โครงการออกแบบและวางผังภูมสิ ถาปัตยกรรมค่ ายลูกเสื อวชิราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN AND PLANNING PROJECT OF WACHIRAWUTDAMNOEN LAMPANG BOYSCOUT CAMP MUANG, LAMPANG
ขวัญชนก เครือปา รหัส 5113101303
วิทยานิพนธ์ นีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของความสมบูรณ์ ของการศึกษาตามหลักสู ตร ปริญญาภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมสิ ถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ พ.ศ. 2555 ลิขสิ ทธิ์ของมหาวิทยาลัยแม่ โจ้
: โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมค่ายลูกเสื อวชิราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง โดย : นางสาว ขวัญชนก เครื อปา ชื่อปริญญา : ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา : ภูมิสถาปัตยกรรม ปี การศึกษา : 2555 อาจารย์ทปี่ รึกษาวิทยานิพนธ์ : อาจารย์ ยุทธภูมิ เผ่าจินดา ชื่อเรื่อง
บทคัดย่ อ โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ค่ายลูกเสื อวชิราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง ครอบคลุมเนื้อที่ท้ งั หมด 148 ไร่ ตั้งอยู่ บนพื้นที่ป่าราชพัสดุ ตาบลพระบาท อาเภอ เมือง จังหวัดลาปาง มีวตั ถุประสงค์ เพื่อ เป็ นสถานที่ สาหรั บลูกเสื อทุกประเภท และทุกระดับ ได้เข้า ค่ายพักแรมและปฏิบตั ิตามวิธีการของลูกเสื อ รวมถึง เป็ นสถานที่ฝึกอบรบผูบ้ งั คับบัญชาและ เจ้าหน้าที่ลูกเสื อทุกระดับ โครงการ มีแนวความคิด ในการออกแบบ ให้เป็ นค่ายลูกเสื อที่มีความเป็ นธรรมชาติ เป็ น สถานที่เรี ยนรู้ธรรมชาตินอกห้องเรี ยน ด้านการอยู่ การกิน การใช้ชีวติ ที่พ่ งึ พาตัวเอง และธรรมชาติ รอบตัว โดยปราศจากความสะดวกสบายจาก การออกแบบจะเน้นความเป็ นธรรมชาติเดิมอยูใ่ ห้มาก ที่สุด แต่ซ่อนกิจกรรมการเรี ยนรู ้ และการใช้ชีวติ เช่นหาพื้นที่ พักแรมของลูกเสื อ ด้วยตนเอง การใช้ วัสดุตาม ธรรมชาติ และ ฐานผจญภั ยที่ทา้ ทายความสามารถ เป็ นต้น สิ่ งเหล่านี้จะหล่อหลอมให้ ลูกเสื อมีความเข้มแข็งและรักธรรมชาติที่มีอยูร่ อบตัว ค่ายลูกเสื อ แห่งนี้ เป็ นสถานที่ที่ใช้ฝึกอบรม และทากิจกรรมตามวิธีการของลูกเสื อ ดังนั้น จึงเป็ น ประโยชน์โดยตรงแก่ ลูกเสื อทุกระดับ ทุกประเภท รวมถึงผูบ้ งั คับบัญ ชาและผูท้ ี่เข้ามาใช้ พื้นที่โครงการ ทั้งในเรื่ องวิชาการและการ ปฏิบตั ิ ในลักษณะการใช้ชีวติ จริ ง
: LANDSCAPE ARCHITECTURE DESIGN PLANTING PROJECT OF WACHIRAWUTDAMNOEN LAMPANG BOYSCOUT CAMP. MUANG, LAMPANG By : Miss. Kwanchanok Khurepa Degree : Bachelor of Landscape Architecture Major Field : Landscape Architecture Academic Year : 2012 Thesis Advisor : Lecturer Yuttapoom Powjinda Title
ABSTRACT The project of landscape architecture design planning project of Wachirawutdamnone Lampang boyscout camp, Muang, Lampang. Total area covered 148 rai. These located on Radchapasadu forest area, Pra-Bath, Muang, Lampang. The objective was using the place to be all boyscout and practices And for commanders and staffs training The conceptual design is The natural boyscout camp. Focusing the outdoor learning and living with nature. using a self sufficient life and nature without the comfortable. The design by focusing use existing natural factor but conceal the learning activities such as they confine camping area by themself, Using natural material, and challenging adventure base etc. These formed the boyscouts will be strong and conserve natural. The boyscout camp were training and activities of boyscouts. Therefore the direct benefit to all boyscouts, commanders and staffs using these project. In both academic and real life practices.
กิตติกรรมประกาศ การทาวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ จะไม่สาเร็ จเสร็ จสิ้ นลงไปได้เลย หากปราศจาก ความอนุเคราะห์ ทางด้านข้อมูล และคาปรึ กษาจากบุคคลและหน่วยงานหลายๆ ฝ่ าย รวมถึงความช่วยเหลือจากบุคคล รอบๆตัวที่มีส่วนช่วยให้ผทู ้ าโครงการสามารถผ่านอุปสรรคต่างๆ ในการทางานไปได้ จึงขอกล่าว ขอบคุณบุคคลต่างๆ ดังต่อไป ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ และครอบครัวที่คอยสนับสนุนเรื่ องทุนทรัพย์ ความรัก ความห่วงใย และคอยเป็ นกาลังใจอย่างมากในการศึกษา ตลอดระยะเวลา 5 ปี และการทา วิทยานิพนธ์ในครั้งนี้จนเสร็ จสิ้ น ขอกราบขอบพระคุณ คณาจารย์ทุกท่าน ที่ใ ห้คาปรึ กษาและคอย ชี้แนะแนวทางที่ดี ตลอดเวลาที่ศึกษาอยูท่ ี่สาขาภูมิสถาปั ตยกรรม รวมถึงบุคลากร เจ้าหน้าที่ทุกท่านที่ให้ความเอื้อเฟื้ อ ด้านการติดต่อเอกสาร ความสะดวกในการค้นคว้าหาข้อมูลในการทาวิทยานิพนธ์ ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์ ยุทธภูมิ เผ่าจินดา อาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์ในครั้งนี้ ที่ ช่วยสละเวลาชี้แนะแนวทางและให้คาปรึ กษาในการทาวิทยานิพนธ์มาโดยตลอด ขอขอบคุณพี่ๆ ทุกคนที่ให้คาปรึ กษาที่ดี และเทคนิค ต่างๆ ในการทาวิทยานิพนธ์ในครั้งนี้ โดยเฉพาะพี่ฮวด ที่ให้ท้ งั คาปรึ กษา และกาลังใจตลอดระยะเวลาในทาวิทยานิพนธ์ ขอบคุณเพื่อนๆ ภูมิสถาปัตยกรรม รุ่ น 14 ทุกคนที่เป็ นเพื่อนที่ดี ตลอดช่วงระยะเวลา 5 ปี ที่ ผ่านมา เสี ยงหัวเราะ คาพูด การกระทา ภาพความทรงจา ต่างๆที่เกิดขึ้น เพื่อนคนนี้จะระลึกถึงอยู่ เสมอ ขอบคุณน้องๆ ทุกคน โดยเฉพาะน้องๆ สายรหัส 03 น้องหลิง น้องเจต น้องโจ น้องเกมส์ น้องน้องกอล์ฟ ที่มีส่วนร่ วมในการทาวิทยานิพนธ์ ทั้งกาลังใจ กาลังกาย ที่คอยช่วยเหลือพี่ใน หลายๆ อย่าง จนถึงวิทยานิพนธ์ครั้งนี้อาจจะไม่สาเร็ จไปด้วยดีถา้ ไม่มีนอ้ งๆ คอยช่วยเหลือ ขอบคุณ คุณ อมร พรหมาคม ที่คอยช่วยเหลือ ให้คาแนะนา และเป็ นที่ปรึ กษาที่ดีในเรื่ อง ต่างๆ ขอบคุณทุกคนที่ไม่ได้เอ่ยนาม ขอบคุณคะ สุ ดท้ายนี้ ขอขอบคุณสาหรับกาลังใจ และความพยายาม ของตัวเอง ที่ทาให้วทิ ยานิพนธ์ สาเร็ จไปได้ดว้ ยดี ขวัญชนก เครื อปา 15 ตุลาคม 2555
ฐ
สารบัญเรื่อง กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ สารบัญเรื่ อง สารบัญตาราง สารบัญภาพ สารบัญแผนที่ สารบัญกราฟและแผนภูมิ บทที่ 1. บทนา 1.1 ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ 1.2 สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 1.3 วัตถุประสงค์ 1.4 ขอบเขตการศึกษา 1.5 ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการศึกษา 1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการศึกษา 2. ทีต่ ้งั และความสาคัญของโครงการ 2.1 การเข้าถึงพื้นที่โครงการ 2.2 สภาพพื้นที่โดยรอบโครงการ 2.3 สภาพการใช้ที่ดินในปั จจุบนั ภายในพื้นที่โครงการ 3. การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ 3.1 การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการด้านเศรษฐศาสตร์ 3.2 การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการทางด้านการเงิน 3.3 การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการทางด้านการบริ หารและจัดการ 3.4 การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการทางด้านสาธารณูปโภค – สาธารณูปการ
หน้ า ค ง จ ฉ ฌ ญ ฑ ฒ 1 1 1 2 2 3 4 5 5 5 5
19 19 19 20 20
ฐ
สารบัญเรื่อง ( ต่ อ ) บทที่ 4. กรณีศึกษา 4.1 กรณี ศึกษาภายในประเทศ 4.4.1 ค่ายวชิราวุธ อาเภอศรี ราชา จังหวัดชลบุรี 4.4.2 ค่ายลูกเสื อหัตถ์วฒ ุ ิแค้มป์ จังหวัดสระบุรี 4.2 กรณี ศึกษาต่างประเทศ 4.4.3 CAMP OLMSTED ประเทศอเมริ กา 4.4.4 CAMP FRIEDLANDER ประเทศอเมริ กา 4.5 สรุ ปกรณี ศึกษา 5. ข้ อมูลและการวิเคราะห์ ข้อมูลของโครงการ 5.1 สภาพทัว่ ไปของจังหวัดลาปาง 5.2 การวิเคราะห์ลกั ษณะทางกายภาพของพื้นที่โครงการ 5.3 การสังเคราะห์พ้นื ที่โครงการ 6. แนวความคิดในการออกแบบ 6.1 แนวความคิดในการออกแบบ 6.2 แนวความคิดในการแบ่งเขตพื้นที่ใช้สอย 6.3 แนวความคิดในการจัดความสัมพันธ์ของกิจกรร 6.4 แนวความคิดในการจัดรู ปแบบสัญจร 6.5 ออกแบบในด้านบรรยากาศ 6.6 แนวความคิดในการออกแบบวางผังพืชพรรณ 6.7 แนวความคิดในการจัดวางและรู ปแบบของอาคาร 7. รายละเอียดโครงการออกแบบ 7.1 รายละเอียดของทางสัญจร 7.2 รู ปแบบสถาปัตยกรรม 7.3 รายละเอียดของการออกแบบฐาน 7.4 รายละเอียดระบบไฟฟ้ า 7.5 ระบบน้ าใช้ 7.6 การบารุ งรักษา
หน้ า 21 21 24 26 26 29 31 32 32 39 63 69 69 70 71 71 72 74 75 80 80 82 83 88 89 90
ฐ
สารบัญเรื่อง ( ต่ อ ) บทที่ 8. ผลงานการออกแบบ 8.1 (SITE ANALYSIS) 8.2 (CULTURAL&MANMADE FACTORS) 8.3 SITE SYNTHESIS AND CONCEPTUAL DESIGN 8.4 CONCEPTUAL DESIGN 8.5 SPECIAL DATA 8.6 MASTERPLAN 8.7 MASTER PLAN (2) 8.8 DETAILPLAN A 8.9 DETAILPLAN B 8.10 DETAILPLAN C 8.11 แบบจาลอง (MODEL) 9. บทสรุ ปและข้ อเสนอแนะ 9.1 บทสรุ ปจาการทาวิทยานิพนธ์ 9.2 ข้อเสนอแนะ 9.3 การบรรลุตามจุดประสงค์ของวิทยานิพนธ์ 9.4 ข้อเสนอแนะสาหรับโครงการประเภทเดียวกัน บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผเู้ ขียน
หน้ า 91 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 105 106 106 107
ฐ
สารบัญตาราง ตารางที่ 1. แสดงการสรุ ปกรณี ศึกษา 2. แสดงอาคารและสิ่ งก่อสร้างเดิมในพื้นที่ 3. แสดงการวิเคราะห์ลกั ษณะของพื้นที่โครงการ 4. แสดงความต้องการในการพัฒนาพื้นที่
หน้ า 31 52 63 65
ฐ
สารบัญภาพ ภาพที่ 1 แสดงถนนวชิราวุธดาเนิน (เส้นทางหลวงหมายเลข 11 ) หน้าศูนย์ราชการจังหวัดลาปาง 2 แสดงป้ ายบริ เวณด้านหน้าศูนย์ราชการจังหวัดลาปาง 3 แสดงบริ เวณด้านหลังของตึกศูนย์ราชการจังหวัดลาปาง 4 แสดงทางออกด้านหลังศูนย์ราชการจังหวัดลาปาง 5 แสดงทางเชื่อมด้านหลังศูนย์ราชการไปพื้นที่โครงการ 6 แสดงถนนและเส้นทางไปยังพื้นที่โครงการประมาณ 3 กิโลเมตร 7 แสดงบรรยากาศทางเข้าพื้นที่โครงการ 8 แสดงศูนย์เวชศาสตร์ประคับประคองโรคมะเร็ งจังหวัดลาปาง 9 แสดงบริ เวณด้านหน้าสถาบันวิจยั โรคมะเร็ ง ลาปาง 10 แสดงบริ เวณถนนทางเข้าพื้นที่โครงการ 11 แสดงทัศนียภาพกลางพื้นที่โครงการ 12 แสดงทัศนียภาพบริ เวณอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 3 13 แสดงทัศนียภาพด้านทิศเหนือของพื้นที่โครงการ 14 แสดงอาคารสานักงานดูแลรักษาอ่างเก็บเก็บน้ าราชการ 15 แสดงประตูน้ าล้น 16 แสดงทัศนียภาพบริ เวณทิศตะวันตะเฉี ยงใต้ของพื้นที่โครงการ 17 แสดงทัศนียภาพบริ เวณทิศใต้ของพื้นที่โครงการ 18 แสดงทัศนียภาพอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 3 ด้านทิศใต้ 19 แสดงทัศนียภาพลานโล่งด้านทิศใต้ของโครงการ 20 แสดงทัศนียภาพอ่างเก็บน้ าจุดที่ 2 21 แสดงทัศนียภาพบริ เวณลานโล่งในพื้นที่โครงการ 22 แสดงแผนผังโดยสังเขปของค่ายวชิราวุธ อาเภอศรี ราชาจัง หวัดชลบุรี 23 แสดงแผนผังโดยสังเขปของค่ายหัตถวุธแคมป์ จังหวัดสระบุรี 24 แสดงแผนผังโดยสังเขป CAMP OLMSTED - Minnesota, USE 25 แสดงแผนผังโดยสังเขป Friedlander – OHIO, USE 26 แสดงรายชนิดพรรณไม้ (ต้นไผ่) 27 แสดงรายชนิดพรรณไม้ (ต้นพุทรา) 28 แสดงรายชนิดพรรณไม้ (ต้นกระถิน)
หน้ า 12
12 12 13 13 13 14 14 14 15 15 15 16 16 16 17 17 17 18 18 18 23 25 28 30 40 40 41
ฐ
สารบัญภาพ ( ต่ อ ) ภาพที่ 29 แสดงรายชนิดพรรณไม้ (ต้นขี้เหล็ก) 30 แสดงรายชนิดพรรณไม้ (ต้นมะฮอกกานี ) 31 แสดงรายชนิดพรรณไม้ (ต้นหูกวาง) 32 มุมมองจากบริ เวณทางเข้าพื้นที่โครงการ เห็นวิวของภูเขาและต้นไม้เป็ นฉากหลังที่สวยงาม 33 มุมมองจากถนนภายนอกพื้นที่โครงการมองเข้าไปในโครงการ เห็นเนินเขาสี เขียว และ ธรรมชาติโดยรอบ 34 มุมมองจากด้านในพื้นที่โครงการมองออกไปยัง ถนนด้านหน้าโครงการเห็นวิว ของจังหวัดลาปางในมุมสู ง 35 มุมมองทางด้านทิศตะวันออกเฉี ยงเหนือ เห็นลานกว้างสาหรับตั้งค่ายพักแรม 36 มุมมองทางด้านทิศเหนือ เห็นยอดเขาบริ เวณที่สูงที่สุดในพื้นที่โครงการ 37 มุมมองทางด้านทิศตะวันออกเห็นอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 3 มีตน้ ไม้ ภูเขา และท้องฟ้ าเป็ นฉากหลัง เป็ นมุมมองที่สวยงาม 38 มุมมองบริ เวณกลางพื้นที่โครงการ เห็นธรรมชาติลอ้ มรอบที่มีความร่ มรื่ น 39 มุมมองด้านทิศตะวันออก มองเห็นพื้นที่ริมน้ าเป็ นแนวยาว 40 แสดงอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 2 41 แสดงอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 3 42 แสดงการระบายน้ าโดยประตูน้ าล้นด้านตะวันออก 43 แสดงการระบายน้ าโดยประตูน้ าล้นด้านตะวันตก 44 แสดงการระบายน้ าโดยท่อออกนอกพื้นที่โครงการ 45 แสดงการระบายน้ าภายในพื้นที่โครงการแบบธรรมชาติ 46 แสดงการระบายน้ าโดยร่ องน้ าจากภายในพื้นที่โครงการสู่ ภายนอกพื้นที่โครงการ (ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ) 47 ถนนทางรถ ขนาด 5 เมตร ใช้สัญจรหลักในพื้นที่โครงการ 48 ถนนทางรถและคนเดิน ขนาด 3 เมตร เป็ นแนวถนนธรรมชาติ 49 ลักษณะของทางบริ การ ขนาด 5 เมตร 50 แสดงลักษณะของทางเดินเท้า ขนาด 3 เมตร 51 แสดงทางเดินรอง ขนาด 1.5 เมตร 52 แสดงแนวความคิดในการคออกแบบอาคาร
หน้ า 41 42 42 45 45 46 46 46 47 47 47 48 48 49 49 49 50 50 54 55 81 81 82 83
ฐ
สารบัญภาพ ( ต่ อ ) ภาพที่ 53 ฐาน RC1 ทุ่นน้ าหนัก 54 ฐาน RC2 สิ่ งกีดขวาง 55 ฐาน RC3 ส่ งสาร 56 ฐาน RC4 โคลนดูด 57 ฐาน RC5 หอคอย 58 ฐาน RC6 ส่ งเชลย 59 ฐาน RC7 สะพานลิง 60 ฐาน RC8 ไต่ราว 61 ฐาน RC9 ท่อทะลุมิติ 62 ฐาน RC10 ใยแมงมุม 63 ฐาน RC11 ห้อยโหน 64 ฐาน RC12 กระสวยอวกาศ 65 ฐาน RC13 ไป 3 66 ฐาน RC14 ส่ องทางไกล 67 ฐาน RC15 ภูเขาตาข่าย 68 ฐานผจญภัย 1 ลอดอุโมงค์ 69 ฐานผจญภัย 2 ปื นกาแพง 70 ฐานผจญภัย 3 ทาร์ซาน 71 ฐานผจญภัย 4 เนินกระโดด 72 ฐานผจญภัย 5 ลอดลวดหนาม 73 ฐานผจญภัย 6 อกไก่ 74 ฐานผจญภัย 7 บันไดสามเหลี่ยม 75 ฐานผจญภัย 8 ปื นตาข่าย 76 ฐานผจญภัย 9 ไต่ยาง 77 ฐานผจญภัย 10 หลุมตาข่าย 78 ฐานผจญภัย 11 บ่อโคลนเหนียว 79 ฐานผจญภัย 12 สะพานแปล 80 ฐานผจญภัย 13 ไต่เชือก
หน้ า 83 83 83 83 84 84 84 84 84 84 85 85 85 85 85 86 86 86 86 86 86 87 87 87 87 87 87 88
ฐ
สารบัญภาพ ( ต่ อ ) ภาพที่ 81 ฐานผจญภัย 14 ล่องแพ 82 ฐานผจญภัย 15 ปื นกาแพงสู ง 83 รู ปแบบของระบบส่ องสว่างภายในพื้นที่โครงการ 84 SITE ANALYSIS 85 CULTURAL&MANMADE FACTORS 86 SITE SYNTHESIS AND CONCEPTUAL DESIGN 87 CONCEPTUAL DESIGN 88 SPECIAL DATA 89 MASTERPLAN 90 MASTERPLAN (2) 91 DETAILPLAN A 92 DETAILPLAN B 93 DETAILPLAN C 94 แบบจาลอง
หน้ า 88 88 89 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104
ฐ
สารบัญแผนที่ แผนที่ 1. แสดงที่ต้ งั โครงการในระดับประเทศ 2. แสดงที่ต้ งั ของโครงการระดับภาค 3. แสดงที่ต้ งั ของโครงการระดับจังหวัด 4. แสดงที่ต้ งั ของโครงการระดับอาเภอ 5. แสดงภาพถ่ายทางอากาศขอบเขตที่ต้ งั ของพื้นที่โครงการและอาณาเขตติดต่อ 6. แสดงทิศทางลมและการโคจรของดวงอาทิตย์ 7. แสดงพรรณไม้เดิมในพื้นที่โครงการ 8. แสดงถนนภายในพื้นที่โครงการ 9. แสดงลักษณะของการใช้ที่ดินเดิม 10. แสดงตาแหน่งแหล่งน้ าในพื้นที่โครงการ 11. แสดงทิศทางการระบายน้ าในพื้นที่โครงการ 12. แสดงการวิเคราะห์ลกั ษณะของพื้นที่โครงการ 13. การสังเคราะห์หาศักยภาพและวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาพื้นที่ 14. แผนผังแสดงแนวความคิดในการออกแบบ 15. แผนผังแสดงแนวความคิดในการแบ่งเขตพื้นที่ใช้สอย 16. แผนผังแสดงแนวความคิดและความสัมพันธ์ในการออกแบบ 17. แผนผังแสดงแนวความคิดในการจัดรู ปแบบสัญจร
หน้ า 7 8 9 10 11 56 57 58 59 60 61 62 68 76 77 78 79
ฐ
สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิที่ 1 แสดงความเร็ วลมเฉลี่ยของจังหวัดลาปางปี พ.ศ.2549 – 2553 2 แสดงความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยของจังหวัดลาปางปี พ.ศ.2549 – 2553 3 แสดงปริ มาณน้ าฝนเฉลี่ยของจังหวัดลาปางปี พ.ศ.2549 – 2553
หน้ า 35 35 36
บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ 1.1.1 ความเป็ นมาของโครงการ ค่ายลูกเสื อแห่งใหม่ของจังหวัดลาปางเป็ นโครงการที่จดั ทาขึ้นเพื่อทดแทนค่ายลูกเสื อ แห่งเดิมที่มีอยูแ่ ล้ว 1 แห่ง ซึ่ งตั้งอยูท่ ี่ ถนนบ้านดงพัฒนา ตาบลบ่อแฮ้ว อาเภอเมือง จังหวัด ลาปาง เป็ น พื้นที่รับผิดชอบของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 1 จังหวัดลาปาง แต่สภาพพื้นที่เดิมคับแคบ ไม่ สามารถก่อสร้างอาคารเรี ยนรู ้และอาคารเจ้าหน้าที่ ค่ายพัก สถานที่ฝึกลูกเสื อ เพื่อรองรับกิจกรรมการใช้ งานของลูกเสื อ การพัฒนาเยาวชนให้มีวนิ ยั และสร้างจิตสานึกที่ดี ทางสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 1 ร่ วมกับสานักงานโยธาการและผังเมืองจังหวัดลาปาง จึงมีโครงการก่อสร้างค่ายลูกเสื อในพื้นที่แห่งใหม่ บริ เวณด้านหลังของศูนย์มะเร็ งลาปาง ถนนวชิราวุธดาเนิน ตาบลพระบาท อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง ซึ่ง เป็ นพื้นที่ราชพัสดุ มีขนาดพื้น ที่กว้างขวาง และสามารถขยายขอบเขตได้ในอนาคต จึงเหมาะที่จะเป็ น ที่ต้ งั ของค่ายลูกเสื อแห่งใหม่ของจังหวัดลาปาง 1.1.2 เหตุผลในการเลือกโครงการ เนื่องจากโครงการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมและการวางผังค่ายลูกเสื อ จังหวัดลาปาง เป็ นโครงการจริ งที่กาลังจะเกิดขึ้นในพื้นที่ ตาบล พระบาท อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง ซึ่ งเป็ นพื้นที่ราช พัสดุให้เป็ นพื้นที่รองรับกิจกรรมของลูกเสื อ- เนตรนารี ในจังหวัดลาปาง ตลอดจนใช้เป็ นพื้นที่ศึกษา เรี ยนรู ้เกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม 1.2 สถานทีต่ ้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกทีต่ ้ งั โครงการ 1.2.1 สถานที่ต้ งั โครงการ ค่ายลูกเสื อวชิราวุธดาเนิน ตั้งอยูบ่ นพื้นที่ราชพัสดุ ตาบลพิชยั อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง ใกล้ที่ต้ งั ของศูนย์ราชการจังหวัดลาปาง อยูห่ ่างจากถนนวชิราวุธดาเนินประมาณ 3 กิโลเมตร ห่างจาก สถานีรถไฟประมาณ 12 กิโลเมตร สถานีขนส่ งจังหวัดลาปางประมาณ 10 กิโลเมตร แล ะอยูห่ ่างจากท่า อากาศยานลาปาง 8 กิโลเมตร
2
1.2.2 เหตุผลในการเลือกพื้นที่โครงการ เนื่องด้วยข้าพเจ้ามีความชอบและสนใจเกี่ยวกับการทาค่ายลูกเสื อ บวกกับพื้นที่ โครงการเป็ นพื้นที่รกร้าง ว่างเปล่า จึงอยากพัฒนาให้เกิดประโยชน์ ในเชิงการเรี ยนรู ้ธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อม ภายใต้วชิ าการของลูกเสื อทั้งในเชิงวิชาการและเชิงปฏิบตั ิจริ ง 1.3 วัตถุประสงค์ 1.3.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. 3.1.1 เพื่อใช้เป็ นสถานที่ให้ลูกเสื อทุกประเภทได้มาอยูร่ ่ วมค่ายพักแรมและได้รับการ ฝึ กอบรมในเชิงปฏิบตั ิดว้ ยการทาจริ งตามวิธีการของลูกเสื อ 1.3.1.2 เพื่อใช้เป็ นสถานที่ฝึกอบรบผูบ้ งั คับบัญชาและเจ้าหน้าที่ลูกเสื อทุกระดับ 1.3.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 1.3.2.1 เพื่อนาเอาความรู ้ความสามารถทั้งด้านทฤษฏี และปฏิบตั ิในสาขาวิชาที่ได้ศึกษา มาทั้งหมดมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบและวางผังค่ายลูกเสื อให้เหมาะสมกั บสภาพพื้นที่ ตามความ ต้องการของโครงการและผูใ้ ช้พ้นื ที่โครงการ 1. 3.2.2 เพื่อเป็ นการศึกษาการจัดการพื้นที่ใช้สอยโครงการประเภทค่ายลูกเสื อ ให้เกิด ประโยชน์สูงสุ ด และให้สอดคล้องกับสิ่ งแวดล้อมรอบบริ เวณโครงการ 1.4 ขอบเขตของการศึกษา 1.4.1ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา ค่ายลู กเสื อแห่งใหม่ของจังหวัดลาปาง มีพ้นื ที่ 148 ไร่ ตั้งอยูใ่ นท้องที่ตาบลพระบาท อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง ห่างจากตัวเมืองลาปางประมาณ 10 กิโลเมตร 1.4.2 ขอบเขตของเนื้อหาที่จะศึกษา 1.4.2.1 ศึกษาที่ต้ งั อาณาเขต การเข้าถึง การเชื่อมโยงของพื้นที่โครงการกับบริ บท โดยรอบและประวัติของพื้นที่โครงการ 1.4.2.2 ศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยด้านศักยภาพและข้อจากัดของที่ต้ งั โครงการในด้าน สิ่ งแวดล้อม
3
1.4.2.3 ศึกษาและวิเคราะห์ลกั ษณะโครงการและการใช้พ้นื ที่ประเภทเดียวกันหรื อ ใกล้เคียงกัน ทั้งในและนอกประเทศ (Case Study) 1.5 ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการศึกษา 1.5.1กาหนดวัตถุประสงค์ในการศึกษาโครงการ 1.5.2 กาหนดขอบเขตโครงการ 1.5.3 ศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ 1.5.4 สารวจและเก็บข้อมูล 1.5.4.1 ข้อมูลภาคสนาม ทางด้านที่ต้ งั พื้นที่ขา้ งเคียง สภาพธรรมชาติ สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ เพื่อทราบถึงศักยภาพและข้อจากัดของพื้นที่โครงการ 1.5.4.2 ข้อมูลทางด้านการออกแบบวางผังโครงการ 1.5.4.3 ศึกษาข้อมูลจากโครงการตัวอย่างที่ใกล้เคียงและเกี่ยวข้อง ( Case Study) 1.5.5 งานวิเคราะห์ขอ้ มูล (Site Analysis) ดาเนินการวิเคราะห์ขอ้ มูลต่างๆ ดังนี้ 1.5.5.1 ที่ต้ งั โครงการ การเข้าถึง การคมนาคม และการเชื่อมโยงของพื้นที่โครงการกับ พื้นที่โดยรอบ (Site Location, Accessibility, Surrounding and Linkage 1.5.5.2 สภาพทัว่ ไปของโครงการ (Existing Condition) ก. การใช้ที่ดินเดิม (Land Use) ข. การสัญจร (Circulation) ค. อาคารสิ่ งก่อสร้างเดิม (Existing Building and Architecture) ง. พืชพรรณเดิม (Existing Planting) จ. แหล่งน้ าและการระบายน้ า (Water Reserve and Drainage) ฉ. สภาพภูมิอากาศ (Microclimate) จ. มุมมองและทัศนียภาพ (Aesthetic Factors) ช. ด้านกายภาพอื่นๆ 1.5.5.3 ลักษณะทัว่ ไป โดยรอบ โครงการ (Site Surrounding) 1.5.5.4 ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (Utility and Facility) 1.5.5.5 ผูใ้ ช้และกิจกรรม (User and Activity) 1.5.5 การวิเคราะห์หาความต้องการของโครงการ (Program Analysis) 1.5.6 ศึกษาโครงการที่มีความใกล้เคียงกันทั้งในประเทศและต่างประเทศ (Case Study) 1.5.7 งานสังเคราะห์ขอ้ มูล (Site Synthesis)
4
1.5.7.1 การพัฒนาโปรแกรม (Program Development) 1.5.7.2 ข้อกาหนดของโปรแกรม (Program Requirement) 1.5.7.3 ศักยภาพและข้อจากัด (Site Potential and Constrains) 1.5.8 งานขั้นตอนแนวคิดในการออกแบบ (Concept Design) 1.5.8.1 แนวคิดด้านสถาปัตยกรรมและการวางผังโครงการ 1.5.8.2 แนวคิดด้านภูมิสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรม 1.5.8.3 แนวคิดด้านการออกแบบ 1.5.8.4 แนวความคิดด้านสิ่ งแวดล้อม 1.5.9 งานขั้นออกแบบ 1.5.9.1 การออกแบบผังแม่บท (Master Plan) 1.5.9.2 การออกแบบผังบริ เวณ (Site Plan) 1.5.9.3 การออกแบบผังรายละเอียด (Detail Plan) 1.5.10 นาเสนอผลงานการออกแบบขั้นสมบูรณ์ 5.10.1 ผังแม่บท (Master Plan) 5.10.2 ผังบริ เวณ (Site Plan) 5.10.3 ผังรายละเอียด (Detail Plan) 5.10.4 รายละเอียดการใช้พืชพรรณ (Planting Detail) 5.10.5 รู ปด้านและรู ปตัด (Section and Elevation) 5.10.6 รู ปทัศนียภาพ (Perspective) 5.10.7 หุ่นจาลอง (Model) 5.10.8 รู ปเล่มวิทยานิพนธ์ 1.6. ประโยชน์ ทจี่ ะได้ รับจากการศึกษา 1.6.1 ทราบแนวทางการวางแผนดาเนินงาน ขั้นต อนและกระบวนการทางานการวิเคราะห์ขอ้ มูล เพื่อมาสร้างผลงานในการออกแบบให้มีความเหมาะสมและมีศกั ยภาพด้านต่าง ๆ ที่ดีกว่าเดิม 1.6.2 ทราบวิธีการศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยและสภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการออกแบบ ของ พื้นที่โครงการที่อยูต่ ิดแหล่งน้ าขนาดใหญ่ 1.6.3 สามารถออกแบบและวางผังทางภูมิสถาปั ตยกรรมของค่ายลูกเสื อที่มีมาตรฐานได้ 1.6.4 สามารถออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมค่ายลูกเสื อที่สอดคล้องกับศักยภาพของ พื้นที่ได้
5
บทที่ 2 ทีต่ ้ังและความสาคัญของโครงการ 2.1 ทีต่ ้งั และการเข้ าถึง 2.1.1 การเข้าถึงพื้นที่โครงการ -ทางรถยนต์ จากตัวเมืองห่างจากพื้นที่โครงการประมาณ 10 กิโลเมตร เดินทางโดยใช้ เส้นทางถนนพหลโยธิน (ทางหลวงหมายเลข 1) จนถึงแยกทางถนนวชิราวุธดาเนิน (ทางหลวงหมายเลข 11) เลี้ยวเข้าศูนย์ราชการจังหวัดลาปางอีกประมาณ 3 กิโลเมตร ถึงพื้นที่โครงการ -ทางรถไฟ จากตัวเมืองห่างจากพื้นที่ โครงการประมาณ 12 กิโลเมตร เดินทางโดยใช้ เส้นทางถนนประสานไมตรี (ทางหลวงหมายเลข 1) เข้าสู่ ถนนพหลโยธิ น (ทางหลวงหมายเลข 1) จนถึง แยกทางถนนวชิราวุธดาเนิน (ทางหลวงหมายเลข 11) เลี้ยวเข้าศูนย์ราชการจังหวัดลาปางอีกประมาณ 3 กิโลเมตร ถึงพื้นที่โครงการ - ทางอากาศ จากตั วเมืองห่างจากพื้นที่โครงการประมาณ 8 กิโลเมตร เดินทางโดยใช้ เส้นทางพหลโยธิน (ทางหลวงหมายเลข 1) จนถึงแยกทางถนนวชิราวุธดาเนิน (ทางหลวงหมายเลข 11) เลี้ยวเข้าศูนย์ราชการจังหวัดลาปางอีกประมาณ 3 กิโลเมตร ถึงพื้นที่โครงการ 2.2 สภาพพืน้ ทีโ่ ดยรอบโครงการ ทิศเหนือ ติด ต่อกับชุมชนบ้านไร่ แผ่นดินทอง ลักษณะของชุมชนอาศัยไม่หนาแน่น จานวน ครัวเรื อนมี 478 ครัวเรื อน ชาวบ้านส่ วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ทิศตะวันออก ติดต่อกับพื้นที่ป่า (ราชพัสดุ) ทิศใต้ ติดต่อกับสถาบันวิจยั โรคมะเร็ งจังหวัดลาปาง เป็ นโครงการของรัฐบาลซึ่ งกาลังดาเนินการ ก่อสร้าง ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 3 เป็ นอ่างเก็บน้ าที่ราชการก่อสร้างขึ้น เพื่อกักเก็บ น้ าสามารถรองรับน้ าได้ 970, 710 ลูกบาศก์เมตร ล้อมรอบด้วยภูเขา ลักษณะทางธรรมชาติสมบูรณ์ 2.3 สภาพการใช้ ทดี่ ินในปัจจุบันภายในพืน้ ทีโ่ ครงการ พื้นที่โครงการค่ายลูกเสื อวชิราวุธดาเนินเป็ นพื้นที่ราชพัสดุ อยูใ่ นเขตผังเมืองรวม กาหนดให้เป็ น สี น้ าเงิน คือที่ดินประเภท ส . ที่ดินประเภทนี้ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อสถาบันราชการ การศาสนา
6
การศึกษา การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ หรื อสาธารณประโยชน์ การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อ วัตถุประสงค์อื่น ให้ใช้ได้เฉพาะที่จาเป็ น หรื อเกี่ยวเนื่องกับการใช้ประโยชน์ที่ดินหลัก มีขนาด 148 ไร่ อยู่ ติดกับอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 2 และ 3 เป็ นพื้นที่รกร้าง รอการพัฒนาให้เป็ นค่ายลูกเสื อวชิราวุธดาเนินซึ่ ง เป็ นค่ายลูกเสื อแห่งใหม่ของจังหวัดลาปาง
7
โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ค่ ายลูกเสื อวชิ ราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง LANDSCAPE ARCHITECTUAL DESIGN PLANNING PROJECT OF WACHIRAWUTDAMNOEN LAMPANG BOYSCOUTCAMP MUANG, LAMPANG แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั ของโครงการระดับประเทศ สั ญลักษณ์ N ที่ต้ งั โครงการ
ทีม่ า : [ระบบออนไลน์ ] : http://www.thaienergydata.in.th/province/52/ NOT TO SCALE (วันที่เข้าสารวจข้อมูล 25 พฤศจิกายน พ.ศ.2554)
8
โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ค่ ายลูกเสื อวชิ ราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง LANDSCAPE ARCHITECTUAL DESIGN PLANNING PROJECT OF WACHIRAWUTDAMNOEN LAMPANG BOYSCOUTCAMP MUANG, LAMPANG แผนที่ 2 แสดงที่ต้ งั ของโครงการระดับภาค สั ญลักษณ์ N ที่ต้ งั โครงการ
ทีม่ า : [ระบบออนไลน์ ] : http://www.thaienergydata.in.th/province/52/ NOT TO SCALE (วันที่เข้าสารวจข้อมูล 25 พฤศจิกายน พ.ศ.2554)
9
โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ค่ ายลูกเสื อวชิ ราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง LANDSCAPE ARCHITECTUAL DESIGN PLANNING PROJECT OF WACHIRAWUTDAMNOEN LAMPANG BOYSCOUTCAMP MUANG, LAMPANG แผนที่ 3 แสดงที่ต้ งั ของโครงการระดับจังหวัด สั ญลักษณ์ N ที่ต้ งั โครงการ
ทีม่ า : [ระบบออนไลน์ ] : http://www.thaienergydata.in.th/province/52/ NOT TO SCALE (วันที่เข้าสารวจข้อมูล 25 พฤศจิกายน พ.ศ.2554)
10
โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ค่ ายลูกเสื อวชิ ราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง LANDSCAPE ARCHITECTUAL DESIGN PLANNING PROJECT OF WACHIRAWUTDAMNOEN LAMPANG BOYSCOUTCAMP MUANG, LAMPANG แผนที่ 4 แสดงที่ต้ งั ของโครงการระดับอาเภอ สั ญลักษณ์ N ที่ต้ งั โครงการ
ทีม่ า : [ระบบออนไลน์] : http://maps.google.co.th/maps?hl=th&tab=ll (วันที่เข้าสารวจข้อมูล 25 พฤศจิกายน พ.ศ.2554)
NOT TO SCALE
11
ชุมชนบ้ านไร่ แผ่นดินทอง
148 ไร่ อ่ างเก็บนา้ ราชการจุดที่ 3 พืน้ ทีป่ ่ าราชพัสดุ
พืน้ ทีป่ ่ าราชพัสดุ
สถาบันวิจยั โรคมะเร็งลาปาง
โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ค่ ายลูกเสื อวชิ ราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง LANDSCAPE ARCHITECTUAL DESIGN PLANNING PROJECT OF WACHIRAWUTDAMNOEN LAMPANG BOYSCOUTCAMP MUANG, LAMPANG แผนที่ 5 แสดงภาพถ่ายทางอากาศขอบเขตที่ต้ งั ของพื้นที่โครงการและอาณาเขตติดต่อ สั ญลักษณ์ N ขอบเขตที่ต้ งั พื้นที่โครงการ
ทีม่ า : [ระบบออนไลน์] : http://www.thaienergydata.in.th/province/52/ (วันที่เข้าสารวจข้อมูล 25 พฤศจิกายน พ.ศ.2554)
NOT TO SCALE
12
ทัศนียภาพภายในโครงการ
ภาพที่ 1 ถนนวชิราวุธดาเนิน (เส้นทางหลวงหมายเลข 11 ) หน้าศูนย์ราชการจังหวัดลาปาง ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา ,ปี 2555
ภาพที่ 2 ป้ ายบริ เวณด้านหน้าศูนย์ราชการจังหวัดลาปาง ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 3 บริ เวณด้านหลังของตึกศูนย์ราชการจังหวัดลาปาง ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
13
ภาพที่ 4 ทางออกด้านหลังศูนย์ราชการจังหวัดลาปาง ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 5 ทางเชื่อมด้านหลังศูนย์ราชการไปพื้นที่โครงการ ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 6 ถนนและเส้นทางไปยังพื้นที่โครงการประมาณ 3 กิโลเมตร ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
14
ภาพที่ 7 บรรยากาศทางเข้าพื้นที่โครงการ ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 8 ศูนย์เวชศาสตร์ประคับประคองโรคมะเร็ งจังหวัดลาปาง ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 9 บริ เวณด้านหน้าสถาบันวิจยั โรคมะเร็ ง ลาปาง ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
15
ภาพที่ 10 บริ เวณถนนทางเข้าพื้นที่โครงการ ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 11 ทัศนียภาพกลางพื้นที่โครงการ ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 12 ทัศนียภาพบริ เวณอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 3 ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
16
ภาพที่ 13 ทัศนียภาพด้านทิศเหนือของพื้นที่โครงการ ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 14 อาคารสานักงานดูแลรักษาอ่างเก็บเก็บน้ าราชการ ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 15 ประตูน้ าล้น ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
17
ภาพที่ 16 ทัศนียภาพบริ เวณทิศตะวันตะเฉี ยงใต้ของพื้นที่โครงการ ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 17 ทัศนียภาพบริ เวณทิศใต้ของพื้นที่โครงการ ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 18 ทัศนียภาพอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 3 ด้านทิศใต้ ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
18
ภาพที่ 19 ทัศนียภาพลานโล่งด้านทิศใต้ของโครงการ ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 20 ทัศนียภาพอ่างเก็บน้ าจุดที่ 2 ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 21 ทัศนียภาพบริ เวณลานโล่งในพื้นที่โครงการ ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
19
บทที่ 3 การศึกษาความเป็ นไปได้ โครงการ ในการจัดการโครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมค่ายลูกเสื อวชิราวุธ อาเมือง จังหวัด ลาปาง เป็ นโครงการที่มีวตั ถุประสงค์หลักเพื่อ รองรับกิจกรรมการเรี ยนรู ้นอกห้องเรี ยนและออกค่ายพัก แรมสาหรับลูกเสื อในจังหวัดลาปาง ปั จจุบนั ค่ายลูกเสื อจังหวัดลาปางมีอยูพ่ ียงแห่งเดียว และมีพ้นื ที่ไม่เพียงพอสาหรับการใช้งานของ จานวนลูกเสื อทั้งจังหวัด ดังนั้นการทาโครงการค่ายลูกเสื อวชิราวุธดาเนินแห่งใหม่เพิ่มขึ้ นจึงมีความ เป็ นไปได้ โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมค่ายลูกเสื อวชิราวุธดาเนิน อาเมืองเมือง จังหวัด ลาปาง จึงจัดเป็ นโครงการที่เป็ นไปได้ การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการจะครอบคลุมสาระสาคัญ ดังนี้ 3.1 การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการด้ านเศรษฐศาสตร์ โครงการ ออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมค่ายลูกเสื อวชิราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัด ลาปาง จัดเป็ นโครงการที่เปิ ดให้บริ การเพื่อสังคม โดยมีเป้ าหมายหลักอยูท่ ี่การพัฒนาเด็กนักเรี ยนในกลุ่ม วิชาลูกเสื อในด้านการเรี ยนรู ้นอกห้องเรี ยน ดังนั้นถ้ามีการพัฒนาพื้นที่ให้เพียงพอคาดว่ าน่าจะเป็ นที่ น่าสนใจของหน่วยงานต่างๆ ให้เข้ามาใช้ประโยชน์ภายในพื้นที่โครงการได้ โดยในช่วงที่ไม่มีการออก ค่ายของลูกเสื อ เช่นกิจกรรมการรับน้องใหม่ การอบรมผูบ้ งั คับบัญชา และลูกเสื อชาวบ้านเป็ นต้น ซึ่ งไม่ เพียงแต่จะช่วยให้ระบบเศรษฐกิจดีข้ ึนเท่านั้น ยังส่ งผลให้ระบ บเศรษฐกิจของชุมชนดีข้ ึน มีการขยายตัว ทางด้านการค้า และยังเป็ นการสร้างแหล่งงานเพื่อช่วยลดปั ญหาการว่างงานได้อีกทางหนึ่งด้วย 3.2 การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการทางด้ านการเงิน ในระยะแรกเริ่ มของโครงการค่ายลูกเสื อวชิราวุธดาเนิน ด้านการเงินนั้นทางสานักงานโยธาการ จังหวัดลาปางจะเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายทั้งหมด และเมื่อมีการเปิ ดใช้แล้วทางค่ายพักแรมจะได้เงินจากการจัด ค่ายต่างๆ รวมทั้งจากเรื อนพักรับรองจากหน่วยงานต่างๆ ที่เข้ามาใช้สถานที่ในเวลาที่ไม่มีการออกค่าย พักแรม
20
3.3 การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการทางด้ านการบริหารและจัดการ การบริ หารและจัดการของโครงการขึ้นตรงและควบคุมโดยสานักงานลูกเสื อจังหวัดลาปาง โดย ที่ทางสานักงานจะมีเจ้าหน้าที่ เป็ นผูบ้ ริ หารและจัดการโครงการ ซึ่ งสามารถแบ่งเจ้าหน้าทีที่ดาเนินงาน แยกฝ่ ายตามลักษณะงาน เช่น ฝ่ ายบัญชีและการเงิน ฝ่ ายธุ รการ ฝ่ ายบริ หาร เป็ นต้น ซึ่งฝ่ ายต่างๆเหล่านี้สามารถแบ่งย่อย ออกเป็ นแผนกและมีหวั หน้าแผนกและมีเจ้าหน้าที่ในแต่ละฝ่ ายเป็ น ผูด้ าเนินงานในด้านนั้นๆ 3.4 การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการทางด้ านสาธารณูปโภค – สาธารณูปการ 3.4.1สาธารณูปโภค - ไฟฟ้ า การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาคจังหวัดลาปาง มีจา นวนการไฟฟ้ าทั้งหมด 14 แห่ง กระจายอยูใ่ นพื้นที่อาเภอต่างๆ ซึ่ งพื้นที่โครงการอยูใ่ กล้แหล่งอาเภอแม่เมาะ จึงสามารถต่อกระแสไปฟ้ า ได้สะดวก -ประปา จังหวัดลาปางมีสานักงานประปาทั้งหมด 3 แห่ง ส่ วนใหญ่เป็ นการใช้น้ า ประเภท ที่อยูอ่ าศัย และประกอบธุ รกิจขนาดเล็ก แต่ พื้นที่โครงการอยูต่ ิดกับอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 3 จึง สามารถนาน้ ามาใช้ได้ในพื้นที่โครงการ 3.4.2สาธารณูปโภค -สาธารณูปการ บริ เวณโดยรอบพื้นที่โครงการมี ตลาด โรงพยาบาล สถานีขนส่ ง สถานี ตารวจ ให้บริ การอยูใ่ กล้เคียง
21
บทที่ 4 กรณีศึกษา 4.1 กรณีศึกษาภายในประเภท 4.4.1 ค่ายวชิราวุธ อาเภอศรี ราชา จังหวัดชลบุรี 1) ข้อมูลทัว่ ไปของโครงการ ที่ต้ งั โครงการ : ยอดเขาซากแขก ต.บางพระ อ.ศรี ราชา จ.ชลบุรี พื้นที่ :498 ไร่ 70 ตารางวา 1.1) วัตถุประสงค์โครงการ - เป็ นสถานที่ฝึกอบรมผูบ้ งั คับบัญชา และเจ้าหน้าที่ลูกเสื อทุกระดับ - เป็ นสถานที่อยูค่ ่ายพักแรม ฝึ กอบรมในทางปฏิบตั ิ ด้านการทาจริ งตามวิธีการของ ลูกเสื อ - เป็ นสถานที่ศึกษา ทดลองค้นคว้าวิชาการด้านต่าง ๆ ของลูกเสื อ - เป็ นสถานที่สาหรับจัดให้มีการชุมชุนลูกเสื อโลก 1.2) ส่ วนประกอบของโครงการ ก. ศาลาอานวยการ ข. สนามหญ้า ค. พลับเพลาศรี มาหาราชา ง. ศาลาลูกเสื อวิสามัญ จ. สระว่ายน้ า ฉ. อาคารเกี่ยวกับศาสนา (พุทธ, คริ สต์, อิสลาม) ช. ค่ายที่พกั สาหรับผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรม ซ. เต็นท์ถาวร ฌ. ตึกพยาบาล ญ. โรงอาหาร ฎ. หอนาฬิกา 2.) วิเคราะห์โครงการ
22
2.1 ในค่ายทั้งหม ดสามารถรองรับผูอ้ อกค่าย ประมาณ 3-5 ค่าย ในเวลาเดียวกัน ซึ่ งแต่ ละบริ เวณที่ต้ งั ค่ายไม่ได้มีลกั ษณะเฉพาะของแต่ละบริ เวณ จึงไม่เกิดลักษณะที่น่าจดจา 2.2 เส้นทางสัญจรภายในพื้นที่โครงการมีลกั ษณะและขนาดเดียวกัน จึงเกิดความสับสน ในการใช้ทิศทางหลักและรอง 2.3 ในโครงการไม่มีจุดเด่นที่เป็ นเอกลักษณ์ของค่าย 2.4 ไม่มีแนวความคิดของพืชพรรณ และใช้ไม้เดิมเป็ นหลัก 2.5 อาคารในพื้นที่มีเยอะ และขาดการดูแลรักษา โทรม 3) กิจกรรม ก. การอยูค่ ่ายพักแรม ข. เดินทางไกล ค. ฝึ กอบรมในทางทฤษฎีและปฏิบตั ิของลูกเสื อ ง. การฝึ กอบรมของผูบ้ งั คับบัญชา จ. เป็ นสถานที่ชุมชุนลูกเสื อโลก
23
ภาพที่ 22 แผนผังโดยสังเขปของค่ายวชิราวุธ อาเภอศรี ราชาจัง หวัดชลบุรี ที่มา : http://www.inspect6.moe.go.th
24
4.1.2 ค่ ายลูกเสื อหัตถ์ วุฒิแค้ มป์ จังหวัดสระบุรี 1) ข้อมูลทัว่ ไปของโครงการ ที่ต้ งั โครงการ : แนวเขารอยต่อของ อ. มวกเหล็กและปากช่อง พื้นที่ : 100 ไร่ 2) วัตถุประสงค์โครงการ - ศูนย์อบรมกิจกรรมของลูกเสื อ-เนตรนารี ยุวกาชาด และผูบ้ าเพ็ญประโยชน์ - อบรมผูบ้ งั คับบัญชา - อบรมนักเรี ยนและเยาวชน - ปฐมนิเทศและปัจฉิมนิเทศ (นักศึกษา) - อบรมบุคลากร และพนักงานองค์กร 3) ส่ วนประกอบของโครงการ -หอประชุม - สนาม เสาธง - ห้องน้ า - โรงอาหาร - ซุม้ อาหารวิทยากร - บ้านพักวิทยากร - ประชาสัมพันธ์ - ร้านค้า - ลานล้างจาน - ครัว 4) กิจกรรม - การผจญภัย - Walk Rally - ศึกษาพันธุ์พืชและสวนสมุนไพร
25
ภาพที่ 23 แผนผังโดยสังเขปของค่ายหัตถวุธแคมป์ จังหวัดสระบุรี ที่มา : http://www.huttavudcamp.com
26
4.2 กรณีศึกษาต่ างประเทศ 4.2.1 CAMP OLMSTED 1) ข้อมูลทัว่ ไปของโครงการ ที่ต้ งั โครงการ : Minnesota, USE พื้นที่ : 500 ไร่ 2) วัตถุประสงค์โครงการ - ค่ายฝึ กอบรม เรี ยนรู ้ ลูกเสื อ - ค่ายสาหรับกิจกรรมของ เพื่อน ครอบครัว - ค่ายฤดูร้อน สาหรับมาทากิจกรรม / พักผ่อน - ค่ายอเนกประสงค์ สาหรับลูกเสื อ ทหาร และกลุ่มอื่นๆ 3)ส่ วนประกอบของโครงการ - บ้านพัก : ตั้งอยูบ่ นเนินเขา ท่ามกลางป่ าไม้ที่สวยงาม มองเห็นวิวแม่น้ าฮัดสัน - คฤหาสน์ : หลังใหญ่ที่มีสิ่งอานวยความสะดวกครบครัน พร้อมห้องประชุมในตัว - กระท่อม : หลังเล็ก สาหรับครอบครัวที่มาสังสรรค์มีหอ้ งครัวสาหรับปรุ งอาหาร และจัดปาร์ ต้ ีเล็กๆ - ครัว : สาหรับปรุ งอาหาร และขนม มีผสู้ อนในการทา - เรื อนศิลปะ : สาหรับสอนและฝึ กฝี มือของเด็ก -เรื อนคอมพิวเตอร์ : สาหรับ ใช้เป็ นที่หาความรู ้และเล่นเกมส์ภายในค่าย - สนามฟุตบอล บาสเกตบอล วอลเลย์บอล : สาหรับกีฬาในค่าย - สระว่ายน้ า : สามารถลงเล่นได้ตลอดเวลา และมีผสู ้ อนสาหรับผูท้ ี่วา่ ยไม่เป็ น 4) กิจกรรม น้ า : พายเรื อแคนู / คายัค / ว่ายน้ า ตั้งแคมป์ : ลานกางเต็นท์สาหรับพักแรมของลูกเสื อ - ศูนย์เทคโนโลยี : การบิน , ดาราศาสตร์ , ไฟฟ้ า, วิศวกรรมพลังงาน , คอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์และวารสารศาสตร์ - กีฬาการยิง:ยิงธนูและปื นลูกซอง หัตถกรรม :จักสาน และ สิ่ งทอ - นิเวศวิทยา :เรี ยนรู ้เกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าไม้ สิ่ งแวดล้อม อากาศ ธรณี วทิ ยา ฯลฯ -ศิลปะ :วาดรู ด เขียนรู ป ถ่ายภาพ และสถาปั ตยกรรม
27
- พื้นที่ส่วนกลาง : ปฐมพยาบาล และติดต่อ ประชาสัมพันธ์ 5) สิ่ งอานวยความสะดวก ภายในค่ายมีบา้ น 2 หลัง สามารถรับรองคนได้ 50 คน ภายในบ้านมีการตกแต่ง อย่างสวยงาม มีเครื่ องปรับอากาศ เตียงเดี่ยวสองเตียง ห้องน้ าภายในห้อง มีพ้นื ที่นงั่ เลน ห้องประชุม และ ห้องรับประทานอาหารอยูด่ า้ นล่าง ภายในคฤหาสน์มีท้ งั หมด 15 ห้อง และห้องน้ าในภายในห้อง มีหอ้ งประชุม ใหญ่ 2 ห้อง เพื่อรับรองการใช้งานของกลุ่มผูใ้ ช้ และมีการเข้าถึงอินเตอร์ เน็ตสาหรับผูใ้ ช้ Wi-fi กระถ่อมขนาดกว้างขวางจานวน 3 หลัง มีหอ้ งนอนขนาดใหญ่ ห้องน้ าและห้อง ประชุม มีลานรับประทานอาหารขนาดกว้างขวางเหมาะสาหรับใช้เป็ นที่ชุมนุม และพุดคุย พักผ่อน แบบ ใกล้ชิดธรรมชาติ
28
ภาพที่ 24 แผนผังโดยสังเขป CAMP OLMSTED - Minnesota, USE ที่มา : http://www.cccbsa.com
29
4.2.1 CAMP FRIEDLANDER 1) ข้อมูลทัว่ ไปของโครงการ ที่ต้ งั โครงการ : OHIO, USE พื้นที่ : 35 acer 2) วัตถุประสงค์โครงการ - ค่ายสาหรับครอบครัว หรื อ เพื่อน มาทากิจกรรมในช่วงฤดูร้อน - มีกิจกรรมมากมายสาหรับลูกเสื อ ทั้งตื่นเต้นและท้าทาย - เป็ นสถานที่จดั ประชุมสาหรับลูกเสื อและหน่วยงานอื่นๆ 3) ส่ วนประกอบของโครงการ - ห้องโถง : สาหรับประชุม หรื อจัดเลี้ยงสาหรับคนประมาน 600 คน -โรงครัว : สาหรับจัดเตรี ยมอาหาร เครื่ องดื่ม - บ้านพัก : บ้านพักที่ติดกับทะเลสาบแ ละมีกิจกรรมทางน้ าหลากหลายให้ ได้เลือกเล่นตามใจชอบ เช่น ว่ายน้ า ตกปลา พายเรื อ เป็ นต้น - สระว่ายน้ า : ขนาดโอลิมปิ ก สนามบาสเกตบอลและวอลเลย์บอล -โบสถ์ -กระท่อม : ที่พกั มีท้ งั ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ มีสิ่งอา นวยความสะดวก มากมาย เช่น อินเตอร์ เน็ต ห้องอาบน้ าอุ่น โต๊ะ เก้าอี้เขียนหนังสื อ เครื่ องปรับอากาศ ตูเ้ ย็น ฯลฯ - อัฒจรรย์ : ที่นงั่ 500 คน สามารถมองเห็นทะเลสาบที่สวยงาม - ลานกลางเต็นท์ : 23 แห่ง ขนาดแตกต่างกันไป มีท้ งั ลานแบบบ้านต้นไ ม้ และ ลานกางเต็นท์ 4) กิจกรรม - ว่ายน้ า / ดาน้ า - เดินป่ า - กีฬาบาสเกตบอล / วอลเลย์บอล - หน้าผาจาลอง - หลักสู ตรอุปสรรค - พายเรื อคายัค/เรื อแคนู - ฝึ กทักษะเรี ยนรู ้กลางแจ้ง เช่น การเข้าฐานผจญภัย การเรี ยนรู ้เรื่ องเชือก เป็ นต้น
30
-
ภาพที่ 25 แผนผังโดยสังเขป Friedlander ‟ OHIO, USE ที่มา : http://www.danbear
31
สรุ ปกรณีศึกษา จากกรณี ศึกษาได้แบ่งการวิเคราะห์ขอ้ ดี ข้อเสี ย และระบบการใช้งานของแต่ละสถานที่ท้ งั 4 แห่ง สรุ ปได้ดงั นี้ (ดูตารางที่ 1 แสดงการสรุ ปกรณี ศึกษา) ตารางที่ 1 แสดงการสรุ ปกรณี ศึกษา FUNCTION
ค่ายลูกเสื อ วชิราวุธ จ.ชลบุรี
ค่ายลูกเสื อหัตถวุธ-เสื อป่ า แคมป์ จ.สระบุรี
CAMP OLMSTED
CAMP FRIEDLANDER
8.บ้านพักรับรอง
9.บ้านพัก พนักงาน 10.ที่จอดรถ
-
11.หอกระโดดสูง 12.หอนาฬิกา 13.อัฒจรรย์ 14.สระว่ายน้ า 15.เรื อนหัตกรรม 16. สนามกีฬา
-
17.ซ่อมบารุ ง
1.สัญลักษณ์ ประจาค่าย 2.ตึกอานวยการ 3.สนาม – เสาธง 4.โรงอาหารร้านค้า 5.เรื อนพยาบาลปฐมพยาบาล 6.ศาสนสถาน 7.หอประชุม
32
บทที่ 5 ข้ อมูลและการวิเคราะห์ ข้อมูลของโครงการ 5.1 สภาพทัว่ ไปของจังหวัดลาปาง จังหวัดลาปาง เป็ นจังหวัดที่มีความเก่าแก่และมีความสาคัญทางประวัติศาสตร์ มาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 1,300 ปี ตั้งแต่สมัยหริ ภุญชัย (พระนางจามเทวี ) เป็ นต้นมา คือ ราวพุทธศตวรรษที่ 13 ชื่อของเมืองเข ลางค์อนั เป็ นเมืองในยุคแรก ๆ และเมืองนครลาปางปรากฏอยูใ่ นหลักฐานประวัติศาสตร์ หลายแห่ง ทั้ง จากตานานศิลาจาลึกพงศาวดาร และจากคาที่นิยมเรี ยกกันโดยทัว่ ไปอย่างแพร่ หลาย ได้แก่ตานานจามเทวี ชินกาลบาลีปกรณ์ ตานานมูลศาสนา ตานานพื้นเมืองเชียงใหม่ ตานานเจ้าเจ็ดตน พงศาวดารโยนก คาว่า “ละกอน ” หรื อ “ละคร ” (นคร ) เป็ นชื่อสามัญของเมืองเขลางค์ที่นิยมเรี ยกกันอย่าง แพร่ หลาย ทั้งในตานานและภาษาพูดโดยทัว่ ไป แม้แต่จงั หวัดใกล้เคียงเช่น แพร่ น่าน เชียงราย ลาพูน เชียงใหม่ มักจะเรี ยกชาวลาปางว่า “จาวละกอน” ซึ่งหมายถึง ชาวนคร คาว่าละกอนมีชื่อทางภาษาบาลีวา่ เรี ยกว่า “เขลางค์” เช่นเดียวกับ ละพูรหรื อลาพูน ซึ่ งทางภาษาบาลีเรี ยกว่า “หริ ภุญชัย ” และเรี ยกลาปางว่า “ลัมภกัปปะ” ดังนั้น เมืองละกอนจึงหมายถึง บริ เวณอันเป็ นที่ต้ งั ของเมืองเขลางค์ คือเมืองโบราณรู ปหอย สังข์ ซึ่ งตั้งอยูบ่ ริ เวณฝั่งตะวันตกของแม่น้ าวัง อยูใ่ นตาบลเวียงเหนือ อาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง ส่ วนคาว่า “ลาปาง” เป็ นชื่อที่ปรากฏหลักฐานอย่างชัดเจนในตานานพระธาตุลาปางหลวง ซึ่ งมี ชื่อเรี ยกเป็ นภาษาบาลีวา่ “ลัมภกัปปนคร” ตั้งอยูบ่ ริ เวณลาปางหลวง อาเภอเกาะคา จังหวัดลาปาง อยูห่ ่าง จากตัวเมืองลาปางไปทางทิศใต้ตามแม่น้ าวังประมาณ 16 กิโลเมตร อันเป็ นที่ต้ งั ของวัดพระธาตุลาปาง หลวงในปั จจุบนั ตัวเมืองลัมภกัปปนครมีพ้นื ที่ประมาณ 200 ไร่ ลักษณะของเมือง ศึกษาดูจากภาพถ่ายทางอากาศและการเดินสารวจทางภาคพื้นดิน พบว่ามีคนั คู ล้อมรอบ 3 ชั้น (แต่ปัจจุบนั เหลือเ พียงบางส่ วนเท่านั้น ) นอกจากนี้พบเศษกระเบื้อง ภาชนะดินเผา เศียร พระพุทธรู ปดินเผาสมัยหริ ภุญชัยและสถูปแบบสมัยหริ ภุญชัย สันนิฐานว่าเมืองลัมภกัปปนี้ปกครอง บ้านเมืองอย่างมีระเบียบแบบแผน ตามตานาน วัดพระธาตุลาปางหลวง (ฉบับสาขาสมาคม เพื่อการรักษาสมบัติวฒั นธรรมประจา จังหวัดลาปาง) ได้กล่าวถึงเรื่ องราวจังหวัดลาปางไว้วา่ “พระพุทธเจ้าได้เสด็จด้วยลาดับบ้านใหญ่เมืองน้อย ทั้งหลาย พระพุทธเจ้าไปรอดบ้านอันหนึ่ง ชื่อ ลัมพการี วนั พระพุทธเจ้านัง่ อยูเ่ หนือดอยม่อนน้อยทั้งหลาย สู งซะหน่อย ยังมีลวั ะ ชื่ออ้ายคอน มันหัน พระพุทธเจ้า เอาน้ าผึ้ งใส่ กระบอกไม้ป้างมาหื้ อทานแก่พระพุทธเจ้า กับหมากพ้าว 4 ลูก พระพุทธเจ้ายืน่
33
บอกน้ าผึ้งหื้ อแก่มหาอานนท์ถอกตกปากบาตร พระพุทธเจ้าฉันแล้ว ชัดบอกไม้ไปตกหนเหนือ แล้ว พระพุทธเจ้าทานายว่า สถานที่น้ ีจกั เป็ นเมืองอันหนึ่งชื่อ “ลัมภางค์” ดังนั้นนามเมืองลาปาง จึงหมายถึงชื่อของเมืองอันเป็ นที่ต้ งั ของพระธาตุลาปางหลวงในปั จจุบนั จังหวัดลาปางเดิมชื่อ “เมืองนครลาปาง ” จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ได้ระบุไว้อย่างชัดเจน ได้แก่ศิลาจาลึก เลขทะเบียน ลป .1 จารึ กเจ้าหมื่นคาเพชรเมื่อ พ .ศ.2019 และศิลาจาลึกเลขทะเบียน ลป .2 จารึ กเจ้าหาญสี ทตั ได้จารึ กชื่อเมืองนี้วา่ “ลคอร” ส่ วนตานานชินกาลมารี ปกรณ์ ตานานพื้นเมืองเชียงใหม่ ตานานเมืองเชียงแสน ตลอดจนพงศาวดารของทางฝ่ ายเหนือ ก็ลว้ นแล้วแต่เรี ยกชื่อว่า เมืองนครลาปาง แม่แต่เอกสารทางราชการสมัยรัตนโกสิ นตอนต้น ก็เรี ยกเจ้าเมืองว่า พระยานครลาปาง นอกจากนี้จารึ ก ประตูพระอุโบสถวัดบุญวาทย์วหิ าร ก็ยงั มีขอ้ ความตอนหนึ่งจารึ กว่า เมืองนครลาปาง แต่เมื่อมีการปฏิรูป บ้านเมืองจากมณฑลเทศาภิบาลเป็ นจังหวัด ตามคาสั่งของกระทรวงมะหาดไทย ลงวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2459 ปรากฏว่า ชื่อของเมืองนครลาปาง ได้กลายมาเป็ นจังหวัดลาปาง มาจนกระทัง่ ทุกวันนี้ 5.1.1 ขนาดและที่ต้ งั จังหวัดลาปางตั้งอยูภ่ าคเหนือตอนบนของประเทศไทย อยูห่ ่างจากกรุ งเทพฯ ตามทาง หลวงแผ่นดินสายพหลโยธิ นประมาณ 602 กิโลเมตร ตามทางรถไฟประมาณ 625 กิโลเมตร มี เนื้อที่ประมาณ 12,533.961 ตารางกิโลเมตร หรื อประมาณ 7,833,736 ไร่ มีพ้นื ที่ใหญ่เป็ นอันดับ 5 ของภาคเหนือ รองจาก เชียงใหม่ ตาก แม่ฮ่องสอน และเพชรบูรณ์ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัด ข้างเคียงถึง 7 จังหวัดดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย และพะเยา ทิศตะวันออก ติดต่อ จังหวัดตาก ทิศตะวันตก ติดต่อ จังหวัดแพร่ และสุ โขทัย ทิศใต้ ติดต่อ จังหวัดลาพูน 5.1.2 ลักษณะภูมิประเทศ จังหวัดลาปาง อยูส่ ู งจากระดับน้ าทะเล 268.80 เมตร พื้นที่มีลกั ษณะเป็ นรู ปยาวภูมิ ประเทศโดยทัว่ ไปเป็ นที่ราบสู ง มีภูเขาสู งอยูท่ วั่ ไป ทอดตัวยาวตามแนวทิศเหนือไปทางทิศใต้ของจังหวัด และในบริ เวณตอนกลางของจังหวัดบางส่ วนมีที่ราบลุ่มริ มฝั่งแม่น้ า และตามลักษณะทางกายภาพ ทางด้านธรณี สัณฐานวิทยา จังหวัดลาปางมีพ้นื ที่เป็ นที่ราบล้อมรอบด้วยภูเขา มีลกั ษณะเป็ นแอ่งแผ่นดินที่ ยาวและกว้างที่สุดในภาคเหนือ เรี ยกว่า “อ่างลาปาง” ลักษณะภูมิประเทศแบ่งออกเป็ น 3 ลักษณะคือ บริ เวณตอนบนของจังหวัด
34
เป็ นที่ราบสู งภูเขา และเป็ นป่ าค่อนข้างทึบ อุดมสมบูรณ์ดว้ ยไม้มีค่า ได้แก่ พื้นที่อาเภอเมืองปาน แจ้ห่ม วังเหนือ และลาว บริ เวณตอนกลางของจังหวัด เป็ นที่ราบและที่ราบริ มฝั่งแม่น้ า ซึ่ งเป็ นแหล่งเกษตรกรร มที่สาคัญของจังหวัด ได้แก่ พื้นที่อาเภอห้างฉัตร เมืองปาน เกาะคา แม่ทะ และสบปราบ บริ เวณตอนใต้ของจังหวัด เป็ นป่ าไม้รัง บางส่ วนเป็ นทุ่งหญ้า ได้แก่ พื้นที่อาเภอเถิน แม่พริ ก บางส่ วนของ อาเภอเสริ มงาม และแม่ทะ 5.1.3 ลักษณะภูมิอากาศ จากลักษณะพื้นที่ของจังหวัดที่เป็ น แอ่งคล้ายก้นกระทะ จึงทาให้อากาศร้อน อบอ้าว เกือบตลอดปี ฤดูร้อนร้อนจัด และหนาวจัดในฤดูหนาว ปี 2552 มีอน้ ภูมิสูงสุ ด 42.30 องศาเซลเซียส ต่าสุ ด 13.0 องศาเซลเซี ยส ปริ มาณน้ าฝนวัดได้ 977 มิลลิลิตร ลักษณะภูมิอากาศแบ่งออกได้เป็ น 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน เริ่ มประมาณต้นเดื อนมีนาคม จนถึงกลางเดือน พฤษภาคม อากาศจะร้อนอบ อ้าว ช่วงที่มีอากาศร้อนที่สุด คือ เดือนเมษายน ฤดูฝน เริ่ มประมาณกลางเดือนพฤษภาคม ฤดูหนาว เริ่ มประมาณเดือนพฤศจิกายน จนถึงเดือนกุมภาพันธ์ อากาศจะหนาวเย็น ช่วงที่ มีอากาศหนาวจัด คือ เดือนมกราคม 5.1.4 การโคจรของดวงอาทิตย์ สาหรับประเทศไทย ดวงอาทิตย์ที่ข้ ึนทางด้านทิศตะวันออกจะมีการเคลื่อนตัวไปทิศใต้ จนไปตกทางด้านทิศตะวันตก เป็ นเวลา 8 - 9 เดือน และเดือนธันวาคมก็เป็ นช่วงเดือนที่ดวงอาทิตย์ออ้ ม ไปทางทิศใต้มากที่สุดและมีมุมแดด-ต่าที่สุดด้วย 5.1.5 ทิศทางลม กระแสลมจะมีมากในช่วงเดือนเมษายน-เดือนกรกฎาคม เพราะเป็ นช่วงลมในฤดูร้อน
35
50 40 30 20 10 0
แผนภูมิที่1 แสดงความเร็ วลมเฉลี่ยของจังหวัดลาปางปี พ.ศ.2549 ‟ 2553
5. 1.6 ความชื้นสัมพัทธ์ ความชื้นสัมพัทธ์ของจังหวัดลาปางเฉลี่ย 65.47 จัดว่าเป็ นสภาพความชื้นปกติเหมาะสา หรับการ เจริ ญเติบโตของคนและพืช
150 100 50 0
แผนภูมิที่2 แสดงความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยของจังหวัดลาปางปี พ.ศ.2549 ‟ 2553
36
5.1.7 ปริ มาณน้ าฝน ปริ มาณน้ าฝนของจังหวัดลาปางเฉลี่ย 924.98 จัดว่าเป็ นปริ มาณน้ าฝนที่ตกหนัก
แผนภูมิที่ 3 แสดงปริ มาณน้ าฝนเฉลี่ยของจังหวัดลาปางปี พ.ศ.2549 ‟ 2553
5.1.8 ประชากร ปี 2553 จาหวัดลาปางมีประชากร จานวน 763 , 801 คน เป็ นชาย 376,414 คน เป็ นหญิง 387,387 คน อาเภอที่มีประชากรมากที่สุดได้แก่ อาเภอเมืองลาปาง รองลงไปคือ อาเภอเกาะคา อาเภอแม่ ทะ และอาเภอเถิน (ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553) 5.1.9 ทรัพยากรธรรมชาติ จังหวัดลาปางมีทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย ทั้งทรัพยากรป่ าไม้ และทรัพยากรแร่ ธาตุ ทรัพยากรป่ าไม้ จังหวัดลาปางมีเนื้อที่ป่าไม้ตามกฎกระทรวงที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 124 ตอนที่ 79 ก ลงวันที่ 12 พฤศจิกายน 2550 จานวน 33 ป่ าเนื้อที่ 5,302,474 ไร่
37
ประเภท
จานวน (แห่ ง)
- ป่ าสงวนแห่งชาติ
33 ป่ า
-
5 แห่ง
อุทยานแห่งชาติ
2 แห่ง
(เตรี ยมการ)
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 1 แห่ง ที่มา: http://www.lampang.go.th/t_lampang/ ทรัพยากรแร่ ธาตุ มีหลายชนิดล้ว นเป็ นวัตถุดิบที่สาคัญในทางอุตสาหกรรมทั้งสิ้ น ประกอบด้วยถ่านหิ น ลิกไนต์ ดินขาว หิ นอ่อน หิ นแกรนิต บอลเคย์ไลท์ พลวงและวุลเฟรม
ประเภทแร่ ธาตุ
ปริมาณสารอง (ล้าน ระยะเวลาการขุดใช้ (ปี ) ตัน)
„ ถ่านหิ น ลิกไนต์
1,544
50
107
147
320
53
„ แร่ ดินขาว „ หินปูน
ทีม่ า : http://www.lampang.go.th/t_lampang/ 5.1.10 การปกครอง จังหวัดลาปางแบ่งออกเป็ น 13 อาเภอ 100 ตาบล 929 หมู่บา้ น 101 ชุมชน (เฉพาะชุมชนในเขต เทศบาลนครลาปาง และเทศบาลเมืองเขลางค์นคร ) 1 องค์การบริ หารส่ วนจังหวั ด 1 เทศบาลนคร 1 เทศบาลเมือง 37 เทศบาลตาบล 64 องค์การบริ หารส่ วนตาบล
38
5.1.1สภาพสังคม การศึกษา ในปี การศึกษา 2552 จังหวัดลาปางมีจานวนสถานศึกษารวมทั้งสิ้ น 456 แห่ง แยกเป็ น สถานศึกษาของรัฐ 434 แห่ง มีจานวนครู - อาจารย์ 4,640 คน นักเรี ยน 79,836 คน อัตราส่ วนครู - อาจารย์: นักเรี ยน-นักศึกษา 1: 22 โรงเรี ยนเอกชน 22 แห่ง จานวนครู -อาจารย์ 1,213 คน นักเรี ยน-นักศึกษา 24,384 คน อัตราส่ วนครู -อาจารย์: นักเรี ยน-นักศึกษา 1:20 ศาสนา ประชากรส่ วนใหญ่ของจังหวัดลาปางนับถือศาสนาพุทธ คิดเป็ นร้อยล่ะ 99 รองลงมาคือ ศาสนาคริ สต์ ศาสนาอิสลาม ตามลาดับ (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2552) 5.1.12 สาธารณูปโภค-สาธารณูปการ การประปา ปี 2522 จังหวัดลาปางมีสานักงานประปารวม 3 แห่ง มีผใู ้ ช้น้ า 41, 027 ราย ส่ วนใหญ่ เป็ นการใช้น้ าประเภท ที่อยูอ่ าศัย และการประกอบธุ รกิจขนาดเล็ก การไฟฟ้ า ในปี 2552 การไฟฟ้ าส่ วน ภูมิภาคจังหวัดลาปาง มีจานวนการใช้ไฟฟ้ าทั้งหมด 14 แห่ง กระแสไฟฟ้ าที่ใช้ท้ งั สิ้ น 679.89 ล้านหน่วย และมีจานวนผูใ้ ช้ไฟฟ้ าทั้งสิ้ น 238, 379 ราย โทรศัพท์ จังหวัดลาปางมีบริ การโทศัพท์ ในโครงข่าย TT&T 35 ชุมสาย และโครงข่าย ทศท . ให้บริ การในเรื่ องของคู่สายทั้งในระบบ โทรศัพท์บา้ น สาธารณะ และยังสามารถรับสัญญาณ โทรศัพท์เคลื่อนที่ได้ทุกเครื อข่ายอีกด้วย (ที่มา : บริ ษทั ทีโอที จากัด (มหาชน)) การสาธารณะสุ ข ในปี 2533 จังหวัดลาปางมีจานวนสถานบริ การสาธารณะสุ ขภาครัฐ ภาคเอกชน และ อัตราส่ วนบุคลากรทางสาธารณะสุ ขดังนี้ สถานบริ การสาธารณะสุ ขภาครัฐ โรงพยาบาลศูนย์ 1 แห่ง 800 เตียง โรงพยาบาลชุมชน 60 เตียง 3 แห่ง 180 เตียง โรงพยาบาลชุมชน 30 เตียง 9 แห่ง 270 เตียง สถานีอนามัย 142 แห่ง สถานบริ การสาธารณะสุ ขชุมชน 5 แห่ง
39
ศูนย์มะเร็ งลาปาง 1 แห่ง 200 เตียง โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม 1 แห่ง 150 เตียง สถานบริ การสาธารณะสุ ขภาคเอกชน โรงพยาบาล 2 แห่ง 113 เตียง สถานพยาบาลเอกชน 176 แห่ง (ที่มา : สานักงานสาธารณะสุ ขจังหวัดลาปาง) 5.2 การวิเคราะห์ ลกั ษณะทางกายภาพของพืน้ ทีโ่ ครงการ 5.2.1 ปัจจัยทางธรรมชาติ พื้นที่โครงการตั้งอยู่ บนถนนวชิราวุธดาเนิน ตาบลพระบาท อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง มีพ้นื ที่ท้ งั หมด 148 ไร่ โดยเป็ นพื้นที่ราชพัสดุ อยูต่ ิดกับศูนย์วจิ ยั โรคมะเร็ งจังหวัดลาปาง มีลกั ษณะเป็ นที่ ราบสลับกับเนินเขา ในพื้นที่มีอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 2 และ 3 ซึ้ งเป็ นอ่างเก็บน้ าขนาดใหญ่ ใช้เพื่ อกัก เก็บน้ าเพื่อการเกษตรของชุมชน และชาวบ้านใกล้เคียง 5.2.1.1 ลักษณะภูมิอากาศระดับพื้นที่โครงการ ภูมิอากาศโดยทัว่ ไปจะร้อน อบอ้าวเกือบตลอดปี ฤดูร้อนร้อนจัด และหนาวจัด ในฤดูหนาว ฤดูร้อนจะเริ่ มประมาณต้นเดือนมีนาคม จนถึงกลางเดือน พฤษภาคม อากาศจะร้อนอบอ้าว ช่วงที่ มีอากาศร้อนที่สุด คือ เดือนเมษายน ฤดูฝนจะเริ่ มประมาณกลางเดือนพฤษภาคม ฤดูหนาวจะเริ่ ม ประมาณเดือนพฤศจิกายน จนถึงเดือนกุมภาพันธ์ อากาศจะหนาวเย็น ช่วงที่มีอากาศหนาวจัด คือ เดือน มกราคม อุณหภูมิเฉลี่ยของจังหวัดลาปางอยูท่ ี่ 27.21 จัดว่าเป็ นสภาพอากาศค่อนข้างร้อน ความชื้น สัมพัทธ์ของจังหวัดลาปางเฉลี่ย 65.47 จัดว่าเป็ นสภาพความชื้นปกติเหมาะสาหรับการเจริ ญเติบโตของ คนและพืช ปริ มาณน้ าฝนของจังหวัดลาปางเฉลี่ย 924.98 จัดว่าเป็ นปริ มาณน้ าฝนที่ตกหนัก และกระแส ลมจะมีมากในช่วงเดือนเมษายน-เดือนกรกฎาคม เพราะเป็ นช่วงลมในฤดูร้อน 5.2.1.2 ลักษณะภูมิประเทศระดับพื้นที่โครงการ พื้นที่โครงการส่ วนใหญ่มีความลาดชัน 5-10% ของพื้นที่ท้ งั หมด (ที่ลาดชัน น้อย) สามารถใช้ก่อสร้างได้ แต่ไม่เหมาะกับสนามกีฬา 5.2.1.3 ลักษณะพืชพรรณเดิม สภาพพืชพรรณในพื้นที่โครงกาจะเป็ นป่ าเบญจพรรณ มีพืชพรรณหลากหลายชนิดขึ้ น ปะปนกัน ส่ วนใหญ่จะเป็ นไม้ยนื ต้น จาพวก กระถิน ไผ่ พุทรา มะฮอกกานี เป็ นต้น นอกจากนั้นจะเป็ น ไม้คลุมดิน เช่นหญ้า และวัชพืชที่ข้ ึนรกร้างกระจายภายในพื้นที่โครงการ
40
ภาพที่ 26 ต้นไผ่ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bambusa sp. สู งประมาณ 1 ‟ 5 เมตร สภาพสมบูรณ์ ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 27 ต้นพุทรา ชื่อวิทยาศาสตร์ : Zizyphus mauritiana Lamk. สู งประมาณ 2 ‟ 3 เมตร สภาพปานกลาง ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
41
ภาพที่ 28 ต้นกระถิน ชื่อวิทยาศาสตร์ : Leucaena leucocephala (Lamk.) de Wit สู งประมาณ 2.5 ‟ 4 เมตร สภาพปานกลาง-แย่ ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 29 ต้นขี้เหล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cassia siamea Lam. สู งประมาณ 1.5 ‟2 เมตร สภาพปานกลาง ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
42
ภาพที่ 30 ต้นมะฮอกกานี ชื่อวิทยาศาสตร์ : Swietenia macrophylla King สู งประมาณ 2 ‟ 3.5 เมตร สภาพปานกลาง ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 31 ต้นหูกวาง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia catappa L. สู งประมาณ 0.5-1 เมตร เมตร สภาพสมบูรณ์ ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
43
5.2.1.4 ลักษณะดิน ดินในพื้นที่เป็ นดินร่ วน มีการระบายน้ าได้ดี น้ าซึ มผ่านได้ค่อนข้างง่าย ปลูกไม้ ยืนต้นและพืชผักสวนครัวได้ดี รวมถึงการก่อสร้างอาคารยังทาได้ง่าย 5.2.1.5 แหล่งน้ าและการระบายน้ า แหล่งน้ าในพื้นที่โครงการมี 2 ที่ที่สาคัญ 1) อ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 2 เป็ นอ่างเก็บน้ าราชการที่ใช้ในโครงการ ส่ งเสริ มการรณรงค์การใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝก อยูท่ างด้านทิศใต้ของพื้นที่โครงการ 2) อ่างเก็บนาราชการจุดที่ 3 เป็ นอ่างเก็บน้ าขนาดใหญ่ ใช้เพื่อโครงการ เลี้ยงปลาในกระชัง อยูท่ างด้านทิศตะวันออกของพื้นที่โครงการ ในเรื่ องของการระบายน้ าจะเป็ นการระบายน้ าผิวดิน แต่จะมีท่อระบายน้ า รองรับอยูต่ ามแนวถนนที่ตดั ผ่านหน้าโครงการ และผ่านทางประตูน้ าล้นออกสู่ พ้นื ที่ภายนอกโครงการ 5.2.2 ปั จจัยที่มนุษย์สร้างขึ้น 5.2.2.1 การใช้ประโยชน์ที่ดินเดิม พื้นที่โครงการก่อนหน้านี้เป็ นพื้นที่สาธิ ตและส่ งเสริ ม การเลี้ยงปลาในกระชัง และการใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝก ต่อมาถูกให้ทิ้งให้รกร้าง จึงมีโครงการก่อสร้างค่ายลูกเสื อแห่งใหม่ข้ ึน แทนที่พ้นื ที่รกร้างเดิม ให้เกิดประโยชน์ต่อลูกเสื อและผูใ้ ช้ที่จะเข้ามาใช้ประโยชน์จากพื้นที่โครงการ 5.2.2.2 อาคารสิ่ งปลูกสร้างเดิม ภายในพื้นที่ได้พบโบราณสถานหลายแห่งได้แก่ -อาคารสานักงานบารุ งรักษาอ่างเก็บน้ า -ป้ ายโครงการ -เสา คสล. -ประตูระบายน้ า -ร่ องระบายน้ า -ท่อกรองน้ า -ห้องน้ า -กระท่อมไม้ -เสาไฟฟ้ า -บ้านพัก 5.2.2.3 สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
44
1) ระบบไฟฟ้ า เดิมที่พ้นื ที่โครงการเดิมมีไฟฟ้ าใช้อยูแ่ ล้ว แต่ปล่อยให้เสาทรุ ดโทรม เพราะไม่มีการใช้งานมานาน ซึ่ งเป็ นของไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง 2) ระบบประปา ระบบน้ าประปาส่ วนภูมิภาค อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง 3) ระบบโทรศัพท์ ทั้งพื้นที่ ใกล้โครงการและไกลโครงการมีโทรศัพท์บริ การอย่างทัว่ ถึง โดยมีบริ การทางด้านโทรศัพท์สาธารณะสาหรับชุมชนให้มาใช้ 4) การบริ การสาธารณสุ ขและสถานพยาบาล จากพื้นที่โครงการไปยังโรงพยาบาทที่ใกล้ที่สุด คือ โรงพยาบาลค่าย สุ รศักดิ์มนตรี อยูห่ ่างจากพื้นที่โครงการประมาณ 10 กม. ใช้เวลาเดินทางประมาณ 15 นาที 5) ระบบสัญจร ในพื้นที่โครงการมีทางสัญจรเดิมอยู่ 3 แบบ - ทางเข้าด้านหน้าพื้นที่โครงการเป็ นถนนยางมะตอย กว้าง 10 เมตร ทางสัญจรในพื้นที่โครงการ เป็ นถนนดินอัดแข็ง กว้าง 5 เมตร และ 3 เมตร เป็ นทางสัญจรของชาวบ้าน ขรุ ขระ และสภาพไม่ดีนกั 5.2.3 การสังเคราะห์หาศักยภาพของพื้นที่โครงการในการพัฒนา การใช้พ้นื ที่โครงการ สามารถแบ่งได้เป็ น 6 ส่ วน คือ A พื้นที่ส่วนนี้มีศกั ยภาพในการพัฒนาเป็ นส่ วนกลาง ส่ วนต้อนรับ เป็ นจุดรองรับลูกเสื อ และผูใ้ ช้ก่อนเข้าไปยังส่ วนของค่ายพักแรม รวมไปถึงที่จอดรถ และอาคารอานวยการเพราะอยูต่ ิดทางเข้า หลักของพื้นที่โครงการ B พื้นที่ส่วนนี้มีศกั ยภาพในการพัฒนาเป็ นส่ วนพื้นที่ค่ายพักแรม เพราะเป็ นพื้นที่ราบ กว้าง มีความเป็ นส่ วนมาก เป็ นลานที่อยูใ่ ต้ตน้ ไม้ มีความร่ มรื่ นเหมาะสาหรับเป็ นที่พกั C พื้นที่ส่วนนี้มีศกั ยภาพในการ พัฒนาเป็ นทางเดินศึกษาธรรมชาติเพราะเป็ นพื้นที่เขา เหมาะสาหรับทาเป็ นส่ วนของฐานการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับพรรณไม้ที่มีในป่ าเบญจพรรณ และเป็ นพื้นที่ที่มี ความสู งที่สุดในโครงการจึงเหมาะที่จะเป็ นพื้นที่ชมวิวเพราะสามารถมองเห็นค่ายได้ทวั่ ทุกบริ เวณ เป็ น มุมมองที่สวยงาม
45
D พื้นที่ส่วนนี้มีศกั ยภาพในการพัฒนาเป็ นพื้นที่เดินศึกษา เรี ยนรู ้เกี่ยวกับธรรมชาติ และ พืชพรรณริ มน้ า เป็ นลานกิจกรรมและห้องเรี ยนธรรมชาติได้ดว้ ย E พื้นที่ส่วนนี้มีศกั ยภาพในการพัฒนาเป็ นพื้นที่กิจกรรมเข้าฐานของลูกเสื อสารองและ สามัญรุ่ นเล็ก เพราะเป็ นพื้นป่ าธรรมชาติ ที่ค่อนข้างราบ สามารถวางฐานให้ลูกเสื อเล่นอย่างปลอดภัย อาจารย์สามารถดูแลได้อย่างทัว่ ถึง F พื้นที่ส่วนนี้มีศกั ยภาพในการพัฒนาเป็ นพื้นที่กิจกรรมเข้าฐานผจญภัยของลูกเสื อ สามัญรุ่ นใหญ่ เป็ นพื้นที่เนินเขา มีความลาดชันที่แตกต่างกันไป เหมาะสาหรับการเล่นฐานที่ทา้ ทาย แ ละ สนุกสนาน ศักยภาพของพื้นที่ประกอบกับการใช้ที่ดินเดิมของพื้นที่เพื่อให้เกิดความรู ้สึกเหมือนอยูท่ ่ามกลาง ป่ าธรรมชาติ และสามารถเรี ยนรู ้ไปกับสิ่ งต่างๆ รอบตัว มีความสนุกสนานกับการใช้ชีวติ ในค่ายแห่งนี้ 5.2.4 ทัศนียภาพและมุมมอง
ภาพที่ 32 มุมมองจากบริ เวณทางเข้าพื้นที่โครงการ เห็นวิวของภูเขาและต้นไม้เป็ นฉากหลังที่สวยงาม ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 33 มุมมองจากถนนภายนอกพื้นที่โครงการมองเข้าไปในโครงการ เห็นเนินเขาสี เขียว และ ธรรมชาติโดยรอบ ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
46
ภาพที่ 34 มุมมองจากด้านในพื้นที่โครงการมองออกไปยังถนนด้านหน้าโครงการเห็นวิวของจังหวัด ลาปางในมุมสู ง ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 35 มุมมองทางด้านทิศตะวันออกเฉี ยงเหนือ เห็นลานกว้างสาหรับตั้งค่ายพักแรม ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 36 มุมมองทางด้านทิศเหนือ เห็นยอดเขาบริ เวณที่สูงที่สุดในพื้นที่โครงการ ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
47
ภาพที่ 37 มุมมองทางด้านทิศตะวันออกเห็นอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 3 มีตน้ ไม้ ภูเขา และท้องฟ้ าเป็ นฉาก หลัง เป็ นมุมมองที่สวยงาม ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 38 มุมมองบริ เวณกลางพื้นที่โครงการ เห็นธรรมชาติลอ้ มรอบที่มีความร่ มรื่ น ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 39 มุมมองด้านทิศตะวันออก มองเห็นพื้นที่ริมน้ าเป็ นแนวยาว ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555 5. 2.5 แหล่งน้ าและการระบายน้ า แหล่งน้ าในพื้นที่โครงการมีอยู่ 2 แห่ง 5.2.5.1 อ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 2 อยูบ่ ริ เวณทางด้านทิศใต้ของพื้นที่โครงการ เป็ นอ่าง เก็บน้ าประเภทน้ าฝน ใช้กกั เก็บน้ าฝน และรองรับปริ มาณน้ าล้นจากอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 3 ที่จะไหล ระบายลงมาตอนช่วงฤดูฝน แล้วค่อยระบายออกนอกพื้นที่โครงการ
48
ภาพที่ 40 แสดงอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 2 ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555 5.2.5.2 อ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 3 อยูท่ างทิศตะวันออดของพื้นที่โครงการ เป็ น อ่างเก็บน้ าขนาดใหญ่ ประเภทของอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 3 นี้ เป็ นอ่างกักเก็บน้ าฝน มีระดับความสู งของ น้ าอยูท่ ี่ 5-10 เมตร แล้วแต่ช่วงฤดูกาล จะกักเก็บน้ าฝนเพื่อนใช้ในการเกษตรของพื้นที่เกษตรกรรมของ ชาวบ้านรอบข้าง และเก็บไว้ใช้ในฤดูแล้ง ถ้ามีปริ มาณน้ าฝนที่มาก น้ าในอ่างก็จะระบายออกประตูน้ าล้น ไปยังอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 2 แล้วระบายออกนอกพื้นที่โครงการตามแนวร่ องน้ าและท่อน้ า
ภาพที่ 41 แสดงอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 3 ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
49
การระบายน้ า
ภาพที่ 42 แสดงการระบายน้ าโดยประตูน้ าล้นด้านตะวันออก ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 43 แสดงการระบายน้ าโดยประตูน้ าล้นด้านตะวันตก ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 44 แสดงการระบายน้ าโดยท่อออกนอกพื้นที่โครงการ
50
ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 45 แสดงการระบายน้ าภายในพื้นที่โครงการแบบธรรมชาติ ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 46 แสดงการระบายน้ าโดยร่ องน้ าจากภายในพื้นที่โครงการสู่ ภายนอกพื้นที่โครงการ (ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ) ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
51
5.2.6 การใช้ประโยชน์ที่ดินเดิม พื้นที่โครงการจัดอยูใ่ นหมวดสี น้ าเงินตามสี ของผังเมืองรวม เป็ นพื้นที่ราชพัสดุลกั ษณะ ของที่เป็ นพื้นที่รกร้าง กาลังพัฒนา เป็ นพื้นที่วา่ งเปล่าอยูห่ ลังศูนย์ราชการจังหวัดลาปาง ภายในพื้นที่ โครงการมีอ่างเก็บน้ าราชการขนาดใหญ่ ใช้เป็ นที่กกั เก็บน้ าฝน เพื่อสาธารณะประโยชน์ของประชาชน ภายในพื้นที่โครงการเป็ นป่ าไม้แบบเบญจพรรณ ด้านทิศเหนือเป็ นป่ าไผ่ ลักษณะเป็ นเนินเขา ทิศ ตะวันออกติดกับอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 3 มีอาคารบารุ งรักษาอ่างเก็บน้ า แต่ปัจจุบนั ไม่ได้ใช้งานแล้ว มี ประตูน้ าล้นเพื่อระบายน้ าออกจากภายในพื้นที่โครงการเมื่อถึงฤดูน้ าเยอะ ทิศตะวันตกเป็ นพื้นที่ป่ารกร้าง ติดกับถนนสาธารณะประโยชน์ เป็ นที่ทิ้งขยะในบางส่ วน และมีสิ่งก่อสร้างเดิมที่ไม่สามารถใช้งานได้ แล้ว ทิศใต้ติดกับศูนย์วจิ ยั โรคมะเร็ ง จังหวัดลาปาง มีอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 2 อยูใ่ นพื้นที่โครงการ และ ยังเป็ นพื้นที่สาธิ ตการใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝก 5.2.7 อาคารและสิ่ งก่อสร้างเดิม อาคารและสิ่ งก่อสร้างเดิมในพื้นที่โครงการมีกระจายอยูต่ ามพื้นที่โครงการ แต่ไม่มากนัก ส่ วนมากเป็ นอาคารที่ไม่ได้ใช้งานแล้ว ปล่อยให้ชารุ ด และทรุ ดโทรมตาม สภาพ อยูต่ รงกลางพื้นที่โครงการ และด้านทิศใต้ของพื้นที่โครงการ
52
ตารางที่ 2 แสดงอาคารและสิ่ งก่อสร้างเดิมในพื้นที่
53
ตารางที่ 2 แสดงอาคารและสิ่ งก่อสร้างเดิมในพื้นที่ (ต่อ)
54
ตารางที่ 2 แสดงอาคารและสิ่ งก่อสร้างเดิมในพื้นที่ (ต่อ)
5.2.8 ระบบสัญจรในพื้นที่โครงการ ระบบสัญจรในพื้นที่โครงการที่โครงการสามารถแยกได้เป็ น 2 ชนิด 5.2.8.1 ทางรถ ขนาด 5 เมตร เป็ นถนนดินอัดแข็ง ใช้สัญจรชัง่ คราวภายใน พื้นที่โครงการ อยูใ่ นสภาพที่พอใช้ได้แบบไม่ถาวร เพราะระดับของถนนไม่สม่าเสมอกัน 5.2.8.2 ทางรถและทางคนเดิน ขนาด 3 เมตร เป็ นถนนธรรมชาติ เกิดจากการ ใช้งานของชาวบ้านจนเกิดเป็ นแนวของถนนขนาดเล็ก แต่รถสามารถเข้าได้ตาค่อนข้างลาบาก สภาพไม่ ค่อยดี ขรุ ขระ มีหลุมบ่อ น้ าขัง
ภาพที่ 47 ถนนทางรถ ขนาด 5 เมตร ใช้สัญจรหลักในพื้นที่โครงการ ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
55
ภาพที่ 48 ถนนทางรถและคนเดิน ขนาด 3 เมตร เป็ นแนวถนนธรรมชาติ ที่มา : จากการสารวจของผูศ้ ึกษา,ปี 2555
56
148 ไร่
โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ค่ ายลูกเสื อวชิ ราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN PLANNING PROJECT OF WACHIRAWUTDAMNOEN LAMPANG BOYSCOUTCAMP MUANG, LAMPANG แผนที่ 6 : แสดงทิศทางลมและการโคจรของดวงอาทิตย์ สั ญลักษณ์ N ขอบเขตที่ต้ งั พื้นที่โครงการ ทีม่ า : [ระบบออนไลน์] : http://www.thaienergydata.in.th/province/52/ (วันที่เข้าสารวจข้อมูล 18 กันยายน พ.ศ.2555)
NOT TO SCALE
57 ป่ าราชพัสดุ
อ่ างเก็บนา้ ราชการจุดที่ 3
ป่ าราชพัสดุ
ศู นย์ วจิ ยั โรคมะเร็ง ลาปาง
โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ค่ ายลูกเสื อวชิ ราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN PLANNING PROJECT OF WACHIRAWUTDAMNOEN LAMPANG BOYSCOUTCAMP MUANG, LAMPANG แผนที่ 7 : แสดงพรรณไม้เดิมในพื้นที่โครงการ สั ญลักษณ์ N ขอบเขตที่ต้ งั พื้นที่โครงการ กระถิน ขี้เหล็ก
ต้นไผ่ ต้นหูกวาง
พุทรา ต้นมะฮอกกานี
ทีม่ า : [ระบบออนไลน์] : http://www.thaienergydata.in.th/province/52/ (วันที่เข้าสารวจข้อมูล 18 กันยายน พ.ศ.2555)
NOT TO SCALE
58
ป่ าราชพัสดุ
อ่ างเก็บนา้ ราชการจุดที่ 3 ป่ าราชพัสดุ
ศู นย์ วจิ ยั โรคมะเร็ง ลาปาง
โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ค่ ายลูกเสื อวชิ ราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN PLANNING PROJECT OF WACHIRAWUTDAMNOEN LAMPANG BOYSCOUTCAMP MUANG, LAMPANG แผนที่ 8 : แสดงถนนภายในพื้นที่โครงการ สั ญลักษณ์ N ถนนรอบนอกพื้นที่โครงการ ขนาด 8 เมตร ถนนทางรถ ขนาด 5 เมตร ถนนทางรถและคนเดิน ขนาด 3 เมตร ทีม่ า : [ระบบออนไลน์] : http://www.thaienergydata.in.th/province/52/ (วันที่เข้าสารวจข้อมูล 18 กันยายน พ.ศ.2555)
NOT TO SCALE
59
ป่ าราชพัสดุ
อ่ างเก็บนา้ ราชการจุดที่ 3 ป่ าราชพัสดุ
ศู นย์ วจิ ยั โรคมะเร็ง ลาปาง
โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ค่ ายลูกเสื อวชิ ราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN PLANNING PROJECT OF WACHIRAWUTDAMNOEN LAMPANG BOYSCOUTCAMP MUANG, LAMPANG แผนที่ 9 : แสดงลักษณะของการใช้ที่ดินเดิม สั ญลักษณ์ N รื้ อถอน
ปรับปรุ ง
ทีม่ า : [ระบบออนไลน์] : http://www.thaienergydata.in.th/province/52/ (วันที่เข้าสารวจข้อมูล 18 กันยายน พ.ศ.2555)
NOT TO SCALE
60
ป่ าราชพัสดุ
อ่ างเก็บนา้ ราชการจุดที่ 3 ป่ าราชพัสดุ
อ่ างเก็บนา้ ราชการจุดที่ 2
ศู นย์ วจิ ยั โรคมะเร็ง ลาปาง
โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ค่ ายลูกเสื อวชิ ราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN PLANNING PROJECT OF WACHIRAWUTDAMNOEN LAMPANG BOYSCOUTCAMP MUANG, LAMPANG แผนที่ 10 : แสดงตาแหน่งแหล่งน้ าในพื้นที่โครงการ สั ญลักษณ์ N อ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 2 และ 3 ทีม่ า : [ระบบออนไลน์] : http://www.thaienergydata.in.th/province/52/ (วันที่เข้าสารวจข้อมูล 18 กันยายน พ.ศ.2555)
NOT TO SCALE
61
ป่ าราชพัสดุ
อ่ างเก็บนา้ ราชการจุดที่ 3 ป่ าราชพัสดุ
ศู นย์ วจิ ยั โรคมะเร็ง ลาปาง
โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ค่ ายลูกเสื อวชิ ราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN PLANNING PROJECT OF WACHIRAWUTDAMNOEN LAMPANG BOYSCOUTCAMP. MUANG LAMPANG แผนที่ 11 : แสดงทิศทางการระบายน้ าในพื้นที่โครงการ สั ญลักษณ์ N ทิศทางการไหลของน้ า ทีม่ า : [ระบบออนไลน์] : http://www.thaienergydata.in.th/province/52/ (วันที่เข้าสารวจข้อมูล 18 กันยายน พ.ศ.2555)
NOT TO SCALE
62
ป่ าราชพัสดุ
อ่ างเก็บนา้ ราชการจุดที่ 3 ป่ าราชพัสดุ
ศู นย์ วจิ ยั โรคมะเร็ง ลาปาง
โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ค่ ายลูกเสื อวชิ ราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN PLANNING PROJECT OF WACHIRAWUTDAMNOEN LAMPANG BOYSCOUTCAMP MUANG, LAMPANG แผนที่ 12 : แสดงการวิเคราะห์ลกั ษณะของพื้นที่โครงการ สั ญลักษณ์ N A
D
G1
B
E
G2
C
F
ทีม่ า : [ระบบออนไลน์] : http://www.thaienergydata.in.th/province/52/ (วันที่เข้าสารวจข้อมูล 18 กันยายน พ.ศ.2555)
NOT TO SCALE
63
5.3 การสั งเคราะห์ พนื้ ทีโ่ ครงการ (Site Synthesis) ตารางที่ 3 แสดงการวิเคราะห์ลกั ษณะของพื้นที่โครงการ AREA CARECTERISTIC ข้อดี-ข้อเสี ย/ข้อจากัด A
B
C
D
E
พื้นที่บริ เวณนี้อยูท่ างทิศเหนือของพื้นที่ โครงการ มีความลาดชันสู งและเป็ นพื้นที่ที่ สู งที่สุดในพื้นที่โครงการ พรรณไม้ส่วน ใหญ่ในบริ เวณจะเป็ นพวกไผ่ การเข้าถึง ยาก อยูต่ ิดอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 3 พื้นที่บริ เวณนี้เป็ นพื้นที่โล่ง ความลาดชัน น้อย อยูด่ า้ นทิศเหนือของพื้นที่โครงการ พรรณไม้ส่วนใหญ่เป็ นไม้ยนื ต้น การเข้าถึง ปานกลาง พื้นที่บริ เวณนี้เป็ นพื้นที่รูปร่ างแคบยาว อยู่ ติดกับถนนสาธารณะประโยชน์ ความลาด ชันน้อย พรรณไม้ในบริ เวณนี้หนาแน่น มี ทั้งไม้ยนื ต้นและวัชพืชคลุมดิน
DEVELOPMEMT
+ความลาดชันสู ง มุมมองสวยงาม -การก่อสร้างอาคาร เป็ นไปได้ยาก
พัฒนาไปเป็ นพื้นที่เดิน สารวจธรรมชาติเรี ยนรู้ เกี่ยวกับเรื่ องพรรณไม้ และเป็ นจุดชมวิวของ ค่าย +เป็ นพื้นที่ราบ ง่ายต่อ พัฒนาไปเป็ นพื้นที่ต้ งั การพัฒนา ค่ายพักแรมของลูกเสื อ
+ ง่ายต่อการเข้าถึง ความลาดชันน้อย -รู ปร่ างที่แคบยาวของ พื้นที่ และพรรณไม้ที่ หนาแน่น พื้นที่บริ เวณนี้เป็ นพื้นที่โล่งอยูท่ างทิศใต้ +เป็ นพื้นที่ราบ ง่ายต่อ ของพื้นที่โครงการ ความลาดชันน้อย การ การพัฒนา เข้าถึงง่ายเพราะอยูต่ ิดกับทางเข้าหลักของ -มีสิ่งก่อสร้างที่ทรุ ด พื้นที่โครงการ พรรณไม้ในบริ เวณนี้ โทรมในพื้นที่ และ ส่ วนมากจะเป็ นวัชพืชและไม้คลุมดิน วัชพืชที่ค่อนข้าง หนาแน่น พื้นที่บริ เวณนี้เป็ นพื้นที่ราบ และมีอ่างเก็บ +เป็ นพื้นที่ราบ อยูต่ ิด น้ าราชการจุดที่ 2 อยูใ่ นพื้นที่ อยูต่ ิ ดกับ กับอ่างเก็บน้ าราชการ ศูนย์วจิ ยั โรคมะเร็ งจังหวัดลาปาง มี จุดที่ 2 สิ่ งก่อสร้างอยูใ่ นพื้นที่ พรรณไม้ส่วนใหญ่ -มีสิ่งสร้างสร้างที่ทรุ ด จะเป็ นไม้ยนื ต้นการเข้าถึงยาก โทรมอยูใ่ นพื้นที่
พัฒนาไปเป็ นพื้นที่ส่วน ต้อนรับ พื้นที่ส่วนกลาง ของค่าลูกเสื อ
พัฒนาไปเป็ นลาน กิจกรรม หรื อพื้นที่ต้ งั ฐานฝึ กทักษะของ ลูกเสื อ
พัฒนาไปเป็ นพื้นที่ เรี ยนรู ้และฐานริ มน้ า ของลูกเสื อ
64
F
G1
G2
พื้ นที่บริ เวณนี้อยูท่ างทิศใต้ของพื้นที่ โครงการ มีความลาดชันปานกลาง พรรณ ไม้ส่วนใหญ่เป็ นไม้ยนื ต้น การเข้าถึงยาก อยูต่ ิดอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 3 พื้นที่บริ เวณนี้เป็ นพื้นที่ริมน้ า อยูต่ ิดกับอ่าง เก็บน้ าราชการจุดที่ 3 มีรูปร่ างแคบยาว การ เข้าถึงง่าย มีความลาดชันน้อย พรรณไม้ใน พื้นที่ค่อนข้างหนาแน่นด้วยไม้ยนื ต้น และ วัชพืช พื้น ที่บริ เวณนี้เป็ นริ มน้ า ลักษณะแคบยาว อยูต่ ิดกับอ่างเก็บน้ าราชการจุดที่ 3 การ เข้าถึงง่าย ความลาดชันน้อย ไม่มีพรรณไม้ ในพื้นที่
+ความชันของพื้นที่ -การเข้าถึงยาก
พัฒนาไปเป็ นพื้นที่ต้ งั ฐานผจญภัยของลูกเสื อ สามัญรุ่ นใหญ่
+เป็ นพื้นที่ริมน้ า -พรรณไม้ที่ข้ ึน หนาแน่น
พัฒนาไปเป็ นพื้นที่ ศึกษาธรรมชาติริมน้ า และกิจกรรมกลางน้ า
+เป็ นพื้นที่ริมน้ า -รู ปร่ างของพื้นที่ แคบ ยาว
พัฒนาไปเป็ นพื้นที่ฐาน กิจกรรมริ มน้ าของ ลูกเสื อ
65
ตารางที่ 4 แสดงความต้องการในการพัฒนาพื้นที่ PROGRAM 1 . พืน้ ที่ ส่ วนกลาง
จานวน ขนาดพืน้ ที่ (ดร.ม.) -ฐานพระบรมรู ป ร.6 (3*3)
1
-อานวยการ / 1 ประชาสัมพันธ์ -ที่จอดรถ 2
2 . ค่ ายพัก แรม
9 ดร.ม. 100 ตร.ม.
-สนาม / ลาน พิธีกรรม -ศาลา /ที่พกั ผูอ้ านวยการ
1
รถยนต์ 15 คัน / 2.5*5 = 187.5 ตร.ม. รถจักรยานยนต์ 20 คัน /1*1.2 = 24 ตร.ม. 11200 ตร.ม. / 7 ไร่
1
20 ตร.ม.
-ศาลาธรรม
1
120 ตร.ม.
-เรื อนพยาบาล
1
เตียง 5 ตัว ขนาด 0.9*2 สูง 0.6 = 81 ตร.ม.
-โรงครัว / โรง 1 อาหาร (15*15) -ห้องประชุม / 3 ห้องเรี ยน (10*24) / (13*30) -อาคารเก็บวัสดุ 1 (4*10)/(5*8)
225 ตร.ม.
-บ้านพักวิทยากร 2 (4*7) -บ้านพักเจ้าหน้าที่ 1 (7*7) -อาคารพักรับรอง 1
28 ตร.ม
-ลานกางเต็นท์ 3- 4 คน ขนาด 2.1*2.1*1.7
*เทียบจาก รร.บุญวาทย์ 400 คน = 441 ตร.ม. / 100 เต็นท์ 1000 คน = 1102.5 ตร.ม. / 250 เต็นท์
1
โต๊ะเลคเชอร์ขนาด 57.5*59*79 ซม. = 0.34 ตร.ม. 400 ตร.ม. 40 ตร.ม.
49 ตร.ม. 200 ตร.ม.
66
3 . ฐานการ เรียนรู้ ทดสอบ ร่ างกายและ จิตใจ
-เต็นท์ถาวร 8-10 คน ขนาด 2.5*3.5*1.8
1
*เทียบจาก รร.บุญวาทย์ 400 คน = 350 ตร.ม. /40 เต็นท์ 1000 คน = 875 ตร.ม. / 100 เต็นท์
-ลานกิจกรรม
2
พท.เหลือจากการตั้งที่พกั
-ห้องน้ า (1.8*1.2) 4
2.16 ตร.ม. (15 ห้อง 32.4 ตร.ม.)
-ลานอาบน้ า- ถัง 4 ตักอาบ ( 9 * 14 ) / (1.5*10*1.2) -หอกระโดดสูง 1
126 ตร.ม.
-โรยตัวจากที่สูง
1
-ปี นหน้าฝา (จาลอง)
1
-เงื่อน 1 -สะพานลิง 1
-เป็ นฐานทดสอบทางด้านจิตใจ มีความสูง 34 ฟุต จากพื้นราบ เป็ นจุดที่ เสี ยวที่สุด ควรก่อสร้างบนพื้นที่ร าบกว้าง และมีตาข่ายรอรับเพื่อความ ปลอดภัย -เหมาะสาหรับอายุต้ งั แต่ 18 ปี ขึ้นไป อาจใช่ร่วมกับหอกระโดดสูง หรื อ บนต้นไม้สูงใหญ่ มีบนั ไดขึ้นไปบนฐานแล้วใช้เชือกโรยตัวลงมาบน พื้นดิน โดยมีพี่เลี้ยงรอรับ -เหมาะสาหรับอายุต้ งั แต่ 18 ปี ขึ้นไป ตั้งบนพื้นราบและมีระบบการ ก่อสร้างที่สามารถรองรับอุบตั ิเหตุได้ จาลองให้มีความคล้ายคลึงกับ ธรรมชาติ ขนาดและความสูงขึ้นอยูก่ บั พื้นที่ -มีท้ งั หมด 12 เงื่อน โดยวิทยาการหรื ออาจารย์จะเป็ นผูส้ อน ฐานนี้ใช้ สถานที่โล่งอาจจะเป็ นห้องเรี ยน หรื อลานกลางแจ้งก็ได้ -สะพานไม้ที่มดั ด้วยเชือกแกว่งไป-มา ฐานนี้จะอยูบ่ ริ เวณริ มน้ าเพื่อที่จะ ทอดสะพานข้ามไปอีกฝั่ง แต่น้ าต้องไม่ลึก มีตาข่ายรองรับกันตก ด้านล่าง -ฐานนี้ฝึกความยืดหยุดของร่ างกาย ตั้งอยูบ่ นพื้นที่ราบกว้าง โดยการปื น ตาข่ ายที่ถูกถักด้วยเชือกไปยังที่สูงแล้วกลับลงมาที่เดิม อาจเป็ นฐานที่ เชื่อมต่อกับฐานอื่นได้ มีทรายกันตกรองรับ -ฐานนี้จะให้ลูกเสื อลอดอุโมงค์แคบๆ อาจเป็ นท่อคอนกรี ตฝังบนพื้นดิน หรื อยางรถยนต์ ผูกติดกันกันต้นไม่แล้วแต่สภาพพื้นที่โครงการ
-ปื นตาข่าย
1
-ลอดอุโมงค์
1
-ลอดลวดหนาม
1
-ฐานนี้เป็ นการเคลื่อนที่ในแนวราบและแคบ ตั้งอยูพ่ ้นื ที่มีความราบ สูง จากพื้นดินประมาน 30 เซนติเมตร
-สะพานแปล
1
-การทรงตัวในแนวราบ อาจจะเป็ นเชือก โซ่ หรื อวัสดุอื่นในการทาตา ข่าย มักตั้งพาดผ่านน้ าเพื่อความตื่นเต้น แต่น้ าไม่ลึก
67 -ดาโคลน
1
-บันไดกระดก
-ฐานนี้อาจต่อเนื่ องกันกับลอดอุโมงค์และลอดลวดหนามเพราะการใช้ พื้นที่ในระดับเดียวกัน หรื ออาจรวมกันได้ คือทาหลุมบนดินให้เป็ นร่ อง พอตัวสามารถคลานได้ มีน้ าโคลนเพื่อเพิ่มความยากในการคลาน -ฐานการทรงตัวของลูกเสื อลารองที่ตอ้ งเดินทรงตัวบนแผ่นไม้กระดก ในระดับความสูงไม่เกิน 40 เซนติเมตร การตั้งฐานต้องอยูบ่ นพื้นราบใน ระดับเดียวกัน -ให้ลูกเสื อท่องกฎและคาปฏิญาณแก่ผบู ้ งั คับบัญชาหรื ออาจารย์ ใช้พ้นื ที่ เป็ นลานโล่งหรื อใต้ตน้ ไม้ในการทดสอบ
-กฎ/คาปฏิญาณ
1
-เดินทางสารวจ
1
-เป็ นกิจกรรมของลูกเสื อลารองให้เดินสารวจภายในค่ายเป็ นเวลา 3 ชม. หรื อระยะทางต้องไม่ต่ากว่า 10 กิโลเมตร
-เดินทางไกล
1
-เป็ นกิจกรรมของลูกเสื อสามัญที่ตอ้ งเดินออกนอกพื้นที่ค่ายเพื่อน ทดสอบในฐานต่าง ๆ เป็ นระยะทางไม่นอ้ ยกว่า 20 กิโลเมตร
-แท่นกระโดด 6 1 ฟุต
-เป็ นฐานที่ฝึกความคล่องตัว เป็ นกาแพงสูงจากระดับพื้นดิน 6 ฟุตให้ กระโดดข้าม การวางฐานจะวางบนดินในระระดับที่เท่ากัน
-กาแพง 6 ฟุต 1 แกว่งตัว
-เป็ นฐานที่ต้ งั อยูบ่ นพื้นดินราบ ก่อกาแพงกัดขวางสูง 6 ฟุต โดยที่ใช้ เชือกแกว่งตัวให้ขา้ มกาแพงสูง
-สะพานลอย
1
-ฝึ กการทรงตัว สร้างในระดับราบ มีบนั ไดสูง 2.4 เมตร และเดินข้ามฝั่ง บนแผ่นไม้ที่มีขนาดความกว้าง 30 เซนติเมตร
-หลังคาอกไก่
1
-เป็ นฐานที่ฝึกให้ลูกเสื อข้ามสิ่ งกีดขวาง ตั้งอยูบ่ นพื้นราบ ให้ลูกเสื อไต่ ข้ามหลังคา
-ชิงช้าข้ามคู
1
-วิง่ และจับเชือกหรื อโซ่ โหนข้ามคูน้ าที่มีขนาด 5 เมตร ความสูงของ ชิงช้าอยูท่ ี่ 10 เมตร กว้าง 6 เมตร
-เดิ นทางไกลใน เวลากลางคืน
1
-เป็ นกิจกรรมของลูกเสื อสามัญรุ่ นใหญ่ที่ตอ้ งใช่เข็มทิศหรื อคาสัง่ ของ ผูบ้ งั คับบัญชา เป็ นการฝึ กทักษะอีกขั้นโดยระยะทางในการเดินไป-กลับ 3 กิโลเมตร หรื อ 800 นาที เริ่ มตั้งแต่เวลา 19.00 น. ศึกษาหาความรู ้จาก สถานที่ที่หยุดพัก สารวจพื้นภูมิประเท ศ หรื อสเกตภาพศึกษาดวงดาว บนท้องฟ้ าเป็ นต้น
-การฝึ กประสาท และการอนุมาน
1
-เป็ นกิจกรรมของลูกเสื อสามัญรุ่ นใหญ่ มีดว้ ยกัน 5 ฐาน คือ ฟัง ดม ชิม ดู (ภาพผิด 2 ภาพ) รอยทราย
**อาจเพิม่ เติม-แก้ไขได้**
ที่มา : จากการวัตถุประสงค์ของโครงการและกรณี ศึกษา
68 ป่ าราชพัสดุ
อ่ างเก็บนา้ ราชการจุดที่ 3 ป่ าราชพัสดุ
ศู นย์ วจิ ยั โรคมะเร็ง ลาปาง
โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ค่ ายลูกเสื อวชิ ราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN PLANNING PROJECT OF WACHIRAWUTDAMNOEN LAMPANG BOYSCOUTCAMP MUANG, LAMPANG แผนที่ 13 : การสังเคราะห์หาศักยภาพและวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาพื้นที่ สั ญลักษณ์
N
A : พื้นที่ตอ้ นรับและบริ การส่ วนกลาง D : พื้นที่ธรรมชาติริมน้ า B : พื้นที่ค่ายพักแรม
E : พื้นที่กิจกรรมฐานลูกเสื อสารอง
C :พื้นที่เดินสารวจธรรมชาติ
F : พื้นที่ฐานลูกเสื อสามัญ-รุ่ นใหญ่
ทีม่ า : จากการวิเคราะห์และออกแบบของผูศ้ ึกษา
NOT TO SCALE
69
บทที่ 6 แนวความคิดในการออกแบบ 6.1 แนวความคิดในการออกแบบ เดิมทีจงั หวัดลาปางมีค่ายลูกเสื อประจาจังหวัดอยูแ่ ล้ว 1 แห่ง แต่ดว้ ยขนาดของพื้นที่ที่คบั แคบไม่ สามารถขยายได้ เพราะตั้งอยูใ่ นเขตชุมชนเมืองที่หนาแน่นและแออัด จึงไม่เพียงพอต่อการใช้งาน และทา กิจกรรมของลูกเสื อ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 1 จึงร่ วมมือกับสานักงาน โยธาการและผังเมือง จังหวัดลาปาง จัดหาพื้นที่ที่จะก่อสร้างค่ายลูกเสื อแห่งใหม่ข้ ึนแทนที่ค่ายเดิม จึงเลือกพื้นที่ป่าราชพัสดุ ซึ่ ง เป็ นพื้นที่ดา้ นหลังของศูนย์ราชการจังหวัดลาปาง และเป็ นพื้นที่ที่เหมาะสมจะสร้างค่ายลูกเสื อ แห่งใหม่ เพราะเป็ นพื้นที่ป่าธรรมชาติ ติดอ่างเก็บน้ าราชการ สามารถขยายได้ เพื่อรองรับการใช้งานที่เพิ่มมากขึ้น ในอนาคต จึงนาเอาความเป็ น ธรรมชาติในพื้นที่ มาเป็ นแนวความคิดหลักในการออกแบบ ค่ายลูกเสื อ โดย ออกแบบภายใต้แนวความคิดที่วา่ “เรี ยนรู้ ..ที่จะอยูก่ บั ธรรมชาติ ” ให้ลูกเสื อทุกระดับที่เข้ามา ใช้พ้นื ที่ใน ค่ายได้เรี ยนรู ้ที่จะอยู่ เรี ยนรู้ที่จะใช้ชีวติ และเรี ยนรู้ที่จะอนุรักษ์ จากภายในพื้นที่โครงการ ในส่ วนของการออกแบบวางผังก็จะคานึงถึงธรรมชาติ เช่น การออกแบบอาคารจะเป็ น อาคารประหยัดพลังงานและกลมกลืนกับสิ่ งแวดล้อม เป็ นอาคารชั้นเดียว ยกพื้นสู งเพื่อการระบายน้ า หลังคายกสู งเพื่อระบายอากาศ ลมพัดผ่านได้ อากาศไหลเวียน และเกิดความเย็น การออกแบบเฉดเงาของ พรรณไม้ร วมถึงเฉดเงาตัวอาคารเพื่อให้เงาของพรรณไม้และอาคารสร้างร่ มเงา สามารถใช้พ้นื ที่โล่งใต้ ต้นไม้ในการทากิจกรรม ได้ ซึ่ งตัวอาคารและสิ่ งก่อสร้างภายในพื้นที่จะมีไม่มาก บางอย่างสามารถพับ เก็บได้เพื่อง่ายต่อการใช้งาน และง่ายต่อการดูแลรักษา 6.1.1 ออกแบบโดยคานึงถึงตัวผูใ้ ช้โครงการ ออกแบบพื้นที่ให้ตอบสนองต่อความต้องการของผูท้ ี่เข้ามาใช้พ้นื ที่ให้ได้รับประโยชน์ สู งสุ ดตามเป้ าหมายที่ต้ งั ไว้ แบ่งตามลักษณะของผูใ้ ช้งานแต่ละประเภท เช่น ลูกเสื อจะมีพ้นื ที่ค่ายพักแรม เพื่อรองรับ การเข้ามาทา ใช้งาน ในค่ายในเวลาเดียวกันได้หลายกลุ่ม หลายกอง มีพ้นื ที่ ทากิจกรรมตาม หลักสู ตรของลูกเสื อซึ่ งอาจแบ่งได้เป็ น การเรี ยนรู้แบบทฤษฎีและ ปฏิบตั ิ ทั้งกิจกรรมทดสอบทางด้าน ร่ างกายและจิตใจ รวมไปถึงผูท้ ี่ตอ้ งการเข้ามาเพื่อใช้สถานที่ในการทากิจกรรมต่างๆ ของค่าย โดยจะแบ่ง พื้นที่ใช้งานเป็ นสัดส่ วน เพื่อง่ายต่อการใช้งาน และไม่รบกวนผูใ้ ช้กลุ่มอื่นๆ
70
6.2 แนวความคิดในการแบ่ งเขตพืน้ ทีใ่ ช้ สอย แนวความคิดในการแบ่งเขตพื้นที่ใช้สอย กาหนดให้มีความสอดคล้องกับแนวความคิดและ วัตถุประสงค์ของโครงการโดยการแบ่งการใช้ที่ดินส่ วนต่างๆ ดังนี้ 6.2.1 พื้นที่ส่วนต้อนรับ -ทางเข้าป่ า (GATE WAY) ลานจอดรถธรรมชาติ ลานรวมพล อุโมงค์ปากเสื อ 6.2.2 พื้นที่ส่วนกลาง แบ่งได้เป็ นกลุ่ม ดังนี้ ก. อาคารอานวยการ ติดต่อ-สอบถาม ห้องประชุม ห้องพยาบาล ห้องทางานบุคลากรในค่าย ข.ศาลาธรรม ค.โรงอาหาร ง.โรงเก็บของ/ซ่อมบารุ ง จ.บ้านพักวิทยากร ฉ.บ้านพักพนักงาน/ดูแลค่าย ช.ลานหอนาฬิกา 6.2.3พื้นที่ค่ายพักแรม ค่ายย่อยที่ 1(ค่ายอินทรี ย)์ ค่ายย่อยที่ 2 (ค่ายกระทิง) ค่ายย่อยที่ 3 (ค่ายหมาป่ า) ค่ายย่อยที่ 4 (ค่ายงู) เรื อนพักรับรอง 1/2/3/4 ห้องน้ า 6.2.4 พื้นที่เดินสารวจธรรมชาติ (พรรณไม้) ฐานที่ 1 ต้นไผ่ ฐานที่ 2 ไม้สัก
71
ฐานที่ 3 ไม้มะค่าโมง ฐานที่ 4 ไม้ประดู่ ฐานที่ 5 ไม้แดง ฐานที่ 6 ไม้ยาง ฐานที่ 7 ไม้เถา ฐานที่ 8 สมุนไพร ฐานที่ 9 เฟิ ร์น ฐานที่ 10 ไม้ริมน้ า 6.2.4 พื้นที่ริมน้ า ทางเดินศึกษาธรรมชาติริมน้ า ศาลาริ มน้ า แพลาก ลานกิจกรรมริ มน้ า ลานพระบรมรู ป 6.2.5 พื้นที่ฐานลูกเสื อสารอง-สามัญรุ่ นเล็ก 6.2.6 พื้นที่ฐานผจญภัย ลูกเสื อสามัญรุ่ นใหญ่ 6.2.7 พื้นที่เดินทางไกล 6.3 แนวความคิดในการจัดความสั มพันธ์ ของกิจกรรม กิจกรรมภายในพื้นที่โครงการจะกระจายตัวอยูต่ ามพื้นที่หลั กๆ เช่น พื้นที่ค่ายพักแรม พื้นที่ฐาน ผจญภัย พื้นที่ริมน้ า และพื้นที่ฐานการเรี ยนรู ้ธรรมชาติ โดยพื้นที่กิจกรรมจะถูกเชื่อมกันโดยพื้นที่สีเขียว กิจกรรมทุกกิจกรรมจึงสามารถเชื่อมโยงกันได้อย่างทัว่ ถึง 6.4 แนวความคิดในการจัดรู ปแบบสั ญจร แนวความคิดในการออกแบบวางแ ผนระบบสัญจรภายในพื้นที่โครงการ จะเน้นทางเดินเท้าเป็ น หลัก โดยกาหนดให้ใช้รถยนต์ได้เป็ นบางพื้นที่ เช่น ถนนทางเข้าพื้นที่โครงการสามารถให้รถยนต์เข้าถึง ได้ เพราะเป็ นพื้นที่ส่วนกลาง และง่ายต่อการเข้าใช้พ้นื ที่ นอกนั้นจะเป็ นถนนทางบริ การที่ใช้ได้ท้ งั คน เดินและอนุญาตให้รถยนต์เข้าได้เป็ นบางกรณี สาหรับภายในโครงการนั้นจะเป็ นทางเดินเท้า ซึ่ งมี 3 ลักษณะ คือ 6.4.1 ทางเดินเท้าภายในพื้นที่ค่ายพักแรม
72
เป็ นทางเดินธรรมชาติขนาด 3 เมตร ใช้เพื่อนเป็ นทางเดินเชื่อมจากค่ายไปยังจุด ต่างๆ ลักษณะของถนนจะเป็ นถนนดินอัดแข็ง เพื่อความกลมกลืนกันธรรมชาติ และง่ายต่อการดูแลรักษา ให้บรรยากาศเสมือนเดินอยูใ่ นพื้นที่ป่าจริ งๆ 6.4.2 ทางเดินเท้าในพื้นที่ส่วนกลาง เป็ นทางเดินเท้าที่เชื่อมอาคารแต่ล่ะอาคารเข้าด้วยกัน มีขนาด 1.5 เมตร ลักษณะ ของพื้นผิวจะเป็ นซี เมนต์แต่งลายหิ นกรวดธรรมชาติ เพื่อความคงทน และสวยงาม 6.4.3 ทางเดินสารวจธรรมชาติ เป็ นทางเดินบนเนินเขาใช้สาหรับให้ลูกเสื อเดินศึกษาพรรณไม้ในพื้นที่ โครงการในแต่ล่ะฐาน ลักษณะของพื้นจะมี 2 ลักษณะคือ ถ้าความชั นของพื้นที่มาก ทางเดินจะใช้เป็ นไม้ ยกระดับ และถ้าความชันน้อย จะเป็ นพื้นดินธรรมชาติ 6.4.4 ทางเดินริ มน้ า เป็ นทางเดินศึกษาธรรมชาติริมน้ า เป็ นทางเดินไม้ ขนาด 1.5 เมตร มีระดับขึ้นลง แตกต่างกัน เพื่อเพิ่มความสนุกในการเดิน บางช่วงพื้นผิวขรุ ขระ บางช่วงมีที่นงั่ ไว้พกั เหนื่อย 6.4.5ทางเดินฐานกิจกรรมชองลูกเสื อ เป็ นทางเดิมเชื่อมฐานหนึ่ง ไปยังฐานหนึ่งด้ วยทางเดินธรรมชาติ ขนาด 3 เมตร ลักษณะพื้นผิวเป็ นดินเดิม ซึ่ งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ในแต่ล่ะปี ทางเชื่อมฐานนี้ยงั เป็ นทางแนวกันไฟ ป่ า ได้อีกด้วย 6.5 แนวความคิดในการออกแบบด้ านบรรยากาศ บรรยากาศภายใน พื้นที่โครงการ จะเน้น สร้าง ความ รู้สึกอยากผจญภัย อยากเรี ยนรู้ ภาย ใน ธรรมชาติป่าไม้ โดยใช้สัญลักษณ์ Totem เป็ นตัวสร้างบรรยากาศในแต่ล่ะพื้นที่ ให้มีความแตกต่างกัน โดยสามารถแบ่งได้ดงั นี้ 6.5.1 พื้นที่ทางเข้าค่ายลูกเสื อ พื้นที่ส่วนนี้อยูด่ า้ นหน้าของพื้นที่โครงการ มีทางเข้า- ออก 2 ทาง บริ เวณทางเข้าจะมีซุม้ ประตูขนาดใหญ่ สู ง 8 เมตรทาจากท่อนไม้ขนาบข้างด้วยเสา Totem ซึ่งเป็ นประติมากรรม ทาจากไม้สลัก เป็ น ลายสัญลักษณ์ของค่ายลูกเสื อ บรรยากาศตลอดทางเข้า จะทึบด้วยต้นไม้ ยืนต้นให้ความรู้สึกเหมือน กาลังเข้าไปในป่ า มีความร่ มรื่ นใต้เงาร่ มไม้ และมีเสา Totem ตลอดเส้นถนน สลักลายเรื่ องราวการใช้ชีวิ ต ในค่ายแห่งนี้ เป็ นเสาเล่าเรื่ องราวก่อนจะเข้าถึงค่าย แถมยังเป็ นเสาไฟส่ องสว่างในตอนกลางคืนได้ 6.5.2 พื้นที่ส่วนต้อนรับ
73
พื้นที่ส่วนนี้อยูถ่ ดั มาจากพื้นที่ทางเข้าค่าย พอเข้ามาถึงพื้นที่ส่วนนี้ก็จะเจอพื้นที่จอดรถ ก่อนเป็ นอันดับแรก ซึ่ งเป็ นที่จอดรถแบบธรรมชาติ คือสามารถนารถไปจอดใต้ตน้ ไม้ได้ เป็ นได้ท้ งั พื้นที่ สี เขียวและพื้นที่จอดรถได้ไปในตัว พื้นที่ ลานรวมพลซึ่ งอยูต่ รงกันข้ามกับพื้นที่จอดรถ ลานรวมพลนี้จะ เป็ นลานจัดระเบียบหมู่ก่อนที่จะเข้าไปยังพื้นที่ค่ายพักแรม โดยลูกเสื อจะต้องมาเข้าแถวตามเสา Totem ที่ เป็ นสัญลักษณ์ ของหมู่ตวั เอง บรรยากาศของพื้นที่ส่วนนี้จะถูกล้อมรอบไปด้วยต้นไม้ยนื ต้นให้ความร่ ม รื่ น เย็นสบาย ก่อนที่จะเดินแถวไปยังลานอุโมงค์ปากเสื อขนาดใหญ่ สู ง 3 เมตร แล้วลอดเข้าไปเพื่อเพิ่ม ความตื่นเต้นและท้าทายก่อนไปยังพื้นที่ค่ายพักแรม 6.5.3 พื้นที่ส่วนกลาง พื้นที่ส่วนนี้อยู่ อยูบ่ ริ เวณตรงกลางของพื้นที่ค่ายลูกเสื อ เป็ นพื้นที่ส่วนอานวยการ และมี อาคารบริ การต่างๆ เช่น ห้องประชุม ห้องพยาบาล ศาลาธรรม โรงอาหาร บ้านพักวิทยากร เป็ นต้น ส่ วน ใหญ่ ผทู ้ ี่เข้ามาใช้พ้นื ที่ส่วนนี้ จะเป็ นอาจารย์- วิทยากร หรื อผูบ้ งั คับบัญชา โดยจะมีพ้นื ที่ จอดรถแบบ ธรรมชาติอยูท่ างด้านหน้าของพื้นที่ แล้วเดินทางมายังอาคารด้วยทางเดินเท้า พื้นที่ส่วนนี้จะมีการปลูก ต้นไม้ยนื ต้นและไม้พมุ่ สี สันสวยงาม และมีหอนาฬิกาซึ่ งเป็ นจุดนาสายตาของพื้นที่ อยูบ่ ริ เวณลานสนาม หญ้า โดยมีอาคาร กระจายอยูต่ ามใต้ตน้ ไม้ โดยรอบ เพื่อให้กลมกลื นกับธรรมชาติ บรรยากาศร่ มรื่ น สวยงาม และเย็นสบาย 6.5.4 พื้นที่ค่ายพักแรม พื้นที่ส่วนนี้เป็ นพื้นที่ราบและโล่ง เพื่ อเป็ นพื้นที่ต้ งั เต็นท์และที่พกั ของลูกเสื อ ซึ่ งพื้นที่ ส่ วนนี้จะอยูด่ า้ นหลังของอุโมงค์ปากเสื อที่เดินลอดเข้ามา จะมีอยู่ 4 ค่ายย่อย เพื่อรองรับลู กเสื อที่จะเข้ามา ใช้พ้นื ที่ค่ายในเวลาเดียวกัน พอลอดอุโมงค์ปากเสื อมาแล้วลูกเสื อจะเจอบรรยากาศที่เป็ นป่ าอีกครั้งโดย จะใช้เส้นทางเดินธรรมชาติ มีตน้ ไม้ทึบขนาบ 2 ข้างทาง ก่อนจะถึงพื้นที่ค่ายเป็ นการ บีบมุมมองจากแคบ แล้วเปิ ดกว้างด้วยลานค่าย ก่อนจะเข้าไปยังค่ายจะต้องผ่ านซุ ม้ ประตูของค่ายนั้น เช่น ถ้าเป็ นค่ายหมาป่ า จะมีซุม้ ประตูที่เป็ นเสา Totem สลักลายหมาป่ าเป็ นสัญลักษณ์ของค่าย และบรรยากาศในค่ายทั้ง 4 ค่ายก็ จะแตกต่างกันไปตามพรรณไม้ที่ให้สีแตกต่างกัน 6.5.5 พื้นที่ทางสารวจธรรมชาติ พื้นที่ส่วนนี้เป็ นพื้นที่บนเขาที่สูงที่สุ ดของพื้นที่โครงการ โดยพื้นที่ส่วนนี้จะเป็ นพื้นที่ เดินศึกษาเกี่ยวกับพรรณไม้ในป่ าเบญจพรรณตั้งแต่ระดับพุม่ เตี้ยจนถึงระดับยืนต้นสู ง มีท้ งั หมด 10 ฐาน การเรี ยนรู ้ กระจายตามทางเดินไม้และทางเดินธรรมชาติ โดยบรรยากาศระหว่างทางจะมีเสา Totem ตาม ทางเดินให้ความรู ้เกี่ยว กับป่ าเบญจพรรณอีกด้วย พื้นที่ส่วนนี้ยงั มีหอชมวิวสู ง 15 เมตร ให้ชมความ สวยงามของจังหวัดลาปางในมุมสู ง หรื อจะเดินบนทางเดินระดับต้นไม้ ที่เชื่อมต่อไปถึงหอกระโดดสู ง ซึ่งเป็ นฐานทดสอบจิตใจของลูกเสื ออีกด้วย
74
6.5.6 พื้นที่ริมน้ า พื้นที่ส่วนนี้เป็ นพื้นที่แคบยาว ออกแ บบให้เป็ นพื้นที่เดินศึกษาธรรมชาติริมน้ า โดยมี ทางให้เลือกเดินอยู่ 2 แบบคือ 1. เป็ นทางเดินไม้ต่างระดับ และมีศาลากลางน้ าไว้สาหรับพักผ่อน หรื อนัง่ ชมวิวกลางน้ า 2. เป็ นแพลากกลางน้ า โดยขึงเชือกตามเสาที่ปักไว้กลางน้ า เสาก็จะเป็ นเสา Totem ที่สลัก ลวดลายเกี่ยวกับลูกเสื อ เป็ นประติมากรรมกลางน้ าไปในตัว แล้วลากจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดนึ่ง เพิ่มความ สนุกสนานและท้าทายในการเล่น ซึ่ งพื้นที่ริมน้ านี้ยงั เป็ นพื้นที่หอ้ งเรี ยนธรรมชาติ หรื อลานกิจกรรมพิธีกรรม ริ มน้ าได้อีกด้วย ให้บรรยากาศร่ มรื่ น เย็นสบาย และสวยงาม 6.5.7 พื้นที่ฐานลูกเสื อสารอง-สามัญรุ่ นเล็ก (RC) พื้นที่ฐาน RC เป็ นฐานทดสอบร่ างกายและจิตใจของลูกเสื อสารองและสามัญรุ่ นเล็ก ได้ แนวความคิดมาจากเครื่ องหมายพิเศษของลูกเสื อ โดยนามาดัดแปลงเป็ นฐานแต่ละฐานจานวน 15 ฐาน คือในแต่ละฐานจะมี Item ให้ลูกเสื อในแต่ละหมู่เก็บ โดยที่บางฐานจะอ ยูใ่ ต้ตน้ ไม้ แต่บางฐานจะเป็ น ส่ วนหนึ่งของต้นไม้ไปเลย โดยการเล่นจะเริ่ มจากฐานที่ 1 แล้ววิง่ ตามทางเดินธรรมชาติเชื่อมต่อไปยังที่ 2 และต่อไปจนครบหมดทุกฐาน 6.5.8 พื้นที่ฐานผจญภัยลูกเสื อสามัญรุ่ นใหญ่ ฐานผจญภัยของลูกเสื อสามัญรุ่ นใหญ่ จะเป็ นฐานผจญภัยที่เน้นทดสอ บร่ างกายของ ลูกเสื อ โดยที่ฐานแต่ละฐานจะวางไปตามเส้นทาง ระดับความชันของเขา ที่ต่อเนื่องกัน จะมีความโหด และท้าท้ายมากกว่าฐาน RC ซึ่ งฐานแต่ละฐานจะวางตามทางเดินที่อยูใ่ ต้ตน้ ไม้บา้ ง บนต้นไม้บา้ ง ลงน้ า บ้าง เพื่อเพิ่มความสนุกสนานในการเข้าฐาน 6.6 แนวความคิดในการออกแบบวางผังพืชพรรณ ลักษณะการใช้พืชพรรณในโครงการมีดงั นี้ 6.6.1ปลูกเป็ นแถวสายตา นาทางหรื อแนวนาสายตา เพื่อไปสู่ จุดหรื อสถานที่ที่ตอ้ งการ เช่น ทางเข้าพื้นที่โครงการ 6.6.2ปลูกเป็ นฉากหลังหรื อเป็ นกรอบให้แก่ส่วนที่ตอ้ งการ เช่น ลานกิจกรรม และค่าย พักแรม 6.6.3ปลูกให้ร่ มเงาเพื่อความร่ มรื่ น สวยงาม ช่วยบังแดด เช่น ตามเส้นทางเดินเท้า หรื อ ต้องการร่ มเงามากในส่ วนของห้องเรี ยนธรรมชาติ 6.6.4ปลูกเพื่อช่วยรักษาหน้าดิน ชะลอการพังทลายของหน้าดิน และกรองน้ าก่อนที่จะ ลงสู ้แหล่งน้ าธรรมชาติ ได้แก่ พวกไม้คลุมดินและต้นไม้ที่มีรากแผ่กระจายสาม ารถยึดดินได้ดี ใช้ใน บริ เวณที่มีดินร่ วนซุ ยมากๆ พื้นที่ที่มีความลาดชัน หรื อ บริ เวณริ มน้ า
75
6.6.5ปลูกเพื่อเป็ นเอกลักษณ์ ก่อให้เกิดการเรี ยนรู ้และจดจา เป็ นการนาเอาเอกลักษณ์ พิเศษของต้นไม้มาใช้ในการเรี ยนรู้ของลูกเสื อ เป็ นการสอนให้ลูกเสื อได้เรี ยนรู้ชนิดของพรรณไม้ในป่ า และสามารถนามาใช้ในการดาเนินชีวติ ได้จริ ง เช่น พรรณไม้สมุนไพร พรรณไม้ที่เป็ นเอกลักษณ์ของป่ า นั้นๆ 6.6.6ปลูกเพื่อให้เกิดความสวยงาม เช่นไม้พมุ่ ใช้ในส่ วนของพื้นที่ตอ้ นรับ หรื อไม่ยนื ต้นที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของต้นนั้นๆ เช่น ทาเป็ นป่ า 3 ฤดู ให้มีการออกดอกผลัดกันตลอดทั้งปี 6.7 แนวความคิดในการจัดวางและรู ปแบบของอาคาร 6.7.1 แนวความคิดในการจัดวางอาคาร แนวคิดในการจัดวางอาคารทั้งหมดของ โครงการสามารถจัดแบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภทคือ 6.7.1.1 คานึงถึงมุมมอง เนื่องจากภายในพื้นที่โครงการ เป็ นพื้นที่ธรรมชาติ ที่มีระดับความชั น จึงอยากวางอาคารให้กลมกลืนไปกับธรรมชาติ ไม่ขดั แย้งกัน จึง จาเป็ นที่จะต้องคานึงถึงมุมมอง ในการ มองเข้ามาในพื้นที่ ไม่ให้เห็นอาคารจนเด่นชัดเกินไป จึงต้องกระจายอาคารให้อยูใ่ ต้ตน้ ไม้สูง จะได้เห็น เป็ นพื้นที่ธรรมชาติหมดทั้งโครงการ 6.7.1.2 คานึงถึงทิศทางการจัดวางเพื่อสามารถให้ลมเดินทางผ่านได้ เนื่องจากเป็ นโครงการที่เป็ นแนวความคิดในเรื่ องของความเป็ น ธรรมชาติจึงจาเป็ นที่จะต้องคานึงถึงทิศทางลม เนื่องจากอาคารภายในโครงการพยายามที่จะไม่ มี เครื่ องปรับอากาศ ใช้ลมแทนเพื่อที่จะได้สัมผัสกับธรรมชาติจริ งๆ 6.7.2 แนวความคิดรู ปแบบของอาคาร เนื่องจากเป็ นโครงการ ค่ายลูกเสื อ เน้นรู ปแบบอาคารให้มีความกลมกลืนกับ ธรรมชาติ ดังนั้นรู ปแบบของอาคารจึงเป็ นอาคารที่ยกพื้นสู ง ยกหลังคาสู ง และวัสดุที่ใช้ก็เป็ นวัสดุจาก ธรรมชาติที่สามารถเปลี่ยนได้ตามระยะเวลาการใช้งาน
76
โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ค่ ายลูกเสื อวชิ ราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN PLANNING PROJECT OF WACHIRAWUTDAMNOEN LAMPANG BOYSCOUTCAMP MUANG, LAMPANG แผนที่ 14 : แผนผังแสดงแนวความคิดในการออกแบบ (Conceptual Design) สั ญลักษณ์
ทีม่ า : จากการวิเคราะห์และออกแบบของผูศ้ ึกษา
N
NOT TO SCALE
77 ป่ าราชพัสดุ
อ่ างเก็บนา้ ราชการจุดที่ 3 ป่ าราชพัสดุ
ศู นย์ วจิ ยั โรคมะเร็งลาปาง
โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ค่ ายลูกเสื อวชิ ราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN PLANNING PROJECT OF WACHIRAWUTDAMNOEN LAMPANG BOYSCOUTCAMP MUANG, LAMPANG แผนที่ 15 : แผนผังแสดงแนวความคิดในการแบ่งเขตพื้นที่ใช้สอย (Zoning) สั ญลักษณ์ A : พื้นที่ตอ้ นรับและบริ การส่ วนกลาง
D : พื้นที่ธรรมชาติริมน้ า
B : พื้นที่ค่ายพักแรม
E : พื้นที่กิจกรรมฐานลูกเสื อสารอง
C :พื้นที่เดินสารวจธรรมชาติ
F : พื้นที่ฐานลูกเสื อสามัญ-รุ่ นใหญ่
ทีม่ า : จากการวิเคราะห์และออกแบบของผูศ้ ึกษา
N
NOT TO SCALE
78
ป่ าราชพัสดุ
อ่ างเก็บนา้ ราชการจุดที่ 3 ป่ าราชพัสดุ
ศู นย์ วจิ ยั โรคมะเร็งลาปาง
โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ค่ ายลูกเสื อวชิ ราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN PLANNING PROJECT OF WACHIRAWUTDAMNOEN LAMPANG BOYSCOUTCAMP MUANG, LAMPANG แผนที่ 16 : แผนผังแสดงแนวความคิดและความสัมพันธ์ในการออกแบบ (Functional Diagram) N
ทีม่ า : จากการวิเคราะห์และออกแบบของผูศ้ ึกษา
NOT TO SCALE
79 ป่ าราชพัสดุ
อ่ างเก็บนา้ ราชการจุดที่ 3 ป่ าราชพัสดุ
ศู นย์ วจิ ยั โรคมะเร็งลาปาง
โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ค่ ายลูกเสื อวชิ ราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN PLANNING PROJECT OF WACHIRAWUTDAMNOEN LAMPANG BOYSCOUTCAMP MUANG, LAMPANG แผนที่ 17 : แผนผังแสดงแนวความคิดในการจัดรู ปแบบสัญจร (Circulation) สั ญลักษณ์ : ถนนทางเข้า 10 เมตร
: ทางบริ การ 5 เมตร
: ทางเชื่อมค่าย 1.5 เมตร
: ทางเดินสารวจ 1.5 เมตร
:ทางเดินริ มน้ า 1.5 เมตร
: ทางเชื่อมฐาน 1.5 เมตร
ทีม่ า : จากการวิเคราะห์และออกแบบของผูศ้ ึกษา
N
: ทางเดินธรรมชาติ 3 เมตร : ทางเดินต้นไม้ 1.5 เมตร
NOT TO SCALE
80
บทที่ 7 รายละเอียดโครงการออกแบบ 7.1 รายละเอียดของทางสั ญจร 7.1.1 ทางเข้าหลัก ทางเข้าหลักของพื้นที่โครงการ เป็ นเส้นทางที่รถบัส หรื อรถรับ- ส่ ง ลูกเสื อ ใช้เดินทาง เข้ามาสู่ ดา้ นในพื้นที่ โดยถนนทางเข้าหลักนี้จะมีความกว้าง 10.00 เมตร เพื่อที่รถบัสสามารถวิง่ สว นกัน ได้ ลักษณะของ พื้นผิวเป็ นยางมะ ตอย เพื่อรองรับน้ า หนักของรถบัส และรถยนต์ที่เข้ามา รับ-ส่ งลูกเสื อ และมีความลาดชันไม่เกินร้อยละ 5 7.1.2 ทางบริ การ เส้นทางบริ การภายในพื้นที่โครงการจะเป็ นทางที่ใช้สาหรับเดินเท้า และรถยนต์สามารถ ใช้ร่วมได้ในบางกรณี มีความกว้าง 5.00 เมตร ส่ วนใหญ่จะใช้ในการขนส่ งสิ่ งของ รถพยาบาล รถดับเพลิ งเป็ นต้น ลักษณะของ พื้นผิว ในทางบริ การจะ พื้น เป็ น ยางมะตอย เพื่อรองรับน้ า หนักของรถ บริ การ และมีความลาดชันไม่เกินร้อยละ 5 7.1.3 ทางเดินหลัก เป็ นเส้นทางธรรมชาติ ที่เดินเชื่อมโยงพื้นที่ภายในโครงการเข้าหากัน มีความกว้าง 3.00 เมตร รถบริ การสามารถใช้ร่วมทางได้ในกรณี ฉุกเฉิ น พื้นผิวเป็ นดินอัดแข็ง เพื่อให้เป็ นเส้นทางธรรมชาติ 7.1.4 ทางเดินรอง เป็ นเส้นทางเดินเท้าที่ใช้เดินเชื่อมไปยังพื้นที่ ส่ วนต่างๆ ของพื้นที่โครงการ มีขนาด 1.5 เมตร ลักษณะพื้นผิวจะขึ้นอยูก่ บั พื้นที่ในส่ วนนั้นๆ ถ้าเป็ นเส้นทางเดินเชื่อมในส่ วนของค่ายพักแรมก็จะมี พื้นผิวเป็ นดินอัดแข็ง ใช้เป็ นทางเดินธรรมชาติ ส่ วนถ้าเป็ นทางเดินในพื้นที่ส่วนกลาง ลักษณะของพื้นผิว ก็จะเป็ นซี เมนต์แต่งลายธรรมชาติ หิ นธรรมชาติ หรื อไม้ ธรรมชาติ เป็ นต้น ส่ วนพื้นที่ริมน้ าโครงสร้าง ด้านล่างจะเป็ นซี เมนต์และเหล็กเพราะเป็ นส่ วนโครงสร้างที่อยูใ่ ต้น้ า ส่ วนด้านบนที่โผล่พน้ น้ าจะเป็ น ทางเดินไม้เพื่อความสวยงามและกลมกลืนกับธรรมชาติ และสุ ดท้ายคือทางเดินศึกษาธรรมชาติบนเขา ลักษณะของพื้นผิวจะเป็ นดินธรรมชาติ และใบพื้นที่ที่มีความชันมากทางเดินก็จะเปลี่ยนเ ป็ นทางเดินไม้ ยกพื้นสู ง 50 เซนติเมตร เพื่อง่ายต่อการเดินและป้ องกัน การกระทบกระเทือนกับระบบธรรมชาติถา้ มีการ เหยียบย่า เป็ นต้น
81
ภาพที่ 49 : ลักษณะของทางบริ การ ขนาด 5 เมตร ที่มา : ผลงานการออกแบบของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 50 : แสดงลักษณะของทางเดินเท้า ขนาด 3 เมตร ที่มา : ผลงานการออกแบบของนักศึกษา,ปี 2555
82
ภาพที่ 51 : แสดงทางเดินรอง ขนาด 1.5 เมตร ที่มา : ผลงานการออกแบบของนักศึกษา,ปี 2555 7. 2 รู ปแบบสถาปัตยกรรม ลักษณะอาคารและสิ่ งก่อสร้างภายในโครงการ จะเน้นความเป็ นธรรมชาติโดยใช้วสั ดุที่มีความ กลมกลืนกับธรรมชาติ โดยรอบ เช่น ไม้ หิ นกรวด หิ นธรรมชาติ เป็ นหลัก โดยกลุ่มอาคารและ สิ่ งก่อสร้างหลักๆของโครงการนั้น สามารถแบ่งได้คือ 1) กลุ่มอาคารอานวยการ ในส่ วนนี้จะประกอบไปด้วยอาคารหลักๆ คือ อาคารอานวยการซึ่ งมี ห้องประชุม ห้องพยาบาล ห้องติดต่อสอบถาม เป็ นต้น อาคารโรงอาหาร อาค ารบ้านพักวิทยากรและ พนักงาน อาคารศาลาธรรม อาคารเก็บของซึ่ งอาคารเหล่านี้จะมีลกั ษณะเป็ นอาคารไม้ช้ นั เดียว ยกพื้นสู ง เพื่อการระบายน้ า หลังคายกสู งเพื่อให้มีช่องลมระบายอากาศภายในอาคาร ทาให้อาคารไม่ร้อนและเย็น สบาย 2) กลุ่มอาคารที่พกั ในบริ เวณค่าย จะมีลกั ษณะเป็ นหลังเ ดี่ยวชั้นเดียว แทรกตัวอยูท่ ่ามกลาง ธรรมชาติ คือ อาคารเรื อนพักรับรอง ในกรณี ที่มีเหตุฉุกเฉิ นเช่นฝนตกทาให้ไม่สามารถกางเต็นท์นอนใน พื้นที่ลานโล่งได้ ซึ่ งรู ปแบบของอาคารจะมีรูปแบบเดียวกันทั้งโครงการ
83
ภาพที่ 52 แสดงแนวความคิดในการคออกแบบอาคาร ที่มา :http://www.bloggang.com 7.3 รายละเอียดของการออกแบบฐาน ฐานลูกเสื อจะมีท้ งั หมด 30 ฐาน แบ่งเป็ น 7.3.1 ฐาน RC (ลูกเสื อลารอง-สามัญรุ่ นเล็ก) 15 ฐาน ดังนี้
ภาพที่ 53 RC1: ทุ่นน้ าหนัก ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 54 RC2: สิ่ งกีดขวาง ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 55 RC3: ส่ งสาร ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 56 RC4: โคลนดูด ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
84
ภาพที่ 57 RC5: หอคอย ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 58 RC6: ส่ งเชลย ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 59 RC7: สะพานลิง ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 60 RC8: ไต่ราว ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 61 RC9: ท่อทะลุมิติ ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 62 RC10: ใยแมงมุม ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
85
ภาพที่ 63 RC11: ห้อยโหน ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 65 RC13: ไป 3 ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 64 RC12:กระสวยอวกาศ ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 66 RC14:ส่ องทางไกล ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 67 RC13: ภูเขาตาข่าย ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
86
7.3.2 ฐานผจญภัย (ลูกเสื อสามัญรุ่ นใหญ่) 15 ฐาน ดังนี้
ภาพที่ 68 ฐาน1: ลอดอุโมงค์ ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 69 ฐาน2: ปื นกาแพง ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 70 ฐาน3: ทาร์ซาน ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 71 ฐาน4: เนินกระโดด ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 72 ฐาน5: ลอดลวดหนาม ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 73 ฐาน6: อกไก่ ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
87
ภาพที่ 74 ฐาน7: บันไดสามเหลี่ยม ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 75 ฐาน8: ปื นตาข่าย ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่76 ฐาน9: ไต่ยาง ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 77 ฐาน10: หลุมตาข่าย ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 78 ฐาน11: บ่อโคลนเหนียว ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 79 ฐาน12: สะพานแปล ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
88
ภาพที่ 80 ฐาน13:ไต่เชือก ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่ 81 ฐาน14: ล่องแพ ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555
ภาพที่82 ฐาน15:ปื นกาแพงสู ง ที่มา:แบบจาลองของนักศึกษา,ปี 2555 7.4 รายละเอียดระบบไฟฟ้า ระบบไฟฟ้ าภายในพื้นที่โครงการจะรับเอาไฟฟ้ านอกโครงการ โดยที่สถานีควบคุมไฟฟ้ าของ โครงการจะมีหม้อแปลงไฟฟ้ าทาหน้าที่ส่งกระแสไฟฟ้ าไปยังพื้นที่ต่างๆในโครงการ และจะมีการ ควบคุมการจ่ายไฟย่อยในแต่ละจุดเพื่อความสะดวกในการจัดการดูแล และลดปั ญหาเมื่อเกิดการขัดข้อง ของกระแสไฟฟ้ าในพื้นที่ การติดตั้งเดินสายไฟในพื้นที่โครงการ กาหนดให้พ้นื ที่ท้ งั หมดจะเ ดินสายไฟใต้ดิน เพื่อสร้าง ความกลมกลืนกับธรรมชาติและเปิ ดมุมมองไม่ให้มีสิ่งรบกวนทางสายตา นอกจากนี้ ยังมีการ จัดให้มี เต้ารับไฟฟ้ าที่มีคุณสมบัติกนั น้ าได้ ติดตั้งอยูต่ ามจุดต่างๆได้แก่ ลานอเนกประสงค์ต่างๆภายนอกอาคาร เพื่อความสะดวกในการประกอบกิจกรรมต่างๆ 7.4.1 ไฟฟ้ าและแสงสว่างทัว่ ไป ควรจัดให้มีตามถนนหลักของโครงการ โดยใช้เสาสู ง อย่างน้อย 3 เมตร ระยะห่างของเสาตามความเหมาะสมกับกาลังสิ่ งสว่างของดวงไฟที่ใช้ การวางระบบ
89
สายควรให้สามารถเปิ ด- ปิ ดแบบดวงเว้นดวง เพื่อว่าเวลามีงานหรื อกิจกรรมจะสามารถเปิ ดไฟได้อย่าง สว่างเต็มที่ ส่ วนในเวล าที่ไม่มีกิจกรรมหรื อเวลากลางคืนเพื่อต้องการเปิ ดไฟเพื่อรักษาความปลอดภัย ก็ สามารถเปิ ดแบบดวงเว้นดวงได้ 7.4.2 ไฟประดับเฉพาะจุดพิเศษของบริ เวณ เช่น บริ เวณซุ ม้ ทางเข้าโครงการ ป้ ายภายใน พื้นที่โครงการ อาคาร และต้นไม้ เพื่อความสวยงามและเพิ่มความน่าสนใจ 7.4.3 ไฟฟ้ าสาหรับอาคารใช้งาน จัดให้มีกาลังส่ องสว่างตามความเหมาะสม
ภาพที่ 83 รู ปแบบของระบบส่ องสว่างภายในพื้นที่โครงการ ที่มา : ผลงานการออกแบบของนักศึกษา,ปี 2555 7.5 ระบบนา้ ใช้ พื้นที่โครงการสามารถนาน้ าประปาจากระบบสุ ขาภิบาลตาบลพระบาทมาใช้ได้ และเนื่องจ าก โครงการเป็ นพื้นที่ที่มีความเป็ นธรรมชาติอยูแ่ ล้ว มีอ่างเก็บน้ าราชการอยูใ่ นพื้นที่โครงการจึงสามารถ นามาใช้ได้อีกส่ วนหนึ่ง หรื ออาจทาการขุดบ่อบาดาล โดยใช้เครื่ องสู บน้ าและผ่านการกรองเก็บไว้ในถัง สารองและแจกจ่ายไปใช้ในบริ เวณส่ วนต่างๆในโครงการ 7. 5.1 ระบบน้ าทิ้ง ในโครงการได้จดั ให้มีถงั บาบัดรวมอยูใ่ นพื้นที่บารุ งรักษาในส่ วนกลาง รวมไป ถึงการใช้ถงั บาบัดน้ าเสี ยแบบอิสระก่อนที่จะปล่อยซึ มลงดิน ทาให้น้ าผ่านการบาบัด สามารถปล่อยออกสู่ พื้นที่ภายนอกโดยไม่มีมลภาวะใดๆ
90
7.6 การบารุ งรักษา การเก็บขยะภายในพื้นที่โครงการจะมีที่พกั ขยะ สาหรับเก็บรวบรวมขยะจากในโครงการ ก่อนที่ จะนาไปกาจัด หรื อรอรถเก็บขยะมาเก็บต่อไป
91
บทที่ 8 ผลงานออกแบบ 8.1 แผ่นงานที่ 1 การวิเคราะห์ ข้อมูลพืน้ ทีโ่ ครงการ (SITE ANALYSIS ) 1) ความเป็ นมาของโครงการ (INTRODUCTION) 2) พื้นที่ต้ งั ของโครงการ (SITE LOCATION) 3) การเข้าถึงพื้นที่โครงการ (SITE ACCESSIBILITY) 4) พื้นที่โดยรองโครงการ (SITE SURROUNDING) 5) ภูมิประเทศ (TOPOGRAPHY) 6) แหล่งน้ าในพื้นที่โครงการ (WATER RESERVE) 7) การระบายน้ าในพื้นที่โครงการ (DRAINAGE) 8) ลักษณะดินในพื้นที่โครงการ (SOIL CHARECTERISTIC) 9) พืชพรรณในพื้นที่โครงการ (VEGETATION) 10) ภูมิอากาศ (MICROCLIMATE) 8.2 แผ่นงานที่ 2 การออกแบบแบ่ งขอบเขตพืน้ ที่ ( CULTURAL&MANMADE FACTORS) 1) การใช้พ้นื ที่ดินเดิม (LAND USE) 2) การสัญจรภายในพื้นที่โครงการ (CIRCULATION) 3) สิ่ งก่อสร้างเดิมที่มีอยูใ่ นพื้นที่โครงการ (BUILDING & ARCHITECTURE) 4) กรณี ศึกษา (CASE STUDY) 8.3 แผ่นงานที่ 3 การสั งเคราะห์ ข้อมูลพืน้ โครงการ (SITE SYNTHESIS AND CONCEPTUAL DESIGN) 1) การแบ่งลักษณะของพื้นที่โครงการ (SITE CHARACTERISTIC) 2) ความต้องการและแนวทางการพัฒนาพื้นที่โครงการ (PROGRAM DEVELOPMENT AND PROGRAM REQUIREMENT) 3) กลุ่มผูใ้ ช้ (USER) 4) แนวความคิดในการออกแบบ (MAIN CONCEPT)
92
8.4 แผ่นงานที่ 4 แนวความคิดการออกแบบ (CONCEPTUAL DESIGN) 1) แนวความคิด (CONTCEPT DESIGN) 2) การแบ่งพื้นที่ (ZONNING) 3) แผนผังแนวความคิด (BUBBLE DIAGRAM) 4) แผนผังระบบการใช้งาน (FUNCTIONAL DIAGRAM) 5) พืชพรรณ (PLANTING PLAN) 6) แนวความคิดหลัก (CONCEPT PLAN) 7) แนวความคิดการสัญจร CIRCULATION CONCEPT) 8) แนวความคิดในการวางพืชพรรณ (PLANTING CONCEPT) 8.5 แผ่นงานที่ 5 ข้ อมูลเฉพาะด้ าน (SPECIAL DATA) 1) ความหมายค่ายลูกเสื อ 2) ตัวอย่างฐาน 3) ห้องสุ ขาภิบาลสิ่ งแวดล้อม 4) การกาจัดขยะมูลฝอย 5) อ่างล้างมือ 6) TOTEM POLE 7) LAW กฎหมายอาคารริ มน้ า 8) ข้อกาหนดความปลอดภัยของสนามเด็กเล่น 8.6 แผ่นงานที่ 6 ผังแม่ บท ( MASTERPLAN) 1) MASTERPLAN มาตรส่ วน 1 : 1250 2) MASTERPLAN (2) มาตรส่ วน 1 : 1250 8.7 แผ่นงานที่ 7 รายละเอียดส่ วน A (DETAILPLAN A) 1) DETAILPLAN A มาตรส่ วน 1 : 750 2) KEYPLAN 3) CONCEPT DESIGN 4) PLANTING DESIGN 5) IMAGE DESIGN
93
6) 7) 8) 9)
TYPICAL DETAIL SECTION A มาตรส่ วน 1 : 100 SECTION B มาตรส่ วน 1 : 100 SECTION -PERSPECTIVE
8.8 แผ่นงานที่ 8 รายละเอียดส่ วน B (DETAILPLAN B) 1) DETAILPLAN B มาตรส่ วน 1 : 750 2) KEYPLAN 3) CONCEPT DESIGN 4) PLANTING DESIGN 5) IMAGE DESIGN 6) TYPICAL DETAIL 7) SECTION A มาตรส่ วน 1 : 200 8) SECTION B มาตรส่ วน 1 : 50 9) PRPFILE ฐานจญภัย 10) SECTION -PERSPECTIVE 8.9 แผ่นงานที่ 9 รายละเอียดส่ วน C (DETAILPLAN C) 1) DETAILPLAN A มาตรส่ วน 1 : 750 2) KEYPLAN 3) CONCEPT DESIGN 4) PLANTING DESIGN 5) IMAGE DESIGN 6) TYPICAL DETAIL 7) SECTION A มาตรส่ วน 1 : 200 8) SECTION B มาตรส่ วน 1 : 50 9) SECTION -PERSPECTIVE
94
ภาพที่ 84 การวิเคราะห์พ้นื ที่ (SITE ANALYSIS) ที่มา : ผลงานการออกแบบของนักศึกษา ,ปี 2555
95
ภาพที่ 85 การออกแบบแบ่งขอบเขตพื้นที่ (CULTURAL&MANMADE FACTORS) ที่มา : ผลงานการออกแบบของนักศึกษา ,ปี 2555
96
ภาพที่ 86 การสังเคราะห์ขอ้ มูล (SITE SYNTHESIS AND CONCEPTUAL DESIGN) ที่มา : ผลงานการออกแบบของนักศึกษา ,ปี 2555
97
ภาพที่ 87 แนวความคิดในการคออกแบบ (CONCEPTUAL DESIGN) ที่มา : ผลงานการออกแบบของนักศึกษา ,ปี 2555
98
ภาพที่ 88 ข้อมูลเฉพาะด้าน (SPECIAL DATA) ที่มา : ผลงานการออกแบบของนักศึกษา ,ปี 2555
99
ภาพที่ 89 MASTERPLAN ที่มา : ผลงานการออกแบบของนักศึกษา ,ปี 2555
100
ภาพที่ 90 MASTER PLAN(2) ที่มา : ผลงานการออกแบบของนักศึกษา ,ปี 2555
101
ภาพที่ 91 DETAILPLAN A พื้นที่ส่วนกลาง และอาคารอานวยการ ที่มา : ผลงานการออกแบบของนักศึกษา ,ปี 2555
102
ภาพที่ 92 DETAILPLAN B พื้นที่ริมน้ าและส่ วนห้องเรี ยนธรรมชาติ ที่มา : ผลงานการออกแบบของนักศึกษา ,ปี 2555
103
ภาพที่ 93 DETAILPLAN C เส้นทางสารวจธรรมชาติ ที่มา : ผลงานการออกแบบของนักศึกษา ,ปี 2555
104
ภาพที่ 94 แบบจาลอง (Model) ที่มา : ผลงานการออกแบบของนักศึกษา ,ปี 2555
105
บทที่ 9 บทสรุปและข้ อเสนอแนะ โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมค่ายลูกเสื อวชิราวุธดาเนิน อาเภอเมือง จังหวัด ลาปาง ตั้งอยูบ่ นพื้นที่ราชพัสดุ ตาบลพระบาท อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง ลักษณะของพื้นที่เป็ นเนินเขามี ความลาดชันสลับที่ราบ ติดกับอ่ างเก็บน้ าราชการจุดที่ 3 และ2 เจ้าของโครงการคือสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาเขต 1 จังหวัดลาปาง โดยมีวตั ถุประสงค์ของโครงการ คือ เพื่อใช้เป็ นสถานที่ให้ลูกเสื อทุก ประเภทได้มาอยูร่ ่ วมค่ายพักแรมและได้รับการฝึ กอบรมในเชิงปฏิบตั ิดว้ ยการทาจริ งตามวิธีการของ ลูกเสื อ และ เพือ่ ใช้เป็ นสถานที่ฝึกอบรมผูบ้ งั คับบัญชาและเจ้าหน้าที่ลูกเสื อทุกระดับ แนวความคิดหลักในการออกแบบ คือ “เรี ยนรู้ที่ จะอยูก่ บั ธรรมชาติ ” สามารถขยายความหมาย ออกมาเป็ นเรี ยนรู้ ..ธรรมชาติ เรี ยนรู้ ... การที่จะใช้ชีวติ และ เรี ยนรู้ ... ที่จะอนุรักษ์ ออกมาเป็ น แนวความคิดหลั กในการออกแบบค่ายทั้งในด้านสถาปั ตยกรรมและด้านภูมิสถาปั ตยกรรม รวมไปถึง กิจกรรมต่างๆ ภายในค่าย 9.1 บทสรุ ปจาการทาวิทยานิพนธ์ ในการทาวิทยานิพนธ์ ครั้งนี้ เริ่ ม จากการหาข้อมูลเบื้องต้น แนวความคิดที่สอดคล้อง กับ การออกแบบ โดยค้นคว้าจากอินเตอร์ เน็ต หนังสื อต่างๆ รวมไปถึงการสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้ กับผูท้ ี่มี ความเชี่ยวชาญ จากนั้นก็เข้ามาสู่ ข้ นั ตอนการวิเคราะห์และออกแบบทางภูมิสถาปั ตยกรรม ซึ่ งสาหรับผูท้ า โครงการเองมีความคิดตั้งแต่แรกถึงขั้นตอนสุ ดท้าย ทุกขั้นตอนมีความยากง่ายต่างกัน ซึ่ งในการทา วิทยานิพนธ์น้ ีเป็ นเหมือนการได้เรี ยน รู ้ประสบการณ์ใหม่ๆ ทั้งจากอาจารย์และหนังสื อ อาจต้องใช้ความ ขยันและความอดทนให้วทิ ยานิพนธ์น้ ีสาเร็ จลุลวงไปได้ดว้ ยดี และสาหรับผูท้ ี่มีความตั้งใจจะทาโครงการค่ายลูกเสื อ เป็ นโครงการวิทยานิพนธ์ต่อไป มีขอ้ เสนอแนะนาว่าโครงการประเภทนี้เป็ นโครงการที่ตอ้ งใช้ความเข้าใจ ในเรื่ องของหลักสู ตรวิชา ลูกเสื อ รวมไปถึงกิจกรรมภายในค่าย หมัน่ ศึกษาข้อมูลเฉพาะด้านและแนวคิดที่แปลกใหม่ในการทามาก พร้อมทั้งต้องใช้ความสอดคล้องกับความเป็ นไปได้ ว่าสามารถเกิดขึ้นจริ งได้หรื อไม่ เมื่อสร้างขึ้นจริ งแล้ว สามารถใช้ประโยชน์ได้มากน้อยแค่ไหน และตัวอาคาร ใช้วสั ดุอะไร มีเทคนิคในการก่อสร้างอย่างไร ต้องดูแลรักษาแบบไหน และต้องไม่ทาลายธรรมชาติในพื้นที่ การเลือกใช้พืชพรรณก็เป็ นส่ วนสาคัญ อย่างหนึ่งในการสร้างบรรยากาศ ในแต่ละพื้นที่ให้แตกต่างกันออกไป ซึ่ งในการทาโครงการประเภทนี้ จะต้องมี สนุกและความคิดสร้างสรรค์ ที่จะสร้ างรายละเอียดต่างๆให้กบั โครงการ ส่ วนรายละเอียดและ
106
บรรยากาศของโครงการ ก็เป็ นส่ วนสาคัญของงานมากพอๆกับการวางผัง ดังนั้นก่อนการออกแบบควร วางแผนการทางานก่อน 9.2 จากการทาวิทยานิพนธ์ ครั้งนีไ้ ด้ รับข้ อเสนอแนะ ดังนี้ 9.2.1 การนาเสนอครั้งที่ 1 9.2.1.1 ควรหาข้อมูลเพิ่มเติมในเรื่ องของ “ข้อมูลดินถล่มของจังหวัดลาปาง” 9.2.1.2 แก้ไขส่ วนรายละเอียดในเล่มรายงาน 9.2.2 การนาเสนอครั้งที่ 2 9.2.2.1 ศึกษากรณี ศึกษาและ รู ปแบบแนวความคิดที่เป็ นรู ปธรรม เพื่อเป็ น แนวทางในการออกแบบ 9.2.2.2 ให้ช้ ีแจงว่ามีการนากรณี ศึกษามาใช้ประโยชน์ในการออกแบบอย่างไร 9.2.2.2 ศึกษาเรื่ องอาคารอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม แล ะการดูแลรักษาอาคารและ สิ่ งก่อสร้าง 9.2.2.3 กาหนดแนวคิดในการแบ่งคาแรกเตอร์ พ้นื ที่ให้ชดั เจน 9.2.2.4 ศึกษาเรื่ องระบบต่าง ๆ ภายในพื้นที่โครงการ 9.2.2.5 การออกแบบพื้นที่วา่ งให้เข้ากับพื้นที่ธรรมชาติ 9.2.3 การนาเสนอครั้งที่ 3 9.2.3.1 การแสดงแนวถนนหลัก รอง ให้เห็นชัดเจนรวมถึงการคานึงถึง การใช้ งานในพื้นที่ 9.2.3.2 ให้มีการตัดสิ นใจว่าโครงการควรให้ความสาคัญกับทางรถหรื อทางคน 9.2.3.3 เพิ่มเรื่ องข้อมูลเฉพาะด้านให้ 9.2.4 การนาเสนอครั้งที่ 4 9.2.4.1 แก้ไขการเขียนและสะกดคาในแผ่นนาเสนอผลงาน 9.2.4.2 แก้ไขเล่มรายงานให้มีความสมบูรณ์ 9.2.4.3 แก้ไขในส่ วนแบบจาลองให้เห็นระบบเส้นทางให้ชดั เจนขึ้น 9.3 การบรรลุตามจุดประสงค์ ของวิทยานิพนธ์ จากการทาวิทยานิพนธ์ สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ดงั นี้ 9.3.1เป็ นค่ายสาหรับใช้ทากิจกรรมและพักแรมของลูกเสื อในจังหวัดลาปาง 9.3.2เป็ นสถานที่ฝึกและอบรมผูบ้ งั คับบัญชาของลูกเสื อทุกระดับ 9.3.3เป็ นสถานที่ศึกษาธรรมชาติสาหรับเด็กนักเรี ยนและผูท้ ี่ตอ้ งการเข้ามาศึกษา
107
9.3.4เป็ นสถานที่จดั กิจกรรมของนักเรี ยนเรี ยน นักศึกษาในการออกค่ายนอก สถานศึกษา และจากการทาวิ ทยานิพนธ์ครั้งนี้ทาให้ได้เรี ยนรู ้วธิ ี การ แนวคิดที่แปลกใหม่ และสร้างระบบ ระเบียบได้ดียงิ่ นอกจากนี้ยงั ได้แลกเปลี่ยนแนวคิดและรับรู ้เกี่ยวกับงานออกแบบอื่น ๆ ที่เพื่อนๆได้มา นาเสนอและข้อเสนอแนะจากคณาจารย์ผทู้ รงคุณวุฒิ 9.4 ข้ อเสนอแนะสาหรับโครงการประเภทเดียวกัน 9.4.1 การออกแบบโดยคานึงถึงพื้นที่ใช้สอย ถ้าประโยชน์ใช้สอยที่มีความเกี่ยวข้องควร จะรวมอาคารและสร้างพื้นที่วา่ งให้เหมาะสมกับพื้นที่ 9.4.2 การเชื่อมระหว่างพื้นที่ไม่จาเป็ นต้องใช้ถนนหรื อเส้นทางเดิน หรื อลานในการ เชื่อมพื้นที่ เพราะสามารถทาได้หลายแบบตามเหมาะสมของงาน 9.4.3 การเลือกทางเข้าโครงการควรมี หลักการและเหตุผลที่สอดคล้องกัน 9.4.4 ระบบต่างๆ ในการออกแบบ สามารถซ่อนอยูใ่ นพื้นที่ธรรมชาติได้ โดยไม่ทาลาย สิ่ งแวดล้อม 9.4.5 พื้นที่ออกแบบที่ใกล้น้ า ควรมีระบบในเรื่ องความปลอดภัย 9.4.6 การออกแบบเครื่ องเล่นต่างๆ ควรคานึงถึ งความปลอดภัยของเด็ก และมีวธิ ีการ ป้ องกัน 9.4.7 การเลือกใช้พรรณไม้ ควรคานึงถึงคุณประโยชน์ และโทษ เพราะพรรณไม้บาง ชนิดเป็ นไม่เหมาะสมที่จะอยูใ่ นพื้นที่ของเด็ก 9.4.8 ควรสร้างเอกลักษณ์ และสัญลักษณ์ในค่าย ให้เกิดความสนุกสนานและการ กระตุน้ ความอยากเรี ยนรู้ของเด็กตลอดเวลา
108
บรรณานุกรม จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ . 2554. คู่มือการดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร บัณฑิต. พิมพ์ครั้งที่ 3. เดชา บุญค้ า. 2552. การวางผังบริเวณและงานบริเวณ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุ งเทพฯ:บริ ษทั วี.พริ้ นท์ (1991) จากัด. กวี พันธุ์มีเชาว์ และคณะ. เกมลูกเสื อ เนตรนารี 335 เกม (ฉบับปรับปรุ ง).พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา, 2543. นิชฎั คาสมาน. กิจกรรมลูกเสื อ-เนตรนารี. กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์เอมพันธ์ จากัด, 2547. มูลนิธิ , คณะลูกเสื อแห่งชาติ . กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิ จกรรมลูกเสื อ เนตรนารี ม .3. กรุ งเทพฯ : อักษร เจริ ญทัศน์, 2548 มูลนิธิ, คณะลูกเสื อแห่งชาติ. กิจกรรมลูกเสื อเนตรนารีสามัญรุ่ นใหญ่ เครื่องหมายลูกเสื อโลก . กรุ งเทพฯ : อักษรเจริ ญทัศน์, 2538 อานาจ เจริ ญศิลป์ . นิทานรอบกองไฟ. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุ งเทพฯ : รุ่ งแสงการพิมพ์, 2546. ประวัติลูกเสื อ.(2554).[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา: http://www.zoneza.com (วันที่คน้ ข้อมูล: 29 มกราคม 2555) TOTEM POLE.(2554).[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา: http://www.artedchula.com (วันที่คน้ ข้อมูล: 1 กุมพาพันธ์ 2555) ข้ อมูลจังหวัดลาปาง.(2554).[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา: http://www.lampang.go.th (วันที่คน้ ข้อมูล: 15 กุมพาพันธ์ 2555) ผังเมืองรวมลาปาง.(2554).[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา: http://www.lampangcity.go.th (วันที่คน้ ข้อมูล: 17 มีนาคม 2554) ศูนย์วจิ ยั เพื่อสร้างเสริ มความปลอดภัยและป้ องกันการบาดเจ็บในเด็ก . ข้ อกาหนดด้ านความปลอดภัยของ สนามเด็กเล่น.[ระบบออนไลน์ ]. แหล่งที่ มา : http://www.csip.org (วันที่คน้ ข้อมูล : 15 สิ งหาคม 2555) สานักงานลูกเสื อแห่งชาติ . ประเภทของลูกเสื อ . [ระบบออนไลน์ ]. แหล่งที่ มา : http://www.scoutthailand.org (วันที่คน้ ข้อมูล: 9 สิ งหาคม 2555) สานั กงานลูกเสื อจังหวัดลาปาง .ค่ ายลูกเสื อจังหวัดลาปาง .[ระบบออนไลน์ ]. แหล่งที่ มา : http://www.lampangscout.org/ (วันที่คน้ ข้อมูล: 9 สิ งหาคม 2555)
109
สานักงานคณะกรรมการบริ หารลูกเสื อแห่งชาติ .โครงสร้ างรายวิชาในหลักสู ตรลูกเ สื อ.[ระบบออนไลน์ ]. แหล่งที่มา : http://scoutlp.iwarp.com (วันที่คน้ ข้อมูล: 4 กันยายน 2555) ป้ าต่อ.อาจารย์ ค่ายลูกเสื อวชิ ราวุธจังหวัดชลบุรี.2555.สัมภาษณ์.วันที่ 17 เมษายน วิโรจน์ หล่อประดิษฐ์ .ผู้ประสานงาน สานักงานลูกเสื อจังหวัดลาปาง.2555.สัมภาษณ์.วันที่ 10 พฤษภาคม ชานาญ ภคะวา .หัวหน้ าฝ่ ายดูแลและควบคุมค่ ายลูกเสื อจังหวัดสุ รินทร์ .2555.สัมภาษณ์.วันที่ 5 มิถุนายน
110
ภาคผนวก ประวัติลูกเสื อ ความเป็ นมาของลูกเสื อ
ภาพพระบาทสมเด็จพระปรเมทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยูห่ วั ประวัติลูกเสื อโลก ลูกเสื อมาจากคาว่า SCOUT ซึ่ งมีความหมายดังนี้ - S : Sincerity หมายถึง ความจริ งใจ มีน้ าใสใจจริ งต่อกัน - C : Courtesy หมายถึง ความสุ ภาพอ่อนโยน เป็ นผูม้ ีมารยาทดี - O : Obedience หมายถึง การเชื่อฟัง อ่อนน้อมถ่อมตน อยูใ่ นโอวาท - U : Unity หมายถึง ความเป็ นน้ าหนึ่งใจเดียวกัน รู ้รักสามัคคี - T : Thrifty หมายถึง ความมัธยัสถ์ ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด ผูก้ ่อตั้งลูกเสื อโลกคือ ลอร์ ด เบเดน โพเอลล์ ( บี.พี. ) ชาวอังกฤษ ( เกิด ๒๒ กุมภาพันธ์ พ .ศ. ๒๔๐๐ ) ในวัยเด็กชอบท่องเที่ยวพักแรม จึงรักธรรมชาติ ชอบร้องเพลง และมีความรู ้ในการใช้แผนที่เป็ น อย่างดี เมื่ออายุ ๑๙ ปี ได้รับราชการทหารเป็ นร้อยตรี ไปประจาการ ณ ประเทศอินเดียและแอฟริ กา ท่าน เป็ นทหาร มีเงินเดือนน้อยนัก จึงรู ้จกั ใช้จ่ายอย่างประหยัด เข้มแข็งและอดทน
111
หลังจากปลดประจาการแล้ว ได้นาประสบการณ์ตอนเป็ นทหาร เช่น การฝึ กสอนเด็กๆ ให้รู้จกั ทาหน้าที่เป็ นผูส้ ื่ อข่าว และเป็ นผูบ้ าเพ็ญประโยชน์ มาพัฒนาแนวคิด เป็ นขบวนการลูกเสื อ โดยในปี พ .ศ. ๒๔๕๐ ท่านได้รวบรวมเด็ก ๒๐ คน ให้ไปอยูก่ บั ท่านที่เกาะบราวน์ซี ในช่องแคบอังกฤษ ซึ่ งนับเป็ นการ พักแรมครั้งแรกของลูกเสื อ และต่อมาได้มีการก่อตั้งกองลูกเสื อขึ้นอย่างจริ งจัง ท่านลอร์ ด เบเดน โพเอลล์ ( บี.พี. ) ใช้ชีวติ ในบั้นปลายอยูท่ ี่ เคนยา แอฟริ กา ในช่วงอายุ ๘๐ ปี และถึงแก่กรรม เมื่อ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๔ ที่เคนยา แอฟริ กานั้นเอง ประวัติลูกเสื อไทย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๖ ทรงมีพระบรมราชองค์การโปรดเกล้าฯ ให้ สถาปนากองเสื อป่ าขึ้นก่อน เมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๕๔ โดยฝี กอบรมพวกผูใ้ หญ่ เช่นข้าราชการ พลเรื อน ให้เรี ยนรู ้วชิ าการด้านทหาร เพื่อเป็ นกาลังสารองในยามมีศึกสงคราม และเพื่อบาเพ็ญประโยชน์ ต่อประชาชนในยามสงบ เช่นช่วยปราบปรามโจรผูร้ ้ายเป็ นต้น จากนั้นอีกสองเดือนต่อมา คือ ณ วันที่ ๑ กรกฎาคม พ .ศ. ๒๔๕๔ พระองค์ทรงโปรดเกล้าฯ พระราชทานกาเนิดลูกเสื อไทย นับเป็ นประเทศที่ ๓ ของโลก ที่จดั ตั้งกองลูกเสื อขึ้น ต่อจากประเทศ อังกฤษและสหรัฐอเมริ กา โดยมีพระราชประสงค์ปลูกฝังให้เยาวชน รักชาติบา้ นเมือง รักความสามัคคี มี ความมานะอดทน และเสี ยสละเพื่อส่ วนรวม คาปฏิญาณของลูกเสื อ “ด้วยเกียรติของข้า ข้าสัญญาว่า” ข้อ ๑ ข้าจะจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริ ย ์ ข้อ ๒ ข้าจะช่วยเหลือผูอ้ ื่นทุกเมื่อ ข้อ ๓ ข้าจะปฏิบตั ิตามกฎของลูกเสื อ กฎของลูกเสื อ ข้อ ๑ ลูกเสื อมีเกียรติเชื่อถือได้ ข้อ ๒ ลูกเสื อมีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริ ย ์ ข้อ ๓ ลูกเสื อมีหน้าที่กระทาตนให้เป็ นประโยชน์และช่วยเหลือผูอ้ ื่นทุกเมื่อ ข้อ ๔ ลูกเสื อเป็ นมิตรของคนทุกคนและเป็ นพี่นอ้ งกับลูกเสื อทัว่ โลก ข้อ ๕ ลูกเสื อเป็ นผูส้ ุ ภาพเรี ยบร้อย ข้อ ๖ ลูกเสื อมีความเตตากรุ ณาต่อสัตว์
112
ข้อ ๗ ลูกเสื อเชื่อฟังคาสั่งของบิดามารดาและผูบ้ งั คับบัญชาด้วยความเคารพ ข้อ ๘ ลูกเสื อมีใจร่ าเริ งและไม่ยอ่ ท้อต่อความลาบาก ข้อ ๙ ลูกเสื อเป็ นผูม้ ธั ยัสถ์ ข้อ ๑๐ ลูกเสื อประพฤติชอบด้วย กาย วาจา ใจ เครื่องหมายลูกเสื อ
ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชดั ว่าเครื่ องหมายลูกเสื อมาจากที่ใด แต่สันนิษฐานเป็ น 2 ประเด็นว่ามา จากปลายลูกศรของเข็มทิศชาวเรื อสมัยก่อน หรื อจากดอกไม้ชนิดหนึ่ง ชื่อ เฟลอร์ -เอด-ลีร์ (fleur-de-lis) มี ลักษณะเหมือนดอกลิลลี่ หรื อดอกไอริ ช ปัจจุบนั สัญลักษณ์อนั มีลกั ษณะคล้ายดอกไม้ 3 แฉก ใช้เป็ นเครื่ องหมายของลูกเสื อทัว่ ไป ซึ่ งเป็ น สัญลักษณ์แสดงความเป็ นพี่นอ้ งร่ วมขบวนการลูกเสื อที่มีความเป็ นมิตรต่อกันและต่างก็มีความเป็ น พลเมืองที่ดีของประเทศ ส่ วนประกอบสาคัญต่างๆ ของสัญลักษณ์ลูกเสื อข้างต้นนี้แสดงความหมายเป็ นนัย ดังนี้ 1.เครื่ องหมายลูกศรของเข็มทิศ ที่อยูต่ รงกลาง หมายความว่า ลูกเสื อสามารถชี้แนวทางที่ถูกต้องของชีวติ ิ เปรี ยบได้ดงั เข็มทิศที่สามารถชี้บอกทิศทาง 2.ปลายยอด 3 แฉก ส่ วนบนของเครื่ องหมาย เปรี ย บเสมือนรหัสของลูกเสื อ อันหมายถึงคาปฏิญาณ 3 ข้อ ที่ ลูกเสื อต้องยึดถือ 3.ดวงดาว เป็ นสัญลักษณ์แทนอุดมคติและความรู้ของลูกเสื อเปรี ยบเหมือนเป็ นสื่ อนาทางลูกเสื อมิ ให้หลงทางและเสนอแนะความรู ้ชีวติ กลางแจ้งแก่ลูกเสื อ
113
4.แถบคติพจน์ จะเป็ นฐานรองอยูส่ ่ วนกลาง เปรี ยบเสมือน เป็ นปากของลูกเสื อที่ยมิ้ ได้ตลอดเวลาที่ ปฏิบตั ิหน้าที่ 5.ปมเชือก ติดอกตรงส่ วนล่างของเครื่ องหมายเป็ นเครื่ องเตือนบาเพ็ญประโยชน์ทุกโอกาสตามที่ได้ ให้คาปฏิญาณไว้ ที่มา : http://www.dev.mtk.ac.th
114
ประวัตินักศึกษา ชื่อ: นางสาวขวัญชนก เครื อปา เกิด: 9 สิ งหาคม พ.ศ.2532 ทีอ่ ยู่: 201 หมู่ 13 ถนนลาปาง-งาว หมู่บา้ นใหม่พฒั นา ตาบลพิชยั อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง 52000 โทรศัพท์ : 089-5579004 ประวัตินักศึกษา: พ.ศ.2544 สาเร็ จการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา จากโรงเรี ยนพิชยั วิทยา ตาบลพิชยั อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง พ.ศ.2550 สาเร็ จการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษา จากโรงเรี ยนอรุ โณทัยลาปาง ตาบลสบตุ๋ย อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง พ.ศ.2555 สาเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์บณั ฑิต สาขาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบ สิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่