Editor Note
การเดินทางของคนกรุง ยุ่งหัวใจ เมื่อยามฝนพรำ อะไร อะไร ตามมาอีก มากเรื่องจริงๆ วันนี้ยังไม่อาจต่อจิ๊กซอร์ ความสะดวก ด้วยรถไฟฟ้า 12 สาย หลากสี ที่จะทำหน้าที่ของมันตามความหวัง ที่จะให้ทุกอย่างไหลลื่นไปได้อย่าง สะดวกสบาย อาจจะต้องใช้เวลานานอีกราว 3 - 5 ปี หรืออาจจะมากกว่านั้น “ตัวช่วย” ก่อนจะถึงฝั่งฝัน ฝันที่เป็นไปได้ของชาวเมืองหลวง ระหว่างทาง การก่อสร้าง ไอเดียเด็ดก็ผุดขึ้นมา ด้วยระบบขนส่ง ที่อาจจะมีอายุสั้นเพียง 12 ปี ก่อนที่ทุกระบบจะเต็มที่ BRT- Bangkok Rapid Transit รถโดยสารด่วนพิเศษ จึงเป็น “ตัวช่วย” ตัวนี้ ประหนึ่งอัศวินทางเลือก ที่ชาวกรุง เลือกได้ น่ า จะเป็ น การเปิ ด ประเด็ น ให้ นั ก การตลาดได้ ม องเห็ น ผู้ โ ดยสารราว 20,000-30,000 คน ต่ อ วั น ที่ อ าจจะเป็ นกลุ่ ม เป้ า หมายของสิ นค้ า นั้ น ๆ สื่ อ นอกบ้าน เริ่มออกมาทำงานกับสื่อใหม่ชนิดนี้อีกแล้วค่ะ ทีมงานจึงรีบหยิบมาเสิร์ฟ เป็นจานด่วน จานร้อน ที่แซงคิวข้อมูลอีกหลาย ชิ้นที่เตรียมการไว้รอก่อนหน้านี้ สิ ริ พ ร สงบธรรม บรรณาธิ ก ารบริ ห ารนิ ต ยสาร OHM พลิกไปพบข้อมูลเบื้องต้นกันได้เลยค่ะ สื่อเล็กๆ อาจเผ็ดจี๊ดจ๊าด ถูกใจคุณๆ Siriporn Sa-ngobtam ได้นะ เมื่อเทียบกับพี่ใหญ่ อย่าง BTS หรือ MRT Editor-in-chief OHM Magazine ส่ ว นคอลั ม น์ อื่ น ๆ ก็ เต็ ม ที่ ไม่ น้ อ ยหน้ า กั น เลย เห็ น อาการ “เข้ า ฝั ก ” ของ นักเขียนกิตติมศักดิ์แต่ละท่านแล้ว ต้องขอบคุณแทนคุณผู้อ่านจริงๆ ทุ ก วั น คื น ที่ ผ่ า นไป ล้ ว นทำให้ เรา กล้ า แกร่ ง ขึ้ น ทั้ ง วั ย วุ ฒิ แ ละคุ ณ วุ ฒิ ที่สำคัญ อย่าลืมเติมพลังใจ ชาร์ตแบตเตอรี่ ส่วนตัวไว้เสมอ เพราะพลังใจไม่มี วันหมด อึ๊บ…เปล่าโฆษณาให้เจ้าไหนนะคะ
ตั ว ช่ ว ย
CONTENTS September 2010
4 8 10 12 14 18 22 24
Vol.7 No.66
บทบรรณาธิการ : Editor Note Event Ncc 2010 Event Bitec 2010 Event Impact 2010 International Calendar Event 2010 what ‘s in : ใหญ่เป็นต่อ Speaking Sign : ป้ายบอกเหตุ Movemant : งานพิมพ์ เลือกได้
Special report
26 ป้ายใหญ่ ใครๆ ก็รัก 28 15 ปี แล้วจ้า… 30 ระบบเดียวทั่วโลก 42 ตารางการใช้สื่อ 76 CEO vision go Inter : คุณประพันธ์ อัศวอารี กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) 80 Sign People Sign Company : บริษัท ที ซี แอ็ดเวอร์ไทซิ่งมีเดีย จำกัด 88 CSR in Action : สร้างงานและอาชีพ 96 OHM Entertainment : สงครามไม่เกิดผลดีกับใคร 98 OHM Outing : ฟองดูว์ 100 OHM Coffee cookie and cake : เค้กสตรอเบอร์รี่สด 108 Life without sign : เมื่อชีวิตไร้ป้าย 110 Gossip : จิบน้ำชา ใต้ต้นพิกุล 112 Society 114 Member Corner
46 Cover Story BRT Media
32 Sign Aboard Hola! Madrid : สวัสดีมาดริด 36 Around the World OHM Wrigley Reaches Fresh Audience through OOH 38 OHM Show Case The Man Your Man Could Smell. 82 คลินิกหมอตี๋กับตี๋แม็ทชิ่ง หมั่นไส้ BRT !!!!!!!!! 84 World in your hand ปลุกฝังเด็กไทย โตขึ้นต้องไปเสียภาษี… 85 Agency View เน้นจุดแข็ง เพิ่มพลัง ด้วยเทคโนโลยี 86 CSR in Action คนตัวโต เล่นเอง 91 โรตารี ความสุขกำลังจะเริ่มต้น 92 When you car your share เด็กๆ และกาชาด 94 Retro “อร่อยลิ้น” 102 Travelling “ขับรถเที่ยวเกาะอังกฤษ” ตอนจบ 104 Travelling in Cyber ระบบปฏิบัติการ Android 2.2 106 ASPA Round Up หลายหน่วยงาน 106 ASA Hometown ดอกผลแห่งมิตรภาพ
OUT OF HOME MAGAZINE : Publisher MGA MEDIA Co.,Ltd. 60/18 Vibhavadi-Rangsit Rd., Jomphol, Chatuchak, Bangkok 10900 Tel: 662 275 7579 Fax: 662 690 0130 www.ohmmag.com Email: info@mgamedia.co.th Advisor Education Department: Assoc. Prof. Dr. Kanjana Kaewthep, Assoc.Prof.Nares Kesaprakorn, Benjawan Vitayathanagorn, Advisor Advertisement Department: Vinai Silapasiliporn, Marut Arthakaivalvatee, Raveevan Chaengchenkit Editor-in-Chief: Siriporn Sa-ngobtam Editorial: Nittaya Kaewmueang, Usa Sumetlux, Pitinant Cherdchoongarm, Jaenjira Raksakhen Art Director: Aumarangsri Charoenchai Graphic Designer: Chadtap Tammeungpag Accounting – Finance: Akanet Pratan Account Executive: Warunee Rodson Photographer: Tanapat Photipakdee Honorary Photographer: Sombat Jitratanawat Contributors: Yuvaphol Pornprathanwech, Worawoot Ounjai, Suphanee Dechaburananon, Assoc.Prof.Aruneeprabha Homsettee, Somchai Cheewasutthanon, Rachen Chumsai Na Ayudhya, Somchai Sittichaisrichart, Paichit Thienthong, Suthichai Eamcharoenying, Pirach Thampipit, Chatre Asavabenya, Surachet Bumrongsuk, Monticha Sookchan The English text is Translated by Chanansinee Silapasiliporn Executive Editor: Siriporn Sa-ngobtam Color Separation KNAOKSILP(THAILAND) CO.,LTD. 3 Soi Kasemsan 2 Rama 1 Rd. Wangmai Pathumwan Bangkok 10330 Tel. 662 215 1588 Fax: 662 214 2140 Printing: Spn printing 158/1 Moo 13 Soi Ladprao 80, Ladprao Road, Wangthonglang, Bangkok, Thailand 10310 Tel: 662 539 0704 Fax: 662 530 1515 Distribution: Nanasarn 123-124 Pinnakorn 4 Pinklaonakornchaisri Talingchan Bankok, Thailand 10170 Tel: 662 433 6855 Fax: 662 880 7345
ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ Queen Sirikit National Convention Center Tel. +662 229 3000 Fax. +662 229 3102 E-mail : info@qsncc.com Website : www.qsncc.com
Date วันที่
2 - 5 September, 2010
Event Name ชื่องาน
Brief Profile รายละเอียด
Organizer ผู้จัดงาน
8 - 12 September, 2010
The 19th Discovery Thailand & Discovery world 2010 (Winter) www.pkexhibition.com 3.9G Thailand Human D.N.A. www.39Gthailand.com
9 - 12 September, 2010
Crocs Expo Sale www.qsncc.com
11 - 19 September, 2010
Modern Furniture Fair www.qsncc.com
17 - 19 September, 2010
Career Exhibition 2010 www.jobsdb.co.th
23 - 26 September, 2010
Winter - Wedding Fair 2010 by NEO www.thaiweddingfair.com
งานแสดงสินค้าและบริการด้านธุรกิจมงคลสมรส ครบวงจรที่สุดของไทย
N.C.C. Exhibition Organizer Co., Ltd. Tel : +66 (0) 203 4211-6
30 September - 3 October, 2010
Thailand Mobile Expo 2010 www.thailandmobileexpo.com
M Vision Co.,Ltd. Tel : +66 (0) 2 734 7707-9
30 September - 3 October, 2010
23rd House & Condo Festival www.housecondoshow.com
งานแสดงนวัตกรรมซอฟแวร์ในโทรศัพท์มือถือ และจำหน่ายสินค้าจากค่ายโทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์ เชื่อมต่อการสื่อสาร งานมหกรรมบ้านและคอนโดฯ ครั้งที่ 23
5 - 8 October, 2010
FIATA World Congress 2010 www.fiata2010.com
Inter. Federation of Freight Forwarders Association FIATA Tel : +41 0 43 211 6500
7 - 10 October, 2010
Learning Expo 2010 http://learningexpo2010.com/index.php
การบริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศในระดับ นานาชาติ พบกับธุรกิจและการบริการด้านโลจิสติกส์ แบบครบวงจร ซอฟแวร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์โลจิสติกส์ พร้อมชมนิทรรศการ จากบริษัท สมาชิกของ FIATA สายการบิน ท่าเรือต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ งานมหกรรมความรู้ทางเลือกศูนย์รวมหลักสูตรเรียนรู้ ทางเลือกที่ทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์
9 - 17 October, 2010
Bangkok Furniture Show 2010 www.qsncc.com
งานแสดงสินค้าเฟอร์นิเจอร์และของแต่งบ้าน ราคาพิเศษ ครั้งยิ่งใหญ่เพื่อเอาใจคน รักการแต่งบ้าน กับงาน
World Fair Co., Ltd. Tel : +66 (0) 2 731 1331
21 - 31 October, 2010
Book Expo Thailand 2010 www.thailandbookfair.com
งานหนังสือระดับชาติ ในแนวคิด “อ่านไทย คิดไท” เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้คนไทยมีนิสัยรักการอ่าน เป็น สังคมแห่งการเรียนรู้ และคิดอย่างสร้างสรรค์ได้ด้วย จากการอ่าน
The Publishers and Booksellers Association of Thailand (PUBAT) Tel : +66 (0) 2 954 9560-4
ไทยเที่ยวไทย ครั้งที่ 19 และ เที่ยวทั่วโลก 2010
P.K. Exhibition Management Co., Ltd. Tel : +66 (0) 2 683 3065-8 ext 101
งานแสดงนิทรรศการวิวัฒนาการการสื่อสารไร้สาย ความเร็วสูงทั้งข้อมูล ภาพ และเสียง หรือมัลติมีเดีย แบบครบวงจร งานจำหน่ายสินค้าภายใต้แบรนด์ Crocs
Modo Co., Ltd. Tel : +66 (0) 2 641 5161 Ext : 121
มหกรรมงานแสดงเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งบ้าน ครบวงจร ภายใต้แนวคิด “สุดยอดงานแสดงสินค้า เฟอร์นิเจอร์ ของตกแต่งบ้านที่ Modern ที่สุดแห่งปี” มหกรรมสมัครงานออนไลน์ที่ทันสมัยที่สุดในประเทศไทย
Union Pan Exhibition Co.,Ltd. Tel : +66 (0) 2 719 0408
CRC Sports Co., Ltd. Tel : +66 (0) 2101 7777
JobsDB Recruitment (Thailand) Limited Tel : +66 (0) 2 667 0700
Thai Real Estate Association Tel : +66 (0) 2 229 3188-90
Pan Pho Co., Ltd. Tel : +66 (0) 2 955 5492-3
ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค BANGKOK INTERNATIONAL TRADE & EXHIBITION CENTRE (BITEC) Tel. +662 749 3939, +662 236 1890 Fax. +662 749 3949 E-mail : salesenquiries@bitect.net www.bitec.net
Date วันที่
Event Name ชื่องาน
Brief Profile รายละเอียด
28 สิงหาคม – 5 กันยายน ประชาชนทั่วไป Aug 28 – Sep 5 Public
แบงค๊อคเฟอร์นิเจอร์แฟร์ 2553 Bangkok Furniture Fair 2010
งานแสดงสินค้าเฟอร์นิเจอร์ ชิ้นส่วน และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ที่เกี่ยวข้อง The collection of high and modern technology of furniture
15-18 กันยายน วันธุรกิจ Sep 15-18 Trade
เอ็นเทค โพลลูเทค เอเซีย 2010 Entech Pollutec Asia 2010
สุดยอดงานแสดงเทคโนโลยีและอุปกรณ์เครื่องมือเพื่อ สิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม The 19th International Exhibition of Environmental Protection and Pollution Control Technology
15-18 กันยายน วันธุรกิจ Sep 15-18 Trade
ปั๊ม แอนด์ วาวล์ เอเชีย 2010 Pumps & Valves Asia 2010
งานแสดงอุปกรณ์ปัมป์, วาล์ว, และการติดตั้งข้อต่อ Asia’s Specialised Pumps, Valves and Fitting Hardware Trade Exhibition.
15-18 กันยายน วันธุรกิจ Sep 15-18 Trade
รีนิวเอเบิล เอ็นเนอร์ยี่ เอเซีย 2010 Renewable Energy Asia 2010
งานแสดงสินค้าและการประชุมด้านพลังงานทดแทน South East Asia’s Renewable Energy Technology Exhibition and Conference
Organizer ผู้จัดงาน
บริษัท เวิล์ด แฟร์ จำกัด โทร: 0 2731 1313 แฟกซ์: 0 2375 9206 www.worldfair.co.th World Fair Co.,Ltd. Tel: (66) 0 2731 1313 Fax: (66) 0 2375 9206 www.worldfair.co.th
บริษัท ยูบีเอ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) จำกัด โทร: 0 2642 6911-8 www.entechpollutec-asia.com UBM Asia (Thailand) Tel: +66 2642 6911-8 Fax:+66 2642 6919-20 www.entechpollutec-asia.com
บริษัท ยูบีเอ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) จำกัด โทร: 0 2642 6911-8 แฟกซ์ 0 2642 6919 www.pumpsandvalves-asia.com UBM Asia (Thailand) Tel: +66 2642 6911-8 Fax:+66 2642 6919-20 www.pumpsandvalves-asia.com
บริษัท ยูบีเอ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) จำกัด โทร: 0 2642 6911-8 แฟกซ์ 0 2642 6919 www.renewableenergy-asia.com UBM Asia (Thailand) Tel: +66 2642 6911-8 Fax:+66 2642 6919-20 www.renewableenergy-asia.com
อิมแพ็ค เมืองทองธานี IMPACT MUNG TONG THANI Tel. +66 2833 5077 Fax. +66 2833 5060 E-mail : communications@impact.co.th www.impact.co.th Date วันที่
Event Name ชื่องาน
9-11 ก.ย. 2553 Sep 9-11, 2010
เอเชี่ยน ลิฟวิ่ง โชว์เคส Asian Living Showcase
15-17 ก.ย. 2553 Sep 15-17, 2010
งานแสดงสินค้าและการประชุม สัมมนาด้านการบำรุงรักษา อาคารและการบริหารจัดการ ทรัพยากรอาคารแห่งเอเชีย 2010 Building Maintenance & Asset Management Expo Asia 2010 (BMAM EXPO ASIA 2010) ตลาดนัดโชห่วย ครั้งที่ 3 Makro Retailer Alliance
16-20 ก.ย. 2553 Sep 16-20, 2010 25 ก.ย. - 3 ต.ค. 2553 Sep 25-Oct 3, 2010
โฮม แอนด์ เดคคอร์ แบงค็อค เวดดิ้ง โชว์ แบงค็อค แฟชั่น แกรนด์ เซล Home & Décor 2010 Bangkok Wedding Show 2010 Bangkok Fashion Grand Sale 2010
Brief Profile รายละเอียด
Organizer ผู้จัดงาน
งานแสดงสินค้าหลากชนิดระดับพรีเมี่ยม - ของตกแต่งบ้าน กระจก สินค้าหัตถกรรม - เฟอร์นิเจอร์ - สิ่งทอ: ผ้าใยสังเคราะห์ เสื้อผ้า พรม ผ้าม่าน ผ้าคลุมเตียง และม่านบังแดด - เครื่องครัวและสุขภัณฑ์ในห้องน้ำ - อุปกรณ์ส่องสว่าง: โคมไฟ และอุปกรณ์ตกแต่งต่างๆ เครื่องใช้สำหรับโรงแรม ที่พัก ร้านอาหารและสปา อาคาร 4 The premier exhibition showcases: - Interior & DecorativeInterior items, mirrors, arts & crafts - Furnitures: Design furnitures, furnishing items - OEM textiles: Eco-fabric, apparels, carpet, floor-covering, wall-covering, curtain, bedding, sun blind system - Kitchen & Bathroom: Kitchenware, tableware, kitchen machines, household articles, bath system & sanitary wares - Lighting: Technical lighting & components, lamps, decorative lights, alternative lighting systems - Hotel & Restaurant Supplies: Products & accessories for spas, resorts, hotels, well-being equipment & care service Hall 4 งานระดับทวีปที่รวบรวมสินค้าและนวัตกรรมทางเทคโนโลยีการบริหาร อาคาร แผนการบริหารและแก้ไขปัญหา รวมทั้งเป็นเวทีพบปะตัวแทน บริษัทชั้นนำทั่วภูมิภาคเอเชีย อาคาร 4 เวลา: 10.00 - 18.00 น. The 3rd annual gathering and market place for suppliers to showcase their latest equipment, tools, technology and methods to highly targeted Facility, Building and Plant Owners, Developers, Architects and Landlords as well as their key engineering decision makers and maintenance professionals across Asia. Hall 4 Time: 10.00 – 18.00 hrs.
International Promotion & Exhibition Co., Ltd. โทรศัพท์: 02 641 5481 www.asianlivingshowcase.com International Promotion & Exhibition Co., Ltd. Tel: 02 641 5481 www.asianlivingshowcase.com
งานตลาดนัดโชห่วย ครั้งที่ 3 จัดโดยแม็คโคร ซึ่งจะพาผู้มาเยือนย้อนไป ในบรรยากาศชุมชนไทยสมัยก่อน มีนิทรรศการโชห่วยไทย 100 ปี การ จัดแสดงร้านโชห่วยนานาชาติ และนิทรรศการความสำเร็จของแม็คโคร อาคาร 1-2 เวลา: 10.00-19.00 น. 3rd Talad Nad Chow Huay” fair presents the retroatmosphere of Thai community and shows exhibition on Makro’s background and social activities through 20 years. Hall 1-2 Time: 10.00-19.00 hrs. งานแสดงสินค้าเฟอร์นิเจอร์ ของตกแต่งบ้าน สินค้าธุรกิจเกี่ยวกับงาน วิวาห์ ถ่ายภาพแต่งงาน เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ เครื่อง หนัง อาหารสำเร็จรูป อาหารปรุงสำเร็จ อาคาร 1-4 เวลา: 11.00-21.00 น. The exhibition offers latest furniture trend, wedding studio, spa services, clothes, jewelries and leather products. Moreover, hundred of food booths are available in the event. Hall 1-4 Time: 11.00-21.00 hrs.
บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) www.siammakro.co.th Siam Makro Public Company Limited www.siammakro.co.th
อิมแพ็ค เอ็กซิบิชั่น แมเนจเม้นท์ โทรศัพท์: 02 833 5121 www.maintenance-asia.com IMPACT Exhibition Management Co., Ltd. Tel: 02 833 5121 www.maintenance-asia.com
บริษัท เวิลด์ แฟร์ จำกัด
โทรศัพท์: 02 731 1313 www.worldfair.co.th World Fair Co., Ltd. Tel: 02-731-1313 www.worldfair.co.th
ลำดับที่ วันที่ No. Date 1 8-10 Sep 2010
ชื่องาน Event name Sign Africa-Johannesburg
เมือง City Johannesburg, South Africa Budapest, Hungary
เว็บไซต์ Website http://www.signafrica.com/indexPage. php?page=Show_SignAfrica http://www.signexpo.hu/enghlisInf.html http://www.ad-tech.com/london/adtech_ london.aspx http://www.viscom-paris.com/
2
15-17 Sep 2010
SIGNEXPO Trade show
3
21-22 Sep 2010
Ad-Tech London
4
21-23 Sep 2010
Viscom France
London, United Kingdom Paris, France
5
12-15 Oct 2010
SGIA Expo
Las Vegas USA
www.sgia.org/events/current_expo/sgia10/ travel/
6
13-14 Oct 2010
Cincinnati������ ����� USA
http://www.thesignagefoundation.org/
7
14-16 Oct 2010
the National Signage Research and Education Conference VISCOM SIGN
Madrid, Spain
http://www.viscomspain.com
8
14-16 Oct 2010
DIGITAL & MEDIA SIGN EXPO
Jakarta, Indonesia
http://www.biztradeshows.com/tradeevents/digital-media-sign.html
9
14-17,Oct 2010
SIGN ASIA EXPO & DIGITAL SIGN ASIA 2010
Bangkok, Thailand
WWW.SIGNASIAEXPO.COM
10
4-60 Nov 2010
viscom Frankfurt 2010
Frankfurt, Germany
www.viscom-messe.com
11
28-30 Nov 2010
Sim Expo 2010
www.sim-expo.com/
12
2-4 Dec 2010
Sign World USA 2010
Abu Dhabi, United Arab Emirates Atlantic City, NJ USA
13
17-19 Dec 2010
LED EXPOLED EXPO
New Delhi, India
www.biztradeshows.com/led-expo/
www.ussc.org
4 6 6
3 7
10 2
5 9
1 11
13
8
อะไรกันนี่...ของแปลก ของใหม่
เมืองไทย อาจใกล้เคียงกับ “กระทะทองแดง” กระทะยักษ์เจ้านี้ ตั้งอยู่กลางชุมชน โชว์ให้เห็นว่า มีอาการไม่ติดกระทะ แต่ลูกค้าอาจติดใจในงานทอด และเพลินกับการทำอาหาร ให้ทุกคนอร่อยกันทั้งบ้านได้ ขนาดของกระทะ มีใครบ้างล่ะจะไม่มอง ความเป็นต่อของความใหญ่ นี่เลย…
“ใหญ่เป็นต่อ”
สัญญลักษณ์ป้าย เป็นที่เข้าใจว่าเป็นสถานที่ใด ติดไว้ที่ไหน เข้าใจกันได้ ทั้งนั้น ป้ายเหล่านี้ ทำหน้าที่เป็นสื่อ ติดป้าย รูปผู้หญิง ผู้ชาย รู้กันว่าเป็นห้องน้ำ สวยงาม ทันสมัย แต่งสีสันให้สถานที่ดูดี ขึ้นมาได้ทันตา เป็นป้ายที่แสนธรรมดา เติมด้วยดีไซด์เก๋ๆ แค่นี้ก็สุดเท๋ห์ แล้ว นี่ เลย…เลือกได้เป็นตับ สักแบบไหม…
“ป้ายบอกเหตุ”
เครื่องพิมพ์ เป็นที่ถูกใช้งานอยู่เสมอ เทคนิคการพิมพ์และความรวดเร็ว เสิร์ฟความต้องการได้ ทันใจ จึงเป็นเรื่องแรกที่ถูกหยิบขึ้นมาเลือกใช้ โดยไม่เกี่ยงเรื่องราคา เพราะรู้ว่างานแบบนี้ขอเพียงทำให้ ทันเวลาเท่านั้นเป็นพอ เรียกว่าขอ “ซื้อเวลา” ก็น่าจะได้ความหมายเดียวกัน เพื่อทันอารมณ์ใจร้อนของลูกค้า ค่ายดิจิตอลสตาร์จึงขอนำเสนอเครื่องพิมพ์นำเข้าจากประเทศ ญี่ปุ่น ที่มีคุณสมบัติเบื้องต้นครบครัน บวกกับเรื่องความสำคัญทางเทคโนโลยี เข้ามาช่วยสร้างความ มั่นใจ เครื่องพิมพ์รุ่นล่าสุดของค่ายนี้ คือ ยี่ห้อ Mutoh จึงขอแนะนำ 2 รุ่น คือ Mutoh VJ-1604K (Eco Solvent ink) และ Mutoh VJ-1604W (Water Based ink) ดูหน้าตาได้จากรูป จุดเด่นที่บอกผู้บริโภคไว้ คือเครื่องรุ่นนี้สามารถพิมพ์ลงบนวัสดุทุกประเภท เชื่อมต่อด้วยระบบ LAN ทำให้มีความรวดเร็วในการส่งข้อมูลการพิมพ์ ประหยัด คุ้มค่า คุ้มราคา การลงทุน รับประกัน 1 ปีเต็ม พร้อมบริการหลังการขาย คุณอภินันท์ฯ ฝ่ายขายของค่ายนี้บอกว่า ยินดีดูแลให้อย่างใกล้ชิด เพราะรู้ว่าการลงทุนยุคนี้ต้องคุ้ม ค่าสุดๆ ที่ บริษัท ดิจิตอล สตาร์ จำกัด โทร 02 640 4438
“งานพิมพ์ เลือกได้”
10
ยอมรับว่า ยิ่งใหญ่ ยิ่งอิมแพ็ค ความที่มีขนาดใหญ่ของป้ายบิลบอร์ด สร้าง แรงกระเพื่อม สั่นสะเทือน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอยู่ไม่น้อย ยิ่งความแปรปรวน ของดินฟ้าอากาศ ฝนตกวันไหน นอนไม่หลับกันเลยละกัน “ป้ายบิลบอร์ด” มีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ทำให้มีมุมที่อาจต่าง อาจ เหมือน กันมากมุม ตามมิติของแต่ละคน ล่ า สุ ด ส ำ นั ก ง า น น โ ย บ า ย แ ล ะ แ ผ น ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ออกหนังสือเล่มเล็ก ชื่อ “การจัดระเบียบป้าย” อย่างที่เห็นในรูป มีข้อเสนอ แนะเชิงนโยบายในการจัดระเบียบป้าย คนในวงการสื่อ นอกบ้าน เห็นเข้าเป็นต้องหยิบติดมือไปด้วยแน่ๆ มีมองมุมของบริษัทประกันภัย มาฝากกัน จาก 2 เจ้า ดัง ที่รับทำประกันป้ายบิลบอร์ดขนาดใหญ่ หากล้ม เสีย หาย หรื อ มี บุ ค คลที่ ส าม ที่ สี่ ได้ รั บ บาดเจ็ บ บริ ษั ท ยิ นดี จ่ายค่าสินไหมให้ ฟังแล้วดูดีจัง “ผมรับประกันกับป้ายบิลบอร์ดมาแล้วสัก 10 ปีก่อน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือแบบเสาและโครงถัก ไม่ได้ตั้งเป็น แผนกขึ้นมาโดยเฉพาะหรอกครับ เป็นงานเสริมที่ลูกค้ามี สินค้าประเภทอื่นประกันอยู่แล้ว จึงเหมือนเพิ่มบริการให้ ลูกค้าเป็นกรณีพิเศษ คุณประเสริฐสุข ล่ำซ่ำ ข้ อ พิ จ ารณา คื อ การดู แ ล บำรุ ง รั ก ษา ตามปกติ น่ า จะสั ก ทุกๆ ไตรมาส และเรามีบริษัทประเมินที่ช่วยงานลงรายละเอียด ให้อย่างใกล้ชิด สัญญากรมธรรม์เป็นไปตามมาตรฐาน อาจจะ เริ่มจาก 0.1% ของทุนประกันครับ” คุณประเสริฐสุข ล่ำซ่ำ ที่ ปรึกษากรรมการผู้จัดการ บริษัทเมืองไทยประกันภัย จำกัด เล่า ถึงงานที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับป้ายบิลบอร์ด “ผมมีทีมงานที่ต้องออกไซด์งาน ประเมินเรื่องความเสี่ยง ดู ว่ารับได้ไหม เหมาะกับตัวเราไหม วิธีคิดเบี้ยประกัน จะมีการ วิเคราะห์ความเสี่ยง นอกเหนือจากที่ตัวป้ายเองแล้ว ต้องไปดู ไซด์งานว่าที่มีชุมชนอาศัยอยู่ไหม มีความเสี่ยงในการรับผิดชอบ เพียงใด ผมคิดว่าคนไทยเรียนรู้เรื่องประกันภัยมาเยอะขึ้นแล้ว และ รั บ ได้ กั บ ความเสี่ ย งภั ย ความสู ญ เสี ย มาแล้ ว ปกติ เราจะรั บ คุณอานนท์ โอภาสพิมลธรรม ลูกค้าแบบเลือกมากๆ ถ้าคิดจะประกันป้ายบิลบอร์ด ต้องมีการ ใช้บริการกับบริษัทมาแล้วสัก 5 ปี ครับ” คุณอานนท์ โอภาสพิมลธรรม ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัทวิริยะประกันภัย จำกัด เล่าเรื่องของสินค้าอีกประเภทที่เขา รับดูแล
“ป้ายใหญ่ ใครๆ ก็รัก”
11
เปิดงานฉลอง 15 ปี ลามิน่า มีแขกระดับ VIP มาจากทั้งในและต่างประเทศร่วมแสดงความยินดี เป็นผู้จัดจำหน่าย ฟิล์มกรองแสงติดรถยนต์ยี่ห้อ Lamina จนวันนี้ก้าวเดินมาเป็นปีที่ 15 ผู้บริหารจึงจัดงานฉลอง และมีผู้บริหารระดับดูแลภาคพื้นเอเชีย และจากบริษัทแม่ บินมาร่วมงานนี้ โดยเฉพาะ คุ ณ จั น ทร์ น ภา สายสมร กรรมการผู้ จั ด การบริ ษั ท เทคโนเซล (เฟรย์ ) จำกั ด ปลาบปลื้มใจมากกับงานนี้ และมุ่งมั่นร่วมกับพนักงานว่า จะรักษาการเป็นแชมป์ ตั้งแต่ปี 2542 ไว้ให้ได้ ตามการฟื้นตัวของตลาดรถยนต์ และกำหนดเป้าหมาย ยอดขายไว้ที่ 500 ล้านบาท ซึ่งเป็นการโตขึ้นราว 20%
“15 ปี แล้วจ้า…”
คุณจันทร์นภา สายสมร
12
เป็ นตั ว แทนจำหน่ า ยเครื่ อ งพิ ม พ์ อิ ง ค์ เจ็ ท โรแลนด์ เจ้ า เดียวในประเทศไทย มานานกว่า 27 ปี มีลูกค้าที่ไว้วางใจใน ตัวสินค้า และบริการอยู่ไม่ใช่น้อย วันนี้ SVOA ขยับตัวเปิด แผนการตลาดใหม่ คุณวีระ อิงค์ธเนศ กรรมการผู้จัดการ บริษัทเอสวีโอเอ จำกัด (มหาชน) เปิดกลยุทธ์ด้านการบริการภายใต้ชื่อ “3R” ควบคู่กับการใช้ศูนย์บริการเอสวีโอเอ 12 สาขาทั่วประเทศ เพื่อขยายตลาดในต่างจังหวัด นอกจากการทำตลาด Roland ในประเทศไทยแล้ว เอสวีโอเอยังเป็นตัวแทนจำหน่าย และ ดู แ ลด้ า นการตลาดในภู มิ ภ าคอิ น โดจี น คื อ เวี ย ดนาม พม่ า ลาว กัมพูชา และบังคลาเทศ “3R” คื อ Roland Care, Roland Academy และ Roland Creative Center โดยมีแนวทางชัดเจนว่า กลยุทธ์นี้จะเป็นศูนย์กลางทาง ความรู้เกี่ยวกับแอพลิเคชั่นต่างๆ ของโรแลนด์ที่สามารถผลิต ได้จริงในเมืองไทย เพื่อให้ลูกค้าตลอดจนผู้ที่สนใจ สามารถ สร้างสรรค์งานเพื่อให้เหมาะกับธุรกิจนั้นๆ ของลูกค้าได้ เป็นวงล้อใหญ่ที่หมุนไปเป็นระบบเดียวกันทั่วโลก ไม่ว่าจะ อยู่ในส่วนมุมไหนก็จะได้รับบริการในระดับเดียวกัน ผู้บริหารค่ายนี้ตั้งเป้ายอดขายในปี 2553 ไว้ที่กว่า 200 ล้านบาท โดยมีส่วนแบ่งการตลาดเครื่องพิมพ์ประเภท out door อยู่ที่ 15 เปอร์เซ็นต์
“ระบบเดียวทั่วโลก”
คุณวีระ อิงค์ธเนศ (คนกลาง) ยืนยันให้ลูกค้ามั่นใจในคุณภาพ และบริการ
ผลิตภัณฑ์หลากหลายประเภทที่ผลิตได้จากเครื่องพิมพ์ Roland
13
ดร.วีรพงษ์ พลนิกรกิจ
บนความเคลื่อนไหว คำใครพูดถึง ทั่วไทย ทั่วโลก
หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี Asst.Pros.Dr.weerapong Chair,school of informationpolnigongit technology Suranaree University of Technology กรุ ง มาดริ ด -Madrid เมื อ งหลวงของสเปน - แชมป์ ฟุตบอลโลก FIFA World Cup 2010 เป็นเมืองหลวงที่มีพื้นที่ ขนาดใหญ่มาก แต่มีสถานที่สำคัญยอดนิยมให้นักท่องเที่ยวใน ถนนไม่กี่สาย อย่างถนน Gran Via และ Sol รวมทั้งบริเวณ ใกล้เคียงเท่านั้นเองครับ การไปเยื อ นเมื อ งหลวงของแชมป์ บ อลโลกของผม เสียดายที่ไม่ใช่จังหวะที่พวกเขาดีใจกันทั้งประเทศ ไม่งั้นคงขอ เนียนๆ เป็นพลเมืองสเปน ดีใจไปด้วยซะเลย ผมเก็บภาพสื่อนอกบ้าน ที่เมืองนี้มาฝากกันด้วยนะครับ ในตัวเมืองหลวงศูนย์กลางของเมืองที่น่าสนใจเป็นพื้นที่ ที่เรียก ว่า Puerta del Sol เขาทำเป็นโครงเหล็กเพื่อโฆษณาหนังใหม่ ที่กำลังจะเข้าฉายและมีป้ายลดกระหน่ำที่หน้าห้างสรรพสินค้า เดินเข้าไปในล็อคถนนคนเดินน่าสนใจสีสันในกระแสยิ่งนัก เป็นร้านขายสินค้าของสโมสร Real Madrid ดูซิครับมีตั้งแต่ เสื้อผ้า กางเกง กระเป๋า เข็มกลัด สติกเกอร์ โปสเตอร์และ โปสการ์ดภาพดารานักเตะ ผมอดคิดไม่ได้ว่า หากเมืองไทยเรา มีการผลักดันหรือสนับสนุนฟุตบอลอย่างจริงจัง ทั้งจากภาครัฐ และเอกชนในทุกมิติที่เกี่ยวข้อง น่าจะเข้าท่ากว่าการเป็นเพียง “ผู้ดู” แต่ควรเป็น “ผู้เล่น” (ไม่ใช่เล่นพนันบอล) และ “ผู้มี ส่วนร่วม” ในการผลักดันสโมสรที่ตนเองชื่นชอบ เท่มากครับ ทริปนี้ ผมตัดสินใจไม่เดินดูพิพิธภัณฑ์ไหนเลย เพราะผม เลือกไปเมืองใกล้เคียงอย่างเมืองโตเลโด (Toledo) ซึ่งอยู่ทาง ใต้ของมาดริด (ประมาณ 80 กิโลเมตร) และเมืองทางเหนือ ของมาดริด คือ เซโกเวีย (Segovia) (ประมาณ 90 กิโลเมตร) ทั้งสองเมือง ให้บรรยากาศที่ผมไม่มีโอกาสสัมผัสในเมือง ไทย ที่นี่เขามีภูมิประเทศและสภาพบ้านเมืองเก่าที่มีการดูแล และบำรุงรักษาสภาพเดิมได้ดีมาก เมืองมีแม่น้ำโอบล้อม (แต่ ไม่เป็นเกาะ) เหมือนเป็นอาณาจักรย้อนอดีตในหนังที่เราดูกัน นั่ น แหละครั บ องค์ ก ารสหประชาชาติ หรื อ UNESCO ประกาศให้เป็นมรดกโลกในปี 1986 ส่วนเซโกเวียโดดเด่นตรง ที่ เมื อ งมี ม หาวิ ห าร Cathedral of Nuestra Señ o ra de la Asunció n & of San Frutos และปราสาท Patronato del Alcázar หรือ Alcazar of Segovia ซึ่งเคยเป็นที่ ประ ทั บ ของราชวงศ์ เรื อ นจำ และโรงเรี ย นเหล่ า ทหารปื น ใหญ่ (The Royal Artillery School) ผมพักอยู่ที่มาดริดทุกคืน ทั้ง 2 เมือง ที่เลือกของผมจึง เป็ นการเดิ นทางแบบไปเช้ า เย็ นกลั บ ผมพั ก อยู่ ใกล้ บ ริ เวณ สถานีรถไฟ (Metro) Tirso de Molina ถิ่นนี้เป็นพื้นที่อยู่และ ทำมาค้าขายของคนเอเชีย เช่น คนจีน และอินเดีย ฯลฯ เปิด ร้านขายสินค้าประเภทผ้า เสื้อผ้า เครื่องประดับ และร้านขาย ของชำ
“Hola! Madrid : สวัสดีมาดริด”
ถนนสายสำคัญในมาดริดกับสื่อนอกบ้าน ณ จุดรอรถประจำ
จอรับภาพขนาดใหญ่ตั้งตรงกลาง ระหว่างรถไฟที่วิ่งส่วนทางกันเพื่อให้ผู้รอ รถไฟ (Metro) ได้ติดตามข่าวสารและ โฆษณา
14
ด้านหน้าสนามฟุตบอล Estadio Santiago Bernabéu ซึ่งเป็นสถานที่ แข่งขันฟุตบอลนัดชิงชนะเลิศ ยูฟ่า แชมเปี้ยนส์ลีก มหาวิหาร Cathedral of Nuestra Señora de la Asunción & of San Frutos กลุ่มชาติพันธุ์สำคัญของสเปนคือชาวคาตาลัน (Catalan) พวกเขายั ง คงใช้ ภ าษาพู ด และเขี ย น รวมทั้ ง ยั ง อนุ รั ก ษ์ วัฒนธรรมดั้งเดิมของตนเองไว้อย่างมั่นคง มีบางคนเรียกตัว เองว่าเป็นชาวคาตาลัน โดยไม่เรียกว่าตนเองเป็นชาวสเปน พวกเขาภูมิใจที่มีนักฟุตบอลคาตาลันเป็นผู้เล่นตัวจริงในสนาม จำนวนมากในชุดคว้าแชมป์โลกในปีนี้ รวมทั้งยังมีความคิดที่ อยากให้พื้นที่ที่อาศัยอยู่เป็นรัฐที่อยู่ใต้สหพันธรัฐ แต่บางคนก็ ต้องการให้เป็นรัฐอิสระ ต่างความคิดกันล่ะครับ ผมสนุกกับการเดินทาง และสนุก ยิ่งขึ้น หากภาพที่เก็บมาฝากกันนั้นทำให้คุณๆ ได้พลอยสนุกไป กับผมด้วยนะครับ…
สื่อนอกบ้านกับสถานที่สำคัญของมาดริด ก็ไม่น่าเกลียดมาก
สื่อนอกบ้านบริเวณ Sol อยู่ร่วมกันได้ ไม่แปลกตานัก
ผู้คนบริเวณหน้าห้างใหญ่ในมาดริดรายนี้ บอกว่าลดกระหน่ำ ขายครึ่งราคา
15
ทั่วไทย ทั่วโลก ไอเดียสื่อนอกบ้าน ดเกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกโอกาส ทุกสถานที่ บรรเจิ หมากฝรั่ง Wrigley ได้เปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ “Golden Fresh Double Mint” โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นกลุ่มวัยรุ่นที่ต้องการความแปลกใหม่ในตัว ผลิตภัณฑ์ และเป็นกลุ่มที่มีความสนใจในแฟชั่นและเทคโนโลยี Kinetic ประเทศจีนจึงใช้สื่อนอกบ้าน ทะลุทะลวงใจเข้าหากลุ่มเป้า หมายแบบจังเบอร์ ให้ได้ลองสมปราถนากับความแปลกใหม่ โดยเป็นการ ผสมผสานระหว่างสื่อนอกบ้านและสื่อดิจิตอล ที่สามารถสื่อสารและดึงกลุ่ม เป้าหมายให้มามีส่วนร่วมกับงานแผนงานโฆษณาครั้งนี้อย่างเต็มใจ แผนงานชิ้นนี้ จึงถูกกำหนดให้เหมือนเป็นงานการแสดงนอกสถานที่ ใน ย่านชุมชนวัยรุ่น เช่น ด้านหน้าของห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ใจกลางเมือง ที่ Shanghai, Beijing และ Guangzhou โดยที่ใบ Mint สีทองขนาดใหญ่ จะถูกวางใว้ในลานกลางแจ้งที่ด้านหน้าทางเข้าออกของห้างสรรพสินค้า และมีนายแบบ และนางแบบแต่งกายด้วยเสื้อผ้าสีทอง และร่างกายของ เหล่ า นายแบบ นางแบบจะถู ก ทาด้ ว ยสี ท องเพื่ อ สื่ อ ความเป็ น Golden Fresh Mint เขาทำหน้าที่เชิญชวนให้กลุ่มคนที่เดินผ่านไปมาเข้ามาถ่ายรูป กับกล้องที่ติดใว้กับใบ Mint สีทอง แล้วรูปนั้นจะไปปรากฏบนจอขนาดใหญ่ พร้อมกับมีรูปรอยจูบสีทองขนาดใหญ่เป็นจุดเด่นอยู่กลางหวังให้เป็นการ ตอกย้ำตัวผลิตภัณฑ์และแผนงานโฆษณา ในขณะเดียวกันใบ Mint สีทองก็ จะถูกวางตามจุดต่างๆ ภายในห้างสรรพสินค้าอีกด้วย ผลตอบรับจากแผนงานชิ้นนี้ถือว่าดีมาก นั่นคือมีกลุ่มเป้าหมายไม่น้อย กว่า 60,000 คนที่เข้ามาถ่ายภาพในช่วงระยะเวลา 9 วันที่ผ่านมา ก็เป็นอีก ตัวอย่างของการผสมผสานระหว่างสื่อนอกบ้านกับสื่อดิจิตอลจนทำให้กลุ่ม เป้าหมายมีส่วนร่วมในแผนงานที่สร้างสรรค์ขึ้นมา และได้ถูกกล่าวถึงทั้งใน Website และ Blogs ต่างๆ
สุรเชษฐ์ บำรุงสุข บริษัท คินเนติค เวิลด์ไวด์ (ประเทศไทย) จำกัด Surachet Bumrongsuk Country Manager Kinetic Wrigley used non – traditional media to reach a youth target audience for the launch of Golden Fresh Double Mint gum Campaign Wrigley identified the audience for their new product as young, with an interest in fashion. Large shopping malls in Shanghai, Beijing and Guangzhou were chosen by Kinetic for their high footfall of the target audience. The campaign took the shape of a ‘show’ which communicated a consistent message of ‘golden’ quality. Golden mint leaves were installed throughout the malls. Models, dressed and painted in gold, invited passersby to interact with the leaves which contained cameras captured pictures of shoppers, who were then projected onto a digital screen with a giant golden kiss across the image. In addition, malls were branded with large format Double mint posters, a huge LED screen and giant gum packets. China Country: Wrigley Reaches Fresh Audience Through Title: OOH Product: Wrigley Golden Fresh Double Mint Gum Advertiser: Wrigley Gum Media Agency: MEC China OOH Agency: Kinetic China Result With around 60,000 consumers interacting with the campaign across nine days, the client has been very pleased. The advertising has been featured on various websites and blogs.
“เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายแบบสด ใหม่ และเรียกความสนใจได้”
16
มณฑิชา สุขจันทร์ ผู้ผ่านประสบการณ์งาน IMC มากว่า 20 ปี
ทำยังไงให้ขายของได้ ด้วยงานปิ๊ง ทิ้งหมัดเข้ามุม จากเรื่องเล่าในฉบับที่แล้ว คือแคมเปญ CANNON EOS Picture chain คว้ารางวัลกรังปรีซ์ไป เรี ย บร้ อ ยแล้ ว นะคะ ฉบั บ นี้ ดิ ฉั นจึ ง มี เรื่ อ งมาเล่ า อี ก ค่ ะ เพราะสุ ด สนุ ก กั บ ปรากฏการณ์ ก ารสื่ อ สารแบบ Online Marketing ทุกอย่างเกิดขึ้นได้ง่าย รวดเร็ว และโดนใจคนวัย เราๆ บนโลกไซเบอร์ได้จริงๆ ด้วยนะคะ คราวนี้เป็นการสร้างโฆษณาทางทีวี และใช้พลังศักยภาพ ของสื่อ Online ในการสร้างกระแส นั่ นคื อ The Old Spice ผลิ ต ภั ณฑ์ ป้ อ งกั นกลิ่ นจากใต้ วงแขน - Deodorant ของค่ า ย P&G ที่ ค ว้ า รางวั ล ใหญ่ ที่ Cannes 2010 - Grand Prix - Film Lions มาแล้ว เริ่มจากเปิดตัวภาพยนตร์โฆษณา The Man your Man could smell ผ่านทีวี ที่ฉีกจากคู่แข่งที่มักจะนำเสนอ ผู้หญิง เซ็ ก ซี่ ที่ ท นต่ อ กลิ่ น อั น เย้ า ยวนของผลิ ต ภั ณฑ์ ไม่ ได้ แต่ Old Spice กลับใช้ผู้ชายธรรมดาที่แม้ว่าจะเป็น นัก American Football แต่ก็ไม่ได้โด่งดังเป็นตัวดารา เขาเป็นเพียงผู้ชาย ธรรมดาๆ แต่ ใ นภาพยนตร์ โ ฆษณาชายหนุ่ ม กลั บ แสดงว่ า ตัวเองหล่อมาก ดูดีมาก เพราะใช้ Old Spice และยังเข้าใจ Insight ของบรรดาภรรยาโดย โชว์สิ่งที่เป็นความใฝ่ฝันของ สาวอเมริกัน เช่น การอยู่บนเรือยอร์ก การขี่ม้าขาว แถมเทคนิคการถ่ายทำก็แสนจะธรรมดามาก แต่แปลกใจ มากที่เรียกความน่าสนใจได้ไม่น้อย แม้จะใช้การถ่ายทำแบบ เทคเดียวจบ หลังจบงานทาง Old Spice ก็รีบตั้ง Tweeter Account, Facebook Page และ YouTube และ the Old Spice Guy เริ่มตอบกลับโดยการ posting video replies to the comments!!! ภายใน 2 วันเขา posted video มากกว่า 180 personalized video ที่ มี เค้ า โครงเหมื อ นภาพยนตร์ โฆษณาหลั ก (the original commercials!) จนกลายเป็ น ความฮือฮาในสังคม Online ไต่อันดับ7 เพียงเวลาสั้นๆ ข่าว วงในบอกว่านอกจาก หนังโฆษณาเจ๋ง แล้ว เจ้า Old Spice Man ยังเลือกตอบแต่คนที่มีชื่อเสียง เช่น Demi Moore ให้ ฮือฮา…ลั่นโลกออนไลน์…ว้าว…เรื่องไม่น่าเชื่อก็เกิดขึ้นอีกจน ได้แหละค่ะ…
“The Man Your Man Could Smell.”
17
งบประมาณการใช้สื่อ ESTIMATED TOTAL ADVERTISING EXPENDITURE BY MEDIUM YTD JANUARY-JULY 10 VS 09 BATH MILLIONS MEDIA YTD 10 YTD 09 DIFF % Change TV
Radio
Newspapers
34,220
29,312
4,908
16.74
3,297
3,378
-(81)
-(2.40)
8,093
7,510
583
7.76
3,023
2,973
50
1.68
3,134
2,396
738
30.80
2,196
2,353
-(157)
-(6.67)
1,222
1,030
192
18.64
606
473
133
28.12
156
116
40
34.48
55,946
49,541
6,405
12.93
Magazine
Cinema
Outdoor
Transit
In store
Internet
TOTAL
Total Industry – Exclude Section : Classified, House ads.
18
19
งบประมาณการใช้สื่อ งบโฆษณาแยกตามประเภทสื่อหลัก และสื่อนอกบ้านปี 2005 - July 2010 หน่วย : ล้านบาท
Source : The Nielsen Company (Thailand)
TOP 10 ADVERTISERS ESTIMATED ADSPEND
ในรอบ 9 เดือนแรก ของปี 2553 ที่ผ่านมา แม้จะมีเหตุการณ์ทางการเ มือง จนส่งผลถึงความกังวลใจด้านการชะ ลอตัวของภาคระบบเศรษฐกิจของประเทศ แต่พบว่า ความแข็งแกร่งของเศร ษฐกิจไทย สามารถฟื้นไข้ได้รวดเร็วกว่าคาด จนธนาคารแห่งประเทศไทย ออกมาประกา ศขึ้นอัตราดอกเบี้ย เพื่อสกัดความร้อนแร งลงไปบ้าง ชีวิตต้องเดินหน้าต่อไป การใช้งบโฆษณาก็เช่นกัน พบว่ ามีตัวเลขการอัดฉีดงบเพิ่มขึ้น ราว 13% ในรอบเวลาดังกล่าว สินค้าประเภทอุปโภคบริโภค ยังคงครองแชมป์ ยึด 5 อันดับแรก ด้วย ตัวเลขการใช้เม็ดเงินโตขึ้นกว่า 40% ส่วนสื่อนอกบ้าน ที่ขยับตัวขึ้น คือ สื่อในโรงภาพยนต์, สื่อในห้างและสื่อ ระบบขนส่งมวลชน ในขณะที่ป้ายบิลบอร์ด ยังคงหดตัวลงอย่างต่อเนื่อง
20
YTD JANUARY-July 10 VS 09
ADVERTISER
BAHT MILLIONS
UNILEVER (THAI) HOLDINGS PROCTER & GAMBLE (THAILAND) BEIERSDORF (THAILAND) CO.,LTD. NESTLE(THAI) LTD. AJINOMOTO SALES CO.,(THAILAND) L’OREAL (THAILAND) LTD. TOYOTA MOTOR THAILAND CO.,LTD. COCA-COLA ( THAILAND) OFFICE OF THE PRIME MINISTER TOTAL ACCESS COMMUNICATIONS Top Advertiser – Exclude Section : Classified and House ads.
ขอขอบคุณข้อมูลจาก The Nielsen Company (Thailand)
2010
2009
4,137 1,384 1,206 1,054 931 923 793 698 654 635
2,770 903 1,107 737 410 908 652 640 561 532
21
COVER STORY
BRT Media การบริหารระบบขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานคร เป็น “งาน หิน” ที่ปราบเซียนมาแล้วหลายยุค หลายสมัย ความหนาแน่นของ ผู้อยู่อาศัยกว่า 10 ล้านคน กับการเป็นศูนย์รวมของความเจริญ ทุกประเภท ส่งผลให้ยิ่งเพิ่มความแออัดให้เมืองหลวงมากขึ้นเป็น ลำดับ ปัญหาหนักใจของคน กทม. คือการเดินทางจากจุดหนึ่งไปยัง อีกจุดหนึ่ง กลายเป็นฝันร้ายกลางแจ้งที่ต้องใช้เวลาอยู่บนท้อง ถนน อย่างยากที่จะคาดเดาเวลาที่จะถึงจุดหมายปลายทาง การวางแผนงาน การทำงานของเมืองใหญ่ อาจจะเชื่องช้า ช้า กว่าการเติบโตของเมือง จึงดูเหมือนว่าเป็นการแก้ปัญหาตามหลัง เหตุ มาเสมอ พบว่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบขนส่งมวลชนในกทม. ของสำนักงานการจราจรและขนส่ง มีโครงข่ายเชื่อมต่อที่สร้าง ความสะดวกสะบายต่อชาวกรุงด้วยระบบขนส่งมวลชน ด้วยระบบ ราง คือโครงการรถไฟฟ้า ทั้ง 12 สี เมื่อวันนั้นมาถึงคาดว่าคงจะ ช่วยแก้ปัญหาการจราจรของ กทม.ได้มากโข แต่พบว่า ระยะเวลา ของการก่อสร้าง ตลอดจนกระบวนการขั้นตอนต่างๆ ล้วนต้อง ใช้เวลาทั้งสิ้น คาดว่าต้องใช้เวลาทะยอยเดินหน้าแล้วเสร็จเป็นระยะๆ ไป ตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป และคาดว่าจะใช้เวลาก่อสร้างเต็มโครงการ ราว อีก 7 ปี ข้างหน้า หรือในปี 2560 แล้วในระหว่างนี้ล่ะ อะไรจะมาเป็น “ตัวช่วย” บรรเทาความแออั ด ของรถราบนท้ อ ง ถนน ความคิดริเริ่มของโครงการ
รถโดยสารด่วนพิเศษ - Bus Rapid Transit หรือ BRT จึงเกิดขึ้น เมื่ อ ปี 2550 และสามารถเปิ ด ให้ บ ริ ก ารได้ เมื่ อ 15 พฤษภาคม 2553 ที่ผ่านมาจึงกลายเป็นจุดของการใช้สื่อนอกบ้าน อีกจุดที่ น่าสนใจ แม้จะมีความจุเพียงวันละกว่า 20,000 คน แต่การเชื่อม เข้าหารถไฟฟ้า BTS และ MRT ทำให้ BRT ดูเหมือนจะเป็น “ตัวช่วย” และ “ตัวเชื่อม” ที่ช่วยย่นเวลาการเดินทาง และเชื่อมเส้นทางของ เมืองใหญ่ได้อย่างเหมาะเวลา แม้จะมีเสียงวิพากษ์อย่างหนักหน่วง แต่ต้องยอมรับการว่า ระบบการขนส่งมวลชน ที่ช่วยขนย้ายคนคราวละมากๆ ย่อมดีกว่า และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพต่ อ การดำรงชี พ ในเมื อ งใหญ่ แต่ ก าร ประชาสัมพันธ์ ย่อมเป็นหัวใจที่จะทำให้ทุกคนอยู่รวมกันได้ อย่าง หนักนิด เบาหน่อย จึงเป็นเรื่องสำคัญยิ่ง พบว่าหลายโครงการใช้เงินลงทุนหลายร้อนล้าน แต่มองข้าม งานการประชาสัมพันธ์ จึงขาดความคุ้มค่าเมื่อประชาชนมองไม่ทะลุ เห็นความตั้งใจของเจ้าของโครงการ และกลายเป็นภาพแห่งความ ล้มเหลวได้ในเวลาต่อมา BRT จึงเป็นโครงการที่จะรอพิสูจน์ในเรื่องนี้ และเป็นช่องทาง จุดประกายการใช้สื่อนอกบ้านอีกจุดที่น่าสนใจ เชิญติดตามกันได้…
“ตัBusวช่Rapid วยและตั ว เชื อ ่ ม” Transit Media
46
COVER STORY BRT Media
เส้นทางเดินรถสายแรกของ BRT และจุดเชื่อมต่อกับการขนส่งมวลชนขนาดใหญ่ต่างๆ ในกรุงเทพฯ
ค่าเฉลี่ย จำนวนผู้โดยสาร (เที่ยวคน) Weekday & Weekend ของทุกสถานี
จำนวนผู้โดยสารเฉลี่ย (เที่ยวคน)
วันทำการ วันหยุด รวม ข้อมูลถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2553 เที่ยว
จำนวนเฉลี่ยเที่ยวให้บริการสมบูรณ์ต่อวัน
วันทำการ วันหยุด รวม ข้อมูลถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2553
ที่มา : สำนักการจราจรและขนส่ง
47
COVER STORY
BRT Media
ชาวกรุงเทพมหานคร ต้องมีชีวิตติดๆ ขัดๆ ในการเดินทางกว่าสิบปีที่ผ่านมา เพราะขาดระบบขนส่งมวลชนที่ดี ทำให้การใช้รถยนต์สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง แม้จะสร้าง ถนนเพิ่มขึ้นก็ตามไม่ทันกับจำนวนรถที่เข้ามาแออัดกันอยู่ในท้องถนน ทุกวันนี้ รถไฟฟ้าจึงกลายเป็นความหวังของทุกฝ่ายว่าจะคลี่คลายปัญหารถติด นำพาชีวิตของชาวกรุงเทพฯ ให้สุขสบาย แต่ด้วยระยะทางในปัจจุบันที่สั้นเกินไป และไม่ครอบคลุม ขณะที่การก่อสร้างส่วนต่อขยาย และสายทางใหม่ๆ ต้องใช้เงิน ลงทุนที่สูง และต้องใช้เวลาการก่อสร้างที่ค่อนข้างมาก ดังนั้นรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT จึงเป็นระบบขนส่งมวลชนที่กรุงเทพมหานครมีความมุ่งมั่นและเร่งรัดพัฒนาให้ เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยมูลค่าการลงทุนที่ต่ำกว่า และก่อสร้างได้รวดเร็วกว่า รถไฟฟ้า แต่มีความสะดวกสบายแม้ใช้พื้นผิวถนนด้วยทางวิ่งเฉพาะตรงช่องทางขวา สุดของถนนไม่ปะปนกันรถอื่น ปัจจุบันรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT สายแรกของประเทศไทยเปิดให้บริการแล้ว คือ สายสาทร - ราชพฤกษ์ มีระยะทาง 15 กิโลเมตร 12 สถานี ผ่านสถานที่สำคัญๆ และแหล่งชุมชน โดยมีจุดเชื่อมต่อกับสถานีรถไฟฟ้า BTS ช่องนนทรี และปลายปีนี้ กรุงเทพมหานครมีแผนที่จะเนรมิตรสถานีและภายในรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT ให้เป็น พื้ นที่ ข องการโฆษณาสิ นค้ า และแหล่ ง รวมข่ า วสารของกรุ ง เทพมหานคร ซึ่ ง มี ลักษณะคล้ายคลึงกับสื่อโฆษณาของรถไฟฟ้า BTS ที่วันนี้กลายเป็นสื่อนอกบ้าน ยอดฮิตของสินค้าต่างๆ มากมาย
“BRT ความฝันของกทม.และสื่อนอกบ้าน ”
48
แนวทางหลั ก สำหรั บ การบรรเทาปั ญ หาจราจรอย่ า งยั่ ง ยื น ของ กรุงเทพมหานคร คือการผลักดันให้มีระบบขนส่งสาธารณะที่ดี เพื่อจูงใจให้ ชาวกรุงเทพฯ หันมาใช้บริการ ซึ่งจะช่วยลดปริมาณการใช้รถยนต์และทำให้ การเดินทางในกรุงเทพฯ สะดวกรวดเร็วขึ้น “รถโดยสารด่วนพิเศษ” (Bus Rapid Transit) หรือ BRT เป็นระบบ ขนส่งมวลชนทางถนนรูปแบบหนึ่งที่กรุงเทพมหานครมุ่งมั่นเร่งรัดพัฒนาให้ เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ด้วยมูลค่าการลงทุนที่ต่ำกว่า และก่อสร้างได้ รวดเร็วกว่ารถไฟฟ้า ปัจจุบัน BRT เปิดให้บริการแล้ว คือสายสาทร - ราชพฤกษ์ มีระยะ ทางประมาณ 15 กิโลเมตร 12 สถานี และตลอดเส้นการเดินรถผ่านศูนย์ รวมธุรกิจร้านค้า, ย่านที่พักอาศัย แหล่งช้อปปิ้งโดยมีจุดเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้า BTS สถานีช่องนนทรี ม.ร.ว. สุ ขุ ม พั นธ์ บริ พั ต ร ผู้ ว่ า ราชการกรุ ง เทพมหานคร กล่ า วให้ สัมภาษณ์ว่า การก่อสร้าง BRT นั้น ใช้เงินลงทุน 2,000 ล้านบาทต่อสถานี ใช้งบประมาณ 100 ล้านบาท และ 1 วันมีผู้โดยสาร 20,000 - 30,000 คน ซึ่งกทม. มองเห็นว่าคุ้มค่ากับการลงทุน ทั้งนี้ BRT ช่วยแก้ไขปัญหาการจราจรได้จริง เพราะทำให้ประชาชน หันมาใช้ระบบขนส่งสาธาณะมากขึ้น เพราะเป็นระบบรองรับที่สามารถ เชื่อมต่อเข้าสู่ระบบหลัก ทำให้การเดินทางของคนกรุงเทพฯ จากที่หนึ่งไปสู่ อีกที่หนึ่งมีความรวดเร็ว BRT ถื อ เป็ น ระบบขนส่ ง มวลชนทางถนนที่ ก รุ ง เทพมหานครเร่ ง รั ด จึ ง จั ด ทำแผนแม่ บ ทรถโดยสาร BRT 14 เส้ นทาง และเส้ นทางเร่ ง ด่ ว น ได้แก่ 1.สายสาทร - ราชพฤกษ์ เปิดให้บริการแล้ว 2.สายหมอชิต - ศูนย์ ราชการ - นนทบุรี 3.สายสาทร - สุขสวัสดิ์ 4.สายดอนเมือง - มีนบุรี สุ ว รรณภู มิ และ 5.สายมี น บุ รี - ศรี นคริ นทร์ - สำโรง เป็ นต้ น กำหนด ก่อสร้างแล้วเสร็จทุกเส้นทางภายในปี 2560 กำหนดเป้าหมายให้รถโดยสาร BRT ในทุกเส้นทาง ทำหน้าที่เป็นระบบรองนำส่งผู้โดยสารสู่ระบบรถไฟฟ้า BTS และระบบรถไฟฟ้าอื่นๆ เส้นทางเดินรถจึงได้รับการออกแบบให้เชื่อม ต่อในจุดสถานีสำคัญของระบบรถไฟฟ้าทั้งในปัจจุบัน และโครงข่ายที่จะเกิด ขึ้นในอนาคต นอกจากนี้ในอนาคตกรุงเทพมหานครจะเร่งขยายโครงการระบบขนส่ง มวลชนอื่ น ๆ อี ก ทั้ ง ส่ ว นต่ อ ขยาย สถานี อ่ อ นนุ ช - แบริ่ ง ซึ่ ง จะเปิ ด ให้ บริ ก ารได้ ภ ายในปี 2554 และส่ ว นต่ อ ขยายจากสถานี ว งเวี ย นใหญ่ บางหว้า จะเปิดให้บริการได้ภายในปี 2555 โครงการรถไฟฟ้า Monorail โครงการเดินเรือส่วนต่อขยายจากท่าน้ำศรีบุญเรือง – มีนบุรี และคลอง ภาษีเจริญ เป็นต้น ซึ่งโครงการดังกล่าวจะช่วยอำนวยความสะดวกในการ เดินทางให้แก่ชาวกรุงเทพ
“BRT เชอื่ ม โยงร
COVER STORY BRT Media
ะบบขนส่ง”
พิธีเปิดอย่างเป็นทางการระบุวันที่ 29 พ.ค. 53 หลังจากเปิดให้ชาวกทม.ทดลองใช้ก่อน ตั้งแต่วันที่ 15 ของเดือนเดียวกัน
ม.ร.ว. สุขุมพันธ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร M.R.SUKHUMBHAND PARIPATRA GOVERNOR OF BANGKOK
“…แผนงานของ กทม. เป็นโครงข่าย ที่อาจต้องใช้เวลา ดังนั้นระหว่างทาง จึงต้องมีระบบเล็ก เข้ามารองรับ…”
49
COVER STORY
BRT Media
รถโดยสารด่ ว นพิ เ ศษ - BRT เป็ น ระบบขนส่ ง มวลชนที่ น อกจาก กรุงเทพมหานครตั้งใจให้เป็นระบบขนส่งที่เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้า BTS แล้ว BRT ยังเป็นความตั้งใจของ กทม.ที่จะเป็นช่องทางการสร้างรายได้อีกด้วย ดร.ธีระชน มโนมัยพิบูลย์ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร กล่าวว่า “การโฆษณาบนรถ BRT และภายในสถานีซึ่งมีอยู่ 12 สถานี จะมีความ ชั ด เจน และเป็ น รู ป ธรรมมากขึ้ น ภายในปลายปี 2553 โดยขณะนี้ ท าง กรุงเทพมหานครได้มอบหมายให้บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ซึ่งเป็นบริษัท ที่กรุงเทพมหานครถือหุ้น 100% เป็นผู้ดำเนินการวางกรอบแนวทางของ การโฆษณา เพื่อให้ทุกอย่างออกมาดี ไม่มีคำครหาครับ ผมและกรุงเทพมหานครมีความมั่นใจว่า BRT จะเป็นสื่อโฆษณาอีก รูปแบบหนึ่งที่จะได้รับความนิยมจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน เจ้าของ แบรนด์สินค้าต่างๆ เหมือนกับรถไฟฟ้า BTS, รถไฟฟ้า MRT, รถประจำทาง ขสมก.เพราะ BRT เป็นระบบขนส่งมวลชนรูปแบบใหม่ สื่อใหม่ มีจุดเด่น มากมาย อาทิ เส้นทางสายสาทร - ราชพฤกษ์ มีระยะทางประมาณ 15 กิโลเมตร ผ่านศูนย์รวมธุรกิจร้านค้า, ย่านที่พักอาศัย แหล่งช้อปปิ้งโดยมีจุด เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้า BTS สถานีช่องนนทรี มีผู้โดยสาร 20,000 คน ย่อมได้ รับความสนใจจากผู้ที่พบเห็น ซึ่งสอดคล้องกับไลฟ์สไตล์การดำเนินชีวิตของ ผู้บริโภคที่ส่วนใหญ่ใช้ชีวิตอยู่นอกบ้าน นอกจากนี้ผมมั่นใจว่า BRT จะสามารถสร้างความมั่งคั่งให้กับชุมชน เศรษฐกิจ ที่ BRT วิ่งผ่าน แม้จะไม่เท่ากับรถไฟฟ้า BTS ที่ได้สร้างความ มั่ ง คั่ ง ให้ กั บ กลุ่ ม ทุ น และด้ า นเศรษฐกิ จ ตลอดเส้ นทางที่ ร ถไฟฟ้ า BTS วิ่งผ่าน แต่อย่างน้อย BRT ก็เข้ามาเติมเต็มและช่วยเสริมความมั่งคั่งและ อำนวยความสะดวกให้กับประชาชนได้ไม่มากก็น้อย แม้ว่าวันนี้ BRT จะเปิดให้บริการเพียงหนึ่งเส้นทาง ซึ่งจากนี้ไปจะต้อง มีการลงทุนก่อสร้างเพิ่มเติม โดยเฉพาะเรื่องระบบราง ผมจำได้ว่า สมัยท่าน ผู้ว่าฯ ดร.พิจิตร รัตตกุล มีผู้เดินทางด้วย BTS เพียงแค่ 150,000 คนต่อวัน มาวั น นี้ เพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งกว่ า 5 - 6 แสนคนต่ อ วั น สะท้ อ นว่ า คน กรุงเทพฯ ให้ความสนใจที่จะเดินทางด้วยระบบรางมากขึ้น เพราะมีเวลา การเดินทางถึงที่หมายอย่างชัดเจน ถัดจากนั้นมาเราก็มีรถไฟฟ้า MRT, แอร์พอร์ตลิงค์ ซึ่งทั้งหมดนี้ก็ทำให้ กรุงเทพมหานครมีระบบรางเพิ่มขึ้นจาก 23 กิโลเมตร ถึง 70 กิโลเมตรโดย ประมาณ แต่ จ ำนวนดั ง กล่ า วคงไม่ เ พี ย งพอครั บ ซึ่ ง รั ฐ บาลโดย กรุงเทพมหานครก็ต้องมีการลงทุนต่อด้วยการขยายเส้นทางรถไฟฟ้า BTS พร้ อ มกั บ มี ร ะบบขนส่ ง มวลชนรู ป แบบอื่ น ที่ ช่ ว ยเสริ ม ให้ ร ะบบราง
” ง อ ล ง ้ อ ่ ี ต ่ ท ม ห ใ ่ ื อ ส “BRT
จูงใจผู้ใช้บริการด้วยเวลาที่กำหนดได้แน่นอน
50
มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT ก็เป็นระบบขนส่ง ที่กรุงเทพมหานครต้องการให้เป็นระบบที่นำส่งประชาชนไปสู่รถไฟฟ้า BTS จากปัจจุบันที่มีรถประจำทาง ขสมก.ที่คอยให้บริการอยู่แล้ว ทั้งนี้ กรุงเทพมหานครตั้งเป้าหมายว่า ภาพรวมในการขยายเส้นทางการ คมนาคมทั้งระบบจะต้องมีระยะทางเพิ่มขึ้นประมาณ 135 กิโลเมตร อาทิ ส่วนต่อขยายรถไฟฟ้า BTS จากสถานีแบริ่ง และเส้นทางเพชรเกษม ส่วน BRT เราก็จะขยายอีก 20 กิโลเมตร จากหมอชิต - ศูนย์ราชการ - นนทบุรี นอกจากนี้ยังมีโมโนเรลอีกหลายสาย เช่น จากบางนาไปสถานบิน สุวรรณภูมิ เป็นต้น นอกจากนี้เรายังคิดไปถึงการเชื่อมโยงระบบขนส่งทางน้ำที่จะต้องขยาย เส้นทางออกไปอีก โดยเราคิดไปถึง เรือติดแอร์เพื่ออำนวยความสะดวกให้ กับประชาชน วั นนี้ ก ารเติ บ โตของเมื อ งหลวงทั่ ว โลกมี จ ำนวนประชากรเพิ่ ม สู ง ขึ้ น ดังนั้นระบบขนส่งมวลชนก็เป็นระบบที่มีความจำเป็นในการขนส่งคน เพราะ วันนี้ถนนก็เท่าเดิม แต่จำนวนรถเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นเราต้องหาระบบขนส่ง มวลชนที่สามารถขนคนได้เป็นจำนวนมากๆ ซึ่งหากมีความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย เมื่อนั้นรถยนต์ในเมืองหลวงก็จะมีจำนวนน้อยลงครับ อย่างไรก็ตาม ระบบรางไม่สามารถดำเนินการได้ทุกที่ เพราะต้องดูถึง ความคุ้มค่าด้านการลงทุน ซึ่งการลงทุนด้าน BRT เราใช้งบประมาณ 1 ใน 10 เมื่อเทียบกับการลงทุนด้านระบบราง ขณะที่โมโนเรล ใช้เพียงครึ่งหนึ่ง ของระบบราง ดังนั้นเราต้องดูถึงความคุ้มค่า ผมยกตัวอย่าง ถ้ามีผู้โดยสาร 50,000 - 100,000 คนต่อวัน เราก็เลือก ใช้ระบบโมโนเรล และถ้า มากกว่ า 100,000 คนต่ อ วั น ในระยะทาง 10 กิโลเมตร การลงทุนเรื่องระบบรางจะคุ้มค่ามากกว่า ส่วนจำนวนผู้โดยสาร 20,000 - 30,000 คนต่ อ วั น เราก็ ให้ บ ริ ก ารในรู ป แบบ BRT ซึ่ ง ก็ คุ้ ม ค่ า มากกว่า มีหลายคนถามว่า ทำไม BRT ต้องวิ่งเส้นทางพระราม 3 ผมเรียนว่า สมัยก่อนพระราม 3 ถูกออกแบบมาให้เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจในอนาคต เพราะยุทธศาสตร์ ทำเลที่ตั้งใกล้อยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา และผมมั่นใจว่า จำนวนผู้โดยสารรถ BRT จะเพิ่มขึ้นอย่างแน่นอน จากวันนี้ 20,000 คน ต่อวัน ก็จะอาจจะเพิ่มขึ้นสู่ระดับ 30,000, 40,000, 50,000 คนก็สามารถ เป็นไปได้ เพราะจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น การเดินทางด้วย BRT เพื่อเชื่อม ต่อไปยังระบบขนส่งรูปแบบอื่นจึงจึงมีความจำเป็น และขณะนี้เรากำลัง ศึ ก ษาเรื่ อ งการใช้ ตั๋ ว ร่ ว ม คื อ ตั๋ ว ใบเดี ย วใช้ ไ ด้ กั บ ระบบขนส่ ง มวลชน ทุกประเภท ขอให้อดใจรอหน่อยนะครับ”
COVER STORY BRT Media
“…กทม. มีหน้าที่สร้าง สิ่งอำนวยความสะดวกให้กับ ประชากรชาว กทม. เพราะถนนมี ได้เท่าเดิม แต่สิ่งที่เข้ามาเติม ได้ คือระบบราง…”
ดร.ธีระชน มโนมัยพิบูลย์ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร TEERACHON MANAMAIPHIBUL, PH.D DEPUTY BANGKOK GOVERNOR
51
COVER STORY
BRT Media ตลอดระยะเวลาราว 3 เดือนที่ผ่านมาของ รถโดยสารด่วนพิเศษ BRT เปิดทดลองวิ่งโดย ไม่เก็บค่าโดยสาร ผลปรากฏว่า ประชาชนพึง พอใจในการใช้บริการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่อง ของความปลอดภั ย , การถึ ง ที่ ห มายตรงเวลา สะดวก รวดเร็ว คุณอมร กิจเชวงกุล กรรมการผู้อำนวยการ บริ ษั ท กรุ ง เทพธนาคม จำกั ด ผู้ รั บ หน้ า ที่ ดู แ ล เรื่ อ งนี้ แ บบเต็ ม หน้ า ที่ เล่ า ให้ ที ม งานฟั ง แบบ สนุกสนาน ตามสไตล์การทำงานของเขาว่า “จุ ด เด่ น ของ BRT ที่ ก รุ ง เทพมหานคร ต้องการมอบให้กับคนกรุงเทพฯ คือการเดินทาง ที่สะดวก รวดเร็ว ถึงที่หมายตรงเวลา และหลัง จากวันที่ 1 กันยายน 2553 เป็นต้นไป จะมีการ เรียกเก็บค่าโดยสารคนละ 10 บาทตลอดเส้ น ทางในระยะต้นนี้ก่อน ปั จ จุ บั น BRT มี ผู้ โดยสารเฉลี่ ย ต่ อ วั น ราว 20,000 คน ดังนั้นการเป็นจุดศูนย์รวมของคน และการเป็นระบบขนส่งสาธารณะรูปแบบใหม่ จึ ง ทำให้ ก ทม.อาจมี ก ารใช้ พื้ นที่ ทั้ ง ในตั ว สถานี และภายในตั ว รถทำเป็ น สื่ อ นอกบ้ า น ซึ่ ง ตาม นโยบายของอดี ต ท่ า นผู้ ว่ า อภิ รั ก ษ์ โกษะโยธิ น ต้องการให้เป็นสื่อของกรุงเทพมหานครในการ เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร งานอีเว้นท์ แบบการ
บริ ก ารทางสั ง คมให้ กั บ ประชาชนที่ เดิ นทางด้ ว ย BRT ได้ รับทราบ มากกว่าที่จะเป็นการโฆษณาขายสินค้า แต่อย่างไรก็ตาม บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ในฐานะ บริ ษั ท ในเครื อ ของกทม.ถื อ หุ้ น 100% และเป็ น ผู้ ที่ ดู แ ล โครงการ BRT ได้เสนอทางเลือกในการใช้พื้นที่ดังกล่าวต่อ กรุงเทพมหานครพิจารณาตัดสินแล้ว โดยเบื้องต้นแบ่งออก เป็น 3 ส่วนหลักๆ คือ 1.ตั้งบูธตามสถานีเพื่อให้ความรู้ด้านการท่องเที่ยวตาม เส้นทางที่ BRT วิ่งผ่าน 2.ตั้งสำนักงานบริการของกรุงเทพมหานคร ที่ประชาชน สามารถเข้ า ถึ ง ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว เช่ น งานทำบั ต รประชาชน หรื อ งานไปรษณี ย์ รวมทั้ ง บริ ก ารทางการเงิ น ด้ ว ยการมี ตู้ เอทีเอ็ม 3.เรื่องของการมีรายได้จากการโฆษณา ซึ่งทั้งหมดนี้อยู่ ระหว่างการพิจารณาจากกรุงเทพมหานครครับ นอกจากนี้ บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ยังเป็นผู้ศึกษา เรื่องผังเมือง โดยการแก้ไขปัญหาจราจร เราเดินทางถูกทาง แล้ ว ครั บ คื อ การใช้ ร ะบบรางเข้ า มาแก้ ไข ซึ่ ง เป็ น ระบบที่ ทั่วโลกทำกัน และอนาคตวิถีการเดินของประชาชนจะต้อง เปลี่ ย นไป คื อ พื้ น ผิ ว ถนนจะให้ ร ถยนต์ วิ่ ง อย่ า งเดี ย ว ส่ ว น ประชาชนจะเดินทางด้วยระบบราง คือ รถไฟฟ้า BTS และ MRT โดยมี BRT เป็ น ระบบรองนำส่ ง ผู้ โดยสารไปสู่ ร ะบบ หลัก พร้อมกับใช้ทางเดินลอยฟ้า (Skywalk) เป็นตัวเชื่อมตาม จุดต่างๆ ซึ่งกรุงเทพธนาคมกำลังศึกษาเรื่องการสร้างทางเดิน ลอยฟ้า เพื่อหาแนวทางที่ดีที่สุดให้กับเมืองและกับคน โดย คำนึ ง ถึ ง วั ฒ นธรรม ความ สวยงาม ประโยชน์ ใ ช้ ส อย แ ล ะ ง บ ล ง ทุ น เ ช่ น ที่ สยามสแควร์ เป็ น กลุ่ ม คน ทำงาน หรือบางแห่งอาจเป็น ชาวต่างประเทศครับ”
” T R B น บ า ณ ษ ฆ โ ร า ก ั บ ก “3 แนวทาง
“…สามแนวทาง เลือกของการมีสื่อโฆษณา ของ BRT วันนี้ยังไม่ชัดเจน ลงตัวซะทีเดียว และอาจจะเร็วเกิน ไปที่จะเลือกกันในวันนี้ …”
คุณอมร กิจเชวงกุล กรรมการผู้อำนวยการง บริษัทกรุงเทพธนาคม จำกัด AMORN KITCHAWENGKUL MANAGING DIRECTOR THE KRUNGTHEP THANAKOM CO.,LTD. 52
ช่องทางวิ่งของ BRT ที่สะดวกโดยไม่มี รถอื่นเข้ามาใช้ช่องทางร่วม
จุดเชื่อมต่อกับระบบ BTS ที่ช่องนนทรี
แรปตัวรถประชาสัมพันธ์งานของกทม. ให้คนกรุงรับทราบ
กว่ า 3 เดื อ นแล้ ว ที่ ร ถโดยสารด่ ว นพิ เ ศษ BRT เปิ ด ให้ บ ริ ก ารแก่ ประชาชน โดยกรุงเทพมหานครมีความมุ่งมั่นที่จะให้ BRT เป็นระบบขนส่ง ที่จะเข้ามาคลี่คลายปัญหาการจราจร เพราะเมื่อการโดยสารรถสาธารณะมี ความสะดวก รวดเร็ว ประชาชนก็จะเปลี่ยนพฤติกรรมการเดินทางจากการ ขับรถส่วนตัวมาเป็นการโดยสารรถสาธารณะ คุณอรวิทย์ เหมะจุฑา รองผู้อำนวยการสำนักการจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร พูดถึงการมองภาพรวมหลังการทดลองเปิดว่า เกิดอะไร ขึ้นกับคนกรุงกันหรือ “พบว่ามีจำนวนผู้ใช้รถยนต์ส่วนตัวที่เปลี่ยนมาใช้บริการ BRT คิดเป็น 9.6% และอนาคตน่าจะเพิ่มขึ้นถึง 20 - 30% ซึ่งจะช่วยให้ปริมาณรถยนต์ บนท้ อ งถนนมี จ ำนวนลดลง ส่ ง ผลให้ ก ารจราจรมี ค วามคล่ อ งตั ว มากขึ้ น ลดการเผาพลาญน้ำมันเชื้อเพลิง ส่งผลดีต่อสิ่งแวดล้อม โดยพฤติกรรมการเดินทางส่วนใหญ่ของผู้ใช้บริการ BRT จะเป็นการ เดินทางระยะยาว มีรูปแบบการเดินทางจากนอกเมืองมาสู่ในเมือง และจาก ในเมืองออกสู่นอกเมือง เพื่อไปทำงาน, เรียน หนังสือ และจับจ่ายใช้สอย โดยเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนอื่น ทั้งนี้ตามแผนแม่บทรถโดยสาร BRT จะต้องมี 14 เส้นทางก่อสร้าง เสร็จภายในปี 2560 โดย BRT ทุกเส้นทางจะทำหน้าที่ในการขนประชาชน จากที่พักอาศัย ไปสู่ระบบรถไฟฟ้าที่ให้บริการอยู่ในปัจจุบัน และโครงข่ายที่ กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตครับ” สำนักการจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร มีการสำรวจความคิดเห็น ของผู้ใช้บริการ และผู้ใช้ทางร่วม พบว่าผู้โดยสารพึงพอใจในบริการ เพราะ มีความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย ส่วนความเห็นของผู้ใช้ทางร่วมพบว่าส่วนใหญ่ ยังมีทัศนะคติไม่ดีกับ BRT เพราะไม่ ได้ รั บ ความสะดวกจากการให้ สิ ท ธิ พิ เศษทางสั ญ ญาณไฟ จราจรแก่ BRT ซึ่ ง ก็ เป็ น หน้ า ที่ ข องสำนั ก การจราจรและขนส่ ง รวมทั้ ง กรุงเทพมหานครจะต้องประชาสัมพันธ์ ให้ผู้ใช้รถใช้ถนนมีความเข้าใจการ ให้ บ ริ ก าร BRT รวมทั้ ง ส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนหั น มาเดิ นทางด้ ว ยรถยนต์ สาธารณะ โดยมีแคมเปญภายใต้เจตนารมณ์ “ลดใช้รถยนต์ ช่วยประหยัด พลังงาน และรักษาสิ่งแวดล้อม” ใน 9 มาตราการ ประกอบด้วย 1. จัดสิทธิพิเศษบนถนนใหม่ ด้วยการให้ความสำคัญและสิทธิพิเศษ ต่างๆ กับระบบขนส่งสาธารณะ 2.ขยายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนให้ครอบคลุมยิ่งขึ้น 3.พัฒนารถโดยสารด่วนพิเศษ BRT 4.พั ฒ นารถไฟฟ้ า รางเดี่ ย ว, รถไฟฟ้ า ขนาดเบา (Monorail / Light Rail) ซึ่งเป็นระบบการเดินทางที่สนับสนุนระบบหลัก ด้วยขนาดที่เล็กและ เบากว่ารถไฟฟ้า เหมาะกับย่านธุรกิจและชุมชนหนาแน่นที่มีความต้องการ สูง แต่มีพื้นที่ในการก่อสร้ า งน้ อ ย ซึ่ ง กรุ ง เทพมหานคครมี แ ผนจะเปิ ด ให้ บริ ก าร 2 สาย ได้ แ ก่ สายศาลากลาง กทม.2 – ถนนเพชรบุ รี - ถนน หลานหลวง และสายจุฬา - สีลม - สามย่าน 5.พัฒนาเรือโดยสารในคลอง โดยการพัฒนา 3 เส้นทางเดินเรือผ่าน 5 คลอง ได้แก่ สายคลองแสนแสบ, สายคลองลาดพร้าว, คลองตัน, คลอง พระโขนง และสายคลองภาษีเจริญ 6. พัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ เพื่อปรับพฤติกรรมให้ประชาชน มาใช้ ร ะบบขนส่ ง มวลชนมากขึ้ น โดยอำนวยความสะดวกในด้ า นต่ า งๆ ได้แก่ ระบบรถโดยสารระยะสั้น (Shuttle Bus) เพื่อรับส่งผู้โดยสารจาก
“BRT ลดป รมิ าณ
COVER STORY BRT Media รถติดในชั่วโมงเร่งด่วน แต่ BRT ไม่! ดึงดูดให้ผู้ใช้รถหันมาใช้ บริการ BRT ระบบการเดินทางหลัก เช่นรถไฟฟ้าและรถ BRT ทาง เดินเชื่อมต่อระหว่างรถไฟฟ้าและรถ BRT (Skywalk) รวมทั้งการจัดจุดจอดแล้วจร (Park & Ride) สำหรับ ประชาชนที่จอดรดส่วนตัวแล้วเข้าสู่ระบบหลัก รวมทั้ง การใช้ตั๋วร่วม (Common Ticket) 7. ปรับปรุงบาทวิถี ผู้โดยสารมาใช้บริการ 8. พัฒนาเส้นทางจักรยาน ในช่วงที่เปิดให้ทดลองใช้ 9. รณรงค์ ส ร้ า งความร่ ว มมื อ จากประชาชนทุ ก โดยไม่เก็บค่าโดยสาร ภาคส่ ว น เป็ น 9 มาตราการเพื่ อ การขนส่ ง ที่ ยั่ ง ยื น แห่ ง อนาคต และไม่ มี ใครตอบได้ ว่ า ทั้ ง หมดจะแล้ ว เสร็จในปีใด ให้คนกรุงนอนหลับสบาย…
รถยนต์ ”
“…มีการวางแผนโครงข่าย การจราจรรองรับการเติบโตของ เมืองไว้อย่างน่าติดตาม…” คุณอรวิทย์ เหมะจุฑา รองผู้อำนวยการสำนักการจราจรและขนส่ง กรุงเทพมหานคร ORAVIT HEMACHUDHA DEPUTY DIRECTOR - GENERAL TRAFFIC AND TRANSPORTATION DEPARTMENT, BANGKOK METROPOLITAN ADMINISTRATION 53
COVER STORY
BRT Media รถประจำทาง ขสมก.ถื อ เป็ น ระบบขนส่ ง มวลชนที่ได้รับประโยชน์จากการเกิดขึ้นของรถ โดยสารด่วนพิเศษ BRT น้อยที่สุด ไม่เหมือนกับ รถไฟฟ้า BTS ที่ได้รับประโยชน์จากการขนถ่าย ผู้โดยสารจาก BRT ไปสู่ BTS หรือ BTS ไปสู่ BRT คุณโอภาส เพชรมุณี ผู้อำนวยการองค์การ ขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) กล่าวในฐานะ “คู่ ก รณี ” ที่ ได้ รั บ ผลกระทบ ในการต้ อ งมี การแบ่งผู้โดยสารระหว่างกันว่า “ตั้งแต่มีรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT เริ่มเปิด ทดลองวิ่งให้บริการแก่ประชาชน โดยไม่เก็บ ค่าโดยสาร ส่งผลให้การเก็บรายได้น้อยลง ของเส้ น ทางรถประจำทาง ขสมก.สาย 205 เดอะมอลล์ ท่าพระ - สถานีซ่อมบำรุงคลองเตย ที่ วิ่ ง บนเส้ นทางเดี ย วกั น แต่ ห ลั ง จากที่ BRT เก็บค่าโดยสารหลังวันที่ 1 กันยายน 2553 เรา ขอประเมินยอดผู้ใช้บริการ และรายได้อีกครั้ง หนึ่งครับ ในยุคที่ผมบริหาร เป้าหมายของผม คือมุ่งสู่ การเป็นผู้ให้บริการรถโดยสารประจำทาง ใน กรุงเทพมหานคร และปริมลฑลอย่างมืออาชีพ โดยการยกระดั บ การให้ บ ริ ก ารด้ ว ย เส้ นทาง เดิ น รถที่ เ ชื่ อ มต่ อ กั บ ระบบขนส่ ง สาธารณะ
และครอบคลุมพื้นที่ด้วยรถโดยสาร ที่ใช้พลังงานที่ประหยัด ปราศจากมลพิ ษ พร้ อ มนำเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย มาบริ ห าร จัดการเดินรถเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มแก่องค์กรและตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม พร้อมทั้ง จะเป็ น หน่ ว ยงานร่ ว มสนั บ สนุ น - มี ส่ ว นร่ ว มในการแก้ ไข ปัญหาการจราจร และสิ่งแวดล้อมภายในเมืองครับ” ปัจจุบัน ขสมก.เป็นผู้ประกอบการเดินรถประจำทางราย ใหญ่ และมี ส่ ว นแบ่ ง ทางการตลาดสู ง สุ ด มี ร ายได้ จ ากการ ดำเนินงานเป็นเงินสดประจำทุกวัน อันเป็นจุดเด่นขององค์กร แต่ยังมีจุดที่ต้องทบทวน เรื่องเส้นทางเดินรถในบางเส้นทางที่ วกวน หรือซ้ำซ้อนกับพาหนะอื่น และเป็นเส้นทางที่ยาวเกิน ไป รวมทั้งในการปรับปรุงเส้นทาง และหรือการปรับเปลี่ยน เส้ น ทาง ป้ า ยหยุ ด รั บ - ส่ ง ผู้ โ ดยสาร ขสมก.เองนั้ น ไม่ สามารถกำหนดได้เอง ซึ่งต้องได้รับการอนุญาตจากหน่วยงาน ราชการหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมการขนส่งทาง บก กรุงเทพมหานคร สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เป็นต้น จึง ทำให้เกิดความไม่คล่องตัว และถูกมองว่าเป็นทางเลือกเกือบ สุดท้ายของการเดินทางของคนกรุง
” ง า ท น ้ ส เ บ ั ท ง ่ ิ ว ู ก ถ . “เมื่อ ขสมก
“…คนกรุงกำลังเปรียบเทียบ ระหว่างเส้นทางเดินทาง ด้วย รถเมล์ และ BRT…”
คุณโอภาส เพชรมุณี ผู้อำนวยการ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ OPART PETCHMUNEE DIRECTOR BANGKOK MASS TRANSIT AUTHORITY 54
รถเมล์ ระบบขนส่งมวลชนที่ชาวกรุงเทพฯ คุ้นเคย
ผู้โดยสารภายในรถ BRT ดูบางตา หลังจากพ้นช่วงชั่วโมงเร่งด่วน
รถเมล์ ขสมก.ปรับปรุงการให้บริการเพื่อคุณภาพชีวิตของชาวกรุง
19
COVER STORY
BRT Media
หากสอบถามเจ้าของสินค้าถึงวัตถุประสงค์และความต้องการ ในการใช้ สื่ อ ทรานซิ ส คื อ อะไร...? คำตอบที่ ไ ด้ ต รงกั น ก็ คื อ ต้องการให้กลุ่มเป้าหมายมองเห็น รับรู้ และจดจำสินค้าที่โฆษณา บนสื่อดังกล่าวมากที่สุด ดั ง นั้ น หากกรุ ง เทพมหานครเปิ ด โอกาสให้ สิ นค้ า มาโฆษณาที่ สถานีและภายในรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT ก็ถือเป็นสื่อโฆษณา นอกบ้านที่เจ้าของสินค้าให้การตอบรับ เพราะตลอดเส้นทางผ่าน แหล่งชุมชุน, ห้างสรรพสินค้า และผ่านสายตาของผู้ขับรถยนต์ โดยการแรปโฆษณาไว้ด้านข้างของรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT เป็น พื้นที่ยอดฮิตที่เจ้าของสิ นค้ า ลงความเห็ นตรงกั น ว่ า เป็ น พื้ นที่ โฆษณาที่ดีที่สุด...!
“จุดแรปโฆษณาที่ BRT ยอดฮิต”
56
ธนาคารกสิ ก รไทย จำกั ด (มหาชน) เป็ นธนาคาร พาณิชย์ที่ใช้สื่อนอกบ้านอย่างเต็มรูปแบบ มาหลายชิ้นแล้ว ทั้งด้านหน้า สาขาธนาคาร, ป้ายโฆษณาริมถนน หรือแม้กระทั่งสื่อเคลื่อนที่อีกหลาย ประเภทของผลิตภัณฑ์ทางการเงิน “ผมขอมองว่าสินค้าที่เหมาะสมกับการลงโฆษณากับ BRT น่าจะเป็น สินค้าหรือโครงการอสังหาริมทรัพย์ที่รถ BRT วิ่งผ่านตลอด 15 กิโลเมตร เพราะจะทำให้สินค้าหรือโครงการอสังหาริมทรัพย์มีความน่าสนใจ และผู้ บริโภคอยากที่จะไปเข้าไปสัมผัสกับโครงการนั้นๆ เนื่องจากมีความสะดวก ในการเดินทาง สำหรับธนาคารกสิกรไทย ผม คิดว่าอาจจะต้องรอจังหวะสักหน่อย ต้องรอพิจารณาเรื่องของความคุ้ม ค่ า , อั ต ราค่ า โฆษณา, จำนวนผู้ โดยสารหลังจากที่กรุงเทพมหานคร เริ่มเก็บค่าโดยสารว่า จากวันนี้ที่มี จำนวน ผู้ โดยสารเฉลี่ ย ต่ อ วั น มี แรปรถเมล์ สื่อโฆษณาที่คุ้นตาของ 20,000 - 25,000 คน K- BANK ผมคิ ด ว่ า หากมี ก ารขยายไปสู่ เส้ นทางอื่ น ๆ ตามแหล่ ง ชุ ม ชน รวมทั้ ง การเพิ่ ม จำนวนรถให้ ม ากกว่ า ที่ เป็นอยู่ ก็จะทำให้สื่อโฆษณาบนรถ BRT มีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้นครับ” คุ ณชาติ ช าย พยุ ห นาวี ชั ย ผู้ ช่ ว ยกรรมการผู้ จั ด การ เล่ า ในเชิ ง การ ตลาดที่ ต้ อ งพิ จ ารณาความคุ้ ม ค่ า เป็ นตั ว ตั้ ง แต่ ผู้ บ ริ ห ารค่ า ยนี้ มั ก จะมี แนวคิดที่ทันสมัยอยู่แล้ว คาดว่าอาจมีโฆษณาสนุกๆ ออกมาให้เห็นกันเร็ว วันนี้ ก็อาจเป็นได้
COVER STORY
BRT Media
“เส้นทางตอ้ งมากกวา่ น”ี้ ์ ” ว ช โ ด ร โ “เงนิ ด่วนต้อง
“…เส้นทางวิ่งของ BRT ยิ่งยาว ย่อมเป็นผลดีกับงาน โฆษณา ที่เพิ่มความคุ้มค่า ได้…”
คุณชาติชาย พยุหนาวีชัย ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ธนาคารกสิกรไทย CHATCHAI PAYUHANAVEECHAI FIRST SENIOR VICE PRESIDENT KASIKORNBANK
“ซิตี้แบงก์” เป็นสถาบันการเงินระดับโลกที่มีการใช้สื่อนอกบ้านใน
หลากหลายรูปแบบ ทั้งสื่อโฆษณา ณ จุดขาย เพื่อจูงใจให้ผู้ซื้อสินค้ารูดบัตร เครดิ ต หรื อ สื่ อ เคลื่ อ นที่ เพื่ อ โปรโมทผลิ ต ภั ณ ฑ์ “บั ต รกดเงิ น สด เรดดี้ เครดิต” ไปสู่กลุ่มเป้าหมายที่มีเงินเดือนตั้งแต่ 10,000 บาทขึ้นไป คุ ณธี ร วั ฒ น์ ตรี รั ต น์ ดิ ล กกุ ล รองผู้ อ ำนวยการฝ่ า ยธุ ร กิ จ บั ต รเครดิ ต ธนาคารซิตี้แบงก์กล่าวว่า “ปี 2553 ซิตี้แบงก์กำหนดงบประมาณการตลาด ไว้ที่ 100 ล้านบาท ซึ่งเป็นงบประมาณที่เพิ่มขึ้นทุกปีครับ เพราะแบงก์มี ลูกค้ามากขึ้น ดังนั้นการทำตลาดและการโฆษณาประชาสัมพันธ์ รวมทั้งการ จัดกิจกรรม ก็จะต้องมีความเข้มข้น มากขึ้ น เพื่ อ เข้ า ถึ ง ผู้ บ ริ โภคให้ ม าก ที่สุด สำหรั บ รู ป แบบของสื่ อ โฆษณา ทางธนาคารจะให้ น้ ำ หนั ก กั บ สื่ อ โ ฆ ษ ณ า ณ จุ ด ข า ย ที่ จ ะ ต้ อ ง ครอบคลุ ม ทุ ก แผนกของห้ า งสรรพ สินค้าทุกแห่ง มีการส่งจดหมายไปให้ ให้เรดดี้เครดิต เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ลูกค้าเป็นรายไตรมาสเพื่อให้ทราบถึง สิทธิพิเศษของผู้ถือบัตรเครดิตซิตี้แบงก์ ด้วยสื่อรถเมล์ นอกจากนี้ แบงก์ ยั ง มี ก ารใช้ สื่ อ เคลื่ อ นที่ เพื่ อ โปรโมทซิ ตี้ แบงก์ เรดดี้ เครดิต ไว้บนรถประจำทาง ขสมก. และอนาคตหากกรุงเทพมหานครเปิด โอกาสให้แบรนด์สินค้าต่างๆ มาทำโฆษณาที่ BRT ทางธนาคารก็ไม่พลาด ที่จะอาศัยความได้เปรียบของการเป็นระบบขนส่งมวลชนรูปแบบใหม่ และ สื่อใหม่ ในการปูพรมเข้าถึงผู้บริโภค เพราะผู้โดยสารส่วนใหญ่ที่ขึ้น BRT จะเป็ น พนั ก งานบริ ษั ท ซึ่ ง เป็ นกลุ่ ม เป้ า หมายของซิ ตี้ แบงก์ เรดดี้ เครดิ ต ในการขยายฐานลูกค้าอยู่แล้วครับ”
“…ผลิตภัณฑ์ประเภทเงิน ด่วน เหมาะกับกลุ่มผู้บิโภค ที่ใช้บริการะบบขนส่งมวลชน อยู่แล้ว…”
คุณชาติชาย พยุหนาวีชัย ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ธนาคารกสิกรไทย CHATCHAI PAYUHANAVEECHAI FIRST SENIOR VICE PRESIDENT KASIKORNBANK
57
COVER STORY
BRT Media
์ ” น ล ไ น อ อ ื ่ อ “ขอเลือกใช้ส
เคที ซี - บริ ษั ท บั ต รกรุ ง ไทย จำกั ด (มหาชน) มี ฐ านสมาชิ ก อยู่
นับล้านคน ในหลากหลายอาชีพ ดังนั้นสื่อโฆษณาที่ค่ายนี้เลือกใช้ จึงค่อน ข้างหลากหลาย กระจายไปอย่างทั่วถึง “กลุ่มเป้าหมายหลักของเราคือ กลุ่มคนเมือง พวกเขามีไลฟ์สไตล์ ค่อน ข้างชัดเจน และตรงกับแนวทางการทำการตลาดที่แบ่งออกเป็นกลุ่ม ต่างๆ อาทิ ท่ อ งเที่ ย ว รถยนต์ สุ ข ภาพ กอล์ ฟ และอื่ น ๆ โดยวิ เคราะห์ ว่ า กลุ่ ม เป้าหมายให้ความสนใจกับสื่อใดในช่วงเวลานั้นๆ ปัจจุบันกระแสการโฆษณาออนไลน์ มาแรงและเติบโตมาก เราจึงหันมา ให้ ค วามสำคั ญ มากขึ้ น เช่ น Facebook และ Search Engine Management ครับ สำหรับ BRT เป็นเส้นทางการเดินทางที่เน้นหากลุ่มคนเมือง แต่อาจ จะเป็นเวลาของช่วงการพัฒนา จำนวนคนใช้บริการจึงยังไม่มากพอ คงต้อง รอดู สั ก ระยะก่ อ นครั บ เพราะเป็ นธรรมดาที่ เราต้ อ งคำนวนเม็ ด เงิ นการ โฆษณาที่จับต้องได้ชัดเจน แต่ ผ มยอมรั บ ครั บ ว่ า เป็ น สื่ อ ที่ น่ า สนใจมากประเภทหนึ่ ง หากการ พัฒนาไปถึงในจุดที่ครอบคลุมพื้นที่ในกรุงเทพฯ สิ่งหนึ่งที่ผมหรืออาจจเป็น เจ้ า ของสิ นค้ า ทุ ก คนอยากรู้ คื อ BRT จะแตกต่ า งจาก BTS หรื อ MRT อย่างไร ภาพลักษณ์ของ BRT ต่อคนใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ซึ่งเป็นเพื่อนร่วมทาง บนท้องถนน หาก ทำให้การใช้ ร ถส่ ว นบุ ค คลมี ค วามลำบากมากขึ้ น อาจ ทำให้เกิดภาพลักษณ์ที่ไม่ดีต่อสินค้าที่ต้องการเจาะกลุ่มลูกค้าระดับบน สิ่งที่ เราต้องคำนึงไม่เพียงแค่การพบเห็นของป้ายโฆษณา แต่รวมไปถึงความรู้สึก ของผู้คนที่พบเห็นด้วยนะครับ เคทีซี เล็งเห็นสิ่งนี้เป็นเรื่องสำคัญ เพราะแบรนด์ที่ดีเกิดขึ้นจากความ รู้สึกที่ดี ทำให้กลุ่มเป้าหมายอยากใช้สินค้าของแบรนด์นั้นๆ ในช่วงหลังของ การสร้างแบรนด์เคทีซีจะลดการโฆษณาผ่านทางป้ายโฆษณาขนาดใหญ่ข้าง ถนน เพื่ อ แลกกั บ ภาพพจน์ ดี ๆ เราเลื อ กที่ จ ะโฆษณาในจุ ด ที่ ต รงกั บ กลุ่ ม เป้าหมายจริงๆ มากกว่า แต่ไม่กระทบทัศนียภาพของเมือง เช่น การโฆษณา ในท่าอากาศยาน ที่เจาะเฉพาะกลุ่มลูกค้าที่ชอบการท่องเที่ยว อย่างนี้ชัดเจน ครับ” คุณพลภัทร เวโรจนวัฒน์ ผู้จัดการ อาวุโส ฝ่ายสื่อสารการตลาดองค์กร บริษัท บัตรกรุงไทย จำกัด (มหาชน) กล่าวทิ้งท้าย ก่ อ นที่ จ ะขยั บ ตั ว ขอไปทำภารกิ จ อื่ น ๆ ในรอบวันของเขา
“…เมื่อตอบทุกคำถามได้ เชื่อว่า BRT จะเป็นสื่อที่ คุณพลภัทร เวโรจนวัฒน์ ผู้จัดการอาวุโส เจาะใจ หาลูกค้าได้ ฝ่ายสื่อสารการตลาดองค์กร ไม่ยากนัก…” บริษัท บัตรกรุงไทย จำกัด (มหาชน) PONLAPAT VEROJANAVAT SENIOR MANAGER, CORPORATE MARKETING KRUNGTHAI CARD PUBLIC COMPANY LIMITED
58
“ขอแรปทงั้ คนั ”
ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) - TMB เป็น
ธนาคารพาณิชย์ที่มีการใช้สื่อโฆษณานอกบ้านมากที่สุดแห่งหนึ่ง วันนี้เราจึง เห็นมีป้ายโฆษณาไว้ด้านหน้าของทุกสาขาของธนาคาร กว่า 458 สาขา รวมทั้ ง หน้ า เครื่ อ งเอที เ อ็ ม ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารอยู่ 2,300 เครื่ อ ง เพื่ อ เผยแพร่ ผลิตภัณฑ์ทางการเงินรูปแบบใหม่ๆ ไปสู่ลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย คุณกาญจนา โรจวทัญญู ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงาน ส่ ง เสริ ม การตลาดลู ก ค้ า ร า ย ย่ อ ย ธ น า ค า ร ท ห า ร ไ ท ย จ ำ กั ด (มหาชน) กล่าวว่า “นอกจากด้ า นหน้ า ของสาขาที่ เ ราใช้ เ ป็ น พื้ น ที่ โ ฆษณาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ทางการเงิ น ต่ า งๆ แล้ ว เรายั ง ใช้ สื่ อ โฆษณารู ป แบบอื่ น ๆ ที่ เ ข้ า ถึ ง กลุ่ ม ป้ายรถเมล์ บริเวณด้านหน้าสำนักงานใหญ่ TMB เป้าหมาย อาทิ การแรป โฆษณาบัตรเครดิตทีเอ็มบี โซชิลล์ (TMB So Chill Credit Card) ไว้ที่ด้าน ข้างของรถโดยสารประจำทาง ขสมก.จำนวน 50 คัน เนื่องจากมองว่าสื่อท รานซิตประเภทนี้ สามารถสร้างการรับรู้และการจดจำได้อย่างรวดเร็ว อีก ทั้งกำหนดเส้นทางหรือโลเกชั่นที่กลุ่มเป้าหมายใช้ชีวิตอยู่ได้ค่ะ ส่วนสื่อโฆษณา ของรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT ดิฉันก็มองด้วยความ สนใจ แต่ถ้าจะให้เลือกจุดการใช้สื่อ ดิฉันขอเลือก การแรปโฆษณาไว้ที่ตัวรถ เหมือนกับที่เราทำกับรถโดยสารประจำทาง ขสมก.เพราะตลอดเส้นทางของ BRT กว่า 15 กิโลเมตร ผ่านแหล่งชุมชนต่าง ๆ ห้างสรรพสินค้า และผ่าน สายตาของผู้ขับรถยนต์ส่วนตัวบนถนนเป็นจำนวนมาก ซึ่งสร้างการรับรู้และ จดจำได้ดีค่ะ”
“…แรปโฆษณาไว้ข้างรถ สร้างการรับรู้ได้ดี...” คุณกาญจนา โรจวทัญญู ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานส่งเสริมการตลาดลูกค้ารายย่อย ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) KANCHANA ROJVATUNYU EVP, HEAD OF RETAIL MARKETING GROUP TMB BANK PUBLIC COMPANY LIMITED.
กว่ า 3 ทศวรรษ ที่ โลโก้ ปลายิ้ ม น้ ำ ลาย 3 หยด ของปลากระป๋ อ ง ปุ้มปุ้ย - ปลายิ้ม โลดแล่นอยู่ในธุรกิจอาหารกระป๋อง ครองใจผู้ บริโภคเป็นอันดับต้นๆ วันนี้มีการเพิ่มผลิตภัณฑ์หลากหลาย ภายใต้แบรนด์ ปุ้มปุ้ย - ปลายิ้ม และข้าวสุก ทั้งตลาดภายในประเทศและส่งออก สำหรับภายในประเทศ ตลาดเมืองหลวง 20% และตลาดต่างจังหวัด 80% “การใช้สื่อโฆษณาของสินค้าบริโภค ผมเข้าใจว่า ต้องถึงตัวผู้บริโภค แบบใกล้ชิด สื่อนอกบ้านจึงเป็นเรื่องที่ผมเลือกใช้ครับ เพราะเกาะติดไปตาม วิถีชีวิตของคนสมัยนี้ รวมทั้งยังมีเรื่องของสังคมออนไลน์ สื่อออนไลน์ ต่างๆ เข้ามามากขึ้น ดังนั้นความสนใจในสื่อหลักจึงอาจจะน้อยลงไป ผมจัดงบ ประมาณสำหรับสื่อนอกบ้านไว้กว่า 50% ไม่ ว่ า จะเป็ น Moving AD บิลบอร์ด โปสเตอร์ โรดโชว์ฯ ซึ่ ง แน่ น อนครั บ ระบบขนส่ ง มวลชน ที่ จ ะพากลุ่ ม คนคราวละ มากๆ ไปพร้อมกันนั้น เป็นเหมือน การรวมผู้บริโภคให้เห็นสื่อโฆษณา ยิ้มไปทั่วกรุงด้วยสื่อบนรถเมล์ ได้ในคราวเดียวกัน ผมมองว่า BRT ก็เช่นกัน ที่สามารถกำหนดกลุ่มเป้า หมายได้ บนเส้นทางสัญจรที่เป็นแหล่งทำงาน เป็นออฟฟิศ อาคารพานิชย์ ต่างๆ ดังนั้นผู้ที่ใช้บริการนี้ ก็จะเป็นคนในวัยทำงาน รถ BRT สามารถวิ่งไป ในแหล่งชุมชนได้ ผ่านตาผู้บริโภคทั้งผู้โดยสาร และผู้คนตามรายทางที่ผ่าน เส้นทางต่างๆ ส่วนในบริเวณสถานีคงต้องพิจารณาเป็นจุดๆ ไปครับ แต่ผม ว่าเป็นช่องทางการสื่อสารกั บ ผู้ บ ริ โภคได้ เพิ่ ม เติ ม อี ก กว่ า เดิ ม ผมรั บ ที่ จ ะ พิจารณากับสื่อประเภทนี้นะครับ” คุณไกรเสริม โตทับเที่ยง ผู้อำนวยการ ฝ่ า ยการตลาด บริ ษั ท ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารกว้ า งไพศาล จำกั ด (มหาชน) ผู้ บ ริ ห า ร ห นุ่ ม รุ่ น ใ ห ม่ เจเนเรชั่ น ที่ 2 ของ ปลายิ้ ม ปุ้ ม ปุ้ ย กล่ า วถึ ง ทิ ศ ทางการ ตลาดในปัจจุบันของบริษัทฯ
“กำหนดกลุ ม่ เปา้ หมายได ”้
“…เส้นทางวิ่งของรถ BRT บ่งบอกกลุ่มผู้บริโภคได้…” คุณไกรเสริม โตทับเที่ยง รองผู้อำนวยการฝ่ายการตลาด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารกว้างไพศาล จำกัด (มหาชน) KRAISERM TOHTUBTIANG VICE MARKETING DIRECTOR KUANG PEI SAN FOOD PRODUCTS PUBLI CO.,LTD
COVER STORY BRT Media เป็นเวลากว่า 30 ปีที่ “แบรนด์” ได้เข้ามาตั้งฐานผลิตและจำหน่าย ในประเทศไทย วันนี้แบรนด์มีกว่า 20 ชนิด คุ้นสุดเป็นรสชาติดั้งเดิม ซุปไก่ สกัด ขวดสีเขียว การใช้สื่อโฆษณาเพื่อให้ผู้บริโภคจดจำรับรู้ถึงผลิตภัณฑ์ ชนิดต่างๆ จึงจำเป็นอย่างยิ่ง “ความสำคัญในการใช้สื่อโฆษณา เพื่อให้ผู้บริโภครับรู้ถึงผลิตภัณฑ์ชนิด ต่างๆ สื่อหลักที่ใช้ในการโฆษณาจะเป็นสื่อทางฟรี ทีวี โดยเฉพาะในช่วง เวลาไพร์มไทม์ และกระจายไปยังสื่ออื่นๆ อีกด้วย เช่น เคเบิล ทีวี วิทยุ หนั ง สื อ พิ ม พ์ นิ ต ยสาร สำหรั บ สื่ อ นอกบ้ า น ผมใช้ ทั้ ง บิ ล บอร์ ด บั ส แอด มับปี้ โดยมีงบโฆษณาสำหรับสื่อนอกบ้านไว้ประมาณเกือบ 10% ครับ สำหรั บ ระบบขนส่ ง มวลชน BRT ผมมองเห็นการเปิดพื้นที่ของ สื่อนอกบ้านที่เพิ่มขึ้น แต่ผมขอมอง ในมุ ม ที่ จ ะคุ้ ม ค่ า เมื่ อ เที ย บกั บ สื่ อ อื่นๆ หรือไม่ ข้อมูลที่สำคัญต่อการ ตั ด สิ น ใจของนั ก การตลาดทุ ก คน ผมว่ า ไม่ แตกต่ า งกั นนั ก หรอกครั บ โฆษณาภายในสถานีรถไฟฟ้า MRT เช่น เส้นทางเดินรถ ผู้ใช้บริการ ผู้ สื่อที่คุ้มค่าการลงทุน พบเห็ นตั ว โฆษณา และเรื่ อ งราคา หากไม่แพงเกินไปก็คิดว่าน่าสนใจ แต่ตอนนี้ข้อมูลที่ผมอาจจะยังไม่เต็มอย่าง ที่ต้องการ คงต้องรอหน่อยล่ะครับ แต่ถ้าเป็นความสนใจส่วนตัวของผม คิดว่า หากจะเลือกใช้สื่อ BRT การแรปภายนอกตัวรถน่าเป็นจุดที่ดีที่สุด เพราะสามารถเคลื่อนที่ไปให้เห็น ได้ทั่วทั้งตลอดเส้นทางเดินรถครับ” คุณตุลย์ วงศ์ศุภสวัสดิ์ ผู้จัดการทั่วไป การจัดการธุรกิจและการตลาด บริษัท เซเรบอส (ประเทศไทย) จำกัด กล่าว ถึงการใช้สื่อของผลิตภัณฑ์ที่เขาดูแลอยู่
“สนใจสื่อเคลื่อนที่”
“…สื่อเคลื่อนที่ ที่ขยับตัว เคลื่อนเข้าหาผู้บริโภค เป็นการเพิ่มการรับรู้ได้ดี…” คุณตุลย์ วงศ์ศุภสวัสดิ์ ผู้จัดการทั่วไป (การจัดการธุรกิจและการตลาด) บริษัท เซเรบอส (ประเทศไทย) จำกัด TUL WONGSUPHASAWAT GENERAL MANAGER (MARKETING & BUSINESS MANAGEMENT) CEREBOS THAILAND CO., LTD 59
COVER STORY
BRT Media บริ ษั ท เสริ ม สุ ข จำกั ด (มหาชน) มีเครื่องดื่มในพอร์ต โฟลิโอมากมาย อาทิ ประเภทน้ำอัดลม ได้แก่ เป๊ปซี่ มิรินด้า เซเว่นอัพ และ ประเภทไม่ อั ด ลม ได้ แ ก่ น้ ำ ดื่ ม คริ ส ตั ล คริ ส ตั ล โซดา คลั บ โซดา ลิ ป ตั น เกเตอเรด คาราบาวแดง ทรอปิคานา ดังนั้นสื่อโฆษณาของค่ายนี้จึงมีสื่อ หลายรูปแบบ หลายประเภทอยู่ในมือ คุ ณ ป ร า ง ณี ไชยพิ เ ดช ผู้ จั ด การ ฝ่ า ยโฆษณาและ ประชาสั ม พั น ธ์ บริ ษั ท เสริมสุข จำกัด (มหาชน) เล่ า ถึ ง แผนงานในช่ ว ง ปลายปีนี้ว่า “ประมาณปลาย ไตรมาส 3 ทางบริ ษั ท ฯ จะมี ก ารประเมิ น ความ ส ำ เร็ จ ข อ ง ก า ร ใช้ สื่ อ โ ฆ ษ ณ า ใ น แ ต่ ล ะ BTS สื่อนอกบ้านสุดฮิตแห่งยุค ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม เพื่อ ให้การโฆษณาสัมฤทธ์ผลมากที่สุด ปัจจุบันเราใช้สื่อนอกบ้านมากเชียวล่ะค่ะ กระจายตัวหลากหลายมาก อาทิ การใช้ สื่ อ โฆษณาบนสถานี แ ละภายในรถไฟฟ้ า BTS, การแรปรถ ประจำทาง ขสมก.การโฆษณา ณ จุดขาย ทั้งร้านอาหารและร้านสะดวกซื้อ เพื่อเป็นการย้ำเตือนตัวผลิตภัณฑ์ให้กับผู้บริโภค ในอนาคตหากกรุ ง เทพมหานครเปิ ด โอกาสให้ สิ นค้ า ต่ า งๆ เข้ า ไปมี โฆษณาที่ BRT ได้นั้น ดิฉันคงต้องนั่งลงศึกษากับทีมงาน ถึงการคุ้มค่าก่อน ว่า BRT มีจุดเด่น จุดด้อยอย่างไร กลุ่มเป้าหมายหลักเป็นคนกลุ่มใด มีอายุ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนเท่าไร รวมทั้งราคาสื่อโฆษณาในตำแหน่งต่างๆ มีราคา เท่าไร เพราะองค์ประกอบทุกอย่าง ทางบริษัทฯ จะต้องนำมาพิจารณาให้ ละเอียดอย่างถี่ถ้วน ที่สำคัญ ยอมรับค่ะว่าต้องนำมา เที ย บกั บ สื่ อ ประเภทเดี ย วกั น หรื อ เป็นการเชื่อม เพิ่มพลังให้กับสื่ออื่นๆ ที่เราใช้งานอยู่แล้ว”
“สอื่ ใหม่ต้องใช้ข้อมูล”
“…การใช้สื่อ ประเภท ใหม่ๆ จำเป็นต้องมีข้อมูล เพื่อประเมินผลลัพท์และการ คุณปรางณี ไชยพิเดช ผู้จัดการฝ่ายโฆษณาและประชาสัมพันธ์ คุ้มค่าของเม็ดเงิน บริษัท เสริมสุข จำกัด (มหาชน) โฆษณา…” PRANGNEE CHAIPIDEJ CORPORATE COMMUNICATIONS MANAGER SERM SUK PUBLIC COMPANY LIMITED
60
เดอะมอล์ ล ท่ า พระ เป็ น หนึ่ ง ในห้ า งสรรพสิ น ค้ า ที่ ไ ด้ รั บ ประโยชน์จากการเกิดรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT เพราะนอกจากสถานี ราชพฤกษ์จะอยู่ใกล้กับตัวห้างสรรพสินค้าแล้ว ในอนาคตกรุงเทพมหานคร มีแผนที่จะสร้าง Skywalk เชื่อมต่อระหว่าสถานีไปตัวสู่ตัวห้าง เพื่ออำนวย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ ห้ กั บ ประชาชนอีกด้วย คุ ณ ณั ฐ ศ ม น ว ง ศ์ กิตติพัฒน์ ผู้จัดการใหญ่ ก า ร ต ล า ด บ ริ ษั ท เดอะมอล์ ล กรุ๊ ป จำกั ด กล่าวว่า “นับตั้งแต่ BRT บริเวณด้านหน้าของเดอะมอลล์ท่าพระ เปิดให้บริการ จำนวนลูก ค้ า ที่ ม า เ ด อ ะ ม อ ล์ ล ท่าพระ มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการเดินทางมาห้างสรรพสินค้ามี ความสะดวก รวดเร็ว สามารถเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนรูปแบบอื่น จึงทำให้จำนวนลูกค้าและยอดการใช้จ่ายที่ห้างเพิ่มสูงขึ้นค่ะ สำหรับอนาคตหากกรุงเทพมหานคร เปิดโอกาสให้ภาคเอกชน เจ้าของ สิ นค้ า สามารถนำเสนอโฆษณาได้ ทั้ ง บนรถ BRT และภายในสถานี ซึ่ ง ปัจจุบันมีอยู่ 12 สถานี ทางกลุ่มเดอะมอล์ลก็พร้อมที่จะโฆษณาภาพลักษณ์ องค์กร รวมทั้งเผยแพร่ข่าวสารโปรโมชั่น ส่งเสริมการขายไปยังผู้บริโภค แม้ว่ารูปแบบของสื่อบนรถ BRT จะไม่ต่างอะไรกับรถไฟฟ้า BTS, รถ ประจำทาง ขสมก.ซึ่งเป็นสื่อเคลื่อนที่คล้ายๆ กัน แต่จุดเด่นของ BRT คือ การเป็นระบบขนส่งมวลชนรูปแบบใหม่ของกรุงเทพมหานครที่ไม่เคยมีมา ก่อน ดังนั้นกลุ่มเดอะมอลล์ ซึ่งจัดว่าได้เปรียบของการอยู่ชิด ติดกับ BRT ดิฉันคิดว่าเราจะเริ่มโฆษณาเป็นรายแรกๆ รับรองว่า จะเป็นที่ฮือฮา และ กล่าวขานที่ผู้ที่พบเห็นอย่างแน่นอน อดใจรอไว้นะค่ะ”
เ“ รมิ่ กอ่ น ดงั กอ่ น”
“… ความได้ เปรียบของการมีระบบ ขนส่งมวลชน เข้ามาประชิด ติดกับห้างสรรพสินค้า ย่อม เป็นโอกาสอันดี ที่จะลงมือ โฆษณาทันที…”
คุณณัฐศมน วงศ์กิตติพัฒน์ ผู้จัดการใหญ่การตลาด บริษัท เดอะมอลล์ กรุ๊ป จำกัด NATSAMON VONGKITTLPAT GROUP GENERAL MANAGER MARKETING GROUP THE MALL GROUP CO., LTD
21
COVER STORY
BRT Media
นอกจากรถโดยสารด่ ว นพิ เศษ BRT จะมี จุ ด เด่ น อยู่ ที่ ก ารให้ บริการของระบบขนส่งมวลชนที่มีความสะดวก รวดเร็ว สามารถ เชื่อมต่อไปสู่ระบบการเดินทางอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับรถไฟฟ้า BTS แล้ว BRT ยังมีจุดเด่นอยู่ที่การเป็นสื่อนอกบ้านรูปแบบใหม่ที่ พร้อมจะเป็นสื่อทางเลือกนำข้อความของสินค้าและผลิตภัณฑ์ ต่างๆ ไปสู่ผู้บริโภค ในมุมมองของเอเยนซีมีความเห็นตรงกันว่า BRT เป็นสื่อใหม่ บนทำเลใหม่ และการมีทางเดินลอยฟ้า (Skywalk) เชื่อมต่อกับ รถไฟฟ้า BTS สถานีช่องนนทรี ที่กรุงเทพมหานครจะปรับปรุง บริเวณใจกลางของทางเดินลอยฟ้าบริเวณแยกถนนราธิวาสราช นครรินทร์ - ถนนสาทร ให้เป็นลานอเนกประสงค์ ในรูปแบบของ “ลานคนเมือง” แห่งใหม่ของกรุงเทพฯ ถือเป็นจุดได้เปรียบของ การโฆษณา แต่ ก ารเป็ น สื่ อ ใหม่ บ นทำเลใหม่ ทาง BRT จะต้ อ ง ทำงานหนักมากขึ้น หากจะทำให้สื่อนอกบ้านชนิดนี้มีความน่าสนใจ เทียบเท่ากับสื่อเคลื่อนที่ -Transit Media ประเภทอื่นที่วันนี้มีจุด เด่น และจุดแข็งมากมาย
“ต้องหาจุดเด่นให้เจอ”
62
จุดเด่นของรถโดยสารด่วนพิเศษ - BRT ในมุมมองของ คุณไพจิตร เทียนทอง - ผู้มีประสบการณ์ในแวดวงโฆษณามากว่า 30 ปี ปัจจุบันนั่ง เก้าอี้เป็น นายกสมาคมมีเดียเอเยนซีและธุรกิจสื่อแห่งประเทศไทย สมัยที่ 2 มีมุมมองทะลุข้ามช็อตของการใช้สื่อหลักเพื่อหนุนการรับรู้ของสินค้า และ มองเห็นการปรับตัวที่จะแทรกตัวอย่างกลมกลืนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่ กลุ่มเป้าหมายของแต่ละสินค้า ที่มีอัตราการเคลื่อนตัว เคลื่อนไหวอยู่ตลอด เวลา “พาหนะประเภทนี้ เป็นระบบขนส่งมวลชนทางถนนรูปแบบหนึ่งที่ทำให้ การเดินทางของประชาชนมีความสะดวก รวดเร็ว เพราะสามารถเชื่อมต่อ ไปสู่ ร ะบบการเดิ นทางอื่ น ๆ ได้ อ ย่ า งคล่ อ งตั ว และหากในอนาคต BRT สามารถมีโฆษณาได้ทั้งบนรถโดยสารและบนสถานี ก็จะทำให้ตลาดสื่อนอก บ้านเพิ่มช่องทางการสื่อสาร และมีความน่าสนใจ จากที่เห็นพื้นที่ภายในสถานีและภายในรถโดยสารBRT แม้ว่าจะยังไม่ ปรากฏสื่อโฆษณา แต่มีความน่าสนใจมาก สำหรับคนเคยมองหาสื่อให้ลูกค้า อย่างอาชีพดิฉัน แต่ที่ต้องย้ำ ยังเป็นจุดเดิมของธรรมชาติของสื่อนอกบ้าน คื อ การเหมาะที่ จ ะใช้ เป็ น สื่ อ สนั บ สนุ น เพื่ อ เสริ ม สื่ อ หลั ก สื่ อ โฆษณาบน BRT ก็เข้าข่ายนี้เหมือนกันค่ะ สื่อของ BRT เป็น สื่อโฆษณาประเภทสื่อเคลื่อนที่ - Transit Media ซึ่ ง เป็ นที่ ย อดนิ ย มจากเจ้ า ของสิ นค้ า อย่ า งมากอยู่ แ ล้ ว กุ ญ แจสำคั ญ ที่ ประสบความสำเร็ จ สู ง คื อ การสร้ า งการรั บ รู้ แ ละจดจำในตั ว ผลิ ต ภั ณฑ์ เพราะสื่อประเภทนี้มีขีดความสามารถที่จะครอบคลุมและเข้าถึงกลุ่มเป้า หมายได้ทั้งกลุ่มเฉพาะเจาะจง - Selected profile และกลุ่มลูกค้าฐาน กว้าง - Mass market สำหรับปี 2553 ดิฉันคิดว่า ค่าใช้จ่ายโฆษณาจะเติบโตกว่าปีก่อนราวสัก 10% อันเป็นสืบเนื่องมาจากภาวะการณ์ทางเศรษฐกิจ ภาคการใช้จ่าย การ บริ โภคขยายตั ว มากขึ้ น รวมทั้ ง มี ก ารเพิ่ ม ช่ อ งทางการโฆษณา จากเดิ ม เจ้าของสินค้าเพิ่มทางเลือกในการสื่อสารได้เพิ่มขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม นักโฆษณาจะต้องให้ความสำคัญกับการเกิดขึ้นของสื่อ โฆษณาใหม่ๆ และพฤติกรรมของผู้บริโภคที่แปรเปลี่ยนไปทุกวัน เพื่อการ เลือกซื้อสื่อให้มีประสิทธิภาพและคุ้มค่ากับงบประมาณของลูกค้าค่ะ”
COVER STORY BRT Media
“ใชเ้ ปน็ สอื่ เสรมิ ไดด้ ี”
“…BRT เป็นสื่อใน กลุ่มสื่อเคลื่อนที่ Transit Media ที่น่าสนใจ ด้านการ สร้างการรับรู้และจดจำในตัว ผลิตภัณฑ์…”
คุณไพจิตร เทียนทอง นายกสมาคมมีเดียเอเยนซีและธุรกิจสื่อโฆษณาแห่งประเทศไทย PAICHIT THIENTHONG PRESIDENT OF MEDIA AGENCY ASSOCIATION OF THAILAND (MAAT)
ภายในสถานียังมีพื้นที่สื่อเปิดกว้างให้ได้คิดงานโฆษณาได้อีก
ชานชาลารอรถ พื้นที่สื่อที่นักโฆษณาต้องมอง
63
COVER STORY
BRT Media
แม้ว่ารถโดยสายด่วนพิเศษ - BRT สายสาทร - ราชพฤกษ์ จะมีจุดเด่น อยู่ ที่ ค วามยาวของระยะทางการให้ บ ริ ก ารมากถึ ง 15.69 กิ โ ลเมตร ครอบคลุมพื้นที่พักอาศัยของประชาชน และมีจุดเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้า BTS สถานีช่องนนทรี ซึ่งอาจจะเป็นแรงสนับสนุนสำคัญที่ทำให้ BRT ดูโดดเด่น และจูงใจให้แบรนด์สินค้าต่างๆ เข้ามาทำโฆษณา แต่ในมุมมองของ คุณสุภาณี เดชาบูรณานนท์ DEPUTY CHAIMAN / DIRECTOR OF TRADING & STRATEGY GROUP M มองว่า แค่นี้ ยังไม่มากพอที่จะเป็นแรงจูงใจให้เจ้าของสินค้า หรือเอเจนซีเทงบประมาณ นับแสน นับล้านบาทเพื่อสร้างแบรนด์สินค้าผ่าน BRT ขนส่งมวลชนรูปใหม่ ที่เกิดขึ้นในเมืองไทยเป็นครั้งแรก “BRT เป็นรถโดยสายรูปแบบใหม่ก็จริง แต่หากทำโฆษณาก็ต้องเทียบ เคี ย งกั บ การลงโฆษณาบนรถประจำทาง หรื อ รถเมล์ ซึ่ ง เป็ น สื่ อ ประเภท เดียวกัน หรือใกล้เคียงกัน เพื่อให้เกิดความคุ้มค่ามากที่สุด เมื่อเทียบกับรถเมล์ก็ พบว่ารถเมล์จะมีความได้เปรียบกว่า BRT เรื่อง ระยะทางการให้บริการที่ยาวกว่า เส้นทางที่ผู้โดยสารจะพบเห็นสื่อโฆษณาก็ ย่อมนานกว่า จึงมีความตื่นเต้นและความน่าสนใจมากกว่า ถ้ามองกันแบบวิเคราะห์ BRT จะต้องใช้จุดเด่นในเรื่องอื่นที่สื่ออื่นยัง ไม่มีมาเป็นจุดขาย ดิฉันมองเห็นความได้เปรียบของ BRT คือ เรื่องของการ มีสถานีที่มีขนาดใหญ่ รองรับประชาชนได้เป็นจำนวนมาก แถมยังมีจุดเชื่อม ต่อกับระบบขนส่งมวลชนขนาดใหญ่อย่างรถไฟฟ้าBTS เรื่องนี้เด่นมากค่ะ ดังนั้นจุดขาย นอกจากจะคิดมองหารายได้ในแง่ของการเป็นสื่อโฆษณานอก บ้านประเภทหนึ่งแล้ว ดิฉันคิดว่าอีกโอกาสทองคือการเปิดพื้นที่ให้กับร้านค้า ได้เข้ามาขายสินค้าในบริเวณสถานีและทางเชื่อม ซึ่งอาจจะได้การตอบรับ และเมื่ อ เกิ ด เส้ นทางของชุ ม ชน คนมาจั บ จ่ า ยปริ ม าณมาก ประเดี๋ ย วสื่ อ โฆษณา ก็วิ่งตามมาเองแหละค่ะ”
” า ้ ค น า ้ ร น ็ ป เ ย า ล ก T R B “เมื่อสถานี
จุดเชื่อมต่อกับ BTS ที่จะเป็นแรงส่งให้สินค้าเข้ามาโฆษณาใน BRT
สถานีขนาดใหญ่ที่เป็นจุดเด่นของ BRT
“…บนเส้นของ BRT มีจุดเด่น น่าจะมีการ เปิดพื้นที่ร้านค้า ด้วย นอก เหนือจากการมองด้านการขาย สื่อโฆษณา…”
คุณสุภาณี เดชาบูรณานนท์ SUPHANEE DECHABURANANON DEPUTY CHAIMAN / DIRECTOR OF TRADING & STRATEGY GROUP M 64
การเกิดขึ้นของรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ - BRT ช่วยมาบรรเทา ให้การเดินทางของคนกรุงเทพฯ สะดวกขึ้นและยังช่วยเข้ามาเติมสีสันให้ สื่อนอกบ้านประเภทสื่อเคลื่อนที่มีความน่าสนใจมากขึ้นอีกด้วย “ในฐานะนักโฆษณา ผมมองว่ารูปแบบของสื่อโฆษณากับการขนส่ง ประเภทใหม่ของรถ BRT ไม่ต่างอะไรกับการลงโฆษณากับรถไฟฟ้า BTS, รถประจำทาง ขสมก.ที่สามารถนำเสนอรูปแบบของสื่อนอกบ้านได้ทั้งบนรถ และในสถานี จุดเด่นของ BRT อยู่ที่ทำเลหรือโลเกชั่นที่รถวิ่งผ่าน เพราะเข้าไปใน ย่านชุมชนที่พักอาศัยของประชาชน แถมยังมีจุดเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้า BTS สถานีช่องนนทรี ซึ่งช่วยเติมเต็มให้สินค้าที่ลงโฆษณามีการรับรู้จากผู้บริโภค ขยายกลามมากยิ่งขึ้น ส่วนตัวผม คิดว่าวันนี้หาก BRT จะจูงใจให้เจ้าของสินค้ามาลงโฆษณา น่าจะต้องมีความชัดเจนอยู่ 3 เรื่องด้วยกัน คือเรื่องจำนวนผู้โดยสารของ BRT ว่าเฉลี่ยต่อวันมีเท่าไร, เรื่องกลุ่มเป้าหมายหลักของ BRT คือคนกลุ่ม ไหน เพศ อายุ รายได้ต่อเดือน และอีกข้อเป็นอัตราค่าโฆษณา ซึ่งจะต้อง จูงใจมากพอสมควร เพราะอย่าลืมว่า วันนี้สื่อนอกบ้านประเภท Transit Media ที่ เข้ า ถึ ง ไลฟ์ ส ไตล์ ก ารดำเนิ นชี วิ ต นอกบ้ า นของผู้ บ ริ โภคอยู่ แ ล้ ว ดังนั้นเจ้าของสินค้าจึงมีโอกาสเลือกได้มากมาย ถ้าราคาไม่จูงใจพอ พวก เขาอาจจะมีอาการเฉยๆ สื่อใน BRT อาจไม่ได้รับความสนใจจากเจ้าของ สิ น ค้ า ในการลงโฆษณาก็ ไ ด้ ค รั บ ” คุ ณ สุ ร เชษฐ์ บำรุ ง สุ ข Country Manager บริษัท คินเนติค เวิลด์ไวด์ (ประเทศไทย) จำกัด กล่าว ถึงรถเมล์ คันใหม่ และสื่อแหล่งใหม่ที่เป็นทางเลือกเพิ่มเข้ามาในปีนี้
COVER STORY BRT Media
“ราคาตอ้ งมาแรง”
ใช้ชานชาลาสถานีประชาสัมพันธ์การให้บริการของ BRT
ราวจับภายในตัวรถก็เป็นพื้นที่โฆษณาได้
“…สื่อใหม่ที่จะเกิดขึ้นกับ BRT ต้องใช้กลยุทธ์ เรื่อง ราคา เข้ามาเป็นแรงจูงใจ เป็นอันดับแรก…”
จุดเชื่อมต่อช่องนนทรี ที่ช่วยเติมเต็มการโฆษณาได้
คุณสุรเชษฐ์ บำรุงสุข บริษัท คินเนติค เวิลด์ไวด์ (ประเทศไทย) จำกัด SURACHET BUMRONGSUK COUNTRY MANAGER KINETIC ป้ายรถ BRT ยังคงเป็นสื่อยอดฮิต
65
COVER STORY
BRT Media
เมื่อรถโดยสารด่วนพิเศษ - BRT สามารถมีโฆษณาได้ ในมุมมองของ คุ ณ รติ พั นธุ์ ท วี Management Partner บริ ษั ท โอกิ ล วี่ แอนด์ เมเธอร์ แอ็ดเวอร์ไทซิ่ง จำกัด มองว่า “ถือเป็นสื่อนอกบ้านอีกชิ้นที่เจ้าของสินค้า และเอเยนซีสามารถหยิบใช้ มาเป็นช่องทางในการทำโฆษณได้ ด้วยข้อได้เปรียบของ BRT คือการเป็น ระบบขนส่งมวลชนรูปแบบใหม่ ดังนั้นการเป็นของใหม่ย่อมจะได้รับความ สนจากผู้ที่พบเห็น อย่างไรก็ตาม BRT คงจะไม่สามารถเทียบเคียง หรือเป็นที่นิยมเท่ากับ การโฆษณาบนรถไฟฟ้า BTS เนื่องจาก BRT เป็นระบบขนส่งมวลชนที่ให้ บริการกับประชาชนผู้อยู่อาศัยตามชุมชนเฉพาะกลุ่ม แต่ก็มีความกว้างมาก กว่า ดังนั้นหาก BRT จะทำสื่อโฆษณาให้มีความน่าสนใจ ก็จะต้องมีการ ขยายเส้นทางครอบคลุมพื้นที่ชุมชนให้มากกว่านี้บ้าง ทั้งนี้ มีหลายคนคิดไม่ตกว่าถ้าจะโฆษณากับรถโดยสารประเภทนี้จะลง โฆษณาแบบไหนที่ได้ผลและภาพพจน์แบบโดนๆ ผมตอบเลยว่า ต้องแรป โฆษณาไว้ ด้ า นนอกของตั ว รถ เหมื อ นกั บ รถประจำทาง ขสมก. รถไฟฟ้ า BTS เท่านั้น เพราะเวลาที่รถ BRT วิ่งผ่าน ประชาชนที่ขับรถส่วนตัวและ ประชาชนที่อยู่ตามเส้นทาง ก็จะเห็นชิ้นงานโฆษณาครับ ส่วนสินค้าแบบไหนล่ะ ที่เหมาะกับ BRT ในมุมมองของผมคิดว่าน่าจะ เป็นสินค้าอุปโภค บริโภค ซึ่งเป็นสินค้าที่ต้องกิน ต้องใช้ อยู่เป็นประจำ และ สินค้าประเภทที่รถ BRT วิ่งผ่าน เช่น ร้านอาหาร, ห้างสรรพสินค้า เพราะ เมื่อประชาชนเห็นโฆษณาแล้ว ก็อยากที่จะเดินทางไป เพราะมีความสะดวก ครับ วันนี้สื่อนอกบ้านมีให้เลือกมากมาย ใครอยากลงโฆษณาแบบไหนก็หาได้ ไม่อยากเลย แต่สิ่งที่ผมอยากจะฝากแง่คิดให้กับเจ้าของสินค้า และเอเยนซี ก็คือ การทำโฆษณาเรามักคิดแต่ว่ากลุ่มเป้าหมายเราคือใคร จะใช้สื่อไหนที่ เข้าถึงพวกเขาให้มากที่สุด จนลืมความเป็นส่วนตัวของผู้บริโภค ดังนั้นการ ทำโฆษณาที่ดี เราจะต้องไม่ไปลุกล้ำความเป็นส่วนตัวของผู้บริโภคมากนัก ตรงนี้สำคัญครับ”
นนั้ )” า ่ ท เ ( า ณ ษ ฆ โ ป ร แ ง ้ อ “ต
ผู้ใช้บริการ BRT ที่ดูค่อนข้างบางตาเมื่อเลยชั่วโมงเร่งด่วนไปแล้ว
เส้นทางวิ่งผ่านชุมชน ห้างร้าน เหมาะกับสินค้าอุปโภคบริโภค
“…โฆษณาก้าวไปทุกจุดที่ มีผู้บริโภคอยู่ แต่อย่าลืม ความส่วนตัวของพวกเขา ด้วย…”
รติ พันธุ์ทวี บริษัทโอกิลวี่ แอนด์ เมเธอร์ แอ็ดเวอร์ไทซิ่ง จำกัด RATI PANTHAWI MANAGEMENT PARTNER OGIVY & MATHER ADVERTISING CO.,LTD 66
19
COVER STORY
BRT Media
สะท้อนความรู้สึกของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับรถโดยสารด่วน พิเศษ BRT โดยตรง ทั้งหัวหน้าสถานีที่ต้องดูแลความเรียบร้อย ของสถานีรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT ซึ่งในแต่ละวันจะมีผู้โดยสาร เข้า - ออกนับพัน นับหมื่นคน รวมทั้งพนักงานขับรถ, ตำรวจ จราจร, ผู้โดยสาร และผู้ใช้รถยนต์ร่วมทางกับ BRT พวกเขาจะมี ความรู้สึกอย่างไรกับรถโดยสารที่เป็นระบบขนส่งมวลชนรูปแบบ ใหม่ของเมืองไทย ไปติดตามกัน
“ชอบ-ไม่ชอบกับ BRT”
68
“ดิฉันเคยเป็นพนักงานประจำสถานีรถไฟฟ้า BTS มาก่อนค่ะ ดูแลงาน มากว่า 4 ปีเต็ม งานสนุกมาก ดิฉันได้พบปะพูดคุยกับประชาชนในแต่ละวัน หลากหลายอาชี พ เมื่ อ มี ก ารเปิ ด สอบเพื่ อ เลื่ อ นตำแหน่ ง สู่ ก ารเป็ น ระดั บ หัวหน้างาน โชคดีค่ะที่เป็นหนึ่งในพนักงานที่สอบผ่าน และก้าวสู่ตำแหน่ง หัวหน้าสถานีรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT อย่างเต็มตัวค่ะ ทุกเช้าดิฉันจะมาถึงสถานีสาทรเวลาประมาณตีห้า หน้าที่หลักๆ คือ ดูแลสถานีให้อยู่ในความเรียบร้อย ปลอดภัย นอกจาก เราจะต้องมีการพูดคุยระหว่างพนักงานประจำสถานีด้วยกัน ทุกคน เพื่อให้มีความพร้อมต่อการให้บริการแก่ประชาชน สถานีสาทรเป็นสถานที่เชื่อมต่อกับสถานีรถไฟฟ้า BTS ช่องนนทรี ดัง นั้ น การดู แ ลด้ า นความปลอดภั ย และการอำนวยความสะดวกให้ กั บ ประชาชนจะต้องมาเป็นอันดับแรก สำหรับในอนาคต หากสถานีและภายในรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT มี โฆษณาได้ ก็ถือเป็นสีสันอย่างหนึ่ง แต่ต้องไม่มากเกินไป โดยส่วนตัวดิฉันคิด ว่ า น่ า จะเป็ นการให้ ข้ อ มู ล สารของกรุ ง เทพมหานครไปสู่ ป ระชาชนก็ จ ะ ดีมากๆ อยากชวนคนกรุงเทพมานั่งรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT กันค่ะ เพราะ คุณจะเป็นอีกคนที่มีส่วนในการแก้ไขปัญหาการจราจรในกรุงเทพฯ ได้ด้วย นะคะ”
COVER STORY BRT Media
“ฝากขา่ วสารผา่ น BRT ”
BRT ให้บริการสะดวก รวดเร็ว ถูกใจชาวกทม.
ป้ายโฆษณาตรงชานชาลา โดดเด่นสะดุดตา
BRT Tip
ทำความเร็วได้ถึง 80 ก.ม./ชม. ภายในสถานียามค่ำคืน สว่าง ปลอดภัย
คุณขนิษฐา พินสยัง หัวหน้าสถานีสาทร
“ทรานส์มิเลนิโอ” (TransMilenio) ที่เมืองโบโกตา ประเทศโคลัมเบีย ได้ชื่อว่าเป็นระบบ BRT ที่มีประสิทธิ ภาพสูงสุดในโลก ปัจจุบันมีทั้งหมด 6 สาย ระยะทาง 84 กิโลเมตร ให้บริการด้วยความเร็วเฉลี่ยสูงถึง 28 กิโลเมตร / ชั่วโมง และบางเส้นทางสามารถวิ่งได้เร็วถึง 40 กิโลเมตร / ชั่วโมง ขนส่งผู้โดยสารได้สูงสุดถึง 20,000 คน / ชั่วโมง / ทิศทางในชั่วโมงเร่งด่วน และใน 1 วันสามารถขนส่งผู้โดยสารได้ถึง 1.45 ล้านคน สำหรับประ เทศไทยรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT ให้บริการด้วยความเร็ว เฉลี่ยสูงถึง 80 กิโลเมตร / ชั่วโมง
69
COVER STORY
BRT Media
“คนไทยชอบให้มีลุ้นรางวัล”
“ไปพร้อมกันได้หลายคน”
“ผมมาถึงที่ทำงานเวลาตีห้าของทุกเช้าครับ เพื่อตรวจ สอบสภาพความเรียบร้อยรถก่อนทุกครั้งที่จะสตาร์ท และให้ บริการกับผู้โดยสาร เที่ยวแรกเวลา 6.00 น. ความปลอดภัย สำคัญที่สุดครับ ผมทำงานขับรถ BRT วันละ 8 ชั่วโมง เป็นงานบริการที่ สนุกมากๆ ครับ เพราะในแต่ละวันผมมีโอกาสเจอะเจอ ประชาชน ผู้โดยสารมากหน้าหลายตา แต่ละคนมีรอยยิ้ม เพราะรู้ว่าไม่หงุดหงิดและถึงที่หมายตรงเวลา ในช่วงเช้า - เย็นเป็นชั่วโมงเร่งด่วน มีผู้โดยสารจำนวน มาก ดังนั้นเพื่อความรวดเร็ว ผมขอแนะนำว่าผู้โดยสารจะ ต้องก้าวเข้าสู่ตัวรถอย่างเร็วมากๆ เพราะหนึ่งก้าวของท่านมี ความหมายมาก และเมื่อเข้าสู่ตัวรถแล้ว ควรมองหาที่นั่ง แต่ถ้าที่นั่งเต็ม ก็ให้เดินเข้าสู่ด้านใน การมีน้ำใจต่อกันก็ สำคัญ คนไทยเรามีเสน่ห์ตรงนี้แหละครับ ทั้งนี้นับตั้งแต่ BRT เปิดให้บริการ ผู้ใช้รถ ใช้ถนนหลาย คนมีความคิดว่า BRT เป็นสาเหตุ ต้นทางที่ทำให้รถในท้อง ถนนติดหนักกว่าเดิม จากที่ติดกันเป็นปกติอยู่แล้ว แต่เท่าที่ ผมทำงานขับรถมา ผมพบว่าความจริงการจราจรในกรุงเทพฯ ก็ติดเป็นประจำอยู่แล้ว แต่ BRT จะช่วยให้การเดินทางของ คนส่วนใหญ่มีความสะดวก รวดเร็วมากยิ่งขึ้น เราไปกันได้ คราวละหลายๆ คน ย่อมดีกว่า ผมอยากเชียร์ให้ลองมานั่ง BRT กันดูบ้าง เพื่อหาทางช่วยกันแก้ไขปัญหาจราจร แบ่งๆ กันไปครับ ใช้ถนนร่วมกันด้วยความระมัดระวัง มีน้ำใจให้แก่ กัน อุบัติเหตุก็จะไม่เกิดครับ”
70
คุณสมประสงค์ พาณิชกุล พนักงานขับรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT
“ผมคิดว่า การมีรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT เป็น ประโยชน์สำหรับพี่น้องประชาชนที่ใช้รถโดยสารสาธารณะ เพราะสามารถเชื่อมต่อไปสู่รถไฟฟ้า BTS สถานีช่องนนทรีได้ อย่างรวดเร็วอีกด้วยครับ หลายท่านส่งเสียงบ่นมาว่า BRT ทำให้ช่องจราจรหายไป หนึ่งช่องทาง เส้นถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ซึ่งในแต่ละวัน มีปริมาณรถยนต์มากอยู่แล้วก็ยิ่งติดหนักเข้าไปใหญ่ เรื่องนี้ผมคิดว่า ความสำคัญของถนนเส้นนี้ที่ทะลุเชื่อม ไปยังถนนสายสำคัญๆ อีกหลายสายอาทิ สีลม, พระราม4, ทางด่วนพระราม4 , คลองเตย, สาทร ดังนั้นเมื่อมี BRT ผมไม่แปลกใจครับที่ ผู้ขับรถยนต์จะคิดไปได้ว่าน่าจะมาจาก เหตุนี้แหละ แต่ในความเป็นจริง แนวทางการแก้ไขปัญหาจราจรของ แยกนี้ จะต้องแก้ไขปัญหาตั้งแต่ทางด่วน พระราม 4 ถ้า รถยนต์สามารถขึ้นทางด่วนพระราม 4 ได้เร็วเท่าไร ก็จะระบาย รถได้มากขึ้นเท่านั้น แต่เหตุการณ์มักไม่เป็นเช่นนั้น รถจึงติด อย่างที่หลายท่านคิดแหละครับ ผมคิดว่าน่าจะมีช่วงโปรโมชั่น ให้คนหันมาใช้บริการ BRT กันเยอะๆ เป็นไปได้ไหมครับว่าจะมีการประชาสัมพันธ์ให้ เข้มข้นมากกว่านี้ ราคาค่าโดยสารต้องจูงใจ หรือควรจัด โปรโมชั่น ส่งเสริมการขายด้วยวิธีการจับสลากชิงโชค คนไทยชอบครับ”
ด.ต.ชาตรี พฤกสนันท์ ผบ.หมู่ งานจราจร สน.ยานนาวา
COVER STORY BRT Media
“ หนุนให้มีโฆษณา” “รถโดยสารด่วนพิเศษ BRT ช่วยอำนวยความสะดวก กับคนที่พักอาศัยและทำงานอยู่ย่านสาทร พระราม 3, ราชพฤกษ์ แต่ไม่ใช่ส่วนใหญ่ของคนกรุงเทพฯ ดิฉันยังไม่ แน่ใจว่าหมดยุคตั๋วฟรีแล้ว จะมีประชาชนไปใช้บริการอีกไหม เพราะเป็นคนกลุ่มเดียวกับคนที่ใช้บริการขสมก.เดิม และบาง ส่วนทิ้งรถเก๋งไว้ที่บ้าน ซึ่งคนกลุ่มหลังนี้ อาจหันกลับไปใช้ รถเก๋งเหมือนเดิมอีก ดิฉันคิดว่า BRT ไม่ได้แก้ไขปัญหาการจราจรแต่กลับเพิ่ม ปัญหาการจราจรบนถนนพระราม 3 - นราธิวาสราชนครินทร์ มากขึ้น จากเดิมถนนพระราม 3 ไม่เคยรถติด เพราะไม่มี ไฟแดง และมีสะพานข้ามทุกแยก แต่ปัจจุบันในช่วงเวลา เร่งด่วนเช้า และเย็นถึงค่ำรถติดมาก สำหรับในอนาคตหาก BRT จะทำสื่อโฆษณาซึ่งมีลักษณะ คล้ายๆ กับรถไฟฟ้า BTS ก็เห็นด้วยเพราะจะได้มีรายได้เข้า มาสนับสนุนส่งผลให้ค่าบริการ BRT ถูกลงได้ คนจะได้ใช้ บริการกันเยอะๆ ส่วนรูปแบบ ดิฉันอยากให้เป็นการโฆษณา สินค้ากับการเผยแพร่ข่าวสารของ กทม. ที่น่าสนใจจริงๆ เช่นโครงการใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์กับประชาชน ซึ่งในแต่ละ วันเราอาจจะไม่ได้รับทราบมาก่อน หากไม่ได้เปิดอ่านข่าวใน หน้ากทม. อาจจะเป็นการให้ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวท้องถิ่นใน ย่านเส้นทางที่ BRT ผ่านก็ได้ น่าสนใจดีค่ะ”
คุณปิยวรรณ อนันต์เวทยานนท์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท บ้านพีอาร์ จำกัด
ป้ายโฆษณาที่อาจสร้างรายได้ให้ BRT และช่วยลดภาระค่าโดยสารให้ผู้ใช้บริการ
สถานี BRT เมื่อมองจากมุมสูง พบการจราจรติดขัดในบางเส้นทาง
BRT Tip
15 กิโลเมตร 12 สถานี รถโดยสารด่วนพิเศษ BRT สายสาทร - ราชพฤกษ์ ที่ดำเนินการโดยกรุงเทพมหานคร (กทม.) เป็น BRT สายแรกของประเทศไทย ที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐ มนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 3 มกราคม 2550 โดยแนวเ ส้นทางเริ่มต้นบริเวณสถานีช่องนนทรีของรถไฟฟ้า BTS วิ่งไปตามถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ผ่านแยกถนนจันทร์ ผ่านแยกนราราม 3 เลี้ยวงขวาเข้าถนนพระรามที่ 3 ลอดใต้สะพานพระราม 9 เข้าสู่ถนนรัชดาภิเษก ขึ้นสะพานพระราม 3 ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ไปสิ้นสุดที่แยกถ นนรัชดาภิเษก - ถนนราชพฤกษ์ และวิ่งให้บริการในทิศทาง กลับกันรวมระยะทาง 15 กิโลเมตร จำนวน 12 สถานี
71
COVER STORY
BRT Media การเดินทางในเมืองใหญ่เกือบทุกเมือง ต้องมีการวางเรื่องผังเมือง ตาม ธรรมชาติของอาการการกระจุกตัวของประชากร ที่วิ่งเข้ามาหาความเจริญ หาโอกาสกับชีวิต เมื่อเมืองหลวง คือศูนย์รวมของทุกสิ่งในประเทศนั้นๆ กรุงเทพมหานคร ไม่ต่างออกไป แต่ดูเหมือนว่าการวางแผนแบบไทยๆ อาจสร้างความยุ่งยากให้คนกรุงอยู่ไม่น้อย ผังเมือง - โซนนิ่ง ระหว่างพื้นที่ ภาคธุรกิจ ย่านที่อยู่อาศัย อาจไม่ชัดเจน จึงมีผลพวงตามมาเรื่องการจราจร ที่ไขว้ ผูกโยง หมุน สวนกันไปมา จนกลายเป็นปัญหาการจราจรที่ยุ่งยาก มากขึ้นเป็นลำดับ ผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบรู้ดี ว่าเบื้องหน้าหากปล่อยตัว วางบนเส้นแห่ง ธรรมชาติ คงจะยุ่งยิ่งกว่าลิงแก้แหอวน การวางแผนจึงเป็นการรองรับปัญหา มากกว่าที่จะเสี่ยงไปวางแผนไว้ ก่อนล่วงหน้า หรือคิดทำเมื่อปัญหาเกิด ความคับคั่งของการจราจร รถรา วิ่งเต็มท้องถนนทุกช่อง ทุกเลน หาก นำรถทุ ก คั น มาต่ อ แถวเรี ย งกั น คาดกั น ว่ า ถนนในกรุ ง รองรั บ ไม่ เพี ย งพอ ล้นทะลักจึงเป็นที่มาของการจราจรที่ติดขัด วันนี้คนกรุงมีระบบขนส่งมวลชน ที่เดินทางไปด้วยกัน พร้อมกันเกิดขึ้น แล้ว 2 เส้นทาง คือ รถไฟฟ้า BTS และรถไฟใต้ดิน MRT แต่ยังไม่เพียงพอ กับปริมาณผู้โดยสารและเส้นทางต่างๆ ภาครัฐรู้ดี แม้จะมีแผนการเรื่อง รถไฟฟ้าอีก 12 สี ของเส้นทางที่จะรองรับ แต่ต้องใช้เวลาก่อสร้าง ไม่ต่ำ กว่า 3 ปีขึ้นไป ชีวิตของคนกรุง ขณะที่รอความสำเร็จ แล้วเสร็จของโครงการนี้ ย่อม ต้องการความบรรเทาปัญหาลงบ้าง โครงการรถประจำทางด่วนพิเศษ - Bus Rapid Transit หรือ BRT จึงเกิดขึ้น ข้อความสำคัญของโครงการนี้ คือ การบรรเทาปัญหาการจราจร ด้วยระบบขนส่งสาธารณะ BRT จึงเป็นช่องทางวิ่งแบบด่วน บนเส้นทางเฉพาะ ที่จัดทำขึ้นชิดขอบ เกาะกลางถนน วิ่งแบบไฟเขียวตลอดเส้นทาง ไม่ต้องรอติดสัญญาณไฟแดง จอดเฉพาะสถานีให้ผู้โดยสารขึ้น- ลง และแจ้งเวลาจากต้นทางถึงปลายทาง ไว้ชัดเจน เส้นทางแรกของ BRT คือ สายสาทร - ราชพฤกษ์ ระยะทางประมาณ 16.5 กิโลเมตร ระบุว่า ใช้เวลา 1 ชั่วโมง ถึงที่หมายปลายทาง (โปรดดูราย ละเอียดได้ใน Cover Story ประจำฉบับ)
บทคัดย่อ
ผู้บริหาร กทม. ค่อนข้างพอใจกับโครงการนี้ แม้จะต้องออกมาอธิบาย สร้างความเข้าใจกับคนกรุง อยู่บ้าง BRT จึงเป็นเสมือน “ตัวช่วย” ไปพลาง ระหว่างที่รอให้โครงการเส้นทางรถไฟฟ้าแล้วเสร็จ แต่จะยังคงให้บริการอีก ต่อไป หลังจากนั้นแล้วหรือไม่ คงต้องรอผลการประเมินกันอีกครั้ง จำนวนผู้ โดยสารราว 20,000 - 30,000 คน ต่ อ วั น ในขณะนี้ ที่ เปิ ด ทดลองวิ่ ง ตามเส้ นทางแรก เมื่ อ เดื อ นพฤษภาคม 2553 ที่ ผ่ า นมา จึ ง อี ก ประเภทของสื่อนอกบ้านที่งอกขึ้นมาใหม่น่าสนใจยิ่งนัก จากการสำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้บริการราว 645 คน หลังการเปิด ใช้ บ ริ ก ารทดลองวิ่ ง ไปแล้ ว พบคะแนนความพึ ง พอใจ อยู่ ในเกณฑ์ เฉลี่ ย 3.86 (จากคะแนนเต็ม 5) และพบว่าพวกเขาชอบใจที่สุด เรื่องการตรงเวลา ราคาที่ เหมาะสม สะดวก มี ป้ า ยบอกทิ ศ ทางดี และสิ่ ง ที่ อ ยากให้ มี คื อ ร้านค้าและห้องน้ำ ถอดระหั ส ดั ง กล่ า วแล้ ว คาดว่ า BRT จะเป็ น อี ก จุ ด หนึ่ ง ของการใช้ สื่อโฆษณา ที่เหมาะกับสินค้าและบริการ โดยควรมีข้อสังเกตว่า ควรเป็น งานสร้างสรรค์ ไม่เป็นมลพิษทางสายตา ไม่เข้าข่ายยัดเยียดกับผู้บริโภคมาก เกินควร เพราะเป็นข้อละเอียดอ่อนต่อบริการสาธารณะของ กทม.ยิ่งนัก BRT ยังเป็นเรื่องใหม่ ยังอาจจะเร็วเกินไปที่จะมองว่ามีผลลัพท์ อย่างไร กับงานสื่อโฆษณา โดยขณะนี้ต้องรอความชัดเจนของผู้บริหาร กทม.ว่าจะ กำหนดทิศทางไว้อย่างไร ข้อเลือกของการใช้สื่อโฆษณา ถูกวางไว้ อย่างน้อย 3 แนวทาง คือ แนวทางที่หนึ่ง การใช้เป็นสื่อเพื่อบริการสังคม เช่น เพื่อข้อมูลการท่องเที่ยว ประกาศทางราชการต่างๆ แนวทางที่ ส อง การใช้ ง านแบบมี บ ริ ก ารเพิ่ ม เติ ม เช่ น สำนั ก งาน ไปรษณีย์ แบงค์ บริการทำบัตรประชาชน แนวทางที่สาม เปิดโอกาสให้เอกชนมาร่วมงาน ในรูปแบบของงานการ โฆษณาเพื่อการพาณิชย์ แม้ ต้ อ งรอความชั ด เจน แต่ สื่ อ นอกบ้ า นของ BRT มี ค วามน่ า สนใจ ไม่น้อย ด้วยการเชื่อม ดึงผู้โดยสารต่อจากระบบของทั้งสองราย คือ BTS และ MRT ที่ใช้บริการกว่าห้าแสนคนต่อวัน คาถาสูตรเดิมบนเส้นทางใหม่นี้ ยังคงใช้การได้เสมอ “มีคนที่ไหน มีโฆษณาที่นั่น”
“ตัวช่วย ตัวใหม่”
72
21
คุณประพันธ์ อัศวอารี
กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน)
48
การบริหารจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติ เป็นเรื่องน่าห่วงใย ภายใน สภาวะของโลกทุนนิยม ซึ่งบัดนี้ มนุษย์ เริ่มหันกลับมาให้ความสำคัญ และ รู้ ส ำนึ ก แห่ ง ความรั บ ผิ ด ชอบบ้ า งแล้ ว เมื่ อ โดนธรรมชาติ “เอาคื น ” กั บ ภัยธรรมชาติที่นับวันจะรุนแรงขึ้น ทะเล ท้ อ งน้ ำ ภู ผ าและแร่ ธ าตุ ทั้ ง บนผิ ว ดิ น และใต้ ดิ น ล้ ว นเป็ น ทรัพยากรธรรมชาติ ที่มนุษย์คิดค้นมาสร้างความสะดวกสบายแก่ตนอย่าง มากมาย ในรอบหลายทศวรรษที่ผ่านมา “น้ ำ ” หนึ่ ง ในปั จ จั ย สำคั ญ แห่ ง การดำรงชี วิ ต ราบลุ่ ม แม่ น้ ำ มั ก เป็ น ศูนย์กลางแหล่งความเจริญ น้ำที่ใช้กิน ใช้อาบ จึงเป็นความสำคัญใกล้ตัว ที่ หลายคนอาจไม่รู้ค่า แต่วันใดน้ำไม่ไหลคุณจะรู้ว่าของใกล้ตัวมีค่ามากมาย เพียงใด
“ผมคิ ด ว่ า การบริ ห ารจั ด การ เรื่ อ งทรั พ ยากร น้ ำ ความยาก คื อ การ ประมาณการณ์ เรื่อง การจัดหาและความต้องการ ซึ่งไปผูกพันกับเรื่องเงิน ลงทุน รวมทั้งระยะเวลาในการก่อสร้าง และยังไม่นับรวมกับความแปร ปรวนของธรรมชาติ เช่น การที่ฝกตกไม่ตกต้องตามฤดูกาล ที่ ส ำคั ญ อี ก เรื่ อ ง ผมคิ ด ว่ า คนไทย ยั ง ไม่ มี ค วามพร้ อ มที่ จ ะรั บ มื อ เรื่ อ งความเปลี่ ย นแปลงของการจั ด การด้ า นการบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติ” คุณประพันธ์ อัศวอารี กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริ ษั ท จั ด การและพั ฒ นาทรั พ ยากรน้ ำ ภาคตะวั น ออก จำกั ด (มหาชน) Eastwater เปิดประเด็น เรื่องน้ำไว้น่าสนใจ เมื่อเขาเข้ามารับตำแหน่งนี้ เมื่อสามปีก่อน
“ทุกอย่างบริหาร จัดการได้”
49
แหล่งน้ำดิบที่ใช้ผลิตและส่งไปยังผู้บริโภค ผลิตน้ำจากน้ำดิบส่งไปสู่โรงงาน และครัวเรือน Eastwater จัดตั้งขึ้น ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อปี 2535 รับสัมปทาน การบริหารจัดการน้ำ จากการประปาส่วนภูมิภาค เป็นเวลา 30 ปี โดยมี พื้นที่หลัก อยู่ในเขตสามจังหวัด คือ ฉะเชิงเทรา ระยอง และชลบุรี รวมทั้ง มีบริษัทในเครือรับงานบริหารจัดการน้ำประปา อีก 9 จุด ได้แก่ เกาะล้าน เกาะสี ชั ง เกาะสมุ ย สั ต หี บ บางปะกง ฉะเชิ ง เทรา ระยอง บ่ อ วิ น และ นครสวรรค์
ทำธุรกิจที่ถนัด
เดิมหน่วยงานนี้มีการจัดโครงสร้างองค์กรเป็นธุรกิจหลัก และธุรกิจที่ เกี่ยวข้อง คือ น้ำดิบ น้ำดื่ม และการขนส่งทางท่อ เมื่อต้องมีการปรับตัว การเปลี่ ย นแปลงจึ ง ต้ อ งมี มุ ม มองจากผู้ บ ริ ห าร ที่ ต้ อ งจั ด กลุ่ ม ก้ อ นความ สำคัญของงานต่างๆได้อย่างคล่องตัว “ผมคิดว่าธุรกิจไหนที่เราไม่ถนัดต้องตัดทิ้ง ไม่งั้นจะเหมือนร่างกายที่ เลือดไหลออกไม่หยุด ผมจึงเสนอบอร์ดให้คงไว้เฉพาะธุรกิจที่เราถนัด และ เป็นธุรกิจหลักๆ เท่านั้น” จึงเป็นที่มาของการพิจารณายกเลิกบริษัทในเครือ ซึ่งทำธุรกิจน้ำดื่ม เป็นตู้หยอดเหรียญที่บริการน้ำสะอาดตามชุมชน หลายแห่ง และสามารถ ปิดบัญชีการขาดทุนออกมาได้ พบว่าในรอบปี 2552 ที่ผ่านมา Eastwater มีกำไรเพิ่มขึ้น แม้จะผ่าน ภาวะภัยแล้งมาแล้วก็ตาม ทั้งนี้เกิดจากนโยบายการปรับราคาขายน้ำดิบ ให้ สอดคล้องกับต้นทุนในการดำเนินการและการบริหารความต้องการของ ลูกค้า วันนี้ราคาขายน้ำดิบที่ส่งยังจุดต่างๆ จึงเป็นราคาเดียวกันที่ถ่วงน้ำหนัก แล้ว โดยใช้การขนส่งที่เดินทางเป็นวงรอบ ส่งถึงกันได้อย่างเต็มที่ ดังนั้นสินค้าหลักคือ น้ำดิบ ที่ส่งตรงไปยังโรงงานอุตสาหกรรม และ น้ำประปาที่ส่งขายให้กับการประปาส่วนภูมิภาค 50
ลงพื้นที่เข้าหาชุมชนช่วยจัดการเรื่องน้ำ รุกหาผู้บริโภค
โครงสร้างผู้บริโภคของ Eastwater แบ่งออกเป็น สองกลุ่มหลัก คือ ผู้บริโภคส่วนบุคคลและโรงงานอุตสาหกรรม มีสัดส่วน อยู่ที่ 12 : 88 “ในรอบสามปี ที่ ผ มเข้ า มาดู แ ล มี ก ารเปลี่ ย นโครงสร้ า งกลุ่ ม ลู ก ค้ า ผู้บริโภคส่วนบุคคล เพิ่มขึ้นมา เป็น 36:64 ผมวางกรอบไว้ว่า ในอีก 5 ปี ข้างหน้า ควรจะเป็น 50:50 เพื่อรองรับ การเติบโตของเมืองที่กระจายตัวออกไปจากเมือง สู่พื้นที่ต่างๆ หลายจุด” นอกจากนี้ ยังมีนโยบายในการวางแผนทำงานคู่ขนานไปกับการเติบโต ของเมือง เช่น ความต้องการของผู้ประกอบการ ตั้งแต่เริ่มโครงการ โดยไม่ ต้องรอให้พวกเขาเดินมาบอกหลังจากที่งานก่อสร้างแล้วเสร็จ เรื่องนี้จึง เป็นการรุกเข้าลูกค้า แล้วนำมาประเมินผล วางแผนงานได้อย่างรัดกุม “ผมเคยสงสัยว่าทำไมชาวบ้านชอบออกมาประท้วงกันจัง ทั้งที่รัฐบาล นำงบประมาณมาสร้างความเจริ ญ ให้ ตั ด ถนน น้ ำ ประปา ไฟฟ้ า แต่ พ อ ลงพื้นที่ ไปคลุกคลี ไปคุยกับพวกเขา ถึงเข้าใจว่า ความเจริญจะไปพร้อมกับ ปัญหาวิถีชีวิตของพวกเขา ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไปแล้ว
ปลูกป่ารักษาแหล่งน้ำ ผมจึงชวนทีมงานลงไปเยี่ยม ไปใช้ชีวิตอยู่กันพวกเขา เป็นโปรแกรม ที่หลายคนชอบมาก เป็นโฮมสเตย์ ช่วยชาวบ้านกรีดยาง ปลูกพืชผักผลไม้ ทำนาข้าว นากุ้ง ตอนนี้เราเข้าใจพวกเขาขึ้นเยอะมากแล้วครับ รวมทั้งพวก เขาก็เข้าใจพวกเราด้วยเช่นกัน”
CSR ยังคงเป็นเรื่องน้ำ
งานที่ ท ำได้ ถ นั ด และไม่ ต้ อ งเริ่ ม นั บ หนึ่ ง คื อ งานที่ ท ำอยู่ แ ล้ ว ทุ ก วั น โครงการ CSR ของค่ายนี้ จึงเป็นเรื่องน้ำ ได้แก่ ประปาชุมชน ถังดักไขมัน บ่อบำบัดน้ำเสียและการประหยัดน้ำ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ “น้ำ” จึงเป็นเรื่องห่วงใยที่หลาย คนหันมาสนใจอย่างจริงจัง “น้ำ” อาจไม่แตกต่างเรื่องการบริหารจัดการไปจากสินค้าอื่นๆ แต่เมื่อ “น้ำคือชีวิต” การบริหารจัดการย่อมต้องเข้มงวด บนความละเอียดอ่อน ของความเป็น “น้ำ” ด้วยเช่นกัน… .
คุณประพันธ์ อัศวอารี
กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน)
การศึกษา ศิลปศาสตร์บัณฑิต (รัฐศาสตร์) ภาคพิเศษ รุ่นที่ 3 คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง หลักสูตร Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ความสามารถพิเศษ ภาษาอั ง กฤษและภาษาจี น (จี นกลาง กวางตุ้ ง และ แต้จิ๋ว) ใช้งานได้ดี ทั้งการสื่อสาร การเขียนและการ แปล 51
คนหนุ่มมักมั่นใจกับความสามารถของพวกเขาเอง และรู้จักใช้จุดแข็ง มาทำงาน รวมทั้งการผนึกกำลังและแบ่งงานกันทำอย่างรู้หน้าที่ คุ ณนวมิ นทร์ สมานสิ น กรรมการผู้ จั ด การ บริ ษั ท ที ซี แอ็ ด เวอร์ ไทซิ่ง มีเดีย จำกัด หนุ่มวัย 33 ที่มั่นใจกับงานตรงหน้าของเขาเมื่อเกือบสาม ปีก่อน แม้เจ้าเก่าในตลาดจะเคยบอกว่า ธุรกิจนี้อาจจะก้าวถึงภาวะถดถอย แล้วก็ตาม “ตอนจบมาใหม่ๆ ผมเป็นลูกจ้างตามสูตรของเด็กไทยที่ถูกสอนมาแบบ นั้น แต่ผมโชคดีที่คุณแม่เป็นคนทันสมัย คอยให้กำลังใจ ชี้แนะ ทำให้ผมมี กำลังใจ เวลาที่จะต้องตัดสินใจในเส้นทางที่ต้องเลือกเดิน” หลังเป็นมืออาชีพ อยู่ในธุรกิจผลิตสื่อสิ่งพิมพ์รวมเวลา 5 ปี เขามอง เห็นช่องว่างของการทำงานที่น่าจะเชื่อมต่อกันได้ เพราะลูกค้ายังมีความ ต้องการ แต่ความติดขัดเรื่องระบบ จึงเป็นโอกาสอันดีที่เขาจะขอก้าวออกมา เป็นเถ้าแก่ได้เอง “ผมกับเพื่อนอีกคน - คุณมนัส วงษ์เนตร คุยกันแลกเปลี่ยนมุมมอง ความคิดเห็นที่คล้ายๆ กัน จึงวางแผนที่จะเปิดบริษัทร่วมกัน แบ่งงานกัน ทำตามที่ตัวเองถนัด” บริ ษั ท นี้ จึ ง เปิ ด ตั ว ขึ้ น ในปี 2551 รั บ ผลิ ต ชิ้ น งาน Inkjet ทั้ ง แบบ Indoor และOutdoor แม้ราคาเฉลี่ยต่อตารางเมตรที่ลดลง จากกลยุทธ์การ แข่งขันด้านราคาของผู้ประกอบการด้วยกันเอง จากหลักพันบาท เหลือเป็น หลักร้อยบาทต่อตารางเมตร ฐานลูกค้าเป็นงานการผลิตแบบจำนวนมากๆ กว่า 80% ของยอดขาย จึงช่วยให้ลดงานในรายละเอียด แล้วมุ่งดูแลคุณภาพงานพิมพ์ได้ใกล้ชิดขึ้น “ผมไม่ค่อยกลัวเพื่อนที่กดราคาเป็นโปรโมชั่น อย่างเขียนไว้หน้าร้านว่า ตารางเมตรละ 99 บาท แต่พอลงรายละเอียดอาจจะไม่รวมเจาะตาไก่ หรือ กำหนดขั้ นต่ ำ ของจำนวนการพิ ม พ์ หรื อ อื่ น ๆ แต่ ส ำหรั บ ผม การกำหนด ราคาเป็นการรวมเบ็ดเสร็จ ลูกค้าสบายใจได้ครับ” งานพิมพ์ที่รับจากลูกค้ากลุ่มออแกนไนซ์ งานอีเว้นท์ ยังมีปริมาณเกณฑ์ ที่ น่ า พอใจกั บ ยอดขาย เขาบอกด้ ว ยอาการคนหนุ่ ม ว่ า ไม่ อ ยากย่ ำ อยู่ กั บ ก๋วยเตี๋ยวชามเก่า จึงต้องหาอะไรใหม่ๆ มาเสนอลูกค้าอยู่เสมอ แหล่งการนำเข้าสินค้าของเขา คือจากประเทศจีน การเดินงานแสดง สินค้าในสามเมืองใหญ่ จึงจำเป็นมาก อย่าง เซินเจิ้น เซี่ยงไฮ้ กวางโจว และรู้ว่าการควบคุมคุณภาพ เป็นหัวใจสำคัญอีกจุด นอกเหนือจากราคาถูก ที่จูงใจเป็นบันไดขั้นแรกไปแล้ว สินค้าลำดับถัดมาจึงเป็นอุปกรณ์ เพื่อใช้ในงานการแสดงสินค้า เช่น บูธ ป้ายไฟและอื่นๆ จากนั้นก็นำมาประกอบกับงานพิมพ์ งานเทคโนโลยี แปลก ใหม่ ดัดแปลงให้เข้ากับธรรมชาติของสินค้าแต่ละประเภท “ในอี ก สอง - สามปี ข้ า งหน้ า พวกเราก็ ยั ง จะยั ง เกาะติ ด เทคโนโลยี อย่ า งเรื่ อ ง สื่ อ ประเภท ดิ จิ ต อล คิ ด สื่ อ ใหม่ แ ปลกให้ ลู ก ค้ า และยั ง วาง ตำแหน่งตัวเองให้เป็นผู้สนับสนุนที่ดี หมายถึงการเป็นผู้ผลิตชิ้นงาน - เป็น Supporter ที่ดีครับ”
“บุกเร็ว พักเร็ว”
คุณนวมินทร์ สมานสิน
52
“…ควมต้องการของลูกค้า เป็นเรื่องที่ต้องเก็บเกี่ยวมาได้ จากประสบการณ์จริง เพราะไม่มีตำราสอนไว้ แบบทุกบทแน่ๆ…” เทคโนโลยีแปลกใหม่ มีมานำเสนออยู่เสมอ มีสินค้าหลายแบบ หลายรุ่นให้ลูกค้าเลือกได้จุใจ ข้อเด่นของงานที่เขายอมรับว่าเก็บเกี่ยวมาจากยุคที่ยังทำงานเป็นมือ อาชีพ คือความต้องการของลูกค้าที่ต้องการงานที่รวดเร็ว บริการแบบครบ วงจร มีการสื่อสารระหว่างกันอย่างสม่ำเสมอ เหล่านี้จึงนำมาเป็นส่วนหนึ่ง ของการทำงาน อาทิ บริการเปิดรับชิ้นงานเพื่อการผลิตจากลูกค้า ตลอด 24 ชั่วโมง ทำงานเร็วมาก เพราะเวลาที่ลูกค้าต้องการมีพียงชั่วข้ามคืน วันรุ่ง ขึ้นก็ต้องส่งงานได้ทันที กระแสการรณรงค์สิ่งแวดล้อมมาแรง เขาเองก็เริ่มวางแผนงานเรื่องนี้ ไว้รองรับแล้ว เพียงแต่ต้องพิจารณาเรื่องราคาเข้ามาพิจารณาด้วย งานธุรกิจประเภทนี้ ต้องมีพนักงานที่มีฝีมือและใจรักในวิชาชีพนี้เป็น โจทย์ใหญ่ เพราะอาจจะต้องทำงานแบบไม่เป็นเวลา ไม่ว่าจะเป็นกลางวัน หรือกลางคืน พนักงานเกือบ 30 คน จึงอยู่กันแบบบรรยากาศ พี่ น้อง เพราะอายุ เฉลี่ยใกล้เคียงกับ “นาย” และเขามีการจัดโปรแกรมไปเที่ยวด้วยกันในทุก ปลายปี คนหนุ่มอย่างเขา ยังมีเส้นทางการทำงานอีกยาวไกล แต่ตัวเองวางแผน เลือกใช้วัสดุ เครื่องมือที่มีคุณภาพ พนักงานมีฝีมือ ไว้ว่าอยากจะเกษียณอายุ อยู่กับชีวิตเมื่อวัยไม่เกิน 50 ดูงานอย่างละเอียดทุกชิ้น นโยบายบุกเร็ว พักเร็ว กับคนรุ่นนี้ ดูจะเป็นเรื่องธรรมดามาก เพราะ ชีวิต คือชีวิต ที่ต้องมีทั้งบทพัก บททำงาน ที่ต้องสมดุลกันนั่นเอง
53
คลุกคลีกับวงการผลิตหนังโฆษณามากว่า 20 ปี ขอมาตอบคำถามประเภทเส้ นผมบังภูเขา กับงานโฆษณาที่ใ ครๆ ก็ทำได้ ให้ผมคิดเหรอ ขอคิดแรง คิดดัง หน่อยนะ…… รถเมล์ด่วน BRT เนี่ยนะ ผมว่าไอเดียสุดเริ่ด ขอชมว่าคิด ดีมั่กมาก แต่…ขาดการวางแผนที่รอบคอบ รัดกุม เหมือนจะ เร่งดันโครงการออกมา รีบร้อนไปหน่อย ตามสไตล์การบริหาร งานแบบราชการ อยากสร้างอะไรก็ทำๆออกมาเถอะ ผลจะ เป็ น ยั ง ไงค่ อ ยมาแก้ ปั ญ หาเฉพาะข้ า งหน้ า ใหม่ จะได้ จั ด งบ ประมาณได้อีก จัดงบบ่อย ก็อิ่มหมีพีมันกันได้บ่อย ฮา… ผมต้ อ งใช้ เ ส้ นทางนี้ อ ยู่ ทุ ก วั น คื อ เส้ นถนนนราธิ ว าสฯ มันเห็นชัดเจน การจราจรติดมากกกก... เพราะเสียช่องจราจร ไปหนึ่ ง ช่ อ ง เพื่ อ จั ด ให้ เฉพาะ BRT วิ่ ง ผมคาดเดาไม่ ได้ ว่ า ช่วงชั่วโมงเร่งด่วน เช้า - เย็น จะมีคนมาใช้บริการสักเท่าไหร่ ผมลอดสายตามองไป ช่ อ งจราจรของ BRT มั น โล่ ง มองเลยไปในรถมีคนนั่งแค่ 4 - 5 คน ผมว่าวันนี้มันไม่คุ้มค่า ที่จะต้องเสียช่องจราจรไปนะ ผมคิดว่าไม่ได้ช่วยแก้ปัญหาการ จราจร แต่ อ าจจะเป็ น การให้ ค วามสะดวกแก่ ค นที่ ต้ อ ง ใช้ บ ริ ก ารขนส่ ง มวลชน ซึ่ ง เปลี่ ย นจากรถเมล์ ม าใช้ BRT เท่านั้นเอง ส่วนเป้าหมายของ กทม.ที่จะให้คนรถเก๋ง ทิ้งรถแล้วมา ขึ้น BRT คงไม่ได้ผลหรอก ดูอย่าง BTS ก็ไม่ได้ช่วยให้การ จราจรบนถนนสุ ขุ ม วิ ท ดี ขึ้ น เลย จริ ง ไหม รถมั นก็ ยั ง คงติ ด เหมือนเดิม ผมว่านะ คนก็ยังอยากจะมีรถ อยากจะขับรถไปทำงานกัน ทั้ ง นั้ น หากคิ ด จะมี BRT ผมคิ ด ว่ า จั ด ให้ มี เ ส้ นทางวิ่ ง ใหม่ เป็นเฉพาะทาง ไม่มาแย่งทางใครไปเลยดีกว่า
สมชาย ชีวสุทธานนท์ กรรมการและประธานกรรมการบริหาร บริษัท แม็ทชิ่ง แม็กซิไมซ์ โซลูชั่น จำกัด (มหาชน) Somchai Cheewasutthanon Director and Chief Executive Director Matching StuMaximize Solution Plc. เท่าที่ผมมองๆ ไปนะ สถานีของ BRT เองก็ไม่ได้โดดเด่น อะไรเลย อาจจะดูใหญ่ขึ้น แต่มันก็ไม่ถึงขนาด BTS ถึงจะดูดี ขึ้นบ้าง แต่มันก็คือป้ายรถเมล์ ป้ายรถเมล์น่ะ เข้าใจไหม… ส่วนในอนาคตหากมีการขยายออกไปในเส้นทางต่างๆ มัน ก็อาจจะดีขึ้น แต่หากขยายเข้ามาในตัวเมือง ผมคิดว่าผมไม่ เห็นด้วย จะให้ดีต้องขยายเส้นทางออกไปนอกเมือง เพื่อขนคน เข้ามาในเมืองแล้วใช้บริการเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนที่มี อยู่แล้วน่าจะเวิร์คกว่าเยอะ ส่ ว นเรื่ อ งของการโฆษณา ตอบแบบจริ ง ใจมาก หวั ง ว่ า กทม. ยั ง จะเข้ า ใจ คนหน้ า เห…ย ปากหมาอย่ า งผม ผมว่ า ยังไม่น่าสนใจ แต่อาจจะมองพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาสได้บ้าง ด้วยราคาที่ ถูก มากมาก ยั่ว จนเจ้า ของสินค้ าทนไม่ไหว อดใจที่ จะมาลง โฆษณาไม่ได้ ไม่ต้องหวังรวย และคนทำสื่อไม่ต้องเสนอหน้า ไปประมูลล่ะ ประเดี๋ยวจะหนาวได้นะ สื่อที่ใช้เป็นสื่อเดิมหวือหวาขาอ่อนไม่ได้นะ คงติดระเบียบ ยุ่ บ ยั่ บ อย่ า งเก่ ง ก็ แ ค่ แ รปตั ว รถ มี AD หลั ง เบาะนั่ ง มีจอ LCD เหมือนๆ กับที่เห็นกันอยู่แล้วในรถแอร์ แต่มุกควายของผม ขอใช้มุมของการที่คนหมั่นใส้เยอะ นี่แหละ บางคนสองตาก็ไม่อยากมอง แต่ก็ไม่แน่นะ สายตา มีหมั่นใส้เยอะๆ อาจจะมองก็ได้ คือมองด้วยอาการหมั่นไส้น่ะ คุณเองก็เคยทำใช่ป่ะ… ถ้าราคาถูกจูงใจ อาจมีโฆษณาเข้ามา เยอะก็ได้ ใครจะไปรู้ล่ะ นอกจากพระเจ้า… โอ้… มายก๊อด… วันนี้ถ้าถามผม ผมก็ยังไม่ค่อยจะเห็นด้วยกับการเกิดขึ้น ของ BRT นะครับ...หมั่นไส้ BRT…
“หมั
54
วัสนัย ภคพงศ์พันธุ์ Vasanai Pakapongpan Group Account Director JWT Thailand
มุมมองนักการตลาด มุมมองเอเยนซี สมั ย นี้ ป้ า ยนิ่ ง ๆ เฉยๆ เปรี ย บเหมื อ นคนยื นนิ่ ง ไม่ พู ด ไม่ จ า จึ ง ขาด เสน่ห์ ไม่มีแรงดึงดูดใจ เท่าที่ควรจะเป็น บางครั้งดูเชยเฉิ่มไปซะนี่ มีวิธีเพิ่มลูกเล่นได้ไม่ยากนักนะครับ เช่น การนำจอภาพ LED มาใช้เป็น Billboard ทำให้มีการเคลื่อนไหว - Movement อย่างป้าย Mupi ริมถนนก็ มี Creative idea ที่นำเทคโนโลยีมาใช้ร่วม ทำให้น่าดูขึ้นใช่ไหมครับ เรื่องนี้ ลำดับแรกต้องดูความต้องการของลูกค้า ชนิดของสินค้า กลุ่ม เป้าหมาย จากนั้นจึงจะคิดวิธีการนำเสนอโฆษณาชิ้นนั้น สื่อนอกบ้านต้อง พิจารณาจากจุดที่มีผู้คนพลุกพล่าน จึงจะสะดุดสายตาและมีผลเรื่องการ เพิ่มจำนวนเรทติ้ง ยิ่งมากยิ่งดี และยิ่งคุ้ม โดยส่วนตัวแล้วผมมองว่าป้ายบิลบอร์ดของวันนี้มีจำนวนเยอะมากไป หน่อย โดยเฉพาะจุดที่เป็นไพร์ม เหมือนช่วงละครหลังข่าว ที่มีเรทติ้งมาก กว่าช่วงอื่นๆ ก็จะมีป้ายผุดขึ้นกันเยอะมาก ซ้อนๆ กันจนดูรกตา ดั ง นั้ น หากจะทำให้ ป้ า ยโฆษณาดู โดดเด่ นขึ้ น มาได้ ก็ ต้ อ งหาวิ ธี ก าร นำเสนอใหม่ ๆ นำเทคโนโลยี ต่ า งๆ มาใช้ ม ากขึ้ น เพื่ อ ดึ ง ดู ด สายตาด้ ว ย เทคโนโลยีที่น่าสนใจ ของแบบนี้ต้องเป็นงาน Creative ครับ ลูกค้าชอบใจ และเป็นการพัฒนา - สร้างความน่าสนใจในให้กับวงการสื่อนอกบ้านเพิ่ม ขึ้นอีกด้วยครับ...
“เน้นจุดแข็ง เพิ่มพลัง ด้วยเทคโนโลยี”
วัสนัย ภคพงศ์พันธุ์ Vasanai Pakapongpan Group Account Director ประวัติการทำงาน : Working Experience 2010 – Present Leo Burnett Bangkok 2009 - 2010 JWT 2004 - 2009 Creative Juice/Bangkok 2002 - 2004 JWT
55
เร็วๆ นี้คุณผู้อ่านคงพบเห็นข่าวของทางกรมสรรพากรจัด แคมเปญครั้งใหญ่ ที่ช่วยปลูกฝังจิตสำนึกให้เด็กไทย เมื่อโตขึ้น พวกเขาควรต้องไปเสียภาษีอย่างถูกต้อง งานนี้มีการจัดตั้ง สโมสรเสียภาษีเด็กดีทั่วไทย ภายใต้แนวคิด “เด็กทั่วไทยใส่ใจ หน้าที่ โตขึ้นเป็นคนดี เสียภาษีให้ชาติ” ผมอ่านข่าวนี้แล้วยังหวั่นๆ ว่าโครงการนี้จะสัมฤทธิ์ผล ไหม แม้เรารู้กันดีว่าเป็นหน้าที่ของพลเมืองทุกคน แต่ผมอยาก บอกกรมสรรพากรจังเลยว่า ถ้าปัจจัยแวดล้อมไม่เอื้อต่อการ ทำธุรกิจ คงไม่เกิดบรรยากาศสร้างแรงจูงใจให้บริษัทน้อยใหญ่ หันมาร่วมมือได้อย่างจริงจัง มีอีกชิ้นข่าวที่เป็นเรื่องเดียวกัน จากผลการสำรวจธุรกิจ นอกระบบที่หลีกเลี่ยงภาษี ระหว่างปี 1999 - 2007 ประเทศ ไทยมี สั ด ส่ ว นธุ ร กิ จ นอกระบบสู ง เป็ น อั นดั บ 7 ของโลก มี สัดส่วนถึง 57.2% ของ GDP ผมขอคัดนำมาเล่าให้ฟังเป็น 10 อันดับแรก ดังนี้ ลำดั ประเทศ % ของ GDP มูลค่า (ล้าน US$) บ 1 จอร์เจีย 72.5 2.03 หมื่น 2 โบลิเวีย 70.7 4.5 หมื่น อาเซอบายจัน 69.6 8.6 หมื่น 3 เปรู 66.3 2.53 แสน 4 แทนซาเนีย 63.0 5.8 หมื่น 5 6 ยูเครน 58.1 2.94 แสน 7 ไทย 57.2 5.39 แสน ซิมบับเว่ 56.1 332 ล้าน 8 อุรุกวัย 56.0 4.45 หมื่น 9 กัวเตมาลา 55.0 6.92 หมื่น 10
ประเทศเพื่ อ นบ้ า นเราคื อ กั ม พู ช าและฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ติ ด อันดับ 12 และ 25 ส่วนประเทศที่มีธุรกิจนอกระบบน้อยที่สุด คือ สหรัฐอเมริกา ประมาณ 9.0% ของ GDP เห็นผลสำรวจออกมาแบบนี้ เห็นภาพใช่ไหมครับว่า ล้วน เป็นประเทศที่กำลังพัฒนาและด้อยพัฒนา แทบทั้งนั้น และ น่าใจหายว่า ประเทศไทย ติดอันดับกับเขาซะด้วย ที่ผมพูด แบบนี้ไม่ได้มีเจตนาว่าจะไปพาดพิงหรือโทษสรรพากร เพราะ ตัวเลขมันฟ้องว่า กรมสรรพากรจัดเก็บรายได้จากฐานภาษี เป็ น การกระจุ ก ตั ว อยู่ ใ นกลุ่ ม มนุ ษ ย์ เ งิ น เดื อ น และกลุ่ ม นิติบุคคลที่กระทำถูกต้องตามกฏหมายเท่านั้น ด้วยอัตราภาษี 30% ภาพนี้ ก ำลั ง บอกเราว่ า บริ ษั ท ดี ๆ เป็ น ผู้ ต้ อ งจ่ า ยภาษี แทนคนส่วนใหญ่ของประเทศ ผมคิดว่า อีกมุมที่น่าจะช่วยละลายการหลบเลี่ยงภาษี คือ การลดภาระภาษี เพื่อทำให้ธุรกิจนอกระบบลดลง รวมถึงควร ผ่อนคลายความเข้มงวดในการกำกับดูแลธุรกิจลง นี่แหละครับ จึงเป็นคำถามของผมว่าแคมเปญนี้จะบรรลุ ผลได้ดีเพียงใด ไม่ง่ายครับ เพราะถ้าระบบการจัดเก็บอัตรา ภาษีเป็นอย่างนี้ ต่อไปคนรุ่นใหม่ก็จะออกนอกระบบเหมือนคน ส่วนใหญ่ในขณะนี้เช่นกัน ยิ่งสรรพากรออกมาพูดว่าจะเก็บ ภาษีมากขึ้น ผมว่าคนยิ่งหนีภาษีมากขึ้นมากกว่าเดิมซะอีก ในความคิดเห็นของผม การจะดึงคนเข้าระบบเสียภาษีให้ ถูกต้อง รวมทั้งมาตราการกระตุ้นส่งเสริมให้คนเสียภาษี เช่น - ออกกฎหมายลดหย่อนโทษให้การหนีภาษีที่ผ่านมา - ลดหย่อนภาษีให้กับบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์ฯ - ลดอัตราการเสียภาษีจาก 30% ลงเหลือ 20 - 25% เหมือนประเทศเพื่อนบ้านเราจะดีกว่า - ฯลฯ แบบนี้เราพอจะจะมองเห็นแสงสว่างที่ปลายอุโมงค์กันได้ นะครับ เพราะไม่อย่างนั้นเท่ากับเป็นการสนับสนุนให้คนผิดทำ ถูกต่อไป คนที่เสียภาษีอย่างถูกต้องกลายเป็นคนโง่เขลาที่ไม่รู้ จักซิกแซกในสายตาของคนหนีภาษีอยู่ร่ำไป คนหนีภาษีมีกลยุทธ์ ในทุกรูปแบบที่จะหลบเลี่ยง แต่คนที่ ทำถูกต้องตามกฎหมายมีเหตุผลเพียงข้อเดียว คือเราเสียภาษี เพื่อประเทศอันเป็นที่รัก และทำหน้าที่เป็นบริษัทที่ดีของสังคม ไทย... เหตุ แ ละผล ช่ า งดู อั บ เฉา สั ง คมเลวเพราะคนดี ท้ อ แท้ ครับ…
“ปลุกฝังเด็กไทย โตขึ้นต้องไปเสียภาษี…”
ที่มา : ASTVผู้จัดการออนไลน์ ข่าวนโยบาย
56
สุทธิชัย เอี่ยมเจริญยิ่ง ประธานเครือข่ายธุรกิจเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม Suthichai Eamcharoenying President, Social Venture Network ในช่วงเดือนที่ผ่านมา เป็นคิวการเดินทางไกลของผมครับ หลายประเทศจนรู้สึกคิดถึงบ้านเหมือนกันนะ การเดินทาง เป็นการเปิดหน้าต่างบานใหญ่ให้เห็นความเป็นไปของชาวโลก การเดินทางจึงทำให้เราได้เรียนรู้อะไรได้อย่างรวดเร็ว และเปิด แนวคิดได้อย่างระมัดระวัง รู้เขา รู้เรา ได้ดีมาก ในเวลาไล่ เ ลี่ ย กั น ผมมี โอกาสได้ ยื น พู ด ให้ ตั ว แทนจาก หอการค้ายุโรป ในประเทศไทย 7 ประเทศฟังกัน เป็นการแลก เปลี่ยนมุมมอง แนวคิดระหว่างกันครับ เขาจัดงานร่วมกันใน หัวข้อเกี่ยวกับ CSR IN PRACTICE ผู้ฟังประกอบไปด้วย ผู้บริหารงานของบริษัทในยุโรปที่มาตั้งฐานผลิตหรือดำเนิน ธุรกิจในประเทศไทย ประมาณ 40 - 50 บริษัท บริษัทเหล่านี้ ส่วนใหญ่รู้จัก CSR กันในระดับหนึ่งแล้ว แต่มีความสนใจที่ จะใช้แนวคิด CSR ในการปฏิบัติให้สอดคล้องกับวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมของไทย ในห้องของวันนั้นผู้ฟังส่วนใหญ่เป็นระดับบริหารไปจนถึง CEO ของบริษัท เมื่อการบรรยายจบลงผู้ฟังเหล่านี้จะมีคำถาม ที่แหลมคม เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติอย่างแท้จริง แม้เมื่อเสร็จสิ้น แล้วยังมีคำถามต่อเนื่องหลังเวทีอีกนับสิบคำถาม ผมมีความ สุ ข ที่ จ ะแลกเปลี่ ย น และมองเห็ น ว่ า นั ก ธุ ร กิ จ เหล่ า นี้ แหละ จะช่ ว ยสร้ า งบรรทั ด ฐานที่ ดี ใ นการทำธุ ร กิ จ ด้ ว ยจิ ต สำนึ ก อย่างแท้จริง ไม่เพียงแต่ปฏิบัติตามกฏหมายเท่านั้น เพราะนั่น หมายถึง อะไรที่มากกว่ากฏระเบียบอีกมาก
หมดยุคการทำกำไรสูงสุด ถึงยุคแบ่งปัน สร้างสังคมน่าอยู่ร่วมกัน สิ่งที่ผมพบ คือเป็นความแตกต่างที่ชัดเจนมาก กับการ ใส่ใจของอีกหลายเวทีที่ผมไปบรรยายเรื่อง CSR ซึ่งจัดโดย บริษัทในประเทศไทยเอง เริ่มตั้งแต่ผู้เข้าร่วมสัมมนา บริษัท ของไทยมักส่งแต่เจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการ เพื่อเรียนรู้เทคนิค การปฏิบัติ ซึ่งก็เป็นส่วนดีอยู่บ้าง แต่ที่สำคัญกว่าคือ การมา แลกเปลี่ยนความคิด, การนำความคิด ไปต่อยอดหรือปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ให้เข้ากับสภาพของวัฒนธรรมองค์กร จึงจะได้ ประโยชน์และมีประสิทธิภาพอย่างแท้จริง อีกประเด็นหนึ่งที่เป็นหัวใจสำคัญ คือความใส่ใจของ ผู้บริหารระดับสูง ที่สนใจนำแนวคิด CSR นำไปสู่การปฏิบัติ บุคคลในระดับนี้มักมีประสบการณ์ในการทำงานมามาก และมี ความคิด กว้ างไกล การได้ไตร่ ตรองจากแนวความคิ ดสู่ การ ปฏิบัติ จะทำให้ CSR ขององค์กรเหล่านั้น มีประสิทธิภาพ และความยั่งยืน ในการเติบโตขององค์กรด้วย ไม่ใช่การสร้าง ภาพพจน์ของบริษัทโดย CSR หรือเป็นการปฏิบัติ CSR แบบ เป็นภาระเพื่อให้หมดหน้าที่ ไปในแต่ละปี ความเหมื อ นในการปฏิ บั ติ CSR เป็ นความต่ า งอย่ า ง สิ้ น เชิ ง จากการตั้ ง ใจปฏิ บั ติ ห รื อ ไม่ ตั้ ง ใจที่ ส ำคั ญ ใช้ ง บ ประมาณไม่ ต่ า งกั น หรอกครั บ แต่ สิ่ ง ที่ สั ม ผั ส ได้ คื อ จิ ต วิญญาณ ที่แท้จริง ที่จะเกาะติดไปยังตัวตนของทุกคนต่างหาก ล่ะครับ ตราบใดที่คนตัวโตไม่ลงมาเล่นเอง งานนั้นจะให้ใหญ่ โตตามขนาดได้อย่างไร ถึงเวลาหรือยังครับ ที่ผู้บริหารระดับสูงจะกระโจนลงมา มองเห็นความสำคัญด้วยตัวของท่านเอง เรื่องแบบนี้ต้องใช้ เวลาสะสมแต้ ม นะครั บ เหมื อ นกาลเวลาที่ ต้ อ งพิ สู จ น์ ค น นั่นแหละครับ.
“คนตัวโต เล่นเอง”
57
หมดยุคการทำกำไรสูงสุด ถึงยุคแบ่งปัน สร้างสังคมน่าอยู่ร่วมกัน
การมีโครงการกิจกรรมเพื่อสังคม ทำได้หลายรูปแบบ ทั้งแบบที่ส่งถึงมือ กันแบบสำเร็จรูป, แบบที่ต้องไปลงมือทำงานหรือแบบเจอกันครึ่งทาง หลายคนเห็นด้วยกับการ ควรที่จะมอบ “เครื่องมือ” ให้พวกเขา เพราะ จะเป็นการฝึกปรือติดตัวไปตลอด ที ม งาน มี โอกาสติ ด ตามคณะไปดู ง านกิ จ กรรมประเภทนี้ ที่ โรงเรี ย น ตำรวจตระเวนชายแดนบ้ า นถ้ ำ หิ น อำเภอสวนผึ้ ง จั ง หวั ด ราชบุ รี มีบรรยากาศน่ารักๆ ที่นั่น นำมาเล่าสู่กันฟัง โรงเรียนนี้ ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 2527 ด้วยการบริจาคที่ดิน จำนวน 15 ไร่ จากนายเกิด กลั่นผักแว่น ชื่อเดิมว่าโรงเรียนมหาจักร ต่อมาจึงโอนมาอยู่ใน ความดูแลของกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดน ภาค 1 สำนักงาน ตำรวจแห่งชาติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จมาเยี่ยมแล้ว 3 ครั้ง เปิ ด สอน ตั้ ง แต่ ชั้ น ปฐมวั ย ถึ ง ชั้ น ประถม 6 รวม 149 คน มี ค รู เป็ น ตำรวจชายแดน ทำหน้าที่สอนเด็กๆ 7 คน ความน่ารักเกิดขึ้นกับพื้นที่นี้ เมื่อปี 2543 โรงเรียนมีโครงการเลี้ยงไก่ไข่ จึงได้รับการบริจาคแม่ไก่สาว จำนวน 150 ตัว จากมูลนิธิพัฒนาชนบท รวม ทั้ ง ได้ รั บ บริ จ าคอาหารสำหรั บ เลี้ ย งไก่ ต ลอดระยะเวลาของการเก็ บ ไข่ นานเป็นเวลา 13 เดือน เด็ ก ๆ ตื่ น เต้ น กั น มาก มี ก ารจั ด คิ ว การให้ อ าหาร การเก็ บ ไข่ การ ตรวจนับ การขาย การเก็บเงินลงบัญชี และยังมีอีกส่วนที่นำไข่มาทำอาหาร กลางวันมื้ออร่อยอีกด้วย เมื่อจบครบของแม่ไก่ชุดแรก ทางโรงเรียนมีเงินคงเหลือ เกือบแปด หมื่นบาท กลายเป็นเงินลงทุนของงวดต่อๆมา วันนี้แม่ไก่ที่พวกเขาเลี้ยง เป็นรุ่นที่ 9 และมีเงินกองทุนสะสมกว่าสอง แสนบาท ครูใหญ่เล่าว่า ปีที่เจอไข้หวัดนกระบาด - 2547 ต้องกำจัดไก่ไปทั้ง เล้า และต้องหยุดเลี้ยงพักกรงไปนานเป็นปี เป็นที่น่าดีใจว่าเด็กๆ บางคน นำวิชาเลี้ยงไก่ติดตัวไปประกอบอาชีพ หลังจบจากโรงเรียนไปแล้วก็มี กิ จ กรรมที่ เห็ น ผล ในวั น นี้ แ ละวางรากฐานที่ ดี สู่ อ นาคต ย่ อ มดี กั บ มนุ ษ ย์ ช าติ เพราะเครื่ อ งมื อ ในมื อ “คนขยั น ” มั ก จะทำงานได้ แบบไม่ มี อุปสรรคใดๆ…
“สร้างงานและอาชีพ”
โรงเรียนนี้สอนทั้งวิชาการ และวิชาชีพ
บริเวณพื้นที่เกษตรภายในโรงเรียน
พื้นที่เพาะปลูกโครงการเกษตร เพื่ออาหารกลางวัน
58
ฟาร์มเลี้ยงไก่ขนาดย่อม ให้เด็กๆ ฝึกปรือประสบการณ์นำไปประกอบ เป็นอาชีพได้
อาหารกลางวันมีกินทุกมื้อ ผลผลิตจากไก่ที่ช่วยกันเลี้ยง และผักที่ร่วมกันปลูก
59
สุชาดา อิทธิจารุกุล ผู้ว่าการภาค 3350 โรตารีสากล ปี 2553 – 54 Suchada Ithijarukul District Governor 3350 R.I. 2010 การสัมมนาที่สนุกสนาน มีสาระ กระชับมิตร ปีบริหารของโรตารีเดินผ่านไปแล้วราวเกือบสามเดือน นั่นหมายถึงท่าน นายกฯ ทุกท่าน ทำงานมาแล้วเกือบสามเดือน หากจำลองการบริหารงานขององค์กรโรตารี ดิฉันคิดว่าคงคล้ายๆ กับ องค์ ก รธุ ร กิ จ ที่ ต้ อ งมี ก ารกระตุ้ น พละกำลั ง กั น อยู่ บ่ อ ยๆ และหากจะให้ แน่นแฟ้น ต้องไปทำกิจกรรมกันนอกสถานที่ งานนี้จึงช่วยทำให้การท่อง เที่ยวคึกคักไปด้วย ดิฉันขอขอบคุณท่านอดีตผู้ว่าการภาควุฒิชัย หวั่งหลี ที่กรุณารับหน้าที่ เป็นประธานจัดงานนัดพบนายกสโมสรครั้งที่ 1 และมีการเปิดโต๊ะสัมมนา เรื่องงานการประชาสัมพันธ์ และสมาชิกภาพ ในคราวเดียวกันด้วยค่ะ สมาชิกเกือบสองร้อยท่านมาพบกัน แลกเปลี่ยนกันสนุกสนานและมี สาระ เพื่อกระชับมิตร กลุ่มนายกสโมสร เขารวมกลุ่มกันนั่งรถโค้ชคุยกันไป แลกเปลี่ยนสนับสนุนกิจกรรมกันไปตลอดทาง นี่แหละค่ะเป็นแนวทางที่ช่วย สร้างมิตรภาพระหว่างกันได้อย่างแยบยล ปลายทางคือจังหวัดลพบุรี ใช้เวลาเพียงชั่วโมงครึ่งก็ถึง สโมสรเจ้าภาพ คือพระนารายณ์ลพบุรี ให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น อาหารว่าง อาหารกลางวัน อร่อยที่มีเพื่อนนั่งทานด้วย ท่ามกลางมวล มิตรสมาชิกที่ทำให้โรงแรมคับแคบไปถนัดตา ทั้งสองห้องของการพูดคุยกัน กับวิทยากรระดับภาค ผู้มากฝีมือ รับรอง ว่าแม้ยามบ่ายก็ไม่มีอาการง่วง เพราะเป็น Workshop ที่ต้องระดมสมอง กันอยู่ตลอดเวลา เป็นเรื่องน่าแปลกว่า โลกแห่งความรู้ของโรตารีมีมากมาย เรียนรู้ได้ไม่รู้ จบจริงๆ สองเรื่องที่คุยกันหนักๆ คือเรื่องสมาชิกภาพ ซึ่งต้องเข้มแข็งทั้ง จิตใจและเข้มข้นในอุดมการณ์ เป็นเรื่องน่าดีใจว่า สมาชิกของเรา มี DNA ของโรตารี เขาไปในสายเลือดไปแล้ว อีกเรื่อง คืองานประชาสัมพันธ์ เป็นเรื่องง่ายๆ ใกล้ตัวมาก หมายถึง
คุณสุชาดา อิทธิจารุกุล ผู้ว่าการภาค 3350 โรตารีสากล ปี 2553 – 54 Suchada Ithijarukul District Governor 3350 R.I. 2010
“ความสุขกำลังจะเริ่มต้น” “The Beginning of Happiness”
60
อผภ.วุฒิชัย หวั่งหลี
ทำอะไรก็บอกเพื่อน เพื่อนในสโมสร เพื่อน ต่างสโมสร เพื่อนๆ ในกลุ่มก้อนต่างๆ อย่า คิ ด ว่ า เป็ น การสร้ า งหน้ า ตา แต่ เป็ น ความ จำเป็ นที่ เราต้ อ งการ ความมี ส่ ว นร่ ว มจาก เพื่อนๆ เวลามีงานบุญก็บอกบุญกันนั่นแหละ ค่ะ ทุกท่านพกกำลังใจกลับไปทำงานบำเพ็ญ ประโยชน์ ตามแผนงานของแต่ ล ะสโมสร ความสุขของพวกเรา คือ “การให้” งานเพิ่ง จะเริ่ม ความสุขกำลังเริ่มเบ่งบานค่ะ…
Three months of Rotary year already passed, that mean the same club’s presidents on their duty. If we compared Rotary administration and business firm work, I think it quite similar due to dealing with solidarity and unity. However, I would like to say thank you to PDG. Wutthichai Wang-Li, who take duty of head of the 1st club’s president meeting seminar, about public relation and membership. In this event, more than 200 members have a lot of activities such as friendship activity, rotary club discussion, charity activity and so on. This participation surprisingly creates friendship force between our rotary club members. Our seminar venue was hosted by the Rotary Club of PraNarai Lopburi, in Lopburi province. Host gave warmly welcome for our members. There were two seminars sections which focus on memberships and public-relationships. Seminar had fully motivation atmosphere due to group discussion and brainstorming between participants and professional lecturer include workshop. In conclusion, to begin with membership, understanding into the way of Rotary. Pleasantly, our rotary members have strongly understanding in the way of Rotary both of physicality and mentality. By the way, in part of public - relationship. Finally, our members go back to their club with a lot of moral support for our charity work according to club plan. “Our happiness is charity – Our jobs just start – Our happiness is being bloom.” The English text is be translate by Rtn.Dr.Pongtana Vanichkobchinda
รศ.อรุณีประภา หอมเศรษฐี รองผู้อำนวยการ สำนักงานจัดหารายได้ สภากาชาดไทย ASSOC PROF.Aruneeprabha Homsettee เราช่วยกาชาด... กาชาดช่วยเรา Deputy Director fund raising bureau The Thai Red Cross Society “…ความสุขที่ยิ่งใหญ่มากของมนุษย์ คือการให้ โลกจึงจะสมดุล และอยู่ร่วมกันอย่างผาสุข…” สภากาชาดไทย ยังคงไว้ซึ่งคำขวัญว่า “เราช่วยกาชาด กาชาดช่วยเรา” ผู้ใหญ่ หรือเด็กๆ ก็มีโอกาสได้รับความช่วยเหลือจากกาชาดได้ทั้งนั้นค่ะ อย่ า งเด็ ก ๆ ก็ จ ะมี มู ล นิ ธิ ช่ ว ยดู แ ล ดิ ฉั น ขอเล่ า ภาระกิ จ ของ สภากาชาดไทย ที่เข้าไปโอบอุ้มเด็กๆ หลายหน่วยงาน ซึ่งจะมีงานแยกย่อย ลงไปอีกหลายจุด ขอเริ่ ม กั น ที่ ห น่ ว ยงานที่ คุ้ น เคยกั น ก่ อ น คื อ มู ล นิ ธิ ส งเคราะห์ เ ด็ ก สภากาชาดไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2497 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานพระราชทรั พ ย์ ซึ่ ง เป็ น รายได้ จ ากการฉายภาพยนตร์ ส่ ว น พระองค์ ที่ศาลาเฉลิมกรุงจำนวนเงิน 720,200.50 บาท ให้โรงพยาบาล จุฬาลงกรณ์ใช้เป็นทุนประเดิมในการก่อสร้างตึกวชิราลงกรณ์ เพื่อเป็นที่อยู่ อาศัยของเด็กกำพร้าอนาถา ในความอุปการะของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ปัจจุบันใช้ชื่อว่ามูลนิธิสงเคราะห์เด็ก สภากาชาดไทย สมเด็จพระเทพรัตน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เสด็จพระราชดำเนิน ณ มูลนิธิสงเคราะห์เด็ก ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงดำรงตำแหน่งเป็นองค์ประธานของ มูลนิธิฯ ภารกิ จ ที่ มู ล นิ ธิ นี้ ดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบอยู่ คื อ เลี้ ย งดู เด็ ก กำพร้ า , ติ ด ตาม ครอบครัวผู้ให้กำเนิด, ติดตามครอบครัวบุญธรรมของเด็กหลังการเป็นบุตร บุญธรรม และการจัดหาครอบครัวบุญธรรมให้กับเด็ก นอกจากนี้ยังมีศูนย์พัฒนาและเลี้ยงเด็กเฉลิมพระเกียรติ มูลนิธิฯ เริ่ม จั ด สวั ส ดิ ก ารรั บ เลี้ ย งดู บุ ต รของบุ ค ลากรสภากาชาดไทย ตั้ ง แต่ ปี 2537 เป็นต้นมา และมีการก่อสร้างอาคารชื่อ “อาคารเฉลิมพระเกียรติ” เพื่อแบ่ง เบาภาระของผู้ปกครอง เด็กๆ ปลอดภัยในบ้านหลังนี้ และเมื่อเกิดเหตุภัยพิบัติ การช่วยเหลือก็เกิดขึ้นทันที เช่น โครงการ ครอบครัวอุปถัมภ์ ให้กับเด็กกำพร้าที่ประสบภัยจากคลื่นสึนามิในภาคใต้, โครงการค่ายให้ความรู้และเพิ่มศักยภาพเด็ก เพื่อให้เด็กและเยาวชนตลอด จนผู้ปกครองที่ได้รับความช่วยเหลือจากโครงการครอบครัวอุปถัมภ์ ได้มี โอกาสทำกิจกรรมร่วมกัน หมู่บ้านเด็ก มูลนิธิสงเคราะห์เด็กของสภากาชาดไทย สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จัดสร้าง หมู่ บ้ า นเด็ ก เพื่ อ ให้ เป็ นที่ อ ยู่ ข องเด็ ก กำพร้ า ในความดู แ ลของมู ล นิ ธิ ฯ ใน สภาวะครอบครัวทดแทนตามพระราชเสาวนีย์ของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เพื่อให้เด็กกำพร้าได้ใช้ชีวิตตามขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมไทยภายใต้การดูแลของมูลนิธิฯ และได้พระราชทานที่ดินที่ ตำบลบ่อพลับ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ให้เป็นที่ตั้งของหมู่บ้านเด็ก งานของสภากาชาดไทย เป็นงานที่ดูแลประชาชนทุกกลุ่มของสังคม ดัง นั้นท่านผู้ใจบุญสามารถเลือกในสิ่งที่ท่านจะมีความสุข มีความสบายใจที่จะ บริจาค ให้ความช่วยเหลือสำหรับกลุ่มคนต่างๆ ในสังคมได้ดั่งใจที่อยากจะ เป็นผู้ “ให้” ครอบครัวที่รับเด็กๆ ไปอุปการะ เพราะความสุขที่ยิ่งใหญ่ของมนุษย์ คือ “การให้” จะกี่ชาติ กี่ภพ ก็ส่ง ให้ความรักและอนาคตที่ดีต่อไป ผลให้ท่านมีความสุขทุกชาติไป
“เด็กๆ และกาชาด”
61
“สงคราม” ไม่เกิดผลดีกับใคร ไอกรุ่นของความไม่เข้าใจกัน จนกลายเป็น “ข้อพิพาท” ระหว่างเพื่อนบ้าน และอาจบานปลายกลายเป็น “สงคราม” ซึ่งต้องเกิดมีการแพ้ การชนะ บนโลกใบนี้ สงคราม สะท้อนภาพว่า ต้องมีการเจ็บปวดกันทั้งสองฝ่าย แล้วใยจะต้องเดินไปให้ถึงจุดนั้นกันล่ะ OHM Entertainment ฉบับนี้ จึง ขอนำเสนอหนังสนุกที่สร้างขึ้นมาเพื่อต่อต้านสงคราม จาก 2 เรื่อง 2 เหตุการณ์ ติดตามกันได้ตามแต่ใจจะบัญชา…
Saving Private Ryan ผ่าสมรภูมินรก หนั ง เรื่ อ งนี้ ฉายไปแล้ ว เมื่ อ ปี 1998 เป็ น หนั ง ทำเงิ น สู ง สุ ด ประจำปี การั นตี คุ ณ ภาพด้ ว ย 5 รางวั ล ออสการ์ จาก ฝีมือกำกับของ สตีเว่น สปีลเบิร์ก เรื่องราวของเหตุการณ์ เปิด ฉากโดยการยกพลขึ้นบกของทหารอเมริกัน ในวันดีเดย์ ของ สงครามโลกครั้งที่ 2 ณ อ่าวนอมังร์ดี 15 นาทีแรกของการเปิด เรื่อง ยิงกันหูดับตับไหม้ จากนั้นเมื่อยึดแนวชายหาดได้ หน่วย ปฏิ บั ติ ก ารรบพิ เศษนำโดย ร้ อ ยเอกจอห์ น มิ ล เลอร์ (ทอม แฮ็งค์) รับภาระกิจนำเหล่าทหารเจาะหลังแนวข้าศึกเพื่อไปตาม หาพลทหาร เจมส์ ไรอัน (แม็ท เดม่อน) ผู้ที่พี่และ.น้องชาย สามคนเสียชีวิตในสมรภูมิรบ พวกเขาเผชิญกับเรื่องประหลาด และ.ความกังขาต่อคำสั่งในภารกิจนี้ ว่าทำไมชายแปดคนจึง ต้องเสี่ยงชีวิตเพื่อช่วยเหลือคนเพียงคนเดียว ทั้งที่พวกเขาก็ ต้องเอาชีวิตรอดจากสงครามอันโหดร้ายนี้ด้วยเช่นกัน
62
Tae guk gi เลือดเนื้อเพื่อฝัน วันสิ้นสงคราม
หนังเรื่องนี้สร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึง 50 ปี สงครามเกาหลี ออกฉายในปี 2004 เป็นหนังฟอร์มยักษ์ทุ่มทุนสร้างมหาศาล และทำรายได้สร้างสถิติหนังทำเงินสูงสุดของเกาหลีใต้ จากการ กำกับของ Kang Jegyu เรื่องราวในช่วงเริ่มต้นของสงคราม เกาหลี ฉายภาพความทุกข์ยากของประชาชนที่ได้รับจากภัย สงคราม สะท้อนผ่านทางสองพี่น้อง จินเต (แจง ดองกัน) และ น้องชาย จินซุก (วอน บิน) เมื่อน้องชายถูกเกณฑ์เป็นทหารเข้า สู่สมรภูมิ จินเตมองหาหนทางที่จะช่วยให้จินซุกได้กลับบ้านไป ใช้ชีวิตสงบสุขในแนวหลัง และคิดว่าการอาสาออกรบให้ได้ เหรียญกล้าหาญจะช่วยน้องชายเขาได้ จินเตจึงอาสารับภารกิจ เสี่ยงตายทุกครั้ง แต่กลับทำให้จินซุกมองพฤติกรรมบ้าเลือด ของพี่ ช ายตั ว เองด้ ว ยความเคลื อ บแคลงสั ง สั ย ว่ า เขาทำทุ ก อย่างเพื่อตัวเองหรือครอบครัวกันแน่น...
ราเชนทร์ ชุมสาย ณ อยุธยา ผู้ดำเนินรายการวิทยุ Rachain Chumsai na Ayudhaya Radio Announcer ขลุก... คลุก อยู่กับงานเพลงมากว่า 20 ปี ทั้งบนเวทีและหลังไมค์ rachain_J@yahoo.com สะสมแผ่นเสียง รู้จักเพลงยุค 70 80 90 เป็น “กูรู” หาตัวจับยากคนหนึ่ง ของวงการเพลงเมืองไทย หนึ่งในปัจจัยสี่ของมนุษย์คือ ผลไม้วางเรียงได้องค์ประกอบของความน่ากิน ไม่เยอะจนตาลาย มีโถปั่นสะอาด “อาหาร” เมื่อตอนเด็กๆ ผมจำได้ สะอ้ า น คนขายแต่ ง ตั ว ดี หน้ า ตาก็ ดี ด้ ว ย แต่ ง ตั ว แนวๆ ไปแสดงหนั ง หรื อ เล่ น ละครได้ ว่ า ครู ส อนให้ รั บ ประทานอาหาร สบายๆ อายุน่าจะยี่สิบต้นๆ เห็นมีลูกค้ามาอุดหนุนอย่างต่อเนื่อง วั น ละ 3 มื้ อ คื อ เช้ า กลางวั น ขณะที่คุยไป ผมหยิบเอ็มพีสามจ่อไป คนขายก็ขายไป ตาคนนี้ใจดีแฮะ ไม่แสดง เย็น นี่เป็นเรื่องของวิชาสุขศึกษา อาการรำคาญเลย เพราะผมบอกว่าจะขอสัมภาษณ์เอาไปออกอากาศรายการวิทยุ หลายท่านยังคงจำกันได้นะครับ แค่ขอน้ำกินซักอึกคนขายคงไม่ว่าเนอะ เผื่อดังขึ้นมาจะได้มีลูกค้ามาอุดหนุน แต่ ปั จ จุ บั น เวลาปลี่ ย น สิ่ ง ที่ เยอะๆ ร่ำเรียนมาในอดีตไม่เหมือนเดิมซะ อย่างน้อยก็น่าจะเป็นประโยชน์กับผู้ฟังที่สนใจรายได้พิเศษ หรืออยากมี แล้ว จะด้วยสายงานที่ไม่เหมือนชาว อาชีพเสริมหลังเลิกงาน ได้รู้กลยุทธ์ในการขาย บ้านชาวช่อง หรือเหตุผลอื่นใดก็ตาม ผมคุยไป คนขายก็ขายไป พอช่วงลูกค้าแน่นๆ ผมก็หยุดก่อน เดี๋ยวคนขาย ที มนุษย์หลายรายกินรวบมื้อเช้ากับ จะไม่มีสมาธิ เพราะต้องรับออเดอร์ ต้องทอนเงิน ต้องหั่นผลไม้ เดินไปตักน้ำแข็ง เที่ยงรวมเป็นมื้อเดียวกัน มื้อดึกกลาย บางคนก็สั่งหลายออเดอร์ สงสัยคงกำลังยุ่งจริงๆ “พี่ครับ แป๊บนึงนะ ออเดอร์เพียบ เป็นมื้อเย็น บางทีสามมื้อรวมเป็นมื้อ เดี๋ยวผมทำไม่ทัน” ผมก็เลยบอกไปว่า “ตามสบายน้อง” จากนั้นผมก็มองไปร้านติดๆ บ่ า ยก็ เคย กลั ว โรคกระเพาะถามหา กันเห็นขายทอดมันอยู่น่ากินเชียว เหมือนคนขายจะรู้แนว “ชิ้นละ 5 บาทครับ เหนียว เหมือนกันนะ นุ่มครับพี่ ปลากรายแท้ๆ กี่ชิ้นดีครับ” แหม! เชิญชวนขนาดนี้แล้ว อดใจได้ไง “6 ชิ้น แต่ ส ำหรั บ ผมมั ก จะมี อ าหาร ครับ ใส่น้ำจิ้มเลย ขอน้ำจิ้มเยอะๆ พี่ชอบ” อืมม…ของเค้าอร่อยจริงๆ ผมกินไปรอไป กินไปได้ซักสองชิ้น น้องร้านผลไม้ปั่นว่างพอดี “คุยต่อเลยมั๊ยครับพี่ ผมว่างแล้ว” ผม ระหว่ า งมื้ อ ที่ กิ น ไปกิ น มาจนอิ่ ม อยู่ บ่อยๆ อย่าง สาคูไส้หมู ขนมโตเกียว วางถุงทอดมัน แล้วสัมภาษณ์ต่อทันที คุยไปคุยมาชักคอแห้ง เลยบอกคนขาย “น้องขอ ก๋วยเตี๋ยวลุยสวน ขนมถังแตก ถ้า น้ำปั่นพี่แก้วนึง อะไรก็ได้ครับ” คนขายก็จัดการทันที ท่าทางทะมัดทะแมงดี แป๊บเดียว เบาๆ หน่อยก็ผลไม้ปั่น หรือน้ำผล ก็ได้กิน ค้าขายมันต้องอย่างนี้ครับ รวดเร็วไม่อืดอาด ไม่ใช่แก้วนึงรอครึ่งชั่วโมง อย่างงั้น ไม้ ร วมรสต่ า งๆ กิ น แล้ ว มั นชื่ น ใจ ปั่นไว้กินเองเหอะ อย่ามาขายเลย ลูกค้าหนีหมด ดีแท้ “ได้แล้วครับพี่ น้ำสับปะรดปั่นสูตรพิเศษ ช่วยเชียร์ให้ผมเยอะๆ นะครับ” ครั้งแรกที่ผมทำรายการแนวๆ สัมภาษณ์ “แหม! ลองให้ชิมสูตรพิเศษอย่างนี้ พี่เชียร์เต็มที่เลย...” ผมรับแก้วน้ำปั่นมา กะว่า หลากหลายอาชี พ ผมคิ ด ถึ ง ร้ า นน้ ำ ผลไม้ ปั่ น เดี๋ ย วค่ อ ยคุ ย ต่ อ จะลองสู ต รพิ เศษให้ อ ร่ อ ยลิ้ น ซะก่ อ น ไม่ ไ ด้ รี บ เร่ ง อะไรนั ก หนา เพราะชอบและอยู่ใกล้ที่ทำงาน วันนั้นขี้เกียจไป ที่ทำงานก็อยู่ใกล้ๆ แค่นี้เอง ไหนไกลๆ ด้ ว ยครั บ น้ ำ มะนาวโซดาปั่ น น้ ำ ผมดูดน้ำผลไม้ปั่นเข้าไปเต็มที่ กะเอาให้ชุ่มคอชื่นใจ “เหวอออ...ทำไมมันเผ็ดอย่างนี้ แอปเปิ้ลปั่น น้ำเชอรี่ปั่น น่ากินจริงๆ ว่าแล้วก็ ล่ะ” สับปะรดพันธุ์ไหนเนี่ย ผมเก็บอาการแล้วชำเลืองมองไปที่ถาดสับปะรดที่คนขายหั่นเรียงไว้สวยงาม หยิ บ เอ็ ม พี ส ามออกไปหาโลเกชั่ น ร้ า นแถวๆ ไม่ต่ำกว่าสิบลูก ใกล้ๆ กันมีถุงทอดมันที่ยังกินไม่หมด น้ำจิ้มค่อนถุงหกออกมาเกลี้ยงเลย อยู่บนถาด ที่ทำงาน เจาะสัมภาษณ์มาออกในรายการดีกว่า สับปะรด สงสัยคนขายก็ไม่ทันสังเกต ผมรีบร่ำลาพ่อค้าหนุ่มทันที “ไว้คุยกันใหม่นะน้อง พี่ไปก่อนนะ โอ้ โฮเฮะ!! เจอเป้ า หมายแล้ ว ครั บ อยู่ ไม่ ลืมไปว่ามีประชุม” ผมจ้ำพรวดๆ คนขายทำหน้างงๆ แต่เดี๋ยวซักพักน้องก็จะไม่งงอีกต่อไป อร่อยลิ้นดี ใกล้ไม่ไกล เค้าจัดหน้าร้านสวยงามทีเดียว นานา แท้ ฮ่าฮ่าฮ่า
“อร่อยลิ้น”
63
ชิมแล้วอร่อย จึงบอกเพื่อน จานเด็ด จานเดียว “…ฟองดูว์ เป็นอาหารจากเมืองหนาว พอมาถึงเมืองไทย ก็ปรับตัว ถูกใจจากน้ ำจิ้มที่ต้องมีเผ็ด และของสดที่เลือกได้…” “…Fondue is a Swiss communal dish shared at the table. Once brought into Thailand, the food and the ingredients of dipping sauce have changed and adapted to Thais…” บรรยากาศของ ร้ า น อ า ห า ร ที่ ดัดแปลงจากบ้านพัก ยังเป็นที่นิยม เพราะ มี ค ว า ม อ บ อุ่ น มี ค ว า ม เป็ นกั น เ อ ง บ ริ ก า ร ใ ก ล้ ชิ ด อาหารอร่อยเหมือน ทำจากครัวหลังบ้าน ราคาอาจจะแพงขึ้น นิดหน่อย แต่กินของ อ ร่ อ ย คุ ณ ภ า พ ดี คุณอี๊ด - อัจฉรา กรรณสูต ค ว า ม สุ ข ก็ กิ น ไ ด้ รอยยิ้มของแขกและครอบครัวที่ได้ แบบนี้แหละ ทานของอร่อยในร้าน เป็นกำลังใจให้ เ ม นู อ ร่ อ ย เธอและทีมงานเสมอ ป ร ะ จ ำ ฉ บั บ นี้ เป็ น อาหารสไตล์ ยุ โ รป ที่ มี ค วามเป็ น มาจากเมื อ งหนาว “สวิ ส เซอร์ แ ลนด์ ” พอมาถึ ง เมื อ งไทยก็ ป รั บ สู ต รตามถนั ด อาหารชาติไหนๆ เป็นถูกลิ้นคนไทยได้ทั้งนั้น ว่าไหมล่ะ ชุ ด นี้ เ ลื อ กโปรตี น ได้ 4 ประเภท แนะนำว่ า เป็ น ไก่ กุ้ ง ปลา แกะ ทานได้ 2 คน กระหนุ๋ ง กระหนิ ง กำลั ง เหมาะ เคล็ดลับความนุ่มของเนื้อ คือการหมักด้วยบรั่นดี แล้วรีบนำ เข้าตู้เย็น เก็บไว้ราว 24 ชั่วโมง ก่อนเสิร์ฟ หม้อกระทะทรงเล็ก ใส่น้ำมันรำข้าวคิง เสิร์ฟอีกจานเป็น ช่ อ งๆ ใส่ โปรตี น มาตามที่ เ ลื อ ก มี น้ ำ จิ้ ม 4 แบบ เคี ย งด้ ว ย ขนมปั ง กระเที ย ม สลั ด ผั ก สดโรยน้ ำ สลั ด ใสมาอี ก 2 ชุ ด จุ่มทอดพอสุก ร้อนๆ อุ่นๆ สนุกกับการลงมือทำกันเอง ราคาเมนูนี้ต่อสองคน 760 บาท “เหมือนเป็นดวงที่มาทำร้านอาหาร มีความสุขที่เห็นแขก ฟองดูว์ - ลวก ทอดสไตล์สวิสเซอร์แลนด์ อิ่มพอเหมาะสำหรับ 2 ท่านในราคา 760 บาท มากั น เป็ นครอบครั ว ทานของอร่ อ ย ดิ ฉั น และที ม งานตั้ ง ใจ หาวัตถุดิบคุณภาพมาปรุงให้สุดฝีมือค่ะ” คุ ณ อี๊ ด - อั จ ฉรา กรรณสู ต เจ้ า ของร้ า นอาหาร ที่ เปิ ด มาต่อเนื่องน่าจะเกินกว่า 20 ปีมาแล้ว และยังสนุกเรื่อยมา เพี ย งแต่ ต้ อ งปรั บ ตามโลกที่ เปลี่ ย นแปลง และรสนิ ย มของ คนรุ่นใหม่ ตามกันไปเป็นริ้วเดียวกัน อ ย า ก จ ะ ไป ชิ ม เม นู นี้ ให้ พ บ ค ว า ม สุ ข ด้ ว ย ตั ว เ อ ง พร้ อ มฟั ง เสี ย งดนตรี จ ากเปี ย นโนตั ว เขื่ อ ง ร้ า นนี้ อ ยู่ ในซอย พหลโยธิน 9 หรือโทร. ถามเส้นทางได้ที่ 02 279 4731
“ฟองดูว์”
ร้านร่มรื่น บรรยากาศอบอุ่นเป็นกันเอง มากันทั้งครอบครัวให้ความรู้สึกเหมือนนั่งทางอาหารที่บ้าน
64
“…เมนู เบเกอรี่อร่อยของร้านนี้ คือเค้กสตอบอรี่สด เสิร์ฟมาพร้ อมกับกาแฟเย็น ชื่นใจดีแท้ ที่ Sweet Cake อยู่ที่ @ Park Town in Town…” “… “Strawberry Cake” served with iced coffee @ “Sweet Cake” bakery located at Park Town in Town ,Bangkok…” สาวทำงานยุ ค นี้ ไม่ ง้ อ ที่ จ ะเดิ น ไปสมั ค รงานที่ ไ หนให้ กลัดกลุ้มใจ ลุ้นว่าจะรับเข้าเป็นพนักงานไหม… ชอบอะไรก็ทำสิ่งนั้นเป็นอาชีพได้ และเมื่อมีแรงหนุนจาก ครอบครัวก็ยิ่งมั่นใจไปโลด “รู้ว่าตัวเองชอบทำขนมตอนโตแล้วล่ะค่ะ สมัยเด็กๆ ช่วย คุณแม่ร่อนแป้ง ฝีมือขนมปังของคุณแม่อร่อยมาก พอจบจาก ครุฯ จุฬาฯ ไปสอนศิลปะและสอนเด็กๆ ร้องเพลง จั ง หวะตอนนี้ รู้ ข่ า วว่ า สถาบั น เลอ กอดองเบลอ ดุ สิ ต มาเปิ ด สาขาในเมื อ งไทย จึ ง ตั ด สิ น ใจไปเรี ย นจนจบคอร์ ส ใช้เวลา 9 เดือน จนได้เป็นนักเรียนดีเด่น มีคะแนนเป็นที่ 2 ของห้องเรียนเชียวนะคะ” คุณเอ็ม - อำไพพรรณ เตชะภูวภัทร เจ้าของร้านเบเกอรี่ ที่ชื่อเรียกง่าย จำง่ายว่า Sweet Cake เล่าให้ฟัง ว่าเธอเลือก ในสิ่งที่ชอบ และถนัดโดยมีเพื่อนของคุณแม่แนะนำจุดเปิด ร้านให้ หลังจากได้ชิมเค้กฝีมือเธอแล้วยืนยันว่าฝีมือเปิดร้าน ได้สบายๆ เค้กที่ร้านนี้อร่อยทุกชิ้น แต่เมนูแนะนำสำหรับวันนี้ คือ “เค้ ก สตอเบอรี่ ส ด” ความอร่ อ ยอยู่ ที่ ค วามนุ่ ม ของเนื้ อ เค้ ก เป็นแป้งชิฟฟ่อนเบาๆ นุ่มๆ ครีมเนื้อเบาจากนมสดสไตล์ญี่ปุ่น ใช้สตอบอรี่สด ทั้งลูกวางหน้าเค้ก และยังมีหล่นตัวอยู่ในเนื้อ เค้ก ซึ่งต้องมีเทคนิคพิเศษในการการเฉือนแบ่งแต่ละชิ้น ราคา 95 บาท เสิร์ฟมาพร้อมกับกาแฟเย็น ชงแบบเข้ม เติมนมสด เสิร์ฟ น้ำเชื่อม นิดหน่อย ใส่น้ำแข็งก้อนเล็ก ลงมือเชค เชค สัก 20 วินาที เย็นทั่วอณู ถูกใจคอกาแฟ แก้วนี้ขาย 115 บาท และ เธอแอบบอกว่าบิดา เป็นคนเลือกกาแฟยี่ห้อนี้เอง เพราะท่าน เค้กสตอเบอรรี่สด รสหวาน แป้งชิฟฟ่อนนุ่มลิ้น เสิร์ฟมาพร้อมกาแฟเย็นรสเข้ม นี่แหละของว่างที่ หลายคนถวิลหา เป็ นคอกาแฟตั ว จริ ง ชิ ม - ลองมาแล้ ว เกื อ บทุ ก ยี่ ห้ อ แล้ ว ลงมติว่า ยี่ห้อนี้แหละ เข้มข้น หอม ถูกใจลูกค้าแน่นอน ร้านนี้ - Sweet Cake อยู่ที่ @ Park Town in Town ย่านชุมชนที่มีทั้งออฟฟิศ และที่พักอาศัย ลูกค้าจึงชอบใจที่จะ แวะเข้ามาดื่มกาแฟภาคบ่าย หรือไม่ก็หลังอาหารเย็น เดิน ทอดน่องอ้อยอิ่งมาทานกาแฟกัน ความกระทัดรัดของร้านเล็ก ขนาด 25 ตารางเมตร เปิด 10 โมงเช้า ถึง 4 ทุ่ม จึงเป็นความอบอุ่นที่ลูกค้าหลายคนชอบ มาซุกตัวอยู่ที่นี่ กลายเป็นแฟนประจำกันไปแล้วนะ อ้อ…ลืมบอกไปว่าเจ้าของร้านนี้ เธอเคยเล่นหนังเขย่า หวานตั้งแต่หน้าร้านกันเลยทีเดียว คุณเอ็ม - อำไพพรรณ เตชะภูวภัทร ขวัญมาแล้ว “สวยลากไส้” หน้าตาคุ้นๆ คิดว่าเคยเจอเธอที่ สาวน้อยที่เลือกทำในสิ่งที่ชอบ และที่ใช่ ไหนมาก่อนก็เข้าไปทักทายได้ 65
“เค้กสตอบอรี่สด”
เปลี จากออฟฟิศ สัมผั่ยสนบรรยากาศ ไอดิน กลิ่นหญ้า ท้องฟ้า ทะเล น้ำตก (ตอนจบ) อนุสาวรีย์ Prince Albert, พระสวามีของ Queen Victoria ซึ่งอยู่ตรงข้าม Albert Hall ขอเล่าต่อจากฉบับที่แล้วนะคะ บรรยากาศฝนพรำของเมืองไทยอาจ ทำให้หลายคนที่เคยไปอังกฤษ คิดถึงวันคืนเดิมๆ และภาพชาวอังกฤษที่ต้อง พกร่มติดตัวอยู่ทุกวันที่ต้องเดินทางออกไปทำงานนอกบ้าน มาค่ะขยับมาเล่า ต่อกันเลยนะคะ เช้ า วั นที่ 6 ในเกาะอั ง กฤษ เป็ น โปรแกรมเยี่ ย มชม 2 จุ ด แรก คื อ เดอแรม (Durham Cathedral) และปราสาทเดอแรม (Durham Castle) ปัจจุบัน ถูกแปลงเป็นมหาวิทยาลัยเดอแรมที่ดังมากแห่งหนึ่งของอังกฤษ วันนั้นตรงกับวันสอบของนักศึกษา เขาจึงไม่อนุญาตให้เข้าชมด้านใน ได้แต่ ชื่นชมอยู่ภายนอกอาคารเท่านั้น 66
“ขับรถเที่ยว เกาะอังกฤษ”
รูปปั้น Prince Albert, พระสวามีของ Queen Victoria จุดต่อไปเป็นเมืองไรปอน (Ripon) ทางทิศเหนือของเขต Yorkshire ที่นี่ มีโบสถ์น้ำพุ (Fountains Abbey) ได้รับเลือกเป็นมรดกโลกจาก Unesco ทันเวลาที่ไกด์ท้องถิ่นวัยกว่า 60 บรรยายด้วยความคล่องแคล่วสนุกเชียล่ะ กลุ่มนี้เกือบ 20 คน คุณป้าเธอใช้เวลากว่าชั่วโมงพาชมภายในโบสถ์ โบสถ์ น้ ำ พุ แห่ ง นี้ ก่ อ ตั้ ง โดยพระ 13 รู ป ซึ่ ง อพยพมาจากเมื อ ง York คหบดีบริจาคที่ดิน 5 เอเคอร์ (2 ตารางกิโลเมตร) ให้มาสร้าง คล้ายบ้านเรา ที่ผู้มีอันจะกินบริจาคที่ดินสร้างวัดนั่นแหละค่ะ ที่ ดิ น ผื นนี้ เป็ นที่ ลุ่ ม ริ ม แม่ น้ ำ Skell แต่ ไม่ ส ามารถเพาะปลู ก พื ช ผล ทางการเกษตรได้ พระทั้ง 13 รูปได้ร่วมกับกรรมกรก่อสร้างโบสถ์แห่งนี้ขึ้น ในปี คศ.1132 และได้มีการก่อสร้างเพิ่มเติมเรื่อยมาจนกลายเป็นโบสถ์ที่ ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในนิกาย Cistercian จนกระทั่งปี คศ.1539 พระเจ้าเฮนรี่ ที่แปดทรงสั่งให้ยึดโบสถ์นี้ และไม่ให้มีการดำเนินกิจกรรมใดๆ ทางศาสนา ในโบสถ์นี้อีกต่อไป โบสถ์น้ำพุจึงกลายเป็นโบสถ์ร้างนับแต่นั้นมา ปัจจุบันถือ เป็นโบสถ์ในนิกาย Cistercian ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่ง และยังคงรักษา สภาพเดิมไว้ได้ดีที่สุดแห่งหนึ่ง ในเกาะอังกฤษอีกด้วย เวลาท้ อ งถิ่ น บอกว่ า บ่ า ยสี่ โ มงครึ่ ง ดิ ฉั น ตั้ ง ใจว่ า จะไปค้ า งที่ เ มื อ ง Maidstone ทางตะวันออกเฉียงใต้ของลอนดอน เพื่อไป Leeds Castle ใน วันรุ่งขึ้น แต่ขับรถหลงจึงต้องค้างที่เมือง Enfield และต้องตื่นเช้าตรู่เผื่อ เวลาเดินทาง Leeds Castle ถือเป็นปราสาทขนาดใหญ่ที่มีความสวยงามมากที่สุด แห่งหนึ่ง และเป็นหนึ่งในสถานที่ ที่มีผู้มาเที่ยวมากที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศ อังกฤษ ปราสาทแห่งนี้สร้างในปี คศ.1119 โดยลูกชายของอัศวิน William II บนเกาะริ ม แม่ น้ ำ เล็ น (River Len) จนกระทั่ ง ปี คศ.1278 Queen Elenor พระราชินีในกษัตริย์ Edward I ของอังกฤษ ซื้อมา และตกอยู่ใน ความครอบครองของราชวงศ์ อั ง กฤษ ต่ อ เนื่ อ งมา 300 ปี โดยถื อ เป็ น ประเพณีที่กษัตริย์อังกฤษจะยก Leeds Castle ให้เป็นมรดกแก่พระราชินี หลังจากที่เสด็จสวรรคต ปราสาทนี้จึงมีพระราชินีครอบครองต่อเนื่องมาทั้ง สิ้ น 6 พระองค์ จนมี ก ารขายให้ แ ก่ เ อกชน และมี ก ารสลั บ ปรั บ เปลี่ ย น เจ้ า ของมาเรื่ อ ยๆ จนถึ ง ปี คศ.1926 Lady Baillie (เลดี้ เบลล์ ) ซึ่ ง เป็ น ทายาทเศรษฐี ลู ก ครึ่ ง อั ง กฤษ - อเมริ กั น ซื้ อ ปราสาทแห่ ง นี้ และทำการ ปรั บ ปรุ ง ต่ อ เติ ม สวนและอาณาบริ เวณรอบๆ ปราสาท (ซึ่ ง มี ทั้ ง สนาม เทนนิส, สควอช, สระว่ายน้ำ, สวนนก - มีนกยูงเดินเล่นแบบคุ้นเคยกันคน มาก) จนมีลักษณะที่เห็นในปัจจุบัน ปัจจุบัน Leeds Castle บริหารงานโดยมูลนิธิ Leeds Castle ซึ่งเป็น ความประสงค์ของ Lady Baillie ก่อนที่จะถึงแก่ เปิดโอกาสให้คนทั่วไปเข้า มาเยี่ยมชมได้
สุภาณี เดชาบูรณานนท์ Suphanee Dechaburananon Deputy Chairman / Director of Trading & Strategy groupM ภายในบริเวณสวนที่ Kensington Park เป็ น ตั ว มั ง กรเงิ น ห้ อ ยเป็ น ตั ว โคมไฟ เสียดายที่เขาไม่อนุญาตให้ถ่ายภาพ จบจาก Brighton ดิฉันตรงไปสนาม บิน Heathrow เพื่อคืนรถที่เช่ามา แล้ว ขึ้ น รถไฟใต้ ดิ น ไปลงที่ ส ถานี แพดดิ ง ตั น (Paddington) ดิฉันมีเวลาเที่ยวในกรุง หน้าประตูวังเคนซิงตัน ลอนดอน 2 วัน ตั๋ ว one - day pass ราคาคนละ 7.20 ปอนด์ คุ้มค่ากับนักท่องเที่ยวมาก หลายจุ ด ล้ ว นอยู่ ใ นแล้ ว อย่ า งเช่ น ห อ น า ฬิ ก า B i g B e n , วิ ห า ร Westminster, London Eye, St. James Park, Buckingham Palace, Piccadilly Circus - Soho, China Town - Four Seasonไปกินเป็ดปักกิ่ง, แคมเปญรณรงค์เรื่องช้าง ที่จัดทำเป็นงานศิลปช้างหลายรูปแบบ จัดตั้งอยู่ตามถนนสายสำคัญต่างๆ ในกรุงลอนดอน Oxford Street, Nothing Hill Gate วั น สุ ด ท้ า ยในลอนดอน ดิ ฉั น ตั้ ง ใจ จะไปวั ง เคนซิ ง ตั น (Kensi n g t o n Palace) เป็ น วั ง ที่ ป ระสู ติ ข องควี น วิคตอเรีย และเป็นที่ประทับของเจ้าหญิง ไดอาน่ า (Princess Diana) จนถึ ง วั น สุดท้ายแห่งพระชนม์ชีพ ถ่ายรูปที่หน้า ประตูวัง คุ้นตาของชาวโลกที่เห็นกันใน ข่ า วนั่ น แหละค่ ะ เดิ น เที่ ย วในสวน สาธารณะให้เต็มปอด ก่อนกลับเมืองไทย ช่ ว งบ่ า ยต้ อ งแวะ Harrods ตาม ถนนเลียบแม่น้ำเทมส์ บริเวณ Tower Bridge ออเดอร์ของฝาก ไป London Bridge จุดหมายต่อไป คือเมือง Brighton เพื่อเยี่ยมชม Royal Pavillion หรือที่เรียกกันทั่วๆ ไปว่า Brighton Tower Bridge จากนั้นก็นั่งรถไฟใต้ดิน Pavillion วังนี้ถ้าดูภายนอกจะดูเหมือนวังของสุลต่านแขก เพราะสร้างแบบสถาปัตยกรรมอินเดีย แต่ภายใน กลั บ ไปที่ โ รงแรมเพื่ อ แพ็ ค กระเป๋ า ขึ้ น กลับเป็นการตกแต่งแบบสไตล์จีน เรียกว่าแบบ อินโด - ซาราซีนิค (Indo - Saracenic) ซึ่งเป็นที่นิยมใน รถไฟ Heathrow Express ไปสนามบิน อินเดียในยุคต้นศตวรรษที่ 19 แรกเริ่มเป็นที่ประทับตากอากาศของเจ้าชายผู้สำเร็จราชการ ซึ่งต่อมาได้เสด็จ เกาะอังกฤษ เป็นความประทับใจใน ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าจอร์จที่ 4 และได้โปรดให้ จอห์น แนช (John Nash) เป็นผู้ออกแบบและปรับปรุง ความงดงามอันเก่าแก่ เขารู้จักที่จะรักษา พระราชวังแห่งนี้ใหม่ในระหว่างปี คศ.1815 - 1822 ซึ่งเป็นรูปแบบที่เราเห็นอยู่ในปัจจุบัน หลังจากพระเจ้า สถานที่ต่างๆ ไว้เป็นอย่างดี นักท่องเที่ยว จอร์จที่ 4 สิ้นพระชนม์ พระราชวังแห่งนี้ก็ได้ตกทอดมาเป็นสมบัติของพระเจ้าวิลเลี่ยมที่ 4 (William IV) และ ซาบซึ้งกับประวัติศาสตร์ ที่มาของแต่ละ ของควีนวิคตอเรีย (Queen Victoria) ซึ่งเป็นหลาน แต่ Queen Victoria ไม่ชอบพระราชวังแห่งนี้ เนื่องจาก แห่ง บรรยากาศแบบนี้อยากให้เกิดขึ้นใน ในยุคนั้น Brighton ได้กลายเป็นเมืองท่องเที่ยว ชายทะเลที่เป็นที่นิยมของผู้คนจากลอนดอน ทำให้พระองค์ เมืองไทยด้วย เมื่อบวกกับเสน่ห์ยิ้มสยาม รู้สึกว่าไม่มีความเป็นส่วนพระองค์ มาเยือนคราวใดประทับใจทุกยาม ในปี 1850 พระราชวังแห่งนี้จึงได้ถูกขายให้ทารการเมือง Brighton ในราคา 53,000 ปอนด์ และถูกใช้ มองเขา มองเรา เก็บสิ่งดีๆ มาปรับ เป็นโรงพยาบาลรักษาทหารอินเดียในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หลังจากสิ้นสงคราม ก็ได้มีการบูรณะให้กลับ ใช้ เมืองไทยเราทำได้แน่นอน มาใกล้เคียงของเดิม ถ้าใครมีโอกาสไปเยือน Brighton แนะนำว่าต้องไปเที่ยว Royal Pavillion ให้ได้ เพราะ แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้านะคะ เป็นเพียงวังเดียวในอังกฤษ ที่มีเอกลักษณ์พิเศษ ที่ห้องจัดเลี้ยง มีโคมไฟระย้าขนาดยักษ์ กลางห้องที่ออกแบบ 67
ท่องไปในโลกไซเบอร์ จากการที่ Smart Phone ได้รับความนิยม เพิ่ ม ขึ้ น มาก ย่ อ มมี ก ารพั ฒ นาตามมาอย่ า ง รวดเร็ ว ด้ ว ยเช่ นกั นครั บ ผมคิ ด ว่ า เป็ น เรื่ อ งดี เพราะทำให้เราใช้งานได้อย่างคุ้มค่ามากขึ้น จากการสำรวจของบริษัทฯ NDP Group บริษัทฯ วิจัยชั้นนำในสหรัฐเมริกา รายงานผล การสำรวจเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 53 พบว่าส่วน แบ่ ง ตลาดของ Smart Phone ในประเทศ สหรัฐอเมริกาตามระบบปฏิบัติการ สำหรับช่วง ระยะเวลาในไตรมาส 2 ปี 53 นี้ มี 3 ลำดั บ แรกรวมกั น เท่ า กั บ 83% คื อ 1) Android 33%, 2) BlackBerry 28% และ 3) Apple 22% ผมจึงขอถือโอกาสนี้พูดถึงระบบปฏิบัติการ ใหม่ล่าสุดของ Google ซึ่งก็คือ Android 2.2 ว่ า มี ก ารพั ฒ นาให้ ดี ขึ้ น อย่ า งไร เพื่ อ ประโยชน์ ของคุ ณ ๆ ที่ อ าจจะกำลั ง พิ จ ารณาเลื อ กซื้ อ Smart Phone กันนะครับ Google พัฒนาระบบปฏิบัติการ Android สำหรับ Smart Phone และเปิดให้เป็น Open Source ซึ่งหมายถึงมีการเปิดเผยรหัสโปรแกรม ภายในต่อสาธารณะเพื่อให้ผู้สนใจนำไปพัฒนา กันต่อและให้ผู้ผลิต Smart Phone สามารถนำ มาใช้ได้อย่างอิสระเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2551 ซึ่งจากนั้น ก็มีการพัฒนาออก Android ออกมา อย่างต่อเนื่องเป็น version ต่างๆ โดย Google ได้ตั้งชื่อ Version ต่างๆ ของ Android ทั้งเป็น ตัวเลขและเป็นชื่อของหวาน ได้แก่ Version 1.5 (Cupcake) 30 เมษายน 52 Version 1.6 (Donut) 15 กันยายน 52 Version 2.1 (Eclair) 26 ตุลาคม 52 Version 2.2 (Froyo) 20 พฤษภาคม 53 ชื่ อ เป็ น ขนมหวาน ชิ้ น โปรดน่ า กิ นทั้ ง นั้ น ใช่ไหมครับ Google ชี้แจงจุดเด่นของ Android 2.2 ไว้ 4 ด้ า นคื อ 1) ประสิ ท ธิ ภ าพ 2) เชื่ อ มต่ อ กั บ Exchange 3) Browser ที่ดีขึ้น และ 4) บริการ ที่ เพิ่ ม ขึ้ น ผมขยายความต่ อ ตามนี้ ตามผมมา นะครับ 1) ประสิ ท ธิ ภ าพ มี ก ารปรั บ การทำงาน ภายในให้โปรแกรมที่ต้องใช้ CPU มากๆ (เช่น พวกเกมส์ ต่ า งๆ ที่ มี ภ าพเคลื่ อ นไหวเยอะๆ ) ทำงานได้ เ ร็ ว ขึ้ น 2 - 5 เท่ า เมื่ อ เที ย บกั บ A n d r o i d 2 . 1 ห รื อ ส ำ ห รั บ ท่ า น ที่ เ ป็ น โปรแกรมเมอร์ ในส่ ว นนี้ ก็ คื อ การที่ Android 2.2 ปรั บ ไปใช้ compiler ใหม่ ล่ า สุ ด ของ DalvikJIT จึงทำให้ทำงานได้เร็วขึ้นมาก 68
สมชัย สิทธิชัยศรีชาติ กรรมการผู้จัดการ บมจ.เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) Somchai Sittichaisrichart Managing Director SIS Distribution (Thailand) Plc. Frozen Yogurt เป็นของหวานประเภทนึงที่คล้ายไอศครีม แต่ทำจาก ร์ต ซึ่งกลายมาเป็นชื่อของระบบปฏิบัติการล่าสุดของ Android โยเกิ 2.2 HTC Desire 2) ความสามารถในการเชื่อมต่อกับ Exchange ที่ดีขึ้น เรื่องนี้ช่วยให้ email server ขององค์กร ที่มีผู้นิยมใช้สูงสุด ทำงานได้ดีขึ้น เช่น การเปิดใช้ email สามารถทำได้ง่ายๆ ด้วยการบันทึกชื่อและ password ของ email ที่ใช้กับ Exchange เข้าไป Android 2.2 จะค้นหาและเชื่อมต่อให้โดยอัตโนมัติ รวมไปถึงการเชื่อม calendar เพื่อเพิ่มความสามารถด้านการจัดการอีกหลายด้าน สามารถสั่งลบข้อมูล ออกจาก Smart Phoneได้ (กรณีทำเครื่องหาย) หรือการบังคับให้ต้องบันทึก password ก่อนเข้า email และการล็อคหน้าจอเพื่อบังคับให้บันทึก password ใหม่เมื่อผู้ใช้วางเครื่องทิ้งไว้นานกว่าที่ กำหนด ทำให้ผู้ใช้งานสบายใจ เรื่องความปลอดภัย 3) Browser ที่ดีขึ้น ถึงแม้ browser ที่มากับ Android 2.1 มีความสามารถสูงอยู่แล้ว แต่การ พัฒนาให้ browser ที่มากับ Android 2.2 นั้น ยิ่งทำงานได้ดีขึ้นไปอีก โดยปรับไปใช้ JavaScript V8 ซึ่งทำให้ทำงานได้เร็วขึ้น 2 - 3 เท่าเมื่อมีการเรียกใช้โปรแกรมที่เป็นระบบ Java รวมไปถึงการเพิ่ม ฟังชั่นต่างๆ ของ browser ให้มากขึ้นด้วย 4) บริการที่เพิ่มขึ้น มีการเพิ่มบริการหลายส่วน เช่น การให้โปรแกรมอื่นๆ ที่ไม่ใช่โปรแกรมที่มา กับ Android โดยตรง สามารถเก็บข้อมูลของโปรแกรมนั้นๆ โดยอัตโนมัติได้เหมือนกับโปรแกรมของ Google (เดิม มีเฉพาะโปรแกรมของ Google เท่านั้น เช่น การเก็บหมายเลขโทรศัพท์ไว้บน server ของ Google ให้โดยอัตโนมัติ และจะถูกเรียกกลับมาไว้บนโทรศัพท์อีกเครื่องได้โดยอัตโนมัติ) หรือการ เปิดให้เลือกลงโปรแกรมบน micro SD แทนที่จะต้องลงในเครื่อง ซึ่งทำให้สามารถย้ายโปรแกรมไปไว้ บน Smart Phone เครื่องอื่นได้ง่ายๆ และที่น่าสนใจมาก คือความสามารถที่จะส่งผ่านงานต่างๆ แม้ว่ากำลังมีการทำงานอยู่บนคอมพิวเตอร์นั้นๆ ก็ตาม Google ได้แสดงตัวอย่างให้ดูได้จากโปรแกรม Google Maps ขณะทำงานอยู่บน PC ซึ่งโดยการ กดเพียงปุ่มเดียว PC จะถูกส่งไปยัง Android Smart Phone ทันที ก็จะมาปรากฏบนจอของ Smart Phone ทันที เรื่องนี้ผมคิดว่าเวิร์คมากครับ นอกจาก 4 ส่วนที่ Google พูดถึงแล้ว ยังมีความสามารถพิเศษของ Android 2.2 สำคัญมากที่ผม อยากเล่า อีก สัก 2 ด้านคือ 1) การมี font ภาษาไทยใน Android ต้ อ งบอกว่ า เรี ย กว่ า Google ให้ ค วามสำคั ญ กั บ การ สนับสนุนภาษาไทยสูงมาก เพราะจากเดิม ผู้ผลิตแต่ละคนจะต้องพัฒนาภาษาไทยกันเอง ซึ่งจะทำกัน ให้เฉพาะ Smart Phone ที่ขายในประเทศไทยเท่านั้น แต่ใน Android 2.2 นี้ จะมี font ภาษาไทยอยู่ ในระบบปฏิบัติการเลยล่ะครับ เพียงแต่คุณๆ ต้องหาโปรแกรมแป้นพิมพ์ภาษาไทยมาลงเพิ่มเติม เท่านั้น 2) การใช้ Smart Phone เป็น Hot Spot จะช่วยแปลง Smart Phone ขที่มีความสามารถใน การเชื่อมต่อเข้าอินเตอร์เน็ตอยู่แล้ว ให้กลายเป็น Hot Spot เพื่อช่วยให้ PC ของท่านหรือของเพื่อนๆ รวม 8 เครื่อง สามารถเชื่อมเข้าอินเตอร์เน็ตผ่านระบบ WiFi ได้ด้วย (จากเดิม ต้องเสียบผ่านสาย USB เท่านั้น) เล่ามาถึงบรรทัดนี้ ท่านที่สนใจ Android 2.2 ต้องรออีกหน่อยนะครับ เพราะในท้องตลาดตอนนี้ ยังคงเป็น Android 2.1 แต่ผมคิดว่าเรื่องนี้มาเร็วแน่ๆ อย่าง มือถือ HTC ที่เป็น Android 2.2 ได้เห็น กันเร็ววันนี้ ส่วนรุ่นที่สามารถ นำมาปรับ ขยับเลื่อนขั้นเป็น Android 2.2 ได้ เช่นรุ่น Desire และ WildFire อดใจรอนิดนะครับ
“ระบบปฏิบัติการ Android 2.2”
69
จัดไว้พิเศษ ให้นายกฯ สื่อสารไปถึงสมาชิก เพื่ อ นๆ สมาชิ ก ครั บ อาชี พ อย่ า งพวกเราโดย เฉพาะกลุ่มที่มีโครงป้ายบิลบอร์ดให้เช่า ที่ผ่านยุคแห่ง ความรุ่งเรืองกันมาแล้วนั้น รู้ดีกันว่าวิชาชีพนี้ของวันนี้ ใช้ ค วามสามารถส่ ว นตั ว คื อ ตั ว ช่ ว ยที่ ส ำคั ญ แต่ อ งค์ ประกอบที่สำคัญอีกส่วนคือการที่มีหน่วยงานภาครัฐ อีกหลายแห่งที่เข้ามาข้องแวะ หลายคนรู้ดีว่าการประสานงาน การเดินเข้าไปคุย กับหน่วยงานภาครัฐ ที่มีหน้าที่กำกับดูแลพวกเรา หรือ งานบริหารราชการอื่นๆ นั้นไม่ง่ายเลย มุมมองที่แม้วัน นี้จะคุยกันได้มากขึ้นแล้วก็ตาม แต่อาจจะไม่ทันการ เปลี่ยนแปลงของโลกใบนี้ซักเท่าไหร่นัก ผมอยากจะยกตั ว อย่ า งที่ ใ กล้ ตั ว พวกเรามากๆ ในด้านธุรกิจป้ายบิลบอร์ด ซึ่ ง หลายทางคงรู้ ดี กั น อยู่ แต่อยากแชร์เล่าให้เพื่อนๆ สมาชิก และคุณๆ ผู้อ่าน ได้รับรู้อีกมุมหนึ่งด้วยครับ คุณๆ รู้ไหมว่าหน่วยงานภาครัฐที่เข้ามาเกี่ยวข้อง
70
ยุวพล พรประทานเวช นายกสมาคมป้ายและโฆษณา Yuvaphol Pornpratharnwech President Advertising and Sign Producing Association
“หลายหน่วยงาน”
กับธุรกิจป้ายบิลบอร์ด มีหน่วยงาน ไหนบ้าง นี่เลยครับ หากพื้นที่ทำการ ของท่านอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ก็ต้องเป็นหน่วยงานของ กทม. หาก เป็ น หั ว เมื อ งก็ ต้ อ งเป็ น อบต. อบจ. หรือจังหวัด เข้ามากำกับดูแล จากนั้ น ก็ ข ยั บ เป็ น ภาพใหญ่ อั น เป็ น ผลพวงมาจากเหตุ ก ารณ์ อุ บั ติ เหตุ ป้ า ยล้ ม จนเกิ ด ความเสี ย หาย จนมีข้อเสนอมูลเหตุเข้าสู่การ ประชุ ม คณะรั ฐ มนตรี ว่ า มี ปั ญ หา เรื่องป้ายโฆษณา ด้านสิ่งแวดล้อม มลทัศน์ทางสายตา, ภาษาและภาพ ไม่เหมาะสม, การมีป้ายขนาดใหญ่ และการติดตั้งโดยไม่ได้รับอนุญาต มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 27 กรกฏาคม 2547 จึงมอบให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบ ดูแลและเข้มงวดให้เป็นไปตามข้อกฏหมายที่เกี่ยวข้อง ภาพต่อมาจากปีนั้นเป็นอย่างไร พวกเราคงพอเห็น พอได้ยินกันไปบ้างแล้ว แต่หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ผมขยายความต่อว่ามีใครบ้างนะครับ นอกจากหน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่นตามสถานที่ตั้งป้ายบิลบอร์ดแล้ว หน่วยงานระดับ ส่ ว นกลาง มี อี ก ครั บ เช่ น กรมโยธิ ก ารและผั ง เมื อ ง, กรมทางหลวง กระทรวงมหาดไทย, สำนักงานคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.), กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไม่นับรวมตัวบทข้อกฏหมายที่เข้ามาเกี่ยวข้องอีกมากฉบับ เห็ น แล้ ว อย่ า เพิ่ ง ท้ อ นะครั บ เพราะป้ า ยบิ ล บอร์ ด ยั ง มี ค วามจำเป็ นกั บ งานโฆษณาใน เมืองใหญ่ ผมว่าทุกคนเห็นความสำคัญ แต่การเผชิญหน้ากับเรื่องนี้ของเจ้าของธุรกิจจำเป็นต้อง เดินหน้าต่อไป ที่สำคัญการรวมกลุ่มกันของผู้ประกอบการสำคัญมากครับ ที่จะเดินเข้าไปบอก ภาครัฐให้เข้าใจการทำงานของพวกเรา ผมคิดว่าคนไทยเข้าใจกันนะครับ การทำหน้าที่ของผมในฐานะนายกสมาคมป้ายและโฆษณา ก็ต้องทำหน้าที่นี้แทนเพื่อนๆ สมาชิกในเรื่องนี้แหละครับ ขอ (อีกอย่าง) มาช่วยรวมพลังกัน ขอแรงมาช่วยสมาคมฯ กันด้วย นะครับ…
ชาตรี อัศวเบญญา Chatre Asavabenya International Commitee International Sign Association USA มิตรภาพข้ามประเทศ ตำราและความรู้ที่นำมาแลกเปลี่ยนกัน เมื่อต้นเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา มีงานแสดงสินค้าของสมาชิกของ ASAAsia Sign Association ที่ประเทศมาเลเชีย คือ บริษัท Kaizer Exhibition จำกัด โดย Ms. Belle Yam เป็ นงานขาประจำไปแล้ ว ครั บ ใช้ ชื่ อ ว่ า Print Technology และ IPMEX สลับปีกันไป ปีนี้เป็นคิวของงาน Print Technology 2010 โดยมี การจั ด งานสั ม มนาขึ้ น มาควบรวมอยู่ ใ นงานเดี ย วกั น ชื่ อ KL Summit 2010, The 2nd Conference of International Printing Standards ISO 12647-2 ระหว่ า งวั น ที่ 5- 9 สิ ง หาคม ที่ Putra World Trade Center, Kuala Lumpur, Malaysia งานนี้พันธมิตรในเครือข่ายของ ASA เข้าร่วมเป็นผู้สนับสนุนงานด้วย เช่นทุกปี แต่ปีนี้ตัวแทนของ ASA ประจำประเทศไทย คือ ASPA ไม่ได้ ส่งตัวแทนเข้าร่วมงาน เพราะเพิ่งเดินทางกลับกันมาจาก Shanghai งานนี้ จึงมีผมกับคุณชนัญสินี ศิลปศิริพร เดินทางไปร่วมงานครับ ความประทับใจที่ผมและคุณนุ่นพบ คือเราเห็นความร่วมมือกันระหว่าง กลุ่มสมาคม, ชมรม และผู้ประกอบการจากประเทศต่างๆ รวมตัวเข้ามา ร่วม conference และ workshop มากเกือบ 100 ท่าน เดินทางมาจาก หลายประเทศ เช่ น U.S.A., German, Switzerland, China, Korea, Japan, Malaysia, Indonesia, Taiwan, Hong Kong, Sri Lanka และ อื่นๆ อีกครับ มีคนไทยเพียง 2 คน ที่เข้าร่วมงาน แม่งานใหญ่ของการจัดงานคือ Asia Print Association ซึ่งมีสมาชิก อยู่ 9 ประเทศทั่ ว เอเชี ย มี ทั้ ง การบรรยายและปฏิ บั ติ ใ ห้ เ ห็ น กั น จริ ง เป็น Technical Forum และ Business Forum ว่าด้วยเรื่องที่เกี่ยวกับการ นำมาตราฐาน ISO 12647 - 2 ซึ่งเป็นมาตราฐานของขั้นตอนการพิมพ์ ที่นิยมใช้ในด้านการพิมพ์ offset ในแถบยุโรบ - อเมริกา เข้ามาใช้ในวงการ พิมพ์ของเอเชีย งานแบบนี้เคยจัดขึ้นครั้งแรกที่ประเทศเกาหลีในงาน Seoul Summit มาแล้วเมื่อปีก่อน
งานนี้ Kevin Lioa (ยืน แถวแรกซ้ายมือ) นายก สมาคมป้ายแห่งเอเชีย เดินทางพร้อมสมาชิกไป ให้กำลังใจ Ms. Belle Yam (ยืนแถวแรกคนที่ สอง) เจ้าของงานอย่าง อบอุ่น เช่นทุกปี
“ดอกผลแห่งมิตรภาพ” คุณสุปรีย์ ทองเพชร คนไทยที่ก้าวขึ้นเวที ในฐานะผูช้ ำนาญเรื่อง การพิมพ์
โปรโมทงานต่ อไป คือ SIGN & LED EXPO 2011 ที่ไต้หวัน
วิ ท ยากรที่ ร่ ว มแลกเปลี่ ย น มี 7 ท่านครับ พอจะคุ้นกันบ้าง ไหมครั บ อย่ า ง Prof. Robert Chung Rochester Institute Of Technology, USA, Mr. Erwin Widmer CEO of UGRA, Switzerland,Mr. Karl Michael Meinecke Director / Project Manager of BVDM, Germany, Mr. Hama Teruhiko Principle of Japan Printing Academy, Japan, Mr. Supree Thongpetch Founder of Color Doctor, Thailand,Mr. Joe Fazzi Vice President of Print Media IDEAliance, USA และMr. Don Hutcheso President of HutchColor, USA พบว่ า มี ค นไทยหนึ่ ง คนคื อ คุ ณ สุ ป รี ย์ ทองเพชร ผู้ เชี่ ย วชาญในเรื่ อ ง ISO 12647 - 2 ผมล่ะปลื้มซะ ความสำเร็จของงานนี้ ผมมองเห็นว่า ส่วนหนึ่งน่าจะเป็นเพราะเป็น งานสั ม มนา ที่ มี เนื้ อ หา หั ว ข้ อ และผู้ บ รรยาย น่ า ฟั ง เป็ นที่ ส นใจของ ผู้ ป ระกอบการวงการพิ ม พ์ แต่ อี ก สิ่ ง ที่ ป ฏิ เ สธไม่ ไ ด้ ว่ า เจ้ า ของงาน คื อ Ms. Belle Yam ตัวแทนของ ASA ประจำประเทศมาเลเชีย ใช้โอกาสของ การทำงานบนเครือข่าย Business Network ทั้งในส่วนของ Asia Sign Association และ Asia Print Association นำมาซึ่งความร่วมมือกัน ระหว่างเพื่อนๆ ในวงการเดียวกันได้อย่างน่าชื่นชม หลายครั้งที่ผมเห็นเธอ และมือขวาคู่ใจของเธอ Ms. Adelle Wong ร่วมกันทำงานหนักมาตลอดทั้งปี ด้วยการเดินสายโหมโปรโมทไปทั่วทวีป ทั่วโลก ผมเคยนั่งลงแล้วถามเธอว่า อะไรคือปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จของเธอ เธอตอบแบบไม่ต้องคิดมากว่า “Friendship” ครับ และเป็นมิตรภาพที่เธอ ได้มาจากการเป็นส่วนหนึ่งของ Asia Sign,Asia Print Association และ ASA เธอบอกอี ก ว่ า นี่ เ ป็ น สิ่ ง สำคั ญ มากและมากกว่ า การโฆษณา หรือ promotion ชักจูงใดๆ อีกด้วยครับ ดีใจครับ ที่อย่างน้อยก็มีสมาชิกหยิบใช้ ASA เป็นสะพานข้ามไปสร้าง เครือข่าย และความสำเร็จทางธุรกิจ คุณล่ะครับคิดอย่างไร… 71
คุณสยามรัฐส์ เลาหสุขเกษม กรรมการผู้จัดการ บริษัท เมเจอร์ กันตนา บรอดคาสติ้ง จำกัด “ผมเป็ น คนช่ า งสั ง เกตครั บ ตั ว ตึ ก ต้ น ไม้ ใช้ ไ ด้ ทั้ ง นั้ น หรื อ บางครั้ ง อาจจะต้ อ งใช้ สั ญ ชาติ ญ าณบ้ า งก็ ต้ อ ง ทำล่ ะ ครั บ อ า ชี พ ข า ย เ ง า บ น แ ผ่ น ฟิ ล์ ม ข อ ง ผ ม ต้ อ ง รู้ จั ก พยากรณ์ ค วามต้ อ งการทางรสนิ ย มของลู ก ค้ า หรื อ ผู้ ช ม ผิ ด น้ อ ย จั ด ว่ า เป็ น ความสำเร็ จ ได้ เ ช่ น กั น ครั บ ” \ คุณแม่ทัพ ต.สุวรรณ ผู้บริหาร ค่าย “ธรรมะ รู้ทันใจ” “การเดินทาง ทางจิต อาจจะไม่จำเป็นต้องมี แผนที่หรือ สัญญาณนำร่องใดๆ มนุษย์มีสัญชาติญาณเรื่องเส้นทาง การเดิน ทางที่ดีมากครับ สำหรั บ ผม ไม่ กั ง วลใจเลยครั บ หากไปไหน มาไหนแล้ ว ไม่มีป้ายบอกทาง ผมจะใช้วิธีจดจำ ถ่ายรูปด้วยดวงตา จากนั้น ค่อยๆ ดึงออกมาใช้งานครับ” 72
คุณพัชราวดี หมื่นนิกร รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท อีซี่ส์ อินเตอร์เนชั่นแนล แฟรนด์ไชส์ จำกัด “กับดิฉันเนี่ยะ คงลำบากหน่อยล่ะค่ะถ้าไม่มีป้ายบอกทาง โชคดีว่า ระหว่างบ้านกับที่ทำงาน เดินถึงกันได้ ดิฉันจึงไม่ค่อยได้เดินทางไปไหน บ่อยนัก ยกเว้นที่ต้องไปงานในหน้าที่ของธุรกิจ เท่านั้นเองค่ะ” คุณจารุจิต ใบหยก ผู้จัดการ ฝ่ายกิจกรรม กลุ่มโรงแรมใบหยก “คงสนุก วุ่นเล็กๆ กับการไม่มีป้ายบอกทาง แต่เชื่อว่าทุกคนรวมทั้ง ดิฉัน คงจะปรับตัวได้ มืด หนาวเย็น ร้อน พวกเรายังรู้จักที่จะมีไฟฟ้า มี เสื้อหนาวและมีชุดว่ายน้ำ มาแล้ว เมื่อไม่มีป้าย เชื่อค่ะว่า ยังไงเสียพวก เราก็จะปรับตัวจนได้เองค่ะ”
เดือนกันยายน เดินเข้ามาหาเราตามการหมุนของกาลเวลา หลายท่านบอกว่าเร็ว และหลายท่านบอกว่า ช้า แต่ชีวิตต้องเดินหน้าโดยมีอีกหลายสิ่งที่ลงมือ ใครอยู่มุมไหนบ้าง ตามติดกันได้ที่คอลัมน์นี้ ที่จะ เกาะติดบ้าง ไม่ติดบ้าง ลับบ้าง ไม่ลับบ้าง ได้ที่นี่……
เป็นโต้โผ พาเดินเข้าช่องพิเศษ ที่ช่วย ย่อเวลาเข้าคิว จากนานนับกว่า 5 ชั่วโมง เป็น Fast Track ที่ว่องมากๆ กับความประทับใจในไทยพาวิลเลียน ส่งผล ให้มีเสียงเรียกร้องให้ ช่วยจัดทริปไปงาน World Expo2010 ที่มหา นครเซี่ยงไฮ คุณชาตรี อัศวเบญญา จึงตอกย้ำ พูดอีกครั้งให้ได้ยิน ทั่วกันว่า ที่ทำเยี่ยงนี้ได้ เพราะเหตุมาจากมิตรภาพที่สะสมมานาน หลายปีกับสมาชิกของ ASA ที่เจ้าตัวบอกต่ออีกว่างานนี้มีเงิน เท่าไหร่ไปกองก็ซื้อไม่ได้ จากการที่ดูแลสุขภาพตัวเองมาดีสม่ำเสมอ ทำให้ การผ่าตัดครั้งนี้ (ครั้งแรก) ของคุณเพ็ญพร คณากาญจน์ จึง ฟื้นตัวได้ดี และเร็วกว่ามาตรฐานปกติ ลูกค้าใจเย็นรอนิดหนึ่ง และ ลูกน้องรอ (อีก) นิดเหมือนกัน เจ้าตัวจึงขอประกาศรับคนขับรถ แบบ ที่มีสเปคในใจเป๊ะ คือ หล่อ ล่ำ ใจเย็น เป็นผู้ใหญ่ ซึ่งจนถึงวันนี้ก็ ยังควานหาตัวไม่เจอ…ฮา…
ทำหน้าที่เดินสายจับมือถือแขน จับเข่า คุยกับสมาชิกในต่างจังหวัดตามภารกิจ หน้าที่ของ ประธานชมรมไทยอิงค์เจ็ค คุณโชคชัย เมธียนต์พิริยะ เดิน สายงวดนี้ล่องใต้ ไปที่เมืองร้อยเกาะ เงาะอร่อย หอยใหญ่ ไข่แดง สุราษฏร์ธานี และภูเก็ต โดยมีเลขาฯ ชมรม - คุณพิเชษฐ บพิตรพิทักษ์ และท่านอดีตประธานชมรม - คุณอดิศร ศุขะทัต ตามไปประกบซ้าย - ขวา อำนวยความสะดวกเข้มแข็งแบบนี้ เห็นแววว่าจะเติบกล้าเป็น “สมาคม” ได้ไม่ยาก….
73
s
o
นายกฯ คนใหม่ คุ ณ ไพจิ ต ร เที ย นทอง นายกสมาคมมี เ ดี ย เอเยนซี่ แ ละธุ ร กิ จ สื่ อ แห่งประเทศไทย (นั่งกลาง) ได้รับเสียงลงมติเป็นเอกฉันท์ ให้ดำรงตำแหน่ง นายกสมาคมฯ เป็นสมัยที่ 2 จากการสมาชิก ในการประชุมวิสามัญของ สมาคมฯ เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2553 ที่ผ่านมา เปิดบริษัทใหม่ คุณนำชัย หล่อวัฒนตระกูล (รักษาการ) กรรมการผู้จัดการใหญ่ (ใส่สูท ดำ) บริษัท PEA ENCOM International จำกัด - บริษัทในเครือของการ ไฟฟ้าส่วนภูมิภาค กล่าวรายงานในวันเปิดตัวองค์กรใหม่แห่งนี้ ด้วยความ มั่นใจว่า อนาคตของเมืองไทยมีการเตรียมการด้านพลังงานทดแทนไว้แล้ว 74
c
i
e t
y
รางวัลวรรณกรรม สามกู รู ด้ า นละครขึ้ น เวที เปิ ด ประเด็ น ร้ อ น “บทละครน้ ำ ดี น้ ำ เน่ า ” ล้ อ มวงคุ ย กั น ระหว่ า ง (จากขวาไปซ้ า ย) คุ ณ สกุ ล บุ ณ ยทั ต , คุ ณ มารุ ต ส า โร ว า ท แ ล ะ คุ ณฐ นทั ช ก อ ง ท อ ง ในง า น ป ร ะ ก า ศ ผ ล ร า ง วั ล “จุดประกายอวอร์ด’52 ณ แกรนด์ฮอลล์ ศูนย์การค้าเอสพลานาด รัชดา รางวัลแห่งความภูมิใจ คุณสมัย กวักเพฑูรย์ บอสส์ใหญ่ บริษัท เค.เอ็ม. อุตสาหกรรมเครื่อง เขียนจำกัด ยิ้มปลื้มกับรางวัล Prime Minister Award 2010 กับการเป็น สินค้าแบรนด์ไทย ส่งออกไปขายทั่วโลก
แนะนำผลิตภัณฑ์การเงิน อีกก้าวของ LH Bank สู่ “ธนาคารพาณิชย์” โดยคุณรัตน์ พานิชพันธ์ ประธานกรรมการบริ ห าร (คนที่ 2 จากขวา) และคุ ณ ศศิ ธ ร พงศธร กรรมการผู้จัดการ (คนที่2 จากซ้าย) ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อราย ย่อย จำกัด (มหาชน) แถลงข่าวจัดแคมเปญ “LH Bank London Taxi” ณ อาคาร คิวเฮ้าส์ ลุมพินี เพื่อเป็นการแนะนำผลิตภัณฑ์ต่างๆ ของธนาคารสู่ กลุ่มลูกค้าทั่วกรุงเทพฯ มืออาชีพเรื่องสร้างบ้าน สมาคมรับสร้างบ้าน จัดงาน “รับสร้างบ้าน 2010” Trend& Beyond ระหว่ า งวั นที่ 18 – 22 สิ ง หาคม โดยมี ม.ร.ว. สุ ขุ ม พั นธุ์ บริ พั ต ร ผู้ ว่ า ราชการกรุงเทพมหาคร เป็นประธานในพิธีเปิดงาน ณ ห้องเพลนารี ฮอลล์ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โดยมีคุณวิบูล จันทรดิลกรัตน์ นายกสมาคม ธุรกิจรับสร้างบ้าน (คนที่ 5 จากขวา) และคณะกรรมการสมาคมร่วมให้การ ต้อนรับ และนำชมบูธ ภายในงาน
แปดปี มีความหมาย คุ ณ ออมสิ น ชี ว ะพฤกษ์ กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ (คนกลาง) บริ ษั ท ไปรษณีย์ไทย จำกัด พร้อมทีมผู้บริหาร แถลงข่าวการก้าวเดินสู่ปีที่แปดของ การดำเนินการว่า มีความพร้อมรับกับการแข่งขันในโลกธุรกิจสมัยใหม่ และ มั่นใจไปรษณีย์ไทย ทำได้ เสื้อใหม่หงส์แดง ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด ผู้สนับสนุนหลักรายใหม่ของสโมสร ฟุตบอล ลิเวอร์พูล จัดงานปาร์ตี้ฉลองชุดแข่งใหม่ ที่มีโลโก้ธนาคารอยู่บนอก เสื้อ นำโดยคุณนภัส เปาโรหิตย์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายองค์กร สัมพันธ์ (คนที่ 4 จากขวา) และแฟนพันธ์แท้หงส์แดง จากหลากหลายวง การมาร่ า มงาน พร้ อ มร่ ว มสมทบทุ นช่ ว ยผู้ พิ ก ารทางสายตาในโครงการ Seeing is Believing
75
embers Corner Promotion of the month September 2010
กลับมาอีกครั้งตามคำเรียกร้องจากแฟนๆ นิตยสาร OHM และรายการเวทีผู้หญิง กับหมอนอิงเนื้อนุ่ม ลายปัก OHM และรายการเวทีผู้หญิง มูลค่ารวม 500 บาท
มอบให้สมาชิก 5 ท่านแรก ที่บอกรับการเป็นสมาชิกนิตยสาร OHM เป็นเวลา 2 ปี
รายชื่อผู้โชคดี OHM August 2010 ขอแสดงความยินดีกับสมาชิกราย 2 ปี 5 ท่านแรก ที่ได้รับ
บัตรรับบัตรกำนัลจากร้าน ท่านละ 3 ใบ มูลค่ารวม 600 บาท
คุณธาราทิพย์ งอกงาม คุณพิชัย พรศิริ คุณกิตติโชติ ไชยชาญ คุณชนิดา ศรีสัจจา คุณวิมลศิริ กุลบุตร
76
สมาชิกใหม่ New Subscriber ต่ออายุสมาชิก หมายเลขสมาชิกเดิม Renewal of Subscriber No. สมัครสมาชิก OHM 1 ปี 10 ฉบับ พร้อม OHM Year Book ฟรี 1 เล่ม มูลค่ารวม 1,800 บาท จ่ายเพียง 960 บาท ประหยัดได้ถึง 46% เป็นสมาชิกตั้งแต่ฉบับที่..............................ถึง............................. 1 Year Subscription – 10 volumes plus 1 OHM Year Book value Baht 1,800 960 (save 46%). (from volume no. ............................ to ...............................) สมัครสมาชิก OHM 2 ปี 20 ฉบับ พร้อม OHM Year Book ฟรี 2 เล่ม มูลค่ารวม 2,600 บาท จ่ายเพียง 1,920 บาท ประหยัดได้ถึง 46% เป็นสมาชิกตั้งแต่ฉบับที่..............................ถึง............................. 2 Year Subscription – 20 volumes plus 2 OHM Year Books value Baht 2,600 1,920 (save 46%). (from volume no. ............................ to ...............................) ข้อมูลสมาชิก Subscriber’s Details ชื่อ Name สกุล Last Name..................................................................................................... วัน เดือน ปีเกิด Date of Birth................................................................................................. อาชีพ Occupation....................................................................................................................... สถานที่จัดส่งนิตยสาร Delivery Address ชื่อ Name นามสกุล Last Name............................................................................................. ที่อยู่ Address ............................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ โทรศัพท์ Telephone .................................................................................................................. โทรสาร Fax .................................................................................................................................. มือถือ Mobile ............................................................................................................................... Email .............................................................................................................................................. Website ......................................................................................................................................... สถานที่ออกใบเสร็จ Address for Receipt ที่เดียวกับที่จัดส่งเอกสาร same as above ออกใบเสร็จในนาม please issue a receipt in the name of ที่อยู่ Address ..................................................................................................................... โทรศัพท์ Telephone ........................................................................................................ โทรสาร Fax ....................................................................................................................... มือถือ Mobile ..................................................................................................................... ชำระค่าสมาชิกโดย Payment โอนเงินเข้าบัญชี UOB Convenience ในนาม บริษัท เอ็มจีเอ มีเดีย จำกัด ธนาคาร ยูโอบี สาขาพหลโยธิน ซอย 19 เลขที่บัญชี 0981016637 Money transfer to account of MGA Media Company Limited, UOB Paholyothin branch, Soi 19, account no. 0981016637 Payment made via ................................................................................................................. สาขา Branch .............................................................................................................................. โอนวันที่ Transfer Dete .......................................................................................................... จำนวน Amount ......................................................................................................................... เช็คสั่งจ่ายในนามบริษัท เอ็มจีเอ มีเดีย จำกัด Cheque issued in the name of MGA Media Company Limited ธนาคาร Cheque issued by ................................................................................................ สาขา Branch ............................................................................................................................. เลขที่ Cheque No. ................................................................................................................... วันที่ Cheque Date .................................................................................................................. ชำระเงินสด Cash