CSR In Action
หมดยุคการทำกำไรสูงสุด ถึงยุคแบ่งปัน สร้างสังคมน่าอยู่ร่วมกัน
สาครนายกสมาคมป ตรีธานจิ ต ต ยและโฆษณา ถึงเวลา
จัดระเบียบ
ปาย (สักที)
Editor Note
เป็นที่รู้กันว่า บทแรกเริ่มของสื่อนอกบ้านในเมืองไทย คือ “ป้ายบิลบอร์ด” ตั้งแต่ยุคของการเขียนโปสเตอร์ภาพยนตร์ที่ เข้าฉายในโรงภาพยนตร์ระบบ 35 มม. หลายท่านอยู่ร่วมสมัย ทันยุคนั้น หลายคนจำเพียงเลือนราง และอีกหลายต่อหลาย คนเกิดไม่ทัน จากปลายพู่กันที่ตวัดสีสันเป็นภาพเหมือนของดารา นักแสดง พัฒนาขึ้นมาเป็นการเขียนภาพสินค้า เร่งความเร็ว ด้วยเครื่องพิมพ์ จากจุดติดตั้งในที่ชุมชน หน้าโรงหนัง เป็นสี่ แยก และทะยานขึ้นไปเด่น ตามเส้นทางด่วนสายต่างๆ ล้วน พัฒนามาจากเส้นทางคมนาคมของความเป็นเมืองทั้งสิ้น ป้ายบิลบอร์ด จึงเป็นที่ยอมรับกันว่า เป็นจุดเริ่มต้นของ ธุรกิจสื่อนอกบ้าน และได้รับความนิยมเรื่อยมา ในจุดที่ใช่ของ การรองรับสายตา และบิ๊กอิมแพค ที่ส่งผลในเชิงการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ การรวมตัวกันของผู้ประกอบการธุรกิจป้ายบิลบอร์ด จึง เกิดขึ้นในลักษณะของการเป็น “ชมรม” และ “สมาคม” เป็น ลำดับมาตั้งแต่เมื่อปี 2519 เป็นต้นมา โดยมีชมรม, สมาคม ที่ เป็นเครือข่ายเกิดขึ้นตามมาอีกหลายแห่ง ทีมงานเคยทำการรวบรวม เล่าถึงและนำเสนอ สมาคม ป้ายและโฆษณามาแล้ว มาเป็นระยะ มาคราวนี้พวกเราตัดสิน ใจว่า สมควรหยิบยกขึ้นมาอีกครั้ง เมื่อองค์กรวิชาชีพนี้ มีคน หนุ่มก้าวขึ้นมาเป็น “นายกสมาคม” สมยุคแห่งการ มีคนหนุ่มสาวก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำ ความท้าทาย ความซับซ้อน ความรวดเร็ว บวกวิสัยทัศน์ของคนรุ่นใหม่ จึงเป็นบทบาทที่ น่าสนใจของนายกสมาคมป้ายและโฆษณา คนล่าสุด - คุณสาคร ตรีธนจิตต์ มา ทำความรู้จักเขากันเถอะ องค์กรจะขับ เคลื่อน โลดแล่นไปข้างหน้า ล้วนต้อง เกิดจากผู้นำทั้งสิ้น เขาจึงเป็นอีก หนึ่ง “ความหวัง” ของผู้ประกอบ การ (อีกคน) พลิกไปอ่านได้ค่ะ
ปฐมบทของ สื่อนอกบ้าน สิ ริ พ ร สงบธรรม บรรณาธิ ก ารบริ ห ารนิ ต ยสาร OHM Siriporn Sa-ngobtam Editor-in-chief
C O N T E N T S
April 2013 4 บทบรรณาธิการ : Editor Note 10 Event Ncc 2013 12 Event Bitec 2013 14 Event Impact 2013 16 International Calendar Event 2013 18 Speaking Sign : รวมของยักษ์ Special report 19 อาชีพที่ AEC ต้องการ 20 LED ที่เกาะภูเก็ต 24 ของเด็กเล่น ... ไม่ใช่เรื่องเล่นๆ 25 สร้างงาน ไม่ตกงาน 26 พิพิธภัณฑ์มีชีวิต ที่เมืองสามหมอก 30 น้ำดื่มเพื่อชีวิต 31 รวมตัวกันครบ 10 ปี 32 คิดถึง “คุณเล็ก วงศ์สว่าง” 34 มอบรางวัลให้ชุมชนริมคลอง 40 ตารางการใช้สื่อ 58 CEO vision go Inter คุณทัศพล แบเลเว็ลด์ CEO บริษัท เอเชีย เอวิเอชั่นจำกัด (มหาชน) 60 Sign People / Company บริษัท เอ็มแอนด์อาร์ วิชั่น จำกัด 66 CSR In Action ตอบแทนถิ่นกำเนิด OHM Outing 72 ปีกไก่เริงร่า 74 ทิ้งกันไม่ลง 84 Gossip : จิบน้ำชา ใต้ต้นพิกุล 86 Society 90 member corner
Vol.10 No.78
36 Around the World OHM
การเปลี่ยนแปลงของสื่อนอกบ้าน เมี่อวิถีชวี ิตแปลี่ยนไป
64 CSR In Action
ยินดีต้อนรับสมาชิกน้องใหม่ 68 Retro ตำนานแห่งรอยยิ้ม
76 Travelling
สวิสเซอร์แลนด์ (ตอนจบ) ล่องทะเลสาบ พิชิตยอดเขาแอลป์
80 Travelling in Cyber
Tablet Table และ Tablet 82 ASPA Home Town ป้ายมั่นคงแข็งแรง ปี 2556 83 MAAT ตกงาน ได้งาน
42 Cover Story
Contact Information OUT OF HOME MAGAZINE : Publisher MGA Media Co.,Ltd. 40/64 OCM Building Moo 3, Soi Siam Samakkee, Vibhavadee Rangsit Rd., Talat Bang Khen, Lak Si, Bangkok 10210 Tel: 0-2521-9176-7 Fax: 0-2521-9178 www.ohmmag.com Email: info@mgamedia.co.th Advisor Education Department: Assoc. Prof. Dr. Kanjana Kaewthep, Assoc.Prof.Nares Kesaprakorn, Benjawan Vitayathanagorn, Advisor Advertisement Department: Vinai Silapasiliporn, Marut Arthakaivalvatee, Raveevan Chaengchenkit Editor-in-Chief: Siriporn Sa-ngobtam Editorial: Nittaya Kaewmueang, Jaenjira Raksakhen, Art Director: Aumarangsee Charoenchai Graphic Designer: Chadtap Tammeungpag Accounting – Finance: Akanet Pratan Account Executive: Warunee Rodson Photographer: Tanapat Photipakdee Honorary Photographer: Sombat Jitratanawat Contributors: Sakorn Treetanajitt, Worawoot Ounjai, Suphanee Dechaburananon, Assoc.Prof.Aruneeprabha Homsettee, Rachen Chumsai Na Ayudhya, Somchai Sittichaisrichart, Suthichai Eamcharoenying, Surachet Bumrongsuk, Monticha Sookchan The English text is Translated by Chanansinee Silapasiliporn Executive Editor: Siriporn Sa-ngobtam Color Separation/Printing: Eastern Printing Public Company Limited Pcl. 51/29, Moo 3, Soi Siam Samakkee, Vibhavadee Rangsit Rd., Talat Bang Khen, Lak Si, Bangkok, Thailand 10210 Tel: 02 551 0544 Fax: 02 551 0532, 02 552 0905 Distribution: Nanasarn 123-124 Pinnakorn 4 Pinklaonakornchaisri Talingchan Bankok, Thailand 10170 Tel: 662 433 6855 Fax: 662 880 7345
Event Carlendar ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ Queen Sirikit National Convention Center Tel. +662 229 3000 Fax. +662 229 3102 E-mail : info@qsncc.com Website : www.qsncc.com
Date วันที่
Event Name ชื่องาน
May 16-19, 2013 16 - 19 พ.ค. 2556
Thailand Travel and Dive Expo 2013
May 23-26, 2013 23 - 26 พ.ค. 2556
Shopping Paradise Fair 2013 ครั้งที่ 4
May 9-12. 2013 09 - 12 พ.ค. 2556
10
House and Condo Show #28
Brief Profile รายละเอียด
Aiming at new home hunters, the Housing Business Association, in conjunction with the Thai Condominium Association and the Thai Real Estate Association, is hosting the House & Condo Show#28. The event will bring together numerous reputable real estate operators offering all kinds of properties in various locations, including ready-to-live-in houses, condominiums, commercial buildings, and resort & golf course projects, all in a variety of price ranges. Experts from leading banks and financial institutions will be on hand to offer purchase guidance and tips. Don’t miss the opportunity to win cash vouchers and electrical appliances worth altogether over 1.3 million baht. Plus an array of fun activities for everyone. เวลา : 10.00 น. - 20.00 น. มหกรรมบ้านและคอนโดฯ ครั้งที่ 27 งานที่รวบรวมที่อยู่อาศัยหลากหลายที่สุด สำหรับผู้ที่ กำลังมองหาบ้านและที่พักอาศัย จัดโดยสมาคมธุรกิจบ้านจัดสรร ร่วมกับ สมาคมอาคาร ชุดไทย และสมาคมอสังหาริมทรัพย์ไทย สัมผัสโครงการพร้อมอยู่มากมายจากผู้ประกอบการด้านอสังหาริมทรัพย์ทุกประเภท ครบ ที่สุด ทุกที่ ทุกทำเล ทุกราคา ทั้งบ้านพักอาศัย อาคารชุด อาคารพาณิชย์ รีสอร์ท สนาม กอล์ฟ เฟอร์นิเจอร์และของแต่งบ้าน ตลอดจนธนาคารและสถาบันการเงินที่มาร่วมให้คำ แนะนำ พร้อมรับข้อเสนอพิเศษ ส่วนลดเงินสดและเครื่องใช้ไฟฟ้ารวมมูลค่า 1.3 ล้านบาท และร่วมสนุกกับกิจกรรมอีกมากมาย Exhibition that aims to support and promote all aspects of Thai tourism and will offer a vast array of tour packages, accommodations as well as golf & diving products and services. ด้วยวัตถุประสงค์และความมุ่งมั่นที่จะสนับสนุนธุรกิจการดำน้ำในประเทศไทยให้เติบโต และพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นแหล่งรวมธุรกิจดำน้ำแบบครบวงจร และเป็นที่รู้จักในระดับ สากล บริษัท เอ็น.ซี.ซี. เอ็กซิบิชั่น ออกาไนเซอร์ จึงยังคงมุ่งมั่นที่จะสานต่อการจัดงาน มหกรรมธุรกิจท่องเที่ยวดำน้ำแห่งประเทศไทย หรือที่รู้จักกันดีในชื่องาน “Thailand Dive Expo” (TDEX) เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการเป็นศูนย์กลางธุรกิจดำน้ำของเอเชีย“ The Real Diving Hub of Asia” ผู้เข้าร่วมแสดงงาน: • อุปกรณ์เพื่อการดำน้ำ และกีฬาทางน้ำ • สถาบันการสอนดำน้ำ • บริษัทนำเที่ยวเพื่อการดำน้ำ • โรงแรม รีสอร์ทที่พักใกล้แหล่งดำน้ำ • ชุดดำน้ำ ชุดว่ายน้ำ • อุปกรณ์ถ่ายภาพ และ วีดีโอ • เรือเช่าเพื่อการดำน้ำ เรือ Live-aboard • อุปกรณ์เดินป่า ปีนหน้าผา และ กีฬาผจญภัย • อุปกรณ์เทคโนโลยีเพื่อการดำน้ำ • องค์กร / หน่วยงานการท่องเที่ยว Time : 10 a.m. - 8 p.m. The special event for all shoppers to shop all product categories such as Fashion & Leathers, Beauty & Health, Gift & Decorative Items, Gadget, Houseware, Electronics, etc.
Products - Fashion & Leathers - Beauty & Health
- Gift & Decorative Items, Gadget
- House ware, Electronics, Etc
- Food & Beverage เวลา 10.00 - 20.00 น. งานแสดงสินค้าจากผู้ผลิตและผู้จัดจำหน่าย ที่รวบรวมสินค้าแฟชั่น เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย รองเท้า กระเป๋า เครื่องประดับ แว่นตา นาฬิกา ทั้งชาย และหญิง สินค้าและบริการความ งาม สุขภาพ เครื่องสำอางค์แบรนด์ดัง เครื่องใช้และอุปกรณ์ตกแต่ง ของขวัญ และสินค้า นำเข้า จากแบรนด์ชั้นนำ สำหรับครอบครัวทันสมัย พร้อมรวบรวมอาหารและเครื่องดื่ม หลากหลาย เพื่อให้เกิดความเพลิดเพลินแก่ผู้เข้าชม
สินค้าภายในงาน
- แฟชั่นและเครื่องหนัง
- ความงามและสุขภาพ
- ของขวัญและของตกแต่ง
- เครื่องใช้ในบ้าน เครื่องใช้ไฟฟ้า เบ็ดเตล็ด
- อาหารและเครื่องดื่ม
Organizer ผู้จัดงาน
Organizer : Thai Real Estate Association Tel : +66 2 440 1274-5 For more information, Please visit www.housecondoshow.com
Organizer : N.C.C. Exhibition Organizer Co., Ltd. (NEO) Tel : +66 2203 4221-24 For more information, Please visit www.thailanddiveexpo.com
Organizer : Mac Exhibition Co., Ltd. Tel : +66 (0) 2 277 6310 For more information, Please visit www.mac-exhibition.com
Event Carlendar ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค BANGKOK INTERNATIONAL TRADE & EXHIBITION CENTRE (BITEC) Tel. +662 749 3939, +662 236 1890 Fax. +662 749 3949 E-mail : salesenquiries@bitect.net www.bitec.net
Date วันที่
Event Name ชื่องาน
Brief Profile รายละเอียด
May 2-5, 2013
International Innovative Crafts Fairs (IICF 2013)
May 9-11, 2013
Horti ASIA 2013
The International Innovative Crafts Fairs gather all materials from every part of Thailand which can be adapted in to craft. Moreover, IICF provides seminar from the oversea experts which the visitors will gain much knowledge. International Tradeshow for Horticultural and Floricultural Production and Processing Technology.
May 16-19, 2013
Intermach 2013
Asia’s No.1 Hi-Tech Machinery Exhibition
May 16, 2013 - May 19, 2013
Sheet Metal Asia 2013
Asian International Sheet Metal Fabrication Technology and Machinery Exhibition
May 16, 2013 - May 19, 2013
LogisPro Thailand 2013
Thailand’s Specialized Logistics Transport and Materials Handling Show
May 16, 2013 - May 19, 2013
Weldtech 2013
Thailand’s Specialized Welding Technology Trade Show
May 25 - Jun 02, 2013
Home & Décor 2013
A fair to offer all kinds of stylish furniture and home decorative items, home electronic appliance, wedding studio, business related to health and spa products, also fashion and jewelry.
Jun 5-8, 2013
Renewable Energy Asia 2013
South East Asia’s Renewable Energy Technology Exhibition and Conference
Jun 5-8, 2013
Thai Water 2013
Jun 12-15, 2013
ProPak Asia 2013
The 2nd International exhibition providing working solutions in water& waste-water technology, will present exciting opportunities for businesses - not only in Thailand - but for all countries in the ASEAN region. The 21th International Processing, Filling, Packaging Technology and Conference for Asia.
Apr 27, 2013 - May 06, 2013
Jun 05, 2013 - Jun 08, 2013 Jun 5-8, 2013
12
Power Buy Expo 2013
Grandly Showcasing State –of –the – Art Electronic Appliances and IT Products held by Power Buy to compliment Modern Lifestyle and Trend. Get more special privileges, plus discount and promotion from over 200 leading brands.
Organizer ผู้จัดงาน
Power Buy Co.,Ltd.
www.powerbuy.co.th
Tel : +66 2904 2000 ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่าง ประเทศ (องค์การมหาชน)
www.sacict.net
Tel : +66 3670 5405-9
Fax : +66 0353 6705-0 VNU Exhibition Asia Pacific Co.,Ltd.
www.hortiasia.net
Tel : +66 2670 0900
Fax : +66 2670 0908 UBM Asia (Thailand) Co.,Ltd.
www.intermachshow.com
Tel : +66 2642 6911-8
Fax : +66 2642 6919-20 UBM Asia (Thailand) Co.,Ltd.
www.intermachshow.com
Tel : +66 2642 6911-8
Fax : +66 2642 6919-20 UBM Asia (Thailand) Co.,Ltd.
www.intermachshow.com
Tel : +66 2642 6911-8
Fax : +66 2642 6919-20 UBM Asia (Thailand) Co.,Ltd.
www.intermachshow.com
Tel : +66 2642 6911-8
Fax : +66 2642 6919-20 World Fair Exhibiitons
www.worldfair.co.th
Tel : +66 2731 1313
Fax : +66 2 375 9206
UBM Asia (Thailand) Co.,Ltd.
www.renewableenergy-asia.com
Tel : +66 2642 6911-8
Fax : +66 2642 6919-20 Entech Pollutec Asia 2013 The 22rd International Exhibition of Environmental Protection and UBM Asia (Thailand) Co.,Ltd.
Pollution Control Technology www.entechpollutec-asia.com
Tel : +66 2642 6911-8
Fax : +66 2642 6919-20 Pump & Valves Asia 2013 Asia’s Specialised Pumps, Valves and Fitting Hardware Trade Exhibition UBM Asia (Thailand) Co.,Ltd.
www.pumpandvales-asia.com
Tel : +66 2642 6911-8
Fax : +66 2642 6919-20
UBM Asia (Thailand) Co.,Ltd.
www.thai-water.com
Tel : +66 2642 6911-8
Fax : +66 2642 6919-20 Bangkok Exhibition Services Ltd.
www.besallworld.com
Tel : +66 2615 1255
Fax : +66 2615 2991-3
Event Carlendar อิมแพ็ค เมืองทองธานี IMPACT MUNGTONG THANI Tel. +66 2833 5077 Fax. +66 2833 5060 E-mail : communications@impact.co.th www.impact.co.th
Date วันที่
Event Name ชื่องาน
Brief Profile รายละเอียด
Organizer ผู้จัดงาน
30 April 2013 - 05 May 2013 ชาเลนเจอร์ 1-3 Challenger 1-3 02 May 2013 - 05 May 2013 อาคาร 4 Hall 4
งานสถาปนิก 13 Architect 2013
งานแสดงสินค้าและนิทรรศการเพื่อเผยแพร่ผลงานด้านวิชาชีพสถาปัตยกรรมเทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านวัสดุก่อสร้าง ตลอดจนบริการที่เกี่ยวข้อง The most effective way to present your top-of-the-line high technology architectural and building products, technology, materials, equipment, and related services to Thailand and Southeast Asia buyers.
งานมหกรรม จักรยานของผู้ที่มีใจ รักการปั่น Bangkok Bike 2013
งานแสดงสินค้าและบริการเพื่อคนที่รักจักรยาน และการท่องเที่ยวโดยจักรยานครั้งแรกใน ประเทศไทย Edutainment Bike Festival for Bike Lovers: One-stop products and services for bicycle.
09 May 2013 - 12 May 2013 ชาเลนเจอร์ 2-3 Challenger 2-3
มันนี่ เอ็กซ์โป 2013 Money Expo 2013
ตลาดนัดทางการเงินและการลงทุนเพื่อลูกค้ารายย่อย ธุรกิจขนาดเล็ก และเอสเอ็มอี ที่มี บริการทางการเงินและการลงทุนครบวงจรที่สุดในประเทศไทยและในภูมิภาค มีทั้งหมด 9 โซน เปิดเวลา 10.00-21.00 น. 1.Money Market Zone 2.Capital Market Zone 3.Private Banking & Wealth Management Zone 4.Gold Market & Gold Futures Zone 5.Life Insurance, Insurance & Health Insurance Zone 6.Car Leasing Zone 7.Properties Zone
8.Fashion & Life Style Zone 9.Gourmet & Cuisine Time : 10.00-21.00 hrs. งาน “เฟอร์นิเจอร์ แฟร์”
- งาน “แฟชั่น, จิวเวลี่ แอนด์ บิวตี้ แฟร์”
- งาน “เวดดิ้ง แฟร์”
- งาน “แสดงเครื่องใช้ไฟฟ้า และเครื่องเสียงลดราคา
- งาน “ซุปเปอร์คาร์ แอนด์ อิมพอร์ต คาร์ โชว์ ครั้งที่4” - 33rd Furniture Fair - Fashion ,Jewerly & Beauty Fair - Wedding Fair - Housing& Property Fair - Supercar & Importcar Show # 4 Time 10.00-21.00 hrs. เวลา 10.00-21.00 น. ได้รับการจัดต่อเนื่องมาเป็นประจำทุกปีตั้งแต่ปี 2550 การประชุมวิชาการบำบัดโรคสัตว์ เลี้ยง ถือเป็นงานประชุมใหญ่สามัญประจำปีของสัตวแพทย์จากทั่วประเทศไทยและจากต่าง ประเทศ เพื่อเผยแพร่ความรู้ ทักษะ ความสามารถในด้านวิชาการ ด้านการรักษา และ เทคโนโลยีที่ทันสมัยใหม่ๆให้แก่สัตวแพทย์ผู้เข้าร่วมงาน โดยมีการเชิญสัตวแพทย์ผู้ เชี่ยวชาญระดับโลกมาเป็นวิทยากรในการบรรยายในหัวข้อต่างๆ The 7th annual VPAT Regional Veterinary Congress (VRVC 2013). Since 2007, VRVC has grown to be one of the major regional congresses in veterinary medicine in Asia. VRVC is the aim of connecting and exchanging knowledge in professional animal care, VPAT has invited many world class speakers providing various interesting topics to VRVC
audiences, i.e infectious disease, ophthalmology,surgery,imaging diagnosis,clinical reproduction
บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
โทร. 02-717-2477
แฟกซ์: 02-717-2466 TTF International Co.,Ltd.
Tel: 02-717-2477
Fax: 02-717-2466 บริษัท เอ็น.ซี.ซี. เอ็กซิบิชั่น ออกาไนเซอร์ จำกัด
โทร. 02-203-4231
อีเมล์ : artit@qsncc.com N.C.C. Exhibition Organizer Co.,Ltd.
Tel: 0-2203-4232-4234
Email: artit@qsncc.com บริษัท มีเดีย แอสโซซิเอตเต็ด จำกัด
โทร. 02-691-4126-30 โทรสาร 0-26915825
เว็บไซต์: http://www.moneyexpo.net Media Associated Co., Ltd.
Tel. 0-2691-4126-30 Fax. 0-26915825
URL: http://www.moneyexpo.net
11 May 2013 - The Biggest Fair 2013 19 May 2013 อาคาร 1-8 Hall 1-8
12 May 2013 - 15 May 2013 ห้องแกรนด์ ไดมอน บอลรูม และห้องแซฟไฟร์ Grand Diamond Ballroom , Sapphire room 22 May 2013 - 26 May 2013 ชาเลนเจอร์ 1-3 Challenger 1-3
14
การประชุมวิชาการ บำบัดโรคสัตว์เลี้ยง ปีที่ 7 VPAT Regional Veterinary Congress 2013 (VRVC 2013)
THAIFEX-World of Food Asia 2013
วันเจรจาธุรกิจ 22-24 พ.ค. เวลา 10.00-18.00 น.
วันจำหน่ายปลีก 25-26 พ.ค. เวลา 10.00-20.00 น. งานแสดงสินค้าและอาหารจากผู้ประกอบการทั้งในและต่างประเทศครอบคลุมสินค้าและ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับอาหารทุกประเภท อาทิ อาหารฮาลาล, อาหารจัดเลี้ยง, เทคโนโลยี อาหาร, การบริการต้อนรับ, ธุรกิจค้าปลีก และธุรกิจแฟรนไชส์ Trade days: May 22-24 : 10.00 – 18.00 hrs.
Public days: May 25-26 : 10.00 – 20.00 hrs. Food and beverages featuring halal food, food catering, food technology, hospitality services, retail and franchise
บริษัท ยูเนี่ยน แพน เอ็กซิบิชั่นส์ จำกัด
โทร. 0-2314-0855
อีเมล์ : naamadvs@gmail.com
เว็บไซต์ : www.unionpan.com Union Pan Exhibitions Co.,Ltd.
Tel. 0-2314-0855
Email : naamadvs@gmail.com
URL : www.unionpan.com
The Veterinary Practitioner Association of Thailand
(VPAT)
โทร. 0-2514-1315-6
เว็บไซต์ : http://www.vrvc2013.com ,
http://www.vpathai.org The Veterinary Practitioner Association of Thailand
(VPAT)
Tel. 0-2514-1315-6
URL : http://www.vrvc2013.com ,
http://www.vpathai.org กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพานิชย์
โทร. 0-2507-8357 - 8
อีเมล์ : thaifex@ditp.go.th
เว็บไซต์ : www.thailandfoodfair.com
หอการค้าไทย
ผู้จัดงานด้านต่างประเทศ: Koelnmesse GmbH, Department of International Trade Promotion
Tel: 0-2507-8357 to 8
E-mail: thaifex@ditp.go.th
URL : www.thailandfoodfair.com The Thai Chamber of Commerce (TCC) Overseas Exhibitor
Koelnmesse GmbH, Koelnmesse Pte Ltd
Event Carlendar 1, 2, 6, 7
4 12
3
ลำดับ No.
11
10
5
8, 9
Date วันที่
Event Name ชื่องาน
City เมือง
Website
Sign & Digital UK
2
30 Apr - 02 May 2013 22 - 23 May 2013
http://www.signuk.com/Content/ Exhibiting-2013 http://screenevents.co.uk/SME2013/
3
12 - 13 June 2013
Digital Signage Expo
Birmingham, United Kingdom London, United Kingdom Berlin,Germany
4
12 - 14 June, 2013
Digital Signage Japan
Chiba, Japan
5
13 - 14 June, 2013
ad:tech singapore
Singapore, Singapore
http://www.ad-tech.com/
6
24 - 25 June, 2013
EuroLED
Birmingham, United Kingdom
http://www.euroled.org.uk/
7
25 - 27 June 2013
The European Sign Expo
http://www.fespa.com/eurosignexpo/
8
28 - 30 June 2013
Sign Today-BANGALORE
9
05 - 07 July, 2013
Sign Today-BANGALORE
London, United Kingdom Bengaluru, Karnataka, India Bengaluru, India
10
10 - 13 July 2013
Shanghai Digital Signage Expo
Shanghai, China
http://www.chinadigitalsignage.org/ indexEN.asp
11
21 - 23 August, 2013
Sign Africa-Johannesburg
Johannesburg, South Africa
http://www.signafrica.com/
12
14 – 17 November 2013
Sign Asia and Digital Sign Asia Expo 2013
Bangkok, Thailand
http://www.thailandexhibition.com/ TradeShow-2013/Sign-Asia-andDigital-Sign-Asia-Expo-2013-2681. html
1
16
Screen Media Expo Europe
http://www.digitalsignageeurope. com/ds-expo http://events.hellotrade.com/ tradeshows/digital-signage-japan/
http://www.biztradeshows.com/signtoday/ http://www.signtoday.biz/
Speaking Sign
โค้กยักษ์ : ขวดใหญ่ยักษ์ ครอบเป็นหลังคาของอาคารหนึ่งที่สยามแสควร์ มองชัดจากสถานีรถไฟฟ้า BTS สยาม หน้าร้อนแบบนี้ ได้ผลนะ… ฉลามยักษ์: หนุ่มร่างอวบ เหยื่อที่ชวนกิน เจอกันที่ทะเลจริง มีลุ้นแน่….ที่หน้าสยามพารากอน คราวนี้เป็นคิวของการรวม “ของยักษ์” ที่วางไว้ตามมุมต่างๆ ของเมืองใหญ่ อย่าง กรุงเทพมหานคร-มหานคร เมืองใหญ่ที่เรียกว่า “มหา” ได้จริงๆ เมืองไทยชอบของใหญ่ หรือ ใครๆ ก็ชอบ ของใหญ่กันทั้งโลกแหละนะ ขนาดธรรมดา ก็เห็นกันทุกวัน คงเฉยๆ งั้นๆ ของ “จิ๋ว” ก็เล็กจนความสนใจก็ เล็กตามไปด้วย งานโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ยังใช้ทฤษฎีเดิม คือ มีกลุ่มเป้าหมาย มีคนชม มีผู้คนเยอะ ย่อมได้ผลเรื่องการรับรู้ การสร้างความตื่นตา ตื่นใจกับของยักษ์ ก็เรื่องเดียวกัน เราจึงเห็น ขวดโค้ก ยักษ์ ถ้วยบะหมี่ยักษ์ มือยักษ์และฉลามยักษ์ ที่ทีมงานเก็บมาฝากกัน เชื่อเถอะว่า นักท่องเที่ยวเห็น หรือใครเห็นก็กระโดดเข้าหา หยิบกล้องมา ถ่ายรูปทันที…. และหากคุณๆ เห็น ของยักษ์ที่ไหนอีก..ส่งเข้ามาร่วมวงกันได้นะ...
รวมของยักษ์
18
ถ้วยบะหมี่ยักษ์ : ตั้งอยู่มุมอาคารวรรณสรณ์ สี่แยกศรีอยุธยา เห็นแล้วหิวเชียวล่ะ
มือยักษ์ : โผล่ออกมาให้เห็น ต๊กกะใจเล่นซะงั้น …แต่ก็เท่ เก๋ วางไว้ที่หน้าตึกซอยสุขุมวิท 2
การเปิดประเทศ สู่ AEC ด้วยประชากรกว่า 600 ล้าน คนในปี 2558 ส่งผลให้มีการเคลื่อนย้ายเงินทุน แรงงานได้ อย่างเสรีระหว่าง 10 ประเทศสมาชิก อาชี พ ที่ ส ามารถทำงาน ทำเงิ น และเป็ นที่ ต้ อ งการของ ตลาดในขณะนี้คืองานด้านการบริการ อาทิ หมอ พยาบาล ตลอดจนงานที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ พลานามัยของประชาชน “หนึ่งในวิสัยทัศน์ของวิทยาลัยคือ การผลิตบัณฑิตที่ปฏิบัติ วิ ช าชี พ ด้ ว ยความรู้ คู่ ค วามดี คณะพยาบาลผลิ ต บุ ค คลากร ทางการแพทย์มาแล้วกว่า 28 ปี เป็นวิชาชีพที่ทรงเกียรติใน การดูแลเพื่อนมนุษย์ และขณะนี้การเตรียมพร้อมสู่ตลาด AEC ทำให้วิชาชีพนี้เป็นที่ต้องการมากขึ้น เรามั่นใจว่าคนไทยมีพื้น ฐานน้ำใจเอื้ออารี จึงน่าจะเป็นโอกาสในการทำงานเป็นทาง เลื อ กอนาคตดี อี ก อาชี พ หนึ่ ง ” ดร.สลั ก จิ ต นพคุ ณ รอง อธิการบดี ฝ่ายบริหารและวิเทศสัมพันธ์ วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ กล่าวอย่างมั่นใจในนโยบายของสถาบันการศึกษาแห่งนี้ พบว่าการเปิดตลาดสู่ AEC ของสมาชิกทั้ง 10 ประเทศมี ทั้งข้อดี และข้อพึงระวังของประชากรในแต่ละประเทศ ที่แม้ จะอยู่ในภูมิภาคเดียวกัน แต่ความต่างด้านภาษาการสื่อสาร ตลอดจนวัฒนธรรมของแต่ละประเทศ ยังเป็นข้อที่ประเทศ สมาชิกต่างต้องเรียนรู้ซึ่งกันและกัน การโยกย้ายเงินทุน การ ลงทุน บุคคลากร และทรัพยากรต่างๆ จึงน่าสนใจ มีทั้งธุรกิจ ได้รับผลกระทบทางบวก – ทางลบ แต่วิชาชีพที่เป็นที่ต้องการของประเทศสมาชิกทั้ง 10 ได้แก่ บุคคลากรทางการแพทย์, การท่องเที่ยว และธุรกิจบริการอีก หลายประเภท โอกาสดีๆ ของคนทำงานจึงเปิดกว้าง ขึ้นอยู่กับ
Special Report
ว่าจะมีการพัฒนาปรับตัวให้ทัน ต่อการเปลี่ยนแปลงได้มากน้อย เพียงไรเท่านั้น ข้อมูลจำเพาะ : โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ ก่ อ ตั้ ง เมื่ อ ปี 2441 หรื อ มี อ ายุ 115 ปีมาแล้ว ต่อมาพบว่าขาดแคลนบุคคลากรด้านงานพยาบาล จึงมีการ ก่อตั้งวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ขึ้นในปี 2528 เพื่อผลิตบัณฑิต มา รองรับงานของโรงพยาบาล แล้วจึงมีการแบ่งปันไปยังสถาน พยาบาลอื่นๆ ปัจจุบันวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ เปิดการเรียน 3 คณะ ได้แก่ คณะพยาบาลศาสตร์, คณะศิลปศาสตร์ (จิตวิทยา) และคณะ กายภาพบำบัด โดยมุ่งเน้นการดูแลด้วยการเรียน การสอนแบบ ใกล้ ชิ ด ของบ้ า นหลั ง เล็ ก ที่ อ บอุ่ น ในการผลิ ต บั ณฑิ ต ให้ ป ฏิ บั ติ วิชาชีพด้วยความรู้ ความสามารถ รับใช้สังคมคู่กับความดี เข้าไปเยี่ยมสถาบันการศึกษาแห่งนี้ได้ที่ www.slc.ac.th โทร02-675-5304 -12
อาชี พ ที ่ AEC ต้ อ งการ พยาบาล, นักจิตวิทยา และนักกายภาพบำบัด
19
Special Report
LED ที่เกาะภูเก็ต
รวมพล คนชอบหาความรู้ใหม่ๆ มาจากหลายจังหวัด อาทิ ภูเก็ต หาดใหญ่ นครศรีธรรมราช พังงา
ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ - workshop สิบปากว่า ไม่เท่าตาเห็น และไม่เทียบเท่าได้ลงมือทำ
20
Special Report
ผู้สนับสนุนรายนี้โชคดีมาก ที่ขนเครื่องพิมพ์มิมากิ ลงไปโชว์ ลูกมาเดินชม ดูกันไปมาสั่งซื้อซะเลย บอสส์สาวอย่าง คุณสุมาลี เลิศสุกิตติพงศา ยิ้มแก้มปริ วิวัฒน์ กิตติพรพานิช เบื้องหลังความสำเร็จของเฮีย คือ ซ้อ คุ แห่ คุง ณV-Sign ณเกรียงยุทธ เตโชภาส หนุ่มกรุงเทพ คุณยุทธกฤต วิมลโสภา เดินทางจากเชียงใหม่ ฟ้องด้วยภาพจริงๆ คุณเอกธนาพนธ์ ที่โยกย้ายเข้ามา ทำมาหากินที่ภูเก็ต เมื่อ เจ้าของศูนย์รวมแห่งวัสดุ อุปกรณ์ ถึ งภูเก็ต มาให้กำลังใจเพื่อนเช่นกัน เอกพิทักษ์ธนบดี จากหาดใหญ่ 15 ปีก่อน วันนี้เขากลายเป็นเบอร์ต้นๆ ในงานสื่อนอกบ้าน ทุกชนิดที่ภูเก็ต ด้ วยประสบการณ์แสนประทับใจ มาพร้อมกับซ้อ หลังบ้านที่เป็นคู่คิดตลอด ของธุ แวะเข้ามาคุย แล้วต้องรีบกลับไปที่ร้าน รกิจ สื่อนอกบ้านไปแล้ว (อ่านได้ในหน้า 84) กาล เพราะลูกค้าเยอะ บนพื้นที่ประมาณ 867 ตารางกิโลเมตร ของเกาะภูเก็ต สม คอนโดมิเนียม เหล่านี้ จึงมีการกระจายตัวของดีมานด์ไปยัง ฉายา “ไข่มุกแห่งอันดามัน” เกาะสวรรค์ที่อุดมด้วยนักท่อง ธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวข้องอีกมากมาย เที่ยว ด้วยคำขวัญประจำจังหวัด “ไข่มุกอันดามัน สวรรค์เมือง งานโฆษณา จึงเป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่เติบโตขึ้นมารองรับด้วย ใต้ หาดทรายสีทอง สองวีรสตรี บารมีหลวงพ่อแช่ม” เช่นกัน ข้อมูลพื้นฐานจึงเป็นตัวแปรสำคัญ ที่ทำให้ชมรมไทย ตามทะเบียนราษฏร์ ภูเก็ตมีประชากร ราว 345,000 คน อิ ง ค์ เจ็ ท ตั ด สิ น ใจเลื อ กพื้ นที่ จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต เป็ น สถานที่ เปิ ด แต่มีรายได้เฉลี่ยต่อหัวสูงถึง 236,000.- บาท ต่อคน ต่อปี ติด หลักสูตร “ป้าย LED ป้ายดี ป้ายทำเงิน” สำหรับพื้นที่ภาคใต้ อันดับหนึ่งในห้าของจังหวัดที่มีรายได้เฉลี่ยต่อหัวสูงสุด โดยหวังให้ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดใกล้เคียง เดินทางมาร่วมงาน การเติบโตของเมืองนี้ เกิดจากธุรกิจท่องเที่ยวเป็นหลัก และ ได้อย่างสะดวก ระหว่าง 23-24 มีนาคม 2556 ที่ผ่านมา ขึ้นชื่อว่าเป็นจังหวัดที่มีการเปลี่ยนมือของที่ดินสูง จึงส่งผลให้ การจัดกิจกรรมครั้งนี้ของชมรมไทยอิงค์เจ็ท โดยมีสมาคม ราคาพุ่งแพงขึ้นมากด้วยเช่นกัน ส่งเสริมไทยธุรกิจโฆษณา เป็นแกนหลักด้วยงานวิชาการ นับ ธุ ร กิ จ ที่ ผุ ด ขึ้ น มารองรั บ การท่ อ งเที่ ย ว โดยตรงคื อ ธุ ร กิ จ เป็นครั้งที่ 4 ของกิจกรรมนี้ หลังจาก จัดกันมาแล้ว ตั้งแต่ อสังหาริมทรัพย์ อาทิ โรงแรม บ้านพักตากอากาศ อุดรธานี ระยองและเชียงใหม่ ตามลำดับ 21
Special Report
อาหารพื้นเมืองแท้ๆ ของชาวภูเก็ต มื้อนี้คุณไก่-ประภาพร แห่ง Southern Media ขอเป็นเจ้าภาพ ฟังวิทยากรรับเชิญจนที่นั่งล้น เกาะสวรรค์ แต่ครั้งนี้ดูจะแตกต่าง ตรงที่เมืองนี้เป็นเมืองท่องเที่ยว ใน บรรยากาศทะเลสีคราม มีชีวิตกลางคืน แสงสีเสียง ดังนั้นป้าย ไฟ LED จึงมีบทบาทสำคัญในการตกแต่งย้อมเมือง ให้เป็นก ลายเป็นสวรรค์ยามค่ำคืน ราตรี แห่งไข่มุกอันดามัน และอีกอย่าง ที่จัดสรรขึ้นเป็นพิเศษ คือ การบรรยายพิเศษ ของคุณวรรณี รัตนพล นายกสมาคมมีเดียเอเยนซี่และธุรกิจ สื่อแห่งประเทศไทย ทีมงานตั้งชื่อเก๋ ว่า เป็นหรรษาอันดามัน คุณแอน- รัตติยา หงษ์สา อาซ้อร้าน มีเนื้อหาที่มิติมุมมองของการเจาะลงไปให้เห็นถึงพฤติกรรมของ “หนุ่มช่างป้าย” ยกทีมมาเรียน ผู้บริโภคในยุคดิจิตอล ซึ่งจะเป็นแนวทาง ในการวางแผนสื่อ มาฟังกันแบบเต็มทีม ซ้ออารมณ์ดี โฆษณาให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย อย่างตรงป๊ะ เฮียก็พลอยสบายใจไปด้วย…ฮา 22
คุณตู่-สิทธิทัศน์ นทะสิทธิ์ เจ้าของ “ภูเขา แอดเวอร์ไทซิ่ง” ผู้ได้รับสัมปทาน โฆษณาในสนามบินภูเก็ต ดีใจที่มีผู้บรร ยายตรงสายอาชีพมาเล่า ให้ฟังถึงบ้าน จึงกวักมือเรียกลูกน้องมาอีก 4 คน
Special Report
วิทยากรคู่ดูโอ คุณอดิศร ศุขะทัต นายกสมาคมส่งเสริมไทยธุรกิจโฆษณา ร่วมถ่ายภาพ สามนายกฯ จาก 3 สมาคมฯ โคจรมาพบกัน คุณสาคร ตรีธนจิตต์ นายกสมาคมป้ายและโฆษณา, กับคุณโชคชัย เมธียนต์พิริยะ ประธานชมรมไทยอิงค์เจ็ท มอบของขอบคุณคุณวรรณี รัตนพล นายกสมาคมมี เดียเอเยนซี่และธุรกิจสื่อแห่งประเทศไทย ที่ให้เกียรติ บินไปบรรยายพิเศษ เพื่องานนี้โดยเฉพาะ ขอชื่นชมวิทยากรหนุ่ม ทั้ง 4 คน ก็ทำหน้าที่อย่างเข้มแข็ง เช่นเคย อาทิ คุณภัทริก สัมพันธารักษ์, คุณไพโรจน์ โรจน์มหา มงคล, คุณจุมพล บุญวิโรจน์ฤทธิ์ และคุณมนต์ชัย วัฒนาวิโส รวมทั้งทีมพี่เลี้ยงกิตติมศักดิ์ อย่าง คุณสาคร ตรีธนจิตต์ นายก สมาคมป้ายและโฆษณา, คุณทรงกลด มานะกิจจานนท์, คุณ บุ ญ สื บ พงศธรเสถี ย ร ด้ ว ยความอบอุ่ น จนร้ อ นไปทั่ ว มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต - สถานที่จัดกิจกรรม การจัดกิจกรรม เช่นนี้ ในครั้งต่อไป เป็นครั้งที่ 5 ซึ่งเป็น ครั้ ง สุ ด ท้ า ยของกิ จ กรรมนี้ พบกั นที่ จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โลก วั นที่ 18-19 พฤษภาคม 2556 นี้… ชมรมไทยอิงค์เจ็ท มอบของขวัญแสดงความยินดีกับคุณไก่-ประภาพร แซ่อิ๋ว ที่มีลูกชายคนเล็กสมใจคุณแม่จริงๆ
23
Special Report
ในปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเป็นไปอย่างรวดเร็ว และเข้ามามีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิตของผู้คน ยากที่จะหลีก เลี่ ย งไม่ ได้ การใช้ เทคโนโลยี ส ำหรั บ เด็ ก ๆ ทางที่ ดี พ่ อ แม่ ผู้ ปกครอง ควรมีเวลาใกล้ชิดกับลูกหลาน เพื่อเป็นการช่วยสร้าง โอกาสฝึกฝนการสื่อสาร การพูดคุยโต้ตอบ และการเรียนรู้ ฝึกฝนทักษะด้านอื่นๆ “ของเล่น” กับเด็ก เป็นของคู่กัน เป็นพัฒนาการของมนุษย์ ที่จะเรียนรู้เรื่องรอบตัว การฝึกทักษะด้านต่างๆ ผ่านของเด็ก เล่นที่เหมาะสมกับวัย ย่อมนำมาซึ่งพํฒนาการที่ดีของเด็กๆ บริษัท วันเดอร์เวิล์ด โปรดัคส์ จำกัด เปิดตัวของเล่นใหม่ ไฮไลท์ของ ปี 2556 ชื่อชุด “Wonder Trix Track” เหมาะ สำหรับ เด็กวัย 3 ขวบขึ้นไป ให้สนุกกับกฎของแรงโน้มถ่วง ด้วยกลไกง่าย ๆ และช่วยพัฒนาสมองทั้งสองซีก สมองซีกซ้าย คือไอคิว เป็นเรื่องของเชาว์ปัญญา ตรรกะ ความคิดเชิงเหตุผล ส่วนสมองซีกขวา คืออีคิว เป็นเรื่องของอารมณ์ การเข้าสังคม สมาธิ และจินตนาการ งานชุ ด นี้ เป็ นของเล่ นที่ ท ำจากไม้ ผ่ า นการทดสอบทั้ ง ด้ า นความทนทานและความปลอดภั ย ไม่ มี โปรแกรม ไม่ มี แบตเตอร์รี่ ไม่ได้ถูกกำหนดมาตั้งแต่ต้นว่าจะต้องเล่นอย่างไร จึงกลายเป็นโจทย์ที่เด็กๆ จะต้องหาวิธีเล่นในรูปแบบของตัวเอง สามารถเล่นคนเดียวได้ หรือเล่นทั้งครอบก็ได้ บ้านไหนสนใจ ไปที่ www.wonderworldtoy.com
ของเด็กเล่น ... ไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
24
ปัญหา “คนทำงาน” เป็น เรื่ อ ง ใ ห ญ่ ข อ ง เ กื อ บ ทุ ก องค์กรไปเสียแล้ว อาจจะมี ฐานรากมาจากนโยบายค่ า จ้าง 300.- บาทต่อวัน หรือ อาจจะเกิ ด จากค่ า นิ ย มของ คนยุคนี้ ที่ชอบแสวงหางาน ง่ า ยๆ ได้ เ งิ น เร็ ว โดยไม่ ต้องการความลำบาก แต่ในโลกแห่งความเป็น จริง ทุกอาชีพล้วนมีเกียรติ มีศักดิ์ศรี งานเบื้องหลัง คืองานยิ่งใหญ่ ที่หลายคนอาจมอง ข้าม ค่าตอบแทนเกิดจากทักษะ ความชำนาญ ที่ไม่อาจจะลอก เลียนแบบกันได้ เพราะบ่มเพาะด้วยกาลเวลา บริษัท เทคโนเซล (เฟรย์) จำกัด ผู้นำเข้าฟิล์มกรองแสง รถยนต์และอาคาร ‘ลามิน่า’ จึงเปิดอบรมหลักสูตร“โครงการ ฝึ ก ทั ก ษะช่ า งติ ด ฟิ ล์ ม ขั้ น พื้ น ฐาน” ให้ กั บ เด็ ก นั ก เรี ย น ใน โครงการที่ลามีน่า เข้าถึงพวกเขา ในคราวที่ทำกิจกรรมเพื่อ สังคม อาทิ สร้างโรงเรียน ทาสีอาคารเรียนในชนบท งานนี้ นอกเหนือจากได้ถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ให้ น้องๆแล้ว ยังเป็นการเปิดโอกาสด้านการทำงาน ตามชีวิตจริง
สร้างงาน ไม่ตกงาน
Special Report
ว่าหากไม่เกี่ยง ไม่เลือกงาน ย่อมไม่ตกงาน อย่างแน่นอน สองรุ่ น ที่ เ ปิ ด การอบรมมา แล้วนั้น น้องๆมีงานล้นมือ และเป็นที่ต้องการตัวของตลาดแรงงานมาก ยิ่งฝีมือดี ค่าตัว ค่าแรง ก็สูงตามไปด้วย “เราขยายธุรกิจ ตามการเติบโต ของวงการรถยนต์ ช่าง ฝีมือดีเป็นที่ต้องการมาก เราติดตั้งให้ลูกค้าแทบจะไม่ทัน ฟิลม์ คุณภาพดี ต้องบวกกับฝีมือดีของช่างติดตั้ง เจ้าของรถก็วางใจ คนไทยมีทักษะเรื่องงานปราณีตเป็นที่ยอมรับ อีกหน่อยเดินสาย ไปทำงานกันทั่ว AEC ค่ะ” คุณจันทร์นภา สายสมร กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท เทคโนเซล (เฟรย์) จำกัด กล่าวให้กำลังใจปิด ท้าย ก่อนปิดโครงการนี้ รุ่นที่ 2 ส่วนรุ่นที่ 3 จะเปิดเมื่อไหร่ โปรดตามกันได้ที่ http://www.laminafilms.com 25
Special Report
การบวชสามเณร ของเด็กชายชาวไทใหญ่ เรียกว่า แปลว่า เณรตัวน้อย มักเป็นประเพณีใหญ่ประจำ “ส่างลอง” ปี มีเ ด็กชายบวชพร้อมกันนับสิบ ให้พ่อแม่ได้ชื่นใจ ดูเหมือนเป็นเรื่องลึกลับ เมื่อเล่าว่า “พิพิธภัณฑ์มีชีวิต” เพราะความเข้าใจ ของคนส่วนใหญ่ เมื่อนึกถึงพิพิธภัณฑ์ คือ สถานที่เก็บของเก่า ของโบราณที่มี ไว้ ให้ ค นรุ่ น หลั ง ไปศึ ก ษา เงี ยบๆ มีไฟ ส่องไปที่สิ่งของนั้นๆ เปิด-ปิดเป็นเวลา เด็ ก ๆรุ่ น ใหม่ มั ก อยากไปสวนสนุ ก มาก กว่าไปพิพิธภัณฑ์ เป็ น เรื่ อ งภู ต ผี หรื อ ไร เมื่ อ พู ด ถึ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ มี ชี วิ ต เปล่ า เลย... นี่ เ ป็ น แนวคิ ด ที่ เมื อ งนอกเขาทำมานานแล้ ว หมายถึ ง ยั ง คงรั ก ษา อนุ รั ก ษ์ ไ ว้ อ ย่ า ง สภาพเดิ ม ที่ เ ขาเป็ น ไม่ ต้ อ งโยกย้ า ย เข้าไปรวมไว้ที่พิพิธภัณฑ์ สิ่งของเหล่า นั้นก็จะยังมีชีวิตอยู่อย่างนั้น เมื่อไหร่ที่มี ผู้ ค นไปเยี่ ย มยาม ก็ จ ะอยู่ อ ย่ า งนั้ น นี่ แหละแนวคิดของพิพิธภัณฑ์มีชีวิต แนวคิดเรื่องการท่องเที่ยว ในถิ่นที่ ยังคงมีสภาพดั้งเดิม เริ่มได้รับความนิยม ในเมืองไทย ราวไม่เกิน 10 ปี ที่ผ่านมา อาทิ ที่พักแบบโฮมสเตย์ ท่องเที่ยวแบบ อั น ซี น เยื อ นถิ่ น ชุ ม ชนบ้ า นๆ อย่ า ง เมื อ งปาย เมื อ งเชี ย งคาน หรื อ อี ก
พิพิธภัณฑ์มีชีวิต ที่...เมืองสามหมอก
วัดจองคำ เด่น สง่า สงบ ริมบึง กลางเมือง เลียบถนนคนเดิน
ป้ายแคมเปญนี้ มีให้เห็นในจุดที่เข้าร่วมเป็น พิพิธภัณฑ์มีชีวิต
26
กวีบนแผ่นหลัง เล่าร้อยชื่ออำเภอทั้ง 7 ของแม่ฮ่องสอนได้ ครบครัน
Special Report
พระพุทธรูปองค์นี้ สานจากไม้ไผ่ จากการรวมพลัง ของฝีมือชาวบ้าน ผู้เสื่อมใส
หิ้งพระ สไตล์ไทใหญ่
หนุ่มสาวชาวแม่ฮ่องสอน เลือกที่จะใช้ความเป็น ศิลปินของพวกเรา และใช้ชีวิตอยู่ที่บ้านเกิด
ผศ.ดร.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม นักวิชาการ วิศวกรหนุ่ม ผู้ทุ่มเท ให้กับที่มั่นสุดท้ายทางวัฒนธรรมที่แม่ฮ่องสอน
หลายๆแห่ง ที่นับวันจะได้รับความนิยม มากขึ้น เมืองเล็ก เมื่อแขกมาเยือนล้นทะลัก ทุกอย่างเมื่อมีดีมานด์ ซัพพลายก็เกิดขึ้น มารองรั บ เป็ น ปกติ ข องเศรษฐกิ จ ทุนนิยม จนเมืองขยายเมื่อไม่มีมาตรการ รองรับ เมืองเล็กจึงไร้ทิศทาง ไม่ใช่เมือง เล็กที่น่าอยู่อีกต่อไป ซึ่งมีตัวอย่างให้เห็น กันอยู่แล้ว จังหวัดแม่ฮ่องสอน หรือเมืองสาม หมอก ภายใต้ ค ำขวั ญ ประจำเมื อ งว่ า “หมอกสามฤดู กองมูเสียดฟ้า ป่าเขียว ขจี ผู้ ค นดี ประเพณี ง าม ลื อ นามถิ่ น บัวตอง” เมืองนี้อยู่ท่ามกลางหุบเขา มี จึงหมอกจางๆบางเบาบ้าง หนาบ้างใน ทุกฤดู บนเส้ นทางเลี้ ย วลด ไต่ เ ขาตลอด 1,864 โค้ ง จากเส้ น ทางเชี ย งใหม่ แม่ ส ะเรี ย ง-แม่ ฮ่ อ งสอน โดยเส้ นทาง รถยนต์ จึงเป็นความท้าทายของนักท่อง เที่ ย ว ส่ ว นเส้ นทางอากาศยาน จึ ง มี เครื่องบินขนาดเล็ก เที่ยวละ 35 ที่นั่ง ระหว่างเชียงใหม่-แม่ฮ่องสอน ใช้เวลา เพียง 35 นาที เพิ่มความสะดวกในการ ไปเยือนได้บ้าง ผศ.ดร.ปุน่ เทีย่ งบูรณธรรม อาจารย์ ป ร ะ จ ำ ค ณ ะ วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ เข้ า มาทำงาน ร่วมกับการเคหะแห่งชาติ ที่แม่ฮ่องสอน เมื่อ 2-3 ปีก่อน จึงพบว่าเมืองนี้มีความ เก่าแก่ด้านสถาปัตยกรรม บ้านเรือน วัด และผู้คน เป็นเสน่ห์ทางวัฒนธรรมที่น่า หลงใหล ปลาบปลื้ม การเดินทางที่เป็น ข้ อ กำกั ด อาจมี ส่ ว นช่ ว ยให้ เมื อ งนี้ มี สภาพของ “แคปซูล” แห่งกาลเวลาหมายถึ ง ยั ง เก็ บ รั ก ษาความดั้ ง เดิ ม ไว้ อย่างดี เมื่อเทียบเคียงกับเมืองอื่นแล้ว ที่นี่... อาจจะเป็นที่มั่นแห่งสุดท้ายที่จะ รักษาวัฒนธรรมดั้งเดิมของชนชาติพื้น เมือง นักวิชาการท่านนี้ จึงนำเสนองาน วิจัยระดับท้องถิ่นร่วมกับชุมชนในเมือง แม่ฮ่องสอน โดยได้รับการสนับสนุนจาก สกว.-สำนักงานสนับสนุนการวิจัย จนมี พิพิธภัณฑ์มีชีวิต ปรากฏให้เห็นกระจาย ตัว อยู่อย่างที่เคยเป็น เคยอยู่ นี่แหละ
สำนักงานประสานงานพิพิธภัณฑ์มีชีวิต เดิมเป็นอาคารของ รสพ. วันนี้จึงทำหน้าที่ได้อีกครั้ง
27
Special Report
อาหารของชาวไทใหญ่ มีขายในตลาดสด หาได้ไม่ยาก
อาหารเช้ายอดนิยม ชื่อ “ถั่วพูอุ่น” คล้ายๆ ก๋วยจั๋บน้ำข้นๆ โรยด้วยเต้าหู้เหลืองทอด กรอบ
“ข้าวมูลข่าย”-โดนัทของแม่ฮ่องสอน และ ถั่วเหลือง คั่ว ของว่าง ที่นิยมเสริฟกันในวงน้ำเหน่ง หรือน้ำชา
ที่นี่ ก็มีความหวัง “กาด” หมายถึง ตลาดกาด จึงหมายถึง ตลาดขายล็อตตอรี่
แผนที่ของอร่อย ตามรอยไปอร่อยกันได้ไม่ไกลเลย
28
อาหารพื้นเมือง จิ้นลุง น้ำพริกอ่อง แกงฮังเล แกงแค และอุ๊บไก่
Special Report
ป้าเสาวนีย์ ชั้นเจริญ วัย 71 กลับมาใช้ชีวิตที่ บ้านเกิดอีกครั้ง หลังเกษียณจากการทำงานในกรุง พร้อมเปิดบ้าน ร่วมเข้าเป็นสมาชิกชมรมอนุรักษ์บ้าน เก่า ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไป กำลังอวดรูปที่ภูมิใจที่สุ ดในชีวิต คือรูป “ในหลวง” ในปี 2505 ที่ท่านเสด็จ มา ที่แม่ฮ่องสอนด้วยฝีมือการถ่ายของคุณป้าเอง และพบว่า ทั้ง 7 อำเภอ “ในหลวง” ท่านเคยเสด็จมาแล้วทุกอำเภอ
เกือบทุกบ้านของชาวแม่ฮ่องสอน จะมีกระเช้าไม้ดอก ปลูกแขวนไว้ น่ารักจัง
ขนมของไทใหญ่ เน้นความหวานและมัน สนามบิน ที่มองลงมาจากพระธาตุกองมู จะเห็นว่าผ่ากลางเมือง ซ้าย ขวา แบ่งความเจริญไปทั้งสองฟาก ร้านกาแฟ ที่น่ารัก รู้ว่าคนมาที่นี่นิยมถ่ายรูป จึงจัดไว้เอาใจ ก็ถูกใจกันกลับไปทุกคน ชีวิตที่มีความยาวนาน จัดว่าเป็นพิพิธภัณฑ์ได้ อาจจะเข้าใจยาก ด้วยความใหม่ ด้วยความแปลก แต่เป็นเสน่ห์ที่ผู้คนเมืองนี้บอก ว่า “ไม่อยากให้ผู้คนตั้งใจมาเยือนมากนัก ขอให้มาตามธรรมชาติ ไม่ควรเป็นแฟชั่นที่ เห่อกันมาเต็มเมือง จนเสียความเป็นเมืองเล็กน่าอยู่ไปอย่างน่าเสียดาย” เทศบาลเมือง มีพื้นที่ราบอยู่เพียง 6 ตารางกิโลเมตร ประชากร 6,000 คน ชาว บ้านอยู่กันอย่างสงบ เรียบง่าย ท่ามกลางละอองหมอก ที่ลอยอ้อยอิ่ง ทิ้งความเย้า ยวนให้เสน่ห์เมืองนี้ เต็มไปด้วยกลิ่นสาบ ตามธรรมชาติ ท่ามกลางขุนเขา แมกไม้ อีก นานเท่าที่ ที่มั่นทางวัฒนธรรมที่นี่จะเข้มแข็ง จากเรี่ยวแรงของชุมชนของพวกเขา เอง… 29
Special Report
อุตสาหกรรมธุรกิจน้ำดื่ม มีการแข่งขันกันสูงมาก เมื่อราว เกือบสิบปีก่อน คะเนว่ามีมากกว่าสองร้อยยี่ห้อ เมื่อแข่งขัน มาก ย่อมมีสงครามราคา จนรายเล็กรายน้อยล้มตาม เหลือ เพียงรายใหญ่ รายที่สายป่านยาว มาวันนี้ ธุรกิจน้ำดื่ม มีความสำคัญ เมื่ออุบัติภัยต่างๆ ที่ ชาวโลกต้องเผชิญรุนแรงขึ้นมาก อย่าง น้ำท่วม น้ำแล้ง หรือ ขาด น้ำ 7 วันเสียชีวิต เบอร์ต้นๆ ของธุรกิจ น้ำดื่ม อย่าง น้ำสิงห์ น้ำช้าง หรือ แบรนด์อื่นๆ ล้วนต้องทำการตลาด เพราะความเชื่อมั่นของผู้ บริโภคสำคัญต่อการดื่ม น้ำดื่ม “สยาม” เป็นน้ำดื่มติดอันดับหนึ่งในห้าของการครอง ส่วนแบ่งทางการตลาด ในเมืองไทย หลังเปิดโรงงานผลิตมา แล้ว 15 ปี ก็ถึงเวลาที่ต้องขยายโรงงานที่สอง เมื่อออเดอร์ล้น ทะลัก ผลิตไม่ทันกับคำสั่งซื้อของลูกค้า “นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณ เป็นที่สุดในชีวิตการทำงาน ของผม ที่ พ ระองค์ ท่ า นทรงเสด็ จ พระราชดำเนิ น ทรงเปิ ด โรงงานแห่งที่สอง และทรงมีพระราชดำรัสว่า... ขอให้ร่ำรวย นะ” ดร.ทรงพร จั่นเทศ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ทีทีซี น้ำดื่มสยาม จำกัด เล่าถึงความปลาบปลื้มใจ เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2556 ที่ผ่านมา กำลังผลิตของน้ำดื่มสยาม ทั้ง 2 โรงงาน ประมาณ 1.2 ล้านขวดต่อวัน และนับวันจะเพิ่มปริมาณมากขึ้น ตามความ ต้องการของตลาด และอาจกลายเป็นอีกหนึ่งสินค้าเอกลักษณ์ ของไทย เมื่อตลาด AEC เปิดอย่างเป็นทางการ ในอีก ไม่ถึง สองปีข้างหน้านี้
น้ำดื่มเพื่อชีวิต
ผู้บริหารเฝ้าทูลละอองพระบาทรับเสด็จฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสเสด็จพระราชดำเนิน ทรงเปิดโรงงาน บริษัท ทีทีซี น้ำดื่มสยาม จำกัด เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2556
พ็อกเก็ตบุ๊คส์ จัดเป็นของที่ระลึก สำหรับผู้มาร่วมเป็นเกียรติ ในวันเปิดโรงงานที่ 2 ไม่พอกับมิตรสหาย จนต้องสั่งพิมพ์ครั้งที่สอง ไปแล้ว
30
Special Report
ขอบคุณวิทยากร ที่มาเติมอาหารสมองใ ห้สมาชิก สมาคมการค้าวัสดุอุปกรณ์การพิมพ์ไทย (สวพท.) หรือ Thai Graphic Arts Suppliers & Manufacturers Trade Association (GASMA) ก่อตั้งเมื่อปี 2546 มีวัตถุประสงค์ หลักเพื่อส่งเสริมการประกอบวิสาหกิจประเภทเกี่ยวกับการผลิต และการจำหน่ า ยวั ส ดุ อุ ป กรณ์ ก ารพิ ม พ์ ตลอดจนการดู แ ล สมาชิกในเรื่องที่เกี่ยวกับวิชาชีพเสมอมา เมื่อวันที่ 14 มีนาคม ที่ผ่านมา คุณสมศักดิ์ ดารารัตน โรจน์ นายกสมาคมฯ เป็นประธานในการประชุมสามัญประจำ ปี 2556 ณ ห้องชมัยมรุเชษ สโมสรทหารบก ถนนวิภาวดีรังสิต ในรอบปีที่ผ่านมา สมาคมฯ จัดกิจกรรมหลายงาน เพื่อ สมาชิก โดยมีงานประจำปีที่ทุกคนไม่เคยพลาด คือ GASMA PRINT 2012 เมื่อ 19-22 กันยายน 2555 ณ ศูนย์นิทรรศการ และการประชุมไบเทค รวมทั้งการไปเยี่ยมเยือนประเทศเพื่อนบ้าน อาทิ สปป.ลาว และสหภาพพม่า เป็นต้น
รวมตัวกันครบ 10 ปี
มาประชุมกันเต็มทีม เข้มแข็งอย่างนี้ทุกปี
รวมกันเราอยู่ แยกกันเราก็อยู่ (โดดเดี่ยว)
AEC เรื่องน่ารู้
ตั้งใจ + ซักถาม
31
Special Report
โลโก้ประเภทบุคคล ของเพลงยุค 60’ 70’ ที่โด่งดังยาวนาน จนมาถึ ง วั นนี้ และยั ง ไม่ มี ใ ครมาลบสถิ ติ ไ ด้ คื อ “คุ ณ เล็ ก วงศ์สว่าง” โก๋ กี๋ หลังวัง ล้วนร่วมสมัยกันทั้งนั้น น่าเสียดายที่ วันนี้… ไม่มีเขาเสียแล้ว แต่น่าชื่นใจที่ลูกสาว คนเดียวของเขา - คุณบุ๋ม ปิยะวัลย์ วงศ์สว่าง รับเป็นแม่งาน ในการจัดคอนเสิร์ต ให้แฟนคลับหายคิดถึง และยังรู้สึกว่า เขา ยังอยู่กับเสียงเพลง ทุกบท ทุกตัวโน้ต เสาร์ที่ 10 มีนาคม ที่ผ่านมาศิลปิน-เซเลบ จึงนัดกันมา รวมรุ่ น ร่ ว มย้ อ นยุ ค ในคอนเสิ ร์ ต การกุ ศ ล “เพลิ น เพลงกั บ เล็ ก วงศ์ ส ว่ า ง ครั้ ง ที่ 2” ที่ ห อประชุ ม มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ งานนี้ สนุกกันสุดฤทธิ์ ใครเป็นใคร ดูได้จากภาพ... ทุกคนอิ่มใจ กับเงินทุน จากการขายบัตร ไม่หักค่าใช้จ่าย มอบให้มูลนิธิมายาโคตมี เพื่อการศึกษาและอบรมจริยธรรมแก่ เยาวชนในชนบท, มู ล นิ ธิ เพื่ อ นพึ่ ง (ภา) ยามยาก สภากาชาดไทย และร่วมสมทบทุน โครงการจัดซื้อรถบริจาค โลหิตเคลื่อนที่ ทุกคนบอกเป็นเสียงเดียวกันว่า ปีหน้า จัดอีก จะขอมา อีก….อย่าห่วงไป คุณบุ๋ม เธอลงบุ๊คไว้แล้ว….
คิดถึง “คุณเล็ก วงศ์สว่าง”
นักร้องรุ่นเก่า รุ่นใหม่ มาร่วมรำลึก ขับกล่อมบทเพลงอย่างสนุกสนาน
คุณกร ทัพรังสี โชว์ลีลา เล่นเอง ร้องเอง
32
CSR In Action
หมดยุคการทำกำไรสูงสุด ถึงยุคแบ่งปัน สร้างสังคมน่าอยู่ร่วมกัน
นิตยสารสื่อนอกบาน ฉบับแรกและฉบับเดียวในประเทศไทย
44
Special Report
ความสืบเนื่องจากการที่ กทม. มีนโยบายเร่งฟื้นฟู ปัญหาริมคลองต่างๆ ในพื้นที่ กทม.
มอบรางวัลให้ชุมชนริมคลอง
...
...
...
...
34
“คื น เสน่ ห์ เ วนิ ช ตะวั น ออก... เราทำได้” ตั้งแต่เมื่อ เดือนตุลาคม ที่ผ่านมา โดย การให้ความรู้ กับชุมชนริม คลอง ในการฟื้ น ฟู แ ละ พัฒนาเส้นทางสัญจรทางน้ำ ภายใต้งบสนับสนุน ชุมชน ละ 20,000.- บาท 6 เดือน ผ่านไป จึงมีการประเมินวัดผล และมอบรางวัล “หลังบ้านน่ามอง ริมคลองน่าอยู่” ให้กับชุมชนที่สามารถชนะ ใจกรรมการ เป็น รางวัลดีเด่น คือ ชุมชนริมคลองประเวศฝั่ง เหนือ รับเงินรางวัล 50,000.- บาท รวมทั้งมอบรางวัลชมเชย อีก 5 รางวัล ได้รับเงินสนับสนุนชุมชนละ 4,000 บาท ได้ แ ก่ ชุ ม ชนวั ด ปากบ่ อ , ชุ ม ชนชนกมาลุ ล อิ ส ลาม, ชุ ม ชน วัดกลาง, ชุมชนมัสยิดริดวานุ้นอิสลาม และชุมชนอัสลาม ในงานวันเดียวกันนี้ กทม.จัดสัมมนา หัวข้อ “ร่วมใจฟื้น เวนิ ส ตะวั น ออก...ทำได้ ไม่ น านเกิ น รอ” เพื่ อ ช่ ว ยสร้ า งขวั ญ กำลังใจ ในการนำไปพัฒนาชุมชนกันอย่างต่อเนื่อง คุณมานิต เตชอภิโชค รองปลัดกรุงเทพมหานคร กล่าวว่า “โครงการนี้ เ ป็ น การสานต่ อ นโยบายของผู้ ว่ า ราชการ กรุงเทพมหานครที่ได้ให้แนวคิดไว้ ช่วยเชื่อมโยงระบบคมนาคม ทั้งทางล้อ ทางราง และทางเรือ เพื่อให้ชาว กทม.ได้รับความ สะดวกสบายมีความสุขกับการใช้ชีวิตในเมืองใหญ่ รวมทั้งเกิด จากความร่วมแรงร่วมใจของชุมชนริมคลองจนน่าจะสามารถ ช่วยกันฟื้นฟูเวนิสตะวันออกให้กลับมาได้อีกครั้งหนึ่งครับ” “จากงบประมาณสนับสนุนในครั้งแรก ผมคิดว่าอาจจะดูน้อย ไปสั ก หน่ อ ย แต่ เ มื่ อ พี่ น้ อ งเราทุ ก คนในชุ ม ชนร่ ว มใจกั น อุปสรรคต่างๆจึงน้อยมาก รางวัลที่ได้รับนี้ เป็นรางวัลแห่ง ความสามัคคีของคนในชุนชน และผมคิดว่า สำหรับชุมชนอื่นๆ ก็สามารถทำได้เช่นกันนะครับ” คุณสมาน โตหัวป่า ประธาน ชุมชนริมคลองประเวศฝั่งเหนือ ชุมชนที่สามารถคว้ารางวัล ชนะเลิศ ไปครอง เล่าเบื้องหลังความสำเร็จ ชาว กทม. ในทุกชุมชน ทุกบ้านเรือน ก็สามารถร่วมใจกัน ช่วย ฟื้นฟูเสน่ห์เวนิสตะวันออก ให้กลับมาสู่มหานครเมืองใหญ่ของ เราได้เช่นกัน...
Around the World OHM ทั่วไทย ทั่วโลก ไอเดียสื่อนอกบ้านบรรเจิดเกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกโอกาส ทุกสถานที่
สุรเชษฐ์ บำรุงสุข บริษัท คินเนติค เวิลด์ไวด์ (ประเทศไทย) จำกัด Surachet Bumrongsuk Country Manager Kinetic
การเปลี ่ยนแปลงของสื่อนอกบ้าน เมี่อวิถีชีวิตแปลี่ยนไป Out-of-home Landscape Has Changed ! ด้ ว ยวิ ถี ชิ วิ ต ที่ เ ปลี่ ย นไป และการเติ บ โตของดิ จิ ต อล เทคโนโลยี ทำให้สอื่ นอกบ้านเปลีย่ นแปลงไปเช่นกัน ผมจึงขอนำ บทความภาษาอังกฤษทีเ่ ขียนโดยคุณวรรณณี วิรยิ ะกิจไพบูลย์ ผู้ อำนวยการด้านบริหารลูกค้าของ Kinetic ที่เล่าเกี่ยวกับการ เติบโตของสื่อดิจิตอล และวีถีชีวิตของคนเมืองหลวงทำให้ภาพ ของสื่อนอกบ้านปรับไปในทีศทางที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้นนั้น ผมขอสรุปฉบับย่อมาเล่าสู่กันฟัง ส่วน ฉบับเต็มอ่านจากต้นฉบับ ทีค่ วบคูก่ นั มานีน้ ะครับ ในปัจจุบันนี้การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่มีวิถ๊ชิวิตที่แตกด่าง จากในอดีตเป็นโจทย์ที่ยากขึ้น เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายมึทาง เลือกในการรับสื่อมากขึ้นซึ่งแน่นอนว่าสื่อที่กลุ่มเป้าหมายเลือก ต้องตอบโจทย์ทั้งในด้านความชอบและวิถีชิวิต กลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนในยุคปัจจุบนั ทีเ่ ติบโตมากับเทคโนโลยีจะคุน้ เคยกับ Quick Read (QR Code), Near Field Communication (NFC) และ Augmented Reality (AR) แน่นอนว่าเทคโนโลยี เป็นส่วนหนึ่งที่จะทำให้กลุ่มเป้าหมายหันมาสนใจในตัวสื่อนอก บ้าน แต่สื่งที่สามารถทำให้ตัวสื่อเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในระยะ ยาวได้นั้นคุณค่าของตัวเทคโนโลยีที่สามารถจะตอบโจทย์ของ กลุ่มเป้าหมายได้ ไม่ว่าจะเป็น ประโยชน์ทางด้านการเงิน เช่น กลุ่มเป้าหมายได้ส่วนลด หรือของแถมจากใช้เทคโนโลยีตัวนั้น แด่ถ้าไม่ได้เป็นส่วนลดก็อาจจะมลูค่าอย่างอื่นที่กลุ่มเป้าหมาย แสวงหาอยู่ เกมส์ เพลง หรืออืน่ ๆ ทีท่ ดแทนกันได้ 36
แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นการใช้สื่อดิจิตอลกับสื่อนอกบ้านก็ต้องตอบ สองคำถามให้ได้วา่ 1. สื่อดิจิตอลนอกบ้านนี้มีความยากง่ายพอที่จะทำให้กลุ่ม เป้าหมายเข้ามาเพือ่ ทดลองหรือไม่ 2. เหตุ ผ ลใดที่ จ ะทำให้ ก ลุ่ ม เป้ า หมายหั น มาสนใจในสื่ อ ดิจติ อลนอกบ้านทีน่ ำเสนอ ที่จริงแล้วกลุ่มผู้บริโภคไม่ได้สนใจหรอกว่าเราจะใช้เทคนิค อะไรกับสื่อนอกบ้าน แต่ทว่าความยากง่าย และสื่งที่ตอบโจทย์ ในเรือ่ งของความชอบต่าง หากทีจ่ ะทำให้ผบู้ ริโภคหันมาสนใจใน ตั ว สื่ อ และพร้ อ มที่ จ ะนำตั ว เองเข้ า ไปสั ม ผั ส กั บ ตั ว สื่ อ และ เทคโนโลยีเพื่อที่จะได้มีประสบการณ์ตรง เช่นกันว่าผู้บริโภค ต้องการสินค้าหรือสื่อที่เหมาะสมกับความชอบและวีถีชีวิตส่วน ตัวมากกว่า โดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นที่มีความคุ้นเคยกับดิจิตอล เทคโนโลยีและพร้อมทีจ่ ะทดลองกับสืง่ ใหม่ๆ ทีเ่ กิดขึน้ แต่กต็ อ้ ง ไม่ลืมว่าสื่อดิจิตอลนอกบ้านนั้นๆ ต้องมีมลูค่าพอที่จะทำให้กลุ่ม เป้าหมายกลับมาใช้ในครัง้ ด่อๆ ไป และมีการบอกต่อๆ กัน ฉะนั้นในส่วนของนักการตลาดและนักโฆษณา ก็ต้องเข้าใจ ในวิถชี วิ ติ และพฤติกรรมของผูบ้ ริโภค เพือ่ ทีเ่ ราจะได้สร้างความ สั ม พ้ น ธ์ ข องตั ว ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ตั ว สื่ อ และกลุ่ ม เป้ า หมาย เพื่ อ เป็นการสร้างให้เกิดความค้นเคยกับสินค้าและยี่ห้อ เพื่อการซื้อ และใช้ผลิตภัณฑ์ Currently consumers have divided their time between many different activities, advertisers now have to work harder to create an ongoing relationship to match their lifestyle and preference. Advertisers are constantly looking to discover new approaches to satisfy consumer’s demands and interest in order to build up an advertising experience leading to brand preference. Interactive out-of-home formats have combined the very best in audience delivery methods with the
creative opportunities that reach those on-the-go audience widely and effectively. Out-of-home advertising has benefited from an explosion of relevantly interactive technologies from Quick Read (QR) codes to Near Field Communication (NFC), or Augmented Reality (AR) further enhancing what has always been an essentially interactive medium. What does the audience think about Interactive OOH? Engaging with passers-by is the main objective of doing interactive OOH but what does the audience think about “Interactive OOH?” Research from CBS Outdoor in England has commissioned a major study into the outdoor audience’s interactive behaviors and found that there are two major values that our audiences have been looking for: • Monetary Value : Consumers benefit from promotion or discounts • Entertainment Value : Consumers benefit from an experience e.g., a game or video/ music contents, etc. A few key questions that are worth considering to increase the likelihood of interaction, these include: values that our audience is zeroing in on. Have we made it easy and practical to “get involved?” Have I offered my audience enough of a reason to interact? Users would not care for more or less whether it is QR, Augmented Reality (AR) or snap technology. What they want is something easy to consume and associates to their preference and lifestyle. Coca-Cola is one such brand that recently launched a successfully interactive campaign that their consumers think positively about the brand from its clear incentive.
Coca-Cola undertook a major brand generosity initiative and dispensed 50,000 ‘free’ cans of Coke using in-door MUPI mini can dispensers across key shopping center locations in Ireland. What consumers had to do was wave their hands across the dispenser to get a free can of Coke. It was a terrific initiative that really utilized the power of engagement using outdoor. Future of Interactive Out-of-Home: Audiences want brands to engage them on the move. That is, they have to either engage or not engage in the process. Despite the speed of change in terms of technology, public attitudes towards Outof- Home interactivity will establish in our market. And the younger, more tech savvy audiences are currently the most engaged and ready to experiment with brands on the move and this is indicative of general consumer behavior in the future. But advertisers should be aware that their audiences don’t want to waste their time. They expect something of value in return for investing their time in exploring brands more deeply. They want to interact and engage with brands that are more fun and more rewarding. They are inclined to like brands more that have made an effort and done something smart and creative. Audiences want brands to apply the same principles to interactivity that they always have Out of Home: if we understand who our audiences are, what they’re doing on the move, how they feel as they go and what they’re looking for when they get there, they are ready for a conversation. That’s how we can build up engagement with positive experience towards brands. Understanding our audiences and how they live their life have crated bilaterally engagement creating the brand endorsement and preference. 37
CSR In Action
หมดยุคการทำกำไรสูงสุด ถึงยุคแบ่งปัน สร้างสังคมน่าอยู่ร่วมกัน
นิตยสารสื่อนอกบาน ฉบับแรกและฉบับเดียวในประเทศไทย
44
งบประมาณการใช้สื่อ
สองเดือนแรกของปี (ระหว่างมกราคม - กุมภาพันธ์ 2556) มีตัวเลขงบประมาณการใช้สื่อ รายงานโดย The Nielsen Company (Thailand) พบว่า มีเพียงสื่อ 3 ประเภท ที่มีตัวเลขเพิ่มขึ้น คือ สื่อโทรทัศน์, สื่อ Transit และสื่อทางอิน เตอร์เน็ต ตัวเลขข้างต้น จัดว่าเป็นปกติของทุกต้นปี ที่อาจต้องรอ ความชัดเจนของการวางแผนสื่อ ก่อนออกสตาร์ท และพบ ว่าการใช้สื่อมีความจำเป็นบ่อย ถี่ ที่ต้องปรับแผน ตาม สถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงที่ไม่คาดฝันได้อยู่เสมอ มีข้อมูลที่น่าสนใจ ในวงการตลาด “ธุรกิจน้ำดำ” หลังจากมี การเปลี่ยนมือโครงสร้างการถือหุ้น ส่งผลถึงการเปลี่ยนแปลง ทางธุรกิจตามมา จากแชมป์จึงกลายเป็นอดีตแชมป์ เมื่อแชมป์ หน้าเดิมมาทวงแชมป์คืน “โค้ก” สามารถทวงแชมป์เบอร์หนึ่งของยอดขายได้สำเร็จ หลังเสียแชมป์ให้เป๊บซี่ไปเมื่อ 12 ปี ก่อน สร้างเสียงฮือฮา ใน ตลาดกันได้คึกโครม ผู้บริโภคแทบจะไม่เห็นขวดเป๊บซี่ แต่พบ “est “เครื่องดื่มน้ำดำ จากค่าย “เสริมสุข” เข้ามาเสียบแทน
“โค้ก” อัดงบโฆษณา ในรอบ 2 เดือน กว่า 127 ล้านบาท และเชื่อว่าจะเดินหน้าใช้งบต่ออีก ในช่วงหน้าร้อน เพื่อรักษา แชมป์ให้คงยืนอยู่ได้ งานนี้ต้องเป็นหนังม้วนยาวที่ต้องติดตาม กันต่อไป และเมื่อตามเจาะ เป็นแบรนด์ หรือยี่ห้อสินค้าที่ใช้งบ ประมาณ ในรอบสองเดือนแรก พบว่า คู่แข่งคู่ซี้ มากับคู่คี่ อย่าง รถกระบะโตโยต้า-อีซูซุ, ประกันชีวิตเอไอเอ-ไทยประกัน ชีวิต, แบรนด์ซุปไก่ - แลตตาซอยคราวหน้าต้องเจอสก๊อตแน่ๆ เพราะโน๊ต อีซี่ อีซี่ มาแรง, ซัมซุง - ค่ายเกาหลีบุกหนัก ในทุก ภูมิภาค และแสนสิริ - ค่ายอสังหาริมทรัพย์ ที่เปิดตัวโครงการ รายวัน เศรษฐกิจ ที่หลายคนเริ่มเป็นห่วงว่า อาจเป็น “ฟองสบู่” รอบใหม่ จึงอยากให้โปรดใช้ความระมัดระวังกันไว้บ้าง บท เรียนจาก “ต้มยำกุ้ง” ยังกังวานอยู่ในห้วงสำนึก เหมือนระฆัง วัดโบถส์ เหว่งแหง่ว ดังแว่ว มาแต่ไกล…
อดีตแชมป์ ทวงแชมป์
งบโฆษณาแยกตามประเภทสื่อหลัก และสื่อนอกบ้านปี 2007 - Feb. 2013 กราฟ 2007-2012
80,000
TV 68,102
Radio
Magazines
60,766
Cinema
51,136
52,935
กราฟ 2007-2012
53,484
60,000
Newpapers
62,230
70,000
Outdoor* Transit*
สื่อหลัก
In Store
50,000
Internet
62,230
60,766
40,000
TV Radio Newpapers Magazines
52,935
0
2007
2008
2010
Page 1
40
Cinema
2012
10,322
Outdoor*
806 665 489 234 139
Transit*
842 2,125 592
4,508 2,895 2,804 572
4,292
12,120
15,208
2011
6,353
4,929
7,220 4,231 2,559 1,702 470
5,924
5,655
5,986 3,846 2,254 1,120 290
13,564
15,000
2009
6,114
4,947 3,960 1,755 820 259
6,165
5,227
4,173 4,216 1,360 560
14,149
15,288 6,933
5,823
4,391 4,480
15,826
สื่อนอกบ้าน
956 570
10,000
6,401
20,000
5,903
51,136
30,000
2013
In Store Internet
ESTIMATED TOTAL ADVERTISING EXPENDITURE BY MEDIUM FEB 2013 VS FEB 2012 [Cinema Rate Card Revised only] BAHT MILLIONS 2013 SOV% 2012 SOV% DIFF % Change MEDIA 841
63.56 5.18
9,896 888
60.83 5.46
432 -(47)
4.37 -(5.29)
2,125
13.08
2,320
14.26
-(195)
-(8.41)
IN STORE
631 807 663 479 237
INTERNET
139
3.88 4.97 4.08 2.95 1.46 0.86 100.0
744 992 709 380 253 86 16,268
4.57 6.10 4.36 2.34 1.56 0.53 100.0
-(113) -(185) -(46) 99 -(16) 53 -(19)
-(15.19) -(18.65) -(6.49) 26.05 -(6.32) 61.63 -(0.12)
TV
10,328
RADIO NEWSPAPERS MAGAZINES CINEMA OUTDOOR TRANSIT
TOTAL
16,249
Total Industry – Exclude Section : Classified, House ads.
Source : The Nielsen Company (Thailand)
TOP 10 BRANDS GROUP ESTIMATED ADSPEND 000’BAHT YTD FEB 13 VS FEB 12 ADVERTISER FEB 2013 FEB 2012 COKE SOFT DRINK
198,789
92,473
ISUZU PICKUPS
167,618
136,931
TOYOTA PASSENGER CARS
160,232
115,175
CLEAR ANTI DANDRUFF SHAMPOOS
125,065
13,102
BRAND’S ESSENCE OF CHICKEN
108,703
95,797
A I A LIFE INSURANCE
105,504
88,334
THAI LIFE INSURANCE
96,504
73,867
SAMSUNG MOBILE PHONE UNIT
94,333
29,910
SANSIRI RESIDENTIAL PROJECTS
94,137
31,524
LACTASOY SOYBEAN MILK
93,294
48,496
Top Advertiser – Exclude Section : Classified and House ads. Source : The Nielsen Company (Thailand)
ขอขอบคุณข้อมูลจาก The Nielsen Company (Thailand) 41
Cover Story สาคร ตรีธนจิตต์ กับตำแหน่ง นายกสมาคมป้ายและโฆษณา
42
Cover Story
สาคร ตรี ธ นจิ ต ต์ นายกสมาคมป้ายและโฆษณา
ยามเมื่อผู้ประกอบการเห็นช่องทางการทำธุรกิจ ปริมาณย่อมมากขึ้น เมื่ อ นั้ น พวกเขามั ก จะรวมตั ว กั นจั ด ตั้ ง เป็ นชมรม และยกระดั บ ขึ้ น เป็ น สมาคม ด้วยเหตุที่มาคล้ายๆ กันกับเกือบทุกธุรกิจ คือ การลุกขึ้นมาดูแล สมาชิก ด้วยกันเอง ในแง่ของการแข่งขันระหว่างกัน และอีกเหตุ คือ การ ปกป้องเป็นปากเป็นเสียง เมื่อถูกข้อกำหนดแห่งรัฐ เข้ามาเข้มงวดกวดขัน สมาคมป้ายและโฆษณา ก็มีเส้นทางเดิน เช่นเดียวกัน แต่การเติบโต ของป้ายบิลบอร์ด ที่เดินหน้าไม่หยุดยั้งนั้น ส่งผลให้มีการหย่อนยานเรื่อง วินัย ไร้ระเบียบ กลายเป็นประเด็นร้อน ให้ได้ถกเถียงถึงความมีมาตรฐาน ความปลอดภัย ตลอดจนความสวยงามของบ้านเมือง แต่การมีช่องว่างระหว่างบรรทัด ของกฎระเบียบ กลับ เปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการบางราย มีลักษณะมองเห็น ประโยชน์ส่วนตนเป็นที่ตั้ง การกำกับดูแลกันจึงต้องใช้กฎ ทางสังคมเข้มๆ จึงจะสร้างความเป็นปึกแผ่นได้ ความท้ า ทายของผู้ น ำองค์ ก รวิ ช าชี พ เกิ ด ขึ้ นทั่ ว ถ้วนหน้า เมื่อต้องทำหน้าที่หนักหน่วง ระหว่างการ เดินหน้าเป็นปากเสียงให้กับสมาชิก และการหันมา สร้างการมีส่วนรวมของสมาชิกด้วยกันเอง ที่แสน หนักใจ ของหลายๆ สมาคมวิชาชีพ คือ การออก นอกลู่ นอกทางของกิจการที่ไม่ใช่สมาชิก ที่บาง ครั้งอาจสร้างรอยด่างให้ภาพพจน์โดยรวมของผู้ ปะกอบการดี งานแบบนี้ จึ ง ต้ อ งใช้ ห ลายพลั ง ลมปราณ มาช่วยกันประคับประคอง ยุคก่อนหน้าอาจ ต้องมี “ท่านผู้อาวุโส” เข้ามาช่วยไกล่เกลี่ย ยุคนี้อาจเป็นยุคของ “คนหนุ่ม” ที่มีแต้มต่อ ด้ า นการเป็ น “ผู้ น้ อ ย” ค่ อ ยถ่ อ มตน ด้ ว ย ความเอ็ น ดู แต่ มี ม รรคผลเหมื อ นกั น คื อ สร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกได้ (เหมือน กัน) การบริ ห ารขององค์ ก ร ตั ว แทนวิ ช าชี พ อาจไม่มีสูตรสำเร็จรูป ที่ใช้เวลาเพียงขอน้ำร้อน 2-3 นาที แล้วพร้อมใช้งาน บริบทของ คุณสาคร ตรีธนจิตต์ กับตำแหน่ง นายกสมาคมป้ายและโฆษณา จึงชวนมอง ด้วย สองเหตุผลหลัก คือ เป็นคนวัยหนุ่มที่สุด ตั้งแต่ การก่ อ ตั้ ง สมาคมฯ และการวางตั ว เป็ น ผู้ น ำขั บ เคลื่อนองค์กรวิชาชีพแห่งนี้ ประวัติศาสตร์ อีกหน้า กำลังจะถูกบันทึกลงแล้ว อยากเอาใจช่วย ต้องรีบพลิกไปอ่าน และลงมือช่วยเขา เมื่ออ่านจบลง อย่าเพียงอ่านลอย แล้วปล่อยวาง คน หนุ่ ม หั ว ใจคะนอง ก็ อ ยากให้ พี่ ๆ เพื่ อ นๆ น้ อ งๆ ริ น กำลังใจมาช่วย อย่างแรง...
จากคำบอกเล่าของผู้อาวุโส เมื่อครั้ง ยุคก่อตั้งเป็น “ชมรมผู้ผลิตป้าย” เมื่อปี 2519 โดยคุณชวาล โสตถิวันวงศ์ และ คุ ณ ประพั น ธ์ หุ ต ะสิ ง ห์ ต่ อ มาจึ ง ยก ระดับจดทะเบียน เป็น “สมาคมผู้ปลิต ป้ายโฆษณา” ในปี 2521 จากข้ อ มู ล ของวารสารผู้ ผ ลิ ต ป้ า ย โฆษณา ฉบั บ ประจำเดื อ นธั น วาคม 2540 ระบุ ว่ า มี ร้ า นป้ า ยจำนวน 38 ร้ า น รวมตั ว กั น ในยุ ค เริ่ ม ต้ น ด้ ว ย อารมณ์ ค วามเข้ ม งวดของทางการ จึ ง จำเป็ น ต้ อ งมี เ สี ย งดั ง ไว้ ต่ อ รอง เมื่ อ กรุงเทพมหานคร มีคำสั่งห้ามติดตั้งป้าย โฆษณายื่ น ล้ ำ หรื อ เหนื อ เข้ า ไปใน เ ข ต ส า ธ า ร ณ ะ ( อ่ า น ข้ อ มู ล ห น้ า ประวัติศาสตร์นี้ได้ใน นิตยสาร OHM ฉบั บ ที่ 68 ฉบั บ ประจำเดื อ นเมษายน 2554 และฉบับที่ 46 ฉบับประจำเดือน กันยายน 2551) นับเนื่องจากจุดเริ่มต้นของ “ชมรม ผู้ผลิตป้าย” มาเป็น “สมาคมป้ายและ พิมพ์สกรีน” มาเป็น “สมาคมผู้ผลิตป้าย และโฆษณา” และ มาเป็นชื่อล่าสุดที่ดู ทันสมัย จากแหล่งที่มาของสมาชิกที่ไม่ เพียงแต่เป็นผู้ผลิต เพราะมีการต่อยอด เป็นงานอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับสื่อนอกบ้าน อีกมากมาย เป็นการทำงานแบบไร้กรอบ – นอกกรอบไม่มีจุดสิ้นสุด แต่มีจุดเริ่ม ต้ น จากการที่ ผู้ บ ริ โภคใช้ เวลาอยู่ น อก บ้านมากขึ้น พบว่า ยอดขายของสื่อป้ายบิลบอร์ด เติ บ โตขึ้ น เป็ น ลำดั บ สะท้ อ นถึ ง การมี จำนวนป้ า ยเพิ่ ม ปริ ม าณขึ้ น แต่ พ บ ว่าการรวมตัวกันของสมาชิกสมาคมป้าย และโฆษณา ยังไม่ครอบคลุมจำนวนของ ผู้ประกอบการที่เพิ่มขึ้นแต่อย่างใด
Cover Story
สาคร ตรีธนจิตต์ กับตำแหน่ง นายกสมาคมป้ายและโฆษณา
ทางโค้ง จุดรับสายตาทำเลทองป้ายบิลบอร์ด จุดไม่เคยว่าง ลูกค้าเช่าตลอด “เรื่องการเดินเข้ามาเป็นสมาชิกของ องค์กรวิชาชีพ เป็นเรื่องของความสมัคร ใจ เป็นที่ตั้ง ผมยังมีความหวังที่จะให้พี่ๆ เพื่อนๆ น้องๆ มองเห็นถึงความสำคัญ ของสมาคมฯ ที่ จ ะช่ ว ยทำหน้ า ที่ เป็ น ปาก เป็นเสียงให้กับพวกเรา แม้ได้ยาม สุ ข สบาย หลายท่ า นอาจจะรู้ สึ ก เฉยๆ แต่ในยามยากหลายคนมักจะวิ่งเข้ามา หาสมาคมฯ ให้ ช่ ว ยบางประเด็ น การ มองมุมนี้ เป็นวิสัยทัศน์ของผู้บริหารใน แต่ละกิจการ ยิ่งการเปิดประเทศสู่ตลาด AEC ยิ่ ง ต้ อ งมองให้ ข าดว่ า สมาคมฯ ย่ อ มเป็ น ศู น ย์ ร วมพลั ง ให้ กั บ ทุ ก คนได้ แต่นั่นหมายความว่าต้องมองประโยชน์ ให้ ต กสู่ ส่ ว นรวม ลด ละ ประเด็ นส่วน ตั ว ออกไปบ้ า ง จะช่ ว ยได้ ค รั บ ” คุ ณ สาคร ตรี ธ นจิ ต ต์ นายกสมาคมป้ า ย และโฆษณา คนล่าสุด กล่าวแบบจริงจัง ในวั นที่ เขามารั บ ตำแหน่ ง นี้ เมื่ อ เดื อ น เมษายน 2555 มาดอารมณ์ดี แต่จริงจังกับทุกงานที่รับปากไว้
แรงบีบทำให้รวมกัน
เส้ นทางธุรกิจพัฒนาเร็ว แต่องค์กรวิชาชีพเชื่องช้า
43
Cover Story สาคร ตรีธนจิตต์ กับตำแหน่ง นายกสมาคมป้ายและโฆษณา การบริ ห ารงานในฐานะองค์ ก ร วิชาชีพของผู้ประกอบการป้ายโฆษณา มีนายกสมาคมฯ มาแล้ว 6 ท่าน ได้แก่ คุ ณชวาล โสตถิ วั น วงศ์ ( ถึ ง แก่ ก รรม), คุณธานินทร์ โล่รัตนเสน่ห์(ถึงแก่กรรม), คุ ณ วิ นั ย ศิ ล ปศิ ริ พ ร, คุ ณชั ช ชาย เดช บัณฑิตย์, คุณนพดล ตัณศลารักษ์ และ คุณยุวพล พรประทานเวช ล้วนแต่เป็น ผู้มีคุณูปการ ต่อภาพพจน์โดยรวมของ สมาคมฯ มาแล้ว การทำงานที่ต่างสไตล์ ต่างฝากผล งานไว้ ต ามจั ง หวะของโอกาส และสิ่ ง แวดล้ อ มในช่ ว งจั ง หวะนั้ น การรั บ ตำแหน่งนายกสมาคมฯ ของคุณสาคร ตรีธนจิตต์ จึงเป็นความท้าทาย บนการ เปลี่ ย นผ่ า นของธุ ร กิ จ นี้ ยิ่ ง นั ก เขารั บ หน้ า ที่ ในตำแหน่ ง เลขาธิ ก ารสมาคมฯ มาตั้ ง แต่ ปี 2551 เป็ นการเรี ย นรู้ ง าน เตรียมตัวมาเพื่อการนี้ ว่าสักวัน เขาคง ต้องมารับงานเป็นผู้นำ หากยังทำงานใน สายงานนี้ ซึ่งก็พอจะเตรียมใจไว้รอบ้าง แล้ว นายกสมาคมป้ายและโฆษณา คนที่ 7 ประกาศวิสัยทัศน์ ไว้ว่า “จะดำเนิน การให้สมาคมฯ เป็นศูนย์รวมของธุรกิจ ป้าย สร้างความสมัครสมานสามัคคีใน มวลหมู่สมาชิกและส่งเสริมความยั่งยืน ในวิชาชีพ” จึ ง มี ก ารสานต่ อ โครงการ “ป้ า ย มั่นคงแข็งแรง” ต่อจากนายกสมาคมฯ ท่านก่อน และพบว่าได้รับความร่วมมือ มากขึ้นในกลุ่มสมาชิก รวมทั้งหน่วยงาน ภาครัฐที่ให้การสนับสนุนเป็นอย่างดี
วันรับตำแหน่งนายกสมาคมป้ายและโฆษณา สังเกตว่า อดีตนายกฯ หมาดๆ ยิ้มร่า ขอให้สังเกตว่ามีคำว่า Safty 12/13 แสดงว่าเป็นป้ายที่เข้าร่ว มโครงการฯ เหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ความหวาดกลั ว ต่อวิชาชีพ เสียงส่วนใหญ่ของพวกเขา หวาดระแวง เรื่ อ งความปลอดภั ย ของ บอกว่า อยากทำงาน บนวิชาชีพนี้อย่าง ป้ายบิลบอร์ดขนาดใหญ่ คือ การล้มลง มี เ กี ย รติ มี ศั ก ดิ์ ศ รี เหมื อ นอาชี พ อื่ น ๆ ของป้ า ยยั ก ษ์ ซึ่ ง มั ก อยู่ ใ นเขตชุ ม ชน พวกเขาไม่ต้องการถูกมองด้วยสายตาดู ทรัพย์สินเสียหาย ประชาชนเสียชีวิต หมิ่น ดูแคลน หากมีหนทางใดจะทำได้ ผู้ประกอบการกลายเป็น “ผู้ร้าย” ใน ก็เต็มที่ สายตาของประชาชน เป็นที่น่ารังเกียจ ต้นตอแห่งเหตุที่ทำให้ป้ายบิลบอร์ด
ผ่านมาแล้ว 6 นายกฯ
ประกาศวิสัยทัศน์
44
ป้ายมั่นคงแข็งแรง
ล้ม มาจากหลายสาเหตุ อาทิ ความแปร ปรวนของลม ฟ้า ฝนที่รุนแรงขึ้น ขาด การดู แ ล บำรุ ง รั ก ษาให้ อ ยู่ ใ นสภาพดี และอี ก ปั ญ หาที่ ห ลายคนคาดไม่ ถึ ง การถู ก ขโมยน๊ อ ตยึ ด โครงป้ า ย ขโมย หลอดไฟฟ้าส่องสว่าง การเป็นองค์กรตัวแทนวิชาชีพของผู้ ประกอบการป้ายบิลบอร์ด จึงทำหน้าที่ เป็นคนกลางในการสร้างความมั่นใจให้ กั บ ผู้ เ กี่ ย วข้ อ ง โดยการมี สั ญ ลั ก ษณ์ “Safety” ติดไว้ที่ป้ายบิลบอร์ดที่ผ่านขั้น ตอนตามเกณฑ์แล้ว “ผมให้ ค วามสำคั ญ กั บ โครงการนี้ มากครั บ เพราะเป็ น ปั จ จั ย สำคั ญ ที่ จ ะ เรียกความเชื่อมั่นต่อวิชาชีพของพวกเรา ให้มีพื้นที่ในสังคมอย่างมีเกียรติ ผมขอ ถือโอกาสนี้เชิญชวนท่านสมาชิก รวมทั้ง ผู้ที่มีป้ายโฆษณาขนาดใหญ่อยู่ในมือ มา ร่วมมือกันเถอะครับ ผมเชื่อว่า สุดท้าย จะเป็ น ผลดี ใ นระยะยาวกั บ วงการนี้ ครั บ ” คุ ณ สาคร ให้ ค วามมั่ น ใจ และ บริษัทของเขาเองก็ให้ความร่วมมืออย่าง เต็ ม ที่ เพื่ อ เป็ น แบบอย่างในฐานะผู้นำ องค์กร การผ่ า นร้ อ น หนาว ขององค์ ก ร วิ ช าชี พ ไม่ มี ค ำว่ า ช้ า สาย หรื อ เร็ ว หากแต่ควรมองด้วยสายตาที่มั่นคง ยั่ง ยืน ทรงไว้ซึ่งเกียรติภูมิ ส่งต่อไปยังคน อีกรุ่น จารึกไว้ในประวัติศาสตร์อีกหน้า ของธุ ร กิ จ ป้ า ยโฆษณา จึ ง เป็ น ความ ท้ า ทายของนายกสมาคมป้ า ยและ โฆษณา ในทุกยุค ทุกสมัย เรื่อยมา ไม่มีผู้ใด ทำงานขับเคลื่อนองค์กรได้ เพียงลำพัง ผู้นำมีภารกิจเสมือนกัปตัน เรือเดินสมุทร ที่จะคอยมองสภาพคลื่น ลม กำหนดทิศทางที่ควรจะเป็น กำลัง สำคัญของการเคลื่อนตัว คือ ความเข้ม แข็ ง ของสมาชิ ก ที่ ม องเห็ น พื้ น ที่ ส่ ว น กลาง ที่ ท้ า ยสุ ด จะกลายเป็ น “บึ ง น้ ำ ” ขนาดใหญ่ ใ ห้ ไ ด้ บ ริ โ ภคกั น ทั่ ว ถ้ ว นทั้ ง หมู่ บ้ า น เดี ย วกั บ ความร่ ม เย็ น เจริ ญ ก้าวหน้าของทุกธุรกิจ ท่ามกลางความ แข่งขันของโลกธุรกิจที่นับวันจะบีบคั้น กดดั น เพิ่ ม ดี ก รี ขึ้ นทุกวัน เมื่อโลกใบนี้ ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป...
Cover Story
สาคร ตรีธนจิตต์ กับตำแหน่ง นายกสมาคมป้ายและโฆษณา
คุณนพดล ตัณศลารักษ์ นายกสมาคมป้ายและโฆษณา ปี 2549 ถึงปี 2550 “ผมคิดว่า ภารกิจของสมาคมป้ายและโฆษณา มีความ ชัดเจนในตัวเอง อาทิ ภารกิจหลัก คือการเป็นตัวแทนของ ผู้ประกอบการ ให้ธุรกิจนี่เกิดความร่วมมือกันระหว่างภาครัฐ และเอกชน ในเรื่องข้อกฎหมาย กฏเกณฑ์ ระเบียบต่างๆ ให้มีความยั่งยืน ผมคิดว่า เรามีเงินหมุนเวียนในระบบห่วง โซ่ ข องสื่ อ นอกบ้ า น ไม่ น่ า ต่ ำ ไปกว่ า 100,000 ล้ า นบาท มากโขนะครับ ภารกิจรองลงมาเป็น การรวมตัวกันของคนทำงานใน ธุ ร กิ จ เดี ย วกั น สมาคมฯ ต้ อ งมี ส่ ว นในการช่ ว ยสร้ า ง มิตรภาพ แม้บางครั้งอาจต้องเล่นบทคู่แข่งกัน แต่ทั้งหมด คือเพื่อนร่วมธุรกิจเดียวกัน เป็นเพื่อนกัน กอดคอกันได้ และต้ อ งรวมเสี ย งกั น ให้ เ ข้ ม แข็ ง เพื่ อ ความเป็ น ปึ ก แผ่ น ของภาคธุรกิจนี้ ให้ ได้ สำหรับคุณสาคร ผมคิดว่าเขามารับตำแหน่งในภาวะที่ ใช่ บุคลิกส่วนตัว จะช่วยเป็นตัวเชื่อมระหว่างพี่-น้อง ของ พวกเราได้ดี ผมยินดีสนับสนุนทุกงานของสมาคมฯ ครับ”
45
Cover Story สาคร ตรีธนจิตต์ กับตำแหน่ง นายกสมาคมป้ายและโฆษณา จากเด็ ก หนุ่ ม ชาวจั ง หวั ด พระนคร ศรีอยุธยา เขาเป็นลูกชายคนที่สอง ของ ครอบครัวที่มีพี่น้องสี่คน - พี่ชายคนโต น้องสาวคนรองและน้องชายคนเล็ก มงคล – สาคร – กั ล ยา - นิ วั ฒ น์ ตรีธนจิตต์ สี่พี่น้อง ที่วันนี้พวกเขาช่วย
กันสร้างงานในธุรกิจสื่อนอกบ้านกับ 6 บริษัทในเครือ โดยมีการปันส่วนกันดูแล ตามความถนั ด และเป็ น ที่ ย อมรั บ ว่ า “สาคร” เป็นผู้นำของครอบครัว ที่เข้ม แข็ง งานทุกชิ้น เริ่มจากความขยันของ เขา พี่น้องทุกคนมาช่วยเสริมและขยับ
รู ้จักนายกสมาคมป้ายและโฆษณา คนที่ 7
46
ขยายในเวลาต่อมา เด็กหนุ่ม - สาคร ตรีธนจิตต์ เรียน จบ ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ ชั้ น สู ง (ปวส.) มหาวิทยาลัยสยาม และทำงาน เริ่ ม แรก ที่ บ ริ ษั ท มี เดี ย ดาต้ า รีสอร์ท จำกัด หรือ MDR ซึ่งเป็นบริษัทในเครือ ของหนั ง สื อ พิ ม พ์ ฐ านเศรษฐกิ จ เมื่ อ ปี 2533 “ผมเป็นเซลล์ขายหน้าโฆษณาให้กับ หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ยุคนั้นต้อง บ อ ก ว่ า เ ป็ น ยุ ค ท อ ง ข อ ง ธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ผมเริ่ ม มองเห็ นช่ อ ง ทางว่ า น่ า จะทำงานของตั ว เองได้ จึ ง ตั ด สิ น ใจลาออก และเรี ย นรู้ เรื่ อ งงาน ป้ายโฆษณา อย่างจริงจัง โชคดีที่ผู้ใหญ่ หลายท่ า นให้ ค วามเมตตา” คุ ณ สาคร เล่า แบบเปิดใจ เขามีบุคลิกที่เปิดเผย ที่ กลายเป็นข้อดีให้ใครๆ ชื่นชมได้เต็มปาก เขาเริ่ ม เปิ ด บริ ษั ท ของตั ว เอง ในปี 2536 ใช้ชื่อว่า “ส.ธนามีเดีย” ตั้งใจที่ จะจดจำชื่อของบิดา มารดา ให้เป็นสิริ มงคลแก่ ตั ว เองและครอบครั ว คื อ “สุ ร ศั ก ดิ์ - บิ ด า” และ “สุ ม ณฑา มารดา” รวมทั้งควบรวมบวกกับตัวเอง “สาคร” จึ ง กลายเป็ น “ตั ว สอเสื อ ” ที่ มั่นคงเรื่อยมา เขาเล่ า ต่ อ อี ก ว่ า ได้ รั บ ความรู้ จ าก ชั้น “ครู” ของวงการป้ายโฆษณา ในยุค นั้นเกือบทุกคน ที่มองเห็นความขยันของ เด็กหนุ่มอย่างเขา ได้รับความอ็นดู การ เรี ย นรู้ จึ ง เป็ นทางลั ด ให้ เ ขาก้ า วขึ้ น มา รวดเร็ว ความซาบซึ้งใจกับผู้ใหญ่ หลาย คน อาทิ เฮียเต๋า - คุณธานิทร์ โล่รัตน เสน่ ห์ แห่ ง ไทยประสิ ท ธิ์ ท่ า นเป็ น ครู ใหญ่ที่ไม่ได้สอนเรื่องงานอย่างเดียว ยัง มี เรื่ อ งจริ ย ธรรม ความรู้ ร อบตั ว ต่ า งๆ อี ก มาก ที่ ส ำคั ญ ท่ า นลงมื อ ทำให้ ดู อี ก ด้วย, เฮียเชษฐ์ - คุณกิติชัย ศรีจำเริญ แห่ ง ฮั ล โหลบางกอก ผู้ ค่ ำ หวอดใน วงการป้ า ย บุ ค ลิ ก กล้ า ได้ กล้ า เสี ย ที่ พลิกชีวิต กลายเป็นบทเรียนอีกบทที่เขา จดจำมา และบรมครูอีกหลายท่าน ที่
อาจจะไม่ได้เอ่ยนามท่านได้ทั้งหมด เขา ยั ง ระลึ ก ถึ ง และขอบคุ ณ ที่ ช่ ว ยหลอม หล่ อ ให้ ก ลายเป็ นตั ว ตนของ “สาคร” มาถึงวันนี้ การเรียนรู้ แนวทางของการทำงาน ปั ญ หา วิ ก ฤต และอื่ น ๆ ล้ ว นเป็ นชี วิ ต จริงที่หาไม่ได้จากบทเรียนให้ห้องเรียนวิ ชาใดๆ หากเป็นวิชาชีวิต ที่เขาขอส่งต่อ ไปยั ง คนรุ่ นต่ อ ไป ให้ ท ำงานอย่ า งมี ส ติ มองภาพรวมให้กระจ่างชัด มีจิตอาสา ปั ญ หาหาทุ ก อย่ า งแก้ ไขได้ ด้ ว ยกลไก ของตัวมันเอง เริ่มต้นด้วยเงินลงทุนสี่แสนบาท ชีวิตเริมต้นที่ต้องเริ่มเป็นเถ้าแก่ เมื่อ มองเห็นลู่ทาง จากการปรับเพิ่มแผนก ป้ า ยโฆษณา ขึ้ น ในหน้ า ตี พิ ม พ์ ข อง หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ เขาเรียนรู้ สาระสำคั ญ ของการดำเนิ น งานที่ เกี่ยวข้องกับการทำป้าย และเมื่อเริ่มจะ เป็นเถ้าแก่เอง ก็เริ่มมองหารลูกค้า พบ แล้ ว … มี ลู ก ค้ า ต้ อ งการเช่ า ป้ า ย ที่ อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี ต้องใช้ เงิ น ลงทุ น ประมาณ 400,000.- บาท เป็ นจุ ด ที่ ต้ อ งคุ ย กั บ ครอบครั ว ต้ อ งนำ ตึกแถวมาจดจำนองกับธนาคาร ได้เงิน มาสร้างโครงป้าย หากวันนั้นเดินพลาด ก็ ค งต้ อ งม้ ว นเสื่ อ กลั บ ไปนอนบ้ า นที่ อยุธยา เหมือนเดิม โชคเข้าข้าง เมื่อทุกอย่างผ่านไปได้ ด้ ว ยดี เขาค่ อ ยๆ เก็ บ ออมเงิ น ผ่ อ น ธนาคารจนครบ และเริ่มลงทุนป้ายชุด ต่อๆ มา จนกลายเป็นผู้ประการ ระดับ กลางของธุรกิจป้ายบิลบอร์ด “ชีวิตผมมาจากศูนย์ ผมจึงไม่ได้คิด ว่าจะต้องก้าวออกมาเป็นที่หนึ่ง ความ สำเร็ จ ไม่ ได้ ม องจากจำนวนป้ า ยในมื อ หรื อ ขนาดป้ า ยที่ ใหญ่ ยั ก ษ์ แต่ เป็ นการ เติ บ โตไปพร้ อ มๆ กั น ระหว่ า งผมและ ลูกค้า ผมเข้าใจในความเป็นเซลล์ เป็น พนั ก งานกิ น เงิ น เดื อ น ผมจึ ง เข้ า ใจว่ า พวกเขาต้องการอะไร ผมจะฟังทุกเรื่อง ทุกปัญหาที่คนในบริษัทอยากจะพูด
Cover Story
สาคร ตรีธนจิตต์ กับตำแหน่ง นายกสมาคมป้ายและโฆษณา
คุณชัชชาย เดชบัณฑิตย์ นายกสมาคมป้ายและโฆษณา ปี 2547 ถึงปี 2548 “ในยุคที่ผมเป็นนายกสมาคมฯ ผมต้องวางงานของ บริษัทส่วนตัวไว้ข้างๆ ไม่นำออกมาปะปน ในการบริหารงาน ของสมาคมฯ โดยเด็ดขาด เพื่อให้สมาชิกทุกคนสบายใจ การทำงานให้สมาคมฯ ทุกคนมีเทอมในการทำงาน การ รั ก ษาองค์ ก ร การต้ อ งมี ส มาคมวิ ช าชี พ ยั ง ต้ อ งมี ค วาม จำเป็ น ว่ า ต้ อ งมี ค รั บ สิ่ ง สำคั ญ ที่ เ ป็ น หั ว ใจในทุ ก ยุ ค ทุ ก สมัย คือ การดึงความร่วมมือของสมาชิก ซึ่งผมยอมรับ ว่าไม่ ใช่เรื่องง่ายเลย นายกสมาคมฯ ต้องทำงานหนัก ผมเอาใจช่วย และรู้ รสชาติ นั้ น เป็ น อย่ า งดี จึ ง ขอช่ ว ยในทุ ก ๆ เรื่ อ งของ สมาคมฯ แต่บางครั้ง เรื่องของเวลา อาจจะจัดมากน้อย บ้าง ตามจังหวะของธุรกิจ ผมเห็นด้วยกับโครงการป้ายมั่นคงแข็งแรง สนับสนุน เต็มที่ครับ”
47
Cover Story สาคร ตรีธนจิตต์ กับตำแหน่ง นายกสมาคมป้ายและโฆษณา
และนั่งคุยกัน เพื่อหาทางออกที่ดีที่สุด เพื่ อ เข้ า ใจกั น พวกเราจึ ง สนุ ก กั บ การ ทำงาน อยู่ กั น แบบครอบครั ว กิ นข้ า ว โต๊ะเดียวกัน แลกเปลี่ยนกันไม่ว่าจะเป็น เรื่องส่วนตัว และ งาน บุคคลิกของตัว ผม กับ ใน บริษัท จึงไม่ต่างกัน” นี่น่าจะเป็นเหตุผลหลัก ของการมีบุคลิก ที่ ชอบ “รับฟัง” เขาจึงเป็นผู้นำในฐานะ ผู้บริหารองค์กรวิชาชีพ ที่หลายคนฝาก ความหวังไว้ได้ ข้ อ บั ญ ญั ติ นิ ย ามของว่ า “ป้ า ย โฆษณา” ยังถูกนับรวมอยู่ในเรื่องเดียว กับ “อาคาร” ความเป็นสื่อนอกบ้านจึง ยังพัวพันอยู่กับกฎระเบียบดั้งเดิม การ เติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น อาจต้ อ งใช้ เวลาใน การ “ถอดสลัก” การตีความ ที่จำเป็น ต้องใช้การรวม การผนึกกำลังกันขนาน ใหญ่ เป็ นความท้ า ทายของคนหนุ่ ม ยิ่ ง นัก... วันนี้ เขาบริหาร ร่วมกับพี่น้อง กับ 6 บริษัทในเครือ ที่ถูกวางระบบไว้เป็น อย่างดีแล้ว และมีการแบ่งงานกันดูแล แบ่งปันกันในครอบครัว พวกเขาพร้อมที่ จะสนับสนุนน้องชาย - พี่ชาย คนนี้ให้ ขึ้ น มาสู่ ก ารยอมรั บ ในวิ ช าชี พ ป้ า ย โฆษณา เมื่อวันนี้เดินมาถึงแล้ว….
ความร่วมมือกับ การไฟฟ้านครหลวง สถิติอุบัติเหตุ อันเกิดจากป้ายโฆษณา ที่ส่งผลให้ ไฟฟ้าดับ เป็นวงกว้าง เกิด ความเสียหาย ในรอบ 5 ปี ที่ผ่านมา ถูกรวบรวมไว้น่าสนใจ คือ ระหว่างปี 2550-2555 จำนวน 529 ครั้ง ดังนั้นสมาคมป้ายและโฆษณา จึงเริ่มมีความร่วมมือกับการไฟฟ้านครหลวง ในการให้ความรู้ สร้างความเข้าใจกับสมาชิก ในหลายกิจกรรม ติดตามกันได้ ใน www.aspathailand.org
48
คุณนิวัฒน์ ตรีธนจิตต์ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ส.ธนามีเดีย จำกัด เ ข า เ ป็ น น้ อ ง ช า ย ค น เ ล็ ก ข อ ง ครอบครัว “ตรีธนจิตต์” ที่ถูกถ่ายทอด งานทั้งหมดของพี่ชาย - คุณสาคร มาไว้ จนน่าจะครบถ้วน จนกลายเป็นทายาทที่ จะรั บ งานต่ อ จาก คุ ณ สาคร ได้ ทุ ก กระเบียดนิ้ว “ผมเรียนรู้งานจากเฮียเป็ด มาตั้งแต่ ก่อตั้งบริษัท และมาจริงจัง ในการเดิน เข้าไปทำความรู้จักลูกค้าทุกราย ที่มีอยู่ ราว 50 แห่ง จนทำงานแทนเฮียได้แล้ว ครับ ซึ่งผมใช้เวลา อยู่ราว 6 ปี เต็มๆ เราทำงานกันเป็นครอบครัว ทุกคน ตั้ ง ใจทำงาน รู้ ห น้ า ที่ เต็ ม ที่ ใ นการให้ บริการลูกค้า ผมเน้นที่งานคุณภาพ ผม เป็นเซลล์คนเดียว ที่จะเข้าไปพบ เยี่ยม ลูกค้า โดยมีแนวหลังเป็นงานออฟฟิศที่ เข้มแข็ง คอยหนุนช่วย
ทั้ ง 6 บริ ษั ท ในเครื อ ทำงานครบ วงจร ตั้งแต่การมีป้ายบิลบอร์ดให้เช่า มี ขนาด 4 X 8 เมตร ไปจนถึง 14 X120 เมตร มี ง านพิ ม พ์ ใ นโรงงาน รั บ งานอี เว้นท์ให้ลูกค้า ลูกค้าของผม 70% เป็นการซื้อจาก เอเยนซี ที่เหลือเป็นลูกค้าที่ซื้อป้ายเอง ระยะเวลาส่วนใหญ่ ที่เช่า คือ 6 เดือน สูงสุดที่จะให้เช่าได้ คือ 12 เดือน การดู แ ล ลู ก ค้ า ไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งหนั ก ใจ สำหรับผม เราจัดเวลาได้เอง ลูกค้าน่า รักทุกคน ผมเรียนรู้งานจากเฮียเป็ด ใน หลายเรื่ อ ง ส่ ว นใหญ่ เขาจะเป็ น คน ทำให้ เ ห็ น ผมซึ ม ซั บ วิ ธี ก าร ในการ ตั ด สิ น ใจ ทำในสิ่ ง ที่ ถู ก ต้ อ ง ปั ญ หาจึ ง น้อย เราคุยกันได้ทุกเรื่อง เฮียเป็ดเป็น คนใจนักเลง คำไหนเป็นคำนั้น ทำให้คน รอบข้างไว้วางใจ งานทุกงาน เรื่องคำ พูด คำสัญญา สำคัญมากครับ ทำให้คบ กั น ได้ ค้ า ขายกั น ได้ ย าวนาน เป็ นทั้ ง ลูกค้า เป็นทั้งเพื่อน ทั้งพี่ ทุกสถานะ ที่
20 ปี บริษัท ส.ธนามีเดีย จำกัด
Cover Story
สาคร ตรีธนจิตต์ กับตำแหน่ง นายกสมาคมป้ายและโฆษณา
สบายใจกันทุกฝ่าย จั ง หวะที่ เ ฮี ย ขึ้ น มาเป็ น นายก สมาคมฯ พวกเขาทางบ้านก็ดีใจนะครับ ช่วยกันเต็มที่ ดีกับบริษัทฯ ด้วย เพราะ ไปไหน ก็ จ ะมี โ ลโกของ ส.ธนา ติ ด ไป ด้วย งานทุ ก งาน พวกเราช่ ว ยดู แ ล อยู่ แล้ว เฮียไปทำงานสมาคมฯ ทำงานให้ ส่วนรวมได้อย่างสบายใจครับ” คุณนิวัฒน์ - น้องชายคนเล็ก คนนี้ มี พี่ ช าย – เฮี ย เป็ ด - คุ ณ สาคร ตรี ธ น จิตต์ เป็นไอดอล ทายาททางธุรกิจของ บริษัท ส.ธนามีเดีย จำกัด ถูกวางตัวไว้ แล้ว เส้นทาง 20 ปี ที่ผ่านมา จึงไม่น่า หนักใจ วัยของเขาเพียง 35 จึงยังมีเวลา ทำงาน บนเส้นทางที่พี่ชายได้วางไว้ได้ อีกยาวไกล และอาจจะถูกชะตาลิขิตให้ เดิ น เส้ น ทางเดี ย วกั บ การเป็ น นายก สมาคมป้ า ยและโฆษณา ในอนาคต ….ใครนะหยั่งรู้ ฟ้ารู้…ดินรู้..เท่านั้น….
จากที่ชอบรถยนต์ การแต่งรถด้วยการ Wrap จึงเป็นอีกธุรกิจที่ทำเงินได้
49
Cover Story สาคร ตรีธนจิตต์ กับตำแหน่ง นายกสมาคมป้ายและโฆษณา
คุณอิทธิศักดิ์ สมิทธิพร Director – OOH Specialist (ผู้อำนวยการฝายสื่อนอกบ้าน) บริษัท คินเนติก เวิลด์ไวด์ (ประเทศไทย) จำกัด “ผมรู้จักคุณสาคร มาตั้งแต่ยังเป็นเด็กหนุ่ม เห็นและรู้สึกได้ ว่า เขาเป็นคนมีความสามารถ มานะ สู้ชีวิต อารมณ์ดี มีความ ทะเยอทะยานที่จะคว้าดวงดาว ผมรู้สึกเหมือนเขาเป็นน้องชาย ที่อยากช่วยให้ฝันเขาเป็นจริง เราเคยผ่านวิกฤตช่วงปี 2540 มาด้วยกัน ตอนนั้นจำแม่น ว่า ลูกค้าเป็นยาสีฟันคอลเกต มีการทำ Mock-up ขึ้นมาช่วย กันดูแลลูกค้ากันเต็มที่ แล้วเราก็ผ่านกันมาได้ ต่อมาเขามีป้ายบิลบอร์ด เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ หลายจุด ผมมอง ว่าจุดติดตั้งราวสัก เกือบ 70 % รับกันได้ อยู่ในตำแหน่งที่ดี และพอมีปัญหาเรื่องป้าย เขาก็เป็นที่ปรึกษาที่ดี แม้จะไม่ใช่ป้าย ของเขาก็เถอะ ผมคิดว่า สื่อนอกบ้าน ยังไงก็ต้องมีป้ายบิลบอร์ดอยู่ในผัง ของการซื้อสื่อ หากจะบอกว่าไม่มีเลยนั้น เป็นไปไม่ได้แน่นอน หรือหากจะพัฒนาขึ้นไปเป็นป้าย LED ก็ต้องอยู่ในตำแหน่งที่ดี เท่านั้น วงการป้ายบิลบอร์ด ผมคิดว่ามีการแข่งขันกันสูงมาก หาก จัดระเบียบป้ายกันได้ น่าจะเป็นเรื่องดี ผมยังเชื่อมั่นลึกๆว่าคุณ สาคร น่าจะเป็นคนหนุ่ม ที่จะช่วยเชื่อมประสานธุรกิจนี้ไ ด้นะ ครับ”
50
คุณยุวพล พรประทานเวช นายกสมาคมป้ายและโฆษณา ปี 2551 ถึงปี 2554 “ผมสนับสนุน คนหนุ่ม คนรุ่นใหม่ ให้เข้ามาทำงาน รู้ ว่าเป็นงานหนัก งานที่ต้องเสียสละ โดยมีผู้ ใหญ่คอยหนุน ในช่วงที่ต้องรับงานเป็นนายกฯ ผมรู้ดีครับว่าต้องใช้กำลัง ใจสูงส่งมาก เป็นงานเสียสละเพื่อส่วนร่วม สมาคมฯยังมี เรื่องที่ต้องเดินไปข้างหน้าอีกมาก เรื่องการต่อรอง เจรจา กับภาครัฐ การดูแลสมาชิก ผมคิดว่าคุณสาคร เป็นคนหนุ่มที่มี ไฟ ในตัวอยู่เยอะ รู้ งานของสมาคมฯ แล้วเป็นอย่างดี เชื่อว่า เขาทำได้ ตาม ความตั้งใจ ผมและอดีตนายกฯ ท่านอื่นๆ จึงจะคอยส่ง กำลังใจ พร้อมให้ความร่วมมือครับ”
CSR In Action
หมดยุคการทำกำไรสูงสุด ถึงยุคแบ่งปัน สร้างสังคมน่าอยู่ร่วมกัน
นิตยสารสื่อนอกบาน ฉบับแรกและฉบับเดียวในประเทศไทย
44
Cover Story สาคร ตรีธนจิตต์ กับตำแหน่ง นายกสมาคมป้ายและโฆษณา
ด้ วยความอาลัยยิ่ง
จะเข้าร่วมโครงการ
ป้ายมั่นคงแข็งแรง ได้อย่างไร
เข้าร่วมเป็นสมาชิกของสมาคมป้ายและโฆษณา และขอรายละเอียดได้ที่ ที่ทำการของสมาคมฯ เลขที่ 40/64 หมู่ 3 อาคารโอซีเอ็ม ชั้น 3 ซอยสยามสามั ค คี ถ.วิ ภ าวดี รั ง สิ ต แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กทม. 10210 โทรศัพท์ 02-5218255-6 โทรสาร 02-5218257 หรือ Email: aspasign@hotmail.com
���������� ��������� ���
������ � ������� � �� � �� � � ��������� ���������� 5,400 ������� ������ ����������������������� ��������������� (�����)� ���� 2558 ���������������� 3 ������� ���� ���������� ������������� �������� ������ ������� �� ���������� ��������������������������������
�������� ���� ����������� ��� �������� �������� ��� �������� ������������������ ������ (���.) �������� 1,000 ���� ����������������� ��� ����� ���� ��������������������� ���. ���� ����� ����������������������������������� ��������������������������� �����
�������� ������������������������� ������������������� ���������� ���� ���� ��� ������ ����������� ���. ���� � �������� � ��� � ��� � ��� � ��� ������������������������� ����� �������������������������������� ������������������������������� ��������������� �
Section B
������������� 13 ������� �.�. 2555
�������������������������� ������������������������� �������������������������� ����������� — ����������������� ������������������ ���������� ���� ��������� ���� ��������� � �������� ��������������������� ���� � �� � ������ � ��� � �� � �� ������������������������ ������� ��� ������ �� � �� �� � ��� � ������� ���� ��������������� �������������� ���� ���� �������� ����������
������ ��� �� � ������ � ���� ��� � �� � ����� �� �� � ����� � ������� � � ����� � ��� � ��� � ������ � ��� � � ��� ���� � ������� � ��� � ��� � ���� � �� ��������������� � ��� � ��� � ��� � ���������������������������� ����������������������������� ����� ���������� �� ������������� ����������������
������� � �� � ����� � ��� ���������� �� � ��� ��������� ���������� ������ ��������� ������� ���������� ������������ ��������������������������� �� � ����� �� � �������� � ������ � ��� ���������������������������������� �������� ����� ����������������� ��� � �� � ���� � ���� �� � ������� � ��� ��������� � �� � ��� � ��� � ���� � ��� �������� ������ “��������������������������� ������������� ���������������� ����������� ���� ��������������
������������������������������� ������������������������ 2554 ������ 40% ��������� ��������� ��������� ���������������������� ������������ ���������� ���������� �������������������������������������” �������� ����� ������������ ������ ����� ������ ����������������������� 10 ���� � ���� � ���� � ������ � ������� ������������ ����������� ������� ���� 7.25 ������������ (��.�.) ����� ����������� ���� ������ 6.8 ��� ��.�.����� ���������������������
����� � ����� � ������� � ������ � ������ ���� ������� ���������������� ������������������� 2556 �� ����� �������������������� 1.4 ��� ��.�. ���������� 3.7 ���� ��.�. ����� “����������������������� ��������� � �� � ����� � ������ � � ������������������������� ����� ��� ������� �� � ���� � ��� � ������� ������������������������������ �������� ����������� ��������������” �������� ����� ��������� ���� ����� ���� ����
�������� � ����� � ��� � ���� � ��������� ���� � �� � ������� ���������� ���������� ������� ������������������������������ ������������ ��������������� ������������� ����� ����� �������� ���� �������� ��������������� ���������������������� ��������� �������������������������� ��������� �.������� ��������� ��������� ������������������� ����������������������������� ������������������ ��������� ���� �� ��� �
���
�������� ��� — ���������������� ����������� ���� ���.������ �������������������� �������� ��� ����������������� 7 ��� ���������� ��������� ��� ������������������������������ ��������� (���.) ���������� ���������������������������� ������ ���� ����� ���� ����������� ��������� ���������� ���.������� ���������� ���������� ������ ��� 6 �.�. 2555 ����������������������� �������������������������������� ���.�� � �� ����� � ��� � �������� � �� ������������������ ����� �������� 12 �.�.��� ������� ��������������������� ����� �������������������������� ����� ��� ��� � ���������������� ������� � ����� � � ��� � ������ � �� ����������������������������� ���������������������� ��� ��� � ��� � �������� � ��� ��� � ��� � � �������� �������� ������� ����������� ������� ������������� ������ ���� ����� ���� ������������������� � ���� ������������ ����� �������� ������ ��������������������������� ���� ������� ����� �������� �� ������� ����� ������������������������������ ��������������� ������� �������� �������������������������� ����� ������������������������������� ����������������� ��������������� ����� ������������������������ �
��� ����� ����� ���������������������� 8 ��������������� ���� �� ����� 859,417 �� � ��� � �� � ��� � �� � ���� � ��� � ����� �� � � 47.2% ����������������� 367,270 ��� ���� 44% ������������� ��� ������� ��� ������� 492,147 ��� ���� 43% ������ ��� ���� ������������������ ����� ������ ���� �������� (��-���������) ����������� ��� �� � �� � 32% ������ �� � �������� (��-���������) 8% ���������������� ���� 3% ������������� 1% ������������������������������� ����������� ���������� � 1.2 ������� �������� ���������������� 8 ��������� ����� ��� 4 �������������������������������� ������� 1.35 ������������� �������� ����� � ���� � ���� � ����������� �� � ��� ����� �.�. 2555 ��������� �������� �������������� 1 ������������
ป
615,172
2551
(คัน)
ยอดขาย
548,853
2552
799,083
2553
794,083
2554
1,200,000 (คาดการณ)
2555
จำนวน
���� ��������� ���������� �������7���
547,708
351,720
93,315
����������������� ������������������ 2 �� ���������������������������������� �������������������������������������� �������������������������������������� ������������������������������������ ��������� ����������������� ����� �� �� �������� �������� ���� ���� �������������������� ������ ������ ����� (���������) �������� ������ ��������������� 1.2 ����������� ������ ����������������� 3.51 ������ ���� ������������ ������� 1 ������ ���� ������ ���� ���� ���� ����� ��� 95% ��������������� �������� ����������������������� ������������� � 5.47 ������ ����� ������� ����� ������ 2 ���������� ���� ����� ���� ��� ������������������� 90% �������
“��������������� ����������������� � ����������������������������������� ���� ����� ������������ ������� ������ ������������� �� ���������������� �������������������� ��� ����������������� ���” ������ ��������� ����������������������� � ���������������� ��������������� ���������� � ��� � �� � �� � ���� � ������ �� �� ������ ��������������������������� ����������� ������������ ���������� �� ���� �� ��� �������������� “�������������������� �������” ��������������������� �������� ���� ��� ������������� ������������� ��� ������������������ ����������������� ������ ���� ����������� ���������� �������� �� ���� ��������������� ����� ������� �� ����� �
����������������� ����������������� ��� �������������������������������������� ������ ��������� ����� � 6 ��������� ���� ������� ������������������������������� ������ �������������� “���������������������������������� �������������������������������������� 1.6 ���� ���� �� �� ����� ������������������� ��������������� ����������������� ���������������������������������������� ������������� ��������������������� ��������� �� ��������� ���������������” ������������� �������������������� ������������������������ ������ ���������������������� ��������������� ����������������������������������������
30,394
(คัน)
����� ������������������������������ ������������������������ � 1.2 ������� ������������ ��������������������� ������������� 2556 ������������� �������������������������� �� �� ����� ���� ��� �� �� � �� � ����������� � ��� � ������ � �� �������������������������� ��� ������ ���� �� ������� ����� �� �� ���������� ��� � ������������������ � �� � ����� ���������� ��� ���������������������� ����������������� ���������������� ����������������������� ������������� �������������������� ������������� ����� “���� ���” ������������������������ ���� ��� ���������������������������� ����� �� ���� ������ �������������� ������������� ��������������������� ��� 130 ���� ��� 148 ������������ ������� ������ ���������� ���������������������� ��������������� �������� �������� ����������� ����� ������ ������������ ���������� �������������� ���� ������� ���������� �������� ������������ ���������������������������� �
�...����������
������� ��� � ��� ����.����� � � � �� � � � � � �� � � ��� � �� � � �������� � �� � ����� � �� � �� �������� �������� ������ �� �������� 3 ������������������������� ����������� ������������� ����� � ��� � ���� � ����� �� � �� ��������������������������� ��� � ��� � ��� ��������� ������� � �� ���� ������� �� � � � �� ��� ����������� ��� � ���� ������ �� �� � � � ���� ��� ������� � ������� � �� ������ ������������ ��� ���� ����� � ������� ��� �� �� � ��� �������� �������������� �������� ���� ����������� ������ ������ �������� ��� �������������������������� ������ ������ 400 ������� ����� ���������������������� ������������� ������������� ����������������� �������� ����� � �� � ��������� �� ���� � ������������� ���������� ������������� ��������� ������� ��� ������������� ��� � ��� � �� � ������ � ������� ���������� ������� ���� ������� ������������������� 3 ��� ��� � ��������� � ��� � ����� ������ � ���� � �� � ������ �� � ������������������ �� ���� � ��������������
����� -������������������������ ������������������������
B9 ��������������
10������ ����������������3�� ����.������������14�.�.���
B12
����� �������������������. �������� ��� — ���������� ������������� ����������������������������������� ���������� 13 ������� ���� 1.5 ��� ������� ��������������������������� ���� �� ��� ������������������ � ��������� ������ ���������� ���� �� ������������� ������������������ �������� �������� ���������� ����� �������� ���������������������������������� ���������� 13 ������� ������ 3 ����� �������� ���� 1.5 ���������� (������ �������������� � 5 ������ 1 ����) ��������� � ����� � �� � ���� � ��� �� � �� ���� �������� ������ ����������������� ������� ��������������������������� ����������������������������������������
52
��������������������� ������������� �������������������������������� ����������������������������������� ���������������� ��� 3 ����� ������ ���� 13 ������������ ���������������������������� ���������������������������������������� ���� ��� ������������� 3 ������������� ��� ������������������ 4 ���� ��� ������ ������� ����������� ��������� �������������������������������������� ����������� �� �������� ����� 720 ���� ���� ���������� 3,600 ������� ����� ������������� 3 ������� ������� ��������� ��������������� �.�.��� ����� ������������� ������� 13 ����� ����������� 2 �������
������� 2% �������������� “���������������������������������� ����������������� ���������������� ������������������������������������ ���������������������������������� ������������������������ 100-200 �������������” ��������� ����� ��������� ��������������������� �������������������������� �������� ���� 10 �������� ��������������� ��� ���� ������� ���� ��� ������� ������������ ���������� ������ ���������� ���� �� ��������� ������ ����� �� (������ ���) ��������������� ������������������ 3 ������������� ��� ��������������������� �������� 70% ���������� ���� 15% �
คุณชวาล กีรติภักดี (โสตถิวันวงศ์) นายกสมาคมป้ายและโฆษณา ปี 2535 ถึงปี 2538 สมาคมป้ายและโฆษณา ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้ง ต่อการจาก ไปของคุ ณชวาล กี ร ติ ภั ก ดี (โสตถิ วั น วงศ์ ) อ ดี ต นายกสมาคมป้ า ยและ โฆษณา (ปีบริหารที่ 2535-2538) ในนามสมาคมป้ายและโฆษณา (ASPA) ขอร่วมเป็นเจ้าภาพจัดงาน สวดพระอภิ ธ รรมศพ ในวั นจั นทร์ ที่ 22 เมษายน 2556 เวลา 18.30 น. ณ ศาลา 26 วัดธาตุทอง หมายเหตุ: วันจันทร์ที่ 8 เม.ย.56 - พิธีรดน้ำศพ เวลา 16.00 น. - สวดอภิธรรมศพ เวลา 18.30 น. เป็นต้นไป วันอังคารที่9 - วันพุธที่ 10 เม.ย. 56 - สวดอภิธรรมศพ เวลา 18.30 น. เป็นต้นไป วันพฤหัสบดีที่ 11 เม.ย. 56 - พิธีกงเต๊ก **หลังจากนั้นทุกวันจันทร์ เริ่มตั้งแต่วันที่ 22 เมษายน 2556 จะมีพิธีสวดพระ อภิธรรมศพไปจนครบ 100 วัน ณ ศาลา 26 วัดธาตุทอง
ติดต่อประสานงาน : เจ้าหน้าที่สมาคมฯ โทร. 0-2521-8255-6 หรือ อีเมล์ aspasign@hotmail.com
CSR In Action
หมดยุคการทำกำไรสูงสุด ถึงยุคแบ่งปัน สร้างสังคมน่าอยู่ร่วมกัน
นิตยสารสื่อนอกบาน ฉบับแรกและฉบับเดียวในประเทศไทย
44
Cover Story สาคร ตรีธนจิตต์ กับตำแหน่ง นายกสมาคมป้ายและโฆษณา
คุณสุกัญญา พรปราโมทย์ Associate Media Buying Director บริษัท สตาร์ รีชเชอร์ส กรุ๊ป จำกัด “ดิฉันรู้จักคุณสาคร มานานเกินสิบปี จนเรียกกันง่ายๆ ว่า “เป็ด” เขาเป็นคนอัธยาศัยดี เป็นกันเอง เป็นน้องที่น่ารัก คุย ด้ ว ยง่ า ย ไม่ เ ขี้ ย ว ยื ด หยุ่ น สู ง เมื่ อ ก่ อ นเขาเป็ นคนขายป้ า ย บิลบอร์ดเอง ส.ธนา จะเข้ารอบในการเลือกซื้อทุกครั้ง ของการ วางสื่อ ตอนนี้เขามอบให้น้องชายมาช่วยงาน คงเริ่มโตขึ้น และวาง ทายาทในการทำงาน และคงต้องถึงคิวที่จะทำงานเพื่อส่วนรวม มากขึ้นแล้วกระมัง ที่เริ่มตามเส้นทางของคนทำงาน ตั้งแต่เป็น ลูกน้อง เป็นเจ้าของ และก้าวขึ้นมาเป็นนายกสมาคมฯ ดิฉันเห็นเส้นทางการเติบโตของเขาแล้วก็ภูมิใจในความสำเร็จ ไปด้วยคะ”
จำนวน ป้ายบิลบอร์ด ในกทม. 945 ป้าย สถิติล่าสุด สำรวจโดย กรุงเทพมหานคร รายงานว่า มีตัวเลข อยู่ที่ จำนวน 945 ป้าย สถิ ติ ป้ า ยล้ ม ระหว่ า งปี 2548 ถึ ง เดื อ นสิ ง หาคม 2555 (ไม่ ร วมเหตุ ก ารณ์ ป้ า ยล้ ม เขตจอมทองล่ า สุ ด ) จำนวน 47 ครั้ง 54
คุณมัลลิกา หมั่นตระกูล Associate Director Magna Global “ดิฉันเพิ่งจะเกษียณ จากการทำงานมายาวนานเกือบ 40 ปี เป็นงานที่รักและสนุก จนหมดเวลาทำงานแบบไม่รู้ตัว ดิฉัน รู้จักกับคุณสาคร ในฐานะที่เขาเป็นซัพพลายเออร์ มาขายป้าย บิลบอร์ด ก็คุยเรื่องงานกันเรื่อยมาจนสนิทกัน เขาเป็นเหมือน น้องชายคนหนึ่ง ที่คุยกันได้ทุกเรื่อง สาคร เป็นเด็กดี มีสัมมาคารวะ ดิฉันรู้สึกวางใจ เวลาคุย งานกับเขา ไม่มีการตุกติก เที่ยงตรง อลุ้มอล่วยให้ได้เป็นทำทุก ครั้ง บางทีไม่ทันได้ร้องขอก็ทำให้ก่อน การที่เขาเข้ามารับตำแหน่งนายกสมาคมป้ายและโฆษณา ก็เป็นเรื่องดี และน่าจะเป็นกำลังสำคัญที่ดี เมื่อมีผู้นำคนหนุ่ม ดิฉันเองก็อยากถือโอกาสนี้ เชิญชวนเจ้าของป้ายบิลบอร์ด เข้า มาเป็นสมาชิกของสมาคมฯ ทั้งนี้ไม่เพียงแต่จะเป็นประโยชน์ ต่อตัวท่านเอง ในวิชาชีพเดียวกัน แต่สร้างความสบายใจให้กับ เอเยนซี ในการทำธุรกิจร่วมกัน การซื้อการเช่าป้ายบิลบอร์ดให้ กับลูกค้า เราก็สบายใจในเรื่องความปลอดภัย การปกป้องดูแล เรื่องภาพพจน์ที่ดีให้กับลูกค้าได้เต็มที่ร่วมกันคะ”
Cover Story
สาคร ตรีธนจิตต์ กับตำแหน่ง นายกสมาคมป้ายและโฆษณา
เครือข่ายเข้มแข็ง ใน
สมาคมป้ายและโฆษณา ดำเนินการนโยบาย ในการ ผนึ ก กำลั ง กั บ องค์ ก รวิ ช าชี พ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เรี ย กว่ า “Harmony Group” กลายเป็นกลุ่มงานที่เข้มแข็ง ได้แก่ ชมรมไทยอิงค์เจ็ท, ชมรมสื่อนอกบ้าน สมาคม มี เ ดี ย เอเยนซี แ ละธุ ร กิ จ สื่ อ แห่ ง ประเทศไทยและ สมาคมส่งเสริมไทยธุรกิจโฆษณา
คุณวินัย ศิลปศิริพร นายกสมาคมป้ายและโฆษณา ปี 2545 ถึง ปี 2546 “ใจผม อยากเห็นสมาคมฯ เป็นศูนย์กลางในการเผย แพร่ ค วามรู้ มี ค วามสามั ค คี ในทุ ก เครื อ ข่ า ยของสมาชิ ก เรื่องนี้อาจจะต้องทำผ่านกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งอาจจะไม่ง่ายนักในยุคนี้ นายกสมาคมฯ จะเป็นผู้นำพาให้เกิดนโยบายเชิงปฏิบัติ กับทุกเรื่อง คุณสาครเป็นคนหนุ่ม ที่พวกเราฝากความหวัง ไว้ครับ โลกธุรกิจกว้างไกลสุดสายตา วิสัยทัศน์ของผู้นำ องค์กรสำคัญมาก โดยเฉพาะงานส่วนรวมที่ต้องยุ่งยาก มากกว่างานส่วนตัวอีกหลายเท่า การสร้างเครือข่ายมีความสำคัญ แม้ต่างสายพันธุ์ แต่ เป็นการให้ความสำคัญต่อกันได้ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ในฐานะอดีตนายกสมาคมฯ สิ่งที่ผมประทับใจในห้วงเวลา นั้น คือ การช่วยสร้างประกายเล็กๆ จนฟอร์มตัวกลายเป็น งานแสดงสินค้า ที่ชื่อว่า Sign Asia Expo ในเวลานี้ นั่น แหละครับ”
55
Cover Story สาคร ตรีธนจิตต์ กับตำแหน่ง นายกสมาคมป้ายและโฆษณา
คุณวินิจ เลิศรัตนชัย อดีตดีเจชื่อดัง “ผมรู้จักคุณเป็ด เมื่อราวสัก 3-4 ปี เราเป็นก๊วนเล่นเจ๊ทสกี ด้วยกัน กีฬาทางน้ำเป็นอะไรที่ต้องมีน้ำใจ เพื่อนๆ ร่วมก๊วน จะมีลักษณะคล้ายๆ กัน แบบนี้แหละ เขาเป็นคนนิสัยดี มีน้ำใจ อ่อนน้อมถ่อมตน พึ่งพิงได้ มีจิตอาสา อย่าง ตอนน้ำท่วม เราทำงานด้วยกัน เขาอยู่แถบพระราม 4 พระราม 5 ส่วนผม อยู่บางไทร อยุธยา ก็ส่งข่าวถึงกัน เราช่วยพี่น้องคนไทยที่ประสบภัยน้ำ ท่วม ด้วยการประสานกับหลายฝ่าย ก็ดีใจครับ ที่เขาเข้ามาร่วมก๊วน นาน นานจะเจอกัน เขาจะขี่เจ๊ทสกีมาหาที่บ้าน หาของกินอร่อยๆ ด้วยกันครับ”
จากกีฬาทางน้ำที่ภูมิใจในกามีส่วนร่วมช่วยพี่น้องยามประสบภัยน้ำท่วม เมื่อปลายปี 2554 ที่ผ่านมา
ป้ายสวยงาม มีระเบียบ จากการจัดอันดับ 10 ฝันของชาว กทม. พบว่า คนกทม. มีความฝัน ความหวัง ในการ จัดระเบียบป้ายโฆษณา ให้เมืองใหญ่ ให้น่าอยู่ สวยงาม ป้ายไม่รกรุงรัง เป็นเฟอร์นิเจอร์ของเมือง เป็นความท้าทายของ ท่านผู้ว่า ราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 16 - หม่อมราชวงศ์ สุขุมพันธ์ บริพัทธ ยิ่งนัก 56
CSR In Action
หมดยุคการทำกำไรสูงสุด ถึงยุคแบ่งปัน สร้างสังคมน่าอยู่ร่วมกัน
นิตยสารสื่อนอกบาน ฉบับแรกและฉบับเดียวในประเทศไทย
44
CEO Go Inter
คุณทัศพล แบเลเว็ลด์
CEO บริษัท เอเชีย เอวิเอชั่นจำกัด (มหาชน)
“ผมทำงานแบบ มีวงเล็บเปิด - ปิด ทุกครั้ง” 58
“ใครบริหารศิลปิน ได้ รั บ รองว่ า บริ ห ารงานทุ ก อย่าง บนโลกใบนี้” ว่ากันว่า “ศิลปิน” เป็ นกลุ่ ม บุ ค คลที่ มี อ ารมณ์ สุ นทรี การบริ ห าร จัดการพวกเขา ทำได้ไม่ง่าย อารมณ์ที่ขึ้น-ลง อวนไป ด้วยความละเมียดละมัย ที่แปรธาตุมาเป็นงานศิลปะสุดฮิต ดั ง ไปทั่ ว โลก พวกเขาย่ อ มต้ อ งมี ค วามต่ า งจากคนธรรมดา แน่นอน คุณทัศพล แบเลเว็ลด์ หนุ่มนักบริหาร มาดนิ่ง บางมุมก็ขี้ เล่น CEO ของ บริษัท เอเชีย เอวิเอชั่นจำกัด (มหาชน) - AAV ผ่านงานการบริหารที่ค่ายวอร์เนอร์ (ประเทศไทย) กว่า 5 ปี และ
ยอมรั บ ว่ า เรี ย นรู้ ป ระสบการณ์ ก ารบริ ห ารงานศิ ล ปิ น มาเต็ ม กระเป๋า พอถูกชวนมาเป็นผู้เริ่มก่อตั้ง สายการบินแอร์เอเชีย ใน ประเทศไทย เมื่อ 9 ปี ก่อน ก็ไม่ลังเล โดยมีต้นแบบจากสายการ บินต้นทุนต่ำ - Low Cost จากหลายประเทศในยุโรป และปรับ บางมิติ เข้ากับวัฒนธรรมไทย “ผมเริ่มต้นโจทย์ที่ท้าทายในชีวิต ด้วยการลงมืออ่าน เรื่อง ราวของธุรกิจ Low Cost แอร์ไลน์ หลายแห่งในโลก โดยเริ่ม งานจากการชวนลูกน้องเก่าๆ มาช่วยงาน เริ่มบินด้วยเครื่องบิน 2 ลำ พนักงานทั้งบริษัท มีเพียง 200 คน ผมคิดทุกอย่างด้วยข้อ เดียว คือ การต้องมีต้นทุนต่ำที่สุด เท่าที่จะทำได้” เปลี่ยนการเดินทาง ให้เป็นเพียงเคลื่อนย้าย ตัวเองจากจุด A ไปจุด B การเดินทางด้วยเครื่องบิน ในยุคก่อน เป็นการเดินทางแบบ ฟุ่มเฟือยมาก ผู้โดยสารที่สามารถใช้บริการได้นั้น ต้องเป็นคน พิเศษจริงๆ ตื่นเต้นกันทั้งบ้าน ต้องสวมเสื้อสูท มีพวงมาลัยคล้อง คอ ถ่ายรูป ญาติๆ เหมารถไปส่งกันที่สนามบิน แผนงานที่ซีอีโอหนุ่ม ยกร่างขึ้น ในยุคก่อตั้ง เป็นแนวทางที่ คิดง่ายๆ แต่มองทะลุมิติ ของการทำงานไปล่วงหน้า ไม่น้อยกว่า 5 - 10 ปี เรียกว่าเป็น Business Insight ด้วยการตั้งคำถาม กับองค์กรว่า “เราเป็นใคร-เราจะเดินทางไปไหน-และเราจะเดิน ทางไปอย่างไร” เขาและทีมงาน คิดละเอียดทุกกระบวนที่จะได้มา ล้วนแล้ว แต่เป็นต้นทุนทั้งสิ้น ซึ่งบางครั้งผู้โดยบางคน อาจไม่ได้ใช้งาน แต่ มาถูกคิดรวมในค่าโดยสาร จึงไม่ตอบโจทย์ของการบินกับต้นทุน ต่ำ จึงต้องมีการ เรียนรู้ลูกค้า รู้จักตลาด และมีโมเดลทางธุรกิจ “ใครๆ ก็บินได้” เป็นแคมเปญเปิดตัวที่สร้างกระแสฮือฮา มาก ตรงฝัน ของหลายๆ คน ด้วยราคากระชากตัว ที่อีกหลาย คนมีกำลังซื้อได้ “ผมรู้ว่า หากเล่นกับภาวะจิตใจของมนุษย์ จะไม่มีทางถูกใจ ทุกคนได้ ทุกโปรโมชั่น จึงพูดอยู่ 2 เรื่อง คือ จุดหมายปลายทาง และราคาตั๋ว”
วันแรกที่เข้าซื้อขายในตลาดหุ้น ตื่นเต้นไม่แตกต่างจากเที่ยวบินแรก เป็นจริงตามนั้นว่า แอร์เอเชียไม่เคยพูดถึงบริการ ว่าจะใช้ บริการที่ดี ลุกนั่งสบาย หรืออื่นๆ ใดเลย บริการทุกอย่างล้วนต้อง จ่ า ยเงิ น เพิ่ ม อาทิ น้ ำ หนั ก กระเป๋ า การเลื อ กที่ นั่ ง เอง และที่ สำคัญ ไม่เคยแจกของกินบนเครื่องเลย แม้กระทั่งน้ำดื่มสักแก้ว เคยมีคำร้องขอจากผู้โดยสารว่า ไม่แจกอะไรก็ไม่ว่า ขอน้ำสัก แก้วเถอะพ่อหนุ่ม คอแห้งจัง เขามีคำอธิบาย ที่ทำให้ผู้โดยสาร ท่ า นนั้ น เลิ ก ร้ อ งขอไปเลย แต่ ก็ ไม่ โกรธกั น แถมยั ง เข้ า ใจ ไป อธิบายต่อกับผู้โดยสารคนอื่นๆ อีกนะ และทนคอแห้ง ไปกินน้ำที่ ปลายทางได้เอง ในยุคก่อตั้ง พบว่า มีการเข้าถึงระบบอินเตอร์เน็ต เพียง 4 % ของคนไทยทั้ง 65 ล้านคน เป็นสัดส่วนที่ยังน้อยมาก จะขายตั๋ว ได้สักเท่าไหร่กัน แต่เมื่อพลิกมามองต้นทุนช่องทางขายเดิมที่มีอยู่ อย่าง การมีหน้าร้าน ต้องลงทุนไม่ต่ำกว่า 3 ล้านบาทต่อแห่ง — ขายตั๋วกี่ใบ กี่ปี จึงจะคุ้มทุน จะขายผ่านเอเยนทัวร์ ก็ต้องจ่ายค่า คอมมิสชั่น 10 % ต้องบวกเข้าไปกับราคาหน้าตั๋ว แล้วจะเป็นต้น ทุนต่ำได้อย่างไรกัน ตัดสินใจ เด็ดขาดว่า ต้องขายตั๋วออนไลน์ เท่านั้น จึงจะ
59
CEO Go Inter เคยบอกว่าจะให้บริการที่ดีที่สุด แต่ ผมไม่ ผมจะพาผู้โดยสารไปยังเมือง ที่ปลายทางที่ท่านต้องการ บรรลุ ผ ล มี ต้ นทุ นต่ ำ สุ ด บริ ห ารแบบประหยั ด ต่ อ ขนาดสู ง สุ ด ด้ ว ยการแชร์ ต้ น ทุ น ร่ ว มกั น 3 ประเทศ ของเครื อ ข่ า ย คื อ มาเลเซีย ไทยและอินโดนีเซีย จ่ายตามที่มีผู้โดยสารเข้ามาใช้ บริการ มีผู้บริการจัดการสมองกลอยู่ที่ออสเตรเลีย เวลาผ่านไป การให้ความรู้ สัมผัสประสบการณ์จริง ทำให้ผู้ โดยสารเรียนรู้ ตามโจทย์ของเขา พวกเขาเข้าใจและรับได้ กับ โปรโมชั่น ที่จะช่วยให้ตัวเองจ่ายเงินน้อยลง บางครั้งช็อคกับค่า ตั๋ ว ที่ ถู ก แสนถู ก ถู ก กว่ า รถทั ว ร์ รถไฟ พู ด กั น ปากต่ อ ปาก ว่ า ใครๆ ก็บินได้จริงๆ (นะ) “เรื่องนี้ หลายคนสงสัย ไปฟ้อง สคบ. มาแล้วครับ ว่า หลอก ลวงไหม แล้วมีคนจองได้จริงๆหรือเปล่า ผมเคยเชิญ สคบ. มา ตรวจสอบที่ออฟฟิตมาแล้วครับ มาตรวจระบบการจองของเรา เป็นระบบออนไลน์ ที่มีการบันทึกทุกข้อมูลอยู่แล้ว ผลการตรวจ เป็นที่น่าพอใจครับ หมดประเด็น ตามข้อร้องเรียนครับ” พบว่าทุกชิ้นงานโฆษณาของค่ายนี้ เป็นโปรโมชั่น ระยะสั้นๆ แต่มีบ่อย มีถี่ มีประมาณ 40 ครั้งต่อปี ด้วยฝีมือของพนักงาน ภายในกันเอง จะจ้างเอเยนซีบ้าง บางจังหวะเท่านั้น ด้วยเหตุผล ของต้นทุน (อีกนั่นแหละ) นางแบบ ก็ใช้ “แอร์โฮสเตท” ตัวจริงของแอร์เอเชีย ไม่ต้อง ไปจ้างใครมาอีก เพราะคัดมาแล้ว จากการเป็นแอร์ จะมีคนดัง มาบ้าง บางจังหวะ ที่ต้องการให้มีการยืนยันว่า คนดัง หรือใครๆ ก็บินได้ ไม่ได้น่ารังเกียจ ว่าเป็น Low Cost แต่อย่างใด จากสถิติการเรียนรู้กลุ่มผู้โดยสาร พบว่า 82 % เป็นทั้งผู้ที่ เดินทางไปท่องเที่ยว และไปทำธุรกิจ ดังนั้นชิ้นงานโฆษณา จึง เน้น ความสนุกสนาน ราคาประหยัด ไปกันเป็นหมู่คณะ และ
60
การเดินทางยุคนี้ ไม่ต้องการความฟุ่มเฟือย สิ่งใดไม่ได้ใช้ก็ไม่ต้องจ่าย
สนับสนุนให้จองผ่านออนไลน์ เป็นทางเลือกดีที่สุด ช่องทางการขาย จึงเกิดขึ้นทางออนไลน์ ประมาณ 85 % และอีก 15 % เป็นผู้โดยสารประเภทเดินเข้ามาซื้อเอง - Walk In ส่วนใหญ่ เป็นเรื่องเร่งด่วน ที่มาจองหน้าเคาว์เตอร์ แล้วเดิน ขึ้นเครื่องบินเลยทันที เมื่อ 82 % เป็นนักท่องเที่ยว พวกเขาย่อมต้องการที่พัก หรือ คำแนะนำร้านอาหาร จึงมีธุรกิจต่อเนื่อง ในการทำ Low Cost Hotel ชื่อ “TUNE” แต่เพื่อให้มุ่งเฉพาะธุรกิจหลัก จึงมีการส่ง งานให้คู่พันธมิตร ช่วยด้านการดำเนินการ และมักมีโปรโมชั่น ร่วมกัน รถไฟ ความเร็วสูง เป็นคู่แข่งที่น่ากลัวไหม “คู่แข่งของผม คือ สายการบิน ทุกสาย ไม่ว่าจะเป็น Low Cost หรือไม่ ก็ตาม” ส่วนรถไฟ ความเร็วสูง นั้น ไม่ใช่คู่แข่ง และประกาศว่า ไม่ กลัว เพราะรางรถไฟ ต้องลงทุนมาก ขณะที่เครื่องบินใช้บินทาง อากาศ แล้วร่อนลงปลายทาง ใครที่ซื้อตั๋วรถไฟ ปลายทางเมือง
โฆษณาทุกชิ้นของแอร์เอเชีย เน้นความสนุกและสมราคาเท่านั้น อย่างอื่นไปหาได้เอง เดียวกันได้ถูกกว่า ค่าตั๋วของแอร์เอเชีย มารับเงินคืนที่ซีอีโอได้เลย เขารับคำท้า เลยล่ะ ขณะนี้เมืองไทย มีนักท่องเที่ยวเข้ามา มากที่สุดในเอเชีย เขาจึงวางแผนงานไว้ แล้วว่า ในอีก 5 ปี ข้างหน้า จะมีเส้นทาง บินไปเมืองใดบ้าง ต้องใช้เครื่องบินกี่ลำ มี พนักงานกี่คน วิสัยทัศน์ของซีอีโอหนุ่มคน นี้ ไม่ธรรมดา กับยอดขายแตะสองหมื่น ล้านบาทไปแล้ว...
คุณทัศพล แบเลเว็ลด์ CEO บริษัท เอเชีย เอวิเอชั่นจำกัด (มหาชน) การศึกษา ปริญญาตรี สาขาการตลาด จากมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ การทำงาน พนักงาน บริษัท อดัมส์ (ประเทศไทย) ดูแลสินค้าลูกอมฮอลล์ (4ปี) ผู้จัดการประจำประเทศไทย บริษัท มอนซานโต้ (ประเทศไทย) (4ปีครึ่ง) กรรมการผู้จัดการ บริษัท วอร์เนอร์ มิวสิค ประเทศไทย (5ปี) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เอเชีย เอวิเอชั่น จำกัด (มหาชน) ปัจจุบัน 61
Sing People Sign Company
“คบคนพาล พาลพาไปหาผิด คบบัณฑิต บัณฑิตพาไปหาผล” พบกับเรื่องราวของคุณธรรมน้ำมิตรและการดำรงค์อยู่ในวงการ สื่อโฆษณา-ประชาสัมพันธ์ของบุรุษหนุ่มผู้หนึ่ง คุณตาล - อนุชา ราชวั ต ร แห่ ง บริ ษั ท เอ็ ม แอนด์ อ าร์ วิ ชั่ น จำกั ด สะดุ ด ใจกับ นามสกุ ล จนต้ อ งเอ่ ย ถาม เป็ นญาติ ข้ า งใดกั บ “ชั ย ราชวั ต ร” เจ้าของรางวัลศรีบูรพา ศิลปินนักวาดการ์ตูนผู้เรืองนามท่านนั้น “ไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกันเลยครับ จริงๆ แล้วเขาต้องขออนุญาต ทางผมก่อนนะ ที่จะใช้นามสกุลของผมไปเป็นนามปากกาเนี่ย” เขาเฉลยขำๆ พูดไปยิ้มไป...สรุปว่า ไม่ได้เป็นญาติโยมกันเลย ก่อนเข้าวงการพิมพ์ป้าย เขาเคยเป็นเซลส์มืออาชีพมาก่อน ด้ ว ยความรู้ ร ะดั บ ปวส. ด้ า นคอมพิ ว เตอร์ จากพาณิ ช ยการ พระนคร-พพ. จากนั้นข้ามฟากมาต่อปริญญาตรี ที่ มหาวิทยาลัย ศรีปทุม ทำงานขายซอร์ฟแวร์คอมพิวเตอร์ เพียง 3 เดือน ด้วย ความเป็นคนช่างพูด มีเสน่ห์ในการเจรจา ขายดิบขายดี จึงมีคำ สั่งด่วนให้ไปขยายสาขาที่ระยอง แต่เห็นว่าจะเป็นการห่างไกล ครอบครัวเกินไป จึงตัดสินใจลาออก และบินไปอังกฤษเพื่อเรียน ต่อ “ตอนนั้นพี่สาวผม เขาเรียนอยู่ที่อังกฤษก่อนแล้ว ผมไปเรียน ปรับพื้นฐานได้ 6 เดือน ที่บ้านเราก็เกิดเหตุการณ์เศรษฐกิจฟอง สบู่แตก จึงตัดสินใจกลับ เพื่อลดภาระครอบครัวครับ” หลังจากกลับมาจากอังกฤษงานที่เริ่มต้นคืองานตกแต่งโชว์ รูมรถยนต์ฮอนด้า หลังจากนั้นจึงร่วมกับหุ้นส่วนเปิดบริษัท เอ็ม แอนด์ อาร์ วิชั่น, เอ็ม มาจากนามสกุลคุณแม่ “เหมือนนิล”, อาร์ มาจากนามสกุลคุณพ่อ “ราชวัตร” แล้วก็เติมวิสัยทัศน์ วิชั่น ของ ตัวเองเข้าไป “ตอนนั้นผมรับงานตกแต่งโชว์รูมฮอนด้า ต่อมาจึง คิ ด การใหญ่ เปิ ด เอ็ ม แอนด์ อ าร์ ขึ้ น ราวปี 2547 รั บ งานอี เว้นท์ใหญ่ๆ ขายของแพงๆ ทำอยู่ได้ราว 2 ปี ขาดทุนครับ จึง หยุดรับงานไป แต่ไม่ได้ปิดบริษัทนะครับ แค่หยุกพักไว้ แล้วหา ทางใช้หนี้ให้กับเจ้าหนี้ต่างๆ ภาระหนี้สินมีอยู่ค่อนข้างมาก จึง ขายบ้าน ขายรถ ทยอยใช้หนี้เป็นรายๆ ไปครับ” เจ็บหนักคราวนั้น เป็นประสบการณ์ มีคุณพ่อ คุณแม่ และ ภรรยา คอยเป็นกำลังใจให้เสมอ จึงเริ่มต้นใหม่ด้วยการเดินช้าลง กลับมาลงทุนเปิดกิจการเล็กๆ เปิดเป็นเคาท์เตอร์ตัดสติกเกอร์ ทำนามบัตร “ตอนนั้นคิดว่ายังไงก็ต้องอยู่ในวงการนี้ให้ได้ วงการ สื่อนอกบ้านนี่แหละ เห็นคนอื่นเขาทำกันได้ ทำไมเราจะทำไม่ได้ ก็ เ ลยเปิ ด ร้ า น เริ่ ม ที่ ง านเบื้ อ งต้ น เหมื อ นเขี ย นกอไก่ คื อ ตั ด สติ ก เกอร์ ทำนามบั ต ร บางวั น ได้ 2 บาทก็ มี วั น ไหนได้ เ กิ น 1,000 นี่ถือว่ารวยเลยล่ะครับ”
ผมไม่รับงานใหญ่ที่เกินตัว
งโ คุณอนุชา ราชวัตร บอสส์หนุ่มผู้มีบทเรียนในอดีตเป็นเรื่องสอนใจ
62
(อีกแล้ว)
CSR In Action หมดยุคการทำกำไรสูงสุด ถึงยุคแบ่งปัน สร้างสังคมน่าอยู่ร่วมกัน
การมาร่วมทำงานภาคสังคมด้วยกันกับเพื่อนๆ ในเครือข่าย ธุรกิจเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม หรือ SVN ในรอบหลายปีที่ ผ่านมาของผม ช่วยสร้างสมประสบการณ์ให้ผมได้อีกมากมาย ที่ผมคาดไม่ถึง คิดไม่ทัน ว่าจะยังมีแนวคิดพื้นๆแสนธรรมดา แต่ แ ฝงความลุ่ ม ลึ ก ในปรั ช ญาของผู้ ค นในยุ ค นี้ ดั ง นั้ นการที่ หลายคนเริ่มท้อแท้กับสภาพแวดล้อมที่เป็นวัตถุนิยม ทุนนิยม ผมขอแลกมุมมอง แล้วท่านจะพบแสงสว่างทางใจ ที่ตัวเอง คาดไม่ถึงว่า มีแบบนี้จริงๆ เปรี ย บไปก็ ค งเหมื อ น “พลั ง เงี ย บ” ในสั ง คม ที่ ยั ง ไม่ เคย แสดงออก สังคมไทยเป็นสังคมที่ต้องการใช้ชีวิตแบบเรียบง่าย ไม่ต้องไปมีเรื่อง มีราวกับใคร ไม่ชอบค้าความ ไม่ต้องลุกขึ้นไป ฟ้องร้องใคร เกิดอะไรขึ้นก็คิดเสียว่าเป็นเรื่องเวรกรรมในอดีต ชาติที่ต้องชดใช้กันไป ผิดกับคนชาติตะวันตก ที่เอ๊ะอะ…เป็น ต้องฟ้องรักษาสิทธิของตัวเองไว้ก่อน
ยินดีต้อนรับ สมาชิกน้องใหม่
วีระเดช สมบูรณ์เวชชการ ประธานเครือข่ายธุรกิจเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม Social Venture Network Asia (Thailand) สั ง คมไทย วั ฒ นธรรมไทย ยั ง รอมชอม รู้ ผิ ด ชอบชั่ ว ดี แยกแยะประเด็นส่วนตน มีส่วนร่วมในประเด็นส่วนรวม ผม พบเห็นได้ในเพื่อนๆ สมาชิกในกลุ่มทุกท่าน ที่มาร่วมในแนวคิด ของ SVN ต่างคนต่างมีงาน มีธุรกิจที่ต้องรับผิดชอบ ต่อคน รอบข้างมากมาย การคิดดี ทำดี ต่อคนรอบข้างของพวกเขา ก็ เป็ นการคิ ด การทำที่ เ ข้ า แนวทาง CSR ได้ เช่ นกั น อาจไม่ จำเป็นต้องออกมาทำนอกบริษัท หรืออื่นๆ ที่ดูจะยิ่งใหญ่เกิน กำลัง สุดท้ายก็ทำกันได้ไม่กี่ครั้ง ผมคิ ด ว่ า แนวคิ ด ของคนทำงานยุ ค ใหม่ รั บ ได้ กั บ การ ทำงานหนั ก และแบ่ ง เวลา แบ่ ง กำลั ง ทรั พ ย์ มาให้ กั บ สั ง คม ร้อยคนคิดก็ได้ร้อยเรื่อง พันคนคิดก็ได้พันเรื่อง ล้านคนคิดก็ได้ ล้านเรื่อง เห็นไหมครับ ไม่ต้องรอเรื่องใหญ่ที่นานนานจะเข้ามา เผลอๆอาจจะไม่เคยเกิดเลย ท่ า นละครั บ เคยคิ ด เคยทบทวนตั ว เอง แบบนี้ บ้ า งไหม ความสุขในสังคมเล็กเกิดขึ้นได้ จากตัวเราเอง SVN ขอเป็น กำลังใจ และหากจะมาร่วมทำงานกับพวกเรา ผมก็ยินดีต้อนรับ สมาชิกน้องใหม่ ทุกท่านนะครับ...
New Office
บริษัท เอ็มบีเอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท ซีเอสที ซัพพลายส์ จำกัด บริษัท ดิจิตอล สตาร์ จำกัด 55/3 หมู่ 3 ถนนนครอินทร์ ตำบลบางขุนกอง อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี รหัสไปรษณีย์ 11130 เบอร์โทรศัพท์ : 02-422-8422, 02-432-6633 เบอร์แฟ็กซ์ : 02-422-8423, 02-432-6006 เวลาทำการ จันทร์ - ศุกร์ 8.30 -17.00น.
64
CSR In Action หมดยุคการทำกำไรสูงสุด ถึงยุคแบ่งปัน สร้างสังคมน่าอยู่ร่วมกัน
ตอบแทนถิ่นกำเนิด
บริษัท บ้านปู จำกัด (มหาชน) เริ่ ม ก่ อ ตั้ ง ในการ สำรวจขุดเหมือง ถ่ า นหิ น จุ ด แรก ในพื้ น ที่ ตำบล บ้ า นปู อำเภอลี้ จั ง หวั ด ลำพู น ในปี 2526 และตั้ ง ชื่ อ ว่ า บริ ษั ท เหมื อ งบ้ า นปู จำกัด โดยมีการเข้าเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่ ง ประเทศไทย และเปลี่ ย นเป็ น บริ ษั ท บ้ า นปู จำกั ด (มหาชน) ในเวลากาลต่อมา นั่นเป็นเวลาที่ล่วงมาแล้ว 30 ปีก่อน วัยของ “บ้านปู” จึง เดินทางมาถึงปีที่ 30 ผู้บริหารให้นโยบายว่า คงไม่มีงานฉลอง ใหญ่โต แต่ขอกลับมาทบทวนสิ่งที่พบพานมาในอดีต และขอ ตอบแทนสังคม ตามแนวที่คิดว่าจะช่วยสร้างรากฐานที่มั่นคง ให้สังคมไทย ด้วยการกลับมาช่วยพัฒนาคน ในหมู่บ้าน ย่านที่ เป็นแหล่งกำเนิด ย้อนเวลากลับไปหาชุมชน เมื่อ 30 ปีก่อน มองเวลาออกไปข้ า งหน้ า อี ก เพี ย งสองปี เศษ ที่ รั้ ว ทาง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม จะไม่มีอีกต่อไป การนี้สมาชิกทั้ง 10 ประเทศในกลุ่ ม AEC ย่ อ มต้ อ งเตรี ย มพร้ อ มประชาชน และนโยบายของตัวเอง ให้พร้อมรับมือ ปัญหาใหญ่ ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญของเยาวชนและคนไทย ค่อนประเทศ คือการสื่อสารด้านภาษาอังกฤษ “บ้านปู” จึงจัด โครงการส่ง ครูสอนภาษาอังกฤษ จำนวน 6 คน ลงไปประจำ ใน 6 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนเชียงม่วนวิทยาคมและโรงเรียน บ้านสระ จังหวัดพะเยา โรงเรียนสบปราบพิทยาคม โรงเรียน แม่ ท ะวิ ท ยา และโรงเรี ย นแม่ ท ะพั ฒ นศึ ก ษา จั ง หวั ด ลำปาง และโรงเรียนเวียงเจดีย์วิทยา จังหวัดลำพูน มีเด็กๆรวมกันกว่า 5,000 คน ได้มีโอกาสเจอครูฝรั่ง เจ้าของภาษาตัวเป็นๆ มีกิจ กรรมสนุกๆ น่าจะช่วยให้การเข้าใจ การเข้าถึง ถูกฝังอยู่ในตัว ตนของพวกเขาตลอดไปได้ แ พ ท ริ ค เ ท ย์ เ ล อ ร์ ค รู หนุ่มวัย 26 ชาว อั ง กฤษ ประจำ อยู่ ที่ โรงเรี ย น บ้านสระ จังหวัด พะเยา “เด็กไทยส่วนใหญ่กลัวพูดผิด ก็เลยอยู่เงียบๆ ผมจึงบอก นักเรียนเสมอว่าต้องขยันพูด ครูจะได้ช่วยปรับแก้ไขให้ได้ ซึ่ง ส่วนสำคัญในการเรียนรู้ครับ” 66
นี ล วิ ล คิ น ส์ ครู ช าวอั ง กฤษ ป ร ะ จ ำ อ ยู่ ที่ โรงเรี ย นแม่ ท ะ พั ฒ น ศึ ก ษ า จังหวัดลำปาง “ผมกระตุ้ น ให้ นักเรียนก้าวออกมาจาก Comfort Zone ด้วยการให้พวกเขา สวมบทบาทสมมติต่าง ๆ และลองให้เขาใช้ภาษาอังกฤษสอน เพื่อน ๆ คนอื่นในชั้น จึงทำให้ชั้นเรียนของเราสนุกสนาน ไม่ เครียด และทำให้นักเรียนกล้าพูดภาษาอังกฤษมากขึ้นเรื่อยๆ” เคิ ร์ ส ตี้ อั ล ลั น ครู ส ตรี ช าว อั ง กฤษ ประจำ อยู่ ที่ โรงเรี ย น เ ชี ย ง ม่ ว น วิทยาคม จังหวัด พะเยา “ดิ ฉั น เน้ น ให้ นักเรียนเปิดรับภาษาอังกฤษอย่างต่อเนื่อง ทุกคนในโรงเรียนมี ส่วนช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วย เช่นการใช้ภาษา อังกฤษในการเรียนวิชาอื่น ๆ หรือนำรายการวิทยุภาคภาษา อังกฤษมาออกอากาศในระบบเสียงตามสาย เพื่อให้นักเรียนคุ้น เคยกับภาษาอังกฤษมากขึ้น” นางสาว สุ รั ญ ช น า ก อ ง แ ก้ ว นั ก เ รี ย น ชั้ น มั ธ ย ม ปี ที่ 4 โ ร ง เ รี ย น เ ชี ย ง ม่ ว น วิทยาคม จังหวัด พ ะ เ ย า เ ล่ า ว่ า “การเรี ย นกั บ ครู ต่ า ง ช า ติ ท ำ ให้ ทราบว่าที่ผ่านมา หนูออกเสียงและ ใช้ ส ำเนี ย งที่ ไ ม่ เหมื อ นเจ้ า ของภาษา จึ ง พู ด คุ ย กั บ ครู ไม่ รู้ เรื่ อ งตอนเริ่ ม เรี ย น ใหม่ๆ เมื่อได้พูดคุยกับครูบ่อยขึ้นก็เริ่มคุ้นเคยกับสำเนียง ทำให้ สื่อสารกันได้มากขึ้นเรื่อยๆ ค่ะ” นางสาวสุกัญญา เทพกัน นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรี ย นแม่ ท ะพั ฒ นศึ ก ษา จั ง หวั ด ลำปาง เล่ า ขึ้ น มาบ้ า งว่ า “หนูค้นพบว่าครูไม่เข้าใจสิ่งที่เราพูดเพราะเราออกเสียงผิดหรือ เรียงประโยคผิด แต่ตอนนี้หนูสามารถฟังออกและพูดโต้ตอบได้ มากขึ้น เพราะได้เทคนิคในการออกเสียง ได้ฝึกการสนทนามาก ขึ้ น ทำให้ มั่ น ใจที่ จ ะพู ด คุ ย เป็ น ภาษาอั ง กฤษมากขึ้ นด้ ว ยค่ ะ ”
ที ่นี่รับทำป้ายพิมพ์ ไม่รับป้ายสี นั ก สู้ ย่ อ มมี วั นชนะ หรื อ โชคชะตาฟ้ า ลิ ขิ ต วั น หนึ่ ง รุ่ น พี่ ที่ โรงเรียนพาณิชยการพระนคร คุณศุภโชค ศิลปวิลาศ และคุณ วาทิต วุฒิพงษ์ ซึ่งมีเครือข่าย คุ้นเคยอยู่กับห้างโลตัส เปิดร้าน ทำนามบัตรตรายาง รับปริ้นงานอยู่ในโลตัสหลายสาขา จึงชวน ให้ไปเปิดร้านในโลตัสสาขาอื่นๆ “ผมตอบตกลงเลยครับ ตอน เข้าไปทำใหม่ๆ ตอนนั้นอยู่ที่สาขาจรัญสนิทวงศ์ กิจการก็ดีขึ้นมา เป็นลำดับ มีลูกค้าหลายรายถามเราว่าไม่รับปริ้นงานไวนิลหรือ ไม่ทำกล่องไฟหรือ ตอนแรกๆ ก็ส่งต่อไปให้คนอื่นที่เขารับทำ พอ เยอะขึ้น ก็มองว่าเป็นช่องทางที่ดีที่น่าจะทำ ราวปี 2551 จึงกลับ ไปเปิดบริษัท เอ็มเอนด์อาร์ ขึ้นมาใหม่ รับงานที่ใหญ่ขึ้นกว่างาน ในห้าง งานปริ้นไวนิลใหญ่ๆ งานติดตั้ง ทำกล่องไฟ แบรนด์เนอร์ เรารับทำหมด แต่คราวนี้จะไม่รับงานที่ใหญ่เกินตัวอีกแล้ว งาน ไหนใหญ่เกินไป เราก็ส่งต่อให้เพื่อนๆ ในวงการที่รับทำอยู่แล้ว บางที เ พื่ อ นๆ ก็ ส่ ง งานมาให้ เ รา เรารั บ จ้ า งผลิ ต อย่ า งเดี ย ว สบายใจกว่าครับ” เอ็มแอนด์อาร์มีพนักงานประจำ 11 คน ประจำร้านที่โลตัส สาขาจรัญสนิทวงศ์ 5 คน อีก 6 คนอยู่ที่โรงงานผลิต ตั้งอยู่ที่ ถนนจตุโชติซอย 2 แขวงออเงิน เขตสายไหม กทม. บนพื้นที่ราว 200 ตารางเมตร มีเครื่องพิมพ์ Indoor และ Outdoor รวมกัน 5 ตั ว เขาเล่ า ว่ า ทุ ก วั น นี้ มี ค วามสุ ข กั บ ที ม งานน้ อ งๆ ทุ ก คน “เรื่องทีมงานเราทำงานแบบมีกฎ แต่เราไม่จำเป็นต้องตายตัวนัก ผมให้ความสำคัญกับความรับผิดชอบในงานมากกว่า” เมื่อทุกอย่างอยู่ตัว จึงมีเวลาทำงานเพื่อสังคมมากขึ้น เขา เข้าไปช่วยงานคุณแม่ที่สโมสรโรตารี กรุงเทพสุวรรณภูมิ จนเมื่อ 2553 จึงรับเลือกเป็นนายกสโมสร รุ่น 106 “การเข้าช่วยงานที่ สโมสรโรตารี นอกจากจะได้ช่วยสังคมแล้ว ผมยังได้แนวคิดใน การบริ ห ารจั ด การธุ ร กิ จ จากผู้ ห ลั ก ผู้ ใหญ่ ในสโมสรมาอี ก ด้ ว ย อย่างเรื่องการแบ่งเวลา ที่เคยสงสัยว่าผู้บริหารเหล่านี้เขาทำได้ ยังไง ทั้งงาน ทั้งสังคม ซึ่งตอนนั้นผมเองคิดว่าเป็นไปไม่ได้เลย ที่ ผมจะมี เวลาได้ แบบนั้น พอได้เห็ นได้เรียนรู้ จากผู้ใหญ่ ห ลายๆ ท่าน ก็นำมาปรับใช้ ก็ทำได้ครับ”
มีเ ครื่องพิมพ์อิ้งค์เจ็ทคุณภาพดี 5 ตัว กับทีมงานที่เป็นเนื้อเดียวกัน หนุ่มวัย 39 คนนี้ ทำงานในธุรกิจนี้ อย่างสนุก เพราะมีงาน ใหม่แปลกมาให้ประลองอยู่เสมอ ทั้งที่ก่อนหน้านี้ ยังเคยคิดในใจ ว่า “ผมไม่เคยรู้มาก่อนเลยว่ามีอาชีพนี้อยู่ในโลกด้วย” แต่วันนี้... มีวันนี้ของเขา อยู่ในธุรกิจคนทำป้ายแล้วล่ะ
63
Retro ขลุก... คลุก อยู่กับงานเพลงมากว่า 20 ปี ทั้งบนเวทีและหลังไมค์ สะสมแผ่ นเสียง รู้จักเพลงยุค 70 80 90 เป็น “กูรู” หาตัวจับยากคนหนึ่งของวงการเพลงเมืองไทย
“จิตใจตรงกัน ผูกพันรักใหม่ สุขใจเหลือเกิน รักเพลินสดใส เฝ้าคิดถึงเธอ ใจฉันเหม่อลอย....” อยู่ดีๆ ผมก็คิดถึงเพลงนี้ขึ้น มาติดหมัด “แฟนฉัน” โดยวง “ชาตรี” คุณๆ หลายท่านรู้จัก เพลงนี้เพราะอะไรเหรอครับ ตอบกันเองนะครับ แต่ สำหรับ ผม รู้จักเพลงนี้ครั้งแรกตอนเรียน ม.ศ. 2 อย่ามาเดาอายุอา นามกันนะครับ !! เวลาของวัยรุ่นอย่างพวกผม ยุคนั้นตอนนั้น เวลาว่างก็จะฟังวิทยุ เปิดเบาๆ ทำการบ้านบ้าง ถูบ้าน ซักผ้า นอนจินตนาการถึงดาราคนโปรด อิอิ… ชอบอยู่ไม่กี่คน อย่าง คุณลลนา สุลาวัลย์ และ คุณพจนีย์ อินทรมานนท์ นี่เป็น ขวัญใจวัยรุ่นอย่างผมนะครับ บางท่านอาจบอกว่าทำไมไม่ชอบ อรัญญา เพชรา พิศมัย ภาวนา ผมก็ตอบว่า โห!! รุ่นนี้ต้องลอง ไปถามรุ่นคุณพ่อผมดูสิครับ วัยรุ่นอย่างผม และหลายๆ คนในสมัยนั้น นอกจากเรียน แล้ว ทั่วๆ ไปมักจะเล่นกีฬา อ่านหนังสือเพลง ไอเอสซองฮิทส์ นี่ของโปรด ดีดกีตาร์ ฟังวิทยุ ดูทีวีที่มีไม่กี่ช่อง ดูหนังโรงบ้าง บางครั้งบางคราว โดยเฉพาะรอบปฐมทัศน์ ปฐมฤกษ์ทั้งหลาย ได้เห็นดาราตัวเป็นๆ ที่ชอบ ได้ฟังวงดนตรีที่คลั่งไคล้ อย่าง ชาตรี รอยัลสไปรท์ส แกรนด์เอ๊กซ์ เจเนอเรชั่น และอีกหลาย วง แหม! มันตื่นตาตื่นใจเหลือเกิน จะรอบเช้าเสาร์-อาทิตย์ หรือรอบบ่ายก็ไม่หวั่น พอฟังจากรายการวิทยุแล้วเป็นต้องไป ยืนเบียดเสียดตีตั๋ว เผลอๆ ได้รางวัล ได้ของที่ระลึกอีกด้วย เสาร์-อาทิตย์เป็นต้องไปโน่นนี่นั่น อยู่บ้านไม่ค่อยติด นัดกับ เพื่อนขึ้นรถเมล์ขาว เมล์เขียว ไปแบบชิล ชิล รถไม่ได้ติด เหมือนสมัยนี้ แป๊บเดียวก็ถึงซึ่งจุดหมาย อินทรา สยามสแควร์ ประตูน้ำ ไดมารู สนามหลวง นี่คือที่หลักๆครับ ส่วนที่รองๆมัก เป็นโรงหนัง ศาลาโฟร์โมสต์ ข้าวแกงรามา ไอศครีมป๊อบ เพราะสมัยนั้นมีไม่กี่แบรนด์ที่ครองตลาดให้พวกเราได้ชิมลิ้ม ลองแบบปัจจุบัน พวกฟาสต์ฟู๊ดพวกเราไม่คุ้นกัน เพราะแทบจะไม่มี หิวก็ฝาก
ตำนานแห่ง
66
ราเชนทร์ ชุมสาย ณ อยุธยา ผู้ดำเนินรายการวิทยุ Rachain Chumsai na Ayudhaya Radio Announcer rachain_J@yahoo.com
ท้องกับร้านอาหารทั่วๆ ไป ยกเว้นภัตตาคารดังๆ ที่ต้องไปกับ ครอบครัว อย่างอภิชาติภัตตาคาร เสริมมิตรภัตตาคาร พงหลี จันทร์เพ็ญ ท่องกี่ สีฟ้า เรือนแพ เรือนเพชรสุกี้ ที่รู้จักเพราะ เดือนละครั้งครอบครัวเราจะไปกินข้าวนอกบ้าน สุดสัปดาห์บาง อาทิตย์ไปบางปู บางแสน พัทยา หัวหิน แล้วถ้าไปเจอเพื่อนที่ โรงเรียนโดยบังเอิญจะแฮปปี้มาก ก็คงเหมือนกับเดี๋ยวนี้ล่ะครับ ที่หลายๆครอบครัวไปเดินห้าง ไปพักผ่อนต่างจังหวัด เพียงแต่ ว่าความพร้อมแบบครบวงจรมันต่างกัน ตามยุคสมัยและ เทคโนโลยี ร้านอาหาร ภัตตาคารเหล่านี้ ปัจจุบันเป็นตำนาน แห่งรอยยิ้มไปหลายแห่ง เมื่อครั้งที่ผมทำงานใหม่ๆ เคยไปเดินศูนย์การค้าเมโทร โดย ศูนย์การค้าแห่งนี้มีสปอตโฆษณายอดฮิตที่หลายคนยังจำได้ “ไปไหน ไปไหน ไปเมโทร “.... อยู่ด้านหลังธนาคารนครหลวง ไทย ถนนเพชรบุรี ปัจจุบันก็กลายเป็นธนาคารธนชาติไปแล้ว ห้างสรรพสินค้าไทยย่งเตียง ฝั่งตรงข้ามซอยอารีย์ พหลโยธิน ก็กลายเป็นอดีตเช่นกัน ข้าวของต่างๆ สมบัติต่างๆ ที่เราสะสม ทั้งตั้งใจและไม่ตั้งใจ ล้วนมีที่มาที่ไป บางคนเก็บไว้ก่อน บางคน ไม่ได้เก็บแต่หาไม่เจอ พอรื้อห้อง จัดห้องใหม่ ปรากฏว่าไปซุก ในหลืบบ้าง อยู่ในกล่องบ้าง พร้อมๆกับปลวก หรือซากแมลง สาบแห้งๆ พร้อมขี้จิ้งจก ลองดูนะครับ อาจมีตำนานแห่งรอย ยิ้ม ที่คุณจะภูมิใจในที่มา แม้ความทรงจำอาจจะลางเลือนไป ตามกาลเวลา ตอนนี้ผมเองเจอสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารศรีนคร กับ ธนาคารเอเชีย ซึ่งไม่ได้อัพเดทมากว่ายี่สิบปี ซุกอยู่ในถุงเก่าๆ ก็ คงต้องเก็บต่อไปเพราะสองธนาคารนี้กลายเป็นตำนานไปแล้ว มันเป็นรอยยิ้ม ที่แสนประทับใจเพราะผมหัดออมเงินค่าขนม และเงินเดือนสมัยทำงานใหม่ๆ ฝากสองธนาคารนี้ครับ...
รอยยิ้ม...
Outing กินนอกบ้าน ชิมแล้วอร่อย จึงบอกเพื่อน จานเด็ด จานเดียว
ปีกไก่เริงร่า
จานทานเล่น ปีกไก่ทอดแสนธรรมดา แต่สั่งแล้วต้องขอเบิล
ป้ายหน้าร้านก็บอกว่า เจ้าของร้านชื่อแต๋ม
เน้นโทนขาว และมีมุมน่ารัก - ตามภาพของศิลปินคนโปรดอย่างชรัสและเพื่อนๆ
72
ศิลปิน นักร้อง นักแสดง มักจะคู่กับร้าน อาหาร เมื่อถึงวัน หนึ่งที่พวกเขา คิดถึงว่ามีงาน อะไรที่จะมารอง รับ เป็นงานที่ สองที่สาม ส่วน ใหญ่มักเป็น ร้าน อาหาร พับ โรงเรียนสอน ร้อง สอนดนตรี มีร้านอาหาร ทำให้มีโอกาสเจอเพื่อนฝูงได้บ่อยๆ ตามแต่จะถนัด เพราะเรื่องราว เล่านี้ มักจะยังเป็นโอกาสเปิด ให้เจอะเจอผู้คนได้อีกมากมาย คนไทยชอบสังสรรค์ (เกือบ) ทุกโอกาส เป็นต้องมีของกิน และสรรหาของกินอร่อยมาฝากกันอยู่เสมอ เช่นกัน แนวทาง เดียวกันกับศิลปินคุณภาพ อย่างพี่แต๋ม - ชรัส เฟื่องอารมณ์ น้อยคนหรือไม่มากคนนักที่จะรู้ว่าเขาทำงานแบงก์มาจนวัน เกษียณเมื่อปลายปี 2555 ที่ผ่านมา การร้องเพลงเป็นงานที่ สองที่เขารัก ชีวิตหลังเกษียณของพี่แต๋ม จึงยังมีสีสัน ขึ้นเวทีร้องเพลงได้ สบายๆ และตัดสินใจเปิดร้านอาหารไทย ตามชื่อตัวว่า “แต๋ม” เพื่อนฝูงจึงมีสถานที่พบปะสังสรรค์กันได้อีกแห่ง พอรู้ข่าวทีมงานก็ตามไปเยี่ยม ชิมจานอร่อยทันที แม้เจ้าตัว จะออกตัวไว้แล้วว่า เป็นร้านอาหารไทยเล็กๆ เมนูจานเด็ดของร้านนี้ เป็นจานแสนธรรมดา ชื่อ “ปีกไก่ เริงร่า” ทอดแบบแห้งๆ มีรสชาติเค็มนิดๆหนังกรอบ เนื้อในชุ่ม เสิร์ฟร้อนๆ พร้อมน้ำจิ้มถ้วยจิ๋ว เป็นจานทานเล่น อร่อยจน เหลือบไปเห็นว่า หลายโต๊ะต้องสั่งเบิ้ล แบบนี้แหละขออีกสอง จาน บรรยากาศที่ร้านนี้ เป็นเหมือนห้องนั่งเล่นในบ้าน มีรูปถ่าย ของพี่แต๋ม ติดอยู่หลายมุม เน้นโทนขาว สะอาดตา หาไม่ยาก อยู่ในซอยโชคชัย 4 แล้วเลี้ยวเข้าซอยย่อย ซอยที่ 54 ราว 100 เมตร ร้านอยู่ด้านขวามือ แม้รถราจะติดขัดตามธรรมชาติของ เส้นทางลาดพร้าว ที่เต็มไปด้วยหมู่บ้านจัดสรร แต่ความอร่อย และบรรยากาศ สมกับการฝ่าฟัน บางวัน อาจจะเจอพี่แต๋ม จูงมือให้ร้องเพลงซะเลย ดีไหมล่ะ... โทร ไปจองโต๊ะ หรือถาม เส้นทางก่อนก็ดี เลย-หลงทาง จะได้ไม่หงุดหงิด โทร. 02 931 0241
Travelling เปลี่ยนบรรยากาศ จากออฟฟิศ
สัมผั สไอดิน กลิ่นหญ้า ท้องฟ้า ทะเล น้ำตก
เมือง St.Moritz ตั้งเรียงรายอยู่รอบทะเลสาบ คุณๆ คะ ดูเหมือนว่า หลายท่านจะ รู้สึกว่าการเดินทางไปสวิสเซอร์แลนด์ ของดิฉัน ช่างยาวนาน อ่านกันต่อเนื่อง มาหลายฉบับแล้ว ต้องขอเรียนว่า ห้วง เวลาให้ความสุขของคนเรานั้น มักจะสั้น คะ ดังนั้น เราต้องรีบตักตวงและอยาก ให้ความสุขนั้น นิ่ง เนิ่น นาน อยู่กับเรา ไปนานๆ จริงไหมคะ ดิฉันจึงตั้งใจที่ จะบันทึก เก็บสิ่งเล็ก สิ่งน้อย มาฝากกัน ให้หยิบขึ้นมาอ่านเมื่อใด ก็สนุกไปด้วย กันเมื่อนั้น…. 74
ตอนนี้ จึงเป็นตอนที่ 5 ซึ่งจะจบลง แล้ว หลังจากที่มีการจูงมือคุณๆ ไปสวิส ด้วยกันมาตลอดเส้นทางคะ……. เช้าวันที่เจ็ดในสวิส โปรแกรมวันนี้ ดิฉันจะออกเดินทางจากเมืองคูร์ เพื่อนั่ง รถไฟไปเที่ยวที่เมืองเซนต์มอ ริตซ์(St.Moritz) เมืองตากอากาศยอด นิยมของบรรดาเศรษฐีมีสตังค์ที่นิยมมา พักในช่วงฤดูหนาว เส้นทางสายนี้เป็น เส้นทางรถไฟที่สวยที่สุดในสวิส เพราะ วิ่งจาก Zermatt มาสุดทางที่ St.Moritz
ใช้เวลาวิ่งทั้งหมดประมาณ7ชั่วโมง ตลอดทางจะวิ่งตามแนวเทือกเขาแอลป์ ที่สูงชันทอดยาวจากฝั่งตะวันตกไป ตะวันออกผ่านอุโมงค์ถึง 91 แห่ง สะพาน 29แห่ง จุดเด่นของเส้นทางสาย นี้คือภูเขาธารน้ำแข็งที่มีอยู่ตลอดเส้น ทาง จึงเป็นที่มาของชื่อเส้นทางรถไฟ สายนี้คือ รถไฟสาย Glacier Express ดังมากเป็นที่รู้จักมากที่สุดในสวิส เลย ล่ะคะ เมือง St.Moritz เป็นเมืองเล็ก น่า
สวิ ส เซอร์ แ ลนด์ (ตอนจบ) เที่ยวสวิส ล่องทะเลสาบ พิชิตยอดเขาแอลป์
รัก ตั้งอยู่ริมทะเลสาบชื่อเดียวกัน มี อาคารบ้านเรือนและโรงแรมปลูกเรียง รายริมฝั่งทะเลสาบ อีกฝั่งของทะเลสาบ เป็นภูเขาสูงปกคลุมด้วยป่าสนเขียวชอุ่ม บนยอดเขายังมีหิมะปกคลุมอยู่ บรรยากาศสวยงามและเงียบสงบ เหมือนภาพวาดที่มีทั้งภูเขา หิมะและ ทะเลสาบ ดิฉันเดินเล่นตามทางเดินริม ทะเลสาบที่เป็นสวนสาธารณะ มีเก้าอี้ ไม้ ตั้งอยู่เป็นระยะๆให้นั่งพักผ่อน ผู้คน สามารถมาตกปลา แล่นเรือเล็กใน
สุภาณี เดชาบูรณานนท์ ผู้มีประสบการณ์ จากงานเอเยนซีมากว่า 40 ปี วันนี้ขอเล่าเรื ่องเบา เรื่อง เที่ยว เรื่องกิน ที่พี่น้องชาว เอเยนซี ถวิลหา ยามมีเวลา ที่หลุดจากงานได้
ทะเลสาบแห่งนี้ได้ หลังจากนั่งทานอาหารเที่ยง แบบ ปิคนิคริมทะเลสาบเสร็จ ดิฉันเตรียมขึ้น รถไฟสาย Bernina Diavolezza เพื่อไป ขึ้นเขา Diavolezza-ที่นี่เป็นแหล่งเล่น สกีที่มีชื่อเสียง ใกล้ชายแดนประเทศ อิตาลี ต่อด้วยการนั่ง cable car ซึ่ง ค่อยๆพาผู้โดยสารไต่ขึ้นสู่ภูเขาสูงขึ้น เรื่อยๆ จนถึงยอดเขา Diavolezza ปกคลุมไปด้วยหิมะทั้งลูก ณ ระดับ ความสูง2,978 เมตรเหนือระดับน้ำ ทะเล จาก Diavolezza ดิฉันนั่งรถไฟกลับ มาที่ St.Moritz เพื่อเปลี่ยนรถไฟมานั่ง สาย Glacier Express เพื่อกลับมารับ กระเป๋าที่ฝากไว้ที่โรงแรมในเมืองคูร์ ก่อนออกเดินทางไปซูริค Check in เข้าที่พักที่ซูริคแล้ว ดิฉันออกมาเดินเที่ยวในเขตเมืองเก่า ของซูริค ตั้งอยู่ริมแม่น้ำลิมมัต (Limmat river) โดยพบว่าทางฝั่งตรง ข้ามของแม่น้ำเป็นเขตที่ตั้งของเมืองใหม่ วันที่แปด-วันสุดท้ายของทริปนี้แล้ว
คะ ดิฉันวางแผน one-day trip นั่ง รถไฟไปเที่ยวเมืองชาฟฟ์เฮาเซิน (Schaffhausen) เมืองเล็กๆอยู่ติดกับซู ริค มีแม่น้ำไรน์ (Rhein) ไหลผ่านและ เป็นเส้นแบ่งเขตแดนกับรัฐซูริค ใช้เวลา ประมาณ 40 นาที ถึงที่หมาย Schaffhausen เป็นเมืองเก่า มี อาคาร ร้านค้า ร้านอาหาร และโรงแรม รูปทรงแบบโบราณสวยงาม โดยมีการ อนุรักษ์และสามารถใช้งานได้อย่างดี กลางเมืองเป็นจตุรัสที่มีน้ำพุมีรูปปั้น สวยงามเหมือนน้ำพุที่เมืองเบิร์น ผ่านเขตเมืองเก่า แวะป้อมมูนอท (Munot) เดินขึ้นบันไดเป็นร้อยขั้นกว่า จะถึงป้อมปราการ จากนั้นต้องปีนบันได วนขั้นเล็กๆเพื่อขึ้นไปที่บนตัวป้อมมูนอท เป็นป้อมทรงกลมขนาดใหญ่ตั้งอยู่ติด แนวกำแพงบนลานกว้าง. ด้านข้างป้อม มีปืนใหญ่ตั้งเรียงกันอยู่ 3 ชิ้น หันหน้า ออกสู่แม่น้ำฝั่งตรงข้าม ซึ่งในอดีตเป็น ป้อมปราการที่สร้างขึ้นเพื่อป้องกันการ รุกรานจากเยอรมัน จากมุมนี้เราจะ สามารถเห็นทิวทัศน์เมืองชาฟฟ์เฮาเซิน
รถไฟสาย GLACIER EXPRESSวิ่งผ่านสะพานโค้งที่สร้างเลียนแบบ Aquaduct ในสมัยโบราณ
75
Travelling เปลี่ยนบรรยากาศ จากออฟฟิศ
สัมผั สไอดิน กลิ่นหญ้า ท้องฟ้า ทะเล น้ำตก
Diavolzza แหล่งเล่นสกีที่อยู่ใกล้พรมแดนอิตาลี รูปปั้นวัวที่แขวนกระดึง สัญญลักษณ์อีกอย่างของสวิส บนระเบี ยงหน้าร้านค้าในเขตเมืองเก่าซูริค และแม่น้ำไรน์ได้อย่างสวยงาม ขากลับ ใช้เวลาสั้นๆ เพียง 25นาที เดินอีกราว5 ลงมาดิฉันเลือกลงอีกทางซึ่งสั้นกว่า นาทีเพื่อข้ามสะพานเข้าสู่เขตเมืองเก่าที่ และมีไร่องุ่นปลูกเรียงแถวสวยงาม ตั้งอยู่ริมแม่น้ำไรน์ มองจากบนสะพาน ตลอดสองข้าง เห็นแล้วล่ะ บ้านเรือนแบบยุโรปในยุค จาก Schaffhausen นั่งรถไฟต่อไป กลางตั้งเรียงรายอยู่ริมแม่น้ำ ใกล้ๆเป็น เมืองชไตน์อัมไรน์ (Stein Am Rhein) ท่าจอดเรือโดยสาร ที่วิ่งขึ้นล่องระหว่าง 76
เมืองSchaffhausen. และเมืองอื่นๆริม ฝั่งทะเลสาบคอนสตันซ์ (Lake Konstanz) ของเยอรมัน เมืองชไตน์อัม ไรน์เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ปากแม่น้ำไรน์ ด้าน ที่ติดกับประเทศเยอรมัน ภายในเขต เมืองเก่าจะมีอาคารที่มีภาพเขียนด้วยสี น้ำที่เรียกว่า “เฟรสโก้” ที่ยังมีสีสัน สดใสสวยงามเด่นชัดอยู่กลางจตุรัส ใจกลางเมือง และยังมีแนวกำแพงเมือง เก่า ป้อมปราการและปราสาทหลงเหลือ อยู่ จึงเป็นเมืองเล็กน่ารักที่นักท่องเที่ยว นิยมมาเที่ยว ขากลับดิฉันเลือกที่จะนั่งเรือแทนนั่ง รถไฟ มาที่เมืองSchaffhausen ชม ความสวยงามของบ้านเรือนและทิว ทัศน์ริมฝั่งแม่น้ำไรน์ เรือโดยสารเป็น เรือสองชั้น ชั้นบนมีส่วนที่มีหลังคาและ ที่นั่งท้ายเรือที่ไม่มีหลังคา. ดิฉันเลือก ออกไปนั่งด้านท้ายเรือ เห็นวิวทิวทัศน์ได้ ถนัดทั้งสองข้างแม่น้ำ เสน่ห์ประทับใจ 1 ชั่วโมง ถัดมา ก็กลับมาถึงเมือง
จากป้อมมูนอทสามารถเห็นทิวทัศน์แม่นำ้ไรน์และบ้านเรือนท๊่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำในเมืองชาฟฟ์เฮาเซ็น
เรือโดยสารที่วิ่งระหว่างเมืองต่างๆในแม่น้ำไรน์ เห็นท่าจอดเรือที่เมือง Stein Am Rhine
เรือโดยสารที่ให้บริการที่น้ำำ้ตกไรน์ บริเวณพรมแดนสวิสและเยอรมัน
Schaffhausen เดิมดิฉันตั้งใจที่จะนั่งรถเมล์ไปเที่ยว ชมน้ำตกไรน์ ที่อยู่ปากทางก่อนเข้าตัว เมือง ห่างออกไปประมาณ 3-4 กิโลเมตร เผอิญเจอคนไทยที่มาใช้ชีวิตหลัง แต่งงานมาอยู่ที่สวิส เธอจึงแนะนำให้ นั่งรถไฟ ซึ่งจะไปจอดที่สถานีที่น้ำตก เลย สถานีรถไฟของเขาเป็นเหมือน ศาลาเล็กๆสร้างอยู่ริมทาง มีทางเดิน เล็กๆ แค่2-3 นาที เห็นแล้วคะ น้ำตก ไรน์ บนสะพานเล็กๆ นี่แหละคะ หรือ จะเลือกลงเรือเข้าไปสัมผัสน้ำตกได้ อย่างใกล้ชิดหรือเข้าไปยังบริเวณโขดหิน ที่ยื่นเข้าไปใกล้น้ำตก ส่วนฝั่งตรงข้ามเป็นเขตประเทศ เยอรมัน น้ำตกไรน์ มีความสูงราว 23 เมตร แต่มีความกว้างถึง 150 เมตร ถือ เป็นน้ำตกที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป แต่เป็น น้ำตกกลางแม่น้ำไรน์ที่ไหลมาจากทะเล สาบคอนสตันซ์เมื่อมาถึงที่คุ้งน้ำนี้ที่มี ความต่างระดับจึงเกิดเป็นน้ำตกไรน์ และใช้เป็นเส้นแบ่งเขตแดน ระหว่างสวิสและเยอรมัน ถึงเวลากลับแล้วล่ะ นั่งรถไฟกลับมา ที่สถานีซูริค เผอิญตรงกับวันอาทิตย์ซึ่ง ซุปเปอร์มาร์เก็ตในสวิสจะปิด ยกเว้น ร้านเล็กๆตามสถานีรถไฟ โชคดีที่คน ไทยที่เราเจอแนะนำให้ เพราะที่สถานีซู ริคซึ่งเป็นสถานีใหญ่ระดับประเทศ จะมี Migros ซึ่งเป็นsupermarket chain ที่ ใหญ่ที่สุดในสวิส เปิดบริการลูกค้าในวัน อาทิตย์ด้วย ทำให้เราได้มีโอกาสชอปปิ้ง ซื้อ chocolate กลับบ้าน เพราะถ้ามา ถึงสวิสแล้วไม่ทานและซื้อchocolate สวิส กลับบ้านก็คงพูดไม่ได้เต็มปากว่า มาเที่ยวสวิส เพราะที่นี่ เขาเป็น เจ้า แห่งความอร่อย รสชาติดั้งเดิม สืบทอด กันมานานนับร้อยปี ดิฉันขอจบการท่องเที่ยวสวิสเพียง เท่านี้ ในครั้งต่อไป ดิฉันขอพาคุณๆ ไป เที่ยวประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มอาเซียน กันบ้าง กลิ่นไอของคนเอเชีย ด้วยกัน ยังคงรอให้พวกเราไปสัมผัสอยู่คะ แล้วพบกันค่ะ... 77
Outing กินนอกบ้าน ชิมแล้วอร่อย จึงบอกเพื่อน จานเด็ด จานเดียว
เจ้าสมุทร ยำอยากรู้ ลูกชิ้นปลา Connecion กรอบแนว แถวความคิดของคอลัมน์นี้ ต้องเป็นจานเดียว จานเด็ด ที่ลูกค้าเป็นต้องสั่งให้ได้ คล้ายเป็นซิกเนเจอร์ของร้าน แต่วันนี้ทีมงานขอแหกกฎ ฝ่าด่าน เก็งกอยทอยแก่นแล่นไปชิม ทั้ง 3 เมนู ...เถอะนะ อากาศร้อนอบอ้าว ตามใจกันบ้างเป็นไร มี... มาแล้ว เจ้าของร้านเสริฟเอง จานแรก “จ้าวสมุทร” สหาย จากทะเล ปลา ปู หมึก กุ้ง นำมาบดกับรากผักชี กระเทียม พริกไทย ปั้นเป็นก้อนลูกรักบี้ ราดด้วยน้ำซอสสูตรลับพิเศษของ เฉพาะที่นี่ ร้อนฉ่าบนกระทะร้อนๆ หอมโชยแตะจมูก รสชาติ กลมกล่อม หวานมันเค็ม จานที่สอง “ยำอยากรู้” เซฟขอเสนอเอง เป็นปลาดูกฟู มะม่วง ถั่ว ตะไคร้ และสมุนไพรไทย คลุกรวมกันกับน้ำยำ โรย หน้าด้วยส้มโอ สีสันจัดจ้าน รสชาติซี๊ดซ๊าดดดด...
เมนูสุดท้าย “ลูกชิ้นปลา Connecion” ปลาล้วนๆ ทำสด บดใหม่ ทุกวัน เหนียว หนึบ นุ่ม พร้อมน้ำจิ้มเต้าเจี้ยว และน้ำ จิ้มซีฟู๊ด เคี้ยวเต็มคำ ความนุ่มเด้งของเนื้อปลาเข้ากันได้ดีกับน้ำ จิ้มรสเด็ด สถานีลาดพร้าว-รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT เป็นจุดตั้งของร้านนี้Connecion สะดวกในการจอดรถและการเดินทางมายังที่ ปลายด้วยรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT “เมื่อสองปีก่อน ผมพักอยู่ที่ คอนโดพหลโยธิน ออฟฟิศผม เป็นตัวแทนจำหน่ายโปรเจคเตอร์ ชื่อ บริษัทโปรเจคเตอร์เวิล์ด จำกัด อยู่ย่านห้วยขวาง ผมขับรถผ่านที่นี่ทุกวัน มองเห็น อาคารนี้ยังว่างอยู่ จึงชวนเพื่อนมาเป็นหุ้นส่วนกัน ทำแผนนำ เสนอเข้าไปที่ MRT ว่าเราจะทำเป็นสถานที่จัดประชุมสัมมนา แบบครบวงจร ปรากฏว่าได้รับการพิจารณาให้เราเข้ามาทำ ครับ” คุณกพ (ชื่อสะกดด้วย “ก” มาจากคุณแม่ “กุ้ง” “พ” มาจากคุณพ่อ “พัฒน์”) – คุณอัคร จันทรนิภา กรรมการ ผู้จัดการ The Connecion เล่าความแปลกใหม่ ของงานตรง หน้า พลอยทำให้พวกเราก็อึ้ง อึ้ง ไปด้วย เหมือนกันนะเออ... ขอบอกว่า ที่นี่ เหมาะมากในการทำงานประชุม สัมมนา หากคุณๆ อยากเปลี่ยนบรรยากาศ จากโรงแรมหรูบ้าง การ เดินทางก็สะดวกดี เกาะแนว MRT เข้าไว้ The Connecion Restaurant เปิดให้บริการอย่างเป็น ทางการเมื่อวันที่ 3 มกราคม 2554 เจ้าของดีใจมาก ลูกค้าเจ้า แรกคือ บริษัท ที โซลูชั่น จำกัด จองมาจัดสัมมนา-เรื่องกล้อง วงจรปิด 3 วัน รวด ลูกค้าบอกว่าการเดินทางสะดวกมา จาก นั้นก็บอกต่อๆ กันไป ทีมงานก็ขอบอกต่อ (อีกคน) ด้วยนะ ที่นี่ เปิดทุกวัน 08.00 น. – 22.00 น. ไม่มีวันหยุด โทร.ได้ที่ 02 938 1546 หรือคลิกไปที่ www.theconnecion.com
ทิ้งกันไม่ลง
หาไม่ยาก อยู่หัวมุมสี่แยก ก่อนถึงที่ทำการศาล ที่ถนนรัชดาภิเษก
74
CSR In Action
หมดยุคการทำกำไรสูงสุด ถึงยุคแบ่งปัน สร้างสังคมน่าอยู่ร่วมกัน
นิตยสารสื่อนอกบาน ฉบับแรกและฉบับเดียวในประเทศไทย
44
Travelling in Cyber ท่องไปในโลกไซเบอร์
Tablet ถือเป็นสินค้าประเภทใหม่ที่ได้รับความนิยมจากผู้ บริโภคเร็วที่สุดในกลุ่มสินค้าประเภทพกพาด้วยกัน จาก รายงานของ Morgan Stanley พบว่า Tablet เป็นอุปกรณ์พก พาที่มียอดขายสะสมสูงสุดเมื่อนับจากวันที่เริ่มแนะนำสู่ตลาด ตามสถิติที่ผมแนบมาด้วยนี้แล้วนะครับ โดยมี Smartphone ตามมาเป็นลำดับ 2 ซึ่งคาดการณ์กันว่า ภายใน 5 ปีนับจากวัน ที่ tablet เริ่มเข้าสู่ตลาด จะมี tablet ออกสู่ตลาดทั้งสิ้น ประมาณ 700 ล้านเครื่อง ทำลายสถิติอุปกรณ์พกพาทุกชนิด อย่างราบคาบ ในแง่ระบบปฏิบัติการ จะมี tablet 3 แบบที่ได้รับความ นิยมจากผู้ใช้ทั่วโลก ซึ่งเป็นที่มาของหัวข้อที่จั่วไว้ว่า tablet, tablet และ tablet ซึ่งบทความฉบับนี้ จะพูดถึง tablet ทั้ง 3 แบบว่ามีที่มาอย่างไร และในอนาคตจะเป็นอย่างไร รวมไปถึง แนวทางในการเลือกซื้อว่าถ้าท่านจะเลือกซื้อ tablet มาใช้ซัก ตัว จะต้องพิจารณาเรื่องอะไรบ้างจึงจะเลือกได้อย่างถูกต้อง ตรงกับการใช้งานของแต่ละท่านนะครับ ผมขอเริ่มต้นที่ iOS ก่อน ซึ่งถึงแม้จะมี tablet เกิดขึ้นมา นานแล้ว แต่บริษัทฯ ที่พัฒนาทั้งสินค้า ระบบปฏิบัติการ และ การสนับสนุนอื่น ๆ จนทำให้ tablet กลายเป็นสินค้าที่ได้รับ ความนิยมขึ้นมาอย่างรวดเร็วจนถือว่าเป็นผู้สร้างสินค้าประเภท table คือ Apple ในยุคของ Steve Job 2 นั่นเอง iPad ซึ่ง เป็นชื่อเรียก tablet ของ Apple ได้ถูกแนะนำสู่ตลาดครั้งแรก ในเดือนเมษายน 2553 โดยใช้ระบบปฏิบัติการ iOS ที่ใช้อยู่ แล้วบน iPhone นั่นเอง เพียงแต่นำมาปรับให้สามารถใช้กับ iPad ที่มีจอขนาดใหญ่ขึ้น ซึ่งการใช้งานก็คล้าย ๆ กับ iPhone จนบางคนบอกว่า iPad ก็คือ iPhone จอใหญ่นั่นเอง ทำให้ผู้
เมื่อทีวีธรรมดา Tablet Table และ Tablet
80
ใช้ iPhone อยู่แล้ว สามารถใช้ iPad ได้โดยไม่ได้รู้สึกยุ่งยาก อะไร ตัวผมเองเคยเห็นเด็กอายุน้อย ๆ หรือคนอายุมาก ๆ ใช้ iPad ได้อย่างสนุกสนาน ก็นึกชม Apple มาก ว่าเก่งจริง ๆ ที่ ทำให้เรื่องยากกลายเป็นเรื่องง่ายได้ จนทั้งเด็กและผู้อาวุโสต่าง สามารถใช้เทคโนโลยีให้เป็นประโยชน์ได้ iPad รุ่นแรกที่แนะนำสู่ตลาด มีจอภาพขนาด 9.7 นิ้ว ซึ่ง ต่อมาในเดือนตุลาคม 2555 Apple ก็แนะนำ iPad mini ที่มี จอขนาด 7.9 นิ้วออกสู่ตลาด ทำให้ผู้ใช้มีทางเลือกในแง่ขนาด จอภาพมากขึ้น iPad เป็นสินค้าที่มีจุดเด่นหลายเรื่อง ตั้งแต่เครื่องที่ได้รับ การออกแบบอย่างสวยงาม น่าใช้ ตามสไตล์ Apple มีระบบ ปฏิบัติการที่ดี (iOS) ทั้งในแง่การใช้งานง่าย เสถียร มี ประสิทธิภาพ และมีโปรแกรมสนับสนุนจำนวนมาก ซึ่งจนถึง เดือนมกราคม 2556 ที่ผ่านมา คาดว่ามีโปรแกรมที่ออกแบบ มาสำหรับ iPad โดยเฉพาะประมาณ 300,000 โปรแกรมที่ให้ ผู้ใช้สามารถซื้อหรือโหลดมาใช้งานฟรีได้ เรียกได้ว่าเป็น tablet ที่มีโปรแกรมสนับสนุนมากที่สุดในโลก มีจอภาพที่มีอัตราส่วน 4:3 ทำให้เหมาะมากสำหรับอ่านหนังสือ (เทียบกับจอภาพ อัตราส่วน 16:9 ของ tablet ค่ายอื่นที่เหมาะสำหรับดูวีดีโอ มากกว่าอ่านหนังสือ) มีอุปกรณ์ต่อพ่วงจากผู้ผลิตอื่น ๆ ที่ผลิต ให้ใช้งานกับ iPad ได้มากมาย จนทำให้ iPad มียอดขายเพิ่ม มากขึ้นอย่างรวดเร็ว จนถึงเดือนมีนาคม 2556 นี้ คาดว่า iPad ขายออกไปแล้วทั้งสิ้น 120 ล้านเครื่อง นับเป็น tablet ยี่ห้อที่ขายดีที่สุดในโลกก็ว่าได้ ในแง่ข้อเสียบ้าง iOS ถือเป็นระบบปิดที่ Apple ไม่ยอมให้ ผู้อื่นนำไปใช้ tablet ที่ใช้ iOS จึงมีให้เลือกไม่มากนัก ทั้งในแง่ รูปแบบ ขนาด และราคา ต่างไปจากระบบปฏิบัติการอื่นที่จะ พูดต่อไป ที่เปิดให้ผู้ผลิตจำนวนมาก นำไปใช้ได้ แต่เรื่องนี้ ก็ เป็นทั้งข้อดีและข้อเสีย เพราะถึงจะมีข้อเสียในแง่ที่เป็นระบบ ปิด แต่ก็มีข้อดีที่เนื่องจาก Apple เป็นผู้ออกแบบทั้ง Hardware และระบบปฏิบัติการ ทำให้ iPad มีความสมบูรณ์ แบบในแง่การทำงานที่สอดคล้องกัน อีกข้อเสียหนึ่งที่สำคัญคือ ถึงแม้ iPad จะมีโปรแกรมให้ เลือกใช้จำนวนมาก แต่โปรแกรมส่วนใหญ่ ก็มีไว้เพื่อใช้งาน ส่วนตัว โปรแกรมที่ใช้กันทั่วไปบน PC เช่นโปรแกรมทางธุรกิจ ไม่ค่อยมีบน iPad รวมไปถึง iPad ได้ถูกออกแบบมาให้เป็น
อุปกรณ์สำหรับดูข้อมูล มากกว่าการใช้เป็นอุปกรณ์สำหรับ สร้างข้อมูล ซึ่งจะพูดถึงเรื่องนี้ในโอกาสต่อไปเช่นกัน ระบบปฏิบัติการสำหรับ tablet ที่จะพูดต่อไปคือ Android ของ Google ซึ่งเรียกว่าเป็นคู่แข่งโดยตรงของ iOS และมี แนวคิดตรงข้ามกันในหลายเรื่อง Google ได้แนะนำ Android สำหรับ Smartphone ออกสู่ตลาดครั้งแรกในเดือนตุลาคม 2551 โดย Google ได้เลือกที่จะพัฒนา Android ในรูปแบบ Open Source ซึ่งหมายถึงการเปิดเผย Source Code ของ โปรแกรมที่ทำให้นักพัฒนาโปรแกรมอื่น ๆ สามารถนำ Android ไปใช้งานได้ฟรีโดยไม่มีปัญหาด้านลิขสิทธิ์ พร้อมทั้ง เมื่อมี source code อยู่ในมือ ก็สามารถดัดแปลง ปรับปรุง Android ให้เหมาะกับการใช้งานในรูปแบบต่าง ๆ ได้โดยง่าย เมื่อผสมรวมกับการที่ Google เป็นเจ้าภาพและมีการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง ทำให้ Android ได้รับความนิยมจากผู้ผลิต และ ผลิต Smartphone ในระบบ Android ออกมาจำนวนมาก จน ถือเป็นระบบปฏิบัติการอันดับ 1 ของ Smartphone ในปัจจุบัน เมื่อ Apple แนะนำ iPad ออกสู่ตลาดจน ทำให้ tablet ได้ รับความนิยมเป็น อย่างมาก Google ก็เร่ง พัฒนา Android ให้สามารถใช้กับ Tablet ได้เช่น กัน แต่เนื่องจาก Android ที่ออกแบบมาใช้กับ Smartphone ซึ่งหลังสุดอยู่ที่ เวอร์ชั่น 2.3 นั้น ใช้งานได้ดีกับจอขนาดเล็ก เพราะถูก ออกแบบมาใช้กับ smartphone เป็นหลัก เมื่อจะนำ Android มาใช้กับ tablet ที่มีจอขนาดใหญ่ Google ต้องเร่งปรับส่วนที่ เป็น user interface ของ Android ขนานใหญ่ซึ่งใช้เวลานาน จนกลายเป็นเวอร์ชั่น 4.0 ที่ใช้งานกับ tablet ได้สมบูรณ์ และ กลายเป็นเวอร์ชั่นที่ใช้ร่วมกันได้ทั้ง smartphone ที่มีจอเล็ก และ tablet ที่มีจอใหญ่ โดยแนะนำ Android 4.0 ออกสู่ตลาด ในเดือนธันวาคม 2554 นับเป็นเวลา 21 เดือนหลังจาก iPad ออกสู่ตลาด ทำให้ tablet ในระบบ Android ตามหลัง iOS/ iPad ของ Apple เกือบ 2 ปี อย่างไรก็ตาม เนื่องจาก Android เป็นระบบเปิดที่ได้รับ การสนับสนุนจากยักษ์ใหญ่ Google ทำให้ผู้ผลิต tablet ต่างๆ รีบผลิต tablet ในระบบ Android และป้อนเข้าสู่ตลาดอย่าง รวดเร็ว และหลายรูปแบบ หลายขนาด ที่ราคาต่าง ๆ กัน เปิด ทางเลือกมากมายให้กับผู้ใช้ ซึ่งรวมไปถึงรัฐบาลไทยที่ถือเป็น ประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีโครงการนำ tablet มาใช้ในการ เรียนการสอนในระดับประเทศ ด้วยการซื้อ tablet ให้กับ
สมชัย สิทธิชัยศรีชาติ กรรมการผู้จัดการ บมจ.เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) Somchai Sittichaisrichart Managing Director SIS Distribution (Thailand) Plc.
นักเรียนชั้นประถม 1 ของโรงเรียนรัฐบาลได้นำไปใช้กันทุกคน จำนวนกว่า 8 แสนเครื่องในปี 2555 เป็นที่ฮือฮากันไปทั่วโลก โดยในปี 2556 นี้ จะซื้ออีกประมาณ 1.6 ล้านเครื่องเพื่อให้ นักเรียนทั้งชั้นประถม 1 และมัธยม 1 ใช้ ถึงแม้ tablet ในระบบ Android จะเริ่มช้าไปหน่อย แต่ ความเป็น open source ที่สนับสนุนโดย Google และการมีผู้ ผลิตจำนวนมากต้องการเข้ามาในตลาด ทำให้ tablet ในระบบ Android เติบโตอย่างรวดเร็ว จนนักวิเคราะห์หลายคนได้เริ่ม ประมาณการว่า iPad ของ Apple จะเสียตำแหน่งผู้นำให้กับ Android Tablet ภายในกลางปี 2556 นี้ ข้อดีของ tablet ระบบ Android คือมีให้เลือกมากมาย หลายราคา ตั้งแต่ราคาต่ำกว่า 3,000 บาท ซึ่งเป็น tablet จาก ประเทศจีนแบบไร้ยี่ห้อ หรือถ้าต้องการที่มีตระกูล ก็มี Iconia B1 ของ Acer ที่เริ่มต้นที่ 3,990 บาท และกำลังขายดี ของ หมดตลอดเวลาเพราะราคาไม่แพง และเชื่อถือได้ในเรื่อง คุณภาพและการรับประกัน ไปจนถึงเครื่องหรูๆ จาก Asus หรือ Samsung ที่มี tablet คุณภาพสูงๆ มาให้เลือกซื้อกัน เรียกว่ามีให้เลือกกันอย่างจุใจ รวมทั้งการเป็นระบบเปิด ทำให้มี ผู้พัฒนาโปรแกรมจำนวนมาก ช่วยกันพัฒนาโปรแกรมป้อนให้ กับ Google แล้วผู้ใช้ก็สามารถโหลดมา ใช้ฟรีกันได้จำนวนมาก สำหรับข้อเสียที่สำคัญของ Tablet ระบบ Android คือ การที่มีหลายรูปแบบ มาก ทั้งในแง่ขนาดจอภาพ ความละเอียด ของจอภาพ CPU ที่วิ่งเร็วบ้าง ช้าบ้าง หน่วยความจำก็แตกต่างกันไป การ ออกแบบโปรแกรมให้วิ่งได้กับ tablet ทุก รุ่น ทุกยี่ห้อนั้น เป็นเรื่องที่ยากมาก เมื่อ เทียบกับ iPad ที่มีอยู่ไม่กี่รุ่น ในตอนต่อไป ผมขอต่อเนื่อง เราจะมาว่ากันถึงระบบปฏิบัติ การของ tablet อีกระบบ ที่คาดว่าจะมาแรงมากเช่นกันครับ 81
ASPA Home Town จัดไว้พิเศษ ให้นายกฯ สื่อสารไปถึงสมาชิก
สาคร ตรีธนจิตต์ นายกสมาคม สมาคมป้ายและโฆษณา เป็ น ที่ อั น รู้ กั น นะครั บ ว่ า ปี 2556 มี ก ารเปลี่ ย นแปลงผู้ บริหารกรุงเทพมหานคร ตามผลการเลือกตั้ง เมื่อ 3 มีนาคม 2556 ที่ผ่านมา เรามีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนใหม่ ชื่ อ เดิ ม คื อ หม่ อ มราชวงศ์ สุ ขุ ม พั นธ์ บริ พั ต ร นโยบายอาจ เปลี่ยนไปตามยุคสมัยแห่งกาลเวลาและเทคโนโลยี พวกเราคน ทำป้ายก็ต้องปรับตัวให้ทันสมัยด้วยเช่นกันนะครับ นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารปรั บ เปลี่ ย น ตำแหน่ ง ประธานสภา กรุงเทพมหานคร เป็นคุณพิพัฒน์ ลาภปรารถนา จึงเป็นเรื่อง ปกติ ที่ พ วกเราจะเข้ า เยี่ ย มคารวะท่ า น ที่ ศ าลาว่ า การ กรุงเทพมหานคร งานนี้ผมดีใจ ที่คณะกรรมการ เข้ามาร่วมกันมากกว่า 10 คน คึกคักดีครับ ผู้บริหาร กทม.ท่านก็ได้เห็นความตั้งใจของ พวกเรา ที่รวมตัวกันเป็นกลุ่มก้อนได้ ท่านประธานสภา กทม. ฝากประเด็นพิจารณา ไว้หลาย เรื่อง อาทิ กิจกรรมของสมาคมฯ ที่จะมีโอกาสมาร่วมงานกับ กทม., การสนับสนุนโครงการป้ายมั่นคงแข็งแรง, การส่งเสริม ให้ผู้ประกอบการรายต่างๆ เข้ามาร่วมเป็นสมาชิกของสมาคมฯ เพื่ อ ความเข้ ม แข็ ง ของตั ว แทนวิ ช าชี พ ตลอดจนการร่ ว มกั น สร้างความเข้าใจกับสื่อประเภทใหม่ๆที่มา เช่น ป้าย LED รวม ทั้งกิจกรรมเพื่อสังคม-CSR ในฐานะนายกสมาคมฯ ผมรู้ดีว่า นี่เป็นภาพพจน์ที่สวยงาม น่ายกย่อง ชื่นชม เดินไปทางใด มักจะมีเสียงชม ดังเป็นระยะ ผมขอถือโอกาสนี้ เชิญชวนทุกท่าน มาร่วมงาน ร่วมกิจกรรม ของสมาคมฯ ด้วยกันนะครับ เริ่ ม จาก ถามตั ว เองว่ า ปี นี้ ป้ า ยบิ ล บอร์ ด ของท่ า น มี ก าร ผ่านการพิจารณา จนได้รับ ป้าย Safety แล้วหรือยัง...
ป้ายมั่นคงแข็งแรง ปี 2556
82
ยอมรั บ กั น ว่ า วิ ก ฤตเรื่ อ งบุ ค ลากร เป็ น เรื่ อ งใหญ่ ข องทุ ก วงการ รวมทั้ ง วงการมีเดียเอเยนซี ด้วยนะคะ จากที่ ครั้งหนึ่งเคยเป็นอาชีพยอดนิยม ที่เด็ก จบใหม่ วิ่งเข้าหา ตอนนี้เด็กวัยนั้น ใน วันนี้กลายเป็นผู้ใหญ่ในหลายวงการกัน ไปแล้ว เด็กยุคนี้ เขามีอิสรภาพทางความคิด ทางการทำงาน พวกเขามีทางเลือกเยอะ ที่จะก้าวเดิน พวกเขาพร้อมที่จะเดิน ที่ น่ารักยิ่งขึ้นกว่านั้น เมื่อพ่อแม่ผู้ปกครอง ล้ ว นมี ส่ ว นส่ ง เสริ ม พวกเขาด้ ว ย ต่ า ง จากสมั ย ก่ อ นที่ พ่ อ แม่ มั ก มี ฝั น มี ห วั ง อยากให้ลูกรับราชการ เป็นเจ้าคน นาย คน มั่นคง ไม่ต้องตกงาน ไม่ต้องถูกไล่ ออก ทำงานเลี้ ย งชี พ หลวงเลี้ยงไปได้ ตลอดชีวิต
ดั ง นั้ น เราจะพบว่ า เด็ ก ๆ รุ่ น ใหม่ เมื่ อ จบออกจากรั้ ว มหาวิ ท ยาลั ย มั ก มี ทางเลือก กับอาชีพอิสระ มากมาย ไม่ จำเป็นต้องมาเป็นหนุ่มสาวออฟฟิศ แต่ อย่างใด ในแวดวงมีเดียเอเยนซี ก็เช่นกันคะ เราขาดแคลนน้องๆ คนรุ่นใหม่ ให้เข้า มารับช่วงงาน ตอนนี้ในแต่ละออฟฟิศ มักมีรุ่นใหญ่ รุ่นกลาง รุ่นเด็ก หาได้น้อย ถามต่ อ ว่ า …. บุ ค ลิ ก แบบไหน จึ ง จะ เหมาะกั บ อาชี พ ของคนทำ “มี เ ดี ย Media” ล่ะ….. ตอบว่า….ต้องกระตือร้อล้น ชอบสิ่ง แปลกใหม่ ภาษาอั ง กฤษใช้ ง านได้ คำนวณเลขคล่อง เพราะต้องคิดเรื่องงบ ประมาณ + ความคุ้มค่าของการซื้อสื่อ ต้องอดทน รับอารมณ์ได้ทุกสถานการณ์
วรรณี รัตนพล นายกสมาคมมีเดียเอเยนซี และธุรกิจสื่อแห่งประเทศไทย ….จะต้องขนาดนี้เชียวเหรอ ดิฉันว่าไม่ แตกต่ า งมาก เพี ย งแต่ เป็ นงานเฉพาะ เจาะจงของแต่ ล ะอาชี พ เท่ า นั้ น เอง บางที เราอาจจะหากันยังไม่เจอ ทั้งผู้ว่า จ้างและผู้แสวงหางาน จริงไหมคะ…. งานนี้สมาคมฯ จึงทำหน้าที่เป็นตัวกลาง ในการ เชื่อมรอยต่อนี้ให้ ด้วยการเปิด หลักสูตร Communication Channel Management หรื อ CCM ซึ่ ง เปิ ด ไป แล้ว 1 รุ่น เมื่อปลายปีที่ผ่านมา คราวนี้ถึงเวลา ของ CCM2 แล้วคะ รีบ ดูรายละเอียด รีบสมัครกันก่อนที่จะครบ จำนวน 40 ที่นั่งที่จัดไว้รอนะคะ คลิ๊กไป ที่ www.mediaagencythai.com
ตกงาน ได้งาน
83
Gossip จิบน้ำชา ใต้ต้นพิกุล
ใจสู้ชูสองนิ้ว อย่างที่เห็น เป็นอย่างนั้นจริงๆ เมื่อต้อง เดินทางนานกว่า 12 ชั่วโมง จากเชียงใหม่ถึงภูเก็ต แน๊ะ…. สงสัยล่ะซิ ไปทางไหนเนี๊ยะ... ยุคนี้เขาดิจิตอลแล้วนะ ยัง โบ…อยู่รึ คุณวิวัฒน์ กิตติพรพานิช บอสส์หน้าเด้ง แห่ง V-Sign รุ่นใหญ่ของเมืองเชียงใหม่ ทำตั้งแต่พิมพ์งานอิงค์เจ็ท โครงป้ายให้เช่า ทำอีเว้นท์ ครบสูตร อ่ะ... และรู้กันว่า คุณพี่เธอใจกว้างกว่าทะเล หมอกที่ดอยแม่สะลอง พอรู้ ข่าวว่าเพื่อนๆ จากชมรมไทย อิงค์เจ็ท และสมาคมส่ง เสริมไทยธุรกิจโฆษณา ยก ขบวนมาจัดงานสัมมนาให้ ความรู้ เรื่อง “LED ป้ายนี้ ป้ายทำเงิน” ครั้งที่ 4 ที่ภูเก็ต จึงแน่วแน่ว่าจะเดินทางไปให้ กำลังใจ ตัดสินใจ ละงานสักสองสาม วันพอได้ จึงจองตั๋วเครื่อง บิน บินตรงจากเชียงใหม่ ทะลุลงถึงภูเก็ต เวลาเครื่อง ออกคือ 12.30 มาถึงสนาม บินทานข้าวเพลินๆ รู้ตัวอีกที อีก 10 นาที เครื่องเชิดหัว วิ่งไปเห็นว่า เครื่องกำลังถอย หลังไปตั้งลำ Take off เสีย แล้ว ตัดสินใจ ตีตั๋วอีกใบ ไป กรุงเทพ เพราะคิดว่าเที่ยวบิน น่าจะมีมากกว่า เชียงใหม่ ดอนเมือง ถึงแล้ว พบว่าทุก 84
ไฟลต์ ของ กทม - ภูเก็ต เต็มทุกเที่ยวบิน ตัดสินใจ (อีก) มีไปภาคใต้ ที่ไหนบ้าง เจอแล้ว กทม. กระบี่ พอไหว ไปเลยล่ะ... เพื่อนรออยู่ ถึงแล้วกระบี่ เช่ารถที่สนาม บิน แวะกินหอยชักตีน แล้ว ขับลงไปภูเก็ต เฮ้อ….ถึงซะที เรียกว่ารักกันจริง จึง รอนแรมมา จึงเป็นตำนาน เชียงใหม่ - ภูเก็ต ยาวนาน 12 ชั่วโมง ด้วยประการนี้... คุณไพโรจน์ โรจน์มหา มงคล จีเอ็มค่ายออสแรม ที่เข้ามาบุกตลาด LED เต็ม ตัว มีลีลา การนำเสนอแบบ เรียบราบ น้ำเสียงโทนทุ้ม แต่ ลุ่มลึกในข้อมูล เป็นแนววิชา ฟิสิกส์ ที่ต้องเปิดตารางธาตุ ยุคที่เรียนเคมีวิทยา ยังไง ยัง งั้นล่ะ ในยุคเฟื่องฟูของ LED ทำให้ ผู้ประกอบการตื่นตัวมั่กมาก จะให้ดีต้องลงมือศึกษาให้ ถ่องแท้ก่อน จากนั้นก็ลงมือ กับงานสร้างสรรค์ ที่เปิด กว้าง และที่สำคัญไม่มีเพดาน ราคา กับงานศิลปะ การแข่ง ขันจึงไม่มีฐานราคามาเปรียบ เทียบ สบายใจได้ แต่ที่ต่าง กัน คือ การดูแลจากคู่ค้า ว่า เจ้าไหนจะแน่กว่ากัน ของแบบ นี้กาลเวลารู้…ไม่ต้องไปถาม อับดุล หรอก... นั่น... บอก แล้วว่าลุ่มลึก... ค่ายอื่นมอง ไว้...
คุณอภินันท์ เตชะปรีชา พาณิช แห่งดิจิตอลสตาร์ เป็นสุดยอด ซุปเปอร์เซลล์ แมน ที่เพื่อนๆ ยกนิ้วให้ ใน ความช่างหาจุดขาย ลูกค้า ใจอ่อน ติดใจ คือพับ คออ่อนกลับไป (เกือบ) ทุก ราย มองโอกาสทางการขายที่เปิด กว้าง เปิดบ่อย เปิดถี่ กับทุก โอกาส แข่งก็แข่งกันไป ลูกค้ามีสิทธิเลือก คำตอบ สุดท้ายอยู่ที่ตัวเราว่าจะใช้กล ยุทธใด….ฮา เพื่อนฝูงเพิ่งรู้ ว่าเธอเป็นคน ขี้เหงา ดังนั้นกิจกรรมของ ชมรม สมาคมฯ ในเครือข่าย ไปจัดงาน ไปต่างประเทศ เป็นต้องร้องขอไปด้วยคน เอกลักษณ์ ประจำตัว คือ เสียงหัวเราะที่ดังข้ามอำเภอ ได้ เชื่อหรือไม่ ของแบบนี้ ต้องลองเอง... อิอิอิอิ... เป็นรู้กันว่า งานที่คนทำ สื่อนอกบ้านไม่ควรพลาดที่จะ บินไปดูงาน คือ ต้นปีต้องไป ที่กวางโจ กลางปีต้องไปที่ เซี่ยงไฮ้ ส่วนปลายปีให้กลับ มาเดินในงาน Sign Asia Expo ที่เมืองไทย ..ฮา….
ความเหมือนที่สร้างความ โกลาหล มีเรื่องกันแล้ว ที่ เมือง กวางโจ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน ครั้งเมื่อผู้ ประกอบการกลุ่มใหญ่ เดิน ทางไปดูงาน เครื่องลงแล้ว ผู้โดยสารต่างรีบเดินไปคว้า กระเป๋าตามสายพานที่แจ้งไว้ บนจอ ความรีบร้อน ทำให้ คุณพิเชฐ หลักดี แห่ง อิง สปาย อิมเมจ คว้ามั๊บกระเป๋า ใบคุ้นเคย ที่ใช้งานกันมา หลายทริปแล้ว เดินลิ่วออก ไปรอพรรคพวกด้านนอก สนามบิน ที่จ้ำออกไปส่ง แฟกซ์ อัดควันกันให้เต็ม ปอด หลังอดโซหลายชั่วโมง เมื่อทุกสายการบินเป็นเที่ยว ปลอดบุหรี่ รอเพื่อนๆ พักใหญ่ นานเกิน ความอดทน จึงส่งตัวแทน เข้าไปดูด้านในอาคาร พบว่า เพื่อนอีกคนหนึ่ง – คุณ บัณฑิต จิรานภาพันธุ์ ยังหา กระเป๋าตัวเองไม่เจอ ที่เหลือ เพียงใบเดียวของผู้โดยสาร เที่ยวเดียวกัน เป็นใบที่เก่า กว่า ชื่อยี่ห้อก็เปื่อยหยุ่ย เอา ล่ะซิ ..ยุ่งแล้ว เมื่อรู้ปัญหา ต่างคนต่างก้ม ลงมองกระเป๋าของตัวเองกัน ทั่วหน้า …เอ๊ะ….กระเป๋าผม ทำไมตัวพิมพ์ที่บอกว่า “MBA” จึงชัดนัก ใบที่หิ้วมา จากบ้านน๊ะนะ ตัวอักษรมัน ลางเลือนมากกว่านี้เยอะ…. ฉุกใจได้คิด จึงรีบบอก เพื่อนคนที่พอส่งภาษาจีนได้ ทำหน้าที่เคลียร์กับตำรวจ ตรวจคนเข้าเมือง ให้จนเรื่อง จบ ใช้เวลาไปกว่า 2 ชั่วโมง เรื่องนี้จึงสอนให้รู้ว่า เมื่อจะ ใช้ของแจก ที่เขาทำมาแจก ลูกค้าคราวเดียวกัน ควรทำ เครื่องหมายเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัวไว้ด้วย ไม่งั้นจะเจอ แบบเนี๊ยะ….แฝดทำเหตุ แท้ๆ... ฮา... อีก...
Society
พลิกโฉม คุ ณ อรั ญ อภิ จ ารี ประธานกรรมการ บมจ.ทรี ซิ ก ตี้ ไฟว์ (TSF) แถลงข่าวการพลิกโฉมบริษัท เมื่อได้รับสัมปทานการ ดูแลบริหาร ป้ายโฆษณาบนทางเท้า และป้ายโฆษณาในศาลา รถประจำทาง(รถเมล์) ในกทมกว่า 3,000 ป้าย ระยะเวลา 9 ปี และแจ้งการเปลี่ยนชื่อ จากเดิม 365 มาเป็น “ TSF” กลยุทธ์การตลาด คุณฉัตรชัย ตวงรัตนพันธุ์ ผู้อำนวยการสมาคมผู้ค้าปลีก ร่วมกับ คุณจารึก พันธุ์สุวรรณ ผู้อำนวยการ ส่วนเสริมสร้าง ขีดความสามารถ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย์ เปิดงานการอบรมหลักสูตรการบริหารการตลาด ชื่อ “กลยุทธ์ การบริหารการตลาดยุคใหม่” รุ่นที่ 25 เปิดอบรมระหว่างวันที่ 30-31 มีนาคม และ 01 เมษายน ที่ผ่านมา ณ โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ต ปทุมธานี งานนี้ถูกใจผู้ประกอบการยิ่งนัก กีฬากระชับมิตร มร.ไบรอัน สมิธ กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้า หน้ า ที่ บ ริ ห าร และคุ ณ พั ช รา ทวี ชั ย วั ฒ นะ รองกรรมการผู้ จัดการใหญ่ฝ่ายบริหารการตลาดและสื่อสารองค์กร บมจ. อลิ อันซ์ อยุธยา ประกันชีวิต เป็นประธาน การแข่งขันกีฬากระชับ มิตรระหว่างสื่อมวลชนและผู้บริหาร ณ โรงเรียนเขาดินวิทยา คาร จังหวัดกาญจนบุรี งานนี้ไม่มีใครออมแรงกันเลย เปิดตัว HP แท๊บเล็ต เอชพี เผยโฉม HP ElitePad 900 แท็บเล็ตสำหรับธุรกิจ ตั ว แรก ที่ ม าพร้ อ มออปชั่ น HP ElitePad Smart Jackets เคสพร้อมพอร์ทเชื่อมต่อ รองรับการทำงานร่วมกับระบบปฏิบัติ การวินโดว์ส 8 และแบตเตอรี่เสริมขนาดบางพิเศษในตัว เพื่อ การทำงานที่ยาวนานขึ้นกว่าเดิม และตอบโจทย์การใช้งานได้ อย่างครบครันยิ่งขึ้น 86
Society
ขอบคุณสื่อมวลชน คุณชนินท์ ว่องกุศลกิจ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และทีม ผู้บริหาร บริษัท บ้านปู จำกัด (มหาชน) แถลงข่าว “กลยุทธ์ และแผนการดำเนิ น ธุ ร กิ จ ในปี 2556” พร้ อ มจั ด งานเลี้ ย ง ขอบคุ ณ สื่ อ มวลชน ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 15-16 มี น าคม 2556 ณ โรงแรม เดอะ เรสท์ ดีเทล หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เปิดสาขาใหม่ คุณวรวุฒิ อุ่นใจ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ออฟฟิศ เมท จำกั ด (มหาชน) เปิ ด สาขาใหม่ OfficeMate สาขา สุทธิสาร ณ อาคารสุขภัณฑ์ เซ็นเตอร์ ถนนรัชดาภิเษก โดยมี แขก VIP อาทิ คุณสุหฤท สยามวาลา ผู้บริหารบริษัท ดี เอช เอ สยามวาลา (DHAS) มาร่วมงานด้วย ฮีโร่พิฆาตร้อน คุณนภัทร สุคนธสิงห์ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท อินเตอร์มาร์ค บิสซิเนส จำกัด ผู้จัดจำหน่าย ฟิล์มกรองแสงรถยนต์ เอ็กซ์ตร้า โคล แถลงข่าวการทุ่มทุนสร้างภาพยนตร์โฆษณาชุดใหม่แนวไซ ไฟ “เอ็กซ์-ไฟฟ์ ฮีโร่” (X5 Heroes) โดยกว่า 90 % ใช้ทีมงาน เขียนภาพ 3D CG ระดับแนวหน้าของเมืองไทย งานนี้คนไทย ได้แสดงฝีมือกันสุดตัว ป้ายมั่นคงแข็งแรง SAFETY’13-14 คุณสาคร ตรีธนจิตต์ นายกสมาคมป้ายและโฆษณา และ คณะกรรมการบริหารสมาคมฯ เข้าเยี่ยมพบ คุณพิพัฒน์ ลาภ ปราถนา ประธานสภากรุงเทพมหานคร ณ ห้องประชุมสภา กรุ ง เทพมหานคร ศาลาว่ า การกรุ ง เทพ เพื่ อ ปรึ ก ษาหารื อ แนวทาง ในโครงการป้ า ยมั่ นคงแข็ ง แรง SAFETY’13-14 เพื่อสร้างความอุ่นใจให้กับพี่น้องชาว กทม. 88
Member Corner พิเศษสำหรับสมาชิก
Promotion of the month March 2013
พระราชนิพนธ์แปลนวนิยายจีน ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นารีนครา ใจหญิงแท้จริงแกร่งดังเหล็กกล้า นารีนครา สะท้อนภาพสังคมและความงดงามของ ‘ความเป็นหญิง’ ใน บทบาทหน้าที่ยิ่งใหญ่ของความเป็นแม่ ความเป็นภรรยา และที่สำคัญที่สุด คือความเป็นเพื่อนแท้...สะท้อนวีรกรรมอันเกิดจากดวงใจแกร่งแท้ดั่ง เหล็กกล้าของหญิง ซึ่งได้ดำเนินมาแล้วในอดีต ดำรงอยู่ในปัจจุบัน และจะ สืบเนื่องต่อไปในอนาคต เขียนโดย ฉือลี่ นักเขียนหญิงผู้เป็นตัวแทนการสร้างสรรค์วรรณกรรมที่ สะท้อนวิถีชีวิตของผู้คนที่เปลี่ยนแปลงไปตามกระแสการปฏิรูปพัฒนา ประเทศจีนให้ทันสมัย จากเมืองอู่ฮั่น ประเทศจีน
มอบให้สมาชิก 5 ท่านแรกที่สมัครสมาชิกนิตยสาร OHM ราย เดือน เป็นเวลา 2 ปี
รายชื่อผู้โชคดี OHM March 2013
ขอแสดงความยินดีกับสมาชิกราย 2 ปี 5 ท่านแรก ที่ได้รับชุด Pocket Books ชุดเก้าอี้ว่าง
คุณธัญพร ยอดแก้ว คุณชัยฤทธิ์ ช่วยขิต คุณอัมพร จันทร์เภา คุณกอบกุล เกรียงณรงค์ คุณมลรัตน์ เลิศวิริยะกุล สมาชิกใหม่ New Subscriber ต่ออายุสมาชิก หมายเลขสมาชิกเดิม ........................................................ Renewal of Subscriber No. ................................................................... สมัครสมาชิก OHM 1 ปี 10 ฉบับ พร้อม OHM Year Book ฟรี 1 เล่ม มูลค่ารวม 1,800 บาท จ่ายเพียง 960 บาท ประหยัดได้ถึง 46% เป็นสมาชิกตั้งแต่ฉบับที่..............................ถึง............................. 1 Year Subscription – 10 volumes plus 1 OHM Year Book value Baht 1,800 960 (save 46%). (from volume no. ............................ to ...............................) สมัครสมาชิก OHM 2 ปี 20 ฉบับ พร้อม OHM Year Book ฟรี 2 เล่ม มูลค่ารวม 2,600 บาท จ่ายเพียง 1,920 บาท ประหยัดได้ถึง 46% เป็นสมาชิกตั้งแต่ฉบับที่..............................ถึง............................. 2 Year Subscription – 20 volumes plus 2 OHM Year Books value Baht 2,600 1,920 (save 46%). (from volume no. ............................ to ...............................) ข้อมูลสมาชิก Subscriber’s Details ชื่อ Name สกุล Last Name.............................................................................................. วัน เดือน ปีเกิด Date of Birth.......................................................................................... อาชีพ Occupation................................................................................................................ สถานที่จัดส่งนิตยสาร Delivery Address ชื่อ Name นามสกุล Last Name...................................................................................... ที่อยู่ Address ....................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... โทรศัพท์ Telephone ........................................................................................................... โทรสาร Fax ........................................................................................................................... 02-521-9176-7 02-521-9176-7
90
มือถือ Mobile ........................................................................................................................ Email ....................................................................................................................................... Website .................................................................................................................................. สถานที่ออกใบเสร็จ Address for Receipt ที่เดียวกับที่จัดส่งเอกสาร same as above ออกใบเสร็จในนาม please issue a receipt in the name of ที่อยู่ Address .............................................................................................................. โทรศัพท์ Telephone .................................................................................................. โทรสาร Fax .................................................................................................................. มือถือ Mobile ............................................................................................................... ชำระค่าสมาชิกโดย Payment โอนเงินเข้าบัญชีในนาม บริษัท เอ็มจีเอ มีเดีย จำกัด ธนาคาร กรุงไทย สาขาวิภาวดีรังสิต 64 เลขที่บัญชี 980 5 11313 2 Money transfer to account of MGA Media Company Limited, KTB Vibhavadee Rangsit 64 account no. 980 5 11313 2 Payment made via ......................................................................................................... สาขา Branch ...................................................................................................................... โอนวันที่ Transfer Date ................................................................................................... จำนวน Amount .................................................................................................................. เช็คสั่งจ่ายในนามบริษัท เอ็มจีเอ มีเดีย จำกัด Cheque issued in the name of MGA Media Company Limited ธนาคาร Cheque issued by ......................................................................................... สาขา Branch ...................................................................................................................... เลขที่ Cheque No. ............................................................................................................ วันที่ Cheque Date ........................................................................................................... ชำระเงินสด Cash
02-521-9178 02-521-9178