วารสาร
กรมคุมประพฤติ Probation Magazine
ISSN 0858-8619
02
ปีท่ี 24 ฉบับที่ กุมภาพั นธ์ – พฤษภาคม 2561
1 คนดี 1 สำ�นักงาน
สารบัญ บทบรรณาธิการ
4
วารสารกรมคุมประพฤติในฉบับนี้ เราภูมิใจน�ำเสนอความส�ำเร็จของกรม คุมประพฤติในการแก้ไขฟืน้ ฟูผกู้ ระท�ำผิด ให้มีชีวิตที่ดีขึ้น (Good Lives Models) มาตลอดระยะเวลากว่า 26 ปี จากกิจกรรม “1 คนดี 1 ส�ำนักงาน” ซึ่งเราได้คัดเลือก ผู้กระท�ำผิดที่อยู่ในความดูแลของกรม คุมประพฤติที่สามารถปรับปรุงตนเอง จนกลายมาเป็นต้นแบบให้กบั ผูก้ ระท�ำผิด อื่นๆ มาน�ำเสนอในบทความพิเศษอย่าง เต็มอิ่ม เพื่อให้ท่านผู้อ่านได้ประจักษ์ถึง ค� ำ ว่ า ชี วิ ต ฟ้ า หลั ง ฝน ของผู ้ ที่ เ คย ก้าวผิดคิดพลาด และได้รับโอกาสในการ กลั บ มายื น อยู ่ ใ นสั ง คมอย่ า งสง่ า งาม อีกครั้ง
10
14 4 บทความพิ เศษ 1 คนดี 1 ส�ำนักงาน
12 นานาสาระ วิ ธี ยื ด เส้ น ยื ด สายส� ำ หรั บ คนท� ำ งาน ออฟฟิศ บ�ำบัดอาการปวดล้าได้
16 เจาะกิจกรรมเด่น ติดตามความเคลือ ่ นไหวและกิจกรรม ต่ า งๆ ของส� ำ นั ก งานคุ ม ประพฤติ ทั่วประเทศ
คณะผู้จัดทำ� ที่ปรึกษา บรรณาธิการบริหาร กองบรรณาธิการ
นายประสาร มหาลี้ตระกูล อธิบดีกรมคุมประพฤติ นางอัญชลี พัฒนสาร รองอธิบดีกรมคุมประพฤติ นายพยนต์ สินธุนาวา รองอธิบดีกรมคุมประพฤติ นายมณฑล แก้วเก่า รองอธิบดีกรมคุมประพฤติ นางยศวันต์ บริบูรณ์ธนา เลขานุการกรม นางสาวจิราวรรณ บุญญา นางสุวิมล ด�ำสุวรรณ นายปิยะศักดิ์ โชคอ�ำนวย นางสาวปิยนุช รักสัตย์ นางสาวปาณิศา ผลกษาปน์สิน นางสาวเหมือนแพร รุ่งเผ่าพันธุ์
ฝ่ายภาพ ฝ่ายประสานงาน และพิสูจน์อักษร ฝ่ายจัดการ ผู้จัดพิมพ์
นายณัฐ คชประเสริฐ นางเกศินี สกุลทับ
นางสาวณัฐกฤตา น�ำผล นางสาวศิริพร เอกอนงค์ กลุ่มประชาสัมพันธ์และการสื่อสาร ส�ำนักงานเลขานุการกรม กรมคุมประพฤติ โทร. 0 2143 8824 บริษัท วงศ์สว่างพับลิชชิ่งแอนด์พริ้นติ้ง จ�ำกัด
ปีท่ี 24 | ฉบับที่ 02 | กุมภาพั นธ์ – พฤษภาคม 2561
10 Spirit จิตอาสา คืนคนดีสู่สังคมอย่างยั่งยืน
14 In Focus The Best of ME นั่ ง คุ ย กั บ สองสาวผู้ ไ ด้ รั บ คั ด เลื อ ก เป็นข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจ�ำปี พ.ศ. 2560 ถึงมุมมองการท�ำงานจน ประสบความส�ำเร็จ
3
8 Probation around the World ลงทุนเพื่อสร้างผลกระทบทางสังคม : ใครได้ใครเสียในงานคุมประพฤติ?
ดร.ยศวันต์ บริบูรณ์ธนา บรรณาธิการบริหาร
| บทความพิเศษ 1 คนดี 1 สำ�นักงาน | เรื่อง นางสาวณัฐกฤตา น�ำผล นักวิชาการเผยแพร่ นางสาวศิริพร เอกอนงค์ นักวิชาการประชาสัมพั นธ์
ขึ้ น ชื่ อ ว่ า “ยาเสพติ ด ” ล้ ว นก่ อ ให้ เ กิ ด โทษ ต่ อ ชี วิ ต ของผู้ เ สพด้ ว ยกั น ทั้ ง สิ้ น ท� ำ ลายทั้ ง ชี วิ ต ทรัพย์สินและครอบครัวที่คุณรัก เพราะสารเสพติด ทุกประเภทมีฤทธิ์ท่ีเป็นอันตรายต่อร่างกายในระบบ ประสาท สมอง ซึ่งเปรียบเสมือนศู นย์บัญชาการ ของร่างกายและชีวิตมนุษย์ แต่ก็ยังมีผู้หลงผิดไป เสพอยู่ เช่นเดียวกับวัยรุ่นคนหนึ่งที่เข้าไปเกี่ยวข้อง กับยาเสพติดให้โทษ ท�ำให้ชวี ต ิ ก้าวพลาดไปหลายครัง ้ จนเกื อ บจะไม่ มี วั น นี้ แ ล้ ว แต่ ด้ ว ยความตั้ง ใจจริ ง ของเขา และสังคมที่ให้โอกาสท�ำให้เขากลับมามีชีวิต ใหม่อีกครั้ง
วารสารกรมคุมประพฤติ | Probation Magazine
4
“ร้านตัดผม ของสมชาย”
สมชาย (นามสมมุติ) อายุ 20 ปี เป็นลูก
คนสุดท้อง เรียนจบชัน้ ประถมศึกษาตอนปลาย ฐานะทางครอบครัวค่อนข้างยากจน ภูมลิ ำ� เนา เดิมอยูท่ จี่ งั หวัดเลย ติดตามบิดามารดาเดินทาง ไปท�ำงานรับจ้างตามจังหวัดต่างๆ และเริม่ เสพ ยาเสพติดครั้งแรกตอนอายุ 15 ปี ประเภท สารระเหย กัญชา ยาบ้า จนถูกจับกุมด�ำเนินคดี ถูกส่งตัวเข้ารับการฝึกอบรมทีศ่ นู ย์ฝกึ อบรมเด็ก และเยาวชนจังหวัดระยอง 3 ปี เนือ่ งจากยังเป็น เยาวชนอยู่ หลังจากออกมาจากศูนย์ฝึกฯ แล้ว ได้ไปท�ำงานรับจ้างนวดแผนโบราณ แต่สมชาย ก็ยงั หวนกลับไปเสพยาอีกจนถูกจับกุมด�ำเนินคดี
ครั้งที่สอง ครั้งนี้สมชายต้องเข้าสู่กระบวนการบังคับบ�ำบัด โดยมีคณะ อนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดจังหวัดชัยภูมิ วินจิ ฉัยว่าเป็น ผูต้ ดิ ยาเสพติด ให้เข้ารับการฟืน้ ฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติดแบบควบคุมตัว ไม่เข้มงวดตามพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 ณ ศูนย์วิวัฒน์พลเมือง มณฑลทหารบกที่ 23 ค่ายศรีพัชรินทร จังหวัด ขอนแก่นเป็นเวลา 120 วัน ภายหลังออกจากศูนย์วิวัฒน์พลเมืองฯ แล้ว ได้พกั อาศัยอยูท่ บี่ า้ นกึง่ วิถี (วัดป่าบ้านพลัง) จังหวัดชัยภูมิ ได้เดินทางมาติดต่อ พนั ก งานคุ ม ประพฤติ ที่ ส� ำ นั ก งานคุ ม ประพฤติ จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ เพื่ อ ขอรั บ การสงเคราะห์ดา้ นการฝึกอาชีพ ในขณะบ�ำบัดในศูนย์ฟน้ื ฟูฯ นัน้ ได้เคยทดลอง ตัดผมและสนใจทีจ่ ะเป็นช่างตัดผม เพราะเป็นอาชีพอิสระ สามารถสร้างรายได้ เลี้ยงตนเองได้ ทางส�ำนักงานฯ เห็นถึงความตั้งใจจริง จึงได้ประสานงานกับ
ทางวิทยาลัยสารพัดช่างชัยภูมิ เพือ่ ส่งตัว สมชายเข้ า รั บ การฝึ ก อบรมหลั ก สู ต ร ช่างตัดผมชาย สมชายมีความขยัน มุง่ มัน่ อดทน ตัง้ ใจเรียน แม้วา่ จะต้องเดินทาง จากที่พัก บ้านกึ่งวิถี วัดป่าบ้านพลัง ไปเรียนฝึกอาชีพที่วิทยาลัยสารพัดช่าง ชัยภูมิ ระยะทางประมาณ 15 กิโลเมตร ก็ตาม เมื่อจบหลักสูตร ทางส�ำนักงานฯ ได้ให้การสงเคราะห์ทนุ ด้วยการซือ้ อุปกรณ์ ส� ำ หรั บ ใช้ ใ นการตั ด ผมให้ กั บ สมชาย เพื่อเติมเต็มความฝันของสมชายให้เป็นจริง สมชายได้ เ ดิ น ทางกลั บ ไปเปิ ด ร้ า นตั ด ผมที่ จังหวัดเลย โดยท�ำบ้านเป็นร้านตัดผมให้บริการ คนในชุมชนด้วยราคาย่อมเยา มีรายได้ประมาณ วันละ 400 - 500 บาท และได้เรียนรูพ้ ฒ ั นาฝึกฝน ทักษะการตัดผมเพิม่ เติมอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ สร้าง ความพอใจให้กบั ลูกค้า เมือ่ ส�ำนักงานฯ จัดกิจกรรม ปฐมนิเทศให้ความรู้กบั ผูถ้ กู คุมความประพฤติ ในคดียาเสพติด สมชายจะมาเป็นวิทยากรบอก เล่าประสบการณ์ของตนเอง และวิธกี ารปรับทัศนคติ
ทีต่ อ้ งการมีอาชีพ ทุกคนสามารถสร้างอาชีพให้ ตนเองได้เพียงแค่เรามีความตั้งใจจริงที่จะท�ำ เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพให้แก่ ผู้เข้ารับการฟื้นฟูฯ ทั้งนี้ ได้สาธิตวิธีการตัดผม ให้กับผู้ที่สนใจอยากจะเรียน บริการตัดผมฟรี ให้กบั ประชาชน “สมชายรูส้ กึ มีความภาคภูมใิ จ ในตนเอง ปรับทัศนคติต่อการเนินชีวิตที่ต้องมี การพัฒนาตนเองภายใต้ความตัง้ ใจความพยายาม และมีความอดทน จนสามารถสร้างอาชีพให้กบั ตนเองด้วยการเป็นช่างตัดผม มีรายได้เลี้ยงดู
ตนเองได้ และขอขอบคุณส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดชัยภูมิที่ให้ค�ำแนะน�ำเรื่องการฝึกอาชีพ ให้การสงเคราะห์เครือ่ งมือในการประกอบอาชีพ จนประสบความส�ำเร็จ และไม่คดิ ทีจ่ ะก้าวถอยหลัง กลับไปสูว่ งั วนของยาเสพติดอีก ทุกวันนี้ สมชาย สามารถกลับเข้ามาใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่าง ภาคภูมิใจอีกครั้ง ข้อมูลและภาพ: ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดชัยภูมิ
และล� ำ ตั ว จนคู ่ อ ริ ล งไปนอนกองกั บ พื้ น เหตุการณ์นนั้ ท�ำให้ผมถูกจับด�ำเนินคดีฐาน ร่วมกันท�ำร้ายร่ายกายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้ ผูถ้ กู กระท�ำได้รบั อันตรายสาหัส” ศาลได้มี ค�ำพิพากษาให้รอการก�ำหนดโทษไว้ 2 ปี
การกระท�ำรุนแรงของเด็กวัยรุ่นตีกันถือ เป็นปัญหาหนึ่งที่มีให้เห็นกันเป็นประจ�ำตาม หน้าหนังสือพิมพ์รายวัน ส่วนสาเหตุนนั้ อาจเป็น ผลมาจากความคิดความเชื่อและสร้างค่านิยม ร่วมกัน โดยสืบทอดผ่านทางวัฒนธรรมประเพณี สังคมหรือสถาบันจนเกิดการยอมรับเฉพาะกลุม่ เมื่อรวมกลุ่มมักจะแสดงออกด้วยการใช้ก�ำลัง เพือ่ ประกาศพลังของกลุม่ ตน จนกิดเหตุบานปลาย ถึ ง ขั้ น บาดเจ็ บ หรื อ เสี ย ชี วิ ต กั น การมี พฤติ ก รรมรุ น แรงเช่ น นี้ บ ่ อ ยครั้ ง จะท� ำ ให้ ไม่ ส ามารถควบคุ ม อารมณ์ ข องตนเองได้ อาจน�ำไปสูก่ ารกระท�ำผิดกฎหมาย เสียประวัติ เสียอนาคตได้ในที่สุด นายณัฐกฤษณ์ (นามสมมุติ) อายุ 19 ปี หนึ่งในผู้ใช้ความรุนแรงในการตัดสินปัญหา แต่ได้รับโอกาสในการแก้ไขปรับปรุงตัวจึงได้ กลับมาใช้ชีวิตปกติอีกครั้ง “ผมอาศัยอยู่กับ พ่อแม่ มีพี่น้องทั้งหมด 3 คน เป็นลูกคนที่ 2 มีนิสัยเป็นคนอารมณ์ร้อน และมักจะมีปัญหา ทะเลาะเบาะแว้งกับคนในครอบครัว ชอบอยูก่ บั กลุม่ เพือ่ นๆ ทีโ่ รงเรียนตามประสาเหมือนกลุ่ม
โดยมีเงื่อนไขคุมความประพฤติ ต้องมา รายงานตัวต่อพนักงานคุมประพฤติ 3 เดือน ต่อครัง้ ในระยะเวลา 1 ปี และท�ำงานบริการ สั ง คมหรื อ สาธารณประโยชน์ เ ป็ น เวลา 8 ชัว่ โมง “หลังจากทีศ่ าลสัง่ คุมความประพฤติ ผมก็ไปทีส่ ำ� นักงานคุมประพฤติจงั หวัดชลบุรี
5
“นักเรียน (นักเลง)... กลับตัว (กลับใจ)”
ปีท่ี 24 | ฉบับที่ 02 | กุมภาพั นธ์ – พฤษภาคม 2561
วัยรุ่นทั่วไป” นายณัฐกฤษณ์ศกึ ษาอยูร่ ะดับชัน้ ปวช. แห่งหนึง่ ในจังหวัดชลบุรี หลังเลิกเรียน มักจะรวมตัวกับกลุ่มเพื่อนเป็นประจ�ำทุกวัน จนมาเกิดเหตุการณ์ทำ� ร้ายร่างกายขึน้ “ตอนนัน้ เพือ่ นผมอีกคนก�ำลังมีเรือ่ งอยู่ พอไปถึงเห็นเพือ่ น ถูกท�ำร้าย ก็เข้าไปช่วยทัง้ ชกทัง้ ต่อย เตะทีใบหน้า
6 วารสารกรมคุมประพฤติ | Probation Magazine
เพื่ อ รั บ ทราบเงื่ อ นไขการคุ ม ความประพฤติ และเข้ารับการปฐมนิเทศเพื่อทราบถึงขั้นตอน การปฏิ บั ติ ต นระหว่างถูกคุม ความประพฤติ ในช่วงนั้นพี่พนักงานคุมประพฤติสอนทักษะ การแก้ไขปัญหาและการรู้จักปฏิเสธ คอยให้ ก�ำลังใจเรือ่ งปัญหาในครอบครัว และให้คำ� แนะน�ำ เรื่องการขอรับการสงเคราะห์เรื่องการศึกษา ท� ำ ให้ ผ มหายกั ง วลและตั้ ง ใจเรี ย นมากขึ้ น ” นายณัฐกฤษณ์มาพบพนักงานคุมประพฤติเพือ่ รายงานตัวตามก�ำหนดเวลานัดและปฏิบตั ติ าม เงื่อนไขที่ศาลก�ำหนดได้ด้วยดี ในระหว่างที่รับ การปรึกษาได้ทราบถึงปัญหาความสัมพันธ์ ภายในครอบครัว และความกังวลในเรือ่ งการศึกษา เพราะสาขาทีเ่ รียนมีคา่ ใช้จา่ ยค่อนข้างสูง อาจเป็น สาเหตุที่ท�ำให้เกิดอุปสรรคต่อการด�ำเนินชีวิต จึงเชิญผู้ปกครองเข้ามารับฟังและมีส่วนร่วม ในการช่วยดูแลแก้ไขพฤติกรรมอย่างใกล้ชิด ส่งผลให้พฤติกรรมของนายณัฐกฤษณ์เปลีย่ นแปลง ไปในทางที่ดีขึ้น มีความขยันหมั่นเพียร อดทน มีวินัย รับผิดชอบตนเอง และอ่อนน้อมถ่อมตน นอกจากนี้ ส�ำนักงานฯ ยังได้สงเคราะห์ทนุ ด้าน การศึกษาเพือ่ ช่วยบรรเทาเรือ่ งค่าใช้จา่ ยระหว่าง การศึกษา ท�ำให้นายณัฐกฤษณ์มกี ำ� ลังใจ ส่งผล ให้ผลการเรียนดีมากจนได้รบั เกียรตินยิ มอันดับ 1 ด้ ว ยเกรดเฉลี่ ย 3.37 ในระดั บ ปวช.ปี 3 ประเภทวิ ช าอุ ต สาหกรรม วิ ช าไฟฟ้ า และ
ปฏิบตั จิ นเกิดทักษะจนสามารถหารายได้เสริม ให้ตนเองได้ นอกจากนี้ ยังเป็นสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE ของส�ำนักงาน คุมประพฤติจังหวัดชลบุรี โดยได้เข้าร่วม วางแผนโครงการสนับสนุนการขับเคลื่อน การด�ำเนินงานโครงการรณรงค์ป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติด มีโอกาสแสดงความ สามารถด้ า นดนตรี ร ่ ว มกั บ เพื่ อ นสมาชิ ก TO BE NUMBER ONE ในกิจกรรมต่างๆ ท�ำให้นายณัฐกฤษณ์รู้จักคุณค่าของตนเอง เรียนรู้วิธีแก้ไขปัญหาได้มากกว่าที่ผ่านมา และสามารถกลับไปใช้ชวี ติ ตามปกติในสังคม ได้อกี ครัง้ “ผมรูส้ กึ ประทับใจและขอขอบคุณ ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดชลบุรีที่ดูแล และแนะน�ำสิง่ ดีๆ ให้มโี อกาสเข้าร่วมกิจกรรม โครงการต่างๆ ท�ำให้รู้สึกว่าตนเองมีค่าที่ท�ำ ประโยชน์ให้สังคมได้ ขอบคุณพี่ๆ พนักงาน คุมประพฤติทใี่ ห้ความรู้ ค�ำแนะน�ำ ตักเตือน คอยให้กำ� ลังใจและสนับสนุนเรือ่ งการศึกษา จนผมเรียนจบ” ปัจจุบนั นายณัฐกฤษณ์กำ� ลัง ศึกษาต่อในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ อิเล็กทรอนิกส์ สาขางานอิเล็กทรอนิกส์ จาก ชั้นสูง สาขาอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ภ าคตะวั น ออก วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออกในจังหวัด สร้างความภาคภูมใิ จให้กบั ตนเองและครอบครัว ชลบุรี และเป็นนักศึกษาฝึกงานทีบ่ ริษทั เอกชน แห่งหนึ่ง ซึ่งนายณัฐกฤษณ์มีความมุ่งมั่น ตัง้ ใจเรียนรูก้ ารฝึกงานครัง้ นีเ้ ป็นอย่างดี ทัง้ นี้ เพื่ออนาคตที่ดีในวันข้างหน้า ให้ครอบครัว ได้ภาคภูมิใจ และไม่ท�ำตัวให้เป็นภาระกับ สังคมอีกต่อไป ข้อมูลและภาพ: ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดชลบุรี
ในระหว่ า งที่ ถู ก คุ ม ความประพฤติ นั้ น นายณัฐกฤษณ์จะช่วย ทีบ่ า้ นค้าขายกุยช่ายทอด และใช้เวลาว่างเรียนรู้ การซ่อมโทรศัพท์ และ ซ่ อ มรถจั ก รยานยนต์ จากอินเทอร์เน็ต เพื่อ น� ำ มาทดลองและฝึ ก
“อิฐบล็อก เปลี่ยนชีวิต”
ปีท่ี 24 | ฉบับที่ 02 | กุมภาพั นธ์ – พฤษภาคม 2561
ข้อมูลและภาพ: ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดอุดรธานี
7
ยาเสพติดถือเป็นภัยร้ายทีป่ ระเทศไทยเผชิญปัญหามาอย่าง ต่อเนือ่ งยาวนาน แม้หลายหน่วยงานจะร่วมมือแก้ไขป้องกันและ ปราบปรามเพือ่ หยุดต้นตอการแพร่ระบาดของยาเสพติดกันอย่าง เข้มแข็ง แต่ปัญหายาเสพติดก็ไม่อาจหมดไป ยังคงมีการลักลอบ ซื้อขายกันอยู่ตามแหล่งชุมชน ผู้เสพคือเหยื่อของผู้ค้ายา เมื่อตก เป็นทาสยาเสพติดแล้วก็ยากทีจ่ ะถอนตัวให้หลุดพ้น เมือ่ ต้องการ หลุดพ้นสังคมย่อมให้โอกาสเสมอส�ำหรับผู้ที่ต้องการเริ่มต้น ชีวิตใหม่ นายจรัญ (นามสมมุติ) เป็นหนึ่งในผู้ถูกคุมความประพฤติ ของส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดอุดรธานีที่ได้รับโอกาสเริ่มต้น ชีวติ ใหม่ หลังจากถูกจับกุมคดียาเสพติด “ผมอายุ 42 ปี เรียนจบ ชั้นประถมปีที่ 6 และไม่ได้เรียนต่อเพราะฐานะทางบ้านยากจน จึงออกมารับจ้างท�ำนา ทุกวันนีอ้ ยูก่ บั แฟนและมีลกู ด้วยกัน 2 คน ทีเ่ สพยาบ้าเพราะเสพกับเพือ่ นๆ บวกกับแถวบ้านใกล้แนวชายแดน เป็นเส้นทางล�ำเลียงซือ้ ขายยาเสพติดท�ำให้หาซือ้ ได้งา่ ย” ชีวติ ของ นายจรัญได้เข้าไปเกีย่ วข้องกับยาเสพติด ท�ำให้พฤติกรรม อารมณ์ และสภาพร่างกายต้องพึ่งยาเพื่อใช้แรงในการท�ำงานได้มากขึ้น จนมาถูกจับด�ำเนินคดีขอ้ หาเสพยาเสพติดให้โทษประเภท 1 ยาบ้า “วันนั้นเสพยากับเพื่อน ต�ำรวจมาจับตัวและตรวจปัสสาวะเจอ สารเสพติด ก็ถูกด�ำเนินคดี ตอนนั้นรู้สึกตกใจและเสียใจกับ การกระท�ำของตนเองมาก เครียดและกลัวว่าจะติดคุก ลูกเมียจะอยู่ กันยังไง เหมือนฟ้าถล่มลงมา จนวันทีศ่ าลจังหวัดอุดรธานีพพิ ากษา สั่งให้รอการลงโทษไว้เป็นเวลา 2 ปี และให้คุมประพฤติกับ ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดอุดรธานี รู้สึกดีใจที่ยังได้อยู่กับ ครอบครัวและขอบคุณศาลที่เมตตาให้โอกาส” ศาลสั่งคุมความประพฤตินายจรัญเป็นเวลา 1 ปี โดยก�ำหนด เงื่อนไขให้มารายงานตัว 4 ครัง้ และให้ทำ� งานบริการสังคมหรือ สาธารณประโยชน์ เป็นเวลา 24 ชัว่ โมง พนักงานคุมประพฤติได้ออก
สืบเสาะข้อเท็จจริงพบว่านายจรั ญ มีสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ และคบ กลุ่มเพื่อนที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ซึ่งมีความเสี่ยงทีจ่ ะกลับไปกระท�ำผิด ซ�ำ้ สูง จึงได้กำ� หนดแผนให้รายงานตัว แบบรายบุคคลเพือ่ จะได้ให้คำ� ปรึกษา อย่างใกล้ชดิ และได้จดั ให้เข้าโปรแกรม คุมประพฤติเข้มข้นแบบหลักสูตร 7 วัน เพือ่ แก้ไขพฤติกรรมด้วยการบ�ำบัดฟืน้ ฟู สมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติดทัง้ ทางด้าน ร่างกายและจิตใจ ตลอดจนฝึกอาชีพเสริมเพือ่ เป็นการพัฒนาศักยภาพและเสริม ทักษะทางสังคมแก่ผกู้ ระท�ำผิด โดยใช้บา้ นกึง่ วิถี ทีอ่ ยูใ่ นความดูแลของส�ำนักงาน คุมประพฤติจงั หวัดอุดรธานีเป็นสถานทีฝ่ กึ สอนการท�ำอิฐบล็อกปูพนื้ ซึง่ มีพระภิกษุ และสถาบันพัฒนาฝีมอื แรงงาน 18 จังหวัดอุดรธานี เป็นวิทยากรในการฝึกสอน เทคนิคและวิธกี ารผลิตอิฐบล็อก ปูพนื้ นายจรัญเรียนรูอ้ ย่างตัง้ ใจและพัฒนาความรู้ จนสามารถน�ำไปท�ำเป็นอาชีพเพือ่ เสริมรายได้ให้กบั ครอบครัวได้ หลังจากนัน้ นายจรัญ ได้ปรึกษาพนักงานคุมประพฤติเรือ่ งการขอรับทุนสงเคราะห์ประกอบอาชีพเพือ่ น�ำไป เป็นทุนในการซือ้ อุปกรณ์ทำ� อิฐบล็อกปูพนื้ และได้รบั เงินทุนมาจ�ำนวน 2,900 บาท จึงน�ำไปซือ้ แบบพิมพ์ อิฐบล็อกปูพนื้ แปดเหลีย่ ม แบบพิมพ์อฐิ บล็อกลูกเต๋า ปูนซีเมนต์ และทราย เพือ่ ท�ำอิฐบล็อกปูพนื้ ส�ำหรับจ�ำหน่ายในราคาก้อนละ 9 บาท จากความ ตัง้ ใจประกอบอาชีพของนายจรัญ ส�ำนักงานคุมประพฤติจงั หวัดอุดรธานีได้ชว่ ย ประชาสัมพันธ์การจ�ำหน่ายอิฐบล็อกปูพนื้ อีกทางหนึง่ ท�ำให้มลี กู ค้าสัง่ สินค้าไปแล้ว ประมาณ 7,500 ก้อน ถือเป็นรายได้เสริมทีช่ ว่ ยเหลือครอบครัวนอกจากการรับจ้าง ท�ำนา และด้วยความช�ำนาญการท�ำอิฐบล็อกปูพนื้ นี้ นายจรัญมีโอกาสได้เป็นพีเ่ ลีย้ ง ฝึกสอนให้แก่ผถู้ กู คุมความประพฤติและผูท้ สี่ นใจได้เรียนรูเ้ ทคนิควิธกี ารท�ำเพือ่ น�ำไปประกอบเป็นอาชีพได้ และเมือ่ เขาว่างจากงานประจ�ำก็จะช่วยเหลืองานท�ำบุญ ประจ�ำปี และงานประเพณีตา่ งๆ อยูเ่ สมอจนเป็นทีย่ อมรับของคนในชุมชน หลังจาก ทีน่ ายจรัญผ่านกระบวนการแก้ไขฟื้นฟูแล้ว พฤติกรรมและทัศนคติการใช้ชีวิต เปลีย่ นแปลงไปในทางทีด่ ขี นึ้ คือเลิกเกีย่ วข้องกับยาเสพติด และตัง้ ใจท�ำมาหากิน ตลอดจนปฏิบัติตามเงื่อนไขการคุมประพฤติอย่างครบถ้วนตรงเวลาจนพ้น คุมประพฤติดว้ ยดี “หลังจากทีถ่ กู จับด�ำเนินคดีผมรูส้ กึ โชคดีมากทีศ่ าลใช้วธิ กี าร คุมความประพฤติแทนการติดคุก ท�ำให้ผมได้แก้ไขตนเองและมีโอกาสได้ฝกึ อาชีพ จนมีรายได้เลีย้ งครอบครัว ต้องขอขอบคุณส�ำนักงานคุมประพฤติจงั หวัดอุดรธานี พนักงานคุมประพฤติ พระอาจารย์ ผูด้ แู ลบ้านกึ่งวิถี และทุกคนที่เกี่ยวข้องที่ให้ ค�ำแนะน�ำดูแลและช่วยเหลือ จนผมกลับมามีที่ยืนในสังคมได้อีกครั้ง” ทุกวันนี้ นายจรัญกลับตัวกลับใจกลับไปใช้ชวี ติ ใหม่ในสังคมได้อกี ครัง้ และไม่คดิ หวนกลับ ไปข้องเกี่ยวกับยาเสพติดอีกเลย
| Probation around the World | เรื่อง นายชนาพั ทร์ มณีดุลย์ พนักงานคุมประพฤติปฏิบัติการ
ลงทุนเพื่ อสร้าง
ผลกระทบทางสังคม : วารสารกรมคุมประพฤติ | Probation Magazine
8
ใครได้ใครเสียในงานคุมประพฤติ?
“การลงทุนมีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควร ศึกษาข้อมูลก่อนตัดสินใจลงทุน” เป็นประโยค คุ้นหูที่หลายๆ ท่านคงเคยได้ยินกันมาก่อน โดยเฉพาะในปัจจุบันที่การลงทุนดูเป็นเรื่อง ปกติ ที่ ปุ ถุ ช นทั้ ง ที่ เ ป็ น มนุ ษ ย์ เ งิ น เดื อ นหรื อ ข้าราชการอย่างเราๆ พึงมีไว้ แต่คุณรู้หรือไม่ ว่าการลงทุนไม่จ�ำเป็นต้องด�ำเนินการโดย เอกชนหรือนักลงทุนเท่านั้น หากแต่รัฐบาล หรือหน่วยงานของรัฐก็สามารถเป็นผูล้ งทุนได้ เช่นกัน
การลงทุนเพื่ อสร้าง ผลกระทบทางสังคมคือ? การลงทุนเพื่อสร้างผลกระทบทางสังคม หรือการลงทุนเพื่อสังคม (Social Impact Investment หรือขอเรียกย่อๆ ว่า SII) เป็นการ ลงทุ น ที่ มุ ่ ง หวั ง ผลตอบแทนทางด้ า นสั ง คม สิง่ แวดล้อม และเศรษฐกิจ ซึง่ ผลตอบแทนเหล่านี้ ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นตัวเงิน เช่น ลงทุนในกิจการ ที่สร้างอาชีพให้กับผู้ด้อยโอกาส กิจการที่ผลิต อาหารปลอดสารพิษ หรือแม้กระทั่งกิจการ ที่ ค อยเสริ ม สร้ า ง สนับ สนุนการท�ำงานของ กิจการเหล่านี้ เช่น เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยการรับโทรศัพท์ของผู้พิการทางสายตา1 ฯลฯ ทั้ ง นี้ อ งค์ ป ระกอบส� ำ คั ญ ของ SII ได้แก่ นักลงทุน (Investor) องค์กรตัวกลาง (Intermediary) องค์กรผู้ให้บริการทางสังคม (Social Service Provider) ผู้ประเมินผล (Evaluator) เเละผู้จ่ายเงิน (Payors) ซึ่ง ส่วนใหญ่เป็นภาครัฐที่จะจ่ายเงินโดยขึ้นอยู่กับ ผลการด�ำเนินงาน (Result-based Financing) ของภาคเอกชน และอาจมีชื่อเรียกต่างๆ อาทิ Pay-for-Success หรือ Social Benefit Bond ซึ่งหน่วยงานเอกชนจะต้องลงทุนในโครงการ ที่ได้รับความเห็นชอบจากเจ้าของทุนไปก่อน หากโครงการส�ำเร็จตามเป้าหน่วยงานเจ้าของทุน จะคื น เงิ น ทั้ ง หมดที่ เ อกชนใช้ ด� ำ เนิ น การ พร้ อ มดอกเบี้ ย แต่ ห ากโครงการไม่ บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ก็ จ ะไม่ ไ ด้ รั บ เงิ น จากรั ฐ บาล จึงถือเป็นรูปแบบหนึง่ ของการแบ่งปันความเสีย่ ง (Risk Sharing Mechanism)
นอกจากนี้ในระหว่างปี 2010 – 2015 ประเทศอังกฤษเคยมีการด�ำเนินงาน SII ส�ำหรับ ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด มาก่ อ น แม้ จ ะไม่ ยิ่ ง ใหญ่ ถึ ง 6,000 ล้านบาท แต่กเ็ ป็นครัง้ แรกในโลกทีเ่ อกชน มามี ส ่ ว นในการแก้ ไ ขฟื ้ น ฟู ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ในลักษณะนี้ โดยเรือนจ�ำ Peterborough ในทางตะวันออกของอังกฤษได้ให้เอกชนเข้ามา ด�ำเนินการโครงการ One Service ภายใต้ งบประมาณ 5 ล้านปอนด์ (ราว 22 ล้านบาท) ซึง่ เอกชนที่เข้ามาด�ำเนินการประกอบไปด้วยการ ร่วมทุนขององค์กรการกุศล 17 องค์กรที่มี ความเชีย่ วชาญด้านต่างๆ ในการสงเคราะห์และ แก้ไขฟืน้ ฟู อาทิ การให้คำ� ปรึกษาทางจิตวิทยา Life Coach บ้านพักฉุกเฉิน การฝึกอบรมอาชีพ และการจ้างงาน3 โดยกลุม่ เป้าหมายในโครงการนี้ คือกลุม่ ผูก้ ระท�ำผิดผูช้ ายอายุมากกว่า 18 ปี ที่ ต้องโทษจ�ำคุกระยะสัน้ (ไม่เกิน 12 เดือน) จ�ำนวน 2,000 คน และมีตวั ชีว้ ดั คือการลดลงของอัตรา การกระท�ำผิดซ�ำ้ ในกลุม่ เป้าหมายอย่างน้อย 7% จากสถิตทิ กี่ ระทรวงยุตธิ รรมตัง้ ไว้ ทัง้ นีผ้ ลการ
กระบวนการยุ ติ ธ รรมทาง
ส� ำ หรั บ ประเทศไทย SII นี้ อาจถื อ ได้ ว่ า เป็น เรื่ อ งที่ ใ หม่ อย่างมาก และยังไม่เคยมีการ ด� ำ เนิ น งานโดยหน่ ว ยงาน ข อ ง รั ฐ โ ด ย เ ฉ พ า ะ ด้ า น อาญา และหากจะท�ำให้เกิดขึน ้ ก็ ค ง จ ะ ต้ อ ง มี ก า ร แ ก้ ไ ข ก ฎ ห ม า ย เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ใ ช้ งบประมาณให้รองรับ อย่ า งไรก็ ดี ใ นอนาคตกรม คุ ม ประพฤติ แ ละหน่ ว ยงาน ในกระทรวงยุ ติ ธ รรมอาจ พิจารณาความเป็นไปได้ของ SII โดยค�ำนึงถึงบทเรียนจาก ต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศ ออสเตรเลียทีก ่ ำ � ลังด�ำเนินการ และคาดว่ า จะมี ก ารสรุ ป ผล สิ้นปี 2022
วิวรรณ ธาราหิรัญโชติ ‘การลงทุนเพื่อสังคม’ <http://www.thaivi.org> 6 เม.ย. 2557 เทียบเท่าได้กับกรมราชทัณฑ์ของประเทศไทย แต่อยู่ในระดับรัฐของประเทศออสเตรเลีย 3 UK Government ‘Social Impact Bond pilot at HMP Peterborough: final report’ <www.gov.uk/government/publications> 17 Dec 2015 4 Ben Schiller ‘More Governments Are Turning To Impact Bonds–But Do They Deliver?’ <www.fastcompany.com> 16 Feb 2018 1 2
ปีท่ี 24 | ฉบับที่ 02 | กุมภาพั นธ์ – พฤษภาคม 2561
การลงทุน SII นีก้ อ็ าจจะฟังดูไกลจากงาน คุมประพฤติอยู่ แต่ในความจริงแล้วก็มหี น่วยงาน ในต่างประเทศที่ได้ริเริ่มรูปแบบ SII เกี่ยวกับ การแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิดในชุมชนแล้ว ซึ่ง หนึง่ ในประเทศทีม่ แี ผนการ SII ขนาดใหญ่กค็ อื Corrective Services แห่งรัฐ New South Wales (CS-NSW) ของประเทศออสเตรเลีย2 โดยแผนการดังกล่าวมีมลู ค่าถึง 234 ล้านเหรียญ ดอลลาร์ออสเตรเลีย (ราว 6,000 ล้านบาท) โดยมีแผนการด�ำเนินโครงการระหว่างปี 20172022 ที่จะให้ภาคเอกชนและภาคชุมชนเสนอ โครงการส�ำหรับการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิดใน
ด�ำเนินงานดังกล่าวถือว่าประสบผลส�ำเร็จโดย อัตราการกระท�ำผิดซ�ำ้ ลดลงได้ถงึ 9% ซึง่ มากกว่า เป้าหมายที่วางไว้ และท�ำให้องค์กรการกุศล ดังกล่าวได้รบั เงินทุนด�ำเนินการคืนพร้อมดอกเบีย้ 3 %4 ซึง่ อาจจะไม่ใช่กำ� ไรทีม่ ากมายส�ำหรับผูล้ งทุน แต่กเ็ ป็นแรงจูงใจทีด่ ี อย่างไรก็ตามผลการด�ำเนิน โครงการนีจ้ ะส�ำเร็จเกินเป้าหมาย
9
SII เกีย ่ วกับงานคุมประพฤติ ได้อย่างไร?
ชุ ม ช น แ ล ะ ล ด ก า ร กระท� ำ ผิ ด ซ�้ ำ แก่ ผู ้ ที่ พ้นโทษจากเรือนจ�ำและผู้ที่ไ ด้ รั บ การแก้ ไ ข ฟื้นฟูในชุมชน แนวคิดในครั้งนี้ตั้งอยู่บนฐาน ที่ว่าภาคชุมชนมีความเชี่ยวชาญและยืดหยุ่น ในการจั ด การกั บ ทรั พ ยากรในชุ ม ชนเพื่ อ แก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิดมากกว่ารัฐ ดังนั้นการที่ รัฐท�ำสัญญาจัดสรรเงินให้เอกชนดูแลผูก้ ระท�ำผิด จึงเปรียบเสมือนเป็นการลงทุนอย่างหนึง่ ทีจ่ ะให้ ผลงอกเงยที่ เ ป็ น ความปลอดภั ย ของสั ง คม จากการกระท� ำ ผิ ด ซ�้ ำ นั่ น เองซึ่ ง ตั ว ชี้ วั ด ความส�ำเร็จที่ CS-NSW ตั้งไว้คืออัตราการ กระท� ำ ผิ ด ซ�้ ำ ที่ ล ดลงร้ อ ยละ 5 นี่ ถื อ เป็ น ครั้ ง แรกในออสเตรเลี ย ของ SII ในมิ ติ ข อง กระบวนการยุติธรรม
| Spirit จิตอาสา | เรื่อง กลุ่มงานพั ฒนาระบบอาสาสมัครคุมประพฤติและเครือข่ายชุมชน
วารสารกรมคุมประพฤติ | Probation Magazine
10
คืนคนดีสู่สังคมอย่างยั่งยืน
คงไม่มใี ครอยากท�ำผิดไปตลอดชีวติ คนทีเ่ คยท�ำผิดพลาดทีไ่ ม่สามารถ กลับคืนสู่สังคมได้อย่างปกติ เนื่องจากถูกปิดกั้นโอกาสทางสังคมในการ ประกอบอาชีพ หรือต้องกลับไปอยู่ในสภาพแวดล้อมเดิมๆ ที่มีปัจจัยเสี่ยง ในการกระท�ำผิดซ�้ำ การให้โอกาสผู้เคยกระท�ำผิดพลาดได้แสดงพลังและ ศักยภาพในการใช้ความสามารถของตนเองในการเป็นแบบอย่างทีด่ แี ก่บคุ คล อื่น รวมทั้งการปรับเปลี่ยนทัศนคติของสังคมและชุมชน ในการให้โอกาส ผู้กระท�ำผิดกลับเข้ามาอยู่ร่วมกันในสังคมได้ จึงเป็นเรื่องส�ำคัญ อธิบดีกรม คุมประพฤติมนี โยบายในการเสริมสร้างการมีสว่ นร่วมของภาคประชาสังคม
และขั บ เคลื่ อ นการมี ส ่ ว นร่ ว มของภาคประชาชน ให้เข้ามามีส ่วนร่วมในการแก้ไขฟื้น ฟูผู้ก ระท�ำผิด สร้างงานสร้างอาชีพ เตรียมความพร้อมผู้กระท�ำผิด ก่อนส่งกลับชุมชน และเฝ้าระวังติดตามผู้กระท�ำผิด ที่ พ ้ น โทษหรื อ พ้ น การคุ ม ประพฤติ ไ ม่ ใ ห้ ก ลั บ ไป กระท�ำผิดซ�ำ้ รวมทัง้ การดูแลช่วยเหลือและสงเคราะห์ ให้บุคคลเหล่านั้นสามารถด�ำรงชีวิตด้วยการพึ่งพา ตนเองได้และเป็นคนดีของสังคม ปัจจุบนั มีพระราชบัญญัตคิ มุ ประพฤติ พ.ศ.2559 ก� ำ หนดให้ อ าสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ คื อ ผู ้ ที่ อ ธิ บ ดี กรมคุมประพฤติแต่งตัง้ ให้ทำ� หน้าทีช่ ว่ ยเหลือพนักงาน คุมประพฤติ มีบทบาทตามระเบียบกระทรวงยุตธิ รรม ว่าด้วยบทบาทและวิธีการปฏิบัติงานของอาสาสมัคร คุมประพฤติและบทบาทของภาคประชาชน พ.ศ.2560 ดังนี้
ในการป้องกันตนเอง และรักษาความสงบเรียบร้อย ภายในชุมชน ร่วมคิดและวางแผนกับบุคคล ชุมชน หรือหน่วยงานอื่นในการจัดกิจกรรม เพื่อป้องกันอาชญากรรมในชุมชน โดยเข้าร่วม กิจกรรมป้องกันอาชญากรรม เช่น กิจกรรม รณรงค์ เ มาไม่ ขั บ กิ จ กรรมรณรงค์ ต ่ อ ต้ า น ยาเสพติด กิจกรรมอบรมความรู้เรื่องกฎหมาย จราจร กิ จ กรรมป้ อ งกั น และแก้ ไ ขปั ญ หา ยาเสพติด เป็นต้น
สิง่ ส�ำคัญในการแก้ไขฟืน้ ฟูผกู้ ระท�ำผิด ในชุมชนอย่างยัง่ ยืน ผูก้ ระท�ำผิดต้องการก�ำลังใจ การยอมรับ และให้โอกาสของคนในชุมชน รวมทั้งมีอาชีพ มีรายได้เพือ่ ด�ำเนินชีวติ อาสาสมัครคุมประพฤติ ถื อ เป็ น บุ ค คลในชุ ม ชนที่ ใ กล้ ชิ ด ผู ้ ก ระท� ำ ความผิดมากที่สุดในการออกไปเยี่ยมเยียน ให้ค�ำปรึกษา ให้ก�ำลังใจ ให้ค�ำแนะน�ำในการ ด�ำเนินชีวติ รวมทัง้ การประกอบอาชีพเพือ่ สร้าง รายได้ เ ลี้ ย งตั ว เองและครอบครั ว เพื่ อ ให้ สามารถด�ำรงชีวติ อย่างปกติสขุ ไม่หวนกลับไป กระท�ำผิดอีกและเป็นคนดีของสังคม
ปีท่ี 24 | ฉบับที่ 02 | กุมภาพั นธ์ – พฤษภาคม 2561
การสร้างความเข้าใจกับงานคุมประพฤติ ให้แก่ชมุ ชน การสร้างความเข้าใจภารกิจของกรม คุมประพฤติให้แก่ชมุ ชน โดยการประชาสัมพันธ์ ผ่านทางอาสาสมัครคุมประพฤติ อาสาสมัคร ของหน่ ว ยงานอื่ น ในพื้ น ที่ เครื อ ข่ า ยภาค ประชาชนและหน่ ว ยงานภาครั ฐ และกรม คุมประพฤติได้จัดท�ำวีดิทัศน์เผยแพร่ผ่านทาง อินเทอร์เน็ต เพือ่ ให้ชมุ ชนเข้าใจ ให้โอกาสและ ยอมรับผู้กระท�ำผิดกลับคืนสู่ชุมชน ดังนั้น อาสาสมัครคุมประพฤติจึงเป็น บุคคลส�ำคัญที่จะช่วยให้ผู้กระท�ำผิดสามารถ ด�ำรงชีวติ ในสังคมได้อย่างปกติสขุ ไม่หวนกลับ ไปกระท�ำผิดอีก จึงเป็นการคืนคนดีให้สังคม อย่างยั่งยืน
11
1. แก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิด อาสาสมัคร คุมประพฤติช่วยเหลือพนักงานคุมประพฤติ ในการออกไปสอดส่องผู้ถูกคุมความประพฤติ ให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำ ตักเตือนช่วยเหลือและ สงเคราะห์ผถู้ กู คุมความประพฤติ เพือ่ ให้ปฏิบตั ิ ตามเงื่อนไขการคุมความประพฤติ 2. ติดตาม ดูแลช่วยเหลือ สงเคราะห์ ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด หรื อ ผู ้ ไ ด้ รั บ การสงเคราะห์ อาสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ ช ่ ว ยเหลื อ พนั ก งาน คุมประพฤติในการออกไปติดตาม เยี่ยมเยียน ผูก้ ระท�ำผิดภายหลังปล่อยให้คำ� ปรึกษา แนะน�ำ และประสานงานให้ความช่วยเหลือผูก้ ระท�ำผิด ภายหลังปล่อย 3. แสวงหาข้อเท็จจริงเกีย่ วกับผูก้ ระท�ำผิด อาสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ ช ่ ว ยเหลื อ พนั ก งาน คุมประพฤติในการออกไปแสวงหาข้อเท็จจริง เกีย่ วกับผูถ้ กู สืบเสาะและพินจิ ในการตรวจสอบ สภาพแวดล้อมของทีพ่ กั อาศัยของผูถ้ กู สืบเสาะ และพินจิ สอบถามข้อมูลของนักโทษเด็ดขาดที่ จะได้รบั การพิจารณาพักการลงโทษ และลดวัน ต้องโทษจ�ำคุก 4. ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ภารกิ จ ของกรม คุมประพฤติ อาสาสมัครคุมประพฤติสนับสนุน โดยการให้ความร่วมมือและสนับสนุนการจัด กิจกรรมเพื่อการแก้ไขฟื้นฟู กิจกรรมบ�ำเพ็ญ สาธารณประโยชน์ สร้างเครือข่ายในการแก้ไข ฟื้นฟู สงเคราะห์ผู้กระท�ำผิดและผู้กระท�ำผิด ภายหลังปล่อย เผยแพร่ความรูแ้ ละประชาสัมพันธ์ ภารกิจกรมคุมประพฤติและกระทรวงยุติธรรม และช่วยเหลืองานอื่นๆ 5. มีสว่ นร่วมในการป้องกันอาชญากรรม อาสาสมัครคุมประพฤติช่วยในการสอดส่อง ดูแล เฝ้าระวัง แจ้งเบาะแสการกระท�ำความผิด กฎหมายภายในชุ ม ชน ให้ ค วามรู ้ ห รื อ จั ด กิจกรรมเพือ่ เสริมสร้างความร่วมมือของประชาชน
| นานาสาระ | เรื่อง นางสาวเหมือนแพร รุ่งเผ่าพั นธุ์ นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
วิธียืดเส้นยืดสาย สำ�หรับคนทำ�งานออฟฟิศ
วารสารกรมคุมประพฤติ | Probation Magazine
12
บ�ำบัดอาการปวดล้าได้
มนุษย์ออฟฟิศเป็นผูท ้ เ่ี รียกว่าท�ำงาน สบาย ไม่ต้องยกของหนัก นั่งรับแอร์ เย็นฉ�่ำตาจ้องคอมพิ วเตอร์แบบนี้ทั้งวัน บางวันอาจมีงานมาก แทบไม่มีเวลาเดิน ออกไปเข้ า ห้ อ งน�้ ำ เพื่ อ ท� ำ ธุ ร ะ บางคน ถึงกับนัง ่ ท่าเดียวเกือบทัง ้ วันเพื่อท�ำงาน ให้ เ สร็ จ หารู้ ไ ม่ ว่ า นั่ น เป็ น การท� ำ ร้ า ย ให้ร่างกายเจ็บป่วยได้ ดังนั้น ควรหมั่น บริ ห ารร่ า งกายหรื อ ยื ด เส้ น ยื ด สาย กันบ้าง เพื่อให้การไหลเวียนเลือดท�ำงาน ดี ขึ้ น และเสี่ ย งต่ อ การเจ็ บ ป่ ว ยน้ อ ยลง ซึ่ ง เราก็ มี ค� ำ แนะน� ำ ส� ำ หรั บ วิ ธี ยื ด เส้ น ยืดสายในชาวออฟฟิศมาฝากกัน
อาการ
ของคนนัง ่ ท�ำงานนานๆ
ปวดหลังเรือ้ รัง ปวดศีรษะ เป็นไมเกรน ปวดต้นคอ และเส้นคอด้านหลังตึงร้าว หนักๆ เข้า บางคนเครียดถึงกับนอนไม่หลับ หรือนั่งนานจนอั้น ปัสสาวะแบบนี้เสี่ยงที่จะเป็นโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบได้อย่างไม่รู้ตัวเลยทีเดียว อาการเหล่านี้สามารถท�ำให้บรรเทาลงหรือช่วยให้หายได้ด้วย วิธียืดเส้นยืดสายดังต่อไปนี้
1.
ท่ายืดกล้ามเนือ ้ ด้านหลัง
ยืนตรง เอาแขนข้างขวาไขว้หลัง โดยยังคงทิง้ แขนขวาให้ตรง มือซ้ายเอือ้ มผ่าน ด้านหลังจับแขนขวาไว้ จับดึงไปทางด้านซ้ายให้รู้สึกว่าด้านหลังตึงค้างไว้ 5 วินาที สลับมาท�ำซ�้ำกับด้านซ้ายจนครบท่าละ 5 ครั้ง
2.
ท่ายืดกล้ามเนือ ้ ด้านข้างล�ำตัวจนถึงด้านในของแขน
ท่านี้จะยืนหรือนั่งก็ได้ เริ่มต้นด้วยยกแขนขวาตรงๆ ขึ้นเหนือศีรษะ ต่อด้วยงอแขนขวาอ้อมมาแตะ ไหล่ซ้าย ใช้มือซ้ายอ้อมไปหลังศีรษะแล้วจับข้อศอกแขนขวาดึงเบาๆ พร้อมๆ กับหันหน้าไปทางแขนขวา จะรู้สึกว่าข้างล�ำตัวด้านขวาและแขนขวาจะตึง ท�ำค้างไว้ 5 วินาที สลับกับมาท�ำกับแขนซ้ายท่าละ 5 ครั้ง
3.
ยืดกล้ามเนือ ้ ไหล่และด้านนอกของแขน
ท่านีจ้ ะยืนหรือนัง่ ก็ได้เช่นกัน เริม่ ต้นทีย่ กแขนขวาตัง้ ฉากตรงไปข้างหน้า เอามือซ้ายจับ โคนแขนขวาดึงไปทางด้านซ้าย หันหน้ากลับไปทางด้านแขนขวา จะรูส้ กึ ไหล่และโคนแขนขวา ด้านนอกตึง ท�ำค้างไว้ 5 วินาที สลับมาท�ำเหมือนกันกับแขนซ้ายบ้าง จนครบข้างละ 5 ครั้ง
4.
ยืดเส้นทีด ่ า ้ นข้างล�ำคอ
ยืดล�ำตัวด้านข้างพร้อมกับยืดหลัง
ยืนตัวตรง ก้มตัวลงพร้อมจับมือทัง้ สองข้าง ค่อยๆ เงยขึน้ มาอย่างช้าๆ ตัวยังคงตัง้ ตรง จากนัน้ ค่อยๆ เอียงล�ำตัวมาทางด้านขวาช้าๆ และกลับมายืนตรง แล้วจึงค่อยๆ เอียงล�ำตัว มาทางด้านซ้าย และกลับมายืนตรงท�ำซ�ำ้ ๆ โดยเริม่ ต้นทีก่ ม้ ตัวจับมือใหม่อกี ครัง้ จนครบ 5 ครัง้ ท่าบริหารร่างกายด้วยการยืดเส้นยืดสายของชาวออฟฟิศดังกล่าวนี้ สามารถช่วยให้รา่ งกายทีม ่ เี ส้นตึง กลับมาคลายได้ โดยควรท�ำวันละ 2 ครัง ้ วรลุกเปลีย ่ นจากทีน ่ ง ั่ เพื่อละสายตาจากจอคอมพิวเตอร์ ้ นอกจากนีค ออกมามองในระยะไกลๆ บ้ า ง ไม่ อ้ัน ปั ส สาวะ หากปวดควรรี บ เข้ า ห้ อ งน�้ำ ทั น ที เพื่ อ ป้ อ งกั น การเกิ ด กระเพาะปัสสาวะอักเสบและหากเครียดก็ควรหมัน ้ จ ็ ะช่วยให้ชว ี ต ิ การท�ำงาน ่ ท�ำใจให้ปล่อยวาง เพียงเท่านีก ในออฟฟิศของเรามีความสุขมากขึน ้ และลดความเสีย ่ งในการเกิดโรคทีอ ่ าจตามมาในอนาคตได้
ข้อมูลจาก http://www.thaihealth.or.th/
ปีท่ี 24 | ฉบับที่ 02 | กุมภาพั นธ์ – พฤษภาคม 2561
5.
13
เริม่ ต้นจะนัง่ หรือยืนก็ได้ ด้วยการท�ำล�ำตัวให้ตรง เอียงคอไปทางด้านข้างฝัง่ ซ้าย พร้อมกับใช้มือซ้ายจับศีรษะให้โน้มลงไปตามแนวด้านข้างเล็กน้อย จะรู้สึกเส้น ที่คอด้านขวาตึง ท�ำค้างไว้ 5 วินาที ต่อจากนั้น ท�ำสลับกับอีกข้างจนครบ 5 ครั้ง
| In Focus | เรื่องและภาพ: นางสาวปิยนุช รักสัตย์ นักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ
The
Best ME
วารสารกรมคุมประพฤติ | Probation Magazine
14
นั่ ง คุ ย กั บ ส อ ง ส า ว ผู้ ไ ด้ รั บ คัดเลือกเป็นข้าราชการพลเรือน ดีเด่น ประจ�ำปี พ.ศ. 2560 ถึง มุ ม มองการท� ำ งานจนประสบ ความส�ำเร็จ
ลงมือปฏิบัติ และตรวจสอบผลงาน และการ ท�ำงานสิ่งส�ำคัญที่จะน�ำพาสู่ความส�ำเร็จคือ ทีมงาน เราโชคดีที่มีพี่ๆ และเพื่อนร่วมงาน ที่ร่วมแรงร่วมใจกันในการท�ำงานเสมอ รวมถึง ผู้บังคับบัญชาที่คอยสนับสนุน และให้โอกาส ในการสร้างสรรค์การท�ำงาน จุดเริม ่ ต้นการท�ำงาน “แม้เราจะเป็นเพียงเฟืองตัวเล็กๆ แต่ทกุ สิง่ เริ่ ม ต้ น บรรจุ เ ข้ า รั บ ราชการครั้ ง แรกใน ต�ำแหน่งบุคลากร 4 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ทีเ่ ราท�ำน่าจะส่งผลให้เกิดความเปลีย่ นแปลง กระทรวงสาธารณสุข และสอบเข้าโครงการ ขึ้นได้ เมื่อเรามีความตั้งใจที่ดี” พั ฒ นานั ก บริ ห ารการเปลี่ ย นแปลงรุ ่ น ใหม่ รุ่นที่ 3 บรรจุในต�ำแหน่ง นักพัฒนาระบบ ราชการปฏิบตั กิ าร ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ก่อนโอนย้าย มายังกรมคุมประพฤติ ในต�ำแหน่งพนักงาน คุ ม ประพฤติ ป ฏิ บั ติ ก าร สั ง กั ด ส� ำ นั ก งาน คุมประพฤติจงั หวัดนครสวรรค์ ช่วยราชการประจ�ำ กองแผนงานและสารสนเทศ ปัจจุบนั สังกัดกอง พัฒนาฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด หลักแนวคิดในการท�ำงาน
ในการท�ำงานเราจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง ก�ำหนดโจทย์และเป้าหมายที่เราต้องการจะไป ถึงจุดนั้นให้ชัดเจน จากนั้นต้องวางแผนการ ท�ำงานทั้งวิธีการ รูปแบบ ระยะเวลา รวมถึง แผนส�ำรองเพื่อให้ถึงเป้าหมายนั้นๆ แล้วจึง
ภรรคพร เล็ ก ขาว หรือ ‘ปาล์ม’ พนักงาน คุมประพฤติชำ� นาญการ สั งกัดกองพั ฒนาการ ฟื้ นฟู สมรรถภาพผู้ติด ยาเสพติด
สูตรความส�ำเร็จ
ร่ ว มคิ ด - สร้ า งสรรค์ แ ละปรั บ ประยุกต์การท�ำงานให้เท่าทันกับยุค ดิจิทัลเพื่อบริการประชาชน ร่วมท�ำ - ขยันและอดทน เสียสละ มุ่งมั่น ทุ่มเทในการท�ำงานโดยยึดถือประโยชน์ สาธารณะ น�ำศาสตร์พระราชาเป็นแนวทาง ในการด�ำเนินงาน ร่ ว มรั บ ผิ ด ชอบ - ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต โปร่งใส ใช้หลักธรรมาภิบาลในการด�ำเนินงาน
รุง ่ นภา ส�ำอางค์ หรือ ‘รุง ่ ’ เจ้าพนักงานธุรการ ช� ำ น า ญ ง า น สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานคุ ม ประพฤติ จั ง หวั ด สิ ง ห์ บุ รี ช่ ว ย ราชการประจ�ำส�ำนักงาน คุ ม ประพฤติ ก รุ ง เทพมหานคร 2
จุดเริม ่ ต้นการท�ำงาน
เราปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเต็มใจ มีความ รั บ ผิ ด ชอบในงานที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย ศึ ก ษา หาความรู้ ปรับเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติงานด้วย ความใส่ ใ จทุ ่ ม เท เพื่ อ ให้ ง านส� ำ เร็ จ ตาม เป้าหมาย มีการวางแผนการท�ำงาน คิดสร้างสรรค์ หาวิธีการให้งานออกมาในเชิงประจักษ์ สร้าง ความคิดให้ชีวิตมีความสุข สนุกกับการท�ำงาน ให้คำ� แนะน�ำ และแลกเปลีย่ นวิธกี ารท�ำงานกับ เพือ่ นร่วมงานจากประสบการณ์ทำ� งานทีผ่ า่ นมา สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับตนเอง เช่น ให้ความ เป็นกันเอง ให้ค�ำแนะน�ำช่วยเหลือกับเพื่อน ร่วมงาน และให้คิดว่าการได้เรียนรู้งานใหม่ๆ คือก�ำไรของชีวิตการท�ำงาน
“ยึดมั่นในคุณธรรม สร้างสรรค์สัง คม อุทิศตนเพื่อประโยชน์ส่วนรวม” ยึดมั่นในคุณธรรม โดยน�ำหลักคุณธรรม จริยธรรม มาใช้ในการปฏิบัติงานรวมถึงน�ำมา ใช้ในการด�ำเนินชีวิต เมื่อเราสามารถยึดมั่นใน หลักคุณธรรมได้แล้ว ก็จะส่งผลให้เกิดความ
ปีท่ี 24 | ฉบับที่ 02 | กุมภาพั นธ์ – พฤษภาคม 2561
หลักแนวคิดในการท�ำงาน
สูตรความส�ำเร็จ
15
เริม่ บรรจุเข้ารับราชการในต�ำแหน่งเจ้าหน้าที่ บันทึกข้อมูล 1 สังกัดส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดลพบุรี ช่วยราชการประจ�ำส�ำนักงาน คุมประพฤติจงั หวัดสิงห์บรุ ี ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าพนักงานธุรการช�ำนาญงาน สังกัดส�ำนักงาน คุมประพฤติจงั หวัดสิงห์บรุ ี ช่วยราชการประจ�ำ ส�ำนักงานคุมประพฤติกรุงเทพมหานคร 2
“มีโอกาสเป็นข้าของแผ่นดินแล้วก็ทำ� งาน ของเราให้เต็มความสามารถ”
สร้างสรรค์สังคม เ พราะการท� ำ งานของ กรมคุมประพฤติ คือ การคืนคนดีสสู่ งั คม ขณะที่ เราปฏิบตั หิ น้าทีก่ ถ็ อื ได้วา่ เป็นการท�ำบุญควบคู่ กันไปด้วย ถ้าเราอยากเห็นสังคมดีขนึ้ เราก็ควร ปฏิบัติดีต่อผู้มาติดต่อด้วยไมตรีจิต อุทิศตนเพื่อประโยชน์ส่วนรวม ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเต็มใจ อุทิศตนเพื่อผล ของงานแม้ว่าเราจะเป็นฝ่ายสนับสนุน ก็คิดว่า นี่ คื อ อี ก หน้ า ที่ ห นึ่ ง ที่ จ ะช่ ว ยตอบแทนสั ง คม และถวายแด่ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช ในการเป็นข้าราชการของ แผ่นดิน
| เจาะกิจกรรมเด่น | เรื่อง นายณัฐ คชประเสริฐ นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
ติดตามความเคลื่อนไหวและกิจกรรมต่างๆ ของส�ำนักงานคุมประพฤติทั่วประเทศ ส�ำนักงานคุมประพฤติ กรุงเทพมหานคร 4 จัดกิจกรรมบ�ำเพ็ ญสาธารณประโยชน์
ส�ำนักงานคุมประพฤติกรุงเทพมหานคร 4 ร่วมกับ อาสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ แ ละโรงเรี ย นวั ด ลาดกระบั ง จัดกิจกรรมบ�ำเพ็ญสาธารณประโยชน์ เนื่องในโอกาส วันสถาปนากรมคุมประพฤติ ครบรอบ 26 ปี โดยมี อาสาสมัครคุมประพฤติ เจ้าหน้าที่ ผูถ้ กู คุมความประพฤติ เข้าร่วมกิจกรรม 109 คน ณ โรงเรียนวัดลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร
ส�ำนักงานคุมประพฤติจง ั หวัดพระนครศรีอยุธยาให้การดูแลช่วยเหลือภายหลังพ้ นโทษ
วารสารกรมคุมประพฤติ | Probation Magazine
16
นายสายยนต์ ปัญญาทา ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานคุมประพฤติจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา น�ำเจ้าหน้าทีแ่ ละอาสาสมัครคุมประพฤติ เข้าพบกับผูต้ อ้ งขัง ในเรือนจ�ำทีจ่ ะได้รบั การปล่อยตัวจากอ�ำเภอต่างๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ผตู้ อ้ งขังทีจ่ ะพ้นโทษได้เตรียมความพร้อม ในการปรับตัวในด้านต่างๆ และพูดคุยฟืน้ ฟูจติ ใจให้คำ� ปรึกษา รวมทัง้ การจัดหางาน ชีแ้ จงให้เกิดความเข้าใจในกระบวนการติดตามและให้การสงเคราะห์ ให้กบั ผูต้ อ้ งขังภายหลังพ้นโทษ
คุมประพฤติกบินทร์บรุ ี จัดบริการสังคม ทีโ่ รงพยาบาลกบินทร์บรุ ี
ส�ำนักงานคุมประพฤติจงั หวัดปราจีนบุรี สาขากบินทร์บรุ ี จัดกิจกรรมน�ำผูถ้ กู คุมความประพฤติคดีเมาแล้วขับ, คดีขบั รถ ประมาท และ พ.ร.บ.จราจรทางบก ท�ำงานบริการสังคม ดูแล อ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้ป่วยรวมทั้งท�ำความสะอาดพื้นที่ ณ โรงพยาบาลกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี
ส�ำนักงานคุมประพฤติจง ั หวัดบุรรี ม ั ย์ จัดกิจกรรมอบรมธรรมะ
ส�ำนักงานคุมประพฤติจงั หวัดบุรรี มั ย์จดั กิจกรรมอบรม ธรรมะแก่ผถู้ กู คุมความประพฤติครัง้ ที่ 1/2561 ณ วัดทุง่ โพธิ์ ต�ำบลอิสาณ อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ เพื่อให้ผู้ถูกคุม ความประพฤติได้ทราบแนวทางในการปฏิบัติตวั ในระหว่าง การคุมประพฤติ อีกทัง้ ยังเป็นการน�ำหลักธรรมะทางศาสนามา เป็นเครือ่ งขัดเกลานิสยั ผูถ้ กู คุมความประพฤติให้ประพฤติตน ไปในทางที่ดีสามารถด�ำรงตนอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข โดยมีผถู้ กู คุมความประพฤติเข้าร่วมอบรม จ�ำนวน 68 คน
่ มคุก ส�ำนักงานคุมประพฤติจง ั หวัดขอนแก่น จัดโครงการผูถ ้ ก ู คุมความประพฤติเยีย
ส�ำนักงานคุมประพฤติจงั หวัดขอนแก่น จัดโครงการผูถ้ กู คุมความประพฤติเยีย่ มคุก ครัง้ ที่ 2 โดยน�ำผูถ้ กู คุมความประพฤติ ทีถ่ กู จับกุมด�ำเนินคดี ครัง้ แรกและในระหว่างพิจารณาคดีโดยไม่ถกู ควบคุมตัว ไม่เคยต้องขังเข้าร่วมโครงการ จ�ำนวน 20 คน ซึง่ ผูถ้ กู คุมความประพฤติจะได้เห็นถึงสภาพชีวติ ความเป็นอยู่ในเรือนจ�ำ ณ ทัณฑสถานบ�ำบัดพิเศษขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
คุมประพฤติเชียงรายน�ำผู้ถูกคุมความประพฤติท�ำงานบริการสังคม
ส�ำนักงานคุมประพฤติจงั หวัดเพชรบูรณ์ สาขาวิเชียรบุรี มอบทุนประกอบอาชีพ ให้แก่ผเู้ ข้ารับการฟืน้ ฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติดและผูไ้ ด้รบั พักการลงโทษ ซึง่ อยูใ่ นความ ดูแลของส�ำนักงาน เพื่อให้เป็นการสร้างงาน สร้างอาชีพ และพึ่งพาตนเองได้
ปีท่ี 24 | ฉบับที่ 02 | กุมภาพั นธ์ – พฤษภาคม 2561
ส�ำนักงานคุมประพฤติสาขาวิเชียรบุรี มอบทุนประกอบอาชีพ
17
ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดเชียงรายร่วมกับอาสาสมัครคุมประพฤติจังหวัดเชียงราย จัดกิจกรรม น�ำผู้ถูกคุมความประพฤติ ท�ำงานบริการสังคมแบบกลุ่ม ณ วัดพระแก้วและวิทยาลัยสงฆ์ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงราย ซึ่งได้ร่วมกันท�ำความสะอาดวัดพระแก้วและบริเวณโดยรอบ
้ ที่ 1 / 2561 คุมประพฤติจง ั หวัดกาญจนบุรี ร่วมพิ ธค ี น ื คนดีสส ู่ ง ั คม ครัง
กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม โดยส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดกาญจนบุรี นางสาวดุษสิยา วงศ์วาสนา ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานคุมประพฤติจงั หวัดกาญจนบุรี เป็นประธานในพิธฯี พร้อมด้วย พ.อ.ณัฐติพงษ์ ตะโกโหญ่ ผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียนวิวฒ ั น์พลเมือง ศูนย์ววิ ฒ ั น์พลเมือง (บังคับบ�ำบัด) กองพลทหารราบที่ 9 และ ร่วมพิธคี นื คนดีสสู่ งั คม ครัง้ ที่ 1/2561 โดยมีนกั เรียนวิวฒ ั น์พลเมืองทีจ่ ะครบก�ำหนด รวมจ�ำนวน 30 คน ณ ห้องอบรมโรงเรียนวิวฒ ั น์พลเมือง ศูนย์ววิ ฒ ั น์พลเมือง (บังคับบ�ำบัด) กองพลทหารราบที่ 9 อ�ำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี
ส�ำนักงานคุมประพฤติจง ั หวัดชุมพร ร่วมสัปดาห์แห่งการท�ำความสะอาด Big/Beach Cleaning Day
วารสารกรมคุมประพฤติ | Probation Magazine
18
ส� ำ นั ก งานคุ ม ประพฤติ จั ง หวั ด ชุ ม พร เข้าร่วมกิจกรรมและพิธีเปิดโครงการ “สัปดาห์ แห่งการท�ำความสะอาด Big/Beach Cleaning Day” ประจ�ำปี 2561 เนือ่ งในโอกาสทีจ่ ะจัดงาน เปิดโลกทะเล ครัง้ ที่ 28 ประจ�ำปี 2561 พร้อมน�ำ ผู ้ ถู ก คุ ม ความประพฤติ ท� ำ ความสะอาด เพือ่ ปรับปรุงภูมทิ ศั น์ บริเวณชายทะเล ชายหาด ป่าชายเลน ณ บริเวณชายหาดและลานอเนกประสงค์ เทศบาลต�ำบลปากน�้ำชุมพร อ�ำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร
คุมประพฤติจังหวัดปัตตานี จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ “ส่งเสริมแนวทางสันติวิธี”
ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดปัตตานี จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพร้อมคณะท�ำงานหลักสูตร “ส่งเสริมแนวทางสันติวิธี” ตามโครงการพัฒนาพฤตินิสัยกลุ่มผู้ถูกคุมความประพฤติและผู้ต้องขังคดีความมั่นคงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ณ โรงแรม ซี.เอส.ปัตตานี ทั้งนี้ มีผู้เข้าร่วมการประชุม ซึ่งประกอบด้วย อาจารย์มหาวิทยาลัย คณะกรรมการอิสลามประจ�ำจังหวัดปัตตานี เจ้าหน้าที่ส�ำนักงานคุมประพฤติในพื้นที่ สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เจ้าหน้าที่เรือนจ�ำในพื้นที่ เจ้าหน้าที่ส�ำนักงานยุติธรรม จ.ปัตตานี และจ.นราธิวาส ผู้สังเกตการณ์จากกรมราชทัณฑ์ และจากกรมคุมประพฤติ
ขอความร่วมมือท่านผู้อ่าน ตอบแบบสอบถามความพึ งพอใจ ที่มีต่อวารสารกรมคุมประพฤติ ก ร ม คุ ม ป ร ะ พ ฤ ติ กระทรวงยุ ติ ธ รรม ได้ จั ด ท� ำ วารสารกรมคุมประพฤติ ปีท่ี 24 ฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพั นธ์ – พฤษภาคม 2561 ขึ้ น เพื่ อ
พร้อมร่วมสนุกชิงรางวัล Flash Drive จ�ำนวน 3 รางวัล เพี ยงกรอกชื่อ-สกุล ชื่ อ หน่ ว ยงาน และเบอร์ ติ ด ต่ อ ท้ า ย แบบสอบถาม ภายในวันที่ 20 พฤษภาคม 2561 และจะประกาศรายชื่ อ ผู้ โ ชคดี ใ น
เผยแพร่ข่าวสารสร้างการรับรู้ แ ล ะ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ เ กี่ ย ว กั บ งานคุมประพฤติ ในการนี้
วารสารกรมคุมประพฤติฉบับถัดไป
กรมคุมประพฤติ จึงขอ ความร่วมมือท่านตอบ แบบสอบถามความ ่ ต พึงพอใจทีม ี อ ่ วารสาร กรมคุ ม ประพฤติ ไ ด้ ท่ี
https://goo.gl/nCQd6r
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารกรมคุมประพฤติ ท่านสามารถติดต่อขอข้อมูลข่าวสารตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มาตรา 7 และ มาตรา 9 เช่น โครงสร้างองค์กรกรมคุมประพฤติ สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างตามแบบ สขร. 1 โดยมีดัชนีข้อมูลข่าวสาร ไว้บริการ ณ ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร นอกจากนี้ยังมีศูนย์ข้อมูลข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ให้บริการได้ตลอด 24 ชั่วโมง
ช่องทางการติดต่อ ศูนย์ข้อมูลข่าวสารกรมคุมประพฤติ ณ ห้องกลุ่มประชาสัมพั นธ์และการสื่อสาร กรมคุมประพฤติ ชั้น 4 อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 ศูนย์ข้อมูลข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ของราชการ www.oic.go.th/infocenter2/229 โทร. 0-2141-4740 E-mail: probation2558@hotmail.com
กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม Department of Probation, Ministry of Justice อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ชั้น 4, 6 ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร โทร. 0-2413-0635, 0-2143-8824 www.probation.go.th ศูนย์รับฟังความคิดเห็น โทร. 0-2141-4749 ตู้ ปณ.29 ปณฝ. ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ กรุงเทพมหานคร 10215
สายด่วน 1111 กด 78
กรมคุมประพฤติ Department of Probation