Lockean Prerogative

Page 1

พระราชอานาจพิเศษของกษั ตริย์นอก และเหนื อ รั ฐ ธรรมนู ญ ในทั ศ นะของ จอห์น ล็อค เรียบเรียงจาก The Extraconstitutionality of Lockean Prerogative ของ Ross J. Corbett โดย ปราโมทย์ นาครทรรพ หมายเหตุ​ุ : John Locke หรือ ล็ อค คือปรัชญาเมธีเอกชาวอังกฤษ (1632-1704) ความคิดหรือหนังสือ ข อ ง ล็ อ คไ ด ้ก ล า ย เ ป็ น ท ฤ ษ ฎี เ ส รี ประชาธิ ป ไตยและสิ ท ธิ เ สรี ภ าพที่ มี อิทธิพลที่สุดในการเมืองสหรัฐอเมริกา ่ อังกฤษ และฝรังเศส

อ่อนแอลง แต่จอห ์น ล็อค กลับกระทา เช่นนั้นอย่างชัดแจ ้ง เขาอ ้างในหนังสือ ชือ่ Two Treatises of Government ์ ว่า กษัตริ ย ์มี สิทธิ ตามกฎหมาย

(๑)

อานาจดังกล่าว และอานาจนั้ นเป็ น อย่างไร ในประเทศประชาธิปไตย

บุคคลจะยอมรับ ความชอบธรรมของ การกระทานอกกฎหมายมิได ้ เวน้ แต่ ว่ า ความยึ ด มั่นในหลัก การกระท าที่ ชอบธรรมสอดคลอ้ งกับกฎหมายนั้ น

่ ธรรมชาติทวไป ั่ (II/159) ที จะ ่ กระท าอะไรก็ ไ ด้เ พื อประโยชน์ ของสังคม โดยไม่ตอ้ งมีกฎหมาย ่ ด รองรับ หรื อ แม้ก ระทังข ั กับ กฎหมาย มีคาถามว่า ทาไมจึงต ้องมี

ระยะหลังๆ นี ้ นั กวิชาการให ้ ความสนใจกับทฤษฎี พระราชอานาจ ้ ซึงก็ ่ ไม่น่าจะ พิเศษของล็ อคมากขึน

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

1


แปลกใจ เพราะสงครามก่อการรา้ ย จ าต อ้ งมี ม าตรการตอบโต พ ้ ิ เ ศษกว่ า ธรรมดา การอภิปรายความเป็ นไปได ้ ของเรื่ องนี ้ เพี ย งแต่ เ ริ่ มก็ อ ด กระทบกระเทือนหลักการปกครองโดย กฎหมายมิ ได ้ เป็ นคาถามที่ ทฤษฎี การเมื องปั จจุบน ั ยากที่จะตอบ ล็ อค ้ กเสรี นิ ยม นั้ นเป็ นทังนั และเป็ นทัง้ ผูเ้ ขีย นถึงความชอบธรรมนอกเหนื อ ้ กฎหมาย ทังสองอย่ า งนี ้ ขัดกัน เอง ดัง นั้ นการกลับ มาศึ ก ษาเรื่ องล็ อ คจึ ง เป็ นเรื่ องที่ เข ้าใจไดแ้ ละสอดคล อ้ งกับ กาลเวลา อย่ า งไรก็ ตาม มี ความเห็ น ที่ ขัด แ ย ง้ กั น เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม หม า ย ที่ แท จ้ ริ ง ของทฤษฏี อ านาจพิ เ ศษของ ล็อค ทัศนะหนึ่ ง มีบุคคลจานวนมาก เห็ นว่าอานาจพิ เศษมีอยู่ในโครงสรา้ ง ของรัฐธรรมนู ญอยู่แลว้ เช่น การใช ้ อ า นา จของฝ่ า ย บ ริ ห า รที่ เกิ น เล ย ขอบเขตของกฎหมาย แต่อีกทัศนะ ้ เ้ ขียน เชือว่ ่ า หนึ่ ง หลายคนรวมทังผู อานาจพิ เศษที่ ล็ อคกล่ า วถึ งนี ้ อยู่ นอกเหนื อโครงสร า้ งของรัฐ ธรรมนู ญ ้ อย่ า งสิ นเชิ ง ความขัด แย ง้ เรื่ องนี ้ ้ ขึนอยู ่ กบ ั ว่าใครจะเป็ นผูต้ ด ั สิน และ ควบคุมการใช ้อานาจพิเศษ หรืออีก นัยหนึ่ ง คือ คาถามถึงที่มาว่าอานาจ พิ เศ ษ นั้ นป ระชา ชนเ ป็ นผู ้ม อบใ ห ้

หรือว่า (มีอยู่แลว้ ) เป็ นองค ์ประกอบ ของกฎหมายธรรมชาติ สาหรับนั ก รัฐธรรมนู ญ มี ความเห็ นว่าอานาจ พิ เศษ ควบคุมโดยสภานิ ติบญ ั ญัติ คณะรัฐมนตรี หรือองค ์กรการเมืองอัน ใดอัน หนึ่ ง สามารถบรรจุไ ว ใ้ น รัฐ ธรรมนู ญที่ เขี ย นอย่ า งดี ร องรั บ สถานการณ์ได ้ทุกอย่าง แต่สาหรับผู ้ เชื่อในทฤษฎี พ ระราชอ านาจพิ เ ศษ น อ ก แ ล ะ เ ห นื อ รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ อ ย่ า ง ผู เ้ ขีย น เห็ น ว่ า อ านาจพิ เ ศษนี ้ ไม่ สามารถควบคุมไดภ ้ ายในสถาบันใดๆ (ของ) รัฐบาล ต ้องยกไวต้ ่างหาก แต่ ้ เพื่ อมิ ใหท้ าลายหลักกฎหมายทังหมด ประชาชนต อ้ งใจถึ ง และควบคุ ม ดู แ ล อย่างแข็งขัน การหันไปพึ่งการกระทา นอกและเหนื ออานาจรัฐธรรมนู ญนั้ น ในทางทฤษฏี เห็ นว่าจ าเป็ น และจะ กระท าได โ้ ดยบุ ค คลที่ อยู่ น อกและ เหนื อกว่ารัฐธรรมนู ญเท่านั้น ในความขัด แย ง้ เกี่ ยวกับ การ ตีความทฤษฎีของล็ อค บทความนี ้ สนั บ สนุ นทัศ นะที่ สอง ผู เ้ ขีย นจะ ด า เ นิ น ต่ อไ ป ด ้ว ย ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ์ ความหมายของพลความในวรรคต่างๆ ที่ ก ล่ า ว ถึ ง พ ร ะ ร า ช อ า น า จ พิ เ ศ ษ ้ า prerogative หรือ ผูเ้ ขียนขอยาว่ พระราชอานาจพิเศษต่างกับและมิ ใช่ อ า น า จ ข อ ง ฝ่ า ย บ ริ ห า ร ห รื อ

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

2


executive power อ า น า จ ฝ่ า ย บริ ห ารคื อ การบัง คับใช ้ (ให เ้ ป็ นไป ตาม) กฎหมายเท่ า นั้ น ไม่ มี อะไร มากกว่านั้น ล็ อคมิได ้กากวมในเรื่องนี ้ เลย และเขาก็มิได ้โมเมขยายขอบเขต อ านาจของฝ่ ายบริ ห ารไปถึ ง อ านาจ พิ เ ศษหรื อ พระราชอ านาจ อย่ า งไรก็ ตาม ล็ อ คยัง เบลออยู่ ใ นข อ้ แตกต่ า ง ้ ระหว่า งทังสอง โดยเผลอมอบอานาจ หน้ า ที่ ในอ า นา จ พิ เศ ษให ก ้ ั บ ฝ่ า ย บริหารบา้ ง แต่คาอธิบายของเขาก็ ยงั ้ ยืนยันว่าอานาจทังสองมี ขอบเขตและ ที่ มาต่ า งกั น ฝ่ ายบริ ห ารเป็ นผู ใ้ ช ้ อ า น า จ ก า ร เ มื อ ง ห รื อ อ า น า จ

บ ริ ห า ร เ ป็ น อ า น า จ ก า ร เ มื อ ง ในขณะที ่พระราชอ านาจเป็ น อ า น า จ ข อ ง ม นุ ษ ย ์ ที ่ จ ะ ใ ช้ กฎหมายธรรมชาติ ดัง นั้ น จึ ง มี ส ถ า น ะ ตั ง้ อ ยู ่ น อ ก เ ห นื อ ก า ร ควบคุมของรัฐธรรมนู ญ เ ห ตุ ที่ จ า ต้ อ ง มี พ ร ะ ร า ช อานาจพิเศษ ล็ อ คให เ้ หตุ ผ ล 2 ข อ้ ว่ า ท าไม ้ กฎหมาย (ที่ มี อ ยู่ ห รื อ ที่ จะเขี ย นขึ น ใหม่ ) จึ งไม่ เพี ย งพอที่ จ ะรั บใช ท ้ ุก วัตถุประสงค ์ทางการเมือง จาต ้องเสริม ด ้วย prerogative หรืออานาจพิเศษ เหตุผลแรกก็ คือความไม่สมบูรณ์ของ

ฝ่ ายนิ ติบญ ั ญัติแมจ้ ะมี องค ์กรพัฒนา ้ ้เป็ นเพราะสภา ที่สุดเพียงใดก็ตาม ทังนี มิไดม้ ีอยู่เป็ นประจา และแยกออกจาก ้ ส มาชิกมากมาย ฝ่ ายบริหาร กับ ทังมี มิ ใ ช่ มี ผู ้ แ ท น แ ค่ ห นึ่ ง เ ดี ย ว ด ้ว ย ลักษณะดังกล่ า วของฝ่ ายนิ ติบ ญ ั ญัติ ล็ อ ค จึ งก ล่ า ว ว่ า ไ ม่ จ า เ ป็ น ที่ ส ภ า จะต อ้ งอยู่ ใ นสมัย ประชุม ตลอดกาล สภาอยากออกกฎหมายอะไรก็ อ อก เสร็จแลว้ ก็ปิดประชุม ใหผ ้ ูแ้ ทนทุกคน ออกไปอยู่ ภ ายใต ก ้ ฎหมายนั้ นๆ (II 143 II 153) ยิ่ งกว่ า นั้ น หากสภา ้ ปี แล ว้ ปี จะต อ้ งประชุม อยู่ ต ลอดทังปี เล่ า ก็ ย่ อ มจะเป็ นภาระแก่ ป ระชาชน อย่ า งหนั ก (II 153 II 156) สิ ท ธิแ ละ ความมั่นคงในทรัพย ์สินของประชาชน แม จ้ ะอยู่ ภ ายใต ฝ ้ ่ ายนิ ติ บ ญ ั ญัติ ห รื อ ภายใต ส้ มบู ร ณาญาสิ ท ธิ ร าชย ก์ ็ ไ ม่ ต่างอะไรกัน (II 138) ด ้วยเหตุผลดังนี ้ สภ า นิ ติ บั ญ ญั ติ จึ งส ม ค ว ร ยุ บ บ ้า ง ปฏิรูปบา้ งสลับกันไปตามความจาเป็ น ในประเทศที่ พัฒ นาดี แ ล ว้ สภานิ ติ บัญ ญัติ แ ยกออกจากฝ่ ายบริ ห าร(II 143, II 159) ด ว้ ยเหตุผ ลนี ้ ฝ่ ายนิ ติ บัญ ญัติ จึ ง ต อ้ งเป็ นสภา เพราะหาก เป็ นแค่บุคคลเดียวแลว้ เมื่ อผูน ้ ้ั นตาย ฝ่ ายนิ ติบญ ั ญัติก็หมดไปด ้วย (II 153 cf. II 143, II 153-157)

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

3


ด ว้ ยลัก ษณะข ้างต น ้ แม น ้ ฝ่ าย นิ ติ บ ัญ ญัติ ท่ี จัด ตั้งดี ท่ี สุ ด ก็ ย ัง จะมี ความขาดตกบกพร่ อ งในกฎหมายที่ เ ส น อใ ห ้ เ ป็ น ห ลั ก ป ก ค ร อ ง ด ้ ว ย กฎหมายดัง กล่ า วมาแล ว้ ในระบบ รัฐ บาลเช่ น นี ้ จึ ง จ าเป็ น “จะต อ้ งมี ค ว า ม ยื ด ห ยุ่ น เ ห ลื อไ ว ้ใ ห ้อ า น า จ บริหาร เพื่ อเลือกปฏิบต ั ิการบางอย่าง ที่กฎหมายมิได ้กาหนดไว”้ เพราะฝ่ าย นิ ติบ ญ ั ญัติมิ ไดป้ ระชุม เป็ นประจ าอยู่ ตลอดไป และผู แ้ ทนก็ มี จ านวนมาก เ กิ นไ ป ย า ก ที่ “ ป ฏิ บั ติ ก า ร อ ย่ า ง ทันท่วงทีในสิ่งที่จาเป็ น” ได ้ (II 160) ปั ญ หาพื ้นฐานเรื่ องหลัก การ ปกครองดว้ ยกฎหมายยังมี มากกว่า นี ้ คาวิ จ ารณ์ข ้างบนนั้ นเป็ นเรื่องเฉพาะ ของรัฐบาลที่กล่าวถึงเท่านั้น (II 160) ปั ญ หาดัง กล่ า วจึ ง เป็ นเพี ย งปั ญ หา ้ จาเพาะโครงสร ้าง เขียนขึนมาก็ เพราะ ล็ อ ค (หรื อ พวกวิ ก ส ์ Whigs ทั่วไป) ปรารถนาที่ จะป้ องกัน อัน ตรายของ อานาจเบ็ ดเสร็ จ ดว้ ยการใหส้ ภาออก กฎหมายใหก้ ษัตริย ์รับไปปฏิบต ั ิและจะ ปฏิบต ั ิเกินเลยหรือใช ้อานาจเกินกว่า ที่ กฎหมายนั้ นก าหนดมิ ได ้ ความ บกพร่ อ งขาดเหลื อ (ของกฎหมาย) ในหลัก การปกครองด ว้ ยกฎหมายนี ้ อ า จ คิ ด ห า ท า ง แ ก ้ไ ขไ ด ้ด ้ว ย ก า ร เ ส า ะ ห า ส ถ า บั น ขึ ้น ม า ต ร ว จ ส อ บ

อานาจเด็ ดขาดดังกล่าว สถาบันหรือ บุ ค คลที่ ว่ า จะต อ้ งไม่ ถู ก จ ากัด ด ว้ ย ความยุ่งยากที่บรรยายมา อันเป็ นผล ต่ อ เ นื่ อ ง ม า จ า ก วิ ธี อ อ ก ก ฎ ห ม า ย ดัง กล่ า วมาแล ว้ ถึ ง กระนั้ น ก็ ยั ง มี จุ ด อ่ อ น เ พิ่ ม ขึ ้ น ม า อี ก เ กี่ ย ว กั บ ธรรมชาติของกฎหมายโดยตรง ล็ อ คเขีย นว่ า มี ห ลายสิ่ งหลาย อย่ า ง ที่ กฎหมายไม่ มี ท างเขีย นไว ไ้ ด ้ หมด (II 159) นี่ คื อ ความขาดเหลื อ ส าคัญ ของระบบการปกครองด ว้ ย กฎหมาย ในการก าเนิ ดหรื อ เริ่ มต น ้ ของทุ ก กฎหมายหรื อ หลัก rule of law เพราะการเริ่ มต น ้ เป็ นเช่ น นั้ น ตรรกะเรื่องความเป็ นเอกของฝ่ ายนิ ติ บัญ ญัติ (legislative supremacy) จึงถูกโจมตีได ้ ล็ อคขยายความต่อไป ว่า กฎหมายส่วนใหญ่ลว้ นถูกออกมา เพื่ อจ ากัด (อ านาจใช ้) ดุล พิ นิ จของ ฝ่ ายบริ ห าร (II 162) เมื่ อล็ อ คแสดง ทัศ นะมาถึ ง จุ ด นี ้ เขายัง รับ ว่ า อ านาจ กษั ต ริ ย ม ์ าจากกฎหมาย (II 151152) อันเป็ นผลและความจาเป็ นของ ความเป็ นเอกของอานาจนิ ติบ ญ ั ญัติ แต่ ใ นกรณี นอกเหนื อจากนี ้ กษัต ริ ย ์ ยังมี พระราชอานาจที่มาจากแหล่งอื่น นอกจ า กก ฎ หม า ย ที่ ว่ า ม า ดั ง นั้ น ้ บ ฝ่ าย อ านาจดัง กล่ า วจึ งไม่ ต อ้ งขึนกั นิ ติบ ญ ั ญัติ กล่ า วนั ย หนึ่ ง อานาจนิ ติ

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

4


บั ญ ญั ติ ย่ อ ม เ ป็ น เ อ ก เ มื่ อ อ า น า จ ้ ้ ทังหลายเกิ ดขึนมาจากกฎหมาย และ อีกนั ยหนึ่ ง ยังมี อานาจที่มิ ไดเ้ กิดจาก กฎหมายอยู่ ดังนั้ นอานาจนิ ติบญ ั ญัติ จึ ง ถู ก ส อ บ ถ า ม ท ้ า ท า ย ใ น เ มื่ อ กฎหมายคื อ ข อ้ จ ากัด อ านาจของ กษัต ริ ย ์ ดัง นั้ นอ านาจของกษัต ริ ย จ์ ึ ง ตอ้ งมาจากแหล่งอื่น นั่ นก็ คือ กษัตริย ์ ้ั มซึง สามารถใช ้อานาจที่มี อยู่แต่ดงเดิ ่ บรองว่ากษัตริย ์ไม่ มาจากปวงชน ซึงรั ผิ ดในการอ า้ งอ านาจพิ เ ศษที่ แท จ้ ริ ง ดั้ ง เ ดิ ม (II 163) ซึ่ ง ณ ที่ นี ้ ้ หมายความว่ากษัตริย ์มิได ้เกิดขึนจาก อ า นา จ นิ ติ บ ั ญ ญั ติ แต่ อ า นา จนิ ติ ้ ่ อจะจ ากัด อ านาจ บัญ ญัติ เ กิ ด ขึนเพื ้ ม ของกษัต ริ ย ต์ ่า งหาก พู ด ง่า ยๆ ดังเดิ กฎหมายเป็ นตัวจากัด มิใช่ตวั ส่งเสริม อ านาจกษัต ริ ย ์ ดัง นั้ น จึ งไม่ มี เ หตุผ ล ใดๆที่ จะถามว่ า กฎหมายนั้ นจะแทน ้ อานาจทังหมดเกิ นจากที่ตนจ ากัดได ้ หรือไม่ ล็ อคก็มิไดต้ อบเลยว่าได ้ แทท้ ่ี จริ ง ล็ อ คให เ้ หตุ ผ ลที่ หนั ก แน่ นว่ า ไม่ ควรปล่ อ ยให อ้ านาจการปกครองที่ อ่อนแอนั้ นเป็ นไปตามชะตากรรมโดย ปราศจากความช่วยเหลือของหลักอีก อย่ า งหนึ่ ง นี่ คื อหลัก วิ พ ากษ ส์ าคัญ ที่ อยู่ ใ นความสนใจของเราโดยตลอด ่ เ้ ขียนกาลังจะสาธยายต่อไป ซึงผู

ล็อคบอกว่า การสรา้ งกฎหมาย จะต ้องมีสายตาไกล แต่บรรดาผูแ้ ทน” จ ะ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ที่ จ ะ ม อ ง เ ห็ น ล่ ว ง ห น้ า ห รื อ ส ร ้ า ง ส ร ร ค ์ ส่ิ ง ที่ มี ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ บ ้า น เ มื อ ง ล งไ ป ใ น กฎหมายหาได ไ้ ม่ ” (II 159) ล็ อค ้ น นี ้ อีกในบทต่อไปว่ า “มัน กล่ า วย าเช่ เป็ นไปไม่ ไดท ้ ่ีจะมองเห็ น ล่ว งหน้าและ กาหนดลงไปในกฎหมายเผื่ออุบต ั ิเหตุ ห รื อ ค ว า ม จ า เ ป็ น ที่ จ ะ เ กิ ด ขึ ้นใ น อนาคตที่ เป็ นปั ญ หาของประชาชน” (II 160; cf II 156, II 167) แน่ นอน เราสามารถท านายอนาคตและสร า้ ง กฎไว ค ้ วบคุ ม หลายสิ่ งหลายอย่ า งได ้ แต่อ ย่ า ลื ม ว่ า จะรวบเอาทุ ก สิ่ งมาอยู่ ใต ้กฎหมายเดียวกันหมดได ้ก็ต่อเมื่อมี ความสามารถที่ จะมองเห็ น อนาคต ล่วงหน้าเกือบทุกอย่าง ถึงแมจ้ ะจากัด อยู่ เฉพาะ ”สิ่ งที่ส าคัญ ทางการเมื อง” ก็เกินจะคาดหวังความสามารถเช่นนั้น ได ้จากสมองธรรมดาของมนุ ษย ์ การขาดความสามารถที่จะเห็ น ล่ ว งหน้ า คื อ กุ ญ แจที่ ล็ อคไขเข า้ ไป ขย า ย ข อ บ เข ต ข อ ง prerogative หรืออานาจพิ เศษ เมื่ อล็ อคพูดถึงการ ขาดสายตาไกล เขาก็ อธิบ ายสาเหตุ ของมันดว้ ย และสาเหตุเช่น นี ้แหละที่ เป็ นจุดพลิกกลับของมาสู่หนังสือส่วน ที่ ส อ ง คื อ The Second Treatise

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

5


ล็ อ คบอกว่ า เราไม่ ส ามารถมี ท ัศ นะ ญ า ณ ล่ ว ง ห น้ า ก็ เ พ ร า ะ ค ว า ม เปลี่ ยนแปลงของสรรพสิ่ งทุ ก ขณะ ทุ ก อย่ า งในโลกนี ้ ล ว้ นแต่ เ ป็ นอนิ จจัง ไม่ มี ส่ิ งหนึ่ งสิ่ งใดที่ อยู่ ใ นสภาพหรื อ ฐานะเดิ ม อย่ า งยื น ยง ดั ง นั้ น ผู ค ้ น เศรษฐีการคา้ ขาย และอานาจ ต่า งก็ เ ป ลี่ ย นไ ป จ า ก ที่ เ ดิ ม เ ส ม อ น ค ร ที่ รุ่ ง เ รื อ ง ก ร ะ เ ดื่ อ ง อ า น า จ ล่ ม ส ล า ย กล า ย เป็ นแ หล่ ง ที่ ผุ พั ง ถู ก ทอ ดทิ ้ ง ในขณะที่ ไม่ เ คยมี ค นอยากไปกลับ กลายเป็ นประเทศที่ ประชากรเนื อง ่ ่ารวย (II 157) แน่ นและมั่งคังร นี่ คื อค ว า ม จ ริ ง ขอ งส ร รพ สิ่ ง มิ ใ ช่ จ า เ พ า ะ สิ่ ง ที่ พู ด ถึ ง เ ท่ า นั้ น ตัว อย่ า งที่ ยกมาแสดงให เ้ ห็ น ถึ ง การ เปลี่ ยนแปลงทางการเมื อ งที่ ส าคัญ ล็ อ คเตื อ นว่ า ความเคารพยึ ด มั่นใน กฎหมายที่ผุ พงั ไรเ้ หตุผลแลว้ ย่อมจะ น า ม า สู่ ” ค ว า ม บ ้า บั ด ซ บ ” เ ช่ น ตัว อย่ า งของเมื อ งที่ เสื่ อมโทรมเน่ า เหม็ น หลายแห่ ง ของอัง กฤษ แย่ ก ว่ า ้ เ้ ห็ น นั้น ภายใตร้ ะบบที่ล็ อคยกมาชีให ก่อนการเปลี่ ยนแปลงนี ้ “คือความคิด ว่ า ความล ม ้ เหลวทั้งปวงไม่ ส ามารถ แ ก ้ ไ ขไ ด ้ ” (II 157) ดั ง นั้ น เ มื่ อ กฎหมายไม่ สามารถปกครอง ล็ อคจึ ง แนะนาและสนั บสนุ นอานาจนอกและ

เ ห นื อ ก ฎ ห ม า ย ว่ า เ ห ม า ะ ส ม ที่ จ ะ นามาใช ้แก ้ความบกพร่องดังกล่าว

(๒) นิ ยาม Prerogative ก ันใหม่ Prerogative ในความหมาย ้ มได แ้ ก่ สิ ท ธิ ข องกษัต ริ ย ์ ล็ อ ค ดังเดิ รักษาคาของพวกปฏิปักษก์ ษัตริย ์นี ้ไว ้ แต่ เ ปลี่ ยนค านิ ยามให ใ้ หม่ ห มด เขา ้ เ้ ห็ นความพิ สดารของคานิ ยามที่ ชีให เ ข า ใ ห ้ “ กั บ สิ่ ง ที่ เ รี ย ก ว่ า prerogative” (II 160) มิ ใช่ ว่ า ทุ ก สิ่ งที่ เรี ย กว่ า prerogative จะเป็ น prerogative หรืออานาจพิเศษจริงๆ เช่น นั้ นแล ว้ ล็ อคหมายความอย่ า งไร กั น แ น่ กั บ ค า นี ้ ล็ อ ค นิ ย า ม ค า ว่ า prerogative นี ้ 5 ค รั้ ง แ ล ะ ทั้ ง 5 ค รั้ ง เ ข า พู ด ถึ ง prerogative นั้ น และ prerogative นี ้ ดังนั้ นจึงจาเป็ น ที่เราจะต ้องตรวจสอบคานิ ยามนั้นและ นี ้ของเขาอย่างรอบคอบ คานิ ยามแรกของล็ อคตามหลัง ติดมากับข ้อความที่เขาบอกว่าสรรพ ้ สิ่ งทังหลายล ว้ นแต่เป็ นอนิ จ จังและอยู่ ใ น ภ า ว ะ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง เ รื่ อ ย ๆ prerogative จึงมิใช่อะไรมากไปกว่า อ านาจในมื อ ของกษั ต ริ ย ท ์ ่ี จะท าให ้

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

6


เกิดผลดีแ ก่ป ระชาชน ในกรณี ต่า งๆ แลว้ แต่ว่าจะเกิดสิ่ งไม่ แน่ นอนที่มองไม่ เห็ นล่วงหน้า หากกฎหมายที่มี อยู่และ เปลี่ยนแปลงมิ ไดไ้ ม่สามารถนาความ ปลอดภัย อะไรก็ได ้ที่จะทาใหเ้ กิดผลดี กับ ประชาชนอย่ า งชัด แจ ง้ และจับ รั ฐ บ า ลใ ห ้ต ้ั ง อ ยู่ บ น ค ว า ม ถู ก ต ้อ ง นั่ นก็ คื อ และเป็ นอ านาจพิ เ ศษหรื อ prerogative ที่เที่ยงธรรม (II 158) ่ นคาแรกที่ คานิ ยามที่สอง (ซึงเป็ ปรากฏในบทว่าด ้วยอานาจพิเศษ ”Of Prerogative”) มี ค ว า ม ว่ า ดั ง นี ้ “อานาจที่จะปฏิบต ั ิการได ้ตามดุลพินิจ เพื่ อประโยชน์ของประชาชน ถึงแมว้ ่า จ ะ ไ ม่ มี ก ฎ ห ม า ย บั ญ ญั ติ ไ ว ้ ห รื อ ้ ขด แม ก ้ ระทั่งบางครังก็ ั กับ กฎหมายมี อยู่ นี่ แหละที่ เรี ย กว่ า อ านาจพิ เ ศษ ของกษั ต ริ ย ”์ (II 160) อี ก สี่ หมวด ต่ อ ม า ล็ อ ค ก็ ใ ห ้ค า นิ ย า ม อี ก ว่ า “Prerogative หรืออานาจพิ เศษ ไม่ มี อ ะ ไ ร ม า ก ก ว่ า ก า ร ที่ ป ร ะ ช า ช น อนุ ญาตให ก ้ ษั ต ริ ย ท ์ าอะไรหลายๆ อย่ า งไดโ้ ดยเสรี ในเมื่ อไม่ มี กฎหมาย ่ ดกฎหมาย บัญญัติไว ้ หรือแมก้ ระทังขั ที่ เขี ย นไว ก ้ ็ ได ้ เพื่ อประโยชน์ ข อง ประชาชน เมื่ อกษัต ริ ย ก์ ระท าดั่งนั้ น ประชาชนก็ยอมรับโดยสงบ” (II 164) คานิ ยามสุดท ้ายที่ล็ อคพูดถึงอีกในบท ว่ า ด ว้ ยอ านาจพิ เ ศษ ก็ คื อ “อ านาจ

พิ เ ศษมิ ใ ช่อ ะไรนอกจากอ านาจที่ จะ ท าประโยชน์ใ ห ป ้ ระชาชนโดยไม่ มี กฎหมาย (II 166) ในที่ สุ ด ในท า้ ย บทที่ ว่ า ด ว้ ยทรราชย ห ์ รื อ tyranny ล็อคกล่าวว่า “อานาจที่จะกระทาตาม อาเภอใจที่มอบไว ใ้ นมื อกษัตริย ์นั้ น มี ไวเ้ พื่อกระทาความดี มิใช่ทาอันตราย ให ้กับประชาชน (II 210) เ ร า จ ะ เ ห็ นไ ด ้ท ั น ที ว่ า ทุ ก ค า นิ ยาม มี อยู่ 2 อย่ า งที่ คงที่ อยู่ โ ดย ตลอด จนเราสามารถกล่ า วไดว้ ่า ทัง้ 2 อย่างนี ้นั้ นรวมตัวกันเป็ นคุณสมบัติ ห ลั ก ข อ ง prerogative นั่ น ก็ คื อ หนึ่ ง อานาจนั้นจะตอ้ งเป็ นอานาจที่จะ ท าประโยชน์ใ ห ป ้ ระชาชน และต อ้ ง จากัดอยู่กบ ั ประโยชน์น้ันๆ ความจงใจ ฝ่ า ฝื น น อ ก ค อ ก ก า ร ก ร ะ ท า ห รื อ อ า น า จ นั้ น ๆ ก็ มิ ใ ช่ prerogative เสี ย แต่แรกแล ว้ (II 166) หากการ ยึดถือกฎหมายธรรมชาติเป็ นส่วนหนึ่ ง ใน อ า น า จ นิ ติ บ ั ญ ญั ติ (cf II 134) การยึ ด ถื อ กฎหมายธรรมชาติ แ ละ การเมื อ งก็ เ ป็ นส่ ว นหนึ่ งในค านิ ยาม ของ prerogative เช่น เดี ย วกัน (II 159) และสาระของทัง้ 2 อย่ า งนี ้ ก็ เหมื อนกัน นั่ นก็ คือรักษาความมั่นคง ดารงอยู่ของสังคม และถา้ เป็ นไปได ้ ก็ รวมถึ ง ทุ ก สิ่ งทุ ก อย่ า งที่ มี อ ยู่ ใ นสัง คม นั้ นๆ และนี่ ก็ คือความหมายของคาว่า

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

7


public good ห รื อ ป ร ะ โ ย ช น์ (สาธารณะ) ของประชาชน ผู ใ้ ช ้ อ า น า จ prerogative เ ค า ร พ กฎหมายธรรมชาติ อ ัน เดี ย วกัน กับ ฝ่ ายนิ ติ บ ญ ั ญัติ แต่ท างานไปสู่ ความ มุ่ ง หมายด ว้ ยวิ ธี ก ารที่ นิ ติ บ ญ ั ญัติ ถู ก หา้ มมิใหก้ ระทา (cf II 136) ประการ ที่ ส อ ง prerogative ห รื อ พ ระ ร า ช ้ อ านาจหรื อ อ านาจพิ เ ศษมิ ไ ด ข ้ ึนอยู ่ กั บ บ ท บั ญ ญั ติ ข อ ง ก ฎ ห ม า ย Prerogative เป็ นอานาจพิ เศษที่ อยู่ เหนื อและนอกกฎหมาย ที่ อ านวยให ้ กษั ต ริ ย ส์ ามารถกระท าในสิ่ งที่ ไม่ มี ก ฎ ห ม า ย บั ญ ญั ติ ห รื อ ขั ด กั บ ที่ กฎหมายบัญญัติไว ้ก็ได ้ ้ ทังสองแง่ นี้ แต่ ล ะแง่ ใ นตัว ของ มั น เ อ ง ก็ ยั ง ท า ใ ห ้ เ ร า ต ้ อ ง ก า ร ค า อ ธิ บ า ย ม า ก ขึ ้น เ พื่ อ ท า ค ว า ม กระจ่างว่า ล็ อคหมายความว่า อย่ างไร เ ร า ต ้ อ ง หั น ไ ป ห า ตั ว อ ย่ า ง prerogative ที่ ล็ อคย กขึ ้นม า อ า้ ง ทั้งหมดมี อ ยู่ 5 ตัว อย่ า งด ว้ ยกัน (II 156, II 158, II 159 x 2, II 167) แต่ ต วั อย่ า งที่ 1 กับ ที่ 5 คล า้ ยจนจะ เหมื อนกันทีเดียว อาจสงเคราะห ์เป็ น ตัวอย่างเดียวได ้ ล็ อ ค เ ริ่ ม ต ้น อ ย่ า ง ค่ อ น ข า้ ง ระมัดระวังว่าการเปิ ดประชุมสภาเมื่อมี

ความจาเป็ นเป็ นการใช ้อานาจพิ เศษ ต่ า งกับ การเปิ ดประชุ ม ตามวาระที่ ก า ห น ดไ ว ้ ใ น ก ฎ ห ม า ย ก่ อ น จ ะ ยกตัวอย่างนี ้ ล็อคอธิบายว่าการเรียก ประชุมสภาเป็ นหน้าที่รับผิ ดชอบของ ฝ่ ายบริ ห าร ซึ่งท าให ด ้ ู เ หมื อ นว่ า นั่ น เป็ นการใช ้อ านาจธรรมดาทั่วไปของ ฝ่ ายบริหาร (II 154-155) ผูเ้ ขียนใคร่ ตรวจดูว่าล็ อคว่าอย่างไรก่อนจะไปถึง การยกตัวอย่างจริงๆ เพื่ อจะไดเ้ ข ้าใจ คาอธิบายนั้นแต่ต ้น แต่ก่อนฝ่ ายบริหารมี หน้าที่สั่ง เปิ ดประชุ ม ฝ่ ายนิ ติ บ ัญ ญัติ เ ท่ า นั้ น หากรัฐ ธรรมนู ญก าหนดเวลาสมัย ประชุมไว ้ ฝ่ ายบริหารก็ เพี ย งประกาศ ให ม ้ ี ก ารเลื อ กตั้ง และออกระเบี ย บ ้ นไป คาสั่งต่ า งๆเพื่ อให ก ้ ารเลื อ กตังเป็ โดยเรียบรอ้ ยหรือไม่ การประกาศใหม้ ี ้ ่ อใดก็ ขึนอยู ้ การเลื อ กตังเมื ่กบ ั กุ ศโล บายของฝ่ ายบริหาร ที่จะพิ จารณาว่า มี ค วามจ าเป็ นที่ จะออกหรื อ แก ไ้ ข กฎหมายใด หรือมีความจาเป็ นจะต ้อง ป้ องกันแกไ้ ขปั ญ หาความยุ่ งยากใดๆ หรือไม่ (II 154) ข ้อสาคัญพึงราลึกว่า ฝ่ ายบริ ห ารที่ ใช อ้ านาจไม่ ถู ก ต อ้ งก็ เ ท่ า กั บ ก า ร ป ร ะ ก า ศ ส ง ค ร า ม กั บ ประชาชน (II 155)

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

8


้ เพราะ ที นี้ มี เ รื่ องแปลกเกิ ด ขึน ตอนนี ้ แหละที่ ล็ อคบวกอ านาจในการ ไล่ฝ่ายนิ ติบญ ั ญัติออกเพิ่ มใหก้ บ ั ฝ่ าย บริ ห าร (II 156) ในขณะที่ ล็ อ คเพิ่ ง พู ด ถึ ง ความเป็ นไปได ท ้ ่ี ฝ่ ายบริ ห าร อาจกระทาผิ ดอานาจหน้า ที่ เขาพู ด ขยายขอบเขตออกไปกว า้ งๆ ไม่ มี จ ากัด แต่เ ราต อ้ งจ าค าเตื อ นว่ า การ ใช ้พระราชอานาจพิเศษกับสภาอย่าง น่ าเคลื อ บแคลงของกษั ต ริ ย ส์ จ๊ว ต (เกิดขัดแยง้ กับสภาและประชาชนจน ท า ใ ห ้ Charles 1 ถู ก ป ร ะ ห า ร 1649-ผู เ้ รี ย บเรี ย ง) ล็ อ คก็ แ สดงให ้ เห็นอย่างชัดแจ ้งว่า อานาจนั้นในที่สุด ก็ ถู ก ควบคุ มโดยส านึ กว่ า มี โ อกาสที่ ้ อ ต า้ น ด ว้ ย ประชาชนจะลุ ก ฮื อ ขึนต่ เหตุนี้ อานาจพิ เศษทางรัฐธรรมนู ญที่ เปิ ดกว ้างจึงเป็ นเรื่องที่ยอมรับได ้ ล็ อคบรรยายต่อดว้ ยการขยาย อ านาจที่ กษั ต ริ ย พ ์ ึ ง มี เ หนื อรัฐ สภา แต่เดิมล็ อคเห็ นว่าควรไวใ้ จใหก้ ษัตริย ์ เปิ ดและปิ ดการประชุม สภาได ต ้ าม ความจ าเป็ น แทนที่ จะก าหนดเวลา เปิ ดไวใ้ นรัฐธรรมนู ญ (cf. II 154) แต่ แลว้ เขาก็ เปลี่ ยนใจเพราะเห็ นว่าอย่าง นั้นไม่แยบคาย ล็ อคใหเ้ ห็ นผลว่า ในการก่อตัง้ ้ ่ ผู ก รัฐ บาลครังแรกที ้ ่ อ ตัง้ ถึ ง แม จ้ ะมี

จิ น ตนาการและสายตาไกลเพี ย งใด ย่ อ ม จ ะ เ ป็ นไ ป ไ ม่ ไ ด ้ท่ี จ ะ เ ป็ น เ จ ้า บัญ ชาการเหตุ ก ารณ์ใ นอนาคตได ้ จนกระทั่งสามารถกาหนดวันเปิ ดและ ระยะการประชุม ของสภาไว ล้ ่ ว งหน้า ้ กครัง้ เพื่ อให ้ เหตุการณ์ท่ี จะเกิดขึนทุ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ ปั ญ ห า แ ล ะ ค ว า ม ต อ้ งการทุ ก อย่ า งของสัง คม ถ า้ อย่ า ง นั้ นจะท าอย่ า งไรจึ ง จะป้ องกั น มิ ให ้ ประชาชนต ้องเสี่ยงหรือเผชิญเหตุร ้าย ้ ที่ จะเกิ ดขึนแน่ น อน นอกจากจะฝาก ความหวังไวก้ บ ั บุ คคลผูม้ ี ป รีชาญาณ ่ น ที่อยู่ในเหตุการณ์ในขณะนั้ น ซึงเป็ ผู ม้ ี ความรอบรูแ้ ละเข ้าใจการบริหาร ราชการแผ่ น ดิ น ผู ส ้ ามารถจะใช ้ prerogative หรื อ อ านาจพิ เศษเพื่ อ ช่ว ยเหลื อ ประชาชนและประโยชน์ ส่วนรวม ที่ไหนและในมือใครเล่า จึงจะ เหมาะสมที่จะควบคุมการใช ้กฎหมาย เพื่อประโยชน์ของบา้ นเมืองเท่าบุคคล ผูน้ ้ัน (II 156)****

(๓) ก า ร ก า ห น ด เ ว ล า ข อ ง ส มั ย ประชุมไว ใ้ นรัฐ ธรรมนู ญน่ าจะดี ก ว่ า ้ บ ความเก่ ง หรื อ ดี ข อง ปล่ อ ยให ข ้ ึ นกั กษั ต ริ ย ์ อย่ า งน้ อ ยนั่ นก็ น่ าจะเป็ น ท า ง เ ลื อ ก ที่ ดี ก ว่ า ป ล่ อ ย ว า งไ ว ้ก ั บ

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

9


ความสามารถที่ ประชาชนจะลงโทษ ฝ่ ายบริ ห ารที่ ไร ค ้ วามเชื่อมั่นหรื อไม่ ล่ ว ง รู ว้ ่ า จ ะ ก า ห นด เ ว ล า อย่ า งไ ร ดี ล็ อคแนะนาว่าอย่าใช ้ทางเลือกนี ้ และ ในการคัดคา้ นการกาหนดเวลาไวใ้ น รัฐ ธรรมนู ญ ล็ อ คบอกว่ า กรณี เช่น นี ้ ไม่ มี ท างออกอื่ นนอกจากการลุ ก ฮื อ ของประชาชน ใ น ก า ร คั ด ค ้ า น ท า ง เ ลื อ ก ดั ง ก ล่ า ว ล็ อ ค ไ ด ้ ใ ช ้ ค า ว่ า ”prerogative” ห รื อ อ า น า จ พิ เ ศ ษ ้ เป็ นครังแรก อานาจนั้ นก็ คืออานาจที่ จะเรี ย กเปิ ดประชุม และยุ บ สภา ล็ อ ค มิ ไ ด ใ้ ช ค้ าดัง กล่ า วจนกระทั่งเขาได ้ บ ร ร ย า ย ถึ ง ค ว า ม บ ก พ ร่ อ ง ข อ ง จิ น ตนาการล่ ว งหน้า ของมนุ ษย ์ และ ข ้อเท็ จจริงที่ว่าประชาชนเท่านั้ นจึงจะ เป็ นผูต ้ ด ั สินได ้ นี่ เป็ นตัว อย่างที่ทาให ้ เราเข า้ ใจ prerogative ต่ า งๆ ที่ จะ หลั่งไหลตามกัน ออกมา และนี่ ก็ เ ป็ น ตัว อย่ า งหลัก ที่ ล็ อ คใช เ้ พื่ อจู งให ค ้ น อ อ กไ ป จ า ก ก า รโ ต ้ แ ย ้ ง กั น เ รื่ อ ง prerogative ต่ อไป อี กด ว้ ย (cf. II 167) ในขณะที่ตัวอย่างแรกเป็ นเรื่อง ของการเปิ ดแลว้ ก็ปิดการประชุมหรือ ยุบ สภา ตัว อย่ า งที่ สอง กลับเป็ นเรื่ อง ของการล ม ้ ล า้ งสถาบัน นิ ติ บ ัญ ญัติ

ซึ่งล็ อ คบอกว่ า ไม่ ใ ช่ห รอก ปฏิ รู ป ต่ า งหากไม่ ใ ช่ล ม ้ ล า้ ง ปฏิ รู ป ให ส้ ภา เป็ นไปตามรู ป แบบที่ คิ ดไว แ้ ต่ ต น ้ (II 158) เรื่องนี ้ล็ อคเสนอแนวคิดทฤษฎี ้ ่ยวกับความเป็ นอนิ จจัง ที่ลึกซึงมากเกี และพลั ง ของการเปลี่ ยนแปลงไปสู่ อนาคต ซึ่ งปรากฏอยู่ ต ลอดเวลา เป็ นเหตุให เ้ ห็ นได ช ้ ด ั ในกรณี ที่ เมื อ ง ห รื อ borough ข อ ง อั ง ก ฤ ษ เ ป็ น จานวนมากที่ตกต่าเสื่ อมโทรมสุดขีด จนกระทั่ง prerogative หรืออานาจ พิ เ ศ ษ ที่ มี อ ยู่ ใ น ข ณ ะ นั้ นไ ม่ เ พี ย ง พ อ ที่ จ ะ แ ก ้ ไ ข ไ ด ้ (II 157) เพราะฉะนั้ น จึงจาตอ้ งขยายขอบเขต ของอ านาจพิ เ ศษอี ก อย่ า งไรก็ ต าม การขยายขอบเขตดัง กล่ า วต อ ้ งมี เหตุ ผ ลรับ ฟั งได ้ แต่ ล็ อ คก็ มิ ไ ด เ้ สนอ หรื อ สัก แต่ ว่ า บวก prerogative อัน ใหม่ ด ว้ ยการเติ ม ตัว s เข า้ ไปหลัง prerogative(s) เ พื่ อ ท า ใ ห ้เ ห็ น ว่ า prerogative ยังมีอยู่อีกเยอะ แ ท ้ท่ี จ ริ ง ล็ อ ค เ ส น อ ท ฤ ษ ฎี prerogative กวา้ งๆ โดยไม่ตอ้ งเติม s เ กี่ ย ว กั บ borough ห รื อ เ มื อ ง ที่ ตกต่าเสื่ อมโทรม ล็ อคกล่าวว่า “แขก คนที่มาเห็ นเมื องต่างก็ พากันแปลกใจ ในสภาพซึ่ งรู ส ้ ึ กได ท ้ ัน ที ว่ า จ าเป็ น จะ ต อ ้ งก อบ กู เ้ ป็ น กา รใ หญ่ ” ด ว้ ย หลั ก เกณฑ ท ์ ุ ก ๆอย่ า งที่ มี อยู่ ล็ อค

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

10


มองเห็ นว่าไม่มีทางที่จะกู ้ได ้ (II 157) เว น ้ เสี ย แต่ ว่ า จะปฏิ รู ป ใหญ่ ล ม ้ เลิ ก รัฐ บาลหรื อการปกครองท อ้ งถิ่ นตาม หลัก ความยิ น ยอมของประชาชนทุก ค น เ สี ย แ ล ้ ว น า ก ฎ regal sovereignty หรืออานาจกษัตริย ์ใน รัฐ บาลกลางมาใช ้ สภาผูแ้ ทนจะเป็ น เ ส มื อ น ส ภ า ที่ ป รึ ก ษ า ข อ ง พระมหากษั ต ริ ย ์ ตามความเห็ นใน ้ อดี ต ของ Filmer และขึนอยู ่กบ ั การ ควบคุ ม ตามพระราชอัธ ยาสัย อนึ่ ง เนื่ องจากการสรา้ งสถาบันนิ ติบญ ั ญัติ ้ ้ ขึนมาครั งแรกเป็ นประดิษฐกรรมสูงสุด ของสังคม จึ งไม่ มีอานาจใดๆที่ต่ากว่ า จ ะ ม า ท า ล า ย ล ้ ม ล ้ า งไ ด ้ แ ล ะ แ ม ้ ประชาชนก็ ไม่มีอานาจกระทาเช่นนั้ น ไดห ้ ากยัง มี ร ฐั บาลบริ หารอยู่ และถ า้ หากเรายอมรับประวัติการเกิดรัฐบาล อัน ชอบตามกฎหมายครั้งแรกตาม ค าอธิ บ ายของล็ อ ค เราก็ ม องไม่ เ ห็ น หนทางที่ จะแก ไ้ ขเปลี่ ยนแปลงความ ตกต่ า เสื่ อม ทรา ม ของมั นได เ้ พี ย ง เพ ร า ะ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง จ า น ว น ประชากร (II 157; cf II 134, II 149, II 150) ล็ อ คเสนอวิ ธี แ ก ไ้ ขด ว้ ยการใช ้ ศัพท ์ทางทฤษฎีอย่างสูง เขายกคาของ Cicero มาอ า้ งว่ า “ความปลอดภัย ของประชาชนคื อ กฎหมายสู ง สุ ด :

Salus Populi Suprema Lex” อั น เป็ นหลัก พื ้นฐานที่ ส าคัญ และชอบ ธรรมยิ่ ง และบุ ค คลกระท าตามหลัก ที่ ว่ า นี ้ ค ง จ ะ ไ ม่ ก ร ะ ท า อ ะ ไ ร ผิ ด จ น เสียหาย (II 158) ถึงแม ห ้ ลักการนี ้จะ มีเหตุผลอย่างสมบูรณ์ และถึงแมล้ ็ อค จะถูกตอ้ งในการอนุ มานว่าการกระทา ตามหลักนี ้จะไม่ มีความผิ ดพลาด แต่ ก็ ย งั น่ าประหลาดใจอยู่ ดี ท่ี ล็ อ คกล่ า ว เช่นนั้น เรารับ ทราบแล ว้ ว่ า สภานิ ติ บั ญ ญั ติ เ ป็ น ผู ้อ อ ก ก ฎ ห ม า ย เ พื่ อ ป ร ะ โ ย ช น์ แ ล ะ ค ว า ม ผ า สุ ก ข อ ง ประชาชน และประชาชนจะต ้องปฏิบต ั ิ ตามกฎหมาย ดว้ ยการยอมสละสิ ทธิ ส่ ว น ตั ว ที่ จ ะ ตั ด สิ นใ จ ว่ า อ ะ ไ ร คื อ ประโยชน์ของส่วนรวม กล่าวคือจะยก ประโยชน์ส่ ว นตัวไว เ้ หนื อประโยชน์ ส่ ว นรวมมิ ไ ด ้ (II 87, II 89, II 129130) ที นี ้ ล็ อ ค ก ลั บ เ ส น อ ว่ า ก า ร ตัดสิ นใจส่ว นตัว (ของบุ คคลบางคน) เพื่ อความดีของส่วนรวมนั้ นอาจสงวน ไ ว ้ไ ด ้ เ พื่ อใ ห ้บุ ค ค ล นั้ น บ ร ร ลุ ถึ ง จุดหมายปลายทาง (คือประโยชน์ของ ปวงชน) ความสงสัย ของเรากลับ ยิ่ ง ้ าการกระทานั้นจะต ้องยิ่งใหญ่ เพิ่มขึนว่ เพี ย งใด จึ ง จะฟั งได ว้ ่ า หลัก หรื อ การ ปกครองใหม่ ท่ี เสนอนั้ นจ าเป็ นและดี จริ ง ๆ การปฏิ รูป การปกครองท อ้ งถิ่ น

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

11


ในเมืองหรือ borough ต่างๆ ที่ตกต่า เสื่อมโทรมของอังกฤษนั้นเป็ นแต่เพียง ตัวอย่างหนึ่ งเท่านั้น แต่ ถ า้ หากไม่ มี ต ัว อย่ า งแบบนี ้ ค น ก็ จ ะ คิ ด ว่ า prerogative ก็ คื อ อ านาจที่ จะท าอะไรก็ ไ ด ต ้ ามใจชอบ โดยไม่ มี ควา มจ าเป็ น เป็ นกา ร กระทานอกกฎหมาย และมิใช่อานาจ ้ ้ ด ว้ ย ที่ เป็ นหรื อออกกฎหมายได ้ ทังนี เหตุ ท่ี เราหลงเชื่อว่ า สภานิ ติ บ ญ ั ญัติ เท่ า นั้ นที่ เป็ นผู อ ้ อกกฎหมายแต่ ผู ้ เดียว แต่น่ี ก็ เห็ นแลว้ ว่ากฎ(หมาย)ว่า ้ ออก (เปลี่ยน) ใหม่ ด ้วยการเลือกตังก็ ้ โดยโยนกฎหมายเก่ า ทิ งไปเสี ย ก็ ไ ด ้ มั น จึ ง มิ ใ ช่ เ ป็ น แ ค่ ก า ร ป รั บ ป รุ ง กฎหมายนิ ติ ก รรมสัญ ญาหรื อ ส่ ว น ห นึ่ ง ส่ ว นใ ด ข อ ง common law เท่านั้ น มันเป็ นการบังคับใช ้กฎหมาย รัฐธรรมนู ญใหม่ เนื่ องจากข ้อสรุป ข ้างตน ้ นี ้ ออก จะแปลกอยู่ สก ั หน่ อย อาศัย เหตุผลที่ ล็ อ คยกมาอ า้ งถึ ง ตรงนี ้ เราจะลอง พยายามแปลความหมายของล็ อ ค ้ ก โดยไม่ ต อ้ งให ล ้ ็ อ คมาอธิ บ ายซ าอี เราอาจกล่าวได ้แบบลาลองว่า แท ้ที่จริง ไ ม่ มี ก า ร อ อ ก ก ฎ ห ม า ย ขึ ้น ม า ใ ห ้ เลื อ กตั้งใหม่ แต่ ใ นกรณี นี ้ กษั ต ริ ย ์ ผูป้ กครองทรงใช ้พระราชอานาจเพียง

หนึ่ งครัง้ ให เ้ กิ ด การปฏิ บ ัติ ต ามพระ ร า ชโ อ ง ก า ร เ พื่ อใ ห ้ มี “fair and equal representative คื อ ตัว แทน ้ อันเที่ยงธรรมและทั่วถึง” (II 158) ขึน เป็ นหลักการถาวรในอนาคต ด ้วยการ ใช ว้ ิ ธี ก ารใหม่ (แทนที่ จะใช พ ้ รรค การเมืองในสภาปัจจุบน ั ) ดังนั้น ถ ้าเรา อยากได ท ้ างเลื อ กนี ้ วิ ธี ก ารใหม่ ท่ี ว่ า นั้นจะเป็ นอย่างไร ก็มีอยู่ 2 ทาง เมื่อใช ้ พระราชอ านาจแล ว้ ก็ ใหส้ ภารับ รอง หรื อไม่ ก็ ใ ห ป ้ ระชาชนยอมรับ (ตาม ้ ครรลองประชาธิปไตย) ทังสองอย่ างนี ้ หนี ไม่ พ น ้ ปั ญ หา อย่ า งที่ หนึ่ ง สภาที่ ไหนจะยอมรับ กติ ก าใหม่ ท่ี ท าลาย ผลประโยชน์ข องตน (ที่ ได ร้ ับ จาก ระบบเดิมในปั จ จุบ น ั ) แม แ้ ต่ส ภาที่ รื อ้ ้ ฟื ้ นขึ นมาใหม่ ก็ ต าม สภาที่ คดโกง ค อ ร ์ร ั ป ชั่ นไ ม่ มี วั น จ ะ ท า ใ ห ้ ใ น ขณะเดี ย วกัน หากจะให ป ้ วงชนทั้ง มวลลงคะแนนรับรอง มันก็ อาจจะเป็ น เพี ย งการสมยอมมิ ใ ช่ก ารยอมรับ ที่ แท จ ้ ริ ง ก็ ไ ด ้ (cf. II 158, II 164, II 165, II 176, II 227) เ พื่ อ จ ะ หลี กเลี่ยงความเป็ นไปไดด้ งั กล่าว เรา จาเป็ นจะตอ้ งยกอานาจใหก้ ษัตริย ์ (มี พระบรมราชโองการ) ออกกฎหมาย ใหม่ โดยไม่มีข ้อจากัดพระราชอานาจ ใดๆทั้งสิ ้น ล็ อ คมิ ไ ด เ้ ปิ ดทางให เ้ รา แก ป ้ ั ญ หานี ้ ได ง้ ่ า ยๆ และเราก็ ต อ้ งไม่

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

12


้ หลงว่ า ค าอธิ บ ายที่ กล่ า วมาทังหมด เพียงพอแล ้ว ไม่ ว่ า ใ ค ร จ ะ อ่ า น ห ม ว ด นี ้ ว่ า อย่ า งไร ก็ ตอ้ งเห็ นได ช ้ ด ั ว่ า ขอบเขต ข อ ง prerogative ห รื อ พ ร ะ ร า ช อานาจพิ เศษนั้ นกว า้ งใหญ่ ไพศาล มี ความชอบธรรมที่สามารถแมแ้ ต่จะลบ ล า้ งรัฐ ธรรมนู ญในขณะนั้ นได ้ ด ว้ ย ตัว อย่ า งที่ ยกมาข า้ งต น ้ นี ้ เราจึ ง เริ่ ม เ ข ้า ใ จ นิ ย า ม ค า แ ร ก ข อ ง ค า ว่ า prerogative หรื อ พระราชอ านาจ พิเศษ*****

(๔) ตัวอย่างที่ 3 กับ 4 (อันเป็ นที่มา ของคานิ ยามและของ prerogative) เ ป็ น ตั ว อ ย่ า ง ที่ ดึ ง ม า จ า ก ห ม ว ด เดียวกัน และประโยคเดียวกันดว้ ยซา้ ้ า้ น (II 159) อันแรก เกี่ยวกับการรือบ ์ ่ อมิ ใ หไ้ ฟลามไปไหม ้ ของผู บ ้ ริ สุ ท ธิเพื ้ บ า้ นในละแวกนั้ นทังหมด บ า้ นของผู ้ ์ จ้ ะยังไม่ ถูกไหม ้ แต่ก็ตอ้ งรือ้ บริสุทธิแม ้ ่ อป้ องกัน บ า้ นหลัง อื่ นๆที่ ยัง มิ ไ ด ้ ทิ งเพื เกิ ดไหม ้ เช่น เดี ย วกัน กรณี นี ้ ถู ก ยก ้ เ้ ห็ น ว่ า มาเป็ นตัว อย่ า ง เพื่ อจะชี ให “ ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ก ฎ ห ม า ยโ ด ย เคร่ ง ครัด กลับ จะเกิ ด อัน ตราย ” (II

159) ห ล า ย ๆ ค ร อ บ ค รั ว จ ะ ต ้อ ง สู ญ เ สี ย ห า ก ก ฎ ห ม า ยไ ม่ ย อ มใ ห ้ ้ า้ นตัดไฟแต่ตน้ ตามที่เห็ น กษัตริย ร์ ือบ ว่ า จ าเป็ น ตามหลัก กฎหมายจะต อ้ ง ์ ปกป้ องกรรมสิทธิในทรั พย ์สินมิใหถ้ ูก พรากไปโดยปราศจากความยิ นยอม หรือผิ ดกฎหมาย แต่ความจาเป็ นทา ้ า้ นนั้ น ไม่ รือไม่ ้ ได ้ (เพราะ ใหต้ อ้ งรือบ เพื่ อนบ า้ นจะถู กไหม ก ้ ัน หมด และ ้ ตนเองก็จะถูกเผาก่อนเพื่อนด ้วย) ทังๆ ที่เจ า้ ของบ า้ นเคราะหร์ า้ ยนั้ นบริ สุ ทธิ ์ แท ้ๆ ตั ว อ ย่ า ง ข า้ ง ต ้น นี ้ ถู ก ย ก ม า ต่ า งหาก อยู่ ใ นวงเล็ บ ไม่ ป ะปนใน ประโยคอื่นๆ มี ความยาวเพียงยี่สิบคา เท่า นั้ น ที่ ส าคัญ มันยังมิ ใ ช่ตวั อย่ า งที่ น าไปสู่ ข อ้ สรุ ป ในประโยค ว่ า ด้ว ย

พระราชอานาจพิเศษในการอภัย โทษ อันมี ความมุ่ งหมายจะคุม้ ครอง ส่ ว น ร ว ม ทั้ ง ห ม ด ร ว ม ทั้ ง บุ ค ค ล ที่ กระทาผิด เมื่ อใดก็ ตามที่กระทาได ้ ที่ ้ า้ น) นี ้ น่ าสนใจยิ่ งกว่ า นั้ นเรื่ อง (รื อบ เป็ นเพี ย งตัว อย่ า งเรื่ องเดีย ว ที่ จ าตอ้ ง สละสิ ท ธิ ข องบุ ค คลหนึ่ งเพื่ อรัก ษา ส่ ว น ร ว มใ ห ้ป ล อ ด ภั ย เ รื่ อ ง นี ้ ไ ม่ มี บัญญัติ (อนุ ญาต) ไวใ้ นตัวกฎหมาย ดั ง นั้ น จึ ง เ ป็ น ตั ว อ ย่ า งใ ห ้ เ ห็ น ว่ า กฎหมายที่ดีๆ และจาเป็ นหลายเรื่อง ก็

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

13


ยัง มิ ไ ด บ ้ ัญ ญัติ เ อาไว ้ ท าไมจึ ง เป็ น เช่นนั้น ล็ อคกล่ า วว่ า การปิ ดหรื อ รื ้อ บ า้ นเมื่ อพิ สู จ น์ไ ด ว้ ่ า มี ค วามจ าเป็ น มิได ้ทาความเสียหายใหก้ บ ั บุคคลอื่นๆ เ ล ย (cf. II 26-32 with II 33) หลังจากนั้ น ล็ อ คเสริ ม ว่า การกระท า ดั ง ก ล่ า ว ท า ใ ห ้ช ี วิ ต ค น อื่ น ๆ ห รื อ ส่วนรวมปลอดภัยหรือดีขน ึ ้ ถึงแมท ้ ุก คนจะยื น ยัน มิ ไ ด ว้ ่ า มัน จ าเป็ นก็ ต าม (II 37 II 40-43) ล็อคอธิบายด ้วยวิธี เดี ย วกัน ว่ า การสร า้ ง civil society หรื อ สัง คมประชาธิ ป ไตยก็ เ ป็ นเช่น นี ้ ( คื อ มี ก า ร จ า กั ด สิ ท ธิ ส่ ว น ตั ว ข อ ง บุ ค คลหลายประการ เช่น กฎจราจร ใบอนุ ญาตต่ า งๆ กฎหมายอาญา เป็ นต ้น) การสรา้ งสังคมประชาธิปไตย ไม่ ทาอันตรายใหก้ บ ั ผู ใ้ ด หากเข ้าใจ เรื่ องความจ าเป็ นที่ กล่ า วมาแล ว้ (II 95) ส ภ า นิ ติ บั ญ ญั ติ จ ะ ป ฏิ เ ส ธไ ม่ ยอมรับ การกระท าบางอย่ า งโดยไม่ ค านึ งถึ ง ความจ าเป็ นที่ เราพู ด มา ได ้ ห รื อไ ม่ ถ ้า ห า ก ค ว า ม จ า เ ป็ น นั้ น กระทบกระเทื อ นสิ ท ธิ ข องผู ห ้ นึ่ งผู ใ้ ด สภานิ ติ บ ญ ั ญัติ หรื อแม แ้ ต่ป ระชาชน จะปฏิเสธไม่ยอมรับความเป็ นไปได ้ของ ความจ าเป็ นนั้ นๆ ได ห ้ รื อไม่ โดยถื อ เสมื อ นว่ า ทางที่ เลื อ กล าบากนั้ นเป็ น ทางเลื อกที่ผิ ด เป็ นไปไดห ้ รื อไม่ ท่ี การ

ไม่ มี หรือความบกพร่องของกฎหมาย ในเรื่ องต่ า งๆ เช่ น นี ้ จึ ง กลายเป็ น เหตุ ผ ลส าคัญ เพิ่ มเติ ม อ านาจพิ เ ศษ ้ า้ นของผู ้ นอกและเหนื อกฎหมาย รือบ ้ ่ อป้ องกันอันตรายที่ใหญ่ บริสุทธิทิ์ งเพื กว่าของส่วนรวมเป็ นแต่เพียงตัวอย่าง หนึ่ งของการหันหลังใหก้ ฎหมาย แต่ก็ เป็ นกรณี เบ า ๆ ไม่ สา หั ส สา กรร จ ์ เพราะในภายหลัง หากรัฐบาลต ้องการ รัฐบาลก็สามารถจ่ายค่าทดแทนใหก้ บ ั ์ ้ แต่ ย ัง มี ก รณี ผู เ้ สี ย หายที่ บริ สุ ท ธิ ได อื่นๆ มิใช่ทก ุ กรณี จะเหมือนกับกรณี นี้ เสมอไปที่การเสี ยสละสิ ทธิส่์ วนบุคคล เพื่ อความปลอดภัยของส่วนรวมจะได ้ ค่าทดแทนจากรัฐบาลเสมอไป แทนที่ จะพึ่งฝ่ ายนิ ติบญ ั ญัติใหอ้ อกกฎหมาย ่ ทัวไปครอบคลุ มกรณี ท่ียากๆ กรณี ที ่

อาจจะกล่าวได้วา่ ต้องมีการปฏิบต ั ิ ผิ ด ท าให้ค นส่ ว นใหญ่ เ สี ย หาย และเสี ยเปรี ยบ ล็อคเห็นว่า น่ า จะ เก็ บ เรื ่ องนี ้ ไว้ใ ห้ก ษัต ริ ย ผ ์ ู ้ท รง ธรรมเป็ นผู ม ้ ี อ านาจตัด สิ น ตาม ความเหมาะสมเป็ นกรณี ๆ ไป ตัวอย่าง prerogative ที่สี่ของ ล็ อ ค อ ย่ า ง ล ะ เ อี ย ด ก็ น่ า ฉ ง น เช่ น เดี ย วกั น นั่ นคื อ ตั ว อย่ า งเรื่ อง อานาจอภัยโทษ ล็ อคใหเ้ หตุผล 2 ข ้อ ว่ า ท าไมกษัต ริ ย จ์ ึ ง ต อ้ งมี อ านาจอภัย โทษ “เพื่ อลดความรุน แรงเกินไปของ

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

14


กฎหมาย และอภัยโทษใหผ ้ ูก้ ระทาผิด” (II 159) จ ะ เ ห็ น ว่ า อั น ห นึ่ ง ผิ ด ธรรมดากว่าอีกอันหนึ่ งมาก เหตุผลที่ 2 ของล็ อ คได แ้ ก่ mercy หรื อ ความ กรุณาธรรมดา เป็ นความกรุณาที่ใน ที่สุดรัฐบาลจะตอ้ งเป็ นผูใ้ ห ้ “ในกรณี ที่ พิ สู จ น์ไ ด ว้ ่ า จะไม่ ล าเอี ย งหรื อ เป็ น ผลรา้ ยต่อผู บ ้ ริ สุ ทธิ”์ ด ว้ ยเหตุผ ลข ้อ แรก ล็ อคตั้ งหน้ า วิ จ ารณ์ ค วามไม่ เพียงพอของกฎหมายต่อไปตลอด ใน 2 ข ้อนี ้ ข ้อที่ 1 น่ าสนใจกว่ามาก

ของความเมตตากรุณา หากเป็ นเรื่อง กตัญญูตอบแทนการประกอบกรรมดี ยิ่ งกว่ า นั้ น การกระท าต่ า งหากที่ ดึ ง บุคคลเข ้ามาใกลม้ ือกฎหมายและเป็ น ข อ้ ตัด สิ น ว่ า เขาสมควรได ร้ บ ั รางวัล และการอภัยโทษหรื อไม่ มัน เป็ นการ ผิ ด ก ฎ ห ม า ย ที่ จ ะ ป ร ะ ก อ บ อาชญากรรมเพื่ อนาประโยชน์มาให ้ รัฐ ล็ อ คมิ ไ ด เ้ สนอให ก ้ ับ การกระท า ดังกล่าว เพียงแต่ยอมมิ ใหเ้ ขารับโทษ เท่านั้น

หลังจากยกตัวอย่างเรื่องไฟไหม ้ ล็ อ คพู ด ต่ อไปว่ า “บุ ค คลบางเวลาก็ ้ เข ้ามาใกล เ้ งื อมมื อ ของกฎหมาย ซึ่ง ้ ทุ ก คนไม่ มี ค วามแตกต่ า งกัน ขึนอยู ่ กับการกระทาว่าสมควรจะได ้รับรางวัล คื อ การอภัยโทษ หรื อไม่ ” กฎหมาย มิ ไดก้ าหนดใหบ้ ุ คคลแตกต่างกัน แต่ ถึงกระนั้น ก็ ยงั มีข ้อที่โจมตีได ้ความไม่ ล า เ อี ย ง ห ม า ย ค ว า ม ว่ า “ ต ้อ งใ ช ้ กฎหมายเดียวกันไม่ว่าคนจะรวยหรือ จน ผู ท ้ ่ี รู จ้ ก ั ชอบพอกับ ศาล หรื อ คน ถื อ คันไถเป็ นชาวนาบ า้ นนอก” (II 142) แ ล ะ นี่ ย่ อ ม ห ม า ย ค ว า ม เช่น เดี ย วกัน ว่ า กฎหมายจะต อ้ งไม่ เข า้ ข า้ งการกระท าผิ ด ที่ เป็ นคุ ณ ต่ อ ้ า การกระท าของคน สัง คม ล็ อ คย าว่ ต่ า ง ห า ก ที่ ส ม ค ว รไ ด ้ ร ั บ ร า ง วั ล หมายความว่า การอภัยโทษมิ ใช่เรื่อง

กฎ ห ม า ยไม่ ส า ม า รถ ร ะ บุ ว่ า เ มื่ อใ ด จ ะ อ นุ ญ า ตใ ห ้ ก ร ะ ท า ผิ ด กฎหมาย เมือใดจะไม่อนุ ญาต อะไรที่ ไม่ ถู ก กฎหมายย่ อ มจ าเป็ นอยู่ เ องที่ กฎหมายจะต อ้ งห า้ ม ดัง นั้ น การใช ้ ดุ ล พิ นิ จนอกหรื อ เหนื อกฎหมายจึ ง จาตอ้ งมี แต่กษัตริย ์อาจจะมิ ไดอ้ ยู่ใน จุ ด นั้ นทุ ก เวลา บุ ค คลใดบุ ค คลหนึ่ ง จ ะ ต ้ อ ง ยื น ขึ ้ น แ ล ะ ก ร ะ ท า สิ่ ง ที่ จาเป็ นตอ้ งกระทา อย่างนั้ น ล็ อคมิ ได ้ เรี ย กว่ า prerogative แต่ อ ย่ า งไรก็ ตามเหตุ ผ ลที่ จะแจงมาข า้ งล่ า ง ณ เวลาเดียวกันนั้ น กษัตริย ์ที่ดีจะตอ้ งใช ้ พระราชอานาจอภัยโทษใหผ ้ ูน ้ ้ั น นี่ คือ ตัว อย่ า งของ prerogative เขาควร ได ้รับอภัยโทษ ถึงแม้จะมีกฎหมายหา้ ม ไว ก ้ ็ ตา ม เรานึ กดู เ อา เองก็ ได ้ ว่ า อาชญากรคนหนึ่ งตัดสิ นใจทาหน้า ที่

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

15


้ า้ นต น รื อบ ้ ไฟ เพื่ อป้ องกัน บ า้ นหลัง อื่ น ๆ ห รื อ แ ม ้แ ต่ น ค ร นั้ น ๆ ทั้ ง น ค ร อัค คี ภ ย ั และการปกป้ องรัก ษาชุม ชน ย่ อ ม จ ะเป็ นเหตุ ผ ล ที่ ดี ว่ า ท า ไม จึ ง ส ม ค ว ร มี พ ร ะ ร า ช อ า น า จ อ ภั ย โทษ******

(๕) ค ว า ม ล้ ม เ ห ล ว ข อ ง ลั ท ธิ รัฐ ธ ร ร ม นู ญ : The Failure of Constitutionalism

(เมืองไทยมักจะแปล constitutionalism ว่า รัฐธรรมนู ญนิ ยม และให้ค านิ ยาม หรือคาอธิบายผิ ดๆ ลัทธิรฐั ธรรมนู ญ เน้นการจากัดอานาจของฝ่ ายบริหาร ในระบอบประชาธิ ป ไตย เพื ่อเป็ น ห ลั ก ป ร ะ กั น สิ ท ธิ เ ส รี ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น แ ล ะ ก า ร ป ก ค ร อ ง ด ้ว ย ้ งไม่ มี กฎหมาย ขณะที ล็่ อ คเขีย นนี ยั รัฐ ธรรมนู ญสัก ฉบับในโลก-ผู เ้ รี ย บ เรียง) ตอนนี ้ เราอยู่ ใ นฐานะที่ จะระบุ ลัก ษณะกว า้ งๆ ของ prerogative ห รื อ อ า น า จ พิ เ ศ ษ ต่ า ง ๆ ไ ด ้แ ล ้ว นอกจากลัก ษณะที่ เด่ น ชัด ที่ สุ ด (อัน ได ้แก่ลก ั ษณะนอกหรือเหนื อกฎหมาย เพื่ อ public good หรื อ ประโยชน์

ของส่วนรวม) แลว้ พระราชอานาจยัง ้ นยกเว ้ ไม่อาจจากัดไดโ้ ดยสิ่งใดทังสิ น ้ ก ฎ ห ม า ย ธ ร ร ม ช า ติ (law of nature) พระราชอ านาจเป็ นอ านาจ พิเศษต่างกับอานาจการเมืองของฝ่ าย บริ ห าร เพราะมัน เป้ นและคื อ อ านาจ ธรรมชาติ และการใช อ้ านาจนี ้ ไม่ สามารถควบคุ ม หรื อ ตัด สิ นได ด ้ ว้ ย มนุ ษย ์ (ยกเวน ้ สววรค ์และเสียงสวรรค ์ ของปวงชน : vox populi,vox dei) ดังจะได ้อธิบายเพิ่มเติมโดยลาดับ Prerogative กั บ ลั ท ธิ รัฐ ธรรมนู ญอยู่ ด ว้ ยกันได ด ้ ว้ ยความ ล าบากยิ่ ง ผู พ ้ ิ พ ากษา Davis เขีย น ความเห็ นส่ วนตัวในคาพิ พ ากษาของ ศาลคดี Ex parte Milligan อย่ า ง ชัด แจ ง้ ดัง นี ้ “ไม่ มี ล ท ั ธิใ ดที่ ประดิ ษ ฐ ์ ้ ขึนมาโดยหั ว ของมนุ ษย ์ ที่ จะมาซึ่ง ความเสี่ ยงและเสี ยหายเท่ากับการลม้ ล า้ งรัฐ ธรรมนู ญ ในยามที่ ฉุ ก เฉิ นยิ่ ง ของรัฐ บาล ลัท ธิ ด งั กล่ า วจะน าไปสู่ อนาธิ ป ไตยและเผด็ จ การโดยตรง” ด ้วยเหตุนี้ เราจึงอยากใหข ้ อบเขตของ อ านาจพิ เ ศษผู กไว ก ้ ับ รัฐ ธรรมนู ญ ให เ้ ป็ นอ านาจอย่ า งเดี ย วที่ สามารถ ปฏิ บต ั ิการโดยปราศจากกฎหมายใน บางเรื่อง (II 120) ดังนั้น ตัวอย่างของ ล็ อ คเรื่ องอ านาจกษั ต ริ ย ท ์ ่ี จะเรี ย ก ประชุม หรื อ ยุ บ สภาจึ ง เป็ นอ านาจที่

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

16


เขี ย นไว ใ้ นรัฐ ธรรมนู ญ (II 156 II 167) แต่ตรรกะในคาอธิบายของล็อค ้ เ้ ราเห็ น ว่ า ข ้อจ ากัด ดังกล่ า วจะมี ชีให ไม่ได ้ ความเสียหายจากอุบต ั ิเหตุอน ั ยิ่ งใ ห ญ่ ใ น อ น า ค ต ก็ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ม อ ง เ ห็ น ห รื อ ก า ห น ด ล่ ว ง ห น้ า ไ ด ้ เช่นกัน ดังนั้ น อานาจที่ จะแกไ้ ขหรื อ ป้ องกันการลุกลามของความเสียหาย จึ งไม่ ส ามารถก าหนดหรื อ จ ากัดไว ้ ล่ ว งหน้า เหตุ ผ ลสนั บ สนุ นพระราช อ านาจจึ ง ล ม ้ ล า้ งความพยายามที่ จะ จ า กั ด prerogative ไ ว ้ ล่ ว ง ห น้ า prerogative บ า ง ป ร ะ เ ภ ท อ า จ จ ะ เขี ย นไว ใ้ นรัฐ ธรรมนู ญได ้ แต่ ส่ิ งที่ รับ รองไว ใ้ นรัฐ ธรรมนู ญนั้ นไม่ อ าจ ้ั ครอบคลุ ม prerogative ไดท ้ งหมด และการมี prerogative ก็มิใช่เพราะ มี รฐั ธรรมนู ญรับ รองไว ห ้ รือไม่เช่นกัน อ านาจของ prerogative ในทัศ นะ ของล็ อคจะกาหนดไดก้ ็ดว้ ยประโยชน์ ของประชาชนหรื อ public good เท่า นั้ น ในทานองเดีย วกัน กฎหมาย ใ ด ๆ ก็ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ห ้ า ม ก า รใ ช ้ prerogative เ พื่ อ ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ้ ที่ขัดกฎหมายหรือไม่ ประชาชน ทังๆ มี ก ฎ ห ม า ย เ ขี ย นไ ว ้ ก็ ต า ม แ ม ้ รัฐ ธรรมนู ญจะปฏิ เ สธอ านาจของ กษั ต ริ ย ท ์ ่ี จะปกป้ องประโยชน์ ข อง

ประชาชนตามแต่จะเห็ นสมควร แต่ก็ หาได ห ้ มายความว่ า รัฐ ธรรมนู ญจะ ห ้ า ม เ ช่ น นั้ นไ ด ้ ไ ม่ prerogative จ า เ ป็ น ต ้อ ง เ กิ ด ขึ ้น เ พ ร า ะ ปั ญ ห า (ความบกพร่ อ ง) ของกฎหมาย และ เ พ ร า ะ รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ ก็ เ ป็ น เ พี ย ง ก ฎ ห ม า ย ป ร ะ เ ภ ท ห นึ่ ง เ ท่ า นั้ น ข อ บ เ ข ต อั น ช อ บ ธ ร ร ม ข อ ง prerogative จึ งไม่ ส ามารถจ ากัดได ้ โดยรัฐธรรมนู ญ Prerogative ไม่ใช่และไม่เป็ น อ านาจประเภทหนึ่ งของฝ่ ายบริ ห าร prerogative เ ข า้ กั นไม่ ได เ้ ล ยกั บ อ า น า จ ข อ ง ฝ่ า ย บ ริ ห า ร ภ า ยใ ต ้ ่ ายบริหารได ้อานาจมา กฎหมาย (ซึงฝ่ ก็ ด ว้ ยกฎหมาย เพื่ ออนุ มั ติ ใ ห ฝ ้ ่ าย ้ บริหารบางคนและบางครังยกเว น้ มิต ้อง ปฏิ บ ัติ ต ามกฎหมายนั้ นๆ ได ้ cf. II 151) ดัง นั้ น จะเป็ นไปได ห ้ รื อ ที่ ล็ อ ค เพี ยงแต่จะขยายขอบเขตของอานาจ ่ าล็ อค ของฝ่ ายบริหาร ผูเ้ ขียนไม่เชือว่ คิ ดอย่ า งนั้ น ล็ อคหลี ก เลี่ ยงการเรี ย ก prerogative ว่ า อ า น า จ ข อ ง ฝ่ า ย บริหาร แต่ล็ อคก็ ยืนกรานว่าจะตอ้ งมี บุ ค คลหนึ่ งที่ ได ร้ ับ ความไว ใ้ จให ใ้ ช ้ อานาจ (ต่างกับผูส้ ่ง-ผู ั เ้ รียบเรียง) และ ฝ่ ายบริ ห ารก็ เ ป็ น candidate หรื อ บุ ค คลที่ เหมาะสม (II 156) แต่ ท ้ังนี ้ มิ ไ ด ห ้ ม า ย ค ว า ม ว่ า prerogative

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

17


เป็ นส่ ว นหนึ่ งของอ านาจบริ ห ารมาก หรื อ น้ อ ยกว่ า เมื่ อเป รี ย บเที ย บกั บ อ า นา จบริ ห า รของสม า พั น ธ ์ (ใน ความสัมพันธ ์ระหว่างประเทศ) (cf. II 147-148) (เข ้าใจยาก ผ่านไปเลย-ผู ้ เรี ย บเรี ย ง) การที่ ฝ่ ายบริ ห ารได ถ ้ ือ อ า น า จ prerogative ห า ไ ด ้ หมายความว่ า อานาจนั้ นเป็ นอานาจ ของฝ่ า ยบริ ห ารไม่ ล็ อคพู ดถึ ง ตั ว อานาจมิไดพ ้ ูดถึงตัวผูใ้ ช ้อานาจ ล็ อค ใช ้คาว่า อานาจ “ตกไปสู่มือของฝ่ าย ้ บริหาร” (II 156) และ “และมันขึนอยู ่ กั บ ดุ ล พิ นิ จ ข ง บุ ค ค ล ผู ้มี อ า น า จ บริหารในมือ (II 159) และมัน ”ตกอยู่ กับ อ านาจบริ ห าร” (II 160 II 167) ล็ อ คเกื อ บจะผิ ด พลาดในการพู ด ว่ า “ ใ น บ า ง ค รั้ ง แ ล ะ ใ น บ า ง ก ร ณี กฎหมายก็ ค วรจะหลี ก ทางให อ้ านาจ ของฝ่ ายบริ ห าร” แต่ ล็ อ คก็ ก ลับ ล า ทันทีโดยพูดใหม่ว่า “หรือที่ถูกกว่าคือ ให ก ้ ับ หลัก ของกฎหมายธรรมชาติ แ ล ะ ก า ร เ มื อ ง ” (II 159) prerogative เป็ นคนละส่วนและแยก ออกจากอ านาจบริ ห ารแต่ อ ยู่ ใ นมื อ ข อ ง ฝ่ า ย บ ริ ห า ร prerogative มี ้ ม อยู่ ก่อนแลว้ เพราะมัน เจ า้ ของดังเดิ เป็ นอานาจธรรมชาติ (หมายเหตุ ข องผู เ้ รี ย บเรี ย ง : บทคว าม ตอนนี ้ เข า้ ใจย ากเพรา ะ

ผู เ้ ขีย นไปเล่ น ค าตามล็ อ ค ถ า้ จะให ้ ้ ผูเ้ รียบเรียงเสนอใหเ้ รา เข ้าใจง่ายขึน แยกตัว อ านาจผู ม ้ ี กับ ผู ใ้ ช อ้ านาจ ออกจากกัน ยกตัว อย่ า งเช่น ตารวจ กับ รัฐ บาล ตารวจมี ปื นเพราะรัฐ บาล ม อ บใ ห ้ ต า ร ว จไ ม่ มี อ า น า จใ ช ป ้ ืน นอกจากจะทาตามกฎหมายและคาสั่ง ที่สูงกว่า ฉันใดก็ฉันนั้น อานาจที่มอบ ปื นให ต ้ ารวจ สาวไปถึ ง ต น ้ ตอแล ว้ ก็ ไม่ ใ ช่ อ า น า จ ข อ ง รั ฐ บา ล แ ต่ เ ป็ น อ านาจที่ ประชาชนมอบให ร้ ัฐ บาล โล ก ของ ล็ อค ขณ ะ นั้ นคื อจั ก รภ พ อั ง ก ฤ ษ แ ล ะ ส่ ว นใ ห ญ่ ข อ งโ ล ก ยั ง ปกครองดว้ ยกษัตริย ์ รัฐชาติยงั ไม่เกิด Two Treatises of Government ้ ่ อปี ค.ศ. 1690 ก่อน พิ มพค์ รังแรกเมื สหรัฐอเมริกาเกิดและก่อนการปฏิวต ั ิ ฝรั่งเศสราว 100 ปี รัฐ ธรรมนู ญลาย ลัก ษณ์อ ัก ษรฉบับ แรกของโลกคื อ รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ ข อ ง อ เ ม ริ ก า ค ว า ม บ ก พ ร่ อ ง ข อ ง รั ฐ บ า ล ก็ ดี แ ล ะ ข อ ง รัฐ ธรรมนู ญก็ ดี เ ป็ นจิ น ตนาการและ ้ ความสามารถอย่า งลึ กซึงของล็ อคใน การวิเคราะห ์ถึงเหตุการณ์ปัจจุบน ั และ อนาคต ระบบการศึกษาของไทยดอ้ ย มาก ผูท ้ ่ีจบปริญญาเอกยังขาดความ

เ ข า้ ใ จ แ ม้ แ ต่ ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร ์แ ล ะ ป รั ช ญ า ข อ ง ช า ติ ต น เ อ ง ไ ม่ กี ่ ่ อ ค ใน เปอร เ์ ซ็ น ต จ์ ะเคยได ย้ ิ น ชือล็

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

18


ประเทศประชาธิปไตยนั กเรียนมัธยม ส่วนมากจะรูจ้ กั ล็อคแลว้ แม้จะผิวเผิน ก็ตาม)***

(๖) ล็ อ ค จ ง ใ จ จ ะ ท า ใ ห ้ prerogative เป็ นสิทธิ (และอานาจ) ธรรมชาติ อ ย่ า งโจ่ ง แจ ง้ ผู บ ้ ริ ห าร “มี อานาจอยู่ในมื อ โดยกฎธรรมดาของ กฎหมายธรรมชาติ มี สิ ท ธิ ท่ี จะใช ้ อานาจนั้ น เพื่ อความดีงามของสังคม (II 159) โดยความเป็ นมา เขามิได ้รับ สิ ท ธิ นี ้ ม า จ า ก สั ญ ญ า ป ร ะ ช า ค ม ดัง นั้ นเขาย่ อมจะได ร้ บ ั สิ ท ธิ นี้ มาจาก รัฐ ธรรมนู ญอัน เป็ นผลของสัญ ญา มิได ้ รัฐธรรมนู ญมีอานาจที่จะควบคุม อานาจทางการเมื อง (เช่นอานาจนิ ติ บัญ ญัติ อ านาจบริ ห าร และอ านาจ ก า ร ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ห รื อ federative powers cf. II 3 II 143-148 II ้ 171) โดย ที่ prerogative เกิ ด ขึ น จากกา รพิ นิ จใคร่ ค รวญในการให ้ อ า น า จ เ ห ล่ า นั้ น ดั ง นั้ น prerogative จึ ง ต ้ อ ง เ ป็ น สิ่ ง ที่ นอกเหนื อและมาก่อนรัฐธรรมนู ญคือ extra-constitutional แ ล ะ preconstitutional

้ ก ว่ า กษัต ริ ย ม์ ี อ านาจ ล็ อ คย าอี ข อ ง สั ง ค ม อ ยู่ ใ น อุ ง้ พ ร ะ หั ต ถ ์ แ ล ะ กฎหม ายธรรม ชาติ ร ับ รองการใช ้ อ านาจพิ เ ศษนั้ นเพื่ อประโยชน์ข อง สั ง ค ม เ รื่ อ ง นี ้ ต ้ อ ง พิ จ า ร ณ า ใ ห ้ รอบคอบ กษัตริย ์ทรงมีอานาจก็เพราะ พระองค ์ทรงเป็ น (ประมุข) ฝ่ ายบริหาร ตามครรลองของรัฐ ธรรมนู ญ ซึ่งพู ด อีกอย่างไดว้ ่าตามฉันทานุ มต ั ิหรือการ ยอมรับสนั บ สนุ นหรือ consent ของ ปวงชน ตามปกติกษัตริ ย ส์ ามารถใช ้ อ านาจนั้ นตามที่ กฎหมายก าหนด หากกษั ต ริ ย ใ์ ช อ้ านาจนั้ นตามพระ ร า ช อั ธ ย า ศั ย ก็ จ ะ เ ป็ น ก า ร ขัด กั บ เงื่อนไขที่พระองค ์ได ้รับมอบอานาจนั้น มาเป็ นประการแรก พระองค อ์ าจทรง ใ ช อ้ า น า จ นั้ น ต่ อไ ป ถึ ง ผู ้ท่ี อ ยู่ ใ ต ้ อ านาจอาจจะเชื่อฟั ง พระองค อ์ ยู่ แต่ ถือไดว้ ่าพระองค ์ขาดความชอบธรรม ้ ้ เปรียบเสมือน ที่จะทรงใช ้อานาจ ทังนี ทรัพย ์ที่ถูกขโมย ยิ่ งกว่านั้ นราษฎรคง จะไม่ยินยอมสถานกาณ์เช่นนั้ นอย่าง แน่ นอน เพราะนั่ นก็ คื อ อ านาจตาม อ าเภอใจ ถ า้ กษัต ริ ย ป์ ฏิ บ ัติ เ กิ น เลย กฎหมาย ก็ย่อมจะมิใช่ผลของสัญญา ป ร ะ ช า ค ม แ ต่ อ า จ จ ะ เ ป็ น อ า น า จ ธรรมชาติ ล็อคกล่าวอย่างชัดเจนว่านี่ คื อ ตัว อย่ า ง อ านาจของฝ่ ายบริ ห าร (ตัวกษัตริย ์บวกรัฐบาลของกษัตริย ์) ที่

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

19


จะใช ้อานาจ ก็ ขนกั ึ ้ บ ความสามรถที่ พระองค ์จะนามันมาใช ้ ดว้ ยอานาจที่ พระองค ม์ ี อันได แ้ ก่ ค วามสามารถที่ อาจจะอ า้ งประเพณี ในขณะที่ สิ ท ธิ จริงๆนั้นไม่มี

อะไร เรื่ องนี ้ ล็ อ คก็ ไ ม่ พู ด ว่ า อย่ า งนี ้ ทาไมทุกคนที่มี อานาจอยู่ใ นมื อจึ งไม่ ใช ้มันให เ้ ป็ นประโยชน์ต่อ ประชาชน ้ ่กฎหมายจะกาหนดไว เ้ ป็ นอย่า ง ทังๆที อื่น เรื่องนี ้ ล็อคก็เงียบอีก

อ ย่ า งไ ร ก็ ต า ม ข ้ า ง ต ้ น นี ้ กล า ย เ ป็ น ปั ญ ห า ห นั ก ใ น แ ง่ ห นึ่ ง ที่ มาของสิ ท ธิ ห รื อ อ านาจของฝ่ าย บริหารแสดงว่าผูบ้ ริหารทุกคนควรจะ มี สิทธิน้ั นอยู่โดยปริยาย และทุกคนที่ มีอานาจย่อมมีสิทธิใช ้ prerogative แ ต่ มั นไ ม่ เ ป็ น ดั่ ง นั้ น ก ฎ ห ม า ย ธรรมชาติมิ ไดใ้ หอ้ านาจแก่แต่ล ะคน สักแต่ว่ามีตาแหน่ งสูง แต่ในอีกแง่หนึ่ ง ล็ อ คก็ ไ ม่ เ คยพู ด ว่ า ผู บ ้ ริ ห ารทุ ก ๆคน มีแต่กษัตริย ์หรือเจ ้าผูป้ กครองเท่านั้ น ที่มี สิทธิจะมี อานาจนี ้ : ล็ อคไดล้ ็ อกไว ้ เสมอว่ า ใครจึ ง จะใช ้อ านาจนี ้ ได ้ เรา อ า จ จ ะ พู ด ว่ า ซี อี โ อ ห รื อ ป ร ะ ธ า น ผูบ้ ริหารมี อานาจในมื อมากกว่าผู อ้ ่ื น ฉะนั้ นอาจจะดี ก ว่ า ที่ ให เ้ ขาเป็ นผู ใ้ ช ้ อานาจของทุก คน แต่ล็ อคไม่ เคยพู ด ้ อย่างนี ้ เราอาจจะขยับขึนไปอี กหน่ อย ว่า : prerogative มีลก ั ษณะคลา้ ย กับ อ านาจศาลหรื อ อ านาจป้ องกัน ตนเองของบุ ค คล ทั้งสองอย่ า งไม่ มี อะไรมากไปกว่า บุ คคลใช ้อานาจของ กฎ หมา ยธรรม ชาติ เขา ต่ า งก็ ใช ้ ดุล พิ นิ จส่ ว นตัว ว่ า กฎหมายต อ้ งการ

ห รื อ ว่ า ล็ อ ค พู ด ว่ า อ ย่ า งไ ร ขอให ด ้ ู ต ัว อย่ า งเรื่ องการอภั ยโทษ เรื่องนี ้ การใช ้ prerogative เป็ นเรื่อง จาเป็ นเพื่ อปลดโทษใหผ ้ ูท ้ ่ี การกระทา ผิ ด กฎหมายของเขาสมควรได ร้ ับ รางวัล (เพราะเกิ ด ผลดี ต่อ ส่ ว นรวม) แ ต่ อ า ช ญ า ก ร ค ว ร มี สิ ท ธิ ฝ่ า ฝื น กฎหมายที่ บัญ ญัติ ไว อ้ ย่ า งชัด แจ ง้ ได ้ หรื อ ดู เ หมื อนเราและล็ อคจะไม่ มี ทางเลื อ กนอกจากจะสรุ ป ว่ า นั่ นคื อ สิ ท ธิ ธ รรมชาติ เช่น เดี ย วกฎหมาย ธ ร ร ม ช า ติ ที่ รั บ ร อ ง prerogative กฎหมายธรรมดาหรือกฎหมายสาระ บัญ ญัติไม่ สามารถใหส้ ิ ทธิ (ใคร) มา ฝ่ าฝื นล ม ้ ล า้ งกฎหมายสาระบัญ ญัติ ด ว้ ยกัน จนกระทั่งกลายเป็ นไม่ ผิ ด กฎหมาย ถ า้ อย่ า งนั้ น อะไรล่ ะ ที่ ต่ า งกัน เรา ก็ ต อ ้ งก ลั บไปหา ส ม มุ ติ ฐ า นใ น ตัว อย่ า งเรื่ องอภัยโทษอี ก อาชญากร อาจได ร้ ับ การอภัยโทษ ถ า้ หากเขา ต ้องคาพิพากษาในศาล การอภัยโทษ ทาไดเ้ ฉพาะกับ ผู ก ้ ระทาผิ ดหรือศาล

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

20


เห็ น ว่ า กระทาผิ ดแล ว้ เท่า นั้ น ส าหรับ ผู บ ้ ริ หารกระทาผิ ด ใครจะเป็ นผู อ้ ภัย โทษให ้ หรื อใครจะเป็ นผู ต ้ ัด สิ น ถ า้ หา กว่ า prerogative เป็ น extraconstitutional อยู่ น อกหรื อ เหนื อ รัฐธรรมนู ญแลว้ ไม่มีใครในโลกนี ้ที่จะ ตัด สิ นได ้ อย่ า งไรก็ ตาม ในสั ง คม ก า ร เ มื อ ง ทุ ก ๆ ค น ที่ ใ ช อ ้ านาจ ธรรมชาติ จ ะต อ้ งมี ผู พ ้ ิ พ ากษา อัน ได แ้ ก่ ร ัฐ บาลนั่ นเอง ถึ ง ตอนนี ้ เราก็ อนุ มานได ้แล ้วว่า ทาไมจึงมีแต่กษัตริย ์ ผู ป ้ กครองเท่ า นั้ นที่ สามารถใช พ ้ ระ ราชอ านา จพิ เศษ ซึ่ งมิ ใช่ อ านา จ ธรรมชาติธรรมดาๆ หากเป็ นอานาจ ธรรมชาติพิเศษที่ไม่มีผูอ้ ่ืนในโลกนี ้จะ ตัดสินได ้ มีผูเ้ สนอใหฝ ้ ่ ายนิ ติบญ ั ญัติเป็ น ผู ้ ค ว บ คุ ม ตั ด สิ น อ า น า จ prerogative (เพราะยังไงนิ ติบญ ั ญัติ ก็ เ ป็ นอ านาจสู ง สุ ดในแผ่ น ดิ น ) แต่ ความคิ ด แบบนี ้ ประสบค าถามและ ปั ญหาใหญ่หลวงมากมายที่แกไ้ ม่ ตก เฉพาะที่ เป็ นหลัก ๆ ในต น ้ ฉบับ ของ ล็ อ คที่ วิ จ ารณ์ว่ า ฝ่ ายบริ ห ารอาจจะ ด า เ นิ น ก า รไ ป โ ด ยไ ม่ มี ก ฎ ห ม า ย บัญ ญัติ “จนกระทั่งสะดวกที่ จะเรี ย ก ประชุม สภามาปฏิ บ ัติ ห น้ า ที่ ได ”้ (II ้ ง ขา หาก 159) เรื่ องนี ้ อาจจะไม่ สิ นกั ปรากฏว่ า นี่ เป็ นเพี ย งกรณี (การ

ป ก ค ร อ ง ท ้อ ง ถิ่ น ) ที่ “ ก ฎ ห ม า ย เกี่ ยวกับ เทศบาลไม่ มี ท างออกหรื อ ทิ ศ ท า ง อ ะ ไ รใ ห ้ ไ ว ้ เ ล ย ) แ ล ะ ไ ม่ ค ร อ บ ค ลุ ม ถึ ง ก ร ณี ที่ ฝ่ า ย บ ริ ห า ร ปฏิ บ ต ั ิการตรงกัน ข ้ามกับ ที่กฎหมาย บัญ ญัติ ไ ว ้ อย่ า งไรก็ ต าม พิ จ ารณา จากข อ้ ความที่ ล็ อ คเขี ย นไว ้ การให ้ สัต ยาบันโดยฝ่ ายนิ ติ บ ัญ ญัติ อ ย่ า ง มากที่จะกระทาไดก้ ็ คือผ่านกฎหมาย ออกมาใหม่ เ พื่ อแก ไ้ ขข อ้ บกพร่ อ ง ต่ า งๆ ของกฎหมายเทศบาลเท่ า นั้ น ถา้ หากจะเป็ นเพี ยงการรับสภาพหรือ ยื น ยั น prerogative ห รื อ อ า น า จ พิ เ ศ ษ เ ฉพ า ะ เ รื่ อง แ บ บ นี ้ ฝ่ า ย นิ ติ บั ญ ญั ติ ก็ ค งไ ม่ พ้ น ผิ ด ฐ า น อ อ ก ก ฎ ห ม า ย เ ฉ พ า ะ กิ จ แ ท น ที่ จ ะ เ ป็ น กฎหมายทั่ วไป (cf II 136 II 142) อานาจนอกหรือเหนื อกฎหมายของผู ้ ครองแผ่นดินไม่สามารถจะออกใหเ้ ข ้า กับกฎหมายรัฐบาลตามกฎหมายโดย การใช อ้ านาจนิ ติ บ ั ญ ญั ติ ผิ ดๆ ได ้ ยิ่ ง ก ว่ า นั้ น ห ลั ง จ า ก ก า ร อ ธิ บ า ย ดังกล่า ว ล็ อคยังเปิ ดประเด็ นว่า “ยังมี อีกหลายสิ่ งหลายอย่าง ที่กฎหมายไม่ มี ท างออกมาให ค ้ รอบคลุ มได ”้ (II 159) สิ่ งเหล่ า นั้ นจ าเป็ นจะต อ้ งอยู่ ภายในขอบเขตของ prerogative และฝ่ ายนิ ติ บ ัญ ญั ติ ไ ม่ ส ามารถให ้ สัตยาบันในภายหลังได ้ สิ่งเหล่านี ้ไม่ มี

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

21


ทางเยี ย วยาโดยฝ่ ายนื ติ บ ญ ั ญัติ ทุ ก ค รั้ ง ที่ ล็ อ ค ก ล่ า ว ถึ ง สั ต ย า บั น ข อ ง prerogative หรืออานาจพิ เศษ เขา จะพู ด ถึ ง ประชาชนที่ จะเป็ นผู ต ้ ด ั สิ น หาใช่ ผู แ้ ทนราษฎรไม่ (cf II 164165) ฝ่ ายนิ ติ บ ัญ ญัติ ไ ม่ เ คยมี สิ ท ธิ ห รื อ อ า น า จ ดั้ ง เ ดิ ม ที่ จ ะ ตั ด สิ น prerogative หรื อ ฝ่ ายนิ ติ บ ั ญ ญั ติ อาจจะท าได ภ ้ ายใต เ้ งื่ อนไขที่ ฝ่ าย บริหารเป็ นเพี ย งลูก (creature) ของ สภาผู แ้ ทน ในขณะที่ กษั ต ริ ย ไ์ ม่ มี อานาจนิ ติบญ ั ญัติ? ล็อคกล่าวด ้วยว่า ใ นโ ล ก นี ้ ไ ม่ มี ผู ้พิ พ า ก ษ า ค นไ ห น สามารถท าให ฝ ้ ่ ายนิ ติ บ ัญ ญัติ ส่ งให ั ้ ฝ่ ายบริ ห ารประชุมได ้ (II 168) แต่ น่ี เป็ นกรณี ของประเทศที่ จัด ระเบี ย บดี แ ล ้ ว เ ท่ า นั้ น (well-ordered commonwealth) (II 156) ด ้ ว ย เหตุนี้ บางคนอาจจะคิดว่าในประเทศ ที่ จัด ระเบี ย บเลว (poorly ordered commonwealth) ฝ่ ายนิ ติ บ ัญ ญัติ อ า จ จ ะ ตั ด สิ น prerogative ไ ด ้ อ านาจอย่ า งเดี ย วที่ ล็ อ คให ฝ ้ ่ ายนิ ติ บัญญัติเหนื อฝ่ ายบริหารก็ คืออานาจ ลงโทษและไล่รฐั บาลออกเพราะบริหาร ผิ ดพลา ด (II 152-153) อย่ า งไรก็ ตาม รัฐ ธรรมนู ญสหรัฐ อเมริ ก า (ซึ่ง เกิด 100 ปี หลังจากที่ล็ อคเขียนเรื่อง

นี ้) มิได ้เขียนไว ้ใหอ้ เมริกาเป็ นประเทศ ที่ จัด ระเบี ย บเลว ประธานาธิ บ ดี จึ ง มี อ านาจนิ ติ บ ญ ั ญัติ พิ เ ศษคื อ การวี โ ต ้ กฎหมายที่ผ่านโดยสภา*******

(๗) ตอนจบ อย่างไรก็ตาม ถ ้าหากจะใหฝ ้ ่ าย นิ ติ บั ญ ญั ติ เ ป็ น ผู ้ ค ว บ คุ ม ตั ด สิ น prerogative ปั ญ ห า ย า ก ที่ สุ ด ที่ จะตอ้ งแกใ้ หต้ ก คื อตัว อย่า งที่ 2 ของ ล็ อ ค ได แ้ ก่ ต ัว อย่ า งก่ อ นที่ ล็ อคท า เหมือนกับจะสนั บสนุ นในตอนแรกโดย ถามว่ า ถ า้ หากฝ่ ายบริ หารจะกระท า ผิ ดโดยเรี ย กประชุม ฝ่ ายนิ ติ บ ัญ ญัติ เพื่ อลม้ ลา้ งการปกครองทอ้ งถิ่ นที่ เน่ า ้ เหม็ นเสื่อมโทรม และจัดตังองค ์กรใหม่ ที่ เที่ ยงธรรมและมี ต วั แทนได ส้ ด ั ส่ ว น จะต ้องถามเสียก่อนว่าสภาไหนที่จะให ้ สัตยาบันการตัดสินใจ สภาเก่าที่โคตร โกง สารเลวจกเปรต หรืออีกสภาหนึ่ ง ที่หาใช่ตวั แทนที่ประชาชนเลือกมาไม่ คงจะไม่ ท ้งสองอั ั น ส่ ว นอี ก อัน ที่ เขา ้ ตั้งขึ นเองเล่ า เราหวัง ว่ า ล็ อคคงไม่ ปล่อยใหใ้ หข ้ นกั ึ ้ บผูพ ้ ิพากษาว่าตนจะ ่ งได ้ สามารถบังคับใหป้ ระชาชนเชือฟั ้ หรือไม่ แน่ นอนที่สุด ผูต้ ด ั สิ นที่ตังโดย

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

22


้ บ สภานิ ติบญ ั ญัติ อยู่ภายใตแ้ ละขึนกั ้ ง ก็คงจะปั ด ฝ่ ายนิ ติบญ ั ญัติโดยสินเชิ ่ า้ ยนี ้ ไม่ ไ ด ้ และกลับ จะ เป่ าความชัวร ทาให ้ปัญหาหนักยิ่งขึน้ ้ ่ อมี Prerogative นั้ นเกิดขึนเมื ความจาเป็ น และตัดสินโดยประโยชน์ ์ ของประชาชน เพื่ อสัมฤทธิประโยชน์ ดั ง ก ล่ า ว มั น อ า จ จ ะ ขัด ก ฎ ห ม า ย ้ รวมทังกฎหมายรั ฐ ธรรมนู ญ และถ า้ หากกฎหมายรัฐ ธรรมนู ญ เท่า นั้ นคื อ อุ ป สรรคที่ ขัด ขวางมิ ใ ห ฝ ้ ่ ายบริ ห าร ก ร ะ ท า สิ่ ง ที่ จ า เ ป็ น ยิ่ ง นั้ นไ ด ้ เ จ ้า ผู ป ้ กครองจะขัด ขืน บทบัญ ญัติ ข อง รัฐ ธรรมนู ญเพื่ อปกป้ องส่ ว นรวมได ้ หรือมิใช่ หรือจะใช ้สิทธิอน ั ถูกตอ้ งยึด อานาจเสียเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม เมื่อถึงคราวจาเป็ น ล็ อ ค ย กใ ห ้ป ร ะ ช า ช น เ ป็ น ผู ้ เหมาะสมที่ จะตัด สิ น prerogative ถ า้ หากฝ่ ายนิ ติ บ ัญ ญัติ ท านอ านาจ พิเศษไม่ได ้ และฝ่ ายหลังเป็ นอิสระจาก ค าสั่งของฝ่ ายแรก ก็ มี แ ต่ ป ระชาชน เท่ า นั้ นที่ จะปลดเจ า้ ผู ป ้ กครองได ้ (II 168) ใ น ค ว า ม พ ย า ย า ม ที่ จ ะ ท า เช่นนั้ น ประชาชนจะปลดผูพ ้ ิพากษา ทุกคนหมด หรือถือว่าทุกคนถูกปลด แลว้ โดยการกระทานอกกฎหมายของ เจ ้าผูป้ กครอง (II 13 II 137) รัฐบาล

ทั้งในฐานะอ านาจนิ ติ บ ัญ ญัติ สู ง สุ ด แ ล ะ ใ น ฐ า น ะ อ า น า จ พิ เ ศ ษ เ ห นื อ ้ นมาเพื ้ ่ อประโยชน์ กฎหมายลว้ นตังขึ ของประชาชน ดังนั้นประชาชนจึงเป็ น ผู ้ ต ั ด สิ น ที่ ดี ที่ สุ ด ว่ า ทั้ ง คู่ รั บใ ช ้ ผลประโยชน์ของประชาชนหรือไม่ (II 240) ประชาชนคื อ ผู ม ้ ี อ านาจสู ง สุ ด เพียงแต่ไม่สามารถใช ้อานาจนั้นไดเ้ อง ในเมื่อยังมีรฐั บาลอยู่ (II 149 II 243) ประชาชนก็ คื อ extraconstitutional authority หรือผู ม้ ี อานาจพิ เศษนอก แ ล ะ เ ห นื อ รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ ด ้ ว ย เช่นเดียวกัน (กับกษัตริย ์) ประชาชน มี ค วามสัม พัน ธ ก์ ับ อ านาจทางการ เมืองในฐานะผูใ้ หม้ ิใช่ผูร้ บ ั การตัดสิน ้ ของประชาชนจะตอ้ งเกิดขึนภายนอก ประชาคม เช่น การปฏิ ว ัติ เ ป็ นต น ้ ก า รใ ห ้ ป ร ะ ช า ช น เ ป็ น ผู ้ ต ั ด สิ น prerogative นั้ น ล็ อ ค เ ห็ น ว่ า ประชาชนเป็ นพลัง ต า้ นธรรมชาติ อย่างเดียวที่จะควบคุม prerogative ไ ด ้ แ ต่ ป ร ะ ช า ช น อ า จ ย อ ม รั บ prerogative ด ้วยการไม่ต่อต ้านก็ได ้ บทว่าด ้วย prerogative ของล็อคจบ ้ ลงด ้วยการอธิษฐานต่อสวรรค ์เบืองบน อัน เป็ นสัมโมทยวจี ท่ี ล็ อคใช ้แทนการ ตัดสิ นโดยการเข ้าปะทะดว้ ยกาลัง (II 168 II 21)

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

23


บทสรุป พ ร ะ ร า ช อ า น า จ ที่ เ รี ย ก ว่ า prerogative นี ้ เ ป็ น เ รื่ อ ง น อ ก แ ล ะ เ ห นื อ รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ (extraconstitutional) แต่ ม ั น มิ ไ ด ้ ท า ใ ห ้ร ั ฐ ธ ร ร ม นู ญไ ร ้ค ว า ม ห ม า ย prerogative เป็ นเรื่องนอกและเหนื อ กฎหมาย (extralegal) แต่ ม ัน มิ ไ ด ้ ท าให ก ้ ฎหมายไร ค ้ วามหมาย ข อ้ สาคัญ prerogative คือสิทธิท่ีจะฝ่ า ฝื นกฎหมายและรัฐ ธรรมนู ญเมื่ อถึ ง ค ร า ว จ า เ ป็ น มิ ใ ช่ เ มื่ อ ค ว า ม ทะเยอทะยานของบุคคลฉวยโอกาสทา ตามความสะดวก ในทัศ นะของล็ อ ค การจ ากัด prerogative ด ว้ ยหลัก ลัทธิธรรมนู ญคือการลดความสาคัญ ของปั ญ หาที่จะตอ้ งรีบแกไ้ ข และการ มั ว แ ต่ ก ลั ว ค ว า มไ ร ้ก ฎ ห ม า ย ข อ ง prerogative คื อ ก า ร ตี ร า ค า ศักยภาพของรัฐธรรมนู ญสูงเกินไป เ จ ม ส ์ เ ม ดิ สั น : James Madison (อี ก ร อ้ ยปี ต่ อ มา) ปกป้ อง ข ้อเสนอเรื่อง check and balance หรื อ การตรวจสอบและถ่ ว งดุ ล ซึ่งกัน แ ล ะ กั น ข อ ง อ า น า จ อ ธิ ป ไ ต ยใ น รัฐ ธรรมนู ญอเมริ ก ัน สรุ ป ว่ า การ ป้ องกัน ทรราชย ท์ ่ี ได ผ ้ ลอย่ า งส าคัญ ก็คือ การที่ประชาชนลุกฮือต่อต ้านผู ้

ทาลายหลัก รัฐ ธรรมนู ญ เมดิส น ั อ า้ ง ว่าประชาชนมีสิทธิ (ตามรัฐธรรมนู ญ) ้ ที่จะถืออาวุธและจัดตังกองก าลัง จึงทา ใ ห ้ สิ ้ น ส ง สั ย ว่ า ก า ร ต่ อ ต ้ า น จ า ก ประชาชนนั้นจะเป็ นอย่างไร เมดิสน ั กล่าวว่าการดาเนิ นตาม รัฐธรรมนู ญตามปกติ ผูด้ ารงตาแหน่ ง ไม่สามารถใช ้อานาจเกินกว่าที่มอบให ้ ที่ ร ะ บุ ไ ว ้ อ ย่ า ง ชั ด แ จ ้ ง ก ร ณี นี ้ ้ ่มี สญ รัฐธรรมนู ญจึงเหมื อนรัวที ั ญาณ กันขโมย หากใครล่วงละเมิดบุกรุกเข ้า ม า จ ะ ถู ก ร ะ ด ม ต่ อ ต ้า น ก า ร เ พิ่ ม prerogative มากกว่านี ้หมายความ ว่ า ผู ฝ ้ ่ าฝื นจะเผชิญ กับ ความขัน แข็ง ไม่ หยุ ดหย่ อนของประชาชน ถา้ หาก ประช า ชนข า ดวิ จ า รณญ า ณทา ง ่ การเมื อง ซึงอาจจะเป็ นได ้ ก็ ไม่มีสูตร อะไรง่ า ยๆที่ ประชาชน (มิ ใ ช่ผู แ้ ทน หรือผูช ้ ว่ ย) จะตัดสินความชอบธรรม ของการกระทาเช่นนั้นหรือการกระทา ตามที่ รัฐ ธรรมนู ญก าหนดไว ้ การที่ ล็ อ คอ า้ งอ านาจของ prerogative นั้นทาใหส้ รุปได ้ว่า หากมีการกาหนด ตายตัว ว่ า ใครมี อ านาจอะไรที่ ชอบ ธรรมตามกฎหมายบา้ ง เมื่อประชาชน ขาดวิ จ ารณญาณ สิ ทธิแ ละเสรีภ าพ ของประชาชนจะไม่ ป ลอดภัย ทฤษฎี prerogative ข อ ง ล็ อ ค จึ ง อ ยู่ น อ ก รัฐธรรมนู ญ เพราะเหตุผลที่ชัดเจนว่า

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

24


แ ม ้ ร ั ฐ ธ ร ร ม นู ญ จ ะ ดี แ ค่ ไ ห น ก็ ไ ม่ เพี ย งพอส าหรับ การปกครองอย่ า ง เสรี****

หมายเหตุ​ุ Ross J. Corbett เขียนบทความนี ้เมื่อปี 2006 เป็ นส่วน หนึ่ งที่ ดัด แปลงมาจากวิ ท ยานิ พนธ ์ ปริญญาเอกของเขาจากมหาวิทยาลัย โตรอนโต ขณะนี ้ Ross เป็ นผู ช ้ ่ว ย ศาสตราจารยอ ์ ยู่ ที่ ม ห า วิ ท ย า ลั ย Northern Illinois ผูเ้ รียบเรียงเห็ น ว่าเป็ นบทความที่น่ าสนใจ สามารถย่อ ้ ให ผ ้ ูท ้ ่ี ไม่ มี เ วลาอ่ า นต น ้ ฉบับ ทังหมด ข อ ง Locke เ รื่ อ ง The Two Treatises of Government (เขียน ในปี 1688-90) พอเกิดความเข ้าใจ ได ้ สิ่ งที่น่ า ฉงนก็ คือคาถามเมื่ อ 300 ก ว่ า ปี ม า แ ล ้วใ น อั ง ก ฤ ษ ท า ไ ม จึ ง เหมือนปัญหาการเมืองไทยในปัจจุบน ั

พระราชอานาจพิเศษของกษัตริยน์ อกและเหนือรัฐธรรมนูญในทัศนะของ จอห์น ล็อค

25


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.