OHM#75

Page 1


นิตยสารสื่อนอกบาน ฉบับแรกและฉบับเดียวในประเทศไทย

44


Editor Note

การกวาดลานกว้าง หว่านเม็ดเงินโฆษณาให้ครอบคลุมไป ทุกแว่นแควน หรือทุกผู้ทุกคน อาจจะใกล้หมดยุคลงแล้ว เพราะโลกใบนี้เปลี่ยนไป การส่งสาร สื่อไปยังกลุ่มเป้าหมาย แบบเฉพาะเจาะจงเป็น มุมถนัดที่หลายสินค้า เริ่มชอบใจ เพราะวัดผลได้ ใช้งบ ประมาณที่พอจะรับมือได้ หากถามกันไปมาระหว่างการตลาด การขายและเอเยนซี ก็จะลงตัวกันพอดี ทุกฝ่ายแฮปปี้ เม็ดเงิน คุ้มค่า จากยอดขาย จากการจดจำ จากการสร้างความยั่งยืน ให้ยี่ห้อสินค้า อย่างมั่นคง การทำวิจัย จึงมีความสำคัญที่จะตอบโจทย์ว่า ควรจะ เสิร์ฟอะไรให้คนกลุ่มนั้นๆ เสิร์ฟแล้วถูกใจ ขายได้ นั่นเป็น ความสำเร็จของงานโฆษณาในบรรทัดสุดท้าย ทีมงานเชื่อว่า ระบบของแนวคิด การลงมือทำจริง จะช่วย เป็น กรณีศึกษา หรือเป็นข้อมูลที่มีประโยชน์สำหรับสมาชิกใน ธุรกิจสื่อนอกบ้านอยู่ไม่น้อย ทีมงานจึงขอนำมาถ่ายทอด ให้ได้ ฟังกันอย่างทั่วถึง อันเป็นการเก็บประเด็นสำคัญ จากงาน สัมมนา เรื่อง Bangkok is MRT Now….Future เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2555 ที่ผ่านมา สด ๆ ร้อนๆ นี่เอง ใครที่พลาดงานนี้ ไม่ต้องกังวล ทีมงานเตรียมไว้ให้พร้อมแล้วใน Cover story ประจำฉบับนี้ ผลงานวิจัยของ The Nielsen Company (Thailand) Ltd. ที่สุ่มเก็บตัวอย่าง มากถึง 900 คน เป็นการสะท้อนวิถีคน กรุงได้อย่างน่าสนใจว่า พวกเขาเป็นใคร คิดอะไร ชอบอะไร คราวนี้แหละ เสิร์ฟอะไรเป็นถูกใจไปซะทุกอย่าง เพราะรู้เขา รู้เธอ ไปแล้ว เป็นเรื่องน่าสนุกมาก ติดตามกันได้เลยค่ะ อรรถรส อีกจานของเมนูประจำฉบับ ยังอยู่กันแน่นขนัด จัดเต็มเช่นเคย เชิญทัศนากันได้เช่นกัน ฝนโปรยโรยตัว เกือบ เป็นฝนสุดท้าย กลายเป็นต้นหนาว กรมอุตุนิยมวิทยา เตือนมา ว่าปีนี้จะหนาวกว่าทุกปี รักษาสุขภาพกันด้วยนะคะ พบกันใหม่ฉบับหน้าค่ะ

ที่นี่….คือ กรุงเทพ สิ ริ พ ร สงบธรรม บรรณาธิ ก ารบริ ห ารนิ ต ยสาร OHM Siriporn Sa-ngobtam Editor-in-chief OHM Magazine


C O N T E N T S

October-November 2012 4 บทบรรณาธิการ : Editor Note 8 Event Ncc 2010 10 Event Bitec 2010 12 Event Impact 2010 14 International Calendar Event 2012 16 Speaking Sign : ประตูลิฟท์ กิ๊บเก๋ Special report 18 ตระกูล e: e-Book หนังสืออิเลคทรอนิค 20 เดินสาย ขยายความรู้ 24 ปักธง ลงมือก่อน ย่อมได้เปรียบ 28 เหนียวนุ่ม โตไว ไก่เนื้อโคราช 30 สัมมนาเพิ่มความรู้ เสริมความสามัคคี Harmony Group 32 ขายสื่อแบบมหาชน 34 ต่อต้านคอร์รัปชั่น 35 แม็คโคร โฮเรก้า ครั้งที่ 7 38 ตารางการใช้สื่อ 58 CEO vision go Inter คุณสกุณา บ่ายเจริญ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ฮอท พอท จำกัด (มหาชน) Sign People / Company 60 บริษัทดีไลท์ มัลติมีเดีย จำกัด 62 บริษัท เซ็นทรัล อินดัสทรี จำกัด CSR In Action 64 แม่วงก์ และ แม่ยม OHM Outing 74 “บุ๋นจ่า” อร่อยต้องลอง 84 Gossip : จิบน้ำชา ใต้ต้นพิกุล 86 Society 90 member corner

44 Cover Story

Vol.9 No.75

36 Around the World OHM

สื่อระยะใกล้ ไร้สาย สื่อสารสองทาง 66 CSR In Action มูลนิธิใบไม้เขียว 68 Retro ฝรั่งทำเกิน

70 โรตารี มีน้ำใจ ห่วงใยเพื่อนมนุษย์ ภาพประทับใจ 76 Travelling สวิสเซอร์แลนด์ (ตอน 2) ล่องทะเลสาบ พิชิตยอดเขาแอลป์

78 Travelling in Cyber

บริการ Street View ประเทศไทย (ตอนจบ) 80 ASPA Home Town จัดระเบียบป้าย 82 MAAT TV Upfronts : The Bangkok Screeeings

Contact Information OUT OF HOME MAGAZINE : Publisher MGA Media Co.,Ltd. 40/64 OCM Building Moo 3, Soi Siam Samakkee, Vibhavadee Rangsit Rd., Talat Bang Khen, Lak Si, Bangkok 10210 Tel: 0-2521-9176-7 Fax: 0-2521-9178 www.ohmmag.com Email: info@mgamedia.co.th Advisor Education Department: Assoc. Prof. Dr. Kanjana Kaewthep, Assoc.Prof.Nares Kesaprakorn, Benjawan Vitayathanagorn, Advisor Advertisement Department: Vinai Silapasiliporn, Marut Arthakaivalvatee, Raveevan Chaengchenkit Editor-in-Chief: Siriporn Sa-ngobtam Editorial: Nittaya Kaewmueang, Jaenjira Raksakhen, Art Director: Aumarangsee Charoenchai Graphic Designer: Chadtap Tammeungpag Accounting – Finance: Akanet Pratan Account Executive: Warunee Rodson Photographer: Tanapat Photipakdee Honorary Photographer: Sombat Jitratanawat Contributors: Sakorn Treetanajitt, Worawoot Ounjai, Suphanee Dechaburananon, Assoc.Prof.Aruneeprabha Homsettee, Rachen Chumsai Na Ayudhya, Somchai Sittichaisrichart, Suthichai Eamcharoenying, Surachet Bumrongsuk, Monticha Sookchan The English text is Translated by Chanansinee Silapasiliporn Executive Editor: Siriporn Sa-ngobtam Color Separation/Printing: Eastern Printing Public Company Limited Pcl. 51/29, Moo 3, Soi Siam Samakkee, Vibhavadee Rangsit Rd., Talat Bang Khen, Lak Si, Bangkok, Thailand 10210 Tel: 02 551 0544 Fax: 02 551 0532, 02 552 0905 Distribution: Nanasarn 123-124 Pinnakorn 4 Pinklaonakornchaisri Talingchan Bankok, Thailand 10170 Tel: 662 433 6855 Fax: 662 880 7345


Event Carlendar ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ Queen Sirikit National Convention Center Tel. +662 229 3000 Fax. +662 229 3102 E-mail : info@qsncc.com Website : www.qsncc.com

Date วันที่

Event Name ชื่องาน

Brief Profile รายละเอียด

03 - 11 พฤศจิกายน 2555 03 - 11 November 2012

Bangkok Furniture Sale 2012, Bangkok Wedding Sale, Fashion and Jewelry Sale

15 - 18 พฤศจิกายน 2555 15 - 18 November 2012

Commart Comtech Thailand 2012

Time : 10.30 a.m. - 8.30 p.m. 1. Bangkok Furniture Sale Exhibition Profiles · Living room Furniture · Bedroom Furniture · Dining-room Furniture · Kitchen Furniture · Office Furniture · Appliances and Household items · Home Safety Equipment and Safety Alarms · Bathroom Products and Accessories · Home Decorative items · Crafts ,Wooden & Rattan Furniture · Home Decorative Innovations · Garden Furniture 2. Fashion & Jewelry Sale Exhibition Profiles · Fashion Garment · Ladies and Gentleman’s outfits · Health and Beauty · Accessories , Jewelry · Cosmetics , Natural and herb skincare · Leatherwear . Leather products ie. Bags , Shoes 3. Bangkok Wedding Sale The utmost fair of clothing , ornament and jewelry incorporating with the product and service for wedding couple. Exhibition Profile · Ladies and Gentlemen’s clothing and ornament · Leatherwear · Cosmetics , Beauty products · Deluxe photo studio · Wedding studio · Hotel & Banquet · Honeymoon Tour งานแสดงและจำหน่ายสินค้าไอทีครั้งยิ่งใหญ่ส่งท้ายปี จัดโดย บริษัท เออาร์ไอพี จำกัด (มหาชน) The grand-scale year-end gadget and IT trade fair is organized by ARIP Public Company Limited.

24 พฤศจิกายน -

02 ธันวาคม 2555 24 November -

02 December 2012

Modern Furniture Fair

18 - 28 ตุลาคม 2555 18 - 28 October 2012

Book Expo Thailand 2012

หนอนหนังสือทั้งหลายเตรียมตัวพบกับงานหนังสือปลายปีอีกครั้ง ในงานมหกรรมหนังสือ ระดับชาติ ครั้งที่ 17 The book fair aims to promote the paramount significance of reading among youngsters in line with fostering Thailand’s ambitions to become a learning society. Date : 18 - 28 October 2012 Time : 10 a.m. - 9 p.m.

งานแสดงสินค้าเฟอร์นิเจอร์ และของตกแต่งบ้าน ที่คัดสรรมาให้ได้เลือกซื้อเลือกชม เพื่อ ลงตัวในทุกสไตล์ของบ้าน Time : 10.30 am - 08.30 pm Union Pan Exhibition Co., Ltd. returns with another Modern Furniture Fair, a grand-scale event featuring all kinds of furniture and home décor items, aims to cater to contemporary consumers’ lifestyles with premium-quality, stylish furniture and home décor items.

Modern Furniture Fair will present all the leading manufacturers, exporters and designers, with an amazing array of styles to choose from. It’s the best place to find all your living room furniture, bedroom furniture, dining room furniture, kitchen sets, office furniture, electrical appliances, household safety equipment, sanitary ware, handicrafts, and much more.

Organizer ผู้จัดงาน

Organizer : The Publishers and Booksellers Association of Thailand (PUBAT) Organizer : Union Pan Exhibition Co.,Ltd. Tel : +66 2 719 0408, +66 2 314 0855 For more information, Please visit www.unionpan.com

Organizer : ARIP Public Company Limited Tel : +66 2 686 9009 For more information, Please visit www.commartthailand.com Organizer : Union Pan Exhibition Co.,Ltd. Tel : +66 2 719 0408, +66 2 314 0855 For more information, Please visit www.unionpan.com


Event Carlendar ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค BANGKOK INTERNATIONAL TRADE & EXHIBITION CENTRE (BITEC) Tel. +662 749 3939, +662 236 1890 Fax. +662 749 3949 E-mail : salesenquiries@bitect.net www.bitec.net

Date วันที่

Event Name ชื่องาน

25 - 28 Oct 2012

Thailand Retail, Food & Hospitality Services 2012 (TRAFS 2012)

25 - 28 Oct 2012

BABY BEST BUY @ BITEC

31 Oct - 2 Nov 2012

Thailand Medical Expo 2012

1 - 3 Nov 2012

BUS & TRUCK 12

งานแสดงรถเพื่อการพาณิชย์และกิจการพิเศษ ครั้งที่ 9 งานเดียวในอาเซียน The 9th Commercial and Special Purpose Vehicle Exposition

6 - 8 Nov 2012

In-Cosmetics 2012

The leading exhibition and conference in Asia for personal care ingredients

25 - 28 Oct 2012

Technomart Innomart 2012

Brief Profile รายละเอียด

“งานแสดงความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย” ภายในงาน ประกอบด้วยการแสดงผลงานพระอัจริยภาพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “พระบิดาแห่งเทคโนโลยีของไทย” ผลงานเครื่องมือเครื่องจักรกลภาคอุตสาหกรรม และ SME ของผู้ประกอบการไทย การสัมมนาอบรมอาชีพ เจรจาธุรกิจ ประกวด แข่งขัน แสดงสุดยอดเทคโนโลยีเครื่องจักรกลยอดเยี่ยม การประกวดแข่งขันของ เยาวชน จำหน่ายสินค้าเทคโนโลยีตั้งเป้าผู้เข้าชมงานกว่า 60,000 คน โดยมี เทคโนโลยีมาจัดแสดง กว่า 200 ชิ้นงาน พร้อมเทคโนโลยี Highlight จากต่าง ประเทศ “The Progress of Thai Technology and Innovation Expo” Technomart Innomart 2012 exhibit the projects innitiated by His Majesty King Bhumipol Aduyadej. The event displays industrial machinery and Thai SME products, the hignlight-advance technologyfrom many countries. Also the interesting activities such as seminar, business machmaking, Machinery Technology 2012 Contest and shopping technology products. งาน Thailand Retail, Food & Hospitality Services 2012 (ปีที่ 6) งานแสดง อาหารและเครื่องดื่มอันดับ 1 ของไทย สำหรับผู้ผลิต ผู้จัดจำหน่ายอุปกรณ์ของใช้ และวัตถุดิบอาหารและเครื่องดื่มสำหรับโรงแรม รีสอร์ท เซอร์วิสอพาร์ทเม้นท์ คอนโดมิเนียม ภัตตาคาร จัดเลี้ยง ร้านอาหาร ร้านกาแฟ เบเกอรี่และไอศกรีมกลุ่ม เป้าหมายผู้เข้าชมงานกว่า 26,000 คน จาก 45 ประเทศทั่วโลก Thailand’s 8th International franchise and business opportunities show, the LARGEST in ASEAN with more than 200 booths. A platform for franchisors to meet over 26,000 visitors from 45 countries in 4 days. งานมหกรรมสินค้าแม่และเด็กที่ถูกและดีที่สุด “BABY BEST BUY @ BITEC” บางนา เจ้าของเดียวกับ “Thailand Baby & Kids Best Buy” มหกรรมการช็อป สินค้าคุณภาพเพื่อลูกน้อยที่คุณรัก กับ แบรนด์สินค้าชั้นนำกว่า 500 บูธ ลดสูงสุด 80% พร้อมโปรโมชั่นสุดคุ้มอีกเพียบ ทั้งยังเพลิดเพลินไปกับกิจกรรมร่วมสนุกชิง ของรางวัล และกิจกรรมเสริมสร้างพัฒนาการเด็กที่หลากหลาย BABY BEST BUY@BITEC is perfect for parents who love browsing and buying an amazing array of top-notch products for their kids. The event collects together well-designed products from over 500 leading manufacturers offered at discounts of up to 80%. The international exhibition on Thailand’s healthcare services and public healthcare

21 - 24 Nov 2012 Metalex 2012

ASEAN’s Largest International Machine Tools and Metalworking Technology Trade Exhibition and Conference, 26th Edition

21 - 24 Nov 2012

International Sheet Metal Machinery and Technology Trade Exhibition & Conference

10

Sheet Metalex 2012

Organizer ผู้จัดงาน

Name : Ministry of Science & Technology

www.most.go.th/technomart

Tel : +662333 3947

Fax : +662333 3931

Name : Kavin Intertrade Co.,Ltd.

www.thailandfranchising.com

Tel : +66 2861 4013

Fax : +66 2861 4010

ชื่อ : Ace Con Thailand

www.thailandbabybestbuy.com

โทร : +66 2689 2899

Name : Ace Con Thailand

www.thailandbabybestbuy.com

Tel : +66 2689 2899 Name : Fireworks Exhibitions and Conference

www.thaimedicalexpo.com

Tel : +66 2513 1418 Name : TTF International Co.,Ltd.

www.BusAndTruckMedia.com

Tel : +66 2717 2477 # 170, 172 ,124

Fax : +66 2729 8758 Name : Reed Tradex

http://www.incosmeticsasia.com/

Tel : +66 2686 7299

Fax : +66 2686 7288 Name : Reed Tradex

http://www.metalex.co.th/

Tel : +66 2686 7299

Fax : +66 2686 7288 Name : Reed Tradex

www.metalex.co.th

Tel : +66 2686 7299

Fax : +66 2686 7288


Event Carlendar อิมแพ็ค เมืองทองธานี IMPACT MUNGTONG THANI Tel. +66 2833 5077 Fax. +66 2833 5060 E-mail : communications@impact.co.th www.impact.co.th

Date วันที่

Event Name ชื่องาน

Brief Profile รายละเอียด

Organizer ผู้จัดงาน

25-28 ต.ค. 55 อาคาร 1-2 Oct. 25-28, 2012, Hall 1-2

คิดส์ ออฟ เดอะ เวิร์ด 2012 Kids of The World 2012

ขบวนความสนุกต้อนรับน้องๆช่วงปิดเทอมใหญ่กับงานที่ห้ามพลาด Kids of the World 2012 มหกรรมแห่งความสุขสำหรับครอบครัวครั้งยิ่งใหญ่แห่งปี ครั้งที่ 6 กิจกรรมมากมายที่เนรมิตมาเพื่อน้องๆ อวดโฉม ประชันความ สามารถในโซนต่างๆที่จะส่งเสริมทักษะ พัฒนาความรู้ สร้างจินตนาการ ให้ แก่น้องๆ พบกับขบวนสินค้าและนวัตกรรมใหม่ๆ เลือกสรรกันอย่างจุใจ อาทิ ของเล่น เครื่องเขียน สื่อการเรียนรู้สำหรับเด็ก ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เครื่องดื่มโภชนาการ เครื่องนุ่งห่มและอุปกรณ์สำหรับเด็กและครอบครัว บริษัทประกันชีวิต โรงพยาบาล โรงเรียนและสถาบันต่างๆ อย่างครบวงจร บนพื้นที่กว่า 10,000ตร.ม. เตรียมให้พร้อมแล้วพบกันเฉพาะงานนี้เท่านั้น เวลา 10.00 – 20.00 น. The event features educational fun and many kid-related activities. A great event for family day out with your kids coming to touch, feel and experience with edutainment themes, such as playground zone, talent zone, fun park zone and many more. Time: 10.00 – 20.00 hrs.

25-28 ต.ค. 55 อาคาร 3 Oct. 25-28, 2012,Hall 3

SmartHeart Presents: Pet Variety - ตอนวาไรตี้เพ็ท เด็ด สะระตี่ SmartHeart Presents: Pet Variety - Super Amazing Exotic Pet

งานรวมพลสัตว์เลี้ยงน้องใหม่ที่เอาใจคนรักสัตว์โดยเฉพาะ พร้อมต้อนรับ พลพรรคคนรักสัตว์ด้วยสัตว์เลี้ยงแสนน่ารักนานาชนิดที่ยกขบวนมาอยู่ภาย ใต้หลังคาเดียวกัน ตื่นตาตื่นใจกับการประกวดและกิจกรรมสุดพิเศษที่จะ โชว์ความสามารถพิเศษของสัตว์เลี้ยงชนิดต่างๆออกมาประชันกันอย่างที่ คุณคาดไม่ถึง อีกทั้งยังเพลิดเพลินกับขบวนพาเหรดสินค้าราคาพิเศษสำหรับ สัตว์เลี้ยงมากมาย ไม่ว่าจะเป็นเครื่องประดับที่มีสไตล์ เครื่องแต่งกายที่แสน น่ารัก รวมไปถึงสินค้าที่จะดูแลสุขภาพสัตว์เลี้ยง จากผู้ร่วมแสดงงานกว่า 200 ราย บนพื้นที่ 5,000 ตารางเมตร เชิญร่วมสัมผัสประสบการณ์งาน สัตว์เลี้ยงที่สุดแสนจะเด็ดสะระตี่!! เวลา 10.00 – 20.00 น. The outstanding pet exhibition in Thailand, welcomes all pet lovers with numerous adorable pets which are under one roof. With the concept of “Amazing Pets”, the visitors will be excited about the fabulous pet competitions and incredible activities which present the untapped potential of your pets. Time: 10.00 – 20.00 hrs.

1-4 พ.ย. 55 อาคาร 3-4 Nov. 1-4, 2012 Hall 3-4

งานไทยเที่ยวไทย ครั้งที่ 26 26th Thai Tiew Thai 2012

กว่า 800 คูหาในงานมหกรรมส่งเสริมการขายสินค้าและบริการด้านการ ท่องเที่ยวต้อนรับฤดูหนาวที่มีผู้ประกอบการทั้งในและต่างประเทศเข้าร่วม แสดงจำนวนมากที่สุดในประเทศไทย เวลา 10.00-21.00 น. More 800 booths the Most Comprehensive Fair for Tourism (Winter) Time : 10.00-21.00 hrs.

1-3 พ.ย. 55 อาคาร 7 Nov. 1-3, 2012 Hall 7

มหกรรมสินค้า มาตรฐานส่งออกจีน 2012 ครั้งที่ 2 2012 ASEAN (Bangkok) China Import - Export Commodities Fair

งานแสดงสินค้าที่ใหญ่ที่สุดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์จากประเทศจีน เวลา 10.00-18.00 น. The biggest trade show on products from China Time 10.00-18.00 hrs.

The organizer บริษัท อิมแพ็ค เอ็กซิบิชั่น แมเนจเม้นท์ จำกัด

ฝ่ายโครงการ

โทร. 0 2833 5122, 0-2833 5329, 0-2664 6488 ต่อ 402

โทรสาร 0-2833 5127 to 9

อีเมล์: project@impact.co.th

เว็ปไซต์ของงาน: www.kidoftheworld.net

IMPACT Exhibition Management Co., Ltd.

Exhibition Project Department

Tel: 66+(0) 2833 5122 , 66+(0) 2833 5329 ,66+(0) 2664 6488 ext 402

Fax: 66+(0) 2833 5127 to 9

Email: project@impact.co.th

URL: http://www.kidoftheworld.net The organizer บริษัท อิมแพ็ค เอ็กซิบิชั่นแมเนจเม้นท์ จำกัด

ฝ่ายโครงการ

โทร. 0 2833-5125, 0 2833-5109

โทรสาร. 0-2833-5127 to 9

อีเมล์: project@impact.co.th

เว็บไซต์ของงาน : http://www.pet-variety.com IMPACT Exhibition Management Co., Ltd.

Exhibition Project Department

Tel: 0 2833-5125, 0 2833-5109

Fax: 66+(0) 2833-5127 to 9

Email: project@impact.co.th

URL: http://www.pet-variety.com Contact organzier: บริษัท พี.เค.เอ็กซิบิชั่น แมนเนจเม้นท์ จำกัด

โทร. 0-2683-3065-8

โทรสาร. 0-2683-3069

อีเมล์ : info@pkexhibition.com

เว็บไซต์ของงาน : http://www.pkexhibition.com P.K.Exhibition Management Co.,Ltd.

Tel: 0-2683-3065-8 Fax: 0-2683-3069

URL: http://www.pkexhibition.com

Email: info@pkexhibition.com The organizer:

สมาคมส่งเสริมการค้าอาเซียน Show manager :

BSE international group

โทร. 0-2276-6516 เว็บไซต์ http://www.aciec.com ASEAN Trade Promotion Association Show manager :

BSE international group

Tel. 0-2276-6516 Official website : http://www.aciec.com

12


นิตยสารสื่อนอกบาน ฉบับแรกและฉบับเดียวในประเทศไทย

44


Event Carlendar 5

2

8

9

3

4 7

10, 11, 12

ลำดับ No.

1

6

Date วันที่

Event Name ชื่องาน

City เมือง

Website

1

12 - 14 Oct 2012 16 – 18 Oct 2012

3

18 – 20 Oct. 2012

SGIA Expo

Colombo SRI LANKA Sofia, Bulgaria Las Vegas, USA

http://www.signtoday.biz/

2

Sign Today Print, Imaging & Sign Expo

4

30 – 31 Oct 2012

Ad-Tech Tokyo

Tokyo, Japan

http://www.adtech-tokyo.com/en/ exhibitor/exhibitors_list.html

5

7 - 8 NOV 12

Ad-Tech NewYork

http://na.ad-tech.com/ny/

6

7 – 10 Nov. 2012

ALL PRINT INDONESIA

New York, United States Of America Jakarta, Indonesia

7

8 – 11 Nov. 2012

Sign Asia Expo 2012

Bangkok, Thailand

www.signasiaexpo.com

8

22 – 25 Nov 2012

Korea Sign & Design Show

Seoul, Korea

http://kosign.info/

9

06 – 09 Dec 2012

Istanbul Sign Outdoor Advertising Fair

Istanbul, Turkey

http://www.signistanbul.com/index_ en.php

10

14 - 16 Dec 2012

LED Expo Delhi

New Delhi, Delhi, India

http://www.theledexpo.com/

11

15 - 17 Feb 2013

Media Expo-Mumbai

http:// www.themediaexpo.com

12

20 - 22-FEB-13

AD-TECH New Delhi

Mumbai, Maharashtra, India New Delhi India

16

www.biztradeshows.com/.../expoprint-imaging.ht http://www.sgia.org/

http://www.allprintpaperindonesia. com/

http://www.ad-tech.com/newdelhi/ adtech_new_delhi.aspx


Speaking Sign

ประตูลิฟท์ ใช้ประโยชน์ได้ เป็นการย้ำเตือนว่า นี่เป็นธุรกิจ ของบริษัท มองทุกวัน เห็นทุกครั้งที่ใช้ลิฟท์ ไม่ซึมซับบ้างก็ให้รู้ไปนะ คนที่ชอบก็น่าจะ โอ... โอ… นะ ส่วนคนที่เฉยๆ ก็เฉยๆ ไปล่ะกัน ใช้กลยุทธ์ มาบ่อย มาถี่ มาย้ำๆ ได้ผล เหมือนแฮ่…. สถานที่ : อาคารสยามมัลติมีเดีย

“ประตูลิฟท์ กิ๊บเก๋”

16


Special Report

ตระกูล e: e-Book... หนังสืออิเลคทรอนิกส์

(1)

18

(2)

(3)

(4)

(5)

ยุคนี้พฤติกรรมการอ่านหนังสือของผู้คนเปลี่ยนไป อ่านบน หน้าหนังสือ ในคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต และที่มาแรงเห็นจะ เป็นอ่านในสมาร์ทโฟนและแทปเล็ต ที่พกพาได้สะดวก อ่านได้ ทุกที่ทุกเวลาที่ต้องการ ในช่องทางการสื่อสารที่รวดเร็ว อย่างอินเตอร์เน็ต และ สมาร์ทโฟน, แทปเล็ต ความเร็วจึงมาพร้อมกับ การละเมิดสิขสิทธิ์ ที่ง่ายเพียงปลายนิ้ว และ กระจายตัวเร็ว เป็นได้ทั้งไวรัสตัวร้ายและข่าวดี ในเวลาเดียวกัน เรื่องนี้ผู้ประกอบการด้านสิ่งพิมพ์ มิได้นิ่ง นอนใจ เขาเตรียมป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ใน ช่องทางนี่ไว้แล้ว จึงจัดสัมมนาหัวข้อ “พัฒนา ศั ก ยภาพผู้ ป ระกอบการด้ า นธุ ร กิ จ ลิ ข สิ ท ธิ์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย” ขึ้นเมื่อ วั นที่ 5 กั น ยายน 2555 ที่ ผ่ า นมา ณ ห้ อ ง ประชุ ม 2 อาคารกรมส่ ง เสริ ม การส่ ง ออก กระทรวงพาณิชย์ มีวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทั้งในประเทศและจากประเทศเกาหลีใต้ มาให้ ความรู้ อาทิ (1) Mr.Robert (Sung Yoon) Kim Founderand CEO iPortfolio Inc, (2) Mr.Eric W.S.Yang Executive Director Korean Publishers Association, (3) คุ ณ สงวน ธรรมโรจน์ ส กุ ล Developer Evangelist Developer & Platform Evangelism Microsoft (Thailand), (4) คุณดนุพล กิ่งสุคนธ์ รองกรรมการผู้จัดการ บจก.ไอ ดี ซี อิ น โฟ ดิ ส ทริ บิ ว เตอร์ เซ็ น เตอร์ และ (5) คุ ณ พงศ์ สิ ริ เหตระกูล Business Development Director บจก.แม่บ้าน แนวทางที่พยากรณ์กันไว้คือ ในโลกยุคนี้และอนาคตอันใกล้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Book จะมีบทบาทสำคัญมาก ทั้งเพื่อการศึกษาและนันทนาการ-บันเทิง สิ่งที่น่าเป็นห่วงคือ การละเมิดลิขสิทธิ์ ซึ่งจะทำได้ง่ายกว่ามาก และการจะตามจับ ผู้กระทำผิดละเมิดลิขสิทธิ์นั้นสามารถทำได้โดยการติดตามจาก IP Address เท่านั้น จึงเป็นการยากมากที่จะป้องกันเรื่องนี้ได้ แนวทางที่ต้องรับมือ คือ ผู้ประกอบการควรทำความเข้าใจ เกี่ ย วกั บ หนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ทั้ ง ทางด้ า นการผลิ ต และ เทคโนโลยีของเครื่องที่รองรับระบบ รวมไปถึงการเข้าถึงสื่อของ ผู้บริโภค จากสถิ ติ พบว่ า การซื้ อ -ขาย สิ นค้ า ทางโลกออนไลน์ มี ปริมาณเพิ่มขึ้น จึงส่งนัยยะว่าในอนาคตการอ่านหนังสือบน กระดาษ ก็อาจจะลดทอนจำนวนลง ถึงวันนี้ไม่อาจคาดเดาว่า จะยังมีกระดาษในโลกใบนี้ไหม... น่าติดตามยิ่งนัก...


Special Report

ตลาดสื่ อ นอกบ้ า นในต่ า งจั ง หวั ด ขยายตั ว อย่ า งรวดเร็ ว ทั้งในเมืองใหญ่ และกระจายไปตามหัวเมืองรอง ทั้งรายเล็ก รายใหญ่ การกระจายจากศูนย์กลางความเจริญ จึงกระจายตัว ตามไปด้วยอย่างเป็นธรรมชาติ หากแต่รวดเร็วขึ้นตามเทคโน โลยีที่ไม่ต้องรออีกต่อไป บริษัท เซ็นทรัล อินดัสตรี จำกัด จึงไม่รอช้าที่จะให้บริการ ลู ก ค้ า และว่ า ที่ ลู ก ค้ า ด้ ว ยการจั ด ที ม งานไปพบกั น ในงาน สัมมนาที่ใช้ชื่อว่า “เซ็นทรัล สัญจร ครั้งที่ 1” ณ สบายโฮเต็ล จังหวัดนครราชสีมา งานนี้มีการเชิญผู้ประกอบการในแถบภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ อย่าง นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี และจังหวัดใกล้เคียง มากันอย่างคึกคัก “งานนี้ผมตั้งใจให้เป็นการให้ความรู้แบบเปิดเผย ด้านการ ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ จากผู้ที่ทำงานจริง เป็นการตอบแทนความ ไว้วางใจจากลูกค้า และเพื่อนๆ ผู้ประกอบการในภาคอีสาน ที ม งานตั้ ง ใจมากครั บ และพวกเราจะเดิ น สายไปอี ก หลาย จังหวัด คอยติดตามกันได้นะครับ” คุณสุทิน แซ่ตั้ง ผู้จัดการ ทั่วไป พูดถึงความตั้งใจของเขาและทีมงาน ที่ตั้งใจจะรอนแรม ไปอีกหลายแห่ง วิ ท ยากรที่ ม าพบกั น ในงาน อาทิ (1) คุ ณ พิ พั ฒ น์ วิทยาพิบูลย์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ต้นฉบับ จำกัด แนะนำ (1) วิธีทำเงินจากงานพิมพ์ออฟเซททั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่, (2) คุณคทาหัส ใจสว่าง เจ้าของร้านเอิร์ทไฮเทค แนะนำการ ใช้เครื่องตัดสติ๊กเกอร์ เพื่อนำไปใช้ ทั้งที่ลงในป้าย ป้ายไฟ สกรีนลงเสื้อ แรปรถ และการแกะสลักหินอ่อน การพ่นกระจก ทราย (3) คุณโกวิท เชียงล้ำ หัวหน้าช่างประจำของเซ็นทรัล อินดัสตรี ให้ความรู้ในการใช้งานและบำรุงรักษาเครื่องพิมพ์ อิงค์เจ็ท ที่ลงมือถอดเครื่องพิมพ์ให้เห็นกันแบบจะจะ ปิดท้ายไฮไลท์ (4) คุณสุทิน แซ่ตั้ง แนะนำวิธีประกอบและ ติดตั้งป้ายไฟ LED ด้วยตัวเอง ค่ายนี้เขาขยันดีจัง…

เดินสาย ขยายความรู้

(3)

20

(2)

(4)


Special Report

ปักธง ลงมือก่อน ย่อมได้เปรียบ

โอกาสของธุรกิจมาพร้อมกับการเปลี่ยนของธุรกิจ และการ ปรับตัวของผู้คน โลกของสื่อโฆษณา เมื่อเดินมาถึงทางแยก ก็ ต้องเป็นทางเลือกของธุรกิจที่ต้องเลือกทำในสิ่งที่ถนัด ลงลึก เจาะกลุ่ม มุ่งหากลุ่มเป้าหมาย เป็นการแบ่งงานกันทำ ที่หวัง ผลสำเร็จชัดเจน มากกว่าที่จะกำหว่านทั่วถ้วน จากโลกของสื่อโฆษณา ที่ต้องกระจาย ทุกทิศทาง เพราะ ต้องการครอบคลุมทุกกลุ่มของผู้บริโภค ปรับเปลี่ยนมาเป็นการ มองเจาะเฉพาะกลุ่ม วัดผลจากเม็ดเงินโฆษณาต่อหัว ต่อบาท ได้ชัดเจน ตอบได้กับความคุ้มค่า และตอบได้ใกล้เคียงกับการ มองเห็นรับรู้ของกลุ่มเป้าหมาย ทางแยกของค่ายกล งานโฆษณา และแล้ว เมื่อทางแยกเดินอยู่เบื้องหน้า กลายเป็นบริษัทที่ 24

ทำงานเฉพาะทาง เช่น ครีเอทีฟ โฆษณา และมีเดีย เดินทาง เป็นสาย ต่องานกันออกมา งานมีเดีย หรืองานสื่อยังถูกแบ่งออกเป็น สื่อดั้งเดิมที่เคยๆ ใช้กันมาอย่าง สื่อทีวี วิทยุ หนังสือพิมพ์ แมกกาซีน และสื่อที่มี บทบาทมากขึ้น ตามวิถีชีวิตของคนยุคนี้ ที่พบว่ามีพฤติกรรม การใช้ชีวิตอยู่นอกบ้านมากกว่าเดิม จึงเรียกกันว่า “สื่อนอก บ้าน” บทวิจัยของ Nielsen – เนลสัน พบว่า คนเมืองยุคนี้ใช้ เวลาอยู่นอกบ้าน ราว 11 ชั่วโมง ต่อวัน ดังนั้นสื่อโฆษณา จึง ต้องตามติดพวกเขาออกมานอกบ้านด้วยเช่นกัน “สื่อนอกบ้าน” มีแนวโน้มเติบโต เอเยนซีเจ้าแรกในเมือง ไทยที่กล้าแยกตัว ออกมาทำธุรกิจสื่อนอกบ้านโดยเฉพาะ คือ


“คินเนติก” หนึ่ง ในบริษัทในเครือ ของ Group M “ ปี นั้ น ผ ม จำแม่ น เป็ น ปี 2006 เราเริ่มงานกันด้วยความมั่นใจว่า สื่อนอกบ้านมีลู่ทางดีมาก การวางแผน การใช้สื่อมีการแยกออกมาว่า เป็นก้อน ของสื่อนอกบ้าน คนทำงานจึงสนุก และ ยิ่งทำให้เรามั่นใจว่ามาถูกทางครับ” คุณ วิทสุวัฒน์ อำคาเพท ผู้อำนวยการ ฝ่ า ยวางแผนและซื้ อ สื่ อ นอกบ้ า นและ ฝ่ายสร้างสรรค์ เปิดวงสนทนา ที่พวก เขาพร้อมใจกันมาเป็นทีม ซึ่งไม่บ่อยครั้ง นั ก ที่ จ ะเผยโฉม เพราะลำพั ง เวลา ทำงานก็ แทบจะไม่ พ อ จากการปั ก ธง เป็ น เจ้ า แรก จึ ง กลายเป็ น เสมื อ นแบ รนด์ดิ้งของการเป็นเจ้าแห่งสื่อนอกบ้าน ไปแล้ ว พบได้ จ ากมู ล ค่ า บิ ล ลิ่ ง ของสื่ อ นอกบ้านที่อยู่ในมือราว 40% ลูกค้าคาดหวังยอดขาย เป็นเรื่องธรรมดามากที่ลูกค้าทุกราย ที่จัดสรรงบโฆษณามาแล้ว ย่อมหวังผล ยอดขาย ลูกค้าของเอเยนซีโฆษณาสื่อ นอกบ้าน คือ เอเยนซีโฆษณาที่รับงาน มาจากลูกค้า และเจ้าของผลิตภัณฑ์ ที่ เข้ามาซื้อสื่อเอง โดยไม่ผ่านตัวกลางอื่น การรับโจทย์จากลูกค้า บางครั้งฟัง แล้วปิ๊ง บางครั้งต้องค้นหา แต่ประสบ การณ์ ก็ ช่ ว ยให้ ห าหนทางได้ ไม่ รู้ ตั น จริงๆ อรรถประโยชน์ สู ง สุ ด ของสื่ อ นอก บ้าน คือการสร้าง Awareness ตอกย้ำ ซ้ำเตือนให้เห็นบ่อยๆ ซึ่งมักใช้กับการ เสริมเข้ากับการออกแคมเปญในช่วงนั้นๆ หรือการสร้างภาพพจน์องค์กร จุดเริ่มของสื่อนอกบ้านที่ติดลมบน เกิดจากการมีทางด่วนขั้นที่ 1 ป้ายบิลบอร์ด จึงขึ้นพรึ่บตามจุดโค้ง ที่กลายเป็นที่รับสายตา และมีสื่อประเภทอื่นๆ ตามมาติดๆ มีสูตรการคำนวณค่าใช้จ่ายต่อหัว ของสื่อนอกบ้าน ประเภทบิลบอร์ด คล้ายกับ การวัดเรทติ้งของสื่อโทรทัศน์ เช่น ลงทุน 600 บาท มีคนเห็นสื่อบิลบอร์ด 1,000 คน คิดเป็นอัตราเฉลี่ย 0.60 บาท ต่อคน ซึ่งตามปกติ อัตรายิ่งต่ำ ยิ่งคุ้มค่า สื่อโต เพราะเมืองโต บ้านเมืองที่เจริญเติบโต อาคาร ตึกรามบ้านช่อง จำนวนประชากรที่เพิ่มจำนวนขึ้น สร้างชุมชน เมืองขยาย สื่อนอกบ้าน จึงตามติดไปด้วย อาทิ การเปิดสาขาของโมเดิร์น เทรดที่กระจายไปตามหัวเมือง ตามด้วยโรงภาพยนตร์ที่เพิ่มโรงฉาย ขยายเก้าอี้นั่ง เปิดปั๊มน้ำมัน มีหมู่บ้านในหัวเมืองบ้านแบบสวยๆ มีคอมมูนิตี้มอลล์ ร้านค้าชุมชน ล้วนมีส่วนทำให้สื่อนอกบ้านเติบโตอย่างน่าสนใจ ไอเดียย่อมเกิดขึ้นเป็นเงาตามตัว

Special Report

“คิ น เนติ ก ” ใช้ เวลาสะสมประสบ การณ์ พวกเขาทำงานไม่หนัก แต่มีพลัง ด้ า นกลยุ ท ธ์ ที่ พ บว่ า อั ต ราการเปลี่ ย น งานของที่นี่น้อยมาก เกือบทั้งหมดเป็น บุคลากรยุคบุกเบิกมาด้วยกัน พวกเขา ยอมรับว่าทำงานหนัก ทั้งทีมมีเพียง 20 คน แต่ ก วาดบิ ล ลิ่ ง ไว้ ใ นมื อ เป็ น เบอร์ หนึ่ ง มาจนถึ ง วั น นี้ ตั ว เสริ ม มี ตั ว ช่ ว ย เยอะ ตอบคำถามว่ า มี ก ารทำงานสอด ประสานกันอย่างไร จึงครองอันดับหนึ่ง ในมือได้เหนียวแน่น พวกเขาตอบแบบ ไม่ต้องคิดมากว่า เป็นเพราะทำงานด้วย ความสบายใจ มี “เจ้านาย” ในฐานะ ผู้นำที่เข้าใจ กล้าตัดสิน หนักเป็นหนัก ด้ ว ยกั น ดู แ ลคนทำงานแบบรู้ ใ จกั น เวลาต้องทำงานเย็นค่ำ มักมีของกินมา คอยบริการ อย่าง พิซซ่า หมูปิ้ง วงการสื่ อ นอกบ้ า น ก็ ไ ม่ ต่ า งจาก วงการอื่ น ๆ ที่ ต้ อ งเจอกั บ ปั ญ หาการ ขาดแคลนบุคลากรที่มีคุณภาพ ให้มารับ งานช่วงต่อไป ของคนรุ่นหลัง บุคลากร ที่ เหมาะกั บ การทำงานในเอเยนซี สื่ อ นอกบ้าน ต้องใจรัก อึด พร้อมที่จะเรียน รู้ เป็นการไม่ง่าย ที่จะสอนงาน สอน ค ว า ม อ ด ท นกั บ ง า นที่ ต้ อ ง มี ค ว า ม ละเอียดละออ แต่พวกเขาก็ยังมีความ หวังที่ต้องหาจนเจอเข้าสักวัน สื่อยุคดิจิตอล แน่นอนว่า เทคโนโลยี มีอิทธิพลกับ ผู้คน การใช้สื่อวิ่งเข้าหาพวกเขา ก็ย่อม ต้ อ งแทรกตั ว ลงไปให้ ได้ เช่ นกั น สื่ อใน โลกยุคดิจิตอลน่าจะถูกแปลงจับลงมาใช้ งานในสื่อเคลื่อนไหว สื่อเคลื่อนที่ หรือ การมองสื่อด้วยโทรศัพท์มือถือเป็นหลัก และมี ก ารใช้ ง านที่ วั ด ผลได้ ด้ ว ยการ สื่อสารสองทาง การเปิดประตูสู่ AEC จะทำให้มี การผสมผสาน แบบลู ก ผสมมากขึ้ น ลู ก ค้ า คาดหวั ง มากขึ้ น อย่ า งน้ อ ยต้ อ ง หวังลึกๆว่าจะขายของเร็วขึ้น มากขึ้น สื่อไม่นิ่ง คนทำงานต้องทำงานมากมิติ ขึ้นเช่นกัน สื่ อ นอกบ้ า น ยั ง เป็ น สู ต รเดิ ม ของ งานโฆษณา ที่ ต้ อ งเกาะติ ด ตามตั ว ผู้บริโภคไปทุกหนแห่ง…. 25


Special Report

ทีมเวิรค์ของคินเนติก คุณวิทสุวัฒน์ อำคาเพท ผู้อำนวย การ-ฝ่ายวางแผนและซื้อสื่อนอกบ้าน และฝ่ายสร้างสรรค์ เขามีประสบการณ์ ในวงการโฆษณา วงการสื่อมาแล้วราว 15 ปี และวางแผนชีวิตว่า จะขอรีไทร์ เมื่อวัย 60 “ยอมรับว่า ยิ่งทำงานมาก มานาน วัน ลูกค้ายิ่งคาดหวังสูงขึ้นเรื่อยๆ เมื่อ ต้องใช้สื่อ แล้วคุณจะทำอะไรต่อ เมื่อมี 3 D แล้ ว จะมี อะไรต่ออีก วันนี้น่าจะ ตอบได้ว่า ปัจจัยที่ลูกค้าซื้อสื่อนอกบ้าน คือ เรื่องราคา การใช้สื่อเป็นซีรี่ย์ เป็น เครื่ อ งมื อ ทางการตลาดที่ ชั ด เจนมาก และเป็นสื่อเฉพาะที่สร้างความจดจำให้ สินค้านั้นๆ ได้ งานสื่ อ นอกบ้า นที่ผ มประทั บ เป็น งานที่เหมือนเสก ดีดนิ้วแล้วมาปรากฏ ตรงหน้า ที่ต้องหยิกตัวเองว่า เกิดขึ้นได้ จริ ง รึ … จริ ง ซิ ที ม งานใช้ เวลาเพี ย ง 1 เดือน จากที่คิด ลงมือทำและสื่อปรากฏ ต่อสายตา เป็นแคมเปญ “เสื้อยักษ์” ขอ งบรี ส ที่ ใ ช้ เครนยกสู ง จากพื้ น ริ ม ทาง 26

ด่วนขั้นที่ 1 ยากครับแต่ก็ทำได้ ผมจึงได้ ความรู้ เ รื่ อ งทิ ศ ทางแรงลมแถมเข้ า มาด้วย ส่วนอีกงานที่ประทับใจ เป็นงานของ ผงซักฟอก “โอโม่” เป็นเสื้อขาวหุ้มตึก ร้างขนาดความสูง 40 ชั้น มองเห็นเด่น ชัด แต่ไกล ขายงานกับลูกค้าถึง 3 รอบ จึ ง จะสำเร็ จ ความยากคื อ ช่ า งติ ด ตั้ ง

ต้องหิ้วอุปกรณ์ทุกอย่างเดินขึ้น-ลงบันได เพราะมันเป็นตึกร้าง ยังสร้างไม่เสร็จ ที ม งานบอกผมว่ า อย่ า ไปดู ต อนเขา ทำงานนะ กดดันช่างเปล่าๆ ไว้รอดูตอน งานเสร็จจะดีกว่า พองานออกมาก็พูด กันเป็นทอลก์ออฟเดอะทาวน์ได้ ครับ” คุณธารทิพย์ ตันสกุล รองผู้อำนวย การ - ฝ่ายวางแผนและซื้อสื่อนอกบ้าน มี ป ระสบการณ์ ใ นงานสื่ อ นอกบ้ า น


มาแล้ ว 8 ปี จึ ง ใช้ ชื่ อ เรี ย กว่ า เป็ น Specialist “งานสื่ อ นอกบ้ า น ต้ อ งอย่ า คิ ด เหมือนเดิม โจทย์จากลูกค้ามีหลายมุมที่ เลือกนำเสนอได้ แต่จะให้โดนใจ ซื้องาน ที่เรานำเสนอ นั่นแหละเป็นงานที่ยาก ที่เราจะชี้นำลูกค้าได้อย่างไร ลูกค้าที่ดิฉันปลื้มใจ ที่คิดว่าเราเองก็ มีส่วนในการร่วมกับลูกค้าทำ CSR ด้วย กัน เป็นหลอดไฟฟ้า “แลมป์ตัน” ตัว ลูกค้าเองก็คิดไม่ตกผลึกสักที ว่าจะทำ โครงการอะไรดี เพราะเรื่องไฟฟ้า แสง สว่าง ดูเหมือนว่าถูกการไฟฟ้า เหมาไป หมดแล้ว อย่าง ปลูกป่า สร้างฝาย สุดท้ายลูกค้าซื้อไอเดียของการเป็น เพื่ อ นส่ อ งสว่ า ง ใช้ ง บประมาณไป 700,000 บาท ต่อเดือน กระจายไป 70 จุด ในช่วงวันวาเลนไทน์ จนถึงตรุษจีน คนทำงานอย่างเรา ภูมิใจกับงานชิ้น นี้มากค่ะ” คุณนัทรา ตรีปัจยากร ผู้จัดการ ฝ่ายวางแผนและซื้อสื่อนอกบ้าน เธออยู่ กับวงการโฆษณามานานกว่า 21 ปี มา แล้ว เวลาที่ผ่านมานั้น ยิ่งทำให้สนุกกับ งาน ลูกค้าที่หมุนเวียนเปลี่ยนเข้ามาให้ ดูแล จึงเป็นความท้าทายที่ไม่เคยเบื่อ “งานโหดของดิ ฉั น เป็ น โจทย์ ข อง ลูกค้า ที่มอบโจทย์ว่าแคมเปญของเขา ลู ก ค้ า ไม่ ค่ อ ยรู้ จั ก พอไม่ รู้ จั ก ก็ ไม่ ซื้ อ วนๆ อยู่อย่างนี้ การวัดผลยอดขายของ ฟาสฟู้ดส์สาขา เป็นจุดคุ้มทุนที่ผู้บริหาร ต้องให้น้ำหนัก เมื่อมีแคมเปญให้โทร สั่ง

ที่ 1150 ปรากฏว่า มียอดสั่งน้อยมาก ลูกค้ามีงบประมาณ อยู่เพียงเจ็ดแสน ต่อหกเดือน ต้องคิด คิดให้แตก.. เราใช้มอเตอร์ไซค์ ลากกล่องไฟ วิ่ง ซอกแซก เข้าไปตามหมู่บ้าน เราเลือกที่ ย่านประชาอุทิศ และย่านวังหิน มีเสียง เพลงดังพอที่จะให้คนยกหูมาสั่ง ซื้อไป ถูกเบอร์ มีแบนเนอร์เสริม ลูกค้าพอใจ มากเพราะผลตอบรับจากยอดขายดีขึ้น ทันตา อีกงานที่ภูมิใจ คือ รัดเข็มขัด รัดตึก ให้ผอม ของเนเจอร์กิ๊ฟ เราต้องมานั่ง ช่ ว ยกั นคิ ด เรื่ อ งสี ที่ จ ะหลอกสายตา ของการมองว่า ตึกมันผอมได้จริง ต้อง เรียนรู้เรื่องสี เป็นศาสตร์ที่สนุก เราใช้ เวลาทำงาน 3 สัปดาห์ ต้องระวังมาก เรื่องของหล่น ของตกกับบริเวณบ้าน ประชาชนย่านนั้น แต่ทุกอย่างผ่านไปได้ ด้วยดีค่ะ” คุณวรรณี วิรยิ ะกิจไพบูลย์ ผู้อำนวย การฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ เธอเป็นอีกหนึ่ง ทีมงานรุ่นบุกเบิกของคินเนติก และยัง สนุกกับงานทุกวัน “นอกเหนือจากการวางแผน การใช้ สื่อนอกบ้านให้ตอบโจทย์ลูกค้าแล้ว สิ่งที่ เราหวั ง ผล คื อ การพู ด ต่ อ ๆ กั น ไป เป็นการเพิ่มตัวทวีของการรับรู้ สื่อนอก บ้านในยุคนี้มีมาก คู่แข่งของสินค้าก็มี มาก การทำงานของที ม งานจึ ง ต้ อ งใช้ ประสบการณ์ ที่ลงลึก มาช่วย รวมทั้ง ความร่ ว มมื อ ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ จาก ซัพพลายเออร์ คู่ค้า

Special Report

สื่ อ นอกบ้ า น เป็ นงานที่ ต้ อ งระมั ด ระวัง เรื่องความผิดพลาด เพราะอาจไม่ สามารถชดเชยให้ ลู ก ค้ า ได้ เมื่ อ ผิ ด จั ง หวะ ผิ ด เวลา และการกระจาย ความเป็ น เจ้ า ของ ของสื่ อ นอกบ้ า นก็ ทำให้การทำงานไม่ง่ายนักกับการควบ รวม ให้ เ ป็ น กลุ่ ม ก้ อ นเดี ย วกั น ค่ ะ ”.

27


Special Report

ทีมงานเฉพาะกิจ ขับรถจากเมืองกรุงมุ่งสู่โคราช โดยนัดจัด พิเศษไว้ในเวลาเที่ยงของวันที่ 2 กันยายน 2555 ที่ผ่านมา เกือบเที่ยงทีมงานมาถึงที่นัดหมาย-บ้านซับตะเคียน ตำบลลาด บัวขาว อำเภอสีคิ้ว พบแล้ว….เจ้าของนัดของทีมงาน-ดร.อมรัตน์และดร.วิทวัส โมฬี สองภรรยาสามี นั ก วิ ช าการที่ วั นนี้ น่ า จะกลายเป็ น ผู้ เชี่ยวชาญเรื่อง “ไก่โคราช” ไปแล้วกระมัง ท่านรออยู่พร้อมกับ ชาวบ้านอีกนับสิบคน เห็นแล้ว อาหารมื้อเที่ยงวางเรียงบนโต๊ะ อาหารรอท่าอยู่แล้ว ไหน…มีอะไรบ้าง ชวนชิมทั้งนั้น ส้มตำ ผัดหมี่โคราช ข้าว เหนียว และพระเอกของงาน “ไก่ย่างซับคะเตียน” วันนี้ทีมงาน ตั้งใจมาเจาะประเด็นไก่สายพันธุ์ใหม่กันครับคือ “ไก่เนื้อโคราช” เป็นไก่ที่พัฒนาสายพันธุ์โดยการนำพ่อพันธุ์พื้นเมืองเหลืองหาง ขาว มาผสมกั บ แม่ พั น ธุ์ มทส. (มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี สุรนารี)เป็นทุนวิจัยจาก สกว. ทำให้มีไก่พันธุ์ใหม่ มีคุณสมบัติ เป็นที่ต้องการของตลาด คือ เนื้อแน่น รสชาติอร่อยเหมือนไก่ บ้าน แต่ให้ปริมาณเนื้อที่มากกว่า โตเร็วใช้เวลาเลี้ยง 65 – 70 วัน น้ำหนักราว 1.2 กก. จนได้รับฉายาว่า “อร่อยเหมือนไก่ไทย โตทันใจเหมือนไก่ฝรั่ง” มีคอเรสเตอรอลในปริมาณที่ต่ำกว่าไก่ เนื้อถึง 3 เท่า ใช้ต้นทุนการเลี้ยงต่ำ และสามารถเลี้ยงใน สภาพแวดล้อมของเกษตรกรทั่วไปได้ “เราพบว่ า ความนิ ย มของตลาดมี ค วามต้ อ งการไก่ บ้ า น เพราะความอร่อย ไขมันน้อย แต่การผลิตไก่เนื้อออกสู่ตลาดยัง คงมีปริมาณไม่เพียงพอ และมีจำนวนไม่แน่นอน อันเนื่องมาก จากธรรมชาติ ข องไก่ บ้ า นมี อั ต ราการเจริ ญ เติ บ โตและความ สามารถในการออกไข่ต่ำ การเลี้ยงเป็นอาชีพจึงมีข้อจำกัด จนมี อาการจุดประกายเกิดโครงการวิจัยเรื่อง “การสร้างสายพันธุ์ไก่ เนื้อโคราชเพื่อการผลิตเป็นอาชีพวิสาหกิจชุมชน” ภายใต้ความ ร่วมมือของ 4 หน่วยงาน ประกอบด้วย สำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, กรม ปศุสัตว์ และกลุ่มทำนาลาดบัวขาว” ดร.วิทวัส โมฬี หัวหน้า สาขาเทคโนโลยี ก ารผลิ ต พื ช อาจารย์ ป ระจำสาขาวิ ช า เทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มสท.) หนึ่งในทีมวิจัยบอกถึงที่มาของโครงการ จากการเริ่มเลี้ยงไก่ เมื่อปี 2552 เพียง 5 ครอบครัว วันนี้ มีบ้านที่เลี้ยงไก่ 17 ครอบครัว รวมประมาณ 3,000 ตัว “ไก่ เนื้อโคราช-ไก่ย่างบ้านซับตะเคียน” กำลังไต่อันดับมุ่งสู่ ความ นิยมของ “คอไก่ย่าง แฟนคลับ” หากคุณๆ เป็นคนชอบกินไก่ ย่าง หากคุณๆชอบกินไก่บ้าน เพราะไขมันต่ำ เนื้อแน่น คุณ อาจจะตกหลุ ม รั ก เมนู นี้ ใ นไม่ ช้ า หากได้ ลิ้ ม ลองสั ก จาน... ฮื่มมมม น่าลองนะครับ

เหนียวนุ่ม โตไว ไก่เนื้อโคราช

28

ดร.อมรัตน์และดร.วิทวัส โมฬี สองภรรยาสามี นักวิชาการ กำลังสำคัญของ ไก่เนื้อโ คราช-ไก่ย่างบ้านซับตะเคียน

แกนนำคนสำคัญ ในการขับเคลื่อนชุมชน ใน อบต.ลาดบัวขาว

บุ ญมา ปัตเทสังข์ รองนายกฯ อบต.ลาดบัวขาว ผู้นำที่เข้มแข็ง เขา เริ่มเป็นคนเลี้ยงไก่เนื้อโคราช ชุดแรก เมื่อปี 2552

ไก่ลูกผสม เลี้ยงง่าย โตไว 65-70 วัน น้ำหนัก 1.2 กก./ตัว ขายราคา 150.- บาท

เตาย่างไก่ ไร้ควัน ด้วยแนวคิดธรรมชาติ คือ เทลาดเอียง ไม่ให้น้ำมันไก่หยดลง ที่เตา แค่นี้ก็ไม่เกิด ควัน


นิตยสารสื่อนอกบาน ฉบับแรกและฉบับเดียวในประเทศไทย

44


Special Report

การขับเคลื่อนองค์กรนั้น เชื่อกันว่าต้องมีบุคลากรเป็นกำลัง สำคัญ แม้จะมีเทคโนโลยีขั้นเทพปานใด แต่บรรทัดสุดท้าย ก็ คือ “คน” อยู่ดี ดังนั้นการเติมความรู้ เพิ่มเติมศักยภาพให้แก่บุคลากร ย่อม ส่งผลดีต่อการพัฒนาองค์กรทั้งปัจจุบันและอนาคต การนี้เจ้า หน้ า ที่ ผู้ ป ฏิ บั ติ ก ารในองค์ ก รวิ ช าชี พ อาทิ สมาคมป้ า ยและ โฆษณา,สมาคมส่งเสริมไทยธุรกิจโฆษณา,สมาคมมีเดียเอเยนซี และธุรกิจสื่อแห่งประเทศไทย,ชมรมไทยอิงค์เจ็ท,ชมรมสื่อนอก บ้าน และสื่อพันธมิตรตลอดกาลOHM Magazine ที่หล่อหลอม รวมเรี ย กกั น ว่ า “Harmony Group“ จูงมือประสานชวนกัน ไปเข้ า คอร์ ส สั ม มนาขนาดระยะ สั้น ชื่อว่า “พัฒนาคน Outing ลิงโลด” เพื่อค้นหาตัวเอง และ รู้จักเพื่อนร่วมงาน โดยมีวิทยากร มากประสบการณ์ รศ.ดร. ธิ ติ พั ฒ น์ เอี่ ย มนิ รั น ดร์ จาก มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ม า ท ำ ห น้ า ที่ ช่ ว ย ก ร ะ ตุ้ นจุ ด ประกายพลั ง ออร่ า ในตั ว ตนให้ ผมยินดีรับเดินสายทั่วประเทศ ออกมาขับเคลื่อน ระหว่าง วันที่ 14-15 กันยายน 2555 ที่ผ่าน มา ณ โรงแรม อโยเดีย พระนครศรีอยุธยา เช้าตรู่วันศุกร์ที่ 14 กันยายน คณะออกเดินพร้อมกันมุ่ง หน้าสู่กรุงเก่า พระนครศรีอยุธยา ใช้เวลาเดินทางไม่นานนักก็ ถึงยังที่หมายโรงแรมอโยเดีย เก็บสัมภาระเข้าที่พัก ยืดเส้นยืด สาย ชมทัศนีย์ภาพรอบๆ นิดหน่อย ก็เริ่มการสัมมนาอันเข้ม ข้น สนุกสนานกับสาระความรู้จนเวลาล่วงมาเกือบๆ บ่าย ก็มี เสียงร้องเตือนให้หาอร่อยใส่ท้องบ้าง พนักงานต้อนรับแนะนำ ว่าไม่ไกลจากโรงแรมนักมีร้านก๋วยเตี๋ยวอร่อยขึ้นชื่อของเมืองนี้ ชาวคณะบางท่านเลือกที่จะปั่นจักรยานชมวิวระหว่างทาง อีก

สัมมนา เพิ่มความรู้ เสริมความสามัคคี Harmony Group

30

เรือนไทยริมน้ำ ได้บรรยากาศไทยติดปลายจมูก

ร้านผักหวาน อาหารขึ้นชื่อ (อีกจาน) ของคนกรุงเก่า


ทรงคุณค่า ภูมิใจในความเป็นไทย

แบบฝึกหัด ติวเข้ม

นำเสนออย่างเข้มแข็ง

อาหารสมอง แทนคำขอบคุณ

Special Report

ส่วนหนึ่งก็กระโดด ขึ้ น ส ก า ย แ ล ป (ฉายารถโดยสาร สองแถวของเมือง นี้ ) ราวห้ า นาที สกายแลปก็ พามา ถึงหน้าร้าน มีป้าย โ ต ขึ้ น อ ยู่ ชื่ อ ว่ า “ร้านผักหวาน เจ้า แรกเจ้ า เดี ย วใน อ ยุ ธ ย า ” แก๊งค์ ตุ๊ก ตุ๊ก ชมเมือง บรรยากาศภายใน ร้านร่มรื่น เย็นสบาย สั่งอาหาร นั่งรอไม่นานก็ทยอยมาเสิร์ฟ พบว่าทุกเมนูของร้านนี้มีผักหวานเป็นตัวชูโรงความแซ่บ ตะวั น คล้ อ ยบ่ า ยสองกว่ า ก็ ไ ด้ เวลาสั ม มนากั น อี ก รอบ เนื้อหาเข้มข้นเจาะลึกรายละเอียดตัวบุคคล รอบนี้ยาวไปจน เกือบหกโมงเย็น จบการสัมมนาในวันแรก ล้างหน้าล้างตาเพิ่มความสดชื่น ก็ออกไปรับประทานมื้อค่ำที่ทางเจ้าของโรงแรมจัดเตรียมไว้เป็น พิเศษเฉพาะชาวคณะเท่านั้น ชื่อร้าน “เรือนกัญญา” อิ่มอร่อย หลากหลายเมนู ชาวคณะก็ขึ้นสกายแลปพาชมกรุงเก่ายาม ค่ ำ คื น เจดี ย์ กั บ แสงไฟที่ ป ระดั บ ช่ า งเข้ า กั น เพิ่ ม ความ ขลังอลังการ์ให้กับเมืองนี้ยิ่งนัก ตระเวนชมกรุงได้ไม่นาน ฝนก็ เทลงมา ต้องรีบบึ่งกลับที่พักทันที เป็นอันจบวันแรกโดยปริยาย แยกย้ายเข้าที่พัก เก็บแรงไว้รุ่งขึ้น... เช้าวันเสาร์ที่ 15 กันยายน ตื่นมาเก็บบรรยากาศ บันทึก ภาพความสดชื่น เติมพลังมื้อแรกด้วยชุดอาหารเช้าที่โรงแรมมี ไว้บริการ จากนั้นราวเก้าโมงก็ได้เวลาสัมมนารอบเก็บตก รอบ นี้เป็นการวางนโยบายต่างๆ ของบริษัท องค์กร และความร่วม มือในการทำงานเป็นทีม พบว่าบุคคลากรโดยส่วนใหญ่จะถนัด ในการทำงานฉายเดี่ยวมากกว่าการทำงานเป็นกลุ่ม ซึ่งต้องนำ การสัมมนานี้ไปปรับใช้เพื่อประโยชน์สูงสุดขององค์กร เกือบเที่ยงวันก็ปิดการสัมมนา โดยชาวคณะที่ไปร่วมในครั้ง นี้ต่างก็ได้ความรู้แนวคิดเพิ่มเติมที่จะนำมาพัฒนาองค์กรให้เข้ม แข็งได้ยิ่งขึ้นในโอกาสต่อไป เช็คเอาท์เก็บสัมภาระฝากไว้ที่เคาท์เตอร์โรงแรม ออกไปหา อร่อยอีกมื้อและพักผ่อนตามอัธยาศัย เวลาราวบ่ายสาม รถตู้ที่ นัดไว้ก็มารับชาวคณะกลับสู่กรุงเทพ สี่โมงเย็นรถก็แล่นฉิวมา จอดถึ ง หน้ า อาคารสำนั ก งาน ต่ า งคนก็ ต่ า งแยกย้ า ยกลั บ เคหะสถาน เป็นการจบทริปสัมมนาโดยบริบูรณ์.... ขอขอบคุณ : TABDA-สมาคมส่งเสริมไทยธุรกิจโฆษณา สนับสนุนทุนพัฒนา บุคลากร : อาจารย์อ้อย-พิมพ์ประไพ พิศาลบุตร เจ้าของโรงแรม อโยเดีย และ เจ้าหน้าที่ของโรงแรมที่ดูแลชาวคณะเป็นอย่างดี ตลอดงาน . 31


Special Report

ชูสองนิ้วแปลว่า สู้... สู้... ใช่ไหมบอสส์ เมื่ อ ถึ ง จั ง หวะที่ ต้ อ งโต…. ก็ ต้ อ งโต สิ่ ง แวดล้ อ มทำให้ ทุกธุรกิจต้องปรับตัว จากธุรกิจเอกชนธรรมดา ธรรมดา ต้องมี การแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน เดินหน้าเข้าเป็นบริษัทจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัท วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย จำกัด (มหาชน) หรือ VGI เจ้าของสิทธิบริหารสื่อโฆษณาในระบบรถไฟฟ้า BTS ทั้ง 23 สถานี แต่เพียงผู้เดียวไปจนถึงปี 2572 หรืออีก 17 ปี ข้างหน้า นอกจากความเป็ น ผู้ น ำด้ า นสื่ อ นอกบ้ า นประเภท Transit Media แล้ว ค่ายนี้ยังขยับขยายไปยังสื่อที่วิ่งเข้าถึงตัวผู้บริโภค ในกลุ่มคนทำงานที่มีรูปแบบการดำเนินชีวิตในยุคสมัยใหม่ ที่ เรียกว่าเป็น Lifestyle Media อาทิ สื่อในศูนย์การค้า เทสโก้โลตัส บิ๊กซี วัตสัน อาคารสำนักงาน เป็นสื่อประเภทจอดิจิตัล ที่แสดงภาพเคลื่อนไหว เพิ่มสีสันและแสดงความทันสมัย “สำหรับสื่อโฆษณาในระบบขนส่งมวลชนและในโมเดิร์น เทรด ผมเชื่อว่ายังมีอัตราเติบโตที่ดีมาก ในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา ทั้งสองสื่อเติบโตด้วยอัตราประมาณ 20% และ 46% ตาม

ขายสื่อแบบมหาชน

32

ลำดับ เจ้าของสินค้ารู้ดีครับว่า เป็นการสื่อสารไปยังกลุ่มเป้า หมายที่ ม องกั น ไว้ อ ย่ า งตรงเป้ า ” คุ ณ มารุ ต อรรถไกวั ล วที ประธานเจ้าหน้าที่บริหารบริษัท วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย จำกัด (มหาชน) กล่าวถึงแนวโน้มของสื่อนอกบ้าน ที่นับวันจะเพิ่ม บทบาทมากขึ้ น กั บ ชี วิ ต ของผู้ ค นยุ ค นี้ ส่ ง ผลให้ VGI ต้ อ ง เตรียมการขยายตัวรองรับภาพรวมของการเติบโต รวมทั้งการ มองสู่อนาคตของตลาด AEC ในอีกไม่ถึง 2 ปี ข้างหน้านี้ VGI เป็นบริษัทในเครือของบริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน)-BTSC VGI มีทุนจดทะเบียน 400 ล้านบาท และมีการนำหุ้นของผู้ ถือหุ้นเดิมบางส่วน ออกมาขายให้กับประชาชน ในราคาหุ้นละ 35 บาท โดย VGI เข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2555


นิตยสารสื่อนอกบาน ฉบับแรกและฉบับเดียวในประเทศไทย

44


Special Report

ช่วยกันชูป้าย และชูใจ “มะเร็งร้าย” ของสังคม คือ “คอร์รัปชั่น” คุณๆ เชื่อกัน อย่างนั้นกันไหม….. หากไม่เชื่อ…ขอให้ปล่อยผ่านไปเลย อย่าสนใจ คอลัมน์ นี้…. หากเชื่อ…ขอให้ลงมาช่วยกัน มองซ้าย ขวา รวมทั้งตัวเอง ว่า เข้าข่ายกระทำการนี้หรือไม่ การดังที่ว่านี้ นับวันจะมีอาการ มากขึ้ น ในประเทศไทย กลายเป็ นตั ว ฉุ ด รั้ ง ความเจริ ญ ของ ประเทศ และกระชากจิตใจของผู้คนให้ตกต่ำด้านจริยธรรมลง ไปด้วย กระแสต่อต้านคอร์รัปชั่น แรง และดังขึ้น เมื่อสภาพความ เป็นจริงของสังคมไทย บังเกิดขึ้นให้ผู้คนเห็นกัน “ตำตา” ไม่ อายฟ้าดิน ในสังคมที่เชิดชูคนร่ำรวย แต่ละสายตาที่ละไม่มอง ที่มาของเงินเหล่านั้น แม้จะเกิดจากความทุจริตมาก็ตาม เรื่องนี้ จึงมีหอการค้าไทย ลุกขึ้นมาเป็นแกนนำในการต่อ ต้ า น โดยเรี ย กว่ า “ภาคี เครื อ ข่ า ยต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั่ น ” และ กำหนดให้ทุกวันที่ 6 กันยายน ของทุกปี เป็น “วันต่อต้าน คอร์รัปชั่น” (เพื่อร่วมรำลึก ในวันที่คุณดุสิต นนทะนาคร อดีตประธานหอหารค้าไทยและประธานก่อตั้งเครือข่ายต่อต้าน คอร์รัปชั่นคนแรก เสียชีวิต) งบประมาณแผ่นดินในการบริหารประเทศไทย ประจำปี 2556 ที่ผ่านการลงมติ จากรัฐสภาไปแล้ว คือ 2.4 ล้านล้าน บาท หากสามารถนำมาพัฒนาประเทศแบบเต็มเม็ด เต็มหน่วย หากท่านเชื่อว่าจะช่วยพัฒนาเมืองไทยของเราได้อีกมากมาย ท่านจะมีความสุขเพียงใด…. แต่หากไม่ ท่านมีสุขได้อย่างไร... มาร่วมขบวนการ ต่อต้านคอร์รัปชั่น กันเถอะ….

ต่อต้านคอร์รัปชั่น

34

ทุกวันที่ 6 สิงหาคม เป็นวัน “ต่อต้านคอร์รับชั่น” เพื่อรำลึกการจากไปของคุณดุสิต นนทะนาคร


บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) จัดงานมหกรรม ครบเครื่องเรื่องอาหารและอุปกรณ์ เป็นปีที่ 7 เพื่อลูกค้าและผู้ สนใจเข้ามาร่วมงาน ซึ่งได้รับการสนับสนุนเต็มที่จากพันธมิตร ธุรกิจทุกค่าย เมื่อวันที่ 13-16 กันยายน ที่ผ่านมา ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี Hotel, Retail และ Catering คือตลาดธุรกิจอาหารที่ ขยายตัวรวดเร็วมาก ครอบคลุมกลุ่มโรงแรม ร้านค้าปลีกและ ธุรกิจจัดเลี้ยง ส่งผลให้ผลการดำเนินการของแม็คโคร เติบโต และขยายจำนวนสาขาอย่างต่อเนื่อง นอกเหนือจากการที่ลูกค้าสามารถเข้าไปจับจ่ายได้ในแต่ละ สาขาแล้ว เมื่อมีกิจกรรมทางตลาดเข้ามาเสริม ยิ่งทำให้ความ สั ม พั นธ์ ร ะหว่ า งลู ก ค้ า และคู่ ค้ า มี โอกาสเจอกั น เพื่ อ ช่ อ ง ทางการค้าต่อกันได้อีกด้วย ที ม งานจึ ง ขยั นที่ จ ะคิ ด แนวทางการจั ด งานแบบไม่ ซ้ ำ ใน แต่ละปี ให้เกิดอาการเหนือความคาดหมายและสร้างความตื่น เต้นให้ลูกค้าได้ไม่รู้เบื่อ ปีนี้ จึงมีการสาธิตอาหาร 11 ประเทศ มาโชว์กันกลางงาน ให้เป็นแนวคิดสากล มั่นใจในการทำอาหาร ได้อย่างมั่นใจ “ต้องขอบคุณลูกค้า คู่ค้าและทีมงานทุกคน ที่ทำให้งาน สมหวังกับทุกๆ ฝ่าย และในเวลาอันใกล้นี้ ผู้ประกอบการไทย ต้องเตรียมตัว ปรับตัว ต่อการแข่งขันที่รุนแรงขึ้น เมื่อเราเปิด ตลาดสู่ AEC ดิฉันและทีมงานดีใจมาก ที่มีส่วนทำให้ผู้ที่มา ร่วมงานกว่า 70,000 คน ได้ประโยชน์กันโดยทั่วหน้า และ ขอบคุ ณ ล่ ว งหน้ า สำหรั บ การจั ด งานในปี ต่ อ ๆ ไปค่ ะ ” คุ ณ สุชาดา อิทธิจารุกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัทสยาม แม็คโคร จำกัด (มหาชน) กล่าว

Special Report

แม็คโคร โฮเรก้า ครั้งที่ 7

ลูกค้าชอบใจ รอคอยที่จะเจอกันทุกที ชอบ... ชอบ

35


Around the World OHM ทั่วไทย ทั่วโลก ไอเดียสื่อนอกบ้านบรรเจิดเกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกโอกาส ทุกสถานที่

สุรเชษฐ์ บำรุงสุข บริษัท คินเนติค เวิลด์ไวด์ (ประเทศไทย) จำกัด Surachet Bumrongsuk Country Manager Kinetic

สืHow่อDoes ระยะใกล้ ไร้สาย สื่อสารสองทาง Near Field Communication Create INTERACTIVE OOH? Sep 5th, 2012 ในยุ ค ที่ สื่ อ ดิ จิ ต อลมี บ ทบาทสำคั ญ เราจะเห็ นการเปลื่ ย น แปลงในรูปแบบของการพัฒนาของสื่อนอกบ้านที่สามารถสร้าง ให้เกิดการสื่อสารสองทาง (two-way communications) กับ กลุม่ เป้าหมาย ชึง่ Near Field Communication (NFC) ก็เป็น หนึ่งของการพัฒนาของสื่อดิจิตอลกับสื่อนอกบ้าน ถึงแม้ว่าใน วันนื้ NFC จะไม่ได้เป็นนวัตกรรมที่ใหม่ในตลาดบ้านเราแล้ว ก็ตาม แด่ประโยชน์ของการใช้งาน และรูปแบบ NFC ก็ยังอยู่ ในความสนใจของนักการตลาด และนักโฆษณา ยิง่ นัก Near Field Communication (NFC) ก่ อ นว่ า คื อ อะไร NFC เป็ น เทคโนโลยี สื่ อ สารไร้ ส ายระยะสั้ น ที่ ใ ช้ ไ ด้ ดี กั บ โครงสร้ า งพื้ นฐานแบบไร้ สั ม ผั ส ช่ ว ยสนั บ สนุ น รองรั บ การ สือ่ สารระหว่างเครือ่ งมืออิเล็กทรอนิกส์ในระยะใกล้ๆ NFC จะ สามารถทำงานก็ได้ก็ต่อเมื่อมี ตัวส่ง และ ตัวรับ (ที่เข้ากันได้) และมีจุดเด่นคือ ตัวส่งนั้นจะสามารถสร้างสนามแม่เหล็กไฟฟ้า วิทยุ (electromagnetic radio field) ที่สามารถให้พลังงานกับ ตัวรับได้ ทําให้ตัวรับนั้นไม่จำเป็นต้องมีพลังงานอยู่ก็สามารถ สื่อสารกับตัวส่งได้ ชึ่งโทรศัพท์มือถือในบางรุ่นได้มีการติดตั้ง ระบบ NFC กับมือถือเพื่อที่จะได้อ่าน และเขียนบน Smart Cards ทีไ่ ร้สาย คำถามที่ ว่ า NFC มี ป ระโยชน์ เช่ น ไรกั บ การพั ฒ นาของ สือ่ นอกบ้าน คงจะต้องตอบเป็นส่วนๆไป เช่นถ้ามองในส่วนของ รถขนส่งมวลชน NFC จะเป็นเครื่องมือช่วยให้ผู้ใช้ระบบขนส่ง มวลชนมีความสะดวกสบายในการเดินทาง เพราะ NFC จะ ช่วยให้มันง่ายขึ้นกว่าเดิม เช่นการโดยสารรถไฟฟ้า BTS หรือ รถไฟใต้ดิน โดยม่ต้องรอซื้อตั๋วเข้าคิวอีกแล้ว เพียงใช้โทรศัพท์ที่ มี NFC ไปแตะที่ช่องผ่าน ก็สามารถที่จะผ่านไปได้ หรือแม้แต่ การที่จะเช็คตารางเวลาเข้าออกของรถด้วยการที่เราแตะมือถือ เข้ากับ Smart Poster ที่ติดอยู่ในที่สาธารณะ และสำหรับผู้ใช้ รถยนต์ส่วนตัว NFC ก็สามารถทำให้การเดินทางของผู้ขับขี่ สะดวกสบายขึ้น เพราะเพียงแค่วาง NFC ในช่องทางผ่านก็ สามารถที่จะผ่านเข้าด่านเก็บเงินได้โดยที่ไม่ต้องเสียเวลายื่น สตางค์ให้กับคนเฝ้าประตูด้วยระบบของการจ่ายล่วงหน้า (PrePaid Applications) สำหรับส่วนของ Street Furniture จะเห็นว่าสื่อดิจิตอลไม่ ว่าจะเป็น Bluetooth หรือ Wi-Fi ได้ช่วยสร้างให้สื่อ Street Furniture สามารถสื่อสารกับผู้คนในเขตกรุงเทพฯ ไม่ว่าจะเป็น ป้ายรอรถเมล์ที่ติดตั้ง Bluetooth หรือ Wi-Fi ที่จะทำให้การรอ รถโดยสารประจำทางเป็นเรือ่ งทีไ่ ม่ซำ้ ซากจำเจและน่าเบือ่ อีกต่อ ไปและในวั นนื้ ก ารพั ฒ นาของนวั ต กรรม NFC ก็ ท ำให้ ช าว กรุ ง เทพฯที่ ใช้ เวลาอยู่ น อกบ้ า นประมาณ 10 ชั่ ว โมง ต่ อ วั น 36

สามารถที่ จ ะหาข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ สิ นค้ า ได้ จ าก Street Furniture บนถนนเส้ น หลั ก ในกรุ ง เทพฯใน เดือนมีนาคม 2012 ที่ผ่านมา มีงานวิจัยของ JCDecaux UK และ Kinetic UK ในเรือ่ งทีเ่ กืย่ วกับการใช้ NFC กับ MUPIs ที่ เมือง Reading ใน UK โดยใช้ Oracle Shopping Mall เป็น สถานที่ในการทำวิจัย ในระยะเวลา 4 อาทิตย์ ผลสำรวจออก มาว่า 78% ของกลุ่มผู้ตอบคำถามมีความรู้สึกทีดีกับเทคโนโลยี NFC อีกทั้งยังทำให้ผู้บริโภคได้เกิดประสบการณ์ที่เดี่ยวข้องกับ ตัวผลิตภัณฑ์ และเป็นองค์ประกอบทีท่ ำให้เกิด call-to-action นอกจากประโยชน์ ที่ มี ต่ อ รถขนส่ ง มวลชน และ street Furniture แล้ว NFC ยังสร้างสีสนั ให้กบั ส่วนของค้าปลีกอีกต่าง หาก ให้ลองจินตนาการว่าในวันที่เราเข้าไปจับจ่ายใน TESCO หรื อ Big C สิ่ ง แรกที่ ต้ อ งทำคื อ เดิ น ไปหยิ บ รถ หริ อ ตะกร้ า แล้วเดินเข้าไปในแต่ละช่องทางเดินที่มีสัญญสักษณ์ของสินค้าที่ เราต้องการชี้บอกทางอยู่ทางด้านหน้าของช่องทางนั้นๆ หลัง จากเสร็จสิ้นภาระกิจ ก็เข็นรถออกมารอคิวเพื่อที่จะจ่ายเงิน แต่ในอนาคต NFC จะช่วยทำให้การจับจ่ายในห้างค้าปลีกเร็ว และมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพราะเราสามารถที่จะใช้โทรศัพท์ มือถือส่องไปที่ข้างกล่องของผลิตภัณฑ์ที่เราสนใจเพื่อหาข้อมลู เรื่องคุณค่าของสารอาหาร ส่วนผสม และราคา ในขณะที่ถึงจุด จ่ายเงิน NFC ก็สามารถที่จะช่วยคำนวณในเรื่องราคา และ สามารถทำการจ่ายผ่านระบบโดยอัตโนมัติ ถ้าจะเปรียบบทบาทของ NFC ในวันนี้อาจจะยังไม่เป็นที่ แพร่หลายในบ้านเรามากนัก แต่อย่างไรก็ตามประโยชน์ของ NFC ในวันนี้ที่มีต่อสื่อนอกบ้านนั้นก็เป็นสื่อที่ทั้งนักการตลาด และนั ก โฆษณาต้ อ งตระหนั ก และจั บ ตามองเพราะ NFC นอกจากจะสร้างให้เกิดการสื่อสารแบบสองทางแล้ว NFC ยัง สามารถใช้ในการส่งข้อมลูให้กับกลุ่มเป้าหมายในเขตที่กำหนด อีกทั้งยังสามารถที่จะบอกได้ว่ากลุ่มเป้าหมายอยู่ ณ ที่ใด และ ทำอะไรอยู่ซึ่งทำให้เราสามารถรับรู้การใช้ชีวิตประจำวันของ กลุม่ เป้าหมายได้ ท้ายทีส่ ดุ NFC สามารถทีจ่ ะเชือ่ มให้ผบู้ ริโภค และกลุ่มเป้าหมายไปถึง ณ จุดขายได้ด้วยรูปแบบต่างๆของ NFC ที่ใช้กับสื่อขนส่งมวลชน สื่อ Street Furniture และสื่อ ในร้านค้า ปลีกต่างๆ ในอนาคตเราอาจจะได้เห็น NFC กลาย


เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของสื่อนอกบ้านด้วยรูปแบบที่ง่าย และประโยชน์ทสี่ อดคล้องกัน

In the realm of new technologies, Near Field Communication (NFC) is no longer new or even sexy concept in Thailand. However, because of its clear potential and practical uses, NFC has been holding attention of marketers and advertisers. Before moving forwards, let’s catch up some basic concepts of NFC. NFC is the short range wireless connectivity technology designed to make safe and simple communications between electronic devices. Indeed, it combines contactless smart card technology with mobile devices. The integration of NFC hardware mostly included in a mobile phone, enables it to emulate contactless smart cards as well as to read from and write onto such cards. The ability to act as a smart card makes it possible for NFC compatible phones to be used as replacement for physical contactless cards. (Wikipedia, 2012) What Can NFC Do in Metro Transit Near Field Communication (NFC) technology have benefited to transport operators. The use of NFC in consumer mobile phones, transit contactless readers, and onsite “smart posters” enables fast and easy ticketing, speedy access control, the downloading of pertinent travel- and entertainmentrelated information, and much more. NFC-enabled phone transactions can be used with existing transport contactless infrastructure, requiring no additional investment. When NFC capability is added to readers to enable two-way communications, more functionality is possible, such as redeeming a ticket and sending a receipt at the same time. NFC tags placed on posters or other printed media, so called “smart posters” allow travelers to touch and read schedules, to get special offers, to learn about destination highlights, etc. Tickets can be purchased, downloaded, and accessed on the phone. NFC readers can speed a traveler through gates with just a tap of an NFCenabled phone. How does NFC Play Roles in Street Furniture? To capture people who are on-the-go, street furniture has played its role by providing locally

mass coverage and advertising repetition. With anemerging of digital technology as Bluetooth in the past or wi-fi spots offered all over Bangkok, street furniture communicated and interact with pedestrians and passers-by. Today’s technology as NFC provides consumers with a totally new experience by allowing them to interact directly with advertising faces via their smartphone to get all kinds of information instantly and securely. Obtaining active lifestyle and more demands information, NFC-enabled street furniture let consumers quickly search relevant information about products that they prefer. (Astral’s NFC for Street Furniture, Gail Chiasson, 2012) Just to assure that new technology as NFC has created the public’s appetite for on-the-move audience, Kinetic and JC Decaux launched the usage of NFC enabled 6-sheets in the British town of Reading by working with 13 clients from GroupM agencies. These campaigns employed poster sites in the town and in the Oracle shopping mall with a 4-week period in March 2012. It manifested that over 3,000 equivalent to a million nation-wide scanned poster sites; 78% was positive about this new digital technology comprised of product relevancy, dynamic contents and strong call-to-action. the key to success was the relevance to the consumer and experiences that built upon an existing brand relationship. (Kinetic Newsroom, May 2012) What are Real Benefits of NFC Associated to Retail Business? Imagine this, we finish a hard day of work at the office, and we still have tons of grocery shopping left to do at Tesco Lotus or Big C on the way back home. So we walk into a store, pick up a shopping basket and get on with our shopping. Once we are done, we get into a long queue to pay. Although this is quite habitual for most of us, it’s still quite cumbersome as well. We still have delays while paying, we only know how much we are going to spend once checking-out and have limited information on a product and its benefits or risks. What’s about now? We pick up our NFC mobile phone and walk across the store and tap the various products we wish to purchase. With every tap, we get information on the product such as its calorie content, health benefits, suitability for children, price compared to competitor products etc. Once we’ve decided whether we wish to purchase a product you simply press a button on our mobile to add it to the cart. NFC applications also support and accelerate the check out process, and downloading of information from tags attached to smart posters, shelves, or individual products could make the time shoppers spend on the store floor more convenient. (NFC in Retail- The Big Opportunity, Vaibhav Puri , March 2012) Near Field Communication has delivered Mechanisms that Reach People to POP

37


70,000

60,000

50,000

70,000

60,000

50,000

40,000

30,000

53,484

15,826

2007

5,903 4,391 4,480

51,136

15,288

2008

6,933

2008

5,823

51,136 15,288

4,173 4,216 1,360 560

52,935

14,149

52,935

2009

2009

6,165

14,149

5,227

Page 1

60,766 60,766

15,000 6,114

2010

2010

15,000

5,655 5,986 3,846 2,254 1,120 290

62,230 62,230

5,924

13,564

13,564

2011

2011

4,929

7,220 4,231 2,559 1,702 470 4,670 15,888

2012

2012

3,130 3,427 2,104 2,220 428

50,737 11,175

8,951

TV

สื่อหลัก

Radio

TV

Newpapers

Radio

Magazines

Newpapers

Cinema

Magazines Outdoor*

สื่อนอกบ้าน

Transit*

In Store Cinema

Internet Outdoor*

Transit*

In Store

Internet

ขอขอบคุณข้อมูลจาก The Nielsen Company (Thailand)

กราฟ 2007-2012

4,947 3,960 1,755 820 259

กราฟ่อ2007-2012 งบโฆษณาแยกตามประเภทสื่อหลัก และสื นอกบ้านปี 2007 - September 2012

53,484

6,401

956 570

40,000

20,000

10,000

0

15,826

2007

Page 1

38

30,000

0

6,401 9 เดือนแรก ของปี 2555 5,903 แม้ภาวะเศรษฐกิจทางฝั่งยุโรป หรือที่อเมริกา รวมทั้งคู่ค้า 4,391 4,480 956 สำคัญในหลายประเทศ570 จะเกิด อาการชะลอตัวลง ด้วยปัญหา เศรษฐกิจ + การเมือง ที่ ระบาดกระจายตัวกันไปทั่วโลก 6,933 5,823 งบโฆษณา ซึ่งมักจะ แปรผันตามภาวะเศรษฐกิจ 4,173 ใน 4,216 ประเทศไทย ยังไม่ส่งผลลาม 1,360 เลยมาถึงอย่างชัดเจนนั560 ก กำลัง ซื้อภายในประเทศยังไม่ส่ง สัญญาณการชะลอตัวลงมาก 6,165 นัก สินค้าอุปโภค - บริโภค ยั5,227 ง เป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องกิน ต้องใช้ ดังนั้น สินค้าประเภทนี้จึงต้อ3,960 ง4,947 1,755 จัดงบโฆษณาหนุนเนื่อง820 พยุง 259 ยอดขาย รวมทั้งออกแคมเปญ กระตุ้นยอดขาย ให้ต่อเนื่อง ยอดเติบโต เมื่อเทียบกัน 6,114 ระหว่างเก้าเดือนแรกของปี 5,655 2555 กับงวดเดียวกันของปี 5,986 3,846 ก่อนหน้า เติบโตขึ้นราวร้อ2,254 ยละ 1,120 8.06 ยืนตัวเลขอยู่ที่ 87,438.290 ล้านบาท หมวดสินค้าที่ยังมี การเติบโตต่อเนื่อง ส่วนใหญ่ยัง5,924 เป็นกลุ่มสินค้าอุปโภค บริโภค4,929 กลุ่มรถยนต์และโทรคมนาคม 7,220 ส่วนประเภทสื่อ ที่เติบโต4,231 อย่างชัดเจน คือ สื่อในห้า1,702 ง2,559 470 In Store Media, สื่อในโรง ภาพยนตร์ -Cinema Media อย่างไรก็ตาม พบว่า 3,705 3,705 906 เจ้าของสินค้า เริ่มหันมาให้ ความสนใจ สื่อที่ประชิดตั2,111 ว 1,093 กลุ่มลูกค้า เป้าหมายยิ่ง565 ขึ้น 476 เฉพาะเจาะจง ที่กลุ่มคนเฉพาะ 137 ที่ เฉพาะกลุ่มมากขึ้น เพื่อ เป็นการประหยัดและหวังผล ด้านยอดขาย คุ้มค่ากับเม็ดเงิน ทุกบาทได้นั่นเอง

20,000

10,000

งบประมาณการใช้สื่อ


งบประมาณการใช้สื่อ

MEDIA

ESTIMATED TOTAL ADVERTISING EXPENDITURE BY MEDIUM YTD SEP 12 VS YTD SEP 11 BAHT MILLIONS 2012

SOV%

2011

SOV%

DIFF

% Change

TV

5,710

58.85

6.89

551

5.68

58.66 5.88

368

RADIO

5,342 535

16

2.99

1,189

12.26

1,301

14.29

-(112)

-(8.61)

6.05 6.58 4.02 2.56 1.47 0.48 100.0

282

47.08

30

8.20

39

16.74

124

92.54

46

551 599 366 233 134 44 9,106

-(27.77)

INTERNET

4.10 9.08 4.08 2.80 2.66 0.47 100.0

-(153)

IN STORE

398 881 396 272 258

2

4.55

596

6.55

NEWSPAPERS MAGAZINES CINEMA OUTDOOR TRANSIT

TOTAL

9,702

Total Industry – Exclude Section : Classified, House ads.

TOP 10 ADVERTISERS ESTIMATED ADSPEND 000’BAHT YTD SEP 12 VS SEP 11 ADVERTISER 2012

Source : The Nielsen Company (Thailand)

2011

UNILEVER (THAI) HOLDINGS

524,204

483,363

PROCTER & GAMBLE (THAILAND)

224,417

241,985

TOYOTA MOTOR THAILAND CO.,LTD.

210,967

215,117

COCA-COLA (THAILAND)

192,289

127,562

TRI PETCH ISUZU SALES CO.,LTD.

179,910

80,275

TOTAL ACCESS COMMUNICATIONS

159,403

151,015

L’OREAL (THAILAND) LTD.

156,226

160,747

NESTLE(THAI) LTD.

152,822

161,812

BEIERSDORF (THAILAND) CO.,LTD.

139,929

64,072

DUTCH MILL (THAILAND)

117,275

96,465

Top Advertiser – Exclude Section : Classified and House ads. Source : The Nielsen Company (Thailand)

40

ขอขอบคุณข้อมูลจาก The Nielsen Company (Thailand)


Cover Story Bangkok Is MRT Now... Future

การจราจรในเมืองหลวงของไทย กลายเป็นประเด็นที่ถูก หยิ บ ขึ้ น มาเป็ น ข่ า ว กระจายไปทั่ ว โลกจากการสำรวจของ เว็ปไซต์บีบีซี ว่าเป็น “เมืองแชมป์โลก” ที่รถติดมากที่สุดในโลก ไปแล้ว แชมป์แบบนี้ คงไม่พึงปรารถนากันนัก เพราะส่งผลกระทบ ในเชิงลบ ทั้งเศรษฐกิจ สังคม และมลพิษทางสิ่งแวดล้อม ปัจจัยหลักที่โหมลงมา ทำให้เมืองไทยกลายเป็นแชมป์ของ เรื่องนี้ คือการขาดการวางแผนระยะยาวและการมีนโยบาย ประชานิยม ที่ถูกระบุไว้ในการเป็นแชมป์ คือนโยบายคืนภาษี รถคั น แรก ที่ ท ำให้ มี ร ถป้ า ยแดง ใหม่ เ อี่ ย มออกมาวิ่ ง กั น พลุ ก พล่ า นในท้ อ งถนน – หลั ง จากที่ เราเห็ น ภาพรถยนต์ ใน โรงงานผลิ ต ที่ พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยาจมน้ ำ มาแล้ ว เมื่ อ ปลายปี 2554 ช่างเป็นภาพที่ขัดกันโดยสิ้นเชิง ก า ร พั ฒ น า เมื อ ง ให ญ่ ใน โล ก ล้ ว น แต่ ต้ อ ง มี ร ะ บ บ สาธารณูปโภคมารองรับ การขยายตัวของประชากร ที่กระจุก ตัวกันในเมืองศูนย์ของความเจริญ โดยเฉพาะในเมืองหลวง การเดินทางของผู้คนขวั่กไขว่ โยงเป็นใยแมลงมุม ที่เชื่อม ต่อจุดกันได้เป็นทอดๆ น่าจะช่วยให้การดำรงชีวิตของคนใน เมืองหลวงได้ดีระดับหนึ่ง กรุงเทพมหานคร หากได้รับการดำเนินการวางแผน ด้วย ระบบการเดิ น ทางด้ ว ยราง ตามแผนงานของ สจร. หรื อ

Cover Story

สำนักงานคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก ซึ่งปรากฏ ให้เห็นกันไปแล้ว ด้วยเส้นทางรถไฟฟ้า ทั้ง 10 สาย น่าจะช่วย ให้เมืองไทยหลุดแชมป์เรื่องนี้ไปได้ แต่วันนี้ยังต้องรอคอยกันอีก ต่อไป คาดว่าไม่น้อยกว่าสามปี หรืออาจจะมากกว่านั้น ขึ้นกับ วิสัยทัศน์ของผู้บริหารระดับประเทศ หรือเรียกกันว่า “นักการ เมือง” ที่เข้ามาบริหารประเทศ วั นนี้ ข องกรุ ง เทพมหานคร บนระนาบพื้ นที่ ราว 1,500 ตารางเมตร พบว่าขณะนี้มีเส้นทางระบบรางรวมเพียง 50.95 กิโลเมตร คือ เส้นทางรถไฟฟ้า BTS 30.95 กิโลเมตร และเส้น ทางรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT 20 กิโลเมตร ให้ผู้โดยสาร ผู้ใช้บริการ ต่อวันนับล้านคน ได้เดินทางกันตามเส้นทางที่พอจะเลือกได้ การตัดเจาะหาคนกลุ่มนี้ จึงเป็นมิติเล็ก และลึก ที่น่าค้นหา เพื่อเสิร์ฟสินค้า และบริการให้พวกเขา อย่างตรงกลุ่มเป้าหมาย เพราะโลกใบนี้ เ ปลี่ ย นไปแล้ ว โลกของงานการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ จึงต้องเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ผลการวิ จั ย จากบริ ษั ท วิ จั ย ชั้ น นำ อย่ า ง The Nielsen Company (Thailand) Ltd. สำหรับกลุ่มผู้โดยสารที่ใช้บริการ รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT จึงมีความน่าสนใจ หลุดจากความรู้สึก เดิม ที่คุณๆ เคยคิดว่า..ใช่… และ.. ไม่ใช่ น่าตื่นเต้นไม่น้อย โปรดติดตามได้ ใน Cover Story ประจำฉบับนี้

BANGKOK Now... IS MRT Future

44


รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT เปิดทำการมา เมื่ อ ปี 2547 จากต้ นทางสถานี บ างซื่ อ วิ่งเข้าสู่ใจกลางเมืองที่สถานีหัวลำโพง ตลอดเส้นทาง 18 สถานี ล้วนมีนัยยะ สำคัญในการลงไปสำรวจผู้โดยสารอย่าง ใกล้ชิด ไม่เพียงแต่ปริมาณ จำนวนราว กว่ า 4 - 5 แสนคนต่ อ วั น ว่ า พวกเขา คือใคร เพศ อาชีพ ทำอะไร ชอบอะไร ที่สำคัญสินค้าและบริการประเภทใด จะ ตอบโจทย์ของพวกเขาได้

นี่…น่า จะเป็ น อี ก หนึ่ ง ตั ว อย่ า งของ การใช้สื่อนอกบ้านอย่างคุ้มค่า และอาจ จะเป็นการเปลี่ยนโฉมหน้าของการเป็น “พระรอง” สื่ อ เสริ ม ให้ ก ลายเป็ น “พระเอก” สื่ อ หลั ก ให้ กั บ สิ น ค้ า บาง ประเภท เพราะทุกสิ่งในโลกใบนี้ ย่อม เกิดขึ้นได้…ทั้งสิ้น พอจดจำเส้นทาง ของแต่ละสถานี ของรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT กันได้บ้างไหม จาก บางซื่อ กำแพงเพชร สวนจตุจักร

บนเส้นทางใต้ดิน 20 กิโลเมตร

Cover Story

Bangkok Is MRT Now... Futrue

พหลโยธิ น ลาดพร้ า ว รั ช ดาภิ เ ษก สุทธิสาร ห้วยขวาง ศูนย์วัฒนธรรมแห่ง ประเทศไทย พระราม9 เพชรบุ รี สุ ขุ ม วิ ท ศู น ย์ ก ารประชุ ม แห่ ง ชาติ สิ ริ กิ ต ติ์ คลองเตย ลุ ม พิ นี สี ล ม สาม ย่าน และหัวลำโพง พบว่า เป็น “ชื่อถิ่น” ที่หลายคนอาจ จะคิดว่า ไม่ใช่ย่านธุรกิจในใจกลางเมือง จากผลสำรวจของงานวิ จั ย พบว่ า มี ข้อมูลที่น่าสนใจไม่น้อย

5 อันดับ เมืองใหญ่ ที่มีรถไฟฟ้าใต้ดิน เก่าแก่ • • • • •

London , Uk London เริ่มมีรถไฟ ใต้ดินตั้งแต่ 10 Jan 1863 Budapest , Hungary Budapest เริ่มมีรถไฟ ใต้ดินตั้งแต่ 2 May 1896 Glasgow , UK Glasgow เริ่มมีรถไฟ ใต้ดินตั้งแต่ 14 Dec 1896 Boston , USA Boston เริ่มมีรถไฟ ใต้ดินตั้งแต่ 1 Sep 1897 Paris , France Paris เริ่มมีรถไฟ ใต้ดินตั้งแต่ 19 Jul 1900 45


Cover Story Bangkok Is MRT Now... Future

การเริ่มมีคำถาม จากโจทย์ของงาน วิจัย การสำรวจของทุกงาน เป็นจุดเริ่ม ต้นของการลงไปค้นหาข้อเท็จจริง “การเปิ ด ให้ บ ริ ก ารของรถไฟฟ้ า ใต้ดิน MRT มีระยะเวลาที่เหมาะสมใน การสำรวจกลุ่มตัวอย่าง เมื่อเวลาผ่าน ไปเกื อ บ 8 ปี นั บ จากแผนงานการ ก่อสร้าง ที่กำหนดจุดผ่านของเส้นทาง แต่ละสถานี งานในส่วนนี้เสร็จสิ้นลง

แล้ ว เมื่ อ เปิ ด บริ ก าร หลั ง จากนั้ น เป็นการสำรวจข้อเท็จจริงของผู้โดยสาร ตัวจริงที่มาใช้บริการ จึงต้องทบทวนกัน อีกครั้ง ทีมงานพวกเราเอง ก็กระหายอยาก รู้ เ หมื อ นกั น ครั บ ว่ า พวกเขาเป็ น ใคร ทำอะไร ชอบอะไร เป็นเสน่ห์ของงาน วิ จั ย ที่ บ างครั้ ง ผลวิ จั ย ออกมาเหนื อ ความคาดหมายได้ เพราะโลกใบนี้ เปลี่ยนแปลงไปเร็วมาก อย่างที่เห็นกัน นั่นแหละครับ” คุณสง่า บรรจงประเสริฐ Director, Client Services, Consumer Research The Nielsen Company (Thailand) Ltd. เริ่มเล่า เบื้องหลัง โดย มีคุณภูริส สมโลก Senior Executive จากทีมงานเดียวกันช่วยเสริมประเด็น เพิ่มเติม “สิ่งที่ทีมงานต้องการค้นหาคำตอบ คือประสิทธิภาพของสื่อ ที่แนบชิดอยู่กับ ผู้โดยสารของ MRT นั้น มีประสิทธิภาพ เพียงใด รวมทั้งเจาะลงไปค้นหาบุคลิก ของผู้ โดยสารว่ า เป็ น อย่ า งไร สนุ ก กั น มากครับ ตลอดระยะเวลาของการเก็บ ข้ อ มู ล จากกลุ่ ม ตั ว อย่ า ง จำนวน 900 คน ครับ” การสำรวจ จนกลายมาเป็นผลวิจัย เป็นการเดินเข้าไปถาม สัมภาษณ์จริงกับ ผู้โดยสาร จนกล้าที่จะบอกว่า Bangkok is MRT - สะท้อนคนกรุงเทพ จากคนที่ ใช้บริการรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT “ไม่ ม าก ไม่ เ วอร์ ไ ปหรอกครั บ เพราะเทรนด์ ข องคนยุ ค นี้ ยุ ค หน้ า มา

ตั้งคำถามจากโจทย์ ในการค้นหา

แบบนี้จริงๆ และเป็นแนวทางเดียวกัน กับเมืองใหญ่ๆ จากทั่วโลก ที่มีลักษณะ คล้ายกัน เส้นทางเดินรถไฟฟ้า เป็นเสมือนไฟ ส่องจากประภาคาร ที่ทำให้เรามองเห็น เส้ นทางข้ า งหน้ า คอนโดมิ เนี ย ม บ้ า น จัดสรร คอมมิวนิตี้มอลล์ ผุดขึ้นรองรับ ทันที กลายเป็นทำเลทองทางเศรษฐกิจ ความเจริญของเมือง จึงมีดัชนีวัดด้วย ปัจจัยนี้”

5 อันดับ เมืองที่มีราคาขายปลีกน้ำมันแพงที่สุดในโลก ( ดอลลาร์/ แกลลอน) 46

1) นอร์เวย์ 10.12 2) ตุรกี 9.41 3) อิสราเอล 9.28 4) ฮ่องกง 8.61 5) เนเธอร์แลนด์ 8.20


นิตยสารสื่อนอกบาน ฉบับแรกและฉบับเดียวในประเทศไทย

44


Cover Story Bangkok Is MRT Now... Future

ผลสำรวจพบว่ า ผู้ โ ดยสาร 59% เป็นหญิง, 60% โสด, 67% มีความรู้จบ ปริญญาตรี, 49% ทำงานในภาคเอกชน - และยั ง อาศั ย อยู่ กั บ บิ ด า มารดา ที่ สำคัญพวกเธอชอบเล่นไอที 85 %

สถานี ที่ ใ ช้ เ ป็ น ประจำทุ ก วั น คื อ จตุจักร เพชรบุรี ห้วยขวาง เหตุ ผ ลสำคั ญ ที่ เ ลื อ กใช้ บ ริ ก าร คื อ ต้ อ งการความคล่ อ งตั ว สะดวก และ ชอบที่จะเดินมอลล์ใกล้บ้าน ชีวิตคน

กรุ ง เทพ มี กิ จ กรรมนอกบ้ า นมากและ บ่อยครั้ง

ผู้หญิง ไอที ชอบใช้รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT

ผู้โดยสาร MRT เป็นผู้หญิง 59% อายุเฉลี่ย 31 ปี และ 68% เป็นโสด

49% อาศัยในบ้านเดี่ยวกับบิดา-มารดา

65% จบปริญาตรี ทำงานเอกชน 49%

85% ชอบไอที

อินเดีย - ค่าน้ำมันแพงกว่ารายได้ต่อวัน ราคาขายปลีกน้ำมันในอินเดีย 5.44 ดอลล่าร์ ต่อแกลลอน คนอินเดีย มีรายได้เฉลี่ย ต่อวัน คือ 3.97 ดอลล่าร์ต่อวัน เท่ากับว่า พวกเขาต้องทำงาน 1.4 วัน เพื่อมาเป็นค่าน้ำมัน 1 แกลลอน 48


อาหารเกาหลีมาแรง ตามกระแส K-POP กลุ่มตัวอย่างของผู้โดยสาร ตอบชัดเจนว่า พวกเขาชอบ เรื่ อ งการท่ อ งเที่ ย ว ชอบทานอาหารไทย และพบว่ า อาหาร เกาหลีก็ติดอันดับขึ้นมา ตามกระแสหน้าสวยอิ่มแบบแดจังกึม ความน่าเชื่อถือของข้อมูล ที่ต้นสังกัดของหน่วยงานที่ทำ แม้จะค้านความรู้สึกของหลายคน แต่ข้อมูลภาคสนาม กลาย เป็นตัวแทนของกลุ่มประชากร ที่มีความน่าเชื่อถือได้ในระดับที่ น่าพอใจ ซึ่งอาจจะแตกต่างจากโพลล์ของหลายสำนักในเมือง ไทย ซึ่งมักจะถูกเบี่ยงเบนด้วยข่าวกระแสหลักที่นำเสนอ ส่วน การใช้ชีวิตประจำ ความชอบส่วนบุคคล อาจไม่เปลี่ยนแปลงได้ รวดเร็วนัก จึงมีการใช้กระแสแฟนคลับ แบบรักแล้วรักเลย มา วางเป็นกลยุทธ์ทางการตลาดได้

Cover Story

Bangkok Is MRT Now... Futrue

ชอบท่องเที่ยว ชอบกินอาหารไทย

ชอบท่องเที่ยว ชอบไอที ชอบไปงานแสดงสินค้าอาหาร ชอบไปงานเปิดตัวสินค้าใหม่ ชอบไปงานแสดงสินค้า

แมกกาซีนโปรดคือ ไอที, นิตยสารผู้หญิงและสุขภาพ+ความงาม

ชอบอาหารไทยและอาหารเกาหลี ที่มาแรงตามกระแส K-POP

ชอบกินอาหารริมทาง

ชอบซื้อเสื้อผ้า

คนไทย ใช้ 28% ของรายได้เพื่อซื้อน้ำมัน ราคาน้ำมันในไทย 4.51 ดอลล่าร์ ในขณะที่มีรายได้เฉลี่ยต่อวัน 16 ดอลล่าร์ 49


Cover Story Bangkok Is MRT Now... Future

ร้อยทั้งร้อยคน ตอบว่าเห็น เพราะ เป็นสื่อปะเภท Captive Media หมาย ถึงถูกบังคับให้ดู ในที่แคบ ผู้บริโภคไม่มี ทางเลือกเป็นอื่น ชอบ - ไม่ชอบ ก็ต้อง ได้เห็น เพราะไม่มีรีโมตคอนโทลในมือให้ เปลี่ยนสวิตส์ได้ดั่งใจ แปลกใจว่า 86 % ตอบว่าเห็นสื่อใน ขบวนรถไฟฟ้ า ใต้ดิน MRT ทั้งที่น่าจะ เป็น 100 % แสดงให้เห็นว่า ข่าวสาร - โฆษณาทุกชิ้น ไม่รอดพ้นสายตาการ มองเห็ น ของผู้ โ ดยสาร แน่ น อน จุ ด จอภาพ PID- Point Information Display มี ส่ ว นกระตุ้นให้ภาพลักษณ์ ของสินค้าดูทันสมัยขึ้น

เห็นสื่อใน MRT ไหม

บริษัท อินเทล ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) สร้างสรรค์นวัตกรรมรูปแบบใหม่โดยใช้สื่อรถไฟฟ้า MRT เปิดตัวแคมเปญ ซึ่งเป็นการผสมผสานสื่อได้แก่ Tunnel Wrap ซึ่งประกอบไปด้วย Sticker wall wrap , Sticker behind Lightbox , Lightbox 12 sheet Sticker floor wrap และ Ceiling Wrap พร้อมทั้งนี้จะมีเสียง Intel Bong Sound ประกอบ

สบู่อาบน้ำ LUX เป็นตัวอย่างหนึ่งของสื่อสร้างสรรค์ โดยมีความโดดเด่นเมื่อ มีผู้คนเดินผ่านก็จะได้กลิ่นสบู่ LUX

IKEA เฟอร์นิเจอร์ ใช้สื่อรถไฟฟ้า MRT เปิดตัวครั้งแรกในเมืองไทยเมื่อปลายปีที่ผ่า นมา โดยใช้จำลองสถานีสุขุมวิท ชั้น Platform เป็นห้องนั่งเล่น

กรุงเทพ - แชมป์รถติดที่สุดในโลก ซ้ำเติมการจราจรในกทม. ที่อัมพาตอยู่แล้ว เมื่อนโยบายคืนภาษีรถคันแรก ส่งผลให้ขณะนี้ มีรถทะเบียนป้าย กรุงเทพมหานคร จำนวนกว่า 7 ล้านคัน ซึ่งหากนำรถมาเรียงต่อกันในถนน ซอกซอยทุกแห่งใน กทม. ก็ยังมีพื้นที่จอดไม่เพียงพอ และต้องเติมอีกราว 4 เท่าจึงจะจอดเรียงได้หมด อัตราวิ่งเฉลี่ย ขณะนี้ คือ 10.2 กิโลเมตร ใช้เวลามากกว่า 1 ชั่วโมง (ไม่นับรวมวันฝนตก) 50


นิตยสารสื่อนอกบาน ฉบับแรกและฉบับเดียวในประเทศไทย

44


Cover Story Bangkok Is MRT Now... Future

เวลาแห่ ง การเรี ย นรู้ ข องการเป็ น ผู้ บริ ห ารสื่ อ ในระบบรถไฟฟ้ า ใต้ ดิ น มา ตลอด 8 ปี จึงสอบผ่านเรื่องความกังวล ใจด้ า นความปลอดภั ย มาแล้ ว วั นนี้ จึ ง กลายมาเป็นความเชื่อใจในการเริ่มเปิด พื้ น ที่ ที่ เ ป็ น ดิ จิ ต อล เพื่ อ ต่ อ ยอดงาน โฆษณา เสมื อ นการสร้ า งตึ ก ที่ ค วรต่ อ เติ ม ทางแนวดิ่ ง ขึ้ น ไปอี ก เพื่ อ เพิ่ ม ประโยชน์ใช้สอย “ผมคิดว่าการเติบโตของเมืองใหญ่ มีตัวอย่างให้เราเห็นกันอยู่ทั่วโลก งาน โฆษณาก็เช่นกัน จะผุดขึ้นตามไปเสมอ อย่างที่ ฮ่องกง งานโฆษณาเป็นแนว

ตกแต่งเมือง ครีเอทีฟกันทั้งเมือง ที่เซี ยงไฮ้ มหานครแห่ ง แสงสี เน้ น เป็ น ดิ จิ ต อล สี สั น สวยงามยามค่ ำ คื น เป็ น เสน่ห์ของเมือง ที่กลายเป็นเอกลักษณ์ ให้นักท่องเที่ยวตื่นตา ตื่นใจ ถ่ายรูปกัน สนุ ก ผมไปทุ ก ครั้ ง ก็ ตื่ น เต้ น ทุ ก ครั้ ง เหมือนกันครับ” คุณเอกลักษณ์ ยิ้มวิไล C o m m e r c i a l D i r e c t o r , บ ริ ษั ท บางกอก เมโทร เน็ ท เวิ ร์ ค ส์ จำกั ด BMN เล่าประสบการณ์ของเขา ตั้งแต่ รั บ งานการดู แ ลโฆษณาของรถไฟฟ้ า ใต้ ดิ น MRT มาตั้ ง แต่ เปิ ด ทำการ เขา เห็นพัฒนาการ แลกเปลี่ยนมุมมอง จน เลยเส้นแห่งการเรียนรู้ และร่วมกันมอง หาโอกาสใหม่ให้ลูกค้าได้คุ้มค่า จากข้อ เท็จจริงของผู้โดยสาร ที่นับวันจะนิยม หั น มาใช้ บ ริ ก ารกั น มากขึ้ น ด้ ว ยความ สะดวกเรื่องเวลาและปัจจัยของการเดิน ทางระหว่างการใช้ชีวิตประจำวัน วันนี้ ระหว่างเจ้าของสัมปทานการ

เราผ่าน Learning Curve มาแล้ว

ชอบใช้จ่ายใน Hypermarket

ชอบใช้การเดินทางระบบราง เพราะประหยัดเวลา

เมืองใหญ่ ชอบใช้ ใต้ดิน รถไฟ ใต้ดิน มีหลายชื่อที่เรียกกัน เช่น The Underground, The Tube, Subway เป็นต้น 52


ภาพพจน์ของสินค้า เมื่อปรากฎในสื่อระบบราง อิทธิพลของสื่อ ทั้งหมดมาจบลงที่ “การตัดสินใจซื้อ” เดินรถ - บริษัท รถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ BMCL และบริษัทร่วม ทุน อย่าง BMN จึงเห็นช่องทางความ สามารถในการทำรายได้ นอกเหนือจาก ค่าโดยสาร มาเป็นเชิงพาณิชย์มากขึ้น กรณีเมื่อเกิดน้ำท่วมกรุง ปลายปี 2554 ที่ ผ่ า นมา พบว่ า รถฟ้ า ใต้ ดิ น MRT สามารถปกป้ อ งระบบการเดิ น รถได้ ดี เยี่ ย ม ไม่ เ กิ ด ปั ญ หาอย่ า งที่ ห ลายคน กังวลใจ “น้ำท่วมกรุงเทพ น้ำจะทะลัก เข้าไปในรถไฟฟ้าไหม ก็เขาอยู่ใต้ดิน จะ รอดไหม รอดยากนะ แต่ ก็ ร อด เยี่ ย ม จริ ง ๆ แถมยั ง เป็ นที่ พึ่งให้คนทำงานไป ทำงานได้ (เกือบ) ปกติ ตลอดเส้นทาง ของการเข้าถึงเส้นทางเดินรถ” “ผมคิดว่า ไม่น่าเกิน 5 ปี ข้างหน้า สื่ อ บ้ า นเรา คงพลิ ก โฉมไปจากเดิ ม BMN เองก็คงจะมีอะไรใหม่มานำเสนอ เช่นกัน โลกยุคดิจิตอลมาแรง โปรดติด ตามกันได้ครับ”

คุ ณ สุ ร เชษ บำรุ ง สุ ข ผู้ จั ด การ บริ ษั ท คิ น เนติ ค เวิ ล ด์ ไ วด์ (ประเทศ ไทย) จำกัด “ผมคิดว่านี่เป็นเทรนด์ของเมืองใหญ่ ซึ่งเดินทางมาถึงเมืองไทยแล้ว เป็นทาง เลื อ กของคนเดิ นทาง คล้ า ยเส้ น เลื อ ด ใหญ่ สื่ อ นอกบ้ า นในระบบรางมาแรง มากขึ้ น แล้ ว ครั บ ขึ้ น อยู่ กั บ เทคนิ ค ใน การนำเสนอ หรือมีเทคโนโลยีอะไรที่น่า สนใจ คิ ด กั น เล่ น ๆ นะครั บ ว่ า จุ ด รอยต่ อ รอยเชื่อมที่ร่วมกัน หรือบางจุดที่ลื่นไหล พาคนเข้ า ห้ า งสรรพสิ นค้ า แบบไม่ รู้ ตั ว แบบนี้ ใช่เลย กับการวางสื่อ อีกเรื่องที่ ชวนคิ ด น่ า สนใจมากครั บ กั บ การนำ บริการของภาครัฐมาไว้ในสถานี เพราะ การไปติ ด ต่ อ ราชการยุ ค นี้ ค นคิ ด มาก เรื่ อ งที่ จ อดรถ เวลาราชการก็ ต รงกั บ เวลาทำงาน ถ้ายกงานบริการเรื่องนี้มา ไว้ตามสถานีรถไฟฟ้า น่าจะเป็นแม่เหล็ก ได้นะครับ อย่าง บริการบัตรประชาชน ใบขั บ ขี่ การขอวี ซ่ า หรื อ กระทั่ ง เป็ น Office Station ขนาดสะดวกในการ ติดต่องาน หรือคิดแบบสุดขั้ว ของการเหมาทั้ง สถานี ทำอะไรสั ก อย่ า งให้ ผู้ ค นฮื อ ฮา แบบนี้ก็แจ้งเกิดได้เหมือนกัน และเมื่อมี จำนวนผู้โดยสารมาก มีผู้คนมาก งาน โฆษณา จะตามมาอีก เป็นธรรมชาตินะ ครับ”

Cover Story

Bangkok Is MRT Now... Futrue

อังกฤษ : รถไฟ ใต้ดินที่เก่าแก่ที่สุดในโลก London Underground มีทั้งรถไฟบนดิน และรถไฟ ใต้ดินอยู่ภายในสายเดียวกัน และเป็นรถไฟ ใต้ดินที่เก่าแก่ที่สุดในโลก เริ่มเปิดใช้เมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2406 (ค.ศ. 1863) ปัจจุบันมีทั้งหมด 274 สถานี ระยะทางรวมประมาณ 406 กิโลเมตร (253 ไมล์) มีผู้ โดยสารเฉลี่ย 2.67 ล้านคนต่อวัน 53


Cover Story Bangkok Is MRT Now... Future

คุ ณ อนวั ช สุ ว รรณฤทธิ์ ผู้ อ ำนวย การฝ่ า ยปฏิ บั ติ ก าร บริ ษั ท แบงคอก เมโทร เน็ตเวิร์คส์ จำกัด “ความคาดหวังของผู้โดยสารในการ เดิ นทางด้ ว ยรถไฟฟ้ า ใต้ ดิ น คื อ การไม่ ขาดการติ ด ต่ อ หมายถึ ง รั บ - โทร มื อ ถื อ หรื อ จะต่ อ อิ น เตอร์ เนทได้ ต่ อ เนื่ อ ง ไม่ติดขัด พวกเรา คิ ด ในมุ ม ของพวกเราเอง และยืนยันอีกครั้งด้วยผลวิจัยที่ออกมา ค่ อ นข้ า งตรงกั น ผมและที ม งานจึ ง เตรียมการรองรับไว้ตั้งแต่เปิดให้บริการ ปี แ รกๆ เลยล่ ะ ครั บ ตอนนี้ ผู้ โ ดยสาร เข้ า ใจมากขึ้ น จากที่ เคยบ่ น ๆ ว่ า อยู่ ใต้ดินนะสัญญาณไม่ค่อยดี แล้วค่อยคุย กัน ความคืบหน้าของการประมูลระบบ

รถไฟฟ้าใต้ดินที่มีผู้ ใช้บริการมากที่สุดในโลก

- โตเกียวเมโทร ญี่ปุ่น กว่า 8 ล้านคนต่อวัน - โซล เกาหลี 8 ล้านคนต่อวัน - มอสโคว รัสเซีย 6 – 8 ล้านคนต่อวัน 54

3G ก็เป็นอย่างที่เรารู้กันแหละครับ คาด ว่ากลางปี 2556 น่าจะได้ใช้บริการแบบ เต็ ม รู ป แบบ (หากไม่ ติ ด ขั ด อะไรอี ก นะ ครั บ ) การเตรี ย มการของเรา เกื อ บ พร้อมทุกอย่างอยู่แล้ว เหมือนเรามีท่อ น้ ำ ประปาขนาดใหญ่ อ ยู่ แ ล้ ว รอเติ ม เชื่ อ มท่ อ ให้ น้ ำ มี ท างไหลออกได้ ทุ ก ทิ ศ ทาง พร้ อ มกั บ รอเจ้ า ของสั ม ปทาน 3G เข้ามาติดตั้งเพิ่ม - ขยายกล่องรับ สัญญาณ เราอำนวยความสะดวกเต็มที่ ครับ อีกเรื่องที่ทีมงานกำลังจะเพิ่มลูกเล่น คือการติดตั้ง WiFi ให้สะดวก รวดเร็ว กับผู้โดยสาร น่าจะเป็นอีกหนึ่งความตื่น เต้น และทำให้ชีวิตคนเมืองสมบูรณ์ตาม ยุคดิจิตอลได้สบายๆ ครับ”


บทน่าประทับใจ เมื่อมีการถอดสลัก เรื่ อ งราวจากผลงานวิ จั ย ออกมาเป็ น หนังสั้นที่ คุณปริญญ์ วัฒนวีร์ ผู้กำกับ หนุ่ ม เล่ า ว่ า “ผมมี พ ล็ อ ตเรื่ อ งมาจาก เรื่องจริงของหนุ่มสาว ที่ใช้บริการรถไฟ ฟ้าใต้ดิน MRT เป็นประจำ เขาและเธอ เป็ น ตั ว แทนคนรุ่ น ใหม่ ชี วิ ต สดใส โรแมนติกเล็กๆ เชื่อว่าหลายคนดูแล้ว คงชอบ ไม่แน่นะครับ อาจเป็นคุณบ้าง ก็ได้ที่พบสะดุดรัก กับคนที่ใช่..ใครจะรู้” เธอ : น้ อ งอาย ณั ช ชา ศรี หั ต ถกรรม สาวน้อยวัย 20 ต้น มาพร้อมกับ การเป็นตัวแทนของสาวทำงานรุ่นใหม่ สดใส มีชีวิตชีวา คล่องแคล่ว เธอเป็น ผู้โดยสารขาประจำของสถานี ลาดพร้าว และจตุจักร เขา : หนุ่มโตโต้ พรศิลป์ บุตกัสกา หนุ่มวัยทำงาน 35 อัพ เขาเป็นลูกครึ่ง ที่กลับมาใช้ชีวิตในเมืองไทย เพราะชอบ หลงรักเมืองไทย สื่อสารได้หลายภาษา จึงมีโลกกว้าง เขาดูเท่โดนใจสาวๆ เป็น ผู้ โดยสารของ MRT ตั ว จริ ง และเป็ น ลูกค้าตัวจริงที่ซื้อสื่อของ BMN ซะด้วย

Cover Story

Bangkok Is MRT Now... Futrue

ความรักของเขาและเธอ

ประเทศที่มีรถไฟฟ้าใต้ดินยาวที่สุด สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศที่มีทางรถไฟฟ้าใต้ดินยาวที่สุดในโลก รวม 744 กิโลเมตร หรือระยะทาง จากกรุงเทพ ถึง พังงา 55


Cover Story Bangkok Is MRT Now... Future

10. Pyongyang Metro (North Korea) ถูกสร้างขึ้นเพื่อเชื่อมโยงสิ่งอำนวย ความสะดวกของทางทหารลั บ ใต้ ดิ น สถานีของเปียงยางยังคงเป็นส่วนสำคัญ ของโครงสร้ า งพื้ นฐานด้ า นการขนส่ ง ใ น เ มื อ ง ห ล ว ง ข อ ง เ ก า ห ลี เ ห นื อ สถาปัตยกรรมสถานีนี้ยังอยู่ในกลุ่มที่น่า สนใจมากที่ สุ ด ในโลก แต่ ค นรู้ จั ก ค่ อ น ข้างน้อย 9. Dubai Metro Station (UAE) สถานี ร ถไฟฟ้ า ใต้ ดิ นที่ ดู ไบมี ม รดก ทางวั ฒ นธรรมการออกแบบที่ ทั น สมั ย พวกเขาได้ ส ร้ า งแบบในรู ป ทรงของ เปลื อ กหอย ซึ่ ง เป็ น แรงบั นดาลใจจาก การดำน้ ำ และตกปลา การออกแบบ ตกแต่ ง เป็ น รู ป แบบองค์ ป ระกอบของ ธรรมชาติ ดิน น้ำ ลม ไฟ แนวคิดการ

อ อ ก แ บ บ ส ถ า นี บ า ง ส่ ว น เ ป็ น สถาปัตยกรรมแบบดั้งเดิมที่ใช้ในอาคาร อาหรั บ โบราณ เช่ น พวกเสา ส่ ว นโค้ ง ต่างๆ ภายใน 8. Chicago’s O’Hare Station (US) ที่ ส ถานี O’Hare ถู ก สร้ า งขึ้ น ในปี 1984 ชานชาลาผนังเป็นโค้งบล๊อกแก้ว ในสี ที่ ต่ า งๆกั น จนถึ ง บั น ไดและบั น ได เลื่อน ตัวรถไฟพื้นผนังเป็นโลหะสีเทาที่ เลี ย นแบบลำตั ว เครื่ อ งบิ น เพื่ อ ส่ ง ผู้ โดยสาร เพื่อเชื่อมต่อไปยังสนามบิน

7. New York’s City Hall Station (US) ในขณะที่ ส ถานี ร ถไฟฟ้ า ใต้ ดิ น ส่ ว น ใหญ่ตอนนี้มักจะสกปรก น่าเกลียด แต่ สถานที่ นี้ ไม่ ใช่ แน่ น อน สถานี ร ถไฟฟ้ า ใ ต้ ดิ น N e w Y o r k C i t y เ ค ย มี จิ นตนาการตอนสร้ า งสถานี ให้ มี ค วาม สวยงามมาก และสถานี นี้ ก็ ยั ง คงเป็ น สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินที่น่าประทับใจมาก ที่สุดในนิวยอร์ก 6. Metro Bilbao (Basque Country) บิลเบาเป็นเมืองเล็กๆ ในบริเวณเขต แบสค์ พวกเขามี ค วามภู มิ ใ จในระบบ รถไฟฟ้ า ใต้ ดิ น เพราะมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และความเร็ว การออกแบบสถานีทำกัน อย่างดีเยี่ยมและกว้างขวาง ทางเข้าได้ สร้ า งเป็ น ทรงหลอดแก้ ว ติ ด กั บ ระดั บ ถนน

สถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ที่ตกแต่งด้วยงานครีเอทีฟ 10 อันดับสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินที่สวยที่สุดในโลก

56


5. Frankfurt Bockenheimer Warte Station ทางเข้ารถไฟฟ้าใต้ดินดูแปลกมากๆ ด้านล่างสถานีรถไฟ ตั้งอยู่ในแฟรงเฟิร์ต นักออกแบบกล่าวว่าเขาได้แรงบันดาล ใจมาจากศิลปินท่านหนึ่งในการสร้างขึ้น มา 4. Moscow’s Komsomolskaya Station (Russia) สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินของกรุงมอสโก ส่วนใหญ่มีชื่อเสียงมาก เป็นสัญลักษณ์ ของกรุงมอสโกเลยทีเดียว รูปแบบการ อ อ ก แบ บ เป็ น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ เป็ น เอกลักษณ์ประจำประเทศและสร้างแรง บันดาลใจให้คนอนุรักษ์ ซึ่งได้เปิดเมื่อวัน ที่ 30 มกราคม 1952

3. Shanghai Bund Sightseeing Tunnel (China) นี่ เป็ น รู ป แบบการขนส่ ง สาธารณที่ ตื่นเต้นสนุกสนานน่าดู มันเป็นทริปซึ่ง จะทำให้ คุ ณ เพลิ ด เพลิ น ไปกั บ แคปซู ล แก้ว ถ้าอยากชมว่ามันตื่นเต้นสวยงาม ขนาดไหน ชมคลิ ป วิ ดี โ อได้ ที่ http:// www.youtube.com/watch?v= xwiEPrluoXU&feature= player_embedded 2. Munich U-Bahn (Germany) สถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน มิวนิค ได้เปิด ทำการในปี 1972 มีพื้นที่สถานีที่กว้าง ขวางและสะอาด และมีการออกแบบได้ น่าสนใจ เป็นสถาปัตยกรรมและผลงาน ที่เป็นศิลปะ

Cover Story

Bangkok Is MRT Now... Futrue

1. Stockholm Tunnelbana (Sweden) ว่ า กั น ว่ า สถานี ร ถไฟฟ้ า ใต้ ดิ นของ กรุ ง สต๊ อ กโฮล์ ม เป็ นที่ รู้ จั ก กั นดี ในเรื่ อ ง ของการตกแต่งสถานี จึงได้รับการเรียก ว่าการจัดแสดงศิลปะที่ยาวที่สุดในโลก กันเลยทีเดียว โดยเฉพาะภาพวาดลาย เส้ น สี ฟ้ า ที่ แ ต่ ง แต้ ม ลงบนพื้ น หิ น ที่ ดู เหมื อ นยั ง ทำไม่ เ สร็ จ สมบู ร ณ์ ให้ ดู มี ความสวยงามมากเลย ดูแบบเต็มๆ ได้ที่ http://knowledge108.blogspot.com/ 2012/05/stockholm.html ข้อมูลอ้างอิงจากเว็ปไซต์เด็กดีดอทคอม

57


CEO Go Inter

คุณสกุณา บ่ายเจริญ

รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ฮอท พอท จำกัด (มหาชน)

คนรุ่นใหม่ ชอบ ชิม กิน อิสระ จ่ายคุ้ม

58

Branding สำคัญกับทุกสินค้า - บริการ ของกิ น ของใช้ จ ำเป็ น ยั ง เป็ น สิ น ค้ า ที่ ข ายได้ แม้ ย ามเศรษฐกิ จ จะขึ้ น -ลงอย่ า งไร ที่ เราเรี ย กว่ า “สิ น ค้ า อุ ป โภค-บริ โ ภค” หากแต่ ว่ า อาจต้ อ งปรั บ กลยุทธ์ตามกระแสของคนรุ่นใหม่ กำลังซื้อและสิ่ง แวดล้อมที่เปลี่ยนไป อาทิ การอำนวยความสะดวก ใกล้บ้าน ใกล้ออฟฟิศ ส่งถึงที่ และอื่นๆ เมื่ อ ม อ ง ท ะ ลุ พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง ค น รุ่ น ให ม่ ที่ต้องการความรวดเร็ว คุ้มค่า รักอิสระแต่ไม่ลืมที่จะ เกาะกลุ่ ม เป็ น หมู่ ค ณะ และที่ ส ำคั ญ ในยุ ค นี้ ต้ อ ง ควบคุ ม ค่ า ใช้ จ่ า ยได้ เราจึ ง พบว่ า อาหารประเภท บุ ฟ เฟ่ ต์ ได้ รั บ ความนิ ย ม จะชิ ม กิ น เลื อ ก ได้ ต าม ชอบใจ “ดิฉันเริ่มเปิดร้านสุกี้ สาขาแรกที่จังหวัดบ้านเกิด - ฉะเชิงเทรา หวังว่าจะเสิร์ฟให้คนบ้านเดียวกันได้ อร่ อ ยกั น ทั้ ง บ้ า น ในห้ า งแอร์ เ ย็ น ตั้ ง ชื่ อ ร้ า นว่ า “โคคาเฟรซ” และรู้ ตั ว ว่ า คงเข้ า เมื อ งกรุ ง ยั ง ไม่ ได้ ด้วยว่ายังไม่แข็งแรง จึงเลียบค่ายไปตามเมืองต่างๆ เช่น เปิดร้านในห้างที่ สระบุรี สุรินทร์ กำแพงเพชร พิษณุโลก สนุกที่จะเสิร์ฟ มีความสุขที่เห็นลูกค้ามาทานกัน ทั้งบ้าน เสียงหัวเราะ ทำให้แม่ค้าอย่างดิฉันอบอุ่นใจ และตั้งใจที่หาของดี ของสดมาเสิร์ฟค่ะ” คุณสกุณา บ่ายเจริญ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ฮอท พอท จำกัด (มหาชน) เล่าที่มาร้านแรกของเธอ เมื่อ ปี 2538 แม้จะมีร้านดังอยู่แล้ว แต่ไม่ได้หมายความ ว่าพื้นที่การค้าจะถูกจำกัด เพราะทำให้ลูกค้ามีทาง เลือกมากขึ้น และเชื่อมั่นว่าคนยุคใหม่ ชอบอิสระที่ จะเลือกอะไรได้อย่างคุ้มค่า ไม่ซ้ำซาก


บุฟเฟ่ต์ ลูกค้าชอบเพราะกินแล้วคุ้ม 6 ปี ต่อมา จึงเปลี่ยนชื่อร้านเป็น “ฮอท พอท สุกี้ ชาบู เรสเตอรองต์” เป็นร้านสุกี้บุฟเฟ่ต์ อิ่มได้เท่าไร ก็เลือกหยิบได้ตามใจ ในเวลาที่ผ่านการวิจัยมาแล้วว่า ไม่น่าเกินเวลา 1 ชั่วโมงครึ่ง นั่งในร้านนานกว่านั้น คงไม่คุ้มค่าทั้งลูกค้าและเจ้าของร้านแน่ๆ จึงต้องมี การปรับไว้เป็นแนวป้องกัน คือปรับ 20 บาท ทุกๆ 10 นาที ที่เกินเวลา นับตั้งแต่เข้าร้าน จนเลยเวลาที่ กำหนด ปีรุ่งขึ้น-2547 ก็ขยับขยาย จากเดิมเป็นเจ้าของ คนเดียว ปรับเป็นบริษัทจำกัด แล้วเพิ่มทุนเป็น 56 ล้ า นบาท ทำให้ มี ข้ อ ต่ อ รองก้ า วขึ้ น ห้ า งใหญ่ ใ น เซ็นทรัล พระราม 2 ในปี 2548 เป็นร้านสุกี้ อินเตอร์ บุฟเฟ่ต์ กว่า 100 เมนู ให้ลูกค้าเลือกได้ จนกลายเป็น ร้านที่ทำยอดขายอันดับหนึ่ง มาจนถึงวันนี้ เมื่ อ เริ่ ม ขยายร้ า น ย่ อ มต้ อ งมี เงิ นทุ น หมุ น เวี ย น มากขึ้น เธอตัดสินใจทำสัญญากับกองทุนออรีออส เซาท์ อี ส ท์ เอเชี ย และกองทุ น ส่ ว นบุ ค คลของ ธนาคารออมสินภายใต้การบริหารงานของ บลจ.ไอ เอ็นจี (ประเทศไทย) ซึ่งต่อมาโยกไปให้ บลจ.วรรณ บริหารต่อ แต่ยังปักหลักอยู่กับฮอท พอท เหมือนเดิม “เราได้รับเงินทุนมาในรูปของ ตั๋วเงินที่ไถ่ถอนได้ - Secured Redeemable Note ช่ ว ยเรื่ อ งการ ทำงานได้ เ ยอะคะ ดิ ฉั น มี อี ก ฝั น หนึ่ ง ของชี วิ ต หลั ง จากที่ทำร้านสุกี้ จนเป็นที่พอรู้จักแล้ว ก็อยากเดินเข้า เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทย แต่ยังมุ่งเน้นที่จะทำงานที่เราถนัดมานานเกือบ 20 ปี ส่วนเรื่องหุ้น อาจไม่ค่อยถนัดค่ะ” ปี 2554 แผนและฝั นของเธอเริ่ ม สว่ า ง เมื่ อ มี จังหวะ ปรับตัวอีกครั้งให้เป็นบริษัทมหาชน ลดพาร์ จากหุ้ น ละ 10 บาท เป็ น 0.25 บาท จากนั้ นขยั บ เข้าไปซื้อร้าน “ไดโดมอน” เป็นร้านอาหาร ปิ้งย่าง สไตล์ ญี่ ปุ่ น ทั้ ง 25 สาขา ด้ ว ยเงิ น 236 ล้ า นบาท หลั ง จากที่ มั่ น ใจว่ า ระบบครั ว กลางในจั ง หวั ด ปทุมธานี เริ่มส่งกระจายอาหารไปยังสาขาต่างๆ ได้ ในระดับที่พอใจ เมื่อปี 2550

มาเป็ นทีม HotPot “หม้อร้อนๆ มาแล้วครับ” เพื่อแตกกลุ่มให้ชัดเจนเรื่องกำลังซื้อ และการสร้าง แบรนด์ “ฮอท พอท” ให้มีหลายระดับ จึงกลายเป็น 6 แบรนด์ ราคาตั้งแต่ 189-389 บาท ต่อคน ด้วยจำนวน 126 สาขา และแจ้งนโยบายไว้ว่า จะเปิดสาขาเพิ่มขึ้นอีก ในปี 2556 ประมาณ 6-7 สาขา บั ด นี้ บริ ษั ท ฮอท พอท จำกั ด (มหาชน) เป็ น บริ ษั ท จดทะเบี ย นใน ตลาดหลักทรัพย์ mai ไปแล้ว เมื่อกลางเดือนกันยายน 2555 ที่ผ่านมา พบว่า ในขั้นตอนของการเตรียมตัวเข้าตลาดหลักทรัพย์ฯ นั้น มีหมายเหตุ ของที่ปรึกษาทางการเงินไว้น่าสนใจ เรื่องการติดตามความคืบหน้าของการ ปรับปรุงระบบงาน ให้เข้าสู่ระบบรองรับได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เพื่อง่าย ต่อการดำเนินงานและการตรวจสอบ ตั้งแต่ไตรมาส 4 ของปี 2554 เรื่อยมา จนถึงไตรมาส 1 ของปี 2555 ซึ่งก็ได้รับการตอบรับจากผู้บริหารเป็นอย่างดี “ดิฉันยังคงนั่งทำงานแบบที่เป็นมา แต่ยอมรับว่า ต้องทำงานหนักกว่า เดิมมาก เพราะต้องรับผิดชอบ ผู้ถือหุ้นกว่า 2,000 ราย ที่ให้ความไว้วางใจ และพนักงานกว่า 3,000 คน ธุรกิจร้านอาหาร หัวใจสำคัญคือ บุคลากร ทีม งานสำคัญมาก ที่จะคัดสรรความสด ความอร่อยมาเสิร์ฟค่ะ” จากสถิติของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ระบุว่า ธุรกิจ ร้ า นอาหาร จดทะเบี ย นเป็ นนิ ติ บุ ค คลราว 9,356 แห่ ง มู ล ค่ า ประมาณ 100,400 ล้านบาท การแข่งขันย่อมดุเดือดแน่ ที่จะแชร์ส่วนแบ่งพื้นที่ใน กระเพาะอาหารของผู้บริโภค กลยุ ท ธ์ หลายมุ ม ต้ อ งหยิ บ ออกมาใช้ แม้ จ ะเป็ น สิ่ ง จำเป็ นของมนุษ ย์ ประเภทของกินของใช้ แต่พื้นที่กระเพาะมีจำกัด และทางเลือกของผู้บริโภคมี มากมาย ความท้าทายของผู้บริหาร จึงเป็นบทที่ไม่เคยจบฉากไปได้เลย… คุณสกุณา บ่ายเจริญ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ฮอท พอท จำกัด (มหาชน) การศึกษา - ปริญญาตรีวิทยาศาสตร์สาขาเคมี มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ - ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขาการตลาด สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประสบการณ์ เป็นผู้ก่อตั้ง บมจ.ฮอท พอท เมื่อปี 2538 59


Sing People Sign Company

คนที่อยู่ในวงการที่สร้างสรรค์ ย่อมมี พัฒนาการตามเทคโนโลยี ที่นับวันจะมี ส่วนในการบงการชีวิตของคนยุคนี้ทั้งสิ้น ฟังแล้วไม่แปลกใจ หากจะมีคนรุ่นใหม่ ผู้ ประกอบการหน้าใหม่ เดินเข้ามาบอกว่า วันนี้มีอะไรมานำเสนอ ที่แปลก ใหม่ สด และที่ จ ะเป็ น ที่ นิ ย มมากสำหรั บ ตลาด เมื อ งไทย หรื อ ตลาดโลก คื อ การขาย ความ “ใหญ่” อย่างธูปยักษ์ พระองค์โต ซึ่ ง มั ก จะได้ รั บ ความสนใจมากกว่ า ของ “จิ๋ว” “ผมเป็ น ศิ ษ ย์ เ ก่ า วชิ ร าวุ ธ ไปต่ อ ที่ ครุ ศิ ล ป์ จุ ฬ าฯ เป็ น เด็ ก รุ่ น น้ อ งของ คุณชัยประนิน พอเรียนจบก็ถูกรุ่นพี่คนนี้ แหละ ดึงเข้าสู่วงการโฆษณาที่ดังมากใน ยุ ค นั้ น อย่ า ง ลิ น ตาส ผมจึ ง ลุ ย งาน โฆษณาและงานอีเว้นต์ให้กับลูกค้าหลาย ราย อย่ า ง ยามาฮา, ไทยประกั นชี วิ ต , DHL และอีกหลายราย สนุกมากครับ เมื่ อ เจอคุ ณ อากร ฮุ นตะกู ล ก็ ถู ก ใจ ท่ า น ดึ ง ผมมาช่ ว ยงานท่ า นนาน 5 ปี ก่อนที่เราจะเสียคนเก่ง คนดีอย่างท่านไป อย่ า งไม่ มี วั นกลั บ ผมทำงานในแวดวง โรงแรมอีกหลายแห่ง หนึ่งในนั้นมาช่วย งานคุ ณ สุ ท ธิ ธ รรม จิ ร าธิ วั ฒ น์ เครื อ เซ็ นทรั ล ก่ อ นไปช่ ว ยงานด้ า นธุ ร กิ จ โรง หนังอยู่พักใหญ่ จากนั้ น คงเป็ น ช่ ว งเวลาที่ ผ มควรมี อะไรเป็ น ของตั ว เองได้ แ ล้ ว เมื่ อ เพื่ อ น สนิทมาชวนเปิดธุรกิจ LED ผมคิดว่า ใช่ เลย ยุคนี้ ความประหยัด ความสวยงาม ความทั น สมั ย ต้ อ งเดิ น มาพร้ อ มกั น บริษัทแรกชื่อ บริษัท ดีไลท์ติ้ง อินเตอร์ เนชั่นแนล จำกัด เป็นงานแสงสว่างให้กับ ไฟถนน ไฟจราจร เทคนิคจากเกาหลี นำ เข้ามาประกอบในเมืองไทย ให้เหมาะกับ การใช้งาน

แปลก ใหม่ ใหญ่ สด

งโ คุณฤทธิชัย สายสุวรรณ “ประสบการณ์สอนผมให้มองหาโอกาส ที่มาพร้อมกับเทคโนโลยี”

60


มองเห็นระยะ 200 เมตร

ตรึงสายตาผู้คนได้ทุกอีเว้นท์

มาเมื่อ 2 ปีก่อน วิกฤตเกิดที่สี่แยกราชประสงค์ อย่างที่ทราบ กันนะครับ เซ็นทรัลเวิลด์ต้องปรับปรุงใหม่ จากฝีมือใครก็ยังไม่รู้ เผาซะเป็นข่าวดังไปทั่วโลก เมื่อต้องปรับปรุง จึงต้องใช้โอกาสนี้เติมของใหม่ ใส่เข้าไป ด้วยซะเลย หัวมุมตึกด้านนอก เป็นสี่แยกทำเลทอง คนนับแสน ผ่านไปมา รถยนต์ รถมอเตอร์ไซค์นับหมื่นคันขวักไขว่ จึงเป็น ที่มาของบริษัทน้องใหม่ “ดีไลท์ มัลติมีเดีย” เป็นสื่อจุดใหม่ที่ผม และทีมงานต้องการเสิร์ฟ ของแปลก ใหม่ ใหญ่ สด สูตรที่คนทำ โฆษณา ต้องตอบโจทย์ลูกค้า งานนี้ผมและทีมงานค่อนข้างมั่นใจ ครับ” คุณฤทธิชัย สายสุวรรณ รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท ดีไลท์ มัลติมีเดีย จำกัด เล่ายาวแบบสนุก ทีมงานจึงปล่อยเทป เสียงยาวลื่นไหลอารมณ์ แบบไม่ตัดทอน จอ LED ขนาด กว้าง 10 เมตร สูง 52 เมตร นึกไม่ออกว่า จะสูงขนาดไหน ให้นึกเทียบกับความสูงของตึก 12 ชั้น ติดตั้งไว้ ที่ หั ว มุ ม ตึ ก ของห้ า งสรรพสิ นค้ า เซน จึ ง ตั้ ง ชื่ อ ว่ า “BIG ZEN LED” จัดอันดับเป็นจอแนวตั้งที่ใหญ่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ 360 องศา กับคนกว่าสองแสนคนต่อวัน สี่แยกราชประสงค์ เป็นแลนด์มาร์ค ที่เชื่อมถนนจากหลาย จุด เป็นย่านธุรกิจการค้าที่อยู่ใจกลางกรุงเทพมหานคร จอนี้มี ความสว่างมาก มองจากระยะราวเกือบสองร้อยเมตร ด้วยความ สว่ า งเพี ย ง 5-10 % มองเห็ นชั ด เจน มี ก ารทดสอบสั ญ ญาณ เสียงที่ปล่อยลงมาสู่เบื้องลง สู่ลานกิจกรรมบริเวณด้านหน้าของ เซ็นทรัลเวิลด์ ความดังไม่เกิน 85 เดซิเบล เรียกความสนใจได้ และเป็นองค์ประกอบให้กิจกรรมบนลานนั้นคึกคักขึ้น มี ก ารคำนวณ นั บ จำนวนผู้ ค นที่ ผ่ า นไปมา รวมพาหนะ ประเภทต่างๆ เป็นหลักกว่าสองแสนคนต่อวัน จึงเป็นตัวเลขที่น่า สนใจกับเจ้าของสินค้า ที่เริ่มเข้ามาใช้บริการ จอแนวตั้ง อาจจะมีข้อจำกัดเรื่องการนำเสนอภาพอยู่บ้าง แต่เทคโนโลยีช่วยได้ เมื่อมีทีมงานค่อยปรับ จัดให้เหมาะกับขนาด ของจอ เปิดตั้งแต่หกโมงเช้า จนหกทุ่ม ลูกค้าประเดิมเข้ามาแล้ว หลังเปิดตัวเมื่อเดือนมีนาคม 2555 ที่ผ่านมา ได้แก่ ธนาคารไทย พาณิชย์ โตโยต้า ฮอนด้า ไทยประกันชีวิต สื่อตัวนี้ ใช้เงินลงทุน ราว 90 ล้านบาท ผู้บริหารคาดว่าจะใช้ เวลาราว 2 ปี ที่จะถึงจุดคุ้มทุน และมีแผนงานว่า จะเพิ่มจำนวน จอขึ้นอีกใจจุดที่มีการจราจรและผู้คนพลุ่กพล่านอีกสัก 2-3 จุด อย่าง เส้นบางนา-ตราด เส้นถนนเพชรบุรีตัดใหม่ “เรื่ อ งการใช้ สื่ อ ประเภท LED ต้ อ งให้ เครดิ ต คุ ณกิ ต ติ ชั ย ศรีจำเริญ จากฮัลโหลแบงคอก ที่เป็นคนเริ่มต้นเรื่องนี้ เมื่อ 3-4 ปี ก่อน นะครับ” เทคนิคและลูกเล่น ยังมีอีกมาก สื่ อ ยุ ค นี้ ต้ อ งมี บ ทพิ สู จ น์ ใ นการเข้ า ถึ ง การวั ด ผลและไป บรรจบที่ยอดขาย การสื่อสารสองทาง การตอกย้ำแบรนด์ และ อื่นๆ ที่เป็นองค์ประกอบทางการตลาด คนที่มีประสบการณ์อย่าง เขา ย่อมรู้ดีว่า ช่องทางใดจะตอบโจทย์ ความท้าทายบนเส้นทาง นี้ ยังมีเส้นทางเดินแบบไม่มีที่สิ้นสุด เช่นเดียวกับสื่อนอกบ้านที่ เกิดใหม่ ใหญ่ แปลก ได้ทุกวัน เช่นกัน 61


Sing People Sign Company

คุณ สุทิน แซ่ตั้ง เถ้าแก่คือเซลล์ + ช่างดูแลเครื่องพิมพ์ เด็ ก หนุ่ ม ขยั น สู้ ง าน อ่ อ นน้ อ ม ล้ ว นเป็ น สู ต รที่ พ บได้ กั บ นั ก ธุ ร กิ จ ตั้ ง แต่ รุ่ น เสื่ อ ผื น หมอนใบ ถามกั นต่ อ ว่ า ยุ ค ดิ จิ ต อล จะต้องพกสูตรนี้ใช้ได้อีกหรือไม่… ถามได้น่าคิด น่าติดตาม เรื่ อ งราวของเด็ ก หนุ่ ม เมื่ อ ราว 10 ปี ก่ อ น เป็ น แนวทาง เส้ น ลากแห่ ง ชี วิ ต ที่ ซ้ ำ ลงรอยเดิ ม ว่ า ขยั น สู้ ง าน อ่ อ นน้ อ ม เป็นสูตรชีวิตที่ไม่เคยล้าสมัย…. ลูกจีน เกิดจีน โตไทย “ระหว่างคนจีน คนไทย ผมว่าใกล้ชิดกันจนเป็นเรื่องธรรมดา เกิดที่เมืองจีน โตที่เมืองไทย หรือเกิดไทย โตในเมืองไทยก็ไม่ต่าง กัน รุ่นอากงของผม ท่านเกิดที่เมืองไทย รุ่นพ่อผม ท่านเกิดเมือง จีน แต่พอรุ่นผม ผมเกิดเมืองจีน จนเรียนหนังสือชั้นประถมสาม

ตอนนั้นอายุ 9 ขวบ จึงมาเมืองไทย เรียนหนังสือไทย” คุณสุทิน แซ่ตั้ง เจ้าของบริษัท เซ็นทรัล อินดัสทรี จำกัด ผู้แทนจำหน่าย เครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ทและอุปกรณ์การพิมพ์งานทุกชนิด สายเลือดค้าขายของคนจีนเข้มข้น เขาเดินสู่ถนนการค้าขาย เมื่อวัย 17 ปี เป็นพ่อค้าตลาดนัด ขายหน้ากาก มือถือ ช่วยธุรกิจ ครอบครั ว ที่ ท ำโรงงานรี ด เหล็ ก ช่ ว ยขั บ รถส่ ง ของ ทำงาน ทุกอย่างไม่มีเกี่ยงงาน รวมทั้งโรงงานเฟอร์นิเจอร์ของพี่สาว “มีอยู่วันหนึ่ง เพื่อนมาชวนผมทำงานพิมพ์ไวนิล เขาบอกว่า เงินดีมาก ผมก็เฉยๆ เพราะไม่รู้จักมาก่อน จึงขอศึกษาดูก่อนนะ สัก 5 - 6 เดือน ตอนนั้นผมก็เริ่มสังเกตป้ายโฆษณาใหญ่ๆ บน ทางด่ ว นบ้ า งแล้ ว ผมเห็ น ว่ า ส่ ว นใหญ่ สั ก 80% เป็ น ป้ า ยผ้ า เวลาผ่านไปแป๊บเดียว 80% ที่ว่านี้กลายเป็นป้ายไวนิลไปแล้ว ผมก็เริ่มคิดว่า เอ.. ท่าจะจริง ผมบินไปเมืองจีน เจรจาซื้อเครื่อง พิ ม พ์ อิ ง ค์ เจ็ ท อยากได้ ร าคาถู ก ก็ ซื้ อ แบบเหมามา 10 ตั ว รวด พอมาถึงเมืองไทยก็ ถามเลยว่าใครอยากได้บ้าง ผมขายราคาทุน เพราะเป็นการช่วยลดต้นทุนให้ผมอยู่แล้ว ยังไม่คิดจะขายเครื่อง เอง ตอนนั้นคิดแต่ว่า จะพิมพ์งานอิงค์เจ็ท ซึ่งก็มีงานเข้ามาทันที เหมือนกัน ขายดีครับ ราคาก็ดีด้วย นี่ผมหมายถึงเมื่อ 10 ปีก่อน นะ” เริ่มต้นด้วยเงินสองแสนบาท การลงทุ น ของเขาเมื่ อ 10 ปี ก่ อ น ด้ ว ยเงิ น สองแสนบาท เปิดบริษัท ชื่อ “เซ็นทรัล อินดัสทรี” ที่ไม่ได้เกี่ยวกับห้างสรรพ สินค้ารายใหญ่แต่อย่างใด เพียงต้องการสื่อความว่า เป็นศูนย์ รวม ศู น ย์ ก ลางของสิ นค้ า งานพิ ม พ์ สื่ อ นอกบ้ า น ที่ ท ำกั น เป็ น อุตสาหกรรม ก็มีกันเพียงเท่านี้ เมื่อมีลู่ทาง สายเลือดพ่อค้าอย่างเขาไม่ละโอกาส สั่งเครื่อง พิ ม พ์ เข้ า มาขาย เน้ นที่ ร าคาถู ก เป็ นการลองผิ ด ลองถู ก ที่ ให้ ประสบการณ์การเรียนรู้สูงมาก มากกว่าตำราเล่มใดๆ “พอลูกค้าซื้อเครื่องไปใช้ เชื่อไหมครับ 365 วันของปี เครื่อง

ผมขายของแบบไม่มีเซลล์

62


เสียซะ 150 วัน ผมต้องให้ช่างจากโรงงานที่เมืองจีน มาอยู่กับผม ที่เมืองไทย คอยวิ่งรอก ซ่อมเครื่องให้ลูกค้า ในต่างจังหวัดและใน กรุ ง เทพ วิ่ ง กั น บางทีช่างยังกลับมาไม่ถึงบริษัท ลูกค้า รายเดิ ม โทรศัพท์มาบอกว่าเครื่องเสียอีกแล้ว เป็นช่วง 4 ปี แรกที่ผมเครียดมาก ผมต้องรับผิดชอบลูกค้า ต้องเรียนรู้งานใหม่ชิ้นนี้ ทำให้ผมรู้จักเครื่องพิมพ์ได้ดีเกือบทุกชิ้น ส่วน เพราะช่างคนจีน เวลาสื่อสารกับลูกค้าคนไทย ผมต้องช่วย แปล ซึ่งก็ต้องเข้าใจเรื่องก่อนจึงจะแปลได้” การลงทุนที่เน้นคำว่า “ถูก” จึ ง ไม่ คุ้ ม ค่ า กั บ ความน่ า เชื่ อ ถื อ และเครดิ ต ของการทำงานใน ระยะยาวเลย คุณสุทิน ยอมรับ ว่า เขาแทบจะเดินบนถนนเส้น ทางค้ า ขายนี้ ไ ม่ ไ ด้ ถู ก ลู ก ค้ า ต่ อ ว่ า ถ้ ว น ห น้ า แต่ ข อ สู้ ต่ อ ขอรั บ ผิ ด ชอบกั บ เครื่ อ งพิ ม พ์ ที่ ขายออกไปแล้วทุกเครื่อง เขากลั บ โจทย์ คิ ด เริ่ ม ออก เดินถามลูกค้าว่า เมื่อผิดหวังกับ เครื่องราคาถูก แล้วยี่ห้อไหนล่ะ ที่ คิ ด ว่ า พอรั บ ได้ กั บ ราคาที่ ใ ช้ เป็นเครื่องมือทำมาหากิน คล้าย กับงานการสำรวจความต้องการ ไม่มีเซลล์ จึงไม่มีพริตตี้ ของลูกค้า เรียกว่าเป็นงานวิจัย ขนาดย่อมก็ว่าได้ ลูกค้าหลายเสียงตอบตรงกัน ว่า “Allwin” ก็เป็นเครื่องผลิตใน เมื อ งจี น อี ก นั่ น แหละ เครื่ อ ง คุณภาพดี ที่พอรับได้ เขาบินไป โรงงานที่เซี่ยงไฮ้ ขอเป็นตัวแทน จำหน่าย เจ้าของโรงงานบอกว่า ที่เมืองไทยมีดีลเลอร์อยู่แล้ว ไม่ สนใจหรอก เขายั ง ใช้ ค วาม เถ้าแก่จากภาคอีสานตั้งใจฟังมาก พยายามที่ จ ะเจรจาเที ย บเคี ย งเครื่ อ งพิ ม พ์ ยี่ ห้ อ อื่ น ที่ ผ ลิ ต จาก โรงงานเดียวกัน คุณภาพเดียวกัน ซึ่งก็น่าจะทำตลาดได้ “เขาอนุญาตให้ผมขายยี่ห้อ Honest ราคาอยู่ราวเครื่องละ 5 - 6 แสนบาท คุณภาพใช้งานได้ดี ลูกค้าชอบ คราวนี้ยอดขาย ผมทะลุเป้า ขายไป 200 เครื่อง เป็นยอดขายอันดับหนึ่งระดับ โลก เมื่อ 5 ปี ก่อนครับ” งานคราวนี้ได้กำลังใจกลับมาอีกมาก เขายังรับงานพิมพ์ควบคู่ไปกับการขายเครื่องพิมพ์ แต่จุดเปลี่ยนในชีวิตเกิดขึ้น เมื่อต้องเลือกกับงานสองงาน คือ งานพิมพ์อิงค์เจ็ทและงานขายเครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ท เพราะทำได้ไม่ ดีทั้งคู่ พิมพ์งานไม่ทัน ซ่อมเครื่องไม่ทัน เขาเลือกขายเครื่อง เพราะคิดว่าเครื่องพิมพ์ ยังต้องใช้งาน อื่ น ๆ ตามมาอี ก ในขณะที่ ง านรั บ พิ ม พ์ ทำแล้ ว จบด้ ว ยตั ว เอง ต่อยอดอีกไม่ได้ ที่นี่ ไม่มีเซลล์ ยอดขายของเขาสร้างชื่อได้ในระดับที่หลายยี่ห้อ เริ่มหันมา มองมือขายอย่างเขา ลูกค้าเริ่มพูดกันปากต่อปาก ลบภาพเดิมๆ

ที่เคยระแวงว่าจะเกิดสามวันดี สี่วันเสียไปได้บ้าง “ผมใช้บทเรียนจากชีวิตจริง พบว่าการขายเครื่อง แม้จะมี เซลล์ขาย 10 คน ก็ไม่เท่ากับที่ช่างซ่อม 1 คน ที่คอยดูแลแนะนำ ลูกค้า ผมจึงขายเครื่องผ่านช่าง ใช้ระบบเคลมประกันเข้ามาช่วย ช่ า งของผมจะประจำอยู่ ต ามจุ ด จั ง หวั ด ต่ า งๆ ไม่ ต้ อ งเข้ า สำนักงานที่กรุงเทพ ให้พวกเขาทำงานที่บ้าน กับครอบครัวนั่น แหละ คอยดูแลเครื่องให้ลูกค้าในพื้นที่กำหนดไว้” สามปีมาแล้วที่เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นตัวแทนจำหน่ายแต่ เพียงผู้เดียงของเครื่องพิมพ์อิงเจ็ท “Allwin” เมื่ อ ทางโรงงานพบ ความมั่ น ใจจากงานขายของเขา จั ง หวะเดี ย วกั บ ตั ว แทนเดิ ม ไม่ จริงจังกับแบรนด์ต้นฉบับ หันมา สร้างแบรนด์ของตัวเองมากกว่า เ ค รื่ อ ง พิ ม พ์ “ A l l w i n ” ประมาณ 1,000 ตัว กระจายไป ทั่ ว ประเทศ งานถั ด มาคื อ งาน บำรุ ง ดู แ ล ซ่ อ มแซม เปลี่ ย น อะไหล่ ขายวัสดุอุปกรณ์ “ช่าง” จึงเป็นกุญแจสำคัญที่เขามองเห็น จึงเป็นที่มาที่บอกเราว่า บริษัทผม ไม่มีเซลล์ขายเครื่อง ผมมีแต่ช่าง “เดือนไหนที่ไม่มีการเรียกช่าง ผมจะมีโบนัสพิเศษให้ช่าง เพราะ แปลว่า เครื่องพิมพ์ลูกค้าใช้งาน ได้ ดี ไม่ มี ปั ญ หา ช่ า งก็ ใ ช้ ชี วิ ต สบายๆ ได้ ผมคิดว่าคนเราอยู่กัน ด้วยความสบายใจ” ผมไม่เลิกอาชีพนี ้ หลายคนกั ง วลว่ า งานพิ ม พ์ อิ ง ค์ เ จ็ ท อาจต้ อ งหายไป เมื่ อ ดิจิตอลเข้ามาแทนที่ เขากลับมอง ว่า คงใช้เวลาอีกนานพอควร งาน พิ ม พ์ อิ ง ค์ เจ็ ท ยั ง มี ค วามจำเป็ นกั บ ตลาดงานโฆษณา ที่ต้องไล่ ระดับระนาดไปตามเมืองหลวง เมืองใหญ่ เมืองรองและชนบท เขาแอบสารภาพทางครอบครัวอยากให้กลับไปช่วยงาน พี่ ชายยอมจ่ายเงินก้อนให้ปิดบริษัทแล้วให้กลับไปช่วยงาน เขาบอก ว่า คงไม่ได้ เพราะมีลูกค้าใช้เครื่องของเขาแล้วหลายร้อยราย จะ ทิ้งไปแล้วใครจะดูแล บำรุงซ่อมแซมให้ล่ะ… ก็จริงนะ…. เขาเริ่มที่จะเดินสาย ออกพบลูกค้า ในรูปแบบของการจัดงาน สัมมนา สาธิต ทำให้ดู สอนแบบไม่ปิดบัง มาเอาความรู้ไปทำมา หากินกันเถอะ ใครกอบโกยความรู้ไปได้ ทำเลยไม่หวง “ผมคงอยู่ในอาชีพนี้ แม้จะไม่ใช่เส้นทางที่เคยฝันไว้ ผมเคย อยากเป็ นคนขายอะไหล่ ร ถยนต์ เพราะชอบเล่ น รถ สะสมไว้ หลายคั น แล้ ว ครั บ ผมชอบพี่ ค นหนึ่ ง ที่ เคยพู ด ว่ า เขาจะทำให้ ลูกค้ารวยก่อน ส่วนตัวเขาค่อยมาทีหลัง” สูตรไม่สำเร็จของใครทุกคน แต่ขยัน สู้งาน อ่อนน้อม ยังเป็น กลยุทธ์ที่ใช้ได้ ไม่ตกยุคแน่นอน วัย 35 ของเขา จึงยังอีกยาวไกล ที่จะคงไว้ซึ่งกลยุทธ์นี้… 63


CSR In Action หมดยุคการทำกำไรสูงสุด ถึงยุคแบ่งปัน สร้างสังคมน่าอยู่ร่วมกัน

วีระเดช สมบูรณ์เวชชการ ประธานเครือข่ายธุรกิจเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม Social Venture Network Asia (Thailand) กิ จ กรรมของ SVN ครั้ ง นี้ เป็ น ทริ ป ที่ ส มาชิ ก หลายท่านประทับใจมากครับ เพราะเราตั้งชื่อว่า “ทริปศึกษาธรรมป่าแม่วงก์และป่าแม่ยม” คุ้นๆชื่อ กันบ้างไหมครับ เพราะที่นี่แหละครับ รัฐบาลอนุมัติ ให้สร้างเขื่อน จนเป็นที่สะเทือนใจ กันไปไม่น้อย เช้ า ตรู่ วั น ที่ 14 กั น ยายน 2555 ที่ ผ่ า นมา สมาชิกนัดพบกันที่นครชัยแอร์ ใกล้หมอชิต 2 ออก เดินทางไปลุ่มน้ำแม่วงก์-แม่ยม จังหวัดนครสวรรค์ ที่ นี่ พ วกเราพบปรากฏการณ์ ห ลายอย่ า งครั บ พื้นที่ผืนป่าในอุทยานแห่งชาติแม่ยม เป็นไม้สักทอง ราว 24,000 ไร่ เป็นป่าผืนสุดท้ายของประเทศไทย ที่มีความอุดมสมบูรณ์ สุดแสนจะเสียดาย หากจะ ถูกท่วมไปเมื่อทำเขื่อน พวกเราดื่มด่ำกับธรรมชาติ ศิลปะพื้นถิ่น และ ชาติพันธุ์ของมวลมนุษยชาติ รวมทั้งตระหนักดีว่า คนกรุง คนเมืองต้องสร้างความเข้าใจ กับเรื่องน้ำ เรื่องต้นไม้ เรื่องเขื่อนให้ใกล้ชิดกว่านี้ เพราะรูปการ ขณะนี้ การสร้างเขื่อน หรือการไม่สร้างเขื่อน จะ ทำให้น้ำท่วมกรุงเทพ หรือกรุงเทพจะปลอดภัย น้ำ ไม่ท่วม ธรรมชาติมีความหมายกับพวกเรามากกว่า นั้นไปหลายช่วงตัว ภัยธรรมชาติที่รุนแรง อากาศ แปรปรวน อาหารการกินต้องปรับตัวกันยกใหญ่นั้น ล้วนเรื่องในบริบทเดียวกัน ผมคิดว่า คนไทย ต้องตื่นรู้มากกว่านี้ อีกหลาย เท่า ไม่งั้นป่าหมดทั้งประเทศแน่ สองคืน สำหรับ ชีวิตในผืนป่า ผมคิดว่าผมเข้าใจพวกเขามากขึ้น มีหลายบริษัท ที่มีโครงการปลูกป่า แต่เมื่อเทียบ กับอีกมุม หากจะเป็นการช่วยกันรักษาผืนป่าที่มีอยู่ แล้ว น่าจะเป็นอีกแนวทางที่จะช่วยกันรักษา ก่อนที่ ป่าไม้จะหมดไปจากแผ่นดินไทย อีกบทเรียนหนึ่งที่พวกเรา ค้นพบคือ รัฐบาล

แม่วงก์ และ แม่ยม

64


CSR In Action

หมดยุคการทำกำไรสูงสุด ถึงยุคแบ่งปัน สร้างสังคมน่าอยู่ร่วมกัน

เมื ่อคนดังนั่งคุยกันให้ก้องป่า และดังมาถึงเมืองหลวง หรือผู้กุมอำนาจการตัดสินใจ จะกระทำการใดๆตามอำเภอใจ อีกต่อไปไม่ได้แล้ว เพราะต้องลงไปสัมผัสจิตวิญญาณของชาว บ้าน-ผืนป่าและต้นน้ำ อย่างลงลึก ไม่เพียงไปแบบผักชีโรยหน้า เมื่อกลับถึงกรุงเทพฯ ชมรมฯจึงมีแนวคิดที่จะทำเรื่อง “ผืน ป่า” ให้เข้าใจแบบง่ายๆกับชาวกรุง โปรดติดตามกันได้ในลำดับ เวลาถัดไปนะครับ ขอขอบคุ ณ เจ้ า หน้ า ที่ จากมู ล นิ ธิ สื บ นาคะเสถี ย ร และ ขอบคุณชาวบ้านแม่วงก์ แม่ยม แม่สะเอียบ ที่ช่วยเปิดโลกของ ป่าให้พวกเราได้สัมผัสถึงแก่นใจ ขอบคุณสมาชิก ชาว SVN ทุกท่าน ที่สละเวลา ในวันหยุด มาร่วมเป็นกำลังใจซึ่งกันและกัน อย่างต่อเนื่อง กำลังใจไม่มีวัน หมดเพราะเหตุนี้... นี่เล่า...

65


CSR In Action หมดยุคการทำกำไรสูงสุด ถึงยุคแบ่งปัน สร้างสังคมน่าอยู่ร่วมกัน

ถ้ า โลกนี้ มี แ ต่ สี เ ขี ย ว จะเป็ น อย่ า งไรหนอ... คิ ด นึกภาพ ไม่แจ่มเลย คือ หมายถึงคิดไม่ถึงว่าจะเกิดขึ้นได้ เมื่ อ ปี 2535 เกิ ด วิ ก ฤตน้ ำ (จะ) หมดเขื่ อ น การ ประปานครหลวง เจ้าภาพใหญ่ที่คอยเสิร์ฟน้ำประปาให้ คนกรุงและเขตปริมณฑล จึงต้องออกโรงชวนหน่วยงาน ที่ เ กี่ ย วข้ อ งอี ก 5 แห่ ง เข้ า มาร่ ว มกั น รณรงค์ ใ ห้ ประชาชนช่วยกันประหยัดน้ำ (กันเถอะ) โดยเล็งไปที่จุด ที่มีการใช้น้ำตลอด 24 ชั่วโมง คือโรงแรม ดังนั้นหน่วยที่ เกี่ยวข้องร่วมอยู่ในวงษ์วานเดียวกัน อาทิ การไฟฟ้าฝ่าย ผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย, สมาคมพั ฒ นาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้อม (ประเทศไทย), สมาคมโรงแรมไทย, การท่อง เ ที่ ย ว แ ห่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย แ ล ะ U n i t e d N a t i o n Environment Programme (UNEP) “ตลอดระยะเวลาที่ ผ่ า นมา มู ล นิ ธิ ใ บไม้ เ ขี ย วเป็ น องค์กรไม่แสวงหาผลกำไร ดำเนินงานด้านการส่งเสริม จิตสำนึก และพัฒนามาตรฐานด้านการใช้พลังงานและ อนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ มในธุ ร กิ จ ท่ อ งเที่ ย วและการโรงแรม และผู้ประกอบการเองก็ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี วิธีการดำเนินการของมูลนิธิฯ คือการลงพื้นที่ ตรวจ สอบ โดยคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ว่าการปฎิบัติงานข องเจ้าหน้าที่โรงแรมนั้น ผ่านเกณฑ์เข้มๆ เช่น คุณภาพ น้ำ มลพิษทางเสียง คุณภาพอากาศภายในอากาศ ผล ก ร ะ ท บ ต่ อ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ น์ เป็นต้น เมื่อผ่านแล้วมูลนิธิฯจะ มอบประกาศนี ย บั ต รรั บ รอง การเข้าร่วมโครงการใบไม้เขียว ให้ครับ” คุณวิวัฒน์ พงษ์บูรณ กิ จ รองประธานมู ล นิ ธิ ฯ เล่ า ด้ ว ยความสนุ ก สนาน ในการ ทำงานแบบจิ ต อาสา หลั ง เกษียณเมื่อปี 2550 เรื่อยมา ถ้าให้ใบไม้เขียว นี้ มีความหมายจริงๆ เพราะดีกับทุก คนในสังคม เวลาคุณๆไปพักผ่อน เข้าพักในโรงแรมทั่ว ประเทศไทย กรุ ณาถามหน้ า เคาว์ เตอร์ เวลาเช็ ค อิ น ว่ า โรงแรมนี้ได้รับใบไม้เขียวไหมล่ะ ?? หากตอบว่ า ยั ง กรุ ณาแนะนำให้ เขารี บ ไปสมั ค รซะ หากตอบว่า มีแล้ว ให้เดินเข้าไปดูว่า วันหมดอายุคือ วัน ใด เพราะหมดอายุ ค วามได้ ( เหมื อ นกั น )นะ ขอบอก...

มูลนิธิใบไม้เขียว

เมื่อจะเข้าพักโรงแรมใด โปรดถามหาประกาศนียบัตร “ใบไม้เขียว”

กระบวนการผ่านเกณฑ์ เข้มจริงๆ

66


Retro ขลุก... คลุก อยู่กับงานเพลงมากว่า 20 ปี ทั้งบนเวทีและหลังไมค์ สะสมแผ่ นเสียง รู้จักเพลงยุค 70 80 90 เป็น “กูรู” หาตัวจับยากคนหนึ่งของวงการเพลงเมืองไทย

คุณผู้อ่านและคุณผู้ฟังหลายท่านที่ เป็นคนยุคนี้ อายุไม่เกิน 30 อาจไม่คุ้น กับคำว่าฝรั่งทำเกิน แต่ถ้าเกิดในยุค มิตร-เพชรา เรื่อยมาจนถึงยุคสันติสุขจินตหรา อาจคุ้นเคยหรือพอเข้าใจบ้าง นะครับ ผมเชื่อว่าทุกคนมีพรสวรรค์ส่วนตัว แต่กำเนิด ของใกล้ตัว ของรักของหวง หลายๆ ชิ้น หลายๆ อย่างมันมีอายุการ ใช้งานแน่นอน ยกตัวอย่างง่ายๆ หลอด ไฟห้องน้ำ ห้องนอน โรงรถ เหล่านี้ ลอง นึกดูสิครับ เวลาหลอดขาด ทำไม! เรา เปลี่ยนเองได้โดยไม่ต้องเรียกช่าง บาง คนบอกว่าทำไม่เป็น แต่พอได้ดูไม่กี่ครั้ง ก็สามารถทำเองได้ โดยเฉพาะยุคนี้อย่าว่าแต่พ่อบ้าน เลยที่เป็นแฮนดี้แมน ทำได้สารพัดอย่าง แม่บ้านหลายคนเรียนรู้ที่จะทำโดยไม่ ต้องปริปากขอความช่วยเหลือใครๆ รายการวิทยุที่ผมเปิดสายให้โทรมา ขอความช่วยเหลือต่างๆ มีอยู่บ่อยครั้งที่ ผู้ร้องขอเป็นผู้ชาย และได้รับการช่วย เหลือจากฝ่ายหญิง อาการหรือการช่วย เหลือมีตั้งแต่ง่ายสุดถึงยากสุด จนเราไม่ คาดหมายว่าผู้หญิงทำได้ ต้องขออภัยนะครับ ไม่ได้เป็นการดู ถูกใดๆ ทั้งสิ้น ลองดูต่อไปนะครับ

ฝรั่งทำเกิน

68

ยางแบน ยางแตก เปลี่ยนยาง ไป จนถึงพ่วงแบตเตอรี่ เปลี่ยนหัวเทียน เปลี่ยนฟิวส์ เปลี่ยนหลอดไฟ เปลี่ยนที่ ปัดน้ำฝน ยุคนี้ผู้หญิงหลายคนทำเองได้ และช่วยยเพื่อนร่วมทางได้เช่นกัน แต่กรณีที่วิเคราะห์เจาะลึกมากกว่า นี้ เช่น อัตราเร่งไม่ดี ไม่มีกำลัง เพราะ เครื่องหลวม บ่าวาล์วสึก ระบบไฟมี ปัญหา ช๊อตลงกราวนด์ ไดชาร์ทเสื่อม ขดลวดสึก ถ่านหมด เครื่องสั่นน่าจะ เกิดจากยางแท่นเครื่องขาด ลูกปืนครัช แอร์แตก และอีกหลายรายการที่ไม่ อยากเชื่อว่าเธอจะหยั่งรู้ เพราะอาการที่ เธอบอก เวลาที่เราเอารถเข้าศูนย์เพื่อ ประเมินการซ่อมกับตีราคาซ่อม มันเป๊ะ ครับ ไม่เหมือนผม แรกๆ ชอบเดาว่า ฝรั่งทำเกิน ใส่น๊อตไม่เคยครบ ฝาปิดกัน ฝุ่นก็เอาออก สปริงยึดกันกระแทกก็ไม่ ใส่ พอเพื่อนถาม ผมมักจะตอบข้างๆ คูๆ “อ๋อ! ฝรั่งทำเกิน อิอิ...” ผมเองยอมรับจริงๆ เพราะหลาย สาเหตุหลายกรณีผมเองยังไม่อาจคาด เดาได้ มีครั้งนึงผมบอกรถเพื่อนร่วมทาง รุ่นเก่าคันหนึ่งซึ่งสตาร์ทไม่ติดว่า แบตเตอรี่มีปัญหา ไม่ก็ไฟไม่ชาร์ทให้เขา

ราเชนทร์ ชุมสาย ณ อยุธยา ผู้ดำเนินรายการวิทยุ Rachain Chumsai na Ayudhaya Radio Announcer rachain_J@yahoo.com

อู่เช็คไดชาร์ท เดี๋ยวจะช่วยเข็นให้ เอ้า! เข้าเกียร์ 2 บิดสวิทซ์กุญแจ ค่อยๆ ถอน คลัช เหยียบคันเร่ง ทำอยู่หลายรอบจน น้องๆ วินมอเตอร์ไซค์แถวนั้น พร้อมทั้ง ผมเริ่มล้า แขนเริ่มชามันก็ยังไม่เวิร์ค จนมีคุณผู้หญิงท่านหนึ่งแต่งตัวดีมาก เหมือนเป็นพวกเลขาที่ไหนซักที่ ถ้าจะให้ พูดแบบไม่เกรงใจก็ เธอดูดีมีคลาสครับ “สตาร์ทไม่ติดเหรอค่ะ เดี๋ยวดิฉันตรวจ สอบให้ค่ะ” แล้วเธอก็ถามผมว่าทำอะไร ไปบ้างแล้ว ผมเล่าให้ฟังทุกขั้นตอน จากนั้นเธอดูห้องเครื่อง ก้มไปก้มมา จนผมต้องบอกว่าระวังชุดที่เธอใส่จะ เปื้อนเอา เธอก็ยิ้มแล้วบอกว่าไม่เป็นไร ในที่สุดพวกเราก็ถึงบางอ้อ... “คุณค่ะ มาดูตรงนี้หน่อยค่ะ” ...ผม จ้ำอ้าวตามเธอมาพร้อมกับเจ้าของรถ “ดูที่คอนโซลนะคะ เข็มน้ำมันเชื้อ เพลิงไม่ขึ้น น้ำมันหมดค่ะ”.... งานนี้ฝรั่งไม่ได้ทำเกินแต่ประการใด เลยครับ เล่าให้ใครฟังก็อาย แต่ถ้าไป เล่าให้คนเหนือฟัง เค้าคงเรียกผม ว่า....“ง่าว”


โรตารี

เป็นความจริง อิงเที่ยงธรรม นำไมตรี ดีทุกฝ่าย

การจัดประชุมใหญ่ ประจำปีขององค์กรโรตารี ส า ก ล ป ร ะ จ ำ ปี 2 0 1 2 จั ด ขึ้ น ร ะ ห ว่ า ง 6- 9 พฤษภาคม 2555 ที่ผ่านมาจบลงแล้วอย่างงดงาม มี ส มาชิ ก เข้ า มาร่ ว มประชุ ม เกื อ บ 40,000 คน จากกว่า 100 ประเทศ ขอบคุ ณ แทนประเทศไทย ที่ ค นไทยในฐานะ ประเทศเจ้าภาพ ช่วยกันอย่างไม่มีข้อแม้ ขอบคุณ สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) ที่สนับสนุน จนเมืองไทยได้รับ เสียงโหวตให้เป็นเจ้าภาพจัดงาน เป็นครั้งแรก ใน รอบ 107 ปี ของการก่อตั้งองค์กรโรตารีสากล และ ไม่มีใครตอบได้ว่า จะย้อนกลับมาจัดในเมืองไทยอีก ในปีใด เ พื่ อ ท บ ท ว น ภ า พ ป ร ะ ทั บ ใ จ จ า ก ป้ า ย ประชาสั ม พั น ธ์ ที่ ผ่ า นสายตาคนไทย และแขก ต่ า งชาติ ไปแล้ ว ดิ ฉั น ขอนำภาพ ที่ ป รากฏใน สื่อนอกบ้าน ทั้งในกรุงเทพและต่างจังหวัด กันอีก ครั้งนะคะ

สุชาดา อิทธิจารุกุล ประธานคณะอนุกรรมการ ประชาสัมพันธ์และตกแต่งเมือง 2012 Rotary International Convention

ภาพประทับใจ

โครงการน้ำสะอาด เป็นการมอบเครื่องกรองน้ำ ให้กับโรงเรียนใช้ร่วม กับชุมชน

โรตารีสากล บริจาคเงินผ่านองค์กรอนามัยโลก เพื่อผลิตวัคซีน มอบให้กับ กระทรวงสาธารณสุขทุกประเทศทั่วโลก นำไปรณรงค์หยอดวัคซีนให้เด็กต่ำกว่า 5 ขวบ

เด็กนักเรียนบ้านไกล โรตารีมอบจักรยานยืมเรียน ขี่ไปโรงเรียนอย่างมีความสุข

มั่นใจเมืองไทยพร้อมต้อนรับผู้มาเยือนจากกว่า 100 ประเทศทั่วโลก

วงล้อโรตารี มีปรัชญาเบื้องหลัง คือ แกนทั้ง 6 แทนจำนวนทวีปในโลกใบนี้, รูกลางวงล้อ เป็นรอยประแจ เพื่อเตรียมการไข ให้วงล้อเดินหน้าได้ และรอบวงล้อ มี 24 รอย แทนเวลาตลอด 24 ชั่วโมง ที่สมาชิก ร่วมบำเพ็ญประโยชน์

70


Outing กินนอกบ้าน ชิมแล้วอร่อย จึงบอกเพื่อน จานเด็ด จานเดียว

ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น ยังคงมีให้เห็น เสมอ อย่างรายนี้ คุณใหญ่ - สรัญ สุวรรณสัมฤทธิ์ คนหนุ่มไฟแรง วิศวกร-ไฟฟ้ากำลัง เคยทำงานประจำที่ งานโรงงานผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้ารายใหญ่ “พานาโซนิค” ที่นิคมอุตสาหกรรมนว นคร 3 ปี ก่อนตัดสินใจลาออกมาทำ ร้านอาหารเป็นของตัวเอง จากแรงจูงใจ วัยเด็กที่คุณแม่เปิดร้านอาหารเวียดนาม จึงช่วยจับโน่นนี่นั่น จำได้ขึ้นใจ จึงขอทำ เรื่องถนัดนี่แหละ โดยขอเรียนวิชาเพิ่ม เติมจากคุณแม่ และส่งตัวเองไปเรียน จากต้นตำหรับที่เวียดนามอีก 3 เดือน เปิดร้านแรกที่คู้บอน สาขาที่ 2 ย่าน นราธิวาสราชนครินทร์ และตามด้วย สาขาที่ 3 ซอยเอกมัย 12 (ทะลุซอย ปรีดีย์ 37) เดือนเศษๆ มาแล้ว ทีมงาน จึงตามไปชิม จานเด็ด ก็ด้วยเหตุนี้แหละ ครับ เมนูอร่อยเขามีกว่า 70 เมนู คุณใหญ่ทำได้ทุกเมนู ว้าววว….จากนั้น ก็ถ่ายทอดสอนสูตรไปถึงแม่ครัวของ แต่ละสาขา รสชาติจึงไม่เพี้ยน เขาคิด

คุณใหญ่ - สรัญ สุวรรณสัมฤทธิ์ แอคชั่นสบายๆ กั บบรรยากาศลานกว้างหน้าร้าน อยู่ไม่นานจึงตัดสินใจ นำเสนอจานเด็ด จานเดียว ไร้อาการรักจานโน้น เสียดาย จานนี้ ก็ของเขาอร่อยทุกจานน๊ะนะ…. มาแล้ว จานนี้เลย “บุ๋นจ่า” เป็นภาษา เวียดนาม บุ๋น – แปลว่าเส้น จ่า – หมายถึงหมูหมักย่าง คุณใหญ่บอกว่า

เคยตระเวนชิมมาแล้วหลายร้านแต่ไม่มี เมนูนี้ น่าแปลกเพราะจัดว่าเป็นอาหาร ประจำชาติของเวียดนาม แต่ที่นี่… มีให้ ลองครับ บุ๋นจ่า ยกมาเสิร์ฟร้อนๆ ประกอบ ด้วย น้ำซุบไก่ ขนมจีน หมู่แผ่นย่าง หมู บดย่าง เปาะเปี๊ยะทอด พริก กระเทียม มะนาว ผัก วิธีการรับประทานคือ นำ ทุกอย่างที่จะทานใส่ลงไปในถ้วยน้ำซุบ ปรุงรสด้วยทุกอย่างที่ยกมา เคล็ดลับ อยู่ที่การหมักหมูโดยใช้หอมแดง น้ำมัน หอย เกลือ ซีอิ๊ว ปรุงรสน้ำซุบโดยใช้ มะละกอ มะนาว และน้ำปลาเวียดนาม - ขึ้นชื่อว่าเป็นน้ำปลาที่อร่อยที่สุด อูยยย... ซดจนน้ำแห้ง ต้องขอเติมอีก... ยังมีเมนูเด็ดๆ ให้อร่อยกันอีก เช่น แหนมเนือง ขนมปากหม้อยวน ต้นแบบ เวียดนามแท้ๆ... ชื่อร้านก็บอกไม่ปิดบัง ว่า จะกิน อะไร กินอาหารเวียดนาม ก็ Eatviet ซิ… จำง่ายดี โทร. 02 713 1596 หรือ จะเข้าไปดูหน้าตากันก่อนที่ www.facebook.com/Eatviet

“บุ๋นจ่า” อร่อยต้องลอง

74


Travelling เปลี่ยนบรรยากาศ จากออฟฟิศ

สัมผั สไอดิน กลิ่นหญ้า ท้องฟ้า ทะเล น้ำตก

เทือกเขาแอลป์บนทิตลิสจะมีหิมะปกคลุมตลอดปี (ขอเล่าเรื่อง ต่อจากฉบับที่แล้วนะ คะ) วันที่สองในสวิส หลังทานอาหารเช้า และ check - out ลากกระเป๋ามุ่งไป สถานีรถไฟลูเซิร์น วันนี้ดิฉันวางแผนไป ขึ้นเขาทิตลิส (Titlis) ซึ่งต้องนั่งรถไฟไป ที่เมืองเองเกลแบร์ก (Engelberg) ใช้ เวลาประมาณ 50 นาที เมืองนี้เป็นเมือง เล็กๆ ตั้งอยู่ในเขตเทือกเขา Alps และ เป็นสถานีที่ตั้งของกระเช้าไฟฟ้า ที่ขึ้นสู่ ยอดเขาทิตลิส (Titlis) อันเป็นยอดเขาที่ สูงที่สุดในแถบภาคกลางของสวิส มี ความสูงถึง 3,239 เมตรหรือ ประมาณ 10,000 ฟุตเหนือระดับน้ำทะเล จึงมี หิมะปกคลุมตลอดทั้งปี ดิฉันซื้อตั๋วประเภทนั่ง Ice Flyer ซึ่ง เป็นเก้าอี้เปิดโล่งสำหรับพวกนักเล่นสกี หิมะ เพื่อขึ้นไปบนยอดสูงสุดของยอด เขา Titlis โดยใช้ Swiss Pass ซื้อตั๋ว ในราคาครึ่งราคา จากนั้นก็ออกเดินไป ตามทางเดินริมลำธารเล็กๆ ผ่านท้องทุ่ง

และบ้านชาวบ้านที่ปลูกบ้านกระจายอยู่ ริมเชิงเขาแอลป์ ใช้เวลาประมาณ 5 นาที ดิฉันขึ้นกระเช้าแรกเป็นกระเช้า เล็กๆ นั่งได้ประมาณ 4 คนต่อตู้ ภายนอกกระเช้าแต่ละตู้ จะมีสติกเกอร์ ธงชาติของประเทศต่างๆ ทั่วโลก ติดอยู่ โชคดีมากที่ได้เจอตู้ที่มีธงชาติไทย จึง เก็บรูปมาฝากกันด้วย เพราะมีเป็นร้อยตู้ โอกาสที่จะได้เจอก็คงมีไม่มาก เดินทางขึ้นกระเช้าไปจนถึงสถานีที่ สอง ต้องเปลี่ยนไปนั่งกระเช้าไฟฟ้าสี เหลี่ยมผืนผ้าขนาดใหญ่ จุคนได้ 30-40 คนต่อตู้ เพื่อขึ้นไปจนถึงสถานีที่สาม ระดับความสูง 1,800 เมตร เพื่อเปลี่ยน กระเช้าไฟฟ้าทรงกลมขนาดใหญ่ เรียก Titlis Rotairs (ทิตลิสโรแตร์) ซึ่งเป็น สัญลักษณ์ของเขาทิตลิส สามารถหมุน ได้รอบทิศแบบ 360 องศา จึงมองเห็น วิวทิวทิศน์ของภูเขาแอลป์ที่ปกคลุมด้วย หิมะและธารน้ำแข็งที่สวยงาม ไปจนถึง สถานีปลายทางบนเขา Titlis ระดับ

สวิ ส เซอร์ แ ลนด์ (ตอน 2) เที่ยวสวิส ล่องทะเลสาบ พิชิตยอดเขาแอลป์

76

ความสูง 3,020 เมตร เหนือระดับน้ำ ทะเล โชคดีมากเพราะวันนั้นไปถึงตอน เช้า อากาศดี มีแดด ทำให้นักท่องเที่ยว นับร้อยคนในวันนั้นออกไปด้านนอกตัว อาคารเพื่อถ่ายรูป และเดินเล่นเหยียบ หิมะจนหนำใจ จากนั้นไปนั่ง Ice Flyer ต่อไปที่ความสูง 3,040 เมตร มุ่งสู่ยอด สูงสุดที่ระดับความสูง 3,239 เมตร ก่อนขึ้นนั่งบน Ice Flyer จะมีเจ้า หน้าที่คอยกำกับ ให้นักท่องเที่ยวทั้ง 4 คนยืนเรียงแถวหน้ากระดานตามจุดที่ เขากำหนดไว้ เพื่อรอจังหวะให้ Ice Flyer (หรืออาจจะเรียกว่าเก้าอี้ลอยฟ้าที่ มีสายพานลำเลียง) มาหยุดตรงหน้าเรา ซึ่งเราต้องเร่งทำเวลารีบขึ้นนั่งตาม ตำแหน่ง และเขาจะเอาเหล็กคั่นปิด ล๊อคกันเราตก ก่อนที่เก้าอี้จะเคลื่อนออก ไป ซึ่งทั้งหมดต้องทำเวลาเร็วมากใน 12 นาที เพราะเก้าอี้จะหมุนมาเรื่อยๆ ดิฉันเคยนั่งเก้าอี้แบบสองที่นั่งใน เมืองจีน แต่ไม่เคยนั่งในระดับความสูง


สุภาณี เดชาบูรณานนท์ ผู้มีประสบการณ์ จากงานเอเยนซีมากว่า 40 ปี วันนี้ขอเล่าเรื ่องเบา เรื่อง เที่ยว เรื่องกิน ที่พี่น้องชาว เอเยนซี ถวิลหา ยามมีเวลา ที่หลุดจากงานได้

ไปขึ กระเช้าไฟฟ้าขนาดเล็กที่มีสติกเกอร์ธงชาติไทย ้น Ice Flyer เพื่อขึ้นไปที่ยอดสุดทิตลิส เส้นทางเดินเลียบลำธารไปที่สถานีกระเช้าไฟฟ้าขึ้นเขาทิตลิส สถานี ส ด ุ ท้ า ยณระดั บ ความสู ง 3,020 เมตร หรื อ กระเช้ 10,000 ฟุตเหนือระดับน้ำทะเล าไฟฟ้าทรงกลม Tislis Rotair ที่หมุนได้ 360 องศา ที่ขึ้น Ice Flyer เพื่อนั่งกระเช้าเล่นสกีไปยอดเขาทิตลิส ทุ่งหญ้าสองข้างทางเชิงเขาแอลป์ทางไปสถานีกระเช้าไฟฟ้า 3,000 กว่าเมตรแบบนี้ ที่มองออกไปก็ อาหารบนระดับความสูง 10,000 ฟุต เห็นแต่ภูเขาหิมะเรียงรายอยู่รอบๆ มี เหนือระดับน้ำทะเล ที่เก๋ไก๋ไม่เบาเลย กลุ่มเมฆลอยอยู่ข้างหน้าให้เราจับได้ นับ จากนั้นจึงก็เข้าไปในตัวอาคารเพื่อไปชม เป็นประสบการณ์ที่สนุก และตื่นเต้น ถ้ำน้ำแข็ง ที่เขาเจาะภูเขาน้ำแข็งทำเป็น แต่ไม่เหมาะกับคนที่กลัวความสูง ทางเดินมีราวเหล็กให้เกาะไปตลอดทาง หลังจากนั่ง Ice Flyer ดิฉันลงมา เดินจนกระทั่งสุดทางออก ทานอาหารเที่ยงซึ่งเตรียมมาแล้ว เขา ถึงเวลาถ่ายรูป ถ่ายรูปกันจนหนำใจ จัดลานโล่งให้นักท่องเที่ยวได้มาพัก โดย จึงนั่งกระเช้าไฟฟ้ากลับลงมาที่สถานี มีหิมะสูงกองอยู่รอบข้าง เป็นการทาน รถไฟ Engelberg เพื่อไปรับกระเป๋าที่

กระเช้าไฟฟ้าที่เปลี่ยนที่สถานีชั้นที่สองเพื่อขึ้นเขาทิตลิส ฝากไว้ที่ locker ที่สถานีรถไฟ แล้วนั่ง รถไฟเดินทางไปที่เมืองอินเตอร์ลาเก้น (Interlaken) -เมืองเล็กๆ ตั้งอยู่ระหว่าง ทะเลสาบทูน (Thun) และทะเลสาบ บรีเอนซ์ (Brienz) ใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมงก็ถึง Interlaken ดิฉันลงที่สถานี Interlaken West ถึงก่อนสถานี Interlaken East แล้วใช้เวลาเดิน 5 นาทีก็ถึงโรงแรมที่จองไว้ พัก 3 คืน เพราะเป็นเมืองที่อยู่ในทำเลที่สะดวก สามารถจะเดินทางไปที่เราแผนการเดิน ทางของเราในแต่ละเมืองได้ภายใน 1 – 2 ชั่วโมงได้ ทำเลที่ตั้งของโรงแรมอยู่ ใจกลางเมืองบนถนน Hoheweg ซึ่ง เป็นถนนสายหลักที่เชื่อมระหว่าง 2 สถานี อยู่ใกล้สวนสาธารณะ และร้าน ค้ามากมาย รวมทั้งโรงแรมหรูๆ ระดับ 5 ดาว โดยเฉพาะร้านขายนาฬิกายี่ห้อ ดังๆ อย่าง Rolex ซึ่งนักท่องเที่ยวที่ มาสวิสส่วนใหญ่มักจะมาซื้อกันที่นี้ หลังจาก check-in นำกระเป๋าขึ้น ห้อง ดิฉันออกมาเดินเล่นชมเมืองที่สวน สาธารณะที่อยู่ใกล้ๆ แค่เดิน 2-3 นาที จากโรงแรมที่พัก ก็พอแล้วสำหรับการ สำรวจเบื้องต้น คืนนั้นต้องรีบเข้านอน เพราะเดินทางไกลมาทั้งวัน และไม่ลืมที่ จะถามเจ้าหน้าที่โรงแรมที่เคาน์เตอร์ถึง อากาศที่ยอดเขาจุงเฟรา (Jungfraujoch) ที่เราวางแผนจะไป เที่ยวในวันรุ่งขึ้น ขอจบการท่องเที่ยววันที่สองในสวิส เพียงเท่านี้ก่อน ขอต่อเป็นภาคสาม ใน ฉบับต่อไปนะคะ

77


Travelling in Cyber ท่องไปในโลกไซเบอร์

ในฉบับก่อนเราได้เห็นวิธีการเก็บ ภาพในสถานที่ต่างๆ ของ Street View กันไปแล้ว ฉบับนี้เรามาดูวิธีการใช้งาน Street View กันครับ Street View ของ Google เป็น บริการภาพถ่ายของสถานที่ต่างๆ ที่ ทำงานร่วมกับ Google Map เพื่อให้ผู้ ใช้สามารถเห็นภาพแบบพาโนรามา (ภาพต่อเนื่องที่เลื่อนไปดูได้รอบทิศ) ของสถานที่ต่างๆ ซึ่งนอกจากจะให้ผู้ใช้ สามารถดูภาพต่างๆ จาก PC แล้ว Google ได้เปิดให้ผู้ใช้ Smart Phone และ Tablet ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น iOS (iPhone, iPad), Android (HTC, Motorola, Samsung, etc), BlackBerry ใช้งานกันได้ง่ายจริงๆ การใช้งาน ถ้าเป็น PC ก็เริ่มจาก การใช้ Google Map ก่อน (maps.google.co.th) ซึ่งในโปรแกรม Google Map ด้านบนซ้าย จะเห็นรูป คนสีเหลือง เมื่อจะใช้งาน Street View ดูภาพบริเวณใดบริเวณหนึ่งของแผนที่ ก็ให้นำ mouse ไปกดค้างที่คนสีเหลือง แล้วลากมายังถนนที่เราต้องการดูภาพ ซึ่งเมื่อลากคนสีเหลืองมาบริเวณแผนที่ ก็จะปรากฏเส้นสีน้ำเงินบนถนนต่างๆ ที่ มีรูปถ่ายแบบ panorama อยู่ พร้อมกับ ภาพเล็กๆ ของบริเวณนั้นให้ดูคร่าวๆ ส่วนบริเวณที่เป็นจุดสีน้ำเงิน เป็น บริเวณที่มีภาพถ่ายแบบธรรมดาบันทึก ไว้ ซึ่งสามารถนำคนสีเหลืองไปปล่อยไว้ บริเวณนั้นก็ได้ ก็จะเห็นภาพเช่นกัน แต่ จะเป็นภาพถ่ายธรรมดา ไม่ได้เป็นภาพ แบบ panorama ที่หมุนไปดูได้รอบทิศ เหมือนภาพที่อยู่บนเส้นสีน้ำเงิน เมื่อ ปล่อยคนสีเหลืองบนเส้นสีน้ำเงินแล้ว ก็ จะปรากฏภาพจริงบริเวณนั้นขึ้นมาให้ดู ทันที ซึ่งภาพที่แสดงให้เห็นนี้ มีความ พิเศษตรงที่เป็นภาพแบบ panorama ซึ่งผู้ใช้สามารถใช้ mouse กดที่ภาพ แล้วเลื่อนไปทางขวา ซ้าย บน ล่าง เพื่อ

ดูภาพในมุมต่างๆ ได้ตามต้องการ สำหรับอุปกรณ์อื่นๆ ที่เป็นจอแบบ สัมผัสได้ การใช้งาน ก็จะง่ายขึ้นไปอีก โดยเพียงแต่ใช้นิ้วแตะบนจุดบนแผนที่ จาก Google Map ก็จะเกิดภาพเล็กๆ ขึ้นมาตรงจอบริเวณนั้น ซึ่งสามารถใช้ นิ้วแตะที่รูป ก็จะเห็นภาพที่ใหญ่ขึ้นของ Street View ทันที การเลื่อนไปดู ก็ใช้ นิ้วกดที่รูปแล้วเลื่อนนิ้วไป ภาพก็จะ เปลี่ยนตามนิ้วที่ลากไปทันที จากภาพที่สามารถเข้าไปดูได้ง่ายๆ นี้ จะให้ประโยชน์กับผู้ใช้ในหลายแง่มุม ซึ่งหนึ่งในประโยชน์สำหรับประเทศไทย คือด้านท่องเที่ยว เพราะทำให้นักท่อง เที่ยวสามารถเข้าไปดูภาพของจุดท่อง เที่ยวต่างๆ ได้อย่างง่ายดาย และเป็น ที่มาของการร่วมกันเปิดตัวระหว่าง Google และการท่องเที่ยวแห่งประเทศ ไทย นอกจากนักท่องเที่ยวแล้ว หลายๆ ธุรกิจจะได้ประโยชน์จากบริการนี้ เช่น ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ที่ลูกค้าสามารถ เข้าไปดูภาพของบ้าน ห้องเช่า ที่สนใจ ได้อย่างง่ายๆ รวมไปถึงภาพบริเวณใกล้ เคียง เห็นบรรยากาศต่างๆ ก่อนจะเช่า หรือซื้อ โดยส่วนตัวแล้ว ผมก็ใช้ Street View บ่อยๆ เพื่อดูภาพบริเวณต่างๆ ที่ จะเดินทางไป เช่น ร้านอาหารที่ยังไม่ เคยไป ซึ่งทำให้เห็นหน้าตาของร้านจาก ภาพนอกว่าเป็นอย่างไร อยู่ตรงไหนกัน

บริ ก าร Street View ประเทศไทย (ตอนจบ)

78

สมชัย สิทธิชัยศรีชาติ กรรมการผู้จัดการ บมจ.เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) Somchai Sittichaisrichart Managing Director SIS Distribution (Thailand) Plc.

เมื่อลากคนสีเหลืองด้านซ้ายบนออกมาที่แผนที่ จะเห็ นเส้นสีน้ำเงิน ซึ่งเป็นถนนที่มีภาพถ่ายของ Street View ให้ลากคนสีเหลืองมาปล่อยบริเวณที่ ต้องการเป็ นภาพ เช่นกรณีนี้ ลากมาบริเวณด้านล่าง ขวาของสนามหลวง ก็จะปรากฏภาพบริเวณนั้นขึ้น มาให้ เห็นในกรอบเล็กๆ ด้านบนของคนสีเหลือง ภาพของ Street View ที่ปรากฏให้เห็น บริเวณขวาล่ างของสนามหลวง พร้อมแสดงวันที่ ของภาพที่บันทึกไว้ด้านล่าง ซึ่งกรณีนี้ เป็นเดือน 2011 กันยายน สามารถเลื่อนไปดูทางซ้าย ขวา บน หรือ ล่าง ของภาพได้ ซึ่งภาพจะเปลี่ยนอย่างต่อเนื่อง เพราะ บันทึ กไว้ให้ดูแบบ panorama แน่ ฯลฯ ทำให้เดินทางไปได้อย่างไม่ผิด พลาด ถึงปัจจุบัน Street View ก็ได้ให้ บริการภาพใน 47 ประเทศแล้ว ตาม แผนที่ด้านล่างที่เป็นสีฟ้า ซึ่งสามารถ เข้าไปดูข้อมูลล่าสุดได้ที่ http:// maps.google.com/help/maps/ streetview/learn/where-is-streetview.html สำหรับ ประเทศไทย พื้นที่ให้ บริการ ก็ยังจำกัดที่ กรุงเทพฯ เชียงใหม่ และภูเก็ต รวมไปถึงถนนเพชรเกษมที่วิ่ง จากกรุงเทพฯ ไปยังภูเก็ต ซึ่งเชื่อว่าจะมี การเพิ่มพื้นที่ให้บริการไปเรื่อยๆ ซึ่งเท่า ที่ได้ข้อมูลมา จะมีการเพิ่มพื้นที่บริการ ในส่วนต่างๆ ของกรุงเทพฯ เพิ่มเติม พร้อมกับนครปฐม (อ. เมือง, อ. กำแพงแสน), ปทุมธานี (อ. คลองหลวง, อ. ธัญบุรี, อ. ลำลูกกา, อ. หนองเสือ), ลำปาง (อ. เมือง, อ. วังเหนือ, อ. แจ้ห่ม) สุพรรณบุรี (อ. สองพี่น้อง) บริการนี้ เปิดให้ใช้ฟรี และมี ประโยชน์มาก เป็นเครื่องมือในการท่อง เที่ยวไปตามที่ต่างๆ ในโลกนี้ได้อย่าง ง่ายๆ ลองใช้งานกันดูนะครับ


ASPA Home Town จัดไว้พิเศษ ให้นายกฯ สื่อสารไปถึงสมาชิก

วันนี้ผมขอพูดต่อ เรื่องของการเชิญชวน ให้ พี่ๆ เพื่อนๆ สมาชิก อีกครั้ง หลังจากที่ผมและคณะกรรมการสมาคมฯ เปิด แถลงข่าว ไปแล้ว เมื่อ วันที่ 12 กันยายน ที่ผ่านมา ทุกอย่างในโลก มีทั้งข้อดีและข้อเสีย เป็นธรรมชาติ ทุกคน รู้กันทั่วโลก พอย่อส่วนลงมาเป็นเรื่องป้ายบิลบอร์ด พวกเรา เจ้าของโครงป้ายก็ระดมสมอง ช่วยกันคิดว่า ป้ายโฆษณา มี ข้อดี ข้อเสียอย่างไรกันบ้าง มีข้อสรุปออกมา ดังนี้ครับ ข้อดีของป้ายโฆษณา ข้อแรก เป็นเรื่องของการที่ภาครัฐมี รายได้ จ ากการจั ด เก็ บ ภาษี ข้ อ สองเป็ น การนำพื้ น ที่ ม าใช้ ประโยชน์ ข้อสาม เป็นเครื่องมือสื่อสารที่ทำหน้าที่ตลอด 24 ชั่วโมง ข้อสี่ ทำให้เกิดธุรกิจ Supply Chain ต่อเนื่อง และมี จำนวนแรงงานกว่าหนึ่งล้านคน ข้อเสียของป้ายโฆษณา ข้อแรก ขาดการจัดระเบียบ จึงเป็น มลพิษสายตา ข้องสอง หากขาดการดูแล อาจเกิดอันตราต่อ ชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น ได้ ข้ อ สาม วั ส ดุ ที่ ใ ช้ ไม่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้อม สมาคมฯ จึงมีมติ ชัดเจนครับว่า จะขอนำเสนอแนวทาง ในการจัดระเบียบป้าย โดยเริ่มที่ผู้ประกอบ อย่างพวกเราก่อน แ ล้ ว จึ ง น ำ เ ส น อ ไ ป ยั ง ห น่ ว ย ง า น ก ำ กั บ ดู แ ล คื อ กรุงเทพมหานคร โดยหวังว่าสุดท้าย จะส่งผลบังคับไปยังหัว เมืองต่างจังหวัดได้ ในอนาคต ผมคิดว่า เรื่องนี่หมักหมมมานานมาก จำเป็นต้องมานั่งพูด คุย เจรจากันแบบเปิดอก เปิดใจ ตั้งคณะทำงาน พิจารณาร่วม

จัดระเบียบป้าย

80

คุณสาคร ตรีธนจิตต์ นายกสมาคม สมาคมป้ายและโฆษณา

กัน วางส่วนรวมเป็นที่ตั้ง น่าจะเห็นแนวโน้มที่ดีนะ ครับ เป็นที่รู้กันว่า การลงมือในครั้งนี้ เหมือนเป็นการ “ฮาราคี รี ” ตั ว เอง ยอมครั บ … พวกเรายอมเจ็ บ ปวด เพื่ อ มองไปในอนาคตของธุ ร กิ จ โครงป้ า ย โฆษณาในอนาคต ให้พวกเราได้เงยหน้ามองสังคม ได้ เ ต็ ม ตา ว่ า ไม่ ใ ช่ จ ำเลยสั ง คม พวกเราเป็ น ผู้ ประกอบสุจริตชนกลุ่มหนึ่ง ที่มีส่วนในการพัฒนา บ้านเมืองด้วยเช่นกัน สมาคมฯ เรียกร้องไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรยื่ น มื อ ออกมาทำงานร่ ว มกั น ผมเสนอไปว่ า ยิ นดี ให้ ค วามร่ ว มมื อ กั บ ทางกทม. ในการแต่ ง ตั้ ง คณะทำงาน ลงมานั่ ง ทำงานนี้ - จั ด ระเบี ย บป้ า ย โฆษณาร่วมกัน นอกเหนือจากนี้ยังรณรงค์ เรื่องป้าย Safety’ 12/13 ให้สมาชิกทุกท่าน เข้ามาร่วมโครงการนี้ด้วย กันอยู่เหมือนเดิม เพราะชี วิ ต ต้ อ งเดิ นต่ อ ไป บ้ า นเมื อ งวุ่ น วายมาก พอแล้ว ทุกคนควรเคารพกติกาสังคมร่วมกัน เราทำ บ้ า นเมื อ งให้ น่ า อยู่ ได้ ด้ ว ยมื อ ของพวกเราเองนะ ครับ


.

เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2555 ที่ผ่าน มา ทาง CASBAA หรือ Cable and Satellite Broadcasting Association of Asia เป็ น สมาคมที่ ป ระกอบด้ ว ย สมาชิ ก ชื่ อ ดั ง อาทิ Sony Pictures, BBC, True Vision, Fox, A&E, Discovery Channel เป็ นต้ น ได้ จั ด งานสัมมนาขึ้นในประเทศไทยเป็นครั้ง แร ก ป ร ะ ห นึ่ ง เป็ น เ ส มื อ นก า ร ส่ ง สัญญาณว่าอุตสาหกรรมเคเบิลทีวีและ ที วี ด าวเที ย มของไทยกำลั ง เป็ น ที่ น่ า จับตามองจากต่างประเทศมากขึ้น งานสั ม มนาในครั้ ง นี้ ชื่ อ ว่ า “TV Upfronts : The Bangkok Screeeings” ที โรงภาพยนตร์ 5 เมเจอร์ซีเนเพล็กซ์ รัชโยธิน งานนี้ดิฉัน มีโอกาสที่จะเป็นหนึ่งในผู้บรรยาย จึงถือ โอกาสนำมาเล่ า สู่ กั น ฟั ง ตามภาพ ประกอบ สถิติที่น่าสนใจเหล่านี้นะคะ ความตื่ นตั ว ในระดับภูมิภาคได้เริ่ม หันมามองประเทศไทยมากขึ้น ถ้าเราดู จากกราฟการรับชมของคนที่มีอายุ 4 ปี ขึ้นไปของคนไทยทั้งประเทศ คนไทยเริ่ม หันมาเปิดรับชมช่องจากเคเบิลทีวี และ ทีวีดาวเทียมในระดับที่สูงขึ้นอย่างเห็น ได้ชัด โดยเฉพาะช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ ที่มีจำนวนผู้ชมเยอะไม่แพ้ช่องฟรีทีวี แล้ ว ถ้ า เราดู ก ลุ่ ม ในเมื อ งกั น บ้ า ง จำนวนของผู้ ช มเคเบิ ล ที วี และที วี ดาวเทียมนั้นแซงหน้าจำนวนผู้ชมของ ฟรีทีวีในช่วงเวลากลางวันของวันทำงาน ได้เลย แต่ที่ทำให้เรารู้สึกตื่นเต้นได้ดีที่สุดก็

น่าจะเป็นกลุ่มผู้ชายอายุ 15 ปีขึ้นไปใน เมือง เพราะว่ามีจำนวนผู้ชมที่แซงหน้า ฟรีทีวีในหลายช่วงเวลา รวมไปถึงเวลา หั ว ค่ ำ ซึ่ ง เป็ นช่ ว งไพรมไทม์ ข องฟรี ที วี บ้านเราเลยทีเดียว แต่ในความน่ายินดีของจำนวนผู้ชม ที่มากขึ้นก็แฝงไว้ด้วยความน่าปวดหัว

TV Upfronts : The Bangkok Screeeings

82

เพราะว่ า จำนวนของช่ อ งในเคเบิ ล ที วี และทีวีดาวเทียมเองก็เพิ่มตามขึ้นเช่น กัน โดยที่ตอนนี้จำนวนช่องน่าจะมีไม่ต่ำ กว่า 200 ช่องเข้าไปแล้ว สิ่งที่ตามมาก็ คือ เรื่องจำนวนผู้ชมที่จะกระจายตัวยิบ ย่อยไปตามช่องเช่นกัน อย่างไรก็ตาม ช่องในเคเบิลทีวี และ ทีวีดาวเทียมก็ยังมีข้อดีอยู่ก็คือ แต่ละ ช่องมีความเฉพาะเจาะจงของกลุ่มคนดู อยู่ เพราะฉะนั้ น เจ้ า ของแบรนด์ ต่ า งๆ คงไม่ ต้ อ งน่ า ห่ ว งว่ า เงิ นที่ ล งไปจะสู ญ เปล่า เพราะว่าอย่างไรก็สามารถเข้าถึง กลุ่ ม เป้ า หมายที่ เฉพาะเจาะจงได้ จ ริ ง และจะมีการแบ่งกลุ่มคนดูที่ชัดเจนมาก ขึ้นเรื่อยๆ แน่นอน ข้อเสนอแนะสำหรับเจ้าของช่องทั้ง หลายก็คงจะเป็นเรื่องที่อะไรควร และ ไม่ควร ขอเริ่มจากสิ่งที่ไม่ควรก่อนก็คือ อย่าแข่งขันกันที่ความคุ้มค่าหรือ CPRP เพราะว่าจำนวนคนดูช่องของเคเบิลทีวี และทีวีดาวเทียมแต่ละช่องคงเทียบไม่ ได้กับฟรีทีวีในตอนนี้ ฟรีทีวีอาจมีคนดู เป็นหลักล้าน และช่องของเคเบิลยังคง อยู่ที่หลักแสนเท่านั้น แต่สิ่งที่ควรแข่ง กั น ก็ คื อ เรื่ อ งของเนื้ อ หาและรู ป แบบ รายการหรือ Content ก่อน เพราะผู้คน สมัยนี้สามารถดูรายการได้จากหลายสื่อ หลายช่องทาง โดยที่ไม่จำเป็นต้องยึดติด กับช่องทางใดช่องทางหนึ่ง แต่สิ่งที่ผู้คน มองหาคือ เนื้อหาของรายการที่จะทำให้ ผู้ ค นอยากติ ด ตาม ซึ่ ง เทรนด์ นี้ ท ำให้ เจ้าของแบรนด์ต่างๆ เริ่มปรับตัวมาเป็น


ส่วนหนึ่งของเนื้อหาในรายการมากขึ้น และยิ่งถ้าทำให้เป็นรายการที่มีการพูด ถึงในวงกว้างจะยิ่งทำให้เจ้าของแบรนด์ ต่างๆ ยิ้มกันไม่หุบ สิ่งที่ไม่ควรทำเรื่องต่อไปก็คือ เลียน แบบผั ง รายการของฟรี ที วี เพราะ ปัจจุบันคนจะเลือกในสิ่งต้องการดู เด็กดู การ์ตูน แม่บ้านก็เลือกละคร ผู้ชายหนี ไม่พ้นเรื่องกีฬา นักธุรกิจมองหาข่าว ซึ่ง เนื้อหาที่ตรงใจ และถูกใจคนแต่ละกลุ่ม ก็จะช่วยดึงดูดกลุ่มคนแต่ละกลุ่มเข้ามา ถ้ า มี จ ำนวนคนดู ม ากขึ้ น ก็ จ ะทำให้ เจ้าของแบรนด์หันมาสนใจมากขึ้นเช่น กั น และก็ ค วรที่ จ ะทำให้ ชั ด เจนเลยว่ า ช่องของเราเน้นจับที่กลุ่มเป้าหมายอะไร ตัวอย่างแรก จากกรณีศึกษาของ Initiative ได้นำเรื่องของ content เข้า มาปรั บ ใช้ กั บ ช่ อ งในเคเบิ ล ที วี และที วี ดาวเที ย ม ตั ว อย่ า งแรกคื อ ทิ ป โก้ ออ เรนจ์ เชค ที่ เข้ า ไปจั บ มื อ กั บ มาดามมด จากช่อง Play Channel ซึ่งเป็นการนำ เอาทิปโก้ ออเรนจ์เชค เข้าไปเป็นส่วน หนึ่งในรายการของมาดามมด ที่ให้เห็น สินค้า และการดื่มสินค้าภายในรายการ ภายในงบประมาณที่ไม่มากนักก็สามารถ สร้างกระแสให้มียอดคนดูใน Youtube ทะลุ 100,000 วิวไปแล้ว ตั ว อย่ า งที่ 2 ที่ ชั ด เจนคื อ ตั ว อย่ า ง จากโค้ ก ซึ่ ง โจทย์ ม าจากการที่ โ ค้ ก ต้องการสร้างเทศกาลที่น่าจดจำในหน้า ร้ อ นสำหรั บ กลุ่ ม วั ย รุ่ น โดยที่ จั ด เป็ น อีเว้นท์ 2 วันที่มีศิลปิน และนักร้อง

มากมายเข้ามาให้ความสนุกสนานกับวัย รุ่ น ในกรุ ง เทพ แต่ เราก็ อ ยากให้ ค วาม สนุกกระจายไปถึงวัยรุ่นในต่างจังหวัด เช่นกัน เราจึงใช้การถ่ายทอดสดอีเว้นท์ และคอนเสิร์ตผ่านทาง True Music ให้ วั ย รุ่ น ได้ รั บ ความสุ ข ไปพร้ อ มกั น ทั้ ง ประเทศ ทำให้มีผู้ชมกว่า 9 ล้านคนทั่ว ประเทศ และส่ ง ให้ แ คมเปญนี้ ไ ด้ รั บ รางวั ล Bronze จาก Performance Award ในสาขา Best Activation และเข้า Short list จากงาน Festival of Media Asia และ Global ในสาขา Best Entertainment Platform ตัวอย่างสุดท้ายคือ แคมเปญ มันส์ ล่ะ...หงส์ ที่จับมือกับ You2Play เพื่อทำ การโปรโมตโปรโมชั่น และกิจกรรมนี้ใน ช่ ว งเวลา 6 เดื อ น ซึ่ ง ทำให้ ส ามารถ สร้างยอดขายเพิ่มขึ้นถึง 19% และส่ง ให้หงส์ทองขึ้นเป็นอันดับหนึ่งของตลาด ถ้าเรามามองถึงอนาคตและโอกาส ของเคเบิลทีวีและทีวีดาวเทียม สัดส่วน ของคนดูที่ชมเคเบิลทีวีและทีวีดาวเทียม จากคนดูทั้งหมดมีอยู่ 18% ในปัจจุบัน ซึ่งตัวเลขนี้เพิ่มขึ้น 2 เท่าจากช่วง 2 ปี

วรรณี รัตนพล นายกสมาคมมีเดียเอเยนซี และธุรกิจสื่อแห่งประเทศไทย ก่อนหน้า ถ้าเราคิดกันง่ายๆก็คือในอีก 5 ปี ข้ า งหน้ า ก็ น่ า จะมี ย อดคนดู ไ ด้ ถึ ง 80% ของตลาด ส่วนเม็ดเงินโฆษณาที่ ไหลเข้ า มามี อ ยู่ เพี ย ง 7% เท่ า นั้ นซึ่ ง ก็ เห็ น ได้ ว่ า ยั ง มี ช่ อ งที่ จ ะเติ บ โตได้ อี ก ถ้ า เทียบกับสัดส่วนคนดู 18% ถ้ า เราดู จ ากตั ว เลขการเข้ า ถึ ง ของ เคเบิ ล ที วี และที วี ด าวเที ย มจากทาง Nielsen ตอนนี้ มี อ ยู่ ป ระมาณ 50% จากทั่วประเทศ และมีมากในเขตเมือง โดยมี ตั ว เลขอยู่ ที่ 60% และในเขต ชนบทที่ 44% ถ้าจะให้ประมาณการใน การเข้าถึงน่าจะสูงไปถึง 88% ในอีก 5 ปี ข้ า งหน้ า ซึ่ ง เป็ น ช่ ว งเวลาที่ สั้ น มาก ตอนนี้ ค งเป็ น เวลาที่ เ หมาะสมแล้ ว ที่ ตลาดนี้จะเดินหน้าอย่างเต็มตัว สุ ด ท้ า ยนี้ ก็ ค งต้ อ งเป็ น หน้ า ที่ ข อง เจ้าของช่องหรือรายการที่จะใช้ความคิด สร้ า งสรรค์ สิ่ ง ดี ๆ ออกมา เพื่ อ ให้ Content สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบให้ เข้าได้กับแบรนด์ และสินค้าต่างๆ ซึ่งถ้า ทุกรายทำได้โอกาสดีๆ ก็คงมีได้อย่างไม่ สิ้นสุดสำหรับทุกฝ่าย งานนี้คงจะพอตอบคำถามของหลาย ท่ า นได้ บ้ า งแล้ ว นะคะ ว่ า กรุ ง เทพ… วั น นี้ เหตุ ใ ดจึ ง มี แ ต่ จ อ จอ จอ ที วี มากมายไปหมด พบกันใหม่ฉบับหน้าคะ 83


Gossip จิบน้ำชา ใต้ต้นพิกุล

มีประสบการณ์ดีๆของชีวิต เรื่อยมา เมื่อเจอะเจอบาง เรื่อง จึงอึดอัดใจเล็กๆ คุณ สุมาลี เลิศสุกิตติพงศา บอสส์สาวแห่งค่าย เทคโนโลยี 2004 นับว่ามี ความแกร่งในใจ อย่างน่า นับถือ ตั้งแต่การก่อตั้ง เมื่อ ปีที่ระบุในชื่อบริษัท เมื่อเจอ ภาวะการณ์แข่งขันดุเดือด เมื่อเจอน้ำท่วม และเมื่อ หลายเจอ เธอก็ยังมีสติ มั่นคง พาองค์กรฝ่าคลื่นลม วันนี้ลูกค้าของเธอ กระจาย ตัวอยู่ทั่วประเทศ ดีใจด้วย ครับ 84

ช่างคิด ช่างมองทะลุ ช่าง ใจถึง และช่างกล้าหาญ มาวัน นี้ (อีกครั้ง) ที่เสี่ยคนนี้ – คุณกิติชัย ศรีจำเริญ เจ้าพ่อป้ายบิลบอร์ด คนดัง เจ้าของวลีคำทักทาย ฮัลโหล ฮัลโหล- Hello Hello ด้วย ความกล้าลงทุน และมอง ขาด กล้าที่จะลงทุน จอดรถ ราคานับล้าน แช่นิ่ง ทิ้งไว้ที่ บริเวณสี่แยก ย่านชุมชน จน ฮือฮาไปแล้วเมื่อ 4-5 ปี ก่อน และบัดนี้เขา(กล้า) อีก แล้ว ต้นตำรับของการขึ้นจอ ป้ายบิลบอร์ด ให้กลายเป็น จอทีวีขนาดใหญ่ มีภาพ เคลื่อนไหว สว่างไสว ของ เตือนว่า อย่ามองเพลินไป เสียล่ะ

งานเยอะมาก โดยเฉพาะ นโยบายของผู้ประกอบการที่ ขยายตัวไปตามหัวเมือง การ กระจายตัวของห้างดังจาก กทม. จึงพาเหรดกันไปตั้ง สาขา ณ อำเภอ จังหวัดนั้น ซะเลย คุณนวพร ลัคนา วงศา จึงเสียสละให้คุณสามี เดินสายต่างจังหวัดเพียง ลำพัง โดยมีข้อตกลงว่า ให้ โทรกลับมารายงานตัวทุกวัน เพียง เช้า-กลางวัน-เย็นก่อนนอนก็พอแล้ว บ๊ะ…. แม่เจ้า…….

ค้นพบอาชีพใหม่แบบไม่ ตั้งใจนัก คุณบุญสืบ พงศธรเสถียร แห่ง Print Head อาจจะเริ่มอิ่มกับงาน พิมพ์ไวนิล อิงค์เจ็ท จึงลอง หันไปชงน้ำสมุนไพร ด้วย สูตรที่เคยชิมกันมาแต่วัน ก่อนเก่าวัยเด็ก บรรจุขวด ออกบูท ชงชิม ลูกค้าติดใจ กันเป็นทิวแถว ทำให้เจ้าตัวชัก สนุก ติดใจ ว่าแล้วจึงออก บูธ ตระเวนไปหลายงานมา แล้ว…….


Society

น้ำท่วม 54 ด ร . ธี ร ะ ช น ม โ น มั ย พิ บู ล ย์ ร อ ง ผู้ ว่ า ร า ช ก า ร กรุงเทพมหานคร ปาฐกถาเรื่อง “แฉ ทำไมน้ำท่วมใหญ่ ถล่ม เมื อ ง” ในงานสั ม มนา “แฉน้ ำ ท่ ว ม ปี 54 ถึ ง ผลาญงบ 3.5 แสนล้าน : ผิดพลาดหรือตั้งใจ” ที่ KU Home มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ มีนักวิชาการจากหน่วยงานต่างๆ มาร่วมงานกัน คับคั่ง สัปดาห์ประกันภัยครั้งที่ 4 นายวิรุฬ เตชะไพบูลย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการ คลั ง และนายประเวช องอาจสิ ท ธิ กุ ล เลขาธิ ก ารคณะ กรรมการกำกั บ และส่ ง เสริ ม การประกอบธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย (คปภ.) ร่ ว มเป็ น ประธานเปิ ด บู ธ ของ บมจ.อลิ อั นซ์ อยุ ธ ยา ประกั นชี วิ ต และ บริ ษั ท อลิ อั นซ์ ซี . พี . ประกั น ภั ย ในงาน สัปดาห์ประกันภัยครั้งที่ 4 ประจำปี 2555 ณ ศูนย์การประชุม แห่งชาติสิริกิตติ์ โดยมีผู้บริหารระดับสูง-ไบรอัน สมิธ- ปกิต เอี่ยมโอภาส ให้การต้อนรับ อาคารปลอดภัย สำนักการโยธากรุงเทพมหานคร จัดสัมมนาเรื่อง “ตรวจ สอบอย่างไร ให้ได้ใบรับรอง ร.1” ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการ ประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี โดยมีผู้เชี่ยวชาญในด้านต่างๆ อาทิ สำนั ก การโยธา กทม., สมาคมวิ ศ วกรรมสถานแห่ ง ประเทศไทย สมาคมสถปนิ ก สยาม ในพระบรมราชปถั ม ถ์ สมาคมผู้ตรวจสอบและบริหารความปลอดภัยอาคาร มาร่วมให้ ความรู้แก่เจ้าของอาคารและเจ้าของป้ายโฆษณาขนาดใหญ่ มหากาพย์ 3G คณะกรรมธิการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การสื่อสาร และ โทรคมนาคม วุฒิสภา จัดสัมนาเรื่อง “อนาคต 3G ไทยจะไป ได้ อ ย่ า งไร” ณ โรงแรมมิ ร าเคิ ล แกรนด์ คอนเวนชั่ น โดยมี พั น เอก ดร.เศรษฐพงศ์ มะลิ สุ ว รรณ รองประธาน กสทช. และประธานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม, ดร.สุทธิพล ทวีชัยการ กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ พร้อมด้วยตัวแทนจากผู้ให้บริการ เครือข่ายมือถือ ร่วมการสัมมนากันอย่างคึกคัก เตรียมรับการ ประมูลเครือข่าย 3G เร็วๆ นี้.. 86


Society

เพิ่มประสิทธิภาพ นายดำริห์ เอมมาโนชญ์ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหารปฏิบัติการ บริษัท อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ วิศวการ จำกัด (มหาชน) -IFEC ผู้นำเข้าและทำตลาด “โคนิก้า มินอลต้า” รายเดียวใน ประเทศไทย แถลงข่ า วเรื่ อ งทิ ศ ทางการทำตลาดและการ ดำเนินธุรกิจในประเทศไทย ด้วยกลุ่มธุรกิจเครื่องดิจิทัลมัลติ ฟังก์ชั่น และนวัตกรรมเครื่องพิมพ์ความเร็วสูง ช็อปด้วยปลายนิ้ว.. คุณวรวุฒิ อุ่นใจ ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้ จั ด การ บริ ษั ท ออฟฟิ ศ เมท จำกั ด (มหาชน) เปิ ด ตั ว ร้ า น Trendyday.com Shop สาขา 2 ในสไตล์ Modern Shop ณ ชั้น 3 Gateway เอกมัย เพิ่มสีสันและดีไซน์การออกแบบร้าน ที่ทันสมัย เปิดมุม Shopping Online Zone ให้ลูกค้าสามารถ เลือกซื้อสินค้าอื่นๆได้อีกกว่า 40,000 รายการ จากเว็บไซต์ www.trendyday.com ผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ภายใน ร้าน พร้อมเอาใจนักดื่มกาแฟ ในโซน Trendyday Café Lava zza กาแฟเกรดพรีเมี่ยมจากอิตาลี บ้านทนต่อแผ่นดินไหว สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย จัดกิจกรรม INSIGN MARKETING VISIT พาสมาชิกเข้าเยี่ยมชมนวัตกรรมการ ออกแบบบ้านที่ทนต่อแผ่นดินไหวของ SCG Heim โดยสาธิต การเกิดแผ่นดินไหวกันให้ตื่นเต้น ด้วยประสบการณ์จริงอีกด้วย สื่อรับมือ AEC คุณวรรณี รัตนพล นายกสมาคมมีเดียเอเยนซีและธุรกิจ สื่อแห่งประเทศไทย (MAAT) ร่วมเป็นวิทยากรในงานสัมมนา “เปลี่ยนธุรกิจสื่อและโฆษณาไทย รับมือ AEC” จัดโดยสถานี โทรทัศน์สปริงนิวส์ เมื่อหลายวันก่อน 88


Member Corner พิเศษสำหรับสมาชิก

Promotion of the month October 2012 ชวนคุณๆ มาหาความสุขจาก การอ่าน หนังสือชุด ศาสตร์ แห่งความสุข จำนวน 1 ชุด 4 เล่ม มูลค่า 995 บาท มอบให้สมาชิก 5 ท่านแรก ที่บอกรับการเป็นสมาชิก นิตยสาร OHM เป็นเวลา 2 ปี

รายชื่อผู้โชคดี OHM July 2012

ขอแสดงความยินดีกับสมาชิกราย 2 ปี 5 ท่านแรก ที่ได้รับแป้ง Marie Chantal – มารี ชองตาล มูลค่า 580.-บาท

คุณนฤมล แสงสิน คุณสาโรจน์ จิตรศิลป์ คุณจันทรเรือง ธิติมา คุณวราภา สุขใจ คุณอรอนงค์ นันทรักษ์ สมาชิกใหม่ New Subscriber ต่ออายุสมาชิก หมายเลขสมาชิกเดิม ........................................................ Renewal of Subscriber No. ................................................................... สมัครสมาชิก OHM 1 ปี 10 ฉบับ พร้อม OHM Year Book ฟรี 1 เล่ม มูลค่ารวม 1,800 บาท จ่ายเพียง 960 บาท ประหยัดได้ถึง 46% เป็นสมาชิกตั้งแต่ฉบับที่..............................ถึง............................. 1 Year Subscription – 10 volumes plus 1 OHM Year Book value Baht 1,800 960 (save 46%). (from volume no. ............................ to ...............................) สมัครสมาชิก OHM 2 ปี 20 ฉบับ พร้อม OHM Year Book ฟรี 2 เล่ม มูลค่ารวม 2,600 บาท จ่ายเพียง 1,920 บาท ประหยัดได้ถึง 46% เป็นสมาชิกตั้งแต่ฉบับที่..............................ถึง............................. 2 Year Subscription – 20 volumes plus 2 OHM Year Books value Baht 2,600 1,920 (save 46%). (from volume no. ............................ to ...............................) ข้อมูลสมาชิก Subscriber’s Details ชื่อ Name สกุล Last Name.............................................................................................. วัน เดือน ปีเกิด Date of Birth.......................................................................................... อาชีพ Occupation................................................................................................................ สถานที่จัดส่งนิตยสาร Delivery Address ชื่อ Name นามสกุล Last Name...................................................................................... ที่อยู่ Address ....................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... โทรศัพท์ Telephone ........................................................................................................... โทรสาร Fax ........................................................................................................................... 02-521-9176-7 02-521-9176-7

90

มือถือ Mobile ........................................................................................................................ Email ....................................................................................................................................... Website .................................................................................................................................. สถานที่ออกใบเสร็จ Address for Receipt ที่เดียวกับที่จัดส่งเอกสาร same as above ออกใบเสร็จในนาม please issue a receipt in the name of ที่อยู่ Address .............................................................................................................. โทรศัพท์ Telephone .................................................................................................. โทรสาร Fax .................................................................................................................. มือถือ Mobile ............................................................................................................... ชำระค่าสมาชิกโดย Payment โอนเงินเข้าบัญชีในนาม บริษัท เอ็มจีเอ มีเดีย จำกัด ธนาคาร กรุงไทย สาขาวิภาวดีรังสิต 64 เลขที่บัญชี 980 5 11313 2 Money transfer to account of MGA Media Company Limited, KTB Vibhavadee Rangsit 64 account no. 980 5 11313 2 Payment made via ......................................................................................................... สาขา Branch ...................................................................................................................... โอนวันที่ Transfer Date ................................................................................................... จำนวน Amount .................................................................................................................. เช็คสั่งจ่ายในนามบริษัท เอ็มจีเอ มีเดีย จำกัด Cheque issued in the name of MGA Media Company Limited ธนาคาร Cheque issued by ......................................................................................... สาขา Branch ...................................................................................................................... เลขที่ Cheque No. ............................................................................................................ วันที่ Cheque Date ........................................................................................................... ชำระเงินสด Cash

02-521-9178 02-521-9178


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.