OHM Magazine #56

Page 1


Editor Note

สิ ง หาคม เดื อ นแห่ ง วั น แม่ ผ่ า นไปไวมากในความรู้ สึ ก ของคนทำงาน เผลอแป๊บเดียว จวนเจียนจะสิ้นปี (อีกแล้ว) ทั่วโลกเจอปัญหาเดียวกัน คือการหดตัวของภาวะเศรษฐกิจ ซึ่งส่งผลกับ ผู้คนมากมาย ประหนึ่งว่าโลกกำลังจะจัดระเบียบตัวเอง จากโลกทุนนิยม บริโภคนิยมสุดโต่ง ไปสู่ความเป็นสามัญ เมืองไทย น่าแปลก ว่า หลายบทความเขียนถึงทั้งไทย ทั้งเทศ ด้วยความ ฉงน บนความไม่เข้าใจธรรมชาติของ “คนไทย” อะไรก็ดูว่ามีพร้อม ทรัพย์ใน ดิน สินในน้ำ ทำเลที่ตั้งก็ดีไม่มีภัยธรรมชาติมารบกวนมากนัก การท่องเที่ยวก็ เหมาะ มีครบ ทะเล น้ำตก ภูเขา สิ่งเดียวที่เป็นตัวถ่วงคือ “การเมือง” ไหนเลย “นักการเมือง” จะรู้ไหมนะว่า พวกเขาเป็นสิ่งนั้น หรือคิดว่า ธุระไม่ใช่?? “หล่มการเมือง” น่าเสียดายโอกาสเชิงการแข่งขันที่ลอยหายไปในอากาศ ธาตุ “การเมือง” ก็ยังคงเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต แต่เป็นประเด็นหลักของการ ปกครองระบบธรรมนู ญ ที่ ทุ ก ชาติ ถ วิ ล หา และบอกว่ า เป็ นการปกครองที่ สิ ริ พ ร สงบธรรม ยุติธรรมในยุคนี้ บรรณาธิ ก ารบริ ห ารนิ ต ยสาร OHM ตัวแทนของประชาชนถูกเรียกว่าเป็น “ผู้แทนราษฎร์” เข้าไปดูแลบริหาร Siriporn Sa-ngobtam Editor-in-chief OHM Magazine ประเทศในตำแหน่ ง งานของกระทรวงต่ า งๆ จึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ย อมรั บ กั น ได้ แต่ ประชาชนไม่ควรหมดหน้าที่เพียงหย่อนบัตรเลือกตั้ง ควรหมั่นตรวจสอบการ ทำงานของตัวแทนของตัวเองด้วยจึงจะครบวงจร ของระบอบประชาธิปไตย ที่ยึดมั่นหลักการความเข้มแข็งของภาคประชาชน โครงการสาธารณูปโภคทุกประเภทเป็นหน้าที่ของรัฐบาลที่จะจัดสรรให้ กับประชาชน เพราะต้องใช้เงินลงทุนมหาศาล เป็นโดยหน้าที่และป้องกัน การผู ก ขาดจากภาคเอกชนซึ่ ง จะส่ ง ผลถึ ง ราคาที่ อ าจสร้ า งภาระความ เดือดร้อนของประชาชนได้ เมื่อกระทรวงคมนาคม มีโครงการรถเมล์ เช่า NGV 4,000 คัน ทำให้ ทีมงาน ต้องรีบตามไปดู ในแง่ของการที่จะสร้างความคึกคักให้กับวงการ โฆษณาในรถเมล์ สื่อนอกบ้าน ที่วิ่งรับส่งผู้โดยสารเฉพาะในเขต กทม. และ ปริมณฑล ว่าจะเกิดอารมณ์ใดของผู้ที่เกี่ยวข้อง ทั้งมุมของเจ้าของสินค้า เอเยนซีโฆษณา นักการตลาด ผู้รับบริหารสื่อรถเมล์ ผู้ผลิตวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ล้วนน่าสนใจ ใน Cover Story ประจำฉบับนี้ ติดตามกันได้ค่ะ ดิ ฉั น สั ง เกตว่ า แนวเขี ย น ของหนั ง สื อ หลายเล่ ม หลายปก ของโลก หนั ง สื อ ทั่ ว ไทยและทั่ ว โลก มั ก จะเป็ น แนวคิ ด การมองอนาคต มองบวก มองความหวั ง มองหาสิ่ ง ที่ จ ะให้ ท ำกำลั ง ใจกั น รวมถึ ง Contributors ทุกท่านของนิตยสาร OHM ฉบับนี้เช่นกัน ท่านพลิกไปอ่านได้เลยค่ะ อยากบอกรั ก ใครสั ก คน เหมื อ นที่ เราเห็ นคนที่ ช อบเขี ย นความในใจ บนผนัง หลายแห่งว่า “รักคนอ่าน” ดิฉันคงจะฝืนใจจัง แต่บอกได้ว่าพวกเรา ซื่อสัตย์ต่อวิชาชีพ และทำในสิ่งที่ดีที่สุดให้ผู้อ่านจะคล่องใจกว่า พบกันฉบับหน้า เหมือนที่เคย เคย ค่ะ….

“ชวนนั่ ง รถเมล์ ” “Let’s take the bus”

August just passed by, time flies very quickly for business people and the end of the year is coming within the blink of an eye. Countries around the world are now facing the same problem which is the economic melt-down, affecting many people as if the world is now reforming itself from the extreme capitalism. When the Ministry of Transport in Thailand, came up with the 4,000 NGV bus project, OHM team would definitely not miss the chance to observe the liveliness in the Out of Home Media business by interviewing people involved. Find out more on “Cover Story” in this OHM September issue. There may be some of the increase in demand for advertisement and the event marketing, you can read more in “ Bus Media” Based on my observations, the writing method of books and magazines from all over the world, most of them were written positively and inspiringly. Even though expressing my love openly, let’s us prefer to do it ours own by promising the great honest work and useful articles as pleasure. See you next issue…


C o n t e n t s September 2009 Vol.6 No.56

4 10 11 12 13

Editor Note Ncc Calendar Event 2009 Impact Calendar Event 2009 Bitec Calendar Event 2009 International Calendar Event 2009

14 ถนนคนทำป้าย

15 16

Speaking Sign : “สูง...ส่งได้” What’s in : “หวี กับ ผม” Special Report 18 “อควา คือ น้ำ” 19 “กระตุ้นกำลังซื้อด้วยฤทธิ์ของ สื่อนอกบ้าน” 21 “Show it off” 22 “สวัสดีมาเลเซีย Selamat Datang, Malaysia”

26

COVER STORY

13 14 24

ASPA Home Town “โครงสร้าง iSIGN”

ASA Round Up “เครือข่ายที่มาเลเซีย” Around the World OHM “FIAT 500cc – Happy to Meet You”

25 47 52 53 54

OHM Show Case : Turn Customer to Shopper “BIG IDEA”

คลีนิกหมอตี๋ กับตี๋แม็ทชิ่ง “กระเป๋า...พูดได้”

Agency View “ชี้ตรงจุด...ให้ ตรงใจ”

Media Value “โฆษณาแฝง…ประเด็นสุดฮอต!”

CSR In Action “คุณธรรม”


September 2009 Vol.6 No.56

C o n t e n t s

46 ตารางการใช้สื่อ 48 CEO VISION “คนซื้อบ้าน ต้องการสังคมดีๆ” คุณกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา CEO บริษัท สัมมากร จำกัด (มหาชน) 55 CSR In Action : “ลดก๊าซ ลดอุณหภูมิโลก” Sign People Sign Company 57 บริษัท เน็กซ์เทค สกรีน ซัพพลาย จำกัด 59 บริษัท มาร์เก็ตติ้งค์ แอ็ดเวอร์ไทซิ่ง อินเทอริเจ็น เทคโนโลยี่ จำกัด 66 OHM Entertainment : “ฝนฟ้าส่งมา” 67 OHM Outing : “ขาหมูทหารบก” 68 Coffee cookie and cake : “ลาเต้เย็น” 72 life without sign : เมื่อชีวิตไร้ป้าย 73 Gossip จิบน้ำชาใต้ต้นพิกุล 74 Society 75 Members Corner

56 61

World in your hand “ในฐานะเถ้าแก่...คุณจะพัฒนาตนเองอย่างไร” Y-ME “มิตรภาพ ปีที่ 20”

62

THE FUTURE OF ROTARY IS IN YOUR HAND “รำวงมาตรฐาน” When you care your share “ทูตดวงตา สภากาชาดไทย”

63 65 69

Retro “ไกลออกไป...ในจักรวาล” Travelling “ล่องเรือเที่ยวคลองบางกอกน้อย” (ตอนจบ)

71

Travelling in cyber “ปิดฉากกระดาษ เปิดฉาก e – book”

OUT OF HOME MAGAZINE : Publisher MGA MEDIA Co.,Ltd. 60/18 Vibhavadi-Rangsit Rd., Jomphol, Chatuchak, Bangkok 10900 Tel: 662 275 7579 Fax: 662 690 0130 www.ohmmag.com Email: info@mgamedia.co.th Advisor Education Department: Assoc. Prof. Dr. Kanjana Kaewthep, Assoc.Prof.Nares Kesaprakorn, Benjawan Vitayathanagorn, Advisor Advertisement Department: Vinai Silapasiliporn, Marut Arthakaivalvatee, Raveevan Chaengchenkit Editor-in-Chief: Siriporn Sa-ngobtam Editorial: Nittaya Kaewmueang, Usa Sumetlux, Pitinant Cherdchoongarm, Jaenjira Raksakhen, Vibhavaris Ratanasaka Art Director: Aumarangsri Charoenchai Graphic Designer: Chadtap Tammeungpag Accounting – Finance: Akanet Pratan Account Executive: Warunee Rodson Photographer: Tanapat Photipakdee Honorary Photographer: Sombat Jitratanawat Contributors: Yuvaphol Pornprathanwech, Worawoot Ounjai, Suphanee Dechaburananon, Assoc.Prof.Aruneeprabha Homsettee, Somchai Cheewasutthanon, Rachen Chumsai Na Ayudhya, Somchai Sittichaisrichart, Paichit Thienthong, Suthichai Eamcharoenying, Pirach Thampipit, Chatre Asavabenya The English text is Translated by Dr.Arunthadee Trungamphai, Roderick Waller Executive Editor: Siriporn Sa-ngobtam Color Separation KNAOKSILP(THAILAND) CO.,LTD. 3 Soi Kasemsan 2 Rama 1 Rd. Wangmai Pathumwan Bangkok 10330 Tel. 662 215 1588 Fax: 662 214 2140 Printing: Spn printing 158/1 Moo 13 Soi Ladprao 80, Ladprao Road, Wangthonglang, Bangkok, Thailand 10310 Tel: 662 539 0704 Fax: 662 530 1515 Distribution: Nanasarn 123-124 Pinnakorn 4 Pinklaonakornchaisri Talingchan Bankok, Thailand 10170 Tel: 662 433 6855 Fax: 662 880 7345


Date วันที่ 9 – 11 September 2009

Event Name ชื่องาน Food Ingredients Asia 2009

Brief Profile รายละเอียด งานแสดงสินค้าด้านอาหารและส่วนผสมอาหารในแถบ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

Organizer ผู้จัดงาน CMP Media (Thailand) Co., Ltd. Tel : +662 642 6911-8 ext 512, 817 www.cmpthailand.com

12 – 20 September 2009

Modern Furniture Fair

งานแสดงเฟอร์นิเจอร์ครั้งยิ่งใหญ่

Union Pan Exhibition Co.,Ltd. Tel : +662 719 0408 www.qsncc.com

12 September, 2009 Singing Super Lea Salonga

คอนเสิร์ตเต็มรูปแบบของนักร้องชื่อดัง เจ้าของรางวัล ระดับโลก ลีอา ซาลองกา

Bangkok Symphony Orchestra Tel : +662 255 6617-8 www.bangkoksymphony.org

16 – 18 September 2009

Medical Fair Thailand 2009

งานแสดงสินค้าทางด้านการแพทย์ และเทคโนโลยีทางด้าน สุขภาพ

BLI (Thailand) Co., Ltd. Tel : +662 204 2580-5 www.hospimedica-thailand.com

22 – 25 September 2009

Agricultural Biotechnology งานประชุมวิชาการนานาชาติด้านเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร International Conference (ABIC 2009)

1 – 4 October 2009

Thailand Mobile Expo 2009 Showcase งานแสดงนวัตกรรม เทคโนโลยี ซอฟแวร์ และอุปกรณ์ที่ เกี่ยวข้องกับโทรศัพท์มือถือ

National Center for Genetic Engineering and Biotechnology (BIOTEC) Tel : +662 564 6700 ext.3380 www.abic.ca/abic2009/home/ About.php M Vision Co.,Ltd. Tel : +662 734 7707-9 www.thailandmobileexpo.com/

1 - 4 October 2009

21st Housing & Condo Festival

งานแสดงอสังหาริมทรัพย์และสิ้นค้าที่เกี่ยวข้องกับ อสังหาริมทรัพย์

Thai Real Estate Association Tel : +662 229 3188-90 www.housecondoshow.com

1 - 4 October 2009

International Brands Sale

งานจำหน่ายเสื้อผ้าและสินค้าแฟชั่นที่นำมาลดราคากว่า 80 เปอร์เซ็นต์ จาก 60 แบรนด์ดัง

Central Trading Co.,Ltd Tel : +662 229 7159

3 October 2009

The 14th Annual Canadian Education Fair

นิทรรศการการศึกษาต่อประเทศแคนาดา

9 - 11 October 2009

Thailand International Education Exhibition 2009 (TIEE) 14th Book Expo Thailand 2009

นิทรรศการการศึกษานานาชาติของไทย ปี 2552 งานที่ รวบรวมหลักสูตรและโปรแกรมการศึกษาจากสถาบันการ ศึกษาชั้นนำทั้งในและต่างประเทศ

The Canadian Education Centre (CEC) Network Tel : +662 267 0535 www.studycanada.ca/thailand/ index.htm Department of Export Promotion Tel : +662 513 1909 ext.225 www.thaitradefair.com The Publishers and Booksellers Association of Thailand (PUBAT) Tel : +662 954 9560-4 www.pubat.or.th

15 – 25 October 2009

มหกรรมหนังสือระดับชาติ ครั้งที่ 14

ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ Queen Sirikit National Convention Center Tel. +662 229 3000 Fax. +662 229 3102 E-mail: info@qsncc.com Website: www.qsncc.com


Date วันที่

Event Name ชื่องาน

12 - 20 กันยายน 2552 12 - 20 Sep 2009

ว้าว แฟร์ WOW Fair

15 - 19 กันยายน 2552 15 - 19 Sep 2009

งานบางกอกเจมส์ แอนด์ จิวเวอร์รี่ แฟร์ ครั้งที่ 44 44th Bangkok Gems and Jewelry Fair 2009

26 กันยายน - 4 ตุลาคม 2552 26 Sep – 4 Oct 2009

เฟอร์นิเจอร์ โชว์ แบงค็อค เวดดิ้ง แฟร์ แฟชั่น แอนด์ จิวเวลลี่ โชว์ เอ็กซตร้า และ ฟู้ด โซน Furniture Show 2009 Bangkok Wedding Fair 2009 Fashion & Jewelry Show 2009 Extra zone and Food zone

Brief Profile รายละเอียด

งานแสดงสินค้าหลากหลายแคททากอรี่มาไว้ในงานเดียวพร้อมพบสินค้าคุณภาพลดสูงสุดถึง 80% จาก 4 โซนหลัก - Fashion & Lifestyle Zone : สนุกสนานไปกับการเดินช้อปปิ้งเสื้อผ้า และแอคเซสซารี่พร้อมพบสินค้า Lifestyle นำเทรนด์ก่อนใคร - Home & Decoration Zone : ตื่นตาตื่นใจกับของตกแต่งบ้านไอเดียเก๋กู้ด - Furniture Zone : พบเฟอร์นิเจอร์หลากสไตล์หลากหลายดีไซน์ที่จะสร้างสีสัน ให้บ้านคุณ เช่น Modern Style, Vintage and Retro Style เป็นต้น - Food & Package Food : เพลิดเพลินกับการเลือกชิมอาหารรสเลิศพร้อม พบกับสินค้า Import Brand มากมาย อาคาร 3 - 4 เวลา : 10.30 - 21.00 น. Various categories of goods with discount up to 80% will be showcased in this fair - Fashion & Lifestyle Zone : Enjoy clothing shopping, plus accessories and in-trend Lifestyle outfit - Home & Decoration Zone : Be surprise with chic idea of home decoration objects - Furniture Zone : Various styles of custom-made furniture including Modern Style, Vintage and Retro Style which will meet your taste - Food & Package Food : Be delight in many mount-watering foods and import brand goods Hall 3 - 4 Time : 10.30 - 21.00 hrs. งานแสดงสินค้าอัญมณี และเครื่องประดับที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย พบผู้ผลิตผู้จำหน่ายอัญมณีกว่า 1,000 ราย ทั้งในและต่างประเทศรวมทั้งกิจกรรมหลากหลายภายในงาน ชาเลนเจอร์ 1-3 วันที่ : 15 - 18 กันยายน 2552 เวลา 10.00 - 18.00 น. 19 กันยายน 2552 เวลา 10.00 - 17.00 น. บัตรเข้าชมงานราคา 100 บาท The premier exhibition that showcases exquisite gems and jewelry from more than 1,000 companies all around the world has now come to IMPACT. Handcrafted, contemporary, traditional, urban jewelry, precious and semi-precious stones. Challenger 1 - 3 Date : 15 - 18 Sep, 10.00 - 18.00 hrs. 19 Sep 10.00 - 17.00 hrs. Ticket is 100 Baht งานแสดงสินค้าเฟอร์นิเจอร์ในบ้าน, ห้องนอน, ห้องครัว, ห้องรับแขก, เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์ความ ปลอดภัย โซนสตูดิโอ ถ่ายภาพสำหรับคู่บ่าว-สาว แพ็กเกจงานแต่งงาน ดนตรี สถานที่จัดเลี้ยง โซน เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย เครื่องหนัง เครื่องประดับ และสถาบันเกี่ยวกับ ความงาม โซนสินค้าตกแต่งบ้าน อาทิ เซรามิค, กรอบรูป, ไม้ประดิษฐ์ เครื่องหอม รูปภาพ โคมไฟ เครื่องปั้นและโลหะ โซนอาหารแปรรูป อาหารกึ่งสำเร็จรูป อาหารแห้ง และเครื่องดื่ม ชาเลนเจอร์ 3 เวลา : 11.00 - 21.00 น. The exhibition offers the latest furniture trend for bedroom, kitchen, and living room, including knock-down and build-in furniture. The fair also exhibits household facilities and electric devices. In the studio zone, you will find wedding package, music for the wedding and wedding places offering. Challenger 3 Time : 11.00 - 21.00 hrs.

Organizer ผู้จัดงาน

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โทรศัพท์ : 02 354 4466 เว็บไซต์ : www.most.go.th องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ โทรศัพท์ : 02 577 9999 เว็บไซต์ : www.nsm.or.th Ministry of Science and Technology Tel : 02 354 4466 www.most.go.th National Science Museum Tel : 02 577 9999 www.nsm.or.th

สมาคมผู้ค้าอัญมณีไทยและเครื่อง ประดับ โทรศัพท์: 02-630 1390 เว็บไซต์: www.bangkokgemsfair.com Thai Gem and Jewelry Trader Association Tel: 02-630 1390 www.bangkokgemsfair.com บริษัท เวิลด์ แฟร์ จำกัด โทรศัพท์: 02-731-1331 เว็บไซต์: www.worldfair.co.th World Fair Co., Ltd. Tel: 02-731-1331 www.worldfair.co.th

อิมแพ็ค เมืองทองธานี โทรศัพท์ 0 2833 5077 โทรสาร 0 2833 5060 IMPACT MUNG TONG THANI Tel. +66 2833 5077 Fax. +66 2833 5060 E-mail : communications@impact.co.th www.impact.co.th


Date วันที่

Event Name ชื่องาน

Brief Profile รายละเอียด

9 – 13 กันยายน 2552 (วันธุรกิจ) 9 - 13 Sep 2009 (Trade)

งานไทยแลนด์โลจิสติกส์แฟร์ 2552 Thailand International Logistics Fair 2009

งานแสดงเกี่ยวกับการขนส่ง ระบบการจัดเก็บและกระจายสินค้า คลังสินค้าบรรจุ ภัณฑ์ ธุรกิจการให้บริการด้านการจัดการสินค้าระหว่างประเทศ Logistics, Software Information Technology and Services.

4 - 9 ตุลาคม 2550 (วันธุรกิจ) 4 - 9 Oct 2009 (Trade)

ICN 2009 ICN 2009

งานประชุมด้านโภชนการในระดับนานาชาติ The 19th International Congress of Nutrition. Hosted by The Nutrition Association of Thailand, under the Patronage of her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn

24 - 30 ตุลาคม 2550 (วันธุรกิจ) 24 - 30 Oct 2009 (Trade)

WCN 2009 WCN 2009

งานประชุมระดับโลกของแพทย์ด้านประสาทวิทยาครั้งที่ 19 The 19th World Congress of Neurology. Hosted by The Neurological society of Thailand.

3 - 5 พฤศจิกายน 2552 (วันธุรกิจ) 3 - 5 Nov 2009 (Trade)

2mf FASAVA 2009 2nd FASAVA 2009

การประชุมวิชาการนานาชาติของสมาพันธ์สัตวแพทย์สัตวแพทย์สัตว์เล็กภูมิภาค เอเชีย 2009 The 2nd Federation of Asian Small Animal Veterinary Associations Congress 2009 and The 35th Veterinary Medicine and Livestock Development Annual Conference 2009

5 - 7 พฤศจิกายน 2552 ( วั นธุ ร กิ จ / ป ร ะ ช า ช น ทั่วไป) 5 - 7 Nov 2009 (Trade/Public)

บั ส แอนด์ ท รั ค 2009 และ เออี วี 2009 Bus & Truck 2009 / AEV 2009

งานแสดงรถเพื่อการพาณิชย์และกิจการพิเศษ ครั้งที่ 6 The 6th Thailand Commercial and Special Purpose Vehicle Exposition and The 3rd Alternative energy Vehicle.

5 - 7 พฤศจิกายน 2552 ( วั นธุ ร กิ จ / ป ร ะ ช า ช น ทั่วไป) 5 - 7 Nov 2009 (Trade/Public)

คอนส์เทค 2009 ConsTech 2009

งานแสดงเครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์ การบริการก่อสร้าง ครั้งที่ 5 The 5th Construction Machinery, Material and Services Exposition and co-organised with Thai Constractors Association under H.M. the King’s Patronage

Organizer ผู้จัดงาน

กรมส่งเสริมการส่งออก โทร : 02 512 0093 www.thaitradefair.com Department of Export Promotion Tel : +662 512 0093 Fax : +662 512 3055 www.thaitradefair.com สำนักงานเลขานุการการประชุม บริษัท เอเชียคองเกรส จำกัด โทร: 02 748 7881 www.icn2009.com Secretariat : Asia Congress Events Co.,Ltd. Tel : +662 748 7881 Fax : +662 748 7880 www.icn2009.com สำนักงานเลขานุการการประชุม สมาคมประสาทวิทยา โทร: 02 716 5901 www.wcn2009bangkok.com Secretariat : Congrex Sweden Tel : +468 459 6600 Fax : +468 661 9125 Organising Committee: The Neurological Society of Thailand Tel : +662 716 5901 Fax : +662 716 6004 www.wcn2009bangkok.com สำนักงานเลขานุการการประชุม บรัษัท โปรคองเกรส จำกัด โทร: 02 956 1580 www.fasava2009.com Secretariat : Procongress (Thailand) Co.,Ltd. Tel : +6681 347 3939 Fax : +662 932 4454 www.fasava2009.com บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด โทร : 02 717 2477 www.busandtrucks.com TTF International Co.,Ltd. Tel : +662 717 2477 Fax : +662 717 2466 WWW.busandtrucks.com บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด โทร : 0 2717 2477 www.constechexpo.com TTF International Co.,Ltd. Tel: +662 717 2477 Fax: +662 717 2466 www.constechexpo.com

ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค โทรศัพท์ : 0 2749 3939 โทรสาร : 0 2749 3949 BANGKOK INTERNATIONAL TRADE & EXHIBITION CENTRE (BITEC) Tel. +662 749 3939, +662 236 1890 Fax. +662 749 3949 E-mail : salesenquiries@bitect.net www.bitec.net


No. ลำดับที่ 1

Date วันที่

Event name ชื่องาน

City เมือง

website เว็ปไซต์

Media Expo- Kolkata

2

4 - 6 Sep 2009 9 - 12 Sep 09

Kolkata, India Shanghai, China

3

10 - 13 Sep 09

Istanbul, Turkey

4

11 – 16 Sep 2009

5

18 - 20 Sep 2009

5th Outdoor & Indoor Advertising Solutions Fair Print 09 India International Events Fair 2009

Mumbai, Maharashtra India

www.biztradeshows.com/iief/

6

22 - 23 Sep 09

Ad-Tech London

London, United Kingdom

7

www.ad-tech.com/london/ adtech_london.aspx www.thesignshow.co.uk

9 10

23 - 24 Sep 2009 1 - 3 Oct 2009

11

4 - 6 Oct 2009

12 13

15 - 18 Oct 09 15 - 18 Oct 2009

14

5 – 6 Nov 2009

15

12 – 15 Nov 2009

16

17 – 8 Nov 2009

THE SIGN SHOW 2009 Digital Signage Sign & Digital Ireland 2009 Viscom Print & Sign Media Asia Expo Sign Asia Expo Asia Pacific Out of Home Media Convention 2009 Korea International Sign & Design Show (KOSIGN) Ad-Tech Beijing

BRISTOL, UK

8

22 - 24 Sep 2009 22 - 24 Sep 2009

17 18

25 - 27 Nov 2009 18 - 20 Dec 2009

The 2nd China Billiards Expo 2009

Chicago, USA

Paris, Ile-De-France, France Dublin, Ireland Nordrhein – Westfalen, Germany Kortrijk, Belgium Bangkok, Krung Thep, Thailand Bangkok, Thailand Macau, Hongkong Seoul, South Korea Beijing, China

China Sign Fair 2009 LED EXPO 2009

9

www.biztradeshows.com/mediaexpo-kolkata/ www.chinabilliardsexpo.com/ english.asp www.cnr-outdoorturkey.com/ content/en_index.asp www.gasc.org/

4

8

www.ipim.gov.mo www.kosignshow.com/2009/kor/ www.ad-tech.com/beijing/ adtech_beijing.aspx www.chinasignfair.com/english/ www.theledexpo.com/

Guangzhou, China New Delhi, India

6, 7

www.biztradeshows.com/tradeevents/digital-signage.html www.signireland.com www.timesfirst.com/trade-shows/ 2195/VISCOM-GERMANY.html www.print-sign.be/en/practicalinfo.aspx www.mediaasiaexpo.com/ www.signasiaexpo.com

10, 11 3 16 15

2

14 18

12 1 5

13

17



สวัสดีครับท่านสมาชิกทุกท่าน สบายดีกันทุกคนนะครับ ที่ผมทักทายท่านแบบนี้ ถือเป็นการทักทายแบบไทยๆ นะครับ หากเป็นคนจีน ต้องถามว่า กินข้าวหรือยัง หรือเป็นฝรั่ง ก็ต้อง ทักว่าเป็นยังไง งานการดูดีไหม เห็นไหมครับธรรมเนียมของแต่ละถิ่นไม่เหมือนกัน แต่สิ่งที่ชาวโลกต้องเผชิญหน้าคล้ายๆ กัน คือความรุนแรงของภัยธรรมชาติ ที่นับวันจะไม่ปรานีมนุษย์ เหมือนกับว่า พวกเขากำลังจะเอาคืน กระนั้นหรือ… ฤดูกาลนี้ เย็นชุ่มฉ่ำกับสายฝนและลมกรรโชก คนทำป้ายโฆษณาหายใจไม่ค่อยทั่วท้องครับ เพราะ อาจเกิดเหตุไม่คาดฝันได้ทุกเมื่อ ผมจึงขอเชิญชวนเพื่อนสมาชิกให้หมั่นตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรง ของโครงป้ายโฆษณา โดยต้องมีวิศวกรเข้ามาช่วยตรวจสอบ หรือหากท่านต้องการข้อมูลใดๆ เพิ่มเติม ถามเข้ามาได้ที่สมาคมฯ นะครับ ผมมีข่าวดี ชิ้นเล็กๆ ของสมาชิกเจ้าของโครงป้ายมาฝากกันครับ พวกเราที่เคยเดือดร้อนกับเรื่องการ ก่อสร้างป้ายผิดกฎหมาย สร้างผิดแบบ งานนี้ได้เฮกันแล้วครับ เพราะทางกทม.รับลูกการเดินเข้าไป ปรึกษาหารือ จนล่าสุดเปิดทางขอความร่วมมือกับทางสมาคมฯ เพื่อขอแนวทางเกี่ยวกับการแก้ไขข้อ กฎหมายให้ธุรกิจของเราให้ถูกต้องกันเสียที ติดตามกันได้ในรายละเอียดรายการถัดจากบรรทัดนี้ไปได้ ครับ และยังมีเก็บตกการเดินทางไปดูงานที่เซี่ยงไฮ้มาฝากกัน เป็นกิจกรรมของสมาชิกที่มีความสนิทสนม กันจากทริปนี้เพิ่มขึ้นอีกหลายคน นอกจากนี้ ผมขอเชิญชวนท่านเข้าร่วมงาน Sign Asia Expo’09 ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี ฮอลล์ 1 - 2 ระหว่างวันที่ 15 – 18 ตุลาคม 2552 นี้ นะครับ

สารจากนายกสมาคมฯ

ข่าวดีชิ้นเล็กๆ จากนายกสมาคม

“ป้าย หรืออาคาร”

การตีความของการก่ อ สร้ า งป้ า ยโฆษณาที่ ถู ก รวมอยู่ ใน พรบ.ควบคุมอาคาร อันเป็นข้อถกเถียงกันมาเนิ่นนานว่า ควร จะจัดประเภทแยกออกมา และระบุความชัดเจนเป็น (ว่าที่) พรบ.ป้ายโฆษณา ที่เป็นเอกเทศให้ถูกต้องตามกฎหมาย ไม่ต้อง ไปอิง พรบ.ที่ครอบจักรวาล จนกลายเป็นความคาราคาซังกัน มาตั้งแต่ปี 2535 เป็นต้นมา ลำดับฉากเหตุการณ์ที่มีความรุนแรงของภัยธรรมชาติ ฟ้า ฝนตกกระหน่ำลมแรงทำให้ต้องระมัดระวังกันเป็นพิเศษ กับ กรณีป้ายโค่นล้มจนเกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินของผู้คน ผู้ ป ระกอบการป้ า ยโฆษณามิ ไ ด้ นิ่ ง นอนใจกั บ ปั ญ หาดั ง กล่าว และมีความเพียรพยายามที่จะเข้าไปเปิดประตูคุยกับ หน่ ว ยงานหลั ก ที่ มี ห น้ า ที่ ค วบคุ ม ดู แ ลคื อ กทม. ถึ ง การวาง แนวทางการทำงานร่ ว มกั น มาจนวั นนี้ ค วามยั ง ไม่ คื บ หน้ า

“ความคืบหน้าของการทำงานร่วมกันของผู้ประกอบการธุรกิจป้ายโฆษณาและ กรุงเทพมหานคร เป็นเรื่องที่น่ายินดีว่า มีการเห็นพ้องร่วมกันในหลายเรื่อง ที่ สำคัญคือ การจะยกร่างพระราชบัญญัติป้าย ที่ควรออกมาเป็นการเฉพาะของธุรกิจ กำลังจะถูกหยิบขึ้นมา เป็นรูปธรรม ในอนาคต” “… the progress of cooperation between Sign Business Sector and Bangkok Metropolitan Administration is very delightful, they agree on many issues especially to have “The Signboard Act” becoming the concrete content in the near future…”

สมาคมป้ายและโฆษณา ชั้น 2 อาคาร พี.ไลท์โฆษณา เลขที่ 49/269 หมู่ 4 ซอยพหลโยธิน 48 (สายหยุด) แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 โทรฯ 02 970 9235-6 แฟ็กซ์ 02 970 9236 ต่อ 300 www.aspathailand.org   10


มากนัก แต่พบว่าล่าสุดการเข้าพบผู้ว่ากทม. – มรว.สุขุมพันธ์ บริพัตร ของนายกสมาคมป้ายและโฆษณา พร้อมคณะอีก 9 คน เมื่ อ วั นที่ 29 มิ ถุ น ายน 2552 ที่ ผ่ า นมา ณ ศาลาว่ า การ กรุงเทพมหานคร มีสัญญาณที่ดีในความร่วมมือ จนมีข้อสรุป ประเด็นที่เห็นชอบร่วมกันในประเด็นหลัก เรื่องการรื้อถอนป้าย ที่ผิดกฎหมายดังนี้ 1. เห็นชอบร่วมกันว่า “เมืองใหญ่ต้องมีป้าย” เพื่อนำข้อ เด่นของทรัพย์สิน ประเภทการเป็นสื่อนอกบ้านมาใช้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2. เห็นชอบร่วมกันเรื่องความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์ สินของประชาชน โดยเฉพาะช่วงหน้าฝน พายุ ลมแรง ท่าน ผู้ว่าฯ จึงให้นโยบายชัดเจนว่า สำหรับป้ายที่ล่อแหลม ส่อแวว เข้าข่ายมีความเสี่ยงก่อให้เกิดอันตราย ขอให้มีการพิจารณา รื้อถอนเป็นไปตามข้อกำหนดกฎหมาย ซึ่งเจ้าหน้าที่ของรัฐพึง ปฏิบัติ และอาจมีการแถลงข่าวเรื่องนี้พร้อมกัน เพื่อสร้างความ มั่นใจให้ประชาชนชาวกทม. เป็นลำดับต่อไป 3. เห็นชอบร่วมกัน เรื่องการพัฒนาธุรกิจป้ายโฆษณาอย่าง ยั่งยืนในอนาคต ซึ่งปัจจุบันมีผู้ประกอบการ ลูกจ้างในธุรกิจนี้ กว่าหนึ่งล้านคน นำรายได้เข้าประเทศ จัดเก็บเงินภาษีอากร เป็นรายได้ของรัฐ เพื่อนำไปพัฒนาประเทศกว่าพันล้านบาท ต่อปี โดยกำหนดให้มีการตั้ง “คณะทำงาน” ร่วมกัน ระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทางสมาคมป้ า ยและโฆษณา จึ ง นำเสนอ ตั ว แทนจาก องค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมเป็นองค์คณะ ได้แก่ สมาคม ป้ายและโฆษณา, สมาคมป้ายเอเชีย, สมาคมมีเดียเอเยนซีและ

ธุรกิจสื่อแห่งประเทศไทย, สมาคมสถาปนิกแห่งประเทศไทย, สมาคมประกันวินาศภัย, สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย, สมาคมธุรกิจโฆษณาแห่งประเทศไทย ,สมาคมการพิมพ์สกรีน ไทย, สมาคมเคเบิ ล ที วี แห่ ง ประเทศไทย, ชมรมไทยอิ ง ค์ เจ็ ท และชมรมสื่อนอกบ้าน ส่วนตัวแทนจากภาครัฐ ทางกทม. จะเป็นผู้แต่งตั้งเข้าร่วม องค์คณะเป็นลำดับไป 4. การทำงานร่วมกันของคณะทำงานชุดนี้ มีระยะเวลาใน การศึกษาแนวทางแก้ไข กำหนดทิศทางของธุรกิจป้ายโฆษณา ให้แล้วเสร็จ ภายในกำหนด 6 เดือน นับจากวันที่มีการประชุม ครั้งแรก 5. เมื่อครบกำหนดระยะเวลาตามข้อ 4 ดังกล่าวแล้ว ให้ นำส่ ง บทสรุ ป เพื่ อ เป็ น แนวทางให้ กทม. ดำเนิ น การตาม กระบวนการโดยมิชักช้า เพื่อมิให้เกิดความเสียหายต่อภาพรวม ของธุรกิจป้ายโฆษณา อันเป็นหนึ่งในฟันเฟืองขับเคลื่อนทาง เศรษฐกิจของประเทศชาติสืบไป แ ล ะ ต่ อ ม า เมื่ อ วั นที่ 2 สิ ง ห า ค ม 2 5 5 2 ที่ ผ่ า น ม า ดร.ประกอบ จิรกิติ รองผู้ว่ากทม. ออกมาเปิดเผยซึ่งตีพิมพ์ไว้ ในหนังสือพิมพ์มติชน ฉบับประจำวันที่ 3 สิงหาคม 2552 ดัง ในข่าวที่ประกอบกันมานี้ เป็นข้อมูลที่สมาชิกสมาคมทุกท่านได้ทราบความคืบหน้า การทำงานในนามองค์กรวิชาชีพ ด้านการขับเคลื่อนองค์รวม ของธุรกิจป้ายโฆษณา และขอให้เตรียมตัวกันไว้ให้พร้อมหาก เกิดกรณีใดๆ กับท่านได้

สมาคมป้ายและโฆษณา ชั้น 2 อาคาร พี.ไลท์โฆษณา เลขที่ 49/269 หมู่ 4 ซอยพหลโยธิน 48 (สายหยุด) แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 โทรฯ 02 970 9235-6 แฟ็กซ์ 02 970 9236 ต่อ 300 www.aspathailand.org   11


รายงานโดย ภิญญุดา กลิ่นระคนธ์ เป็นข้อตกลงร่วมกันระหว่างสมาคมป้ายและ โฆษณา และชมรมไทยอิงค์เจ็ทว่า เจ้าภาพในการ จัดกิจกรรมไปดูงานที่ประเทศจีน ซึ่งมีในสองเมือง ใหญ่ คือกวางโจวและเซี่ยงไฮ้ นั้นจะผลัดไม้กัน เมืองแรกดูแลโดยชมรมฯ ส่วนเมืองหลังสมาคมฯ เป็นผู้ดูแล ยกป้ายแบบนี้ เป็นว่ารู้กันว่าไปเป็นหมู่คณะแน่นอน วัตถุประสงค์ของการดูงาน เดินชมงานแสดง สินค้าในต่างประเทศ เรามักได้รับประโยชน์หลักๆ ในสองเรื่อง คือความสนิท สนม มิ ต รภาพระหว่ า งคณะคนไทยที่ เดิ นทางไปด้ ว ยกั น และอี ก เรื่ อ งคื อ มิตรภาพที่เชื่อมไปยังคู่ค้าต่างประเทศ เช่น ไปเยี่ยมเจอหน้าตากัน ไปเยี่ยม โรงงานผลิต เยี่ยมออฟฟิศ ตลอดจนการแลกเปลี่ยนเรื่องเทคโนโลยีใหม่ๆ แนวโน้มของธุรกิจ ปัจจัยที่เป็นข้อดี ข้อควรระวัง การพบปะกัน ย่อมทำให้นักธุรกิจได้มีปฏิสัมพันธ์กันใกล้ชิด เรียนรู้ซึ่ง กันและกัน ข้อนี้เป็นประโยชน์สูงสุดของการทำธุรกิจในยุคนี้ นอกเหนือจาก การใช้ Know How ซึ่งต้องประกอบด้วย Know Whom เข้ามาช่วยเสริม อีกชั้นหนึ่ง เช้าของวันที่ 5 กรกฏาคม 2552 ชาวคณะของสมาคมฯ ทั้ง 34 คน เดิน ทางด้วยสายการบินไชน่า อีสเทิร์น แอร์ไลน์ ไปที่เมืองเซี่ยงไฮ้ ถึงที่หมาย ไปจับจองบูธเพื่อโปรโมท เวลา 14.10 น.โดยใช้เวลาระหว่างเดินทางด้วยรถบัสกว่าสามชั่วโมง จึงเป็น ASA เวลาที่ทั้งคณะได้มีโอกาสแนะนำกันเองอย่างครื้นเครง โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อชมงาน APPPEXPO ทริปนี้เป็นการจัดโดยบริษัททัวร์มืออาชีพ อาหารการกินจึงถูกเสิร์ฟแบบ มืออาชีพ ที่มีไว้ต้อนรับนักท่องเที่ยว แบบมืออาชีพด้วยเช่นกัน อาทิ หมูพัน ชั้น ไก่เศรษฐี โชว์ชุดตระการตา กังฟูเส้าหลิน เจ้าแม่กวนอิมพันมือพันตา การปลู ก ใบชาเขี ย ว วิ ธี คั่ ว และชงชาแบบโบราณ โรงงานผลิ ต ยาทาแก้ น้ำร้อนลวก “เป่าฟู่หลิง” หรือรู้จักกันดีในชื่อ “บัวหิมะ” งาน APPPEXPO มีขึ้นระหว่างวันที่ 6 - 9 กรกฎาคม สถานที่จัดงาน คือ Shanghai New International Exhibition Centre กว่า 10 ฮอลล์ พื้นที่ 150,000 ตารางเมตร แบ่งออกเป็นสองส่วน ให้เลือกเดินชมงานได้ APPPEXPO บนพื้นที่กว่า 150,000 ตารางเมตร เดิน 4 วันยังไม่ทั่ว ตามชอบใจ ทั้งในส่วนของ Print Pack Paper และ LED พิธีเปิดงาน คึกคักด้วยการเชิดสิงโต เน้นสีแดง อันเป็นสีมงคล เฮง เฮง ของชาวจีน จากนั้นพวกเราก็เดินกันจนเมื่อย แล้วแบ่งสายกันเป็นสองกลุ่ม อีกกลุ่มหนึ่ง เป็นการแยกไปเที่ยวชมความงดงามของเมืองตามโปรแกรม กลุ่ ม แรก เข้ า ร่ ว มงาน เล่ า สู่ กั น ฟั ง เรี ย กว่ า เป็ น Forum โดยมี ทั ว ร์ อาหารอร่ อ ย วิ ว สวย ช็ อ ปของถู ก แบรนด์ ทั้ ง นั้ น มี ง านเซอร์ ไพรส์ คุณชาตรี อัศวเบญญา ทำหน้าที่เป็นตัวแทนของสมาคมป้ายเอเชีย : ASA วันเกิดของคุณวัฒนพงษ์ เจียมสกุลธร สมาชิกในคณะคนหนึ่ง เจ้าตัวอึ้ง นำเสนอความสำคัญของ ASAในห้องนั้นมีผู้เกี่ยวข้องหลายท่านเข้าร่วมฟัง ปลื้มไปเลย ด้ ว ย อาทิ MR. Kelvin Liao - นายกสมาคมป้ า ยเอเชี ย , Ms.Gillian, ขากลับทั้งคณะเดินทางไปสนามบินด้วยรถไฟแม่เหล็กความเร็วสูง 431 Ms.Belle Yam และสมาชิกจาก FESPA กิโลเมตรต่อชั่วโมง ใช้เวลาเพียง 7 นาที ก็ถึงปลายทาง และเดินทางกลับถึง พอจบจากนั้น มีการเคลื่อนขบวนไปช็อปปิ้งกัน ด้วยมุกเด็ด กลยุทธ์ที่ กรุงเทพฯ โดยสวัสดิภาพ ใครๆ ก็นำไปใช้ได้ เพื่อนชาวจีนส่งภาษาจีน บอกคนขายว่า พาเอเยนต์คน ร่องรอยประโยชน์ที่ได้รับของการเดินทางไปดูงานในแต่ละครั้ง เชื่อว่า ไทยมาซื้ อ อี ก หน่ อ ยจะได้ เป็ นคู่ ค้ า เป็ นตั ว แทนขายกั น ได้ เท่ า นั้ น แหละ ทุกท่านมีมุมมองที่แตกต่างกัน โอกาสต่างๆ เกิดขึ้นจากการหยิบฉวย จังหวะ พ่อค้าเขาลดให้ทันที และมีของแถมติดมือมาด้วย ที่เหมาะสม และมิตรภาพที่จะมีส่วนช่วยให้การทำธุรกิจยั่งยืนตลอดไป

“ดูงานที่เซี่ยงไฮ้”

สมาคมป้ายและโฆษณา ชั้น 2 อาคาร พี.ไลท์โฆษณา เลขที่ 49/269 หมู่ 4 ซอยพหลโยธิน 48 (สายหยุด) แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 โทรฯ 02 970 9235-6 แฟ็กซ์ 02 970 9236 ต่อ 300 www.aspathailand.org   12


ยุวพล พรประทานเวช นายกสมาคมป้ายและโฆษณา Yuvaphol pornpratharnwech President Advertising and Sign Producing Association

“โครงสร้ า ง iSIGN ” academy

จัดไว้พิเศษ ให้นายกฯ สื่อสารไปถึงสมาชิก

ผมขอทำหน้าที่แจ้งความคืบหน้าของการก่อตั้งสถาบัน iSIGN จาก OHM ฉบับที่แล้ว ผมเรียนทุกท่านว่า iSIGN อยู่ในขั้นตอนของการตั้งไข่ โดยมีคณะกรรมการ บริหาร หรือ Academy Board of Director จำนวน 7 ท่าน คราวนี้มีความคืบหน้าไปอีกขั้นแล้วครับ โดยมีโครงสร้างให้เราได้ชื่นใจบนความตั้งใจของทุกท่าน ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร, คณะกรรมการดำเนินการ, กองงานเลขานุการ, คณะที่ปรึกษา และคณะ ทำงานภาคปฏิบัติการ ตามโครงสร้างที่ปรากฏข้างล่างนี้นะครับ

คณะที่ปรึกษา 15 ท่าน

คุณวินัย ศิลปศิริพร ประธาน

คุณมารุต อรรถไกวัลวที รองประธาน

คุณอดิศร ศุขะทัต รองประธาน

คุณวิทอง ตัณฑกุลนินาท คุณยุวพล พรประทานเวช ประธานบริหาร กรรมการบริหาร กิจการการศึกษา

คุณหวง เหยิน ชาง กรรมการบริหาร

คุณไพจิตร เทียนทอง กรรมการบริหาร

คุณมณี นิมิตกุล

คุณนวพร ลัคนาวงศา

คุณภิญญุดา กลิ่นระคนธ์

คุณอุดร โตกระแสร์ ประเมินผล และพัฒนา

คุณชาตรี อัศวเบญญา ต่างประเทศ

คุณจริยา นักสอน ประสานงาน ภาครัฐ – เอกชน และประชาสัมพันธ์

กองงานเลขานุการ

คุณสิริพร สงบธรรม คุณเพ็ญพร คณากาญจน์ คุณสุมาลี เลิศสุกิตพงศา หัวหน้ากองงานเลขานุการ

คุณชาตรี อัศวเบญญา

ประธานฝ่าย

คุณฉัตรชัย ส่องแสงเจริญ คุณวิศรุต วิภาวีสันทัด บริหารทรัพย์สิน บัญชี การเงิน และกฎหมาย

คุณสักกฉัฐ ศิวะบวร หลักสูตร

คุณสอาด มาคราม บริหารทั่วไป

วิทยากร ผู้อำนวยการ

รองผู้อำนวยการ

พนักงานปฏิบัติการ

13


ชาตรี อัศวเบญญา Chatre Asavabenya ผนึกกำลังครั้งสำคัญ ของพลังเอเชีย Asia Sign Association Honorable Adviser “ ….งานแสดงสิ น ค้ า ที ม ่ าเลเซี ย – IPMEX 09 ครั ง ้ ล่ า สุ ด ASA เพิ่มเครือข่ายเข้ามาอีกคือ Asia Print Federation...” its network with the Asia Print Federation…” “… During the IPMEX’09 held in Malaysia, ASA has expanded ผมขอทำหน้าที่ในการปรับข้อมูลของ ASA ให้ทันสมัย ด้วยการรายงาน ว่า เมื่อเดือนสิงหาคมที่ผานมาคณะกรรมการบริหารของ ASA ลงคะแนน เป็ น เอกฉั นทในการแต ง ตั้ ง Ms. Belle Yam เป น Regional Represen tative ประจํ า ประเทศมาเลเชี ย อย า งเป นทางการ เมื่ อ วั นที่ 7 สิ ง หาคม 2552 ในการประชุ ม ASA Executive Meeting ครั้ ง ที่ 13 ที่ ก รุ ง กั ว ลา ลัมเปอร ประเทศมาเลเชีย ผมขอเท้าความกลับไปกอนหน้าว่า Ms. Belle Yam ไดทํางานรวมกับ ASA มาระยะเวลาหนึ่งแลว ด้วยตําแหนง Event Organizer and Public Relationship Office และมีโอกาสร่วมคณะเดินทางไป กับทางคณกรรมการ ของ ASA หลายครั้ง ไมวาจะเปนที่ กรุงเทพฯ, Shanghai และ Las Vegas สหรัฐอเมริกา ธุรกิจของ Ms. Belle Yam เธอเป็นกรรมการผู้จัดการ บริษัท Kaizer Exhibition and Conferences จำกั ด ซึ่ ง เป น ผู จั ด งาน IPMEX’09 Asia Sign Association meets Asia Print Federation เมื่ อ วั นที่ 6 - 9 สิ ง หาคมที่ ผ่ า นมา ท่ า นใดต้ อ งการรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ใช้ฐานตัวแทนในเมืองไทย คือที่ ASPA - สมาคมป้ายและโฆษณานะครับ ที่ www. thailand@asiasign.org ผมขอเล่ า งาน IPMEX 09 หน่ อ ยนะครั บ ปี นี้ เขาจั ด ขึ้ น เป็ นครั้ ง ที่ 8 (ครั้ ง แรกป 1997) มี ชื่ อ งานเต็ ม ๆ ว่ า International Printing, Paper Packaging, Machinery Exhibition ซึ่งเป็นการจัดงานแบบปีเว้นปีสลับกับ งาน Print Technology โดยบริษัทเดียวกันนี้ ดังนั้นปีหน้า - 2010 งาน Print Technology จะจัดขึ้นในวันที่ 6 - 9 สิงหาคม 2010 IPMEX 09 จัดขึ้นที่ Putra World Trade Center, Hall 1 A, B, C และ Hall 2 บนพื้นที่ประมาณ 15,000 ตารางเมตร มีบธูแสดงสินคาราว 150 บริษัทจาก 25 ประเทศ โดยมี Deputy Minister of Home Affairs Asia Sign Association meets Deputy Minister of Home Affair ของประเทศมาเลเชีย คือ Datuk Wira Abu Seman Yusop เปนประธาน เป ด งาน และมี แ ขกผู้ ใ หญ่ อี ก หลายท่ า นเข้ า ร่ ว มงาน อาทิ จาก China นอกจากนี้ ASA ยั ง มี ว าระในการช่ ว ยประชาสั ม พั นธ์ ง าน Thailand Printing Association และ Asia Printing Federation และแนนอนครับ International Car Wrapping Contest ซึ่งจัดโดยชมรมไทยอิงค์เจ็ท - TIC รวมทั้ง Mr. Kelvin Liao, Chairman Of Asia Sign Association ดวย ในงานเดียวกับ Sign Asia Expo 09 ในเดือนตุลาคมที่จะถึงนี้ ผมเข้าใจว่า ซึ่งงานนี้ Regional Chairman ของ ASA จากประเทศตางๆ เดินทางไป น่าจะมีทีมจากมาเลเซียสนใจที่จะเข้ามาประลองฝีมือแล้วนะครับ เป็ น เกี ย รติ ให้ ชื่ น ใจกั น ด้ ว ย คุ ณ ยุ ว พล พรประทานเวช นายกสมาคม ผมมี ค วามเห็ น ว่ า จากประสบการณ ที่ ไ ด เ ห็ น การรวมตั ว ของกลุ่ ม ปายและโฆษณา – SPA บินด่วนไปเพื่อการนี้โดยเฉพาะ จนผู้จัดงานเขา ผู้ ป ระกอบการต่ า งๆ อย่ า งล่ า สุ ด คื อ Asia Print Federation เพื่ อ ที่ มี ซาบซื้งใจยิ่งนัก นี่ถ้าไม่รักกันจริงคงไม่ไปกันหรอก จริงไหมครับ จุ ด มุ่ ง หมายในการสร้ า งเครื อ ข่ า ย - networking เพื่ อ ประโยชน ข อง ในกรุงกัวลาลัมเปอร์คราวเดียวกันนี้ ทางผู้จัดงานยังจัด Networking มวลหมูสมาชิก เรามีเครือข่ายเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งองค์กรแล้วนะครับ เป็นโอกาส Party ให กั บ สมาชิ ก และคณะกรรมการของ ASA ได มี โ อกาสพบปะ ที่ดีมากของการทำงานบนเครือข่าย ที่จะช่วยประสานเชื่อมกันไปเป็นทวีป พูดคุยกับสมาชิกจาก Asia Print Federation ซึ่งมีสมาชิกจาก 7 ประเทศ และกระจายต่อไปได้ทั่วโลก ในภู มิ ภ าคเอเชี ย ได แ ก China, Indonesia, Pakistan, Philippines, ผมอยากชักชวนท่านที่มีจิตสาธารณะเข้ามาร่วมเป็นคณะทํางานดวยกัน South Korea, India and Malaysia โดยมี Mr. Demao Wang จาก ครับ แลวท่านจะเห็นภาพของการสร้างเครือข่ายอย่างใกล้ชิดครับ… Printing and Printing Equipment Industries Association of China - Chairman คนปัจจุบันนำทีม นาแปลกใจว่าเมื่อผมถามถึงตัวแทนในประเทศ ไทย เขาบอกว่า ยังไม่มีสมาชิก ผมจึงจะช่วยประสานงานให้ทางชมรมไทย อิงค์เจ็ท - TIC ไปสร้างเครือข่ายต่อไปนะครับ

“เครือข่ายทีม่ าเลเซีย”

14


สัมผัสของมนุษย์ยังอบอุ่น เป็นที่โหยหา ของผู้คนอยู่เสมอ แม้วันนี้ จะมีสื่อ มีเครื่องไม้เครื่องมือที่ทันสมัย คุยกันได้ข้ามโลกแล้วก็ตาม คุณได้รับจดหมาย ลายมือ ครั้งสุดท้าย เมื่อไหร่… จำลางเลือนเต็มที หรือจำไม่ได้ว่ากี่ปีมาแล้ว ตู้ไปรษณีย์ใบนี้ ตั้งอยู่ที่ตึกสูงที่สุดในประเทศไทย ตึกใบหยก 2 คุณๆ สามารถส่งจดหมายได้จริง มีนายไปรษณีย์มาเก็บทุกวัน ตามเวลาหน้าตู้ ไหมล่ะ บอกแล้วว่า สูงส่งได้ หมายถึงที่สูง ก็ส่งจดหมายได้ นั่นเอง…

สูง

“ ...ส่งได้”

“ 712ดาวเดือ9น ตะวั น” บรรยากาศขุนเขา นอนนับดาวได้ทุกคืน อากาศแช่มชื่นทุกวัน คนกรุงถวิลหาอารมณ์นี้กันจัง พูดด้วยภาพ สะท้อนอารมณ์ได้ดี คืนนี้คุณจะชวนใครนับดาวล่ะ...

15


อะไรกันนี่... ของแปลก ของใหม่

ร้านเสริมสวยแห่งหนึ่งตั้งอยู่ในมุมอับ มองเห็นไม่ชัดเจนนัก ลูกค้าอาจจะมองผ่านเลย ไม่ทันสังเกต ก็เลยไปใช้บริการร้านอื่นซะแล้ว คิดถึง “ผม” คุณคิดถึงอะไรล่ะ… ใช่… ใช่เลย… หวี ทางม้าลายบนถนนหน้าร้าน จึงเป็นรูป “หวี” น่ารักเชียว ทอดให้ข้ามเดินจากฝั่งถนนหนึ่ง ไปอีกฟากหนึ่ง เป็นที่น่าสังเกต เห็นร้านนี้ทันที… ไหมล่ะ บรรยากาศของร้านเสริมสวยจึงเกิดขึ้นได้ ด้วยความคิดเฉียบๆ… สถานที่ : เมืองเชนเนีย ประเทศอินเดีย

“หวี กั บ ผม”

16


17


5 ผู้บริหารอควา ใช้กลยุทธ์ one stop service มาที่เดียวครบทุกบริการ ทีมงานกับท่าพร้อมลุย และเตรียมตัวโกอินเตอร์ การแปลงโฉมของ บริษัท เจ.อาร์.ดีล จำกัด ให้กลายเป็นบริษัทมหาชน พร้อมกับการ ขยายการให้บริการอีกหลายมิติ ทำให้บริษัทนี้มิใช่เป็นบริษัทที่ให้เช่าป้ายโฆษณาแต่เพียง ธุรกิจเดียวอีกต่อไป การขยายธุรกิจในยุคนี้ ลงมือทำได้หลายวิธี ตั้งแต่โตเอง ควบรวม จับมือผนึกกำลังกัน กลายเป็นความครบรส ที่ลูกค้าสะดวกเมื่อเดินเข้ามาใช้บริการ เสมือนจุดเดียวที่บริการ พร้อมสรรพ - one stop services ชื่อใหม่ของ “เจอาร์ดีล” คือ บริษัท อควา คอร์เปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) แบ่งงาน ออกเป็น 4 กลุ่ม คือ อควา คอร์เปอเรชั่น(Aqua Corporation)บริการป้ายโฆษณากลาง แจ้ง, อควาพอยท์(Aqua Point) บริการแบนเนอร์โฆษณาติดบนอาคาร, อควา เทเลวิชั่น (Aqua Television) ผลิตรายการโทรทัศน์และสื่อโฆษณา และอควา คอมมูนิเคชั่น (Aqua Communication) งานด้านการประชาสัมพันธ์และสื่อสารการตลาด การปรับโฉมธุรกิจในครั้งนี้ เป็นการเตรียมตัวเพื่อเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย โดยระบุว่า เงินที่ได้รับจากการระดมทุน จะนำไปลงทุนเพิ่มในพื้นที่

“อควา คือ น้ำ”

18

คุณจริยา นักสอน ผู้บริหาร เจ.อาร์.ดีล. ่ ง บริ ห ารงานด้ า นสื่ อ โฆษณากลาง ยัแจ้งนังในนาม. อควา คอร์เปอเรชั่น สื่ อ โฆษณาใหม่ ๆ มากขึ้ น รวมทั้ ง การเตรียมตัวเข้าไปลงทุนในธุรกิจ สื่ อ โฆษณาในประเทศเพื่ อ นบ้ า น อาทิ ลาว เวียดนาม อควา คือ น้ำ น้ำ คือ อควา น้ ำ ที่ ส ามารถเปลี่ ย นไปได้ ต าม รู ป ทรงของภาชนะที่ บ รรจุ น่ า จะ เป็นแนวทางการทำธุรกิจแห่งยุคนี้ที่ ต้องปรับตัวได้อย่างทันท่วงที…


Plan B ลงทุนเนรมิตรรถเมล์ มาตั้งโชว์ในงาน ให้ลองโหน ลองนั่ง กันได้ ซึ่งหลายคนอาจลืมบรรยากาศนี ้ไปแล้ว อาการชะลอตั ว ลงของภาวะเศรษฐกิ จ ไม่ อ าจสร้ า งความเฉา เหงา ให้ผู้คนในวงการสื่อนอกบ้านได้เลย เพราะความขยัน จะช่วยขับไล่อาการ ซึมเซื่องออกไป แล้วเรียกกำลังใจ คืนความคึกคักให้สินค้าและบริการได้ ความท้าทายของสื่อนอกบ้านไม่ได้หยุดอยู่แค่การสื่อสารกับผู้บริโภคทาง เดียวอีกต่อไป ปัจจัยสำคัญมาจากสาเหตุของสภาพแวดล้อมและวิถีชีวิตของ ผู้คน ดังนั้นการสื่อสารกับผู้บริโภคจึงต้องคำนึงถึงวิธีการในการสื่อสารให้ สนุ ก และสร้ า งความสุ ข หรื อ ความบั น เทิ ง ให้ กั บ ผู้ บ ริ โภค ต้ อ งสร้ า งแรง บันดาลใจให้ผู้บริโภคแบบไม่ยัดเยียด เพราะบัดนี้ผู้บริโภคกลายเป็นผู้เลือกที่ จะรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารได้อย่างอิสระ มากกว่าในอดีตที่ผ่านมา ข้อมูลจากการสำรวจ พบว่า คนเมืองปัจจุบันใช้เวลากว่า 10 ชั่วโมงอยู่ นอกบ้ า น และใช้ เวลามากกว่ า 2 ชั่ ว โมง ในการเดิ นทางเพื่ อ ถึ ง จุ ด หมาย ปลายทาง เวลาเหล่านี้ล้วนเป็นช่วงเวลาแห่งโอกาสทองของสื่อนอกบ้าน คุณเกษม งามพจนา หัวเรือใหญ่ (อีกคน) หน้ารับแขกมั่กมาก ยิ่งนัก คินเนติค เวิลด์ไวด์ (ประเทศไทย) จำกัด ผู้นำอันดับหนึ่งด้านที่ปรึกษา การใช้สื่อนอกบ้านร่วมกับ 3 พันธมิตร มาพูด มาเล่าเรื่องราว แนวทางของ การใช้สื่อนอกบ้านให้มีประสิทธิภาพ คุ้มค่าเงิน และแสวงหาช่องทางร่วมกับ แนวคิดแปลกใหม่ ให้สินค้าและบริการได้อย่างไม่รู้จบ ผู้บริหารระดับซีอีโอ ก้ า วขึ้ น เวที อั ด แน่ น ด้ ว ยข้ อ มู ล ในเวลาที่ ก ระชั บ คื อ บริ ษั ท วี จี ไ อ โกลบอลมีเดีย จำกัด, บริษัท แพลน บี มีเดีย จำกัด และบริษัท เจซีเดอโก (ประเทศไทย) จำกัด ด้วยหัวข้อ “Innovation with No Boundaries” เมื่อ ปลายเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา แถมมีมุมมองของผู้บริหารสื่อจากประเทศจีน มาเปิดมุมมองตลาดยักษ์ใหญ่ผู้เป็นความหวังของชาวโลก ที่จะเป็นผู้นำใน การกอบกู้เศรษฐกิจโลกให้พ้นหุบเหว น่ า เสี ย ดายแทนหลายท่ า นที่ ไม่ มี จั ง หวะแวะเข้ า ไปฟั ง ที ม งานกอง บก.บห. จึงขันอาสาเก็บประเด็นมาเล่าสู่กันฟัง แบบเกาะขอบเวที ถอดรหัส ข้อมูล บรรยากาศในห้องสัมมนามาฝากกันดังนี้ VGI ค่ายนี้ จำลองรถเข็น บอกนัยว่ามี in-store media ด้วย นอกจากครองตลาด BTS แต่เพียงเจ้าเดียว

“กระตุ้นกำลังซื้อด้วยฤทธิ์ของ สื่อนอกบ้าน”

19


JCDecaux เจ้าแห่งป้ายริมถนน ยังขายดีไม่หยุด แถมมีไอเดียเก๋ๆ ชวนมองอีกด้วย

การแสดงแสงสีบนเวทีที่น่าประทับใจ

คุณสมชาย จารุธรรมสิริ Vice President, Sales and Marketing JCDecaux Thailand Co.,Ltd.

คุณสุรเชษฐ์ บำรุงสุข Country Manager Kinetic (Thailand)

คุณมารุต อรรถไกรวัลวที CEO VGI Global Media Co.,Ltd.

คนในวงการโฆษณาและสื่อนอกบ้านร่วมงานกันอย่าง คับคั่ง

20

เขียวนี้ เขียวคินเนติก Talk Show แบบเดี่ยวไมโครโฟน โชว์ความไฮเทค ทั้งตัว คนพูดและจอรูปพระจันทร์ ครึ่งวง สุรเชษฐ์ บำรุงสุข ผู้จัดการ บริษัท คินเนติค เวิลด์ไวด์ (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวเปิดประเด็น ของการทำการตลาดสื่ อ โฆษณานอกบ้ า นที่ เปลี่ยนแปลงไปจากช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ไม่ว่าจาก นวัฒกรรมการสื่อสาร เทคโนโลยี และที่สำคัญ ที่สุดพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปของผู้บริโภคใน 4 เรื่อง หลัก คือ พฤติกรรมผู้บริโภค นวัฒกรรมและแนว โน้มใหม่ของสื่อโฆษณานอกบ้าน ทั้งในประเทศ ภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟิ ก การผสานความคิ ด สร้างสรรค์ และการวัดผล สรุ ป แนวโน้ ม สื่ อ นอกบ้ า นมี แ นวทางที่ น่าสนใจคือ การสื่อสารกับผู้บริโภคที่อยู่ระหว่าง การเดินทางไปยังสถานที่ต่างๆ นั้น กลยุทธ์ของ การใช้สื่อจะต้องเน้นสื่อที่สามารถให้ทั้งภาพและ เสี ย ง เช่ น พบว่ า สื่ อ ณ จุ ด ขาย In-store media ในไฮเปอร์มาร์เก็ต ห้างสรรพสินค้า และ สถานีขนส่งต่างๆ การใช้จอโฆษณาดิจิตอลเพิ่ม เข้ามาใช้งานทั้งในกรุงเทพฯ และหัวเมือง ในขณะที่การพัฒนาเพิ่มเส้นทางระบบขนส่ง มวลชน เช่น การเปิดสถานีรถไฟฟ้า BTS เพิ่ม ขึ้นอีก 2 สถานี คือสถานีกรุงธนบุรี และวงเวียน ใหญ่ การเปิดให้บริการแอร์พอร์ตลิงค์สุวรรณภูมิ สายด่วนและสาย City Line ส่งผลให้สถานีเชื่อม ต่อกลายเป็นจุดสำคัญที่นักโฆษณา และเจ้าของ ผลิตภัณฑ์ให้ความสนใจ ประกอบกับการเป็นสื่อที่ ราคาไม่สูงนัก แต่สามารถเข้าถึงผู้บริโภคได้เป็น กลุ่มใหญ่ ในขณะที่สื่อ Ambient จะถูกนำมาใช้ งานกั บ สิ น ค้ า ต่ า งๆ เพื่ อ สื่ อ สารโดยตรงกั บ ผู้บริโภคและใช้ในการสร้างการจดจำและย้ำตรา ผลิตภัณฑ์ได้อย่างใกล้ชิดยิ่งขึ้น


“Show it off”

ผู้ใหญ่ใจดีนำทีมโดย คุณกัญญา ปัญญาอาจอง แห่งซากุระ (สวมกระโปรงสีน้ำเงิน)

พลังของศิลปะบริเวณลานหอศิลปวัฒนธรรมกรุงเทพฯ

ลีลาของศิลปินอย่าง ติ๊ก ชีโร่ ทั้งร้อง ทั้งเต้นและงานศิลปะ

ศิลปะ สมาธิ การสร้างสรรค์ เกิดขึ้น พร้อมกันได้

จินตนาการของเด็กๆ บางครั้งผู้ใหญ่เองก็คาดไม่ถึง เด็กๆ กับการวาดรูป การระบายสี เป็นอิสระทางความคิดที่พวกเขา ขี ด เขี ย น เลื อ กสี ส ดใสได้ ดั่ ง ใจจะนึ ก ไป จิ นตนาการใสๆ ของวั ย บริ สุ ท ธิ์ จะช่วยเติมความคิดสร้างสรรค์ให้พวกเขา และนำมาซึ่งความสุขใจให้พ่อแม่ ที่เห็นว่าศิลปะจะมีส่วนในการช่วยกล่อมเกลาจิตใจของเด็กๆ ให้อ่อนโยนได้ อย่างแยบยล งานนี้ คุณกัญญา ปัญญาอาจอง ผู้บริหารหัวใจศิลป์จาก บริษัท ซากุระ โปรดั ค ส์ (ไทยแลนด์ ) จำกั ด ผู้ แทนจำหน่ า ยผลิ ต ภั ณฑ์ สี แ ละเครื่ อ งเขี ย น “ซากุระ” จากประเทศญี่ปุ่น ออกโรงสนับสนุนกิจกรรมด้านงานศิลปะมา ตั้ ง แต่ ปี 2548 ด้ ว ยการเปิ ด โอกาสให้ เ ด็ ก ๆ วาดภาพระบายสี ไ ด้ ต าม จินตนาการ กลายเป็นงานศิลปะ ที่นำมาจัดนิทรรศการได้อย่างน่าชื่นชม ภายใต้แนวคิด การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย งานครั้งล่าสุด เมื่อกลางเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา เป็นการจัดงานครั้งที่ 3 ชื่ อ โครงการ เด็ ก ไทย หั ว ใจศิ ล ป์ Show it off เป็ น ผลงานของน้ อ งๆ นั ก เรี ย นในเขตกทม. กว่ า 1,000 คน กลายเป็ นงานศิ ล ปะกว่ า 400 ชิ้ น นำมาจัดแสดงผลงานไว้ ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร นานถึง 9 วัน และรายได้ที่เกิดจากขายภาพวาด จะมอบให้เป็นทุนการศึกษาของ นักเรียนต่อไป

21


(Selamat Datang, Malaysain words is mean Hello.) ที ม งานมี โอกาสไปเยื อ นกรุ ง กั ว ลาลั ม เปอร์ ประเทศมาเลเซียอีกครั้ง หลังจากที่เคยไปสัมผัส เมื่อน่าจะนานกว่าสิบปีมาแล้ว บ้านเมืองของเขาเจริญเติบโตด้านกายภาพที่ มองเห็นได้ชัดเจน มีตึกสูงจนสร้างสถิติโลก ครอง ความสูงที่สุดราว 600 เมตร เสียดฟ้า และเป็น ประเทศฐานการผลิ ต สิ น ค้ า ประเภทของกิ น ส่ ง ออกสู่ ต ลาดโลก อาทิ ขนมปั ง กรอบ แครก เกอร์ ช็อคโกแลต ตามนโยบายของรัฐบาลมาตั้ง แต่ปี 1995 เป็นต้นมา การไปในคราวนี้ มีเป้าประสงค์สองข้อหลัก คื อ การไปเยี่ ย มชม เดิ นดู ง านแสดงสิ นค้ า ชื่ อ IPMEX’09 : International Printing, Paper, Packaging Machinery Exhibition ของบริษัท Kaizer จำกั ด ซึ่ ง เป็ น สมาชิ ก ของสมาคมป้ า ย เอเชี ย ประเทศมาเลเซี ย และการประชุ ม ของ สมาคมป้ า ยเอเชี ย ครั้ ง ที่ 13 จึ ง ได้ ส องงานใน คราวเดียวกัน งานนี้จัดขึ้นที่ Putra World Trade Centre, กรุงกัวลาลัมเปอร์ เป็นการแสดงสินค้า ขนาด 2 ฮอลล์ ราวสัก 120 บูธ ระหว่าง 6 - 9 สิงหาคม ที่ ผ่ า นมา คะเนกั น ว่ า ตลอด 4 วั น มี ค นมาเดิ น ในงานใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา คือราวสัก 2 - 3 หมื่นคน ส่วนการประชุมครั้งที่ 13 ของสมาคมป้าย เอเชี ย นั้ น น่ า จะเป็ น หน้ า ที่ ข องคุ ณชาตรี อั ศ ว เบญญา ที่จะมาเล่าให้ทุกท่านได้รู้ข้อมูล ติดตาม ได้ในหน้า 23 ของนิตยสาร OHM ฉบับเดียวกันนี้ ประเทศมาเลเซี ย ในวั นนี้ ยั ง มี ค วามหลาก หลายของชนหลายเชื้ อ ชาติ คนจี น 25% คน อินเดีย 8% และคนพื้นเมือง - คนมาลายู กลาย เป็นการผสมผสานของวัฒนธรรมที่เรียกว่าเป็น Cultural mix มี ก ารกระทบกระทั่ ง กั น บ้ า ง ปะปรายเป็นเรื่องธรรมดามาก การค้นพบประเทศนี้ เกิดขึ้นตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 หลังการปฎิวัติอุตสาหกรรมในยุโรป ยุคการ

ล่ า อาณานิ ค ม ของประเทศมหาอำนาจจาก ตะวันตก มาเลเซียจึงอยู่ภายใต้การปกครองของ หลายประเทศ โดยล่ า สุ ด เป็ น อาณานิ ค มของ อังกฤษเป็นเวลา 160 ปี ก่อนที่จะมีการประกาศ เอกราชในปี 1957 จากนั้ น เกาะสิ ง คโปร์ ก็ ข อ ประกาศแยกประเทศเมื่อปี 1965 กรุงกัวลาลัมเปอร์ก่อตั้งในปี 1857 เป็นเมือง หลวงที่มีการวางผังเมืองไว้อย่างมีระเบียบ มีถนน หนทางให้ประชากรในเมืองเดินทางสะดวกสบาย มีรถไฟลอยฟ้า รถไฟรางเดียว - โมโนเรียล ขนส่ง จากนอกเมือง ในเมือง เชื่อมระบบกันถึง 5 สาย หลังประกาศเอกราช เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 1957 การปกครองแบ่ ง ออกเป็ น 9 รั ฐ มี 9 สุ ล ต่ า นดู แ ล และให้ มี ก ารแต่ ง ตั้ ง 1 ใน 9 นั้ น ขึ้ น มาเป็ นกษั ต ริ ย์ ทำหน้ า ที่ เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ข อง ประเทศ วาระละ 5 ปี ผู้ บ ริ ห ารประเทศสู ง สุ ด คื อ นายกรั ฐ มนตรี มาเลเซีย มีนายกฯ มาแล้ว 5 คน ผู้โด่งดังเป็นที่ รู้จักกันไปทั่วโลก ด้วยสไตล์ที่แสดงความชัดเจน เป็นตัวของตัวเองแข็งกร้าวมากที่สุด ท่ามกลาง การยอมรั บ ของคนส่ ว นใหญ่ ข องประเทศ และ ว่ากันว่า เขาเป็นผู้ที่มองการณ์ไกล วางรากฐาน ให้ประเทศจนกลายเป็นอาวุธสำคัญทางการค้า มาจนถึงวันนี้ คือ Dr. Mahathir Bin Mohamad ช่วงระหว่างปี 1981 - 1996 ช่ ว งเวลาสั้ น ๆ ในเมื อ งหลวงของมาเลเซี ย สัมผัสได้ถึงความรักชาติ “ธงชาติ” กลายเป็นของ ประดั บ ชิ้ น สง่ า บนตั ว ตึ ก ถนนเกื อ บทุ ก สาย ในร้านอาหาร สำนักงาน ห้างสรรพสินค้า เกือบ ทุ ก ที่ จะมี ธ งชาติ ป ระดั บ ไว้ ให้ ชุ่ ม ชื่ น ใจในความ รักชาติยิ่งนัก เวลาที่เร็วกว่าเมืองไทย 1 ชั่วโมง ไม่ได้ทำให้ ต้องปรับตัวกันนัก อากาศเย็นสบาย มีฝนกระจาย เมฆขาวกระจ่าง กระจายทั่วฟ้า สวั ส ดี มาเลเซี ย แล้ ว จะกลั บ มาเยื อ นใหม่ เมื่อมีโอกาส…

“สวัสดีมาเลเซีย Selamat Datang, Malaysia”

22

ข้อมูลจำเพาะ ประเทศมาเลเซีย ประชากร 27.73 ล้านคน รายได้ต่อหัวของประชากร 8,140 เหรียญสหรัฐ/คน/ปี สินค้าส่งออกสำคัญคือเครื่องใช้ไฟฟ้า และผลิตภัณฑ์ อิเล็คโทรนิก น้ำมันปาล์มและผลิตภัณฑ์ น้ำมันดิบ ไม้ เสื้อผ้า ยางพาราฯลฯ

กษัตริย์องค์แรก ของมาเลเซีย มีพระฉายาลักษณ์อยู่บน ธนบัตร

- ผลโกโก้ - Cocoa Pod ปลู ก ได้ ดี บนพื้ นที่ ไม่ เ กิ น 15 องศาจากเส้นศูนย์สูตร อุณหภูมิเฉพาะ 21˚-23˚ ฝนตกชุก 1,000 - 2,500 มล. ต่อปี - Cocoa แปลว่า Food of the god ค้นพบครั้งแรกใน ทวีปยุโรป เมื่อปี 1519 - มาเลเซี ย กลายเป็ น ประเทศผู้ ผ ลิ ต ช็ อ คโกแลตที่ มี ชื่ อ เสี ย งในยุ ค ของนายกรั ฐ มนตรี ค นดั ง - มหาเทร์ โมฮาวมัด


ตึกปิโตรนาส ตึกแฝด ที่ทำการของสำนักงานพลังงาน แห่ ง ชาติ ข องมาเลเซี ย กลายเป็ นจุ ด ขายที่ บ รรจุ ไว้ ใน ทุกโปรแกรมทัวร์ ทุกวันทำการเวลา 7.00 น. จะมีการ

ดอกชบา สี แ ดง ดอกไม้ ป ระจำชาติ ประดั บ ไว้ บ น เสาไฟฟ้า เห็นได้บนถนนหลายสาย แจกบั ต รเข้ า ชมฟรี 1,000 ใบ (ปิ ด เสาร์ - อาทิ ต ย์ ) ผ้าบาติก งานฝีมือเอกลักษณ์ระดับชาติ การประชุมผู้นำ ซึ่งอนุญาตให้เข้าชมได้ถึงชั้นที่มีจุดเชื่อมเท่านั้น ทุกครั้ง มักจะมีการสวมเพื่อถ่ายภาพร่วมกัน ในภาพคือ คุณชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีในยุคนั้น (ที่ 3 จากขวา) OHM magazine team had a chance to visit Kuala Lumpur, Malaysia once again after our last visit, over 10 years ago. Obviously, the city of Kuala Lumpur had grown significantly over the past years. Nowadays Kuala Lumpur or KL is famous for many aspects such as its architectural wonder “Petronas Towers”, one of the tallest skyscrapers in the world which its height often noted as around 600 meters from the ground. Malaysia is also one of the world food ธงชาติ เครื่องประดับที่คนมาเลย์ภูมิใจ ไม่ว่าจะเป็นที่ exporters who exports biscuits, crackers, and บนตึกสูง หรือแม้กระทั่งในร้านข้าวมันไก่ chocolate due to the government policy since 1995. Two main objectives of this trip were to visit the “IPMEX’09 : International Printing, Paper, Packaging Machinery Exhibition”, organized by Kaizer Exhibitions and Conferences Sdn Bhd which is the member of Asia Sign Association (ASA) and also to attend the ASA 13th Executive meeting that coincided with the exhibition. The IPMEX’09 was held at the Putra World Trade Center between 6th - 9th, August 2009. With two exhibition halls and about 120 booths, over 20,000 visitors were Ms.Belle Yam แห่ง บริษัท Kaizer จำกัด เป็นบริษัท ผู้จัดงานแสดงสินค้า เธอก่อตั้งบริษัทนี้มากับมือ เมื่อ attending the show during those 4 days of 12 ปีก่อน หลังจากที่มีประสบการณ์จากงานเลขนุการ มานานนับสิบปี วันนี้พี่ชายและลูกชายเข้ามาช่วยเสริม exhibition. As for more exciting details of the ASA งานได้มากแล้ว ด้วยบุคคลิก มนุษยสัมพันธ์ที่ดีของเธอ เครือข่ายกลุ่มคนของเธอจึงกว้างขวางขึ้นเรื่อยๆ 13th Executive Meeting, Mr.Chatre Asavabenya will describe, please turn over to multi-cultural and multilingual society. The page 23. population is 27.7 million consisting of 25% Today Malaysia is still a multi-ethnic,

Chinese, 8% Indians and 62% Natives, with other minorities and indigenous peoples. Cultural mix has sometimes caused the ethnic tensions in country but nothing considered as a serious issue. Malaysia was discovered in the 18th century. After the Industrial Revolution, the United Kingdom had established influence in colonies in the territory for over 160 years. Later Malaysia has gained independence in 1957 and formed the country with the joint state of Singapore which later liberated itself in 1965. Kuala Lumpur has its origins in 1857. Ever since KL is considered the city that has the best urban planning with not only the comprehensive road networks and expressways, but also convenient transportation systems such as sky train, monorail and other forms of transportation that serves both locals and tourists over years. After Malaysia has gained independence on August 21 st , 1957, administratively Malaysia consists of nine states. Each state is controlled by different rulers. Kings are elected by and from the hereditary rulers of nine of the states for five-year terms. Prime Minister is the head of government. Dr. Mahathir Bin Mohamad was the forth and the most famous and well-known Prime Minister of Malaysia. He held the post for 22 years from 1981-2003. With his strong personality and prudential, he was the one who made Malaysia into a major industrial power using his ability and foresight as the key success factors. In such a short trip, we can feel the patriotism in the capital of Malaysia. Decorative and grand flags are raised everywhere such as buildings, roads, restaurants, department stores and many tourist attractions. Everywhere we go, you can really feel their patriotism through these city decorations. What a wonderful feeling indeed!. Malaysia time is only one hour ahead of Thailand, which does not make us too exhausted for the trip. And with a beautiful weather in a cool and breezy day, we must say it was a very pleasant day in the city of Malaysia. Salamat Jalan Malaysia and we will be there again sometimes… soon.   23


ทั่วไทย ทั่วโลก ไอเดียสื่อนอกบ้านบรรเจิด เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกโอกาส ทุกสถานที่ คุ ณ จะรู้ สึ ก เช่ น ไรถ้ า ได้ เ ห็ น รถยนต์ถูกแขวนอยู่บนเพดานแทนที่ จะถูกวางไว้ในแนวระนาบ คิ น เนติ ค ที่ ป ระเทศเยอรมั นนี เปิดตัว FIAT 500c ด้วยการทำแบบ จำลองขึ้นไปแขวนไว้บนเพดานของ สนามบิ นที่ นคร Frankfurt ในช่ ว ง เวลาเดียวกับการจัดงานแสดงสินค้า รถยนต์ น านาชาติ (International Motor Show- OAA)ในเดื อ น กันยายนในปีนี้ เป็นการแขวนกลั บ หัวกลับหางเพื่อให้ผู้คน ที่เข้ามาใช้ บริ ก ารในสนามบิ น แห่ ง นี้ ใด้ เห็ นถึ ง ความสะดวกสบายและรู ป ลั ก ษณ์ ภายในรถยนต์ได้อย่างถนัดตา พร้อม ติดตั้งดิจิตอลเทคโนโลยี Bluetooth เข้ามาช่วยให้ข้อมลูในรายละเอี ย ด เกี่ ย วกั บ รถยนต์ รุ่ น นี้ อย่ า งถึ ง กึ๋ น ที่ FIAT 500 microsite นี่เป็นอีกหนึ่งผลงานที่มีการนำ ดิจิตอลเทคโนโลยีมาผสมผสานกับ สื่ อ นอกบ้ า น ผลงานชิ้ น นี้ ไ ด้ ก ลาย เป็ น Talk of the town ได้ เ พี ย ง ข้ามคืน ทั้งในสื่อสิ่งพิมพ์ และในสี่อ Online FIAT 500C – Happy to Meet You Kinetic Group Germany “Special Projects” helps to launch the new Fist 500 Cabriolet with the use of some very unusual special builds Campaign The Fiat 500 has become one the of top selling small cars in Europe, with the Cabriolet set to launch September. Innovative thinking from Kinetic Group Germany’s “Special Projects” team saw the installation of models of the

car hung upside-down, allowing passengers by to view the interior of the car through the foldable roof. The location chosen for the special builds was Airport Terminal 1A in Frankfurt, where the International Motor Show (OAA) will take place in September. Panels, wall-wraps and lightboxes in the check-in area of the airport feature views of the Fiat 500. A Bluetooth elements in the airport sends travelers a link to a Fiat 500 microsite. Results The campaign is still receiving PR in print and online. It is hoped that motor enthusiasts visiting Frankfurt for the International Motor Show will be wowed by the builds.

สุรเชษฐ์ บำรุงสุข บริษัท คินเนติค เวิลด์ไวด์ (ประเทศไทย) จำกัด Surachet Bumrongsuk Country Manager Kinetic

F I A T 5 0 0 c c - H a p p y t o M e e t Y o u

24

FIAT 500cc - Happy to Meet You Country: Title: Advertiser: Product / Service: OOH Agency:

A video of the Installation can be viewed here. http://ow.ly/IGMK

Germany Fiat 500cck- Happy to Meet You Fiat Automobile FIAT 500cc Cabriolet Kinetic Germany


มณฑิชา สุขจันทร์ บริษัท เนสท์เล่ (ไทย) จำกัด Montichar Sookchan Integrated Marketing Communication & PR Group Manager Nestle (Thai) Ltd. คงยังไม่เชยนะคะ หากดิฉันจะชวนคุยเรื่องเบื้องหลังแนวคิดของแคมเปญการหาเสียง ของท่านประธานาธิบดีโอบามา เพราะมันเป็นการทำงานของนักการตลาดบวกนักโฆษณาที่ เล็งผลมวลรวมมากกว่าการมองเป็นสินค้าอุปโภคบริโภคตัวอื่นๆ ความละเอียดอ่อน ทางการเมืองยิ่งทำให้นักวางแผนงาน ต้องเกาะติดอยู่ตลอดเวลา เพราะ “สินค้า” ตัวนี้ของเขาเป็นสินค้าที่มีลมหายใจ มีชีวิตจิตใจ ใช่ว่าจะจับวางตรงไหนได้ ง่ายๆ เพราะมีมิติที่คนจะมองหลายมุม มากจนอาจยากเกินการประเมิน ไอเดีย หรือแนวคิดที่ดี ย่อมก่อเกิดไอเดียโดนๆ ได้ ซึ่งเรียกว่า Big Idea ดังนั้น คำนี้ จึงมีสมการที่น่าสนใจ ดังนี้ค่ะ BIG IDEA = Creative thought that sits above all Touch Points การสื่อสารทางการตลาดแบบองค์รวม - Integrated Marketing Communications ที่ดีต้องช่วยต่อยอดให้ Big Idea ขยายตัว แบบขจรขจายได้เจ๋งมากๆ Big Idea ที่ดีต้องสะท้อน…ความเป็นตัวตนของแบรนด์ - Brand DNA Big Idea ที่ดีต้อง…สด - Original และมีเอกลักษณ์ - Unique Big Idea ที่ดีต้อง…กำเนิดจากความต้องการเบื้องลึกของผู้บริโภค - Build on the insights Big Idea ที่ดีต้อง…ต้อง Campaignable จากรูปที่ท่านผู้อ่านเห็นอยู่นี่ดูได้เลยค่ะ Big Idea ของแคมเปญนี้คือ การถอดรหัส เป็นคำว่า “CHANGE we need “จาก ธรรมชาติ ตัวตนของ “สินค้า” ที่พวกเขาสัมผัสได้ เริ่ม ตั้งแต่ ความเหมาะสมกับบุคลิกของโอบามา…ผู้นำที่เปี่ยมด้วยความสุขุมคัมภีรภาพ ความเหมาะสมกับสภาวการณ์…การตกต่ำของสภาพเศรษฐกิจของอเมริกาจากการ ล่มสลายของตลาดการเงินที่ประสบอยู่ ความเบื่อหน่ายและหมดความอดทนของชาวอเมริกันต่อระบบการเมืองแบบเก่าที่โต้ เถียงและโจมตีกันไปมา ความต้องการของประชาชนชาวอเมริกา…ความต้องการเปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งที่ดี สุนทรพจน์ของโอบามาถูกร่างขึ้นมา โดนเป้า – บิงโก และเรียกคะแนนได้เต็มๆ ว่า We are the ones we’ve been waiting for. We are the change that we seek. “เราคื อ สิ่ ง ที่ เ ราเฝ้ า รอคอย เราคื อ ความเปลี่ ย นแปลงที่ เ ราเฝ้ า แสวงหา” หรื อ สุนทรพจน์ที่กล่าวที่เมือง Denver เดือนสิงหาคม 2008 ว่า Change doesn’t come from Washington, Change comes to Washington CHANGE ความเปลี่ยนแปลง คำภาษาอังกฤษหกตัวที่มองเผินเผินแทบจะไม่มีความ หมาย แต่สำหรับโอบามา เขาสามารถถ่ายทอดออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพและทำให้ ชาวอเมริกันเชื่อมั่นว่าเขาจะนำความเปลี่ยนแปลงมาสู่สหรัฐอเมริกาได้จริง เขาทิ้งคำพูดบางคำให้ผู้คนชาวอเมริกันกลับไปคิดต่อว่า “ผมไม่น่าจะมีโอกาสที่จะเป็น แม้แต่ผู้มีสิทธิ์ลงชิงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาเลยด้วยซ้ำ” เป็นคำพูดที่ อ่อนน้อมถ่อมตัวจนเรียกคะแนนเสียงได้อย่างท่วมท้น เปรียบได้ว่า บางครั้ง สินค้าก็ไม่จำเป็นต้องคุยโม้โอ้อวดสรรพคุณมากเกินไป ความ เรียบ ความง่าย ตามธรรมชาติของสินค้า คือความจริงใจ ข้อเท็จจริงของสินค้าย่อมสร้าง ความยั่งยืนให้สินค้าได้เสมอ…

“BIG

ทำยังไงให้ขายของได้ ด้วยงานปิ้ง ทิ้งหมัดเข้ามุม

IDEA ”

25


COVER STORY

นานเท่าไหร่แล้ว ที่คุณคุณ ไม่ได้นั่งรถเมล์ …จำไม่ได้แล้ว คุณนั่งรถเมล์ครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่ …จำไม่ได้แล้ว ระบบขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานคร มีรถเมล์เป็นเส้นทางหลักเส้น แรก ตั้งแต่ยุครถเมล์ขาวของ “นายเลิศ” และสีต่างๆ ก็ตามมา วิ่งรับส่ง ผู้โดยสารที่สัญจรไปมา ทันสมัยแห่งยุค ที่ยังใช้รถราง และรถสามล้อ ผู้คนที่หนาแน่น การอพยพสู่เมืองเพื่อแสวงหาโอกาสการทำกิน ตามบ่อ แห่งความเจริญและศูนย์รวมของทุกสรรพสิ่งที่ฝังตัวอยู่ในพื้นที่ ราว 1,500 ตารางกิ โ ลเมตรของกรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล ทำให้ ห น่ ว ยงานที่ เกี่ยวข้องต้องมีหน้าที่จัดหาระบบสาธารณูปโภคเข้ามารองรับ ปี 2516 นโยบายการรวมรถเมล์รับซื้อกิจการจากเอกชน โอนเข้ามา สังกัดหน่วยงานรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นมาใหม่ชื่อ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ - ขสมก. จึงเริ่มต้นมา ณ วันนั้น การบริหารจัดการของหน่วยงานนี้ หากมองข้ามเลยหลายเหตุในการ บริหารงานโดยมองบรรทัดสุดท้าย ปัจจุบันพบว่ามีตัวเลขขาดทุนอยู่กว่า หกหมื่นล้านบาท !!!!! ช่องทางการเดินรถ โอกาสทางธุรกิจที่มองเห็น พบว่า ยังมีภาคเอกชนที่ เดินเข้ามาทำงานในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับกิจการรถเมล์ไม่ขาดสาย จำนวนประชากรที่อาศัยในเมืองหลวงกว่า 10 ล้านคน เป็นตัวเลขที่ น่าสนใจต่องานโฆษณายิ่งนัก และประชากร อาจถูกแยกไปเป็น กลุ่มคนที่ใช้ รถยนต์ ส่ ว นตั ว รถสาธารณะ รวมทั้ ง การขนส่ ง ระบบใหม่ ทั น สมั ย อย่ า ง รถไฟฟ้า BTS และ รถไฟฟ้า MRT กว่ า สองล้ า นคนต่ อ วั น ของผู้ โ ดยสารที่ ยั ง ใช้ บ ริ ก าร “รถเมล์ ” ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจึงเป็นกลุ่มที่น่าสนใจเรื่องการใช้สื่อนอก บ้าน ด้วยความใหญ่ของตัวรถ ที่เด่นเห็นแต่ไกล ด้วยการปรับปรุงคุณภาพ การบริ ก าร การนำเสนอ ใส่ สื่ อ ที่ ทั น สมั ย น่ า สนใจ ช่ ว ยยกระดั บ แบรนด์ สินค้า และยิงตรงถึงกลุ่มเป้าหมายได้ฉมัง นับรวมรถเมล์ ทั้งประเภทเมล์ร้อน - เปิดหน้าต่างรับลม เมล์เย็น - ติด แอร์ทั้งคัน น่าจะมีตัวเลขไม่ต่ำกว่า 15,000 คันขึ้นไป ยิ่งหากเติมรถเมล์เช่า NGV เข้ามาอีก 4,000 คัน ยิ่งสนุกกันอีก ในการชิงชิ้นเค้ก สื่อโฆษณา กับ รถเมล์ ยุคนี้คิดค่าโดยสารต้องบวกเงินรายได้จากค่าโฆษณาประกอบไว้ด้วย ผู้คนที่เกี่ยวข้อง มอง คิด วางแผน อย่างไร ชวนติดตามดีจัง ขอสั ก วั นนะ ถ้ า จะชวนคุ ณ ๆ ไปนั่ ง รถเมล์ กั น เถอะ เดี๋ ย วนี้ ไม่ มี เ สี ย ง กระเป๋า กระปี๋ ร้องตะโกน “เดินในหน่อยเพ่…” ให้ได้ยินกันแล้วกระมัง…

เดินในหน่อยเพ่… !!


สื่ อ โฆษณาบนรถประจำทาง หรือรถเมล์ เป็นสื่อที่เจ้าของสินค้า, เอเยนซี และนักการตลาดเลือกใช้ เป็ นช่ อ งทางในการสร้ า งการรั บ รู้ และตอกย้ ำ แบรนด์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ เป็นที่รู้จัก กลายเป็นสื่อที่ได้รับความ สนใจมากขึ้ น ในรอบไม่ เ กิ น สิ บ ปี ที่ผ่านมา จุ ด เ ด่ น ข อ ง สื่ อ ร ถ เ ม ล์ ประสิทธิภาพในการเข้าถึงผู้บริโภค ยุ ค ใหม่ ซึ่ ง มี วิ ถี ก ารดำเนิ นชี วิ ต อยู่ นอกบ้านมากชั่วโมงขึ้น จากสภาพ การจราจรที่ติดขัด จึงทำให้มีโอกาส สู ง ขึ้ น ที่ พ วกเขาจะเห็ น ชิ้ น งาน โฆษณาที่ ป รากฏอยู่ บ นตั ว รถเมล์ มากขึ้นนั่นเอง “รถประจำทางหรือรถเมล์เป็น สื่ อ โ ฆ ษ ณ า เค ลื่ อ น ที่ ซึ่ ง ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตถู ก ต้ อ งตามกฎหมาย เป็ น หนึ่งในสื่อนอกบ้านที่มีคุณค่าในการ เข้าถึงผู้บริโภค เพราะเคลื่อนที่ผ่าน แหล่ ง ชุ ม ชน ย่ า นธุ ร กิ จ การค้ า มีเส้นทางการเดินรถที่ครอบคลุมทั้ง ในเขตกรุ ง เทพฯ และปริ ม ณฑล ค รั บ ” คุ ณ โ อ ภ า ส เ พ ช ร มุ ณี ผู้อำนวยการ องค์การขนส่งมวลชน กรุงเทพ (ขสมก.) กล่าวถึงรายได้อีก ประเภทของขสมก. ที่ ไ ด้ รั บ ค่ า สัมปทานจากภาคเอกชน ซึ่งเขาเอง ก็รู้ดีว่าสินค้าในมือมีจุดเด่นด้านใด ปั จ จุ บั น ขสมก. เปิ ด โอกาสให้ บริ ษั ท เอกชนดำเนิ น การทำสื่ อ โฆษณาบนรถโดยสารประจำทาง โดยในแต่ละสัญญาจะกำหนดระยะ เวลาไว้ 3 ปี โดยมี ค่ า สั ม ปทานให้ กับ ขสมก. ตามที่ระบุไว้ในสัญญา ซึ่ ง ขสมก. มี ร ถในความรั บ ผิ ด ชอบทั้ ง หมดจำนวน 3,517 คั น แยกเป็นรถโดยสารธรรมดา(ครีมแดง) 1,538 คั น รถโดยสารปรั บ อากาศยูโรทู (สีส้ม) 1,294 คันและ รถโดยสารปรับอากาศ(ครีม-น้ำเงิน) 564 คั น และรถโดยสารธรรมดา ครีมขาว(ครีม-น้ำเงินเดิม) 121 คัน

รถเมล์ร้อนเข้าถึงวิถีชีวิตคนไทย รถเมล์ยูโรทู แหล่งรายได้ของขสมก. “การที่เราเปิดโอกาสให้บริษัทเอกชนเข้ามาเป็นผู้บริหารสื่อโฆษณา บนรถประจำทาง ถือเป็นช่องทางในการเพิ่มรายได้ให้กับ ขสมก. ถึง แม้ว่าจะเป็นรายได้ที่ไม่มากเมื่อเทียบกับหนี้สิ้นที่ ขสมก. มีอยู่ประมาณ กว่า 6 หมื่นล้านบาท แต่เงินที่ได้ก็มากพอที่จะนำมาเป็นเงินเดือนและ สวัสดิการให้กับพนักงาน ขสมก. ทุกคนครับ” อย่างไรก็ตาม แม้ว่า ขสมก.จะเปิดโอกาสให้บริษัทเอกชนเข้ามาเป็น ผู้บริหารสื่อโฆษณา ไปแล้ว แต่ในฐานะเจ้าของรถ การตรวจสอบตาม ระบบการบริหารจัดการรัฐวิสาหกิจ จึงมีการแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นมา 1 ชุด เพื่อตรวจสอบความเรียบร้อยของสินค้าที่มาลงโฆษณา ว่าจะต้อง ไม่เป็นสินค้าที่ผิดกฎหมาย ทั้งในด้านคุณธรรมและจริยธรรม รวมทั้งวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ต้องไม่ทำลายวิสัยทัศน์ในการมองเห็น ของผู้โดยสาร ทั้งการมองเข้ามาในตัวรถและการมองออกไปนอกตัวรถ โดยระบุไว้ในสัญญาสัมปทานว่า ผู้เช่าจะติดสติ๊กเกอร์ภาพโฆษณาหรือ ตัวอักษรบริเวณกระจกที่แสงผ่านได้และสามารถมองวิสัยทัศน์ภายนอก ได้ชัดเจน ชนิดของฟิล์มสติ๊กเกอร์ต้องผ่านการเห็นชอบจากกรมการ ขนส่งทางบกแล้วเท่านั้น “เป็ น เรื่ อ งที่ น่ า ยิ น ดี ค รั บ ที่ ตั้ ง แต่ ขสมก.ให้ เ อกชนเข้ า มาเป็ น ผู้ บ ริ ห ารสื่ อ โฆษณาบนรถเมล์ ยั ง ไม่ เ คยมี ป ระวั ติ เ สื่ อ มเสี ย หรื อ ทำให้ขสมก. ต้องเสียชื่อ เกี่ยวกับสื่อโฆษณาบนรถเมล์แต่อย่างใด”

COVER STORY

“รถเมล์คันใหญ่สุด... บนท้องถนน”

คุณโอภาส เพชรมุณี ผู้อำนวยการ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ Opart Petchmunee Director Bangkok Mass Transit Authority

“…รถเมล์ สื่ อ เคลื่ อ นที่ ที่ มี ข นาด ใหญ่ ที่ สุ ด บนท้ อ งถนน การมอบ สั ญ ญาให้ เ อกชนเข้ า มาทำธุ ร กิ จ โฆษณาได้ จึ ง เป็ น รายได้ เพี ย งพอ ต่ อ การนำมาเป็ น สภาพคล่ อ งหมุ น เวี ย นในขสมก. แม้ จ ะต้ อ งมี ห นี้ สิ น ที่ ต้ อ งแบกรั บ อยู่ ก ว่ า 60,000 ล้านบาท…” “…buses are the biggest mobile media on streets…”


COVER STORY

“ตามเมืองใหญ่ของทั่วโลก มีระบบการเดินทางที่ขนส่งคนได้คราว ละมากๆ คื อ รถไฟฟ้ า รถประจำทาง ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ รั ฐ บาลต้ อ งเป็ น ผู้ ดำเนินการ หรืออาจมอบสัมปทานให้เอกชนเข้ามาลงทุนได้ แต่อยู่ในการ กำกั บ ดู แ ลของหน่ ว ยงานรั ฐ ให้ แน่ ใจว่ า เป็ นธรรมต่ อ ประชาชน เรื่ อ ง รถเมล์ในกรุงเทพฯ เป็นเรื่องที่น่าสนใจศึกษา ทั้งที่รู้ว่าปัญหาเกิดจาก อะไร ขสมก.จึ ง ขาดทุ น นโยบายของรั ฐ บาล มี ผ ลอย่ า งมากกั บ การ ทำงานของภาคเอกชน ซึ่งผมคิดว่าเข้มแข็งกว่าเดิมมาก ภาคเอกชน จึง เป็นความหวังที่จะนำพาเศรษฐกิจให้เดินไปข้างหน้า ขณะที่ภาครัฐบาล เล่นบทบาทของการเป็นผู้อำนวยความสะดวก หรือบางครั้งอาจเป็นตัว ถ่วงเชิงนโยบายได้เหมือนกันครับ” คุ ณ สมพงษ์ ฝึ ก การค้ า เจ้ า ของสั ม ปทานใบอนุ ญ าต การเดิ น รถ ประจำทางปรับอากาศพิเศษ 35 เส้นทาง ในกทม. เล่าถึงประสบการณ์ ที่เขาเคยเดินทางไปดูงานด้านระบบการขนส่งของเมืองใหญ่ทั่วโลกมา แล้วไม่ต่ำกว่า 10 เมือง และเขาเคยคลุกคลีอยู่กับวงการ “รถเมล์” มา นานกว่า 40 ปี ด้วยโลโก้ประจำตัวของการเดินรถ “ไมโครบัส” เมโทรบัส ทางเลือกใหม่ของคนกรุงเทพฯ การเกิดขึ้นของรถโดยสารประจำทางปรับอากาศพิเศษ “เมโทรบัส” นับเป็นการเปิดหน้าประวัติศาสตร์หน้าใหม่อีกหน้าของการเดินรถขนส่ง มวลชนในเมืองหลวง เพราะเจ้ า ของใบอนุ ญ าตคนเดิ ม คื อ “บริ ษั ท บางกอก ไมโครบั ส จำกั ด ” โดยคุ ณ สมพงษ์ ฝึ ก การค้ า ที่ วั น นี้ เ ขาเลื อ กกลุ่ ม บริ ษั ท “พรีเมียร์” เข้ามารับงานต่อเพื่อหยิบยื่นระบบการขนส่งมวลชนทางเลือก ใหม่ให้กับคนกรุงเทพมหานคร กลุ่มบริษัท “พรีเมียร์” เป็นกลุ่มธุรกิจรายใหญ่ที่มีกิจการอยู่ในหลาย ธุ ร กิ จ อาทิ วงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ การเงิ น สารสนเทศ คอนซู เมอร์โปรดักส์ ตลอดจนธุรกิจด้านอื่นๆ อีกหลายประเภท

“รถเมล์ คู่กับคนเมืองใหญ่”

คุณสมพงษ์ ฝึกการค้า ประธาน บริษัท บางกอก ไมโครบัส จำกัด บริษัท บางกอก คอนสตรัคชั่น จำกัด Sompong Fugkhanca President Bangkok Micro Bus Co.,Ltd Bangkok Construction Co.Ltd.

“…ผมคิ ด ว่ า ยั ง ไงเสี ย รถเมล์ ก็ ยั ง ต้องอยู่คู่กับเมืองใหญ่ แม้จะมีรถไฟ ฟ้ า ในอนาคตแล้ ว ก็ ต าม ซึ่ ง อาจมี การปรับตัวไปตามสภาพแวดล้อมที่ ต่างไป…” “…I think buses will always be a part of the big city like Bangkok, even though we will have better transportation systems in the future…”

คุณชญาน์วัต ปุตระเศรณี บริษัท สาระสุข จำกัด Chayawat Putrasreni Business Director SARASUK Co.,Ltd.

“ … เม โ ท ร บั ส จ ะ ไม่ แ ร ป ตั ว ร ถ ด้ า นนอก แต่ มี จ อ LCD จำนวน 4 จอ ในตั ว รถ เน้ น สื่ อ ภาพ ที่ ม า พร้อมกับสื่อเสียง…” “…Metro Bus focus on four LCD monitors, installed inside the bus bodies which will be focusing more on visual with audio media …”

วันนี้ของเขา เลือกที่จะใช้ชีวิต ตามสบาย ไม่ เร่ ง รี บ กั บ วั ย 75 ปี และมองหาผู ้สืบทอดธุรกิจที่เขารัก กับผู้บริหาร นักธุรกิจหนุ่มแห่ง ไปให้ ค่ าย “พรีเมียร์” ให้มารับช่วงงาน “ไมโครบั ส ” วั น วาน จึ ง กลาย น “เมโทรบัส” วิ่งรถเมล์ประเภท เป็ น - ปรั บ อากาศ ด้ ว ยตั ว รถ รถเย็ สี สัน สดใส ใหม่สด บนท้องถนนให้ งเลือกนั่งได้ตามกำลังเงินใน คนกรุ ก ร ะ เ ป๋ า 2 0 - 3 0 - 4 0 บ า ท ตลอดสาย ก า ร รั บ ง า น ต่ อ ม า จ า ก คุ ณ สมพงษ์ ฝึ ก การค้ า กลุ่ ม บริ ษั ท “พรีเมียร์” จึงตั้ง “บริษัท พรีเมียร์ เมโทรบั ส จำกั ด ” ขึ้ น มารองรั บ และมีบริษัทลูกชื่อ “บริษัท สาระสุข จำกั ด ” มาดำเนิ นธุ ร กิ จ บริ ห ารสื่ อ โฆษณา ธุรกิจการตลาดและบริหาร สื่ อ ทั้ ง หมดบนรถเมโทรบั ส ได้ แ ก่ จอแอลซีดี (LCD) คุ ณ ชญาน์ วั ต ปุ ต ระเศรณี B u s i n e s s D i r e c t o r บ ริ ษั ท สาระสุข จำกัด กล่าวว่า รถโดยสาร ประจำทางปรับอากาศพิเศษเมโทร บั ส ใ ช้ ร ะ บ บ ก๊ า ซ ธ ร ร ม ช า ติ CNG(compressed natural gas) และ NGV(Natural gas vehicle) บนเส้ นทางเดิ น รถ 35 เส้ นทางใน เขตกรุงเทพฯ เปิดให้บริการไปแล้ว 7 เส้นทาง แบ่งเป็นรถเมโทรบัสนั่ง และยื น ราคา 20 บาทตลอดสาย, รถเมโทรบั ส ประเภทนั่ ง ราคา 30 บาทตลอดสาย และรถนั่ ง เมโทร เอ็ ก ซ์ เ พรส - Metro Express ราคา 40 บาทตลอดสาย

“สร้างสรรค์งานโฆษณาบนรถเมโทรบัส”


ขณะนี้มีรถเมโทรบัสให้บริการ อยู่ 129 คัน และในอนาคตจะขยาย เส้นทางเดินรถให้ครบ 35 เส้นทาง ทั่วกรุงเทพฯ พร้อมกับเพิ่มจำนวน รถให้บริการถึง 1,050 คันตามแผน งานที่ ว างไว้ เพราะทั้ ง นี้ ต้ อ งรอ สถานีบริการการเติมก๊าซให้สมบูรณ์ ก่อน แนวทางการบริหารสื่อโฆษณา บนรถเมโทรบัสในปัจจุบัน เป็นการ ให้ ค วามสำคั ญ กั บ การนำเสนอ เนื้อหาสาระบนจอ LCD ที่ติดตั้งอยู่ ภายในตัวรถเมโทรบัสจำนวน 4 จอ และจำนวน 1 จอในรถเมโทรเอ็กซ์ เพรส ทั้ ง นี้ ร ถเมโทรบั ส และรถ เมโทรเอ็ ก ซ์ เ พรสจะไม่ มี ก ารทำ สื่ อ โฆษณาสติ๊ ก เกอร์ บ นตั ว ถั ง ภายนอกรถอย่ า งที่ ค่ า ยอื่ น ๆ ทำ โดยมีเหตุผลว่า “เป็นนโยบายของบริษัทฯ ครับ

เพราะเราคำนึ ง ถึ ง ความปลอดภั ย ของผู้ โ ดยสารเป็ น หลั ก อยากให้ ผู้โดยสารนั่งรถด้วยความสบายตา ไม่มีอะไรมาบดบังทัศนวิสัยทั้งจาก ภายในและภายนอกเพื่อป้องกันเหตุสุดวิสัยใดๆ ที่อาจเกิดขึ้น” ดังนั้นจอ LCD บนรถเมโทรบัส จึงประกอบด้วยความบันเทิง 80% เน้นคุณภาพ ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้โดยสาร อาทิ รายการสารคดีจากบีบีซี ประเทศอังกฤษ มีข่าวที่ทันต่อเหตุการณ์ มีรายการที่บริษัทนี้เป็นผู้ผลิต เอง ชื่ อ “อะจิ ง ดิ ” เป็ นการนำเสนอ เรื่ อ งราวความแปลกใหม่ เ กร็ ด ความรู้แปลกๆ ใหม่ๆ ที่อยู่ในประเทศไทย และที่เหลืออีก 20% เป็น หนังโฆษณา การขายงานโฆษณาของค่ า ยนี้ มี ก ารคิ ด แบบแปลกใหม่ ให้ ลู ก ค้ า เลือกได้ อาทิ การแลกสินค้าตัวอย่าง การทำกิจกรรมร่วมกับผู้โดยสาร การเข้ามาร่วมกับการผลิตรายการที่ฉายบนรถเมโทรบัส ความได้เปรียบ ของเมโทรบัสคือความใหม่เอี่ยมของตัวรถ การมีความแตกต่างเรื่อง ราคาค่าโดยสาร เลือกที่จะนั่ง เลือกที่จะยืน ในการเดินทางสู่จุดหมาย ปลายทาง แม้ ร ถราจะติ ด หนึ บ บนท้ อ งถนน หากมี เ กมเพลิ น ๆ มี ห นั ง สนุ ก สารคดีให้ความรู้ แทรกไปด้วยงานโฆษณาบ้าง ผู้โดยสารก็ยังรู้สึกได้ว่า คุ้มค่ากับชีวิตบนท้องถนนที่รีบเร่ง เคร่งเครียด เมโทรบัสอาจเป็นทาง เลือกหนึ่งที่พวกเขาพอจะเลือกได้บ้างกับชีวิตประจำวันที่ยังมีอีกหลายสิ่ง ที่พวกเขาเลือกเองไม่ได้

COVER STORY

ความบันเทิงที่เคียงคู่กับการเดินทาง

“รถเมล์ร้อน ก็มีกลุ่มขาประจำ” “จุ ด เด่ นของสื่ อ โฆษณาบนรถ ประจำทางครี ม - แดง (รถร้ อ น) คือ ความถี่ของป้ายโฆษณาที่มีเป็น จำนวนมาก สามารถพบเห็นได้ทุก วั น และเข้ า ถึ ง ผู้ บ ริ โ ภคทุ ก เพศ ทุกวัย เพราะโฆษณามีอยู่รอบตัวรถ และภายในรถค่ะ” คุณอารียา กิตติ ถนอม ผู้จัดการทั่วไป บริษัท บี.วี.เค จำกัด ชี้ให้เห็นถึงข้อดีสำหรับการลง สื่อโฆษณาบนรถประจำทางครีม แดง บริ ษั ท บี . วี . เค. จำกั ด ได้ รั บ สัมปทานจากองค์การขนส่งมวลชน ก รุ ง เท พ ห รื อ ข ส ม ก . ให้ เป็ น ผู้ บ ริ ห ารสื่ อ โฆษณาบนรถประจำ ทางครีม - แดงจำนวน 1,570 คัน มาอย่างต่อเนื่อง กำหนดอายุสัญญา ทุ ก 3 ปี โดยแต่ ล ะปี บ ริ ษั ท จะต้ อ ง จ่ า ยสั ม ปทานให้ กั บ ขสมก. แบบ เหมาจ่าย ปัจจุบัน 60% เป็นลูกค้า ของบริ ษั ท ฯ และอี ก 40% เป็ น ออร์เดอร์จากเอเยนซี จุดการขายโฆษณาของรถเมล์ ร้อนมีจุดต่างๆ เช่น ตัวรถด้ายซ้าย ขวา - ฝั่ ง คนขั บ และท้ า ยรถ เป็ น

พื้นที่ใหญ่สร้างอิมแพ็คได้ดี จุดเด่นรับสายตาด้วยราคาหลักพันบาทต่อเดือน ดูเป็นราคาย่อมเยา ประกอบกับกลุ่มคนที่ใช้บริการอาจจะถูกมองข้ามจากสินค้าหลายตัวแต่ ยังมีสินค้าที่เจาะ เหมาะกับประชาชน กลุ่มที่ใช้บริการรถร้อน ที่เลือก ด้วยเหตุผลของการวางแผนการตลาดของสินค้านั้น เช่น ผู้ขายเครื่อง โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น อนาคตของการวิ่งของรถเมล์ร้อนมีความไม่แน่นอน หากมีการเพิ่ม รถเมล์เช่า NGV จำนวน 4,000 คัน ลงสู่ท้องถนน นั่นหมายความว่า รถเมล์ ครีม - แดง ต้องสิ้นสุดลง “เราพอมีทางเลือกในการทำธุรกิจเรื่องการขอยื่นประมูลงานโฆษณา บนรถเมล์รุ่นใหม่นี้ หรืออาจจะต้องวางเส้นทางเดินรถเอง เรื่องนี้เร็วเกิน กว่าที่จะตัดสินใจในวันนี้ค่ะ”

คุณอารียา กิตติถนอม ผู้จัดการทั่วไป บริษัท บี.วี.เค. จำกัด Areeya Kittitanom General Manager B.V.K. Co.,Ltd.

“…รถเมล์ ร้ อ น ที่ พึ่ ง ของผู้ โดยสาร กลุ่ ม ที่ มี สิ น ค้ า เจาะฐานผู้ บ ริ โ ภค ก ลุ่ ม นี้ อ ยู่ แ ต่ อ า จ จ ะ มี ก า ร เปลี่ยนแปลงเกิดได้ในอนาคต…” “…Many products are now targeting the non-air conditioned bus passengers. However, things might change once the 4,000 NGV bus project comes into the picture…”


COVER STORY

LCD บนรถเมล์ที่จะเห็นในปีนี้ “วันนี้แพลน บี มีเดีย นอกจากจะเป็นบริษัทแห่งเดียวที่เป็นผู้บริหาร สื่อโฆษณารถโดยสารปรับอากาศ ยูโรทู (สีส้ม) จำนวน 1,220 คัน จาก สัมปทานของ ขสมก. เรายังเป็นผู้ดำเนินธุรกิจรถโดยสาร ปรับอาการ เอ็นจีวี (สีเหลือง) จำนวน 300 คัน, ตัวแทนขายรถโดยสารปรับอากาศสี เหลือง และเป็นเจ้าของปั้มก๊าซเอ็นจีวีในชื่อ พรีเมี่ยมอีก 3 สถานี ที่ บางนา รังสิต และรามคำแหงอีกด้วยครับ” คุณปรินทร์ โลจนะโกสินทร์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท แพลน บี มีเดีย จำกัด กล่าวถึงภาพรวมของบริษัทฯ ที่วันนี้ แพลน บี ได้ขยาย อาณาจักรไปยังภาคธุรกิจส่วนต่างๆ นักธุรกิจหนุ่มผู้นี้เคยมานั่งเล่าเรื่องงานของเขาให้ทีมงานกองบก. นิตยสาร OHM ฟังเมื่อปี 2548 ซึ่งในครั้งนั้น คนหนุ่มอย่างเขามีความ ฝัน มีความตั้งใจสูงกับงานตรงหน้า เมื่อได้รับสัมปทานเป็นผู้บริหารสื่อ โฆษณาบนรถยูโรทูเพียงเจ้าเดียวเท่านั้น เขายอมรับว่าเหนื่อยมากกับการต้องเริ่มต้นงานที่ โหด และหินมาก ที่จะต้องทำงานภายในเวลาที่จำกัด และความกดดันรอบด้าน แต่วัยที่ยัง ทำงานหนักมีหัวใจของการต่อสู้บนหนทางที่ตัวเองมั่นใจว่า ยังมีเส้นทาง อี ก ยาวไกลที่ จ ะเก็ บ เกี่ ย วประสบการณ์ รวมทั้ ง การได้ รั บ โอกาสจาก ผู้ใหญ่ที่เชื่อมั่นในตัวเขากับเงินลงทุนไม่น้อยที่จะต่อเติมธุรกิจเดิมให้เขา กลายเป็นผู้บริหาร เจ้าของเส้นทางเดินรถเมล์อีกนับร้อยคัน “ฐานลูกค้าของแพลน บี กว่า 90 เปอร์เซ็นต์มาจากการแนะนำของ เอเจนซี ส่วนที่เหลือมาจากทีมงานฝ่ายขายของบริษัท โดยเจ้าของสินค้า ชอบมากกับสื่อโฆษณาบนรถเมล์ เพราะเป็นสื่อโฆษณาเคลื่อนที่ ที่ล้อ หมุนไปกับพฤติกรรมของผู้บริโภค พบเห็นได้ทุกวัน ทุกเส้นทางบนท้อง ถนน และยังตอบสนองกลยุทธ์การวางแผนโฆษณาได้เป็นอย่างดีครับ” พื้นที่โฆษณาบนรถโดยสารปรับอากาศ ยูโรทู – สีส้ม และสีเหลือง สร้างสรรค์ชิ้นงานโฆษณาได้หลายรูปแบบ ตั้งแต่การแรปโฆษณาแบบ เต็มคันรถ, กลางตัวรถ, ด้านหลัง รวมทั้งภายในรถที่มีสื่อโฆษณาให้เลือก มากมายตั้งแต่ตำแหน่งหลังเบาะ ซึ่งอยู่ตรงหน้าของผู้โดยสารและทาง ขึ้น-ลง ซึ่งล้วนเป็นตำแหน่งที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนโดยใน 1 วันจะ มีผู้โดยสารใช้บริการรถเมล์ปรับอากาศเฉลี่ย 700-1,000 คน/คัน ซึ่ง การโฆษณาบนรถเมล์สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ในวงกว้าง แผนการขยายธุ ร กิ จ ของ แพลน บี จากที่ รั บ งานเป็ น ผู้ บ ริ ห าร

สื่ อ โฆ ษ ณา บ น ร ถ ยู โร ทู ล่ า สุ ด ป ร ะ ก า ศ ว่ า มี ก า ร ล ง ทุ นซื้ อ ร ถ โดยสารประจำทางปรับอากาศเอ็นจี วี-สีเหลือง จำนวน 300 คัน พร้อม กั บ เป็ น เจ้ า ของเส้ นทางรถเมล์ 20 เส้นทาง ด้วยเงินลงทุนกว่า 1,500 ล้านบาท ภายใต้ชื่อ บริษัท พรีเมี่ยม แมนเนจเม้นท์ จำกัด คุณปรินทร์ มีเหตุผลรองรับใน การเข้ า มาเป็ น เจ้ า ของสั ม ปทาน รถเมล์เอง เพราะต้องการสร้างสรร นวั ต กรรมด้ า นสื่ อ นอกบ้ า นให้ มี ความแปลกใหม่ เหมื อ นกั บ ในต่ า ง ประเทศ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง งาน โฆษณาที่เป็นแบบ 2D และ 3D นอกจากนี้ บ นรถโดยสารปรั บ อากาศ ยู โ รทู – สี ส้ ม ที่ บ ริ ษั ท ฯ ดำเนินการ จะมีการติดตั้งจอ LCD ขนาด 23 นิ้ ว จำนวน 2 จอ ที่ บริเวณตอนหน้าของตัวรถและตอน กลางตั ว รถฝั่ ง ประตู เพื่ อ นำเสนอ สาระและความบั น เทิ ง ให้ กั บ ผู้ โดยสารตลอดเส้นทาง สื่ อ บน LCD นี้ เป็ น การออน ไลน์ ปรับปรุงข้อมูลเนื้อหาทุกครั้งที่ รถวิ่ ง เข้ า อู่ หรื อ เฉลี่ ย 5-6 ครั้ ง ต่ อ วั น แบ่ ง การนำเสนอไว้ ทุ ก ๆ ชั่ ว โมง เป็ นกลุ่ ม ข่ า ว, สาระความ บั น เทิ ง มี พั น ธมิ ต รเข้ า มาร่ ว มมื อ เช่น กันตนา ส่งรายการคดีเด็ด, จอ จี้, เรื่องจริงผ่านจอ รวมทั้ง DRRA GOSSIP และมิ ว สิ ค วี ดี โอจากทุ ก ค่ า ยเพลง เข้ า มาร่ ว มนำเสนอต่ อ ผู้โดยสารอย่างเต็มที่ “แพลน บี” รุกคืบจากการเป็น ผู้ ข ายสื่ อ โฆษณา บนรถเมล์ วั นนี้ ก ล า ย เป็ น เจ้ า ข อ ง ร ถ เม ล์ เ อ ง เป็ นการแสดงความมั่ น ใจว่ า งาน โฆษณากั บ กลุ่ ม ผู้ โ ดยสารรถเมล์ ย่อมกลายเป็นผู้บริโภคให้กับหลาย สินค้าได้ แต่เงินลงทุนก้อนโต เป็น บทพิ สู จ น์ ที่ ท้ า ทายยิ่ ง นั ก สำหรั บ ผู้บริหารหนุ่มคนนี้

“ล้อเคลื่อนจากผู้บริหารสื่อกลายเป็นเจ้าเส้นทาง”

คุณปรินทร์ โลจนะโกสินทร์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท แพลนบี มีเดีย จำกัด Palin Lojanagosin Managing Director Plan B Media Co.,Ltd.

“… เส้ น ทางงานโฆษณาบนธุ ร กิ จ รถเมล์ เมื่ อ 4 ปี ก่ อ นของค่ า ย แพลน บี มีความท้าทายกับผู้บริหาร ยิ่งนัก เมื่อพลิกบทจากผู้รับสัมปทาน มาเป็ น เจ้ า ของรถเมล์ วิ่ ง บนเส้ น ท า ง ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ร ะ บ บ สาธารณู ป โภคที่ มี ค วามซั บ ซ้ อ นยิ่ ง ขึ้น...” “…4 years ago, Bus Media was a challenging business for the executive of “Plan B Media” when there are changing, they have to be the buses owner operating under the complicated infrastructure management system…”


“อาร์เอส มองเห็นโอกาสที่จะ ทำสื่อโฆษณาบนประจำทาง เพราะ ในแต่ละวันคนกรุงเทพฯ จะใช้ชีวิต อยู่กับการเดินทาง จึงมีการปรึกษา กั บ City Bus เจ้ า ของสั ม ปทาน รถเมล์สาย 8 และ92 ซึ่งมีรถปรับ อากาศอยู่บนเส้นทาง 50 คันครับ” คุ ณ วิ ญ ญลั ก ษณ์ โสรั ต กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท อาร์เอส อินสโตร์ มีเดีย จำกัด ในเครือบริษัท อาร์เอส จำกั ด (มหาชน) เล่ า ถึ ง สาเหตุ สำคั ญ ที่ บ ริ ษั ท หั น มารุ ก ธุ ร กิ จ สื่ อ โฆษณาบนรถประจำทาง หรื อ รถเมล์ ที่วิ่งไปมาบนท้องถนนหลัง จากที่ มี in-store Media ในห้ า ง มาแล้ว บ น ร ถ เ ม ล์ ข อ ง ค่ า ย นี้ มี ทั้ ง สื่อโฆษณาภาพนิ่งและบนจอ LCD ภายในรถ ในงบเงิ น ลงทุ นกว่ า 10 ล้ า นบาท เพื่ อ ติ ด ตั้ ง จอภาพ LCD ขนาด 19 นิ้ว คันละ4 จุด นำเสนอ เนื้ อ เพลง, มิ ว สิ ค วี ดี โ อและงาน โฆษณา ส่ ว นภายนอกรถเป็ น งานการ แรปรถ มี ส ติ๊ ก เกอร์ ตั ว รถ ท้ า ยรถ เหนือกระจก ด้านหลังพนักพิง พื้น ทางเดิ น ขอบจอภาพของ LCD รวมถึ ง จั ด กิ จ กรรมทางการตลาด ขนาดย่ อ มภายในตั ว รถ และการ แจกสิ น ค้ า ใหม่ ใ ห้ กั บ ผู้ โ ดยสารได้ ทดลองใช้สินค้า “สาเหตุที่เราเลือกรถเมล์สาย 8 และ 92 เพราะทั้ง 2 สาย เป็นการ เดิ น รถสายยาว ผ่ า นย่ า นธุ ร กิ จ ใจกลางเมื อ งตั้ ง แต่ อนุ ส าวรี ย์ ชัยสมรภูมิ สะพานพุทธ ลาดพร้าว หมอชิ ต ล้ ว นเป็ น เส้ นทางที่ มี ก าร จราจรคั บ คั่ ง นั่ น เป็ นการเพิ่ ม การ มองเห็นงานโฆษณาครับ”

จากอินสโตร์มีเดียสู่รถเมล์ LCD สร้างความบันเทิงในรถ สิ นค้ า ส่ ว นใหญ่ ก ว่ า 70 - 80% เป็ น สิ นค้ า ประเภท Consumer Product ที่เข้ามาเลือกใช้สื่อนี้ อีกทั้งในปีหน้าอาร์เอส ยังได้รับลิขสิทธิ์ ในการถ่ายทอดสดบอลโลก 2010 แต่เพียงผู้เดียวจึงทำให้บริษัทลูกอย่าง อาร์เอส อินสโตร์ มีเดีย สามารถมีแนวทางเพิ่มการทำตลาดตามมาได้ อีกมาก

COVER STORY

“จากห้างสู่ถนน” คุณวิญญลักษณ์ โสรัต กรรมการผู้จัดการ บริษัท อาร์เอส อินสโตร์ มีเดีย จำกัด Vinyalak Sorat Managing Director RS In-Store Media Co.,Ltd.

“…ค่ า ยอาร์ เ อส อิ ร สโตร์ มี เ ดี ย เลือกเฉพาะเส้นทางย่านชุมชน เข้า มาเป็ น ตั ว เสริ ม ในการขายงาน โฆษณาบนรถเมล์ ซึ่ ง เป็ นการลอง ขยายธุรกิจเดิม ที่มีอยู่ในห้าง…” “…RS In-store Media expands its business from providing only the in-store media at shopping malls and supermarkets to the bus media which will be focusing only the routes of community area …”

Bus media Tips

อ้ายโกร่ง-รถเมล์ขาว

รถยนต์ที่ใช้เป็นรถโดยสารประจำทางในกรุงเทพฯ ครั้งแรกมี 3 ล้อ ที่นั่ง 2 แถว ทาสีขาว มีกากบาทสีแดง นั่งได้ประมาณ 10 คน คนทั่วไปเรียกว่าอ้ายโกร่ง เพราะ วิ่งไปตามถนนมีเสียงดังโกร่งกร่าง เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย เพราะสะดวกรวดเร็ว ในการเดินทาง จึงขยายตัวอย่างกว้างขวาง ออกไปทั่วกรุงเทพฯ ในนามของบริษัท นายเลิศ จำกัดหรือบริษัทรถเมล์ขาว


COVER STORY

“สื อ ่ นอกบ้ า น ทำงานร่ ว มกั บ สาขา”

ดร.ทิตพงศ์ แดงรัศมีโสภณ ผู้อำนวยการฝ่ายสื่อสารการตลาด สายงานธุรกิจลูกค้าบุคคล และเครือข่ายบริการ ธนาคารกสิกรไทย Dr.Thittapong Daengrasmisopon First Vice President, Integrated Marketing Communication Department Kasikornbank “…การโปรโมทแคมเปญที่ ได้ ผ ล ต้ อ ง เน้นตรงไปยังกลุ่มเป้าหมาย แล้วให้นำ ไปสู่การเดินเข้าไปใช้บริการตามสาขาที่ สะดวกใกล้บ้านได้…” “…the advertising campaign, needs to focus directly on the target customer which can lead them to the most convenient branch…”

สีเขียวตอกย้ำแบรนด์ KBank การเปิ ด ตั ว K-My Debit Card บั ต รเคดิ ต รู ป แบบใหม่ ข อง “ธนาคารกสิกรไทย” เปิดโอกาสให้ลูกค้าเลือกใช้ภาพที่ชื่นชอบ ทั้งภาพ ตนเอง ภาพคนที่ รั ก หรื อ จะออกแบบภาพหรื อ ลายบนบั ต รที่ เ ป็ น เอกลักษณ์เฉพาะของตนเองได้เต็มทั้งใบ ซึ่งถือเป็นนวัตกรรมทางการเงิน ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในเมืองไทย ดังนั้นค่ายนี้จึงเลือกใช้สื่อโฆษณาบนรถเมล์ปรับอากาศเพื่อสร้างการ รับรู้เดินไปสู่สาขาแบงก์ได้ ดร.ทิตพงศ์ แดงรัศมีโสภณ ผู้อำนวยการฝ่าย ฝ่ายสื่อสารการตลาด สายงานธุ ร กิ จ ลู ก ค้ า บุ ค คลและเครื อ ข่ า ยบริ ก าร ธนาคารกสิ ก รไทย กล่าวว่า รถเมล์เป็นสื่อเคลื่อนที่ที่สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย และสร้าง

การรับรู้ได้เป็นอย่างดี “ธนาคารกสิกรไทยทำงานร่วม กับโอกีวี ในฐานะผู้ดูแลสื่อโฆษณา ของธนาคารกสิกรไทย เพื่อคัดเลือก สื่อโฆษณาที่เหมาะสมกับแคมเปญนี้ เราต่ า งเห็ น ตรงกั น ที่ จ ะใช้ ร ถเมล์ สำหรับแคมเปญนี้ ทั้ ง นี้ จ ากการสอบถาม สำรวจ ความคิ ด เห็ น กลุ่ ม ลู ก ค้ า K-My Debit Card ซึ่งส่วนใหญ่คือวัยรุ่น และคนรุ่ น ใหม่ พวกเขาบอกว่ า พบเห็นโฆษณา K-My Debit Card จากสื่ อ โฆษณารถเมล์ ดั ง นั้ น ผม คิดว่าคุ้มกับการใช้สื่อนี้ครับ” การโปรโมทแคมเปญนี้เน้นเส้น ทางย่านธุรกิจ แหล่งชุมชุนที่มีกลุ่ม เป้าหมายอยู่เช่น สยามสแควร์ เส้น ทางที่ ผ่ า นหน้ า มหาวิ ท ยาลั ย ตาม การวางแผนงานว่าจะเจาะเน้นคน กลุ่มนี้

“โปรโมท ต้องเข้าใกล้ลูกค้าให้ตรงกลุ่ม”

คุณศักดิ์สิทธิ์ ปิติพงศ์สุนทร ผู้อำนวยการอาวุโส แผนกสื่อสารการตลาดบุคคลธนกิจ ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) จำกัด (มหาชน) Saksit Pitipongsoonthorn Senior Vice President Marketing Communication Consumer Banking Standard Chartered Bank (Thai) Public Company Limited “… การแข่งขันที่ดุเดือดมากของสถาบัน การเงิ น จึ ง ต้ อ งมี ก ลยุ ท ธ์ วิ่ ง เข้ า หา ลูกค้าอย่างใกล้ชิดที่สุด รวมทั้งต้องมี กลยุทธ์เพิ่มเติมเป็นการสื่อสารสองทาง ด้ ว ย จึ ง จ ะ ส ร้ า ง ค ว า ม จ ด จ ำ ไ ด้ แม่นยำ…” “…the competition wars among financial institutions, we need to strategically approach and communicate to created the brand awareness…”

เจาะตลาดสินเชื่อบุคคลด้วยรถเมล์ หลั ง จากธนาคารสแตนดาร์ ด ชาร์ เตอร์ ด (ไทย) จำกั ด (มหาชน) ประสบความสำเร็จอย่างสูงกับการเป็นเจ้าแรกที่สร้าง Branding ด้วย การแรปรถไฟฟ้า BTS ทั้งขบวนจำนวน 35 ขบวนเมื่อกลางปี 2543 มาถึงวันนี้ ค่ายนี้ก็ยังยืนยันที่จะใช้สื่อนอกบ้าน เพื่อตอกย้ำภาพลักษณ์ ของการเป็นแบงก์ต่างชาติที่ดำเนินธุรกิจในประเทศไทยมายาวนานกว่า 100 ปี คุณศักดิ์สิทธิ์ ปิติพงศ์สุนทร ผู้อำนวยการอาวุโส แผนกสื่อสารการ ตลาดบุ ค คลธนกิ จ ธนาคารสแตนดาร์ ด ชาร์ เตอร์ ด (ไทย) กล่ า วว่ า ธนาคารฯ เริ่มโฆษณาบนรถประจำทาง ขสมก. อย่างจริงจังเมื่อปี 2548 กับแคมเปญสินเชื่อบุคคลฟรีดอกเบี้ยตลอดการกู้ยืม เพราะช่วงนั้นเริ่มมี การแข่งขันในธุรกิจสินเชื่อบุคคลแข่งขันสูงมาก ดังนั้นจึงมีการรุกเข้าถึง

กลุ่มเป้าหมายให้มากที่สุด “ก่ อ นออกแคมเปญ เรามี ก าร สำรวจกลุ่มเป้าหมายว่ามีการดำเนิน ชีวิตเป็นอย่างไร ซึ่งผลสำรวจพบว่า กลุ่ ม ลู ก ค้ า สิ น เชื่ อ บุ ค คลจะใช้ ร ถ โดยสารสาธารณะเป็นส่วนใหญ่ ดัง นั้นเราจึงเลือกใช้สื่อบนรถเมล์ และ มีกลยุทธ์เล่นกับผู้โดยสารด้วยการ ให้ผู้โดยสารขึ้นรถเมล์ฟรีที่พบเจอรถ โฆษณาของธนาคารด้วยครับ” ในฐานะนั ก การเงิ น ที่ มี ค วาม เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ โ ฆ ษ ณ า บ อ ก ว่ า นอกจากการโฆษณาด้ ว ยการแรป รถเมล์แล้ว จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง โฆษณาไว้ภายในรถด้วย โดยเฉพาะ ตำแหน่งหลังเบาะซึ่งเป็นตำแหน่งที่ จะมองเห็นโฆษณาได้ชัดเจน ปี 2552 ธนาคารสแตนดาร์ ด ชาร์เตอร์ด (ไทย) เตรียมที่จะใช้สื่อ โฆษณาบนรถเมล์ เพื่อโปรโมทการ แข่ ง ขั น สแตนดาร์ ด ชาร์ เ ตอร์ ด ก รุงเทพฯมาราธอนในช่วงปลายปีนี้


COVER STORY

“สื่อรถเมล์ เป็นความเด่นที่วิ่ง ไปมาบนท้องถนน ผู้โดยสารที่ชะเง้อ มองรอรถเมล์ที่ป้ายรถเมล์ ก็จะเห็น งานโฆษณาที่ติดบนตัวรถ บางคนที่ เป็นขาประจำ อาจจำโฆษณาได้ว่า ใช้กับรถสายที่ตัวเองนั่งประจำ แบงก์เลือกใช้เพราะคิดว่าเป็น สื่ อ ที่ เ ข้ า ถึ ง กลุ่ ม คน กลุ่ ม กว้ า ง ไม่ เพี ย งผู้ โ ดยสาร แต่ เ ป็ น คนขั บ รถ ส่ ว นตั ว ที่ อ าจขั บ ตามหลั ง จอดติ ด อยู่ข้างๆ คนบนตึกสูง คนเดินถนน ความใหญ่โตของตัวรถ สร้างความ สะดุดสายตา ยิ่งตามสโลแกนของ แบงก์ที่ต้องการเข้าถึงคนท้องถิ่นนั้น ที่เข้ามาตั้งสาขา ยิ่งต้องเลือกสื่อที่ อยู่กับคนกลุ่มใหญ่ แม้อาจจะไม่ได้ มาใช้ บ ริ ก ารในวั น นี้ แต่ เ ป็ น การ สร้างแรงตอกย้ำได้ดีค่ะ”

“ใช้เพื่อตอกย้ำแบรนด์”

ย้ำชัดๆ กับโฆษณาหลังรถ คุ ณ สลิ ล ลา สี ห พั นธุ์ แห่ ง เอชเอสบี ซี เล่ า แนวคิ ด การเลื อ กใช้ สื่ อ นอกบ้ า นกั บ รถเมล์ แม้ ว่ า จะมี ฐ านหลั ก ของการใช้ สื่ อ นอกบ้ า น ประเภทอื่นอยู่แล้ว เช่น นโยบายการใช้สื่อในสนามบินกับทุกเมืองใหญ่ ของโลก สื่อรถเมล์เป็นสื่อที่แบงก์นี้ไม่มองข้าม

“สร้างภาพลักษณ์ได้ดีกว่ายอดขาย”

พื้นที่ใหญ่สร้างการรับรู้สินค้าได้ดี ยุทธศาสตร์สำคัญของซัมซุงที่สามารถก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำในด้าน อุ ต สาหกรรมเทคโนโลยี ดิ จิ ต อลรายใหญ่ ข องโลก คื อ การมุ่ ง เน้ น นวั ต กรรมทางเทคโนโลยี ใหม่ ๆ ที่ ส อดคล้ อ งวิ ถี ก ารดำเนิ นชี วิ ต ของ ผู้ บ ริ โภค โดยมี สื่ อ โฆษณาประชาสั ม พั นธ์ แ ละกิ จ กรรมการตลาดเป็ น กำลังสำคัญในการสื่อสารกับผู้บริโภค ซัมซุงเลือกใช้สื่อโฆษณามาครบหมดแล้ว ยังไม่มีสื่อไหนเว้นวรรค ไปได้เลย คุ ณ มนาเทศ อั นนวั ฒ น์ หั ว หน้ า กลุ่ ม ธุ ร กิ จ สื่ อ สารการตลาดและ องค์กร บริษัท ไทยซัมซุง อิเลคโทรนิคส์ จำกัด กล่าวว่า ในต่างประเทศ การโฆษณาบนรถเมล์ ได้ รั บ ความนิ ย มจากเจ้ า ของสิ นค้ า เป็ น อย่ า งยิ่ ง เพราะสามารถนำเสนอชิ้นงานโฆษณาที่มีขนาดใหญ่ สร้างการรับรู้ได้ เป็นอย่างดี พอมามองมุมเดียวกัน จึงน่าจะเดินไปในทิศทางเดียวกัน

“รถเมล์ มี พื้ นที่ ในการนำเสนอ ชิ้ นงานโฆษณาที่ ใหญ่ ม าก ขณะที่ สีสันของงานพิมพ์ก็มีความคมชัดสูง จึ ง เป็ น โอกาสดี ค รั บ ที่ ซั ม ซุ ง จะ หั น มาสร้ า งการรั บ รู้ แ ละตอกย้ ำ แบรนด์ ใ ห้ เ ป็ น ที่ รู้ จั ก มากกว่ า จะ มุ่งในด้านยอดขายสินค้าครับ” การเลือกสินค้าที่มาลงโฆษณา บนรถเมล์ จะต้องพิจารณาถึงความ เหมาะสมกลับกลุ่มเป้าหมายนี้เป็น หลั ก เช่ น โทรศั พ ท์ เคลื่ อ นที่ หรื อ โทรทัศน์ เป็นต้น น อ ก จ า ก นี้ ก า ร ใช้ เป็ น สื่ อ นำเสนอโปรโมชั่ น ยั ง เป็ น ข้ อ ดี เพราะจุ ด เด่ นของรถเมล์ คื อ วิ่ ง ไป ในแหล่ ง ชุ ม ชน ประชาชนพบเห็ น ได้ง่าย ในอนาคต อาจจะมีสินค้าของ ค่ า ยนี้ ปู พ รมลงโฆษณากั บ สื่ อ นอก บ้านประเภทนี้อีก เพราะการสร้าง ภาพลักษณ์ ต้องใช้เวลาและเปิดสู่ มุ ม ก ว้ า ง จึ ง จ ะ ยั่ ง ยื น เพิ่ ม พู น ในอนาคต

คุณสลิลลา สีหพันธุ์ ผู้อำนวยการอาวุโสฝ่ายการตลาด และสื่อสาร ธนาคาร เอชเอสบีซี (ประเทศไทย) Salinla Seehaphan Senior Vice President Marketing and Communication The Hongkong and Shanghai Bangking Corporation Limited

“…มองกลุ่มคนกว้างกว่า ผู้โดยสารรถเมล์ เพราะมี ทั้ ง คนใช้ ร ถส่ ว นตั ว คนเดิ นถนน หรือกระทั่งคนบนตัวตึก ที่มองและใช้พื้นที่ บนท้องถนนร่วมกัน…” “…Bus media provide more extensive approach to not only the passengers, but also the private cars owners, pedestrians, and people on the sidewalk and buildings…”

คุณมนาเทศ อันนวัฒน์ หัวหน้ากลุ่มธุรกิจสื่อสารการตลาด และองค์กร บริษัท ไทยซัมซุง อิเลคโทรนิคส์ จำกัด Manatase Annawat Group Leader - Corporate Marketing Head of Marketing - Telecom munication Business Thai Samsung Electronics Co., Ltd. “ …นโยบายของค่ายซัมซุง เน้นการสร้าง ภาพพจน์ จึงต้องขยายกรอบ ของการรับรู้ไป สู่กลุ่มคนที่กว้าง ยิ่งมาก ยิ่งดี…” “…Samsung’s policies emphasized on creating the world brand image, which perception to the large group of people…”


COVER STORY

“ค้าปลีก ต้องเข้าถึงลูกค้ากลุ่มกว้าง”

คุณจริยา จิราธิวัฒน์ รองประธานฝ่ายการตลาดและการ สื่อสาร บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) Jariya Chirathivat Vice President of Marketing and Communication BIG C Supercenter Plc.

“...การใช้ ศิ ล ปิ น เป็ น พรี เซนเตอร์ ช่วยให้ความชื่นชมของกลุ่มคน ส่ง ผลไปยังภาพพจน์ของห้างได้…” “…the celebrity endorser or the presenters are to heighten awareness and brand visibility …”

เจาะตลาดครอบครัวด้วยพรีเซ็นเตอร์ “บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์” เป็นผู้นำธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ในรูปแบบ ซู เปอร์ เซ็ น เตอร์ จั ด จำหน่ า ยสิ นค้ า อุ ป โภคและบริ โภคที่ ห ลากหลาย ในราคาสมเหตุสมผลภายใต้สโลแกน “เราให้คุณมากกว่าคำว่าถูก” เพื่อ สร้างความคุ้มค่าในระดับสูงสุดแก่ผู้บริโภคแล้ว ยังเป็นผู้นำในด้านการ ใช้สื่อโฆษณาที่เข้าถึงผู้บริโภคอีกด้วย ชัดเจนที่สุดคือการลงโฆษณาบนรถเมล์ด้วยครอบครัวพรีเซ็นเตอร์ ครอบครัว “วรรธนะสิน” เจ เจตริน, ปิ่น เก็จมณี และลูกๆ ทั้ง 3 คน มาถ่ายทอดเรื่องราวการเป็นครอบครัวคนรุ่นใหม่ ทันสมัยและฉลาดซื้อ ในการช็อปปิ้ง ค่ายนี้เลือกที่จะนำเสนอโฆษณาไว้บริเวณกลางของรถ เพื่อสร้างความโดดเด่นให้กับองค์กร ทำให้เกิดจุดสนใจได้ นอกจากนี้ยังมีการต่อยอดโฆษณาไปสู่ภายในรถเมล์ ตั้งแต่ตำแหน่ง

ห ลั ง เบ า ะ ซึ่ ง อ ยู่ ต ร ง ห น้ า ข อ ง ผู้ โดยสาร มี ที่ นั่ ง จำนวน 37 ที่ นั่ ง ซึ่ ง เป็ นตำแหน่ ง ที่ ม องเห็ นชิ้ นงาน โฆษณาได้อย่างชัดเจนและยาวนาน ที่สุด รวมทั้งตำแหน่งทางขึ้น - ลง ที่อย่างน้อยผู้โดยสารจะต้องเห็นเมื่อ ขึ้นหรือลงรถเมล์ แผนการดำเนินงานในปี 2552 คุณจริยา จิราธิวัฒน์ รองประธาน ฝ่ า ยการตลาดและการสื่ อ สาร บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ กล่าว ว่า ภาวะเศรษฐกิจยังคงชะลอตัว อยู่ ดังนั้น บิ๊กซี จึงยังมุ่งเน้นกลยุทธ์ ด้านราคา ชื่อโครงการ “บิ๊กซีจัดให้” “แม้ ส ภาวะเศรษฐกิ จ ในช่ ว ง ครึ่งปีหลังนี้อาจจะยังไม่กระเตื้องขึ้น นัก แต่เรามั่นใจว่าจะมีฐานลูกค้าที่ เพิ่ ม ขึ้ น เพราะเราสามารถบริ ก าร ลูกค้าด้วยสินค้าคุณภาพระดับสูงได้ ในราคาที่ถูกค่ะ”

“สื่อนอกบ้านพูดแทนสินค้าได้”

คุณสุรัตน์ ผู้บังเกิดผล ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ฝ่ายการตลาด กลุ่มสินค้าและบริการ ทางอุปโภคบริโภค บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำกัด (มหาชน) Surat PoobangkerdpholSenior Vice PresidentConsumer Marketing Division Berli Jucker PLC.

“…การมีพรีเซ็นเตอร์ จะเป็นการช่วย ให้ สิ น ค้ า นั้ น มี ชี วิ ต และจั บ ต้ อ ง ได้...” “…when they have product endorsements or product presenters, its will liven more touchable…”

โฆษณาแบบใหม่ที่ท้าให้ลอง คุณสุรัตน์ ผู้บังเกิดผล ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ฝ่ายการตลาด กลุ่มสินค้า และบริการทางอุปโภคบริโภค บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า บริษัทฯ ได้ตั้งเป้าหมายในการออกผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อกระตุ้น ยอดขายรวมของผลิตภัณฑ์มันฝรั่งแท้ทอดกรอบ เทสโต ให้มีอัตราการ เติบโตที่ 15% พร้อมกับเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดเป็น 30% แผนงานล่าสุด ประจำปี 2552 ค่ายนี้ ใช้พรีเซนต์เตอร์ - คุณเป้ อารักษ์ อมรศุภศิริ กับสินค้าเทสโต ลาติโนคัลเลอร์ที่จะช่วยกระตุ้นยอด ขาย และเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาด “ตัวสินค้าเองพูดไม่ได้หรอกครับ จึงต้องมีคนช่วยพูด ซึ่งพรีเซ็นเตอร์ จะสามารถช่วยได้มากทีเดียวครับ ยิ่งคนดังก็ยิ่งได้รับความสนใจ ชีวิตคน

ที่ อ ยู่ น อ ก บ้ า น ม า ก ขึ้ น เร า จึ ง ต้องตามออกไปตระเวนหาพวกเขา ไม่ ว่ า จะเป็ นการเดิ นทางไปทำงาน ไปเรี ย น หรื อ การทำกิ จ กรรมใน วันหยุดครับ” ค่ า ย นี้ ใ ห้ ค ว า ม ส ำ คั ญ กั บ สื่อโฆษณาทางโทรทัศน์เป็นอันดับ หนึ่ ง รองลงมาคื อ สื่ อ นอกบ้ า น และสื่อทางอินเตอร์เน็ต สื่ อ น อ ก บ้ า น ที่ ใ ช้ คื อ ป้ า ย b i l l b o a r d ข น า ด 3 x 5 เม ต ร ตามถนนสายสำคั ญ และแหล่ ง ชุ ม ชนต่ า งๆ ที่ ใกล้ ร้ า นสะดวกซื้ อ รวมทั้ ง ร้ า นค้ า ปลี ก ทั่ ว ไป เพื่ อ เป็นการตอกย้ำกับผู้บริโภค รวมทั้ง สื่อรถเมล์ที่วิ่งไปมาทั่วเมือง “ปี นี้ เป็ น ปี แรกครั บ ที่ เทสโตใช้ สื่อโฆษณาบนรถเมล์ เพราะบนตัว รถมีขนาดใหญ่ สามารถสร้างสรรค์ งานโฆษณาได้ดีทีเดียวครับ”


COVER STORY

หนั ง โฆษณาชุ ด BRIGHT& STRONG เมื่อปลายปี 2551 ของ “แบรนด์วีต้า บาลานซ์” พร้อมกับ ก า ร น ำ เ ส น อ มุ ม ม อ ง ชี วิ ต ข อ ง ผู้ บ ริ โ ภคยุ ค ใหม่ ที่ ต้ อ งรั บ มื อ กั บ กิจกรรมมากมาย ทั้งเรื่องงานและ เรื่องส่วนตัว จนอาจไม่มีเวลาดูแล ตัวเอง พร้อมกับแนะนำแบรนด์วีต้า บาลานซ์ ซึ่ ง มี ค วิ น ซ์ ส กั ด เข้ ม ข้ น เป็นแหล่งของวิตามินและเกลือแร่ รวม 15 ชนิด ที่ร่างกายต้องการใน แต่ละวันไปสู่ผู้บริโภคได้อย่างลงตัว ในปี 2552 แบรนด์ นี้ ท ำการ ต่ อ ยอดความสำเร็ จ ของการสร้ า ง การรับรู้โดยหันมาโฆษณาบนรถเมล์ เพื่อตอกย้ำภาพลักษณ์ของการเป็น ผลิ ต ภั ณฑ์ เ สริ ม อาหารที่ เหมาะกั บ ผู้หญิงซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายใหญ่ของ สินค้า

“ขยายตลาดสินค้าสุขภาพ”

เข้าถึงผู้บริโภครอบทิศสไตล์แบรนด์ คุ ณ ตุ ล ย์ วงศ์ ศุ ภ สวั ส ดิ์ ผู้ จั ด การทั่ ว ไป (การจั ด การธุ ร กิ จ และการตลาด) บริษัท เซเรบอส (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า เรามอง เห็นโอกาสที่จะตอกย้ำแบรนด์ วีต้า บาลานซ์ ให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น ซึ่งการลงโฆษณาบนรถเมล์นับเป็นการขยายโอกาสทางธุรกิจที่สำคัญ มีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้หญิงวัยทำงาน อายุ 25 - 39 ปี เป็นกลุ่มที่มีกำลัง ซื้อค่อนข้างสูง และถือเป็นกลุ่ม Early Adopter ที่มักจะมองหาทาง เลือกใหม่ๆ และยอมรับได้ง่าย “ทุกปีเราตั้งเป้าหมายว่าแบรนด์วีต้า บาลานซ์ จะต้องมีส่วนแบ่ง ทางการตลาดอยู่ที่เลขสองหลัก ซึ่งการใช้สื่อโฆษณาบนรถเมล์ควบคู่กับ การใช้สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆ ก็จะทำให้สินค้ามีส่วน แบ่งการตลาดเพิ่มมากขึ้นได้ครับ”

คุณตุลย์ วงศ์ศุภสวัสดิ์ ผู้จัดการทั่วไป (การจัดการธุรกิจ และการตลาด) บริษัท เซเรบอส (ประเทศไทย) จำกัด Tul Wongsuphasawat General Manager(Marketing & Business Management) Cerebos Thailand Co.,Ltd. “…มองหากลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ผ่าน

การสื่ อ สารของรถเมล์ กั บ วั ย เริ่ ม ทำงาน น่าจะช่วยเพิ่มยอดขายได้…” “…targeting the market among the working ages through the bus media can probably increase the sales …”

“ผู้นำ หยุดไม่ได้”

สินค้าของผู้นำ ต้องมีอิมแพ็ค “โออิชิ” ในฐานะผู้นำธุรกิจอาหารญี่ปุ่น ปัจจุบันมีส่วนแบ่งทางการ ตลาดกว่า 40% จากมูลค่าตลาดทั้งหมดกว่า 7,000 ล้านบาท จึงต้องทุ่ม งบโฆษณาและประชาสัมพันธ์เพื่อตอกย้ำการเป็นผู้นำธุรกิจอาหารญี่ปุ่น ในประเทศไทย “เราเลือกที่จะใช้สื่อโฆษณาบนรถเมล์ และรถไฟฟ้า BTS เพื่อสร้าง การรับรู้และตอกย้ำแบรนด์สินค้าในกลุ่มโออิชิให้อยู่ในใจของผู้บริโภค ตลอดไปครับ” คุณตัน ภาสกรนที กรรมการผู้จัดการ บริษัท โออิชิ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) กล่าว โดยผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มน้องใหม่ “คอฟฟิโอ” ของ โออิ ชิ มี ก ารใช้ สื่ อ โฆษณาบนรถเมล์ ม ากที่ สุ ด เพื่ อ เชื่ อ มโยงระหว่ า ง ผลิตภัณฑ์ “คอฟฟิโอ” กับไลฟ์สไตล์ของคนรุ่นใหม่ที่ใช้ชีวิตอยู่นอกบ้าน สำหรั บ ปี 2552 เป็ น ปี ที่ “โออิ ชิ ” ครบรอบ 10 ปี จึ ง ต้ อ งตอกย้ ำ ความเป็ น “King of Japanese Restaurant” ด้ ว ยกลยุ ท ธ์ ท างการ ตลาดเชิงรุกแบบครบวงจร ภายใต้งบประมาณกว่า 100 ล้านบาท เพื่อ ดึ ง ดู ด ให้ ผู้ บ ริ โ ภคเข้ า มาใช้ บ ริ ก ารมากยิ่ ง ขึ้ น ด้ ว ยแคมเปญ “ซู โ ก้ ย โซ้ ย แหลก” โดยจะมี ก ารแจกทองคำมู ล ค่ า 10 บาท 10 รางวั ล

การชิ ง โชค หรื อ ได้ รั บ ส่ ว นลดและ สิทธิพิเศษต่างๆ ตามมาตามสไลต์ ของ “ตัน” น อ ก จ า ก นี้ ยั ง เต รี ย ม ง บ ฯ ลงทุ น ราว 200 ล้ า นบาท ในการ ขยายร้ า นอาหารเครื อ โออิ ชิ ทุ ก แบรนด์ ให้ ไ ด้ 109 สาขา ทั้ ง ใน กรุ ง เทพฯ และต่ า งจั ง หวั ด เน้ น แบรนด์ โ ออิ ชิ ชาบู ชิ และโออิ ชิ ราเมน รวมถึงแฟรนไชส์ล่าสุดจาก ป ร ะ เ ท ศ ญี่ ปุ่ น 2 แ บ ร น ด์ คื อ คาโซะกูเตะ (Kazokutei) เปิดสาขา แรกราวกลางเดื อ นพฤศจิ ก ายนนี้ ที่ เ ซ็ น ท รั ล ปิ่ น เ ก ล้ า แ ล ะ เสรีเซ็นเตอร์ ร้านอาหารล่าสุด ของค่ายนี้ชื่อ ไมโดะโอกิ นิ (Maido Okini) เป็ น ร้านอาหารรูปแบบทำรับประทานใน ครอบครัว หรือมามา ปาปา คุกกิ้ง (Mama Papa Cooking)

คุณตัน ภาสกรนที กรรมการผู้จัดการ บริษัท โออิชิ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) Tan Pasakornnatee Ceo Of Oishi Group Plc. Oishi Group Puplic Company Limited

“ …การเป็นผู้นำในธุรกิจร้านอาหาร ญี่ปุ่น ทำให้ผู้บริหารจะไม่หยุดที่จะคิด วางแผนทั้งการรักษาแชมป์ และการ รักษาฐานลูกค้า…” “…being the leader in the Japanese restaurant business makes the executives continuously think about maintaining of the customers loyalty…”


COVER STORY

“โรดโชว์สินค้าด้วยรถเมล์”

คุณไกรเสริม โตทับเที่ยง รองผู้อำนวยการฝ่ายการตลาด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารกว้างไพศาล จำกัด (มหาชน) Kraiserm Tohtubtiang Vice Marketing Director Kuang Pei San Food Products Public Co.,Ltd.

“…การโฆษณากับสื่อรถเมล์ คล้าย กับเป็นการทำโรดโชว์บนท้องถนน…” “…bus media is the same idea of the road show on the street…”

สีสันจัดจ้านสไตล์ปุ้มปุ้ย “เราต้องการให้ภาพสินค้าปุ้มปุ้ย ปลายิ้ม ที่ปรากฏบนสื่อโฆษณามี ขนาดใหญ่ เพื่อตอกย้ำคุณภาพปลาเมคเคอเรลในซอสมะเขือเทศ ที่คัด พิเศษ ตัวโตเต็มกระป๋อง เราจึงเลือกรถเมล์เป็นสื่อโฆษณา เพราะมีพื้นที่ ใหญ่ สามารถลงภาพโฆษณาได้ อ ย่ า งโดดเด่ น ครั บ ” คุ ณ ไกรเสริ ม โตทับเที่ยง รองผู้อำนวยการฝ่ายการตลาด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหาร กว้างไพศาล จำกัด (มหาชน) ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายปลากระป๋อง ปุ้มปุ้ย เล่าถึงสาเหตุสำคัญที่ปุ้มปุ้ยใช้สื่อโฆษณาบนรถเมล์ ค่ า ยนี้ ส ร้ า งความโดดเด่ น ให้ กั บ ชิ้ นงานโฆษณาด้ ว ยการใช้ สี ช มพู ซึ่งเป็นโทนสีหลักของผลิตภัณฑ์ พร้อมกับสโลแกนที่เด่นชัด คือ “ปุ้มปุ้ย ปลายิ้ม ตัวโต เต็มกระป๋อง” เพื่อให้ผู้บริโภครับรู้และจดจำความโดดเด่น ของสินค้า ทุกครั้งที่จะซื้อปลากระป๋องก็จะนึกถึงปุ้มปุ้ย สำหรั บ การเลื อ กเส้ นทางเพื่ อ โปรโมทสิ นค้ า จะมุ่ ง ไปที่ ย่ า นธุ ร กิ จ , มองเห็นสินค้าตลอดการเดินทาง คุ ณ เสถี ย ร อมรเกษมวงศ์ กรรมการผู้ จั ด การ บริ ษั ท ธี ร์ โฮลดิ้ ง จำกั ด ผู้ แทนจำหน่ า ยผลิ ต ภั ณฑ์ อ าหารกระป๋ อ งแบรนด์ ซี เ ล็ ค ทู น่ า กล่าวว่า “ซีเล็ค ทูน่า” มองเห็นโอกาสและให้ความสำคัญของการใช้สื่อ โฆษณา จนเป็นที่จดจำแก่ผู้บริโภคผ่านสื่อโทรทัศน์ และต่อมาบริษัทต้องการขยายการรับรู้ไปยังสื่อโฆษณาใหม่ๆ จึงมอง ว่าการโฆษณาบนรถเมล์ ขสมก. ก็เป็นทางเลือกหนึ่งที่คุ้มค่า ประหยัดงบ ประมาณเมื่อเทียบกับการใช้สื่อโฆษณาทางโทรทัศน์ “ตอนนั้น ซีเล็ค ทูน่า ลงโฆษณาทางโทรทัศน์ค่อนข้างมากเพราะ ต้องการสร้างการรับรู้ แต่ต่อมาเราก็หันมาลงโฆษณาบนรถเมล์ เราจึง หยุดโฆษณาทางทีวี เพราะงบประมาณต่างกันมากครับ” ในฐานะเจ้ า ของผลิ ต ภั ณฑ์ แลกเปลี่ ย นมุ ม มองว่ า สื่ อ โฆษณาบน

ชุ ม ชนในเขตกรุ ง เทพฯ และปริ มณฑล ซึ่งถือเป็นการ Branding ที่ มีประสิทธิภาพเพราะเข้าถึงผู้บริโภค ทุกเพศ ทุกวัย “ตั้ ง แต่ ที่ ปุ้ ม ปุ้ ย ลงโฆษณาบน รถเมล์ ทำให้ บ ริ ษั ท มี ย อดขาย เพิ่มขึ้น” อย่างไรก็ตาม การใช้สื่อโฆษณา ประเภทนี้จะต้องมีกิจกรรมร่วมกับ ผู้ บ ริ โภคไปพร้ อ มๆ กั นด้ ว ย จึ ง จะ สร้างความต่อเนื่อง แล้วนำไปสู่การ แนะนำสินค้าใหม่ๆ เหมือนการทำ โรดโชว์บนท้องถนน ที่มีผู้พบเห็นได้ มากมายกับบางสินค้าที่มีความเด่น อยู่แล้ว “ทุกๆ เดือนพนักงานของเราจะ นั่งรถเมล์ที่มีโฆษณาปุ้มปุ้ย เดินทาง ไปทำกิ จ กรรมในต่ า งจั ง หวั ด ถื อ เป็ น การแบรนด์ ดิ้ ง สิ น ค้ า ที่ ไ ด้ ผ ล ครับ”

“ควรสร้างแบรนด์บนทางด่วน”

คุณเสถียร อมรเกษมวงศ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ธีร์ โฮลดิ้ง จำกัด Sathien Amornkasemwong Managing DirectorT-Holding Co.,Ltd.

“… สื่อโฆษณาบนรถเมล์ ไม่ควรลง พร้อมกับการโฆษณาทางโทรทัศน์…” “…Out-of-Home media should not be implemented at the same time as the television media…”

รถเมล์ อาจจะเหมาะอย่ า งยิ่ ง กั บ สิ น ค้ า ใหม่ ที่ ไ ม่ ไ ด้ ล งโฆษณาทาง โทรทั ศ น์ เพราะเป็ น วิ ธี ก ารสร้ า ง การรับรู้ได้เป็นอย่างดี “ในความคิดเห็นของผม วิธีการ เลื อ กลงสื่ อ โฆษณาบนรถเมล์ ไ ม่ จำเป็นต้องลงมาก เพียงแค่ 10 คัน ก็ พ อ แต่ ค วรกระจายไปในทุ ก เส้ น ทาง และสมควรอย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะต้ อ ง ลงโฆษณาบนรถเมล์ ที่ วิ่ ง ขึ้ น - ลง ทางด่วน อย่างน้อย 1 - 2 คัน และ ผมไม่ค่อยเห็นด้วยกับแบรนด์สินค้า ใหญ่ๆ ที่มีการโฆษณาทางโทรทัศน์ แล้วมาลงโฆษณาบนรถเมล์ในช่วง เวลาเดี ย วกั น เพราะในเมื่ อ สิ นค้ า ของคุ ณ มี เ งิ น ที่ จ ะลงโฆษณาทาง โทรทั ศ น์ ก็ ค วรที่ จ ะมุ่ ง เน้ น ที่ จ ะ สร้ า งการรั บ รู้ ไ ปในสื่ อ ดั ง กล่ า ว เพราะสื่ อ บนรถประจำทางเหมาะ สมอย่างยิ่งกับสินค้าใหม่ที่ไม่ได้ลง โฆษณาผ่านโทรทัศน์ครับ”


COVER STORY

“นำจุดแข็งของสื่อเป็นจุดขายของสินค้า”

เป้าหมายการดำเนินธุรกิจของ SCG Paper คื อ ต้ อ งการสร้ า ง แบรนด์กระดาษไอเดียกรีน ซึ่งเป็น กระดาษพรี เมี่ ย มที่ เป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้อม และกระดาษไอเดีย เวิร์ค กระดาษคุ ณ ภาพระดั บ Super Premium ให้เป็นที่รู้จัก ดังนั้นการ ใช้สื่อโฆษณาเพื่อสร้างการรับรู้และ จดจำแบรนด์จึงต้องทวีความเข้มข้น ไปด้วยเช่นกัน คุ ณ พุ ท ธ พ ร แ ส ง รั ต น เด ช ผู้ อ ำนวยการสำนั ก งานการตลาด เอสซี จี เปเปอร์ กล่ า วว่ า กระบวน การสร้างแบรนด์ผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ รู้ จั ก จะมุ่ ง เน้ น การโฆษณาทาง โทรทัศน์, วิทยุ, สิ่งพิมพ์พร้อมกับจัด Roadshow ไปทั่วประเทศ เพื่อให้ ผู้ บ ริ โ ภ ค สั ม ผั ส กั บ น วั ต ก ร ร ม กระดาษที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม “จริงๆแล้วทางบริษัทให้ความ สำคัญกับทุกๆ สื่อโฆษณาเท่าๆ กัน

สัมผัสนวัตรกรรมกระดาษผ่านสื่อคุณภาพ เพราะการสื่อสารที่ดีและเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้นั้นต้องใช้ในหลายๆ สื่อ เข้ามาช่วย เพราะแต่ละสื่อก็มีข้อดี มีจุดเด่นที่แตกต่างกันจึงควรที่จะใช้ ควบคู่กันไปเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด อย่างสื่อโฆษณาบนรถเมล์ มี ข้อดีที่ทางเอสซีจี เปเปอร์ให้ความสำคัญเช่นกัน เพราะเป็นสื่อเคลื่อนที่ ที่วิ่งไปทั่วกรุงเทพฯ และปริมณฑล สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ในวง กว้างไม่ใช่แค่ผู้โดยสารเท่านั้น แต่ได้สื่อให้กับผู้ที่อยู่บนท้องถนนทั่วไป ตลอดเวลา อี ก ทั้ ง สามารถถ่ า ยทอดแบรนด์ ไปได้ อี ก หลายทอดครั บ ” กระดาษไอเดีย กรีน ชูความเป็นกระดาษที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มาตั้งแต่ปลายปี 2551 ทำให้ผลิตภัณฑ์เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น หลังจากที่ ปล่อยให้ค่ายอื่น เดินหน้าทำตลาดไปก่อนหน้า

“ต้องครบทุกสื่อ และต้องรวมสื่อนอกบ้าน”

ย้ำชัดๆ กับโปรโมชั่นสินค้าไอที บริษัท ไอทีซิตี้ จำกัด (มหาชน) ผู้จำหน่ายสินค้าไอทีที่ชอบใช้สื่อ นอกบ้ า นมากที่ สุ ด แบรนด์ ห นึ่ ง เพราะองค์ ก รแห่ ง นี้ เคยเลื อ กใช้ ป้ า ย โฆษณาในรถไฟฟ้า BTS, ป้ายโฆษณาในรถตุ๊กตุ๊ก, ป้ายจราจรอัจฉริยะ และโฆษณาบนรถเมล์ โดยมองว่าสื่อนอกบ้านเป็นสื่อโฆษณาที่เข้าถึง ผู้บริโภคในยุคที่ต้องเผชิญอยู่กับการจราจรที่คับคั่ง คุ ณธั ญ ญลั ก ษณ์ ถิ ร กนกวิ ไ ล ผู้ จั ด การผลิ ต ภั ณฑ์ บมจ.ไอที ซิ ตี้ กล่าวว่า ลูกค้าของบริษัทคือประชาชนทั่วไป ที่กว้างมาก ดังนั้นการใช้สื่อ โฆษณาเพื่อกระตุ้นให้ผู้บริโภคนึกถึง ไอทีซิตี้ ทุกครั้งที่ต้องการซื้อสินค้า ไอที จึ ง ต้ อ งลงสื่ อ โฆษณาที่ เ ข้ า ถึ ง ผู้ บ ริ โ ภคทุ ก กลุ่ ม ซึ่ ง รถเมล์ ก็ เ ป็ น สื่อโฆษณาที่บริษัทเลือกใช้ในการสร้างการรับรู้และจดจำแบรนด์ “สื่อโฆษณาบนรถเมล์ มีข้อได้เปรียบอยู่ที่ความโดดเด่น เพราะมี สีสันสวยงาม ชัดเจน เห็นได้ทุกวัน ทุกเวลา ซึ่งหากเทียบกับสื่ออื่นๆ ถือว่ามีค่าใช้จ่ายที่คุ้มค่าค่ะ”

ทั้ ง นี้ ห ลั ง จากได้ ล งโฆษณาบน รถประจำทางทำให้ผู้บริโภครู้จักไอที ซิตี้มากขึ้น รู้ว่าไอทีซิตี้ดำเนินธุรกิจ อะไรและขายสินค้าอะไรบ้าง ซึ่งถือ เป็นผลงานที่ภาคภูมิใจในการสร้าง แบรด์ด้วยสื่อโฆษณา อย่างไรก็ตามการลงสื่อโฆษณา บนรถเมล์ จะต้ อ งลงอย่ า งน้ อ ย 3 – 6 เดือน ถึงจะคุ้มค่าเพราะสื่อ ประเภทนี้มีค่าใช้จ่ายในการทำสติก เกอร์ติดรถที่สูง จึงควรลงขั้นต่ำ 10 – 20 คัน ขึ้นไป และสิ่งสำคัญที่สุด คือต้องเลือกเส้นทางให้ครอบคลุม ทั่วกรุงเทพฯ สำหรั บ ไตรมาส 4 ปี 2552 ทางบริษัทจะโปรโมทแบรนด์ไอทีซิตี้ บนรถประจำทางมากขึ้น เนื่องจาก มี ง านเทศกาลของขวั ญ สิ นค้ า ไอที และเป็ นงานที่ ลู ก ค้ า มั ก จะรอคอย เป็นประจำ

คุณพุทธพร แสงรัตนเดช ผู้อำนวยการสำนักงานการตลาด บริษัท เอสซีจีเปเปอร์ จำกัด (มหาชน) Puttaporn Saengratanadej Marketing Director SCG Paper

“…เป้ า หมายการสร้ า งแบรนด์ จึ ง จำเป็นต้องมีสื่อ ครบทุกมิติ รวมทั้ง สื่ อ นอกบ้ า น ซึ่ ง SCG เน้ น การ ประชาสั ม พั นธ์ ด้ า นองค์ ก รสี เ ขี ย ว มายาวนาน ทุ ก สื่ อ จึ ง ต้ อ งเป็ น ก ร ะ บ ว น ทั ศ น์ เ ดี ย ว กั น ต า ม วัฒนธรรมองค์กรของค่ายนี้…” “…to create a brand, all types of advertising media. SCG emphasizes corporate culture on the green organization for such a long time…

คุณธัญญลักษณ์ ถิรกนกวิไล ผู้จัดการผลิตภัณฑ์ บริษัท ไอที ซิตี้ จำกัด (มหาชน) Thanyaluk Thirakanokwilai, Product Manager IT CITY PUBLIC COMPANY LIMITED

“…ฐานลู ก ค้ า ที่ ก ว้ า งมากๆ จำเป็ น ต้องเหวี่ยงเงินโฆษณาให้ครอบคลุม ทุ ก สื่ อ จึ ง จะคุ้ ม ค่ า เพราะใครๆ ก็ เป็นลูกค้าได้ทั้งนั้น…” “…to reach the total target, advertisers will spending their money on all media coverage…”


COVER STORY

“ทำสื่อโฆษณาต้องเช็กเรทติ้ง”

คุณสุวรรณา อัครพงศ์พิศักดิ์ ผู้อำนวยการฝ่ายขายและการตลาด บริษัท เบอร์แทรม เคมิคอล(1982) จำกัด Suwanna A.Pisak Marketing Director Bertram Chemical (1992) Co.,Ltd.

“...กลุ่ ม ลู ก ค้ า หลั ก อยู่ ใ นกทม. รถเมล์ จึงเป็นสื่อที่มีผลต่อการรับรู้ สูง…” “…ours target market mostly are Bangkokian, Bus media, the high perception received…”

สินค้า พรีเซ็นเตอร์ สื่อโฆษณา ต้องไปด้วยกัน “เพพเพอร์มินท์ ฟิลด์” ให้ความสำคัญต่อการสร้างแบรนด์มาอย่าง ต่อเนื่อง เพราะมีความเชื่อว่าเมื่อผู้บริโภคมีความคุ้นเคยกับผลิตภัณฑ์ ก็ จะทำให้แบรนด์สินค้าอยู่ในใจผู้บริโภค เกิดความจงรักภักดีต่อตราสินค้า และนำมาซึ่งยอดขาย ดังนั้นในปี 2552 เพพเพอร์มินท์ ฟิลด์ จึงทุ่มงบประมาณในการทำ โฆษณาประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ กว่า 60 ล้านบาท คุณสุวรรณา อัครพงศ์พิศักดิ์ ผู้อำนวยการฝ่ายขายและการตลาด บริษัท เบอร์แทรม เคมิคอล (1982) จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายยาหม่องน้ำเซียงเพียวอิ๊ว และผลิตภัณฑ์ยาดม ยาหม่องภายใต้ชื่อ ยี่ห้อ เพพเพอร์มินท์ฟิลด์ กล่าว ว่า ฐานลูกค้าของเพพเพอร์มินท์ ฟิลด์ ส่วนใหญ่อยู่ในเขตกรุงเทพฯ และ ปริมณฑล ดังนั้นการใช้สื่อโฆษณาบนรถเมล์ จึงมีความเหมาะสมมาก ที่สุด เพราะสามารถเข้าถึงผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายที่ส่วนใหญ่ใช้ชีวิตอยู่ แรปรถเมล์ 100 คัน แจ้งเจิดทั่วเมือง “ซันซิล” ยังคงสามารถครองความเป็นเบอร์ 1 ในตลาดผลิตภัณฑ์ ดูแลเส้นผม การพัฒนาคุณภาพสินค้าอย่างต่อเนื่องควบคู่กับการใช้สื่อ โฆษณาประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างการรับรู้และตอกย้ำแบรนด์อยู่สม่ำเสมอ “ซันซิลมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีความหลากหลายเพื่อตอบโจทย์ ความต้องการของปัญหาเรื่องเส้นผมและหนังศีรษะ ด้วยความเข้าใจผู้ บริ โภคอย่ า งลึ ก ซึ้ ง ทำให้ ส ามารถครองใจสาวไทยอย่ า งเหนี ย วแน่ น มากว่า 30 ปีค่ะ” คุณภรณี อึ๊งภากรณ์ ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนาตลาด กลุ่มผลิตภัณฑ์ดูแลเส้นผม บริษัท ยูนิลีเวอร์ ไทย เทรดดิ้ง จำกัด กล่าว นอกจากการพัฒนาสินค้าให้ตรงใจผู้บริโภค และการใช้สื่อโฆษณา ประชาสัมพันธ์อย่างเต็มรูปแบบแล้ว ค่ายนี้จึงไม่วางสายตากับการรับรู้ และตอกย้ำแบรนด์ผ่านรถเมล์เพื่อเข้าถึงผู้บริโภคยุคใหม่ที่ใช้เวลาอยู่กับ การเดินทางบนท้องถนน ซันซิล ใช้งบประมาณแรป รถเมล์จำนวน 100 คัน วิ่งครอบคลุม

นอกบ้าน “หลังจากที่เราลงสื่อโฆษณาบน รถเมล์ ขสมก. ออกไปก็ ท ำ ให้ ป ร ะ ช า ช น รู้ จั ก สิ น ค้ า ม า ก ขึ้ น เป็ น การสร้ า งการรั บ รู้ ไ ด้ ดี ที เดี ย ว ค่ะ” นอกจากสื่ อ โฆษณาที่ ค่ า ยนี้ ให้ ความสำคัญแล้ว ทางบริษัทยังได้มี การแจกผลิตภัณฑ์ตัวอย่างให้กับผู้ บริ โ ภค พร้ อ มกั บ โรดโชว์ แ นะนำ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ พพเพอร์ มิ น ท์ ฟิ ล ด์ ในอาคารสำนั ก งาน และแหล่ ง ชุ ม ชนต่ า งๆ ทั้ ง ในเขตกรุ ง เทพฯ และต่างจังหวัด “เวลาที่เราไปโรดโชว์พบลูกค้า ตามอาคารสำนัก งาน เราได้ มีก าร สอบถามความเห็นจากลูกค้าอยู่เป็น ประจำว่ า เห็ น โฆษณาเพพเพอร์ มิ น ท์ ฟิ ล ด์ จากสื่ อ อะไรมากที่ สุ ด ซึ่ ง คำตอบที่ ไ ด้ จ ากผู้ บ ริ โ ภคก็ คื อ จากรถเมล์ แสดงว่ า เป็ น สื่ อ ที่ มี อิมแพคสูงค่ะ”

“ใช้ความมาก สร้างความดัง”

คุณภรณี อึ๊งภากรณ์ ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนาตลาดกลุ่ม ผลิตภัณฑ์ดูแลเส้นผม บริษัท ยูนิลีเวอร์ ไทย เทรดดิ้งจำกัด Poranee Ungpakorn Marketing Development Director, Hair Care Group Unilever Thai Trading Ltd.

“ …การใช้สื่อมากความถี่ ย่อมช่วย ให้ ก ารรั บ รู้ และมองเห็ น มี โ อกาส เกิดขึ้นได้มากเช่นกัน…” “…the media revealingly, the more effective brand awareness.. .…”

ทั่ ว กรุ ง เทพฯ และปริ ม ณฑล เป็ น เวลา 3 เดื อ น เพื่ อ ให้ ไ ด้ ข นาด จำนวนกลุ่มผู้บริโภคที่มากพอที่จะ สร้างกลุ่มก้อนมหึมาให้กับเคมเปญ ให ม่ ข อ ง ซั นซิ ล คื อ “ ต้ อ ง ม นต์ สะกด...เมื่ อ สั ม ผั ส ผมนุ่ ม สวย” ซึ่ ง เป็นแคมเปญในช่วงครึ่งปีหลังนี้ “หลังจากที่ซันซิลได้ลงโฆษณา ไปแล้ ว ได้ รั บ การตอบรั บ จากสาว ไทยเป็นอย่างดี ช่วยทำให้ซันซิลยัง คงความเป็ น ผู้ น ำอั น ดั บ หนึ่ ง ของ ตลาดการดู แ ลและรั ก ษาเส้ น ผม รวมถึงสามารถเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภค เป้าหมายให้ได้มากที่สุด” ภ า พ ข อ ง ร ถ เ ม ล์ ที่ แ ร ป ง า น โ ฆ ษ ณ า จ ำ น ว น 1 0 0 คั น วิ่ ง ตามเส้ น ทางต่ า งๆ ทั่ ว กทม. จัดว่าเป็นจำนวนมากพอที่จะทำให้ คน กทม. ได้ รั บ รู้ แ คมเปญนี้ ไ ด้ ไม่ ยาก ด้ ว ยงบประมาณที่ สิ น ค้ า อี ก หลายรายทำได้ไม่ง่ายเช่นกัน


COVER STORY

หนึ่ ง ในยุ ท ธศาสตร์ ส ำคั ญ ของ ฮอนด้า ของการแนะนำรถรุ่นใหม่ๆ อ อ ก สู่ ต ล า ด เ พื่ อ ก ร ะ จ า ย ใ ห้ ครอบคลุ ม ทุ ก กลุ่ ม เป้ า หมาย คื อ การสื่ อ สารกั บ ผู้ บ ริ โ ภค บอกรุ่ น รถยนต์จึงจำเป็นต้องใช้สื่อโฆษณาที่ เข้ า ถึ ง ผู้ บ ริ โ ภค และสื่ อ โฆษณาที่ ค่ายรถมอเตอร์ไซต์รายนี้ม องก็ คื อ “การโฆษณาบนรถเมล์ ขสมก.” คุ ณจุ ฑ ามาศ อิ น ปริ ง กานั นท์ ผู้จัดการฝ่ายสื่อสารการตลาด ส่วน งานวางแผนธุ ร กิ จ บริ ษั ท เอ.พี . ฮอนด้า จำกัด กล่าวว่า ฮอนด้าจะ เลือกใช้สื่อโฆษณาบนรถเมล์ ก็ต่อ เมื่อมีรุ่นรถที่ต้องการเข้าถึงกลุ่มเป้า หมายในพื้ น ที่ ก รุ ง เทพฯ และปริ มณฑล ซึ่งที่ผ่านมาเคยใช้กับรถมอ เตอร์ไซด์หลายรุ่นมาแล้ว “ที่ผ่านมารถมอเตอร์ไซด์ทุกรุ่น

“เจาะตลาดนักบิดด้วยรถเมล์” โฆษณาที่เคียงคู่บนท้องถนน ของฮอนด้าโฆษณาผ่านสื่อประเภทนี้ ล้วนประสบความสำเร็จทั้งในด้าน การจำหน่าย และในด้านภาพลักษณ์ ได้รับการยอมรับจากกลุ่มเป้าหมาย อย่างกว้างขวาง และจะช่วยเร่งกลุ่มเป้าหมายให้ตอบรับกลับมาหาเรา อย่างรวดเร็วขึ้น” ปัจจุบันค่ายรถมอเตอร์ไซต์รายนี้ให้ความสำคัญกับการโฆษณาผ่าน สื่อโทรทัศน์เป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาก็เป็นหนังสือพิมพ์ เนื่องจากเป็นสื่อ ที่เข้าถึงคนส่วนใหญ่ได้ดีมาก แต่หากจะเจาะเข้าพื้นที่ หรือการใช้สื่อให้ เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเฉพาะกลุ่ม ต้องจัดว่าสื่อโฆษณาบนรถเมล์เป็นสื่อ อันดับหนึ่งที่ค่ายนี้เรียกใช้บริการ

“เปิดตัวสินค้าใหม่ผ่านสื่อนอกบ้าน”

รับรู้ผ่านสื่อโฆษณาค่อนข้างมาก “ยามาฮ่ า ใช้ สื่ อ โฆษณาบน รถเมล์กับสินค้าใหม่ เพราะเป็นสื่อที่ สร้างการรับรู้ได้เป็นอย่างดี รถเมล์มี ตั ว รถขนาดใหญ่ ส ามารถนำเสนอ ชิ้ นงานโฆษณาได้ มี สี สั น สวยงาม เห็ น แล้ ว สะดุ ด ตา มี ค วามถี่ ในการ มองเห็น ผลของการออกโฆษณาไป ทำให้ ผู้ บ ริ โภครู้ จั ก รุ่ น มอเตอร์ ไซด์ พื้นที่ใหญ่รับรู้สินค้าได้ดี มากขึ้นและเข้ามาสอบถามตัวสินค้า ทุกครั้งที่ “ยามาฮ่า” มีการเปิดตัวรถมอเตอร์ไซด์ จะได้รับเสียง ที่โชว์รูมมากขึ้นด้วยค่ะ” ตอบรับจากผู้บริโภคแฟนพันธุ์แท้ของยามาฮ่าอยู่เสมอๆ เพราะความเป็น เอกลักษณ์เฉพาะตัวในด้านดีไซน์และความล้ำหน้าทางเทคโนโลยี จึง ทำให้วันนี้ยามาฮ่ากลายเป็นแบรนด์ที่เข้มแข็ง คุณสรวงสุดา มนัสบุญ เพิ่มพูล ผู้จัดการทั่วไปฝ่าย สื่อสารการตลาด บริษัทไทย ยามาฮ่ า มอเตอร์ จำกั ด จำนวนรถโดยสารในเขตกรุงเทพฯ ณ มิถุนายน 2552 ประเภท จำนวน (คัน) สัดส่วน ( %) กล่าวว่า ในปัจจุบันยามาฮ่า มีรถมอเตอร์ไซต์อยู่หลายรุ่น รถ ขสมก. 3,524 20 ซึ่งในแต่ละรุ่นก็มีเอกลักษณ์ รถร่วมบริการ 4,004 23 รถมินิบัส 1,060 6 เฉพาะตั ว ดั ง นั้ น การที่ จ ะ รถเล็ ก ในซอย 2,347 13 ทำให้ผู้บริโภคจดจำชื่อรุ่นรถ รถตู้โดยสาร 6,384 36 มอเตอร์ไซต์ของ ยามาฮ่า รถตู้ NGV 358 2 แ ล ะ อ ย า ก ที่ จ ะ ม า เ ป็ น เจ้ า ของก็ จ ะต้ อ งสร้ า งการ ที่มา: องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

Bus media Tips

คุณจุฑามาศ อินปริงกานันท์ ผู้จัดการฝ่ายสื่อสารการตลาดส่วนงาน วางแผนธุรกิจ บริษัท เอ.พี.ฮอนด้า จำกัด Jutamart Inpringananta Manager Marketing Communication Department A.P.Honda Co.,Ltd.

“...สื่ อ รถเมล์ เป็ น สื่ อ นอกบ้ า น อันดับหนึ่ง ที่รถมอเตอร์ไซค์ ค่าย ฮอนด้า เลือกใช้....” “…Out-of-Home media, launching new products can be measured by numbers of people showing up at the showroom…”

คุณสรวงสุดา มนันบุญเพิ่มพูล ผู้จัดการทั่วไปฝ่ายสื่อสารการตลาด บริษัท ไทยยามาฮ่ามอเตอร์ จำกัด .................................... General Manager of Marketing Communication Division THAI YAMAHA MOTOR Co.,LTD.

“…ใช้สื่อนอกบ้าน ช่วยในการเปิดตัว สินค้าใหม่ และวัดผลได้ จากการมี ลูกค้า เดินเข้าโชว์รูม…” “…bus media is the first choice among others used by Honda Motorcycle…”


COVER STORY

“ข้อความสั้นโดนใจดี”

คุณจริมา จั่นมณี บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จำกัด Jarima Chanmanee Assistance Vice President Marketing Communication Hutchison CAT Wireless MultiMedia Ltd.

“… ชี วิ ต คนที่ เดิ นทาง รี บ เร่ ง งาน โฆษณาจึ ง ควรกระชั บ สั้ น ได้ ใ จ ความ แบรนด์จึงจะมั่นคง…” “…the rushing lifestyle, concise key words message would help the brand stability…”

เห็นโฆษณาชัดก่อนขึ้นรถเมล์ ค่ า ยมื อ ถื อ “ฮั ท ช์ ” มี สิ่ ง ที่ ผู้ บ ริ โ ภคจดจำได้ แ ม่ น คื อ การมี แคมเปญใหม่ๆ ออกสู่ตลาดอยู่บ่อยๆ ล่าสุดกับแคมเปญ “โทรไม่อั้น” ถูกอกถูกใจขาเม้าท์มาก และกลายเป็นสัญลักษณ์เฉพาะตัวว่า ถ้าจะรอ โปรโมชั่นใหม่ๆ ต้องรอค่ายนี้เลย ไม่ผิดหวัง ปั จ จุ บั นฐานลู ก ค้ า ส่ ว นใหญ่ ข อง ฮั ท ช์ อยู่ ใ นเขตกรุ ง เทพฯ และ ปริ ม ณฑล เป็ น ลู ก ค้ า ระบบรายเดื อ นดั ง นั้ น วิ ธี ก ารสื่ อ สารกั บ กลุ่ ม เป้ า หมาย เพื่อนำเสนอแคมเปญโดนใจ ขาเม้าท์ จึงเลือกใช้สื่อโฆษณาบน รถเมล์ปรับอากาศ ขสมก.จะตรงเป้าหมายที่สุด “วั นนี้ ค นกรุ ง เทพฯ จะใช้ ชี วิ ต อยู่ น อกบ้ า นเป็ น ส่ ว นใหญ่ เฉลี่ ย 10 ชั่วโมงต่อ 1 วันและใน 1 วันจะใช้เวลาเดินทางประมาณ 28 กิโลเมตร และยื น รอรถประจำทางเฉลี่ ย 18 นาที ต่ อ คน ดั ง นั้ น สื่ อ ที่ เ ข้ า ถึ ง คน ย้ำภาพผู้นำ Hi Speed จำนวนฐานลูกค้าของ “ทรูออนไลน์” ส่วนใหญ่เป็นนิสิต, นักศึกษา, คนทำงาน อยู่ในเขตกรุงเทพฯ ดังนั้นการใช้สื่อโฆษณาเพื่อตอกย้ำความ เป็นผู้นำไฮสปีดอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง 8 Mbps ของทรูออนไลน์ จึง ต้องใช้สื่อโฆษณาที่ครอบคลุมและเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเหล่านี้ให้มากที่สุด ซึ่งการโฆษณาบนรถเมล์ จัดว่าเป็นสื่อโฆษณาเคลื่อนที่ ที่องค์กรแห่งนี้ให้ น้ำหนักเป็นอันดับหนึ่งในการตอกย้ำแบรนด์ผู้นำที่ปัจจุบันมีส่วนแบ่งการ ตลาดในกรุงเทพฯ กว่า 75% “วันนี้การดำเนินชีวิตของคนกรุงเทพฯ ส่วนใหญ่ออกมาอยู่กับการ เดินทางบนท้องถนน ดังนั้นการใช้สื่อโฆษณาบนรถเมล์ จึงเหมาะสมเป็น อย่ า งยิ่ ง ในการสื่ อ สารกั บ ผู้ บ ริ โภค เราตอกย้ ำ ความเป็ น ผู้ น ำไฮสปี ด อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง 8 Mbps ผ่านสื่อนี้ค่ะ” คุณรุ่งฟ้า เกียรติพจน์

กรุ ง เทพฯ ได้ ดี ที่ สุ ด ก็ คื อ รถเมล์ ค่ ะ ดังนั้นฮัทช์จึงตัดสินใจลงโฆษณาบน รถเมล์จำนวน 30 คันโดยเลือกเส้น ทางที่ ผ่ า นย่ า นธุ ร กิ จ แหล่ ง ชุ ม ชน ด้วยการนำเสนอโปรโมชั่นและแคม เป ญ ให ม่ ๆ ” คุ ณจ ริ ม า จั่ น ม ณี Assistance Vice President Marketing Communication บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติ มี เดี ย จำกั ด ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารโทรศั พ ท์ เคลื่ อ นที่ ร ะบบซี ดี เ อ็ ม เอ ภายใต้ แบรนด์ ฮัทช์ กล่าว สำหรับชิ้นงานโฆษณาของฮัทช์ ที่ ป ร า ก ฏ บ น ร ถ เม ล์ จ ะ เป ลี่ ย น ทุ ก 2 เดื อ น เพ ร า ะ ค่ า ย นี้ จ ะ มี โปรโมชั่นใหม่ๆ ออกมาสม่ำเสมอ “สิ่ ง สำคั ญ ของการลงโฆษณา บนรถเมล์ คื อ ต้ อ งไม่ ล งข้ อ ความ ที่ ม ากเกิ น ไป ยิ่ ง เป็ นข้ อ ความสั้ น ๆ ยิ่งดี เห็นแล้วโดนใจ แต่อย่าลืมใส่ แบรนด์ลงตัวไปด้วย”

“ขยายฐานลูกค้าด้วยเส้นทางรถเมล์”

คุณรุ่งฟ้า เกียรติพจน์ ผู้อำนวยการด้านบริหารแบรนด์และ การสื่อสารการตลาด บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) Rungfa Kiatipoj Director of Brand Management & Marketing Communications True Corporation Public Company Limited

“ …ควรเลื อ กเส้ นทางให้ เหมาะกั บ สินค้า ทรูออนไลน์ เลือก เส้นทาง ธุ ร กิ จ และย่ า นพั ก อาศั ย ซึ่ ง น่ า จะ ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายได้ดี…” “…selected the right bus routes with crucial to the business, that best fit “True Online” products are in the business and residential areas…”

ผู้ อ ำนวยการด้ า นบริ ห ารแบรนด์ และการสื่ อ สารการตลาด บมจ. ทรู คอร์ปอเรชั่น กล่าว นั บ เป็ น ครั้ ง แรกในรอบ 8 ปี ที่เจ้าตลาดบรอดแบนด์อย่างค่ายนี้ หั น มาตอกย้ ำ แบรนด์ ผ่ า นสื่ อ ดั ง กล่ า ว ซึ่ ง หลั ง จากลงโฆษณาผ่ า น รถเมล์ แ ล้ ว พบว่ า ทำให้ บ ริ ษั ท ฯ มี ลูกค้าเพิ่มมากขึ้น ทั้งที่เป็นกลุ่มที่ใช้ งานอินเตอร์เน็ตเต็มรูปแบบ, ดาวน์ โหลดแบบ High-definition, ดูคอน เทนต์ Streaming หรือใช้ Social Network แบบเรียลไทม์ตลอดเวลา เส้ นทางเดิ น รถที่ ถู ก เลื อ ก คื อ เ ส้ น ท า ง ที่ ร ถ เม ล์ วิ่ ง ผ่ า น ย่ า น สุ ขุ ม วิ ท , สี ล ม, สยาม, สาทร รวม ทั้งเส้นทางที่วิ่งเข้าไปในแหล่งชุมชุน ที่พักอาศัย อาทิ รามคำแหง เพราะ เป็ น สถานที่ ที่ มี ก ลุ่ ม เป้ า หมายของ ทรูออนไลน์


G-net โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ สร้ า ง แบรนด์ โดยคนไทย ประสบความ สำเร็จอย่างสูงกับตลาดในประเทศ ด้วยคุณสมบัติเด่น คือ ดูโทรทัศน์ได้ ทุกช่อง มี 2 ซิม 2 สาย เครื่องเล่น เพลง MP3 และ MP4 มี ฟั ง ก์ ชั น มั ล ติ มี เดี ย กล้ อ งดิ จิ ต อลถ่ า ยรู ป ได้ ทั้งภาพนิ่งและวิดีโอโดยให้คุณภาพ ความคมชั ด สู ง มี ดี ไ ซน์ ฮิ บ ฮิ บ ถูกใจ ด้วยราคาที่รับกันได้ “วั นนี้ จี เนท เป็ น โทรศั พ ท์ มื อ ถือที่ขายดีมาก โดยในแต่ละวันจะ ขายโทรศั พ ท์ ไ ด้ เ ป็ น หมื่ น เครื่ อ ง เฉลี่ ย 1 เดื อ นขายโทรศั พ ท์ ไ ด้ ประมาณกว่า 2 แสนเครื่อง เพราะ เป็นสินค้าที่มีคุณสมบัติอันโดดเด่น โดนใจผู้ บ ริ โ ภค ที่ ส ำคั ญ เราใช้ สื่ อ โฆษณาที่ เข้ า ถึ ง กลุ่ ม เป้ า หมาย จน ทำให้ วั น นี้ จี เ นท มี ส่ ว นแบ่ ง การ ตลาดเป็ น อั นดั บ สองแล้ ว นะครั บ ” คุ ณ ฑั ศ เชาวนเสถี ย ร ประธาน เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร บริ ษั ท จี เนท อิ น เตอร์ เนชั่ น แนล (ประเทศไทย) จำกัด พูดถึงสินค้าของเขาที่โดนใจ ผู้ใช้แบบจังเบอร์ จีเนท เปิดตัวอย่างเป็นทางการ เมื่ อ ปี 2549 และเลื อ กใช้ สื่ อ บน รถเมล์ครีม - แดง หรือเรียกว่าเป็น รถร้อน เพราะมีการสำรวจกลุ่มเป้า หมายในเขตกรุ ง เทพฯ และปริ มณฑล แล้วพบว่าติดอยู่ในกลุ่มกว่า 70 % ชอบขึ้ น รถเมล็ ค รี ม - แดง ขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ( ข ส ม ก . ) ม า ก ก ว่ า ร ถ โด ย ส า ร ประเภทอื่นๆ

COVER STORY

“เน้นรถเมล์ร้อน ย้อนหากลุ่มมือถือ” คุณฑัศ เชาวนเสถียร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท จี เนท อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด That Chaowanasatier CEO G NET International (Thailand) Ltd. ข้อความเก๋ๆ โดนใจขาเม้าท์

มองกันเพลินๆ ระหว่างรถติด

“เมื่อผลวิจัยออกมาอย่างนี้ ผมจึงเข้าไปคุยกับ ขสมก.เพื่อหารือและ ยืนยันว่า จีเนทจะลงโฆษณาบนรถเมล์ร้อนทุกคันครับ” ทุกตำแหน่งของรถร้อน จึงถูกจับจองโดยมือถือของค่ายนี้ ประหนึ่ง ว่าเป็นเจ้าของ หรือเป็นมือถือยักษ์เคลื่อนที่ได้ก็ไม่ปาน ผู้บริหารบอกว่า คุ้มมาก เพราะผู้บริโภครู้จักโทรศัพท์ จี เนท ทุกรุ่น อันเป็นการสร้างแบรนด์ที่ได้ผลจริงๆ แนวทางการวางแผนงาน เขาขยายความว่าจะมุ่งเน้นการเปิดตัว โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ รุ่ น ใหม่ ๆ ให้ ม ากขึ้ น โดยเฉลี่ ย สั ป ดาห์ ล ะ 1 – 2 รุ่ น และไม่ละเลยงานโฆษณา - ประชาสัมพันธ์ ด้วยงบ ประมาณกว่า 500 ล้านบาท แบ่งเป็นการ เปิ ด ศู น ย์ บ ริ ก าร “First Class ในฐานะที่เป็นพรีเซ็นเตอร์ให้กับ G-Net Service 24 ชั่วโมง” เพื่อบริการ หลังการขาย จำนวน 300 ล้าน คิดอย่างไรกับสื่อบนรถเมล์? บาท และอีก 200 ล้านบาทจะ “วันนี้ชีวิตคนกรุงเทพฯ ส่วนใหญ่จะ ใช้ในการโฆษณา อยู่กับการเดินทางบนท้องถนน ดังนั้นสื่อ โฆษณาที่เข้าถึงคนกลุ่มนี้ได้ดีก็คือ รถเมล์ สร้างการจดจำได้ดีครับ” เทียรี่ เฆมวัฒนา ศิลปิน/นักร้อง

“…เมื่อผลวิจัยพบ ว่าเป็นกลุ่มคนที่ ชอบนั่งรถเมล์ร้อน ผมไม่ลังเลใจที่ จะพุ่งเข้าไปหาทันที ได้ผลครับ ยอด ขายเป็ น อั น ดั บ สอง ในเวลาเพี ย ง 4 ปี…” “…the research output shown, the management decided not hesitate to advertise theirs products on the non-air conditioned buses, G-net holds second market share within 4 years…”

Bus media Tips รถเมล์ - เรือเมล์ กิจการรถเมล์เกิดขึ้นเมื่อราวปี พ.ศ. 2450 มีเส้นทางการวิ่งจาก สะพานยศเส ถึงประตูน้ำสระปทุม รถเมล์ประจำทางที่มีครั้งแรกนั้น ใช้ กำลังม้าลากจูงแทน โดยไม่ต้อง อาศัยน้ำมันเชื้อเพลิง ซึ่งคนสมัย ก่อนจะเรียกชื่อรถเมล์ตามเรือเมล์


COVER STORY

“สภาพรถเมล์ ทำให้ต้องเข้ม

เรื่องคุณภาพ” “ย้ำคุณภาพทุกคำกับลูกค้า” “ผมเป็นผู้รับงานผลิต มาจากเอ เยนซี หรือเจ้าของสื่อ เจ้าของสินค้า ทุกงานจึงต้องคิดยาวๆ ถึงคุณภาพ และความเร็วในการบริการ เพราะ ทุกชิ้นมักจะมาแบบด่วนทั้งนั้น ยิ่ ง เป็ น สื่ อ รถเมล์ น ะครั บ ตาก แดด ตากฝน ตากน้ ำ ค้ า ง ตลอด เกื อ บ 24 ชั่ ว โมง ยิ่ ง ต้ อ งช่ ว ยคิ ด แทนลู ก ค้ า ว่ า จะทำให้ ชิ้ นงานนั้ น คุณหวง เหยิน ชาง ใหม่ ดู ดี อยู่ น านๆ ได้ ยั ง ไง ผม กรรมการผู้จัดการ แนะนำลู ก ค้ า อยู่ เรื่ อ ยครั บ ว่ า การ บริษัท ทีมเทคเวิลด์ไวด์ จำกัด ( มหาชน ) ผลิต ต้นทุนการซื้อ การขาย ใครๆ Huang Chyen Chang ก็อยากได้ราคาถูก แต่บางครั้งก็ไม่ Managing Director คุ้ ม ค่ า กั บ การรั ก ษาภาพพจน์ ที่ Team Tec Worldwide Public Company Limited ประเมินเป็นตัวเงินไม่ได้ ลดต้นทุน “… ลูกค้าจ่ายเงินเพิ่มขึ้นบ้าง ตาม ใช้ ข องคุ ณ ภาพตามราคา พอเกิ ด คุณภาพชิ้นงาน คุ้มค่าต่อการรักษา เรื่องแล้วมานั่งเสียดาย อย่างสติ๊ก เกอร์ ขาดวิ่ น หน้ า พรี เ ซ็ น เตอร์ ภาพพจน์ของแบรนด์…” “…customers are willing to pay หมอง สินค้าก็ถูกมองไปตามสภาพ more for better products and เหมือนกันนะครับ” services which are the most two คุณหวง เหยิน ชาง กรรมการ crucial factors in maintaining the ผู้ จั ด การ บริ ษั ท ที ม เทค เวิ ล ด์ ไ วค์ brand image…” จำกัด (มหาชน) อธิบายงานของเขา อย่างเห็นภาพพจน์ และลูกค้าที่ส่งงานมักจะคล้อยตาม เพราะจ่ายเพิ่มขึ้น บ้าง ตามคุณภาพการผลิต แต่ผลลัพธ์คุ้มค่ากับการวางภาพพจน์อันดีในระยะ ยาวของทุกสินค้า

คุณภาพในงานพิมพ์ต้องคมชัด

Bus media Tips

จำนวนเส้นทางรถโดยสารในเขตกรุงเทพฯ ณ มิถุนายน 2552 ประเภท

จำนวนเส้นทาง

สัดส่วน ( %)

รถ ขสมก. รถร่วมบริการ รถเล็กในซอย รถตู้โดยสาร รถตู้ NGV

108 101 112 113 10

24 23 25 26 2

ที่มา: องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

คุ ณ โชคชั ย เมธี ย นต์ พิ ริ ย ะ กรรมการผู้จัดการ บริษัท โปรดีเคล จำกัด กล่าวว่า หัวใจหลักของงาน พิ ม พ์ สื่ อ โฆษณาบนรถเมล์ คื อ ความคมชั ด เรี ย บ เนี๊ ย บ สวย ดั ง นั้ นทุ ก ขั้ นตอนของงานพิ ม พ์ สื่ อ โฆษณาและกระบวนการติดตั้ง จึง ต้องให้ความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง “เป็นเรื่องที่น่ายินดีครับที่บริษัท คุณโชคชัย เมธียนต์พิริยะ แพลน บี มี เ ดี ย จำกั ด ในฐานะ กรรมการผู้จัดการ บริ ษั ท ที่ ไ ด้ รั บ สั ม ปทานบริ ห ารสื่ อ บริษัท โปรดีเคล จำกัด Chokechai Meeteeyonpiriya โฆษณาบนรถเมล์ปรับอากาศ ยูโรทู Managing Director ไม่ เ คยหยุ ด นิ่ ง ในการพั ฒ นาสื่ อ Prodecal Co.,Ltd. โฆษณา กำหนดให้มีความโดดเด่น “…ผู้ผลิตชิ้นงานโฆษณา ต้องคิด ในด้านงานครีเอทีฟและมาตราฐาน เรื่ อ งคุ ณ ภาพ และฝี มื อ การติ ด งานพิ ม พ์ จากเดิ ม ความละเอี ย ด ของภาพอยู่ ที่ 720 dpi สู ง ขึ้ น ไป ตั้ง…” “ … m e d i a s u p p l i e r s n e e d t o เป็ น 1,400 dpi ทำให้ สี สั น ของ consider quality in terms of both โฆษณาที่ ป รากฏบนตั ว รถเมล์ มี production and installation ความโดดเด่น สวยงามมากขึ้นอย่าง process…” ที่เห็นกันนั่นแหละครับ” แม้มาตรฐานงานพิมพ์จะถูกกำหนดให้สูงขึ้น แต่ก็ไม่เป็นอุปสรรคต่อการ ทำงาน เพราะความมั่นใจของลูกค้า และความพอใจของเจ้าของสินค้า ย่อม ทำให้เกิดภาพพจน์ดีๆ และเป็นผลดีของงานโฆษณาของเมืองไทย สีสันสวยงามมาตรฐานสากล งานของโปรดีแคล คือการเป็นหนึ่งในบริษัทที่ได้รับงานจากแพลน บี ให้ เป็นผู้พิมพ์งานโฆษณารวมทั้งติดตั้งสื่อโฆษณาบนตัวรถเมล์ปรับอากาศ ยูโรทู “นอกจากงานพิ ม พ์ ที่ มี คุ ณ ภาพแล้ ว อี ก หนึ่ ง ในความสำคั ญ ของงาน โฆษณา คือกระบวนการติดตั้ง ซึ่งต้องเรียบ เนียน สวย ไม่เป็นฟองอากาศ และไม่เป็นอันตรายต่อตัวรถ จึงจะสมประสงค์ด้วยกันทุกฝ่ายครับ”


COVER STORY

“ต้องมีกิจกรรม “ลงโฆษณารถเมล์ ต้องเลือกสายยาว” ร่วมกับผู้โดยสาร” คุ ณ ปริ ทั ศ มุ่ ง ประสิ ท ธิ ชั ย กรรมการผู้ จั ด การ บริ ษั ท คาราท (ประเทศไทย) จำกั ด กล่ า วว่ า สื่อโฆษณาบนรถเมล์เหมาะสมอย่าง ยิ่ ง กั บ การเจาะตลาดคนกรุ ง เทพฯ เพราะเป็นสื่อที่ประชาชนพบเห็นอยู่ ทั่ ว ไปตามท้ อ งถนน ซึ่ ง การที่ จ ะ แจ้ ง เกิ ด สิ นค้ า ได้ ห รื อ ไม่ นั้ น ขึ้ น อยู่ กั บ ชิ้ น งานโฆษณาว่ า มี ค วามคิ ด คุณปริทัศ มุ่งประสิทธิชัย สร้ า งสรรค์ โดนใจผู้ บ ริ โภคมากแค่ กรรมการผู้จัดการ ไหน เพราะถ้ า เห็ น แล้ ว “ชอบ” ก็ บริษัท คาราท (ประเทศไทย) จำกัด Parithas Moongprasittichai สามารถกระตุ้นให้เกิดการซื้อสินค้า Managing Director ได้ทันที Carat (Thailand) Co.,Ltd. “คำว่าครีเอทีฟ เกิดขึ้นได้เสมอ “ …เลือกสายวิ่งยาวของรถเมล์ จะ ครั บ ไม่ ว่ า จะเป็ นการใช้ สี ห รื อ ข้ อ ชั ดเจนถึ งกลุ่ ม เป้า หมายและคุ้ ม ค่ า ความสวยๆ เพราะถ้าองค์ประกอบ ต่อการมองเห็น ของผู้อื่นที่ใช้ถนน ของงานโฆษณาออกมาสวย โดนใจ ร่วมกัน…” ผู้ บ ริ โ ภค เขาก็ จ ะจดจำแบรนด์ “…choosing to advertise on the สินค้านั้นไปตลอดครับ” long bus routes, will create more ปั จ จุ บั น เส้ น ทางที่ ร ถเมล์ ใ ห้ exposure...” บริ ก ารมี อ ยู่ ม ากมาย ดั ง นั้ น การ เลือกเส้นทางเพื่อโฆษณาสินค้าจะต้องเลือกสายรถเมล์ที่วิ่งยาว ยิ่งผ่านย่าน ชุมชน สถานที่สำคัญๆ ที่มีกลุ่มเป้าหมายของสินค้าอยู่ยิ่งดี เช่นถ้าต้องการ จับตลาดที่เป็นกลุ่มนักศึกษา ก็ต้องเลือกเส้นทางที่มีมหาวิทยาลัยตั้งอยู่ คุณปริทัศ กล่าวด้วยว่า ปัจจุบันสื่อโฆษณาทุกประเภทจะมีบุคลิกเฉพาะ และมีกลุ่มเป้าหมายของตัวมันเอง อยู่ที่ว่าเจ้าของสินค้ามีโจทย์อย่างไรในการ ทำตลาดและต้องการจะให้น้ำหนักกับสื่อไหนมากเป็นพิเศษ ซึ่งทุกอย่างจะ ต้องมีการกำหนดอย่างชัดเจน “วั น นี้ เ จ้ า ของสิ น ค้ า จะหั น มาใช้ สื่ อ โฆษณาที่ ต รงกลุ่ ม เป้ า หมาย ไม่ เหมื อ นที่ ผ่ า นมา ที่ มี ก ารหว่ า นเงิ น ไปยั ง สื่ อ โฆษณาทุ ก ประเภท ดั ง นั้ น ในฐานะของนักโฆษณาจะต้องมีการวางแผนร่วมกัน คุยกันมากขึ้นครับ” เขาบอกว่า โฆษณามีหน้าที่กระตุ้นอยากให้ซื้อสินค้าเท่านั้น แต่ยอดขาย จะเพิ่ ม ขึ้ น หรื อ ไม่ อยู่ ที่ ว่ า ช่ อ งทางการจั ด จำหน่ า ยสิ น ค้ า , ราคา และ โปรโมชั่นของสินค้าน่าสนใจหรือไม่ ซึ่งสุดท้ายทุกอย่างต้องไปพร้อมกันและ ในเวลาเดียวกัน

คุ ณก้ อ งพั นธุ์ อุ ป ถั ม ภ์ รุ่ ง พงศ์ C r e a t i v e D i r e c t o r บ ริ ษั ท Far East DDB กล่ า วว่ า การทำ โฆษณาสิ นค้ า บนรถเมล์ ให้ ป ระสบ ความสำเร็ จ นอกจากชิ้ น งาน โฆษณาจะต้องมีความคิดสร้างสรรค์ อย่างโดดเด่นแล้ว เจ้าของสินค้าจะ ต้องมีกิจกรรมร่วมสนุกกับผู้โดยสาร และประชาชนที่ พ บเห็ น โฆษณา คุณก้องพันธุ์ อุปถัมภ์รุ่งพงศ์ บริษัท ฟาร์ อีสต์ ดีดีบี จำกัด(มหาชน) นั้ น ๆ ด้ ว ย เพราะจะเป็ นการสร้ า ง Gongpan Uphathumprungpong การรับรู้ได้เป็นอย่างดี Creative Director ทั้งนี้ สื่อโฆษณาบนรถเมล์เป็น Far East DDB Plc. สื่ อ ทางเลื อ กหนึ่ ง ที่ ส ามารถสร้ า ง “…เมื่อหมดสัญญาโฆษณา ควรรีบ การรับรู้และจดจำแบรนด์สินค้าได้ ถอดงานโฆษณาออก ไม่งั้นการตาก เ ป็ น อ ย่ า ง ดี เ พ ร า ะ เ ป็ น สื่ อ ที่ แดด ลม ฝน อาจทำให้ส่งภาพพจน์ เคลื่อนไหวได้ “การทำโฆษณาบนรถเมล์ ให้ ไปถึงแบรนด์สินค้าได้ …” “…Once the contract has expired, โดดเด่ น เจ้ า ของสิ น ค้ า จะต้ อ ง the ads need to be discharged ปรึกษาหารือกับครีเอทีฟเพื่อคุยราย from the bus. Otherwise its could ละเอียดของงานโฆษณาให้เร็วที่สุด jeopardize their brand image…” เพราะครีเอทีฟจะได้คิดงานโฆษณา และออกแบบสื่อโฆษณาที่จะปรากฏ บนรถเมล์ให้ออกมาตรงใจครับ” คุณก้องพันธ์ ย้ำด้วยว่า รถเมล์ ขนส่งมวลชนที่ให้บริการแก่ประชาชน ทุกวันและในแต่ละวันก็ต้องเผชิญกับแดด ฝน และฝุ่น ซึ่งอาจทำให้ตัวรถดู สกปรก ส่งผลต่อแบรนด์สินค้าที่จะดูหมองลง ดังนั้นการลงสื่อประเภทนี้ต้อง ดูแลโดยทำความสะอาดรถอยู่เป็นประจำ นอกจากนี้ เมื่อหมดสัญญาของการโฆษณาบนตัวรถ ทางเจ้าของสินค้าก็ ควรรีบถอดโฆษณาออกจากรถเมล์ทันที อย่าปล่อยทิ้งไว้ เพราะหากสติ๊กเกอร์ ฉีกขาด ก็จะทำให้มีผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของสินค้านั้นๆ ด้วยเช่นกัน

สีสันคมชัด สินค้าโดดเด่น

งานครีเอทีฟ เกิดขึ้นได้เสมอ


COVER STORY

บทคัดย่อ

“Bus Media : passengers and customers”

การเดินทางสัญจรของคนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีทางเลือก อยู่สองเส้นทางหลัก คือ พาหนะส่วนตัวและระบบสาธารณะ ตามแต่เศรษฐ ฐานะของแต่ละกลุ่มคน เช่น รถยนต์ส่วนตัว ระบบขนส่งสาธารณะ พบว่ า ประชากรที่ อ าศั ย ในพื้ นที่ ก ทม. กว่ า สิ บ ล้ า นคนนั้ น มี จ ำนวนผู้ โดยสารที่ใช้บริการระบบขนส่งสาธารณะด้วย “รถเมล์” กว่าวันละสองล้าน คน ทำให้งานโฆษณาประเภทสื่อนอกบ้าน ได้รับความสนใจ ด้วยความใหญ่ โตของตัวรถ การวิ่งเคลื่อนที่ไปยังจุดต่างๆ ทั่วกทม. และการเจาะกลุ่มลงไป ถึงผู้บริโภคที่ต้องกับสินค้า - บริการ รถเมล์มีทั้งระบบรถร้อน - ไม่มีระบบปรับอากาศ และรถเย็น - รถแอร์ ซึ่ ง ภู มิ อ ากาศของบ้ า นเราทำให้ มี ก ารพั ฒ นาประเภทรถเย็ น ให้ ส วยงาม สะดวก สบาย สะอาด และทำให้ผู้โดยสารมีทางเลือกในการใช้บริการมาก ขึ้น และแม้ว่าจะจ่ายค่าโดยสารที่สูงขึ้นก็ตาม ปัจจัยที่ทำให้การใช้สื่อนอกบ้านกับรถเมล์ได้รับความสนใจ นอกเหนือ จากวิถีชีวิตของผู้คนที่ใช้เวลาอยู่นอกบ้านมากขึ้นแล้ว โครงการรถเมล์เช่า NGV 4,000 คั น ของกระทรวงคมนาคม ก็ มี ส่ ว นกระตุ้ นทำให้ ว งการสื่ อ โฆษณา หันมาให้ความสนใจสื่อประเภทนี้มากขึ้น การนำเสนอแนวทางในการโฆษณากับรถเมล์ ได้แก่ การแรปรถ ตัวถังที่ ใหญ่โต สะดุดทุกสายตาที่รถวิ่งผ่าน เป็นการตอกย้ำแบรนด์ เห็นบ่อย เห็นถี่ ดีกับการย้ำเตือนกับทุกการตัดสินใจของการเลือกซื้อสินค้าของผู้บริโภค การนำเสนองานโฆษณาภายในตัวรถ มีการวางงานไว้หลายจุด การ จราจรที่ติดขัด ทำให้ผู้โดยสารอาจใช้เวลานานกับการนั่ง ยืน อยู่ภายในตัวรถ พัฒนาการของความคิดสร้างสรรค์ของบางราย ใช้แนวคิดคล้ายกับการวาง จุดงานภายในลำตัวเครื่องบินโดยสาร ก็เริ่มมีให้ได้พบเห็นกับบ้างแล้ว เช่น เบาะโดยสาร พื้นรถ ที่จับโหน รวมทั้งจอโทรทัศน์ที่มีภาพ - เสียง ให้ดูกัน เพลิดเพลิน ซึ่งแน่นอนย่อมมีหนังโฆษณาบรรจุอยู่ด้วย การสำรวจพฤติกรรมผู้บริโภค ช่วยไขคำตอบของการเลือกใช้สื่อของ เจ้าของสินค้าได้ว่า กลุ่มคนที่เลือกใช้เส้นทางโดยรถเมล์นั้นเป็นคนกลุ่มใด ซึ่ง

เป็นการประเมินผลได้ไม่แตกต่างจากสื่อประเภทอื่น เจ้าของสินค้าเลือกที่จะใช้สื่อรถเมล์ เพราะมั่นใจเรื่องการตอกย้ำแบรนด์ สินค้า และการใช้เพื่อช่วงเวลาของการโปรโมชั่น เพราะไม่เพียงแต่กลุ่มเป้า หมายที่เป็นผู้โดยสารเท่านั้น แต่รวมไปถึงผู้เดินทางบนท้องถนนที่พบเห็นได้ ด้วย เมื่อมีความต้องการของการใช้สื่อ ทำให้ผู้บริหารเจ้าของสัญญาโฆษณา รถเมล์ ห ลายค่ า ย ตื่ น ตั ว ที่ จ ะมี พั ฒ นาการนำเสนอลู ก ค้ า มากขึ้ น ด้ ว ย เทคโนโลยีความทันสมัย รวมทั้งความคิดสร้างสรรค์ใหม่ การตลาดใหม่ๆ อาทิ การแจกสินค้าตัวอย่างบนรถเมล์ และการมีกิจกรรมต่างๆ ที่รุกประชิด ถึงตัวผู้โดยสารซึ่งเป็นกลุ่มลูกค้าเป้าหมายมากยิ่งขึ้น เส้ นทางชุ ม ทางของการเชื่ อ มต่ อ ของเส้ นทางขนส่ ง บนทางเดิ นของ รถเมล์ ไม่แตกต่างกับ “เวลาทอง” ของสื่อประเภทวิทยุ โทรทัศน์ ได้แก่ ย่าน อนุสาวรีย์ สะพานพุทธ ตลาดหมอชิต ลาดพร้าว และจุดอื่นๆ ในย่านชุมชน ซึ่งเส้นทางเหล่านี้ สามารถเลือกได้ตามที่เจ้าของสินค้าต้องการ ข้อควรระวังของสื่อนอกบ้านประเภทรถเมล์มีอยู่บ้างว่า ต้องเข้มงวดกับ เรื่องการรักษาความสะอาด การบำรุงรักษาให้ชิ้นงานโฆษณาอยู่ในสภาพดี อยู่เสมอ ซึ่งส่งผลถึงภาพพจน์สินค้า อีกเรื่องที่ละเอียดอ่อนคือการนำเสนอที่ อาจสร้างความรำคาญ หรือเป็นการยัดเยียด สร้างความรู้สึกอึดอัดของผู้รับ สาร อันอาจส่งผลตรงข้ามกับความคาดหวังของสินค้าได้ อย่างไรก็ตามสื่อโฆษณา “รถเมล์” เป็นสื่อที่มีอุณหภูมิการแข่งขันสูงมาก ขึ้ น หากคำนวนตามสู ต รของการค้ า เสรี การแข่ ง ขั น ย่ อ มทำให้ เ กิ ด พัฒนาการ ผู้ที่ได้รับประโยชน์สูงสุดคือ ผู้บริโภค ที่ “เลือกได้” และ “ไม่ เลือก” ด้วยเหตุผลกลไกทางการโฆษณาได้เช่นกัน และเชื่อว่าการเติบโตของสื่อประเภทนี้ จะต่อเนื่องไปไม่น้อยกว่า 10 ปี ข้ า งหน้ า รอเวลาแล้ ว เสร็ จ ของการก่ อ สร้ า ง วางเส้ นทางระบบรถไฟฟ้ า กลายเป็นเส้นทางใยแมงมุมที่สะดวกกับคนเมืองหลวง เมื่อนั้น รถเมล์อาจ กลายเป็นเรื่องล้าสมัย ตกยุค และมีสื่อใหม่ๆ มาให้ติดตามกันอีกได้ไม่รู้จบ...


COVER STORY

Executive Sammary

The metropolitan and its surrounding provinces have two ways of commuting of the city transportation; one is the own vehicles and public transport. About two millions out of 10 millions people are taking a bus service provided by both government and private sectors. Those numbers of users and the mobility of buses interested the advertisers to invest on the bus media. There are two types of buses here which are air conditioned and non-air conditioned. Service providers have developed the quality of service especially with the air conditioned buses due to the variety of climates in a year but mostly hot and sometimes affected by annual monsoon. The main reason that bus media captured interests of advertisers other than the lifestyle of people is the Ministry of Transport new 4,000 NGV bus project. Wrapping the bus is one of the advertising methods. With the big bus body that could catch all eyes, make a brand easily and repeatingly being seen by the people passing by. Presentations of bus media are vary. Traffic jam, passengers spending more time on the bus with no choice. Some advertisers are using the presentation ideas as same as those implemented on the airplanes. Advertisements are commonly being placed on the seat cushions, bus floor, including the installation of small LCD monitors with of course showing the multi-vision media to passengers. Products owners also can get the information about passengers by studying their bus riding behaviors. The information will help the products owners easily target their customers.

By using bus media, product owners can create brand awareness and promote their products and services to not only the passengers but also private vehicle owners and other pedestrians. New advertising approaches are being created and implemented after many advertisers foresee the increasing needs for bus media. Creativity is one of the keys to create the marketing buzz among passengers, giving out free samples, initiating activities to interact with them. The main bus stations or connecting points located all over Bangkok can be compared with “Primetime� of the Radio or Television media. Those areas which are The Victory Monument, Memorial Bridge, Moshit Market, Ladprao and other residential areas considered the most popular bus routes for among advertisers. Bus media also have close notice which are the high maintenance required, it is important to the affect directly to brand image. The other point is the cluster of advertisement. Clusters can negatively affect not only the products but also the brand image. However, bus media is a high competition business. According to the free trade principles, creates development. The most beneficial party would be the consumers who will have more options to strategically choose from. And we truly believe the bus media will be continuously growing in the next 10 years, waiting for the completion of the Metro electric rail system network like spider web routes. Until then, bus media might be the out-of-date media and will be replaced by some other new and exciting one.


งบประมาณการใช้สื่อ Source : The Nielsen Company (Thailand)

ราคาน้ ำ มั น ที่ ข ยั บ ตั ว ขึ้ น และความแออั ด ติดขัดของการจราจร ส่งผลให้ผู้โดยสารของระบบ การขนส่ ง ในเมื อ งหลวงทั้ ง MRT และ BTS มีมากขึ้น เม็ดเงินโฆษณาจึงไหลไปหาสื่อนี้ทันที

ESTIMATED TOTAL ADVERTISING EXPENDITURE BY MEDIUM YTD JULY 09 VS 08 BAHT MILLIONS MEDLA YTD 09 YTD 08 DIFF % Change TV 29,302 29,582 -(280) -(0.95) RADIO 3,378 3,898 -(520) -(13.34) NEWSPAPERS 7,510 8,714 -(1,204) -(13.82) MAGAZINES 2,895 3,318 -(423) -(12.75) CINEMA 2,428 2,365 63 2.66 OUTDOOR 2,351 2,490 -(139) -(5.58) TRANSIT 1,020 796 224 28.14 IN STORE 471 464 7 1.51 INTERNET 116 101 15 14.85 TOTAL

49,472

51,727

-(2,255)

-(4.36)

Total Industry - Exclude Section : Classified, House ads.

สถานการณ์ของรถยนต์ยังไม่กระเตื้องขึ้นนัก แต่จากข้อมูลของผู้ประกอบการ พบว่าการทิ้งตัว ลงหนักๆ ของยอดขายในไตรมาส 2 ชะลอตัวเป็น อัตรานิ่งๆ เมื่อเทียบกับไตรมาส 1 แ ล ะ พ บ ว่ า เ ฉ พ า ะ เ ดื อ น ก ร ก ฎ า ค ม มี ง บประชาสั ม พั นธ์ ห น่ ว ยงานของรั ฐ กว่ า 160 ล้านบาท ขึ้นมาเป็นอันดับ 3 จาก 5 อันดับแรก ของตารางดังต่อไปนี้ทันที

TOP 10 ADVERTISERS ESTIMATED ADSPEND YTD JULY 09 VS 08 BATH MILLIONS ADVERTISER 2009 2008 UNILEVER (THAI) HOLDINGS 2,829 2,767 BEIERSDORF (THAILAND) CO.,LTD 1,107 685 L’OREAL (THAILAND) LTD. 907 687 PROCTER & GAMBLE (THAILAND) 904 867 ADVANCE INFO SERVICE PCL. 741 682 NESTLE(THAI)LTD. 733 644 COLGATE-PALMOLIVE(THAILAND)LTD. 669 617 TOYOTA MOTOR THAILAND CO.,LTD.. 651 917 COCA-COLA (THAILAND) 640 534 OSOTSPA CO.,LTD. 612 760 Top Advertiser – Exclude Section : Classified and House ads.

ขอบคุณข้อมูลจาก The Nielsen Company (Thailand)   46


สมชาย ชีวสุทธานนท์ กรรมการและประธานกรรมการบริหาร บริษัท แม็ทชิ่งสตูดิโอ จำกัด (มหาชน) Somchai cheewasutthanon Director and Chief Executive Director คลุกคลีกับวงการผลิตหนังโฆษณามากว่า Matching Studio PCL. 20 ปี ขอมาตอบคำถามประเภทเส้ น ผม บังภูเขากับงานโฆษณาที่ใครๆ ก็ทำได้ “…นอกจากการแร็ปรถเมล์ อย่างที่เห็นๆ กันอยู่แล้ ว อาจจะเพิ่มพื้นที่ในการทำสื่อได้อีกหลายจุด รวมทั้งสื่อบุคคลอย่างกระเป๋ารถเมล์และพนักงานขับ รถ ให้กลายเป็นเสน่ห์ของรถเมล์ได้อีกด้วย…” “…aside from bus wrappings as seen everywhere, some other ideas to advertise, including using the bus driver and the ticket collector as one of the bus charms…” รถเมล์บ้านเรา เป็นรถร้อนและรถเย็น ในความคิดของผม งานโฆษณา ห่วงจากไทยประกันภัย” หรือจากใครสักคน ได้ภาพพจน์ที่แสดงอาการความ ควรจะใช้กับรถเย็น จึงจะน่าสนใจเพราะคงจะสร้างความหงุดหงิดทางสายตา ห่วงใยออกมาด้วยนะ น้อยกว่ารถร้อนเป็นแน่ครับ อีกอย่างรถเย็นน่าจะดีในแง่ของภาพพจน์ ที่เห็น หรื อ จะลองใช้ ร ะบบเซ็ น เซอร์ พอผู้ โ ดยสารนั่ ง ลงปั๊ บ เสี ย งมาเลย ภาพชิ้นงานได้ชัดเจนกว่า รถร้อนต้องเปิดหน้าต่าง เป็นรูโหว่ ขาดช่วงตาม “ยินดีต้อนรับค่ะวันนี้คุณยิ้มให้กันรึยัง” รับรองว่าได้อมยิ้มกันจริงๆ แหละ ช่อง ไม่สวย ไม่เตะตา การสื่อสารกับผู้โดยสารควรต้องใส่ความบันเทิงลงไปนิดหนึ่ง ไม่งั้น พวก สื่องานของรถเมล์ เป็นสื่อที่เคลื่อนที่ได้ ผู้บริโภคที่พบเห็นได้คือ ผู้โดยสาร เขาอาจจะรู้สึกขัดเคืองใจ โอ้ย.. นี่อะไรกับฉันออกมาจากบ้าน หลบโฆษณา คนขับ และคนเดินริมถนน ซึ่งไม่ได้ แล้วยังจะมาอะไรอีก (ว่ะ) นี่ แต่ถ้า มีเฉพาะคนที่เดินริมทาง แต่พวกเขา เป็ น ความรู้ ที่ ม าพร้ อ มกั บ ความ กระจายอยู่ทั่วไป บนตึก บนรถที่วิ่ง บันเทิง มาดาราพูดซะหน่อยอาจจะ สวนไปมา พอช่วยได้ ต้ น ทุ น การทำอาจจะสู ง อยู่ ผมเคยครั บ เคยแอบขึ้ น ไป สั ก หน่ อ ย การพิ ม พ์ ด้ ว ยสติ๊ ก เกอร์ บนรถไมโครบั ส จำสายไม่ ไ ด้ แ ล้ ว ธรรมดา กั บ ไอเดี ย สุ ด แสนจะ ครับ ทางสั้นๆ เห็นจอโฆษณาแบบ ธรรมดา ก็อย่าทำเลยครับ เสียเงิน ไม่ชัด ติดๆ ดับๆ เห็นแล้วหงุดหงิด เปล่ า หรื อ เจ้ า ของสิ น ค้ า บางราย พาลไม่อยากดูแถมแอบด่าอีกกระบุง แสดงอาการ “โลภ” ที่ ต้ อ งการใส่ โกย ข้อมูลให้มากเข้าไว้ ขอขายไอเดี ย ของตี๋ แ ม็ ท กั บ ผมเคยเห็น พี่แกแร็ปรถเมล์ ที่มี สื่อตัวนี้หน่อยนะ ข้อความเยอะๆ นึกในใจว่า ใครมัน สำหรับรถร้อน ควรต้องใช้สีฟ้า จ ะ ไ ป นั่ ง อ่ า น เ ป็ น โ ค ร ง ก า ร มาแร็ป เหมือนถ่ายความรู้สึกเย็นๆ อสังหาริมทรัพย์ ที่ใส่แม้กระทั่งเงิน ข อ ง ก้ อ น เ ฆ ม ท้ อ ง ฟ้ า ม า ไ ว้ ดาวน์ คนที่จะมีสายตามากระทบก็เป็นคนที่รถติด ชิดอยู่ข้างๆ แล้วไม่มีอะไร แล้วเขียนเล่นๆ ว่า “เรารู้นะว่าคุณร้อน…” พอได้อมยิ้ม แหมแทนคนพอจะรู้ จะดูเท่านั้นแหละ แล้วจะมีสักกี่คนล่ะครับ ใจกันบ้างล่ะนะ สินค้าประเภทไหนเหมาะกับรถเมล์ล่ะครับ ผมว่าเป็นสื่อที่ Mass คือ พี่ขอฉีกออกให้เยอะๆ แร็ปมันทั้งคัน หลังคาในรถ ภายในตัวรถ เป็นวิว สากกะเบือยันเรือรบ อย่างยาสระผม สบู่ ยาสีฟัน หรือเป็นคอนโดมิเนียม เป็นทะเล น้ำตก ภูเขา อย่าง ปตท. มีแคมเปญ อยากให้คนไทยรักษ์โลก รัก ร้านอาหาร โปรโมชั่นลด แลก แจก แถม อะไรบางอย่าง รถยนต์ แคมเปญ ต้นไม้ใบหญ้า สีเขียว “กระเป๋ารถเมล์” จะเป็นอะไรที่ทำให้ผู้โดยสารจำแม่น ของแบงก์ แคมเปญของบัตรเครดิต ห้างสรรพสินค้า มาก หรือจะแถม พขร.- พนักงานขับรถ อีกคนก็ได้ กำหนดฝึกหัดให้เขาพูดไป ผมเคยใช้บริการแร็ปรถเมล์ โอ้.. มันเยี่ยมมากครับ บอกคนกรุงเทพฯ ให้ เลย เหมือนอีตอนที่คุณเดินเข้าไปในร้านเซเว่นฯ นั่นแหละ พอคนขึ้นมาปั๊บ รับรู้ มีการตอบรับที่ดีมากๆ จากผลการสำรวจพบว่า พวกเขาได้ยินมากที่สุด “สวัสดีครับด้วยความปรารถนาดี จากไอโมบาย” เพ้นต์หน้าเขามั่งก็ได้ ผ้าพัน คือสื่อทีวี รองลงมาเป็นรถเมล์ จากของเดิมตามธรรมเนียมเดิม มักเป็นวิทยุ คอ หมวก หรืออะไรได้หมด แต่อย่าเป็นการยัดเยียด รับรองว่า วิน-วิน พัฒนาการของการแร็ปรถเมล์น่าจะมาจาก “รถแห่” ของชาวบ้านทั่วไป “สวั ส ดี ค่ ะ มองด้ า นบนซิ ค ะ” พู ด ไปเรื่ อ ยๆ ให้ มั น รู้ ไปคนมั น ไม่ ม องนะ เป็นซุปเปอร์มาร์เก็ตเคลื่อนที่ รถขายผัก ขายผลไม้ ร้องแรกแหกกระเชอไป “สวัสดีค่ะเอ๊ะ… มีอะไรข้างบน” ไม่มีทางที่จะไม่ดู ไม่มอง มันแน่นอนมันต้อง ตลอดทาง มองอยู่แล้ว จุดไหนที่น่าสนใจ นี่เลยครับ มือจับราวที่โหนบนรถ กิมมิก ลูกเล่นที่ผม “กระเป๋ารถเมล์” ถูกใช้อย่างมีประโยชน์ ผมว่าบางครั้งพวกเขา อาจจะ ขอนำเสนอ คือ การมีเสียงทักทาย ปล่อยออกมา ขณะที่ผู้โดยสารคว้าปั๊บ ได้พัก คลายเครียด ได้ปลดปล่อย ได้พูดบ้าง ไม่ใช่แบบเงียบๆ ไปวันๆ และ นี่ครับ ซาวด์เข้ามาเลย “จับให้แน่นๆ นะคะอย่าปล่อยเดี๋ยวล้ม ด้วยความเป็น เป็นการใส่หัวใจแห่งการบริการให้พวกเขาด้วยนะครับ...

“กระเป๋า… พูดได้”

47


ขยับขยาย มองไทย มองเทศ ร่วมสังเกต ทุกน่านน้ำ ทั้ง Blue Ocean-Red Ocean “…ความต้องการบ้าน มีอยู ่ตลอดเวลา แต่ข้อจำกัด คือ รายได้ของประชาชน ภาระค่าใช้จ่ายส่วนตัว ่แบงก์เข้มงวด…” หนี้ครัวเรือน และการที “...Housing demand is always there but the limits to those, economy turndown will loan, household people income, personal expenditure and the bank strictness…” คุณกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา ซีอีโอหนุ่มแห่งสัมมากรอย่างเขา มีย่างก้าวที่มั่นคง เพราะเขารู้ว่า ทำงานให้ใคร “บ้าน” เป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ของมนุษย์ การขยายตัวของจำนวนประชากร ทำให้ต้องมีการเพิ่มของบ้านพักที่อยู่ อาศัยมากขึ้นตามไปด้วย ผู้ประกอบการ นักธุรกิจในอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์ จึงมีช่องทางการปลูกสร้างบ้านตามกลุ่มของลูกค้า ซึ่งมี กำลังซื้อต่างกัน มูลค่าของกลุ่มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ มากกว่าห้าแสนล้านบาท และกลายเป็นธุรกิจหลักที่มีแรงขับเคลื่อนการ เติ บ โตของภาคเศรษฐกิ จ โดยรวม เพราะมี ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งอยู่ ม ากมาย อาทิ ปู นซี เมนต์ กระเบื้ อ ง สุ ข ภั ณฑ์ ไม้ พลาสติก อิฐ หิน ปูน ทราย และอื่นๆ การมองภาพของสังคมไทย ที่ขยับตัวเป็นครอบครัวขยาย ลูกหลานแยกบ้านเรือนไปตั้งครอบครัวใหม่ ทำให้เกิด ความต้องการ “บ้าน” และเมื่อรวมกันอยู่หลายหลัง จึงกลายเป็นหมู่บ้าน เป็นชุมชน เป็นสังคมที่น่าอยู่ได้ ด้วย วัฒนธรรมการยอมรับซึ่งกันและกัน การเอื้อเฟื้อ การมีน้ำใจ อันเป็นจุดเด่นของสังคมไทยมาตั้งแต่ยุคบรรพบุรุษ

“คนซื ้ อ บ้ า น ต้ อ งการสั ง คมดี ๆ ”

48


บ้านที่คนระดับกลางมีสิทธิ์เป็นเจ้าของได้ “โครงการแรกเป็นหมู่บ้านสัมมากร บางกะปิ ถนนสุขาภิบาล 3 เนื้อที่ราว 1,100 ไร่ มีประมาณ 3,500 หลังคา เรือน เป็นการพัฒนาที่ดินแปลงย่อย และปลูกบ้านขายให้ประชาชนที่มีรายได้ระดับกลางขึ้นไป ตอนนั้นสร้างเสร็จ ใน ปี 2516 ครับ” คุณกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา กรรมการผู้จัดการ บริษัท สัมมากร จำกัด (มหาชน) – ซีอีโอหนุ่ม เล่างานที่เขาเหมือนถูกจับวางตัวให้มาดูแลเมื่อโตขึ้น วันนั้น เขาอยู่ในวัยเพียงหนึ่งขวบเท่านั้น โดยมีบิดา - พลเรือเอก หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช เป็นผู้ดูแลกิจการแห่งนี้ มาตั้งแต่ก่อตั้งเมื่อปี 2513 ด้วยทุนจดทะเบียน 8 ล้านบาท ปรัชญาของการดำเนินการชัดเจนมากและไม่เคยเปลี่ยนแปลง ประชาชน ลูกค้าเชื่อมั่นกับศรัทธาของการทำงาน เสมอมาที่ระบุว่า “สัมมากร…เราไม่เพียงสร้างบ้านเท่านั้น แต่เราสร้างสังคม” สัมมากร มีการทำงานแบบค่อยเป็นค่อยไป ขยายตัวช้าๆ คราวละโครงการ แทบจะไม่เคยพบข่าวการเปิดตัว โครงการ ครึกโครม โด่งดัง กลยุทธ์สำคัญ คือการบอกต่อ ขายตรงกับกลุ่มเป้าหมาย ลูกค้ากลุ่มเดิมแนะนำเพื่อน ญาติ ลูกหลาน “ประสิทธิภาพสูงสุดของงานขายบ้าน ซึ่งเป็นสินค้าที่ต้องใช้เวลาในการตัดสิน และความเห็นพ้องของสมาชิก ในครอบครัว คือ ความเชื่อมั่น เชื่อถือ ว่าจะไม่ถูกเอาเปรียบครับ”

ขยับขยาย มองไทย มองเทศ ร่วมสังเกต ทุกน่านน้ำ ทั้ง Blue Ocean-Red Ocean

49


ขยับขยาย มองไทย มองเทศ ร่วมสังเกต ทุกน่านน้ำ ทั้ง Blue Ocean-Red Ocean

บ้านคือวิมานของเรา

50

กาบริ ห ารงาน กั บ จำนวนพนั ก งานเพี ย ง 160 คน เป็ นการทำงานที่ ต้ อ งแบ่ ง งานกั นทำเต็ ม ที่ มีนโยบายกึ่งๆ เป็นผู้รับเหมาเองด้วย เพื่อควบคุมดูแลคุณภาพงานอย่างใกล้ชิด 6 โครงการของสัมมากร สร้างบ้านไปแล้วกว่า 6,500 หลัง ในทำเลแถบมีนบุรี นครนายก ผู้บริหาร ให้ข้อมูลว่า โครงการของสัมมากรมีจุดแข็งที่แทบจะไม่แตกต่างจากคู่แข่งเลย สิ่งที่ยืนยันในใจพวกเขาได้ เป็นความเชื่อถือ และสิ่งที่ผู้บริหารโครงการต้องคิดเผื่อไว้เสมอคือ ประโยชน์การใช้สอย ให้บ้านเป็นบ้าน ที่คุ้มค่า อบอุ่น มีสังคมที่ดีระหว่างเพื่อนบ้านด้วยกัน ทุกครั้งของการขึ้นโครงการใหม่ จะต้องมีการสำรวจตลาด หาความต้องการของลูกค้า รวมทั้งการ ใช้ฐานข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยงข้องมากาง จนเกิดจุดที่เป็นประโยชน์ต่อทุกคนได้อย่างสมดุล “ผมยอมรับครับว่า การแข่งขันสูงมาก สัมมากร ไม่เคยใช้เงินในการโฆษณากับสื่อใดๆ เลย เราใช้ การขายตรง เช่น การส่งไปรษณีย์ถึงลูกค้าเป้าหมาย มีป้ายบิลบอร์ดเฉพาะจุดที่ใกล้ๆ โครงการ ที่ผ่าน มาที่ดินมักเป็นแลนด์แบงก์ดั่งเดิม มาปีนี้เราขยับตัวออกตระเวนซื้อที่ดินย่านที่มีลู่ทางบ้างแล้วครับ” ดังนั้น 3 โครงการ ล่าสุด ย่านถนนราชพฤกษ์ นครอินทร์ รามคำแหง จึงเป็นการเปิดพื้นที่ ลงมา แข่งขันกับเอกชนรายอื่นๆ ได้บ้างแล้ว เมื่อผู้บริหารมั่นใจว่าภาพพจน์ของ “แบรนด์สัมมากร” เข้มแข็ง พอ ฐานลูกบ้านเดิมก็จะตามมา


สังคมดี น่าอยู่ อบอุ่น เกิดขึ้นได้ ผู้บริหารหนุ่มคนนี้เขาพึ่งจะมารับหน้าที่ เมื่อ 4 ปีที่ผ่านมา เวลามีส่วนในการบ่มเพาะประสบการณ์จากบิดา ซึ่งทำหน้าที่ พี่ เ ลี้ ย งในช่ ว งต้ น ทำให้ เขาเรี ย นรู้ ได้ ร วดเร็ ว ทั้ ง การทำงาน บริหารและการออกมาทำงานในสมาคมวิชาชีพ ล่าสุดเขาเพิ่งรับตำแหน่งนายกสมาคมอสังหาริมทรัพย์ไทย เมื่อต้นปีที่ผ่านมา หลังจากทำหน้าที่เลขาสมาคมฯ มานานกว่า สองปี “ในสมาคมฯ เรามี ส มาชิ ก อยู่ ร าว 250 บริ ษั ท คุ ย กั น ประชุมกัน แลกเปลี่ยนความรู้ข้อมูลกันอยู่บ่อยๆ พวกเราก็ไม่ อยากให้เกิดฟองสบู่ขึ้นมาอีก บทเรียนในปี 2540 สอนเราไว้ เยอะครับ ทุกคนจึงระมัดระวังกันมาก ผมคิดว่า ความต้องการบ้านมีอยู่ตลอดเวลา แต่ข้อจำกัด คือ รายได้ของประชาชน ภาระค่าใช้จ่ายส่วนตัว หนี้ครัวเรือน และการที่แบงก์เข้มงวด มีส่วนให้ธุรกิจนี้ ชะลอตัวลงในรอบ 1 - 2 ปีที่ผ่านมา แต่เชื่อว่าเมื่อทุกอย่างทุเลาลง ธุรกิจนี้ยังจะ ทำหน้าที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจได้ต่อไปครับ” ครั้ น เมื่ อ บริ ษั ท นี้ แปรสภาพเป็ น บริ ษั ท มหาชน จึ ง พบ รายชื่อผู้ถือหุ้น 5 อันดับแรก ดังนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมิน ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช, บริ ษั ท ศู น ย์ รั บ ฝากหลั ก ทรั พ ย์ (ประเทศไทย) จำกั ด , ท่ า นผู้ ห ญิ ง ทั ศ นาวลั ย ศรสงคราม, Thailand Securities Depository Co.,Ltd. และสมเด็จพระ เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี บทสรุปของบ้านทุกหลังของสัมมากรที่ผ่านมาและหลังต่อ ไป จึงครบถ้วน หมดคำถามจากลูกค้าทุกคน ลูกบ้านทุกหลัง ซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นเกล้าล้นกระหม่อมยิ่งนัก สั ง คมดี ๆ สร้ า งได้ จ าก “ใจ” ทุ ก ดวง หาใช่ อิ ฐ หิ น ทรายดิ น เม็ดใดไม่…

ขยับขยาย มองไทย มองเทศ ร่วมสังเกต ทุกน่านน้ำ ทั้ง Blue Ocean-Red Ocean

การศึกษา

คุณกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา กรรมการผู้จัดการ บริษัท สัมมากร จำกัด (มหาชน)

ปริญญาตรี ปริญาโท

Exeter University, Exeter วิศวกรรมศาสตร์ (เครื่องกล) ประเทศอังกฤษ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2543-ปัจจุบัน 2543-ปัจจุบัน 2548-ปัจจุบัน 2548-2552 2549-ปัจจุบัน 2552-ปัจจุบัน

ตำแหน่งปัจจุบัน

กรรมการ บมจ.ไมเนอร์อินเตอร์เนชั่นแนล กรรมการผู้จัดการ บจ.ธนาคมและการพัฒนา กรรมการผู้จัดการ บมจ.สัมมากร อุปนายกและเลขาธิการ สมาคมอสังหาริมทรัพย์ไทย กรรมการ บมจ.เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้นท์ นายกสมาคมอสังหาริมทรัพย์ไทย (เมื่อวันที่ 26 มี.ค.52)

51


อิชยา สันติตระกูล บริษัท แบรนด์คอนเนคชั่น จำกัด Ichaya Santitrakul Founding Partner มุมมองนักการตลาด มุมมองเอเยนซี Brand Connections Co.,Ltd. “...สูตรเดิมของการทำงานโฆษณาที่ไม่เคยเปลี่ยนแปลง คือ การตรงเข้ าหากลุ่มเป้าหมายให้ใกล้ที่สุด โดยเฉพาะการแบ่งซอย กลุ ม ่ ลู ก ค้ า ที เ ่ ล็ ก ลง เรี ย กว่ า เป็ น Segmentation Marketing งานโฆษณาจึงต้องลงรายละเอียดมากขึ้น...” “…The classic book of advertising is getting as close as its takes to target group, by now theirs need to in depth, especially by segmentation marketing. Therefore, detail-oriented considers a very important skill in every advertisement…” สื่ อ หลั ก เช่ น โทรทั ศ น์ , วิ ท ยุ , หนังสือพิมพ์, สื่อออนไลน์ฯลฯ เป็น สื่ อ ที่ ผู้ บ ริ โภคเลื อ กบริ โภคเองได้ ใน บ้ า น แต่ สื่ อ นอกบ้ า น ต้ อ งเป็ นการ จั ด วางให้ เข้ า ถึ ง ผู้ บ ริ โภคให้ ได้ แ ละ จำได้ สิ่ ง ที่ ต้ อ งคำนึ ง มากที่ สุ ด หรื อ เรี ย กว่ า เป็ น “หั ว ใจ” ของสื่ อ นอก บ้าน คือ การเลือก Location และ Creative ดิฉันขอขยายความ ยกตัวอย่าง เล็ ก ๆ พอได้ แ ลกเปลี่ ย นกั น นะคะ อย่ า งบนทางด่ ว น กลุ่ ม เป้ า หมาย น่ า จะเป็ น ผู้ ใช้ ร ถยนต์ ที่ มี ฐ านะการ ครองชี พ ระดั บ กลางขึ้ น ไป ก็ น่ า จะ เหมาะกับสินค้าประเภท โทรศัพท์มือ ถื อ , เครดิ ต การ์ ด , ห้ า งสรรพสิ นค้ า ละแวกนั้นๆ, รถยนต์ฯลฯ ขณะเดียวกัน รถไฟฟ้าทั้ง BTS, MRT น่าจะเป็นคนรุ่นใหม่ วัยรุ่น นักเรียน นักศึกษา คนทำงานในเมือง การ การโฆษณาในยุคนี้ เป็นยุคที่ต้องคิดมาก คิดถึงความคุ้มค่าของเม็ดเงิน โฆษณาทั้ ง ในรถ, นอกรถ, ชานชาลาก็ น่ า จะเหมาะกั บ ของใช้ ส่ ว นตั ว ดังนั้นจึงไม่จำเป็นที่ลูกค้าจะต้องใช้เงินหว่านปูพรมใช้สื่อแบบกว้างเหมือน Personal care ของคบเคี้ ย ว อาหารทั น สมั ย ทั้ ง หลาย, โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ , เหวี่ยงแห จะให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายกว้าง โดยมีเพียงบางตำแหน่งที่ตรง เครดิตการ์ด และห้างสรรพสินค้าที่รถขบวนนั้นๆ ผ่าน เป็นการเตือนให้ลง จุด ส่วนที่เหลือไม่ใช่กลุ่มเป้าหมายโดยตรง จึงเป็นการสิ้นเปลืองโดยใช่เหตุ แวะช็อปปิ้งยิ่งนัก งานนี้ต้องแก้ไขหรือต้องมีแผนรองรับ ซึ่งทุกท่านรู้จักกันดีอยู่แล้วค่ะคือ สินค้าของท่าน อยู่ในกลุ่มไหน ประเภทใด ลองพิจารณา ดิฉันว่า เดี๋ยวนี้ การวางแผนทำการวิจัย เพื่อให้ทราบพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายในการ ผู้บริหารเก่งมาก หน้าที่ของพวกเขาคือการปั้น แต่ง ไอเดียแปลกใหม่ ตาม บริ โภคสื่ อ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ แทรกโฆษณาประชาสั ม พั นธ์ ให้ เข้ า ถึ ง โจทย์ให้โดนใจผู้บริโภค จึงจะถูกใจและเน้นว่าต้องถูกตังค์ลูกค้า - เจ้าของ ตรงจุด ตรงกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ ให้ใกล้เคียงที่สุด อย่างมีประสิทธิภาพ สินค้า ด้วยค่ะ มากที่สุด สูญเสียน้อยที่สุด ฟังดูเหมือนง่ายจัง แต่ลงมือทำนั้นอีกเรื่องหนึ่ง นะคะ คุณอิชยา สันติตระกูล นี่แหละค่ะเป็น เหตุให้เราได้เห็นสื่อนอกบ้านมีการพัฒนารูปแบบให้ดึงดูด ความสนใจมากขึ้น การพัฒนาในด้านความคิดสร้างสรรค์ Creative กันได้ แปลกใหม่ สด ให้แนบสนิทไปกับการใช้ชีวิตประจำวัน ให้ผู้บริโภคได้เพลิน ประสบการณ์การทำงาน ไม่รู้สึกว่าถูกยัดเยียดให้ดูให้เห็นงานโฆษณาแบบตั้งป้อม ชีวิตก็จะรื่นรมย์ Founding Partner, Brand Connections Co., Ltd. ชิ ล ชิ ล ไปพร้ อ มกั บ ความพึ ง พอใจ คุ้ น เคยกั บ แบรนด์ สิ น ค้ า นั้ น ๆ อย่ า ง Managing Partner, CIA Media Innovation สบายใจทั้งเจ้าของสินค้าและกลุ่มเป้าหมาย Executive Director – Media, JWT ข่าวดีค่ะ กับเรื่องระบบขนส่งมวลชนต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น BTS ที่จะมีการ Media Manager, Lintas Thailand Media Planner & Buyer, Unilever Thailand ขยายเส้นทางเพิ่มเติม การเปิดบริการแอร์พอร์ตลิงค์สุวรรณภูมิสายด่วน และ สาย City Line ซึ่งเป็นโอกาสที่ทำให้สื่อนอกบ้านได้ขยายช่องทางและโอกาส เข้าถึงตรงจุดได้มากขึ้น ทั้งข้างเส้นทางอย่างป้ายบิลบอร์ด และตัวรถ เรื่อง Location ที่จะวางสื่อสำคัญมาก

“ชี้ตรงจุด ...ให้ ตรงใจ”

52


ไพจิตร เทียนทอง นายกสมาคมมีเดียเอเยนซีและธุรกิจสื่อแห่งประเทศไทย Paichit Thienthong President of Media Agency Association of Thailand (MAAT) paichitthienthong@gmail.com “...เรื่องโฆษณาแฝง เป็นเส้นบางๆ ที่คิด ว่าเป็นเรื่องใหญ่ ก็ใช่…. เป็นเรื่องขี้ผง ก็ใช่อีก น่าจะคุยกัน บนท่ า ที ท ร ่ ี บ ั กั น ได้ อาจจะด้ ว ยงานวิ จัย ที่มีความน่าเชื่อถือว่า เป็นกลางจริง…” “...Product placement is often considered as ethics, depends on their stakeholders. compromising or using the reliant and unbiased The better solution would be either as the judgment…” researches กระแสเรื่องโฆษณาแฝงทางโทรทัศน์กำลัง เป็นเรื่องร้อน หลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกำลัง จับตามองเพื่อให้เกิดความสมดุลการตรวจสอบ ซึ่งกันและกัน ทำอย่างไรให้กลมกลืนกันไปได้ ไม่ดู เหมื อ นเป็ นการยั ด เยี ย ดและไม่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความ รำคาญ ปั ญ หานี้ ส่ ง ผลกระทบเป็ น วงกว้ า ง เหมื อ น ขว้ า งก้ อ นหิ น ลงแม่ น้ ำ มั น ขยั บ ขยายเป็ น วง กระเพื่ อ ม ทั้ ง คนดู ที วี คนทำรายการ คนขาย โฆษณา คนวางแผนสื่อทีวี และเจ้าของเงิน ดิฉัน ขอขยายความดั ง นี้ ค่ ะ คำว่ า โฆษณา (แอบ) แฝง หมายถึ ง การนำโฆษณาไปใส่ ใ น “เนื้ อ ” รายการ ถ้ า มั น ไม่ ม ากจนเกิ น ไป หรื อ ดู แล้วกลมกลืนไปด้วยกันได้กับเนื้อรายการ ก็ไม่น่า จะมีปัญหา เรียกว่า “พอขอกันกินได้” เพราะหาก คิดถึงการใช้ชีวิตจริง เราก็ปฎิบัติกันแบบนี้อยู่แล้ว แบรนด์สินค้าบนโต๊ะข่าว อีกหนึ่งกลยุทธ์การโฆษณาในปัจจุบัน แต่พอมาเป็นรายการละคร ก็ถูกริบของออกซะ อย่างนั้น ดูๆ ก็ผิดธรรมชาติอยู่บ้างนะคะ ส่วนวิธีการทำโฆษณาแฝง ทำได้หลายอย่าง ขึ้นอยู่กับว่าใครจะทำให้ดู แต่ เ รื่ อ งนี้ เหตุ เ กิ ด เพราะเป็ น ประเด็ น ที่ เนี ย นกว่ า กั น เช่ น ฉากละคร พอจะตั ด เปลี่ ย นฉากก็ จ ะมี ภ าพตึ ก ที่ มี ป้ า ย ประชาชนดูแล้วเกิดความ “รำคาญ” (มาก) จึงมี โฆษณาสินค้าเห็นกันจะจะ หรือในบางฉากก็วางสินค้ากันเห็นๆ อย่าง ฉาก การร้ อ งเรี ย น ร้ อ งทุ ก ข์ จนกองควบคุ ม ดู แ ล ร้ า นค้ า เรี ย งโชว์ บ นชั้ นกั นตรงๆ เลย เป็ นต้ น หรื อ บนโต๊ ะ ข่ า วก็ จ ะมี ข วด คุ้มครองผู้บริโภค ต้องแสดงบทบาทเข้ามาดูแล น้ำดื่ม หรือถ้วยกาแฟ แค่เห็นสีถ้วยก็จำได้แล้วว่าเป็นของกาแฟยี่ห้ออะไร ปัญหานี้ทันที เป็นต้น “ตัวการ” เกิดจากใครล่ะ เจ้าของสินค้าหรือ ที่นี้พอเริ่มคิดได้ไกลไหลลื่น โฆษณาแฝงก็ยิ่งมีมากขึ้น จนเกินพอดี กลาย คนวางแผนโฆษณา หรือผู้ที่ทำหน้าที่ซื้อสื่อ เป็นปัญหา แต่สิ่งที่น่าจะเป็นประเด็นใหญ่ คือ โฆษณาที่ถูกยัดเยียดให้เห็น วิ เคราะห์ ดู แ ล้ ว ปั จ จั ย แวดล้ อ ม น่ า จะเกิ ด บ่อยๆ เหมือนถูก “ล้างสมอง” กลายๆ ส่งผลเสียหายต่อผู้ชม แต่เจ้าของ จากบุคคลเหล่านี้ ถึงทางตัน!! จำเป็นต้องหาวิธี สินค้าชอบใจ จนเกิดเหตุนี้แฝงอยู่ในเนื้อรายการมากขึ้นเรื่อยๆ การใหม่ๆ มานำเสนอ นอกเหนือจากการซื้อสื่อ ข้อยุติล่ะ มีค่ะหากทุกฝ่ายจะหันหน้าเข้าหากัน แสวงหาความเป็นธรรม โฆษณาแบบธรรมดาทั่ ว ไปชั่ ว โมงละไม่ เ กิ น 12 กั บ ทุ ก ฝ่ า ย เมื่ อ เห็ น สอดคล้ อ งกั น ได้ ก็ จ ะเกิ ด เป็ นความร่ ว มมื อ เกิ ด เป็ น นาที กระบวนการ “สมานฉันท์” หรือถ้าหาข้อยุติไม่ได้ ก็อาจจะหาทางออกด้วย แต่เมื่อเวลาไม่พอ หมายถึงรายการอาจจะสุด การทำสำรวจหรื อ วิ จั ย หาข้ อ เท็ จ จริ ง ให้ ได้ จริ ง ไม่ จ ริ ง ใช่ ห รื อ ไม่ ผลดี – ฮอต เวลาเต็ม งานจึงไหลเข้าไปในเนื้อรายการ ผลเสียของแต่ละฝ่าย ขอเพียงว่าการทำสำรวจหรือวิจัยนั้นๆ ควรมีนักวิชา กลายเป็น “โฆษณาแฝง” ซึ่งสามารถทำได้เกือบ การหรือผู้เชี่ยวชาญ หรือบุคคลที่น่าเชื่อถือเข้ามาเกี่ยวข้อง หรือถ้าจะให้ดี ก็ ทุกรายการ ไม่ว่าจะเป็นละคร ข่าว เกมโชว์ หรือ ขยายเป็นวงใหญ่ ร่วมมือกันหลายๆ ฝ่าย ก็จะยิ่งดี ดูมี “ความเป็นกลาง”ได้ แม้กระทั่งทอล์คโชว์ ผลอย่างไร อย่าลืมบอกเล่าเก้าสิบกันไว้ด้วย จักขอบคุณล่วงหน้า

“โฆษณาแฝง...ประเด็ น สุ ด ฮอต!”

53


สุทธิชัย เอี่ยมเจริญยิ่ง ประธานเครือข่ายธุรกิจเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม Suthichai Eamcharoenying หมดยุคการทำกำไรสูงสุด ถึงยุคแบ่งปัน President, Social Venture Network สร้างสังคมน่าอยู่ร่วมกัน “... “คุณธรรม” จะสามารถสร้างความยั่งยื นให้ธุรกิจตอบโจทย์ทุกมิติของสังคมได้ เมื่อยุคแห่งการแข่งขันด้านทุน นิยมเดินทางสู่ทางตัน...” “… “Morality” can lead to the sustainable business that could serve all levels and aspects of society when the era of capitalism come along to the end…” “คุ ณธรรม” ระบุ ไว้ ในพจนานุ ก รม ฉบั บ ราชบั ณฑิ ต ยสถาน หมายถึ ง ขยายความเบื้องหลังที่มา หลังจากผมเคยพาสมาชิกของชมรมฯ ไปเยี่ยม สภาพคุณงามความดี เป็นคำเขียนสั้น แต่มีความหมายลึก อธิบายยังไงก็ไม่ ชม เจ้าของกิจการเขาสร้างวัฒนธรรมปูพื้นฐานไว้ให้ครับ เขาวางระบบพี่น้อง ลึกซึ้ง ไม่ลึกลงไปในใจที่ยากแท้หยั่งถึง เป็นเรื่องที่ต้องปลูก แล้วฝังเข้าไปข้าง ดูแลกันเหมือนญาติ มีบรรยากาศร่มรื่น ปลูกต้นไม้เยอะ วางแผนงานกันด้วย ในให้แปรสภาพกลายเป็นธาตุดีในตัวตน เป้าหมายว่า เมือ่ มีออร์เดอร์ลกู ค้ามาแล้ว คำนีไ้ ม่มรี ปู ลักษณ์ให้มองเห็นให้จบั ต้องได้ ต้องเสร็จส่งมอบได้เมื่อไหร่ นั้นแหละจะ ว่ามีหน้าตาเป็นอย่างไร แต่พบได้ในคุณ นำมากำหนดเวลาทำงานว่ากระบวนการ ต้องทำอะไรให้แล้วเสร็จต่อเนื่องกันไป ธรรมที่แสดงออกมาต่อคนรอบข้าง คิด เหมือนผมไหมครับว่ายากจริงๆ อย่ า งไรจนจบงาน การมี ส่ ว นร่ ว มจาก เมื่ อ หลายวั นก่ อ นมี ง านที่ น่ า สนใจ ทุกคนเกิดขึน้ แล้วครับ หลายท่ า นอาจจะได้ มี โอกาสไปเดิ น ไป ด้ า นความเป็ น อยู่ สวั ส ดิ ก าร มี สัมผัสมาแล้ว ไม่โด่งดังด้วยแรงโปรโมท อาหารให้ครบทั้งสามมื้อ มีบ้านพักให้อยู่ เหมื อ นการทำงานเชิ ง พาณิ ช ย์ ข องอี ก ภายในบริเวณโรงงาน ส่วนที่ทำงานของ หลายๆ งานหรอกนะครั บ แต่ ผ มว่ า พวกเขา เป็ น จุ ด ชมวิ ว ที่ ส วยที่ สุ ด ริ ม อบอุ่น ลึกซึ้ง มีความหวังกับโลกที่เต็มไป แม่ น้ ำ นครไชยศรี ข องจั ง หวั ด นครปฐม ด้วยการแก่งแย่งชิงดี มีความโลภไม่มีที่ ด้วยแนวคิดว่า พนักงานอยู่ทำงานวันละ สิ้นสุด เป็นงานสัปดาห์คุณธรรม จัดโดย กว่ า แปดชั่ ว โมงพวกเขาควรได้ ช มวิ ว ศู น ย์ คุ ณ ธรรม หั ว ข้ อ ในการเสวนา สวยๆ เพื่ อ ความสบายใจในการผลิ ต ส่ ว นใหญ่ มี ก ารพู ด คุ ย กั น ถึ ง “ธุ ร กิ จ ผลงาน ซึ่งก็จะออกมาดีตามสภาวะจิตใจ คุณธรรม” ที่ดี แขกที่มาเยี่ยมชม มาเพียงประเดี๋ยว พอคำสองคำมารวมกัน ระหว่าง “ธุรกิจ” และ “คุณธรรม” ผมจึงเข้าใจ เดียว จุดรับแขกจึงเป็นจุดธรรมดามากๆ เองว่า ผู้จัดงานคงต้องการสื่อความหมายว่าเป็นธุรกิจที่มีความรับผิดชอบต่อ เมื่อลูกค้าจากญี่ปุ่น และจากอีกหลายประเทศมาเยี่ยมโรงงาน เขาเห็น สังคม ซึง่ ขณะนีเ้ รามักจะเรียกกันติดปากโดยเข้าใจกันภายใต้คำภาษาอังกฤษนี้ สภาพของการมีคุณธรรม บนแนวคิดว่าหลายคนถวิลหาพวกเขาชอบใจมาก ว่า CSR (Corporate Social Responsibility) เสือ้ แตงโมทุกตัวจึงมีคณ ุ ค่าทางจิตใจ “ราคา” เป็นเรือ่ งรอง ความยัง่ ยืนผูกพัน ประเด็นทีผ่ มอยากแลกเปลีย่ นกับท่านผูอ้ า่ นในฉบับนีค้ อื คำว่า “คุณธรรม” เป็นเรือ่ งทีท่ ำให้โลกการค้าลดอาการชิงดีชงิ ได้กนั ลง ครับ นี่ยกตัวอย่างเฉพาะประเด็นเดียว ท่านคงจะพอมองเห็นถึงความลึกซึ้ง จากคำบัญญัตขิ องพจนานุกรมข้างต้น แต่ในความเห็นของผม “คุณธรรม” และความยากลำบากในการเรียกร้องให้ผู้ประกอบการได้เห็นว่า การทำธุรกิจ มีความหมายลึกซึง้ มากกว่าคำว่า “ความรับผิดชอบ” มากมายนัก คุณธรรมนั้นมีความละเอียดอ่อนลึกซึ้ง จนมีข้อเรียกร้องจากภาคส่วนต่างๆ ยกตัวอย่างว่า ธุรกิจทีม่ คี วามรับผิดชอบในประเด็นมาตรฐานแรงงาน จะ บอกว่าขอเพียงผู้ประกอบการมีความรับผิดชอบต่อสังคมได้ก็น่าจะเป็นจุดเริ่ม ครอบคลุ ม ในแง่ ก ารดู แ ลคนงานให้ มี ค วามเป็ น อยู่ , รายได้ , สวั ส ดิ ก าร, ต้นทีเ่ พียงพอแล้ว แต่อาจจะมีอกี ส่วนหนึง่ ซึง่ สามารถทำได้มากกว่านัน้ อีก คือ สิ่ ง แวดล้ อ มในการประกอบการ และมี สิ ท ธิ แรงงานตรงตามมาตรฐานที่ ทำลึกลงไปจนกลายเป็นธุรกิจคุณธรรม ซึ่งเรื่องนี้ จำเป็นว่าสังคมควรให้การ กฎหมายในประเทศนั้นกำหนดหรืออาจจะมากไปกว่านั้น คือตามมาตรฐาน สรรเสริญชืน่ ชมมากขึน้ ไปอีกชัน้ หนึง่ นะครับ สากลกำหนด ในความคิดเห็นส่วนตัวของผม คิดว่าการใช้คำว่า “ธุรกิจคุณธรรม” น่าจะ แต่ ห ากเป็ นการมอง ธุ ร กิ จ ภายใต้ “ธุ ร กิ จ คุ ณธรรม” แล้ ว นั้ น พบว่ า ใช้แตกต่างจากคำว่า CSR จากรากฐานความลึกของศัพท์ระหว่างคำสองคำนี้ เป็นการดูแลคนทำงาน ต้องคำนึงถึงอีกหลายเรื่องที่มากกว่ากฎหมายและ “คุณธรรม” กับ “ความรับผิดชอบ” ตามตัวอย่างข้างต้น แต่ผมก็เข้าใจและ มาตรฐานสากล เช่น เรื่องศีลธรรม, จรรยา มองลึกไปถึงอนาคตของคนงาน เห็นใจผู้จัดงานที่จะหาคำไทยคำไหนให้กระชับพอที่จะแทนคำว่า CSR ได้ล่ะ หรือแม้กระทัง่ ผลกระทบต่อครอบครัวคนงานด้วย ครับ ผมอยากเล่ า บรรยากาศในสถานประกอบการของ โรงงานผลิ ต เสื้ อ ท่านผูอ้ า่ นจะลองช่วยกันตัง้ ศัพท์คำนีข้ นึ้ มากันหน่อยไหมล่ะครับ ว่าคำฝรัง่ “แตงโม” ทีน่ นั่ เขาไม่มเี สียงออด สัญญาณเรียกเตือนให้เข้าทำงาน แต่ทกุ คนมี CRS จะใช้คำไทยคำไหนดีที่จะความหมายตรง สละสลวย กระชับ เรียกง่าย นาฬิกาข้อมือ หรือดูเวลาข้างฝา พวกเขารู้ว่าต้องเข้าประจำงานกันตอนกี่โมง ส่งหาผมได้นะครับ ที่ suthichai@svn.org เลิกกีโ่ มง มีวนิ ยั มากครับ

“คุณธรรม”

54


หมดยุ ค การทำกำไรสู ง สุ ด ถึ ง ยุ ค แบ่ ง ปั น สร้างสังคมน่าอยู่ร่วมกัน “...Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization) had a project “Double C Protect the World” with Carbon and CoolMode Ambassadors…” มาตรการการทำงานที่ ช่ ว ยกั น ตระหนั ก จนมาถึ ง วิ ธี ก ารลงมื อ ทำ เป็นเรื่องจริงจังของชาวโลกที่ต้องจับมือกันอย่างเต็มที่ ไม่อย่างนั้นสิ่งที่กลัว กันนั้น จะเดินทางมาถึงมนุษย์อย่างยากที่จะหนีรอดพ้นภัยธรรมชาติที่เกิด จากน้ำมือมนุษย์เองเป็นแน่แท้ สนธิสัญญาโตเกียว เมื่อปี 1995 ส่งผลให้ประเทศที่เข้าร่วมลงนาม กลับ มาจัดตั้งองค์กรในประเทศของตัวเองแล้วลงมือปฏิบัติตามข้อตกลง ถือเป็น สัญญาประชาคมที่ต้องซื่อสัตย์ต่อกันในการช่วยกันป้องกันอุณหภูมิโลกที่ร้อน ขึ้น หรืออย่างน้อยก็ชะลอเวลาออกไปได้บ้าง ประเทศไทย เป็ น อี ก หนึ่ ง ประเทศที่ เข้ า ร่ ว มสั ญ ญานี้ จึ ง มี ก ารจั ด ตั้ ง องค์กรที่ชื่อว่า องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก(องค์การมหาชน) หรือ อบก. “ฉลากคาร์บอน” และ “Coolmode” ผู้บริโภคสามารถเลือกซื้อสินค้าทีติดสัญลักษณ์นี้เพื่อช่วยลด โลกร้อนและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ ประเดิ ม ด้ ว ยโครงการเชิ ญ ชวนผู้ ผ ลิ ต สิ นค้ า หลายรายการ เข้ า ร่ ว ม โครงการ จนวัด ผลได้ ว่า กระบวนการผลิ ต นั้ น สามารถลดการปล่ อ ยก๊ า ซ สู่บรรยากาศของโลกได้จริง เมื่อเทียบกับปี 2545 จนได้รับ “ฉลากคาร์บอน” ไปแล้วหลายตัว ผู้บริโภคโปรดดูได้ที่ฉลากของสินค้านั้นๆ นอกเหนือ จากเดิม ที่จะพลิกดูเฉพาะ ฉลาก อย., สมอ. หรือฉลากอื่นๆ เพิ่มเข้าไปอีก เพื่อให้ แน่ใจว่า คุณมีส่วนเล็กๆ ที่จะช่วยลดภาวะโลกร้อนด้วยเหมือนกัน ล่าสุดคุณศิริธัญญ์ ไพโรจน์บริบูรณ์ ผู้อำนวยการ อบก. เปิดตัวกลยุทธ์ เชิงรุก ด้วยการมีแอมบาสเดอร์ หนุ่มหล่อ ที่จะทำหน้าที่พูดแทนเรื่องนี้ได้ อย่างเต็มเหนี่ยว คือ คุณนพเก้า โกเจริญกิจ และคุณพิศาล ศรีมั่นคง เรื่องอาจจะเป็นเรื่องใหม่ สำหรับผู้ประกอบการอีกหลายท่าน แต่จะ กลายเป็นอาวุธร้ายในโลกการค้ายุคใหม่ เพราะแฝงไปด้วยจิตสำนึกที่วัดค่า มิได้ แต่มีคุณค่าทางจิตใจของสินค้าที่ยั่งยืนกว่าคู่แข่งอีกหลายขุม…

“ลดก๊ า ซ ลดอุ ณ หภู มิ โ ลก”

สินค้าในชีวิตประจำวันที่ผ่านมาตรฐานและ ติดฉลากคาร์บอนไว้

สองหนุ่มหล่อ ผู้ทำหน้าที่เป็นปากเป็นเสียง ให้ อบก. รณรงค์ให้ทุกภาคส่วนของสังคม ช่วยกันลดภาวะโลกร้อน

55


วรวุฒิ อุ่นใจ

กรรมการผู้จัดการ ลูลูกกชายคนโตของครอบครั ชายคนโตของครอบครัววคนจี คนจีนน ทีที่ต่ต้อ้องเข้ งเข้าามากอบกู มากอบกู้ธ ้ธุรุรกิกิจจร้ร้าานน บมจ. ออฟฟิศเมท เครื เครื่อ่องเขี งเขียยนเล็ นเล็กกๆๆ ของบิ ของบิดดาา โลกธุ โลกธุรรกิกิจจใบนี ใบนี้ ้ มิมิไได้ด้โโปรยกุ ปรยกุ หหลาบไว้ ลาบไว้ Worawoot Ounjai รอ“เสี รอ“เสี่ย่ย”เลย ”เลย ประสบการณ์ ประสบการณ์กกว่ว่าา 10 10 ปีปี ของเขาเป็ ของเขาเป็นนโจทย์ โจทย์ อง Managing Director ขของ เถ้เถ้าาแก่ แก่ รุรุ่น่น“เสี “เสี่ย่ย”ได้ ”ได้เเป็ป็นนอย่ อย่าางดี งดี OfficeMate PLc. “...เถ้าแก่ต้องลงมือพัฒนาตัวเองก่อนเป็นอันดับแรก ก่อนที่จะ 1 1. ไปฝึกอบรม หรือ หาอะไรเรียนซะ พัฒนาองค์กร เช่น การต้องหาความรู้ใหม่ๆ อ่านมาก เปิดรับ ถามตัวท่านเองว่า คุณไปเข้าห้องอบรมและพัฒนาความรู้บ่อยแค่ไหน ข้อมูลข่าวสารให้มาก มองอย่างวิเคราะห์ จึงจะเป็นผู้นำองค์กร และอัพเดทเมื่อไหร่ เพราะในเดี๋ยวนี้มีหัวข้อฝึกอบรมเยอะมาก ทั้งเสียเงิน และฟรี ลองมองเลือกที่เหมาะกับตัวเองและธุรกิจของคุณ เน้นที่ใช้งานได้ ได้ อย่างเต็มภาคภูมิ...” จริง ไม่ใช่ทฤษฎีไกลตัว และต้องละเอียดลึกลงไปในระบบงานก็จะดีมาก จะ ช่วยให้เราเปิดโลกทัศน์ที่กว้างขึ้น มีมุมมองใหม่ๆ มาช่วยให้การบริหารเป็น “…To develop business, the entrepreneur need to ระบบ ช่ ว ยให้ เรามองเห็ น ปั ญ หาและหาทางแก้ ให้ ต รงจุ ด ได้ เร็ ว ขึ้ น แต่ develop themselves first, learning, being a reading อุปสรรคก็มีนะครับ คือ ในยามธุรกิจรัดตัว คุณต้องแบ่งบริหารเวลาให้เหมาะ lover, open information mind and analytical. With นะครับ these, they can be the organization leader with 2 2. อ่านให้มากขึ้น pride…” การอ่านมากขึ้นย่อมได้เปรียบ “What you are is what you read” คุณอ่านอะไร คุณก็จะเป็นอย่างที่คุณอ่าน มีหนังสือด้านการบริหารออกมา เยอะมาก แต่สิ่งที่อัพเดทได้ดีที่สุด คือ การอ่านข่าวธุรกิจจากหนังสือพิมพ์ หรือ Internet แต่ไม่ใช่แค่อ่านเฉยๆ นะครับ ต้องคิดต่อด้วยว่า ทำไมธุรกิจ นั้ น หรื อ บริ ษั ท นั้ นจึ ง ทำเรื่ อ งนี้ การคิ ด ต่ อ จะช่ ว ยฝึ ก พั ฒ นาความคิ ด และ มุ ม มองให้ เฉี ย บคมขึ้ น และเข้ า ใจความคิ ด ของบริ ษั ท หรื อ ธุ ร กิ จ ใหญ่ ๆ ที่ ประสบความสำเร็จ เรียกว่า อ่านทั้งทีต้องได้ประโยชน์ทวีคูณนะครับ 3 3. พบบริษัทที่ปรึกษา ข้อนี้ เหมือนมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำเป็นรูปธรรมดีครับ มี หลายหน่วยงานที่ให้บริการ เช่น กระทรวงพาณิชย์ สำนักส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม คลีนิกทางธุรกิจฯลฯ ข้อแนะนำเหล่านั้นจะทำให้ รู้ว่า คุณควรปรับ หรือเพิ่ม - ลดแผนอย่างไร ให้เหมาะกับลักษณะองค์กร และรูปแบบธุรกิจของคุณ 4 4. เรียนรู้จากลูกน้อง ในองค์กรจะมีสายงานหลากหลาย เช่น การตลาด การขาย ไอที บัญชี ฯลฯ ย่อมเป็นแหล่งศึกษาชั้นดีใกล้ตัว ตัวผมเองก็ได้ความรู้จากลูกน้องเยอะ ซึ่งพวกเขาเป็นเหมือนผู้เชี่ยวชาญมีประสบการณ์ในสายงานวิชาชีพแล้วนะ ครับ ลองเปิดใจเรียนรู้ อย่าคิดว่าเราเป็นเจ้านายแล้วจะเรียนรู้จากลูกน้อง ระยะนี้ผมมีโอกาสไปบรรยายนอกสถานที่เกี่ยวกับประสบการณ์ในการ ไม่ได้นะครับ 5. รับบรรยาย ดำเนินธุรกิจทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ จนค้นพบคำถามบางประโยค? ดูว่า 5 เป็นคำถามสุดฮิต แสดงว่าคงเป็น “คำถามร่วม” ของเถ้าแก่แห่งยุคไปแล้ว ถ้ามีใครเชิญคุณไปบรรยาย ก็ลองรับงานดูนะครับ เพราะเป็นการเปิด ล่ะครับ โอกาสให้คุณต้องไปค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อให้การบรรยายครอบคลุมและ คำถามที่ว่าคือ ผู้ประกอบการจะมีแนวทางในการพัฒนาตัวเองอย่างไร สมบูรณ์แบบที่สุด รวมทั้งเป็นการฝึกรวบยอดแนวคิดในการนำเสนอ อธิบาย ในยุคนี้ และอีกข้อคือจะพัฒนาตนเองอย่างไร จึงก้าวข้ามผ่านช่วงธุรกิจ ฝึ ก ทั ก ษะในการพู ด ต่ อ ที่ ส าธารณะ รวมทั้ ง คุ ณจะเกิ ด การเรี ย นรู้ ได้ เปิ ด ขนาดเล็กขยับสู่ขนาดกลาง จนเดินหน้าเข้าตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มุมมองใหม่ๆ จากผู้เข้าร่วมอบรมไปด้วยนะครับ ได้ ท้ายสุด อยากฝากทุกท่านที่เป็นผู้ประกอบการหรือหัวหน้างานว่า การ วันนี้ผมจึงขอแชร์ประสบการณ์ของผมเองให้ท่านผู้อ่านได้ลองทบทวน เป็นเจ้าของกิจการนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ คง ว่า ระหว่าง การพัฒนาธุรกิจ หรือ การพัฒนาผู้ประกอบการเองนั้น ควร ไม่มีลูกน้องคนไหนอยากได้เจ้านายที่ฉลาดน้อยกว่า และที่สำคัญ หากองค์กร พัฒนาอะไรก่อนกัน สำหรับตัวผมเองเหรอครับ ฟันธงว่า ตัวผู้ประกอบการ หรือตัวคุณเองไม่สามารถเป็นตัวอย่าง คุณอาจจะถูกลูกน้องที่เก่งๆ ไปหา ต้องพัฒนาก่อน ธุรกิจจึงจะพัฒนาตามไปได้ เจ้านายที่เค้าคิดว่า สอนงาน และพัฒนาตัวเค้าได้ดีกว่าถ้าอยู่กับคุณ... ลองมาดูกันว่า ตัวผู้ประกอบการเอง จะเริ่มต้นพัฒนาอย่างไร เริ่มกัน เลยนะครับ

“ในฐานะเถ้าแก่...

คุณจะพัฒนาตนเองอย่างไร?”

56


คนในวงการสื่อนอกบ้าน “…ผมขายงานบริการบวกความซื ่อสัตย์ และราคาที่รับกันได้…” “…Services with honesty at the acceptable price, always on his promise …” จากเด็กผู้ชาย วัย 18 ที่ขยันทำงาน หาลู่ทางให้ตัวเองได้ จนเปิดบริษัท แต่ต้องรออีก สองปี จึงจะจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล ให้บรรลุนิติภาวะตามกฎหมายได้ เขาเป็นช่างไฟฟ้าที่ใช้ประสบการณ์มาปรับ รับงานในยุคที่กระเป๋าสนูปปี้ ขายดิบ ขายดี ขายดีมาก เป็นเถ้าแก้รุ่นเยาว์ ที่เคยถูกคู่ค้าคดโกง ทำให้ตั้งปณิธานกับตัวเองว่า จะยึดมั่นคำสัญญา ซื่อสัตย์ไปตลอดชีวิตของการทำธุรกิจ “ผมเกิดจากงานประเภทผ้าและการ์เม้นท์ จากนั้นก็เดินสู่งานสกรีน และกลายเป็น ตัวแทนจำหน่ายอุปกรณ์ด้านงานพิมพ์สกรีนครับ” คุณภูษิต ชัยงาม กรรมการผู้จัดการ บริษัท เน็กซ์เทค สกรีน ซัพพลาย จำกัด เล่าถึงงานของเขาในอดีต จนกลายเป็นการขยาย งานไปอีกหลายสินค้า ซึ่งพัฒนาจากการเป็นผู้ใช้เครื่องมาก่อน จึงรู้ข้อดี จุดเด่นของแต่ละ ยี่ห้อได้ดี ลู่ทางของการเป็นศูนย์รวมของอุปกรณ์งานพิมพ์ซิลค์สกรีน แบบมาร้านเดียวได้ครบ ทุกอย่าง อย่างมีคุณภาพ ราคารับกันได้ เขาและหุ้นส่วนอีกคน - คุณมณเฑียร เอื้อวงศ์ ตระกูล ซึ่งถนัดและคล่องเรื่องภาษาจีนมาก จึงนั่งลงคุยกันถึงลู่ทาง ในการตั้งบริษัทร่วม กัน ตกผลึกเป็นบริษัทนี้ เมื่อปี 2549 หลักๆ การเป็นตัวแทนขายเครื่องพิมพ์สกรีน ยี่ห้อ “Key well” จากประเทศไต้หวัน แต่เพียงผู้เดียวในประเทศไทย และบางผลิตภัณฑ์ใน ภูมิภาคเอเชีย “งานพิมพ์ที่ต้องการใช้งานจำนวนมากเหมาะกับงานสกรีนครับ เพราะราคาต่อชิ้นจะ ถูกลงเรื่อยๆ ราคาเครื่องที่ผมขายอยู่ ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 2 ล้านเศษๆ ต่อเครื่อง อายุการ ใช้งาน 20 ปี ผมคิดว่ามันคุ้มค่ากับการรับงาน ทำร้านเล็ก จนถึงขนาดกลางครับ” การขายเครื่องพิมพ์ เป็นสินค้าที่หมุนรอบช้า อายุการใช้งานยาวนาน เขาจึงต้อง เพิ่มสินค้าที่หมุนเวียนใช้แล้วหมดไป อาทิ หมึก สี และอุปกรณ์ต่างๆ เดินเข้ามาบริษัทนี้ มีทุกอย่างที่ลูกค้าจะเรียกหา ยิ่งช่วงฤดูกาลหาเสียง วัสดุ อุปกรณ์จะขายดีเป็นพิเศษ

“คำสัญญาว่ า... ซื่อสัตย์”

คุณภูษิต ชัยงาม : รู้ฤทธิ์ของการถูกโกง จึงตั้งมั่นบน ความซื่อสัตย์ตลอดมา

ออฟฟิศย่านตลิ่งชันมีพื้นที่โดยรอบช่วยให้บรรยากาศสบายๆ เติม “น้ำพุ” ตามหลักฮวงจุ้ย ที่จะนำพากิจการพุ่งทะยานไปข้างหน้า   57


คนในวงการสื ่อนอกบ้าน วงการ Silk screen และ inkjet เป็นพันธมิตรลูกค้าฐานเดียวกัน บริการหลังขายที่เตรียมพร้อมเสมอคือ หน่วยบริการช่าง 24 ชั่วโมง รับทุกสายที่ เรียกเข้ามา ทำให้ลูกค้ามั่นใจ และเพิ่มจำนวนขึ้น เป็นกว่าพันราย เขามั่นใจในแนวทางที่ น่าจะเดินมาอย่างถูกต้อง เพราะการสร้างแบรนด์ งานบริการ และราคาที่รับได้ พนักงานกว่า 30 คนของบริษัทภูมิใจกับการเติบโตไปพร้อมๆ กับบริษัท ซึ่งขณะนี้ย้าย เข้าไปอยู่ในอาคารสำนักงานแห่งใหม่ ย่านถนนกัลปพฤกษ์ เนื้อที่กว่า 2 ไร่ ที่ใหญ่โตรองรับ สต็อกสินค้าไว้อย่างพอเพียงสำหรับทุกออเดอร์ของลูกค้า เมื่อปี 2550 ที่ผ่านมา “ตอนเรานั่งทำงานอยู่ในบริษัท ผมกับพนักงาน เราคือพี่น้องกันครับ แต่เมื่อต้องอยู่ นอกบริษัท ผมคือนาย ที่มีหน้าที่เป็นกัปตันให้พวกเขาครับ” อุตสาหกรรมนี้ ไม่มีข้อกังวลเรื่องการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีมากนัก เครื่องพิมพ์ อาจมีรุ่นใหม่ๆ ตามมา เพิ่มฟังชั่นการใช้งานขึ้นมาบ้าง แต่ไม่ถึงกับหน้ามือหลังมือ หรือ ตกรุ่นในเวลาอันรวดเร็ว นอกเหนือจากการบุกถึงลูกค้าโดยตรงจากการทำงานของเซลล์ การบอกกันปากต่อ ปากของลูกค้าด้วยกัน เขาพบว่าในระยะหลัง มียอดขายที่เกิดจากอินเตอร์เน็ต ในอัตราที่ น่าพอใจ การสั่งสต็อกจึงไม่จำเป็นต้องแช่เป็นต้นทุน เวลาเพียง 45 วัน ลูกค้าก็ได้รับเครื่อง แล้ว การออกบู ธ ในงานแสดงสิ นค้ า ก็ มี ส่ ว นช่ ว ยในการขาย เหมื อ นการไปเปิ ด ร้ า นใน ซุปเปอร์มาร์เก็ต ที่สะดวกต่อการหยิบเลือก ดูใกล้ๆ ให้แน่ใจ ก่อนตัดสินใจ ช่องทางใหม่ๆ ของธุรกิจ พบว่า เมื่อลูกค้าต้องรัดเข็มขัด การจัดซื้ออุปกรณ์ สิ่งของ ต่างๆ ของลูกค้า จะลดจำนวนลง บางจังหวะไม่จำเป็นต้องใช้งานปริมาณมากๆ หรือบาง โอกาสเคยพิมพ์งานน้อยชิ้น แต่อยากเพิ่มงานบริการให้ลูกค้าพิมพ์ได้มากขึ้น ลูกค้ากลุ่มงานพิมพ์ อิงค์เจ็ท จึงเป็นกลุ่มที่เขาจะขยับตัวเข้าใกล้ นำเสนอเครื่องพิมพ์ เมื่อลูกค้าเดินเข้ามาถามถึง หรือการบริการที่เพิ่มสายงาน “ผมคิดว่า ลูกค้าสองกลุ่มนี้ เป็นกลุ่มที่คาบเกี่ยวกันอยู่ เพราะมีอุปกรณ์หลายชิ้นที่ คล้ายกัน หรือใช้ทดแทนกันได้ ผมไม่คิดว่าจะเป็นการแย่งงานเพื่อนๆ ของกลุ่มนี้ แต่เป็น เหมือนบริการเสริมจากฐานลูกค้าที่เคยใช้บริการ คุ้นเคยกันอยู่แล้วครับ” การทำตัวอ่อน ยืดหด ล้อไปกับฟองคลื่นเศรษฐกิจ เป็นข้อดีที่กิจการขนาดย่อมทำได้ อย่างคล่องตัว ช่องทางการทำธุรกิจย่อมไม่มีบทบีบตัน แม้เศรษฐกิจภาพรวมจะเป็นเช่นไร ก็ตาม…

58

ลูกค้ามั่นใจว่ามาที่เดียวมีครบทุกรายการ


คนในวงการสื่อนอกบ้าน ยุคนี้อะไรต้องไวไปหมด โลกหมุนรอบตัวเองเร็วขึ้นกระมัง เปล่าเลย มนุษย์ต่างหากที่ เร่งวันคืนให้เร็ว จากเทคโนโลยีที่คิด ที่ค้นมาอำนวยความสะดวกให้ตัวเอง ทำให้ทุกอย่าง เร็ว เทคโนโลยีพลิกโลก พลิกให้ทุกคนต้องวิ่ง ต้องปรับตัวตามกันจ้าล่ะหวั่น ใครเฉยแม้ เพียงยืนนิ่งก็เหมือนถอยหลังซะแล้ว จากเด็กหนุ่มที่ขยัน เรียนรู้ทุกอย่าง แล้วเดินไปสู่จุดสูงสุด เขาจึงเป็นตัวอย่างของคน รุ่นหลังได้(อีกคน) ที่ต้องมีความอดทน รางวัลแห่งความขยันนั้น หอมหวานด้วยความภาค ภูมิใจได้เสมอ “ยุคที่ผมไปเรียนต่อปริญญาโทที่อเมริกา เป็นปีก่อนที่เมืองไทยจะลอยค่าเงินบาท เพียง 3 เดือน แต่ผมก็สู้ครับ ไม่รบกวนทางบ้าน หางานทำ เรียนไปด้วย จนจบกลับมา อยู่เมือง นอกจะถูกสอนหลายอย่าง นักเรียนไทยทุกคนรู้รสชาตินี้ดีครับ โดยเฉพาะ คนธรรมดาที่ ไม่ ใ ช่ ลู ก บ้ า นมี เงิ นถุ ง เงิ นถั ง ” คุ ณ ไมตรี กาญจนอำไพพร กรรมการผู้ จั ด การ บริ ษั ท มาร์เก็ตติ้งค์ แอ็ดเวอร์ไทซิ่ง อินเทอริเจ็น เทคโนโลยี่ จำกัด เล่าบุคลิกของเขา ซึ่งจัดว่า เป็ นจุ ด ขายและกลายมาเป็ น เถ้ า แก่ ลั ก ษณะนี้ ไม่ ต่ า งไปจากมื อ อาชี พ คนอื่ น ๆ เช่ นกั น ที่ท้ายที่สุดแล้ว พวกเขามักจะเดินออกมาลงมือทำงานเป็นของตัวเองมากกว่าที่จะรับเงิน เดือนประจำ หลังกลับมาเมืองไทย เขาหางานทำไม่ยาก เมื่อ 10 ปีก่อน แม้จะมีวิกฤตต้มยำกุ้ง แต่ บริษัทข้ามชาติยังมองเมืองไทยเป็นตลาดที่น่าสนใจ ที่จะขยายใช้เป็นฐานการทำงาน ส่ง สินค้าและบริการมาค้าขาย เขาได้งานเป็นเซลล์ขายเครื่องพิมพ์ขนาดใหญ่ให้กับ บริษัท ฮิวเลตต์-แพคการ์ด(ประเทศไทย) จำกัด ชอบใจกับระบบงานของต่างชาติ ซึ่งเขาจะทำไว้ดี การสื่อสารสำคัญมากที่จะควบคุมดูแล สั่งงานกัน ให้เข้าใจตรงกันได้ทั่วโลก อย่างส่วนงาน ที่เขาดูแลอยู่นั้น ใช้ฐานการดูแลจากประเทศสิงคโปร์ ครอบคลุมประเทศในแถบเอเซีย ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย บรูไน ไทยและสิงคโปร์ “ผมชอบครับ ผมได้เรียนรู้งานที่ไม่เคยพบเห็น ไม่เคยเรียนในรั้วมหาวิทยาลัยมาก่อน ผมต้องเรียนรู้ทุกแผนก เป็นเด็กใหม่กับองค์กรใหม่ แต่การขายที่ต้องมียอดขายเป็นการ ประเมินงาน 3 เดือนแรก ผมเกือบถูกไล่ออก” เขาทำงานหนักจนผมเปลี่ยนสี เพื่อนฝูงทัก ว่าจะไหวไหม แต่เขายืนยันว่า สู้ครับ ต้องวางแผนอย่างแนบเนียนที่จะขายเครื่องพิมพ์ให้ เป็นราคาเดียวให้ได้ จากเดิมที่ยี่ห้อ HP มีราคาขายที่ต่างกัน

“งานด่วน…ผมชอบ”

คุณไมตรี กาญจนอำไพพร กรรมการผู้จัดการ บริษัท มาร์เก็ตติ้งค์ แอ็ดเวอร์ไทซิ่ง อินเทอริเจ็น เทคโนโลยี่ จำกัด

งานกล่องไฟ เป็นอีกงานที่ถนัด

59


“ …ผมจะบอกลูกค้าแบบตรงๆ ว่าอะไรทำได้ อะไรที่อาจเป็ นข้อจำกัด ต้องรับกันได้ ไม่ ค วรไปสร้ า งภาพ แบบมี ค วามหวั ง พอทำไม่ ไ ด้ ก จ ็ ะเสี ยเครดิตกันซะเปล่าๆ…” คนในวงการสื ่อนอกบ้าน “…I will always be honest what I can do and what might be my limitation, and the customers have to accept, never ever high expectation, once I cannot do as promised, my credibility will be ruined…” งานพิมพ์ภาพศิลปะสวย สำหรับรองรับตลาดในอนาคต เขาพบข้อมูลที่เป็นเท็จจริงอีกว่า ยอดขายจะเกิดจากการผ่านดีลเลอร์เป็นหลัก ดังนั้น การทำงานกับดีลเลอร์จึงเป็นงานหลัก ต้องมีเครื่องจูงใจ ขายอย่างไรให้ดีลเลอร์มีกำไรเป็น วอลเปเปอร์แบบอาร์ท ใครสนใจมาติดต่อได้ครับ แรงกระตุ้นแรงๆ ได้ ซึ่งพบว่าต้องขายเครื่องแพง จากตั้งแต่ห้าหมื่นไปถึงหลักแสน เขาทำยอดขายจนได้เป็นท็อปเซลล์ ยอดขายโตขึ้น 400 % ขายเครื่องตัวละห้าแสนได้ กว่าสี่ร้อยตัว จนรับรางวัลบินไปเที่ยวสเปนเยี่ยงนักขายมือทอง ที่มีเสียงปรบมือดังกึกก้อง ราคาที่แข่งขันกันทุกรูปแบบ ทำให้เขา เริ่ม กลายเป็นรองแชมป์จากประเทศจีนเพียงเจ้าเดียว จาก 26 ประเทศสาขา มองหาตลาดอีกระดับ ที่สามารถต่องานได้กับอีก เพียงสองปี เขาคิดว่าทำงานหนัก จนเรียนรู้ทุกอย่างเพียงพอที่จะกล้าบินเอง กับช่อง หลายกลุ่มคน ทางที่พอมองเห็น ทำเองน่าจะสร้างฐานะได้เอง ลาออกมาลองทำงานกับบริษัทคนไทย จน “ผมมองตลาดการพิ ม พ์ ง าน ของแกลลอรี่ แน่ใจที่จะเดินออกมาเปิดกิจการของตัวเอง เมื่อ 4 ปีก่อน กลายเป็นเถ้าแก่วัยสามสิบสอง ภาพที่เนี๊ยบๆ ต้องการคุณภาพที่ดี คมชัด จัดใส่ กรอบได้ ส วยงาม ราคาแทบจะไม่ ต้ อ งพู ด ถึ ง มี ที่ยังมีแรงมุ่งมั่นทำงานเองแบบรู้จริงทุกจุด “ผมรู้ครับว่า ทำกิจการเองจะคุ้มค่ากับการทุ่มเทสุดๆ เหนื่อยเท่าไหร่ ก็ได้กลับมา คุณค่าทางจิตใจของเจ้าของภาพ เกินคำบรรยาย เท่านั้น แต่ก็เสี่ยง งานทุกงานผมมั่นใจว่า ผมทำเองได้ แต่อยากมีเพื่อน อยากมีมิตร ผมจึง และหาอะไรมาเที ย บเคี ย งไม่ ไ ด้ ” เขามั่ น ใจว่ า แบ่งกระจายงานออกไปบางส่วน” ตลาดนี้ ยังมีโอกาสที่จะมองเห็นการเติบโต เป็น เขาจึงรับงานพิมพ์อิงค์เจ็ทเพียงอย่างเดียว ส่วนการขายเครื่องพิมพ์ แม้จะอยู่ในสาย หมากที่วางไว้รองรับงานในอนาคต ซึ่งมองออก เดียวกันแต่ก็ละไว้ให้เพื่อนๆ คู่ค้าทำ งานโฆษณาเป็นการผลิตชิ้นงานที่ไม่มีวันหยุด ยิ่ง ว่า ยังไงก็ยังเป็นงานด่วนอยู่ดี เศรษฐกิจหดตัว ลูกค้ายิ่งต้องออกมาด้วยการงัดกลยุทธ์ นั่นก็ยิ่งเป็นการสร้างงานของกลุ่ม งานนี้เขาไม่คิดจะหนี งานด่วน เพราะบอก ผู้ผลิตชิ้นงานได้ตามมา ตั ว เองว่ า คงเกิ ด มาคู่ กั บ งานด่ ว นไปซะแล้ ว ล่ ะ เป็นเรื่องจริงที่เขาและทีมงานยอมรับได้ว่า งานการพิมพ์มักจะมาด่วน มาเร็ว รอรับ ครับ… กลับได้ไหม เพราะการตัดสินใจ อาจจะเกิดขึ้นหลังห้าโมงเย็นตอนเลิกงาน เพราะเวลาไม่มี ให้ทำงานต่อแล้ว หากแคมเปญโฆษณานั้นต้องออกตลาด เมื่อไฟล์งานมาถึงมือก็ราวหนึ่ง ทุ่ม ก็เป็นเวลาที่ทีมงานเริ่มทำงานพิมพ์ จะเสร็จก็ราวใกล้เช้า หรืออาจะเป็นตีสองตีสาม “ผมทะเลาะกับลูกค้า จนกลายเป็นเพื่อนกันมา หลายรายแล้วครับ อธิบายจนเขา เข้าใจ การทำงาน และผมเลือกเครื่องพิมพ์ที่มีความเร็วมารองรับ จนมั่นใจว่างานทุกชิ้น เสร็จทันเวลา ลูกค้าจึงปากต่อปาก ว่า งานด่วนต้องให้ไมตรีเลยนะ” ทีมงานเข้าใจ เมื่อกดปุ่มคนและเครื่องต้องรวมกันเป็นหนึ่งเดียวเขามั่นใจว่า เครื่อง พิมพ์ Roland ที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ รองรับงานเขาได้ทันเวลา กับงานด่วนทุกชิ้น จากลูกค้า เจ้าประจำ อย่าง Dtac และเอเยนซีอีกบางราย ประสบการณ์สอนให้เขายืดหยุ่นได้กับทุกสภาวะ พูดตรง บอกความจริงกับลูกค้าได้ทุก เรื่อง ทุกงานจึงเป็นการร่วมงานอย่างเต็มใจ พนักงานประจำของเขา 6 - 7 คนจึงไม่กังวล ใจกับงานด่วน ที่ถูกออเดอร์มาหลังห้าโมงเย็น   60


พิรัช ธัมพิพิธ ประธานชมรม Y-ME สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย Pirach Thampipit President of Yong Marketing Executive Club Marketing Association of Thailand แท บ ไม่ น่ า เชื่ อ ค รั บ ช ม ร ม Y-me ก้ า วขึ้ น สู่ ปี ที่ 20 แล้ ว พลิ ก ไปดู เพื่อยืนยัน บอกว่า ใช่เลย ผม เองจึงต้องขอฟื้นความหลังมาเล่าสู่ กันฟัง ยุ ค นี้ อะไร อะไร ก็ ย้ อ นยุ ค กลับไปดูของเดิม เป็นความสุขสมัย รูปนี้เก่ามาก จนเป็นขาว – ดำ ที่ยังเป็นหนุ่มสาว ยุคโก๋ กี๋ หลังวัง จำใครได้บ้างไหมครับ หรือเปล่านะ ชมรม Y-me หรือชมรมนักการตลาดยุคใหม่ ก่อตั้งมาเมื่อ ปี 2532 โดย เพื่อนๆ ในกลุ่มนักการตลาด ชวนกันมากินข้าว เล่า แลกประสบการณ์กัน จนตั้งเป็นชมรมอยู่ภายใต้สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย การรวมกั น ได้ อ ย่ า งสนิ ท สนมของสมาชิ ก เป็ น การรวมตั ว กั น ผ่ า น กิจกรรมต่างๆ เช่น การประชุมนอกสถานที่ การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ การ เดินป่า การบริจาคหนังสือ เครื่องเขียน อุปกรณ์การเรียนให้น้องๆ ในชนบท ผมมีภาพมิตรภาพ ในยุคนั้นมาฝากกัน เมื่อเปิดอัลบั้มเก่าๆ เป็นภาพที่หา ดูได้ยากมากแล้วครับ ประวัติศาสตร์หน้านี้ ต้องช่วยกันจารึกไว้นะครับ คุณล่ะ เพื่อนเมื่อ 20 ปีก่อน ยังเจอกันบ้างไหม มิตรภาพของเพื่อนมักจะ ยั่งยืน ชมรม Y-me เป็นหนึ่งในบรรดานั้น ที่คุณกำลังคิดถึงเช่นกันครับ 20 ปี ของชมรม Y-me มีประธานชมรม รวม 17 ท่าน ตามรายชื่อที่ผม นำกลับมาเล่าให้ฟัง เรียงลำดับจากท่านแรก ดังนี้ 1. คุณไกรสร มัทนพจนารถ 2. ดร.สมชัย ว่องอรุณ 3. คุณณรงค์ จุนเจือศุภฤกษ์ 4. คุณยงยุทธ ฟูพงศ์ศิริพันธ์ 5. คุณกิจจา เกียรติเอกสิทธิ์ 6. คุณจรินทร์ มงคลพันธ์ 7. คุณสถาปัตย์ ปรีดา 8. คุณอมรชัย อมรวัชรพันธ์ 9. คุณชลกร ชัยณรงค์ 10. คุณสนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ 11. คุณชัยบูรณ์ กุลสิริสวัสดิ์ 12. คุณวิทอง ตันฑกุลนินาท 13. คุณพิรัช ธัมพิพิธ 14. คุณดรุณี สาระเกษตริน 15. คุณธีรกรณ์ หยาดผกา 16. คุณโตสิต วิสาลเสสถ์ 17. คุณพิรัช ธัมพิพิธ

Y-ME ดียังไง? ดีที่มีเพื่อนเป็นนักการตลาดยุคใหม่

“มิตรภาพ ปีที่ 20” วิทยากรระดับประเทศ

งานสัมมนาให้ความรู้

สองผู้ยิ่งใหญ่เจอกัน

รักกันมากขึ้นเมื่อผจญภัยด้วยกัน

กิจกรรมปันน้ำใจให้น้องๆ

61


ดุลจิตต์ ลีธนะกุล นายกสโมสรโรตารี ปทุมวัน ปี 2552 – 2553 Dullachit Leetanakul President 2009 – 2010 Rotary Club of Patumwan Thai cultural arts represent the origin and intellectual ability of the Thai people as well as many other branches of “Arts” which require extra pamper, maintain and cascading to younger and younger generations. Seventy years ago, the primary musical instruments during the World War 2 were “Tone” and “Tub” Hence, the dance during that period was named “Ram-Tone” (The Tone Dance). Later, the name was slowly distorted to “Ram-Wong-Chao-Krung” (The Urban Dance). During the reign of General Por. Pibulsongkram, Lady La-Iad Pibulsongkram คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ เข้าตัดสินโครงการการประกวดรำวงมาตรฐาน ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2551 requested the Fine Arts Department to come up with “The 10 Standard Thai Classical ณ MBK Avenue Zone A นำทีมโดยอาจารย์สุวรรณี ชลานุเคราะห์ (ศิลปินแห่งชาติ) Dances” and “Ngarm-Saeng-Duen” was the ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม ไ ท ย แ ส ด ง first “standard song” for these dances. As รากเหง้ า ภู มิ ปั ญ ญาของไทยไว้ อ ย่ า ง time went by, more songs were composed as น่าชื่นชมมาก ยังมีศิลปะไทยอีกหลาย well as the inventions of many other dances. แขนงที่ ต้ อ งการการทำนุ บ ำรุ ง ดู แ ล The ten primary songs for theirs standard สืบทอดส่งต่อไปยังคนอีกรุ่น Thai classical dances were “Ngarm-Saeng ย้ อ นค ว า ม ไป เมื่ อ 7 0 ปี ก่ อ น Duen”, “Chao-Thai”, “Ram-Ma-Si-Ma-Ram”, เครื่ อ งดนตรี ห ลั ก ที่ นิ ย มกั น ในยุ ค “Kuen-Duen-Ngai”, “Dok-Mai-Khong-Chart”, สงครามโลก ครั้งที่ 2 คือ โทน และทับ “Duang-Chan-Wan-Pen”, “Bu-Cha-Nak-Rob”, การรำ จึงเรียกว่า “รำโทน” จากนั้นรำ “Ying-Thai-Jai-Ngarm”, “Duang-Chan-Kwanโทนชาวบ้าน จึงแปรรูปมาเป็น “รำวง Fa” and “Yod-Chai-Jai-Harn”. Each song was ชาวกรุง” assigned with its own individual dance and ทีมแชมป์รำวงมาตรฐาน ประจำปี 2551 รับถ้วยรางวัลเกียรติยศ ในยุ ค จอมพล ป. พิ บู ล สงคราม the dancers had to dance in pair. ของคุณอภิรักษ์ โกษะโยธิน และเงินรางวัล 50,000.- บาท นั้น ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม The trait of being a Thai can be unveil ...โปรดติ ด ตามว่ า ที ม ใดจะคว้ า แชมป์ ในปี 2552 ในวั น ที่ ข อ ให้ ก ร ม ศิ ล ป า ก ร ช่ ว ย คิ ด ท่ า ร ำ through many means such as Thai songs, 11 พฤศจิกายน 2552 นี้ ... “มาตรฐาน” ขึ้นมา เป็น 10 ท่า และ Thai dance, Thai Boxing, etc. Imagine when มีเพลง “งามแสงเดือน” เป็นเพลงรำวง one is travelling overseas and would like to มาตรฐานเพลงแรก ต่อมาจึงมีการแต่งเพลง และคิดท่ารำขึ้นมาเพิ่ม boast about being a Thai, what can he/she 10 เพลงเอก สำหรับรำวงมาตรฐาน คู่กับเพลงทั้งสิบเพลง จับคู่กันหนึ่งท่าต่อ do? หนึ่งเพลง ได้แก่ งามแสงเดือน ชาวไทย รำมาซิมารำ คืนเดือนหงาย ดอกไม้ของ We would like to recommend an activity ชาติ ดวงจันทร์วันเพ็ญ บูชานักรบ หญิงไทยใจงาม ดวงจันทร์ขวัญฟ้า และยอดชาย which everyone could simply enjoy, “The Thai ใจหาญ Classical Dance”. Can you imagine having เอกลักษณ์ความเป็นไทย มีการแสดงออกได้หลายแนวทาง เพลงไทย รำไทย foreigners performing Thai Classical Dance? มวยไทย ไหว้ไทย ให้คิดถึงตอนที่คุณต้องเดินทางไปต่างประเทศ คุณอยากอวดความ How amazing you think it would be? เป็นไทย เรื่องใดได้บ้าง With the fear of losing our “Standard Thai ผมขอแนะนำกิจกรรมที่ทุกคนร่วมสนุก ผ่านความเป็นไทยอย่างสนุกสนานได้ Classical Dance” over time, Rotary Club of ทุกงานคือ การรำวง คิดภาพฝรั่งมารำวงซิครับ มันจะน่ารักแค่ไหน Patumwan had taken the initiative to organize ด้วยเกรงว่า รำวงมาตรฐานจะสูญไป สโมสรโรตารีปทุมวัน จึงจัด “โครงการ “ T h e S t a n d a r d T h a i C l a s s i c a l D a n c e ประกวดรำวงมาตรฐาน” ขึ้นมาสำหรับเยาวชน ต่อเนื่องกัน 4 ปีรวด ตั้งแต่ปี 2551 Competition” for the four year continuously , – 2552 – 2553 - 2554 โดยในปีที่แล้ว มีแชมป์เกิดขึ้นแล้วครับ with a team emerged as a champion for the สำหรั บ การประกวดในปี นี้ ผมขอเชิ ญ ชวนน้ อ งๆ เยาวชนไทย ส่ ง ที ม first time last year. เข้าประกวดโดยติดต่อ เข้าไปได้ที่ กองงานการประกวด โทร.02 637 0336 หรือที่ As for this year, we would like to invite e-mail : rpatumwan@gmail.com เปิดรับสมัคร จนถึงวันที่ 31 ตุลาคมนี้ the interested groups of young Thai talents to join us in this competition by contacting our office at Tel. 02 637 0336 or email : rpatumwan@gmail. Sign-up today till 31 October 2009.

“รำวงมาตรฐาน” “Standard Thai Classical Dance”

62


รศ. อรุณีประภา หอมเศรษฐี รองผู้อำนวยการ สำนักงานจัดหารายได้ สภากาชาดไทย ASSOC PROF.Aruneeprabha Homsettee Deputy Director fund raising bureau เราช่วยกาชาด... กาชาดช่วยเรา The Thai Red Cross Society “ …การให้ความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการบริจาคดวงตา เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ที่กำลังรอความ หวัง ที่จะเปลี่ยนถ่ายกระจกตา ได้ม องเห็นโลกที่สดใสอีกครั้ง…” “… educating people about cornea donation increases the chance for whom with hope to theirs beautiful world once again…” คุณวิทยา เวชชาชีวะ (คนกลาง) พร้อมแนวร่วมขุมกำลังสำคัญของศูนย์ดวงตา น้องๆ ทูตดวงตา อาสามาทำงานเชิงรุกให้ศูนย์ดวงตา ปีที่ 44 ของศูนย์ดวงตา สภากาชาดไทย มีสถิติที่น่าสนใจเรื่องการจัด มหาวิทยาลัยสยาม, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา, เก็บ “ดวงตา” คือ มีผู้บริจาคสะสมจำนวน 690,139 คน ผู้ที่ได้รับการผ่าตัด มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เปลี่ยนดวงตาแล้วจำนวน 6,767 คน และผู้ที่รอการผ่าตัดจำนวน 5,415 คน งานนี้มีคู่แม่ลูก ดารา นักแสดง คนดังมาร่วมงานกันอย่างสนุกสนาน (ข้อมูล ณ 31 กรกฎาคม 2552) ซึ่งความเป็นจริง มิได้จัดเก็บได้ครบ คนละ และได้แสดงความรักระหว่างกันอย่างซาบซึ้ง รวมทั้งมีบริการทางดวงตาให้ สองดวงตามที่คนปกติมีกัน ทั้งนี้อาจจะมีปัจจัยอื่น เช่น ดวงตาที่เกิดอุบัติเหตุ กับประชาชน ผู้สนใจทั่วไป อาทิ การตรวจวัดสายตา การตรวจสุขภาพตา อาจเก็บได้เพียงข้างเดียว หรือการต้องผ่าตัดเปลี่ยนดวงตาภายใน 7 วันหลัง ข้อแนะนำจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากศูนย์ดวงตา สภากาชาดไทย และการ จากผู้บริจาคดวงตาเสียชีวิต เป็นต้น ร่วมจากภาคเอกชน เช่น หอแว่นกรุ๊ป, สมาร์ชวิชั่น, เครื่องสำอางค์ BSC ทีมงานของศูนย์ดวงตา พบว่า อัตราบริจาคเพิ่มก็จริง แต่การจัดเก็บ และยู พี ดี โบรกเกอร์ รวมทั้ ง ผู้ ส นั บ สนุ น อุ ป กรณ์ ข องใช้ และอื่ น ๆ อี ก ทำได้น้อย เพราะมนุษย์มีอายุยืนยาวขึ้น ความเชื่อของญาติที่ไม่ยินยอมและ มากมาย ความเชื่อของคนรุ่นใหม่ ทำให้ผู้รอรับบริจาคต่อคิวกันยาวออกไปทุกที คุณวิทยา เวชชาชีวะ ประธานคณะกรรมการจัดหาและบริการดวงตา กลยุทธ์ที่น่าจะก้าวไปถึง คือการเจาะเข้าหาคนรุ่นใหม่ คณะอนุกรรมการ แห่งสภากาชาดไทย ให้เกียรติเป็นประธานการเปิดงาน พร้อมผู้ใหญ่อีกหลาย ประชาสัมพันธ์จึงกำหนดแนวทางด้วยกิจกรรม 4 งาน ได้แก่ โครงการทูต ท่ า น เช่ น พั น ตำรวจตรี เ ชาวลิ ต สิ ง ห์ เ จริ ญ ผศ.พญ. ลลิ ด า ปริ ย กนก ดวงตาสภากาชาดไทย, กิจกรรม “ห่วงใยแม่ ดูแลสายตา”, การทอดผ้าป่า ผู้อำนวยการศูนย์ดวงตาสภากาชาดไทย แขกผู้มีเกียรติ ทำให้ลานกิจกรรม ดวงตาและการประกวดดนตรีเพื่อชีวิต ดูแน่นไปถนัดใจค่ะ เมื่อวันที่ 1 - 2 สิงหาคม 2552 ที่ผ่านมา จะมีกิจกรรม 2 งานเกิดขึ้น การจัดกิจกรรมในห้างสรรพสินค้า และการมีสื่อบุคคลอย่าง “ทูตดวงตา พร้อมกัน คือกิจกรรม “ห่วงใยแม่ ดูแลสายตา” พร้อมการเปิดตัวมอบสาย สภากาชาดไทย” นับว่าเป็นการทำงานเชิงรุกของศูนย์ดวงตาสภากาชาดไทย สะพายให้กับทูตดวงตาสภากาชาดไทย ซึ่งเป็นตัวแทนจาก 10 มหาวิทยาลัย ในรอบหลายปีที่ผ่านมา คณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์ตั้งเป้าหมายไว้ว่า จำนวน 19 คน ณ ลานแกรนด์ ฮ อลล์ ศู น ย์ ก ารค้ า เอสพลานาด ได้ แ ก่ จะเป็นการช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนดวงตา ซึ่งทำให้ผู้ป่วยกระจกตาพิการ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, โรงเรียนเทคนิควิมลบริหารธุรกิจ, ที่รอเข้าคิวอยู่เป็นเวลานานมากแล้วนั้น มีโอกาสได้มองโลกสดใส เป็นกำลัง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีปทุม, สำคัญของครอบครัวและประเทศชาติสืบไป

“ทูตดวงตา สภากาชาดไทย”

63


เราช่วยกาชาด... กาชาดช่วยเรา

ผศ.ดร.บุหงา ชัยสุวรรณ หัวหน้าสาขาวิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ “มหาวิทยาลัยเล็งเห็นความสำคัญที่นักศึกษาต้องมีกิจกรรมช่วยเหลือสังคมในระหว่างการเรียน และเป็นโอกาสดีที่ ศูนย์ดวงตา สภากาชาดไทย ได้จัดกิจกรรม ห่วงใยแม่ ดูแลสายตา รวมทั้งโครงการประกวดฑูตดวงตาขึ้น เพราะ เป็นเวทีที่เปิดโอกาสให้นิสิต, นักศึกษาได้มีส่วนเข้ามาช่วยเหลือสังคม เป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติ” คู่แม่ลูกดารา มาร่วมเล่าเรื่องราวความรักสีขาว

คุณวิภา บัณฑิตลักษณะ Graphic Designer, Programer ผู้ที่อุทิศดวงตาให้กับศูนย์ดวงตาสภากาชาดไทย “เห็นความยากลำบากในการดำเนินชีวิตของผู้ที่มองไม่เห็นที่เผยแพร่ทางโทรทัศน์ ดังนั้นจึงมีความตั้งใจที่จะอุทิศ ดวงตาให้กับศูนย์ดวงตาสภากาชาดไทย เพื่อช่วยเหลือและให้โอกาสกับผู้ป่วยตามืดมัวให้กลับมามองเห็นอีกครั้ง หลังจากที่ตัวเองได้เสียชีวิตลง ซึ่งเป็นเรื่องที่ดี ได้บุญ ได้กุศล จึงอยากเชิญชวนให้คนไทยทุกคนหันมาอุทิศดวงตา ให้กับศูนย์ดวงตา สภากาชาดไทย เพราะยังมีผู้ป่วยอีกจำนวนไม่น้อยที่รอความหวังจากพวกเราทุกคนอยู่ค่ะ” บูธสมาร์ทวิชั่น แว่นตาราคาถูกใจ

คุณชุลีภรณ์ ชมพัฒน์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท สมาร์ท วิชั่น จำกัด “งานบุญ งานกุศล ที่สมาร์ทวิชั่นให้ความสำคัญอยู่แล้ว ดีใจมากๆ ค่ะที่องค์กรของเราได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของงาน ดีๆ ซึ่งการออกบูธในครั้งนี้ นอกจากสมาร์ทวิชั่นจะนำเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับดวงตาและแว่นสายตามาบอกเล่ากับ ประชาชนทั่วไปแล้ว รายได้จากการขายส่วนหนึ่งจะบริจาคให้กับสภากาชาดไทย และอีกส่วนหนึ่งจะนำไปสมทบทุนเข้า มูลนิธิชัยพัฒนา โดยไม่หักค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น”

บูธหอแว่น คุณภาพสายตา เพื่อคุณภาพชีวิต

นางสาวมนธณัฏฐ์ จิรายุสกุล และนางสาวณิชากร มีระลึก ฑูตดวงตาสภากาชาดไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา “ในฐานะที่เป็นคนรุ่นใหม่ ดีใจมากๆ ค่ะ ที่ได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมดีๆ ที่จัดขึ้นในครั้งนี้ เพราะนอกจากจะได้ รับประสบการณ์ใหม่ๆ ที่หาไม่ได้ในห้องเรียนแล้ว ยังเป็นความภูมิใจที่ได้ช่วยเหลือสังคม“

สวยมั่นใจกับบูธ BSC

นางสาวกุลนิษฐ์ ใบสีทอง และนางสาวกมลรัตน์ สดวกการ ทูตดวงตา สภากาชาดไทย มหาวิทยาลัยสยาม “จะทำหน้าที่ ในการที่จะเป็นตัวแทนเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการอุทิศดวงตาไปสู่ประชาชนว่า จริงๆ แล้ว การอุทิศดวงตาไม่ใช่เรื่องที่น่ากลัว แต่เป็นการให้โอกาสกับผู้ที่มองไม่เห็น ซึ่งเป็นบุคคลที่น่ายกย่องจริงๆ ค่ะ”

นางสาววสุธิดา ปุณวัฒนา ฑูตดวงตา สภากาชาดไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนสอนขับรถยูพีดี มีระบบตรวจวัดคุณภาพการใช้ สายตาให้กับผู้ขับขี่   64

“อยากเชิญชวนคนไทยให้มาอุทิศดวงตากับศูนย์ดวงตากันมากๆ เพราะยังมีผู้ป่วยที่รอโอกาสอีกเป็นจำนวนมาก”


ราเชนทร์ ชุมสาย ณ อยุธยา ผูด้ ำเนินรายการวิทยุ \ Rachain Chumsai na Ayudhaya Radio Announcer rachain_j@yahoo.com สมัยเด็กๆ ยามดึกดื่น หลายบ้านอาจเคยพาลูกๆ นอนดูดาวต่างๆ นาๆ บนฟากฟ้ า เล่ า นิ ท านแล้ ว ชี้ ไปที่ ด าวลู ก ไก่ ดาวไถ และดาวอี ก หลายกลุ่ ม ระยิบระยับ บนตำแหน่งต่างๆ ของท้องฟ้า วันเวลาผ่านไปหารู้ไม่ว่านั่นคือการปลูกฝังให้เด็กๆ สนใจในวิทยาศาสตร์ และดาราศาสตร์โดยไม่รู้ตัว ตัวผมเองก็เข้าข่ายนั้นครับ เมื่อใดมีข่าวสาร ใหม่ๆ ทางด้านนี้ ผมให้ความสนใจเป็นพิเศษ อย่างข่าวของ กล้องโทรทรรศน์ อวกาศตัวใหม่ ซึ่งจะมาแทนที่ ฮั บ เบิ ล ภายในปี ค.ศ. 2010 และสามารถ ทำให้เราได้ก้าวกระโดดออกไปสู่เอกภพใหม่ๆ หรือการค้นพบดาวเคราะห์นอก ระบบสุริยะที่มีความคล้ายคลึงกับโลกของเรา รวมทั้งปรากฏการณ์ธรรมชาติ อย่างสุริยุปราคา - จันทรุปราคา ได้อย่างใกล้ชิด ชีวิตเมื่อย่างก้าวสู่วัยรุ่น เพลงที่ผมชอบมักจะเป็นแนวจินตนาการที่ไม่ซับ ซ้อน มีสไตล์ดนตรีแบบ Progressive Rock อย่าง The Alan Parsons Project อย่างเพลง Time หรือ Eye in the sky ขอย้ำว่าชอบมาก ศิลปิน กลุ่มเช่น Dee D.Jackson ผมเรียกว่า Space Disco ผมชอบ Galaxy of love และเพลงสุดฮิต Automatic Lover ฟังครั้งใดเหมือนขึ้นยานอวกาศฝ่า แรงดึ ง ดู ด ของโลก ทะยานไกลออกไปเท่ า ที่ ใ จอยาก มาถึ ง ยุ ค ของ Lighthouse Family ในอัลบั้ม Postcards from heaven เพลงที่ ได้ รั บ ความนิ ย มสู ง สุ ด ซึ่ ง ผมชอบมากและโดนใจที่ สุ ด นั่ นคื อ Lost in space ที่กวีซีไรท์ คุณจิระนันท์ พิตรปรีชา ถอดความเป็นภาษาไทย ได้สละสลวย จรรโลงใจดีเยี่ยม เหมาะสำหรับคนที่กำลังไขว่คว้าหากำลังใจมา เติม

“ไกลออกไป... ในจักรวาล”

เรื่องเล่าหลังไมค์

ขลุก… คลุก อยูก่ บั งานเพลงมากว่า 20 ปี ทั้ ง บนเวที แ ละหลั ง ไมค์ สะสมแผ่ น เสี ย ง รูจ้ กั เพลงยุค 70 80 90 เป็น “กูร”ู หาตัวจับ ยากคนหนึง่ ของวงการเพลงเมืองไทย

หลงคว้างกลางห้วงหาว ถอดความโดย จิระนันท์ พิตรปรีชา จากเพลง Lost in space (Tucker/ Paul/ Laws/Timothy) ศิลปิน Lighthouse Family อัลบั้ม Postcards from heaven (Release 1998) “ยามเหนื่อยอ่อนถอนใจไร้แรงสู้ เธอคือผู้พายิ้มมาพิมพ์ให้ เธอโอบเอื้อ เกื้อขวัญบันดาลใจ ฉันจึงไขว่คว้าเธอเสมอมา เพราะเธอคือแสงสว่างกระจ่าง แจ่ม ลบริ้วแรมเปลี่ยวหมองส่องใจจ้า เธอคือดาวดวงแรกแทรกนภา และฉัน คงหลงเวหาถ้าคลาดกัน มิเคยสิ้นศรัทธาค่าแห่งรัก ถ้าหายหักฉันคงหกตกสวรรค์ เมื่อสองเรา สัมผัสฟ้ามาเคียงกัน วิมานฝันพลันประสบบรรจบใจ แม้สวรรค์ที่ฉันเห็นเป็นเพียงครู่ ไม่เป็นไรเพราะฉันรู้เธออยู่ไหน เธอมีสิ่ง ต้องทำ ก็ทำไป ขอเพียงส่องแสงให้ได้เห็นทาง เธอคือดาวศรัทธาในใจฉัน ถ้าดับพลันฉันคงหลงฟ้ากว้าง และเส้นทางสู่ สวรรค์นั้นเลือนราง จึงมิอาจลบล้างศรัทธาเธอ...” มนุษย์เรามีสุข มีทุกข์ มีหัวเราะ มีร้องไห้ เหนื่อยบ้าง ท้อบ้าง แต่ยามใด ก็ตามที่อาการต่างๆ เกิดขึ้นพร้อมๆ กัน ดูเหมือนจะทำให้ชีวิตไขว้เขวสะเปะ สะปะ จับต้นชนปลายไม่ถูก อาจจะมีใครสักคนก้าวเข้ามาหาคุณในช่วงเวลาวิกฤตแห่งชีวิต เขาจูงมือ ให้ คุ ณค่ อ ยๆ ก้ า วเดิ นต่ อ ไปโดยไม่ ห ลงทาง ก้ า วโดยไม่ ล้ ม ไม่ เซ หรื อ อยู่ ท่ า มกลางความมื ด มิ ด สุ ด จะคาดเดาอะไรต่ อ ไป จู่ ๆ มี ผู้ จุ ด เที ย นให้ เปล่ ง ประกาย จินตนาการแห่งความกลัวก็สลายหมดสิ้น เราคงไม่ลืมภาพแห่ง ความทรงจำดีๆ เหล่านี้ได้ อย่าลืมเติมกำลังใจให้ตัวเองมากๆ แล้วเผื่อแผ่ไปยังผู้คนรอบข้าง และ ผู้คนในสังคมด้วยนะครับ

65


ชาวโลกเจอเรื ่องเลวร้าย แทบจะทุกวันของมุมโลก ดูจากการรายงานข่ าวแล้วเศร้าจัง จิตและใจพลอยหดหู่ไปด้วย พอเจออาการไข้ หวัดใหญ่ ยิ่งซึม หงอยเหงา ซุกตัวอยู ่กับบ้าน พอฝนมา จูงมือกันมาดูหนังแผ่นในบ้านกันเถอะ คิดซะว่าโรแมนติกแบบนี้ ฝนฟ้าส่งมาให้ก็แล้วกัน โอกาสหวานแหว๋ ว ไม่ได้เกิดขึ้นบ่อยนักหรอกนะ ค่ ายพระนครฟิลม์ เขารู้ใจ ส่งหนังรักมาให้ถึงบ้าน 2 เรื่อ ง เลือกกันได้ตามชอบใจ หนึ่งคือ Before Valentine และอีกหนึ่งคือ Happy Birthday คุณๆ ก็รู้นี่ว่า… ยามรั ก น้ำต้มผักก็ยังหวาน…. Before Valentine ก่อนรัก...หมุนรอบตัวเรา ความรักของคู่รัก 4 คู่ ที่ดูแล้ว จะคิดได้ว่าคู่เรา จะเป็นยังไงน๊า... “โจ๊ก” เด็กหนุ่มหน้าตาธรรมดาที่รัก“จิ๊บ” เพื่อนสนิทดาวโรงเรียน เมื่อต้องสารภาพรักเพื่อนสนิท ก่อนวันวาเลนไทน์ โจ๊กจะได้อยู่ในใจจิ๊บ หรือเป็นได้แค่เพื่อนสนิท “สุธี” กับ “ชิดชนก” รักๆ เลิกๆ กันตั้งแต่มหาลัยฯ ชิดชนกตัดสินใจแยกทางกับสุธีไปมีคนรักใหม่ สร้างครอบครัวที่มีความสุข แต่สุธีตั้งใจจะขอเธอแต่งงาน ความรักทั้งคู่จะเป็นอย่างไรจะจบวันนี้หรือ ก่อนวาเลนไทน์ “เฮีย” กับ “เจ๊” แต่งงานกันมาสิบปี เปิดร้านขายดอกไม้ด้วยกัน แต่ไม่เคยพูดจาภาษาดอกไม้ให้กัน เฮียเบื่อเจ๊จึงไปจึงไปมีสัมพันธ์กับเด็กสาวร้านเน็ตคาเฟ่ ความรักที่มีมายาวนานของทั้งสองจะสิ้นสุดลง หรือไม่ “แจ๊ค” กับ “แหม่ม” เป็นแฟนกันมานาน ทั้งคู่รักกันดีแสดงความรักต่อกันอย่างสม่ำเสมอก่อนวัน วาเลนไทน์มีเหตุการณ์ที่ทำให้แหม่มเข้าใจผิดคิดว่าแจ๊คแอบนอกใจ จึงประชดแจ๊คไปคบชายอื่น เมื่อ อุปสรรคของความรักคือความเข้าใจผิดที่เกิดขึ้นก่อนวาเลนไทน์ ความรักของทั้งคู่จะลงเอยอย่างไร ตามติดไปกับความรักของคู่รักทั้ง 4 กันได้แบบลุ้นรัก กับไอฝน ใต้ผ้าห่ม บ่มรัก…จุ๊บ…จุ๊บ…

“ฝนฟ้าส่งมา”

Happy Birthday

ความรักของชายหนุ่ม “เต็น” และหญิงสาว “เภา” บุพเพฯแท้ๆ เชียว พาเราสองให้รักกัน โดยมี หนังสือท่องเที่ยวเป็นสื่อกลาง ที่เต็มไปด้วยข้อความที่ถูกเขียนส่งต่อให้กันและกัน โดยที่ทั้งสองไม่เคย พบหน้ากัน แต่เมื่อพบกันโดยบังเอิญ ความคุ้นเคยที่เคยผ่านตัวหนังสือ ก่อเกิดกลายเป็นความรักพร้อม ถ้อยคำมั่นสัญญาว่าพวกเขาจะไม่ทอดทิ้งกันตราบนิรันดร์ไม่ว่าอะไรจะเกิด อูย... มดมาทั้งรังแล้ว ตามไปดูกันเองล่ะกันนะ…

66


“ขาหมูทหารบก”

ชิมแล้วอร่อย จึงบอกเพื่อน จานเด็ด จานเดียว อ หมกขนมครก” ยื น ยั น ว่ า เกิ ด ที่ นี่ “ห่ “…Pork Leg-German’s style @ Army Club, เป็นเจ้าแรกของไทย a choice to taste…” ชอบสไตล์ฝรั่ง มีมัสตาด ชอบสไตล์ไทย มีแจ่ว ฉบั บ นี้ ข อบุ ก ค่ า ย “สี เ ขี ย ว” พาคุ ณ ๆ ไปเคี้ ย วของอร่ อ ยกั น ดี ที่ เ ขามี ที่ อ อกกำลั ง กายอยู่ ด้ ว ย ผู้กองอ๊อพ – ร้อยเอก จึ ง เหมื อ นปลอบใจกั น ว่ า กิ น เสร็ จ เชฟจ๋ อ ม – ธวั ล วิ ท ย์ ห้อง จตุรภักต์รังสฤษฎ์ โปร่งตา นั่งสบาย มีดนตรีสด ณพวิ ช ญ์ วาสิ ก ศิ ริ แล้วเอ็กเซอร์ไซซ์ต่อไปเลยนะ บุตธาจิต ตั้งใจโชว์ฝีมือ และเบียร์แก้วหิมะเสิร์ฟ เต็ ม ที่ หลั ง เก็ บ เกี่ ย ว นายทหารหน้ า เยาว์ อาคารหลังงามริมถนนวิภาวดี อม ช่วยเปิดพื้นที่ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ จ า ก ขาออก เพิ่ ง เปิ ด ทำการเมื่ อ ปลายปี 2551 ที่ ผ่ า นมา มี บ ริ ก ารจั ด เลี้ ย งได้ นั บ พั น คน อ่ให้อนน้ พ ลเรื อ นเข้ า ไปใช้ โรงแรมระดั บ ห้ า ดาว ห้องอาหาร ห้องคาราโอเกะ มุมกาแฟ สนามแบดมินตัน สระว่ายน้ำ ห้องโยคะ ไหมล่ะ บริการอย่างสบายใจ มาแล้วหลายแห่ง บอกแล้วว่าเขามีเตรียมไว้พร้อม ไอเดียนี้เริ่มในสมัยของท่านพลเอกประวิตร วงค์สุวรรณ - รัฐมนตรีว่าการกระทรวง เลื อ กขาหน้ า ของหมู วั ย 5 เดื อ น ขนาด กลาโหม ครั้งที่ท่านยังเป็นผู้บัญชาการทหารบก ดำริการก่อสร้างเมื่อปี 2548 บนเนื้อที่ น้ำหนักขา 7 ขีด ดองเครื่องเทศสูตรฝรั่ง - เม็ด 63 ไร่ จู นิ เปอร์ เกลื อ เม็ ด พริ ก ไทย โรสเมรี่ และอี ก หลักๆ น่าจะให้บริการกับเหล่าทหารบก เป็นสวัสดิการ เรื่องของการจัดเลี้ยง และ 6 อย่ า ง ใช้ เ วลา 2 คื น จากนั้ น นำไปต้ ม นาน งานต่างๆ บริหารโดยทหารด้วยกันเองแบบมืออาชีพ เมื่อเข้าที่เข้าทาง ก็เปิดโอกาสให้ 45 นาที ยกขึ้ น พั ก ผึ่ ง 15 นาที ขั้ นตอนสุ ด ท้ า ย ภาคเอกชน ประชาชนทั่วไป เข้าไปใช้บริการได้ หลายท่านจึงอาจเคยเข้าไปร่วมงานมาบ้าง นำไปทอดให้หนังกรอบ เป็นอันเสร็จ พร้อมเสิร์ฟ แล้ว ไม่ว่าจะเป็นงานแต่งงาน การประชุมผู้ถือหุ้น งานเลี้ยงสังสรรค์ต่างๆ รวมทั้งไปใช้ จานนี้ 270 บาท เห็นกรรมวิธีการทำแล้วต่อไม่ลง บริการการออกกำลังกาย ต้องให้เลย จานเดียว จานเด็ด ที่ทีมงานต้องตัดใจแต่สุดท้าย ขอใช้มุก “ติดใจ” ในความอร่อย มาแล้ ว จานเด็ ด เคี ย งมาด้ ว ยมั น ฝรั่ ง บด แล้วค่อยขยันไปรีดไขมันออกพรุ่งนี้นะ กระหล่ำปลีดอง น้ำจิ้มเกรี่ มัสตาด เพิ่มพิเศษให้ ขอตั้งชื่อแบบตามใจตัวเองว่า “ขาหมูทหารบก” ให้เป็นเอกลักษณ์แบบอบอุ่นระหว่าง ถูกปากคนไทย น้ำจิ้มแจ่วรสแซ่บ วันอากาศครึ้ม พี่ ๆ ทหารและน้ อ งๆ ที ม งาน ไม่ รู้ จ ะถู ก ใจคุ ณ เขาไหม เพราะเดิ ม เขาเรี ย กว่ า ขาหมู จิ บ เบี ย ร์ สิ ง ห์ สั ก เยื อ ก ให้ นึ ก ถึ ง ตอนไปเยื อ น เยอรมัน เยอรมั น จั ง เบอร์ คนที่ นั่ น เขาซดเบี ย ร์ แ ทนน้ ำ “เชฟจ๋อม” อธิบายกรรมวิธีที่เขาพกประสบการณ์มาขอทำงานรับใช้ชาติที่ห้องอาหาร กินขาหมูกันคนละขา สองขา… จตุรภักต์รังสฤษฎ์ ของสโมสรทหารบกแห่งนี้ และหั่นเงินเดือนตัวเองลงกว่าครึ่งจากที่เคย อย่าลืมเดินเข้าฟิตเนสวันพรุ่งนี้ ตามสัญญา รับในโรงแรมห้าดาวที่ต่างประเทศ ซะล่ะ…   67


“...ice Latte and tuna creakier @ I : U : Dia, Ayudhaya...” คุณๆ เคยรู้สึกอยากจิบกาแฟสักแก้วขึ้นมาติดหมัดไหม แล้วก็หาร้าน กาแฟไม่มี ไม่พบ อาการ “ลงแดง” ของคอกาแฟตัวจริงอาจกำเริบ เจ้าของโรงแรมแบบ “บูติคโฮเต็ล” ชื่ออ่านยากแต่จำง่าย เพราะความ แตกนี่ แ หละ “บ้ า นอยุ ธ ยา - I : U : Dia” เป็ น รากศั พ ท์ ค ำโบราณที่ ค น ต่างชาติเรียกอยุธยาเมื่อหลายร้อยปีก่อนมาแล้ว ในยุคที่พวกเขาเดินทาง รอนแรมมาขึ้นฝั่งที่พระนครศรีอยุธยา – เมืองหลวงในยุคนั้น อาจารย์อ้อย - พิมพ์ประไพ พิศาลบุตร มาเที่ยวอยุธยา ตระเวนหาร้าน กาแฟไม่ พ บ ตระเวนเสาะหาจนพบที่ ดิ น ผื นงามริ ม แม่ น้ ำ ป่ า สั ก ตรงข้ า ม วัดพุทไธสวรรค์ จึงกลายเป็นบูติคโฮเต็ลหลังงาม พร้อมร้านกาแฟชื่อเดียวกัน แก้วเด่นที่ขอโชว์ คือ ลาเต้เย็นปั่น มาคู่กับทูน่าแครกเกอร์ รองท้องเป็น อาหารระหว่างมื้อตอนสาย หรือตอนบ่ายจัดได้รสชาติดีสมราคา แก้วละ

“ลาเต้เย็น”

68

กาแฟ – หนังสือ ของคู่กัน พลังบาเรสต้า คนหนุ่มสาว ชูแก้วอร่อย บ้านอยุธยา หรือ iudia ถ้ า เรี ย กจากยุ ค ฝรั่ ง เข้ า ถูกใจคอกาแฟทั้งรอยยิ้มและรสชาติ เมืองของกรุงศรีอยุธยา บอกชั ด ว่ า มี ก าแฟและ ห้ อ งพั ก เท่ า นั้ น (อาหาร ไม่มีนะ) 70 บาทและ 40 บาท สำหรั บ แครกเกอร์ หอมกรุ่ น กลิ่ น กาแฟ คอกาแฟไม่ผิดหวังแน่นอน โ ร ง แ ร ม ข น า ด น่ า รั ก มี 9 ห้ อ ง พั ก มี บ ร ร ย า ก า ศ เห มื อ น บ้ า น พั ก รั บ ร อ ง ร้ า น ก า แ ฟ จึ ง เหมื อ นห้ อ งรั บ แขก มี ห นั ง สื อ ประวั ติ ศ าสตร์ ใ ห้ อ่ า น เคลี ย คลอ บรรยากาศยุ ค อยุ ธ ยา เพดานทรง อาจารย์ อ้ อ ย – พิ ม พ์ สู ง โปร่ ง ประตู กลอนบานเขื่ อ ง ประไพ พิศาลบุตร ยิ้ม จิบกาแฟไป พาลจะเข้าสู่ภวังค์เดิน เปี่ ย มสุ ข กั บ โรงแรม ข้ามทะลุมิติได้ง่ายๆ ขนาด 9 ห้ อ ง น่ า รั ก น่ า อยู่ และตั้ ง ใจว่ า จะ ที ม งานทุ ก คน ต้ อ งเรี ย นรู้ ที่ จ ะ ใช้ เ ป็ น ที่ เ ขี ย นหนั ง สื อ ท ำ ง า น ไ ด้ ทั้ ง ร ะ บ บ ช ง เ สิ ร์ ฟ และใช้ รั บ รองพี่ น้ อ ง ทำความสะอาดห้ อ งพั ก ทำครั ว วรรณกรรมร่วมสายน้ำ ทำสวน ที่นี่จึงเป็นครอบครัวเล็กๆ หมึก ที่ น่ า รั ก น่ า หลงไหลกั บ ไมตรี แ ละ หน้าตายิ้มแย้ม บ้านอยุธยา จึงเป็นเหมือนบ้านหลังสุดท้ายของการใช้ชีวิต ตอนปลายทางของอาจารย์อ้อย ที่อยากชวนเพื่อนๆ ไปพักกัน คุยกันเรื่องประวัติศาสตร์ งานเขียนหนังสือ ใช้เวลาให้ช้าลง ชีวิตจะยืนยาวขึ้น อยากชวนคุณๆ ขับรถไปเพียง 60 กิโลเมตร ไปดื่มด่ำกับ วัฒนธรรมยุคอยุธยา จิบกาแฟสักแก้ว แล้วแวะซื้อโรตีสายไหม เป็ น ของฝากสั ก สี่ ซ้ า ห้ า ถุ ง กลั บ เข้ า เมื อ งหลวงด้ ว ยความ กระปรี้ ก ระเปร่ า ฤทธิ์ “กาแฟ” คงยั ง ไม่ ห มดล่ ะ ซิ … อยู่ น ะ โปรดติดตามได้ในภาคต่อไปของร้านนี้…


สุภาณี เดชาบูรณานนท์ Suphanee Dechaburananon Deputy Chairman / Director of Trading & Strategy เปลี่ยนบรรยากาศ จากออฟฟิศ groupM สัมผัสไอดิน กลิ่นหญ้า ท้องฟ้า ทะเล น้ำตก (ตอนจบ) “…ล่องคลองบางกอกน้อย คลองที่มีประวัติศาสตร์ ของชาวพุทธ ทุกวัดล้วนมีความเป็นมาที่น่าสนใจ นทางการรบในสมัยรัตนโกสินทร์ เสน่ห์ของบ้านริมคลอง เส้ เป็นจุดขาย ที่ติดตา ตรึงใจทุกครั้งที่ไปเยือน…” “...Cruising along the Bangkok Noy Canal, one can see Buddhist temples, historical of warfare in the era of Ratakosin (Bangkok), hi-light of tourisms fascinating in heart of capital city…” ความเดิมจากฉบับที่แล้ว เป็นการล่องเรือตามเส้นทางแม่น้ำเจ้าพระยา ทุ ก อย่ า งสด สะอาด จากท้ อ งไร่ ท้ อ งสวน จั บ จ่ า ยข้ า วของกั น สนุ ก สนาน ล่องลัดเลาะเข้าไปตามคลองบางกอกน้อย แวะวัดหลายแห่ง และดิฉันกำลัง พอถึงเวลาเรือมารับตอนบ่าย 2 โมง ต้องโทรศัพท์ตามกันจ้าละหวั่น เพราะ จะพาทุกท่านแวะไปที่ตลาดน้ำตลิ่งชัน บางคนยังซื้อของเพลินจนลืมเวลานัด ตั้งเวลากันว่าจะใช้เวลาประมาณ 2 ชั่ ว โมงที่ ต ลาดน้ ำ ตามใจ ททท. จุดต่อไปที่จะแวะคือ พิพิธภัณฑ์สถาน และแนวคิ ด ของคนไทยที่ อ ยากมี แห่งชาติเรือราชพิธี เดิมเป็นโรงเก็บ ส่ ว นช่ ว ยชาติ ไทยเที่ ย ว ไทยใช้ เรือรบและเรือพระราชพิธี ในความ คล องบ างก ไทยเจริ ญ พอขึ้ น จากท่ า น้ ำ โอ ดู แ ลของสำนั ก พระราชวั ง และ อก น้อ โฮ้..เจอคนเยอะมาก เพราะตลาดนี้ กองทัพเรือ แต่ได้รับความเสียหาย ย จะเปิดขายเฉพาะวันเสาร์ - อาทิตย์ จ า ก ลู ก ร ะ เ บิ ด เ มื่ อ ค ร า ว และวันหยุดที่ต่อเนื่อง วางแผนว่า สงครามโลกครั้งที่ 2 กรมศิลปากร แยกย้ า ยกั น สำรวจร้ า นค้ า กั นก่ อ น ได้ ท ำการซ่ อ งแซม และดู แ ลเรื อ ว่ามีอะไรน่ากิน น่าซื้อบ้าง ร้านรวง พระที่ นั่ ง ต่ า งๆ ซึ่ ง ล้ ว นมี ป ระวั ติ มีมากมายจริงๆ อาหาร, ขนม, ผัก, สำคัญมาแต่โบราณ และได้ทำการ ผลไม้, ต้นไม้ และผลิตภัณฑ์ OTOP คลองบางกอกน้อยเริ่มปากคลองตั้งแต่แม่น้ำเจ้าพระยาทางเหนือสถานีรถไฟธนบุรี อนุรักษ์ โดยขึ้นทะเบียนเป็นมรดก ตลาดนี้ มี บ รรยากาศน่ า รั ก มากค่ ะ ไหลไปเชื่อมกับคลองบางขุนศรีที่บริเวณตรงข้ามวัดสุวรรณคีรี (วัดขี้เหล็ก) กว้างประมาณ 40 ของชาติ พร้อมกับยกฐานะโรงเก็บ สั่ ง อาหารจากร้ า นไหนในบริ เ วณ เมตร ยาวประมาณ 3.3 กิโลเมตร เรื อ ขึ้ น เป็ น “พิ พิ ธ ภั ณฑ์ ส ถานแห่ ง ตลาด เขาจะบริ ก ารมาส่ ง ให้ ที่ โต๊ ะ ชาติ เรื อ พระราชพิ ธี ” ตั้ ง แต่ ปี เป็นการบริหารงานที่ดีมากๆ ลูกค้าประทับใจ เขาจำได้ด้วยนะคะว่าคุณนั่ง 2517 เป็นต้นมา และเป็นพิพิธภัณฑ์แห่งเดียวในโลกที่จัดแสดงเรือสำคัญที่ โต๊ะไหน ไม่มีการตะโกนถามโหวกเหวกว่า พี่โต๊ะไหนสั่งหอยทอด พี่โต๊ะไหน ใช้ในงานพระราชพิธีของพระมหากษัตริย์มาแต่โบราณ และยังสามารถใช้ สั่งผัดไท สืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน หลังอาหารกลางวัน ถึงเวลาช็อปปิ้ง ช็อปกระจายค่ะ รู้สึกได้ว่าข้าวของ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ แ ห่ ง นี้ จ ะเปิ ด ทุ ก วั น ยกเว้ น วั น ปี ใ หม่ แ ละสงกรานต์

“ล่องเรือเที่ยว

คลองบางกอกน้อย”

69


อนุสาวรีย์รัชกาลที่ 2 ซื้อไอศครีมจากพ่อค้าที่พายเรือขายในคลองบางกอกน้อย อร่อยถูกใจกันทุกคน บริเวณหน้าวัดอรุณ ราชวราราม เดิ นทางไปถึ ง ประมาณ 16.00 น. พระอุ โบสถและพระวิ ห ารปิ ด แล้ ว มีแต่โบสถ์และวิหารน้อยที่ยังเปิดให้เข้าชม กราบนมัสการพระพุทธรูป และ พระจุ ฬ ามณี เจดี ย์ (สร้ า งเป็ น รู ป เจดี ย์ ) และดิ ฉั น มี โ อกาสเห็ น พระแท่ น ที่ประทับของพระเจ้ากรุงธนบุรี (พระเจ้าตากสิน) ตามประวัติเมื่อจวนจะสิ้น รัชกาล ได้ทรงผนวชและเสด็จมาประทับที่โบสถ์นี้ หลังจากไหว้พระ และรับการปะพรมน้ำมนต์จากท่านเจ้าอาวาสแล้ว เดินตรงเข้าไปด้านใน ชมพระปรางค์วัดอรุณฯ ที่มีชื่อเสียง เป็นโลโก้ของ คุ้งน้ำเจ้าพระยา ที่เราเห็นกันอย่างคุ้นตาเวลาจะหาสัญลักษณ์ของกรุงเทพฯ นั่นแหละคะ เสียดายที่เวลาไม่พอเพราะต้องรีบกลับไปที่ท่าเรือท่าช้างตอน 5 โมงเย็น พระปรางค์วัดอรุณฯ พระใหญ่ หรือหลวงพ่อซำปอกง ที่วัดกัลยาณมิตร มอง เพื่อคืนเรือเช่า จึงไม่มีโอกาสขึ้นบันไดไปชมความงามของพระปรางค์ ได้แค่ ท่านและอุ่นใจ ที่ประดับด้วยเครื่องปั้น ถ่ า ยรู ป อยู่ ชั้ น ล่ า ง และชื่ นชมกั บ ศิ ล ปกรรมอั น วิ จิ ต รขององค์ พ ระปรางค์ ดินเผาเคลือบน้ำยา และถ้วยชามเบญจรงค์ เท่านั้น แบบศิลปจีน ตามประวั ติ “วั ด อรุ ณ ราชวราราม” สร้ า งมาแต่ ส มั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ค่าธรรมเนียมเข้าชมคนละ 20 บาท เว้นวันอาทิตย์ให้เข้าชมได้ฟรี ถ้าใครจะ เดิ ม ชื่ อ “วั ด มะกอก” และเปลี่ ย นมาเป็ น “วั ด แจ้ ง ” ในสมั ย กรุ ง ธนบุ รี ถ่ายรูปจะต้องเสียค่ากล้องถ่ายรูปอีก 100 บาท เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินทรงสถาปนาราชธานีขึ้นที่กรุงธนบุรี วัดแจ้งจึง ในบริ เวณอู่ จะเห็ น เรื อ พระราชพิ ธี จ อดเรี ย งรายอยู่ 8 ลำ โดยมี เรื อ กลายเป็นวัดที่อยู่ในเขตพระราชวัง ทำให้ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษา (เช่นเดียว พระที่นั่งสุพรรณหงส์จอดเด่นเป็นสง่าอยู่ตรงกลาง โดยบริเวณด้านซ้าย ขวา กับวัดพระแก้วในพระบรมมหาราชวัง) เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า และด้ า นหลั ง จะเป็ นตู้ ก ระจกจั ด แสดงประวั ติ ก ารสร้ า ง การใช้ เรื อ แต่ ล ะ ขึ้นครองราชย์ฯ ได้ทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี จึงโปรดให้ ประเภท ความหมายของโขนเรือรูปต่างๆ การจัดกระบวนเรือ อาภรณ์และ พระพุทธเลิศหล้า (รัชกาลที่ 2) เมื่อครั้งยังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระเจ้า สิ่งของเครื่องใช้ในพระราชพิธีต่างๆ ในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรมาประทับที่พระราชวังเดิม และมอบ รวมทั้งรางวัลมรดกทางทะเล ซึ่งองค์การเรือโลกของประเทศอังกฤษ ได้มอบ หน้าที่ให้ดูแลวัดแจ้ง ในรัชสมัยสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า ได้ทรงบูรณะวัดแจ้ง ให้เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ และได้ทูลเกล้าถวายรางวัลนี้แด่พระบาทสมเด็จ ต่อจากเดิม ได้ทรงสร้างพระอุโบสถ, พระวิหาร, พระระเบียงรอบอุโบสถ พระเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2535 ปัจจุบันเรือพระราชพิธีทั้งกระบวนมีจำนวน รวมทั้งได้ทรงหล่อพระประธานอุโบสถขึ้นใหม่ โดยทรงปั้นหุ่นพระพักตร์ด้วย 52 ลำ แต่เนื่องจากพื้นที่ที่พิพิธภัณฑ์แห่งนี้มีจำกัด สามารถจัดแสดงได้เพียง พระองค์เอง และได้ทรงพระราชทานนามใหม่ว่า “วัดอรุณราชธาราม” และ 8 ลำ ที่เหลือจึงต้องนำไปฝากไว้ที่ท่าวาสุกรี และที่กองเรือเล็กแผนกเรือพระ มีพระราชดำริโปรดให้ทรงสร้างพระพุทธปรางค์ขนาดใหญ่สวมทับองค์เดิม ราชพิธี โดยมีกองทัพเรือ เป็นผู้ดูแลรักษา พวกเราเดินดูเรือแต่ละลำอย่าง ซึ่งสูงเพียง 8 วา และได้ทรงออกแบบไว้จนแล้วเสร็จ แต่เสด็จสวรรคตก่อน ใกล้ชิด และได้เห็นถึงความงดงามละเอียดอ่อนช้อยของฝีมือช่างไทย จาก พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า (รัชกาลที่ 3) ได้ทรงก่อสร้างต่อจนสำเร็จสูงถึง ประวัติเรือพระราชพิธี มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา แต่ถูกพม่าเผาทำลายจนหมด 1 เส้น 13 วาเศษ (67 เมตร) ประดับด้วยเครื่องถ้วยดินเผาเคลือบน้ำยา มี เมื่อคราวเสียกรุง ปีพ.ศ. 2310 เรือพระที่นั่งที่เราเห็นในปัจจุบัน เป็นเรือที่ พระปรางค์องค์เล็กอยู่ทั้ง 4 ทิศเป็นบริวาร ใช้เวลาสร้างถึง 9 ปี วัดอรุณ สร้างในสมัยรัชกาลที่ 1, รัชกาลที่ 4, รัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 รวมถึงเรือ ราชวราราม ถื อ เป็ น วั ด ประจำพระองค์ ข องรั ช กาลที่ 2 และในสมั ย พระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ ซึ่งเป็นเรือลำแรกที่สร้างในรัชกาลปัจจุบัน พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ได้ทรงบรรจุพระบรมอัฐิของพระราช จัดสร้างขึ้นเพื่อน้อมเกล้าถวาย เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้า บิดา (รัชกาลที่ 2) ที่ใต้ฐานพระประธานในอุโบสถวัดอรุณฯ และทรงเปลี่ยน อยู่ หั ว ครองราชสมบั ติ ค รบ 50 ปี เมื่ อ ปี พ.ศ. 2539 รู ป ที่ ถ่ า ยกั น สุ ด ฮิ ต ชื่อเป็น “วัดอรุณราชวราราม” เป็นเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ ดิฉันตั้งใจว่า จะต้องกลับมาเยี่ยมชมวัดอรุณฯ อีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากยัง บ่ายมากแล้ว จุดต่อไปต้องทำเวลา “วัดกัลยาณมิตร” หรือที่คนจีนรู้จัก ไม่ได้มีโอกาส ได้เข้าไปกราบพระประธานทั้งในอุโบสถใหญ่และในพระวิหาร กันดี ในชื่อ “วัดหลวงพ่อซำปอกง” หลังจากไหว้หลวงพ่อซำปอกง หรือพระ รวมทั้งตั้งใจว่าจะต้องเดินให้ถึงชั้นสูงสุดของยอดพระปรางค์ สมาชิกในก๊วน ใหญ่เสร็จ วัดถัดไปคือ “วัดอรุณราชวราราม” เป็นจุดสุดท้ายของโปรแกรม รู้สึกสนุกสนาน อิ่มอกอิ่มใจกับทริปแบบเที่ยววันเดียวยืนยันว่าคิดได้ถูกต้อง การเที่ยวล่องเรือในวันนี้ เป็นที่สุด… พบกันใหม่ค่ะ… เปลี่ยนบรรยากาศ จากออฟฟิศ สัมผัสไอดิน กลิ่นหญ้า ท้องฟ้า ทะเล น้ำตก

70


สมชัย สิทธิชัยศรีชาติ กรรมการผู้จัดการ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) Somchai Sittichaisrichart Managing Director ท่องไปในโลกไซเบอร์ SIS Distribution (Thailand) PLc. “...การปรับตัวโลกของหนังสือ ต้องมีการเตรี ยมพร้อมกับเทคโนโลยี ที่เปลี่ยนแปลงไป กระดาษ น้อยลง โลกของ E-book กำลังจะวิ่งเข้ามาแทนที่...” “…Adapting the world of books, rapidly changing technologies, using less paper and more e-book replacements in the upcoming future….” ผมเจอข่ า วเล็ ก ๆ ในนิ ต ยสาร ต่อเนื่อง เพิ่มความยากลำบากทางธุรกิจให้กับสำนักพิมพ์ต่างๆ ที่ต้องมีต้นทุน ไทม์ ฉบั บ วั น ที่ 17 สิ ง หาคม 09 ที่สูงขึ้น ในขณะที่การขายโฆษณากลับยากลำบากขึ้นด้วยเช่นกัน เกี่ ย วกั บ การปิ ด ตั ว ลงของ Ann A r b o r N e w s - ห นั ง สื อ พิ ม พ์ 3. e-book ท้ อ งถิ่ น รายวั น ของเมื อ ง Ann แนวคิดของ e - book เกิดขึ้นนานแล้ว โดย Sony เป็นผู้ผลิตรายแรกๆ Arbor ในมลรัฐ Michigan ประเทศ ที่ผลิตเครื่องอ่าน e - book ออกมา แต่ไม่ได้รับความนิยมมากนัก ตอนนี้ ภาพแสดงฉบั บ สุ ด ท้ า ยของหนั ง สื อ พิ ม พ์ สหรัฐอเมริกา เรื่องนี้เป็นข่าวขึ้นมา ยักษ์ใหญ่อย่าง Amazon ได้ออกเครื่องอ่าน Kindler มาแล้ว 2 รุ่น รุ่นแรก Ann Arbor News (ภาพจากนิตยสาร เพราะจากนี้ไป Ann Arbor จะเป็น จอ 6’’และรุ่น DX จอขนาด 9.7” พร้อมกับเป็นตัวแทน Time) เมืองใหญ่เมืองแรกของรัฐที่จะไม่มี ขายหนั ง สื อ ในรู ป แบบอี เ ลคโทรนิ ค ส์ และผลั ก ดั น ให้ หนังสือพิมพ์รายวันเป็นของตัวเองอีกต่อไป สำนักพิมพ์ขายหนังสือในรูปแบบอีเลคโทรนิคส์ที่ผู้อ่าน หลายคนเชื่อว่า กำลังจะกลายเป็นจุดเริ่มต้น สามารถซื้อหนังสือต่างๆ แล้วดาวน์โหลดมาอ่านได้อย่าง ของการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ และเชื่อว่า สะดวกสบาย และเป็ น อี ก สาเหตุ ที่ ท ำให้ ห นั ง สื อ ขายได้ จะเกิดเหตุการณ์ในลักษณะนี้ตามมาอีกมาก น้อยลง เมื่อมีการใช้อินเตอร์เน็ตเป็นเครื่องมือเข้าถึง ข้ อ มู ล กั น ได้ ทั่ ว โลก นั ก วิ เคราะห์ ห ลายคน 4. web 2.0 ออกมาทำนายว่ า จะถึ ง วั น อวสานของ จากเว็ บ ไซต์ ยุ ค หนังสือต่างๆ โดยเฉพาะหนังสือพิมพ์ในไม่ แรก ตอนนี้เป็น web ช้ า แต่ ผ่ า นมาอี ก 15 ปี จ นถึ ง ปั จ จุ บั น 2.0 ที่ เพิ่ ม เติ ม การใช้ หนั ง สื อ พิ ม พ์ ส่ ว นใหญ่ ก็ ยั ง อยู่ แ ละพิ ม พ์ งานให้มากกว่าการแค่ ออกมาจำหน่ายกันอย่างมากมาย แต่เพิ่งจะ อ่านข้อมูล เช่นเปิดให้ เริ่ ม มี ข่ า วการปิ ด หนั ง สื อ พิ ม พ์ เ พิ่ ม ขึ้ น ผู้ อ่ า นสามารถมี ส่ ว น Kindle DX เครื่องอ่านหนังสือรุ่นล่าสุดของ น่าสนใจนะครับว่าทำไมเพิ่งมาเกิดเหตุเริ่ม ร่ ว ม ในก า ร สื่ อ ส า ร Amazon ที่มีขนาด 9.7” และหนาเพียง 1/3” ปิดกัน ตอนนี้ โต้ตอบกับผู้เขียนหรือ ผ ม เ อ ง ก็ มี ค ว า ม เ ชื่ อ ว่ า ผู้ อ่ า นอื่ น ๆ ได้ และได้ รั บ ความนิ ย มเพิ่ ม ขึ้ น มี ผ ลทำให้ หนังสือพิมพ์รายวันที่เราคุ้นเคยกัน หนังสือพิมพ์ได้รับความนิยมน้อยลง นี้จะต้องมีการปรับตัวกันมาก ในมุม คิดของผม ขอนำมาแลกเปลี่ยนว่า 5. สื่อรูปแบบใหม่ น่ า จะเกิ ด จาก 5 สาเหตุ ด้ ว ยกั น เทคโนโลยี ที่ ก้ า วหน้ า ขึ้ น มี ค วามเร็ ว เพิ่ ม มาก ทำให้ เ กิ ด ดังนี้นะครับ รูปแบบอื่นๆ ของการนำเสนอข้อมูลอย่างน่าสนใจ เช่นการนำ เสนอด้วยวีดีโอ หรือการเชื่อมต่อกับเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกัน 1. Google และ Search ฯลฯ ทำให้สื่อบนอินเตอร์เน็ตได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ Engine อื่นๆ ทดแทนสื่อรูปแบบเดิมๆ โครงสร้ า งธุ ร กิ จ หนั ง สื อ พิ ม พ์ ในระยะสั้ น หนั ง สื อ พิ ม พ์ ยั ง คงเป็ น สื่ อ สำคั ญ เพราะสื่ อ เครื่องอ่านจาก Sony ที่เริ่มมีรุ่นใหม่ ออกมาและเป็น รายได้มาจากโฆษณา โดยใช้จำนวน อีเลคโทรนิคส์ถึงแม้จะมีความหลากหลายและน่าสนใจกว่า แต่ รุ่น touch screen ที่ทำให้ตลาดคึกคักขึ้น ผู้ อ่ า นเป็ นจุ ด ขายโฆษณา แต่ เมื่ อ ก็ยังมีข้อจำกัดอยู่มากโดยเฉพาะอุปกรณ์การเข้าถึงข้อมูลที่ยัง อินเตอร์เน็ตได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นมากและ Google ประสบผลสำเร็จจาก ราคาสูง ความคล่องตัวในการเข้าถึงข้อมูลที่ยังสู้หนังสือพิมพ์ไม่ได้ เพราะ การขายโฆษณาแบบใหม่ และจะมีการคิดค่าโฆษณาก็ต่อเมื่อมีผู้สนใจคลิ๊ก หนังสือพิมพ์พกพาไปอ่านที่ไหนก็ได้ รวมถึงรูปแบบของเครื่องอ่านก็ยังมีข้อ เข้าไปดูรายละเอียด ต่างจากหนังสือพิมพ์ที่ผู้โฆษณาต้องจ่ายในอัตราคงที่ไม่ จำกัดในการใช้งานอีกมาก อย่างไรก็ตามการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างรวดเร็วที่ ว่าจะมีคนสนใจอ่านเพียงใด จึงเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้หนังสือพิมพ์เริ่มปิดตัวลง กำลังเกิดขึ้นนี้ และราคาของเทคโนโลยีที่ลดลงอย่างรวดเร็ว จะขจัดอุปสรรค ต่างๆ และทำให้เข้าถึงสื่ออีเลคโทรนิคส์ได้ง่ายขึ้น 2. กระดาษที่หายากขึ้น เรื่ อ งนี้ น่ า คิ ด น่ า ติ ด ตามนะครั บ เทคโนโลยี มาถึ ง ตั ว เรา เร็ ว มาก กระดาษ มาจากต้นไม้ที่นับวันจะหายากขึ้น ต้นทุนจึงแพงขึ้นอย่าง เร็วกว่าเดิมหลายเท่า เร็วแบบคาดไม่ถึง อย่าได้นิ่งนอนใจนะครับ…

“ปิดฉากกระดาษ เปิดฉาก e - book”

71


คุณนารากร ติยายน ผู้ประกาศข่าว ประเด็นเด็ดเจ็ดสี ช่อง 7 สี ทีวีเพื่อคุณ

“ปกติดิฉันจะมีธงข่าวประจำวันเหมือนป้ายที่บอกทิศทาง ทุกวันอยู่แล้ว หากไม่มีป้ายคิดว่าคงเหมือนการอ่านข่าวที่ไม่มี เนื้อข่าว เขาเรียกว่า “เต้าข่าว” คือไป ลอกๆ จำๆ มา ซึ่งคง ต้องใช้สมาธิ ใช้ความจำมากกว่าเดิมค่ะ” คุณปภาวี สุธาวิวัฒน์ ประธานสภาอุ ต สาหกรรม จังหวัดนครปฐม “งานของดิฉันเป็นการมองอนาคต ป้ายบอกทางจึงเหมือน เข็มทิศ ประเทศไทยต้องเดินในทิศทางที่ตัวเรามีความเข้มแข็ง มีข้อได้เปรียบ เราจึงน่าจะเป็นครัวที่ผลิตอาหารเลี้ยงชาวโลกได้ หากไม่มีป้ายเราคงเดินนโยบายเปะปะ แต่ความเคยชิน ความรู้ ภูมิปัญญาไทยจะช่วยให้เราไม่หลงทางค่ะ”

72

คุณรสนา โตสิตระกูล สมาชิกวุฒิสภา กทม.

“ดิ ฉั น เกาะติ ด เรื่ อ งการฉ้ อ ราษฏร์ บั ง หลวง เรื่ อ งทุ จ ริ ต คอรั ป ชั่ น มานาน ป้ า ยของดิ ฉั น จึ ง เป็ น เสมื อ นป้ า ยบอกทิ ศ ทาง ไม่ต่างจากคนถือธงนำให้ไปหาศพไม่มีญาติ ตอนงานพิธีล้างป่าช้า หรอกนะคะ ถ้ า ไม่ มี ป้ า ยคงต้ อ งใช้ วิ ธี จ ดจำ ว่ า เลี้ ย วซ้ า ย ขวา ขึ้นสะพาน มีเกาะกลางถนน เดินทางได้อยู่แล้วค่ะ” คุณนวรัตน์ กิติยากร ณ อยุธยา นักเขียน นักประชาสัมพันธ์ “ดิ ฉั น เคยมี ป ระสบการณ์ ขั บ รถยนต์ ห ลงทางในประเทศ ออสเตรีย แม้เขาจะมีป้ายบอกทางเป็นระยะๆ แต่ความไม่คุ้นเคย บ้านเมืองเขาจึงหลงทาง จากนั้นดิฉันก็ศึกษาเส้นทาง จนบันทึกอยู่ ในสมองได้ หลับตาก็เห็นเส้นทาง จนดิฉันกลายเป็นผู้เชี่ยวชาญการ ท่องเที่ยวของประเทศนี้ไปแล้วค่ะ วิวสวยๆ ที่เราเห็นในละครในฝัน ของไก่ - วรายุทธ นั่นแหละค่ะ”


หมู่นี้ขโมยขโจรชุมมาก โปรดเพิ่ม ความระมัดระวังกันไว้แบบเต็มร้อยทุกวัน โดยเฉพาะใน วันหยุดยาวที่ผู้คนมักจะใช้เวลาพักผ่อน แต่จะเป็นวันทำงานของ “เหล่าโจร” คุณตา - สุมาลี เลิศสุกิตติพงศา เจอเต็มๆ ช่วงวันหยุด ยาวปีใหม่ ขโมยงัดประตูเข้าไปรื้อค้นข้าวของในออฟฟิศนานนับชั่วโมง ใน วันขึ้นปีใหม่ 1 มกราคม กวาดทรัพย์สินไปเยอะ คิดว่าฟาดเคราะห์ไปล่ะกัน แต่ยกเซฟที่หนักอึ้งไปไม่ได้ ข้อดีของความหนัก ยกเว้นไว้ว่าสาวๆ จะไม่ ชื่นชมว่า ความหนักเป็นข้อดี อิ..อิ..อิ... ว่าแล้วก็ขอย้ายออฟฟิศ ใหม่ไปอยู่ที่ชั้นหนึ่งอาคารศรีจุลทรัพย์แล้วจ้า…

จิบน้ำชา ใต้ตน้ พิกลุ

ประสบการณ์ของการเป็นมืออาชีพมานานกว่าเกือบ 20 ปี รับเงินเดือนตามความสามารถ แม้จะเคยเดินขึ้นศาลแรงงานมาแล้วกับ นายจ้าง วันนี้ของ คุณอรรณพ ชุณหสวัสดิกุล จึงได้เวลาในการเป็นลูกจ้างตัวเองแล้ว ด้วยการตั้งบริษัทเอง เป็นเถ้าแก่ ขายเอง ทำงานเอง รับผิดชอบทุกตารางนิ้วเอง และที่สำคัญคือขอรวยเอง หุ่นจึงสเลนเดอร์ เพียวลมรับงานหนักๆ ได้สบาย…

เปลี่ยนเส้นทางชีวิต กลายเป็นนักวิชาการที่มีประสบการณ์ เป็นตำราเล่มใหญ่ ใช้ทั้งสอนลูกศิษย์และสอนตัวเองได้ คุณธีรกรณ์ หยาดผกา กำลังเตรียมแพ็คกระเป๋าใบโตมาก พร้อมกับจูงมือน้องไซต์แอนด์ - ลูกชายสุดหล่อ บินไปเรียนปริญญาเอกก่อนคริตส์มาสนี้ ภายใต้ทุนการศึกษา จากมหาวิทยาลัยศรีปทุม ที่ประเทศอังกฤษ เป็นเวลา 3 ปี

73


ผลประกอบการครึ่งปีแรก บริ ษั ท น้ ำ ประปาไทย จำกั ด (มหาชน) (TTW) โดย คุณสมโพธิ ศรีภูมิ กรรมการผู้จัดการ แถลงผลประกอบการ 6 เดือนแรกของปี 2552 ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2550 บริษัทฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยมี ร ายได้ ร วม 1,969.37 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น 13.64% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2551 เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2552 ที่ผ่านมา ลามิน่า ลูม่าร์ พลิกวิกฤตเป็นโอกาส คุ ณ จั น ทร์ น ภา สายสมร กรรมการผู้ จั ด การ บริ ษั ท เทคโนเซล (เฟรย์) จำกัด ผู้นำเข้าและจำหน่ายฟิล์มกรองแสง “ลามิน่า” และฟิล์มกรองแสงกลุ่มพิเศษ “ลูม่าร์” เดินหน้าเจาะ กลุ่มลูกค้าใหม่หลังโครงการชะลอตัวตามภาวะเศรษฐกิจหลัง จากประสบความสำเร็จจากงานสถาปนิก ’52 ที่เข้าร่วมเป็นปีที่ 6 ระหว่างวันที่ 28 เมษายน – 3 พฤษภาคม 2552 ที่ผ่านมา ณ ศูนย์แสดงสินค้านานาชาติอิมแพ็ค เมืองทองธานี มนต์เสน่ห์แห่งอีสาน เจ้ า ของรี ส อร์ ท 4 รี ส อร์ ท นำโดยคุ ณนี ร ชา วงศ์ ม าศา กรรมการผู้จัดการ ภูนาคำ รีสอร์ท จังหวัดเลย ตั้งใจนำเสนอ ความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของ “อีสาน” เพื่อเป็นทางเลือก ข อ ง ก า ร พั ก ผ่ อ น ไ ด้ ร ว ม ตั ว กั น เปิ ด ตั ว “ อี ส า น บู ติ ค คอนเลคชั่น” เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม ที่ผ่านมา ณ โรงแรมสิตาดีน สุขุมวิท 23

s

74

o

y

Spider Web Strategy ยุค Digital คุณเกรียงไกร – เกรียงกานต์ กาญจนะโภคิน ประธาน เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารร่ ว ม อิ น เด็ ก ซ์ ครี เ อที ฟ วิ ล เลจ แถลงผล ประกอบการทั้ง 8 กลุ่มธุรกิจ ตั้งแต่เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2552 โตขึ้น 54% อยู่ที่ 909 ล้านบาท พร้อมขยายเครือข่าย ชักใยเชื่อมโยงธุรกิจด้วยกลยุทธ์ Spider Web Strategy ก้าวสู่ Marketing Communication ยุ ค Digital เมื่ อ วั น ที่ 21 สิงหาคม 2552 ที่ผ่านมา ณ อินเด็กซ์ ครีเอทีฟ วิลเลจ สังคม วาไรตี้ ไฮโซ คุณอวัสดา ปกมนตรี กรรมการผู้จัดการ บริษัท ทีวีอาลา คาร์ต จำกัด แถลงข่าวเปิดตัวรายการ Social News Plus รายการข่าวสังคมและวาไรตี้ ออกอากาศทางช่องโทรทัศน์เพื่อ การท่ อ งเที่ ย ว TATV ทาง True Vision ช่ อ ง 9 และ 104(digital จานรั บ สั ญ ญาณดาวเที ย ม) เมื่ อ กลางเดื อ น สิงหาคม ที่ผ่านมา ณ โรมแรมบันยันทรีกรุงเทพ โดยมี ฯพณฯ ม.ร.ว.เทพกมล เทวกุล องคมนตรี เป็นประธานในงาน

c

i

e t


Promotion of the month September 2009

กระดาษพิมพ์ลาย สำหรับเครื่องพิมพ์ อิงค์เจ็ท มาพร้อม หมอนน้องวัวสุดน่ารัก และถุงผ้าลดโลกร้อน จาก มูลค่ารวม 750 บาท ให้สมาชิก 5 ท่านแรก ที่บอกรับการเป็นสมาชิกนิตยสาร OHM เป็นเวลา 2 ปี

รายชื่อผู้โชคดี OHM August 2009

ขอแสดงความยินดีกับสมาชิกราย 2 ปี 5 ท่านแรก ที่ได้รับร่มคันโตจาก มูลค่า 598 บาท คุณบุญเลิศ อินทร์พันธ์ คุณอุทิน เรืองบุญ คุณสามารถ สุขแสง คุณวนิดา บัวไล คุณยุพิน เจริญรักษ์ Lucky subscribers for Congratulations to the first 5 subscribers for 2 years of OHM

ฟรี 2 เล่ม มูลค่ารวม 3,600 บาท

75


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.