OHM Magazine #54

Page 1

Mass

Rapid

Transit


Editor Note การเดินทางด้วยระบบขนส่งมวลชนในเมือง ใหญ่ เป็นการอำนวยความสะดวกให้ผู้คน และ ลดปัญหาความแออัดของการจราจรอย่างได้ผล เป็ น ความเชื่ อ มโยงกั บ การขั บ เคลื่ อ นระบบ เศรษฐกิจโดยตรง แต่ เมื่ อ การพั ฒ นาดั ง กล่ า ว มี ค วามจำเป็ น ต้ อ งเกี่ ย วกั บ หลายหน่ ว ยงาน และเป็ น หน้ า ที่ โดยตรงของภาครั ฐ ซึ่ ง รวมอยู่ ในแผนพั ฒ นา ระบบสาธารณูปโภคทั้งประเทศ จึงย่อมมีความ ซับซ้อนเรื่องการบริหารงาน แนวคิดการแบ่งงานด้านงานบริหารจัดการที่ เอกชนมีความคล่องตัวกว่า จึงกลายเป็นสัญญา ร่วมทุนระหว่างรัฐ และ เอกชน สิ่งที่ประชาชน พบเห็น คือ การเกิดขึ้นของสินค้า บริการใหม่ๆ รถไฟฟ้า MRT เปิดบริการมาแล้ว เมื่อ 5 ปี ก่อน จุดเด่นของเส้นทางคือ การเดินสายพาด ผ่ า น ชุ ม ช น ที่ พั ก อ า ศั ย ซึ่ ง ที ม ง า น ก อ ง บรรณาธิการ เคยหยิบมานำเสนอไปแล้ ว เมื่ อ คราวแรกของการเปิดตัว ว่ากำลังจะมีขุมทรัพย์ จุดใหม่ ในอุโมงค์ของกรุงเทพมหานคร วั นนี้ สื่ อ โฆ ษ ณา น อ ก บ้ า น ใน M R T มี พั ฒ นาการไปมาก รวมทั้ ง การพั ฒ นาเชิ ง พาณิชย์ เป็นร้านค้า เป็นแหล่งช็อปปิ้ง ภายใน สถานี จึงกลายเป็นจุดขายแห่งใหม่ ที่น่าตามติด ไปดูอย่างใกล้ชิด ใน Cover Story ประจำฉบับ กรกฎาคม คนขายสื่อวางแผนยังไง คนซื้อสื่อ คิ ด ยั ง ไง ล้ ว นแต่ เป็ นการผนึ ก ร่ ว มกั นทำงาน ภายใต้ ก ำลั ง ซื้ อ ที่ จ ำกั ด ตั ว ลงบ้ า ง แต่ ทุ ก เรื่ อ ง ย่อมเกิดโอกาสได้เสมอ และอาจจะเป็นโอกาส ทองซะด้ ว ยซ้ ำ เมื่ อ หมุ น ไปเจอความคิ ด สร้างสรรค์ พลิกไปอ่านกันได้ค่ะ ครึ่ ง ปี แ รกผ่ า นไปอย่ า งลุ้ น ระทึ ก ทุ ก คน ชะเง้อ เอียงหู รอฟังข่าวดีทางเศรษฐกิจ และ หมั่นเติมกำลังใจให้กันเสมอมา พบว่า หนังสือ แนวคิดทางศาสนา, อาหารการกิน, เน้นสุขภาพ ขายดี แต่สิ่งเดียวที่ไม่อาจวางขายได้คือ “ความดี” ซึ่งต้องลงมือทำกันเอง คุณๆ ว่าไหม...

Commuting with mass transit systems in big cities facilitates people’s convenience and reduces traffic congestion and economy effectively as well. The necessary to development implementation is integrated with many sectors of government units. The direct responsibility for development planning of public utilities for the nation. Thus Underground Treasure administrative management is a complex undertaking. Division of administrative work is comparatively effective in the private sector. As a result cooperative investment contracts between the government and private sectors begins. These contracts facilitate the invention of new products and services. MRT - Mass Rapid Transit, service 5 years ago. The passing way along the routing by communities and residential areas whereas the new prime location of a Bangkok tunnel. To days Out of Home Media in the MRT have progressed considerably in terms of business. There are shops inside stations called - Metro Mall, with creative thought there are golden opportunities for market players. Please flip over to find it. Six months has passed by with increasing excitement. We still waiting for listening some good news on the economic update. Religion book are top sales, health, and food could imply that people are giving each other moral support. The only one thing that is not for sale is สิ ริ พ ร สงบธรรม “merit” which has to be performed by บรรณาธิ ก ารบริ ห ารนิ ต ยสาร OHM yourself. Don’t you.....? Siriporn Sa-ngobtam

ขุ ม ท รั พ ย์ ใ ต้ ดิ น

Editor-in-chief OHM Magazine


C o n t e n t s July 2009

4 Editor Note 10 Ncc Calendar Event 2009 11 Impact Calendar Event 2009 12 Bitec Calendar Event 2009 13 International Calendar Event 2009 14 ถนนคนทำป้าย Special Report 24 มอบตำแหน่ง มอบเกียรติยศ 70 จอโฆษณาในร้านสะดวกซื้อ 28 Market Place 32 CEO VISION

“ผู้โดยสารกับลูกค้าจะกลายเป็นคนเดียวกันได้”

ดร.สมบัติ กิจจาลักษณ์ CEO บริษัท รถไฟฟ้ามหานคร จำกัด (มหาชน) CS toov rey r

Vol.6 No.54

22 23

Home Town

ASA Round Up

30

Around the World OHM “IKEA New Living Room Chengdu, China”

63 64 65 66 68

คลีนิกหมอตี๋ กับตี๋แม็ทชิ่ง “เย็น เร็ว ประหยัด” Agency View “รสชาติใหม่ในน้ำพริกถ้วยเก่า”

Media Value “เบื้องหลัง งาน Pitch”

CSR In Action “ปฏิบัติดี มีคนยกย่อง”

World in your hand “ครัวไทย...ครัวโลก เป็นได้จริงหรือ?”


C o n t e n t s July 2009

62 ตารางการใช้สื่อ 67 CSR In Action : “ทำนาเลี้ยงน้อง” Sign People Sign Company 72 บริษัท พิคเจอร์เวิร์ค จำกัด 74 บริษัท มัลติไซน์ มีเดีย จำกัด 84 OHM Entertainment : “ซาบซึ้ง ประทับใจ” 86 OHM Outing : “เป็ดย่าง (สูตรเป่า 15 องศา)” 88 Coffee cookie and cake : “พั้นซ์ และ บลูเบอรี่ชีสเค้ก” 104 OOH Club Special report :

“มอบความภูมิใจ มอบถ้วยรางวัล”

112 Society

Vol.6 No.54

76 78

Y-ME “ลูกค้าปลีกครองตลาด”

Make Dream Real “คนต่างชาติ ต่างภาษา แลกเปลี่ยนกันได้ทั่วโลก” When you care your share “สเต็มเซลล์” Retro “สามหัวใจ”

80 82 90 92

Travelling “ล่องใต้สู่ชุมพรและระนอง” (ตอนจบ)

Travelling in cyber “โทรศัพท์มือถือยุคใหม่ เขาเล่นอะไรกัน?” OUT OF HOME MAGAZINE : Publisher MGA MEDIA Co.,Ltd. 60/18 Vibhavadi-Rangsit Rd., Jomphol, Chatuchak, Bangkok 10900 Tel : 662 275 7579 Fax: 662 690 0130 www.ohmmag.com Email : info@mgamedia.co.th Advisor Education Department : Assoc. Prof. Dr.Kanjana Kaewthep, Assoc.Prof.Nares Kesaprakorn, Benjawan Vitayathanagorn, Advisor Advertisement Department : Vinai Silapasiliporn, Marut Arthakaivalvatee, Raveevan Chaengchenkit Editor-in-Chief : Siriporn Sa-ngobtam Editorial : Nittaya Kaewmueang, Usa Sumetlux, Pitinant Cherdchoongarm, Jaenjira Raksakhen, Vibhavaris Ratanasaka Art Director : Umarangsee Charoenchai Graphic Designer : Chadtap Tammeungpag Accounting – Finance : Akanet Pratan Account Executive : Warunee Rodson Photographer : Tanapat Photipakdee Honorary Photographer : Sombat Jitratanawat Contributors : Yuvaphol Pornprathanwech, Worawoot Ounjai, Suphanee Dechaburananon, Assoc.Prof.Aruneeprabha Homsettee, Somchai Cheewasutthanon, Rachen Chumsai Na Ayudhya, Somchai Sittichaisrichart, Paichit Thienthong, Suthichai Eamcharoenying, Pirach Thampipit, Chatre Asavabenya The English text is Translated by Dr.Arunthadee Trungamphai, Roderick Waller Executive Editor : Siriporn Sa-ngobtam Color Separation KNAOKSILP(THAILAND) CO.,LTD. 3 Soi Kasemsan 2 Rama 1 Rd. Wangmai Pathumwan Bangkok 10330 Tel. 662 215 1588 Fax : 662 214 2140 Printing : Spn printing 158/1 Moo 13 Soi Ladprao 80, Ladprao Road, Wangthonglang, Bangkok, Thailand 10310 Tel : 662 539 0704 Fax: 662 530 1515 Distribution : Nanasarn 123 - 124 Pinnakorn 4 Pinklaonakornchaisri Talingchan Bankok, Thailand 10170 Tel : 662 433 6855 Fax : 662 880 7345


Date วันที่ 8 - 12 July 2009

Event Name ชื่องาน 7th Book Festival for Young People 2009

Brief Profile รายละเอียด เทศกาลหนังสือเด็กและเยาวชนครั้งที่ 7

Organizer ผู้จัดงาน The Publisher and Booksellers Association of Thailand (PUBAT)

Tel : +66 (0) 2 954 9560-4 www.pubat.or.th

15 – 17 July 2009

Postharvest Rice Exhibition and Conference

งานสั ม มนาและงานแสดงสิ น ค้ า นานาชาติ ท างด้ า น อุ ต สาหกรรมการปลู ก ข้ า ว เทคโนโลยี ก ารเพาะปลู ก การเก็ บ เกี่ ย วผลผลิ ต การรั ก ษาคุ ณ ภาพและการขนส่ ง และผลิตภัณฑ์จากข้าว

16 - 19 July 2009

Matichon Healthcare : ดูแลสุขภาพ

มติชนเฮลแคร์ : ดูแลสุขภาพ

International Rice Research Institute & Asia Congress Events Co. Ltd.

Tel : + 66 (0) 2 748 7881 www.post-harvest.org Matichon Public Co., Ltd. Tel +66(0) 2580 0021 www.matichon.co.th

23 – 26 July 2009

Pet Expo Thailand 2009

งานแสดงสินค้าตอบสนองไลฟ์สไตล์ของผู้รักสัตว์เลี้ยง

N.C.C. Exhibition Organizer Co., Ltd.

Tel : +66 (0) 2 203 4281 www.petexpothailand.net

24 – 26 July 2009

Rakluke Kids Learning Expo 2009

งานที่รวบรวมโรงเรียนอนุบาลชั้นนำในประเทศไทย

Rakluke Family Group Co., Ltd.

Tel : +66 (0) 2 831 8400 ext 3122, 3560 www.raklukefamilygroup.com

29 July – 2 August 2009

8th Amarin Book Fair

งานแฟร์ เพื่ อ คนรั ก การอ่ า น ที่ ร วบรวมหนั ง สื อ ในเครื อ อมรินทร์

Amarin Printing & Publishing Public Company Limited

Tel : +66 (0) 2 422 9999 ext 4350

30 July - 2 August 2009

Amazing Thailand Grand Sale Fair 2009

มหกรรมลดราคาสินค้า บริการและแหล่งท่องเที่ยวทั่วไทย ครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดในรอบปี

N.C.C. Exhibition Organizer Co., Ltd.

Tel : +66 (0) 2 203 4231-6 www.amazinggrandsale.com

8 - 16 August 2009

Home Decoration Fair 2009

งานแสดงสินค้าและของตกแต่งบ้าน

World Fair Co., Ltd.

Tel : +66 (0) 2 731 1331 www.homedecorationfair.com

12 August 2009

N.C.C. - TTM Mini Marathon Chalerm Phrakiart 2009

เอ็น.ซี.ซี. – รยส. มินิมาราธอน เฉลิมพระเกียรติวันแม่ แห่ ง ชาติ 2552 (ปี ที่ 17) ชิ ง ถ้ ว ยพระราชทานสมเด็ จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

N.C.C. Management & Development Co., Ltd. Tel : +66 (0) 229 3011 www.qsncc.com

19 – 23 August 2009

Home Builder 2009

งานรับสร้างบ้าน 2009

Home Builder Association

Tel : +66 (0) 2 570 0153 www.hba-th.org

20 - 23 August 2009

Home Buyers’ Expo 2009

มหกรรมเลือกซื้อบ้านและที่อยู่อาศัยอย่างชาญฉลาด ใน รู ป แบบของ Home Matching ที่ ผ สมผสานสื่ อ เอ็กซิบิชั่นกับสื่ออินเทอร์เน็ต

Home Buyers’ Guide Co., Ltd.

Tel : +66 (0) 2 941 0155 ext 207-223 www.home.co.th/homeexpo2009/ index.html

27 - 30 August 2009

Wedding Fair 2009 - Exclusive by NEO

งานแสดงสิ นค้ า และบริ ก ารด้ า นธุ ร กิ จ มงคลสมรสที่ ค รบ วงจรและใหญ่ที่สุดในประเทศไทย

N.C.C. Exhibition Organizer Co., Ltd.

Tel : +66 (0) 203 4211-6 www.thaiweddingfair.com

27 - 30 August 2009

Thailand Baby & Kids Best Buy 2009

งานที่รวบรวมสินค้าแม่และเด็ก

Ace Con (Thailand) Co., Ltd.

Tel : +66 (0) 2 689 2993 www.thailandbabybestbuy.com

ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ Queen Sirikit National Convention Center Tel. +66(0)2 2293000 Fax. +66(0)2 2293102 E-mail: info@qsncc.com Website: www.qsncc.com   10


Date วันที่ 3 - 12 ก.ค. 2552 3 - 12 Jul 2009

Event Name ชื่องาน ง า น แ ส ด ง สิ นค้ า เม ด อิ น ไทยแลนด์ 2552 Made in Thailand 2009 (MIT)

Brief Profile รายละเอียด งานแสดงสินค้าที่ผลิตในประเทศไทย อาทิ อาหารและเครื่องดื่ม สิ่งทอ เสื้อผ้า สำเร็จรูป เครื่องหนัง รองเท้า เครื่องประดับและเครื่องแต่งกาย ผลิตภัณฑ์ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ สุ ข ภาพและความงาม สปา นวดแผนโบราณ วั ส ดุ ก่ อ สร้ า ง เฟอร์ นิ เ จอร์ ของใช้ แ ละของตกแต่ ง บ้ า น อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า และ อิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงอะไหล่ชิ้นส่วน อุปกรณ์ยานยนต์และการให้บริการด้าน ซ่อมบำรุง ชาเลนเจอร์ 1 - 3, อาคาร 1 - 6 เวลา : 10.00 - 21.00 น. The Largest Exhibition on Thai quality products that made by Thai people, such as food & beverage fashion health & beauty home & living electric & electronics auto service & parts. Challenger 1-3, Hall 1-6 Time : 10.00-21.00 hrs

23 - 26 ก.ค. 2552 23 - 26 Jul 2009

มิติใหม่สุขภาพไทย Thailand Health & Wellness

เพื่ อ ให้ ป ระชาชนชาวไทยร่ ว มรณรงค์ ใ นการสร้ า งสุ ข ภาพดี วิ ถี ไ ทย ตามยุ ท ธศาสตร์ สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ โดยความร่ ว มมื อ ของสมาคมสุ ข ศึ ก ษา พลศึกษาและสันทนาการแห่งประเทศไทย เนชั่นกรุ๊ป ภายใต้การสนับสนุนของ สำนั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) ภายในงาน จั ด นิ ท รรศการและการสาธิ ต เกี่ ย วกั บ นวั ต กรรมอั นทั น สมั ย ทางการแพทย์ และสุขภาพ อาคาร 5 - 6 เวลา : 10.00 - 21.00 น. Exhibition and demonstration about up-to-date innovations on medicals and health Hall 5 - 6 Time : 10.00 - 21.00 hrs.

25 ก.ค. – 2 ส.ค. 2552 25 Jul - 2 Aug 2009

ไ ท ย แ ล นด์ แ ก ร นด์ เซ ล 2009 โฮม เซล, เฟอร์นิเจอร์ เซล, เวดดิ้ ง แกรนด์ เซล, ฟู้ ด , แฟชั่ น แอนด์ จิ ว เวลลี่ แก รนด์ เซล มหกรรมบั น เทิ ง เที่ ย วทั่ ว ไทย, บุ๊ ค แกรนด์ เ ซ ล ม ห ก ร ร ม บ้ า น แ ล ะ อสังหาริมทรัพย์ไทย Thailand’s Grand Sale 2009

งานแสดงสิ น ค้ า เฟอร์ นิ เจอร์ ใ นบ้ า น ห้ อ งครั ว สำนั ก งาน เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เครื่ อ งสุ ข ภั ณฑ์ วั ส ดุ ต กแต่ ง อาทิ กระเบื้ อ ง กระจก โคม อ่ า ง เครื่ อ งเสี ย ง ฯลฯ / โซนสตู ดิ โ อถ่ า ยภาพ ชุ ด วิ ว าห์ การ์ ด และ ของชำร่ ว ย สปาและความงาม / โซนเสื้ อ ผ้ า เครื่ อ งหนั ง เครื่ อ งประดั บ เครื่ อ งสำอางค์ อาหารสำเร็ จ รู ป อาหารเสริ ม / อาหารภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น 4 ภาค หนังสือแบบเรียน สื่อการเรียนการสอน คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา สถาบั น เพื่ อ การศึ ก ษา / โครงการบ้ า นและอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ มื อ สอง คอนโด อาคารชุด และบริษัทเรียลเอสเตท ตัวแทนการท่องเที่ยว โรงแรมและรีสอร์ท ศู น ย์ บั น เทิ ง / แพทย์ แ ผนโบราณและศิ ล ปะการนวด / ไม้ ด อกไม้ ป ระดั บ อุปกรณ์ตกแต่งสวน บริษัทจัดสวนและออกแบบ อาคาร 1 - 4 เวลา : 10.30 - 21.00 น. The event features Home Sale, Furniture Sale, Wedding Grand Sale, Food, Fashion & Jewelry Grand Sale Traveling Book Grand Sale Home & Real estate Hall 1 - 4 Time : 10.30 - 21.00 hrs.

13 - 16 สิงหาคม 2552 13 - 16 Aug 2009

งานแสดงสิ นค้ า แฟชั่ น และ งานแสดงสิ นค้ า เครื่ อ งหนั ง ปี 2552 Bangkok International Fashion Fair & Bangkok International Leather Fair 2009 (BIFF & BIL 2009)

งานแสดงสินค้าแฟชั่น การดีไซน์, ผ้าผืน, เส้นด้าย, เส้นใย รับจ้างผลิต (OEM/ ODM), วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ประดับสำหรับตกแต่งผ้า และเครื่องนุ่งห่ม, เสื้อผ้า แบรนด์ที่เป็น Mass, ผู้ค้าส่งเสื้อผ้า/ผ้าผืนผ้า, เสื้อผ้าไหม/ฝ้าย งานฝีมือสไตล์ เอเชีย/OTOP, บูธจากต่างประเทศ เครื่องประดับแฟชั่น อาทิ เข็มกลัด สร้อย/ กำไล/กิ๊ บ /ที่ ค าดผม/ผ้ า คลุ ม ไหล่ / หมวก กระเป๋ า แฟชั่ น /เดิ นทาง/สำนั ก งาน, รองเท้าทุกชนิด, หนังฟอก/หนังแผ่น เครื่องจักร/อุปกรณ์ที่ใช้ตกแต่ง/บริการ สำหรับใช้ในธุรกิจแฟชั่น สิ่งทอ เสื้อผ้า เครื่องหนังและรองเท้า ชาเลนเจอร์ 2 - 3 วันเจรจาธุรกิจ : 13 - 14 สิงหาคม 2552 เวลา 10.00 -1 8.00 น. วันจำหน่ายปลีก : 15 - 16 สิงหาคม 2552 เวลา 10.00 - 21.00 น. The event features, Fashion Designer clothing together with Fashion Accessories, Bag & Carry Move on Feet, Material & Tanning, Fashion Supporting and special activities such as Fashion Shows, Thailand Trade Mart Tour and Seminars Challenger 1 - 3 Trade days : Aug 13 - 14; 10.00-18.00 hrs. Public days : Aug. 15 - 16; 10.00-21.00 hrs.

Organizer ผู้จัดงาน กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ โทรศั พ ท์ : 02-512-0093 – 104 ต่อ 269, 251, 272, 333 อีเมล์: mit@depthai.go.th เว็บไซต์: www.thaitradefair.com/ fairin/mit09/ Organized by: Department of Export Promotion Ministry of Commerce, Royal Thai Government Tel. 02-512-0093 to 104 www.thaitradefair.com/fairin/ mit09/ ส ำ นั ก ง า น ก อ ง ทุ น ส นั บ ส นุ น การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โทรศัพท์: 02-538-4904 เว็บไซต์:www.thailandhealthwellnes s.com

Organized by: Thai Health Promotion Foundation Tel. 02-538-4904 www.thailandhealthwellness.com

บริ ษั ท ยู เ นี่ ย น แพน เอ็ ก ซิ บิ ชั่ น ส์ จำกัด โทรศัพท์: 02-314-0855, 02-719-0408 เว็บไซต์: www.unionpan.com Organized by: Union Pan Exhibitions Co., Ltd. Tel. 02-314-0855, 02-719-0408 www.unionpan.com กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวง พาณิชย์ โทรศัพท์ : 02-513-0093-104 ต่อ 217, 262 และ 292 เว็บไซต์ : www.biffandbil.com Organized by: Department of Export Promotion, Ministry of Commerce, Royal Thai Government Tel : 02-513-0093-104 www.biffandbil.com

อิมแพ็ค เมืองทองธานี โทรศัพท์ 0 2833 5077 โทรสาร 0 2833 5060 IMPACT MUNG TONG THANI Tel. +66 2833 5077 Fax. +66 2833 5060 E-mail : communications@impact.co.th www.impact.co.th   11


Date วันที่ 16 - 19 กรกฎาคม 2552 (วันธุรกิจ) 16 - 19 July 2009 (Trade)

Event Name ชื่องาน ไทยแลนด์ แฟรนส์ไชนส์ และ บิสิเนส ออฟพอทูนิตี้ 2009 Thailand Franchise & Business Opportunities 2009 (TFBO 2009)

16 - 19 กรกฎาคม 2552 (วันธุรกิจ) 16 - 19 July 2009 (Trade)

ไทยแลนด์ รีเทล ฟูดส์ และ ฮอสพิทัลลิตี้ เซอร์วิส 2009 Thailand Retail, Food & Hospitality Services 2009 (TRAFS 2009)

7 - 16 สิงหาคม 2552 (ประชาชนทั่วไป) 7 – 16 Aug 2009 (Public)

โฮมเวิร์ค เอ็กซ์โป 2009 HomeWorks Expo 2009

9 – 13 กันยายน 2552 (วันธุรกิจ) 9 - 13 Sep 2009 (Trade)

งานไทยแลนด์โลจิสติกส์แฟร์ 2552 Thailand International Logistics Fair 2009

4 - 9 ตุลาคม 2550 (วันธุรกิจ) 4 - 9 Oct 2009 (Trade)

ICN 2009 ICN 2009

Brief Profile รายละเอียด งาน Thailand Franchise & Business Opportunities 2009 (ปีที่ 5) งานแสดงธุรกิจ แฟรนไชส์ ไลเซ็นซิ่งและโอกาสทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดใน เอเชีย งาน TFBO 2009 จะจัดขึ้นพร้อมกับงาน Thailand Retail, Food & Hospitality Services 2009 (ปี ที่ 3) ซึ่ ง เป็ นงานแสดงนานาชาติ เกี่ยวเนื่องกับอุปกรณ์ ของใช้และวัตถุดิบอาหาร สำหรับธุรกิจ โรงแรม ภัตตาคาร ร้านอาหาร คอฟฟี่ช็อป เบเกอรี่ ซุปเปอร์มาเก็ต จัดเลี้ยง และ ค้าปลีก ภายใต้แนวคิด “Two in One” ซึ่งจะสามารถดึงกลุ่มเป้าหมายที่มี ศักยภาพทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศจำนวน 25,000 คน จากกว่า 45 ประเทศ Thailand’s 5th international franchise, licensing and business opportunities show, the LARGEST in Asia with more than 225 booths, an increase of 20% from TFBO 2008. TFBO 2009 aims to attract 25,000 visitors from 45 countries. งาน Thailand Retail, Food & Hospitality Services 2009 งานแสดง นานาชาติเกี่ยวเนื่องกับอุปกรณ์ ของใช้และวัตถุดิบอาหาร สำหรับธุรกิจ โรงแรม ภัตตาคาร อาหาร คอฟฟี่ช็อป เบเกอรี่ ซุปเปอร์มาเก็ต จัดเลี้ยง และค้าปลีก ใหญ่และดีที่สุดในประเทศไทย งานTRAFS 2009 จะจัดพร้อม งาน Thailand Franchise & Business Opportunities 2009 (ปีที่ 5) ซึ่งเป็นงานแสดงธุรกิจแฟรนไชส์ Licensing และโอกาสทางธุรกิจที่ใหญ่ ที่ สุ ด ในเอเชี ย ภายใต้ แนวคิ ด “Two in One” ซึ่ ง จะสามารถดึ ง กลุ่ ม เป้าหมายที่มีศักยภาพทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศจำนวน 25,000 คน จากกว่า 45 ประเทศ 3rd edition of Thailand’s BEST & LARGEST gathering of Manufacturers/ distributors / suppliers of equipment and supplier for hospitality, food, restaurants, coffee shops, supermarkets and catering retail business. Held in conjunction with TFBO 2009. TRAFS 2009 offers golden opportunities to food, hospitality and retail manufacturers/distributors to meet 25,000 professionals and industry experts from worldwide. สุดยอดความร่วมมือของ 2 ยักษ์ใหญ่วงการค้าปลีก “โฮมเวิร์ค” อาณาจักร สิ น ค้ า เพื่ อ บ้ า นที่ ทั น สมั ย และครบวงและ “เพาเวอร์ บ าย” อาณาจั ก ร เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ ร่วมกันจัดงาน “โฮมเวิร์ค เอ็กซ์โป 2009” ที่สุดของงานจำหน่ายสินค้าตกแต่ง ซ่อมแซมบ้าน และเครื่องใช้ ไฟฟ้ า ครบวงจรจาก แบรนด์ ชั้ นนำในราคาพิ เศษสุ ด พร้ อ มรั บ ข้ อ เสนอ สุดพิเศษมากมาย The collaboration between two Giant Leaders in the Retail Market. HomeWorks – The Center for all quality home products and Power Buy – The Ultimate Center for all electric goods commit to launching “HomeWorks Expo 2009” where both the quality home products and all electric suppliers from top brands will be on sale at this fantastic event. งานแสดงเกี่ยวกับการขนส่ง ระบบการจัดเก็บและกระจายสินค้า คลังสินค้า บรรจุภัณฑ์ ธุรกิจการให้บริการด้านการจัดการสินค้าระหว่างประเทศ Logistics, Software Information Technology and Services.

งานประชุมด้านโภชนการในระดับนานาชาติ The 19th International Congress of Nutrition. Hosted by The Nutrition Association of Thailand, under the Patronage of her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn

Organizer ผู้จัดงาน บริษัท กวินอินเตอร์เทรด จำกัด โทร: 0 2861 4013 www.thailandfranchising.com Kavin Intertrade Co.,Ltd. Tel: +66 2861 4013 Fax: +66 2861 4010 www.thailandfranchising.com บริษัท ซีอาร์ซี เพาเวอร์ รีเทล จำกัด โทร 02206 9300 ต่อ 4613 แฟกซ์: 0 2630 1634 www.homeworks.co.th CRC Power Retail Co.,Ltd. Tel:+66 2206 9300 Ext.4613 Fax:+66 2630 1634 www.homeworks.co.th

บริษัท ซีอาร์ซี เพาเวอร์ รีเทล จำกัด โทร 02206 9300 ต่อ 4613 แฟกซ์: 0 2630 1634 www.homeworks.co.th CRC Power Retail Co.,Ltd. Tel:+66 2206 9300 Ext.4613 Fax:+66 2630 1634 www.homeworks.co.th กรมส่งเสริมการส่งออก โทร: 0 2512 0093 www.thaitradefair.com Department of Export Promotion Tel: +66 2512 0093 Fax: +66 2512 3055 www.thaitradefair.com สำนักงานเลขานุการการประชุม บริษัท เอเชียคองเกรส จำกัด โทร: 0 2748 7881 www.icn2009.com Secretariat : Asia Congress Events Co.,Ltd. Tel:+66 2748 7881 Fax:+66 2748 7880 www.icn2009.com

ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค โทรศัพท์ : 0 2749 3939 โทรสาร : 0 2749 3949 BANGKOK INTERNATIONAL TRADE & EXHIBITION CENTRE (BITEC) Tel.+66 2749 3939, +66 2236 1890 Fax. +66 2749 3949 E-mail : salesenquiries@bitect.net www.bitec.net   12


13

5 – 6 Nov 2009 12 – 15 Nov 2009

15 16

5

Asia Pacific Out of Home Media Convention 2009 Korea International Sign & Design Show (KOSIGN)

4 - 6 Oct 2009 15 - 18 Oct 2009

8

Print & Sign Sign Asia Expo

23 - 26 Jul 2009 1 - 3 Aug 2009 6 – 9 Aug 2009 27 - 29 Aug 2009 28 – 31 Aug 2009 2 – 3 Sep 2009 11 – 16 Sep 2009 22 - 24 Sep 2009 22 - 24 Sep 2009 23 - 24 Sep 2009 1 - 3 Oct 2009

2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

Event name ชื่องาน

Shanghai International AD & Sign Technology & Equipment Exhibition Sign & Digital Printing 2009 Media Expo-Delhi IPMEX Malaysia FESPA Mexico Asia Print & Pack Expo Ad-Tech Tokyo Print 09 THE SIGN SHOW 2009 Digital Signage Sign & Digital Ireland 2009 Viscom

No. Date ลำดับที่ วันที่ 7 - 10 Jul 2009 1

Kortrijk, Belgium Bangkok, Thailand Macau, Hongkong Seoul, South Korea

Kuala Lumpur, Malaysia New Delhi, Delhi, India Kuala Lumpur ,Malaysia Centro Banamex, Mexico City Bangalore, India Tokyo, Japan Chicago, USA BRISTOL, UK Paris, Ile-De-France, France Dublin, Ireland Nordrhein – Westfalen, Germany

Shanghai, China

City เมือง

6

3

14

International Calendar Event 2009

2

4

1

15

16

http://www.ipim.gov.mo www.kosignshow.com/2009/kor/

7

www.print-sign.be/en/practical-info.aspx www.signasiaexpo.com

www.4nshow.com/Article_ShowHwEn.asp?ArticleID=121 http://www.themediaexpo.com/delhi/index.html www.ipmex.com/ www.kaizer.com.my www.fespa.com/spanish/inicio.html www.asiaprintpackexpo.com/ www.ad-tech.com/tokyo/adtech_tokyo.aspx www.gasc.org/ www.thesignshow.co.uk www.biztradeshows.com/trade-events/digital-signage.html www.signireland.com www.timesfirst.com/trade-shows/2195/VISCOM-GERMANY.html

www.apppexpo.com

website เวปไซต์


สมาคมป้ายและโฆษณา ชั้น 2 อาคาร พี.ไลท์โฆษณา เลขที่ 49/269 หมู่ 4 ซอยพหลโยธิน 48 (สายหยุด) แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 โทรฯ 02 970 9235-6 แฟ็กซ์ 02 970 9236 ต่อ 300 www.aspathailand.org


สารจาก นายกสมาคมฯ

วั ส ดี ค รั บ เพื่ อ นๆ สมาชิ ก ถนนคนทำป้ า ยฉบั บ นี้ โปรยปรายมาพร้อมสายฝน พยากรณ์กันว่าปีนี้น้ำท่าจะ มาแรงกว่าปกติเล็กน้อย ฝนตกในท้องนา ตกต้องตามฤดูกาล แห่งการปลูกหว่าน หญ้า กล้าไม้ เขียวขจี สมคำอุปมา ในน้ำ มีปลา ในนามีข้าว แต่ยามฝนตก น้ำท่วม ลมกรรโชกในเมืองหลวง ผู้ประกอบ การป้ายโฆษณา นอนกันไม่ค่อยหลับครับ เพราะจากคำเตือน เรื่องภัยธรรมชาติ ด้านลมพายุ อากาศ จะมีความแปรปรวน เพิ่มระดับขึ้นทุกปี นี่ แ หละครั บ หั ว อก “คนทำป้ า ย“ ล่ ะ ครั บ ถนนเส้ น นี้ อาจจะขรุขระมาแล้วเมื่อราวกว่า 30 ปีก่อน มาถึงวันนี้ อะไร อะไร ดูจะอยู่นอกเหนือจากที่กรอบการกำหนดแล้ว ด้วยภาวะ เสรีทางการค้าและการเติบโตแบบก้าวกระโดด ผมเองก็ไม่ได้ เข้าข้างผู้ประกอบการด้วยกันเองนะครับ แต่บางหนการทำงาน ร่ ว มกั น ในสั ง คมที่ มี ผู้ ค นมากมาย อาจจะต้ อ งเหลื อ ผู้ ก ำหนด ทิศทาง จากตัวแทนไม่กี่คนก็ได้เช่นกัน ในฐานะนายกสมาคมฯ เรามีสมาชิกที่เป็นผู้ประกอบการ หลายผลิตภัณฑ์ เช่น เจ้าของโครงป้ายโฆษณา เจ้าของวัสดุ การพิมพ์ – เครื่องพิมพ์ หมึก สติ๊กเกอร์ ล้วนมีส่วนเกี่ยวข้อง เกี่ ย วพั น กั น แทบทั้ ง สิ้ น การรวมพลั ง กั น มั ด เป็ น เกลี ย ว แน่นหนา อาจสามารถสร้างความอุ่นใจได้บ้างเล็กๆ ยอมรับครับว่า เป็นภาวะที่หนักหน่วงอีกครั้งหนึ่ง ในช่วง ชีวิตการทำงานของผม ที่ต้องทำหน้าที่หลายๆ อย่างในเวลา เดียวกัน แต่ผมสัญญาครับว่า จะทำหน้าที่ให้ดีที่สุด สมความ ตั้งใจของเพื่อนสมาชิก ที่มอบให้ผมทำหน้าที่นายกสมาคมฯ กิ จ กรรมในรอบสองเดื อ นของสมาคมฯ คื อ การแข่ ง ขั น กอล์ฟ ชิงถ้วยท่านผู้ว่ากทม. เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2552 และการเป็ น เจ้ า ภาพ การประชุ ม ตลอดจนการส่ ง มอบ ตำแหน่งนายกสมาคมป้ายเอเชีย ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ เมื่ อ วั น ที่ 10 มิ ถุ น ายน ที่ ผ่ า นมา สร้ า งความประทั บ ใจ ให้เพื่อนๆ สมาชิกยิ่งนัก (โปรดติดตามรายละเอียดได้ ในหน้า 24 - 27 นะครับ) สมาคมป้ายและโฆษณา ชั้น 2 อาคาร พี.ไลท์โฆษณา เลขที่ 49/269 หมู่ 4 ซอยพหลโยธิน 48 (สายหยุด) แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 โทรฯ 02 970 9235-6 แฟ็กซ์ 02 970 9236 ต่อ 300 www.aspathailand.org   15


ง า น กิ จ ก ร ร ม ก อ ล์ ฟ ก า ร กุ ศ ล ส ม า ค ม ป้ า ย แ ล ะ โ ฆ ษ ณ า ชิ ง ถ้ ว ย ผู้ ว่ า ร า ช ก า ร ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร ม ร ว . สุ ขุ ม พั น ธุ์ บ ริ พั ต ร ณ ส น า ม ก อ ล์ ฟ ปั ญ ญ า ร า ม อิ น ท ร า มี ภ า พ บ ร ร ย า ก า ศ การแข่ ง ขั น มาฝาก กัน

กอล์ฟการกุศล

นักกอล์ฟดูชื่อเพื่อนร่วมก๊วน

คุณยุวพล พรประทานเวช นายกสมาคมป้ายและโฆษณา กล่าวกับนักกอล์ฟ ว่า แม้ว่าวันนี้ฝนจะตก แต้มไม่งาม จะขอมาล้างตานัดหน้าก็ได้ครับ

สาวสวยฝีมือคนนี้เป็นใครเอ่ย? ใครตอบได้มีรางวัล

ทีมชนะเลิศ

ทีมรองชนะเลิศอันดับ 1

ที อาร์ แอด

ลีโอบอร์ด

โปรณรงค์

Flight A ชนะเลิศ Over all low gross คุณพรเทพ ศิริวงษ์

ทีมรองชนะเลิศอันดับ 2

รางวัลประเภทบุคคล

ทีมที่ได้รับรับถ้วย สมาคมป้ายและโฆษณา ชั้น 2 อาคาร พี.ไลท์โฆษณา เลขที่ 49/269 หมู่ 4 ซอยพหลโยธิน 48 (สายหยุด) แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 โทรฯ 02 970 9235-6 แฟ็กซ์ 02 970 9236 ต่อ 300 www.aspathailand.org   16


มีความที่นายกสมาคมป้ายและโฆษณา อยากส่งข่าวไปถึงท่านสมาชิก เรื่องสำคัญของท่านที่มีโครงป้ายโฆษณาอยู่ในมือ บนฐานข้อมูลระบบสมาชิกของสมาคมฯ มีอยู่หลายกลุ่มที่เกี่ยวเนื่องกัน เป็นคู่ค้า เป็นเพื่อนฝูง รักใคร่กันดี ทั้งด้านโครงป้าย ด้านวัสดุ ด้านเครื่อง พิมพ์ ด้านอิงค์เจ็ท แต่งานนี้ เป็น “คิวทอง” ของฝั่งด้านเจ้าของโครงป้าย ท่านสมาชิกคงจะ ได้ยินกรณี การเข้มงวดของหน่วยงานที่ดูแล การขอจัดระเบียบด้วยตัวเอง ตามเสียงของสมาคมฯ ที่อยากดูกันเอง แบบรับผิดชอบต่อสังคม และการ ยึดมั่นในวิชาชีพอย่างมีจรรยาบรรณ การถกเรื่องหลายประเด็นของงานธุรกิจโครงป้ายโฆษณาให้เช่า เป็นเรื่อง ที่ยืดเยื้อ ยาวนานมาแล้วกว่า 20 ปี หามีความคืบหน้าไม่ แม้ว่าจะมีอัตรา การเติบโตมาก มาจนวันนี้มีป้ายบิลบอร์ดขนาดต่างๆ กว่า 1,800 ป้าย ทั่ว กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2552 มีการประชุมกันของสมาชิกกลุ่มนี้ โดยมี ผู้บริหารจาก 18 บริษัท เข้าร่วมประชุม หารือกันถึงแนวทางการนำเสนอ ภาครัฐผู้ดูแล ตลอดการรับทราบข้อความ การขอความร่วมมือจากภาครัฐ ในคราวเดียวกัน บรรยากาศอาจจะมีที่เห็นแตกต่างกันอยู่บ้าง แต่คาดว่า การเปิดใจคุย กัน จะสามารถนำไปสู่เส้นทางอนาคตที่ดีของวงการสื่อนอกบ้านได้อีกทาง หนึ่ง เฉกเช่นเดียวกับเรื่องที่ ทุกฝ่ายพยายามออกมาเรียกร้องให้ยุติ-หยุด ทำร้ายประเทศไทย เพราะรังแต่จะไม่เกิดประโยชน์กับฝ่ายใดเลย

ฝากความถึง... สมาชิก

การขอความร่วมมือจากภาครัฐ

หน่วยงานดูแลภาครัฐ ขอความร่วมมือในข้อหลักๆ ตามอำนาจหน้าที่ ของตัวเอง ในการที่จะจัดสรร ป้องกันความปลอดภัยให้ประชาชน ไว้ดังนี้ 1 ขอให้ ส่ ง เอกสารการตรวจสอบความมั่ น คงแข็ ง แรงของโครง ป้ายโฆษณา ซึ่งรับรองโดยวิศวกรอาชีพ ให้ส่งตรงถึงผู้อำนวยการ กองควบคุมอาคาร สำนักงานการโยธา กรุงเทพมหานคร ภายในวันที ่ 30 มิถุนายน 2552 นี้ (ซึ่งกว่า “ถนนคนทำป้าย” ฉบับนี้จะตีพิมพ์ คงจะเลยกำหนดเส้นตายไปแล้ว) 2 กรณีป้ายที่ว่างเว้นจากงานการโฆษณา ขอให้ปลดแผ่นสังกะสีลงมา ด้วย เพื่อความปลอดภัยของผู้สัญจรผ่านไปมา 3 เมื่ อ ป้ า ยว่ า งลง และมี ก ารสลั บ ลายพื้ น หรื อ มี โ ฆษณาข้ อ ความที่ ไม่เหมาะสม ของให้กลิ้งพื้นทับลงไปเป็นสีขาวหรือสีเทา เพื่อป้องกัน ผลกระทบด้านสังคม 4 สำหรั บ สมาชิ ก สมาคมป้ า ยและโฆษณา ได้ รั บ การพิ จ ารณา ขึ้นทะเบียนไว้ในองค์กรวิชาชีพจะมีระยะเวลาผ่อนปรนให้ดำเนินการ ประมาณ 30-60 วัน ส่วนผู้ประกอบการทั่วไป จะถูกดำเนินการแจ้ง ข้อหาในทันที

ข้อเสนอจากผู้ประกอบการ เจ้าของโครงป้ายโฆษณา

เคยมีการนำเสนอต่อผู้บริหาร ผู้กำกับดูแลงานเรื่องป้ายโฆษณามาแล้ว หลายครั้ง แต่ยังคงอยู่ในวังวนความเงียบงัน ได้แก่ 1 การจัดระเบียบป้ายโฆษณาไม่ให้บังกัน โดยมีข้อตกลงระหว่างสมาชิก สมาคมฯ กันเอง 2 การจำกั ด ขนาดความกว้ า ง ยาว ของป้ า ย ให้ เหมื อ นกั น ในแต่ ล ะ เขตพื้นที่ หรือโซน 3 ขอให้ทำการตรวจสอบความแข็งแรงของโครงป้าย รับรองโดยวิศวกร ทุกๆ 6 เดือน 4. จัดระเบียบเรื่องป้ายไม่ให้ขึ้นซ้อนกัน บังกัน โดยมีระยะห่างของแต่ละ ป้ายชัดเจน 5 จัดลงโฆษณาแคมเปญงานให้ กทม. ในขณะที่ป้ายไม่มีโฆษณา 6 ให้ ก ำหนดความสู ง ตรวจสอบวั ส ดุ กั น ไฟและต้ อ งมี ส ายล่ อ ฟ้ า ทุกโครงป้าย 7 ข้อกำหนดของภาครัฐ 4 ข้อข้างต้น ผู้ประกอบการแจ้งว่า เป็นเรื่อง เดิ ม ๆ ที่ เคยกำหนดกั น มาก่ อ นหน้ า นี้ แ ล้ ว ไม่ แปลกใหม่ แต่ ไม่ เคย ได้รับคำอธิบาย หรือคำชี้แจงใดๆ จากคำเสนอแนวทางการแก้ไข ปัญหาในระยะยาวของผู้ประกอบการเลย อนึ่ง จากการติดตามของทีมงานกองบรรณาธิการ พบว่า ซีกมุมมองที่ ต่ า งกั น ดุ จ “สองคนยลตามช่ อ ง” มองเรื่ อ งเดี ย วกั น แต่ เห็ น มุ ม ที่ ต่ า งกั น ระหว่างผู้ลงมือทำธุรกิจ และผู้คุมกฎระเบียบ ผู้ประกอบการที่มีจรรยาบรรณในการทำธุรกิจ พร้อมที่จะพิสูนจ์ตัวเอง แต่ยังไม่มีเสียงตอบรับ หากแต่ บ นพื้ น ที่ ข องธุ ร กิ จ ป้ า ยโฆษณา - บิ ล บอร์ ด ที่ จ ะช่ ว ยหมุ น หนุน ขับเคลื่อนเม็ดเงินให้ไหลเวียน เป็นภาคส่วนหนึ่งของวงล้อเศรษฐกิจ การร่ ว มมื อ ร่ ว มแรง นั่ ง ลงรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ นซึ่ ง กั น และกั น เป็ น เรื่ อ ง เร่งด่วน ที่ไม่ควรละเลย ดีกว่าปล่อยวางให้กลายเป็นดินพอกหางหมูมากเกิน เยี ย วยา เจ็ บ หนั ก เกิ นกว่ า การรั ก ษา แม้ จ ะตั ด อวั ย วะบางส่ ว นเพื่ อ รั ก ษา ร่างกาย แต่ก็อาจช้าเกินการไปแล้ว สำหรับลมหายใจอันรวยรินของวงการ บิลบอร์ดไทย…

สมาคมป้ายและโฆษณา ชั้น 2 อาคาร พี.ไลท์โฆษณา เลขที่ 49/269 หมู่ 4 ซอยพหลโยธิน 48 (สายหยุด) แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 โทรฯ 02 970 9235-6 แฟ็กซ์ 02 970 9236 ต่อ 300 www.aspathailand.org   17


ยุวพล พรประทานเวช นายกสมาคมป้ายและโฆษณา Yuvaphol pornpratharnwech President จัดไว้พิเศษ ให้นายกฯ สื่อสารไปถึงสมาชิก Advertising and Sign Producing Association “…เมืองไทยเป็นเจ้าภาพจัดงานส่งมอบตำแหน่งนายกสมาคมป้ายเอเชี ย ทำให้ผมรู้สึกได้ว่า เหมือนเป็นตัวแทนคนไทย ผมเข้าใจแล้วล่ะ ว่าผู้จัดงานระดับประเทศ ระดับโลก เวลามีแขกต่างแดน พวกเขาจะรู ้สึกยังไง อย่างผมยังภูมิใจ หัวใจพองโตเลยครับ…” meeting 2009,and ceremony to the president of Asia “…Thailand was the host-organizer of the ASA member annual they feel as national ceremony organizers, especially Sign Association for the year of 2009-2011. I really realize how to host foreigner guest. As for me I felt so proud that my heart swelled...” กิจกรรมมิตรภาพ เกิดขึ้นจากสองสาย ตามความชอบ คือสายที่หนึ่ง ไป ออกรอบเล่นกอล์ฟกันที่สนามปัญญาปาร์ค ส่วนอีกสายไปเที่ยวตลาดน้ำ ดำเนินสะดวก ที่จังหวัดราชบุรี ตกเย็ น มาเจอกั น ในงานเลี้ ย งอาหารค่ ำ มี พิ ธี ส่ ง มอบตำแหน่ ง นายก สมาคมป้ายเอเชีย จากคุณวินัย ศิลปศิริพร - นายกสมาคมฯ คนไทย ที่ทำ หน้ า ที่ นี้ ม า 4 ปี เ ต็ ม ไปให้ Mr. Kelvin Liao ชาวไต้ ห วั น วาระ 2 ปี (2009-2011) เป็ น ค ว า ม ภ า ค ภู มิ ใ จ ที่ คุ ณ วิ นั ย นายกสมาคมฯ ผมรู้สึกถึงการเป็นเจ้าภาพจัดงานระดับทวีปได้ลึกซึ้งก็งานนี้แหละครับ ค น ไท ย ที่ เ สี ย ส ล ะ การได้รับมอบหมายจากประเทศสมาชิกสมาคมป้ายเอเชีย - ASA ให้จัด ตั ว เ อ ง เ พื่ อ ง า น งานการส่ ง มอบตำแหน่ ง ของนายกสมาคมป้ า ยเอเชี ย คนไทย ไปสู่ น ายก ส่วนรวม จนกลายเป็น สมาคมฯ คนต่อไปชาวไต้หวัน ซึ่งก็ใช้สถานที่เมืองไทยนี่แหละเป็นที่จัดงาน สมาคม ระดับตัวแทน ทรงเกียรตินี้ วิ ช าชี พ ภาคพื้ น ทวี ป ตื่นเต้นตั้งแต่ที่รู้ข่าวครับ มีสมาชิกจาก 8 ประเทศ เดินทางเข้ามาร่วม คุ ณ ยุ ว พล แสดงความยิ น ดี ก บ ั นายกสมาคมป้ า ยเอเชี ย เอเชี ย ผมเองหาย งาน ในฐานะตัวแทนสมาคมป้ายเอเชียในประเทศไทย ผมและเพื่อนสมาชิก คนใหม่ Mr. Kelvin Liao เหนื่อยเลยล่ะครับ จึงวางแผนที่จะต้องลงมือทำงานสองเรื่องในเวลาเดียวกัน คือ งานพิธีการ ผมขอขอบคุ ณ ที ม งานที ่ อ าสาเข้ า มาทำงาน จนสำเร็ จไปได้ด้วยดี อาทิ และงานมิตรภาพ คุ ณ อุ ด ร โตกระแสร์ คุ ณ พิ เ ชษ บพิ ต รพิ ท ั ก ษ์ คุ ณ สิ ร ิ พ ร สงบธรรม และ งานมิตรภาพมาถึงก่อนเลยครับ สมาชิกกว่า 40 คน ตกลงใจแบบหวั่นๆ ท่ามกลางกระแสการแพร่กระจายของไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ 2009 ที่ทำให้ ทีมงานเจ้าหน้าที่สมาคมฯ รวมทั้งเพื่อนๆ สมาชิกอีกหลายท่าน ที่แสดงน้ำใจ ผู้คนชะลอ งดการเดินทางระหว่างกันไปเยอะ ต้องขอบคุณเพื่อนๆ สมาชิกที่ มาต้ อ นรั บ มิ ต รจากเพื่ อ นบ้ า น คุ ณ นพดล ตั ณ ศลารั ก ษ์ คุ ณ ชั ช ชาย เดชบัณฑิตย์ คุณโชคชัย เมธียนต์พิริยะ คุณวิศรุต วิภาวีสันทัต คุณสาคร ยังมีความตั้งใจเกินร้อยที่จะเดินทางมาประเทศไทย เคยเป็นความประทับใจของผม เมื่อตอนเดินทางไปเยือนเพื่อนๆ สมาชิก ตรีธนจิตต์ คุณจริยา นักสอน คุณหวง เหยิน ชาง และอีกหลายท่านที่ผม ทั้งที่ไต้หวัน เกาหลี สิงคโปร์ และอีกหลายประเทศ เพื่อนๆ มารับผมและ อาจกล่าวนามไปไม่หมด คณะที่ ส นามบิ น ก้ า วแรกที่ ผ มเดิ น พ้ น ประตู ผมเจอพวกเขา มาคราวที่ การรับแขกครั้งนี้ของผม จะอยู่ในความทรงจำของผมไปอีกหลายปีครับ เพื่อนๆ มาบ้านเรา ผมตัดสินใจว่า ต้องจัดรถ จัดตัวเองไปรับเพื่อนสมาชิกที่ ขอบคุณจริงๆ สนามบินสุวรรณภูมิจนครบทุกคน

“รับแขก”


ชาตรี อัศวเบญญา Chatre Asavabenya สมาคมป้ายเอเชีย Asia Sign Association Monorable Adveiser ผนึกกำลังครั้งสำคัญ ของพลังเอเชีย “ …ASA seem like the “Bridge” across the difference language and culture among members, friends around the world : ASA is the best Asian network for the past 4 years…” ในวาระครบรอบการดำรง แต่ จ ะทำอย่ า งไรหละครั บ หากจะ ต้ อ งเจอกั บ คู่ แ ข่ ง จากต่ า งประเทศ ตำแหน่ง Chairman of Asia Sign มากยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น ผู้ประกอบ Association สมั ย ที่ ส องของคุ ณ การให้ บ ริ ก ารการพิ ม พ์ inkjet วิ นั ย ศิ ล ปศิ ริ พ ร และเมื่ อ วั นที่ 10 ปัจจุบันก็ต้องเจอกับคู่แข่งที่มาจาก เดื อ นมิ ถุ น ายน ที่ ผ่ า นมา มี ก ารส่ ง ประเทศจี น ซึ่ ง อาจจะเข้ า มาด้ ว ย มอบตำแหน่ ง ให้ กั บ Mr. Kelvin สินค้าที่คุณภาพต่ำกว่า แต่ราคาถูก Liao นายกสมาคม ASA กว่ามาก แล้วดึงลูกค้าไป เจอแบบนี้ ชาวไต้ ห วั น ขึ้ น รั บ ตำแหน่ ง ต่ อ ไป ด้วยวาระ 2 ปี ฉบับนี้ผมจึงขอเขียน ท่านยังจะเฉยอยู่ได้อีกเหรอครับ ถึงคุณวินัย ศิลปศิริพร หรือ พี่วินัย หรือป๋าวินัย ของหลายๆ คนกันนะครับ กลยุทธ์ รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง ทำยังไงกันดีล่ะครับ ที่จะ ตลอดระยะเวลา 4 ปีกว่าๆ ที่ผ่านมา ผมมีโอกาสทำงานร่วมกับคุณวินัย รู้เขา พอมีทางครับ ช่องทางที่ ASA เชื่อมไปเป็น Network ถึงประเทศต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการจัดตั้ง วางโครงสร้าง วางนโยบาย และบริหารงานต่างๆ นี่ แหละ เราจะได้ รู้ ว่ า คนชาติ อื่ น ๆ เขามี ค วามคิ ด มี แนวการดำเนิ นธุ ร กิ จ ของ Asia Sign Association มาโดยตลอด เราเดินทางร่วมกันไปยังประเทศ อย่างไร มีวัฒนธรรมอย่างไร เราเองจึงจะสามารถเปลี่ยนจากคู่แข่งเป็นคู่ค้า ต่างๆ ทั้งในภูมิภาคเอเชีย และภูมิภาคอื่นๆ เพื่อสร้างเครือข่ายให้เชื่อมโยง กับเขาได้ กัน อันเป็นประโยชน์สูงสุดแก่สมาชิกของ ASA เอง ผมชอบคำพูดนี้จังเลย มีคนเคยพูดว่า หากคุณยืนอยู่บนโลก คุณก็จะมอง การเดินทางในทุกครั้งพวกเราเป็นคนควักกระเป๋าจ่ายค่าใช้จ่ายเองทั้งนั้น เห็นดวงจันทร์ หรือดวงอาทิตย์ขึ้นและลง เหมือนดวงจันทน์และดวงอาทิตย์ นะครับ ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดามากของงานอาสา งานสมาคม องค์กรวิชาชีพ นั้นหมุนรอบโลก แต่ถ้าหากเปลี่ยนที่ยืน คุณไปยืนอยู่บนดวงจันทร์ความคิด ของคุณอาจจะเปลี่ยนไป คุณอาจจะคิดว่า โลกและดวงอาทิตย์ต่างหากหละ ผมลองนั่งนับรวมๆ กันแล้วน่าจะเป็นหลักเกินล้านบาทครับ หลายคนเห็นจากรูปกิจกรรมของ ASA ในประเทศต่างๆ มีทั้งการประชุม ที่หมุนรอบดวงจันทร์ การเลี้ยงต้อนรับ การสังสรรค์ เห็นอารมณ์แห่งความสุข เต็มไปด้วยรอยยิ้ม การที่ เราจะได้ ข้ อ เท็ จ จริ ง หรื อ สร้ า งความรู้ และมุ ม มองที่ ดี ขึ้ น เราก็ เชื่ อ ไหมครั บ ว่ า มี ไม่ กี่ ค นหรอกครั บ ที่ ท ราบว่ า เบื้ อ งหลั ง รอยยิ้ ม เหล่ า นั้ น ควรจะออกจากโลกของเราบ้างเหมือนกัน จะได้รู้ว่าคนที่อื่นเขาคิดกันอย่างไร มีอะไรดี เราจะได้เอามาปรับปรุงตัวเองบ้าง ฟังแล้วสะท้อนความคิดเห็นภาพ คือความเหน็ดเหนื่อย ทั้งกายและใจ บางครั้งถึงกับท้อ ผมยอมรับครับว่า การทำงานของคุณวินัย ในการเดินทางทุกครั้ง การจัด ได้จริงๆ กิจกรรมทุกหน การเข้าพบปะกับองค์กรต่างๆ ทุกนัด คุณวินัยจะต้องเป็น มี ห ลายครั้ ง ที่ คุ ณ วิ นั ย และผม เคยคุ ย กั น ในเรื่ อ งการทำงานใน ASA ผู้ เตรี ย มการทั้ ง หมด ดู แ ลรายละเอี ย ดไปถึ ง จุ ด เล็ ก น้ อ ย เพื่ อ ป้ อ งกั น ข้ อ เปรียบไปแล้ว พวกเราเป็นเหมือนคนสร้างสะพาน สะพานที่จะเชื่อมประเทศ คลาดเคลื่อนและบรรลุถึงมิตรภาพ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถูกต้องของการทำงานที่มี ต่างๆ เข้าหากัน สะพานที่จะนำผู้ประกอบการออกจากโลกใบแคบๆ ที่อยู่กัน มานาน สะพานที่ ผู้ ป ระกอบการจะเดิ นข้ า มไปเพื่ อ ไปรู้ จั ก เพื่ อ นๆ วงการ ความละเอียดอ่อนเช่นนี้ครับ การทำงานตลอด 4 ปี ข อง ASA แม้ ว่ า พวกเราเองยั ง ไม่ ไ ด้ บ รรลุ ถึ ง เดียวกันอีกฝั่ง ข้ามไปเพื่อที่จะได้เรียนรู้ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เพื่อที่ เป้าหมายสูงสุดที่ตั้งใจไว้ และยอมรับว่ายังมีส่วนที่ต้องปรับปรุงอีกมาก แต่ก็ จะไปสร้างความสัมพันธ์ ปฏิเสธไม่ได้ว่า ด้วยความมุ่งมั่นของคุณวินัย ในฐานะผู้นำองค์กร มีส่วนช่วย ปัจจุบัน “สะพาน” สร้างเสร็จแล้วครับ ตามการรับรู้ภาพพจน์เป็นที่รู้จัก ผลักดันคณะทำงานของ ASA ให้ทำงานร่วมกันอย่างเต็มที่ จนส่งผลให้ ASA ของ ASA ตามที่ผมเล่าข้างต้น ตลอดการทำงาน 4 ปี แม้ไม่สวยหรู หรือ ก้าวขึ้นมาเป็นหนึ่งในองค์กรแนวหน้า เป็นที่ยอมรับจากองค์กรนานาชาติ ปูด้วยคอนกรีตฉาบเรียบอย่างดี ราวสะพานอาจจะยังไม่ได้ถูกตกแต่งประดับ ในสายอาชี พ เดี ย วกั น ไม่ ว่ า จะเป็ น International Sign Association, ประดาอย่างเลิศหรู แต่ผู้ประกอบการสามารถก้าวข้ามมาใช้งานได้แล้วครับ European Sign Federation หรือองค์กรสมาคมจาก Africa, Australia ผมรำพึงกับตัวเองว่า สะพานสร้างเสร็จแล้ว ฤาจะมีประโยชน์ใด หาก และอื่นๆ อีกมาก ดังจะเห็นจากความร่วมมือกัน ในการจัด Trade Mission, ไม่มีคนข้าม ไม่มีคนมาใช้งาน สะพานนี้ก็รังจะผุพังไร้ประโยชน์ไปในที่สุด... Study Mission หรือแม้กระทั่งการร่วมมือกันในการจัดตั้งโรงเรียน iSIGN ผมยืนยันว่าคุณวินัย และทีมงาน ASA ทั้งหมดสร้างสะพานไว้ด้วยเจตนาที่ดี Academy ด้วยครับ และหวังว่าจะมีผู้ใช้ประโยชน์และบำรุงรักษา พัฒนาต่อไป ย้อนกลับไปเมื่อ 4 - 5 ปีก่อน ASA เกิดขึ้นมาด้วยความคิดเสียสละของ ครับ.. วันนี้ ยังมีอีกหลายคนที่อยากที่จะเสี่ยงโดนรถชน โดยข้ามถนน กลุ่ ม คนไม่ กี่ ค น ที่ จ ะช่ ว ยผู้ ป ระกอบการในอุ ต สาหกรรมของผู้ ผ ลิ ต ป้ า ย ใต้สะพานลอย แต่หากมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นแล้ว เราก็คงจะย้อนเวลากลับมา ผู้ค้าวัสดุ และผู้ประกอบการเกี่ยวกับสื่อนอกบ้าน ให้มีศักยภาพในการแข่งขัน ไม่ได้ คงมีแต่ความเสียใจ... ไม่อยากให้เหตุการณ์แย่ๆ ต่างๆ เหล่านั้นเกิดขึ้น ยิ่งขึ้น ในโลกของการค้าไร้พรมแดน, โลกของ Free Trade, FTA หรือ AFTA กับผู้ประกอบการของเราอีกเลยครับ… การแข่งขัน พร้อมที่จะรับมือกับการค้าเสรี แม้ว่าหลายคนอาจจะบอกว่า ไม่เคยคิดที่จะไปทำการค้าต่างประเทศ ค้าขายอยู่แต่ในเมืองไทยก็ดีอยู่แล้ว

า งสะพาน” “Bridge Builder คำในใจของคนสร้

23


ผ่านไปด้วยบรรยากาศน่าประทับใจ ในการส่งมอบตำแหน่งนายกสมาคมป้ายเอเชีย เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2552 ณ ห้อง แกรนด์บอลรูม โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค กรุงเทพมหานคร สมาชิกกว่า 40 คน จาก 8 ประเทศ ได้แก่ ไต้หวัน เกาหลี ฮ่องกง มาเลเชีย ฟิลิปปินส์ อินเดีย จีน และไทย มาร่วมงาน งานนี้ มี ก ารจั ด กิ จ กรรมให้ ส มาชิ ก ใช้ เวลาท่ อ งเที่ ย ว เล่ นกี ฬ าที่ โปรดปราน ณ สนามกอล์ ฟ ปัญญาปาร์ค นับเป็นเกียรติประวัติของคนไทย ที่มีการก้าวขึ้นรับตำแหน่งนายกสมาคมป้ายเอเชีย เมื่อ 4 ปีก่อน ตั้งแต่ 2004 จนกระทั่ง 2009 ของคุณวินัย ศิลปศิริพร หลังวันที่ 10 มิถุนายน 2552 เป็นต้นไป ผู้นำผู้เข้มแข็งที่จะรวมพลังชาวเอเชีย คนต่อไป คือ Mr. Kelvin Liao ชาวไต้หวัน ซึ่งอบอุ่นมากกับเพื่อนสมาชิกที่เดินทางมาร่วมงานในครั้งนี้ การทำงานตลอด 4 ปี ของคุณวินัย ศิลปศิริพร ถูกถ่ายทอดไว้ใน พ็อคเก็คบุ๊คชื่อ “เครือข่าย ผอง เพื่อน และธุรกิจ” เป็นงานบันทึกความทรงจำ ที่บรรจงทำเป็น 3 ภาษา ไทย อังกฤษ จีน เป็นหนังสือ แนะนำให้อ่านกันค่ะ ทีมงานของเล่า เรื่อง นาทีที่แสนประทับใจด้วย “ภาพ” ที่แทนคำพูด แทนความรู้สึกนับล้านคำ โปรดพลิกไปชมได้… There was a most impressive atmosphere at the ceremony of turning over the position of the president of Asia Sign Association on June 10, 2009 at the Grand Ballroom, The ChaoPhya Park, Bangkok. More than 40 members from 8 countries attended: Taiwan, Korea, HongKong, Malaysia, The Philippines, India, China, and Thailand. Activities for the members included travel at Floating Market and golfing at the Panya Park golf course. It was an honor for Thai people that the position of the president of Asia Sign Association four years from the year 2004 - 2009 was Khun Vinai Silapasiriporn. As of June 10, 2009, the next leader will be Mr.Kelvin Liao, from Taiwan. Khun Vinai Silapasiriporn’s 4 years’ work, which has been recorded in pocket books entitled “Friendship Network and Business Opportunities” consists of memoirs in three languages: Thai, Chinese, and English.

ตำแหน่ง

24

เกียรติยศ”


กอล์ ฟ Golf Friendship Golf ที่สนาม ปัญญาปาร์ค รามอินทรา เมื่อสิงห์สนามจาก 8 ประเทศโคจรมาเจอกัน หลายคนเคย hold in one มาแล้ว

ตลาดน้ำ ดำเนินสะดวก ราชบุรี

Floating Market : Ratchabury เดินทางเต็มขบวน ออกเช้าตรู่แต่ไม่มีใครหลับ

เรือลำนี้ลอยลำแน่ๆ เพราะมีนายกสมาคมป้าย ASA คนใหม่เป็นหนึ่งในผู้โดยสาร

บรรยากาศไทยๆ เรือพาย สายน้ำ และแม่ค้า พืชผักผลไม้สดๆ จากสวน   25


Welcome Party 9 มิถุนายน – June 9, 2009

โบกมือทักทาย บอกนัยๆ ว่าพร้อม

บนโต๊ะอาหารฉันท์มิตร

Pocket ASA 2009 รวบรวมเรื่องราว 4 ปีบนเส้นทางของ ASA ที่ผู้คนในวงการสื่อนอกบ้านไม่ควรพลาด

คุณวินัย ศิลปศิริพร / Mr.Kelvin Liao / Ms.Gillim / Mr.Alan Chan ซึ่งตอนนี้อยู่บน ระนาบภาษาอังกฤษ สื่อกันได้แล้ว ส่วนเล่มที่เห็นเป็นลายเซ็นต์ จากใจสมาชิกทุกคน ที่มอบ ให้คุณวินัย

การประชุมสมาชิกสามัวัญ ประจำปี 2552, สมาคมป้ายเอเชีย นที่ 10 มิถุนายน 2552 โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพฯ ASA Annual Meeting 2009

June 10,2009 Chaophya Park Hotel Bangkok, Thailand

เจ้าภาพคนไทยได้รับคำขอบคุณที่ช่วยอำนวยความสะดวก ให้กับเพื่อนๆ สมาชิก

บรรยากาศที่เป็นทางการแต่อบอุ่น   26

พิธีกรสองภาษาคู่ขวัญ ชาย – จิ๊บ วสุ แสงสิงแก้ว ชาวไทย หญิง – Ms. Gillan ชาวไต้หวัน


พิธีส่งมอบตำแหน่งนายกสมาคมป้ายเอเชีย จากคุณวินัย ศิลปศิริพร ชาวไทย เป็น Mr. Kelvin Liao ชาวไต้หวัน ยิ่งใหญ่สมเกียรติยิ่งนัก ท่ามกลางความยินดีของสมาชิกจาก 8 ประเทศ

VIP ที่เป็นหนึ่งในกำลังสำคัญ

พลังหนุนของชาวไทย

Mr.Kelvin Liao ขึ้นกล่าวขอบคุณสมาชิกที่มอบตำแหน่ง ทรงเกียรติในครั้งนี้

เหรียญนายก ASA อันทรงเกียรติ ชิ้นเดียวในโลก

คุณชัชชาย เดชบัณฑิตย์ (ซ้ายสุด) เพื่อนรัก (อีกคน) ของ Mr. Kelvin Liao กล่าวแสดงความยินดี เป็นภาษาจีน คณะกรรมการบริหาร ทั้ง 25 คนของ ASA ปีบริหาร 2009 – 2011 Mr.Kilvin Liao Chairman of ASA 2009 – 2011 ของที่ระลึก เฉพาะผู้ที่ มาร่วมงานประชุมเท่านั้น (มีจำนวนจำกัด) ย่างก้าวเดินปีที่ 4 ผ่านไปแล้วของ ASA – Asia Sign Association หนทางข้างหน้าเป็นการต่อยอดทำงานอย่างเข้มข้นท่ามกลางการแข่งขัน ที่ รุ น แรง เผชิ ญ กั บ สึ น ามิ ท างการเงิ น แต่ เชื่ อ ว่ า ความเป็ น เอเชี ย “แก่ น ” ความเข้ ม ระหว่ า งบุ ค คล จะสามารถเป็ น The Best Asia Network ได้ตลอดไป   27


O u t ! O f ! H o m e M a r k e t ! P l a c e ตลาดซื้ อ - ขายสื่ อ นอกบ้ า น อ ะ ไร ที่ ไห น อ ย่ า ง ไร เท่ า ไห ร่ ?

LCD ที่ instore

How

28

? h c u M


ทั่วไทย ทั่วโลก ไอเดียสื่อนอกบ้านบรรเจิด เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกโอกาส ทุกสถานที่ Mediaedge : CIA และคิเนติค ได้นำเสนอแผนงานโฆษณาสื่อนอก บ้านให้กับแคมเปญของ IKEA ภาย ใต้แนวความคิดความประทับใจของ ห้องนั่งเล่น ที่จะทำให้แขกผู้มาเยือน ได้ประทับใจ ในขณะเดียวกันก็เป็น พื้ น ที่ ที่ บุ ค คลในครอบครั ว ได้ ใ ช้ ประโยชน์ร่วมกัน จากแนวความคิ ด ที่ ก ล่ า วมา ข้ า งต้ น ทาง Mediaedge : CIA และคิเนติคได้จำลองห้องกระจกที่ถูก ห่ อ หุ้ ม ด้ ว ยผื น ผ้ า สี ข าว ณ ใจกลาง ย่านธุรกิจของเมือง Chengdu เพื่อ กระตุ้นให้เกิดความสนใจ และสร้าง ความสงสั ย กั บ ผู้ ที่ ใ ช้ ย่ า นนี้ ใ นการ สัญจร หลังจากนั้นก็จะมีการเปิดตัว ห้ อ งนั่ ง เล่ น ของ IKEA ให้ กั บ กลุ่ ม เป้าหมายและสื่อมวลชน ในการจำลองห้องนั่งเล่นนี้สิ่งที่ ขาดไปไม่ ไ ด้ เ ลยก็ คื อ ความสะดวก สบายสำหรั บ ผู้ ที่ อ ยู่ อ าศั ย และแขก ผู้ ม าเยื อ น ดั ง นั้ นจึ ง มี ก ารนำบุ ค คล เข้ามาใช้ชีวิตอยู่ภายในกล่องแก้วนี้ เพี่อเป็นการตอกย้ำภายใต้คอนเซ็ปต์ ห้ อ งนั่ ง เล่ น ที่ มี ป ระโยชน์ ใ ช้ ส อย ไ ด้ จ ริ ง แ ค ม เป ญ ห้ อ ง นั่ ง เ ล่ น ได้ ส ร้ า งความฮื อ ฮาให้ กั บ ตั ว สิ นค้ า และเจ้าของผลิตภัณฑ์เป็นอย่างมาก

สุรเชษฐ์ บำรุ งสุข กรรมการผู ้จัดการ บริษัท คินเนติค เวิลด์ไวด์ (ประเทศไทย) จำกัด Surachet Bumrongsuk Country Manager Kinetic

Challenge Kinetic planned an IKEA campaign to promote the concept of “New Living Room” – a living space not only to impress your quest, but a living space for families to enjoy. Solution To showcase the New Living Room concept a glass room was built in the middle of Chunxi Road, Chengdu, with the execution being enhanced with real people living in the box. The box was initially wrapped as a teaser to build anticipation, then unveiled to the press and the people of Chengdu. Two nearby Mega LED’s were used to support the event. Result The National Marketing Director and new CD Store Manager attended the opening ceremony and were very pleased the result. The glass room has made huge noise for IKEA in Chengdu and delivered the desired “WOW” effect.

KEA New Living Room – Chengdu, Chi n a IKEA K Flash

30

IKEA- New Living Room Country : Title : Advertiser : Product / Service : Media Agency : OOH Agency :

China IKEA New Living Room IKEA IKEA Mediaedge:cia Kinetic


ขยับขยาย มองไทย มองเทศ ร่วมสังเกต ทุกน่านน้ำ ทั้ง Blue Ocean-Red Ocean

การเดินทางของคนในเมืองใหญ่ เมืองหลวง ทุกเมืองในโลก จำเป็นต้องใช้ระบบสาธารณูปโภค ที่ขนส่งคนเคลื่อนย้ายจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งคราว ละมากๆ จึงจะช่วยบรรเทาความแออัด ลงไปได้ “กรุงเทพมหานคร” เมืองหลวง เมืองศูนย์กลาง ของทุกอย่าง ประหนึ่งจุดกลางของระบบสุริยะ จึงเป็นธรรมดาที่จะมีผู้คนหลั่งไหล ทะลักล้นมุ่ง เข้ามาหาโอกาส ตักตวงหนทางดิ้นรนให้กับชีวิต แม้ รู้ ดี ว่ า อาจไม่ สุ ข สบาย จนเกิ ด ชุ ม ชนแออั ด มลพิษ แต่ทุกคนมาด้วย “ความหวัง” ภาครั ฐ มี ห น้ า ที่ ใ นการวางแผนจั ด การทุ ก เรื่ อ งที่ เ กี่ ย วกั บ ผู้ ค น ปากท้ อ ง ความเป็ น อยู่ สิ่ ง แวดล้อม ตามครรลองของระบบการเลือกตัวแทน ในระบอบประชาธิปไตย ให้เข้ามาเป็นผู้กำหนด นโยบาย มองภาพรวมและวางแผนรองรับระยะ ยาวได้อย่างเพียงพอ การวางแผนด้ า นระบบขนส่ ง มวลชนใน กรุงเทพมหานคร ถูกวางกางแผนที่ไว้เป็นระยะ แต่ มั ก จะล่ า ช้ า จากฝ่ า ยการเมื อ ง เมื่ อ เปลี่ ย น ขั้วอำนาจ หลายอย่างจึงอาจหยุดชะงัก รอความ ชัดเจนจนพบว่าประเทศสูญเสียโอกาสไปครั้งแล้ว ครั้งเล่า เป็ น หลั ก การบริ ห ารนโยบายเชิ ง สาธารณะ ระบบสาธารณู ป โภค ภาครั ฐ ต้ อ งเป็ น เจ้ า ของ โครงการ ทั้ ง ด้ า นเงิ น ลงทุ น การบริ ห ารจั ด การ เพื่ อ เหตุ ผ ลด้ า นความมั่ น คง การป้ อ งกั น การ ผูกขาดและไม่มุ่งเป้าการทำกำไรสูงสุด

จะกลายเป็ น คนเดี ย วกั น ได้ ”

“ผู้ โ ดยสารกั บ ลู ก ค้ า

คนกรุงสะดวกขึ้น หลังต้มยำกุ้ง

ดร. สมบัติ กิจจาลักษณ์ “ต่อสาย ขยายรางเมื่อไหร่ ผมมีรายได้เพิ่มขึ้นแน่ๆ ครับ”   32

การเปิ ด ตั ว อย่ า งเป็ นทางการของรถไฟฟ้ า BTS ในปี 2540 นับเป็นการเกิดการเปลี่ยนแปลง วิ ถี ชี วิ ต ของคนกรุ ง เทพฯ ไปโดยสิ้ น เชิ ง ซึ่ ง ในปี เดียวกันนั้น เป็นปีที่เมืองไทยเกิดวิกฤตทางการ เงิน “ต้มยำกุ้ง” ช่วยบรรเทาปัญหาการจราจรไป ได้ ร ะดั บ หนึ่ ง พวกเขาพบว่ า ชี วิ ต สะดวกขึ้ น ใช้ เวลาเดินทางแบบกำหนดเวลาได้เอง จากเดิมที่ ต้องทุกข์อยู่บนท้องถนนแบบไร้ความหวังในการ เดินทางถึงปลายทาง อี ก 7 ปี ต่ อ มา ความพร้ อ มของรถไฟฟ้ า ใต้ดิน - MRT ก็เปิดให้บริการ สิ้นสุดการรอคอย หมดความกังวลว่า กรุงเทพฯ เมืองราบลุ่มแม่น้ำ


ขยับขยาย มองไทย มองเทศ ร่วมสังเกต ทุกน่านน้ำ ทั้ง Blue Ocean-Red Ocean “…การให้ บ ริ ก ารของ BMCL ต้ อ งมี จ ต ิ นาการ ในทางลบสุดขั้ว เพื ่อป้องกันความเสี่ยงให้นิ่งอยู่ที่ระดับศูน ย์ ตลอดเวลา...” “...The BMCL services has very high imagination. One can only surmise that their priority is to minimize risk or zero…” เจ้าพระยา เจอปัญหาน้ำท่วมทุกปีในฤดูน้ำหลาก หากมีอุโมงค์ใต้ดินจะเจอสภาพใด เทคโนโลยีทันสมัย ช่วยให้ความกังวลหมดไป ทุกอย่างอยู่บนเส้นแห่งความป้องกันความเสี่ยง นานัปการ คนกรุงเทพฯ ดีใจที่พวกเขามีทางเลือก ในการเดินทางเพิ่มขึ้น ที่สำคัญเส้นทางของ MRT วิ่ ง พาดผ่ า นแหล่ ง ที่ พั ก อาศั ย เป็ น วงกว้ า ง การ เติบโตของเมืองจึงเป็นการเพิ่มมูลค่าขึ้นตามมา เงินลงทุนก่อสร้างกว่าแสนล้านของภาครัฐ - การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย(รฟม.) เป็ น ภารกิ จ ของภาครั ฐ ผู้ เป็ น เจ้ า ของโครงการ ส่วนการบริหารจัดการหลังโครงการแล้วเสร็จถูก มอบสัมปทานให้กับภาคเอกชน มารับต่อยอดไป ดู แ ล โดยมอบรายได้ ต อบแทนตามที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ น สัญญา บริษัท รถไฟฟ้ามหานคร จำกัด (มหาชน) : BMCL เป็ น บริ ษั ท เอกชนผู้ รั บ สั ม ปทานการ บริหารจัดการจากรฟม. เป็นเวลา 25 ปี นับแต่ MRT เปิดทำการ เมื่อวันที่ 2 กรกฏาคม 2547 เป็นต้นมา จนกระทั่งไปสิ้นสุดสัญญาในปี 2572 ด้ ว ยลั ก ษณะสั ญ ญาแบบเบ็ ด เสร็ จ - Turnkey หมายถึง การเป็นผู้ลงทุนระบบการบริหารจัดการ อุโมงค์มหัศจรรย์ พาคนกรุงมุดใต้ดินเดินทางได้อย่างรวดเร็ว เองทั้ ง หมดและต้ อ งส่ ง มอบให้ รฟม. เมื่ อ ครบ BMCL เล่าแบบวิศวกรหนุ่มวัย 52 ที่อารมณ์ดีเป็นนิจ นัยว่าการที่ไว้หนวดจึงต้องขยันยิ้ม ไม่งั้นจะดูดุ สัญญา เกินวัยไปสักนิด เขาเป็นวิศวกรเอกด้านงานปฐพีวิศวกรรม จากมหาวิทยาลัยอินส์บรุค ประเทศออสเตรีย ฝั่งยุโรปที่ งานบริการที่ละเอียดอ่อน มีความชำนาญด้านนี้มานาน นับร้อยปี เขาจึงเป็นคนไทยเพียงไม่กี่คนที่เรียนสายตรง แล้วกลับมา BMCL เป็นผู้ประกอบการธุรกิจระบบขนส่ง ร่วมงานในโครงการระดับชาตินี้ ในปี 2543 มวลชน รับสัมปทานโครงการรถไฟฟ้ามหานคร คนหนุ่มวัยสี่สิบต้นเมื่อวันนั้น จึงลุยงานได้เต็มที่ ตระเวนดูงานจากเมืองใหญ่ทั่วโลก รู้จักทราย สายเฉลิมรัชมงคล มีวิสัยทัศน์ที่ครอบคลุมไว้ว่า ทุกเม็ด อุโมงค์ทุกจุด แต่สิ่งแวดล้อมต่างกัน กายภาพ ลักษณะเฉพาะของกรุงเทพฯ ทำให้ทีมงานต้องมี “เป็ น หนึ่ ง ในผู้ ให้ บ ริ ก ารรถไฟฟ้ า ขนส่ ง มวลชน “จินตนาการ” พิเศษ ต้องคิดมาก ประมาณความเสี่ยงในสิ่งที่คาดไม่ถึงมากกว่าทุกเมืองที่ไปดูงานมา ชั้ น นำของโลก ด้ ว ยคุ ณ ภาพการบริ ก ารที่ และจากความกังวลของหลายๆ คน ทำให้ทีมงานทำงานหนักอีกหลายเท่าจากที่รู้ว่าต้องหนักเป็นทุนเดิม ประทับใจ” ไม่เปลี่ยนมา ตั้งแต่ความมุ่งมั่นที่จะ อยู่แล้ว เป็นผู้รับงาน กระทั่งเป็นผู้ได้รับสัมปทาน เขามั่นใจจนบอกว่า “หากแม้ว่ากรุงเทพฯ น้ำท่วมสักเมตรครึ่ง น้ำก็จะไม่ทะลักเข้าไปในอุโมงค์รถไฟ “เป็ น เรื่ อ งที่ ต้ อ งมั่ น คงในหลั ก การ ไม่ ฟ้า MRT แน่ๆ เชื่อผม” สามารถขยับตัวไปจากบรรทัดฐานนี้ หรือปรับไป หลังเปิดทำการได้ราวหกเดือน เกิดอุบัติเหตุขึ้น มีรถไฟฟ้าสองขบวนชนกันภายในอุโมงค์ เมื่อเดือน เป็ น รายปี เพราะงานบริ ก ารประเภทนี้ มี ค วาม มกราคม 2548 ทำให้เกิดการตื่นตัวของระบบการรักษาความปลอดภัยระดับที่เข้มขึ้นทันทีและกลายเป็น ละเอียดอ่อน และต้องเป็นการเดินเข้าสู่มาตรา ประสบการณ์ ความทรงจำอันยาวนานเหมือนฝันร้ายของผู้บริหารที่ไม่ต้องการฝันนี้อีก ฐานเดียวกันกับทั่วโลก ไม่มีการเปรียบเทียบใน เมืองไทยด้วยกันครับ เพราะมีเพียงรายเดียว ไม่ ความปลอดภัย เป็นหัวใจดวงสำคัญ ว่าจะเป็นรถไฟฟ้า BTS รวมทั้ง MRT ของเรา ความใหม่ของระบบการขนส่ง ความทันสมัย ทำให้เป็นการเปิดประเด็นเรื่องความมั่นใจ เรื่องความ เอง” ดร.สมบัติ กิจจาลักษณ์ กรรมการผู้จัดการ ปลอดภัยเป็นเรื่องแรก ของผู้โดยสารที่จะเดินลงไปใช้บริการ   33


ขยับขยาย มองไทย มองเทศ ร่วมสังเกต ทุกน่านน้ำ ทั้ง Blue Ocean-Red Ocean “ความเสี่ยงของการใช้งาน ต้องอยู่ในระดับที่ต่ำสุด หรือต้องเป็นศูนย์ ครับ เราต้องอบรม ให้ความรู้ความเข้าใจกับพนักงาน และผู้เกี่ยวข้องทุกคน แบบที่ต้องฝังเข้าไปในจิตสำนึก จะได้ไม่วอกแวก รวมทั้งมีการซ้อมเตรียม ความพร้อมไว้รองรับเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันแบบมีสติเสมอ รวมทั้งตัวผมเอง ด้วยครับ ทุกครั้งที่ลงไปใช้บริการในฐานะผู้โดยสารคนหนึ่ง จึงจะนั่งแทนใจ ผู้โดยสารได้ว่า รู้สึกอย่างไร” เมื่อเป็นทางเลือก เมื่อเป็นความมั่นใจด้านความปลอดภัยสู่ระดับสากล ที่ ต้องยึดกรอบการทำงานจากสมาคมผู้ประกอบการระบบขนส่งสาธารณะ ระหว่างประเทศ - The International Association Of Public Transport : UITP ซึ่งเป็นอีกหนึ่งกลยุทธ์การตลาด แต่ยังมีอีกหลายปัจจัยที่ส่งผลให้ จำนวนผู้โดยสารมีอัตราเพิ่มช้ากว่าประมาณการณ์ไว้ หลายมิติของการบริหารงาน หมายรวมถึง ระบบการค่าโดยสาร และ การพาณิชย์ พบว่ารายได้ของ BMCL ในรอบปี 2551 ราว 1,400 ล้านบาท เป็นรายได้จากค่าโดยสารและรายได้อื่น 86 : 14 ผู้บริหารมั่นใจว่า สิ่งที่เขาเน้นงานการบริหารนั้น ดำเนินมาในทิศทางที่ ถูกต้อง แต่ยังมีอีกหลายปัจจัยที่ส่งผลให้จำนวนผู้โดยสาร เพิ่มขึ้นในอัตราไม่ มากนักตั้งแต่เปิดทำการมาเมื่อ 5 ปีก่อน “ตามหลักสากลของการประหยัดต่อขนาด กำหนดระยะทางของการ มีประสิทธิภาพด้านต้นทุนค่ า เฉลี่ ย อยู่ ที่ 40 กิ โลเมตร และการมี ส่ ว นต่ อ ขยายของเส้ นทางที่ จ ะเชื่ อ มโครงข่ า ยการเดิ นทางให้ ค วามสะดวกแก่ ผู้ โดยสาร ดูว่าจะล่าช้ากว่ากำหนด ทีมผู้บริหารมั่นใจว่าหากทุกอย่างเป็นไป ตามตารางเวลาประมาณการ เราจะมีรายได้เพิ่มขึ้นแน่” ปั จ จุ บั น BMCL มี ร ะยะทางการเดิ น รถ 20 กิ โลเมตร กั บ 18 สถานี และมี จุ ด เชื่ อ มต่ อ กั บ รถไฟฟ้ า BTS 2 จุ ด คื อ ที่ ส ถานี จ ตุ จั ก ร และสถานี สุขุมวิท จึงเป็นจุดการถ่ายเชื่อมผู้โดยสารที่สำคัญ ให้ผู้คนราว 200,000 คน ต่อวันของลูกค้าขาประจำได้เดินทางเข้าเมือง – กลับบ้านตรงตามเวลา และ มีเวลาเป็นของตัวเองมากขึ้นกว่าวันก่อนเก่าที่ติดอยู่บนท้องถนน ประมาณการว่า หากไม่มีระบบเชื่อมต่อจาก BTS ผู้โดยสารของ MRT จะหายไปราว 40%

รางวัล แห่งความโปร่งใส เหมือนงอกเงยจากการทำงานของทีมงาน

ทุกขบวนของ MRT อยู่ในสายตาของพวกผมครับ

การบริหารเชิงแนวนอนและปัจจัยเอื้อ

จังหวะที่ต้องรอระบบการก่อสร้าง ต่อสาย ขยายราง เพิ่มระยะทาง เพิ่ม จำนวนผู้โดยสาร ผู้บริหารจึงหันมาจัดแถวการบริหาร ภายใต้เงินลงทุนใน บริษัทร่วมทุนทั้ง 3 แห่ง ที่ดูแลรายได้จากการพาณิชย์ โดยยังคงงานหลัก ด้ า นค่ า โดยสารไว้ ที่ บ ริ ษั ท แม่ ด้ ว ยพั นธกิ จ ที่ มี ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น ในฐานะบริ ษั ท มหาชน จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ ตั้ ง แต่ ปี 2549 ที่ ต้ อ งมี ผ ลการ ดำเนินการ และจ่ายเงินปันผลจากผลกำไรได้ตามอัตรา 40 % ของกำไรสุทธิ แต่พบว่า BMCL ยังขาดทุนจากการดำเนินการปกติอยู่ราว 500 ล้านบาท จึงยังเป็นเรื่องที่ท้าทายผลงานของผู้บริหารอยู่ไม่น้อย   34

1 ขบวน มี 3 ตู้ ความจุ 9,000 คนต่อเที่ยว ขนส่งผู้โดยสารได้ 40,000 คนต่อชั่วโมง


ระบบรางและใช้ไฟฟ้าขับเคลื่อน การเพิ่มประสิทธิภาพทางแนวนอน ถูกหยิบมาพิจารณาเมื่อราวปี 2551 กำหนดให้ มี ก ารควบรวม 3 บริ ษั ท เข้ า ด้ ว ยกั น คื อ เมโทร มอลล์ ดีเวลลอปเม้นท์ ไตรแอดส์ เน็ทเวิคส์และบีเอ็มซีแอล เน็ทเวิร์ค ให้กลายเป็น บริษัทใหม่ ชื่อว่า บริษัท แบงคอก เมโทร เน็ตเวิร์คส์ จำกัด ทุนจดทะเบียน 250 ล้านบาท พร้อมทั้งวางแผนเดินเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย ในอีก 4 - 5 ปี ข้างหน้า อี ก หนึ่ ง ปั จ จั ย ที่ จ ะส่ ง ผลให้ จ ำนวนผู้ โดยสารเพิ่ ม จำนวนขึ้ นคื อ การมี ศูนย์การค้า และคอนโดมิเนียมกลางเมือง เรียงรายเกิดขึ้นกว่า 30 โครงการ การบริหารเชิงรุกจึงไม่เพียงแต่พวกเขาจะเป็นผู้โดยสารแต่อาจเป็นลูกค้าที่ เข้ามาจับจ่าย ช็อปปิ้งในศูนย์การค้าย่อมๆ ที่สะดวก ใกล้บ้าน ก่อนกลับบ้าน รวมทั้งบริการต่างๆ ที่อยู่ในวิถีชีวิตของพวกเขา อาจจะได้พบเห็นในเร็ววันนี้ การบริหารจัดการสมัยใหม่ การตลาดข้ามสายพันธุ์ เกิดขึ้นได้แน่ กับการ บริการของ BMCL บนฐานความได้เปรียบเป็นต้นทุนเดิม และต่อยอดก้าว กระโดดเกี่ยวร้อยกับชีวิตของคนรุ่นใหม่ บนความทันสมัย เพราะปัจจุบันมี จำนวนผู้ใช้บริการเพียงครึ่งเดียวของการประมาณการณ์ ไม่แปลก และอาจเป็นภาพปกติ ที่เราจะเห็นคนทุกกลุ่มมาเจอในระบบ ขนส่งมวลชน ในอนาคต การบ้านข้อใหญ่ หน้าต่อไปของผู้บริหารคือการดูแลให้กลายเป็นลูกค้า ขาประจำ และเสิร์ฟได้ตรงตามความต้องการของทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัย การตลาดจึงเหมือน “ยาดำ” ที่อยู่กับทุกธุรกิจ วิศวกรหนุ่มอย่างเขาจึง เข้าใจข้อนี้ดี…

ขยับขยาย มองไทย มองเทศ ร่วมสังเกต ทุกน่านน้ำ ทั้ง Blue Ocean-Red Ocean

ดร. สมบัติ กิจจาลักษณ์ กรรมการผู้จัดการ บริษทั รถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน)

การศึกษา

ปริญญาเอก :

สาขาวิศวกรรมศาสตร์ (ปฐพีวิศวกรรม) มหาวิทยาลัยอินส์บรุค ประเทศออสเตรเลีย หลักสูตรประกาศนียบัตรกรรมการบริษัทไทย (DCP) รุ่น 81/2549 สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย

ตำแหน่งปัจจุบัน

2543 – ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการ 2544 – ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจ 2545 – ปัจจุบัน กรรมการ 2547 – ปัจจุบัน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการบริหาร 2549 – ปัจจุบัน กรรมการ

บมจ.น้ำประปาไทย บมจ.รถไฟฟ้ากรุงเทพ บจก.ทรานสิทเอ็กซ์เพิร์ท บมจ. ช.การช่าง บจก.ไตรแอดส์ เน็คเวิคส์ บจก.เมโทร มอลล์ ดีเวลลอปเมนท์ บจก.บีเอ็มซีแอล เน็ทเวิร์ค บมจ.รถไฟฟ้ากรุงเทพ บมจ.ช.การช่าง

35


COVER STORY

การวางแผนรองรับการเดินทาง การเคลื่อนย้ายผู้คน จากที่หนึ่งไปยังอีก ที่หนึ่งของผู้คนนับล้านคนในแต่ละวันของเมืองใหญ่ จัดเป็นการวางแผนที่ ต้องสอดประสานกับอีกหลายฝ่ายงานที่เกี่ยวข้อง จึงกลายเป็นแผนงานระดับ ชาติจัดกรอบเวลาเป็นระยะ ระบบคมนาคมเป็นแผนแม่บท แสดงเส้นทางเลือกของผู้โดยสาร ที่จะ สามารถเลือกเดินทางได้หลากหลาย ทั้งทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ โดย เป็นงานที่อยู่ในมือของภาครัฐ เพราะความเกี่ยวพันกับทุกหน่วยงาน ตลอด จนจำนวนเงินลงทุนมหาศาล โดยอาจต้องมีเหตุผลของการบริการสาธารณะ เป็นประเด็นหลัก มิใช่เป็นการแสวงหาผลกำไรเป็นที่ตั้ง “เทคโนโลยี” เป็นกุญแจแห่งความเปลี่ยนแปลง ของโลกยุคใหม่ ที่เพิ่ม ความสะดวก สบาย อำนวยช่วยให้การใช้ชีวิตมีความสุขตามที่เลือก “เมืองใหญ่” กับความ “แออัด” จอแจ แยกกันไม่ออก เป็นภาพเดียวกัน ทั่วโลก ทางฝั่งยุโรป อเมริกา มีพัฒนาการเรื่องระบบขนส่งมานานนับร้อยปี มาแล้ ว ส่ ว นในแถบเอเชี ย ปรากฏชั ด เจนหลั ง ยุ ค สงครามโลกครั้ ง ที่ ส อง เป็นต้นมา โดยมีประเทศญี่ปุ่นเป็นเรือธงหัวขบวน พบว่ า ประเทศญี่ ปุ่ น การพั ฒ นาการเดิ นทางด้ ว ยระบบรางต่ อ เนื่ อ ง   36

...

จากสภาพภูมิประเทศเป็นเกาะ ประชากรหน่าแน่นในหลายเมือง อยู่ตาม มุมต่างๆ ของเกาะ จึงพบว่าเส้นทางรถไฟได้รับความนิยมมากที่สุด การเดินทางของคนกรุงเทพฯ เคลื่อนคล้อย คล้ายกับเส้นทางการพัฒนา ในประเทศที่พัฒนาแล้ว เหมือนระลอกคลื่นเคลื่อนที่ขยับตามกาลเวลา หนึ่ ง ในเส้ นทางที่ ช่ ว ยให้ ก ารเดิ นทางของคนในเมื อ งหลวงของไทย สะดวก สบาย คือเส้นทางรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT ภาพต่อส่วนขยายที่เชื่อม จากเส้นทางรถไฟฟ้า BTS ความแตกต่างของเส้นทาง แม้จะมีข้อจำกัดของการอยู่บนดิน - ใต้ดิน ความเหมือนของการเป็นระบบรางน่าจะเป็นการเติบโตของจำนวนผู้โดยสาร ในทิศทางเดียวกัน มุมมองของงานการตลาด ผลจากการใช้สื่อนอกบ้าน ในรถไฟฟ้า MRT ถูกหยิบยกขึ้นมา เมื่อมีการพัฒนานำเสนอด้วยเทคโนโลยี และการพัฒนา พื้ นที่ เชิ ง พาณิ ช ย์ ภ ายในสถานี ให้ ส อดรั บ กั บ ชี วิ ต คนรุ่ น ใหม่ ได้ น่ า สนใจยิ่ ง ทั้ ง จากความคิ ด เห็ นของผู้ บ ริ ห ารสื่ อ เจ้ า ของสิ นค้ า และเอเยนซี โฆษณา ติดตามกันได้ใน Cover Story ประจำฉบับเดือนกรกฏาคม 2552 ในหน้าถัด จากนี้ไป


ฐานคิดการพัฒนา ลดช่องว่างของความร่ำรวยระดับประเทศในโลก ทุนนิยม เกิดขึ้นเมื่อราวกว่า 50 ปีก่อน หรือราวช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา ถูกวางเรื่องการจัดสิ่งที่มีความจำเป็นต่อการใช้ชีวิตประจำวัน ด้ า นระบบสาธารณู ป โภคขั้ น พื้ นฐาน อาทิ ระบบขนส่ ง ไฟฟ้ า น้ ำ ประปา จนกลายเป็นการปฏิรูปองค์กรบริหารให้เห็นเป็นต้นแบบมาแล้วหลายประเทศ อย่างที่อังกฤษและญี่ปุ่น ประเทศไทย มีการตัดสินใจเรื่องแผนพัฒนาระบบสาธารณูปโภคอย่าง เป็นทางการ เมื่อราวปี 2528 คือ เรื่องนโยบายการสร้างทางด่วน และการ แปรรูป ปตท. ด้วยการเริ่มเปิดโอกาสให้เอกชนเข้าไปร่วมบริหารงาน บน ความเชื่อของความคล่องตัวของระบบบริหารงานที่เอกชนมีมากกว่า “ผมคิ ด ว่ า การบริ ห ารทางด่ ว นขั้ น ที่ 2 น่ า จะเป็ น สั ญ ญาแรก ที่ รั ฐ เปิดโอกาสให้เอกชนเข้ามาร่วมทุน ด้วยลักษณะ BTO - Build Transfer Operation หมายถึ ง เอกชนลงทุ น เมื่ อ ครบสั ญ ญา จะส่ ง มอบให้ ต กเป็ น ของรัฐ” คุณสุพงศ์ ชยุตสาหกิจ ประธานกรรมการ บริษัท แบงคอก เมโทร เน็ ต เวิ ร์ ค ส์ จำกั ด เล่ า เบื้ อ งหลั ง ครั้ ง ที่ เ ขาเดิ น เข้ า มามี ส่ ว นบริ ห ารงาน ในฐานะวิศวกรนักบริหารกับกลุ่ม ช.การช่าง ต่อมาเมื่อมีโครงการรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT ประสบการณ์จึงเป็นแต้มต่อ ให้ค่ายนี้ ได้รับงานการบริหารงานด้านการเดินรถ หลังจากที่การก่อสร้าง แล้วเสร็จพร้อมใช้งานให้บริการประชาชนเมื่อ 5 ปีก่อน นอกเหนือจากรายได้จากค่าโดยสารแล้ว พบว่าพื้นที่ในระบบการเดินรถ ยังสามารถพัฒนาเชิงพาณิชย์ได้ จึงมีบริษัทลูกแบ่งสายงานการดูแลเป็น 3 บริษัท “ผมคิดว่า เป็นช่วงเวลาแห่งการเรียนรู้ เรื่องนี้เป็นเรื่องใหม่ของเมืองไทย มาก เวลาที่ผ่านมาจึงมีการทบทวน ด้วยการควบรวมทั้งสามบริษัทเข้ามา เป็นฐานเดียวกัน มีความแข็งแรง เพื่อความคล่องตัวและสามารถสนับสนุน บริ ษั ท แม่ ไ ด้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ จึ ง ปรั บ เป็ น พื้ น ที่ ต รงกลาง ให้ เป็ น สู ต รที่ ทุ ก คน สมประโยชน์ จึงกลายเป็นบริษัทใหม่ ที่ผมมานั่งเป็นประธานนี่แหละครับ” ประสบการณ์ กั บ สายงานบริ ห ารสไตล์ ญี่ ปุ่ นของเขา ถู ก นำมาใช้ กั บ องค์กรแห่งนี้อย่างเป็นระบบ ช่วยให้องค์กรกระชับตัวขึ้น และทันยุคสมัย กับไลฟ์สไตล์ของคนรุ่นใหม่ แม้ยังต้องรอองค์ประกอบ ปัจจัยของการเพิ่มจำนวนผู้โดยสาร จากการ ก่อสร้างเส้นทางต่างๆ ของระบบราง เวลานี้สิ่งที่สามารถลงมือทำได้กับช่อง ทางการให้บริการ คือการพัฒนาเชิงพาณิชย์ของพื้นที่ในสถานี เช่น เปิดเป็น ร้านค้า ที่เสริมให้ผู้โดยสารสะดวกกับการใช้ชีวิตประจำวันของพวกเขายิ่งขึ้น “เรื่องนี้กำหนดเป็นนโยบายที่เน้นเทคโนโลยีในการนำเสนอ โดยต้อง แทรกความรู้ลงไปด้วย กับทุกสื่อที่จะส่งไปหาประชาชน เพราะต้องมองด้าน การพั ฒ นาบุ ค ลากรเพื่ อ รองรั บ การเติ บ โตอย่ า งมี คุ ณ ภาพของประเทศใน ภายภาคหน้าด้วยครับ” พื้นที่ในสถานีรถไฟฟ้า MRT จึงระอุ เพิ่มอุณหภูมิการแข่งขัน พร้อมๆ กับโอกาสทางการตลาดที่เดินทางไปพร้อมกับคนรุ่นใหม่ในทันที

COVER STORY

“ควบรวม 3 บริษัทลูก

เสริมฐานกันและหนุนบริษัทแม่”

คุณสุพงศ์ ชยุตสาหกิจ ประธานกรรมการ บจก. แบงคอก เมโทร เน็ตเวิร์คส์ Supong Chayutsahakij President Bangkok Metro Network Limited

“ . . . M R T มี น โ ย บ า ย เน้นการพัฒนา พื้นที่ภายในสถานี เป็ น เชิ ง พาณิ ช ย์ ค วบคู่ กั บ การ ให้ความรู้ประชาชน…” “...MRT’s policy, to utilize commercial area in the station and education part for the publics…”

37


COVER STORY

เกมรุ ก ของ “บริ ษั ท แบงคอก เมโทร เน็ ท เวิ ร์ ค ส์ จำกั ด ” หรื อ BMN ผู้ดูแลบริหารสื่อโฆษณานอกบ้านและพื้นที่ค้าปลีกในสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT พลั น หลั ง เสร็ จ สิ้ น การควบรวมกิ จ การระหว่ า ง 3 บริ ษั ท ในเครื อ ซึ่งประกอบด้วย “ไตรแอดส์ เน็ตเวิร์ค” ดูแลพื้นที่โฆษณาภายในสถานีและ ขบวนรถ, “เมโทร มอลล์ ดีเวลลอปเมนท์” ดูแลการให้เช่าพื้นที่ของร้านค้า และ “บีเอ็มซีแอล เน็ตเวิร์ค” บริการระบบสัญญาณโทรคมนาคม กลายเป็ น บริ ษั ท ใหม่ Bangkok Metro Network - BMN ในวั นนี้ ผู้บริหารคนรุ่นใหม่อย่าง คุณเอกลักษณ์ ยิ้มวิไล ผู้อำนวยการฝ่ายการตลาด และการขาย BMN ประกาศชัดว่า ปีนี้จะเป็นปีที่มีการเปลี่ยนแปลง ทั้งใน ด้ า นศู น ย์ ก ารค้ า เมโทรมอลล์ และพื้ นที่ โฆษณาภายในสถานี และภายใน ขบวนรถไฟฟ้า MRT “ผมมีความตั้งใจสูงกับการบริหารพื้นที่เมโทรมอลล์และพื้นที่โฆษณา ภายในสถานีและภายในขบวนรถไฟฟ้าใต้ดิน เพราะผลจากการควบรวม ในครั้งนี้ ทำให้เราเพิ่มอาวุธ อย่างมีประสิทธิภาพในการทำงานมากยิ่งขึ้น จากเดิ ม ที่ จ ะแยกส่ ว นกั น ทำงาน ผมคิ ด ว่ า นั บ จากนี้ ไ ปขั้ น ตอนต่ า งๆ จะลดน้อยลง การทำงานจะหนุนส่งซึ่งกันและกัน และเป็นการให้บริการ ครบวงจรอย่างแท้จริงครับ” คุณเอกลักษณ์ พูดด้วยสายตาคนหนุ่มที่มุ่งมั่น แผนงานปรับปรุงพื้นที่ “เมโทรมอลล์” ให้ได้รับความสนใจจากผู้โดยสาร และประชาชนในละแวกใกล้เคียงกับสถานีรถไฟฟ้า คือ การวางตำแหน่ง Positioning ของ “มอลล์” แต่ละแห่งหรือแต่ละสถานีให้ชัดเจน ปัจจุบันเมโทรมอลล์เปิดให้บริการอยู่แล้ว 4 แห่ง ผู้บริโภคในแต่ละทำเล ต้ อ งการมอลล์ แบบใด โดยใช้ ผ ลงานวิ จั ย พฤติ ก รรมผู้ บ ริ โภคเป็ นตั ว บ่ ง ชี้ เพื่อนำมาดีไซน์ร้านค้าให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย เหมือนกับที่พันธ์ทิพย์พลาซ่า ได้วาง Positioning ว่าตัวเองคือ สถานที่ขายสินค้าไอทีและเทคโนโลยี “ผลงานวิ จั ย มี ส่ ว นช่ ว ยทำให้ เราทราบถึ ง ความคิ ด ของผู้ บ ริ โ ภคว่ า พวกเขาคิดและต้องการอะไรจากมอลล์ ที่สำคัญได้ทราบว่าไลฟ์สไตล์ของ ผู้โดยสารแต่ละสถานีเป็นแบบไหน เพราะอย่าลืมว่า รถไฟฟ้าใต้ดินไม่เหมือน กับระบบขนส่งมวลชนทั่วไป เนื่องจากคนที่ใช้รถไฟฟ้าส่วนใหญ่จะเร่งรีบ ดังนั้นเราต้องจัดหาผลิตภัณฑ์หรือร้านค้าที่ตรงกับความต้องการของผู้บริโภค เป็นหลัก” อย่างไรก็ตาม ร้านค้าที่มาเปิดในมอลล์จะไม่เน้นปริมาณ คราวละมากๆ แต่ขึ้นอยู่กับไลฟ์สไตล์ของผู้โดยสารในแต่ละพื้นที่ว่าต้องการสินค้าอะไร ร้าน ค้าแบบไหน เบื้องต้นจะยึดสูตร 50 – 30 - 20 “50%” เป็นแบรนด์สินค้าหลักที่คนในสถานีนั้นต้องการ “30%” เป็น สินค้าที่เกี่ยวข้องกับสินค้าหลัก และที่เหลือ 20% สินค้าในร้านค้าย่อย ทั้งนี้การเปิดร้านค้าในมอลล์มีส่วนสำคัญที่จะทำให้คนหันมาเดินภายใน สถานีมากขึ้น และต้องเป็นเอกลักษณ์ที่ชัดเจน ส่ ว นการบริ ห ารพื้ นที่ โฆษณาภายในสถานี แ ละขบวนรถไฟฟ้ า MRT ผู้บริหารหนุ่มรายนี้กล่าวว่า จะเข้มข้นขึ้นด้วยเช่นกัน โดยเริ่มตั้งแต่การฝึก อบรมพนักงานให้มีความรู้เกี่ยวกับรูปแบบของสื่อโฆษณาและงานบริการหลัง การขาย “งานโฆษณาเป็นงานแนวคิดสร้างสรรค์บวกครีเอทีฟ ดังนั้นการขายสื่อ โฆษณาภายใน MRT จึงต้องมีเอกลักษณ์ ขายจุดเด่นที่เรามีอยู่แล้ว ไม่เน้น ปริมาณ แต่จะเสนอความคุ้มค่าให้กับลูกค้า เช่น ถ้าลูกค้าเปิดร้านในมอลล์ คุ ณจะได้ สิ ท ธิ พิ เศษในการลงสื่ อ โฆษณาของเราควบคู่ ไปด้ ว ย ผมมองว่ า ทุกอย่างมัน Win Win ครับ”

“ขายความคุ้มค่า ให้ ลูกค้า”

คุณเอกลักษณ์ ยิ้มวิไล ผู้อำนวยการฝ่ายการตลาด และการขาย บจก. แบงคอก เมโทร เน็ตเวิร์คส์ Akalak Yimwilai Marketing and Sale Director Bangkok Metro Network Limited

“…สู ต ร 50:30:20 น่ า จะเป็ น สี ส ร ร ใ ห ม่ ใ ห้ M e t r o M a l l ในสถานี ร ถไฟฟ้ า MRT มี ค วาม คึกคักได้ เมื่อผู้บริหารทำการบ้าน มาเป็นอย่างดี ที่จะจัดสรรสินค้า ในสั ด ส่ ว น ตามความต้ อ งการ ของผู้บริโภค…” “…Metro Mall, model 50:30:20 for the passenger, will suitable for them, 50% is the mainly for each MRT station, 30% is consumerlife style product and 20% is from shop, convenience for shopper…”

38

Entrance Networks

ติดอันดับหนึ่งในห้าของสื่อยอดนิยม การชั ก ชวน เชิ ญ ชวนสิ น ค้ า แ บ ร น ด์ ต่ า ง ๆ ใ ห้ หั น ม า ล ง สื่ อ โ ฆ ษ ณ า ภ า ย ใ น แ ล ะ ข บ ว น รถไฟฟ้า MRT จึงมีทั้งกลยุทธ์ด้าน ราคา และการนำเสนอรู ป แบบ ของงานโฆษณาที่แปลกใหม่ “เราพบว่ า เจ้ า ของสิ นค้ า ส่ ว น ใหญ่ จ ะรู้ จั ก แต่ ก ารใช้ สื่ อ ประเภท S t i c k e r W r a p ที่ ติ ด อ ยู่ ฝั่ ง บันไดเลื่อนและทางเท้า แต่ในความ เป็ น จริ ง เรามี สื่ อ โฆษณาที่ ท ำได้ หลายรู ป แบบ ดั ง นั้ นจึ ง เป็ น หน้ า ที่ ของเราในการนำเสนอชิ้ น งาน โฆษณาแบบสร้างสรรค์ให้กับลูกค้า ได้ พิ จ ารณา สื่ อ นอกบ้ า นมี ห ลาย แบบครับ ลูกค้าชอบแบบใด อยาก ได้ ยั ง ไง เราจั ด ให้ ด้ ว ยราคาที่ ไ ม่ แพงครับ” นับเป็นการรุกอีกก้าว จากการ หลุดพันธนาการข้อจำกัดของต่างคน ต่ า งทำของสามบริ ษั ท ในเครื อ มาเป็ น หนึ่ ง เดี ย วที่ คิ ด ไปรอบด้ า น มากขึ้ น พร้ อ มที่ จ ะลุ ก ขึ้ นนำเสนอ ชิ้ น งานสร้ า งสรรค์ บนแนวคิ ด ทางการตลาดที่ชาญฉลาด ม้วนตัว ล้ อ ไปกั บ คลื่ น แห่ ง ความทั น สมั ย และเชื่อว่ายังมีอีกหลายจุดที่รองรับ ครีเอทีฟไอเดียใหม่ๆ ได้


COVER STORY

“วางระบบรอ 3G”

อีกสายงานหนึ่งของบริษัท แบงคอก เมโทร เน็ทเวิร์คส์ จำกั ด BMN คื อ การให้ บ ริ ก ารระบบสั ญ ญาณโทรคมนาคม ภายในสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT ให้มีความ ทันสมัยมากขึ้น “บริษัทมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน ว่า ต้องการให้ผู้โดยสารมี ความสะดวก สบายในการใช้ระบบโทรคมนาคมอย่างต่อเนื่อง มากที่สุด ไม่สะดุดขาดตอน ซึ่งในอนาคตยังต้องมีการลงทุน เพิ่ ม เพื่ อ รองรั บ ระบบ 3G ไว้ ใ ห้ อี ก ด้ ว ยครั บ ” คุ ณ อนวั ช สุวรรณฤทธิ์ ผู้อำนวยการฝ่ายปฎิบัติการ เล่าถึงนโยบายหลักที่ เขาดูแลอยู่ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย - รฟม. เป็น ผู้ลงทุนด้านโครงข่ายโทรคมนาคมทั้งหมด โดยมีบริษัทลูกเป็น ผู้ ว างระบบ แล้ ว นำมาให้ โ อเปอร์ เรเตอร์ ทั้ ง 4 ราย ได้ แ ก่ เอไอเอส, ดีแทค, ทรูมูฟ และฮัทซ์ เช่าช่องสัญญาณ เพื่อความ ปลอดภัยเป็นสำคัญอันดับแรกในการลงไปทำโครงข่ายในระบบ เอง จึงไม่อนุญาตให้รายใดลงมือทำเองเลย “ที่ผ่านมา ผมว่า ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือเองก็จะไม่รู้หรอกครับว่า BMN เป็นผู้วางระบบโทรคมนาคม ภายในสถานีและภายในรถไฟฟ้าใต้ดิน สำรวจระบบสัญญาณและความพึงพอใจของผู้โดยสารอยู่ตลอด เวลา พบว่าผู้โดยสารส่วนใหญ่พึงพอใจกับระบบและคุณภาพของสัญญาณที่ชัดเจน ไม่ติดขัด แม้พูด โทรศัพท์ในจังหวะที่รถไฟฟ้า MRT กำลังวิ่งอยู่ก็ตาม” การขยับตัว พัฒนาการบริการสื่อโฆษณาภายในสถานีและภายในขบวนรถไฟฟ้ามีความเกี่ยวเนื่อง กับเทคโนโลยีบนโลกสมัยมากขึ้น เมื่อนั้นโครงข่ายโทรศัพท์มือถือในสถานีก็ย่อมจะถูกนำมาใช้ประโยชน์ มากขึ้นด้วยเช่นกัน “หลักๆ ในปีนี้คือ ผมว่าทุกคน คงรอเรื่องเดียวกัน คือ เรื่อง 3G น่าจะเป็นปีหน้า ที่จะมีระบบ 3G และ wifi เข้ามามีบทบาทภายในสถานีและภายในขบวนรถมากขึ้นครับ”

คุณอนวัช สุวรรณฤทธิ์ ผู้อำนวยการฝ่ายปฎิบัติการ บมจ. แบงคอก เมโทร เน็ตเวิร์คส์ Anawash Suwanarit Operations Director Bangkok Metro Network Limited

“…สัญญาณระบบมือถือ ชัดเจน มาก แม้ จ ะอยู่ ในอุ โมงค์ เดิ น รถ ข อ ง ร ถ ไ ฟ ฟ้ า M R T ต อ น นี้ ก้ า ว ห น้ า ขึ้ น ไป ร อ ร ะ บ บ 3 G แล้ว...” “…Mobile phone in MRT system, clear and practical ,they waiting for the New one3G…”

สถานีรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรั ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด

โครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรั 18 สถานี โดยทั ประมาณ 18-25 เมตร ยาวประมาณ 150 – 200 เมตร และระดั ชานชาลาอยู่ลึกประมาณ 15-25 เมตร แต่สถานีที่มีขนาดใหญ่ที่สุด สถานีเดียวคือสถานีจตุจั เมตร ระดั ที่มา : www.mrta.co.th   39


COVER STORY

กลุ่มผู้ใช้บริการ MRT แยกประเภทผู้ใช้บริการ อายุ (ปี) รายได้ต่อเดือน (บาท) อาชีพ

รายละเอียด

15 – 29 ปี 30 – 59 ปี 15,000 – 22,499 22,500 – 49,999 50,000 ขึ้นไป พนักงานบริษัทฯ นิสิต นักศึกษา นักธุรกิจ, ผู้บริหาร, อาจารย์, อื่นๆ ฯลฯ

อัตราส่วน (%) 63% 37% 9% 34% 56% 50% 26% 24%

ที่มา The Nielsen Company (Thailand) Limited และ Bangkok Metro Netwokrs Limited หมายเหตุ : สำรวจจากกลุ่มตัวอย่าง 1,600 คน ระหว่างเดือนธันวาคม 2551 – กุมภาพันธ์ 2552

สถานี MRT ที่มีผู้โดยสารมากที่สุด 5 อันดับ สุขุมวิท สีลม

จำนวนผู้โดยสาร ปี 2552 มกราคม - มิถุนายน 3,467,614 2,464,034

จำนวนผู้โดยสาร ปี 2552 มกราคม - ธันวาคม 8,790,861 6,348,784

จำนวนผู้โดยสาร ปี 2550 มกราคม - ธันวาคม 8,344,907 6,060,780

3

ห้วยขวาง

2,320,705

6,024,356

5,645,312

4

หัวลำโพง

2,083,626

5,611,810

5,173,727

5

พหลโยธิน

2,176,711

5,456,215

5,159,093

12,512,690

32,232,026

30,383,819

อันดับ

สถานี

1 2

รวม ที่มา

Bangkok Metro Networks Limited

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หั

“เฉลิมรั (Metropolitan Rapid Transit Chaloem Ratchamongkhon line หรือ M.R.T. Chaloem Ratchamongkhon Line) ที่มา : www.mrta.co.th   40


COVER STORY

Unit : Million Baht

งบโฆษณาแยกตามประเภทสื่อหลัก และสื่อนอกบ้าน ปี 2002 - 2009 (May)

60,000 50,000

ผลวิจัยพฤติ กรรมผู้บริโภค ต่อความชื่นชอบสื่อนอกบ้าน 40,000

2002

2003 2002

2004

30,000 20,000

10,000

2005 2003

2006

2004

0

2007

2005

2008

2006

2009 - May

2007

2008

2009 - May

TV

34,502

39,270

47,173

50,020

53,296

53,484

51,136

20,774

Radio Newspaper Magazine

6,700 10,777 3,618

7,485 12,866 4,514

6,850 18,030 6,121

6,393 16,248 6,148

6,588 15,432 6,140

6,401 15,826 5,903

6,933 15,288 5,823

2,340 5,235 1,989

595 2,349

896 3,724

1,334 3,935

1,705 4,530

2,404 4,692

4,391 4,480

4,173 4,216

1,581 1,663

579

713

981

956

1,360

743

117

114

307

570

560

335

74

77

Cinema Outdoor * Transit * In Store Internet

Outdoor : บิลบอร์ด , ป้ายรถเมล์ , บาทวิถี , ป้ายไฟข้างทาง Transit : BTS , Bus Body , ตุ๊กตุ๊ก , Bus Back

ที่มา หมายเหตุ :

ESTIMATED TOTAL ADVERTISING EXPENDITURE BY MEDIUM YTD MAY 09 VS 08 BAHT MILLIONS YTD 08

DIFE

% Change

TV 20,774 20,848 RADIO Metro Networks 2,340 Limited 2,680 The Nielsen Company (Thailand) Limited และ Bangkok NEWSPAPERS 5,235 6,145 สำรวจจากกลุ ม ่ ตั ว อย่ า ง 1,600 คน ระหว่ า งเดื อ นธั น วาคม 2551 – กุ ม ภาพั น ธ์ 2552 ! หาเดือนแรกของป 2009 มี 3 สื่อ ที่ใช MAGAZINES 1,989 2,349 CINEMA 1,581 1,637 งบเพิ่มขึ้น คือ Transit, instore และIntetnet OUTDOOR 1,663 1,803 ดวยอัตราเพิ่มขึ้น 29.44%, 9.84% และ 4.05% TRANSIT 743 574 ตามลำดับ IN STORE 335 305 INTERNET 77 74

MEDIA

YTD 09

-(74) -(340) -(910) -(360) -(56) -(140) 169 30 3

-(0.35) -(12.69) -(14.81) -(15.33) -(3.42) -(7.76) 29.44 9.84 4.05

ผลวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค ต่อการรับรู้สื่อใน MRT

แยกประเภทการรับรู้

สถานี MRT TOTAL

วัดจากการมองเห็ น TOP 10 ADVERTISERS ESTIMATED ADSPEND โดดเด่นสะดุดYTD ตา MAY 09 VS 08 จำชื่อสินค้า/โฆษณาได้ ง่าย ADVERTISER ต้อUNILEVER งมองทุ(THAI) กครั้งHOLDINGS ที่ผ่าน ดึงBEIERSDORF ดูดใจ (THAILAND) CO.,LTD

BAHT MILLIONS

วัดPROCTER จากภาพลั กษณ์ในการโฆษณา & GAMBLE (THAILAND) L’OREAL (THAILAND) LTD.

ทันADVANCE สมัย/อิINFO นเทรนด์ SERVICE PCL. ใหม่ แ ละแตกต่ าง COCA-COLA (THAILAND) NESTLE (THAI) LTD. ทำให้สินค้ามีมูลค่ามากขึ้น

2009

2008

1,912

1,999

862

481

662

497

606

646

530

479

505

384

478

492

การยกระดั บภาพลั กษณ์LTD.ของยี่ห้อผลิ465ตภัณฑ์ COLGATE-PALMOLIVE (THAILAND) OSOTSPA CO.,LTD.

472

458 สินTOYOTA ค้ามีภMOTOR าพลักTHAILAND ษณ์ดีขึ้นCO.,LTD. Top Advertiser – Exclude Section : Classified and House ads. สินค้าเหมาะกับผู้บริโภคมากขึ้น สินค้าดูทันสมัย

ที่มา

34,738

36,415

ภายในรถ MRT -(1,677) -(4.61)

Total Industry – Exclude Section : Classified, House ads.

600

23% 26% 30% 24%!

25% 30% 33% สินคาอุปโภค บริโภค ยังวางแนวทางอัดฉีด28%

31% 32% 34%

43% 38% 41%

งบโฆษณา เพื่อตอกรกับกำลังซื้อ หวังกระตุนยอดขาย และเพื่อรักษาสวนแบงการตลาด อาทิ BEIERSDORF 35%(THAILAND), L’OREAL (THAILAND) ,COCA-COLA 42% 14%(THAILAND), ADVANCE INFO SERVICEและ 21% 35%COLGATE-PALMOLIVE(THAILAND) 42%

408 764

The Nielsen Company (Thailand) Limited และ Bangkok Metro Networks Limited

หมายเหตุ : สำรวจจากกลุ่มตัวอย่าง 1,600 คน ระหว่างเดือนธันวาคม 2551 – กุมภาพันธ์ 2552

41


COVER STORY

อัตราสื่อโฆษณารถไฟฟ้า MRT (MRT Media Advertising Rate)

ราคาสื่อโฆษณา/เดือน (Media Cost/Month) (บาท / Bath)

ประเภทสื่อ (Media)

ขนาด (Size)

ทางเข้า Entrance Networks - กล่องไฟบันไดเลื่อน Escalator light box - สติ๊กเกอร์แรป 2 ขนาด Sticker wrap 2 sides บันไดเลื่อน และ ขั้นบันได Escalator&Stair step Side

0.66 × 0.90m ขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่ติดตั้ง Depend on location

68,480 - 350,000.-

1,200บาทต่อตารางเมตร (สำหรับสติ๊กเกอร์) (Sticker 1,200.-/sqm.)

สื่อกล่องไฟ 4 กล่อง Light box 4 sheet

1.08×1.58 เมตร (m)

7,000 – 10,700.-/ช่อง (panel)

2,304.-/ช่อง (panel)

สื่อกล่องไฟ 8 กล่อง Light box 8 sheet

1.59×2.12 เมตร (m)

29,000 – 37,450.-/ช่อง (panel)

4,551.-/ช่อง (panel)

สื่อกล่องไฟ 12 กล่อง Light box 12 sheet

3.06×1.56 เมตร (m)

26,000 – 36,808.-/ช่อง (panel)

6,444.-/ช่อง (panel)

กล่องไฟ 22 กล่อง Light box 22 sheet

4.12×2.12 เมตร (m)

31,000 – 40,000.-/ช่อง (panel)

11,792.-/ช่อง (panel)

กล่องไฟ 32 ช่อง Light box 32 sheet

6.12×2.12 เมตร (m)

36,000 - 44,940.-/ช่อง (panel)

17,515.-/ช่อง (panel)

สติ๊กเกอร์ติดผนังขนาดใหญ่ บันไดทางเข้า-ออก บันไดเลื่อน ขนาดประมาณ 4.45x1.10 เมตร บันไดทางเท้า จนถึงที่ขายตั๋ว Bulkhead sticker retail to concourse Approximate size of 4.45x1.10 m

29,960-46,350.-

1,200.-/ตารางเมตร (sqm.)

สติ๊กเกอร์ติดผนังขนาดใหญ่ตรงชานชาลา Bulkhead sticker concourse to platform

ขนาดประมาณ 4.45x1.10 เมตร Approximate size of 4.45x1.10 m

29,960-46,350.-

1,200.-/ตารางเมตร (sqm.)

สติ๊กเกอร์ติดผนังขนาดใหญ่ชั้นชายตั๋ว (ด้านหน้า, ขวา และซ้าย) Bulkhead Networks (front, right and left side)

ขึ้นอยู่กับสถานที่ติดตั้ง Depend on location

125,000-450,000.-

1,200.-/ตารางเมตร (sqm.)

สติ๊กเกอร์ขนาดใหญ่ทางเข้า-ออกสถานี Bulkhead Entrance sticker

ขนาดประมาณ 5.90 x 1.99 Approximate size of 5.90x1.99

35,000-48,500.-

1,200.-/ตารางเมตร (sqm.)

สติ๊กเกอร์กระจายครอบคลุมพื้นที่สถานี ในชั้นร้านค้า และชั้นขายตั๋ว Sticker flor wrap

ขึ้นอยู่กับสถานที่ติดตั้ง Depend on location

21,400-214,000.-

1,650.-/ตารางเมตร (sqm.)

สติ๊กเกอร์ขนาดใหญ่ติดตั้งหลังกล่องไฟ Sticker behind light box

- กล่องไฟ 3.06* 1.56 เมตร (กล่องไฟขนาด 2 – 4 กล่อง) Light box 3.06x1.56m Quantity of light box 2-4 boxes - ขนาดสติ๊กเกอร์ประมาณ 11.30 × 3.35 ม. Approximate sticker size of 11.30x3.35m

117,700.- 401,500.-

- กล่องไฟ 6,444 บาทต่อช่อง Light box 6,444.-/panel - สติ๊กเกอร์ 1,200.-/ตรม. Sticker 1,200.-/sqm.

16,500-22,000.-/ชุด (set)

1,200.-/ตารางเมตร (sqm.)

สติ๊กเกอร์บริเวณประตูผ่านเข้า-ออก และบริเวณชั้นขายตั๋วของ สถานี Automatic Fare Collection Gate Sticker Network

ราคาการผลิต (Production Cost)

ติดตั้งบนเสาของสถานี Column networks (เหนือ และใต้ - North & South) - เดี่ยว Retail level - ที่ฝูงชน Concourse level - ชานชาลา Platform level แรปลิฟท์ (เหนือ และ ใต้) Lift wrap (north & south) - ที่ฝูงชน Concourse level - ชานชาลา Platform level

ขึ้นอยู่กับสถานที่ติดตั้ง Depend on location

100,000.- 510,500.-

1,200.-/ตารางเมตร (sqm.)

ขนาดประมาณ 34.06 ตารางเมตร Approximate size of 34.06sqm.

62,000.-143,500.-

1,200.-/ตารางเมตร (sqm.)

ติดตั้งตรงโทรศัพท์สาธารณะในสถานีรถไฟฟ้า Phone booth Networks

3.02 × 2.70 เมตร (m), 4.40 × 2.9 เมตร (m) 4.8 × 3.15 เมตร(m)

6,000-16,000.-

1,200.-/ตารางเมตร (sqm.)

แรปผนังขนาดใหญ่ Big Wall wrap

ขนาดประมาณ 9.60 × 3.30 เมตร Approximate size of 9.60x3.30m

67,000.- 138,000.-

1,200.-/ตารางเมตร (sqm.)

โปสเตอร์ E-Poster

ขนาดมาตรฐาน กว้าง 1.55 x สูง 2.65 กล่องไฟแบบบางขนาด : กว้าง 0.76 x สูง 0.36 Cover Size : 1.55(w)x2.65(h) Slim Light box Size : 0.76(w)x0.36(h)

100,000-120,000.- / Unit

5,914.-

ในรถไฟฟ้า In train

ช่องใส่ข้อความ 36 ยูนิต ขนาด : กว้าง 1.5 x สูง 0.25 Tube card 36 units Size:1.5(w) x 0.25(h) โปสเตอร์ 18 ยูนิต ขนาด : กว้าง0.4 x สูง 0.6 Poster 18 units Size:0.4(w) x 0.6(h) ช่อง 5 ยูนิต ขนาด : กว้าง 0.70 x สูง 1.75 Panel 5 unitsSize:0.69(w) x 1.74(h)

212,000.-

30,927.-

หมายเหตุ : เป็น Rate Card ที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ ต้องการรายละเอียดเพิ่มเติมติดต่อฝ่ายการตลาด BMN โทร 02-690-8391-4   42


COVER STORY

“เน้นคุณภาพงาน ไม่เล่นสงครามราคา”

บ ริ ษั ท โ ป ร ดี เ ค ล จ ำ กั ด ผ่านการตรวจสอบจากการรถไฟฟ้า ขนส่ ง มวลชนแห่ ง ประเทศไทย (รฟม.) ให้ เ ป็ น ผู้ ผ ลิ ต งานพิ ม พ์ ในสื่อโฆษณาของรถไฟฟ้า MRT คุ ณ โชคชั ย เมธี ย นต์ พิ ริ ย ะ ก ร ร ม ก า ร ผู้ จั ด ก า ร ก ล่ า ว ว่ า “เป็ น เรื่ อ งที่ ดี ค รั บ ที่ รฟม. กำหนด คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง ห มึ ก พิ ม พ์ ที่ ใ ช้ ในงานพิ ม พ์ สื่ อ โฆษณา ที่ จ ะต้ อ งมี คุณสมบัติไม่ติดไฟ ไม่ลามไฟ และ กันความร้อน เพราะทำให้ผู้เดินทาง คุณโชคชัย เมธียนต์พิริยะ กรรมการผู้จัดการ ด้ ว ยรถไฟฟ้ า MRT รู้ สึ ก อุ่ น ใจทุ ก บจก. โปรดีเคล ครั้ ง ที่ ใช้ บ ริ ก าร และผมมองว่ า ไม่ Chokechai Meeteeyonpiriya เป็นอุปสรรคต่องานพิมพ์แต่อย่างใด Managing Director Prodecal Co.,Ltd. ตรงกันข้ามกลับเป็นการช่วยสร้าง ความมั่นให้ลูกค้า สบายใจขึ้นครับ” และเพื่อรองรับงานพิมพ์ที่จะมี “…ผู้ผลิตยืนยัน เรื่องงานคุณภาพ มากขึ้นในอนาคต คุณโชคชัยตัดสิน และการบริการหลังการขาย มากกว่า เรื่องราคา...” ใจลงทุนซื้อเครื่องพิมพ์ตัวใหม่กว่า 20 ล้ า นบาท ที่ มี ค วามก้ า วหน้ า “…Supplier, mainly to produce ด้ า นเทคโนโลยี ม ากใช้ ห มึ ก UV the quality, not the price war...” เทคโนโลยี จ ากประเทศอิ ต าลี เค รื่ อ ง แ ร ก ใ น เ อ เชี ย อ า ค เน ย์ พิมพ์งานได้ละเอียด ให้ความเนียน ของเม็ดสีด้วยหัวพิมพ์ ม า ก ถึ ง 7 หั ว พิ ม พ์ ได้ แ ก่ สี C - M - Y - K พร้ อ มสี Light 2 สี (Light Cyan, Light Magenta) และพิเศษ หมึ ก สี ข าว (White) ที่ ช่ ว ย ใ ห้ ง า น พิ ม พ์ งานพิมพ์ทุกชิ้นต้องเนี๊ยบ ไม่งั้นไม่ยอมประทับตรา QC สี ส วย เนี ย นใส และ ยังสามารถใช้หมึกขาว เพื่อเพิ่มความโดดเด่นให้แก่ชิ้นงานได้อย่างสมบูรณ์ อีกด้วย การพิมพ์จะเป็น แบบ Roll to Roll พิมพ์งานได้หน้ากว้างไร้รอยต่อ 3.20 เมตร รับประกัน อายุการใช้งานนาน 3-5 ปี “ในทุ ก ปี ผ มจะซื้ อ เครื่ อ งพิ ม พ์ ตั ว ใหม่ เพื่ อ เป็ นการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ให้ กั บ งาน เพราะทุ ก วั นนี้ เทคโนโลยี ก ารพิ ม พ์ เปลี่ ย นไปเร็ ว มาก ซึ่ ง เรา ต้องตามให้ทัน” การแข่งขันของธุรกิจการพิมพ์อิงเจ็ท เป็นไปอย่างเข้มข้น โดยเฉพาะ การกดราคาสู้กันอย่างรุนแรง ซึ่งคุณโชคชัยยืนยันว่า โปรดีเคลจะไม่เข้าไป ร่ ว มวงเล่ น เรื่ อ งสงครามราคา แต่ จ ะยื น ยั นการแข่ ง ขั นด้ า นงานคุ ณ ภาพ การตรงเวลาในการส่งมอบ และมีบริการหลังการขายที่ดี

“ไม่ว่าเศรษฐกิจจะเป็นอย่างไร ธุรกิจงานพิมพ์ก็ยังได้รับความนิยม อยู่ เพราะสินค้าต่างๆ ต้องมีการจัด กิ จ กรรมโดยอาศั ย การโฆษณา ณ จุ ด ขาย จึ ง ทำให้ ง านพิ ม พ์ ยั ง มี บทบาทอยู่ และสิ่ ง สำคั ญ ที่ สุ ด ส ำ ห รั บ ง า น พิ ม พ์ คื อ ค ว า ม คมชั ด ของภาพ” คุ ณ จุ ไ รภรณ์ อุทัยสาง กรรมการผู้จัดการ บริษัท คิวแอดเวอร์ไทซิ่ง จำกัด อีกหนึ่งใน บริ ษั ท ที่ ไ ด้ รั บ ความไว้ ว างใจจาก การรถไฟฟ้ า ขนส่ ง มวลชนแห่ ง คุณจุไรภรณ์ อุทัยสาง ประเทศไทย (รฟม.) ให้เป็นผู้ผลิต กรรมการผู้จัดการ บจก. คิวแอดเวอร์ไทซิ่ง งานพิ ม พ์ ชิ้ น งานสื่ อ โฆษณาของ Churaiporn Uthaisang รถไฟฟ้า MRT Managing Director คุ ณ ส ม บั ติ ห ลั ก ๆ ข อ ง ก า ร Q-Advertising Co.,Ltd. ผ่ า นก า ร ต ร ว จ ส อ บ จ า ก ร ฟ ม . เกิ ด จากคุ ณ ภาพหมึ ก พิ ม พ์ ข อง บริษัทที่ถูกต้องตามข้อกำหนดไว้ว่า จะต้ อ งไม่ ติ ด ไฟ ไม่ ล ามไฟ และ “…ผู้ผลิตยืนยัน เรื่องงานคุณภาพ การหลังการขาย มากกว่า กันความร้อน ตลอดจนความมั่นคง เรืและการบริ ่องราคา...” ของระบบเทคโนโลยีของเครื่องพิมพ์ ที่ มี ค วามทั น สมั ย เพื่ อ รองรั บ งาน “…Supplier, mainly to produce the พิมพ์ที่จะเข้ามาเป็นจำนวนมากได้ quality, not the price war...” บุคคลกร หรือคนกับเครื่องต้อง เป็ น หนึ่ ง ในงานพิ ม พ์ ค่ า ยนี้ จึ ง มี การเตรียมบุคลากรคนรุ่นใหม่เข้ามา เสริมงานเพื่อเตรียมพร้อมไว้แล้ว “ ง า น พิ ม พ์ ที่ ดี ต้ อ งสวย เร็ ว ภาพ ค ม ชั ด สี ไ ม่ เ พี้ ย น ส่ ง มอบงานให้ ลู ก ค้ า ภายในกำหนดและ ยั ง เป็ น ส่ ว นประกอบ ส ำ คั ญ ใ น ก า ร จั ด กิ จ กรรมทาง การ ตลาดทุกประเภทค่ะ” สติ๊กเกอร์ที่ผ่านการตรวจสอบต้องไม่ติดไฟ ไม่ลามไฟ ปั จ จุ บั นคิ ว แอดส์ และกันความร้อน ได้มีการลงทุนทางด้าน เทคโนโลยีการพิมพ์อย่างต่อเนื่อง ซึ่งบริษัทฯ ถือเป็นเจ้าแรกที่นำเทคโนโลยี ระดับโลกของ HP Scitex FB6700 เข้ามารองรับการทำงานในส่วนของ Digital POP และด้วย application ล้ำหน้าของเครื่องพิมพ์ HP Scitex FB6700 ที่สามารถใช้งานได้กับสื่อการพิมพ์ที่หลากหลาย ประสิทธิภาพการ ทำงานที่รวดเร็ว สามารถตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าที่ต้องการผลงาน คุณภาพที่รวดเร็วตามความต้องการ

“สร้างงานด้วยเครื่องพิมพ์”

43


COVER STORY

“ใช้มาตรฐานสากลเป็นจุดขาย”

ด้วยคุณสมบัติของสติ๊กเกอร์ที่ ใช้ในงานพิมพ์โฆษณาในสถานีและ ในขบวนรถไฟฟ้ า MRT จะต้ อ ง “ไม่ ติ ด ไฟ ไม่ ไ หม้ ไ ฟ และต้ อ ง กั นความร้ อ น” จึ ง ทำให้ ผ ลิ ต ภั ณฑ์ ของ 3M เป็ น 1 ในผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ได้รับความไว้วางใจจากการรถไฟฟ้า ขนส่ ง มวลชนแห่ ง ประเทศไทย (รฟม.) ให้ใช้กับชิ้นงานสื่อโฆษณา ในรถไฟฟ้า MRT คุ ณ ส ริ ย า เ ม ธิ ส ริ ย พ ง ศ์ ผู้ จั ด การแผนกผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต กแต่ ง คุณสริยา เมธิสริยพงศ์ ผู้จัดการแผนกผลิตภัณฑ์ตกแต่ง แ ล ะ ป้ า ย โ ฆ ษ ณ า บ ริ ษั ท 3 M และป้ายโฆษณา (ประเทศไทย) จำกั ด กล่ า วว่ า บจก. 3เอ็ม ประเทศไทย ปัจจุบันสติ๊กเกอร์ที่ใช้ภายในสถานี Sariya Maytisariyapong Division Manager Commercial รถไฟฟ้ า MRT ทั้ ง ที่ เ ป็ น ทึ บ แสง Graphics Division Projection ซึ่งติดอยู่ข้างกำแพงฝั่งบันไดเลื่อน, Systems Division ริ ม ทางเดิ น , เสาในอาคาร, ลิ ฟ ท์ 3M Thailand Limited รวมทั้ ง โฆษณาโปร่ ง แสงตามตู้ ไฟ “…ความปลอดภัยของทุกวั ส ดุ มี แ ล ะ ภ า ย ใ น ข บ ว น ร ถ ไ ฟ ฟ้ า ความสำคั ญ มากกั บ งานโฆษณาใน แทบทั้ ง หมด ได้ ผ่ า นการทดสอบ รถไฟฟ้า MRT…“ จากผู้ บ ริ ห ารสื่ อ โฆษณาภายใน “…safety, the first important รถไฟฟ้ า ใต้ ดิ น รวมทั้ ง รฟม. มา material in term of advertising...” แล้ว “สติ๊ ก เกอร์ ที่ ใ ช้ ใ นสื่ อ โฆษณา MRT ภายใต้แบรนด์ 3M ได้ผ่านมาตรฐานระดับสากล คือ เป็นสินค้าที่ถูก ควบคุมด้วยโลหะหนัก ซึ่งเมื่อเลิกใช้จะไม่เป็นพิษกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเป็น ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ลามไฟ ไม่ติดไฟ และกันความร้อน” นอกจากนี้ ข้ อ ได้ เปรี ย บของ 3M คื อ กาวที่ ใช้ ในสติ๊ ก เกอร์ ไม่ เหนี ย ว สามารถลอกออกได้ และไม่ทิ้งคราบกาวไว้กับวัสดุต้นแบบที่ใช้ติดตั้ง ซึ่งเป็น มาตรฐานเดียวกับสื่อโฆษณาที่ใช้ภายในสนามบินสุวรรณภูมิ ค่ายนี้ยืนยันว่าจะไม่ลงแข่งขันด้านราคาอย่างแน่นอน แต่จะให้ความ สำคัญกับงานบริการหลังการขายและจะดูแลทั้งลูกค้าเก่าและลูกค้าใหม่ เป็นหลัก

บริ ษั ท เอเวอรี่ เดนนิ ส สั น (ประเทศไทย) จำกั ด เป็ น อี ก หนึ่ ง บริ ษั ท ที่ ผ่ า นการตรวจสอบเรื่ อ ง ความปลอดภัย ได้รับความไว้วางใจ จากการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ( ร ฟ ม . ) ใ ห้ น ำ ผลิตภัณฑ์ประเภทสติ๊กเกอร์มาใช้ใน งานพิมพ์โฆษณาภายในสถานีและ ในขบวนรถไฟฟ้า MRT หลังจากที่ ก่ อ นหน้ า นี้ ไ ด้ ผ่ า นการตรวจสอบ จากการใช้ ง านบนรถไฟฟ้ า BTS มาแล้ว คุ ณ ส ม บั ติ ไ ก ร พั ฒ น พ ง ศ์ ผู้ จั ด การฝ่ า ยพั ฒ นาธุ ร กิ จ แผนก กราฟฟิค บริษัท เอเวอรี่ เดนนิสสัน (ประเทศไทย) จำกั ด กล่ า วว่ า บริษัทดีใจเป็นอย่างยิ่งที่สินค้าของ เอเวอรี่ ได้ รั บ ความไว้ ว างใจจาก รฟม. “คุ ณ สมบั ติ เด่ นของผลิ ต ภั ณฑ์ เรา คือการไม่ติดไฟ ไม่ไหม้ไฟ และ กันความร้อน ทำให้ผู้โดยสารอุ่นใจ ผู้ใช้บริการชอบใจมาก เมื่อเสร็จสิ้น การใช้งานผลิตภัณฑ์ของเรา เพราะ ไม่ทิ้งคราบ ลอกออกง่าย พบได้จาก ผลงานที่ เ ห็ น กั น ไปแล้ ว หลายจุ ด อ า ทิ บ น เค รื่ อ ง บิ นข อ ง บ ริ ษั ท การบินไทย จำกัด (มหาชน), ภาพ บนตึก True, บนตึกใบหยก 2”

“สติ๊กเกอร์ที่ดต ี ้องไม่ทิ้งคราบกาว”

รถไฟใต้ดินที่มีสถานีจอดมากที่สุดในโลก

44

คุณสมบัติ ไกรพัฒนพงศ์ ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ แผนกกราฟฟิค บจก. เอเวอรี่ เดนนิสสัน (ประเทศไทย) Sombat Kaipattanapong Business Development Manager Graphics & Reflective Products Division Avery Dennison (Thailand) Ltd. “…ความปลอดภั ย ของทุ ก วั ส ดุ มี ความสำคั ญ มากกั บ งานโฆษณา ในรถไฟฟ้า MRT...“ “…safety, the first important material in term of advertising...”

MTA New York City Transit ในกรุงนิวยอร์ค สหรั มีสถานีจอดทั ที่มา : www.knowledge.eduzones.com


บริษัท ฮิวเลตต์ – แพคการ์ด (ประเทศไทย) จำกัด หรือ HP หนึ่งในยักษ์ใหญ่แห่งวงการพิมพ์, คอมพิวเตอร์, ซอฟต์แวร์ และโครงสร้างพื้นฐานงานไอที ดังนั้นงานสื่อโฆษณาบริษัทต้องการจะเผยแพร่ ถึงภาพลักษณ์ความมั่นใจในคุณภาพไปสู่ผู้บริโภคเป็น Brand Image ภายใต้แบรนด์ HP โดดเด่นสะดุดตากับสื่อกล่องไฟบันไดเลื่อน สร้างสรรค์งานได้เป็นซีรีส์ “สื่ อ โฆษณาที่ HP เลื อ กใช้ จะเป็ น การ ตอกย้ ำ แบรนด์ ที่ เข้ า ถึ ง ไลฟ์ ส ไตล์ ข องผู้ บ ริ โภค มากที่ สุ ด ” คุ ณ วริ ย า อุ ด มศิ ริ ผู้ จั ด การฝ่ า ย พัฒนาการตลาด ผลิตภัณฑ์เครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ท บริ ษั ท ฮิ ว เลตต์ – แพคการ์ ด (ประเทศไทย) จำกั ด กล่ า วถึ ง เบื้ อ งหลั ง แนวคิ ด ของชิ้ น งาน โฆษณา หนึ่ ง ในสื่ อ ที่ ค่ า ยนี้ เ ลื อ กใช้ คื อ การโฆษณา ตอกย้ำความจดจำแบบต่อเนื่องด้วย Wall Wrap ภายในสถานีรถไฟฟ้า MRT และการใช้เว็บไซต์ ในการสร้างการรับรู้และจดจำแบรนด์ “ผู้โดยสารของรถไฟฟ้า MRT เป็นไปตามเวลาเดินทางของคนเมือง ช่วงเช้าและช่วงเย็นที่มีการ สัญจรอย่างคับคั่ง หนาแน่นก็จะได้ประโยชน์ ในแง่ของการตอกย้ำให้แบรนด์อยู่ในความทรงจำ ของ ผู้บริโภคที่คิดจะซื้อสินค้าเทคโนโลยีก็จะต้องนึกถึง HP เพราะอยู่ในความทรงจำ” ทำเลทองของพื้นที่การใช้ สื่ อ โฆษณา เป็ นตำแหน่ ง ที่ ม องเห็ นง่ า ย และเป็ น เส้ นทางบั ง คั บ อาทิ บริเวณบันไดเลื่อนทั้ง 2 ฝั่ง ค่ายนี้เลือกใส่รูปผลิตภัณฑ์ไว้ในกล่องไฟติดไล่เรียงกันลงมาจากระดับ ผิวถนนลงสู่ตัวสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน โดยมีการ Wrap Sticker ขนาดใหญ่ ด้านหลังกล่องไฟ ซึ่งสามารถ สร้างสรรค์งานโฆษณาให้มีความโดดเด่นและเป็น Series ได้มากขึ้น “เหตุที่เน้นสื่อโฆษณาบริเวณทางเดินที่เข้าสู่สถานีรถไฟฟ้า MRT เพราะเป็นการตอกย้ำแบรนด์ ให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น ส่งผลดีต่อภาพลักษณ์ของสินค้า” แผนงานล่าสุดของ HP จะเป็นการต่อยอดแคมเปญ When Everything Counts เป็นการให้ คำแนะนำผู้ประกอบการเอสเอ็มอีในการลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานด้านการพิมพ์ โดยนำเสนอเครื่องพิมพ์ HP Officejet Pro ที่มาพร้อมกับหมึกเอชพี ซึ่งช่วยประหยัดต้นทุนการพิมพ์ ได้ถึง 50%

COVER STORY

บ รู ” ้ “บันไดเลื่อน จุ ดนัดพบการรั

คุณวริยา อุดมศิริ ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาการตลาด ผลิตภัณฑ์เครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ท บจก. ฮิวเลตต์-แพคการ์ด (ประเทศไทย) Variya Udomsiri Market Development Manager LaserJet Printer (Volume) Imaging & Printing Group Hewlett3Packard (Thailand) Ltd.

“…เลือกที่จะใช้สื่อ เพื่อสร้างการ รับรู้แบรนด์ ในทำเลที่ผู้โดยสาร ทุกคนต้องเดินผ่าน เพื่อเข้ามาใช้ บริการ...” “…Brand Awareness, reminding for the next time to buy...”

45


COVER STORY

ตลาดกล้องดิจิตอลมีอัตราการเติบโตถึงขีดสุดในรอบ 5 - 6 ปี ที่ผ่านมา อันเป็นผลมาจากการรุก ตลาดอย่างหนักหน่วง หลังจากที่ค่าย “แคนนอน” ที่ส่ง “พอลล่า เทย์เลอร์” เป็นพรีเซ็นเตอร์บอกเล่าเรื่องราวภายใต้ คอนเซปต์ “My Image My Canon” โดยใช้สื่อนอกบ้านมาช่วยตอกย้ำความทรงจำให้แก่ผู้พบเห็น เห็นพอลล่า คิดถึง Canon เป็นความลงตัวของการเลือกพรีเซ็นเตอร์ และสื่อจริงๆ ผู้โดยสารคุ้นเคยกับแคนนอน และภาพของพอลล่า บริเวณ บันไดเลื่อนในสถานีรถไฟฟ้า MRT มีการใช้ Sticker Wrap บนพื้ น ขนาดใหญ่ เพื่ อ สร้ า งแรงดึ ง ดู ด และแสดงความเป็ น Exclusive ให้กับสินค้า ก่อนที่จะเพิ่มความน่าสนใจด้วยการใช้ สื่อชนิดกล่องไฟขนาด 0.66 x 0.90 เมตร ติดไล่เรียงกันลงมา จากระดับผิวข้างบันไดเลื่อนลงสู่ตัวสถานี “ผนั ง บั น ไดเลื่ อ นทั้ ง 2 ข้ า งเป็ น พื้ น ที่ ข นาดใหญ่ พื้ น ที่ ดั ง กล่ า วใช้ ส ร้ า งแบรนด์ แคนนอน เพราะไม่ ว่ า ผู้ โดยสารจะ ขึ้ น หรื อ ลงต้ อ งได้ พ บเห็ น พอลล่ า แน่ น อน” คุ ณ วริ น ทร์ ลิฟท์ จะเป็นสื่อที่ช่วยตอกย้ำความทรงจำ ตั น ติ พ งศ์ พ าณิ ช ผู้ อ ำนวยการอาวุ โ สและผู้ จั ด การทั่ ว ไป ส่วนงานคอนซูเมอร์อิมเมจจิ้ง แอนด์ อินฟอร์เมชั่น บริษัท แคนนอน มาร์เก็ตติ้ง (ไทยแลนด์) จำกัด กล่าว สื่ อ ดั ง กล่ า ว ได้ รั บ ผลตอบรั บ ดี ม ากๆ ทั้ ง ในด้ า นยอดขายและการรั บ รู้ แบรนด์ เพราะทุ ก ครั้ ง ที่ ผู้บริโภคจะซื้อกล้องหรือผลิตภัณฑ์ในกลุ่มแคนนอนก็จะนึกถึงแบรนด์แคนนอนเป็นอันดับแรกเพราะ ตัวสินค้าและผู้ซื้อมีความคุ้นเคยกันอยู่แล้ว “แคนนอนโชคดีตรงที่ว่า เราเริ่มทำโฆษณาภายในสถานีรถไฟฟ้า MRT เป็นแบรนด์แรกๆ จึงทำให้ ผู้บริโภคสนใจเพราะเป็นสื่อใหม่ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในเมืองไทย มีสีสันสวยงาม สะดุดตา นำมาสู่ ยอดขายของบริษัทที่เพิ่มมากยิ่งขึ้นด้วยครับ” ปัจจุบัน “แคนนอน” มีสินค้าที่ขายดีเป็นอันดับหนึ่งคือ “กล้องดิจิตอล” ครองส่วนแบ่งตลาดมากถึง 50% พริ้นเตอร์ 35% จัดสรรงบประมาณในการเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดสำหรับปีนี้ไว้ 200 – 300 ล้านบาท และมั่นใจว่าตลาดจะมีการขยายตัวต่อไปได้ แม้กำลังซื้อจะย่อตัวลงบ้างก็ตาม

“สร้างแบรนด์ต่อเนื่อง ให้ยั่ง ยืน”

คุณวรินทร์ ตันติพงศ์พาณิช ผู้อำนวยการอาวุโส และผู้จัดการทั่วไป ส่วนงานคอนซูเมอร์ อิมเมจจิ้ง แอนด์ อินฟอร์เมชั่น บจก. แคนนอน มาร์เก็ตติ้ง (ไทยแลนด์) Warin Tantipongpanich Senior Director and General Manager, Consumer Imaging Information Division Canon Marketing (Thailand) Co.,Ltd

“…มั่นใจว่า การตอกย้ำแบรนด์ จะสามารถสร้างความคุ้ยเคยให้ ผู้ บ ริ โ ภค นึ ก ถึ ง ทุ ก ครั้ ง ที่ จ ะ ซื้อกล้องดิจิตอล…” “…Market share of digital camera, by brand aware is lifetime marketing…”

46


“อินเทล” นับเป็นแบรนด์สินค้า ไอที ที่ มี ค วามเคลื่ อ นไหวด้ า นการ ใช้สื่อโฆษณามากที่สุดแบรนด์หนึ่ง ในช่วง 1 - 2 ปีที่ผ่านมา หลังจาก ผลสำรวจชี้ชัดว่า ผู้ซื้อคอมพิวเตอร์ ส่ ว น ใ ห ญ่ ใ ห้ ค ว า ม ส ำ คั ญ กั บ “ราคา” และ “ดี ไ ซน์ ” มากกว่ า “โปรเซสเซอร์ ” ซึ่ ง เปรี ย บเสมื อ น หั ว ใจหลั ก ของคอมพิ ว เตอร์ ในการ ช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการทำงาน ไม่ ว่ า จะเป็ น การประมวลผล, การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต และอายุ สื่อทันสมัย เหมาะกับคนทันสมัย การใช้งานของแบตเตอรี่ “บริ ษั ท ต้ อ งการสื่ อ สารให้ ผู้ บริโภคเข้าใจว่า โปรเซสเซอร์หรือ ความเป็นมืออาชีพ มีส่วนสำคัญต่อ คอมพิวเตอร์ และควรเป็นสิ่งแรกที่ ผู้ บ ริ โ ภคจะต้ อ งนึ ก ถึ ง ในการซื้ อ คอมพิวเตอร์แต่ละครั้ง ทำให้บริษัท หันมาใช้สื่อโฆษณา” คุณดรรชนีพร พฤกษ์ วั ฒ นานนท์ ผู้ จั ด การฝ่ า ย การตลาด บริ ษั ท อิ น เทล ไมโคร อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด กล่าว ปี 2550 “อิ น เทล” เปิ ด ตั ว เลือกสถานีสุขุมวิท กลุ่มเป้าหมายตรงที่มีกำลังซื้อ ภ า พ ย น ต ร์ โ ฆ ษ ณ า ชุ ด “ ชิ ป ” ถ่ า ยทอดเรื่ อ งราวการทำงานและ สมรรถนะของโปรเซสเซอร์อินเทล เผยแพร่ลงบนสื่อโทรทัศน์, สิ่งพิมพ์, สื่อออนไลน์ และสื่อนอกบ้าน โดยมุ่งหวังให้ผู้บริโภครู้จักโปรเซสเซอร์และแบรนด์ “อินเทล” จากนั้นจึงมีการเติมสื่อนอกบ้าน เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของงานโฆษณาอย่างต่อเนื่องจากการมองเห็น แนวโน้มของการใช้สื่อประเภทนี้ ในเกือบทุกประเทศ เป็นแนวทางเดียวกัน “สื่ อ โฆษณาภายในสถานี แ ละภายในขบวนรถไฟฟ้ า ใต้ ดิ น MRT เป็ น หนึ่ ง ในช่ อ งทางที่ บ ริ ษั ท ให้ความสำคัญในการสร้างการรับรู้และจดจำแบรนด์อินเทล เพราะผู้โดยสารรถไฟฟ้าส่วนใหญ่เป็นคน รุ่นใหม่ที่มีกำลังซื้อสูง, ใช้คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค และเป็นกลุ่มเป้าหมายของบริษัทที่ต้องการขยายตลาด ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องตอกย้ำแบรนด์อินเทล เพื่อให้ผู้บริโภคเน้นและมั่นใจทุกครั้งว่า ถ้าคิดจะ ซื้อคอมพิวเตอร์ ต้องมีแบรนด์อินเทลอยู่ด้วย” ค่ายนี้ เลือกสถานีรถไฟฟ้า MRT สุขุมวิทบริเวณทางเข้า – ออก เป็นพื้นที่หลักของการโฆษณา เพราะเป็นทำเลที่มีจำนวนผู้โดยสารคับคั่ง เป็นจุดที่เหมาะสำหรับการสร้างแบรนด์ “ไม่ว่าผู้โดยสารจะเข้าหรือออกสถานีสุขุมวิท ย่อมเห็นแบรนด์อินเทล และด้วยรูปแบบของสื่อที่มี แสงสีเข้ามาเกี่ยวข้องก็ทำให้โฆษณาได้รับความสนใจจากผู้บริโภคมากขึ้นเช่นกัน” ในยุคที่การแข่งขันสูงและพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การใช้สื่อโฆษณาที่ ต้องเรียกร้องความสนใจด้วยเทคนิคและทำเลที่โดดเด่น จึงจะทำให้เกิดความสำเร็จตามโจทย์ของสินค้า แต่ละชนิดได้

COVER STORY

“ย้ำคุณสมบัตด ิ ้วยแสงสีโฆษณา”

คุณดรรชนีพร พฤกษ์วัฒนานนท์ ผู้จัดการฝ่ายการตลาด บจก. อินเทล ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) Dudchaneeporn Pruckwattananon Marketing Programs Manager Intel Microelectronics (Thailand) Ltd.

“…สร้างความโดดเด่นในระดับ สายตา และเลือกจุดดักเส้นทาง ของผู้โดยสาร จะสร้างความคุ้ม ค่าของการใช้สื่อ...” “…to catching theirs eye and the prime area, successful for the advertising...”

47


COVER STORY

TRUE หรือ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เป็นแบรนด์แรกๆ ที่ใช้สื่อโฆษณาภายใน สถานีและภายในขบวนรถไฟฟ้า MRT เพราะต้องการสร้าง Impact ให้กับแบรนด์ทรู เลือกสื่อแบรนด์ภายในขบวนรถ สร้าง Impact “เมื่อ 5 ปีก่อน ทรูมีการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างสูง ไม่ว่าจะเป็นการเปลื่ยนชื่อจากเทเลคอมเอเชียมา เป็นแบรนด์ทรู คอร์ปอเรชั่น, ออเร้นจ์เปลี่ยนชื่อเป็นทรูมูฟ ซึ่งช่วงเวลานั้นเราต้องสร้างการรับรู้ให้มาก ที่สุด และ MRT ก็เป็นหนึ่งในสื่อที่บริษัทเลือกใช้” คุณรุ่งฟ้า เกียรติพจน์ ผู้อำนวยการด้านบริหาร แบรนด์และการสื่อสารการตลาด บมจ. ทรู คอร์ปอเรชั่น เล่างานความต้องการ บอกกล่าวถึงผู้บริโภค ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง จำนวนผู้ โดยสารรถไฟฟ้ า MRT มี ห นาแน่ น และเป็ นคนรุ่ น ใหม่ วั ย ทำงาน ชอบความสะดวก รวดเร็วและเป็นผู้กำหนดแนวโน้มของแฟชั่น และเปิดรับกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ซึ่งตรงกับกลุ่มเป้าหมาย ของสินค้าในกลุ่มทรู จึงใช้พื้นที่โฆษณาทั้งภายในสถานีและภายในขบวนรถไฟฟ้าตอกย้ำแบรนด์ จากประสบการณ์จริงของ “คุณรุ่งฟ้า” เธอบอกว่าการโฆษณาภายในขบวนรถไฟฟ้า MRT จะมี ความคุ้มค่ามากกว่าภายในสถานี เพราะในหนึ่งขบวนรถไฟจำนวน 3 โบกี้ มีหลายจุดที่สามารถลง โฆษณาได้หลายรูปแบบ เช่น Tube Card - จุดบริเวณเหนือศรีษะ 36 จุด, Poster 18 จุด และ Panel 5 จุด ซึ่งในแต่ละจุดสามารถสร้าง Impact เพราะสิ่งที่มีผลตอบกลับมา คือการจดจำแบรนด์สินค้าใน กลุ่มทรู “ลองสังเกตดูให้ดี ผู้โดยสารที่ขึ้นรถไฟฟ้าใต้ดิน เมื่อเดินเข้าสู่ขบวนรถจะนั่งอยู่เฉยๆ หรือมองหน้า กันไปมา แต่ถ้ามีโฆษณาอยู่ภายในขบวนรถ ก็จะทำให้โฆษณาของแบรนด์นั้นได้รับความสนใจ ยิ่งถ้า เนื้อหาโฆษณามีความเป็นครีเอทีฟ ก็จะยิ่งทำให้สินค้าหรือแบรนด์นั้นๆ ประสบความสำเร็จ ผู้บริโภค จดจำตราสินค้าและข้อความโฆษณาได้ นั่นแหละเป็นความสำเร็จของงานโฆษณา ทั้งนี้สื่อภายในสถานีและภายในขบวนรถไฟฟ้า MRT เหมาะกับการสร้างแบรนด์ และเหมาะกับการ วางโพซิชั่นของสินค้าเพื่อให้ผู้บริโภครับทราบ แต่อาจจะไม่เหมาะกับการส่งเสริมการขาย ลด แลก แจก แถม เพราะแคมเปญต้ อ งมี ก ารเปลี่ ย นแปลงอยู่ ต ลอดเวลา ซึ่ ง มี ต้ นทุ น เกิ ด ขึ้ น อี ก แต่ ถ้ า เป็ นงานที่ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายก็จะเยี่ยม เช่น การใช้ดิจิตอล”

“เลือกจุดโฆษณาในขบวนรถ”

คุณรุ่งฟ้า เกียรติพจน์ ผู้อำนวยการด้านบริหารแบรนด์และ การสื่อสารการตลาด บมจ. ทรู คอร์ปอเรชั่น Rungfa Kiatipoj Directo fo Brand Management & Marketing Communications True Corporation Public Company Limited

“…กลุ่มเป้าหมาย คนรุ่นใหม่ที่เข้า มาใช้บริการรถไฟฟ้า MRT เป็นก ลุ่มคนรุ่นใหม่ ที่ ต รงกั บ สิ นค้ า ไอ ที…” “…target customer for It business, same life style of MRT’s passenger…”

48


“ใช้สื่อนอกบ้าน เป็นสะพานดึงลูกค้าเข้าโครงการ”

Life Style ของคนเมืองจะเพิ่มยอดขาย

ให้กับค่ายนี้ Life เป็นคอนโดมิเนียมของค่าย “บริ ษั ท เอเชี่ ย น พร็ อ พเพอร์ ตี้ ดี เวลลอปเม้ นท์ จำกั ด (มหาชน)” คุณวิษณุ สุชาติล้ำพงศ์ : AP เน้ น กลุ่ ม ลู ก ค้ า คนรุ่ น ใหม่ รองกรรมการผู้อำนวยการ สายงานการตลาด Generation Y อายุ 25 - 35 ปี บมจ. เอเชี่ยนพร็อพเพอร์ตี้ ที่ ต้ อ งการที่ อ ยู่ อ าศั ย ใจกลางเมื อ ง ดีเวลลอปเม้นท์ แนวรถไฟฟ้า Visanu Suchatlumpong Chief Marketing Officer “จุดแข็งของ Life เป็นคอนโด Asian Property Development มีเนียม ที่อยู่ห่างจากสถานีรถไฟฟ้า Public Company Limited BTS และ MRT ไม่เกิน 300 เมตร มีกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนคือ คนรุ่น “…Life, เน้ นทำเลเกาะติ ด เส้ น ใหม่ ชอบเดิ น ทางด้ ว ยรถไฟฟ้ า ” ทางคมนาคมที่สะดวกในการเดิน คุ ณ วิ ษ ณุ สุ ช า ติ ล้ ำ พ ง ศ์ ทางของคนกรุง ทั้งเส้นทางรถไฟ ฟ้า BTS และ MRT การเลือกใช้ รองกรรมการผู้ อ ำนวยการสาย สื่อจึงตามมา…” งานการตลาด บริ ษั ท เอเชี่ ย น พร็อพเพอร์ตี้ฯ กล่าว “…Life, City Condominium on ดังนั้นวิธีการเข้าถึงลูกค้ากลุ่มนี้ the blue print of Mass transit จึ ง ต้ อ งให้ น้ ำ หนั ก ไปที่ ก ารโฆษณา in the big city, so advertising ภายในสถานี ร ถไฟฟ้ า ใต้ ดิ น MRT in those are suitable fit…” มากกว่ า สื่ อ โฆษณาประเภทอื่ น ๆ เช่ น บริ เ วณทางขึ้ น – ลงบั น ได เลื่ อ น ทางเดิ นซึ่ ง เป็ น ผนั ง ทางโค้ ง ของสถานี เป็ นการใช้ Sticker Wall Wrap บนเนื้อที่ขนาดใหญ่ สามารถสร้าง Big Impact ให้โครงการได้เป็น อย่างดี สำหรั บ วิ ธี ก ารเลื อ กพื้ นที่ ล งโฆษณาภายในสถานี ร ถไฟฟ้ า ผู้ บ ริ ห าร ท่านนี้บอกว่า จะมอง “ทำเล” และ “จำนวนผู้โดยสารต่อสถานี” เป็นหลัก ยิ่ ง ถ้ า สถานี ร ถไฟฟ้ า อยู่ ใกล้ กั บ โครงการของ AP อาทิ สถานี ล าดพร้ า ว, สถานี พ หลโยธิ น ก็ จ ะให้ น้ ำ หนั ก มากเป็ น พิ เศษ แต่ ห ากช่ ว งเวลานั้ น มี แคมเปญพิเศษที่เกี่ยวกับการซื้อบ้านและคอนโดฯ ออกมา ทางบริษัทก็จะ เหมาพื้ นที่ โ ฆษณาทั้ ง สถานี เพื่ อ โปรโมทแบรนด์ ผ่ า นสื่ อ โฆษณาและจั ด กิจกรรมให้ ผู้บริโภครู้จักมากยิ่งขึ้น ค่าย AP เป็นหนึ่งในกลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ที่เลือกใช้ สื่อโฆษณาบนเส้นทางของรถไฟฟ้า ใช้จุดเด่นของความสะดวกในการเดิน ทางเป็นจุดขาย และมีรายได้จากยอดขาย City Condominium ในไตรมาส 1/2551 เพิ่มขึ้นจาก 42% เป็น 51% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ของรายได้รวม

COVER STORY

“ขายทำเลแนวรถไฟฟ้า ต้องใช้สื่อเดียวกัน”

เลือกสื่อ เลือกโลเคชั่น สร้างความ

สำเร็จให้กับแบรนด์ การแข่ ง ขั น ในตลาดคอนโด มิเนียมมีอุณหภูมิสูงขึ้น เพราะผู้เล่น ในตลาดต่างใช้สื่อโฆษณาพร้อมกับ คุณโอภาส ศรีพยัคฆ์ แคมเปญลด แลก แจก แถม เสิร์ฟ กรรมการผู้จัดการ บมจ. แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ ตรงถึ ง มื อ ลู ก ค้ า จึ ง ทำให้ แ บรนด์ Sripayak LPN หรื อ บริ ษั ท แอล.พี . เอ็ น . Opas Managing Director ดี เ วลลอปเมนท์ จำกั ด (มหาชน) L.P.N. Development PCL ลุกขึ้นมาสร้างการรับรู้และตอกย้ำ แบรนด์ “…LPN ใช้กลยุทธการกำหนดเป้า “ ปี นี้ เร า มี แ ผ น ที่ จ ะ หั น ม า หมายที่ชัดเจน และเดินทางร่วม โฆษณาโครงการลุมพินีคอนโดทาวน์ ไปกั บ เส้ น ทางชี วิ ต ของคนรุ่ น ภายในสถานีและภายในขบวนรถไฟ ใหม่…” ฟ้าใต้ดินมากขึ้น โดยจะโฟกัสไปใน ทำเลที่มีโครงการตั้งอยู่” คุณโอภาส “…LPN, one of the big player ศ รี พ ยั ค ฆ์ ก ร ร ม ก า ร ผู้ จั ด ก า ร in middle city –condo, use บมจ.แอล.พี . เอ็ น .ดี เวลลอปเมนท์ Blue Ocean Strategy…” กล่าว ประสบการณ์ความสำเร็จการ โฆษณาที่รถไฟฟ้า BTS ในการเข้าถึงกลุ่มลูกค้า และสามารถเพิ่มยอดขาย ได้อย่างชัดเจน ทำให้ค่ายนี้ต่อยอดมาสู่ MRT ในหลายสถานี ปั จ จุ บั น ค่ า ยนี้ เ ลื อ กที่ จ ะวางตำแหน่ ง ของสื่ อ โฆษณาไว้ บ ริ เวณที่ มี โครงการของ LPN ตั้งอยู่ เช่นสถานีพระราม 9 โดยเน้นไปที่บันไดเลื่อน ขึ้ น - ลงโดยใช้ สื่ อ Sticker Wrap ขนาดใหญ่ เพื่ อ สร้ า งแรงดึ ง ดู ด และ แสดงความเป็น Exclusive ให้กับโครงการ และใช้สื่อชนิดกล่องไฟขนาด 0.66 x 0.90 เมตร ติดไล่เรียงกันลงมาเป็นเรื่องราว ชวนติดตาม ไม่เบื่อตา อีกจุดที่เลือกคือบริเวณทางเดินซึ่งเป็นผนังทางโค้งของสถานี เพราะ บริ เวณดั ง กล่ า วมี เนื้ อ ที่ ข นาดใหญ่ สามารถสร้ า ง Big Impact ให้ กั บ โครงการเป็นอย่างดี LPN ใช้กลยุทธ์ด้วยการแสวงหาตลาดใหม่ที่ไร้คู่แข่ง - Blue Ocean Strategy กำหนดกลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่ชัดเจน - Focus Strategy ระดับ กลาง - บน ถึงกลาง - ล่าง ซึ่งเป็นฐานลูกค้าขนาดใหญ่ รวมทั้งการสร้าง ความแตกต่างด้านสินค้าและบริการ – Differentiation ดังนั้น ความทันสมัยของการเกาะติดไปกับระบบขนส่งแห่งความทัน สมัย ย่อมส่งภาพให้แบรนด์ มีความทันสมัยไปด้วยเช่นกัน

49


COVER STORY

ไอเอ็นจี ประกันชีวิต ปูพรมสร้างการรับรู้และจดจำแบรนด์อย่างต่อ เนื่อง ด้วยการใช้สื่อโฆษณาภายในสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีสุขุมวิท บริเวณประตูทางออกซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อไปยังรถไฟฟ้า BTS เป็นทำเลของ การย้ำแบรนด์ ING สรางการรับรู้ตรงผนังทางโค้ง บริ ษั ท เซ็ นทรั ล พั ฒ นา จำกั ด (มหาชน) หรือ CPN เป็นผู้บริหาร คุณชวลิต ทองรมย์ ศูนย์การค้าชั้นนำของเมืองไทย ที่มี ผู้อำนวยการฝ่าย - การตลาด ความโดดเด่ น โดยเฉพาะการใช้ ดร.ณัฐกิตติ์ ตั้งพูลสินธนา บจก. ไอเอ็นจีประกันชีวิต สื่ อ นอกบ้ า นเพื่ อ สร้ า งการรั บ รู้ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ Chavalit Thongrom สายงานการตลาด Vice President - Marketing ชัดเจนสุดคือการใช้พื้นที่ของสถานี บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา ING Life Limited รถไฟฟ้ า MRT พหลโยธิ น ทำการ Nattakit Tangpoonsinthana ติ ด Sticker wall wrap บริ เ วณ “…ตอบโจทย์การเพิ่มความรับรู้มากขึ้น ด้วยการใช้สื่อครบ โดยเฉพาะกับ Ph.D. Executive Vice President – คนรุ่นใหม่ในเมือง…” ทางเดินที่เป็นผนังโค้ง Marketing “ C P N เ ป็ น แ บ ร น ด์ ที ่ Central Pattana Public “…increase brand awareness with marketing tool and advertising …” จดทะเบี ย นอยู ่ ใ นตลาดหลั ก ทรั พ ย์ Company Limited แห่งประเทศไทย และเป็นแบรนด์ ผู้นำศูนย์การค้าทั่วประเทศและใน กลุ่มค้าปลีก จึงมีความจำเป็นอย่าง “ … ใ ช้ ต ำ แ ห น่ ง ข อ ง ส ถ า นี ยิ่งที่ต้องเผยแพร่ชื่อเสียงของบริษัท เป็นเหมือน Landmark ที่จะคอย ให้ ส าธารณชนรั บ ทราบมากยิ่ ง ขึ้ น บอกที่ตั้ง และสร้างภาพพจน์อัน โ ด ย อ า ศั ย ห ลั ก ก า รโ ฆ ษ ณ า ” ดี…” ดร.ณั ฐ กิ ต ติ์ ตั้ ง พู ล สิ นธนา ผู้ ช่ ว ย “…positioning in each station, กรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการ Landmark for the brand …” ตลาด บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา กล่าว การใช้สื่อโฆษณาภายในสถานี รถไฟฟ้ า MRT ถื อ ว่ า คุ้ ม ค่ า เมื่ อ เลือกใช้ขนาดของพื้นที่ซึ่งมีความกว้าง ทำให้สามารถนำเสนอชิ้นงานโฆษณา บังคับสายตาไปพร้อมกับสะดุดตา กับสื่อเก๋ๆ บริเวณทางเดิน ได้อย่างโดดเด่น สะดุดใจ สะดุดตา “ประชาชนที่มาศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซ่าลาดพร้าว ส่วนใหญ่จะเดิน ทางด้ ว ยรถไฟฟ้ า ใต้ ดิ น ดั ง นั้ นการที่ เราเลื อ กลงสื่ อ โฆษณาภายในสถานี “สถานี ร ถไฟฟ้ า สุ ขุ ม วิ ท เป็ น สถานี ที่ มี ป ระชาชนเดิ นทางอย่ า งคั บ คั่ ง เพราะเป็นจุดเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้า BTS ดังนั้นไอเอ็นจีจึงใช้ Sticker Floor ดังกล่าว เป็นการตอกย้ำแบรนด์ให้อยู่ในใจของผู้บริโภคตลอดไป” ทั้งนี้การสร้างแบรนด์นั้นสำคัญ ต้องทำอย่างต่อเนื่อง โดยห้างเซ็นทรัล Wrap ปูพรมแบรนด์ไอเอ็นจีไว้บริเวณพื้นประตูทางออก เพื่อให้ประชาชน สร้างการรับรู้และจดจำแบรนด์ผ่านงานอีเว้นท์และโปรโมชั่น ซึ่งใน 1 ปี ซึ่งเดินทางมาจาก BTS และ MRT เห็นข้อความที่ตอกย้ำสโลแกน เลือกเส้น เซ็นทรัลจัดงานอีเว้นท์มากกว่า 1,000 งาน ซึ่งถือเป็นวิธีการที่ดีที่สุดในยุคนี้ ทางสู่อนาคตที่ง่ายกว่า” คุณชวลิต ทองรมย์ ผู้อำนวยการฝ่ายการตลาด เพราะนอกจากแบรนด์ เซ็ นทรั ล จะเป็ นที่ จ ดจำแล้ ว ยั ง ดึ ง ลู ก ค้ า ให้ เข้ า มา บริษัท ไอเอ็นจีประกันชีวิต จำกัด กล่าว จับจ่ายใช้สอยที่ห้างเซ็นทรัลมากขึ้นอีกด้วย นอกจากการสร้างภาพพจน์ที่ดีแล้ว ความสำคัญอีกประการหนึ่งของ ซีพีเอ็น ทำหน้าที่บริหารศูนย์การค้า ของค่ายเซ็นทรัล ที่กระจายตัวไป ธุรกิจประกันชีวิตคือ เป็นการช่วยตัวแทนประกันชีวิตให้ขายกรมธรรม์ได้มาก ทั่วประเทศ การสร้างแบรนด์ จึงส่งผลถึงภาพพจน์ที่ดีในทุกพื้นที่ที่โครงการ ขึ้ น เพราะผู้ บ ริ โ ภครู้ จั ก และมั่ น ใจแบรนด์ ไ อเอ็ น จี ซึ่ ง ตอบโจทย์ ค วาม จะขยายสาขาออกไป เสมือนวงรัศมีแห่งภาพพจน์ที่ดี ของการรับรู้ที่ผู้บริโภค ต้ อ งการในกลยุ ท ธ์ ห ลั ก ที่ อ งค์ ก รแห่ ง นี้ ต้ อ งการเพิ่ ม ยอดการรั บ รู้ แบรนด์ มองกลับเข้ามา และกลายเป็นความยั่งยืน มั่นคงของแบรนด์ที่มิอาจประเมิน ไอเอ็นจีประกันชีวิต ให้เพิ่มขึ้นสู่ระดับ 60% ภายในระยะเวลา 12 - 18 ค่าได้ เดือน จากเดิมที่ผลสำรวจพบว่าประชาชนรู้จักเพียง 20%

“ตอกย้ำแบรนด์ในแบบเฉพาะตัว”

50

“ขอเพิ่มการรับรู้

ด้วยสื่อนอกบ้าน”


“ใช้สีเป็นสัญลักษณ์”

ใช้สื่อเชิญชวนลูกค้าเข้าบ้านได้อย่าง

แยบยล “สถานีรถไฟฟ้า MRT สุทธิสาร เปรียบเสมือนหน้าบ้านของเมืองไทย ประกั นชี วิ ต ดั ง นั้ น เราต้ อ งตกแต่ ง คุณพิตราภรณ์ บุณยรัตพันธุ์ หน้ า บ้ า นของเราให้ ส วย” คุ ณ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด พิ ต ราภรณ์ บุ ณ ยรั ต พั น ธุ์ ผู้ ช่ ว ย Phittraporn Punyaratabandhu กรรมการผู้จัดการ บริษัท เมืองไทย First Senior Vice President ประกันชีวิต จำกัด กล่าวถึงสาเหตุที่ Muang Thai Life Assurance Co.,Ltd ทำให้ “เมื อ งไทยประกั น ชี วิ ต ” ตั ด สิ น ใจที่ จ ะหั น มาสร้ า งการรั บ รู้ และตอกย้ ำ แบรนด์ ภ ายในสถานี “ …. การเดิ น ทางด้ ว ยระบบ รถไฟฟ้าใต้ดิน ขนส่งแบบใหม่ที่ทันสมัย เหมาะ ส ำ ห รั บ รู ป แ บ บ ก า ร ใ ช้ สื่ อ กั บ แ น ว ท า ง ก า ร น ำ เ ส น อ โฆษณาของค่ายนี้ จะมีตั้งแต่การติด ภาพพจน์ ข องคนรุ่ น ใหม่ จึ ง Sticker Wrap ขนาดใหญ่ บ ริ เวณ เหมาะสมที่ จ ะถู ก เลื อ ก กั บ การ โฆษณาในรถไฟฟ้า MRT…” กำแพงทางขึ้ น - ลงบั น ไดเลื่ อ น, ผนังโค้งหลังลงมาจากบันไดเลื่อน, “…The same modern concept ประตูทางเข้า – ออกในช่องคืนบัตร o f b u s i n e s s i s r e l i a b l e โดยสาร โดยใช้ “สี ช มพู ” ซึ่ ง เป็ น together…” โทนสี ห ลั ก สร้ า งความเด่ น ให้ กั บ ชิ้นงานโฆษณา “พื้ น ที่ ภ ายในสถานี ร ถไฟฟ้ า MRT มีขนาดใหญ่ จึงทำให้เมืองไทยประกันชีวิตสามารถนำเสนอชิ้นงาน ที่สวยและสะดุดตา” สำหรับเนื้อความในการนำเสนอ จะสื่อถึงความมั่นคงของบริษัท โดยมี รางวัลที่เมืองไทยประกันชีวิตได้รับมา เป็นเครื่องแสดงถึงการบริหารงานที่ ซื่อตรง มั่นคงทางการเงินมายาวนานกว่า 58 ปี อาทิ รางวัลบริษัทประกันชีวิตที่มีการบริหารงานดีเด่น อันดับ 1 จาก กรมการประกั น ภั ย กระทรวงพาณิ ช ย์ , รางวั ล คุ ณ ภาพ Q-Mark, รางวั ล Superbrands เป็นต้น นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารนำศิ ล ปิ น AF 4 คนคื อ บอย - พิ ษ ณุ นิ่ ม สกุ ล , อ๊อฟ – ศุภณัฐ เฉลิมชัยเจริญกิจ, ลูกโป่ง - ภคมน บุณยะภูติ และพัดชา เอนกอายุวัฒน เป็นพรีเซ็นเตอร์เพื่อบอกเล่าถึงความเป็นแบรนด์ของคน หัวคิดทันสมัย มาไว้ที่บริเวณเสาภายในช่องจำหน่ายบัตรโดยสารและบริเวณ บันไดเลื่อนรถไฟฟ้า MRT ปัจจุบันนอกจากสถานีรถไฟฟ้า MRT สุทธิสาร ที่เมืองไทยประกันชีวิต เลือกเป็นทำเลการใช้สื่อโฆษณาแล้ว ยังมีสถานีศูนย์การประชุมแห่งชาติ สิริกิติ์ และสถานีสามย่านอีกด้วย

COVER STORY

“ครบมุมของการใช้สื่อ ที่ครอบคลุม”

เลือกสื่อ MRT เจาะกลุ่มลูกค้าในเมือง

“ไทยประกั น ชี วิ ต ” นั บ เป็ น บริษัทประกันชีวิตสายเลือดไทย ที่มี การใช้สื่อโฆษณาเพื่อสร้างการรับรู้ คุณดวงเดือน คงคาสวัสดิ์ และจดจำแบรนด์ ใ นทุ ก ช่ อ งทาง ผู้จัดการสายงาน สายงานสื่อสารองค์กร เห็ น ได้ จ ากการเผยแพร่ ภ าพยนตร์ ไทยประกันชีวิต โฆษณาที่ เ กิ ด ขึ้ น ในสื่ อ หลั ก และ บจก. Dunangduen Kongkasawad สื่ อ รอง รวมทั้ ง การปู พ รมสร้ า ง Assistant Vice President; Corporate Communications แบรนด์ ภ ายในสถานี แ ละภายใน Department ขบวนรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT Thai Life Insurance Co.,Ltd. “คุ ณดวงเดื อ น คงคาสวั ส ดิ์ ” ผู้ จั ด การสายงาน สายงานสื่ อ สาร “ . . . เ ลื อ ก ใ ช้ สื่ อ น อ ก บ้ า น องค์ ก ร บริ ษั ท ไทยประกั น ชี วิ ต เพื่ อ ครบครั น การใช้ สื่ อ และ จำกัด กล่าวว่า สาเหตุที่ไทยประกัน ความเป็ น สื่ อ ใหม่ ที่ มี แนวโน้ ม ชีวิตเลือกโฆษณาในสื่อสถานีรถไฟ ว่ า จะมี ป ริ ม าณของผู้ โ ดยสาร ฟ้ า ใต้ ดิ น เนื่ อ งจากเป็ น สื่ อ ใหม่ ที่ มี เพิ่มขึ้น…” ความน่าสนใจ ซึ่งในต่างประเทศถือ เป็ น สื่ อ ที่ ได้ รั บ ความนิ ย มค่ อ นข้ า ง “…out of home media, the one for all of advertising area, มาก เพราะรถไฟใต้ดินเป็นพาหนะที่ coverage the life style of the คนเมืองนิยมโดยสาร ประกอบกับ passenger...” ต้องการขยายช่องทางโฆษณาผ่าน สื่ อ ต่ า งๆ ให้ ค รอบคลุ ม นอกเหนื อ จากสื่อโทรทัศน์ วิทยุ หรือสิ่งพิมพ์ การโฆษณาผ่านสื่อนี้จึงเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายลูกค้าคนเมืองได้เป็นอย่างดี ขณะเดียวกันแนวโน้มปริมาณผู้โดยสารของรถไฟฟ้าใต้ดินมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง ที่สำคัญสถานีศูนย์วัฒนธรรมที่บริษัทมีสื่อโฆษณาอยู่ ตั้งอยู่ ใกล้สำนักงานใหญ่ ส่งผลให้การสร้างแบรนด์มีความต่อเนื่องและสร้างความ เป็นเจ้าของสถานีได้ค่อนข้างดี ปัจจุบันบริษัทมีการโฆษณาในสถานีศูนย์วัฒนธรรมเป็นหลัก โดยเป็นสื่อ โฆษณาประเภท Light Box, Wall Wrap, Bulkhead รวมถึงกระจายตาม สถานีที่มี Traffic ค่อนข้างหนาแน่น เช่น อโศก สุทธิสาร สีลม เป็นต้น ทั้งนี้การโฆษณาในสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ไม่เพียงแต่เป็นการสร้างการรับรู้ แบรนด์เท่านั้น หากแต่เป็นการตอกย้ำแนวคิดในการดำเนินธุรกิจของไทย ประกันชีวิต คือ การมุ่งดูแลชีวิตคนไทย เห็นได้จากภาพ และข้อความที่ สื่อถึงการดูแล ขณะเดียวกันยังต้องเป็นโฆษณาที่สามารถสร้างอารมณ์ร่วม กับผู้บริโภค หรือสร้าง Emotional ได้

51


COVER STORY

CPF สินค้าในกลุ่มการเกษตรอาหารที่มีความผูกพันธ์กับวิถีชีวิตคนไทย มาช้านาน จึงไม่แปลกที่ในแต่ละปี CPF จะทุ่มงบประมาณหลายร้อยล้าน บาทเพื่อโฆษณากับผลิตภัณฑ์อาหาร คุ ณ สุ พั ฒ น์ ศ รี ธ น า ธ ร รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส ด้าน การตลาด บริ ษั ท เจริ ญ โภคภั ณฑ์ อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือ CPF กล่ า วถึ ง แผนงานในปี นี้ ว่ า บริ ษั ท จั ด สรรงบประมาณกว่ า 150 ล้ า น บ า ท เ พื่ อ ใ ช้ ใ น ก า รโ ฆ ษ ณ า ประชาสัมพันธ์สินค้า ให้เป็นที่รู้จัก มากยิ่งขึ้น โดยกระจายให้น้ำหนักไป ที่ สื่ อ โทรทั ศ น์ , สื่ อ วิ ท ยุ , สิ่ ง พิ ม พ์ และสื่ อ นอกบ้ า น โดยจะหั น มา พิ จ ารณาการโฆษณากั บ รถไฟฟ้ า คุณสุพัฒน์ ศรีธนาธร รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส MRT หลังจากที่เคย ประสบความ ด้านการตลาด สำเร็ จ อย่ า งยิ่ ง กั บ การโฆษณา บมจ. เจริญโภคภัณฑ์อาหาร (CPF) ผลิ ต ภั ณฑ์ บ นขบวนรถไฟฟ้ า BTS Suphat Sritanatorn Senior Vice President Marketing มาแล้ว Charoen Pokphand Foods Plc. “…ใช้ สื่ อ นอกบ้ า น สร้ า งแบรนด์ ความจดจำให้ สิ นค้ า อย่ า งใกล้ ชิ ด และไม่ ห ยุ ด ที่ จ ะพั ฒ นาสิ นค้ า ใหม่ ๆ ออกสู่ตลาดอย่างสม่ำเสมอ…” โฆษณาบน BTS ที่จะลงสู่ MRT “…out of home media, closely to brand recognitions and spread to new generation…” “เรากำลั ง จะต่ อ ยอดความ สำเร็ จ จากการลงสื่ อ โฆษณา BTS ไปสู่ MRT เพราะกลุ่ ม เป้ า หมายของสิ น ค้ า ในเครื อ CPF ไม่ ว่ า จะเป็ น อาหารสด, อาหารว่าง, อาหารพร้อมรับประทานจะเป็นคนรุ่นใหม่ นักเรียน นักศึกษา คนวัยทำงาน ที่ชื่นชอบความสะดวกและรวดเร็ว ซึ่งจะเป็นการ ช่วยขยายกลุ่มเป้าหมายให้กับสินค้าได้เพิ่มมากขึ้น” ปัจจัยในการเลือกพื้นที่ลงโฆษณาในสื่อประเภทนี้ ผู้บริหารค่ายนี้จะมอง ความหนาแน่นของจำนวนผู้โดยสารในแต่ละสถานีเป็นหลัก เพราะจะทำให้ การใช้สื่อโฆษณามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น “สิ่งที่เราคาดหวังจากการลงสื่อโฆษณาใน BTS และ MRT คือ ต้องการ ทำให้แบรนด์ CPF เป็นที่จดจำมากกว่าที่มุ่งยอดขาย” แนวโน้มของธุรกิจอาหารแช่แข็งในปี 2552 จะมีอัตราการเติบโตอย่าง ต่อเนื่อง เพราะพฤติกรรมของผู้บริโภคยุคใหม่มีไลฟ์สไตล์ที่รีบเร่ง ต้องการ ความสะดวก รวดเร็ว จึงเป็นองค์ประกอบสำคัญ ผลักดันยังคงมีอัตราการ เติบโตเพิ่มสูงขึ้นต่อไป อย่างไรก็ตาม แม้ว่าวันนี้ความนิยมของสินค้าค่าย CPF จะวิ่งมาอย่าง รวดเร็ว แต่คุณสุพัฒน์กล่าวว่า บริษัทก็จะไม่หยุดนิ่ง โดยจะเตรียมเมนูใหม่ๆ ลงสู่ตลาด พร้อมกับใช้สื่อโฆษณาในรูปแบบใหม่ๆ เพื่อเข้าถึงกลุ่มลูกค้าใหม่ที่ จะเกิดขึ้นได้อย่างสม่ำเสมอ

“ล้อตามพฤติกรรมของผู้บริโภค”

52

โฆษณา “แบรนด์” ภายในสถานี รถไฟฟ้า MRT สินค้า “แบรนด์” มีการกระจาย กลุ่มเป้าหมาย ปรับภาพลักษณ์ จาก การเป็ น ผลิ ต ภั ณฑ์ เพื่ อ ผู้ สู ง วั ย ให้ เป็นเรื่องของคนทุกเพศ ทุกวัยได้ คุณตุลย์ วงศ์ศุภสวัสดิ์ หนึ่งในกลยุทธ์ คือการเลือกนำ ผู้จัดการทั่วไป “ โต๋ – ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เว ช สุ ภ า พ ร ” (การจัดการธุรกิจและการตลาด) บจก. เซเรบอส (ประเทศไทย) นั ก ร้ อ งชั้ นนำขวั ญ ใจวั ย รุ่ น มาเป็ น Tul Wongsuphasawat พรีเซ็นเตอร์ โดยมุ่งหวังที่จะสร้าง General Manager (Marketing & Business Management) ภาพลักษณ์ของสินค้าให้มีความทัน Cerebos Thailand Co.,Ltd สมั ย และเป็ นการขยายตลาดไปสู่ คนรุ่ น ใหม่ ควบคู่ กั บ การใช้ สื่ อ “…การสร้ า งแบรนด์ ข องสิ น ค้ า โฆษณาที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ต้ องทำอย่างต่อเนื่อง และใช้พื้นที่ คุ ณ ตุ ล ย์ ว ง ศ์ ศุ ภ ส วั ส ดิ์ ที่เด่นในการโฆษณา ด้วยพรีเซนต์ ผู้ จั ด การทั่ ว ไป (การจั ด การธุ ร กิ จ เตอร์คนดัง จะสอดประสานกันจน และการตลาด) บริ ษั ท เซเรบอส บรรลุเป้าหมายได้…” (ประเทศไทย) จำกั ด กล่ า วว่ า “...brand building, needs แบรนด์ ซุ ป ไก่ ส กั ด ประสบความ สำเร็ จ อย่ า งสู ง กั บ การนำ “โต๋ ” continuously and directly to its target…” มาเป็นพรีเซ็นเตอร์ เพราะผู้บริโภค ทุ ก เพศ ทุ ก วั ย ให้ ก ารตอบรั บ เป็ น อย่างดี ดังนั้นในปีนี้แผนการโฆษณาโดยจะหันมาสร้างการรับรู้และจดจำ แบรนด์ใน MRT ควบคู่กับการใช้สื่อหลักและการจัดกิจกรรมทางการตลาด “ผมว่ า คุ้ ม ค่ า มากๆ กั บ การใช้ สื่ อ โฆษณาภายในสถานี ร ถไฟฟ้ า MRT เพราะมองการเปรียบเทียบด้านงบประมาณค่าใช้จ่ายเมื่อเทียบกับการลงสื่อ ประเภทอื่นๆ แล้วนับว่าคุ้มค่ากับการเข้าถึงคนรุ่นใหม่ที่มีกำลังซื้อครับ” ปัจจุบัน “แบรนด์” เลือกสถานีพหลโยธินบริเวณชานชาลา 1 และ 2 ของรถไฟฟ้า MRT เป็นทำเลในการสร้างการรับรู้และจดจำแบรนด์ โดยใช้ สีเขียวซึ่งเป็นสีของผลิตภัณฑ์สร้างความโดดเด่นให้กับชิ้นงานโฆษณา โดยมี คำกล่าวของ “โต๋” หยิบยกขึ้นมาเพื่อสื่อสารไปยังผู้บริโภคว่า “แบรนด์ซุปไก่ สกัด”เป็นผลิตภัณฑ์ที่ดี มีประโยชน์ต่อสุขภาพ “นี่แหละเหตุผลที่ทำให้ โต๋เลือกแบรนด์” คำพูดของโต๋ที่เผยแพร่บนชิ้น งานโฆษณามีส่วนสำคัญที่ทำให้คนรุ่นใหม่หันมาดื่มแบรนด์ อย่ า งไรก็ ต าม ผู้ บ ริ ห ารค่ า ยนี้ แนะว่ า สิ่ ง สำคั ญ ในการโฆษณาสิ นค้ า ภายในสถานีรถไฟฟ้า MRT ให้ประสบความสำเร็จคือ ต้องทำอย่างต่อเนื่อง และรู ป แบบของโฆษณาจะต้ อ ง “เด่ น ” และ “สะดุ ด ตา” รวมทั้ ง การ วางตำแหน่ ง โฆษณาบนพื้ น ที่ ส ถานี ต้ อ งอยู่ ใ นจุ ด ที่ น่ า สนใจ จึ ง จะเกิ ด ประโยชน์สูงสุด

“ชิ้นงานเด่นและใช้คนดังพูด”


COVER STORY

“เข้าถึงนักลงทุน (รุ่นใหม่)

“การเดินทางสะดวก หนุนงานแสดงสินค้า” ด้วยรถไฟฟ้า”

ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่ ง ประเทศ ไทย กำลังสื่อสารกับนักลงทุน (คน รุ่นใหม่) ให้มาสนใจเรื่องการเงินโดย จั บ ไลฟ์ ส ไตล์ วิ ถี ชี วิ ต คนเมื อ งนำ เสนอ เป็ นงานกิ จ กรรม และงาน สัมมนา ผ่านสื่อโฆษณาบนรถไฟฟ้า MRT เพราะเชื่ อ ว่ า นี่ คื อ ช่ อ งทาง ใหม่ของการเพิ่มจำนวนนักลงทุน “ขบวนรถไฟฟ้ า ในแต่ล ะเที่ ย ว การเดิ นทางสามารถรั บ ผู้ โดยสาร คราวละหลายร้อยคน และนับหลาย คุณคุณนพเก้า สุจริตกุล แสนต่อวัน ดังนั้นตลาดหลักทรัพย์ฯ ผู้อำนวยการ ฝ่ายการตลาดสินค้า จึ ง เห็ น ว่ า การใช้ สื่ อ ประเภทนี้ และผลิตภัณฑ์ เป็นการสร้างการรับรู้ได้ดี และจาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การสำรวจผู้ ที่ เ ข้ า มาร่ ว มงานที่ MS.NOPPAKAO SUCHARITAKUL ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ จั ด ว่ า ทราบข่ า ว Head Product Marketing การจั ด งานจากที่ ไหน คำตอบที่ ได้ Department รั บ คื อ จากรถไฟฟ้ า MRT” คุ ณ The Stock Exchange of Thailand นพเก้า สุจริตกุล ผู้อำนวยการ ฝ่าย การตลาดสิ น ค้ า และผลิ ต ภั ณ ฑ์ “…เส้ น ทางรถไฟฟ้ า MRT เสิ ร์ ฟ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่ ง ประเทศไทย ลูกค้าที่จะเข้าไปร่วมงานกิจกรรมต่างๆ ได้ดี…” กล่าว เส้นทางการเดินรถไฟฟ้า MRT “…MRT, channel to serve for the ผ่านเข้าไปในย่านธุรกิจ โดยมีกลุ่ม event marketing at its route…” เป้ า หมายคื อ คนรุ่ น ใหม่ วั ย ทำงาน ชอบความสะดวก รวดเร็ ว มี เงิ น ออม เป็นกลุ่มคนเป้าหมายของตลาดหลักทรัพย์ฯ สำหรับกิจกรรม SET IN THE CITY รวมทั้ ง การโปรโมทผลิ ต ภั ณฑ์ ท างการเงิ น รู ป แบบใหม่ ๆ เช่ น โกลด์ฟิวเจอร์สเพื่อให้ประชาชนทั่วไปได้รู้จัก และหากมีครบทั้งภาพและเสียง ยิ่งจะเรียกความสนใจจากผู้บริโภคได้ และเป็นผลดีต่อการจดจำตราสินค้า อีกด้วย

คุณมองเห็นอะไรภายในตัวรถไฟฟ้า MRT บ้าง

งานแสดงสินค้าด้านเทคโนโลยี และจำหน่ า ยสิ น ค้ า ไอที ที่ ยิ่ ง ใหญ่ ระดับประเทศ ที่หลายคนรู้จัก คือ “งานคอมมาร์ต” เพราะเป็น “เวที ทอง” ให้ กั บ ผู้ ซื้ อ เดิ น ทางมาพบผู้ ขายได้อย่างสะดวก และกลายเป็น สัญลักษณ์ประจำไปแล้ว คุ ณ ปฐม อิ นทโรดม ผู้ จั ด การ ทั่วไป บริษัท เอ.อาร์.อินฟอร์เมชั่น แอนด์ พั บ ลิ เคชั น จำกั ด ในฐานะ ผู้จัดงานคอมมาร์ตฯ กล่าวว่า ความ สำเร็ จ ของงานส่ ว นหนึ่ ง เกิ ด จาก คุณปฐม อินทโรดม การเลือกใช้สถานที่ ที่สะดวก คนมา ผู้จัดการทั่วไป บจก. เอ.อาร์.อินฟอร์เมชัน เดินงานไม่ต้องคิดมาก กังวลเรื่องที่ แอนด์ พับลิเคชัน จอดรถ คื อ การใช้ บ ริ ก ารของรถ Pathom Indarodom ไฟฟ้าใต้ดิน MRT General Manger of ARIP AR Information & Publication “งานคอมมาร์ตเป็นงานแสดง Co, Ltd. ความก้าวล้ำทางเทคโนโลยี ดังนั้น การเลือกใช้สื่อโฆษณา จึงต้องแสดง “…โฆษณาบนเส้ น ทางรถไฟฟ้ า ให้ เ ห็ น ถึ ง บุ ค คลิ ก ความทั น สมั ย MRT ช่วยเสริมงานกิจกรรมทางการ ตลาดได้ ดี เมื่ อ อยู่ บ นเส้ น ทาง ตอบโจทย์ ค วามต้ อ งการของการ เดียวกัน…” จัดงาน และผู้บริโภคส่วนใหญ่ก็ต้อง ชอบสื่อโฆษณานั้นด้วย ยอมรับครับ “…routing of MRT, supporting ว่า สิ่งที่ตั้งใจให้มาบรรจบรวมกันคือ every event marketing...” การเดิ น ทางมางานที่ เ ป็ น ความ ทันสมัย บวกกับสินค้าไอที จึงหนุน ให้มีผู้มาร่วมงานทะลุถึงหลักล้านคนไปแล้วครับ” งานคอมมาร์ ต มาร์ ต เอ็ ก ซ์ เจน ไทยแลนด์ 2009” ปี ล่ า สุ ด ภายใต้ แนวคิ ด “ก้ า วล้ ำ สู่ มิ ติ ใ หม่ แ ห่ ง เทคโนโลยี ” ที่ เ พิ่ ง ปิ ด ฉากไปเมื่ อ วั น ที่ 5 กรกฏาคม 2552 ที่ผ่านมา ใช้งบประมาณกว่า 30 - 50 ล้านบาทโปรโมท งาน และมีรายการจับคู่ค้าขายกันในระดับที่น่าพอใจ คุณปฐม วิเคราะห์แนวโน้มเทคโนโลยีแห่งปีที่กำลังเปลี่ยนแปลงว่า มี 5 กลุ่ม ได้แก่ 1. เทคโนโลยี จ อภาพที่ เ ปลี่ ย นจากเทคโนโลยี LCD (Liquid Crystal Display) ไปสู่ LED (Light Emitting Diode) ซึ่งจะเพิ่มความคมชัดของ ภาพ และประหยัดพลังงาน 2. เทคโนโลยีฮาร์ดดิสก์ ที่กำลังก้าวเข้าไปสู่ SSD (Solid-State Drive) ซึ่ง จะช่วยในเรื่องการอ่านข้อมูลได้รวดเร็วมากขึ้น 3. Projector กำลังเปลี่ยนแปลงไปในรูปแบบที่เล็กกะทัดรัด และใช้งานง่าย มากขึ้น 4. Printer เพิ่มฟังก์ชั่น Wireless ให้เป็นมาตรฐาน เพื่อความสะดวกในการ เชื่อมต่อ และไม่จำกัดพื้นที่ใช้งาน 5. กล้ อ งดิ จิ ต อล SLR (Single-lens Reflex) สายพั นธุ์ ใหม่ ที่ จ ะมี ค วาม กะทัดรัด และสะดวกต่อการใช้งานมากขึ้น ค่ายนี้หยิบใช้สื่อโฆษณากับรถไฟฟ้า MRT ด้วยสื่อประเภทการให้ความรู้ - Information Booth ในจอ LCD ลั ก ษณะแนวนอน ขนาด 46 นิ้ ว ใน ทุกสถานี เพราะเป็นเส้นทางหลักของการเดินทางมาร่วมชมงาน   53


COVER STORY

ด้วยทำเลที่ตั้งของโรงภาพยนตร์ในเครือเมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ ที่อยู่เกาะติด ไปใกล้ กั บ สถานี ร ถไฟฟ้ า MRT รวมทั้ ง การเลื อ กโปรโมทภาพยนตร์ ข อง ค่ายหนังภายในสถานีและภายในขบวนรถอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้ในแต่ละวัน โรงภาพยนตร์ แ ห่ ง นี้ ไ ด้ ต้ อ นรั บ คอหนั ง ที่ เ ดิ น ทางด้ ว ยรถไฟฟ้ า MRT อย่างไม่ขาดสาย คุ ณ อ น วั ช อ ง ค์ ว า สิ ฏ ฐ์ รองประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร บริ ษั ท เมเจอร์ ซี นี เ พล็ ก ซ์ กรุ้ ป จ ำ กั ด ( ม ห า ช น ) - M A J O R ก ล่ า ว ว่ า โ ร ง ภ า พ ย น ต ร์ ใ น เครือเมเจอร์ได้รับประโยชน์อย่างยิ่ง จากการที่ ค่ า ยหนั ง ชั้ น นำหั น มา โฆษณาประชาสั ม พั นธ์ ภ าพยนตร์ คุณอนวัช องค์วาสิฏฐ์ ภายในสถานีและภายในขบวนรถไฟ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฟ้ า M R T เพ ร า ะ เท่ า ที่ สั ง เ ก ต ธุรกิจโรงภาพยนตร์ พฤติกรรมของผู้โดยสารหลังจากที่ Anavach Ongvasith เข้ามาในขบวนรถ ก็จะไม่มีอะไรทำ Chief Cinema Office แต่ถ้ามีโฆษณาหนังติดอยู่ก็จะทำให้ Major Cineplex Group Plc. หนังเรื่องนั้นได้รับความสนใจ และ “…โฆษณาภาพยนตร์ มีส่วนทำให้ มี โ อกาสสู ง ที่ จ ะลงรถไฟฟ้ า แล้ ว หนังทำเงิน จากความสะดวกของเส้น เดิ น ทางเข้ า มาซื้ อ ตั๋ ว หนั ง ที่ โ รง ทางรถไฟฟ้า…” ภาพยนตร์ในเครือเมเจอร์ที่ปัจจุบัน “…movies advertising needs to มีครอบคลุมทุกทำเล support cinema business…” “จากนี้ ไ ป สื่ อ โฆษณาภายใน ส ถ า นี แ ล ะ ภ า ย ใ น ขบวนรถไฟฟ้ า จะได้ รับความนิยมจากค่าย หนั ง เพราะคนที่ เดิ น ทางด้วยรถไฟฟ้าส่วน ใหญ่เป็นคนวัยทำงาน มี ก ำ ลั ง ซื้ อ สู ง แ ล ะ เวลาว่ า งชอบดู ห นั ง ท่อลำเลียงจากงานโฆษณาหนัง แล้วนำไปสู่โรงหนังที่ ดั ง นั้ น ห า ก ใ ช้ สื่ อ รออยู่ปลายทางของสถานี โฆษณาที่ เ ข้ า ถึ ง คน กลุ่มนี้ก็จะทำให้รายได้ของหนังเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน” อย่ า งไรก็ ต าม ผู้ บ ริ ห ารค่ า ยนี้ ตั้ ง ข้ อ สั ง เกตว่ า สาเหตุ ห นึ่ ง ที่ ท ำให้ ภาพยนตร์ไทยไม่นิยมลงโฆษณากับสื่อนอกบ้านประเภทนี้มากนัก เพราะ อาจมองเห็นว่า กลุ่มใหญ่ของผู้โดยสาร เป็นคอหนังจากต่างประเทศมากกว่า ภาพยนตร์ไทย แต่ถ้าเมื่อไรที่ส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าเกิดขึ้นและสร้างเสร็จ สมบูรณ์แบบก็มีแนวโน้มสูงว่า อาจถึงคิวของภาพยนตร์ไทยจะมาโปรโมท ในสื่อดังกล่าวต่อไป “ผมมองว่าสาเหตุที่ทำให้ภาพยนตร์ไทยไม่นิยมลงโฆษณาภายในสถานี รถไฟฟ้าใต้ดิน ก็เพราะว่า รถไฟฟ้าใต้ดินวิ่งอยู่ใจกลางเมืองย่านธุรกิจ ขณะที่ หนังไทยคนต่างจังหวัดจะชอบดู ดังนั้นเส้นทางวิ่งมาจากชานเมือง คราวนั้น คงถึงคิวโฆษณาหนังไทยเพิ่มมากขึ้นแน่ครับ”

คุ ณ เฮนรี่ ทราน General Manager บริ ษั ท ทเวนตี้ เซ็ น จู รี่ ฟ็ อ กซ์ จำกั ด มี ป ระสบการณ์ จ าก โลกเซลลูลอยส์ - ธุรกิจภาพยนตร์ กว่ า 20 ปี ม องว่ า วิ ธี ก ารโปรโมท และกระตุ้ น ให้ ค นอยากมาดู ห นั ง ในโรงภาพยนตร์ ที่ ไ ด้ ผ ลคื อ การ ใช้ สื่ อ นอกบ้ า น เพราะสามารถ สร้างการรับรู้ได้อย่างรวดเร็วและ เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายทุกเพศ ทุกวัย “ผมมองว่าสื่อนอกบ้านประเภท ป้ า ยบิ ล บอร์ ด รวมทั้ ง สื่ อ รถไฟฟ้ า คุณเฮนรี่ ทราน เป็นสื่อที่ทรงพลังอิทธิพลต่อการรับรู้ General Manager บจก. ทเวนตี้ เซ็นจูรี่ ฟ็อกซ์ ข อ ง ผู้ บ ริ โภ ค เพ ร า ะ ส า ม า ร ถ Henry Tran โน้ ม น้ า วให้ ค นที่ เ ดิ น ทางด้ ว ยรถ General Manager ไฟฟ้าอยากจะมาดูหนัง เพราะอย่า Warner Bros. (F.E.), Inc ลื ม ว่ า หนั ง แต่ ล ะเรื่ อ งที่ เข้ า ฉายใน “…ความแรงของหนัง ขึ้นกับแรง โรงภาพยนตร์ จ ะมาเร็ ว ไปเร็ ว โปรโมท ของแต่ละค่ายด้วย…” ดั ง นั้ น สื่ อ โฆษณาจึ ง ต้ อ งสร้ า งการ รั บ รู้ ให้ เร็ ว เพื่ อ กระตุ้ น ให้ ค นอยาก “…movies Promotion, push sales ออกไปดูหนัง” itself…” แ ผ น ง า น ปี 2 5 5 2 ค่ า ย นี้ วางแผนสำหรับการนำเข้าภาพยนตร์ต่างประเทศ ที่เข้ามาฉายและจำหน่าย ในเมืองไทย ประมาณกว่า 20 เรื่อง มีแผนงานที่จะใช้โดยจะใช้พื้นที่ของ สถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT โปรโมท “ในต่างประเทศการโฆษณาหนังภายในสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินมีมานานแล้ว ซึ่งประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก เพราะทำให้ประชาชนที่เดินทางด้วย รถไฟฟ้าเห็นโฆษณาแล้วอยากดูหนัง สำหรับประเทศไทยหลังจากที่เราใช้ สื่อ ประเภทนี้พบว่า สามารถทำให้คนหันมาดูหนังในเรื่องที่เราโปรโมทมากขึ้น” การใช้สื่อเคลื่อนไหว เช่น จอ LCD จะยิ่งเพิ่มความสนใจ โดยเฉพาะ ลูกค้าอย่างค่ายหนัง ที่ขยับตัวรอกันอยู่แล้ว

“โรงหนัง “หนัง มาเร็ว ไปเร็ว

รับอานิสงค์สื่อรถไฟฟ้า”

54

ต้องกระตุ้นให้อยากดูในทันที”

หนังใหม่เข้าฉายในโรง ผู้โดยสารเป็นกลุ่มคอหนังอยู่แล้ว


COVER STORY

“ใช้สถานีเป็นความจดจำควบคู่กัน”

“บางซื่ อ ” เป็ น สถานี ต้ น ทาง ของรถไฟฟ้ า MRT และเป็ น เวที ของการสร้ า งแบรนด์ ข องเครื อ ซิ เ ม น ต์ ไ ท ย ห รื อ S C G - ก ลุ่ ม อุ ต สาหกรรม คนไทยที่ ใหญ่ ที่ สุ ด ของประเทศไทย ผู้ โ ดยสารเริ่ ม คุ้ น เคยกลายเป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ เมื่ อ ถึ ง สถานีปลายทางนี้ เพราะจะพบเห็น พื้ น ที่ บริ เ วณทั้ ง 2 ฝั่ ง ของบั น ได เลื่อนของแบรนด์นี้อย่างชัดเจน “บางซื่อเปรียบเสมือนหน้าบ้าน คุณวรรณา สุทัศน์ ณ อยุธยา ของบริ ษั ท ดั ง นั้ นต้ อ งตกแต่ ง หน้ า ผู้จัดการฝ่ายการตลาด บ้านให้สวย มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว บจก. กลุ่มสยามบรรจุภัณฑ์ เพื่ อ ให้ ผู้ ที่ สั ญ จ ร ไป ม า รู้ สึ ก ว่ า Varna Sudasna มาบางซื่ อ เหมื อ นมาบ้ า นเครื อ Marketing Division Manager Thai Containers Group Co.,Ltd. ซิ เ มนต์ ไ ทย” คุ ณ วรรณา สุ ทั ศ น์ ณ อยุธยา ผู้จัดการฝ่ายการตลาด บริษัท กลุ่มสยามบรรจุภัณฑ์ จำกัด “…ใช้ จุ ด ร่ ว มกั น ของสิ น ค้ า แห่ ง - S C G P a p e r ห นึ่ ง ใน บ ริ ษั ท ค ว า ม ทั น ส มั ย ม า ช่ ว ย เ ส ริ ม ใ น เค รื อ ซี เม นต์ ไ ท ย ก ล่ า ว ถึ ง ภาพลั ก ษณ์ ด้ ว ยลั ก ษณะควบคู่ น โ ย บ า ย ก า ร ใ ช้ ง า น โ ฆ ษ ณ า กัน…” ป ร ะ ช า สั ม พั นธ์ ภ า ย ใน ส ถ า นี รถไฟฟ้า MRT “…Supporting, landmark and ในมุมมองผู้บริหารรายนี้ เชื่อว่า touch point are one of brand strategy…” การลงสื่อโฆษณาในรูปแบบดังกล่าว ถือว่าคุ้มค่าเพราะในแต่ละวัน พบ ว่ า ประชาชนนั บ หมื่ น พบเห็ น ชิ้ น งาน สี สั น สะดุ ด ตาทุ ก ครั้ ง ที่ ขึ้ น – ลง เป็นการสร้างการรับรู้และจดจำแบรนด์ได้เป็นอย่างดี “ยิ่งผู้บริโภคมีความคุ้นเคยกับ SCG มากขึ้นเท่าไร โอกาสที่จะซื้อสินค้า ก็มีมากขึ้นเช่นนั้น” ปัจจุบันพบว่า นอกจากสถานีรถไฟฟ้าบางซื่อแล้ว ยังมีบางองค์กรลงมือ ทำคล้ายคลึงกันในลักษณะเดียวกันในสถานีอื่นๆ ด้วยเช่นกัน ทำเลทองควรเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่ และจำนวนผู้โดยสารที่เดินทางสัญจร ไป - มา ต่อสถานีจะต้องมากพอที่จะสร้างผลกระทบอย่างคุ้มค่า เพื่อตอบ ทุกคำถามของงานโฆษณาได้

คุณเรียกรถไฟใต้ดินว่า......

คนไทยเรียก MRT (Mass Rapid Transit) คนอั (Underground) คนอเมริกั คนฝรั

รถไฟใต้ดิน ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก

อยู่ที่กรุงลอนดอน เปิดใช้เมื่อ 10 มกราคม พ.ศ. 2406 มีทั ประมาณ 406 กิโลเมตร (253 ไมล์) ตั ใช้ไฟฟ้าเป็นหลั อยู่ภายในสายเดียวกั ที่มา : www.knowledge.eduzones.com

โถงทางเดิน ทำเลทองอยู่แล้ว เมื่อบวกกับป้ายขนาดใหญ่จึง Impact อย่างแรง   55


COVER STORY

เป็นความเปลี่ยนแปลงในวงการ เมื่อโรงเรียนสอนภาษาอังกฤษ “คุณครู สมศรี ” หรื อ ที่ เด็ ก ๆ รู้ จั ก ในนาม “ครู ส มศรี ” ได้ หั น มาเปิ ด สาขา ภายใน “เมโทรมอลล์ ” สถานี ร ถไฟฟ้ า MRT พหลโยธิ น ตามคำเชิ ญ ของ ผู้บริหารโครงการ นับเป็นครั้งแรก ข อ ง เ มื อ ง ไ ท ย ที่ จ ะ เ ปิ ด ห น้ า ประวัติศาสตร์นี้ร่วมกัน ครู ส มศรี ธรรมสารโสภณ เล่ า ถึ ง ที่ ม าว่ า เกิ ด ขึ้ น จาก BMN ติ ด ต่ อ เข้ า มา ชวนให้ ค รู ม าเปิ ด โรงเรี ย นสอนภาษาอั ง กฤษภายใน สถานี ร ถไฟฟ้ า MRT ซึ่ ง เมื่ อ ไป สำรวจดูพื้นที่ ก็ตัดสินใจที่จะมาเปิด ทันที “ถือเป็นความโชคดีที่ BMN ให้ ความช่ ว ยเหลื อ ทั้ ง ในเรื่ อ งการ คุณสมศรี ธรรมสารโสภณ โรงเรียนสอนภาษาอังกฤษ ออกแบบและการสร้ า งห้ อ งเรี ย น “ครูสมศรี” โดยคำถึ ง ถึ ง ความปลอดภั ย ระดั บ Somsri Thammasarnsophon สากลและบรรยากาศที่น่าเรียน” Somsri ‘s English School ห ลั ง จ า ก มั่ น ใ จ ว่ า จ ะ เ ปิ ด “…มีโรงเรียนกวดวิชาภาษาอังกฤษ โรงเรียนสอนภาษาอังกฤษ ภายใน ภายในสถานีรถไฟฟ้า MRT ถูกใจเด็ก สถานีรถไฟฟ้า MRT จึงได้บอกกับ นักเรียนและผู้ปกครองมาก…” เด็กนักเรียนที่สนใจ ซึ่งได้รับผลที่ดี เกินคาด “…teaching school in Metro Mall , “เด็ ก ให้ ก ารตอบรั บ ดี ม ากกั บ convenience for student…” การที่เราเปิดสาขาที่สถานีรถไฟฟ้า ใต้ ดิ น เพราะเด็ ก จะชอบเดิ น ทาง ด้วยรถไฟฟ้า ที่มีความสะดวก รวดเร็ว และประหยัดเวลาเดินทาง” ผู้ ป กครองเองก็ มี ค วามเชื่ อ มั่ น และมั่ น ใจเรื่ อ งความปลอดภั ย และ การเดินทางที่สะดวก รวดเร็ว ยิ่งทำให้การตอบรับในสาขานี้ดีขึ้นอย่างมาก โรงเรียนกวดวิชาของครูสมศรี มีทั้งหมด 10 แห่ง ประกอบด้วยในพื้นที่ กรุงเทพฯ จำนวน 6 แห่ง คือ ศรีย่าน, ร่วมจิตต์, บางกะปิ, พญาไท, วงเวียน ใหญ่ และสถานี ร ถไฟฟ้ า MRT พหลโยธิ น นอกจากนี้ ยั ง มี ในต่ า งจั ง หวั ด ประกอบด้วย หาดใหญ่ พิษณุโลก ขอนแก่น และนครสวรรค์

“ ม า รี ฟ ร า น ซ์ บ อ ดี้ ไ ล น์ ” ตั ด สิ น ใจครั้ ง สำคั ญ ก้ า วเดิ น ไปกั บ คนรุ่นใหม่เปิดสาขาในเมโทรมอลล์ ภายในสถานีรถไฟฟ้า MRT สุขุมวิท เพราะเชื่ อ ว่ า ในแต่ ล ะวั น จะมี ประชาชนผู้โดยสารเดินเข้ามาเป็น ลูกค้าได้ ด้วยเส้นทางเดียวกัน “กลุ่ ม ลู ก ค้ า ส่ ว นใหญ่ ข องเรา เป็นวัยรุ่น คนทำงาน ซึ่งไลฟ์สไตล์ ของคนกลุ่ ม นี้ จ ะนิ ย มขึ้ น รถไฟฟ้ า BTS และ MRT เป็นหลัก เพราะมี ความสะดวก รวดเร็ว ดังนั้นเราจึง คุณศศิวีณ์ ซื่อตรง คิ ด ไม่ น านเลย กั บ การเปิ ด สาขา ผู้จัดการทั่วไป บจก. มารี ฟรานซ์ บอดี่ไลน์ มารี ฟ รานซ์ บอดี้ ไ ลน์ ที่ ส ถานี อินเตอร์เนชั่นแนล (ไทยแลนด์) รถไฟฟ้า MRT สุขุมวิท เพราะเป็น Sasivee Suetroung จุดเชื่อมต่อของ 2 ระบบคมนาคม General Manager Marie France Bodyline ชั้ น นำของเมื อ งไทย” คุ ณ ศศิ วี ณ์ (Thailand) Ltd. ซื่ อ ตรง ผู้ จั ด การทั่ ว ไป สถาบั น International “…มีสถาบันลดความอ้วน มาเปิด ลดน้ำหนักและสัดส่วน มารีฟรานซ์ ใน Metro mall ของรถไฟฟ้า MRT บอดี้ไลน์ กล่าว น่ า จะเพิ่ ม ความสะดวกให้ กั บ สาว ด้ ว ยพฤติ ก รรมของผู้ บ ริ โภคที่ รักรูปร่างได้ดี...” ชอบความรวดเร็ว ดังนั้นโปรโมชั่น และเเพ็คเกจที่นำเสนอต่อคอร์สจะ “…Marie France, have a new branch in Metro Mall, new ใช้เวลาไม่นาน จึงเป็นจุดเด่นอีกจุด experience for your life style...” หนึ่งที่น่าจะมัดใจลูกค้าได้ “การเปิดสาขาในเมโทรมอลล์ ประหยั ด ต้ น ทุ น ค่ า ใช้ จ่ า ยลงมาก เมื่ อ เที ย บกั บ การเปิ ด สาขาใน ห้างสรรพสินค้า เราจึงมอบโปรโมชั่นที่ถูกกว่า แต่ดิฉันขอยืนยันว่า คุณภาพ งานบริการเหมือนกันทุกสาขา และลูกค้าสามารถซื้อผลิตภัณฑ์กลับไปทำ ที่บ้านก็ได้” อย่างไรก็ตาม แม้ว่าสาขาของสถานีรถไฟฟ้าสุขุมวิทจะได้รับความนิยม แต่ ผู้ บ ริ ห ารสถาบั น ยื น ยั น ว่ า จะยั ง คงรู ป แบบการตกแต่ ง แบบธรรมดา แบบกลาง ไม่เน้นความหรูหรา เพื่อให้ลูกค้าสบายใจเรื่องราคา แต่เน้นเรื่อง การตอกย้ำแบรนด์ มารีฟรานซ์เป็นหลัก

“ครูสมศรี” ครูสอนภาษาอังกฤษที่ฟังจากชื่อแล้วสุดเชย แต่รู้ไหม? ที่หนึ่งอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ปีนี้เป็นลูกศิษย์ครูสมศรีเขานะ

ตามมาบริการลดหุ่นถึงสถานี ค่ายนี้บอกว่า ไม่มีอะไรมาเจาะไชเข้าสู่ร่างกายเด็ดขาด

“เมื่อโรงเรียนกวดวิชาลงใต้ดิน”

56

“เสริมความงามด้วยสื่อโฆษณา”


แคมเปญที่ออกฤทธิ์ต้องมาพร้อมๆ กันทั้งงานโฆษณาและกิจกรรมทางการตลาด “การทำให้โฆษณาที่รถไฟฟ้า MRT ให้เกิด Impact แรงๆ ควรต้องมีการจัดกิจกรรมหรืออีเว้นท์ร่วม กั บ ผู้ บ ริ โภค ภายในสถานี ที่ มี โฆษณานั้ น ๆอยู่ ด้ ว ย” คุ ณ วรรณี รั ต นพล กรรมการผู้ จั ด การ บริ ษั ท อินิชิเอทีฟ มีเดีย จำกัด ผู้มีประสบการณ์ในงานโฆษณามากว่า 30 ปี ช่วยชี้ให้เห็นถึงกระบวนการของ การทำโฆษณาให้ประสบความสำเร็จ เธอมองว่า สถานีรถไฟฟ้า MRT เป็นทำเลของการวางโฆษณาที่ดีที่สุด เพราะด้วยพื้นที่ซึ่งมีขนาด ใหญ่ สามารถคิดงานและนำเสนองานโฆษณาได้หลายรูปแบบ ตั้งแต่ช่วงจังหวะเวลาที่ผู้โดยสารเดินเข้า สู่สถานี จุดที่พวกเขาจะสัมผัส อาทิ ผนังบันไดเลื่อนทั้ง 2 ข้าง, ทางเดินฝังผนัง, ฟื้นทางเดิน, เสา, ประตูบัตรโดยสาร หรือผนังลิฟท์ ซึ่งทุกจุดสามารถสร้างการรับรู้แบรนด์ได้เป็นอย่างดี และถ้ามีการจัดอี เว้นท์เสริมเข้าไปด้วยแล้ว ก็จะยิ่งทำให้ผู้บริโภคสนใจและนำไปสู่กระบวนการซื้อสินค้าได้ไม่ยาก พื้นที่ภายในสถานีรถไฟฟ้า MRT ยังสามารถคิดงานโฆษณาได้อีกมาก เช่น บริเวณประตูกระจกของ สถานีและขบวนรถก็จะเป็นแรงดึงดูดให้แบรนด์สินค้าเข้ามาโฆษณามากขึ้น เพราะได้ Impact สูง “ในต่างประเทศการโฆษณาภายในสถานีและภายในขบวนรถไฟฟ้าใต้ดิน ก้าวหน้าไปกว่าเรามาก ทั้ง รูปแบบของสื่อโฆษณาและงานครีเอทีฟ แต่การเริ่มต้นของเราในวันนี้ คือเป็นจุดเริ่มต้นที่ดี เพราะ เจ้าของสินค้าและผู้บริโภคให้การตอบรับ” สำหรับแนวโน้มของการใช้สื่อดังกล่าวจะมีมากขึ้น เพราะจำนวนผู้โดยสารที่เดินทางด้วยรถไฟฟ้า MRT เพิ่มขึ้นทุกปี เนื่องจากมีความสะดวก รวดเร็ว และตรงเวลา จุดนี้เองจึงเป็นโอกาสให้แบรนด์ สินค้าต่างๆ หันมาลงโฆษณาเพื่อสร้างการรับรู้และจดจำแบรนด์ อย่างไรก็ตาม การลงสื่ อ โฆษณาใน MRT ให้ ป ระสบความสำเร็ จ จะต้ อ งดู ค วามหนาแน่ นของ จำนวนผู้โดยสารต่อสถานีว่ามีจำนวนเท่าไร รวมทั้งต้องศึกษาต้นทุนของการลงสื่อประเภทนี้ด้วยว่า คุ้มค่าหรือไม่ “สมัยที่เราเป็นผู้ซื้อสื่อโฆษณาในขบวนรถไฟฟ้า BTS เราต้องทำงานวิจัย เพื่อดูพฤติกรรมของ ผู้บริโภคในแต่ละสถานี รวมทั้งประชาชนบนท้องถนนที่พบเห็นสื่อโฆษณาบนรถ BTS ว่าให้ความสนใจ มากน้อยแค่ไหน รวมทั้งศึกษาต้นทุนการลงสื่อโฆษณาควบคู่กับระบบขนส่งมวลชนรูปแบบอื่นว่าอย่าง ไหนคุ้มค่ากว่ากัน ซึ่ง MRT เราก็ศึกษาแนวทางเดียวกันแบบไม่แตกต่าง” คุณวรรณี ให้ข้อแนะนำว่า การใช้สื่อโฆษณากับรถไฟฟ้า MRT ควรจะต้องใช้เวลาอย่างน้อย 1 ปี และควรปรับเปลี่ยนโฆษณาทุก 3 เดือน เพื่อสร้างความน่าสนใจให้กับตัวสินค้า “พฤติ ก รรมผู้ บ ริ โภคเมื่ อ เห็ น อะไรซ้ ำ ๆ เขาก็ จ ะไม่ ส นใจ ดั ง นั้ น เราต้ อ งเปลี่ ย นภาพโฆษณาทุ ก 3 เดือน เพื่อสร้างความน่าสนใจ และจะเป็นปากต่อปากที่ผู้พบเห็นจะพูดถึงได้ด้วย”

COVER STORY

“โฆษณาที่เกิดผล ต้องมีงานกิจกรรมทางการตลาดคู่กัน”

คุณวรรณี รัตนพล ประธานบริษัท บจก. อินิชิเอทีฟ มีเดีย Wannee Ruttanaphon Chairman Initiative Media Co.,Ltd.

“…โฆษณาควรเติมสีสันให้แรง ขึ้ น ด้ ว ย ก า ร มี กิ จ ก ร ร ม ท า ง การตลาด เพื่ อ เป็ น การสื่ อ สาร สองทางไปยังผู้บริโภค แล้วนำไป สู่กระบวนการซื้อ...” “...Advertising and event marketing, along to mixing up for the purchasing onward...”

57


COVER STORY

“สื่อนอกบ้านต้องมีนวัตกรรม”

คุ ณ สุ ร เ ช ษ ฐ์ บ ำ รุ ง สุ ข กรรมการผู้จัดการ บริษัท คินเนติค เวิลด์ไวด์ (ประเทศไทย) จำกัด มอง จุดขายของสื่อโฆษณาใน MRT คือ การมี น วั ต กรรม, สี สั น ที่ ส วยงาม สามารถนำเสนอรูปแบบโฆษณาได้ หลายประเภท “นวั ต กรรมคื อ รู ป แบบของสื่ อ โฆษณาที่อยู่ในสถานีและในขบวน รถไฟฟ้ า MRT ซึ่ ง มี ค วามสำคั ญ เป็นอย่างยิ่งต่อการรับรู้ของผู้บริโภค เพ ร า ะ ถ้ า ห า ก สื่ อ โฆ ษ ณา ไม่ มี คุณสุรเชษฐ์ บำรุงสุข นวั ต กรรม ก็ จ ะไม่ มี แ รงดึ ง ดู ด ให้ กรรมการผู้จัดการ เจ้าของสินค้าและผู้บริโภคให้ความ บจก. คินเนติค เวิลด์ไวด์ (ประเทศไทย) สนใจได้มากพอ” Surachet Bumrongsuk รู ป แบบของสื่ อ โฆษณาที่ ใช้ ใน Country Manager รถไฟฟ้า MRT มีหลายรูปแบบตาม Kinetic ความต้องการของเจ้าของสินค้า ที่ คุ้ นตากั นที่ สุ ด คื อ การใช้ Sticker Wrap ที่ติดอยู่บริเวณผนังทางเดิน ตั้ ง แต่ บั น ไดเลื่ อ น, ทางเดิ น เข้ า สู่ “...งานโฆษณายุคนี้ ต้องช่วงชิง ความเป็นรายแรกที่จะเลือกใช้สื่อ สถานีและชานชาลา รวมทั้ง Light นอกเหนือจากความคิดสร้างสรร Box และ Sticker Behind Light นวัตกรรมใหม่ และจุดที่เหมาะกับ Box ซึ่ ง ล้ ว นมี น วั ต กรรมและมี สินค้า...” ความเป็นครีเอทีฟ “การลงสื่อโฆษณาประเภทนี้ใช้ “…innovation, creative and เงินไม่มาก ซึ่งผมมองว่าคุ้มค่าเมื่อ suitable are the key success เทียบกับการลงสื่อโฆษณาประเภท for normal advertising base…” อื่ น ๆ เพราะจากจำนวนผู้ โดยสาร จะเป็ น โอกาสที่ เจ้ า ของแบรนด์ จ ะ สามารถเข้ า ถึ ง ผู้ บ ริ โ ภคได้ เ ป็ น จำนวนมากในคราวเดียวกัน” ทั้งนี้ สิ่งสำคัญของการใช้สื่อโฆษณาใน MRT คือเจ้าของสินค้า จะต้อง เลือกสถานีรถไฟฟ้าให้ตรงกับสินค้าและกลุ่มเป้าหมายตาม Positioning หรือตำแหน่งสินค้า จึงจะสัมฤทธิ์ผล และหากสื่อโฆษณามีนวัตกรรมใหม่ๆ ในอนาคต ที่ มี ค รบทั้ ง ภาพและเสี ย ง เชื่ อ ว่ า จะยิ่ ง ได้ รั บ ความสนใจ จากเจ้าของสินค้ามากขึ้น ต้องติดตามกันอย่างใกล้ชิดเพื่อชิงความรวดเร็ว ปักธงให้เป็นรายแรกๆ เพื่อสร้างความจดจำทั้งความเป็นแบรนด์และการเป็น รายแรกของการเลือกใช้สื่อประเภทนี้ให้ได้

58

สถานีรถไฟใต้ดิน ที่มีการสั

สถานีรถไฟใต้ดิน The Greater Moscow Metro ประเทศรั 3.3 พั ที่มา : www.knowledge.eduzones.com

รถไฟใต้ดิน ที่มีระยะทางสั รถไฟใต้ดิน Istunbul Metro ในประเทศตุรกี ซึ่งเปิดเมื่อ ค.ศ. 1875 มีระยะทางแค่ 650 เมตร ที่มา : www.knowledge.eduzones.com


หลายเอเยนซีเห็นตรงกันว่า ทำเลทองของรถไฟฟ้า MRT คือทางขึ้น - ลง ที่บันไดเลื่อน จะมีใครคิดสร้างสรรค์จุดอื่นๆ ให้ได้อีกไหม? เพราะถูกจองเต็มไปตลอดชาติแล้ว การโฆษณาภายในสถานีและภายในขบวนรถไฟฟ้า MRT นับเป็นช่องทางการโฆษณาสินค้าที่น่า จับตามองเป็นอย่างยิ่ง เพราะด้วยพื้นที่และการวางตำแหน่งชิ้นงานโฆษณา ที่สามารถสร้างการรับรู้ และจดจำแบรนด์ได้เป็นอย่างดี “สื่อโฆษณาใน MRT มีจุดน่าสนใจตั้งแต่ผู้โดยสารเดินลงมาจากบันไดเลื่อนเข้าสู่ขบวนรถไฟฟ้า จะไม่มีอะไรที่ดึดดูดสายตาคุณเท่ากับโฆษณา ไม่เหมือนกับสื่อโฆษณาประเภทอื่นๆ ที่ผู้บริโภคจะไม่เลือก เสพก็ได้” คุณอิชยา สันติตระกูล ประธานบริหาร บริษัท แบรนด์คอนเน็คชั่น จำกัด หนึ่งในผู้ทำหน้าที่ วางแผนและซื้อสื่อโฆษณาให้ลูกค้า พื้ นที่ บ ริ เวณทางเข้ า สถานี และบั น ไดเลื่ อ น นั บ เป็ นทำเลเด่ นที่ สุ ด เพราะเป็ นจุ ด ที่ ดึ ง ดู ด และ จุดบังคับให้มองเห็นโฆษณาไปด้วย ในเวลาเดียวกับที่ผู้โดยสารต้องมองทางเดิน การเลื อ กใช้ สื่ อ ประเภทนี้ เจ้ า ของสิ นค้ า ต้ อ งรู้ ถึ ง กลุ่ ม เป้ า หมาย ว่ า เป็ นกลุ่ ม เดี ย วกั บ ผู้ โดยสาร รถไฟฟ้า MRT หรือไม่ “ยกตั ว อย่ า ง หากคุ ณจะโฆษณาภาพยนตร์ ภ ายในสถานี ร ถไฟฟ้ า ก็ ต้ อ งลงโฆษณาในทำเลที่ มี โรงภาพยนตร์ ตั้ ง อยู่ เช่ น สถานี พ หลโยธิ น ที่ มี ห้ า งสรรพสิ นค้ า เซ็ นทรั ล ลาดพร้ า ว หรื อ สถานี ศู น ย์ วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ที่มีโรงภาพยนตร์เอสพลานาดตั้งอยู่ เพื่อกระตุ้นอารมณ์ให้คนอยากดูหนัง เรื่องนั้น หรือถ้าคุณจะโฆษณาแหล่งท่องเที่ยวในประเทศไทย คุณก็ต้องเลือกทำเลที่มีชาวต่างชาติอาศัย อยู่ และเป็นเแหล่งชุมชนที่มีคนสัญจรไปมาอย่างพลุกพล่านเช่นสถานีสุขุมวิท เป็นต้น” ส่วนพื้นที่โฆษณาภายในขบวนรถไฟฟ้า MRT เองนั้นก็เป็นจุดที่มีความน่าสนใจไม่น้อย เพราะ 1 ขบวนมี 3 โบกี้ มีหลายจุดที่สามารถสร้างการรับรู้ได้เป็นอย่างดี “ผู้โดยสารรถไฟฟ้า MRT นั่งนิ่งไม่มีอะไรทำ มองหน้ากันไป มองหน้ากันมา ดังนั้นเมื่อมีโฆษณา ภายในขบวนรถ ก็จะทำให้ทุกคนหันมาดูโฆษณา เกิดการรับรู้และจดจำแบรนด์ นำไปสู่การทดลองใช้ บริการ ซึ่งเจ้าของสินค้าที่มาโฆษณาในขบวนรถ จะชอบสื่อประเภทนี้มากๆ เพราะเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ทุกระดับ” การลงสื่อโฆษณาใน MRT ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด จะต้องใช้เวลาอย่างน้อย 6 เดือนถึง 1 ปี เพื่อตอกย้ำแบรนด์ให้อยู่ในความทรงจำของผู้บริโภค และเป็นการประหยัดต้นทุนค่าใช้จ่ายในด้านงาน พิมพ์

COVER STORY

“บันไดเลื่อนสร้าง Impact”

คุณอิชยา สันติตระกูล ประธานบริหาร บจก. แบรนด์คอนเนคชั่น Ichaya Santitrakul Founding Partner Brand Connections Co.,Ltd.

“…จุดขายทำเลทองของรถไฟฟ้า MRT มี ห ลายจุ ด ทั้ ง ที่ ท างลง บั น ไดเลื่ อ นและภายในตั ว ขบวน รถ…” “...Prime area for the advertising in MRT, elevator, main entrance and in the bogies...”

59


STORY COVER

ท คั ด ย่ อ ก า ร พั ฒ น า เ ส้ นท า ง ก า ร เดิ นท า ง ให ม่ ทั น ส มั ย ข อ ง ค น ใน เข้าไปอีก พบสินค้าที่อยู่รายรอบตัว พวกเขาเป็นสินค้าที่มีลักษณะแบ กรุงเทพมหานคร เกิดขึ้นชัดเจนและสามารถใช้ได้จริง ตั้งแต่ปี 1999 รนด์ ที่ มี ภ าพพจน์ ทั น สมั ย เช่ น สิ นค้ า ไอที อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ สถาบั น เป็นต้นมา เมื่อมีการเปิดเส้นทางเดินรถไฟฟ้า BTS ตามมาด้วย เส้น การเงิน ภาพยนตร์ ประกันชีวิต ประกันภัย อันเป็นการตอกย้ำแบรนด์ ทางของรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT ส่งผลให้ความกลัว ความกังวลใจในการ ให้ผู้บริโภคได้เห็นซ้ำ ย่ำเตือนให้ยึดแน่นในใจทุกครั้งที่จะซื้อ มากกว่า ก่อสร้าง ที่ต่อยอดขึ้นไปบนดิน หวังผลจากยอดขายในระยะสั้น ขุดอุโมงค์มุดลงไปใต้ดิ น หลาย พั ฒ นาการของการนำ เสนอเทคโนโลยีขั้นต่อไปของผู้ ร้ อ ยเมตร นั้ น หมดไปโดยสิ้ น เชิง การทำความเข้าใจ การให้ บริหารสื่อนอกบ้าน ในรถไฟฟ้า ความรู้กับประชาชน จึงนำไปสู่ MRT คื อ การใช้ สื่ อ ที่ มี ค วาม อี ก ขั้ นตอนทั นที คื อ การปฏิ บั ติ เคลื่อนไหว เพื่อเรียกจุดความ ตน ป้ อ งกั น ความเสี่ ย ง และ สนใจ เสริมภาพความทันสมัย การใช้ ค วามสะดวก สบายนี้ ปรากฏสัญญาณชัดเจนจากการ ควบรวมบริษัทในเครือทั้งสาม ปรับเข้าหาการดำเนินชีวิตของ ตัวเองได้อย่างสมเหมาะ แห่ ง ผนึ ก กำลั ง เข้ า ด้ ว ยกั น ให้ บนเส้ นทางระบบรางของ ดู แ ล แบ บ เบ็ ด เ ส ร็ จ ในก า ร การเดิ น รถไฟฟ้ า MRT ระยะ บริหารสื่อของรถไฟฟ้า MRT ทาง 20 กิ โ ลเมตร 18 สถานี นอกจากนี้ ยังมีนโยบายที่ วิ่ ง ลั ด เลาะ วางเส้ น ทางผ่ า น น่ า สนใจ คื อ การเร่ ง พั ฒ นา ย่ า นที่ อ ยู่ อ าศั ย เป็ น ส่ ว นใหญ่ พื้นที่ ภายในสถานีให้เป็นช้อป โดยเชื่อมร้อยเส้นทางกับ รถไฟ ปิ้ ง มอลล์ ข นาดย่ อ ม เรี ย กว่ า ฟ้ า BTS จึ ง เหมื อ นการส่ ง รั บ Metro Mall ให้ เ ป็ น ความ ลู ก ที่ เ อื้ อ ต่ อ กั น สร้ า งความ สะดวกของผู้บริโภค เช่น การ คุ้ น เคยให้ ผู้ โ ดยสารมาตลอด เปิดโรงเรียนกวดวิชาให้เด็ก ๆ เวลา 5 ปี ของการเดินรถไฟฟ้า เ ดิ น ท า ง ม า ไ ด้ ส ะ ด ว ก ผู้ MRT พบว่ า เป็ น เรื่ อ งปกติ ที่ ปกครองสบายใจ การเพิ่ ม สิ น เมื่ อ มี ก ารพั ฒ นาระบบการ ค้าประเภทสะดวกซื้อ สะดวก ข น ส่ ง เ กิ ด ขึ้ น ก า ร พั ฒ น า ใช้ สะดวกกิ น ร่ ว มอยู่ ใ นเส้ น “เมือง” ก็เกิดขึ้นด้วยเช่นกัน มี ทางที่ พ วกเขาใช้ ง านอยู่ เ ป็ น โครงการคอนโด มิเนียมเรียง ประจำ ย่อมกลายเป็นชุมชนที่ ร า ย เ กิ ด ขึ้ น ไม่ ต่ ำ ก ว่ า 6 0 จะแปรสภาพเป็นขุมทรัพย์แห่ง โครงการ ในรอบ 2-3 ปีที่ผ่าน ใหม่ของผู้ประกอบได้ จำนวนผู้ โดยสาร กว่ า 200,000 คน ต่ อ วั น ของรถไฟฟ้ า MRT อย่างไรก็ตาม ปัจจัยแห่งการเพิ่มจำนวนของผู้โดยสาร มีทั้งความ อยู่ ใ นวั ย ระหว่ า ง 15 – 59 ปี จากการสำรวจครั้ ง ล่ า สุ ด ของ The คืบหน้าของส่วนต่อสาย ขยายราง จากการก่อสร้างเชื่อมเส้นทางใหม่ๆ Nielsen Company (Thailand) Limited สุ่มตัวอย่าง 1,600 คน ตามโครงสร้างแผนแม่บทโครงข่ายคมนาคม และการมีงานแสดงสินค้า การใช้บริการเส้นทางเดิมเป็นประจำ จากถิ่นพำนักอาศัย ของบ้าน บนเส้นทางของการเดินทางที่ผ่านถึงสะดวก อาทิ ศูนย์การประชุมแห่ง เรือนดั้งเดิม การโยกย้ายเข้ามาอยู่เพื่อยึดเกาะเส้นทาง การเดินทางที่ ชาติสิริกิติ์ รวมทั้งปัจจัยเอื้ออื่นๆ สะดวก ตามอพาร์ตเม้นท์ ซิตี้คอนโด จึงกลายเป็นการดำเนินชีวิตของ และข้อจำกัดบางประการ เรื่องความปลอดภัยเข้มงวดของระบบ คนรุ่ น ใหม่ ต ามกระแส และพวกเขาต้ อ งปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมให้ งานของรถไฟฟ้า MRT อาจเพิ่มความมมั่นใจให้ผู้โดยสาร ประชาชน สอดคล้องกับโลกปกติ ทั่วไป ในวันพรุ่งนี้ พวกเขาอาจกลายเป็นลูกค้าคนสำคัญของอีกหลาย นั ก การตลาดเจาะศึ ก ษาพฤติ ก รรมของผู้ บ ริ โ ภค อย่ า งใกล้ ชิ ด สินค้าได้ไม่ยากนัก

“MRT Media : Brand

60


The development of modern new routes for Bangkok commuters is in progress. Began in 1999 with the opening of BTS followed by the MRT Subway. With the projects success fears have been dispelled by commuters regarding construction of other routes above ground and making tunnels hundreds of meters underground. Dissemination of understanding and knowledge immediately leads to another stage, that is how to avoid risks and take advantage of the conveniences to cope with their life styles. The rail system of MRT Subway with 20 kilometers, 1 8 s t a t i o n s . I t m a k e s shortcuts passing major residential communities and also connects with the BTS . Both systems well integrate and commuters are now familiar with using them. It has been five years since then. There are more than 60 cities condominium projects, base along MRT routing, more passengers come to find that once transportation. There are more than 200,000 passengers per day between 15-59 years of age based on the most recent survey of 1600 persons conducted by T he Nielsen company (Thailand) Limited. The past commuters used regular services from their residences to their work place. Now, more people are moving into the nearby city where they can use convenient routes. This changing lifestyle particularly for the modern generation has required people to adjust their behaviors. The consumers’ insight behavior patterns and found that the products most popular with the new generation are those

COVER STORY

Executive Summary with modern brand names, such as IT products, real estate, financial institutes, movies, life insurance, and insurance. Their brand names are constantly repeated by the media reminding customers each time they buy something. Marketer’s expectations of short term sales volume are surpassed. Development of the next stage of technology of out of home administrators – inside MRT, - is to apply movable media to attract attention, and emphasize modern trends by merging the three subsidiary companies together under the administration of MRT. Another interesting project in the planning stage is to develop the area inside the station into a medium size mall called “Metro Mall “shopping mall for customer convenience such as tutorial schools for students who are commuting. Thus parents feel at ease that their children are in a secure environment. Other products in convenient stores will also be made available. However, factors to increase the number of commuters are limited by the progress of rail extensions and construction of new routes. Product exhibitions along the most convenient routes, such as the Queen Sirikit Conference Center can be presented when new routes come into operation. Other limiting factors of concern are the present restricted safety regulations of the MRT system. Improvement of safety will increase commuters’ confidence. In the future commuters will be valuable consumers of many products.

awareness to its sales”

61


งบประมาณการใช้สื่อ Source : Nielsen Media Research Thailand

Unit : Million Baht

งบโฆษณาแยกตามประเภทสื่อหลัก และสื่อนอกบ้าน ปี 2002 - 2009 (May)

60,000 50,000 40,000 30,000 20,000 10,000

2002

2003

2004 2002

2005 2003

2006

2004

0

2007

2005

2008

2006

2009 - May

2007

2008

2009 - May

TV

34,502

39,270

47,173

50,020

53,296

53,484

51,136

20,774

Radio Newspaper Magazine

6,700 10,777 3,618

7,485 12,866 4,514

6,850 18,030 6,121

6,393 16,248 6,148

6,588 15,432 6,140

6,401 15,826 5,903

6,933 15,288 5,823

2,340 5,235 1,989

595 2,349

896 3,724

1,334 3,935

1,705 4,530

2,404 4,692

4,391 4,480

4,173 4,216

1,581 1,663

Transit *

579

713

981

956

1,360

743

In Store

117

114

307

570

560

335

74

77

Cinema Outdoor *

Internet Outdoor : บิลบอร์ด , ป้ายรถเมล์ , บาทวิถี , ป้ายไฟข้างทาง Transit : BTS , Bus Body , ตุ๊กตุ๊ก , Bus Back

ESTIMATED TOTAL ADVERTISING EXPENDITURE BY MEDIUM YTD MAY 09 VS 08 BAHT MILLIONS

! หาเดือนแรกของป 2009 มี 3 สื่อ ที่ใช งบเพิ่มขึ้น คือ Transit, instore และIntetnet ดวยอัตราเพิ่มขึ้น 29.44%, 9.84% และ 4.05% ตามลำดับ

MEDIA

YTD 09

YTD 08

DIFE

% Change

TV RADIO NEWSPAPERS MAGAZINES CINEMA OUTDOOR TRANSIT IN STORE INTERNET

20,774 2,340 5,235 1,989 1,581 1,663 743 335 77

20,848 2,680 6,145 2,349 1,637 1,803 574 305 74

-(74) -(340) -(910) -(360) -(56) -(140) 169 30 3

-(0.35) -(12.69) -(14.81) -(15.33) -(3.42) -(7.76) 29.44 9.84 4.05

TOTAL

34,738

36,415

-(1,677)

-(4.61)

Total Industry – Exclude Section : Classified, House ads.

TOP 10 ADVERTISERS ESTIMATED ADSPEND YTD MAY 09 VS 08 BAHT MILLIONS ADVERTISER

2009

2008

1,912 862

1,999 481

662

497

PROCTER & GAMBLE (THAILAND) ADVANCE INFO SERVICE PCL.

606 530

646 479

COCA-COLA (THAILAND)

505

384

NESTLE (THAI) LTD. OSOTSPA CO.,LTD.

478 472

492 600

COLGATE-PALMOLIVE (THAILAND) LTD.

465

408

TOYOTA MOTOR THAILAND CO.,LTD.

458

764

UNILEVER (THAI) HOLDINGS BEIERSDORF (THAILAND) CO.,LTD L’OREAL (THAILAND) LTD.

Top Advertiser – Exclude Section : Classified and House ads.

62

! สินคาอุปโภค บริโภค ยังวางแนวทางอัดฉีด งบโฆษณา เพื่อตอกรกับกำลังซื้อ หวังกระตุนยอดขาย และเพื่อรักษาสวนแบงการตลาด อาทิ BEIERSDORF (THAILAND), L’OREAL (THAILAND) ,COCA-COLA (THAILAND), ADVANCE INFO SERVICEและ COLGATE-PALMOLIVE(THAILAND)


สมชาย ชีวสุทธานนท์ กรรมการและประธานกรรมการบริหาร บริษัท แม็ทชิ่งสตูดิโอ จำกัด (มหาชน) Somchai cheewasutthanon Director and Chief Executive Director Matching Studio PCL. MRT เป็นระบบขนส่งมวลชน หมายถึงไปกันได้คราวละ หลายๆ คน ป๊ อ บปู ล่ า ดั ง มาก ในต่ า งประเทศ อย่ า ง ฮ่ อ งกง อังกฤษ ประเทศที่เจริญแล้วเขาใช้รถไฟใต้ดินเป็นตัวจักรสำคัญ ในการเดินทาง เมืองไทยก็มี 5 ปีมาแล้ว ผมจึงคิดว่าความกังวลเรื่องความ ปลอดภัยก็ตัดไปได้ เขาทดสอบมาเป็นหมื่นๆ เที่ยวแล้วครับ ผมคิดว่า ที่เส้นทางนี้มันไม่ค่อยฮอต เป็นเพราะเส้นทางที่ ผ่ า นไม่ ได้ เป็ น เส้ นทางที่ ต ะลุ ย เข้ า ไปในย่ า นธุ ร กิ จ อย่ า งสี ล ม สุขุมวิท สาทร แต่ก็ยังมั่นใจว่า สื่อทุกสื่อที่ใน mass transit น่า สนใจหมด ไม่ว่าจะเป็นรถเมล์ เรือเมล์ รถไฟ รถไฟฟ้า BTS รวมทั้งรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT ด้วยนะครับ ในรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT จะใช้อะไรดีล่ะ นี่เลย ขออินเทรนด์ สู่ยุค digital media หมายถึงการใช้จอ LED LCD มาใช้งานให้ ดึงจุดสนใจของผู้โดยสารที่ผ่านไปผ่านมาได้ จุ ด ที่ ผ มคิ ด ว่ า เป็ นทำเลทองของ MRT คื อ ทางขึ้ น - ลง ของแต่ละสถานีของ MRT โดยเฉพาะสถานีเชื่อมต่อกับระบบ อื่นๆ จุ ด ช็ อ ปปิ้ ง ที่ เรี ย กว่ า Shopping Mall ผมว่ า ต้ อ งคิ ด ให้ simple แต่ดูดี จะดีที่สุด และเป็น all grown activity แต่ไม่รู้ จะผิ ด กฎ กติ ก า มารยาทของ MRT ไหมนะ สิ นค้ า ที่ น่ า จะ เหมาะกับความเร่งรีบตามไลฟ์สไตล์ของคนกรุงเทพฯ น่าจะเป็น ธุรกิจเรียลเอสเตส อาหารแช่แข็ง ฟาสต์ฟู้ดส์

คลุกคลีกับวงการผลิตหนังโฆษณามากว่า 20 ปี ขอมาตอบคำถามประเภทเส้ น ผม บังภูเขากับงานโฆษณาที่ใครๆ ก็ทำได้ “…group of people ,one of ambience media and make noise for passengers attractions…” ผมฉุกคิดไอเดีย ได้เรื่องการทำ CSR แบบโดนๆ ชวนคน มาประหยั ด ให้ ทั น ยุ ค เงิ นก็ น้ อ ย ตกงานก็ เ ยอะ น้ ำ มั นก็ แพง ชวนยักษ์ค่ายน้ำมัน ทำอะไรที่เข้าท่ากันเถอะ อย่างนี้นะ ปตท.ร่วมกับ MRT ร่วมกันรณรงค์ลดภาวะโลก ร้อน ลดการประหยัดพลังงาน การประหยัดน้ำมัน เดินทางด้วย รถไฟฟ้าใต้ดิน อี ก สื่ อ ที่ น่ า สนใจ คื อ สื่ อ วิ ท ยุ เพลงเพราะๆ อาจช่ ว ยให้ ผู้โดยสารผ่อนคลายจากการทำงานหนัก และชีวิตที่เร่งรีบในการ เดินทางกลับบ้าน หรือให้ผู้โดยสารร่วมสนุกในรายการวิทยุได้ การทำโฆษณาของ MRT ควรใช้จุดเด่นของความเย็นมาใช้ เป็นจุดขาย เพราะเมืองไทยเป็นเมืองร้อน รถติด ชวนกันมาใช้ รถไฟฟ้าใต้ดิน สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา เย็นสบาย มาดู มุ ก ผม ดู แ ล้ ว ให้ ฝู ง ชนเป็ นจุ ด ขายกั น เถอะ รถไฟฟ้ า ใต้ดิน 1 ขบวน จุคนได้ 300 คน ก็จ้างคนมา 300 คน ให้ทุกคน สวมเสื้อผ้าแบรนด์เดียวกันที่จะโฆษณา เจาะช่วงเวลาไพร์มไทม์ ซื้อตั๋วให้ทุกคนเลย หลัง 8 โมงเช้าให้ขึ้นรถไฟฟ้าใต้ดินขบวนนี้ ฟรี แล้ ว ใช้ ข้ อ ความประชาสั ม พั นธ์ ว่ า “ขึ้ น รถไฟขบวนนี้ ฟ รี ปรารถนาดีจาก.......” หรือ “ร่วมรณรงค์ให้ทุกคนใช้ระบบขนส่ง มวลชนกันเถอะ ปรารถนาดีจาก...” หรือ “ร่วมรณรงค์ลดโลก ร้อนกันนะค่ะปรารถนาดีจาก...” พอประตูเปิดปุ๊บ ผู้โดยสารข้าง นอกไม่สามารถโดยสารไปกับรถไฟขบวนนี้ได้ ผู้คนก็จะคิดได้ไป ต่างๆ นาๆ เออนะ !!!! ทำไมว่ะไอ้พวกเสื้อเขียวเต็มไปหมดเลย มันก็จะกลายเป็น talk of the town คนจะพูดถึงแบรนด์สินค้า นั้น หรือพอถึงสถานีไหนก็ให้ทุกคนที่สวมเสื้อสีเขียวในขบวนรถ ร้องเพลงพร้อมกัน “พวกเรามาช่วยกันลดโลกร้อนกันเถอะ” คุณๆ ว่า มัน ว้าว ไหมล่ะ เอ…. ว่าแต่ว่า อย่าไปนัดกัน ใน วันที่เขามีนัดกันเยอะๆ ล่ะ และควรระวังเรื่อง “สี” เสื้อด้วย นะครับ ผมล่ะ เสียวแทนจริงๆ…

“เย็น เร็ว ประหยัด”

63


สุบรรณ โค้ว Subun Khow Deputy Executive Creative Director มุมมองนักการตลาด มุมมองเอเยนซี BBDO Bangkok “…old things, same place, creative idea - new look and catching your eyes…” เช้ า วั นทำงาน บนทางด่ ว นที่ ไม่ ค่ อ ยจะด่ ว นสมชื่ อ รถของผมค่ อ ยๆ ไม่ มี ง บจริ ง ๆ ก็ ไม่ คืบคลานไปช้าๆ ยังดีที่วันนี้ไม่มีประชุมให้ต้องลุ้นว่าจะไปทันหรือไม่ ผมจึงมี เป็นไรครับ ลองมองหา อารมณ์ผ่อนคลายไปกับเสียงเพลงบนรถ และทอดสายตาไปมองอะไรๆ นอก กำแพงว่ า งๆ แล้ ว ทำ กรอบหน้าต่าง ของที่เคยเห็นทุกวัน พอวันหนึ่งมันขาดหายไป เราถึงจะค่อย สื่อเอาท์ดอร์แบบมีลูก เล่นอย่างงานสองชิ้นนี้ รู้สึกถึงการมีอยู่ของมัน ช่วงเศรษฐกิจขาลงแบบนี้ ป้ายบิลบอร์ดหลายอัน ที่เคยมองผาดผ่าน ดูสิครับ โปสเตอร์สอง ไม่ ได้ ส นใจ วั นนี้ ว่ า งเปล่ า พร้ อ มหน้ า กั น ในฐานะคนทำโฆษณา นี่ แหละ มิ ติ ธ ร ร ม ด า ๆ เ มื่ อ สั ญ ญาณแห่ ง การประหยั ด งบชั ด ๆ สื่ อ อื่ น อาจจะสั ง เกตยาก แต่ บิ ล บอร์ ด กลายเป็ น สามมิ ติ มี ว่างเปล่านี่ มันช่างโดดเด่นเตะตาในทิศทางเดียวกับที่มันเคยโดดเด่น หรือที่คนเดินผ่านจะไม่ เป็นไปได้ว่า ส่วนใหญ่เรามักใช้สื่อบิลบอร์ดเป็นสื่อเสริม หนักเข้าก็เป็น หยุ ด ดู ที่ อ อสเตรเลี ย แค่ตัวช่วยในการจดจำแบรนด์ บิลบอร์ดหลายอันจึงไม่มีภาพหรือข้อความ เขามีองค์กรคุ้มครองเด็กที่รณรงค์เรื่องเด็กถูกทอดทิ้ง ก็จริงอย่างที่เขาว่า อะไรน่ า สนใจ นอกจากโลโก้ ม หึ ม าคั บ เฟรม พอต้ อ งเลื อ กใช้ เ งิ น ให้ มี นะครับ เด็กที่ถูกทอดทิ้งก็เหมือนเด็กที่ไม่มีตัวตน ประสิทธิภาพสูงสุด สื่อเสริมเลยถูกตัดงบซะก่อน โปสเตอร์ ชิ้ น นี้ จึ ง นำหุ่ น เด็ ก มาหุ้ ม โปสเตอร์ เ รี ย กร้ อ งความสนใจ ผมอยากชวนมาคิ ด กั น ใหม่ ค รั บ ตอนที่ บู ม กั น มากๆ จะหาโลเคชั่ น ลง แวบแรกที่เห็นอาจจะตกใจกันหน่อย แต่ยืนยันครับว่าเป็นหุ่นเด็กของปลอม บิลบอร์ดก็ไม่มี ตอนนี้มีที่ให้ลงสนามปะลองความคิดสร้างสรรค์แล้วครับ เวลาที่ เ ราอยาก สาธิ ต ความสามารถ น้ำพริกถ้วยเก่าที่เคยถูกมองเป็นแค่เครื่องเคียงมื้ออาหาร ถ้าลองปรุงแต่ง รสชาติให้แปลกใหม่ โอกาสที่จะกลายเป็นจานเด่นประจำโต๊ะก็ไม่ยาก ยิ่งถ้า ของผลิตภัณฑ์ เราก็มัก ทำดีมากๆ คนอาจจะขับรถมาดูหรือเดินทางมาดูเพื่อจะให้เห็นกับตาก็ได้ จะนึ ก ว่ า น่ า จะทำหนั ง โฆษณาถ่ า ยให้ เห็ นกั น มีตัวอย่างจากต่างประเทศมาให้ดูกันครับ เป็นแรงบันดาลใจให้มองหา สูตรใหม่ใส่น้ำพริกถ้วยเก่า จะๆ ตาไปเลย สว่ า น เราเคยเห็นเทคนิค ฉั น เจาะดี เจาะแล้ ว รู ไดคั ท บิ ล บอรด์ ม าบ้ า ง สวย มา มาทำหนั ง แล้ ว คราวนี้ ถู ก นำมา โฆษณากั น ดี ก ว่ า แต่ ใช้กับโฆษณาสีที่พูดถึง ยี่ ห้ อ Makita เขาคิ ด ความเป็ น ธรรมชาติ ต่างครับ เขาประหยัดงบไปได้หลาย เพราะไปหากำแพงว่างๆ แล้วสาธิต เลยจัดการเอาคนที่อยู่ ความสามารถของผลิตภัณฑ์ด้วยการเจาะกำแพงให้เป็นรูปสินค้าทำเป็นป้าย ในชุดช่างทาสีขึ้นไปขึง โฆษณา ที่เก๋ไปกว่านั้น มันยังดูเป็นงานอาร์ตอีกด้วย งานนี้มีสิทธิได้เป็นข่าว แล้ ว ทำท่ า ปาดแปรง ออกพีอาร์ฟรีๆ ไม่ต้องจ่ายค่าสื่อ แนวแปรงที่ทาสีไว้ตรง เขียนบทความเสร็จก็ได้เวลาอาหารพอดี มื้อนี้จะมีน้ำพริกหรือเปล่าก็ไม่รู้ พอดีกันช่องไดคัท เผย แต่กำลังคิดว่า ถ้าเราลองใส่บัลซามิกที่ให้รสเปรี้ยวในอาหารฝรั่งแทนมะนาว ให้ เห็ น สี ฟ้ า ของท้ อ งฟ้ า เบื้ อ งหลั ง หยิ บ เอาสี ข องท้ อ งฟ้ า มาใช้ เป็ น สี ข อง ลงในน้ำพริกกะปิ รสชาติมันจะออกมาไฮโซและอินเตอร์ขึ้นไหมนะ ใครจะ ผลิตภัณฑ์ซะเลย ลองทำดูก่อนก็ได้นะครับ… ที่เมืองไทย เวลามี ประสบการณ์ทำงาน มี บิ ล บ อ ร์ ด โ ป รโ ม ท - Copywriter, Lintas Thailand (ปัจจุบัน เปลี่ยนเป็น รายการโทรทั ศ น์ ก็ มั ก Lowe Bangkok) จะโชว์ รู ป หน้ า ดารา - Association Creative Director, Lintas Thailand เป็นหลัก แน่นอนครับ - Creative Director, BBDO Bangkok ว่ า ดาราดึ ง ดู ด สายตา ผลงานที่ผ่านมา อยู่ แ ล้ ว แต่ ล องคิ ด ดู สิ - มีส่วนร่วมทำให้ BBDO Bangkok ได้รับรางวัล Agency of the ว่าถ้าเราเจอบิลบอร์ดที่ Year จากงาน Adman Awards ปี 2547 และ 2548 โ ฆ ษ ณ า ซี รี่ ส์ เ รื่ อ ง (2 ปีติดต่อกัน) Law&Order อันนี้ที่ใช้ - รางวัล Gold Lions จาก Cannes จากผลงานลูกค้า ได้แก่ เทสโก้ เทคนิคง่ายๆ เล่นกับสิ่งที่มีอยู่แล้วอย่างหลอดไฟที่ให้แสงสว่างตอนกลางคืน โลตัส กิฟฟารีน และ ทเวล์ฟพลัส โรลออน แต่เพิ่มไอเดียที่สะท้อนเรื่องราวของซีรี่ส์ที่ว่ากันถึงการสืบสวนสอบสวนของ - ปัจจุบัน ลูกค้าที่ดูแล คือ เลย์ แอนลีน อาหารสุนัขเพดดีกรี และอื่นๆ ตำรวจ อันไหนจะเด้งกว่ากัน

“รสชาติใหม่ในน้ำพริกถ้วยเก่า”

64


ไพจิตร เทียนทอง นายกสมาคมมีเดียเอเยนซีและธุรกิจสื่อแห่งประเทศไทย Paichit Thienthong President of Media Agency Association of Thailand (MAAT) paichitthienthong@gmail.com “…หัวใจหลักๆ ที่ลูกค้าต้องการจากงานโฆษณา คือ การอยากมี Innovation – ของแปลก ของใหม่ รายแรก และ Added Value - ของแถมที่ถูกใจ ซึ่งสุดท้ายอาจจบการ เลือกลงด้วยราคาที่ถูกสุด…” “…Pitching is the beginning work of Advertising and Media Agency, the core demand of customer are Innovation and Added Value, but its well took with pricing competitions as well…” คำถามสุดฮิตของบรรดามีเดียเอเยนซี ตอนนี้ เห็นจะเป็นว่า “ตอนนี้ เอาล่ะซิ ....เมื่อรับงานนั้นมาแล้ว ทั้ง Ad Agency, Media Agency ก็ กำลัง Pitch ลูกค้าอะไรกันบ้าง” หรือ “มี Pitch เยอะไหมจ๊ะ” หรือ “ได้ ต้องแยกย้ายกันไปทำงาน หัวฟูไปตามๆ กัน ปริมาณเนื้องานมาก เวลาน้อย ลูกค้าอะไรบ้าง (ที่ Pitch แข่งกัน)” และ “งาน Pitch เป็นยังไง ยาก-ยุ่ง หรือจะด้วยอะไรก็ว่ากันไปได้ร้อยแปดพันเก้า มั้ย(ว่ะ)” หรือ “Pitch อะไรบ้าง เช่น Pitch Strategy หรือ Pitch plan ซีกส่วนของลูกค้า เจ้าของธุรกิจ บริษัทฯ หรือองค์กรนั้นๆ อาจจะเพียง หรือ Pitch buyฯลฯ “ หรือเป็นเชิงหารือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันว่า “เกณฑ์การ อยากเปลี่ยน อยากได้ Specialty ในบางเรื่อง หรือทั้งหมด เช่น อยากได้ ตัดสินของลูกค้าเป็นอย่างไรบ้าง” Strategy เพราะหั ว ใจหรื อ จุ ด เริ่ ม ต้ น หรื อ ความสำคั ญ ของการโฆษณา รู้กันค่ะว่า เศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจไทย เป็นเยี่ยงนี้ ทุกคนต้องระวังตัว ประชาสัมพันธ์มันอยู่ตรงช่วงต้นๆ ของการเริ่มทำงานนี่แหละ เตรียมพร้อม ยิ่งใครที่เคยผ่านช่วงต้มยำกุ้งมาได้ ยิ่งต้องใช้บทเรียนที่แสน แต่ครั้งพวกเขาก็ต้องการ “Plan” ที่เจ๋งๆ เนี๊ยบๆ หรืออยากได้ราคา คุ้มค่านั้นมาช่วยเป็นประสบการณ์เตือนใจอย่างเต็มที่ “ถูกๆ” หรืออยากได้คนที่พูดคุยกันรู้เรื่องเท่านั้น หรืออยากได้ “ของแถม” ดั ง นั้ นงบประมาณก้ อ นแรกที่ ถู ก ตั ด ทิ้ ง นอกจากจะเป็ นการเลิ ก จ้ า ง มากๆ สุดท้ายก็เรื่องการคิด “ค่าบริการ” ก็อาจเป็นหนึ่งในจุดตัดสิน พนักงาน ก็คืองบโฆษณานี่แหละ งานน้อยงานโหดหินขึ้น ทุกคนต้องทำงาน ยุคนี้ สิ่งที่ลูกค้ามีอยู่ในใจคือ เรื่อง “Innovation” คือขอความคิดแปลก หนัก สิ่งที่ลูกค้าคาดหวังหนักๆ คือความคุ้มค่าทุกเม็ดเงินที่ลงมา เพราะรู้ว่า ใหม่ที่ไม่เคยทำมาก่อน ซึ่งที่เจออยู่บ่อยๆ เช่น ขอ Media แปลกใหม่ โดนๆ งานโฆษณายังมีความจำเป็นต่อสินค้า เมื่อไม่ตัดทอน หรือเมื่อต้องใช้น้อยลง Media Agency ก็กลับไปคิดกันหัวแตกเลยล่ะค่ะ ได้บ้าง ไม่ได้บ้าง ตรงกับ ย่อมมีความเข้มถึงเข้มที่สุด ดิฉันว่าเป็นเรื่องปกติ เป็นใคร เป็นคุณก็ทำไม่ต่าง ความต้องการของตลาดบ้าง ไม่ตรงบ้าง ตามสภาพ กันหรอกค่ะ จริงไหม อ้อ! อีกข้อที่ต้องเป็นโจทย์ปกติ คือ ขอให้มี “Added Value” พูดง่ายๆ ฉบับนี้ขอเล่าสู่กันฟัง เรื่องเบื้องหลังงาน Pitch เพราะเป็นฤดูกาล งาน เข้าใจกันว่า มันคือ ต้องมี “ของแถม” อะไรบ้าง และต้องตีมูลค่าออกมาให้ เข้าของ Media Agency คุ้ม หลังจากที่ลูกค้าพะว้าพะวังกันมาตั้งแต่ปลายปีที่แล้ว โจทย์ส่วนใหญ่ คือเรื่อง “Strategy” ด้าน “Media Plan” เรื่องการซื้อ แค่เมื่อรู้ว่าถูกเรียกให้ไป Pitch งาน คนทำงานก็เริ่มสนุกกันแล้ว ตบมือ สื่อ และขอดู Team ทำงานหน่อย ว่าเป็นใครมาจากไหน มีความสามารถใน เฮกันเลยล่ะและเอ่ยปากชมว่า นี่เลยเป็นการเล็งเห็นการประหยัดในยุคนี้ ด้านใดบ้างเป็นพิเศษหรือไม่ประการใด (ฟังดูเหมือนพิธีกรทีวีไงไม่รู้!) เพราะเป็นการทำให้เงินคุ้มค่ามากที่สุด ที่สำคัญ ช่วยให้มีการจับจ่ายใช้สอย สรุปว่าการเดินเข้าไป Pitch งาน ต้องตอบโจทย์ของลูกค้าด้วยประเด็น เงินหมุนเวียนในระบบ กลไกของประเทศจะขับเคลื่อนตัวได้ทันที สำคัญเรื่อง Strategic Thinking, Innovation, Cost (Media Rates & ขั้นตอนในการทำงานของการหาคนมาช่วยทำงานตามความถนัดของ CPRP), Value Added Items และ Fee หรือค่าตอบแทนในการทำงาน วิชาชีพ งานด่วน โฆษณาไม่ยากค่ะ มีกระบวนการอยู่แล้วคือ ลูกค้าหลายราย มีการให้ Weight น้ำหนัก หรือให้คะแนนการตัดสินใจ 1 การเลือก Candidate Media Agency ที่จะเข้ามานำเสนอ ไม่เหมือนกัน ใครทายใจ โดนใจที่สุด ก็รับงานไป Pitch งาน เหตุ ผ ลของเกณฑ์ ก ารตั ด สิ น ใจของลู ก ค้ า มั ก เหมื อ นแนวคิ ด ทาง 2 Brief หรืออธิบายสรุปความต้องการหรือวัตถุประสงค์ของสินค้า วิทยาศาสตร์ แนวว่าหนึ่งบวกหนึ่งเท่ากับสอง ฟังดูน่าเลื่อมใส ศรัทธาใน (ซึ่งก็ชัดบ้าง-ไม่ชัดบ้าง ตามสมควร เป็นความปกติที่รับกันได้มา ความยุติธรรมและความคิดที่แยบคาย นานแล้ว) แต่ท้ายที่สุดโจทย์ มักจะจบลงที่ Agency เจ้าไหน ให้ราคาดีที่สุดอยู่ดี 3 นัดวันแข่งขัน หรือ Pitch Presentation ซึ่งผู้ตัดสินก็อาจจะเป็น แต่เอ... หมู่นี้ก็มักจะได้ยินข่าวว่า ผลลัพธ์แนวนี้เริ่มจางลงบ้างหรือเปล่านะ ผู้บริหารระดับสูงขององค์กร หรือ คณะกรรมการฯ แล้วแต่ลักษณะ ในวงการที่ผ่านมาของดิฉันกว่าสามสิบปี อาจช้าเชยไปบ้างแล้ว น้องๆ ยุคนี้ ขององค์กรนั้นๆ จะเติมข้อมูลให้คุณๆ ผู้อ่านบ้างก็ได้นะคะ…

“เบื้ อ งหลั ง งาน Pitch”

65


คนในวงการสื่อนอกบ้าน “…ราคาและเวลา จึงเป็นกุญแจดอกสำคัญของการทำธุรกิจอิ งค์เจ็ท…” “…. price and quickly producing is the key-performance for inkjet business…” “ผมไม่รู้เรื่องธุรกิจการทำอิงค์เจ็ทมาก่อนใน แบ่งกลุม ่ ดูคณ ุ ภาพ ชี วิ ต เพราะจบด้ า นคอมพิ ว เตอร์ ม า แต่ จ าก คุณสุรศักดิ์ เป็นไอทีแมนที่ดูแลเครื่องได้เอง คำแนะนำของเพื่ อ น ของเพื่ อ น(อี ก ที ) ว่ า เป็ น อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เขาจึ ง วางแผนต่ อ ระบบ ธุรกิจที่น่าทำ เขาเป็นกราฟฟิคที่ทำงานด้านนี้อยู่ Lan ลงลึก แก้ปัญหาได้ ไม่ต้องรอเจ้าหน้าที่ทีม ก่ อ นแล้ ว จึ ง มองเห็ น โอกาส ผมก็ ล องค้ น คว้ า บริ ก ารจากบริ ษั ท แม่ เขาก็ ล งมื อ ได้ เ อง งานจึ ง ศึกษาเองจนเปิดบริษัทเมื่อปี 2544 และที่ผ่านมา คล่องตัวและรองรับลูกค้าที่เพิ่มปริมาณมากขึ้นได้ ก็ไม่ผิดหวัง ถึงวันนี้ลูกค้าจะหดตัวลงบ้างก็ตาม อีก 3 ปี ต่อมาภรรยา - คุณอุษณีย์ พาณิชย์ ครับ” วิสัย จึงเข้ามาช่วยงานด้านการตลาด หลังจากที่ คุณสุรศักดิ์ พาณิชย์วิสัย กรรมการผู้จัดการ เธอเคยผ่านงานธุรกิจส่งออกมาก่อน บริษัทนี้จึง บริ ษั ท พิ ค เจอร์ เวิ ร์ ค จำกั ด เล่ า ถึ ง งานของเขา กลายเป็นธุรกิจครอบครัวโดยสมบูรณ์แบบนับจาก เมื่ อ 8 ปี ก่ อ น ที่ เปิ ด เพี ย งคู ห าเดี ย ว วั นนี้ ก ลาย นั้นมา เป็ น เจ็ ด ห้ อ งและมี ลู ก ค้ า ผ่ า นเข้ า มาใช้ บ ริ ก าร นับพันราย และมีลูกค้าที่ติดใจเลือกใช้บริการกัน เวลาเปลีย ่ น ราคาเปลีย่ น ประจำกว่ายี่สิบราย คุ ณ โอ๋ - อุ ษ ณี ย์ รั บ ห น้ า ที่ ดู แ ล ลู ก ค้ า เขาเป็ น ลู ก คนจี น ที่ ถู ก ปลู ก ฝั ง ว่ า ควรเป็ น การตลาดต้ อ งเข้ ม แข็ ง การแข่ ง ขั น สู ง ขึ้ น จาก เถ้าแก่เอง หลังจบจากรั้วนนทรี - เกษตรศาสตร์ ราคาที่ เ คยขายกั น อยู่ ที่ เ ฉลี่ ย ตารางเมตรละ สามี – ภรรยา คู่ตัวอย่าง เขาไปช่วยวางระบบคอมพิวเตอร์ให้ร้านขายทอง 1,200 บาท ปรับขยับลงมาด้วยสงครามหั่นราคา คุณโอ๋ – อุษณีย์ ดูแลงานการตลาด ของพี่ ช าย ราว 1 ปี เมื่ อ เข้ า ที่ เข้ า ทางแล้ ว ก็ ม า จนมาวันนี้ ราคาเฉลี่ยน่าจะอยู่ที่ 400 บาท ส่วน คุณเม้ง – สุรศักดิ์ ดูแลงานการผลิต ต่างที่หายไปคือกำไรส่วนเกินที่ต้องตัดทิ้ง จนต้อง เริ่มธุรกิจของตัวเองทันที เลือกทำเลของร้านไม่ไกลจากมหาวิทยาลัย เสริมกลยุทธ์ด้านอื่นเข้ามาเพื่อพยุงตัว หลังจากที่ รามคำแหงและ ABAC นั ก อาจเป็ น ความ เคยมี ม าร์ จิ้ น จนกลายเป็ น แรงดู ด ให้ เ กิ ด การ บั ง เอิ ญ มากกว่ า ความตั้ ง ใจที่ จ ะมี ลู ก ค้ า กลุ่ ม แข่งขัน นั ก ศึ ก ษาในตอนแรก เลื อ กเพราะอยู่ ใกล้ บ้ า น “เกิดการแข่งขันด้านราคาก็จริงค่ะ แต่คิดว่า ลูกค้าจะถูกแบ่งกลุ่มด้วยราคา เพราะมีคุณภาพ มากกว่า “ลูกค้ามีสัดส่วนนักศึกษาอยู่บ้าง ประปราย เป็ น ตั ว ชี้ วั ด ” คราวนี้ บ ทเล่ า เรื่ อ งเป็ น ของการ ส่วนใหญ่เป็นออร์เดอร์มาจากเอเยนซี ผู้จัดงาน ตลาด ไอทีแมนได้แต่นั่งยิ้ม อีเว้นท์ ราว 70 % ส่วนที่เหลือเป็นลูกค้าตรงที่ เครื่ อ งพิ ม พ์ ถู ก ลำเลี ย ง เข้ า มาเติ ม เพิ่ ม ขึ้ น บอกให้เราไปช่วยงาน” เป็นเครื่องที่ใช้พิมพ์ indoor 4 ตัว และ outdoor จากหนึ่งห้องเมื่อแปดปีก่อนมาเป็นเจ็ดห้องในวันนี้

“ผมทำงานเป็ นนาที”

72


อีก 1 ตัว หลังจากมีลูกค้ารายแรก เป็นค่ายหนัง เข้ามาใช้บริการ จากนั้นพวกเขาก็รู้จักงานพิมพ์ อิงค์เจ็ทได้ดียิ่งขึ้น ลูกค้ามีทั้งที่เดินเข้ามาใช้บริการเอง บางครั้ง มาขอนั่งรอรับงานไปเลย และลูกค้าที่ต้องนำไป เสนอ เธอดีใจที่ลูกค้ารายหลัก คือ Dtac ที่เลือก ใช้บริการ ด้วยเหตุผลน่าคิดว่า เขามีหลายช็อป มาก หากมอบงานให้เพียงเจ้าเดียว ทั่วประเทศ มักจะมีปัญหาเรื่องการส่งมอบงาน การดูแลงานที่ ไม่ทั่วถึง เขาจึงขอแบ่งงานออกเป็นภาคๆ มอบให้ ผู้ผลิตรายขนาดกลางมารับงานไป โดยมั่นใจว่าจะ ช่วยดูแลงานได้อย่างใกล้ชิดมีคุณภาพ “แต่ ล ะไตรมาส จะมี ช็ อ ปของ Dtac ที่ เรา ทำงานให้ 30 - 40 ช็อป และมีลูกค้าเจ้าประจำ อีกสัก 20 ราย ที่เวียนมาใช้บริการ จนกลายเป็น เพื่อนกันไปแล้วค่ะ”

งานนี้ที่สุวรรณภูมิ

งานยากคือเวลา

Dtac ช็อปที่ทำให้ลูกค้าแฮปปี้ไปด้วย

พิมพ์ฝีมือดีช่วยสร้างภาพพจน์ที่ดีให้ลูกค้า

งานพิมพ์ชิ้นใหญ่ได้ใจ

วันนี้ วันที่เศรษฐกิจรัดตัว แต่ลูกค้าก็ยังเดิน เข้ามาใช้บริการ ชีวิตต้องเดินต่อไป เพื่อนๆ ใน วงการ เป็ น เพื่ อ นที่ มี ไว้ ค อยปรึ ก ษาหารื อ กั น ได้ เสมอ ไม่ใช่คู่แข่งที่จะต้องมีชัยชนะซึ่งกันและกัน ทุกคนจึงต้องแข่งกับตัวเอง “งานยากของธุ ร กิ จ นี้ หลั ง จากที่ ผ มทำงาน ตลอด 8 ปี คื อ การต้ อ งทำงานแข่ ง กั บ เวลาโดย ตลอด จนผมคิดว่าเป็นธรรมชาติของงานนี้ไปแล้ว ที่ต้องเร่งด่วน ถึงด่วนที่สุด ไฟล์งานที่ต้องพิมพ์ บางครั้ ง ยั ง มาไม่ ถึ ง มื อ แต่ ลู ก ค้ า กำหนดเวลา เสร็จงานให้ผมมาแล้ว ทุกอย่างจึงต้องวางแผน ทันที ทีมงานทำงานนับเวลาเป็นนาทีครับ โชคดีที่ ทุกคนเข้าใจ” ทีมงานของเขา เป็นคนรุ่นใหม่ที่มีวัยเดียวกัน วัย 34 ของเขา กลายเป็นสูงวัยที่สุดในบริษัท คน รุ่ น หนุ่ ม สาวจึ ง มี พ ละกำลั ง และเข้ า ใจงานของ พวกเขาดี ด้วยภาษาเดียวกันเกือบ 10 คน ราคาและเวลา จึงเป็นกุญแจดอกสำคัญของ การทำธุรกิจนี้ “ผมยั ง ไม่ คิ ด ขยายงานไปมากกว่ า นี้ และ แน่ใจว่าคิดไม่ผิดที่เดินเข้ามาทำธุรกิจนี้ครับ” เขามั่ น ใจกั บ งานการเป็ น แหล่ ง ผลิ ต สิ นค้ า คุ ณ ภาพให้ ลู ก ค้ า ยั ง ไม่ พ ร้ อ มที่ จ ะเดิ น ไปสร้ า ง ดีมานด์ให้ลูกค้า รับพิมพ์งานให้ทันกับเวลา ด่วน ถึงด่วนที่สุด ให้ดีที่สุด ก็พอใจกับผลงานสวยๆ ที่ ผลิตออกมาแล้ว…

เทคนิคการพิมพ์ ทำให้เกิดภาพ 3 มิติ ได้   73


คนในวงการสื่อนอกบ้าน “… เศรษฐกิจ ไม่เป็นอุป สรรค ต่องานขายของเขาเลย งบน้อยก็เป็นทางเลื อกให้ลูกค้าได้…” “...if you have tightly budgeting, the still in your hand…” way out and seem to same brand awareness, คุณจักรกฤษณ์ เข็มทอง หนุ่มนักขายระดับ มื อ ทอง วั ย ยั ง ไม่ ช นสามสิ บ - ในขณะนั้ น เขา ผ่านงานขายมาตั้งแต่วัยสิบเก้า เล่าแบบไม่ปิดบัง เป็นเสน่ห์เฉพาะตัวที่เด็กรุ่นใหม่ควรจำเยี่ยงอย่าง มาใช้ จากเด็ ก หนุ่ ม จบปวช.หิ้ ว กระเป๋ า จาก กาญจนบุรีบ้านเกิด เข้ามาหาโอกาสในเมืองหลวง งานที่ได้เป็นงานขายพจนานุกรมเด็ก เป็นชุดละ หลักหมื่น เดินหอบหิ้วขายไปตามบ้านพักอาศัย ท้อและคิดไม่ตกว่าลูกค้าจะซื้อของแพงขนาดนี้ได้ อย่างไร แม้จะดีต่อลูกๆ ของพวกเขา แต่ราคาคง ทำให้ผู้ปกครองคิดหนัก ความมุ่งมั่นที่จะไม่เดิน ถอยหลัง ทำให้เขาต้องเปิดตำรา ถามพี่เลี้ยง ฝึก พูดต่อหน้ากระจกคนเดียวทุกวัน เฝ้ามองสีหน้า ท่าทาง ภาษากายของตัวเอง จนคิดว่าน่าจะทำให้ ลูกค้าหยุดฟังได้ ไม่ซื้อก็ไม่เป็นไร อย่าไล่ออกมา คุณจักรกฤษณ์ เข็มทอง เขามั่นใจว่าขายทุกอย่างในมือ คุณพรชัย สุทธิรักษ์ เถ้าแก่ใจดี โหงวเฮ้งก็ดีด้วยนะ เหมือนหมูหมาละกัน เขาจำแม่นว่าลูกค้ารายแรกที่สร้างอาชีพงาน ได้ และคุ้มค่าเงินของลูกค้า การทำงานของ “คนคู่” เป็นการทำงานที่ฝรั่ง ขายให้ เ ขา ชื่ อ “คุ ณ ปู่ ” เป็ น เจ้ า ของปั๊ ม ย่ า น เรี ย กว่ า “ดู โ อ” เป็ น การใช้ ค วามชำนาญของ ฉะเชิงเทรา จากคำพูดของเขาเองที่สะกิด สะกด กำลังใจ ความมั่นใจเทมามหาศาล เมื่อลูกค้า แต่ละคนมาผสมเหมือนแม่น้ำสองสายไหลมารวม และบันดาลใจให้ผู้คนเปิดโอกาส ให้กำลังใจซึ่งกัน ตอบรับ เขากลายเป็นเซลล์ที่มียอดขายสูงสุดใน กัน รุก รับ จึงสลับฟันปลา เหมาะกับยุคนี้และกับ และกันได้ทันเวลา น่าบูชาน้ำใจและอยากให้คน รอบสามเดือน คอมมิสชั่นของเขากว่าสามแสน ทุกยุคของการทำงานยิ่งนัก ไทยเป็นอย่างนี้ สังคมไทยจะน่าอยู่ขึ้นมาอีกมาก บาท ทำให้ได้รับรางวัลไปเที่ยวดูงานต่างประเทศ คนหนึ่ ง เป็ น “น้ า เขย” อี ก คนหนึ่ ง เป็ น โข ทั นที จากวั นนั้ น เด็ ก หนุ่ ม คนนั้ นก็ ยึ ด อาชี พ เป็ น “หลานภรรยา” “พี่คิดว่าอาชีพเซลล์ มันต่ำต้อย น่ารังเกียจ นักขาย เขามั่นใจกับสินค้าทุกอย่างในมือ ต่อให้ คนหนึ่งชำนาญงานผลิต อีกคนหนึ่งเก่งเรื่อง มากเหรอครับ หากพี่ให้โอกาสผม ช่วยอุดหนุน เป็นอะไรก็ไม่หวั่นอีกต่อไป เพราะงานทุกอย่าง อาจเป็นการสร้างอนาคตอันยิ่งใหญ่ให้ผม และ สินค้าทุกชิ้นจะมีช่องว่างทางการตลาดให้แทรก งานการขาย ฉากของการทำงานกั บ ธุ ร กิ จ เรื่ อ งป้ า ยจึ ง ของชิ้นนี้ก็เป็นประโยชน์กับลูกหลานในครอบครัว ตัวได้เสมอ เกิดขึ้นในปี 2546 ของพี่มากนะครับ” งานต่อๆ มาของเขาล้วนเป็นงานขาย งานที่ เมอื่ นักทำ กับมือขายมาเจอกัน คุ ณ พรชั ย สุ ท ธิ รั ก ษ์ เป็ น อาจาร์ ย สอน วิศวกรรมเครื่องกล และมาเปิดบริษัทส่วนตัวชื่อ บริษัท เอส.ที.อาร์.สเทร็ง(ประเทศไทย) จำกัด รับ งานด้านโครงเหล็ก ช่วยงานเพื่อนที่ทำงานให้กับ ลูกค้า - ปั๊มบางจาก ทำป้าย ทำโครง จนปั๊มข้างๆ มาเห็นฝีมือ จึงแนะนำกันต่อๆ มา อีกหลายยี่ห้อ รวมถึงโชว์รูมรถยนต์อีกทั่วประเทศ ออฟฟิศใหม่ย่านพุทธมณฑล น่าอยู่ และถูกต้องตามหลักฮวงจุ้ย โปรดสังเกตที่กิเลนคู่

“ผมขายป้ายกองโจร”

74


ย่านชุมชน ภาพน้องหนูกับสีสดๆ ก็ดึงสายตาได้แล้ว Light Box ที่อาจจะบาดตา สสส. ยิ่งนัก ได้ ท ำจนคิ ด ว่ า เป็ น อาชี พ ที่ มี แ นวโน้ ม ดี ต้ อ งใช้ ทักษะ มีความละเอียดอ่อนและที่สำคัญไม่ใช่งาน ที่ใครคิดจะมาทำได้ง่ายๆ “มาวันหนึ่งผมคิดว่า ผมควรมีกิจการของตัว เองได้แล้ว จึงปรึกษากับน้าสาว เธอก็บอกว่าไป คุยกับสามีน้าซิ ผมจึงได้มาคุยเล่าสิ่งที่ผมอยาก ทำให้คุณพรชัยฟัง จนกลายมาเป็นบริษัทนี้แหละ ครับ”

นี่แหละ “ป้ายกองโจร” ของแท้ การตระเวนหาสถานที่ติดตั้งป้ายในจุดที่เป็นช่องว่างทางการตลาดจึงเกิดขึ้น ระดมไป ทั่วประเทศ ตอนนี้เขามีจุดติดตั้งแล้ว กว่า 800 แห่ง

บริ ษั ท มั ล ติ ไ ซน์ มี เดี ย จำกั ด ก่ อ ตั้ ง เมื่ อ ปี 2546 ชื่ อ ก็ ช่ ว ยกั นคิ ด โลโก้ ก็ ช่ ว ยกั น ออกแบบ เป็นแม่สี มองให้สะดุดตาเข้าไว้ ไม่ต้องการลงทุน มาก จึงเน้นงานขายจากฐานเดิมของงายขายของ คุณจักรกฤษณ์ ที่เคยผ่านงานด้านป้ายโฆษณา มา ก่อน แต่ติดขัดเรื่องการส่งมอบสถานที่ติดตั้งเมื่อ ลูกค้าตกลง งานนี้จึงต้องบริหารจัดการใหม่หมด ขอเป็นงานที่ครบองค์ประกอบและตัดสินได้เองดี สุด ทั้งที่อยากแบ่งงานกันทำกับเพื่อนๆ และคู่ค้า

ภาวะเศรษฐกิจที่บีบรัด ยิ่งทำให้การใช้งบประมาณต้องเข้มงวด ผู้บริหารของมัลติไซน์ กลับมองว่าไม่น่ากังวลใจ ยิ่งเม็ดเงินมีน้อย ยิ่งต้องมองหาความคุ้มค่าที่กระจายตัวไปอย่าง ทั่วถึงเจ้าที่เคยใช้ป้ายใหญ่ ก็อาจจะย่อขนาดลงมาเจอแบบส้มหล่นตรงหน้าพอดิบ พอดี “ผมภูมิใจที่ลูกค้าบางราย เป็นรายใหญ่แต่เลือกที่จะใช้บริการของผม ทั้งที่เขาเลือกได้ อีกมากมาย ผมจึงเต็มที่กับลูกค้าที่เลือกผมครับ” จิตวิญญาณนักขายอย่างเขา จึงอุ่นใจได้ว่า เมื่อโลกใบนี้ยังต้องมีงานโฆษณา เขาจึง เป็นอีกหนึ่งตัวเลือกของลูกค้าได้เสมอ และทิ้งท้ายว่า อาจจะมีผลิตภัฑณ์ใหม่ๆ ออกมาให้ ลูกค้าเลือกเพิ่มได้อีกเร็วๆ นี้…

ช่องว่างและเอกลักษณ์

ขายป้ายกองโจร

กลยุทธ์การขายของเขา เป็นการหาช่องว่างตามกำลังของลูกค้าและตามงานที่ตัวเอง ดูแลเองได้ ด้วยการขายบวกการสนับสนุนจากกองหลัง กองหนุนที่ต้องคุยเป็นทีมเวิร์ค เดียวกัน สร้างความสะดวกสบายให้ลูกค้า ไม่ว่าจะสภาวะใดลูกค้าจะรู้สึกได้ถึงความคุ้มค่า และมีให้เลือกเจาะจงรายจุด รายจังหวัดได้ “ผมมีป้ายให้ลูกค้าเลือก 3 แบบ ครับ คือ Mini Sign เป็น Light Box ขนาด 4*5 เมตร, Mini - billboard ขนาด 7*8,10*20 เมตร และป้ายกองโจร ขนาด 3*5 เมตร ติด บนอาคาร ไม่มีเสาลงดินเลย และเป็นงานถนัดของทีมหนุนอยู่แล้วครับ” ป้ายทุกป้ายของค่ายนี้ จะอยู่บนอาคารทั้งสิ้น การตั้งชื่อที่ “ล่อแหลม” เรียกว่าเป็น ป้ายกองโจรนั้น เป็นเพียงกิมมิค เรียกร้องความสนใจให้ลูกค้าหันหน้ากลับมาถามว่า อะไร นะ เป็นยังไง เพื่อให้นักขายมือทองอย่างเขามีโอกาสอธิบาย ขยายความ จากนั้นก็เป็น ความสามารถของการปิดการขาย “เรียกว่าป้ายกองโจร ก็ไม่ได้หมายความว่า ผมจะขายของผิดกฎหมายนะครับ เพียง แต่เป็นการเรียกสนุกๆ ของงานขายเท่านั้นแหละครับ โปรดอย่าคิดมาก” การเลือกจุด - โลเคชั่น เป็นหัวใจของงานขายป้ายโฆษณา จุดที่เป็นทำเลทอง คือ ย่านชุมชน สี่แยก ตลาดสด และการมีวาทศิลป์ที่ดีเยี่ยมในการไปเจรจาขอเช่าพื้นที่ของ มุมตึก ซึ่งที่ผ่านมามักจะราบรื่นตลอดมา

งบน้อยเชญ ิ ทางนี ้

75


งสุด ถึงยุคแบ่งปัน หมดยุ ค การทำกำไรสู สร้างสังคมน่าอยู ่ร่วมกัน เมื่อต้นเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา คณะสมาชิกของเครือข่าย ธุรกิจเพือ่ สังคมและสิง่ แวดล้อม จัดกิจกรรม SVN VISIT ซึง่ โดย ปกติจะเดินทางเยี่ยมชมกันสัก 2 - 3 เดือน เราจะพาสมาชิก และท่านที่สนใจไปบริษัทที่มี Best practices หรือประพฤติ ปฏิบัติดีในเรื่องการมองเห็นประโยชน์ส่วนรวมในการทำธุรกิจ เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีและสนับสนุนให้กำลังใจกัน หรือไม่ก็ไป เยีย่ มชุมชนเพือ่ กระตุน้ เตือนนักธุรกิจได้รบั ทราบ ให้เห็นถึงถึงวิถี ชุมชน ความเป็นอยูข่ องชาวบ้าน ปัญหาชุมชน ให้เห็นกับตาของ ท่านเอง ไม่ต้องไปนั่งนึกเป็นจินตนาการ หรืออ่านข่าวตามหน้า สือ่ ต่างๆ ในครั้งนี้เราพาคณะกรรมการและสมาชิกว่า 20 คน ไป เยีย่ มชมพืน้ ฐานชุมชนเข้มแข็งทีจ่ งั หวัดตราด ไม่วา่ จะเป็นสัจจะ ออมทรัพย์ นำโดยพระสุบนิ มณีโต เจ้าอาวาสวัดไผ่ลอ้ ม ท่าน เห็นปัญหาชาวบ้านในการขาดวินัยในการออมทรัพย์ และขาด โอกาสในการเข้าถึงทุน จึงได้ดำเนินการจัดตัง้ สัจจะออมทรัพย์ขนึ้ ในชุมชน ให้มนี สิ ยั ในการเก็บออมอย่างสม่ำเสมอ และช่วยเหลือ กันภายในชุมชน โดยผูม้ คี วามเดือดร้อนสามารถหยิบยืมกันได้ ใน อัตราดอกเบีย้ ต่ำกว่าธนาคาร และไม่ตอ้ งมีหลักทรัพย์คำ้ ประกัน แต่ให้เพื่อนบ้านค้ำประกันกันเอง ผู้ที่ขาดวินัยหรือบิดเบี้ยวก็จะ ถูกมาตราการทางสังคมลงโทษ - Social Sanction เป็นการดัด นิสยั กันเองโดยไม่ถงึ กับเป็นคดีความ แจ้งความ ร้องทุกข์ เอาผิด ให้ตดิ คุกกันแต่ประการใด ในขณะนีม้ กี ลุม่ แบบนีใ้ นจังหวัดตราด ภายใต้การนำของพระสุบนิ กว่า 164 กลุม่ มีเงินหมุนเวียนกว่า 1,000 ล้านบาทแล้ว และยังเดินหน้าเติบโตต่อไป เป็นตัวอย่าง พืน้ ฐานการรวมตัวในชุมชน แต่พระสุบนิ กล่าวว่า ไม่ได้นำเรือ่ ง

สุทธิชัย เอี่ยมเจริญยิ่ง ประธานเครือข่ายธุรกิจเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม Suthichai Eamcharoenying President, Social Venture Network ในสังคมชนบท บ้าน วัด มีความสัมพันธ์กัน ผู้ที่ “…. เป็ นศูนย์รวมของชุมชนได้ดี คือ หลวงพ่อ ถือว่าเป็น ผู ้นำชุมชน ระดับท้องถิ่น ที่มีส่วนช่วยให้ ชุมชนนั้นๆ เข้ มแข็ง… “....In the countryside, homes and temples are closely related. The abbot is deemed as the leader of the local people , he plays a major role in strengthening certain communities.....” เงินมาเป็นตัวตัง้ แต่ใช้การสือ่ สารกันในชุมชนให้เข้าถึงพระธรรม หรื อ เข้ า วั ด มากขึ้ น จะช่ ว ยกล่ อ มเกลาจิ ต ใจ ความซื่ อ สั ต ย์ สัจธรรมของมนุษย์ได้ระดับหนึง่ ความสำคัญนอกเหนือจากนัน้ แล้วพบว่า พืน้ ฐานการรวมตัว และทำกิจกรรมร่วมกันเพื่ออนาคตจะเกิดเป็นชุมชมเข้มแข็ง, สังคมเข้มแข็ง อีกตัวอย่าง ที่ผมอยากเล่า คือ ชุมชนวัดท่าโสม โดยท่าน พระครูวิมล โสมนันท์ เจ้าอาวาสที่อาศัยทั้งสัจจะออมทรัพย์, กิจกรรมหลักประกันสุขภาพ ทำให้ชาวบ้านในชุมชนทั้งหมด ได้ รั บ การตรวจสุ ข ภาพพื้ นฐาน ซึ่ ง นำไปสู่ ก ารดู แ ล ป้ อ งกั น สุขภาพก่อนการเกิดโรคภัยไข้เจ็บนานาชนิด นอกจากนั้นยังมี ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม เป็นที่รวมของชาวบ้านหลากหลายต่างวัย ต่างอายุกัน ตั้งแต่เด็กจนถึงผู้สูงวัย จูงมือพากันเดินเข้าวัดทำ กิจกรรมร่วมกัน ทำให้ชมุ ชนว่าท่าโสม เป็นสังคมน่าอยู่ หนุม่ สาว ย้ายเข้าเมืองน้อยลง การเดินทางทริปนี้เป็นตัวอย่างเพียงเล็กน้อยของ SVN VISIT ซึง่ ใช้เวลา 3 วัน เรียนรูว้ ถิ ชี มุ ชนเข้มแข็ง ถ้าประเทศไทย มี ชุ ม ชนแบบนี้ สั ก 30 - 40% เราคงไม่ ต้ อ งให้ Social Responsibility เป็ น ภาระของใครที่ จ ะต้ อ งทั้ ง ผลั ก ทั้ ง ดั น ทัง้ แกมบังคับ เพราะจะเป็นการเกิดขึน้ ในลักษณะกลไกการตลาด จากหัวใจของตัวเอง จากจิตสำนึกที่ระลึกอยู่ทุกห้วงความรู้สึก กลไกสังคมแบบนีจ้ ะเกิดขึน้ และยัง่ ยืน ทำดี มีคนเห็น ยกย่องกัน ให้ ก ำลั ง ใจกั น เป็ นจิ ต ที่ ป รารถนาให้ สั ง คมมี สุ ข อย่ า งแท้ จ ริ ง คุณๆ คิดอย่างไรครับ…

“ปฏิบัติดี มีคนยกย่อง”

66


หมดยุ ค การทำกำไรสู ง สุ ด ถึ ง ยุ ค แบ่ ง ปั น สร้างสังคมน่าอยู่ร่วมกัน “…. บ้านนกขมิ้น ที่พักพึ่งของเด็กกำพร้า กว่า 200 คน มาวันนี้ผู้ดูแลมี โครงการที่จะทำให้พวกเขา รู้จักคุณค่าของการดูแลตัวเอง รู้คุณ ของข้าวทุกเม็ด ด้วยโครงการ ทำนา เพื่อปลู กข้าวไว้กินเอง ที่จังหวัดอุทัยธานี….” “…Baan Nok kamin, a home to more than 200 orphans, is planned to teach them to realize taking care of themselves, and to understand the value of every grain of rice. They has a rice farming project which will supply rice for the home’s needs at Uthaitanee province. ยุคนี้ทุกคนต้องลงมือช่วยเหลือตัวเองให้มากที่สุด หากเหลือบ่ากว่าแรง อาจจะต้องร้องขอจากผู้ใหญ่ใจดีได้ ซึ่งเชื่อว่าสังคมได้เอื้ออาทรกันอยู่แล้ว มู ล นิ ธิ บ้ า นนกขมิ้ น ก่ อ ตั้ ง มาเมื่ อ เดื อ นพฤศจิ ก ายน 2532 โดยนาย เออร์ วิ น กรอบลี่ ซึ่ ง เป็ น มิ ช ชั่ น นารี ช าวสวิ ส เซอร์ แ ลนด์ ใ นสั ง กั ด ของ โอ.เอ็ ม .เอฟ. มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ให้ ค วามดู แ ล และช่ ว ยเหลื อ เด็ ก เร่ ร่ อ น เด็ ก กำพร้ า เด็ ก ที่ ถู ก ทอดทิ้ ง และบำบั ด ผู้ ติ ด ยาเสพติ ด ซึ่ ง ได้ รั บ เงิ นทุ น สนับสนุนจากกลุ่มเพื่อนๆ ของพ่อเออร์วิน บ้านนกขมิ้น ใช้เป็นที่บ่มพักอาศัยของน้องๆ วัยตั้งแต่ 6 - 12 ปี น้องๆ เหล่ า นี้ ก ำลั ง อยู่ ในวั ย เรี ย น กำลั ง กิ น กำลั ง โต พวกเขาจะกลายเป็ นกำลั ง สำคัญของบ้านเมืองในอนาคต นอกเหนือจากการได้รับน้ำใจจากผู้คนในสังคมแล้ว เจ้าหน้าที่มูลนิธิบ้าน นกขมิ้ นคนขยั น คุ ณ ประเจน ปะนั นตั ง มี แ นวคิ ด ในการจั ด ทำโครงการ เหนื่อยกาย แต่อิ่มบุญ “ทำนาเลี้ยงน้อง” บนผืนท้องนาจังหวัดอุทัยธานี ด้วยขนาดทดลอง 10 ไร่ ในปีแรก ด้วยการคำนวณต้นทุนไว้ที่ 5,000 บาท ต่อไร่ สิ่งที่น่าสนใจคือ งานนี้เขาขอแรงจากน้องๆ ของบ้านนกขมิ้น ไปช่วยกัน ทำนา เด็กๆ มีส่วนร่วมกันอย่างสนุกสนาน อย่างที่เห็นกันในภาพ ผลผลิตปีแรก สำเร็จออกมาจากทุกหยาดเหงื่อของน้องๆ แล้วได้ข้าว เปลื อ กมา 80 ถั ง ต่ อ ไร่ แ ละนำเข้ า สู่ ข บวนการ สี ข้ า ว ล ำ เ ลี ย ง ม า ยั ง บ้ า นนก ข มิ้ นที่ บึ ง กุ่ ม ชานเมืองกรุงเทพฯ เป็นข้าวจากฝีมือตัวเอง ที่มี คุณค่าทางจิตใจอย่างประเมินค่ามิได้ ผู้ใหญ่ใจดีท่านใด อยากสนับสนุน โครงการ สร้ า งสรรค์ สั ง คมดี ๆ เช่ น นี้ ติ ด ต่ อ ไปได้ ที่ สำนั ก งานมู ล นิ ธิ บ้ า นนกขมิ้ น 89 ซ.เสรี ไทย17 ถ.เสรีไทยคลองกุ่ม บึงกุ่ม กรุงเทพฯ 10240 โทร 089-214-1126 www.baan nokkamin.in.th พี่ชายที่แสนดีของน้องๆ น้ำพักน้ำแรงของพวกหนูเองค่ะ

“ทำนาเลี ้ ย งน้ อ ง”

77


“มีคนที่ไหน มีโฆษณาที่นั่น” ทฤษฎีนี้กำลังจะถูกท้าทาย (อีกครั้ง) เมื่อร้านสะดวกซื้อที่กระจายตัว ทุกปากซอย อย่าง 7 - 11 จะมีจอโฆษณา อันเป็นการเชื่อมเทคโนโลยีเข้ากับการตลาด สมานเนียน เป็นเนื้อเดียวกัน และอยู่ใกล้จนอาจกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตผู้บริโภค การโฆษณาแบบ Mass Media ที่หว่านเม็ดเงินให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย นับแสน นับล้านคน อาจกำลังถูกเปลี่ยนโฉม ด้วยแนวโน้มของการตลาดแบบเจาะจง ลงกลุ่มรับข่าวสารที่มีขนาดเล็กลง แต่ ล้วนเป็นลูกค้าที่พร้อมซื้อสินค้าทั้งสิ้น “ผมมั่นใจว่าแนวโน้มของการตลาดยุคนี้ เจ้าของสินค้าไม่เหวี่ยงเงินทิ้งโดยสูญเปล่าแน่เพราะต้อง กลับคืนมาเป็นยอดขายให้ได้ และที่มากไปกว่านั้น ยุคนี้เขาเลือกที่จะยิงตรงหาลูกค้าได้ครับ” ดร.พงค์ ศ านติ์ อภิ ร ติ เ กี ย รติ กรรมการผู้ จั ด การ บริ ษั ท ที วิ ซ ออดิ ซิ (ประเทศไทย) จำกั ด เปิดประเด็นบนความมั่นใจว่า การเซ็นสัญญารับบริหารสื่อโฆษณาในร้านสะดวกซื้อ จะเป็นสื่อประเภท Instore Media ที่มาแรง กลายเป็นกระแสโหมโชนไปทั่วโลก เขาเป็นวิศวกรหนุ่ม ที่มีความคิดทันสมัย ติดตาม เกาะติดเรื่องใหม่ๆ ของเทคโนโยลี จนกลายเป็น คู่ร่วมลงทุนกับนักธุรกิจชาวอิสราเอล เป็นบริษัทนี้เมื่อสองปีก่อน

ในร้านสะดวกซื้อ”

ดร.พงค์ศานติ์ อภิรติเกียรติ วิศวกรหนุ่มผู้ที่สามารถบวก เทคโนโลยีกับการตลาดได้ฉมัง

70


ลงนามในสัญญาการบริหารสื่อโฆษณาในร้านสะดวกซื้อ 200 สาขา เป็นเวลา 5 ปี ค่ายทีวิซ ออดิซิ เป็นค่ายโปรแกรมเมอร์สมองเพชร ที่วางระบบคอมพิวเตอร์รองรับการตลาดได้ คล่องแคล่ว ใช้กับหลายผลิตภัณฑ์มาแล้วทั่วโลก จนมีฉายาว่าระบบการตลาดอัจฉริยะ การตลาด การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ สุดท้ายจบลงที่ การตัดสินใจ ณ จุดขาย มีหลายชิ้นงานวิจัย ที่ค้นพบว่า การกระตุ้นเตือนในเสี้ยววินาที มีผลกับการตัดสินใจเลือกซื้อ - หยิบสินค้าของผู้บริโภค จอ LCD ขนาด 32 นิ้ว ถูกติดตั้งในร้าน 7 - 11 จำนวน 200 สาขา แบ่งเป็นสาขาในกทม. 50 และในเมืองใหญ่ 150 สาขา “การเปิดตลอด 24 ชั่วโมง ของร้านสะดวกซื้อ ทำให้กระจายกำลังซื้อครอบคลุมกลุ่มคนต่างๆ ด้วย ฐานกว้างมาก ทุกสินค้ายังต้องมีโฆษณาแม้เศรษฐกิจจะเป็นยังไงก็ตาม แต่โอกาสของสื่อ ณ จุดขาย จะ ช่วยให้เกิดการบริหารต้นทุนแบบมีประสิทธิภาพสูงสุดได้อย่างตรงเป้าที่สุดครับ” การขายโฆษณาในร้านสะดวกซื้อนี้ มีนโยบายว่า เน้นลูกค้าที่มีสินค้าวางขายอยู่ในร้านอยู่แล้ว ราว 70% ส่วนที่เหลือเป็นสินค้าประเภทอื่นๆ เช่น แบงก์พาณิชย์ ประกันชีวิต มอเตอร์ไซด์ตลอดจน งานการประชาสัมพันธ์หน่วยงานของภาครัฐ ที่จะช่วยกระจายการรับรู้ไปสู่กลุ่มประชาชนได้กว้างขวาง ยิ่งขึ้น ราคาขาย เป็นตัวเงินที่เจ้าของสินค้าสามารถเปรียบเทียบกับการซื้อสื่อประเภทอื่นๆ ได้นั้น กำหนด ไว้ ที่ 280,000 บาทต่อเดือน ด้วยการออกอากาศสปอต 30 วินาที ผ่านจอ LCD จำนวน 96 ครั้งต่อวัน จัดเป็นระบบ Random ชุดละ 15 นาที นอกจากความมั่นใจในระบบคอมพิวเตอร์ที่จะรองรับได้แล้ว ผู้บริหารยังคำนึงถึงผู้บริโภค ด้านมูลค่า เพิ่มของการรับรู้ข่าวสาร ด้วยการมีตัววิ่งข่าวบนขอบจอ เสิร์ฟความสดใหม่ของข่าวได้ทันสมัย บนความ ร่วมมือจากสำนักข่าวไทย และวางแผนไว้ถึงว่า ทุกวันที่ 1 และ 16 ของเดือนลูกค้าจะวิ่งเข้าร้าน สะดวกซื้อ มาเช็คผลรางวัลเลข ของสลากกินแบ่งรัฐบาลได้ทันที “ผมเชื่อในเรื่องทฤษฎี Commercial Art จึงเน้นงานการสื่อสารการตลาด ที่จะส่งไปถึงผู้บริโภคด้วย คุณภาพ และสามารถช่วยให้ทุกงานยืนอยู่บนความยั่งยืนได้ บนการยึดในคำสัญญากับทุกภาคส่วนที่ เกี่ยวข้อง ผมว่าเป็นจรรยาบรรณของนักธุรกิจที่เวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ได้ครับ”

โฆษณาน่าจะมีส่วนกระตุ้นยอดขายให้ทุกสินค้าได้ การตอบคำถามว่ า งานของค่ า ยนี้ แตกต่ า ง จากค่ายอื่นๆ อย่างไรนั้น เขาตอบแบบมั่นใจว่า ระบบการนำเสนอมีความสวยงาม การปรับระบบ เทคโนโลยีมีความยืดหยุ่น ด้วยประสบการณ์จาก ทั่วโลกกว่า 40 ประเทศ บวกกับต้นทุนเดิมของ ร้านสะดวกซื้อ จะกลายเป็นจุดขายที่เจ้าของสินค้า หลายราย เริ่มสนใจบ้างแล้ว กว่า 5,000 สาขา และการขยายเพิ่มแบบ ไม่มีจุดจบของร้านสะดวกซื้อ เป็นความท้าทาย ในบริ บ ทของงานโฆษณา 200 สาขาแรกว่ า จะสามารถเพิ่ ม ยอดขายได้ ในปริ ม าณใด งานนี้ น่ า จะเข้ า ข่ า ยสู ต รที่ ทุ ก คน win – win ได้ ไม่ โหดหินนัก…

71


พิรัช ธัมพิพิธ ประธานชมรม Y-ME สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย Pirach Thampipit President of Yong Marketing Executive Club Marketing Association of Thailand Y-ME ดียังไง? ดี ที่มีเพื่อนเป็นนักการตลาดยุคใหม่ “...ธุรกิจ ค้าปลีก เข้ามามีส่วนสำคัญของผู้คนมากขึ้น จนแยกจากกัน ไม่ได้ การดึงคนเข้าห้าง อาจต้องมีกลยุทธ์ เฉพาะตัว ด้วยการตลาดที่ต้องแปลกใหม่ หลังจากนั้น จึ งจะตามมาด้วยยอดขาย…” “…Retail business has a more important role in modern life’s style, it’s seem to be inseparable. Attracting customers into department stores needs certain specific strategies using new marketing trends. …” ด้วยเหตุนี้แหละครับ ทำให้การจัดสัมมนาของชมรม Y-me หัวข้อ “ Retail Strategies’2009 Best Practices” ได้รับ ความสนใจมากเป็นพิเศษ เพราะมีผู้เกี่ยวข้องมากมาย จริงๆ ดู จากยอดจำหน่ายในโมเดิร์นเทรดกว่าหลักหลายแสนล้านต่อปี แล้วตัดความสงสัยไปได้ครับ เดิมคาดว่าจะมีผู้เข้ามาร่วมงาน สัก 100 คน ผมและทีมงานก็คิดว่าดูแลได้ แต่นี่มากันแน่นห้อง ที่เสริมแล้ว เสริมอีก ปิดจองไปแล้วก็ขอสำรอง เผื่อว่าจะมีใคร ยกเลิกบ้าง สุดท้ายต้องขยายห้อง ด้วยความจุเกือบ 400 คน กูรู ที่ดูแลและมีประสบการณ์จากธุรกิจนี้ มากันเป็นแผง ไม่หวั่นแม้จะมาเจอคู่แข่ง เพราะต่างคิดว่าเป็นเพื่อนร่วมธุรกิจ มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว เพื่อนจะจดจำไปใช้บ้างก็ไม่ว่ากัน ทำให้ ผู้ฟัง มีอรรถรส สนุก ถามตรง ตอบตรง มุมที่คล้ายกันของธุรกิจค้าปลีก คือ กลยุทธ์ดึงคนเข้าห้าง การสร้างความแปลกใหม่ ที่จอดรถไม่พอ รถติดจนผู้บริโภค เมื่อผู้บริหารทุ กห้างมาเจอกัน จะเกิดอะไรขึ้น เบื่อหน่ายไม่อยากไปอีก เพราะจุดหนึ่งที่ใช้วัดความสำเร็จคือ จำนวนคนที่เข้ามาใช้บริการ ส่วนยอดขายเป็นหมากเด็ดที่จะหา กันเอง เมื่อลูกค้าเดินเข้ามาถึงที่แล้ว มุมที่สนใจของซัพพลายเออร์ คือการอยากรู้ว่าสินค้าของ ตัวเองจะถูกเลือกให้เข้าไปวางในชั้นได้อย่างไร และไม่อยาก จ่ายค่าวางของหรือค่าแรกเข้า ล้วนเป็นมุมสวนทาง ที่น่าคิด น่าติดตาม ทุกค่ายมีมุกมา เล่า ให้ฮากันแบบไม่ปิดบัง ด้วยการที่เป็นนักการตลาด จึงมอง ทุกอย่างในแง่ดี ไม่เครียด ทุกอย่างมีทางออกเสมอ ผมคิดว่า หลายคนกลับไป ด้วยความเข้าใจในแนวคิดของ เจ้าของร้านค้าปลีกมากขึ้นว่า เขามีแนวคิดยังไง มุมที่มองกัน ย่อมอ่อนโยน เข้าใจกันมากขึ้น เป็นเรื่องที่ดีครับ ประโยชน์ของ งานสัมมนาก็จะมีมุมนี้แหละครับ ซึ่งยามปกติที่เจอกันในฐานะ ธุรกิจค้าปลีก เกี่ยวข้องกับผู้คนมากขึ้น จึงมีสมาชิกชมรม Y-Me และผู้สนใจเข้าร่วมฟัง จนล้นห้องกว่า 400 คน ผู้ซื้อ ผู้ขาย อาจหาไม่ง่ายนัก ในฐานะผู้จัดงาน ผมขอขอบคุณวิทยากรทุกท่านที่กรุณา การใช้เทคโนโลยี การเพิ่มความสะดวกสบายให้ผู้บริโภคได้ สละเวลามาร่วมงาน ได้แก่ ดร.ฉัตรชัย ตวงรัตนพันธ์ ที่ปรึกษา จับจ่าย กับบรรยากาศ น่าซื้อ น่าเดิน จัดเป็นหมวดหมู่ เย็น สมาคมค้าปลีกไทย, คุณยุทธศักดิ์ ภูมิสุรกุล บมจ. ซีพี ออลล์, สบาย และมี ค รบครั นกั บ สิ นค้ า ที่ พ วกเขาต้ อ งการ ส่ ง ผลให้ คุณชำนาญ เมธปรีชากุล บริษัท เดอะมอลล์ กรุ๊ป จำกัด, คุณ โมเดิ ร์ น เทรด ซึ่ ง หมายรวมถึ ง ร้ า นค้ า ปลี ก ขนาดใหญ่ ห้ า ง สมพงษ์ รุ่งนิรัติศัย บริษัทเอก-ชัย ดีสทริบิวชั่น ซิสเทม จำกัด, สรรพสินค้า ร้านสะดวกซื้อ ได้รับความนิยม และเกิดขึ้นทั่วทุก คุณภัทรพร เพ็ญประพัฒน์ บริษัท เซ็นทรัล ฟูดส์ รีเทล จำกัด หัวระแหง ลบภาพเดิมของการจ่ายกับข้าวในตลาดที่เฉอะแฉะ และขอบคุ ณ คุ ณธเนศ ตั้ ง เจริ ญ มั่ นคง ผู้ ด ำเนิ น รายการ ที่ ช่วยปรุงให้การพูดคุยมีรสชาติยิ่งนัก ซื้อของตามร้านชำ Media Sponsors by Sponsors by

“ยุคค้าปลีกครองตลาด”

76


กลุ่มศึกษาแลกเปลี่ยน - Group Study Exchange หรือเรียกกันง่ายๆ ว่า GSE เป็นโครงการขององค์โรตารี มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างมิตรภาพและความเข้าใจ อั น ดี ร ะหว่ า งประเทศ ให้ กั บ นั ก ธุ ร กิ จ ซึ่ ง ยั ง ไม่ ไ ด้ เป็ น สมาชิ ก โรตารี ให้ ไ ด้ รู้ จั ก อุดมการณ์การทำงานของโรตารี ผ่านประสบการณ์ในต่างแดนตามสายวิชาชีพของ พวกเขาเหล่ า นั้ น เช่ น หากเขาเป็ น เภสั ช กร ก็ ไ ด้ ร่ ว มแลกเปลี่ ย นกั บ ความรู้ ประสบการณ์ร่วมกับสมาชิกของโรตารีที่มีวิชาชีพเดียวกัน ในประเทศปลายทางที่ พวกเขาไปเยี่ยมเยือน ตลอดจนเป็นการสานไมตรีระหว่างสโมสรโรตารีที่เข้าร่วม โครงการด้วยกัน คำว่าแลกเปลี่ยน นั่นหมายถึง มีการส่งไป และส่งกลับ ความร่วมมือเกิดจากการแจ้งความประสงค์ว่า ภาคใด ในจำนวนกว่า 532 ภาคของโรตารีสากล จะร่วมโครงการกัน ซึ่งจะกำหนดเป็นนโยบายการทำงาน ล่วงหน้าในแต่ละปีบริหาร ปีบริหาร 2551 - 2552 ภาค 3350 โรตารีสากล (ภาคกลาง ของประเทศไทย) มีมติให้มีการร่วมโครงการ GSE กับภาค 6310 โรตารีสากล(ภาคตะวันออก ของ สหรัฐอเมริกา - มลรัฐมิชิแกน) ผมทำหน้าที่หัวหน้าคณะ GSE โดยความเห็นชอบของท่านผู้ว่าการภาค ไกร ตั้งสง่า และท่านอดีตนายก วรมน ใบหยก ประธานกลุ่มศึกษาแลกเปลี่ยน ภาค 3350 นำนักธุรกิจหนุ่มสาวจำนวน 4 คน ไปเยือนภาค 6310 เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ได้แก่ คุณนุ - เอกชัย จิระวณิชเจริญ หุ้นส่วนโรงงานผลิตบะหมี่ สนับสนุนโดย สโมสรโรตารีบางคอแหลม คุณจ๋า - นฤมล วณิชา 29 ปี นักการตลาด สารแต่ง กลิ่นอาหาร สนับสนุนโดยสโมสรโรตารี สวนหลวง คุณโอปอ - อุดมศิริ หกสุวรรณ (โอปอ) 26 ปี เจ้าหน้าที่ค้าหลักทรัพย์ สนับสนุนโดยสโมสรโรตารีสระปทุม และคุณ เอมี - อ้อทิพย์ จีระพรชัย 25 ปี วิศวกร สิ่งแวดล้อม สนับสนุนโดยสโมสรโรตารี กรุงเทพกล้วยน้ำไท คณะทั้ง 5 คน เดินทางแบบเตรียมพร้อมมากครับ เพราะรู้ว่า ตารางการดูงาน การเยี่ยมสโมสรต่างๆ ในภาค 6310 นั้น แน่นมาก หากจะเทียบ ไปคงขอให้ท่านมองภาพมือขวา พวกเราเดินทางจากนิ้วชี้ ย้อยไปนิ้วโป้ง และแวะที่ กลางผ่ามือบ้าง นั่นแหละครับ ท่ามกลางอากาศของรัฐนี้แม้จะเป็นหน้าร้อน ก็อยู่ที่ อุณหภูมิ เฉลี่ย 8 – 22 องศา จังหวะที่พวกเราไปเป็นฤดูใบไม้ผลิ อากาศอยู่ที่เฉลี่ย 4 – 8 องศา ภาค 6310 ประกอบด้วยโรแทเรียนประมาณ 1,500 คน มีสโมสรโรตารี 32 แห่ง โดยที่บางสโมสรก่อตั้งมาแล้วเกือบ 100 ปี ผมและคณะเข้าร่วมประชุมกับ สโมสรโรตารี 18 แห่ง ใน 14 เมือง ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ทางทิศตะวันตกของทะเลสาบ ฮิวรอนหรือชายฝั่งด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐมิชิแกน พวกเรามีโอกาสนำเสนอเมืองไทยอย่างเป็นทางการกับสโมสรโรตารี 15 แห่ง และโดยย่ อ ใน อตก 3 แห่ ง มี ก ารแลกเปลี่ ย นธงสโมสร ร่ ว มกิ จ กรรมมิ ต รภาพ สังสรรค์ และรับประทานอาหารค่ำที่บ้านของสมาชิกโรตารีในบางครั้ง ระหว่างวันที่ 24 - 25 เมษายน 2009 ในการประชุมใหญ่ภาค 6310 ท่าน อดีตผู้ว่าการภาคโจ ซี ฮิวส์ ผู้แทนพิเศษประธานโรตารีสากลเป็นประธาน พร้อม ด้วยโรตารีแอนน์วินซี่ ฮิวส์ มีพิธีเชิญธงโรตารีสากลและธงไทย – ธงสหรัฐอเมริกา ขึ้นสู่ยอดเสาด้วย ผมและคณะ ทำหน้าที่เหมือนเป็นการเชื่อมไมตรีของทั้งสองภาคเข้าด้วยกัน ระหว่า งผู้นำของทั้งสอง คือ ท่ า นผู้ ว่ า การภาคโรเบิ ร์ ต อี แชดวิ ก ที่ 2 และท่าน ผู้ว่าการภาค ไกร ตั้งสง่า รวมทั้งไมตรีที่เปี่ยมมิตรภาพของทั้งสองประเทศ กิจกรรมการเข้าเยี่ยมชมภาคธุรกิจ สถานที่ประวัติศาสตร์ ประเพณีวัฒนธรรม มหาวิ ท ยาลั ย และชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น นั บ เป็ น ประสบการณ์ ดี ๆ ที่ ป ระทั บ ใจ เกิ ด ประโยชน์ต่อกิจกรรมของโรตารีและต่องานอาชีพในอนาคตของพวกเราได้ หลังเสร็จภารกิจการเป็นหัวหน้าคณะ ผมถือโอกาสเดียวกันนี้แวะเข้าไปเยี่ยม สำนักงานใหญ่โรตารีสากล ที่เมืองอีแวนสตัน และขอถ่ายภาพคู่กับท่านพอล พี แฮริส ผู้ก่อตั้งองค์กรโรตารี เมื่อ 104 ปี ก่อน ผมปลื้มมากครับและไม่เคยผิดหวังกับ ชีวิตการเป็นโรแทเรียนของผม ตลอด 25 ปีและตลอดไปครับ The English text is be translated by Rotarian Dr. Pongtana Vanichkobchinda

อน. สำเริง วิระชะนัง PP. Samrerng Virachanang, PHF Group Study Exchange or GSE is the project of Rotary Foundation which aims to establish international relationship and comprehension for entrepreneurs who have not been Rotarian in order to perceive Rotary ideology through their oversea experiences depending on their profession, for instance, if he/she is pharmacist, he/she can exchange pharmaceutical knowledge and experience with the Rotarians in the destination country, as well as to strengthen amity among participating Rotary Clubs. Exchange means giving something to someone and receiving something in return. Coordination originates from intention of participation of number of 532 districts are informed which will be set as a policy in advance for each administrative year. Administrative year of 2008 - 2009, 3350 R.I (middle of Thailand) has reached a resolution to participate in GSE with 6310 R.I (East of United Stated of America, Michigan) I am in charge of chairman of GSE, approved by District Governor Dr. Krai Tangsanga, and Past President Worrawan Baiyok. My duties is took 4 young entrepreneurs to visit the district 6310 R.I for 4 weeks, namely Nu - Mr.Ekachai Jirawanitcharoen, 34 years, business partner of noodle manufacturer, supported by RC. Bangkholaem, Ja - Ms.Narumon Navicha, 29 years experience of Marketing Executive of flavor adjective, supported by RC. Suan Luang, Opor - Udomsiri Hoksuwan, 26 years experience of Stock Broker, supported by RC.Srapathim, and Emy - Orthip Jeerapornchai, 25 years experience of Environ Engineer, supported by RC. Bangkok-Kluay Namthai. All 5 people traveled with well prepared due to a tight schedule of visiting clubs in the district 6310 R.I. By comparison, please look at a picture in a right hand side, we have traveled downward from forefinger to thumb and sometimes drop in midst of palm, a temperature of this state is at 20degree all year. As we visited, it was a spring season, the temperature is at 4 - 8 degree in average. The district 6310 consists of approximately 1,500 Rotarians and 32 Rotary clubs. Some Clubs were founded for almost 100 years. I and a group have participated in a conference with 18 Rotary Clubs in 14 States. Most of them is located in West of Hillron lake or Michigan‘s Northeast coast. We had exchance to officially to 15 Rotary Clubs and briefly present to 3 Rotary Clubs. Also, we exchanged club flag and joined activities as well as occasionally having dinner at Rotary member’s home. Between 24th-25th April 2009, Past District Governor Joe C. Hughes, special representatives of International Rotary presided over the 6310 R.I. together with Rotary Ann Wincie. Also, raising Thai flag U.S. flag ceremony was also arranged. I and our group were in charge of strengthening amity between 2 leaders of both districts which are District Governor Robert F. Chadwick II and District Governor Dr. Krai Tangsanga, and both countries’ relationship. Visiting business sectors, historical places, traditions and cultures, universities and local communities was regarded as impressive experience which benefits to Rotary activities and our professions in a future. After my mission was completed, I took this opportunity to visit International Rotary Headquarter at Evanston and took a picture with “Paul P. Harris”, Founder of Rotary Organization in last 104 years. I am pleased and not disappointed with being Rotarian throughout 25 years and everlasting.

“คนต่ างชาติ ต่างภาษา แลกเปลี่ยนกันได้ทั่วโลก” “globally exchangeable : Different nations and languages”

78


รศ. อรุณีประภา หอมเศรษฐี รองผู้อำนวยการ สำนักงานจัดหารายได้ สภากาชาดไทย ASSOC PROF.Aruneeprabha Homsettee Deputy Director fund raising bureau เราช่วยกาชาด... กาชาดช่วยเรา The Thai Red Cross Society “… วิทยาการก้าวหน้าทางการแพทย์ ค้นพบการรั กษาโรคร้าย ด้วยสเต็มเซลล์ …” “…Stem cell, technology for life…” สเต็มเซลล์ คือ เซลล์ต้นกำเนิด คุณสมบัตขิ องผูท้ จี่ ะบริจาคสเตม็ เซลล์ได้ เม็ดเลือดทุกชนิดที่อยู่ในไขกระดูก 1. ต้องเป็นผู้บริจาคโลหิตอย่างสม่ำเสมอตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้นไป เป็ นต้ นตอที่ จ ะเจริ ญ เติ บ โตไปเป็ น 2. มีอายุ 18 – 50 ปี เม็ ด เลื อ ดแดง เม็ ด เลื อ ดขาว และ 3. น้ำหนักตั้งแต่ 40 กิโลกรัมขึ้นไป เกร็ ด เลื อ ดในร่ า งกายของคนเรา 4. เป็นผู้มีสุขภาพแข็งแรง ไม่มีโรคประจำตัว หรือโรคติดต่อร้ายแรง ตามธรรมชาติ เ มื่ อ เซลล์ แ ก่ ล งจะ 5. ไม่มีพฤติกรรมเสี่ยง ส ล า ย ไ ป เ ซ ล ล์ ต้ น ก ำ เ นิ ด ใ น ไขกระดู ก ก็ จ ะแบ่ ง ตั ว สร้ า งเซลล์ ใหม่ ๆ ขึ้ น มาทดแทนไปเรื่ อ ยๆ จนกว่าเจ้าของเซลล์จะเสียชีวิตไป สเต็มเซลล์ ปัจจุบันพบว่า มีการนำความรู้ เกี่ยวกับเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตมาใช้รักษาโรคเลือด อย่าง ธาลัสซีเมีย โรคที่เกี่ยวข้องกับไขกระดูก อย่างโรคไขกระดูกฝ่อ หรือไขกระดูกไม่ทำงาน และโรคมะเร็งบางชนิด เช่น มะเร็ง เม็ดเลือดขาว และมะเร็งต่อมน้ำเหลือง ชนิดที่ดื้อต่อการรักษา หรื อ กลั บ มากำเริ บ ซ้ ำ โดยใช้ ห ลั ก การเปลี่ ย นหรื อ แทนที่ การเปรียบเทียบสเต็มเซลล์ของผู้บริจาคและผู้รับบริจาค สเต็มเซลล์ที่ผิดปกติด้วยสเต็มเซลล์ปกติที่ได้มาจากผู้บริจาค

“สเต็มเซลล์”

เพื่อมอบชีวิตใหม่

ใครล่ะจะสามารถบริจาคสเตม็ เซลล์ได้…

80

ตอบ ผู้ที่จะสามารถบริจาคสเต็มเซลล์ได้ คือ ผู้ที่มีเนื้อเยื่อ เม็ดโลหิตขาว (HLA) ตรงกันหรือเข้ากันได้กับผู้ป่วย ส่วนใหญ่ แล้วก็คือพี่น้องร่วมบิดามารดามีโอกาสมากถึงร้อยละ 25 – 30 การปลูกถ่ายสเต็มเซลล์ในปัจจุบัน พบว่าสามารถรักษา หลายโรคให้หายขาดได้ในอัตราที่สูงขึ้น เช่น โรคธาลัสซีเมีย ร้อยละ 85 โรคมะเร็งร้อยละ 60 โรคไขกระดูกฝ่อชนิดรุนแรง ร้อยละ 65 และรักษาโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องแต่กำเนิดร้อยละ 35 แม้ ว่ า การรั ก ษาด้ ว ยการปลู ก ถ่ า ยสเต็ ม เซลล์ จ ะเป็ นทาง เลื อ กใหม่ ให้ แ ก่ ผู้ ป่ ว ย แต่ ห ากไม่ พ บผู้ ที่ มี เนื้ อ เยื่ อ เอชแอลเอ (HLA) ตรงกัน ก็ไม่สามารถปลูกถ่ายสเต็มเซลล์ได้ โครงการจั ด หาผู้ บ ริ จ าคเซลล์ ต้ นกำเนิ ด เม็ ด โลหิ ต ศู น ย์ บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย เริ่มรณรงค์รับบริจาค สเต็มเซลล์ตั้งแต่ปี 2545 เป็นต้นมา มีผู้ขึ้นทะเบียนแจ้งความ ประสงค์บริจาคเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตแล้ว 40,328 คน และ มีผู้ป่วยแจ้งชื่อรอรับเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิต 922 คน ความสำเร็จของการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตจาก ผู้ บ ริ จ าคไปแล้ ว มี เ พี ย ง 60 คนเท่ า นั้ น เพราะในผู้ บ ริ จ าค 10,000 คน จะพบผู้ที่จะสามารถบริจาคสเต็มเซลล์ได้เพียง 1 คนเท่านั้น

การบริจาคสเตม็ เซลล์มี 3 วิธ ี

วิธีแรก รับบริจาคสเต็มเซลล์จากไขกระดูก ผู้บริจาคอาจจะรู้สึกปวดยอก บ้างเล็กน้อย แต่จะหายไปใน 3 – 4 วัน เซลล์ในไขกระดูกจะแบ่งตัวเพิ่มขึ้น มาทดแทนได้เอง โดยที่ไม่มีการสูญเสียอวัยวะใดๆ ทั้งสิ้น หลายคนเข้าใจ ผิดๆ กลัวว่าบริจาคไปแล้วจะเป็นอัมพาต ซึ่งเป็นความเข้าใจผิด วิธีที่สอง นำสเต็มเซลล์มาจากกระแสเลือด โดยการฉีดยากระตุ้นให้ เซลล์ในไขกระดูกออกมาไหลเวียนในกระแสเลือดผ่านเครื่องคัดแยกสเต็ม เซลล์ คล้ายกับการบริจาคเลือด แต่ใช้เวลานานกว่า คือประมาณ 3 – 5 ชั่วโมง วิ ธี สุ ด ท้ า ย คื อ จากเลื อ ดสายสะดื อ และรกของเด็ ก แรกเกิ ด โดยเมื่ อ ผู้บริจาคคลอดบุตรออกมาแล้ว แพทย์จะใช้เข็มดูดหลอดเลือดจากสายสะดือ ที่ตัดเรียบร้อยแล้วด้วยวิธีการปราศจากเชื้อ และป้องกันไม่ให้เลือดแข็งตัว จากนั้นจึงนำมาแช่แข็งรอนำไปใช้กับผู้ป่วยต่อไป ศู น ย์ บ ริ ก ารโลหิ ต แห่ ง ชาติ สภากาชาดไทย ได้ รั บ มอบหมายจาก แพทยสภา ให้ ด ำเนิ น โครงการรั บ บริ จ าคเซลล์ ต้ นกำเนิ ด เม็ ด โลหิ ต จากผู้ บริจาคซึ่งไม่ใช่ญาติ (National Stem Cell Donor Registry Program) เพี ย งแห่ ง เดี ย วในประเทศไทย โดยเป็ น ศู น ย์ ก ลางในการรั บ ลงทะเบี ย น “อาสาสมั ค ร” ผู้ บ ริ จ าคเซลล์ ต้ นกำเนิ น เม็ ด โลหิ ต และตรวจหาชนิ ด ของ เนื้อเยื่อ หรือ HLA เพื่อแสวงหาอาสาสมัครผู้ให้ที่มี HLA ตรงกันกับผู้รับ ท่านใดสนใจ ติดต่อได้ที่ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ถนน อังรีดูนังต์ หรือ โทร. 0 - 2256 – 4300


เรื่องเล่าหลังไมค์ \ ขลุก… คลุก อยูก่ บั งานเพลงมากว่า 20 ปี ทั ้ ง บนเวที แ ละหลั ง ไมค์ สะสมแผ่ น เสี ย ง รู จ้ กั เพลงยุค 70 80 90 เป็น “กูร”ู หาตัวจับ ยากคนหนึง่ ของวงการเพลงเมืองไทย คุณผู้อ่านเห็นด้วยมั้ยครับ เวลาที่เรามีความ สุข ต่อให้เพลงเศร้าแสนเศร้า จนสามารถกระชาก น้ ำ ตาให้ ร่ ว งแหมะๆ เราก็ ยั ง ยิ้ ม ได้ แต่ เวลาที่ มี ความทุ ก ข์ ต่ อ ให้ เ พลงสนุ ก แค่ ไ หน ขนาด Nobody ของ Wonder Girls จะเร้าใจสุดๆ ชวน ให้ขยับแข้งขยับขา ส่ายสะโพกโยกย้ายปานใด หรือปอยฝ้าย จะมางึกๆ งักๆ อยู่ใกล้ๆ ต่อมน้ำตาก็ไม่เป็นใจ ร้องไห้ได้ง่ายๆ เชียว นี่เป็นความอัศจรรย์ เบื้องต้นของเพลงเท่านั้นนะครับ สมัยที่การจัดรายการวิทยุยังใช้แผ่นเสียง ไม่ได้ใช้ซีดีเป็นวัตถุดิบ เวลาที่ ขี้ เ กี ย จหาเพลง ผมเคยใช้ วิ ธี นี้ ค รั บ อย่ า งผู้ ฟั ง ท่ า นนึ ง อยากขอเพลงของ เอ อนันต์ บุญนาค ซึ่งตอนนั้นกำลังดังเป็นพลุ “พี่ดีเจคะ ขอเพลง “อะไร ก็ได้” ค่ะ” ผมก็โอเคเลย “ครับ เดี๋ยวเปิดให้” ยังไงก็รับปากไปก่อน อาศัย ชื่อเพลงนี่แหละมั่วนิ่มเข้าไว้เผื่อหาไม่เจอไงล่ะ แบบเนียนๆ ครับ ยุ ค ผม ไม่ ต่ า งจากยุ ค นี้ ที่ ต้ อ งใช้ ไ ปรษณี ย บั ต รเขี ย นตั้ ง ชื่ อ แพนด้ า หมวยน้อยหรอกครับ การเขียนจดหมาย กับ ไปรษณียบัตรฮิตมากครับ เล่น เกมตอบคำถามหน้าไมค์ก็ฮิต รายการไหนไม่มีเชยแหลกขอบอก กิจกรรม แบบนี้ต้องมีสมาธิดีๆ ผมมีเรื่องเสียวๆ กับหูฟัง - Headphone เพราะ ต้อง ผ่านการครอบหูกับครอบหัวดีเจถึง 20 หู กับ 10 หัว บางคนใส่เจลโปะผม หนาเตอะ บางคนใช้ มู ส บางคนวิ่ ง 500 เมตรมาจั ด รายการ เหงื่ อ ไหล ไคลย้อย ผมเคยครอบหูตัวเองพลาดแล้วมันมาครอบจมูกแทน โอ้โห กลิ่นมัน รัญจวนใจเหลือเกินทำให้ผมสงสัยว่าเพื่อนร่วมงานคนใดคนหนึ่งในคลื่นคง เป็นโรคหูน้ำหนวกแน่นอน ยุคดัง ยุคแรกของมิวสิควีดีโอ บางเพลงไม่ดัง แต่มิวสิคดี เพลงก็ติดครับ มี นั ก แสดงหลายคนที่ หั น มารั บ จ๊ อ บเล่ น มิ ว สิ ค วี ดี โ อจนกระเป๋ า ตุ ง อย่ า ง คุ ณ สมมาตร เล่ น มิ ว สิ ค วี ดี โอ ของ หยาด นภาลั ย จนหลายคนนึ ก ว่ า เป็ น หยาด นภาลัย ไปเลยครับ

“สามหัวใจ”

82

ราเชนทร์ ชุมสาย ณ อยุธยา

ผูด้ ำเนินรายการวิทยุ Rachain Chumsai na Ayudhaya Radio Announcer rachain_j@yahoo.com

นักร้องจะเผยแพร่ผลงานหรือเพลงจะได้รับ ความนิยมได้ก็ต้องโปรโมทผ่านรายการดังๆ อย่าง รายการเพลงทีวีพาชื่น ทางช่อง 4 บางขุนพรหม รายการบั น ไดดารา ทางช่ อ ง 5 สนามเป้ า ร า ย ก า ร น า ที ท อ ง ท า ง ช่ อ ง 7 สี ร า ย ก า ร มิ ว สิ ค สแควร์ ท างไทยที วี สี ช่ อ ง 3 และอี ก หลาย รายการดัง มีวงดนตรีเล่น นักร้องก็ออกมาร้องกัน สดๆ มีโฆษกออกมาบรรยายสรรพคุณของสินค้า ชนิ ด ต่ า งๆ ชนิ ด ที่ เรี ย กว่ า “เริ ด สะแมนแตน” (สำนวนคุ ณ เทิ่ ง สติ เฟื่ อ ง) กล้องก็แพนตามไป อะไรแบบนี้ ผมว่าเป็นกลยุทธ์ที่ไม่แตกต่างกันในยุคนี้ ผิดกันที่เทคนิคในการนำเสนอที่ทันสมัยกว่าเท่านั้นเอง ความทรงจำกับเพลงบางเพลง มักมีที่มาของเหตุการณ์ ฉากชีวิตของ แต่ละคนนะครับ ผมคิดถึงคราวใด ก็เหมือนเกิดขึ้นอยู่ตรงหน้าทุกที ผมจำได้ว่ารถกระบะดัทสันของคุณป้ามีเจ้าเครื่องเล่นเทป 8 แทร็คติดอยู่ ในรถ เมื่อตอนเด็กๆ เวลาปิดเทอมแล้วยกโขยงไปเที่ยวบ้านคุณน้าอีกคนที่ กาญจนบุรี ผมได้ฟังเพลงของคุณรุ่งฤดี แพ่งผ่องใส ชุด สามหัวใจ ที่นำเพลง เก่าของครูไพบูลย์ บุตรขัน มาร้องใหม่เนื้อเพลงว่าอย่างนี้ “สาปแล้วไม่ขอรัก ใครใฝ่ปอง คิดครองเป็นคู่ ทุกวันนี้อยู่กล้ำกลืนน้ำตาตกใน” แล้วท่อนนึงที่ว่า “คนเดียวมีสามหัวใจครอบครอง รักปองไม่จริง รักเผื่อเลือกทิ้งนี่คนอะไร” ฟังๆ ไปจนนึกว่าเอ! ตกลงคนเรามีหัวใจดวงเดียว หรือสามดวงกันแน่หว่า คิดแบบเด็กๆ ไม่ได้มีอารมณ์ร่วมกับเพลงหรอก แต่ในที่สุดก็ชอบเพราะฟังซ้ำๆ แล้วมันทำให้นึกถึงบรรยากาศของการ เดินทางสมัยนั้น ตอนที่ ผมจัดรายการเพลงลูกกรุงผมเปิดเพลงนี้แล้วนั่งยิ้ม คนเดียว ภาพบรรยากาศตอนนั้นมันจะย้อนกลับมาทันที ชัดกว่ามิวสิควีดีโอ ซะอีก จำได้ว่าตบหัวพี่ชายเพื่อแย่งที่นั่งเบาะหน้าข้างคนขับคือคุณป้า จากนั้น ก็ตดใส่มือแล้วกำไปโปะหน้าน้องสาว จนน้องสาวซึ่งเป็นลูกคุณน้าร้องไห้ ลั่นรถ แม้แต่แคะขี้มูกป้ายเบาะก็ทำ นี่ล่ะครับเวลาที่ผมฟังเพลงสามหัวใจ ภาพเหล่ า นี้ มั น ปรากฏขึ้ น มาทั น ที แล้ ว คุ ณ ผู้ อ่ า นนึ ก ถึ ง เพลงอะไรบ้ า ง ตอนเด็กๆ แล้ววีรกรรมกับเพลงมันสอดคล้องกันอย่างผมมั้ยครับ…


ค่ ายพระนครฟิล์ม พาคุณคุณมาร่วมย้อนความหลัง วัยเรีย นสมัยมัธยม กับหนังของ บัณฑิต ฤทธิ์กล “อนึ่ง คิ ดถึงเป็นอย่างยิ่ง” และ ชมหนังแอ๊คชั่นสนุกๆ บู๊ โหด ผสมความรั กกับ “ท้า/ชน” เป็น “หนังแผ่น” ที่ดูกี่ครั้ง กี ่ครั้ง ก็สนุก ก็อมยิ้มได้ทุกหน

“ซาบซึ้ง ประทับใจ”

“อนึ่งคิดถึงเป็นอย่างยิ่ง”

หนังย้อนวัยคอซอง วัยเฮ้ว ในโรงเรียนมัธยมวุฒิเวท วิทยา ที่กำลังจะถูกทุบทิ้งโดยนายทุนต่างชาติ เพื่อสร้างห้าง สะดวกซื้อ เมื่อรู้ถึงคู่หูไม้เบื่อไม้เมา สายวิทย์ – สายศิลป์ ศิษย์เก่าที่เพิ่งจบไปหมาดๆ พวกเขากลับมาร่วมกันต่อสู้อีก ครั้ง เพื่อความคงอยู่ของโรงเรียนที่พวกเขารัก การต่อสู้เต็ม ไปด้วยขวากหนามแห่งความสนุกสนาน รอยยิ้ม มิตรภาพ และเสียงหัวเราะ และซาบซึ้งกับคำว่า “เพื่อน” แฟนพันธุ์ แท้ของบัณฑิต ฤทธิ์กล ไม่ควรพลาด

ท้า / ชน

เรื่องราวความผูกพันของ 2 พี่น้อง เมื่อไทน้องชาย รอดคดีมาได้จากการวิ่งเต้นของ แทนพี่ชายฝาแฝด เมื่อ พ้นโทษออกมา ก็พบว่าพี่ชายอาการโคม่า และรู้ข่าวจาก แป้งแฟนสาวของพี่ชายว่าพี่ชายมีส่วนพัวพันบางอย่างเพื่อ แลกกับการได้เงินมาสู้คดี ไทรู้สึกผิดที่ต้องทำให้พี่ชายเป็น แบบนี้ จึงสืบหาความจริง เมื่อยิ่งสืบก็ยิ่งพบความน่ากลัว ที่ใครก้าวเข้ามาแล้วต้องแลกด้วยชีวิตในกีฬา “ไฟร์บอล” ชมความสนุก บู๊ โหด ความรัก ที่ผสมผสานกับกีฬาได้ อย่างลงตัวได้แล้ววันนี้


ชิ มแล้วอร่อย จึงบอกเพื่อน จานเด็ ด จานเดียว “...Chef recommend, Peter Lai-Famous Chinese’s food chef, shown his dish, B.B.Q Duck at “Yau Yat Chuen”, Impact Muang Thong Thani, Bangkok Thailand...” คุณปีเตอร์ ไลย์ : อยู่เมืองไทยขอติดธงไทยนะครับ หน้าร้านเป็นสีแดงเหมาะกับความเป็นร้านอาหารจีน อาหารไทย ต้ อ งเชฟคนไทย จึ ง จะถึ ง ถูกใจขาช็อป ขาเดินงานแฟร์ที่แวะไปชิม ดีใจที่ไม่ต้องบินไปกินกันที่ฮ่องกง เครื่องเครา สไปซี่ส์ แซบสมุนไพร “เป็ดย่าง” จานนี้ คุณปีเตอร์ นำเสนอเองครับ คิด คิด หลายตลบว่า อาหารจีน ต้องเชฟชาวจีน จึงจะได้รสชาติ ทำยังไงจึงจะทำให้เหมือนอุณหภูมิที่ฮ่องกง ที่ 15 องศา จนความคิดตกผลึก จ้ า งให้ โรงงานช่ ว ยทำตามที่ เชฟต้ อ งการ เป็ น เครื่ อ งเป่ า ความเย็ น ราคา อย่างบรรพบุรุษกว่าพันปีของพวกเขาได้ สามแสนกว่า เป่าให้หนังเป็ดแห้งกรอบ ด้วยเวลา 2 ชั่วโมงครึ่ง จึงกลายเป็น อาหารชาติไหน ก็ให้คนชาตินั้นลงมือทำ จานเดี ย ว จานเด็ ด ประจำ OHM ฉบั บ นี้ เคล็ดลับ ที่อร่อยเต็มสูตรขนานแท้ ดั้งเดิม เป็นจานจีน รสชาติต้นตำรับ จากเชฟ เกลอเก่า B.B.Q Duck - เป็ดย่าง ที่ร้าน “เหยา ยัต เฉิน” ทำจากเป็ดขนาดตัวละ คนดังที่ขยันมาก อยู่ที่ไหน “นาย” รักที่นั่น 2.4 กิโลกรัม กำลังเหมาะ ไขมันไม่มาก หมักเครื่องปรุง ซึ่งบางชนิดต้อง พอแนะนำ ปะหน้ากันก็ได้ฟื้นความจำ คุยกัน นำเข้าจากฮ่องกง ย่างสดทุกเช้า กลิ่นหอม ผสมความเป็นไทย ด้วยการผสม ฉั นท์ เพื่ อ นที่ ไม่ ได้ เจอกั น มานานร่ ว มกว่ า 15 ปี กระทิเล็กน้อยลงในน้ำซอสเกรวี่ ซีอิ้วดำลงคลุกกับพริกชี้ฟ้าไทย คุ ณ ปี เตอร์ ไลย์ เชฟฝี มื อ ดี ที่ เวี ย นมาทำงานใน จานนี้ไม่ผิดหวัง ความอร่อยกับราคา 150 บาท กินเพลิน คิดว่านั่งอยู่ เมืองไทย ตั้งแต่รุ่นโรงแรมห้าดาว มาเปิดในเมือง แถวๆ ฝั่งเกาลูน หรือกิมซาจุน ไทยใหม่ๆ ชะตาชี วิ ต วนเวี ย นอยู่ ในเมื อ งไทย มี แฟนประจำของร้ า นนี้ นอกจากขาช็ อ ปแล้ ว น่ า จะเป็ นที่ รั บ รองแขก ภรรยาคนไทย รักเมืองไทย พูดไทยชัดเปี๊ยะ ต่างบ้านต่างเมือง ที่มางานแสดงสินค้า มาเยือนบูธได้สบายๆ วันนี้เชฟคนดังมาประจำการที่ค่ายอิมแพ็ค เหยา ยัต เฉิน เปิดทุกวัน 11 โมง ถึง 4 ทุ่ม โทร. 02 833 4044 เมื อ งทองธานี - สถานที่ จั ด งานแสดงสิ น ค้ า

“เป็ดย่าง (สูตรเป่า 15 องศา )”

นุ่มลิ้น หนังกรอบ...อื่ม...   86


“…Punch and Blueberry, for your afternoon delight at Tea spoon, soi Thonglor, Bangkok…” แก้วที่เย็นและจานที่เยิ้ม น่ากินชะมัด เป็ น ลู ก สาวคนเล็ ก ของ เจ้ า ของร้ า นอาหารไทยเก่ า เก๋ า “ต้นเครื่อง” คุณดีน - ดรัลรัตน์ กิจวิกัย ตอบโจทย์ความฝันส่วนตัว ของตัวเองได้แล้ว เธอเป็นคนชอบทำขนม ไปเรียนตามโรงเรียน สอนทำเบเกอรี่ มาฝึ ก ลองทำที่ บ้ า น เสี ย ก็ เ ยอะ ทิ้ ง ก็ แ ยะ ฝันอยากมีร้านกาแฟเล็กๆ บริหารงานได้เอง ฝันนั้นก็เกิดจริงเมื่อ 5 ปีก่อน เมื่อคุณแม่ไฟเขียว ให้แบ่ง พื้ น ที่ บ ริ เ วณเดี ย วกั บ ร้ า นต้ น เครื่ อ ง เปิ ด เป็ น ร้ า นกาแฟ มุมน่ารัก น่านั่ง ตั้งชื่อพอดีคำว่า “Tea spoon” คุ ณดี น – ดรั ล รั ต น์ ลู ก ไม้ ห ล่ น ใต้ ต้ น เธอบรรจงนำเสนอของอร่อยประจำร้านที่เธอลงมือทำเอง ชอบทำขนมจนมั่นใจว่าขายได้ หลังจาก เกือบทุกชิ้น คนชิมลิ้นชา “พั้นซ์” แก้วโต ส่วนผสมกลมกล่อมชื่นใจยามกระหาย เป็นน้ำผลไม้ ไม่มีแอลกอฮอล์ น้ำส้มสด น้ำสับปะรด น้ำทับทิม น้ำแข็งก้อนจิ๋ว ปั่นรวมด้วยความเร็ว เวลาสั้นๆ เคียงมาด้วย “บลูเบอรี่ชีสเค้ก” เต็มคำแบบหวั่นๆ ใจว่า ต้องไปรีดไขมันส่วนเกิน เมื่อความอร่อยหมดจานลง เรื่ อ งเบเกอรี่ คุ ณดี น เธอเล่ า เบื้ อ งหลั ง ความอร่ อ ยว่ า ตั้งใจมาก ไปเรียนทำ หัดทำอยู่หลายเดือน จนมั่นใจว่าสูตรนิ่ม เทคนิคใช่ จึงกำหนดลงเมนูให้ลูกค้าได้เลือกชิมได้ ใช้ของดี มีคุณภาพ เก็บในตู้เย็นได้เพียง 3 - 4 วันเพื่อความสดใหม่ แก้วนี้ ชิ้นนี้ เป็นเมนูแนะนำ ยามบ่ายอ่อนๆ จะได้มีเวลา เดินเข้าฟิตเนสได้ไงล่ะ ชอบกินของอร่อย ต้องมีวินัยนะจ๊ะ โทร. สั่งเพิ่ม หากมีงานเลี้ยงรับรองลูกค้า ถูกใจ ชอบใจ กันแน่ 02 185 2871 - 4

“พั้นซ์และบูลเบอรี่ชีสเค้ก”

มุมนี้สบายๆ กับเวลาที่ไม่เร่งร้อน

88


เปลี่ยนบรรยากาศ จากออฟฟิศ สัมผัสไอดิน กลิ่นหญ้า ท้องฟ้า ทะเล น้ำตก

สุภาณี เดชาบูรณานนท์ Suphanee Dechaburananon Deputy Chairman / Director of Trading & Strategy groupM

“ล่องใต้สู่ชุมพรและระนอง” (ตอนจบ)

ล่องแพคลองพะโต๊ะ สองฝั่งเขียวขจี

สุสานเจ้าเมืองระนอง สร้างขึ้นตามหลักฮวงจุ้ยทุกประการ

ข้าวสวยห่อที่หุงด้วยกระบอกไม้ไผ่ กลิ่นหอมแบบธรรมชาติ   90

จำกั น ได้ น ะคะ ว่ า ทริ ป ล่ อ งใต้ ของเรา เมื่ อ ฉบั บ ก่ อ นเดิ น ทางถึ ง จั ง หวั ด ระนองแล้ ว ค่ ะ โดยเป็ น คำมั่นว่า เราคนไทยจะขยันเดินทาง ท่องเที่ยวในเมืองไทย มากขึ้น ถี่ขึ้น ซึ่งก็คงสมใจทัวร์คณะนี้มาก รวมถึง ททท. ด้วยนะคะ หลังจาก check-in เข้าที่พักที่ โรงแรมจันทร์สมธาราแล้ว ก็รีบออก มารวมตัวกัน เพื่อไปเยี่ยมชมสุสาน เจ้ า เมื อ งระนอง เพราะกลั ว ฝนตก เนื่องจากเห็นเมฆตั้งเค้ามาแต่ไกล ช่ ว งบ่ า ยมาก แดดเริ่ ม อ่ อ น สุ ส านเจ้ า เมื อ งระนอง อยู่ ห่ า งจาก ตั ว เ มื อ ง อ อ ก ไ ป ป ร ะ ม า ณ 1 กิ โลเมตร เป็น สุส านชาวจีน เป็นที่ ฝังศพของพระยาดำรงสุจริตมหิศร ภักดี (คอซู้เจียง) อดีตเจ้าเมืองคน แรกของระนอง และเป็นต้นตระกูลของสกุล “ณ ระนอง” ตั้งอยู่บนเนินเขา ระฆังทอง ที่ดินได้รับพระราชทานจากล้นเกล้ารัชกาลที่ 5 สร้างในปี 2426 สิ่งก่อสร้างบริเวณสุสานล้วนทำด้วยศิลาจากประเทศจีน ตัวสุสานปูด้วยศิลา 3 ชั้น เด่นเป็นสง่าอยู่กลางเนินเขา มีแนวต้นไม้ใหญ่โอบรอบอยู่สองข้าง ด้านหน้ามองเห็นทะเลอันดามันชัดเจน สวยสีคราม สะอาด เป็นไปตามหลัก ฮวงซุ้ยของชาวจีน สองข้างของบริเวณสุสานมีตุ๊กตาหินแกรนิตจากเมืองจีน มีรูปขุนนางจีนฝ่ายบุ๋นและบู๊ รวมทั้งรูปปั้นม้า - สื่อหมายถึงข้าทาสบริวาร, แพะ - สื่อหมายถึงความมั่งคั่ง และเสือ - สื่อหมายถึงพลังอำนาจ ความยิ่ง ใหญ่ วันรุ่งขึ้น ต้องรีบตื่นแต่เช้า เพื่อเดินทางไป อำเภอพะโต๊ะ เพื่อไปล่องแพ ในคลองพะโต๊ะ ตั้งอยู่ทางใต้ จากตัวเมืองระนอง แต่อยู่ในเขตจังหวัดชุมพร รถใช้เวลาวิ่งประมาณชั่วโมงครึ่งก็ถึงบริเวณที่จะลงแพ บริษัทที่ใช้บริการชื่อ “มาลินบริการล่องแพ” ความจุของแพจะนั่งได้ ประมาณ 5 - 6 คน พวกเราจึงต้องแยกกันลง 2 แพ แต่ละแพจะมีพนักงาน ประจำแพ 2 คน เป็นคนนำทางทำหน้าที่ถ่อแพยืนข้างหน้าเป็นคนคัดพาแพ ล่องไปตามคลองพะโต๊ะ ส่วนอีกคนนั่งท้ายช่วยคัดท้ายได้ คลองพะโต๊ะมีความเขียวขจี สองข้างทางของลำน้ำปกคลุมไปด้วยป่าดง ดิบ และสวนผลไม้ รวมทั้งสวนยางพารา บางช่วงมองเห็นภูเขาทอดยาวเป็น แนวเรียงราย หลังจากออกเดินทางไปได้ครึ่งทาง มีการแวะพักที่สวนของ เจ้าของบริษัทมาลิน เป็นสวนผลไม้ มีทั้งเงาะ มังคุด ทุเรียน เวลาล่องแพประมาณ 2 ชั่วโมง ก็กลับมาถึงจุดที่ตั้งจุดเดิม เพื่อทาน อาหารกลางวัน เรียกว่า อาหารชาวแพ อร่อยมาก เป็นฝีมือชาวบ้าน ข้าวมี วิธีทำใช้ใบไม้ห่อแล้วหุงให้สุก โดยใส่ในกระบอกไม้ไผ่ นำไปเผาจนสุก เวลา ทานก็จะแกะทานจากห่อทีละห่อ เหมือนทานข้าวเหนียว แต่รสชาติเหมือน ข้าวสวยที่หอม กลิ่มกรุ่น ขากลับจากล่องแพ แวะเที่ยวน้ำตกเหวโหลม อยู่ในเขตพื้นที่รักษาพันธุ์ สัตว์ป่าควนแม่ยายหม่อน ขึ้นกับอำเภอพะโต๊ะ ในเขตจังหวัดชุมพร เดินไป


“….. เมืองระนอง เป็นที ่ตั้งของบรรพบุรุษต้นตระกูล “ณ ระนอง” ชาวจีนโพ้นทะเลที่เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิ สมภาร และเป็นที่ ที่ ล้นเกล้า รัชกาลที่ 5 เคยเสด็จ รวมทั้งล้นเกล้ารัชกาลปัจจุบัน…..” “.....Ranong Province is home to the ancestors of the “Na Ranong” family; Chinese immigrants who the reign of King Rama 5th.....” came and lived under พระราชวังรัตนรังสรรค์ (จำลอง) สร้างขึ้นเพื่อรำลึก ในยุคที่ล้นเกล้ารัชกาลที่ 5 เคยเสด็จฯ มา น้ำตกเหวโหลม สายน้ำไหลตลอดทั้งปี สายสวยรวมตัวมาเป็นแอ่งด้านล่าง ศิลาจารึกสลักพระปรมาภิไธยย่อ “จปร” ถ้ำเขาพระขยางค์ ตามทางเดิ น ปู ล าดด้ ว ยซี เ มนต์ ประมาณ 200 เมตร พบ ระหว่ า งทางขากลั บ ยั ง มี โปรแกรมแวะเที่ ย ว “ถ้ ำ พระขยางค์ ” ถ้ ำ เก่ า แก่ มี หิ นงอก หน้าผาใหญ่มีน้ำตกไหลลงมา สายน้ำแรงมาก เสียงกระทบจาก หินย้อยอยู่ภายใน สามารถเดินเข้าไปเที่ยวภายในถ้ำได้ แต่พอเดินเข้าไปได้สัก 10 เมตร หน้าผาสูงสู่ด้านล่าง รวมเป็นแอ่งน้ำขนาดใหญ่ บริเวณโดย พวกเราก็ต้องรีบออกมา เพราะทนกลิ่นขี้ค้างคาวไม่ไหว ถ้ำนี้เชื่อว่าเป็นหนึ่งในถ้ำที่มนุษย์ รอบเป็นป่าดงดิบเต็มไปด้วยไม้ใหญ่เขียวชอุ่ม น้ำตกแห่งนี้เป็น ยุคหินเคยอาศัยอยู่ เพราะมีการพบภาพเขียนสีแบบโบราณรวมทั้งเครื่องปั้นดินเผา ที่ นิ ย มของคนในท้ อ งถิ่ น เพราะเป็ น น้ ำ ตกที่ ส วยและมี น้ ำ จุ ด สุ ด ท้ า ย ก่ อ นเดิ นทางยาว เป็ นการแวะที่ บ ริ เวณกิ โลเมตรที่ 525 เป็ นจุ ด แบ่ ง ไหลแรงตลอดปี เขตแดนระหว่ า งจั ง หวั ด ระนอง และจั ง หวั ด ชุ ม พร จุ ด นี้ เป็ นที่ ตั้ ง ของศิ ล าจารึ ก สลั ก รถวิ่ ง กลั บ มาตั ว เมื อ งระนอง เที่ ย วชมพระราชวั ง รั ต น พระปรมาภิไธยย่อ “จปร” ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 ท่านทรง รั ง สรรค์ เป็ นการสร้ า งขึ้ น ใหม่ โดยจำลองมาจากของเดิ ม ที่ เสด็จพระราชดำเนินจากเมืองชุมพรมาเมืองกระบุรี (ชื่อเดิมของจังหวัดระนอง) เพื่อตรวจ สร้างถวาย เพื่อใช้เป็นพลับพลาที่ประทับของพระบาทสมเด็จ ราชการแผ่นดินและความเป็นอยู่ของราษฎร เมื่อเสด็จมาถึงจุดนี้ได้พบศิลาก้อนใหญ่ จึงให้ พระจุลจอมเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 เมื่อครั้งเสด็จทรงเยี่ยมราษฎร สลักพระปรมาภิไธยย่อ “จปร” ไว้เป็นที่ระลึก เมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2433 นอกจาก จั ง หวั ด ระนอง ในปี พ.ศ 2433 ตั ว พระราชวั ง จำลองแห่ ง นี้ นี้ยังมีพระปรมาภิไธยย่อ “ภปร” และ “สก” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 สร้ า งด้ ว ยไม้ สั ก ทั้ ง หลั ง เป็ น อาคาร 2 ชั้ น เด่ น อยู่ บ นเนิ น เขา และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ที่ได้เสด็จมาทรงเยี่ยมราษฎร ที่จังหวัดระนอง กลางใจเมือง ด้านหน้าทำเป็นสวนหย่อมใช้เป็นสวนสาธารณะ เมื่อปี 2502 และในปี 2531 สมเด็จพระเทพฯ ได้เสด็จเยี่ยมราษฎรที่จังหวัดระนอง และ สำหรับประชาชนทั่วไป ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยบนแผ่นศิลาที่จุดนี้เช่นกัน สถานที่แห่งนี้จึงเป็นจุดท่องเที่ยวที่มี วันรุ่งขึ้นอีกวัน ต้องตื่นแต่เช้า (ตามเคย) เพราะต้องเดิน ความสำคัญทางประวัติศาสตร์อีกแห่งหนึ่งด้วย ทางไกลตรงดิ่งกลับกรุงเทพฯ ตามความตั้งใจดิฉันอยากจะแวะ ดิฉันกลับถึงกรุงเทพฯ ด้วยความรู้สึกประทับใจกับทริปล่องใต้ในครั้งนี้ แม้จะใช้เวลา เที่ยวตลาดสดเพื่อซื้อของฝาก มีกะปิที่ทำจากเคย เม็ดมะม่วง สั้นๆ แต่เป็นความคุ้นเคย เหมือนตามรอยพ่อหลวง อิ่มเอมกับความเป็นข้าแผ่นดิน และได้ หิ ม พานต์ แ ละกุ้ ง กระจก ซึ่ ง เป็ น สิ นค้ า ที่ มี ชื่ อ เสี ย งมากของ อุดหนุนสินค้าของชาวบ้าน ให้รายได้กระจายตัว และเราเองก็ได้กินของอร่อยๆ ถูกใจกัน จังหวัดระนอง ทั้งบ้าน ดิฉันจะพาท่านไปเที่ยวที่ไหนในฉบับหน้า โปรดคอยติดตามนะคะ   91


ท่องไปในโลกไซเบอร์ “…Symbian OS and Windows Mobile - the modern platform for mobiles phone, the first one is base of Ericson Group with market share 47 % and the other one is Microsoft took 14% rally competitive from now on...” ยุคนี้ โทรศัพท์มือถือมีชื่อเรียกกันว่าสมาร์ทโฟนบ้าง พีดีเอ โฟนบ้ า ง ออกอาการคึ ก คั ก สวนกระแสเศรษฐกิ จ ผมมี ข้ อ แนะนำความแตกต่างของสมาร์ทโฟน - โทรศัพท์ฉลาดๆ เหล่า นี้ ในเชิงของแพลทฟอร์มว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร ผมขอเริ่มต้นจากคำว่า “แพลทฟอร์ม - platform” ยังหา คำแปลที่เหมาะสมไม่ได้ครับ ขอทับศัพท์ไปก่อนเพราะเท่าที่ดู จาก พจนานุกรมออนไลน์ - Lexitron (lexitron.nectec.or.th) มีคำแปลกำกับไว้ 6 คำแปล ที่ใกล้เคียงที่สุดคือ “แท่น” เพราะ เป็นการพูดถึงระบบปฏิบัติการที่เป็นพื้นฐานของสมาร์ทโฟน ผมคิดว่า แพลทฟอร์มที่ได้รับความนิยมสูงสุดและเชื่อว่า อยู่ ร อดต่ อ ไปได้ ในอนาคต มี 4 ค่ า ยคื อ Windows Mobile จากค่ายไมโครซอฟท์, iPhone OS จากค่าย Apple, Android จากค่าย Google และ Symbian OS จากค่าย Nokia โดยมี ปัจจัย 5 ด้าน ช่วยสนับสนุนคือ 1) ผู้สนับสนุน ที่มั่นคง มีฐานการเงินมั่นคง 2) เทคโนโยโลยี มีระบบปฏิบัติการ 2 ระบบคือ Android และ iPhone OS ที่ มี พื้ นฐานมาจาก Unix ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็นระบบปฏิบัติการที่ความมั่นคงมาก 3) ความสำคั ญ ต่ อ ธุ ร กิ จ หลั ก จะทำให้ มี ก ารทุ่ ม เท ด้านทรัพยากรเพื่อพัฒนาในอนาคตที่ดีต่อไป 4) ฐานสินค้าและนักพัฒนา ช่วยพัฒนาโปรแกรมต่างๆ ออกมาได้อย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง 5) การเปิดเผยข้อมูล เรียกว่า open source มีการเปิดเผย ขั้ นตอนของโปรแกรม (source code) ทั้ ง หมดและ อนุ ญ าตให้ ผู้ ส นใจนำไปใช้ ไ ด้ โ ดยไม่ เ สี ย ค่ า ใช้ จ่ า ย พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้สามารถแก้ไข ปรับปรุงโปรแกรม ได้ตามถนัด คราวนี้ มาลองดูแต่ละระบบปฏิบัติการกันนะครับ จากค่าย หลักๆ จะมีคะแนนอย่างไร Symbian OS เป็นระบบที่เก่าแก่ที่สุด มีประวัติย้อนหลัง ไปถึ ง ปี 1998 ว่ า เป็ นความร่ ว มมื อ ของ Ericsson, Nokia, Motorola และ Psion พัฒนาใช้งานกับคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก (PDA) กับโทรศัพท์มือถือ โดยใช้ระบบปฏิบัติการของ Psion เป็นพื้นฐาน มีผู้ร่วมลงทุนหลัก 5 บริษัทฯ คือ Nokia (56.3%), Ericsson (15.6%), Sony Ericsson (13.1%), Panasonic (10.5%) และ Samsung (4.5%)

?”

“โทรศัพท์มือถือยุคใหม่ เขาเล่นอะไรกัน

92

สมชัย สิทธิชัยศรีชาติ กรรมการผู้จัดการ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) Somchai Sittichaisrichart Managing Director SIS Distribution (Thailand) PLc. สมาร์ทโฟนที่ใช้ระบบ Symbian สมาร์ทโฟนที่ใช้ Windows Mobile 6.1 จนทำให้ Symbian มี ส่ ว นแบ่ ง ตลาดอั นดั บ หนึ่ ง ถึ ง 47% โดยจากการสำรวจ ณ. ไตรมาส 3 ปี 2008 ที่ผ่านมา พบว่ามีเพียง Nokia เพียงเจ้าเดียวเท่านั้นที่ผลิตออกสู่ตลาด ด้วยระบบ Symbian Foudation เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2008 พร้อมกับแผนการที่จะ ทำให้ Symbian เป็นระบบปฏิบัติการแบบ Open Source ในปี 2009 Windows Mobile ค่ายไมโครซอฟท์พัฒนาขึ้นแข่งกับระบบ Palm OS เมื่อปี 1996 และเป็นเจ้าตลาดสำหรับพีดีเอในยุคแรก เรียกว่า Pocket PC แนะนำสู่ตลาดในปี 2000 จนล่าสุดนี้ เรียกว่า Windows Mobile 6.5 คล้ายกับ Windows ที่ใช้กันบนคอมพิวเตอร์ ส่ ว นบุ ค คล มี ข้ อ ดี ในแง่ ข องผู้ ใช้ ที่ ใช้ ร ะบบ Windows อยู่ แ ล้ ว สามารถปรั บ ตั ว ไปใช้ Windows Mobile ได้ไม่ยากนัก ระบบ Pocket PC ก ล า ย ม า เ ป็ น และเป็ น Windows 2000 ในยุคแรก Windows Mobile 6.1 Mobile 6.5 ในอนาคต ในปัจจุบัน อันใกล้ พบว่ า ไมโครซอฟท์ ไม่ ป ระสบผลสำเร็ จ เท่ า ใดนั ก แต่ ก ลายเป็ น HTC ที่ ใ ช้ ร ะบบ Windows Mobile ถึง 80% จนกลายเป็นผู้ผลิตโทรศัพท์มือถือรายหลักของโลกไปแล้ว แต่มาระยะหลังไมโครซอฟท์เพิ่งจะชักชวน Samsung และ LG ให้ผลิตระบบ Windows Mobile ซึ่งคาดว่าทั้งสองบริษัทฯ ยักษ์ใหญ่นี้จะทยอยแนะนำสมาร์ทโฟนออกมาอย่าง ต่อเนื่องในปี 2009 นี้ นอกจากนี้ ผู้ ผ ลิ ต คอมพิ ว เตอร์ ส่ ว นบุ ค คล อย่ า ง HP และ Acer ก็ เริ่ ม ใช้ ร ะบบ Windows Mobile ด้วยช่นกัน ผมคิดว่าศึกนี้ต้องติดตามกันแบบไม่กระพริบตาครับ ส่ ว นแบ่ ง ตลาดสำหรั บ สมาร์ ท โฟน ปั จ จุ บั น Windows Mobile มี ส่ ว นแบ่ ง ตลาด ประมาณ 14% ในขณะที่ระบบ Symbian ของ Nokia มีส่วนแบ่งการตลาดประมาณ 47% ผมคิดว่าระบบ Windows Mobile และWindows Mobile 7 ที่ได้รับการยกเครื่อง ใหม่หมด โดยไมโครซอฟท์จะแนะนำสู่ตลาดในปี 2010 ในฉบั บ ต่ อ ไป ผมจะเล่ า ถึ ง ระบบปฏิ บั ติ ก ารที่ เ หลื อ ซึ่ ง ก็ คื อ iPhone OS และ Android พร้อมกับสรุปผลการประเมินแต่ละระบบปฏิบัติการว่าถ้าประเมินกันตาม 5 ปั จ จั ย ที่ ก ล่ า วมาแล้ ว แต่ ล ะระบบปฏิ บั ติ ก าร จะมี ค วามแตกต่ า งกั น อย่ า งไร พบกั น ฉบับหน้านะครับ..


Special Report

ความภูมิใจ ถ้วยรางวัล”

เก็บตกต่อจากเล่มที่แล้ว งานการมอบรางวัล OHM Award 2008 ของชมรมสื่อนอกบ้าน – Out Of Home

Club – OOH Club ให้กับเหล่าเอเยนซีผู้มีความคิดสร้างสรรค์งานโฆษณาเป็นเลิศ ทีมงานเป็นกำลังใจให้เขาและเธอ สร้างสรรผลงาน “โดนๆ” แบบนี้ต่อไปเรื่อยๆ นะคะ

ตัวแทน Creative Juice เป็นผู้รับมอบ

Single for Innovation use of Best of non-conventional outdoor media

The Best

TITLE : Coffin - Bike PRODUCT : ไม่ซ้อนคนดื่ม ADVERTISER : Thai Health Promotion Foundation ADVERTISING AGENCY : Creative Juice / Bangkok SUBMITTING COMPANY : Creative Juice / Bangkok   104


Special Report

คุณมารุต อรรถไกวัลวที มอบรางวัลให้ตัวแทน จาก TBWA

Silver

Single for Innovation use of non-conventional outdoor media

Silver

Single for Innovation use of non-conventional outdoor media

TITLE : Crack ceiling PRODUCT : Adidas Bounce ADVERTISER : Adidas (Thailand) Co., Ltd. ADVERTISING AGENCY : TBWA (Thailand) Co., Ltd. SUBMITTING COMPANY : TBWA (Thailand) Co., Ltd.

TITLE : Open 24 Hours PRODUCT : McDonald ADVERTISER : บ.แมคไทย จำกัด ADVERTISING AGENCY : TBWA (Thailand) Co., Ltd. SUBMITTING COMPANY : TBWA (Thailand) Co., Ltd.

Silver

Bronze Single for Transport Stations

Single for Innovation use of non-conventional outdoor media

TITLE : นวดทุกเมื่อ เพื่อผ่อนคลาย PRODUCT : Tiger Balm Neck & Shoulder Rub TITLE : Red Plate PRODUCT : Wash United Car Care ADVERTISER : ห้างหุ้นส่วน ว้อชยูไนเต็ด จำกัด ADVERTISING AGENCY: TBWA (Thailand) ADVERTISER : Haw Par Healthcare ADVERTISING AGENCY : TBWA (Thailand) Co., Ltd. SUBMITTING COMPANY : บ.พีเอชดี (ประเทศไทย) จำกัด Co., Ltd. SUBMITTING COMPANY : TBWA (Thailand) Co., Ltd.   105


รับรางวัล คุ ณ วี ร ะเดช สมบู ร ณ์ เ วชชการ ผู้ บ ริ ห ารบริ ษั ท วี พี พี โปรเกรสซีฟ จำกัด ผู้ดำเนินการธุรกิจกาแฟครบวงจรและร้าน กาแฟสดแบรนด์ “ดิ โ อโร่ ” รั บ รางวั ล “Bai Po Business Award 2009 by Sasin” จากธนาคารไทยพาณิ ช ย์ ร่ ว มกั บ สถาบั น บั ณ ฑิ ต บริ ห ารธุ ร กิ จ ศศิ น ทร์ แ ห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย ในฐานะผู้ มี ก ารปฏิ บั ติ ดี ต่ อ สั ง คม ผู้ ส ร้ า งตรา สิ นค้ า ของตั ว เองและเป็ น องค์ ก รที่ ต อบสนอง - ปรั บ ตั ว ต่ อ โอกาสและปั ญ หาได้ ดี โดยมี คุ ณ อานั น ท์ ปั น ยารชุ น เป็ น ประธานในพิธี

s

o

บินสบายๆ ไปลำปาง

สายการบิ น พี บี แอร์ จั ด โปรโมชั่ น พิ เศษ ในช่ ว งฤดู ฝ น “บินสบาย จ่าย 2,499” เส้นทาง กรุงเทพฯ – ลำปาง ตั้งแต่ วันนี้ ถึงวันที่ 24 ตุลาคม 2552 สัมผัสการบริการอันแสนสบาย และอบอุ่น ด้วยอาหารและเครื่องดื่มร้อน เย็น ฟรีตลอดการ เดิ นทาง ในทุ ก เที่ ย วบิ น สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ 02 - 326 8000 หรือ www.pbair.com

OOH Convention 2009

งานสั ม มนาแห่ ง ปี ที่ จ ะทำให้ ผู้ ค นในธุ ร กิ จ สื่ อ นอกบ้ า น เห็ น ภาพชั ด กั บ การสื่ อ สารถึ ง ผู้ บ ริ โ ภค มองมาจากมุ ม นอก มองเข้ า หามุ ม ใน ที่ ใ ครๆ ต้ อ งเข้ า ใจ คิ ด ลึ ก ความต้ อ งการ ข อ ง ผู้ บ ริ โ ภ ค ไ ด้ ใ น A s i a P a c i f i c O u t o f H o m e Media convention 2009 ระหว่างวันที่ 5 – 6 พฤศจิกายน 2 5 5 2 นี้ ที่ M a c a u T o w e r ดู ร า ย ล ะ เ อี ย ด ไ ด้ ที่ www.oohmediaconvention.com   112

y

สื่อโฆษณา MRT คุ ณ อนวั ช องค์ ว าสิ ฎ ญ์ รองประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร บริ ษั ท เมเจอร์ ซี นี เพล็ ก ซ์ กรุ๊ ป จำกั ด (มหาชน) คุ ณ อาณั ติ จ่ า งตระกู ล รองกรรมการผู้ จั ด การ บริ ษั ท ไทยซั ม ซุ ง อี เ ลค โทรนิคส์ จำกัด แถลงข่าวจัดอีเว้นท์ภารกิจวัดกึ๋นความรอบรู้ เกี่ ย วกั บ หนั ง และความอึ ด ในการดู ห นั ง กั บ “Sumsung PLASMA Movie Guru Marathon 2009@Major Cineplex” เพื่อค้นหากูรูผู้รอบรู้เกี่ยวกับหนังที่มีความอึดในการดูหนังมาก กว่า 80 เรื่อง นาน 168 ชั่วโมง (7 วัน 7 คืน) ผู้สนใจสมัครได้ 1 – 31 กรกฎาคมนี้ ณ เคาเตอร์รับสมัครโรงภาพยนตร์เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์, อีจีวี, พารากอน, และเอสพลานาด

c

i

e t

ขอบคุณจากใจ

คุ ณ สุ เ วทย์ ธี ร วชิ ร กุ ล กรรมการผู้ อ ำนวยการ บริ ษั ท เอ็ม บี เค จำกัด (มหาชน) ผู้บริหารศูนย์การค้า MBK Center จัดงาน “MBK LOVE ARMY PARTY” เพื่อเลี้ยงสังสรรค์และ ขอบคุ ณ สื่ อ มวลชนที่ ให้ ก ารสนั บ สนุ น ณ ห้ อ ง The Event โรงแรมปทุมวันปริ๊นเซส


Promotion of the month July 2009

หมอนอิง OHM และรายการเวทีผู้หญิง 90.5 MHz สั่งตรงจากประเทศจีน เพื่อแฟนๆ รายการ เวทีผู้หญิง และสมาชิกนิตยสาร OHM โดยเฉพาะ มูลค่ารวม 500 บาท มอบให้สมาชิก 5 ท่านแรก ที่บอกรับการเป็นสมาชิกนิตยสาร OHM เป็นเวลา 2 ปี

รายชื่อผู้โชคดี OHM June 2009 ขอแสดงความยินดีกับสมาชิกราย 2 ปี 5 ท่านแรก ที่ได้รับอาหารเสริมวิตามิน โปรไบโอติก พรีไบโอติก สำหรับสุนัขที่คุณรัก จาก มูลค่ารวม 450 บาท คุณอัมรา ปานแก้ว คุณสมนึก ชำนาญไพร คุณทรงวุฒิ เติมเสริม คุณประยูร วงศ์ทอง คุณกัญญารัตน์ โพธิจักร Lucky subscribers for Congratulations to the first 5 subscribers for 2 years of OHM

ฟรี 2 เล่ม มูลค่ารวม 3,600 บาท

114


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.