(6)
โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุงภูมสิ ถาปัตยกรรม พืน้ ทีร่ ิมนา้ ย่ านสะพานสมโภชกรุงรัตนโกสิ นทร์ 200 ปี อาเภอเมือง จังหวัดตาก LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN AND IMPROVEMENT PROJECT OF WATERFRONT AREAS, BANGKOK BICENTENNIAL BRIDGE DISTRICT, MUANG, TAK
เปรม แสงจันทร์ 5013101308
วิทยานิพนธ์ นีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของความสมบูรณ์ ของการศึกษาตามหลักสู ตร ปริญญาภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาภูมสิ ถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ พ.ศ.2555
(6)
ชื่ อผู้เขียน ชื่อปริญญา
โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ ริ มน้ าย่านสะพานสมโภชกรุ งรัตนโกสิ นทร์ 200 ปี อาเภอเมือง จังหวัดตาก เปรม แสงจันทร์ ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม
ประธานกรรมการทีป่ รึกษา
อาจารย์ ทรรศชล ปัญญาทรง
ชื่อเรื่อง
บทคัดย่ อ โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ริมน้ าย่านสะพานสมโภช กรุ งรัตนโกสิ นทร์ 200 ปี อาเภอเมือง จังหวัดตากมีพ้นื ที่ท้ งั หมด 168 ไร่ ตั้งอยูท่ ี่ถนนถนนกิตติขจร และถนนจอมพล มีการเข้าถึงที่สะดวก ตั้งอยูใ่ นเขตเทศบาลที่มีประชากรอาศัยอยูอ่ ย่างหนาแน่น พื้นที่ริมฝั่งแม่น้ าปิ ง เทศบาลเมืองตาก จังหวัดตาก เป็ นพื้นที่ซ่ ึ งมีประเพณี วฒั นธรรม ที่เป็ น เอกลักษณ์ โดยมีประเพณี ลอยกระทงสายไหลประทีปพันดวงที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของจังหวัดตาก ซึ่ งจัดขึ้นบริ เวณริ มฝั่งแม่น้ าปิ งเป็ นประจาของทุกปี และหาชมได้ที่เดียวในจังหวัดตาก นอกจากนี้ยงั เป็ นที่ต้ งั ของสะพานแขวนสมโภช กรุ งรัตนโกสิ นทร์ 200 ปี ซึ่ งถูกสร้างขึ้นในโอกาสการเฉลิม ฉลองกรุ งรัตนโกสิ นทร์มีอายุครบ 200 ปี เพื่อเชื่อมระหว่างริ มฝั่งแม่น้ าปิ งเทศบาลเมืองตากและ ตาบลป่ ามะม่วง ประกอบกับบริ เวณริ มฝั่งแม่น้ าปิ งเป็ นสวนสาธารณะเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจของ ชาวเมืองตากในช่วงเวลายามเย็นรวมทั้งยังเป็ นจุดการค้าขายที่สาคัญของจังหวัดตาก ดังนั้นจึ งมีการจัดทาโครงออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ริมน้ าย่าน สะพานสมโภชกรุ งรัตนโกสิ นทร์ เพื่อเป็ นการอนุรักษ์ประเพณี วฒั นธรรมให้คงอยู่ และปรับ ปรุ งภูมิ ทัศน์บริ เวณริ มฝั่งแม่น้ า ปิ งให้มีทศั นียภาพและสภาพแวดล้อมที่สวยงาม รองรับการพักผ่อนของ ประชาชน และส่ งเสริ มการอนุรักษ์พ้นื ที่ริมน้ าปิ ง
(6)
Author
Landscape Architectural Design and Improvement Project of Waterfront Areas, Bangkok Bicentennial Bridge District, Muang, Tak Mr.Prem Saengjan
Degree of
Bachelor of Landscape Architecture
Advisory Committee Chairperson
Miss.Tatsachol Panyasong
Title
Abstract Landscape Architectural Design and Improvement Project of Waterfront Areas, Bangkok Bicentennial Bridge District, Muang, Tak. province has a total area of 168 acres. It located at Avenue Road, Chomphonkittikachorn with convenient accessibility. The location was within the municipality boundary that had high density population. The area along the Mae Ping Riverside, municipality of Muang Tak, Province of Tak is the unique place covering both culture and tradition. The “Sai Lai Prateep Pan Doung (Flow of thousand lanterns)� Loy Kratong Festival is as a specific identity of Tak province held at the area along the Mae Ping riverside as annual regular basis and you can visit only in this province. Additionally, it is also the location of the Rattanakosin Bicentenial celebration (1982) bridge which was built on the occasion of Rattanakosin Bicentenial celebration (1982). The bridge is for connection between the riverside of Mae Ping River under the municipality of MuangTak and Ta Moung sub-district. This is also as the riverside area as the recreational park for the residents of Tak during the evening period as well as the trading point of the province. Therefore, Landscape Architectural Design And Improvement Project of Waterfront Areas, Bangkok Bicentennial Bridge District, Muang, Tak is under preparation for preservation and maintaining of culture and traditionas well as improvement of landscape along the riverside in terms of beautiful scenery and environment. It also supports the rest and recreation of the people including promotion of conservation of the Mae Ping riverside area.
(6)
กิตติกรรมประกาศ การทาวิทยานิพนธ์ในครั้งนี้สาเร็ จลุล่วงได้ดว้ ยดี ด้วยแรงใจจากที่ต่างๆและต้องเผชิญกับ อุปสรรคปั ญหาหลากหลาย ซึ่ งการทาวิทยานิพนธ์ครั้งนี้จะสาเร็ จลงไม่ได้ถา้ ไม่ได้รับคาแนะนา ความเอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ กาลังใจ แรงบันดาลใจ ความรัก ที่มีจากคนรอบข้างที่ช่วยผลักดันให้ขา้ พเจ้า มาถึงจุดนี้ได้ โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถ าปั ตยกรรมพื้นที่ริมน้ าย่านสะพานสมโภช กรุ งรัตนโกสิ นทร์ 200 ปี อาเภอเมือง จังหวัดตากสามารถดาเนินงานและลุล่วงไปได้ดว้ ยดี เพราะได้ คาแนะนา การช่วยเหลือจากบุคคลต่อไปนี้ ขอขอบคุณครอบครัว คุณพ่อ และครอบครัวที่คอยสนับสนุนในทุกๆด้านที่เกี่ยวกับ การศึกษามาโดยตลอด ขอบขอบคุณอาจารย์ทรรศชล ปัญญาทรง ประธานกรรมการที่ปรึ กษา ที่ได้สละเวลา คอยให้ความรู ้ ความช่วยเหลือ ให้คาปรึ กษา ในทุกๆด้านมาโดยตลอดจนประสบความสาเร็ จด้วยดี ขอขอบคุณอาจารย์จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ อาจารย์ยทุ ธภูมิ เผ่าจินดา กรรมการที่ปรึ กษา ที่คอยให้คาแนะนา เป็ นที่ ปรึ กษาในทุกๆเรื่ อง และค่อยสร้างความกดดันในการทางานจนประสบ ความสาเร็ จด้วยดี ขอขอบคุณอาจารย์ทุกๆท่านที่ไม่ได้เอ่ยนาม ที่ช่วยประสิ ทธิ์ ประสาทวิชาความรู ้แก่ ข้าพเจ้าจนสามารถทาให้ขา้ พเจ้าทาวิทยานิพนธ์สาเร็ จลุล่วงได้ดว้ ยดี ขอขอบคุณ พี่ๆธุรการทุกคน ที่ค อยให้ความสะดวกในการติดต่อเอกสารทางราชการ เอกสารการเรี ยน เป็ นอย่างดี ขอขอบคุณพี่เบิ้ม เจ้าหน้าที่หอ้ งสมุด ในการศึกษาค้นหาข้อมูลจากเอกสารในห้องสมุด ขอขอบคุณเพื่อนธี รพร ลอมศรี และครอบครัว ที่ค่อยเป็ นธุ ระ
ในการไปสารวจพื้นที่
โครงการ และคอยช่วยเป็ นกาลังใจ ช่วยเก็บข้อมูลต่างๆในการทาวิทยานิพนธ์เป็ นอย่างดี ขอขอบคุณเพื่อนออฟ เพื่อนหนุ่ม เพื่อนเป็ ก เพื่อนเอ็ม เพื่อนต้อม เพื่อนโต้ง เพื่อนปอย เพื่อนรวง เพื่อนนุย้ เพื่อนต่าย เพื่อนกิ่ง เพื่อนวรรณ เพื่อนนุ เพื่อนมิ้น และเพื่อนภูมิ สถาปั ตยกรรม รุ่ น 13 ที่ค่อยให้เสี ยงหัวเราะมาโดยตลอดและพี่ๆน้องๆทุกคนที่คอยให้กาลังใจ
(6) ขอบขอบคุณพี่ๆพนักงาน แพลนนิ่งเวริ คเพลส ทุกท่าน ที่ให้ประสบการณ์ทางานที่ดี ให้ ความรู ้ใหม่ๆ และคาแนะนาต่างๆในการทางานระหว่างที่ปฎิบตั ิงานสหกิจเป็ นอย่างดี หวังเป็ นอย่างยิง่ ว่าวิทยานิพนธ์เล่มนี้จะมีประโยชน์ แ ละมีคุณค่าต่อผูท้ ี่ศึกษาค้นคว้าไม่ มากก็นอ้ ย เปรม แสงจันทร์ 2 กันยายน 2555
(7) สารบัญเรื่อง เรื่อง
หน้ า
หน้าปกด้านใน
(1)
หน้าใบรับรองวิทยานิพนธ์
(2)
บทคัดย่อภาษาไทย
(3)
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
(4)
กิตติกรรมประกาศ
(5)
สารบัญประกอบด้วย -
สารบัญเรื่ อง
(7)
-
สารบัญตาราง
(11)
-
สารบัญภาพ
(12)
-
สารบัญแผนที่
(15)
บทที่ 1. บทนา 1.1 ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ
1
1.2 สถานที่ต้ งั โครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ
2
1.3 วัตถุประสงค์
2
1.4 ขอบเขตของการศึกษา
3
1.5 ขั้นตอนการออกแบบ
4
1.6 ประโยชน์ที่จะได้รับจากการศึกษา
7
1.7. ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับที่ต้ งั โครงการ 2. ที่ต้ งั และความสาคัญของโครงการ
7
2.1 ความสาคัญของที่ต้ งั
9
2.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ
13
2.3 ที่ต้ งั โครงการ
14
(8) สารบัญเรื่อง (ต่อ) บทที่
หน้ า 2.4 การเข้าถึงพื้นที่โครงการ 2.5 สภาพการใช้ที่ดินในปั จจุบนั ภายในพื้นที่โครงการ
14 15
3. การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ 3.1 พิจารณาความเป็ นไปได้ของโครงการทางเศรษฐศาสตร์
20
3.2 พิจารณาความเป็ นไปได้ทางการเงิน
21
3.3 พิจารณาความเป็ นไปได้ทางด้านการบริ หารและการจัดการ
22
3.4 พิจารณาความเป็ นไปได้ทางด้านสาธารณูปโภค
22
3.5 พิจารณาความเป็ นไปได้ทางด้านการท่องเที่ยว
23
4. กรณี ศึกษา 4.1 สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ (ฝั่งพระนคร-ฝั่งธนบุรี) 4.1.1 ที่ต้ งั โครงการ
24
4.1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ
24
4.1.3 แนวคิดในการออกแบบ
24
4.1.4 รายละเอียดของโครงการ
25
4.1.5 การวิเคราะห์ผงั บริ เวณ
26
4.1.6 การวิเคราะห์ขอ้ ดีขอ้ เสี ยของโครงการ
26
4.1.7 ความสัมพันธ์ของกรณี ศึกษากับโครงการออกแบบ
27
4.2 สิ ริจิตอุทยาน 4.2.1 ที่ต้ งั โครงการ
29
4.2.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ
29
4.2.3 รายละเอียดของโครงการ
29
4.2.3 การวิเคราะห์ผงั บริ เวณ
30
(9) สารบัญเรื่อง (ต่อ) บทที่
หน้ า 4.2.5 การวิเคราะห์ขอ้ ดีขอ้ เสี ยของโครงการ
30
4.2.6 ความสัมพันธ์ของกรณี ศึกษากับโครงการออกแบบ
30
4.3 Wilmington Waterfront Development Project 4.3.1 ที่ต้ งั โครงการ
34
4.3.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ
34
4.3.3 รายละเอียดโครงการ
34
4.3.4 การวิเคราะห์ผงั บริ เวณ
36
4.3.5 การวิเคราะห์ขอ้ ดีขอ้ เสี ยของโครงการ
36
4.3.6 ความสัมพันธ์ของกรณี ศึกษากับโครงการ
36
5. ข้อมูลและการวิเคราะห์ขอ้ มูลของโครงการ 5.1 การวิเคราะห์ขอ้ มูลทัว่ ไปของจังหวัด
39
5.2 การวิเคราะห์ลกั ษณะทางกายภาพของพื้นที่โครงการ
44
5.3 การสังเคราะห์ขอ้ มูลผูใ้ ช้โครงการ
57
6. แนวความคิดในการออกแบบ 6.1 แนวคิดในการออกแบบ
63
6.2 แนวความคิดในการออกแบบโครงการ
63
6.3 แนวความคิดในการจัดแบ่งกลุ่มพื้นที่โครงการ
67
6.4 แนวความคิดในการวางระบบสัญจร
68
6.5 แนวความคิดในการวางผังพืชพรรณ 7. รายละเอียดโครงการเพื่อการออกแบบ
68
7.1 รายละเอียดของการออกแบบและจัดระบบสาธารณูปโภค สาธารณู ปการ 8. ผลงานการออกแบบ
71
8.1 แผ่นงานที่ 1 INTRODUCTION AND INVENTORY
76
(10) สารบัญเรื่อง (ต่อ) บทที่
หน้ า 8.2 แผ่นงานที่ 2 SITE ANALYSIS 1
76
8.3 แผ่นงานที่ 3 SITE ANALYSIS 2
76
8.4 แผ่นงานที่ 4 SITE ANALYSIS 3
77
8.5 แผ่นงานที่ 5 SITE SYNTHESIS
77
8.6 แผ่นงานที่ 6 CONCEPT DESIGN 1
77
8.7 แผ่นงานที่ 7 CONCEPT DESIGN 2
77
8.8 แผ่นงานที่ 8 CONCEPT DESIGN 3
77
8.9 แผ่นงานที่ 10 MASTER PLAN
77
8.10 แผ่นงานที่ 11 DETAIL PLAN : A
77
8.11 แผ่นงานที่ 12 DETAIL PLAN : B
78
8.12 แผ่นงานที่ 13 DETAIL PLAN : C
78
8.13 แผ่นงานที่ 14 TYPICAL DETAIL
78
8.14 แผ่นงานที่ 15 OVER ALL PERSPECTIVE
78
บทที่ 9 บทสรุ ปและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัตินกั ศึกษา
(11) สารบัญตาราง ตารางที่
หน้ า 1. แสดงการสังเคราะห์พ้นื ที่โครงการ
57
2. แสดงการแบ่งพื้นที่ใช้สอยของโครงการ
60
(12) สารบัญภาพ ภาพที่
หน้ า 1. แสดงสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ ฝั่งธนบุรี – ฝั่งพระนคร
27
2. แสดงพื้นที่ดา้ นหน้าสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ
28
3. แสดงประติมากรรมในพื้นที่โครงการ
28
4. แสดงบรรยากาศที่ร่มรื่ นภายในโครงการ
29
5. แสดงแผนที่แสดงสิ ริจิตอุทยาน ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร
31
6. แสดงแผนผังสิ ริจิตอุทยาน
32
7. แสดงลานน้ าพุสิริจิตอุทยาน 8. แสดงลานอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย
33
9. แสดงลานอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย
33
10. แสดงระยะการพัฒนาที่ 1 (2009 - 2015)
35
11. แสดงแสดงระยะการพัฒนาที่ 2 (2015 - 2020)
35
12. แสดงแผนผังโครงการ Wilmington Waterfront Development Project
37
13. แสดงแผนที่ที่ต้ งั โครงการ
37
14. แสดงทัศนียภาพโดยรอบของโครงการ
38
15. แสดงทัศนียภาพริ มน้ า
38
16. แสดงภาพตัดของพื้นที่โครงการ
38
17. แสดงภาพสนามกีฬากลางแจ้ง
54
18. แสดงพื้นที่โล่งในพื้นที่สวนสาธารณะ
54
19. แสดงภาพมุมมองเปิ ดบนสะพานสมโภชกรุ งรัตนโกสิ นทร์ 200 ปี
54
20. แสดงภาพมุมมองเปิ ดจากด้านหน้าสะพานแขวนมายังในพื้นที่โครงการ
54
21. แสดงพื้นที่เปิ ดโล่งเป็ นลักษณะมุมมองที่เปิ ด
55
33
(13) สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่
หน้ า
22. แสดงมุมมองเปิ ดโล่งของตลาดสดเทศบาล 3
55
23. แสดงมุมมองเปิ ดโล่งของอาคารพาณิ ชย์
55
24. แสดงมุมมองที่เปิ ดมองจากริ มน้ าปิ งเข้ามาในพื้นที่โครงการ
56
25. แสดงภาพมุมมองเปิ ดของพื้นที่โล่งกลางแจ้ง
56
26. แสดงภาพมุมมองเปิ ดเห็นบรรยากาศพื้นที่ริมน้ าฝั่งตรงข้าม
56
27. แสดงพื้นที่ริมน้ าตามธรรมชาติ
64
28. แสดงพื้นที่ริมน้ าแบบโครงสร้าง ค.ส.ล
64
29. แสดงพื้นที่โครงสร้างแบบธรรมชาติ และหิ นทิ้ง
64
30. แสดงระบบบึงประดิษฐ์แบบ Free Water Surface Wetland (FWS)
65
31. แสดงรู ปแบบป้ าย
73
32. แสดงรู ปแบบศาลาพักผ่อน
74
33. แสดงรู ปแบบม้านัง่
75
34. INTRODUCTION AND INVENTORY
79
35. SITE ANALYSIS 1
80
36. SITE ANALYSIS 2
81
37. SITE ANALYSIS 3
82
38. SITE SYNTHESIS
83
39. CONCEPT DESIGN 1
84
40. CONCEPT DESIGN 2
85
41. CONCEPT DESIGN 3
86
42. MASTER PLAN
87
43. DETAIL PLAN : A
88
(14) สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่
หน้ า
44. DETAIL PLAN : B
89
45. DETAIL PLAN : C
90
46. TYPICAL DETAIL
91
47. OVER ALL PERSPECTIVE
92
(15)
สารบัญแผนที่ แผนที่ 1. แสดงที่ต้ งั โครงการระดับประเทศ 2. แสดงที่ต้ งั โครงการระดับอาเภอ 3. แสดงที่ต้ งั โครงการระดับเทศบาลเมืองตาก 4. แสดงที่ต้ งั โครงการ 5. แสดงความลาดชันของพื้นที่โครงการ 6. แสดงลักษณะการระบายน้ าของพื้นที่โครงการ 7. แสดงลักษณะทางธรณี วทิ ยาของพื้นที่โครงการ 8. แสดงพรรณไม้ของพื้นที่โครงการ 9. แสดงระบบการสัญจรของพื้นที่โครงการ 10. แสดงทัศนียภาพของโครงการ 11. แสดงการสังเคราะห์พ้นื ที่ของโครงการ 12. แสดงการแบ่งพื้นที่ใช้สอยของโครงการ 13. แสดงแนวความคิดในการจัดแบ่งกลุ่มพื้นที่โครงการ 14. แสดงแนวความคิดการวางระบบสัญจร 1 15. แสดงแนวความคิดในการวางระบบการสัญจร 2 16. แสดงแนวความคิดในการวางผังพืชพรรณ 17. แสดงแนวความคิดในเรื่ องน้ า
หน้ า 16 17 18 19 48 49 50 51 52 53 59 62 69 69 69 70 70
บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดตาก เป็ นจังหวัดในภาคเหนือตอนล่างของไทย นับเป็ นจังหวัดชายแดนที่สาคัญ อีกจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย มีประวัติศาสตร์ เก่าแก่นบั แต่สมัยกรุ งสุ โขทัย ทั้งยังมีแหล่ง ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ประเพณี และวัฒนธรรมที่งดงาม ควรค่าแก่การอนุรักษ์ พื้นที่ริมฝั่งแม่น้ าปิ ง เทศบาลเมืองตาก จังหวัดตาก เป็ นพื้นที่ซ่ ึ งมีประเพณี วฒั นธรรม ที่ เป็ นเอกลักษณ์ โดยมีประเพณี ลอยกระทง สายไหลประทีปพันดวงที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของจังหวัด ตากซึ่ งจัดขึ้นบริ เวณริ มฝั่งแม่น้ าปิ งเป็ นประจาของทุกปี และหาชมได้ที่เดียวในจังหวัดตาก นอกจากนี้ยงั เป็ นที่ต้ งั ของสะพานแขวนสมโภช กรุ งรัตนโกสิ นทร์ 200 ปี ซึ่ งถูกสร้างขึ้นในโอกาส การเฉลิมฉลองกรุ งรัตนโกสิ นทร์มีอายุครบ 200 ปี เพื่อเชื่อมระหว่างริ มฝั่งแม่น้ าปิ งเทศบาลเมืองตาก และตาบลป่ ามะม่วง แต่ในปั จจุบนั ได้ใช้สาหรับเดินชมทิวทัศน์แม่น้ าปิ ง ประกอบกับบริ เวณริ มฝั่ง แม่น้ าปิ งเป็ นสวนสาธารณะเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจของชาวเมืองตากในช่วงเวลายามเย็นรวมทั้งยัง เป็ นจุดการค้าขายที่สาคัญของจังหวัดตาก ปั จจุบนั พื้นที่ริมฝั่งแม่น้ าปิ งบางส่ วนยังขาดการพัฒนาและเป็ นพื้นที่รกร้างทาให้มี ทัศนียภาพที่ไม่สวยงามและไม่เหมาะสมกับการเป็ นแหล่งท่องเที่ยว นอกจากนั้นยังเป็ นจุดพักผ่อน ของประชาชนชาวเมืองตาก ส่ วนบริ เวณพื้นที่สวนสาธารณะเดิมมีสภาพทรุ ดโทรมเป็ นอย่างมาก ขาดการดูแ ลรักษาและความน่าสนใจในพื้นที่ลดน้อยลง ประกอบกับเป็ นพื้นที่คา้ ขายของชาวเมือง ตากบริ เวณพื้นที่สวนสาธารณะจึงมีพอ่ ค้าแม่คา้ มาจับจองพื้นที่ขายของ ขาดการจัดระบบระเบียบ การใช้สอยพื้นที่ ดังนั้นจึงมีการจัดทาโครงออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ ริ มน้ าย่านสะพานสมโภชกรุ งรัตนโกสิ นทร์ เพื่อเป็ นการอนุรักษ์ประเพณี วฒั นธรรมให้คงอยู่ และ ปรับปรุ งภูมิทศั น์บริ เวณริ มฝั่งแม่นา้ ปิ งให้มีทศั นียภาพและสภาพแวดล้อมที่สวยงามมีศกั ยภาพใน การเป็ นเป็ นสถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจและสถานที่ท่องเที่ยวริ มฝั่งแม่น้ าปิ งของจังหวัดตาก อันเป็ น การส่ งเสริ มด้านการท่องเที่ยวให้พ้นื ที่แห่งนี้มีชื่อเสี ยงและเป็ นการอนุรักษ์ประเพณี ทอ้ งถิ่นให้เป็ นที่ รู ้จกั แก่คนทัว่ ไปทั้งในระดับจังหวัดและระดับประเทศต่อไป
2
1.2 สถานทีต่ ้ งั โครงการและเหตุผลในการเลือกทีต่ ้ งั โครงการ 1.2.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้นที่โครงการตั้งอยูใ่ นเขตบ้านพร้าว ตาบลหนองหลวง และติดต่อกับบ้านจีน ตาบลระแหง อาเภอเมือง จังหวัดตาก อยูใ่ นเขตเทศบาลเมืองตาก บริ เวณริ มฝั่งแม่น้ าปิ งด้านทิศ ตะวันตก 1.2.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ พื้นที่โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพื้ นที่ริมน้ าย่าน สะพานสมโภชกรุ งรัตนโกสิ นทร์ 200 ปี อาเภอเมือง จังหวัดตาก ตั้งอยูท่ ี่ถนนถนนกิตติขจร และ ถนนจอมพล ซึ่ งเป็ นพื้นที่ที่มีประเพณี ลอยกระทงสายไหลประทีปพันดวงซึ่ งเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะ ของจังหวัดตาก มีชื่อเสี ยงและเป็ นที่รู้จกั แก่คนทัว่ ไป อีกทั้งยังเป็ นพื้นที่ ที่มีศกั ยภาพเหมาะสมกับ การเป็ นสถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจของชาวเมืองตาก มีการเข้าถึงที่สะดวก ตั้งอยูใ่ นเขตเทศบาลที่มี ประชากรอาศัยอยูอ่ ย่างหนาแน่น แต่สภาพภูมิทศั น์บางส่ วนของพื้นที่มีความทรุ ดโทรมบางส่ วน การเลือกที่ต้ งั โครงการบริ เวณริ มฝั่งแม่นาปิ งนี้จะช่วยอานวยป ระโยชน์ท้ งั ต่อประชาชนจังหวัดตาก และต่อนักท่องเที่ยว และเป็ นการปรับปรุ งสภาพแวดล้อมของพื้นที่ให้เหมาะกับระบบนิเวศริ มน้ า 1.3 วัตถุประสงค์ ของโครงการ 1.3.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1.3.1.1 เพื่อออกแบบและปรับปรุ งพื้นที่ริมฝั่งแม่น้ าปิ งให้เป็ นพื้นที่สาธารณะ สถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจและนันทนาการ 1.3.1.2 เพื่อออกแบบและปรับปรุ งภูมิทศั น์ยา่ นการค้าริ มฝั่งแม่น้ าปิ ง 1.3.1.3 เพื่อออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ริมน้ าย่านสะพาน สมโภชกรุ งรัตนโกสิ นทร์ 200 ปี ริ มฝั่งแม่น้ าปิ งให้เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวทางด้านประเพณี วัฒนธรรมของเทศบาลเมืองตาก 1.3.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 1.3.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมประเภทพื้นที่สีเขียวที่เป็ นริ้ วยาว ขนานริ มฝั่งแม่น้ าปิ ง 1.3.2.2 เพื่อศึกษาการออกแบบภูมิ สถาปั ตยกรรมที่สอดคล้องกับประเพณี และ วัฒนธรรมของพื้นถิ่นจังหวัดตาก
3
1.3.2.3 เพื่อศึกษาการออกแบบและแนวทางการพัฒนาถนนคนเดินบริ เวณริ ม แม่น้ าปิ ง เทศบาลเมืองตาก 1.4 ขอบเขตของการศึกษา 1.4.1 ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 1.4.1.1 พื้นที่โครงการ โครงการตั้งอยูท่ ี่ริมฝั่งแม่น้ าปิ ง ตั้งอยูใ่ นเขตตาบลหนองหลวง และตาบล ระแหง อาเภอเมืองตาก จังหวัดตาก ตั้งแต่สะพานตากสิ นราชานุสรณ์จนถึงสะพานกิตติขจร บน ถนนกิตติขจร ถนนจอมพล มีพ้นื ที่โครงการประมาณ 168 ไร่ 1.4.1.2 อาณาเขตติดต่อกับพื้นที่โครงการ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ถนนจรดวิถีถ่อง ทิศใต้ ติดต่อกับ สะพานกิตติขจร ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ชุมชนบ้านพร้าว บ้านจีน และแหล่ง พาณิ ชยกรรมและชุมชนหนาแน่น ทิศตะวันตก ติดต่อกับ แหล่งชุมชนหนาแน่นน้อย (บ้านป่ ามะม่วง) และแม่น้ าปิ ง 1.4.2. ขอบเขตของเนื้อหาที่จะศึกษา 1.4.2.1 ศึกษาที่ต้ งั อาณาเขต การเข้าถึง การเชื่อมโยง และประวัติที่ต้ งั โครงการ 1.4.2.2 วิเคราะห์โครงการด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพและกิจกรรม 1.4.2.3 วิเคราะห์โครงการด้านศักยภาพการเป็ นพื้นที่พกั ผ่อนริ มน้ า การอนุรักษ์ สิ่ งแวดล้อม ด้านนันทนาการ และศักยภาพด้านการท่องเที่ยว 1.4.2.4 ศึกษาข้อกาหนดและกฎหมายที่มีผลต่อการออกแบบ และวางผังพื้นที่ สาธารณะริ มน้ าและย่านการค้า 1.4.2.5 ศึกษาปั จจัยต่างๆที่มีผลต่ออิทธิ พลของพื้นที่โครงการ และลักษณะของ กิจกรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่ 1.4.2.6 ศึกษาและวิเคราะห์ลกั ษณะโครงการและการใช้พ้นื ที่ประเภทเดียวกันหรื อ ใกล้เคียงกันทั้งภายในและภายนอกประเทศ 1.4.2.7 ศึกษาแนวคิดและทฤษฏีเกี่ยวข้องกับการออกแบบ และวางผังให้มีความ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของโครงการ
4
1.5 ขั้นตอนการออกแบบ 1.5.1 ศึกษาขอบเขตการศึกษาเบื้องต้น 1.5.2 ขั้นตอนโครงการ ทาโครงการย่อวิทยานิพนธ์เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการการตรวจ วิทยานิพนธ์ 1.5.3 งานขั้นเก็บและรวบรวมข้อมูล 1.5.3.1 ข้อมูลทุติยภูมิ 1.5.3.1.1 เอกสารและข้อมูลการสื บค้นจากสื่ อต่างๆ รายงานวิจยั ศึกษากรณี ศึกษา / ทฤษฏี / งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง เอกสารสิ่ งตีพิมพ์ต่างๆจากหน่วยงานราชการ หาเอกสารอ้างอิง จากเอกสารต่างๆที่น่าเชื่อถือได้ แผนนโยบายและโครงการต่างๆ ข้อมูลที่สืบค้นจาก Internet หรื อสื่ อต่างๆที่อา้ งอิงได้ 1.5.3.1.2 ศึกษาจากโครงการประเภทเดียวกัน 1.5.3.2 ข้อมูลปฐมภูมิ 1.5.3.2.1 ภาคสนาม จากการสังเกต จดบันทึก ถ่ายภาพ สัมภาษณ์คนในพื้นที่ การทา Visual Survey เก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโครงการ 1.5.4 การวิเคราะห์ขอ้ มูล 1.5.4.1 ที่ต้ งั ที่ต้ งั ประวัติที่ต้ งั โครงการ การเข้าถึงพื้นที่โครงการ การใช้ที่ดินโดยรอบ การเชื่อมโยงกับบริ เวณโดยรอบ 1.5.4.2 ปั จจัยทางธรรมชาติ สภาพทัว่ ไปของโครงการ (Existing Condition) ภูมิประเทศ
5
-
พื้นที่น้ าท่วม สภาพภูมิอากาศ ดิน - แหล่งน้ า พืชพรรณ 1.5.4.3 ปั จจัยทางกายภาพที่มนุษย์สร้างขึ้น การใช้ที่ดิน กรรมสิ ทธิ์ ที่ดิน การเชื่อมโยงในพื้นที่โครงการ ระบบสัญจรรถยนต์ และทางเดินเท้า ภาพตัดของถนน ระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ อาคารและสิ่ งก่อสร้างเดิมในพื้นที่ 1.5.4.4 ปัจจัยทางสุ นทรี ยภาพ Vista View - Direction of Vista, Orientation - Path View - Sequence - Eyespot - Good View - Bad View 1.5.4.5 Element of image - Path - Edge - District - Node - Landmark : Historic building, Sign, Road 1.5.4.6 Landscape Characters - Street Furniture - Street Trees
6
- Day and Night Scene 1.5.5 งานขั้นสังเคราะห์ขอ้ มูล (Site Synthesis) เพื่อเป็ นแนวทางการกาหนดแนวความคิด ในการออกแบบให้สอดคล้องกับโครงการ 1.5.5.1 การวิเคราะห์หาความต้องการของโครงการ (Program Analysis) 1.5.5.2 ศักยภาพและข้อจากัด (Site Potential and Constrain) 1.5.5.3 การพัฒนาโปรแกรมความต้องการของโครงการ (Program Development) 1.5.5.4 ข้อกาหนดของรายละเอียดของโปรแกรม (Program Requirement) 1.5.6 ขั้นตอนในการเสนอแนวความคิดในการออกแบบ 1.5.6.1 การกาหนดแนวความคิดในการออกแบบ (Concept Design) 1.5.6.1.1 แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ของการใช้สอยกิจกรรม (Relationship, Bubble and Function Diagram) 1.5.6.1.2 การออกแบบเพื่อหาแนวทางเลือก (Schematic and Alternative Design) 1.5.6.1.3 ผังแนวความคิดในการออกแบบระบบสัญจร (Circulation System) 1.5.6.1.4 ผังแนวความคิดในการออกแบบพื้นที่โล่ง (Open Space) 1.5.6.1.5 ผังแนวความคิดในการออกแบบระบบสาธารณูปโภค 1.5.6.1.6 ผังแนวความคิดในการออกแบบวางผังพืชพรรณ (Planting Design) 1.5.6.2 งานขั้นออกแบบ 1.5.6.2.1 การออกแบบผังแม่บท (Master Plan) 1.5.6.2.2 งานออกแบบรายละเอียดต่างๆ 1.5.7 นาเสนอผลงานการออกแบบขั้นสมบูรณ์ เพื่อนาเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อประกอบการพิจารณา 1.5.7.1 ผังแม่บท (Master Plan) 1.5.7.2 ผังบริ เวณ (Site Plan) 1.5.7.3 ผังรายละเอียด (Detail Plan) 1.5.7.4 ผังรู ปตัดและรู ปด้าน (Section and Elevation) 1.5.7.5 รู ปทัศนียภาพ (Perspective) 1.5.7.6 วีดีโอแสดงพื้นที่โครงการ (3D Animation)
7
1.5.7.7 สมุดรายงานวิทยานิพนธ์ (Book) 1.5.8 สรุ ปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะในการจัดทาวิทยานิพนธ์ 1.6 ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับจากการศึกษา 1.6.1 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ 1.6.1.1 สามารถฟื้ นฟูสภาพแวดล้อมริ มน้ าปิ งให้มีทศั นียภาพที่สวยงาม และเพิม่ พื้นที่สีเขียวให้กบั ตัวเมืองเพื่อเป็ นสถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจ ออกกาลังกาย และนันทนาการ 1.6.1.2 เพิม่ พื้ นที่พกั ผ่อนบริ เวณย่านการค้าของจังหวัดเพื่อตอบสนองการใช้งาน แก่ประชนและนักท่องเที่ยวได้มีสถานที่พกั ผ่อน 1.6.1.3 เพื่อส่ งเสริ มการท่องเที่ยวทางด้านประเพณี วฒั นธรรม 1.6.2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการศึกษา 1.6.2.1 ฟื้ นฟูสภาพแวดล้อมริ มน้ าและลดผลกระทบที่มีต่อสิ่ งแวดล้อมให้มากที่สุด 1.6.2.2 ทาให้ทราบถึงการออกแบบวางผังพื้นที่พกั ผ่อนและนันทนาการทั้งยังเป็ น การส่ งเสริ มการท่องเที่ยวทางประเพณี วฒั นธรรมของพื้นที่ 1.6.2.3 ทาให้ทราบถึงปั จจัยข้อจากัดต่างๆ ที่มีผลต่อการออกแบบต ลอดจนการ แก้ไขปั ญหาในการออกแบบ 1.7. ข้ อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับทีต่ ้ งั โครงการ 1.7.1 การเข้าถึงพื้นที่โครงการ โครงการตั้งอยูท่ ี่ริมฝั่งแม่น้ าปิ ง ตั้งอยูใ่ นเขตตาบลหนองหลวง และตา บลระแหง อาเภอเมืองตาก จังหวัดตาก ตั้งแต่สะพานตากสิ นราชานุสรณ์จนถึงสะพานกิตติขจร บ นถนนกิตติ ขจร ถนนจอมพล มีพ้นื ที่โครงการประมาณ 168 ไร่ การเดินทางจากสถานีขนส่ งจังหวัดตากมายังพื้นที่โครงการ มีระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร เดินทางมายังพื้นที่โครงการได้โดย รถยนต์ส่วนตัว รถโดยสารประจา - รถจักรยานยนต์
8
-
รถจักรยาน ทางอากาศ ที่สนามบินแม่สอด ในเขตอาเภอเมืองตากมายังพื้นที่โครงการ โดยพาหนะดังนี้ รถโดยสารประจาทาง รถยนต์ส่วนตัว รถจักรยานยนต์ รถจักรยาน ในเขตอาเภอเมืองตากมายังพื้นที่โครงการ มีรถบริ การดังนี้ รถสองแถว (รถสี่ ลอ้ เล็ก)ให้บริ การในเขนเทศบาลและนอกเขตเทศบาล รถจักรยานสามล้อเครื่ อง 1.7.2 สภาพพื้นที่โดยรอบโครงการ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ถนนจรดวิถีถ่อง ทิศใต้ ติดต่อกับ สะพานกิตติขจร ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ชุมชนหนาแน่น และแหล่งพาณิ ชยกรรม ทิศตะวันตก ติดต่อกับ แหล่งชุมชนหนาแน่นน้อย (บ้านป่ ามะม่วง ) และแม่น้ าปิ ง 1.7.3 สภาพการใช้ที่ดินในปั จจุบนั ภายในพื้นที่โครงการ จากผังการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคตปี พ .ศ.2569 อาเภอเมือง จังหวัดตาก พื้นที่ โครงการจัดเป็ นประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและรักษาสิ่ งแวดล้อม และย่านพาณิ ชยกรรม ปั จจุบนั พื้นที่โครงการบางส่ วนมีสภาพทรุ ดโทรม เป็ นพื้นที่โล่งว่างขาดการดูแลรักษาส่ งผลให้เกิดการใช้ ประโยชน์ที่ดินไม่เต็มประสิ ทธิ ภาพ และมีทศั นียภาพไม่สวยงาม
9
บทที่ 2 ทีต่ ้งั และความสาคัญของโครงการ 2.1 ความสาคัญของทีต่ ้งั เมืองตากเป็ นจังหวัดที่อยูท่ างภาคเหนือตอนล่าง มีชื่อเดิมว่า “เมืองระแหง ” ในอดีตเป็ น เมืองที่มีชาวมอญอาศัยอยูม่ าก่อน ดังมีหลักฐานศิลปะมอญปรากฏอยู่ ตัวเมืองเดิมตั้งอยูท่ ี่อาเภอบ้าน ตาก เมืองนี้สร้างขึ้นก่อนสมัยกรุ งสุ โขทัยเป็ นราชธานี ต่อมาเมื่อได้สถาปนากรุ งสุ โขทัยเป็ นราชธานี แล้ว เมืองตากมีฐานะเป็ นเมืองหน้าด่านที่สาคัญด้านฝั่งตะวันตก และยังเป็ นเมืองที่มีความเกี่ยวข้อง กับพระมหาราชในอดีตถึง 4 พระองค์ ที่เสด็จมาชุมนุมกองทัพ ณ ดินแดนเมืองตากแห่งนี้ ได้แก่ พ่อ ขุนรามคาแหงมหาราช สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนารายณ์มหาราช และสมเด็จพระเจ้า ตากสิ นมหาราช ในสมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์พระบาทสมเด็จพระพุท ธเลิศหล้านภาลัยได้โปรดเกล้าฯ ให้ยา้ ยตัวเมืองตากจากฝั่งขวา ของแม่น้ าปิ งมายังฝั่งซ้ายบริ เวณตาบลบ้านระแหงจนกระทัง่ ทุกวันนี้ จังหวัดตาก ตั้งอยูใ่ นภาคเหนือค่อนไปทางตะวันตกของประเทศไทย สู งกว่าระดับน้ าทะเล 116.2 เมตร (ที่ต้ งั ศาลากลางจังหวัดตาก ) ห่างจากกรุ งเทพมหานคร ตามระยะทางทางหลวง หมายเลข 1 ถนนพหลโยธิน ประมาณ 426 กม. มีเนื้อที่ประมาณ 16,406.65 ตร.กม. หรื อประมาณ 10,324,156.25 ไร่ ใหญ่เป็ นอันดับที่ 2 ของภาคเหนือรองจากจังหวัดเชียงใหม่ สภาพภูมิประเทศ โดยทัว่ ไป เป็ นป่ าไม้และภูเขา มีทิวเขาถนนธงชัย เป็ นตัวแบ่งพื้นที่ออกเป็ น 2 ฝั่ง ตากฝั่งตะวันออก คือ อ.เมือง อ.บ้านตาก อ.สามเงา กิ่ง อ.วังเจ้า และตากฝั่งตะวันตก คือ อ .แม่สอด อ.แม่ระมาด อ.พบ พระ อ.ท่าสองยาง อ.อุม้ ผาง แบ่งการปกครองออกเป็ น 8 อาเภอ 1 กิ่งอาเภอ คือ อ.เมือง อ.บ้านตาก อ.สามเงา อ.แม่สอด อ.แม่ระมาด อ.พบพระ อ.ท่าสองยาง อ.อุง้ ผาง และกิ่ง อ.วังเจ้า มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดต่างๆ 9 จังหวัด และ 1 ประเทศ ดังนี้ - ทิศเหนือ ติดต่อกับ จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดลาพูน และจังหวัดลาปาง - ทิศใต้ ติดต่อกับ จังหวัดอุทยั ธานี และจังหวัดกาญจนบุรี - ทิศตะวันออก ติดต่อกับ จังหวัดสุ โขทัย จังหวัดกาแพงเพชร จังหวัด นครสวรรค์ และจังหวัดอุทยั ธานี - ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า
10
2.1.1 สภาพทัว่ ไปของเทศบาลเมืองตาก เทศบาลเมืองตาก ตั้งอยูใ่ นเขตตาบลระแหง อาเภอเมืองตาก ซึ่ งอยูใ่ นภาคเหนือ ตอนล่าง อยูห่ ่างจากกรุ งเทพมหานครไปตามถนนสายเอเชีย หมายเลข 1 ระยะทาง 421 กิโลเมตร มี พื้นที่ประมาณ 7.272 ตารางกิโลเมตร ( เป็ นพื้นที่แม่น้ าปิ งประมาณ 3 ตารางกิโลเมตร ) มีเขตการปกครอง 4 ตาบล คือ 1. ตาบลหัวเดียด 2. ตาบลหนองหลวง 3. ตาบลระแหง 4. ตาบลเชียงเงิน มีอาณาเขต ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อ ตาบลไม้งาม ทิศใต้ ติดต่อ ตาบลวังหิน ทิศตะวันออก ติดต่อ ตาบลน้ ารึ ม ทิศตะวันตก ติดต่อ เป็ นแม่น้ าปิ งติดต่อตาบลป่ ามะม่วง 2.1.2 สภาพภูมิประเทศและสภาพภูมิอากาศ พื้นที่เทศบาลจัดอยูใ่ นประเภทอากาศแบบร้อนชื้น ในฤดูมรสุ มตะวันตกเฉียงใต้ พัดผ่านจะมีอากาศชุ่มชื้น และมีฝนตกตลอดฤดู แต่ในฤดูมรสุ มตะวันออกเฉี ยงเหนือพัดผ่านจะมี อากาศแห้งแล้ง อุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี ระหว่าง 17.4 – 91.0 องศาเซลเซียส (อุณหภูมิต่าสุ ด – อุณหภูมิ สู งสุ ด) มีปริ มาณน้ าฝน 1,202.6 มิลลิเมตรต่อปี ฤดูร้อน เริ่ มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์เป็ นต้นไป จนถึงกลางเดือนพฤษภาคม ฤดูหนาว เริ่ มตั้งแต่เดือนตุลาคมเป็ นต้นไป จนถึงเดือนกุมภาพันธ์ อากาศจะหนาว จัดในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมกราคม ฤดูฝน เริ่ มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมเป็ นต้นไป จนถึงเดือนตุลาคม 2.1.3 การคมนาคม การติดต่อการคมนาคมภายในเทศบาลติดต่อกับเขตใกล้เคียง หรื ออาเภอใกล้เคียง หรื อจังหวัดอื่น ๆ ที่ห่างออกไปสามารถติดต่อโดยทางรถยนต์ ซึ่ งสภาพถนนส่ วนใหญ่เป็ น ถนนลาดยางใช้รถยนต์โดยสารขนาดเล็กติดต่อทางกับตาบลและอาเภอใกล้เคียง ซึ่งสภาพ
11
การจราจรเป็ นไปด้วยความสะดวกและรวดเร็ ว ซึ่ งประชาชนส่ วนใหญ่จะนิยมใช้รถยนต์ส่วนบุคคล สาหรับการเดินทางมาติดต่อกันได้ตลอดปี ในเขตเทศบาลมีจานวนถนนและซอยซึ่ งอยูใ่ นความดูแลรวม 78 สาย มีความยาวรวม 45.712 กิโลเมตร มีความกว้างตั้งแต่ 3.50 เมตร ถึง 15.00 เมตร ถนนส่ วนใหญ่เป็ นถนนคอนกรี ต เสริ มเหล็ก มีรายละเอียดดังนี้ 1. ถนนคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 28 สาย ยาวรวม 14.197 กิโลเมตร 2. ถนนลาดยาง 45 สาย ยาวรวม 30.637 กิโลเมตร 3. ถนนดินลูกรัง 5 สาย ยาวรวม 0.878 กิโลเมตร สาหรับเส้นทางคมนาคมทางรถยนต์ที่ใช้ติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง และกรุ งเทพฯ อาศัย เส้นทางสายสาคัญ คือ -ทางหลวงแผ่นดิน ถนนพหลโยธิน -ทางหลวงแผ่นดิน ถนนจรดวิถีถ่อง ตาก - สุ โขทัย -ทางหลวงแผ่นดิน ถนนสายตาก - อาเภอพรานกระต่าย ทางรถยนต์ จังหวัดตากอยูห่ ่างจากกรุ งเทพมหานคร 426 กิโลเมตร ตามทาง หลวงหมายเลข 1 แยกซ้ายมือเข้าทาง หลวงหมายเลข 32 ที่ชุมทางประตูน้ าพระอินทร์ ผ่านจังหวัด สิ งห์บุรี จังหวัดชัยนาท เข้าจังหวัดนครสวรรค์ แล้วแยกซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 1 อีกครั้ง ผ่าน จังหวัดกาแพงเพชรถึงจังหวัดตาก รวมระยะทาง 426 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 6 ชัว่ โมง รถประจาทาง บขส. มีรถออกจากสถานีขนส่ งสายเหนือทุก 2 ชัว่ โมง โดยประมาณตั้งแต่ เวลา 08.00 น. ถึง 22.30 น. ทางอากาศ จังหวัดตากมีสนามบินพาณิ ชย์ จานวน 1 แห่ง คือ สนามบินแม่สอด นอกจากนี้ ยังมีสนามบินของหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ คือ สนามบินของเขื่อนภูมิพล 2.1.4 การท่องเที่ยว ในเขตเทศบาลเมืองตากมีแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญ คือชายฝั่งแม่น้ าปิ งซึ่ งเป็ น สถานที่พกั ผ่อนชมทิวทัศน์ของแม่น้ าปิ ง ซึ่งมีความยาวตลอดแนวเขตเทศบาลด้านตะวันตกของ เทศบาลซึ่ งเป็ นแรงจูงใจของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศที่มาเที่ยวชมกันมากขึ้น นอกจากนี้ในเขตเทศบาล ยังจัดงานประเพณี ที่มีชื่อเสี ยง เช่น งานประเพณี ลอยกระทงสาย ไหล ประทีปพันดวง สร้างความตื่นตาตื่นใจน่าเที่ยวชม เป็ นอย่างยิง่ ศาลสมเด็จพระเจ้าตากสิ นมหาราช ตั้งอยูท่ ี่สี่แยกถนนจรดวิถีถ่อง ตัดกับถนนมหาดไทย
12
บารุ ง ใกล้สานักงานการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ศาลนี้แต่เดิมอยูบ่ นวัดดอยข่อยเขาแก้วฝั่งตรง ข้ามกับตัวเมืองตาก ต่อมาในปี 2490 ชาวเมืองเห็นว่าศาลนั้นไม่สมพระเกียรติ จึงช่วยกันสร้างศาล ขึ้นใหม่ พร้อมกับให้กรมศิลปาก รหล่อพระบรมรู ปสมเด็จพระเจ้าตากสิ นมหาราชขนาดใหญ่กว่า พระองค์จริ งเล็กน้อย ในพระราชอิสริ ยาบทที่กาลังประทับอยูบ่ นราชอาสน์ มีพระแสงดาบพาดอยูท่ ี่ พระเพลา ที่ฐานพระบรมรู ปมีคาจารึ ก ว่า “พระเจ้าตากสิ นกรุ งธนบุรี ทรงพระราชสมภพเมื่อ 2277 สวรรคต 2325 รวม 48 พรรษา”ศาลนี้เป็ นที่เ คารพสักการะของประชาชนทัว่ ไป และทุกปี ใน ระหว่างวันสิ้ นปี และวันปี ใหม่ จะมีงานฉลองเป็ นประเพณี ตรอกบ้านจีน ในอดีตเป็ นท่าเทียบเรื อขนถ่ายสิ นค้าที่ส่งมาจากปากน้ าโพ และเป็ นย่าน ธุ รกิจการค้า ของจังหวัดตาก จะคับคัง่ ไปด้วยผูค้ นที่มาซื้ อของและขนส่ งสิ นค้า ในสมัยที่แม่น้ าปิ ง ยังไม่ถูกถม แต่ปัจจุบนั เงียบเหงาไม่ใช่ยา่ นการค้าเหมือนแต่ก่อน เป็ นเพียงหมู่บา้ นเรื อนไทยโบราณ ที่สร้างด้วยไม้สักซึ่งจะหาดูได้ยากในปัจจุบนั สาหรับในตัวเมืองยังมีโรงแรมที่พกั ที่ได้มาตรฐาน และร้านค้า ร้านอาหารให้บริ การที่มีคุณภาพดีเป็ นส่ วนส่ งเส ริ มให้การท่องเที่ยวในเขตเทศบาลมีผู ้ มาท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น อีกทางหนึ่งด้วย หนองน้ ามณี บรรพต อยูต่ ิดกับถนนพหลโยธิ น ทางซ้ายมือก่อนเข้าตัวเมืองเล็กน้อยหนอง แห่งนี้เป็ นบึงขนาดใหญ่ มีพ้นื ที่กว่า 60 ไร่ ภายในบริ เวณร่ มรื่ นด้วยพันธุ์ไม้ต่างๆ มีศาลาพักผ่อน หย่อนใจ วัดมณี บรรพตวรวิหาร เป็ นวัดหลวงประจาจังหวัด อยูร่ ิ มทางหมายเลข 1 ใกล้โรงพยาบาล สมเด็จพระเจ้าตากสิ นมหาราชก่อนเข้าตัวเมืองเล็กน้อย วัดมณี บรรพตตั้งอยูบ่ นเนินเขาลูกย่อม ๆ ด้านหลังเป็ นเจดียท์ รงมอญย่อเหลี่ยมไม้ 16 ภายในอุโบสถ์มีพระบรมสาทิสลักษณ์ของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ที่พระราชทานแก่วดั นี้ และเป็ นที่ประดิษฐานพระพุทธรู ป แสนทอง ซึ่งเป็ นพระพุทธรู ปสมัยเชียงแสน หน้าตักกว้าง 30 นิ้ว ชาวบ้านอัญเชิญมาจากวัดร้างแห่ง หนึ่งในเขตตาบลแม่ตื่น อาเภอแม่ระมาด เมื่อปี พ.ศ.2473 นับถือว่าเป็ นพระพุทธรู ปศักดิ์สิทธิ์ ประจา เมืองตากในปี พ.ศ. 2549 จากการสารวจจนถึงเดือนธันวาคม มีจานวนนักท่องเที่ยวที่พกั ค้างแรมทั้งหมด620,689 คน เป็ นชาวไทย 602,992 คน ชาวต่างประเทศ 17,697 คนในปี พ.ศ. 2550 จากการสารวจจนถึงเดือนธันวาคม มีจานวนนักท่องเที่ยวที่พกั ค้างแรมทั้งหมด903,711 คน เป็ นชาว ไทย 864,820 คน ชาวต่างประเทศ 38,891 คน
13
2.1.5 การใช้ที่ดิน ลักษณะการใช้ที่ดินในเขตเทศบาลเมืองตาก ส่ วนใหญ่ใช้เป็ นที่อยูอ่ าศัย และ ประกอบกิจการร้านค้า ซึ่ งจะมีรายละเอียดของการใช้ประโยชน์ในที่ดินดังนี้ ที่อยูอ่ าศัยหนาแน่นน้อย 12.13% ที่อยูอ่ าศัยหนาแน่นปานกลาง 39.09% ที่อยูอ่ าศัยหนาแน่นมาก+พาณิ ชย์ 13.23% ที่โล่งเพื่อนันทนาการ 15.89% สถาบันการศึกษา 2.67% อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม 0.55% สถาบันการศาสนา 5.43% สถาบันราชการ ,สาธารณูปโภค,สาธารณูปการ 9.33% อนุรักษ์ป่าไม้ 0% อุตสาหกรรม 0% อุตสาหกรรมเฉพาะกิจ 0.22% ชนบท+เกษตรกรรม 1.45% 2.2 เหตุผลในการเลือกทีต่ ้ งั โครงการ พื้นที่โครงการออกแบบ วางผัง และปรับปรุ งภูมิ สถาปั ตยกรรมพื้นที่ริมน้ าย่านสะพาน สมโภชกรุ งรัตนโกสิ นทร์ 200 ปี อาเภอเมือง จังหวัดตาก ตั้งอยูท่ ี่ถนนถนนกิตติขจร และถนนจอม พล ซึ่ งเป็ นพื้นที่ที่มีประเพณี ลอยกระทงสายไหลประทีปพันดวง ซึ่งเป็ น เอกลักษณ์เฉพาะ ของ จังหวัดตาก มีชื่อเสี ยงและเป็ นที่รู้จกั แก่คนทัว่ ไป อีกทั้งยังเป็ นพื้นที่ที่มีศกั ยภาพเหมาะสมกับการ เป็ นสถานที่พกั ผ่อนห ย่อนใจของชาวเมืองตาก มีการเข้าถึงที่สะดวก ตั้งอยูใ่ นเขตเทศบาลที่มี ประชากรอาศัยอยูอ่ ย่างหนาแน่น แต่สภาพภูมิทศั น์ บางส่ วนของพื้นที่ มีความทรุ ดโทรมบางส่ วน การเลือกที่ต้ งั โครงการบริ เวณริ มฝั่งแม่นาปิ งนี้ จะช่วยอานวยประโยชน์ท้ งั ต่อประชาชนจังหวัดตาก และต่อนักท่องเที่ยว และเป็ นการปรับปรุ งสภาพแวดล้อมของพื้นที่ให้เหมาะกับระบบนิเวศริ มน้ า
14
2.3 ทีต่ ้งั โครงการ พื้นที่โครงการตั้งอยูใ่ น บริ เวณ เขตบ้านพร้าว ตาบลหนองหลวง และติดต่อกับบ้านจีน ตาบลระแหง อาเภอเมือง จังหวัดตาก อยูใ่ นเขตเทศบาลเมืองตาก ริ มฝั่งแม่น้ าปิ งด้านทิศตะวันตก มี พื้นที่ 168 ไร่ 2.4 การเข้ าถึงพืน้ ทีโ่ ครงการ โครงการตั้งอยูท่ ี่ริมฝั่งแม่น้ าปิ ง ตั้งอยูใ่ นเขตตาบลหนองหลวง และตา บลระแหง อาเภอ เมืองตาก จังหวัดตาก ตั้งแต่สะพานตากสิ นราชานุสรณ์จนถึงสะพานกิตติขจร บนถนนกิตติขจร ถนนจอมพล มีพ้นื ที่โครงการประมาณ 168 ไร่ การเดินทางจากสถานีขนส่ งจังหวัดตากมายังพื้นที่โครงการ มีระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร เดินทางมายังพื้นที่โครงการได้โดย รถยนต์ส่วนตัว รถโดยสารประจา - รถจักรยานยนต์ รถจักรยาน ทางอากาศ ที่สนามบินแม่สอด โดยสายการบินไทยเที่ยวบินจาก กรุ งเทพ-แม่สอด-เชียงใหม่ สัปดาห์ละ 4 เที่ยวบิน ในวันจันทร์ อังคาร พฤหัสบดี และเสาร์ระยะทาง ประมาณ 40 กิโลเมตร ในเขตอาเภอเมืองตากมายังพื้นที่โครงการ โดยพาหนะดังนี้ รถโดยสารประจาทาง รถยนต์ส่วนตัว รถจักรยานยนต์ รถจักรยาน ในเขตอาเภอเมืองตากมายังพื้นที่โครงการ มีรถบริ การดังนี้ รถสองแถว (รถสี่ ลอ้ เล็ก)ให้บริ การในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล รถจักรยานสามล้อเครื่ อง
15
2.5 สภาพการใช้ ทดี่ ินในปัจจุบันภายในพืน้ ทีโ่ ครงการ จากผังการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคตปี พ.ศ.2569 อาเภอเมือง จังหวัดตาก พื้นที่โครงการ จัดเป็ นประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและรักษาสิ่ งแวดล้อม และย่านพาณิ ชยกรรม ปั จจุบนั พื้นที่ โครงการบางส่ วนมีสภาพทรุ ดโทรม เป็ นพื้นที่โล่งว่างขาดการดูแลรักษาส่ งผลให้เกิดการใช้ ประโยชน์ที่ดินไม่เต็มประสิ ทธิ ภาพ และมีทศั นียภาพไม่สวยงาม
16
แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการระดับประเทศ
17
แผนที่ 2 แสดงที่ต้ งั โครงการระดับอาเภอ
18
แผนที่ 3 แสดงที่ต้ งั โครงการระดับเทศบาลเมืองตาก
19
แผนที่ 4 แสดงที่ต้ งั โครงการ
20
บทที่ 3 การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ 3.1 พิจารณาความเป็ นไปได้ ของโครงการระดับเศรษฐศาสตร์ จากการพัฒนาพื้นที่โครงการจะเป็ นการกระตุน้ การพัฒนาของเศรษฐกิจจังหวัดตาก และ เทศบาลเมืองตากอีกทางหนึ่ง โดยรายได้จากการพัฒนาจะไ ด้มาจากการเพิ่มจานวนของผูเ้ ข้า ใช้ท้ งั เป็ นการกระตุน้ ให้ผเู ้ ข้าใช้โครงการใช้จ่ายเงินซื้ อสิ นค้า ของที่ละลึก อาหารเครื่ องดื่ม ด้านการ บริ การและการคมนาคมขนส่ ง ในการเดินทางเข้ามาใช้ในพื้นที่โครงการ ทั้งเป็ นการกระจายรายได้ ให้แก่พอ่ ค้าแม่คา้ ในเขตเทศบาลเมืองตากอีกด้วย ส่ งผลให้เศรษฐกิจเพิ่มขึ้นและส่ งผลดีต่อเศรษฐกิจ ของจังหวัด 3.1.1 ด้านการขยายตัวทางเศรษฐกิจ จากผังภาคเหนือ ปี พ.ศ.2600 เศรษฐกิจการค้าขายและบริ การที่สาคัญจะเป็ นธุ รกิจ การบริ การ การค้าส่ ง การค้าปลีก การท่องเที่ยวและการบริ การด้านอาหาร โดยมีพ้นื ที่การค้าและ บริ การเป็ นหลักได้แก่ จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ ลาปาง พิษณุ โลก นครสวรรค์และตาก โดยจังหวัด ตาก พิษณุ โลก เป็ นศูนย์กลางด้านภาคเหนือตอนล่างในด้านธุ รกิจการค้า การขนส่ ง การเกษตร สอดคล้องกับการพัฒนาพื้นที่โครงการจะช่วยสร้างความเจริ ญเติบโตต่อระ บบเศรษฐกิจของจังหวัด ตากได้ส่วนหนึ่งและจะก่อให้เกิดผลดีต่อการเพิม่ รายได้และการมีงานทาของประชากรอีกด้วย โครงสร้างทางเศรษฐกิจของชุมชนเมืองตากพบว่า ภาคบริ การจะเป็ นภาคการผลิต หลักที่สาคัญโดยเฉพาะกิจกรรมการค้าและบริ การ การกระจายตัวของร้านค้าส่ วนใหญ่จะอยูใ่ นเขต เทศบาลเมืองโดยเฉพาะชุมชนฝั่งตะวันออกของแม่น้ าปิ ง ส่ งผลให้พ้นื ที่โครงการมีการเติบโตทาง เศรษฐกิจจากการเป็ นศูนย์กลางการค้าขายของจังหวัด อีกทั้งยังเป็ นทางผ่านไปยังจังหวัดต่างๆและ สถานที่ที่สาคัญ 3.1.2 ด้านการจ้างงาน จากการพัฒนาพื้นที่โครงการต่อการจ้างงานส่ งผลให้เกิดการบริ การนักท่องเที่ยวที่ เพิ่มขึ้นทาให้มีการจ้างงานเพิ่มขึ้น จากการสร้างงานโดยตรงในพื้นที่โครงการ ได้แก่ พนักงานดูแล รักษาภูมิทศั น์ พนักงานทาความสะอาด พนักงานรักษาความปลอดภัย พนักงานให้ขอ้ มูล เป็ นต้น
21
และการจ้างงานทางอ้อมที่เกิดจากการผลิตการจ้างงานในลักษณะของสถานประกอบการ ส่ วนใหญ่ เป็ นการค้าปลีกและบริ การ และการจ้างงานในสขาอื่นๆ 3.1.3 ด้านการกระจายรายได้ ชุมชนเมืองตากพบว่าเป็ นศูนย์กลางการค้าขาย และการปกครองของจังหวัดจะมี ภาคการผลิตหลักที่สาคัญโดยเฉพาะการค้าขาย และบริ การกระจายอยูใ่ นเขตเทศบาลเมือง ส่ งผลให้ การพัฒนาพื้นที่โครงการสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวเข้ามาพักผ่อน ท่องเที่ยวตามสถานที่สาคัญของ ชุมชนเมืองตาก ทาให้เกิดการสร้างรายได้ให้แก่คนในชุมชนเมืองตาก โดยเฉพาะประชากรที่อยูใ่ น พื้นที่ใกล้เคียง 3.2 พิจารณาความเป็ นไปได้ ทางการเงิน การท่องเที่ยวเป็ นกิจกรรมที่มีส่วนสาคัญในการนาเงินตราต่างประเทศเข้าสู่ ประเทศไทย จานวนมาก แล้วยังก่อให้เกิดการลงทุนการจ้างงาน กระจายรายได้ไปสู่ ส่วนต่างๆ แต่สิ่งที่เป็ น อุปสรรคต่อการท่องเที่ยวก็คือ ข้อจากัดด้านการเงินทั้งเป็ นการบารุ งรักษาแหล่งท่ องเที่ยวที่มีอยูแ่ ล้ว และการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใหม่รวมไปถึงการโฆษณาประชาสัมพันธ์ และส่ งเสริ มการท่องเที่ยว ซึ่ งเป็ นสาเหตุที่สาคัญในการที่จะต้องมีกองทุนเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยว โดยกองทุนนี้ได้มาจาก 1. สานักงานเทศบาลจังหวัดตาก ตามแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนาคน และสังคมอย่างมี คุณภาพ และยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม พร้อม ส่ งเสริ มการท่องเที่ยว 2. เงินรับมอบจากกองทุนเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย 3. เงินที่ได้รับจากการบริ จาค 4. เงินภาษีจากประชาชน 5. เงินจากการเก็บค่าเช่าที่จากเทศบาลเมืองตาก กองทุนที่ได้กล่าวมานี้เพื่อนางบประมาณในการลงทุนไปทาการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว การ จัดให้มีระบบโครงสร้างพื้นฐาน สิ่ งอานวยความสะดวก สถานที่พกั ผ่อนสาหรับประชาชนและ นักท่องเที่ยว เนื่องจากพื้นที่โครงการมีความทรุ ดโทรม ขาดการต่อเนื่องจากการใช้กิจกรรม และ ความสวยงามในการเข้าใช้พ้นื ที่
22
3.3 พิจารณาความเป็ นไปได้ ทางด้ านการบริหารและการจัดการ พื้นที่โครงการอยูใ่ นความดูแลของเทศบาลเมืองตาก โดยกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินเป็ นที่ราชพัสดุ ใน ปั จจุบนั พื้นที่โครงการ จากผังการใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคตปี พ .ศ.2569 อาเภอเมือง จังหวัดตาก พื้นที่โครงการจัดเป็ นประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและรักษาสิ่ งแวดล้อม และย่านพาณิ ชยกรรม ปั จจุบนั พื้นที่โครงการบางส่ วนมีสภาพทรุ ดโทรม เป็ นพื้นที่โล่งว่างขาดการดูแลรักษาส่ งผลให้เกิด การใช้ประโยชน์ที่ดินไม่เต็มประสิ ทธิ ภาพ และมีทศั นียภาพไม่สวยงามและได้พฒั นาพื้นที่โครงการ ขึ้นมาใหม่ โดยมีเทศบาลเมืองตากเป็ นเจ้าของพื้นที่โครงการ และให้เจ้าหน้าที่แผนกกองช่างใน เทศบาลเมืองตากจัดทาแผนพัฒนาสภาพภูมิทศั น์ของพื้นที่ การจัดทาแผนดาเนินงาน และการบริ หารโครงการสาหรับองค์ประกอบโครงการพัฒนา ทั้งหมด ซึ่ งเจ้าหน้าที่แผนกกองช่างเป็ นผูร้ ับปฏิบตั ิโดยควบคุมขั้นตอนต่างๆ ตั้งแต่การออกแบบ รายละเอียด การประมูล การทาสัญญาจ้าง การควบคุมการก่อสร้าง เป็ นต้น 3.4 พิจารณาความเป็ นไปได้ ทางด้ านสาธารณูปโภค พื้นที่โครงการตั้งอยูใ่ นตัวเมืองจังหวัดตาก ระบบสาธารณูปโภคในพื้นที่ค่อนข้างมีครบ 3.4.1 ระบบไฟฟ้ า การให้บริ การด้านพลังงานไฟฟ้ าในพื้นที่ดาเนินการโดยการไฟฟ้ าส่ วน ภูมิภาค และมีไฟฟ้ าให้แสงสว่างกระจายตัวในที่สาธารณะอยูท่ วั่ ชุมชน 3.4.2 ระบบสื่ อสารและโทรคมนาคม 3.4.2.1 ระบบโทรศัพท์การให้บริ การด้านโทรศัพท์ดาเนินการโดย องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย และบริ ษทั เอกชนสัมปทาน โดยมีโทรศัพท์สาธารณะให้บริ การ 107 หมายเลข ในพื้นที่โครงการมีโทรศัพท์สาธารณะที่เพียงพอแต่ไม่กระจายทัว่ พื้นที่ 3.4.2.2 ไปรษณี ยแ์ ละโทรเลข มีที่ทาการ ไปรษณี ยโ์ ทรเลข จานวน 1 แห่ง ในเขต เทศบาลเมืองตาก เพียงพอต่อการใช้งานของประชาชน 3.4.3 ระบบประปา การให้บริ การด้านประปา ดาเนินการโดยการประปาส่ วนภูมิภาคใช้ แหล่งน้ าดิบจากแม่น้ าปิ ง ในพื้นที่โครงการไม่มีปัญหาในการใช้น้ าประปาจากการใช้ของประชาชน และนักท่องเที่ยว 3.4.4 การระบายน้ า และบาบัดน้ า เสี ย ในเขตผังเมืองรวมจังหวัดตากน้ าเสี ยมีแหล่งกาเนิด จากชุมชน ที่อยูอ่ าศัย การค้าและบริ การ ระบบการระบา ยน้ าของชุมชนเมืองตากเป็ นระบบรวม ระบายน้ าทิง้ จากน้ าฝนและน้ าทิง้ จากอาคารบ้านเรื อน โดยระบายลงสู่ แหล่งน้ าตามธรรมชาติ ผ่าน
23
ท่อขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.60 เซนติเมตร ในพื้นที่โครงการระบายลงสู่ แม่น้ าปิ ง ผ่านท่อขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.30 เซนติเมตร 3.4.5 สุ ขา ในพื้นที่โครงการมีการบริ การเพียงพอ แต่ขาดการดูรักษาสภาพความสะอาดของ ห้องน้ า 3.4.6 ถังขยะ ในพื้นที่โครงการมีถงั ขยะจานวนมาก ขาดการแยกประเภทของขยะและมี ปั ญหาด้านการจัดเก็ บขยะ ถังขยะส่ วนใหญ่จะอยูเ่ ป็ นกลุ่มไม่กระจายตัวทาให้ขาดการใช้งานที่ ทัว่ ถึง ดังนั้นพื้นที่โครงการ จึงจาเป็ นที่ตอ้ งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่างๆที่มีอยูแ่ ล้วให้มี ประสิ ทธิ ภาพที่เพียงพอต่อประชาชน และนักท่องเที่ยว รวมไปถึงสิ่ งประกอบบริ เวณต่างๆเพื่อเพิม่ ศักยภาพในการเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวและพักผ่อนหย่อนใจให้มีคุณภาพ เพื่อเป็ นการชักจูง นักท่องเที่ยวตลอดจนเป็ นการเพิ่มรายได้ให้แก่จงั หวัดและประชาชนอีกด้วย 3.5 พิจารณาความเป็ นไปได้ ทางด้ านการท่องเทีย่ ว ในเขตเทศบาลเมืองตากมีแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญ คือชายฝั่งแม่น้ าปิ งซึ่งเป็ นสถานที่พกั ผ่อนชมทิวทัศน์ของแม่น้ าปิ ง ซึ่งมีค วามยาวตลอดแนวเขตเทศบาลด้านตะวัน ออกของเทศบาลซึ่ง เป็ นแรงจูงใจของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศที่มาเที่ยวชมกันมากขึ้นนอกจากนี้ใน เขตเทศบาล ยังจัดงานประเพณี ที่มีชื่อเสี ยง เช่น งานประเพณี ลอยกระทงสาย ไหลประทีปพันดวง ที่ เป็ นเอกลักษณ์ที่เดียวของประเทศ นอกจากนั้นยังมีการอนุรักษ์รูปแบบสถาปั ตยกรรมเก่าตรอกบ้าน จีนให้นกั ท่องเที่ยวได้ชม และสถานที่ท่องเที่ยวอีกมากมายในจังหวัดตาก โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ริมน้ าย่านสะพานสมโภช กรุ งรัตนโก สิ นทร์ 200 ปี อาเภอเมือง จังหวัดตาก เป็ นส่ วนหนึ่งของแผนพัฒนา และอนุรักษ์ ทรัพยากรสิ่ งแวดล้อม และส่ งเสริ มการท่องเที่ยว ที่จะช่วยสงเสริ มและพัฒนาจังหวัดให้ดีข้ ึน ดังนั้น โครงการนี้จึงจาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะมีการพัฒนาขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีที่พกั ผ่อนหย่อนใจและรองรับ นักท่องเที่ยวที่มาในจังหวัดตาก ดังนั้นการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวสามารถพัฒนาตามแผนหลักการ พัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรสิ่ งแวดล้อม และส่ งเสริ มการท่องเที่ยวของจังหวัดตาก ดังนี้ 3.5.1 อนุรักษ์และฟื้ นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม 3.5.2 พัฒนาและอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวเดิมที่มีศกั ยภาพ 3.5.3 พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใหม่โดยการมีส่วนร่ วมของประชาช
24
บทที่ 4 กรณีศึกษา 4.1 ชื่อโครงการ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ (ฝั่งพระนคร-ฝั่งธนบุรี) 4.1.1 ที่ต้ งั โครงการ : ฝั่งพระนคร: เชิงสะพานพระราม 9 ถนนพระรามที่ 3 เขตบางคอแหลม : ฝั่งธนบุรี:เชิงสะพานพระราม 9 ถนนราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ 4.1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ สวนสาธารณะแห่งนี้ เกิดขึ้นจากความร่ วมมือระหว่างกระทรวงมหา ดไทย การ ทางพิเศษแห่งประเทศไทย และกรุ งเทพมหานคร เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542 โดยการทางพิเศษแห่ง ประเทศไทยมอบที่ดิน และส่ วนประกอบอื่นในบริ เวณเชิงสะพานพระราม 9 ฝั่งพระนครและฝั่ง ธนบุรี รวม 52 ไร ่่ให้แก่กรุ งเทพมหานคร เพื่อจัดสร้างสวนสาธารณะโดยได้รับการสนับสนุนจาก กระทรวงมหาดไทย หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ซึ่ งสร้างเสร็ จพร้อมเปิ ดบริ การเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2543 ได้รับพระราชทานชื่อว่า "สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา" 4.1.3 แนวคิดในการออกแบบ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติฯ ได้รับการออกแบบอย่างน่าสนใจ สอดคล้องกับ สภาพพื้นที่ ซึ่ งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวริ มแม่น้ าเจ้าพระยา โดยการนาปรากฏการณ์ธรรมชาติ เข้ามา เป็ นองค์ประกอบของสวน ได้อย่างลงตัวในลักษณะ Waterfront park ภาพรวมของสวน แบ่ง ออกเป็ น 2 ส่ วน โดยมีแม่น้ าเจ้าพระยา เป็ นแนวกั้นกลางตามธรรมชาติ ช่วยเพิ่มทิวทัศน์ที่งดงาม จึง กลายเป็ นจุดชมวิวธรรมชาติ ของแม่น้ าเจ้าพระยาที่มีเสน่ห์ ในแบบโลกตะวันออก ซึ่ งพื้นที่บางส่ วน ความเจริ ญทางวัตถุยงั เอื้อมมาไม่ถึง บริ เวณริ มน้ าของสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติฯ จัดไว้เพื่อ การพักผ่อน ในบรรยากาศธรรมชาติที่ผอ่ นคลาย สงบนิ่ง ท่ามกลางความร่ มรื่ น งดงามของพันธุ์ไม้ เขียวชอุ่ม และสายลมพัดพากลิ่นไอธรรมชาติที่สดชื่น สร้างความรู ้สึกในการกลับเข้าสู่ ธรรมชาติ ที่ เป็ นความต้องการอย่างแท้จริ งของชีวติ คนเมืองปั จจุบนั
25
4.1.4 รายละเอียดของโครงการ ขนาดพื้นที่ ฝั่งพระนคร : 29 ไร่ , ฝั่งธนบุรี : 23 ไร่ :
เวลาทาการ
05.00 -21.00 น.ทุกวัน
ประเภทของสวน
ฝั่งพระนคร : สวนชุมชน ฝั่งธนบุรี : สวนหมู่บา้ น หรื อ สวนละแวกบ้าน
รถประจาทาง
ฝั่งพระนคร: สาย 22, 89, 205 ฝั่งธนบุรี: สาย 6, 17, 37, ปอ. 84
ฝั่งธนบุรี สวนฯฝั่งธนบุรี จัดให้มีความโดดเด่นในด้านลานกีฬา และเป็ นสถานที่พกั ผ่อนที่ ได้รับความนิยมมาก โดยเฉพาะ ตอนเย็นหลังเลิกงานจะพบกลุ่มผูใ้ ช้บริ การ จากหลากอาชีพจาก ละแวกใกล้เคียงมาออกกาลังกาย จานวน มากภายในสวนได้จดั สิ่ งอานวยความสะดวก ด้าน นันทนาการไว้ให้บริ การเช่น ศูนย์นนั ทนาการชุมชนสะพานพระราม 9 ให้บริ การจัดกิจกรรมนันทนาการ และสนับสนุน กิจกรรม กีฬา และออกกาลังกายเช่นกิจกรรมเต้นแอโรบิค โดยศูนย์ฯ เปิ ดบริ การทุกวัน เวลา 05.0021.00 น ลานกีฬา จัดไว้สาหรับการเล่นกีฬากลางแจ้งประเภทต่างๆ เช่น ฟุตบอล ตะกร้อ จุดชมวิว พื้นที่ติดแม่น้ าของสวน เป็ นจุดพักผ่อนชมทิวทัศน์แม่น้ า เจ้าพระยา โดยเฉพาะ การเฝ้ าชมพระอาทิตย์ข้ ึนในยาม เช้าของฤดูหนาว ดูจะเป็ นภาพประทับใจ แก่ผมู ้ าเยือนที่หา ชม ไม่ได้ง่ายนัก ในเมืองใหญ่ที่สับสนวุน่ วาย จุดนี้จะมอง เห็นสวนฝั่งพระนครซึ่ งอยู่ ตรงข้ามได้ ชัดเจน นอกจากนี้ยงั ใช้เป็ นสถานที่จดั กิจกรรมริ มน้ า ในเทศกาลสาคัญ เช่น ลอยกระทง ฝั่งพระนคร สวนฯฝั่งพระนครได้รับการออกแบบ โดยนาปรากฏการณ์น้ าขึ้น- น้ าลงใน ธรรมชาติใกล้ตวั มานาเสนอภายในสวนสาธารณะ สอดคล้องกับแนวคิด " สวนสุ นทรี ยว์ ถิ ีไทย " เพราะวิถีชีวติ ของชาวไทย นั บแต่อดีตกาลมักเกี่ยวพันกับสายน้ า อย่างแยกไม่ออก ไม่วา่ การ คมนาคมขนส่ ง หรื อการดารงชีวติ ประจาวัน ดังนั้น ประเด็นการกลับสู่ ธรรมชาติ เพื่อสัมผัสชื่นชม ความงดงามของสายน้ า ด้วย ความสุ นทรี และเรี ยนรู ้ ถึงปรากฏการณ์ธรรมชาติเบื้องต้นใกล้ตวั จึง เป็ นลักษณะเด่น และแนวคิ ดที่สอดแทรกในสวนสาธารณะแห่งนี้ รวมทั้งใช้เป็ นสถานที่จดั กิจกรรมรณรงค์ดา้ นสิ่ งแวดล้อมที่เกี่ยวกับการรักษา และปกป้ องสายน้ าซึ่ งเป็ นของ ขวัญทรงคุณค่า ที่ธรรมชาติมอบให้มนุษย์อีกด้วย สาหรับจุดที่น่าสนใจของสวนฯ ฝั่งพระนคร ได้แก่ กาแพงราชสดุดีมหาราชา แสดงพระบรมฉายาลักษณ์ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ใน วาระต่างๆ ตั้งแต่ทรงขึ้นครองราชย์ และพระราชกรณี ยกิจที่ทรงบาเพ็ญในด้านต่างๆ
26
ศาลาดนตรี ไทย ตั้งอยูร่ ิ มแม่น้ าเจ้าพระยา ใช้พกั ผ่อนชมทัศนียภาพริ มฝั่งแม่น้ า และบรรเลง ดนตรี ไทยในโอกาสต่างๆ ประติมากรรม ตั้งประดับอยู่ ตามจุดต่างๆ ในสวนส่ วนใหญ่เป็ นที่ระลึกในการก่อ สร้าง สะพานพระราม 9 จุดชมวิว บริ เวณชายน้ าถูกจัดสรรไว้เป็ นทางเดินริ มน้ า ชมความงามของสายน้ าในมุมมอง ที่มีองค์ประกอบภาพ เป็ นผลงานสถาปั ตยกรรมยิง่ ใหญ่ ที่อยูค่ ู่แม่น้ าเจ้าพระยา นัน่ คือ สะพานแขวน หรื อสะพานพระราม 9 เป็ นจุดที่มีทิวทัศน์สวยที่สุดแห่งหนึ่งของกรุ งเทพฯ ซึ่ งสัมผัสได้ถึง ความรู ้สึกสงบร่ มเย็น และงดงามเป็ นพิเศษ ในยามเช้าตรู่ และยามเย็น 4.1.5 การวิเคราะห์ผงั บริ เวณ การวางผังโครงการมีการเข้าถึงพื้นที่ได้สะดวกทั้งทางบก และทางเรื อ โดยมี ทางเดินเท้าเชื่อมต่อกับพื้นที่ โดยรอบของโครงการทาให้การเดินต่อเนื่องไม่ซบั ซ้อน และมีการวาง สัดส่ วนของกิจกรรมที่มีความต่อเนื่องกัน และเข้ากับบรรยากาศของริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา โดยมี การวางเส้นทางเป็ นเส้นโค้งเพื่อให้ได้ถึงบรรยากาศของพื้นที่ที่แตกต่างกันไปเพื่อเป็ นการเปลี่ยน มุมมองระหว่างเดิน และมีการใช้แนวแกนเป็ นการนาสายตาเพื่อนาไปสู่ จุดที่น่าสนใจของพื้นที่ โครงการ และบรรยากาศที่ร่มรื่ นท่ามกลางชุมชนเมือง 4.1.6 การวิเคราะห์ขอ้ ดีขอ้ เสี ยของโครงการ ข้อดี 1. เป็ นการออกแบบกิจกรรมในพื้นที่ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของริ มน้ าปิ ง 2. เพื่อให้ประชาชนได้มีที่พกั ผ่อนหย่อนใจ พื้นที่นนั ทนาการ และการออกกาลัง กายในชุมชนเมือง 3. เป็ นการออกแบบทางเดินให้มีมุมมองที่ไม่น่าเบื่อด้วยการเปลี่ยนบรรยากาศ ไปตามเส้นทาง ข้อเสี ย 1. เส้นทางเดินเท้ามีความซับซ้อนทาให้มีทางเลือกในการเดินที่มาก และทาให้ ไม่สามารถเดินได้ทวั่ ถึงโครงการ 2. พื้นที่โครงการเป็ นพื้นที่ดาดแข็งค่อนข้างมากทาให้ส่งผลการพักผ่อนของผูเ้ ข้า ใช้โครงการเนื่องจากไอร้อนจากพื้นที่ดาดแข็ง
27
4.1.7 ความสัมพันธ์ของกรณี ศึกษากับโครงการออกแบบ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ ฝั่งธนบุรี – ฝั่งพระนคร เป็ นโครงการที่ช่วย ให้ประชาชนมีพ้นื ที่ในการพักผ่อนหย่อนใจ การทากิจกรรมนันทนาการ การออกกาลังกาย โดยมี กิจกรรมที่หลากหลายเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่โครงการ และน้ าเอาเรื่ องศิลปวัฒนธรรมเข้า มาเป็ นส่ วนหนึ่งของโครงการเพื่อให้ประชาชนได้มีกิจกรรมทางเลื อก ดังนั้นจึงจาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะ ดึงศักยภาพของโครงการและกิจกรรมต่าง ๆเพื่อให้ประชาชนได้มีทางเลือกเพื่อให้เหมาะกับ การ พัฒนาโครงการออกแบบต่อไป
ภาพที่ 1 แสดงสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ ฝั่งธนบุรี – ฝั่งพระนคร ที่มา : http://www.yourhealthyguide.com/parks/park-charoem-6time.htm
28
ภาพที่ 2 พื้นที่ดา้ นหน้าสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ ที่มา : http://www.yourhealthyguide.com/parks/park-charoem-6time.htm
ภาพที่ 3 ประติมากรรมในพื้นที่โครงการ ที่มา : http://www.yourhealthyguide.com/parks/park-charoem-6time.htm
29
ภาพที่ 4 บรรยากาศที่ร่มรื่ นภายในโครงการ ที่มา : http://www.yourhealthyguide.com/parks/park-charoem-6time.htm
4.2 ชื่อโครงการ สิ ริจิตอุทยาน 4.2.1 ที่ต้ งั โครงการ ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร 4.2.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ เป็ นสวนสาธารณะเอนกประสงค์ริมฝั่งแม่น้ าปิ ง มีเนื้อที่ 170 ไร่ ประกอบด้วย สนามเด็กเล่น สวนสุ ขภาพ ศาลาพักผ่อน สวนไม้ดอกไม้ประดับปลูก และลานอนุรักษ์วฒั นธรรม ไทย ซึ่งสร้างเป็ นเรื อนไทย เพื่อ การแสดงวิถีชีวติ ความเป็ นอยูแ่ บบไทยประจาท้องถิ่นที่ลานเวที กลางแจ้ง และมีการจาหน่ายสิ นค้าโครงการ "หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ " ของชุมชนในเขตเทศบาล เมือง 4.2.3 รายละเอียดของโครงการ สิ ริจิตอุทยานได้ออกแบบมาเพื่ อเป็ นสถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจสาหรับประชาชน และนักท่องเที่ยว เป็ นสถานที่จดั แสดงศิลปวัฒนธรรมและการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่ น ลานอนุรักษ์วฒั นธรรม เป็ นสถานที่จดั แสดง การอนุรักษ์สืบสานประเพณี วฒั นธรรมอันดี งามของไทยและของท้องถิ่น อีกทั้งเป็ นการสนับสนุน ส่ งเสริ มการท่อง เที่ยวของจังหวั ด
30
กาแพงเพชร และยังช่วยกระตุน้ เศรษฐกิจสร้างรายได้ให้กบั ประชาชน และยังมีกิจกรรมอีก หลากหลายเพื่อรองรับการใช้งานของนักท่องเที่ยว อาทิ สวนน้ า สวนสุ ขภาพ ลานออกกาลังกาย ตลาดไนท์พลาซ่า เป็ นสถานที่ขายสิ นค้า และผลิตภัณฑ์ทอ้ งถิ่นของชาวเมืองกาแพงเพชร 4.2.4 การวิเคราะห์ผงั บริ เวณ สิ ริจิตอุทยานได้รับการออกแบบให้มีลกั ษณะของการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมของ ไทยและท้องถิ่น และส่ งเสริ มสุ ขภาพของประชาชน การเข้าถึงโครงการสามารถเข้าถึงพื้นที่ โครงการได้สะดวกโดยมีถนนขนาดกับพื้นที่โครงการสามารถเข้าถึงทั้งสองด้านของโครงการ พื้นที่โครงการจะเชื่อมต่อกับตลาดไนท์พลาซ่าเป็ นการเชื่อมโยงกิจกรรมเข้าหากันในทางทิศใต้ส่วน ทางทิศเหนือเป็ นกิจกรรมที่รองรับ การออกกาลังกายของคนเมือง ส่ วนทางทิศตะวันออกติดกับริ ม ฝั่งแม่น้ าปิ ง โดยสิ ริจิตอุทยานมีการวางผังที่เป็ นสัดส่ วนในการแยกกิจกิจกรรมอย่างชัดเจน 4.2.5 การวิเคราะห์ขอ้ ดีขอ้ เสี ยของโครงการ ข้อดี 1. สิ ริจิตอุทยานเป็ นการส่ งเสริ มทางด้านศิลปวัฒนธรรมของไทยและ ท้องถิ่น อีกทั้งยังเป็ นการรองรับการจัดประเพณี ต่างๆชองจังหวัด 2. การวางผังสิ ริจิตอุทย านมีการแบ่งการใช้พ้นื ที่ สัดส่ วน ขอบเขตอย่าง ชัดเจน โดยแยกเป็ น พื้นที่พกั ผ่อน พื้นที่ลานวัฒนธรรม พื้นที่ออกกาลัง กาย พื้นที่สวนน้ า เป็ นต้น ข้อเสี ย 1. สิ ริจิตอุทยานมีกิจกรรมที่ไม่น่าสนใจ และไม่หลากหลายในการท่องเที่ยว โดยเน้นกิจกรรมภูมิปัญญาชาวบ้านเป็ นหลัก 2. การวางเส้นทางการเชื่อมโยงของพื้นที่ยงั ไม่มีความต่อเนื่องกัน 4.2.6 ความสัมพันธ์ของกรณี ศึกษากับโครงการออกแบบ สิ ริจิตอุยานเป็ นโครงการที่ส่งเสริ มการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมโดยมีการจัดลาน แสดงกิจกรรมทางประเพณี ของท้องถิ่น และส่ งเสริ มรายได้ให้กบั ประชาชนด้านผลิตภัณฑ์ทอ้ งถิ่น จัดให้มีสถานที่ขายอย่างชัดเจน สามารถจะนาเอาแนวความคิดด้านการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมมาใช้ กับพื้นที่โครงการได้เป็ นอย่างดี
31
ภาพที่ 5 แผนที่แสดงสิ ริจิตอุทยาน ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร ที่มา : http://maps.google.co.th/maps?hl=th&tab=wl
32
ภาพที่ 6 แสดงแผนผังสิ ริจิตอุทยาน
33
ภาพที่ 7 ลานน้ าพุสิริจิตอุทยาน ที่มา : http://www.teawtourthai.com/kamphaengphet/?id=603
ภาพที่ 8 ลานอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย ที่มา : http://www.teawtourthai.com/kamphaengphet/?id=603
ภาพที่ 9 ลานอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย ที่มา : http://www.teawtourthai.com/kamphaengphet/?id=603
34
4.3 ชื่อโครงการ Wilmington Waterfront Development Project 4.3.1 ที่ต้ งั โครงการ ตั้งอยูท่ างตอนใต้ของเมือง Los Angeles ประเทศสหรัฐอเมริ กา
4.3.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1.ออกแบบเพื่อสร้างสวนสาธารณะริ มน้ า และสร้างทางเดินเชื่อมกับชุมชน กับ พื้นที่ริมน้ า และสร้างท่าเรื อเพื่อรองรับการใช้งานในปั จจุบนั และในอนาคต 2. ส่ งเสริ มการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยงั่ ยืนแก่ชุมชน 3. ออกแบบโครงการให้เป็ นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 4. พัฒนาพื้นที่โรงเก็บน้ ามันเป็ นสวนสาธารณะ 4.3.3 รายละเอียดโครงการ ในการพัฒนาแบ่งพื้นที่ 30 ไร่ เป็ นพื้นที่พกั ผ่อนของประชาชน และพื้นที่ 20 ไร่ เป็ นลานกิจกรรม ทางเดินริ มน้ า ท่าเทียบเรื อ เป็ นต้น โดยพื้นที่โครงการจะแบ่งการก่อสร้างเป็ น 2 ระยะ ระยะแรกอยูใ่ นช่วงปี 2009-2015 และระยะที่สองในปี 2015-2020 1. พัฒนาคุณลักษณะที่มุ่งเน้นการเดินเป็ นหลักรวมทั้งสวนสาธารณะ ลานกิจกรรม การปรับปรุ งทางเท้า และสะพานคนเดินเท้า 2. พัฒนาทางเดินริ มน้ า ท่าเรื อที่มุ่งเน้นเชิงพาณิ ชย์การค้า และบริ การ 3. พัฒนาพื้นที่สวนใต้สะพานเพื่อเชื่อมต่อกับถนนริ มน้ า Wilmington 4. พัฒนาพื้นที่ทางรถไฟที่รกร้างให้เป็ นพื้นที่พกั ผ่อน และเพิ่มกิจกรรมประเภท ออกกาลังกายในโครงการ 5. ปรับปรุ งการคมนาคมขนส่ งทางบก และทางน้ า 6. พัฒนาพื้นที่ที่เสื่ อมโทรมให้ดีข้ ึน
35
แผนภาพแสดงการพัฒนาพื้นที่โครงการ Wilmington Waterfront
ภาพที่ 10 แสดงระยะการพัฒนาที่ 1 (2009 - 2015) ที่มา : http://www.portoflosangeles.org/NOP/WWaterfront/nop_wilm_waterfront.pdf
ภาพที่ 11 แสดงระยะการพัฒนาที่ 2 (2015 - 2020) ที่มา : http://www.portoflosangeles.org/NOP/WWaterfront/nop_wilm_waterfront.pdf
36
4.3.4 การวิเคราะห์ผงั บริ เวณ พื้นที่โครงการมีการพัฒนาเส้นทางให้สามารถเชื่อมต่อกันกับพื้นที่ชุมชนที่ สามารถเข้าถึงได้สะดวก โดยมีการแบ่งสัดส่ วนของพื้นที่ที่ชดั เจนตามการใช้งาน และมองถึงการใช้ งานในอนาคตเป็ นหลัก อีกทั้งยังเป็ นการส่ งเสริ มมุมมองจากทางเดินริ มน้ ามาสู่ แม่น้ าที่เว้น ระยะช่อง เปิ ดมุมมองให้ได้สัมผัสกับธรรมชาติริมแม่น้ า 4.3.5 การวิเคราะห์ขอ้ ดีขอ้ เสี ยของโครงการ ข้อดี 1. มุ่งเน้นการพัฒนาพื้นที่ที่รกร้างให้กบั มาเป็ นพื้นที่พกั ผ่อนและสามารถใช้งานได้ เต็มประสิ ทธิภาพ 2. พัฒนาพื้นที่เพื่อให้เป็ นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้เข้ากับชุมชนเมือง 3. พัฒนาพื้นที่ให้มีการคมนาคมขนส่ งที่สะดวกสบาย ข้อเสี ย 1. เป็ นโครงการที่กาลังพัฒนาในอนาคต 4.3.6 ความสัมพันธ์ของกรณี ศึกษากับโครงการ การพัฒนาโครงการมุ่งเน้นที่การรักษาสิ่ งแวดล้อมของชุมชนเมือง ให้ประชาชนมี พื้นที่ในการพักผ่อน และส่ งเสริ มให้ประชาชนมีรายได้จากการเป็ นย่านการค้า ย่านอุตสาหกรรม พัฒนาพื้นที่ริมน้ าให้เป็ นพื้นที่ทางเดินริ มน้ าเพื่อเชื่อมต่อกับย่านชุมชน และเพิ่มท่าเรื อในการรองรับ การใช้งาน ในอนาคต ประกอบกับการเพิ่มร้านค้า ร้านอาหารให้เป็ นแหล่งการค้าที่ใหญ่เพื่อเพิ่ม รายได้แก่ ประชาชน โดยสามารถนาเอาแนวทางการพัฒนา พื้นที่โครงการจากกรณี ศึกษา โดยดูจาก ศักยภาพของพื้นที่นามาปรับใช้กบั พื้นที่โครงการได้อย่างเหมาะสม
37
ภาพที่ 12 แสดงแผนผังโครงการ Wilmington Waterfront Development Project ที่มา : http://www.portoflosangeles.org/NOP/WWaterfront/nop_wilm_waterfront.pdf
ภาพที่ 13 แสดงแผนที่ที่ต้ งั โครงการ ที่มา :http://www.portoflosangeles.org/NOP/WWaterfront/nop_wilm_waterfront.pdf
38
ภาพที่ 14 แสดงทัศนียภาพโดยรอบของโครงการ ที่มา : http://www.portoflosangeles.org/NOP/WWaterfront/nop_wilm_waterfront.pdf
ภาพที่ 15 แสดงทัศนียภาพริ มน้ า ที่มา : http://www.portoflosangeles.org/NOP/WWaterfront/nop_wilm_waterfront.pdf
ภาพที่ 16 แสดงภาพตัดของพื้นที่โครงการ ที่มา : http://www.portoflosangeles.org/NOP/WWaterfront/nop_wilm_waterfront.pdf
39
บทที่ 5 ข้ อมูลและการวิเคราะห์ ข้อมูลโครงการ โครงการตั้งอยูท่ ี่ริมฝั่งแม่น้ าปิ ง ตั้งอยูใ่ นเขตตาบลหนองหลวง และตา บลระแหง อาเภอ เมืองตาก จังหวัดตาก ตั้งแต่สะพานตากสิ นราชานุสรณ์จนถึงสะพานกิตติขจร บนถนนกิตติขจร ถนนจอมพล มีพ้นื ที่โครงการประมาณ 168 ไร่ 5.1 การวิเคราะห์ ข้อมูลทัว่ ไปของจังหวัด 5.1.1 ที่ต้ งั และอาณาเขตติดต่อ สภาพพื้นที่โดยทัว่ ไปของจังหวัดตาก ตั้งอยูใ่ นภาคเหนือค่อนไปทางตะวันตกของ ประเทศไทยประกอบด้วยป่ าไม้ และเทือกเขาสู งมีพ้นื ที่ราบสาหรับการเกษตรน้อยโดยเฉพาะอย่าง ยิง่ ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ าปิ งเป็ นทิวเขาถนนธงชัยสู งสลับซับซ้อนเป็ นตัวแบ่งพื้นที่ออกเป็ น 2 ฝั่ง ตากฝั่งตะวันออก คือ อาเภอเมือง อาเภอบ้านตาก อาเภอสามเงา กิ่งอาเภอวังเจ้า และตากฝั่ งตะวันตก คือ อาเภอแม่สอด อาเภอแม่ระมาด อาเภอ พบพระ อาเภอท่าสองยาง อาเภออุม้ ผาง ดังนี้ 1. ด้านตะวันออก ประกอบด้วย 4 อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมืองตาก อาเภอบ้านตาก อาเภอสาม เงา และกิ่งอาเภอวังเจ้า มีพ้นื ที่รวมทั้งสิ้ น 5,692.68 ตารางกิโลเมตร หรื อ 3,557,925 ไร่ คิดเป็ น ร้อย ละ 34.70 ของพื้นที่จงั หวัด ลักษณะภูมิภาคด้านนี้ สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่ ประกอบด้วยภูเขาสู ง ประมาณร้อยละ 65 ของพื้นที่ ปกคลุมไปด้วยป่ าไม้โปร่ ง ป่ าเบญจพรรณ และเป็ นพื้นที่ ราบลาด เอียงลงไปทางทิศตะวันออกสู่ แม่น้ าปิ ง และแม่น้ า วัง ทาให้เกิดเป็ นพื้นที่ราบแคบ ริ ม 2 ฝั่ง แม่น้ า 2. ด้านตะวันตก ประกอบด้วย 5 อาเภอได้แก่อาเภอแม่สอด อาเภอแม่ระมาด อาเภอท่าสอง ยาง อาเภอพบพระ และอาเภออุม้ ผาง มีพ้นื ที่ท้ งั สิ้ น 10,713.97 ตารางกิโลเมตร หรื อ 6,696,231.25ไร่ คิดเป็ น ร้อยละ 65.30 ของพื้นที่จงั หวัดสภาพพื้นส่ วนใหญ่เป็ นภูเขาสู งชันซับซ้อนสลับกับหุ บเขา แคบๆ ประมาณร้อยละ 80 ของพื้นที่ปกครองไปด้วยป่ าโปร่ งป่ าดงดิบและป่ าสน ภูเขาบริ เวณนี้เป็ น ส่ วนหนึ่งของเทือกเขาถนนธงชัยที่ต่อลงมาจากทางตอน ใต้ของจังหวัดแม่ฮ่องสอนและจังหวัด เชียงใหม่ทอดผ่านจังหวัดตากลงไปจนเชื่อมต่อกับเทือกเขาตะนาวศรี จงั หวัดกาญจนบุรี พื้นที่ลาด เอียงลงไปทางทิศตะวันตกลงสู่ แม่น้ าเมย ซึ่ งกั้นพรมแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศ สาธารณรัฐสังคมนิยมสหภาพเมียนม่า
40
5.1.2 สภาพภูมิอากาศระดับจังหวัด 5.1.2.1 ฤดูกาล ฤดูร้อน เริ่ มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์เป็ นต้นไป จนถึง กลางเดือนพฤษภาคม ฤดูฝน เริ่ มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมเป็ นต้นไป จนถึง เดือนตุลาคมโดยฝนจะตก ทางด้านตะวันตกมากกว่าด้านตะวันออก เนื่องจากอยูใ่ นเขตอิทธิ พลของมรสุ ม และดีเปรสชัน่ นอกจากนี้ดา้ นตะวันตกมีพ้นื ที่ป่าไม้สูงกว่าด้วย ทาให้เก็บความชุมชื้นได้เป็ นอย่างดี ฤดูหนาว เริ่ มตั้งแต่เดือนตุลาคมเป็ นต้นไป จนถึง เดือนกุมภาพันธ์ อากาศจะหนาว จัดในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมกราคม 5.1.2.2 ปริ มาณน้ าฝน ปริ มาณน้ าฝนโดยเฉลี่ยของจังหวัดตาก ระหว่างปี 2535 ถึง 2545 จะอยู่ ในช่วง 651.10 มม. ถึง 1,556.30 มม. ฝนตกมากที่สุดในปี 2542 วัดได้ถึง 1,556.30 มม. ส่ วนฝนตกน้อย ที่สุด ในปี 2536 วัดได้ 651.10 มม. 5.1.2.3 อุณหภูมิ ในช่วงระหว่างปี 2535 ถึง 2545 จังหวัดตากมีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี มีค่าอยู่ ในช่วง 27.73 องศาเซลเซียส ถึง 29.31 องศาเซลเซี ยส อุณหภูมิต่าสุ ดค่าเฉลี่ยปานกลาง 18.38 องศา เซลเซียส ถึง 20.23 องศาเซลเซียส 5.1.2.4 ความชื้นสัมพัทธ์ ในช่วงระหว่างปี 2535 ถึง 2545 จังหวัดตากมีความชื้นเฉลี่ยตลอดปี มีค่าอยูใ่ นช่วง 69 เปอร์เซ็นต์ ถึง 71.8 เปอร์ เซ็นต์ ความชื้นเฉลี่ยต่าสุ ดปานกลางอยูใ่ นช่วง 28 เปอร์เซ็นต์ ถึง 36 เปอร์ เซ็นต์ และความชื้นสัมพัทธ์ค่าเฉลี่ยสู งสุ ดปานกลาง 92 เปอร์เซ็นต์ ถึง 96 เปอร์เซ็นต์ 5.1.3 การคมนาคม 5.1.3.1 ทางรถยนต์ จังหวัดตาก อยูห่ ่างจากกรุ งเทพฯ 426 กิโลเมตร ตามทางหลวง หมายเลข 1 แยกซ้ายมือเข้าทางหลวงหมายเลข 32 ที่ชุมทางประตูน้ าพระอิน ผ่านจังหวัดสิ งห์บุรี จังหวัดชัยนาท เข้าจังหวัดนครสวรรค์ แล้วแยกซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 1 อีกครั้งผ่านจังหวัด กาแพงเพชรถึงจังหวัดตาก รวมระยะทาง 426 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 5 ชัว่ โมงครึ่ ง รถประจาทาง (บขส.) มีรถออกจากสถานีขนส่ งสายเหนือทุก 2 ชัว่ โมง โดยประมาณ ตั้งแต่เวลา 08.00 น. ถึง 22.30 น. การเดินทางจากกรุ งเทพฯ ถึงอาเภอแม่สอด มีรถ บขส.ออกจากสถานี ขนส่ งสาย เหนือ วันละ 9 เที่ยว ตั้งแต่เวลา 08.30 - 22.00 น.
41
การเดินทางจากจังหวัดตากไปอาเภอแม่สอด มีรถยนต์จากตัวเมืองตาก ถึงอาเภอแม่ สอดโดยใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 105 ระยะทางประมาณ 86 กิโลเมตร ใช้เวลาในการเดินทาง 1 ชัว่ โมงครึ่ ง 5.1.3.2 ทางเครื่ องบิน สามารถเดินทางจากกรุ งเทพฯ ถึง แม่สอด โดยเครื่ องบิน โดยสารของบริ ษทั การบินไทย มีเฉพาะวันจันทร์ , พฤหัส, เสาร์และอาทิตย์ 5.1.4 สภาพทางเศรษฐกิจ 5.1.4.1 แรงงาน สถานประกอบการ แรงงานต่างด้าว เดือนมกราคม 2546 จังหวัดตากมีแรงงานต่างด้าว 41,528 คน ซึ่ งได้รับอนุญาติให้ทางานได้ท้ งั หมด จาแนกเป็ นลาาว 1 คน กัมพูชา 1 คน และพม่า 41,526 คน อยูใ่ นอาเภอแม่สอดมากที่สุด รองลงมา คือ อาเภอพบพระ และอาเภอเมืองตาก ตามลาดับ โดย ส่ วนใหญ่จะประกอบอาชีพกรรมกรในโรงงาน คนงานในแปลงเพาะปลูก และผูร้ ับใช้ในบ้าน โดย จังหวัดตากมีอตั ราค่าจ้างขั้นต่า 133 บาท สถานประกอบการและลูกจ้าง ในปี 2545 จังหวัดตาก มีจานวนสถาน ประกอบการทั้งหมด 2,268 แห่ง ลดลง 11 แห่ง หรื อร้อยละ 0.61 จากปี ที่แล้ว มีจานวนลูกจ้าง ทั้งหมด 35,833 คน เพิ่มขึ้น 10,595 คน หรื อร้อยละ 41.99 จากปี ที่แล้ว โดยอาเภอที่มีสถาน ประกอบการมากที่สุด คือ อาเภอเมืองตาก รองลงมา คือ อาเภอแม่สอด และบ้านตาก ตามลาดับ 5.1.4.2 เกษตรกรรม 1) กลุ่มดินนา ครอบคลุมพื้นที่ประมาณร้อยละ 5 ของพื้นที่ท้ งั หมดของ จังหวัด กระจายอยูใ่ นพื้นที่ที่ราบลุ่มของอาเภอเมืองตาก บ้านตาก สามเงา แม่สอด พบพระ แม่ ระมาด และกิ่งอาเภอวังเจ้า 2) กลุ่มดินไร่ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณร้อยละ 10 ของพื้นที่ท้ งั หมดของ จังหวัด เป็ นพื้นที่ที่มีความลาดชันกระจายอยูใ่ นพื้ นที่ของอาเภอเมืองตาก บ้านตาก สามเงา พบพระ อุม้ ผาง แม่ระมาด และกิ่งอาเภอวังเจ้า 3) กลุ่มดินตื้น ครอบคลุมพื้นที่ประมาณร้อยละ 15 ของพื้นที่ท้ งั หมดของ จังหวัด ซึ่ งกระจายอยูใ่ นพื้นที่อาเภอเมืองตาก บ้านตาก สามเงา อุม้ ผาง และกิ่งอาเภอวังเจ้า 4) กลุ่มดินภูเขา ครอบคลุมพื้นที่ประมาณร้อยละ 70 ของพื้นที่ท้ งั หมดของ จังหวัด อาเภอที่มีลกั ษณะพื้นที่เป็ นภูเขาร้อยละ 100 ได้แก่ อาเภอท่าสองยาง อาเภอที่มีลกั ษณะภูเขา มากกว่าร้อยละ 50 ได้แก่ อาเภอสามเงา แม่สอด พบพระ แม่ระมาด อุม้ ผาง ส่ วนอาเภอที่มีภู เขาน้อย กว่าร้อยละ 50 ได้แก่ อาเภอเมืองตาก บ้านตาก และกิ่งอาเภอวังเจ้า
42
5.1.4.3 อุตสาหกรรม จานวนโรงงานอุตสาหกรรมของจังหวัดตาก ปี 2545 มีท้ งั สิ้ นจานวน 439 โรงงาน ซึ่ งโรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยูท่ ี่อาเภอแม่สอดมากที่สุด รองลงมา คือ อาเภอเมือง และ อาเภอบ้านตาก ในด้านเหมืองแร่ มีจานวนเหมืองแร่ 48 แห่ง ตั้งอยูท่ ี่อาเภอเมือง 26 แห่ง บ้านตาก 17 แห่ง แม่สอด 4 แห่ง คาบเกี่ยวระหว่างอาเภอเมืองและบ้านตาก 1 แห่ง คนงาน 501 คน รายได้ 38,917,875.92 บาท 5.1.4.4 พาณิ ชยกรรม ลักษณะทัว่ ไปของตลาดซื้ อขายสิ นค้าประเภทต่างๆ 1) ตลาดสิ นค้าเกษตร สิ นค้าทางการเกษตรที่สาคัญของจังหวัดตาก ได้แก่ ข้าวโพด ถัว่ ชนิดต่างๆ พืชผัก กล้วยไข่ ข้าวเปลือกหอมมะลิ ฯลฯ จังหวัดตากมีการจัดตั้งตลาดกลาง ซื้ อขายสิ นค้าทางด้านการเกษตรในอาเภอแม่สอด แต่การซื้ อขายสิ นค้าทางการเกษตรก็ยงั คงทาการ ซื้ อขายกันในรู ป แบบเดิม คือ จะทาการซื้ อขายกัน ณ แหล่งผลิต โดยมีพอ่ ค้ารับซื้ อในท้องถิ่น หรื อ ต่างจังหวัดเข้าไปรับซื้ อผลผลิต อีกส่ วนหนึ่งจะเป็ นการซื้ อขายโดยนายหน้าในท้องถิ่นหรื อ ต่างจังหวัดเข้าไปรับซื้ อผลผลิต อีกส่ วนหนึ่งจะเป็ นการซื้ อขายโดยนายหน้าในท้องถิ่น ซึ่ งเป็ น ตัวแทนของพ่อค้ารับซื้ อในตัวเมือง ส่ วนเกษตรกรที่นาผลผลิตไปขายให้กบั พ่อค้ารรับซื้ อในเมือง 2) ตลาดสิ นค้าอุตสาหกรรมและแร่ ธาตุ สิ นค้าอุตสาหกรรมที่ผลิตได้ใน จังหวัดตากบางชนิดสามารถส่ งออกไปจาหน่ายยังตลาดต่างจังหวัดได้แต่ยงั มีไม่มากนัก ได้แก่ แผ่น หินแกรนิตขัดมัน ปา ร์ เก้ วงกบประตูหน้าต่าง ประดิษฐกรรมจากไม้ ขี้เลื่อยอัดแท่งและถ่านขี้เลื่อย นอกจากนี้ก็มีสินค้าอุตสาหกรรมส่ วนหนึ่งส่ งออกไปยังต่างประเทศ ได้แก่ อาหารกระป๋ อง เสื้ อผ้า สาเร็ จรู ป ตุก๊ ตาผ้า ไหมพรม ถุงเท้าถัก เป็ นต้น ส่ วนสิ นค้าประเภทของที่ระลึกสาหรับนักท่องเที่ยว ได้แก่ อัญมณี ภาพประดิษฐ์จากหิ นและพลอย เป็ นต้น 3) สิ นค้าอุปโภคบริ โภค จังหวัดตากมีตลาดสิ นค้าอุปโภคบริ โภคสิ นค้าที่ สาคัญ 2 แห่ง คือ ตลาดในตัวเมืองตาก ซึ่ งจะให้บริ การประชาชนใน 3 อาเภอ และ 1 กิ่งอาเภอ ด้าน ตะวันออก และตลาดในตัวอาเภอแม่สอด จะให้บริ การประชาชนใน 5 อาเภอด้านตะวันตก นอกจากนี้ยงั มีตลาดนัดซึ่ งจะจัดเป็ นประจาทุกวันเสาร์ เช่น ตลาดนัดวัดไผ่ลอ้ ม ในเขตเทศบาลเมือง ตาก ส่ วนคาราวานสิ นค้าจะมีท้ งั ที่จดั โดยหน่วย สาหรับสิ นค้าประเภทอุปโภคบริ โภคมีแนวโน้มว่า ประชาชนจะหันมานิยมซื้ อสิ นค้าเหล่านี้ในห้างสรรพสิ นค้ากันมากขึ้น ขณะเดียวกันปั จจุบนั ยังไม่มี ห้างสรรพสิ นค้าขนาดใหญ่ ในจังหวัดตาก แต่ในอนาคตอันใกล้จะต้องเกิดขึ้นแน่นอน ซึ่ งจะทาให้ การบริ โภคได้รับประโยชน์มากขึ้นจากการแข่งขันกันระหว่างผูข้ ายรายเดิม กับห้างสรรพสิ นค้าที่
43
เกิดขึ้นใหม่ แม้วา่ จังหวัดตากจะยังไม่มีหา้ งสรรพสิ นค้าขนาดใหญ่แต่ประชาชนส่ วนหนึ่งก็ยงั นิยม เดินทางไปซื้ อสิ นค้ ากันในห้างสรรพสิ นค้าขนาดใหญ่ในจังหวัดใกล้เคียง เช่น พิษณุ โลก ซึ่ งมี ห้างสรรพสิ นค้าขนาดใหญ่อยูห่ ลายแห่ง 5.1.5 สภาพทางสังคม 5.1.5.1 การศึกษา ในปี 2545 จังหวัดตาก มีสถานศึกษาที่จดั การศึกษาในระบบและสถานที่ จัดการศึกษานอกระบบรวมทั้งสิ้ น 470 แห่ง มีครู /อาจารย์ 4,663 คน และนักเรี ยน นิสิต นักศึกษา 112,966 คน ซึ่ งอัตราส่ วน ครู /อาจารย์ ต่อนักเรี ยน นิสิต นักศึกษา เป็ น 1:24 แบ่งการศึกษาออกเป็ น 2 ระบบ ดังนี้ 1. การศึกษาในระบบ 2. การศึกษานอกระบบโรงเรี ยน 5.1.5.2 ศาสนา ในปี 2545 จังหวัดตาก มีพระ 1,537 รู ป สามเณร 763 รู ปพุทธศาสนิกชน 432,525 คน (ร้อยละ 85.74%) จานวนวัด 193 แห่ง วัดพัฒนาตัวอย่าง 19 วัด อุทยานการศึกษา 8 วัด อิสลามมิกชน 30,123 คน (ร้อยละ 5.97%) จานวนมัสยิด 4 แห่ง คริ สต์ศานิกชน 41,817 คน (ร้อยละ 8.29%) จานวนโบสถ์ 24 แห่ง ส่ วนในด้านวัฒนธรรม /แหล่งการเรี ยนรู ้ มีหอ้ งสมุดประชาชน 10 แห่ง ที่ อ่านหนังสื อพิมพ์ประจาหมู่บา้ น 296 แห่ง ศูนย์การเรี ยนรู ้ชุมชน 58 แห่ง สภาวัฒนธรรมตาบล 4 แห่ง สภาวัฒนธรรมอาเภอ 9 แห่ง ศูนย์วฒั นธรรมอาเภอ 1 แห่ง และศูนย์เยาวชน 28 แห่ง 5.1.5.3 ขนบธรรมเนียม ประเพณี วฒั นธรรม เนื่องจากชาวจังหวัดตากส่ วนหนึ่งมีเชื้อสายล้านนา จึงมีขนบธรรมเนียม ประเพณี ที่คล้ายคลึงกับคนทางเหนือโดยประเพณี ที่สาคัญ คือ ประเพณี ก๋วยสลาก และสงกรานต์ อีกส่ วนหนึ่งเป็ นประเพณี ของชาวไทยภูเขา จังหวัดตาก มีขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และการละเล่นพื้นเมือง ที่สาคัญ ที่นิยมปฏิบตั ิสืบทอดกันมาแต่โบราณจนถึงปั จจุบนั คือ 1) งานลอยกระทงสาย จังหวัดตาก ได้จดั ให้มีการลอยกระทงสาย เป็ นประจาทุกปี ในงานประเพณี ลอยกระทง ซึ่ งเทศกาลได้กาหนดขึ้ น ณ ริ มฝั่งแม่น้ าปิ ง โดยได้รับความร่ วมมือจาก ศรัทธาวัดของแต่ละหมู่บา้ นมาแข่งขันกัน
44
2) งานประเพณี ข้ ึนธาตุเดือนเก้า จัดที่อาเภอบ้านตาก ในวันขึ้น 14-15 ค่า เดือนเก้า เหนือ ซึ่ งตรงกับเดือนเจ็ดไทย เป็ นประเพณี ที่ปฏิบตั ิกนั มาแต่โบราณของชาวล้านนา โดยจะเดิ นทาง ขึ้นไปนมัสการพระบรมธาตุ นาต้นเงินและผ้าป่ าพร้อมทั้งขบวน ซึ่ งประกอบด้วยต้นเงิน หาบ ผ้า ห่มองค์พระบรมธาตุแห่ข้ ึนไปยังวัดพระบรมธาตุและจะไปบวงสรวงเจดียย์ ทุ ธหัตถี ซึ่ งเป็ นเจดียท์ ี่ พ่อขุนรามคาแหงได้สร้างไว้ในคราวที่ทาสงครามยุทธหัตถีชนะขุนสามชนเจ้าเมืองฉอด 3) ประเพณี กินวอ จะจัดระหว่างเทศกาลตรุ ษจีน ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ จัดเป็ น ประเพณี งานขึ้นปี ใหม่ของลีซอ จะมีการเซ่นไหว้ผที ้ งั สอง คือ ผีหลวง เป็ นผีประจาดอย และผีเมือง เป็ นผีประจาหมู่บา้ น 5.2 การวิเคราะห์ ลกั ษณะทางกายภาพของพืน้ ทีโ่ ครงการ 5.2.1 ที่ต้ งั และอาณาเขตของพื้นที่โครงการ พื้นที่โครงการตั้งอยูใ่ นบริ เวณเขตบ้านพร้าว ตาบลหนองหลวง และติดต่อกับบ้าน จีน ตาบลระแหง อาเภอเมือง จังหวัดตาก อยูใ่ นเขตเทศบาลเมืองตาก ริ มฝั่งแม่น้ าปิ งด้านทิศ ตะวันตก มีพ้นื ที่ 168 ไร่ 5.2.2 การเข้าถึงพื้นที่โครงการ โครงการตั้งอยู่ ที่ริมฝั่งแม่น้ าปิ ง ตั้งอยูใ่ นเขตตาบลหนองหลวง และตา บลระแหง อาเภอเมืองตาก จังหวัดตาก ตั้งแต่สะพานตากสิ นราชานุสรณ์จนถึงสะพานกิตติขจร บนถนนกิตติ ขจร ถนนจอมพล มีพ้นื ที่โครงการประมาณ 168 ไร่ การเข้าถึงได้สะดวกทั้งทางเท้าและทางรถยนต์ 5.2.3 ลักษณะภูมิประเทศของพื้นที่โครงการ ชุมชนเมืองตากมีพ้นื ที่โดยรอบส่ วนใหญ่เป็ นที่สูงโดยเฉพาะทางทิศ ตะวันออกเฉี ยงเหนือ ทิศตะวันตกเฉี ยงใต้ และทิศเหนือ พื้นที่จะมีระดับลดลงมาจนถึงที่ราบ ตอนกลางของพื้นที่ ซึ่ งเป็ นพื้นที่ส่วนใหญ่ของชุมชน และมีแม่น้ าปิ งไหลผ่านกลางชุมชนในแนว เหนือ-ใต้ พื้นที่โครงการจึงเป็ นพื้นที่ราบลุ่มริ มน้ าปิ งยาวตลอดแนวขนานกับชุมชน ระดับความลาด ชันสู งบริ เวณริ มตลิ่งแม่น้ าปิ ง
45
5.2.4 ลักษณะความลาดชันของพื้นที่โครงการ พื้นที่โครงการมีความลาดชันอยูร่ ะหว่าง 0–5 % พื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นพื้นที่ร าบเรี ยบ สามารถใช้ในการการก่อสร้างและการออกแบบเป็ นพื้นที่สาธารณะได้ดี ส่ วนพื้นที่ที่มีความลาดชัน มากอยูร่ ะหว่าง 5 % ขึ้นไป จะอยูใ่ นช่วงบริ เวณริ มตลิ่งแม่น้ าปิ งซึ่ งมีความลาดชันสู งทาให้ยากต่อ การออกแบบทาให้ตอ้ งใช้ความชานาญในการออกแบบสู ง ดังแผนที่ 5 5.2.5 ลักษณะการระบายน้ าของพื้นที่โครงการ ลักษณะการระบายน้ าของพื้นที่โครงการและบริ เวณใกล้เคียงจะมีพ้นื ที่ในการรับ น้ าคือ หนองยายปา หนองน้ ามณี บรรพต และหนองคา เป็ นพื้นที่รับน้ าจากน้ าฝน และน้ าจาก บ้านเรื อนก่อนจะปล่อยลงสู่ แม่น้ าปิ ง และส่ วนหนึ่งจะถูกนาไปบาบัดน้ าเสี ย ส่ วนในพื้นที่โครงการจะมีการระบายน้ าลงสู่ แม่น้ าปิ งโดยผ่านทางท่อระบายน้ า โดยไม่ได้มีการบาบัดน้ าเสี ยก่อนปล่อยลงสู่ แม่น้ า และน้ าอีกส่ วนก็จะซึ มลงพื้นดิน ดังแผนที่ 6 จากการระบายน้ าในพื้นที่โครงการโดยไม่ผา่ นการบาบัดจะใช้พืชพรรณในการมา ใช้ในการช่วยกรองน้ าก่อนปล่อยลงสู่ แม่น้ าปิ ง 5.2.6 ลักษณะทางธรณี วทิ ยา เป็ นกลุ่มดินที่มีเนื้อเป็ นดินร่ วนหรื อดินร่ วนปนทรายละเอียด มีลกั ษณะการทับ ถมเป็ นชั้นของตะกอนลาน้ าในแต่ละช่วงเวลา พบบริ เวณสันดินริ มน้ าที่มีสภาพพื้นที่ค่อนข้าง ราบเรี ยบ เป็ นดินลึก มีการระบายน้ าดี มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลาง มีค่าความเป็ น กรดเป็ นด่าง 5.0-7.0 ปั จจุบนั ที่ดินดังกล่าวใช้เป็ นที่อยูอ่ าศัย ปลูกพืชผัก และสวนผลไม้ผลไม้ ตัวอย่างชุดดินที่อยูใ่ นกลุ่มนี้ ได้แก่ ชุดดินเชียงใหม่ ชุดดินท่าม่วง ชุดดินลพบุรี ชุด ดินป่ าสัก ชุดดินไทรงาม ชุดดินดอนเจดีย ์ ดังแผนที่ 7 5.2.7 ลักษณะทางพืชพรรณ ลักษณะทางพืชพรรณของพื้นที่โครงการส่ วนใหญ่จะเป็ นพืชพรรณไม้ยนื ต้นที่ให้ ร่ มเงา มีทรงพุม่ ขนาด 6 – 10 เมตร เหมาะสาหรับการพักผ่อน อาทิเช่น ต้นชงโค Bauhinia purpurea Linn ต้นหางนกยูงฝรั่งDelonix regia (Bojer ex Hook.) ต้นประดู่องั สนา Pterocarpus indicus Willd. ต้นปี ป Millingtonia hortensis Linn. F ต้นราชพฤกษ์ Cassia fistula L. เป็ นต้น ไม้พมุ่ เช่น ต้นเทียนทอง Duranta erecta L. ต้นเฟื่ องฟ้ าBougainaillea hybrid.
46
ชาฮกเกี้ยนCarmona retusa (Vahl) Masam ไม้ประดับ เช่น ต้นปาล์มหางจิ้งจอก Wodyetia bifurcata A.K. Irvine. ต้นประดู่องั สนา Pterocarpus indicus Willd. ต้นตาลฟ้ า Bismarckia Nobilis Hildebr. & H. Wendl ต้นลีลาวดี Plumeria spp. จากลักษณะสภาพอากาศและดินในพื้นที่โครงการพบว่าพรรณไม้ที่จะนามาปลูก นั้นต้องทนต่อสภาพความแห้งแล้ง และให้ร่มเงาและทนต่อความชื้นในบริ เวณริ มแม่น้ าปิ ง 5.2.8 ลักษณะภูมิอากาศในพื้นที่ เนื่องจากจังหวัดตากมีสภาพภูมิประเทศแบ่งออกเป็ นสองซี ก คือ ตะวันออกและ ตะวันตก โดยมีเทือกเขาถนนธงชัยแบ่งกลาง ทาให้ลกั ษณะภูมิอากาศของจังหวัดแตกต่างกันไปด้วย เนื่องจากเทือกเขาถนนธงชัยเป็ นตัวปะทะมรสุ มตะวันตกเฉียงใต้ที่พดั มาจากมหาสมุทรอินเดีย และ ทะเลอันดามัน ทาให้ซีกตะวันออกจะได้รับความชื้นจากลมมรสุ มไม่เต็มที่ 5.2.8.1 ฝน ปริ มาณน้ าฝนโดยเฉลี่ยของอาเภอเมืองตาก ระหว่างปี 2548 ถึง 2552 เฉลี่ย 98.4 มม.จัดว่ามีปริ มาณน้ าฝนที่ตกหนักในพื้นที่โครงการ และไม่มีปัญหาการระบายน้ า 5.2.8.2 อุณหภูมิ อุณหภูมิโดยเฉลี่ยของอาเภอเมืองตาก ระหว่างปี 2548 ถึง 2552 อุณหภูมิ ในเขตอาเภอเมืองตาก เฉลี่ย 23.24 - 33.72 จัดว่ามีสภาพอากาศที่ร้อน 5.2.8.3 ความชื้นสัมพัทธ์ ความชื้นสัมพัทธ์โดยเฉลี่ยของอาเภอเมืองตาก ระหว่างปี 2548 ถึง 2552 เฉลี่ย 63.8 % จัดว่ามีสภาพความชื้นที่ปกติ เหมาะกับการเจริ ญเติบโตของพืช และการอยูอ่ าศัยของ ประชากร 5.2.9 ระบบการสัญจรในพื้นที่โครงการ ระบบการสัญจรในพื้นที่โครงการมีการเดินรถยนต์ถือเป็ นรู ปแบบเดียวในการ เดินทางที่มีอยู่ การเดินทางโดยทางน้ าตามลาน้ าปิ งในปั จจุบนั ใช้เพื่อการสันทนาการเท่านั้น โดย ลักษณะโครงข่ายถนนในเขตเมืองเป็ นแบบ Linear โดยมีถนนสายหลักอยูใ่ นแนวยาวขนานไปกับ แม่น้ าปิ ง คือถนนกิตติขจร ถนนจอมพล และถนนสายหลักดังกล่าวยังมีถนนเชื่อมต่อในรู แบบ Grid คือ ถนนจรดวิถีถ่อง ถนนเทศบาล 1 ถนนท่าเรื อ และถนนเทศบาล 6
47
5.2.10 สาธารณูปโภคของพื้นที่โครงการ 5.2.10.1 ระบบไฟฟ้ า การให้บริ การด้านพลังงานไฟฟ้ าในพื้นที่บริ การโดยการไฟฟ้ าส่ วน ภูมิภาคจังตาก ให้บริ การผูใ้ ช้ไฟฟ้ าประมาณ 28360 หลังคาเรื อน และมีไฟฟ้ าแสงสว่างในที่ สาธารณะกระจายตัวอยูท่ วั่ ชุมชน 5.2.10.2 ระบบประปา การให้บริ การด้านระบบประปา ดาเนินการโดยการประปาส่ วนภูมิภาค โดยใช้แหล่งน้ าดิบจากแม่น้ าปิ ง มีกาลังผลิต 19200 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ปริ มาณน้ าประปาที่ จาหน่าย 12540 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ให้บริ การผูใ้ ช้น้ า 15580 หลังคาเรื อน 5.2.10.3 การกาจัดขยะมูลฝอย จานวนรถที่ใช้ในการกาจัดขยะมูลฝอยมีจานวน 6 คัน ประกอบด้วย รถ ขนขยะชนิดอัด ชนิดเปิ ดข้างเทท้าย และรถบรรทุกภาชนะยกเท พนักงานที่ใช้ในการเก็บขยะมูลฝอย จานวน 30 คน ปริ มาณขยะมูลฝอยที่จดั เก็บได้ประมาณ 25 ตันต่อวัน 5.2.11 อาคารและสิ่ งก่อสร้างภายในโครงการ ปั จจุบนั พื้นที่โครงการจะมีสิ่งก่อสร้างแบ่งออกแป็ น 2 ประเภท คือ สิ่ งก่อสร้าง ถาวร และกึ่งถาวร สิ่ งก่อสร้างถาวร เช่น อาคารกิตติคุณ ลานกีฬา อาคารพาณิ ชย์ อนุสาวรี ยจ์ อมพล ถนอม กิตติขจร เป็ นต้น สิ่ งก่อสร้างกึ่งถาวร เช่น ศาลาริ มทาง ท่าเทียบเรื อ(โป๊ ะเรื อ) ประติมากรรม เป็ นต้น 5.2.12 การใช้ประโยชน์ที่ดินของพื้นที่โครงการ การใช้ที่ดินในพื้นที่โครงการจะเป็ นที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและรักษา สิ่ งแวดล้อม และย่านพาณิ ชยกรรม โดยพื้นที่สาธารณะมีสภาพที่ทรุ ดโทรมมาก ขาดการดูแลรักษา และปล่อยให้พ้นื ที่เป็ นที่โล่งว่างเปล่าเป็ นส่ วนใหญ่ และขาดการจัดทัศนียภาพที่สวยงาม
48
แผนที่ 5 แสดงความลาดชันของพื้นที่โครงการ ที่มา : จากผูศ้ ึกษาวิเคราะห์
49
แผนที่ 6 แสดงลักษณะการระบายน้ าของพื้นที่โครงการ ที่มา : จากผูศ้ ึกษาวิเคราะห์
50
แผนที่ 7 แสดงลักษณะทางธรณี วทิ ยาของพื้นที่โครงการ ที่มา : จากผูศ้ ึกษาวิเคราะห์
51
แผนที่ 8 แสดงพรรณไม้ของพื้นที่โครงการ ที่มา : จากผูศ้ ึกษาวิเคราะห์
52
แผนที่ 9 แสดงระบบการสัญจรของพื้นที่โครงการ ที่มา : จากผูศ้ ึกษาวิเคราะห์
53
5.2.12 ทัศนียภาพของพื้นที่โครงการ
แผนที่ 10 แสดงทัศนียภาพของโครงการ
54
ภาพที่ 17 มุมมอง 1 เป็ นภาพสนามกีฬากลางแจ้ง เป็ นมุมมองที่เปิ ดอยูท่ างด้านหน้าของทางเข้าหลัก เป็ นมุมมองที่ไม่เหมาะสมในทางเข้าหลักของโครงการ ที่มา : จากการสารวจของผูจ้ ดั ทาโครงการ
ภาพที่ 18 มุมมอง 2 เป็ นพื้นที่โล่งในพื้นที่สวนสาธารณะขาดการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ ไม่มีสิ่ง ประกอบบริ เวณเพื่อใช้ในการพักผ่อน เป็ นมุมมองที่ขาดการพัฒนา ที่มา : จากการสารวจของผูจ้ ดั ทาโครงการ
ภาพที่ 19 มุมมอง 3 เป็ นภาพมุมมองเปิ ดบนสะพานสมโภชกรุ งรัตนโกสิ นทร์ แขวน) จะมองเห็นทัศนียภาพริ มน้ าปิ งที่ยงั มีพืชพรรณที่เขียวขจี ที่มา : จากการสารวจของผูจ้ ดั ทาโครงการ
200 ปี (สะพาน
ภาพที่ 20 มุมมอง 4 เป็ นภาพมุมมองเปิ ดจากด้านหน้าสะพานแขวนมายังในพื้นที่โครงการจะเห็น หอกิตติคุณเป็ นจุดเด่น โดยรอบข้างจะเป็ นที่โล่ง ที่มา : จากการสารวจของผูจ้ ดั ทาโครงการ
55
ภาพที่ 21 มุมมอง 5 เป็ นพื้นที่เปิ ดโล่งเป็ นมุมมองที่เปิ ด ทาให้ขาดบรรยากาศความเป็ นธรรมชาติ และทาให้รู้สึกร้อนไม่เหมาะแกการเป็ นพื้นที่พกั ผ่อน ที่มา : จากการสารวจของผูจ้ ดั ทาโครงการ
ภาพที่ 22 มุมมอง 6 เป็ นมุมมองเปิ ดโล่งของตลาดสดเทศบาล 3 และอาคารพาณิ ชยกรรมเห็นได้วา่ พื้นที่ถูกปกคลุมด้วยร้านขายของทาให้ไม่เห็นช่องว่างสาหรับทางคนเดิน และขาดการจัดระเบียบ ที่มา : จากการสารวจของผูจ้ ดั ทาโครงการ
ภาพที่ 23 มุมมอง 7 เป็ นมุมมองเปิ ดโล่งของอาคารพาณิ ชยกรรมเห็นได้วา่ พื้นที่ถูกปกคลุมด้วยร้าน ขายของทาให้ไม่เห็นช่องว่างสาหรับทางคนเดิน และขาดการจัดระเบียบ และขาดพื้นที่วา่ งในการ จะพัฒนา ที่มา : จากการสารวจของผูจ้ ดั ทาโครงการ
56
ภาพที่ 24 มุมมอง 8 เป็ นมุมมองที่เปิ ดมองจากริ มน้ าปิ งเข้ามาในพื้นที่โครงการ จะเห็นว่ามีทางเดิน แต่ขาดบรรยากาศของการน่าเดิน ขาดการนาเอาพืชพรรณเข้ามาใช้ประโยชน์ ที่มา : จากการสารวจของผูจ้ ดั ทาโครงการ
ภาพที่ 25 มุมมอง 9 เป็ นภาพมุมมองเปิ ดของพื้นที่โล่งกลางแจ้ง ทาให้สภาพพื้นที่ร้อน ขาด บรรยากาศของพื้นที่ริมน้ า แต่มีประโยชน์ในการใช้จดั กิจกรรม ที่มา : จากการสารวจของผูจ้ ดั ทาโครงการ
ภาพที่ 26 มุมมอง 10 เป็ นภาพมุมมองเปิ ดเห็นบรรยากาศพื้นที่ริมน้ าฝั่งตรงข้ามที่ยงั คงความร่ มรื่ น ด้วยพืชพรรณที่ยงั คงเก็บรักษาไว้ ที่มา : จากการสารวจของผูจ้ ดั ทาโครงการ
57
5.3 การสั งเคราะห์ ข้อมูลผู้ใช้ โครงการ 5.3.1 แสดงการสังเคราะห์พ้นื ที่โครงการ Area A
B
C
Characteristics Potential Constrain เป็ นพื้นที่ที่มีความ เป็ นพื้นที่ที่ขาดความ ลาดชันน้อย การ เป็ นสวนสาธารณะ เข้าถึงพื้นที่ได้ เดิม เนื่องจากขาดสิ่ ง สะดวก มีพรรณไม้ที่ อานวยความสะดวก ให้ร่มเงาที่ ต่างๆ ขาดการจัดการ หลากหลายจึงเหมาะ พื้นที่ที่ดี สาหรับการเป็ นพื้นที่ พักผ่อน เป็ นพื้นที่ที่มีการ เป็ นพื้นที่ที่การ เข้าถึงได้สะดวกและ เชื่อมโยงกันด้วย เป็ นพื้นที่ที่สาคัญ ระบบทางเท้า พื้นที่ ของการค้าขายและ ขาดความร่ มรื่ น จัดแสดงงานต่างๆ เนื่องจากเป็ นพื้นที่ดา และมีวดั เป็ นจุดเชื่อม ดาแข็งเป็ นส่ วนมาก กับกิจกรรมทาง ขาดสิ่ งอานวยความ ศาสนา สะดวกด้านต่างๆ เป็ นพื้นที่ที่เปิ ดโล่ง เป็ นพื้นที่ที่ขาด การเข้าถึงได้สะดวก พรรณไม้ที่ให้ร่มเงา และเป็ นพื้นที่ที่ เนื่องจากเป็ นสวน เชื่อมต่อกับชุมชน สาหรับโชว์ โบราณของจังหวัด ตาก (ตรอกบ้านจีน)
Development Potential สามารถพัฒนาเป็ นพื้นที่พกั ผ่อนและ นันทนาการเนื่องมาจากมีพรรณไม้เดิมที่ ให้ร่มเงาแก่พ้นื ที่
สามารถพัฒนาเป็ นพื้นที่ดา้ นการค้าที่มี ความร่ มรื่ นและเพื่อเป็ นจุดรองรับงาน ประเพณี ดา้ นต่างๆของชาวเมืองตาก อีท้ งั ยังเป็ นสถานที่จดั งานถนนคนเดิน กลางแจ้ง
สามารถพัฒนาเป็ นพื้นที่ทางธรรมชาติ ริ มน้ าเพื่อที่จะส่ งเสริ มการเป็ นชุมชนเดิม ของพื้นที่ และรองรับกิจกรรมทัศนศึกษา ของเยาวชน
58
Area D
Characteristics Potential เป็ นพื้นที่ที่มีการ เข้าถึงได้สะดวก พืช พรรณเจริ ญเติบโต ได้ดีและเป็ นจุดที่ สามารถมองเห็น ทัศนียภาพริ มลาน้ า ปิ งได้สวยงาม
Development Potential
Constrain เป็ นพื้นที่ที่มีความ สามารถพัฒนาเป็ นสถานที่พกั ผ่อนริ มน้ า ลาดชันสู งจึงไม่ และเป็ นสถานที่จดั กิจกรรมทางด้าน เหมาะแก่การ ประเพณี และวัฒนธรรมของพื้นที่ ก่อสร้างสิ่ งอานวย ความสะดวก D2 : พื้นที่มีการ ก่อสร้างทางลงริ มน้ า ที่ทรุ ดโทรมขาดการ ใช้ประโยชน์ ตารางที่ 6 แสดงการสังเคราะห์พ้นื ที่โครงการ
59
แผนที่ 11 แสดงการสังเคราะห์พ้นื ที่ของโครงการ ที่มา : จากผูศ้ ึกษาวิเคราะห์
60
5.3.2 แสดงการแบ่งพื้นที่ใช้สอยของโครงการ SITE AREA
A
ACTIVITIES
REQUIREMENT
AREA จานวน
A : พื้นที่พกั ผ่อน/ สนามฟุตซอล สนามตระกร้อ ออกกาลังกาย สนามแบดมินตั้น (ACTIVE)
ขนาด (ตร.ม)
สนามเด็กเล่น
2 2 2 2 1
750 163 163 837 1179
สวนสุ ขภาพ (Active)
1
18651
จุดชมทัศนียภาพริ มน้ า จอดรถ
1 2
5984 340
ศาลาพักคอย
6
581
ลานกิจกรรม อาคารอเนกประสงค์
1 1
3490 1623
ลานอเนกประสงค์ริมน้ า ศาลาพักคอย
1 _
10221
ลานน้ าตก
1
2590
อาคารจอดรถ
1
2520
จอดรถจักรยานยนต์
2
290
ห้องน้ าสาธารณะ
1
สนามบาสเกตบอล
ป้ ายแสดงผังโครงการ
B
B : ลาน อเนกประสงค์ (รองรับงาน ประเพณี / การละเล่น)
USER ผูใ้ ช้ ประจา
ผูใ้ ช้ ชัว่ คร าว
เด็ก
NO TE
61
SITE AREA
C
D
ACTIVITIES
C : สามาถพัฒนา เป็ นพื้นที่การค้า จัดภูมิทศั น์และ ระบบทางเท้า
D : พื้นที่พกั ผ่อน/ ออกกาลังกาย (PASSIVE) พื้นที่ อนุรักษ์ธรรมชาติ วัฒนธรรม
REQUIREMENT
AREA จานวน
ขนาด (ตร.ม)
ตลาดสด (เบ็ดเตล็ด) ตลาดพื้นเมือง, ตลาดคน เดิน ที่จอดรถ
1 1
23179 10406
10
732
ลานอเนกประสงค์ริมน้ า
1
2439
จุดชมทัศนียภาพริ มน้ า
1
4775
ห้องน้ า ศาลาพักคอย
1 4
93
พื้นที่สีเขียว
1
3704
ลานแสดงวัฒนธรรม ศาลาพักคอย
1 9
3235 93
ลานอเนกประสงค์ริมน้ า
1
5852
สวนสุ ขภาพ (Passive) พื้นที่สีเขียว ลานน้ าพุ ห้องน้ า
1 1 1 1
1934 39599 706
ตารางที่ 7 แสดงการแบ่งพื้นที่ใช้สอยของโครงการ
USER ผูใ้ ช้ ประจา
ผูใ้ ช้ ชัว่ คร าว
เด็ก
62
แผนที่ที่ 12 แสดงการแบ่งพื้นที่ใช้สอยของโครงการ ที่มา : จากผูศ้ ึกษาวิเคราะห์
63
บทที่ 6 แนวความคิดในการออกแบบ 6.1 แนวความคิดในการออกแบบ แนวความคิดในการออกแบบพื้นที่โครงการได้นาความเป็ นชุมชนริ มน้ าของจังหวัดตากที่มี ความผูกพันชุมชนกับสายน้ า มาเสนอเป็ นแนวคิด โดยมีววิ ฒั นาการมาจากสายน้ าที่มีการค้าขาย สิ นค้าทางเรื อ และชุมชนเมืองตากก็กลายมาเป็ นจุดพักสิ นค้าและเกิด เป็ นชุมชนริ มน้ าที่มีความเป็ น เอกลักษณ์ของบ้านเรื อนไทย ที่มีไม้เป็ นองค์ประกอบ ในการออกแบบ และมีประเพณี วฒั นธรรมที่ โดดเด่นเป็ นเอกลักษณ์ คือการลอ ยกระทงสายเป็ นการนา เอากะลามะพร้าวมาทาเป็ นกระทงในการ ลอย จนทา ให้มีชื่อเสี ยงมาถึงปัจจุบนั ปัจจุบนั ชุมชนเมืองตากได้มีการเปลี่ยนแปลงมีการพัฒนา ชุมชนขยายการเติบโตออกไปทา ให้ความสาคัญของ บ้านเรื อนไทยในอดีต ลดลง ด้วยรู ปแบบ วัฒนธรรมสมัยใหม่ทาให้คนในชุมชนต้องปรับตัวรับเอาวัฒนธรรมตะวันตกเข้ ามา จึงส่ งผลให้เกิด แนวความคิด “น้ าแห่งชีวติ ” ที่จะส่ งเสริ มการอนุรักษ์วฒั นธรรม การอนุรักษ์ทรัพยากรทาง ธรรมชาติ ทรัพยากรริ มน้ า และส่ งเสริ มชีวติ ของคนในชุมชนให้มีชีวติ ที่ดีข้ ึน 6.2 แนวความคิดในการออกแบบโครงการ 6.2.1 การมีสภาพแวดล้อมที่ดี การมีสภาพแวดล้อมที่ดี เป็ นสิ่ งสาคัญที่สุดที่สามารถส่ งผลกระทบต่อระดับ คุณภาพชีวติ ที่ดีของคนในชุมชน 6.2.1.1 องค์ประกอบในการฟื้ นฟูสภาพแวดล้อมในโครงการ มีดงั นี้ 6.2.1.1.1 ดิน สภาพของดินในพื้นที่โครงการจะเป็ นดินร่ วนปนทราย มี การระบายน้ าค่อนข้างดี จึงทาให้ไม่มีผลต่อการปลูกพืชพรรณ ส่ วนในบริ เวณริ่ มพื้นที่ตลิ่งริ มน้ าจะ มีปัญหาในการกัดเซาะและพังทลายของหน้าดิน จะมีการ ฟื้ นฟูและอนุรักษ์ดินโดยการปลูกพรรณ ไม้ริมน้ าที่มีรากที่ช่วยในการยึดเกาะหน้าดิน และปลูกพืชคลุมดินเพื่อลดการพังทลายจากการกัด เซาะของน้ า และน้ าฝน พืชที่ใช้ได้แก่ หญ้าแฝก ที่มีรากที่ช่วยในการยึดเกาะหน้าดิน และส่ วนพื้นที่
64
ริ มตลิ่งจะออกแบบ เป็ น 3 ลักษณะ ลักษะริ มตลิ่งที่เป็ นพื้นที่ทางธรรมชาติ ลักษณะริ มตลิ่งที่เป็ น โครงสร้างถาวร และลักษณะริ มตลิ่งที่เป็ นโครงสร้างและธรรมชาติ
ภาพที่ 27 พื้นที่ริมน้ าตามธรรมชาติ
ภาพที่ 28 พื้นที่ริมน้ าแบบโครงสร้าง ค.ส.ล
ภาพที่ 29 พื้นที่โครงสร้างแบบธรรมชาติ และหิ นทิ้ง ที่มา : จากผูศ้ ึกษาวิเคราะห์
65
6.2.1.2 น้ า การระบายน้ าในพื้นที่โครงการ จะมีการระบายน้ า โดยการไหลซึ มลงสู่ ผิวดินบริ เวณที่เป็ นพื้นที่สีเขียว ส่ วนบริ เวณที่เป็ นพื้นที่ดาดแข็งจะมีการระบายน้ าลงสู่ แม่น้ า สาธารณะ ในส่ วนของการระบายน้ าจากตลาดและอาคารพาณิ ชย์จะมีปัญหาในเรื่ องของสิ่ งเจือปน และความสกปรกจากน้ า โดยจะมีการบาบัดน้ าเสี ยก่อนการปล่อยลงสู่ แม่น้ าสาธา รณะ โดยจะมีการ บาบัดน้ าเสี ยจากภายในอาคาร จากนั้นจะเป็ นการบาบัดโดยใช้ ระบบบึงประดิษฐ์แบบ Free Water Surface Wetland (FWS) เป็ นแบบที่นิยมใช้ในการ ปรับปรุ งคุณภาพน้ าทิ้งหลังจากผ่านการบาบัดจากบ่อปรับเสถียร (Stabilization Pond) ลักษณะของ ระบบแบบนี้จะเป็ นบ่อดินที่มีการบดอัดดินให้แน่นหรื อปูพ้นื ด้วยแผ่น HDPE ให้ได้ระดับเพื่อให้น้ า เสี ยไหลตามแนวนอนขนานกับพื้นดิน บ่อดินจะมีความลึกแตกต่างกันเพื่อให้เกิดกระบวนการ บาบัดตามธรรมชาติ ส่ วนแรก เป็ นส่ วนที่มีการปลูกพืชที่มีลกั ษณะสู งโผล่พน้ น้ าและร ากเกาะดินปลูกไว้ เช่น กก แฝก ธูปฤาษี เพื่อช่วยในการกรองและตกตะกอนของสารแขวนลอยและสารอินทรี ยท์ ี่ ตกตะกอนได้ ทาให้กาจัดสารแขวนลอยและสารอินทรี ยไ์ ด้บางส่ วน เป็ นการลดสารแขวนลอยและ ค่าบีโอดีได้ส่วนหนึ่ง ส่ วนที่สอง เป็ นส่ วนที่มีพืชชนิดลอยอยูบ่ นผิวน้ า เช่น จอก แหน บั ว รวมทั้งพืชขนาดเล็กที่ แขวนลอยอยูใ่ นน้ า เช่น สาหร่ าย จอก แหน เป็ นต้น พื้นที่ส่วนที่สองนี้จะไม่มีการปลูกพืชที่มีลษั ณะ สู งโผล่พน้ น้ าเหมือนในส่ วนแรกและส่ วนที่สาม น้ าในส่ วนนี้จึงมีการสัมผัสอากาศและแสงแดดทา ให้มีการเจริ ญเติบโตของสาหร่ ายซึ่ งเป็ นการเพิ่มออกซิ เจนละ ลายน้ า (DO) ทาให้จุลินทรี ยช์ นิดที่ใช้ ออกซิ เจนย่อยสลายสารอินทรี ยท์ ี่ละลายน้ าได้เป็ นการลดค่าบีโอดีในน้ าเสี ย และยังเกิดสภาพไนตริ ฟิ เคชัน่ (Nitrification) ส่ วนที่สาม มีการปลูกพืชในลักษณะเดียวกับส่ วนแรก เพื่อช่วยกรองสารแขวนลอยที่ยงั เหลืออยู่ และทาให้เกิดสภาพดิไ นตริ ฟิเคชัน่ (Denitrification) เนื่องจากออกซิ เจนละลายน้ า (DO) ลดลง ซึ่งสามารถลดสารอาหารจาพวกสารประกอบไนโตรเจนได้
ภาพที่ 30 ระบบบึงประดิษฐ์แบบ Free Water Surface Wetland (FWS) ที่มา : http://www.sri.cmu.ac.th/~srilocal/water/page_04d.htm
66
6.2.2 การเป็ นแหล่งท่องเที่ยว ในเขตเทศบาลเมืองตากมีแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญ คือชายฝั่งแม่น้ าปิ งซึ่ งเป็ น สถานที่พกั ผ่อนชมทิวทัศน์ของแม่น้ าปิ ง ซึ่งมีความยาวตลอดแนวเขตเทศบาลด้านตะวันตกของ เทศบาลซึ่ งเป็ นแรงจูงใจของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศที่มาเที่ยวชมกันมากขึ้น ดังนั้นจึงมีการออกแบบพื้นที่สาหรับชมทัศนียภาพริ มน้ าเพื่อเป็ นการรองรับนักท่องเที่ยว นอกจากนี้ ในเขตเทศบาล ยังจัดงานประเพณี ที่มีชื่ อเสี ยง เช่น งานประเพณี ลอยกระทงสาย ไหลประทีปพัน ดวง สร้างความตื่นตาตื่นใจน่าเที่ยวชม เป็ นอย่างยิง่ ศาลสมเด็จพระเจ้าตากสิ นมหาราช ตั้งอยูท่ ี่สี่แยกถนนจรดวิถีถ่อง ตัดกับถนน มหาดไทยบารุ ง ใกล้สานักงานการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ศาลนี้แต่เดิมอยูบ่ นวัดดอยข่อยเขา แก้วฝั่งตรงข้ามกับตัวเมืองตาก ศาลนี้เป็ นที่เ คารพสักการะของประชาชนทัว่ ไป และทุกปี ใน ระหว่างวันสิ้ นปี และวันปี ใหม่ จะมีงานฉลองเป็ นประเพณี ตรอกบ้านจีน ในอดีตเป็ นท่าเทียบเรื อขนถ่ายสิ นค้าที่ส่งมาจากปากน้ าโพ และเป็ น ย่านธุ รกิจการค้า ของจังหวัดตาก จะคับคัง่ ไปด้วยผูค้ น ที่มาซื้ อของและขนส่ งสิ นค้า ในสมัยที่แม่น้ า ปิ งยังไม่ถูกถม แต่ปัจจุบนั เงียบเหงาไม่ใช่ยา่ นการค้าเหมือนแต่ก่อน เป็ นเพียงหมู่บา้ นเรื อนไทย โบราณที่สร้างด้วยไม้สักซึ่งจะหาดูได้ยากในปัจจุบนั สาหรับในตัวเมืองยังมีโรงแรมที่พกั ที่ได้ มาตรฐาน และร้านค้า ร้านอาหารให้บริ การที่มีคุณภาพดีเป็ นส่ วนส่ งเสริ มให้การท่องเที่ยวในเขต เทศบาลมีผมู ้ าท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น อีกทางหนึ่งด้วย จะเห็นได้วา่ พื้นที่โครงเป็ นศูนย์กลางของชุมชนเมืองตากในปั จจุบนั และยัง เชื่อมโยงกับสถานที่ท่องเที่ยวที่สาคัญจึงทาให้พ้นื ที่โครงการนั้นเหมาะแก่ การเป็ นแหล่งท่องเที่ยว และพักผ่อนของชาวเมืองตาก และนักท่องเที่ยว อีกทั้งยังเป็ นการส่ งเสริ มอาชีพแก่ประชาชนเมือง ตากอีกด้วย 6.2.3 การมีคุณภาพชีวติ ที่ดี การมีคุณภาพชีวติ ที่ดี ย่อมแสดงให้เห็นถึง ความเป็ นอยูข่ องประชาชนที่ประกอบ ไปด้วยการมีสุขภาพกาย และสุ ขภาพจิตที่ดี ลักษณะของคุณภาพชีวติ ที่ดีจากพื้นที่โครงการ จะเน้นการออกแบบพื้นที่ โครงการเป็ นส่ วนในการรองรับการทากิจกรรมเพื่อส่ งเสริ มสุ ขภาพของคนในชุมชน จะมีท้ ั งส่ วน การทากิจกรรมที่ตอ้ ง ใช้ พลังงานสู งในการทากิจกรรม อาทิ การเล่นกีฬากลางแจ้ง ฟุตบอล บาสเกตบอล ตระกร้อ แบดมินตั้น เป็ นต้น กิจกรรมการวิง่ และส่ วนของการพักผ่อน
67
6.3 แนวความคิดในการจัดแบ่ งกลุ่มพืน้ ทีโ่ ครงการ พื้นที่โครงการตั้งอยูใ่ นเขตของชุมชนเมือง มีลกั ษณะเป็ นแนวยาวจึงทาให้สามารถเข้าถึง โครงการได้ตลอดโครงการ ดังนั้นจึงจัดแบ่งกลุ่มพื้นที่โครงการออกเป็ นส่ วนๆ ดังนี้ 6.3.1 ส่ วนที่ 1 พื้นที่พกั ผ่อน นันทนาการ (ACTIVE) เน้นการพักผ่อนและกิจกรรมที่ใช้ใช้กาลังในการออกกาลังกายเพื่อตอบสนองต่อ คุณภาพชีวติ ชาวเมืองตากให้มีสุภาพที่ดี และเพื่อเชิดชูอนุสรณ์จอมพลถนอมกิตติขจร ที่เป็ นผูส้ ร้าง พื้นที่ริมน้ าให้ชาวเมืองตาก กิจกรรมในส่ วนนี้ อาทิ กีฬาฟุตบอล กีฬตระกร้อ กีฬาบาสเกตบอล กีฬ แบดมินตั้น สนามเด็กเล่น และเครื่ องเล่นออกกาลังกาย เป็ นต้น 6.3.2 ส่ วนที่ 2 พื้นที่การค้า และทางประเพณี วฒั นธรรม เน้นการพัฒนาพื้นที่การค้าให้เป็ นพื้นที่เพื่อตอบสนองต่อการพักผ่อนให้ชาวเมือง ตากมีพ้นื ที่สีเขียวเพิ่มมาก ยิง่ ขึ้น อีกทั้งยังส่ งเสริ มด้านการค้าขายของคนในชุมชนในการเป็ นถนน คนเดินและยังสามารถเป็ นพื้นที่รองรับการจัดงานทางประเพณี ละวัฒนธรรมได้อีกด้วย 6.3.3 ส่ วนที่ 3 พื้นที่พกั ผ่อน (PASSIVE) เน้นให้ชุมชนเก่าของเมืองตากเป็ นพื้นที่ในการอนุรักษ์ดา้ นสถาปั ตยกรรมที่ยงั มี ชีวติ อยู่ เพื่อเป็ นพื้นที่ของการพักผ่อนและเป็ นพื้นที่เป็ น จุดรองรับการร่ วมอนุรักษ์ชุมชนเก่าใน รู ปแบบการเข้าไปใช้ชีวติ กับชุมชน 6.3.4 ส่ วนที่ 4 พื้นที่อนุรักษ์ริมน้ า เพื่อเป็ นพื้นที่ในการในการพักผ่อนริ มน้ าด้วยทัศนียภาพทางธรรมชาติที่ดี อีกทั้งยัง เป็ นพื้นที่ในการทากิจกรรมทางประเพณี ทางน้ า (การลอยกระทงสายไหลประทีป 1000 ดวง) (ดูแผนที่ 13 ประกอบ)
68
6.4 แนวความคิดในการวางระบบสั ญจร การวางระบบสัญจรได้แบ่งออกเป็ นเส้นทางหลัก เส้นทางรอง ทางเดิน ทางจักรยาน โดยมี การแยกตามขนาดและวัสดุเพื่อให้เกิดการแตกต่างของเส้นทางการสัญจรภายในโครงการ เน้นการ ให้ความสาคัยกับเส้นทางการเดินเท้า และจักรยาน สามารถแยกเส้นทางได้ดงั นี้ 6.4.1 ถนนสายหลักของพื้นที่โครงการ มีความกว้าง 10 เมตร ใช้แอสฟัลต์ในการปูพ้นื และ ใช้บล็อคปูทางเดินเป็ นบางช่วงเพื่อเป็ นการชะลอความเร็ วของรถในเขตผูค้ นหนาแน่น 6.4.2 ถนนสายรอง มีความกว้าง 8 เมตร ใช้แอสฟัลต์ในการปูพ้นื 6.4.3 ทางเท้าในพื้นที่โครงการ มีความกว้าง 1.50 เมตร ใช้บล็อคปูทางเดินในการปูพ้นื เน้น ลวดลายที่เรี ยบ ราคาถูก และหาได้ง่านในพื้นที่ 6.4.4 ทางจักรยานในพื้นที่โครงการ มีความกว้าง 2 เมตร เนื่องจากสามารถใช้เป็ นทางร่ วม ระหว่างทางเดินได้ ออกแบบเส้นทางเป็ นแนวตรงขนานไปกับพื้นที่ริมน้ า และใช้รูปทรงของทรง โค้งเปรี ยบเสมือนเป็ นคลื่นน้ า เพื่อเพิ่มบรรยากาศที่แตกต่างกันออกไป 6.4.5 ทางวิง่ พื้นที่โครงการ มีความกว้าง 1.50 เมตร ใช้แผ่นปูพ้นื คอนกรี ตในการปูเพื่อ ความปลอดภัยในการวิง่ โดยเน้นเป็ นทางวิง่ ที่คดโค้งสลับกับเนินหญ้าสี เขียวเพื่อเพิ่มความไม่น่า เบื่อสาหรับการวิง่ 6.5 แนวความคิดในการวางผังพืชพรรณ สาหรับการเลือกใช้พืชพรรณในพื้นที่โครงการจะเน้นการเก็บรักษาพืชพรรณเดิมในพื้นที่ โครงการ เนื่องจากเป็ นไม้ยนื ต้นที่มีความสู งประมาณ 6-12 เมตร เพื่อให้ร่มเงาแก่พ้นื ที่โครงการ และเน้ นการปลูกพืชพรรณที่ดูแลรักษาง่าย ให้ร่มเงาเป็ นส่ วนสาคัญ ที่ทนต่อสภาพอากาศ เนื่องมาจากอากาศที่ค่อนข้างร้อนของจังหวัดตาก โดยมีการนาเอาพรรณไม้ต่างๆมาใช้ดงั นี้ - พรรณไม้เดิมในพื้นที่โครงการ อาทิ ต้นจามจุรี ต้นหางนกยูงฝรั่ง ต้นชงโค ต้นปี ป - พรรณไม้ยนื ต้นที่ปลูกเพิ่ม อาทิ ต้นกุ่มน้ า ต้นหูกวาง ต้นพิกุล ต้นแดง - พรรณไม้พุมและไม้ขนาดเล็ก อาทิ ต้นเฟื่ องฟ้ า ต้นพลับพลึง ต้นชาฮกเกี๊ยน - พรรณไม้คลุมดิน อาทิ เศรษฐีเรื อนนอก เศณษฐีเรื อนใน กระดุมทอง รางทอง - พรรณไม้น้ า ปลูกบริ เวณริ มตลิ่ง และพื้นที่บาบัดน้ าเสี ย อาทิ หญ้าแฝก กก ธูปฤาษี
69
แผนที่ 13 แสดงแนวความคิดในการจัดแบ่งกลุ่มพื้นที่โครงการ ที่มา : จากการออกแบบของผูศ้ ึกษา
แผนที่ 14 แสดงแนวความคิดการวางระบบสัญจร 1 ที่มา : จากการออกแบบของผูศ้ ึกษา
แผนที่ 15 แสดงแนวความคิดในการวางระบบการสัญจร 2 ที่มา : จากการออกแบบของผูศ้ ึกษา
70
แผนที่ 16 แสดงแนวความคิดในการวางผังพืชพรรณ ที่มา : จากการออกแบบของผูศ้ ึกษา
แผนที่ 17 แสดงแนวความคิดในรื่ องน้ า ที่มา : จากการออกแบบของผูศ้ ึกษา
71
บทที่ 7 รายละเอียดโครงการออกแบบ 7.1 รายละเอียดของการออกแบบและจัดระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ 7.1.1 รายละเอียดด้านเส้นทางการสัญจร 7.1.1 ถนนสายหลักของพื้นที่โครงการ มีความกว้าง 10 เมตร ใช้แอสฟัลต์ในการปู พื้น และใช้บล็อคปูทางเดินเป็ นบางช่วงเพื่อเป็ นการชะลอความเร็ วของรถในเขตผูค้ นหนาแน่น 7.1.2 ถนนสายรอง มีความกว้าง 8 เมตร ใช้แอสฟัลต์ในการปูพ้นื 7.1.3 ทางเท้าในพื้นที่โครงการ มีความกว้าง 1.50 เมตร ใช้บล็อคปูทางเดินในการ ปูพ้นื เน้นลวดลายที่เรี ยบ ราคาถูก และหาได้ง่ายในพื้นที่ 7.1.4 ทางจักรยานในพื้นที่โครงการ มีความกว้าง 2 เมตร เนื่องจากสามารถใช้เป็ น ทางร่ วมระหว่างทางเดินได้ ออกแบบเส้นทางเป็ นแนวตรงขนานไปกับพื้นที่ริมน้ า และใช้รูปทรง ของทรงโค้งเปรี ยบเสมือนเป็ นคลื่นน้ า เพื่อเพิม่ บรรยากาศที่แตกต่างกันออกไป 7.1.5 ทางวิง่ พื้นที่โครงการ มีความกว้าง 1.50 เมตร ใช้แผ่นปูพ้นื คอนกรี ตในการปู เพื่อความปลอดภัยในการวิง่ โดยเน้นเป็ นทางวิง่ ที่คดโค้งสลับกับเนินหญ้าสี เขียวเพื่อ ลดความน่า เบื่อระหว่างเส้นทาง 7.1.2 รายละเอียดด้านระบบไฟฟ้ า การให้บริ การด้านพลังงานไฟฟ้ าในพื้นที่บริ การโดยการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาคจัง หวัด ตาก ให้บริ การผูใ้ ช้ไฟฟ้ า และมีไฟฟ้ าแสงสว่างในที่สาธารณะ ของโครงการกระจายตัวอยู่ ทวั่ พื้นที่ ภายในโครงการใช้ระบบไฟฟ้ าแบบฝังท่อใต้ดิน 7.1.3 รายละเอียดด้านระบบน้ าใช้ การให้บริ การด้านระบบประปา ดาเนินการโดยการประปาส่ วนภูมิภาคโดยใช้ แหล่งน้ าดิบจากแม่น้ าปิ ง ส่ วนระบบน้ าใช้เพื่อบารุ งรักษาพืชพรรณ จะใช้น้ าจากแม่น้ าปิ งมาใช้โดย การใช้ป้ ั มสู บน้ ามาใช้ในโครงการ
72
7.1.4 รายละเอียดด้านระบบระบายน้ า การระบายน้ าในพื้นที่โครงการ จะ มีการระบายน้ าโดยการไหลซึ มลงสู่ ผวิ ดิน บริ เวณที่เป็ นพื้นที่สีเขียว ส่ วนบริ เวณที่เป็ นพื้นที่ดาดแข็งจะมีการระบายน้ าลงสู่ แม่น้ าสาธารณะ ใน ส่ วนของการระบายน้ าจากตลาดและอาคารพาณิ ชย์จะมีปัญหาในเรื่ องของสิ่ งเจือปนและความ สกปรกจากน้ า โดยจะมีการบาบัดน้ าเสี ยก่อนการปล่อยลงสู่ แม่น้ าสาธารณะ 7.1.5 รายละเอียดด้านกาจัดขยะ ระบบกาจัดขยะในโครงการ มีการกาจัดขยะวันละ 2 ครั้ง โดยมีรถที่ใช้ในการ กาจัดขยะมูลฝอยมีจานวน 6 คัน ประกอบด้วย รถขนขยะชนิดอัด ชนิดเปิ ดข้างเทท้าย และ รถบรรทุกภาชนะยกเท โดยจะมีการกาจัดขยะทุกวัน 7.1.6 ห้องน้ าสาธารณะ ห้องน้ าสาธารณะจะกระจายอยูบ่ ริ เวณอาคารอเนกประสงค์ โดยมีขนาด 4.00x8.00 เมตร แบ่งออกเป็ น 2 ฝั่ง ชายและหญิงภายในอาคารเดียวกัน 7.1.7 รายละเอียดด้านระบบให้แสงสว่าง ในการเลือกใช้ไฟฟ้ าส่ องสว่างสาหรับโครงการแบ่งการใช้แสงส่ องสว่างตาม ระดับการติดตั้งต่อไปนี้ 7.1.7.1 ไฟสนามมีขนาดความสู ง 0.50 เมตร ใช้กบั บริ เวณที่ไม่ตอ้ งการความ ชัดเจนมากนัก 7.1.7.2 ไฟส่ องสว่างระดับกลาง มีขนาดความสู งประมาณ 2.5 เมตร สาหรับใช้ใน พื้นที่สวนสุ ขภาพ ทางเดิน ทางจักรยาน ทางวิง่ 7.1.7.3 ไฟส่ องสว่างบนถนน มีความสู งประมาณ 9 เมตร ใช้ในพื้นที่ถน นหลัก และถนนรอง 7.1.7.4 ไฟส่ องสว่าง ประติมากรรม จะใช้เป็ นไฟที่นาสายตา และจัดให้มีความ กลมกลืนและเกี่ยวข้องกับบริ เวณนั้นโดยรอบ
73
7.1.8 ป้ าย การใช้ป้ายภายในโครงการจะมีอยู่ 4 ลักษณะ - ป้ ายโครงการ - ป้ ายบอกทิศทาง - ป้ ายบอกสถานที่ - ป้ ายให้ความรู้ รู ปแบบของป้ ายโครงการจะมีการออกแบบให้สอดคล้องกับแนวความคิด ในการออกแบบที่เกี่ยวกับน้ า และอุปกรณ์ประกอบถนนอื่นๆ นาเสนอในรู ปแบบกราฟฟิ ค สื่ อด้วย ข้อความสั้นๆเข้าใจง่าย
ป้ ายโครงการ
ป้ ายบอกทิศทาง, ป้ ายบอกสถานที่, ป้ ายให้ความรู้
ภาพที่ 31 รู ปแบบป้ าย
74
7.1.9 รายละเอียดด้านศาลาพักผ่อน ในพื้นที่โครงการจะมีรูปแบบศาลาพักผ่อนอยู่ 2 รู ปแบบ 7.1.9.1 ศาลารู ปแบบที่ 1 เป็ นศาลาหลังคา 6 เหลี่ยม นามาจากรู ปแบบ ศาลาอเนกประสงค์ในพื้นที่โครงการให้มีความสอดคล้องกับลักษณะของพื้นที่เดิม 7.1.9.2 ศาลารู ปแบบที่ 2 เป็ นศาลารู ปแบบของคลื่น ส่ วนด้านบนหลังคา ใช้พืชพรรณไม้เลื้อยแทนกระเบื่องหลังคา
ศาลารู ปแบบที่ 1
ศาลารู ปแบบที่ 2
ภาพที่ 32 รู ปแบบศาลาพักผ่อน
75
7.1.10 รายละเอียดม้านัง่ ในพื้นที่โครงการ ในพื้นที่โครงการจะมีรูปแบบม้านัง่ อยู่ 2 รู ปแบบ 7.1.10.1 ม้านัง่ รู ปแบบที่ 1 เป็ นม้านัง่ ที่นารู ปแบบมาจากการกระจายตัว ของน้ าเพื่อนามาเป็ นรู ปแบบในพื้นที่โครงการ 7.1.10.2 ม้านัง่ รู ปแบบที่ 2 เป็ นม้านัง่ รู ปแบบของคลื่น ที่เปรี ยบเสมือน คลื่นที่ออกมาจากผิวน้ าให้มีรูปแบบที่แตกต่างกัน โดยใช้ไม้เป็ นวัสดุหลัก
ม้านัง่ รู ปแบบที่ 1
ม้านัง่ รู ปแบบที่ 2
ภาพที่ 33 รู ปแบบม้านัง่
76
บทที่ 8 ผลงานการออกแบบ 8.1 แผ่นงานที่ 1 INTRODUCTION AND INVENTORY 8.1.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 8.1.2 ประวัติความเป็ นมาของพื้นที่โครงการ 8.1.3 ที่ต้ งั พื้นที่โครงการ 8.1.4 อาณาเขตและสภาพแวดล้อมโดยรอบ 8.1.5 การเชื่อมโยงพื้นที่โครงการกับพื้นที่สาคัญอื่น 8.1.6 การเข้าถึงพื้นที่โครงการ 8.2 แผ่นงานที่ 2 SITE ANALYSIS 1 8.2.1 ลักษณะภูมิประเทศของพื้นที่โครงการ 8.2.2 ลักษณะความลาดชันของพื้นที่โครงการ 8.2.3 แหล่งน้ าและการระบายน้ า 8.2.4 ลักษณะพืชพรรณ 8.2.5 ลักษณะทางธรณี วทิ ยา 8.2.6 ลักษณะภูมิอากาศ 8.2.7 การใช้ประโชน์ที่ดิน 8.3 แผ่นงานที่ 3 SITE ANALYSIS 2 8.3.1 ระบบสัญจร 8.3.2 อาคารและสิ่ งก่อสร้างเดิม 8.3.3 ระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ 8.3.4 กิจกรรมเดิมโดยรอบพื้นที่โครงการ 8.3.5 ข้อมูลเฉพาะด้าน
77
8.4 แผ่นงานที่ 4 SITE ANALYSIS 3 8.4.1 มุมมองและทัศนียภาพของโครงการ 8.4.2 ข้อมูลผูใ้ ช้โครงการ 8.4.3 ข้อมูลเฉพาะด้าน 8.5 แผ่นงานที่ 5 SITE SYNTHESIS 8.5.1 SITE CHARACTERISTICS AND SITE POTENTIAL 8.5.2 PROGRAM REQUIREMENT 8.6 แผ่นงานที่ 6 CONCEPT DESIGN 1 8.6.1 MAIN CONCEPT 8.6.2 ZONING CONCEPT 8.6.3 CIRCULATION DIAGRAM 8.7 แผ่นงานที่ 7 CONCEPT DESIGN 2 8.7.1 WATER TREATMENT CONCEPT 8.7.2 ACTIVITIES DIAGRAM 8.8 แผ่นงานที่ 8 CONCEPT DESIGN 3 8.8.1 SPACE CONCEPT - Open Space, Enclosed Space - Semi Open Space, Vertical Space 8.8.2 PLANTING CONCEPT 8.9 แผ่นงานที่ 10 MASTER PLAN 8.9.1 MASTER PLAN 8.10 แผ่นงานที่ 11 DETAIL PLAN : A 8.11.1 ทัศนียภาพโครงการ 8.11.2 รู ปตัดบริ เวณพื้นที่พกั ผ่อน และนันทนาการ
78
8.11 แผ่นงานที่ 12 DETAIL PLAN : B 8.12.1 ทัศนียภาพโครงการ 8.12.2 รู ปตัดบริ เวณพื้นที่การค้า 8.12 แผ่นงานที่ 13 DETAIL PLAN : C 8.13.1 ทัศนียภาพโครงการ 8.13.2 รู ปตัดบริ เวณพื้นที่พกั ผ่อน และการอนุรักษ์ 8.13 แผ่นงานที่ 14 TYPICAL DETAIL 8.14.1 รายละเอียดศาลาพักผ่อน 8.14.2 รายละเอียดม้านัง่ 8.14.3 รายละเอียดรู ปแบบพื้นที่ริมน้ า 8.14 แผ่นงานที่ 15 OVER ALL PERSPECTIVE 8.15.1 ทัศนียภาพลานกีฬากลางแจ้ง 8.15.2 ทัศนียภาพอาคารจอดรถ (สวนหลังคา) 8.15.3 ทัศนียภาพบริ เวณด้านการค้า (ถนนคนเดิน) 8.15.4 ทัศนียภาพบริ เวณส่ วนพักผ่อน (PASSIVE)
79
บทที่ 9 บทสรุ ปและข้ อเสนอแนะ ในการดาเนินวิทยานิพนธ์โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ริมน้ าย่าน สะพานสมโภชกรุ งรัตนโกสิ นทร์ 200 ปี อาเภอเมือง จังหวัดตาก การทางานทุกๆขั้นตอนจะพบ ปั ญหาในการดาเนินงานที่แตกต่างไปทาให้ตอ้ งมีการเรี ยนรู ้ข้ นั ตอน วิธีการทางานใหม่ๆอยูเ่ สมอ เพื่อนามาเลือกใช้ให้เหมาะสมในการแก้ไขปั ญหาแต่ละส่ วน การเก็บข้อมูลของโครงการเป็ นการ เริ่ มต้นที่สาคัญที่สุด โดยเฉพาะข้อมูลทางกายภาพของโครง การโดยไปถึงสภาพพื้นที่โดยรอบของ โครงการซึ่ งจะนามาถึงการทางานที่มีประสิ ทธิ ภาพในขั้นตอนต่างๆต่อไป ทาให้สามารถเห็น ภาพรวมของโครงการได้อย่างชัดเจน ดังนั้นการเก็บข้อมูลโครงการจึงควรใช้เวลาในการศึกษาและ การเก็บข้อมูลอย่างละเอียด รอบครอบ การวิเคราะห์ขอ้ มูลของโครงการค วรจะวิเคราะห์โดยอ้างอิง จากข้อมูลเฉพาะด้านของพื้นที่จะทาให้การกาหนดตาแหน่งของการวางผังได้ง่าย ในขั้นตอนการ วางแนวความคิดในการออกแบบควรคานึงถึงการฟื้ นฟูสิ่งแวดล้อมที่ เป็ นลักษะทางกายภาพที่เด่น ของพื้นที่ริมน้ า และจึงหาความสัมพันธ์โดยรวมของกิจกรรม ข้อเสนอแนะของก ารจัดทาโครงการพอสรุ ปได้วา่ สิ่ งที่สาคัญที่สุดของการที่จะศึกษาคือ การออกแบบพื้นที่สาธารณะที่ตอ้ งการใช้งานได้สะดวกเข้ากับสังคม และพื้นที่โครงการ มุ่งเน้นการ จัดระบบการสัญจรให้เข้ามาใช้งานง่ายและไม่ซบั ซ้อน นอกจากนั้นยังต้องคานึงถึงการรักษา ทรัพยากรทางธรรมชาติของ พื้นที่โครงการ และมุ่งเน้นสู่ การสร้างเสริ มสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิต ของผูท้ ี่เข้ามาใช้พ้นื ที่โครงการ พื้นที่โครงการได้ถูกออกแบบวางผังและปรับปรุ งเพื่อรองรับกิจกรรมต่างๆ ทั้งกิจกรรมเดิม ในพื้นที่โครงการ รวมไปถึงกิจกรรมทางประเพณี วฒั นธรรมที่โดดเด่น อีกทั้งยังเป็ นพื้ นที่เชื่อมโยง ไปสู่ แหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญในพื้นที่เทศบาลเมืองตาก โดยการออกแบบจะคานึงถึงการใช้สอย สุ นทรี ยภาพและการเข้ามาพักผ่อนในพื้นที่โครงการ
80
ภาคผนวก
บรรณานุกรม ธี รพงษ์ ประเสริ ฐวิกยั . 2552. โครงการออกแบบและวางผังภูมิสาปัตยกรรมแหล่ งท่ องเทีย่ วเพือ่ ฟื้ นฟู สภาพแวดล้อมและนันทนาการพืน้ ทีโ่ รงไฟฟ้าพลังงานความร้ อนแม่ เมาะ จังหวัดลาปาง. วิทยานิพนธ์ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาภูมิสถาปัตยกรรม. มหาวิทยาลัยแม่โจ้. เอื้อมพร วีสมหมาย. 2527. สวนสาธารณะและสถานทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจ (Park and Recreation). พิมพ์ ครั้งที่ 1. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . สานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดตาก. ผังเมืองรวมเมืองตาก จังหวัดตาก (ปรับปรุ งครั้งที่ 2 ). เทศบาลเมืองตาก กรมโยธาธิการและผังเมือง. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์. 2554. คู่มือการดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร บัณฑิต. คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้. Charles W.Harris and Nicholas T. Dines. Time-Saver Standards for Landscape Architecture. 2nd ed. Mc Graw-Hill Publishing Company. Landscape Detail Design 1 Manual. 2010. 278 p. Landscape Detail Design 2 Manual. 2010. 278 p. สานักงานสวนสาธารณะ สานักสิ่ งแวดล้อม. 2554. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา http://minpininteraction.com/bkk_static/park24.asp. (23 พฤษภาคม 2554) แผนการพัฒนาเมืองตาก . 2554. (ระบบออนไลน์ ). แหล่งที่มา http://tessabantak.go.th/data/plan25522554.pdf. (5 เมษายน 2554) ข้ อมูลจังหวัดตาก. 2554. (ระบบออนไลน์). แหล่งทีมา http://www.thaibizcenter.com/province.asp?provid=17. (25 พฤษภาคม 2554) แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2552 - 2554 ) เทศบาลเมืองตาก. 2554. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา http://tessabantak.go.th/data/plan2552-2554.pdf. (25 พฤษภาคม 2554) สานักผังประเทศและผังภาค. 2554. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา http://www.dpt.go.th/nrp/about1/download.html. (26 พฤษภาคม 2554) สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ (ฝั่งพระนคร-ฝรั่งธนบุรี). 2554. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา http://www.yourhealthyguide.com/parks/park-charoem-6time.htm. (29 พฤษภาคม 2554) จังหวัดตาก. 2554. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา http://123.242.165.138/tak_poc/vitual/index.php. (29 พฤษภาคม 2554)
ประวัตินักศึกษา
ชื่อ ทีอ่ ยู่ วันเกิด
นายเปรม แสงจันทร์ 86 หมู่ 9 ตาบลป่ าคาย อาเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ 53230 04 กุมภาพันธ์ 2531
ประวัติการศึกษา - มีนาคม 2550 – 2554 ปริ ญญาตรี คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม สาขาภูมิสถาปั ตยกรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ - มีนาคม 2548 – 2550 มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนอุตรดิตถ์ ตาบลท่าอิฐ อาเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ เกรดเฉลี่ย 3.20 ประสบการณ์การทางาน - 1 พฤศจิกายน 2554 – 24 กุมภาพันธ์ 2555 นักศึกษาฝึ กงาน บริ ษทั แพลนนิ่งเวิรค์เพลส ตั้งอยูท่ ี่ 8/1 เลขที่ 7 อาคารนพณรงค์ ซ.ลาดพร้าว 23 ถ.รัชดา-ลาดพร้าว กทม. 10900ในฝ่ ายผูช้ ่วยภูมิ สถาปัตยกรรม