วารสาร
กรมคุมประพฤติ ตุลาคม 2561 – มกราคม 2562
ปีที่ 25 ฉบับที่
01
Probation Magazine บทความพิเศษ
Smart Probation Officer คนเก่งมืออาชีพ
โลกก้าวไกล คุมประพฤติ ไทยเท่าทัน การสร้างบุคลากรให้เก่งกาจ ก้าวสู่ “SMART OFFICER“
In Focus
ISSN 0858-8619
ปรับตัวอย่างไรให้ทันยุค Digital Disruption
P Professional P Probation P Proactive P Progressive
สารบัญ
10 4 12
translation
8 4 บทความพิ เศษ Smart Probation Officer คนเก่งมืออาชีพ 6 Probation around the World โลกก้าวไกล คุมประพฤติไทยเท่าทัน การสร้างบุคลากรให้เก่งกาจ ก้าวสู่ “SMART OFFICER”
14 In Focus ปรับตัวอย่างไรให้ทันยุค Digital Disruption 16 เจาะกิจกรรมเด่น ติดตามความเคลือ ่ นไหวและกิจกรรม ต่ า งๆ ของส� ำ นั ก งานคุ ม ประพฤติ ทั่วประเทศ
ดร.ยศวันต์ บริบูรณ์ธนา บรรณาธิการวารสารกรมคุมประพฤติ
คณะผู้จัดทำ� ที่ปรึกษา บรรณาธิการบริหาร กองบรรณาธิการ
นายประสาร มหาลี้ตระกูล อธิบดีกรมคุมประพฤติ นางอัญชลี พัฒนสาร รองอธิบดีกรมคุมประพฤติ นายพยนต์ สินธุนาวา รองอธิบดีกรมคุมประพฤติ นางสาวพวงแก้ว เชื้อเชย รองอธิบดีกรมคุมประพฤติ นางยศวันต์ บริบูรณ์ธนา ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านการแก้ ไขฟื้นฟูและกิจกรรมชุมชน นางสาวจิราวรรณ บุญญา นางสุวิมล ด�ำสุวรรณ นางสาวปิยนุช รักสัตย์ นางสาวปาณิศา ผลกษาปน์สิน นายธนาวุฒิ ถนอมลิขิตวงศ์ นางสาวเหมือนแพร รุ่งเผ่าพันธุ์
ฝ่ายภาพ ฝ่ายประสานงาน และพิสูจน์อักษร ฝ่ายจัดการ ผู้จัดพิมพ์
นายณัฐ คชประเสริฐ นางเกศินี สกุลทับ
นางสาวณัฐกฤตา น�ำผล นางสาวศิริพร เอกอนงค์ นางสาวสุกัลยา นวลแก้ว กลุ่มประชาสัมพันธ์และการสื่อสาร ส�ำนักงานเลขานุการกรม กรมคุมประพฤติ โทร. 0 2143 8824 บริษัท วงศ์สว่างพับลิชชิ่งแอนด์พริ้นติ้ง จ�ำกัด
ปีท่ี 25 | ฉบับที่ 01 | ตุลาคม 2561 – มกราคม 2562
9 นานาสาระ หลักสูตร “ข้าราชการ 4.0“
12 Spirit จิตอาสา งานอาสาสมัครคุมประพฤติ ในยุคประเทศไทย 4.0
วารสารกรมคุมประพฤติประจ�ำปี 2562 นี้ เราขอร้อยเรียงเรื่องราวการ ขั บ เคลื่ อ นงานคุ ม ประพฤติ เ พื่ อ มุ ่ ง สู ่ Probation 4.0 ให้ท่านผู้อ่านได้เห็นถึง ก้าวที่ส�ำคัญของกรมคุมประพฤติ ตั้งแต่ การพั ฒ นาบุ ค ลากรให้ เ ป็ น Smart Officer การปรั บ วิ ธี ก ารท� ำ งานและ การให้ บ ริ ก ารประชาชนด้ ว ยการ น� ำ เทคโนโลยี เ ข้ า มาจนเป็ น Smart Office สู ่ มิ ติ ใ หม่ ใ นงานคุ ม ประพฤติ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น เป็ น Smart Probation ซึ่ ง ท่ า นผู ้ อ ่ า นสามารถติ ด ตามกั น ได้ ในฉบับนี้และฉบับต่อๆ ไป นอกจากนี้ กองบรรณาธิ ก ารได้ ป รั บ รู ป แบบและ เพิม่ เติมคอลัมน์ทที่ า่ นผูอ้ า่ นได้เสนอแนะ เข้ า มาผ่ า นทางแบบสอบถามความ พึงพอใจที่มีต่อวารสารกรมคุมประพฤติ อาทิ คอลัมน์ Spotlight เป็นการสนับสนุน กิจการร้านค้าของผูถ้ กู คุมความประพฤติ หรืออาสาสมัครคุมประพฤติ และคอลัมน์ English for Justice น�ำเสนอภาษา อังกฤษที่เกี่ยวข้องกับงานคุมประพฤติ หรือกระบวนการยุติธรรม เพื่อเป็นการ เพิ่ ม พู น ความรู ้ ทั ก ษะภาษาอั ง กฤษ ไปในตัว เสิร์ฟพร้อมกับบทความอื่นๆ ที่ น ่ า สนใจอี ก มากมายให้ ท ่ า นผู ้ อ ่ า น ได้ติดตามกันค่ะ
3
8 English for Justice ชุดค�ำศัพท์ในกระบวนการยุติธรรม ตอน : งานคุมประพฤติ
10 1 คนดี 1 ส�ำนักงาน พอเพี ยงกับชีวิตที่เพี ยงพอ
บทบรรณาธิการ
| บทความพิเศษ |
วารสารกรมคุมประพฤติ | Probation Magazine
4
นางสาวปิยนุช รักสัตย์ นักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ
Smart Probation Officer คนเก่งมืออาชีพ เมือ่ ไม่นานมานี้ ราชกิจจานุเบกษา ออก ประกาศคณะกรรมการคุ ม ประพฤติ เรื่ อ ง มาตรฐานแห่ ง ชาติ ว ่ า ด้ ว ยการปฏิ บั ติ ง าน คุมประพฤติ เพือ่ เป็นกรอบแนวทางให้พนักงาน คุมประพฤติปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างเป็นมืออาชีพ และ เป็นไปในรูปแบบเดียวกันทัว่ ประเทศ อันจะส่งผล ให้ เ กิ ด การท� ำ งานอย่ า งเป็ น มาตรฐาน เสริมสร้างความมั่นใจให้กับสังคม และเป็น หลักประกันแก่สงั คมให้มคี วามปลอดภัยจากการ
กระท�ำผิด รวมทัง้ นโยบายกรมคุมประพฤติเอง ก็เน้นให้บคุ ลากรเป็นคนเก่งมืออาชีพ ท�ำงานโดย ใช้เทคโนโลยีและ IT ผลงานตอบสนองความ ต้องการของสังคม และที่ส�ำคัญคือการสร้าง Brand คุมประพฤติ ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง ฉะนัน้ รูปแบบการท�ำงานของพนักงานคุมประพฤติ อาจจะต้ อ งปรั บ เปลี่ ย นเพื่ อ ตอบโจทย์ กั บ นโยบายในการขับเคลื่อนงานคุมประพฤติให้ บรรลุเป้าหมายสูก่ ารเป็น Probation 4.0 ได้
อย่างส�ำเร็จลุลว่ งภายในปี พ.ศ.2563 ลองมาฟัง ความคิ ด เห็ น ของตั ว แทนบุ ค ลากรกรม คุ ม ประพฤติ ยุ ค ใหม่ เขาท� ำ งานกั น อย่ า งไร หรือมีแนวทางการปฏิบตั งิ านเพือ่ ให้เป็น Smart Probation Officer
“Smart Probation Officer” คื อ พนั ก งานคุ ม ประพฤติ ยุ ค ใหม่ ซึ่ ง ท� ำ หน้ า ที่ ขั บ เคลื่ อ นภารกิ จ ของกรมคุ ม ประพฤติ ไ ปสู ่ ความส� ำ เร็ จ พนั ก งานคุ ม ประพฤติ จ ะต้ อ ง ปรับตัวไปสูร่ ปู แบบการท�ำงานทีม่ คี วามทันสมัย สามารถน�ำเทคโนโลยีส มัยใหม่มาใช้ในการ ท� ำ งาน และมี ก ารคิ ด ต่ อ ยอดพั ฒ นาไปสู ่ การสร้ า งนวั ต กรรมใหม่ เพื่ อ ให้ ก ารปฏิ บั ติ หน้าที่ในการบังคับใช้กฏหมายและการแก้ไข ฟื ้ น ฟู ผู ้ ก ระท� ำ ผิ ด ในชุ ม ชน เกิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ อยูบ่ นพืน้ ฐานองค์ความรู้ มีความเป็นมาตรฐาน เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง และยังคงรักษาไว้ซึ่งวัฒนธรรมในการท�ำงาน ที่ดี มีความทุ่มเท เสียสละ และมีความซื่อสัตย์ สุจริต ซึ่งจะส่งผลให้สังคมเกิดความเชื่อมั่น ในฐานะการเป็นหลักประกันความปลอดภัย ให้กับชุมชนของกรมคุมประพฤติ
นางสาวสายฝน จันทะพรม
นายพี ฐิพันธน์ ณัฐวัตรจินดา
พนักงานคุมประพฤติชำ� นาญการ ส�ำนักงานคุมประพฤติจง ั หวัดขอนแก่น
พนักงานคุมประพฤติชำ� นาญการ กองพั ฒนาการคุมประพฤติ
ปีท่ี 25 | ฉบับที่ 01 | ตุลาคม 2561 – มกราคม 2562
นายธนกฤต วิสิทธิ์
นักทรัพยากรบุคคลปฏิบต ั ก ิ าร ศูนย์พัฒนาทรัพยากรบุคคล
พนักงานคุมประพฤติมืออาชีพ (Smart Probation Officer) คื อ “การท� ำ หน้ า ที่ โดยไม่มขี อ้ อ้าง” หมายถึง การปฏิบตั งิ านแก้ไข ฟื้นฟูผู้กระท�ำผิดที่ต้องเป็นไปตามกฏหมาย ระเบียบที่เกี่ยวข้องก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ไว้ รวมถึ ง ปฏิ บั ติ ง านตาม พ.ร.บ.คุ ม ประพฤติ ๒๕๕๙ มาตรฐานงานคุ ม ประพฤติ และ มาตรฐานขัน้ ต�ำ่ สหประชาชาติวา่ ด้วยมาตรการ ไม่ควบคุมตัว หรือ ข้อก�ำหนดโตเกียว โดยมี การน� ำ เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมสมั ย ใหม่ มาสนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านเพื่ อ ผู ้ รั บ บริ ก าร ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยไม่ละทิ้งหรือ หยุ ด นิ่ ง ในการพั ฒ นาตนเองทางความรู ้ ความคิด และความสามารถในต�ำแหน่งหน้าที่ ของตนเอง ยึ ด ถื อ ยึ ด มั่ น พร้ อ มยื น หยั ด ใน ความดีความถูกต้องและด�ำรงตนในการเป็น ข้าราชการที่ดี
5
บุคลากรกรมคุมประพฤติทุกภาคส่วน ควรหมั่นพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็น ทักษะ องค์ความรู้เกี่ยวกับงานคุมประพฤติ หรื อ อื่ น ๆ ที่ เ สริ ม สร้ า งประสิ ท ธิ ภ าพการ ปฏิบัติงานที่ตนรับผิดชอบ และหากมีโอกาส ควรส่ ง เสริ ม ให้ เ พื่ อ นร่ ว มงานได้ พั ฒ นาด้ ว ย เช่น กระบวนการ KM เพื่อให้การปฏิบัติงาน เป็ น ไปตามมาตรฐานแห่ ง ชาติ ว ่ า ด้ ว ยการ คุ ม ประพฤติ อี ก ทั้ ง บุ ค ลากรควรแสวงหา นวัตกรรมต่างๆ มาปรับใช้เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ/ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน และที่ส�ำคัญที่สุด บุ ค ลากรกรมคุ ม ประพฤติ ค วรปฏิ บั ติ ง าน โดยมุง่ ผลประโยชน์ของผูม้ ารับบริการเป็นหลัก เน้นคุณภาพของการท�ำงาน ซึ่งผลส�ำเร็จจาก การแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิดให้กลับมาเป็นคนดี ในสั ง คมนั้ น จะช่ ว ยสร้ า งภาพลั ก ษณ์ ใ ห้ กรมคุ ม ประพฤติ เป็ น ที่ รู ้ จั ก และยอมรั บ จากภาคประชาชนเป็นอย่างมาก
| Probation around the World | เรื่อง นายพรรษวุฒิ ปูชนียกุล พนักงานคุมประพฤติปฏิบัติการ
โลกก้าวไกล….
คุมประพฤติไทยก้าวทัน วารสารกรมคุมประพฤติ | Probation Magazine
6
การสร้างบุคลากรให้เก่งกาจก้าวสู่ “SMART OFFICER” เป็ น ที่ ท ราบกั น ดี ว่ า ประเทศไทย ่ ำ� นวัตกรรมหรือ ยุคปัจจุบน ั นี้ เป็นยุคทีน เทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการขับเคลื่อน ป ร ะ เ ท ศ ห รื อ ที่ เ ร า รู้ จั ก กั น ดี ใ น ชื่ อ “ไทยแลนด์ 4.0” ไม่ ว่ า จะเป็ น การน� ำ เ ท ค โ น โ ล ยี ม า ใ ช้ ภ า ค เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ ตลอดจน ขั บ เ ค ลื่ อ น ก า ร ท� ำ ง า น ข อ ง ภ า ค รั ฐ กรมคุ ม ประพฤติ ใ นฐานะองค์ ก รหนึ่ ง ที่ ไ ม่ ย อมหยุ ด นิ่ ง จึ ง ได้ ป ฏิ รู ป ตั ว เอง เช่ น กั น เพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มเข้ า สู่ ยุคใหม่เพื่ อให้ทันต่อกระแสโลกาภิวัฒน์ “Smart Probation” ที่ ไ ด้ มี ก ารน� ำ เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมมาใช้ ใ นงาน คุมประพฤติ
อย่ า งไรก็ ต ามการเตรี ย มความพร้ อ ม การเสริมสร้างองค์ความรู้ ตลอดจนการพัฒนา ขีดความสามารถของพนักงานคุมประพฤติให้ เท่าทันกับยุค 4G ถือได้ว่าส�ำคัญเป็นอย่างมาก ในวารสารฉบับนี้จะพาทุกๆ ท่านไปศึกษาและ เรี ย นรู ้ ถึ ง วิ ธี ก ารเตรี ย มความพร้ อ มและ การได้มาซึ่งบุคลากรเจ้าหน้าที่รัฐ ที่ปฏิบัติงาน ด้านการปฏิบัติต่อผู้กระท�ำผิดในชุมชนของ ประเทศข้างเคียง ฟลิปปนส์ : แบงพนักงานคุมประพฤติ ออกเปน ลาํ ดับตา งๆ โดยเรียงดังตอ ไปนี้ พนักงาน คุมประพฤติลําดับ 1 พนักงานคุมประพฤติ ลําดับ 2 พนักงานคุมประพฤติลาํ ดับ 3 พนักงาน คุมประพฤติท่ีควบคุมและสอดส่อง หัวหน้า สํานักงานคุมประพฤติ ผูอํานวยการสํานักงาน
คุ ม ประพฤติ ร ะดั บ ภาค รองอธิ บ ดี ก รม พักการลงโทษฯ และอธิบดีกรมพักการลงโทษฯ โดยการเลื่อนตําแหนงจากตําแหนงหนึ่งไปยัง ตําแหนงที่สูงขึ้นไปนั้น จะใชประสบการณและ ความรูความสามารถเปนเครื่องชี้วัดมากกวา ระยะเวลาที่ไดปฏิบัติงานจริง อีกทั้งไดมีการ กําหนดใหในทุกๆ 2 ป จะต้องมีการประชุม พนั ก งานคุ ม ประพฤติ ร ะดั บ ประเทศขึ้ น โดยพนักงานคุมประพฤติทุกคนตองเขารวม ประชุมพรอมกันเพือ่ เป็นการแสดงความคิดเห็น และแลกเปลี่ยนทัศนะ ปญหาและอุปสรรค ทีพ่ บเจอระหวางการปฏิบตั งิ านเพือ่ ใหผบู ริหาร ไดเขาถึงปญหาและจัดการกับปญหาที่เกิดขึ้น ได ง า ยขึ้ น สํ า หรั บ สวั ส ดิ ก ารของพนั ก งาน คุมประพฤติมฐี านะเฉกเชนเดียวกับขาราชการ
SMART OFFICER
S
ON
CT
FE
SI
มาตรฐานงาน/ บุคลากร
PRO GR
E SIV ES
PRO BA
TIO
่ นงาน & ขับเคลือ บริการด้วย IT
IV E
สร้างความปลอดภัยในสังคม สร้างสมดุลการบังคับ ใช้กฏหมายและ แก้ไขฟื้ นฟู N
PRO
กระทรวงอื่นๆ ในประเทศฟลิปปนส หากแต เปนที่นับหนาถือตาโดยทั่วไปจากประชาชน ในพื้นที่ สิงคโปร : สําหรับสิงคโปรน นั้ มีสาํ นักงาน คุ ม ประพฤติ เ พี ย งแห ง เดี ย ว โดยเจ า หน า ที่ ประมาณ 50 เปอรเซ็นตจบการศึกษาดาน สังคมสงเคราะห 23 เปอรเซ็นตจบการศึกษา ดานจิตวิทยา นอกจากนีย้ ังรับผูทจี่ บการศึกษา ด า นการบริ ห ารธุ ร กิ จ /การตลาดด ว ย เพื่ อ สนั บ สนุ น ด า นการบริ ห ารองค ก รการ ประสานงานกั บชุ ม ชน หรือ NGOs ที่เป น หนวยงานภาคี เมื่อพนักงานคุมประพฤติเริ่ม เขาทํางานในเดือนแรกจะไดรับการปฐมนิเทศ เพื่ อ สร า งความเข า ใจในภาพรวมเกี่ ย วกั บ กระบวนการยุ ติ ธ รรมทางอาญา ระบบงาน คุ ม ประพฤติ ภารกิ จ ต า งๆ นอกจากนี้ ยังมีคหู ู และทีมงาน เพือ่ คอยใหค วามชว ยเหลือ รวมทั้ ง มี หั ว หน า กลุ ม งานที่ ค อยกํ า กั บ ดู แ ล พรอมทั้งใหคําแนะนํา ในชวงแรกพนักงาน คุ ม ประพฤติ จ ะได รั บ การมอบหมายให รับผิดชอบเพียงแค 2 - 3 คดี เฉพาะภารกิจ สอดสอง หลังจากนัน้ คอ ยเริม่ รับผิดชอบภารกิจ สื บ เสาะ อย า งไรก็ ต าม ในช ว ง 1 ป แ รก ที่เริ่มทํางาน จะไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบ เพียงแค 12 คดีเทานั้น (โดยปกติพนักงาน คุมประพฤติรับผิดชอบประมาณ 25 คดี/ป) หั ว หน า กลุ ม งาน (Supervisor) จะต อ ง รับผิดชอบคดีเองดวย ประมาณ 2 – 3 คดี เช น คดี ที่ มี ค วามเสี่ ยงสูง หรือคดีที่มีความ
AL
ยุ ง ยากซั บ ซ อ นเพื่ อ ให รู เ ท า ทั น สถานการณ สภาพสังคม แนวโนม ของผูก ระทาํ ผิดในปจ จุบนั ซึ่งจะทําใหสามารถใหคําปรึกษา คําแนะนํา แกพนักงานคุมประพฤติที่กํากับดูแลไดอยาง มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ระหวางการทํางาน ก็จะมีการฝกอบรมไปดวย ทัง้ ในระดับกระทรวง ระดับกลุมภารกิจและระดับสํานักงาน ซึ่งใน สํ า นั ก งานจะต อ งมี ก ารฝ ก อบรมพนั ก งาน คุมประพฤติเดือนละ 1 ครั้ง ซึ่งไมจําเปนวา จะตอ งเปน ความรูท เี่ กีย่ วข้องกับงานคุมประพฤติ
PRO
A
มีส่วนร่วม & บูรณาการต่อยอดสร้างงาน สร้างอาชีพ
โดยตรง แต อ าจจะเป น ความรู ที่ เ กี่ ย วข อ ง โดยออม แตสามารถนํามาประยุกตใชในงาน คุมประพฤติได ตัวอย่างการฝกอบรมในระดับ สํานักงานในชวงทีไ่ ปฝกปฏิบตั งิ าน เชน ความรู กฎหมาย วิธีการสืบพยานในศาล ศาลจําลอง วิ ธี ก ารบ ง ชี้ วั ย รุ น ที่ มี แ นวโน ม ที่ จ ะเป น คน หัวรุนแรง ศิลปะการปองกันตัว
7 ปีท่ี 25 | ฉบับที่ 01 | ตุลาคม 2561 – มกราคม 2562
เป็นอย่างไรกันบ้างครับเพื่อนๆ ส�ำหรับเกร็ดความรูแ ้ ละรายละเอียด ่ พนักงานคุมประพฤติ วิธก ี ารได้มาซึง และแนวทางในการพั ฒนาบุคลากร ของแต่ ล ะประเทศข้ า งต้ น จะเห็น ได้วา่ ในแต่ละประเทศให้ความส�ำคัญ กั บ ก า ร พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร ใ ห้ มีความพร้อมเป็น SMART OFFICER ้ นอกไปจาก อย่างแท้จริง เพราะฉะนัน การพั ฒ นาระบบงานคุ ม ประพฤติ ให้มีความทันสมัย ก้าวทันโลกแล้ว ประเทศไทยของเราจ� ำ เป็ น ต้ อ ง ยกระดับและพั ฒนาศั กยภาพของ พ นั ก ง า น คุ ม ป ร ะ พ ฤ ติ ใ ห้ มีความพร้อมและตื่นตัวต่อกระแส ความเปลี่ ย นแปลงในยุ ค ดิ จิ ทั ล เพื่ อให้ เ กิ ด ประโยชน์ กั บ งานใน ภารกิ จ กรมคุ ม ประพฤติ ม ากที่ สุ ด ่ เอง นัน
| English for Justice | เรื่อง นายพรรษวุฒิ ปูชนียกุล พนักงานคุมประพฤติปฏิบัติการ
translation
วารสารกรมคุมประพฤติ | Probation Magazine
8
ส�ำหรับคอลัมน์ใหม่นี้ มีไว้เพื่อเปิดพื้นที่ ให้พี่ๆ น้องชาวยุติธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พนักงานคุมประพฤติได้มีโอกาสสะสมคลัง ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับงานใน ภารกิจฯ เพือ่ เตรียมความพร้อมเข้าสูก่ ารเป็น หน่วยงานยุตธิ รรมในยุคไทยแลนด์ 4.0 และก้าว เข้าสูก่ ารเป็น SMART PROBATION อย่าง แท้จริง โดยส�ำหรับค�ำศัพท์ชุดแรกในวารสาร ฉบับนีค้ งจะเป็นอะไรไปไม่ได้นอกจากค�ำศัพท์ที่
ชุดคำ�ศัพท์ ในกระบวนการยุติธรรม ตอน : งานคุมประพฤติ มาผสมคู่กับค�ำศัพท์อื่นๆ จะเกิดการสร้างให้ อันทีจ่ ริงแล้วค�ำศัพท์คำ� ว่า “คุมประพฤติ” เกิดค�ำศัพท์ใหม่ๆ ขึ้นมากมายที่เกี่ยวข้องกับ ในภาษาอังกฤษถูกน�ำมาใช้อย่างแพร่หลาย งานตามภารกิจ ได้แก่ ในกลุ่มวัยรุ่นมหาวิทยาลัยที่มีแววว่าอาจไม่จบ การศึ ก ษาตามเกณฑ์ ซึ่ ง รู ้ จั ก กั น ดี ใ นชื่ อ ว่ า “ติดโปร” โดยมาจากศัพท์ภาษาอังกฤษเต็มๆ ว่า “Probation” ซึ่งมีความหมายตรงตัวว่า “ช่วงระยะเวลาในการทดลอง ทดสอบ หรือการ ภาคทัณฑ์” และเมื่อเราน�ำค�ำว่า Probation เกีย่ วข้องกับภารกิจหลักในงานคุมประพฤติ
Probation Services
= งานคุมประพฤติ
Probation Officer
= พนักงานคุมประพฤติ
Probationer
= ผู้ถูกคุมความประพฤติ
Probationary System = ระบบงานคุมประพฤติ
Probation Period
Probation Condition = เงื่อนไขการคุมความประพฤติ
Probation order
= ระยะเวลาในการคุมความประพฤติ = คำ�สั่งให้คุมความประพฤติ
อย่างไรก็ตามสิง่ หนึง่ ทีเ่ พือ่ นๆ จะต้องระมัดระวังเป็นพิเศษก็คอื ค�ำว่า Probate ทีม่ ลี กั ษณะหน้าตาและวิธกี าร เขียนคล้ายคลึงกับค�ำว่า Probation แต่กลับมีความหมายทีแ่ ตกต่างกัน กล่าวคือหาก “Probate” ท�ำหน้าทีเ่ ป็น กริยาของประโยคจะแปลว่า พิสจู น์พนิ ยั กรรม ซึง่ ศาลทีท่ ำ� หน้าทีพ ่ สิ จู น์หรือว่าความเกีย่ วกับคดีพนิ ยั กรรมจึงเรียก เป็นภาษาอังกฤษว่า Probate Court นัน่ เอง
| คอลัมน์ นานาสาระ | เรื่อง นางสาวสนธญา ภูจ่าพล หัวหน้ากลุ่มฝึกอบรมและส่งเสริมการเรียนรู้ ศูนย์พัฒนาทรัพยากรบุคคล
4.0”
หลักสูตร “ข้าราชการ
ปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวสู่ยุค Thailand 4.0 การปฏิรูปประเทศ การบริหารราชการแผ่นดินตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยฉบับใหม่ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติระยะยาวไปสู่การปฏิบัติ องค์การสหประชาชาติกับเป้าหมาย การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goal) ต่างเป็นการเปลีย่ นแปลงทีม่ ีผลกระทบต่อการปฏิบัตริ าชการ และ การบริหารงานภาครัฐที่ว่าภาครัฐไม่สามารถแก้ไขปัญหาทั้งหมดให้ลุล่วงไปได้แต่เพียงล�ำพัง ต้องอาศัยทุกภาคส่วน ในลักษณะ แบบเครือข่ายทั้งแนวดิ่งและแนวระนาบตามแนวทางประชารัฐมากขึ้น ดังนั้น เพื่อรองรับนโยบาย Thailand 4.0 ระบบราชการ จึงต้องปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการท�ำงานใหม่ ดังนี้ เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน (Open & Connected Government) คือ การท�ำงานต้องเปิดเผยและโปร่งใส เปิดกว้างให้กลไก
หรือภาคส่วนอืน่ ๆ เข้ามามีสว่ นร่วม โอนถ่ายภารกิจทีภ่ าครัฐไม่ควรด�ำเนินการเองไปให้ภาคส่วนอืน่ ด�ำเนินการแทน จัดโครงสร้างการ ท�ำงานเป็นแนวระนาบ มากกว่าสายการบังคับบัญชาในแนวดิ่ง และเชื่อมโยงการท�ำงานราชการบริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และ ส่วนท้องถิ่น ให้มีเอกภาพและสอดรับประสานกัน
การท� ำ งานต้ อ งมี ก ารวิ เ คราะห์ ความเสี่ยงเพื่อเตรียมการล่วงหน้า น�ำองค์ความรู้ที่เป็นสหสาขาวิชามา สร้างนวัตกรรมหรือประยุกต์เพือ่ ตอบสนอง การเปลี่ ย นแปลงได้ ทั น เวลาปรั บ ตั ว ให้ เ ป็ น ส�ำนักงานทีท่ นั สมัย มีขดี สมรรถนะสูง และท�ำให้ขา้ ราชการ มีความผูกพันต่อการปฏิบัติงาน
โดยหลักสูตร “ข้าราชการ 4.0” เป็นหลักสูตรเพื่อให้บุคลากรของกรมคุมประพฤติ ได้เรียนรู้และพัฒนา เสริมสร้างศักยภาพ สามารถปรับเปลีย่ นบทบาท วิธคี ดิ และวิธปี ฏิบตั งิ าน ไม่ยดึ ติดกับกรอบความคิดหรือรูปแบบ การท�ำงานแบบเดิม โดยให้อิสระในการท�ำงาน การยอมรับความเสี่ยงและรับผิดชอบต่อผลส�ำเร็จที่เกิดขึ้นร่วมกัน รวมถึงสนับสนุนการต่อยอดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง สร้างสรรค์นวัตกรรมและน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ เพื่อยกระดับตนเองให้มีสมรรถนะที่จ�ำเป็นต่อการขับเคลื่อนประเทศตามแนวทางประชารัฐและยุทธศาสตร์ ประเทศไทย 4.0 อันจะน�ำไปสูก่ ารเป็นข้าราชการทีม่ คี ณ ุ ธรรม โปร่งใส เป็นทีเ่ ชือ่ ถือศรัทธาของประชาชนและสังคมต่อไป ที่มา : www.opdc.go.th และ www.ocsc.go.th
ปีท่ี 25 | ฉบับที่ 01 | ตุลาคม 2561 – มกราคม 2562
ไปข้างหน้า (คิดเสมอว่าประชาชน จะได้อะไร) มุ่งเน้นแก้ไขปัญหาให้ ประชาชน ให้บริการเชิงรุก ไม่ต้องรอให้ ประชาชนมาขอความช่วยเหลือ จัดบริการ สาธารณะที่ตรงกับความต้องการของประชาชน
มีขีดสมรรถนะสูงและ ทันสมัย (Smart & High Performance Government)
9
ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง (Citizen-Centric Government) ท�ำงานโดยมอง
| 1 คนดี 1 สำ�นักงาน | เรื่อง นางสาวศิริพร เอกอนงค์ นักวิชาการประชาสัมพั นธ์
“พอเพียง... วารสารกรมคุมประพฤติ | Probation Magazine
10
กับชีวต ิ ทีเ่ พียงพอของนายเกตุ” ขึ้นชื่อว่ายาเสพติดไม่เคยให้ คุณแก่ใคร ไม่วา่ จะเป็นตัวผูเ้ สพ ่ ได้เข้าไปเกีย ่ วข้อง หรือผูค ้ า้ เมือ ด้วยแล้ว ผลตอบรับที่ตามมา ค ง ห นี ไ ม่ พ้ น ต้ อ ง รั บ โ ท ษ ทางกฎหมาย แต่ สั ง คมยั ง ให้ โ อ ก า ส เ ส ม อ กั บ ผู้ ที่ ก้ า ว ผิ ด คิ ด พ ล า ด ไ ด้ แ ก้ ไ ข ก ลั บ ตั ว เพื่ อเริ่ ม ต้ น ชี วิ ต ใหม่ ดั ง เช่ น นายเกตุ ท่ี เ คยติ ด ยาเสพติ ด (ต้นพื ชใบกระท่อม) และถูกจับ ด�ำเนินคดี แต่สังคมให้โอกาส แก้ ไ ขกลั บ ตั ว ใหม่ จ นสามารถ ้ กลับไปใช้ชวี ต ิ ในชุมชนได้อก ี ครัง
นายเกตุ (นามสมมุติ) อายุ 49 ปี เป็นคน จังหวัดสงขลา อาศัยอยู่กับแม่ที่แก่ชราและลูก อีกหนึง่ คน นายเกตุจบการศึกษาแค่ชนั้ ประถม ปีที่ 6 เนื่องจากฐานะทางบ้านพอมีพอใช้จึง ออกมาท�ำสวนยางพารากับที่บ้าน ด้วยความ ที่ ต ้ อ งใช้ แ รงงานท� ำ สวนจึ ง ได้ เ สพพื ช ใบกระท่อมมาตั้งแต่อายุได้ 17 ปี เสพเรื่อยมา จนกระทั่ ง ถู ก จั บ กุ ม ด� ำ เนิ น คดี ฐ านความผิ ด พระราชบั ญ ญั ติ ย าเสพติ ด ให้ โ ทษเนื่ อ งจาก มีต้นพืชกระท่อมในครอบครอง จ�ำนวน 10 ต้น ต่อมาศาลจังหวัดนาทวีมีค�ำพิพากษารอการ ลงโทษจ�ำคุกและก�ำหนดเงื่อนไขให้คุมความ
ทุ ก วั น นี้ น ายเกตุ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ของคน ในชุมชนเป็นอย่างดี เพราะนอกจากจะน�ำความรู้ ด้ า นเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาถ่ า ยทอดให้ ค นที่ สนใจแล้ว ยังมีส่วนร่วมในการช่วยเหลืองาน กิ จ กรรมต่ า งๆ ในชุ ม ชน เช่ น งานท� ำ บุ ญ ประเพณีประจ�ำปี และเป็นจิตอาสาจราจร เฉพาะกิ จ ในงานพิ ธี ต ่ า งๆ จากวั น นั้ น วั น ที่ นายเกตุถูกจับด�ำเนินคดีเสพยาเสพติดจนเข้าสู่ กระบวนการแก้ไขฟืน้ ฟูเพือ่ ปรับเปลีย่ นตนเป็น คนใหม่ และมาถึงวันนี้วันที่นายเกตุได้เรียนรู้ ถึ ง คุ ณ ค่ า ของตนเองที่ ส ามารถท� ำ ตนเป็ น ประโยชน์ ใ ห้ แ ก่ ชุ ม ชนและสั ง คมด้ ว ยความ ภาคภูมใิ จ “ขอขอบคุณศาลจังหวัดนาทวีทใี่ ห้ โอกาสรอการลงโทษจ�ำคุกท�ำให้ผมได้ใช้ชวี ติ อยู ่ กั บ ครอบครั ว และขอบคุ ณ ส� ำ นั ก งาน คุ ม ประพฤติ จั ง หวั ด สงขลา สาขานาทวี ไปจนถึ ง พนั ก งานคุ ม ประพฤติ ที่ ค อยให้ ค� ำ แนะน� ำ ตั ก เตื อ นเป็ น ก� ำ ลั ง ใจ ให้ เ ลิ ก เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ผมรู้สึกภูมิใจ ที่เป็น ที่พึ่งให้กับครอบครัวและได้รับการยอมรับ จากคนในชุมชน ท�ำให้มกี ำ� ลังใจในการด�ำเนิน ชีวิตต่อไปและไม่คิดหวนกลับไปกระท�ำผิด ซ�้ำอีก” ข้อมูลและภาพ: ส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดสงขลา สาขานาทวี
ปีท่ี 25 | ฉบับที่ 01 | ตุลาคม 2561 – มกราคม 2562
จนมี ร ายได้ เ สริ ม ส� ำ หรั บ เลี้ ย งดู ค รอบครั ว นายเกตุ มี ค วามคิ ด ที่ จ ะขุ ด บ่ อ ในพื้ น ที่ ข อง ตนเองเพื่อเลี้ยงปลาดุกไว้ส�ำหรับบริโภคและ จ�ำหน่าย จึงได้ขอรับทุนสงเคราะห์อาชีพจาก ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสงขลา สาขา นาทวี เพือ่ ซือ้ พันธุป์ ลาดุก จ�ำนวน 500 ตัว และ อาหารส�ำหรับเลี้ยงปลา จ�ำนวน 2 กระสอบ เพื่อเสริมรายได้ให้กับครอบครัวอีกทางหนึ่ง นอกจากนีย้ งั ได้นำ� ทฤษฎีการท�ำไร่นาสวนผสม ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้กับ ที่ ท� ำ กิ น ของตนเองให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ด้วยการปลูกผักสวนครัวไว้บริโภค ขยายพันธุพ์ ชื ไว้ปลูกและจ�ำหน่าย เช่น ต้นเนียงนก (ผักพืน้ ถิน่ ภาคใต้) ต้นหมาก และต้นมะนาว จากความ ช�ำนาญในการขยายพันธุ์กิ่งมะนาวนี้ ท�ำให้ นายเกตุสามารถสอนวิธีการขยายพันธุ์มะนาว ด้ ว ยวิ ธี ค วบแน่ น ให้ แ ก่ ค นในชุ ม ชนที่ ส นใจ เรีย นรู้และน�ำไปเป็น อาชีพ เสริมเพิ่มรายได้ ให้กับครอบครัวอีกด้วย
“นอกจากนี้ยังได้ น�ำทฤษฎีการท�ำ ไร่นาสวนผสม ตามหลักเศรษฐกิจ พอเพียงมาประยุกต์ ใช้กับที่ท�ำกิน ของตนเองให้เกิด ประโยชน์สูงสุดด้วย การปลูกผักสวนครัว ไว้บริโภค ขยาย พันธุ์พืชไว้ปลูก และจ�ำหน่าย”
11
ประพฤติ โดยต้ อ งรายงานตั ว กั บ พนั ก งาน คุมประพฤติจ�ำนวน 4 ครั้ง ห้ามเกี่ยวข้องกับ ยาเสพติดให้โทษทุกชนิด และให้ทำ� งานบริการ สังคมหรือสาธารณประโยชน์มีก�ำหนดเวลา 24 ชั่วโมง โดยส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสงขลา สาขานาทวี ได้ก�ำหนดให้นายเกตุเข้ารับฟัง เงื่อนไขการปฏิบัติตนในช่วงระหว่างการคุม ความประพฤติ และจัดให้เข้ารับการอบรม โปรแกรมพื้ น ฐาน เรื่ อ งการมองเห็ น คุ ณ ค่ า ตนเอง กิจกรรมก�ำหนดเป้าหมายชีวิต และ อบรมอาชีพด้านเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อน�ำไป วางแผนชีวิตเมื่อกลับคืนสู่ชุมชน นอกจากนี้ นายเกตุ ยั ง ได้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการฝากผู ้ ถู ก คุ ม ความประพฤติไว้กับศูนย์ยุติธรรมชุมชนต�ำบล เขาแดง ที่ ร ่ ว มกั บ ส� ำ นั ก งานคุ ม ประพฤติ จังหวัดสงขลา สาขานาทวี โดยให้ภาคประชาชน เข้ า มามี ส ่ ว นในการช่ ว ยกั น ดู แ ลแก้ ไ ขฟื ้ น ฟู ผู้กระท�ำผิด และให้ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ศาล ก�ำหนด รวมไปถึงจัดให้ทำ� งานสาธารณประโยชน์
เพื่ อ ชุ ม ชนของตนเองด้ ว ย ซึ่ ง หลั ง จากที่ นายเกตุได้ผ่านกระบวนการแก้ไขฟื้นฟูแล้ว พบว่าไม่มีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับยาเสพติด อีกทั้งยังปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ศาลสั่งจนพ้นการ คุมประพฤติด้วยดี ในช่วงระหว่างการคุมประพฤติ นายเกตุ ได้ขอเข้ารับการฝึกอาชีพทางด้านเศรษฐกิจ พอเพียงที่ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง บ้านเขานา จังหวัดสงขลา โดยเรียนรู้วิธีการ ขยายพันธุม์ ะนาวด้วยวิธคี วบแน่น และสามารถ พั ฒ นาต่ อ ยอดด้ ว ยการขยายพั น ธุ ์ ม ะนาว ด้วยตนเองเพื่อจ�ำหน่ายผลและกิ่งพันธุ์มะนาว
| Spirit จิตอาสา | เรื่อง กลุ่มอาสาสมัครคุมประพฤติ
งานอาสาสมัคร
วารสารกรมคุมประพฤติ | Probation Magazine
12
คุมประพฤติในยุค ประเทศไทย ปั จ จุ บั น ประเทศไทยก� ำ ลั ง ่ นโครงสร้างเศรษฐกิจ ปรับเปลีย ไปสู่ เ ศรษฐกิ จ ที่ ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ย นวัตกรรม กรมคุมประพฤติได้มี ทิศทางการพั ฒนาเน้นด้านการ สร้างนวัตกรรม (Innovation) โ ด ย ก า ร พั ฒ น า ก ฎ ห ม า ย ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ อ า ส า ส มั ค ร คุ ม ประพฤติ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ ความเปลี่ย นแปลงของทิ ศ ทาง การพั ฒนาประเทศ รวมถึ ง ตอบสนองความจ� ำ เป็ น ในการ ดู แ ลแก้ ไ ขฟื้ นฟู ผู้ ก ระท� ำ ผิ ด ใน ชุมชน
ในการออกกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อาสาสมัครคุมประพฤติมีหลักการเปลี่ยนไป จากเดิ ม อั น เนื่ อ งมาจากพระราชบั ญ ญั ติ คุ ม ประพฤติ พ.ศ.2559 ก� ำ หนดให้ จั ด ท� ำ กฎกระทรวงและระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อาสาสมัครคุมประพฤติ จ�ำนวน 4 ฉบับ ดังนี้ 1. กฎกระทรวง แบบบั ต รประจ� ำ ตั ว อาสาสมัครคุมประพฤติ พ.ศ.2560 ก�ำหนดให้
4.0
อธิบดีกรมคุมประพฤติเป็นผูอ้ อกบัตรประจ�ำตัว อาสาสมัครคุมประพฤติ และบัตรดังกล่าวมีอายุ หกปีนับแต่วันออกบัตร 2. ระเบียบกระทรวงยุติธรรม ว่าด้วย บทบาทและวิธีการปฏิบัติงานของอาสาสมัคร คุมประพฤติและบทบาทของภาคประชาชน พ.ศ.2560 ก�ำหนดให้อาสาสมัครคุมประพฤติ มีบทบาทในการช่วยเหลือพนักงานคุมประพฤติ
ดังนี้ (1) แก้ไขฟืน้ ฟูผกู้ ระท�ำผิด (2) ติดตาม ดูแล ช่วยเหลือ สงเคราะห์ผกู้ ระท�ำผิดหรือผู้ได้รับการ สงเคราะห์ (3) แสวงหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ ผู้กระท�ำผิด (4) ส่งเสริมสนับสนุนภารกิจของ กรมคุมประพฤติ (5) มีส่วนร่วมในการป้องกัน อาชญากรรม และ (6) บทบาทหน้าที่อื่นตามที่ อธิบดีกรมคุมประพฤติมอบหมาย
13
ประชาชน ชุมชน หรือสังคม ประกอบอาชีพ โดยสุจริตหรือด�ำรงชีพโดยสุจริต มีที่อยู่อาศัย เป็ น หลั ก แหล่ ง แน่ น อน มี ค วามประพฤติ ดี ซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม และมีความเสียสละ เป็นอย่างสูง พร้อมที่จะอุทิศตน เพื่อช่วยเหลือ การด�ำเนินงานคุมประพฤติด้วยความเต็มใจ เป็นต้น โดยให้ผสู้ นใจเป็นอาสาสมัครคุมประพฤติ ยืน่ ใบสมัครได้ทสี่ ำ� นักงานคุมประพฤติหรือทาง เว็บไซต์ ตามแบบที่กรมคุมประพฤติก�ำหนด จากนั้นส�ำนักงานคุมประพฤติจะตรวจสอบ ป ร ะ วั ติ คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง ผู ้ ส มั ค ร เ ส น อ คณะกรรมการคัดเลือกอาสาสมัครคุมประพฤติ ผู้ผ่านการคัดเลือกจะได้รับแต่งตั้งจากอธิบดี กรมคุมประพฤติให้เป็นอาสาสมัครคุมประพฤติ
้ การจัดท�ำกฎกระทรวง ดังนัน แ ล ะ ร ะ เ บี ย บ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ อ า ส า ส มั ค ร คุ ม ป ร ะ พ ฤ ติ ตามพระราชบัญญัตค ิ ม ุ ประพฤติ พ.ศ.2559 เพื่ อ น� ำ มาใช้ ใ นการ พั ฒ น า ง า น อ า ส า ส มั ค ร คุ ม ป ร ะ พ ฤ ติ จ ะ ท� ำ ใ ห้ ก า ร ด� ำ เ นิ น ง า น อ า ส า ส มั ค ร คุมประพฤติ ในยุคประเทศไทย 4 . 0 มี ค ว า ม ค ล่ อ ง ตั ว แ ล ะ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ปีท่ี 25 | ฉบับที่ 01 | ตุลาคม 2561 – มกราคม 2562
3. ระเบียบกระทรวงยุตธิ รรมว่าด้วยการ จ่ า ยค่ า ตอบแทนในการปฏิ บั ติ ง านของ อาสาสมัครคุมประพฤติ พ.ศ.2561 ก�ำหนดให้ อาสาสมั ค รคุ ม ประพฤติ ไ ด้ รั บ ค่ า ตอบแทน ในการปฏิบัติงาน ตามหลักเกณฑ์ที่ระเบียบฯ ก�ำหนด 4. ระเบียบคณะกรรมการคุมประพฤติวา่ ด้ ว ยการแต่ ง ตั้ ง และถอดถอนอาสาสมั ค ร คุมประพฤติ พ.ศ. 2561 ก�ำหนดให้อาสาสมัคร คุมประพฤติต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ ต้องห้ามเช่น มีอายุตั้งแต่ยี่สิบเอ็ดปีบริบูรณ์ ขึน้ ไป ส�ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หรือเทียบเท่าขึ้นไป หรือเป็นผู้มีความรู้ หรือ ประสบการณ์ไม่นอ้ ยกว่าสองปีในด้านการแก้ไข ฟืน้ ฟู ด้านการสงเคราะห์ ด้านการพัฒนาสังคม หรือชุมชน ด้านการพัฒนาพฤตินิสัย หรือด้าน กระบวนการยุติธรรม หรือเป็นที่ยอมรับจาก
| In Focus | เรื่อง นางสาวปิยนุช รักสัตย์ นักวิชาการเผยแพร่ปฏิบัติการ
ปรับตัวอย่างไรให้ทันยุค
วารสารกรมคุมประพฤติ | Probation Magazine
14
Digital Disruption
Digital Disruption เป็ น การ เปลี่ ย นแปลงที่ รุ น แรงและรวดเร็ ว จาก เทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่งส่งผลกระทบต่อวิถี การท�ำงานในรูปแบบเดิมๆ ไม่ว่าจะเป็น หน่วยงานภาคเอกชน ธุรกิจ การธนาคาร
การสื่ อ สาร หรื อ แม้ แ ต่ ห น่ ว ยงานใน ภ า ค รั ฐ เ อ ง ต่ า ง ก็ เ ริ่ ม ข ยั บ ป รั บ ตั ว การท� ำ งานให้ เ ข้ า สู่ รู ป แบบ Digital Transformation กันแล้ว กรมคุมประพฤติ ่ ง กระทรวงยุตธ ิ รรม เองก็กำ� ลังเดินเครือ
่ นองค์กรเข้าสู่ อย่างเต็มสูบเพื่ อขับเคลือ ่ ฟันเฟืองทีส ่ �ำคัญ ยุค Digitalization ซึง ที่ จ ะน� ำ พาองค์ ก รสู่ ก้ า วทั น ยุ ค นี้ได้ก็คือ “บุคลากร”
Smart Probation Officer
การขั บ เคลื่ อ นองค์ ก รในยุ ค Digital Disruption เช่นนี้ จึงต้องอาศัยบุคลากรที่มี ความเป็นมืออาชีพและมีสมรรถนะสูง ฉะนั้น กรมคุมประพฤติจึงก�ำหนดนโยบาย Smart Probation ซึ่ ง เป็ น การท� ำ งานและการให้ บริการให้เป็นไปตามมาตรฐาน ด้วยการใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม น�ำระบบสารสนเทศ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ดังนั้น บุคลากรของ กรมคุมประพฤติจะต้องมีความรู้ความสามารถ แ ล ะ ป รั บ เ ป ลี่ ย น วิ ธี คิ ด ใ น ก า ร ท� ำ ง า น ต้ อ งเปิ ด กว้ า งเพื่ อ เรี ย นรู ้ สิ่ ง ใหม่ ๆ เช่ น ทักษะด้านดิจทิ ลั เพิม่ พูนความรูใ้ นภารกิจหลัก เข้ า ใจกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง พร้ อ มทั้ ง รู ้ จั ก แสวงหาความรู้และใช้นวัตกรรมเพื่อพัฒนา
ตนเองและการปฏิบัติงาน ดังนั้น กรมคุมประพฤติจึงเริ่มวางรากฐานของการพัฒนาบุคลากร อาทิ หลักสูตรข้าราชการ 4.0 แผนพัฒนาบุคลากร รายบุคคลหรือ Individual Development Plan (IDP) ไว้ เพื่อเป็นแนวทางในการปรับ Mindset บุคลากรพร้อมรับมือให้ทันสถานการณ์ ที่จะเปลี่ยนแปลงไป และปรับลุคให้บุคลากรของกรมคุมประพฤติกลายเป็น Smart Probation Officer
ทักษะจ�ำเป็นในยุค Digital
ทั ก ษะด้ า นดิ จิ ทั ล หรื อ Digital Government Skill Set ซึ่งเป็นหัวใจส�ำคัญที่ จะช่ ว ยให้ อ งค์ ก รภาครั ฐ ก้ า วสู ่ ยุ ค ใหม่ ด ้ า น เทคโนโลยีอย่างเต็มรูปแบบ โดยการยกระดับ คุณภาพบุคลากรภาครัฐให้มีความเชี่ยวชาญ ด้านดิจิทัล ด้วยทักษะระดับมาตรฐานสากล
เพื่อเป็นก�ำลังส�ำคัญในการขับเคลื่อนงานด้วย นวัตกรรม ประกอบด้วย 1. Digital Leadership ทักษะความเป็นผู้น�ำภายใต้การบริหารงานใน ยุคดิจิทัล 2. Digital skill Transformation Management ทักษะการขับเคลื่อนองค์กร เพื่อน�ำไปสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล 3. Digital
1. Digital Leadership 2. Digital skill Transformation Management
8. Digital skill Literacy
ทักษะในการประยุกต์ ใช้กฎระเบียบ แผน ด�ำเนินงาน นโยบาย และกฎหมาย ด้านดิจิทัล
ทักษะด้านดิจิทัลหรือ Digital Government Skill Set
ทักษะการออกแบบ การให้บริการด้าน ทักษะการใช้ ดิจิทัลเพื่ อการ เทคโนโลยีดิจิทัล พั ฒนาคุณภาพ เพื่ อยกระดับ ศักยภาพองค์กร 6. Digital Services Design & Assurance 5. Digital skill Technology
ักษะด้านการบริหารงาน ท ภายใต้ธรรมาภิบาล ที่สอดคล้องกับนโยบายดิจิทัล
ทักษะการบริหาร โครงการในยุคดิจิทัล
4. Digital skill Project Management
่ ค เอาล่ะ! ถึงเวลาทีบ ุ ลากรของ กรมคุมประพฤติจะต้องปรับตัว ่ นแปลงวิถก และเปลีย ี ารท�ำงาน เพื่อน�ำพา องค์กรก้าวผ่านการ Disruption และเป็น ก�ำลังเพิ่มพู นประสิทธิภาพงานคุมประพฤติ มุง ่ สูส ่ ากลต่อไป
แหล่งข้อมูล : ทักษะด้านดิจิทัล ส�ำนักงานพั ฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน)
https://www.dga.or.th/th/content/890/11710/?fbclid=IwAR29ndGnaWn5F3h8po1TW5eS2AzlkPGLtjW1GJlVFO7dhZI9KOiu8Qqhr7E
ปีท่ี 25 | ฉบับที่ 01 | ตุลาคม 2561 – มกราคม 2562
7. Digital skill Compliance
3. Digital skill Governance
15
ทักษะความเป็นผู้น�ำ ภายใต้การบริหารงาน ทักษะความรู้ ในยุคดิจิทัล เท่าทันในการน�ำ ทักษะการขับเคลื่อนองค์กร ประสบการณ์ด้าน เพื่ อน�ำไปสู่การเป็นรัฐบาล เทคโนโลยีดิจิทัล ดิจิทัล มาปรับใช้ในการพั ฒนา องค์กร
skill Governance ทักษะด้านการบริหารงาน ภายใต้ธรรมาภิบาลที่สอดคล้องกับนโยบาย ดิจิทัล 4.Digital skill Project Management ทั ก ษะการบริ ห ารโครงการในยุ ค ดิ จิ ทั ล 5. Digital skill Technology ทักษะการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อยกระดับศักยภาพองค์กร 6. Digital Services Design & Assurance ทักษะการออกแบบการให้บริการด้านดิจิทัล เพื่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพ 7. Digital skill Compliance ทักษะในการประยุกต์ใช้กฎ ระเบี ย บ แผนด� ำ เนิ น งาน นโยบาย และ กฎหมายด้านดิจิทัล 8. Digital skill Literacy ทักษะความรู้เท่าทันในการน�ำประสบการณ์ ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับใช้ในการพัฒนา องค์กร
| เจาะกิจกรรมเด่น | เรื่อง นายณัฐ คชประเสริฐ นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
ติดตามความเคลื่อนไหวและกิจกรรมต่างๆ ของส�ำนักงานคุมประพฤติทั่วประเทศ คุมประพฤติจง ั หวัดสมุทรปราการ จัดโครงการอบรมความรูแ ้ ละเสริมสร้าง เครือข่ายการป้องกันอาชญากรรม
ส� ำ นั ก งานคุ ม ประพฤติ จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ ร่วมกับอาสาสมัครคุมประพฤติ และส�ำนักงานคุ้มครอง ผู ้ ป ระสบภั ย จากรถ จั ด โครงการอบรมความรู ้ แ ละ เสริ ม สร้ า งเครือข่ายการป้องกันอาชญากรรม การให้ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายใกล้ตัว กระบวนการยุติธรรม และการให้ ค วามรู ้ บ ทบาทภารกิ จ กรมคุ ม ประพฤติ พร้อมทั้งปลูกจิตส�ำนึกให้กับเยาวชน สร้างภูมิคุ้มกัน ในการป้องกันตนเองมิให้ตกเป็นเหยื่อของอาชญากรรม หรือผู้กระท�ำผิด ณ โรงเรียนหลวงพ่อปานคลองด่าน อนุสรณ์ จังหวัดสมุทรปราการ
วารสารกรมคุมประพฤติ | Probation Magazine
16
ส�ำนักงานคุมประพฤติจง ั หวัดปราจีนบุรี ให้บริการศูนย์แคร์
ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดปราจีนบุรีมอบทุนสงเคราะห์ประกอบอาชีพ แก่ผผู้ า่ นการฟืน้ ฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยาเสพติด ทีแ่ จ้งความประสงค์ขอรับการสงเคราะห์ เงินทุนประกอบอาชีพ พร้อมอุปกรณ์การท�ำเต้าหูน้ มสด จ�ำนวน 1 ราย เพือ่ เป็นการให้ โอกาส ให้กำ� ลังใจ สนับสนุนการมีอาชีพทีย่ งั่ ยืน โดยไม่หวนกลับไปกระท�ำผิดซ�ำ้ อีก และ สามารถพึง่ พาตนเองได้
คุมประพฤติบัวใหญ่ น�ำคณะครูและนักเรียน เข้าศึ กษาดูงานเรือนจ�ำ อ�ำเภอบัวใหญ่
ส�ำนักงานคุมประพฤติจงั หวัดนครราชสีมา สาขาบัวใหญ่ ร่วมกับเรือนจ�ำ อ�ำเภอบัวใหญ่ น�ำคณะครู นักเรียนโรงเรียนวัดประชานิมิตร ซึ่งเป็นโรงเรียนยุติธรรมอุปถัมภ์ รวมทั้งสิ้น 101 คน เข้าศึกษาดูงานภายในเรือนจ�ำอ�ำเภอ บัวใหญ่ โดยมีวทิ ยากร ได้ถ่ายทอดระบบการควบคุมตัวและการด�ำเนินชีวติ ของผูต้ อ้ งขังภายในเรือนจ�ำ อันเกิดประโยชน์ตอ่ นักเรียนจะได้ระมัดระวังการด�ำเนินชีวติ ไม่หลงกระท�ำผิดกฎหมาย และปลูกฝังสิง่ งดงาม ให้กับนักเรียน ทั้งนี้ยังได้น�ำผู้ถูกคุมความประพฤติ จ�ำนวน 7 ราย เข้าศึกษาดูงานภายในเรือนจ�ำ เพื่อป้องกันมิให้หวนกลับไปกระท�ำผิดซ�้ำ
่ วิถี คุมประพฤติกาฬสินธุน ์ �ำสมาชิกฝึกอาชีพบ้านกึง
ส�ำนักงานคุมประพฤติจงั หวัดกาฬสินธุ์ น�ำสมาชิกบ้านกึง่ วิถเี ข้ารับการฝึกอาชีพช่างเชือ่ มโลหะ ทัง้ นีไ้ ด้รบั การสนับสนุนจากศูนย์บริการการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อ�ำเภอกุฉนิ ารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นวิทยากร โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ผกู้ ระท�ำผิดทีไ่ ม่มอี าชีพหรือประกอบ อาชีพไม่เป็นกิจจะลักษณะ ได้รบั การพัฒนาคุณภาพชีวติ ไม่กลับไปกระท�ำผิดซ�ำ้ ณ ศูนย์ปฏิบตั ธิ รรมวัดถ�ำ้ บ่อหลบ อ�ำเภอกุฉนิ ารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
ส�ำนักงานคุมประพฤติจง ั หวัดเชียงรายติดตาม สงเคราะห์ ผูเ้ ข้าร่วมโครงการก�ำลังใจฯ
ส� ำ นั ก งานคุ ม ประพฤติ จั ง หวั ด เชียงราย ออกติดตามผูท้ เี่ ข้าร่วมโครงการ ก�ำลังใจในพระราชด�ำริ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา เพื่อให้การ ช่วยเหลือ สงเคราะห์ด้านการประกอบ อาชีพและความต้องการด้านอื่นๆ ตาม ความเหมาะสม ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดเชียงราย
อุตรดิตถ์มอบทุน ้ งปลา ประกอบอาชีพเลีย
ส�ำนักงานคุมประพฤติจงั หวัดกาญจนบุรี จัดกิจกรรม “สร้างสุข ปันยิม้ ” โดยมีผถู้ กู คุมความประพฤติ อาสาสมัครคุมประพฤติ พร้อมทัง้ เจ้าหน้าที่ ส�ำนักงานฯ ร่วมกันบ�ำเพ็ญประโยชน์ปรับภูมทิ ศั น์สถานที่ และช่วยดูแลผูส้ งู อายุ ณ สถานสงเคราะห์คนชราเฉลิมราชกุมารี (หลวงพ่อล�ำใยอุปถัมภ์) อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี
ปีท่ี 25 | ฉบับที่ 01 | ตุลาคม 2561 – มกราคม 2562
กาญจนบุรี จัดกิจกรรม “สร้างสุข ปันยิม ้ ”
17
ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดอุตรดิตถ์ มอบทุนประกอบอาชีพให้แก่ ผูถ้ กู คุมประพฤติสมาชิก TO BE NUMBER ONE ณ ต�ำบลน�ำ้ หมัน อ�ำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ ที่ได้ยื่นค�ำร้องเพื่อการสงเคราะห์ทุนประกอบอาชีพเลี้ยงปลา โดยผ่าน “ศูนย์แคร์” ซึง่ ด�ำเนินการให้ขอ้ มูลการช่วยเหลือสงเคราะห์ตามสภาพปัญหา ผูถ้ กู คุมความประพฤติขอเงินทุนซือ้ หัวอาหารส�ำหรับเลีย้ งปลา 2 กระสอบ และ ได้รับการอนุเคราะห์พันธุ์ปลานิลจ�ำนวน 2,000 ตัว จากศูนย์วิจัยและพัฒนา พันธุกรรมสัตว์น�้ำ กรมประมง จังหวัดอุตรดิตถ์
คุมประพฤติจง ั หวัดกระบี่ จัดกิจกรรม ้ อบรมป้องกันการเสพซ�ำ
ส�ำนักงานคุมประพฤติจงั หวัดกระบี่ จัดโครงการอบรมยาเสพติด ในโปรแกรม ป้องกันการเสพซ�ำ้ ส�ำหรับผูถ้ กู คุมความประพฤติพร้อมครอบครัว โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ทักษะทางความคิด สร้างภูมคิ มุ้ กันทางด้านร่างกาย จิตใจ ให้กบั ผูถ้ กู คุมความประพฤติ และเพือ่ ให้ครอบครัวเข้ามามีสว่ นร่วมในการช่วยเหลือ ผูถ้ กู คุมความประพฤติ ณ มูลนิธศิ รีผอ่ ง-นางกี่ ภูเก้าล้วน อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่
“ค่ายก้าวใหม่” โดยส�ำนักงานคุมประพฤติจง ั หวัดสงขลา
ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสงขลา จัดกิจกรรม “ค่ายก้าวใหม่” โดยมี นายไพโรจน์ จริตงาม รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา เป็นประธานเปิดกิจกรรม “ค่ายก้าวใหม่” และกล่าวรายงานโดยนายบัญญัติ วงค์สว่าง ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสงขลา ส�ำหรับกิจกรรมในครั้งนี้มุ่งปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ความคิดของผูก้ ระท�ำผิดให้ตระหนักถึงคุณค่าตนเองและไม่หวนกลับไป กระท�ำผิดซ�ำ้ ซึง่ มีผถู้ กู คุมประพฤติ บุคคลในครอบครัวและอาสาสมัครคุมประพฤติ เข้าร่วมกว่า 100 คน ณ กองรักษาความปลอดภัย ทัพเรือสงขลา
วารสารกรมคุมประพฤติ | Probation Magazine
18
ส�ำนักงานคุมประพฤติกรุงเทพมหานคร 2 น�ำผูถ ้ ก ู คุมความประพฤติท�ำงานบริการสังคม
ส�ำนักงานคุมประพฤติกรุงเทพมหานคร 2 น�ำผู้ถูกคุมความประพฤติ จ�ำนวน 18 คน ร่วมท�ำงานบริการสังคม ในการประชุมเชิงปฏิบัติการผู้น�ำ เครือข่ายเหยื่อเมาแล้วขับ ณ โรงแรมริเวอร์ไซด์ ซึ่งจัดโดยมูลนิธิเมาไม่ขับ โดยผู้ถูกคุมความประพฤติได้ช่วยเหลือ ดู แ ลอ� ำ นวยความสะดวกให้ แ ก่ เ หยื่ อ ผูส้ ญ ู เสียจากอุบตั เิ หตุทางถนนทีม่ าประชุม ในครั้งนี้
กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม
Department of Probation, Ministry of Justice
อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ชั้น 4, 6 ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร โทร. 0-2413-0635, 0-2143-8824 www.probation.go.th ศูนย์รับฟังความคิดเห็น โทร. 0-2141-4749 ตู้ ปณ.29 ปณฝ. ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ กรุงเทพมหานคร 10215
สายด่วน 1111 กด 78