พลังงาน
ฉบับที่ 93 กรกฎาคม-กันยายน 2554
นโยบาย วารสาร
สัมภาษณพิเศษ
ชีวมวล
นายพิชัย นรพทะพันธุ รัฐมนตรวาการกระทรวงพลังงาน
จากวัสดุเหลือใชสูพลังงานทดแทน
ISSN 0859-3701
www.eppo.go.th
นโยบายการใชเชื้อเพลิงเพื่อผลิตไฟฟาของประเทศในกลุมอาเซียน นโยบายการกำหนดโครงสรางอัตราคาไฟฟาของประเทศไทยป 2554-2558 สถานการณพลังงานไทยในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 ผลงานที่ชนะการประกวดบทอาขยาน “ประหยัดพลังงาน…เราทำได”
ความเคลื่อนไหวใน กบข.
เศรษฐกิจผันผวน
ออมตอ รอจังหวะ
นางสาวโสภาวดี เลิ ศ มนั ส ชั ย เลขาธิ ก าร กองทุ น บำเหน็ จ บำนาญ ขาราชการ (กบข.) กลาววา วิกฤตหนี้ สาธารณะในยุ โ รปและภาวะเศรษฐกิ จ สหรั ฐ อเมริ ก าที่ ช ะลอตั ว อยู ใ นเวลานี้ ไดสงผลกระทบตอตลาดเงิน ตลาดทุน ทั่ ว โลก ที่ ผ า นมา กบข. ได ติ ด ตาม ส ถ า น ก า ร ณ อ ย า ง ใ ก ล ชิ ด แ ล ะ ปรั บ กลยุ ท ธ ก ารลงทุ น โดยลดสั ด ส ว น สิ น ทรั พ ย ที่ มี ค วามเสี่ ย งสู ง เช น หุ น และเพิ่มสัดสวนการลงทุนในสินทรัพย ที่มี ค วามมั่ น คงสู ง เช น ตราสารหนี้ ทั้ ง ห ม ด นี้ เ พื่ อ รั ก ษ า เ งิ น ต น แ ล ะ ผ ล ป ร ะ โ ย ช น ข อ ง ส ม า ชิ ก ก บ ข . ใ ห ป ล อ ด ภั ย อ ย า ง เ ต็ ม ก ำ ลั ง แ ล ะ มี ค วามเป น ไปได ว า ป 2554 มู ล ค า หนวยลงทุน (NAV) ของ กบข. จะต่ำกวา ป 2553
สมาชิก กบข. จะรับมือภาวะ เศรษฐกิจผันผวนนีอ้ ยางไร ? วิ ธี ที่ 1 : อ อ ม ต อ ร อ จั ง ห ว ะ สำหรับปนี้ กบข. คาดวา NAV จะต่ำกวาป 2553 จึงใครขอแนะนำสมาชิกที่เกษียณ ปนี้ใหออมตอรอให NAV ปรับตัวดีขึ้นตาม ภาวะเศรษฐกิจ แลวจึงนำเงินออกจะเปน ผลดี กั บ สมาชิ ก มากกว า กรณี เ ช น นี้ เ คย เกิดขึ้นเมื่อป 2551 ปนั้นเศรษฐกิจชะลอ ตั ว ส ง ผลให NAV ก็ ป รั บ ตั ว เพิ่ ม ขึ้ น มาที่ 15.36 บาทตอหนวย จะเห็นวา NAV มีขนึ้ มีลงตามภาวะเศรษฐกิจ หากสมาชิกออมตอ รอจังหวะก็อาจไดรับผลตอบแทนที่ดีกวา
วิธีที่ 2 : ออมเพิ่ม เหมาะสำหรับสมาชิกที่มองวิกฤตเปนโอกาส ชวงที่การลงทุนผันผวนเชนนี้ NAV จะมีราคาลดลง ขอดีคือ เงินออมเทาเดิม แต จ ะได จ ำนวนหน ว ยลงทุ น เพิ่ ม ขึ้ น ดั ง นั้ น การออมเพิ่ ม จึ ง ทำให ส ะสม หนวยลงทุนไดมากกวาสถานการณปกติ ยิ่งออมเพิ่ม จำนวนหนวยลงทุน ยิ่งเพิ่มมากขึ้น พลังของดอกเบี้ยทบตนจะชวยทบทวีคูณผลตอบแทนใน อนาคต โดย กบข. เปดโอกาสใหสมาชิกออมเพิ่มสูงสุดถึง 12% วิธีที่ 3 : เปลี่ยนแผนการลงทุน ในสถานการณการลงทุนที่ผันผวน การเปลี่ ย นแผนการลงทุ น อาจช ว ยพลิ ก วิ ก ฤตให เ ป น โอกาสได เ ช น กั น โดย กบข. มี 4 แผนทางเลือกการลงทุนสำหรับสมาชิก โดยสมาชิก กบข. สามารถปรับเปลี่ยนแผนการลงทุนใหเหมาะสมกับความเสี่ยงที่ยอมรับได ดังนี้ • ชอบเสี่ยงสูง การเปลี่ยนแผนลงทุนเปนแผนผสมหุนทวีเปนอีก ทางเลือกสำหรับสมาชิก กบข. ที่ชอบความเสี่ยงสูง เพื่อลุนผลตอบแทน แผนนี้เหมาะสำหรับสมาชิก กบข. ที่ยอมรับความเสี่ยงไดสูง ระยะเวลา เหลือออมอีกนาน ในชวงที่ระดับราคาหุนลดลงเชนนี้ ถือเปนโอกาสสำหรับ การลงทุนระยะยาว • ไมชอบเสี่ยง การเปลี่ยนแผนลงทุนเปนแผนตราสารหนี้ หรือ แผนตลาดเงิน ที่มีความเสี่ยงนอย ผลตอบแทนไมหวือหวาแตเนนรักษา เงินตนเปนทางเลือกที่เหมาะสำหรับสมาชิกที่ไมชอบความเสี่ยง และกังวล กับราคาหุนที่ผันผวน
ศูนยขอมูลสมาชิก กบข. โทรศัพท 1179 กด 6 อีเมล member@gpf.or.th หรือเว็บไซต www.gpf.or.th
ทักทาย จากอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ที่ มี แ นวโน ม ขยายตั ว ขึ้ น ทุ ก ป ส ง ผลให ป ริ ม าณ ความตองการพลังงานเพิ่มขึ้นเปนเงาตามตัว แต เนื่องจากประเทศไทยมีแหลงพลังงานจำกัด แมจะ สามารถขุดเจาะกาซธรรมชาติไดภายในประเทศ แตก็ถือวายังไมเพียงพอ ยังมีบางสวนที่ตองนำเขา จากประเทศเพื่ อ นบ า น และโดยเฉพาะอย า งยิ่ ง น้ ำ มั น ที่ ไ ทยต อ งนำเข า แทบทั้ ง หมด ทำให เ มื่ อ พิจารณาถึงความมั่นคงดานพลังงานแลวจะพบวา ไทยมีความเสี่ยงดานพลังงานที่สูง หากตางประเทศ ไมสามารถสงน้ำมันและกาซธรรมชาติใหแกไทยได กิจกรรมตาง ๆ ทางเศรษฐกิจจะเกิดภาวะชะงักงัน ไมสามารถดำเนินการตอไปได ประชาชนก็จะไดรับ ความเดือดรอนในทายที่สุด แต ก็ ต อ งถื อ ว า เป น ความโชคดี ข องประเทศ ไทยที่มีวัสดุเหลือใชจากการเกษตรจำนวนมากที่ สามารถนำมาแปรเปลี่ยนเปนพลังงานทดแทนได แม ศั ก ยภาพของวั ส ดุ เ หลื อ ใช จ ากพื ช เกษตรจะ แตกตางกันไป แตหากสามารถบริหารจัดการและ
นำมาใชไดอยางมีประสิทธิภาพจะชวยเสริมสราง ค ว า ม มั่ น ค ง ด า น พ ลั ง ง า น ใ ห แ ก ป ร ะ เ ท ศ ไ ด ขณะเดี ย วกั น ก็ ช ว ยลดการนำเข า น้ ำ มั น และ ก า ซธรรมชาติ จ ากต า งประเทศได ด ว ย ซึ่ ง เรื่ อ งนี้ ถื อ เป น นโยบายหลั ก อี ก ด า นหนึ่ ง ของกระทรวง พลั ง งาน ดั ง ที่ นายพิ ชั ย นริ พ ทะพั น ธุ รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงพลั ง งาน ตั้ ง เป า หมายการใช พลังงานทดแทนใหได 25% ภายใน 10 ป โดย รั ฐ บาลจะให ก ารส ง เสริ ม อย า งเต็ ม ที่ จึ ง ถื อ เป น เปาหมายใหญหากสามารถทำได สุ ด ท า ยนี้ ข อนำข อ คิ ด ของรั ฐ มนตรี ว า การ กระทรวงพลังงานที่ตองการฝากไปถึงประชาชนผูใช พลังงานทุกคนวา ในชวงที่พลังงานราคาถูกขอให ใช กั น อย า งประหยั ด เพราะเรายั ง ต อ งนำเข า พลังงานจำนวนมาก ตองใชใหเกิดประโยชน และ เกิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด เพราะอนาคตพลั ง งาน ยิ่งหายากขึ้นเรื่อย ๆ ถาเราไมรักษาหรือสรางไว ใหลูกหลาน ความสะดวกสบายที่เราไดรับในวันนี้ ลูกหลานอาจจะไมไดรับในวันขางหนา คณะทำงาน
เจาของ สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน
จัดทำโดย คณะทำงานวารสารนโยบายพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน เลขที่ 121/1-2 ถ.เพชรบุรี แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี ที่ปรึกษา กรุงเทพฯ 10400 ผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน โทร. 0 2612 1555 โทรสาร 0 2612 1357-8 รองผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน www.eppo.go.th รองผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
ออกแบบและจัดพิมพ บริษัท ไดเร็คชั่น แพลน จำกัด โทร. 0 2642 5241-3, 0 2247 2339-40 โทรสาร 0 2247 2363 www.DIRECTIONPLAN.org
ฉบับที่ 93 กรกฎาคม-กันยายน 2554 www.eppo.go.th
8
47 52
67
สารบัญ • ENERGY NEWS ZONE •
3 6
สรุปขาวพลังงานรายไตรมาส ภาพเปนขาว
• ENERGY LEARNING ZONE •
8
13 18 36 42 45 47 50 52 62 67 73
สัมภาษณพิเศษ : นายพิชัย นริพทะพันธุ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน ปน “แลนดบริดจ” สงไทยเปนศูนยกลางพลังงานของอาเซียน Scoop : “ชีวมวล” จากวัสดุเหลือใชสูพลังงานทดแทน สถานการณพลังงานไทยในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 สถานการณราคาน้ำมันเชื้อเพลิง ระบบโครงขายไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Grid) การซักซอมแผนเตรียมความพรอมรองรับสภาวะวิกฤติดานพลังงานไฟฟา ประจำป 2554 นโยบายการกำหนดโครงสรางอัตราคาไฟฟาของประเทศไทยป 2554-2558 การกำหนดพื้นที่ตั้งโรงไฟฟาที่ประชาชนมีสวนรวม นโยบายการใชเชื้อเพลิงเพื่อผลิตไฟฟาของประเทศในกลุมอาเซียน การปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) จากการใชพลังงานชวง 2 ไตรมาสแรกป 2554 ผลงานที่ชนะการประกวดบทอาขยาน “ประหยัดพลังงาน...เราทำได” เทคโนโลยีพลังงานจากตางประเทศ : “น้ำแข็งติดไฟ” ความหวังใหมพลังงานทดแทน
• ENERGY GAME ZONE •
69 70
การตูนประหยัดพลังงาน : รวมใจประหยัดพลังงานอุปกรณสำนักงาน เกมพลังงาน : เขาใจใน “ชีวมวล” และ “พลังงานชีวมวล” ดีแคไหน ?
ENERGY NEWS ZONE
สรุปขาวพลังงานรายไตรมาส
สรุปขาวประจำเดือน
กรกฎาคม 2554
• นายณอคุ ณ สิ ท ธิ พ งศ ปลั ด กระทรวงพลั ง งาน สั่ ง หั ว หน า หน ว ยงานในสั ง กั ด เตรี ย มข อ มู ล ดานพลังงาน กอนถกแกนนำพรรคเพื่อไทย ซึ่งนอกจากเรื่องกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงแลว ยังมี เรื่องพลังงานทดแทน โครงการโซลารเซลล ที่จะปรับเปลี่ยนวิธีการสนับสนุนจากเดิมใหคาไฟฟา สวนเพิ่ม (แอดเดอร) 8 บาทตอหนวย เปนการคิดแบบใหการสนับสนุนระยะยาว แบบ FEED IN TARIFF ดานนายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) เปดเผยวา ปลัดกระทรวงพลังงานไดมอบหมายใหทุกหนวยงานภายใตสังกัดกระทรวง พลังงานเตรียมขอมูลดานพลังงานโดยเฉพาะขอมูลที่ศึกษาชวงรัฐบาลทักษิณ โดยในสวนของ สนพ.ไดรับมอบหมายใหเตรียมขอมูลจำลองสถานการณการผลิตไฟฟาของประเทศในลักษณะตาง ๆ รวมถึงผลดี ผลเสีย และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับประชาชนในสวนของคาไฟฟาผันแปรอัตโนมัติ หรือคา Ft • นายณอคุ ณ สิ ท ธิ พ งศ ปลั ด กระทรวงพลั ง งาน เป ด เผยว า จากคำสั่ ง คณะรั ฐ มนตรี เ มื่ อ วั น ที่ 1 กรกฎาคม 2554 เกี่ยวกับมาตรการปองกันและแกไขปญหาขาดแคลนน้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อเตรียม ประกาศลอยตัวราคากาซ LPG ในภาคอุตสาหกรรม และมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2554 กระทรวงพลังงานไดสั่งการใหกรมธุรกิจพลังงานไปดำเนินการออกประกาศรายละเอียด การเก็บเงินสงเขากองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงจากอุตสาหกรรมที่ใชกาซ LPG ในวันที่ 19 กรกฎาคม 2554 นี้ โดยกลุมอุตสาหกรรมที่ใชกาซ LPG จะตองสงเงินเขากองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงไตรมาสละ 3 บาท จากเดิม ราคากาซ LPG 18.13 บาทตอกิโลกรัม เมื่อรวมกับภาษีมูลคาเพิ่มเขาไปจะทำใหราคาตอกิโลกรัมสำหรับ ภาคอุตสาหกรรมมีราคาอยูที่ 21.13 บาทตอกิโลกรัม และพรอมศึกษานโยบายรัฐบาลใหม ลดเก็บเงิน กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง รอประกาศชัด ปจจุบันติดลบ 600 ลานบาท • นายดิเรก ลาวัณยศิริ ประธานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) หรือเรกกูเลเตอร เผยวา มติที่ประชุม กกพ.จะนำเงินที่เรียกคืนจากการลงทุนที่ต่ำกวาแผนของการไฟฟาทั้งสามแหง หรือ คลอวแบ็ค ประกอบดวย การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย การไฟฟาสวนภูมิภาค และการไฟฟา นครหลวง ระหวางป 2551-2553 มาลดคาไฟฟาอัตโนมัติ (คา Ft) ใหแกผูใชไฟฟาทุกรายจำนวน 6 สตางคตอหนวย เปนเวลา 6 เดือน นับจากเดือนกรกฎาคมถึงเดือนธันวาคม 2554 คิดเปนเงิน 4,500 ลานบาท เพื่อลดภาระการจายคาไฟฟาแกประชาชนและภาคอุตสาหกรรมที่ใชไฟฟาเกิน 90 หนวยตอเดือน • นายประเสริฐ บุญสัมพันธ ประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการ ผูจัดการใหญ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ระบุถึงนโยบายของพรรคเพื่อไทย ที่จะยกเลิกกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงวา จะทำใหราคาน้ำมันทั้งเบนซินและดีเซล ลดลงได แตราคาของพลังงานอื่นที่ไดรับการอุดหนุนจากกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง ขณะนี้จะปรับราคาขึ้นทันที เชน กาซหุงตมและ NGV ทั้งนี้ตองดูวารัฐบาล จะนำเงินจากสวนใดมาดูแลราคากลุมดังกลาว โดยผูคาพรอมปฏิบัติตามนโยบาย ทุกเรื่อง ดานนายไพรินทร ชูโชติถาวร ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการกลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นตนและ กาซธรรมชาติ ปตท.ระบุ การยกเลิกกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงทำไดหากเปนนโยบายรัฐบาลที่ในหลายประเทศ ทำแลว แตตองมีวิธีจัดการที่ดี อาจถึงเวลาที่ไทยควรมีการจัดตั้งคลังน้ำมันยุทธศาสตร เพื่อบริหารความเสี่ยง ดานราคาพลังงาน ดานความคืบหนาการหยุดรูรั่วทอกาซสามารถทำไดแลว คาดวาภายในกลางเดือน สิงหาคมนี้จะสามารถสงกาซผานทอไดตามปกติ www.eppo.go.th • 3
สรุปขาวประจำเดือน
สิงหาคม 2554
• นายพิชัย นริพทะพันธุ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน ระบุ กระทรวง พลังงานเรงเดินหนาเจรจากับกัมพูชาพัฒนารวมแหลงปโตรเลียมพื้นที่ทับซอน ไทย-กัมพูชา ในรูปแบบจีทูจี ตั้งเปาลดจัดเก็บเงินสมทบกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง กอนวันที่ 1 กันยายนนี้ หารือคลังดึงทุนสำรองระหวางประเทศซื้อบอกาซ-บอน้ำมัน สรางความมั่นคงดานพลังงาน เตรียมทยอยยกเลิกอุดหนุนราคาพลังงาน กอน เปดเสรีอาเซียน ปองกันเพื่อนบานไดประโยชนพลังงานราคาถูก สวนแผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟาหรือ PDP ภายใน 10 ป ประเทศไทยตองมีกำลังการผลิตไฟฟาเพิ่มขึ้นอีก 1 เทาตัว คือ จาก 30,000 เมกะวัตต เปน 60,000 เมกะวัตต เพื่อรองรับการพัฒนาของประเทศ • นายพิชัย นริพทะพันธุ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน เปดเผยวา เตรียมผลักดันโครงการ สะพานเศรษฐกิจเชื่อมชายฝงอันดามัน-อาวไทย (แลนดบริดจ) ขึ้นมาอีกครั้ง เพื่อรองรับการลงทุน ในอนาคต โดยเฉพาะกลุมญี่ปุนอาจเลือกเขามาลงทุนในประเทศไทย โดยแลนดบริดจของรัฐบาลเนนใหเกิด การลงทุนอุตสาหกรรมที่ปลอดมลพิษ คาดวาจะใชพื้นที่จังหวัดในภาคใต แตตองมีการทำประชาพิจารณ และตองไดรับการยอมรับจากประชาชนในพื้นที่ตามกรอบของรัฐธรรมนูญใหเรียบรอยกอนจึงสามารถ ดำเนิ น การได ส ว นการพั ฒ นาพื้ น ที่ นิ ค มอุ ต สาหกรรมทวายซึ่ ง เป น นโยบายของรั ฐ บาลชุ ด ที่ ผ า นมา รัฐบาลชุดนี้อาจไมสนับสนุนหรือเขาไปลงทุนอยางเต็มตัว แตตองใหภาคเอกชนเปนผูพิจารณาเขาไป ลงทุนเอง • นายพิชัย นริพทะพันธุ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน เปดเผยภายหลังเปนประธานประชุม คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2554 เพื่อพิจารณาลดจัดเก็บเงิน เขากองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงในสวนของน้ำมันแกสโซฮอล 95 และ 91 วา ที่ประชุมมีมติใหปรับลดราคา การเก็บเงินเขากองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงกลุมแกสโซฮอลลง 1.00-1.50 บาทตอลิตร เพื่อเพิ่มสวนตางราคาขาย ปลีกระหวางน้ำมันเบนซินกับแกสโซฮอล มีผลตั้งแตวันที่ 31 สิงหาคม 2554 ดานนายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กลาววา กระทรวงพลังงานมีแผนที่จะลอยตัว ราคากาซ LPG ที่ 30 บาทตอกิโลกรัม จากเดิมตรึงราคาอยูที่ 18.13 บาทตอกิโลกรัม โดยรัฐบาลมีนโยบาย ชวยเหลือผูมีรายไดนอย ทั้งนี้ การออกบัตรเครดิตพลังงาน เบื้องตนจะใชกับกาซ LPG ในภาคครัวเรือนกอน สวนการกำหนดราคา NGV หลังจากรัฐบาลปรับโครงสรางพลังงานนั้น ในสวน NGV ตองปรับราคาขึ้นไป อยูที่ 50% ของราคาน้ำมันดีเซล ซึ่งสำนักงานนโยบายและแผนพลังงานเตรียมเสนอแผนทั้งหมดในเร็ว ๆ นี้ พรอมกับแผนพลังงานทดแทนในคราวเดียวกัน โดยมุงสงเสริมรถที่ใชแกสโซฮอล • นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) เปดเผยวา สนพ.เตรียมขอมูลจัดทำแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟา (PDP) ฉบับใหมเสร็จแลว ชง 3 แนวทางเสนอ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานคนใหมพิจารณา ระบุหากโรงไฟฟานิวเคลียร-ถานหินถูกตาน เล็งเพิ่ม สัดสวนนำเขา LNG และผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน เพิ่มการรับซื้อไฟฟาจากเพื่อนบาน หนุนผลิต ปโตรเลียมจากพื้นที่ทับซอนไทย-กัมพูชา สรางความมั่นคงระยะยาว • นายสิทธิโชติ วันทวิน ผูอำนวยการสำนักนโยบายอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน สำนักงาน นโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) รวมกับ สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) (สนช.) เผยถึงการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26 ลานบาท ใหแกเอกชน อันจะกอใหเกิดการลงทุนดานพลังงาน ทดแทนจากภาคเอกชนทั้งสิ้น 114 ลานบาท ภายใต “โครงการนำรองเพื่อผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวล ในระดับชุมชน (ระบบผลิตไฟฟา)” เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมดานพลังงาน ทดแทน ทั้งระดับตนแบบและการขยายผลสูการสรางธุรกิจนวัตกรรมดานพลังงานทดแทนอยางยั่งยืน
4 • นโยบายพลังงาน
สรุปขาวประจำเดือน
กันยายน 2554
• นายพิชัย นริพทะพันธุ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน เปดเผยหลังมอบนโยบายแกสำนักงาน นโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) วันที่ 1 กันยายน วา ไดมอบหมายให สนพ.ศึกษาการปรับโครงสราง ราคาพลั ง งานทั้ ง ระบบ รวมถึ ง ปรั บ แผนพั ฒ นากำลั ง การผลิ ต ไฟฟ า ระยะยาวหรื อ แผน PDP 20 ป ปรับโครงสรางราคาพลังงานใหดูเรื่องของราคาเชื้อเพลิงทุกชนิด มีเปาหมายระยะยาวตองปรับใหสะทอน ราคาตนทุนที่แทจริง กอนเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป 2558 ดานนายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กลาววา ไดนำเสนอขอมูลปริมาณการใช LPG ของประเทศไทย โดยปจจุบันมีการใชอยูที่ประมาณ 5.9 แสนตันตอเดือน แบงเปนการใชในภาคครัวเรือน 2.16 แสนตันตอเดือน ภาคขนสง 7.8 หมื่นตันตอเดือน และภาคอุตสาหกรรม 6.6 หมื่นตันตอเดือน สวนที่เหลือเปนการใชในภาคปโตรเคมี การใช LPG ในภาคครัวเรือนถือวามีสัดสวนสูงที่สุดประมาณ 40% ของปริมาณการใชทั้งหมด หากรัฐบาลจะอุดหนุนราคา LPG ในภาคครัวเรือนภายหลังจากลอยตัว ราคาแลวก็ควรกำหนดดวยวาครัวเรือนไหนควรไดรับการสนับสนุน ซึ่งโดยหลักการแลวจะใชรายไดครัวเรือน เปนเกณฑ หากสามารถชวยเหลือเฉพาะครอบครัวที่มีรายไดต่ำจะทำใหภาระของกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง ลดลง จากปจจุบัน 3,000 ลานบาทตอเดือน เหลือไมเกิน 1,000 ลานบาทตอเดือน และเมื่อรวมกับ การทยอยลอยตัว LPG ภาคขนสงจะทำใหภาระของกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงลดลงจากระดับปจจุบัน • นายพิชัย นริพทะพันธุ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน เผยวา กระทรวงพลังงานอยูระหวาง การศึกษาถึงรูปแบบการลงทุนสรางคลังสำรองน้ำมันทางยุทธศาสตรของประเทศไทย เพื่อเพิ่มปริมาณ น้ำมันสำรองไวใชในกรณีฉุกเฉินในชวงวิกฤตน้ำมันแพง โดยจะใชบทบาทของ ปตท.ผาน ปตท.สผ. เขาไป ลงทุนยังแหลงผลิตปโตรเลียมในตางประเทศใหมากขึ้น ทั้งนี้ เพื่อเปนการดำเนินการในระยะยาวเพื่อ ความมั่นคงดานพลังงานอยางแทจริง พรอมกลาววา นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี จะเดินทาง ไปยังเมืองดาวอส ประเทศสวิตเซอรแลนด ในเดือนมกราคม 2555 และจะประกาศใหทั่วโลกทราบวา ไทยพรอมเปนเจาภาพจัดประชุมเวิลด อิโคโนมิก ฟอรั่ม ในเดือนมิถุนายน 2555 ซึ่งกระทรวงพลังงาน และ ปตท.จะเปนเจาภาพหลัก • นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) เปดเผยวา กระทรวงพลังงานกำลังเรงดำเนินการปรับโครงสรางราคาพลังงานทั้งระบบตามนโยบายของรัฐมนตรีวาการ กระทรวงพลังงาน โดยในตนป 2555 จะเริ่มทยอยปรับขึ้นกาซ LPG/NGV ทั้งนี้ การประกาศขึ้ น ราคา LPG/NGV จะดำเนิ น การภายหลั ง จากกระทรวง พลังงานออกบัตรเครดิตพลังงานใหแกกลุมผูที่มีอาชีพขับรถสาธารณะ กลุมเกษตร และแจกคูปองใหแกภาคครัวเรือนที่มีรายไดนอย เพราะ สามารถลดภาระของกองทุ น น้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง ที่ แ บกภาระชดเชยก า ซ LPG/NGV นอกจากนี้ การปรับราคาของกาซธรรมชาติเพิ่มขึ้นจะสงผลดี ตอการพัฒนาพลังงานทดแทนในประเทศ รวมทั้งขณะนี้กระทรวงพลังงาน กำลังพิจารณายกเลิกการจำหนายน้ำมันเบนซิน 91 ซึ่งคาดวาจะสามารถ ยกเลิกการจำหนายไดภายในป 2555 • นายวีระพล จิรประดิษฐกุล อธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน เปดเผยวา กระทรวงพลังงานเตรียมตออายุ การบังคับใชน้ำมันดีเซล บี 4 ออกไปอีก 1 เดือน จากเดิมที่ กบง.ไดกำหนดใหมาตรการนี้สิ้นสุดในเดือน กันยายน 2554 เพื่อรองรับปริมาณปาลมน้ำมันที่เริ่มลนตลาด และชวยพยุงราคาปาลมดิบไมใหลดลง ทางดานนายมนูญ ศิริวรรณ นักวิชาการอิสระและผูเชี่ยวชาญดานพลังงาน แนะใหจับตาสถานการณ ผลผลิต เพราะหวั่นจะซ้ำรอยน้ำมันปาลมขาดตลาดชวงปลายป อยางไรก็ตาม กระทรวงพลังงานควรหารือ กับกระทรวงเกษตรและสหกรณเพื่อดูวัตถุดิบวาเพียงพอหรือไม www.eppo.go.th • 5
ENERGY NEWS ZONE
ภาพเปนขาว
รมว. พน. มอบนโยบายพลังงาน นายพิชัย นริพทะพันธุ รัฐมนตรีวาการ กระทรวงพลังงาน และนายณอคุณ สิทธิพงศ ปลั ด กระทรวงพลั ง งาน เดิ น ทางตรวจเยี่ ย ม สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) พร อ มมอบนโยบายพลั ง งานที่ ส ำคั ญ ให แ ก ผูบริหารและเจาหนาที่ สนพ. โดยเนนใหเรง ศึ ก ษาโครงสร า งราคาพลั ง งาน การส ง เสริ ม พลังงานทดแทน โครงการแลนดบริดจในภาคใต การคำนวณราคารับซื้อไฟฟา (Adder) ซึ่งจะนำไปสู การสร า งความเข ม แข็ ง ให แ ก เ ศรษฐกิ จ ของประเทศในภาพรวมและเสริ ม สร า งความมั่ น คง ดานพลังงานของประเทศ ซึ่งมีนายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ผูอำนวยการ สนพ. พรอมคณะผูบริหาร ใหการตอนรับ
เกษียณรองปลัดกระทรวงพลังงาน เมตตา บันเทิงสุข นายเมตตา บันเทิงสุข รองปลัดกระทรวงพลังงาน ถายรูปเปนที่ระลึกเนื่องในโอกาสเกษียณอายุราชการ เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2554 โดยมีนายนที ทับมณี รองผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ผูบริหารและเจาหนาที่ สนพ. ใหการตอนรับ ทั้งนี้ นายเมตตา บันเทิงสุข เคยดำรงตำแหนง ผู อ ำนวยการสำนั ก งานนโยบายและแผนพลั ง งาน ระหว า งป พ.ศ. 2545-2549 และดำรงตำแหน ง รองปลัดกระทรวงพลังงานจนเกษียณอายุราชการ
6 • นโยบายพลังงาน
Biogas จากเศษอาหาร ระยะ 3 นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ผูอำนวยการสำนักงานนโยบาย และแผนพลังงาน (สนพ.) เปนประธานเปดงาน “สัมมนาชี้แจง รายละเอียดโครงการสงเสริมเทคโนโลยีกาซชีวภาพ เพื่อจัดการ ของเสี ย เศษอาหารจากโรงแรมและสถานประกอบการต า งๆ ระยะที่ 3” ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อใหความชวยเหลือสถานประกอบการ ตางๆ ใหเกิดการใชเทคโนโลยีกาซชีวภาพในประเทศไทย โดยเปาหมายของการสงเสริมสถานประกอบการ ตางๆ จำนวน 3 ระยะ รวมทั้งสิ้น 300 แหง โดยผลการดำเนินโครงการระยะที่ 1 และระยะที่ 2 มีสถานประกอบการเขารวมโครงการฯ รวม 54 ราย รองรับขยะเศษอาหารไดประมาณ 27,860 กิโลกรัมตอวัน ผลิตกาซชีวภาพไดประมาณ 933,609 ลูกบาศกเมตรตอป ทดแทน LPG ได 429,460 กิโลกรัมตอป คิดเปนเงิน 7.7 ลานบาท
เยี่ยมชมแปลงปลูกหญาเลี้ยงสัตว บจก. เชียงใหมเฟรชมิลค นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ผูอำนวยการสำนักงานนโยบาย และแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน (คนกลาง) รวมดวย นายอมรพันธุ นิมานันท อดีตผูวาราชการจังหวัดเชียงใหม (ที่ 2 จากซาย) รศ.ประเสริฐ ฤกษเกรียงไกร ผูอำนวยการสถาบันวิจัยและ พัฒนาพลังงานนครพิงค มหาวิทยาลัยเชียงใหม (ขวาสุด) และ ดร.อำพล วริทธิธรรม นักวิชาการ สัตวบาล ศูนยวิจัยและพัฒนาอาหารสัตวลำปาง กรมปศุสัตว (ซายสุด) เยี่ยมชมแปลงปลูกหญา เลี้ยงสัตวขนาดใหญของบริษัท เชียงใหมเฟรชมิลค จำกัด อำเภอบานโฮง จังหวัดลำพูน ซึ่งมีการบริหาร จัดการที่ดีรวมทั้งมีศักยภาพในการผลิตพลังงานทดแทน โดยมีนายบัลลพกุล ทิพยเนตร เจาของฟารม เชียงใหมเฟรชมิลค (ที่ 2 จากขวา) ใหการตอนรับ
การตูนเสริมทักษะ “กาซชีวภาพ” สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) จัดทำหนังสือ การ ตู น สารคดี เสริ ม ทั ก ษะ เรื่ อ ง “ก า ซชี ว ภาพ จากปฏิ กู ล สูพลังงานไทย” เพื่อเผยแพรความรูเกี่ยวกับการเปลี่ยน “ของเสีย” เปน “กาซชีวภาพ” ใหแกเยาวชนและประชาชนทั่วไปไดศึกษา ทำความเขาใจ ดวยการถายทอดขอมูลผานตัวการตูน จากทีมงาน กบนอกกะลา ซึ่งอัดแนนไปดวยเรื่องราวที่นารักและนาลุน อาทิ หมูบานหมูผลิตกาซชีวภาพและ ลดภาวะโลกรอน กับกบแสนซน ผู ส นใจสามารถติ ด ต อ ขอรั บ ฟรี ! ได ที่ ศู น ย ป ระชาสั ม พั น ธ ร วมพลั ง หาร 2 หรื อ โทรศั พ ท 0 2612 1555 ตอ 204-205 ในวันและเวลาราชการ
www.eppo.go.th • 7
ENERGY LEARNING ZONE
สัมภาษณพิเศษ
พิชัย นริพทะพันธุ รมว.พลังงาน ปน “แลนดบริดจ” สงไทย เปนศูนยกลางพลังงานของอาเซียน ถือเปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานที่ไดรับการจับตา ม อ ง ม า ก ที่ สุ ด อี ก ค น ห นึ่ ง เ มื่ อ น า ย พิ ชั ย น ริ พ ท ะ พั น ธุ มาดำรงตำแหน ง รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงพลั ง งาน เพราะ เปนชวงที่เรื่องของพลังงานกำลังคุกรุนจากหลาย ๆ มาตรการของ รัฐบาล กอปรกับประเทศไทยตองเตรียมความพรอมเพื่อรับมือกับ การเขารวมเปนหนึ่งในประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ในป พ.ศ. 2558 รวมถึ ง การจั ด หาและสร า งความมั่ น คง ด า นพลั ง งานให แ ก ป ระเทศ วารสารนโยบายพลั ง งานฉบั บ นี้ มีคำตอบจากหลายคำถามที่ประชาชนอยากรูมาใหไดทราบกัน
ลอยตัว LPG เรื่องที่ตองหาคำตอบ นายพิชยั นริพทะพันธุ รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน เป ด เผยถึ ง นโยบายด า นพลั ง งานของรั ฐ บาลว า นอกจาก ดำเนิ น การตามนโยบายเดิ ม ที่ ไ ด ด ำเนิ น การมาแล ว ยั ง มี นโยบายระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว โดยนโยบาย ระยะสั้นเรื่องแรกคือการชวยเหลือประชาชนดวยการชะลอ การเก็บเงินเขากองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง ซึ่งไดดำเนินการทันที ที่เขามาเปนรัฐบาล ขั้นตอนตอไปคือการวางแผนระยะกลาง และระยะยาว โดยเฉพาะเรื่องการเก็บเงินเขากองทุนน้ำมัน เชื้ อ เพลิ ง ทั้ ง นี้ จ ะพบว า กองทุ น น้ ำ มั น ฯ มี ภ าระเดื อ นละ 3 พันกวาลานบาท ที่ตองไปสนับสนุนพลังงานประเภทอื่น ๆ อาทิ การสนับสนุนกาซ LPG NGV ซึ่งหนาที่หลักของกองทุน น้ำมันฯ ไมควรเปนเชนนั้น กองทุนน้ำมันฯ ควรมีหนาที่หลัก ในการรั ก ษาเสถี ย รภาพของราคา ถ า ราคาแพงก็ เ ข า ไป สนับสนุน ถาราคาถูกก็เก็บเงินเขากองทุนน้ำมันฯ เพราะถา ไปสนับสนุนตลอดประเทศก็เติบโตไมได โดยหลักการแลว
8 • นโยบายพลังงาน
ไมควรเปนเชนนั้น เพราะเมื่อไปสนับสนุนกาซ LPG เมื่อถึงวัน ที่ไทยตองเขาเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะพบปญหาวา ประเทศเพื่อนบานเขามาซื้อกาซจากประเทศไทยหมด เพราะ ราคาในประเทศไทย 18 บาทตอกิโลกรัม ขณะที่ประเทศ รอบนอกไทยราคาแพงกวา อาทิ เวียดนาม ราคา 46 บาท กัมพูชา ราคา 44 บาท ลาว ราคา 46 บาท พมา ราคา 35 บาท แมแตประเทศมาเลเซียที่เปนประเทศสงออกกาซ ราคา ยังอยูที่ 20 กวาบาท ประเทศอื่น ๆ จะหันมาซื้อกาซจาก ประเทศไทยไปใช ห มด ซึ่ ง ป จ จุ บั น ก็ มี ก ารซื้ อ ไปใช อ ยู แ ล ว แมจะพยายามกีดกัน แตในความเปนจริงไมสามารถกีดกันได เรื่องนี้เปนความจริงที่ตองคุยกัน และยิ่งเมื่อถึงป พ.ศ. 2558 จะไมสามารถกีดกันได เพราะตองเปดใหคาขายกันอยางเสรี ดังนั้นจึงตองกำหนดวากอนถึงป พ.ศ. 2558 ตองปลอยให ลอยตั ว เพื่ อ ให ร าคาใกล เ คี ย งกั บ ประเทศอื่ น ป อ งกั น การถายเทหรือลักลอบนำกาซไปใช
“สวนกาซ NGV ก็มีปญหาคือปริมาณคนใชกาซมีมาก แตสถานีที่ใหบริการยังมีไมทั่วถึง ซึ่งกระทรวงพลังงานไดให ปตท.เร ง ขยายสถานี บ ริ ก าร ขณะเดี ย วกั น ก็ ใ ห ขึ้ น ราคาได โดยจะเริ่มตั้งแตปหนา เพราะถาให ปตท.เรงขยายอยางเดียว จะกลายเปนวายิ่งขายยิ่งขาดทุน ถาเปนเชนนั้น ปตท.ก็ไม อยากขยาย จึงตองให ปตท.ขยายสถานีบริการแลวมีกำไร เพื่อจูงใจให ปตท.อยากขยายสถานีบริการ” รัฐมนตรีวาการ กระทรวงพลังงานกลาว นอกจากนั้นกระทรวงพลังงานกำลังดำเนินการเขียนแผน แมบทดานพลังงานของประเทศวา ประเทศไทยตองดำเนินการ ไปอยางไร เชน กระทรวงพลังงานตองแจงเตือนใหประชาชน ทราบลวงหนาวาในอนาคตกำลังจะเกิดอะไรขึ้น และจะกาวไป ขางหนาอยางไร แลวหาวิธีการปรับตัวที่เหมาะสม ฯลฯ ซึ่งบาง เรื่องก็อาจจะถูกใจ บางเรื่องก็อาจไมถูกใจประชาชน ซึ่งจะ พยายามหาแนวทางไปเรื่อย ๆ ถามองแตภาพในอดีต ปจจุบัน ไมมองอนาคตประเทศชาติก็กาวไปไมได สำหรับการแกปญหากาซ LPG เนื่องจากชวงที่ผานมา ประเทศไทยประสบป ญ หาน้ ำ ท ว มในหลายพื้ น ที่ กระทรวง พลังงานจึงไมอยากเพิ่มภาระใหแกประชาชนในชวงนี้ ดังนั้น LPG ในภาคครั ว เรื อ นจึ ง ให ค งราคาต อ ไปก อ น ในภาวะที่ เหมาะสมจึงคอยกลับมาหารือเรื่องนี้กันอีกครั้ง แตสำหรับกาซ LPG ในภาคขนสงจะเริ่มลอยตัว เพราะกาซ LPG มีความสำคัญ ตอระบบเศรษฐกิจ สามารถนำไปแยก กลั่น เพื่อนำไปใชใน กระบวนการปโตรเคมีคอลไดมากและมีมูลคาสูงกวา รวมถึง ประเด็ น ด า นความปลอดภั ย เพราะเมื่ อ LPG รั่ ว ไหลโดย ธรรมชาติแลวจะรั่วลงพื้นดิน ไมลอยขึ้นไปในอากาศ ทำใหมี โอกาสเกิดอุบัติเหตุไฟไหมได รัฐบาลจึงอยากสงเสริมใหใช NGV สำหรั บ รถยนต ม ากกว า เพราะเมื่ อ เกิ ด การรั่ ว ไหลจะ ระเหยขึ้ น ไปในอากาศจึงไมเ กิ ดเพลิงไหม ที่ส ำคัญสามารถ ขุดกาซ NGV ไดเองภายในประเทศ ขณะที่ LPG ตองนำเขามา ในราคาสู ง แต ข ายราคาต่ ำ ทำให ข าดทุ น มากเพราะไม ใ ช ราคาที่แทจริง จึงตองหาทางแกไขเรื่องนี้ในระยะยาวเพื่อให ราคากาซใกลเคียงกับประเทศเพื่อนบาน
สงเสริมพลังงานทดแทน ชวยเกษตรกร และสภาพแวดลอม นอกจากการสงเสริมใหใชกาซ NGV ในภาคขนสงแลว รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานกลาววา รัฐบาลมีนโยบาย สงเสริมการใชแกสโซฮอล เพราะประเทศไทยเปนประเทศ เกษตรกรรม มีทงั้ ออย มันสำปะหลัง ทีน่ ำมาใชทำแกสโซฮอลได ขณะนี้กระทรวงพลังงานกำลังพิจารณาเรื่องการยกเลิกเบนซิน 91 วาเวลาที่เหมาะสมควรเปนเมื่อไหร เพราะหากยกเลิก เบนซิน 91 ปริมาณการใชเอทานอลก็จะเพิ่มขึ้น ซึ่งนอกจาก ไดชวยเหลือเกษตรกรแลวยังไดชวยสภาพแวดลอมดวย
“กระทรวงพลังงานกำลังพิจารณาเรื่องการยกเลิก เบนซิน 91 วาเวลาที่เหมาะสมควรเปนเมื่อไหร เพราะ หากยกเลิกเบนซิน 91 ปริมาณการใชเอทานอลก็จะ เพิ่ ม ขึ้ น ซึ่ ง นอกจากได ช ว ยเหลื อ เกษตรกรแล ว ยังไดชวยสภาพแวดลอมดวย”
ยกตัวอยางประเทศในทวีปยุโรป หลายประเทศไมได ปลูกพืชทำแกสโซฮอลและตองนำเขา แตประชาชนในประเทศ เขาเลือกเติมแกสโซฮอลมากกวาน้ำมันเบนซิน ทัง้ ๆ ทีแ่ กสโซฮอล แพงกวาน้ำมันเบนซิน นัน่ เพราะประเทศเหลานัน้ ปลูกจิตสำนึก ให ป ระชาชนตระหนั ก ถึ ง สภาพแวดล อ มว า เป น เรื่ อ งสำคั ญ จึงอยากใหประชาชนชวยกันคิด และที่สำคัญคือเวลาที่น้ำมันมี ราคาถูกใหชวยกันประหยัด เพราะประเทศไทยยังตองนำเขา พลังงานถึง 55%
www.eppo.go.th • 9
“ส ว นเอทานอลก็ ยั ง เป น นโยบายหลั ก ซึ่ ง ในเดื อ น มกราคม 2555 กระทรวงพลังงานจะหันมาเก็บเงินเขา กองทุนน้ำมันเชือ้ เพลิงในสวนของเบนซินมากกวาแกสโซฮอล เพือ่ ใชราคาเปนเครือ่ งจูงใจใหประชาชนหันมาใชแกสโซฮอล ใหมากขึ้น แตโดยสวนตัวแลวอยากใหประชาชนมีจิตสำนึก ว า การใช แ ก ส โซฮอลเป น ประโยชน ต อ สภาพแวดล อ ม” รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานกลาว
ต อ มาคื อ เรื่ อ งการส ง เสริ ม ไบโอดี เ ซลต อ งยอมรั บ ความจริ ง ว า ประเทศไทยไม ไ ด ป ลู ก ปาล ม น้ ำ มั น มากนั ก เพราะฉะนั้ น การทำน้ ำ มั น ไบโอดี เ ซลจึ ง มี ไ ว เ พื่ อ ช ว ย ชาวสวนปาลมเวลาที่ปาลมราคาตก เพื่อเปนการพยุงราคา แต ก ารทำเช น นี้ ไ ม ใ ช วั ต ถุ ป ระสงค ห ลั ก เพราะหากผสม ไบโอดีเซลมากไปในชวงที่ปาลมขาดตลาดประชาชนอาจ ไดรับความเดือดรอน เพราะน้ำมันที่ใชสำหรับการบริโภค ขาดแคลน เรื่องอาหารตองมากอน เพราะถาไมมีอาหาร คนเราอยูไ มได ดังนัน้ รัฐบาลจึงตองใหมกี ารจำนำขาวทีต่ นั ละ 15,000 บาท เพราะตระหนักแลววาในอนาคตพืชพลังงาน จะมีราคาสูง คนจะหันไปปลูกพืชพลังงานกันหมด ชาวนา จะไม ป ลู ก ข า วแต จ ะหั น ไปปลู ก พื ช พลั ง งานแทน และ นอกจากการเพิ่ ม รายได ใ ห เ กษตรกรแล ว ยั ง ต อ งมองถึ ง ความมั่นคงดานพลังงานและอาหารดวย ทั้งนี้ เรื่องพลังงาน ทดแทนรัฐบาลใหการสงเสริมอยางเต็มที่ โดยตั้งเปาหมาย การใชพลังงานทดแทนใหได 25% ภายใน 10 ป ซึ่งเปน เปาหมายใหญมากหากสามารถทำได
ลดการตอตานสรางโรงไฟฟาใหม จากความต อ งการใช ไ ฟฟ า ที่ ม ากขึ้ น ตามการเจริ ญ เติบโตทางเศรษฐกิจ ทำใหกระทรวงพลังงานมีความจำเปน ต อ งจั ด หาพลั ง งานไฟฟ า ให เ พี ย งพอต อ ความต อ งการจึ ง จำเป น ต อ งก อ สร า งโรงไฟฟ า แห ง ใหม แต ที่ ผ า นมายั ง มี ความไมเขาใจเพราะการกอสรางโรงไฟฟาแตละครั้งจะเกิด การต อ ต า นจากประชาชน ซึ่ ง เรื่ อ งนี้ รั ฐ มนตรี ว า การ กระทรวงพลังงานกลาววา อยากใหประชาชนเขาใจจึงไดตั้ง หนวยงานขึ้นมาใหมเพื่อใหความรูความเขาใจแกประชาชน วา เพราะเหตุใดจึงตองสรางโรงไฟฟาใหม ๆ ซึง่ โรงไฟฟารุน ใหม ในปจจุบันมีความเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม นอกจากนั้นยังได คารบอนเครดิตดวย เวลานี้ประเทศไทยพึ่งโรงไฟฟากาซ มากถึง 75% ซึ่งเชื้อเพลิงอื่นที่ถูกกวากาซและสามารถนำ มาใชไดกค็ อื ถานหิน แตประชาชนมักไปยึดติดกับภาพเดิม ๆ ของโรงไฟฟ า แม เ มาะที่ มี ม ลพิ ษ อากาศเสี ย แต โ รงไฟฟ า ถานหินยุคใหมจะใชเทคโนโลยีถานหินสะอาด ที่เรียกวา Clean Coal Power Plant ซึ่งในตางประเทศมีการใชกันมาก ทัง้ เยอรมนี ญีป่ นุ ทีท่ ำโรงไฟฟาถานหินสะอาดอยูใ จกลางเมือง จึงอยากใหประชาชนเปดใจยอมรับ เพราะถาไมมีไฟฟาใช จะลำบาก นโยบายของรัฐบาลคือตองการใหเศรษฐกิจมี การขยายตัวสูง ซึง่ จะเห็นวาจีน อินเดีย มีอตั ราการเติบโตสูง ประเทศเหล า นี้ มี ข นาดใหญ ก ว า ไทย เศรษฐกิ จ ก็ เ ติ บ โต มากกวา ขณะที่ไทยเปนประเทศเล็ก ๆ ถาเติบโตชาจะไม สามารถตามประเทศเหลานั้นไดทัน ซึ่งรัฐบาลตั้งเปาขยาย การเติบโตของ GDP จากปจจุบันอยูที่ 10 ลานลานบาท ตองขยายการเติบโตใหได 20 ลานลานบาท ในป พ.ศ. 2563 ซึ่ ง การที่ จ ะทำได ข นาดนั้ น ก็ คื อ ไทยต อ งเป น ศู น ย ก ลางของอาเซี ย น ป จ จุ บั น กำลั ง จะเกิ ด ประชาคม อาเซียน ถาสามารถทำใหไทยเปนศูนยกลางของภูมิภาคได จะทำใหไทยกาวทันประเทศสิงคโปรและอินเดีย “ปจจุบันกำลังจะเกิดประชาคมอาเซียน ถาสามารถ ทำใหไทยเปนศูนยกลางของภูมิภาคได จะทำใหไทย กาวทันประเทศสิงคโปรและอินเดีย” สำหรับการสรางโรงไฟฟานิวเคลียร รัฐมนตรีวาการ กระทรวงพลังงานบอกวา อาจเปนเรื่องยากที่จะบอกวาสราง หรื อ ไม ส ร า ง เพราะในอนาคตหากประเทศมี ก ารเติ บ โต สู ง อาจไม ส ามารถเลี่ ย งการสร า งโรงไฟฟ า นิ ว เคลี ย ร ไ ด แตถาบอกวาไมสรางแลววันหนึ่งกลับมาสรางจะถูกตอตาน
10 • นโยบายพลังงาน
จากประชาชนทำใหสรางไมได สุดทายจึงอยูที่การยอมรับ และการตัดสินใจของประชาชนวาจะสรางหรือไม อยางไร ก็ตาม โรงไฟฟานิวเคลียรในปจจุบันมีความปลอดภัยสูง แมหลายคนจะจำภาพโรงไฟฟานิวเคลียรที่เกิดปญหาใน ประเทศญี่ปุนจากเหตุการณสึนามิ จึงเกิดความหวาดกลัว ทั้งนี้ โรงไฟฟานิวเคลียรที่เกิดปญหาเปนโรงไฟฟารุนเกา อายุ 40-50 ป แ ล ว ขณะที่ โ รงไฟฟ า นิ ว เคลี ย ร ยุ ค ใหม โ ด ย เ ฉ พ า ะ เ จ เ น อ เ ร ชั น ที่ 4 ถื อ เ ป น โ ร ง ไ ฟ ฟ า ที่ มี ความปลอดภั ย สู ง จึ ง อยากให ป ระชาชนได รั บ รู ข อ มู ล ที่ ถู ก ต อ ง และให ก ารยอมรั บ ในระยะยาว แต สุ ด ท า ยก็ ขึ้นอยูกับประชาชนเปนผูตัดสินใจวาจะสรางหรือไมสราง
มองในภาพใหญ ยกตั ว อย า งสนามบิ น สุ ว รรณภู มิ ถ า เรา สร า งตั้ ง แต 30 ป ที่ แ ล ว ประเทศไทยจะเจริ ญ ขนาดไหน เมื่อเราสรางเสร็จก็กลายเปนศูนยกลางการบินของอาเซียน อยางแทจริง สนามบินชางงี (Changi Airport) ของสิงคโปร ก็ สู ไ ม ไ ด เพราะจุ ด ทางภู มิ ศ าสตร ข องเราดี ก ว า สิ ง คโปร นี่จึงถือเปนจุดที่เปลี่ยนโฉมหนาประเทศไทยอีกครั้งหนึ่ง แลนดบริดจก็เชนกันถาเราทำไดจะทำใหประเทศเจริญขึ้น อีกมาก” รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานกลาว
“แลนด บ ริ ด จ ” ดั น ไทยเป น ศู น ย ก ลาง ดานพลังงาน เมื่อเร็ว ๆ นี้มีการประชุมรัฐมนตรีอาเซียนที่ประเทศ บรูไน สิ่งหนึ่งที่มีการพูดถึงคือ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ซึง่ จะมีการเชือ่ มโยง อาเซี ย นเข า ด ว ยกั น ไม ว า จะเป น เรื่ อ งรถไฟ การติ ด ต อ สื่อสาร แตเรื่องหลัก ๆ คือเรื่องของพลังงาน โดยเล็งเห็น ความสำคั ญ ของการสร า งความมั่ น คงทางพลั ง งานเพื่ อ รองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศตาง ๆ โดยมี ความรวมมือดานพลังงานที่สำคัญคือ โครงขายระบบสายสง ไฟฟาอาเซียน หรือ ASEAN Power Grid และโครงการเชือ่ มโยง ทอสงกาซธรรมชาติอาเซียน หรือ ASEAN Gas Pipeline หาก 2 โครงการนี้เกิดขึ้นจริงประเทศไทยจะเปนศูนยกลาง และทำใหระบบเศรษฐกิจของประเทศเติบโตสูงมาก “ที่ผานมาผมเคยขายความคิดเรื่องโครงการสะพาน เศรษฐกิจ หรือ ‘แลนดบริดจ’ (Land Bridge) มาโดยตลอด เราจะเปนศูนยกลางดานพลังงานของภูมิภาคนี้อยางแทจริง เพราะทุ ก ประเทศต อ งใช พ ลั ง งานในการขนส ง หากมี แลนด บ ริ ด จ ก ารขนส ง จากฝ ง ตะวั น ตกไปตะวั น ออกจะ สามารถลดเวลาลงได 3-4 วัน ซึ่งชวยลดเวลาไปไดมาก อีกทั้งน้ำมันที่จะขนสงไปยังจีน เกาหลี ไตหวัน ลวนตอง ผานประเทศไทยแทบทัง้ หมด หากเรานำทีต่ งั้ ทางภูมศิ าสตร มาเปนจุดแข็ง สิ่งนี้จะทำใหไทยเปนศูนยกลางการขนสง พลั ง งานของอาเซี ย น ซึ่ ง นี่ เ ป น โอกาสของประเทศไทย ถ า เราทำเรื่ อ งนี้ ส ำเร็ จ จะเกิ ด ประโยชน กั บ ทั้ ง ประเทศ อยางไรก็ตาม แลนดบริดจก็เหมือนกับโรงไฟฟานิวเคลียรที่ ตองใหประชาชนตัดสินใจวาจะดำเนินการหรือไม ซึ่งตอง
“โรงไฟฟานิวเคลียรยุคใหม โดยเฉพาะเจเนอเรชันที่ 4 ถือเปนโรงไฟฟาที่มีความปลอดภัยสูง จึงอยาก ใ ห ป ร ะ ช า ช น ไ ด รั บ รู ข อ มู ล ที่ ถู ก ต อ ง แ ล ะ ใ ห การยอมรั บ ในระยะยาว แต สุ ด ท า ยก็ ขึ้ น อยู กั บ ประชาชนเปนผูตัดสินใจวาจะสรางหรือไมสราง”
เจรจาพื้ น ที่ทั บ ซ อ น ฝ น ของ รมว.พลัง งาน “ความตั้ ง ใจจริ ง ของผมในช ว งเวลาที่ เ ข า มาเป น รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน สิง่ ทีอ่ ยากทำมี 2 อยาง คือ 1. เรื่ อ งการเจรจาพื้ น ที่ ทั บ ซ อ นกั บ กั ม พู ช า เพราะ พื้นที่ดังกลาวมีกาซธรรมชาติปริมาณมาก หากทำสำเร็จเรา จะมีพลังงานใชตอไปอีก 40-50 ป ที่สำคัญประเทศไทย มี เ ซกเตอร พ ลั ง งานมากถึ ง 40% ในตลาดหลั ก ทรั พ ย มูลคาหลักทรัพยตามราคาตลาด (Market Cap) เรากวาง มากเพราะมีทงั้ เซกเตอรนำ้ มัน เซกเตอรกา ซ เซกเตอรไฟฟา เซกเตอรปโ ตรเคมีคอล ซึง่ ความจริงแลวเซกเตอรปโ ตรเคมีคอล ของเราจะไดประโยชนอยางเต็มที่ ยกตัวอยางกาซ เพราะ กั ม พู ช าไม มี โ รงแยกก า ซ ไม มี โ รงงานป โ ตรเคมี ค อล เมื่อขุดขึ้นมาก็ตองขายใหแกไทย กาซที่ขุดขึ้นมาเมื่อนำไป แยกจะได มู ล ค า เพิ่ ม (Value Add) มากขึ้ น 6-20 เท า ตรงนี้คนไมคอยเขาใจวาถาขุดกาซขึ้นมาประเทศไทยจะได ประโยชนเต็ม ๆ เรื่องนี้จึงตองทำความเขาใจ เพราะถา www.eppo.go.th • 11
ไมพูดคนจะไมเขาใจ คิดวาไปแบงผลประโยชนกัน จึงอยาก ให ค นไทยเข า ใจเรื่ อ งนี้ ให คิ ด ถึ ง ประโยชน ข องประเทศ เปนหลัก ซึ่งกัมพูชาเองก็ไดประโยชนเพราะประเทศเขา ยากจน คนก็จะมีงานทำ เราตองคิดวาเมื่อเราเจริญแลว ประเทศรอบขางตองเจริญดวย เพราะเมื่อเขามีเงินก็มาซื้อ ของของเรา ถาเราเปนศูนยกลางแตคนรอบขางแยสุดทาย เราก็อยูไมได 2. การทำเรื่องแลนดบริดจ เมื่อเปนแลนดบริดจแลว เราต อ งมี โ รงกลั่ น เอง มี ป ริ ม าณน้ ำ มั น สำรองในประเทศ ซึ่ ง จะสามารถตอบโจทย ค วามมั่ น คงด า นพลั ง งานของ ประเทศได หากทำ 2 เรื่องนี้ไดถือเปนความสำเร็จแลว ในชีวิตของผม” รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานกลาว
ตั้ ง เ ป า เ พิ่ ม ป ริ ม า ณ น้ ำ มั น ส ำ ร อ ง ของประเทศ เนื่องจากพลังงานใชแลวหมดไป ยิ่งนานวันพลังงาน ยิ่งหายากและมีราคาแพง นอกจากนั้นสิ่งที่นาเปนหวงคือ ไม มี พ ลั ง งาน ดั ง นั้ น ประเทศไทยจำเป น ต อ งหาปริ ม าณ น้ำมันสำรองของประเทศ เพราะปจจุบันที่ไทยยังไมสามารถ ทำแลนด บ ริ ด จ ไ ด มี ป ริ ม าณน้ ำ มั น สำรองเพี ย ง 18 วั น ซึ่งถือวาต่ำมาก ขณะที่ประเทศที่เจริญแลวอื่น ๆ มีปริมาณ สำรองนับ 100 วัน เราจึงตองเตรียมพรอมเรื่องปริมาณ น้ ำ มั น สำรอง เพราะไม ส ามารถคาดเดาได ว า อนาคต จะเป น เช น ไร สถานการณ โ ลกตอนนี้ ผั น ผวนอยู ต ลอด อาจไม ใ ช ส งคราม แต อ าจเกิ ด จากภั ย พิ บั ติ แผ น ดิ น ไหว ซึ่งสามารถเกิดขึ้นไดตลอด ประเทศไทยจึงตองซื้อน้ำมัน สำรองเก็บไว เพื่อใหมั่นใจวาอนาคตขางหนาจะมีน้ำมันใช ซึ่ ง เรื่ อ งพลั ง งานต อ งคิ ด ให ค รบทุ ก ด า นและวางแผนไว สำหรับอนาคต
เ ร ง ป ลู ก ฝ ง จิ ต ส ำ นึ ก ก า ร อ นุ รั ก ษ พลังงาน กระทรวงพลั ง งานเริ่ ม มี ก ารประชาสั ม พั น ธ เ รื่ อ ง การอนุรักษพลังงานมากขึ้น ซึ่งที่ผานมาก็พยายามปลูกฝง เรื่ อ งนี้ ม าโดยตลอด จากการประชุ ม รั ฐ มนตรี พ ลั ง งาน อาเซียนที่ประเทศบรูไน มีการจัดงานมอบรางวัลผลงาน ด า นการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและพลั ง งานหมุ น เวี ย นระดั บ อาเซี ย น (ระหว า งวั น ที่ 20-21 กั น ยายน 2554) ผลปรากฏวาผูประกอบการและหนวยงานดานพลังงานซึ่ง เปนตัวแทนจากประเทศไทยไดสรางชื่อเสียงในเวทีระดับ ภู มิ ภ าค ด ว ยการคว า รางวั ล รวมทั้ ง สิ้ น 13 รางวั ล และ เปนรางวัลชนะเลิศอันดับ 1 มากถึง 7 รางวัล สงผลใหไทย ครองรางวัลสูงสุดเหนือทุกชาติในอาเซียน จึงอาจกลาวได วาจิตสำนึกดานการประหยัดพลังงานของไทยดีกวาหลาย ๆ ประเทศในอาเซียน แมไทยจะสูประเทศที่พัฒนาแลวไมได แตในประเทศอาเซียนดวยกันเองถือวาไทยมีจิตสำนึกที่ดี และตองพยายามประชาสัมพันธเรื่องนี้เพื่อใหผูไดรับรางวัล ไดรับการยกยอง และใหผูประกอบการอื่น ๆ นำไปเปน แบบอยางตอไป นอกจากนั้ น กระทรวงพลั ง งานได อ อกกฎหมาย เพื่ อ ให อ าคารราชการที่ จ ะปลู ก สร า งในอนาคตต อ งเป น อาคารประหยัดพลังงาน โดยจะเริ่มบังคับใช Building Code กั บ สถานที่ ร าชการที่ จ ะปลู ก สร า งใหม หลั ง จากที่ ใ ช กั บ สถานที่ราชการแลวตอไปจะนำมาใชกับเอกชน เพื่อปลูกฝง จิตสำนึกและการมีสวนรวม ขณะเดียวกันก็ตองดูในสวน Supply Chain วามีความพรอมแคไหน ผูประกอบการหรือ ผูที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับการกอสรางตองทราบวาตอไปนี้ทิศทาง ของประเทศจะก า วไปสู ก ารประหยั ด พลั ง งาน จึ ง ต อ ง วางแผนการผลิตเสียตั้งแตตอนนี้เพื่อใหสอดรับกับแนวทาง ดังกลาว หากไทยสามารถประหยัดการใชพลังงานไดเทาไหร ก็จะเหลือเงินใชในประเทศมากเทานั้น “อยากใหประชาชนชวยกันประหยัดพลังงานเพราะ เรายั ง ต อ งนำเข า พลั ง งานจำนวนมาก เราต อ งใช ใ ห เ กิ ด ประโยชน แ ละประหยั ด ใช ใ ห เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพ เพราะ อนาคตพลังงานยิ่งหายากขึ้นเรื่อย ๆ ถาเราไมรักษาหรือ สรางไวใหลูกหลาน ความสะดวกสบายที่เราไดรับในวันนี้ ลูกหลานอาจจะไมไดรับในวันขางหนา” รัฐมนตรีวาการ กระทรวงพลังงานกลาวทิ้งทาย
12 • นโยบายพลังงาน
ENERGY LEARNING ZONE
SCOOP
“ชีวมวล”
จากวัสดุเหลือใช้สู่พลังงานทดแทน เนื่องจากประเทศไทยไม่ได้มีแหล่งพลังงานที่เพียงพอต่อความต้องการใช้ รวมทั้งอัตราการเจริญเติบโต ที่สูงขึ้นของเศรษฐกิจและประชากร ทำให้ขณะนี้ประเทศไทยกำลังประสบกับปัญหาการขาดแคลนพลังงาน ซึ่งต้องแก้ไขด้วยการพึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศ และแม้ว่ามีพลังงานจากต่างประเทศเข้ามาเป็นตัวช่วย แต่ประเทศไทยก็ยังประสบกับปัญหาราคาพลังงานที่สูงขึ้นโดยเฉพาะราคาน้ำมัน จากปัญหาเหล่านี้ทำให้ เกิดแนวคิดในการหาพลังงานทดแทนมาใช้เพื่อทดแทนพลังงานฟอสซิลหรือพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ไม่ว่า จะเป็นพลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ หรือพลังน้ำ และหนึ่งในพลังงานทดแทนที่มีความสำคัญอยู่ในขณะนี้ คื อ “พลั ง งานชี ว มวล” พลั ง งานที่ ไ ด้ จ ากเศษวั ส ดุ ห รื อ ของเสี ย ไร้ ค่ า แต่ ก ลั บ สามารถช่ ว ยแก้ ไ ขปั ญ หา การขาดแคลนพลังงานในอนาคตและช่วยลดปัญหาด้านมลพิษได้ดีอีกด้วย
พลังงานชีวมวล
ชีวมวล คือ พืช สัตว์ องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต และสารอินทรีย์ต่าง ๆ รวมไปถึงของเสียจากโรงงานแปรรูปทาง การเกษตร เศษวัสดุจากการเกษตรและป่าไม้ ขยะ และมูลสัตว์ ซึ่งสามารถแบ่งประเภทของแหล่งที่มาได้ดังนี้ 1. พืชผลทางการเกษตร เช่น ปาล์ม ข้าวโพด อ้อย ข้าวฟ่าง มันสำปะหลัง สบู่ดำ พืชตระกูลถั่ว และเมล็ดทานตะวัน ฯลฯ 2. เศษวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตรหรือการแปรรูปทางการเกษตร เช่น ซังข้าวโพด ฟางข้าว ชานอ้อย กะลาปาล์ม เส้นใยปาล์ม เหง้ามันสำปะหลัง กากถั่วเหลือง กากน้ำตาล รำ และแกลบ ฯลฯ 3. เศษวัสดุเหลือทิ้งจากโรงงานไม้ อุตสาหกรรมแปรรูปไม้ และอุตสาหกรรมแปรรูปกระดาษ เช่น ขี้เลื่อย เนื้อไม้ เศษไม้ และเปลือกไม้ ฯลฯ 4. ของเสียจากชุมชนและโรงงานแปรรูปทางการเกษตร เช่น ขยะมูลฝอย ขยะสด มูลสัตว์ และน้ำเสีย ฯลฯ จากที่กล่าวมาทั้งหมดจะเห็นว่า ชีวมวลนั้นอยู่ในรูปของเศษวัสดุเหลือทิ้งและของเสียซึ่งเป็นสิ่งไร้ค่าที่ไม่สามารถนำ กลับไปทำอะไรได้อีก แต่ในด้านพลังงานทดแทน ชีวมวลเหล่านี้กลับมีค่าและสามารถนำกลับมาใช้เป็นวัตถุดิบหลักใน การผลิตพลังงานเพื่อให้มีใช้อย่างเพียงพอ โดยมีกระบวนการหรือเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่เปลี่ยนชีวมวลเหล่านี้ให้เป็นพลังงาน ชีวมวลในหลากหลายรูปแบบ เช่น พลังงานความร้อน ก๊าซเชื้อเพลิง และเชื้อเพลิงเหลว ฯลฯ www.eppo.go.th • 13
พลังงานความร้อน
ชีวมวลที่เป็นเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรและเศษไม้ อาทิ แกลบ ฟางข้าว ขี้เลื่อย เปลือกไม้ กะลาปาล์ม เส้นใย ปาล์ม เหง้ามันสำปะหลัง ซังข้าวโพด และชานอ้อย สามารถ นำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อผลิตพลังงานความร้อนได้โดยตรง หรือนำมาอัดเป็นแท่งเพื่อให้ได้เชื้อเพลิงที่มีประสิทธิภาพและ ใช้งานได้สะดวกมากขึ้น ซึ่งเรียกว่า “เชื้อเพลิงอัดแท่ง” เชื้ อ เพลิ ง อั ด แท่ ง เป็ น เชื้ อ เพลิ ง ที่ เ หมาะสำหรั บ นำมา หุงต้มในระดับครัวเรือน เพราะมีคุณสมบัติที่ จุ ด ติ ด ไฟง่ า ยและให้ ค วามร้ อ นสู ง ถึ ง 700 องศาเซลเซี ย ส มี พื้ น ผิ ว สำหรั บ การเผาไหม้ มากและมี ค วั น น้ อ ย นอกจากนี้ การใช้ เชื้ อ เพลิ ง อั ด แท่ ง ยั ง ส่ ง ผลทางอ้ อ มให้ ก ารใช้ ก๊ า ซหุ ง ต้ ม ในครั ว เรื อ นลดลงและประหยั ด ค่าใช้จ่ายอีกด้วย
พลังงานไฟฟ้า
เศษวัสดุเหลือทิ้งที่นำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อให้พลังงานความร้อนนั้นไม่ได้มีใช้เฉพาะในระดับครัวเรือนเท่านั้น แต่ยัง นำมาใช้ในโรงไฟฟ้าด้วย โรงไฟฟ้าที่นำเศษวัสดุเหลือทิ้งมาใช้ในกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้านั้น เรียกว่า โรงไฟฟ้า พลังงานชีวมวล ซึ่งเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการผลิตพลังงานทดแทนให้กับประเทศไทย ปัจจุบันประเทศไทยมีโรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวลอยู่หลายแห่ง หนึ่งในนั้น ได้แก่ โรงไฟฟ้าร้อยเอ็ดกรีน ที่ใช้แกลบซึ่ง เป็นเศษวัสดุไร้ค่าจากโรงสีข้าวมาทำเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อช่วยเพิ่มเสถียรภาพในการผลิตไฟฟ้าให้กับ ประเทศไทย ทำให้การนำเข้าเชื้อเพลิงจากต่างประเทศลดลง อีกทั้งยังช่วยลดปัญหามลพิษจากเศษฝุ่นแกลบได้อีกด้วย
โรงไฟฟ้า บริษัท ร้อยเอ็ดกรีน จำกัด
14 • นโยบายพลังงาน
ไบโอดีเซล
น้ำมันพืชใช้แล้วจะไม่ถูกทิ้งให้สูญเปล่าเพราะสามารถนำมาผลิตเป็น ไบโอดีเซล เชื้อเพลิงเหลวที่เป็นพลังงานทดแทนในรูปแบบหนึ่งและสามารถ นำมาใช้แทนน้ำมันดีเซลได้โดยไม่ต้องดัดแปลงเครื่องยนต์ ทราบหรือไม่ว่า ประเทศไทยมีการบริโภคน้ำมันพืชสูงถึง 800,000 ตัน ต่อปี ซึ่งทำให้มีน้ำมันพืชใช้แล้วถึงมากกว่า 100 ล้านลิตรต่อปี บางส่วนของ น้ำมันพืชใช้แล้วถูกนำกลับไปใช้เพื่อประกอบอาหารซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพ และบางส่ ว นถู ก ทิ้ ง ลงในที่ ส าธารณะก่ อ ให้ เ กิ ด ปั ญ หามลพิ ษ ด้ ว ยเหตุ นี้ จึ ง จำเป็นต้องมีวิธีกำจัดอย่างถูกต้องหรือนำกลับมาใช้ใหม่เพื่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุด ในประเทศที่พัฒนาแล้ว อาทิ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และอีกหลายประเทศในยุโรปได้ออกกฎหมายควบคุมและ ดำเนินการจัดการกับน้ำมันพืชใช้แล้วอย่างเข้มงวด โดย นำน้ำมันพืชใช้แล้วมาผ่านกระบวนการทางเคมีเพื่อให้ได้ ออกมาเป็นน้ำมันไบโอดีเซล และสามารถนำไปใช้ได้กับ เครื่องจักรกลทางการเกษตร สำหรับประเทศไทยก็มีการนำน้ำมันพืชใช้แล้วมา ผลิตไบโอดีเซลเช่นกัน อาทิ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) ได้รับซื้อน้ำมันพืชใช้แล้วจากตลาดทั่วไป มาตั้งแต่ พ.ศ. 2550 และดำเนินการรับซื้อโดยผ่านสถานี บริการน้ำมันกว่า 20 แห่ง มาผลิตไบโอดีเซลบางจาก ซึ่งมีกำลังผลิตมากถึง 50,000 ลิตรต่อวัน ส่งผลให้ลด การนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงจากต่างประเทศ และลดปัญหา มลพิษทางอากาศที่เกิดจากการเผาไหม้ในเครื่องยนต์ได้ อีกด้วย
www.eppo.go.th • 15
น้ำมันแก๊สโซฮอล
เศษเหลื อ ทิ้ ง จากพื ช จำพวกแป้ ง และ น้ำตาล เช่น กากน้ำตาล ชานอ้อย ฟางข้าว ซังข้าวโพด ฯลฯ กลายมาเป็นวัตถุดิบหลักใน กระบวนการผลิ ต น้ ำ มั น แก๊ ส โซฮอลที่ ใ ช้ กั น อยู่ในปัจจุบัน เศษเหลือทิ้งเหล่านี้จะถูกนำมา ย่ อ ยสลายแป้ ง น้ ำ ตาล และเซลลู โ ลส ด้ ว ย กระบวนการทางชีวภาพเพื่อให้ได้เอทานอล สำหรับนำไปผสมกับน้ำมันเบนซิน จึงได้ออก มาเป็ น น้ ำ มั น แก๊ ส โซฮอล หนึ่ ง ในพลั ง งาน ทดแทนในรู ป เชื้ อ เพลิ ง เหลวที่ ใ ช้ ไ ด้ กั บ เครื่องยนต์เบนซิน
ในหลายประเทศทั่วทุกทวีปต่างก็หันมาใช้น้ำมันแก๊สโซฮอลกันอย่างแพร่หลาย เช่น จีน ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา แคนาดา สวีเดน สเปน เคนยา ปรากวัย บราซิล ฯลฯ เพราะมีราคาถูกกว่าน้ำมันเบนซินทั่วไป และเป็นน้ำมันที่ ช่วยให้การเผาไหม้ในห้องเครื่องยนต์สมบูรณ์มากขึ้น จึงทำให้ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ที่ปล่อยออกมาจากท่อไอเสีย มีปริมาณน้อยลง นอกจากนี้ การใช้น้ำมันแก๊สโซฮอลยังช่วยลดการขาดดุลการค้าที่ต้องนำเข้าน้ำมันจากต่างชาติ ลดปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์และไฮโดรคาร์บอนในบรรยากาศซึ่งช่วยให้มลพิษทางอากาศลดลง และลดปัญหาการเผาทำลาย เศษต้นพืชและการทิ้งกากของเสีย
ก๊าซชีวภาพอัด
ก๊ า ซชี ว ภาพอั ด เป็ น อี ก หนึ่ ง พลั ง งานทดแทนจากของเสี ย ไร้ ค่ า จำพวกมูลสัตว์จากโรงเลี้ยงสัตว์และของเสียจากโรงงานแปรรูปทาง การเกษตร เช่น มูลวัว มูลสุกร น้ำเสียจากโรงงานน้ำตาล โรงงาน แป้งมันสำปะหลัง โรงงานผลิตน้ำมันปาล์ม โรงงานเอทานอล ฯลฯ ใน กระบวนการผลิตจะนำของเสียเหล่านี้มาหมักด้วยแบคทีเรียในสภาวะ ไร้ออกซิเจนเพื่อย่อยสลายให้ได้ก๊าซชีวภาพ จากนั้นนำก๊าซชีวภาพนี้ไป ผ่ า นกระบวนการปรั บ ปรุ ง เพื่ อ ให้ มี คุ ณ ภาพที่ ดี ขึ้ น แล้ ว นำไปอั ด ความดันบรรจุลงถังพร้อมใช้ เพื่อเป็นเชื้อเพลิงสำหรับรถยนต์แทน น้ำมัน หรือ ก๊าซเอ็นจีวี (NGV) ในประเทศไทยได้เริ่มผลิตแล้วในหลาย จังหวัด ซึ่งมีส่วนช่วยให้ประหยัดค่าขนส่งก๊าซเอ็นจีวีของ ปตท.
16 • นโยบายพลังงาน
การใช้ ก๊ า ซชี ว ภาพอั ด คื อ การนำของเสี ย กลั บ มาใช้ ใ หม่ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ทั้ ง ต่ อ ประเทศและสิ่ ง แวดล้ อ ม ก๊ า ซชี ว ภาพอั ด ช่ ว ยลดการนำเข้ า น้ำมันดิบและก๊าซแอลพีจี (LPG) จากต่างประเทศ ซึ่งส่งผลให้ประเทศไทย ไม่ ต้ อ งเสี ย เงิ น ตราให้ แ ก่ ต่ า งชาติ ลดปริ ม าณของเสี ย จากโรงเลี้ ย งสั ต ว์ แ ละ โรงงานแปรรูปทางการเกษตร ลดก๊าซมีเทนที่เกิดขึ้นเองจากการย่อยสลาย ของเสียซึ่งส่งผลฟดีต่อสภาพแวดล้อม
พลังงานชีวมวลดังที่ได้กล่าวมาคือการนำเศษวัสดุไร้ ค่ า มาผ่ า นกระบวนการและเทคโนโลยี เ พื่ อ ให้ ก ลายเป็ น พลังงานทดแทน ซึ่งสามารถช่วยให้ประเทศไทยลดการนำ เข้าเชื้อเพลิงจากต่างประเทศและไม่ต้องสูญเสียเงินตราไป เป็นจำนวนมาก อีกทั้งยังช่วยลดการใช้พลังงานจากฟอสซิล หรือพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป และช่วยลดผลกระทบที่เกิด ขึ้นกับสิ่งแวดล้อมจากการใช้พลังงานเหล่านี้ อย่ า งไรก็ ต าม แม้ ว่ า พลั ง งานชี ว มวลหรื อ พลั ง งาน ทดแทนในรู ป แบบอื่ น ๆ จะสามารถช่ ว ยแก้ ไ ขปั ญ หา การขาดแคลนพลังงานในอนาคตได้ แต่นั่นก็ไม่ได้หมายความ ว่าเราจะใช้พลังงานเหล่านี้กันอย่างสิ้นเปลืองและไม่รู้คุณค่า สิ่งสำคัญคือเราทุกคนต้องตระหนักถึงคุณค่าของพลังงาน และร่วมแรงร่วมใจกันใช้อย่างประหยัด เพื่อให้มีพลังงาน ไว้ใช้ได้นาน ๆ
แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม 1. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน www.dede.go.th 2. ที่ปรึกษาด้านพลังงาน บจก. ไดเร็คชั่น แพลน www.directionplan.org 3. นิตยสารเกียร์ www.gearmag.info
www.eppo.go.th • 17
ENERGY LEARNING ZONE
สถานการณพลังงาน
สถานการณพลังงานไทย ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 1. ภาพรวมเศรษฐกิจ
2. อุปสงคพลังงาน
ความตองการใชพลังงานเชิงพาณิชยขั้นตน ในชวง 6 เดือน สำนั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) รายงาน แรกของป 2554 อยูที่ระดับ 1,898 เทียบเทาพันบารเรลน้ำมันดิบ อั ต ราการเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ไทย ตอวัน เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 5.8 การใชพลังงานเชิง ไตรมาสที่ 2/2554 ขยายตั ว ร อ ยละ 2.6 พาณิชยขั้นตนเพิ่มขึ้นทุกประเภท โดยการใชน้ำมันสำเร็จรูปเพิ่มขึ้น ชะลอลงเมื่ อ เที ย บกั บ การขยายตั ว ร อ ยละ รอยละ 3.4 การใชกาซธรรมชาติเพิ่มขึ้นรอยละ 7.9 การใชถานหิน 3.2 ในไตรมาสที่ แ ล ว การผลิ ต ในสาขา นำเขาเพิ่มขึ้นรอยละ 4.1 การใชลิกไนตเพิ่มขึ้นรอยละ 8.7 และการใช เกษตรกรรมขยายตั ว ร อ ยละ 8.7 ส ว น ไฟฟาพลังน้ำ/ไฟฟานำเขาเพิ่มขึ้นรอยละ 5.7 การผลิตในสาขาอุตสาหกรรมหดตัวลงเล็กนอย รอยละ 0.3 สาขากอสรางหดตัวรอยละ 7.6 สัดสวนการใชพลังงานเชิงพาณิชยขั้นตนในชวง 6 เดือนแรกของ เนื่ อ งมาจากการลดลงของการเบิ ก จ า ยงบ ป 2554 กาซธรรมชาติมีสัดสวนการใชมากที่สุดคิดเปนรอยละ 44 ลงทุ น ของภาครั ฐ สาขาขนส ง และคมนาคม รองลงมาคือน้ำมันมีสัดสวนการใชรอยละ 36 ลิกไนต/ถานหินนำเขามี ขยายตัวรอยละ 6.6 เปนผลจากการขนสงทาง สัดสวนการใชรอยละ 18 และพลังน้ำ/ไฟฟานำเขามีสัดสวนการใช อากาศและทางบกที่ขยายตัวสูงขึ้นจากจำนวน รอยละ 2 นั ก ท อ งเที่ ย วที่ เ พิ่ ม ขึ้ น สาขาโรงแรมและ ภัตตาคารขยายตัวรอยละ 19.8 จากนักทองเที่ยว สัดสวนการใชพลังงานเชิงพาณิชยขั้นตน (เดือนมกราคม-มิถุนายน 2554) ตางประเทศที่เพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้ ในสวน ของการใช จ า ยเพื่ อ การอุ ป โภคบริ โ ภคของ ครัวเรือนขยายตัวรอยละ 2.8 โดยการใชจาย เพื่ อ บริ โ ภคสิ น ค า หมวดอาหารและหมวด บริ ก ารยั ง คงขยายตั ว ในขณะที่ ก ารอุ ป โภค สินคาคงทนชะลอลงโดยเฉพาะการใชจายใน หมวดยานยนต การส ง ออกขยายตั ว ร อ ยละ 9.2 ชะลอลงตามการชะลอตัวของเศรษฐกิจ โลก สงผลใหการสงออกสินคาอุตสาหกรรม หลักลดลง อาทิ เครื่องใชไฟฟาและรถยนต ซึ่ง ป จ จั ย เหล า นี้ ส ง ผลต อ สถานการณ พ ลั ง งาน ไทยในประเทศ ดังนี้
18 • นโยบายพลังงาน
3. อุปทานพลังงาน การผลิตพลังงานเชิงพาณิชยขั้นตน ในชวง 6 เดือน แรกของป 2554 อยูที่ระดับ 1,028 เทียบเทาพันบารเรล น้ำมันดิบตอวัน เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 3.9 โดยที่การผลิตกาซธรรมชาติ การผลิตคอนเดนเสท และการผลิตลิกไนต เพิ่มขึ้นรอยละ 8.6 รอยละ 2.9 และ รอยละ 2.2 ตามลำดับ ในขณะที่การผลิตน้ำมันดิบลดลง รอยละ 10.3 และการผลิตไฟฟาพลังน้ำลดลงรอยละ 12.2 เนื่องจากปญหาอุทกภัยในชวงตนปที่ผานมา
พันบารเรลน้ำมันดิบตอวัน เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอน รอยละ 2.8 โดยพลังงานที่มีการนำเขาเพิ่มขึ้น ไดแก การนำเขา ไฟฟ า สุ ท ธิ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ร อ ยละ 56.3 เนื่ อ งจากมี ก ารนำเข า จากโรงไฟฟาน้ำงึม 2 ขนาด 615 เมกะวัตต ซึ่งเริ่มจายไฟฟา ตั้งแตเดือนมีนาคม 2554 การนำเขาถานหินสุทธิเพิ่มขึ้น รอยละ 5.3 และการนำเขากาซธรรมชาติเพิ่มขึ้นรอยละ 4.9 ในขณะที่การสงออกน้ำมันสำเร็จรูปสุทธิลดลงรอยละ 20.8 และการนำเขาน้ำมันดิบสุทธิลดลงรอยละ 2.9 ทั้งนี้ ประเทศไทย มีอัตราการพึ่งพาพลังงานจากตางประเทศตอความตองการ การนำเขา (สุทธิ) พลังงานเชิงพาณิชยขั้นตน ในชวง ใชในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ระดับรอยละ 56 6 เดื อ นแรกของป 2554 อยู ที่ ร ะดั บ 1,068 เที ย บเท า ลดลงเล็ ก น อ ยเมื่ อ เที ย บกั บ ช ว งเดี ย วกั น ของป ก อ นซึ่ ง อยู ที่ ระดับรอยละ 58
การใช การผลิต และการนำเขาพลังงานเชิงพาณิชยขั้นตน (1) 2553 การใช (2) การผลิต การนำเขา (สุทธิ) การเปลี่ยนแปลงสตอก การใชที่ไมเปนพลังงาน (Non-Energy use) การนำเขา/การใช (%) (1) (2)
1,783 989 1,002 -80 288 56
ม.ค.-มิ.ย. 2553 2554 1,795 1,898 990 1,028 1,039 1,068 -45 -120 280 318 58 56
หนวย : เทียบเทาพันบารเรลน้ำมันดิบ/วัน
เปลี่ยนแปลง (%) (ม.ค.-มิ.ย.) 2553 2554 8.6 5.8 10.6 3.9 12.5 2.8 20.3 13.9 -
พลังงานเชิงพาณิชย ประกอบดวย น้ำมันดิบ กาซธรรมชาติ คอนเดนเสท ผลิตภัณฑน้ำมันสำเร็จรูป ไฟฟาจากพลังน้ำและถานหิน/ลิกไนต การใชไมรวมการเปลี่ยนแปลงสตอก และการใชที่ไมเปนพลังงาน (Non-Energy use) ไดแก การใชยางมะตอย NGL Condensate LPG และ Naphtha ซึ่งเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปโตรเคมี
4. การใชพลังงานเชิงพาณิชยขั้นสุดทายและมูลคาการนำเขาพลังงาน การใช พ ลั ง งานเชิ ง พาณิ ช ย ขั้ น สุ ด ท า ย ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ระดับ 1,259 เทียบเทาพัน บารเรลน้ำมันดิบตอวัน ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกัน ของปกอนรอยละ 4.6 เปนผลสืบเนื่องมาจากการขยายตัว ของการลงทุน โดยเฉพาะการลงทุนภาคเอกชนที่ขยายตัว รอยละ 10.5 ทั้งการลงทุนดานการกอสรางและการลงทุน ดานเครื่องจักรเครื่องมือ โดยที่การใชน้ำมันสำเร็จรูปเพิ่ม ขึ้นรอยละ 3.2 การใชกาซธรรมชาติเพิ่มขึ้นรอยละ 23.0
การใชถานหินนำเขาเพิ่มขึ้นรอยละ 4.9 และการใชลิกไนต เพิ่มขึ้นรอยละ 3.4 ในขณะที่การใชไฟฟาลดลงเล็กนอย รอยละ 0.4 สัดสวนการใชพลังงานเชิงพาณิชยขั้นสุดทายในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 การใชน้ำมันสำเร็จรูปมีสัดสวน มากที่สุดคิดเปนรอยละ 54 รองลงมาเปนไฟฟาคิดเปน รอยละ 21 ลิกไนต/ถานหินนำเขาคิดเปนรอยละ 13 และ กาซธรรมชาติคิดเปนรอยละ 12 www.eppo.go.th • 19
การใชพลังงานเชิงพาณิชยขั้นสุดทาย 2550 การใช 1,088 น้ำมันสำเร็จรูป 652 กาซธรรมชาติ 74 ถานหินนำเขา 108 ลิกไนต 21 ไฟฟา 233 อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) การใช 4.6 น้ำมันสำเร็จรูป 2.2 กาซธรรมชาติ 24.5 ถานหินนำเขา 19.3 ลิกไนต -28.9 ไฟฟา 4.5
หนวย : เทียบเทาพันบารเรลน้ำมันดิบ/วัน
2551 1,098 629 87 125 20 236
2552 1,133 640 106 131 20 237
2553 1,192 650 123 138 19 262
2554 (ม.ค.-มิ.ย.) 1,259 680 148 147 20 264
0.9 -3.5 18.1 15.6 -1.9 1.3
3.2 1.8 21.1 4.4 -3.6 0.3
5.2 1.4 16.8 5.4 -1.2 10.4
4.6 3.2 23.0 4.9 3.4 -0.4
อัตราการขยายตัวของการใชพลังงานเชิงพาณิชยขั้นสุดทาย (เดือนมกราคม 2550-มิถุนายน 2554)
มูลคาการนำเขาพลังงาน ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 มี มู ล ค า การนำเข า ทั้ ง หมด 606 พั น ล า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น จากช ว งเดี ย วกั น ของป ก อ นร อ ยละ 26.5 มู ล ค า การนำเขาพลังงานเพิ่มขึ้นทุกประเภท โดยน้ำมันดิบซึ่งมี สัดสวนรอยละ 80 ของมูลคาการนำเขาทั้งหมดมีมูลคา การนำเขา 483 พันลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 27.3 ซึ่งสวน หนึ่งเปนผลจากราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกที่สูงขึ้นเพราะ
ปญหาความไมสงบภายในประเทศของผูผลิตน้ำมันหลาย ประเทศ โดยราคาน้ำมันดิบเฉลี่ยในชวง 6 เดือนแรกของ ป 2554 อยูที่ระดับ 109 เหรียญสหรัฐตอบารเรล เพิ่มขึ้น 31 เหรียญสหรัฐตอบารเรล จากชวงเดียวกันของปกอน นอกจากนี้ ประเทศไทยเริ่มมีการนำเขากาซธรรมชาติเหลว (LNG) ตั้ ง แต เ ดื อ นพฤษภาคม 2554 คิ ด เป น มู ล ค า 3 พันลานบาท ในชวง 6 เดือนแรกของปนี้
มูลคาการนำเขาพลังงาน
หนวย : พันลานบาท
ชนิด
2553
น้ำมันดิบ น้ำมันสำเร็จรูป กาซธรรมชาติ ถานหิน ไฟฟา กาซธรรมชาติเหลว (LNG) รวม
752 69 84 39 8 952
20 • นโยบายพลังงาน
2554 (ม.ค.-มิ.ย.) 483 46 44 23 7 3 606
2554 (ม.ค.-มิ.ย.) การเปลี่ยนแปลง (%) สัดสวน (%) 27.3 80 30.1 7 6.5 7 16.0 4 103.4 1 1 26.5 100
5. น้ำมันดิบและคอนเดนเสท การผลิตน้ำมันดิบและคอนเดนเสท ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 มีปริมาณ 230 พันบารเรลตอวัน ลดลงจาก ชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 5.6 คิดเปนสัดสวนรอยละ 24 ของปริมาณความตองการใชในโรงกลั่น การผลิตน้ำมันดิบ ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ระดับ 140 พันบารเรลตอวัน ลดลงจากชวงเดียวกันของ ปกอนรอยละ 10.3 การผลิตคอนเดนเสท ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ระดับ 90 พันบารเรลตอวัน เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกัน ของปกอนรอยละ 2.9
การผลิตน้ำมันดิบ แหลง Big Oil Project* เบญจมาศ สิริกิติ์ จัสมิน สงขลา บัวหลวง ทานตะวัน บานเย็น นาสนุน ชบา อื่น ๆ รวมในประเทศ
หนวย : บารเรล/วัน
ผูผ ลิต
2553
Chevron Thailand E&P Chevron Offshore PTTEP Pearl Oil NU Coastal SOGO Thailand Chevron Offshore Pearl Oil Pan Orient Resources Chevron Offshore PTTEP, Chevron Offshore, Chevron Thailand E&P, Chevron Pattanee, SINO US Petroleum, Pacific Tiger Energy
36,998 26,665 21,808 13,868 7,926 8,327 3,860 3,891 6,689 3,739 19,403 153,174
2554 (ม.ค.-มิ.ย.) ปริมาณ สัดสวน (%) 31,196 22 27,633 20 22,716 16 13,024 9 7,752 6 6,266 4 5,361 4 4,876 3 2,637 2 2,634 2 15,754 11 139,849
100
* BIG OIL PROJECT ของบริษัท ยูโนเเคล (เดิม) ประกอบดวย แหลงปลาทอง ปลาหมึก กะพง สุราษฎร และยะลา
การนำเขาและสงออก ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 มีการนำเขาน้ำมันดิบอยูที่ระดับ 802 พันบารเรล ตอวัน ลดลงจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 1.9 โดย ส ว นใหญ ร อ ยละ 72 เป น การนำเข า จากกลุ ม ประเทศ ตะวันออกกลาง รองลงมารอยละ 7 นำเขาจากกลุมประเทศ ตะวั น ออกไกล และร อ ยละ 21 นำเข า จากที่ อื่ น ๆ และ การส ง ออกน้ ำ มั น ดิ บ อยู ที่ ร ะดั บ 36 พั น บาร เ รลต อ วั น เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 27.2
www.eppo.go.th • 21
การจัดหาและการใชน้ำมันดิบ ป
น้ำมันดิบ คอนเดนเสท 2549 129 75 2550 135 79 2551 144 85 2552 154 84 2553 153 89 2554 (ม.ค.-มิ.ย.) 140 90 อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) 2550 4.4 4.8 2551 7.3 8.0 2552 6.7 -1.4 2553 -0.6 5.6 2554 (ม.ค.-มิ.ย.) -10.3 2.9
หนวย : พันบารเรล/วัน
การจัดหา รวม 204 213 229 238 242 230 4.5 7.2 4.0 1.6 -5.6
กำลังการกลั่นน้ำมันดิบ ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 มี ค วามสามารถในการกลั่ น รวมทั้ ง สิ้ น 1,117 พันบารเรลตอวัน โดยไทยออยล (TOC) มีกำลังการกลั่น 275 พันบารเรลตอวัน ไออารพีซี (IRPC) มีกำลังการกลั่น 215 พันบารเรลตอวัน เอสโซ (ESSO) และ ปตท.อะโรเมติกส และการกลั่ น (PTTAR) มี ก ำลั ง การกลั่ น เท า กั น ที่ 170 พั น บาร เ รลต อ วั น สตาร ป โ ตรเลี ย ม (SPRC) มี ก ำลั ง การกลั่น 150 พันบารเรลตอวัน บางจาก (BCP) มีกำลัง การกลั่น 120 พันบารเรลตอวัน และระยองเพียวริฟายเออร (RPC) มีกำลังการกลั่น 17 พันบารเรลตอวัน
นำเขา 829 804 812 803 816 802
รวมทั้งสิ้น 1,034 1,018 1,040 1,041 1,058 1,032
-3.0 0.9 -1.0 1.6 -1.9
-1.5 2.2 0.1 1.6 -2.7
-20.5 -11.9 -10.5 -27.1 27.2
การใช ใชในโรงกลั่น 925 921 928 937 962 948 -0.5 0.8 0.9 2.7 -0.8
การใชน้ำมันดิบเพื่อการกลั่น ในชวง 6 เดือนแรก ของป 2554 อยูที่ระดับ 948 พันบารเรลตอวัน คิดเปน สั ด ส ว นร อ ยละ 85 ของความสามารถในการกลั่ น ทั่วประเทศ ซึ่งลดลงเล็กนอยจากชวงเดียวกันของปกอน คิดเปนรอยละ 0.8 เนื่องจากมีการปดซอมบำรุงโรงกลั่น น้ ำ มั น ของ PTTAR (AR-2) ซึ่ ง ป ด ซ อ มบำรุ ง ในช ว งวั น ที่ 20 มิถุนายน–6 กรกฎาคม 2554
การใชกำลังการกลั่นของประเทศ (เดือนมกราคม-มิถุนายน 2554)
22 • นโยบายพลังงาน
สงออก 65 52 46 41 30 36
6. กาซธรรมชาติ การจัดหากาซธรรมชาติ ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 มีการจัดหารวมทั้งประเทศอยูที่ระดับ 4,631 ลานลูกบาศก ฟุตตอวัน เพิ่มขึ้นรอยละ 7.9 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยที่สัดสวนรอยละ 81 เปนการผลิตภายในประเทศ และที่เหลือรอยละ 19 เปนการนำเขา การผลิตกาซธรรมชาติ ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 การผลิตภายในประเทศอยูที่ระดับ 3,738 ลานลูกบาศก ฟุตตอวัน เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 8.6 เนื่องจากแหลงมรกตซึ่งเปนแหลงกาซธรรมชาติแหลงใหมของ ปตท.เริ่มทำการผลิตไดตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2554 และแหลง JDA เพิ่มกำลังการผลิตมากขึ้น การนำเขากาซธรรมชาติ ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ระดับ 893 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน เพิ่มขึ้นจาก ชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 4.9 เนื่องจากเริ่มมีการนำเขา LNG ตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2554 จากประเทศกาตารและ รัสเซีย ซึ่งคิดเปนสัดสวนรอยละ 1 ของปริมาณการจัดหาทั้งหมด
การจัดหากาซธรรมชาติ แหลง แหลงผลิตภายในประเทศ แหลงอาวไทย บงกช เจดีเอ ไพลิน อาทิตย เอราวัณ ฟูนานและจักรวาล ยะลา โกมินทร เบญจมาศ สตูล อื่น ๆ แหลงบนบก ภูฮอม สิริกิติ์ น้ำพอง แหลงนำเขา* ยาดานา เยตากุน LNG รวม
หนวย : ลานลูกบาศกฟุต/วัน
ผูผ ลิต
PTTEP องคกรรวมฯ Chevron E&P PTTEP Chevron E&P Chevron E&P Chevron E&P Chevron E&P Chevron Offshore Chevron E&P Chevron E&P Amerada PTTEP Exxon Mobil สหภาพพมา สหภาพพมา กาตารและรัสเซีย
2553 3,511 3,343 596 649 430 501 256 199 95 85 76 82 374 168 87 63 18 853 434 419 4,364
2554 (ม.ค.-มิ.ย.) ปริมาณ สัดสวน (%) 3,738 81 3,574 77 631 14 773 17 444 10 488 11 243 5 179 4 68 1 94 2 81 2 111 2 462 10 165 4 98 2 50 1 17 0.4 893 19 431 9 406 9 56 1 4,631 100
* คาความรอนของกาซธรรมชาติจากพมา เทากับ 1,000 บีทียูตอลูกบาศกฟุต
การใชกาซธรรมชาติ ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ระดับ 4,219 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน เพิ่มขึ้นจากชวง เดียวกันของปกอนรอยละ 7.5 โดยเปนการใชเพื่อผลิตไฟฟาคิดเปนสัดสวนรอยละ 61 ของการใชทั้งหมด อยูที่ระดับ 2,555 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน ลดลงรอยละ 6.3 ใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปโตรเคมีและอื่น ๆ (โพรเพน อีเทน และ LPG) คิดเปนสัดสวนรอยละ 21 อยูที่ระดับ 886 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน เพิ่มขึ้นรอยละ 58.2 ใชเปนเชื้อเพลิงในโรงงาน อุตสาหกรรม คิดเปนสัดสวนรอยละ 13 อยูที่ระดับ 550 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน เพิ่มขึ้นรอยละ 17.8 และที่เหลือรอยละ 5 ถูกนำไปใชเพื่อเปนเชื้อเพลิงสำหรับรถยนต (NGV) โดยเพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปที่แลวรอยละ 34.9 อยูที่ระดับ 228 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน www.eppo.go.th • 23
การใชกาซธรรมชาติรายสาขา** สาขา การใช ผลิตไฟฟา * อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมปโตรเคมีและอื่น ๆ เชื้อเพลิงสำหรับรถยนต (NGV)
หนวย : ลานลูกบาศกฟุต/วัน
2551
2552
2553
3,444 2,423 361 583 77
3,564 2,435 387 599 143
4,039 2,728 478 652 181
2554 (ม.ค.-มิ.ย.) ปริมาณ เปลี่ยนแปลง (%) สัดสวน (%) 4,219 7.5 100 2,555 -6.3 61 550 17.8 13 886 58.2 21 228 34.9 5
* ใชใน EGAT, EGGO, ราชบุรี (IPP), IPP, SPP ** คาความรอนเทากับ 1,000 บีทียูตอลูกบาศกฟุต
สัดสวนการใชกาซธรรมชาติ
7. กาซโซลีนธรรมชาติ (NGL) การผลิตกาซโซลีนธรรมชาติ (NGL) ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ระดับ 16,706 บารเรลตอวัน เพิ่มขึ้น จากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 31.1 โดยนำไปใชในอุตสาหกรรมตัวทำละลาย (Solvent) ภายในประเทศปริมาณ 14,547 บารเรลตอวัน คิดเปนสัดสวนรอยละ 87 ของการผลิตทั้งหมด ที่เหลือรอยละ 13 สงออกไปจำหนายยังประเทศ สิงคโปร จำนวน 2,159 บารเรลตอวัน
การผลิต การสงออก และการใช NGL รายการ
2553
การผลิต การสงออก การใชภายในประเทศ
13,962 2,322 11,639
24 • นโยบายพลังงาน
ปริมาณ 16,706 2,159 14,547
2554 (ม.ค.-มิ.ย.) การเปลี่ยนแปลง (%) 31.1 2.3 36.8
หนวย : บารเรล/วัน
สัดสวน (%) 100 13 87
8. ผลิตภัณฑน้ำมันสำเร็จรูป การผลิตน้ำมันสำเร็จรูป ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ระดับ 957 พันบารเรลตอวัน เพิ่มขึ้นจากชวง เดียวกันของปกอนรอยละ 1.4 โดยการผลิตน้ำมันดีเซล เพิ่มขึ้นรอยละ 0.6 และกาซปโตรเลียมเหลวเพิ่มขึ้นรอยละ 12.4 ในขณะที่การผลิตน้ำมันเบนซินลดลงรอยละ 2.6 น้ ำ มั น เครื่ อ งบิ น ลดลงร อ ยละ 0.7 และน้ ำ มั น เตาลดลง รอยละ 5.6
เพิ่มขึ้นรอยละ 1.0 น้ำมันดีเซลเพิ่มขึ้นรอยละ 3.4 น้ำมัน เครื่องบินเพิ่มขึ้นรอยละ 10.9 และกาซปโตรเลียมเหลว เพิ่มขึ้นรอยละ 9.1 ในขณะที่การใชน้ำมันเตาลดลงรอยละ 12.8
การนำเข า และส ง ออกน้ ำ มั น สำเร็ จ รู ป ในช ว ง 6 เดือนแรกของป 2554 มีการนำเขาน้ำมันสำเร็จรูปอยูที่ ระดับ 49 พันบารเรลตอวัน ลดลงจากชวงเดียวกันของ การใชน้ำมันสำเร็จรูป ในชวง 6 เดือนแรกของป ปกอนรอยละ 13.8 ดานการสงออกมีปริมาณลดลงจาก 2554 อยูที่ระดับ 739 พันบารเรลตอวัน เพิ่มขึ้นจากชวง ช ว งเดี ย วกั น ของป ก อ นร อ ยละ 11.5 อยู ที่ ร ะดั บ 157 เดียวกันของปกอนรอยละ 3.8 โดยการใชน้ำมันเบนซิน พันบารเรลตอวัน โดยมีรายละเอียดของน้ำมันแตละชนิด ดังนี้
การผลิต การใช การนำเขา และการสงออกน้ำมันสำเร็จรูป (เดือนมกราคม-มิถุนายน 2554) เบนซิน เบนซิน 91 เบนซิน 95 แกสโซฮอล 91 แกสโซฮอล 95 ดีเซล ไบโอดีเซล B5 น้ำมันกาด น้ำมันเครื่องบิน น้ำมันเตา กาซปโตรเลียมเหลว * รวม
การใช 128 49 1 33 46 340 24 0.2 90 42 140 739
ปริมาณ (พันบารเรล/วัน) การผลิต การนำเขา การสงออก 146 0.3 16 61 12 5 4 33 47 400 1 63 23 3 2 106 0.3 14 103 4 62 199 44 0.4 957 49 157
การใช 1.0 -3.5 -61.7 27.0 -5.6 3.4 -81.6 -30.5 10.9 -12.8 9.1 3.8
การเปลี่ยนแปลง (%) การผลิต การนำเขา การสงออก -2.6 -30.5 -3.8 -15.0 -57.1 -53.6 27.5 -3.2 0.6 10.8 -11.8 -82.0 19.4 72.0 -0.7 428.7 -38.0 -5.6 87.0 6.2 12.4 -18.9 -48.8 1.4 -13.8 -11.5
* ไมรวมการใชเพื่อเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปโตรเคมี
อัตราการขยายตัวของการใชน้ำมันสำเร็จรูป (เดือนมกราคม 2550-มิถุนายน 2553)
www.eppo.go.th • 25
• น้ำมันเบนซิน การผลิตน้ำมันเบนซิน ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ระดับ 146 พันบารเรลตอวัน ลดลงจากชวง เดียวกันของปกอนรอยละ 2.6 โดยเบนซิน 91 ผลิตได 61 พันบารเรลตอวัน ลดลงรอยละ 3.8 เบนซิน 95 ผลิตได 5 พันบารเรลตอวัน ลดลงรอยละ 57.1 และแกสโซฮอล 95 ผลิตได 47 พันบารเรลตอวัน ลดลงรอยละ 3.2 ในขณะที่ แก ส โซฮอล 91 ผลิ ต ได 33 พั น บาร เ รลต อ วั น เพิ่ ม ขึ้ น รอยละ 27.5
แกสโซฮอล 95 อยูที่ระดับ 46 พันบารเรลตอวัน ลดลง รอยละ 5.6 ทั้งนี้ การใชน้ำมันเบนซินเกือบทุกประเภท ลดลงจากชวงเดียวกันของปกอน โดยเฉพาะอยางยิ่งเบนซิน 95 ที่มีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่องจากการสงเสริมการใช แกสโซฮอลโดยใชมาตรการดานราคาของรัฐบาล สงผลให ราคาขายปลี ก เฉลี่ ย เบนซิ น 95 สู ง กว า ราคาขายปลี ก แกสโซฮอลอยูมาก ทั้งนี้ ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2554 มี สถานีจำหนายแกสโซฮอล 95 (E20) จำนวน 723 แหง และแกสโซฮอล 95 (E85) จำนวน 23 แหง โฟดยแบงเปน การใช น้ ำ มั น เบนซิ น ในช ว ง 6 เดื อ นแรกของป ของ ปตท. 6 แหง และบางจาก 17 แหง 2554 อยูที่ระดับ 128 พันบารเรลตอวัน เพิ่มขึ้นจากชวง การนำเขาและสงออกน้ำมันเบนซิน ในชวง 6 เดือน เดียวกันของปกอนรอยละ 1.0 โดยการใชแกสโซฮอล 91 เพิ่มขึ้นรอยละ 27.0 จากชวงเดียวกันของปกอน อยูที่ระดับ แรกของป 2554 การนำเขาอยูที่ระดับ 0.3 พันบารเรลตอ 33 พันบารเรลตอวัน ในขณะที่การใชเบนซิน 91 อยูที่ วัน การสงออกอยูที่ระดับ 16 พันบารเรลตอวัน โดยแบง ระดับ 49 พันบารเรลตอวัน ลดลงรอยละ 3.5 เบนซิน 95 เปนการสงออกเบนซิน 91 อยูที่ระดับ 12 พันบารเรลตอ อยูที่ระดับ 1 พันบารเรลตอวัน ลดลงถึงรอยละ 61.7 และ วัน และเบนซิน 95 อยูที่ระดับ 4 พันบารเรลตอวัน
อัตราการขยายตัวของการใชน้ำมันเบนซิน (เดือนมกราคม 2550-มิถุนายน 2554)
การผลิตเอทานอล ปจจุบันมีโรงงานผลิตเอทานอลที่ไดรับอนุญาตแลวทั้งสิ้น 47 โรง มีกำลังการผลิตรวมทั้งสิ้น 12.30 ลานลิตรตอวัน แตมีโรงงานที่เดินระบบแลวเพียง 19 โรง ทำใหมีกำลังการผลิตรวม 2.93 ลานลิตรตอวัน หรืออยูที่ระดับ 18 พันบารเรลตอวัน มีการผลิตเอทานอลเพื่อใชเปนพลังงาน 1.42 ลานลิตรตอวัน หรืออยูที่ระดับ 9 พันบารเรลตอวัน โดยราคาเฉลี่ยเอทานอลในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ราคา 25.58 บาทตอลิตร
• น้ำมันดีเซล การผลิตน้ำมันดีเซล ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ระดับ 400 พันบารเรลตอวัน เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกัน ของปกอนรอยละ 0.6 การใชน้ำมันดีเซล ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ระดับ 340 พันบารเรลตอวัน เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของ ปกอนรอยละ 3.4
26 • นโยบายพลังงาน
การนำเขาและสงออกน้ำมันดีเซล ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 การนำเขาอยูที่ระดับ 1 พันบารเรลตอวัน เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 10.8 สวนการสงออกอยูที่ระดับ 63 พันบารเรลตอวัน ลดลงจากชวงเดียวกัน ของปกอนรอยละ 11.8
อัตราการขยายตัวของการใชน้ำมันดีเซล (เดือนมกราคม 2550-มิถุนายน 2554)
การผลิตไบโอดีเซล บี 100 ปจจุบันมีโรงงานผลิตที่ • น้ำมันเตา ไดคุณภาพตามประกาศของกรมธุรกิจพลังงาน จำนวน 15 ราย มีกำลังการผลิตรวม 6.0 ลานลิตรตอวัน หรือประมาณ การผลิตน้ำมันเตา ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 38 พันบารเรลตอวัน อยู ที่ ร ะดั บ 103 พั น บาร เ รลต อ วั น ลดลงร อ ยละ 5.6 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน การผลิตไบโอดีเซล บี 5 (น้ำมันดีเซลหมุนเร็วผสม ไบโอดีเซลรอยละ 5) ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 การใชน้ำมันเตา ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 การผลิตไบโอดีเซล บี 5 อยูที่ระดับ 23 พันบารเรลตอวัน อยูที่ระดับ 42 พันบารเรลตอวัน ลดลงจากชวงเดียวกันของ ลดลงจากชวงเดียวกันของปกอนถึงรอยละ 82.0 เนื่องจาก ปกอนรอยละ 12.8 โดยสวนใหญใชเปนเชื้อเพลิงในภาค ปญหาน้ำมันปาลมดิบขาดแคลนในชวงตนป 2554 สงผล อุ ต สาหกรรม อยู ที่ ร ะดั บ 37 พั น บาร เ รลต อ วั น ลดลง ใหตั้งแตวันที่ 1 กุมภาพันธ 2554 เปนตนมา รัฐบาลมี รอยละ 17.5 ที่เหลือเปนการใชเปนเชื้อเพลิงในการผลิต นโยบายปรับลดสัดสวนการนำไบโอดีเซล บี 100 ผสมใน ไฟฟ า 4 พั น บาร เ รลต อ วั น เพิ่ ม ขึ้ น ถึ ง ร อ ยละ 76.6 น้ ำ มั น ดี เ ซลหมุ น เร็ ว จากเดิ ม ที่ มี ก ารผสมเป น ไบโอดี เ ซล เนื่องจากในชวงเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม 2554 บี 3 และ บี 5 ใหเหลือเพียงไบโอดีเซล บี 2 เพื่อแกไข แหล ง ก า ซธรรมชาติ ได แ ก แหล ง อาทิ ต ย และแหล ง ป ญ หาดั ง กล า ว หลั ง จากนั้ น เมื่ อ ป ญ หาน้ ำ มั น ปาล ม ดิ บ JDA-B17 ปดซอมบำรุง ประกอบกับแทนผลิตของบริษัท ขาดแคลนเริ่มคลี่คลาย ตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม 2554 ปตท. จำกัด (มหาชน) ในอาวไทยหยุดซอมบำรุง รวมทั้ง รัฐบาลมีนโยบายใหผูผลิตสามารถปรับสัดสวนในการนำ อุบัติเหตุทอกาซในอาวไทยรั่วตั้งแตปลายเดือนมิถุนายน ไบโอดีเซล บี 100 ผสมในน้ำมันดีเซลหมุนเร็วไดตั้งแต 2554 สงผลใหมีการใชน้ำมันเตาในการผลิตไฟฟาเพิ่มขึ้น รอยละ 3 ถึงรอยละ 5 ขึ้นอยูกับปริมาณน้ำมันปาลมใน เพื่อทดแทนกาซธรรมชาติที่ขาดหายไป ชวงนั้น การนำเขาและสงออกน้ำมันเตา ในชวง 6 เดือน การใชไบโอดีเซล บี 5 ในชวง 6 เดือนแรกของป แรกของป 2554 มีการนำเขาอยูที่ระดับ 4 พันบารเรล 2554 อยู ที่ ร ะดั บ 24 พั น บาร เ รลต อ วั น ลดลงจากช ว ง ตอวัน เพิ่มขึ้นถึงรอยละ 87.0 โดยสวนใหญใชในการผลิต เดี ย วกั น ของป ก อ นถึ ง ร อ ยละ 81.6 เนื่ อ งจากการผลิ ต ไฟฟาเพื่อทดแทนกาซธรรมชาติในชวงที่เกิดเหตุการณทอ ไบโอดี เ ซล บี 5 ที่ ล ดลงจากป ญ หาน้ ำ มั น ปาล ม ดิ บ กาซในอาวไทยรั่ว นอกจากนี้ มีการสงออกน้ำมันเตาอยูที่ ขาดแคลน ระดั บ 62 พั น บาร เ รลต อ วั น ซึ่ ง ส ว นใหญ เ ป น น้ ำ มั น เตา Grade 5 ที่มีปริมาณเกินความตองการใชภายในประเทศ www.eppo.go.th • 27
• น้ำมันเครื่องบิน การผลิตน้ำมันเครื่องบิน ในชวง 6 เดือนแรกของป ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น โดยเฉพาะนั ก ท อ งเที่ ย วกลุ ม เอเชี ย ตะวั น ออก 2554 อยูที่ระดับ 106 พันบารเรลตอวัน ลดลงจากชวง ซึ่งสงผลใหสาขาขนสงและคมนาคมขยายตัวรอยละ 4.8 ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 เดียวกันของปกอนรอยละ 0.7 การนำเข า และส ง ออกน้ ำ มั น เครื่ อ งบิ น ในช ว ง การใชน้ำมันเครื่องบิน ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ระดับ 90 พันบารเรลตอวัน เพิ่มขึ้นจากชวง 6 เดื อ นแรกของป 2554 มี ก ารนำเข า อยู ที่ ร ะดั บ 0.3 เดียวกันของปกอนรอยละ 10.9 เปนผลจากการขนสงทาง พันบารเรลตอวัน และมีการสงออกอยูที่ระดับ 14 พันบารเรล อากาศและทางบกที่ขยายตัวสูงขึ้นจากจำนวนนักทองเที่ยว ตอวัน
• กาซปโตรเลียมเหลว (LPG) โพรเพน และบิวเทน การผลิต LPG ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ ระดับ 2,756 พันตัน เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอน รอยละ 33.5 โดยเปนการผลิตจากโรงแยกกาซอยูที่ระดับ 1,655 พันตัน เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 43.5 เนื่องจากโรงแยกกาซหนวยที่ 6 ของ ปตท. สามารถ ผลิต LPG ไดเกือบเต็มกำลังผลิตตั้งแตเดือนมีนาคม 2554 รวมทั้งในชวงเดือนกุมภาพันธถึงเดือนมิถุนายน 2553 มี การทยอยปดซอมบำรุงโรงแยกกาซ ปตท. หนวยที่ 1-3 ทำใหการผลิต LPG จากโรงแยกกาซในชวงเดียวกันของป กอนมีปริมาณต่ำกวาปกติ นอกจากนี้ ในสวนของการผลิต LPG จากโรงกลั่นน้ำมันอยูที่ระดับ 1,001 พันตัน เพิ่มขึ้น รอยละ 15.8 เนื่องจากนโยบายของรัฐบาลที่สนับสนุนให โรงกลั่นน้ำมันผลิต LPG เขาสูระบบมากขึ้น
สัดสวนการใช LPG
28 • นโยบายพลังงาน
การใช LPG ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ ระดับ 3,405 พันตัน เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอน รอยละ 20.1 โดยสาขาที่มีการใชสูงที่สุด คือ ภาคครัวเรือน คิดเปนรอยละ 38 ของปริมาณการใชทั้งหมด รองลงมาคือ อุ ต สาหกรรมป โ ตรเคมี คิด เป น ร อ ยละ 33 ของปริมาณ การใชทั้งหมด สวนการใชในรถยนตคิดเปนสัดสวนรอยละ 12 ของปริมาณการใชทั้งหมด มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 30.5 เนื่องจากราคา LPG ที่ต่ำกวาราคาน้ำมันเบนซินและ ดีเซลสงผลใหผูใชรถยนตหันไปใช LPG มากขึ้น การนำเขาและสงออก LPG ในชวง 6 เดือนแรกของ ป 2554 มีการนำเขาในรูปแบบของ LPG โพรเพน และ บิวเทน อยูที่ระดับ 679 พันตัน ลดลงจากชวงเดียวกันของ ปกอนรอยละ 18.9 และมีการสงออกอยูที่ระดับ 7 พันตัน โดยสวนใหญสงออกไปประเทศเพื่อนบาน ไดแก มาเลเซีย กัมพูชา ลาว และพมา ตามลำดับ
การผลิตและการใช LPG โพรเพน และบิวเทน การจัดหา - การผลิต โรงแยกกาซ โรงกลั่นน้ำมัน อื่น ๆ - การนำเขา ความตองการ - การใช ครัวเรือน อุตสาหกรรม รถยนต อุตสาหกรรมปโตรเคมี ใชเอง - การสงออก
2552
2553
5,217 4,463 2,622 1,766 75 753 5,223 5,208 2,231 586 666 1,289 435 15
6,061 4,412 2,603 1,726 83 1,649 5,968 5,943 2,435 769 680 1,592 466 25
• การใช พ ลั ง งานในการขนส ง ทางบก ในช ว ง 6 เดือนแรกของป 2554 การใชพลังงานอยูที่ระดับ 10,219 พั น ตั น เที ย บเท า น้ ำ มั น ดิ บ ซึ่ ง ส ว นใหญ เ ป น การใช น้ ำ มั น ดี เ ซลคิ ด เป น สั ด ส ว นร อ ยละ 59 ของการใช พ ลั ง งานใน การขนสงทางบก รองลงมาคือการใชน้ำมันเบนซินคิดเปน สัดสวนรอยละ 27 ของการใชพลังงานในการขนสงทางบก นอกจากนี้ ในสวนของการใช LPG ในรถยนตและการใช NGV พบวามีการใชเพิ่มสูงขึ้นเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอน ดังนี้
ม.ค.-มิ.ย. 2553 2554 2,901 3,435 2,064 2,756 1,154 1,655 864 1,001 46 100 838 679 2,849 3,412 2,837 3,405 1,177 1,286 370 389 325 424 724 1,116 240 191 13 7
หนวย : พันตัน
อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) 2553 2554 (ม.ค.-มิ.ย. ) 16.2 18.4 -1.1 33.5 -0.7 43.5 -2.3 15.8 10.5 116.5 118.9 -18.9 14.3 19.7 14.1 20.1 9.2 9.3 31.3 5.1 2.1 30.5 23.5 54.0 7.1 -20.7 63.3 -49.0
การใช NGV เพิ่มขึ้นรอยละ 34.8 เนื่องจากนโยบาย การส ง เสริ ม การใช NGV ของภาครั ฐ ประกอบกั บ ราคา น้ ำ มั น ที่ ป รั บ ตั ว สู ง ขึ้ น ทำให ป ระชาชนบางส ว นตั ด สิ น ใจ หันมาติดเครื่องยนต NGV กันมากขึ้น ทั้งนี้ ณ สิ้นเดือน มิ ถุ น ายน 2554 มี จ ำนวนรถยนต ที่ ติ ด ตั้ ง NGV ทั้ ง สิ้ น 267,698 คัน โดยทดแทนน้ำมันเบนซินรอยละ 16.2 และ ทดแทนน้ำมันดีเซลรอยละ 5.1 และมีจำนวนสถานีบริการ NGV ทั้ ง หมด 444 สถานี อยู ใ นเขตกรุ ง เทพฯ และ ปริมณฑล 227 สถานี และตางจังหวัด 217 สถานี
การใช LPG ในรถยนต เพิ่มขึ้นรอยละ 30.5 ทั้งนี้ ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2554 มีรถที่ใช LPG จำนวน 25,317 คัน รวมทั้งมีรถที่ใช LPG รวมกับน้ำมันเบนซิน 727,465 คัน และใช LPG รวมกับน้ำมันดีเซล 5,576 คัน โดยมี สถานีบริการ LPG ทั่วประเทศจำนวน 1,063 สถานี
www.eppo.go.th • 29
การใชพลังงานในการขนสงทางบก
เบนซิน ดีเซล LPG NGV รวม
หนวย : พันตันเทียบเทาน้ำมันดิบ
การเปลี่ยนแปลง (%)
2550
2551
2552
2553
2554 (ม.ค.-มิ.ย.)
2552
2553
5,466 11,703 667 215 18,052
5,305 10,802 905 692 17,705
5,606 11,401 778 1,282 19,067
5,526 11,291 794 1,623 19,234
2,742 5,970 494 1,013 10,219
5.7 5.5 -14.1 85.2 7.7
-1.4 -1.0 2.1 26.6 0.9
2554 (ม.ค.-มิ.ย.) 1.1 3.5 30.5 34.8 6.3
9. ถานหิน/ลิกไนต • การจัดหาลิกไนต/ถานหิน ในชวง 6 เดือนแรก • การใชลิกไนต/ถานหิน ในชวง 6 เดือนแรกของป ของป 2554 มีปริมาณการจัดหาอยูที่ระดับ 8,261 พันตัน 2554 มีปริมาณการใชอยูที่ระดับ 8,335 พันตันเทียบเทา เที ย บเท า น้ ำ มั น ดิ บ เพิ่ ม ขึ้ น จากช ว งเดี ย วกั น ของป ก อ น น้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 5.5 รอยละ 4.4 การใชลิกไนต ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ การผลิตลิกไนต ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 มี ระดับ 2,699 พันตันเทียบเทาน้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นจากชวง ปริมาณ 2,625 พันตันเทียบเทาน้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นจากชวง เดียวกันของปกอนรอยละ 8.7 โดยรอยละ 81 ของปริมาณ เดียวกันของปกอนรอยละ 2.6 โดยรอยละ 83 ของการผลิต การใชลิกไนต เปนการใชในภาคการผลิตไฟฟาของ กฟผ. ลิ ก ไนต ใ นประเทศผลิ ต จากเหมื อ งแม เ มาะของ กฟผ. สวนที่เหลือรอยละ 19 นำไปใชภาคอุตสาหกรรมตาง ๆ จำนวน 2,183 พันตันเทียบเทาน้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นรอยละ เชน การผลิตปูนซีเมนต กระดาษ อุตสาหกรรมอาหาร และ 8.8 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน การผลิตลิกไนต อื่น ๆ เปนตน จากเหมืองแมเมาะจะนำไปใชในการผลิตไฟฟาที่โรงไฟฟา แมเมาะทั้งหมด สวนที่เหลือรอยละ 17 เปนการผลิตจาก การใช ถ า นหิ น นำเข า ในช ว ง 6 เดื อ นแรกของป เหมื อ งเอกชน จำนวน 442 พั น ตั น เที ย บเท า น้ ำ มั น ดิ บ 2554 อยู ที่ ร ะดั บ 5,636 พั น ตั น เที ย บเท า น้ ำ มั น ดิ บ ลดลงจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 19.8 เพิ่ ม ขึ้ น ร อ ยละ 4.1 โดยร อ ยละ 64 ของปริ ม าณการใช ถานหิน เปนการใชในภาคอุตสาหกรรม สวนที่เหลือรอยละ การนำเขาถานหิน ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 36 นำไปใช เ ป น เชื้ อ เพลิ ง ในการผลิ ต ไฟฟ า ของ SPP มีปริมาณ 5,636 พันตันเทียบเทาน้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นจาก และ IPP ชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 5.3
30 • นโยบายพลังงาน
การผลิตและการใชลิกไนต/ถานหิน
หนวย : พันตันเทียบเทาน้ำมันดิบ
2553 การจัดหา การผลิตลิกไนต การไฟฟาฝายผลิตฯ เหมืองเอกชน การนำเขาถานหิน ความตองการ การใชลิกไนต ผลิตกระแสไฟฟา อุตสาหกรรม การใชถานหิน ผลิตกระแสไฟฟา (SPP และ IPP) อุตสาหกรรม
15,489 4,938 3,960 978 10,551 15,478 4,927 3,964 962 10,551 3,669 6,882
ปริมาณ 8,261 2,625 2,183 442 5,636 8,335 2,699 2,195 504 5,636 2,001 3,635
2554 (ม.ค.-มิ.ย.) เปลี่ยนแปลง (%) 4.4 2.6 8.8 -19.8 5.3 5.5 8.7 9.9 3.4 4.1 2.6 4.9
สัดสวน (%) 100 83 17 100 81 19 100 36 64
10. ไฟฟา กำลังการผลิตติดตั้ง ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2554 มี จำนวนรวมทั้งสิ้น 31,447 เมกะวัตต เปนการผลิตติดตั้ง ของ กฟผ. 14,998 เมกะวัตต คิดเปนสัดสวนรอยละ 48 รับซื้อจาก IPP จำนวน 12,082 เมกะวัตต คิดเปนสัดสวน รอยละ 38 รับซื้อจาก SPP จำนวน 2,182 เมกะวัตต คิด เปนสัดสวนรอยละ 7 นำเขาจาก สปป.ลาว และแลกเปลี่ยน กับมาเลเซีย จำนวน 2,185 เมกะวัตต คิดเปนสัดสวน รอยละ 7
กำลังการผลิตติดตั้งแยกตามผูประกอบการผลิตไฟฟา ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2554 รวมทั้งสิ้น 31,447 MW
การผลิตพลังงานไฟฟา ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 มีการผลิตพลังงานไฟฟาจำนวน 81,227 กิกะวัตต ชั่ ว โมง ลดลงจากช ว งเดี ย วกั น ของป ก อ นร อ ยละ 1.8 เนื่องจากภาวะฝนตกหนักในหลายพื้นที่ของประเทศไทย สงผลใหความตองการใชไฟฟาในชวง 6 เดือนแรกของปนี้ ลดลง การผลิตพลังงานไฟฟาตามชนิดของเชื้อเพลิงที่สำคัญ ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 สรุปไดดังนี้ • การผลิ ต ไฟฟ า จากก า ซธรรมชาติ (รวม EGCO KEGCO ราชบุรี IPP และ SPP) คิดเปนสัดสวนรอยละ 68 ของปริ ม าณการผลิ ต ไฟฟ า ทั้ ง หมด อยู ที่ ร ะดั บ 55,188 กิกะวัตตชั่วโมง ลดลงจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 6.2 • การผลิ ต ไฟฟ า จากถ า นหิ น /ลิ ก ไนต คิ ด เป น สัดสวนรอยละ 20 อยูที่ระดับ 16,261 กิกะวัตตชั่วโมง เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 4.2 • การผลิตไฟฟาจากพลังน้ำ คิดเปนสัดสวนรอยละ 4 อยูที่ระดับ 3,051 กิกะวัตตชั่วโมง ลดลงจากชวงเดียวกัน ของปกอนรอยละ 12.2 • การนำเขาไฟฟาจาก สปป.ลาว ไฟฟาแลกเปลี่ยน กับมาเลเซีย และอื่น ๆ คิดเปนสัดสวนรอยละ 8 อยูที่ระดับ 6,207 กิกะวัตตชั่วโมง • การผลิตไฟฟาจากน้ำมันเตาและน้ำมันดีเซล คิด เปนสัดสวนรอยละ 0.6 อยูที่ระดับ 510 กิกะวัตตชั่วโมง
www.eppo.go.th • 31
การผลิตไฟฟาแยกตามชนิดเชื้อเพลิง (เดือนมกราคม-มิถุนายน 2554)
ความตองการไฟฟาและคาตัวประกอบการใชไฟฟา ป 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 (ม.ค.-มิ.ย.)
32 • นโยบายพลังงาน
ความตองการไฟฟาสูงสุด (เมกะวัตต) 18,121 19,326 20,538 21,064 22,586 22,568 22,596 24,630 24,518
คาตัวประกอบการใชไฟฟา (รอยละ) 73.9 71.6 74.9 76.9 74.3 74.8 73.4 75.9 76.3
ความตองการไฟฟาสูงสุด (Gross Peak Generation) ของปนี้เกิดขึ้นเมื่อวันอังคารที่ 24 พฤษภาคม 2554 เวลา 14.00 น. อยูที่ระดับ 24,518 เมกะวัตต โดยต่ำกวา Peak ของป 2553 ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อวันจันทรที่ 10 พฤษภาคม 2554 เวลา 14.00 น. ที่ ร ะดั บ 24,630 เมกะวั ต ต อยู 112 เมกะวัตต หรือคิดเปนลดลงรอยละ 0.5
การใชไฟฟา ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 มีการใช ไฟฟารวมทั้งสิ้น 74,129 กิกะวัตตชั่วโมง ลดลงรอยละ 0.9 จากชวงเดียวกันของปกอน โดยการใชไฟฟาในภาคครัวเรือน ลดลงรอยละ 6.5 เชนเดียวกับภาคเกษตรกรรมที่ลดลง รอยละ 12.1 เนื่องจากสถานการณฝนตกหนักในหลาย พื้นที่ของประเทศ ในขณะที่ภาคอุตสาหกรรมซึ่งเปนสาขา หลักที่มีการใชไฟฟาในระดับสูงคิดเปนสัดสวนรอยละ 46 ของการใชไฟฟาทั้งประเทศ มีการใชไฟฟาเพิ่มขึ้นรอยละ 2.7 และภาคธุรกิจมีการใชไฟฟาเพิ่มขึ้นรอยละ 0.9 โดยมี รายละเอียด ดังนี้
การใชไฟฟารายสาขา สาขา ครัวเรือน กิจการขนาดเล็ก ธุรกิจ อุตสาหกรรม สวนราชการและองคกร ที่ไมแสวงหากำไร เกษตรกรรม การใชไฟฟาที่ไมคิดมูลคา อื่น ๆ รวม
หนวย : กิกะวัตตชั่วโมง
2554 (ม.ค.-มิ.ย.) ปริมาณ เปลี่ยนแปลง (%) สัดสวน (%) 16,098 -6.5 22 7,631 -4.2 10 11,584 0.9 16 34,290 2.7 46
2551
2552
2553
28,691 13,730 21,052 64,148
30,257 14,342 21,341 60,874
33,216 15,586 23,005 67,952
4,392
4,677
5,049
2,324
-6.8
3
281 1,777 1,449 135,520
318 1,843 1,530 135,181
335 2,034 2,123 149,301
215 1,048 940 74,129
-12.1 4.8 -11.8 -0.9
0.3 1 1 100
การใชไฟฟาในเขตนครหลวง ในชวง 6 เดือนแรก ของป 2554 อยูที่ระดับ 22,006 กิกะวัตตชั่วโมง ลดลง จากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 3.3 โดยกลุมผูใชไฟฟาที่ มีการใชลดลงเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ไดแก ภาคครัวเรือน สวนราชการและองคกรที่ไมแสวงหากำไร และกิจการขนาดเล็ก ในขณะที่ภาคธุรกิจและภาคอุตสาหกรรม มีการใชเพิ่มขึ้นเล็กนอย การใชไฟฟาในเขตภูมิภาค ในชวง 6 เดือนแรกของ ป 2554 อยู ที่ ร ะดั บ 51,291 กิ ก ะวั ต ต ชั่ ว โมง เพิ่ ม ขึ้ น เล็กนอยจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 0.1 โดยกลุม ผูใชไฟฟาที่มีการใชลดลงเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป กอน ไดแก ภาคเกษตรกรรม สวนราชการและองคกรที่ไม แสวงหากำไร ภาคครัวเรือน และกิจการขนาดเล็ก ในขณะที่ ภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจมีการใชเพิ่มขึ้น
การใชไฟฟาภาคอุตสาหกรรม ในชวง 6 เดือนแรก ของป 2554 การใชไฟฟาในกลุมอุตสาหกรรมที่สำคัญสวน ใหญเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยปจจัยที่ ส ง ผลกระทบต อ การใช ไ ฟฟ า ในภาคอุ ต สาหกรรมมี ดั ง นี้ อุตสาหกรรมอาหารมีการใชไฟฟาเพิ่มขึ้นรอยละ 6.7 จาก การขยายตัวของการใชจายเพื่ออุปโภคบริโภคของครัวเรือน ในหมวดอาหารที่ ข ยายตั ว ร อ ยละ 3.1 อุ ต สาหกรรม พลาสติกมีการใชไฟฟาเพิ่มขึ้น 2.6 เนื่องจากการผลิตเพื่อ ส ง ออกยั ง คงขยายตั ว อย า งต อ เนื่ อ ง และอุ ต สาหกรรม อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส มี ก ารใช ไ ฟฟ า เพิ่ ม ขึ้ น 25.6 เนื่ อ งจาก ความตองการสินคาอิเล็กทรอนิกสที่มีเทคโนโลยีระดับสูง เชน Smart phone และ Tablet ในขณะที่อุตสาหกรรมเหล็ก และเหล็กกลามีการใชไฟฟาลดลงรอยละ 1.4 เนื่องจาก ผู ผ ลิ ต มี ก ารผลิ ต ตามคำสั่ ง ซื้ อ ของลู ก ค า เท า นั้ น ไม มี ก าร สตอกสินคาไว เนื่องจากเกรงผลกระทบของราคาวัตถุดิบที่ สูงขึ้น และอุตสาหกรรมสิ่งทอมีการใชไฟฟาลดลงเล็กนอย รอยละ 0.4 เนื่องจากราคาวัตถุดิบในการผลิตของปนี้สูง กวาปที่ผานมาคอนขางมากสงผลใหมีคำสั่งซื้อลดลง โดยมี รายละเอียดการใชไฟฟาในกลุมอุตสาหกรรมที่สำคัญ ดังนี้ www.eppo.go.th • 33
การใชไฟฟาในกลุมอุตสาหกรรมที่สำคัญ
หนวย : กิกะวัตตชั่วโมง
ประเภท
2551
2552
2553
ม.ค.–มิ.ย. 2553 2554
1. อาหาร 2. เหล็กและเหล็กกลา 3. สิ่งทอ 4. พลาสติก 5. อิเล็กทรอนิกส 6. ซีเมนต 7. ยานยนต 8. เคมีภัณฑ 9. ยางและผลิตภัณฑยาง 10. การผลิตน้ำแข็ง
7,598 5,370 4,513 3,699 4,532 4,214 2,913 2,777 2,516 2,201
7,974 4,384 4,268 3,603 4,203 3,766 2,472 2,607 2,423 2,342
8,241 5,151 4,707 4,155 4,125 3,785 3,396 2,849 2,657 2,575
3,997 2,493 2,336 2,043 2,086 1,916 1,651 1,321 1,320 1,356
การใชไฟฟาภาคธุรกิจ ในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 การใชไฟฟาในกลุมธุรกิจที่สำคัญสวนใหญลดลงเมื่อ เที ย บกั บ ช ว งเดี ย วกั น ของป ก อ น เนื่ อ งจากป จ จั ย ด า น อุณหภูมิที่ต่ำกวาชวงเดียวกันของปกอน ประกอบกับมีฝน ตกหนักในหลายพื้นที่ของประเทศอยางตอเนื่องและเกิด อุทกภัยในหลายพื้นที่ สงผลใหธุรกิจบางประเภทมีการใช ไฟฟาลดลง เชน อพารตเมนตและเกสตเฮาส และธุรกิจ
4,263 2,459 2,327 2,096 2,620 1,940 1,740 1,395 1,354 1,215
เปลี่ยนแปลง (%) 2554 2552 2553 (ม.ค.-มิ .ย.)
5.0 -18.4 -5.4 -2.6 -7.3 -10.6 -15.1 -6.1 -3.7 6.4
3.3 17.5 10.3 15.3 -1.9 0.5 37.4 9.3 9.6 9.9
6.7 -1.4 -0.4 2.6 25.6 1.2 5.4 5.6 2.6 -10.4
โรงแรม นอกจากนี้ ในสวนของหางสรรพสินคา ธุรกิจขาย ปลีกและขายสง มีความตองการใชไฟฟาเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบ กับชวงเดียวกันของปกอน สืบเนื่องจากการขยายตัวของ การใชจายเพื่อการอุปโภคบริโภคของครัวเรือนที่ขยายตัว รอยละ 3.1 โดยปจจัยที่สนับสนุนการใชจายที่สำคัญ ไดแก อัตราการวางงานที่ลดลง และรายไดเกษตรกรอยูในเกณฑดี ตามราคาพืชผลหลักที่ยังอยูในระดับสูง โดยมีรายละเอียด การใชไฟฟาในกลุมธุรกิจที่สำคัญ ดังนี้
การใชไฟฟาในกลุมธุรกิจที่สำคัญ
หนวย : กิกะวัตตชั่วโมง
ม.ค.–มิ.ย.
เปลี่ยนแปลง (%) 2554 2552 2553 (ม.ค.-มิ .ย.) 3.2 2.8 3.4 1.7 7.9 1.0
ประเภท
2551
2552
2553
2553
2554
1. หางสรรพสินคา 2. ขายปลีก 3. อพารตเมนต และเกสตเฮาส 4. โรงแรมทั่วไป 5. อสังหาริมทรัพย 6. โรงพยาบาลทั่วไป 7. ขายสง 8. กอสราง 9. สถาบันการเงิน 10. โรงแรมเพื่อการทองเที่ยว
3,769 3,330
3,889 3,385
3,999 3,652
1,994 1,849
2,062 1,867
2,418
2,554
2,864
1,476
1,435
5.6
12.1
-2.8
2,211 2,215 1,640 1,545 1,145 870 759
2,367 2,257 1,721 1,517 909 884 703
2,628 2,456 1,891 1,740 920 914 699
1,356 1,236 959 851 474 461 347
1,346 1,223 904 903 474 435 326
7.1 1.9 5.0 -1.8 -20.6 1.6 -7.4
11.0 8.8 9.8 14.7 1.2 3.5 -0.6
-0.8 -1.1 -5.7 6.2 0.0 -5.7 -6.1
34 • นโยบายพลังงาน
คาเอฟที ในชวงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนสิงหาคม 2554 อยูที่อัตรา 95.81 สตางคตอหนวย ปรับเพิ่มขึ้นจากอัตรา 86.88 สตางคตอหนวย ในชวงเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน 2554 ที่ผานมา ทั้งนี้ เนื่องจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาท อ อ นค า และอั ต ราการใช ไ ฟฟ า น อ ยกว า ที่ ป ระมาณการไว รวมทั้ ง ราคาน้ ำ มั น เตาและราคาก า ซธรรมชาติ สู ง กว า ที่ ประมาณการไว
11. รายไดสรรพสามิต และฐานะกองทุนน้ำมัน รายไดสรรพสามิต จากน้ำมันสำเร็จรูปในชวง 6 เดือนแรกของป 2554 มีจำนวน 63,401 ลานบาท ฐานะกองทุนน้ำมัน ในชวงตนป 2554 สถานะกองทุนน้ำมันเปนบวกมาตลอด โดยเริ่มมาติดลบในเดือนมิถุนายน 2554 ซึ่งฐานะกองทุนน้ำมันเทากับติดลบ 1,253 ลานบาท
รายไดสรรพสามิต และฐานะกองทุนน้ำมัน ณ สิ้นป 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 (ม.ค.-มิ.ย.) มกราคม กุมภาพันธ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน
ภาษีสรรพสามิต 77,021 74,102 76,962 54,083 123,445 153,561 63,401 12,514 14,068 13,536 13,246 4,915 5,122
หนวย : ลานบาท
ฐานะกองทุนน้ำมัน -76,815 -41,411 0 11,069 21,294 27,441 -1,253 25,183 21,684 14,258 1,003 550 -1,253
รายรับ (รายจาย) -26,588 35,404 41,411 11,069 10,225 6,147 -28,694 -2,258 -3,499 -7,426 -13,255 -453 -1,803
www.eppo.go.th • 35
ENERGY LEARNING ZONE
ปโตรเลียม
สถานการณราคาน้ ราคาน้ำมันเชื้อเพลิง 1. ราคาน้ำมันดิบ กรกฎาคม 2554 ราคาน้ำมันดิบดูไบและเวสตเท็กซัส เฉลี่ยอยูที่ระดับ $109.99 และ $97.26 ตอบารเรล ปรับตัว เพิ่มขึ้นจากเดือนที่แลว $2.22 และ $1.05 ตอบารเรล ตามลำดับ จากรัฐมนตรีพลังงานของอิรักใหสัญญาณจะไมมี การเพิ่ ม กำลั ง การผลิ ต จากการประกาศว า สถานการณ น้ำมันดิบในปจจุบันมีความสมดุลระหวางความตองการและ อุปทานพรอมกับราคาตลาดที่เหมาะสม (ปจจุบันอิรักผลิตที่ 2.7 ลานบารเรลตอวัน) อีกทั้งเงินดอลลารสหรัฐออนคาลง เมื่ อ เที ย บกั บ เงิ น 16 สกุ ล อื่ น เนื่ อ งจากประธานาธิ บ ดี สหรัฐอเมริกา นายบารัก โอบามา แสดงความกังวลตอ ภาวะเศรษฐกิ จ สหรั ฐ อเมริ ก าและการขยายเพดานหนี้ สงผลใหราคาสินคาโภคภัณฑที่ซื้อขายในเงินสกุลดอลลาร สหรัฐอเมริกาปรับตัวเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ เศรษฐกิจยุโรป ยังคงเปราะบาง โดยสถาบันวิจัยการตลาด GfK รายงานดัชนี แนวโน ม ความเชื่ อ มั่น ของผู บ ริโภคเยอรมัน (Consumer Sentiment Index) เดื อ นสิ ง หาคม ลดลง 0.1 จุ ด (M-O-M) มาอยูที่ 5.5 จุด ต่ำสุดตั้งแตเดือนธันวาคม 2553 อยางไรก็ตาม Alaska Oil and Gas Conservation Commission รายงานปริ ม าณการผลิ ต น้ ำ มั น ดิ บ บริ เ วณ North Slope ของอะแลสกา ในเดือนกรกฎาคม 2554 ลดลง รอยละ 30 จากระดับการผลิตปกติ อยูที่ 453,000 บารเรล ตอวัน เนื่องจากการปดซอมบำรุง และคาดวาจะลดลงอีกจาก การปดซอมแซมหนวยผลิตบริเวณแหลง Prudhoe Bay ของ BP หลังจากพบการรั่วไหลเพิ่มเติม
36 • นโยบายพลังงาน
สิงหาคม 2554 ราคาน้ำมันดิบดูไบและเวสตเท็กซัส เฉลี่ยอยูที่ระดับ $105.02 และ $86.28 ตอบารเรล ปรับตัว ลดลงจากเดือนที่แลว $4.97 และ $10.98 ตอบารเรล ตามลำดับ จากกระทรวงพาณิชยสหรัฐอเมริกาปรับทบทวน การขยายตัวของเศรษฐกิจของประเทศ (GDP) ไตรมาส 2 ของป นี้ ที่ ร ะดั บ ร อ ยละ 1 ต อ ป ซึ่ ง ลดลงจากก อ นหน า นี้ ที่คาดการณไวที่รอยละ 1.3 ประกอบกับนาย Ali Tarhouni ผูดูแลกิจการการคลังและพลังงานของกลุมผูตอตานรัฐบาล ลิเบียประกาศลิเบียมีแผนเพิ่มกำลังการผลิตน้ำมันดิบให กลับมาอยูที่ระดับ 500,000-600,000 บารเรลตอวัน ภายในระยะเวลา 2-3 เดือนขางหนานี้ และกลับมาผลิต เต็มกำลังการผลิตที่ระดับ 1.60 ลานบารเรลตอวัน ภายใน ระยะเวลา 1 ป ขณะที่คณะปฏิวัติในลิเบียเขาควบคุมแหลง ผลิตน้ำมันของประเทศไดทั้งหมด โดยนาย Nouri Balroin เจ า หน า ที่ ร ะดั บ สู ง ของ National Transitional Council กลาววา ลิเบียจะกลับมาสงออกภายใน 3 สัปดาห และ กลับมาสูระดับ 1.6 ลานบารเรลตอวันภายใน 15 เดือน นอกจากนี้ คูเวตแจงลูกคาในเอเชียวาจะสงมอบน้ำมันดิบ แบบเทอมในไตรมาส 4/54 เต็ ม ปริ ม าณตามสั ญ ญา เช น เดี ย วกั บ ในไตรมาส 3/54 ทั้ ง นี้ ปริ ม าณการผลิ ต น้ำมันดิบของคูเวตในเดือนกรกฎาคม 2554 อยูที่ 2.6-2.7 ลานบารเรลตอวัน อีกทั้งปริมาณสงออกน้ำมันดิบของโอเปก ไมรวมแองโกลาและเอกวาดอร ในระยะเวลา 4 สัปดาห ถึงวันที่ 10 กันยายน 2554 เพิ่มขึ้น 30,000 บารเรลตอวัน อยูที่ระดับ 22.69 ลานบารเรลตอวัน
2. ราคาน้ำมันสำเร็จรูปในตลาดสิงคโปร กรกฎาคม 2554 ราคาน้ำมันเบนซินออกเทน 95, 92 และน้ำมันดีเซล เฉลี่ยอยูที่ระดับ $126.15 $123.38 และ $128.46 ตอบารเรล ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากเดือนที่แลว $5.82 $5.61 และ $2.51 ตอบารเรล ตามลำดับ จาก อุปสงคน้ำมันเบนซินในอินโดนีเซียอยูในระดับสูง เนื่องจาก เทศกาลรอมฎอน ประกอบกับโรงกลั่น Suncor Energy ของแคนาดา (135,000 บาร เ รลต อ วั น ) อาจลดกำลั ง การผลิตเนื่องจากปญหาเทคนิค ขณะที่ปริมาณนำเขาน้ำมัน เบนซินของปากีสถานมีแนวโนมจะเพิ่มขึ้นเนื่องจากรัฐบาล กำหนดให เ พิ่ ม ปริ ม าณสำรองน้ ำ มั น เป น 2 สั ป ดาห (ป จ จุ บั น อยู ที่ ร ะดั บ ประมาณ 1 สั ป ดาห ) เพื่ อ ป อ งกั น ภาวะขาดแคลนซึ่งเคยเกิดเมื่อตนเดือนมิถุนายน 2554 นอกจากนี้ Pertamina ของอินโดนีเซียมีแผนเพิ่มปริมาณ การนำเข า น้ ำ มั น ดี เ ซลเดื อ นสิ ง หาคม-กั น ยายน 2554 ที่ระดับ 4.4 ลานบารเรลตอเดือน มากกวาปริมาณนำเขา ปกติ ที่ ร ะดั บ 2.5-3 ล า นบาร เ รล และ International Enterprise Singapore (IES) รายงานปริ ม าณสำรอง Middle Distillates เชิงพาณิชยของสิงคโปร สัปดาหสิ้นสุด วั น ที่ 27 กรกฎาคม 2554 ลดลง 1.08 ล า นบาร เ รล (W-O-W) อยู ที่ ร ะดั บ 14.52 ล า นบาร เ รล รวมทั้ ง Arbitrage น้ำมันดีเซลจากเอเชียไปยุโรปและอเมริกาใตเปด
สิงหาคม 2554 ราคาน้ำมันเบนซินออกเทน 95, 92 และน้ำมันดีเซล เฉลี่ยอยูที่ระดับ $122.85 $119.75 และ $122.99 ตอบารเรล ปรับตัวลดลงจากเดือนที่แลว $3.30 $3.63 และ $5.47 ตอบารเรล ตามลำดับ ตามราคา น้ำมันดิบและอุปสงคทางฝงตะวันตกที่ลดลงอาจสงผลให ปริมาณน้ำมันเบนซินจากอินเดียไหลเขาสูเอเชีย กอปรกับ Formosa ของไตหวันกลับมาดำเนินการผลิตและสงออก สงผลใหราคาน้ำมันดีเซลในภูมิภาคปรับตัวลดลง ขณะที่ โรงกลั่นน้ำมันในภูมิภาคเริ่มกลับมาดำเนินการผลิตอีกครั้ง หลั ง การป ด ซ อ มบำรุ ง นอกจากนี้ ทางการจี น รายงาน ความตองการใชน้ำมันดีเซลในเดือนกรกฎาคม 2554 อยูที่ 3.36 ลานบารเรลตอวัน ลดลงรอยละ 0.7 (M-O-M) อยางไรก็ตาม เพิ่มขึ้นรอยละ 7.0 (Y-O-Y) อีกทั้งปริมาณ การสงออกน้ำมันดีเซลของญี่ปุนเพิ่มขึ้นรอยละ 20 มาอยูที่ 1.5 ลานบารเรล ในสัปดาหสิ้นสุด 20 สิงหาคม 2554 รวมทั้ง Petroleum Association of Japan (PAJ) รายงาน ปริมาณสำรองน้ำมันดีเซลของญี่ปุนสัปดาหสิ้นสุดวันที่ 20 สิ ง หาคม 2554 เพิ่ ม ขึ้ น ร อ ยละ 4.9 (W-O-W) อยู ที่ 14.28 ลานบารเรล ปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นรอยละ 1.4 (W-O-W) อยูที่ 5.63 ลานบารเรล และปริมาณสงออก เพิ่มขึ้นรอยละ 20.8 (W-O-W) อยูที่ 155 บารเรล
3. ราคาขายปลีก กรกฎาคม 2554 ราคาขายปลีกน้ำมันเบนซิน 95, 91 แกสโซฮอล 95 E10, แกสโซฮอล 91 ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.60 บาทตอลิตร แกสโซฮอล 95 E20 และ E85 เพิ่มขึ้น 1.00 และ 0.80 บาทต อ ลิ ต ร ส ว นดี เ ซลหมุ น เร็ ว ไม มี การปรั บ ราคา ในขณะที่ ก องทุ น น้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง ปรั บ ลด อัตราเงินสงเขากองทุนน้ำมันของน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว ลดลง จำนวน 2 ครั้ง โดยราคาขายปลีกน้ำมันเบนซินออกเทน 95, 91 แกสโซฮอล 95 E10, E20, E85 แกสโซฮอล 91 และ ดีเซลหมุนเร็ว ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2554 อยูที่ระดับ 48.44 43.04 38.14 34.14 22.52 35.64 และ 29.99 บาทตอลิตร ตามลำดับ www.eppo.go.th • 37
สิงหาคม 2554 ราคาขายปลีกน้ำมันเบนซิน 95, 91 แกสโซฮอล 95 E10, E20, E85 แกสโซฮอล 91 และ ดีเซลหมุนเร็ว ปรับลดลง 8.52 7.67 2.77 3.30 1.20 3.30 และ 3.00 บาทตอลิตร ตามลำดับ จากคณะกรรมการ บริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2554 มีมติเห็นชอบปรับลดอัตราเงินสงเขากองทุนน้ำมัน น้ำมันเบนซิน 95, 91 และดีเซลหมุนเร็ว ลดลง 7.50 6.70 และ 2.80 บาทตอลิตร ตามลำดับ และในวันที่ 30
สิงหาคม 2554 มีมติปรับลดอัตราเงินสงเขากองทุนน้ำมัน แกสโซฮอล 95 แกสโซฮอล 91 และแกสโซฮอล 95 E20 ลดลง 1.00 1.50 และ 1.50 บาทตอลิตร ตามลำดับ โดยราคาขายปลีกน้ำมันเบนซินออกเทน 95, 91 แกสโซฮอล 95 E10, E20, E85 แกสโซฮอล 91 และดีเซลหมุนเร็ว ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2554 อยูที่ระดับ 39.92 35.37 35.37 30.84 21.32 32.34 และ 26.99 บาทตอลิตร ตามลำดับ
ราคาเฉลี่ยน้ำมันเชื้อเพลิง 2552 2553 2554 (เฉลี่ย) (เฉลี่ย) (เฉลี่ย) พฤษภาคม น้ำมันดิบ (หนวย : เหรียญสหรัฐ/บารเรล) ดูไบ 61.91 78.10 106.24 108.38 เบรนท 62.05 79.89 111.85 114.25 เวสตเท็กซัส 61.92 79.49 96.69 101.22 น้ำมันสำเร็จรูปตลาดจรสิงคโปร (หนวย : เหรียญสหรัฐ/บารเรล) เบนซินออกเทน 95 70.38 88.40 120.58 124.82 เบนซินออกเทน 92 68.18 86.23 118.07 121.69 ดีเซลหมุนเร็ว 69.13 89.56 124.98 126.61 ราคาขายปลีกของไทย (หนวย : บาท/ลิตร) 2552 2553 2554 (เฉลี่ย) (เฉลี่ย) (เฉลี่ย) 31 พ.ค. เบนซินออกเทน 95 37.97 41.15 46.93 47.84 เบนซินออกเทน 91 31.36 36.08 41.77 42.44 แกสโซฮอล 95 E10 27.52 32.34 37.15 37.54 แกสโซฮอล 91 26.72 30.84 34.65 35.04 แกสโซฮอล 95 E20 25.41 29.95 33.67 34.14 แกสโซฮอล 95 E85 18.99 19.21 21.94 22.22 ดีเซลหมุนเร็ว 24.80 28.68 29.92 29.99 คาการตลาดของผูคาน้ำมัน (หนวย : บาท/ลิตร) 2552 2553 2554 (เฉลี่ย) (เฉลี่ย) (เฉลี่ย) พฤษภาคม เบนซินออกเทน 95 5.55 4.89 5.26 5.50 เบนซินออกเทน 91 1.62 1.50 1.63 1.72 แกสโซฮอล 95 E10 1.58 1.52 1.46 1.62 แกสโซฮอล 91 1.81 1.75 1.64 1.80 แกสโซฮอล 95 E20 2.32 2.62 2.40 2.84 แกสโซฮอล 95 E85 4.77 5.06 7.65 8.84 ดีเซลหมุนเร็ว 1.49 1.51 1.18 1.32 เฉลี่ยรวม 1.65 1.56 1.30 1.44
38 • นโยบายพลังงาน
2554 มิถุนายน กรกฎาคม
สิงหาคม
107.77 114.14 96.21
109.99 117.31 97.26
105.02 110.32 86.28
120.33 117.77 125.95
126.15 123.38 128.46
122.85 119.75 122.99
2554 30 มิ.ย. 31 ก.ค. 46.84 48.44 41.44 43.04 36.54 38.14 34.04 35.64 33.14 34.14 21.72 22.52 29.99 29.99
31 ส.ค. 39.92 35.37 35.37 32.34 30.84 21.32 26.99
2554 มิถุนายน กรกฎาคม 5.67 5.55 1.86 1.75 1.57 1.63 1.78 1.79 2.61 2.80 7.89 8.87 1.26 1.10 1.41 1.29
สิงหาคม 5.55 1.68 1.51 1.70 2.13 9.00 1.28 1.39
ราคาเฉลี่ยน้ำมันเชื้อเพลิง (ตอ) คาการกลั่นของผูคาน้ำมัน (หนวย : บาท/ลิตร) 2552 2553 2554 2554 (เฉลี่ย) (เฉลี่ย) (เฉลี่ย) พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม เฉลี่ยรวม 0.8563 1.1234 1.5886 1.6602 1.5760 1.5505 1.8023 อัตราเงินสงเขากองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง (หนวย : บาท/ลิตร) 31 มี.ค. 54 30 เม.ย. 54 31 พ.ค. 54 30 มิ.ย. 54 31 ก.ค. 54 31 ส.ค. 54 เบนซินออกเทน 95 7.50 7.50 7.50 7.50 7.50 0.00 เบนซินออกเทน 91 6.70 6.70 6.70 6.70 6.70 0.00 แกสโซฮอล 95 E10 2.40 2.40 2.40 2.40 2.40 1.40 แกสโซฮอล 91 0.10 0.10 0.10 0.10 0.10 -1.40 แกสโซฮอล 95 E20 -1.30 -1.30 -1.30 -1.30 -1.30 -2.80 แกสโซฮอล 95 E85 -13.50 -13.50 -13.50 -13.50 -13.50 -13.50 ดีเซลหมุนเร็ว -5.10 -0.1645 1.80 2.40 1.30 0.00 LPG (บาท/กก.) 1.0314 1.1470 1.2516 1.1893 1.0994 1.2443
โครงสรางราคาน้ำมันเชื้อเพลิง ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2554 สโซฮอล เบนซิน 95 เบนซิน 91 แก95 E10 ราคาน้ำมัน ณ โรงกลั่น 24.1487 23.7613 24.2695 ภาษีสรรพสามิต 7.0000 7.0000 6.3000 ภาษีเทศบาล 0.7000 0.7000 0.6300 กองทุนน้ำมันฯ 0.000 0.0000 1.4000 กองทุนอนุรักษพลังงาน 0.2500 0.2500 0.2500 ภาษีมูลคาเพิ่ม (ขายสง) 2.2469 2.2198 2.2995 รวมขายสง 34.3456 33.9311 35.1489 คาการตลาด 5.2097 1.3448 0.2066 ภาษีมูลคาเพิ่ม (ขายปลีก) 0.3647 0.0941 0.0145 รวมขายปลีก 39.92 35.37 35.37
แกสโซฮอล 91 24.0915 6.3000 0.6300 -1.4000 0.2500 2.0910 31.9625 0.3528 0.0247 32.34
แกสโซฮอล 95 E20 24.3068 5.6000 0.5600 -2.8000 0.2500 1.9542 29.8710 0.9056 0.0634 30.84
หนวย : บาท/ลิตร
แกสโซฮอล 95 E85 23.7248 1.0500 0.1050 -13.5000 0.2500 0.8141 12.4439 8.2954 0.5807 21.32
ดีเซล หมุ น เร็ ว 24.2196 0.0050 0.0005 0.0000 0.2500 1.7133 26.1883 0.7492 0.0524 26.99
www.eppo.go.th • 39
4. สถานการณ ก า ซป โ ตรเลี ย มเหลว (LPG) กรกฎาคม 2554 ราคาก า ซ LPG ในตลาดโลก ปรับตัวลดลง 52 เหรียญสหรัฐตอตัน มาอยูที่ระดับ 831 เหรียญสหรัฐตอตัน ตามราคาน้ำมันดิบและแนฟทา รวมทั้ง ซาอุดิอารัมโกกำหนดราคาโพรเพนเดือนกรกฎาคมอยูที่ 855 เหรียญสหรัฐตอตัน ลดลง 70 เหรียญสหรัฐตอตัน จากเดือนมิถุนายน 2554 และบริษัท Bharat Petroleum Corp. Ltd ของอิ น เดี ย ยกเลิ ก สั่ ง ซื้ อ ก า ซ LPG จำนวน 100,000 ตัน ของเดือนกรกฎาคม 2554 นอกจากนั้น ไทยมีนโยบายปรับขึ้นราคา LPG ภาคอุตสาหกรรมในเดือน กรกฎาคม 2554 โดยปรับเพิ่มราคาขายปลีกไตรมาสละ 1 ครั้ง จำนวน 4 ครั้ง ครั้งละ 3 บาทตอกิโลกรัม สิงหาคม 2554 ราคากาซ LPG ในตลาดโลก ปรับตัว เพิ่มขึ้น 20 เหรียญสหรัฐตอตัน มาอยูที่ระดับ 855 เหรียญ สหรัฐตอตัน จากซาอุดิอารัมโกกำหนดราคาโพรเพนและ บิวเทนเดือนสิงหาคมอยูที่ 835 และ 855 เหรียญสหรัฐ ตอตัน ตามลำดับ รวมทั้งบริษัท Sonatrach ของแอลจีเรีย กำหนดโพรเพนอยูที่ 880 เหรียญสหรัฐตอตัน เพิ่มขึ้น 60 เหรี ย ญสหรั ฐ ต อ ตั น นอกจากนั้ น Vietnam’s Saigon มีความตองการ Pressurized LPG 2,700 ตัน สงมอบวันที่ 26-28 สิ ง หาคม 2554 และ Costa Rica’s Recope มีความตองการจัดหา LPG ระยะยาว 1.45 ลานบารเรล ส ง มอบเดื อ นกั น ยายน 2554-สิ ง หาคม 2555 2.95 ล า นบาร เ รล ส ง มอบเดื อ นกั น ยายน 2555-สิ ง หาคม 2556 และ 4.5 ล า นบาร เ รล ส ง มอบเดื อ นกั น ยายน 2556-สิงหาคม 2557 สถานการณราคา LPG ในประเทศ รัฐไดกำหนด ราคากาซ LPG ณ โรงกลั่น ที่ระดับ 10.0550 บาทตอ กิ โ ลกรั ม และกำหนดราคาขายส ง ณ คลั ง ที่ ร ะดั บ 13.6863 บาทต อ กิ โ ลกรั ม ส ง ผลให ร าคาขายปลี ก ณ กรุงเทพฯ อยูที่ระดับ 18.13 บาทตอกิโลกรัม สถานการณการนำเขากาซ LPG ตั้งแตเดือนเมษายน 2551-สิ ง หาคม 2554 ได มี ก ารนำเข า รวมทั้ ง สิ้ น 3,771,011 ตัน คิดเปนภาระชดเชย 55,440 ลานบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
40 • นโยบายพลังงาน
ภาระเงินชดเชยการนำเขากาซ LPG เดือนเมษายน 2551-สิงหาคม 2554 ปริมาณนำเขา อัตราเงินชดเชย เงินชดเชย เดือน (ตัน) (บาท/กิโลกรัม) (ลานบาท) รวม ป 51 446,414 17.80 7,948 รวม ป 52 745,302 9.25 6,896 ม.ค. 53 110,156 14.75 1,625 ก.พ. 53 111,838 14.36 1,606 มี.ค. 53 126,219 14.39 1,816 เม.ย. 53 125,912 14.28 1,798 พ.ค. 53 177,118 14.03 2,486 มิ.ย. 53 129,878 12.65 1,643 ก.ค. 53 90,925 10.15 923 ส.ค. 53 136,360 9.85 1,343 ก.ย. 53 135,680 11.48 1,558 ต.ค. 53 149,124 13.25 1,976 พ.ย. 53 143,426 16.94 2,429 ธ.ค. 53 156,499 19.55 3,059 รวม ป 53 1,593,135 13.97 22,262 ม.ค. 54 114,085 19.52 2,227 ก.พ. 54 113,744 16.45 1,871 มี.ค. 54 90,906 18.26 1,660 เม.ย. 54 74,348 19.36 1,439 พ.ค. 54 115,579 21.71 2,509 มิ.ย. 54 171,079 19.15 3,276 ก.ค. 54 146,800 17.13 2,515 ส.ค. 54 159,619 17.78 2,838 รวม ป 54 986,160 18.59 18,334 รวมทั้งสิ้น 3,771,011 14.70 55,440 ประมาณการภาระเงินชดเชยกาซ LPG ของโรงกลั่นน้ำมัน เดือนมกราคม-สิงหาคม 2554 ปริมาณผลิต เดือน เพื่อเปนเชื้อเพลิง อัตราเงินชดเชย เงินชดเชย (บาท/กิโลกรัม) (ลานบาท) (ตัน) 14-31 ม.ค. 54 36,656 ก.พ. 54 66,125 มี.ค. 54 72,039 เม.ย. 54 79,623 พ.ค. 54 83,226 มิ.ย. 54 82,878 ก.ค. 54 78,535 ส.ค. 54* 81,947 รวม ป 54 581,029
16.18 11.28 11.80 12.71 14.51 12.70 11.60 11.99 12.66
593 746 850 1,012 1,207 1,053 911 983 7,355
5. สถานการณเอทานอลและไบโอดีเซล 5.1 การผลิตเอทานอล ผูประกอบการผลิตเอทานอล จำนวน 19 ราย กำลังการผลิตรวม 2.93 ลานลิตรตอวัน แต มี ร ายงานการผลิ ต เอทานอลเพื่ อ ใช เ ป น เชื้ อ เพลิ ง เพี ย ง 15 ราย มีปริมาณการผลิตประมาณ 1.46 ลานลิตรตอวัน โดยราคาเอทานอลแปลงสภาพเดือนกรกฎาคม 2554 อยูที่ 24.28 บาทตอลิตร และเดือนสิงหาคม 2554 อยูที่ 23.65 บาทตอลิตร
5.2 การผลิตไบโอดีเซล ผูผลิตไบโอดีเซลที่ไดคุณภาพ ตามประกาศของกรมธุรกิจพลังงาน จำนวน 12 ราย โดยมี กำลั ง การผลิ ต รวม 1.52 ล า นลิ ต รต อ วั น การผลิ ต อยู ที่ ประมาณ 2.54 ลานลิตรตอวัน ราคาไบโอดีเซลในประเทศ เฉลี่ยเดือนกรกฎาคม 2554 อยูที่ 32.90 บาทตอลิตร และเดือนสิงหาคม 2554 อยูที่ 34.18 บาทตอลิตร
6. ฐานะกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง ฐานะกองทุนน้ำมันฯ ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2554 มีเงินสดในบัญชี 16,805 ลานบาท มีหนี้สินกองทุน 15,488 ลานบาท แยกเปนหนี้อยูระหวางการเบิกจายชดเชย 15,309 ลานบาท และงบบริหารและโครงการซึ่งไดอนุมัติแลว 179 ลานบาท ฐานะกองทุนน้ำมันสุทธิ 1,317 ลานบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ประมาณการฐานะกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง (ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2554) เงินสดในบัญชี • เงินฝาก ธ.ออมสิน (สลากออมสิน (อายุ 5 ป) ตามมติ กบง.) • เงินฝาก ธ.ก.ส. (โครงการสงเสริมการปลูกปาลม (อายุ 10 ป)) • เงินคงเหลือในบัญชี หนี้สินกองทุน • หนี้อยูระหวางการเบิกจายเงินชดเชย หนี้ชดเชยกาซ LPG (คาขนสงกาซในประเทศ) หนี้ชดเชยกาซ LPG กรณีนำเขาจากตางประเทศ ป 2554 (ปตท.) (ชดเชย ม.ค.-31 ส.ค. 54) หนี้ชดเชยการตรึงราคากาซ NGV (มติ กบง. 2/53 ชดเชย มี.ค.-ส.ค. 53)* หนี้ชดเชยการตรึงราคากาซ NGV (มติ กบง. 4/53 ชดเชย ก.ย. 53-ก.พ. 54)** หนี้ชดเชยการตรึงราคากาซ NGV (มติ กบง. 8/54 ชดเชย มี.ค. 54-มิ.ย. 54)** หนี้ชดเชยการตรึงราคากาซ NGV (มติ กพช. 3/54 ชดเชย ก.ค. 54-ก.ย. 54)*** หนี้เงินชดเชยน้ำมันดีเซล และแกสโซฮอล หนี้เงินชดเชยการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงมาตรฐานยูโร 4 หนี้เงินชดเชยกาซ LPG จากโรงกลั่นน้ำมัน (มติ กบง. 2/54 ชดเชย 14 ม.ค. 54) หนี้เงินชดเชยสวนลดราคากาซธรรมชาติโรงไฟฟาขนอม • งบบริหารและโครงการซึ่งไดอนุมัติแลว ฐานะกองทุนน้ำมันฯ
หนวย : ลานบาท 16,805 5,000 500 11,305 -15,488 -15,309 -208 -6,097 -381 -2,069 -1,580 -809 -1,242 -499 -2,091 -335 -179 1,317
หมายเหตุ : ยังไมรวมหนี้เงินชดเชยคาปรับเปลี่ยนเครื่องยนตรถแท็กซี่ (มติ กพช. 4/52) ประมาณ 130 ลานบาท * ชดเชยไมเกิน 300 ลานบาทตอเดือน ** ชดเชยตามปริมาณของกรมธุรกิจพลังงาน โดยชดเชยกิโลกรัมละ 2 บาท *** ชดเชยตามปริมาณของกรมธุรกิจพลังงานในเดือนกรกฎาคม 2554 และการประมาณการของ สนพ. (วันที่ 1-31 สิงหาคม 2554) โดยชดเชยกิโลกรัมละ 2 บาท ที่มา : สถาบันบริหารกองทุนพลังงาน (องคการมหาชน)
www.eppo.go.th • 41
ENERGY LEARNING ZONE
ไฟฟา
ระบบโครงขายไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Grid) มี แ นวคิ ด โดยมุ ง เน น ให ภ าคการผลิ ต อยู ใ กล กั บ ผู บ ริ โ ภค มากขึ้ น และการพั ฒ นาระบบไฟฟ า รู ป แบบใหม นี้ เ ป น การเปดชองทางใหผูบริโภคมีสวนรวมในการผลิตไฟฟาดวย การสร า งแหล ง ผลิ ต ไฟฟ า ขนาดเล็ ก ของตนเอง อาทิ แผงโซลารบนหลังคาบาน หรือแมกระทั่งการติดตั้งกังหันลม ผลิตไฟฟาขนาดเล็ก โดยมุงเนนใหพลังงานไฟฟาที่ผลิตขึ้น มาไดนั้นสามารถนำมาใชในการดำรงชีวิตขั้นพื้นฐาน และ พลังงานไฟฟาสวนที่เหลือจากการบริโภค ผูบริโภคสามารถ ขายคื น สู ร ะบบส ง จ า ยไฟฟ า หลั ก ได ซึ่ ง จะช ว ยลดภาระ การผลิตไฟฟาของหนวยงานหลักอยางการไฟฟาฝายผลิต แหงประเทศไทย และเปนการกระจายแหลงพลังงานเพื่อ ลดความสู ญ เสี ย ในระบบส ง ไฟฟ า อี ก ทั้ ง ยั ง ช ว ยรั ก ษา สิ่งแวดลอมโดยลดกำลังการผลิตไฟฟาจากเชื้อเพลิงฟอสซิล
ระบบไฟฟาในปจจุบันเปนการสงจายกำลังไฟฟาแบบ ทิศทางเดียวจากผูผลิตมายังผูบริโภคโดยผานสายสงระยะไกล ก อ ให เ กิ ด ความสู ญ เสี ย ในระบบไฟฟ า เป น อย า งมาก ประกอบกับความตื่นตัวทั่วโลกในเรื่องของสภาวะโลกรอน อันเปนผลมาจากการปลดปลอยกาซเรือนกระจกในปริมาณ มากจากการผลิตไฟฟาของโรงไฟฟาที่ใชเชื้อเพลิงฟอสซิล ดวยเหตุนี้จึงทำใหมีการผลักดันใหมีงานวิจัยและการลงทุน ในโครงการผลิตไฟฟารูปแบบใหมซึ่งเปนพลังงานที่สะอาด เพื่ อ ลดปริ ม าณการปลดปล อ ยก า ซเรื อ นกระจก รวมทั้ ง ลดความสูญเสียในการสงพลังงานไฟฟาจากระยะไกลทำให มีระบบไฟฟารูปแบบใหมเกิดขึ้น ระบบไฟฟารูปแบบใหมนี้
42 • นโยบายพลังงาน
นอกจากที่ไดกลาวมาขางตนแลว ระบบไฟฟารูปแบบ ใหม นี้ น ำมาซึ่ ง การเปลี่ ย นแปลงแนวคิ ด ในการส ง จ า ย พลังงานไฟฟาที่เปลี่ยนไปจากเดิมเปนอยางมาก จากการสง จ า ยพลั ง งานไฟฟ า แบบทิ ศ ทางเดี ย ว เป น การส ง จ า ย พลั ง งานไฟฟ า แบบสองทิ ศ ทาง โดยอาศั ย เทคโนโลยี สารสนเทศเขามาชวยในการสื่อสารและบริหารจัดการ เพื่อ ใหผูบริโภคเขาถึงขอมูลการบริโภคพลังงานของผูบริโภค ณ ชวงเวลานั้น และบริหารจัดการการใชพลังงานที่ตอบสนอง ความตองการของผูบริโภคใหเกิดประโยชนสูงสุดทั้งในดาน ความพอใจในการบริโภคพลังงานไฟฟา และจำนวนเงิน ที่ ต อ งสู ญ เสี ย ไปในการบริ โ ภคพลั ง งานไฟฟ า รวมไปถึ ง จำนวนเงินและปริมาณพลังงานไฟฟาที่ผูบริโภคสามารถ ประหยั ด ได ห ากมี ก ารปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมการบริ โ ภค ทั้งนี้การรับทราบขอมูลการบริโภคไฟฟาดังกลาวอาจสงผล
ความหมายโดยรวมของระบบดั ง กล า วที่ เ ข า ใจกั น อย า ง กว า งขวางในป จ จุ บั น นี้ ระบบโครงข า ยไฟฟ า อั จ ฉริ ย ะ (Smart Grid) จะหมายถึ ง ระบบโครงข า ยไฟฟ า ที่ ใ ช เทคโนโลยี ส ารสนเทศและสื่ อ สารมาบริ ห ารจั ด การ ดานการควบคุมการผลิต การสงจายพลังงานไฟฟา ทำให สามารถรองรับการเชื่อมตอระบบไฟฟาจากแหลงพลังงาน ทางเลือกที่สะอาด หรือระบบแหลงผลิตไฟฟากระจายตัว (Distributed Generation : DG) และระบบบริหารการใช สินทรัพยใหเกิดประโยชนสูงสุด รวมทั้งใหบริการแกผูเชื่อมตอ อยางไรก็ตาม หากจะกลาวถึงนิยามหรือความหมาย กั บ โครงข า ยผ า นมิ เ ตอร อั จ ฉริ ย ะได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ที่แทจริงของระบบโครงขายไฟฟาอัจฉริยะแลว ปจจุบันยังไม มี ค วามมั่ น คง และเชื่ อ ถื อ ได รวมทั้ ง มี คุ ณ ภาพไฟฟ า ได ไดมีการบัญญัติคำนิยามออกมาอยางเปนทางการ แตนิยาม มาตรฐานสากล
ใหพฤติกรรมการบริโภคพลังงานไฟฟาเปลี่ยนแปลงไป และ เปนการกระตุนใหผูบริโภคเกิดจิตสำนึกในการใชพลังงาน ไฟฟาใหเกิดประโยชนสูงสุด ดังนั้น การที่จะทำใหระบบ ไฟฟาแบบใหมมีประสิทธิภาพ มีความเสถียร มีความมั่นคง และมีความสมดุลระหวางภาคการผลิตและภาคการบริโภค จึงทำใหมีการคิดคนเทคโนโลยีใหมขึ้นมาที่เรียกกันตอมาวา สมาร ท กริ ด (Smart Grid) หรื อ ระบบโครงข า ยไฟฟ า อัจฉริยะ
Centralized Power System
Smart Grid / Modern Grid
www.eppo.go.th • 43
จากนิยามของระบบโครงขายไฟฟาอัจฉริยะดังที่ไดกลาวขางตนแลวนั้น จะสามารถเปรียบเทียบใหเห็นถึงความแตกตาง ระหวางระบบโครงขายไฟฟาแบบดั้งเดิมที่ใชกันอยูในปจจุบันกับระบบโครงขายไฟฟาอัจฉริยะ ซึ่งเปนเปาหมายการพัฒนา ในลำดับตอไป ดังนี้ ขอเปรียบเทียบ
ระบบโครงขายไฟฟาดั้งเดิม
ระบบโครงขายไฟฟาอัจฉริยะ
1. ทิศทางการไหลของพลังงาน ทิ ศ ทางการไหลของพลั ง งานไฟฟ า เป น ไป ทิ ศ ทางการไหลของพลั ง งานไฟฟ า มี ส อง ในทิ ศ ทางเดี ย ว จากแหล ง ผลิ ต ไปถึ ง ทิ ศ ทาง โดยผู บ ริ โ ภคสามารถทำการผลิ ต ไฟฟา ผูบริโภค ไฟฟาเอง และจายกลับเขาระบบไฟฟาหลักได 2. การติ ด ต อ สื่ อ สารระหว า ง การติ ด ต อ สื่ อ สารและส ง ผ า นข อ มู ล มี อุ ป กรณ ต า ง ๆ ในระบบ ข อ จำกั ด โดยมี เ พี ย งแค ก ารส ง ผ า นข อ มู ล โครงขายไฟฟา ระหวางผูผลิตและผูจำหนายไฟฟาเปนหลัก และมีความถี่ในการสงผานขอมูลนอย
ผูบริโภคจะมีสวนรวมในการติดตอสื่อสารผาน มิเตอรไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Meter) ทำให การสงผานขอมูลเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น
3. ความสามารถในการรองรับ ก า ร ผ ลิ ต ไ ฟ ฟ า จ า ก เทคโนโลยีที่มาจากพลังงาน สะอาด
การบริ ห ารจั ด การเสถี ย รภาพของระบบ โครงขายไฟฟาเมื่อมีระบบการผลิตไฟฟาจาก เทคโนโลยีสะอาดเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากมีระบบการสงผานขอมูลที่ดี ทำให การจั ด การเป น ไปได อ ย า งรวดเร็ ว และมี ประสิทธิภาพ
การเชื่ อ มต อ ระบบการผลิ ต ไฟฟ า จาก เทคโนโลยี ส ะอาดเข า กั บ ระบบโครงข า ย ไฟฟาหลัก จะทำใหเสถียรภาพของระบบ ไฟฟาหลักโดยรวมลดลง เนื่องจากการสง ผานขอมูลที่ดอยประสิทธิภาพกวา สูญเสีย เวลาในการดำเนิ น การตั ด สิ น ใจแก ไ ข สถานการณ
4. ประสิ ท ธิ ภ าพในการรั ก ษา การควบคุมเสถียรภาพของระบบไฟฟาดอย การควบคุมเสถียรภาพของระบบไฟฟาเปนไป ค ว บ คุ ม เ ส ถี ย ร ภ า พ ข อ ง ประสิทธิภาพกวา และใชเวลาในการแกไข อย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เนื่ อ งจากการส ง ผ า น ระบบโครงขายไฟฟา ขอบกพรองที่เกิดขึ้นคอนขางนาน ข อ มู ล ร ะ ห ว า ง อุ ป ก ร ณ เ ป น ไ ป อ ย า ง มี ประสิทธิภาพ ทำใหการตรวจจับและเขาถึง จุดบกพรองเปนไปอยางรวดเร็ว 5. ประสิทธิภาพในการบริหาร การบริหารจัดการดานพลังงานเปนไปอยาง การมี ร ะบบส ง ผ า นและจั ด เก็ บ ข อ มู ล ที่ ดี จัดการดานพลังงานไฟฟา ไมแนนอน เนื่องจากตองพึ่งพาขอมูลจาก ระหวางทุกภาคสวน ทำใหมีขอมูลที่ใกลเคียง การดำเนินการที่ผานมาในการวางแผน กั บ ความเป น จริ ง และสามารถนำมาใช ใ น การวางแผนและการตัดสินใจในการดำเนินงาน ได ดี ขึ้ น ส ง ผลให ก ารบริ ก ารจั ด การด า น พลังงานไฟฟามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ทั้งนี้ ประเทศไทยโดยหนวยงานที่มีความเกี่ยวของกับ อุตสาหกรรมไฟฟาก็ไดตระหนักถึงปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น กับสถานการณดานพลังงาน ซึ่งสงผลกระทบตอการวางแผน การดำเนินงาน รวมทั้งเสถียรภาพของระบบโครงขายไฟฟา ทำใหมีการพิจารณาดำเนินการพัฒนาระบบโครงขายไฟฟา ที่ มี อ ยู เ ดิ ม ไปสู ร ะบบโครงข า ยไฟฟ า อั จ ฉริ ย ะ โดยมี แ รง ขับเคลื่อนที่สำคัญ ดังนี้ 1. การสงเสริมการใชพลังงานหมุนเวียน และขอจำกัด ดานการจัดหาเชื้อเพลิงเชิงพาณิชยในอนาคต 2. ความจำเปนในการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช พลังงานเพื่อลดตนทุนในภาคการผลิต 3. กระแสโลกที่ปรับเปลี่ยนไปสู Low Carbon Economy 4. การพัฒนาระบบไฟฟาของไทยเพื่อความมั่นคงและ รองรับความตองการใชพลังงานที่เพิ่มขึ้น
44 • นโยบายพลังงาน
5. การวางโครงสรางพื้นฐานเพื่อรองรับการปรับเปลี่ยน ไปใชรถไฟฟาในอนาคต นอกจากการที่หนวยงานที่เกี่ยวของจะตองเปนผูนำ หลั ก ในการปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาระบบโครงข า ยไฟฟ า อั จ ฉริ ย ะแล ว ก็ ยั ง จะต อ งมี ห น า ที่ ใ นการเผยแพร ค วามรู ความเข า ใจ ในเรื่ อ งของเทคโนโลยี ดั ง กล า วให แ ก ภ าค ประชาชนอี ก ด ว ย เพื่ อ เป น การส ง เสริ ม ให ป ระชาชน ตระหนั ก ถึ ง ป ญ หาทางด า นพลั ง งานที่ เ กิ ด ขึ้ น ในป จ จุ บั น และยังเปนการสรางความรู ความเขาใจ ที่ดีตอการพัฒนา ดั ง กล า วแก ป ระชาชน เพราะการพั ฒ นาระบบโครงข า ย ไฟฟาอัจฉริยะไมไดกอใหเกิดผลประโยชนแกกลุมบุคคล กลุมใดกลุมหนึ่งเทานั้น แตจะสงผลประโยชนตอประชาชน ชาวไทยทั้งประเทศดวยกัน
ENERGY LEARNING ZONE
ไฟฟา
การซักซอมแผนเตรียมความพรอม รองรับสภาวะวิกฤติดานพลังงานไฟฟา ประจำป 2554 กระทรวงพลังงาน ไดมีนโยบายในการพัฒนาพลังงาน ของประเทศไทยให มี ค วามมั่ น คงด า นพลั ง งาน โดยให มี การจัดหาพลังงานใหเพียงพอ มีเสถียรภาพ และการมีแผน เตรียมพรอมรองรับสภาวะวิกฤติการณดานพลังงาน โดย มอบหมายใหสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ดำเนิ น การจั ด ทำแผนรองรั บ สภาวะวิ ก ฤติ ด า นพลั ง งาน ไฟฟา ทั้งนี้เพื่อเปนการเตรียมความพรอมในการรองรับ วิกฤติดานพลังงานไฟฟาของประเทศไทยในอนาคต เพื่อให การจัดทำแผนรองรับสภาวะวิกฤติดานพลังงานไฟฟาของ ประเทศไทยเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถบรรลุ เป า หมายตามที่ ก ระทรวงพลั ง งานกำหนด สนพ. จึ ง ได แต ง ตั้ ง คณะทำงานจั ด ทำแผนรองรั บ สภาวะวิ ก ฤติ ด า น พลั ง งานไฟฟ า ประกอบด ว ย ผู แ ทนจากสำนั ก งาน คณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (สกพ.) การไฟฟา ทั้ง 3 แหง นักวิชาการผูทรงคุณวุฒิในสาขาพลังงานไฟฟา และ สนพ. เพื่ อ ทำหน า ที่ ร วบรวม ศึ ก ษา วิ เ คราะห เสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการพลังงานของประเทศ ในสภาวะวิกฤติดานพลังงานไฟฟา และจัดทำแผนรองรับ สภาวะวิ ก ฤติ ด า นพลั ง งานไฟฟ า รวมทั้ ง ร ว มกั น ซั ก ซ อ ม
แผนรองรับสภาวะวิกฤติดานพลังงานไฟฟา และเสนอแนะ แนวทางเพื่อปรับปรุงแผนรองรับสภาวะวิกฤติดานพลังงาน ไฟฟาใหสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน การซั ก ซ อ มแผนเตรี ย มความพร อ มรองรั บ สภาวะ วิกฤติดานพลังงานไฟฟา ประจำป 2554 มีวัตถุประสงค เพื่ อ ให ค ณะทำงานจั ด ทำแผนรองรั บ สภาวะวิ ก ฤติ ด า น พลั ง งานไฟฟ า และเจ า หน า ที่ ที่ เ กี่ ย วข อ งได มี ค วามรู ใ น หลั ก การ วิ ธี ก ารและขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ต ามแผนรองรั บ สภาวะวิกฤติดานพลังงานไฟฟา และเพื่อเตรียมความพรอม กรณีเกิดสภาวะวิกฤติดานพลังงานไฟฟา โดยดำเนินการ ซั ก ซ อ มการดำเนิ น งานภายใต ห ลั ก การตามแผนรองรั บ สภาวะวิกฤติดานพลังงานไฟฟา เพื่อใหคณะทำงานจัดทำ แผนรองรับสภาวะวิกฤติดานพลังงานไฟฟา และเจาหนาที่ ที่เกี่ยวของไดทราบและเขาใจบทบาท หนาที่ ในการดำเนินงาน ตลอดจนเกิ ด ความคล อ งตั ว ในการดำเนิ น งานเมื่ อ เกิ ด สถานการณสภาวะวิกฤติดานพลังงานไฟฟา รวมถึงเปน แนวทางเพื่อนำไปปรับปรุงการดำเนินงานใหมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น
การซั ก ซ อ มแผนเตรี ย มความพร อ ม รองรับสภาวะวิกฤติดานพลังงานไฟฟา ภายใตสถานการณสมมติ การซอมแผนดังกลาว เริ่มจากการประชุมรวมกันของ คณะทำงานจั ด ทำแผนรองรั บ สภาวะวิ ก ฤติ ด า นพลั ง งาน ไฟฟา จากนั้นหนวยงานที่เกี่ยวของแยกยายไปประจำตาม หองตาง ๆ เพื่อปฏิบัติการตามแผน โดยจำลองสถานการณ เหมื อ นจริ ง โดยใช ห อ งประชุ ม ของคณะทำงานจั ด ทำแผน รองรับสภาวะวิกฤติดานพลังงานไฟฟา เปนหองประชุมและ www.eppo.go.th • 45
สั่งการ (War Room) โดยมี ผูอำนวยการสำนักงานนโยบาย และแผนพลั ง งาน เป น ประธานคณะทำงานเพื่ อ เตรี ย ม ความพร อ มรองรั บ สภาวะวิ ก ฤติ ด า นพลั ง งานไฟฟ า มี นายเสมอใจ ศุขสุเมฆ ผูอำนวยการสำนักนโยบายไฟฟา และนายพรชัย ปฏิภาณปรีชาวุฒิ รองเลขาธิการสำนักงาน คณะกรรมการกำกั บ กิ จ การพลั ง งาน ร ว มให ค ำปรึ ก ษา ในการซ อ มแผนเตรี ย มความพร อ มรองรั บ สภาวะวิ ก ฤติ ดานพลังงานไฟฟา การซั ก ซ อ มแผนเตรี ย มความพร อ มรองรั บ สภาวะ วิ ก ฤติ ด า นพลั ง งานไฟฟ า ได มี ก ารสมมติ เ หตุ ก ารณ ใ น วั น อั ง คารที่ 5 เมษายน 2554 ว า การไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย (กฟผ.) จำเป น ต อ งมี ก ารดั บ ไฟฟ า ประมาณ 1,400 MW โดยแบงเปนการไฟฟานครหลวง (กฟน.) 700 MW และการไฟฟ า ส ว นภู มิ ภ าค (กฟภ.) 700 MW เนื่องจากเกิดการรั่วของกาซธรรมชาติ (กาซฯ) ที่ Common Header ที่จังหวัดระยอง ทำใหกาซฯ หายไป 600 MMsfcd คิ ด เป น กำลั ง ผลิ ต ประมาณ 3,500 MW หลังจากที่ กฟผ. บริหารจัดการกำลังการผลิตอื่นทดแทนแลว ทำใหตองขอดับไฟฟาปริมาณ 1,400 MW กฟน. และ กฟภ. ตองไปบริหารจัดการเพื่อดับไฟฟา ตามแผนที่กำหนดไว ทั้งนี้คณะทำงานเพื่อเตรียมความพรอม รองรั บ สภาวะวิ ก ฤตด า นพลั ง งานไฟฟ า ได ก ำหนดให เ กิ ด อุบัติการณซ้ำซอนทำใหเกิดไฟฟาดับดังนี้
เซเสดและเขื่อนฮวยเฮาะไมสามารถเดินเครื่องไดเนื่องจาก ระดับน้ำต่ำ และโรงไฟฟาเขื่อนปากมูลไมสามารถเดินเครื่อง ไดตองทำการ Black start เขื่อนสิรินธรจายโหลดประมาณ 36 เมกะวัตต บริเวณดังกลาว
กฟน. และ กฟภ. ตองทำการยายโหลดและหมุนเวียน 1. เขตความรับผิดชอบของ กฟน. : สภาพระบบ ส ง มี ก ารปลดสายส ง รั ช ดาภิ เ ษก-บางกะป เพื่ อ แก ไ ข ดับไฟฟาจนกวาจะแกไขสถานการณได และเมื่อสถานการณ เข า สู ส ภาวะปกติ ทั้ ง 3 การไฟฟ า ได ร ายงานการแก ไ ข Jumper loop หลุดจาก Sleeve สถานการณ ใ ห ป ระธานทราบ ภายหลั ง การซั ก ซ อ มแผน 2. เขตความรับผิดชอบของ กฟภ. : สภาพระบบ เตรียมความพรอมรองรับสภาวะวิกฤติดานพลังงานไฟฟา ส ง มี ก ารปลดสายส ง ยโสธร-อุ บ ลราชธานี เพื่ อ เปลี่ ย น คณะทำงานจั ด ทำแผนรองรั บ สภาวะวิ ก ฤติ ด า นพลั ง งาน ลูกถวยและเปลี่ยน PT Line ที่สถานีไฟฟาแรงสูงยโสธร และ ไฟฟาไดประชุมรวมกันเพื่อสรุปปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น สายสงยโสธร-ศรีสะเกษ Trip สาเหตุรถเครนกอสรางลม โดยมีประเด็นปญหา อาทิ การกำหนดผูมีอำนาจสั่งการเปด พาดสายสงเสียหาย บริเวณถนนวงแหวน จังหวัดศรีสะเกษ War Room ตามระดับความรุนแรงของปญหา การกำหนด ทำใหเสาลม 3 ตน คาดวาแกไขประมาณ 5 วัน และสายสง สัดสวนที่เหมาะสมในการดับไฟและอำนาจในการดับไฟของ อำนาจเจริญ-อุบลราชธานี Trip ขาด คาดวาใชเวลาแกไข การไฟฟาฝายจำหนาย การจัดลำดับความสำคัญของพื้นที่ ประมาณ 1 ชั่วโมง ทำใหบริเวณศรีสะเกษ กันทรลักษณ ในกรณีมีความจำเปนตองดับไฟของการไฟฟาฝายจำหนาย อุบลราชธานี 1 อุบลราชธานี 2 และเขื่อนสิรินธร ไฟฟาดับ ซึ่งคณะทำงานจัดทำแผนรองรับสภาวะวิกฤติดานพลังงาน ทั้งหมด 295 MW และขณะชวงเวลาดังกลาวโรงไฟฟาปากมูล ไฟฟาจะนำประเด็นปญหาที่เกิดขึ้นไปปรับปรุงแผนรองรับ โรงไฟฟาจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เขื่อน สภาวะวิกฤติดานพลังงานไฟฟาใหมีความสมบูรณยิ่งขึ้นตอไป
46 • นโยบายพลังงาน
ENERGY LEARNING ZONE
ไฟฟา
นโยบายการกำหนด
โครงสรางอัตราคาไฟฟา
ของประเทศไทยป 2554-2558
1. ความเปนมา คณะกรรมการนโยบายพลั ง งานแห ง ชาติ (กพช.) ในการประชุมเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2548 ไดเห็นชอบ ขอเสนอโครงสรางอัตราคาไฟฟาขายสง โครงสรางอัตรา คาไฟฟาขายปลีก สูตรการปรับอัตราคาไฟฟาโดยอัตโนมัติ การชดเชยรายไดระหวางการไฟฟา และแนวทางการกำกับ การดำเนินงานตามแผนการลงทุนของการไฟฟา โดยใหมี ผลบั ง คั บ ใช ตั้ ง แต เ ดื อ นตุ ล าคม 2548 เป น ต น มา ทั้ ง นี้ หลั ก เกณฑ ท างการเงิ น ที่ ใ ช ใ นการพิ จ ารณากำหนด โครงสรางอัตราคาไฟฟาที่ใชนั้น เปนขอเสนอหลักเกณฑ ทางการเงิ น ที่ ใ ช ส ำหรั บ การพิ จ ารณากำหนดโครงสร า ง อั ต ราค า ไฟฟ า ในป 2549-2551 ดั ง นั้ น จึ ง ควรมี การทบทวนอั ต ราค า ไฟฟ า ใหม ใ ห ส อดคล อ งกั บ ภาวะ เศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป
2. นโยบายโครงสร า งอั ต ราค า ไฟฟ า ของประเทศไทยป 2554-2558 2.1 วัตถุประสงค เพื่ อ กำหนดโครงสร า งอั ต ราค า ไฟฟ า ของ ประเทศไทยให ส ะท อ นถึ ง ต น ทุ น ในการจั ด หาไฟฟ า ที่ เหมาะสมและเปนธรรม สงเสริมใหมีการใชไฟฟาที่สะทอน ถึงตนทุนคาไฟฟาที่แตกตางกันตามชวงเวลาในแตละวัน ตลอดจนส ง เสริ ม ให มี ก ารใช ไ ฟฟ า อย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เหมาะสมกั บ ภาวะเศรษฐกิ จ และสั ง คม โดยคำนึ ง ถึ ง การดูแลผูใชไฟฟาบานอยูอาศัยที่มีรายไดนอย 2.2 หลักการทั่วไป
2.2.1 อัตราคาไฟฟาตองมีความเหมาะสมกับ กพช.ในการประชุมเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2554 ลั ก ษณะโครงสร า งเศรษฐกิ จ และสั ง คม โดยเป น อั ต รา ไดเห็นชอบนโยบายการกำหนดโครงสรางอัตราคาไฟฟา คาไฟฟาที่สะทอนถึงตนทุนทางเศรษฐศาสตรมากที่สุด เพื่อ ของประเทศไทยป 2554-2558 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ สงเสริมใหมีการใชไฟฟาอยางคุมคาและมีการใหบริการ อยางมีประสิทธิภาพ www.eppo.go.th • 47
2.2.2 อัตราคาไฟฟาจะตองสงเสริมความเสมอภาค (Debt Service Coverage Ratio: DSCR) และอัตราสวน ของประชาชนในทุ ก ภู มิ ภ าค สำหรั บ ผู ใ ช ไ ฟฟ า ประเภท หนี้สินตอสวนทุน (Debt/Equity Ratio) ประกอบการพิจารณา เดียวกันตองเปนอัตราเดียวทั่วประเทศ (Uniform Tariff) ยกเวนไฟฟาพิเศษสำหรับธุรกิจบนเกาะ 2.2.6 เพื่อใหเกิดความเปนธรรมตอผูใชไฟฟา เห็นควรใหมีกลไกในการติดตามการลงทุนของการไฟฟาให 2.2.3 โครงสร า งอั ต ราค า ไฟฟ า จะมี ก ารแยก เปนไปเพื่อรักษามาตรฐานคุณภาพบริการและความมั่นคง ตนทุนของแตละกิจการ ไดแก กิจการผลิต กิจการระบบสง ของระบบไฟฟาของประเทศไทย โดยกำหนดใหมีบทปรับ กิจการระบบจำหนาย และกิจการคาปลีก ออกใหเห็นอยาง การลงทุ น ของการไฟฟ า ไม เ ป น ไปตามแผนการลงทุ น ชัดเจนและโปรงใส สามารถตรวจสอบไดอยางเปนระบบ ที่ เ หมาะสมที่ ใ ช ใ นการกำหนดโครงสร า งอั ต ราค า ไฟฟ า หรื อ การลงทุ น ในโครงการที่ ไ ม มี ค วามจำเป น หรื อ ไม มี 2.2.4 อั ต ราค า ไฟฟ า จะต อ งอยู ภ ายใต ก รอบ ประสิทธิภาพ (Crawl Back) คาใชจายการดำเนินงานของการไฟฟาที่มีประสิทธิภาพ โดย การพิจารณาผลตอบแทนการลงทุนของการไฟฟาจะตอง 2.3 โครงสรางอัตราขายสง (Wholesale Tariffs) พิจารณาภายใตเงื่อนไขกรอบคาใชจายการดำเนินงานของ การไฟฟาที่มีประสิทธิภาพ และเห็นควรใหมีการปรับปรุง 2.3.1 โ ค ร ง ส ร า ง อั ต ร า ค า ไ ฟ ฟ า ข า ย ส ง ที่ ประสิทธิภาพการดำเนินงานของการไฟฟาอยางตอเนื่อง การไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย (กฟผ.) ขายให การไฟฟานครหลวง (กฟน.) และการไฟฟาสวนภูมิภาค 2.2.5 เพื่อใหการไฟฟาทั้ง 3 แหง มีฐานะการเงิน (กฟภ.) ควรกำหนดเปนโครงสรางเดียวกัน ซึ่งประกอบดวย ที่สามารถขยายการดำเนินงานไดอยางเพียงพอในอนาคต ค า ผลิ ต ไฟฟ า และค า กิ จ การระบบส ง โดยค า ไฟฟ า จะ ซึ่งอัตราผลตอบแทนทางการเงินจะอางอิงจากอัตราสวน แตกตางกันตามระดับแรงดันและชวงเวลาของการใชไฟฟา ผลตอบแทนการลงทุ น (Return on Invested Capital: (Time of Usage-TOU) ROIC) เปนหลักในการกำหนดโครงสรางอัตราคาไฟฟา โดย 2.3.2 กำหนดบทปรับคาตัวประกอบกำลังไฟฟา ใหมีการทบทวนความเหมาะสมและจำเปนตอการดำเนินการ ของสินทรัพยของการไฟฟาที่ใชในฐานกำหนดผลตอบแทน (Power Factor) ในระดับขายสงสำหรับการไฟฟาทั้ง 3 แหง การลงทุน และใหใชอัตราสวนรายไดสุทธิตอการชำระหนี้ และผู ป ระกอบกิ จ การไฟฟ า ที่ เ หมาะสมสอดคล อ งกั บ สถานการณในปจจุบัน 2.3.3 กำหนดเงินชดเชยรายไดระหวางการไฟฟา ฝายจำหนายในลักษณะที่ตองติดตามตรวจสอบตาม หนวยจำหนายที่เกิดขึ้นจริง (Output Base) โดยผาน กลไกกองทุนพัฒนาไฟฟาตามมาตรา 97 (1) ของ พระราชบัญญัติประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550
48 • นโยบายพลังงาน
2.4 โครงสรางอัตราคาไฟฟาขายปลีก
2.4.4 อัตราคาไฟฟาขายปลีกควรสะทอนความ มั่นคง ความถี่ของแรงดันไฟฟา ตามลักษณะความตองการ ใชไฟฟาของผูใชไฟฟาประเภทตาง ๆ เชน โรงพยาบาล โรงงานอุ ต สาหกรรม เป น ต น ทั้ ง นี้ ควรมี ก ารกำหนด คำนิ ย ามของอั ต ราค า ไฟฟ า ขายปลี ก แต ล ะประเภทให มี ความชัดเจน ตลอดจนมีกลไกในการทบทวนการรับภาระ คาไฟฟาระหวางกลุมที่เกิดขึ้น การพิจารณาบทปรับกรณีใช ไฟฟาผิดวัตถุประสงค เชน การใชไฟฟาเพื่อความปลอดภัย สาธารณะ การสูบน้ำเพื่อการเกษตร เปนตน
2.4.1 โครงสร า งอั ต ราค า ไฟฟ า ขายปลี ก จะ ประกอบดวยคาไฟฟาฐาน (G, T, D, R) ควรมีการทบทวน ทุก 2 ป เพื่อสะทอนคาใชจายในการลงทุนและคาใชจาย ในการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ และคาไฟฟาตามสูตร ปรับอัตราคาไฟฟาโดยอัตโนมัติ (Ft) โดยใหกำหนดอัตรา คาไฟฟาขายปลีกสะทอนตนทุนตามชวงเวลาและลักษณะ การใชไฟฟาของผูใชไฟฟาแตละประเภทใหมากที่สุด เพื่อ ส ง สั ญ ญาณในการใช พ ลั ง งานไฟฟ า อย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ 2.4.5 กำหนดใหมีการคำนวณอัตราคาบริการ ตลอดจนมีการดูแลผูใชไฟฟาบานอยูอาศัยที่มีรายไดนอย ที่ใชไฟฟาไมเกิน 90 หนวยตอเดือน ทั้งนี้ บานอยูอาศัยที่มี พิเศษสำหรับธุรกิจบนเกาะและอัตราคาไฟฟาสำหรับผูใช รายไดนอยดังกลาวจะไดรับการอุดหนุนคาไฟฟาจากผูใช ไฟฟ า ระบบเติ ม เงิ น เพื่ อ สะท อ นต น ทุ น ที่ แ ท จ ริ ง ของการ ไฟฟาประเภทอื่น ๆ โดยโครงสรางอัตราคาไฟฟาฐานมี ดำเนินโครงการของการไฟฟา ลั ก ษณะเป น อั ต ราก า วหน า (Progressive Rate) และมี การกำหนดอัตราคาบริการรายเดือน ทั้งนี้ ผูใชไฟฟาสามารถ 2.5 การปรับอัตราคาไฟฟาโดยอัตโนมัติ เลือกใชอัตราคาไฟฟาที่แตกตางกันตามชวงเวลาของการใช 2.5.1 การปรับอัตราคาไฟฟาโดยอัตโนมัติ โดย 2.4.2 อัตราคาไฟฟาควรเปนอัตราที่มีการทบทวน ใชสูตรการปรับอัตราคาไฟฟาโดยอัตโนมัติ (คา Ft) เพื่อ หรือปรับปรุงอยางสม่ำเสมอ โดยพิจารณาตามองคประกอบ สะทอนตนทุนถึงการเปลี่ยนแปลงของตนทุนที่อยูนอกเหนือ ของต น ทุ น ที่ แ ท จ ริ ง ซึ่ ง จะทำให อั ต ราค า ไฟฟ า ต อ หน ว ย การควบคุ ม ของการไฟฟ า อย า งแท จ ริ ง มี ค วามโปร ง ใส ไมผันผวนเกินสมควร รวมทั้งการบริหารจัดการตนทุนให เปนธรรมตอผูใชไฟฟา มีประสิทธิภาพ ตลอดจนลดการอุดหนุนระหวางกลุมให 2.5.2 คา Ft ควรประกอบดวย คาใชจายดาน นอยลงเทาที่จะทำได เชื้อเพลิงและคาซื้อไฟฟา ที่เปลี่ยนแปลงไปจากคาเชื้อเพลิง 2.4.3 กำหนดบทปรับคาตัวประกอบกำลังไฟฟา และค า ซื้ อ ไฟฟ า ฐานที่ ใ ช ใ นการกำหนดโครงสร า งอั ต รา (Power Factor) ในระดับขายปลีกสำหรับผูใชไฟฟากิจการ คาไฟฟา รวมถึงผลกระทบจากนโยบายของรัฐ เชน สวนเพิ่ม ขนาดกลาง ขนาดใหญ และกิ จ การเฉพาะอย า ง เพื่ อ ให ราคารับซื้อไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน เปนตน สะทอนถึงภาระการลงทุนในการปรับปรุงคาตัวประกอบ 2.5.3 คา Ft ควรมีการเปลี่ยนแปลงทุก 4 เดือน กำลังไฟฟาของการไฟฟาฝายจำหนาย โดยคำนึงถึงผลกระทบ เพื่อมิใหเปนภาระตอการไฟฟา และเพื่อใหผูใชไฟฟาไมตอง ตอผูใชไฟฟาประกอบดวย รับภาระความผันผวนของคาไฟฟาที่เปลี่ยนแปลงบอยเกินไป ดังนั้น จึงควรพิจารณาใชคาถัวเฉลี่ย 4 เดือน
www.eppo.go.th • 49
ENERGY LEARNING ZONE
ไฟฟา
การกำหนดพื้นที่ตั้งโรงไฟฟา ที่ประชาชนมีสวนรวม โครงการโรงไฟฟาของเอกชน (IPP) ที่ผานการประเมิน คัดเลือกขอเสนอในป 2550 หลายโครงการไดรับการคัดคาน และการต อ ต า นจากประชาชนในพื้ น ที่ ท ำให ไ ม ส ามารถ ดำเนิ น โครงการได ทั้ ง นี้ โรงไฟฟ า ที่ ผ า นการประเมิ น ดั ง กล า วได ถู ก รวมเป น ส ว นหนึ่ ง ของแผนจั ด หาพลั ง งาน ไฟฟ า ของประเทศ (PDP) การที่ โ รงไฟฟ า กลุ ม ดั ง กล า ว ไมสามารถดำเนินการไดจะสงผลกระทบตอการจัดหาไฟฟา เพื่อตอบสนองความตองการใชไฟฟาในประเทศ กระทรวง พลังงานรวมกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดมีการรวมกันเพื่อหาแนวทางแกไขปญหาที่เกิดขึ้น โดยได
จัดตั้งคณะอนุกรรมการประสานการจัดการสิ่งแวดลอมและ พลังงาน (คณะอนุกรรมการฯ) และไดมีการประชุมรวมกัน เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2553 โดยที่ประชุมมีมติเห็นชอบใน หลักการเกี่ยวกับขอเสนอแนวทางดำเนินการ โดยเห็นควร ใหมีการศึกษาพิจารณาสิทธิประโยชนที่ประชาชนจะไดรับ และกำหนดเกณฑในการออกประกาศเชิญชวนเสนอพื้นที่ ใหไดขอสรุปที่ชัดเจนกอน จึงจะเสนอรัฐบาลเพื่อขอจัดตั้ง คณะอนุกรรมการฯ ภายใต คณะกรรมการนโยบายพลังงาน แหงชาติ (กพช.) เพื่อดำเนินการในกระบวนการทั้งหมด ตอไป โดยกำหนดแนวทางดำเนินการเปน 3 ระยะ ดังนี้
ทั้งนี้ การกำหนดพื้นที่ตั้งโรงไฟฟามีวัตถุประสงคเพื่อใหการกำหนดสิทธิประโยชนที่ประชาชนควรจะไดรับสอดคลองกับ ความตองการของประชาชนในแตละพื้นที่อยางแทจริง ซึ่งจะชวยสงเสริมการพัฒนาโรงไฟฟาใหสามารถอยูรวมกับชุมชน ได นำไปสูการยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนโดยรอบโรงไฟฟา รวมทั้งเปนการสงเสริมการมีสวนรวมกับผูที่เกี่ยวของ สรางความรวมมือตอกันและสรางความนาเชื่อถือที่ประชาชนมีตอภาครัฐ
50 • นโยบายพลังงาน
การดำเนินการตามแนวทางระยะสั้น คณะอนุ ก รรมการฯ ได แ ต ง ตั้ ง คณะทำงานศึ ก ษา สิทธิประโยชนที่ประชาชนควรจะไดรับ และศึกษากำหนด เกณฑในการออกประกาศเชิญชวนใหประชาชนเสนอพื้นที่ สำหรับตั้งโรงไฟฟา (คณะทำงานฯ) เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2553 โดยมี ผู อ ำนวยการสำนั ก งานนโยบาย และแผนพลั ง งานเป น ประธาน ซึ่ ง คณะทำงานได มี ก ารประชุ ม และได ดำเนินการวาจางคณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ที่ปรึกษาฯ) เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2553 ใน การศึกษาสิทธิประโยชนที่ประชาชน ควรจะได รั บ และเกณฑ ใ นการออก ประกาศเชิญชวนใหประชาชนเสนอ พื้ น ที่ ส ำหรั บ ตั้ ง โรงไฟฟ า โดยได มี การคัดเลือกพื้นที่ในการสำรวจขอมูลและสอบถามความเห็น ของประชาชนรวมถึ ง ผู เ กี่ ย วข อ งในการจั ด ตั้ ง โรงไฟฟ า ในพื้นที่ดังรูปดานขวา
คณะทำงานฯ และที่ปรึกษาฯ ไดประชุมรวมกันในการดำเนินงาน โดยสรุปขั้นตอนการดำเนินงานไดดังนี้
ภายหลังจากการจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นตอรางสิทธิประโยชนที่ประชาชนควรจะไดรับและเกณฑในการออกประกาศ เชิญชวนใหประชาชนเสนอพื้นที่ตั้งโรงไฟฟา ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2554 ที่ปรึกษาฯ ไดจัดสงรายงานฉบับสมบูรณ ให แ ก ค ณะทำงานฯ ซึ่ ง คณะทำงานได มี ก ารพิ จ ารณาผลการศึ ก ษาแล ว และจะได น ำเสนอผลการศึ ก ษาดั ง กล า วต อ คณะอนุกรรมการฯ เพื่อประกอบการดำเนินการออกประกาศเชิญชวนและคัดเลือกพื้นที่ และศึกษากำหนดพื้นที่ที่เหมาะสม (Site Suitability) ตามแนวทางการดำเนินการในระยะกลางตอไป www.eppo.go.th • 51
ENERGY LEARNING ZONE
นโยบายพลังงาน
นโยบายการใชเชื้อเพลิง เพื่อผลิตไฟฟา ของประเทศในกลุมอาเซียน
การประชุมสัมมนานโยบายดานเชื้อเพลิง สำหรั บ ผลิ ต กระแสไฟฟ า ของอาเซี ย น วั น ที่ 2-3 มีนาคม 2554 ที่ผานมา ณ จังหวัดเชียงใหม ไดรับความสนใจเปนอยางมากทั้งจากในกลุมประเทศ อาเซียนและนอกกลุมอาเซียน ซึ่งประเทศสมาชิกอาเซียน ที่ เ ข า ร ว มมี 8 ประเทศ คื อ 1. บรู ไ น 2. อิ น โดนี เ ซี ย 3. มาเลเซีย 4. พมา 5. ฟลิปปนส 6. สิงคโปร 7. ไทย และ 8. เวี ย ดนาม ส ว นประเทศลาวและกั ม พู ช าไม ส ามารถ เข า ร ว มในการประชุ ม ครั้ ง นี้ ไ ด ในส ว นองค ก รระหว า ง ประเทศนอกกลุมอาเซียนที่เขารวม ไดแก 1. สถาบันวิจัย ดานเศรษฐกิจของอาเซียนและเอเชียตะวันออก (Economic Research Institute for ASEAN and East Asia: ERIA) 2. ทบวงพลังงานโลก (International Energy Agency: IEA) 3. คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงเอเชียแปซิฟก องคการสหประชาชาติ (United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific: ESCAP) 4. บริ ษั ท ผลิ ต ไฟฟ า เกาหลี (Korea Electric Power Corporation: KEPCO) 5. ศู น ย พ ลั ง งานถ า นหิ น ญี่ ปุ น (Japan Coal Energy Center: JCOAL) 6. บริษัทเยอรมัน เพื่อความรวมมือระหวางประเทศ (Deutsche Gesellschaft for Internationals Zusammenarbeit: GIZ)
52 • นโยบายพลังงาน
วั ต ถุ ป ระสงค ก ารจั ด สั ม มนาครั้ ง นี้ มี จุ ด มุ ง หมายเพื่ อ ส ง เสริ ม ความร ว มมื อ ใน การแบ ง ป น ข อ มู ล และประสบการณ เ พื่ อ ผลิ ต ไฟฟ า ในอาเซี ย น รวมทั้ ง เพื่ อ หารื อ กั บ แนวทาง ที่ เ ป น ต น แบบในการบริ ห ารจั ด การใช เ ชื้ อ เพลิ ง ที่ ดี ที่ สุ ด เพื่ อ นำไปสู ก ารบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค ข องการเสริ ม สร า ง ความมั่นคงดานพลังงาน (Energy Security) และคำนึงถึง การพั ฒ นาอย า งยั่ ง ยื น (Sustainable Development) นอกจากนี้ เป า หมายในการสร า งความสมดุ ล ในการใช ทรัพยากรเชื้อเพลิงในภูมิภาคอาเซียนก็เปนอีกปจจัยที่ตอง มีการคำนึงถึงเพื่อสรางเสถียรภาพในระยะยาวแกภูมิภาค อาเซียน ในการนี้ ประเทศไทยไดรับเกียรติใหเปนผูประสานงาน หลักในการรวบรวมและจัดทำแผนนโยบายการใชเชื้อเพลิง ดังกลาว ซึ่งในการสัมมนาจำแนกตามชนิดของเชื้อเพลิงที่ใช ในการผลิ ต ไฟฟ า ได แ ก 1. ถ า นหิ น 2. ก า ซธรรมชาติ 3. นิวเคลียร และ 4. พลังงานทดแทน และเปดโอกาสให ประเทศสมาชิกไดนำเสนอแนวนโยบายการผลิตไฟฟาของ แตละประเทศ เพื่อเปดโอกาสใหเรียนรูและแบงปนขอมูล กันและกัน
1. ภาพรวมการใช เ ชื้ อ เพลิ ง เพื่ อ ผลิ ต ไฟฟาของอาเซียน ในปจจุบันอาเซียนกำลังประสบกับปญหาความยาก ลำบากในการเสริมสรางความมั่นคงดานพลังงาน เนื่องจาก ภู มิ ภ าคอาเซี ย นมี ก ารเจริ ญ เติ บ โตทั้ ง ทางเศรษฐกิ จ และ ประชากรอยางรวดเร็ว ในขณะที่ประเทศสมาชิกอาเซียน ตางก็พึ่งพาพลังงาน ถานหิน กาซธรรมชาติ อยางมาก และ แนวโน ม การพึ่ ง พาเช น นี้ จ ะยิ่ ง ทวี ค วามเข ม ข น มากขึ้ น ในขณะที่ ท รั พ ยากรเหล า นี้ ก ลั บ มี แ นวโน ม จะหายากและ ราคาแพงขึ้น ดั ง นั้ น การเสริ ม สร า งความร ว มมื อ ด า นพลั ง งาน ระหวางประเทศจึงมีความสำคัญอยางมาก เพื่อเสริมสราง ความมั่นคงดานพลังงาน โดยนโยบายและมาตรการตาง ๆ ตามแผนปฏิ บั ติ ก ารความร ว มมื อ อาเซี ย นด า นพลั ง งาน ป 2553-2558 ไมวาจะเปนแผนการเชื่อมโยงทอสงกาซ อาเซี ย น (Trans ASEAN Gas Pipeline: TAGP) และ การเชื่อมโยงสายสงไฟฟาอาเซียน (ASEAN Power Grids: APG) ก็เปนสวนสำคัญของการสรางความรวมมือในอาเซียน นอกจากนี้ ความรวมมือในการซื้อขายไฟฟาระหวางประเทศ ถือเปนแนวทางสำคัญที่จะชวยเสริมสรางความมั่นคงดาน พลังงานของอาเซียน เหมือนเชนประสบการณในประเทศ ที่พัฒนาแลว ซึ่งสามารถผานเหตุการณวิกฤตดานพลังงาน ไมวาจะเปนปญหาภัยแลงในประเทศนอรเวยเมื่อป 25452546 หรือการขาดแคลนกาซธรรมชาติในยุโรปเมื่อป 2552 2. ดานถานหิน เหลานี้ลวนแสดงใหเห็นถึงความสำเร็จของความรวมมือกัน ประเทศอินโดนีเซียซึ่งมีทรัพยากรถานหินที่อุดมสมบูรณ เพื่อจัดตั้งตลาดพลังงานในภูมิภาคที่มีกลไกการทำงานที่มี ประสิทธิภาพ ในการชวยเตรียมความพรอมสำหรับรองรับ ในภูมิภาคอาเซียน และในฐานะประธานกลุมความรวมมือ ดานถานหินในอาเซียน (ASEAN Forum on Coal: AFOC) สถานการณยามฉุกเฉิน ได ร ายงานว า ในป จ จุ บั น การทำเหมื อ งถ า นหิ น และผลิ ต อยางไรก็ตาม ความมั่นคงดานพลังงานไมควรจะเปน สวนใหญจะกระจุกตัวอยูที่เกาะสุมาตราและกลิมันตัน ซึ่ง เพียงเปาหมายเดียวในการพัฒนาดานพลังงาน เพราะในภาวะ รอยละ 66 ของถานหินที่ผลิต ไดถานหินคุณภาพปานกลาง ที่มีการเจริญเติบโตสูง การปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ที่มีคาความรอนประมาณ 5,100-6,100 กิโลแคลอรีตอ รวมทั้ ง สารอื่ น ๆ ที่ ก อ ให เ กิ ด มลพิ ษ ต อ สิ่ ง แวดล อ มย อ ม กิ โ ลกรั ม อิ น โดนี เ ซี ย มี เ ป า หมายการใช เ ชื้ อ เพลิ ง ในแผน สูงขึ้นตามไปดวย กระแสการพัฒนา “สีเขียว” ที่เนนคือ การผลิตไฟฟาในป 2565 ที่ยังคงพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิล การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจควบคูกันกับการดูแลรักษา ในสั ด ส ว นที่ ค อ นข า งสู ง กล า วคื อ ถ า นหิ น ร อ ยละ 33 สิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน จึงเปนแนวทางหลักในการดำเนิน กาซธรรมชาติ รอยละ 30 น้ำมัน รอยละ 20 และพลังงาน ทดแทน รอยละ 17 ธุรกิจและขับเคลื่อนเศรษฐกิจในยุคตอไป www.eppo.go.th • 53
ในป จ จุ บั น อิ น โดนี เ ซี ย มี ก ารผลิ ต ถ า นหิ น ประมาณ 270 ลานตัน ซึ่งประมาณ 55.5 ลานตัน ใชในการผลิต ไฟฟาในประเทศอีก 11.5 ลานตัน ใชในภาคอุตสาหกรรม คาดวาในอีก 4 ปขางหนาปริมาณการใชถานหินในการผลิต ไฟฟาจะเพิ่มเปน 70 ลานตัน และใชในภาคอุตสาหกรรม เพิ่มเปน 17.5 ลานตัน ประเทศอินโดนีเซียคาดวาการผลิต ถานหินจะยังคงเติบโตอยางตอเนื่องจากระดับ 270 ลานตัน ในป 2553 ขึ้นไปสูระดับ 361 ลานตัน และ 405 ลานตัน ในป 2563 และป 2568 ตามลำดับ สวนระดับการสงออก ในป 2553 อยูที่ 206 ลานตัน และคาดวาการสงออก ถานหินของอินโดนีเซียจะมีแนวโนมลดลงเรื่อย ๆ โดยอยูที่ ระดับ 191 ลานตัน และ 185 ลานตัน ในป 2563 และ ป 2568 ตามลำดั บ เนื่ อ งจากความต อ งการใช ถ า นหิ น ในอินโดนีเซียมีการขยายตัวในอัตราที่สูงอยางตอเนื่อง ในดานการเติบโตอยางยั่งยืนหรือที่เรียกกันสั้น ๆ วา Green Growth นั้น เปนการเจริญเติบโตที่เนนการเจริญเติบโต อยางมีคุณภาพ โดยคำนึงถึงความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม และสั ง คม หั ว ใจสำคั ญ ของการเติ บ โตอย า งยั่ ง ยื น อยู ที่ การสงเสริมการมีประสิทธิภาพในการใชพลังงาน การจัดการ ดานทรัพยากรอยางยั่งยืน โดยเนนการใชนโยบายการสราง แรงจูงใจเปนตัวผลักดันใหเกิดกระแสการพัฒนาอยางยั่งยืน ผานกลไกทางดานราคาและภาษี รวมทั้งการใหการสงเสริม การลงทุนและการจัดหาแหลงเงินทุน ในมุ ม มองของการสนั บ สนุ น ด า น Green Growth ตอโรงไฟฟาแบบถานหินนั้นสามารถทำการสงเสริมไดใน 4 ดานหลัก คือ 1. นโยบายการควบคุ ม ซึ่ ง เน น การควบคุ ม และ จำกัดการปลอยกาซ รวมทั้งการสรางแรงจูงใจเพื่อมุงไปสู การพัฒนาแบบมีการปลดปลอยคารบอนต่ำ 2. การใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยและมีความสะอาดเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพของหนวยผลิตและการทำงานของสายสง เชน เรื่องของระบบสงไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Grid) 3. การจัดหาแหลงทุนและการลงทุน เชน (1) การใช กลไกราคาและนโยบายภาษีที่รวมเอาตนทุนสิ่งแวดลอม เขา ไปไว ใ นต น ทุ น การผลิ ต ของผู ป ระกอบการ หรื อ (2) การให ก ารสนั บ สนุ น ด า นแหล ง ทุ น ที่ ทั น สมั ย จากตลาด คารบอน (Carbon Market)
54 • นโยบายพลังงาน
4. การปรั บ ปรุ ง เชิ ง สถาบั น เช น (1) การปฏิ รู ป โครงสรางของตลาดคาไฟฟาอาเซียนดวยระบบการเชื่อมโยง สายสงไฟฟาอาเซียน (ASEAN Grid Connection) หรือ (2) การสงเสริมการจัดตั้งบริษัทจัดการดานพลังงาน (Energy Service Company: ESCO) เพื่อชวยใหการสงเสริมงาน ดานอนุรักษพลังงานเปนไปไดอยางตอเนื่อง ในดานแนวทางการบริหารการจัดการดานเชื้อเพลิง ในภาวะขาดแคลน ประเทศไทยโดยการไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แหงประเทศไทย (กฟผ.) ไดรวมแบงปนประสบการณใน การเสริมสรางความมั่นคงระยะยาว และแนวทางการบริหาร สถานการณฉุกเฉินดังตอไปนี้ 1. ในด า นการจั ด ซื้ อ กฟผ.มี แ นวโน ม ที่ จ ะเน น การกระจายการจั ด หาเชื้ อ เพลิ ง ถ า นหิ น จากหลายแหล ง และมาจากในหลายประเทศ 2. ในด า นการสำรองและบริ ห ารเชื้ อ เพลิ ง ถ า นหิ น ทาง กฟผ.ไดมีการกำหนดระดับสำรองขั้นต่ำที่ 1.5-2 เดือน เพื่อใหมีถานหินใชเพียงพอสำหรับการบริหารสถานการณ ในภาวะฉุกเฉิน 3. นอกจากนี้ ทาง กฟผ.ยังมีนโยบายมุงเนนการลงทุน ในเหมืองถานหินตางประเทศ เพื่อเปนหลักประกันสำหรับ ความมั่นคงดานถานหินในระยะยาวตอไป
4. การจั ด ตั้ ง ศู น ย ถ า นหิ น ประเทศไทย โดยเป น ความรวมมือระหวาง กฟผ.กับผูมีสวนเกี่ยวของ ทั้งนี้ เพื่อ สรางเสถียรภาพทางดานราคาถานหินและความตอเนื่อง ของอุปทานถานหิน
3. ดานกาซธรรมชาติ ในอดี ต ที่ ผ า นมา ช ว งป 2514-2552 การผลิ ต กาซธรรมชาติในทวีปเอเชีย (ยกเวนประเทศจีน) ยังไมมี บทบาทที่ เ ด น ชั ด นั ก เมื่ อ เที ย บกั บ ภาพรวมของการผลิ ต ก า ซธรรมชาติ ใ นโลก การใช ก า ซธรรมชาติ ส ว นใหญ จ ะ เปนการใชในภาคอุตสาหกรรม และอีกสวนจะเปนการใช เพื่อผลิตกระแสไฟฟาซึ่งกำลังมีบทบาทเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ในดานการซื้อขายกาซระหวางอาเซียนถือไดวามีการสนับสนุน อยางตอเนื่องจากโครงการเชื่อมโยงทอสงกาซอาเซียน ซึ่ง มีการเจรจาหารือกันมายาวนาน จนในปจจุบันตามที่ระบุไว ในแผนของการเชื่อมโยงทอสงกาซ ระยะทางของทอสงกาซ รวมทั้ ง สิ้ น ยาวประมาณ 3,020 กิ โ ลเมตร และมี ก ำลั ง การขนส ง ได ป ระมาณ 3,000 ล า นลู ก บาศก ฟุ ต ต อ วั น ในขณะที่ ก ารใช ท้ั ง ภู มิ ภ าคอยู ที่ ป ระมาณ 10,000 ล า น ลู ก บาศก ฟุ ต ต อ วั น ดั ง นั้ น การสำรวจ การผลิ ต และ การจัดสรรการใชทรัพยากรในภูมิภาคอาเซียนอยางสมดุล ถือเปนเงื่อนไขสำคัญที่จะสงผลตอความมั่นคงในการผลิต ไฟฟ า ของอาเซี ย นในระยะยาว โดยในขั้ น ต อ ไปอาเซี ย น ควรจะดำเนินการดังนี้ 1) ทบทวนและประเมิ น สถานการณ ก ารใช แ ละ การจัดหากาซธรรมชาติของอาเซียนในปจจุบัน 2) การสรางความเชื่อมโยงและสอดคลองระหวาง ฐานข อ มู ล ในด า นการคาดการณ ก ารใช การประเมิ น ปริมาณกาซธรรมชาติที่มีอยู 3) การผนวกเอาป จ จั ย การเปลี่ ย นแปลงที่ ส ำคั ญ ในตะวันออกกลางและในโลกเขามาสูบริบทของการทบทวน แผนการใชและจัดหาในอาเซียน
ไฟฟาในสัดสวนที่สูงมาก โดยรอยละ 93 ของกำลังผลิต ติดตั้งบนคาบสมุทรมาเลเซียเปนกำลังผลิตติดตั้งที่พึ่งพา กาซธรรมชาติ ในภาพรวมสัดสวนของการใชเชื้อเพลิงเพื่อ ผลิ ต กระแสไฟฟ า ของมาเลเซี ย ในป จ จุ บั น สรุ ป ได ดั ง นี้ กาซธรรมชาติ รอยละ 58 ถานหิน รอยละ 32 พลังน้ำ รอยละ 8.6 น้ำมัน รอยละ 1.7 และชีวมวล รอยละ 0.1 ในอี ก 20 ป ข า งหน า มาเลเซี ย มี เ ป า หมายที่ จ ะ กระจายการใชเชื้อเพลิงใหเกิดความสมดุลมากยิ่งขึ้น โดย สั ด ส ว นการใช ก า ซธรรมชาติ ข องประเทศจะลดลงจาก ร อ ยละ 54 เหลื อ ร อ ยละ 41 รวมทั้ ง จะเน น การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของการใช พ ลั ง งานให ดี ยิ่ ง ขึ้ น ควบคู ไ ปกั บ การพิจารณาพลังงานทางเลือกชนิดอื่น ๆ ทั้งในสวนของ พลังงานทดแทนและพลังงานนิวเคลียร นอกจากนี้ มาเลเซียยังมีนโยบายในการจัดการกับ ภาวะความขาดแคลนยามฉุกเฉินทั้งระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว โดยในระยะสั้นการนำเชื้อเพลิงชนิดอื่นซึ่ง ได จ ากกระบวนการกลั่ น จะถู ก นำมาใช ท ดแทนเมื่ อ เกิ ด ความขาดแคลนแบบเรงดวน สวนในระยะกลางและระยะยาว การจั ด ตั้ ง โรงรั บ และเปลี่ ย นสถานะก า ซป โ ตรเลี ย มเหลว (Liquefied Natural Gas: LNG) ใหกลับเปนกาซธรรมชาติ (LNG Regasification Terminal) รวมทั้ ง การพั ฒ นา เทคโนโลยีใหม ๆ เพื่อใหการใชเชื้อเพลิง เชน ถานหินและ นิ ว เคลี ย ร มี ค วามปลอดภั ย และเป น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล อ ม มากยิ่งขึ้น
ในส ว นของการใช ก า ซเพื่ อ ผลิ ต กระแสไฟฟ า นั้ น ในสวนของภาพรวมของประเทศสิงคโปรนั้น เนื่องจาก ประเทศมาเลเซียและสิงคโปรไดมารวมแบงปนประสบการณ ขอมูลดังนี้ มาเลเซียไดชี้แจงใหเห็นถึงการเจริญเติบโตของ ประเทศสิงคโปรมีขอจำกัดในเรื่องขนาดของพื้นที่และทรัพยากร การใชกาซธรรมชาติอยางกาวกระโดดในชวงป 2533-2551 ธรรมชาติของประเทศ ดังนั้น สิงคโปรจึงไมสามารถหันไปสู ซึ่งประเทศมาเลเซียมีการพึ่งพากาซธรรมชาติในการผลิต นโยบายการผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยไดอยางเต็มที่ www.eppo.go.th • 55
สิ่งที่สิงคโปรจำเปนตองใชในการผลิตไฟฟาคือ กาซธรรมชาติ ซึ่ ง ในป จ จุ บั น แหล ง นำเข า ก า ซธรรมชาติ ข องสิ ง คโปร คื อ มาเลเซียและอินโดนีเซีย แตในอนาคตสิงคโปรจะเปลี่ยนแปลง รูปแบบการนำเขากาซธรรมชาติเปนการนำเขาแบบชนิดเหลว (LNG) มากยิ่งขึ้น นโยบายที่ทางการสิงคโปรใชอยูในขณะนี้ คือ การควบคุมการนำเขาและเนนการสงเสริมการสราง ความต อ งการ LNG เพิ่ ม มากขึ้ น ภายใต น โยบายใหม นี้ การผลิตกระแสไฟฟาดวยกาซธรรมชาติที่ลำเลียงมาทางทอ จะถูกจำกัดและไดรับการอนุมัติใหสามารถใชกาซทางทอ ไดนอยลง นอกจากนี้ สิ ง คโปร ยั ง ได แ ต ง ตั้ ง กลุ ม BG ให เ ป น ผู ร วบรวมก า ซ LNG ให ไ ด 3 ล า นตั น ต อ ป ซึ่ ง ในขณะนี้ สามารถรวบรวมไดแลว 2 ลานตันตอป เพื่อการผลิตไฟฟา ในสวนของจุดรับ-สงและกระจายกาซ LNG (LNG Terminal) ทางการสิงคโปรไดจัดตั้งกลุมบริษัทเพื่อดำเนินธุรกิจดังกลาว เป น กรณี พิ เ ศษ ซึ่ ง รู จั ก กั น ในนาม Singapore LNG Corporation แตภายหลังจากวิกฤตเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกา เมื่อป 2551 การสรางทอรับ-สงกาซ LNG ไดถูกโอนยาย มาอยู ภ ายใต ก ารกำกั บ ขององค ก รกำกั บ กิ จ การพลั ง งาน (Energy Market Authority: EMA) สถานการณผลิตไฟฟาของสิงคโปรในปจจุบันพบวา ประมาณรอยละ 80 ของไฟฟาที่ผลิตไดในสิงคโปรมาจาก การใชเชื้อเพลิงกาซธรรมชาติ สวนอีกรอยละ 20 เปนไฟฟา ที่ผลิตไดจากน้ำมัน ในอนาคตคาดวาสัดสวนการผลิตไฟฟา ดวยกาซธรรมชาติจะเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากนโยบายสงเสริม การนำเขา LNG และการซอมแซมปรับปรุงโรงไฟฟาเกาที่ใช กาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง อยางไรก็ตาม สิงคโปรก็ได เนนย้ำถึงนโยบายการกระจายการใชเชื้อเพลิงอยางสมดุล โดยอยูบนพื้นฐานของกลไกตลาด
ดำเนิ น ไปอย า งรวดเร็ ว ในภู มิ ภ าคต า ง ๆ แต ใ นภู มิ ภ าค อาเซียนความกาวหนาดานนิวเคลียรยังไมปรากฏผลเปน รูปธรรมที่ชัดเจนนัก จากขอมูลลาสุด ณ เดือนกุมภาพันธ 2554 มีโรงไฟฟา นิวเคลียร จำนวน 442 โรง ทั่วโลกที่กำลังผลิตกระแสไฟฟา อยู และมีกำลังผลิตติดตั้งรวมคิดเปน 375,000 เมกะวัตต อุปสรรคที่สำคัญในการพัฒนาโรงไฟฟานิวเคลียรในชวงที่ ผานมา อาจจะเปนเรื่องของความชะงักงันทางเศรษฐกิจ จนทำใหความตองการใชไฟฟาลดลง ความกาวหนาและ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง ขึ้ น ของเครื่ อ งจั ก รที่ ใ ช ก า ซธรรมชาติ เปนเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟา หรือแมแตอุบัติเหตุ ครั้ ง สำคั ญ ในโรงไฟฟ า นิ ว เคลี ย ร ที่ Three Mile Island ประเทศสหรัฐอเมริกา และการระเบิดของโรงไฟฟาเชอรโนบิล (Chernobyl) ที่ประเทศรัสเซีย แตอุปสรรคเหลานี้ก็เปน ประเด็นเพียงชั่วคราว เพราะเมื่อสถานการณเศรษฐกิจโลก มีการฟนตัว ประกอบกับราคาพลังงานในโลกมีความผันผวน และปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น อย า งต อ เนื่ อ ง อี ก ทั้ ง กระแสเรี ย กร อ ง เรื่องการปกปองสิ่งแวดลอมควบคูกับการลดการปลอยกาซ เรือนกระจก ปจจัยเหลานี้ลวนสงผลในทางบวกตอโรงไฟฟา นิวเคลียร โดยเมื่อการดำเนินการดานโรงไฟฟานิวเคลียร ชวงที่ผานมามีมาตรฐานความปลอดภัยที่ดีขึ้น ก็ยิ่งทำให โรงไฟฟานิวเคลียรมีทิศทางที่แจมใสในชวงของทศวรรษที่ ผานมา1
4. ดานพลังงานนิวเคลียร การผลิ ต ไฟฟ า จากพลั ง งานนิ ว เคลี ย ร ใ นโลกมี ความกาวหนาไปมากในชวงทศวรรษที่ผานมา โดยในป 2551 พลังงานไฟฟาที่ผลิตไดจากทั่วโลกประมาณ 20,180 เทราวัตต ประกอบดวยไฟฟาที่ผลิตจากพลังงานนิวเคลียรประมาณ ร อ ยละ 13.5 ถึ ง แม ว า ความก า วหน า ด า นนิ ว เคลี ย ร จ ะ 1
ความคิดเห็นจากการสัมมนานี้มีขึ้นกอนที่จะมีเหตุการณระเบิดของโรงไฟฟานิวเคลียรที่เมืองฟุกุชิมา ประเทศญี่ปุน เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2554
56 • นโยบายพลังงาน
ทั้ ง นี้ ทางผู แ ทนจากทบวงการพลั ง งานปรมาณู ใ ห ความเห็นวา ประเด็นที่คาดวาจะเปนอุปสรรคตอการผลิต กระแสไฟฟาจากนิวเคลียรในอนาคตคือ เรื่องปญหาดาน แหลงทุน ปญหาดานการยอมรับ การออกแบบเตาปฏิกรณ แหลงที่ตั้งที่เหมาะสม เชื้อเพลิง และการจางงาน การพัฒนา ความพรอมของบุคลากร การไดรับการสนับสนุนจากภาครัฐ ปญหาความปลอดภัยและการกำจัดกากเชื้อเพลิงนิวเคลียร
หากจะกลาวถึงความกาวหนาของนโยบายโรงไฟฟา นิวเคลียรในกลุมอาเซียน อาจจะพอสรุปไดดังนี้
ดวยเหตุของปญหาดังกลาวขางตนจึงทำใหโครงการ โรงไฟฟานิวเคลียรดำเนินการไปอยางลาชา และไมประสบ ผลสำเร็จเทาที่ควรในอาเซียน ซึ่งทางผูเชี่ยวชาญไดเนนย้ำ ถึงความสำคัญของภาครัฐในการจัดเตรียมกรอบโครงสราง ดานกฎหมายสำหรับพลังงานนิวเคลียร ซึ่งจะครอบคลุม ถึงกฎระเบียบและวิธีดำเนินการขององคกรที่จะทำหนาที่ ตรวจสอบด า นความปลอดภั ย ที่ มี ค วามเป น อิ ส ระและมี อำนาจเต็มในการกำกับดูแล เพื่อเปนหลักประกันใหเกิด ความมั่นใจแกสาธารณชน จากนั้นการชี้แจงใหเห็นถึงขอดี ขอเสียของพลังงานนิวเคลียรควรดำเนินการไปควบคูกัน และควรกระทำอยางโปรงใส เพื่อเปดโอกาสในการรับฟง และอภิปรายขอดีขอเสียกอนการตัดสินใจในอนาคต
1) อินโดนีเซีย มีความพยายามที่จะดำเนินโครงการ ดานโรงไฟฟานิวเคลียรหลายครั้ง ในชวงป 2513-2522 แตก็ยังไมประสบผลสำเร็จเทาที่ควร 2) มาเลเซีย ไดมีการตัดสินใจทางการเมืองที่ชัดเจน แลวที่จะสนับสนุนพลังงานนิวเคลียร โดยมอบหมายใหบริษัท TNB (Tenaga Nasional Berhad) ซึ่งเปนบริษัทผูจัดหา พลังงานรายใหญของมาเลเซียเปนผูรับผิดชอบในเรื่องนี้ ทั้งนี้ คาดวาโครงการโรงไฟฟานิวเคลียรจะเริ่มดำเนินการได ประมาณป 2564-2565 ขอดีขอเสียของพลังงานนิวเคลียรที่ไดมีการรวบรวม 3) ฟลิปปนส ไดมีการจัดสรางเตาปฏิกรณปรมาณู ตั้งแตเมื่อประมาณ 40 ปที่แลว แตยังไมเคยเปดใชดำเนินการ และถกเถียงกันในทุกวันนี้อาจสรุปไดดังนี้ จริง ดังนั้น จึงจำเปนตองมีการกอสรางโครงสรางพื้นฐาน • ขอดี เพิ่มเติมควบคูกับการพัฒนาบุคลากรสำหรับดูแลโรงไฟฟา ➭ มีตนทุนการดำเนินการที่ต่ำ นิวเคลียร ➭ มี ต น ทุ น การผลิ ต ที่ มี เ สถี ย รภาพและสามารถ 4) สิงคโปร กำลังอยูระหวางการศึกษาขอมูลเพื่อ คาดการณได ทำการตัดสินใจ ➭ มีอายุของโรงไฟฟาที่คอนขางยาว 5) ไทย การศึกษาและพัฒนาโครงสรางพื้นฐานกำลัง ➭ มีความมัน่ คงดานการจัดหาเชื้อเพลิง อยูระหวางการดำเนินการ ทั้งนี้ ทางทบวงการพลังงานปรมาณู ➭ มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมต่ำ ระหวางประเทศ (International Atomic Energy Agency: IAEA) ไดเขามาทำการตรวจสอบและประเมินสถานะของ • ขอเสีย โครงสรางพื้นฐานของไทย แลวเสร็จเมื่อป 2553 ที่ผานมา ➭ มีตนทุนแรกเริ่มดำเนินการสูง 6) เวี ย ดนาม การประเมิ น ผลความพร อ มด า น ➭ ต น ทุ น มี โ อกาสผั น แปรตามอั ต ราดอกเบี้ ย ได โครงสรางพื้นฐานดานนิวเคลียรของเวียดนามไดแลวเสร็จ คอนขางสูง ไปเมื่อป 2552 จึงทำใหการกอสรางโรงไฟฟานิวเคลียร ➭ ระยะเวลาในการคืนทุนนาน จำนวน 2 โรง ขนาดโรงละ 1,200 เมกะวั ต ต ซึ่ ง ใช ➭ ความเสี่ยงเชิงนโยบายที่อาจมีความไมแนนอน เทคโนโลยี ต น แบบจากประเทศรั ส เซี ย และญี่ ปุ น และจะ ➭ ความเสี่ยงของตลาดที่อาจจะมีพลังงานทดแทน สามารถดำเนินการไดในป 2557 อื่นเขามาแยงสวนแบงตลาด
www.eppo.go.th • 57
อย า งไรก็ ต าม ทางผู เ ชี่ ย วชาญได ใ ห ข อ คิ ด เห็ น ว า พลังงานนิวเคลียรก็ยังถือเปนทางเลือกในการผลิตกระแส ไฟฟาที่มีอนาคต ดวยเหตุผลสนับสนุนหลาย ๆ ประการ กลาวคือ ➭ การเพิ่มขึ้นของความตองการใชพลังงาน ➭ การเปนพลังงานทางเลือกที่มีผลตอสิ่งแวดลอม ต่ำ โดยเฉพาะในดานการปลอยกาซเรือนกระจก (Green House Gases: GHG) ➭ การเปนแหลงพลังงานที่จะสงผลในดานบวกตอ สถานะความมั่นคงดานพลังงาน ➭ การเป น แหล ง พลั ง งานที่ มี ค วามเชื่ อ ถื อ ได แ ละ มีตนทุนต่ำ เหมาะสำหรับการเดินเครื่องผลิตกระแสไฟฟา แบบฐาน (Base load) ซึ่งจะสงผลดีใหราคากระแสไฟฟา ถูกลง และชวยเหลือดานการกระจายรายไดของประเทศ ➭ กากกั ม มั น ตรั ง สี ที่ เ หลื อ จากการผลิ ต ไฟฟ า มี ปริมาณนอยและสามารถจัดการได ➭ สามารถเป น แหล ง พลั ง งานที่ มี ค วามพร อ มใน การตอบสนองตอความตองการใชไฟฟาที่มีปริมาณที่สูง
5. ดานพลังงานทดแทน ในด า นการสนั บ สนุ น การพั ฒ นาพลั ง งานทดแทน ในอาเซียนนั้น ประเทศไทยมีความเปนผูนำในการพัฒนา ดานพลังงานทดแทนในอาเซียนอยางตอเนื่อง ซึ่งแนวทาง และมาตรการที่ไทยไดดำเนินการตลอดชวงระยะเวลาที่ผานมา ณ ปจจุบัน คือ การใหการสนับสนุนทางดานการเงินใน รูปแบบตาง ๆ เชน การใหการอุดหนุนการใหเงินกูดอกเบี้ย ต่ำ การใหสวนชดเชยสวนตางของอัตราคาไฟฟาที่ผลิตจาก
พลั ง งานทดแทน (Adder or feed-in tariffs) แต ทั้ ง นี้ ประสบการณและบทเรียนที่ทำใหประเทศไทยประสบผลสำเร็จ อาจใชไมไดกับในบางประเทศ เนื่องจากความแตกตางของ ขอจำกัดดานพื้นฐานในแตละประเทศที่แตกตางกัน เชน อั ต ราการเข า ถึ ง กระแสไฟฟ า ระบบเศรษฐกิ จ และ ทรั พ ยากรธรรมชาติ ด ว ยเหตุ นี้ จึ ง ทำให แ ต ล ะประเทศ จำเป น ต อ งใช ก ลยุ ท ธ ที่ แ ตกต า งกั น ในการส ง เสริ ม และ สนับสนุนการพัฒนาพลังงานทดแทน นอกจากนี้ ทางผูเชี่ยวชาญยังไดใหความเห็นอีกวา ศั ก ยภาพของพลั ง งานทดแทนในอาเซี ย นมี อ ยู อ ย า งมาก เช น เขื่ อ นพลั ง น้ ำ ขนาดเล็ ก ที่ อิ น โดนี เ ซี ย พลั ง งานลมที่ เวียดนาม ชีวมวลที่ประเทศไทย ทวาศักยภาพของพลังงาน ทดแทนเหลานี้ยังไมไดถูกนำมาใชอยางเต็มที่ และนอกจากนี้ ตลาดของพลังงานทดแทนยังไมยั่งยืนเพียงพอ ซึ่งประเด็น การสรางตลาดพลังงานทดแทนนี้ถือเปนปจจัยของความสำเร็จ
58 • นโยบายพลังงาน
ในการพัฒนาพลังงานทดแทนอยางยิ่ง เพราะปจจัยดังกลาว จะช ว ยทำให เ กิ ด ความเชื่ อ มั่ น ที่ จ ะส ง เสริ ม ให ภ าคเอกชน เขารวมมืออยางเต็มที่ รวมทั้งในเรื่องของการรับประกัน อัตราคาไฟฟาจากพลังงานทดแทน และโครงสรางการบริหาร งานและตนทุนการดำเนินงานที่มีความโปรงใส หากปจจัย เหลานี้ไดรับการวางรากฐานและสนับสนุนอยางดีพอ เชื่อวา การพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนในภู มิ ภ าคอาเซี ย นจะเติ บ โต อยางตอเนื่องและจะชวยเสริมสรางความมั่นคงดานพลังงาน ตามเปาหมายของแผนพัฒนาพลังงานอาเซียน
6. นโยบายด า นพลั ง งานไฟฟ า ของ ประเทศสมาชิกในอาเซียน 1. บรูไน • เ ชื้ อ เ พ ลิ ง หลั ก สำหรั บ การผลิ ต ไฟฟาของบรูไน คือ กาซ ธรรมชาติ ซึ่ ง ป จ จุ บั น มี บ ริ ษั ท บรู ไ นเชลล ปโตรเลียม จำกัด เปนผูดูแลการจัดหากาซธรรมชาติของ ประเทศ • อยางไรก็ตาม บรูไนมีแผนที่จะกระจายเชื้อเพลิง ในการผลิตกระแสไฟฟา โดยเนนการใชพลังงานทดแทน และถานหินมากขึ้น • จากการสำรวจพบว า ศั ก ยภาพด า นพลั ง งาน ทดแทนในบรูไนที่เดนชัด 3 ลำดับแรก คือ พลังงานคลื่น ทะเล พลังงานแสงอาทิตย และพลังงานลม 2. อินโดนีเซีย • ปจจุบันอินโดนีเซีย ก ำ ลั ง ใ ห ค ว า ม ส ำ คั ญ กั บ การเสริ ม สร า งความมั่ น คง ดานพลังงาน และพยายามลด ต น ทุ น การใช พ ลั ง งานขั้ น ต น โดยการดำเนิ น นโยบายดาน ต า ง ๆ อาทิ การปรั บ ปรุ ง ระบบการจัดหากาซธรรมชาติ ให มี ค วามยื ด หยุ น ตามสั ญ ญาระยะสั้ น ระยะกลาง และ ระยะยาว รวมทั้ ง การสนั บ สนุ น การควบรวมกิ จ การแบบ ยอนหลัง (Backward integration)
• ป จ จุ บั น ถ า นหิ น เป น เชื้ อ เพลิ ง หลั ก ประมาณ ร อ ยละ 45 ของการผลิ ต ไฟฟ า และคาดว า จะเพิ่ ม เป น รอยละ 59 ในป 2557 เชน การจัดตั้งบริษัทจัดหาเชื้อเพลิง ดานถานหิน (PTPLN Coal Company) • รัฐบาลไดสงสัญญาณที่ชัดเจนและตอเนื่องเพื่อให ประชาชนตระหนักถึงตนทุนการใชน้ำมันที่เพิ่มสูงขึ้น และ พยายามสงเสริมการใชพลังงานทดแทนดานอื่น ๆ แทน 3. มาเลเซีย • มาเลเซี ย มี การออกกฎหมายเพื่ อ บริ ห ารจั ด การการใช เชื้อเพลิงมาตั้งแตป 2522 เพื่อสรางความมั่นคงใน ระบบพลังงานของประเทศ โดยไดมีการดำเนินนโยบาย การกระจายเชื้อเพลิงมาตั้งแตป 2523 • มาเลเซียตระหนักถึงปญหาที่ทาทายใน 3 ดาน หลักของมาเลเซียขณะนี้ คือ ความไมมีเสถียรภาพทางดาน ราคาพลั ง งาน การหมดไปของทรั พ ยากรที่ มี อ ยู รวมทั้ ง การสรางความสมดุลในการใชทรัพยากรพลังงานแตละชนิด • ดังนั้น มาเลเซียจึงไดมียุทธศาสตรในการบริหาร เชื้อเพลิงแตละชนิดที่แตกตางกัน เชน กาซธรรมชาติ มี เปาหมายการจัดหาเพื่อสำหรับการใชในประเทศเปนสำคัญ และสงเสริมใหมีการจัดตั้งคลังกักเก็บกาซสำรอง • ในดานถานหิน มาเลเซียสงเสริมการทำสัญญา ระยะยาวกับผูผลิต และสงเสริมการกระจายแหลงถานหิน ใหมีความหลากหลายจากประเทศตาง ๆ 4. พมา • พมามีการผลิต ไ ฟ ฟ า ที่ พึ่ ง พ า พ ลั ง น้ ำ เป น สำคั ญ โดยป จ จุ บั น การผลิตไฟฟาจากพลังน้ำ มีปริมาณ 2,211 เมกะวัตต จากกำลังการผลิตติดตั้งทั้งหมด 3,095 เมกะวัตต หรือ คิดเปนรอยละ 71 ของกำลังผลิตติดตั้งทั้งหมด • จากสถานการณความผันผวนของราคาพลังงาน ที่มีอยางตอเนื่อง ไดสงผลกระทบตอประเทศพมาอยางรุนแรง และนำไปสูการปรับโครงสรางการใชพลังงานในภาคขนสง และสงเสริมการแปรรูปการผูกขาดสถานีบริการน้ำมัน ซึ่ง www.eppo.go.th • 59
จะมี รั ฐ เป น ผู ดู แ ลให ก ลไกการแปรรู ป ดำเนิ น ไปอย า ง เรียบรอย • ดังนั้น พมาจึงเริ่มหันมาคำนึงถึงการนำเชื้อเพลิง ชีวภาพมาใชมากขึ้น โดยตั้งเปาไวที่ระดับรอยละ 8 ภายใน ป 2563 • นอกจากนี้ สั ด ส ว นของพลั ง งานทดแทนก็ จ ะ เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 15-20 ของกำลังผลิตติดตั้งทั้งหมด ภายในป 2563 ดวยเชนกัน 5. ฟลิปปนส • ด ว ย ลักษณะทางกายภาพ ของพื้นที่ในประเทศ ที่ ป ร ะ ก อ บ ด ว ย หมู เ กาะถึ ง 7,100 เกาะ จึ ง ทำให ก ารจั ด หาและการใช บ ริ ก ารด า นไฟฟ า ให ทั่วถึงเปนประเด็นที่ทาทายยิ่งสำหรับรัฐบาลฟลิปปนส • รัฐบาลฟลิปปนสไดสนับสนุนการปรับเปลี่ยน โครงสรางอุตสาหกรรมไฟฟาเรื่อยมา โดยสงเสริมการแขงขัน ในดานการผลิตและการเขารวมของเอกชนผูผลิตไฟฟาแบบ อิสระ (IPP) นอกจากนี้ ในดานสายสงและการจัดจำหนาย ก็มีการแปรรูปดวยเชนกัน • ในสวนที่เปนหมูเกาะ โรงไฟฟาจะตั้งอยูในบริเวณ ที่ใกลกับเชื้อเพลิงหรือแหลงทรัพยากรที่ใชในการผลิต • ฟ ลิ ป ป น ส มี ก ารจั ด ทำแผนบริ ห ารความเสี่ ย ง ด า นเชื้ อ เพลิ ง ในภาวะฉุ ก เฉิ น ซึ่ ง แผนดั ง กล า วมี ร ะบบ การเตือนภัย และระบบติดตามตรวจสอบที่มีการประสาน งานกั น ระหว า งสถาบั น กำกั บ กิ จ การพลั ง งาน (Energy Regulatory Commission) และกลุมผูผลิตไฟฟา • นอกจากนี้ ฟ ลิ ป ป น ส ยั ง ได เ น น ย้ ำ ถึ ง ป จ จั ย ความสำเร็จในการกระจายการใชเชื้อเพลิงจะตองประกอบดวย ความตอเนื่องและชัดเจนทางดานการเมือง การบริหารงาน ที่มีหลักธรรมาภิบาล ความตอเนื่องในการวิจัยและพัฒนา รวมทั้งการสนับสนุนจากทุกภาคสวนในสังคม อาทิ ภาคธุรกิจ สถาบันการศึกษา ภาคประชาชน และการถายทอดเทคโนโลยี และแบงปนขอมูลกันอยางตอเนื่อง • ส ว นประเด็ น ที่ เ ป น อุ ป สรรคต อ การกระจาย เชื้อเพลิง ประกอบดวย การตอตานและไมยอมรับของสังคม โดยเฉพาะในดานเชื้อเพลิงนิวเคลียร การแทรกแซงของ
60 • นโยบายพลังงาน
รั ฐ บาลท อ งถิ่ น ต น ทุ น เบื้ อ งต น สำหรั บ การดำเนิ น งานที่ คอนขางสูงสำหรับเทคโนโลยีพลังงานสะอาด 6. สิงคโปร • สิ ง คโปร มีความตองการพลัง ไฟฟ า สู ง สุ ด (Peak demand) ที่ สู ง ขึ้ น อ ย า ง ต อ เ นื่ อ ง ถึ ง รอยละ 73 ในชวงป 2538-2552 • ระบบการซื้ อ ขายไฟฟ า แบบส ง (Wholesale market) ได มี ก ารปฏิ รู ป ไปแล ว ตั้ ง แต ป 2551 โดยมี การเปดเสรีถึงรอยละ 75 และมีสถาบันกำกับกิจการพลังงาน (Energy Market Authority: EMA) เปนผูดูแล ซึ่งขณะนี้ ทำใหในกลุมผูผลิตไฟฟามีการแขงขันขายไฟฟาเขาสูระบบ ทุก ๆ ครึ่งชั่วโมง • มาตรการดานความมั่นคงที่สำคัญ คือ ➭ การกำหนดให บ ริ ษั ท ผลิ ต ไฟฟ า ต อ งทำ การสำรองเชื้อเพลิงไวอยางนอย 90 วัน เพื่อใชในการผลิต ➭ โรงไฟฟ า แบบก า ซธรรมชาติ จ ะต อ งมี ความสามารถในการปรับเปลี่ยนระบบเชื้อเพลิงไดอยาง คลองตัว ในยามฉุกเฉิน ➭ การเชื่ อ มโยงสายส ง กั บ มาเลเซี ย จะต อ ง ดำเนินการตอไป • สำหรับมาตรการที่สิงคโปรมองในระยะตอไป เพื่ อ สร า งความมั่ น คงด า นพลั ง งาน เนื่ อ งจากป จ จุ บั น สิงคโปรพัฒนาการผลิตไฟฟาจากกาซธรรมชาติสูงมากถึง ร อ ยละ 81 ของไฟฟ า ที่ ผ ลิ ต ได ดั ง นั้ น ในระยะกลาง สิงคโปรจึงมองถึงการปรับเปลี่ยนไปใชถานหินและพลังงาน แสงอาทิตยมากขึ้น สวนในระยะยาวพลังงานนิวเคลียรเปน ทางเลือกหนึ่งที่นาสนใจภายหลังป 2573 • นอกจากนี้ การนำระบบอัจฉริยะในการจัดการ ระบบไฟฟา (Smart Grids) ก็เปนปจจัยสำคัญอีกประการหนึ่ง ที่จะชวยเสริมสรางความมั่นคงในระยะยาว
7. บทสรุป ผลจากการประชุ ม หารื อ ในครั้ ง นี้ ไ ด ข อ สรุ ป ร ว มกั น ที่ชัดเจนคือ ประเทศสมาชิกอาเซียนตางเห็นถึงความจำเปน ในการรวมมือกันวางแผนการใชเชื้อเพลิงสำหรับการผลิต ไฟฟาของอาเซียน เพื่อทำใหการจัดสรรทรัพยากรดานพลังงาน ในภู มิ ภ าคอาเซี ย นสำหรั บ การผลิ ต ไฟฟ า เป น ไปอย า งมี ประสิทธิภาพที่สุด โดยโครงสรางพื้นฐานที่จะชวยสนับสนุนให การวางแผนดังกลาวสัมฤทธิผลเปนรูปธรรมไดนั้น ขึ้นอยูกับ ความสำเร็ จ ของการเชื่ อ มโยงสายส ง ไฟฟ า ในอาเซี ย น (ASEAN Power Grids) และโครงการทอสงกาซอาเซียน 7. ประเทศไทย • ประเทศไทยมี ก ารพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง โครงสร า ง (Trans ASEAN Gas Pipeline) นอกจากนี้ การวางแผน การซื้อขายไฟฟาเปนแบบผูซื้อรายเดียว (Enhanced Single Buyer: ESB) โดยมีการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยเปน เจาของระบบผลิตและดูแลระบบสายสง นอกจากนี้ ไดมี การจัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (Energy Regulatory Commission: ERC) ขึ้นมาเปนผูกำกับ ดูแลกิจการดานไฟฟาใหดำเนินไปอยางมีประสิทธิภาพและ เปนธรรม • สถานการณ ก ารผลิ ต และการใช ไ ฟฟ า ล า สุ ด พบวา ในป 2553 ความตองการใชไฟฟาสูงสุด (Peak demand) อยูที่ 24,630 เมกะวัตต ในขณะที่กำลังการผลิต การใชเชื้อเพลิงของอาเซียนรวมกันยังจะชวยเพิ่มแตมตอ ที่ไดทำสัญญาไวอยูที่ 30,920 เมกะวัตต หรือหากมองใน และสรางความแข็งแกรงในการตอรองของอาเซียนที่มีฐานะ ภาพรวมด า นการใช แ ล ว ปริ ม าณการใช ไ ฟฟ า รวมของ เปนผูซื้อเชื้อเพลิงรายใหญของโลก ซึ่งหากการเจรจาประสบ ประเทศอยูที่ระดับ 149,319 กิกะวัตต-ชั่วโมง ในขณะที่ ผลสำเร็จก็จะทำใหสามารถจัดหาเชื้อเพลิงที่มีตนทุนถูกลง แกหมูสมาชิกอาเซียน อีกทั้งการมีแผนการใชเชื้อเพลิงของ กำลังการผลิตอยูที่ 163,668 กิกะวัตต-ชั่วโมง • การใชเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาของประเทศ อาเซียนที่ชัดเจนก็จะยิ่งชวยสรางความมั่นใจในการเขามา ยังคงพึ่งพากาซธรรมชาติมากที่สุดถึงรอยละ 72 ของไฟฟา ลงทุนของนักลงทุนตางประเทศในภูมิภาคอาเซียน ทั้งใน ที่ผลิตได ตามมาดวยถานหิน/ลิกไนตอีกประมาณรอยละ ดานการผลิต การวางสายสงไฟฟา และการพัฒนาโครงสราง 18 ของไฟฟาที่ผลิตได โดยมีการนำเขาไฟฟาจากลาว รอยละ พื้นฐานดานพลังงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ซึ่งผลจากการพัฒนา ในดานตาง ๆ เหลานี้ลวนมีสวนชวยเสริมสรางความมั่นคง 4 และมาเลเซีย รอยละ 1 • ในแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟาฉบับลาสุด (PDP ด า นพลั ง งานของอาเซี ย น และทำให ก ารพั ฒ นาในสาขา 2010) ไดกำหนดสัดสวนของการใชถานหินในป 2573 พลังงานเปนการพัฒนาที่ยั่งยืนตอไป ทั้งหมดนี้ลวนชวย ไวที่รอยละ 21 ขณะที่สัดสวนการนำเขาไฟฟาจากเพื่อนบาน สงเสริมเปาหมายใหญของอาเซียนในการเปนภูมิภาคที่มี ความเจริญเติบโตที่ยั่งยืนและตอเนื่องตามวิสัยทัศนอาเซียน จะเพิ่มจากรอยละ 5 เปนรอยละ 19 • นอกจากนี้ ในแผน PDP 2010 ยั ง ได ร ะบุ 2563 (ASEAN Vision 2020) ที่ตั้งไว เป า หมายของการลดการปล อ ยก า ซเรื อ นกระจกไว เ ป น เปาหมายหลักดวยเชนกัน
www.eppo.go.th • 61
ENERGY LEARNING ZONE
นโยบายพลังงาน
การปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) จากการใชพลังงานชวง 2 ไตรมาสแรกป 2554 การคำนวณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ของสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) มีหลักเกณฑ โดยอางอิงวิธปี ระมาณการและคาปจจัยทีเ่ กีย่ วของตอการปลอย กาซ CO2 ตามหลักเกณฑของ Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) ฉบับป ค.ศ. 2006 จากการใช พลังงานใน 4 ภาคเศรษฐกิจ ไดแก ภาคการผลิตไฟฟา (Power Generation) ภาคการขนสง (Transportation) ภาคอุตสาหกรรม (Industry) และภาคเศรษฐกิจอื่น ๆ (Other Sectors) ซึ่ง หมายถึง ภาคครัวเรือน เกษตรกรรม และพาณิชยกรรม เปนตน
ดานชนิดเชือ้ เพลิง ไดแบงเชือ้ เพลิงในการคำนวณออกเปน 3 ชนิด ไดแก น้ำมันสำเร็จรูป (คำนวณจากการใชน้ำมันเบนซิน ดีเซล น้ำมันเตา กาซปโตรเลียมเหลว (LPG) น้ำมันเครื่องบิน และ น้ำมันกาด) กาซธรรมชาติ และถานหิน/ลิกไนต ทั้งนี้ยกเวน เชือ้ เพลิงบางชนิดเพือ่ ปองกันการนับซ้ำตามหลักเกณฑของ IPCC ไดแก น้ำมันเตาสำหรับเรือเดินสมุทรระหวางประเทศ (Bunker Oil) และน้ ำ มั น เครื่ อ งบิ น สำหรั บ เที่ ย วบิ น ระหว า งประเทศ เชือ้ เพลิงหมุนเวียนตาง ๆ ไดแก ชีวมวล กาซชีวภาพ เอทานอล ไบโอดีเซล และพลังน้ำ เปนตน ถือวาไมมกี ารปลอยกาซ CO2
1. ภาพรวมการปลอยกาซ CO2 จากการใชพลังงานของประเทศ การปล อ ยก า ซ CO 2 จากการใช พ ลั ง งานมี ความสั ม พั น ธ กั บ ปริ ม าณการใช พ ลั ง งานขั้ น ต น ของ ประเทศ ไดแก น้ำมัน กาซธรรมชาติ ถานหิน/ลิกไนต และพลังงานหมุนเวียน เชน กากออย กาซชีวภาพ และ เชือ้ เพลิงดัง้ เดิม เชน ถาน ฟน โดยการปลอยกาซ CO2 จากการใช พ ลั ง งานของประเทศในช ว งที่ ผ า นมามี แนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องมาโดยลำดับนับตั้งแต หลังการฟน ตัวจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ จาก 145.35 ลานตัน CO2 ในป 2541 เปน 220.64 ลานตัน CO2 ในป 2553 หรือเพิม่ ขึน้ เฉลีย่ รอยละ 3.5 ตอป
การปลอยกาซ CO2 และการใชพลังงานของไทย (มิ.ย.)
ทัง้ นีใ้ นชวง 2 ไตรมาสแรกป 2554 มีปริมาณการปลอยกาซ CO2 รวม 114.19 ลานตัน CO2 เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนซึ่งมี การปลอยกาซรวม 110.60 ลานตัน CO2 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 3.3 มีทิศทางเปนไปในแนวเดียวกับการใชพลังงานของประเทศที่มีแนวโนม เพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง จากป 2553 ซึง่ มีการใชพลังงานชวง 2 ไตรมาสแรก ที่ ร ะดั บ 54,965 พั น ตั น เที ย บเท า น้ ำ มั น ดิ บ (KTOE) เพิ่ ม ขึ้ น เป น 57,531 KTOE ในชวงเดียวกันของปนี้ หรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 4.7 อันเปน ผลมาจากการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยังคงมีการขยายตัวอยางตอเนื่อง สะทอนไดจากผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) ชวง 2 ไตรมาสแรก ป 2554 ทีข่ ยายตัวเพิม่ ขึน้ จากชวงเดียวกันของปทแี่ ลวรอยละ 2.9
ม.ค.-มิ.ย. การเปลี่ยนแปลง (%) 2552 2553 (2009) (2010) 2553 2554 2552 2553 2554 (2010) (2011) (ม.ค.-มิ.ย.) 4.7 การใชพลังงานของไทย 102,552 108,559 54,965 57,531 2.2 5.9 (KTOE) 208.48 220.64 110.60 114.19 2.6 5.8 3.3 การปลอยกาซ CO2 (ลานตัน CO2)
62 • นโยบายพลังงาน
2. การปลอยกาซ CO2 จากการใชพลังงานแยกรายภาคเศรษฐกิจและชนิดเชือ้ เพลิง ในชวง 2 ไตรมาสแรกป 2554 เกือบทุกภาคเศรษฐกิจ ยังคงมีการปลอยกาซ CO2 เพิ่มขึ้น ยกเวนภาคการผลิตไฟฟา โดยเชือ้ เพลิงทีม่ สี ดั สวนการปลอยกาซ CO2 จากการใชพลังงาน มากที่ สุ ด ได แ ก น้ ำ มั น สำเร็ จ รู ป และก า ซธรรมชาติ ทั้ ง นี้ ภาคอุตสาหกรรมและภาคการขนสง ซึ่งมีสัดสวนการปลอย กาซ CO2 เทากันคือรอยละ 26 ของปริมาณการปลอยกาซ CO2 ของประเทศ มีการปลอยกาซทีร่ ะดับ 30.0 และ 29.3 ลานตัน CO2 ตามลำดับ เพิม่ ขึน้ จากชวงเดียวกันของปทแี่ ลวรอยละ 4.9
การปลอยกาซ CO2 รายภาคเศรษฐกิจ
ภาคการผลิตไฟฟา ภาคอุตสาหกรรม ภาคการขนสง ภาคเศรษฐกิจอื่น ๆ รวม
ม.ค.-มิ.ย. 2552 2553 สัดสวน 2553 2554 (2009) (2010) (2010) (2011) (%) 45.7 54.9 39 84.5 90.8 28.6 30.0 26 57.1 55.9 26.9 29.3 26 54.0 49.9 9.4 10.0 18.8 18.2 9 208.5 220.6 110.6 114.2 100
การปลอยกาซ CO2 รายชนิดเชื้อเพลิง
น้ำมันสำเร็จรูป ถานหิน/ลิกไนต กาซธรรมชาติ รวม
ม.ค.-มิ.ย. 2552 2553 2553 2554 (2009) (2010) (2010) (2011) 40.8 42.3 80.0 81.0 32.6 34.4 62.4 63.9 37.2 37.5 66.0 75.8 208.5 220.6 110.6 114.2
และรอยละ 9.0 ในขณะทีภ่ าคเศรษฐกิจอืน่ ๆ ซึง่ แมจะมีสดั สวน การปลอยกาซ CO2 เพียงรอยละ 9 แตมปี ริมาณการปลอยกาซ เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปที่แลวถึงรอยละ 6.3 ในขณะที่ การผลิ ต ไฟฟ า ซึ่ ง มี สั ด ส ว นการปล อ ยก า ซ CO 2 สู ง สุ ด คื อ รอยละ 39 ของปริมาณการปลอยกาซ CO2 ทั้งหมด ในชวง 2 ไตรมาสแรกมีการปลอยกาซ 44.9 ลานตัน CO2 ลดลงจาก ชวงเดียวกันของปที่แลวรอยละ 1.8 โดยมีการปลอยกาซ CO2 ที่ระดับ 45.7 ลานตัน CO2 สามารถแสดงรายละเอียดไดดังนี้
หนวย : ลานตัน CO2 การเปลี่ยนแปลง (%) 2554 2552 2553 (ม.ค.-มิ.ย.) -1.8 -0.8 7.4 4.9 6.4 2.1 9.0 4.0 8.1 6.3 4.1 3.7 3.3 2.6 5.8
หนวย : ลานตัน CO2 การเปลี่ยนแปลง (%) สัดสวน 2554 (%) 2552 2553 (ม.ค.-มิ.ย.) 3.7 37 2.1 1.2 5.5 30 0.4 2.3 0.8 33 5.5 14.8 3.3 100 2.6 5.8
• ภาคการผลิตไฟฟา เชื้อเพลิงสำคัญที่กอใหเกิด การปลอยกาซ CO2 ในการผลิตไฟฟา ไดแก กาซธรรมชาติ และถานหิน/ลิกไนต ซึง่ คิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 60 และ รอยละ 39 ของปริมาณการปลอยกาซ CO2 ในการผลิต ไฟฟ า ทั้ ง หมด โดยในช ว งที่ ผ า นมาก า ซธรรมชาติ แ ละ ถ า นหิ น /ลิ ก ไนต ยั ง คงมี แ นวโน ม การปล อ ยก า ซ CO 2 สูงขึ้น ในขณะที่การปลอยกาซ CO2 จากการใชน้ำมัน สำเร็จรูป (น้ำมันดีเซลและน้ำมันเตา) ซึง่ โดยปกติใชเปน เชือ้ เพลิงสำรองในการผลิตไฟฟา มีปริมาณการปลอยกาซ เพียงเล็กนอยและคอนขางทรงตัวอยูใ นระดับคงที่
การปลอยกาซ CO2 รายภาคเศรษฐกิจ (มิ.ย.)
การปลอยกาซ CO2 รายชนิดเชื้อเพลิง (มิ.ย.)
ในชวง 2 ไตรมาสแรกป 2554 มีการปลอยกาซ CO2 จากการใช กาซธรรมชาติในการผลิตไฟฟาลดลง โดยอยูที่ระดับ 26.9 ลานตัน CO2 ลดลงจากชวงเดียวกันของปกอ นรอยละ 6.3 ในขณะทีก่ ารปลอย กาซ CO2 จากการใชถานหิน/ลิกไนตในการผลิตไฟฟาชวงดังกลาว ยังคงเพิม่ ขึน้ รอยละ 6.4 โดยอยูท รี่ ะดับ 17.5 ลานตัน CO2 ทัง้ นีเ้ นือ่ งจาก ชวงครึง่ ปแรกแหลงกาซธรรมชาติยาดานาและเยตากุนจากประเทศพมา จายกาซธรรมชาติเขาระบบลดลง ประกอบกับในชวงเดือนมิถุนายน เกิดเหตุการณทอ สงกาซธรรมชาติในอาวไทยรัว่ ทำใหตอ งลดการจาย กาซธรรมชาติใหโรงไฟฟา อันสงผลใหปริมาณการปลอยกาซ CO2 จาก การใชกา ซธรรมชาติในการผลิตไฟฟาดังกลาวลดลงตามไปดวย www.eppo.go.th • 63
การปลอยกาซ CO2 ภาคการผลิตไฟฟา
น้ำมันสำเร็จรูป ถานหิน/ลิกไนต กาซธรรมชาติ รวม
ม.ค.-มิ.ย. 2552 2553 สัดสวน 2553 2554 (2009) (2010) (2010) (2011) (%) 1.0 1 1.0 0.5 0.5 31.7 31.8 16.4 17.5 39 51.8 58.0 28.7 26.9 60 84.5 90.8 45.7 44.9 100
หนวย : ลานตัน CO2 การเปลี่ยนแปลง (%) 2552 2553 2554 (ม.ค.-มิ.ย.) -14.9 -3.7 -10.8 -2.0 0.2 6.4 0.2 12.0 -6.3 -0.8 7.4 -1.8
การปลอยกาซ CO2 ภาคการผลิตไฟฟา แยกรายชนิดเชื้อเพลิง (มิ.ย.)
• ภาคอุตสาหกรรม เชื้อเพลิงสำคัญที่กอใหเกิดการปลอยกาซ CO2 ใน ภาคอุตสาหกรรม ไดแก ถานหิน/ลิกไนต และกาซธรรมชาติ ซึง่ ยังคงมีแนวโนม การปลอยกาซ CO2 เพิ่มขึ้น โดยในชวง 2 ไตรมาสแรกของป 2554 มีการปลอย กาซ CO2 จากกระบวนการผลิตภาคอุตสาหกรรมรวม 29.3 ลานตัน CO2 เพิม่ ขึน้ จากชวงเดียวกันของปกอ นรอยละ 9.0 โดยถานหิน/ลิกไนตมกี ารปลอยกาซ CO2 ทีร่ ะดับ 16.9 ลานตัน CO2 (โดยคิดเปนสัดสวนกวาครึง่ ถึงรอยละ 58 ของปริมาณ การปลอยกาซ CO2 ในภาคอุตสาหกรรมทั้งหมด) เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของ ปกอ นรอยละ 4.7 เชนเดียวกับการปลอยกาซ CO2 จากการใชกา ซธรรมชาติทยี่ งั คงมีแนวโนมเพิม่ ขึน้
การปลอยกาซ CO2 ภาคอุตสาหกรรม
น้ำมันสำเร็จรูป ถานหิน/ลิกไนต กาซธรรมชาติ รวม
ม.ค.-มิ.ย. 2552 2553 2553 2554 (2009) (2010) (2010) (2011) 8.0 7.9 4.0 4.2 30.7 32.0 16.2 16.9 11.3 14.0 6.7 8.2 49.9 54.0 26.9 29.3
หนวย : ลานตัน CO2 การเปลี่ยนแปลง (%) สัดสวน 2554 (%) 2552 2553 (ม.ค.-มิ.ย.) 14 -9.8 -1.1 4.1 58 3.0 4.5 4.7 28 20.5 24.4 22.4 100 4.0 8.1 9.0
• ภาคการขนสง เชือ้ เพลิงสำคัญทีก่ อ ใหเกิดการปลอยกาซ CO2 ในภาคการขนสง ไดแก น้ำมันสำเร็จรูป (น้ำมันเบนซิน ดีเซล น้ำมันเตา น้ ำ มั น เครื่ อ งบิ น และ LPG) ซึ่ ง คิ ด เป น สั ด ส ว นถึ ง ร อ ยละ 92 ของปริมาณการปลอยกาซ CO2 ในภาคการขนสงทัง้ หมด อยางไรก็ดี ตั้งแตป 2547 การปลอยกาซ CO2 จากการใชน้ำมันสำเร็จรูปใน ภาคการขนสงเริม่ มีแนวโนมคอนขางคงที่ ในขณะทีก่ ารปลอยกาซ CO2 จากการใชกา ซธรรมชาติ ทีแ่ มจะมีสดั สวนนอยเพียงรอยละ 8 กลับมี แนวโนมเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายสนับสนุน การใช NGV เปนเชือ้ เพลิงในภาคขนสงทดแทนน้ำมันเบนซินและดีเซล
64 • นโยบายพลังงาน
ในชวง 2 ไตรมาสแรกของป 2554 มีการปลอยกาซ CO2 จากการใชกา ซธรรมชาติ ที่ ร ะ ดั บ 8 . 2 ล า น ตั น C O 2 เ พิ่ ม ขึ้ น จากชวงเดียวกันของปกอนถึงรอยละ 22.4 ในขณะทีก่ ารใชนำ้ มันสำเร็จรูป (น้ำมันดีเซล น้ ำ มั น เตา น้ ำ มั น ก า ด และ LPG) มี การปลอยกาซ CO2 ที่ระดับ 4.2 ลานตัน CO2 เพิ่มขึ้นรอยละ 4.1 เมื่อเทียบกับชวง เดียวกันของปกอ นหนา
การปลอยกาซ CO2 ภาคอุตสาหกรรม แยกรายชนิดเชื้อเพลิง (มิ.ย.)
ในชวง 2 ไตรมาสแรกป 2554 มีการปลอยกาซ CO2 จากการใชนำ้ มันสำเร็จรูป 27.6 ลานตัน CO2 เพิม่ ขึน้ รอยละ 2.9 จากชวงเดียวกันของปที่แลวซึ่งมีการปลอย ก า ซ CO 2 26.8 ล า นตั น CO 2 ในขณะที่ ก ารใช ก า ซ ธรรมชาติมกี ารปลอยกาซ CO2 ทีร่ ะดับ 2.4 ลานตัน CO2 เพิม่ ขึน้ จากชวงเดียวกันของปกอ นซึง่ มีการปลอยกาซ CO2 1.8 ลานตัน CO2 ถึงรอยละ 34.9 โดยเปนการเพิม่ ขึน้ ใน อัตราทีส่ งู ตามปริมาณการใช NGV ภาคขนสงชวงดังกลาว ซึง่ มีการใชเพิม่ ขึน้ จากปทแี่ ลวถึงรอยละ 34.8
การปลอยกาซ CO2 ภาคการขนสง
น้ำมันสำเร็จรูป ถานหิน/ลิกไนต กาซธรรมชาติ รวม
ม.ค.-มิ.ย. 2552 2553 2553 2554 (2009) (2010) (2010) (2011) 52.8 53.2 26.8 27.6 3.0 3.8 1.8 2.4 55.9 57.1 28.6 30.0
หนวย : ลานตัน CO2 การเปลี่ยนแปลง (%) สัดสวน 2554 (%) 2552 2553 (ม.ค.-มิ.ย.) 92 3.9 0.7 2.9 8 84.1 26.8 34.9 100 6.4 2.1 4.9
การปลอยกาซ CO2 ภาคการขนสง แยกรายชนิดเชื้อเพลิง (มิ.ย.)
• ภาคเศรษฐกิจอืน่ ๆ การปลอยกาซ CO2 ในภาคเศรษฐกิจอืน่ ๆ เกิดจากการใชนำ้ มันสำเร็จรูป (น้ำมันเบนซิน ดีเซล และ LPG) เชนเดียวกับภาคการขนสง ทัง้ นีต้ ลอดชวงทีผ่ า นมามีแนวโนมการปลอยกาซ CO2 จากการใชนำ้ มันสำเร็จรูปเพิม่ สูงขึน้ มาโดยลำดับ โดยในชวง 2 ไตรมาสแรกของป 2554 มีการปลอยกาซ CO2 จากการใชนำ้ มันสำเร็จรูปรวม 10.0 ลานตัน CO2 เพิม่ ขึน้ จากชวงเดียวกันของปกอ นรอยละ 6.3
การปลอยกาซ CO2 ภาคเศรษฐกิจอื่น ๆ
น้ำมันสำเร็จรูป ถานหิน/ลิกไนต กาซธรรมชาติ รวม
ม.ค.-มิ.ย. 2552 2553 2553 2554 (2009) (2010) (2010) (2011) 9.4 10.0 18.8 18.2 9.4 10.0 18.8 18.2
สัดสวน (%) 100 100
หนวย : ลานตัน CO2 การเปลี่ยนแปลง (%) 2554 2552 2553 (ม.ค.-มิ.ย.) 6.3 4.1 3.7 6.3 4.1 3.7
การปลอยกาซ CO2 ภาคเศรษฐกิจอื่น ๆ แยกรายชนิดเชื้อเพลิง (มิ.ย.)
3. ดัชนีชี้วัดการปลอยกาซ CO2 ภาคพลังงานของไทย • การปล อ ยก า ซ CO 2 ต อ การใช พ ลั ง งาน ในช ว ง 2 ไตรมาสแรกของป 2554 มีการปลอยกาซ CO2 เฉลี่ย 1.98 พันตัน CO2 ตอการใชพลังงาน 1 KTOE ลดลงจากชวงเดียวกัน ของปกอนซึ่งมีการปลอยกาซ CO2 เฉลี่ย 2.01 พันตัน CO2 ตอการใชพลังงาน 1 KTOE รอยละ 1.3 ทั้งนี้ปจจัยสำคัญ เนื่ อ งจากประเทศไทยมี ก ารส ง เสริ ม การใช ก า ซธรรมชาติ ซึ่ ง เป น เชื้ อ เพลิ ง ที่ มี ก ารปล อ ยก า ซ CO 2 ต อ หน ว ยการใช พลั ง งานต่ ำ กว า เชื้ อ เพลิ ง ฟอสซิ ล ชนิ ด อื่ น เพิ่ ม ขึ้ น โดย ในช ว ง 2 ไตรมาสแรกของป นี้ มี ก ารใช ก า ซธรรมชาติ แ ละ กาซธรรมชาติเหลว (Liquid Natural Gas) ที่ระดับ 20,594 KTOE คิดเปนสัดสวนรอยละ 44 ของปริมาณการใชพลังงาน เชิงพาณิชยขั้นตน เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปที่แลวซึ่งมี สัดสวนการใชกาซธรรมชาติรอยละ 43 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 7.3 อันสงผลใหสัดสวนการปลอยกาซ CO2 ตอการใชพลังงาน ของประเทศในชวงดังกลาวลดลง เมื่อเปรียบเทียบการปลอยกาซ CO2 ตอการใชพลังงาน ของประเทศไทยกับตางประเทศ พบวา ณ เดือนมิถุนายน
2554 ประเทศไทยมีการปลอยกาซ CO2 เฉลี่ย 2.01 พันตัน CO2 ตอการใชพลังงาน 1 KTOE ซึ่งเปนอัตราที่ต่ำเมื่อเทียบกับ ทั้ ง ค า เฉลี่ ย ของประเทศในกลุ ม สหภาพยุ โ รปและประเทศ ในกลุมอาเซียน ที่มีการปลอยกาซ CO2 ในชวง 2.14–2.56 พันตัน CO2 ตอการใชพลังงาน 1 KTOE รวมทั้งยังต่ำกวา คาเฉลี่ยของโลกซึ่งมีการปลอยกาซ CO2 คอนขางสูง คือเฉลี่ย 2.61 พันตัน CO2 ตอการใชพลังงาน 1 KTOE
การปลอยกาซ CO2 ตอการใชพลังงาน (มิ.ย.)
คาเฉลี่ยการปลอยกาซ CO2 ตอการใชพลังงาน ณ ป พ.ศ. 2551 (จาก EDMC, 2554) www.eppo.go.th • 65
• การปลอยกาซ CO2 ตอหนวยการผลิตไฟฟา (kWh) ในชวงที่ผานมามีการเปลี่ยนแปลงไปตามสัดสวนของเชื้อเพลิง ทีใ่ ชในการผลิตไฟฟา จนกระทัง่ ในชวง 20 ปทแี่ ลวประเทศไทย มีการเปลี่ยนแปลงโครงสรางเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟา โดย มีการใชกาซธรรมชาติและถานหิน/ลิกไนตเปนเชื้อเพลิงใน การผลิตไฟฟาในสัดสวนที่เพิ่มขึ้น ในขณะที่มีปริมาณการใช น้ำมันสำเร็จรูปลดลง สงผลใหสัดสวนการปลอยกาซ CO2 ตอ kWh เริ่มมีแนวโนมลดลงโดยลำดับ ทั้งนี้ในชวง 2 ไตรมาสแรกของป 2554 มีการปลอย กาซ CO2 เฉลี่ยที่ระดับ 0.552 กิโลกรัม CO2 ตอ 1 kWh ใกลเคียงกับชวงเดียวกันของปกอนซึ่งมีการปลอยกาซ CO2 เฉลีย่ ทีร่ ะดับ 0.553 กิโลกรัม CO2 ตอ 1 kWh หรือลดลงเล็กนอย ร อ ยละ 0.1 อย า งไรก็ ดี เมื่ อ เปรี ย บเที ย บการปล อ ยก า ซ CO2 ตอ kWh ของประเทศไทยกับตางประเทศ พบวา ณ เดือน มิถุนายน 2554 ประเทศไทยมีการปลอยกาซ CO2 0.535 กิโลกรัม CO2 ตอ 1 kWh ซึ่งเปนอัตราที่สูงกวาคาเฉลี่ยของ โลกและกลุมประเทศในสหภาพยุโรป ที่มีการปลอยกาซ CO2 ในช ว ง 0.335–0.502 กิ โ ลกรั ม CO 2 ต อ 1 kWh โดย ณ ป 2550 กลุ ม ประเทศสหภาพยุ โ รป และค า เฉลี่ ย ของ ทุ ก ประเทศในโลก มี ก ารใช นิ ว เคลี ย ร ซึ่ ง เป น เชื้ อ เพลิ ง
ที่กอใหเกิดการปลอยกาซ CO2 ปริมาณต่ำ ในการผลิตไฟฟา คิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 32 และรอยละ 16 ของเชื้อเพลิงใน การผลิตไฟฟาทั้งหมดตามลำดับ ในขณะที่ประเทศไทยยังคง ใช เ ชื้ อ เพลิ ง ฟอสซิ ล ในการผลิ ต ไฟฟ า เป น หลั ก จึ ง ส ง ผลให สั ด ส ว นการปล อ ยก า ซ CO 2 ต อ kWh ของประเทศไทย ในปจจุบันมีคาสูงกวากลุมประเทศดังกลาว อยางไรก็ตาม เมื่อ เที ย บกั บ ประเทศในกลุ ม อาเซี ย นซึ่ ง มี ก ารปล อ ยก า ซ CO 2 เฉลี่ยที่ระดับ 0.751 กิโลกรัม CO2 ตอ 1 kWh นับไดวา ประเทศไทยยังปลอยกาซ CO2ตอ kWh ในระดับต่ำกวามาก
การปลอยกาซ CO2 ตอหนวยการผลิตไฟฟา (มิ.ย.)
คาเฉลี่ยการปลอยกาซ CO2 ตอหนวยการผลิตไฟฟา ณ ป พ.ศ. 2551 (จาก IEA, 2553)
• การปลอยกาซ CO2 ตอ GDP ในชวงกอนเกิดภาวะวิกฤตเศรษฐกิจป 2541 ประเทศไทยมีแนวโนมการปลอยกาซ CO2 ตอ GDP เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจนมาอยูที่ระดับสูงสุด 52.86 ตัน CO2 ตอลานบาท ในป 2541 หลังจากนั้นก็ลดต่ำลง จนในป 2551 มีระดับต่ำสุดที่ 46.55 ตัน CO2 ตอลานบาท
ทั้งนี้ชวง 2 ไตรมาสแรกของป 2554 มีการปลอยกาซ การปลอยกาซ CO2 ตอ GDP (มิ.ย.) CO2 เฉลี่ยที่ระดับ 48.52 ตัน CO2 ตอลานบาท ใกลเคียงกับ ชวงเดียวกันของปกอนซึ่งมีการปลอยกาซ CO2 เฉลี่ย 48.32 ตัน CO2 ตอลานบาท หรือเพิ่มขึ้นเล็กนอยรอยละ 0.4 โดย ในไตรมาส 2 ของป 2554 มีการปลอยกาซ CO2 เฉลี่ยที่ระดับ 51.00 ตัน CO2 ตอลานบาท ใกลเคียงกับไตรมาสเดียวกัน ของปกอนซึ่งมีการปลอยกาซ CO2 เฉลี่ยที่ระดับ 50.53 ตัน CO 2 ต อ ล า นบาท หรื อ เพิ่ ม ขึ้ น เล็ ก น อ ยเพี ย งร อ ยละ 0.9 ซึ่ ง ไตรมาส 2 ของทุ ก ป จ ะเป น ช ว งที่ มี ก ารปล อ ยก า ซ CO2 ตอ GDP สูงสุดของป
66 • นโยบายพลังงาน
ENERGY LEARNING ZONE
อนุรักษพลังงาน
ผลงานที่ชนะการประกวดบทอาขยาน
“ประหยัดพลังงาน...เราทำได งาน...เราทำได” ประเภทเยาวชน อายุ 12-18 ป รางวัลชนะเลิศ
นายศรีรัตน กอคูณ กรุงเทพฯ
หลายคนไปหนึ่งคัน พัดลมคอมทีวี พอเพียงและประหยัด เชื่อมั่น...เราทำได
ลดน้ำมันประหยัดดี ปดทันทีถอดปลั๊กไฟ ปฏิบัติเปนนิสัย ประหยัดใชพลังงาน
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1
เด็กหญิงวิวิศนา ตรงจิตร อำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา
ประหยัดพลังงาน ประหยัดน้ำและไฟ ปดแอรเมื่อเลิกใช น้ำมันอยาใชเกิน
วิธีการเราทำได ชวยชาติไทยใหเจริญ หากอยูใกลเราควรเดิน เชิญคนไทยประหยัดกัน
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2
นายชยพล กล่ำปลี อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี
ลมพัดเราปดแอร กินขาวใหหมดจาน คอมพิวเตอรเลิกเปดทิ้ง กระดาษใชใหดี
ตูเย็นแชพอประมาณ น้ำและไฟใชพอดี และอีกสิ่งคือทีวี ทั้งสองหนาพาสุขใจ
www.eppo.go.th • 67
รางวัลชนะเลิศ
ประเภทประชาชนทั่วไป
นายอุดม นุสาโล อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
ทางเดียวไปดวยกัน น้ำไฟใชพอดี หางฝาสิบหาเซ็นต รวมมือเราทำได
ลดน้ำมันไดทันที ปดทีวีถอดปลั๊กไฟ ชวยตูเย็นไมรอนใน ประหยัดใช...พลังงาน
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1
นายยุทธนา เสียดขุนทด อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี
ประหยัดพลังงาน ขึ้นลงเลือกบันได ไมขับดับเครื่องยนต น้ำใชใหคุมคา
จักรยานขี่กันไป ปดเปดไฟเปนเวลา ทุกทุกคนรูรักษา ถึงเวลาตองชวยกัน
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2
นายไวรุจน เดชมหิทกุล กรุงเทพฯ
ลิฟต รถ ลดการใช นอยชิ้นไมรีดผา ไมเปดตูเย็นบอย ไมใชหลอดไฟกลม
ไมเหนื่อยไปเดินดีกวา ไมรอนจัดใชพัดลม หรี่กาซคอยยามอุนตม เราทำไดงายนิดเดียว
รางวัลพิเศษสำหรับบทอาขยานยอดนิยม ประเภทเยาวชน
นายศรีรัตน กอคูณ กรุงเทพฯ
ใชน้ำอยางคุมคา เบอรหานานิยม เปดปดตองคิดกอน พอเพียงและพอดี
ใชไฟฟาอยางเหมาะสม แอรพัดลมคอมทีวี ยึดคำสอนองคภูมี ประหยัดนี้ไมยากเอย
รางวัลพิเศษสำหรับบทอาขยานยอดนิยม ประเภทประชาชนทั่วไป
นายปริยากร พิงพิณ จังหวัดกาฬสินธุ
เลือกใชใหสมเหตุ ลดทิ้งอยางเชี่ยวชาญ ทำตัวเปนแบบอยาง พอเพียงเลี้ยงชีวัน
68 • นโยบายพลังงาน
ทุกประเภทพลังงาน ทุกถิ่นฐานตองชวยกัน ชี้นำทางอยางสรางสรรค รักษโลกนั้นเริ่มที่เรา
ENERGY GAME ZONE
การตูนประหยัดพลังงาน
รวมใจประหยัดพลังงาน อุปกรณสำนักงาน รูหรือไมวาอุปกรณสำนักงานใชไฟฟาประมาณรอยละ 15 ของการใชพลังงานทั้งหมดของอาคาร อุปกรณสำนักงาน ประกอบดวย คอมพิวเตอร เครื่องพรินเตอร เครื่องถายเอกสาร และเครื่องโทรสาร
วิธีงาย ๆ ประหยัดพลังงานอุปกรณสำนักงาน
• ปดเครื่องหลังเลิกงานพรอมทั้งถอดปลั๊กออกดวย เนื่องจากยังมีการสิ้นเปลือง พลังงาน ยกเวนเครื่องโทรสาร ซึ่งตองเปด 24 ชั่วโมง • ป ด จ อ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ใ น เ ว ล า พั ก เ ที่ ย ง เนื่ อ งจากจอภาพใช ไ ฟฟ า กว า ร อ ยละ 70 ของคอมพิ ว เตอร และควรสั่ ง ให ร ะบบ ประหยัดพลังงานอัตโนมัติที่มากับเครื่อง คอมพิวเตอรทำงาน • เลือกซื้อเฉพาะอุปกรณสำนักงานที่มีสัญลักษณ Energy Star และตรวจสอบวาระบบประหยัดพลังงานทำงานไดจริง • พิ จ ารณาเครื่ อ งพริ น เตอร แ ละเครื่ อ ง ถ า ยเอกสารที่ มี ร ะบบถ า ย 2 หน า จะ ชวยประหยัดกระดาษ www.eppo.go.th • 69
ENERGY GAME ZONE
เกมพลังงาน
เขาใจใน “ชีวมวล” และ “พลังงานชีวมวล” ดีแคไหน?
ชีวมวล เศษวัสดุเหลือทิ้งและของเสียไรคาที่ไมไดไรคาอีกตอไป เพราะสามารถนำมาใชเปนวัตถุดิบหลักในการผลิต พลังงานได โดยผานกระบวนการหรือเทคโนโลยีตาง ๆ ที่เปลี่ยนชีวมวลเหลานี้ใหเปนพลังงานชีวมวล ซึ่งมีอยูหลายรูปแบบ ดวยกัน เชน เชื้อเพลิงเหลว กาซเชื้อเพลิง พลังงานความรอน ฯลฯ หลังจากที่ไดอานเนื้อหาเกี่ยวกับชีวมวลและพลังงานชีวมวลในคอลัมน Scoop กันไปแลว เราลองมาเลนเกมกันดู เพื่อทดสอบวาคุณผูอานเขาใจในเรื่องนี้ดีแคไหน วิธีเลนก็ไมยาก ใหคุณผูอานจับคูหัวขอทางดานซายมือกับคำอธิบาย ทางดานขวามือ โดยเติมอักษรลงในชองวางใหถูกตอง ถาพรอมแลวลงมือไดเลย
1. เศษวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร _________ 2. โรงไฟฟารอยเอ็ดกรีน _________ 3. เชื้อเพลิงอัดแทง _________ 4. ของเสียจากชุมชนและโรงงานแปรรูป ทางการเกษตร _________ 5. กาซชีวภาพอัด _________ 6. ไบโอดีเซล _________ 7. เศษวัสดุเหลือทิ้งจากโรงงานไมและอุตสาหกรรม แปรรูปกระดาษ _________ 8. น้ำมันแกสโซฮอล _________ นโยบายพลังงาน ฉบับที่ 93 เดือนกรกฎาคม-กันยายน 2554
a ชีวมวลที่นำมาอัดเปนแทงเพื่อใหเปนเชื้อเพลิง ที่มีประสิทธิภาพและใชงานไดสะดวก c พลังงานที่ไดจากน้ำมันพืชใชแลว ซึ่งสามารถ ใชแทนน้ำมันดีเซลได e พลังงานที่ไดจากของเสียไรคาจำพวกมูลสัตว และน้ำเสียจากโรงงาน b โรงไฟฟ า ที่ ใ ช แ กลบจากโรงสี ข า วมาทำเป น เชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟา h ขยะมูลฝอย ขยะสด มูลสัตว และน้ำเสีย g ขี้เลื่อย เนื้อไม เศษไม และเปลือกไม f ซั ง ข า วโพด ฟางข า ว กะลาปาล ม และเหง า มันสำปะหลัง d พลังงานที่ไดจากเศษเหลือทิ้งจากพืชจำพวก แปงและน้ำตาล
ทานผูอานสามารถรวมสนุก โดยสงคำตอบพรอมชื่อ-ที่อยูและเบอรโทรศัพท (ตัวบรรจง) มาที่ โทรสาร 0 2247 2363 หรือ บจก.ไดเร็คชั่น แพลน 539/2 อาคารมหานครยิบซั่ม ชั้น 22 ถนนศรีอยุธยา แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 วงเล็บมุมซองวา เกมพลังงาน ผูตอบถูก 5 ทาน จะไดรับของรางวัลสงใหถึงบาน ชื่อ-นามสกุล........................................................................................................................................................................... ที่อยู......................................................................................................................................................................................... โทรศัพท..............................................โทรสาร..............................................E-mail..............................................................
รองเรียน/รองทุกข แจงเบาะแสการทุจริต ประพฤติมิชอบของบุคลากร สำนักงานนโยบายและ แผนพลังงาน ผาน
70 • นโยบายพลังงาน
6 ชองทาง
1 ทางโทรศัพทหมายเลข 0 2612 1555 2 ทางโทรสารหมายเลข 0 2612 1358 3 ทางไปรษณียถึงผูอำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน ที่อยู สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน 121/1-2 ถ.เพชรบุรี แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 4 เว็บไซต www.eppo.go.th (หัวขอ “สนพ. ใสสะอาด”] 5 กลองแสดงความคิดเห็น ณ บริเวณชั้น 1 สนพ. และศูนยขอมูลขาวสาร สนพ. 6 หรือมาดวยตนเองที่ ศูนยราชการใสสะอาด สนพ. ชั้น 4 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน 121/1-2 ถ.เพชรบุรี แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
www.eppo.go.th
สมัครสมาลช ิก
รูปแบบไฟ t) PDF (Acroba
ี ร ฟ เรื่อง “พลังงาน” งาน” กอนใคร รูลึก รูจริง • สรุปขาวพลังงาน รายไตรมาส • Scoop ประเด็นเดนประจำฉบับ • สถานการณพลังงานไทย รูทันความเคลื่อนไหวทุกเรื่องพลังงาน • สถานการณราคาน้ำมันเชื้อเพลิง รูลึก เกาะติด ความเคลื่อนไหวราคาน้ำมัน • พลังงานทางเลือก ทางเลือก ทางรอดในยุคพลังงานวิกฤต
• เทคโนโลยีพลังงานตางประเทศ กาวทันทุกเทคโนโลยีการผลิตพลังงานเพื่อความยั่งยืน ทานที่สนใจสมัครสมาชิก “วารสารนโยบายพลังงาน” ในรูปแบบไฟล PDF (Acrobat)
กรุณาแจงขอมูลดานลางใหครบถวน แลวสงมาที่ E-mail : eppodp01@gmail.com หรือ โทรสาร 0 2247 2363 กองบรรณาธิการจะจัดสงวารสารนโยบายพลังงานฉบับลาสุดใหทานทาง E-mail ชื่อ-นามสกุล................................................................................................................................................................................................ บริษัท........................................................................................................................................................................................................... ที่อยู.............................................................................................................................................................................................................. โทรศัพท............................................................................................โทรสาร............................................................................................... E-mail……………………………………………………………………………………………………………...
แบบสอบถามความเห็น “วารสารนโยบายพลังงาน” ฉบับที่ 93 กรกฎาคม-กันยายน 2554
คณะทำงานวารสารนโยบายพลังงาน มีความประสงคจะสำรวจความคิดเห็นของทานผูอาน เพื่อนำขอมูลมาใชประกอบการปรับปรุงวารสาร นโยบายพลังงานใหดียิ่งขึ้น ผูรวมแสดงความคิดเห็น 10 ทานแรกจะไดรับของที่ระลึกจากคณะทำงานฯ เพียงแคทานตอบแบบสอบถามและเขียนชื่อ-ที่อยู ใหชัดเจน สงไปที่ คณะทำงานวารสารนโยบายพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน เลขที่ 121/1-2 ถ.เพชรบุรี แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400 หรือโทรสาร 0 2612 1358 หากทานใดตองการสมัครสมาชิกวารสารฯ รูปแบบไฟล pdf สมัครไดที่ e-mail : eppodp01@gmail.com
ชื่อ-นามสกุล...................................................................................................หนวยงาน....................................................................................... อาชีพ/ตำแหนง.............................................................................................โทร................................................................................................... ที่อยู........................................................................................................................................................................................................................
กรุณาทำเครื่องหมาย üลงในชอง และเติมขอความที่สอดคลองกับความตองการของทานลงในชองวาง 1 ทานเคยอาน ‘วารสารนโยบายพลังงาน’ หรือไม 10 คอลัมนภายใน “วารสารนโยบายพลังงาน” ที่ทานชื่นชอบ (โปรดทำเครื่องหมาย ü) เคย ไมเคย (จบการตอบแบบสอบถาม) 2 ทานอาน ‘วารสารนโยบายพลังงาน’ จากที่ใด ประเด็น มาก ปานกลาง นอย สรุ ป ข า วพลั ง งานรายไตรมาส ที่ทำงาน/หนวยงานที่สังกัด หองสมุด ภาพเปนขาว หนวยงานราชการ/สถานศึกษา อื่นๆ.......................... สกูป 3 ทานอาน ‘วารสารนโยบายพลังงาน’ ทุกเลมหรือไม สัมภาษณพิเศษ อานทุกเลม อานบางเลม สถานการณพลังงานไทย 4 ทานอาน ‘วารสารนโยบายพลังงาน’ อยางไร สถานการณพลังงานเชื้อเพลิง อานทั้งเลม อานผานๆ อานบางคอลัมน ศัพทพลังงาน เกมพลังงาน 5 ทานอาน ‘วารสารนโยบายพลังงาน’ เพราะเหตุใด ตองการขอมูล เพิ่มความรู มีคนแนะนำใหอาน อื่นๆ.......................... 11 “วารสารนโยบายพลังงาน” มีประโยชนอยางไร 6 ทานใชเวลาอาน ‘วารสารนโยบายพลังงาน’ กี่นาที ประเด็น มาก ปานกลาง นอย 0-10 นาที 11-20 นาที ทำใหรูและเขาใจเรือ่ งพลังงาน 21-30 นาทีี มากกวา 30 นาทีี ทำใหรูสถานการณพลังงาน 7 ความคิดเห็นตอรูปแบบ ‘วารสารนโยบายพลังงาน’ (ตอบได > 1 ขอ) นำไปใชในชีวิตประจำวันได ปก เนื้อหา
ภาพประกอบ
สวย ไมสวย สอดคลองกับเนื้อหา ไมสอดคลองกับเนื้อหา นาสนใจ ไมนาสนใจ ตรงกั บ ความต อ งการ ไมตรงกับความตองการ นำไปใชประโยชนได นำไปใชประโยชนไมได สวย สอดคลองกับเนื้อหา ทำใหเขาใจเรื่องดีขึ้น เล็กไป
ไมสวย ไมสอดคลองกับเนื้อหา ไมทำใหเขาใจเรื่องไดดีขึ้น ใหญไป พอดี
สำนวนการเขียน เขาใจ ขนาดตัวอักษร เล็กไป
ไมเขาใจ
รูปแบบตัวอักษร อานงาย การใชสี ขัดตา
อานยาก
ขนาดรูปเลม
ใหญไป
เล็กไป
ใหญไป สบายตา
ไดความรูรอบตัว อื่นๆ ……………......................... ............................................. .............................................
12 ขอเสนอแนะเพิ่มเติม ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ พอดี ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ พอดี
8 ระยะเวลาการเผยแพร ราย 3 เดือน เหมาะสม ไมเหมาะสม อื่นๆ........................ 9 ทานเคยอานวารสารนโยบายพลังงาน บนเว็บไซตของสำนักงานหรือไม เคย ไมเคย
เทคโนโลยีพลังงานจากตางประเทศ
ความหวังใหมพลังงานทดแทน เชือ้ เพลิงจากฟอสซิลอยางน้ำมันและกาซธรรมชาตินบั วัน จะเหลือนอยลงไปทุกที หลายประเทศจึงพยายามเสาะหาแหลง พลังงานทดแทนอืน่ ๆ ทีอ่ าจนำมาใชเปนพลังงานทดแทนเชือ้ เพลิง เดิมทีก่ ำลังจะหมดไป ซึง่ พลังงานทดแทนหนึง่ ทีไ่ ดรบั ความสนใจ ในชวงนี้ก็คือ “น้ำแข็งติดไฟ” (Combustible ice) ซึ่งถือเปน กาซธรรมชาติทอี่ ยูใ นรูปของแข็งชนิดหนึง่ (Natural gas hydrate : NGH) มี ลั ก ษณะเหมื อ นน้ ำ แข็ ง สามารถติ ด ไฟได เ หมื อ น เอทานอลแข็ง จึงเรียกกันวา “น้ำแข็งติดไฟ” หรือบางก็เรียก “น้ำแข็งมีเทน” เพราะในผลึกโครงสรางประกอบดวยกาซมีเทน จำนวนมาก แหลงน้ำแข็งติดไฟจะอยูใตทะเลและที่ราบสูงขนาดใหญ ที่มีอากาศหนาวเย็น เกิดขึ้นจากกาซธรรมชาติและน้ำภายใต ความกดดันสูงและอุณหภูมิต่ำจนมีลักษณะคลายกับน้ำแข็ง
หากสกัดและขนสงไมดีจะเปนการกระตุนใหเกิดการปลอย ก า ซมี เ ทนออกสู บ รรยากาศมากยิ่ ง ขึ้ น รวมถึ ง หากขุ ด เจาะ สำรวจใต ท อ งทะเลอย า งไม ร ะมั ด ระวั ง อาจเป น ตั ว การที่ ทำให เ กิ ด หายนะภั ย อย า งแผ น ดิ น ถล ม ตามชายฝ ง หรื อ แมกระทั่งเกิดสึนามิตามมาได ซึ่งเปนเรื่องที่หลายฝายตองหา วิธีการปองกัน รวมถึงหาเทคโนโลยีที่จะนำน้ำแข็งไฟมาใชให ไดอยางเหมาะสม ที่ผานมาประเทศที่ไดชื่อวามีแหลงน้ำแข็งติดไฟมากที่สุด ของโลกคือ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และอินเดีย แตลาสุดจีนได ออกมาเปดเผยถึงการคนพบแหลงน้ำแข็งไฟใหมในทะเลทาง ตอนเหนือของทะเลจีนใต ครอบคลุมพืน้ ที่ 430 ตารางกิโลเมตร ซึง่ ถือเปนแหลงน้ำแข็งติดไฟใหญทสี่ ดุ ในโลก ทำใหจนี กาวขึน้ มา เปนเจาแหงน้ำแข็งติดไฟรายที่ 4 ของโลก
น้ำแข็งติดไฟปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร สามารถปล อ ย กาซธรรมชาติไดเกือบ 164 ลูกบาศกเมตร มีการประมาณ กันวาปริมาณของคารบอนอินทรียในแหลงพลังงานของน้ำแข็ง ติดไฟทัง้ หมดของโลกมีมากเปน 2 เทา ของปริมาณแหลงสำรอง ทีพ่ สิ จู นแลวของน้ำมัน กาซธรรมชาติ และถานหินของโลกรวมกัน แนนอนวาหากสามารถขุดเจาะและนำน้ำแข็งติดไฟมาใชได โลกจะมีแหลงกาซธรรมชาติทสี่ ามารถตอบสนองความตองการ ของมนุษยไดอีกนับพันป
จีนมีแผนขุดเจาะน้ำแข็งติดไฟระหวางป ค.ศ. 20102015 และมีแผนขุดเจาะเชิงพาณิชยในป ค.ศ. 2020 โดย จะใช ง บประมาณราว 800 ล า นหยวน ซึ่ ง มหาวิ ท ยาลั ย ปโตรเลียมจีนเปดเผยวา คาใชจายในการขุดเจาะน้ำแข็งติดไฟ สูงถึง 200 เหรียญดอลลารสหรัฐตอลูกบาศกเมตร ขณะที่ น้ ำ แข็ ง ไฟ 1 ลู ก บาศก เ มตร ให ก า ซธรรมชาติ ร าว 164 ลูกบาศกเมตร ทำใหคาใชจายกาซธรรมชาติ 1 ลูกบาศกเมตร มากกวา 1 เหรียญดอลลารสหรัฐ ซึ่งถือวาสูงกวาคาใชจายใน การผลิ ต ก า ซธรรมชาติ ป จ จุ บั น ของจี น ที่ อ ยู ที่ 0.125 เหรีย ญดอลลาร สหรั ฐ ต อ ลูกบาศก เ มตร
แตอยางไรก็ตาม การนำน้ำแข็งติดไฟมาใชยังมีปญหา ที่สำคัญและหลายฝายอาจยังเปนกังวลโดยเฉพาะปญหาดาน สิ่งแวดลอม เนื่องจากน้ำแข็งติดไฟอัดแนนไปดวยกาซมีเทนถึง รอยละ 80-99.9 ซึง่ กาซมีเทนเปนกาซเรือนกระจก ตัวการสำคัญ ทีท่ ำใหเกิดภาวะโลกรอนและนากลัวยิง่ กวากาซคารบอนไดออกไซด
การจะนำน้ำแข็งติดไฟมาใชจึงยังตองศึกษาวิจัยเพื่อลด ผลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ มอี ก มาก เพื่ อ ให ไ ด ป ระสิ ท ธิ ภ าพ พลังงานและเกิดความคุมคามากที่สุด แตอยางนอยเราก็ยังมี ความหวังวาแหลงพลังงานใหมนี้จะเปนทางออกใหแกเราไดใน อนาคต แหลงขอมูลเพิ่มเติม 1. www.tundragas.com 2. www.giss.nasa.gov
www.eppo.go.th • 73
พลังงานชีวมวล พลังงานสีเขียว