อุทยานการเรียนรู้เรือหลวงลันตา

Page 1



โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการเรียนรู้ เรือหลวงลันตา จังหวัดกระบี่ LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN AND PLANNING PROJECT OF HTMS LANTA LEARNING PARK, KRABI

รวงทิพย์ เกือ้ นุ้ย 5013101311

วิทยานิพนธ์ นีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของความสมบูรณ์ ของการศึกษาตามหลักสู ตร ปริญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้ อม

มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ พ.ศ.2554 ลิขสิ ทธิ์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้




ชื่อเรื่อง

โครงการออกแบบ วางผัง ออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม อุทยานการเรี ยนรู ้เรื อหลวงลันตา จังหวัดกระบี่

ชื่อผู้เขียน

รวงทิพย์ เกื้อนุย้

ชื่อปริญญา

ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม

ประธานกรรมการทีป่ รึกษา

อาจารย์ จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

บทคัดย่ อ โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้เรื อหลวงลันตา จังหวัดกระบี่ มีพ้ืนที่ท้ งั หมด 90 ไร่ สถานที่ต้ งั โครงการ 333 หมู่ 7 ตําบล ไสยไทย อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่ เป็ นที่ดินของรัฐบาลตั้งอยูใ่ นส่ วนราชการคือ สํานักองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่และท่าเทียบ เรื อท่องเที่ยว วัตถุประสงค์ เพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ สถานที่ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ และ นิเวศวิทยาทางทะเลแห่งใหม่ระดับประเทศไทย และเพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยูห่ วั เนื่องในวโรกาสครบ 84 พรรษา โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม อุทยานการเรี ยนรู ้เรื อหลวงลันตา จังหวัดกระบี่ มีแนวความคิดในการออกแบบโครงกา รคือ อุทยานการผจญภัย โดยทําออกแบบพื้นที่อุทยานการ เรี ยนรู ้เรื อหลวงลันตาให้มีการผจ ญภัย ให้ผใู ้ ช้ได้ทาํ กิจกรรมและมีส่วนร่ วมในพื้นที่ เพิ่มความ ตื่นเต้นเร้าใจ ดึงดูดการเรี ยนรู ้ สาม ารถแบ่งออกได้เป็ น 4 ฐานผจัญภัย ได้แก่ ผจัญภัยชายฝั่ง ผจัญ ภัยชายเลน ผจัญภัยใต้น้ าํ ผจัญภัยบนเกาะ โครงการออกแบบวางผัง ภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้เรื อหลวงลันตา จังหวัดกระบี่ รองรับผูม้ าใช้บริ การ ที่หลากหลาย อาทิ เช่น นักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวพื้นที่โครงการโดยตรง นักท่องเที่ยวท่าเทียบเรื อ ข้าราชการ พื้นที่โครงการจึงเป็ นพื้นที่ให้ความรู ้และยังเป็ นพื้นที่พกั ผ่อน อีกด้วย


Title

Landscape Architectural Design and Laning Project of HTMS Lanta Leaming Park, Krabi

Author

Miss.Ruangthip Kueanui

Degree of

Bachelor of Landscape Architecture

Advisory Committee Chairperson

Miss.Charaspim Bunyanan

Abstract Landscape Architectural Design and Planning Project of HTMS Lanta Learning Park, Krabi province has a total area of 90 acres at 333 Moo 7, Tambon Sai Thai, Muang, Krabi. This federal land is located within the government office areas next to the Office of the Provincial Administration Organization, Krabi and Klong Jilard tourism boat dock. This project was intended to be a source for learning, and a new national historic and marine ecology tourist attraction. The other objective was to honor His Majesty the King on the occasion of his 7th cycle, or 84th, birthday anniversary. The main concept of the Landscape Architectural Design and Planning Project of HTMS Lanta Learning Park, Krabi is to design an adventure park. The learning activities were divided into four bases including the coast, wetland, submarine, and island adventurous bases. Landscape Architectural Design and Planning Project of HTMS Lanta Learning Park, Krabi was designed to serve a variety of users such as tourists of the learning park itself, tourists visiting the boat dock, and government officers. This project was not only the learning park but also the recreational one.


กิตติกรรมประกาศ โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้เรื อหลวงลันตา จังหวัด กระบี่ สามารถดําเนินงานและลุล่วงไปได้ดว้ ยดี เพราะได้คาํ แนะนํา การช่วยเหลือจากบุคคลต่อไปนี้ ขอขอบคุณครอบครัว พ่อนพ แม่เหมียว ตารวบ ยายไพ น้าพิมพ์ น้องทูน ที่ยกขบวนกัน ไปสอบถามข้อมูล เก็บข้อมูล ด้วยกันที่ องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ ขอบขอบคุณอาจารย์จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ ประธานกรรมการที่ปรึ กษา ที่เป็ นคนค้นหา หัวข้อวิทยานิพนให้ ตอนนั้นเกือบท้อแท้ในการค้นหาหัวข้อ และยังเป็ นหัวข้อที่อยูใ่ นจังหวัดบ้าน เกิด ทําให้หาข้อมูลได้สะดวก อาจารย์ต๋ ูจึงเปรี ยบเป็ นเหมือน “นางฟ้ าขี่มา้ ขาว” ขอขอบคุณอาจารย์ยทุ ธภูมิ เผ่าจินดา กรรมการที่ปรึ กษา อาจารย์แบงค์ก้ ีเป็ น My Idol อยากเก่งและเจ๋ งแบบอาจารย์แบงค์ ขอบคุณที่มอบคําแนะนําเจ๋ ง ๆ ขอขอบคุณอาจารย์วีรกิต วงศ์วิชิต กรรมการที่ปรึ กษา ที่คอยมอบข้อมูลที่เป็ นประโ ยชน์ ทั้งคําแนะนําและหนังสื อ อาจารย์โจ้เป็ นแบบอย่างที่ดีในเรื่ องของความขยันและการตั้งใจทํางาน ชื่นชมในผลงานของอาจารย์มาก ขอขอบคุณบุคลากรสํานักงานองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ และ ท่าเทียบเรื อ ท่องเที่ยวคลองจิหลาด ที่ให้ขอ้ มูลการจัดทําวิทยานิพนธ์ ขอขอบคุณพี่เบิ้ม เจ้าหน้าที่หอ้ งสมุด ในการศึกษาค้นหาข้อมูลจากเอกสารในห้องสมุด ขอขอบคุณเพื่อนนุย้ เพื่อนต่าย เพื่อนกิ่ง เพื่อนวรรณ เพื่อนนุ เพื่อนมิ้น ที่มาช่วยทํา เดลจนเสร็ จและคําแนะนําต่างๆ เพื่อนป๋ องที่ให้ยมื กล้องถ่ายรู ป ขอขอบคุณพี่นอ้ ง พี่ร้านปริ้ นงาน ที่คิดค่าปริ้ นถูก ๆ ขอบขอบคุณผูเ้ ป็ นแรงบันดาลใจ ทําให้เด็กเกเรคนหนึ่ง ที่ไม่ชอบเรี ยน กลับใจ อยากเป็ น คนที่ต้ งั ใจเรี ยน และค้นพบว่า การตั้งใจเรี ยนและตั้งใจทํางาน มันเท่ห์แบบนี้นี่เอง รวงทิพย์ เกื้อนุย้ 8 สิ งหาคม 2555


สารบัญเรื่อง เรื่อง

หน้ า

หน้าปกด้านใน

(1)

หน้าใบรับรองวิทยานิพนธ์

(2)

บทคัดย่อภาษาไทย

(3)

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

(4)

กิตติกรรมประกาศ

(5)

สารบัญประกอบด้วย -

สารบัญเรื่ อง

(6)

-

สารบัญตาราง

(8)

-

สารบัญภาพ

(9)

-

สารบัญแผนที่

(11)

1. บทนํา 1.1 ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ 1.2 สถานที่ต้ งั โครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 1.3 วัตถุประสงค์

1 2 2

1.4 ขอบเขตของการศึกษา

3

1.5 ขั้นตอนและวิธีการดําเนินการศึกษา

3

1.6 ประโยชน์ที่จะได้รับจากการศึกษา

5

2. ที่ต้ งั และความสําคัญของโครงการ


สารบัญเรื่อง (ต่อ) 2.1 ที่ต้ งั และรายละเอียดของโครงการ

7

2.2 อาณาเขตติดต่อ

7

2.3 การเข้าถึงพื้นที่โครงการ

7

2.4 ความสําคัญของโครงการ

10

2.5 สภาพการใช้ที่ดินในปั จจุบนั ภายในพื้นที่โครงการ

11

3. การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ 3.1 พิจารณาความเป็ นไปได้ในการเลือกพื้นที่

17

3.2 พิจารณาความเป็ นไปได้ของโครงการทางด้านเศรษฐศาสตร์

18

3.3 พิจารณาความเป็ นไปได้ของโครงการทางด้านผูใ้ ช้บริ การ

18

3.4 พิจารณาความเป็ นไปได้ของโครงการทางด้านท่องเที่ยว

19

3.5 พิจารณาความเป็ นไปได้ของโครงการทางด้านสาธารณูปโภค

19

4. กรณี ศึกษา 4.1 อุทยานประวัติศาสตร์ทหารเรื อ (พิพิธภัณฑ์เรื อรบหลวงแม่กลอง) 4.1.1 ประวัติความเป็ นมา

25

4.1.2 วัตถุประสงค์

24

4.1.3 การเดินทาง

24

4.1.4 แนวความคิดในการออกแบบ

24

4.1.5 ส่ วนประกอบของโครงการ

26

4.1.6 สรุ ปผลการวิเคราะห์กรณี ศึกษา

27


สารบัญเรื่อง (ต่อ) 4.1.7 ความสัมพันธ์ของกรณี ศึกษากับโครงการ

28

4.1.8 รู ปแบบที่มาปรับใช้ในโครงการ

28

4.2 ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) 4.2.1 ประวัติความเป็ นมา

35

4.2.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ

36

4.2.3 การเดินทาง 4.2.4 แนวคิดในการออกแบบ

36 36

4.2.5 ส่ วนประกอบของโครงการ

37

4.2.6 สรุ ปผลการวิเคราะห์กรณี ศึกษา

38

4.2.7 ความสัมพันธ์ของกรณี ศึกษากับโครงการ 4.2.8 รู ปแบบที่มาปรับใช้ในโครงการ

39 39

4.3 พิพิธภัณฑ์วาซา 4.3.1 ประวัติความเป็ นมา

45

4.3.2 วัตถุประสงค์

45

4.3.3 การเดินทาง

45

4.3.4 แนวคิดในการออกแบบ

46

4.3.5 ส่ วนประกอบของโครงการ

46

4.3.6 สรุ ปผลการวิเคราะห์กรณี ศึกษา

47

4.3.7 ความสัมพันธ์ของกรณี ศึกษากับโครงการ

47


สารบัญเรื่อง (ต่อ) 4.2.8 รู ปแบบที่มาปรับใช้ในโครงการ

47

5. ข้อมูลและการวิเคราะห์ขอ้ มูลของโครงการ 5.1 การวิเคราะห์ขอ้ มูลทัว่ ไปของจังหวัด

52

5.2 การวิเคราะห์ลกั ษณะทางกายภาพของพื้นที่โครงการ

56

5.3 การวิเคราะห์ขอ้ มูลทางวัฒนธรรมและสิ่ งที่มนุษย์สร้างของพื้นที่โครงการ

62

5.4 ข้อมูลสุ นทรี ยภาพ

71

5.5 กลุ่มผูใ้ ช้สอย

73

5.6 การวิเคราะห์หาศักยภาพและพัฒนาพื้นที่โครงการ

75

5.7 การวิเคราะห์แบ่งพื้นที่ใช้สอยในโครงการ

79

6. แนวความคิดในการออกแบบ 6.1 แนวคิดในการออกแบบ (Main Concept)

89

6.2 แนวความคิดด้านใช้ที่ดิน (LAND USE)

89

6.3 แนวความคิดในการใช้พืชพันธุ์

91

6.4 แนวความคิดทางสัญจร

94

6.5 แนวความคิดด้านอาคาร

94

7. รายละเอียดโครงการเพื่อการออกแบบ 7.1 รายละเอียดการออกแบบ ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ

107

8. ผลงานการออกแบบ 8.1 Site Introduction

110

8.2 Site Analysis ข้อมูลทางธรรมชาติ

110


สารบัญเรื่อง (ต่อ) 8.3 Site Analysis ข้อมูลทางวัฒนธรรมและสิ่ งที่มนุษย์สร้าง

111

8.4 Site Analysis ข้อมูลทางวัฒนธรรมและสิ่ งที่มนุษย์สร้าง, ข้อมูลทางสุ นทรี ยภาพ ข้อมูลผูใ้ ช้สอยโครงการ, ข้อมูลเฉพาะด้าน

111

8.5 Site Synthesis

111

8.6 Conceptual Design

112

8.7 Conceptual Design

112

8.8 Master Plan

112

8.9 Detail A

112

8.10 Detail B

113

8.11 Detail C

113

8.12 Over All Perspective

114

8.13 Model

114

9. บทสรุ ปและข้อเสนอแนะ 9.1 บทสรุ ป

128

9.2 ข้อเสนอแนะสําหรับผูส้ นใจจะทําโครงการระเภทเดียวกัน

129

บรรณานุกรม

130

ประวัตินกั ศึกษา

131


สารบัญแผนที่ แผนที่

หน้ า

1. แสดงที่ต้ งั โครงการประเทศ

12

2. แสดงที่ต้ งั โครงการระดับภาค

13

3. แสดงที่ต้ งั โครงการระดับจังหวัด

14

4. แผนที่ต้ งั โครงการระดับตัวเมืองกระบี่

15

5. แผนที่ต้ งั โครงการ

16

6. แผนที่ลกั ษณะภูมิประเทศและความลาดชัน

59

7. แสดงที่แหล่งนํ้าและการระบายนํ้า

60

8. แสดงลักษณะพืชพรรณเดิม

61

9. แสดงการใช้ประโยชน์พ้นื ที่ดินเดิม

67

10. แสดงระบบสาธารณูปโภค

68

11. แสดงระบบสัญจรทางรถยนต์

69

12. แสดงระบบสัญจรทางเท้า

70

13. แสดงลักษณะและการพัฒนาพื้นที่

87

14. แสดงการแบ่งพื้นที่ใช้สอย

88

15. Bubble Diagram

96

16. Zoning Diagram

97

17. Form Composition

98


สารบัญแผนที่ (ต่อ) 18. ทางเดินเท้า

100

19. ทางสัญจรรถนักท่องเที่ยวท่าเทียบเรื อ

101

20. ทางสัญจรรถบริ การโครงการ

102

21. ทางสัญจรรถบริ การนักท่องเที่ยว

103

22. ทางสัญจรรถนักท่องเที่ยวโครงการ

104

23. ทางสัญจรรถบุคลากร

105

24. Planting concept

106


สารบัญภาพ ภาพที่

หน้ า

1. แสดงภาพถ่ายทางอากาศโครงการอุทยานประวัติศาสตร์ทหารเรื อ (พิพิธภัณฑ์เรื อรบ

29

หลวงแม่กลอง) 2. แสดงแนวความคิดในการวางพื้นที่ใช้สอย

30

3. แสดงแนวความคิดในการออกแบบระบบการสัญจร

30

4. แสดงพิพิธภัณฑ์เรื อหลวงแม่กลอง

31

5. แสดงทัศนียภาพพระบรมราชานุสาวรี ยพ์ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั

31

6. แสดงพระบรมราชานุสาวรี ยพ์ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั

32

7. แสดงเส้นทางศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน

32

8. แสดงป้ อมพระจุลจอม

33

9. แสดงทัศนียภาพพิพิธภัณฑ์เรื อหลวงแม่กลอง

33

10. แสดงสะพานชมภูมิประเทศ

34

11. แสดงสะพานชมภูมิประเทศ

34

12. แสดงภาพถ่ายทางอากาศโครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู)

40

13. แสดงแนวความคิดในการวางพื้นที่ใช้สอย

40

14. แสดงแนวความคิดในการออกแบบระบบการสัญจร

41

15. แสดงศาลาสุ ขใจ

41

16. แสดงส่ วนสะพานสุ ขตาที่เชื่อมโยงไปสู่ ศาลาสุ ขใจที่ทอดยาวไปยังทะเลอ่าวไทย

42


สารบัญภาพ (ต่อ)

17. แสดงพื้นที่ที่มีการจัดภูมิทศั น์ มีการตัดแต่งพรรณไม้พมุ่

42

18. แสดงเส้นทางหลักเข้าพื้นที่โครงการ ที่มีส่วนของทางเดินเท้า และทางรถ

43

19. แสดงหอดูนก

43

20. แสดงเขตแนวกั้นคลื่นจากทะเลอ่าวไทยของโครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก

44

21. แสดงพื้นที่โครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู)

44

22. แสดงภาพถ่ายทางอากาศโครงการพิพิธภัณฑ์วาซา ประเทศสวีเดน

48

23. แสดงแผนที่ส่วนการจัดแสดงภายในพิพิธภัณฑ์วาซา

49

24. แสดงข้าวของที่จดั แสดงภายในพิพิธภัณฑ์

49

25. แสดงข้าวของที่จดั แสดงภายในพิพิธภัณฑ์

50

26. ส่ วนจัดแสดงเรื อหลวงวาซา

50

27. ทัศนียภาพพิพิธภัณฑ์วาซาด้านทิศตะวันตก บริ เวณท่าเรื อ

51

28. ทัศนียภาพพิพิธภัณฑ์วาซาด้านทิศเหนือ สนามหญ้าโล่งกว้าง

51

29. ทัศนียภาพบริ เวณที่ต้ งั ของเรื อรบหลวงลันตา

71

30. ทัศนียภาพทางทิศใต้

71

31. ทัศนียภาพทางทิศตะวันตก

72

32. ทัศนียภาพทางทิศตะวันออก

72

33. ทัศนียภาพทางทิศตะวันออก

72

34. SITE INTRODUCTION

115

35. SITE ANALYSIS

116


สารบัญภาพ (ต่อ)

36. SITE ANALYSIS

117

37. SITE ANALYSIS

118

38. SITE SYNTHESIS

119

39. CONCEPTUAL DESIGN

120

40. CONCEPTUAL DESIGN

121

41. MASTER PLAN

122

42. DETAIL A

123

43. DETAIL B

124

44. DETAIL C

125

44. OVERALL

126

49. MODEL

127


บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดกระบี่เป็ นจังหวัดที่มีศกั ยภาพด้านการท่องเที่ยวสู ง เนื่องจากมีสภาพภูมิประเทศที่ เป็ นเทือกเขาและที่ราบติดชายฝั่งทะเลอันดามัน และยังประกอบด้วยหมู่เกาะน้อยใหญ่อนั สวยงาม จํานวนมาก มีทรัพยากรป่ าไม้อุดมสมบูรณ์ มีวิถีการดําเนินชีวิตของชุมชนที่มีความเป็ นเอกลักษณ์ พื้นถิ่น ในการที่จะพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพื่อรองรับการขยายตัวทางการท่องเที่ยวอย่างถูกทิศทาง การอนุรักษ์และฟื้ นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม จึงเป็ นสิ่ งสําคัญที่จะต้องคํานึงถึงในการ ดําเนินการ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความประทับใจและความพอใจสูงสุ ดในการเดินทางมาเยือน จังหวัดกระบี่ของนักท่องเที่ยว จังหวัดกระบี่ได้ตดั สิ นใจเลือกพื้นที่ส่วนท่าเทียบเรื อท่องเที่ยวคลอง จิหลาด ปากแม่น้ าํ กระบี่ เนื่องจากเป็ นที่ต้ งั ของท่าเทียบเรื อสําหรับผูท้ ี่จะ เดินทางไปเกาะต่าง ๆ เช่น เกาะลันตา เกาะพีพี ภูเก็ต ฯลฯ แต่ละปี จะมีผใู ้ ช้บริ การไม่ต่าํ กว่า 600,000 คน และยังเป็ นที่ต้ งั ของ ศูนย์ราชการจังหวัดกระบี่ 20 หน่วยงาน จึงมีศกั ยภาพที่จะพัฒนาพื้นที่ให้เป็ นศูนย์เรี ยนรู ้ระบบ นิเวศชายฝั่ง พิพิธภัณฑ์สตั ว์น้ าํ และพิพิธภั ณฑ์เรื อหลวง โดยการนําเรื อหลวงลันตา ซึ่งปลดระวาง แล้วมาจัดสร้างเป็ นพิพิธภัณฑ์ ทําให้พ้ืนที่ส่วนนี้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ของจังหวัดกระบี่ เรื อหลวงลันตาเป็ นเรื อที่ได้รับพระราชทานชื่อจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ตั้งแต่ปี 2513 โดยนําเอาชื่อของเกาะลันตา ซึ่ งเป็ นอําเภอหนึ่งของจังหวัดกระบี่ โดยเรื อลํานี้ถูกสร้างขึ้นที่ ประเทศอเมริ กา เป็ นเรื อยกพลขึ้นบกขนาดใหญ่ เคยผ่านสมรภูมิการรบในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 และสมรภูมิอื่น ๆ อีกหลายครั้ง แม้แต่ตอนเกิดคลื่นยักษ์สึนามิ ก็ได้ออกปฏิบตั ิการช่วยเหลือ ประชาชนในฝั่งทะเลอันดามั น ด้วยเหตุน้ ี จึงเป็ นเรื อที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์เป็ นอย่างยิง่ ของ ชาวจังหวัดกระบี่ โครงการอุทยานการเรี ยนรู ้เรื อหลวงลันตาเป็ นโครงการที่ดาํ เนินการโดยองค์การบริ หาร ส่ วนจังหวัดกระบี่ ทําการพัฒนาพื้นที่บริ เวณปากแม่น้ าํ กระบี่ ปากคลองจิหลาด หน้าอาคาร สํานักงานองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ เพื่อให้เป็ นสถานที่ให้เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวและศูนย์ การเรี ยนรู ้เชิงนิเวศและเชิงประวัติศาสตร์แหล่งใหม่ ซึ่งมีจุดสนใจหลักอยูท่ ี่พิพิธภัณฑ์เรื อหลวงลัน ตา สถานที่แห่ งนี้จะช่วยส่ งเสริ มรายได้ให้แก่คนในชุมชน และเศรษฐกิจของประเทศ นอกจากนี้ยงั


เป็ นการสถานที่เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เนื่องในวโรกาสครบ 84 พรรษา พ่อ หลวงของปวงชนชาวไทยอีกด้วย 1.2 สถานทีต่ ้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกทีต่ ้งั โครงการ สถานที่ต้ งั โครงการ 333 หมู่ 7 ตําบล ไสยไทย อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่ เป็ นที่ดินของ รัฐบาลตั้งอยูใ่ นส่ วนราชการคือ สํานักองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่และท่าเทียบเรื อท่องเที่ยว ปากคลองจิหลาดมีพ้ืนที่โครงการทั้งหมด 90 ไร่ พื้นที่ต้ งั อยูต่ ิดกับทะเลอันดามัน จังหวัดกระบี่ได้ตดั สิ นใจเลือกพื้นที่ส่วนท่าเทียบเรื อ ท่องเที่ยวคลองจิหลาด ปากแม่น้ าํ กระบี่ เนื่องจากเป็ นที่ต้ งั ของท่าเทียบเรื อสําหรับผูท้ ี่จะเดินทางไปเกาะต่าง ๆ เช่น เกาะลันตา เกาะพี พี ภูเก็ต ฯลฯ แต่ละปี จะมีผใู ้ ช้บริ การไม่ต่าํ กว่า 600,000 คน และยังเป็ นที่ต้ งั ของศูนย์ราชการ จังหวัดกระบี่ 20 หน่วยงาน ตั้งอยูใ่ นตัวเมืองจังหวัดกระบี่ มีการคมนาคมขนส่ งสะดวก และพื้นที่มี ศักยภาพที่จะพัฒนาพื้นที่ให้เป็ นศูนย์เรี ยนรู ้ระบบนิเวศชายฝั่ง พิพิธภัณฑ์สตั ว์น้ าํ และพิพิธภัณฑ์ เรื อหลวง 1.3 วัตถุประสงค์ 1.3.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1.3.1.1 เพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ สถานที่ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ และนิเวศวิทยา ทางทะเลแห่งใหม่ระดับประเทศไทย 1.3.1.2 เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เนื่องในวโรกาสครบ 84 พรรษา 1.3.1.3 เพื่อการสร้างงานและกระจายรายได้ให้แก่คนในชุมชน และประเทศชาติ 1.3.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 1.3.2.1 เพื่อศึกษาการวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้ประกอบไปด้วย พิพิธภัณฑ์เรื อหลวงลันตา พิพิธภัณฑ์สตั ว์น้ าํ และระบบนิเวศป่ าชายเลน 1.3.2.2 เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ทางทะเลที่เกี่ยวข้องกับเรื อหลวงลันตาและ จังหวัดกระบี่ นํามาถ่ายทอดสู่ การออกแบบ 1.3.2.3 เพื่อศึกษาระบบนิเวศป่ าชายเลนและผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นทั้ง


จากนํ้ามือมนุษย์ และจากภัยธรรมชาติ รวมทั้งการออกแบบเพื่อการลดผลกระทบดังกล่าว 1.3.2.4 เพื่อศึกษาบรรยากาศในการเรี ยนรู ้และการออกแบบเพื่อส่ งเสริ มการ เรี ยนรู ้ 1.4 ขอบเขตของการศึกษา 1.4.1 ขอบเขตพื้นที่การศึกษา สถานที่ต้ งั อยูบ่ ริ เวณหน้าสํานักงานองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ และใกล้ บริ เวณท่าเทียบเรื อท่องเที่ยวคลองจิหลาด ปากแม่น้ าํ กระบี่ โดยเป็ นที่ต้ งั ของท่าเทียบเรื อท่องเที่ยว สําหรับผูท้ ี่จะเดินทางไปเกาะต่าง ๆ เช่น เกาะลันตา เกาะพีพี ภูเก็ต ฯลฯ มีขนาดพื้นที่ 90 ไร่ ขอบเขตพื้นที่ติดต่อ ทิศเหนือ ติดกับ ที่ดินของ อบจ.กระบี่ ทิศใต้ ติดกับ ทะเลอันดามัน ทิศตะวันออก ติดกับ ที่ดินของ อบจ.กระบี่ ทิศตะวันตก ติดกับ ทะเลอันดามัน

กระบี่

1.4.2 ขอบเขตของเนื้อหาที่จะศึกษา 1.4.2.1 ศึกษาที่ต้ งั การเข้าถึง การเชื่อมโยงกับสภาพพื้นที่โดยรอบ 1.4.2.2 ศึกษาข้อมูลและวิเคราะห์ขอ้ มูลทางกายภาพของพื้นที่โครงการ 1.4.2.3 ศึกษาระบบนิเวศป่ าชายเลน 1.4.2.4 ศึกษาประวัติศาสตร์ทางทะเลที่เกี่ยวข้องกับเรื อหลวงลันตา และจังหวัด

1.4.2.5 ศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ 1.4.2.6 ศึกษากฎหมายและข้อบังคับต่างๆที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่โครงการ 1.4.2.7 ศึกษาการวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้ประกอบไปด้วย พิพิธภัณฑ์เรื อหลวงลันตา พิพิธภัณฑ์สตั ว์น้ าํ และเส้นทางศึกษาระบบนิเวศป่ าชายเลน 1.4.2.8 ศึกษาความสัมพันธ์ของกรณี ศึกษากับโครงการ 1.5 ขั้นตอนและวิธีการดําเนินการศึกษา


1.5.1 กําหนดวัตถุประสงค์ของการศึกษาโครงการ 1.5.2 กําหนดขอบเขตการศึกษา 1.5.3 ขั้นตอนการศึกษาข้อมูลเบื้องต้น 1.5.3.1 ศึกษาและวิเคราะห์ขอ้ มูลทางกายภาพของพื้นที่ สํารวจสถานที่ต้ งั โครงการ และเก็บข้อมูลพื้นฐานทัว่ ไป ข้อมูลทางธรรมชาติ - สภาพภูมิประเทศ (Land form) - ความลาดชัน (Slope) - การระบายนํ้า (Drainage) ลักษณะและคุณสมบัติของดิน (Soil Characteristic) - สภาพภูมิอากาศ (Climate) - พืชพรรณเดิม (Existing Planting) - สิ่ งมีชีวิต (Creature) ข้อมูลทางวัฒนธรรม - การใช้ที่ดิน(Land use) อาคารสิ่ งก่อสร้างเดิม( Existing Building and Structure) - ผูใ้ ช้และกิจกรรม (User and Activity) - ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (Utility and Facility) - ประวัติศาสตร์และประเพณี ของชุมชน(History and Culture) ข้อมูลทางสุ นทรี ภาพ - มุมมองและทัศนียภาพ (Visual Impact) ข้อมูลเฉพาะด้าน กฎหมายข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่โครงการ องค์ประกอบของอุทยานการเรี ยนรู ้ประกอบไปด้วย พิพิธภัณฑ์เรื อ หลวง ลันตา พิพิธภัณฑ์สตั ว์น้ าํ และ เส้นทางศึกษาระบบนิเวศป่ าชายเลน ประวัติศาสตร์ทางทะเลที่ เกี่ยวข้องกับเรื อหลวงลันตาและจังหวัดกระบี่ 1.5.3.2 สังเคราะห์ขอ้ มูล คุณสมบัติของพื้นที่และศักยภาพของพื้นที่ (Site Potential and Constrains) การพัฒนาโปรแกรม (Program Development)


-

-

ข้อกําหนดของโปรแกรม (Program Requirement) 1.5.4 ขั้นตอนงานออกแบบ 1.5.4.1 งานขั้นตอนเสนอแนวคิดในการออกแบบ แนวคิดด้านสถาปัตยกรรมและการวางผังอาคาร แนวคิดด้านภูมิสถาปัตยกรรมและการวางผังอาคาร แนวคิดด้านการวางผังอื่นๆ 1.5.4.2 งานขั้นออกแบบ การออกแบบผังแม่บท(Master Plan) การออกแบบผังบริ เวณ(Site Plan) การออกแบบผังรายละเอียด(Detail Plan) 1.5.5 นําเสนอผลงานการออกแบบขั้นสมบูรณ์ 1.5.5.1 ผังแม่บท (Master Plan) 1.5.5.2 ผังบริ เวณ (Site Plan) 1.5.5.3 ผังรายละเอียด (Detail Plan) 1.5.5.4 รายละเอียดการใช้พืชพรรณ (Planting Detail) 1.5.5.5 รายละเอียดโครงสร้าง (Construction Detail) 1.5.5.6 รู ปตัดและรู ปด้าน (Section and Elevation) 1.5.5.7 รู ปทัศนียภาพ (Perspective) 1.5.5.8 หุ่นจําลอง (Model) 1.5.5.9 จัดทํารายงานวิทยานิพนธ์

1.6 ประโยชน์ ทจี่ ะได้ รับจากการศึกษา 1.6.1 ประโยชน์ที่คาดว่าจากโครงการ 1.6.1.1 เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ สถานที่ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ และนิเวศวิทยาทาง ทะเลแห่ งใหม่ระดับประเทศไทย 1.6.1.2 เป็ นสถานที่เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เนื่องในวโรกาส ครบ 84 พรรษา 1.6.1.3 เป็ นสถานที่สร้างงานและกระจายรายได้ให้แก่คนในชุมชน และ ประเทศชาติ


1.6.2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการศึกษา 1.6.2.1 ทราบวิธีการและกระบวนการในการดําเนินการของโครงการ ตั้งแต่เริ่ มต้น ค้นหาข้อมูลจนสู่ งานออกแบบ 1.6.2.2 ได้นาํ ความรู ้ทางด้านภูมิสถาปัตยกรรมมาใช้ในงานการวางผังอุทยานการ เรี ยนรู ้ประกอบไปด้วย พิพิธภัณฑ์เรื อหลวงลันตา พิพิธภัณฑ์สตั ว์น้ าํ และระบบนิเวศป่ าชายเลน 1.6.2.3 ได้นาํ ความรู ้ประวัติศาสตร์ทางทะเลที่เกี่ยวข้องกับเรื อหลวงลันตาและ จังหวัดกระบี่สามารถนํามาถ่ายทอดสู่การออกแบบ


บทที่ 2 ทีต่ ้งั และความสํ าคัญของพืน้ ทีโ่ ครงการ 2.1 ขนาดทีต่ ้งั และรายละเอียดของโครงการ ที่ต้ งั โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้เรื อหลวงลันตา จังหวัด กระบี่ต้ งั อยู่ เลขที่ 333 หมู่ 7 ตําบล ไสยไทย อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่ เป็ นที่ดินของรัฐบาลตั้งอยู่ ในส่ วนราชการคือ สํานักองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่และท่าเทียบเรื อท่องเที่ยวปากคลองจิ หลาดมีพ้ืนที่โครงการทั้งหมด 90 ไร่ พื้นที่ต้ งั อยูต่ ิดกับทะเลอันดามัน 2.2 อาณาเขตติดต่ อ 2.2.1 ทิศเหนือ เป็ นที่ดินขององค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ เป็ นพื้นที่โล่ง ไม่มีตน้ ไม้ ใหญ่มีวชั พืชขึ้นหนาแน่นไม่มีสิ่งก่อสร้าง และติดกับส่ วนของสนามโรงเรี ยนอนุบาลกระบี่ 2.2.2 ทิศใต้ เป็ นมุมมองที่สวยงามเพราะมองเห็นทัศนียภาพของทะเลอันดามัน 2.2.3 ทิศตะวันออก เป็ นที่ดินขององค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ เป็ นพื้นที่ที่มีการปล่อย ทิ้งไว้ ไม่มีส่วนของการใช้ประโยชน์ที่ดิน มีพรรณไม้ยนื ต้นคือ ต้นสนทะเล และวัชพืชขึ้นปกคลุม 2.2.4 ทิศตะวันตก เป็ นทัศนียภาพของทะเลอันดามัน 2.3 การเข้ าถึงทีต่ ้งั โครงการ 2.3.1 ทางอากาศ มีสนามบินนานาชาติ 1 แห่ง มีสายการบินในประเทศไป – กลับ กรุ งเทพฯ – กระบี่ , และสายการบินระหว่างประเทศ กระบี่ – สิ งคโปร์ และใน ปี 2548 สนามบินจังหวัดกระบี่ได้รับการพัฒนาให้สามารถรองรับเครื่ องบินขนาดใหญ่ได้ในช่วง ปี 2548 มีเที่ยวบิน ขึ้น – ลง ประมาณ 3,018 เที่ยวบิน จากสนามบินนานาชาติจงั หวัดกระบี่ สามารถใช้ถนนทางหลวงหมายเลข 4 ถนนเพชรเกษม แล้วใช้ถนนอุดรกิจ เป็ นระยะทาง 15 กิโลเมตร


ตารางที่ 1 แสดงจํานวนสายการบินที่มาทําการบิน ขึ้น-ลง (ณ วันที่ 15 สายการบิน ที่ แบบเครื่ อง จํานวนที่นง่ั ภายในประเทศ 1. การบินไทย B737-400,A320 149 2. ไทยแอร์เอเชีย B737-300 184 3. นกแอร์ B737-400 149 4. บางกอกแอร์เวย์ B 717 168 5. บางกอกแอร์เวย์(สมุย) ATR 72 70 ต่างประเทศ 6. ไทยแอร์เอเชีย A320 180 7. ไทเกอร์แอร์(สิ งคโปร์ A320 180 8. NOVAIR A332 338 9. MYTRAVEL A332 360 10. FINNAIR B757-200 227 ตารางที่ 2 แสดงสถิติผโู ้ ดยสารประจําปี 2545 - 2550 พ.ศ. ผูโ้ ดยสารขาเข้า จํานวน/คน จํานวนเที่ยวบิน 2545 113,673 2,160 2546 105,243 2,714 2547 149,195 4,036 2548 158,464 3,018 2549 253,165 3,118 2550 339,317 3,292 ที่มา: ท่าอากาศยานกระบี่ 29 พ.ย. 50

ผูโ้ ดยสารขาออก จํานวน/คน 111,152 111,635 165,641 166,486 266,941 357,251

พฤษภาคม 2550) หมายเหตุ จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน

21 เที่ยวบิน/สัปดาห์ 21 เที่ยวบิน/สัปดาห์ 7 เที่ยวบิน/สัปดาห์ 7 เที่ยวบิน/สัปดาห์ 3 เที่ยวบิน/สัปดาห์

จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน

4 5 2 2 1

เที่ยวบิน/สัปดาห์ เที่ยวบิน/สัปดาห์ เที่ยวบิน/สัปดาห์ เที่ยวบิน/สัปดาห์ เที่ยวบิน/สัปดาห์

จํานวนเที่ยวบิน 2,160 2,712 4,036 3,018 3,118 3,292

2.3.2 ทางรถยนต์ จากกรุ งเทพฯ ใช้เส้นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 ผ่านจังหวัด เพชรบุรี -ประจวบคีรีขนั ธ์ - ชุมพร - ระนอง - พังงา - กระบี่ รวมระยะทางประมาณ 946 กิโลเมตร หรื อใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ถึงจังหวัดชุมพรต่อด้วยทางหลวงแผ่นดินหมายเล ข 41 ผ่านอําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร เข้าอําเภอไชยา จังหวัดสุ ราษฎร์ธานี จากนั้นใช้เส้นทางหลวง


หมายเลข 4035 ผ่านอําเภออ่าวลึก เข้าสู่ จงั หวัดกระบี่ ระยะทาง 814 กิโลเมตร 2.3.3 ทางรถโดยสารประจําทาง มีรถออกจากสถานีขนส่ งสายใต้ ถนนบรมราชชนนี ไป จังหวัดกระบี่ทุกวัน ทั้งรถปรับอากาศและรถธรรมดา จากสถานีขนส่ งจังหวัดกระบี่ สามารถใช้ ถนนอุดรกิจ เป็ นระยะทาง 6 กิโลเมตร 2.3.4 ทางเรื อ จังหวัดกระบี่มีท่าเรื อนํ้าลึก 1 แห่ง ได้แก่ท่าเทียบเรื อคลองจิหลาด ตําบล ไสไทย อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่ ใช้เป็ นท่าเรื อเพื่อการท่องเที่ยวโดยที่ท่าเทียบเรื อคลองจิกลาดอยู่ ในพื้นที่โครงการ


2.4 ความสํ าคัญของโครงการ โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้เรื อหลวงลันตา จังหวัดกระบี่ เป็ นโครงการที่มีผลต่อสังคมในการขยายโอกาสด้านการศึกษาให้แก่ผสู ้ นใจทั้งการศึกษาทางด้าน ประวัติศาสตร์ของเรื อหลวงลันตาและการศึกษาระบบนิเวศทางทะเล พื้นที่โครงการจึงเป็ นสถานที่ ท่องเที่ยวแห่ งใหม่ ที่ตอ้ นรับนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ อีกทั้ง ยังกระจายรายได้ให้แก่ คนในพื้นที่อีกด้วย


2.5 สภาพการใช้ ทดี่ ินในปัจจุบันภายในพืน้ ทีโ่ ครงการ ปั จจุบนั พื้นที่โครงการเป็ นพื้นที่ส่วนราชการองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ และส่ วน ของท่าเทียบเรื อท่องเที่ยวคลองจิหลาด ภายในพื้นที่มีการใช้ที่ดิ นที่หลากหลายคือ พื้นที่ป่าชายเลน เป็ นพื้นที่อาคารท่าเทียบเรื อคลองจิหลาดใช้เป็ นส่ วนต้อนรับและบริ การนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และชาวต่างชาติ ที่โดยสารไปเกาะลันตา เกาะพีพี แ ละเกาะภูเก็ต บริ เวณส่ วนนี้ประกอบไปด้วย อาคารท่าเทียบเรื อ ทางเดินไปท่าเทียบเรื อ และส่ วนของลานจอดรถ ส่ วนของสํานักงานองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ ภายในส่ วนมีลานเอนกประสงค์ ขนาด 6,856 ตร.ม. ไว้รองรับการจัดงานประจําปี และงานสําคัญของจังหวัดกระบี่ และกิจกรรม นันทนาการและการพักผ่อนในช่วงเวลาเย็นของบุคลาการและประชาชนในพื้นที่ใกล้เคียง พื้นที่ ลานจอดรถของอาคารสํานักงานองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ที่รองรับรถ 150 คัน และพื้นที่ สวนเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ที่รองรับกิจกรรมนันทนาการและการพักผ่อน


กระบี่


กระบี่


อําเภอเมืองกระบี่


พืน้ ทีโ่ ครงการ

ปากแม่ นํา้ กระบี่



บทที่ 3 การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ การออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้เรื อหลวงลันตา เป็ นโครงการที่ ตั้งอยูใ่ นตําบลไสยไทย อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่ เป็ นโครงการที่ดาํ เนินงานโดยมีจุดประสงค์เพื่อ เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ สถานที่ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ และนิเวศวิทยาทางทะเลแห่ งใหม่ ระดับประเทศไทย โดยไม่มุ่งเน้นผลกําไรเป็ นหลัก ดังนั้นความเหมาะสมของโครงการจึงเป็ นของ ราชการ โดยอยูใ่ นความควบคุมของสํานักงานองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ การศึกษาความ เป็ นไปได้ของโครงการครอบคลุมสาระสําคัญดังนี้ 3.1 การศึกษาความเป็ นไปได้ ในการเลือกพืน้ ที่ 3.1.1 ที่ต้ งั ของโครงการและการเข้าถึง พื้นที่โครงการเป็ นที่ดินขององค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ มีพ้นื ที่ 90 ไร่ ตั้งอยู่ ที่ตาํ บลไสยไทย อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่ ห่างจากตัวเมืองกระบี่ประมาณ 4 กิโลเมตร การเข้าถึงพื้นที่โครงการพื้นที่โครงการตั้งอยูใ่ นเขต ตําบลไสยไทย อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่ ซึ่งการเข้าถึงพื้นที่โครงการทําได้หลายวิธี ดังนี้ 3.1.1.1 ทางรถยนต์ จากกรุ งเทพฯ ใช้เส้นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 ผ่าน จังหวัดเพชรบุรี - ประจวบคีรีขนั ธ์ - ชุมพร - ระนอง - พังงา - กระบี่ รวมระยะทางประมาณ 946 กิโลเมตร หรื อใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ถึงจังหวัดชุมพรต่อด้วยทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 41 ผ่านอําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร เข้าอําเภอไชยา จังหวัดสุ ราษฎร์ธานี จากนั้นใช้ เส้นทางหลวงหมายเลข 4035 ผ่านอําเภออ่าวลึก เข้าสู่ จงั หวัดกระบี่ ระยะทาง 814 กิโลเมตร 3.1.1.2 ทางรถโดยสารประจําทาง มีรถออกจากสถานีขนส่ งสายใต้ ถนนบรมราช ชนนี ไปจังหวัดกระบี่ทุกวัน ทั้งรถปรับอากาศและรถธรรมดา จากสถานีขนส่ งจังหวัดกระบี่ สามารถใช้ถนนอุดรกิจ เป็ นระยะทาง 6 กิโลเมตร 3.1.1.3ทางเรื อ จังหวัดกระบี่มีท่าเรื อนํ้าลึก 1 แห่ ง ได้แก่ท่าเทียบเรื อคลองจิ หลาด ตําบลไสไทย อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่ ใช้เป็ นท่าเรื อเพื่อการท่องเที่ยวโดยที่ท่าเทียบเรื อ คลองจิกลาดอยูใ่ นพื้นที่โครงการ ดังนั้นการศึกษาโครงการจึงเป็ นการสร้างสภาพแวดล้อมภายในโครงการให้มี ความเหมาะสม พื้นที่ต้ งั โครงการมีความเหมาะสม และเพียงพอในการตั้งพื้นที่โครงการอุนทยาน


การเรี ยนรู ้ เพราะพื้นที่โครงการห่างจากตัวเมืองกระบี่เพียง 4 กิโลเมตร ใกล้พ้ืนที่ราชการ และ ภายในพื้นที่ยงั มี ท่าเทียบเรื อ ที่เป็ นจุดศูนย์กลางการขนส่ งนักท่องเที่ยวไปยังเกาะ ต่างๆ ภายใน จังหวัดกระบี่และจังหวัดใกล้เคียง พื้นที่มีสภาพแวดล้อมที่เอื้ออํานวยต่อการเป็ นอุนทยานการเรี ยนรู ้ อีกทั้งมีทศั นียภาพที่สวยงาม 3.2 การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการทางด้ านเศรษฐศาสตร์ เนื่องจากโครงการนี้เป็ นโครงการของรัฐ และเป็ นโครงการเพื่อการศึกษาเรี ยนรู ้ และ เผยแพร่ สู่ สากล ดังนั้นผลกําไรที่มุ่งหวังจึงเป็ นลักษณะของ Social Benefit มากกว่า Economic Benefit กล่าวคือ เน้นให้เยาวชน ได้มีระดับความรู ้ในเรื่ องของประวัติศาสตร์เรื อหลวงลันตา ระบบ นิเวศป่ าชายเลน และเสริ มสร้างกิจกรรมและความรู ้ต่างๆในพื้นที่โครงการ แต่ในขณะเดียวกันผล กําไรทางอ้อมที่เป็ น Economic Benefit นั้น มีการได้รับเช่นกัน จากการที่ จังหวัดกระบี่ เป็ นเมือง ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสี ยงและภายในพื้นที่โครงการมีท่าเรื อท่องเที่ยว ที่ไปยังเกาะลั นตา เกาะพีพี เกาะ ภูเก็ต ดังนั้นจึงมีนกั ท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศเข้ามาจํานวนมากจึงมีโอกาสเข้ามาใช้พ้ืนที่ โครงการ และอาจได้รับรายได้บางส่ วนจากการหาผลประโยชน์ของโครงการ แต่อย่างไรก็ตามผล กําไรดังกล่าวได้ถูกนํามาใช้หมุนเวียนเป็ นงบประมาณในการพัฒนาโครงการต่อไป เพื่อจุดมุ่งหมาย หลักคือ ผลกําไรทางสังคมในการยกระดับความรู ้ให้กบั คนในสังคมซึ่งมิอาจตีค่าเป็ นจํานวนเงินได้ 3.3 การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการทางด้ านผู้ใช้ บริการ เนื่องจากในปั จจุบนั จังหวัดกระบี่ไม่มีส่วนของโครงการอุทยาการเรี ยนรู ้ ซึ่งเป็ นสถานที่ที่ ศึกษา เ รี ยนรู ้และส่ งเสริ มการทํากิจกรรม ดังนั้นโครงการอุทยาการเรี ยนรู ้เรื อหลวงลันตา จึง ตอบสนองการเรี ยนรู ้ให้แก้เยาวชน นักท่องเที่ยวชายไทย ชาวต่างชาติ และประชาชนทัว่ ไปที่สนใจ โดยสามรถแบ่งผูใ้ ช้ออกดังนี้ 3.3.1 ประชาชนท้องถิ่น ที่อยูบ่ ริ เวณพื้นที่ใกล้เคียง 3.3.2 นักท่องเที่ยวทั้งไทยและต่างประเทศ 3.3.3 นักเรี ยนและนักศึกษา มักมาเป็ นกลุ่มคณะ และมากับสถานศึกษา 3.3.4 นักวิชาการ เข้ามาศึกษา ดูงาน 3.3.5 เจ้าหน้าที่ ที่เป็ นเจ้าหน้าที่ของท่าเทียบเรื อท่องเที่ยวคลองจิหลาดและ สํานักงาน


3.4 การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการทางด้ านท่ องเทีย่ ว นโยบายด้านท่องเที่ยวระดับจังหวัด กระบี่มีส่วนช่วยสนับสนุนอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ซึ่งมีบทบาทอย่างยิง่ ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และยังเป็ นการนําความเจริ ญมาสู่ทอ้ งถิ่น ดังนั้นการพัฒนาการท่องเที่ยวจึงเป็ นการ ขยายความเจริ ญสู่ภูมิภาค อันเป็ นการตอบสนองนโยบาย ด้านการท่องเที่ยวของภาครัฐบาล จังหวัดกระบี่เป็ นจุดขายทางการท่องเที่ยวที่สาํ คัญของประเทศ ที่มีชื่อเสี ยงระดับโลก เป็ น Andaman Paradise หรื อมรกตเมืองใต้ ที่มีจุดขายหลักด้านการท่องเที่ยว คือ หาด ทราย ชายทะเล หมู่เกาะ และการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ เช่น ดํานํ้า ปี นผา เป็ นต้น และที่สาํ คัญภาย พื้นที่โครงการเป็ นที่ต้ งั ของท่าเทียบเรื อท่องเที่ยว ผูท้ ี่จะเดินทางไปเกาะต่าง ๆ เช่น เกาะลันตา เกาะ พีพี ภูเก็ต ฯลฯ แต่ละปี จะมีผใู ้ ช้บริ การไม่ต่าํ กว่า 600,000 คน

3.5 การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการทางด้ านสาธารณูปโภค 3.5.1 การไฟฟ้ าจังหวัดกระบี่ มีการดําเนินการด้านไฟฟ้ าจากการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาคและ การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทยเขต 3 ซึ่งมีโรงผลิตไฟฟ้ าอยูท่ ี่ตาํ บลคลองขนาน อําเภอเหนือ คลอง จังหวัดกระบี่ โดยมีการจําหน่ายไฟฟ้ า ครอบคลุมทุกพื้นที่อาํ เภอ จํานวน 380 หมู่บา้ น โดย ยังมีเพียง 9 หมู่บา้ นที่ยงั คงไม่มีกระแสไฟฟ้ าใช้ โดยเฉพาะในพื้นที่ที่เป็ นเกาะ 3.5.2 การประปา มีสาํ นักงานประปา 2 แห่ง คือ 3.5.2.1 สํานักงานประปากระบี่ รับผิดชอบนํ้า ประปาเขตเมือง อําเภอเมืองกระบี่ อําเภอคลองท่อม อําเภอเขาพนม และอําเภอเหนือคลอง มีกาํ ลังผลิต 1,500 ลบ.ม. นํ้าที่ผลิตได้ 7,639,580 ลบ.ม. จํานวนผูใ้ ช้น้ าํ 18,927 ครัวเรื อน 3.5.2.2 สํานักงานประปาอ่าวลึก รับผิดชอบนํ้าประปาเขตอําเภออ่าวลึก อําเภอปลายพระยา มีกาํ ลัง ผลิต 1,680 ลบ.ม. นํ้าที่ผลิตได้ 1,605,216 ลบ.ม. จํานวนผูใ้ ช้น้ าํ 17,591 ครัวเรื อน 3.5.2.3 การคมนาคมจังหวัดกระบี่มีเส้นทางคมนาคม 3 ทาง ได้แก่ ทางบก ทาง นํ้า และทางอากาศ โดยมีเส้นทางดังนี้ เส้นทางรถยนต์ จากกรุ งเทพฯ ใช้เส้นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 ผ่านจังหวัดเพชรบุรี -ประจวบคีรีขนั ธ์ - ชุมพร - ระนอง - พังงา - กระบี่ รวมระยะทาง


ประมาณ 946 กิโลเมตร หรื อใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ถึงจังหวัดชุมพรต่อด้วยทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 41 ผ่านอําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร เข้าอําเภอไชยา อําเภอเวียงสระ จังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี จากนั้นใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 4035 ผ่านอําเภออ่าวลึก และใช้ทางหลวงหมายเลข 4 อีกครั้งเข้าสู่จงั หวัดกระบี่ รวมระยะทาง 814 กิโลเมตร ถ้าเดินทางจากภูเก็ต ใช้ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 402 ต่อด้วยทางหลวงหมายเลข 4 ผ่านตําบลโคกกลอย อําเภอตะกัว่ ทุ่ง อําเภอทับปุด จังหวัดพังงา เข้าอําเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ รวมระยะทางประมาณ 185 กิโลเมตร ทางรถไฟ จากสถานีรถไฟกรุ งเทพฯ สามารถลงได้ที่ สถานีรถไฟจังหวัดตรัง (เดินทางโดยรถยนต์ไปจังหวัดกระบี่ ระยะทาง ประมาณ 140 กิโลเมตร) สถานีรถไฟพุนพิน จังหวัดสุ ราษฎร์ธานี (เดินทางโดยรถยนต์ไปจังหวัด กระบี่ ระยะทางประมาณ 160 กิโลเมตร) สถานีรถไฟทุ่งสง จังหวัดนครศรี ธรรมราช (เดินทางโดยรถยนต์ไป จังหวัดกระบี่ ระยะทางประมาณ 150 กิโลเมตร) การคมนาคมทางนํ้า จังหวัดกระบี่มีท่าเรื อนํ้าลึก 1 แห่ ง ได้แก่ท่าเทียบเรื อคลองจิหลาด ตําบลไส ไทย อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่ ใช้เป็ นท่าเรื อเพื่อการท่องเที่ยวและขนส่ งสิ นค้าต่างๆ การคมนาคมทางอากาศ มีสนามบินนานาชาติ 1 แห่ ง มีสายการบินในประเทศไป – กลับ กรุ งเทพฯ – กระบี่ , และสายการบินระหว่างประเทศ กระบี่ – สิ งคโปร์ และใน ปี 2548 สนามบินจังหวัดกระบี่ได้รับการพัฒนาให้สามารถรองรับเครื่ องบินขนาดใหญ่ได้ในช่วง ปี 2548 มีเที่ยวบิน ขึ้น – ลง ประมาณ 3,018 เที่ยวบิน


บทที่ 4 กรณีศึกษา 4.1 อุทยานประวัติศาสตร์ ทหารเรือ ( พิพธิ ภัณฑ์ เรือรบหลวงแม่ กลอง ) ชื่อโครงการ : อุทยานประวัติศาสตร์ทหารเรื อ ( พิพิธภัณฑ์เรื อรบหลวงแม่กลอง ) ที่ต้ งั โครงการ : ปากนํ้าเจ้าพระยา ต.แหลมฟ้ าผ่า อ.พระสมุทรเจดีย ์ จ.สมุทรปราการ พื้นที่ : 153 ไร่ 4.1.1 ความเป็ นมาของโครงการ พิพิธภัณฑ์เรื อหลวงแม่กลอง เป็ นพิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง จัดขึ้นเพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายเพื่อเฉลิมพระเกียรติในปี กาญจนาภิเษก ในปี พ.ศ. 2539 ตามพระราชดําริ ของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช เกี่ยวกับกองทัพเรื อว่า “ควรจะอนุรักษ์เรื อเก่า ๆ ไว้ และจัดทําเป็ น พิพิธภัณฑ์ทางประวัติศาสตร์การทหาร เพื่อเผยแพร่ ความรู ้” ซึ่งเป็ น 1 ใน 7 โครงการ ที่กองทัพเรื อ ได้จดั ให้มีข้ ึนในขณะนั้น เพื่อจัดแสดงให้ประชาชนเข้าชม พร้อมทั้งปรับปรุ งท่าเทียบเรื อก่อนที่จะ นําเรื อหลวงแม่กลองมาดําเนิน การ ตามโครงการอนุรักษ์เรื อหลวงแม่กลอง อู่ทหารเรื อป้ อมพระ จุลจอมเกล้า กรมอู่ทหารเรื อได้ซ่อมแซมตัวเรื อ ระบบไฟฟ้ า อุปกรณ์ต่าง ๆ ถอดใบจักร ชักเพลา และถอดหางเสื อพร้อมที่จะเอาเรื อขึ้นบก สภาพปั จจุบ นั จากอดีตเรื อรบอันยิง่ ใหญ่ของราชนาวีไทย ในวันนี้ เรื อหลวงแม่ กลองได้พน้ บทบาทมาปฏิบตั ิภารกิจอันสําคัญยิง่ อีกหน้าที่หนึ่ง เมื่อกลายมาเป็ นเรื อพิพิธภัณฑ์ เรื อหลวงแม่กลองขึ้นระวางประจําการเมื่อ พ .ศ. 2480 ได้เคยปฏิบตั ิการภารกิจ สําคัญต่าง ๆ เช่น เคย เป็ นเรื อพระที่นงั่ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกา ลที่ 8 และรัชกาลที่ 9 เคยร่ วมปฏิบตั ิการสมัยสงครามมหาเอเซียบูรพา เป็ นเรื อฝึ กของนักเรี ยนนายเรื อ และนักเรี ยนจ่า อากาศเรื อ จนถึงได้เป็ นครู ของทหารเรื อ เรื อหลวงแม่กลองต่อที่ประเทศญี่ปุ่น มีระวางขับนํ้า 1,400 ตัน กําลังพลประจําเรื อ 173 นาย เครื่ องจักรชนิดเครื่ องจักรไอนํ้าแบบข้อเสื อข้อต่อรวมกัน เครื่ อง กังหันไอนํ้าจํานวน 2 เครื่ อง มีกาํ ลัง 2,500 แรงม้า ใบจักรคู่ ความเร็ วสูงสุ ด 17 น๊อต (ไมล์ทะเล/ชม.) เมื่อใช้ความเร็ วมัธยัสถ์ 8-10 น็อต ปฏิบตั ิการได้ไกล 16,000 ไมล์ ปลดระวางประจําการเรื อเมื่อปี พ.ศ. 2539 รวมระยะเวลาปฎิบตั ิราชการ 59 ปี ปั จจุบนั กองทัพเรื อได้ดาํ เนินการจัดสร้างพิพิธภัณฑ์เรื อรบไทย เพื่อเป็ นประโยชน์


ในการศึกษาทางประวัติศาสตร์และการพัฒนาการทางทหาร และเพื่อสนองพระราชดําริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ที่จะให้กองทัพเรื ออนุรักษ์เรื อรบเก่าที่มีคุณค่าความสําคัญไว้

ทหาร

4.1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.2.1 เพื่อเป็ นประโยชน์ในการศึกษาทางปร ะวัติศาสตร์และการพัฒนาการทาง

4.1.2.2 เพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ระบบนิเวศป่ าชายเลน 4.1.2.3 เพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายเพื่อเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในมหามงคลวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงครองศิริราชสมบัติ ครบ 50 ปี 4.1.3 การเดินทาง จากกรุ งเทพฯ ใช้ถนนสุ ขมุ วิท มุ่งหน้าสู่ จงั หวัดสมุทรปราการ ก่อนถึงจังหวัด สมุทรปราการ ประมาณ 5 กิโลเมตร ให้เลี้ยวขวาที่แยกไฟแดง ไปทาง อําเภอพระประแดง เมื่อเลี้ยว ขวาแล้ว ให้ขบั ตรงไป ประมาณ 5.9 กิโลเมตร จากนั้นเลี้ยวซ้ายตามป้ ายบอกทาง ที่เขียนว่า ถนนสุ ข สวัสดิ์ จากนั้นขับตามป้ ายบอกทาง ขึ้นสะพานวงแหวนอุตสาหกรรม ประมาณ 4.8 กิโลเมตร หลังจากนั้นก็จะลงจากสะพาน เมื่อลงจากสะพานแล้ว จะเห็นป้ ายบอกทาง พระประแดง กับ ดาวคะนอง ให้ขบั ตรงไปประมาณ 1.2 กิโลเมตร จะพบ แยกไฟแดง ให้ขบั ตรงไป ประมาณ 10.2 กิโลเมตร จะพบสามแยก ให้เลี้ยวขวา แล้วขับตรงไป ประมาณ 6.2 กิโลเมตร ก็จะถึง ป้ อมพระ จุลจอมเกล้า ณ จุดนี้ตอ้ งทําการแลกบัตรกับทหาร แล้วขับตรงไป ประมาณ 1 กิโลเมตร จากนั้นเลี้ยว ขวามือ แล้วขับตรงไป ประมาณ 500 เมตร ก็จะถึง เรื อหลวงแม่กลอง ถ้าตรงไป จะเป็ นเส้นทางไป พระสมุทรเจดีย ์ และป้ อมพระจุลจอมเกล้า 4.1.4 แนวความคิดในการออกแบบ การนําเอาเรื อหลวงแม่กลองที่ปลดระวางแล้ว มาจัดทําเป็ นพิพิธภัณฑ์กลางแจ้งที่ จัดแสดง ข้าวของเครื่ องใช้ยทุ โธปกรณ์ต่างๆ เช่น มีการจัดห้องสะพานเดินเรื อ ห้องควบคุมการ ทํางานของเรื อ ห้องครัว ห้องบังคับผูบ้ งั คับการเรื อห้องจัดแสดงประวัติความเป็ นมาของเรื อรบ หลวงลํานี้ เพื่อเป็ นประโยชน์ในการศึกษาทางประวัติศาสตร์และการพัฒนาการทางทหาร นอกจาก การส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ทางด้านประวัติศาสตร์ ยังมีส่วนพื้นที่ศึกษาธรรมชาติในเชิงอนุรักษ์ที่ สามารถชมป่ าชายเลน เป็ นเส้นทางเดินเท้าและศาลาพักผ่อน จํานวน 5 ศาลา มีระยะทาง 350 เมตร เป็ นรู ปตัว H พร้อมป้ ายกํากับพรรณไม้ พรรณสัตว์ เพื่อให้ความรู ้แก่ผทู ้ ี่มาเที่ยวชม


4.1.4.1 แนวความคิดในการวางพื้นที่ใช้สอย พื้นที่ใช้สอยภายในโครงการสามารถแบ่งออกได้เป็ น 4 ส่ วน 1) พื้นที่พิพิธภัณฑ์เรื อรบหลวงแม่กลอง แนวคิดในการวางผังพื้นที่ใช้ สอย คือ ต้องการให้ประชาชนโดยทัว่ ไป นักท่องเที่ยว นักเรี ยนและนักศึกษา สามารถเข้าไปศึกษา ข้าวของเครื่ องใช้ยทุ โธปกรณ์ต่างๆทางทหารที่มีลานขนาดใหญ่รองรับการเข้าถึงพื้นที่ 2) พื้นที่ส่วนพิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง แนวคิดในการวางผังพื้นที่ใช้สอย คือ เน้นความสะดวกต่อการเข้าถึงพื้นที่ เพราะพื้นที่บริ เวณนี้อยูใ่ กล้กบั ส่ วนของลานจอดรถ และเป็ น พื้นที่ที่สามารถมองเห็นได้ชดั เจน ซึ่งเป็ นส่ วนของพระบรมราชานุสาวรี ยพ์ ระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั และส่ วนพิพิ ธภัณฑ์กลางแจ้งที่จดั แสดงอาวุธยุทโธปกรณ์แสดงถึง วิวฒั นาการของกองทัพเรื อในการป้ องกันประเทศตลอดจนบทบาทในการรักษาผลประโยชน์ ของ ชาติทางทะเล 3) พื้นที่ศึกษาระบบนิเวศป่ าชายเลน แนวความคิดในการวางผังพื้นที่ใช้ สอย คือ เน้นการศึกษาระบบนิเวศป่ าชายเลนที่เป็ น เส้นทางศึกษาธรรมชาติในเชิงอนุรักษ์ที่ นักท่องเที่ยวสามารถชมป่ าชายเลน สะพานไม้ทางเดินเท้าและศาลาพักผ่อน จํานวน 5 ศาลา มี ระยะทาง 350 เมตร เป็ นรู ปตัว H และมีส่วนของป้ ายบอกชนิดของพรรณไม้ และชนิดสัตว์ภายใน พื้นที่ 4) พื้นที่อาคารนิทรรศการ แนวความคิดในการวางผังพื้นที่ใช้สอยให้ เข้าถึงได้สะดวก เพราะพื้นที่มีส่วนของลานจอดรถ อยูห่ น้าอาคาร มีส่วนของสะพานชมภู มิประเทศ ที่ทอดยาวไปในทะเลอ่าวไทย เพื่อชมทัศนียภาพ 4.1.4.2 แนวความคิดในการออกแบบระบบสัญจร ทางสัญ จรหลักของโครงการสามารถเข้า ถึงได้ จากถนน สุ ขสวัสดิ์ที่เป็ น ถนนลาดยางกว้าง 8 เมตร เข้าถึงพื้นที่โครงการ ถนนภายในโครงการมีความกว้าง 8 เมตร มีรูปแบบ ที่ไม่ซบั ซ้อน เมื่อเข้ามาสามารถเข้าถึงลานจอดรถซึ่งอยูใ่ กล้บริ เวณลานอนุสาวรี ยร์ .5 และหน้า อาคารนิทรรศการ ทางเดินเท้าภายในโครงการเป็ นแบบ loop ที่สาม ารถเดิ นวนดูส่วนจัด แสดงภายในพิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง และทางเดินเท้า เส้นทางศึกษาธรรมชาติป่าชายเลนที่นกั ท่องเที่ยว สามารถชมป่ าชายเลน เป็ นสะพานไม้ทางเดินเท้าและศาลาพักผ่อน มีระยะทาง 350 เมตร เป็ นรู ปตัว H


4.1.5 ส่ วนประกอบของโครงการ 4.1.5.1 พิพิธภัณฑ์เรื อหลวงแม่กลอง มีการจัดแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ มากมาย อาทิเช่น ปื นใหญ่ 120/45 ม.ม. 4 กระบอก ปื นกลต่อสู อ้ ากาศยาน 20 ม.ม. 2 กระบอก (แท่นคู่) ตอร์ปิโด 45 ซ.ม. แท่นคู่ 2 เครื่ อง ยิงลูกระเบิดลึก 2 แท่น พาราเวนสําหรับกวาดทุน ระเบิด มีการจัดแสดงข้าวของเครื่ องใช้ยทุ โธปกรณ์ต่างๆ ให้เหมือนเมื่อครั้งเรื อรบลํานี้ยงั ใช้ประจําการอยู่ เช่น มีการจัดห้ องสะพานเดินเรื อ ห้องควบคุมการทํางานของเรื อ ห้องครัว ห้อง บังคับผูบ้ งั คับการเรื อ ห้องโถงนายทหาร ที่ในอดีตใช้เป็ นห้องประชุมของนายทหารชั้นสัญญาบัตร ปัจจุบนั ได้ใช้เป็ นห้องจัดแสดงประวัติความเป็ นมาของเรื อรบหลวงลํานี้ 4.1.5.2 อาคารนิทรรศการ จัดแสดงภาพความเสี ยหายจากการรบ และภาพสู่การ พัฒนาการกองทับเรื อ 4.1.5.3 พิพิธภัณฑ์อาวุธยุทโธปกรณ์กลางแจ้ง รวมทั้งส่ วนประกอบต่างๆ ซึ่งแสดง ถึงวิวฒั นาการของกองทัพเรื อในการป้ องกันประเทศตลอดจนบทบาทในการรักษาผลประโยชน์ ของชาติทางทะเล ซึ่งจัดแบ่งเป็ น 5 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มปื นเสื อหมอบ ซึ่งเป็ นปื นรุ่ นแรกที่บรรจุทางท้ายกระบอก เป็ น อาวุธปื นหลุมที่มีประสิ ทธิ์ภาพสู งสุ ดใน พ.ศ. 2536 2) กลุ่มปื นและอาวุธสมัยรัชกาลที่5และรัชกาลที่ 6 3) กลุ่มปื นและอาวุธในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1, 2 ยุทธนาวีที่เกาะช้าง 4) กลุ่มปื นและอาวุธที่กองทัพเรื อมีใช้ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 5) การจัดแสดงสิ่ งก่อสร้างและส่ วนประกอบต่างๆ เพื่อแสดงให้เห็นถึง บทบาทของกองทัพเรื อในยามสงบ และการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล 4.1.5.4 เส้นทางศึกษาธรรมชาติในเชิงอนุรักษ์ที่นกั ท่องเที่ยวสามารถชมป่ าชายเลน สะพานไม้ทางเดินเท้าและศาลาพักผ่อน จํานวน 5 ศาลา มีระยะทาง 350 เมตร เป็ นรู ปตัว H พร้อม ระบบไฟฟ้ าแสงสว่าง ป้ ายบอกชื่อพันธุ์พืช จํานวน 6 ป้ าย ได้แก่ โกงกางใบใหญ่ แสมขาว แสม ทะเล ฝาดทะเลดอกขาว ปรงทะเลโปรงทะเล ป้ ายนกต่าง ๆ จํานวน 14 ป้ าย ได้แก่ นกกานํ้า นกยาง กรอก นกยางเปี ย นกยางโทนใหญ่ นกยางขาว นกกระสา น กกวัก นกกระเต็นน้อย นกกินเปี้ ยว นก เหยีย่ วแดง นกกาเหว่า เป็ นต้น นอกจากนั้นจะมีศาลาพักผ่อนจํานวน 4 ศาลา แต่ละศาลาจะมีป้าย ข้อความขนาดใหญ่ตามศาลาต่างๆดังนี้ 1) ศาลา ด้านหน้า พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถเกี่ยวกับป่ าชายเลน ด้านหลัง มติคณะรัฐมนตรี ให้


กองทัพเรื อ โดยฐานทัพเรื อกรุ งเทพ ดําเนินการปลูกป่ าชายเลน ให้พ้ืนที่ป้อมพระจุลจอมเกล้า ได้ เริ่ มดําเนินการปลูกมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2534 เป็ นต้นมา 2) ศาลา ด้านหน้าป่ าชายเลนนั้น สําคัญที่สุด ด้านหลัง ป่ าชายเลน ป่ าแห่ ง ชีวิต 3) ศาลาพันธุ์นกที่พบในพื้นที่ป้อมพระจุลจอมเกล้า ที่มีกว่า 20 ชนิด 4) ศาลา พันธุ์ไม้ป่าชายเลนที่พบในพื้นที่พระจุลจอมเกล้า ที่มีกว่า 16 ชนิด 4.1.5.5 พระบรมราชานุสาวรี ยพ์ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั มีความ สูงรวมทั้งหมด 17.50 เมตร ขนาดของพระบรมรู ปสูง 4.2 เมตร หรื อประมาณสองเท่าครึ่ งของ พระองค์จริ ง ทรงฉลองพระองค์ในชุดจอมทัพเรื อมีความสง่างามเป็ นอย่างมาก ซึ่งในทุก ๆ วันที่ 23 ตุลาคมทุกปี จะมีพิธีวางพระมาลาถวายราชสักการะโดยกองทัพเรื อด้วย 4.1.5.6 สะพานชมภูมิประเทศ เป็ นทางเดินเท้าทอดยาวไปในทะเลอ่าวไทย กว้าง 3.00 เมตร 4.1.5.7 ป้ อมจุลจอมเกล้า เป็ นป้ อมที่มีความสําคัญมากในการปกป้ องประเทศช าติ ของเรา เนื่องจากเป็ นที่ทาํ การยิงต่อสู ก้ บั ศัตรู มาแล้วครั้งหนึ่ง เมื่อปี ร.ศ.112 หรื อ พ.ศ.2436 4.1.6 สรุ ปผลการวิเคราะห์กรณี ศึกษา 4.1.6.1 ข้อดีของโครงการ 1) มีพ้ืนที่ทาํ กิจกรรมที่หลากหลาย อาทิเช่น พื้นที่เส้นทางศึกษาป่ าชาย เลน พิพิธภัณฑ์กลางแจ้งที่จดั แสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ และแสดงถึงวิวฒั นาการของกองทัพเรื อใน การป้ องกันประเทศตลอดจนบทบาทในการรักษาผลประโยชน์ ของชาติทางทะเล ส่ วนพิพิธภัณฑ์ เรื อหลวงแม่กลองที่นาํ รถที่ปลดระว างแล้วมาจัดแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ มากมาย อาทิ เช่น ปื นใหญ่ ปื นกลต่อสู อ้ ากาศยาน เครื่ อง ยิงลูกระเบิด อาคารจัดนิทรรศการให้ความรู ้ ประวัติศาสตร์ทางทหารเรื อ และส่ วนสะพานชมภูมิประเทศไว้ชมทัศนียภาพทะเลอ่าวไทย 2) ระบบเส้นทางสัญจรไม่มีความซับซ้อนสามารถเข้าใจและเข้าถึงได้ง่าย 3) ภายในโครงการมีอาคารน้อย ทําให้สามารเปิ ดมุมมองไปยังทะเลอ่าว ไทยได้อย่างเต็มที่ 4.1.6.2 ข้อเสี ยของโครงการ


1) การวางผังกิจกรรมไม่กระจายตัว และไม่มีความเชื่อมโยง มีการวางผัง เกาะกลุ่มอยูบ่ ริ เวณส่ วนของพิพิธภัณฑ์อยูบ่ ริ เวณทิศเหนือ อาจเป็ นเพราะภายในโครงการมีพ้ืนที่ ธรรมชาติที่ยากต่อการพัฒนา 4.1.7 ความสัมพันธ์กบั โครงการกรณี ศึกษา พื้นที่โครงการอุทยานประวัติศาสตร์ทหารเรื อ (พิพิธภัณฑ์เรื อหลวงแม่กลอง ) มี สภาพแวดล้อมที่มีความคล้ายคลึงกับโครงการออกแบบมาก คือ เป็ นพื้นที่ปากแม่น้ าํ อยูต่ ิดทะเล มี ส่ วนพื้นที่ธรรมชาติที่เป็ นป่ าชายเลน และการนําเอาเรื อที่ปลดระวางแล้วมาจัดทําเป็ นพิพิธภัณฑ์ที่ ให้ความรู ้แก่ประชาชน 4.1.8 รู ปแบบที่นาํ มาปรับใช้ในโครงการ 1.8.1 การวางผังเส้นทางศึกษาธรรมชาติพ้ืนที่ป่าชายเลน เช่น มีส่วนศาลาพักผ่อน มีป้ายบอกชนิดพรรณไม้และสัตว์ เพื่อส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ 1.8.2 การวางผังส่ วนของอนุสาวรี ย ์ และองค์ประกอบของภูมิทศั น์ 1.8.3 การวางผังเส้นทางเดินชมพิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง


ภาพที่ 1 แสดงภาพถ่ายทางอากาศโครงการอุทยานประวัติศาสตร์ทหารเรื อ ( พิพิธภัณฑ์เรื อรบ หลวงแม่กลอง ) ทีม่ า : google earth


ภาพที่ 2 แสดงแนวความคิดในการวางพื้นที่ใช้สอย ทีม่ า : ดัดแปลงจาก google earth

ภาพที่ 3 แสดงแนวความคิดในการออกแบบระบบการสัญจร ทีม่ า : ดัดแปลงจาก google earth


ภาพที่ 4 แสดงพิพิธภัณฑ์เรื อหลวงแม่กลอง ทีม่ า : http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=iam9a&month=26122005&group=11&gblog=1

ภาพที่ 5 แสดงทัศนียภาพพระบรมราชานุสาวรี ยพ์ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทีม่ า : http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=iam9a&month=26122005&group=11&gblog=1


ภาพที่ 6 แสดงพระบรมราชานุสาวรี ยพ์ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทีม่ า : http://www.gotoknow.org/media/files/200363

ภาพที่ 7 แสดงเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน ทีม่ า : http://www.bansansuk.com/travel/pomprajulajomklao/


ภาพที่ 8 แสดงป้ อมพระจุลจอมเกล้า ทีม่ า : http://www.zungzung.com/?p=1942

ภาพที่ 9 แสดงทัศนียภาพพิพิธภัณฑ์เรื อหลวงแม่กลอง ทีม่ า : http://www.zungzung.com/?p=1942


ภาพที่ 10 แสดงสะพานชมภูมิประเทศ ทีม่ า : http://www.bansansuk.com/travel/pomprajulajomklao/

ภาพที่ 11 แสดงสะพานชมภูมิประเทศ ทีม่ า : http://www.bansansuk.com/travel/pomprajulajomklao/


4.2 ศูนย์ ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) ชื่อโครงการ : ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) ที่ต้ งั โครงการ : 164 ม.2 ถนนสุ ขมุ วิท ต.บางปูใหม่ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ พื้นที่ : 639 ไร่ 4.2.1 ความเป็ นมาของโครงการ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู ) เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา มหาราชินี เกิดขึ้นจากการบรรลุขอ้ ตกลงระหว่างกองทัพบก และ WWF ประเทศไทย ในความร่ วมมืออย่างดียง่ิ จากสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรปราการเขต 1 และ เขต 2 มีจุดมุ่งหมายคือการพัฒนาพื้นที่ ในบริ เวณกองอํานวยการสถานพักผ่อนบางปู กรมพลาธิการ จ.สมุทรปราการ เป็ นศูนย์การเรี ยนรู ้ สิ่ งแวดล้อมศึกษาของสถานศึกษา ที่เชื่อมโยงเมืองใหญ่ ป่ าชายเลน แ ละเยาวชน เน้นรู ปแบบการ เรี ยนรู ้แบบบูรณาการเข้ากับมาตรฐานการเรี ยนรู ้ของกลุ่มสาระต่างๆ ในชั้นเรี ยน โดยอาศัยสภาพ ธรรมชาติเป็ นตัวกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนเกิดความสนใจ และนําไปสู่การเรี ยนรู ้ธรรมชาติอย่างเป็ นระบบ และมีความสุ ข ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ .ศ.2542 ที่กล่าวถึง กระบวนการเรี ยนรู ้ในการจัดการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ หรื อตามอัธยาศัย ต้องเป็ นไปแบบ บูรณาการ มุ่งปลูกฝังจิตสํานึก ส่ งเสริ มการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม จัดกิจกรรม ให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้จากประสบการณ์จริ ง ฝึ กทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การผสมผสานสาระ ความรู ้ดา้ นต่างๆ อย่างได้สดั ส่ วน โดย WWF ประเทศไทย ได้เข้ามาบริ หารศูนย์ฯ และได้จดั ทํา โปรแกรมพิเศษเพื่อการให้บริ การด้านการศึกษาธรรมชาติสาํ หรับนักเรี ยนในพื้นที่ จ.สมุทรปราการ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2548 ตลอดจนโปรแกรมอื่นๆ ที่เหมาะสมกับนักท่องเที่ยว นักศึกษา และบุคคลผูส้ นใจ ทัว่ ไป โครงการศูน ย์ธรรมชาติศึกษากองทัพบก (บางปู ) ตั้งอยูใ่ นพื้นที่จงั หวัด สมุทรปราการและอยูห่ ่างจากตัวเมืองเพียง 12 กม. อยูห่ ่างจากกรุ งเทพฯ เพียง 37 กม. ปัจจุบนั กองทัพบกเป็ นเจ้าของพื้นที่และใช้ประโยชน์โดยการให้เป็ นสถานพักฟื้ นและตาก อากาศของ นายทหาร พื้นที่ท้ งั หมดคลุมเนื้อที่ 639 ไร่ และแบ่งได้ตามลักษณะภูมิประเทศเป็ น 3 ส่ วน 4.2.1.1 คือส่ วนหลักนับจากแนวถนนหลักที่เข้าสู่ ศาลาสุ ขใจที่อยูก่ ลางทะเล โดยมี สะพานจากชายฝั่งยาว 500 เมตรเข้าไปที่ตวั ศาลา กองทัพบกใช้ศาลาที่มีร้านอาหารและตัวอาคาร เป็ นที่พบปะสังสรรค์สาํ หรับนายทหารและงานประชุม งานสัมมนาอย่างเป็ นทางการ 4.2.1.2 พื้นที่ที่ครอบคลุม 301 ไร่ บริ เวณทางฝั่งตะวันตกและอยูท่ างขวามือของ ถนนภาคในเป็ นที่ต้ งั ของอาคารพักผ่อนกว่า 20 หลัง


4.2.1.3 พื้นที่อีก 338 ไร่ ทางฝั่งตะวันออกที่ยงั คงเป็ นพื้นที่โล่งกว้างและเต็มไป ด้วยพันธุ์ไม้นานาชนิด มีร่องรอยของนากุง้ เก่าที่เคยทํามาในอดีต และในบริ เวณนี้นี่เองที่กอง ทุน สัตว์ป่าโลกและกองทัพบกเห็นพ้องต้องกันว่า สามารถพัฒนาให้เป็ นศูนย์ธรรมชาติศึกษาที่สมบูรณ์ ได้แห่งหนึ่งของเมืองไทยเพื่อให้เหล่านักเรี ยน นักศึกษา นักท่องเที่ยวที่มาเยือนบางปูในช่วงวันหยุด สุ ดสัปดาห์ ตลอดจนประชาชนที่รักธรรมชาติทวั่ ไปได้ใช้ประโยชน์ในการศึกษาอย่าง 4.2.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.2.2.1 เพื่อเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระ ชนมพรรษาครบรอบ 72 พรรษา แห่งองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิพระบรมราชินีนาถ 4.2.2.2 การให้บริ การหลักสู ตร ธรรมชาติศึกษาที่บางปู ให้แก่นกั เรี ยนและผูส้ นใจ ทัว่ ไป โดยเฉพาะนักเรี ยน ที่อาศัยอยูใ่ นเขตจังหวัดสมุทรปราการและพื้นที่อื่นๆ ใกล้เคียง 4.2.2.3 การจัดตั้งศูนย์ธรรมชาติศึกษาบางปู ให้เป็ นต้นแบบในการพัฒนา ศูนย์ ธรรมชาติศึกษาแหล่งอื่น ๆ ในเขตพื้นที่ชุ่มนํ้าและชายฝั่งที่อยูใ่ นแถบชานเมืองกรุ งเทพฯ 4.2.3 การเดินทาง การนัง่ รถสองแถวคันใหญ่ (6 ล้อ) จากในตลาดปากนํ้า หรื อรถเมล์เอกชน ที่ไป คลองด่าน หรื อตําหรุ รถจะผ่านหน้า ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) สังเกตป้ ายทางเข้าด่าน ล่าง ถ้าออกมาจากเมืองโบราณและจะไปศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) ต่อ สามารถรอ รถดังกล่าวได้ที่ดา้ นหน้าเมืองโบราณ รวมทั้งยังสามารถขึ้นรถตูจ้ ากสําโรงมาคลองด่าน ถ้าขับรถจากกรุ งเทพทางถนนสุ ขมุ วิทเข้าสมุทรปราการ เมื่อถึงตัวเมือง สมุทรปราการให้สงั เกตป้ าย ชลบุรี ชิดซ้าย ให้ตามเส้นทางไป จากศาลากลางจังหวัดถึงสถานตาก อากาศบางปูระยะทาง ประมาณ 12.27 กม. ถ้า มาทางถนนศรี นคริ นทร์เข้าเมืองสมุทรปราการจดสุ ด สาย จากนั้นเลี้ยวซ้ายเข้าถนนสุ ขมุ วิท(สายเก่า) จากจุดนั้นถึงศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) เป็ นระยะทางประมาณ 11.10 กม.จะเห็นทางเข้าทางขวามือ ให้ขบั ตรงไปเพื่อกลับรถ 4.2.4 แนวความคิดในการออกแบบ การนํา พื้นที่ 338 ไร่ ทางฝั่งตะวันออกที่เป็ นพื้นที่โล่งกว้างและเต็มไปด้วยพันธุ์ไม้ นานาชนิด มีร่องรอยของนากุง้ เก่าที่เคยทํามาในอดีต กองทัพบกจึงเล็งเห็นว่า พื้นที่ สามารถพัฒนา ให้เป็ นศูนย์ธรรมชาติศึกษาที่สมบูรณ์ได้แห่งหนึ่งของเมืองไทย และเป็ นพื้นที่แหล่งเรี ยนรู ้ทาง ธรรมชาติที่อยูใ่ กล้กรุ งเทพมหานคร ส่ วนพื้นที่ 301 ไร่ บริ เวณทางฝั่งตะวันตกเป็ นที่ต้ งั ของอาคาร พักผ่อนกว่า 20 หลัง เป็ นที่พกั รับรอง เพื่อให้เหล่านักเรี ยนนักศึกษา นักท่องเที่ยวที่มาเยือนบางปู


ตลอดจนประชาชนที่รักธรรมชาติทวั่ ไปได้ใช้ประโยชน์ในการศึกษา โดยพื้นที่ แบ่งเป็ นหน่วยการ เรี ยนรู ้ 4 หน่วยคือ หน่วยการเรี ยนรู ้พนั ธุ์ไม้ในพื้นที่ชุ่มนํ้าบางปู เกี่ยวกับระบบนิเวศป่ าชายเลนและ พันธุ์ไม้ในพื้นที่ ชุ่มนํ้า หน่วยการเรี ยนรู ้ นก นกนํ้าและนกนางนวล หน่วยการเรี ยนรู ้ ระบบนิเวศ ชายฝั่ง หาดโคลนและสัตว์หน้าดิน และหน่วยการเรี ยนรู ้ ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ชุ่ม นํ้า ภายในพื้นที่ยงั มีอาคารนิทรรศการไว้ให้ความรู ้อีกด้วย 4.2.4.1 แนวความคิดในการวางพื้นที่ใช้สอย พื้นที่ใช้สอยภายในโครงการสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ส่ วน 1) พื้นที่ส่วนเส้นทางศึกษาธรรมชาติ แนวความคิดในการวางผังพื้นที่ใช้ สอย คือ เน้นการศึกษาระบบนิเวศที่เป็ น เส้นทางศึกษาธรรมชาติในเชิงอนุรักษ์ที่นกั ท่องเที่ยว สามารถชมป่ าชายเลน ดูนก ศึกษาพันธุ์ไม้ในพื้นที่ชุ่มนํ้าบางปู พื้นที่ส่วนใหญ่จึงเป็ นพื้นที่ธรรมชาติ 2) พื้นที่ส่วนอาคาร สํานักงาน นิทรรศการในร่ ม และบ้านพักรับรอง แนวความคิดในการวางผังพื้นที่ใช้สอยให้เข้าถึงได้สะดวก และการวางผังอาคารที่มีระยะห่ างที่ สามารถทํากิจกรรมอื่นๆได้ พื้นที่ไม่แออัด 4.2.4.2 แนวความคิดในการออกแบบระบบสัญจร ทางสัญจรหลักของโครงการสามารถเข้าถึงได้จากถนน สุ ขมุ วิท ที่เป็ น ถนนลาดยางกว้าง 16 เมตร เข้าถึงพื้นที่โครงการ ถนนภายในโครงการมีความกว้าง 8 เมตร มี เกาะ กลางถนนทําให้เกิดความปลอดภัย มีทางเดินเท้าขนาบไปกับถนนหลัก ขนาด 1.50 เมตร รู ปแบบที่ ไม่ซบั ซ้อน สามารถเข้าถึงลานจอดรถ ได้งาน และ มุ่งไปสู่ศาลาสุ ขใจที่ทอดยาวไปสู่ ทะเลอ่าวไทย ระยะทาง 500 เมตร ทางสัญจรรองของโครงการมีขนาด 6 เมตร เป็ นเส้นทางที่อยูใ่ นส่ วนของ บ้านพัก มีรูปแบบที่เข้าใจง่าย ไม่ซบั ซ้อน เส้นทางศึกษาธรรมชาติหลักเป็ นทางเดินเท้ามีรูปแบบตารางกริ ด บริ เวณ นี้จะผ่านจุดดูนก ส่ วนเส้นทางศึกษาธรรมชาติรองค่อยข้างที่จะเข้าใจยาก มีความซับซ้อน ต้องให้ เจ้าหน้าที่ดูแล 4.2.5 ส่ วนประกอบของโครงการ 4.2.5.1 องค์ประกอบทางนิเวศวิทยาพื้นที่ชุ่มนํ้าบางปู เนื้อหาหลักในการ ให้บริ การด้านการศึกษา 1) หน่วยการเรี ยนรู ้พนั ธุ์ไม้ในพื้นที่ชุ่มนํ้าบางปู เป็ นการเรี ยนรู ้แบบลง รายละเอียดมากขึ้นเกี่ยวกับระบบนิเวศป่ าชายเลนและพันธุ์ไม้ในพื้นที่ชุ่มนํ้าบางปู ความสัมพันธ์


ของสิ่ งมีชีวิตในระบบนิเวศป่ าชายเลน ชนิดพันธุ์ไม้เด่น การปรับตัว ประโยชน์ คุณค่า และการฝึ ก จําแนกชนิดพันธุ์ไม้และโครงสร้างที่สาํ คัญในแปลงเฉพาะเพื่อการศึกษาเรื่ องพันธุ์ไม้ 2) หน่วยการเรี ยนรู ้ นก นกนํ้าและนกนางนวลในบางปู กล่าวถึงความรู ้ พื้นฐานด้านปั กษีวิทยา ลักษณะทางชีววิทยาของนก พฤติกรรมต่างๆ ที่น่าสนใจ การอพยพของนก ชนิดนกเด่นที่บางปู การฝึ กจําแนกนกนางนวล นกอพยพและนกประจําถิ่นชนิดต่างๆ ที่สาํ รวจพบ กว่า 190 ชนิด โดยฝึ กจําแนกชนิดนกหลายๆ ชนิดผ่านหอดูนกภายในเส้นทางศึกษาธรรมชาติ 3) หน่วยการเรี ยนรู ้ ระบบนิเวศชายฝั่ง หาดโคลนและสัตว์หน้าดิน หลักสู ตรนี้เกี่ยวกับการศึกษาระบบนิ เวศชายฝั่งและหาดโคลน ความเกี่ยวเนื่อง สัมพันธ์อย่างเป็ น ระบบจากต้นนํ้า (ภาคเหนือ )ผ่านสายนํ้าหลักสู่ พ้นื ที่ชุ่มนํ้าบางปูสู่ การเกิดหาดความสําคัญของหาด โคลนซึ่งเป็ นที่รวมของอินทรี ยส์ าร และสิ่ งมีชีวิตหน้าดินแหล่งหากินที่สาํ คัญของนกนํ้าแหล่ง ทรัพยากรประมงที่สาํ คัญสําหรับชุ มชน และการฝึ กจําแนกชนิดสัตว์หน้าดิน (ปู หอย รวมถึงกลุ่ม ปลาตีน) ที่สาํ รวจพบในหาดโคลน 4) หน่วยการเรี ยนรู ้ ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ชุ่มนํ้าบางปู หลักสู ตรนี้เป็ นการเรี ยนแบบภาพรวม (ไม่เน้นเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งเป็ นพิเศษ ) เนื้อหาของหลักสู ตรจะ เกี่ยวข้องกับการเดินป่ าศึกษาธรรมชาติ ระยะทาง 1,600 เมตร ศึกษารายละเอียดพื้นฐานด้านความ หลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ชุ่มนํ้าบางปู (ชนิดพันธุ์ไม้เด่น นกประจําถิ่นและนกอพยพบางชนิด สัตว์หน้าดินบางชนิด และความหลากหลายของถิ่นที่อยูอ่ าศัย) 4.2.5.2 อาคารสํานักงานและนิทรรศการในร่ ม แบ่งการให้บริ การภายในอาคาร ออกเป็ น 3 ส่ วน ส่ วนที่ 1 เป็ นอาคารสํานักงาน เคาน์เตอร์ตอ้ นรับ ลงทะเบียน เอกสารและ ข้อมูลเพิ่ม เติม ส่ วนจําหน่ายของที่ระลึก และการให้บริ การด้านอุปกรณ์เพื่อการศึกษาธรรมชาติ ส่ วนที่ 2 เป็ นอาคารนิทรรศการ ซึ่งมีเนื้อหาการเรี ยนรู ้แบ่งออกเป็ น 4 องค์ประกอบหลัก ที่เชื่อมโยงกันก่อให้เกิดระบบนิเวศที่สมบูรณ์ของพื้นที่ชุ่มนํ้าปางปู ประกอบด้วย เส้นทางของเหล่านกอพยพ โลกของสัตว์หน้าดิน เรื่ องราวในดงแสม และการเดินทางของสายนํ้า จากดอยสู ง สู่ พ้นื ที่ชุ่มนํ้าบางปู ส่ วนที่ 3 ห้องบรรยายเอนกประสงค์ ใช้เป็ นห้องเรี ยนในร่ มและเป็ น จุดเริ่ มต้นของกระบวนการเรี ยนรู ้ ชมสารคดีธรรมชาติที่น่าสนใจ เป็ นสถานที่นาํ เสนอข้อมูลและ เตรี ยมความพร้อมในด้านต่างๆ ก่อนออกปฏิบตั ิจริ งในภาคสนาม 4.2.6 สรุ ปผลการวิเคราะห์กรณี ศึกษา


4.2.6.1 ข้อดีของโครงการ 1) พื้นที่โครงการมีการให้หน่วยความรู ้ที่หลากหลาย เช่น หน่วยการ เรี ยนรู ้พนั ธุ์ไม้ในพื้นที่ชุ่มนํ้าบางปู เป็ นการเรี ยนรู ้แบบลงรายละเอียดมากขึ้นเกี่ยวกับระบบนิเวศป่ า ชายเลนและพันธุ์ไม้ในพื้นที่ชุ่มนํ้าบางปู ความสัมพันธ์ของสิ่ งมีชีวิตในระบบนิเวศป่ าชายเลน หน่วยการเรี ยน รู ้ นก นกนํ้าและนกนางนวลในบางปู กล่าวถึงความรู ้พ้นื ฐานด้านปักษีวิทยา ลักษณะทางชีววิทยาของนก พฤติกรรมต่างๆ หน่วยการเรี ยนรู ้ ระบบนิเวศชายฝั่ง หาดโคลนและ สัตว์หน้าดิน หลักสู ตรนี้เกี่ยวกับการศึกษาระบบนิเวศชายฝั่งและหาดโคลน หน่วยการเรี ยนรู ้ ความ หลากหลายทางชีว ภาพในพื้นที่ชุ่มนํ้าบางปู มีความหลากหลายของหน่วยการเรี ยนรู ้และระบบ นิเวศ ไว้ให้ประชาชนและนักเรี ยนศึกษาหาความรู ้ 2) พื้นที่มีทศั นียภาพที่สวยงาม สามารถมองเห็นวิวทะเลอ่าวไทย 3) เป็ นโครงการที่ปลูกผังและส่ งเสริ มให้มีการอนุรักษ์และ เป็ นต้นแบบ ในการพัฒนาอีกทั้งเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ทางธรรมชาติ ที่อยูใ่ กล้เมืองหลวงของประเทศไทย 4) พื้นที่โครงการมีกิจกรรมทางธรรมชาติที่น่าสนใจในแต่ละจุด ซึ่งแต่ ละพื้นที่มีความน่าสนใจแตกต่างกัน ทําให้เกิดทางเลือกแก่ผใู ้ ช้สอย 5) พื้นที่ส่วนใหญ่ในโครงการเป็ นพื้นที่ธรรมชาติ 6) ส่ วนจัดแสดงหอดูนก มีการออกแบบให้กลมกลืนกับธรรมชาติ เพื่อ ช่วยให้การสังเกตพฤติกรรมของนกในธรรมชาติได้อย่างใกล้ชิด 4.2.6.2 ข้อเสี ยของโครงการ 1) พื้นที่ส่วนของบ้านพัก และส่ วนของพื้นที่การเรี ยนรู ้ขาดความ เชื่อมโยง ถูกแบ่งแยกด้วยถนนทางเข้าหลักของพื้นที่โครงการ 4.2.7 ความสัมพันธ์กบั โครงการกรณี ศึกษา พื้นที่โครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) มีสภาพแวดล้อมที่มีความ คล้ายคลึงกับพื้นที่โครงการคือ ระบบนิเวศป่ าชายเลน ความสัมพันธ์ของสิ่ งมีชีวิตและชนิดพันธ์ไม้ ในระบบนิเวศป่ าชายเลน ที่ สามารถนํามาพัฒนาเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ ให้กบั นักเรี ยน นักศึกษาและ ประชาชนที่สนใจ 4.2.8 รู ปแบบที่นาํ มาปรับใช้ในโครงการ 4.2.8.1 การวางผังเส้นทางศึกษาธรรมชาติพ้ืนที่ป่าชายเลน ที่มีจุดพักผ่อน และมี การออกแบบให้มีความกลมกลืนกับสภาพแวดล้อมโดยรอบ เช่น ศาลาพักผ่อน


4.2.8.2 การสร้างพื้นที่ที่มีการกระจายตัวของกิจกรรม ก่อให้เกิดความเคลื่อนไหว และกระตุน้ ให้เกิดความอยากรู ้อยากเห็น เพราะพื้นที่มีกิจกรรมและระบบนิเวศที่หลากหลาย

ภาพที่ 12 แสดงภาพถ่ายทางอากาศโครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) ทีม่ า : ดัดแปลงจาก google earth

ภาพที่ 13 แสดงแนวความคิดในการวางพื้นที่ใช้สอย ทีม่ า : ดัดแปลงจาก google earth


ภาพที่ 14 แสดงแนวความคิดในการออกแบบระบบการสัญจร ทีม่ า : ดัดแปลงจาก google earth

ภาพที 15 ศาลาสุ ขใจ มีระยะทาง 500 เมตร มีร้านอาหารและตัวอาคารเป็ นที่พบปะสังสรรค์ สําหรับนายทหารและงานประชุม งานสัมมนาอย่างเป็ นทางการ ทีม่ า : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=140209


ภาพที 16 ส่ วนสะพานสุ ขตาที่เชื่อมโยงไปสู่ ศาลาสุ ขใจที่ทอดยาวไปยังทะเลอ่าวไทย ทีม่ า : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=140209

ภาพที่ 17 แสดงพื้นที่ที่มีการจัดภูมิทศั น์ มีการตัดแต่งพรรณไม้พมุ่ ทีม่ า : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=662501


ภาพที่ 18 แสดงเส้นทางหลักเข้าพื้นที่โครงการ ที่มีส่วนของทางเดินเท้า และทางรถ ทีม่ า : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=140209

ภาพที่ 19 แสดงหอดูนก ออกแบบให้กลมกลืนกับธรรมชาติ จะช่วยให้การสังเกตพฤติกรรม ของนกในธรรมชาติได้อย่างใกล้ชิด ทั้งยังมีอุปกรณ์ดูนก ได้แก่ กล้องสองตา กล้องเทเลสโคป และเจ้าหน้าที่ประจําศูนย์ ออกนําเดินชมธรรมชาติและดูนก ทีม่ า : http://www.oknation.net/blog/print.php?id=140209


ภาพที่ 20 แสดงเขตแนวกั้นคลื่นจากทะเลอ่าวไทยของโครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก ทีม่ า : http://piriya.wordpress.com/2009/10/

ภาพที่ 21 แสดงพื้นที่ของโครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) ทีม่ า : http://piriya.wordpress.com/2009/10/


4.3 พิพธิ ภัณฑ์ วาซา ชื่อโครงการ : พิพิธภัณฑ์วาซา (vasa museum) ที่ต้ งั โครงการ : กรุ งสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน พื้นที่ : 8 ไร่ 4. 3.1 ความเป็ นมาของโครงการ วาซา คือชื่อของเรื อที่ถูกกูข้ ้ ึนมาในศตวรรษที่ 17 เนื่องจากสามารถรักษาชิ้นส่ วน เดิมของเรื อไว้ได้กว่า 95 เปอร์เซ็นต์และตกแต่งประดับประดาด้วยรู ปแกะสลักนับร้อยชิ้น เรื อวาซา เป็ นทรัพย์สมบัติทางศิลปะที่โดดเด่นและเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่สาํ คัญที่สุดแห่ งหนึ่งในโลก เรื อลํานี้ ถูกจัดแสดงไว้ในพิพิธภัณฑ์ที่สร้างขึ้นเพื่อแสดงเรื อลํานี้ในเมือง สตอกโฮล์ม ซึ่งประกอบไปด้วย นิทรรศการที่เกี่ยวข้องกับเรื อลํานี้ 9 นิทรรศการ, ภัตตาคารระดับหรู และร้านค้าที่มีสินค้ามากมาย ทั้งนี้ ยังมีภาพยนตร์เกี่ยวกับเรื อวาซาซึ่งคุณสามารถรับชมได้ 16 ภาษา เรื อรบหลวงวาซา ตั้งชื่อตามราชวงศ์ที่ปกครองประเทศ เพื่อแสดงถึงพิธีการทาง ศาสนา จึงมีการยิงสลุตพุง่ ผ่านท่าเรื อที่อยูข่ นานกับเรื อ เรื อวาซา จมลงสู่ ใต้ทอ้ งทะเลพร้อมคร่ า ชีวิตลูกเรื อไม่ต่าํ กว่า 30 คน หรื ออาจมากถึง 50 คน นัน่ เป็ นเวลานานถึง 333 ปี ก่อนที่เรื อรบหลวงวา ซา จะขึ้นสู่ ผวิ นํ้าอีกครั้ง Anders Franzén นักวิจยั เอกชน เริ่ มทําการค้นหาเรื อรบหลวงวาซา ในต้นปี 2494 เรื อรบหลวงวาซา ถูกคาดหวังว่าจะเป็ นเรื อที่สาํ คัญที่สุดลําหนึ่งของกองทัพเรื อ ประเทศสวีเดน เรื อลํานี้สามารถบรรทุกปื นใหญ่ได้ 64 กระบอก โดยส่ วนใหญ่ มีหนัก 24 ปอนด์ (ปื นใหญ่ยงิ ลูกกระสุ นที่มีน้ าํ หนัก 24 ปอนด์หรื อมากกว่า 11 กิโลกรัม) ประเทศสวีเดนมีเรื อรบยีส่ ิ บ กว่าลํา แต่ไม่มีลาํ ใดที่สามารถบรรทุกปื นได้มากหรื อมีน้ าํ หนักมากเท่ากับเรื อรบหลวงวาซา 4.3.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ การให้ความรู ้ จัดแสดงนิทรรศการ ให้บริ การแก่สงั คมเพื่อการพัฒนา โดยมีความ มุ่งหมายเพื่อการค้นคว้าการศึกษา และความเพลิดเพลิน เรื่ องราวประวัติของเรื อไปพร้อมกับ ประวัติศาสตร์ของสวีเดน เป็ นพิพิธภัณฑ์ที่มีคุณค่าทั้งทางด้านประวัติศาสตร์และ เป็ นแหล่ง ท่องเที่ยวระดับโลก 4.3.3 การเดินทาง พิพิธภัณฑ์จะอยูใ่ น Djurgården ทางด้านขวาเมื่อคุณข้ามสะพาน Djurgårdsbron


เดินจาก Centralstation (Stockholm C) (30 นาที) หรื อจากสถานี Karlaplan Tunnelbana (10 นาที) รถบัสสาย 47 หรื อ 69 จาก Centralstation (Stockholm C) และ Sergels Torg รถบัสสาย 44 จาก Karlaplan เรื อข้ามฟากจาก Slussen/Gamla Stan (และจากNybroplanในฤดูร้อน) รถทัวร์ : ที่จอดรถจะมีไว้สาํ หรับรถทัวร์ที่ดา้ นนอกพิพิธภัณฑ์ รถส่ วนตัว : ที่จอดรถมีไม่เพียงพอบนเกาะ Djurgården ดังนั้น จึงเป็ นการสะดวก ที่สุดที่จะจอดรถก่อนถึงสะพาน – Strandvägen หรื อ Narvavägen 4.3.4 แนวความคิดในการออกแบบ แนวความคิดในการนําเรื่ องราวทางประวัติศาสตร์ในหลายแง่มุมมานําเสนอโดยมี เรื อ ลําเดียวเป็ นศูนย์กลางของเรื่ องทั้งหมด และการก่อสร้างอาคารครอบลงไปอีกที เพราะมี เสากระโดงเรื อโผล่พน้ ยืน่ จากหลังคาอาคารขึ้นมา 3 เสา เรื่ องราวที่นาํ เสนอมีต้ งั แต่บรรยากาศทาง ประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 17 สถานการณ์และเหตุการณ์บา้ นเมืองของสวีเดนและแถบสแกนดินี เวีย เรื่ องราวของราชบัลลังก์และอํานาจทางการเมือง ชีวิตของผูค้ นยามปกติและชีวิตของลูกเรื อใน ท้องทะเล เครื่ องแต่งกาย ความเชื่อและวัตถุโบราณมากมาย ฯลฯท้องทะเล เครื่ องแต่งกาย ความเชื่อ และวัตถุโบราณมากมาย ฯลฯ การนําเสนอมีท้ งั สร้างหุ่นจําลองแผนที่ บรรยากาศที่เหมือนจริ ง วัตถุโบราณ ห้อง ฉายภาพยนตร์และการนําเสนอผ่านคอมพิวเตอร์ เป็ นพิพิธภัณฑ์ที่มีคุณค่าทั้งทางด้านประวัติศาสตร์ และการผสมผสานเทคโนโลยี สมัยใหม่ได้อย่างลงตัว 4.3.5 ส่ วนประกอบของโครงการ(การจัดแสดง) ลักษณะของพิพิธภัณฑ์เป็ นการนําเรื อโบราณมาจอดไว้แล้วจึงสร้างอาคารครอบลง ไปอีกที เพราะมีเสากระโดงเรื อโผล่พน้ ยืน่ จากหลังคาอาคารขึ้นมา 3 เสา เมื่อเข้าไปภายในจัดแบ่ง ออกเป็ นโซนต่างๆ เช่นโซนบอกเล่าเรื่ องราวด้วยนิทรรศการและรู ปภาพ และยังมีเทคโนโลยี เทคนิควิธีการต่างๆ ในการจัดแสดงที่ดึงดูดคนให้อยูก่ บั สิ่ งที่ชม ห้องโถงมีการฉายภาพยนตร์เล่า ประวัติของเรื อไปพร้อมๆ กับประวัติศาสตร์ของสวีเดน ข้าวของที่พบจากซากเรื อ อุปกรณ์ชอ้ นจาน ชามที่ทาํ จากไม้ เครื่ องเคลือบ เสื้ อผ้า รองเท้า และของใช้ส่วนตัวของทหารที่อยูบ่ นเรื อใน นิทรรศการบอกเล่าเรื่ องราวและขั้นตอนของการกูเ้ รื ออย่างละเอียด ภายในพิพิธภัณฑ์วาซามีรูป แกะสลักและงานศิลปะบนเรื อที่มีสีสนั สวยงาม


การเข้าชมไม่อนุญาตให้นกั ท่องเที่ยวขึ้นไปบนเรื อ แต่ได้จาํ ลองห้องพักของกัปตัน และทหารในชั้นที่เก็บปื นใหญ่ขนาดเท่าจริ งไว้ให้ชม ซึ่งทําให้ได้เห็นสภาพความเป็ นอยูข่ องทหาร บนเรื อได้เป็ นอย่างดี การเข้าชมพิพิธภัณฑ์วาซา เวลาเปิ ดทําการ มกราคม – พฤษภาคม และ กันยายน – ธันวาคม 10-00 น. – 17.00 น., วันพุธ 10.00 น. – 20.00 น. (ร้านอาหาร Vasa 11.00 น. – 16.00 น.) - มิถุนายน – สิ งหาคม 8.30 น. – 18.00 น. (ร้านอาหาร Vasa 9.30 น. – 17.30 น.) ปิ ดวันที่ 1 มกราคม, 23 – 25 ธันวาคม, 31 ธันวาคม 4.3.6 สรุ ปผลการวิเคราะห์กรณี ศึกษา 4.3.6.1 ข้อดีของโครงการ 1) มีการให้ความรู ้ภายในพิพิธภัณฑ์หลากหลายภาษา เช่นเยอรมนีและ สหรัฐอเมริ กา และมีการคํานึงถึงคนพิการทางสายตา มีขอ้ มูลอักษรเบรลล์ในภาษาสวีเดน ภาษาอังกฤษและเยอรมัน 2) มีเทคนิคการก่อสร้างที่โดดเด่น คือ การก่อสร้างอาคารครอบลงบนเรื อ รบวาซาที่จอดอยู่ เพราะมีเสากระโดงเรื อโผล่พน้ ยืน่ จากหลังคาอาคารขึ้นมา 3 เสา ไม่ทาํ ให้ส่วน ของเรื อเสี ยหายและทําให้อาคารพิพิธภัณฑ์และส่ วนของเรื อมีความกลมกลืนกัน 3) มีพ้ืนที่พกั ผ่อนที่มีสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่สวยงาม มีพรรณไม้ ค่อยข้างหนาแน่นให้ร่มเงาแก่พ้ืนที่ 4.3.6.2 ข้อเสี ยของโครงการ 1) พื้นที่โครงการมีส่วนจัดแสดงภายใน อาคารพิพิธภัณฑ์เพียงอย่างเดียว ไม่มีส่วนของกิจกรรมภายนอกที่ให้ความรู ้แก่นกั ท่องเที่ยว 4.3.7 ความสัมพันธ์กบั โครงการกรณี ศึกษา รู ปแบบโครงการกับกรณี ศึกษามีความสัมพันธ์ในเรื่ องการนําเรื อรบมาจัดสร้าง พิพิธภัณฑ์ จัดแสดงให้ความรู ้เรื่ องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของเรื อ การทหาร ข้าวของเครื่ องใช้ ต่างๆ และเรื่ องราวประวัติศาสตร์ของเมืองที่ต้ งั 4.3.8 รู ปแบบที่นาํ มาปรับใช้ในโครงการ


ชาวต่างชาติ

4.3.8.1 การให้ความรู ้แก่นกั ท่องเที่ยวที่มีหลากหลายภาษา เพื่อรับรองนักท่องเที่ยว

4.3.8.2 การออกแบบพื้นที่และให้ความรู ้แก่นกั ท่องเที่ยวที่เป็ นคนพิการ เพื่อให้ ได้รับความสะดวกในการเข้าใช้พ้นื ที่ภายในโครงการ

ภาพที่ 22 แสดงภาพถ่ายทางอากาศโครงการพิพิธภัณฑ์วาซา ประเทศสวีเดน ทีม่ า : ดัดแปลงจาก google earth


ภาพที่ 23 แผนที่ส่วนการจัดแสดงภายในพิพิธภัณฑ์วาซา ทีม่ า : http://ryusky.blogspot.com/2010/05/blog-post_30.html

ภาพที่ 24 ข้าวของที่จดั แสดงภายในพิพิธภัณฑ์ เป็ นงานแกะสลักไม้ ทีม่ า : http://ryusky.blogspot.com/2010/05/blog-post_30.html


ภาพที่ 25 ข้าวของที่จดั แสดงภายในพิพิธภัณฑ์ เป็ นงานแกะสลักไม้ที่มีสีสนั และรู ปแบบศิลปะ ที่สวยงาม ทีม่ า : http://ryusky.blogspot.com/2010/05/blog-post_30.html

ภาพที่ 26 ส่ วนจัดแสดงเรื อหลวงวาซาที่อยูใ่ นอาคารพิพิธภัณฑ์วาซา ทีม่ า : http://ryusky.blogspot.com/2010/05/blog-post_30.html


ภาพที่ 27 แสดงทัศนียภาพพิพิธภัณฑ์วาซาด้านทิศตะวันตก บริ เวณท่าเรื อ ทีม่ า : http://ryusky.blogspot.com/2010/05/blog-post_30.html

ภาพที่ 28 แสดงทัศนียภาพพิพิธภัณฑ์วาซาด้านทิศเหนือ สนามหญ้าโล่งกว้าง ทีม่ า : http://ryusky.blogspot.com/2010/05/blog-post_30.html


บทที่ 5 ข้ อมูลและการวิเคราะห์ ข้อมูลโครงการ 5.1 การวิเคราะห์ ข้อมูลทัว่ ไปของจังหวัด 5.1.1 ประวัติความเป็ นมา จังหวัดกระบี่ ตั้งขึ้นในปลายรัชกาลที่ 5 แห่ งกรุ งรัตนโกสิ นทร์ในอดีตเป็ นเพียง แขวงหนึ่งอยูใ่ นอํานาจการปกครองและบังคับบัญชาของเมืองนครศรี ธรรมราช เรี ยกว่า “แขวง เมืองปกาสัย ” พระยา ผูค้ รองเมืองนครศรี ธรรมราช ให้พระปลัดเมืองฯ มาตั้งค่ายทําพะเนียดจับ ช้างของท้องที่ตาํ บลปกาสัยและได้มีราษฎรจากเมืองนครศรี ธรรมราช อพยพมาตั้งหลักแหล่งทํามา หากินเพิ่มมากขึ้น พระปลัดเมืองฯ ได้ยกตําบลปกาสัยขึ้นเป็ น “แขวงเมืองปกาสัย ” ขึ้นต่อเมือง นครศรี ธรรมราชประมาณปี พ.ศ.2415 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 ได้ทรง พระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้ ยกฐานะขึ้นเป็ นเมืองปกาสัย และทรงพระราชทานนามว่า “เมืองกระบี่ ” เมื่อได้ประกาศตั้งขึ้นเป็ นเมืองแล้วโปรดเกล้าฯ ให้ต้ งั ที่ทาํ การอยูท่ ี่ตาํ บลกระบี่ใหญ่ (บ้านตลาดเก่า ) ในท้องที่อาํ เภอเมืองกระบี่ปัจจุบนั มีหลวงเทพเสนาเป็ นเจ้าเมืองกระบี่คนแรก ต่อมาในปี พ .ศ. 2418 ได้ท รงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้แยกเมืองกระบี่ออกจากการปกครองของเมือง นครศรี ธรรมราช เป็ นเมืองจัตวาขึ้นตรงต่อกรุ งเทพฯ และในปี 2443 สมัยพระยารัษฎา นุประดิษฐ์ (คอซิมบี้ ณ ระนอง) เป็ นสมุหเทศาภิบาลมณฑลภูเก็ตได้พิจารณาเห็นว่าศาลากลางจังหวัดที่บา้ น ตลาดเก่านั้นไม่สะดวกต่อการคมนาคม เพราะสมัยนั้นต้องอาศัยเรื อเป็ นพาหนะ จึงได้ยา้ ยที่ต้ งั เมือง ไปอยูต่ าํ บลปากนํ้า อยูใ่ กล้ปากอ่าวเป็ นร่ องนํ้าลึกเรื อใหญ่สามารถเข้าเทียบท่าได้สะดวก เป็ นที่ต้ งั ศาลากลางจังหวัดจนถึงปั จจุบนั นี้ ความหมายของคําว่า “กระบี่ ” มีตาํ นานเล่าสื บต่อกันมาว่า ชาวบ้านได้ขดุ พบกระบี่หรื อ อาวุธโบราณใหญ่เล่มหนึ่ง นํามามอบให้กบั เจ้าเมืองกระบี่ และต่อมาไม่นานก็ขดุ พบกระบี่ หรื อ อาวุธโบราณเล็กอีกเล่มหนึ่ง รู ปร่ างคล้ายกับกระบี่เล่มใหญ่ จึงนํามามอบให้กบั เจ้าเมืองกระบี่ เช่นกัน เจ้าเมืองกระบี่เห็นว่าเป็ นอาวุธโบราณสมควรเก็บไว้เ ป็ นกระบี่คู่บา้ นคู่เมือง เพื่อเป็ นสิ ริ มงคล แต่ขณะนั้นยังสร้างเมืองไม่เสร็ จ จึงได้นาํ กระบี่ไปเก็บไว้ในถํ้าเขาขนาบนํ้าหน้าเมืองโดย วางไขว้กนั ซึ่งลักษณะการวางกระบี่ดงั กล่าว ก็ได้นาํ มาเป็ นส่ วนหนึ่งของสัญลักษณ์ตราประจํา จังหวัด คือ “รู ปกระบี่ไขว้เบื้องหลังมีภูเขา และทะเล” ซึ่งบ้านที่ขดุ พบเล่มใหญ่ได้ต้ งั ชื่อว่า “บ้าน กระบี่ใหญ่ ” และบ้านที่ขดุ พบเล่มเล็กได้ต้ งั ชื่อว่า “บ้านกระบี่นอ้ ย” แต่มีอีกตํานานหนึ่งสันนิษฐาน ว่า “กระบี่ ” อาจเรี ยกชื่อตามพันธุ์ไม้ชนิดหนึ่งที่มีมากในท้องถิ่น คือต้น “หลุมพี ” จึงเรี ยกชื่อ


ท้องถิ่นนี้วา่ “บ้านหลุมพี ” มีชาวมลายูและชาวจีนที่เข้ามาค้าขายได้เรี ยกเพี้ยนเป็ น บี” หรื อ “คอโลบี” ต่อมาได้เพี้ยนเป็ นสําเนียงไทยว่า “กระบี่”

“กะ-ลู-

5.1.2 ที่ต้ งั และอาณาเขตติดต่อ เป็ นจังหวัดที่ต้ งั อยูร่ ิ มฝั่งทะเลอันดามัน อยูห่ ่ างจากกรุ งเทพฯ 814 กิโลเมตร ตาม ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) มีเนื้อที่ 4,708 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยภูเขา ที่ ดอน ที่ราบ หมู่เกาะน้อยใหญ่กว่า 154 เกาะ อุดมไปด้วยป่ าชายเลน ตัวเมืองกระบี่มีแม่น้ าํ ยาว ประมาณ 5 กิโลเมตร ไหลผ่านลงสู่ ทะเลอันดามันที่ตาํ บลปากนํ้า นอกจากนี้ยงั มีคลองปกาสัย คลอง กระบี่ใหญ่ และคลองกระบี่นอ้ ย มีตน้ กําเนิดจากยอดเขาที่สูงที่สุดในจังหวัดกระบี่ คือ เขาพนม เบญจา โดยมีอาณาเขตติดต่อทิศเหนือ ติดกับจังหวัดพังงาและจังหวัดสุ ราษฎร์ธานี ทิศใต้ ติดกับ จังหวัดตรังและทะเลอันดามัน ทิศตะวันออก ติดกับจังหวัดนครศรี ธรรมราชทิศตะวันตก ติดกับ จังหวัดพังงาและทะเลอันดามัน 5.1.3 สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิประเทศโดยทัว่ ไปของจังหวัดกระบี่ทางตอนเหนือประกอบด้วย เทือกเขายาวทอดตัวไปในแนวเหนือใต้สลับกับสภาพพื้นที่แบบลูกคลื่นลอนลาด และลอนชัน มีที่ ราบชายฝั่งทะเลทางด้านตะวันตก บริ เวณทางตอนใต้มีสภาพภู มิประเทศเป็ นภูเขากระจัดกระจาย สลับกับพื้นที่แบบลูกคลื่น ส่ วนบริ เวณทางตอนใต้สุด และตะวันตกเฉียงใต้ มีสภาพพื้นที่เป็ นแบบ ลูกคลื่นลอนลาดจนถึงค่อนข้างราบเรี ยบ และมีภูเขาสูง ๆ ตํ่า ๆ สลับกันไป บริ เวณด้านตะวันตกมี ลักษณะเป็ นชายฝั่งติดกับทะเลอันดามัน ยาวประมาณ 160 กิโลเมตร ประกอบด้วยหมู่เกาะน้อย ใหญ่ ประมาณ 154 เกาะ แต่เป็ นเกาะที่มีประชากรอาศัยอยูเ่ พียง 13 เกาะ เกาะที่สาํ คัญ ได้แก่ เกาะ ลันตา เป็ นที่ต้ งั ของอําเภอเกาะลันตา และเกาะพีพี ซึ่งอยูใ่ นเขตอําเภอเมือง เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวที่ สวยงามติดอันดับของโลก 5.1.4 ลักษณะภูมิอากาศ กระบี่เป็ นจังหวัดที่อยูใ่ กล้ทะเล อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี มีค่าคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงมาก นัก และมีฝนตกชุกในฤดูฝน เพราะอยูท่ างด้านรับลม จึงได้รับอิทธิพลจากลมมรสุ มตะวันตกเฉียง ใต้ซ่ ึงพัดผ่านมหาสมุทรอินเดียอย่างเต็มที่


ส่ วนฤดูหนาวอากาศไม่หนาวจัด เพราะอยูไ่ กลจากอิทธิพลของอากาศหนาว พอสมควรและบางครั้งอาจมีฝนตกได้ เนื่องจากลมมรสุ ตะวันออกเฉียงเหนือที่พดั ผ่านอ่าวไทยพา เอาฝนมาตก 5.1.4.1 อุณหภูมิจงั หวัดกระบี่อยู่ใกล้ทะเล ฤดูร้อนจึงไม่ร้อนมาก ส่ วนฤดูหนาวไม่ ถึงกับหนาวจัด อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี ประมาณ 28.3ซ. อุณหภูมิสูงสุ ดเฉลี่ย 31.7ซ. เดือนเมษายน อุณหภูมิต่าํ สุ ดเฉลี่ย 24.6ซ. เดือนธันวาคม 5.1.4.2 ความชื้นสัมพัทธ์จงั หวัดกระบี่จะมีความชื้นสัมพัทธ์อยูใ่ นเกณฑ์สูง เพราะ ได้รับอิทธิพลจากมรสุ มทั้งสองฤดูและภูมิประเทศอยูใ่ กล้ทะเลมีกระแสลมพัดผ่านตลอดเวลา ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยตลอดปี ประมาณ 78 % ความชื้นสัมพัทธ์สูงสุ ดเฉลี่ย 90 % เดือนตุลาคม ความชื้นสัมพัทธ์ต่าํ สุ ดเฉลี่ย 67 % เดือนเมษายน 5.1.4.3 ฝน จังหวัดกระบี่ซ่ ึงรับลมมรสุ มตะวันตกเฉียงใต้อย่างเต็มที่ในฤดูฝนจึง ทําให้มีฝนตกมาก ส่ วนในฤดูมรสุ มตะวันออก เฉียงเหนือมีฝนตกน้อย เพราะถูกทิวเขาทางด้าน ตะวันออกของภาคใต้ปิดกั้นทางลมไว้ ปริ มาณฝนเฉลี่ยตลอดปี ประมาณ 2,142.3 มิลลิเมตร ปริ มาณฝนสูงสุ ดเฉลี่ย 313.76 มิลลิเมตร เดือนตุลาคม ปริ มาณฝนตํ่าสุ ดเฉลี่ย 22.74 มิลลิเมตร เดือนมีนาคม 5.1.4.4ลม จังหวัดกระบี่มีลมพัดผ่านประจําตลอดปี ดังนี้ เดือนพ.ย. – มี.ค. เป็ นลมทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ความเร็ วลมเฉลี่ย 6 - 11 กม./ชม. เดือนเมษ.ย – ต.ค. เป็ นลมทิศตะวันตก ความเร็ วลมเฉลี่ย 7 - 11 กม./ชม. กําลังลมสู งที่สุดมีดงั นี้ ฤดูหนาวลม สูงที่สุดได้ 39 กม./ชม. เป็ นลมทิศตะวันออกเฉี ยงเหนือใน เดือนมกราคม ฤดูร้อนเคยตรวจลมสู งที่สุดได้ 39 กม./ชม. เป็ นลมทิศตะวันตกในเดือน เมษายน ฤดูฝนเคยตรวจลมสู งที่สุดได้ 65 กม./ชม. เป็ นลมทิศตะวันตกค่อยไปทาง เหนือเล็กน้อยในเดือนมิถุนายน


5.1.5 เขตการปกครอง จังหวัดกระบี่ มีเขตการปกครองส่ วนภูมิภาคแบ่งออกเป็ น 8 อําเภอ 51 ตําบล 389 หมู่บา้ น 1 องค์การบริ หารส่ วนจังหวัด 1 เทศบาลเมือง 9 เทศบาลตําบล และ 51 องค์การ บริ หารส่ วนตําบล ตารางที่ 3 แสดงจํานวนประชากร จําแนกตามเขตการปกครองรายอําเภอ ห่ างจาก เทศบาล พื้นที่ หมู่ อําเภอ จังหวัด ตําบล อบต (ตร.กม.) บ้าน เมือง ตําบล (กม.) เมืองกระบี่ 648.552 8 59 1 8 อ่าวลึก 772.989 47 9 52 2 9 ปลายพระยา 433.367 75 4 35 1 4 คลองท่อม 1,042.531 42 7 68 2 7 เกาะลันตา 339.843 109 5 36 1 5 ลําทับ 320.708 67 4 28 1 4 เหนือคลอง 362.00 17 8 57 1 8 เขาพนม 788.522 39 6 54 1 6 รวม 4,708.512 51 389 1 9 51 ที่มา : ที่ทาํ การปกครองจังหวัดกระบี่ ณ 27 พ.ย. 52 5.1.6 จํานวนประชากร ประชากรในจังหวัดกระบี่ ณ เดือนกันยายน 2552 มีจาํ นวนรวมทั้งสิ้ น 408,858 คน ประกอบด้วย ชาย จํานวน 205,169 คน หญิง จํานวน 203,689 คน และจากตาราง พบว่าอําเภอที่มีประชากรมากที่สุด คือ อําเภอเมืองกระบี่ มีประชากรจํานวน 72 ,040 คน 23 ,620 ครัวเรื อน รองลงมาคือ อําเภอคลองท่อม มีประชากรจํานวน 62 ,859 คน 17 ,510 ครัวเรื อน และอําเภอที่มีประชากรน้อยที่สุดคือ อําเภอลําทับ มีประชากร จํานวน 17,237 คน 5,041 ครัวเรื อน 5.1.7 ด้านเศรษฐกิจด้านเศรษฐกิจ


โครงสร้างและอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจเศรษฐกิจจังหวัดกระบี่ใน ปี 2552 โดยภาพรวมมีแนวโน้มขยายตัวขึ้น เนื่องจากเม็ดเงินเข้ามาหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ จากหลายสาขา ทั้งด้านการท่องเที่ยว ภาคเกษตรกรรม ธุรกิจการค้า ด้านการเกษตรโดยในพืชเศรษฐกิจที่สาํ คัญของจังหวัดในปี 2548 มีแนวโน้มใน การผลิตและมูลค่าที่สูงอย่างต่อเนื่อง เช่น ปาล์มนํ้ามัน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้าน ของพื้นที่ ด้านการท่องเที่ยว ปริ มาณนักท่องเที่ยวเฉลี่ยตั้งแต่ปี 2547-2550 ปี 2547 มีผมู ้ าเยือนจังหวัดกระบี่ 1,796,591 ปี 2548 มีผมู ้ าเยือนจังหวัดกระบี่ 1,027,027 ปี 2549 มีผมู ้ าเยือนจังหวัดกระบี่ 1,732,951 ปี 2550 มีผมู ้ าเยือนจังหวัดกระบี่ 1,042,835 จากสถิตินกั ท่องเที่ยวที่เดินทางเข้าจังหวัดกระบี่ ในปี 2553 มีจาํ นวนถึง 2 ล้านคน นํา รายได้สู่จงั หวัดกระบี่เป็ นเงิน 24,000 ล้านบาท ในเดือนมกราคม 2554 มีนกั ท่องเที่ยวชาวต่างชาติ เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในจังหวัดกระบี่ จํานวน 17,851 หรื อคิดเป็ นร้อยละ 4.88 โดยนักท่องเที่ยว ที่เดินทางเข้ามาจังหวัดกระบี่ นักท่องเที่ยวที่เข้ามา สวีเดน และ ฟิ นแลนด์ 5.2 การวิเคราะห์ ข้อมูลปัจจัยทางธรรมชาติของพืน้ ทีโ่ ครงการ 5.2.1 สภาพแวดล้อมโดยรอบพื้นที่โครงการ บริ เวณตรงกลางพื้นที่มีความลาดชั้น 0-5 % เป็ นพื้นที่ราบ โดยพื้นที่ดา้ นทิศ ตะวันตกเฉี ยงเหนือมีความลาดชันมาก > 15 % มีแหล่งนํ้าบริ เวณป่ าชายเลน พื้นที่อยูต่ ิดกับทะเล อันดามัน ลักษณะธรณี วิทยา ป่ าชายเลน ดินบริ เวณนี้เป็ นดินเลนที่เกิดขึ้นจากการทั บถมของ ตะกอนบริ เวณปากแม่น้ าํ กระบี่ โดยมีขนาดพื้นที่ 90 ไร่ ภายในพื้นที่เป็ นที่ต้ งั ขององค์การบริ หาร ส่ วนจังหวัดกระบี่ มีลานเอนกประสงค์ขาดใหญ่ ลานจอดรถรองรับได้ 150 คัน และมีส่วนของ พื้นที่ท่าเทียบเรื อท่องเที่ยวคลองจิหลาดที่เดินทางไปยังเกาะลันตา เกาะพีพี และเ กาะภูเก็ต ขอบเขต พื้นที่ติดต่อทิศเหนือ ติดกับ ที่ดินของ อบจ.กระบี่และโรงเรี ยนอนุบาลกระบี่ ทิศใต้ ติดกับ ทะเล อันดามัน ทิศตะวันออก ติดกับ ที่ดินของ อบจ .กระบี่ที่เป็ นพื้นที่รกร้างยังไม่มีการพัฒนาพื้นที ทิศตะวันตก ติดกับ ทะเลอันดามัน 5.2.2 ลักษณะโครงสร้างดิน


พื้นที่มีสภาพเป็ นดินเลนที่เกิดขึ้นจากการทับถมของตะกอนบริ เวณปากแม่น้ าํ กระบี่ ซึ่งเป็ นบริ เวณรอยต่อระหว่างพื้น ดินกับพื้นนํ้าทะเล ผสมผสานกันเป็ นนํ้ากร่ อย ส่ วนบริ เวณ พื้นที่องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่มีการถมพื้นดินและสร้างเขื่อนขึ้นมาเหนือระดับนํ้าทะเล 2 เมตร 5.2.3 การระบายนํ้า 5.2.3.1 การระบายนํ้าผิวดินในพื้นที่โครงการ จะเริ่ มไหลจากพื้นที่ดา้ นทิศ ตะวันตก เพราะพื้นที่ ส่ วนนี้มีความลาดชันมากที่สุด ส่ วนพื้นที่ดา้ นทิศตะวันออกเป็ นพื้นที่รับนํ้า ไหลสู่ ทะเลอันดามันและแม่น้ าํ กระบี่ 5.2.3.2 การระบายนํ้าจากมนุษย์สร้างขึ้นจะวางท่อระบายนํ้าลาดเอียงลงสู่ ทะเลอัน ดามันและนํ้ากร่ อยบริ เวณป่ าชายเลน (ดูแผ่นที่ 8) 5.2.4 ลักษณะแหล่งนํ้า 5.2.4.1 พื้นที่โครงการอยูใ่ กล้กบั แหล่งนํ้าธรรมชาติ ประกอบไปด้วย คลองไส ไทย คลองย่านสะบ้า คลองจิหลาด คลองทับไม้ คลองประสงค์ และ แม่น้ าํ กระบี่ ที่เป็ นแหล่ง นํ้าจืดไหลลงสู่ ทะเลอันดามัน แหล่งนํ้าในพื้นที่โครงเป็ นนํ้ากร่ อย 5.2.4.2 นํ้าขึ้นนํ้าลงบริ เวณชายฝั่ งทะเลอันดามันจากข้อมูลระดับนํ้าสถานีอุทก ศาสตร์กองทัพเรื อไทย คือ จังหวัดสตูล ตรัง กระบี่ ภูเก็ต และระนอง แสดงคุณลักษณะของนํ้าขึ้น นํ้าลงพบว่าเป็ นแบบนํ้าคู่ (semi-diurnal) ขึ้น 2 ครั้ง ลง 2 ครั้ง ความถี่ จะเกิดทุก 12.25 ชัว่ โมง จังหวัดสตูล -ภูเก็ตซึ่งมีพิสยั อยู่ ระหว่าง 3.1-3.6 ม. และเพิ่มขึ้นอย่างมากตามแนวชายฝั่งจังหวัด พังงา–ระนองโดยมีค่าสู งถึง 4.4 ม. นอกจากการขึ้นลงของระดับนํ้ารายวันแล้ว ยังพบว่า ระดับนํ้าทะเลปานกลาง (MSL) มีการแกว่งตลอดปี อยูร่ ะหว่าง 0.3-0.5 ม. โดยระดับนํ้าทะเลปาน กลางตํ่าสุ ด อยูร่ ะหว่างเดือนมกราคม -กุมภาพันธ์ และสู งสุ ดในเดือนพฤษภาคม -มิถุนายน ซึ่งเป็ น ช่วงลมมรสุ มตะวันตกเฉี ยงใต้ (ดูแผ่นที่ 8) 5.2.5 ลักษณะตําแหน่งพืชพรรณ พืชพรรณเดิมในพื้นที่โครงการ เป็ นพืชพรรณที่มีการปลูกขึ้นใหม่ ซึ่งมีขนาดลํา ต้นที่ไม่ใหญ่มาก ได้รับการดูแลปานกลาง ไม่ค่อยมีความหลากหลายของพืชพรรณ เพราะพื้นที่ โครงการเพิ่งมีการตกแต่งภูมิทศั น์ ไม้ยนื ต้นได้แก่ พญาสัตบรรณ มะพร้าว อโศกอินเดีย จะปลูกอยู่


บริ เวณลาดจอดรถ และสวนเฉลิมพระเกียริ ไม้พมุ่ ได้แก่ ซองออฟอินเดีย เข็ม ไม่ค่อยมีไม้คลุมดิน พื้นที่บริ เวณป่ าชายเลนเป็ นไม้สกุลโกงกาง สกุลไม้โปรง (ดูแผ่นที่ 9)





5.3 การวิเคราะห์ ข้อมูลทางวัฒนธรรมและสิ่ งทีม่ นุษย์ สร้ างของพืน้ ทีโ่ ครงการ 5.3.1 การใช้ประโยชน์ที่ดินเดิม 5.3.1.1 ZONE A เป็ นพื้นที่ที่ปล่อยทิ้งไว้ ไม่มีการใช้ประโยชน์ เป็ นพื้นที่รกร้าง มีเพียงวัชพืช ไม่มีตน้ ไม้ใหญ่ อยูใ่ กล้กบั สํานักงานจัดหางาจังหวัดกระบี่ พื้ นที่ไม่มีการทํากิจกรรม ใดๆ 5.3.1.2 ZONE B เป็ นพื้นที่ป่าชายเลน ไม่มีการทํากิจกรรมใดๆ 5.3.1.3 ZONE C เป็ นพื้นที่อาคารท่าเทียบเรื อคลองจิหลาด กิจกรรมเดิมในพื้นที่ ขึ้นท่าเทียบเรื อไปยังเกาะต่างๆ เช่น เกาะลันตา เกาะพีพี เกาะภูเก็ต มีท้ งั นักท่องเที่ยวไทย และต่างชาติ 5.3.1.4 ZONE D เป็ นพื้นที่ที่สนามหญ้าโล่งกลาง มีการจัดภูมิทศั น์ กิจกรรม Passive เช่นการเดินเล่น นัง่ พักผ่อน ส่ วนใหญ่จะมีการใช้พ้ืนที่ในช่วงตอน เย็น 5.3.1.5 ZONE E เป็ นพื้นที่ลานเอนกประสงค์ กิจกรรม Active เช่นการออกกําลัง กาย เล่นกีฬา ส่ วนใหญ่จะมีการใช้พ้นื ที่ในช่วงตอน เย็น และเป็ นลานเอนกประสงค์ในการจัด งานสําคัญของจังหวัดกระบี่ เช่นงานช่วง เทศกาลต่างๆ งานประจําปี 5.3.1.6 ZONE F เป็ นพื้นที่อาคารสํานักงานองค์การบริ หารส่ วน จังหวัดกระบี่ กิจกรรมจําเป็ น การทํางาน ช่วงเวลาราชการ 08.00 น. – 16.00 น. 5.3.1.7 ZONE G เป็ นพื้นที่ลานจอดรถของอาคารสํานักงานองค์การ บริ หารส่ วน จังหวัดกระบี่ รองรับพื้นที่จอดรถได้ 150 คัน 5.3.1.8 ZONE H เป็ นพื้นที่สวนเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา กิจกรรม Active and Passive เช่นการออกกําลังกาย เล่นกีฬา นัง่ พักผ่อน ส่ วนใหญ่ จะมีการใช้พ้ืนที่ในช่วงตอนเย็น ( ดูแผนที่ 10 ) 5.3.2 ระบบสัญจร 5.3.2.1 พื้นที่มีระบบสัญจรทางรถยนต์ที่ดีโดยเริ่ มตั้งแต่ทางเข้าหลักเข้ าสู่ลานจอด รถทั้งส่ วนของอาคารท่าเทียบเรื อและอาคารสํานักงานองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่มีเส้นทาง ที่ไม่ซบั ซ้อนเข้าใจง่ายเป็ นถนนลาดยาง กว้าง 7 เมตร ( ดูแผนที่ 12 ) 5.3.2.2 พื้นที่มีระบบสัญจรทางเท้าที่ดี โดยบริ เวณทางเข้าหลักด้านหน้าโครงการ เป็ นทางสัญจรหลั กของรถ ส่ วนบริ เวณด้านหลังเป็ นส่ วนทางสัญจรทางเท้า บริ เวณนี้เป็ นลาน


เอนกประสงค์ สวนเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา และท่าเทียบเรื อมีรูปแบบทางเท้าที่หลากหลาย ( ดูแผนที่ 13 ) 5.3.3 สิ่ งก่อสร้างเดิมประกอบไปด้วย 5.3.3.1 อาคารท่าเทียบเรื อคลองจิหลาด อาคาร 1 ชั้น เป็ นโครงสร้างอาคาร ค.ส.ล มีสภาพดี อายุการใช้งานระยะเวลา10 ปี ประโยชน์ใช้สอยอาคารต้อนรับและบริ การนักท่องเที่ยว 5.3.3.2 ป้ ายท่าเทียบเรื อคลองจิหลาด มีขนาดสู ง 2.00 ม.ยาว 3.50 ม. มีสภาพดี แต่ ไม่สวยงาม อายุการใช้งาน 10 ปี ประโยชน์การใช้สอยป้ ายต้อนรับ สื่ อความหมาย 5.3.3.3 ทางเดินไปท่าเทียบเรื อ มีหลังคาคลุม ขนาดกว้าง 3.5 ม. ระยะทาง 230 ม. ค.ส.ลมีสภาพดี อายุการใช้งาน 10 ปี ประโยชน์ใช้สอยทางเท้าไปท่าเทียบเรื อ 5.3.3.4 ป้ ายยามท่าเทียบเรื อ อาคาร 8 เหลี่ยม โครงสร้าง ค.ส.ล สภาพทรุ ดโทร เล็กน้อยอายุการใช้งาน 10 ปี ประโยชน์การใช้สอยรักษาความปลอดภัย ดูแลการเข้า-ออก 5.3.3.5 อาคารองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ เป็ นอาคาร 3 ชั้น โครงสร้าง อาคารค.ส.ล มีพ้ืนที่ใช้สอยภายในอาคาร 6,509 ตร.ม. อาคารใหม่ สภาพดี อายุการใช้งานระยะ 5 ปี ประโยชน์ใช้สอยเป็ นอาคาสํานักงาน 5.3.3.6 เสาธง พื้นค.ส.ล สภาพดี อายุการใช้งาน 5 ปี ประโยชน์การใช้สอย เคารพธงชาติ 5.3.3.7 ลานเอนกประสงค์ มีพ้ืนที่ใช้สอย 6,856 ตร.ม. อายุการใช้งาน 5 ปี ประโยชน์การใช้สอยเคารพธงชาติจดั งานประจําปี และงานสําคัญ เล่นกีฬา 5.3.3.8 ที่สกั การบู ชาพญานาคภุชงค์ อายุการใช้งานน้อยกว่า 1 ปี ประโยชน์การ ใช้สอยที่สกั การบูชา 5.3.3.9 ลานจอดรถ จํานวน 150 คัน เป็ นยางมะตอย มีสภาพดี อายุการใช้งาน 5 ปี ประโยชน์การใช้สอยจอดรถ 5.3.3.10 ป้ อมยามโครงสร้าง ลานค.ส.ล มีพ้ืนที่ใช้สอย 10 ตร.ม. โครงสร้าง ค.ส.ล มีสภาพดี อายุการใช้งาน 5 ปี ประโยชน์การใช้สอยรักษาความปลอดภัย ดูแลการเข้า-ออก 5.3.3.11 ป้ ายองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ มีความสูง 3.5 เมตรโครงสร้าง ค.ส.ล มีสภาพดี อายุการใช้งาน 5 ปี ประโยชน์การใช้สอยป้ ายต้อนรับ 5.3.3.12 ป้ ายสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียร ติ 80 พรรษา มีความสูง 1.80 ม.ยาว 2.50 ม.มีสภาพ ดี แต่ไม่สวยงาม อายุการใช้งาน 4 ปี ประโยชน์การใช้สอยป้ ายต้อนรับ สื่ อ ความหมาย


5.3.3.13 แนวกั้นคลื่น เป็ นโครงสร้าง ค .ส.ล มีสภาพ ดี อายุการใช้งาน 5 ปี ประโยชน์การใช้สอยกั้นคลื่น 5.3.3.14 ทางเดิน บล็อกคอนกรี ต ขนาดกว้าง 2.00 ม. สภาพไม่ดี ทรุ ดโทรม อายุ การใช้งาน 5 ปี ประโยชน์การใช้สอยทางเดิน 5.3.3.15 ศาลพระภูมิ พื้นเป็ นบลีอกคอนกรี ตดี สภาพดี แต่ไม่สวยงาม อายุการใช้ งาน 5 ปี ประโยชน์การใช้สอย 5.3.4 ข้อมูลชุนชนทางเศรษฐกิจ ข้อมูลนักท่องเที่ยว ปริ มาณนักท่องเที่ยวเฉลี่ยตั้งแต่ปี 2547-2550 ปี 2547 มีผมู ้ าเยือนจังหวัดกระบี่ 1,796,591 ปี 2548 มีผมู ้ าเยือนจังหวัดกระบี่ 1,027,027 ปี 2549 มีผมู ้ าเยือนจังหวัดกระบี่ 1,732,951 ปี 2550 มีผมู ้ าเยือนจังหวัดกระบี่ 1,042,835 จากสถิตินกั ท่องเที่ยวที่เดินทางเข้าจังหวัดกระบี่ ในปี 2553 มีจาํ นวนถึง 2 ล้านคน นํารายได้สู่จงั หวัดกระบี่เป็ นเงิน 24,000 ล้านบาท ในเดือนมกราคม 2554 มีนกั ท่องเที่ยว ชาวต่างชาติเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในจังหวัดกระบี่ จํานวน 17,851 หรื อคิดเป็ นร้อยละ 4.88 โดย นักท่องเที่ยว ที่เดินทางเข้ามาจังหวัดกระบี่ นักท่องเที่ยวที่เข้ามา สวีเดน และ ฟิ นแลนด์ 5.3.5 ข้อมูลชุนชนทางสังคม จํานวนประชากร ประชากรในจังหวัดกระบี่ ณ เดือนกันยายน 2550 มีจาํ นวน รวมทั้งสิ้ น 408,858 คน ประกอบด้วย ชาย จํานวน 205,169 คน หญิง จํานวน 203,689 คน จากตารางพบว่าอําเภอที่มีประชากรมากที่สุด คือ อําเภอเมืองกระบี่ รองลงมาคือ อําเภอคลอง ท่อม และอําเภอที่มีประชากรน้อยที่สุดคือ อําเภอลําทับ


ตารางที่ 4 จํานวนประชากร อําเภอ เมือง เขาพนม คลองท่อม อ่าวลึก ปลายพระยา เหนือคลอง ลําทับ ลันตา รวมประชากรทั้งจังหวัด ที่มา : ศูนย์ขอ้ มูลประชาชน

ชาย 35,811 22,235 31,970 21,411 15,504 25,985 8,770 14,117 205,169

หญิง 36,229 21,775 30,889 21,176 15,124 25,894 8,487 13,733 203,889

รวม 72,040 44,014 62,859 42,587 30,628 51,879 17,237 42,587 408,858

ครัวเรื อน 23,620 12,275 17,510 17,510 8,478 14,406 50,147 7,771 126,323

5.3.6 ระบบสาธารณูปโภค 5.3.6.1 เส้นทาง ถนนท่าเทียบเรื อ ซึ่งเป็ นถนนหลักเข้าโครงการเป็ นถนนลาดยาง กว้าง 7 เมตร 5.3.6.2 ระบบประปา ใช้แท๊งค์น้ าํ ประปาในพื้นที่โครงการ 5.3.6.3 ระบบไฟฟ้ า ให้บริ การโดยการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาคในเขต อําเภอเมืองกระบี่ มาทางถนนท่าเทียบเรื อ 5.3.7 ข้อมูลสถานศึกษาในชุมชน 5.3.7.1 ช่วงอายุ 2-6 ปี มีสถานศึกษาดังนี้ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กชุมชนบานุราช ศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองหิ น 5.3.7.2 ช่วงอายุ 7-12 ปี มีสถานศึกษาดังนี้โรงเรี ยนเทศบาล 1 ตลาดเก่า โรงเรี ยน เทศบาล 3 ท่าแดง โรงเรี ยนเทศบาล 2 คลองจิหลาด โรงเรี ยนพระประยัติธรรม โรงเรี ยนอนุบาล กระบี่ โรงเรี ยนอุดรกิจ 5.3.7.3 ช่วงอายุ 13-24 ปี มีสถานศึกษา ดังนี้วิทยาลัยสารพัดช่างกระบี่ โรงเรี ยน เมืองกระบี่ วิทยาลัยปกาศัย วิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดกระบี่ ศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยน กระบี่ โรงเรี ยนโพคานุกลู มูลนิธิ วิทยาลัยเทคนิคกระบี่ โรงเรี ยนอํามาตย์พาณิ ชนุกลู


5.3.8 ข้อมูลทางด้านสังคมและชุมชน 5.3.8.1 ศาสนา ศาสนาพุทธประมาณ 63.7 เปอร์เซ็นต์ ศาสนาอิสลามประมาณ 34.3 เปอร์เซ็นต์ อาจมีผถู ้ ือศาสนา อื่น ๆ บ้างเล็กน้อย ประมาณ 2 เปอร์เซ็นต์ 5.3.8.2 การศึกษา ตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษา มัธยมศึกษา อุดมศึกษา ในระดับ มัธยมศึกษามีท ั่ วถึงทุกอําเภอ ระดับอุดมศึกษา มีวิทยาลัยเทคนิคกระบี่ วิทยาลัยเกษตรกรรมกระบี่ วิทยาลัยพลศึกษา และวิทยาลัยสารพัดช่าง 5.3.9 ข้อมูลทางด้านวัฒนธรรมของชุมชน 5.3.9.1 งานทําบุญวันสารทเดือน 10 เป็ นประเพณี ทาํ บุญเพื่ออุทิศส่ วนกุศลให้ บุคคลที่ล่วงลับไปแล้ว ในเดือน 10 เป็ นสองวาระคื อ วันแรม 1 คํ่า เดือน 10 ครั้งหนึ่ง และวันแรม 15 คํ่า เดือน 10 อีกครั้งหนึ่ง โดยถือคติวา่ พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตายาย และญาติพี่นอ้ งที่ล่วงลับไปแล้ว หรื อ เรี ยกว่าเปรตนั้น จะได้รับอนุญาตให้มาพบกับญาติของตนในเมืองมนุษย์ 5.3.9.2 ประเพณี ลอยเรื อ เป็ นประเพณี ที่สืบทอดกันมาตั้งแต่ครั้งบรรพบุรุษอัน เกี่ยวเนื่องกับตํานานความเชื่อความเป็ นมาและวิถีชีวิตทุกอย่างของชาวเลอูรักลาโวย การจัดพิธี ฉลองเรื อก็เพื่อการสะเดาะเคราะห์ ส่ งวิญญาณกลับสู่บา้ นเมืองเดิม และการส่ งสัตว์ไปไถ่บาป วัน ขึ้น 13 คํ่า ช่วงเช้า นําอาหารเค รื่ องเซ่นไปเซ่นไหว้บรรพบุรุษเป็ นการบอกกล่าวให้มาร่ วมพิธีลอย เรื อ






5.4 ข้ อมูลด้ านสุ นทรียภาพ

ภาพที่ 29 ทัศนียภาพบริ เวณที่ต้ งั ของเรื อรบหลวงลันตา พื้นที่เป็ นพื้นที่โล่ง ไม่มีตน้ ไม้ใหญ่ที่ให้ ร่ ม มีอุณหภูมิที่สูงมาก ทัศนียภาพไม่มีความสวยงาม เนื่องจากไม่มีการจัดภูมิทศั น์ ความรู ้สึกต่อพื้นที่ พื้นที่มีเปิ ดโล่ง ไม่อยากเข้าใช้พ้ืนที่ ไม่มีการจัดพื้นที่ให้รองรับ กิจกรรม ไม่มีตน้ ไม้ที่ให้ร่มเงาแก่พ้นื ที่จึงมีอุณหภูมิที่สูงมาก

ภาพที่ 30 ทัศนียภาพด้านทิศใต้ เปิ ดมุมมองไปด้านทะเลอันดามัน มองเห็นทางเดินขึ้นท่าเทียบเรื อ คลองจิหลาด ไม่มีการจัดภูมิทศั น์และพื้นที่รองรับการทํากิจกรรม ความรู ้สึกต่อพื้นที่ พื้นที่มีความปลอดโล่ง มีทศั นียภาพด้านทะเล อันดามัน


ภาพที่ 31 ทัศนียภาพด้านทิศตะวันตกบริ เวณป่ าชายเลนท่าเรื อคลองจิหลาดที่มีระบบนิเวศป่ าชาย เลนที่สวยงาม และพื้นที่ยงั เปิ ดมุมมองไปด้านทะเลอันดามัน พื้นที่มีทศั นียภาพที่สวยงาม ความรู ้สึกต่อพื้นที่ พื้นที่เปิ ดโล่ง ทําให้เกิดการเรี ยนรู ้ระบบนิเวศป่ าชายเลน

ภาพที่ 32 ทัศนียภาพด้านทิศตะวันออก บริ เวณลานเอนกประสงค์หน้าอาคาร องค์การบริ หารส่ วน จังหวัดกระบี่ ที่มีการจัดงานปะจําปี ของจังหวัด และเป็ นที่ออกกําลังกายของคนในพื้นที่ ความรู ้สึกต่อพื้นที่ พื้นที่เปิ ดโล่ง อากาศร้อน

ภาพที่ 33 ทัศนียภาพและมุมมอง : มองเห็นเรื อหลวงลันตาและทะเลอันดามัน พื้นที่เปิ ดโล่งมาก ไม่มีตน้ ไม้ใหญ่เป็ นมุมองที่สวยงาม ความรู ้สึกต่อพื้นที่ :พื้นที่เปิ ดโล่ง สวยงาม


5.5 กลุ่มผู้ใช้ สอย 5.5.1 ประเภทผูใ้ ช้โครงการ 5.5.1.1 ประชาชนท้องถิ่น ที่อยูบ่ ริ เวณพื้นที่ใกล้เคียง 5.5.1.2 นักท่องเที่ยวทั้งไทยและต่างประเทศ 5.5.1.3 นักเรี ยนและนักศึกษา มักมาเป็ นกลุ่มคณะ และมากับสถานศึกษา 5.5.1.4 นักวิชาการ เข้ามาศึกษา ดูงาน 5.5.1.5 เจ้าหน้าที่ ที่เป็ นเจ้าหน้าที่ของท่าเทียบเรื อท่องเที่ยวคลองจิหลาดและ สํานักงานองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ 5.5.2 แบ่งตามช่วงอายุ 5.5.2.1 ช่วงอายุต่าํ กว่า 6 ปี จะเป็ นเด็กที่มากับผูป้ กคลอง ไม่สามารถเลือกกิจกรรม ได้อย่างอิสระ ต้องทํากิจกรรมและอยูใ่ นความดูแลของผูป้ กครอง 5.5.2.2 ช่วงอายุ7-12 ปี เป็ นเด็กที่ศึกษาอยูใ่ นระดับประถมศึกษา จะอยูก่ นั เป็ นหมู่ คณะ เช่น กับผูป้ กครอง ครู อาจารย์ สามารถเลือกกิจกรรมได้อิสระขึ้น 5.5.2.3 ช่วงอายุ13-18 ปี อยูใ่ นระดับวัยรุ่ น ตอนต้นกําลังศึกษาในระดับมัธยม อยู่ กันเป็ นกลุ่ม ไม่ตอ้ งการให้ผปู ้ กครองเข้ามาดูแล เลือกกิจกรรมได้อิสระ 5.5.2.4 ช่วงอายุ 19-25 ปี ช่วงวัยรุ่ นตอนปลาย กําลังศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย มี ความเป็ นผูใ้ หญ่ข้ ึน อยูก่ นั เป็ นหมู่คณะ เช่น ครู อาจารย์ เลือกทํากิจกรรมที่สร้างสรรค์และเป็ น ประโยชน์ 5.5.2.5 ช่วงอายุ 26-50 ปี วัยทํางาน อยูร่ วมเป็ นครอบครัว เลือกกิจกรรมที่เป็ น ประโยชน์ 5.5.2.6 ช่วงอายุ 50 ปี ขึ้นไป มักมากับครอบครัว เลือกกิจกรรมที่ไม่ใช้แรงมาก 5.5.3 พฤติกรรมของผูใ้ ช้ 5.5.3.1 กิจกรรมนิทรรศการและการเรี ยนรู ้ มีท้ งั ในส่ วนของพิพิธภัณฑ์เรื อหลวง ลันตาและพิพิธภัณฑ์สตั ว์น้ าํ และศูนย์เรี ยนรู ้ระบบนิเวศชายฝั่ง กลุ่มผูใ้ ช้ส่วนใหญ่เป็ นกลุ่มนักเรี ยน นักศึกษา นักท่องเที่ยวและผูท้ ี่สนใจโดยเฉพาะ ซึ่งจะมาเป็ นหมู่คณะส่ วนใหญ่จะเข้าชม


5.5.3.2 กิจกรรมนันทนาการและการพักผ่อน เป็ นกิจกรรมเสริ มในลักษณะPassive Activities ผูใ้ ช้มีท้ งั ผูท้ ี่หยุดพักผ่อนจากการเดินชมทัศนียภาพ เป็ นพื้นที่เพื่อการพักผ่อนโดยเฉพาะ และมีกิจกรรมส่ วนของ Active Activities ในตอนเย็นของประชาชนในพื้นที่


5.6 การวิเคราะห์ หาศักยภาพและพัฒนาพืน้ ทีโ่ ครงการ ( ตารางที่ 5 ) ZONE CHARACTERISTIC POTENTIAL A พื้นที่อยูบ่ ริ เวณทิศเหนือของพื้นที่โครงการ ทิศเหนือ สามารถพัฒนาเป็ นส่ วนของ ติดกับสํานักงานจัดหางานจังหวัดกระบี่ ทิศใต้ติด ศูนย์ขอ้ มูลสึ นามิและท่าเทียบ กับพื้นที่ป่าชายเลน ทิศตะวันตกติดกั บทะเลอันดา เรื อท่องเที่ยว พื้นที่จอดรถ เป็ น มัน ทิศตะวันออกติดกับสํานักงานจัดหางานจังหวัด พื้นที่ตอ้ นรับของโครงการ เป็ น กระบี่ พื้นที่เดิมเป็ นพื้นที่รกร้าง ไม่มีไม้ยนื ต้น มีแต่ พื้นที่โล่งสามารถพัฒนาด้านภูมิ วัชพืชที่ข้ ึนปกคลุม เป็ นพื้นที่เปิ ดโล่ง เปิ ดมุมมองไ ป ทัศน์ได้อย่างเต็มที่ สามารถ มองเห็นทัศนียภาพของทะเลอัน ยังทะเลอันดามัน ดามันด้านทิศตะวันตก และป่ า ชายเลนด้านทิศใต้ พื้นที่ป่าชายเลนและส่ วนอาคารท่าเทียบเรื อท่องเที่ยว สามารถพัฒนาเป็ นส่ วนของ B แหล่งเรี ยนรู ้ระบบนิเวศป่ าเลน คลองจิหลาด ทิศเหนือติดกับพื้นที่รกร้างและ สํานักงานจัดหางานจังหวัดกระบี่ ติดใต้ติดกับพื้นที่ เพราะพื้นที่มีท้ งั พรรณไม้ และ โล่ง ทิศตะวันตกติดกับทะเลอันดามัน ทิศตะวันออก สิ่ งมีชีวิตต่างๆ ติดกับที่ดินของ อบจ.กระบี่ พื้นที่เดิมเป็ นพื้นที่ป่า

ข้อเสี ย พื้นที่มีการกัดเซาะของนํ้า ทะเล ควรมีการปรับปรุ ง เป็ นพื้นที่โล่งไม่มีตน้ ไม้ ใหญ่ให้ร่มเงา ทําให้พ้ืนที่ ได้รับแสดงเต็มที่ มี อุณหภูมิที่สูง

ข้อดี พื้นที่มีการเปิ ดโล่ง และ เปิ ดมุมมองไปยังทะเล อันดามัน

พื้นที่เป็ นป่ าชายเลนจึงมี ข้อบังคับ การพัฒนาพื้นที่ จึงต้องเป็ นระเบียบและ ข้อบังคับต่างๆของป่ าชาย เลน

พื้นที่เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ ทางธรรมชาติได้เป็ น อย่างดีและเป็ นอาคาร บริ การและต้อนรับ นักท่องเที่ยวทั้งชาติไทย


ZONE

CHARACTERISTIC

POTENTIAL

ข้อเสี ย

ชายเลน พรรณไม้ส่วนใหญ่เป็ นต้นโกงกาง มีน้ าํ กร่ อยอยูใ่ นพื้นที่ ส่ วนอาคารท่าเทียบเรื อ เป็ นอาคาร 1 ชั้น มีลานจอดรถ และทางเท้าไปขึ้นท่าเทียบเรื อ C

D

พื้นที่สนามหญ้าโล่งกว้าง ทิศเหนือติดกับป่ าชายเลน และอาคารท่าเทียบเรื อ ทิศใต้ติดกับทะเลอันดามัน ทิศตะวันตกติดกับทะเลอันดามัน ทิศตะวันออกติด กับลานเอนกประสงค์และอาคารสํานักงานองค์การ บริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ พื้นที่เดิมเป็ นสนามโล่ง กว้าง ไม่มีไม้ยนื ต้น มีการจัดภูมิทศั น์เล็กน้อย มีไม้ พุม่ และไม้คลุมดิน และมีการขุดพื้นที่เพื่อเป็ นที่ต้ งั ของพิพิธภัณฑ์เรื อหลวงลันตา พื้นที่ลานจอดรถและอาคารสํานักงานองค์การ บริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ ทิศเหนือติดกับที่ดินของ อบจ.กระบี่ ทิศใต้ติดกับลานเอนกประสงค์และสวน เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ทิศตะวันตกติดกับพื้นที่

ข้อดี และชาวต่างชาติ

สามารถพัฒนาเป็ นส่ วนของ พื้นที่ไม่มีไม้ยื นต้น ทําให้ พิพิธภัณฑ์เรื อหลวงลันตา พื้นที่ได้รับแสงแดด มี เพราะพื้นที่มีขนาดใหญ่ พื้นที่ อุณหภูมิที่สูง โล่งกว้าง เปิ ดมุมมองไปยังทะเล อันดามัน

สามารถพัฒนาพื้นที่ ของอาคาร พิพิธภัณฑ์สตั ว์น้ าํ ได้ เป็ นพื้นที่ โล่งสามารถพัฒนาด้านภูมิทศั น์ ได้อย่างเต็มที่

พื้นที่เดิมเป็ นพื้นที่ที่มี อาคารขนาดใหญ่ โครงสร้าง คสล . ไม่ สามารถรื้ อถอนอาคารได้

พื้นที่โล่งกว้างเปิ ด มุมมองไปยังทะเลอันดา มัน พื้นที่มีศกั ยภาพเป็ น ที่ต้ งั ของพิพิธภัณฑ์เรื อ หลวงลันตา เพราะพื้นที่ มีขนาดใหญ่และมี ทัศนียภาพที่สวยงาม


ZONE

CHARACTERISTIC

POTENTIAL

สนามโล่งกว้าง ทิศตะวันออกติดกับที่ดิน อบจ . กระบี่ พื้นที่เดิมเป็ นส่ วนของลานจอดรถ สามารถ รองรับได้ 150 คัน มีตน้ พญาสัตบรรณและปาล์มหาง หมาจิ้งจอก และอาคารเป็ นอาคาร 3 ชั้น โครงสร้าง คสล. พื้นที่มีการจัดภูมิทศั น์ E

F

พื้นที่ลานเอนกประสงค์และลานเสาธง ทิศเหนือติด กับอาคาร อบจ.กระบี่ ทิศใต้ติดกับทะเลอันดามัน ทิศ ตะวันตกติดกับทะเลอันดามัน ทิศตะวันออกติดกับ สวนเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา พื้นที่เดิมเป็ นลาน คสล.มีพ้ืนที่ใช้สอย 6,856 ตร.ม. ไม่มีไม้ยนื ต้น พื้นที่ เปิ ดโล่งและเปิ ดมุมมองไปยังทะเลอันดามัน พื้นที่ส่วนสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ทิศเหนือติดกับอาคาร อบจ .กระบี่ ทิศใต้ติดกับ ทะเลอันดามัน ทิศตะวันตกติดกับ ลาน

ข้อเสี ย

ข้อดี

ส่ วนของพื้นที่ลานจอดรถ พื้นที่เข้าถึงง่ายเพราะติด เป็ นพื้นที่ขยะ มีขนาดใหญ่ กับถนนทางเข้าหลักของ แต่สามารถรองรับการใช้ โครงการ งานเพียงกิจกรรมเดียว สามารถพัฒนาเป็ นส่ วนของ สวนสาธารณะ และพื้นที่ นันทนาการ รองรับการใช้งาน ทั้งนักท่องเที่ยว และประชาชน ในพื้นที่ใกล้เคียงพัฒนาพื้นที่ สามารถพัฒนาเป็ นส่ วนของ สวนสาธารณะ และพื้นที่ นันทนาการ และพื้นที่บริ การ

พื้นที่เดิมเป็ นลาน คสล . พื้นที่สามารถรองรับ ไม่มีไม้ยนื ต้นทําให้พ้ืนที่ กิจกรรมและผูใ้ ช้ได้เป็ น บริ เวณนี้ได้รับแสงแดด จํานวนมาก เพราะพื้นที่ และมีอุณหภูมิที่สูงมาก มีขนาดกว้างขว้าง เป็ น พื้นที่โล่งเปิ ดมุมมองไป ยังทะเลอันดามัน พื้นที่มีขนาดเล็กกว่าพื้นที่ พื้นที่มีพรรณไม้ที่ อื่นๆ และรู ปร่ างของพื้นที่ หลากหลาย ทั้งไม้ยนื ต้น ไม้พมุ่ ไม้คลุมดิน เป็ นแนวยาวพัฒนายาก


ZONE

CHARACTERISTIC

POTENTIAL

เอนกประสงค์ ทิศตะวันออกติดกับ ที่ดินของ อบจ .ก โครงการ ระบี่ พื้นที่เดิมเป็ นพื้นที่สวน มีการจัดภูมิทศั น์ มี ทางเดินเท้าขนาด 1.50 เมตร พรรณไม้ในพื้นที่ ได้แก่ ต้นมะพร้าว ต้นหางนกยูงไทย ต้นพลับพลึงทอง แต่ พรรณไม้ยงั มีขนาดเล็ก ทําให้พ้ืนที่ไม่มีความร่ มเงา และมีส่วนของที่ ที่มา : จากการสังเคราะห์

ข้อเสี ย

ข้อดี


5.7 การวิเคราะห์ แบ่ งพืน้ ทีใ่ ช้ สอยในโครงการ ( ตารางที่ 6 Program Requirements and Description ) พื้นที่ นักเรี ยน นักท่องเที่ยว นักวิชาการ ประชาชน เจ้าหน้าที่ Program Requirement & ขนาด Description 1.พื้นที่ส่วนต้อนรับ - มีเฟอร์นิเจอร์รองรับการใช้งาน มี >1800 1 2 2 3 3 - ส่ วนพักคอย การเปิ ดมุมมองไปยังทัศนียภาพที่ สวยงาม >120 - มีบรรยากาศที่ดึงดูดการใช้งาน 2 3 3 3 3 - พื้นที่สวนต้อนรับ และมีความสวยงาม และป้ ายโครงการ - ที่จอดรถ รถบัส

3

3

2

0

0

รถตู ้

3

3

1

1

1

รถยนต์

3

3

3

3

3

-สามารถรองรับปริ มาณรถได้อย่าง เพียงพอ

จํานวน รวม

1

>1800

1

>120

4 . 20 x 11 12.00 4 . 00 x 6 6.00 2.50 x 260

554.4 114 3250


พื้นที่

นักเรี ยน นักท่องเที่ยว นักวิชาการ ประชาชน เจ้าหน้าที่ Program Description

รถจักรยานยนต์

2

1

1

3

3

รถจักรยาน

1

0

0

3

1

-ลานต้อนรับ

3

3

3

3

3

- ป้ อมยาม

0

0

0

0

0

-จุดบริ การรถโครงการ 3

3

3

2

1

3

3

3

2

1

-จุดจอดรถบริ การ

Requirement& ขนาด

จํานวน รวม

148 5.00 0 . 90 x 30 1.50 0 . 70 x 1 -สามารถรับนักท่องเที่ยวได้เพียงพอ 1.20 880 1 -อยูด่ า้ นหน้าโครงการ รู ปแบบมี 60 ความสอดคล้องกับอาคารอื่นๆ -เข้าถึงได้ง่าย มีส่วนพักคอย 1 25 -สามารถรองรับปริ มาณผูใ้ ช้ได้ 1 100 อย่างเพียงพอ

199.8 25.2 880 60 25 100


พื้นที่

2. พื้นที่ส่วนแหล่ง เรี ยนรู ้ - ห้องสมุดสี เขียว

- พื้นที่ศึกษาระบบ นิเวศป่ าชายเลน

นักเรี ยน นักท่องเที่ยว นักวิชาการ ประชาชน เจ้าหน้าที่ Program Description

Requirement& ขนาด

20

จํานวน รวม

6

3

2

1

2

1

- ออกแบบเป็ นสวนแนวตั้งที่ รวบรวมข่าวสารต่างๆ

3

3

3

3

3

>42000 1 - ออกแบบเส้นทางศึกษาระบบ นิเวศป่ าชายเลน สร้างบรรยากาศให้ ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ เส้นทางมีความ ปลอดภัย ไม่ทาํ ลายธรรมชาติ

120

>42000


พื้นที่

นักเรี ยน นักท่องเที่ยว นักวิชาการ ประชาชน เจ้าหน้าที่ Program Description

Requirement& ขนาด

จํานวน รวม

3 . พื้นที่ส่วน นันทนาการ - สวน สาธารณะและพื้นที่ พักผ่อน

3

3

3

3

2

- จัดเป็ นพื้นที่พกั ผ่อนที่มีความร่ มรื่ น >270 มีทศั นียภาพสวยงาม จัดให้มีพ้ืนที่นงั่ 00 ที่มีการสร้างปฎิสมั พันธ์กนั

1

>27000

- ลานเอนกประสงค์

3

3

2

3

1

- มีบรรยากาศที่ดึงดูดการใช้งาน และ 6100 มีความสวยงาม

1

6100

- สนามเด็กเล่น

3

2

1

2

1

- มีอุปกรณ์เครื่ องเล็กสําหรับเด็กที่มี ความปลอดภัย เลือกใช้พรรณไม้ที่ เหมาะสมไม่เป็ นอันตรายต่อเด็ก

2300

1

2300

- หอชมวิว

3

3

3

3

3

- หอชมวิวเปิ ดมุมมอง 360 องศา

300

1

300


นักเรี ยน นักท่องเที่ยว นักวิชาการ ประชาชน เจ้าหน้าที่ Program Requirement & ขนาด Description 2 3 2 3 - อนุสาวรี ยก์ รมหลวง 3 - ออกแบบพื้นที่ให้มีความโดนเด่น 60 ชุมพร เป็ นที่น่าเครารพ จัดภูมิทศั น์โดยรอบ เพื่อส่ งเสริ มอนุสาวรี ยใ์ ห้เกิดความ สวยงาม พื้นที่

- ร้านขายอาหาร เครื่ องดื่ม

1

60

& 3

3

3

1

3

- มีความหลากหลาย เพื่อเป็ น ทางเลือกให้กบั ผูม้ าใช้บริ การ

200

3

600

3

3

3

1

2

- ออกแบบพื้นที่ให้รองรับการใช้งาน 615 ที่เพียงพอ มีสวนนํ้าและพรรณไม้ สร้างบรรยากาศที่ดี

1

615

1

0

1

2

3

- อาคารเดิมเป็ นอาคาร 3 ชั้น

3ชั้น

8,580

-พื้นที่นงั่ รับประทาน อาหาร (out door) 4.พื้นที่ส่วนราชการ - อาคารสํานักงาน องค์การบริ หารส่ วน

จํานวน รวม

2,860


พื้นที่ จังหวัดกระบี่

นักเรี ยน นักท่องเที่ยว นักวิชาการ ประชาชน เจ้าหน้าที่ Program Requirement Description

& ขนาด จํานวน รวม

- จอดรถ

0

0

1

2

3

- ลานเสาธง

0

0

0

1

3

- ป้ าย อบจ.

0

0

0

1

3

-มีความสวยงามส่ งเสริ มป้ ายให้โดด เด่น

240

- สวนต้อนรับ

0

0

0

1

3

- จัดภูมิทศั น์โดยรอบ

>2750 1

3

- อํานวยความสะดวกให้กบั เจ้าหน้าที่ 96 สวยงาม

-ลานเอนกประสงค์

0

0

0

1

-สามารถรองรับปริ มาณรถได้อย่าง 2.50 x 65 5.00 เพียงพอ 1 -จัดภูมิทศั น์โดยรอบเพื่อส่ งเสริ มลาน 50 เสาธงให้เกิดความสวยงาม 1

1

812.5 50

240

>2750

96


พื้นที่

นักเรี ยน นักท่องเที่ยว นักวิชาการ ประชาชน เจ้าหน้าที่ Program Requirement & Description

5.พื้นที่ส่วนบริ การ โครงการ 0 - โรงซ่อมบํารุ ง และเก็บอุปกรณ์

0

0

0

3

- โรงซ่อมบํารุ งละเก็บอุปกรณ์ที่ใช้ดูแล รักษาพื้นที่สวนในโครงการ

ขนาด

จํานวน

รวม

200

1

200

- เรื อนเพาะชํา

0

0

0

0

3

- เรื อนเพาะชําที่มีไว้ดูแลรักษาพรรณไม้ > 1500 1 ในพื้นที่โครงการ

- พื้นที่พกั ขยะ

0

0

0

0

3

- จุดพักขยะ มีการใช้พรรณไม้ปิดบัง มุมมอง เลือกใช้พรรณไม้ที่ดูดซับกลิ่น

50

1

50

- ส่ วนบําบัดนํ้า เสี ย

0

0

0

0

3

80 - ส่ วนที่บาํ บัดนํ้าเสี ยของโครงการ ออกแบบพื้นที่ให้มีการเปิ ดมุมมอง เลือก พรรณไม้ที่ดูดซับกลิ่น

1

80

>1500


ขนาด

จํานวน

รวม

- ส่ วนบริ การนํ้าประปา

60

1

60

- อํานวยความสะดวกให้กบั เจ้าหน้าที่

96

1

96

พื้นที่

นักเรี ยน นักท่องเที่ยว นักวิชาการ ประชาชน เจ้าหน้าที่ Program Requirement & Description

- ส่ วนนํ้าประปา

0

0

0

0

3

- ที่จอดรถบริ การ ภายในโครงการ

0

0

0

0

3

ที่มา : จากการสังเคราะห์




บทที่ 6 แนวความคิดในการออกแบบ 6.1 แนวความคิดในการออกแบบ (Main Concept) โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้เรื อหลวงลันตา จังหวัดกระบี่ เป็ นโครงการที่มุ่งเน้นการให้ความรู ้แก้ประชาชน การออกแบบจึงต้องมีความดึงดูดในการเรี ยนรู ้ โครงการจึง มีแนวความคิดคือ “อุทยานการผจัญภัย ” ออกแบบพื้นที่อุทยานการเรี ยนรู ้เรื อหลวง ลัน ตาให้มีการผจัญภัย ให้ผใู ้ ช้ได้ทาํ กิจกรรมและมีส่วนร่ วมในพื้นที่ เพิ่มความตื่นเต้นเร้าใจ ดึงดูดการ เรี ยนรู ้ สามารถแบ่งออกได้เป็ น 4 ฐานผจัญภัย ได้แก่ 6.1.1 ผจัญภัยชายฝั่ง ออกแบบพื้นที่ให้มีบรรยากาศเหมือนชายฝั่งทะเลเป็ นพื้นที่ตอ้ นรับ ของโครงการ บริ เวณส่ ว นนี้เป็ นที่ต้ งั ของ พื้นที่ลานจอด รถของนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวพื้นที่ โครงการ ลานจอดรถของนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริ การท่าเทียบเรื อ ไปยังเกาะต่าง ๆ อาคารศูนย์ ข้อมูลสึ นามิและท่าเทียบเรื อท่องเที่ยว 6.1.2 ผจัญภัยชายเลน พื้นที่บริ เวณเดิมเป็ นพื้นที่ป่าชายเลน จึงมีการออกแบบเส้นทางเพื่อ ศึกษาระบบนิเวศป่ าชายเลน โดยภายในพื้นที่ในส่ วนเส้นทางเดินมีการออกแบบทางเดินที่มีขนาด และความสู งที่แตกต่างกัน เพื่อให้เกิดทางเลือกแก่ผใู ้ ช้ และยังมีส่ว นของศาลาจัดนิทรรศการเพื่ อให้ ความรู ้แก่ประชาชนอีกด้วย 6.1.3 ผจัญภัยใต้น้ าํ ออกแบบพื้นที่ให้มีบรรยากาศเหมือนใต้น้ าํ พื้นทีเป็ นที่ต้ งั ของ พิพิธภัณฑ์สตั ว์น้ าํ ให้ความรู ้สิ่งมีชีวิตใต้ทะเล ทั้งพืชและสัตว์ 6.1.4 ผจัญภัยบนเกาะ ออกแบบพื้นที่ให้มีบรรยากาศเหมือนเกาะ โดยพื้นที่น้ ีจะประกอบ ไปด้วย ลานอนุสาวรี ยก์ รมหลวงชุมพร พิพิธภัณฑ์เรื อหลวงลันตาสวนสาธารณะมีทางเดินออกแบบ ให้เป็ น Form ธรรมชาติ และมีส่วนของโขดหิ น สร้างบรรยากาศให้เหมือนเกาะ


6.2 แนวความคิดด้ านการใช้ ทดี่ ิน(LAND USE) แนวความคิดด้านการใช้ที่ดินได้มาจาก การวิเคราะห์ศกั ยภาพ ของพื้นที่โครงการ โดย ทางเข้าหลักใช้เส้นทางเดิม เพราะเส้นทางเดิมมีความเหมาะสมในการเข้าถึง แนวความคิดการแบ่ง พื้นที่ใช้สอย ได้มาจากการวิเคราะห์พ้นื ที่โครงการรวมทั้งแนวความคิดในการออกแบบ โดยรวมทํา ให้แบ่งพื้นที่ใช้สอยหลักได้ดงั นี้ 6.2.1 ส่ วนต้อนรับ พื้นที่มีการเข้าถึงจากทางเข้าหลักที่สะดวก ป้ ายโครงการที่สื่อสารได้อย่างชัดเจน และมีส่วนของแนวต้นสนทะเล เป็ นจุดนําสายตา มาสู่ งานประติมากรรม (Sculture) ที่เป็ นจุดหมาย ตา (Landmark) มีพ้ืนที่เพื่อรองรับผูม้ าใช้ได้อย่างเพียงพอ ทั้งในส่ วนลานต้อนรับ และลานจอดรถ 6.2.2 ส่ วนพื้นที่แหล่งเรี ยนรู ้ สามารถแบ่งออกได้เป็ น 4 ฐานเรี ยนรู ้ 6.2.2.1 ผจัญภัยชายฝั่ง ออกแบบพื้นที่ให้มีบรรยากาศเหมือนชายฝั่งทะเล เป็ นพื้นที่ตอ้ นรับของโครงการ บริ เวณส่ วนนี้เป็ นที่ต้ งั ของ พื้นที่ลานจอดรถของนักท่องเที่ยวที่มา เที่ยวพื้นที่โครงการ ลานจอดรถของนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริ การท่าเทียบเรื อ ไปยังเกาะต่าง ๆ อาคาร ศูนย์ขอ้ มูลสึ นามิและท่าเทียบเรื่ อท่องเที่ยว 6.2.2.2 ผจัญภัยชายเลน พื้นที่บริ เวณเดิมเป็ นพื้นที่ป่าชายเลน จึงมีการ ออกแบบเส้นทางเพื่อศึกษาระ บบนิเวศป่ าชายเลน โดยภายในพื้นที่ในส่ วนเส้นทางเดินมีการ ออกแบบทางเดินที่มีขนาดและความสูงที่แตกต่างกัน เพื่อให้เกิดทางเลือกแก่ผใู ้ ช้ และยังมีส่วนของ ศาลาจัดนิทรรศการเพื่อให้ความรู ้แก่ประชาชนอีกด้วย 6.2.2.3 ผจัญภัยใต้น้ าํ ออกแบบพื้นที่ให้มีบรรยากาศเหมือนใต้น้ าํ พื้นที เป็ นที่ต้ งั ของพิพิธภัณฑ์สตั ว์น้ าํ ให้ความรู ้เกี่ยวกับสิ่ งมีชีวิตใต้ทะเล ทั้งพืชและสัตว์ 6.2.2.4 ผจัญภัยบนเกาะ ออกแบบพื้นที่ให้มีบรรยากาศเหมือนเกาะ โดย พื้นที่น้ ีจะประกอบไปด้วย ลานอนุสาวรี ยก์ รมหลวงชุมพร ซึ่งเป็ น องค์บิดาแห่งกองทัพเรื อ ส่ วน พิพิธภัณฑ์เรื อหลวงลันตา โดยการนําเรื อหลวงลันตา ซึ่งปลดระวางแล้วมาจัดสร้างเป็ นพิพิธภัณฑ์ โดยที่รายละเอียดการจัดแสดง ภายในตัวเรื อได้แก่ ชั้นดาดฟ้ า จัดแสดงเกี่ยวเรื่ องประวัติศาสตร์ของ


เรื อหลวงลันตา ชั้นที่ 1 จัดแสดงเกี่ยวกับเรื อหลวงลันตา ชั้นที่ 2 จัดแสดงเกี่ยวกับ เรื่ องราวเกาะลัน ตา ชั้นที่ 3 จัดแสดงเรื่ องราวเกี่ยวกับจังกวัดกระบี่ ทั้งทางด้านการท่องเที่ยวและประวัติศาสตร์ 6.2.3 ส่ วนพื้นที่นนั ทนาการ เป็ นส่ วนพื้นที่รองรับ หลังจากที่นกั ท่องเที่ยว ได้ศึกษาเรี ยนรู ้เสร็ จสิ้ น ใช้เป็ นที่ พื้นที่พกั ผ่อน และจุดพักคอย พื้นที่สวนสาธารณะ ออกแบบให้มีบรรยากาศเหมือนเกาะ ภายพื้นที่มี จุดพักคอยเปิ ดมุมมองสู่ ทะเลอันดามัน ลานเอนกประสงค์ รองรับการทํากิจกรรมอิสระ ร้านค้า ให้แก่นกั ท่องเที่ยว 6.2.4 ส่ วนราชการ เป็ นพื้นที่ส่วนสํานักงานองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ เป็ นส่ วนที่มีการใช้งาน ในช่วงเวลา 0.08 – 16.00 น. ที่มีท้ งั บุคลากร และ ประชาช นทัว่ ไปมาใช้พ้ืนที่ พื้ นที่จึงมีการ ออกแบบ สวนพักผ่อน และ พักคอย ไว้ รองรับ บุคลากร และประชาชนทัว่ ไป และยังสร้าง บรรยากาศการทํางานอีกด้วย 6.2.5 ส่ วนบริ การ เป็ นส่ วนให้บริ การ ภายพื้นที่โครงการ ได้แก่ ระบบประปา ระ บบไฟฟ้ า ระบบ บําบัดนํ้าเสี ย อาคารซ่อมบํารุ ง 6.3 แนวความคิดในการใช้ พชื พันธุ์ 6.3.1 ผจัญภัยชายฝั่ง ออกแบบพื้นที่ให้มีบรรยากาศเหมือนชายฝั่งทะเลเป็ นพื้นที่ตอ้ นรับ ของโครงการ การเลือกใช้พรรณไม้ จึงใช้พรรณไม้ริมทะเล บริ เวณทางเข้าหลัก ใช้พรรณไม้ให้เป็ น จุดนําสายตา ไปยังที่วา่ ง (Spaces) ภายพื้นที่ ได้แก่ พื้นที่ที่เป็ น พื้นที่เปิ ดโล่ง (Open Spaces) ใช้พรรณไม้พุ่ มเตี้ย เพื่อสามารถเปิ ด มุมมองได้ทุก ๆ ด้าน พื้นที่ส่วนนี้ได้แก่ บริ เวณลานต้อนรับ พื้นที่ที่เป็ น พื้นที่โล่งในแนวตั้ง (Vertical Spaces) ใช้พรรณไม้พมุ่ และไม้ยนื ต้น ปิ ดด้านข้างเพื่อเปิ ดมุมมองระนาบแนวตั้ง พื้นที่ ส่ วนนี้ได้แก่ บริ เวณลานจอดรถ ตัวอย่างพรรณไม้ที่ใช้ ได้แก่


จิกทะเล

Barringtonia asiatica

รักทะเล

Scaevola taccada

หยีทะเล

Derris indica

ตีนเป็ ดทะเล

Cerbera odollamGaertn

สนทะเล

Casuarina equisetifolia

6.3.2 ผจัญภัยชายเลน พื้นที่บริ เวณเดิมเป็ นพื้นที่ป่าชายเลน พรรณไม้ที่ใช้จึงเป็ นพรรณไม้ เดิมที่มีอยูใ่ นพื้นที่ ป่ าชายเลนจึงมี ที่วา่ ง (Spaces) แบบพื้นที่ปิดล้อม (Enclosed canopied space) พรรณไม้ปิดล้อมด้านข้าง ตัวอย่างพรรณไม้ที่ใช้ ได้แก่ โกงกางใบเล็ก Rhizophora apiculata Blume โกงกางใบใหญ่ Rhizophora mucronata Poir. แสมทะเล

Avicennia marina (Forsk.) Vierh.

โปรงขาว

Ceriops decandra Ding Hou.

6.3.3 ผจัญภัยใต้น้ าํ เป็ นที่ต้ งั ของพิพิธภัณฑ์ใต้น้ าํ เลือกใช้พรรณไม้ที่มีกิ่งก้านคล้ายปะการัง เพื่อสร้างบรรยากาศให้เหมืออยูใ่ ต้น้ าํ ที่วา่ ง (Spaces) ภายพื้นที่ คือ พื้นที่เปิ ดโล่ง (Open space ) ใช้ พรรณไม้พมุ่ เตี้ย เพื่อสามารถเปิ ดมุมมองได้ทุก ๆ ด้าน พื้นที่ส่วนนี้คือ บริ เวณสนามหญ้า พื้นที่โล่ง ในแนวตั้ง (Vertical space ) ใช้พรรณไม้พมุ่ และไม้ยนื ต้น ปิ ดด้านข้างเพื่อเปิ ดมุมมองระนาบ แนวตั้ง พื้นที่ส่วนนี้ได้แก่ บริ เวณลานต้อนรับ และทางเดิน ตัวอย่างพรรณไม้ที่ใช้ ได้แก่ สุ พรรณิ การ์

Cochlospermum regium (Mart. & Schrank) Pilg.

ลีลาวดี

Plumeria spp.

กัลปพฤกษ์

Cassia bakeriana Craib

ทองหลางด่าง Erythrina variegate L.


หางนกยูงฝรั่ง

Delonix regia (Bojer) Raf.

6.3.4 ผจัญภัยบนเกาะ ออกแบบพื้นที่ให้มีบรรยากาศเหมือนเกาะ การเลือกใช้พรรณไม้ จึง เลือกพรรณไม้ที่พบในเกาะลันตา Space ในพื้นที่ เป็ นแบบ พื้นที่ปิดล้อม (Enclosed canopied space) พรรณไม้ปิดล้อมด้านข้างอยูบ่ ริ เวณสวนสาธารณะ และ พื้นที่เปิ ดโล่ง (Open space)ใช้ พรรณไม้พมุ่ เตี้ย เพื่อสามารถเปิ ดมุมมองได้ทุก ๆ ด้าน อยูบ่ ริ เวณลานอนุสาวรี ยก์ รมหลวงชุมพร ตัวอย่างพรรณไม้ที่ใช้ ได้แก่ มะพร้าว

Cocos nucifera Linn.

หูกวาง

Terminalia catappa L.

ตะเคียนหิ น

Hopea ferrea Laness

ตะแบก

Cananga odorata.

หวายขม

Calamus viminalis Wild.

6.3.5 ส่ วนราชการ พื้นที่ส่วนองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ พรรณไม้ที่ใช้ในบริ เวณนี้ คือ พรรณไม้มงคล Space ในพื้นที่ ได้แก่ พื้นที่เปิ ดโล่ง (Open space)ใช้พรรณไม้พมุ่ เตี้ย เพื่อ สามารถเปิ ดมุมมองได้ทุก ๆ ด้าน พื้นที่ส่วนนี้ คือ บริ เวณสนามหญ้า และลานเสา ธง พื้นที่โล่งใน แนวตั้ง (Vertical space ) ใช้พรรณไม้พมุ่ และไม้ยนื ต้น ปิ ดด้านข้างเพื่อเปิ ดมุมมองระนาบแนวตั้ง พื้นที่ส่วนนี้ได้แก่ บริ เวณลานจอดรถและทางเดิน ตัวอย่างพรรณไม้ที่ใช้ ได้แก่ ชัยพฤกษ์

Javanese Cassia

ทุ่งฟ้ า

Alstonia macrophylla Wall. ex G. DonX

ทรงบาดาล

Cassia surattensis Burm.

กันเกรา

Fragraea fragrans Roxd.

ทองหลางด่าง Erythrina variegate L. ราชพฤกษ์

Cassia fistula


6.4 แนวความคิดทางสั ญจร ภายในพื้นที่โครงการอุทยานการเรี ยนรู ้เรื อหลวงลันตา จะเน้นการสัญจรทางเท้าเป็ นหลัก 6.4.1 ระบบสัญจรโดยรถ แบ่งออกเป็ น 6.4.1.1 เส้นทางรถสําหรับนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวโครงการ 6.4.1.2 เส้นทางรถสําหรับนักท่องเที่ยวที่มาท่าเทียบเรื อ 6.4.1.3 เส้นทางรถสําหรับบุคลากรองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ 6.4.1.4 เส้นทางรถบริ การนักท่องเที่ยว 6.4.1.5 เส้นทางรถบริ การ 6.4.2 ระบบสัญจรทางเท้า แนวความคิดในการออกแบบเส้นทางเท้า พื้นที่โครงการจึงเน้นเส้นทางสัญจรทาง เท้า เพื่อความทัว่ ถึง ความสะดวกการศึกษาเรี ยนรู ้ และทํากิจกรรม 6.4.2.1 ทางเดินบริ เวณเส้นทางศึกษาระบบนิเวศป่ าชายเลน ออกแบบพื้นที่ทางเดิน ให้มีฐานผจญภัย ที่เพิ่มความตื่นเต้น ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ และสามารถเป็ นพื้นที่ออกกําลังกายได้ มี หลากหลายรู ปแบบและหลากหลายระดับความสูง เพิ่มความตื่นเต้นให้แก่นกั ท่องเที่ยว 6.4.2.2 ทางเดินบริ เวณส วนสาธารณะ ออกแบบทางเดินให้เป็ นทรายล้าง ที่มี รู ปแบบ Form เลียนแบบ ธรรมชาติ และมีส่วนโขดหิ น ไม่บงั คับเดิน สามารถเลือกเดินได้ หลากหลาย

6.5 แนวความคิดด้ านอาคาร อาคารศูนย์ขอ้ มูลสึ นามิและท่าเทียบเรื อ เลือกที่ต้ งั ที่เป็ นสูง มีส่วนของต้นไม้ยดึ เกาะ และ ให้ความปลอดภัย อาคาร ใช้วสั ดุที่ทนทาน เช่น ใช้กระจกนิรภัย รู ปทรงของอาคาร ทั้งอาคารศูนย์ ข้อมูลสึ นามิ พิพิธภัณฑ์สตั ว์น้ าํ และสํานักงานองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ ใช้รูปแบบกลมมน เพื่อในตอนเกิดภัยพิบตั ิสามารถให้น้ าํ พัดผ่านได้สะดวก


อาคารชั้นล่างเปิ ดโล่ง เป็ นใต้ถุนเพื่อสามารถให้น้ าํ ผัดผ่านได้ โดยเฉพาะควบคุมโครงสร้าง อาคาร ต้านภัยพิบตั ิได้ ฐานรากต้านแรงกัดเซาะของคลื่นใช้หน้าตัดเสา ต้านแรงลมและแรงคลื่น ควรมีบนั ไดสําหรับการหนีภยั ด้วย อาคารชั้นล่างเปิ ดโล่ง เป็ นใต้ถุนเพื่อให้พดั ผ่านนํ้าได้สะดวก สามารถมีประโยชน์ใช้สอย ในการทํากิจกรรม เช่น เป็ นจุดจอดรถสําหรับนักท่องเที่ยวที่มาขึ้นท่าเทียบเรื อ และเป็ นจุดพักคอย












บทที่ 7 รายละเอียดโครงการออกแบบ 7.1 รายละเอียดของการออกแบบและจัดระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการ 7.1.1 ถนน พื้นที่โครงการใช้ถนนหลักในการสัญจร คือ เป็ นถนนเดิม ที่เป็ นเส้นทางหลักเข้า มาในพื้นที่โครงการ อีกส่ วนหนึ่งเป็ นแนวถนนที่ตดั ขึ้นมาใหม่ตามการออกแบบและปรับปรุ งพื้นที่ โครงการ 7.1.1.1 ถนนหลักทางเข้าโครงการ กว้าง 8 เมตร เป็ นถนนลาดยาง 7.1.1.2 ถนนหลักในพื้นที่โครงการ กว้าง 6 เมตร ทั้งถนนสําหรับนักท่องเที่ยว โครงการ นักท่องเที่ยวท่าเทียบเรื อ และบุคลากรสํานักงานองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ 7 . 1 . 1 . 3 ถนนเข้าส่ วนพื้นที่ท่าเทียบเรื อ กว้าง 4 เมตร 7.1.1.4 ถนนรถบริ การโครงการ กว้าง 4 เมตร 7.1.2 ที่จอดรถ จากการคํานวณปริ มาณที่จอดรถทั้งสําหรับผูท้ ี่จะเข้ามาใช้บริ การแล ะท่องเที่ยว ภายในโครงการ รวมถึงที่จอดรถพนักงานภายในโครงการ สามารถแบ่งได้ดงั นี้ 7.1.2.1 ที่จอดรถสําหรับนักท่องเที่ยวโครงการ (รถยนต์) 141 คัน 7.1.2.2 ที่จอดรถสําหรับนักท่องเที่ยวโครงการ (รถบัส) 7 คัน 7.1.2.3 ที่จอดรถสําหรับนักท่องเที่ยวโครงการ (รถตู)้ 9 คัน 7.1.2.4 ที่จอดรถสําหรับนักท่องเที่ยวโครงการ (รถจักรยานยนต์) 78 คัน 7.1.2.5 ที่จอดรถสําหรับนักท่องเที่ยวที่มาท่าเทียบเรื อ (รถยนต์) 73 คัน 7.1.2.6 ที่จอดรถสําหรับนักท่องเที่ยวที่มาท่าเทียบเรื อ (รถจักรยานยนต์)40 คัน 7.1.2.7 ที่จอดรถสําหรับบุคลากร (รถยนต์) 78 คัน 7.1.2.8 ที่จอดรถบริ การ 5 คัน ลักษณะการจอดจะเป็ นแบบการจอดแบบ 90 องศา


7.1.3 ทางเดินเท้าภายในพื้นที่โครงการ ทางเดินเท้าภายในพื้นที่โครงการสามารถแบ่งออกเป็ นเส้นทาง ดังนี้ 7.1.3.1 เส้นทางเดินเท้า ฟอร์มธรรมชาติ ( ใช้วสั ดุทรายล้าง ) 7.1.3.2 เส้นทางศึกษาธรรมชาติ ระบบนิเวศป่ าชายเลน กว้าง 3 เมตร (ใช้ เป็ นทางเดินไม้ เพื่อความกลมกลืนกับธรร มชาติ ) 7.1.3.3 ฟุตบาท กว้าง 1.5 เมตร 7.1.4 ประปา พื้นที่โครงการใช้ระบบประปา ใช้แท๊งค์น้ าํ ประปาทีมีอยูใ่ นพื้นที่โครงการ 7.1.5 ไฟฟ้ า ระบบไฟฟ้ า ให้บริ การโดยการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาคในเขต อําเภอเมืองกระบี่ มาทาง ถนนท่าเทียบเรื อ โครงการเป็ นระบบใต้ดินเพื่อความสวยงามทางทัศนียภาพ 7.1.6 ระบบบําบัดนํ้าเสี ย ระบบบําบัดนํ้าเสี ยของโครงการ จะมีการนํานํ้าเสี ยมาผ่านการบําบัด ยังบ่อบําบัด ของโครงการให้กลายเป็ นนํ้าที่มีคุณภาพที่สามารถปล่อยลงสู่ แหล่งนํ้าธรรมชาติ เพื่อที่จะได้ไม่ สร้างผลกระทบต่อระบบนิเวศวิทยาของพื้นที่ และไม่สร้างผลกระทบต่อชุมชนที่อยูใ่ กล้เคียงกับ โครงการ 7.1.7 การระบายนํ้า พื้นที่โครงการแบ่งการระบายนํ้าออกเป็ น 2 ประเภทคือ 7.1.7.1 การระบายนํ้าแบบธรรมชาติ การระบายนํ้าผิวดินในพื้นที่โครงการ จะเริ่ ม ไหลจากพื้นที่ดา้ นทิศตะวันตก เพราะพื้นที่ส่วนนี้มีความลาดชันมากที่สุด ส่ วนพื้นที่ดา้ นทิศ ตะวันออกเป็ นพื้นที่รับนํ้า ไหลสู่ ทะ เลอันดามันและแม่น้ าํ กระบี่ 7.1.7.2 การระบายนํ้าจากมนุษย์สร้างขึ้นจะวางท่อระบายนํ้าลาดเอียงลงสู่ทะเลอัน ดามันและนํ้ากร่ อยบริ เวณป่ าชายเลน 7.1.8 แสงสว่าง ในการเลือกใช้แสงสว่างภายในโครงการแบ่งการใช้ตามกิจกรรมต่างๆดังนี้


7.1.8.1 ไฟส่ องสว่างระดับพื้นดิน มีความสูงประมาณ 0.70 เมตร ใช้ในบริ เวณ ทางเดินและใช้ประดับตกแต่งสวน การออกแบบเน้นรู ปลักษณ์ให้กลมกลืนกับแนวคิดหลักของ โครการ 7.1.8.2 ไฟระดับ สูง มีขนาดสูงประมาณ 2.5 เมตรใช้กบั บริ เวณถนนหลัก ซึ่งเป็ น เส้นทางด้านหน้าที่จะเข้าสู่โครงการ และส่ วนพื้นที่กิจกรรมต่างๆ 7.1.8.3 ไฟภายนอกอาคาร มีการใช้ความส่ องสว่างของไฟที่แตกต่างกันออกไป เพื่อให้สอดคล้องกับกิจกรรม 7.1.8.4 ไฟประดั บอื่นๆ มีการออกแบบให้สวยงามเป็ นพิเศษ เพื่อการประดับ ตกแต่งสถานที่ และประโยชน์อื่นๆ ประกอบกัน เช่น บริ เวณบ้านพักจะมีป้ายบอกทาง ซึ่งก็จะให้ แสงสว่างในตัวเดียวกัน 7.1.9 พื้นที่พกั คอย พื้นที่พกั คอยภายในโครงการ ออกแบบให้กระจายไปทัว่ พื้นที่โครงการ เพื่อรองรับกา รใช้ งานของนักท่องเที่ยว และส่ วนนัง่ พักเพื่อเปลี่ยนกิจกรรม พื้นที่พกั คอยภายพื้นที่โครงการ ได้แก่ 7.1.9.1 พื้นที่พกั คอยบริ เวณ ลานจอดรถบริ การนักท่องเที่ยว ซึ่งอยูใ่ กล้กบั พื้นที่ ลานจอดรถ สามารถเป็ นจุดพักคอยให้แก่นกั ท่องเที่ยวได้ ทั้งในเวลาท่องท่องเที่ยวกําลัง รอเข้าชม โครงการ และ หลังจากท่องเที่ยวเข้าชมโครงการเสร็ จแล้ว 7.1.9.2 พื้นที่พกั คอย บริ เวณป่ าชายเลน ออกแบบเป็ นศาลาจุดพักเหนื่อยและยังมี การจัดนิทรรศการ ให้ความรู ้แก่นกั ท่องเที่ยว 7.1.9.3 พื้นที่พกั คอยบริ เวณ สวนสาธารณะ ไว้สาํ หรับนักท่องเที่ยวที่ดูโ ครงการ เสร็ จสิ น และนัง่ พักผ่อน เป็ นจุดพักสําหรับการรอรถบริ การเพื่อกลับไปยังจุดจอดรถ 7.1.10 ถังขยะ โครงการ

ภายในโครงการมีการแบ่งแยกประเภทขยะและจัดตั้งให้กระจายไปทัว่ พื้นที่


บทที่ 8 ผลงานการออกแบบ 8.1 แผ่ นงานที่ 1 SITE INTRODUCTION (ดูภาพที่ 30) 8.1.1 ความเป็ นมาของโครงการ 8.1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 8.1.3 สถานที่ต้ งั โครงการ 8.1.4 อาณาเขตติดต่อพื้นที่โครงการ 8.1.5 การเข้าถึงพื้นที่โครงการ 8.1.6 พื้นที่เชื่อมโยงกับพื้นที่โครงการ

8.2 แผ่ นงานที่ 2 SITE ANALYSIS : ข้ อมูลทางธรรมชาติ (ดูภาพที่ 31) 8.2.1 ลักษณะภูมิประเทศและความลาดชัน 8.2.2 ลักษณะภูมิอากาศ 8.2.3 ลักษณะทางธรณี วิทยา 8.2.4 ลักษณะการระบายนํ้า 8.2.5 ลักษณะพืชพรรณ 8.2.6 ลักษณะระบบนิเวศและสิ่ งมีชีวิต

8.3 แผ่ นงานที่ 3 SITE ANALYSIS : ข้ อมูลทางวัฒนธรรมและสิ่ งทีม่ นุษย์ สร้ าง (ดูภาพที่ 32)


8.3.1 การใช้พ้นื ที่เดิม 8.3.2 ระบบสัญจร 8.3.3 สิ่ งก่อสร้างเดิม 8.3.4 กิจกรรมเดิมพื้นที่ 8.3.5 ระบบสาธารณูปโภค

8.4 แผ่ นงานที่ 4 SITE ANALYSIS : ข้ อมูลทางวัฒนธรรมและสิ่ งทีม่ นุษย์ สร้ าง , ข้ อมูลทางสุ นทรียภาพ, ข้ อมูลผู้ใช้ สอยโครงการ, ข้ อมูลเฉพาะด้ าน (ดูภาพที่ 33) 8.4.1 ข้อมูลชุมชนทางเศรษฐกิจ 8.4.2 ข้อมูลชุมชนทางสังคม 8.4.3 ข้อมูลสถานศึกษาชุมชน 8.4.4 ข้อมูลทางวัฒนธรรม 8.4.5 ข้อมูลทางสุ นทรี ยภาพ 8.4.6 ข้อมูลผูใ้ ช้สอยโครงการ 8.4.7 ข้อมูลเฉพาะ

8.5 แผ่ นงานที่ 5 SITE SYNTHESIS : การสั งเคราะห์ พนื้ ที่ (ดูภาพที่ 34) 8.5.1 SITE CHARECTERISTIC AND POTENTAIL 8.5.2 PROGRAM REQUIRMENT

8.6 แผ่ นงานที่ 6 CONCEPTUAL DESIGN : แนวความคิด (ดูภาพที่ 35)


8.6.1 MAIN CONCEPT 8.6.2 BUBBLE DIAGRAM 8.6.3 ZONING DIAGRAM 8.6.4 FUNCTIONAL DIAGRAM 8.6.7 CIRCULATION CONCEPT

8.7 แผ่ นงานที่ 7 CONCEPTUAL DESIGN : แนวความคิด (ดูภาพที่ 36) 8.7.1 PLANTING & SPACE CONCEPT 8.7.2 CONCEPT PLAN

8.8 แผ่ นงานที่ 8 MASTER PLAN (ดูภาพที่ 37) 8.8.1 ผังแม่บทแสดงการใช้พ้ืนที่ มาตราส่ วน 1: 500

8.9 แผ่ นงานที่ 9 DETAIL A ผจญภัยชายฝั่ง (ดูภาพที่ 38) 8.9.1 DETAIL PLAN มาตราส่ วน 1: 250 8.9.2 SECTION 1 พื้นที่ทางเดิน 8.9.3 SECTION 2 พื้นที่ทางเดิน 8.9.4 SECTION 3 พื้นที่ทางเดิน 8.9.5 PERSPECTIVE 1 8.9.6 PERSPECTIVE 2 8.9.7 ELEVATION


8.9.8 TYPICAL DESIGN 8.9.9 IMAGE 8.9.10 PLATING

8.10 แผ่ นงานที่ 10 DETAIL B ผจญภัยชายเลน (ดูภาพที่ 39) 8.10.1 DETAIL PLAN มาตราส่ วน 1: 250 8.10.2 SECTION 1 พื้นที่ทางเดิน 8.10.3 PERSPECTIVE 1 8.10.4 PERSPECTIVE 2 8.10.5 TYPICAL DESIGN 8.10.6 IMAGE 8.10.7 PLATING

8.11 แผ่ นงานที่ 11 DETAIL C ผจญภัยบนเกาะ (ดูภาพที่ 40) 8.10.1 DETAIL PLAN มาตราส่ วน 1: 250 8.10.2 SECTION 1 พื้นที่ทางเดิน 8.10.3 SECTION 2 พื้นที่ลานต้อนรับและอาคารศูนย์ขอ้ มูลสึ นามิ 8.10.4 PERSPECTIVE 1 8.10.5 PERSPECTIVE 2 8.10.6 TYPICAL DESIGN


8.10.7 PLATING

8.12 แผ่ นงานที่ 12 OVER ALL PERSPECTIVE (ดูภาพที่ 41) 8.12.1 ทัศนียภาพทั้งหมดของพื้นที่โครงการ 8.13 แผ่ นงานที่ 13 MODEL (ดูภาพที่ 42)


ที่มา : การสํารวจ ภาพที่ 30 SITE INTRODUCTION


ที่มา : การสํารวจ ภาพที่ 31 SITE ANALYSIS


ที่มา : การสํารวจ ภาพที่ 32 SITE ANALYSIS


ที่มา : การสํารวจ ภาพที่ 33 SITE ANALYSIS


ที่มา : การสังเคาระห์ ภาพที่ 34 SITE SYNTHESIS


ที่มา : การออกแบบวางผัง ภาพที่ 35 CONCEPTUAL DESIGN


ที่มา : การออกแบบวางผัง ภาพที่ 36 CONCEPTUAL DESIGN



ที่มา : การออกแบบวางผัง ภาพที่ 37 DETAIL A


ที่มา : การออกแบบวางผัง ภาพที่ 38 DETAIL B


ที่มา : การออกแบบวางผัง ภาพที่ 39 DETAIL C


ที่มา : การออกแบบวางผัง ภาพที่ 40 OVERALL PERSPECTIVE


ที่มา : การออกแบบวางผัง ภาพที่ 40 MODLE


บทที่ 9 บทสรุ ปและข้ อเสนอแนะ 9.1 บทสรุ ป การเลือกที่ต้ ังโครงการ เรื อหลวงลันตาเป็ นเรื อที่ได้รับพระราชทานชื่อจากพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ฯ ตั้งแต่ปี 2513 โดยนําเอาชื่อของเกาะลันตา ซึ่งเป็ นอําเภอหนึ่งของจังหวัดกระบี่ โดย เรื อลํานี้ถูกสร้างขึ้นที่ประเทศอเมริ กา เป็ นเรื อยกพลขึ้นบกขนาดใหญ่ เคยผ่านสมรภูมิการรบใน สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 และสมรภูมิอื่น ๆ อีกหลายครั้ง แม้แต่ตอนเกิดคลื่นยักษ์สึนามิ ก็ได้ออก ปฏิบตั ิการช่วยเหลือประชาชนในฝั่งทะเลอันดามัน ด้วยเหตุน้ ี จึงเป็ นเรื อที่มีคุณค่าทาง ประวัติศาสตร์เป็ นอย่างยิง่ ของชาวจั งหวัดกระบี่ จังหวัดกระบี่ได้ตดั สิ นใจเลือกพื้นที่ส่วนท่าเทียบ เรื อท่องเที่ยวคลองจิหลาด ปากแม่น้ าํ กระบี่ เนื่องจากเป็ นที่ต้ งั ของท่าเทียบเรื อสําหรับผูท้ ี่จะเดินทาง ไปเกาะต่าง ๆและยังเป็ นที่ต้ งั ของศูนย์ราชการจังหวัดกระบี่ 20 หน่วยงาน จึงมีศกั ยภาพที่จะพัฒนา พื้นที่ ให้เป็ นศูนย์เรี ยนรู ้ระบบนิเวศชายฝั่ง พิพิธภัณฑ์สตั ว์น้ าํ และพิพิธภัณฑ์เรื อหลวง โดยการนํา เรื อหลวงลันตา ซึ่งปลดระวางแล้วมาจัดสร้างเป็ นพิพิธภัณฑ์ ทําให้พ้ืนที่ส่วนนี้เป็ นแหล่งท่องเที่ยว แห่งใหม่ของจังหวัดกระบี่ ที่ต้ งั โครงการออกแบบ วางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานกา รเรี ยนรู ้เรื อหลวงลันตา จังหวัด กระบี่ สถานที่ต้ งั โครงการ เลขที่ 333 หมู่ 7 ตําบล ไสยไทย อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่ เป็ นที่ดิน ของรัฐบาลตั้งอยูใ่ นส่ วนราชการคือ สํานักองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่และท่าเทียบเรื อ ท่องเที่ยวปากคลองจิหลาดมีพ้ืนที่โครงการทั้งหมด 90 ไร่ พื้นที่ต้ งั อยูต่ ิดกับทะเลอันดามัน จุดประสงค์ ของ โครงการนี้ได้ออกแบบวางผัง เพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ สถานที่ท่องเที่ยวเชิง ประวัติศาสตร์ และนิเวศวิทยาทางทะเลแห่งใหม่ระดับประเทศไทย เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั เนื่องในวโรกาสครบ 84 พรรษา และยัง สร้างงานและกระจายรายได้ให้แก่คนใน ชุมชน และประเทศชาติ การออกแบบพื้นที่เน้นการศึกษาเรี ยนรู ้ ที่มีความหลากหลาย ตื่นเต้น เร้าใจ เพื่อดึงดูดการ เรี ยนรู ้ แนวความคิดการออกแบบโครงการ คือ อุทยานการผจญภัย สามารถแบ่งการฐานการผจญภัย ได้ออกเป็ น 4 ฐาน ได้แก่ ผจญภัยชายฝั่ง ผจญชายเลน ผจญภัยใต้น้ าํ และผจญภัยบนเกาะ การ ออกแบบพื้นที่โครงการอุทยานการเรี ยนรู ้เรื อหลวงลันตา ยังคํานึงถึงภัยพิบตั ิสึนามิ อีกด้วย


9.2 ข้ อเสนอแนะข้ อเสนอแนะสํ าหรับผู้สนใจจะทําโครงการประเภทเดียวกัน 9.2.1 การวางแผนและการจัดการ การเลือกพื้นที่ออกแบบปรับปรุ ง ภูมิสถาปัตยกรรม ต้องมีการวางแผนในการทํางานที่ แน่นอน เนื่องจากการพื้นที่เดิมของโครงการที่มีอยูจ่ ริ งมีขอ้ จํากัดต่าง ๆ ภายพื้นที่ อาทิ เช่น กฎหมายพื้นที่ชายฝั่งทะเล ข้อบังคับของพื้นที่ป่าชายเลน ภัยพิบตั ิจากสึ นามิ รวมถึง เรื่ องของ อาคาร ระบบสัญจร พรรณไม้ จึงต้องวางแผนเพื่อเก็บข้อมูล และวิเคราะห์ศกั ยภาพ เพื่อใช้ในการ ออกแบบให้ตรงกับวัตถุประสงค์ที่วางไว้ 9.2.2 การออกแบบพื้นที่โครงการ เนื่องจากการออกแบบพื้นที่โครงการ อุทยานการเรี ยนรู ้เรื อหลวงลันตา จังหวัดกระบี่ เป็ น พื้นที่ ที่อยูใ่ กล้ชายฝั่งทะเล และพื้นที่เคยได้ผลกระทบจากภัยพิบตั ิสึนามิ ในการออกแบบมาก จึง ต้องหาข้อมูลอ้างอิงประกอบ ข้อมูลทางด้านรู ปแบบอาคารที่เหมาะในตอนที่เกิดภัยพิบตั ิ สามารถ ทําให้น้ าํ พัดผ่านได้ ข้อมูลทางด้านวัสดุและโครงสร้างอาคาร รวมถึงพื้นที่หลบภัยและเส้นทาง อพยพอีกด้วย 9.2.3 การเตรี ยมตัวเพื่อเข้าเก็บข้อมูลพื้นที่โครงการ พื้นที่โครงการ อุทยานการเรี ยนรู ้เรื อหลวงลันตา จังหวัดกระบี่ เป็ นพื้นที่ที่มีความลาดชั น น้อย เป็ นพื้นที่ที่อยูใ่ กล้ทะเลอันดามัน พื้นที่มีพรรณไม้นอ้ ย การเก็บข้อมูลเป็ นไปได้ง่ายเพราะพื้นที่ โครงการเป็ นโครงการจริ ง และเป็ นความดูแลขององค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกระบี่ บุคลากรจึงให้ ความร่ วมมือให้การให้ขอ้ มูล


บรรณานุกรม จรัสพิมพ์ บุญญานันท์. 2554. คู่มือการดําเนินงานวิทยานิพนธ์ . คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และ การออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้. เดชา บุญคํ้า. 2535. การวางผังบริเวณ. กรุ งเทพฯ.คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. นริ ศรา โรจน์ธนะศิริวนิช 2551. โครงการออกแบบและวางผังพิพธิ ภัณฑ์ หอศิลปะร่ วมสมัย. สาขา ภูมิสถาปั ตยกรรม. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัย แม่โจ้. ธนวัฒน์ ชมยินดี. 2549. โครงการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมพิพธิ ภัณฑ์ เมืองโบราณไชยศรี. สาขาภูมิสถาปั ตยกรรม. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้. อบจ.กระบี่. ข้ อมูลพืน้ ฐาน. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. http://www.krabipao.go.th/home.php (30 เมษายน 2554) อุทยานประวัติศาสตร์ ทหารเรือ ( พิพธิ ภัณฑ์ เรือรบหลวงแม่ กลอง ). [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=iam9a&month=26122005&group=11&gblog=1 (5 พฤษภาคม 2554) ศูนย์ ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) . [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. http://www.oknation.net/blog/print.php?id=140209 (1 สิ งหาคม 2554) พิพธิ ภัณฑ์ วาซา. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. http://ryusky.blogspot.com/2010/05/blog-post_30.html (5 สิ งหาคม 2554)


ประวัตนิ ักศึกษา

ชื่อ

นางสาวรวงทิพย์ เกื้อนุย้ (รวง)

เกิด

19 เมษายน 2532

ที่อยู่

41/2 ม.5 ต.คลองท่อมใต้ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ 81120

ประวัติการศึกษา ชั้นอนุบาล

โรงเรี ยนบ้านแชงเปิ ง จ.กระบี่

ชั้นประถม

โรงเรี ยนอนุบาลคลองท่อม จ.กระบี่

ชั้นมัธยม

โรงเรี ยนกาญจนาภิเษกวิทยาลัยกระบี่ จ.กระบี่

ปริ ญญาตรี

สาขาวิชา ภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ สิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ประสบการณ์ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2554 – 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 ฝึ กงานภูมิสถาปัตยกรรม Oriental Vista Co., ltd จังหวัดภูเก็ต




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.