ญาณวิทยาโดยสังเขป

Page 1


ญาณวิทยาโดยสังเขป ประสบการณ์นิยม : เหตุผลนิยม เรี ยบเรี ยง สรายุทธ เลิศปัจฉิมนันท์ ภาพปก Carla216 (Life is juicy) จัดพิมพ์ในรู ปแบบหนังสื ออิเล็กทรอนิกส์โดย MiRAYEBOOK (facebook.com/mirayebook) พิมพ์ครัLงแรก มีนาคม ๒๕๕๖ สงวนสิ ทธิP ตามพระราชบัญญัติลิขสิ ทธิP โดยละเว้นซึU งบางประการ ตามสั ญ ญาอนุ ญ าต ครี เ อที ฟ คอมมอนส์ ทีU CC BY-NC-SA 3.0 สามารถอ่านออนไลน์ หรื อดาวน์โหลดเพืUออ่านได้เป็ นการส่ วนตัว การเผยแพร่ ต่อทางอินเตอร์ เน็ตสามารถกระทําได้โดยแสดงทีUมา หากมี ก ารตี พิ ม พ์เ พืU อ จัด จํา หน่ า ยในเชิ ง พาณิ ช ย์ จะต้อ งได้รั บ อนุ ญาตจากผูเ้ ขี ยนเป็ นลายลักษณ์อกั ษรก่อนเท่านัLน เว้นแต่การ นํา ไปใช้อ ้า งอิ ง สามารถกระทํา ได้โ ดยมิ ต ้อ งแจ้ง ล่ ว งหน้า แต่ ประการใด


ความนําผูเ้ ขียน ญาณวิทยาโดยสั งเขป ประสบการณ์ นิยม : เหตุ ผลนิย ม ฉบับ หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์นL ี ได้ปรับปรุ งเนืL อหาจากเดิม คือ บทความ ทางปรั ช ญาภายใต้ หั ว ข้ อ ‘ปั ญ หาญาณวิ ท ยา : โดยสั ง เขป (Problems of Epistemology : A Very Brief)’ ซึU งบทความดังกล่าว เป็ นงานเขี ย นเพืU อ นํา เสนอขณะข้า พเจ้า ยัง ศึ ก ษาอยู่ ใ นระดับ บัณฑิตศึกษา ภาควิชาปรัชญา โดยงานเขี ยนชิL นนีL คงมิ อ าจเกิ ด ขึL นได้ หากปราศจากซึU ง คําแนะนําของท่านอาจารย์เอกศักดิP (รศ.เอกศักดิP ยุกตะนันทน์) ทีU เป็ นผูจ้ ุ ด ประกายแนวคิ ด และวางกรอบการเขี ย นให้แ ก่ ขา้ พเจ้า ภายใต้เงืUอนไขทีUว่า ‘ลองเขียนให้คนทีUไม่รู้จกั วิชาปรัชญาอ่านแล้ว เข้า ใจได้ด้ว ย’ จึ ง นับ เป็ นความท้า ทายในการนํา เสนอภายใต้ ข้อจํากัดเรืU องการเชืUอมโยงแนวคิดทางปรัชญาให้เข้ากับคําอธิ บาย อย่างทีU จาํ เป็ นต้องง่ ายทีU สุดเท่ าทีU ขา้ พเจ้าจะสามารถทําให้ง่ายได้ เพราะต้องใช้ศพั ท์เฉพาะทางปรัชญาให้นอ้ ยทีUสุดเท่าทีUจะน้อยได้ เพืUอให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ทีUตอ้ งการให้ผูไ้ ม่เคยทราบมาก่อน ว่า ญาณวิทยา ซึUงเป็ นสาขาหนึUงของปรัชญาบริ สุทธ์นL นั เป็ นวิชาว่า ด้วยอะไร


ข้าพเจ้าได้ลองนําเสนอพร้ อมกับยกตัวอย่างในแบบทีUตวั ข้าพเจ้าคิดว่าง่ายทีUสุดแล้ว แต่ก็มีบางส่ วนทีUเห็นว่ายังยากต่อการ เข้า ใจอยู่ จะด้ว ยสาเหตุ ใ ดหรื อ จะด้ว ยความสามารถในการ นําเสนอทีUยงั ไม่ดีพอของข้าพเจ้าก็สุดแท้แต่ รวมถึงข้อผิดพลาด ทางด้า นเนืL อ หาอัน อาจจะมี ทัLงนีL ความเลวทัLง หลายทัLง ปวงจาก ข้อบกพร่ องดังกล่ าวนัLน ข้าพเจ้าขอรับไว้แต่ผูเ้ ดี ยว ส่ วนความดี ทัLงหมดจากงานเขียนชิLนนีL ข้าพเจ้าขอยกให้แก่อาจารย์

สรายุทธ เลิศปัจฉิมนันท์ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๖



MiRAYEBOOK

บทนํา บ่ อ ยครัL งทีU ม นุ ษ ย์ไ ม่ อ าจแยกออกว่ า อะไรคื อ ความเชืU อ อะไรคือความจริ ง และอะไรคือความรู ้ มนุ ษย์รับรู ้อะไรบ้างและ สิU งทีUมนุ ษย์รับรู ้ได้คืออะไร อีกทัLงมนุ ษย์ยงั มักจะเชืU อในสิU งทีUตนรู ้ โดยถือเอาสิU งทีUรู้นL นั เป็ นความจริ ง แต่ความจริ งดังกล่าวจะสามารถ เรี ย กว่า ความรู ้ ไ ด้ห รื อไม่ นL ัน เป็ นปั ญ หาปรั ช ญาทางญาณวิทยา (Epistemology) ทีUจะเข้ามามีบทบาทตรวจสอบและพิจารณาถึงบ่อ เกิดของความรู ้ ซึUงสัมพันธ์กบั ความจริ งและการรับรู ้ของมนุษย์ การรับรู้ ของมนุษย์ ความรู ้ของมนุษย์เกิดจากการรับรู ้ (Perception) ดังนัLนหาก ถามว่า ‘อะไรคือสิU งทีUเรารับรู ้’ คําถามนีLอาจอธิ บายได้จากตัวอย่าง ง่ า ย ๆ เช่ น การทีU เ รามองเห็ น วัตถุ ห นึU ง อยู่เ บืL องหน้า ในทีU นL ี อ าจ สมมติให้เป็ นผลส้ม และเราสามารถรั บรู ้ การมี อยู่ของผลส้มได้ เพราะเรามองเห็นมันปรากฏอยูต่ ่อหน้า ส้มได้ปรากฏต่อสายตาเรา เมืUอเราต้องการรู ้ต่อไปอีกว่าคุณสมบัติอืUนของผลส้มเป็ นอย่างไร เราจึงเริU มหาความรู ้เกีUยวกับผลส้มตรงหน้านัLน เราอาจใช้มือสัมผัส เพืUอสํารวจลักษณะภายนอกของผิวส้ม หรื อแกะเปลือกเพืUอบิมนั ออกมาชิ มรส ซึU งทําให้เราสามารถมันU ใจได้ว่าส้มนัLนมีคุณสมบัติ อย่างไร และมันได้ประจักษ์ต่อเราอย่างไรในฐานะทีUมนั เป็ นวัตถุทีU ญาณวิทยาโดยสังเขป | 1 |


MiRAYEBOOK

มีอยู่จริ งในโลกภายนอก (External World) ทว่าโลกภายนอกคือ อะไร คํา ว่ า โลกภายนอกในทีU นL ี ก็ ห มายถึ ง โลกของวัต ถุ ทีU อ ยู่ ภายนอกตัว เรา เป็ นโลกทีU เ ราสามารถรั บ รู ้ ก ารมี อ ยู่ไ ด้โ ดยการ ประจักษ์แจ้งต่ อจิต ดังเช่ นผลส้มทีU ได้ยกตัวอย่างไปแล้วนัLน จิ ต ของเราได้ประจักษ์มนั ในฐานะของวัตถุทีUมากระทบกับ ตา หู จมูก ลิLน กาย ทําให้เกิดเป็ นผัสสะ (Sensation) และสร้างประสบการณ์ การรับรู ้ให้เกิดขึLนในจิต ซึU งเราสามารถเรี ยกการรับรู ้ของจิตทีUมีต่อ โลกภายนอกในลักษณะนีLได้วา่ ‘การรับรู ้โดยผัสสะ’ คนปกติทวUั ไปอาจยังสามารถจินตนาการถึงกระบวนการ รับรู ้โดยผัสสะได้ เพราะอย่างไรเสี ยก็เป็ นเรืU องทีUเกีUยวข้องกับ ตา หู จมูก ลิLน กาย แต่หากพูดถึงการรับรู ้ทีUไม่ผ่านผัสสะแล้ว ก็อาจจะ ยากแก่ การจิ นตนาการว่าเราจะสามารถสร้างการรั บรู ้เช่ นนัLนได้ อย่างไร ทัLงทีU จริ ง ๆ แล้วการรั บรู ้โดยไม่ ผ่านผัสสะเองก็เป็ นอี ก หนึUงกระบวนการทีUเรี ยกได้วา่ ใกล้ตวั เราไม่ต่างไปจากการรับรู ้โดย ผัสสะ กระบวนการรับรู ้ทีUว่านัLนเป็ นอย่างไร ขอให้ลองนึกถึงเวลา ทีUเราบวกเลข ซึU งเราสามารถเข้าใจถึงมโนทัศน์ (Concept) เรืU อง จํา นวนได้จ ากการคิ ด คํา นวณ กล่ า วคื อ เราสามารถรั บ รู ้ ไ ด้ว่ า จํา นวนหนึU ง หน่ ว ย เมืU อ นํา มารวมกับ จํา นวนอี ก หนึU ง หน่ ว ย ผล ออกมาย่อมเท่ากับสองหน่ วยเสมอ หรื อ คนสองคน เมืUอรวมกับ คนอีกสองคน ผลทีUออกมาก็ย่อมเป็ นสีU คนเสมอ ไม่สามารถทีUจะ ญาณวิทยาโดยสังเขป | 2 |


MiRAYEBOOK

เป็ นอืUนไปได้ หรื อเรายังสามารถรับรู ้เรืU องจํานวนทีUซบั ซ้อนขึLนไป อีก เช่น เรารู ้วา่ คนห้าคนเมืUอยืนเรี ยงหน้ากระดานกันห้าแถวย่อมมี ยีสU ิ บห้าคน หากถือเอายีUสิบห้าคนนีL เป็ นหนึU งกลุ่ม เราก็จะสามารถ อนุ มานต่อไปอีกได้ว่าถ้ามีถึงสิ บกลุ่ม ก็ย่อมมีจาํ นวนคนทัLงหมด สองร้อยห้าสิ บคน เราสามารถนังU อยูใ่ นห้องและคิดคํานวณออกมา จนรั บ รู ้ จ าํ นวนทัLง หมดได้โดยไม่ ต ้องออกไปดู ใ ห้เ ห็ น ด้ว ยตาทีU สนามซึUงคนเหล่านัLนกําลังตัLงแถวกันอยู่ การรับรู ้โดยไม่ผ่านผัสสะ เช่นนีLมาจากการคิดทีUเกิดขึLนภายในจิต จึงเรี ยกได้วา่ เป็ น ‘การรู ้โดย เหตุผล’ จากทีUได้กล่าวมาเบืLองต้นนีL คงพอให้ทราบถึงการรับรู ้ของ มนุษย์ได้วา่ มีอยูส่ องแบบ หรื อหากพูดในเชิงญาณวิทยาก็อาจกล่าว ได้ว่า มนุ ษย์สามารถเข้าถึงความรู ้ได้สองทาง คือผ่านทางผัสสะ และผ่ า นทางการใช้เ หตุ ผ ล แต่ ก ารรั บ รู ้ ข องมนุ ษ ย์จ ะสามารถ เรี ยกว่าความรู ้ได้ก็ต่อเมืUอสิU งทีU รับรู ้ นL ัน มีความสัมพันธ์กบั ความ จริ ง ความจริงจากการรับรู้ ในเบืL องต้นเมืU อเราทราบถึ งการรั บรู ้ (Perception) ของ มนุ ษย์แล้วว่ามีอยู่สองแบบ คือ ‘การรับรู ้โดยผัสสะ’ และ ‘การรู ้ โดยเหตุผล’ ดังนัLนในเมืUอการรับรู ้มีอยู่สองแบบก็ทาํ ให้สถานะ ญาณวิทยาโดยสังเขป | 3 |


MiRAYEBOOK

ของ ความจริ ง (Truth) ทีUได้จากการรับรู ้แยกออกเป็ นสองแบบด้วย เช่นกัน คือ ความจริ งโดยบังเอิญ (Contingent truth) และ ความจริ ง โดยจําเป็ น (Necessary truth) โดยหากพิจารณาต่อไปถึงความ แตกต่างของความจริ งทัLงสองนีL แน่นอนว่าตามนัยยะของมันแล้ว ความเป็ นจริ งโดยบังเอิญ ย่อมเป็ นความจริ งทีUง่อนแง่นเอาแน่ เอา นอนไม่ได้ เช่นว่าวันนีLสถานะของมันอาจจะจริ ง แต่พรุ่ งนีLกอ็ าจจะ กลายเป็ นไม่จริ งไปแล้วก็ได้ ทัLงนีLขอให้ลองนึกถึงตัวอย่าง เช่น ใน อดีตมนุษย์เคยเชืUอว่าโลกแบน ถือเป็ นความจริ งของคนในสมัยนัLน แต่เมืUอถึงเวลาทีUวิทยาศาสตร์ เจริ ญก้าวหน้าก็มีการค้นพบว่าโลก กลม ความจริ งในอดีตจึงเปลีUยนสถานะเป็ นเพียงความเชืUอ เพราะมี ความจริ งใหม่เข้ามาแทนทีUและความจริ งนัLนสามารถให้คาํ อธิ บาย ได้ดีกว่า หรื ออีกตัวอย่างทีUใกล้ตวั ขึLนมาอีก เช่น เรามีประสบการณ์ มาโดยตลอดว่าช่วงเดือนเมษายนเป็ นหน้าร้อน แต่เราจะแน่ ใจได้ อย่างไรว่ามันจะต้องร้อนต่อไปทุกปี หากปรากฏว่าปี นีLจู่ ๆ อากาศ ก็ห นาวขึL น อย่า งฉับ พลัน ตลอดทัLง เดื อ นเมษายน สิU ง ทีU เ ราเคยมี ประสบการณ์ ม าตลอดและคิ ดว่ามันคื อความจริ งก็มีอ ันเปลีU ย น สถานะไปไม่ต่างจากความเชืU อ หรื อจากตัวอย่างเดียวกันในเรืU อง ผลส้ม เรามีประสบการณ์มาโดยตลอดว่าส้มมีรสหวาน เราจึงเชืU อ ว่าส้มทุกลูกจะต้องหวาน กระทังU วันหนึU งเราได้กินส้มผลหนึU งทีUมี รสเปรีL ยว ความจริ งทีUว่าส้มทุกลูกหวานนัLนก็มีอนั ต้องพังทลายไป ญาณวิทยาโดยสังเขป | 4 |


MiRAYEBOOK

เช่นกัน เพราะบังเอิญว่าทีUผา่ นมาเราเคยได้ชิมแต่ส้มรสเดียว ดังนัLน สิU งทีUเรี ยกว่า ความจริ งโดยบังเอิญ จึงไม่อาจสร้างความแน่ใจให้กบั เราได้อย่างเต็มร้อยเปอร์ เซ็นต์ ซึU งตรงกันข้ามกับ ความจริ งโดย จําเป็ น ทีUถือได้ว่าเป็ นความจริ งอย่างทีUสุดและไม่มีทางเป็ นอืUนไป ได้ ดังเช่นตัวอย่างเดียวกับการคิดในเรืU องจํานวน ทีUเราไม่สามารถ จะมีมโนทัศน์ได้เลยว่าคนสองคนเมืUอรวมกับอีกสองคนจะได้ห้า คน ความจริ งทีUได้จากการคิดใช้เหตุผลในลักษณะนีL ไม่ว่าจะเป็ น เรืU อง เรขาคณิ ต คณิ ตศาสตร์ หรื อตรรกศาสตร์ เป็ นต้น เราถือให้ เป็ นความจริ งทีUตายตัว และเป็ นความรู ้แท้ของมนุษย์ การเข้ าถึงความรู้ ของมนุษย์ กลุ่มนักปรัชญาทีUยึดมันU ในสิU งทีUเป็ นความรู ้แท้ของมนุ ษย์ และเชืU อว่ามนุ ษย์มีความรู ้ติดตัวมาแต่กาํ เนิ ด เราเรี ยกนักปรัชญา กลุ่มนีL ว่า นักเหตุผลนิยม (Rationalism) ซึU งแน่ นอนว่านักเหตุผล นิ ยมจะปฏิ เสธอย่างแข็งขันต่อสิU งทีUมีสถานะเป็ นเพียงความเชืU อ ดังนัLน ความจริ งโดยบังเอิญซึU งเป็ นความจริ งทีUได้มาจากผัสสะ นัก เหตุ ผลนิ ยมจะให้เหตุ ผลว่ามันเป็ นความจริ งทีU ไม่ อาจเชืU อถื อได้ เพราะผัสสะของมนุ ษย์สามารถผิดเพีLยนได้ตลอดเวลา ขึLนอยู่กบั สถานทีU สถานการณ์ และสมรรถภาพทางกาย เช่ น เมืU อเรามอง กระดาษสี ขาวในห้อง ๆ หนึUงซึU งมีแสงสว่างเพียงพอและใกล้เคียง ญาณวิทยาโดยสังเขป | 5 |


MiRAYEBOOK

กับแสงของดวงอาทิตย์ เราจะเห็นกระดาษเป็ นสี ขาว แต่ถา้ เมืUอใด เราอุตริ เอากระดาษแก้วสี แดงไปหุ ้มหลอดไฟในห้องให้หมดทุก ดวง เราก็จะเห็ นกระดาษกลายเป็ นสี แดง หรื อไม่ เช่ นนัLนในอี ก กรณี ทีUเป็ นข้อจํากัดทางด้านร่ างกาย แม้ในสภาพทีU แสงเพียงพอ อย่างเป็ นปกติ คนตาบอดสี กย็ อ่ มรับรู ้สีของวัตถุแตกต่างไปจากคน ทีUมีสายตาปกติ ด้วยความง่อนแง่นเช่นนีLเองทีUทาํ ให้นกั เหตุผลนิยม ถือกันว่า สิU งทีUได้จากผัสสะเป็ นเพียงประสบการณ์หนึUงทีUจริ งอย่าง บังเอิญในกาลเทศะ (Time and Space) หนึUงเท่านัLน ไม่อาจถือเป็ น ความรู ้แท้ของมนุษย์ได้ เพราะความรู ้แท้ของมนุษย์จะต้องเป็ นสิU ง ตายตัวทีUอยู่เหนื อกาลเทศะ ความรู ้ทีUตายตัวต้องได้มาจากการใช้ เหตุ ผลโดยไม่ จํ า เป็ นต้ อ งอิ งกั บ ประสบการณ์ และเป็ น กระบวนการของความคิ ด ทีU ไ ม่ ต ้อ งอาศัย ประสาทสั ม ผัส ดัง ตัว อย่า งนัก ปรั ช ญาสมัย กรี ก โบราณ คื อ โสคราติ ส ซึU ง เป็ นนัก ปรั ช ญาทีU เ ชืU อ มัUน อย่า งทีU สุ ด ว่า มนุ ษ ย์เ ป็ นผูม้ ี ค วามรู ้ ติ ด ตัว มาแต่ กําเนิ ด และโสคราติ สก็ได้แ สดงให้เห็ นในบทสนทนากับเมโน โดยบอกให้เ มโนเรี ยกทาสรั บ ใช้ข องเขาทีU ไ ม่ เ คยมี ค วามรู ้ เ รืU อ ง เรขาคณิ ต มาก่ อ น จากนัLน โสคราติ ส ค่ อ ย ๆ ตัLง คํา ถามเกีU ย วกับ เรขาคณิ ต หากตอบผิด โสคราติ สก็จะตัLงคําถามไปเรืU อย ๆ เพืUอ กระตุน้ ให้ทาสของเมโนได้คิดด้วยตัวเองและอธิ บายถึงสิU งทีUเขา เข้า ใจออกมา ซึU ง ปรากฏว่าทาสของเมโนสามารถเข้า ใจทฤษฎี ญาณวิทยาโดยสังเขป | 6 |


MiRAYEBOOK

เรขาคณิ ต ได้โ ดยทีU โ สคราติ ส ไม่ ไ ด้ส อนอะไร ดัง นัLน แนวคิ ด ของโสคราตีสจึงได้สืบต่อมายังนักปรัชญารุ่ นหลัง โดยเฉพาะกลุ่ม นักเหตุผลนิยมซึU งถือเช่นกันว่ามนุษย์ทุกคนล้วนมีความรู ้ติดตัวมา แต่กาํ เนิ ด เพียงแต่มนุ ษย์แต่ ละคนอาจจะมีความสามารถในการ ระลึกถึงความรู ้แท้ของตนเองได้แตกต่างกันไปตามแต่ละบุคคล และตามแต่สUิ งแวดล้อมทีUบ่มเพาะเลีLยงดูมา ทว่าขณะเดียวกันก็มีนกั ปรัชญาอีกกลุ่มทีUมีแนวคิดในทาง ตรงกันข้าม คือ ไม่เชืUอว่ามนุษย์มีความรู ้ติดตัวมาแต่กาํ เนิด แต่เชืUอ ว่าความรู ้ของมนุษย์ได้มาจากประสบการณ์ทีUเกิดขึLนอย่างซํLา ๆ จน แน่ใจได้เท่านัLน เราเรี ยกนักปรัชญากลุ่มนีLวา่ นักประสบการณ์นิยม (Empiricism) ซึUงเห็นแย้งว่า หากมนุษย์มีความรู ้แท้ติดตัวมาแต่เกิด จริ ง มนุษย์กไ็ ม่จาํ เป็ นต้องเรี ยนรู ้อะไร เด็กทีUเกิดมาก็ไม่จาํ เป็ นต้อง เข้าโรงเรี ยนศึกษาหาความรู ้เพราะมีความรู ้ติดตัวอยูแ่ ล้วโดยกําเกิด หากแต่ในความเป็ นจริ งเรากลับพบว่า เด็กทีUเกิดมาใหม่ ๆ นัLนไม่มี ความรู ้ อะไรเลย เด็กจะมี ความรู ้ ได้ก็ต่อเมืU อมี ประสบการณ์ จาก การศึกษาเล่าเรี ยนทีละเล็กทีละน้อย ดังนัLนความรู ้แท้ในทัศนะของ นัก ประสบการณ์ นิ ย มจึ ง ต้อ งเป็ นความรู ้ ทีU ป ระจัก ษ์ชัด เจนต่ อ ผัส สะเท่ า นัLน เช่ น เรามี ค วามรู ้ ว่ า ดวงอาทิ ต ย์ต ้อ งขึL นทางทิ ศ ตะวันออกเสมอ ก็เพราะประสบการณ์ทีUผ่านมาบอกเราเช่ นนัLน และมั น ก็ ด ํ า เนิ นซํL า ๆ แบบนัL นมาโดยตลอด ดั ง นัL นนั ก ญาณวิทยาโดยสังเขป | 7 |


MiRAYEBOOK

ประสบการณ์นิยมถือว่าเหตุการณ์ดวงอาทิตย์ขL ึนทางทิศตะวันออก นีL เป็ นความจริ ง และจะยึดถือเป็ นความรู ้ไปจนกว่าจะมีสักวันทีU ดวงอาทิ ต ย์จู่ ๆ ก็เ ปลีU ยนไปขึL นยังทิ ศอืU นซึU งไม่ ใช่ ทิศ ตะวัน ออก เป็ นต้น กระนัLนก็ตาม อย่างไรเสี ยความขัดแย้งทางความคิดของนัก ปรั ช ญาทัLงสองฝ่ ายก็ย งั ทํา ให้เราสามารถมองเห็ น ได้ว่า บ่ อ เกิ ด ความรู ้ ข องมนุ ษ ย์แ บ่ ง ออกได้เ ป็ นสองชนิ ด คื อ ความรู ้ ก่ อ น ประสบการณ์ (A Priori Knowledge) และ ความรู ้ ห ลัง ประสบการณ์ (A Posteriori Knowledge) ซึU งได้มาด้วยวิธีการทีU ต่างกัน กล่าวคือ ความรู ้ก่อนประสบการณ์ เป็ นความรู ้ทีUอยูใ่ นจิตทีU ทําให้มนุษย์สามารถคิดอย่างเป็ นลําดับขัLนตอนได้โดยไม่ตอ้ งอาศัย การมี อ ยู่ ก่ อ นของประสบการณ์ แต่ ใ นขณะทีU ค วามรู ้ ห ลั ง ประสบการณ์ เป็ นความรู ้ ทีU ต ้อ งอาศัย ผัส สะเป็ นพืL น ฐาน และ ยอมรับสิU งทีUได้มาจากการประจักษ์แจ้งทางประสบการณ์เท่านัLน ปัญหาการรับรู้ โลกภายนอก เมืU อทราบถึ งความแตกต่ างระหว่าง ความเชืU อ ความจริ ง และความรู ้แล้ว ขอให้กลับมาสู่ เรืU องการรับรู ้โลกภายนอกอีกครัLง หนึU งซึU งทัLงนักเหตุผลนิ ยม (Rationalism) และนักประสบการณ์ นิยม (Empiricism) ต่างก็มีขอ้ จํากัดในการรับรู ้ความจริ งจากโลก ญาณวิทยาโดยสังเขป | 8 |


MiRAYEBOOK

ภายนอกด้วยกันทัLงสองฝ่ าย หากเราใช้วิธีรับรู ้โลกภายนอกแบบ นักเหตุผลนิยม เราก็ไม่สามารถยอมรับได้ว่าสิU งทีUมาจากผัสสะเป็ น ของจริ ง เช่ น ตัวอย่างของผลส้ม หากกําลังเห็ นผลส้มวางอยู่บน โต๊ะ นักเหตุผลนิยมจะสามารถพูดได้ว่า ผลส้มทีUเราเห็นอยูน่ L นั อาจ เชืUอไม่ได้ว่าเป็ นผลส้มจริ ง เพราะผัสสะอาจกําลังหลอกเราอยู่ เมืUอ มองจากระยะไกลเราจะเห็นว่าผลส้มนัLนกลมดิก แต่หากเราขยับ ระยะเข้าไปใกล้ผลส้ม เราจะเห็นว่ามันเริU มมีขนาดใหญ่ขL ึน และ รู ปทรงก็ไม่ได้กลมแบบดิกจริ ง ส่ วนโต๊ะทีUวางส้มอยู่ เราก็เข้าใจว่า มัน เป็ นทรงสีU เ หลีU ย ม แต่ เ มืU อ มองจากระยะไกลมัน กลับ เป็ น สีU เหลีUยมคางหมู หรื อมองจากมุมอืUน มันก็ไม่ได้เป็ นทรงสีU เหลีUยมทีU ยาวเท่ากันทุกด้าน ด้านทีUใกล้เรามักจะมีความยาวกว่าอีกด้านเสมอ สิU ง เหล่ า นีL ล้ว นเป็ นการหลอกของผัส สะทางตา แต่ เ ราสามารถ เข้าใจรู ปทรงของทัLงผลส้มและทัLงโต๊ะได้ โดยทีUนกั เหตุผลนิยมจะ ให้เหตุผลว่า เราได้ใช้ปัญญาพิจารณาวัตถุภายนอกด้วยวิธีการแบบ นิรนัย (Deduction) กล่าวคือ เรามีมโนทัศน์ของทรงกลมอยูก่ ่อน แล้ว ดังนัLนผลส้มในฐานะของวัตถุจึงเป็ นเพียงสิU งทีUถูกสวมเข้ามา ในมโนทัศน์ของเรา เพืUอให้เราสามารถเข้าถึงความจริ งในรู ปทรง และคุณสมบัติของมันได้ นันU หมายถึงเราได้ใช้ปัญญาในการรับรู ้ วัตถุจากโลกภายนอก ไม่ได้ใช้ผสั สะรับรู ้แต่อย่างใด แต่นีUกอ็ าจทํา ให้นกั เหตุผลนิยมตัLงข้อสงสัยต่อไปได้อีกว่า โลกภายนอกอาจไม่มี ญาณวิทยาโดยสังเขป | 9 |


MiRAYEBOOK

อยูจ่ ริ งเพราะทุกสิU งทีUได้มาจากผัสสะล้วนหลอกลวงเรา โดยเฉพาะ อย่างยิUงหากเป็ นแนวคิดของนักเหตุผลนิ ยมอย่าง เดการ์ ตส์ (Rene Descartes) มีความคิดว่า สิU งทีUปรากฏต่อเรานัLนไม่มีอะไรเลยทีUเป็ น จริ ง รวมถึ งโลกภายนอกอย่างทีU ม ัน เป็ นอยู่ก็อาจไม่ ไ ด้มี อ ยู่จ ริ ง หรื อแม้แต่ร่างกายของเราก็เช่นกันอาจไม่ได้มีอยูจ่ ริ ง ทุกอย่างอาจ เป็ นเพียงภาพมายาทีUปีศาจสร้างขึLน หรื อเราอาจเป็ นแค่กอ้ นสมอง ในหลอดทดลองทีU ถู ก โปรแกรมให้คิ ด หรื อ เห็ น อะไรไปต่ า ง ๆ นานา เราไม่มีทางรู ้ได้เลยว่าทุกอย่างมีอยู่จริ งหรื อไม่ จะเว้นก็แต่ จิตของเรา เราไม่อาจสงสัยในการมีอยูข่ องตัวเราได้ เพราะเมืUอใดทีU เราคิดสงสัยถึงตัวเรา ในทางเดียวกันก็ยอ่ มหมายถึงเรากําลังยืนยัน ตัวเองว่า ณ กาลเทศะ (Time and Space) ทีUเราสงสัยใคร่ รู้อยูน่ L นั เราเองก็กาํ ลังมีอยูใ่ นฐานะผูค้ ิดสงสัยด้วย เพราะหากเราไม่มีอยู่ ก็ ย่อมไม่มีตวั ผูส้ งสัยซึU งคือตัวเรา ดังนัLนจึงเป็ นทีUมาของแนวคิดของ เดการ์ตส์ทีUวา่ ‘ฉันคิด ฉันจึงมีอยู’่ (I think, therefore I am) กลั บ มาทีU ผ ลส้ ม และโต๊ ะ ตั ว เดิ ม หากใช้ วิ ธี รั บ รู ้ โ ลก ภายนอกแบบนักประสบการณ์นิยม แน่นอนว่าการรับรู ้ผลส้มและ โต๊ะทีUปรากฏต่อเราผ่านผัสสะนัLนคือของจริ ง เป็ นวัตถุทีUมีอยู่ใน โลกภายนอกจริ ง แต่นกั ประสบการณ์จะโต้แย้งฝ่ ายนักเหตุผลนิยม อย่างไรในเรืU องการรับรู ้วตั ถุภายนอกดังกล่าว ในประเด็นนีL หาก เป็ น ฮิวม์ (David Hume) เขาจะให้คาํ ตอบว่า ทัLงผลส้มและโต๊ะทีU ญาณวิทยาโดยสังเขป | 10 |


MiRAYEBOOK

เราเห็ น มัน ในฐานะวัต ถุ ภ ายนอกนัL น เป็ นมโนภาพทีU มี ค วาม ต่อเนืU องในกาลเทศะ (Time and Space) หนึU งซึU งจะสร้างรอย ประทับลงในการรับรู ้ของเรา เช่ น เมืUอเรามองผลส้มและโต๊ะ ทัLง ส้มและโต๊ะได้สร้างรอยประทับของรู ปทรงลงสู่ การรับรู ้ของเรา อย่างต่อเนืU อง แม้มนั จะหยุดอยู่นUิ ง ๆ ก็ตาม แต่มนั ก็ยงั คงต่อเนืU อง อยู่ในการรับรู ้ของเรา และถ้าเราหยิบผลส้มมาชิ ม ในเบืLองแรกทีU ผลส้ มได้สัมผัสกับมื อ เรา ผัส สะทีU มีต่ อมัน ได้ส ร้ า งรอยประทับ เรืU องการสัมผัสขึLนผ่านการรับรู ้ของเรา เช่น ผลนิUมหรื อแข็ง เปลือก สากหรื อเนี ยน และหากเราบิมนั ออกมาชิ ม ผัสสะทีUมีต่อมันก็ได้ สร้างรอยประทับของรสชาติ โดยอาจจะหวานหรื อเปรีL ยว เป็ นต้น และไม่ว่าผลส้มหรื อโต๊ะจะมีคุณสมบัติอย่างไร นักประสบการณ์ นิ ยมแบบฮิ วม์ก็ตอ้ งถื อว่ามันมี อยู่จริ งอย่างทีU มนั เป็ นจริ งในโลก ภายนอก ไม่ใช่จบั ต้องมองเห็นและสัมผัสได้แต่บอกว่ามันอาจไม่ มีอยูจ่ ริ งอย่างทีUนกั เหตุผลนิยมอ้าง แต่ทL งั นีLหากเป็ นวัตถุทีUเราไม่ได้ มองเห็ น มัน ณ ขณะนัLน เช่ น สมมติ ว่า ตอนนีL ผลส้ มบนโต๊ ะ ได้ หายไปแล้ว ฮิ ว ม์ก็ย งั สามารถบอกได้ว่ า ผลส้ ม ยัง มี อ ยู่ใ นโลก ภายนอก อาจจะอยู่ทีUอืUน ทีUตลาด บนต้น หรื อทีUไหนก็แล้วแต่ แต่ ผลส้มดังกล่าวนัLนมีอยูจ่ ริ งแท้แน่นอน ทัLงนีLทาํ ไมเราถึงมันU ใจได้ว่า ทีUอืUน ๆ ยังสามารถมี ส้มได้อยู่ทL งั ทีU เราก็ไม่ เห็ นผลส้มปรากฏอยู่ ตรงหน้า แล้ว แต่ เ ราสามารถรู ้ ไ ด้เ พราะเราได้อ าศัย การอุ ป นัย ญาณวิทยาโดยสังเขป | 11 |


MiRAYEBOOK

(Induction) ดึงเอารอยประทับเก่าออกมา สร้างเป็ นจินตนาการถึง ส้มผลอืUนซึUงควรจะอยูต่ ามทีU ๆ มันควร ความจริงทีค) วามสอดคล้องกับโลกภายนอก ปัญหาการรับรู ้โลกภายนอก ทําให้เราเห็นความขัดแย้งของ แนวคิดแบบประสบการณ์นิยมและเหตุผลนิยม โดยเฉพาะอย่างยิงU แนวคิดของ ฮิ วม์ (David Hume) ทีUไม่ยอมรับแนวคิดของฝ่ าย เหตุผลนิ ยมอย่างสิL นเชิ ง เพราะฮิ วม์ถือว่าความรู ้ทL งั หลายทัLงปวง จะต้องได้มาจากประสบการณ์ทางเดียวเท่านัLน จากจุดนีLเองทีUทาํ ให้ ค้านท์ (Immanuel Kant) เห็นว่าแนวคิดของฮิ วม์ยงั ไม่สมบูรณ์ รวมถึงแนวคิดของฝ่ ายเหตุผลนิ ยมเองก็ยงั ไม่สมบูรณ์ดว้ ยเช่นกัน ดังนัLนในการพยายามทีU จะแก้ปัญหาดังกล่ าว ค้านท์จึงได้เปลีUยน มโนทัศน์เรืU องการรับรู ้ของจิตให้มีบทบาทการทํางานภายใต้กรอบ ของมั น เพราะแต่ เ ดิ ม ไม่ ว่ า จะฝ่ ายนั ก เหตุ ผ ลนิ ย มหรื อนั ก ประสบการณ์นิยม ต่างก็มองการทํางานของจิตในลักษณะทีUตวั จิต มีสภาพทีUอยูน่ Uิง (Passive) เพืUอรอให้เกิดการรับรู ้จากวัตถุหรื อโลก ภายนอกเท่านัLน ดังตัวอย่างการรับรู ้วตั ถุของโลกภายนอกอย่างเรืU องผลส้ม ทัLงนักประสบการณ์นิยมและเหตุผลนิ ยม ต่างก็รับรู ้ผลส้มได้โดย จิตทีUมีสภาพอยู่นUิ ง (Passive) กล่าวคือ หากเป็ นแนวคิดแบบนัก ญาณวิทยาโดยสังเขป | 12 |


MiRAYEBOOK

ประสบการณ์นิยม จิตของเราก็เพียงแต่อยู่ในฐานะทีUตอ้ งรอการ รับรู ้ผ่านประสบการณ์เท่านัLน การรับรู ้ผลส้มของเราเกิดจากการทีU ผลส้มได้สร้างประสบการณ์ให้แก่จิตในกาลเทศะหนึU งซึU งมีความ ต่อเนืUองกัน เราจึงสามารถรับรู ้มนั ได้ว่านันU คือผลส้มทีUมีอยู่ ณ โลก ภายนอกในช่ วงเวลาทีUเรากําลังเกิดประสบการณ์อยู่ ส่ วนถ้าเป็ น แนวคิดแบบนักเหตุผลนิ ยมแล้ว จิตของเราก็เพียงแต่อยู่นUิ งเพืUอทํา หน้าทีUอนุ มานแบบนิ รนัยไปถึงการมีอยู่ของวัตถุในโลกภายนอก เพืUอให้เราสามารถคิดและรับรู ้ได้ว่ากําลังมีผลส้มอยูต่ ่อหน้าเราใน กาลเทศะหนึU งเช่ นกัน ดังนัLนจึงเกิดเป็ นปั ญหาเรืU องโลกภายนอก ของทัLงนักประสบการณ์นิยมและเหตุผลนิยม คือ แม้เราจะเห็นผล ส้ ม อยู่ต รงหน้า แต่ ผ ลส้ ม ตรงหน้า ก็อ าจไม่ มี อ ยู่จ ริ ง เพราะนัก เหตุ ผ ลนิ ย มก็จ ะโจมตี ท างฝ่ ายประสบการณ์ นิ ย มว่ า ประสาท สัมผัสเป็ นสิU งทีUเอาแน่ เอานอนไม่ได้ การทีUเราเห็นส้มอยู่ต่อหน้า แท้จริ งแล้ว ส้มอาจไม่ใช่ส้ม มันอาจเป็ นก้อนหิ นสักก้อน หรื ออาจ ไม่มีอะไรอยู่ตรงหน้าเลยก็เป็ นได้ เพราะประสาทสัมผัสของเรา กํา ลัง ผิ ด เพีL ย นอยู่แ ต่ เ ราไม่ รู้ ต ัว เราจึ ง เข้า ใจไปเองว่ า มี ผ ลส้ ม ตรงหน้า และในทางกลับกันนักประสบการณ์นิยมก็จะโจมตีทาง ฝ่ ายเหตุผลนิยมด้วยเช่นกันว่า โลกภายนอกเป็ นโลกของวัตถุตามทีU มันเป็ นอยู่ ไม่จาํ เป็ นต้องใช้การคิดนิรนัย เพราะหากใช้การนิรนัย ถึงโลกภายนอกแต่เพียงอย่างเดี ยวก็จะไม่สามารถล่วงรู ้ได้เลยว่า ญาณวิทยาโดยสังเขป | 13 |


MiRAYEBOOK

แท้จริ งแล้วโลกภายนอกมีจริ งหรื อไม่ ผลส้มตรงหน้าก็อาจเป็ นแค่ ภาพมายาเท่ านัLน ไม่ ได้มีอยู่ในฐานะวัตถุ สสารทีU จบั ต้องได้จริ ง หรื ออาจเลยเถิดไปว่าโลกภายนอกทัLงหมดก็ไม่มีอยูจ่ ริ ง ด้วยเหตุทีUทL งั นักประสบการณ์นิยมและนักเหตุผลนิยมต่าง ประสบปัญหาขัดแย้งกันเช่นนีL ค้านท์จึงสร้างระบบการรับรู ้ขL ึนมา ใหม่ โดยให้เหตุผลว่าโลกภายนอกซึU งเป็ นโลกของวัตถุนL นั เป็ น โลกทีUมีอยูจ่ ริ งตามทีUมนั เป็ นอยู่ (Noumenal World) กล่าวคือ แม้ ไม่มีจิตไปรับรู ้ มันก็ยงั ต้องมีอยู่และเป็ นอยู่ตามทีUมนั ต้องเป็ น ซึU ง เราไม่สามารถรับรู ้มนั ได้โดยตรง แต่เราสามารถใช้จิตเข้าไปรับรู ้ มันได้ในฐานะของโลกแห่ งปรากฏการณ์ (Phenomenal World) ดังนัLนค้านท์ได้สร้ างมโนทัศน์เกีUยวกับการทํางานของจิ ตขึL นมา ใหม่ ใ นแบบทีU จิ ต ไม่ ไ ด้อ ยู่นUิ ง อี ก ต่ อ ไป แต่ เ ป็ นจิ ต ทีU มี บ ทบาท (Active) ภายใต้กรอบซึUงทําให้ตวั จิตสามารถคิดและตัดสิ นในสิU งทีU มี ป ระสบการณ์ แ ละยัง ไม่ มี ป ระสบการณ์ ไ ด้อ ย่ า งเป็ นระบบ กล่าวคือ แนวคิดเชิงปรากฏการณ์ของค้านท์ได้ทาํ ให้เกิดความจริ ง ทางญาณวิทยาทีUสอดคล้องกับโลกภายนอก และยังได้ทาํ ให้เกิ ด ความสัมพันธ์กนั ระหว่างความรู ้ทีUได้จากประสบการณ์และความรู ้ ทีUได้จากการใช้เหตุผล ทัLงนีLขอให้ลองนึกถึงตัวอย่างเรืU องผลส้มอีกครัLง เมืUอเราพบ ปั ญหาว่า ผลส้มบนโต๊ะหรื อแม้แต่ตวั โต๊ะเองก็อาจเป็ นวัตถุทีUไม่มี ญาณวิทยาโดยสังเขป | 14 |


MiRAYEBOOK

อยูจ่ ริ งอยูใ่ นโลกภายนอก ทัLงทีUเราก็กาํ ลังเห็นมันปรากฏอยูต่ ่อหน้า ต่อปัญหาดังกล่าวนีL ค้านท์จะบอกแก่เราว่า ผลส้มเป็ นสิU งทีUมีอยูจ่ ริ ง ในฐานะวัตถุของโลกภายนอก (Noumenal World) แต่เราไม่มี ทางเข้าถึงตัววัตถุนL นั ได้จริ ง ๆ หมายถึง ต่อให้เราไม่มีผสั สะรับรู ้ ผลส้มตรงหน้า ผลส้มก็ยงั ต้องมีอยูจ่ ริ งตามทีUมนั เป็ นอยู่ หรื อต่อให้ เรามี ประสาทสัม ผัสทีU ผิดเพีLย น ผลส้มก็ยงั ต้อ งมี สภาพจริ งทีU ไ ม่ ผิดเพีLยนตามทีU มนั เป็ นอยู่ ดังนัLนการทีU เราสามารถรั บรู ้ผลส้มได้ เป็ นเพราะเราได้รับข้อมูลจากโลกภายนอก ในทีUนL ีคือข้อมูลของผล ส้ ม ในฐานะวัต ถุ ทีU รั บ เข้า ผ่ า นผัส สะ อาทิ ตา หู จมู ก ลิL น กาย จากนัLนข้อมูลผัสสะ (Sense Data) ของผลส้มทัLงหมดจะกลายเป็ น ปรากฏการณ์ (Phenomena) ทีUไปปรากฏต่อจิต ซึU งในขัLนของการ ปรากฏต่อจิตนีL แรกเริU มจิตอาจเพียงรับรู ้ว่ามันคือลูกทรงกลมสี ส้ม ต่อมาเมืUอจิตได้รับรู ้ปรากฏการณ์อืUน ๆ ทีUผ่านเข้ามาทางผัสสะก็ทาํ ให้จิตได้มีประสบการณ์เกีUยวกับวัตถุทรงกลมส้มนัLนเพิUมเติม อาทิ ผิวขรุ ขระ มีกลิUนหอมจาง ๆ และมีรสชาติหวานอมเปรีL ยว จากนัLน จิตทีUมีบทบาท (Active) ก็จะทํางานตามโครงสร้างของการรับรู ้ และตัดสิ นออกมาเป็ นมโนทัศน์ (Concept) ของลูกทรงกลมสี ส้มทีU มี คุณสมบัติของการมี ผิวขรุ ขระ มี กลิU นหอม และมี รสหวานอม เปรีL ยวดัง กล่ า วว่ า มัน คื อ ผลส้ ม ดัง นัLน ค้า นท์จึ ง บอกแก่ เ ราว่ า กระบวนการเช่ นนีL เองทีU เปิ ดเผยให้เราทราบว่า เราไม่ มีทางรั บรู ้ ญาณวิทยาโดยสังเขป | 15 |


MiRAYEBOOK

วัตถุ หรื อโลกภายนอกในสภาพจริ งตามทีU มนั เป็ นอยู่ได้โดยตรง การรับรู ้วตั ถุและโลกภายนอกทัLงหมดนัLนเราเพียงแต่รับรู ้มนั ได้ โดยอ้อม ผ่านทางข้อมูลผัสสะ (Sense Data) เพืUอให้จิตเกิดการรับรู ้ และมีมโนทัศน์ถึงโลกภายนอกทีUมีอยูจ่ ริ ง (Noumenal World) ได้ ในฐานะของโลกแห่งปรากฏการณ์ (Phenomenal World) เท่านัLน นอกจากนีL เมืU อ จิ ต ของเราได้มี ป ระสบการณ์ ข องผลส้ ม ดัง กล่ า วแล้ว จากประสบการณ์ ทีU จิ ต มี นL ี เอง ยัง สามารถใช้เ ป็ น โครงสร้างให้จิตสามารถมีมโนทัศน์ถึงผลส้มแบบอืUน ๆ ได้โดยไม่ ต้องอาศัยประสบการณ์ ยกตัวอย่างเช่นผลส้มทีUเราได้พูดถึงไปแล้ว นัLนมีสีส้ม แต่นอกจากจิตของเราจะมีมโนทัศน์ของผลส้มแล้ว จิต ยังมีมโนทัศน์ในเรืU องสี ดังนัLนก็เป็ นไปได้ทีUจิตจะคิดจินตนาการ ไปถึงผลส้มทีUอยูน่ อกเหนือประสบการณ์ อาทิ ผลส้มสี แดง ผลส้ม สี ฟ้า ผลส้มสี ม่วง เป็ นต้น หรื อจะคิดไปถึงผลส้มทีUไม่ใช่ ลูกทรง กลม แต่เป็ นผลส้มรู ปสามเหลีUยม ผลส้มรู ปสีU เหลีUยม เป็ นต้น ซึU งสิU ง เหล่านีL เป็ นมโนทัศน์ทีUจิตสามารถสังเคราะห์ออกมาเองได้ แม้ผล ส้มทีUมีสีแปลกและรู ปทรงประหลาดอาจจะไม่มีอยูจ่ ริ งในโลกเลย ก็ตามที การทํางานของจิตแบบมีบทบาท (Active) เช่นนีLทาํ ให้เกิด การเชืUอมโยงของแนวคิดทัLงสองคือประสบการณ์นิยมและเหตุผล นิยมได้ในทีUสุด กล่าวคือค้านท์ทาํ ให้จิตสามารถทํางานได้อย่างลง ญาณวิทยาโดยสังเขป | 16 |


MiRAYEBOOK

ตัวทัLงในแบบนิ รนัยและอุ ปนัย ซํLายังถื อเป็ นข้อยืนยันถึงความรู ้ ของมนุ ษ ย์ใ นทางญาณวิท ยาได้เ ป็ นอย่า งดี ว่า มนุ ษ ย์สามารถมี ความรู ้ได้ทL งั สองแบบ คือ ความรู ้ก่อนประสบการณ์ (A Priori Knowledge) และ ความรู ้ ห ลังประสบการณ์ (A Posteriori Knowledge) ซึUงความรู ้ทL งั สองนัLนต่างก็มีส่วนสัมพันธ์กนั บทสรุป แม้แ นวคิ ด ต่ า ง ๆ ของทัLง นัก ประสบการณ์ นิ ย มและนัก เหตุผลนิ ยมในอดีตจะขัดแย้งกันเรืU อยมา แต่ในทีUสุดเมืUอมาถึงยุค ของ ค้านท์ (Immanuel Kant) ระบบปรัชญาของค้านท์ได้สร้าง คุ ณูปการอันใหญ่ หลวงให้แก่ แวดวงญาณวิทยา เพราะนอกจาก เป็ นการปฏิ ว ัติ ม โนทัศ น์ เ รืU อ งการทํา งานของจิ ต ทีU ท ํา ให้ แ นว ปรัชญาของทัLงสองฝ่ ายได้มีจุดสัมพันธ์กนั แล้ว ระบบญาณวิทยา ของค้านท์ยงั ถือเป็ นรากฐานสําคัญ สําหรับทีUจะใช้พฒั นาหรื อต่อ ยอดแนวคิดต่าง ๆ ให้แก่นกั ญาณวิทยารุ่ นหลังสื บไป เพราะญาณ วิทยาถือเป็ นเครืU องมือทีUนกั ปรัชญาจําเป็ นต้องใช้ในการตัดสิ นว่า สิU ง ใดคื อ ความเชืU อ หรื อ สิU ง ใดคื อ ความจริ ง ซึU ง ทัLง หมดนัLน ล้ว น เป็ นไปเพืUอตรวจสอบถึงบ่อเกิดของความรู ้ต่าง ๆ ทีUมนุษย์จะพึงมี

ญาณวิทยาโดยสังเขป | 17 |


MiRAYEBOOK

บรรณานุกรม จูเลียน ฮักซ์ลีย,์ เจ. โบร์โนว์สกี, เจอรัลด์ แบร์รีU, เจมส์ ฟิ ชเชอร์. (2544). วิวฒ ั นาการ แห่ งความคิด: ภาคมนุษย์ และโลก. (จุฑาทิพย์ อุมะวิชนี, แปล.). พิมพ์ครัLงทีU 4. กรุ งเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. พระอรมุนี (สุวรรณ วรฏฐายี). (2515). แนวปรัชญาตะวันตก. พระนคร: บรรณาคาร. พุฒวิทย์ บุนนาค. (2554). การเป็ นสาเหตุ. ค้นเมืUอ 8 กุมภาพันธ์ 2556, จาก สารานุกรมปรัชญาออนไลน์ฉบับสังเขป http://www.philospedia.net/index.html รัสเซลล์, เบอร์ทรันด์. (2533). ปัญหาปรัชญา. (กีรติ บุญเจือ, แปล). พิมพ์ครัLงทีU 3. กรุ งเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการงานวิจยั แห่งชาติ. ลักษณวัต ปาละรัตน์. (2553). ญาณวิทยา (ทฤษฎีความรู้ ). พิมพ์ครัLงทีU 2. กรุ งเทพฯ: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง. วิทย์ วิศทเวทย์. (2542). ปรัชญาทัว) ไป มนุษย์ โลก และความหมายของชีวติ . พิมพ์ ครัLงทีU 15. กรุ งเทพฯ: อักษรเจริ ญทัศน์. ศิรประภา ชวะนะญาน. (2554). ก่ อนประสบการณ์ -หลังประสบการณ์ . ค้นเมืUอ 8 กุมภาพันธ์ 2556, จากสารานุกรมปรัชญาออนไลน์ฉบับสังเขป http://www.philospedia.net/index.html สมฤดี วิศทเวทย์. (2536). ทฤษฎีความรู้ ของฮิวม์ . กรุ งเทพฯ: สํานักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ญาณวิทยาโดยสังเขป | 18 |



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.