โครงการออกแบบและปรับปรุงภูมสิ ถาปัตยกรรม บริเวณทีทําการอุทยานแห่ งชาติแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN AND IMPROVEMENT PROJECT OF KAENG KRACHAN NATIONAL PARK HEADQUARTERS, AMPHOR KAENG KRACHAN, PHETCHABURI PROVINCE
วิชญะ อยู่ดี รหัส 5113101324
วิทยานิพนธ์ นีเF ป็ นส่ วนหนึงของความสมบูรณ์ ของการศึกษาตามหลักสู ตร ปริญญาภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมสิ ถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ พ.ศ. 2555 ลิขสิ ทธิ ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื อเรือง
ชื อผู้เขียน ชื อปริญญา ประธานกรรมการทีปรึกษา
โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม บริ เวณทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี วิชญะ อยูด่ ี ภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม อาจารย์ จรัสพิมพ์ บุญญานันต์
บทคัดย่ อ โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณทีทําการอุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี มีเนื,อทีประมาณ 343 ไร่ ภูมิประเทศเป็ นภูเขา ด้าน ทิศตะวันตกอยูต่ ิดกับอ่างเก็บนํ,าแก่งกระจาน เป็ นจุดต้อนรับนักท่องเทียวทีสําคัญ ก่อนจะเข้าไปยัง สถานทีท่องเทียวต่างๆภายในอุทยานแห่งชาติ โครงการนี,เกิดขึ,นเพือเป็ นการปรับปรุ งพื,นทีบริ เวณที ทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ตามนโยบายการพัฒนาของอุทยาแห่งชาติแก่งกระจาน แผนยุทธศาสตร์ อาํ เภอแก่งกระจาน และสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัดเพชรบุรี (พ.ศ. 2553-2556) พื,นทีโครงการในปั จจุบนั สามารถพัฒนาให้มีความเหมาะสมต่อการใช้งาน และมี เอกลักษณ์ โดยใช้แนวความคิด “NATURE LIVING : อยูก่ บั ธรรมชาติ” เป็ นแนวคิดทีต้องการให้ นักท่องเทียวเข้ามาใช้บริ การ ได้พกั ผ่อนจากสังคมเมืองและอยูก่ บั สภาพแวดล้อมทีเป็ นธรรมชาติ อย่างแท้จริ ง เน้นการท่องเทียวเชิงอนุ รักษ์ธรรมชาติ จัดกิจกรรมต่างๆให้เหมาะสมกับศักยภาพของ พื,นทีโครงการ และเชื อมโยงกิจกรรมระหว่างพื,นทีส่ วนให้บริ การ ส่ วนบ้านพักนักท่องเทียว ส่ วน พักผ่อน และนันทนาการ ให้มีความต่อเนื อง กลมกลืนกับสภาพแวดล้อมเดิมในพื,นที โครงการนี,หากได้นาํ ไปดําเนิ นการจริ งจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมในด้านต่างๆดังนี, - ด้านเศรษฐกิจ เป็ นสถานทีท่องเทียวทางธรรมชาติ และท่องเทียวเชิงนิเวศน์ ทํา ให้เป็ นการเพิมรายได้ให้กบั ชุ มชนจากการจับจ่ายของนักท่องเทียว - ด้านสังคม คนในชุมชนช่วยกันพัฒนาพื,นทีของตนเองให้มีความเรี ยบร้อย สวยงาม เพือเป็ นการสนับสนุนการท่องเทียวให้นกั ท่องเทียวกลับมาใช้บริ การอีก - ด้านทรัพยากรธรรมชาติ มีระบบนิเวศน์ทีอุดมสมบูรณ์ ลดการตัดไม้ทาํ ลายป่ า และเพิมอาชีพใหม่ให้กบั ชุมชน ทั,งยังเป็ นพื,นทีพักผ่อนหย่อนใจให้กบั ชุมชนและนักท่องเทียว - ด้านการศึกษา เป็ นแหล่งศึกษาหาความรู ้ดา้ นระบบนิ เวศน์ของป่ าไม้ สัตว์ป่า และป่ าต้นนํ,า ให้ภาครัฐและเอกชน
- ด้านประเพณี และวัฒนธรรม เป็ นการเผยแพร่ ประเพณี ทีหลากหลายเชื,อชาติของ คนในชุมชนทีอยูร่ ่ วมกัน และเป็ นการศึกษาความรู ้วฒั นธรรมพื,นถิน
Title
Author Degree of Advisory Committee Chairperson
Landscape Architectural Design and Improvement Project of Kaeng Krachan National Park Headquarters, Amphor Kaeng Krachan, Phetchaburi Province Mr.Witchaya Yudee Bachelor of Landscape Architecture Professor Charaspim Boonyanunt
ABSTRACT Landscape Architectural Design and Improvement Project of Kaeng Krachan National Park Headquarters, Kaeng Krachan District, Phetchaburi Province, covers mountain area of 343 rais. On the west, it touches Kaeng Krachan Resevoir. This is an important point to welcome the tourists before visiting various touristic site within the National Park. This project aimed at the improvement in the area of Kaeng Krachan National Park Headquarters, following the Development Policy of Kaeng Krachan National Park, the Strategic Plan of Kaeng Krachan District, in accordance with the Development Plan of Phetchaburi Procince (2010 to 2013). The current Project area could be developed to suit the use with the identity, using the concept of “Nature Living�. This concept aimed at the fact that the tourists using the service could rest from the urban society and stay in the genuine natural environment. It focused on ecotourism. The organized activities were suitable to the Project areas. The activities linked the service areas, the tourist accommodations, the rest areas and the recreation areas continuously and harmony with original environment of the areas. If this Project is implemented, it will generate various benefits to the community as follows: - Economic aspect : this is a natural and ecological tourist site from which the spending of the tourists will increase the income of the community. - Social aspect: Members of the community will help to develop their own area so that it will become tidy and beautiful, thus urging the tourist to come back, which in turn will develop the tourism.
- Natural resources: rich ecosystem, reduction of deforestation and generating new job to the community. It could become a rest area for the members of the community and the tourists. - Educational aspect: source of knowledge on the ecosystem of the forest, wildlife and water source forest for the public and private sectors. - Traditional and cultural aspect: to disseminate the diversified traditions of various races of community members. It will be an occasion to learn the local culture.
กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบับนีสําเร็ จไปได้ดว้ ยดี เพราะการช่วยเหลือและสนับสนุนจากบุคคลต่างๆ ดังนี ขอบคุณ คุณพ่อ คุณแม่ น้องสาว และพลอยฝน ที,คอยให้กาํ ลังใจ คอยช่วยเหลือเก็บข้อมูล ลงพืนที, เพื,อนํามาเป็ นข้อมูลประกอบการทําวิทยานิพนธ์ จนสําเร็ จ ขอบคุณ คุณพิชยั บัณฑิตสมิทธ์ ที,คอยเป็ นธุ ระในการจัดหาเอกสาร ข้อมูล และคอยอํานวย ความสะดวกทุกอย่างในการเก็บข้อมูล และขอบคุณหัวหน้าอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานที,ให้ เจ้าหน้าที,ให้ความช่วยเหลือในการให้ขอ้ มูลเป็ นอย่างดี ขอบคุณอาจารย์ที,ปรึ กษาทัง 3 ท่าน ได้แก่ อาจารย์ จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ อาจารย์ ดร.ปรัชมาศ ลัญชานนท์ และอาจารย์ ศุภชั ญา ปรัชญคุปต์ ที,คอยให้คาํ แนะนํา ให้คาํ ปรึ กษาที,ดี เสมอมา จนวิทยานิพนธ์เสร็ จสมบูรณ์ รวมถึงอาจารย์ บุคลากรในคณะฯทุกท่านที,ส,ังสอนและ อํานวยความสะดวกในการเรี ยนเป็ นอย่างดี ขอบคุณเพื,อนๆทุกคนที,ตงใจทํ ั าวิทยานิพนธ์อย่างรวดเร็ ว จึงเป็ นแรงผลักดันให้ขา้ พเจ้าต้อง ทําให้ทนั เพื,อน ขอบคุณ บอย ออด ผิง และเจตน์ ที,ให้ความช่วยเหลืออย่างเต็มความสามารถ และ คอยให้กาํ ลังใจกันเสมอ ขอบคุณน้องรหัส น้องขิม น้องอัม น้องดรี ม น้องบุค๊ น้องดาด้า น้องโฟล์ค และน้องกิ=ก ที, ช่วยกันติดเพลทงาน ช่วยทําโมเดลจนสําเร็ จสมบูรณ์และสวยงาม สุ ดท้ายขอขอบคุณเพื,อนรุ่ น 14 ทุกคนที,เป็ นเพื,อนกัน สนุกร่ วมกัน ทํากิจกรรมร่ วมกัน ให้ กําลังใจซึ, งกันและกันเสมอ มาโดยตลอดระยะเวลา 5 ปี และขอบคุณทุกๆท่านที,ตกหล่นไม่ได้เอ่ย นามไว้ ณ ที,นีด้วย
วิชญะ อยูด่ ี 29 พฤศจิกายน 2555
สารบัญ
บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ สารบัญแผนที# บทที 1. บทนํา 1.1 ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ 1.2 สถานที#ต2 งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที#ต2 งั โครงการ 1.3 วัตถุประสงค์ 1.4 ขอบเขตของการศึกษา 1.5 ขั2นตอนและวิธีการดําเนิ นการศึกษา 1.6 ประโยชน์ที#คาดว่าจะได้รับจากการศึกษา 2. ที#ต2 งั และความสําคัญของโครงการ 2.1 ที#ต2 งั และอาณาเขต 2.2 การเข้าถึงพื2นที#โครงการ 2.3 การเชื#อมโยงพื2นที#โครงการ 2.4 สภาพโดยรอบของพื2นที#โครงการ 2.5 สภาพการใช้ที#ดินในปั จจุบนั ภายในพื2นที#โครงการ 2.6 ความสําคัญของโครงการ 3. การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ 3.1 การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการด้านการเลือกพื2นที#โครงการ 3.2 การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการด้านสภาพแวดล้อม 3.3 การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการด้านการอนุรักษ์วถิ ีชีวติ ประเพณี และวัฒนธรรม 3.4 การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการด้านการท่องเที#ยวแบบยัง# ยืน
หน้ า (1) (2) (3) (4) (5) (6)
1 1 2 2 3 5 6 7 7 8 9 9 16 17 17 17
สารบัญ (ต่ อ) บทที
4.
5.
6.
7.
หน้ า 3.5 การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการด้านการบริ หารและการจัดการ 18 3.6 การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการด้านการระบบสาธารณูปโภค 18 กรณี ศึกษา 4.1 อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ 19 4.2 อุทยานแห่งชาติเขาสก 23 4.3 Iguacu National Park, Brazil 27 4.4 Cuyahoga Valley National Park 30 ข้อมูลและการวิเคราะห์ขอ้ มูลโครงการ 5.1 การวิเคราะห์ขอ้ มูลทัว# ไปของจังหวัดเพชรบุรี 33 5.2 การวิเคราะห์ลกั ษณะทางกายภาพของพื2นที#โครงการ 37 5.3 การสังเคราะห์พ2ืนที#โครงการ 55 แนวความคิดในการออกแบบ 6.1 แนวความคิดในการออกแบบโครงการ 62 6.2 แนวความคิดในการจัดกลุ่มพื2นที#โครงการ 63 6.3 แนวความคิดในการวางระบบสัญจร 64 6.4 แนวความคิดในการวางผังพืชพรรณ 65 6.5 แนวความคิดในการออกแบบพื2นที#วา่ ง ( Open space concept ) 66 รายละเอียดโครงการออกแบบ 7.1 รายละเอียดเส้นทางการสัญจร 67 7.2 รายละเอียดด้านระบบไฟฟ้ า 67 7.3 รายละเอียดด้านระบบนํ2าใช้ 67 7.4 รายละเอียดด้านระบบระบายนํ2า 68 7.5 รายละเอียดด้านระบบกําจัดขยะ 68 7.6 รายละเอียดด้านระบบการรักษาความปลอดภัย 68 7.7 รายละเอียดด้านองค์ประกอบของโครงการ 68
สารบัญ (ต่ อ) บทที 8. ผลงานการออกแบบ 8.1 แผ่นงานที# 1 INTRODUCTION 8.2 แผ่นงานที# 2 SITE ANALYSIS – NATURAL FACTOR 8.3 แผ่นงานที# 3 SITE ANALYSIS – CULTURAL FACTOR AND USER FACTOR 8.4 แผ่นงานที# 4 SITE ANALYSIS – AESTHETIC FACTORS AND USER FACTORS 8.5 แผ่นงานที# 5 SITE ANALYSIS – LAW & SPECIALDATA 8.6 แผ่นงานที# 6 SITE SYNTHESIS & PROGRAM REQUIREMENT 8.7 แผ่นงานที# 7 CONCEPT & PRELIMINARY DESIGN 8.8 แผ่นงานที# 8 MASTER PLAN 8.9 แผ่นงานที# 9 DETAIL PLAN 1 8.10 แผ่นที# 10 DETAIL PLAN 2 8.11 แผ่นที# 11 DETAIL PLAN 3 8.12 แผ่นที# 12 OVER ALL PERSPECTIVE 9. บทสรุ ปและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผเู ้ ขียน
หน้ า 70 70 71 71 71 71 72 72 72 72 73 73 86
สารบัญตาราง ตารางที 1. แสดงประเภทของป่ าไม้ในจังหวัดเพชรบุรี 2. แสดงการสังเคราะห์พ2ืนที#โครงการ 3. แสดงการใช้สอยพื2นที#โครงการ
หน้ า 36 55 58
สารบัญภาพ ภาพที 1. แสดงแผนภูมิอุณหภูมิ 2. แสดงแผนภูมิความชื2นสัมพัทธ์ 3. แสดงบริ เวณโรงเก็บของ 4. แสดงบริ เวณบ้านพักเจ้าหน้าที# 5. แสดงบริ เวณบ้านพักรับรองบนเขา 6. แสดงบริ เวณทางเข้า – ออกบ้านพักรับรอง 7. แสดงมุมมองจากบ้านพักรับรอง 8. แสดงบริ เวณศูนย์บริ การนักท่องเที#ยว 9. แสดงบริ เวณลานกางเต็นท์ 1 10. แสดงบริ เวณลานกางเต็นท์ 2 11. แสดงบริ เวณสะพานแขวนและเกาะกลางนํ2า 12. แสดงบริ เวณบ้านพักริ มนํ2า 13. INTRODUCTION 14. SITE ANALYSIS – NATURAL FACTOR 15. SITE ANALYSIS – CULTURAL FACTOR AND USER FACTOR 16. SITE ANALYSIS – AESTHETIC FACTORS AND USER FACTORS 17. SITE ANALYSIS – LAW & SPECIALDATA 18. SITE SYNTHESIS & PROGRAM REQUIREMENT 19. CONCEPT & PRELIMINARY DESIGN 20. MASTER PLAN 21. DETAIL PLAN 1 22. DETAIL PLAN 2 23. DETAIL PLAN 3 24. OVER ALL PERSPECTIVE
หน้ า 39 39 42 42 42 43 43 43 44 44 44 45 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85
สารบัญแผนที แผนที 1. แสดงที#ต2 งั ระดับประเทศไทย 2. แสดงที#ต2 งั ระดับภาคตะวันตก 3. แสดงที#ต2 งั ระดับจังหวัดเพชรบุรี 4. แสดงที#ต2 งั ระดับอําเภอแก่งกระจาน 5. แสดงที#ต2 งั ระดับพื2นที#โครงการและบริ เวณโดยรอบ 6. แสดงขอบเขตพื2นที#โครงการ 7. แสดงแผนที#อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ 8. แสดงแผนผังอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ 9. แสดงพื2นที#อุทยานแห่งชาติเขาสก 10. แสดงแผนผังอุทยานแห่งชาติเขาสก 11. แสดงแผนผัง Iguacu National Park, Brazil 12. แสดงแผนที# Cuyahoga Valley National Park 13. แสดงลักษณะภูมิประเทศในพื2นที#โครงการ 14. แสดงการระบายนํ2าในพื2นที#โครงการ 15. แสดงลักษณะดินในพื2นที#โครงการ 16. แสดงระบบการสัญจร 17. แสดงลักษณะพืชพรรณในพื2นที#โครงการ 18. แสดงตําแหน่งของสิ# งปลูกสร้าง 19. แสดงระบบสาธารณูปโภค 20. แสดงการใช้ประโยชน์ที#ดินในพื2นที#โครงการ 21. แสดงศักยภาพและข้อจํากัดของพื2นที#
หน้ า 10 11 12 13 14 15 21 22 25 26 29 32 46 47 48 49 50 51 52 53 54
1
บทที 1 บทนํา 1.1 ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ได้มีการจัดตังเมือวันที 12 มิถุนายน 2524 เพือเป็ นแหล่ง พักผ่อนหย่อนใจและศึกษาหาความรู ้ดา้ นระบบนิ เวศ อุทยานมีอาณาเขตครอบคลุมพืนทีอําเภอ หนองหญ้าปล้อง อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี และอําเภอหัวหิ น จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ มี สภาพป่ าทีสมบูรณ์ เป็ นป่ าต้นนําของแม่นาเพชรบุ ํ รีและแม่นาปราณบุ ํ รี มีลกั ษณะเด่นทาง ธรรมชาติทีสําคัญ ซึ งเป็ นสถานทีทีประชาชนให้ความสนใจมาศึกษาเรี ยนรู ้และท่องเทียว ในแต่ละ ปี จึงมีนกั ท่องเทียวและผูม้ าใช้บริ การเป็ นจํานวนมาก จึงเกิดปั ญหาการใช้พืนทีไม่เหมาะสม และ พืนทีไม่เพียงพอต่อการรองรับผูม้ าใช้บริ การ อีกทังทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานมีนโยบาย ทีจะจัดทําผังแม่บทการใช้ประโยชน์ของพืนทีให้เป็ นสัดส่ วน มีความเป็ นระเบียบ และปรับปรุ งภูมิ สถาปั ตยกรรมทีทรุ ดโทรมให้ดีขึนเพียงพอต่อการรองรับนักท่องเทียวและผูม้ าใช้บริ การ จึง เห็นสมควรทีจะดําเนินการจัดทําโครงการออกแบบปรับปรุ งตามแผนพัฒนาทีทางอุทยานได้วางไว้ (สัมภาษณ์ พิชยั บัณฑิตสมิทธิ<, เจ้าพนักงานป่ าไม้ ชํานาญงาน ทําหน้าทีผูช้ ่วยหัวหน้าอุทยาน แห่งชาติแก่งกระจาน, 12 พฤศจิกายน 2554) 1.2 สถานทีตั$งของโครงการและเหตุผลในการเลือกทีตั$งโครงการ 1.2.1 สถานทีตังของโครงการ พืนทีโครงการอยูใ่ นความรับผิดชอบของทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ตังอยูท่ างทิศตะวันออกติดกับอ่างเก็บนําแก่งกระจาน ตําบลแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ห่างจากตัวจังหวัดเพชรบุรีไปทางทิศตะวันตกเชียงใต้ประมาณ 61 กิโลเมตร จัดเป็ นอุทยานแห่งชาติทีมีป่าอุดมสมบูรณ์ มีทะเลสาบ นําตก ถํา และหน้าผาทีสวยงาม เป็ นป่ าต้น นําของแม่นาเพชรบุ ํ รี และแม่นาปราณบุ ํ รี เหมาะสมทีจะพัฒนาให้เป็ นสถานทีท่องเทียวทีสําคัญ ของจังหวัดเพชรบุรี
2
1.2.2 เหตุผลในการเลือกทีตังโครงการ เนืองจากทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน มีโครงการทีจะจัดทําผังแม่บท ใหม่เพือเป็ นแนวทางในการใช้สอยพืนทีให้เป็ นประโยชน์ และปรับปรุ งพืนทีบริ เวณทีทําการ อุทยานแห่งชาติให้มีความเป็ นระเบียบ เพียงพอต่อการรองรับนักท่องเทียวและผูม้ าใช้บริ การ 1.3 วัตถุประสงค์ 1.3.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1.3.1.1 เพือปรับปรุ งผังบริ เวณทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานให้สอดคล้อง กับนโยบายพัฒนาการใช้ประโยชน์ทีดินทางอุทยาน 1.3.1.2 เพือปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่ง กระจาน และบริ เวณใกล้เคียงให้มีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม 1.3.1.3 เพือพัฒนาพืนทีให้เพียงพอต่อการรองรับนักท่องเทียวและผูม้ าใช้บริ การ 1.3.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปั ญหาของการศึกษา 1.3.2.1 เพือศึกษากระบวนการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมสถานที พักตากอากาศในเขตอุทยานแห่งชาติ ให้สอดคล้องกับการใช้ประโยชน์ของพืนที และกิจกรรมที เกิดขึน 1.3.2.2 เพือศึกษาแนวทางในการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมอย่างยังยืน ทีลด ผลกระทบต่อสิ งแวดล้อมให้เหลือน้อยทีสุ ด 1.3.2.3 เพือออกแบบวางผังพืนทีให้สอดคล้องกับศักยภาพของพืนที และความ ต้องการของนักท่องเทียวและผูม้ าใช้บริ การ 1.4 ขอบเขตของการศึกษา 1.4.1 ขอบเขตของพืนทีศึกษา 1.4.1.1 พืนทีโครงการ พืนทีโครงการตังอยูใ่ นเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ตําบลแก่ง กระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี และห่างจากตัวจังหวัดเพชรบุรี ไปทางทิศตะวันตก
3
เฉี ยงใต้ประมาณ 61 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3499 และทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3432 มีเนือทีประมาณ 343 ไร่ 1.4.1.2 อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนื อ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก
ติดกับ ติดกับ ติดกับ ติดกับ
ชุมชนสองพีน้อง ป่ าอนุรักษ์อุทยานแห่ งชาติแก่งกระจาน ป่ าอนุรักษ์อุทยานแห่ งชาติแก่งกระจาน อ่างเก็บนําแก่งกระจาน
1.4.2 ขอบเขตของเนือหาทีจะศึกษา 1.4.2.1 ศึกษาแนวความคิดในการจัดการพืนทีบริ เวณทีทําการอุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน 1.4.2.2 ศึกษาและวิเคราะห์พืนทีทังด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม 1.4.2.3 ศึกษาพฤติกรรมและความต้องการของผูใ้ ช้ ทังเจ้าหน้าทีอุทยานฯและ นักท่องเทียว ทีเป็ นกลุ่มเป้ าหมาย 1.4.2.4 ศึกษาข้อกําหนด และกฎหมายทีมีผลกระทบต่อการออกแบบปรับปรุ งภูมิ ทัศน์ริมอ่างเก็บนํา 1.4.2.5 ศึกษาโครงการทีมีลกั ษณะใกล้เคียงกันทังในและต่างประเทศ ถึงแนวทาง การออกแบบรายละเอียดต่างๆทีเกียวข้องกับงานภูมิสถาปั ตยกรรม 1.5 ขั$นตอนและวิธีการดําเนินการศึกษา 1.5.1 ศึกษาขอบเขตการศึกษา และทําตามข้อมูลการศึกษา 1.5.2 ศึกษาข้อมูลทัวไปทีมีเนือหาและรู ปแบบของการปรับปรุ งพืนทีบริ เวณ ริ มนํา 1.5.3 กําหนดวัตถุประสงค์ของโครงการออกแบบปรับปรุ งพืนทีบริ เวณริ มฝังอ่าง เก็บนําเพือการท่องเทียว 1.5.4 ศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ 1.5.4.1 ด้านการออกแบบ
4
1.5.4.2 ด้านการอนุ รักษ์ 1.5.4.3 ด้านการท่องเทียว 1.5.4.4 ด้านงบประมาณ 1.5.5 ขันเก็บและรวบรวมข้อมูล 1.5.5.1 ภาคสนาม 1.5.5.2 เอกสารต่างๆ 1.5.5.3 ศึกษาจากโครงการประเภทเดียวกัน 1.5.6 ขันวิเคราะห์ขอ้ มูล (Site Analysis) 1.5.6.1 การเข้าถึงทีตัง การคมนาคม การเชื อมโยงของพืนที (Accessibility, Transportation and Linkage) 1.5.6.2 สภาพทัวไปของโครงการ (Exiting Condition) - อาคารและสิ งก่อสร้าง (Buildings) - พืชพรรณ (Plants) - มุมมองและทัศนียภาพ (Visual and views) - สภาพภูมิอากาศ (Climate) - ความลาดชัน (Slope) - การระบายนํา (Drainage) - ปั ญหาอืนๆในพืนที (Problems) 1.5.6.3 ลักษณะทัวไปรอบๆโครงการ (Surrounding Condition) 1.5.6.4 ความเป็ นมาด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี และกฎหมายที เกียวข้อง (History, Culture, Tradition and Law) 1.5.7 ขันสังเคราะห์ขอ้ มูล (Site Synthesis) 1.5.7.1 การวิเคราะห์ความต้องการของโครงการ (Program Analysis) 1.5.7.2 ข้อกําหนดรายละเอียดของโครงการ (Program Requirement) 1.5.7.3 ศักยภาพและข้อกําหนด (Site potential and Constrains) 1.5.8 ขันเสนอแนวความคิดในการออกแบบ 1.5.8.1 แนวความคิดในการออกแบบ (Concept Design)
5
- แนวความคิดในการวางผังแม่บท - แนวความคิดในการออกแบบระบบสัญจร - แนวความคิดในการออกแบบพืนทีว่าง - แนวความคิดในการออกแบบระบบสาธารณูปโภค - แนวความคิดในการวางผังพืชพรรณ 1.5.9 ขันออกแบบ 1.5.10 นําเสนอผลงานออกแบบขันสมบูรณ์ 1.5.10.1 ผังแม่บท (Master Plan) 1.5.10.2 ผังบริ เวณ (Site Plan) 1.5.10.3 ผังรายละเอียด (Detail Plan) 1.5.10.4 รู ปตัดและรู ปด้าน (Section and Elevation) 1.5.10.5 รู ปทัศนียภาพ (Perspective) 1.5.10.6 หุ่นจําลองพืนทีโครงการ (Model) 1.5.10.7 รู ปเล่มวิทยานิพนธ์ 1.6 ประโยชน์ ทคาดว่ ี าจะได้ รับจากการศึกษา 1.6.1 สามารถเป็ นแนวทางในการออกแบบวางผังพืนทีทีมีการท่องเทียวธรรมชาติเชิง นิเวศ โดยคํานึงถึงสภาพแวดล้อมทีเหมาะสมของพืนที 1.6.2 ได้ศึกษาถึงสภาพปั ญหา ข้อดี ข้อเสี ยทีเกิดจากโครงการทีมีลกั ษณะเช่นเดียวกันเพือ เป็ นแนวทางพืนฐานในการออกแบบ 1.6.3 นําข้อมูลทีได้จากการศึกษามาวิเคราะห์เพือประยุกต์ใช้ในการออกแบบให้เกิด ประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด
6
บทที 2 ทีตังและความสํ าคัญของโครงการ 2.1 ทีตังและอาณาเขต 2.1.1 ทีตังของจังหวัด จังหวัดเพชรบุรีอยูห่ ่างจากกรุ งเทพมหานคร ตามเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 ระยะทางประมาณ 123 กิโลเมตร มีพืนทีทังหมด 6,225.138 ตารางกิโลเมตรหรื อ 3,890,711.20 ไร่ โดยมีส่วนทีกว้างทีสุ ดวัดได้ 103 กิโลเมตรจากทิศตะวันออก-ตะวันตกและส่ วนทียาวทีสุ ดวัด ได้ 80 กิโลเมตรจากทิศเหนือ-ใต้ ด้านเหนือ ติดกับ จังหวัดราชบุรีและจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านใต้ ติดกับ อําเภอหัวหิ น จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ด้านตะวันออก ติดกับ ชายฝังอ่าวไทย ด้านตะวันตก ติดกับ เขตตะนาวศรี ของสหภาพพม่า 2.1.2 ทีตังของพืนทีโครงการ พืนทีโครงการตังอยูใ่ นเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ตําบลแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี และห่างจากตัวจังหวัดเพชรบุรี ไปทางทิศตะวันตกเฉี ยงใต้ ประมาณ 61 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3499 และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3432 มีเนือทีประมาณ 343 ไร่ ( ดูแผนที 1 ) ทิศเหนื อ ติดกับ ชุมชนสองพีน้อง ทิศใต้ ติดกับ ป่ าอนุรักษ์อุทยานแห่ งชาติแก่งกระจาน ทิศตะวันออก ติดกับ ป่ าอนุรักษ์อุทยานแห่ งชาติแก่งกระจาน ทิศตะวันตก ติดกับ อ่างเก็บนําแก่งกระจาน
7
2.2 การเข้ าถึงพืนทีโครงการ 2.2.1 การเดินทางด้วยรถยนต์ส่วนบุคคล เดินทางจากตัวเมืองจังหวัดเพชรบุรี ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนน เพชรเกษม) มุ่งลงใต้เข้าสู่ อาํ เภอท่ายาง ระยะทางประมาณ 30 กิโลเมตร จะถึงสามแยกไฟแดงท่า ยางแล้วเลียวขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3187 (ถนนเลียบคลอง) ระยะทางประมาณ 7.5 กิโลเมตร จะถึงสี แยก ให้เลียวขวาไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3499 ระยะทางประมาณ 26 กิโลเมตร จะถึงสามแยกให้เลียวซ้ายไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3432 ระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร จะถึงทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อยูท่ างด้านซ้ายมือ 2.2.2 การเดินทางด้วยรถไฟ เดินทางจากสถานีรถไฟหัวลําโพง กรุ งเทพมหานคร มุ่งสู่ ภาคใต้ วันละ 2 ขบวน ไป-กลับ จะจอดตามเมืองสําคัญต่างๆ และจอดทีสถานีเพชรบุรี นักท่องเทียวจะต้องเช่ารถสองแถว เข้าไปยังพืนทีโครงการ เพราะพืนทีโครงการจะไม่มีรถประจําทาง 2.3 การเชื อมโยงพืนทีโครงการ 2.3.1 สถานทีราชการ พืนทีโครงการอยูใ่ นแหล่งชุ มชน จึงใกล้กบั สถานทีราชการต่างๆ เช่น โรงเรี ยน บ้านท่าเรื อ สถานีอนามัยบ้านท่าเรื อ ระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร และทีว่าการอําเภอแก่ง กระจาน สถานีตาํ รวจภูธรแก่งกระจาน การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาคแก่งกระจาน และทีทําการไปรษณี ย ์ แก่งกระจาน ระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร 2.3.2 ศาสนสถาน ศาสนสถานได้แก่ วัดแก่งกระจาน และสํานักสงฆ์บา้ นท่าเรื อ ระยะห่างจากพืนที โครงการประมาณ 3 กิโลเมตร เป็ นสถานทีสงบจิตใจและทําบุญของชุมชน
8
2.3.3 สถานีขนส่ ง สถานีขนส่ งอยูไ่ กลจากพืนทีโครงการ 67.5 กิโลเมตร แต่สถานีลงรถจะอยูต่ รง สามแยกไฟแดงท่ายาง อยูห่ ่างจากพืนทีโครงการประมาณ 37.5 กิโลเมตร และต้องเช่ารถสองแถว เข้ามายังพืนทีโครงการเพราะไม่มีรถประจําทาง 2.3.4 สถานทีท่องเทียว 2.3.4.1 เขือนแก่งกระจาน เป็ นเขือนดินสู ง 58 เมตร ยาว 760 เมตรกันอ่างเก็บนํา แก่งกระจาน มีเกาะจํานวน 30 เกาะ และมีจุดชมวิวทีสวยงามอยูท่ ีสันเขือน 2.3.4.2 บ้านกร่ างแคมป์ เป็ นแหล่งดูนก ดูผีเสื อ เส้นทางศึกษาธรรมชาติ ระยะทาง 3 กิโลเมตร และยังเป็ นจุดพักค้างแรมกางเต็นท์ อยูห่ ่างจากทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 35 กิโลเมตร 2.3.4.3 เขาพะเนินทุ่ง เป็ นแหล่งท่องเทียวทีสวยงาม มีทะเลหมอกและความ หลากหลายทางธรรมชาติ มีลกั ษณะเป็ นทุ่งหญ้าและป่ าดิบ อากาศหนาวเย็นตลอดปี อยูห่ ่างจากที ทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานประมาณ 50 กิโลเมตร 2.3.4.4 นําตกทอทิพย์ เป็ นนําตกทีมีความสวยงาม มีความสู ง 9 ชันติดต่อกัน มีนาํ ไหลตลอดทังปี และต้องเดินเท้าเข้าไปเป็ นระยะทาง 4 กิโลเมตร 2.3.4.5 นําตกป่ าละอู มีสภาพเป็ นป่ าดิบชืน ห่างจากชายแดนพม่า 5 กิโลเมตร มี ความสู ง 15 ชัน ชันที 7 เป็ นชันทีมีความสวยงามมากทีสุ ด อยูห่ ่างจากทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่ง กระจานประมาณ 80 กิโลเมตร 2.3.4.6 เส้นทางศึกษาธรรมชาติบริ เวณบ้านกร่ าง ระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร สามารถประกอบกิจกรรมดูนก ดูผเี สื อ และศึกษารอยเท้าสัตว์ป่า ใช้เวลาเดินทางไป-กลับประมาณ 1 ชัวโมง 30 นาที 2.3.4.7 เส้นทางศึกษาธรรมชาตินาตกป่ ํ าละอู มีระยะทาง 800 เมตร สามารถ ประกอบกิจกรรมการดูนก ดูผเี สื อ ใช้เวลาเดินศึกษาธรรมชาติประมาณ 30 นาที 2.3.4.8 เส้นทางศึกษาธรรมชาติ กม. 36 นําตกทอทิพย์ ระยะทาง 4.5 กิโลเมตร ใช้ เวลาเดินทางไป-กลับประมาณ 3 ชัวโมง
9
2.4 สภาพโดยรอบของพืนทีโครงการ พืนทีโครงการเป็ นทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ซึ งอยูใ่ นเขตอุทยานฯ ลักษณะ โดยรอบของโครงการ ด้านทิศเหนื อเป็ นพืนทีชุมชนสองพีน้อง ด้านทิศใต้เป็ นพืนทีป่ ามีเส้นทาง ผ่านไปสถานทีท่องเทียวสําคัญต่างๆของอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ด้านทิศตะวันออกเป็ นป่ า อนุรักษ์ทีมีความอุดมสมบูรณ์ และด้านทิศตะวันตกติดกับอ่างเก็บนําแก่งกระจานทีมีขนาดใหญ่ มี ทัศนียภาพทีสวยงาม มองเห็นเกาะจํานวนมาก 2.5 สภาพการใช้ ทดิี นในปัจจุบันภายในพืนทีโครงการ พืนทีโครงการมีการแบ่งส่ วนออกเป็ น 2 ส่ วนใหญ่ๆ คือส่ วนทีใช้เป็ นสถานทีราชการ เป็ น ทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน โดยอนุ ญาตให้เข้าได้เฉพาะเจ้าหน้าทีอุทยานหรื อมีการ ติดต่อทางราชการ อีกส่ วนหนึงใช้เป็ นส่ วนบริ การนักท่องเทียวทีนักท่องเทียวทัวไปสามารถเจ้ามา ใช้พืนทีบริ เวณนีได้ โดยเสี ยค่าธรรมเนียมในการเข้าพืนที ในส่ วนนีสามารถ รองรับนักท่องเทียว ได้จาํ นวนมาก มีศูนย์บริ การนักท่องเทียว ลานกางเต็นท์ และจุดชมวิว ซึ งอยูต่ ิดกับอ่างเก็บนําแก่ง กระจาน 2.6 ความสํ าคัญของโครงการ อําเภอแก่งกระจานมีวสิ ัยทัศน์วา่ “แก่งกระจานผืนป่ าเขียว น่าอยูน่ ่าเทียวเชิงอนุรักษ์ พัฒนาคุณภาพชีวิต บนฐานเศรษฐกิจพอเพียง” และกําหนดแผนยุทธศาสตร์ เสริ มสร้างศักยภาพ ชุมชนให้มีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม ส่ งเสริ ม ประชาสัมพันธ์การท่องเทียว และปรับปรุ งภูมิทศั น์รอบอ่างเก็บนําแก่งกระจาน โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่ง กระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ถือเป็ นโครงการทีมีประโยชน์อย่างยิง โดยเฉพาะกับ ชาวจังหวัดเพชรบุรี และเป็ นการออกแบบพืนทีโครงการให้เกิดประสิ ทธิ ภาพ รองรับการใช้งาน ของชุมชนและนักท่องเทียวในอนาคต
10
โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี แผนที 1 : แสดงทีตังระดับประเทศไทย สัญลักษณ์ :
NORTH
ทีตังของพืนทีโครงการ
ทีมา : ดัดแปลงจากแหล่งทีมา http://www.99bayresort.com/index.php?lay=show& ac=article&Id=139126&Ntype=5 (25 พฤศจิกายน 2554).
มาตราส่ วน :
11
โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี แผนที 2 : แสดงทีตังระดับภาคตะวันตก สัญลักษณ์ :
NORTH
ทีตังของพืนทีโครงการ
ทีมา : ดัดแปลงจากแหล่งทีมา http://www.99bayresort.com/index.php?lay=show &ac=article&Id=139126&Ntype=5 (25 พฤศจิกายน 2554).
มาตราส่ วน : NOT TO SCALE
12
โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี แผนที 3 : แสดงทีตังระดับจังหวัดเพชรบุรี สัญลักษณ์ :
NORTH
ทีตังของพืนทีโครงการ
ทีมา : ดัดแปลงจากแหล่งทีมา http://www.99bayresort.com/index.php?lay=show &ac=article&Id=139126&Ntype=5 (25 พฤศจิกายน 2554).
มาตราส่ วน : NOT TO SCALE
13
โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี แผนที 4 : แสดงทีตังระดับอําเภอแก่งกระจาน สัญลักษณ์ :
NORTH
ทีตังของพืนทีโครงการ
ทีมา : ดัดแปลงจากแหล่งทีมา http://www.99bayresort.com/index.php?lay=show &ac=article&Id=139126&Ntype=5 (25 พฤศจิกายน 2554).
มาตราส่ วน : NOT TO SCALE
14
โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี แผนที 5 : แสดงทีตังระดับพืนทีโครงการและบริ เวณโดยรอบ สัญลักษณ์ :
NORTH
ทีตังของพืนทีโครงการ
ทีมา : ดัดแปลงจากแหล่งทีมา http://maps.google.co.th/maps?hl=th&tab=wl5 (25 พฤศจิกายน 2554).
มาตราส่ วน : NOT TO SCALE
15
โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี แผนที 6 : แสดงขอบเขตพืนทีโครงการ สัญลักษณ์ :
NORTH
ขอบเขตพืนทีโครงการ
ทีมา : ดัดแปลงจากแหล่งทีมา http://maps.google.co.th/maps?hl=th&tab=wl5 (25 พฤศจิกายน 2554).
มาตราส่ วน : NOT TO SCALE
16
บทที 3 การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ 3.1 การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการด้ านการเลือกพืนทีโครงการ 3.1.1 ด้านทําเลทีตังของโครงการ พืนทีโครงการตังอยูใ่ นเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน เป็ นส่ วนของทีทําการ อุทยานแห่งชาติ ติดกับอ่างเก็บนําแก่งกระจาน ไม่ไกลจากตัวเมืองมากนัก มีความเหมาะสมในการ จัดทําโครงการเป็ นอย่างมาก เข้าถึงพืนทีโครงการได้สะดวก มีทศั นียภาพทีสวยงาม และยังเป็ น สถานทีท่องเทียวรองรับนักท่องเทียวได้ตลอดทังปี เน้นการท่องเทียวอย่างยังยืน พืนทีโครงการ จัดเป็ นสถานพักตากอากาศ มีกิจกรรมทีสอดคล้องกับธรรมชาติและยังเป็ นโครงการทีชุมชนมีส่วน ร่ วม และใช้ประโยชน์จากพืนทีได้ 3.1.2 ด้านขนาดพืนทีโครงการ ขนาดของพืนทีโครงการมีเนื อที 343 ไร่ เพียงพอต่อความต้องการพัฒนาพืนที โครงการให้เป็ นไปตามแผนพัฒนาของอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน โดยมีการจัดสรรพืนทีให้เป็ น สัดส่ วนทีชัดเจน เป็ นศูนย์บริ การนักท่องเทียว บ้านพักตากอากาศ มีกิจกรรมทีสอดคล้องกับ ธรรมชาติ และมีเส้นทางศึกษาพืนทีธรรมชาติ เพือให้ความรู ้แก่คนในชุมชนแลนักท่องเทียว 3.1.3 ด้านสภาพของระดับพืนทีโครงการ พืนทีโครงการเป็ นพืนทีราบโดยประมาณ ร้อยละ 50 และเป็ นพืนทีลาดเอียง อีก ร้อยละ 50 ส่ วนใหญ่เป็ นพืนทีราบและโล่งกว้างส่ งผลกระทบน้อยต่อการพัฒนาพืนที สามารถ ออกแบบให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมได้เป็ นอย่างดี
17
3.2 การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการด้ านสภาพแวดล้ อม สภาพพืนทีโดยรอบโครงการเป็ นชุมชนสองพีน้อง จัดเป็ นทีพักอาศัยหนาแน่นน้อย มี สภาพแวดล้อมทีดีอยูต่ ิดกับอ่างเก็บนําแก่งกระจานทีทําให้ชุมชนมีอาชีพทําประมงนําจืด ทางด้าน ทิศตะวันออกจะติดกับเทือกเขา เป็ นป่ าดิบแล้งทีสมบูรณ์ บริ เวณเกาะกลางนําสามารถมองเห็น ทัศนียภาพทังหมดของพืนทีโครงการได้เป็ นมุมมองกว้าง และพืนทีส่ วนใหญ่จะเป็ นพืนที ธรรมชาติ การออกแบบจึงควรคํานึงถึงผลกระทบต่อสิ งแวดล้อม กิจกรรมต่างๆให้สอดคล้องกับ สภาพธรรมชาติเดิม 3.3 การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการด้ านการอนุรักษ์ วถิ ีชีวติ พืนทีโครงการอยูใ่ กล้กบั ชุมชน มีวถิ ีชีวติ ทีเป็ นเอกลักษณ์เก่าแก่ และประเพณี ทีโดดเด่น โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานฯ มี แนวคิดให้ชุมชนมีส่วนร่ วมกับโครงการโดยการให้ชุมชนเข้ามาทําประโยชน์หารายได้เลียงชีพ ไม่ ว่าจะเป็ น ไกด์พานักท่องเทียวล่องเรื อไปชมพระอาทิตย์ตก หรื อชมรอบอ่างเก็บนํา ให้ชุมชนตัง ร้านขายของ หรื อนําผลิตภัณฑ์ในตําบลเข้ามาขายในพืนทีโครงการ ทังเป็ นการกระจายรายได้ทาํ ให้เศรษฐกิจดีขึนและยังเป็ นการสนับสนุนให้คนในชุมชนมีอาชีพทีเพิมขึนด้วย รวมถึงประเพณี และพิธีกรรมต่างๆของชุมชน ซึ งจะจัดขึนในช่วงทีเก็บเกียวข้าว ทําให้นกั ท่องเทียวได้เรี ยนรู ้ ประเพณี วัฒนธรรมท้องถินได้ดว้ ย 3.4 การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการด้ านการท่ องเทียวแบบยังยืน พืนทีโครงการเป็ นสถานทีท่องเทียวทีสําคัญมากของจังหวัดเพชรบุรี เป็ นอุทยานแห่งชาติ ทีมีความอุดมสมบูรณ์ของป่ า มีระบบนิเวศน์ทีหลากหลาย เป็ นแหล่งศึกษาวิจยั ด้านพืชพรรณ สัตว์ ป่ า พืนทีโครงการยังติดกับอ่างเก็บนําแก่งกระจาน เป็ นต้นกําเนิดของแม่นาเพชรบุ ํ รี มีทศั นียภาพที สวยงาม มองเห็นเกาะต่างๆกลางอ่างเก็บนํา และยังมีพืนทีรอบรับนักท่องเทียวเป็ นจํานวนมาก แต่ ละปี นักท่องเทียวจะมาใช้บริ การพืนทีไม่ตากว่ ํ า 1 แสนคน จึงต้องมีการปลูกจิตสํานึกนักท่องเทียว ในการท่องเทียวในพืนทีธรรมชาติ ให้ใช้พนที ื ธรรมชาติอย่างถนอมและรักษาไว้เพือให้ธรรมชาติ คงอยูใ่ นสภาพเดิม ซึ งโครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณทีทําการอุทยาน แห่งชาติแก่งกระจานฯ จะเป็ นโครงการทีช่วยปลูกจิตสํานึ กในการท่องเทียวอย่างยังยืนให้ เหมาะสมกับพืนทีชุมชนและพืนทีโครงการ
18
3.5 การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการด้ านการบริหารและการจัดการ โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่ง กระจานฯ จําเป็ นต้องอาศัยงานด้านภูมิสถาปั ตยกรรมเป็ นหลัก ควบคู่กบั งานด้านสถาปั ตยกรรม โดยอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานมีเจ้าหน้าทีรับผิดชอบโครงการทางด้านงานภูมิสถาปั ตยกรรม และมอบหมายให้กรมโยธาธิ การจังหวัดเพชรบุรีร่วมเป็ นคณะกรรมการรับผิดชอบโครงการ ทางด้านงานสถาปั ตยกรรม 3.6 การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการด้ านการระบบสาธารณูปโภค 3.6.1 ระบบการสัญจร การสัญจรในพืนทีโครงการมีอยูแ่ ล้วบางส่ วนแต่ยงั ไม่มีความเป็ น ระเบียบเรี ยบร้อย มีขนาดทีไม่ได้มาตรฐาน บางเส้นทางเป็ นถนนลูกรังสลับกับทางลาดยางมะตอย ขาดทางเท้าและทางจักรยานสําหรับรองรับนักท่องเทียว จึงต้องทําการปรับปรุ งและพัฒนาให้เหมา สมยิงขึน 3.6.2 ระบบไฟฟ้ า ภายในพืนทีโครงการอยูต่ ิดกับทางหลวงแผ่นดินจึงสามารถเดินสายไฟ จากทางหลวงเข้ามาใช้ภายในโครงการได้ แต่ยงั ไม่มีความเป็ นระเบียบ เพราะการเดินสายไฟฟ้ า เป็ นไปตามการขยายตัวของพืนทีไม่ได้มีการวางแผนไว้ก่อนจึงทําให้เกิดปั ญหาตามมาภายหลัง จึง ต้องปรับปรุ งและแก้ไขระบบไฟฟ้ าให้มีประสิ ทธิ ภาพมากยิงขึน 3.6.3 ระบบนํา เนื องจากพืนทีโครงการอยูต่ ิดกับอ่างเก็บนําแก่งกระจาน โครงการจึงนํานํา จากอ่างเก็บนํามาใช้ยงั พืนทีโครงการได้อย่างสะดวก โดยมีการติดตังระบบปั มนําและกรองนํา ก่อนทีจะส่ งนําไปยังส่ วนต่างๆของพืนทีโครงการเพือใช้ประโยชน์ และนําทีเหลือจากการใช้แล้ว จะบําบัดนําให้มีคุณภาพทีดีก่อนจะปล่อยลงสู่ ผวิ ดิน
19
บทที 4 กรณีศึกษา 4.1 อุทยานแห่ งชาติเขาใหญ่ 4.1.1 สถานทีตังโครงการ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ตังอยูใ่ นเขตพืนที 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดสระบุรี จังหวัดนครราชสี มา จังหวัดปราจีนบุรี และ จังหวัดนครนายก มีเนือทีปกคลุม 2,168 ตาราง กิโลเมตร ประกอบด้วย ป่ าเบญจพรรณ ป่ าดงดิบแล้ง ป่ าดงดิบชืน ป่ าดิบเขา ทุ่งหญ้า และป่ ารุ่ น ป่ า ดงดิบชืน 4.1.2 วัตถุประสงค์และความเป็ นมาของโครงการ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เสด็จเปิ ดทางรถไฟสายกรุ งเทพนครราชสี มา และทรงเปลียนชือจากดงพญาไฟ เป็ นดงพญาเย็น เมือมีการสร้างทางรถไฟ ชาวบ้าน ก็ได้เข้ามาจับจองพืนทีกัน โดยเฉพาะบนยอดเขา โดยถางป่ าเพือทําไร่ และในปี 2465 ได้ขอจัดตัง เป็ นตําบลเขาใหญ่ แต่การเข้าถึงพืนทียังยากลําบาก ตําบลเขาใหญ่จึงเป็ นแหล่งของโจรผูร้ ้าย จนกระทังปี 2475 รัฐบาลได้ปราบปรามโจรทังหมดและสังให้คนย้ายลงมาอาศัยอยูข่ า้ งล่างทังหมด ปี 2502 จอมพลสฤษดิB ธนะรัชต์ เห็นว่าบริ เวณเขาใหญ่นี มีธรรมชาติอุดม สมบูรณ์ อีกทังมีความสวยงาม เหมาะใช้เป็ นทีพักผ่อนหย่อนใจ แต่มีปัญหาคือมีการตัดไม้ทาํ ลาย ป่ า จึงได้ให้มีการสํารวจพืนทีบริ เวณตําบลเขาใหญ่เดิมและบริ เวณโดยรอบและได้ตรา พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติขึน ตังเขาใหญ่เป็ นอุทยานแห่งชาติในปี 2505 โดยเป็ นอุทยาน แห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย และได้ตดั ถนนธนะรัชต์แยกออกมาจากถนนมิตรภาพมายังตัว เขาใหญ่ 4.1.3 ลักษณะของโครงการ เป็ นสถานทีพักผ่อนหย่อนใจ และพักแรมค้างคืน ในแบบธรรมชาติ ส่ งเสริ มการ ท่องเทียวทีเป็ นการอนุรักษ์ธรรมชาติ และมีกิจกรรมในการศึกษาระบบนิเวศน์ของป่ าธรรมชาติ
20
4.1.4 องค์ประกอบโครงการ - ศูนย์บริ การนักท่องเทียว - ศูนย์ฝึกอบรม - ศูนย์อาหาร - บ้านพัก-ร้านค้าสวัสดิการ - ลานกางเต็นท์- ร้านขายของทีระลึก - ทีจอดรถ - ห้องนํา - ทีทําการอุทยาน 4.1.5 ข้อดีขอ้ เสี ยของพืนทีโครงการ 4.1.5.1 ข้อดีของโครงการ - เน้นการพักผ่อนหย่อนใจเป็ นหลัก - มีนาตกอยู ํ ใ่ กล้ทีพัก - หอดูสัตว์ใกล้ศูนย์บริ การนักท่องเทียว - มีถนนหลักผ่านกลางพืนทีเชือมไปยังสถานทีต่างๆภายในอุทยาน - ถนนรองส่ วนใหญ่เป็ นทางเท้าผ่านบ้านพักและศูนย์บริ การ นักท่องเทียว 4.1.5.2 ข้อเสี ยของโครงการ - ในพืนทีมีกิจกรรมไม่มาก - มีถนนหลักผ่านกลางพืนทีก่อให้เกิดอันตราย
21
โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี แผนที 7 : แสดงแผนทีอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
NORTH
สัญลักษณ์ : ทีมา : ดัดแปลงจากแหล่งทีมา http://www.99bayresort.com/index.php?lay= show& ac=article&Id=139126&Ntype=5 (25 มิถุนายน 2555).
มาตราส่ วน : NOT TO SCALE
22
โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี แผนที 8 : แสดงแผนผังอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
NORTH
สัญลักษณ์ : ทีมา : ดัดแปลงจากแหล่งทีมา http://www.99bayresort.com/index.php?lay= show &ac=article&Id=139126&Ntype=5 (25 มิถุนายน 2555).
มาตราส่ วน :
23
4.2 อุทยานแห่ งชาติเขาเขาสก 4.2.1 สถานทีตังโครงการ อุทยานแห่งชาติเขาสก อยูใ่ นเขตจังหวัดสุ ราษฏร์ ธานี ตังอยูบ่ ริ เวณ กม 57-58 ตามเส้นทางหลวงสาย 401 ห่างออกไปอีก 51 กม.คือบริ เวณทีทําการอุทยานแห่งชาติเขาสก ซึ ง ตังอยูท่ ี กม. 109 บนถนนเส้นเดียวกัน มีเนือทีทังหมดประมาณ 461,712.5 ไร่ 4.2.2 วัตถุประสงค์และความเป็ นมาของโครงการ อุทยานแห่งชาติเขาสก อาณาเขตครอบคลุมพืนทีบริ เวณเทือกเขาสู ง ในพืนที จังหวัดสุ ราษฎร์ ธานีไปจนถึงอําเภอตะกัวป่ า จังหวัดพังงา ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401 อุทยานแห่งชาติเขาสกแบ่งเป็ น 2 พืนทีใหญ่ๆ คือ เขือนเชียวหลาน หรื อ เขือนรัชชประภา เป็ นดินแดนศูนย์กลางของ “ขุนเขาแห่งป่ าฝน” เป็ นผืนป่ าดิบชืนผืนใหญ่ทีสุ ด มีเนือทีทังหมด 738.74 ตารางกิโลเมตร หรื อประมาณ 461,712.5 ไร่ มีทิวทัศน์ ทีสวยงาม มีความมหัศจรรย์ทาง ธรรมชาติทงนํ ั าตก หน้าผา ถํา และ ทิวทัศน์เทือกเขาหิ นปูนทีตังตระหง่านเหนื อผืนนําอ่างเก็บนํา เขือนรัชชประภา จนได้รับฉายาว่า กุย้ หลินเมืองไทย ด้วยความอุดมสมบูรณ์ของพืนทีจึงมีการ ประกาศให้เป็ นอุทยานแห่งชาติเพืออนุ รักษ์ไว้ในวันที 22 ธันวาคม พ.ศ. 2523 4.2.3 ลักษณะของโครงการ เป็ นสถานที พัก ผ่อ นหย่อ นใจ และท่ องเที ยวอ่ า งเก็ บ นําที มี เ ทื อ กเขาหิ นปู น ที สวยงาม เป็ นสถานพักตากอากาศ และทํากิจกรรมทางธรรมชาติ 4.2.4 องค์ประกอบโครงการ - ศูนย์บริ การนักท่องเทียว - บ้านพัก - ลานกางเต็นท์ - ร้านค้า - ห้องนํา - ห้องประชุม - ทีทําการอุทยาน
24
- ทีจอดรถ - ร้ านอาหาร - เดินศึกษาธรรมชาติ - ขีจักรยาน - หอดูสตั ว์ 4.2.5 ข้อดีขอ้ เสี ยของพืนทีโครงการ 4.2.5.1 ข้อดีของโครงการ - เน้นการพักผ่อน - มีเขือนรัชชประภาอยูไ่ ม่ไกลจากทีทําการอุทยาน มีแพพัก และกิจกรรม ต่างๆภายในเขือน - ถนนหลักมีลกั ษณะเป็ น loop เชือมกันในพืนที - ถนนรองจะเชื อมกับบ้านพักในพืนที 4.2.5.2 ข้อเสี ยของโครงการ - กิจกรรมทีน่าสนใจจะอยูน่ อกพืนทีศูนย์บริ การนักท่องเทียว แต่ไม่ไกล
25
โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี แผนที 9 : แสดงพืนทีอุทยานแห่งชาติเขาสก
NORTH
สัญลักษณ์ : ทีมา : ดัดแปลงจากแหล่งทีมา http://www.99bayresort.com/index.php?lay= show&ac=article&Id=139126&Ntype=5 (25 มิถุนายน 2555).
มาตราส่ วน : NOT TO SCALE
26
โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี แผนที 10 : แสดงแผนผังอุทยานแห่งชาติเขาสก
NORTH
สัญลักษณ์ : ทีมา : ดัดแปลงจากแหล่งทีมา http://www.99bayresort.com/index.php?lay= show&ac=article&Id=139126&Ntype=5 (25 มิถุนายน 2555).
มาตราส่ วน :
27
4.3 Iguacu National Park, Brazil (อุทยานแห่ งชาติอกิ อราซู ) 4.3.1 สถานทีตังโครงการ พืนทีโครงการตังอยูท่ ีเมือง ปาราเน่ ประเทศบราซิ ล เป็ นอุทยานแห่งชาติทีติดกับ ประเทศอาร์ เจนตินา เป็ นนําตกทีมีความสวยงาม มีพนที ื 1,700 ตารางกิโลเมตร 4.3.2 วัตถุประสงค์และความเป็ นมาของโครงการ อุทยานแห่งชาติอิกอราซู เป็ นป่ าทีมีความอุดมสมบูรณ์ มีความชุ่มชืนตลอดทังปี เพราะอยูต่ ิดแม่นาไนล์ ํ มีนาตกที ํ เป็ นสานทีท่องเทียวทีน่าสนใจและสวยงามมาก มีความสู ง 2,700 เมตร อุทยานแห่งชาติอิกอราซู ได้ก่อตังเป็ นอุทยานตังแต่ปี 1936 ปั จจุบนั อุทยานแห่งชาติที นักท่องเทียวนิยมมาเทียวเป็ นจํานวนมาก ภายในอุทยานจะมีบริ เวณศูนย์บริ การนักท่องเทียว มีร้าน ค้าขายของทีระลึก ร้านอาหาร ทีพักสําหรับนักท่องเทียวไว้บริ การ และยังมีรถไฟรับส่ งจาก ศูนย์บริ การนักท่องเทียว ไปยังสถานทีสําคัญๆ และมีเส้นทางรองรับคนพิการ 4.3.3 ลักษณะของโครงการ เป็ นอุทยานแห่งชาติทีมีนาตกที ํ สวยงาม มีความสู ง 2,700 เมตร อยูต่ ิดกันระหว่าง ประเทศ บราซิ ลกับประเทศอาร์ เจนตินา เป็ นสถานทีท่องเทียวทีน่าสนใจมีนกั ท่องเทียวตลอดทังปี ยังเป็ นสถานทีพักผ่อนหย่อนใจและผจญภัยสําหรับคนรักธรรมชาติ 4.3.4 องค์ประกอบโครงการ - โรงแรม - บ้ านพัก - ศูนย์บริ การนักท่องเทียว - ร้ านค้ า - ร้ านอาหาร - สถานีรถไฟ - เส้ นทางศึกษาธรรมชาติ - จุดชมวิว - เรื อข้ ามฟาก
28
4.3.5 ข้อดีขอ้ เสี ยของพืนทีโครงการ 4.3.5.1 ข้อดีของโครงการ -ทางเดินทีเน้นทางเดินเท้าและรองรับทางคนพิการ -รถเข้าถึงได้แค่ศูนย์บริ การนักท่องเทียว ต้องใช้รถไฟหรื อเดินเท้าในการ เข้าไปยังนําตก -ถนนภายในจะเป็ นทางเดินเท้าทังหมด และรองรับทาง คนพิการ มี ระบบทางเดินเท้าเป็ นแบบวนรอบ ( loop) 4.3.5.2 ข้อเสี ยของโครงการ -
29
โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี แผนที 11 : แสดงแผนผัง Iguacu National Park, Brazil
NORTH
สัญลักษณ์ : ทีมา : ดัดแปลงจากแหล่งทีมา http://www.99bayresort.com/index.php?lay= show&ac=article&Id=139126&Ntype=5 (25 มิถุนายน 2555).
มาตราส่ วน : NOT TO SCALE
30
4.4 Cuyahoga Valley National Park 4.4.1 สถานทีตังโครงการ พืนทีโครงการตังอยูท่ างทิศตะวันออกเชียงเหนื อของ รัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริ กา มี ขนาดพืนทีประมาณ 82.31 ตารางกิโลเมตร 4.4.2 วัตถุประสงค์และความเป็ นมาของโครงการ อุทยานแห่งชาติครายโฮเกได้มีการจัดตังขึนในปี 2000 แต่ก่อนทีจะมีการจัดตัง เป็ นอุทยานแห่งชาติ ครายโฮเกเป็ นพืนทีพักผ่อนหย่อนใจตังอยูท่ ีรัฐโอไฮโอ เป็ นพืนทีพักผ่อน หย่อนใจแห่งชาติตงแต่ ั ปี 1974 เป็ นต้นมา อุทยานแห่งชาตินีมีแม่นาสํ ํ าคัญไหลผ่าน คือแม่นาคราย ํ โฮเก มีความอุดมสมบูรณ์ของต้นไม้ ร่ มรื น ทําให้ผคู ้ นมาใช้บริ การเป็ นจํานวนมาก อุทยาน แห่งชาติครายโฮเก มีสิงอํานวยความสะดวกมากมาย มีสถานีรถไฟในอุทยานทีเชื อมต่อไปยังตัว เมืองได้ มีลานปิ กนิก พืนทีตกปลา เล่นเจ็ตสกี ในฤดูหนาว เส้นทางขีม้า และศูนย์บริ การ นักท่องเทียวให้ขอ้ มูลในอุทยานหลายจุดด้วยกัน 4.4.3 ลักษณะของโครงการ เป็ นสถานที พัก ผ่อนหย่อนใจกลางเมื อง เป็ นพืนที ธรรมชาติ ข นาดใหญ่ ทีมี สิ ง อํานวยความสะดวกครบครัน และมีกิจกรรมทีหลากหลายรองรับการใช้งานจากทุกช่วงอายุ 4.4.4 องค์ประกอบโครงการ - โรงแรม - รี สอร์ ท - ร้านอาหาร - ร้านค้า- ลานปิ กนิก - ศูนย์บริ การนักท่องเทียว - สถานีตาํ รวจ - สถานีรถไฟ
31
4.4.5 ข้อดีขอ้ เสี ยของพืนทีโครงการ 4.4.5.1 ข้อดีของโครงการ -มีรางรถไฟ และคลองไหลผ่านกลางอุทยาน -เน้นการสัญจรโดยการเดินเท้าและปันจักรยาน -พืนทีทํากิจกรรมกระจายไปทัวอุทยาน -เน้นการใช้รถไฟในการสัญจรไปยังจุดต่างๆ รถยนต์จะจอดบริ เวณรอบ อุทยาน และเน้นทางเดินเท้าหรื อจักรยานภายในอุทยาน 4.4.5.2 ข้อเสี ยของโครงการ -
32
โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี แผนที 12 : แสดงแผนที Cuyahoga Valley National Park
NORTH
สัญลักษณ์ : ทีมา : ดัดแปลงจากแหล่งทีมา http://www.99bayresort.com/index.php?lay= show&ac=article&Id=139126&Ntype=5 (25 มิถุนายน 2555).
มาตราส่ วน : NOT TO SCALE
33
บทที 5 ข้ อมูลและการวิเคราะห์ ข้อมูลโครงการ 5.1 การวิเคราะห์ ข้อมูลทัวไปของจังหวัดเพชรบุรี 5.1.1 ความเป็ นมาทางประวัติศาสตร์ เพชรบุรี (ศรี ชยั วัชรบุรี) เป็ นเมืองเก่าแก่โบราณ เพชรบุรีมีปรากฏเป็ นหลักฐาน มาตั+งแต่สมัยพระเจ้าชัยวรมันที. 7 เช่น พระปรางค์ 5 ยอด ณ วัดมหาธาตุวรวิหาร และปราสาทหิ น ศิลาแลง ณ วัดกําแพงแลงเป็ นต้น โดยที.มาของชื. อเมืองนั+นอาจเรี ยกตามตํานานที.เล่าสื บกันมาว่าใน สมัยโบราณเคย มีแสงระยิบระยับในเวลาคํ.าคืนที.เขาแด่น ทําให้ชาวบ้านเข้าใจว่ามีเพชรพลอยบน เขานั+นจึงพากันไปค้นหาแต่ก็ไม่พบ เมืองเพชรบุรีมีศิลปวัตถุมากมาย เป็ นหลักฐานที.แสดงว่า เพชรบุรีเคยเป็ นบ้านเมืองที.มีผคู ้ นอาศัยอยูเ่ ป็ น ชุมชนถาวรมาตั+งแต่สมัยทวารวดี พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรง โปรดปรานเมืองเพชรบุรีต+ งั แต่ครั+งยัง ทรงผนวชอยูเ่ มื.อขึ+นครองราชย์แล้ว โปรดให้สร้างพระราชวัง วัด และพระเจดียใ์ หญ่ข+ ึนบนเขาเตี+ย ๆ ใกล้กบั ตัวเมืองและพระราชทานนามว่า “พระนครคีรี” ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังอีกแห่งหนึ.งในตัวเมืองเพชรบุรี คือ “พระรามราชนิเวศน์” หรื อที.เรี ยกกันภาษาชาวบ้านว่า “วังบ้านปื น” และด้วยความเชื.อที.วา่ อากาศ ชายทะเลและนํ+าทะเลอาจบรรเทาอาการเจ็บป่ วยได้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั จึง โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวัง “พระราชนิ เวศน์มฤคทายวัน” ขึ+นที.ชายหาดชะอําเพื.อใช้เป็ นที. ประทับรักษาพระองค์อีกด้วย [ระบบออนไลน์]. แหล่งที.มา http://th.wikipedia.org/wiki/จังหวัด เพชรบุรี (10 กรกฎาคม 2555). 5.1.2 ที.ต+ งั และอาณาเขตติดต่อ จังหวัดเพชรบุรีอยูห่ ่างจากกรุ งเทพมหานคร ตามเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 ระยะทางประมาณ 123 กิโลเมตร มีพ+ืนที.ท+ งั หมด 6,225.138 ตารางกิโลเมตรหรื อ 3,890,711.20 ไร่ โดยมีส่วนที.กว้างที.สุดวัดได้ 103 กิโลเมตรจากทิศตะวันออก-ตะวันตกและส่ วนที.ยาวที.สุดวัด ได้ 80 กิโลเมตรจากทิศเหนือ-ใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดและประเทศใกล้เคียงดังนี+
34
ด้านเหนือ
ติดกับ อําเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี และอําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ด้านตะวันออก ติดกับ ชายฝั.งอ่าวไทย ด้านใต้ ติดกับ อําเภอหัวหิ น จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ด้านตะวันตก ติดกับ เขตตะนาวศรี ของประเทศพม่า 5.1.3 ลักษณะภูมิประเทศ 5.1.3.1 เขตภูเขาและที.ราบสู ง อยูท่ างด้านตะวันตกของจังหวัดติดกับพม่าใน บริ เวณอําเภอแก่งกระจานและอําเภอหนองหญ้าปล้อง มีภูเขาสู งและเป็ นบริ เวณที.สูงชันของ จังหวัด มีลกั ษณะเป็ นเทือกเขาทอดยาวจากเหนือมาใต้ พื+นที.ถดั จากบริ เวณนี+จะค่อย ๆ ลาดตํ.าลงมา ทางด้านตะวันออก บริ เวณนี+เป็ นต้นกําเนิดแม่น+ าํ เพชรบุรีและแม่น+ าํ ปราณบุรี 5.1.3.2 เขตที.ราบลุ่มแม่น+ าํ บริ เวณตอนกลางของจังหวัดซึ. งอุดมสมบูรณ์ที.สุด มี แม่น+ าํ เพชรบุรีซ. ึ งเป็ นแม่น+ าํ สายสําคัญไหลผ่าน และมีเขื.อนแก่งกระจานและเขื.อนเพชรบุรีซ. ึ งเป็ น แหล่งนํ+าระบบชลประทาน บริ เวณนี+เป็ นเขตเกษตรกรรมที.สาํ คัญของจังหวัด เขตนี+คือบริ เวณ บางส่ วนของอําเภอเมืองเพชรบุรี อําเภอท่ายาง อําเภอชะอํา อําเภอบ้านลาด อําเภอบ้านแหลม และ อําเภอเขาย้อย 5.1.3.3 เขตที.ราบฝั.งทะเล อยูท่ างด้านตะวันออกของจังหวัด ติดกับชายฝั.งทะเล ด้านอ่าวไทย บริ เวณนี+นบั เป็ นแหล่งเศรษฐกิจที.สาํ คัญยิง. ของจังหวัดในด้านการประมง การ ท่องเที.ยว เขตนี+ได้แก่ บางส่ วนของอําเภอเมืองเพชรบุรี อําเภอบ้านแหลม อําเภอท่ายาง และอําเภอ ชะอํา ลักษณะพื+นที.ชายฝั.งเพชรบุรี เหนื อแหลมหลวงไปทางทิศเหนื อเป็ นพื+นที.ชายฝั.งหาดโคลน มี ระบบนิเวศป่ าชายเลน ด้านทิศใต้ของแหลมหลวงลงไปด้านทิศใต้เป็ นหาดทราย มีระบบนิเวศเป็ น หาดทราย แหลมหลวงซึ. งอยูใ่ นพื+นที.ตาํ บลแหลมผักเบี+ยจึงเป็ นแหลมที.แบ่งระบบนิเวศป่ าชายเลน ออกจากระบบนิเวศหาดทราย เหนือแหลมหลวงขึ+นไปด้านทิศเหนื อมีลกั ษณะเป็ นหาดโคลน เพราะอยูใ่ กล้พ+ืนที.ชุมนํ+าของแม่น+ าํ สายใหญ่ ได้แก่ แม่น+ าํ เพชรบุรี แม่น+ าํ บางตะบูน แม่น+ าํ แม่กลอง แม่น+ าํ ท่าจีน และแม่น+ าํ บางปะกง เมื.อฤดูน+ าํ หลากนํ+าจากแม่น+ าํ ได้พดั พาตะกอนลงสู่ ทะเลเป็ น จํานวนมาก จึงส่ งผลให้พ+ืนที.ของชายฝั.งแถบนี+มีตะกอนในนํ+าสู ง ส่ งผลให้ชายฝั.งมีโคลนจํานวน มาก ซึ. งเหมาะแก่ระบบนิเวศป่ าชายเลน เป็ นแหล่งอนุบาลสัตว์ทะเล
35
5.1.4 ลักษณะภูมิอากาศ จังหวัดเพชรบุรีอยูต่ ิดอ่าวไทยจึงได้รับอิทธิ พลของลมมรสุ มตะวันออกเฉี ยง ใต้ ในฤดูฝน ซึ. งมีผลทําให้ฝนตกชุก และอิทธิ พลจากลมมรสุ มตะวันออกเฉี ยงเหนือในช่วงฤดูหนาว จึงทําให้มีอากาศหนาวเย็นในช่วงเวลาดังกล่าว ฤดูร้อน เริ. มตั+งแต่เดือนมีนาคม-เมษายน อุณหภูมิ เฉลี.ยสู งสุ ด 32.13 องศาเซลเซี ยส ฤดูฝน เริ. มตั+งแต่เดือนพฤษภาคม-พฤศจิกายน ปริ มาณนํ+าฝนเฉลี.ย ปี ละ 959.5 มิลลิเมตร และฤดูหนาว เริ. มตั+งแต่เดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์ อุณหภูมิเฉลี.ยตํ.าสุ ด 24.16 องศาเซลเซี ยส 5.1.5 ทรัพยากรธรรมชาติ 5.1.5.1 ทรัพยากรดิน 1) ดินเหนียวและดินเหนียวปนทราย พบในบริ เวณที.ราบตอนกลางของ จังหวัด 2) ดินเหนียวถึงดินร่ วนปนกรวดและเศษหิ น พบในบริ เวณที.ราบสู ง ทางด้านตะวันตก 3) ดินร่ วนเหนียว พบในบริ เวณพื+นที.ราบชายฝั.งทะเลตะวันออก 5.1.5.2 ทรัพยากรนํ+า 1) แม่น+ าํ เพชรบุรี ต้นนํ+าจากเทือกเขาสู งชันทางด้านตะวันตกของจังหวัด ไหลผ่านอําเภอแก่งกระจาน อําเภอท่ายาง อําเภอบ้านลาด อําเภอเมืองฯ แล้วลงสู่ อ่าวไทยที.อาํ เภอ บ้านแหลม มีความยาว 210 กิโลเมตร เป็ นแม่น+ าํ ที.มีความสําคัญของจังหวัดเพชรบุรีต+ งั แต่ในอดีต จนถึงปั จจุบนั 2) แม่น+ าํ บางกลอย ต้นนํ+าจากเทือกเขาในเขตอําเภอหนองหญ้าปล้อง ไหลมาบรรจบแม่น+ าํ เพชรบุรีบริ เวณอําเภอท่ายาง มีความยาว 45 กิโลเมตร 3) ห้วยแม่ประโคน ต้นนํ+าเกิดจากเทือกเขาบริ เวณเขตติดต่อระหว่าง อําเภอหนองหญ้าปล้องกับอําเภอปากท่อจังหวัดราชบุรี และมีสาขาสําคัญ ได้แก่ ห้วยมะเร็ ว ห้วย เสื อกัดช้าง ห้วยสมุลแว้งและไหลมาบรรจบแม่น+ าํ เพชรบุรีในบริ เวณเขตอําเภอท่ายาง มีความยาว 56 กิโลเมตร 4) ห้วยผาก ต้นนํ+าจากภูเขาอ่างแก้วและภูเขานํ+าหยดในบริ เวณเขตอําเภอ
36
แก่งกระจาน ไหลมารวมกับแม่น+ าํ เพชรบุรีที.บริ เวณใต้เขื.อนแก่งกระจานในเขตอําเภอแก่งกระจาน มีความยาว 30 กิโลเมตร 5) ห้วยแม่ประจันต์ ต้นนํ+าจากเทือกเขาในเขตจังหวัดราชบุรี ไหลผ่าน อําเภอหนองหญ้าปล้องและไหลมาบรรจบแม่น+ าํ เพชรบุรีบริ เวณเขื.อนเพชรบุรีในเขตอําเภอท่ายาง 6) แม่น+ าํ บางตะบูน เป็ นสาขาของแม่น+ าํ เพชรบุรีซ. ึ งไหลย้อนขึ+นไปทาง เหนื อผ่านอําเภอเขาย้อย อําเภอบ้านแหลม ออกสู่ อ่าวไทยที.ปากอ่าวบางตะบูน อําเภอบ้านแหลม มี ความยาวประมาณ 13 กิโลเมตร 5.1.5.3 ทรัพยากรป่ าไม้ จังหวัดเพชรบุรีมีพ+ืนที.ป่าไม้ ตาม พ.ร.บ.ป่ าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.2507 จํานวน 2,374,275.75 ไร่ จาํ แนกประเภทป่ าไม้ ดังนี+ ตารางที 1 แสดงประเภทของป่ าไม้ในจังหวัดเพชรบุรี ลําดับที. 1 2 3 4 5 6 7
ประเภทป่ าไม้ เนื+อที. (ไร่ ) ป่ าสงวนแห่งชาติ 659,412.75 อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 1,670,797.00 ป่ าไม้ถาวร 36,816.00 เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขากระปุก4,850.00 เขาเตาหม้อ เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ชะอํา 622.00 วนอุทยานชะอํา วนอุทยานเขานางพันธุ รัต รวมเนื+อที.ท+ งั หมด
การสงวนหวงห้าม/จัดตั+ง กฎกระทรวง พระราชกฤษฎีกา มติคณะรัฐมนตรี ประกาศกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ประกาศกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ. งแวดล้อม 416.00 ประกาศกรมป่ าไม้ 1,562.00 ประกาศกรมป่ าไม้ 2,374,275.75
ที.มา : สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ. งแวดล้อมจังหวัดเพชรบุรี ,พ.ศ. 2554
37
5.1.6 การปกครอง จังหวัดเพชรบุรี มีรูปแบบการปกครองและการบริ หารราชการแผ่นดิน 3 รู ปแบบ คือ 5.1.6.1. การบริ หารราชการส่ วนกลาง ประกอบด้วยหน่วยงานสังกัดส่ วนกลางซึ. ง มาตั+งหน่วยปฏิบตั ิงานในพื+นที. จํานวน 84 ส่ วนราชการ 5.1.6.2. การบริ หารราชการส่ วนภูมิภาค จัดรู ปแบบการปกครองและการบริ หาร ราชการเป็ น 2 ระดับ คือ ระดับจังหวัด ประกอบด้วยส่ วนราชการประจําจังหวัด จํานวน 32 ส่ วน ราชการ ระดับอําเภอ ประกอบด้วย 8 อําเภอ (93 ตําบล 698 หมู่บา้ น )ได้แก่ อําเภอเมืองเพชรบุรี อําเภอชะอํา อําเภอท่ายาง อําเภอเขาย้อย อําเภอบ้านแหลม อําเภอบ้านลาด อําเภอหนองหญ้าปล้อง และอําเภอแก่งกระจาน 5.1.6.3. การบริ หารราชการส่ วนท้องถิ.น ประกอบด้วย องค์การบริ หารส่ วน จังหวัดเพชรบุรี เทศบาล 13 แห่ง (เทศบาลเมือง 2 แห่ง และเทศบาลตําบล 11 แห่ง) องค์การบริ หาร ส่ วนตําบล 71 แห่ง 5.2 การวิเคราะห์ ลกั ษณะทางกายภาพของพืน+ ทีโครงการ 5.2.1 ความเป็ นมาของพื+นที.โครงการ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ได้มีการจัดตั+งเมื.อวันที. 12 มิถุนายน 2524 เพื.อเป็ น แหล่งพักผ่อนหย่อนใจและศึกษาหาความรู ้ดา้ นระบบนิเวศ อุทยานมีอาณาเขตครอบคลุมพื+นที. อําเภอหนองหญ้าปล้อง อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี และอําเภอหัวหิ น จังหวัด ประจวบคีรีขนั ธ์ มีสภาพป่ าที.สมบูรณ์ เป็ นป่ าต้นนํ+าของแม่น+ าํ เพชรบุรีและแม่น+ าํ ปราณบุรี มี ลักษณะเด่นทางธรรมชาติที.สาํ คัญ ซึ. งเป็ นสถานที.ที.ประชาชนให้ความสนใจมาศึกษาเรี ยนรู ้และ ท่องเที.ยว ในแต่ละปี จึงมีนกั ท่องเที.ยวและผูม้ าใช้บริ การเป็ นจํานวนมาก จึงเกิดปั ญหาการใช้พ+ืนที. ไม่เหมาะสม และพื+นที.ไม่เพียงพอต่อการรองรับผูม้ าใช้บริ การ อีกทั+งที.ทาํ การอุทยานแห่งชาติแก่ง กระจานมีนโยบายที.จะจัดทําผังแม่บทการใช้ประโยชน์ของพื+นที.ให้เป็ นสัดส่ วน มีความเป็ น ระเบียบ และปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมที.ทรุ ดโทรมให้ดีข+ ึนเพียงพอต่อการรองรับนักท่องเที.ยว
38
และผูม้ าใช้บริ การ จึงเห็นสมควรที.จะดําเนินการจัดทําโครงการออกแบบปรับปรุ งตามแผนพัฒนา ที.ทางอุทยานได้วางไว้ 5.2.2 ขอบเขตพื+นที.โครงการ พื+นที.โครงการตั+งอยูใ่ นเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ตําบลแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี และห่างจากตัวจังหวัดเพชรบุรี ไปทางทิศตะวันตกเฉี ยงใต้ ประมาณ 61 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3499 และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3432 มีเนื+อที.ประมาณ 343 ไร่ ทิศเหนื อ ติดกับ ชุมชนสองพี.นอ้ ง ทิศใต้ ติดกับ ป่ าอนุรักษ์อุทยานแห่ งชาติแก่งกระจาน ทิศตะวันออก ติดกับ ป่ าอนุรักษ์อุทยานแห่ งชาติแก่งกระจาน ทิศตะวันตก ติดกับ อ่างเก็บนํ+าแก่งกระจาน 5.2.3 ขนบธรรมเนียมประเพณี ทอ้ งถิ.น ประชากรส่ วนใหญ่โยกย้ายมากจากอําเภออื.นๆ นอกจากนี+ ยงั มีชนพื+นเมืองเดิม เป็ นชาวเขาเผ่ากระเหรี. ยงและกระหร่ าง ที.เรี ยกตนเองว่า “ปะกากะยอ” ที.มีขนบธรรมเนียมเป็ นของ ตนเอง เช่น ประเพณี ปาดตง เป็ นการไหว้ผที ุกๆ 10 วัน ประเพณี ปาดตงเข้าใหม่ เป็ นการไหว้ปีละครั+งตอนที.ได้ขา้ วจากนา ประเพณี เสนเรื อน เป็ นพิธีไหว้วญ ิ ญาณบรรพบุรุษ เป็ นงานรวมญาติพี.นอ้ ง ประเพณี การลงข่วง เป็ นการหาคู่ เปิ ดโอกาสให้หนุ่มสาวได้เรี ยนรู ้นิสัยใจคอซึ. ง กันและกัน โดยฝ่ ายหญิงทํางานฝี มืออยูก่ บั บ้าน ส่ วนฝ่ ายชายจะมาเยีย. มและพูดคุย ประเพณี การเล่นคอน หรื ออิ_นก๊อน จัดขึ+นหลังการเก็บเกี.ยว ให้มีการฟ้ อนรําและ โยนลูกช่วงระหว่างชายหญิง ซึ. งเป็ นการนําไปสู่ การแต่งงานตามประเพณี 5.2.4 ทัศนียภาพและมุมมอง พื+นที.โครงการอยูต่ ิดอ่างเก็บนํ+าแก่งกระจาน สามารถมองเห็นอ่างเก็บนํ+า เป็ น มุมมองกว้าง มีเกาะกลางนํ+าที.สามารถมองเห็นทัศนียภาพ และอ่างเก็บนํ+าที.มีธรรมชาติที.สวยงาม ได้อย่างชัดเจน ( ดูภาพที. 3-12)
39
5.2.5 ลักษณะภูมิประเทศ พื+นที.โครงการเป็ นแนวเทือกเขาทางด้านทิศตะวันออก และลาดเอียงไปทางทิศ ตะวันตก จะเป็ นอ่างเก็บนํ+าแก่งกระจาน ในพื+นที.โครงการมีที.ราบประมาณร้อยละ 50 เปอร์ เซ็นต์ ของพื+นที.ท+ งั หมด และเป็ นพื+นที.ที.มีความลาดชันเกิน 25 เปอร์ เซ็นต์ อยูร่ ้อยละ 10 เปอร์ เซ็นต์ ( ดูแผนที. 13 ) 5.2.6 ลักษณะภูมิอากาศ พื+นที.โครงการมีอุณหภูมิเฉลี.ยทั+งปี ในฤดูร้อน มีค่า 32.9 องศา และในฤดู หนาวมีค่า 24 องศา โดยเดือนที.มีอุณหภูมิสูงสุ ดอยูท่ ี.เดือนพฤษภาคม และเดือนที.มีอุณหภูมิ ตํ.าสุ ด อยูใ่ นเดือนมกราคม ด้านปริ มาณนํ+าฝนเฉลี.ยประมาณ 998.9 มิลลิเมตรต่อปี และมี ความชื+นสัมพัทธ์เฉลี.ย 76 เปอร์ เซ็นต์ ทําให้พ+ืนที.มีน+ าํ ใช้ตลอดทั+งปี และเพิ.มความชุ่มชื+นให้กบั พื+นที.โครงการ
ภาพที 1 แสดงแผนภูมิอุณหภูมิ
ภาพที 2 แสดงแผนภูมิความชื+นสัมพัทธ์ 5.2.7 แหล่งนํ+าและการระบายนํ+า พื+นที.โครงการเป็ นพื+นที.ของอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ซึ. งอยูต่ ิดกับอ่างเก็บนํ+า แก่งกระจาน เป็ นแหล่งนํ+าสําคัญของจังหวัด เพราะเป็ นป่ าต้นนํ+าของจังหวัดเพชรบุรี ให้ ประชาชนได้ใช้อุปโภค บริ โภค พื+นที.โครงการได้นาํ นํ+าในอ่างเก็บนํ+ามาใช้ภายในโครงการด้วย
40
เช่นกัน การระบายนํ+า เนื. องจากด้านทิศตะวันออกจะเป็ นแนวสันเขา นํ+าจึงไหลจากแนวสันเขามา ทางทิศตะวันตกซึ. งเป็ นอ่างเก็บนํ+าแก่งกระจาน ( ดูแผนที. 14 ) 5.2.8 ลักษณะดิน พื+นที.โครงการเป็ นกลุ่มชุดดินที. 33 ดินชุดปราณบุรี (Pr) ทั+งพื+นที.โครงการมีค่า pH 6.5 – 7.5 การระบายนํ+าดี นํ+าสามารถซึ มผ่านผิวดินลงไปใต้ดินได้ปานกลาง การไหลของนํ+า ผิวดินปานกลาง ลักษณะของดินเป็ นดินปนทราย เมื.อขุดลึกลงไป 90 เซนติเมตร จะเป็ นดินร่ วน ปนดินเหนียว และเนื+อดินมีความอุดมสมบูรณ์ ( ดูแผนที. 15 ) 5.2.9 ระบบการสัญจร พื+นที.โครงการตั+งอยูใ่ นเขตองค์การบริ หารส่ วนตําบล แก่งกระจาน และเป็ นพื+นที. ของอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน การสัญจรจึงมีความสะดวกสบาย เข้าถึงพื+นที.โครงการได้ โดยง่าย มีถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3432 ตัดผ่านพื+นที.โครงการ เป็ นถนนลาดยางมะตอย และทางหลักในพื+นที.โครงการก็จะเป็นถนนลาดยางมะตอย มีความกว้าง 3 เมตร ( ดูแผนที. 16 ) 5.2.10 ลักษณะพืชพรรณ พื+นที.โครงการส่ วนใหญ่จะเป็นป่ าดิบแล้งสมบูรณ์ มีพืชพรรณขึ+นอยูห่ นาแน่นตามแนว เขา ได้แก่ ตาเสื อ เสลา ตะเคียน โพหิ น มะเดื.อภูเขา มะค่าโมง เป็ นไม้ยนื ต้นให้ร่มเงา และ พื+นที.ที.เป็ นส่ วนบริ การ มีการปลูกเพิ.มเติมเป็ นไม้ยนื ต้นให้ร่มเงาและดูแลรักษาง่าย เช่น ประดู่ ราชพฤกษ์ นนทรี สัตตบรรณ ไทรย้อยใบเล็ก เป็ นต้น ( ดูแผนที. 17 ) 5.2.11 ลักษณะอาคารและสิ. งปลูกสร้าง พื+นที.โครงการมีส.ิ งปลูกสร้าง กระจายตั+งอยูใ่ น zone ต่าง ๆ ของพื+นที. โดย แบ่งเป็ นส่ วนบริ การนักท่องเที.ยว ที.มีศูนย์บริ การนักท่องเที.ยวและห้องนํ+า ส่ วนบริ หารจัดการจะมี สํานักงาน อาคารบํารุ งรักษา และส่ วนบ้านพักนักท่องเที.ยว โดยอาคารทั+งหมดจะมีลกั ษณะที. แตกต่างกันในแต่ละปี ที.มีการก่อสร้าง ( ดูแผนที. 18 )
41
5.2.12 ระบบสาธารณูปโภค 5.2.12.1 ระบบไฟฟ้ า พื+นที.โครงการใช้ไฟฟ้ าของการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาคเข้ามาใช้ ในพื+นที.โครงการ โดยเดินสายไฟจากสายหลักของการไฟฟ้ า 5.2.12.2 ระบบประปา พื+นที.โครงการได้นาํ นํ+าจากอ่างเก็บนํ+าแก่งกระจานมาใช้ ในการอุปโภคในพื+นที. และติดตั+งเครื. องทําการประปาโดยการประปาส่ วนภูมิภาค ( ดูแผนที. 19 ) 5.2.13 การใช้ประโยชน์ที.ดิน พื+นที.โครงการมีการใช้ประโยชน์ที.ดินอยู่ 7 ประเภท ดังนี+ 5.2.13.1 พื+นที.ส่วนบริ การที.ให้บริ การแก่นกั ท่องเที.ยว และทํากิจกรรมต่างๆ 5.2.13.2 ส่ วนที.ทาํ การอุทยาน เป็ นพื+นที.ให้ทาํ งานของเจ้าหน้าที.อุทยาน และ ติดต่อข้อมูลทางด้านงานราชการ 5.2.13.3 ส่ วนบ้านพักนักท่องเที.ยว บริ การให้นกั ท่องเที.ยวพักค้างแรมก่อนจะเข้า ไปสถานที.ท่องเที.ยวอื.นๆ ภายในเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 5.2.13.4 ส่ วนบ้านพักเจ้าหน้าที. เพื.อความสะดวกในการเดินทางจึงมีบา้ นพัก รองรับเจ้าหน้าอยูใ่ นพื+นที.โครงการ 5.2.13.5 ส่ วนพื+นที.ป่าดิบแล้ง เป็ นพื+นที.สาํ หรับการศึกษาระบบนิเวศน์ธรรมชาติ และพัฒนาต่อในอนาคต 5.2.13.6 ส่ วนบ่อนํ+า ใช้เก็บนํ+าสําหรับรดนํ+าต้นไม้ในพื+นที.โครงการ 5.2.13.7 ส่ วนพื+นที.พิพาท เป็ นพื+นที.อยูร่ ะหว่างการดําเนินคดี และให้เป็ นพื+นที. สําหรับพัฒนาต่อในอนาคต ( ดูแผนที. 20 )
42
ภาพที 3 แสดงบริ เวณโรงเก็บของ ที.มา : จากการสํารวจของผูศ้ ึกษา, 2555 เป็ นมุมมองที.ไม่ดี มีเศษวัสดุเหลือใช้กองอยูไ่ ม่เป็ นระเบียบ ผูใ้ ช้สอยโครงการสามารถ มองเห็นได้ง่าย ควรปิ ดหรื อจัดให้มีความเป็ นระเบียบเพื.อให้เป็ นมุมมองที.สวยงาม
ภาพที 4 แสดงบริ เวณบ้านพักเจ้าหน้าที. ที.มา : จากการสํารวจของผูศ้ ึกษา, 2555 เป็ นมุมมองที.ไม่ดี มีของวางไม่เป็ นระเบียบในพื+นที. ส่ วนใหญ่เป็ นของเหลือใช้และเศษ ขยะก่อให้เกิดความสกปรก และเป็ นมุมมองที.ไม่ดี ควรที.จะปรับสภาพพื+นที.ให้มีมุมมองที.ดีข+ ึน หน้าอยูอ่ าศัย
ภาพที 5 แสดงบริ เวณบ้านพักรับรองบนเขา ที.มา : จากการสํารวจของผูศ้ ึกษา, 2555 เป็ นมุมมองที.ดี เป็ นจุดนําสายตา ด้านข้างมีพืชพรรณขึ+นเป็ นจํานวนมาก เป็ นมุมมองที.ดี ให้ความรู ้สึกใกล้ชิดธรรมชาติ
43
ภาพที 6 แสดงบริ เวณทางเข้า – ออกบ้านพักรับรอง ที.มา : จากการสํารวจของผูศ้ ึกษา, 2555 เป็ นมุมมองที.ดี เป็ นช่องยาวนําสายตาไปยังบ้านพัก และยังมีมุมมองด้านข้างที.มีตน้ ไม้เป็ น ตัวกรองสายตาให้ความรู ้สึกใกล้ชิดธรรมชาติ เป็ นมุมมองที.ดี
ภาพที 7 แสดงมุมมองจากบ้านพักรับรอง ที.มา : จากการสํารวจของผูศ้ ึกษา, 2555 เป็ นมุมมองที.ไม่ดี อาคารบดบังวิวทิวทัศน์อ่างเก็บนํ+าที.สวยงาม ควรปรับปรุ งให้เกิด ทัศนียภาพที.ดีให้เป็ นมุมมองเปิ ดกว้าง มองเห็นอ่างเก็บนํ+าและเกาะต่างๆ และตัดสางต้นไม้ให้เกิด เป็ นมุมมองที.สวยงาม
ภาพที 8 แสดงบริ เวณศูนย์บริ การนักท่องเที.ยว ที.มา : จากการสํารวจของผูศ้ ึกษา, 2555 เป็ นมุมมองที.ดี มีววิ ทิวทัศน์ที.สวยงาม เป็ นจุดต้อนรับนักท่องเที.ยว วิวมีตน้ ไม้เป็ นตัว กรองมุมมอง มีถนนเป็ นทางนําสายตาทั+งสองด้าน มีความร่ มรื. นของต้นไม้
44
ภาพที 9 แสดงบริ เวณลานกางเต็นท์ 1 ที.มา : จากการสํารวจของผูศ้ ึกษา, 2555 เป็ นมุมมองที.ดี มุมมองเปิ ดโล่งมีภูเขาเป็ นฉากหลัง สภาพบรรยากาศทําให้รู้สึกสบายตา มี ต้นไม้ใหญ่เป็ นจุดเด่นของบริ เวณนี+
ภาพที 10 แสดงบริ เวณลานกางเต็นท์ 2 ที.มา : จากการสํารวจของผูศ้ ึกษา, 2555 เป็ นมุมมองที.ดร มุมมองเปิ ดกว้าง มีทศั นียภาพที.สวยงาม มองเห็นภูเขาเป็ นฉากหลัง อยู่ ติดริ มอ่างเก็บนํ+า พื+นที.โล่งทําให้เห็นบรรยากาศโดยรอบ
ภาพที 11 แสดงบริ เวณสะพานแขวนและเกาะกลางนํ+า ที.มา : จากการสํารวจของผูศ้ ึกษา, 2555 เป็ นมุมมองที.ดี มุมมองเปิ ดโล่งมองเห็น วิวทิวทัศน์ในแนวกว้าง เห็นเกาะต่างๆ และมี ภูเขาเป็ นฉากหลัง เป็ นมุมมองที.สวยงาม
45
ภาพที 12 แสดงบริ เวณบ้านพักริ มนํ+า ที.มา : จากการสํารวจของผูศ้ ึกษา, 2555 เป็ นมุมมองที.ดี สองข้างทางมีตน้ ไม้เป็ นจํานวนมาก ให้ความรู ้สึกเป็ นส่ วนตัว และเงียบ สงบ อยูต่ ิดริ มนํ+าให้ความชุ่มชื.นกับพื+นที.
46
โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณที.ทาํ การอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี แผนที 13 : แสดงลักษณะภูมิประเทศในพื+นที.โครงการ สัญลักษณ์ :
ความลาดชัน มากกว่า 25 % ความลาดชัน 15 - 25 % ความลาดชัน 10 - 15 %
NORTH
ความลาดชัน 5 - 10 % ความลาดชัน 0 - 5 %
ที.มา : ดัดแปลงจากแหล่งที.มา http://www.99bayresort.com/index.php?lay=show& ac=article&Id=139126&Ntype=5 (25 พฤศจิกายน 2554).
มาตราส่ วน : NOT TO SCALE
โครงการออกแบบและ แผนที 14 : แสดงการระบายนํ+าในพื+นที.โครงการ สัญลักษณ์ : ที.มา : ดัดแปลงจากแหล่งที.ม http://www.99bayresort.com/index.php?lay=show& ac=article&Id=139126&Ntype=5 (25
48
โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณที.ทาํ การอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี แผนที 15 : แสดงลักษณะดินในพื+นที.โครงการ
NORTH
สัญลักษณ์ : ที.มา : ดัดแปลงจากแหล่งที.มา http://www.99bayresort.com/index.php?lay=show& ac=article&Id=139126&Ntype=5 (25 พฤศจิกายน 2554).
มาตราส่ วน : NOT TO SCALE
49
โครงการออกแบบและ และปรั ปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณที.ทาํ การอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน กระจา อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี แผนที 16 : แสดงระบบการสั งระบบการสัญจร ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3432 กว้าง 8 เมตร ทางสาธารณะประโยชน์ กว้าง 5 เมตร ทางสาธารณะประโยชน์ กว้าง 2.5 เมตร ทางเดินเท้า กว้าง 2 เมตร ที.มา : ดัดแปลงจากแหล่งที.มา http://www.99bayresort.com/index.php?lay=show& ac=article&Id=139126&Ntype=5 (25 พฤศจิกายน 2554).
NORTH
สัญลักษณ์ :
มาตราส่ วน : NOT TO SCALE
50
โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณที.ทาํ การอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี แผนที 17 : แสดงลักษณะพืชพรรณในพื+นที.โครงการ
NORTH
สัญลักษณ์ :
ศูนย์บริ การนักท่องเที.ยว พืชพรรณมีทรงพุม่ แผ่กว้าง ให้ร่มเงา ได้แก่ ประดู่ ราชพฤกษ์ นนทรี บ้านพักและที.ทาํ การอุทยานฯ พืชพรรณเป็ นป่ าดิบแล้ง ได้แก่ โมก มัน เสลาใบใหญ่ ตะแบก สะเดา บ้านพักริ มนํ+า พืชพรรณเป็ นต้นไม้ยนื ต้นให้ร่มเงาผสมกับพืช พรรณป่ าดิบแล้ง ได้แก่ ตะเคียน ประดู่ป่า มะค่าโมง
ที.มา : ดัดแปลงจากแหล่งที.มา http://www.99bayresort.com/index.php?lay=show& ac=article&Id=139126&Ntype=5 (25 พฤศจิกายน 2554).
มาตราส่ วน : NOT TO SCALE
51
โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณที.ทาํ การอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี แผนที 18 : แสดงตําแหน่งของสิ. งปลูกสร้าง สัญลักษณ์ :
NORTH
รื+ อถอน ปรับปรุ ง คงไว้
ที.มา : ดัดแปลงจากแหล่งที.มา http://www.99bayresort.com/index.php?lay=show& ac=article&Id=139126&Ntype=5 (25 พฤศจิกายน 2554).
มาตราส่ วน : NOT TO SCALE
52
โครงการออกแบบและ และปรั ปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณที.ทาํ การอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน กระจา อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี แผนที 19 : แสดงระบบสาธารณู งระบบสาธารณูปโภค แนวสายไฟฟ้ าในพื+นที.โครงการ แนวท่อประปา แนวสายไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค ที.มา : ดัดแปลงจากแหล่งที.มา http://www.99bayresort.com/index.php?lay=show& ac=article&Id=139126&Ntype=5 (25 พฤศจิกายน 2554).
NORTH
สัญลักษณ์ :
มาตราส่ วน : NOT TO SCALE
53
โครงการออกแบบและ และปรั ปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณที.ทาํ การอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน กระจา อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี แผนที 20 : แสดงการใช้ งการใช้ประโยชน์ที.ดินในพื+นที.โครงการ
NORTH
สัญลักษณ์ : A = พื+นที.ส่วนบริ การ
B = บ่อนํ+า C = ส่ วนที.ทาํ การอุทยาน D = ส่ วนบ้านพักนักท่องเที.ยว E = ส่ วนบ้านพักเจ้าหน้าที. F = ส่ วนพื+นที.พิพาท H = พื+นที.ป่าดิบแล้ง G = บ้านพักนักท่องเที.ยว
ที.มา : ดัดแปลงจากแหล่งที.ม http://www.99bayresort.com/index.php?lay=show& ac=article&Id=139126&Ntype=5 Id=139126&Ntype=5 (25 พฤศจิกายน 2554).
มาตราส่ วน : NOT TO SCALE
54
โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณที.ทาํ การอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี แผนที 21 : แสดงศักยภาพและข้อจํากัดของพื+นที.
NORTH
สัญลักษณ์ : ที.มา : ดัดแปลงจากแหล่งที.มา http://www.99bayresort.com/index.php?lay=show& ac=article&Id=139126&Ntype=5 (25 พฤศจิกายน 2554).
มาตราส่ วน : NOT TO SCALE
55
5.3 การสั งเคราะห์ พนื+ ทีโครงการ
AREA
ตารางที 2 แสดงการสังเคราะห์พ+นื ที.โครงการ ( ดูแผนที. 21 )
A
B
C
D
SITE CHARACTERISTICS POTENTIALS พื+นที. A เป็ นพื+นที.ป่าพืชพรรณขึ+น หนาแน่น ศักยภาพของพื+นที.เป็ นเกาะ มี นํ+าล้อมรอบ เป็ นพื+นที.ค่อนข้างราบ สามารถก่อสร้างได้ดี มีมุมมองที.ดี สวยงาม มีความร่ มรื. นของต้นไม้ใหญ่ มี ลิงอาศัยอยูใ่ นพื+นที. การเข้าถึงค่อนข้าง ยากเพราะอยูไ่ กลจากถนนในโครงการ
CONSTRAIN พื+นที.อยูด่ า้ นในสุ ดเข้าถึง ค่อนข้างยาก และมีลิง อาศัยอยูใ่ นพื+นที.อาจ ก่อให้เกิดอันตรายจากการ เข้าไปใช้พ+ืนที.ทาํ กิจกรรม ได้
พื+นที. B เป็ นบ้านพักริ มนํ+า ศักยภาพของ พื+นที.อยูต่ ิดอ่างเก็บนํ+า มีมุมมองที.ดี เป็ น พื+นที.มีความลาดชันปานกลางสามารถ ก่อสร้างได้ พืชพรรณขึ+นหนาแน่น มี ต้นไม้ใหญ่ให้ร่มเงา การเข้าถึงค่อนข้าง ง่ายเพราอยูไ่ ม่ไกลจากถนนหลักในพื+นที. โครงการและยังมีถนนรองในการเข้าถึง พื+นที.ดว้ ย พื+นที. C เป็ นป่ าพืชพรรณขึ+นหนาแน่น ศักยภาพของพื+นที.อยูต่ ิดกับถนนหลักของ โครงการ เข้าถึงพื+นที.ได้ง่าย มีความร่ มรื. น จากต้นไม้ใหญ่ ความลาดชันปานกลาง สามารถก่อสร้างได้ เป็ นพื+นที.ที.น+ าํ ท่วม ไม่ถึง
พื+นที.ในช่วงฤดูฝนนํ+าใน อ่างเก็บนํ+าจะมีปริ มาณ มากจึงควรเว้นระยะใน การก่อสร้างเพื.อป้ องกัน ระดับนํ+า
พื+นที. D เป็ นพื+นที.นนั ทนาการ ศักยภาพ ของพื+นที.เป็ นพื+นที.ราบสามารถก่อสร้าง
DEVELOPMENT POTENTIAL พื+นที.เหมาะที.จะพัฒนาและ ปรับปรุ งเป็ นจุดชมวิว พื+นที. นันทนาการ พักผ่อนหย่อน ใจ กระโดดหอและกิจกรรม ต่างๆ
พื+นที.เหมาะที.จะพัฒนาและ ปรับปรุ งรู ปแบบ สถาปั ตยกรรมบ้านพักให้มี ความเป็ นเอกลักษณ์และ สวยงาม มีพ+ืนที.พกั ผ่อน หย่อนใจ เส้นทางเดินเท้าใน การเข้าบ้านพัก และกิจกรรม ทางนํ+า เป็ นป่ าดิบแล้งมีตน้ ไม้ พื+นที.เหมาะที.จะพัฒนาและ ใหญ่ให้ร่มเงาและอยูใ่ กล้ ปรับปรุ งให้เป็ นพื+นที.ป่าที. กับถนนหลักในพื+นที. สมบูรณ์ มีเส้นทางใน โครงการทําให้เกิดเสี ยง การศึกษาธรรมชาติ หรื อ รบกวนจากการสัญจรแต่ เส้นทางปั.นจักรยาน และ มีปริ มาณไม่มากนัก กิจกรรมที.ส่งผลกระทบต่อ ธรรมชาตินอ้ ย พื+นที.ไม่มีตน้ ไม้ใหญ่ให้ พื+นที.เหมาะที.จะพัฒนาและ ร่ มเงา อาจจะเกิดนํ+าท่วม ปรับปรุ งเป็ นพื+นที.กางเต็นท์
56
E
F
G
ได้ดี อยูต่ ิดอ่างเก็บนํ+า มีมุมมองที.สวยงาม พื+นที.เปิ ดโล่งเป็ นริ+ วยาว พืชพรรณใน พื+นที.นอ้ ยไม่หนาแน่น ไม่มีตน้ ไม้ใหญ่ ให้ร่มเงา เป็ นพื+นที.สาํ หรับกางเต็นท์ของ นักท่องเที.ยว การเข้าถึงง่ายอยูต่ ิดกับถนน รองในพื+นที.โครงการมีที.จอดรถรองรับ ในช่วงฤดูฝนอาจเกิดนํ+าท่วมบางส่ วน แต่ พื+นที.ได้มีการปรับระดับดินเพื.อป้ องกัน นํ+าท่วมแล้ว พื+นที. E เป็ นพื+นที.รีสอร์ ทเอกชน ศักยภาพ ของพื+นที.มีความลาดชั+นน้อยสามารถ ก่อสร้างได้ดี นํ+าท่วมไม่ถึง การเข้าถึงง่าย เพราะอยูต่ ิดกับถนนหลักภายในโครงการ พืชพรรณหนาแน่นปานกลาง มีตน้ ไม้ ใหญ่ให้ร่มเงากระจายอยูใ่ นพื+นที.
ได้ในอนาคตแต่พ+ืนที.ได้มี ที.ชดั เจน ปลูกต้นไม้ให้ การปรับระดับดินเพื.อ ความร่ มรื. น เป็ นพื+นที. ป้ องกันแล้ว นันทนาการ มีเส้นทาง จักรยาน ปรับพื+นที.ให้เป็ น พนังกั+นนํ+าที.สามารถใช้ ประโยชน์ได้ท+ งั เมื.อระดับนํ+า ขึ+นและลง
พื+นที.เป็ นเส้นทางที.น+ าํ จะ ไหลบ่าลงมาจากเขา ทางด้านทิศตะวันออกลง สู่ อ่างเก็บนํ+าทางด้านทิศ ตะวันตก มุมมองไม่ สวยงาม และเป็ นพื+นที. พิพาทในปั จจุบนั พื+นที. F เป็ นพื+นที.บริ การนักท่องเที.ยว พื+นที.บางส่ วนเป็ นทางนํ+า ศักยภาพของพื+นที.มีความลาดชัน ไหลจากเขาทางด้านทิศ ค่อนข้างราบสามารถก่อสร้างได้ พืช ตะวันออก อยูต่ ิดกับถนน พรรณขึ+นหนาแน่นปานกลางมีตน้ ไม้ หลักในพื+นที.โครงการ ใหญ่ให้ร่มเงา เป็ นจุดอดรถของ และเป็ นส่ วนให้บริ การ นักท่องเที.ยวและมีศูนย์บริ การ ต่างๆจึงอาจเกิดอันตราย นักท่องเที.ยวอยูใ่ นพื+นที. นํ+าท่วมไม่ถึงการ จากรถที.สัญจรไปมา เข้าถึงง่ายเพราะอยูต่ ิดกับถนนหลักใน โครงการและยังมีถนนรองที.เชื.อมไปยัง ส่ วนต่างๆของพื+นที.ดว้ ย พื+นที. G เป็ นส่ วนของที.ทาํ การอุทยาน แห่งชาติ ศักยภาพของพื+นที.มีความลาด ชั+นปานกลางถึงมากแต่สามารถก่อสร้าง ได้ พืชพรรณหนาแน่นเพราะเป็ นป่ าดิบ
พื+นที.เหมาะที.จะเก็บไว้เพื.อ รองรับการขยายตัวใน อนาคตของอุทยานหรื อปลูก ป่ าทดแทนเพิ.มขึ+น จะได้เป็ น พื+นที.สาํ หรับศึกษาระบบ นิเวศน์ในธรรมชาติต่อไป พื+นที.เหมาะที.จะพัฒนาและ ปรับปรุ งเป็ นที.จดรถที. สามารถรองรับนักท่องเที.ยว ได้ มีร้านค้าขายอาหาร เครื. องดื.มและของที.ระลึก มี เส้นทางจักรยาน และพื+นที. พักผ่อนหย่อนใจ
พื+นที.เหมาะที.จะพัฒนาและ ปรับปรุ งรู ปแบบ สถาปั ตยกรรมที.ทาํ การ อุทยานแห่งชาติให้มีความ
57
แล้ง นํ+าท่วมไม่ถึง อยูใ่ กล้กบั ถนนหลัก ในพื+นที.โครงการ เข้าถึงได้ง่าย มุมมอง สวยงามมองเห็นอ่างเก็บนํ+าทางด้านทิศ ตะวันตก H
พื+นที. H เป็ นส่ วนบ้านพักเจ้าหน้าที. พื+นที.เข้าถึงยาก และมี อุทยาน ศักยภาพของพื+นที.มีความลาดชัน มุมมองที.ไม่สวยงาม ปานกลางสามารถก่อสร้างได้ พืชพรรณ หนาแน่นมากเป็ นป่ าดิบแล้ง นํ+าท่วมไม่ ถึง การเข้าถึงยากเพราะอยูล่ ึกสุ ดของ พื+นที.โครงการ มีความเป็ นส่ วนตัว มุมมองไม่ดี
ที.มา : จากการวิเคราะห์ของผูศ้ ึกษา
สวยงามและมีเอกลักษณ์ มี สถานที.รองรับการประชุม ของหน่วยงาน ปรับภูมิทศั น์ ให้มีความสวยงามและ เหมาะสมกับธรรมชาติเดิม พื+นที.เหมาะที.จะพัฒนาและ ปรับปรุ งรู ปแบบ สถาปั ตยกรรมบ้านพัก เจ้าหน้าที.ให้มีความสวยงาม และมีเอกลักษณ์ จัดสรร พื+นที.ให้เป็ นสัดส่ วนมีความ เป็ นระเบียบเรี ยบร้อย ปรับ ภูมิทศั น์ให้สวยงาม กลมกลืนกับธรรมชาติเดิม
58
ตารางที 3 แสดงการใช้สอยพื+นที.โครงการ
59
60
61
ที.มา : จากการวิเคราะห์ของผูศ้ ึกษา
62
บทที 6 แนวความคิดในการออกแบบ 6.1 แนวความคิดในการออกแบบโครงการ เนืองจากพืนทีโครงการเดิมเป็ นทีทําการอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน และเป็ นทีพักรับรอง นักท่องเทียวก่อนทีจะเดินทางต่อไปยังสถานทีต่างๆภายในอุทยานแห่งชาติ จึงเป็ นจุดต้อนรับที สําคัญ ทําให้พนที ื เกิดผลกระทบจากการรองรับนักท่องเทียวแต่ละปี เป็ นจํานวนมาก ประกอบกับ การจัดพืนทีใช้สอยไม่เหมาะสม จึงต้องพัฒนาพืนทีให้ดีขึนและจํากัดการเข้าใช้งานของ นักท่องเทียวให้อยูใ่ นปริ มาณทีเหมาะสม เพือเป็ นการรักษาธรรมชาติในพืนทีให้คงอยูเ่ ช่นเดิมโดย ไม่ถูกรบกวนจากการใช้งานมากเกินไป รวมถึงเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ธรรมชาติของป่ าไม้ในพืนที และ มีกิจกรรมต่าง ๆ เพือเป็ นสถานทีเสริ มความสัมพันธ์ทีดีต่อคนในสังคม ส่ งผลให้เกิดอาชีพการค้า ขายทีทําให้คนในชุมชนใกล้เคียงมีส่วนร่ วมกับพืนที 6.1.1 แนวความคิดหลักในการออกแบบโครงการ เนืองจากพืนทีโครงการเป็ นอุทยานแห่งชาติ มีความอุดมสมบูรณ์ของป่ าไม้ อ่าง เก็บนํา ภูเขา และทิวทัศน์ทีสวยงาม จึงเอาแนวความคิด “Nature Living” = “อยูก่ บั ธรรมชาติ” ให้ ผูเ้ ข้ามาใช้พืนทีโครงการได้รู้สึกใกล้ชิดกับธรรมชาติ หันมาให้ความสําคัญกับธรรมชาติ และอยูก่ บั ธรรมชาติได้อย่างมีความสุ ข โดยมีรายละเอียดดังนี N = Natural ( ธรรมชาติ ) A = Architecture ( สถาปั ตยกรรม ) T = Travel ( การท่องเทียว ) U = User ( ผูใ้ ช้งาน ) R = Relax ( พักผ่อน ) E = Energy Save ( ประหยัดพลังงาน )
63
6.1.2 แนวความคิดรองในการออกแบบโครงการ 6.1.2.1 การวางผัง ออกแบบและปรับปรุ งการวางผังอาคารเดิม เส้นทางในพืนที โครงการให้ส่งผลกระทบน้อยลง และไม่ทาํ ลายสภาพแวดล้อมเดิม 6.1.2.2 การสัญจร ออกแบบและปรับปรุ งเส้นทางการสัญจร ให้รองรับการเดิน เท้าและการปันจักรยาน เพือลดการใช้พลังงานในพืนทีโครงการ 6.1.2.3 สถาปั ตยกรรม ออกแบบและปรับปรุ งรู ปแบบสถาปั ตยกรรมเดิม ให้มี เอกลักษณ์ เหมาะสมต่อการใช้งานและกลมกลืนกับสภาพแวดล้อมในพืนที 6.1.2.4 ภูมิสถาปั ตยกรรม ออกแบบและปรับปรุ งพืนทีการใช้สอยให้เหมาะสม กับการใช้งาน ให้สามารถใช้ประโยชน์ร่วมกันได้ในพืนทีเดียว และวางผังพืชพรรณให้สอดคล้อง กับสภาพแวดล้อมเดิม 6.1.2.5 กิจกรรม ออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับสภาพภูมิประเทศ และไม่ เป็ นกิจกรรมทีทําลายสภาพแวดล้อมเดิม 6.2 แนวความคิดในการจัดกลุ่มพืนทีโครงการ พืนทีโครงการส่ วนใหญ่จะเป็ นพืนทีสันเขาทีมีความลาดชัน ร้อยละ 50 เปอร์ เซ็นต์ และ เป็ นทีราบอีกร้อยละ 50 เปอร์ เซ็นต์ ติดกับอ่างเก็บนํา จึงมีขอ้ จํากัดทีจะต้องจัดกิจกรรมในพืนที ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพธรรมชาติ และแบ่งออกเป็ นสัดส่ วนดังนี 6.2.1 พืนทีส่ วนต้อนรับและสํานักงาน เป็ นส่ วนต้อนรับนักท่องเทียว อยูต่ ิดกับทางเข้าหลักของโครงการ สามารถเข้าถึงพืนทีโครงการได้ง่าย มีจุดนําสายตาเป็ นทีน่าสนใจแก่ผมู ้ าใช้บริ การ มีพืนทีพักผ่อน ติดกับอ่างเก็บนํา และเป็ นจุดทีเชือมโยงกับกิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการได้เป็ นอย่างดี 6.2.2 พืนทีส่ วนทีทําการอุทยานแห่งชาติ เป็ นพืนทีให้บริ การทางด้านวิชาการและการติดต่องานราชการของ หน่วยงานอืน ๆ รวมถึงเป็ นทีประชุมสัมมนาของเจ้าหน้าทีอุทยานแห่งชาติอีกด้วย
64
6.2.3 พืนทีส่ วนกิจกรรมและนันทนาการ เป็ นพืนทีสําหรับพักผ่อนหย่อนใจ และศึกษาหาความรู ้ มีเส้นทางศึกษา ระบบป่ าในธรรมชาติ มีเส้นทางการปันจักรยาน กิจกรรมทางนํา กระโดดหอ จุดชมวิว และ สนามเด็กเล่นทีเป็ นธรรมชาติ อยูก่ บั ป่ ามีตน้ ไม้ใหญ่ให้ร่มเงา นักท่องเทียวจะได้สัมผัสกับ ธรรมชาติอย่างใกล้ชิด 6.2.4 พืนทีส่ วนบริ การ เป็ นพืนทีให้บริ การร้านค้า ร้านอาหาร แก่นกั ท่องเทียวและเจ้าหน้าที ของอุทยานแห่งชาติ มีร้านขายของทีระลึก เป็ นส่ วนทีใช้พกั ผ่อนและเชือมโยงกับกิจกรรมอืน ๆ ในพืนทีโครงการ 6.2.5 พืนทีทีพักนักท่องเทียว เป็ นพืนทีทีอยูใ่ นธรรมชาติ ให้นกั ท่องเทียวได้สัมผัสกับธรรมชาติอย่าง ใกล้ชิด อยูบ่ นเขาและริ มอ่างเก็บนํา สามารถรองรับนักท่องเทียวให้เพียงพอต่อความต้องการได้ และยังมีลานกางเต็นท์ เป็ นลานโล่งติดอ่างเก็บนํา ทีสามารถทํากิจกรรมอืน ๆ ได้เมือไม่ได้กาง เต็นท์ เป็ นการใช้พนที ื อย่างคุม้ ค่า 6.2.6 พืนทีส่ วนบํารุ งรักษา เป็ นพืนทีบํารุ งรักษาของโครงการ มีอาคารบํารุ งรักษา เก็บอุปกรณ์ และ เป็ นจุดจอดรถดับเพลิงของโครงการ มีโรงซักรี ด ทําความสะอาดเครื องใช้ต่าง ๆ ของบ้านพัก นักท่องเทียว รวมถึงเป็ นส่ วนของเจ้าหน้าทีอุทยาน เพือสะดวกต่อการเดินทาง และอยูใ่ กล้กบั ที ทําการอุทยานแห่งชาติ 6.3 แนวความคิดในการวางระบบสั ญจร พืนทีโครงการมีการแบ่งเส้นทางการสัญจรให้สอดคล้องกับกิจกรรมทีเกิดขึน โดยแบ่งได้ ดังนี
65
6.3.1 ทางหลวงแผ่นดิน เป็ นถนนทีตัดผ่านพืนทีโครงการ แบ่งพืนทีออกเป็ น 2 ส่ วน ใช้ในการ สัญจรไปยังส่ วนอืน ๆ ในอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน เป็ นถนนลาดยางมะตอย กว้าง 8 เมตร 6.3.2 ถนนหลักในโครงการ เป็ นถนนทีเชื อมกิจกรรมต่าง ๆ ในโครงการเข้าด้วยกัน โดยแบ่งออกเป็ น 2 เส้น คือ เส้นทีอยูใ่ นพืนทีราบ และอีกเส้นจะอยูด่ า้ นบนเขา ผิวถนนเป็นวัสดุซึมนํา ให้นาซึ ํ มผ่านได้ และ ไม่ส่งผลกระทบต่อธรรมชาติ มีความกว้าง 3.50 เมตร รถของโครงการสามารถใช้ถนนเส้นนี เท่านัน 6.3.3 ทางจักรยาน เป็ นถนนสําหรับปั นจักรยานในการชมวิวทิวทัศน์ และพักผ่อนหย่อนใจ เชือมต่อกับถนนหลักในโครงการและทางเดินเท้า เพือความสะดวกต่อการใช้งาน มีความกว้าง 2.50 ม. 6.3.4 ทางเดินเท้า เป็ นเส้นทางเดินทีใช้วสั ดุจากธรรมชาติ เช่น หิ นกรวด ไม้ และทางดินอัดแน่น ให้สอดคล้องกับธรรมชาติและใช้งานได้สะดวก มีความกว้าง 2.00 เมตร 6.3.5 ทางให้บริ การ เป็ นเส้นทางสําหรับเจ้าหน้าทีอุทยาน ในการให้บริ การใน ส่ วนของบ้านพักริ มนําและบนเขา เพือไม่ให้รบกวนกับการใช้งานของเส้นทางหลัก มีความกว้าง 3.50 ม. วัสดุเป็ นแบบซึ มนํา ช่วยดูดรับนําและสอดคล้องกับธรรมชาติเดิม 6.4 แนวความคิดในการวางผังพืชพรรณ การเลือกพืชพรรณมาใช้กบั พืนทีโครงการ ต้องคํานึงถึงสภาพแวดล้อม โดยส่ วนใหญ่ พืนทีโครงการเป็ นป่ าดิบแล้ง มีพืชพรรณขึนหนาแน่น อุดมสมบูรณ์ บริ เวณสันเขาถึงตีนเขา ชนิดพืชพรรณ ได้แก่ ตาเสื อ เสลา ตะเคียน โพหิ น มะเดือนภูเขา มะค่าโมง เป็ นไม้เดิมใน พืนที การเลือกพืชพรรณ จึงต้องเลือกให้สอดคล้องกับระบบนิเวศน์ป่าดิบแล้ง จึงแบ่งออกเป็ น บริ เวณ (zone) ทังหมด 4 บริ เวณ ( zone) คือ ด้านติดเขาจะเป็ นพืชพรรณเดิมของป่ าดิบแล้ง และ ส่ วนบริ การนักท่องเทียวจะเป็ นพืชพรรณทีให้ร่มเงาผสมกับพืชพรรณเดิม และส่ วนพืนทีทีเป็ น
66
ลานกว้างหรื อลานกางเต็นท์ จะเป็ นพืชพรรณทีให้ร่มเงา รองรับการทํากิจกรรมของพืนที ช่วยให้ พืนทีโล่งไม่ร้อนจนเกินไป และส่ วนสุ ดท้ายเป็ นพืนทีติดกับริ มนํา จะเป็ นพืชพรรณทีสามารถทน นําท่วมขังได้ ชอบอยูร่ ิ มนํา และเป็ นไม้ยนื ต้นให้ร่มเงาได้ ช่วยให้พืนทีมีความสอดคล้องกับ ธรรมชาติเดิม 6.5 แนวคิดในการออกแบบพืนทีว่ าง ( Openspace concept ) พืนทีว่างในโครงการส่ วนใหญ่จะกระจายอยูใ่ กล้กบั บริ เวณอ่างเก็บนํา จึงออกแบบพืนที ให้มีความเหมาะสมและสามารถรองรับกับกิจกรรมทีเกิดขึน โดยแบ่งได้ดงั นี 6.5.1 พืนทีว่างแบบภูมิทศั น์ดาดแข็ง เป็ นทีรองรับคนทีเข้ามาใช้งานได้ครังละจํานวนมากๆ เป็ นพืนทีจัด กิจกรรมในช่วงเทศกาลหรื อ จัดงานในโอกาสต่าง ๆ และเป็ นส่ วนของบริ เวณศูนย์บริ การ นักท่องเทียว 6.5.2 พืนทีว่างแบบภูมิทศั น์ดาดอ่อน เป็ นพืนทีสําหรับเป็ นลานกางเต็นท์ และรองรับการทํากิจกรรมในช่วง เทศกาลทีจะมีนกั ท่องเทียวจํานวนมาก อยูต่ ิดกับอ่างเก็บนํา เป็ นทัศนียภาพทีดี
67
บทที 7 รายละเอียดโครงการออกแบบ 7.1 รายละเอียดเส้ นทางการสั ญจร ถนนภายในโครงการตรงทางเข้ามาทีจอดรถ มีความกว้าง 7.00 เมตร ผิวถนนเป็ นวัสดุซึม นํ'า รถสามารถสวนกันได้ 2 ช่องทาง ส่ วนถนนหลักของโครงการออกแบบตามแนวคิดลดการใช้ พลังงาน จึงมีเพียงรถปริ การของโครงการเท่านั'นทีสามารถใช้ถนนหลักภายในโครงการได้ นักท่องเทียวจะต้องจอดรถในทีทีจัดไว้ให้และเดินทางโดยรถบริ การ ปั นจักรยาน หรื อเดินเท้า ถนนมีความกว้าง 3.50 เมตร ผิวเป็ นวัสดุทีนํ'าซึ มผ่านได้ ลักษณะของถนนปรับปรุ งจากถนนเดิมที มีอยูเ่ ป็ นแนวยาวขนานไปกับอ่างเก็บนํ'า เป็ นแบบเส้น รถโครงการจะต้องสัญจรไปกลับในถนน เส้นเดียวกัน สําหรับทางจักรยานมีลกั ษณะเป็ นแบบวนรอบ ( loop) เชือมกับถนนหลักและทางเท้า เพือความสะดวกในการใช้งาน มีความกว้าง 2.50 เมตร ผิวเป็ นวัสดุแบบซึ มนํ'า สําหรับทางเดินเท้า แบบวนรอบ ( loop) จะเป็ นเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติใช้วสั ดุเป็ นไม้เพือให้เหมาะสมกับ สภาพแวดล้อม และแบบแนวเส้นตรง (line) จะเป็ นทางเดินบริ เวณอ่างเก็บนํ'า มีความกว้าง 2.00 เมตร เชือมกับระเบียงไม้เพือใช้พกั ผ่อนหย่อนใจใกล้อ่างเก็บนํ'า 7.2 รายละเอียดด้ านระบบไฟฟ้า แนวสายไฟทีมีอยูเ่ ดิม ควรปรับปรุ งต่อท่อใต้ดินเพือย้ายแนวสายไฟลงดินเพือให้เกิด ทัศนียภาพทีสวยงามและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม โดยมีหอ้ งควบคุมและซ่อมบํารุ ง อยู่ 3 จุด หลัก คือ บริ เวณศูนย์บริ การนักท่องเทียว บ้านพักนักท่องเทียว และส่ วนบํารุ งรักษาของโครงการ 7.3 รายละเอียดด้ านระบบนํา! ใช้ พื'นทีโครงการแบ่งระบบนํ'าออกเป็ น 2 ระบบ คือ ระบบทีใช้สาํ หรับอุปโภค บริ โภค และ ระบบทีใช้สาํ หรับพืชพรรณ โดยติดตั'งเครื องทําการประปานํานํ'าจากอ่างเก็บนํ'ามาใช้ในพื'นที โครงการ และนํานํ'าเสี ยทีใช้แล้วมาบําบัดก่อนปล่อยลงสู่ ผวิ ดิน ส่ วนระบบสําหรับพืชพรรณจะนํา นํ'าจากอ่างเก็บนํ'ามาใช้โดยไม่ตอ้ งผ่านระบบกรองเหมือนกับนํ'าประปา
68
7.4 รายละเอียดด้ านระบบระบายนํา! ระบบระบายนํ'าในโครงการแยกออกเป็ น 2 ส่ วน คือนํ'าเสี ยทีต้องบําบัดในบ่อบําบัดก่อน ปล่อยลงสู่ ผวิ ดิน และนํ'าจากนํ'าฝน การระบายนํ'าสามารถระบายได้จากผิวดิน แล้ววางแนวท่อตาม ถนน ทางจักรยาน และทางเดินเท้าให้เชื อมไปยังอ่างเก็บนํ'า และปล่อยลงอ่างเก็บนํ'าได้เลยเพราะ เป็ นนํ'าจากธรรมชาติไม่ตอ้ งผ่านการบําบัด 7.5 รายละเอียดด้ านระบบกําจัดขยะ ภายในพื'นทีโครงการจะมีถงั ขยะบริ การเป็ นจุดอยูใ่ นบริ เวณ (zone) ทีสําคัญมีกิจกรรม เกิดขึ'นมาก และต้องเก็บขยะวันละ 2 เวลา มีการคัดแยกขยะเพือความสะดวกในการกําจัดก่อนจะ เอาขยะไปพักในทีพักขยะ เพือรอรถขยะจากองค์การบริ หารส่ วนตําบลมาเก็บแล้วนําไปกําจัด ต่อไป 7.6 รายละเอียดด้ านระบบการรักษาความปลอดภัย ภายในพื'นทีโครงการมีขนาดใหญ่ จึงต้องมีเจ้าหน้าทีรักษาความปลอดภัยแก่นกั ท่องเทียว แบ่งเป็ นบริ เวณ (zone) ต่างๆของพื'นทีและมีระบบการแจ้งเตือนเมือเกิดเพลิงไหม้กระจายอยูท่ ุก บริ เวณ (zone) และอาคารทุกหลังเพือความปลอดภัย 7.7 รายละเอียดด้ านองค์ ประกอบของโครงการ 7.7.1 ไฟสนาม มีขนาดความสู งประมาณ 0.40 – 0.50 เมตร ให้แสงสว่างทีไม่ตอ้ งการ ความชัดเจนมากนัก เป็ นการตกแต่งพื'นทีทําให้เกิดบรรยากาศสวยงามในตอนกลางคืน 7.7.2 ไฟส่ องสว่างระดับกลาง มีความสู งประมาณ 3.50 เมตร ให้แสงสว่างกับทุกพื'นทีใน โครงการ ไม่วา่ จะเป็ นถนนหลัก ถนนรอง ทางเดินเท้า ทางจักรยาน เป็ นต้น ลักษณะการออกแบบ จะใช้วสั ดุธรรมชาติเพือให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม 7.7.3 ไฟส่ องสว่างทีจอดรถ มีความสู งประมาณ 6.50 – 7.00 เมตร เพือให้แสงสว่างได้ ทัวถึงในบริ เวณทีจอดรถ และเป็ นการเพิมความปลอดภัยกับสถานทีจอดรถด้วย
69
7.7.4 ศาลาพักผ่อน จะจัดวางให้เหมาะสมกับกิจกรรมในพื'นที และการใช้งาน เช่นตาม ทางเดิน จุดชมวิว จุดพักผ่อนในพื'นที 7.7.5 ป้ ายสื อความหมาย จะเป็ นป้ ายบอกทิศทางการเข้าถึงกิจกรรม ให้ความรู ้ในการศึกษา ธรรมชาติ และสถานที เป็ นป้ ายประกาศกฎระเบียบการเข้าใช้งาน รวมถึงเป็ นป้ ายโครงการที สามารถเป็ นจุดถ่ายรู ปเป็ นทีระลึกได้ โดยออกแบบให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และสิ งปลูก สร้างภายในโครงการ ให้ได้มาตรฐานไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อนักท่องเทียว
70
บทที 8 ผลงานการออกแบบ 8.1 แผ่ นงานที 1 INTRODUCTION 8.1.1 ประวัติความเป็ นมาของพืนทีโครงการ 8.1.2 ประวัติความเป็ นมาของโครงการ 8.1.3 วัตถุประสงค์ของโครงการ 8.1.4 วัตถุประสงค์หรอประเด็นปั ญหาของการศึกษา 8.1.5 สถานทีตังพืนทีโครงการ 8.1.6 การเข้าถึงพืนทีโครงการ 8.1.7 บริ เวณโดยรอบพืนทีโครงการ 8.1.8 การเชือมโยงพืนทีโครงการกับสถานทีท่องเทียว 8.2 แผ่ นงานที 2 SITE ANALYSIS – NATURAL FACTOR 8.2.1 ลักษณะภูมิประเทศและธรณี วทิ ยา 8.2.2 ลักษณะของดิน 8.2.3 การระบายนําและแหล่งนําธรรมชาติ 8.2.4 สิ งมีชีวติ ในพืนทีโครงการ 8.2.5 พืชพรรณในพืนทีโครงการ 8.2.6 สภาพภูมิอากาศ
71
8.2.7 ข้อมูลนําท่วม 8.3 แผ่ นงานที 3 SITE ANALYSIS – CULTURAL FACTOR AND USER FACTOR 8.3.1 การใช้ทีดินเดิมในพืนทีโครงการ 8.3.2 สิ งปลูกสร้างเดิมในพืนทีโครงการ 8.3.3 ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ 8.4 แผ่ นงานที 4 SITE ANALYSIS – AESTHETIC FACTORS AND USER FACTORS 8.4.1 การวิเคราะห์มุมมอง 8.4.2 ข้อมูลผูใ้ ช้สอยพืนทีโครงการ 8.4.2.1 กิจกรรมในพืนทีโครงการ 8.4.2.2 อัตราการรองรับนักท่องเทียว 8.5 แผ่ นงานที 5 SITE ANALYSIS – LAW & SPECIALDATA 8.5.1 กฎหมายทีเกียวข้อง 8.5.2 ข้อมูลเฉพาะด้านทีเกียวข้อง 8.6 แผ่ นงานที 6 SITE SYNTHESIS & PROGRAM REQUIREMENT 8.6.1 การวิเคราะห์คุณลักษณะของพืนทีโครงการ 8.6.2 การวิเคราะห์ศกั ยภาพในการพัฒนาพืนทีโครงการ 8.6.3 ความต้องการของพืนทีโครงการ
72
8.7 แผ่ นงานที 7 CONCEPT & PRELIMINARY DESIGN 8.7.1 แนวความคิดหลักในการออกแบบ 8.7.1.1 แนวความคิดย่อยในการออกแบบ 8.7.2 แผนผังความสัมพันธ์บริ เวณ 8.7.3 แผนผังความสัมพันธ์การใช้สอย 8.7.4 แผนผังความสัมพันธ์เส้นทางการสัญจร 8.7.5 แนวความคิดการออกแบบพืชพรรณ 8.8 แผ่ นงานที 8 MASTER PLAN 8.8.1 ผังแม่บทแสดงการใช้ทีดิน มาตราส่ วน 1 : 1,250 8.9 แผ่ นงานที 9 DETAIL PLAN 1 8.9.1 ผังแสดงองค์ประกอบบริ เวณพืนทีส่ วนต้อนรับและศูนย์บริ การนักท่องเทียว มาตรา ส่ วน 1 : 500 8.9.2 รู ปตัดบริ เวณศูนย์บริ การนักท่องเทียว มาตราส่ วน 1 : 150 8.9.3 รู ปตัดบริ เวณสนามเด็กเล่น 1 : 150 8.9.4 ทัศนียภาพบริ เวณศูนย์บริ การนักท่องเทียว 8.9.5 ทัศนียภาพบริ เวณสนามเด็กเล่น 8.10 แผ่ นที 10 DETAIL PLAN 2 8.10.1 ผังแสดงองค์ประกอบบริ เวณพืนทีส่ วนการพักผ่อนและกิจกรรมนันทนาการ มาตราส่ วน 1 : 500
73
8.10.2 รู ปตัดบริ เวณส่ วนพักผ่อนและนันทนาการ 1 : 200 8.10.3 รู ปตัดบริ เวณจุดรับ-ส่ ง อาคารให้ความรู ้ และพักผ่อนหย่อนใจ 1 : 200 8.10.4 ทัศนียภาพบริ เวณท่าเรื อ 8.10.5 ทัศนียภาพบริ เวณสวนพักผ่อนหย่อนใจริ มอ่างเก็บนํา 8.10.6 ทัศนียภาพบริ เวณจุดรับ – ส่ ง และอาคารให้ความรู ้ 8.11 แผ่ นที 11 DETAIL PLAN 3 8.11.1 ผังแสดงองค์ประกอบบริ เวณพืนทีส่ วนบ้านพักนักท่องเทียว มาตราส่ วน 1 : 500 8.11.2 รู ปตัดบริ เวณส่ วนบ้านพักชมวิว 1 : 150 8.11.3 รู ปตัดบริ เวณส่ วนบ้านพักนักท่องเทียวประสพสุ ข 1 : 150 8.11.4 ทัศนียภาพทีมองเห็นวิวอ่างเก็บนํา มองจากบ้านพักออกไป 8.11.5 ทัศนียภาพบริ เวณบ้านพักประสพสุ ข 3 - 4 8.11.6 ทัศนียภาพบริ เวณบ้านพักประสพสุ ข 1 - 2 8.12 แผ่ นที 12 OVER ALL PERSPECTIVE 8.12.1 ทัศนียภาพทังหมดของพืนทีโครงการ
74
ภาพที 13 INTRODUCTION
75
ภาพที 14 SITE ANALYSIS – NATURAL FACTOR
76
ภาพที 15 SITE ANALYSIS – CULTURAL FACTOR AND USER FACTOR
77
ภาพที 16 SITE ANALYSIS – AESTHETIC FACTORS AND USER FACTORS
78
ภาพที 17 SITE ANALYSIS – LAW & SPECIALDATA
79
ภาพที 18 SITE SYNTHESIS & PROGRAM REQUIREMENT
80
ภาพที 19 CONCEPT & PRELIMINARY DESIGN
81
ภาพที 20 MASTER PLAN
82
ภาพที 21 DETAIL PLAN 1
83
ภาพที 22 DETAIL PLAN 2
84
ภาพที 23 DETAIL PLAN 3
85
ภาพที 24 OVER ALL PERSPECTIVE
86
บทที 9 บทสรุปและข้ อเสนอแนะ ในการดําเนินวิทยานิพนธ์ โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม ที%ทาํ การ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ต้องทําการศึกษาขั/นตอนในการทํางานทุกๆด้านอย่างละเอียด ทําให้ เกิดความรู ้ใหม่มาพัฒนาการทํางานของตนเอง และนํามาเป็ นประโยชน์ต่อการดําเนินวิทยานิพนธ์ ให้มีประสิ ทธิ ภาพได้เป็ นอย่างดี พื/นที%โครงการตั/งอยูใ่ นเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ตรงที%ทาํ การอุทยานแห่งชาติ มี พื/นที%ประมาณ 343 ไร่ อยูต่ ิดกับอ่างเก็บนํ/าแก่งกระจาน มีความโดดเด่นทางด้านภูมิประเทศที%มีท/ งั ภูเขา และอ่างเก็บนํ/า มีธรรมชาติที%สวยงาม และเป็ นสถานที%ท่องเที%ยวที%สาํ คัญแห่งหนึ%งของจังหวัด เพชรบุรี จากที%กล่าวมาข้างต้น โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม ที%ทาํ การอุทยาน แห่งชาติแก่งกระจาน จึงมีแนวความคิดที%จะพัฒนาพื/นที%โครงการให้มีความเหมาะสมกับการ ท่องเที%ยวแบบอนุ รักษ์ธรรมชาติ ช่วยลดการทําลายธรรมชาติที%เกิดจากการท่องเที%ยว และรองรับ นักท่องเที%ยว ที%มีปริ มาณเพิ%มขึ/นทุกๆปี และเป็ นการสร้างอาชีพ ให้กบั คนในชุมชนในการขาย สิ นค้าพื/นถิ%นเป็ นการเพิ%มรายได้นอกเหนือจากงานประจําอีกด้วย กิจกรรมในพื/นที%ก็เป็ นกิจกรรมที%สอดคล้องกับภูมิประเทศและระบบธรรมชาติเดิม เช่น การเรี ยนรู ้ธรรมชาติโดยมีเส้นทางเดินป่ าในการศึกษาพรรณไม้ของป่ าดิบแล้ง ทําให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจเกี%ยวกับธรรมชาติมากยิง% ขึ/น มีหอดูดาว หอชมวิวที%เห็นทิวทัศรอบพื/นที% และกิจกรรมที% สร้างความสัมพันธ์แบบกลุ่มอย่างพายเรื อคายัก ที%เป็ นการพักผ่อนหย่อนใจ และเสริ มสร้าง ความสัมพันธ์ให้แก่นกั ท่องเที%ยวและครอบครัว ข้อเสนอแนะของโครงการ พื/นที%โครงการเดิมเป็ นสถานที%ท่องเที%ยวที%สาํ คัญ และมี ทรัพยากรธรรมชาติที%สมบูรณ์ สวยงาม และยังมีนโยบายที%จะทําการปรับปรุ งแก้ไขให้มีความ เหมาะสมของการใช้พ/นื ที% ให้ตอบสนองต่อนักท่องเที%ยว จึงมีความพร้อมที%จะพัฒนาพื/นที%ให้ เพียงพอต่อนักท่องเที%ยว และเป็ นการควบคุมการท่องเที%ยวไม่ให้เป็ นการทําลายธรรมชาติ มี ระยะเวลาในการท่องเที%ยวและปิ ดปรับปรุ งเพื%อให้สภาพแวดล้อมธรรมชาติได้พกั ฟื/ นกลับมา สวยงามดังเดิม ถ้าเกิดโครงการนี/ดาํ เนินการสําเร็ จก็จะก่อให้เกิดประโยชน์หลายๆด้าน เช่นด้าน การเผยแพร่ วฒั นธรรมของคนในท้องถิ%น สิ/ นค้าท้องถิ%น (สิ/ นค้า OTOP) สร้างรายได้ให้กบั ชุมชน
87
และยังเป็ นที%พกั ผ่อนหย่อนใจ ดึงดูดนักท่องเที%ยวทั/งชาวไทยและชาวต่างชาติให้มาท่องเที%ยวเป็ น การกระตุน้ เศรษฐกิจของจังหวัดได้เป็ นอย่างดี
บรรณานุกรม
เดาชา บุญคํา. 2554. การวางผังบริเวณและงานบริเวณ. พิมพ์ครังที 2. กรุ งเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เอือมพร วีสมหมาย, อลิศรา มีนะกนิษฐ, ศศิยา ศิริพานิช, และ ณัฏฐ พิชกรรม. 2551. พรรณไม้ ใน งานภูมิสถาปัตยกรรม. พิมพ์ครังที 3 . กรุ งเทพฯ: เอช เอ็น กรุ๊ ป จํากัด. 404 น. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์. 2554. คู่มือการดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ระดับปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต. พิมพ์ครังที 3. คู่มือการจัดการพืน+ ทีส- ี เขียวชุ มชนเมืองอย่ างยั-งยืน. 2555. กรุ งเทพฯ: สํานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม วชิรพงศ์ หวลบุตตา. 2549. สวนริมนํา+ . กรุ งเทพฯ: บ้านและสวน คู่มือการพัฒนาแหล่ งท่ องเที-ยวประเภทอ่ างเก็บนํา+ . 2533. กรุ งเทพฯ: กองวางแผนโครงการการ ท่องเทียวแห่งประเทศไทย สํานักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. ม.ป.ป. “หลักเกณฑ์ การคัดเลือก พืน+ ทีเ- พือ- จัดตั+งอุทยานแห่ งชาติ”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีมา http://www.dnp.go.th/ npo/html/Arrange_Np/Choose_Natural.html (10 สิ งหาคม 2555). สํานักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. ม.ป.ป. “การจัดการอุทยาน แห่ งชาติ”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีมา http://www.dnp.go.th/npo/Html/Management/ Manage_Np.html (10 สิ งหาคม 2555). สํานักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. ม.ป.ป. “ระเบียบกรมอุทยาน แห่ งชาติ สั ตว์ ป่า และพันธุ์พืช ว่ าด้ วยการอนุญาตให้ เข้ าไปดําเนินกิจการท่ องเทีย- วและพัก อาศัยในอุทยานแห่ งชาติ”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีมา http://www.dnp.go.th/npo/ Html/Law_Rule/Rule/Rule_Tour.html (10 สิ งหาคม 2555). สํานักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. ม.ป.ป. “สถิตินักท่ องเทีย- ว อุทยานแห่ งชาติแก่ งกระจาน”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีมา http://www.dnp.go.th/ NPRD/develop/ Stat_Tourist.php (10 สิ งหาคม 2555).
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก การจัดการอุทยานแห่ งชาติ อุทยานแห่ งชาติ หมายถึง “ทีดินซึ งรวมทังพืนทีดินทัวไป ภูเขา ห้วย หนอง คลอง บึง บาง ลํานํา ทะเลสาบ เกาะ และชายฝังทีได้รับการกําหนดให้เป็ น อุทยานแห่งชาติ ลักษณะทีดินดังกล่าว เป็ นทีทีมีสภาพธรรมชาติทีน่าสนใจ และมิได้อยูใ่ นกรรมสิ ทธิ2หรื อครอบครองโดยชอบด้วย กฎหมาย ของบุคคลใดซึ งมิใช่ทบวงการเมือง ทังนีการกําหนดดังกล่าวก็เพือให้คงอยูใ่ นสภาพเดิม เพือสงวนไว้ให้เป็ นประโยชน์แก่การศึกษาและ ความรื นรมย์ของประชาชนสื บไป” (พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504) วัตถุประสงค์ ของการจัดตังอุทยานแห่ งชาติของประเทศไทย 1. เพือการอนุ รักษ์ธรรมชาติ คือต้องการอนุรักษ์สภาพธรรมชาติของพืนทีให้คงอยูต่ าม ธรรมชาติ ป้ องกันการรบกวนโดยมนุษย์ โดยเฉพาะทรัพยากรทีสําคัญ เช่น สัตว์ป่า พืชพรรณ และ ลักษณะธรรมชาติทีสวยงามเป็ นพิเศษ รวมทังแหล่งอนุ รักษ์พนั ธุ กรรมทีสําคัญ 2. เพือการท่องเทียวพักผ่อนหย่อนใจ เนืองจากในเขตอุทยานแห่งชาติมีทิวทัศน์ทาง ธรรมชาติทีสวยงามเหมาะกับการใช้ ประโยชน์ทางการ ท่องเทียว เพือให้เกิดความสุ ขกายสุ ขใจ และช่วยผ่อนคลายความเครี ยดจากการปฏิบตั ิงานประจํา 3. เพือการศึกษาค้นคว้าวิจยั พืนทีอุทยานแห่งชาติสามารถจัดเป็ นห้องทดลองทางธรรมชาติ กลางแจ้ง ทีสามารถค้นคว้าวิจยั ไม่มีทีสิ นสุ ด ของนักศึกษา นักวิทยาศาสตร์ และประชาชนทัวไป คุณค่ าของอุทยานแห่ งชาติ 1. ด้านการอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ปั จจุบนั สถานการณ์ป่าไม้ โดยเฉพาะในประเทศ กําลังพัฒนาถูกทําลายอย่างมาก เนืองจากความต้องการทีดินเพือการเกษตรการประกาศจัดตังพืนที เป็ นอุทยานแห่งชาติก็เพือช่วยคุม้ ครองทรัพยากรธรรมชาติทีสําคัญไว้ เป็ นมาตรการหนึงทีมี ประสิ ทธิ ภาพ เนืองจากมีกฎหมายทีเข้มงวด มีบทลงโทษทีรุ นแรง มีการบริ หาร มีอตั รากําลัง และ งบประมาณทีจะดูแลได้อย่างใกล้ชิด
2. ด้านเศรษฐกิจ อุทยานแห่งชาติมีวตั ถุประสงค์หลักอย่างหนึงคือ เพือการท่องเทียวและ พักผ่อนหย่อนใจ ทําให้เกิดธุ รกิจท่องเทียวและบริ การ ซึ งเป็ นทีมาของรายได้ ของราษฎรในท้องถิน และเกิดอุตสาหกรรมการท่องเทียวทีมีการใช้แรงงานในท้องถินเป็ นหลัก ทําให้มีการกระจายรายได้ นอกจากนีพืนทีอุทยานแห่งชาติ ยังเป็ นแหล่งอนุ รักษ์พนั ธุ กรรมดังเดิม ทีสามารถนําไปใช้ในการ ผสมพันธุ์พืชและสัตว์ เพือให้ได้พนั ธุ์แท้ทีทนทานต่อโรคและแมลง และให้ผลผลิตสู ง ทังช่วยรักษา สภาพแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการเกษตร บางแห่งเป็ นต้นนําทีสําคัญทีระบายนําลงสู่ ลาํ ธาร ตอนล่าง 3. ด้านการศึกษา ค้นคว้า วิจยั อุทยานแห่งชาติเป็ นพืนทีทีไม่ถูกรบกวน จึงเป็ นทีที นักวิทยาศาสตร์ สิงแวดล้อมโดยเฉพาะอย่างยิงทางด้านนิ เวศวิทยา ต้องการเพือการศึกษาวิจยั ทาง ธรรมชาติ และเลือกพืนทีอุทยานแห่งชาติเป็ นสถานีวจิ ยั ในโครงการวิจยั ทีสําคัญๆ ระดับชาติ และ ระดับโลก 4. ด้านสังคมและวัฒนธรรม อุทยานแห่งชาติเป็ นแหล่งทีมีคุณค่าทางด้านนันทนาการที ประชาชนสามารถใช้ เวลาว่างเทียวพักผ่อน ทําให้ร่างกายและจิตใจดีขึน เป็ นทีมาของสติปัญญา ทํา ให้มีประสิ ทธิ ภาพในการทํางาน ซึ งเป็ นแนวทางในการพัฒนาสังคมไปในทางทีดี ดังจะพบว่านัก ประพันธ์ นักกวี นักแต่งเพลง หรื อแม้แต่พระพุทธเจ้าได้ใช้ป่าเป็ นแหล่งผลิตผลงานอันอมตะ อุทยานแห่งชาติได้นาํ ความเจริ ญสู่ พืนทีใกล้เคียงมี ถนน ไฟฟ้ า ประปา อุทยานแห่งชาติเป็ นแหล่ง อนุรักษ์โบราณวัตถุและ โบราณสถานให้คงอยูเ่ พือเตือนใจประชาชนให้เห็นความสําคัญและ บทเรี ยนต่างๆ ทีเกิดขึนในอดีต นอกจากนีกิจกรรมการท่องเทียวยังช่วยเผยแพร่ วฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ของท้องถินให้แพร่ หลาย ทําให้ประชาชนสํานึกถึงความสําคัญของ ขนบธรรมเนียมประเพณี ดงเดิ ั ม บางครังการท่องเทียวมีส่วนช่วย เปลียนวิถีชีวติ ของประชาชนใน พืนทีจากการเกษตรมาเป็ นการค้าขาย และนําเทียวมากขึน 5. ด้านสิ งแวดล้อม อุทยานแห่งชาติถูกจัดขึนเพือ รักษาสภาวะแวดล้อมให้อยูใ่ นสภาพ ธรรมชาติเดิมมากทีสุ ดอุทยานแห่งชาติจึงเป็ น พืนทีทีช่วยรักษาสมดุลของสิ งแวดล้อม จึงเกิดความ มันคงแก่กระบวนการทางอุทกวิทยา ช่วยป้ องกันการพังทลายของดิน ช่วยควบคุมสภาพภูมิอากาศ ช่วยรักษาคุณภาพสิ งแวดล้อมให้เหมาะสม ต่อสิ งมีชีวติ ช่วยคุม้ ครองรักษาประสิ ทธิ ภาพของระบบ นิเวศให้ได้ผลผลิตยังยืนตลอดไป และเป็ นแหล่งช่วยพัฒนาจิตของมนุษย์ส่งผลให้ลดปั ญหา สิ งแวดล้อมทางด้านสังคมตามมา
6. ด้านความมันคงของประเทศ พืนทีอุทยานแห่งชาติเหมือนคลังมหาสมบัติของประเทศ บางแห่งประกอบด้วยป่ าไม้และแร่ ธาตุอย่างสมบูรณ์ ในยามวิกฤติเมือชาติตอ้ งการใช้ ทรัพย์สิน ดังกล่าวเพือความอยูร่ อดของประเทศ ก็สามารถนํามาใช้ได้
ภาคผนวก ข การท่ องเทีย$ วเชิงอนุรักษ์ หรือเชิงนิเวศ(Ecotourism) นิยามและความหมายการท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ การท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ เป็ นแนวความคิดทีพึงปรากฏขึนเมือไม่นานมานี และยังมีการใช้ คําภาษาอังกฤษอืนๆทีให้ความหมายเช่นเดียวกัน ทีสําคัญได้แก่ Nature Tourism, Biotourism, Green Tourism เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม การท่องเทียวดังกล่าวล้วนแต่เป็ นการบ่งบอกถึง การ ท่องเทียวแบบยังยืน (sustainable tourism) ซึ งจากการประชุม Globe 1990 ณ ประเทศแคนาดาได้ให้ คําจํากัดความของการท่องเทียว แบบยังยืนว่า "การพัฒนาทีสามารถตอบสนองความต้องการของ นักท่องเทียวและผูเ้ ป็ นเจ้าของ ท้องถินในปั จจุบนั โดยมีการปกป้ องและสงวน รักษาโอกาสต่างๆ ของอนุชนรุ่ นหลังด้วย การท่องเทียวนีมีความหมายรวมถึงการจัดการทรัพยากรเพือตอบสนอง ความจําเป็ น ทางเศรษฐกิจสังคม และความงามทางสุ นทรี ยภาพ ในขณะทีสามารถรักษาเอกลักษณ์ ทางวัฒนธรรมและระบบนิ เวศด้วย" โดยมีลกั ษณะทีสําคัญคือ เป็ นการท่องเทียว ทีดําเนิ นการภายใต้ ขีดจํากัดความสามารถของธรรมชาติ และต้องตระหนักถึงการมีส่วนร่ วมของประชากร ชุมชน ขนบธรรมเนียม ประเพณี ทีมีต่อขบวนการท่องเทียว อีกทังต้องยอมรับให้ประชาชนทุกส่ วนได้รับ ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจทีเกิดจาก การท่องเทียวอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน และต้องชีนําภายใต้ ความปรารถนาของประชาชนท้องถินและชุมชนในพืนทีท่อง เทียวนันๆ (สถานบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และสิ งแวดล้อม แห่งประเทศไทย, 2539) สําหรับความหมายของการท่องเทียวเชิง อนุรักษ์ ได้มีบุคคลหรื อองค์กรต่างๆให้ความหมายและคําจํากัดความไว้มากมาย เป็ นทียอมรับใน ระดับหนึงและได้รับการอ้างอิงถึงเสมอ ทีสําคัญมีดงั นี Ceballos Lascurain (1991) อาจจะเป็ นคนแรกทีได้ให้คาํ จํากัดความของการท่องเทียวเชิง อนุรักษ์วา่ "เป็ นการท่องเทียว รู ปแบบหนึงทีเกียวข้องกับการเดินทางไปยังแหล่งธรรมชาติ โดย ไม่ให้เกิดการรบกวนหรื อทําความเสี ยหายแก่ธรรมชาติ แต่มีวตั ถุประสงค์ เพือชืนชม ศึกษาเรี ยนรู ้ และเพลิดเพลินไปกับทัศนียภาพ พืชพรรณ และสัตว์ป่า ตลอดจนลักษณะทางวัฒนธรรมทีปรากฏ ในแหล่งธรรมชาติ เหล่านัน" Elizabeth Boo (1991) ให้คาํ จํากัดความการท่องเทียวเชิงอนุรักษ์วา่ "การท่องเทียวแบบอิง ธรรมชาติทีเอือประโยขน์ต่อ การอนุ รักษ์ อันเนื องมาจากการมีเงินทุนสําหรับการปกป้ องดูแลรักษา
พืนที มีการสร้างงานให้กบั ชุ มชนหรื อท้องถิน พร้อมทังให้การศึกษาและ สร้างจิตสํานึ กด้าน สิ งแวดล้อม" The Ecotourism Society (1991) ได้ให้คาํ จํากัดความการท่องเทียวเชิงอนุ รักษ์วา่ "การ เดินทางไปเยือนแหล่งธรรมชาติ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือการเรี ยนรู ้ถึงวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ ด้วยความระมัดระวัง ไม่ให้เกิดการเปลียนแปลงหรื อทําลายคุณค่าของ ระบบนิเวศและใน ขณะเดียวกันก็ช่วยสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจทีส่ งผลให้การ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เกิด ประโยชน์ต่อประชาชนท้องถิน" Western (1993) ได้ ปรับปรุ งคําจํากัดความการท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ของ The Ecotourism Society ให้สันและกระทัดรัด แต่มีความหมายสมบูรณ์มากขึนคือ "การเดินทางท่องเทียวที รับผิดชอบต่อแหล่งธรรมชาติซึงมีการอนุ รักษ์สิง แวดล้อม และทําให้ชีวติ ความเป็ น อยูข่ อง ประชาชนท้องถินดีขึน" The Commonwealt Department of Tourism (1994) ได้ให้คาํ จํากัดความการท่องเทียว เชิงอนุ รักษ์คือ การท่องเทียว ธรรมชาติทีครอบคลุมถึงสาระด้านการศึกษา การเข้าใจธรรมชาติ สิ งแวดล้อม และการจัดการเพือรักษาระบบนิ เวศให้ยงยื ั น คําว่า ธรรมชาติ สิ งแวดล้อมยังครอบคลุม ถึงขนบธรรมเนียมประเพณี ทอ้ งถินด้วย ส่ วนคําว่าการรักษาระบบนิเวศให้ยงยื ั นนันหมายถึง การ ปั นผลประโยชน์ต่างๆ กลับสู่ ชุมชนท้องถินและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เสรี เวชบุษกร (2538) ให้คาํ จํากัดความการท่องเทียวเชิงอนุรักษ์วา่ "การท่องเทียวทีมีความ รับผิดชอบต่อแหล่งท่องเทียว ทีเป็ นธรรมชาติและต่อสิ งแวดล้อมทางสังคม ซึ งหมายรวมถึง วัฒนธรรมของชุมชนในท้องถิน ตลอดจนโบราณสถาน โบราณวัตถุทีมีอยูใ่ น ท้องถินด้วย" จากการให้ความหมายและคําจํากัดความการท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ดงั กล่าวข้างต้น พอจะ สรุ ปได้วา่ การท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ หมายถึง การท่องเทียวรู ปแบบหนึงทีเกียวข้องกับการเดินทางไป ยังแหล่งธรรมชาติ และแหล่งวัฒนธรรมอย่างมีความรับผิดชอบ โดยไม่ก่อให้เกิด การรบกวนหรื อ ทําความเสี ยหายแก่ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ งแวดล้อม แต่มีวถั ตุประสงค์อย่างมุ่งมันเพือชืนชม ศึกษา เรี ยนรู ้ และเพลิดเพลินไปกับทัศนียภาพ พืชพรรณ และสัตว์ป่า ตลอดจนลักษณะทาง วัฒนธรรมทีปรากฏในแหล่งธรรมชาตินนั อีกทังช่วยสร้างโอกาส ทางเศรษฐกิจทีส่ งผลให้การ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ งแวดล้อมเกิดประโยชน์ต่อชุมชนท้องถินด้วย
แนวคิดพืนฐานของการท่ องเทีย$ วเชิ งอนุรักษ์ สุ รเชษฎ์ เชษฐมาส และดรรชนี เอมพันธุ์ (2538ข) ; สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (2539) ได้กล่าวถึงแนวคิด ทีเป็ นพืนฐานหรื อหลักการของการ ท่องเทียวเชิงอนุ รักษ์ โดยสรุ ปได้ดงั นี 1. เป็ นการท่องเทียวในแหล่งท่องเทียวธรรมชาติ (nature-based) รวมถึงแหล่งวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ ซึ งมีความเป็ นเอกลักษณ์ เฉพาะถิน (identical or uniqe) และทรงคุณค่าในพืนที นัน 2. เป็ นการท่องเทียวอย่างมีความรับผิดชอบ (responsibly travel) และมีการจัดการอย่าง ยังยืน (sustainable management) ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบ หรื อส่ งผลกระทบต่อสิ งแวดล้อมค่อนข้าง ตํา (no or low impact) และช่วยส่ งเสริ มการรักษาคุณภาพสิ งแวดล้อม ของแหล่งท่องเทียวให้ยงยื ั น ตลอดไป 3. เป็ นการท่องเทียวทีมีกระบวนการเรี ยนรู ้ (learning) และการให้การศึกษา (education) เกียวกับระบบนิเวศ และสิ งแวดล้อมของ แหล่งท่องเทียวเพือเพิมพูนความรู ้ (knowledge) ความ ประทับใจ (appreciation) และประสบการณ์ (experience) ทีมีคุณค่า ซึ งจะสร้างความตระหนักและ จิตสํานึกทีถูกต้องทางด้านการอนุ รักษ์ ทังต่อนักท่องเทียว ประชาชนท้องถิน ตลอดจน ผูป้ ระกอบการทีเกียวข้อง 4. เป็ นการท่องเทียวทีนําไปสู่ การกระจายรายได้ ทังในระดับท้องถินและระดับประเทศ โดยคํานึงถึงการมีส่วนร่ วมของชุมชนท้องถิน (involvement of local commuity or people participation) ในภาคบริ การต่างๆ เพือก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อท้องถิน (local benefit) มากกว่า การท่องเทียวทีเคยส่ งเสริ มกันมาตังแต่อดีตจนกระทังปั จจุบนั ที เรี ยกว่า conventional tourism ซึ ง มักจะเป็ น การท่องเทียวแบบหมู่คณะใหญ่ๆ (mass tourism) ทีผลประโยชน์ส่วนใหญ่มกั จะตกอยู่ กับผูป้ ระกอบการ หรื อบริ ษทั นําเทียวเท่านัน
องค์ ประกอบของการท่ องเที$ยวเชิ งอนุรักษ์ ดรรชนี เอมพันธุ์ และสุ รเชษฎ์ เชษฐมาส (2539) กล่าวว่า โดยทัวไปแล้วการวางแผนการ ท่องเทียวซึ งรวมไปไปถึงการท่องเทียวเชิง อนุ รักษ์ ด้วยนัน จะเกียวข้องกับองค์ประกอบสําคัญ 4 ประการ ดังนี 1.ทรัพยากรการท่องเทียว (natural resource tourism) การท่องเทียวเชิงอนุรักษ์เกียวข้องกับธรรมชาติทียังดํารงไว้ซึงสภาพดัง เดิมของ ระบบนิเวศ (first hand ecosystem) และวัฒนธรรมท้องถิน ทีมีความเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะถิน แหล่ง ท่องเทียวเชิงอนุ รักษ์ส่วนใหญ่ จึงมักปรากฏอยูใ่ นพืนทีพืนทีอนุ รักษ์ เช่น อุทยานแห่งชาติ เขตรักษา พันธุ์ สัตว์ป่า และอุทยานประวัติศาสตร์ เป็ นต้น สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่ง ประเทศไทย (2539) กล่าวถึงแหล่งท่องเทียวธรรมชาติ ว่าเป็ นแหล่งทีมีจุดเด่นเป็ นสิ งทีดึงดูดใจ นักท่องเทียว (nature attractions) และตัดขาดจากโลกภายนอก (solitude) ซึ งนักท่องเทียวจะไม่ได้ สัมผัสทีบ้าน นอกจากนียังได้ให้ความหมายของทรัพยากรแหล่งท่องเทียวว่า หมายถึงแหล่ง ท่องเทียวทีเป็ นจุดหมาย (destination) ของการท่องเทียว ซึ งหมายถึงพืนทีทีรองรับนักท่องเทียว พืนทีแหล่งท่องเทียวจะมีทรัพยากรทีเป็ นสิ งดึงดูดใจนักท่องเทียว ความดึงดูดใจ เหล่านันอาจเป็ น ความดึงดูดใจของนักท่องเทียวประเภทใดประเภทหนึง แต่อาจไม่เป็ นสิ งดึงดูดใจของนักท่องเทียว ประเภทอืน ดังนันสภาพ ทรัพยากรจึงมีความสัมพันธ์โดยตรงกับตลาดการท่องเทียว นอกจากความ ดึงดูดใจในทรัพยากรแล้ว ในบางพืนทียังมีกิจกรรมทีเกียวข้องกับการท่องเทียว ดังนัน ทรัพยากร แหล่งท่องเทียวจึงหมายรวมถึงศักยภาพในการประกอบกิจกรรมของนักท่อง เทียวด้วย โดยได้แบ่ง แหล่ง ท่องเทียวออกเป็ น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ แหล่งท่องเทียวทางธรรมชาติ (nature destination) และแหล่งท่องเทียวทางวัฒนธรรม (cultural destination) ซึ งรวมเอาแหล่งท่องเทียวศาสนา ประวัติศาสตร์ และโบราณคดี (historical, archaeological and regions destination) และแหล่ง ท่องเทียวศิลป วัฒนธรรม และประเพณี (art, culture and traditional destinations) เข้าไว้ดว้ ยกัน ดังนัน หากมองการท่องเทียวเชิงอนุ รักษ์เป็ นอุตสาหกรรมบริ การอย่างหนึง แหล่ง ท่องเทียวดังกล่าวข้างต้นจัดได้วา่ เป็ นวัตถุดิบเพือรองรับ การท่องเทียว และเป็ นวัตถุดิบประเภทใช้ แล้วไม่หมดไป หรื อสู ญหายหากมีการควบคุมป้ องกันด้วยการวางแผนอย่างเป็ นระบบ และนําไปสู่ การ ปฏิบตั ิอย่างจริ งจังและต่อเนื อง ซึ งจะเป็ นการสนับสนุนให้แหล่งท่องเทียว ยังประโยชน์เพือ การท่องเทียวได้อย่างยังยืนโดยไม่เสื อมโทรมลงไป ทังยังไม่ส่งผลกระทบต่อระบบนิ เวศจนเกินขีด ความสามารถของระบบทีจะรองรับได้ (carrying capacity)
2. นักท่องเทียวเชิงอนุ รักษ์ สถาบันวิจยั เพือพัฒนาประเทศไทย (2540) ระบุวา่ นักท่องเทียวเชิงอนุ รักษ์สามารถจําแนก ได้เป็ น 4 ประเภท คือ ประเภทที 1 นักท่องเทียวแบบหัวกระทิ (hard-core nature tourists) เป็ น นักท่องเทียวทีเน้นความสําคัญในการศึกษาค้นคว้าขณะ ทีเทียวชมธรรมชาติ ประเภทที 2 นักท่องเทียวธรรมชาติแบบอุทิศตน (dedicated nature tourists) เป็ น นักท่องเทียวทีเน้นเจาะจงไปเทียวสถานที ธรรมชาติโดยเฉพาะ เพือจะได้รู้ได้เข้าใจในธรรมชาติ หรื อประเพณี ทอ้ งถิน ประเภทที 3 นักท่องเทียวธรรมชาติเป็ นหลัก (mainstream nature tourists) เป็ น นักท่องเทียวทีชอบไปสถานทีแปลกๆ ทีไม่เคยไปมาก่อน เช่น ไปเยือนลุ่มนําอเมซอน (Amazon) อุทยานกอริ ลาในรวันดา (Rawanda Gorilla Park) หรื อจุดหมายปลายทางอืนๆ ทีเป็ นการริ เริ ม สําหรับโปรแกรมท่องเทียวพิเศษ ประเภทที 4 นักท่องเทียวธรรมชาติตามโอกาส (casual nature tourists) เป็ น นักท่องเทียวทีบังเอิญต้องไปชมธรรมชาติ เพราะเป็ นส่ วนหนึงของโปรแกรมท่องเทียวทีตนได้เลือก ไป นอกจากนี สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย, 2539 ได้ กล่าวถึงลักษณะของนักท่องเทียวเชิงอนุ รักษ์วา่ จะต้องเป็ นนักท่องเทียวทีมีพฤติกรรมทีเหมาะสม กับวัตถุประสงค์ในการศึกษา หาความรู ้ และประสบการณ์ เพือเสริ มสร้างจิตสํานึกใน การอนุ รักษ์ ธรรมชาต 3. การตลาด การตลาดนับเป็ นส่ วนสําคัญในการชักจูงนักท่องเทียวให้ไปท่องเทียว โดยเป็ น สื อกลางระหว่างนักท่องเทียว ผูป้ ระกอบการ และแหล่งท่องเทียว ซึ งในเชิงการตลาดจะต้องทํา ความเข้าใจให้ชดั เจนว่า การท่องเทียวเชิงอนุ รักษ์ มีลกั ษณะอย่างไร โดยการให้ขอ้ มูลและสิ งที คาดหวังจากการท่องเทียว (expectation) อย่างถูกต้องแก่นกั ท่องเทียว เพือเป็ นการช่วยให้ นักท่องเทียวตัดสิ นใจว่า รู ปแบบของการท่องเทียวในลักษณะเช่นนีเหมาะสม กับความสนใจ และ
ตรงตามความต้องการของตนเองหรื อไม่ และสามารถยอมรับกฏ หรื อกติกาของการท่องเทียวเชิง อนุรักษ์ได้หรื อไม่ ดังนัน จึงเห็นได้วา่ การตลาดเป็ นเครื องมือทีสําคัญในการเลือกสรรประเภทและ คุณภาพ ของนักท่องเทียว เพือส่ งเสริ มสนับสนุน การท่องเทียวในเชิงคุณภาพ (qualitative tourism) มากกว่าการท่องเทียวในเชิงปริ มาณ (quantitative tourism) อันจะเป็ นหนทาง นําไปสู่ การท่องเทียว อย่างยังยืน ซึ งส่ วนใหญ่งานด้านการส่ งเสริ มการตลาดเป็ นหน้าทีของการท่องเทียวแห่ ง ประเทศ ไทย (ดรรชนี เอมพันธุ์ และสุ รเชษฎ์ เชษฐมาส, 2539) 4. การบริ การ การท่องเทียวซึ งรวมถึงการท่องเทียวเชิงอนุ รักษ์ ต้องการสิ งอํานวยความสะดวก ต่างๆ ทีจําเป็ นต่อการสนองความต้องการของนักท่องเทียว ในขณะทีมีกิจกรรมการท่องเทียว แต่ การท่องเทียวเชิงอนุรักษ์นนต้ ั องการบริ การทีเน้นการให้ขอ้ มูลข่าวสาร และการบริ การเพือให้ นักท่องเทียว ได้รับประสบการณ์ ความรู ้ความเข้าใจอย่างลึกซึ งเกียวกับธรรมชาติและวัฒนธรรม ท้องถินท้อง ถิน เช่น บริ การด้านสื อความหมายธรรมชาติ การมีส่วนร่ วมของประชาชนท้องถินใน ภาคบริ การ ซึ งได้แก่ การจัดทีพักทีสอดคล้องกลมกลืนกับธรรมชาติและวัฒนธรรมท้องถิน (ecolodge) เป็ นมัคคุเทศก์นาํ ทางในการเดินป่ า เป็ นต้น
กิจกรรมทีส$ อดคล้ องกับการท่ องเทีย$ วเชิ งอนุรักษ์ กิจกรรมท่องเทียวในแหล่งธรรมชาติและแหล่งวัฒนธรรม นับได้วา่ มีความหลากหลาย ซึ ง กิจกรรมบางประเภทอาจมีลกั ษณะทีบ่งชีว่าเป็ น การท่องเทียวเชิงอนุ รักษ์ ในขณะทีบางกิจกรรม อาจมีความกํากึง หรื อคาบเกียว ซึ งต้องพิจารณาถึงองค์ประกอบ วัตถุประสงค์ในการปฏิบตั ิ กิจกรรม และการให้บริ การว่ามุ่งเน้นอะไร และอย่างไร เช่น เพือพักผ่อนหย่อนใจ ศึกษาหาความรู ้ ผจญภัย กีฬาสนุกสนาน เพือความบันเทิง สัมผัสองค์ประกอบของแหล่งท่องเทียว แลกเปลียนและ ถ่ายทอดประสบการณ์ เป็ นต้น ดรรชนี เอมพันธุ์ และสุ รเชษฎ์ เชษฐมาส (2539) กล่าวว่า กิจกรรมการท่องเทียวเชิงอนุ รักษ์ จะต้องมีเรื องของการเรี ยนรู ้ และได้รับ ประสบการณ์เกียวกับธรรมชาติเข้ามาเกียวข้อง ซึ งศูนย์วจิ ยั
ป่ าไม้ (2538) ได้แบ่งกลุ่มกิจกรรมทีเกียวข้องกับการท่องเทียวเชิงอนุ รักษ์ ออกเป็ น 3 กลุ่ม ซึ งมีทงั กิจกรรมหลัก และกิจกรรมเสริ ม คือ - กิจกรรมการท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ (ecotourism activities) เป็ นกิจกรรมหลัก - กิจกรรมท่องเทียวทีเน้นการได้ใกล้ชิดชืนชมธรรมชาติ - กิจกรรมท่องเทียวทีเน้นการผจญภัยตืนเต้นท้าทายกับธรรมชาติ (adventurous recreational activities) เป็ นกิจกรรมเสริ ม ซึ งจะต้องเป็ นกิจกรรมทีสอดคล้องและไปด้วยกันได้ดีกบั กิจกรรมการท่องเทียวเชิง อนุรักษ์ กล่าวคือ เป็ นกิจกรรมทีกระทําในพืนทีธรรมชาติ มีการจํากัดจํานวนนักท่องเทียวต่อกลุ่ม ต่อกิจกรรม ทังนี เพือไม่สร้างผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมธรรมชาติ 1.กิจกรรมการท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ ได้แก่ การเดินป่ า (hiking/ trekking) กิจกรรมศึกษา ธรรมชาติ (nature education) กิจกรรมถ่ายรู ปธรรมชาติ บันทึกเทปวีดีโอ เทปเสี ยงธรรมชาติ (nature photography video taping and sound of nature audio taping) กิจกรรมส่ องสัตว์/ดูนก (animal/bird watching) กิจกรรมศึกษา/เทียวถํา (cave exploring/ visitig) กิจกรรมศึกษา ท้องฟ้ าและดาราศาสตร์ (sky interpretation) กิจกรรมล่องเรื อศึกษาธรรมชาติ (boat sightseeing) กิจกรรมพายเรื อแคนู (canoeing)/ เรื อคะยัค (kayak) / เรื อบด (rowboating)/ เรื อใบ (sailboating) กิจกรมดํานําชมปะการัง นําตืน (snorkle or skiln diving) และกิจกรรม ดํานําลึก (scuba diving) 2.กิจกรรมท่องเทียวประเภทชืนชมธรรมชาติและกิจกรรมท่องเทียวประเภทตืนเต้นผจญภัย ท้าทายกับธรรมชาติ ได้แก่ กิจกรรมชม ทิวทัศน์ธรรมชาติในบรรยกาศทีสงบ (relaxing) กิจกรรมขี จักรยานตามเส้นทางธรรมชาติ (terrain/ mountain biking) กิจกรรมปี น/ไต่เขา (rock/ mountain climbing) กิจกรรมพักแรมด้วยเต้น (tent camping) กิจกรรมเครื องร่ อนขนาดเล็ก (hang glider) กิจกรรม ล่องแพยาง/ไม้ไผ่ (white water rafting) กิจกรรมพักผ่อนรับประทานอาหาร (picnicking) กิจกรรมเทียวนําตก (waterfall visits/ exploring) และ กิจกรรมวินด์เซิ ร์ฟ (wind surfing)
ภาคผนวก ค ป่ าดิบแล้ง ปัจจัยกําหนดในการเกิดป่ าดิบแล้ ง สังคมป่ าดงดิบแล้งจัดได้วา่ เป็ นสังคมถาวรในสภาพภูมิอากาศแถบกึงร้อน (subtropical climate) ของประเทศไทย ปั จจัยหลักทีเป็ นปั จจัยกําหนดของสังคมนีคือฤดูกาลทีมีการแบ่งแยก เด่นชัด อย่างน้อยต้องมีช่วงความแห้งแล้งทียาวนานประมาณ 3 - 4 เดือน มีดินค่อนข้างลึกสามารถ กักเก็บนําได้ดีพอควรทีจะทําให้พนั ธุ์ไม้บางชนิด สามารถคงใบอยูไ่ ด้ตลอดช่วงความแห้งแล้งนี และไม้มีไฟป่ าเข้ามารบกวน ด้วยสาเหตุนีดินในป่ าดงดิบแล้งจึงมักเป็ นดินเหนียวปนทราย ปกติป่าชนิดนีพบตังแต่ระดับความสู งจากนําทะเลประมาณ 100 เมตร ขึนไปจนถึง 800 เมตร มีนาฝนเฉลี ํ ยประมาณ 1,000 ถึง 2,000 มิลลิเมตรต่อปี ลักษณะโครงสร้ างของป่ าดิบแล้ ง ป่ าดิบแล้งโดยทัวไปมีเรื อนยอดไม้ปกคลุมต่อเนื องกันโดยตลอด โครงสร้างทางด้านตัง ของป่ าชนิดนีส่ วนใหญ่ประกอบด้วยไม้ 3 ชันเรื อนยอด ชันบนสุ ดมีความสู งตังแต่ 25 เมตรขึนไป อาจถึง 40 เมตร พันธุ์ไม้สาํ คัญในเรื อนยอดชันบนได้แก่ ตะเคียนเต็ง สัตบรรณ ปออีเก้ง กระพง มะยมป่ า ความหนาในชันเรื อนยอดนี อยูใ่ นช่วง 10 - 20 เมตร กิงของแต่ละต้นจะซ้อนทับกันน้อย ปริ มาณใบมากและแน่นทึบในฤดูฝนแต่ลดลงในช่วง ฤดูแล้ง ไม้ส่วนใหญ่ตอ้ งการแสงปานกลางถึง มาก เรื อนยอดชันรองมีความสู งประมาณ 10 - 20 เมตร พันธุ์ไม้สาํ คัญได้แก่ ตะครํา มะหวด มะเฟื องช้าง ข้าวสารหลวง ลําดวน แก้ว ลําไยป่ า มะไฟ มะเดือปล้อง ในช่วงฤดูแล้งจํานวนใบบน ต้นของไม้ชนนี ั ลดปริ มาณลงอย่างเด่นชัด ทําให้ป่ามีความแห้งแล้งและส่ งผลกระทบต่อพืชคลุมดิน เรื อนยอดชันล่างมีความสู งประมาน 5 – 10 เมตร และชันไม้พุม่ มีความสู งไม่เกิน 5 เมตร แต่ส่วนใหญ่อยูใ่ นช่วง 3 เมตร ประกอบด้วยไม้พุม่ และลูกไม้ของไม้ใหญ่ พันธุ์ไม้สาํ คัญได้แก่ คือ ชิงชี กระดูกค่าง เข็มขาว หัสคุณ และดูกค่าง ขึนอยูม่ ากทีระดับผิวดิน ป่ าดิบแล้งทีสมบูรณ์มกั ปก คลุมด้วยสากพืชทีหนาโดยเฉพาะต้นช่วงฤดูฝนหลังการทิงใบของไม้ผลัดใบ พืชจําพวกว่าน บอน และลูกไม้ใหญ่ทีเริ มงอก หลังจากได้รับฝนแรกของปี ชนิ ดทีพบเห็นได้บ่อยครัง เช่น ดอกดิน
ดอกดินแดง ดองดึง ว่านอึง พร้าวนกคุ่ม ว่านพระฉิ ม และว่านนางดํา เป็ นต้น แหล่งทีมา : กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ งแวดล้อม. ม.ป.ป. แผนการจัดการกลุ่มป่ าแก่ งกระจานเชิ งนิเวศน์ . (เอกสารอัดสําเนา).
ภาคผนวก ง แนวทางการออกแบบพืนทีร$ ิมนํา พนังกันนําแบบมีโครงสร้าง
ทีมา : ดัดแปลงมาจากแหล่งทีมา http://www.onep.go.th/eia/page2/Guideline/web_guidelines 13_11_49/IEE_02.htm (10 กรกฎาคม 2555)
ทีมา : ดัดแปลงมาจากแหล่งทีมา http://www.onep.go.th/eia/page2/Guideline/web_guidelines 13_11_49/IEE_02.htm (10 กรกฎาคม 2555)
พนังกันนําแบบไม่มีโครงสร้าง
ทีมา : ดัดแปลงมาจากแหล่งทีมา http://www.onep.go.th/eia/page2/Guideline/web_guidelines 13_11_49/IEE_02.htm (10 กรกฎาคม 2555)
พนังกันนําแบบใช้เนิ นดิน
ทีมา : ดัดแปลงมาจากแหล่งทีมา http://www.onep.go.th/eia/page2/Guideline/web_guidelines 13_11_49/IEE_02.htm (10 กรกฎาคม 2555)
ทีมา : ดัดแปลงมาจากแหล่งทีมา http://www.onep.go.th/eia/page2/Guideline/web_guidelines 13_11_49/IEE_02.htm (10 กรกฎาคม 2555)
ประวัติผู้เขียน ชือ
นายวิชญะ อยูด่ ี
เกิด
09 ธันวาคม 2532
ทีอยู่
137/14 หมู่บา้ นสรรเพชรวิลล์ ต.บ้านหม้อ อ.เมือง จ.เพชรบุรี 76000
โทรศัพท์
032-424699, 089-1176716
ประวัติการศึกษา - ระดับประถมศึกษา โรงเรี ยนเซนต์โยเซฟ จังหวัดเพชรบุรี - ระดับมัธยมศึกษา โรงเรี ยนพรหมานุสรณ์ จังหวัดเพชรบุรี - ระดับอุดมศึกษาปริ ญญาตรี ภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ งแวดล้อม มหาวิทยาลัย แม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่