รั บ รองคุ ณ ภาพและต่ อ อายุ ก ารรั บ รองคุ ณ ภาพ

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

74


ส่วนที่ 4 ผลงานที่ส�ำคัญ

ตามข้ อ ก� ำ หนดและเกณฑ์ ม าตรฐานส� ำ หรั บ สถานที่เพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด แบบควบคุ ม ตั ว รวมทั้ ง เป็ น การสร้ า งขวั ญ และ ก�ำลังใจแก่ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานของ สถานที่เพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม จึงได้จัดพิธี มอบโล่เชิดชูเกียรติยศให้กับสถานที่เพื่อการฟื้นฟู สมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติดแบบควบคุมตัว ทีผ่ า่ นการ รั บ รองคุ ณ ภาพและต่ อ อายุ ก ารรั บ รองคุ ณ ภาพ ในงานประชุมวิชาการยาเสพติดแห่งชาติ ครัง้ ที่ 19 ปี 2561 เมือ่ วันที่ 4 กรกฎาคม 2561 ณ ห้องประชุม แกรนด์ ไดมอน บอลรูม อิมแพ็ค ฟอรัม เมืองทองธานี จั ง หวั ด นนทบุ รี โดยศาสตราจารย์ เ กี ย รติ คุ ณ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย องคมนตรี ประธานในพิธี เป็นผู้มอบโล่ และนายมณฑล แก้วเก่า รองอธิบดี กรมคุ ม ประพฤติ เป็ น ผู ้ เ ชิ ญ ผู ้ แ ทนสถานที่ เพื่ อ การบ� ำ บั ด ฟื ้ น ฟู ส มรรถภาพผู ้ ติ ด ยาเสพติ ด แบบควบคุมตัวรับมอบโล่จากประธานในพิธี

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

75


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

2. การบูรณาการการแก้ไขฟื้นฟู ติดตาม ดูแลช่วยเหลือและสงเคราะห์ ผู้กระท�ำผิด 2.1 โครงการอบรมพั ฒ นาศั ก ยภาพอาสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ เ พื่ อ การแก้ ไ ขฟื ้ น ฟู ผู้กระท�ำผิดในชุมชน

เนื่ อ งในโอกาสวั น อาสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ วั น ที่ 16 มี น าคม 2561 เพื่ อ แสดงพลั ง การ มี ส ่ ว นร่ ว มของอาสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ ใ น การขับเคลื่อนนโยบายของกรมคุมประพฤติและ กระทรวงยุ ติ ธ รรมที่ จ ะท� ำ ให้ ป ระชาชนได้ รั บ ความเป็ น ธรรมและได้ รั บ ความช่ ว ยเหลื อ ดู แ ล และเป็ น การเชิ ด ชู เ กี ย รติ ข องอาสาสมั ค ร คุ ม ประพฤติ กระทรวงยุ ติ ธ รรม จึ ง ได้ จั ด ให้ มี ก ารมอบเครื่ อ งราชอิ ส ริ ย าภรณ์ อั น เป็ น ที่ ส รรเสริ ญ ยิ่ ง ดิ เ รกคุ ณ าภรณ์ พร้ อ มกั บ ใบประกาศเกี ย รติ คุ ณ อาสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ ที่ ป ฏิ บั ติ ง าน มาเป็ น เวลา 25 ปี ซึ่ ง เป็ น ผู ้ ที่ เสียสละอุทิศก�ำลังกาย ก�ำลังใจ เวลา ตลอดจน

ก�ำลังทรัพย์ เพื่อช่วยเหลือสังคมและประโยชน์ ส่วนรวม โดยมีผู้ร่วมโครงการ จ�ำนวน 990 คน มี อ าสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ ผู ้ ไ ด้ รั บ มอบเครื่ อ ง ราชอิสริยาภรณ์อนั เป็นทีส่ รรเสริญยิง่ ดิเรกคุณาภรณ์ จ� ำ นวน 92 คน ผู ้ เ ข้ า รั บ ใบประกาศเกี ย รติ คุ ณ อาสาสมัครคุมประพฤติที่ปฏิบัติงานมาเป็นเวลา 25 ปี จ� ำ นวน 109 คน ทั้ ง นี้ ในงานดั ง กล่ า ว มีการบรรยายพิเศษในหัวข้อ บทบาทของอาสาสมัคร คุมประพฤติในประเทศญี่ปุ่น โดย Mr.Satoshi Minoura (Professor of UNAFEI) ถือเป็นการ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ป ระสบการณ์ ก ารท� ำ งาน ด้ า นอาสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ ซึ่ ง เป็ น ประโยชน์ ต่ อ การพั ฒ นางานอาสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ ของประเทศไทยต่อไป

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

76


ส่วนที่ 4 ผลงานที่ส�ำคัญ

2.2 โครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพอาสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ ร ะดั บ ต� ำ บลเพื่ อ เป็ น กลไก การให้บริการงานคุมประพฤติในพื้นที่

เพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติงาน ของอาสาสมัครคุมประพฤติในการปฏิบัติหน้าที่ กรรมการศูนย์ยุติธรรมชุมชน กรมคุมประพฤติ จึ ง ได้ ก� ำ หนดจั ด โครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพ อาสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ เ พื่ อ เป็ น กลไกการให้ บริ ก ารงานคุ ม ประพฤติ ใ นพื้ น ที่ ขึ้ น เพื่ อ รองรั บ การขั บ เคลื่ อ นศู น ย์ ยุ ติ ธ รรมชุ ม ชน และเพื่ อ ให้ ประชาชนเข้าถึงความยุติธรรมได้อย่างทั่วถึง โดย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ได้ด�ำเนินการจัด โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครคุมประพฤติ เพื่ อ เป็ น กลไกการให้ บ ริ ก ารงานคุ ม ประพฤติ ในพื้ น ที่ จ� ำ นวน 110 ส� ำ นั ก งานมี อ าสาสมั ค ร คุมประพฤติเข้าร่วมทั้งหมด จ�ำนวน 10,159 คน ท� ำ ให้ อ าสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ ดั ง กล่ า วเข้ า มา มี ส ่ ว นร่ ว มในการเป็ น ผู ้ ป ระสานงานในพื้ น ที่ ร่วมกับภาครัฐ และภาคประชาชนในการแก้ไขฟืน้ ฟู ติดตาม ดูแล ช่วยเหลือและสงเคราะห์ผกู้ ระท�ำผิด ในชุ ม ชน มี ศั ก ยภาพในการให้ บ ริ ก ารงาน คุ ม ประพฤติ แ ละยุ ติ ธ รรมชุ ม ชนในพื้ น ที่ และ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ก รรมการศู น ย์ ยุ ติ ธ รรมชุ ม ชน ต�ำบล

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

77


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

3. ระบบงานคุมประพฤติเพื่อให้บริการแบบดิจิทัล (Probation Digital Service : PDS)

กรมคุมประพฤติ ได้น�ำเทคโนโลยีมาประยุกต์ ใช้ในการคุมความประพฤติ และการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่ในการท�ำส�ำเนาคดีให้อยู่ในรูปแบบ ดิจทิ ลั เพือ่ เป็นการเพิม่ ประสิทธิภาพ ความถูกต้องของ ข้อมูล เพิ่มช่องทางการให้บริการ ลดขั้นตอน และ เกิดความคุม้ ค่าในการใช้ทรัพยากรให้มปี ระสิทธิภาพ ตอบสนองนโยบาย Probation 4.0 โดยระบบงาน คุมประพฤติเพื่อให้บริการแบบดิจิทัล มีดังนี้ การให้บริการแบบดิจิทัล (Digital Service) ประกอบด้วย 1. เครื่ อ งรั บ รายงานตั ว แบบอั จ ฉริ ย ะ (Kiosk) ใช้ ใ นการรั บ รายงานตั ว เบื้ อ งต้ น ของ ผู ้ ถู ก คุ ม ความประพฤติ ก ่ อ นรั บ ค� ำ ปรึ ก ษาจาก พนักงานคุมประพฤติและใช้ในการเรียกดูข้อมูล เกีย่ วกับคดี เงือ่ นไขทีศ่ าลสัง่ ตารางกิจกรรมก�ำหนด นัดหมาย การท�ำงานบริการสังคม รวมทัง้ การขอรับ บริการต่างๆ 2. Mobile Application ส�ำหรับผู้ถูกคุม ความประพฤติ จะเป็นช่องทางในการติดต่อกับ พนักงานคุมประพฤติ สามารถตรวจสอบตาราง กิจกรรมและก�ำหนดนัดรายงานตัว รับการแจ้งเตือน ให้เข้าร่วมกิจกรรมและการรายงานตัว และขอรับ การช่วยเหลือสงเคราะห์ 3. Mobile Application ส�ำหรับพนักงาน คุมประพฤติ ใช้ในการปฏิบัติงาน การบริหารงาน คดีในความรับผิดชอบ เพิ่มช่องทางในการติดตาม และสื่อสารกับผู้ถูกคุมความประพฤติ ส�ำนักงาน คุมประพฤติแบบดิจทิ ลั (Digital Office) ประกอบด้วย

1. การจัดเก็บลายพิมพ์นวิ้ มือในรูปแบบดิจทิ ลั และการใช้ บั ต รประชาชนแบบ Smart Card ใช้ในการพิสูจน์อัตลักษณ์ในการรายงานตัว การให้ ถ้อยค�ำ และลดขั้นตอนในการติดต่อรับบริการ 2. การสอบปากค�ำแบบดิจทิ ลั โดยใช้โปรแกรม แปลงเสี ย งเป็ น ข้ อ ความมาใช้ เ พื่ อ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ในส�ำนวนคดี ร่วมกับการลงนามอิเล็กทรอนิกส์ การเชือ่ มโยงข้อมูล เพือ่ ตรวจสอบและบันทึกข้อมูล ที่ส�ำคัญในระบบสารสนเทศ 3. ส�ำนวนคดีดจิ ทิ ลั โดยจัดเก็บข้อมูลส�ำนวนคดี ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์เพือ่ ลดการใช้กระดาษและ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการจั ด ท� ำ ฐานข้ อ มู ล และ การส่งต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงาน

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

78


ส่วนที่ 4 ผลงานที่ส�ำคัญ

4. โครงการในพระด�ำริ 4.1 โครงการก� ำ ลั ง ใจในพระด� ำ ริ พ ระเจ้ า หลานเธอ พระองค์ เ จ้ า พั ช รกิ ติ ย าภา น้ อ มน� ำ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิด

พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ได้ทรงก่อตั้ง “โครงการก�ำลังใจ” ขึ้นเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2549 และทรงผลักดันโครงการก�ำลังใจ ให้เป็นที่ประจักษ์ ในสายตานานาชาติและน�ำไปสู่ การจัดท�ำข้อก�ำหนดกรุงเทพฯ (Bangkok Rules) ในปี พ.ศ. 2553 และได้ทรงริเริม่ งานใหม่ซงึ่ เป็นการ ต่อยอดโครงการก�ำลังใจ โดยทรงน้อมน�ำหลักปรัชญา เศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาใช้ ใ นการประทานความ ช่ ว ยเหลื อ และ “โอกาส” ให้ แ ก่ ผู ้ ต ้ อ งขั ง ที่ จ ะ ได้รบั อิสภาพเพือ่ พวกเขาจะได้มคี วามพร้อมในการ กลับมาใช้ชีวิตใหม่ในโลกภายนอกเรือนจ�ำอีกครั้ง ภายใต้ชื่อ “โครงการก�ำลังใจในพระด�ำริพระเจ้า หลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิตยิ าภา ในการน้อมน�ำ เศรษฐกิจพอเพียง มาปรับใช้ในเรือนจ�ำ” ตั้งแต่ เมษายน 2553 เป็นต้นมา

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

79


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กรมคุมประพฤติ ได้ด�ำเนินการติดตาม ดูแล ช่วยเหลือผู้ต้องขังที่ เข้าร่วมโครงการก�ำลังใจฯ ทีไ่ ด้รบั การปล่อยตัวจาก เรือนจ�ำ จ�ำนวน 1,433 ราย โดยมีผเู้ ข้าร่วมโครงการ ก� ำ ลั ง ใจที่ มี ภู มิ ล� ำ เนาอยู ่ ใ นพื้ น ที่ ข องส� ำ นั ก งาน 5 แห่ง จ�ำนวน 545 ราย และกระจายอยู่ในพื้นที่ ของส�ำนักงานคุมประพฤติ อืน่ ๆ อีก จ�ำนวน 888 ราย ซึง่ ผลจากการติดตามผูเ้ ข้าร่วมโครงการ ทีพ่ กั อาศัย ในเขตจังหวัดส�ำนักงานคุมประพฤติ ทั้ง 5 แห่ง จ� ำ นวน 545 ราย ได้ น� ำ หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ

พอเพียงไปปรับใช้ในการด�ำเนินชีวติ จ�ำนวน 392 ราย คิดเป็นร้อยละ 72 ถูกจับกุมด�ำเนินคดีอาญา จ�ำนวน 22 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.04 ไม่ได้ใช้ จ�ำนวน 94 ราย คิดเป็นร้อยละ 17.25 ย้ายไม่ทราบที่อยู่ จ�ำนวน 36 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.61 เสียชีวติ 1 ราย คิดเป็น ร้อยละ 0.18 ซึง่ แสดงว่าผูเ้ ข้าร่วมโครงการก�ำลังใจ สามารถน� ำ ความรู ้ ที่ ไ ด้ รั บ การอบรมหลั ก สู ต ร เกีย่ วกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ ในชีวิตประจ�ำวันได้ เป็นพลังให้ผู้พ้นโทษสามารถ ด�ำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข

4.2 โครงการ TO BE NUMBER ONE

กรมคุมประพฤติ ได้น้อมน�ำโครงการรณรงค์ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี มาบูรณาการเข้าสู่ภารกิจงาน ประจ�ำ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการดูแลช่วยเหลือ และแก้ไขฟื้นฟูฯ ผู้กระท�ำผิด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปลุกจิตส�ำนึกให้ผู้ถูกคุม ความประพฤติและผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพ

ผู้ติดยาเสพติดได้ร่วมกันสร้างกระแสนิยมที่เอื้อต่อ การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างถูกต้อง สร้างภูมคิ มุ้ กันทางจิตใจไม่ให้หวนกลับไปเกีย่ วข้อง กับยาเสพติด มีทักษะในการใช้ชีวิตที่ห่างไกลจาก ยาเสพติดตระหนักและเห็นคุณค่าในตนเอง และใช้ เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยการเข้าร่วมกิจกรรม ต่างๆ

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

80


ส่วนที่ 4 ผลงานที่ส�ำคัญ

ผลการด�ำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 1. ขยายการด�ำเนินงานโครงการ โดยจัดตั้ง และด�ำเนินงานชมรม TO BE NUMBER ONE ในส� ำ นั ก งานคุ ม ประพฤติ เพิ่ ม ขึ้ น อี ก 32 แห่ ง (32 ชมรม) ปัจจุบนั มีการจัดตัง้ ชมรม TO BE NUMBER ONE จ�ำนวน 119 ชมรม คิดเป็นร้อยละ 100 รวมทั้งสิ้น 54,519 คน 2. สนับสนุนชมรม TO BE NUMBER ONE ให้สามารถด�ำเนินการจัดตัง้ ศูนย์เพือ่ นใจ ซึง่ ปัจจุบนั มีการจัดตั้งศูนย์เพื่อนใจ จ�ำนวน 12 แห่ง ได้แก่ ส�ำนักงานคุมประพฤติกรุงเทพมหานคร 2 สำ� นักงาน คุ ม ประพฤติ จั ง หวั ด ชลบุ รี จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร จั ง หวั ด เลย จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดน่าน จังหวัดเพชรบูรณ์ จั ง หวั ด เพชรบุ รี จั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ์ และ ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดลาดหลุมแก้ว มีสมาชิกรวมทั้งสิ้น 828 คน 3. สนั บ สนุ น งบประมาณให้ ช มรม TO BE NUMBER ONE ของหน่ ว ยงานในสั ง กั ด กรมคุมประพฤติ จ�ำนวน 98 ชมรม ขับเคลื่อน การด�ำเนินงานด้วยการจัดกิจกรรมให้กับสมาชิก ชมรม TO BE NUMBER ONE ได้แก่ กิจกรรมอบรม ความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพสมาชิกชมรม กิจกรรม จิตอาสาและกิจกรรมเดินรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด เป็นต้น 4. ผลการด� ำ เนิ น งานที่ โ ดดเด่ น ของชมรม TO BE NUMBER ONE ของหน่ ว ยงานใน สั ง กั ด กรมคุ ม ประพฤติ ได้ แ ก่ การแก้ ไ ขฟื ้ น ฟู เด็ ก และเยาวชนด้ ว ยศิ ล ปะปู น ปั ้ น พญานาค การฝึ ก ศิ ล ปะป้ อ งกั น ด้ ว ย มวยไทยไชยา การฝึกอบรมอาชีพ กิจกรรมใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์ อาทิ การออกก�ำลังกาย การแข่งขันกีฬา

การเล่นดนตรี เป็นต้น การบริจาคโลหิตช่วยเหลือ เพื่อนมนุษย์ และกิจกรรมจิตอาสา 5. จัดท�ำฐานข้อมูลสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE ในระบบสารสนเทศกรมคุ ม ประพฤติ เพือ่ ให้การจัดเก็บข้อมูลมีมาตรฐาน สะดวก รวดเร็ว และง่ายต่อการประมวลผล 6. ร่วมจัดบูธนิทรรศการแสดงผลงานและ เฝ้ารับเสด็จองค์ประธานโครงการฯ ในงานมหกรรม รวมพลสมาชิก TO BE NUMBER ONE ประจ�ำปี 2561 ระหว่างวันที่ 13 – 15 กรกฎาคม 2561 โดยส่งชมรม TO BE NUMBER ONE จ�ำนวน 12 แห่ง ประกอบด้ ว ย ชมรม TO BE NUMBER ONE ในส� ำ นั ก งานคุ ม ประพฤติ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดล�ำพูน จังหวัดน่าน จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดตาก สาขา แม่สอด จังหวัดเพชรบุรี และศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติดลาดหลุมแก้ว 7. จัดอบรมความรู้การด�ำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE เพื่อเตรียมความพร้อม เข้าสู่การประกวดผลการด�ำเนินงานชุมรม TO BE NUMBER ONE ในปี พ.ศ. 2562 ให้กับเจ้าหน้าที่ ของหน่วยงานในสังกัดกรมคุมประพฤติ จ�ำนวน 26 แห่ง รวมทั้งสิ้น 57 คน

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

81


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

5. การพัฒนาบุคลากร

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มีเจตนารมณ์ส�ำคัญที่จะเปลี่ยนแปลง มุ ม มองต่ อ ระบบบริ ห ารข้ า ราชการ จากเดิ ม ที่ เน้นพัฒนาข้าราชการให้มคี วามเชีย่ วชาญเฉพาะด้าน มาเป็นการให้ข้าราชการเป็นผู้รู้รอบ รู้ลึก และ เป็นแรงผลักดันต่อความส�ำเร็จขององค์กร รวมทั้ง ให้ขา้ ราชการปฏิบตั งิ านโดยมุง่ เน้นทีป่ ระชาชนและ สั ม ฤทธิ์ ผ ล ประกอบกั บ ปั จ จุ บั น ประเทศไทย ได้ ก ้ า วสู ่ ยุ ค Thailand 4.0 ซึ่ ง การพั ฒ นา ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ เ ป็ น หนึ่ ง ในกลยุ ท ธ์ ส� ำ คั ญ ที่ จ ะ ขั บ เคลื่ อ นประเทศไปสู ่ จุ ด หมาย รวมถึ ง การ ปรับเปลี่ยนภาครัฐเป็นรัฐบาลดิจิทัล ที่ข้าราชการ ทุกคนจะต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการสร้างและ พั ฒ นารั ฐ บาลดิ จิ ทั ล โดยการพั ฒ นาตนเอง ให้ เ ท่ า ทั น การเปลี่ ย นแปลงของเทคโนโลยี แ ละ น� ำ เทคโนโลยี ที่ มี อ ยู ่ ใ นปั จ จุ บั น มาใช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์สูงสุดในการท�ำงาน โดยจะต้องรู้ เข้าใจ และสามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลได้อย่างเหมาะสม

ร ว ม ทั้ ง ต ้ อ ง ติ ด ต า ม ทิ ศ ท า ง แ ล ะ แ น ว โ น ้ ม ของเทคโนโลยี อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง พร้ อ มปรั บ ตั ว ให้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนพัฒนา รู ป แบบ วิ ธี คิ ด และวิ ธี ก ารท� ำ งานให้ ส ามารถ ใช้ประโยชนจากข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยี อัจฉริยะ (Smart Technology) ได้อย่างปลอดภัย และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร ด้ ว ยเหตุ นี้ กรมคุ ม ประพฤติ จึ ง ต้ อ งพั ฒ นา บุ ค ลากรให้ ทั น ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงภายใต้ โ ลก ที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยการเชื่ อ มต่ อ แบบดิ จิ ทั ล โดยการ ปรั บ เปลี่ ย นบทบาท วิ ธี คิ ด และวิ ธี ป ฏิ บั ติ ง าน รวมถึ ง การพั ฒ นาความรู ้ ความสามารถของ บุคลากรในองค์กรให้สามารถตอบสนองต่อภารกิจ ขององค์กรได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ดังนัน้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กรมคุมประพฤติ ได้ ด� ำ เนิ น การจั ด โครงการต่ า งๆ เพื่ อ พั ฒ นา ขีดสมรรถนะของบุคลากรกรมคุมประพฤติ ดังนี้

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

82


ส่วนที่ 4 ผลงานที่ส�ำคัญ

5.1 โครงการฝึกอบรมหลักสูตร พนักงานคุมประพฤติ รุน ่ ที่ 36 และรุน ่ ที่ 37

เป็นโครงการที่มุ่งเน้นให้พนักงานคุมประพฤติ มี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจกฎหมายเกี่ ย วกั บ งาน คุมประพฤติ งานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน รวมถึงให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีเทคนิคและทักษะ ในการปฏิ บั ติ ง าน การบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมายและ แก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิดอย่างมีคุณภาพและเป็น มาตรฐานเดี ย วกั น ตลอดจนได้ รั บ การปลู ก ฝั ง คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และค่ า นิ ย มองค์ ก ร รวมทั้งการหล่อหลอมความรัก ความสามัคคี และ การเสริมสร้างสัมพันธ์ภาพระหว่างผูเ้ ข้ารับการอบรม อันจะเป็นประโยชน์ต่อการประสานความร่วมมือ ในการท�ำงานต่อไป

การฝึกอบรมหลักสูตรพนักงานคุมประพฤติ รุน่ ที ่ 36 ประกอบด้วย กลุม่ ข้าราชการ ต�ำแหน่งพนักงาน คุมประพฤติบรรจุใหม่/เปลีย่ นสายงาน/โอนมาจาก หน่วยงานอืน่ สังกัดกรมคุมประพฤติ จ�ำนวน 58 คน และข้ า ราชการสั ง กั ด กรมพิ นิ จ และคุ ้ ม ครอง เด็กและเยาวชน จ�ำนวน 1 คน และข้าราชการสังกัด กรมราชทัณฑ์ จ�ำนวน 1 คน รวมจ�ำนวนทั้งสิ้น 60 คน และโครงการฝึกอบรมหลักสูตรพนักงาน คุมประพฤติ รุน่ ที่ 37 ประกอบด้วย กลุม่ ข้าราชการ ต�ำแหน่งพนักงานคุมประพฤติบรรจุใหม่/ เปลี่ ย น สายงาน/โอนมาจากหน่ ว ยงานอื่ น และกลุ ่ ม พนักงานราชการ ต�ำแหน่งพนักงานคุมประพฤติ ที่ บ รรจุ ใ นช่ ว งวั น ที่ 4 – 29 มิ ถุ น ายน 2561 รวมจ�ำนวนทั้งสิ้น 919 คน

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

83


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

5.2 โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านภาษา เพือ ่ การปฏิบต ั ง ิ านกับผูก ้ ระท�ำผิดอาเซียน

กรมคุมประพฤติเป็นหน่วยงานด้านการปฏิบตั ิ ต่ อ ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ในชุ ม ชน ซึ่ ง ได้ น� ำ หลั ก การตาม ข้ อ ก� ำ หนดมาตรฐานขั้ น ต�่ ำ แห่ ง องค์ ก าร สหประชาชาติส�ำหรับมาตรการไม่ควบคุมตัว หรือ ข้อก�ำหนดโตเกียว (The United Nations Standard Minimum Rules for Non-Custodial Measures: The Tokyo Rules) มาเป็นกรอบในการบริหาร จัดการ การด�ำเนินงาน และการปฏิบตั ติ อ่ ผูก้ ระท�ำผิด ในความรั บ ผิ ด ชอบ ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ บุ ค ลากร กรมคุ ม ประพฤติ ไ ด้ รั บ การพั ฒ นาความรู ้ แ ละ ทักษะด้านภาษาเพื่อใช้ปฏิบัติงานกับผู้กระท�ำผิด อาเซียนทีส่ อดคล้องตามความจ�ำเป็นของส�ำนักงาน คุมประพฤติในแต่ละเขตพื้นที่ โดยมีผู้เข้าอบรม ประกอบด้ ว ย บุ ค ลากรสั ง กั ด กรมคุ ม ประพฤติ ทั้งข้าราชการ และพนักงานราชการ ทุกต�ำแหน่ง โดยก�ำหนดจัดโครงการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2560 ถึงกันยายน 2561 รวมจ�ำนวนทั้งสิ้น 262 คน

5.3 โครงการอบรมผู้เชี่ยวชาญด้านภาษา ที่ใช้ในภูมิภาคอาเซียนเพื่อปฏิบัติงาน ด้านล่ามในระบบงานคุมประพฤติ

เนือ่ งจากปัจจุบนั มีผกู้ ระท�ำผิดต่างชาติภายใต้ การดูแลของกรมคุมประพฤติจ�ำนวนหนึ่งที่มาจาก ชาติอาเซียน และใช้ภาษาที่หลากหลาย ประกอบ กับกรมคุมประพฤติได้มีการตราพระราชบัญญัติ คุมประพฤติ พ.ศ. 2559 ที่รองรับการจัดหาล่าม เพื่อใช้ในกรณีผู้เสียหาย ผู้ถูกสืบเสาะและพินิจ ผูถ้ กู คุมความประพฤติ หรือผูเ้ กีย่ วข้อง ทีไ่ ม่สามารถพูด หรือเข้าใจภาษาไทย หรือภาษาถิน่ ได้ และส�ำนักงาน คุมประพฤติยังไม่มีบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ล่าม อย่างเต็มรูปแบบ ท�ำให้ต้องใช้ล่ามที่เป็นบุคลากร ภายนอก ซึ่งยังขาดความรู้ความเข้าใจที่แท้จริง เกี่ ย วกั บ งานคุ ม ประพฤติ ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพในการปฏิ บั ติ ง านกั บ ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ต่ า งชาติ แ ละจากชาติ อ าเซี ย นได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

84


ส่วนที่ 4 ผลงานที่ส�ำคัญ

เหมาะสม เป็นธรรม และเท่าเทียมกับผู้กระท�ำผิด ที่เป็นคนไทย ตลอดจนเป็นไปตามมาตรฐานสากล จึ ง ได้ จั ด โครงการอบรมผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นภาษา ที่ ใช้ ในภู มิภ าคอาเซียนเพื่อปฏิบัติง านด้านล่าม ในระบบงานคุมประพฤติขึ้น ทั้งนี้ เพื่อมุ่งเน้นการ เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับภารกิจงานคุมประพฤติ ให้กับผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาที่ใช้ในภูมิภาคอาเซียน เพื่อปฏิบัติงานด้านล่ามในระบบงานคุมประพฤติ และขึ้นทะเบียนผู้ที่เข้าร่วมโครงการฯ เป็นล่าม ส� ำ หรั บ สื่ อ สารในการปฏิ บั ติ ต ่ อ ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ต่ า งชาติ แ ละจากชาติ อ าเซี ย นตามภารกิ จ ของ กรมคุ ม ประพฤติ โดยมี ก ลุ ่ ม เป้ า หมายเป็ น ผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นภาษาที่ ใ ช้ ใ นภู มิ ภ าคอาเซี ย น รวมจ�ำนวนทั้งสิ้น 75 คน 5.4 โครงการเพือ ่ เข้ารับการทดสอบความสามารถคอมพิวเตอร์สากล (The International Computer Driving License : ICDL)

เพื่ อ ให้ บุ ค ลากรของกรมคุ ม ประพฤติ ไ ด้ รั บ การพั ฒ นาทั ก ษะความเข้ า ใจและการใช้ เ ทคโนโลยี ดิจิทัล (Digital Literacy) จึงได้จัดทดสอบความสามารถคอมพิวเตอร์สากล (The International Computer Driving License : ICDL) ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 โดยก�ำหนดกลุ่มเป้าหมายผู้ที่ ได้รับการทดสอบ จ�ำนวน 145 คน แบ่งออกเป็น 4 รุ่น ประกอบด้วย บุคลากรสังกัดหน่วยงานในส่วนกลาง ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด และส�ำนักงานคุมประพฤติกรุงเทพมหานคร 1 – 12 ซึ่งมีผู้เข้ารับ การทดสอบทั้งสิ้น จ�ำนวน 142 คน ผ่านการทดสอบ จ�ำนวน 96 คน คิดเป็นร้อยละ 67.61 และไม่ผ่าน การทดสอบ จ�ำนวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 32.39

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

85


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

6. การพัฒนาองค์กร 6.1 กรมคุมประพฤติได้รับประทานโล่ประกาศเกียรติคุณในการด�ำเนินการดีเด่นด้านการ ป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ประจ�ำปี 2561

กรมคุมประพฤติเป็นหน่วยงานทีม่ ภี ารกิจหลัก ในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ จ ราจรทางบก พ.ศ. 2522 ที่อยู่ในความดูแลของกรมคุมประพฤติ มีจํานวนมาก ซึง่ กรมคุมประพฤติได้มกี ารดําเนินการ ทั้งในส่วนของการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทําผิด ได้แก่ การส่งเสริมความรู้ และการกระตุน้ จิตสํานึกเพือ่ ให้ เกิดการลด ละ เลิก การดืม่ สุรา นอกจากนีย้ งั ดําเนินการ ในส่ ว นของการป้ อ งกั น สั ง คม โดยการรณรงค์ ในเรื่อง “เมาไม่ขับ” ในช่วงเทศกาลสําคัญ เช่น ปีใหม่ สงกรานต์ วันเข้าพรรษา เป็นต้นมาอย่าง ต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ให้ ป ระชาชนทั่ ว ไปได้ ต ระหนั ก ถึงอันตรายที่เกิดขึ้นจากการขับรถในขณะเมาสุรา เป็นการป้องปรามเพื่อลดอุบัติเหตุและลดความ สูญเสียของสังคม จนถือได้วา่ เป็นนโยบายที่สําคัญ ของกรมคุมประพฤติประการหนึง่ ซึง่ ในการดําเนิน กิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ กรมคุมประพฤติได้สง่ เสริมให้ เกิดการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วน เช่น อาสาสมัคร คุมประพฤติ ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ กระทรวง สาธารณสุข กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมการขนส่งทางบก องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในการร่วมกันรณรงค์ให้ประชาชนตระหนักถึงโทษ และผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ จากการขับรถขณะเมาสุรา ในทุกรูปแบบ เพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติ (Attitude) และลดแรงสนับสนุนในการดื่มสุรา อาทิ เช่น • กิจกรรมเกี่ยวกับการให้ผู้กระท�ำผิดในคดี ขับรถขณะเมาสุ ร าศึ ก ษาถึ ง ผลกระทบที่ เ กิ ด ขึ้ น

จากการขับรถขณะเมาสุราตามสถานโรงพยาบาล ต่างๆ เพื่อกระตุ้นจิตสํานึกของผู้กระทําผิดในการ ลด ละ เลิก การดื่มสุรา • โครงการถนนปลอดภั ย จากเมาไม่ ขั บ โดยการอบรมความรู้ให้กับผู้ถูกคุมความประพฤติ การรั บ ฟั ง เสี ย งสะท้ อ นจากเหยื่ อ เมาไม่ ขั บ การทํางานบริการสังคมดูแลผู้ป่วยจากอุบัติเหตุ • โครงการอุ บั ติ เ หตุ ล ด เพราะงดเหล้ า เข้าพรรษา • โครงการคุ ม ประพฤติ จิ ต อาสา ร่ ว มใจ ลดอุบัติเหตุทางถนน นอกจากนี้เพื่อเป็นการธ�ำรงไว้ซึ่งภาพลักษณ์ ขององค์กร และเป็นแบบอย่างที่ดีของหน่วยงานที่ ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การป้ อ งกั น และลดอุ บั ติ เ หตุ ทางถนน กรมคุมประพฤติจึงเน้นมาตรการลงโทษ ทางวินัยแก่ข้าราชการ ลูกจ้างประจ�ำ พนักงาน ราชการ และลูกจ้างชัว่ คราว ซึง่ กระท�ำความผิดฐาน ขั บ รถในขณะเมาสุ ร าในอั ต ราโทษขั้ น สู ง ของ ความผิดฐานนั้นๆ และจากการด�ำเนินโครงการ/

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

86


ส่วนที่ 4 ผลงานที่ส�ำคัญ

กิจกรรมดังกล่าวนี้ ท�ำให้กรมคุมประพฤติได้รับ ประทานโล่ประกาศเกียรติคุณในการด�ำเนินการ ดีเด่นด้านการป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ ประจ�ำปี 2561 ประกอบด้วย 1. ประเภทบุคคล มีอาสาสมัครคุมประพฤติ จ�ำนวน 2 ราย ได้แก่ นายนิพนธ์ ค�ำแถม อาสาสมัคร คุ ม ประพฤติ จั ง หวั ด เพชรบุ รี และนายประเชิ ญ สายทอง อาสาสมัครคุมประพฤติจังหวัดตาก 2. ประเภทองค์กร กรมคุมประพฤติได้รับ ประทานโล่ประกาศเกียรติคุณในการด�ำเนินการ

ดีเด่นด้านการป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ ประจ�ำปี 2561 โดยมีนางระพีพร ศรีสมบัตติ ระกูล ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านการควบคุม และสอดส่อง เป็นผูแ้ ทนเข้ารับประทานโล่ประกาศ เกียรติคุณในการด�ำเนินการดีเด่นด้านการป้องกัน ควบคุมการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ประจ�ำปี 2561 จากพระเจ้ า วรวงศ์ เ ธอพระองค์ เ จ้ า โสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุ เมือ่ วันที่ 18 กรกฎาคม 2561 ณ ลานโปรโมชั่น 2 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล อีสต์วิลล์ เขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร

6.2 การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินการของหน่วยงานภาครัฐ (ITA)

การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment - ITA) ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 เป็นการประเมินผลระดับคุณธรรม และความโปร่งใสในการด�ำเนินงาน เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนาด้านคุณธรรมและ ความโปร่งใส และเพือ่ ให้มกี ารจัดท�ำมาตรการในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตทัง้ ในระดับนโยบาย และในระดับปฏิบัติของหน่วยงานภาครัฐที่เข้ารับการประเมิน ซึ่งผลคะแนนการประเมินจะพิจารณา จากดัชนีทั้ง 5 ดัชนี ได้แก่ 1) ดัชนีความโปร่งใส 4) ดัชนีวัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร 2) ดัชนีความพร้อมรับผิด 5) ดัชนีคุณธรรมการท�ำงานในหน่วยงาน 3) ดัชนีความปลอดจากการทุจริตในการปฏิบัติงาน โดยประเมินผลจาก 3 แหล่งข้อมูล คือ 1. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment: EIT) 2. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment: IIT) 3. หลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence - Based Integrity and Transparency Assessment: EBIT)

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

87


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

เกณฑ์การแปลผลคะแนนคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงาน 80 – 100 คะแนน = มีระดับคุณธรรมและความโปร่งใสการด�ำเนินงานสูงมาก 60 – 79.99 คะแนน = มีระดับคุณธรรมและความโปร่งใสการด�ำเนินงานสูง 40 – 59.99 คะแนน = มีระดับคุณธรรมและความโปร่งใสการด�ำเนินงานปานกลาง ทั้ ง นี้ ผ ลการประเมิ น คุ ณ ธรรมและความโปร่ ง ใสในการด� ำ เนิ น งานของหน่ ว ยงานภาครั ฐ (ITA) ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของกรมคุมประพฤติ ในภาพรวมได้คะแนนเท่ากับร้อยละ 87.05 ซึง่ ถือว่า มีคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�ำเนินงาน ระดับสูงมาก

สรุปภาพรวมผลการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดำเนินงาน คะแนน ITA = 87.05 (ถวงน้ำหนัก)

77.80

ความโปรงใส

86.46

คุณธรรมการ ทำงานใน หนวยงาน

วัฒนธรรม คุณธรรมในองคกร

93.74

ดัชนี

89.87

ความพรอมรับผิด

ความปลอดจาก การทุจริตในการ ปฏิบัติงาน

91.31

1. ความโปรงใส

ระดับผล การประเมิน สูงมาก

คะแนนดัชนี ระดับผล (รอยละ) การประเมิน

2. ความความรับผิด

77.80 89.87

สูง สูงมาก

3. ความปลอดจากการทุจริต ในการปฏิบัติงาน

91.31

สูงมาก

4. วัฒนธรรมคุณธรรม ในองคกร

93.74

สูงมาก

5. คุณธรรมการทำงาน ในหนวยงาน

86.46

สูงมาก

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

88


ส่วนที่ 4 ผลงานที่ส�ำคัญ

7. โครงการ “โรงเรียนยุติธรรมอุปถัมภ์”

เด็กและเยาวชนมีบทบาทส�ำคัญต่อการพัฒนา ประเทศในด้ า นต่ า งๆ รวมถึ ง ด้ า นกระบวนการ ยุติธรรมเริ่มจากการปลูกฝังความคิด ค่านิยม และ ทัศนคติกบั เด็กและเยาวชนให้เคารพในความถูกต้อง ผ่านทางกิจกรรมการมีส่วนร่วมระหว่างเด็ก ครู ผู้ปกครองอย่างเป็นรูปธรรม โดยรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงยุ ติ ธ รรมได้ มี ข ้ อ สั่ ง การให้ ห น่ ว ยงาน ในสังกัดกระทรวงยุติธรรมบูรณาการร่วมมือกัน ระหว่างกระทรวงยุติธรรม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย และกรุงเทพมหานคร ด�ำเนิน โครงการ “โรงเรี ย นยุ ติ ธ รรมอุ ป ถั ม ภ์ ” ขึ้ น เพื่ อ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องกฎหมายและ กระบวนการยุติธรรมให้กับเด็กและเยาวชนมีวินัย ในตนเอง รู ้ เ ท่ า ทั น และห่ า งไกลยาเสพติ ด สามารถป้องกันตนเองจากภัยสังคมในปัจจุบันได้ กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม ได้เริ่ม ด� ำ เนิ น โครงการ “โรงเรี ย นยุ ติ ธ รรมอุ ป ถั ม ภ์ ” ตั้ ง แต่ ป ี ง บประมาณ 2561 โดยให้ ส� ำ นั ก งาน คุมประพฤติแต่ละจังหวัดประสานงานกับโรงเรียน ในเขตพื้นที่เพื่อท�ำกิจกรรมร่วมกัน ซึ่งมีผู้เข้าร่วม กิ จ กรรมฯ เป็ น นั ก เรี ย น/นั ก ศึ ก ษา ในโรงเรี ย น

ระดั บ ประถมศึ ก ษา จ� ำ นวน 43 แห่ ง ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา/อาชี ว ศึ ก ษา จ� ำ นวน 163 แห่ ง รวมทั้งสิ้น จ�ำนวน 206 แห่ง และกรมคุมประพฤติ ได้ จั ด ท� ำ คู ่ มื อ การจั ด โครงการโรงเรี ย นยุ ติ ธ รรม อุปถัมภ์ให้กับส�ำนักงานฯ เพื่อน�ำไปเป็นแนวทาง ในการจั ด กิ จ กรรมภายใต้ ชื่ อ “คุ ม ประพฤติ ใ ห้ ความรู้สู่เยาวชน” ร่วมกับผู้บริหารโรงเรียน ครู ผูป้ กครอง และกลุม่ นักเรียน โดยมีกรอบการด�ำเนินงาน 4 ด้ า น คื อ การป้ อ งกั น ตนเองจากภั ย สั ง คม การสร้างจิตส�ำนึกและวินัยในตนเอง การรู้เท่าทัน และห่ า งไกลจากยาเสพติ ด และการต่ อ ต้ า น การทุจริตคอร์รัปชั่น ในปี 2561 กรมคุมประพฤติโดยส�ำนักงาน คุมประพฤติลงพื้นที่ด�ำเนินงาน “โรงเรียนยุติธรรม อุ ป ถั ม ภ์ ” ร่ ว มกั บ สถาบันการศึกษาส�ำรวจข้อมูล พืน้ ฐานหรือสภาพปัญหาเบือ้ งต้นภายในโรงเรียน และ น�ำมาวิเคราะห์แยกแยะเด็กกลุม่ เสีย่ งและเด็กทัว่ ไป เพื่ อ น� ำ มาจั ด ท� ำ แผนก� ำ หนดระยะเวลาในการ จั ด กิ จ กรรม และก� ำ หนดสื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ เหมาะสมกับกลุม่ เป้าหมายในแต่ละช่วงวัย ซึง่ จะใช้ สือ่ ประชาสัมพันธ์ทกี่ ำ� หนดร่วมกันภายในกระทรวง

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

89


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

ยุ ติ ธ รรมมาเป็ น สื่ อ การสอนและให้ ค วามรู ้ เ รื่ อ ง กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม เช่น หนังสือ สื่อวีดีทัศน์ แผ่นเกม และสื่อ Application ผลการจัดกิจกรรมโครงการโรงเรียนยุติธรรม อุ ป ถั ม ภ์ ที่ ส� ำ นั ก งานคุ ม ประพฤติ ทั่ ว ประเทศ ด�ำเนินการในเดือนสิงหาคม – กันยายน 2561 มี ทั้ ง หมด 86 แห่ ง จ� ำ นวน 96 โรงเรี ย น และ กลุม่ เป้าหมายเป็นนักเรียน/นักศึกษา ระดับประถม ศึกษา มัธยมศึกษา และอาชีวศึกษา รวมจ�ำนวน ทั้ ง สิ้ น 18,280 คน โดยได้ จั ด กิ จ กรรมร่ ว มกั บ หน่ ว ยงานในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม อาทิ เ ช่ น กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน เรือนจ�ำ

ประจ� ำ จั ง หวั ด ส� ำ นั ก งานยุ ติ ธ รรมจั ง หวั ด และ ส�ำนักงาน ป.ป.ส. ร่วมกันจัดกิจ กรรมบรรยาย ให้ความรูก้ ารป้องกันตนเองให้หา่ งไกลจากยาเสพติด ด้ ว ย นอกจากนี้ เ ด็ ก ๆ ยั ง ได้ เ รี ย นรู ้ เ รื่ อ งราว ผ่านประสบการณ์ของผู้กระท�ำผิดที่เป็นเด็กและ เยาวชนจากสถานพิ นิ จ ฯ ได้ เ รี ย นการวาดภาพ ระบายสี เล่นเกมตอบค�ำถามชิงรางวัล และกิจกรรม นั น ทนาการอื่ น ๆ สอดแทรกลงไปในกิ จ กรรม เพื่อให้เด็กมีความพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม และภู มิ คุ ้ ม กั น รู ้ เ ท่ า ทั น ในการป้ อ งกั น ตนเอง จากภัยต่างๆ ไม่ให้ตกเป็นเหยื่อหรือต้องตกเป็น ผู้กระท�ำผิด

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

90


ส่วนที่ 4 ผลงานที่ส�ำคัญ

8. การด�ำเนินการตามบันทึกข้อตกลงระหว่างกรมคุมประพฤติกับหน่วยงาน อื่นๆ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 8.1 การด� ำ เนิ น การตามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงว่ า ด้ ว ยการประสานความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง กรมคุมประพฤติ กับธนาคารออมสิน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ส�ำนักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ประจ�ำปีงบประมาณ 2561

1. บั น ทึ ก ข้ อ ตกลงว่ า ด้ ว ยการประสาน ความร่วมมือด้วยการพัฒนาศักยภาพให้แก่เด็ก และเยาวชนในความดูแลของกรมประพฤติระหว่าง ธนาคารออมสิน ลงนามเมือ่ วันที ่ 26 ธันวาคม 2555 เป็ น การสร้ า งและขยายโอกาสในการกลั บ เข้ า สู ่ สั ง คมของเด็ ก และเยาวชนที่ อ ยู ่ ใ นความดู แ ล ของกรมคุ ม ประพฤติ ใ ห้ ก ลั บ เป็ น พลั ง ส� ำ คั ญ ในการพัฒนาประเทศชาติ โดยการให้การสนับสนุน และความช่วยเหลือด้านต่างๆ เช่น การศึกษา การประกอบอาชีพ ทรัพยากรด้านงบประมาณ เพื่อพัฒนาศักยภาพและทักษะชีวิตของเด็กและ เยาวชนให้พงึ่ พาตนเองได้ และส่งเสริมการจัดกิจกรรม ให้ แ ก่ เ ด็ ก และเยาวชนที่ อ ยู ่ ใ นความดู แ ลของ กรมคุมประพฤติให้มศี กั ยภาพและทักษะชีวติ ในการ

ด�ำรงตนที่เหมาะสม รวมทั้งมีระเบียบวินัยอดทน อดออมและวิถีชีวิตแบบพอเพียงชีวิต การด�ำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 เป็นการด�ำเนินการโครงการค่ายพัฒนาศักยภาพ เด็ ก และเยาวชนที่ อ ยู ่ ใ นความดู แ ลของกรม คุ ม ประพฤติ โดยได้ รั บ งบประมาณสนั บ สนุ น จากธนาคารออมสินในการด�ำเนินโครงการฯ จ�ำนวน 2,000,000 บาท (สองล้านบาทถ้วน) มีเด็กและ เยาวชนเข้าร่วมโครงการฯ จ�ำนวน 586 ราย 2. บั น ทึ ก ข้ อ ตกลงว่ า ด้ ว ยการประสาน ความร่ ว มมื อ ในการพั ฒ นาฝี มื อ แรงงานให้ กั บ ผู ้ ต ้ อ งหาและผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด กั บ กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน กระทรวงแรงงาน ลงนามเมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2556 เพือ่ ให้ผตู้ อ้ งหาและผูก้ ระท�ำผิดทีอ่ ยู่

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

91


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

ในความดู แ ลของกรมคุ ม ประพฤติ ไ ด้ มี โ อกาส พัฒนาตนเองเพือ่ เป็นพลเมืองดี มีคณ ุ ภาพ มีความรู้ ความสามารถในวิชาชีพ จนสามารถน�ำไปประกอบ อาชี พ เพื่ อ เพิ่ ม พู น สร้ า งรายได้ ข องตนเองและ ครอบครั ว รวมทั้ ง เป็ น การส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต ให้ ดี ขึ้ น ด้ ว ยการฝึ ก อบรมฝี มื อ แรงงาน ทั้ ง ฝึ ก เตรียมเข้าท�ำงาน ฝึกยกระดับฝีมือ และทดสอบ มาตรฐานฝีมือแรงงาน การด�ำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มีการส่งผูก้ ระท�ำผิดในความดูแลของกรมคุมประพฤติ เข้ารับการฝึกและเข้ารับการทดสอบมาตรฐานฝีมอื แรงงาน จ�ำนวน 151 ราย

3. บั น ทึ ก ข้ อ ตกลงว่ า ด้ ว ยความร่ ว มมื อ การจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย กั บ ส� ำ นั ก งานส่ ง เสริ ม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพือ่ ยกระดับการศึกษาให้แก่ผตู้ อ้ งหาและผูก้ ระท�ำผิด ในระบบงานคุ ม ประพฤติ ล งนามเมื่ อ วั น ที่ 20 มิถุนายน 2557 เพื่อด�ำเนินงานจัดการศึกษา ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน และหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ให้แก่ ผู้ต้องหาและผู้กระท�ำผิดในระบบงานคุมประพฤติ การด�ำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มีการส่งผูก้ ระท�ำผิดในความดูแลของกรมคุมประพฤติ เข้ารับการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ จ�ำนวน 39 ราย

8.2 การด�ำเนินการตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการประสานการจับกุม ผู้ถูกคุม ความประพฤติที่ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขและศาลออกหมายจับ และการเชื่อมโยงข้อมูล กับส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ

กรมคุมประพฤติและส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ได้ท�ำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการประสาน การจับกุมผู้ถูกคุมความประพฤติท่ีไม่ปฏิบัติตาม เงื่อนไขและศาลออกหมายจับ และการเชื่อมโยง ข้อมูลเพือ่ สนับสนุนการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องเจ้าหน้าที่ ทัง้ สองหน่วยงานในการสืบสวน สอบสวน การฟ้องคดี การสื บ เสาะและพิ นิ จ การคุ ม ความประพฤติ การป้องกันการกระท�ำความผิดซ�ำ้ เพือ่ รักษาความสงบ

เรียบร้อยของประชาชนให้เป็นไปด้วยความรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ จากการติดตามผลการด�ำเนินการตามบันทึก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ในการประสานจั บ กุ ม ผู้ถูกคุมความประพฤติและศาลออกหมายจับ และ การเชื่อมโยงข้อมูล พบว่าส�ำนักงานคุมประพฤติ มีการด�ำเนินการตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ในการประสานการจับกุมฯ โดยวิธีการประสาน ความร่ ว มมื อ กั น ในการประชุ ม หั ว หน้ า ส่ ว น ราชการในพื้นที่ การเข้าพบและการประสานงาน ระหว่างผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติและ ผู ้ บั ญ ชาการต� ำ รวจภู ธ รในพื้ น ที่ ท� ำ ให้ ส ามารถ ด�ำเนินการด้านประสานจับกุมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในหลายพื้นที่ นับเป็นการสร้างหลักประกันความ ปลอดภัยให้กับชุมชนจากผู้กระท�ำผิดในระบบงาน คุมประพฤติ

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

92


ส่วนที่ 4 ผลงานที่ส�ำคัญ

8.3 ข้ อ ตกลงว่ า ด้ ว ยการประสานความร่ ว มมื อ ในการให้ ผู ้ ถู ก คุ ม ประพฤติ ท� ำ งาน บริการสังคมหรือสาธารณประโยชน์ ระหว่าง กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธ์พ ุ ช ื กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กับกรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

เพื่ อ ให้ ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด คดี เ กี่ ย วกั บ ทรั พ ยากร ธรรมชาติและผูก้ ระท�ำผิดคดีอนื่ ๆ ได้มคี วามตระหนัก ถึ ง ความรั บ ผิ ด ชอบและมี จิ ต ส� ำ นึ ก ต่ อ สั ง คม และได้ ช ดเชยความเสี ย หายที่ ก ่ อ ขึ้ น รวมทั้ ง ช่วยพัฒนาประเทศชาติให้เกิดความยั่งยืน กรม คุ ม ประพฤติ จึ ง ก� ำ หนดแนวทางท� ำ งานบริ ก าร สังคมหรือสาธารณประโยชน์ของผู้ถูกคุมประพฤติ ในคดี ดั ง กล่ า ว ที่ มุ ่ ง เน้ น ให้ เ กิ ด การมี ส ่ ว นร่ ว ม ในการอนุ รั ก ษ์ แ ละรั ก ษาทรั พ ยากรธรรมชาติ ในรูปแบบกิจกรรมต่างๆ เช่น การท�ำแนวป้องกัน ไฟป่า การซ่อมหรือสร้างฝายชะลอน�ำ้ การเพาะพันธุ์ กล้าไม้แ ละปลู ก ต้ น ไม้ การด� ำ เนิ น การดั ง กล่ า ว กรมคุ ม ประพฤติ ไ ด้ มี ก ารบู ร ณาการร่ ว มกั บ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช อย่าง ต่อเนื่องจนน�ำมาสู่การจัดท�ำข้อตกลงว่าด้วยการ

ประสานความร่วมมือในการให้ผู้ถูกคุมประพฤติ ท�ำงานบริการสังคมหรือสาธารณประโยชน์ ระหว่าง กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา ่ และพันธ์พุ ชื กระทรวง ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม กั บ กรม คุมประพฤติ กระทรวงยุตธิ รรม ซึง่ ทัง้ สองหน่วยงาน ได้ ล งนามในบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงดั ง กล่ า ว เมื่ อ วั น ที่ 29 มิถุนายน 2561 นับว่าเป็นจุดเริ่มต้นส�ำคัญ ในการสร้างพลังการมีส่วนร่วมและการให้โอกาส กับผู้กระท�ำผิดได้มีความตระหนัก และกลับเป็น บุคลากรที่ส�ำคัญ ในการส่งเสริมการอนุรักษ์และ รักษาไว้ซงึ่ ทรัพยากรธรรมชาติอนั มีคา่ ของประเทศ โดยในปี 2562 จะมี ก ารขั บ เคลื่ อ นการด� ำ เนิ น กิจกรรมตามบันทึกข้อตกลงดังกล่าวให้ปรากฏผล ที่ครอบคลุมทั่วประเทศต่อไป

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

93


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

• ผู้บริหารกรมคุมประพฤติ •

นายประสาร มหาลี้ตระกูล

อธิบดีกรมคุมประพฤติ

นางอัญชลี พัฒนสาร

รองอธิบดีกรมคุมประพฤติ

นายพยนต์ สินธุนาวา

รองอธิบดีกรมคุมประพฤติ

นางสาวพวงแก้ว เชื้อเชย

รองอธิบดีกรมคุมประพฤติ

• ผู้เชี่ยวชาญกรมคุมประพฤติ •

นางยศวันต์ บริบูรณ์ธนา

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน การแก้ไขฟื้นฟูและกิจกรรมชุมชน

นางประไพพร เมธาภรณ์พงศ์

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน การควบคุมและสอดส่อง

94


• ผู้ตรวจราชการกรมคุมประพฤติ •

นางสุภาภรณ์ อ่อนฤทธิ์

หัวหน้าผู้ตรวจราชการ กรมคุมประพฤติ

นางมณีรัตน์ บุญฤทธิ์

นางสุดฤดี ศรีอรุณ

ผู้ตรวจราชการกรมคุมประพฤติ

ผู้ตรวจราชการกรมคุมประพฤติ

นางพรประภา แกล้วกล้า

นายเศวตนันท์ สุขพันธ์

ผู้ตรวจราชการกรมคุมประพฤติ

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

ผู้ตรวจราชการกรมคุมประพฤติ

95


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

• ผู้บริหารส่วนกลางกรมคุมประพฤติ •

นางนุสรา วงษ์สุวรรณ

ผูอ้ ำ� นวยการ กองพัฒนาการคุมประพฤติ

นางจ�ำเรียง สวัสดิวฒ ั น์ ณ อยุธยา

นางยศวันต์ บริบูรณ์ธนา

ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านการแก้ไขฟืน้ ฟู และกิจกรรมชุมชน ปฏิบตั ริ าชการในต�ำแหน่งเลขานุการกรม

นายอนันต์ สุรพัฒน์

นางแพรทิพย์ แสงวัฒนะ

ผู้อ�ำนวยการ กองพัฒนาการฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติด

ผู้อ�ำนวยการ กองยุทธศาสตร์และแผนงาน

ผู้อ�ำนวยการ กองส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายคุมประพฤติ

นายเกียรติภูมิ จารุเสน

นางสาวสิริกุล ศรารัชต์

นางถิระวัฒน์ ศรีวิฑูรย์

รักษาราชการแทนผู้อ�ำนวยการ กองบริหารทรัพยากรบุคคล

ผู้อ�ำนวยการ กลุ่มตรวจสอบภายใน

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

96

ผู้อ�ำนวยการ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร


• ผู้บริหารส่วนกลางกรมคุมประพฤติ •

นางสาวพวงทิพย์ นวลขาว

ผู้อ�ำนวยการ ศูนย์พัฒนาทรัพยากรบุคล

นางสาวจินดารัตน์ เหล็มเต๊ะ

ผู้อ�ำนวยการ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ สนับสนุนการคุมประพฤติ

• ผู้บริหารศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด •

นายนนทจิตร เนตรพุกกณะ

ผู้อ�ำนวยการ ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ลาดหลุมแก้ว

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

นางอ�ำไพ ชนะชัย

ผู้อ�ำนวยการ ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ปัตตานี

97


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติกรุงเทพมหานคร •

นางธารินี แสงสว่าง

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ กรุงเทพมหานคร 1

นางระพีพร หิมะคุณ ศรีสมบัติตระกูล

นายจักราวุธ ศิริฟองนุกูล

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ กรุงเทพมหานคร 2

นางสาวนิตยา คงสุวรรณ

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ กรุงเทพมหานคร 3

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ กรุงเทพมหานคร 4

นายประทักษ์ ประทุมทิพย์

นางชนกพรรณ จินดามัง

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ กรุงเทพมหานคร 5

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ กรุงเทพมหานคร 6

98


• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติกรุงเทพมหานคร •

นางวิทยารัตน์ ชาติปรีชากุล

นางกัญญารัตน์ บุญส่ง

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ กรุงเทพมหานคร 7

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ กรุงเทพมหานคร 8

นางองอาจ จันทรมณี

นายนพรุจ ตันมงคล

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ กรุงเทพมหานคร 9

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ กรุงเทพมหานคร 10

นางสาวจิราพร บุญชูวงศ์

นายธงชัย ไชยเดช

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ กรุงเทพมหานคร 11

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ กรุงเทพมหานคร 12

99


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติภาค 1 •

นายไพบูลย์ สุนทรประเสริฐ

นายคงศักดิ์ ปานสอาด

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดนนทบุรี

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดสมุทรปราการ

นายสายยนต์ ปัญญาทา

นางสาวคริษฐ์ฐา เมืองสมบูรณ์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

นายสิทธิชัย ชิขุนทด

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดลพบุรี สาขาชัยบาดาล

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดลพบุรี

นายอารักษ์ วีระกะลัส

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดสระบุรี

100


• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติภาค 1 •

นายร่มพงษ์ ผลวัฒนะ

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดปทุมธานี

นางสาวเบญจวรรณ ผลประเสริฐ

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดปทุมธานี สาขาธัญบุรี

พันเอกศุภณัฎฐ์ หนูรุ่ง

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดอ่างทอง

นายบุญเลิศ คงหอม

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดสิงห์บุรี

นางสาวสิรินทร์ พุ่มงาม

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดชัยนาท

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

101


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติภาค 2 •

นางอัญชลี พงษ์พิทักษ์

นายชัยวัฒน์ ร่างเล็ก

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดชลบุรี

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดจันทบุรี

นางพวงชมพู เปรมประเสริฐ

นายสุทัศน์ วิเชยละ

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดระยอง

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดตราด

นางสิญา ทองดี

นายชัยวัฒน์ ร่างเล็ก

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดนครนายก

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดชลบุรี ปฏิบัติหน้าที่ราชการในต�ำแหน่ง ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดฉะเชิงเทรา

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

102


• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติภาค 2 •

นายถาวร กูลศิริ

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดปราจีนบุรี

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

นายวิชาญ สุขสวัสดิ์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดปราจีนบุรี สาขากบินทร์บุรี

103


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติภาค 3 •

นางจินดา วัฒนวิกย์กรรม์

นางตะติมา นุ้ยฉิม

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดนครราชสีมา

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดนครราชสีมา สาขาสีคิ้ว

สิบเอกมงคลไชย เทียนแนวนุ่ม

นายปฏิญญา แกะกระโทก

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดนครราชสีมา สาขาบัวใหญ่

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดนครราชสีมา สาขาพิมาย

นายไพรัช ปฐมวงศ์ไพรัช

นางสุนิสา เอมสมบุญ

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดอุบลราชธานี รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดอุบลราชธานี สาขาเดชอุดม

104


• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติภาค 3 •

นายมานิตย์ แก้วโสพรม

นายมานิตย์ แก้วโสพรม

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดบุรีรัมย์ ปฏิบัติหน้าที่ราชการในต�ำแหน่ง ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสุรินทร์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดบุรีรัมย์

นางสาวภาวนา ธนคุณารักษ์

นายสุทิน ไชยวัฒน์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดบุรีรัมย์ สาขานางรอง

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดศรีสะเกษ

นางบุญเรือง กาฬเนตร

ว่าที่ร้อยโท สิทธิ์ธนัตถ์ สิทธิบัวศรี

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดศรีสะเกษ สาขากันทรลักษ์

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดยโสธร

105


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติภาค 3 •

นางชลาลัย ฤทธิรัตน์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดชัยภูมิ

นางสาวกานต์สินี สุขสม

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดชัยภูมิ สาขาภูเขียว

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

106


• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติภาค 4 •

นางสาวนฤมล แสนทวีสุข

นางณัฎฐกานต์ เหมัษฐิติ

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดขอนแก่น

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดขอนแก่น สาขาพล

นางอภัย จรรยา

นายยุทธพงษ์ หิรัญมาพร

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดขอนแก่น สาขาชุมแพ

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดอุดรธานี

นางวรัญญา ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม

นายวงศวัฒน์ ปัญญาวุฒิวงษ์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดมหาสารคาม

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดมหาสารคาม สาขาพยัคฆภูมิพิสัย

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

107


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติภาค 4 •

นายจิตติสานติ์ วุฒิเวชช์

นางเยาวดี พันธ์หินกอง

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดสกลนคร

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดร้อยเอ็ด

นางวราภรณ์ เปล่งแสง

นายยุทธพร คุณารักษ์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดกาฬสินธุ์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดหนองบัวล�ำภู

นายวิรัตน์ ศรีมงคล

ว่าที่ร้อยตรี พิเชษฐ์ แก้วจินดา

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดบึงกาฬ

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดเลย

108


• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติภาค 5 •

นางวันทนา คันธาเวช

นางดารุณี ชัยวรรณา

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดเชียงใหม่

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดเชียงใหม่ สาขาฮอด

นายวีรชาติ จันทจร

นางสุรีย์ ภู่เพชร

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดเชียงใหม่ สาขาฝาง

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดเชียงราย

นางสาวระยอง เวียงลอ

นางสาวเสาวลักษณ์ กิติวงศ์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดเชียงราย สาขาเทิง

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดเชียงราย สาขาเวียงป่าเป้า

109


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติภาค 5 •

นางจิราวรรณ ไชยวุฒิ

นางจิรพร เพิ่มพูล

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดล�ำปาง

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดแพร่

นางศิริพร ผาสุขดี

นางสาวจักษณา บัญญาสิทธิ์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดพะเยา

นายชัยศิษฏ์ วังแวว

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดแม่ฮ่องสอน

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดพะเยา สาขาเชียงค�ำ

นายนพดล ศรีทาเกิด

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดล�ำพูน

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

110

นายวราวุธ คันธาเวช

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดน่าน


• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติภาค 6 •

นายเทพพรหม อ่อนสีบุตร

นางนิตยา ทรายทอง

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดพิษณุโลก

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดพิษณุโลก สาขานครไทย

นายไพโรจน์ พุทธิวิศิษฎ์

นายอุทัย ทะริยะ

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดนครสวรรค์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดก�ำแพงเพชร

นางสาวนงเยาว์ มูลเครือค�ำ

นางชมนารถ ดิสสงค์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดสุโขทัย

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดสุโขทัย สาขาสวรรคโลก

111


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติภาค 6 •

นายชิด ปาค�ำมา

นางสาวอรดี ใจชื่น

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดเพชรบูรณ์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดเพชรบูรณ์ สาขาวิเชียรบุรี

นางราตรี เอียดคง

นายประหยัด ไม้แพ

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดเพชรบูรณ์ สาขาหล่มสัก

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดพิจิตร

นายยงยุทธ ธรรมนิตยางกูร

นายประเสริฐ อินทรัตน์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดตาก

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดตาก สาขาแม่สอด

112


• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติภาค 6 •

นายสมศักดิ์ กิจนาคะเกศ

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดอุตรดิตถ์

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

นางสาวลดาวัลย์ โรจนพานิช

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดอุทัยธานี

113


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติภาค 7 •

นางศรีจันทร์ เฉลิมเกียรติ

นางดวงพร นิยะพัตร์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดนครปฐม

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดสุพรรณบุรี

นางสาวดุษสิยา วงศ์วาสนา

นายด�ำริ ทองยม

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดกาญจนบุรี

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดเพชรบุรี

นายปรัชญา ชัยวรานุรักษ์

นางนันทนิช ตรีเทพ

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สาขาหัวหิน

114


• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติภาค 7 •

นายอภัย เอียดบัว

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดราชบุรี

นายนพพร บ่ายแสง

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดสมุทรสงคราม

นายวันชัย ชนาลังการ

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดสมุทรสาคร

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

115


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติภาค 8 •

นางนริศา ปานสอาด

นายอธิพล มะหันตาพันธ์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดสุราษฎร์ธานี สาขาเกาะสมุย

นางวริญญา สัมพันธรัตน์

นายคนอง รอดทอง

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดสุราษฎร์ธานี สาขาไชยา

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดนครศรีธรรมราช

นายพิพัฒน์ ว่องธีรกิจโกศล

นางสาวทรงศิริ มุสิกะ

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดนครศรีธรรมราช สาขาทุ่งสง

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดชุมพร

116


• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติภาค 8 •

นางสมใจ ธรรมเพชร

นายบัญชา หนูประดิษฐ์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดชุมพร สาขาหลังสวน

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดภูเก็ต

นายสนั่น ทองเนื้อขาว

นางสาวจันทกร ด�ำเนินผล

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดกระบี่

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดระนอง

นายศักย์ ดิษฐาน

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดพังงา

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

117


กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE

• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติภาค 9 •

นายบัญญัติ วงศ์สว่าง

นายธีรเดช แสงจันทร์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดสงขลา

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดสงขลา สาขานาทวี

นายนพดล นมรักษ์

นางดวงจันทร์ ทองขาว

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดตรัง

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดนราธิวาส

นายสัณฐาน รัตนะ

นางสุจิตรา รัตนเสวี

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดปัตตานี ปฏิบัติหน้าที่ราชการในต�ำแหน่ง ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดยะลา รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดพัทลุง

118


• ผู้บริหารส�ำนักงานคุมประพฤติภาค 9 •

นายสัณฐาน รัตนะ

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดปัตตานี

รายงานประจ�ำปี 2561 ANNUAL REPORT 2018

นายธีรพัทธ์ รอดความทุกข์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดสตูล

119


หน่วยงานคุมประพฤติในพื้นที่

หน่วยงานคุมประพฤติในพืน ้ ทีเ่ ขต ก.ท.ม.

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

กรุงเทพมหานคร 1 ประจ�ำศาลแขวงจังหวัดตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร 2 ประจ�ำศาลแขวงพระนครเหนือ กรุงเทพมหานคร 3 ประจ�ำศาลแขวงธนบุรี กรุงเทพมหานคร 4 ประจ�ำศาลจังหวัดมีนบุรี กรุงเทพมหานคร 5 ประจ�ำศาลแขวงพระนครใต้ กรุงเทพมหานคร 6 ประจ�ำศาลแขวงดุสิต กรุงเทพมหานคร 7 ประจ�ำศาลอาญา กรุงเทพมหานคร 8 ประจ�ำศาลอาญาธนบุรี กรุงเทพมหานคร 9 ประจ�ำศาลจังหวัดพระโขนง กรุงเทพมหานคร 10 ประจ�ำศาลอาญากรุงเทพใต้ กรุงเทพมหานคร 11 ประจ�ำศาลเยาวชนและครอบครัว กรุงเทพมหานคร 12 ประจ�ำศาลแขวงดอนเมือง

ภาค 1 นนทบุรี สมุทรปราการ พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี ลพบุรี สาขาชัยบาดาล อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท สระบุรี ปทุมธานี ปทุมธานี สาขาธัญบุรี

1 2 3 4 5 6 7 8 9

ภาค 2 ชลบุรี จันทบุรี ระยอง ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ปราจีนบุรี สาขากบินทร์บุรี สระแก้ว นครนายก

ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติด 1 ลาดหลุมแก้ว ปทุมธานี 2 ปัตตานี เครื่องหมาย

แทนส�ำนักงานคุมประพฤติที่เป็นยุติธรรมจังหวัด


1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

ภาค 3 นครราชสีมา นครราชสีมา สาขาสีคิ้ว นครราชสีมา สาขาบัวใหญ่ นครราชสีมา สาขาพิมาย อุบลราชธานี อุบลราชธานี สาขาเดชอุดม สุรินทร์ บุรีรัมย์ บุรีรัมย์ สาขานางรอง ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ สาขากันทรลักษ์ ยโสธร อ�ำนาจเจริญ ชัยภูมิ ชัยภูมิ สาขาภูเขียว ภาค 4

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

ขอนแก่น ขอนแก่น สาขาชุมแพ ขอนแก่น สาขาพล อุดรธานี มหาสารคาม มหาสารคาม สาขาพยัคฆภูมพิ สิ ยั สกลนคร ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ มุกดาหาร หนองบัวล�ำภู นครพนม หนองคาย บึงกาฬ เลย

ภาค 5 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13

เชียงใหม่ เชียงใหม่ สาขาฮอต เชียงใหม่ สาขาฝาง เชียงราย เชียงราย สาขาเทิง เชียงราย สาขาเวียงป่าเป้า ล�ำปาง แพร่ พะเยา พะเยา สาขาเชียงค�ำ แม่ฮ่องสอน ล�ำพูน น่าน ภาค 6

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

พิษณุโลก พิษณุโลก สาขานครไทย นครสวรรค์ ก�ำแพงเพชร สุโขทัย สุโขทัย สาขาสวรรคโลก เพชรบูรณ์ เพชรบูรณ์ สาขาหล่มสัก เพชรบูรณ์ สาขาวิเชียรบุรี พิจิตร ตาก ตาก สาขาแม่สอด อุตรดิตถ์ อุทัยธานี

ภาค 7 1 2 3 4 5 6 7 8 9

นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ประจวบคีรีขันธ์ สาขาหัวหิน ราชบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

ภาค 8 สุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี สาขาเกาะสมุย สุราษฏร์ธานี สาขาไชยา นครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช สาขาทุ่งสง ชุมพร ชุมพร สาขาหลังสวน ภุเก็ต กระบี่ ระนอง พังงา ภาค 9

1 2 3 4 5 6 7 8

สงขลา สงขลา สาขานาทวี ตรัง นราธิวาส ยะลา พัทลุง ปัตตานี สตูล



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.