Economic Forecast Press Release (As of Sep 12)

Page 1

ประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2555 และป 2556

THAILAND'S ECONOMIC OUTLOOK 2012-2013 : SEPTEMBER

เดือนกันยายน

สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง

http://www.fpo.go.th


THAILAND’S ECONOMIC OUTLOOK 2012-2013 FISCAL POLICY OFFICE เป้าประสงค์ และ ยุทธศาสตร์ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง 1. ความยั่งยืนทางการคลัง (Fiscal Sustainability) + เสนอแนะนโยบายและมาตรการด้านการคลัง เพื่อให้ภาคการคลังของประเทศมีความแข็งแกร่งยั่งยืน เป็นที่น่าเชื่อถือ และเป็นหลักของ ระบบเศรษฐกิจไทย 2. การพัฒนาความแข็งแกร่งของระบบการเงินที่ยั่งยืน (Sustainable Financial System Development) + เสนอแนะนโยบายและมาตรการด้านการเงิน เพื่อให้ภาคการเงินแข็งแกร่ง มีประสิทธิภาพ และเอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศ 3. เศรษฐกิจและสังคมที่ยั่งยืน (Sustainable Economic and Social Development) + เสนอแนะนโยบายและมาตรการด้านเศรษฐกิจมหภาคและระหว่างประเทศเพื่อให้ระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพอย่างต่อเนื่อง + เสนอแนะนโยบายที่เกี่ยวข้องเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศ + เสนอแนะนโยบายที่เกี่ยวข้องเพื่อกระจายความมั่งคั่ง สู่ภูมิภาคและเศรษฐกิจฐานราก + เสนอแนะนโยบายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ประชาชนมีรายได้ และมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น 4. ความมีประสิทธิภาพ ความทันสมัย และความโปร่งใสในการท�ำงาน (Modernization of Management and Good Governance Promotion) + ด�ำเนินการเพื่อให้เป็นองค์กรเรียนรู้ เป็นที่ยอมรับด้านความสามารถของบุคลากร + ด�ำเนินการเพื่อให้การท�ำงานและการให้บริการโปร่งใส มีประสิทธิภาพ และตรวจสอบได้ โดยใช้ระบบ IT ลดขั้นตอนการท�ำงาน

กลยุทธ์ ส�ำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค : “เสาหลักด้านเศรษฐกิจมหภาคอย่างมืออาชีพ” “วิเคราะห์สถานการณ์เศรษฐกิจได้อย่างมีคุณภาพ แม่นย�ำ และทันต่อเหตุการณ์ เพื่อให้สามารถเสนอแนะนโยบายเศรษฐกิจมหภาคได้อย่าง มีประสิทธิภาพ รวมทั้งสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องต่อสาธารณชน”

ช่องทางใหม่ในการติดตามสถานการณ์เศรษฐกิจ

ขั้นตอนการใช้งานผ่านอุปกรณ์ iPad iPhone / ระบบปฏิบัติการ Android 1 โหลด App ชื่อ “ebooks.in.th” จาก App Store / Android Market 2 เปิด App “ebooks.in.th” แล้ว Search ค�ำว่า “Fiscal Policy Office” 3 เลือกหนังสือและบทความที่ท่านต้องการอ่าน เพื่อเก็บไว้ที่ตู้หนังสือ 4 เลือก Icon “Bookshelf” เพื่ออ่านหนังสือที่ต้องการ (ในครั้งแรกต้องลงทะเบียนก่อนใช้งาน)



THAILAND’S ECONOMIC OUTLOOK 2012-2013 : SEPTEMBER FISCAL POLICY OFFICE

สารบัญ 1. ประมาณการเศรษฐกิจไทย บทสรุปผู้บริหาร Executive Summary ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2555 และปี 2556 (ณ เดือนกันยายน 2555) 1.1 สมมติฐานหลักในการประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2555 และปี 2556 1.2 ผลการประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2555 และปี 2556

หน้า 3 7 11 12 30

2. ภาคการคลัง : รายงานสรุปสถานการณ์ด้านการคลังในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555

43

3. บทวิเคราะห์เศรษฐกิจ : Macroeconomic Analysis Briefings 3.1 การฟื้นตัวของอุตสาหกรรมหลังมหาอุทกภัย พ.ศ. 2554 3.2 แนวทางการพัฒนาการจัดจ�ำหน่ายกองทุนรวมของไทย (ตอนที่ 1) 3.3 หมู่เกาะเซนกากุ/เตียวหยู : กรณีพิพาทญี่ปุ่น-จีน และผลกระทบต่อไทย 3.4 อนาคตข้าวไทยกับความเสี่ยงที่ต้องฝ่าฟัน 3.5 เสถียรภาพในภาคการธนาคาร : อุปสรรคต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจอังกฤษ 3.6 US Fiscal Cliff : Is Thailand falling off ? 3.7 ฝ่าวิกฤตเศรษฐกิจกับการลงทุนภาครัฐ

51 58 67 73 81 90 94

4. ภาคการเงิน : รายงานภาวะเศรษฐกิจการเงินไทยในไตรมาสที่ 3 ปี 2555

102

5. Thailand’s Key Economic Indicators

106

คณะผู้จัดท�ำ : ส�ำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง โทรศัพท์ 02-273-9020 ต่อ 3257 โทรสาร 02-298-5602 / 02-618-3397 http:// www.fpo.go.th


บทสรุปผู้บริหาร

ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2555 และปี 2556 (ณ เดือนกันยายน 2555) รายงานประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2555 และปี 2556 “เศรษฐกิจไทยปี 2555 มีแนวโน้มฟื้นตัวจากอุทกภัยอย่างรวดเร็ว และคาดว่าจะยังคงขยายตัวได้อย่างต่อเนื่องในปี 2556” ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ประเมินว่า เศรษฐกิจไทยในปี 2555 คาดว่าจะขยายตัวได้ที่ร้อยละ 5.5 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 5.3–5.8) เร่งขึ้นจากปีก่อนหน้าตามปัญหาข้อจ�ำกัดในภาคการผลิตที่เริ่มคลี่คลายลง ตามล�ำดับ ประกอบกับอุปสงค์ภาคเอกชนทั้งการบริโภคภาคเอกชนและการลงทุนภาคเอกชนที่สามารถฟื้นกลับสู่ ระดับก่อนอุทกภัยได้แล้ว นอกจากนี้ นโยบายของภาครัฐ อาทิ การเพิ่มรายได้แรงงานรายวันและเงินเดือนข้าราชการ การรับจ�ำน�ำข้าวเปลือก โครงการรถยนต์คันแรก โครงการบ้านหลังแรก และการทยอยปรับลดภาษีเงินได้นิติบุคคล ยังมีส่วนสนับสนุนการใช้จ่ายภายในประเทศ ขณะที่การบริโภคและการลงทุนภาครัฐมีบทบาทในการสนับสนุน การฟืน้ ตัวทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม ภาคการส่งออกสินค้าและบริการคาดว่าจะชะลอลงตามภาวะเศรษฐกิจโลกทีย่ งั คง อ่อนแอและผันผวนสูงจากปัญหาหนี้สาธารณะในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป ส�ำหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจภายใน ประเทศ คาดว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2555 จะอยู่ที่ร้อยละ 3.3 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.0–3.5) ลดลงจาก ปีก่อนหน้า ตามราคาน�้ำมันและสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกที่มีแนวโน้มขยายตัวในอัตราชะลอลง อันเป็นผลมาจาก อุปสงค์น�้ำมันในตลาดโลกที่ชะลอลง ประกอบกับผลจากแนวทางการดูแลราคาน�้ำมันขายปลีกของภาครัฐ ส�ำหรับเศรษฐกิจไทยในปี 2556 ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลังคาดว่าเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มขยายตัวได้อย่าง ต่อเนื่องที่ร้อยละ 5.2 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 4.7–5.7) โดยมีแรงขับเคลื่อนหลักจากอุปสงค์ภาครัฐและอุปสงค์ จากต่างประเทศทีค่ าดว่าจะยังคงขยายตัวได้ อันมีปจั จัยสนับสนุนจากการเบิกจ่ายตามแผนบริหารจัดการน�ำ้ ในระยะยาว ของภาครัฐวงเงินลงทุนรวม 3.5 แสนล้านบาท ทีค่ าดว่าจะเริม่ ทยอยลงทุนได้มากขึน้ ในปี 2556 ประกอบกับสถานการณ์ เศรษฐกิจโลกทีแ่ ม้วา่ จะยังคงมีความเสีย่ ง แต่มแี นวโน้มว่าจะเริม่ ฟืน้ ตัวขึน้ ตามล�ำดับ อย่างไรก็ตาม อุปสงค์ภาคเอกชน มีแนวโน้มชะลอลง ภายหลังจากที่มีการเร่งการบริโภคและการลงทุนเพื่อฟื้นฟูภายหลังเหตุการณ์อุทกภัยไปมากแล้ว ในปีกอ่ น ในด้านเสถียรภาพภายในประเทศ คาดว่าอัตราเงินเฟ้อทัว่ ไปในปี 2556 จะอยูท่ รี่ อ้ ยละ 3.5 (โดยมีชว่ งคาดการณ์ ที่ร้อยละ 3.0–4.0) ตามอุปสงค์น�้ำมันในตลาดโลกที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นตามแนวโน้มการเติบโตของเศรษฐกิจในเอเชีย

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

3


ตารางสรุปสมมติฐานและผลการประมาณการเศรษฐกิจปี 2554 และปี 2555 (ณ เดือนกันยายน 2555) 2555 f 2556 f (ณ กันยายน 2555) (ณ กันยายน 2555) เฉลี่ย ช่วง เฉลีย่ ช่วง

2554 สมมติฐานหลัก สมมติฐานภายนอก 1) อัตราการขยายตัวเฉลี่ย 14 ประเทศคู่ค้าหลัก (ร้อยละต่อปี) 4.0 3.6 3.4-3.9 2) ราคาน�้ำมันดิบดูไบ (ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล) 105.6 113.0 110.5-115.5 3) ราคาสินค้าส่งออกในรูปดอลลาร์สหรัฐ (ร้อยละต่อปี) 5.6 1.0 0.5-1.5 4) ราคาสินค้าน�ำเข้าในรูปดอลลาร์สหรัฐ (ร้อยละต่อปี) 10.1 2.6 2.1-3.1 สมมติฐานด้านนโยบาย 5) อัตราแลกเปลี่ยน (บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ) 30.50 31.25 30.75-31.75 6) อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทย ณ สิ้นปี (ร้อยละต่อปี) 3.25 3.00 2.75-3.25 7) รายจ่ายภาคสาธารณะตามปีงบประมาณ (ล้านล้านบาท) 2.77 2.90 2.89-2.91 ผลการประมาณการ 1) อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (ร้อยละต่อปี) 0.1 5.5 5.3-5.8 2) อัตราการขยายตัวของการบริโภครวม (ร้อยละต่อปี) 1.3 4.9 4.7-5.2 - การบริโภคภาคเอกชน (ณ ราคาคงที่) (ร้อยละต่อปี) 1.3 5.2 5.0-5.5 - การบริโภคภาครัฐ (ณ ราคาคงที่) (ร้อยละต่อปี) 1.1 3.0 2.8-3.3 3) อัตราการขยายตัวของการลงทุนรวม (ร้อยละต่อปี) 3.3 12.8 12.3-13.3 - การลงทุนภาคเอกชน (ณ ราคาคงที่) (ร้อยละต่อปี) 7.2 14.1 13.6-14.6 - การลงทุนภาครัฐ (ณ ราคาคงที่) (ร้อยละต่อปี) -8.7 8.1 7.6-8.6 4) อัตราการขยายตัวปริมาณส่งออกสินค้าและบริการ (ร้อยละต่อปี) 9.5 3.7 3.2-4.2 5) อัตราการขยายตัวปริมาณน�ำเข้าสินค้าและบริการ (ร้อยละต่อปี) 13.7 6.6 6.1-7.1 6) ดุลการค้า (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) 17.0 5.6 5.1-6.1 - สินค้าส่งออกในรูปดอลลาร์สหรัฐ (ร้อยละต่อปี) 14.3 4.5 4.0-5.0 - สินค้าน�ำเข้าในรูปดอลลาร์สหรัฐ (ร้อยละต่อปี) 24.9 10.5 10.0-11.0 7) ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) 5.9 -2.0 -2.9 ถึง -1.0 - ร้อยละของ GDP 3.4 -0.5 -0.8 ถึง -0.3 8) อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (ร้อยละต่อปี) 3.8 3.3 3.0-3.5 อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (ร้อยละต่อปี) 2.4 2.0 1.7-2.2 9) อัตราการว่างงาน (ร้อยละของก�ำลังแรงงานรวม) 0.7 0.6 0.5-0.7 f = ประมาณการ โดยส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.)

4

4.1 3.6-4.6 118.0 113.0-123.0 3.0 2.0-4.0 4.5 3.5-5.5 31.00 30.00-32.00 3.00 2.50-3.50 3.10 3.09-3.11 5.2 3.9 4.0 3.2 11.4 10.0 16.9 7.3 5.4 5.0 10.5 11.0 -2.1 -0.5 3.5 2.1 0.6

4.7-5.7 3.4-4.4 3.5-4.5 2.7-3.7 10.4-12.4 9.0-11.0 15.9-17.9 6.3-8.3 4.4-6.4 4.0-6.0 9.5-11.5 10.0-12.0 -4.0 ถึง -0.1 -1.0 ถึง 0.0 3.0-4.0 1.6-2.6 0.5-0.7


1. ประมาณการเศรษฐกิจไทยในปี 2555 1.1 ด้านการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจไทยในปี 2555 คาดว่าจะขยายตัวในอัตราร้อยละ 5.5 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 5.3–5.8) เป็นการฟื้นตัว เร่งขึ้นกลับเข้าสู่ภาวะปกติได้อย่างรวดเร็วจากปีก่อนหน้าที่ขยายตัวเพียงร้อยละ 0.1 เนื่องจากปัญหาข้อจ�ำกัดในภาคการผลิต ทีส่ บื เนือ่ งจากอุทกภัยเริม่ คลีค่ ลายลงตามล�ำดับ โดยเฉพาะการผลิตภาคอุตสาหกรรมของไทยทีฟ่ น้ื ตัวต่อเนือ่ ง จากการทีโ่ รงงาน อุตสาหกรรมสามารถกลับมาท�ำการผลิตได้และมีการเร่งผลิตเพือ่ ตอบสนองค�ำสัง่ ซือ้ ทีย่ งั ค้างอยู่ ประกอบกับอุปสงค์ภาคเอกชน ที่สามารถฟื้นตัวอย่างแข็งแกร่งและกลับสู่ระดับก่อนอุทกภัยได้แล้ว โดยการลงทุนภาคเอกชนคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 14.1 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 13.6–14.6) เร่งขึ้นตามแผนขยายการลงทุนของผู้ประกอบการเพื่อรองรับความต้องการสินค้า ที่ยังมีแนวโน้มว่าจะขยายตัวได้ดี ประกอบกับความจ�ำเป็นของผู้ประกอบการภาคธุรกิจในการเร่งลงทุนเพื่อฟื้นฟูความเสียหาย ของอาคารบ้านเรือนและซ่อมแซมเครือ่ งมือเครือ่ งจักรในภาคอุตสาหกรรมจากภาวะอุทกภัย ซึง่ สอดคล้องกับการน�ำเข้าสินค้าทุน ที่ยังขยายตัวได้ ขณะที่การบริโภคภาคเอกชนคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 5.2 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 5.0–5.5) เร่งขึ้นจาก ปีก่อนหน้า ซึ่งมีปัจจัยสนับสนุนจากแนวโน้มรายได้ของประชาชนที่อยู่ในเกณฑ์ดี โดยเฉพาะรายได้ภาคเกษตรที่มีแนวโน้ม ขยายตัวได้ในช่วงครึ่งหลังของปีตามปริมาณผลผลิตที่ขยายตัว และราคาสินค้าเกษตรที่คาดว่าจะยังได้ประโยชน์จากมาตรการ แทรกแซงราคาของภาครัฐ ขณะที่รายได้นอกภาคเกษตรกรรมมีแนวโน้มที่ดีเช่นกันตามการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต�่ ำและเงินเดือน ข้าราชการ ส�ำหรับการใช้จา่ ยภาครัฐคาดว่าจะยังคงมีบทบาทในการสนับสนุนการฟืน้ ตัวทางเศรษฐกิจได้อย่างต่อเนือ่ ง โดยคาดว่า การบริโภคภาครัฐจะขยายตัวร้อยละ 3.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.8–3.3) และการลงทุนภาครัฐคาดว่าจะขยายตัว ร้อยละ 8.1 (โดยมีชว่ งคาดการณ์ทรี่ อ้ ยละ 7.6–8.6) ตามการใช้จา่ ยในโครงการภาครัฐ ทัง้ มาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจระยะสัน้ อาทิ การปรับขึ้นเงินเดือนข้าราชการ และมาตรการในส่วนของแผนการบริหารจัดการน�้ำในระยะยาวของภาครัฐวงเงินลงทุนรวม 3.5 แสนล้านบาท ทีเ่ ริม่ ทยอยลงทุนได้ตงั้ แต่ชว่ งครึง่ หลังของปี 2555 เป็นต้นไป ซึง่ มาตรการภาครัฐดังกล่าวจะเป็นแรงสนับสนุน ส�ำคัญที่ช่วยให้เศรษฐกิจไทยฟื้นตัวได้อย่างต่อเนื่อง ส�ำหรับปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการคาดว่าจะชะลอลงมาขยายตัว ที่ร้อยละ 3.7 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.2–4.2) ตามอุปสงค์ต่อสินค้าส่งออกของไทยที่คาดว่าจะลดลง จากเศรษฐกิจโลก ที่ยังคงอ่อนแอและผันผวนสูงจากปัญหาหนี้สาธารณะในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปที่ขยายวงกว้างและมีทีท่าว่าจะยืดเยื้อ ประกอบกับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาและเอเชียยังคงมีความเสี่ยง อย่างไรก็ตาม การส่งออกด้านบริการคาดว่า จะขยายตัวได้ตามการฟืน้ ตัวของภาคการท่องเทีย่ ว ขณะทีป่ ริมาณการน�ำเข้าสินค้าและบริการคาดว่าจะเร่งตัวสูงกว่าการส่งออก โดยจะขยายตัวร้อยละ 6.6 (โดยมีชว่ งคาดการณ์ทรี่ อ้ ยละ 6.1–7.1) ตามอุปสงค์ภายในประเทศทีเ่ ร่งตัวภายหลังอุทกภัย ประกอบกับ ความต้องการน�ำเข้าสินค้าทุนเพื่อฟื้นฟูความเสียหายของภาคการผลิตจากเหตุการณ์อุทกภัย 1.2 ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ เสถียรภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ ในด้านอัตราเงินเฟ้อทัว่ ไปในปี 2555 คาดว่าจะอยูท่ รี่ อ้ ยละ 3.3 (โดยมีชว่ งคาดการณ์ ที่ร้อยละ 3.0–3.5) ลดลงจากปีก่อนหน้า จากราคาน�้ำมันและสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกที่มีแนวโน้มขยายตัวในอัตราชะลอลง อันเป็นผลมาจากอุปสงค์น�้ำมันในตลาดโลกที่ชะลอลงตามแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกที่เปราะบาง ประกอบกับ ผลจากแนวทางการดูแลราคาน�ำ้ มันขายปลีกของภาครัฐ โดยเฉพาะในส่วนของการชะลอการกลับมาจัดเก็บภาษีสรรพสามิตน�ำ้ มัน เชื้อเพลิงออกไปเป็นช่วงต้นปี 2556 เพื่อดูแลราคาน�้ำมันขายปลีกภายในประเทศ ส่วนอัตราการว่างงานคาดว่าจะยังคง อยูใ่ นระดับต�ำ่ ทีร่ อ้ ยละ 0.6 ของก�ำลังแรงงานรวม (โดยมีชว่ งคาดการณ์ทรี่ อ้ ยละ 0.5–0.7 ของก�ำลังแรงงานรวม) ในด้านเสถียรภาพ ภายนอกประเทศ คาดว่าดุลบัญชีเดินสะพัดจะขาดดุลที่ 2.0 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือคิดเป็นร้อยละ 0.5 ของ GDP (โดยมี ช่วงคาดการณ์ทรี่ อ้ ยละ 0.3-0.8 ของ GDP) เนือ่ งจากดุลบริการ รายได้ และเงินโอนทีค่ าดว่าจะขาดดุลค่อนข้างมาก ตามรายจ่าย ค่าระวางสินค้าทีม่ แี นวโน้มเพิม่ ขึน้ มากจากการน�ำเข้าสินค้าทีค่ าดว่าจะขยายตัว ประกอบกับดุลการค้าทีค่ าดว่าจะเกินดุลลดลง มาอยู่ที่ 5.6 พันล้านเหรียญสหรัฐ (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ 5.1–6.1 พันล้านเหรียญสหรัฐ) ตามมูลค่าสินค้าน�ำเข้าที่คาดว่า จะขยายตัวในอัตราเร่งกว่ามูลค่าสินค้าส่งออก โดยคาดว่ามูลค่าน�ำเข้าสินค้าในปี 2555 จะขยายตัวร้อยละ 10.5 (โดยมีชว่ งคาดการณ์ ที่ร้อยละ 10.0–11.0) ขณะที่มูลค่าส่งออกสินค้าคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.5 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 4.0–5.0) ประมาณการเศรษฐกิจไทย

5


2. คาดการณ์เศรษฐกิจไทยในปี 2556 2.1 ด้านการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจไทยในปี 2556 คาดว่าจะขยายตัวอย่างต่อเนื่องในอัตราร้อยละ 5.2 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 4.7–5.7) ซึง่ จะมีแรงขับเคลือ่ นหลักจากอุปสงค์ภาครัฐและอุปสงค์จากต่างประเทศทีค่ าดว่าจะยังคงขยายตัวได้ โดยการลงทุนภาครัฐคาดว่า จะขยายตัวได้ในระดับสูงทีร่ อ้ ยละ 16.9 (โดยมีชว่ งคาดการณ์ทรี่ อ้ ยละ 15.9 -17.9) อันมีปจั จัยสนับสนุนจากทัง้ รายจ่ายงบประมาณ และรายจ่ายตามแผนบริหารจัดการน�ำ้ ในระยะยาวของภาครัฐวงเงินลงทุนรวม 3.5 แสนล้านบาท ทีค่ าดว่าจะเริม่ ทยอยลงทุนได้ มากขึน้ ในปี 2556 ขณะทีก่ ารบริโภคภาครัฐคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.2 (โดยมีชว่ งคาดการณ์ทรี่ อ้ ยละ 2.7–3.7) ตามการเบิกจ่าย งบประมาณประจ�ำปีของรัฐบาลในปี 2556 ทีค่ าดว่าจะเป็นไปอย่างต่อเนือ่ ง นอกจากนี้ สถานการณ์เศรษฐกิจโลกทีแ่ ม้วา่ จะยังคง มีความเสี่ยง แต่มีแนวโน้มว่าจะเริ่มฟื้นตัวขึ้นได้ในช่วงปลายปี 2556 และคาดว่าจะช่วยสนับสนุนให้ปริมาณการส่งออกสินค้า และบริการฟืน้ ตัวกลับเข้าสูร่ ะดับการขยายตัวทีร่ อ้ ยละ 7.3 (โดยมีชว่ งคาดการณ์ทรี่ อ้ ยละ 6.3–8.3) ส่วนปริมาณการน�ำเข้าสินค้า และบริการคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 5.4 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 4.4–6.4) อย่างไรก็ตาม อุปสงค์ภาคเอกชนมีแนวโน้ม ที่จะขยายตัวในอัตราชะลอลงกลับสู่ระดับการขยายตัวปกติ ภายหลังจากที่ผู้ประกอบการได้เร่งลงทุนเพื่อฟื้นฟูไปมากแล้ว ในช่วงปีก่อนหน้า ขณะที่อุปสงค์เพื่อการบริโภคที่อั้นมาจากช่วงอุทกภัยได้รับการตอบสนองไปแล้ว โดยการบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวชะลอลงจากปีก่อนมาอยู่ที่ร้อยละ 4.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.5–4.5) ส่วนการลงทุนภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 10.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 9.0–11.0) 2.2 ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ เสถียรภาพภายในประเทศ ในด้านอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2556 คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 3.5 (โดยมีช่วงคาดการณ์ ที่ร้อยละ 3.0–4.0) ตามอุปสงค์น�้ำมันในตลาดโลกที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นตามแนวโน้มการเติบโตของเศรษฐกิจเอเชีย ส่วน อัตราการว่างงานคาดว่าจะยังคงอยู่ในระดับต�่ำที่ร้อยละ 0.6 ของก�ำลังแรงงานรวม (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.5–0.7 ของ ก�ำลังแรงงานรวม) ในด้านเสถียรภาพภายนอกประเทศ คาดว่าดุลบัญชีเดินสะพัดจะขาดดุลเล็กน้อยที่ 2.1 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือคิดเป็นร้อยละ 0.5 ของ GDP (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.0–1.0 ของ GDP) เนื่องจากดุลการค้าที่คาดว่าจะเกินดุล ลดลงมาอยู่ที่ 5.0 พันล้านเหรียญสหรัฐ (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ 4.0–6.0 พันล้านเหรียญสหรัฐ) ตามมูลค่าสินค้าน�ำเข้าที่คาดว่า จะขยายตัวในอัตราเร่งกว่ามูลค่าสินค้าส่งออก โดยคาดว่ามูลค่าน�ำเข้าสินค้าในปี 2556 จะขยายตัวร้อยละ 11.0 (โดยมีชว่ งคาดการณ์ ที่ร้อยละ 10.0–12.0) ขณะที่มูลค่าส่งออกสินค้าคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 10.5 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 9.5-11.5)

6


Executive Summary

Thailand’s Economic Projection for 2012 and 2013 (As of September 2012) Thailand’s Economic Outlook Projection 2012 and 2013 The Thai economy in 2012 quickly recovers from the flood last year and it is expected to grow further in 2013. Dr. Somchai Sajjapongse, the Director-General of the Fiscal Policy Office (FPO) announced Thailand’s economic projections as of September 2012. The Thai economy is forecasted to rebound at a rate of 5.5 percent (within a range of 5.3-5.8 percent), accelerating from the previous year as production constraints have been relieved. Consumption spending and private investment have returned to their normal conditions. Moreover, the stimulus measures e.g. the higher minimum wage policy for low-income workers and government officials, the first-time car buyer program, the first-time house buyer program, the reduction of corporate income taxes, and the rice mortgage scheme have proved to be supportive of domestic spending. Public consumption and public investment still play important roles in boosting economic recovery. Nonetheless, external demand is anticipated to grow at a decreasing rate due to risks from the global economic slowdown, especially from the European sovereign debt crisis. For internal stability, headline inflation in 2012 is anticipated to be 3.3 percent (or within a range of 3.0-3.5 percent), which is lower than the previous year. The decline is attributed to the slowdown in the growth of fuel prices due to the lower growth of fuel demand following the fragile global economic recovery and the government’s fuel retail price controls. The Thai economy in 2013 is projected to grow at a rate of 5.2 percent (within a range of 4.7-5.7 percent). The main drivers will be the expansion of demand from public and external sectors, with the supportive factors such as the 350-billion-baht long-term water management investment scheme, to be gradually invested in 2013, and an improvement in the global economy. The strength of the global economic recovery, however, faces some uncertainty. Domestic private demand is expected to slow down to normal levels after showing a high rate of expansion in 2012, from the reconstruction following the flood. For internal stability, headline inflation in 2013 is expected to be 3.5 percent (or within a range of 3.0-4.0 percent) following higher demand for energy driven by the increasing growth of Asian economies. The Director-General of the Fiscal Policy Office (FPO) also added that “In composing the economic outlook projections, it is necessary to closely analyze the following risk factors: the speed of the economic recovery of Thailand’s major trading partners, the budget disbursement rate, the impact of capital movements, and the political situations of other countries which may affect the Thai economy.”

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

7


Major Assumptions and Economic Projections of 2012 and 2013 (As of Sep 2012) 2011 Major Assumptions Exogenous Variables 1) Average Economic Growth Rate of Major Trading Partners 4.0 (% y-o-y) 2) Dubai Crude Oil Price (U.S. dollar per Barrel) 105.6 3) Export price in U.S. dollar (% y-o-y) 5.6 4) Import price in U.S. dollar (% y-o-y) 10.1 Policy Variables 5) Exchange Rate (Baht per U.S. dollars) 30.5 6) Repurchase Rate (Policy Rate) at year-end (% y-o-y) 3.25 7) Fiscal-Year Pubic Expenditure (Trillion Baht) 2.77 Projections 1) Economic Growth Rate (percent y-o-y) 0.1 2) Real Consumption Growth (percent y-o-y) 1.3 - Real Private Consumption 1.3 - Real Public Consumption 1.4 3) Real Investment Growth (percent y-o-y) 3.3 - Real Private Investment 7.2 - Real Public Investment -8.7 4) Export Volume of Goods and Services (percent y-o-y) 9.5 5) Import Volume of Goods and Services (percent y-o-y) 13.7 6) Trade Balance (billion U.S. dollar) 17.0 - Export Value of Goods in U.S. dollar (percent y-o-y) 14.3 - Import Value of Goods in U.S. dollar (percent y-o-y) 24.9 7) Current Account (billion U.S. dollar) 5.9 - Percentage of GDP 3.4 8) Headline Inflation (percent y-o-y) 3.8 Core Inflation (percent y-o-y) 2.4 9) Unemployment Rate (percentage of total labor force) 0.7 f = forecast by Fiscal Policy Office, Ministry of Finance, Thailand

8

2012 f 2013 f (As of Sep 2012) (As of Sep 2012) Average Range Average Range

3.6

3.4-3.9

4.1

3.6-4.6

113.0 110.5-115.5 118.0 113.0-123.0 1.0 0.5-1.5 3.0 2.0-4.0 2.6 2.1-3.1 4.5 3.5-5.5 31.25 30.75-31.75 31.00 30.00-32.00 3.00 2.75-3.25 3.00 2.50-3.50 2.90 2.89-2.91 3.10 3.09-3.11 5.5 5.3-5.8 4.9 4.7-5.2 5.2 5.0-5.5 3.0 2.8-3.3 12.8 12.3-13.3 14.1 13.6-14.6 8.1 7.6-8.6 3.7 3.2-4.2 6.6 6.1-7.1 5.6 5.1-6.1 4.5 4.0-5.0 10.5 10.0-11.0 -2.0 -2.9 to -1.0 -0.5 -0.8 to -0.3 3.3 3.0-3.5 2.0 1.7-2.2 0.6 0.5-0.7

5.2 4.7-5.7 3.9 3.4-4.4 4.0 3.5-4.5 3.2 2.7-3.7 11.4 10.4-12.4 10.0 9.0-11.0 16.9 15.9-17.9 7.3 6.3-8.3 5.4 4.4-6.4 5.0 4.0-6.0 10.5 9.5-11.5 11.0 10.0-12.0 -2.1 -4.0 to -0.1 -0.5 -1.0 to 0.0 3.5 3.0-4.0 2.1 1.6-2.6 0.6 0.5-0.7


1. Thailand’s Economic Projections 2012 and 2013 1.1 Economic Growth The Thai economy in 2012 is projected to grow at an annual rate of 5.5 percent (or within a range of 5.3-5.8 percent), returning to normal levels, following its sharp decline in 2011 to 0.1 percent due to the flooding. The manufacturing sector has increased production in response to continuously increasing demand. Private investment has also returned to past levels, with an expected annual rate of 14.1 percent (or within a range of 13.6-14.6 percent) in response to the growing demand. This is in line with higher imports of the machinery. Private consumption is projected to grow at 5.2 percent (or within a range of 5.0-5.5 percent) supported by higher income in the agricultural sector especially in the latter half of 2012 following the growth of agricultural products and higher agriculture prices which have benefited from the government’s pricing measures. Income in non-agricultural sectors has also grown, partly from government measures to increase the minimum wages and salaries. Public spending plays an important role in supporting the economic recovery. It is expected that public consumption will grow at a rate of 3.0 percent (or within a range of 2.8-3.3 percent). Public investment is expected to grow 8.1 percent (or within a range of 7.6-8.6 percent), following an increase in salary rates for government officials and the 350-billion-baht long-term water management investment scheme, to be gradually invested after mid-2012. Nonetheless, export demand is anticipated to grow at a lower rate of 3.7 percent (or within a range of 3.2-4.2 percent) mainly from the lower external demand due to risks from the global economic slowdown and the European sovereign debt crisis that expands to the real and financial sector of the EU member countries. Furthermore, the recovery of the US and Asian economies still remain fragile. Export of services is expected to grow from the recovery of the tourism sector whereas the import volume of goods and services is expected to grow at a faster rate of 6.6 percent (or within a range of 6.1-7.1 percent) due to the demand for raw materials and capital goods to refurnish property damaged in the flood of 2011. 1.2 Economic Stability For internal stability, headline inflation in 2012 is expected to be 3.3 percent (or within a range of 3.0-3.5 percent), lower than that of the previous year due to the slower growth of world fuel and commodity prices, contributed mainly by lower global demand. Government measures, especially the diesel excise tax cut, and government controls on fuel retail prices have also supported the lower growth of fuel prices. Unemployment rate is expected to stay at its current low level of 0.6 percent (or within a range of 0.5-0.7 percent of the total labor force). On external stability, the current account in 2012 is projected to record a small deficit of USD 2.0 billion, accounting for 0.5 percent of GDP (or within a range of 0.3-0.8 percent of GDP) as the service balances, remittances, and transfers are expected to face a deficit with respect to freight payments following the higher imports. In 2012, Thailand is expected to achieve a lower trade surplus at USD 5.6 billion (or within a range of USD 5.1-6.1 billion), as import growth is expected to be higher than export growth. Import growth in 2012 is expected to increase at 10.5 percent per year (or within a range of 10.0-11.0 percent) whereas the export value is predicted to grow by 4.5 percent (or within a range of 4.0–5.0 percent).

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

9


2. Thai Economy in 2013 2.1 Economic Growth The Thai economy in 2013 is projected to grow at an annual rate of 5.2 percent (or within a range of 4.7-5.7 percent). The main driver will be the continuous expansion of demand from public and external sectors. Public investment will grow at a high expected annual rate of 16.9 percent (or within a range of 15.9-17.9 percent) supported by the annual budget disbursement and the 350-billion-baht long-term water management investment scheme which will be continuously invested in 2013. Public consumption is expected to grow at a rate of 3.2 percent (or within a range of 2.7-3.7 percent). Furthermore, the global economy is expected to show an improvement in 2013, resulting in the expansion of exports of goods and services at a rate of 7.3 percent (or within a range of 6.3-8.3 percent). This is in line with expected higher imports, projected to grow at 5.4 percent (or within a range of 4.4-6.4 percent). Nevertheless, domestic private demand is expected to slow down to past levels following the completion of recovery efforts associated with last year’s flood. Private consumption is expected to grow slower from 2012 to a rate of 4.0 percent (or within a range of 3.5-4.5 percent) whereas private investment will grow at a rate of 10.0 percent (or within a range of 9.0-11.0 percent). 2.2 Economic Stability For internal stability, headline inflation in 2013 is expected to be 3.5 percent (or within a range of 3.0-4.0 percent), due to the higher global demand for fuel, especially from Asian markets. Unemployment is expected to stay at its current low level of 0.6 percent (or within a range of 0.5-0.7 percent of the total labor force). On external stability, the current account in 2013 is projected to record a deficit of USD 2.1 billion, accounting for 0.5 percent of GDP (or within a range of 0.0-1.0 percent of GDP). Thailand’s trade balance is expected to record a smaller surplus at USD 5.0 billion (or within a range of USD 4.0-6.0 billion) following the higher imports. The import growth is expected to increase at 11.0 percent per year (or within a range of 10.0-12.0 percent) whereas the value of exports is predicted to grow by 10.5 percent (or within a range of 9.5-11.5 percent).

10


ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2555 และปี 2556 (ณ เดือนกันยายน 2555) ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) คาดว่าเศรษฐกิจไทยในปี 2555 จะขยายตัวที่ร้อยละ 5.5 โดยมีช่วง คาดการณ์ที่ร้อยละ 5.3-5.8 ในขณะที่อัตราการขยายตัวปี 2556 คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 5.2 โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ ร้อยละ 4.7-5.7 โดยมีการปรับปรุงข้อมูลและสมมติฐานที่ส�ำคัญดังนี้ ปรับฐานข้อมูลอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในไตรมาสที่ 1 และไตรมาสที่ 2 ในปี 2555 ที่ขยายตัวที่ ร้อยละ 0.4 และร้อยละ 4.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตามล�ำดับ ตามที่ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ (สศช.) แถลงเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2555 ❍❍

เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจมหภาคในช่วง 8 เดือนแรกของปี 2555 บ่งชี้ว่า ภาคบริการขยายตัวได้ดีต่อเนื่องและ มีบทบาทส�ำคัญในการช่วยสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในช่วงที่ผ่านมา สะท้อนจากจ�ำนวนนักท่องเที่ยวที่ขยายตัว ระดับสูงถึงร้อยละ 8.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ส�ำหรับด้านการผลิต ภาคการเกษตรยังขยายตัวอยู่ในเกณฑ์ดีตาม สภาวะภูมิอากาศที่เอื้ออ�ำนวยต่อการเพาะปลูกผลผลิต แม้ว่าราคาสินค้าเกษตรปรับลดลง แต่มีนโยบายรับจ�ำน�ำข้าวของ ภาครัฐมีส่วนช่วยให้รายได้เกษตรกรไม่หดตัวมากนัก อย่างไรก็ตาม ภาคอุตสาหกรรมมีการชะลอตัวลงอย่างเห็นได้ชัด โดย เป็นการลดลงของอุตสาหกรรมส�ำคัญ คือ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้า ตามการฟื้นตัวที่ค่อนข้างช้าจาก ผลกระทบน�ำ้ ท่วมในช่วงปลายปี 2554 ประกอบกับอุปสงค์ในตลาดโลกทีซ่ บเซา สอดคล้องกับอุตสาหกรรมสิง่ ทอ เนือ่ งจากปัญหา ขาดแคลนแรงงานประกอบกับต้นทุนการผลิตทีป่ รับตัวสูงขึน้ ในด้านการใช้จา่ ยพบว่า เครือ่ งชีก้ ารบริโภคและลงทุนส่งสัญญาณ ขยายตัวอย่างต่อเนือ่ งจากปีกอ่ นหน้า โดยเฉพาะการบริโภคภาคเอกชนในหมวดสินค้าคงทน ส�ำหรับการส่งออกสินค้าและบริการ ส่งสัญญาณชะลอตัวจากปีกอ่ น เนือ่ งจากปัญหาหนีส้ าธารณะในยุโรปทีย่ งั คงยืดเยือ้ และส่งผลกระทบต่อเนือ่ งมายังประเทศคูค่ า้ หลักส�ำคัญของไทย ส่วนการน�ำเข้าสินค้าและบริการยังคงขยายตัวอย่างต่อเนือ่ งจากการเพิม่ ขึน้ ของการน�ำเข้าในหมวดสินค้าทุน และสินค้าอุปโภค-บริโภค ทั้งนี้การขยายตัวของการน�ำเข้าที่สูงกว่า เมื่อเทียบกับการขยายตัวของการส่งออกส่งผลให้ดุลการค้า ในช่วง 8 เดือนแรกของปี 2555 ขาดดุลที่ระดับ 13.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ❍❍

การเปลี่ยนแปลงสมมติฐานที่ส�ำคัญ ได้แก่ (1) อัตราการขยายตัวของ 14 ประเทศคู่ค้า ในปี 2555 สศค. ประมาณการการขยายตัวของ 14 ประเทศคู่ค้า อยู่ที่ร้อยละ 3.6 (ช่วงคาดการณ์อยู่ที่ร้อยละ 3.4-3.9) ตามการชะลอตัวของ เศรษฐกิจในสหภาพยุโรปเนื่องจากปัญหาหนี้สาธารณะ ในขณะที่ปี 2556 อยู่ที่ร้อยละ 4.1 เนื่องจากคาดว่าเศรษฐกิจดังกล่าว สามารถฟื้นตัวขึ้นได้ (2) ก�ำหนดสมมติฐานราคาน�้ำมันดิบดูไบในปี 2555 และปี 2556 ให้อยู่ที่ 113.0 และ 118.0 ดอลลาร์ สหรัฐต่อบาร์เรล ตามล�ำดับ ตามการเก็งก�ำไรในตลาดโภคภัณฑ์หลังจากที่มีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ QE3 ออกมา ในขณะที่ อุปสงค์นำ�้ มันดิบโลกยังคงเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 0.9 จากปีกอ่ น (3) ปรับสมมติฐานราคาสินค้าส่งออกในปี 2555 และปี 2556 ให้ขยายตัว ที่ร้อยละ 1.0 และร้อยละ 3.0 ตามล�ำดับ ตามการลดลงของราคาสินค้าเกษตรส�ำคัญโดยเฉพาะราคายางพารา และปรับราคา สินค้าน�ำเข้าในปี 2555 และปี 2556 ให้ขยายตัวที่ร้อยละ 2.6 และร้อยละ 4.5 ตามล�ำดับ (4) ปรับสมมติฐานอัตราแลกเปลี่ยน บาทต่อดอลลาร์สหรัฐในปี 2555 และปี 2556 ให้อยู่ที่ 31.10 และ 30.75 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นจากประมาณการครั้ง ก่อน เนื่องจากธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาประกาศใช้ QE3 (5) ก�ำหนดสมมติฐานอัตราดอกเบี้ยนโยบายในปี 2555 และปี 2556 อยู่ที่ร้อยละ 3.0 ต่อปี (ช่วงคาดการณ์ร้อยละ 2.50-3.50) เนื่องจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าหลักของไทย ท�ำให้ อุปสงค์จากต่างประเทศลดลง ประกอบกับแรงกดดันด้านเงินเฟ้ออยูใ่ นระดับต�ำ่ และ (6) รายจ่ายภาคสาธารณะในปีงบประมาณ 2555 (ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2554-กันยายน 2555) คาดว่าจะอยู่ที่ 2.90 ล้านล้านบาท หรือขยายตัวร้อยละ 4.8 จากปีก่อน และ ในปีงบประมาณ 2556 คาดว่าจะมีจ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 3.1 ล้านล้านบาท หรือขยายตัวร้อยละ 7.0 ต่อปี โดยมีรายละเอียดดังนี้ ❍❍

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

11


สมมติฐานหลักในการประมาณการเศรษฐกิจไทย ปี 2555 และปี 2556 1. อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของ 14 ประเทศคู่ค้าหลักของไทย “สศค.คาดว่าในปี 2555 เศรษฐกิจคู่ค้าหลักของไทย 14 ประเทศจะขยายตัวร้อยละ 3.6 ชะลอลงจากปี 2554 ที่ขยายตัวร้อยละ 4.0 เนื่องจากวิกฤตหนี้สาธารณะในสหภาพยุโรปที่ส่งผลกระทบต่อภาคเศรษฐกิจจริง ภาคการเงิน และอุปสงค์โดยรวมของโลก และส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศจีนและประเทศในภูมิภาคเอเชียให้ขยายตัว ในอัตราชะลอลง ทัง้ นีม้ สี ญ ั ญาณการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาจากมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจของรัฐบาลและ การเลือกตั้งที่จะมีขึ้นในปลายปีนี้ และการฟื้นตัวของเศรษฐกิจญี่ปุ่นเนื่องจากปัจจัยฐานต�่ำในปีก่อนจากภัยธรรมชาติ สึนามิและปัญหาอุทกภัยในประเทศไทย ทั้งนี้ สศค.คาดว่าเศรษฐกิจคู่ค้าหลักของไทยในปี 2556 จะขยายตัวในอัตราเร่งขึ้นจากปี 2555 โดยขยายตัวที่ ร้อยละ 4.1 จากวิกฤตหนี้สาธารณะของยูโรโซนที่คาดว่าจะคลี่คลายมากขึ้น ตลอดจนมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจที่มี อย่างต่อเนื่องภายหลังจากการเลือกตั้งทั่วไปของประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ ทั้งประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศ จีน ซึ่งจะเป็นปัจจัยบวกต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก” ตารางที่ 1 อัตราการขยายตัวเฉลี่ยของเศรษฐกิจคู่ค้าหลักของไทย 14 ประเทศ (ร้อยละ) ประเทศคู่ค้าหลัก เรียงตามสัดส่วนมูลค่า ส่งออกปี 2554 14 ประเทศคู่ค้า (78.7%) 1. จีน (12.0%) 2. ญี่ปุ่น (10.5%) 3. สหรัฐอเมริกา (9.6%) 4. สหภาพยุโรป (9.4%) 5. ฮ่องกง (7.2%) 6. มาเลเซีย (5.4%) 7. สิงคโปร์ (5.0%) 8. อินโดนีเซีย (4.4%) 9. ออสเตรเลีย (4.0%) 10. เวียดนาม (3.1%) 11. อินเดีย (2.3%) 12. ฟิลิปปินส์ (2.0%) 13. เกาหลีใต้ (1.8%) 14. ไต้หวัน (1.7%)

2552 2553 -0.2 9.2 -6.3 -2.4 -4.1 -2.7 -1.7 -0.8 4.5 1.3 5.3 7.0 1.1 0.2 -1.9

6.3 10.4 4.0 3.0 1.7 6.8 7.2 14.5 6.1 2.6 6.8 8.8 7.6 6.2 10.8

2554 4.0 9.2 -0.7 1.7 1.5 5.0 5.1 4.9 6.5 2.2 5.9 7.1 3.7 3.6 4.0

2554

2555

Q1

Q2

Q3

Q4

Q1

Q2

4.9 9.7 -0.2 2.2 2.4 7.6 5.2 9.1 6.4 1.2 5.4 8.0 4.9 4.2 6.6

3.7 9.5 -1.8 1.6 1.6 5.4 4.3 1.2 6.5 2.3 5.7 6.7 3.6 3.5 4.5

4.0 9.1 -0.5 1.5 1.3 4.4 5.8 6.0 6.5 2.5 6.1 6.7 3.2 3.6 3.4

3.5 8.9 -0.6 1.6 0.7 3.0 5.2 3.6 6.5 2.7 6.1 6.1 4.0 3.3 1.8

3.5 8.1 2.9 2.4 0.0 0.7 4.9 1.5 6.3 4.4 4.1 5.3 6.3 2.8 0.4

3.5 7.6 3.2 2.1 -0.5 1.1 5.4 2.0 6.4 4.0 4.7 5.5 5.9 2.3 -0.2

ทั้งปี ทั้งปี 2555 f 2556 f 3.6 7.8 2.4 2.2 -0.9 2.6 4.6 2.7 6.1 3.3 5.0 6.3 4.3 3.3 2.9

4.1 8.5 1.6 2.4 0.5 4.0 4.7 3.9 6.6 3.1 6.3 6.0 4.8 4.2 5.1

ที่มา : รวบรวมและประมาณการโดย สศค.

1.1 เศรษฐกิจจีน (ตลาดส่งออกใหญ่อนั ดับ 1 ของไทย : สัดส่วนการส่งออกร้อยละ 12.0 ของมูลค่าส่งออกสินค้า รวมปี 2554 จากร้อยละ 11.0 ปี 2553) ➥➥ เศรษฐกิจของจีนในไตรมาสแรกของปี 2555 ขยายตัวร้อยละ 7.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนือ่ งจากการส่งออกในไตรมาสนีข้ ยายตัวร้อยละ 10.5 ต�ำ่ กว่าค่าเฉลีย่ ของปี 2536–2555 ทีอ่ ยูท่ รี่ อ้ ยละ 18.9 เนือ่ งจากการชะลอตัว ของอุปสงค์ประเทศคูค่ า้ ส�ำคัญ โดยเฉพาะการส่งออกของจีนไปยังสหภาพยุโรปซึง่ เป็นคูค่ า้ อันดับที่ 2 หดตัวต่อเนือ่ งเป็นไตรมาสที่ 2 ทีร่ อ้ ยละ -2.8 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น นอกจากนีก้ ารลงทุนภาคเอกชนซึง่ เป็นอีกปัจจัยส�ำคัญทีข่ บั เคลือ่ นเศรษฐกิจ จีนขยายตัวในอัตราที่ชะลอลง สะท้อนจากการลงทุนในสินทรัพย์คงทนในช่วงครึ่งแรกของปี 2555 ที่ขยายตัวเพียงร้อยละ 20.4

12


จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งต�่ำกว่าทั้งปี 2554 ที่ขยายตัวร้อยละ 23.8 ในด้านอุปทาน การผลิตภาคอุตสาหกรรมชะลอตัวลง ชัดเจน สะท้อนจากผลผลิตภาคอุตสาหกรรมที่ขยายตัวร้อยละ 9.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวต�่ำที่สุดในรอบ 11 ไตรมาส ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจในประเทศนั้นยังคงอยู่ในระดับดี สะท้อนจากอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ที่มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องมาอยู่ที่ร้อยละ 2.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ภาพที่ 1 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจีน (ร้อยละ)

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

➥➥ ในช่วง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ปี 2555 (เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555) เศรษฐกิจจีนมีแนวโน้ม

ขยายตัวชะลอลงจากไตรมาสก่อน จากการส่งออกที่เริ่มชะลอตัวลงชัดเจน จากผลกระทบวิกฤตหนี้สาธารณะในยุโรป ที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจจีน โดยมูลค่าการส่งออกในรูปดอลลาร์สหรัฐในช่วง 2 เดือนแรกของไตรมาสนี้ ขยายตัวร้อยละ 1.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ที่ขยายตัวร้อยละ 10.5 ด้านอุปสงค์ในประเทศ ทั้งการบริโภคและ การลงทุนภาคเอกชนนัน้ ส่งสัญญาณชะลอตัวเช่นกัน สะท้อนจากยอดค้าปลีก เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555 ทีข่ ยายตัวในอัตรา ชะลอลงที่ร้อยละ 13.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และการลงทุนในสินทรัพย์คงทนในช่วง 8 เดือนแรกของปีที่ขยายตัว เพียงร้อยละ 20.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ในด้านอุปทาน การผลิตภาคอุตสาหกรรมขยายตัวชะลอลงเช่นกัน บ่งชี้ จากดัชนีผจู้ ดั การฝ่ายจัดซือ้ ภาคอุตสาหกรรมทีจ่ ดั ท�ำโดย HSBC ในไตรมาสที่ 3 ปี 2555 โดยเฉลีย่ อยูท่ รี่ ะดับ 48.3 จุด ลดลงจาก ไตรมาสก่อนที่อยู่ที่ระดับ 48.6 จุด และยังคงอยู่ต�่ำกว่าระดับ 50 สะท้อนการหดตัวของภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ทั้งนี้รัฐบาลจีน ได้ออกมาตรการในการกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ทั้งนโยบายการเงินและการคลัง อาทิ การลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ร้อยละ 0.25 ในเดือนกรกฎาคม 2555 อีกทัง้ เพิม่ การคืนภาษีมลู ค่าเพิม่ ของสินค้าส่งออกบางประเภท พร้อมทัง้ ประกาศถึงความพร้อมใน การกระตุน้ เศรษฐกิจผ่านโครงการลงทุนด้านคมนาคมทางบกและทางน�ำ้ วงเงิน 1 ล้านล้านหยวน ตลอดจนจัดตัง้ กองทุน Fiscal Stabilization Fund วงเงิน 1 แสนล้านหยวน เพื่อกระตุ้นให้เศรษฐกิจจีนขยายตัวได้ตามเป้าที่ร้อยละ 7.5 ในปี 2555 ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจพบว่า ในเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ระดับเฉลี่ยร้อยละ 1.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นระดับที่ต�่ำมาก แต่ยังคงมีความเสี่ยงจากราคาอาหารสดที่ขยายตัวสูงถึงร้อยละ 5.0 ต่อปี ซึ่งอาจเป็นปัจจัยที่ท�ำให้อัตราเงินเฟ้อปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในระยะต่อไป ➥➥ ในปี 2555 คาดว่าเศรษฐกิจจีนจะขยายตัวที่ร้อยละ 7.8 หรือในช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 7.3-8.3 ชะลอ ลงจากปีก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 9.3 จากวิกฤตหนี้สาธารณะยุโรปซึ่งเป็นประเทศคู่ค้าหลักของจีนที่เริ่มส่งผลกระทบต่อ การส่งออกและภาคเศรษฐกิจจริง ทัง้ การลงทุนภาคเอกชนและภาคอุตสาหกรรมของจีน อีกทัง้ ทางการจีนปรับลดเป้าหมายอัตรา การขยายตัวทางเศรษฐกิจมาอยู่ที่ร้อยละ 7.5 จากร้อยละ 8.0 ในปี 2554 เพื่อปรับโครงสร้างเศรษฐกิจโดยลดขนาดภาคการส่ง ออกอันเป็นสาเหตุในการพึ่งพาอุปสงค์จากต่างประเทศ และให้ความส�ำคัญต่อภาคอุปสงค์ภายในประเทศ ทั้งการบริโภคและ การลงทุนภาคเอกชน ➥➥ ในปี 2556 คาดว่าเศรษฐกิจจีนจะขยายตัวที่ร้อยละ 8.5 หรือในช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 8.0-9.0 เร่งขึ้น จากปี 2555 ทีค่ าดการณ์วา่ จะขยายตัวทีร่ อ้ ยละ 7.8 เนือ่ งจากคาดว่าสถานการณ์ทางเศรษฐกิจของสหภาพยุโรปจะปรับตัวดี ขึน้ ส่งผลให้ภาคการส่งออกและการผลิตภาคอุตสาหกรรมจีนทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากวิกฤตดังกล่าวโดยตรงปรับตัวดีขนึ้ ตามไปด้วย ทั้งนี้การเลือกตั้งของจีนที่จะเกิดขึ้นในช่วงเดือนตุลาคม 2555-กุมภาพันธ์ 2556 จะท�ำให้รัฐบาลออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ เพิ่มเติม ซึ่งจะเป็นปัจจัยบวกต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจีนในปี 2556 อีกด้วย ประมาณการเศรษฐกิจไทย

13


1.2 เศรษฐกิจญี่ปุ่น (ตลาดส่งออกใหญ่อันดับ 2 ของไทย : สัดส่วนการส่งออกร้อยละ 10.5 ของมูลค่าส่งออก สินค้ารวมในปี 2554) ➥➥ เศรษฐกิจญี่ปุ่นในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ขยายตัวเร่งขึ้นมาอยู่ที่ร้อยละ 3.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีก่อน หรือเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วจะขยายตัวร้อยละ 0.3 จากไตรมาสก่อน (%qoq_sa) สาเหตุส�ำคัญจากการลงทุน ภาคเอกชนที่ขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 5.6 อีกทั้งการบริโภคภาคเอกชนขยายตัวดีที่ร้อยละ 3.2 ในขณะที่การส่งออกที่แท้จริง ขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 8.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจพบว่า อัตราการว่างงานในไตรมาสที่ 2 ของปี 2555 อยู่ที่ระดับเฉลี่ยที่ร้อยละ 4.4 ของ ก�ำลังแรงงานรวม ขณะที่อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ยังคงอยูใ่ นระดับต�่ำทีร่ ้อยละ 0.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ทัง้ นีธ้ นาคารกลางญีป่ นุ่ ยังคงอัตราดอกเบีย้ นโยบายในอัตราต�ำ่ ทีช่ ว่ งร้อยละ 0.0-0.1 จากแรงกดดันด้านเงินเฟ้อทีอ่ ยูใ่ นระดับต�ำ่ และเพื่อสนับสนุนการลงทุนและการจ้างงานภายในประเทศ ภาพที่ 2 แหล่งที่มาและอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (ร้อยละ)

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

➥➥ ในช่วง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ปี 2555 (เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555) เศรษฐกิจญี่ปุ่นชะลอ

ตัวลงจากสถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวอย่างต่อเนื่องเป็นส�ำคัญ บ่งชี้จากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม ในเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555 เฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 47.8 จุด ลดลงจากไตรมาสก่อน และอยู่ระดับต�่ำกว่า 50 จุด ติดต่อกันเป็น เดือนที่ 3 บ่งชี้ว่าผู้ประกอบการชะลอการผลิตสินค้าลง จากความกังวลต่อวิกฤตหนี้สาธารณะในยูโรโซนและการชะลอตัวทาง เศรษฐกิจของจีนซึ่งเป็นคู่ค้าส�ำคัญของญี่ปุ่น ทั้งนี้ยอดค้าปลีกในเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555 ขยายตัวเฉลี่ยเพียงร้อยละ 0.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน แสดงถึงอุปสงค์ในประเทศที่ชะลอตัวลง ผนวกกับอุปสงค์ภายนอกประเทศหดตัวอย่างต่อเนื่อง สะท้อนจากมูลค่าการส่งออกในเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555 กลับมาหดตัวเฉลี่ยที่ร้อยละ -6.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ➥➥ ในปี 2555 คาดว่าเศรษฐกิจญีป ่ นุ่ จะขยายตัวทีร่ อ้ ยละ 2.4 หรือในช่วงคาดการณ์ทรี่ อ้ ยละ 1.9-2.9 ขยายตัว เร่งขึ้นจากปี 2554 ที่หดตัวร้อยละ -0.8 ส่วนหนึ่งมาจากปัจจัยฐานต�่ำในปีก่อนจากปัญหาห่วงโซ่อุปทานต่อเนื่อง ประกอบกับ การลงทุนทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่ยังคงขยายตัวได้ดี อย่างไรก็ตาม ในปี 2555 นี้คาดว่าเศรษฐกิจญี่ปุ่นยังคงเผชิญกับปัจจัย เสีย่ ง ดังต่อไปนี้ (1) เศรษฐกิจจีนทีช่ ะลอตัวอย่างต่อเนือ่ งและเศรษฐกิจยูโรโซนทีส่ ง่ สัญญาณการเข้าสูภ่ าวะถดถอย (2) เสถียรภาพ ทางการเมือง จากข้อขัดแย้งในการปรับขึน้ ภาษีมลู ค่าเพิม่ ประกอบกับกรณีพพิ าทระหว่างจีนและญีป่ นุ่ ซึง่ หากเป็นปัญหายืดเยือ้ อาจส่งผลต่อภาคการผลิตและภาคการท่องเที่ยวของญี่ปุ่นได้ และ (3) การแข็งค่าของเงินเยน ซึ่งธนาคารกลางญี่ปุ่นประกาศใช้ มาตรการ Quantitative Easing (QE) เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2555 เพื่อลดการแข็งตัวของค่าเงินเยน ➥➥ ในปี 2556 คาดว่าเศรษฐกิจญี่ปุ่นจะขยายตัวร้อยละ 1.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือใน ช่วงคาดการณ์ร้อยละ 1.0-2.0 ชะลอลงจากปี 2555 ที่คาดการณ์ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 2.4 เนื่องจากปัจจัยฐานต�่ำหมด ลง อีกทั้งเศรษฐกิจญี่ปุ่นยังคงมีความเสี่ยงจากเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวลง ซึ่งอาจกระทบต่อเศรษฐกิจญี่ปุ่นผ่านช่องทางการค้า เป็นส�ำคัญ 1.3 เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา (ตลาดส่งออกใหญ่อันดับ 3 ของไทย : สัดส่วนการส่งออกร้อยละ 9.6 ของมูลค่า ส่งออกสินค้ารวมในปี 2554)

14


➥➥ เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ขยายตัวร้อยละ 2.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี

ก่อน จากอุปสงค์ในประเทศเป็นส�ำคัญ โดยการบริโภคภาคเอกชนขยายตัวต่อเนื่องที่ร้อยละ 1.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีก่อน เร่งขึ้นเล็กน้อยจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 1.8 ในขณะที่การลงทุนภาคเอกชนขยายตัวสูงที่ร้อยละ 10.9 ต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 14.1 ทั้งนี้ในช่วงครึ่งแรกของปี 2555 เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาขยายตัวร้อยละ 2.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจพบว่า ณ ไตรมาสที่ 2 ปี 2555 อัตราการว่างงานของสหรัฐอเมริกา ปรับตัวลดลงต่อเนือ่ ง ถึงแม้จะยังคงอยูใ่ นระดับร้อยละ 8.2 ของก�ำลังแรงงานรวม ซึง่ สูงกว่าระดับก่อนวิกฤตเศรษฐกิจทีป่ ระมาณ ร้อยละ 5.0 ขณะที่เงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 1.9 ลดลงจากไตรมาสที่ 1 ปี 2555 ที่อยู่ที่ร้อยละ 2.8 ภาพที่ 3 แหล่งทีม่ าและอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (ร้อยละ)

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

➥➥ ในช่วง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ปี 2555 (เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555) อุปสงค์ในประเทศ ของสหรัฐอเมริกามีสัญญาณการฟื้นตัวต่อเนื่อง ถึงแม้จะมีสัญญาณชะลอตัวลงบ้าง โดยการจ้างงานนอกภาคเกษตร สหรัฐอเมริกา เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555 เพิ่มขึ้นจากช่วงสิ้นไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ถึง 237,000 ต�ำแหน่ง และอัตราการว่าง งานลดลงเล็กน้อยมาอยู่ที่ระดับร้อยละ 8.1 ของก�ำลังแรงงานรวม โดยมีแรงงานกลับเข้าสู่ตลาดแรงงานมากขึ้น เป็นสัญญาณ บวกว่าผูบ้ ริโภคเริม่ มีความเชือ่ มัน่ ในสภาพเศรษฐกิจ อีกทัง้ ยอดค้าปลีกของสหรัฐอเมริกาในช่วงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555 ขยายตัวต่อเนื่องที่ร้อยละ 4.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ต่อเนื่องจากไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ที่ขยายตัวร้อยละ 4.7 ขณะที่ยอด จ�ำหน่ายรถยนต์ในช่วงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555 มีค่าเฉลี่ยที่ 11.3 ล้านคันต่อปี ดีขึ้นมากจากค่าเฉลี่ยปี 2554 ที่ระดับ 9.8 ล้านคันต่อปี และยอดจ�ำหน่ายบ้าน (Existing Home Sales) ในช่วงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555 อยู่ที่ระดับเฉลี่ยที่ 4.5 ล้านหลังต่อปี หรือคิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 11.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ➥➥ ในปี 2555 คาดว่าเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาจะขยายตัวที่ร้อยละ 2.2 หรือในช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.72.7 เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 1.8 โดยคาดว่าในปี 2555 เศรษฐกิจภายในของสหรัฐอเมริกาจะได้รับปัจจัย สนับสนุนจากมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจของรัฐบาล ส่วนหนึง่ จากการทีธ่ นาคารกลางสหรัฐอเมริกาประกาศใช้มาตรการทางการ เงินแบบผ่อนคลายเพิ่มเติมเป็นระลอกที่ 3 (Quantitative Easing 3 : QE3) เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2555 พร้อมทั้งประกาศคง อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Fed Funds Rate) ในระดับต�่ำที่ร้อยละ 0.0-0.25 จนถึงกลางปี 2558 เป็นอย่างน้อย อีกทั้งการเลือกตั้ง ประธานาธิบดีในเดือนพฤศจิกายน 2555 จะเป็นแรงจูงใจให้ภาครัฐบาลผลักดันมาตรการเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจภายในประเทศ เพิ่มเติม ตลอดจนการรณรงค์หาเสียงของผู้สมัครจาก 2 พรรคใหญ่จะท�ำให้มีเม็ดเงินหมุนเวียนในระบบมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ในช่วงที่เหลือของปี 2555 คาดว่าเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาจะยังคงเผชิญกับความเสี่ยงจากวิกฤตหนี้สาธารณะในยุโรป ซึ่งอาจ ส่งผลกระทบต่อการส่งออกและการขยายตัวของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาได้ ➥➥ ในปี 2556 คาดว่าเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาจะขยายตัวที่ร้อยละ 2.4 หรือในช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.9-2.9 เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าที่คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 2.2 โดยคาดว่าในปี 2556 เศรษฐกิจภายในของสหรัฐอเมริกา จะได้รับปัจจัยสนับสนุนจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าพรรคการเมืองหลักพรรคใดจะได้จัดตั้ง รัฐบาลก็ตาม อีกทั้งอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่อยู่ในระดับต�่ำที่ร้อยละ 0-0.25 ต่อเนื่องจนถึงกลางปี 2558 เป็นอย่างน้อย ปัจจัย เหล่านี้จะเอื้อให้เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาขยายตัวได้ดี

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

15


1.4 เศรษฐกิจสหภาพยุโรป 17 ประเทศ (ตลาดส่งออกใหญ่อันดับ 4 ของไทย : สัดส่วนการส่งออกร้อยละ 9.4 ของมูลค่าส่งออกสินค้ารวมในปี 2554) ➥➥ เศรษฐกิจยูโรโซนในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 หดตัวร้อยละ -0.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหรือหดตัว ร้อยละ -0.2 จากไตรมาสก่อน (%qoq_sa) หลังจากขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว จากวิกฤตหนี้สาธารณะเป็นส�ำคัญ โดยการลงทุนภาคเอกชนหดตัวมากขึ้นทีร่ ้อยละ -3.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ในขณะทีก่ ารบริโภคภาคเอกชนหดตัว ต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ที่ร้อยละ -0.7 ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจพบว่า อัตราการว่างงานโดยเฉลี่ยไตรมาสที่ 2 ปี 2555 นี้ อยู่ใน ระดับทีส่ งู ถึงร้อยละ 11.2 ของก�ำลังแรงงานรวม นับเป็นอัตราสูงทีส่ ดุ เป็นประวัตกิ ารณ์ ในขณะทีอ่ ตั ราเงินเฟ้อทัว่ ไปในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 อยูท่ รี่ อ้ ยละ 2.5 จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ นหน้า ลดลงจากไตรมาสก่อนทีอ่ ยูท่ รี่ อ้ ยละ 2.7 จากราคาน�ำ้ มันในตลาดโลกทีเ่ ริม่ ปรับตัวลดลงเป็นส�ำคัญ ทั้งนี้เนื่องจากความเสี่ยงด้านเงินเฟ้อลดลง ในขณะที่เศรษฐกิจยูโรโซนยังคงเปราะบาง ในวันที่ 5 กรกฎาคม 2555 ธนาคารกลางยุโรปได้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงร้อยละ 0.25 มาอยู่ที่ร้อยละ 0.75 ต่อปี ภาพที่ 4 แหล่งที่มาและอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

➥➥ ในช่วง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ปี 2555 (เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555) เศรษฐกิจยูโรโซนยังคงส่ง สัญญาณหดตัวต่อเนือ่ ง สะท้อนจากดัชนีผจู้ ดั การฝ่ายจัดซือ้ ภาคการผลิตและภาคบริการในช่วงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555 ที่อยู่ที่ระดับเฉลี่ย 44.6 และ 47.4 จุด ตามล�ำดับ เป็นผลมาจากอุปสงค์ภายนอกประเทศที่ลดลงจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจ โลกและวิกฤตหนี้สาธารณะที่ยังไม่บรรเทาลง ขณะที่ยอดการส่งออกเดือนกรกฎาคม 2555 ขยายตัวชะลอลงมาอยู่ที่ร้อยละ 11.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน อีกทั้งอุปสงค์ในประเทศส่งสัญญาณหดตัวลงอย่างต่อเนื่อง สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่น ผูบ้ ริโภคทีย่ งั คงอยูใ่ นระดับต�ำ่ โดยในเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2555 ดัชนีความเชือ่ มัน่ ผูบ้ ริโภคปรับตัวลดลงมาอยูท่ รี่ ะดับเฉลีย่ ที่ -21.5 จุด อีกทั้งยอดค้าปลีกหดตัวต่อเนื่องโดยในเดือนกรกฎาคม 2555 หดตัวที่ร้อยละ -1.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ➥➥ ในปี 2555 คาดว่าเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศยูโรโซนจะหดตัวที่ร้อยละ -0.9 หรือในช่วงคาดการณ์ที่ ร้อยละ -1.4 ถึง -0.4 ลดลงจากปีก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.5 โดยคาดว่าในปี 2555 เศรษฐกิจของกลุ่มยูโรโซนจะยัง คงเผชิญกับความเสี่ยงจากวิกฤตหนี้สาธารณะในกลุ่ม GIIPS (กรีซ ไอร์แลนด์ อิตาลี โปรตุเกส และสเปน) ที่ได้ส่งผลลุกลาม ไปยังกลุ่มเศรษฐกิจหลักโดยเฉพาะเศรษฐกิจเยอรมนีและฝรั่งเศสที่ชะลอตัวลงอย่างชัดเจน นอกจากนี้กลุ่มประเทศยูโรโซนยัง เผชิญความเสี่ยงทางด้านสภาพคล่องของธนาคารเนื่องจากการจัดตั้ง Banking Union เพือ่ แก้ปญ ั หาระบบธนาคารของประเทศ ที่ประสบปัญหาโดยตรงนั้นอาจมีความล่าช้า ซึ่งจะส่งผลต่อความเชื่อมั่นและภาวะเศรษฐกิจโดยรวม ➥➥ ในปี 2556 คาดว่าเศรษฐกิจยูโรโซนจะขยายตัวในอัตราที่ต�่ำที่ร้อยละ 0.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากปัจจัยฐานต�่ำตลอดจนวิกฤตหนี้สาธารณะที่น่าจะคลี่คลายลง จากการจัดตั้ง Banking Union ที่เห็นผลเป็นรูปธรรม มากขึ้น ตลอดจนกลไกถาวร European Stability Mechanism (ESM) สามารถให้ความช่วยเหลือประเทศที่ประสบปัญหาได้ ส่งผลดีต่อเศรษฐกิจโดยรวมในยูโรโซนท�ำให้กลับมาขยายตัวได้เล็กน้อย แต่ยังคงอยู่ในอัตราที่ต�่ำ

1.5 เศรษฐกิจอาเซียน 5 ประเทศ (สัดส่วนการส่งออกร้อยละ 16.9 ของมูลค่าส่งออกสินค้ารวมในปี 2554) ➥➥ เศรษฐกิจอาเซียน 5 ประเทศ (มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย เวียดนาม และฟิลป ิ ปินส์) ไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ส่วนใหญ่ขยายตัวในอัตราเร่งเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็นผลมาจากอุปสงค์ในประเทศที่ขยายตัวได้ดี

16


ทั้งการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน รวมถึงมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในประเทศอย่างต่อเนื่องของภาครัฐ ทั้งนี้ ภาคการค้า ระหว่างประเทศเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ส�ำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคอาเซียน เนื่องจากอุปสงค์ของเศรษฐกิจคู่ค้าส�ำคัญ ชะลอตัวลง จากวิกฤตหนี้สาธารณะของสหภาพยุโรปและการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน ท�ำให้มูลค่าการส่งออกซึ่งเป็นหัวใจ ส�ำคัญของเศรษฐกิจในภูมภิ าคนีข้ ยายตัวชะลอลง โดยเป็นผลจากการหดตัวในหมวดสินค้าอิเล็กทรอนิกส์เป็นส�ำคัญ สอดคล้อง กับการผลิตเพื่อการส่งออกที่ขยายตัวชะลอลงเช่นกัน สะท้อนจากดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ขยายตัวในอัตราชะลอลงจากไตรมาสก่อน ด้านเสถียรภาพภายในประเทศของภูมิภาคอาเซียนในไตรมาสที่ 2 ของปี 2555 พบว่า อัตราเงินเฟ้อโดยรวมเฉลี่ย ปรับตัวลดลงเล็กน้อยจากไตรมาสก่อน มีสาเหตุมาจากราคาอสังหาริมทรัพย์ทขี่ ยายตัวชะลอลง และมาตรการภาครัฐเพือ่ ควบคุม การปรับเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อ อย่างไรก็ตาม แนวโน้มราคาน�้ำมันในตลาดโลกที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อาจเป็น แรงกดดันให้อัตราเงินเฟ้อปรับเพิ่มขึ้นได้ในระยะต่อไป ตารางที่ 2 การเติบโตทางเศรษฐกิจและแหล่งที่มาของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (%) ประเทศ (สัดส่วนการส่งออกปี 2554) อัตราการขยายตัวของ GDP ไตรมาสที่ 2 ปี 2555 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน (%yoy)

การบริโภคภาคเอกชน การบริโภคภาครัฐ การลงทุนรวม การส่งออกสุทธิ การเปลี่ยนแปลงของสินค้าคงคลัง

มาเลเซีย (5.4%) สิงคโปร์ (5.0%) อินโดนีเซีย (4.4%) เวียดนาม (3.1%) ฟิลิปปินส์ (2.0%) 5.4

2.0

6.4

4.7

5.9

4.3 1.1 6.2 -4.9 -1.2

0.7 -0.1 0.4 -0.3 1.3

2.8 0.5 2.9 -3.2 3.4

n/a n/a n/a n/a n/a

3.9 0.7 1.6 2.1 -4.0

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

ภาพที่ 5 อัตราการขยายตัวของการส่งออก (%yoy) ภาพที่ 6 ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (%yoy)

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

➥➥ เศรษฐกิจของกลุ่มประเทศอาเซียน 5 ประเทศในช่วง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ปี 2555 มีแนวโน้ม

ที่จะขยายตัวในอัตราชะลอลงต่อเนื่อง เนื่องจากการส่งออกของกลุ่มประเทศในภูมิภาคอาเซียนส่วนใหญ่มีแนวโน้มที่จะ ขยายตัวในอัตราชะลอลงถึงหดตัว จากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะปัญหาหนี้สาธารณะในสหภาพยุโรปที่ขยาย วงกว้างสู่ภูมิภาคเอเชีย โดยเฉพาะจีนซึ่งเป็นคู่ค้าหลักของอาเซียน ท�ำให้การส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งเป็นสินค้าส่งออก ส�ำคัญหดตัว อย่างไรก็ตาม ฟิลปิ ปินส์สามารถกระจายความเสีย่ งจากการส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ดว้ ยการส่งออกสินค้าอืน่ ๆ ทดแทน อาทิ ถ่านกัมมันต์และส่วนประกอบโลหะ ท�ำให้การส่งออกของฟิลิปปินส์ยังสามารถขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ ภาคอุตสาหกรรมของประเทศในภูมิภาคอาเซียนยังคงขยายตัวได้ในระดับดี ยกเว้นสิงคโปร์ที่มีแนวโน้มชะลอตัวลงชัดเจน จากเครื่องชี้เศรษฐกิจดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ เดือนสิงหาคม 2555 ที่ต�่ำกว่าระดับ 50 ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2 ➥➥ ในปี 2555 คาดว่าเศรษฐกิจของประเทศในกลุม ่ อาเซียนโดยรวมจะขยายตัวชะลอจากปี 2554 โดย สศค. คาดว่าเศรษฐกิจของประเทศในกลุ่มอาเซียน 5 ประเทศจะขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 4.5 ในปี 2555 ชะลอลงจากปีก่อนที่ขยายตัว เฉลี่ยร้อยละ 5.2 เนื่องจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกซึ่งมีที่มาจากปัญหาหนี้สาธารณะของยุโรป อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจ ประมาณการเศรษฐกิจไทย

17


ของประเทศในกลุ่มอาเซียนจะได้ปัจจัยสนับสนุนจากปัจจัยฐานที่อยู่ในระดับต�่ำของปี 2554 ทั้งนี้ ธนาคารกลางของประเทศใน กลุม่ อาเซียนส่วนใหญ่ปรับลดอัตราดอกเบีย้ นโยบาย ตลอดจนรัฐบาลออกมาตรการทางการคลังเพือ่ กระตุน้ ภาคการบริโภคและ การลงทุนภาคเอกชนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้อุปสงค์ภายในประเทศสามารถขับเคลื่อนเศรษฐกิจทดแทนภาคการส่งออก ➥➥ ในปี 2556 คาดว่าเศรษฐกิจของประเทศในกลุม ่ อาเซียนโดยรวมจะขยายตัวเฉลีย่ ทีร่ อ้ ยละ 5.3 ขยายตัว เร่งขึน้ จากปี 2555 จากปัจจัยทางเศรษฐกิจทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ โดยวิกฤตหนีส้ าธารณะยุโรปมีแนวโน้มคลีค่ ลายลง และสถานการณ์ทางเศรษฐกิจของจีนมีแนวโน้มดีขนึ้ จากมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจของจีน ท�ำให้อปุ สงค์ของประเทศคูค่ า้ ส�ำคัญ ของประเทศในภูมภิ าคนีข้ ยายตัวดีขนึ้ เป็นปัจจัยบวกต่อการส่งออก ส�ำหรับปัจจัยภายในประเทศ มาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจของ รัฐบาลที่คาดว่าจะยังคงด�ำเนินอย่างต่อเนื่องจะท�ำให้อุปสงค์ในประเทศของกลุ่มอาเซียนขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพ เป็นปัจจัย สนับสนุนต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคนี้ในปี 2556 1.6 เศรษฐกิจประเทศคู่ค้าอื่น ๆ ในเอเชียและออสเตรเลีย (สัดส่วนการส่งออกร้อยละ 17.2 ของมูลค่าส่งออก สินค้ารวมในปี 2554) ➥➥ เศรษฐกิจประเทศคู่ค้าอื่น ๆ ในเอเชีย (ฮ่องกง อินเดีย เกาหลีใต้ และไต้หวัน) และออสเตรเลีย ในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ขยายตัวชะลอลง จากการชะลอลงของเศรษฐกิจโลกที่ส่งผลให้ภาคการส่งออกปรับตัวลดลง อย่างไรก็ตาม อุปสงค์ในประเทศโดยเฉพาะการบริโภคภาคเอกชนที่ยังคงขยายตัวได้ต่อเนื่อง ส่งผลให้ภาพรวมเศรษฐกิจของ กลุ่มประเทศดังกล่าวยังคงขยายตัวได้ ยกเว้นไต้หวัน ซึ่งเศรษฐกิจในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 หดตัวร้อยละ -0.2 จากช่วงเดียวกัน ของปีก่อน ด้านเสถียรภาพภายในประเทศพบว่า จากการที่ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกมีเสถียรภาพมากขึ้นในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ส่งผลให้อัตราเงินเฟ้อในกลุ่มประเทศดังกล่าวปรับตัวลดลง ตารางที่ 3 การเติบโตทางเศรษฐกิจและแหล่งที่มาของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (%) ประเทศ (สัดส่วนการส่งออกปี 2554) อัตราการขยายตัวของ GDP ไตรมาสที่ 1 ปี 2555 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน (%yoy)

การบริโภคภาคเอกชน การบริโภคภาครัฐ การลงทุนรวม การส่งออกสุทธิ การเปลี่ยนแปลงของสินค้าคงคลัง

ฮ่องกง (7.2%) ออสเตรเลีย (4.0%) อินเดีย (2.3% ) เกาหลีใต้ (2.0%) ไต้หวัน (1.7%) 1.1

4.0

5.5

2.3

-0.2

2.5 0.3 1.2 -1.5 -1.4

2.2 0.6 3.5 -0.6 -1.7

3.5 1.0 0.3 -0.2 0.9

0.6 0.5 -0.6 1.5 0.3

0.4 0.2 -0.9 0.6 -0.5

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

ภาพที่ 7 ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (%yoy) ภาพที่ 8 อัตราการขยายตัวของการส่งออก (%yoy)

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

➥➥ เศรษฐกิจประเทศคูค ่ า้ อืน่ ๆ ในเอเชียและออสเตรเลียในช่วง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ปี 2555 ชะลอลง

โดยเฉพาะในส่วนของภาคการส่งออก สะท้อนจากมูลค่าการส่งออกในเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2555 ที่หดตัวต่อเนื่อง จากการชะลอลงของเศรษฐกิจคู่ค้าหลัก โดยเฉพาะยูโรโซนที่ยังคงประสบปัญหาหนี้สาธารณะเรื้อรัง สอดคล้องกับภาคการผลิต ที่ชะลอลง สะท้อนได้จากผลผลิตภาคอุตสาหกรรมในช่วง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ปี 2555 ที่ขยายตัวในระดับต�่ำและหดตัว ในบางประเทศ โดยมีสาเหตุหลักมาจากการปรับตัวลดลงของการผลิตเพื่อการส่งออกเป็นส�ำคัญ (ภาพที่ 7 และภาพที่ 8)

18


➥➥ ในปี 2555 คาดว่าการขยายตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าอื่น ๆ ในเอเชียและออสเตรเลียในภาพ

รวมจะขยายตัวชะลอลงจากปี 2554 ส่วนหนึ่งจากสถานการณ์วิกฤตหนี้สาธารณะในยุโรปที่คาดว่าจะเรื้อรังต่อเนื่อง ผนวก กับเศรษฐกิจจีนส่งสัญญาณชะลอลง อย่างไรก็ตาม อุปสงค์ภายในประเทศของกลุ่มประเทศดังกล่าวที่คาดว่าจะยังคงขยายตัว ได้ดีต่อเนื่อง จะเป็นปัจจัยสนับสนุนส�ำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศดังกล่าวในปี 2555 ➥➥ ในปี 2556 คาดว่าการขยายตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าอื่น ๆ ในเอเชียและออสเตรเลียในภาพรวม จะขยายตัวดีขึ้นจากปี 2555 โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากอุปสงค์ในประเทศของกลุ่มประเทศดังกล่าวที่คาดว่าจะปรับตัวดี ขึ้น อย่างไรก็ตาม ยังคงมีปัจจัยเสี่ยงจากความเปราะบางของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะจากปัญหาวิกฤตหนี้สาธารณะในยุโรป

2. ราคาน�้ำมันดิบในตลาดโลก “ในปี 2555 คาดว่าราคาน�้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยจะอยู่ที่ 113.0 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล (ช่วงคาดการณ์อยู่ที่ 110.5-115.5 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล) เพิ่มขึ้นจากปี 2554 ที่อยู่ที่ 105.6 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล โดยเป็นผล จากอุปสงค์น�้ำมันดิบในตลาดโลกที่เพิ่มขึ้นตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศ Non-OECD เป็นส�ำคัญ โดยเฉพาะประเทศกลุ่มเอเชียและลาตินอเมริกา ประกอบกับเหตุการณ์ความตึงเครียดระหว่างประเทศอิหร่านและ ชาติตะวันตกบริเวณช่องแคบฮอร์มซุ เป็นผลให้ราคาน�ำ้ มันปรับตัวเพิม่ ขึน้ ในช่วงทีผ่ า่ นมา นอกจากนีก้ ารทีส่ หรัฐอเมริกา ออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ (QE3) จะส่งผลให้ราคาน�้ำมันดิบปรับตัวสูงขึ้นในช่วงที่เหลือของปีจากการเก็งก�ำไร อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจโลกยังมีปัจจัยเสี่ยงที่ส�ำคัญคือ ปัญหาวิกฤตหนี้สาธารณะของกลุ่มสหภาพยุโรป ซึ่งจะมีผล ให้อุปสงค์น�้ำมันดิบขยายตัวได้ในกรอบที่จ�ำกัด ขณะที่อุปทานน�้ำมันดิบโลกตึงตัวขึ้น หลังจากประเทศสหรัฐอเมริกา และกลุม่ สหภาพยุโรปออกมาตรการคว�ำ่ บาตรการน�ำเข้าน�ำ้ มันดิบจากอิหร่านทีเ่ ริม่ บังคับใช้ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2555 รวมถึงเหตุการณ์ความไม่สงบในประเทศผู้ผลิตน�้ำมันดิบ ส�ำหรับในปี 2556 คาดว่าราคาน�้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยจะอยู่ที่ 118.0 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล (ช่วงคาดการณ์ อยู่ที่ 113.0–123.0 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล) เร่งตัวขึ้นจากปี 2555 ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกที่จะส่งผลต่อ อุปสงค์นำ�้ มันดิบทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยเฉพาะกลุม่ ประเทศ Non-OECD ซึง่ น�ำโดยประเทศจีนและประเทศอินเดีย อย่างไรก็ตาม คาดว่าปัญหาวิกฤตหนีส้ าธารณะของกลุม่ สหภาพยุโรปยังคงเป็นปัจจัยเสีย่ งส�ำคัญต่อเศรษฐกิจโลกในปีหน้า ส่งผลต่อ ราคาน�้ำมันผ่านอุปสงค์ที่คาดว่าจะขยายตัวได้ในกรอบที่จ�ำกัด” ภาพที่ 9 สมมติฐานราคาน�ำ้ มันดิบดูไบ ในปี 2555 และปี 2556

2552

2553

2554

2555f

2556f

ที่มา : Reuters

➥➥ ราคาน�้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยปี 2555 คาดว่าจะปรับตัวเพิ่มขึ้นสู่ระดับ 113.0 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล จากปี 2554

ที่อยู่ ณ ระดับ 105.6 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล คิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 7.0 จากปี 2554 โดยในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2555 ราคาน�้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยอยู่ที่ 109.61 ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยการเพิ่มขึ้นของราคา น�ำ้ มันดิบมีสาเหตุหลักมาจากอุปทานการผลิตน�ำ้ มันทีล่ ดลงหลังจากประเทศสหรัฐอเมริกาและกลุม่ สหภาพยุโรปออกมาตรการ คว�่ำบาตรการน�ำเข้าน�้ำมันดิบจากอิหร่าน ซึ่งเริ่มมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2555 และปัญหาความไม่สงบในประเทศ ผู้ผลิตน�้ำมันดิบ ได้แก่ ซีเรียและซูดาน ขณะที่ปัจจัยด้านอุปสงค์มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นจากความต้องการของประเทศนอกกลุ่ม OECD เป็นส�ำคัญ รวมถึงประเทศญี่ปุ่นมีความต้องการน�้ำมันดิบเพิ่มขึ้น เพื่อน�ำไปใช้ทดแทนการผลิตของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ ประมาณการเศรษฐกิจไทย

19


เสียหายจากเหตุการณ์สึนามิ นอกจากนี้ธนาคารกลางสหรัฐอเมริกายังได้ออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ (QE3) ส่งผลให้ราคา น�้ำมันมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นในช่วงที่เหลือของปี ส่วนในปี 2556 คาดว่าราคาน�้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยจะอยู่ที่ 118.0 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อบาร์เรล (ช่วงคาดการณ์อยูท่ ี่ 113.0-123.0 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล) เป็นผลจากอุปสงค์ทยี่ งั ขยายตัวได้ในกรอบทีจ่ ำ� กัดตาม การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกในปีหน้า โดยมีปัญหาวิกฤตหนี้สาธารณะยุโรปเป็นปัจจัยเสี่ยงส�ำคัญ ➥➥ ปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อราคาน�้ำมันดิบดูไบในปี 2555 คือ (1) การขยายตัวของอุปสงค์น�้ำมันดิบที่เพิ่ม ขึ้นตามการขยายตัวของกลุ่มประเทศ Non-OECD เป็นส�ำคัญ และการลดการใช้พลังงานนิวเคลียร์ของประเทศญี่ปุ่น ส่งผลให้ความต้องการน�้ำมันดิบในการใช้เป็นแหล่งพลังงานเพิ่มสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม คาดว่าความต้องการน�้ำมันดิบ ของกลุ่มประเทศยุโรปจะลดลงเนื่องจากปัญหาหนี้สาธารณะยุโรป และ (2) อุปทานน�้ำมันดิบโลกจะขยายตัวได้ใน กรอบที่จ�ำกัด เนื่องจากสหรัฐอเมริกาและยุโรปออกมาตรการคว�่ำบาตรการน�ำเข้าน�้ำมันดิบจากอิหร่าน ซึ่งเริ่มบังคับ ใช้ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2555 1) อุปสงค์น�้ำมันดิบที่เพิ่มขึ้น International Energy Agency (IEA) คาดว่าในปี 2555 ความต้องการน�้ำมันดิบ ทั่วโลกจะอยู่ที่ 89.8 ล้านบาร์เรลต่อวัน เทียบกับปี 2554 ที่อยู่ที่ระดับ 88.9 ล้านบาร์เรลต่อวัน ซึ่งเป็นการปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.9 ล้านบาร์เรลต่อวัน หรือขยายตัวที่ร้อยละ 1.01 ต่อปี โดยเป็นผลมาจากความต้องการของประเทศนอกกลุ่ม OECD เป็นส�ำคัญ • ประเทศในกลุ่ม OECD คาดว่าในปี 2555 มีความต้องการใช้น�้ำมันดิบรวมที่ 46.2 ล้านบาร์เรลต่อวัน เทียบกับปี 2554 ที่อยู่ที่ระดับ 46.6 ล้านบาร์เรลต่อวัน เป็นการปรับตัวลดลง 0.4 ล้านบาร์เรลต่อวัน หรือหดตัวร้อยละ -0.86 ต่อปี เนื่องจากการลดลงของความต้องการใช้น�้ำมันดิบในกลุ่มสหภาพยุโรปเป็นส�ำคัญ อันเป็นผลจากวิกฤตหนี้สาธารณะยุโรป ขณะที่ประเทศญี่ปุ่นมีความต้องการน�้ำมันดิบเพิ่มขึ้นเพื่อน�ำไปเป็นแหล่งพลังงานทดแทนพลังงานนิวเคลียร์ที่เสียหายจากเหตุ การณ์สึนามิเมื่อกลางปีก่อนหน้า • ในขณะที่ประเทศนอกกลุ่ม OECD คาดว่าในปี 2555 มีความต้องการใช้น�้ำมันดิบรวมที่ 43.5 ล้านบาร์เรล ต่อวัน เทียบกับปี 2554 ที่อยู่ที่ 42.4 ล้านบาร์เรลต่อวัน หรือเพิ่มขึ้น 1.1 ล้านบาร์เรลต่อวัน คิดเป็นอัตราขยายตัวร้อยละ 2.6 ต่อปี โดยมีสาเหตุสำ� คัญจากความต้องการน�ำ้ มันของประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ (Emerging countries) โดยเฉพาะประเทศจีน อินเดีย บราซิล รัสเซีย และกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนบางประเทศ 2) อุปทานน�ำ้ มันดิบโลกทีเ่ พิม่ ขึน้ คาดว่าในปี 2555 ปริมาณน�ำ้ มันทีผ่ ลิตทัว่ โลกจะอยูท่ ี่ 91.2 ล้านบาร์เรลต่อวัน เทียบกับ ปี 2554 ทีอ่ ยูท่ ี่ 88.4 ล้านบาร์เรลต่อวัน เพิม่ ขึน้ 2.8 ล้านบาร์เรลต่อวัน คิดเป็นอัตราขยายตัวร้อยละ 3.2 จากปีกอ่ นหน้า ➥➥ ในกลุ่ม OPEC คาดว่าก�ำลังการผลิตน�้ำมันดิบในปี 2555 จะอยู่ที่ 38.0 ล้านบาร์เรลต่อวัน เทียบกับปี 2554 ที่อยู่ที่ระดับ 35.7 ล้านบาร์เรลต่อวัน หรือเพิ่มขึ้น 2.3 ล้านบาร์เรลต่อวัน คิดเป็นอัตราขยายตัวร้อยละ 6.4 โดยการผลิตที่เพิ่มขึ้น มาจากประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม อุปทานน�้ำมันดิบของโลกมีปัจจัยเสี่ยง คือ เหตุการณ์ที่สหรัฐอเมริกาและ ยุโรปออกมาตรการคว�่ำบาตรการน�ำเข้าน�้ำมันดิบจากอิหร่าน ➥➥ ส่วนในกลุม ่ Non-OPEC คาดว่าก�ำลังการผลิตในปี 2555 อยูท่ รี่ ะดับ 53.2 ล้านบาร์เรลต่อวัน เทียบกับปี 2554 ที่อยู่ที่ 52.8 ล้านบาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้น 0.4 ล้านบาร์เรลต่อวัน คิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 0.8 ต่อปี มาจากการผลิตที่เพิ่มขึ้นจาก กลุ่มประเทศลาตินอเมริกา รัสเซีย และจีน เป็นส�ำคัญ

3. ราคาสินค้าส่งออกและน�ำเข้า (ในรูปดอลลาร์สหรัฐ) ในปี 2555 คาดว่าราคาสินค้าส่งออกจะเพิม่ ขึน้ ในอัตราชะลอลงทีร่ อ้ ยละ 1.0 เมือ่ เทียบกับปีกอ่ น (ช่วงคาดการณ์ ทีร่ อ้ ยละ 0.5-1.5) เนือ่ งจากคาดว่าราคาส่งออกสินค้าเกษตรจะหดตัวเมือ่ เทียบกับปีกอ่ นหน้า โดยเฉพาะราคายางพาราที่ ปรับตัวลดลงอย่างต่อเนือ่ ง ตามการลดลงของอุปสงค์จากประเทศจีนและสหภาพยุโรป เป็นส�ำคัญ ส่วนราคาส่งออกสินค้า อุตสาหกรรมคาดว่าจะเพิม่ ขึน้ ในอัตราทีช่ ะลอลง เนือ่ งจากอุปสงค์ตอ่ สินค้าส่งออกของไทยยังได้รบั แรงกดดันจากปัญหา วิกฤตหนี้สาธารณะยุโรป จึงส่งผลให้ราคาส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมปรับตัวเพิ่มขึ้นในกรอบที่จ�ำกัด ขณะที่ราคาสินค้า น�ำเข้าจะเพิม่ ขึน้ ในอัตราทีช่ ะลอลงมาอยูท่ รี่ อ้ ยละ 2.6 เมือ่ เทียบกับปี 2554 (ช่วงคาดการณ์ทรี่ อ้ ยละ 2.1-3.1) โดยมีสาเหตุหลัก จากราคาสินค้าประเภทเชือ้ เพลิงทีม่ แี นวโน้มเพิม่ ขึน้ ในอัตราชะลอลงจากปีกอ่ นหน้า ส่วนราคาสินค้าประเภทวัตถุดบิ และ กึง่ ส�ำเร็จรูปซึง่ คิดเป็นสัดส่วนสูงสุดในมูลค่าสินค้าน�ำเข้า คาดว่าจะมีการขยายตัวในอัตราทีช่ ะลอลงจากปีกอ่ นเช่นเดียวกัน ขณะทีใ่ นปี 2556 คาดว่าราคาสินค้าส่งออกจะเพิม่ ขึน้ ในอัตราเร่งทีร่ อ้ ยละ 3.0 เนือ่ งจากคาดว่าราคายางพาราจะ สามารถปรับตัวสูงขึน้ จากปี 2555 ส่วนราคาสินค้าน�ำเข้าคาดว่าจะขยายตัวในอัตราเร่งทีร่ อ้ ยละ 4.5 จากราคาสินค้าเชือ้ เพลิง และราคาสินค้าอุปโภค-บริโภค

20


ภาพที่ 10 อัตราการขยายตัวของราคาสินค้าส่งออกและน�ำเข้า (รูปดอลลาร์สหรัฐ) ในปี 2555 และปี 2556 อัตราการขยายตัวของราคาสินค้าส่งออก (รูปดอลลาร์สหรัฐ)

อัตราการขยายตัวของราคาสินค้าน�ำเข้า (รูปดอลลาร์สหรัฐ)

ที่มา : กระทรวงพาณิชย์ และ สศค.

3.1 ราคาสินค้าส่งออกในรูปดอลลาร์สหรัฐ ➥➥ ราคาสินค้าส่งออกในปี 2555 คาดว่าจะอยูท ่ รี่ อ้ ยละ 1.0 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น (ช่วงคาดการณ์ ที่ร้อยละ 0.5-1.5) ชะลอลงเมื่อเทียบกับปี 2554 ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.6 เนื่องจากราคาสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรรมเกษตร ซึ่งมีสัดส่วนร้อยละ 12.9 และร้อยละ 7.6 ตามล�ำดับ มีการหดตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยในช่วง 8 เดือนแรกของ ปี 2555 ดัชนีราคาทั้งสองประเภทหดตัวที่ร้อยละ -5.6 และร้อยละ -2.2 ตามล�ำดับ ซึ่งมีสาเหตุหลักจากราคายางพาราที่ปรับตัว ลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยในช่วง 8 เดือนแรกของปี 2555 หดตัวที่ร้อยละ -33.1 อันเป็นผลมาจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก และปัจจัยฐานสูงในช่วงเดียวกันของปีก่อน ในทางกลับกันราคาสินค้าเกษตรประเภทข้าวมีการปรับตัวสูงขึ้น โดยในช่วง 8 เดือน แรกราคาเพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 9.91 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนราคาสินค้าอุตสาหกรรมซึ่งมีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 73.4 ของดัชนีราคารวม คาดว่าจะมีการปรับตัวเพิ่มขึ้น เล็กน้อยเมื่อเทียบกับปีก่อน โดยในช่วง 8 เดือนแรกของปี 2555 ดัชนีราคาอุตสาหกรรมปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.6 ซึ่งสาเหตุหลัก ที่ท�ำให้ราคาสินค้าอุตสาหกรรมมีการขยายตัวในอัตราชะลอลง เกิดจากอุปสงค์ต่อสินค้าส่งออกของไทยมีการชะลอตัวลงจาก ปัญหาวิกฤตหนี้สาธารณะยุโรปเป็นส�ำคัญ ขณะทีใ่ นปี 2556 คาดว่าราคาสินค้าส่งออกจะขยายตัวเร่งขึน้ ทีร่ อ้ ยละ 3.0 โดยมีสาเหตุหลักจากราคายางพารา ที่คาดว่าจะกลับมาขยายตัวได้อีกครั้งจากแนวโน้มเศรษฐกิจโลกที่ดีขึ้นในปีหน้า 3.2 ราคาสินค้าน�ำเข้าในรูปดอลลาร์สหรัฐ ➥➥ ราคาสินค้าน�ำเข้าในปี 2555 คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 2.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน (ช่วง คาดการณ์ที่ร้อยละ 2.1-3.1) ชะลอลงเมื่อเทียบกับปี 2554 ที่อยู่ที่ร้อยละ 10.1 เนื่องจากคาดว่าราคาสินค้าประเภทเชื้อเพลิง ซึ่งมีสัดส่วนร้อยละ 19.1 ของดัชนีราคารวมเพิ่มขึ้นในอัตราที่ชะลอลงจากปีก่อน โดยคาดว่าราคาน�้ำมันดิบโลกจะเพิ่มขึ้นได้ ในกรอบที่จ�ำกัด เนื่องจากปัญหาวิกฤตหนี้สาธารณะยุโรปส่งผลให้เศรษฐกิจโลกชะลอตัว อุปสงค์ต่อน�้ำมันดิบโลกจึงขยายตัว ชะลอลงจากปีก่อน โดยราคาน�้ำมันเฉลี่ยในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2555 เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของ ปีก่อน นอกจากนี้คาดว่าราคาสินค้าประเภทวัตถุดิบซึ่งมีสัดส่วนร้อยละ 43.0 ของดัชนีรวม จะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปีก่อน ตามการขยายตัวของภาคการส่งออกทีช่ ะลอลง เนือ่ งจากสินค้าน�ำเข้าประเภทวัตถุดบิ ส่วนใหญ่นำ� เข้ามาเพือ่ ผลิตเป็นสินค้าส่งออก โดยในช่วง 8 เดือนแรก ราคาสินค้าประเภทวัตถุดบิ และกึง่ ส�ำเร็จรูปเพิม่ ขึน้ ทีร่ อ้ ยละ 1.7 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น ส่วนราคา สินค้าทุนซึ่งมีสัดส่วนร้อยละ 24.9 ของดัชนีรวม คาดว่าจะมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากแนวโน้มการน�ำเข้าสินค้าทุน เพื่อทดแทนเครื่องจักรที่เสียหายจากเหตุการณ์น�้ำท่วมช่วงปลายปีก่อนหน้า ทั้งนี้ในช่วง 8 เดือนแรก ราคาสินค้าทุนปรับตัว เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.3 เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

ราคาข้าวขาว 5%

1

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

21


ขณะที่ในปี 2556 คาดว่าราคาสินค้าน�ำเข้าจะขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 4.5 เนื่องจากคาดว่าเศรษฐกิจโลกจะ กลับมาฟื้นตัวดีขึ้น ท�ำให้การส่งออกกลับมาฟื้นตัวอีกครั้ง ส่งผลต่อเนื่องไปยังการน�ำเข้าสินค้าวัตถุดิบเพิ่มขึ้น ราคาสินค้าน�ำเข้า วัตถุดิบจึงมีการปรับตัวสูงขึ้นในปี 2556 นอกจากนี้ จากเศรษฐกิจโลกที่ปรับตัวดีขึ้นอาจจะส่งผลต่อราคาน�้ำมันดิบโลกให้มี การปรับตัวเพิ่มขึ้นได้ เป็นผลให้ราคาสินค้าน�ำเข้าโดยรวมจะขยายตัวเร่งขึ้นในปีหน้า

4. อัตราแลกเปลี่ยนบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ “ในปี 2555 ค่าเงินบาทเฉลี่ยมีทิศทางอ่อนค่าลง จากค่าเฉลี่ยในปี 2554 ที่ 30.50 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ มาอยู่ ที่ 31.10 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ หรือในช่วงคาดการณ์ระหว่าง 30.60-31.60 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ในขณะที่ปี 2556 ค่าเงินบาทมีทิศทางแข็งค่าขึ้นมาอยู่ที่ 30.75 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ หรือในช่วงคาดการณ์ระหว่าง 29.75–31.75 บาท ต่อดอลลาร์สหรัฐ (ภาพที่ 11)” ภาพที่ 11 สมมติฐานอัตราแลกเปลี่ยนบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ เฉลี่ยในปี 2555 และปี 2556

ที่มา : Reuters

4.1 สถานการณ์ค่าเงินบาทในช่วงที่ผ่านมา หากพิจารณาทิศทางการเคลื่อนไหวของค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐปัจจุบันเทียบกับต้นปี 2555 แล้ว จะพบว่าค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้นร้อยละ 1.52 (ภาพที่ 12) เนื่องจากดัชนีค่าเงินดอลลาร์สหรัฐอ่อนค่าลงเล็กน้อย อีกทั้งมีเงินทุน ไหลเข้าตลาดทุนไทย โดยเฉพาะจากตลาดหลักทรัพย์ในช่วงเดือนกันยายน 2555 ซึ่งมีสาเหตุส�ำคัญจากท่าทีของธนาคารกลาง ยุโรป (European Central Bank : ECB) ที่แสดงความชัดเจนมากขึ้นในการเข้าแทรกแซงตลาดพันธบัตรรัฐบาล เพื่อลดอัตรา ผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลของประเทศในกลุ่มยูโรโซนที่ประสบปัญหา อาทิ สเปนและอิตาลี เพื่อลดต้นทุนการกู้ยืมและภาระ การคลังของประเทศดังกล่าว ซึ่งจะเป็นปัจจัยสนับสนุนที่ท�ำให้รัฐบาลประเทศนั้น ๆ สามารถลดการขาดดุลงบประมาณได้มาก ขึ้น การเข้าแทรกแซงดังกล่าวประกอบกับค�ำสัมภาษณ์ของประธาน ECB ที่กล่าวว่าจะท�ำทุกวิถีทางเพื่อรักษาเสถียรภาพของ สกุลเงินยูโรมิให้มปี ระเทศใดต้องออกจากยูโรโซน ตลอดจนการทีใ่ นวันที่ 13 กันยายน 2555 ธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาตัดสินใจ ด�ำเนินมาตรการทางการเงินแบบผ่อนคลายเพิ่มเติมเป็นระลอกที่ 3 (QE3) ด้วยวงเงินเดือนละ 4 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ แบบไม่มีก�ำหนดสิ้นสุด พร้อมทั้งขยายเวลาการด�ำเนินมาตรการแทรกแซงในตลาดพันธบัตร (Operation Twist) ไปจนถึง สิ้นปี 2555 ตลอดจนการประกาศอัดฉีดเงินเข้าระบบของธนาคารกลางญี่ปุ่นวงเงิน 10 ล้านล้านเยน เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2555 ที่ผ่านมา ปัจจัยเหล่านี้ท�ำให้นักลงทุนกลับมาซื้อสินทรัพย์เสี่ยงในภูมิภาค ท�ำให้ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้นในช่วงดังกล่าว

22


ภาพที่ 12 อัตราแลกเปลี่ยนบาทต่อดอลลาร์สหรัฐรายวัน

ที่มา : CEIC / สศค.

ทั้งนี้ดุลบัญชีการช�ำระเงิน (Balance of Payment) ในช่วง 8 เดือนแรกของปี 2555 ที่เกินดุลสะสม 2.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ภาพที่ 13) เป็นอีกปัจจัยที่ท�ำให้ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้นในช่วงที่ผ่านมา ภาพที่ 13 ดุลการช�ำระเงินของประเทศไทย ปี 2554-2555

ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย

4.2 แนวโน้มของค่าเงินบาทในระยะถัดไป ในปี 2555 คาดว่าค่าเงินบาทเฉลี่ยต่อดอลลาร์สหรัฐจะมีแนวโน้มอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยในปี 2554 มาอยูท่ รี่ ะดับ 31.10 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ (โดยมีชว่ งคาดการณ์อยูท่ รี่ ะดับ 30.60-31.60 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ) จากปัจจัยหลักคือ ดุลบัญชีเดินสะพัดของไทยในปี 2555 ที่คาดว่าจะขาดดุลจากการน�ำเข้าที่ขยายตัวเร่งขึ้นมากตาม ความต้องการสินค้าหมวดเครื่องจักรเพื่อทดแทนเครื่องจักรที่เสียหายจากอุทกภัยในช่วงปลายปี 2554 ในขณะที่การส่งออก และภาคการท่องเทีย่ วขยายตัวชะลอลง เนือ่ งจากเศรษฐกิจโลกส่งสัญญาณชะลอตัวลง จากปัญหาเศรษฐกิจของประเทศใน กลุม่ ยูโรโซนและการชะลอการขยายตัวของเศรษฐกิจจีน ทีอ่ าจส่งผลกระทบในวงกว้างต่อไปยังเศรษฐกิจของประเทศในภูมภิ าค ทีเ่ น้นการส่งออกเป็นหลัก รวมไปถึงอาจลุกลามไปยังภาคการธนาคารของสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา ปัจจัยเหล่านีจ้ ะท�ำให้ การส่งออกของไทยขยายตัวในอัตราที่น้อยกว่าการน�ำเข้า อย่างไรก็ตาม การด�ำเนินมาตรการทางการเงินแบบผ่อนคลายของ ประเทศมหาอ�ำนาจทางเศรษฐกิจ จะส่งผลให้มีเงินทุนไหลเข้าและจะเป็นปัจจัยที่ช่วยให้ค่าเงินบาทไม่อ่อนค่าไปมากกว่านี้

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

23


ในปี 2556 คาดว่าค่าเงินบาทเฉลี่ยต่อดอลลาร์สหรัฐจะมีแนวโน้มแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยมาอยู่ที่ระดับ 30.75 บาท ต่อดอลลาร์สหรัฐ (โดยมีช่วงคาดการณ์อยู่ที่ระดับ 29.75–31.75 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ) จากปัจจัยหลักคือ ดุลการค้า ของไทยในปี 2556 ทีค่ าดว่าจะเกินดุลจากเศรษฐกิจโลกทีส่ ง่ สัญญาณฟืน้ ตัว โดยคาดว่าเศรษฐกิจสหภาพยุโรปจะฟืน้ ตัวขึน้ เล็กน้อยจากการทีก่ องทุน European Financial Stability Facility (EFSF) และกลไกถาวร European Stability Mechanism (ESM) สามารถเข้าช่วยเหลือประเทศทีป่ ระสบปัญหาได้ อีกทัง้ คาดว่าสหรัฐอเมริกาจะมีนโยบายกระตุน้ เศรษฐกิจเพิม่ เติมนอกเหนือจาก มาตรการทางการเงิน นอกจากนี้คาดว่ารัฐบาลกลางจีนจะประกาศมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ จากที่เตรียมประกาศเพื่อกระตุ้น เศรษฐกิจในมณฑลต่าง ๆ ปัจจัยเหล่านี้จะท�ำให้ปริมาณการส่งออกของไทยขยายตัวเร่งขึ้นในอัตราที่สูงกว่าปริมาณการน�ำเข้า นอกจากนี้ ดุ ล เงิ น ทุ น ของไทยในระยะต่ อ ไปคาดว่ า จะยั ง คงมี ค วามผั น ผวนสู ง อั น เป็ น ผลจากมาตรการ การให้ความช่วยเหลือประเทศในกลุ่มยูโรโซนที่ประสบปัญหา ตลอดจนมาตรการอัดฉีดสภาพคล่องจากธนาคารกลางประเทศ ต่าง ๆ ท�ำให้นักลงทุนคลายความกังวลในภาวะเศรษฐกิจได้ในระยะสั้น และท�ำให้มีเงินทุนจ�ำนวนมากไหลเข้าสู่ประเทศใน ภูมิภาค อย่างไรก็ตาม หากปัญหาทางเศรษฐกิจของประเทศเหล่านี้เริ่มปะทุขึ้นอีกครั้ง นักลงทุนอาจถอนเงินทุนกลับสู่แหล่ง การลงทุนที่ปลอดภัย (Safe Haven) ปัจจัยเหล่านี้จะส่งผลให้ค่าเงินบาทตลอดจนค่าเงินในภูมิภาคอื่น ๆ มีความผันผวนตาม ไปด้วย

5. อัตราดอกเบี้ยนโยบาย “สศค.คาดการณ์ว่าในปี 2555 อัตราดอกเบี้ยนโยบายจะอยู่ที่ร้อยละ 3.00 ต่อปี (ช่วงคาดการณ์ร้อยละ 2.75–3.25 ต่อปี) และยังคงอยู่ที่ร้อยละ 3.00 ต่อปี (ช่วงคาดการณ์ร้อยละ 2.50-3.50 ต่อปี) ในปี 2556” ➥➥ คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ดำ� เนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย ต่อเนื่องในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2555 จากเศรษฐกิจโลกที่เริ่มส่งสัญญาณชะลอลงชัดเจน โดยเฉพาะจากปัญหา วิ ก ฤตหนี้ ส าธารณะในยู โ รโซนที่ ยั ง คงเรื้ อ รั ง ต่ อ เนื่ อ ง ผนวกกั บ เศรษฐกิ จ จี น ที่ เ ริ่ ม ส่ ง สั ญ ญาณการขยายตั ว ชะลอลง ขณะที่แรงกดดันจากเงินเฟ้อในปัจจุบันยังคงอยู่ในระดับที่บริหารจัดการได้ ส่งผลให้ในเดือนกันยายน 2555 กนง.ประกาศ คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายติดต่อกันเป็นครั้งที่ 5 ที่ร้อยละ 3.00 ภาพที่ 14 อัตราดอกเบี้ยนโยบายและอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน

ทีม่ า : กระทรวงพาณิชย์ และธนาคารแห่งประเทศไทย รวบรวมโดย สศค.

➥➥ ในปี 2555 สศค.คาดว่าอัตราดอกเบี้ยนโยบายมีแนวโน้มอยู่ที่ร้อยละ 3.00 ต่อปี (ช่วงคาดการณ์ 2.75-

3.25 ต่อปี) โดยแม้ว่าอุปสงค์ภายในประเทศที่คาดว่าจะฟื้นตัวเต็มที่จากอุทกภัยในช่วงครึ่งหลังของปี 2555 ซึ่งคาดว่าจะส่งผล ให้แรงกดดันจากเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึน้ ในช่วงปลายปี 2555 อย่างไรก็ตาม ความเสีย่ งทีเ่ พิม่ ขึน้ จากวิกฤตหนีส้ าธารณะในยูโรโซน อาจส่งผลกระทบต่อภาพรวมของเศรษฐกิจไทยในช่วงครึง่ หลังของปี 2555 จึงส่งผลให้คาดว่า กนง.อาจจ�ำเป็นต้องด�ำเนินนโยบาย การเงินแบบผ่อนคลายต่อเนื่องในระยะต่อไป

24


➥➥ ในปี 2556 สศค.คาดว่าอัตราดอกเบี้ยนโยบายมีแนวโน้มที่จะยังคงอยู่ที่ร้อยละ 3.00 (ช่วงคาดการณ์

2.50-3.50) เนื่องจากถึงแม้จะมีแรงกดดันจากเงินเฟ้อที่คาดว่าจะสูงขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ ผนวกกับสถานการณ์ เศรษฐกิจโลกที่น่าจะปรับตัวดีขึ้นจากปี 2555 แต่ความไม่แน่นอนของสถานการณ์เศรษฐกิจโลกยังคงเป็นปัจจัยเสี่ยงส�ำคัญที่ อาจกระทบต่อภาคการส่งออกและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของไทย ภาพที่ 15 สมมติฐานอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ณ สิ้นปี

ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย ประมวลผลโดย สศค.

6. รายจ่ายภาคสาธารณะประจ�ำปีงบประมาณ 2555

“ปีงบประมาณ 2555 รายจ่ายภาคสาธารณะ (ประกอบด้วย (1) รายจ่ายรัฐบาล (2) รายจ่ายองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (อปท.) และ (3) รายจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ) คาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายได้จ�ำนวน 2,896,711 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 4.8 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น เพิม่ จากปีงบประมาณ 2554 ซึง่ มีรายจ่ายภาคสาธารณะจ�ำนวน 2,769,757 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 176,566 ล้านบาท ส�ำหรับปีงบประมาณ 2556 รายจ่ายภาคสาธารณะคาดว่า จะสามารถเบิกจ่ายได้จ�ำนวน 3,098,905 ล้านบาท ขยายตัวในช่วงร้อยละ 7.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน” 6.1 กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายของรัฐบาล ปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลตั้งกรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายจ�ำนวน 2,380,000 ล้านบาท ซึ่งเป็น การด�ำเนินนโยบายงบประมาณแบบขาดดุล -400,000 ล้านบาท หรือประมาณร้อยละ 3.4 ของ GDP2 ภายใต้ประมาณการจัด เก็บรายได้รฐั บาลเท่ากับ 1,980,000 ล้านบาท โครงสร้างงบประมาณรายจ่ายรัฐบาล แบ่งออกเป็น (1) รายจ่ายประจ�ำ 1,855,841 ล้านบาท (2) รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง 53,918 ล้านบาท (3) รายจ่ายลงทุน 423,387 ล้านบาท และ (4) รายจ่ายช�ำระคืน ต้นเงินกู้ 46,854 ล้านบาท นอกจากนี้รัฐบาลได้มีการออกพระราชก�ำหนด (พ.ร.ก.) ให้อ�ำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อการวางระบบบริหาร จัดการน�้ำและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 วงเงินกู้ 350,000 ล้านบาท ส�ำหรับกรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายปีงบประมาณ 2556 มีจ�ำนวน 2,400,000 ล้านบาท ซึ่งเป็นการด�ำเนิน นโยบายงบประมาณแบบขาดดุล -300,000 ล้านบาท หรือประมาณร้อยละ 2.4 ของ GDP3 ภายใต้ประมาณการการจัดเก็บ รายได้รัฐบาลเท่ากับ 1,980,000 ล้านบาท โครงสร้างงบประมาณรายจ่ายรัฐบาล แบ่งออกเป็น (1) รายจ่ายประจ�ำ 1,884,000 ล้านบาท (2) รายจ่ายลงทุน 467,000 ล้านบาท และ (3) รายจ่ายช�ำระคืนต้นเงินกู้ 48,600 ล้านบาท ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP) ปี 2555 11,572,300 ล้านบาท ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP) ปี 2556 12,544,000 ล้านบาท

2 3

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

25


ตารางที่ 4 กรอบโครงสร้างงบประมาณประจ�ำปีงบประมาณ 2555 และ 2556 ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดส่วนต่อ GDP) (อัตราเพิ่ม) 1.1 รายจ่ายประจ�ำ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราขยายตัว) 1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราขยายตัว) 1.3 รายจ่ายช�ำระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราขยายตัว) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (อัตราขยายตัว) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP) เบื้องต้น

2555 2,380,000.0 20.6 9.7 1,840,672.6 77.4 10.4 438,555.4 18.4 23.4 46,854.0 2.0 43.9 1,980,000.0 17.1 11.9 (400,000.0) (3.5) 11,572,300.0

2556 2,400,000.0 19.1 0.8 1,901,911.7 79.2 3.3 448,938.8 18.7 2.4 49,149.5 2.1 4.9 2,400,000.0 16.7 6.1 (300,000.0) (2.6) 12,544,000.0

ที่มา : ส�ำนักงบประมาณ

ส�ำหรับในปีงบประมาณ 2555 คาดว่ารัฐบาลจะสามารถเบิกจ่ายได้ทงั้ สิน้ 2,896,711 ล้านบาท ภายใต้สมมติฐาน การเบิกจ่ายร้อยละ 91.21 ของกรอบวงเงินงบประมาณ 2,380,000 ล้านบาท ซึง่ ต�ำ่ กว่าเป้าหมายเดิมทีต่ งั้ ไว้ทรี่ อ้ ยละ 93.0 โดยมี สาเหตุสำ� คัญจากพระราชบัญญัตงิ บประมาณปี 2555 มีผลบังคับใช้ในเดือนกุมภาพันธ์ 2555 ซึง่ ถือว่าล่าช้ากว่าปกติ ท�ำให้มกี าร เบิกจ่ายล่าช้า โดยแบ่งเป็นการเบิกจ่ายรายจ่ายประจ�ำ 1,901,764 ล้านบาท รายจ่ายลงทุน 269,079 ล้านบาท โดยได้มีการปรับ เป้าการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุนจากเดิมที่ร้อยละ 72.0 เป็นร้อยละ 63.55 ของกรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน และรายจ่ายเหลื่อมปี 152,876 ล้านบาท ส�ำหรับในปีงบประมาณ 2556 คาดว่ารัฐบาลจะสามารถเบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 3,098,905 ล้านบาท ภายใต้สมมติฐานการเบิกจ่ายร้อยละ 93.0 ของกรอบวงเงินงบประมาณ 2,400,000 ล้านบาท โดยแบ่ง เป็นการเบิกจ่ายรายจ่ายประจ�ำ 1,895,693 ล้านบาท รายจ่ายลงทุน 336,240 ล้านบาท และรายจ่ายเหลือ่ มปี 172,500 ล้านบาท นอกจากนี้การเบิกจ่ายงบประมาณภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ในปีงบประมาณ 2555 คาดว่าจะมี การเบิกจ่ายรวมทัง้ สิน้ 20,748 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.9 ของกรอบเงินลงทุนโครงการไทยเข้มแข็ง 349,960 ล้านบาท นอกจากนี้ กระทรวงการคลังจะมีการใช้จ่ายภายใต้พระราชก�ำหนด (พ.ร.ก.) ให้อ�ำนาจกระทรวงการคลังกู้เงิน เพื่อการวางระบบบริหาร จัดการน�้ำและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 วงเงิน 350,000 ล้านบาท โดยคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2555 ได้มีการอนุมัติกรอบงบประมาณจ�ำนวน 24,828.82 ล้านบาท เพื่อน�ำไปแก้ไขปัญหาอุทกภัยระยะเร่งด่วนส�ำหรับ 246 โครงการ ให้สามารถด�ำเนินการบริหารจัดการน�ำ้ และอุทกภัยเพือ่ เตรียมความพร้อมรับมือก่อนถึงฤดูฝนปี 2555 โดยยึดหลักการระบายน�ำ้ จากต้นน�้ำสู่ปลายน�้ำให้สามารถระบายน�้ำได้มากที่สุด และป้องกันพื้นที่เศรษฐกิจและชุมชนได้ทั้งฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตก ของแม่น�้ำเจ้าพระยา โดยคาดว่าในปีงบประมาณ 2555 จะมีการเบิกจ่ายได้จ�ำนวน 2,000 ล้านบาท (โดยได้มีการเบิกจ่ายแล้ว ประมาณ 1.2 พันล้านบาท) ส�ำหรับในปีงบประมาณ 2556 คาดว่าจะมีการเบิกจ่ายจ�ำนวน 99,000 ล้านบาท

26


ตารางที่ 5 สมมติฐานการเบิกจ่ายรายจ่ายของรัฐบาลกลางปีงบประมาณ 2555 และ 2556 กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่าย อัตราเบิกจ่ายรายจ่ายงบประมาณ 1. รายจ่ายรัฐบาล (1.1+1.2) 1.1 รายจ่ายงบประมาณ (1)+(2)+(3) (1) รายจ่ายประจ�ำ (2) รายจ่ายลงทุน รายจ่ายเพิ่มเติม (งบกลางปี) - ชดใช้เงินคงคลัง - เพื่อฟื้นฟูภัยพิบัติและอุดหนุน อปท. รายจ่ายรัฐบาลประจ�ำปี (1)+(2) (3) รายจ่ายเหลื่อมปี 1.2 รายจ่ายนอกงบประมาณ (1) แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 (2) พ.ร.ก.กู้เงินเพื่อใช้จ่ายบริหารจัดการน�้ำ (วงเงิน 3.5 แสนล้านบาท)

ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2555 2554 คาดการณ์ ณ ก.ย. 55

(หน่วย : ล้านบาท)

ปีงบประมาณ 2556 คาดการณ์ ณ ก.ย. 55

2,169,968 94.5% 2,239,257 2,177,895 1,786,982 263,558 92,640 87,459 5,181 2,050,540 127,355

2,380,000 91.2% 2,353,466 2,323,719 1,901,764 269,079 - - - 2,170,843 152,876

2,400,000 93.0% 2,515,033 2,404,433 1,895,693 336,240 2,231,933 172,500

61,362 61,362 -

22,748 20,748

110,600 11,600

20,000

99,000

ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.)

6.2 งบประมาณรายจ่ายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) คาดว่าจะมีการเบิกจ่ายงบประมาณรวมทั้งสิ้น 283,672 ล้านบาท ขยายตัว ร้อยละ 3.4 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น เนือ่ งจากองค์กรปกครองท้องถิน่ มีรายได้เพือ่ การใช้จา่ ยงบประมาณในการพัฒนา ท้องถิน่ ทีป่ รับตัวสูงขึน้ ตามการฟืน้ ตัวของภาวะเศรษฐกิจของประเทศ สะท้อนได้จากการเบิกจ่ายของท้องถิน่ ในช่วงสามไตรมาส แรกของปีงบประมาณ 2555 สามารถเบิกจ่ายได้ 198,937 ล้านบาท ส�ำหรับปีงบประมาณ 2556 การเบิกจ่ายรายจ่ายองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นคาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายได้ 301,644 ล้านบาท

ตารางที่ 6 สมมติฐานการเบิกจ่ายรายจ่ายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในปีงบประมาณ 2555 และ 2556 (หน่วย : ล้านบาท)

รายจ่ายท้องถิ่น

ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2555 2554 คาดการณ์ ณ ก.ย. 55 274,385

283,672

ปีงบประมาณ 2556 คาดการณ์ ณ ก.ย. 55 301,644

ที่มา : ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

27


6.3 งบประมาณรายจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ งบประมาณลงทุนประจ�ำปี 2555 ของรัฐวิสาหกิจที่พร้อมด�ำเนินการมีจ�ำนวน 337,667 ล้านบาท สามารถแบ่งออก ได้ดังนี้ (1) รัฐวิสาหกิจที่ใช้ปีงบประมาณ (เริ่มด�ำเนินการวันที่ 1 ตุลาคม 2554-30 กันยายน 2555) มีงบลงทุนที่พร้อมด�ำเนินการ จ�ำนวน 101,046 ล้านบาท และ (2) รัฐวิสาหกิจที่ใช้ปีปฏิทิน (เริ่มด�ำเนินการวันที่ 1 มกราคม 2555-ธันวาคม 2555) มีงบลงทุน อนุมัติที่พร้อมด�ำเนินการ 236,621 พันล้านบาท ทั้งนี้คาดว่าทั้งปีงบประมาณ 2555 รัฐวิสาหกิจจะสามารถเบิกจ่ายงบลงทุนได้ประมาณร้อยละ 75 ของกรอบวงเงิน ลงทุนรัฐวิสาหกิจ หรือหากคิดเป็นระบบบัญชีรายได้ประชาชาติ (SNA) คาดว่าจะเบิกจ่ายงบลงทุนได้จ�ำนวน 266,573 ล้านบาท โดยในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 มีการเบิกจ่ายแล้วจ�ำนวน 115,186 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 34.1 ของ งบลงทุนอนุมัติ ส�ำหรับปีงบประมาณ 2556 การเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจคาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายได้ 282,228 ล้านบาท ตารางที่ 7 สมมติฐานการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจในปีงบประมาณ 2555 และ 2556 (ระบบบัญชีประชาชาติ (SNA)) รายจ่ายลงทุนรัฐวิสาหกิจ

ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2555 2554 คาดการณ์ ณ ก.ย. 55 256,114

266,573

(หน่วย : ล้านบาท)

ปีงบประมาณ 2556 คาดการณ์ ณ ก.ย. 55 282,228

ที่มา : ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)

6.4 สรุปรวมรายจ่ายภาคสาธารณะ จากสมมติ ฐ านการใช้ จ ่ า ยของรั ฐ บาล องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น และการลงทุ น ของรั ฐ วิ ส าหกิ จ ในปีงบประมาณ 2555 ดังกล่าว ท�ำให้คาดว่าในปีงบประมาณ 2555 รายจ่ายภาคสาธารณะสามารถเบิกจ่ายได้ทงั้ สิน้ 2,896,711 ล้านบาท ประกอบด้วย (1) รายจ่ายรัฐบาล 2,353,466 ล้านบาท รายจ่ายจากแผนปฏิบตั กิ ารไทยเข้มแข็ง 2555 คาดว่าจะสามารถ เบิกจ่ายได้ 20,748 ล้านบาท และรายจ่ายจาก พ.ร.ก.ให้อำ� นาจกระทรวงการคลังกูเ้ งินเพือ่ ใช้จา่ ยบริหารจัดการน�ำ้ ทีค่ าดว่าจะมี การเบิกจ่ายได้ 2,000 ล้านบาท (2) รายจ่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจ�ำนวน 283,672 ล้านบาท และ (3) รายจ่ายลงทุนของ รัฐวิสาหกิจ 266,573 ล้านบาท ส�ำหรับปีงบประมาณ 2556 คาดว่ารายจ่ายสาธารณะสามารถเบิกจ่ายได้ทงั้ สิน้ 3,098,905 ล้านบาท ประกอบด้วย (1) รายจ่ายรัฐบาล 2,515,033 ล้านบาท รายจ่ายจาก พ.ร.ก.ให้อ�ำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อใช้ จ่ายบริหารจัดการน�้ำ ที่คาดว่าจะมีการเบิกจ่ายได้ 99,000 ล้านบาท (2) รายจ่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจ�ำนวน 301,644 ล้านบาท และ (3) รายจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ 282,228 ล้านบาท

28


ตารางที่ 8 สมมติฐานการเบิกรายจ่ายภาคสาธารณะในปีงบประมาณ 2555 และ 2556

(หน่วย : ล้านบาท)

ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2555 2554 คาดการณ์ ณ ก.ย. 55

ปีงบประมาณ 2556 คาดการณ์ ณ ก.ย. 55

กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่าย อัตราเบิกจ่ายรายจ่ายงบประมาณ 1. รายจ่ายรัฐบาล (1.1+1.2) 1.1 รายจ่ายงบประมาณ (1)+(2)+(3) (1) รายจ่ายประจ�ำ (2) รายจ่ายลงทุน รายจ่ายเพิ่มเติม (งบกลางปี) - ชดใช้เงินคงคลัง - เพื่อฟื้นฟูภัยพิบัติและอุดหนุน อปท. รายจ่ายรัฐบาลประจ�ำปี (1)+(2) (3) รายจ่ายเหลื่อมปี 1.2 รายจ่ายนอกงบประมาณ (1) แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 (2) พ.ร.ก.กู้เงินเพื่อใช้จ่ายบริหารจัดการน�้ำ (วงเงิน 3.5 แสนล้านบาท)

2,169,968 94.5% 2,239,257 2,177,895 1,786,982 263,558 92,640 87,459 5,181 2,050,540 127,355 61,362 61,362 -

2,380,000 91.2% 2,353,466 2,323,719 1,901,764 269,079 - - - 2,170,843 152,876 22,748 20,748

2,400,000 93.0% 2,515,033 2,404,433 1,895,693 336,240 2,231,933 172,500 110,600 11,600

20,000

99,000

2. รายจ่ายท้องถิ่น 3. รายจ่ายลงทุนรัฐวิสาหกิจ 4. รายจ่ายภาคสาธารณะ (1+2+3)

274,385 256,114 2,769,757

283,672 266,573 2,896,711

301,644 282,228 3,098,905

ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) และส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) / ค�ำนวณโดย สศค.

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

29


ผลการประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2555 และปี 2556 1. ด้านการขยายตัวทางเศรษฐกิจ “สศค.ประเมินว่าเศรษฐกิจไทยในปี 2555 จะกลับมาขยายตัวเป็นปกติที่ร้อยละ 5.5 จากปี 2554 ที่เศรษฐกิจ ขยายตัวเล็กน้อยที่ร้อยละ 0.1 จากปัญหาอุทกภัยคลี่คลายลง ในขณะที่ในปี 2556 คาดว่าเศรษฐกิจมีแนวโน้ม ขยายตัวต่อเนื่องที่ร้อยละ 5.2 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 4.7-5.7) จากปี 2555” ➥➥ สศค.คาดว่าเศรษฐกิจไทยในปี 2555 ขยายตัวได้ที่ร้อยละ 5.5 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 5.3–5.8)

เร่งขึ้นจากปีก่อน ตามปัญหาข้อจ�ำกัดในภาคการผลิตที่เริ่มคลี่คลายลงตามล�ำดับ ประกอบกับอุปสงค์ภาคเอกชนทั้งการบริโภค ภาคเอกชนและการลงทุนภาคเอกชนที่สามารถฟื้นกลับสู่ระดับก่อนอุทกภัยได้แล้ว นอกจากนี้นโยบายของภาครัฐ อาทิ การเพิ่ม รายได้แรงงานรายวันและเงินเดือนข้าราชการ การรับจ�ำน�ำข้าวเปลือก โครงการรถยนต์คันแรก โครงการบ้านหลังแรก และการ ทยอยปรับลดภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ยังมีสว่ นสนับสนุนการใช้จา่ ยภายในประเทศ ขณะทีก่ ารบริโภคและการลงทุนภาครัฐมีบทบาท ในการสนับสนุนการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม ภาคการส่งออกสินค้าและบริการคาดว่าจะชะลอลงตามภาวะเศรษฐกิจ โลกที่ยังคงอ่อนแอและผันผวนสูงจากปัญหาหนี้สาธารณะในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป ส�ำหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจภายใน ประเทศ คาดว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2555 จะอยู่ที่ร้อยละ 3.3 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.0–3.5) ลดลงจากปีก่อนหน้า ตามราคาน�้ำมันและสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกที่มีแนวโน้มขยายตัวในอัตราชะลอลง เนื่องจากอุปสงค์น�้ำมันในตลาดโลกที่ ชะลอลง ประกอบกับผลจากแนวทางการดูแลราคาน�้ำมันขายปลีกของภาครัฐ ➥➥ ส�ำหรับเศรษฐกิจไทยในปี 2556 มีแนวโน้มขยายตัวได้อย่างต่อเนือ ่ งทีร่ อ้ ยละ 5.2 (โดยมีชว่ งคาดการณ์ ที่ร้อยละ 4.7–5.7) โดยมีแรงขับเคลื่อนหลักจากอุปสงค์ภาครัฐและอุปสงค์จากต่างประเทศที่คาดว่าจะยังคงขยายตัวได้ อันมี ปัจจัยสนับสนุนจากการเบิกจ่ายตามแผนบริหารจัดการน�ำ้ ในระยะยาวของภาครัฐวงเงินลงทุนรวม 3.5 แสนล้านบาท ทีค่ าดว่าจะ เริ่มทยอยลงทุนได้มากขึ้นในปี 2556 ประกอบกับสถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่แม้ว่าจะยังคงมีความเสี่ยง แต่มีแนวโน้มว่าจะเริ่ม ฟื้นตัวขึ้นตามล�ำดับ อย่างไรก็ตาม อุปสงค์ภาคเอกชนมีแนวโน้มชะลอลง ภายหลังจากที่มีการเร่งการบริโภคและการลงทุนเพื่อ ฟื้นฟูภายหลังเหตุการณ์อุทกภัยไปมากแล้วในปี 2555 ในด้านเสถียรภาพภายในประเทศ คาดว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2556 จะอยู่ที่ร้อยละ 3.5 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.0–4.0) ตามอุปสงค์น�้ำมันในตลาดโลกที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นตามแนวโน้ม การเติบโตของเศรษฐกิจในเอเชีย ภาพที่ 16 ประมาณการอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.)

30


1.1 การบริโภคภาคเอกชนและการบริโภคภาครัฐที่แท้จริง

1.1.1 การบริโภคภาคเอกชนที่แท้จริง ➥➥ การบริโภคภาคเอกชนที่แท้จริงในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.3 เมื่อเทียบกับช่วง เดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นต่อเนื่องจากไตรมาสที่ 1 ปี 2555 ที่ขยายตัวร้อยละ 2.9 และเมื่อขจัดปัจจัยทางฤดูกาลแล้ว พบว่า การบริโภคภาคเอกชนในไตรมาสที่ 1 ปี 2555 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.2 จากไตรมาสก่อนหน้า ตามทิศทางการฟื้นตัวของ เศรษฐกิจโดยรวม หลังจากผลกระทบจากภาวะอุทกภัยในช่วงปลายปี 2554 คลี่คลายลง ประกอบกับได้รับแรงสนับสนุนจาก นโยบายรัฐบาลในการกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง อาทิ มาตรการลดค่าครองชีพ การรับจ�ำน�ำข้าวเปลือก การปรับค่าจ้าง แรงงานขั้นต�่ำ 300 บาท และการปรับขึ้นเงินเดือนข้าราชการ ซึ่งเป็นการเพิ่มอ�ำนาจซื้อให้แก่ประชาชน ส่งผลให้การใช้จ่ายเพื่อ อุปโภค-บริโภคขยายตัวต่อเนื่องจากไตรมาสก่อน ทั้งนี้เมื่อพิจารณาการบริโภคจ�ำแนกตามรายหมวดส�ำคัญ พบว่า ในไตรมาส ที่ 2 ปี 2555 การบริโภคภาคเอกชนปรับตัวเพิ่มขึ้นในเกือบทุกหมวดสินค้า โดยหมวดสินค้าคงทนขยายตัวในอัตราเร่งที่ร้อยละ 20.9 จากไตรมาสก่อนที่หดตัวร้อยละ -3.1 โดยเฉพาะยอดขายในหมวดยานยนต์ที่ประกอบด้วยรถยนต์นั่งและรถบรรทุกส่วน บุคคล ที่ขยายตัวในอัตราเร่งที่ร้อยละ 77.6 และร้อยละ 62.3 ส่วนรถจักรยานยนต์ขยายตัวเล็กน้อยที่ร้อยละ 1.5 ตามการฟื้นตัว ของภาคการผลิตในหมวดยานยนต์ที่สามารถกลับมาผลิตได้เป็นปกติ ท�ำให้สามารถส่งมอบให้ลูกค้าได้เพิ่มขึ้น ในขณะที่ การบริโภคสินค้ากึง่ คงทน เช่น เสือ้ ผ้า รองเท้า ภาชนะและสิง่ ทอทีใ่ ช้ในครัวเรือน ฯลฯ ขยายตัวใกล้เคียงกับไตรมาสก่อนทีร่ อ้ ยละ 3.7 โดยรายรับจากการขายปลีกสินค้า ที่สะท้อนโดยภาษีมูลค่าเพิ่มที่แท้จริงเพิ่มขึ้นต่อเนื่องจากไตรมาสที่ 1 ปี 2555 ส่วน การบริโภคสินค้าไม่คงทน เช่น หมวดอาหาร เครือ่ งดืม่ ไฟฟ้าและประปา และของใช้ในครัวเรือน ฯลฯ ขยายตัวร้อยละ 3.0 ชะลอลง เล็กน้อยจากไตรมาสก่อนทีข่ ยายตัวร้อยละ 5.0 โดยหมวดอาหารขยายตัวทีร่ อ้ ยละ 0.7 ส่วนหมวดทีม่ ใิ ช่อาหารขยายตัวร้อยละ 4.6 ภาพที่ 17 ประมาณการอัตราการขยายตัวของการบริโภคภาคเอกชนที่แท้จริง

ที่มา : สศค.

➥➥ ในปี 2555 การบริโภคภาคเอกชนที่แท้จริงคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 5.2 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ ร้อยละ 5.0–5.5) เร่งขึ้นจากปี 2554 ที่ขยายตัวเล็กน้อยที่ร้อยละ 1.3 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากแนวโน้มรายได้ของประชาชน ที่อยู่ในเกณฑ์ดี โดยเฉพาะรายได้ภาคเกษตรที่มีแนวโน้มขยายตัวได้ในช่วงครึ่งหลังของปีตามปริมาณผลผลิตที่ขยายตัว และ ราคาสินค้าเกษตรที่คาดว่าจะยังได้ประโยชน์จากมาตรการแทรกแซงราคาของภาครัฐ ขณะที่รายได้นอกภาคเกษตรกรรมมี แนวโน้มที่ดีเช่นกันตามการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต�่ำและเงินเดือนข้าราชการ ทั้งนี้จากข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่า การบริโภคภาคเอกชน ในช่วง 8 เดือนแรกปี 2555 ส่งสัญญาณฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องหลังประสบปัญหาอุทกภัยในช่วงปลายปี 2554 สะท้อนจากการ จัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ระดับราคาคงที่ ที่วัดการบริโภคภาคเอกชนโดยรวม ขยายตัวที่ร้อยละ 10.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีก่อน สอดคล้องกับดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคในเดือนสิงหาคม 2555 ที่ปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่องจากต้นปี 2555 ในขณะที่ การบริโภคในหมวดสินค้าคงทนที่วัดจากปริมาณการจ�ำหน่ายรถยนต์นั่งและจักรยานยนต์พบว่า ขยายตัวที่ร้อยละ 45.6 และ

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

31


ร้อยละ 1.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนสินเชื่อเพื่อการบริโภคพบว่า ยังขยายตัวต่อเนื่องที่ร้อยละ 17.7 และยังคง เป็นปัจจัยหลักที่จะช่วยสนับสนุนการบริโภคภาคเอกชนในปี 2555 ให้ขยายตัวต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ปัจจัยเสี่ยงที่คาดว่าจะส่ง ผลกระทบต่อการบริโภคภาคเอกชนในปี 2555 ได้แก่ (1) แนวโน้มระดับราคาสินค้าทัว่ ไปทีเ่ ริม่ ปรับตัวสูงขึน้ จากราคาอาหารส�ำเร็จรูป และราคาน�้ำมันขายปลีกในประเทศ (2) การเกิดปัญหาภัยพิบัติมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นมากในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ซึ่งจะเป็นอุปสรรคต่อ การผลิตสินค้า โดยเฉพาะการผลิตในภาคการเกษตรและอุตสาหกรรม และในที่สุดจะกระทบต่อการบริโภคของประชาชนโดยรวม และ (3) การฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจโลกทีย่ งั คงเปราะบาง ตามสัญญาณการชะลอตัวของเศรษฐกิจของสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา ➥➥ ในปี 2556 การบริโภคภาคเอกชนที่แท้จริงคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ ร้อยละ 3.5-4.5) ชะลอลงจากปี 2555 ที่ขยายตัวร้อยละ 5.2 ซึ่งกลับมาขยายตัวอยู่ในระดับปกติ ภายหลังจากที่ความต้องการ บริโภคที่อั้นมาจากช่วงอุทกภัยได้รับการตอบสนองไปแล้ว อย่างไรก็ตาม ปัจจัยที่คาดว่าจะสนับสนุนการบริโภคภาคเอกชน ในปี 2556 ได้แก่ (1) การขยายตัวต่อเนื่องของเศรษฐกิจไทยในปี 2556 ที่คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 5.2 จากปี 2555 ซึ่งเป็น การขยายตัวทั้งทางด้านอุปสงค์และอุปทาน โดยเฉพาะจากอุปสงค์ทั้งภายในและภายนอกประเทศที่คาดว่าจะขยายตัวได้ดี ตามภาคการส่งออกที่จะขยายตัวเร่งขึ้น จากสถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่น่าจะเริ่มฟื้นตัวขึ้นได้ในช่วงปลายปี 2556 และ (2) ความต่อเนือ่ งของนโยบายในการกระตุน้ เศรษฐกิจของรัฐบาล อาทิ นโยบายการรับจ�ำน�ำข้าวและการปรับเพิม่ ค่าจ้างแรงงานขัน้ ต�ำ่ 300 บาท ในจังหวัดที่เหลือทั่วประเทศ ซึ่งจาก 2 ปัจจัยหลักดังกล่าวจะเป็นส่วนส�ำคัญในการสนับสนุนการบริโภคในปี 2556 ต่อไป

1.1.2 การบริโภคภาครัฐที่แท้จริง ➥➥ การบริโภคภาครัฐที่แท้จริงในไตรมาสที่ 2 ของปี 2555 ขยายตัวร้อยละ 5.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -0.2 และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลออกพบว่าขยายตัวร้อยละ 5.0 จาก ไตรมาสก่อนหน้า ท�ำให้ในช่วงครึ่งปีแรกของปี 2555 ขยายตัวร้อยละ 2.7 โดยเป็นผลมาจากค่าตอบแทนแรงงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.0 และรายจ่ายค่าซือ้ สินค้าและบริการสุทธิเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 7.4 ทัง้ นีร้ ายจ่ายเพือ่ การอุปโภคของรัฐบาลโดยรวมในราคาประจ�ำปี มีมูลค่า 362.9 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.5 ซึ่งแบ่งออกเป็นค่าตอบแทนแรงงาน 250.2 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.9 เป็น ผลจากการปรับเงินค่าตอบแทนข้าราชการและเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ ตามนโยบายรัฐบาลเกีย่ วกับการปรับเพิม่ รายได้บคุ ลากรภาครัฐ และประชาชน ส่วนรายจ่ายค่าซือ้ สินค้าและบริการสุทธิ 112.6 พันล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 8.6 จากการเพิม่ ขึน้ ในเกือบทุกหมวด รายจ่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งบัญชีค่าใช้สอย ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค ทั้งนี้ในปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลได้อนุมัติวงเงิน งบประมาณรายจ่าย 2.38 ล้านล้านบาท โดยไตรมาสที่ 2 มีการเบิกจ่ายรวม 435.5 พันล้านบาท ลดลงร้อยละ 16.6 รายจ่าย เหลือ่ มปี 24.0 พันล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 39.5 และการเบิกจ่ายจากโครงการตามแผนปฏิบตั กิ ารไทยเข้มแข็ง 2555 จ�ำนวน 4.8 พันล้านบาท รวมยอดเบิกจ่ายในไตรมาสที่ 2 ของปี 2555 มีจ�ำนวน 464.3 พันล้านบาท ภาพที่ 18 ประมาณการอัตราการขยายตัวของการบริโภคภาครัฐที่แท้จริง

ที่มา : สศค.

32


➥➥ ในปี 2555 การบริโภคภาครัฐที่แท้จริงคาดว่าจะขยายตัวในช่วงร้อยละ 3.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน

ของปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.8-3.3) เร่งขึ้นจากปีก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 1.1 โดยมีปัจจัยหลักจากฐาน ต�่ำของช่วงเดียวกันของปีก่อน และการกระตุ้นการบริโภคภายในประเทศ ทั้งนี้ในปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลมีวงเงินรายจ่าย ประจ�ำจ�ำนวน 1,840 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.4 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 77.4 ของกรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจ�ำ ปีงบประมาณ 2555 ทั้งนี้การบริโภคภาครัฐที่แท้จริงในปี 2555 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการที่รัฐบาลได้มีการอนุมัติการปรับ ขึ้นเงินเดือนข้าราชการและค่าจ้างขั้นต�่ำ และการเร่งรัดการเบิกจ่ายรายจ่ายประจ�ำให้ได้ร้อยละ 97.5 ของวงเงินรายจ่ายประจ�ำ (1,840 พันล้านบาท) ทัง้ นีใ้ นช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลสามารถเบิกจ่ายรายจ่ายประจ�ำได้จำ� นวน 1,699.8 พันล้านบาท คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 86.9 ของวงเงินรายจ่ายประจ�ำ ➥➥ ในปี 2556 การบริโภคของภาครัฐทีแ ่ ท้จริงคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.2 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของ ปีกอ่ น (โดยมีชว่ งคาดการณ์ทรี่ อ้ ยละ 2.7-3.7) โดยในปีงบประมาณ 2556 รัฐสภาได้อนุมัติวงเงินงบประมาณรายจ่ายจ�ำนวน 2.40 ล้านล้านบาท โดยในจ�ำนวนนี้เป็นงบประมาณรายจ่ายประจ�ำจ�ำนวน 1,901.9 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 79.2 ของวงเงิน งบประมาณรวม และเพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าร้อยละ 3.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน 1.2 การลงทุนภาคเอกชนและการลงทุนภาครัฐที่แท้จริง

1.2.1 การลงทุนภาคเอกชนที่แท้จริง ➥➥ การลงทุนภาคเอกชนที่แท้จริงในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ขยายตัวร้อยละ 11.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีกอ่ น จากไตรมาสก่อนทีข่ ยายตัวร้อยละ 9.2 และเมือ่ ขจัดปัจจัยทางฤดูกาลแล้วพบว่า การลงทุนภาคเอกชนในไตรมาส ที่ 2 ปี 2555 ขยายตัวร้อยละ 3.8 จากไตรมาสก่อนหน้า ทั้งนี้เมื่อพิจารณาในรายละเอียดพบว่าการลงทุนในหมวดเครื่องมือ เครื่องจักร (มีสัดส่วนประมาณร้อยละ 75.0 ของการลงทุนภาคเอกชนรวม) ขยายตัวร้อยละ 12.2 ต่อเนื่องจากไตรมาสที่ 1 ปี 2555 ที่ขยายตัวร้อยละ 11.2 เนื่องจากมีการเร่งลงทุนเพื่อชดเชยและซ่อมแซมความเสียหายจากอุทกภัยในช่วงปลายปีที่แล้ว โดยเฉพาะเครื่องจักรไฟฟ้า อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม และเฟอร์นิเจอร์ เป็นต้น ส่งผลให้การลงทุนในหมวดเครื่องจักร อุตสาหกรรมและหมวดเครื่องใช้ส�ำนักงานในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ขยายตัวร้อยละ 7.6 และร้อยละ 14.6 ตามล�ำดับ สอดคล้อง กับหมวดยานยนต์ที่ขยายตัวในอัตราเร่ง โดยเฉพาะรถบรรทุกและรถโดยสารที่ขยายตัวร้อยละ 24.5 และร้อยละ 4.6 ส่วน การลงทุนในหมวดการก่อสร้างภาคเอกชน (มีสัดส่วนประมาณร้อยละ 25.0 ของการลงทุนภาคเอกชนรวม) ในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ขยายตัวร้อยละ 10.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 2.1 เนื่องจากมี การปรับปรุงซ่อมแซมอาคารทีอ่ ยูอ่ าศัยทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากน�ำ้ ท่วมในช่วงปลายปี 2554 ส่งผลให้การก่อสร้างอาคารเพือ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัย ขยายตัวร้อยละ 11.5 โดยเฉพาะทาวน์เฮาส์และอาคารคอนโดมิเนียมเพิ่มมากขึ้น สอดคล้องกับการก่อสร้างอาคารพาณิชย์ ที่ขยายตัวร้อยละ 9.2 ในขณะที่อาคารโรงงานขยายตัวในระดับสูงเช่นกันที่ร้อยละ 9.1 โดยเฉพาะในเขตนิคมอุตสาหกรรม ภาคตะวันออกทีม่ กี ารอนุญาตปลูกสร้างอาคารเพิม่ มากขึน้ เพือ่ ขยายฐานการผลิตและรองรับการเป็นนิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ภาพที่ 19 ประมาณการอัตราการขยายตัวของการลงทุนภาคเอกชนที่แท้จริง

ที่มา : สศค.

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

33


➥➥ ในปี 2555 การลงทุนภาคเอกชนที่แท้จริงคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 14.1 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่

ร้อยละ 13.6-14.6) จากปี 2554 ที่ขยายตัวร้อยละ 7.2 เร่งขึ้นตามแผนขยายการลงทุนของผู้ประกอบการเพื่อรองรับ ความต้องการสินค้าที่ยงั มีแนวโน้มว่าจะขยายตัวได้ดี ประกอบกับความจ�ำเป็นของผู้ประกอบการภาคธุรกิจในการเร่งลงทุนเพื่อ ฟื้นฟูความเสียหายของอาคารบ้านเรือนและซ่อมแซมเครื่องมือเครื่องจักรในภาคอุตสาหกรรมจากภาวะอุทกภัย รวมถึงโรงงาน อุตสาหกรรมทีก่ ลับมาท�ำการผลิตได้ตามปกติแล้ว และคาดว่าจะมีการเร่งผลิตเพือ่ ตอบสนองค�ำสัง่ ซือ้ ทีย่ งั ค้างอยู่ ทัง้ นีจ้ ากข้อมูล เชิงประจักษ์พบว่าในช่วง 8 เดือนแรกปี 2555 การลงทุนภาคเอกชนส่งสัญญาณฟื้นตัวขึ้นมาก สะท้อนจากเครื่องชี้เศรษฐกิจ ด้านการลงทุนในหมวดเครื่องมือเครื่องจักร อาทิ ปริมาณการน�ำเข้าสินค้าทุนขยายตัวที่ร้อยละ 16.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีก่อนหน้า และปริมาณการจ�ำหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ที่ขยายตัวเร่งที่ร้อยละ 50.2 ส่วนการลงทุนภาคเอกชนในหมวด การก่อสร้างที่วัดจากเครื่องชี้เศรษฐกิจ อาทิ ปริมาณการจ�ำหน่ายปูนซีเมนต์ขยายตัวต่อเนื่องที่ร้อยละ 7.0 เมื่อเทียบกับช่วง เดียวกันของปีก่อน ในขณะที่ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง (ที่วัดต้นทุนในการผลิตหรือการก่อสร้าง) ขยายตัวในอัตราชะลอลงที่ ร้อยละ 4.4 จากปี 2554 ที่อยู่ที่ร้อยละ 6.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งสะท้อนถึงราคาวัตถุดิบที่ใช้ในการก่อสร้างที่ อยู่ในระดับที่เอื้อต่อการลงทุนในหมวดการก่อสร้าง ➥➥ ในปี 2556 การลงทุนภาคเอกชนที่แท้จริงคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 10.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ ร้อยละ 9.0-11.0) จากปี 2555 ที่ขยายตัวร้อยละ 14.1 ชะลอลงจากปี 2555 เนื่องจากอุปสงค์ภาคเอกชนมีแนวโน้มที่จะ ขยายตัวในอัตราชะลอลงกลับสูร่ ะดับการขยายตัวปกติ ภายหลังจากทีผ่ ปู้ ระกอบการได้เร่งลงทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูไปมากแล้วในช่วง ปีก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม ปัจจัยที่คาดว่าจะสนับสนุนการลงทุนภาคเอกชน ในปี 2556 ได้แก่ (1) การขยายตัวอย่างต่อเนื่องของ อุปสงค์ภายในประเทศจากปี 2555 โดยเฉพาะการลงทุนในส่วนของภูมิภาคที่มีการเพิ่มการลงทุน เพื่อสนับสนุนการขยายตัว ของเศรษฐกิจในเขตเศรษฐกิจส�ำคัญ โดยเฉพาะภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ และ (2) นโยบายภาครัฐใน การกระตุ้นเศรษฐกิจด้านการลงทุน อาทิ การปรับลดอัตราภาษีนิติบุคคลเป็นร้อยละ 20 ในปี 2556 จากร้อยละ 23 ในปี 2555 นอกจากนี้จากการที่ภาครัฐมีแผนการในการลงทุนวงเงินลงทุนรวม 3.5 แสนล้านบาท ส�ำหรับการบริหารจัดการน�้ำที่คาดว่าจะ เริ่มทยอยลงทุนได้มากขึ้นในปี 2556 เป็นต้นไปนั้น ท้ายที่สุดแล้วจะส่งผลดีต่อการลงทุนภาคเอกชนได้อย่างต่อเนื่อง

1.2.2 การลงทุนภาครัฐที่แท้จริง ➥➥ การลงทุนภาครัฐที่แท้จริงในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ขยายตัวร้อยละ 4.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของ ปีก่อน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -9.6 และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลออกพบว่า ขยายตัวร้อยละ 5.6 จาก ไตรมาสก่อนหน้า ท�ำให้ในช่วงครึ่งปีแรกของปี 2555 หดตัวร้อยละ -2.7 โดยมีปัจจัยมาจากทั้งการเบิกจ่ายงบลงทุนของรัฐบาล การเบิกจ่ายงบลงทุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมถึงการเบิกจ่ายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจ ทั้งนี้การลงทุนของภาครัฐที่ แท้จริงสามารถแบ่งออกได้เป็น (1) การลงทุนในหมวดก่อสร้าง ขยายตัวร้อยละ 2.7 เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -1.0 โดยมีปัจจัยหลักมาจากการก่อสร้างของภาครัฐบาลและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ขยายตัวร้อยละ 4.6 จากการเบิกจ่าย งบกลางเพือ่ ฟืน้ ฟู เยียวยา และแก้ไขปัญหาอุทกภัยเพิม่ มากขึน้ โดยเฉพาะการซ่อมแซมถนน สะพาน และฝาย เป็นต้น ในขณะที่ การก่อสร้างภาครัฐวิสาหกิจหดตัวร้อยละ -0.8 และ (2) การลงทุนในหมวดเครื่องมือเครื่องจักร ขยายตัวร้อยละ 6.7 เพิ่มขึ้นจาก ไตรมาสก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -23.8 โดยมีปัจจัยหลักมาจากการลงทุนของรัฐวิสาหกิจที่เพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 21.8 โดยเฉพาะ การลงทุนในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือ เช่น เครื่องจักรส�ำหรับผลิตกระแสไฟฟ้าของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และ อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคมของบริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) ฯลฯ ขณะที่บริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) มีการน�ำเข้าอุปกรณ์การบินมูลค่า 3.6 พันล้านบาท ส่วนการลงทุนของรัฐบาลกลางและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหดตัว ร้อยละ -12.9

34


ภาพที่ 20 ประมาณการอัตราการขยายตัวของการลงทุนภาครัฐที่แท้จริง

ที่มา : สศค.

➥➥ ในปี 2555 การลงทุนภาครัฐที่แท้จริงคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 8.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี

ก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 7.6-8.6) เร่งขึ้นจากปีก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -8.7 โดยมีปัจจัยหลักมาจากฐานต�่ำของ ช่วงเดียวกันของปีก่อน ประกอบกับวงเงินรายจ่ายลงทุนในปีงบประมาณ 2555 มีจ�ำนวน 438.6 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.4 และคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 18.4 ของวงเงินงบประมาณ 2555 ทั้งนี้ในปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลตั้งเป้าหมายการเบิกจ่าย รายจ่ายลงทุนไว้ทรี่ อ้ ยละ 72.0 ประกอบกับมาตรการในส่วนของแผนการบริหารจัดการน�ำ้ ของภาครัฐทีม่ วี งเงินลงทุนรวม 350.0 พันล้านบาท ซึ่งคาดว่าจะเริ่มทยอยลงทุนได้ในช่วงครึ่งหลังของปี 2555 เป็นต้นไป ทั้งนี้มาตรการภาครัฐดังกล่าวจะเป็นแรง สนับสนุนส�ำคัญที่ช่วยให้เศรษฐกิจไทยฟื้นตัวได้อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 รายจ่ายลงทุน ของรัฐบาลสามารถเบิกจ่ายได้จำ� นวน 231.0 พันล้านบาท คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 54.6 ของวงเงินรายจ่ายลงทุน (438.6 พันล้านบาท) ➥➥ ในปี 2556 การลงทุนของภาครัฐที่แท้จริงคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 16.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 15.9-17.9) เพิ่มขึ้นจากปี 2555 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากนโยบายรัฐบาลใน การลงทุนการก่อสร้างโครงสร้างพืน้ ฐาน ทัง้ รายจ่ายงบประมาณและรายจ่ายตามแผนบริหารจัดการน�ำ้ ของภาครัฐวงเงินลงทุนรวม 3.5 แสนล้านบาท ที่คาดว่าจะเริ่มทยอยลงทุนได้มากขึ้นในปี 2556 ทั้งนี้ในปีงบประมาณ 2556 รัฐบาลได้ตั้งวงเงินงบประมาณ รายจ่ายลงทุนจ�ำนวน 448.9 พันล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 18.7 ของกรอบวงเงินงบประมาณ และเพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า ร้อยละ 2.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน 1.3 ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการที่แท้จริง ➥➥ ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการที่แท้จริงในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ขยายตัวร้อยละ 0.9 เมื่อ

เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น ซึง่ มีทศิ ทางการฟืน้ ตัวหลังจากปัญหาอุทกภัยคลีค่ ลายลง แต่เผชิญปัญหาการชะลอตัวลงของ เศรษฐกิจโลกจากวิกฤตหนี้สาธารณะในสหภาพยุโรปได้เริ่มลุกลามไปยังประเทศคู่ค้าหลักของไทย ที่มีการค้ากับกลุ่มสหภาพ ยุโรปในระดับสูง เช่น จีน ฮ่องกง ญี่ปุ่น ฯลฯ ซึ่งส่งผลให้การส่งออกของไทยยังคงซบเซาต่อเนื่อง โดยเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว พบว่า ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการขยายตัวที่ร้อยละ 3.6 ลดลงจากไตรมาสก่อนหน้า ด้านมิติสินค้าพบว่า ในไตรมาส ที่ 2 ปี 2555 การส่งออกสินค้าหดตัวที่ร้อยละ -1.6 หดตัวชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้า ถึงแม้ว่าจะมีการขยายตัวเร่งขึ้นของ ภาคอุ ต สาหกรรมที่ ร ้ อ ยละ 2.7 จากไตรมาสก่ อ นหน้ า ที่ ห ดตั ว โดยสิ น ค้ า ในหมวดหลั ก ขยายตั ว ดี แ ทบทุ ก หมวดสิ น ค้ า

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

35


โดยเฉพาะยานยนต์ทขี่ ยายตัวเร่งขึน้ ทีร่ อ้ ยละ 41.0 และสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ทขี่ ยายตัวเร่งขึน้ ทีร่ อ้ ยละ 0.5 รวมถึงเครือ่ งใช้ไฟฟ้าที่ ขยายตัวเร่งขึ้นเช่นเดียวกันที่ร้อยละ 2.8 อย่างไรก็ตาม สินค้าในภาคเกษตรกรรมยังคงหดตัวที่ร้อยละ -14.2 จากการหดตัวของ การส่งออกข้าว เป็นส�ำคัญ ประกอบกับสินค้าแร่และเชือ้ เพลิงทีข่ ยายตัวชะลอลงทีร่ อ้ ยละ 16.5 และเมือ่ พิจารณารายตลาดพบว่า การส่งออกไปยังประเทศคูค่ า้ หลักหดตัวเป็นส่วนมากโดยเฉพาะสหภาพยุโรป จากวิกฤตหนีส้ าธารณะทีย่ งั คงรุนแรง รวมถึงฮ่องกง และญีป่ นุ่ ทีห่ ดตัวเช่นเดียวกัน จากการลุกลามของปัญหาหนีส้ าธารณะในสหภาพยุโรป แต่ยงั ได้รบั อานิสงส์ดจี ากการส่งออกไป ยังสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และอินโดนีเซีย ที่ขยายตัวเร่งขึ้นจากการส่งออกเครื่องคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ อัญมณีและ เครื่องประดับ และรถยนต์และส่วนประกอบ เป็นส�ำคัญ และส�ำหรับการส่งออกบริการในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ขยายตัวเร่งขึ้น จากไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 13.7 ฟื้นตัวดีอย่างต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนหน้า ภาพที่ 21 ประมาณการอัตราการขยายตัวของปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการ

ที่มา : สศค.

➥➥ ในปี 2555 ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.7 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่

ร้อยละ 3.2-4.2) ขยายตัวชะลอลงจากปี 2554 ทีร่ อ้ ยละ 9.5 ตามภาวะเศรษฐกิจโลกทีย่ งั ชะลอตัว เนือ่ งจากปัญหาหนีส้ าธารณะ ในกลุม่ ประเทศสหภาพยุโรปได้เริม่ ลุกลามเข้าสูป่ ระเทศคูค่ า้ หลักของไทยทีม่ กี ารค้ากับกลุม่ สหภาพยุโรปในระดับสูง เช่น ประเทศ จีน ฮ่องกง ญี่ปุ่น ฯลฯ ส่งผลให้การส่งออกของไทยไปยังประเทศดังกล่าวขยายตัวชะลอลงอย่างมาก ➥➥ ในปี 2556 ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 7.3 (โดยมีชว่ งคาดการณ์ทรี่ อ้ ยละ 6.3-8.3) จากแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกและประเทศคู่ค้าหลักของไทยที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาหนี้สาธารณะในสหภาพ ยุโรปในปี 2555 ซึ่งคาดว่าจะแก้ปัญหาดังกล่าวได้อย่างค่อยเป็นค่อยไป แต่ทั้งนี้การแก้ปัญหาจะต้องใช้เวลาในระยะยาว ซึ่งอาจจะยัง คงเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อเศรษฐกิจโลกในปี 2556

36


1.4 ปริมาณการน�ำเข้าสินค้าและบริการที่แท้จริง ➥➥ ปริมาณการน�ำเข้าสินค้าและบริการที่แท้จริงในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ขยายตัวร้อยละ 8.5 เมื่อเทียบ

กับช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่ 1 ปี 2555 ที่ขยายตัวร้อยละ 4.3 ทั้งนี้เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว พบว่า ปริมาณการน�ำเข้าสินค้าและบริการขยายตัวชะลอลงทีร่ อ้ ยละ 6.2 และเมือ่ พิจารณาเฉพาะการน�ำเข้าสินค้าพบว่า ขยายตัว เร่งขึ้นที่ร้อยละ 8.8 เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่ 1 ปี 2555 ที่ขยายตัวที่ร้อยละ 4.3 ตามการขยายตัวเร่งขึ้นของปริมาณการน�ำเข้า สินค้าทุนที่ร้อยละ 22.0 เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 11.02 และจากการขยายตัวเร่งขึ้นของปริมาณการน�ำเข้าสินค้า ยานยนต์ที่ร้อยละ 54.0 ตามการส่งออกที่ขยายตัวเร่งขึ้นในระดับสูง ในขณะที่ปริมาณการน�ำเข้าสินค้าวัตถุดิบหดตัวที่ร้อยละ -3.5 และปริมาณการน�ำเข้าสินค้าอุปโภค-บริโภคขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 7.5 ประกอบกับปริมาณการน�ำเข้าสินค้าเชื้อเพลิง ขยายตัวชะลอลงเช่นกันที่ร้อยละ 7.4

ภาพที่ 22 ประมาณการอัตราการขยายตัวของปริมาณการน�ำเข้าสินค้าและบริการ

ที่มา : สศค.

➥➥ ในปี 2555 ปริมาณการน�ำเข้าสินค้าและบริการคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 6.6 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่

ร้อยละ 6.1-7.1) ขยายตัวชะลอลงจากปีกอ่ น แต่ยงั คงขยายตัวได้ตอ่ เนือ่ ง ซึง่ คาดว่าจะเร่งตัวสูงกว่าการส่งออกตามความต้องการ จัดหาวัตถุดบิ ทดแทนจากต่างประเทศ เพือ่ บรรเทาปัญหาขาดแคลนชิน้ ส่วนในระยะเริม่ แรกของการฟืน้ ตัวจากเหตุการณ์อทุ กภัย ทีภ่ าคการผลิตบางส่วนยังไม่สามารถตอบสนองอุปสงค์ภายในประเทศได้เต็มที่ ประกอบกับการท่องเทีย่ วไปต่างประเทศทีข่ ยาย ตัวดี เนื่องจากปัจจุบันรายได้ประชากรเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ประชากรมีการเดินทางไปท่องเที่ยวต่างประเทศมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ยังคงมีปัจจัยเสี่ยงจากค่าเงินบาทที่ยังคงผันผวน ➥➥ ในปี 2556 ปริมาณการน�ำเข้าสินค้าและบริการคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 5.4 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ ร้อยละ 4.4-6.4) จากเศรษฐกิจไทยที่ยังขยายตัวดีอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับอุปสงค์ภายในประเทศก็ยังคงขยายตัวได้ดี ทั้งการบริโภคและการลงทุน ซึ่งได้รับปัจจัยสนับสนุนจากมาตรการของภาครัฐ และคาดว่าจะมีการน�ำเข้าสินค้าทุนและวัตถุดิบ เพิ่มขึ้นในปี 2556

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

37


2. ด้านการค้าระหว่างประเทศ 2.1 มูลค่าส่งออกสินค้าในรูปดอลลาร์สหรัฐ ➥➥ มูลค่าส่งออกสินค้าในรูปดอลลาร์สหรัฐ1 ในช่วง 8 เดือนแรกของปี 2555 อยูท ่ ี่ 149.3 พันล้านดอลลาร์

สหรัฐ คิดเป็นการหดตัวร้อยละ -1.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ทั้งนี้หากพิจารณามูลค่าการส่งออกตามระบบ กรมศุลกากรพบว่า เมื่อหักผลของการส่งออกทองค�ำออก มูลค่าการส่งออกในช่วง 8 เดือนแรกของปี 2555 หดตัวที่ร้อยละ -1.0 โดยในช่วงไตรมาสแรกและต้นไตรมาสที่ 2 การส่งออกหดตัวจากปัจจัยด้านอุปทานเป็นส�ำคัญ กล่าวคือ โรงงานอุตสาหกรรม หลายแห่งไม่สามารถผลิตได้เต็มศักยภาพ ซึ่งเป็นผลจากภาวะน�้ำท่วมในช่วงปลายปี 2554 ต่อมาในช่วงปลายไตรมาสที่ 2 และ ไตรมาสที่ 3 การส่งออกได้รับผลกระทบจากปัจจัยด้านอุปสงค์จากต่างประเทศเป็นหลัก โดยเป็นผลมาจากวิกฤตหนี้สาธารณะ ของยุโรปทีเ่ ริม่ ลุกลามไปยังประเทศคูค่ า้ หลักของไทย โดยเฉพาะประเทศจีนและญีป่ นุ่ ท�ำให้การส่งออกยังคงซบเซาต่อเนือ่ ง ทัง้ นี้ การหดตัวของภาคการส่งออกในช่วง 8 เดือนแรกน�ำโดยหมวดสินค้าเกษตรกรรมที่มีการหดตัวถึงร้อยละ -20.0 จากมูลค่า การส่งออกที่ลดลงในหมวดสินค้าข้าวและยางพารา ส่วนการหดตัวของสินค้าส่งออกภาคอุตสาหกรรมเกิดจากสินค้าสิ่งทอและ อิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ หดตัวถึงร้อยละ -15.5 และร้อยละ -5.7 ตามล�ำดับ และหากพิจารณาเป็นรายตลาดพบว่า การหดตัวของการส่งออก ในช่วง 8 เดือนแรก เกิดจากประเทศในกลุม่ สหภาพยุโรป ญีป่ นุ่ และสิงคโปร์ เป็นหลัก โดยมีการหดตัวถึงร้อยละ -14.9 ร้อยละ -4.9 และร้อยละ -7.9 ตามล�ำดับ ขณะที่ตลาดส่งออกที่ยังสามารถขยายตัวได้ดีคือ ออสเตรเลียและอินโดนีเซีย ภาพที่ 23 ประมาณการอัตราการขยายตัวของมูลค่าส่งออกสินค้าในรูปดอลลาร์สหรัฐ

ที่มา : สศค.

➥➥ ในปี 2555 สศค.คาดว่ามูลค่าส่งออกสินค้าในรูปดอลลาร์สหรัฐจะขยายตัวที่ร้อยละ 4.5 (โดยมีช่วง

คาดการณ์ที่ร้อยละ 4.0–5.0) ชะลอตัวลงจากปี 2554 เนื่องจากปัจจัยฐานสูงและการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะ ประเทศจีน ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป ซึ่งเป็นผลมาจากปัญหาวิกฤตหนี้สาธารณะยุโรป และวิกฤตดังกล่าวยังได้ส่งผลลุกลาม ไปยังประเทศในกลุ่มอาเซียนซึ่งเป็นตลาดส่งออกหลักอันดับ 1 ของไทยโดยมีสัดส่วนร้อยละ 17.4 ของตลาดส่งออกทั้งหมด2 เป็นผลให้การส่งออกของไทยไปยังประเทศในกลุ่มอาเซียนขยายตัวได้เล็กน้อยในช่วง 8 เดือนแรก โดยขยายตัวเพียงร้อยละ 0.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน มูลค่าการส่งออกตามระบบดุลการช�ำระเงิน (รายงานโดยธนาคารแห่งประเทศไทย) ประเทศในกลุ่มอาเซียน 5 ประเทศ รวมถึง อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และเวียดนาม

1 2

38


➥➥ ในปี 2556 สศค.คาดว่ามูลค่าส่งออกสินค้าในรูปดอลลาร์สหรัฐจะขยายตัวที่ร้อยละ 10.5 (โดยมีช่วง

คาดการณ์ที่ร้อยละ 9.5 – 11.5) เร่งตัวขึ้นจากปี 2555 เนื่องจากเศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มฟื้นตัวจากปี 2555 ประกอบกับปัจจัย ฐานต�่ำ อย่างไรก็ตาม การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกยังคงเติบโตได้ในกรอบที่จ�ำกัด เนื่องจากปัญหาวิกฤตหนี้สาธารณะยุโรปเป็น ปัญหาที่ยากต่อการแก้ไขในระยะสั้น จึงเป็นปัจจัยเสี่ยงส�ำคัญต่อเศรษฐกิจโลกในปีหน้า 2.2 มูลค่าน�ำเข้าสินค้าในรูปดอลลาร์สหรัฐ ➥➥ มูลค่าน�ำเข้าสินค้าในรูปดอลลาร์สหรัฐ3 ในช่วง 8 เดือนแรกของปี 2555 อยู่ที่ 144.6 พันล้านดอลลาร์

สหรัฐ คิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 7.2 ทัง้ นีห้ ากพิจารณามูลค่าการน�ำเข้าตามระบบกรมศุลกากร พบว่า เมือ่ หักการน�ำเข้าทองค�ำ ที่มีความผันผวน การน�ำเข้าจะขยายตัวที่ร้อยละ 8.4 โดยเป็นผลมาจากการน�ำเข้าสินค้าเชื้อเพลิงและสินค้าทุนเป็นส�ำคัญ โดย ในช่วง 8 เดือนแรก การน�ำเข้าสินค้าทั้งสองประเภทขยายตัวที่ร้อยละ 9.8 และร้อยละ 17.7 ตามล�ำดับ ซึ่งการน�ำเข้าสินค้าทุนที่ สูงนีเ้ กิดจากการน�ำเข้าสินค้าประเภทเครือ่ งจักรเพือ่ ทดแทนส่วนทีเ่ สียหายจากภาวะน�้ำท่วมในช่วงปลายปี 2554 ส่วนการน�ำเข้า สินค้าเชือ้ เพลิงโดยเฉพาะน�ำ้ มันดิบยังคงมีการขยายตัวอย่างต่อเนือ่ ง เนือ่ งจากเป็นปัจจัยหลักด้านพลังงานของภาคอุตสาหกรรม นอกจากนี้การน�ำเข้าสินค้าอุปโภค-บริโภคยังสามารถขยายตัวได้ดีจากปีก่อน โดยขยายตัวที่ร้อยละ 12.1 อันเป็นผลมาจาก การขยายตัวของการบริโภคภาคเอกชนของไทย อย่างไรก็ตาม การน�ำเข้าสินค้าวัตถุดิบมีการหดตัวที่ร้อยละ -3.1 ซึ่งเกิดจาก ภาคการส่งออกที่ชะลอตัว ท�ำให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมส่งออกลดการน�ำเข้าสินค้าวัตถุดิบมาเพื่อท�ำการผลิต ภาพที่ 24 ประมาณการอัตราการขยายตัวของมูลค่าน�ำเข้าสินค้าในรูปดอลลาร์สหรัฐ

ที่มา : สศค.

➥➥ ในปี 2555 สศค.คาดว่ามูลค่าน�ำเข้าสินค้าในรูปดอลลาร์สหรัฐจะขยายตัวที่ร้อยละ 10.5 (โดยมีช่วง

คาดการณ์ที่ร้อยละ 10.0-11.0) ชะลอลงจากปีก่อนหน้า เนื่องจากปัจจัยฐานสูง และการน�ำเข้าสินค้าวัตถุดิบที่ชะลอลงตาม การส่งออก อย่างไรก็ดี การน�ำเข้ายังคงขยายตัวได้จากสินค้าทุนและเครือ่ งจักรเป็นหลัก ซึง่ เป็นการน�ำเข้าเพือ่ ทดแทนเครือ่ งจักร ทีเ่ สียหายจากเหตุการณ์นำ�้ ท่วมในปีกอ่ น นอกจากนีจ้ ากการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยส่งผลให้การน�ำเข้าสินค้าอุปโภค-บริโภค จะมีการขยายตัวได้ดีในปี 2555 ➥➥ ในปี 2556 สศค.คาดว่ามูลค่าน�ำเข้าสินค้าในรูปดอลลาร์สหรัฐจะขยายตัวที่ร้อยละ 11.0 (โดยมีช่วง คาดการณ์ที่ร้อยละ 10.0-12.0) เร่งขึ้นจากปี 2555 เล็กน้อย โดยเป็นผลมาจากการน�ำเข้าสินค้าในหมวดเชื้อเพลิงเป็นหลัก ประกอบกับการน�ำเข้าสินค้าวัตถุดิบที่คาดว่าจะมีการเติบโตที่สูงขึ้นจากภาคการส่งออกที่ฟื้นตัวจากปี 2555 มูลค่าการน�ำเข้าตามระบบดุลการช�ำระเงิน (รายงานโดยธนาคารแห่งประเทศไทย)

3

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

39


2.3 ดุลการค้า ➥➥ ดุลการค้าในช่วง 8 เดือนแรกของปี 2555 เกินดุล 4.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลงจากช่วง 8 เดือนแรก

ของปี 2554 ทีเ่ กินดุล 16.0 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ อันเป็นผลจากมูลค่าการส่งออกทีส่ งู กว่ามูลค่าการน�ำเข้า โดย 8 เดือนแรก มูลค่าการส่งออกสินค้าอยู่ที่ 149.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในขณะที่มูลค่าการน�ำเข้าสินค้าอยู่ที่ 144.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ภาพที่ 25 ประมาณการดุลการค้า

ที่มา : สศค.

➥➥ ในปี 2555 คาดว่าดุลการค้าจะเกินดุล 5.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ 5.1–6.1

พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) ซึง่ เป็นการเกินดุลเล็กน้อยเมือ่ เทียบกับปีกอ่ นหน้า ตามมูลค่าสินค้าน�ำเข้าทีค่ าดว่าจะขยายตัวใน อัตราเร่งจากการน�ำเข้าสินค้าทุนและเครือ่ งจักร ส่วนมูลค่าสินค้าส่งออกจะมีการขยายตัวชะลอลงจากปีกอ่ น เนือ่ งจากปัญหาด้าน วิกฤตหนี้สาธารณะยุโรปมีผลลุกลามไปยังประเทศคู่ค้าส�ำคัญของไทย ส่งผลให้การเกินดุลการค้าจะลดลงจากปีก่อน ➥➥ ในปี 2556 คาดว่าดุลการค้าจะเกินดุล 5.0 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ 4.0–6.0 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) เป็นการเกินดุลที่ใกล้เคียงกับปี 2555 เนื่องจากคาดว่าการส่งออกจะสามารถขยายตัวได้ในกรอบ ที่จ�ำกัด ขณะที่การน�ำเข้าจะยังคงขยายตัวได้ดีจากสินค้าหมวดเชื้อเพลิง เป็นผลให้ในปี 2556 จะมีการเกินดุลการค้าลดลงจาก ปี 2555 เล็กน้อย

3. ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 3.1 ดุลบัญชีเดินสะพัด ➥➥ ดุลบัญชีเดินสะพัดในช่วง 8 เดือนแรกของปี 2555 เกินดุลเล็กน้อยที่ 13.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลง

มากจากช่วง 8 เดือนแรกของปี 2554 ที่เกินดุล 5.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยดุลการค้าตามระบบดุลการช�ำระเงิน เกินดุล 4.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิ ขาดดุลรวม -4.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ จากเงินบริการจ่าย โดยเฉพาะค่าระวางสินค้าและค่าขนส่งที่ปรับตัวสูงขึ้นตามการน�ำเข้าที่สูงขึ้น

40


ภาพที่ 26 ประมาณการดุลบัญชีเดินสะพัด

ที่มา : สศค.

➥➥ ในปี 2555 ดุลบัญชีเดินสะพัดคาดว่าจะขาดดุล -2.0 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณร้อยละ -0.5

ของ GDP (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ -2.9 ถึง -1.0 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณร้อยละ -0.8 ถึง -0.3 ของ GDP) ลดลงมากจากปี 2554 ที่เกินดุล 8.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ตามการน�ำเข้าสินค้าที่ขยายตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะการน�ำเข้า สินค้าเครื่องจักรเพื่อทดแทนเครื่องจักรเดิมที่เสียหายจากวิกฤตอุทกภัยในช่วงปลายปี 2554 สอดคล้องกับการลงทุนที่คาดว่าจะ ขยายตัวเร่งขึ้น ในขณะที่การส่งออกสินค้าและบริการขยายตัวชะลอลงจากเศรษฐกิจโลกที่ยังคงเปราะบางจากวิกฤตเศรษฐกิจ ยุโรปและการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน เป็นส�ำคัญ ➥➥ ในปี 2556 ดุลบัญชีเดินสะพัดคาดว่าจะขาดดุล -2.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณร้อยละ -0.5 ของ GDP (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ -4.0 ถึง -0.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณร้อยละ -1.0 ถึง 0.0 ของ GDP) ใกล้เคียงกับปี 2555 ที่คาดว่าจะขาดดุล -2.0 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ตามการน�ำเข้าสินค้าและค่าระวางสินค้า ตลอดจนค่าโดยสารเดินทางทีย่ งั คงอยูใ่ นระดับสูง ในขณะทีเ่ ศรษฐกิจโลกทีผ่ นั ผวนจะยังคงเป็นปัจจัยเสีย่ งต่อภาคการส่งออกและ การท่องเที่ยว 3.2 เงินเฟ้อ ➥➥ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2555 อยู่ที่ร้อยละ 2.9 ลดลงจากปี 2554 ที่อยู่ที่ร้อยละ

3.8 โดยในช่วงไตรมาสแรกของปีอัตราเงินเฟ้อเร่งตัวขึ้นจากราคาสินค้าในหมวดอาหารและเครื่องดื่ม โดยเฉพาะราคาอาหาร ส�ำเร็จรูปที่เร่งตัวอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม ในช่วงไตรมาสที่ 2 ราคาอาหารส�ำเร็จรูปเริ่มทรงตัว ประกอบกับราคาน�้ำมันที่ลดลง ท�ำให้อัตราเงินเฟ้อในช่วงไตรมาสที่ 2 ชะลอตัวลงเล็กน้อย ขณะที่ในช่วงไตรมาสที่ 3 ราคาน�้ำมันดิบโลกกลับมาเพิ่มขึ้นอีกครั้ง ส่งผลต่อแรงกดดันด้านเงินเฟ้อผ่านหมวดสินค้าเชือ้ เพลิง ประกอบกับการขึน้ ค่าไฟฟ้าอัตโนมัติ (ค่า Ft) ถึง 2 ครั้ง เป็นผลให้ราคา สินค้าหมวดเคหสถานเร่งตัวเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังมีการปรับเพิ่มภาษีเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบเมื่อปลายเดือนสิงหาคม ส่งผลให้ราคาสินค้าหมวดยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

41


ภาพที่ 27 ประมาณการอัตราเงินเฟ้อทั่วไป

ที่มา : สศค.

➥➥ ส�ำหรับปี 2555 คาดว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะปรับตัวลดลงจากปีก่อนมาอยู่ที่ร้อยละ 3.3 (โดยมีช่วง

คาดการณ์ที่ร้อยละ 3.0-3.5) โดยมีสาเหตุหลักจากราคาน�้ำมันในตลาดโลกที่จะขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงจากปี 2554 อย่างไรก็ตาม ปัจจัยด้านการปรับโครงสร้างราคาพลังงาน (ก๊าซ NGV และก๊าซ LPG ภาคขนส่ง) รวมถึงราคาค่าไฟฟ้ายังคงเป็น แรงกดดันด้านภาวะเงินเฟ้อต่อไป ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานที่ไม่รวมราคาสินค้าในหมวดพลังงานและอาหารสดคาดว่าจะ ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ร้อยละ 2.0 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.7-2.2) ➥➥ ส�ำหรับปี 2556 คาดว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อยมาอยู่ที่ร้อยละ 3.5 (โดยมีช่วง คาดการณ์ที่ร้อยละ 3.0-4.0) โดยมีสาเหตุหลักจากราคาน�้ำมันในตลาดโลกที่ยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่องจากปี 2555 ส่งผลต่อต้นทุนของผู้ประกอบการให้มีการปรับตัวสูงขึ้น นอกจากนี้เศรษฐกิจโลกที่มีแนวโน้มฟื้นตัวย่อมส่งผลต่อการเร่งตัวของ เศรษฐกิจไทย ซึ่งเป็นแรงกดดันด้านเงินเฟ้ออีกทางหนึ่ง ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานคาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 2.1 (ช่วงคาดการณ์ ที่ร้อยละ 1.6-2.6)

42


ภาคการคลัง รายงานสรุปสถานการณ์ด้านการคลัง ในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 บทสรุปผู้บริหาร ในปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลได้จัดท�ำงบประมาณรายจ่ายแบบขยายตัว (Expansionary Fiscal Policy) โดยก�ำหนดวงเงินขาดดุล 400.0 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.4 ของ GDP เพื่อการกระตุ้นเศรษฐกิจภายในประเทศให้สามารถ เติบโตอย่างต่อเนือ่ งในช่วงทีก่ ารฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจโลกยังคงเปราะบาง รวมทัง้ การฟืน้ ฟูเศรษฐกิจทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากปัญหา อุทกภัยที่ส่งผลกระทบต่อภาคการส่งออกและภาคการผลิตอย่างรุนแรง ❍❍ ด้านรายได้ในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 (เดือนตุลาคม 2554–สิงหาคม 2555) รัฐบาล มีรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.)) จ�ำนวน 1,858.8 พันล้านบาท น้อยกว่าประมาณการ ตามเอกสารงบประมาณ 19.8 พันล้านบาท หรือร้อยละ -1.1 แต่เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 70.1 พันล้านบาท หรือ ร้อยละ 3.9 ทั้งนี้ รายได้ภาษีจาก 3 กรมจัดเก็บ (กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต และกรมศุลกากร) มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 1,956.9 พันล้านบาท น้อยกว่าประมาณการตามเอกสารงบประมาณ 32.8 พันล้านบาท หรือร้อยละ -1.6 แต่มากกว่าปีงบประมาณ ก่อนหน้า 71.9 พันล้านบาท หรือร้อยละ 3.8 ❍❍ ด้านรายจ่ายในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลสามารถเบิกจ่ายงบประมาณได้ทั้งสิ้น 2,068.0 พันล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.2 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น โดยเป็นการเบิกจ่ายงบประมาณประจ�ำปีงบประมาณ 2555 จ�ำนวน 1,930.8 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 81.1 ของกรอบวงเงินงบประมาณ 2555 โดยแบ่งออกเป็น (1) รายจ่ายประจ�ำเบิกจ่ายได้จ�ำนวน 1,699.8 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.0 จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ น หรือคิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 86.9 ของรายจ่ายประจ�ำ และ (2) รายจ่ายลงทุนเบิกจ่ายได้ จ�ำนวน 231.0 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 54.6 ของ รายจ่ายลงทุน และรายจ่ายเหลื่อมปีที่เบิกจ่ายได้จ�ำนวน 137.1 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ❍❍ ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 รัฐบาล ขาดดุล 369.9 พันล้านบาท โดยเป็นการขาดดุลเงินงบประมาณ 342.6 พันล้านบาท และการขาดดุลเงินนอกงบประมาณจ�ำนวน 27.3 พันล้านบาท ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากการถอนเงินฝากคลังของเงินกู้ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 จ�ำนวน 20.2 พันล้านบาท ทั้งนี้ รัฐบาลได้บริหารเงินสดให้สอดคล้องกับความต้องการใช้เงิน รวมทั้งสร้างความมั่นคงของฐานะการคลัง โดยชดเชยการขาดดุลด้วยการกูจ้ ำ� นวน 312.5 พันล้านบาท ส่งผลให้ดลุ เงินสด (หลังการกูเ้ พือ่ ชดเชยการขาดดุล) ขาดดุลเท่ากับ 57.4 ล้านบาท และเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2555 มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 463.9 พันล้านบาท ❍❍ หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2555 มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 4,899.9 พันล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 44.2 ของ GDP เพิ่มขึ้นจากสิ้นปีงบประมาณ 2554 จ�ำนวน 451.6 พันล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.2 เนื่องจาก หนี้ของรัฐบาลเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 389.8 พันล้านบาท หรือร้อยละ 12.3 โดยมีรายการส�ำคัญจากหนี้ในประเทศที่รัฐบาลกู้เพื่อชดเชย การขาดดุลงบประมาณและการบริหารหนี้ที่เพิ่มขึ้น 237.6 พันล้านบาท หรือร้อยละ 15.0 ❍❍ กรอบอนุมัติงบประมาณลงทุนประจ�ำปี 2555 ของรัฐวิสาหกิจรวม 48 แห่ง ที่พร้อมด�ำเนินการมีจ�ำนวน ทั้งสิ้น 337.7 พันล้านบาท โดยมีผลการเบิกจ่ายสะสมถึงสิ้นเดือนสิงหาคม 2555 จ�ำนวน 115.2 พันล้านบาท หรือคิดเป็น อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 34.1 ของกรอบงบลงทุนอนุมัติ ❍❍

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

43


1. ผลการด�ำเนินนโยบายการคลังในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 (เดือนตุลาคม 2554-สิงหาคม 2555) 1.1 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 ผลการจัดเก็บรายได้สุทธิของรัฐบาล (หลังหักการจัดสรรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.)) มีจ�ำนวน 1,858.8 พันล้านบาท น้อยกว่าประมาณการตามเอกสารงบประมาณ 19.8 พันล้านบาท หรือร้อยละ -1.1 แต่เพิ่มขึ้น จากช่วงเดียวกันของปีก่อนจ�ำนวน 70.1 พันล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.9 ภาพที่ 1 รายได้รัฐบาลสุทธิสะสม ปีงบประมาณ 2555 และประมาณการรายได้สะสม ปีงบประมาณ 2555

ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) กระทรวงการคลัง

ทัง้ นี้ รายได้ภาษีจาก 3 กรมจัดเก็บภาษี (กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต และกรมศุลกากร) จัดเก็บได้ทงั้ สิน้ 1,956.9 พันล้านบาท น้อยกว่าประมาณการตามเอกสารงบประมาณ 32.8 พันล้านบาท หรือร้อยละ -1.6 แต่ยงั คงเพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกัน ของปีก่อน 71.9 พันล้านบาท หรือร้อยละ 3.8 โดยมีรายละเอียดการจัดเก็บรายได้รัฐบาลที่ส�ำคัญดังนี้ ❍❍ กรมสรรพากรจัดเก็บได้จ�ำนวน 1,501.5 พันล้านบาท น้อยกว่าประมาณการรายได้ 24.1 พันล้านบาท หรือร้อยละ -1.6 แต่ยังคงเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 78.4 พันล้านบาท หรือร้อยละ 5.5 โดยมีรายละเอียดของภาษี ที่ส�ำคัญดังนี้ (1) ภาษีมูลค่าเพิ่ม จัดเก็บได้ 591.1 พันล้านบาท มากกว่าประมาณการรายได้ 18.0 พันล้านบาท หรือร้อยละ 3.1 และเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 63.1 พันล้านบาท หรือร้อยละ 12.0 สะท้อนการบริโภคภาคเอกชนที่ปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่อง ภายหลังเหตุการณ์วิกฤตอุทกภัย โดยเฉพาะการบริโภคสินค้าน�ำเข้าที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างมาก สะท้อนได้จากภาษีมูลค่าเพิ่ม จากการน�ำเข้าทีจ่ ดั เก็บได้เพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ นถึงร้อยละ 21.4 ซึง่ เป็นผลจากการน�ำเข้าสินค้าทุนเพือ่ ทดแทนทีเ่ สียหาย จากปัญหาอุทกภัย รวมถึงมูลค่าการน�ำเข้าน�ำ้ มันดิบทีป่ รับตัวสูงขึน้ จากผลของราคาน�ำ้ มันดิบทีส่ งู ขึน้ มาก นอกจากนี้ ภาษีมลู ค่าเพิม่ จากการบริโภคในประเทศเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 3.6 (2) ภาษีเงินได้นิติบุคคล จัดเก็บได้ 523.0 พันล้านบาท น้อยกว่าประมาณการรายได้ 56.8 พันล้านบาท หรือร้อยละ -9.8 และลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 31.6 พันล้านบาท หรือ ร้อยละ -5.7 โดยเป็นผลมาจากเหตุการณ์อุทกภัยช่วงปี 2554 จึงส่งผลกระทบต่อผลประกอบการของธุรกิจในช่วงต้นปี 2555 ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการส่งออกได้รับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจของประเทศในกลุ่มยูโรโซน การให้สิทธิประโยชน์ภาษีของ ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ในเรื่องการลงทุนสีเขียว และการตั้งส� ำรองเพิ่มของธนาคารพาณิชย์ เป็นต้น และ (3) ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา จัดเก็บได้ 245.9 พันล้านบาท มากกว่าประมาณการรายได้ 11.1 พันล้านบาท หรือร้อยละ 4.7 และเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 28.3 พันล้านบาท หรือร้อยละ 13.0 เนื่องจากการจัดเก็บภาษีจากฐานเงินเดือนและค่าจ้าง ที่เก็บได้สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อน ❍❍ กรมสรรพสามิตจัดเก็บได้จ�ำนวน 345.6 พันล้านบาท น้อยกว่าประมาณการรายได้ 22.2 พันล้านบาท หรือร้อยละ -6.0 และลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 22.7 พันล้านบาท หรือร้อยละ -6.2 โดยมีรายละเอียดของภาษี ที่ส�ำคัญดังนี้ (1) ภาษีสรรพสามิตน�้ำมันฯ จัดเก็บได้ 56.0 พันล้านบาท น้อยกว่าประมาณการรายได้ 36.9 พันล้านบาท หรือร้อยละ -39.7 และลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 57.1 พันล้านบาท หรือร้อยละ -50.5 โดยเป็นผลจากนโยบายการปรับลดอัตราภาษี สรรพสามิตน�้ำมันดีเซลจาก 5.31 บาทต่อลิตร เป็น 0.005 ต่อลิตร ตามมติของคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2555 ที่ขยายเวลาการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตน�้ำมันดีเซลจนถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2555 (2) ภาษีสรรพสามิตรถยนต์ จัดเก็บ ได้ 103.1 พันล้านบาท มากกว่าประมาณการรายได้ 4.9 พันล้านบาท หรือร้อยละ 5.0 และเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 19.9 พันล้านบาท หรือร้อยละ 23.9 ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการฟื้นตัวของอุตสาหกรรมยานยนต์หลังจากอุทกภัยและโครงการ

44


รถยนต์ใหม่คันแรกตามนโยบายของรัฐบาล และ (3) ภาษีเบียร์ จัดเก็บได้ 59.9 พันล้านบาท มากกว่าประมาณการรายได้ 2.9 พันล้านบาท หรือร้อยละ 5.1 และเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 4.0 พันล้านบาท หรือร้อยละ 7.1 โดยเป็นผลจาก การบริโภคภายในประเทศที่ปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่อง ❍❍ กรมศุลกากรจัดเก็บได้จำ � นวน 109.8 พันล้านบาท มากกว่าประมาณการรายได้ 13.5 พันล้านบาท หรือ ร้อยละ 14.0 และเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 16.2 พันล้านบาท หรือร้อยละ 17.3 โดยมีรายได้หลักจากอากรขาเข้า ที่จัดเก็บได้ 107.3 พันล้านบาท มากกว่าประมาณการรายได้ 13.2 พันล้านบาท หรือร้อยละ 14.0 และเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของ ปีก่อน 16.4 พันล้านบาท หรือร้อยละ 18.1 โดยเป็นผลจากการน�ำเข้าสินค้าในหมวดรถยนต์และส่วนประกอบรถยนต์ที่ขยายตัว ในระดับสูง เพื่อทดแทนก�ำลังการผลิตของภาคการผลิตรถยนต์ที่เสียหายจากปัญหาอุทกภัย ทั้งนี้ สินค้าที่จัดเก็บอากรขาเข้าได้สูง 3 ล�ำดับแรก ได้แก่ รถยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ เครื่องจักรกล และเครื่องใช้ไฟฟ้าและส่วนประกอบ ❍❍ รัฐวิสาหกิจน�ำส่งรายได้จ�ำนวน 97.9 พันล้านบาท มากกว่าประมาณการรายได้ 4.7 พันล้านบาท หรือ ร้อยละ 5.0 และเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 9.6 พันล้านบาท หรือร้อยละ 10.8 โดยรัฐวิสาหกิจที่น�ำส่งรายได้สูงกว่า เป้าหมายที่ส�ำคัญ ได้แก่ โรงงานยาสูบ บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำหรับ รัฐวิสาหกิจที่น�ำส่งรายได้ต�่ำกว่าเป้าหมายที่ส�ำคัญ ได้แก่ บริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ในขณะที่บริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) และกองทุนรวมวายุภักษ์งดจ่ายเงินปันผล ❍❍ หน่วยงานอืน ่ ๆ น�ำส่งรายได้จำ� นวน 106.6 พันล้านบาท มากกว่าประมาณการรายได้ 4.8 พันล้านบาท หรือร้อยละ 4.8 และเพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ น 5.6 พันล้านบาท หรือร้อยละ 5.5 เนือ่ งจากกรมศุลกากรได้สง่ คืนเงิน ทีก่ นั ไว้เพือ่ ชดเชยค่าภาษีอากรส�ำหรับผูส้ ง่ ออกสินค้าเหลือจ่ายจ�ำนวน 4.7 พันล้านบาท และกรมสรรพสามิตได้นำ� ส่งเงินค่าใช้จา่ ย เก็บภาษีท้องถิ่นคืนเป็นรายได้แผ่นดินจ�ำนวน 2.0 พันล้านบาท เป็นต้น ตารางที่ 1 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 ประเภทรายได้

(หน่วย : ล้านบาท) เปรียบเทียบกับ ปีนี้ ปีที่แล้ว ตามเอกสาร งปม. ปีก่อนหน้า ประมาณการ ประมาณการ (ต.ค.54-ส.ค.55) (ต.ค.53-ส.ค.54) (ต.ค.54-ส.ค.55) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ)

1. กรมสรรพากร 1,501,507 - ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 245,865 - ภาษีเงินได้นิติบุคคล 522,972 - ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 94,085 - ภาษีมูลค่าเพิ่ม 591,143 - ภาษีธุรกิจเฉพาะ 36,983 - อากรแสตมป์ 10,118 - อื่น ๆ 341 2. กรมสรรพสามิต 345,648 - ภาษีน�้ำมัน 56,026 - ภาษียาสูบ 55,903 - ภาษีสุราฯ 49,443 - ภาษีเบียร์ 59,912 - ภาษีรถยนต์ 103,056 - ภาษีอื่น ๆ 1,001 3. กรมศุลกากร 109,781 - อากรขาเข้า 107,271 - อากรขาออก 321 - รายได้อื่น ๆ 2,189 รวมรายได้ 3 กรมภาษี 1,956,936 4. รัฐวิสาหกิจ 97,880 5. หน่วยงานอื่น 106,619 รวมรายได้จัดเก็บ 2,161,435 รายได้สุทธิรัฐบาล 11,858,773 (หลังการจัดสรรให้ อปท.)

1,423,096 217,600 554,569 81,425 528,015 32,093 9,138 256 368,341 113,163 51,569 44,569 55,956 83,200 995 93,613 90,828 212 2,573 1,885,050 88,304 101,051 2,074,405

1,525,621 234,765 579,778 93,978 573,180 34,084 9,608 228 367,831 92,894 52,273 47,110 56,988 98,175 1,017 96,300 94,100 90 2,110 1,989,752 93,225 101,776 2,184,753

5.5 13.0 (5.7) 15.5 12.0 15.2 10.7 33.2 (6.2) (50.5) 8.4 10.9 7.1 23.9 0.6 17.3 18.1 51.4 (14.9) 3.8 10.8 5.5 4.2

(24,114) 11,100 (56,806) (107) 17,963 2,899 510 113 (22,183) (36,868) 3,630 2,333 2,924 4,881 (16) 13,481 13,171 231 7.9 (32,816) 4,655 4,843 (23,318)

(1.6) 4.7 (9.8) (0.1) 3.1 8.5 5.3 49.6 (6.0) (39.7) 6.9 5.0 5.1 5.0 (1.6) 14.0 14.0 256.7 3.7 (1.6) 5.0 4.8 (1.1)

1,788,672

1,878,610

3.9

19,837

(1.1)

ที่มา : สศค.

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

45


1.2 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 การเบิกจ่ายงบประมาณของรัฐบาลในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลสามารถเบิกจ่าย งบประมาณได้ทงั้ สิน้ 2,068.0 พันล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.2 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น โดยเป็นการเบิกจ่ายงบประมาณ ประจ�ำปีงบประมาณ 2555 จ�ำนวน 1,930.8 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นอัตรา การเบิกจ่ายร้อยละ 81.1 ของกรอบวงเงินงบประมาณ 2555 โดยแบ่งออกเป็น (1) รายจ่ายประจ�ำเบิกจ่ายได้จ�ำนวน 1,699.8 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 86.9 ของรายจ่ายประจ� ำ และ (2) รายจ่ายลงทุนเบิกจ่ายได้จ�ำนวน 231.0 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นอัตรา การเบิกจ่ายร้อยละ 54.6 ของรายจ่ายลงทุน และรายจ่ายเหลื่อมปีที่เบิกจ่ายได้จ�ำนวน 137.1 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน อย่างไรก็ตาม คาดว่าในช่วงที่เหลือของปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลจะสามารถเบิกจ่ายงบประมาณ ได้ใกล้เคียงเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้

ตารางที่ 2 สรุปผลการเบิกจ่ายรายจ่ายรัฐบาลในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555

(หน่วย : ล้านบาท)

อัตราเบิกจ่าย กรอบวงเงิน ผลการเบิกจ่าย ผลการเบิกจ่าย ช่วง 11 เดือนแรก ช่วง 11 เดือนแรก อัตราการเพิ่ม/(ลด) เทียบกับกรอบ งบประมาณ ประเภทรายจ่าย รายจ่าย 2555 ของปีงบประมาณ ของปีงบประมาณ (ร้อยละ) วงเงินงบประมาณ 2555 2554 รายจ่าย 2555 1. รายจ่ายกรอบ งปม. - รายจ่ายประจ�ำ - รายจ่ายลงทุน 2. รายจ่ายเหลื่อมปี รายจ่ายรวม (1+2)

2,380,000 1,956,613 423,387 201,861 2,581,861

1,930,833 1,699,809 231,024 137,147 2,067,980

1,865,892 1,634,913 230,979 118,592 1,984,484

3.5 4.0 0.0 15.6 4.2

81.1 86.9 54.6 80.1

ที่มา : กรมบัญชีกลาง และ สศค.

นอกจากรายจ่ายภายใต้งบประมาณของปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลได้มคี า่ ใช้จา่ ยในการเยียวยา ฟืน้ ฟู และป้องกัน ความเสียหายจากอุทกภัยอย่างบูรณาการ ภายหลังจากทีป่ ระเทศได้รบั ความเสียหายจากเหตุการณ์วกิ ฤตอุทกภัยในช่วงปลายปี 2554 ที่ผ่านมา ทั้งนี้ ความคืบหน้าของค่าใช้จ่ายในการเยียวยา ฟื้นฟู และป้องกันความเสียหายจากอุทกภัยอย่างบูรณาการ ณ วันที่ 21 กันยายน 2555 สามารถเบิกจ่ายได้ทั้งสิ้นจ�ำนวน 95.4 พันล้านบาท หรือคิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายที่ร้อยละ 79.50 ของงบประมาณหลังโอนเปลี่ยนแปลง จ�ำนวน 120.0 พันล้านบาท โดยมีรายละเอียดผลการเบิกจ่ายดังนี้

46


ตารางที่ 3 สรุปผลการเบิกจ่ายงบกลาง : ค่าใช้จา่ ยในการเยียวยา ฟืน้ ฟู และป้องกันความเสียหายจากอุทกภัยอย่างบูรณาการ (หน่วย : ล้านบาท)

กระทรวง กระทรวงกลาโหม กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุติธรรม กระทรวงแรงงาน กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม งบกลาง รัฐวิสาหกิจ ส่วนราชการไม่สังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง ส�ำนักนายกรัฐมนตรี ผลรวมทั้งหมด

งบประมาณ หลังโอน เปลี่ยนแปลง

เบิกจ่าย

8,464 11 1,869 12,675 16,694 7,283 558 19,626 298 68 1,140 1,946 6,183 1,885 707 904 38,089

4,664 11 1,817 10,323 12,606 6,040 65 15,032 252 66 343 519 4,132 1,577 302 - 36,357

ร้อยละ เบิกจ่ายต่อ งบประมาณหลัง โอนเปลี่ยนแปลง 55.1 100.0 97.2 81.4 75.5 82.9 11.7 76.6 84.5 97.8 30.0 26.7 66.8 83.6 42.8 95.5

1,368

1,272

92.9

232 120,000

19 95,397

8.0 79.5

ที่มา : กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ข้อมูล ณ วันที่ 21 กันยายน 2555

1.3 ฐานะการคลังในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลขาดดุล 369.9 พันล้านบาท โดยเป็นการขาดดุลเงินงบประมาณ 342.6 พันล้านบาท และการขาดดุลเงินนอกงบประมาณจ�ำนวน 27.3 พันล้านบาท ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากการถอนเงินฝากคลังของเงินกู้ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 จ�ำนวน 20.2 พันล้านบาท ทั้งนี้ รัฐบาลได้บริหารเงินสดให้สอดคล้องกับความต้องการใช้เงิน รวมทั้งสร้างความมั่นคงของฐานะการคลัง โดยชดเชยการขาดดุลด้วยการกูจ้ ำ� นวน 312.5 พันล้านบาท ส่งผลให้ดลุ เงินสด (หลังการกูเ้ พือ่ ชดเชยการขาดดุล) ขาดดุลเท่ากับ 57.4 ล้านบาท และเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2555 มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 463.9 พันล้านบาท

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

47


ตารางที่ 4 ฐานะการคลังในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 รายการ

1. รายได้ 2. รายจ่าย 3. ดุลงบประมาณ 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ 5. ดุลเงินสด (ก่อนกู้) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล 7. ดุลเงินสดหลังการกู้เงิน 8. เงินคงคลังปลายงวด

11 เดือนแรก ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2554 1,725,342 1,616,398 2,067,980 1,984,784 (342,638) (368,086) (27,295) 61,298 (369,933) (306,788) 312,508 147,516 (57,452) (159,272) 463,865 270,050

(หน่วย : ล้านบาท)

เปรียบเทียบกับ จ�ำนวน ร้อยละ 108,944 6.7 83,496 4.2 25,448 (6.9) (88,593) (144.5) (63,145) 20.6 164,992 111.8 101,847 (63.9) 193,815 71.8

ที่มา : สศค.

1.4 หนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2555 มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 4,899.9 พันล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 44.2 ของ GDP เพิ่มขึ้นจากสิ้นปีงบประมาณ 2554 จ�ำนวน 451.6 พันล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.2 เนื่องจากหนี้ของรัฐบาล เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 389.8 พันล้านบาท หรือร้อยละ 12.3 โดยมีรายการส�ำคัญจากหนี้ในประเทศที่รัฐบาลกู้เพื่อชดเชยการขาดดุล งบประมาณและการบริหารหนี้ที่เพิ่มขึ้น 237.6 พันล้านบาท หรือร้อยละ 15.0 เป็นต้น โดยระดับหนี้สาธารณะคงค้างอยู่ในระดับ ทีม่ เี สถียรภาพ กล่าวคือ (1) หนีส้ าธารณะส่วนใหญ่เป็นหนีส้ กุลเงินบาท โดยมีสดั ส่วนสูงถึงร้อยละ 93.2 ของหนีส้ าธารณะคงค้าง (2) หนี้สาธารณะส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาวมีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 94.3 ของหนี้สาธารณะคงค้าง และ (3) สัดส่วนหนี้สาธารณะ คงค้างต่อ GDP ยังคงอยู่ในกรอบความยั่งยืนทางการคลังที่ก�ำหนดสัดส่วนไว้ที่ไม่เกินร้อยละ 60.0

ภาพที่ 2 ยอดคงค้างหนี้สาธารณะและสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP รายเดือน

ที่มา : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) กระทรวงการคลัง

48


ตารางที่ 5 หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2555 หนี้สาธารณะคงค้าง

1. หนี้ของรัฐบาล 2. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน 3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค�้ำประกัน) 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ 5. หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ หนี้สาธารณะรวม (1+2+3+4+5)

(หน่วย : ล้านบาท)

ณ มิ.ย. 55 ณ ก.ย. 54 จ�ำนวน % GDP จ�ำนวน % GDP 3,570,950 32.2 3,181,158 30.2 1,014,749 9.2 1,079,748 10.3 307,328 - 6,850 4,899,877

2.8

156,941

1.5

- 30,445 0.1 - 44.2 4,448,294

0.3 - 42.3

เปรียบเทียบกับ จ�ำนวน ร้อยละ 389,792 12.3 -64,999 -6.0 150,387

95.8

-30,445 -100.0 6,850 100.0 451,583 10.2

ที่มา : สบน.

1.5 ผลการเบิกจ่ายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจแยกตามสาขาในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 กรอบอนุมตั งิ บประมาณลงทุนประจ�ำปี 2555 ของรัฐวิสาหกิจรวม 48 แห่ง ทีพ ่ ร้อมด�ำเนินการมีจำ� นวนทัง้ สิน้ 337.7 พันล้านบาท โดยมีผลการเบิกจ่ายสะสมถึงสิน้ เดือนสิงหาคม 2555 จ�ำนวน 115.2 พันล้านบาท หรือคิดเป็นอัตรา การเบิกจ่ายร้อยละ 34.1 ของกรอบงบลงทุนอนุมัติ ซึ่งสามารถแยกตามรายสาขาได้ 8 สาขา ดังนี้ 1) รัฐวิสาหกิจสาขาขนส่ง จ�ำนวน 11 แห่ง ประกอบด้วย การทางพิเศษแห่งประเทศไทย องค์การขนส่งมวลชน กรุงเทพ การท่าเรือแห่งประเทศไทย บริษัท ไทยเดินเรือทะเล จ�ำกัด บริษทั ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จ�ำกัด สถาบันการบินพลเรือน การรถไฟแห่งประเทศไทย การรถไฟขนส่ง มวลชนแห่งประเทศไทย และบริษทั ขนส่ง จ�ำกัด มีงบลงทุนทีพ่ ร้อมด�ำเนินการทัง้ สิน้ จ�ำนวน 126.6 พันล้านบาท และมีการเบิกจ่าย งบลงทุนสะสมจ�ำนวน 51.1 พันล้านบาท หรือคิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 40.4 ของกรอบงบลงทุนอนุมัติ โดยบริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) เป็นรัฐวิสาหกิจที่รับอนุมัติงบลงทุนสูงสุดในสาขา จ�ำนวน 51.0 พันล้านบาท และมีการเบิกจ่าย งบลงทุนสะสมจ�ำนวน 22.7 พันล้านบาท หรือคิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 44.4 ของกรอบงบลงทุนอนุมัติ 2) รัฐวิสาหกิจสาขาสาธารณูปการ จ�ำนวน 4 แห่ง ประกอบด้วย องค์การจัดการน�้ำเสีย การประปานครหลวง การประปาส่วนภูมิภาค และการเคหะแห่งชาติ มีงบลงทุนที่พร้อมด�ำเนินการทั้งสิ้นจ�ำนวน 17.8 พันล้านบาท และมีการเบิกจ่าย งบลงทุนสะสมจ�ำนวน 12.8 พันล้านบาท หรือคิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 72.2 ของกรอบงบลงทุนอนุมัติ โดยการประปา ส่วนภูมภิ าคเป็นรัฐวิสาหกิจทีร่ บั อนุมตั งิ บลงทุนสูงสุดในสาขาจ�ำนวน 6.6 พันล้านบาท และมีการเบิกจ่ายงบลงทุนสะสมจ�ำนวน 4.3 พันล้านบาท หรือคิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 64.8 ของกรอบงบลงทุนอนุมัติ 3) รัฐวิสาหกิจสาขาสื่อสาร จ�ำนวน 4 แห่ง ประกอบด้วย บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท อสมท จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท ไปรษณีย์ไทย จ�ำกัด มีงบลงทุนที่พร้อมด�ำเนินการทั้งสิ้นจ�ำนวน 27.4 พันล้านบาท และมีการเบิกจ่ายงบลงทุนสะสมจ�ำนวน 10.5 พันล้านบาท หรือคิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 38.3 ของ กรอบงบลงทุนอนุมตั ิ โดยบริษทั ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) เป็นรัฐวิสาหกิจทีร่ บั อนุมตั งิ บลงทุนสูงสุดในสาขาจ�ำนวน 16.3 พันล้านบาท และมีการเบิกจ่ายงบลงทุนสะสมจ�ำนวน 5.3 พันล้านบาท หรือคิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 32.9 ของกรอบงบลงทุนอนุมัติ

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

49


4) รัฐวิสาหกิจสาขาพลังงาน จ�ำนวน 4 แห่ง ประกอบด้วย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) มีงบลงทุนที่พร้อมด�ำเนินการทั้งสิ้นจ�ำนวน 157.8 พันล้านบาท และ มีการเบิกจ่ายงบลงทุนสะสมจ�ำนวน 37.8 พันล้านบาท หรือคิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 23.9 ของกรอบงบลงทุนอนุมัติ โดยบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) เป็นรัฐวิสาหกิจที่รับอนุมัติงบลงทุนสูงสุดในสาขาจ�ำนวน 91.5 พันล้านบาท และมีการเบิกจ่าย งบลงทุนสะสมจ�ำนวน 13.5 พันล้านบาท หรือคิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 14.8 ของกรอบงบลงทุนอนุมัติ 5) รัฐวิสาหกิจอืน่ ๆ จ�ำนวน 25 แห่ง ประกอบด้วย โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง ส�ำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล การกีฬาแห่งประเทศไทย และส�ำนักงานกองทุนสงเคราะห์การท�ำสวนยาง เป็นต้น มีงบลงทุนที่พร้อมด�ำเนินการทั้งสิ้นจ�ำนวน 8.1 พันล้านบาท และมีการเบิกจ่ายงบลงทุนสะสมจ�ำนวน 2.9 พันล้านบาท หรือคิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 36.3 ของ กรอบงบลงทุนอนุมัติ โดยโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง เป็นรัฐวิสาหกิจที่รับอนุมัติงบลงทุนสูงสุด จ� ำนวน 2.6 พันล้านบาท และมีการเบิกจ่ายงบลงทุนสะสมจ�ำนวน 0.4 พันล้านบาท หรือคิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 15.1 ของกรอบงบลงทุนอนุมัติ

ตารางที่ 6 การเบิกจ่ายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจ จ�ำแนกตามรายสาขา ในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 (หน่วย : ล้านบาท) รัฐวิสาหกิจรายสาขา (ตามสาขา)

ขนส่ง (11 แห่ง) บริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) สาธารณูปการ (4 แห่ง) การประปาส่วนภูมิภาค สื่อสาร (4 แห่ง) บริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) พลังงาน (4 แห่ง) บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) อุตสาหกรรม (6 แห่ง) โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง พาณิชย์และบริการ (6 แห่ง) ส�ำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล สังคมและเทคโนโลยี (6 แห่ง) องค์การเภสัชกรรม เกษตรและทรัพยากรฯ (7 แห่ง) ส�ำนักงานกองทุนสงเคราะห์ การท�ำสวนยาง รวม 48 แห่ง

งบลงทุนอนุมัติ ปี 2555

สัดส่วน (%)

เบิกจ่ายจริง ส.ค.55

เบิกจ่ายจริง สะสม

% เบิกจ่ายของ งบลงทุนอนุมัติ

126,626 51,017 17,768 6,591 27,415 16,255 157,788 91,467 3,246 2,595 694 456 3,165 1,200 965

37.5% 15.1% 5.3% 2.0% 8.1% 4.8% 46.7% 27.1% 1.0% 0.8% 0.2% 0.1% 0.9% 0.4% 0.3%

9,684 5,921 1,656 556 2,427 727 5,811 1,396 130 98 50 29 347 191 44

51,132 22,671 12,831 4,274 10,510 5,343 37,779 13,533 693 391 287 204 1,575 1,052 377

40.4% 44.4% 72.2% 64.8% 38.3% 32.9% 23.9% 14.8% 21.3% 15.1% 41.4% 44.8% 49.8% 87.6% 39.1%

386

0.1%

15

90

23.3%

337,667

100.0%

20,149

115,186

34.1%

ที่มา : ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) กระทรวงการคลัง

50


Macroeconomic Analysis Briefing บทวิเคราะห์ เรื่อง การฟื้นตัวของอุตสาหกรรมหลังมหาอุทกภัย พ.ศ. 2554

1

บทสรุปผู้บริหาร

เหตุการณ์มหาอุทกภัยเมื่อปลายปี 2554 ได้สร้างความเสียหายให้แก่ภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาค ครัวเรือน เกษตรกรรม การค้าส่งค้าปลีก สาธารณูปโภค การท่องเที่ยว โดยภาคการผลิตที่ได้รับความเสียหาย (Damage) และสูญเสีย (Loss) มูลค่าสูงที่สุด คือ ภาคอุตสาหกรรม ❍❍ ทั้งนี้พื้นที่อุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด คือ บริเวณที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรม 7 แห่ง ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดปทุมธานี ซึ่งส่วนใหญ่เป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมหลักของไทย และมีความเชือ่ มโยงกับห่วงโซ่อปุ ทานการผลิตทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ตลอดจนส่งผลกระทบต่อนักลงทุน ต่างชาติ โดยเฉพาะจากญี่ปุ่นที่เป็นนักลงทุนส่วนใหญ่ ❍❍ ด้วยเหตุนี้รัฐบาลจึงเข้ามามีบทบาทในการเข้ามาช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบอุทกภัย โดย ครอบคลุมผูท้ ไี่ ด้รบั ผลกระทบในภาคส่วนต่าง ๆ ตลอดจนหาแนวทางป้องกันน�ำ้ ท่วมในอนาคต ผ่านแผนแม่บท การบริหารจัดการน�้ำ ❍❍ โดยบทบาททีส ่ ำ� คัญของภาครัฐในการช่วยเหลือ ได้แก่ มาตรการทางการเงิน มาตรการทางภาษี การให้สิทธิประโยชน์ด้านต่าง ๆ แก่ผู้ประกอบการทุกขนาดไม่ว่าจะเป็นรายใหญ่ไปจนถึง SMEs เพื่อเสริมสร้าง ความเชื่อมั่นให้แก่นักลงทุนและผู้ประกอบการทั้งในประเทศและต่างประเทศ ตลอดจนอนุมัติวงเงินสนับสนุน การก่อสร้างคันกั้นน�้ำประมาณ 3.24 พันล้าน หรือประมาณ 2 ใน 3 ของวงเงินก่อสร้างรวม แก่ผู้ประกอบการ พัฒนานิคมอุตสาหกรรมที่ประสบภาวะน�้ำท่วม 7 แห่ง ใน 2 จังหวัดดังกล่าว ❍❍ นอกจากนีร ้ ฐั บาลได้เร่งด�ำเนินการในการก�ำหนดแนวทางลงทุนเพือ่ ใช้ในการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานของประเทศในระยะปานกลางถึงระยะยาว (5-7 ปี) ในกรอบวงเงินประมาณ 2.27 ล้านล้านบาท ❍❍

บทน�ำ

หากย้อนไปในช่วงเวลาประมาณ 1 ปีแล้วได้เกิดเหตุการณ์มหาอุทกภัยที่กินเวลายาวนานนับจากปลายเดือนกรกฎาคม 2554 ถึงช่วงกลางเดือนมกราคม 2555 และได้สร้างความเสียหายให้แก่ภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งนี้เหตุการณ์น�้ำท่วมครั้งนั้นได้รับ การจัดอันดับให้เป็นภัยพิบัติครั้งใหญ่ที่ธนาคารโลก (World Bank) จัดให้เป็นความเสียหายอันดับ 4 ของโลก รองจากเหตุการณ์ สึนามิในประเทศญี่ปุ่น แผ่นดินไหวในโกเบ และเฮอร์ริเคนแคทรีนา ที่อุบัติขึ้นในช่วงวันที่ 11 มีนาคม 2554 วันที่ 17 มกราคม 2538 และวันที่ 29 สิงหาคม 2548 ตามล�ำดับ โดยแบ่งเป็นความเสียหาย (Damage) ประมาณ 630 ล้านบาท และความสูญเสีย (Loss) ประมาณ 795 ล้านบาท โดยภาคเอกชนมี Damage และ Loss คิดเป็นร้อยละ 90 หรือประมาณ 1.3 พันล้านบาท ขณะที่ภาครัฐได้รับ Damage และ Loss ประมาณ 0.13 พันล้านบาท ทัง้ นีห้ นึง่ ในภาคเศรษฐกิจส�ำคัญทีไ่ ด้รบั ผลกระทบอย่างมาก คือ “ภาคอุตสาหกรรม”2 เนือ่ งจากเหตุการณ์นำ�้ ท่วมลุกลาม สู่พื้นที่จังหวัดที่เป็นที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรมที่ส�ำคัญในการผลิตสินค้าถึง 7 แห่ง ได้แก่ สหรัตนนคร โรจนะ ไฮเทค บางปะอิน และแฟคตอรี่แลนด์ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และนวนครและบางกะดีในจังหวัดปทุมธานี (ภาพที่ 1) ซึ่งส่วนใหญ่เป็น ฐานการผลิตอุตสาหกรรมหลัก ๆ ได้แก่ ชิ้นส่วนยานยนต์ อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และอาหารและเครื่องดื่ม ส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่อุปทานการผลิตทั้งในประเทศและต่างประเทศ ผู ้ เ ขี ย น : นายธรรมฤทธิ์ คุ ณ หิ รั ญ เศรษกรช� ำ นาญการ ส่ ว นแบบจ� ำ ลองและประมาณการเศรษฐกิ จ ส� ำ นั ก นโยบายเศรษฐกิ จ มหภาค ขอขอบคุ ณ นางวิภารัตน์ ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ และ ดร.กุลยา ตันติเตมิท ส�ำหรับข้อแนะน�ำ 2 ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้ประเมินผลกระทบจากเหตุอุทกภัยดังกล่าว โดยผลกระทบต่อรายได้ส่วนใหญ่มาจาก ภาคอุตสาหกรรมที่คิดเป็นประมาณร้อยละ 72.41 ของผลกระทบต่อรายได้ทั้งหมด หรือประมาณ 3.57 แสนล้านบาท ขณะที่ผลการส�ำรวจของ World Bank ต่อ ผลกระทบที่เกิดจากความสูญเสีย (Loss) ในภาคอุตสาหกรรม 4.93 แสนล้านบาท หรือร้อยละ 62.03 ของ Total Loss นอกจากนี้ สศช.ได้ประเมินผลกระทบต่อ GDP ณ ระดับราคาคงที่ ซึ่งคิดเป็นประมาณร้อยละ 2.3 โดยแยกเป็นผลกระทบต่อการเกษตร 7.336 พันล้านบาท อุตสาหกรรม 77.456 พันล้านบาท การค้าส่ง ค้าปลีก 23.034 พันล้านบาท สาธารณูปโภค 421 ล้านบาท และการท่องเที่ยว 3.696 พันล้านบาท 1

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

51


ภาพที่ 1 นิคมอุตสาหกรรม 7 แห่ง ที่ถูกน�้ำท่วมช่วงปลายปี 2554

ที่มา : การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

นอกจากนี้เหตุการณ์มหาอุทกภัยดังกล่าวได้ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุนต่างชาติอย่างมาก โดยเฉพาะ นักลงทุนจากญีป่ นุ่ จนมีกระแสข่าวเกีย่ วกับการย้ายฐานการผลิตสินค้าไปยังประเทศเพือ่ นบ้าน เพือ่ กระจายความเสีย่ งทีจ่ ะเกิด ขึ้นอีกในอนาคต โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่ปัจจุบันโรงงานหลายแห่งก็ยังไม่มีการขยายโรงงาน หรือลงทุนเพื่อขยายก�ำลังการผลิต มีเพียงการควบรวมกิจการโดย Hitachi ขายกิจการบริษัทลูก Hitachi GST (Hitachi Global Storage Technologies) ให้แก่ Western Digital ในวงเงินมูลค่า 4.25 พันล้านดอลลาร์

บทบาทการช่วยเหลือจากภาครัฐบาลต่อภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ด้วยเหตุนี้รัฐบาลจึงเข้ามามีบทบาทในการเข้ามาช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบอุทกภัย โดยครอบคลุมผู้ที่ได้รับผลกระทบ ในภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งในส่วนของประชาชนทั่วไป เกษตรกร ผู้ใช้แรงงาน ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม และผู้ประกอบการรายย่อย (ภาพที่ 2) ตลอดจนหาแนวทางป้องกันน�ำ้ ท่วมในอนาคต และให้ขอ้ มูลแก่ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมเพือ่ สนับสนุนการตัดสินใจ ในการลงทุนและวางแผนการด�ำเนินงานต่อไป และเร่งเสริมสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักลงทุนและผู้ประกอบการ ซึ่งในที่นี้กล่าว ถึงเฉพาะในส่วนของบทบาทรัฐบาลที่มีต่อผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทั้งรายใหญ่จนถึงรายย่อย (L&SMEs) และความคืบหน้า ในการสร้างแนวป้องกันน�้ำท่วมในนิคมต่าง ๆ ที่ได้รับความเสียหายเมื่อปลายปี 2554 ดังแสดงในตารางที่ 1 ภาพที่ 2 ภาคส่วนต่าง ๆ ที่ประสบอุทกภัยและรัฐบาลเข้ามาบรรเทาเยียวยา

52


ตารางที่ 1 แสดงบทบาทความช่วยเหลือจากภาครัฐบาลต่อผู้ประกอบการอุตสาหกรรมรายใหญ่ และ SMEs ความช่วยเหลือจากรัฐบาลต่อผู้ประกอบการอุตสาหกรรม

ความช่วยเหลือจากรัฐบาลต่อผู้ประกอบการรายย่อย

1) ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ ส�ำหรับนิคม/เขตประกอบการ/สวนอุตสาหกรรมทั้ง 7 แห่ง และสถานประกอบการอุตสาหกรรม เพื่อฟื้นฟูให้สามารถด�ำเนิน กิจการได้เร็วที่สุด 2) การให้สทิ ธิประโยชน์การส่งเสริมการลงทุนและผ่อนผันเงือ่ นไข อาทิ ให้สทิ ธิ 1) เร่งรัดให้บริษัทประกันจ่ายค่าสินไหมทดแทนอย่างรวดเร็ว ยกเว้นอากรขาเข้าส�ำหรับเครื่องจักรที่น�ำเข้ามาเพื่อทดแทนเครื่องจักรที่ เสียหายจากเหตุอทุ กภัย รวมทัง้ สามารถเพิม่ ก�ำลังการผลิตในคราวเดียวกัน 3) การช่วยเหลือทางด้านการเงิน โดยประสานงานกับสถาบันการเงินต่าง ๆ ได้แก่ ธ.กรุงไทย ธ.ออมสิน ธ.อิสลามฯ EXIM Bank บสย. โดยมีแนวทาง ช่วยเหลือลูกหนี้ ดังนี้ - พักหนี้ช�ำระเงินต้น และ/หรือดอกเบี้ยชั่วคราว - สินเชื่อหมุนเวียนเพื่อการส่งออก - สินเชื่อธุรกิจและเงินทุนหมุนเวียน - พักช�ำระค่าธรรมเนียมค�้ำประกัน - สินเชื่อเพื่อพัฒนาระบบป้องกันอุทกภัย

2) การช่วยเหลือทางด้านการเงิน โดยประสานงานกับสถาบันการเงินต่าง ๆ ได้แก่ ธ.กรุงไทย ธ.ออมสิน ธ.อิสลามฯ EXIM Bank บสย. ซึ่งได้ให้ ความช่วยเหลือ ดังนี้ - พักหนี้ช�ำระเงินต้น และ/หรือดอกเบี้ยชั่วคราว - สินเชื่อหมุนเวียนเพื่อการส่งออก - สินเชื่อธุรกิจและเงินทุนหมุนเวียน - พักช�ำระค่าธรรมเนียมค�้ำประกัน - ค�้ำประกันสินเชื่อเพื่อฟื้นฟูธุรกิจ

4) ให้สทิ ธิเฉพาะสถานประกอบการทีป่ ระสบอุทกภัยกูเ้ งินจากกองทุนประกัน 3) ให้สิทธิเฉพาะสถานประกอบการที่ประสบอุทกภัยกู้เงินจากกองทุนประกัน สังคมเพื่อซ่อมแซม รายละไม่เกิน 1 ล้านบาท ดอกเบี้ยร้อยละ 3 ต่อปี คงที่ สังคมเพื่อซ่อมแซม รายละไม่เกิน 1 ล้านบาท ดอกเบี้ยร้อยละ 3 ต่อปี คงที่ 3 ปี 3 ปี 5) การช่วยเหลือด้านภาษี 5.1) ยกเว้ น PIT และ CIT ส� ำ หรั บ เงิ น ชดเชยจากภาครั ฐ เท่ า กั บ ความเสียหายทีไ่ ด้รบั ส�ำหรับผูล้ งทะเบียนไว้กบั หน่วยงานรัฐ/ส�ำหรับ เงิ น หรื อ ราคาทรั พ ย์ สิ น ที่ ไ ด้ รั บ บริ จ าคเพื่ อ ชดเชยความเสี ย หาย ซึ่งไม่เกินมูลค่าความเสียหายที่ได้รับ 5.2) ยกเว้น CIT ส�ำหรับค่าสินไหมทดแทนที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วน นิตบิ คุ คลได้รบั จากบริษทั ประกันเฉพาะส่วนทีเ่ กินมูลค่าของทรัพย์สนิ ที่เสียหาย 5.3) เงินบริจาค หักภาษีได้ 1.5 เท่า 5.4) ยกเว้น VAT ส�ำหรับผู้ประกอบการจดทะเบียน VAT ที่น�ำสินค้าไป บริจาคเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย 5.5) ขยายเวลาการยื่ น แบบแสดงรายการภาษี ส รรพากรส� ำ หรั บ ผู้ประกอบการในพื้นที่ประสบอุทกภัย 5.6) ขยายก�ำหนดเวลาช�ำระภาษีสรรพสามิตส�ำหรับผูป้ ระกอบการในพืน้ ทีฯ่ 5.7) ขยายเวลาการส่งออกสิง่ ของทีข่ อคืนอากรตามมาตรา 19 ทวิ ออกไป อีก 6 เดือน ส�ำหรับผู้ประกอบการในพื้นที่ฯ โดยการน�ำเข้าวัตถุดิบที่ มีช่วงเวลาไม่เป็นไปตามข้างต้น หากไม่สามารถส่งออกได้ภายใน 1 ปี นับแต่วันน�ำเข้า ให้น�ำของเข้ายื่นค�ำร้องขอขยายเวลาส่งออกต่อ กรมศุลฯ ได้

4) การช่วยเหลือด้านภาษี 4.1) ยกเว้น PIT และ CIT ส�ำหรับเงินชดเชยจากภาครัฐเท่ากับความเสียหาย ที่ได้รับ ส�ำหรับผู้ลงทะเบียนไว้กับหน่วยงานรัฐ/ส�ำหรับเงินหรือราคา ทรัพย์สินที่ได้รับบริจาคเพื่อชดเชยความเสียหาย ซึ่งไม่เกินมูลค่า ความเสียหายที่ได้รับ 4.2) ยกเว้น CIT ส�ำหรับค่าสินไหมทดแทนทีบ่ ริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ คุ คล ได้รับจากบริษัทประกันเฉพาะส่วนที่เกินมูลค่าของทรัพย์สินที่เสียหาย 4.3) เงินบริจาค หักภาษีได้ 1.5 เท่า 4.4) ยกเว้น VAT ส�ำหรับผูป้ ระกอบการจดทะเบียน VAT ทีน่ ำ� สินค้าไปบริจาค เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย 4.5) ขยายเวลาการยื่ น แบบแสดงรายการภาษี ส รรพากรส� ำ หรั บ ผู้ประกอบการในพื้นที่ประสบอุทกภัย

6) การลดค่าสาธารณูปโภค สาธารณูปการ จาก กฟน. กฟภ. กปภ. TOT และ กสท. 5) การช่วยเหลืออื่น ๆ - กรณีเช่าอาคารราชพัสดุ หากผลกระทบฯ ท�ำให้ผู้เช่าไม่สามารถประกอบ 7) การบริการช่วยเหลือผู้ประกอบการในเขตประกอบการเสรีในนิคมฯ อาชีพได้ตามปกติเกิน 3 วัน ได้รับการยกเว้นการเรียกเก็บค่าเช่า 1 เดือน - อ�ำนวยความสะดวกในการขนย้ายเครื่องจักรและอุปกรณ์ ออกนอกเขต - จั ด Business Matching ระหว่ า งผู ้ ป ระกอบการที่ เ สี ย หายกั บ ประกอบการฯ ผู้ประกอบการที่จ�ำหน่ายวัสดุก่อสร้างและเครื่องจักรอุปกรณ์ - อ�ำนวยความสะดวกด้านพิธกี ารศุลกากร โดยให้ผปู้ ระกอบการแจ้งสถานที่ - สถานประกอบการจ่ายค่าจ้างไม่น้อยกว่า 75% ของค่าจ้างปกติ และท�ำ ชั่วคราวที่ขนย้ายเครื่องจักร อุปกรณ์ หรือสถานที่ชั่วคราวที่ประกอบ MOU ว่าจะไม่เลิกจ้าง โดยรัฐบาลช่วยจ่ายสมทบให้คนละ 2 พันบาท/เดือน กิจการ และสามารถประกอบกิจการและปฏิบตั พิ ธิ กี ารศุลกากรตามปกติ เวลา 3 เดือน - การฟื้นฟูสถานประกอบการ SMEs ที่อยู่นอกนิคมฯ เพื่อให้สามารถ 8) การอนุญาตน�ำคนต่างด้าวเข้ามาอยู่และท�ำงานภายใต้กฎหมาย กนอ. ด�ำเนินการเข้าสู่ระบบปกติโดยเร็วที่สุด

ที่มา : กระทรวงการคลัง รวบรวมโดย สศค.

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

53


ทั้งนี้นอกจากบทบาทความช่วยเหลือด้านการให้สิทธิประโยชน์ด้านการลงทุน การช่วยเหลือด้านการเงินและภาษี และ การลดค่าสาธารณูปโภคแล้ว รัฐบาลยังช่วยเหลือผูป้ ระกอบการในนิคมอุตสาหกรรมทีถ่ กู น�ำ้ ท่วมทัง้ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดปทุมธานี โดยในที่ประชุมคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบวงเงินสนับสนุนการก่อสร้างคันกั้นน�้ำถาวรประมาณ 2 ใน 3 ของวงเงินก่อสร้างรวม แก่ผู้ประกอบการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมที่ประสบภาวะน�้ำท่วม 7 แห่ง ใน 2 จังหวัดดังกล่าว วงเงิน 3,236.69 ล้านบาท3 จากประมาณการงบประมาณการก่อสร้างรวม 5,512.91 ล้านบาท (ดูตารางที่ 2 ประกอบ) โดยในส่วนของ รายละเอียดการก่อสร้างเขื่อนและความคืบหน้ามีดังนี้ ตารางที่ 2 แสดงงบประมาณในการก่อสร้างเขื่อนรอบนิคมอุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยปลายปี 2554 Seq. 1 2 3 4 5 6

Areas Saharattananakorn Industrial Estate Hi-tech Industrial Park Bangpa-in Industrial Estate Rojana Industrial Park Navanakorn Industrial Estate Bangkra-di Industrial Park Total

Budget Amount (Mil. Baht)

Contractor

339.05 - 492.43 Sino-Thai 474.02 Ch-karnchang 2,145.16 Italian-Thai 1,058.93 Italian-Thai 345.16 Thai Piling Rig 5,512.91 -

Starting Date Scheduled Completion - 1-Feb-12 1-Feb-12 20-Feb-12 15-Feb-12 2-Mar-12 -

- 31-Aug-12 31-Dec-12 31-Aug-12 31-Aug-12 31-Aug-12 -

Government Subsidy (Mil. Baht) 226.030 328.288 316.011 1,430.303 705.955 230.107 3,236.694

ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)

1) สหรัตนนคร : การก่อสร้างเขือ่ นมีความยาวโดยประมาณ 7.21 กิโลเมตร ใช้งบประมาณการก่อสร้างตามแบบมาตรฐาน 339.05 ล้านบาท ได้รบั การสนับสนุนจากภาครัฐ 226.03 ล้านบาท โดยมีบริษทั สหรัตนนคร จ�ำกัด เป็นผูบ้ ริหารแผนฟืน้ ฟูกจิ การฯ โดยท�ำคันดินระยะ 6 กิโลเมตร (ซึ่งเป็นคันดินแบบชั่วคราวในระยะแรก และจะท�ำเป็นแนวเขื่อนถาวรภายหลังจากปี 2555) เพื่อป้องกันเฉพาะส่วนที่เป็นโรงงานอุตสาหกรรม ด้วยการลงฐานดินเหนียว เสร็จแล้วจะใช้ลูกรังบดอัดอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งคาดว่าใน ช่วงปลายเดือนตุลาคม 2555 จะแล้วเสร็จ 2) โรจนะ : การก่อสร้างเขื่อนมีความยาวโดยประมาณ 75 กิโลเมตร ใช้งบประมาณการก่อสร้างตามแบบมาตรฐาน 2,145.455 ล้านบาท ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ 1,430.303 ล้านบาท เริ่มด�ำเนินการก่อสร้างเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2555 3) บ้านหว้า (ไฮเทค) : การก่อสร้างเขื่อนมีความยาวโดยประมาณ 11.03 กิโลเมตร ใช้งบประมาณการก่อสร้างตามแบบ มาตรฐาน 492.432 ล้านบาท ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ 328.288 ล้านบาท เริ่มด�ำเนินการก่อสร้างเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2555 4) บางปะอิน : การก่อสร้างเขือ่ นมีความยาวโดยประมาณ 9.89 กิโลเมตร ใช้งบประมาณการก่อสร้างตามแบบมาตรฐาน 474.016 ล้านบาท ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ 316.011 ล้านบาท เริ่มด�ำเนินการก่อสร้างเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2555 5) นวนคร : การก่อสร้างเขื่อนมีความยาวโดยประมาณ 18 กิโลเมตร ใช้งบประมาณการก่อสร้างตามแบบมาตรฐาน 1,058.933 ล้านบาท ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ 705.955 ล้านบาท เริ่มด�ำเนินการก่อสร้างเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2555 6) บางกะดี : การก่อสร้างเขื่อนมีความยาวโดยประมาณ 9.12 กิโลเมตร ใช้งบประมาณการก่อสร้างตามแบบมาตรฐาน 345.16 ล้านบาท ได้รบั การสนับสนุนจากภาครัฐ 230.107 ล้านบาท เริม่ ด�ำเนินการก่อสร้างเมือ่ วันที่ 2 มีนาคม 2555 เพือ่ ท�ำเขือ่ น กั้นน�้ำสูงเหนือระดับน�้ำทะเล 5 เมตร สูงจากปี 2554 ประมาณ 70 เซนติเมตร (จากข้อมูลน�้ำท่วมปี 2554 บริเวณนี้ถูกน�้ำท่วมสูง ถึง 4.3 เมตร) นอกจากนี้ เมือ่ เดือนกรกฎาคม 2555 คณะกรรมการกลัน่ กรองเศรษฐกิจได้ตกลงอนุมตั งิ บ 3,500 ล้านบาท ให้การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) กูเ้ งิน สร้างเขื่อนให้นิคมอุตสาหกรรม 6 แห่ง ที่จะมีความเสี่ยงน�้ำท่วม (เนื่องจากเขื่อนที่มีอยู่เดิมไม่แข็งแรงและมีความสูงไม่เพียงพอในการป้องกันน�้ำท่วม) โดย กนอ. สามารถกู้เงินในอัตราพิเศษจาก ธ.ออมสิน และบริหารจัดการเอง เพื่อใช้ในการจัดสร้างเขื่อนป้องกันนิคมอุตสาหกรรมที่เสี่ยงต่อการถูกน�้ำท่วมทั้ง 6 แห่ง ความยาวก�ำแพงรวม 66.7 กิโลเมตร ประกอบด้วย นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง บางชัน บางปู บางพลี สมุทรสาคร และพิจิตร ที่มีมูลค่าทรัพย์สินรวม 6 แห่ง เท่ากับ 350,000 ล้านบาท

3

54


ทั้งนี้หากพิจารณาความคืบหน้าการก่อสร้างเขื่อนในเขตนิคมอุตสาหกรรมที่ตั้งอยู่บริเวณจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและ จังหวัดปทุมธานี จ�ำนวน 5 แห่ง (ยกเว้นสหรัตนนคร) พบว่า ปัจจุบันค่อนข้างมีความพร้อมที่จะรับน�้ำได้เต็มที่ โดยมีการด�ำเนิน งานเฉลี่ยเป็นไปตามแผนประมาณร้อยละ 90 ซึ่งเหลือเพียงเก็บรายละเอียดงานก่อสร้างบางส่วน ส�ำหรับในส่วนของนิคม สหรัตนนครมีความล่าช้ากว่าแผน เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในข้อตกลงบางส่วน รัฐบาลจึงได้อนุมัติเงินงบประมาณส่วนหนึ่ง มาให้นิคมอุตสาหกรรมแห่งนี้ด�ำเนินการก่อสร้างก�ำแพงกั้นน�้ำชั่วคราวที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ (Flood Wall) ความยาวรวม 6 กิโลเมตร โดยปัจจุบันมีความคืบหน้าในการก่อสร้างกว่าร้อยละ 30

ความคืบหน้าในส่วนของการกลับมาผลิตของโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมทั้ง 7 แห่ง จากข้อมูลล่าสุดพบว่ามีโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมที่ถูกน�้ำท่วม 839 แห่ง เริ่มผลิตได้ทั้งหมด 357 แห่ง ผลิตบางส่วน 306 แห่ง รวม 663 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 79 ของโรงงานทั้งหมด (ภาพที่ 3) อย่างไรก็ดี จ�ำนวนโรงงานที่สามารถกลับมาผลิตได้มี จ�ำนวนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งนี้คาดว่าภายในไตรมาสที่ 3 ปีนี้ โรงงานในนิคมฯ จะเริ่มผลิตได้ร้อยละ 904 ภาพที่ 3 แสดงการเพิ่มจ�ำนวนอย่างต่อเนื่องของจ�ำนวนโรงงานที่สามารถกลับมาผลิตได้ (Resume the Operation Already) นับจากต้นปี 2555

ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)

อย่างไรก็ตาม จ�ำนวนโรงงานที่กลับมาผลิตจะไม่ครบเต็มจ�ำนวนเท่าเดิม เนื่องจากมีโรงงานที่ย้ายหรือปิดกิจการรวม จ�ำนวนทั้งสิ้น 59 แห่ง โดยอยู่ในเขตประกอบการโรจนะ บ้านหว้า (ไฮเทค) นวนคร สหรัตนนคร บางกะดี และบางปะอิน เขตละ 29 13 8 5 3 และ 1 แห่ง ตามล�ำดับ ทั้งนี้ โรงงานที่ย้ายออกจากนิคมอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ไปอยู่ที่ภาคตะวันออก ซึ่งท�ำให้การ ขายหรือเช่าที่ดินของนิคมอุตสาหกรรมในภาคตะวันออกขยายตัวมากขึ้น เช่น นิคมอุตสาหกรรมอมตะ ฯลฯ อย่างไรก็ดี จ�ำนวน โรงงานที่ย้ายหรือปิดกิจการคิดเป็นร้อยละ 7.0 ของจ�ำนวนโรงงานทั้งหมด ทั้งนี้บางส่วนของโรงงานที่ปิดกิจการเนื่องจากประสบ ปัญหาทางธุรกิจอยูแ่ ล้ว จึงไม่นา่ มีผลกระทบต่อการฟืน้ ตัวในภาพรวม ขณะเดียวกันเมือ่ พิจารณาโรงงานขนาดใหญ่และวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ที่ประสบอุทกภัย ซึ่งตั้งอยู่นอกเขตนิคมอุตสาหกรรม ขณะนี้มีโรงงาน สถานประกอบการ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ และวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม เปิดด�ำเนินการแล้ว 7,783 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.61 ของสถาน ประกอบการทั้งหมด 7,893 ราย โดยปัจจุบันมีผู้ประกอบการในนิคมสหรัตนนครเปิดด�ำเนินการกว่า 20 โรง และส่วนที่เหลือยังอยู่ระหว่างการปรับปรุง การเคลมจากบริษัทประกัน และ ผู้ประกอบการอยู่ระหว่างการตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่องน�้ำในปี 2555 โดยมีบางโรงงานเคลื่อนย้ายไปอยู่ในที่ปลอดภัยเป็นบางส่วน แต่ยังไม่พบการย้ายฐานการผลิต ไปตั้งในต่างประเทศ

4

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

55


แผนแม่บทการบริหารจัดการน�้ำ (Action Plan of Water Management) รัฐบาลได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของปัญหาน�้ำท่วมดังกล่าวที่ได้ส่งผลกระทบไปยังทุกภาคส่วน จึงได้แต่งตั้งคณะ กรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน�้ำ5 ขึ้น ซึ่งได้จัดท�ำแผนแม่บทในการบริหารจัดการน�้ำอย่าง ยัง่ ยืน ทัง้ แผนระยะเร่งด่วนและแผนระยะยาว เพือ่ ให้การพัฒนาประเทศเป็นไปอย่างต่อเนือ่ งและไม่เกิดการหยุดชะงักจากปัญหา น�้ำท่วมและน�้ำแล้งในอนาคต ทั้งนี้แผนแม่บทการบริหารจัดการน�้ำ ประกอบด้วย 8 แผนงานหลัก และ 2 แผนปฏิบัติการ6 โดยมีสาระส�ำคัญของแผนงานหลัก (รายละเอียดงบประมาณแสดงในตารางที่ 3) ได้แก่ ตารางที่ 3 แสดงรายละเอียดแผนแม่บทการบริหารจัดการน�้ำ

ที่มา : คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบบริหารจัดการทรัพยากรน�้ำ (กยน.) รวบรวมโดย สศค.

1) แผนงานฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าและระบบนิเวศ 2) แผนงานบริหารจัดการเขื่อนเก็บน�้ำหลัก และจัดท�ำแผนบริหารจัดการน�้ำของประเทศประจ�ำปี 3) แผนงานฟื้นฟูและปรับปรุงประสิทธิภาพสิ่งก่อสร้างเดิมหรือตามแผนที่วางไว้เพื่อป้องกันและบรรเทาปัญหาน�้ำท่วม 4) แผนงานพัฒนาคลังข้อมูล ระบบพยากรณ์ และเตือนภัย โดยการพัฒนาระบบข้อมูลสร้างแบบสถานการณ์สมมติโดย ใช้หลักวิชาการและองค์กรในการบริหารจัดการน�้ำและการเตือนภัยที่มีประสิทธิภาพ 5) แผนงานเผชิ ญ เหตุ เ ฉพาะพื้ น ที่ เพื่ อ ให้ มี ค วามสามารถในการเตรี ย มพร้ อ มป้ อ งกั น บรรเทาปั ญ หาน�้ ำ ท่ ว ม โดยการพัฒนาระบบป้องกัน บรรเทาน�้ำท่วมในพื้นที่ที่มีความส�ำคัญ 6) แผนงานก�ำหนดพืน้ ทีร่ บั น�ำ้ นอง และมาตรการช่วยเหลือผูท้ ไี่ ด้รบั ผลกระทบจากการใช้พนื้ ทีเ่ พือ่ การรับน�ำ้ โดยก�ำหนด พื้นที่แก้มลิงในเขตเจ้าพระยาตอนบนและเจ้าพระยาตอนล่าง 7) แผนงานปรับปรุงองค์กรเพือ่ บริหารจัดการน�ำ้ จัดให้มอี งค์กรบริหารจัดการน�ำ้ แบบผสมผสาน ท�ำหน้าทีว่ างแผน ก�ำกับ ดูแล ติดตาม ประเมินผล ปรับปรุงกฎระเบียบและสามารถตัดสินใจได้อย่างฉับพลันในลักษณะเบ็ดเสร็จ เด็ดขาด ในภาวะฉุกเฉิน หรือเมื่อเกิดวิกฤตน�้ำท่วม คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบบริหารจัดการทรัพยากรน�้ำ (กยน.) เป็นคณะกรรมการหนึ่งในสองชุดที่รัฐบาลแต่งตั้งหลังเหตุการณ์น�้ำท่วมใหญ่ใน ประเทศไทย พ.ศ. 2554 มีภารกิจเพื่อวางระบบบริหารจัดการน�้ำของประเทศในระยะยาว โดยท�ำงานภายใต้ "ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยยุทธศาสตร์เพื่อ วางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน�้ำ พ.ศ. 2554” โดย กยน.มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Strategic Committee for Water Resources Management (SCWRM) 6 แผนปฏิบัติการในแผนแม่บทการบริหารจัดการน�้ำ ได้แก่ (1) แผนปฏิบัติการเพื่อบรรเทาปัญหาอุทกภัยระยะเร่งด่วน และ (2) แผนปฏิบัติการบรรเทาอุทกภัยใน พื้นที่ลุ่มน�้ำแบบบูรณาการและยั่งยืน (กรณีลุ่มน�้ำเจ้าพระยา) 5

56


8) แผนงานสร้างความเข้าใจ การยอมรับ และการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการอุทกภัยขนาดใหญ่ของทุกภาคส่วน เพื่อสร้างความร่วมมือในการด�ำเนินการรับมือกับน�้ำท่วมของทุกภาคส่วน และสร้างขีดความสามารถในการจัดการน�้ำท่วมให้ สามารถรับมือกับน�้ำท่วมได้อย่างเหมาะสม ภาพที่ 4 แสดงสัดส่วนการลงทุนภาครัฐต่อ GDP และสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรวม

ที่มา : ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจทีเอ็มบี (TMB Analytics)

• ทั้งนี้การเพิ่มสัดส่วนการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ณ ปัจจุบันมีความเหมาะสม เพราะผลกระทบจาก การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกกระทบการส่งออก ดังนั้น การขับเคลื่อนเศรษฐกิจก็ต้องอาศัยเครื่องยนต์อีก 3 ตัวที่เหลือ คือ การบริโภคภายในประเทศและการลงทุนของภาครัฐบาลและภาคเอกชน ขณะทีใ่ นช่วงหลายปีทผี่ า่ นมาการลงทุนของภาครัฐทีค่ วรจะ เป็นตัวกระตุน้ เศรษฐกิจหรือพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานของประเทศมีสดั ส่วนทีน่ อ้ ยมาก (โดยในช่วงปี 2546-2551 การลงทุนภาครัฐ มีสดั ส่วนเฉลีย่ เพียงร้อยละ 6.8 ของ GDP ลดลงอย่างชัดเจนเมือ่ เทียบกับช่วงก่อนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 ทีม่ สี ดั ส่วนเฉลีย่ ใน ช่วงปี 2536-2540 ที่ร้อยละ 11.6 ของ GDP และแม้แต่ช่วงหลังวิกฤตเศรษฐกิจปี 2541-2545 ที่มีสัดส่วนร้อยละ 8.4 ของ GDP ขณะที่ในปี 2554 สัดส่วนการลงทุนภาครัฐได้ลดลงไปอีกอยู่ที่ร้อยละ 5.5 ของ GDP) (ภาพที่ 4 ) นอกจากนี้เหตุการณ์ อุทกภัยในช่วงปลายปี 2554 ส่งผลให้เกิดการหยุดชะงักในกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่าง ๆ และกระทบต่อเนื่องให้การลงทุนภาครัฐ แผ่วลงไป อย่างไรก็ดี ส�ำหรับเศรษฐกิจไทยในปี 2556 ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) คาดการณ์ (ณ เดือนกันยายน 2555) ว่า เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง โดยมีช่วงคาดการณ์การขยายตัวของ GDP ที่ร้อยละ 4.7–5.7 โดยมีแรงขับ เคลือ่ นหลักจากอุปสงค์ภาครัฐ อันมีปจั จัยสนับสนุนจากการเบิกจ่ายตามแผนบริหารจัดการน�ำ้ ในระยะยาวของภาครัฐวงเงินลงทุน รวม 3.5 แสนล้านบาท7 ทีค่ าดว่าจะเริม่ ทยอยลงทุนได้มากขึน้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 นอกจากนีใ้ นระยะต่อไปรัฐบาลมีแผน จะเสนอร่างพระราชบัญญัติกู้เงินเพื่อลงทุนโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ เพื่อใช้ในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศใน ระยะปานกลางถึงยาว (5-7 ปี) โดยในแผนดังกล่าวจะบรรจุการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จ�ำเป็นรวมถึงโครงการรถไฟความเร็ว สูง ทางด่วนมอเตอร์เวย์เพือ่ เปิดประตูสทู่ วาย โครงการรถไฟรางคู่ การขยายสนามบินในต่างจังหวัด การขยายสนามบินสุวรรณภูมิ การขยายท่าเรือแหลมฉบัง ตลอดจนโครงการท�ำถนนเลียบชายฝัง่ หรือโครงการแหลมผักเบีย้ โดยประเมินว่าจะใช้เงินกูใ้ นประเทศ ส่วนหนึง่ เพราะสภาพคล่องในประเทศมีสงู ซึ่งอาจมีแนวทางระดมทุนจากประชาชนทีต่ อ้ งการเป็นเจ้าของโครงการด้วยการออก พันธบัตร หรืออาจจะเป็นการให้เอกชนมาร่วมทุนในโครงการของรัฐ (Public-Private Partnership : PPP) ทัง้ นีร้ า่ งพระราชบัญญัติ กู้เงินฉบับดังกล่าวเป็นการกระจายการกู้เงินออกไปตามความต้องการใช้เงินในโครงการต่าง ๆ ในแต่ละปี8 วงเงิน 3.5 แสนล้านบาท มีหน่วยงานที่รับผิดชอบหลักด้วยกัน 2 หน่วยงาน คือ (1) คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน�้ำ (กยน.) แบ่งออกเป็น วงเงิน 3.0 แสนล้านบาท ใช้สำ� หรับลุม่ น�ำ้ เจ้าพระยา (ดังแสดงในตารางที่ 3) และ 4.0 หมืน่ ล้านบาท ใช้กบั 17 ลุม่ น�ำ ้ แบบบูรณาการและยัง่ ยืน (ระยะ ยาว) ในพื้นที่ต้นน�้ำ กลางน�้ำ และปลายน�้ำ และ (2) คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (กยอ.) วงเงิน 1.0 หมื่นล้านบาท ใช้ส�ำหรับ โครงการปรับปรุงน�้ำท่วม ทั้งนี้รายละเอียดในการกู้ยืมจ�ำนวนเงินดังกล่าว ขั้นตอนอยู่ที่ สศช. (ยังไม่เปิดเผยให้กับหน่วยงานภายนอก) 8 ภาครัฐมีแผนการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานตั้งแต่ปี 2555-2561 เป็นเงินรวม 2,274,359 ล้านบาท โดยเป็นการลงทุนจากรัฐบาล 1,422,822 ล้านบาท (ร้อยละ 62.6) และรัฐวิสาหกิจ 851,537 ล้านบาท (ร้อยละ 37.4) โดยในจ�ำนวนนี้เป็นแหล่งเงินทุนจากโครงการที่เป็นความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน (Public-Private Partnership : PPP) 310,822 ล้านบาท หรือร้อยละ 13.7 ของวงเงินลงทุนรวม (ที่มา : สัมมนาวิชาการ ประจ�ำปี 2555 : 24-25 กันยายน 2555 เรื่อง Choosing the Right Financial System for Growth โดยธนาคารแห่งประเทศไทย) 7

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

57


บทวิเคราะห์ เรื่อง แนวทางการพัฒนาการจัดจ�ำหน่ายกองทุนรวมของไทย (ตอนที่ 1) 1

บทสรุปผู้บริหาร จากปัญหาด้านช่องทางการจัดจ�ำหน่ายกองทุนรวมของแต่ละบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนที่ ไม่สามารถเข้าถึงผูล้ งทุนได้อย่างเท่าเทียม ประกอบกับบริการการให้คำ� ปรึกษาการลงทุนจากเจ้าหน้าทีก่ ารตลาด ของบริษัทหลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน และธนาคารพาณิชย์ยังมีปัญหาทั้งในเชิงคุณภาพและ ความขัดแย้งเชิงผลประโยชน์ อีกทั้งผู้ลงทุนส่วนมากยังขาดความรู้ความเข้าใจด้านการเงินการลงทุน จึงท�ำให้ ผูล้ งทุนมีความเสีย่ งทีจ่ ะมีพฤติกรรมเอนเอียงในการตัดสินใจลงทุน และอาจท�ำให้ผลู้ งทุนไม่สามารถเลือกลงทุน ในผลิตภัณฑ์ทสี่ อดคล้องกับความต้องการของตนเอง ส่งผลให้ผลู้ งทุนไม่ได้รบั ประโยชน์จากการลงทุนเท่าทีค่ วร ❍❍ แนวทางแก้ไขจึงควรด�ำเนินการปรับปรุงช่องทางการจัดจ�ำหน่ายให้การเข้าถึงสินค้าและบริการ เป็นไปอย่างเท่าเทียมยิ่งขึ้น พร้อมทั้งส่งเสริมการให้ค�ำปรึกษาที่มีคุณภาพ ก�ำหนดมาตรการเพื่อบรรเทาและ จัดการกับความขัดแย้งเชิงผลประโยชน์ ตลอดจนพัฒนาความรู้และความสามารถในการตัดสินใจลงทุนของ นักลงทุนไทยไปพร้อมกัน ❍❍

1. บทน�ำ กองทุนรวมเป็นช่องทางหลักช่องทางหนึ่งในการออมและการลงทุนของประชาชนผ่านตลาดทุน ที่ผ่านมาขนาดของ กองทุนรวมไทยเติบโตสูงขึ้นอย่างมากจากร้อยละ 7.5 ของ GDP ในปี 2543 เป็นร้อยละ 19.7 ในปี 2554 และในอนาคตจะมี ความส�ำคัญต่อระบบเศรษฐกิจไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย (Aging Society) อย่างสมบูรณ์2 จึงมีความจ�ำเป็นในการออมสูงขึ้น โดยในปี 2552 ประเทศไทยมีผู้สูงอายุเป็นสัดส่วนร้อยละ 11.5 ของ ประชากรทัง้ หมด และคาดว่าจะเพิม่ สูงขึน้ เป็นร้อยละ 25.2 ในปี 2573 ทัง้ นี้ การหวังพึง่ สวัสดิการและระบบการออมเพือ่ การเกษียณ อายุของภาครัฐเพียงอย่างเดียวคงจะไม่เพียงพอ ดังนัน้ การส่งเสริมกองทุนรวมให้เป็นช่องทางการออมทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โดยผูอ้ อม ผู้ลงทุนสามารถรับประโยชน์สูงสุดจากการซื้อหน่วยลงทุนตามแผนการออมและการลงทุนที่สอดคล้องกับความต้องการของ แต่ละบุคคลได้ จึงเป็นสิ่งที่หน่วยงานก�ำกับดูแลและหน่วยงานภาครัฐควรให้ความส�ำคัญ อย่างไรก็ตาม งานศึกษาของ สรายุทธ์ (2553)3 ชี้ให้เห็นถึงลักษณะเด่นบางประการของอุตสาหกรรมกองทุนรวมไทย (ข้อมูล ณ เดือนมิถุนายน 2553) ว่า กองทุนรวมตราสารหนี้ได้เติบโตอย่างมากในระยะหลังโดยมีขนาดสูงถึงร้อยละ 76 ของ มูลค่าสินทรัพย์ภายใต้การบริหาร (Asset Under Management : AUM) ทั้งหมด ซึ่งการเติบโตของกองทุนรวมตราสารหนี้ ดังกล่าว ร้อยละ 44 กระจุกตัวอยู่ในกองทุนรวมตราสารหนี้ที่มีลักษณะคล้ายเงินฝาก (Money market fund) และส่วนแบ่ง การตลาดของกองทุนรวมตราสารหนี้ร้อยละ 95 กระจุกตัวอยู่ในกลุ่มบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน (บลจ.) ที่อยู่ในเครือของ

ผู้เขียน : นายนรพัชร์ อัศววัลลภ เศรษฐกรช�ำนาญการ ส่วนการวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาค ส�ำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ โครงการขอยืมตัวบุคลากร เพื่อปฏิบัติงานที่สถาบันวิจัยเพื่อตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือให้ข้าราชการไปปฏิบัติงาน ระหว่างส�ำนักงาน เศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เดือนกรกฎาคมถึงเดือนตุลาคม 2554) นางสาวกุลยา ตันติเตมิท และนายพิสทิ ธิ์ พัวพันธ์ ที่ให้การสนับสนุนการจัดท�ำและเผยแพร่บทความนี้ 2 มูลนิธสิ ถาบันวิจยั และพัฒนาผูส้ งู อายุไทย (2553) อ้างถึงความหมายของสังคมผูส้ งู อายุวา่ เป็นภาวะทีม่ ผี มู้ อี ายุ 60 ปีขนึ้ ไปมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทัง้ หมด 3 สรายุทธ์ นาทะพันธ์. (2553). พัฒนาการของอุตสาหกรรมกองทุนรวมไทย : โอกาสและความท้าทายในทศวรรษหน้า. เอกสารงานวิจยั ฉบับที่ 4/2553. สถาบันวิจยั เพื่อตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.

1

58


ธนาคารพาณิชย์ ทั้ง ๆ ที่กองทุนรวมตราสารหนี้ภายใต้การจัดการของ บลจ. ในเครือธนาคารพาณิชย์มีอัตราผลตอบแทนต�่ำ กว่าและมีอัตราค่าธรรมเนียมสูงกว่า บลจ.กลุ่มอื่น ส�ำหรับกองทุนรวมตราสารทุน พบว่า แนวโน้มส่วนแบ่งการตลาดของ บลจ. ในเครือธนาคารพาณิชย์เพิ่มสูงขึ้นเช่นกัน (ร้อยละ 75 ณ เดือนมิถุนายน 2553) แม้ว่าอัตราผลตอบแทนและค่าธรรมเนียมจะมี ระดับใกล้เคียงกับกองทุนภายใต้การจัดการของ บลจ.กลุ่มอื่นก็ตาม ทั้งนี้เนื่องจากธนาคารพาณิชย์มีความได้เปรียบในเรื่อง ช่องทางการจัดจ�ำหน่ายที่เข้าถึงลูกค้า โดยการใช้สาขาของธนาคารพาณิชย์ซึ่งกระจายอยู่อย่างแพร่หลาย ประกอบกับการให้ บริการทางการเงินที่ครบวงจรเมื่อเปรียบเทียบกับ บลจ.กลุ่มอื่น ดังนั้น ปัจจัยด้านช่องทางการจัดจ�ำหน่ายหน่วยลงทุนจึงเป็นปัจจัยหลักส�ำคัญที่น�ำมาสู่ข้อกังวลเกี่ยวกับการพัฒนา อุตสาหกรรมกองทุนรวมไทยว่า ทุกวันนีป้ ระชาชนผูซ้ อื้ หน่วยลงทุนได้รบั ประโยชน์สงู สุดจากกองทุนรวมหรือไม่ และในระยะยาว หาก บลจ. ในเครือธนาคารพาณิชย์ซงึ่ เน้นผลิตภัณฑ์กองทุนรวมตราสารหนีเ้ ติบโตมากขึน้ ในขณะที่ บลจ.กลุม่ อืน่ ซึง่ เน้นผลิตภัณฑ์ ประเภทนวัตกรรมใหม่กลับอยู่ในสภาพถดถอยอย่างต่อเนื่อง จะท�ำให้การพัฒนาตลาดทุนไทยโดยรวมขาดมิติด้านความหลากหลาย ของผลิตภัณฑ์ซึ่งเท่ากับเป็นการเพิ่มข้อจ�ำกัดของทางเลือกในการออมการลงทุนที่สอดคล้องกับความต้องการของบุคคลลง บทความฉบับนี้จึงจัดท�ำขึ้นเพื่อศึกษาหาแนวทางการพัฒนาช่องทางการจัดจ�ำหน่ายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมเพื่อ จัดการกับข้อกังวลข้างต้น โดยเริ่มจากการท�ำความเข้าใจพฤติกรรมของทั้ง บลจ. ผู้จ�ำหน่ายหน่วยลงทุน และผู้ลงทุน เพื่อชี้ให้ เห็นถึงสภาพปัญหาทีเ่ กิดขึน้ รวมถึงศึกษาประสบการณ์และแนวทางการด�ำเนินการในต่างประเทศว่า มีชอ่ งทางการจัดจ�ำหน่าย หน่วยลงทุนตลอดจนการคุม้ ครองผูล้ งทุนให้ได้รบั ประโยชน์สงู สุดจากการลงทุนได้อย่างไร และสุดท้ายจะเป็นการสรุปปัญหาและ ข้อเสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมเพื่อปรับใช้กับอุตสาหกรรมกองทุนรวมของประเทศไทย

2. ปัญหาและทางออกของการจัดจ�ำหน่ายหน่วยลงทุนกองทุนรวม : จากตลาดโลกสู่ตลาดไทย การซื้อขายหน่วยลงทุนของไทยสามารถท�ำได้ที่ บลจ. หรือตัวแทนขายที่ บลจ.แต่งตั้ง โดยตัวแทนขายเหล่านั้นต้องเป็น ผูท้ ไี่ ด้รบั ใบอนุญาตนายหน้า ค้า จัดจ�ำหน่ายหลักทรัพย์ หรือใบอนุญาตนายหน้า ค้า จัดจ�ำหน่ายหน่วยลงทุน (Limited Brokerage Dealing/Underwriting หรือ LBDU) ซึ่งส่วนใหญ่มักเป็นธนาคารพาณิชย์ บริษัทหลักทรัพย์ หรือบริษัทประกันชีวิตที่เป็น บริษัทในเครือหรือเป็นพันธมิตรทางธุรกิจของ บลจ. และมีพนักงานหรือผู้แนะน�ำการลงทุนที่ได้รับการขึ้นทะเบียนกับส�ำนักงาน คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และปฏิบัตติ ามหลักเกณฑ์และมาตรฐานการปฏิบตั งิ านที่ ก.ล.ต. ก�ำหนด4 อย่างไรก็ตาม ยังมีปัญหาที่แฝงอยู่ในกระบวนการจัดจ�ำหน่ายซึ่งอาจแยกพิจารณาตามลักษณะของผู้ร่วมตลาดเป็น อย่างน้อย 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้จัดการกองทุนและผู้จัดจ�ำหน่าย และกลุ่มผู้ลงทุน โดยจะกล่าวถึงกรณีของประเทศไทยและน�ำ บทเรียนจากต่างประเทศมาแสดงประกอบ กล่าวคือ 2.1 ผู้จัดการกองทุน (Fund manager) และผู้จัดจ�ำหน่าย (Distributor) แม้ว่าผู้จัดการกองทุน ผู้จัดจ�ำหน่าย รวมถึงผู้แนะน�ำการลงทุนจะได้รับอนุญาตจากส�ำนักงาน ก.ล.ต.อย่างถูกต้อง แต่ก็ ยังมีข้อกังวลต่าง ๆ รวมถึงกรณีศึกษาในต่างประเทศที่สามารถน�ำมาเทียบเคียงได้ ดังนี้ 2.1.1 คุณภาพของการให้ค�ำปรึกษาการลงทุน เป็นสิ่งส�ำคัญเนื่องจากการลงทุนทางการเงินมีความซับซ้อนและ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อผู้ลงทุนยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการลงทุน ดังนั้น คุณภาพของการให้ค�ำปรึกษาที่ดีจะช่วยให้ ผู้ลงทุนได้รับประโยชน์จากการลงทุน สามารถลงทุนได้ถูกต้องสอดคล้องกับความต้องการของตน ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ช่วย ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกองทุนรวมให้เติบโตอย่างยั่งยืนในระยะยาว จึงมีประเด็นที่ควรพิจารณา ได้แก่ 1) คุณสมบัตขิ องทีป่ รึกษาทางการเงิน (ผูแ้ นะน�ำการลงทุน) ส�ำหรับประเทศไทยเมือ่ ต้นปี 2553 ส�ำนักงาน ก.ล.ต.ปรับ คุณสมบัตขิ องผูแ้ นะน�ำการลงทุน (ในบางกรณี) เพือ่ ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ของตลาดทุนไทยมากขึน้ โดยผ่อนผันให้ผแู้ นะน�ำ การลงทุนไม่จำ� เป็นต้องมีวฒ ุ ปิ ริญญาตรี แต่ตอ้ งสอบผ่านข้อสอบความรู้ กฎระเบียบ และมีประกาศนียบัตรต่าง ๆ ตามทีก่ ำ� หนด ตามประเภทของการขึ้นทะเบียน และต้องต่ออายุการขึ้นทะเบียนเป็นประจ�ำทุก 2 ปีและอบรมเพิ่มเติมอย่างน้อย 15 ชั่วโมง

4

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.sec.or.th

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

59


ในต่างประเทศ หากพิจารณากระแสการเปลี่ยนแปลงในเรื่องนี้จะพบว่า ภายหลังจากวิกฤตการเงินปี 2551 (ค.ศ. 2008) หน่วยงานก�ำกับดูแลทัว่ โลกตืน่ ตัวกับการออกมาตรการคุม้ ครองผูล้ งทุนมากขึน้ โดยการยกระดับมาตรฐานผูใ้ ห้คำ� ปรึกษา การลงทุนเป็นส่วนหนึ่งของชุดมาตรการดังกล่าว ส�ำหรับประเทศที่ได้รับการกล่าวถึงมากที่สุดจะเป็นประเทศอังกฤษ (ภายใต้ Retail Distribution Review : RDR ซึ่งจะกล่าวถึงในหัวข้อถัดไป) ซึ่งที่ปรึกษาทางการเงินจะต้องสอบข้อสอบตามเกณฑ์ มาตรฐานใหม่ทเี่ ข้มงวดขึน้ และมีความทันสมัยมากขึน้ โดยหากทีป่ รึกษาทางการเงินยังมีคณ ุ สมบัตไิ ม่ครบตามทีก่ ำ� หนดจะต้อง มี Qualification gap-fill เป็นส่วนเสริม โดยอาจเป็นการท�ำข้อสอบเพิ่มเติมหรือด้วยวิธีอื่นใดที่ก�ำหนดก็ได้ นอกจากนี้ ยังมีระบบ การศึกษาต่อเนื่องปีละ 35 ชั่วโมง รวมถึงการเสริมสร้างจริยธรรม (Ethics) ซึ่งเป็นส่วนที่เพิ่มขึ้นจากมาตรฐานเดิม ซึ่งเกณฑ์ที่มี การปรับปรุงใหม่นยี้ อ่ มส่งอิทธิพลให้อตุ สาหกรรมการให้ค�ำปรึกษาทางการเงินในยุโรปมีความตืน่ ตัวและเกิดการปรับตัวไปด้วยกัน ส�ำหรับในเอเชีย ยกตัวอย่างเช่น ประเทศสิงคโปร์ได้ก�ำหนดข้อสอบและการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่การตลาดเพิ่มเติมในกรณีของ ผลิตภัณฑ์ใหม่หรือผลิตภัณฑ์ที่มีความซับซ้อน เนื่องจากเป็นกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ลงทุนในช่วงวิกฤต การเงินปี 2551 (ค.ศ. 2008) 2) ความขัดแย้งเชิงผลประโยชน์ของทีป่ รึกษาทางการเงิน แม้ผแู้ นะน�ำการลงทุนจะมีความรูค้ วามเข้าใจทางการเงิน การลงทุนทีด่ ี และส�ำนักงาน ก.ล.ต.มีประกาศเกีย่ วกับมาตรฐานการปฏิบตั งิ านของผูแ้ นะน�ำการลงทุน ซึง่ ระบุให้การให้ค�ำแนะน�ำ ต้องมีความเป็นกลางและต้องค�ำนึงถึงประโยชน์ของผู้ลงทุนก็ตาม แต่ก็ยังมีข้อกังวลเกี่ยวกับแรงจูงใจจากความขัดแย้งเชิง ผลประโยชน์ (Conflict of interest) ของผูแ้ นะน�ำการลงทุนทีอ่ าจมีผลกระทบต่อคุณภาพของค�ำแนะน�ำได้ โดยอาจแบ่งพิจารณา ได้เป็น 2 ประการ คือ (1) ความไม่เป็นกลางของค�ำแนะน�ำระหว่างกองทุนแต่ละกอง และ (2) ความไม่เป็นกลางของค�ำแนะน�ำ ระหว่างกองทุนภายใต้การบริหารจัดการของแต่ละ บลจ. ประเด็นแรก แม้วา่ ส�ำนักงาน ก.ล.ต.จะออกประกาศเกีย่ วกับการเปิดเผยข้อมูลหากมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ไว้แล้วในระดับหนึ่ง อาทิ ผู้แนะน�ำการลงทุนต้องแจ้งให้ผู้ลงทุนทราบหากตนได้รับค่าธรรมเนียมการขายในอัตราที่แตกต่างกัน ระหว่างการขายกองทุนแต่ละกอง แต่ในทางปฏิบัติจะสังเกตจากข้อมูลในภาพรวมได้ว่า บลจ.ในเครือของธนาคารพาณิชย์มี พฤติกรรม Cross-selling คือพยายามขายสินค้าเพิ่มเติมให้แก่ลูกค้า เนื่องจากมีการเติบโตของกองทุนรวมที่กระจุกตัวอยู่ใน กองทุนรวมตราสารหนี้ที่มีลักษณะคล้ายเงินฝาก ประเด็นที่สอง เนื่องจากพนักงานธนาคารหรือผู้แนะน�ำการลงทุนส่วนใหญ่จะขายเฉพาะหน่วยลงทุนของกองทุนที่ อยู่ภายใต้การจัดการของบริษัทในเครือหรือกลุ่มพันธมิตร (In-house product) เท่านั้น การให้ค�ำแนะน�ำจึงมักจะถูกตีวงจ�ำกัด อยูเ่ ฉพาะในกลุม่ ของสินค้าทีข่ ายเพียงอย่างเดียว หมายความว่า ผูแ้ นะน�ำการลงทุนมีแนวโน้มทีจ่ ะไม่ยอมเสียลูกค้าให้แก่คแู่ ข่ง โดยการแนะน�ำชักชวนให้ผู้ลงทุนซื้อหน่วยลงทุนเฉพาะกองทุนรวมที่ตนเองจ�ำหน่าย แม้ว่ากองทุนภายใต้การจัดการของ บลจ. อื่นอาจมีความเหมาะสมกับผู้ลงทุนมากกว่าก็ตาม ดังนั้น การวิเคราะห์ว่ากองทุนภายใต้การจัดการของ บลจ.ใดมีความคุ้มค่า มากกว่ากันจึงตกเป็นภาระของผูล้ งทุนเพียงล�ำพัง ในขณะทีผ่ ลู้ งทุนเองอาจไม่สามารถหรือไม่พยายามแสวงหาข้อมูลรวมถึงอาจ ไม่มคี วามรูเ้ พียงพอในการวิเคราะห์เพือ่ ตัดสินใจเลือกลงทุน (แน่นอนว่า ณ จุดขายจะไม่มขี อ้ มูลของทุกกองทุนรวมไว้ให้ผลู้ งทุน ใช้ในการเปรียบเทียบ) หรือยิ่งไปกว่านั้นคือ ผู้ลงทุนอาจไม่ได้ตระหนักถึงข้อจ�ำกัดในเรื่องนี้เลยก็ได้ นอกจากนี้ แม้ว่าส�ำนักงาน ก.ล.ต.จะมีแนวปฏิบตั ใิ นการขายเพือ่ คุม้ ครองผูล้ งทุนอยูแ่ ล้วในระดับหนึง่ เช่น ห้ามเร่งรัดการตัดสินใจของผูล้ งทุน และการควบคุม พฤติกรรม Cold calling5 ฯลฯ แต่ผู้แนะน�ำการลงทุน (อาทิ พนักงานธนาคารพาณิชย์ บริษัทหลักทรัพย์) ยังมีแรงจูงใจในฐานะ พนักงานบริษัทซึ่งมักต้องท�ำยอดขายให้บรรลุตามเป้าหรือระบบแรงจูงใจของบริษัทที่วางไว้เพื่อประโยชน์ในเชิงผลตอบแทน ที่ได้รับจากบริษัท (นายจ้าง) แม้จะเป็นการท�ำยอดขายในภาพรวมของการขายกองทุนทุกประเภทก็ตาม ซึ่งอาจส่งผลให้เกิด การชักชวนให้ผู้ลงทุนซื้อหน่วยลงทุนที่ไม่สอดคล้องกับความต้องการของตนเองได้เช่นกัน6

5 6

60

การติดต่อจากผูข้ ายหน่วยลงทุนโดยไม่ได้รอ้ งขอ ซึง่ มักจะมาในรูปของการเสนอขายหรือชักชวนให้ซอื้ หน่วยลงทุนทางโทรศัพท์หรือขอเข้าพบเพือ่ การขายโดยตรง นางวรวรรณ ธาราภูมิ (อดีตนายกสมาคมบริษัทจัดการลงทุน) กล่าวถึงความไม่ถูกต้องของการให้ค�ำแนะน�ำลูกค้าในปัจจุบันว่า มีผู้แนะน�ำการลงทุนหรือผู้ขาย กองทุนบางรายพยายามแนะน�ำให้ลูกค้ากู้ยืมในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อน�ำเงินไปซื้อกองทุนรวม เช่น แนะน�ำให้ซื้อกองทุนรวมผ่านเครดิตการ์ดเพื่อรับแต้มสะสมรับ ของรางวัลและอ้างว่า อัตราดอกเบี้ยจากบัตรเครดิตซึ่งมีระดับต�่ำหรือปลอดดอกเบี้ยระยะหนึ่งจะคุ้มกับการประหยัดภาษีเงินได้ของลูกค้า โดยไม่ได้ชี้แจงให้ ลูกค้าเข้าใจถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นโดยเฉพาะความเสี่ยงที่อาจจะขาดทุนในระยะสั้น นอกจากนี้ ยังพบว่าพนักงานขายกองทุนของธนาคารต่างประเทศยังใช้ วิธีที่คล้ายคลึงกันโดยการชักชวนผ่านโทรศัพท์ให้ลูกค้าซื้อกองทุนผ่านบัตรเครดิต โดยอ้างว่าเมื่อหุ้นขึ้นจะได้ก�ำไรคุ้มค่ากับดอกเบี้ยบัตรเครดิต (ASTV ผู้จัดการ ออนไลน์, 1 มีนาคม 2554)


งานศึกษาหลายชิ้นระบุตรงกันว่า ค�ำแนะน�ำการลงทุนของผู้แนะน�ำการลงทุนหรือพนักงานธนาคารมีนัยส�ำคัญต่อ การตัดสินใจของผู้ลงทุน7 ดังนั้น เมื่อรวมทั้งสองประเด็นเข้าด้วยกันก็อาจมีข้อสงสัยว่า ผู้ลงทุนส่วนใหญ่จะได้รับประโยชน์สูงสุด จากค�ำแนะน�ำของผู้แนะน�ำการลงทุนตามเจตนารมณ์ของการก�ำกับดูแลหรือไม่ ซึ่งทุกวันนี้พบว่าการให้ค�ำปรึกษาของไทยยังมี ปัญหาด้านคุณภาพ เช่น ผูแ้ นะน�ำการลงทุนไม่มคี วามรูค้ วามเข้าใจในสินค้าเพียงพอ ไม่สามารถตอบค�ำถามผูล้ งทุนได้ ให้ขอ้ มูล ที่ท�ำให้เกิดความเข้าใจผิด หรือขายสินค้าที่ไม่ตรงกับความต้องการของผู้ลงทุน ฯลฯ8 แม้ว่าในระยะหลังส�ำนักงาน ก.ล.ต.ได้ พยายามปรับปรุงกฎเกณฑ์ด้านคุณสมบัติผู้ให้ค�ำแนะน�ำการลงทุน รวมถึงประกาศให้ผู้ลงทุนต้องท�ำ Suitability test เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการให้ค�ำแนะน�ำแต่ก็อาจยังไม่สามารถแก้ปัญหาที่กล่าวข้างต้นได้ทั้งหมด ในต่างประเทศ อันที่จริงมีหลายประเทศที่ประสบปัญหาเกี่ยวกับการให้ค�ำปรึกษาการลงทุน เนื่องจากผู้ลงทุน ไม่มีความรู้ความเข้าใจทางการเงินจึงไม่ตระหนักถึงความส�ำคัญของบริการด้านค�ำปรึกษาที่มีคุณภาพ ท�ำให้การเติบโตของ อุตสาหกรรมการให้บริการเป็นไปได้ยาก นอกจากนี้ ธนาคารพาณิชย์ซงึ่ เป็นผูเ้ ล่นหลักในตลาดมักมุง่ เน้นเฉพาะผลิตภัณฑ์ประเภท ตราสารหนี้ระยะสั้น จึงไม่มีแรงจูงใจที่จะให้ความส�ำคัญกับการให้บริการค�ำปรึกษาการเงินอีกด้วย ส�ำหรับแนวทางการแก้ไขความขัดแย้งเชิงผลประโยชน์ที่ได้รับการกล่าวถึงอย่างมากในระยะหลังนี้คงหนี้ไม่พ้น Retail Distribution Review (RDR)9 ของประเทศอังกฤษ ซึ่งจะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เป็นต้นไป มีสาระ ส�ำคัญเกี่ยวกับการแก้ปัญหาที่สาเหตุของความขัดแย้งเชิงผลประโยชน์ของผู้ให้ค�ำปรึกษาทางการเงิน (Advisor) และเปิดเผย ข้อมูลของที่ปรึกษาเพื่อให้ผู้ลงทุนตระหนักถึงข้อจ�ำกัดของบริการที่ตนได้รับ โดยแบ่งผู้ให้ค�ำปรึกษาทางการเงินเป็น 2 กลุ่มซึ่งที่ ปรึกษาทางการเงินต้องแจ้งนักลงทุนทราบอย่างชัดเจน (ทั้งโดยวาจาและลายลักษณ์อักษร) ว่า ตนเองเป็นที่ปรึกษาทางการเงิน ที่ให้ค�ำแนะน�ำแบบ Independent advice หรือ Restricted advice โดยทั้งคู่จะมีข้อบังคับในเรื่องของคุณสมบัติ (Qualification) ของที่ปรึกษาและระบบการจัดเก็บค่าธรรมเนียมที่เหมือนกัน แต่ต่างกันในแง่ความครอบคลุมคือ ค�ำแนะน�ำแบบ Independent ต้องสามารถให้คำ� แนะน�ำทีค่ รอบคลุมสินค้าทุกชนิดจากทุก บลจ. แต่คำ� แนะน�ำแบบ Restricted จะจ�ำกัดการให้บริการโดยต้อง ชี้แจงว่าจ�ำกัดในลักษณะใด เช่น จ�ำกัดตามกองทุนภายใต้การจัดการของ บลจ.ใด หรือจ�ำกัดในแง่ชนิดของกองทุนประเภทใด ฯลฯ อีกประการหนึ่ง RDR ได้ปฏิรูปการจัดเก็บค่าธรรมเนียม10 ส�ำหรับที่ปรึกษาทางการเงินใหม่โดยเปลี่ยนจากระบบเดิมซึ่ง ผู้จัดจ�ำหน่าย (Distributor) ได้รับผลประโยชน์จูงใจจากผู้จัดการกองทุนไม่ว่าจะเป็นในรูปของสัดส่วนค่าธรรมเนียมที่อิงกับ มูลค่ากองทุนที่ขายได้ (Commission-based) หรือการรับเงินคืน (Rebate) หรือประโยชน์อื่นใดก็ตาม เป็นระบบใหม่ซึ่งผู้จัด จ�ำหน่ายรับผลประโยชน์โดยตรงจากผู้ลงทุนในลักษณะใดก็ได้แล้วแต่จะตกลงกัน เช่น การจ่ายค่าธรรมเนียมเพื่อรับค�ำปรึกษา (Fee-only) โดยค่าธรรมเนียมไม่จำ� เป็นต้องขึน้ อยูก่ บั มูลค่าหรือประเภทของกองทุนทีจ่ ะลงทุน ฯลฯ อย่างไรก็ตาม ประเด็นส�ำคัญอยูท่ ี่ การเปลี่ยนระบบแรงจูงใจของที่ปรึกษาทางการเงินจากการท�ำงานให้ผู้จัดการกองทุนมาเป็นการท�ำงานให้ผู้ลงทุนโดยตรง เพื่อ ปรับระบบแรงจูงใจเพื่อให้ที่ปรึกษาทางการเงินมีผลประโยชน์ที่สอดคล้องกับผลประโยชน์ของผู้ลงทุน ทั้งนี้เมื่อมีการตกลงกัน ระหว่างทีป่ รึกษาและผูล้ งทุนอย่างชัดเจน การจ่ายค่าตอบแทนอาจจะเป็นการจ่ายเพือ่ การให้บริการครัง้ เดียว หรือจ่ายเป็นประจ�ำ เพื่อรับบริการต่อเนื่อง หรืออาจจะอิงกับมูลค่ากองทุนที่ซื้อก็ได้ ทั้งนี้แล้วแต่จะตกลงกันแต่จะไม่เกี่ยวข้องกับผู้จัดการกองทุน11

วารุณี พรรณาผลากูล. (2552). ปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการตัดสินใจเลือกลงทุนในกองทุนรวมของนักลงทุนในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. อริยาภัณฑ์ ศรีวิลัย. (2553). พฤติกรรมของนักลงทุนในกองทุนรวมตลาดเงินของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนธนชาต จ�ำกัด จังหวัด เชียงใหม่, อัฉรีวรรณ ผดุงนิธิมานนท์. (2552). ปัจจัยที่มีผลต่อการลงทุนของลูกค้าในกองทุนเปิดยูโอบีชัวร์เดลี่ ธนาคารยูโอบี จ�ำกัด (มหาชน) ในจังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 8 ช่วยกันสร้างคุณภาพคนขาย โดย สุรีรัตน์ สุรเดชะ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ วันที่ 22 มีนาคม 2555 9 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.fsa.gov.uk 10 การจัดเก็บค่าธรรมเนียมมี 3 แบบ คือ (1) Commission-based คือ การรับผลตอบแทนจากผู้จัดการกองทุนซึ่งอาจแปรผันตามมูลค่าของกองทุนที่ขายได้ (2) Fee-only คือ การรับผลตอบแทนจากผู้ซื้อหน่วยลงทุนเท่านั้น และ (3) Fee-based คือ การรวมทั้งสองอย่างแรกเข้าด้วยกัน 11 แม้แนวคิด RDR จะมีอิทธิพลต่อการออกกฎหมายเพื่อก�ำกับดูแลในภูมิภาคยุโรปตลอดจนประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก แต่ก็มีกระแสคัดค้านเช่นกัน อาทิ ผู้เล่นใน ประเทศฝรั่งเศสกล่าวว่าหากน�ำ RDR มาใช้จะส่งผลเสียต่ออุตสาหกรรมกองทุนรวมโดยรวมอย่างมาก เพราะแม้ธนาคารพาณิชย์จะเป็นช่องทางการจัดจ�ำหน่าย หลักของกองทุนรวมแต่ธุรกิจกองทุนรวมไม่ใช่ธุรกิจหลักของธนาคารพาณิชย์ ดังนั้น การตัดแรงจูงใจในการขายหรือเพิ่มต้นทุนให้แก่ธนาคารพาณิชย์อาจท�ำให้ ธนาคารพาณิชย์ออกหรือลดบทบาทจากการท�ำธุรกิจกองทุนรวมลง ซึ่งจะส่งผลให้อุตสาหกรรมกองทุนรวมหดตัวอย่างมาก นอกจากนี้ แม้แต่ในประเทศอังกฤษ เองก็ยังมีข้อกังวลว่า RDR จะท�ำให้ธุรกิจการให้ค�ำปรึกษามีต้นทุนสูงขึ้นและหดตัวลง 7

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

61


ประเทศอังกฤษไม่ได้เป็นเพียงประเทศเดียวทีเ่ ห็นความส�ำคัญของการให้คำ� ปรึกษาทีม่ คี ณ ุ ภาพ และพยายามจัดการ กับความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของที่ปรึกษาการลงทุน โดยการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บค่าธรรมเนียม ในประเทศออสเตรเลีย ได้มีการประกาศตั้งแต่เดือนเมษายน 2553 ว่า จะห้าม บลจ.จัดเก็บค่าคอมมิสชันจากการขายกองทุนซึ่งมีผลบังคับใช้ในเดือน กรกฎาคมปี 2555 ในประเทศอินเดียก็เช่นกัน หน่วยงานก�ำกับดูแลประกาศห้ามการเก็บค่าธรรมเนียมแบบ Front-end load ตั้งแต่เดือนสิงหาคมปี 255212 แต่ประเทศที่เข้มงวดมากที่สุดน่าจะเป็นประเทศเนเธอร์แลนด์ซึ่งอยู่ระหว่างการพิจารณาเพื่อไม่ เพียงจะเสนอห้ามการจ่าย Commission ทีผ่ จู้ ดั จ�ำหน่ายรับจากผูจ้ ดั การกองทุนเท่านัน้ แต่ยงั รวมถึงการห้ามจ่ายผลประโยชน์ให้ แก่ Execution-only business ด้วย เนื่องจากเห็นว่าเป็นการสร้างความเท่าเทียม (Level playing field) ในการแข่งขันระหว่าง Execution-only platform13 และที่ปรึกษาการลงทุนได้ อย่างไรก็ตาม ระบบการจ่ายเงินเพือ่ รับค�ำปรึกษานอกเหนือจากค่าธรรมเนียมทีร่ ะบุในหนังสือชีช้ วน แม้จะเป็นสิง่ ที่ พบเห็นได้ในหลายประเทศ เช่น ออสเตรเลีย อินเดีย นิวซีแลนด์ อังกฤษ สหรัฐอเมริกา ฯลฯ แต่จะเป็นเรื่องใหม่มากหากมีการน�ำ มาใช้ในประเทศไทย 2.1.2 การเข้าถึงของประชาชน ปัญหาของการจัดจ�ำหน่ายกองทุนรวมไม่ได้อยูท่ กี่ ารเข้าไม่ถงึ ของประชาชน แต่อยู่ ทีก่ ารจัดการของแต่ละ บลจ.ทีไ่ ม่สามารถเข้าถึงประชาชนได้อย่างเท่าเทียมกัน ดังทีไ่ ด้กล่าวข้างต้น การจัดจ�ำหน่ายหน่วยลงทุน ของไทยส่วนมากจะท�ำผ่านสาขาของธนาคารพาณิชย์ซงึ่ เป็นช่องทางทีเ่ ข้าถึงผูล้ งทุนส่วนใหญ่ จนท�ำให้ บลจ.ทีเ่ ป็นเครือข่ายของ ธนาคารพาณิชย์เติบโตอย่างมากในช่วงทีผ่ า่ นมา แต่เนือ่ งจากธนาคารพาณิชย์แต่ละแห่งจ�ำหน่ายหน่วยลงทุนของ บลจ.ในเครือ หรือกลุ่มพันธมิตร (In-house product) เท่านั้น หรือเรียกช่องทางการจัดจ�ำหน่ายแบบนี้ว่าเป็นแบบปิด (ตรงข้ามกับแบบเปิดซึ่ง จะจ�ำหน่ายกองทุนทั้งที่เป็น In-house product และ Third-party product) ท�ำให้กองทุนที่เข้าถึงประชาชนส่วนใหญ่อาจไม่ใช่ กองทุนที่ให้ผลตอบแทนคุ้มค่าและมีต้นทุนต�่ำ รวมถึงท�ำให้ บลจ.รายใหม่ที่จะเข้ามาแข่งขันในตลาดท�ำได้ยากขึ้น และอาจ ส่งผลต่อความหลากหลายของสินค้าในตลาดด้วย ในหลายประเทศก็ประสบปัญหาในลักษณะนี้เช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตาม พบว่าไม่มปี ระเทศใดทีบ่ งั คับให้การขายหน่วยลงทุน (ไม่วา่ จะผ่านช่องทางใดก็ตาม) ต้องเสนอขายกองทุนให้ครบทุกกองทุนหรือ เสนอขายกองทุนภายใต้การจัดการของทุก บลจ. แต่จะแก้ปัญหาด้วยกลไกหรือแรงจูงใจอื่น เช่น การส่งเสริมคุณภาพการให้ ค�ำปรึกษา การเปิดเผยข้อมูล ส่งเสริมการแข่งขัน และการส่งเสริมให้ผู้ลงทุนมีความรู้ความเข้าใจในการลงทุน ฯลฯ ดังนั้น เพื่อท�ำความเข้าใจลักษณะ/สาเหตุของช่องทางการจัดจ�ำหน่ายในต่างประเทศให้ดียิ่งขึ้นเพื่อเป็นบทเรียนส�ำหรับประเทศไทย จึงขอน�ำเสนอใน 2 มุมมอง ดังนี้ 1) ภาพรวมของช่องทางการจัดจ�ำหน่าย (Distribution channel) ของกองทุนรวม ประเทศไทยไม่ได้เป็นเพียงประเทศเดียวที่มีการจ�ำหน่ายกองทุนรวมผ่านเครือข่ายธนาคารพาณิชย์เป็นหลัก อันที่จริงในต่างประเทศส่วนใหญ่ในโลกไม่ว่าจะเป็นในภูมิภาคเอเชีย ยุโรป และลาตินอเมริกา ก็จัดจ�ำหน่ายกองทุนรวมผ่าน เครือข่ายของธนาคารพาณิชย์เป็นส่วนใหญ่เช่นกัน โดยประเทศที่มีธนาคารพาณิชย์เป็นช่องทางจัดจ�ำหน่ายหลัก เช่น เบลเยียม จีน ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น เนเธอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ นอร์เวย์ สิงคโปร์ สเปน สวีเดน ไต้หวัน ฯลฯ แม้ว่าการจัดจ�ำหน่ายผ่านเครือข่ายธนาคารพาณิชย์จะเป็นที่นิยมในประเทศส่วนใหญ่ แต่ช่องทางการจัดจ�ำหน่าย อื่น ๆ ก็เป็นที่นิยมในบางประเทศเช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น การจ�ำหน่ายผ่านอินเทอร์เน็ตเป็นที่นิยมในประเทศออสเตรเลีย จีน เยอรมนี สิงคโปร์ และไต้หวัน การขายตรงเป็นที่นิยมในอินเดียและนอร์เวย์ ในขณะที่บางประเทศอาศัยระบบที่ปรึกษาทาง การเงิน เช่น ออสเตรเลีย อินเดีย นิวซีแลนด์ อังกฤษ ฯลฯ ส�ำหรับประเทศสหรัฐอเมริกาแม้จะมีชอ่ งทางการจัดจ�ำหน่ายให้ผลู้ งทุน เลือกครบทุกช่องทาง แต่กไ็ ม่มชี อ่ งทางใดทีโ่ ดดเด่นเหนือช่องทางอืน่ เป็นพิเศษ อย่างไรก็ตาม หากไม่นบั การลงทุนในกองทุนรวม ที่ผ่านระบบบ�ำนาญขององค์กร นักลงทุนรายย่อยของสหรัฐอเมริกาที่ลงทุนผ่านที่ปรึกษาทางการเงินมีสูงถึงร้อยละ 81

อย่างไรก็ตาม การด�ำเนินการในอินเดียก่อให้เกิดปัญหาการหดตัวของกองทุนรวมอย่างต่อเนื่องเพราะส่วนแบ่งที่ตกกับผู้จัดจ�ำหน่ายลดลง จึงหันไปสนับสนุน การขายผลิตภัณฑ์อื่นที่ให้ส่วนแบ่งสูงกว่าแทน เช่น Unit-linked insurance plans ฯลฯ 13 Platform คือ บริการผ่านเว็บไซต์ที่เป็นศูนย์รวมกองทุนรวมจ�ำนวนมากที่ผู้ลงทุนสามารถเข้ามาซื้อขายหน่วยลงทุนได้ และหากเป็น Execution only หมายถึง การที่ Platform ไม่มีบริการอื่นเสริมเลย เช่น บริการให้ค�ำแนะน�ำการลงทุน ฯลฯ 12

62


2) ตัวอย่างของลักษณะการจัดจ�ำหน่ายที่เป็นแบบปิดและแบบเปิด แน่นอนว่าลักษณะการจัดจ�ำหน่ายแบบเปิดย่อมสนับสนุนให้เกิดการแข่งขันในตลาดกองทุนรวม และส่งเสริม การเข้าถึงกองทุนรวมของผูล้ งทุนได้อย่างเท่าเทียมมากกว่า อย่างไรก็ตาม ยังคงมีทงั้ ประเทศทีช่ อ่ งทางการจัดจ�ำหน่ายเป็นแบบ ปิดหรือเปิด ดังนี้ - ประเทศที่มีช่องทางการจัดจ�ำหน่ายแบบปิดค่อนข้างชัดเจน ยกตัวอย่างเช่น เบลเยียม นอร์เวย์ เยอรมนี สเปน เม็กซิโก ฝรัง่ เศส และรวมถึงประเทศไทยด้วย แต่ไม่ได้หมายความว่าประเทศเหล่านีจ้ ะไม่มรี ะบบทีส่ ามารถรองรับการจัดจ�ำหน่าย แบบเปิด (เช่น Platform ฯลฯ) ได้ แต่เป็นเพราะช่องทางดังกล่าวอาจไม่ได้รับความนิยมหรืออาจถูกใช้เป็นช่องทางแบบปิด เนื่องจากผู้ก่อตั้ง Platform มีความเกี่ยวข้องกับการจัดการกองทุนจึงจ�ำหน่ายเฉพาะสินค้าของตัวเองเท่านั้น ทั้งนี้สาเหตุที่ท�ำให้ การจัดจ�ำหน่ายแบบปิดแพร่หลายในประเทศดังกล่าวอาจมีสาเหตุทหี่ ลากหลายแตกต่างกัน อาทิ บลจ.รายใหญ่ได้รบั ความเชือ่ ถือ จากผูล้ งทุนมากเกินไปจนท�ำให้มอี ำ� นาจทางการตลาดสูงขึน้ ส่งผลให้บรรยากาศในการแข่งขันลดลง หรือการทีห่ น่วยงานก�ำกับ ดูแลตลอดจนองค์กรที่เกี่ยวข้อง (เช่น สมาคมบริษัทจัดการลงทุน ฯลฯ) ขาดประสิทธิภาพหรือไม่มีความเข้มแข็งจนไม่สามารถ ส่งเสริมให้เกิดการแข่งขันในตลาดกองทุนรวมได้ อย่างไรก็ตาม เหตุผลที่ส�ำคัญประการหนึ่งก็คือ การขาดความรู้ความเข้าใจ ของผู้ลงทุนเอง เพราะหากผู้ลงทุนมีอุปสงค์ในสินค้าที่หลากหลายและมีความต้องการในการแสวงหาเพื่อเปรียบเทียบข้อมูล ต่าง ๆ ก็ย่อมจะเป็นแรงผลักดันให้เกิดการแข่งขันของผู้ให้บริการ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ลงทุน แต่เนื่องจากผู้ลงทุน ส่วนมากยังขาดความรู้ความเข้าใจด้านการลงทุนจึงท�ำให้ผู้จัดการกองทุนสามารถเลือกใช้กลยุทธ์การจัดจ�ำหน่ายแบบปิดเพื่อ ประโยชน์ทางธุรกิจได้ - ประเทศที่มีช่องทางการจัดจ�ำหน่ายที่เป็นแบบเปิดชัดเจน ยกตัวอย่างเช่น อังกฤษ อิตาลี สหรัฐอเมริกา แคนาดา ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย จีน อินเดีย ไต้หวัน สิงคโปร์ ฯลฯ ลักษณะร่วมบางประการของประเทศในกลุม่ นีท้ เี่ อือ้ ต่อการเข้าถึงกองทุนรวมอย่างเท่าเทียม คือ การมีชอ่ งทางการจัด จ�ำหน่ายผ่านที่ปรึกษาทางการเงินและ/หรืออินเทอร์เน็ต (เช่น Platform ฯลฯ) ที่ได้รับความนิยม เนื่องจากที่ปรึกษามีความอิสระ ทีจ่ ะแนะน�ำกองทุนและสามารถซือ้ ขายกองทุนจ�ำนวนมากผ่านเว็บไซต์ได้โดยสะดวก ยกตัวอย่างคนอเมริกนั ซึง่ มีพฤติกรรมนิยม การใช้อนิ เทอร์เน็ตในการท�ำธุรกรรมทางการเงินอยูแ่ ล้ว14 แตกต่างจากผูล้ งทุนรายย่อยส่วนใหญ่ในสหภาพยุโรปทีน่ ยิ มติดต่อรับ บริการผ่านสาขาของธนาคารพาณิชย์มากกว่า และต้องเผชิญกับช่องทางการจ�ำหน่ายแบบปิด (ยกเว้นประเทศอังกฤษซึ่งเป็น ศูนย์กลางทางการเงินของโลก ดังนั้น ผู้ลงทุนจึงมีทางเลือกในการลงทุนได้อย่างหลากหลาย) อย่างไรก็ตาม ประเทศที่มีธนาคาร พาณิชย์เป็นช่องทางการจ�ำหน่ายหลักไม่จำ� เป็นทีจ่ ะต้องมีชอ่ งทางการจ�ำหน่ายแบบปิดเสมอไปหากมีแรงกดดันจากการแข่งขัน มากขึ้น 2.1.3 กรณีศกึ ษาอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องในต่างประเทศทีน่ า่ สนใจ เพือ่ เป็นข้อคิดส�ำหรับตลาดกองทุนรวมไทย ดังนี้ 1) การให้ผลตอบแทนแก่ผู้จัดจ�ำหน่ายส�ำหรับกองทุนใหม่โดยเฉพาะช่วง Initial public offering เพื่อจูงใจให้ ผู้จ�ำหน่ายขายกองทุนใหม่มากกว่าที่จะขายกองทุนที่มีอยู่เดิม เป็นสิ่งที่เคยเกิดขึ้นในประเทศจีนส่งผลให้เกิดปัญหาการเพิ่มขึ้น ของจ�ำนวนกองทุนมากขึน้ เรือ่ ย ๆ โดยแต่ละกองทุนมีขนาดไม่ใหญ่เพราะผูจ้ ดั จ�ำหน่ายมีแรงจูงใจทีจ่ ะชักชวนให้ผลู้ งทุนซือ้ กองทุน ใหม่อยู่ตลอดเวลา ดังนั้น แม้ว่าจีนจะมีช่องทางการจ�ำหน่ายกองทุนแบบเปิดแต่ด้วยแรงจูงใจที่ไม่เป็นกลางของผู้ขาย ผนวกกับ การไม่มรี ะบบการให้คำ� ปรึกษาทีเ่ ป็นอิสระ จึงท�ำให้ผลู้ งทุนไม่ได้รบั ประโยชน์เท่าทีค่ วร และไม่สง่ ผลดีตอ่ การพัฒนาอุตสาหกรรม กองทุนรวมที่ต้องการความประหยัดต่อขนาด (Economy of scale) ดังนั้น จีนจึงประกาศห้ามการจ่ายผลตอบแทนในลักษณะ ดังกล่าวโดยมีผลบังคับใช้แล้วตั้งแต่เดือนมีนาคม ปี 2553 ที่ผ่านมา และไม่เพียงแต่ประเทศจีนเท่านั้น หลายประเทศในสหภาพ ยุโรปก็มีพฤติกรรมการออกกองทุนใหม่บ่อย ๆ เพื่อสร้างรายได้ค่าธรรมเนียมเช่นกัน แม้ว่าปัจจุบันแนวโน้มของปัญหาดังกล่าว จะเริ่มลดลงแล้วเนื่องจากธนาคารพาณิชย์ให้ความสนใจกับธุรกิจหลักด้านการธนาคาร เช่น การระดมเงินฝากมากกว่าด้าน ตลาดทุน ฯลฯ Investment Company Institute. (2010). Ownership of Mutual Funds, Shareholder Sentiment, and Use of the Internet. Research Fundamental, Vol 19, No 6. ระบุว่าผู้ถือหน่วยลงทุนในอเมริกาประมาณ 8 คนใน 10 คนใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อจุดประสงค์ทางการเงิน เช่น ใช้บัญชีออนไลน์ด้านเงินฝากหรือกองทุน รวม รับข้อมูลเพื่อการลงทุน และซื้อขายหน่วยลงทุน ฯลฯ

14

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

63


ในประเทศไทย ส�ำนักงาน ก.ล.ต.ไม่ได้หา้ มการจ่ายผลตอบแทนในลักษณะดังกล่าว แต่มแี นวปฏิบตั สิ ำ� หรับผูแ้ นะน�ำ การลงทุนว่า เมื่อได้รับผลประโยชน์ที่แตกต่างกันจากการขายกองทุนรวมแต่ละกองจะต้องเปิดเผยข้อมูลให้ผู้ลงทุนทราบก่อน ตัดสินใจลงทุน 2) ภายหลังจากวิกฤตการเงินปี 2551 (ค.ศ. 2008) ประเทศทีไ่ ด้รบั ผลกระทบทัว่ โลกมีแนวโน้มในการปรับกฎเกณฑ์ การก�ำกับดูแลให้เข้มงวดยิ่งขึ้น ส�ำหรับตัวอย่างในภูมิภาคเอเชีย เช่น สิงคโปร์และฮ่องกง ฯลฯ ได้ปรับเกณฑ์การก�ำกับดูแลเพื่อ ควบคุมการจัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์การลงทุนผ่านธนาคารพาณิชย์ให้เข้มงวดขึ้นเช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น การแบ่งโซนท�ำธุรกรรม ธนาคารและการลงทุนแยกออกจากกันโดยห้ามพนักงาน (ฝาก-ถอน) ของธนาคารแนะน�ำการซื้อสินค้าเพื่อการลงทุนให้ลูกค้า การห้าม Cross-selling รวมถึงการห้ามใช้ค�ำที่มีความหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองเงินต้น การตรวจจับที่ปรึกษาการเงินที่มี พฤติกรรมไม่เหมาะสมด้วย Mystery shopper15 การจัดให้มีเอกสารสรุปประกอบการขายผลิตภัณฑ์การลงทุนที่ครบถ้วนและ กระชับ การเปิดเผยความขัดแย้งเชิงผลประโยชน์ และส่งเสริมการให้ค�ำแนะน�ำที่มีความเหมาะสมกับลูกค้าแต่ละราย ฯลฯ อย่างไรก็ตาม แม้ระดับการคุ้มครองผู้ลงทุนจะสูงขึ้น แต่ข้อกังวลที่ตามมานั้นไม่แตกต่างจากข้อกังวลที่เกิดขึ้นใน กลุ่มประเทศอื่นที่อาศัยธนาคารพาณิชย์เป็นช่องทางในการจัดจ�ำหน่ายหลัก เนื่องจากเกรงว่าธนาคารพาณิชย์จะลดบทบาทใน ตลาดกองทุนรวมลง หรืออาจหันไปให้ความสนใจกับกลุ่มลูกค้ากลุ่มอื่นที่ไม่ใช่รายย่อย ซึ่งจะส่งผลให้อุตสาหกรรมกองทุนรวม หดตัวลงนั่นเอง ส�ำหรับประเทศไทย แม้ส�ำนักงาน ก.ล.ต.จะมีมาตรการเพื่อคุ้มครองผู้ลงทุนอยู่แล้วในระดับหนึ่ง เช่น การท�ำ Suitability test ของผู้ลงทุน การตรวจสอบผู้แนะน�ำการลงทุนด้วย Mystery shopper การจัดท�ำหนังสือชี้ชวนส่วนสรุปข้อมูล ส�ำคัญ และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับกองทุนที่มีนโยบายการคุ้มครองเงินต้น ฯลฯ แต่ก็ยังไม่เข้มงวดเท่าที่ควร 3) ความขัดแย้งเชิงผลประโยชน์ของ บลจ. นอกเหนือจากกรณีช่องทางการจัดจ�ำหน่ายที่กล่าวข้างต้น มีการศึกษา ในสหรัฐอเมริกา พบว่า กองทุนรวมภายใต้การจัดการของบริษทั ทีอ่ ยูใ่ นเครือของธุรกิจวาณิชธนกิจมีผลตอบแทนทีต่ ำ�่ กว่ากองทุน อื่น เนื่องจากมีความขัดแย้งเชิงผลประโยชน์ท�ำให้ผู้จัดการกองทุนเลือกที่จะใช้กองทุนรวมเป็นเครื่องมือในการถือหลักทรัพย์ ของลูกค้าวาณิชธนกิจมากเกินกว่าที่ควรจะเป็น ส่งผลให้ต้นทุนตกอยู่กับผู้ถือหน่วยลงทุน ในทางกลับกัน ผู้จัดการกองทุนที่มี ความเกี่ยวข้องกับธุรกิจการจัดจ�ำหน่าย (Underwriting) ก็สามารถใช้ประโยชน์จากการมีข้อมูลข่าวสารเหนือผู้อื่นเกี่ยวกับการ Initial public offering ได้ด้วย จึงเป็นที่น่าสนใจว่าในกรณีของธนาคารพาณิชย์ไทยซึ่งประกอบธุรกิจจัดการลงทุนและวาณิชธนกิจควบคู่กันจะ ท�ำให้เกิดผลเสียต่อผู้ลงทุนหรือไม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อการประกอบธุรกิจจัดการลงทุนไม่ใช่ธุรกิจหลักของธนาคารพาณิชย์ จึงอาจมีแรงจูงใจให้ธนาคารพาณิชย์ใช้ธุรกิจจัดการลงทุนเพื่อเกื้อหนุนธุรกิจอื่นได้ 2.2 ผู้ลงทุน หากจะกล่าวถึงผู้ซื้อหรือผู้ลงทุนที่ดีตามสมมติฐานทางเศรษฐศาสตร์แล้ว ผู้ลงทุนจะต้องมีความรอบรู้ มีข้อมูลข่าวสาร ที่เพียงพอ และต้องมีความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างมีเหตุมีผล รวมถึงมีความเห็นแก่ตัวค�ำนึงถึงประโยชน์ของ ตนเอง มิฉะนั้นการซื้อขายในตลาดก็อาจไม่มีประสิทธิภาพ ผู้ลงทุนอาจเสียประโยชน์จากการตัดสินใจเลือกสินค้าที่ไม่ตรงตาม ความต้องการของตัวเอง รวมถึงอาจถูกผู้ขายเอารัดเอาเปรียบได้ ในทางกลับกัน หากผู้ลงทุนมีความเข้มแข็งก็จะเป็นกุญแจ ส�ำคัญในการพัฒนาตลาดให้มีประสิทธิภาพทั้งในแง่การกระตุ้นให้เกิดความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ การแข่งขัน และ ผลิตภาพในการผลิตสินค้าและบริการของ บลจ.

15

64

เจ้าหน้าที่ทางการท�ำตัวเป็นลูกค้าเพื่อขอรับบริการและประเมินการให้บริการว่าเป็นไปตามเกณฑ์การก�ำกับดูแลของทางการหรือไม่


2.2.1 การส�ำรวจความรู้ความเข้าใจในการลงทุนของประชาชนไทย ในความเป็นจริง นักลงทุนไทยมิได้มีคุณสมบัติสอดคล้องกับสมมติฐานทางเศรษฐศาสตร์ เห็นได้จากผลการ ส�ำรวจความรู้ความเข้าใจในการลงทุนของประชาชนปี 2553 ของส�ำนักงาน ก.ล.ต. พบว่า กลุ่มตัวอย่างของผู้ลงทุนปัจจุบันยังมี ความเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับลักษณะและความเสี่ยง อาทิ ร้อยละ 38 เข้าใจว่าสัญญาซื้อขายล่วงหน้ามีความเสี่ยงต�่ำถึง ปานกลาง และประมาณครึง่ หนึง่ ของกลุม่ ตัวอย่างผูล้ งทุนไม่สนใจอ่านเอกสารประกอบการลงทุน นอกจากนี้ ส�ำหรับกลุม่ ตัวอย่าง ผู้ที่คาดว่าจะลงทุนเร็ว ๆ นี้ พบว่า มีความสนใจที่จะลงทุนในกองทุนรวมถึงร้อยละ 60 และอีกร้อยละ 33 สนใจลงทุนในหุ้น แต่ กว่าร้อยละ 60 ตอบว่ายังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ทางการเงิน โดยจะศึกษาข้อมูลเพื่อท�ำความเข้าใจก่อน ลงทุน และร้อยละ 86 ของกลุ่มนี้จะตัดสินใจลงทุนด้วยตนเอง แต่ยังคงต้องการข้อมูลและค�ำแนะน�ำจากผู้เชี่ยวชาญการลงทุน และผู้แนะน�ำการลงทุน ซึ่งส่วนใหญ่พึ่งพาข้อมูลจากผู้แนะน�ำการลงทุนและพนักงานธนาคารในการตัดสินใจลงทุนเป็นหลัก ซึ่งความน่าเชื่อถือของผู้แนะน�ำการลงทุนและพนักงานธนาคารแม้ว่าจะขึ้นทะเบียนกับส�ำนักงาน ก.ล.ต.อย่างถูกต้อง แต่ก็ยัง มีปัญหาความขัดแย้งเชิงผลประโยชน์และคุณภาพของค�ำปรึกษาดังที่ได้กล่าวไปแล้ว นอกจากนี้ ประเทศไทยยังไม่มีระบบ การให้ค�ำปรึกษาผ่านที่ปรึกษาอิสระที่แพร่หลาย ดังนั้น ผู้ลงทุนไทยจะมีความสามารถในการเลือกลงทุนได้อย่างเหมาะสม หรือไม่ จึงเป็นประเด็นที่น่ากังวลอย่างยิ่ง 2.2.2 การส�ำรวจความรู้ความเข้าใจด้านการเงินการลงทุนในต่างประเทศ แบ่งเป็นการศึกษาในสหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา ดังนี้ 1) สหภาพยุโรป ไม่เพียงแต่นกั ลงทุนไทยเท่านัน้ ทีม่ ปี ญ ั หาด้านความรูค้ วามเข้าใจทางการลงทุน หากน�ำผลการส�ำรวจ 16 ในสหภาพยุโรป ซึ่งมีช่องทางการจัดจ�ำหน่ายหลักแบบปิดและพึ่งพิงระบบสาขาของธนาคารพาณิชย์เหมือนกับประเทศไทย มาพิจารณาเทียบเคียง ก็จะพบประเด็นที่น่าสนใจและมีความคล้ายคลึงกันหลายประการ กล่าวคือ ผู้ลงทุนในสหภาพยุโรปยัง สับสนและไม่เข้าใจธรรมชาติของสิง่ ทีต่ นเองลงทุนอยู่ อาทิ ผูท้ เี่ ข้าร่วมในระบบบ�ำนาญ (Pensions) และผูท้ ซี่ อื้ ผลิตภัณฑ์ประเภท Structured products ไม่รู้ว่าตนเองก�ำลังเผชิญกับความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารทุนหรือไม่ ยิ่งไปกว่านั้นประมาณร้อยละ 40 เชื่อว่าการลงทุนในหุ้นจะได้รับความคุ้มครองเงินต้น (ซึ่งเป็นความเชื่อที่ผิดอย่างยิ่ง) โดยมีผู้ลงทุนเพียงร้อยละ 33 ท�ำการ เปรียบเทียบกองทุนก่อนตัดสินใจลงทุน นอกจากนี้ ผูล้ งทุนยังมีความเชือ่ ถือในการรับค�ำแนะน�ำการลงทุนจากทีป่ รึกษาการลงทุน สูงโดยไม่ตระหนักถึงความขัดแย้งเชิงผลประโยชน์ของผูใ้ ห้คำ� ปรึกษา โดยการลงทุนประมาณร้อยละ 80 เป็นแบบ Face-to-face กับผู้จ�ำหน่ายและร้อยละ 58 ตัดสินใจเลือกผลิตภัณฑ์การลงทุนตามค�ำแนะน�ำที่ได้รับจากผู้ให้ค�ำปรึกษา 2) ประเทศฟินแลนด์ มีรายงานการศึกษา17 ทีน่ า่ สนใจเกีย่ วกับพฤติกรรมการลงทุนของนักลงทุนในประเทศฟินแลนด์ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกรณีของประเทศไทยเนื่องจาก บลจ. ในเครือธนาคารพาณิชย์มีส่วนแบ่งการตลาดใหญ่กว่า บลจ.กลุ่มอื่น ทั้ง ๆ ที่กองทุนภายใต้การจัดการของ บลจ.ในเครือธนาคารพาณิชย์จะมีต้นทุนสูงกว่าและมีผลประกอบการที่ต�่ำกว่ากองทุน ของ บลจ.กลุ่มอื่น โดยพบว่ากระแสเงินไหลเข้ากองทุนในเครือของธนาคารพาณิชย์ไม่มีความสัมพันธ์ (มีความสัมพันธ์แบบสุ่ม ; Random) กับผลประกอบการกองทุนตามการจัดล�ำดับของ Morningstar18 ในขณะที่หากเป็นกองทุนภายใต้การจัดการของ บลจ.กลุ่มอื่นจะพบว่า กองทุนที่ได้รับดาว 5 ดวง (ผลตอบแทนสุทธิหลังปรับความเสี่ยงสูง) จะสามารถดึงดูดเงินทุนจากผู้ลงทุน ได้มากกว่ากองทุนที่ได้รับดาวน้อยกว่า (ผลตอบแทนสุทธิหลังปรับความเสี่ยงต�่ำลง) ตามล�ำดับ และในบางกรณีกองทุนที่ได้รับ ดาวน้อยจะมีเงินไหลออกด้วย ซึง่ พฤติกรรมการเคลือ่ นย้ายเงินทุนในกรณีหลังนีส้ อดคล้องกับพฤติกรรมการลงทุนในสหรัฐอเมริกา เนือ่ งจากกองทุนทีไ่ ด้รบั ดาวมากกว่าจะดึงดูดเงินลงทุนได้มากกว่าโดยเฉพาะอย่างยิง่ กองทุน 5 ดาวจะยิง่ ดึงดูดเงินลงทุนได้มาก เป็นพิเศษ ทัง้ นี้ เป็นทีเ่ ชื่อว่าผูล้ งทุนในกองทุนเครือธนาคารพาณิชย์อาจให้ความส�ำคัญกับความสะดวกและความน่าเชื่อถือของ องค์กร (Branding) มากกว่าผลประกอบการของกองทุนในอดีต

Chater Huck and Inderst (2010). Consumer Decision-Making in Retail Investment Services: A Behavioural Economics Perspective. ท�ำการส�ำรวจ ออนไลน์จากผูล้ งทุนรายย่อย 6,000 รายในกลุม่ ประเทศสหภาพยุโรป 8 ประเทศ ได้แก่ สาธารณรัฐเช็ก ฝรัง่ เศส เยอรมนี อิตาลี โปแลนด์ โรมาเนีย สวีเดน และอังกฤษ 17 Knuutila M., Puttonen V., Smythe T. (2007). The Effect of Distribution Channels on Mutual Fund Flows. Journal of Financial Services Marketing, 12, 88–96. 18 Morningstar ให้บริการการจัดอันดับกองทุนรวมฟรีผ่านเว็บไซต์โดยเปรียบเทียบผลตอบแทนที่ปรับความเสี่ยงแล้วหลังหักต้นทุนค่าธรรมเนียมซื้อขายของแต่ละ กองทุน โดยกองทุนกลุ่มที่มีผลตอบแทนสุทธิดีที่สุดจะได้รับดาว 5 ดวง และลดหลั่นลงตามล�ำดับจนกลุ่มที่ด้อยที่สุดจะได้รับดาวเพียง 1 ดวง 16

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

65


นอกจากนี้ ยังมีข้อสังเกตที่น่าสนใจอีกประการหนึ่ง คือ การให้บริการด้านกองทุนรวมโดยธนาคารพาณิชย์ใน สหรัฐอเมริกามีความครบวงจร หรือมี Economy of scope จึงอาจมีผลให้ต้นทุนค่าธรรมเนียมลดลงได้ แต่ในทางตรงข้าม การให้บริการด้านกองทุนรวมในฟินแลนด์กลับอาศัยความได้เปรียบจากความสามารถในการดึงดูดลูกค้ากลุม่ ใหญ่ของธนาคาร พาณิชย์ในการคิดค่าธรรมเนียมจากผู้ลงทุนสูงขึ้น ทั้งนี้สาเหตุส่วนหนึ่งอาจมาจากความรู้ความเข้าใจและความมีเหตุมีผลของ ผู้ลงทุนในฟินแลนด์ ในขณะที่การแข่งขันในสหรัฐอเมริกามีความรุนแรงมากกว่ารวมถึงการที่กองทุนในสหรัฐอเมริกามีขนาด ใหญ่จึงมีความประหยัดต่อขนาดมากกว่าก็ได้ 3) ประเทศสหรัฐอเมริกา จากรายงานประจ�ำปี19 ของสมาคมบริษัทจัดการลงทุน ประเทศสหรัฐอเมริกา ระบุว่า ผู้ลงทุนในสหรัฐอเมริกามีพฤติกรรมเลือกลงทุนในกองทุนที่มีต้นทุนต�่ำกว่า เนื่องจากค่าเฉลี่ย (Simple average) ของ Expense ratio20 ของกองทุนที่มีการเปิดเผยข้อมูลทั่วไปนั้นมีค่าสูงกว่าค่าเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก (Weighted average) ที่นักลงทุนได้จ่ายออก ไปจริง ๆ ให้แก่กองทุนตลอดระยะเวลา 15 ปีที่ผ่านมา ทั้งนี้ส่วนหนึ่งเป็นเพราะผู้ลงทุนนิยมกองทุนประเภท No-load21 มากขึ้น (รวมถึงกองทุน Pension ด้วย) ซึ่งท�ำให้แรงจูงใจในการเปิดกองทุนใหม่ลดลง ท�ำให้กองทุนเดิมที่มีอยู่มีขนาดใหญ่และมี ความประหยัดต่อขนาด นอกจากนี้ ยังมีรายงานอีกฉบับหนึ่งของสมาคมบริษัทจัดการลงทุน 22 ส�ำรวจผู้ลงทุนในสหรัฐอเมริกา พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลกับมุมมองต่ออุตสาหกรรมกองทุนรวม (Investor Opinion of the Fund Industry) ของผู้ลงทุนมากที่สุดคือ ผลประกอบการของกองทุนรวม ส่วนปัจจัยรองลงมาคือ ความเห็นของทีป่ รึกษาการลงทุน และปัจจัยทีแ่ ทบจะไม่มผี ลกระทบเลยคือ สื่อประชาสัมพันธ์โฆษณา ดังนั้น จึงเห็นได้ว่าผู้ลงทุนในสหรัฐอเมริกามีความสามารถในการตัดสินใจเลือกลงทุนได้ดีในระดับหนึ่งเนื่องจาก มีความตระหนักในต้นทุนและผลประกอบการของกองทุนรวม อย่างไรก็ตาม นักลงทุนอเมริกันไม่ได้มีพฤติกรรมการลงทุนที่ เหมาะสมเสมอไป โดยมีการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เอนเอียง (Bias) ของนักลงทุนอเมริกัน23 พบว่า หากเป็นกรณีนักลงทุน กลุ่ม Sophisticated investor (เข้าถึงข้อมูลข่าวสารมากกว่า รายได้สูงกว่า อายุมากกว่า และมีประสบการณ์มากกว่า) ก็มักจะ ได้ประโยชน์จากการลงทุนในกองทุนรวม โดยมีพฤติกรรมในการลงทุนระยะยาว หลีกเลี่ยงกองทุนที่มี Expense ratio สูง และ เลือกถือกองทุนที่มีผลประกอบการดี แต่หากเป็นนักลงทุนที่มีพฤติกรรมเอนเอียงมักจะไม่นิยมซื้อกองทุนรวมแต่จะลงทุนในหุ้น โดยตรงแทน หรืออาจซื้อกองทุนรวมด้วยเหตุจูงใจอื่น อาทิ สิทธิประโยชน์ทางภาษี แต่เมื่อถือหน่วยลงทุนแล้วก็มักจะซื้อขาย หน่วยลงทุนบ่อย แต่มีจังหวะเวลาที่ไม่ถูกต้อง อาทิ ซื้อเมื่อราคาสูง และขายเมื่อราคาต�่ำ ท�ำให้ท้ายที่สุดนักลงทุนไม่ได้ประโยชน์ จากการลงทุนเท่าที่ควร หลังจากที่ได้เห็นภาพรวมของการจัดจ�ำหน่ายกองทุนรวมในฟากผู้ให้บริการไม่ว่าจะเป็นประเด็นปัญหาที่เกี่ยวกับ บลจ. และผู้ติดต่อกับผู้ลงทุน รวมถึงฝากผู้ลงทุนว่ามีสถานะความรู้ความเข้าใจด้านการเงินการลงทุนเป็นอย่างไร ในตอนต่อไป จะเป็นการพิจารณาความเสี่ยงของผู้ลงทุนในเชิงลึกยิ่งขึ้นว่า มีโอกาสที่จะตัดสินใจในการเลือกลงทุนผิดพลาดอย่างไรบ้าง โดยอาศัยตัวอย่างจากการส�ำรวจในต่างประเทศ รวมถึงการใช้เครื่องชี้วัดอย่างง่ายที่แสดงให้เห็นถึงระดับปัญหาของตลาด กองทุนรวมในประเทศไทย และจะเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาของภาครัฐตลอดจนหน่วยงานก�ำกับดูแลว่าควรเป็นไป ในทิศทางใด เพื่อให้การพัฒนาอุตสาหกรรมกองทุนรวมของไทยสามารถเติบโตอย่างยั่งยืนและก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ ผู้ลงทุนต่อไป

Investment Company Institute. (2011). 2011 Investment Company Fact Book. 51st edition. ค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนที่ใช้ในการบริหารจัดการกองทุน โดยคิดเป็นสัดส่วนต่อมูลค่าทรัพย์สินทั้งหมดของกองทุน 21 กองทุนที่ไม่มีการคิดค่าธรรมเนียมในการซื้อหรือขายหน่วยลงทุน 22 Investment Company Institute. (2010). Ownership of Mutual Funds, Shareholder Sentiment, and Use of the Internet. Research Fundamental, Vol 19, No 6. 23 Bailey W., Kumar A., Ng D. (2010). Behavioral Biases of Mutual Fund Investors. financially supported by BSI Gamma Foundation. 19 20

66


บทวิเคราะห์ เรื่อง หมู่เกาะเซนกากุ/เตียวหยู : กรณีพิพาทญี่ปุ่น-จีน และผลกระทบต่อไทย

1

บทสรุปผู้บริหาร จี น และญี่ ปุ ่ น ถกเถี ย งกั น มาอย่ า งยาวนานในเรื่ อ งกรรมสิ ท ธิ์ เ หนื อ หมู ่ เ กาะเตี ย วหยู หรือหมู่เกาะเซนกากุ ตั้งแต่สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 1 ทั้งนี้ ประเด็นที่ก่อให้เกิดกรณีพิพาทในปัจจุบัน คือ รัฐบาล ญี่ปุ่นประกาศซื้อหมู่เกาะดังกล่าวจากเอกชนชาวญี่ปุ่น ซึ่งสร้างความไม่พอใจแก่จีนและก่อให้เกิดการประท้วง การกระท�ำของรัฐบาลญี่ปุ่นในจีน ❍❍ ความขัดแย้งระหว่างจีนและญี่ปุ่นขยายวงกว้างจากระดับรัฐบาลลงไปจนถึงระดับประชาชน อาทิ การระงับการเดินทางไปท่องเที่ยวระหว่างกัน แนวโน้มที่จะระงับการลงทุนและเคลื่อนย้ายแหล่งการผลิต ออกจากกัน การประท้วงอย่างรุนแรงของจีนโดยเข้าท�ำลายทรัพย์สิน บริษัท และร้านค้าสัญชาติญี่ปุ่นที่ตั้งอยู่ใน จีน และการเพิม่ อุปสรรคในการตรวจสอบสินค้าน�ำเข้าของจีนจากญีป่ นุ่ ซึง่ สร้างความกังวลต่อนานาประเทศต่อ เศรษฐกิจโลก เนื่องจากประเทศทั้งสองเป็นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจอยู่ในสามอันดับแรกของโลก ❍❍ การระงับการลงทุน การท่องเที่ยว เป็นต้น ระหว่างจีนและญี่ปุ่นจะท�ำให้เงินทุน นักท่องเที่ยว จากจีนและญี่ปุ่นที่มีแผนจะด�ำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างกันเปลี่ยนแผนไปยังแหล่งเศรษฐกิจอื่น ๆ ใกล้เคียงทดแทน อาทิ เอเชียรวมถึงไทยด้วย ก่อให้เกิดผลดีต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจของไทยในแง่ดังกล่าว ❍❍

1. ข้อมูลพื้นฐาน ภาพที่ 1 หมู่เกาะเซนกากุ/เตียวหยู

ที่มา : ไทยรัฐออนไลน์ วันที่ 2 ตุลาคม 2555

หมู่เกาะเซนกากุ ( ) หรือชื่อในภาษาจีนว่า หมู่เกาะเตียวหยู ( ) เป็นหมู่เกาะที่ไม่มีคนอาศัยอยู่ อยู ่ ใ นทะเลจี น ตะวั น ออกทางตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ของ ไต้หวัน ใกล้กับหมู่เกาะริวกิวและเกาะโอกินาว่าของญี่ปุ่น ตามประวั ติ ศ าสตร์ ห มู ่ เ กาะเซนกากุ / เตี ย วหยู เ คยอยู ่ ใ น การปกครองของหลายประเทศ ไม่วา่ จะเป็นจีน อังกฤษ ญีป่ นุ่ และสหรัฐอเมริกา ตามล�ำดับ หมู่เกาะเซนกากุ/เตียวหยูมี ทั้งสิ้น 8 เกาะ มีพื้นที่รวม 6.27 ตารางกิโลเมตร โดยคาดว่า มีทรัพยากรส�ำคัญ คือ น�้ำมันดิบ ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญใน ความขัดแย้ง

ผู้เขียน : ดร.พิมพ์นารา หิรัญกสิ เศรษฐกรช�ำนาญการ นางสาวอาร์จนา ปานกาญจโนภาส เศรษฐกรปฏิบัติการ นางสาวพีรพรรณ สุวรรณรัตน์ เศรษฐกร ปฏิบัติการ และนางสาวภัทราพร คุ้มสะอาด เศรษฐกรตรี ขอขอบคุณ ดร.ศรพล ตุลยะเสถียร ผู้อ�ำนวยการส่วนการวิเคราะห์เสถียรภาพเศรษฐกิจ ส�ำนักนโยบาย เศรษฐกิจมหภาค และ ดร.กุลยา ตันติเตมิท ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเศรษฐกิจมหภาค ส�ำหรับค�ำแนะน�ำ

1

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

67


2. จุดเริ่มต้นความขัดแย้ง วันที่ 14 มกราคม 2438 (ค.ศ.1895) (ระหว่างสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 1) ญี่ปุ่นเริ่มปกครองเกาะเซนกากุ/เตียวหยู โดยจัดให้หมู่เกาะเซนกากุ/เตียวหยูอยู่ในจังหวัดโอกินาว่า (จังหวัดที่ตั้งอยู่ทางใต้สุดของญี่ปุ่น) โดยอ้างว่าญี่ปุ่นได้ส�ำรวจ หมู่เกาะดังกล่าวใน พ.ศ. 2427 (ค.ศ. 1884) และพบว่าเป็นดินแดนที่ไม่มีเจ้าของ (Terra Nullius) และไม่มีหลักฐานใดระบุว่า ดินแดนดังกล่าวอยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิต้าชิง (Qing Empire) ต่อมาในเดือนเมษายน 2438 หลังจากที่จีนแพ้สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 1 ทั้งจีนและญี่ปุ่นได้ลงนามในสนธิสัญญา ชิโมโนเซกิ (Shimonoseki Treaty) ซึ่งมีใจความส�ำคัญว่าจีนจะยกเกาะฟอร์โมซา (Island of Formosa) หรือเกาะไต้หวันใน ปัจจุบัน และหมู่เกาะอื่น ๆ ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องหรืออยู่ภายใต้การปกครองของหมู่เกาะฟอร์โมซา/ไต้หวัน รวมถึงเกาะเซนกากุ/ เตียวหยูให้อยู่ภายใต้การปกครองของญี่ปุ่น หลังจากที่ญี่ปุ่นแพ้สงครามโลกครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) สนธิสัญญาดังกล่าวถูกแทนที่ด้วยสนธิสัญญา ซานฟรานซิสโก (San Francisco Treaty) ซึ่งเป็นการลงนามระหว่างสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น โดยมีใจความส�ำคัญว่า ญี่ปุ่นจะ ยกเลิกการปกครองเกาะฟอร์โมซา/ไต้หวัน และเกาะอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องหรืออยู่ภายใต้การปกครองของเกาะฟอร์โมซา/ไต้หวัน อย่างไรก็ตาม เกิดกรณีถกเถียงกันระหว่างทางการญี่ปุ่น จีน และไต้หวัน ว่า หมู่เกาะเซนกากุ/เตียวหยู ถือเป็นเกาะที่เกี่ยวข้อง หรืออยู่ภายใต้การปกครองของเกาะฟอร์โมซา/ไต้หวัน หรือไม่ ทั้งนี้ ญี่ปุ่นอ้างว่า ตามมาตรา 3 ของสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก หมู่เกาะเซนกากุ/เตียวหยูอยู่ภายใต้การบริหารของ สหรัฐอเมริกา โดยเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะนันเซอิ โชโต (Nansei Shoto) และในอดีตจีนไม่ได้แสดงท่าทีโต้แย้งสถานะของ หมู่เกาะเซนกากุ/เตียวหยูที่อยู่ภายใต้การบริหารของสหรัฐอเมริกาแต่อย่างใด โดยญี่ปุ่นกล่าวว่า จีนเริ่มมีจุดยืนไม่เห็นด้วยและ ต้องการยึดครองหมู่เกาะดังกล่าว หลังจากที่ผลการส�ำรวจดินแดนบริเวณหมู่เกาะเซนกากุ/เตียวหยูใน พ.ศ. 2511 (ค.ศ. 1968) บ่งชี้ความเป็นไปได้ที่จะเป็นแหล่งทรัพยากรน�้ำมัน ทัง้ นี้ ใน พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1972) สหรัฐอเมริกาได้ยตุ กิ ารยึดครองจังหวัดโอกินาวาและหมูเ่ กาะริวกิว ซึง่ มีหมูเ่ กาะเซนกากุ /เตียวหยูรวมอยู่ด้วย

3. จุดยืนของแต่ละประเทศคู่กรณี 3.1 จุดยืนจีนและไต้หวัน ทั้งสองประเทศกล่าว แสดงสิทธิความเป็นเจ้าของหมู่เกาะเซนกากุ/เตียวหยู โดยอ้างเหตุผลดังต่อไปนี้ ➥➥ ได้ค้นพบและบันทึกหมู่เกาะดังกล่าวไว้ ในแผนที่การเดินทางไว้ก่อน ➥➥ หมู ่ เ กาะดั ง กล่ า วเป็ น ชายแดนนอก ชายฝัง่ ของจีนเพือ่ ใช้ในการป้องกันโจรสลัดญีป่ นุ่ (Wokou) ในระหว่าง พ.ศ. 1911–2454 (ค.ศ. 1368-1911) ซึ่งอยู่ใน ช่วงราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชงิ ทัง้ นี้ แผนทีแ่ สดงภูมภิ าค เอเชี ย ของจี น รวมถึ ง แผนที่ ซึ่ ง จั ด ท� ำ ขึ้ น โดยช่ า งแผนที่ ชาวญี่ปุ่นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 แสดงว่าหมู่เกาะ เซนกากุ/เตียวหยูเป็นส่วนหนึง่ ของประเทศจีน (ขณะทีก่ อ่ น พ.ศ. 2427 ไม่มขี อ้ มูลอ้างอิงถึงหมูเ่ กาะดังกล่าวในเอกสาร ทางการของญี่ปุ่น) ➥➥ ญี่ปุ่นยึดครองหมู่เกาะดังกล่าวใน พ.ศ. 2438 ตามการลงนามในสนธิสัญญาชิโมโนเซกิ ภายหลัง

68

ภาพที่ 2 แผนที่วาดโดยนักเขียนแผนที่ชาวญี่ปุ่น แสดงว่าเกาะเซนกากุ/เตียวหยูเป็นของจีน

อ้างอิงจาก : Washington Times


จากที่จีนแพ้สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 1 อย่างไรก็ตาม จดหมายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของญี่ปุ่นใน พ.ศ. 2428 (ค.ศ. 1885) แสดงให้เห็นถึงความวิตกกังวลของญี่ปุ่นเกี่ยวกับการตอบสนองของจีน หากญี่ปุ่นแสดงท่าทีการยึดครอง หมู่เกาะเซนกากุ/เตียวหยูอย่างเป็นทางการ ซึ่งบ่งชี้ว่าญี่ปุ่นรู้ว่าหมู่เกาะดังกล่าวไม่ใช่ดินแดนที่ไม่มีเจ้าของ (Terra Nullius) อย่างที่ญี่ปุ่นได้กล่าวอ้างไว้ ➥➥ แถลงการณ์ พ อทสดั ม ระบุ ว ่ า "อ� ำ นาจอธิ ป ไตยญี่ ปุ ่ น จะจ� ำ กั ด อยู ่ ที่ เ กาะฮอนชู เกาะฮอกไกโด เกาะคิ ว ชู เกาะชิโกกุและเกาะเล็กอื่น ๆ ที่เราก�ำหนด ซึ่ง "เรา" หมายถึงผู้ชนะสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่พบกันที่นครพอทสดัม (สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และสาธารณรัฐประชาชนจีน) โดยญี่ปุ่นได้ยอมรับเงื่อนไขของประกาศดังกล่าว ➥➥ จีนออกมาประท้วงการโอนอ�ำนาจการครอบครองหมู่เกาะเซนกากุ/เตียวหยูของสหรัฐอเมริกา เป็นของญี่ปุ่น อย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) ทั้งนี้ จีนอ้างว่า นายเจียงไคเช็ก (Chiang Kai-Shek) หัวหน้าพรรคก๊กมินตั๋ง (Guomindang) ล้มเหลวใน การต่อต้านการตัดสินใจของสหรัฐอเมริกาในการให้สทิ ธิการครอบครองหมูเ่ กาะเซนกากุ/เตียวหยูแก่ญปี่ นุ่ เนือ่ งจากในช่วงดังกล่าว นายเจียงไคเช็กต้องการการสนับสนุนจากทางการสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ ในเดือนเมษายน 2555 ไต้หวันปฏิเสธค�ำเชิญจากจีนที่จะร่วมกันแก้ไขข้อพิพาทดินแดนกับญี่ปุ่น โดยจีนยังคงยืนยันในสิทธิการครอบครองหมู่เกาะดังกล่าว แม้ว่าจะเกิดกรณีพิพาทกับไต้หวัน ภาพที่ 3 แผนที่ทางการจีนใน ค.ศ. 1969 3.2 จุดยืนญี่ปุ่น ญี่ปุ่นยืนยันว่ากรณีพิพาทเรื่อง ซึ่งแสดงว่าหมู่เกาะเซนกากุ/เตียวหยูเป็นของญี่ปุ่น ดินแดนบริเวณหมู่เกาะดังกล่าวไม่จ�ำเป็นต้องแก้ไข โดยได้ โต้แย้งเหตุผลของทางการจีนไว้ดังนี้ ➥➥ หมู่เกาะดังกล่าวไม่มีผู้อยู่อาศัย และก่อน พ.ศ. 2438 ไม่มีหลักฐานแสดงว่าจีนครอบครองหมู่เกาะ ดังกล่าว ➥➥ หมูเ่ กาะเซนกากุ/เตียวหยูไม่ได้เป็นทัง้ ส่วน หนึ่งของไต้หวัน หรือส่วนหนึ่งของหมู่เกาะ Pescadores ซึ่ง ราชวงศ์ชงิ ของจีนยกให้ประเทศญีป่ นุ่ ตามมาตราที่ 2 ในสนธิ สัญญาชิโมโนเซกิ จึงไม่ถอื ว่าญีป่ นุ่ ได้สละสิทธิการยึดครอง หมู่เกาะเซนกากุ/เตียวหยูตามมาตราที่ 2 ของสนธิสัญญา อ้างอิงจาก : Washington Times ซานฟรานซิสโก ➥➥ แม้วา่ หมูเ่ กาะเซนกากุ/เตียวหยูจะถูกครอบครองโดยสหรัฐอเมริการะหว่าง พ.ศ. 2488-2515 (ค.ศ. 1945-1972) ตามสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก อย่างไรก็ตาม หมู่เกาะดังกล่าวอยู่ภายใต้การปกครองของญี่ปุ่นนับตั้งแต่ พ.ศ. 2515 ➥➥ ญีป ่ นุ่ อ้างว่าจีนและไต้หวันเริม่ อ้างกรรมสิทธิใ์ นหมูเ่ กาะเซนกากุ/เตียวหยูใน พ.ศ. 2514 ภายหลังจากทีอ่ งค์การ สหประชาชาติรายงานว่าอาจมีแหล่งน�้ำมันและแหล่งก๊าซธรรมชาติบริเวณหมู่เกาะดังกล่าว 3.3 จุดยืนสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกาไม่ได้ระบุอย่างเป็นทางการเกี่ยวกับประเทศผู้มีสิทธิการครอบครองหมู่เกาะ เซนกากุ/เตียวหยู อย่างไรก็ตาม ทางการสหรัฐอเมริกาได้แถลงการณ์ใน พ.ศ. 2547-2553 และเดือนกันยายน 2555 ว่าญี่ปุ่น ได้ครอบครองหมู่เกาะเซนกากุ/เตียวหยูเป็นอย่างดี ซึ่งตามสนธิสัญญาความร่วมมือและความมั่นคงของระหว่างสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น (Mutual Cooperation and Security between the United States and Japan Treaty) ใน พ.ศ. 2503 (ค.ศ. 1960) ซึ่งระบุให้สหรัฐอเมริกาให้ความช่วยเหลือทางการญี่ปุ่น หากผู้ใดก็ตามซึ่งหมายรวมถึงทางการจีนโจมตีหรือพยายามที่จะ ครอบครองหมู่เกาะดังกล่าว

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

69


4. สถานการณ์ล่าสุด ➥➥ วันที่ 6 กันยายน 2555 รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศซื้อหมู่เกาะเซนกากุ/เตียวหยูเป็นจ�ำนวนเงิน 2.05 พันล้านเยน

(หรือ 26.15 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) จากเอกชนชาวญีป่ นุ่ ซึง่ เกาะดังกล่าวยังเป็นทีถ่ กเถียงเรือ่ งกรรมสิทธิร์ ะหว่างทางการจีนและญีป่ นุ่ อยู่ในขณะนี้ โดยรัฐบาลญี่ปุ่นอ้างว่าการซื้อหมู่เกาะครั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เอกชนญี่ปุ่นหาผลประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ในหมู่เกาะนี้ ➥➥ จีนออกมาต่อต้านการกระท�ำของรัฐบาลญี่ปุ่นในหลายวิธีการ ดังนี้ ❍❍ ประชาชนชาวจีนออกมาประท้วงอย่างรุนแรงและท�ำลายทรัพย์สินของธุรกิจ ร้านค้า ภัตตาคาร และโรงงาน ของญี่ปุ่นหลายแห่งในจีน อีกทั้งคว�่ำบาตรสินค้าและบริการของญี่ปุ่น ❍❍ ทางการจีนเพิ่มอุปสรรคต่อการด�ำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของญี่ปุ่นในจีน • กรมศุลกากรของจีนจะเพิม่ ความเข้มงวดและความถีใ่ นการตรวจสอบสินค้าทีน่ ำ� เข้าจากญีป่ นุ่ ให้มากขึน้ ซึ่งอาจส่งผลให้มูลค่าการส่งออกของญี่ปุ่นไปยังจีนขยายตัวชะลอลง • การกีดกันบริษัทญี่ปุ่นที่จะเข้าประมูลในโครงการต่าง ๆ ➥➥ บริษัทญี่ปุ่นในจีน ❍❍ บริษัทขนาดใหญ่หลายแห่งของญี่ปุ่นในจีน อาทิ โตโยต้า โซนี่ พานาโซนิค และแคนนอน ประกาศระงับ การผลิตและปิดโรงงานในช่วงสัปดาห์ที่ 17-28 กันยายน 2555 ที่ผ่านมา ระหว่างเหตุการณ์ประท้วงรุนแรง ❍❍ บริษัทและผู้ประกอบการสัญชาติญี่ปุ่นที่ตั้งอยู่ในจีนมีแผนโยกย้ายกิจการและการลงทุนไปยังประเทศอื่น ➥➥ รั ฐ บาลสหรั ฐ อเมริ ก าต้ อ งการให้ จี น และญี่ ปุ ่ น ยุ ติ ค วามขั ด แย้ ง โดยรวมเพื่ อ ไม่ ใ ห้ เ หตุ ก ารณ์ บ านปลาย โดยสหรัฐอเมริกาได้เข้าเจรจากับจีนและญี่ปุ่นในระดับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม ทั้งจีนและญี่ปุ่น ยังไม่มีท่าทีที่จะยุติความขัดแย้ง ➥➥ ล่าสุดวันที่ 28 กันยายน 2555 ทางการจีนและทางการญี่ปุ่นยังคงมีการพิพาทระหว่างกันถึงกรรมสิทธิ์เหนือ หมู่เกาะเซนกากุ/เตียวหยู ในเวทีการประชุมสมัชชาใหญ่สหประชาชาติ สมัยสามัญ ครั้งที่ 67 ในนครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา

5. ผลกระทบต่อไทย กรณีข้อพิพาทระหว่างจีนและญี่ปุ่นในครั้งนี้มีนักวิเคราะห์หลายท่านมองว่า อาจส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจเป็นลูกโซ่ แต่จะเป็นเพียงแค่ในระยะสั้น ๆ เท่านั้น และอาจส่งผลดีต่อประเทศข้างเคียงในบางกลุ่มประเทศอีกด้วย ซึ่งไทยเองก็เป็นหนึ่ง ในประเทศที่อาจได้รับประโยชน์นั้นด้วย โดยสามารถแบ่งผลกระทบต่อไทยออกเป็น 4 ด้าน ได้ดังนี้ ➥➥ ช่องทางการท่องเที่ยว ❍❍ บรรยากาศการท่องเที่ยวของทั้ง 2 ประเทศ ณ ขณะนี้ จากการยกเลิกแผนที่จะเดินทางไปท่องเที่ยวระหว่าง กันนั้น ส่งผลดีต่อไทยเนื่องจากนักท่องเที่ยวทั้งสองประเทศจะเบนเข็มการเดินทางมาที่ไทยแทน ❍❍ ในกรณีของจีนเนื่องจากนักท่องเที่ยวจีนมีการยกเลิกทัวร์ในญี่ปุ่นเป็นจ�ำนวนมาก ส่วนประเทศไทยเองถึง แม้ว่าจะมีนักท่องเที่ยวจีนต่อปีเป็นจ�ำนวนมากอยู่แล้ว แต่ล่าสุดข่าวรายงานว่านักท่องเที่ยวชาวจีนบางกลุ่มได้ติดต่อเข้ามาว่า ต้องการเปลี่ยนทิศทางจากญี่ปุ่นมาไทยแทนแล้ว ❍❍ ขณะที่ ก รณี ข องญี่ ปุ ่ น นั้ น อาจมี ค วามเสี่ ย งที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวญี่ ปุ ่ น จะเดิ น ทางออกนอกประเทศน้ อ ยลง เนื่องจากชาวญี่ปุ่นเองค่อนข้างเป็นชาติที่ตื่นกลัวกับเหตุการณ์ความไม่แน่นอน ซึ่งอาจส่งผลให้นักท่องเที่ยวญี่ปุ่นเดินทางออก จากประเทศน้อยลงได้ ➥➥ ช่องทางการค้า ❍❍ จีนมีสัดส่วนการส่งออกไปญี่ปุ่นร้อยละ 7.8 ของมูลค่าการส่งออกรวม (คู่ค้าอันดับ 4) และญี่ปุ่นนั้นส่งออก ไปจีนคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 19.7 ของมูลค่าการส่งออกรวม (คู่ค้าอันดับ 1)

70


ภาพที่ 4 จ�ำนวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาในญี่ปุ่นและจีน แยกตามรายประเทศ

ที่มา : CEIC

ภาพที่ 5 การส่งออกสินค้าไทยไปญี่ปุ่นและจีน แยกตามรายสินค้า

ที่มา : CEIC

ทั้งนี้ จีนและญี่ปุ่นเป็นตลาดส่งออกที่ส�ำคัญของไทย โดยมีสัดส่วนการส่งออกร้อยละ 12.0 และ 10.5 ของ มูลค่าการส่งออกรวม ตามล�ำดับ (สัดส่วน พ.ศ. 2554) ซึ่งไทยอาจได้รับผลกระทบทางอ้อมจากกรณีข้อพิพาทดังกล่าวได้จาก การน�ำเข้าสินค้าไทยที่น้อยลง ❍❍ ไทยมีความเสีย ่ งจากกรณีพพิ าทดังกล่าวในรายสินค้าจ�ำพวกชิน้ ส่วนอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์และส่วนประกอบ รถยนต์ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อไทยทางห่วงโซ่อุปทานได้หากทั้งสองประเทศนี้เกิดเปลี่ยนฐานการผลิตหรือยกเลิกการน�ำเข้า สินค้าระหว่างกัน ❍❍

➥➥ ช่องทางการลงทุน

ในกรณีของญี่ปุ่นมีโรงงานอุตสาหกรรมยานยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ตั้งอยู่ในจีน เป็นจ�ำนวนมาก การพิพาทดังกล่าวที่ยืดเยื้อมายาวนานอาจส่งผลท�ำให้นักลงทุนญี่ปุ่นเริ่มมองหาฐานการผลิตใหม่ ซึ่งไทยเองก็ เป็นหนึ่งในกลุ่มอาเซียนที่อาจได้รับประโยชน์ครั้งนี้ไปด้วย ❍❍ ในกรณีของจีนเอง พ.ศ. 2555 นี้มีแผนการลงทุนกับไทยเพิ่มเติม จากแผนยุทธศาสตร์ความร่วมมือระหว่าง ไทย-จีน ในระยะเวลา 5 ปีข้างหน้านี้ ซึ่งการพิพาทดังกล่าวอาจเป็นปัจจัยสนับสนุนให้จีนเข้าขอลงทุนเพิ่มเติมกับไทยอีก ล่าสุด ในช่วง 6 เดือนแรก ของปี 2555 นี้ จีนได้ยื่นขอรับส่งเสริมการลงทุน 18 โครงการในไทย ซึ่งคิดเป็นมูลค่ากว่า 5.5 พันล้านบาท ❍❍ อย่างไรก็ตาม ความขัดแย้งระหว่างจีนและญี่ปุ่นอาจส่งผลกระทบต่อบรรยากาศการค้าและการลงทุนใน ภูมิภาคเอเชีย โดยเฉพาะความคืบหน้าในการเจรจาในกรอบ ASEAN+3 ❍❍

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

71


➥➥ ช่องทางการเงิน

ทั้งนักลงทุนจีนและญี่ปุ่นต่างมีสัดส่วนการลงทุนระหว่างกันในสัดส่วนที่สูงเมื่อเทียบกับกลุ่มประเทศต่าง ๆ ในเอเชีย ซึ่งหากทั้งสองประเทศยังคงขัดแย้งกันเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน อาจส่งผลท� ำให้เงินทุนต่าง ๆ ไหลออกจากจีน และ กระจายมาสู่กลุ่มประเทศต่าง ๆ ในเอเชียมากขึ้น ซึ่งประเทศไทยก็อาจรับเงินทุนไทยไหลเข้าประเทศเพิ่มขึ้น ❍❍

ภาพที่ 6 การลงทุนโดยตรงจากญี่ปุ่นและการลงทุนต่างประเทศของจีน มายังประเทศในเอเชีย

ที่มา : CEIC

➥➥ จากกรณีพิพาทดังกล่าว

อาจส่ ง ผลให้ ก ารลงทุ น ระหว่ า งจี น และ ญีป่ นุ่ มีความแปรปรวน อาจมีการเคลือ่ นย้าย เงินทุนระหว่างสองประเทศเข้ามาสู่ตลาด อาเซี ย นมากขึ้ น ขณะที่ ป ระเทศไทยมี ความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี กั บ ทั้ ง ประเทศจี น และ ญีป่ นุ่ ซึง่ มีฐานการผลิตในไทยอยูแ่ ล้ว ท�ำให้มี ความเป็นไปได้สูงที่จะมีเม็ดเงินทุนไหล เข้าสู่ตลาดไทยด้วย โดยใน พ.ศ. 2554 จีนมีเงินลงทุนเข้ามาในไทยจ�ำนวน 28.4 พันล้านบาท ขณะที่ญี่ปุ่นมีเงินทุนเข้ามา ในไทยจ�ำนวน 193.8 พันล้านบาท

6. บทสรุป กรณีพิพาทระหว่างจีนและญี่ปุ่นในประเด็นกรรมสิทธิ์เกาะเซนกากุ/เตียวหยูนั้นไม่ใช่เรื่องใหม่ หากแต่เป็นปัญหาเรื้อรัง มากกว่า 200 ปี และอาจส่งผลแก่เศรษฐกิจในภูมิภาคและอาจเป็นอุปสรรคต่อความร่วมมือในกรอบ ASEAN+3 ได้ ถึงแม้ว่าในปัจจุบันไทยจะยังไม่ได้รับผลกระทบโดยตรง แต่ด้วยความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจของไทยกับเศรษฐกิจจีน และญี่ปุ่นผ่านช่องทางการค้า การท่องเที่ยว การลงทุน และการเงิน ในปัจจุบันที่อยู่ในระดับสูง อาจท�ำให้ประเด็นกรณีพิพาทนี้ ส่งผลกระทบต่อไทยในระยะต่อไปได้ จึงเป็นประเด็นที่ไทยควรจับตาดูอย่างใกล้ชิด

72


บทวิเคราะห์ เรื่อง อนาคตข้าวไทยกับความเสี่ยงที่ต้องฝ่าฟัน

1

บทสรุปผู้บริหาร ข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่อยู่คู่กับเศรษฐกิจไทยมาช้านาน เนื่องจากประมาณเกือบร้อยละ 38.0 ของก�ำลังแรงงานรวมอยูใ่ นภาคการเกษตร และส่วนใหญ่นนั้ เป็นชาวนา นอกจากนีข้ า้ วยังเป็นสินค้าส่งออกส�ำคัญ ของไทย โดยในปี 2554 มีมูลค่า 6,432 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และเป็นประเทศที่ส่งออกข้าวเป็นอันดับ 1 ของโลก ❍❍ ผลจากนโยบายรับจ�ำน�ำข้าวเปลือกของรัฐบาล ท�ำให้ราคาข้าวเปลือกในท้องตลาดปรับตัว สูงขึ้น ส่งผลให้รายได้เกษตรกรปรับตัวเพิ่มขึ้น เป็นปัจจัยบวกในการสนับสนุนการบริโภคเอกชน อย่างไรก็ดี จากการทีร่ าคาข้าวปรับตัวสูงขึน้ ท�ำให้ไทยสูญเสียความสามารถทางการแข่งขันด้านราคากับประเทศคูแ่ ข่งดังเช่น ประเทศเวียดนาม ❍❍ ความเสี่ยงที่เกษตรกรอาจต้องเผชิญในอนาคต ได้แก่ ความเสี่ยงภายใน อาทิ อายุเฉลี่ย เกษตรกรทีเ่ พิม่ ขึน้ และประสิทธิภาพการผลิตของไทย และความเสีย่ งภายนอก อาทิ สภาพภูมอิ ากาศทีแ่ ปรปรวน ก่อให้เกิดภัยธรรมชาติบ่อยครั้งขึ้น และความผันผวนของราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลก ❍❍ นโยบายในการลดความเสี่ยง ได้แก่ (1) รัฐบาลควรเร่งหาตลาดใหม่ เพื่อกระจายความเสี่ยง จากการพึง่ พิงตลาดส่งออกหลัก (2) เร่งโครงการลงทุนภาครัฐ ในส่วนของระบบชลประทานและขนส่ง (Logistics) ต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนสินค้าเกษตรทั้งในด้านการผลิตและการขนส่ง และ (3) สานต่อนโยบายปลูกพืชพลังงาน ทดแทน เพื่อให้สอดคล้องกับแผนการลงทุนเพื่อผลิตรถยนต์ที่ประหยัดพลังงาน และเพื่อรับมือกับการกลับมา สูงขึ้นของราคาน�้ำมันในตลาดโลกในอนาคต ❍❍

1. ความส�ำคัญของข้าวต่อเศรษฐกิจไทย ข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่อยู่คู่กับเศรษฐกิจไทยมาช้านาน ซึ่งแม้ว่าในปัจจุบันโครงสร้างการผลิตของประเทศจะพึ่งพา การผลิตในภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการเป็นหลัก และภาคการเกษตรมีบทบาทลดลง โดยมีสัดส่วนประมาณร้อยละ 8.6 ต่อ GDP ในปี 2554 จากที่เคยมีสัดส่วนสูงประมาณร้อยละ 30.9 ในปี 2504 แต่หากพิจารณาในแง่ของการจ้างงานแล้วพบว่า ภาคเกษตรยังคงเป็นแหล่งจ้างงานที่ส�ำคัญที่สุด โดยมีประชากรจ�ำนวนมากกว่า 17 ล้านคน ประกอบอาชีพเกษตรกรรม หรือ เกือบร้อยละ 38.0 ของก�ำลังแรงงานรวม ซึ่งในจ�ำนวนนี้ส่วนใหญ่เป็นชาวนา และหากพิจารณาในแง่พื้นที่ถือครองการเกษตร พบว่าประเทศไทยมีพื้นที่ที่ถือครองเพื่อท�ำการเกษตร 131.6 ล้านไร่ ในจ�ำนวนนี้มีที่นาถึงกว่า 66 ล้านไร่ หรือราวร้อยละ 50 ของพื้นที่การเกษตรทั้งหมด จึงท�ำให้ข้าวมีสัดส่วนในดัชนีผลผลิตภาคการเกษตร (Agricultural Production Index : API) สูงกว่าพืชผลชนิดอื่น หรือคิดเป็นประมาณร้อยละ 26.3 ของผลผลิตการเกษตรรวม โดยจ�ำแนกได้เป็นข้าวเปลือกเจ้าร้อยละ 14.8 ข้าวเปลือกเจ้าหอมมะลิร้อยละ 6.5 และข้าวเปลือกเหนียวเมล็ดยาวร้อยละ 5.0 นอกจากนี้ในแง่ของมูลค่าการค้าจะพบว่า ข้าวเป็นสินค้าเกษตรส่งออกที่ส�ำคัญของไทย โดยในปี 2554 การส่งออกข้าวมีสัดส่วนร้อยละ 2.9 ของมูลค่าการส่งออกรวม มีมูลค่า 6,432 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และไทยเป็นประเทศที่ส่งออกข้าวเป็นอันดับ 1 ของโลก

ผู้เขียน : กาญจนา จันทรชิต เศรษฐกรปฏิบัติการ ส่วนแบบจ�ำลองและประมาณการเศรษฐกิจ ส�ำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ นายยุทธภูมิ จารุเศร์นี นางวิภารัตน์ ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ และ ดร.กุลยา ตันติเตมิท ส�ำหรับข้อแนะน�ำ และบทความนี้เป็นความคิดเห็นส่วนบุคคล ไม่จ�ำเป็นต้องสอดคล้องกับความเห็นของ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง

1

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

73


2. สถานการณ์ผลิตและการค้าข้าวในปัจจุบัน ในปี 2554 จีนและอินเดียเป็นประเทศผู้ผลิตและบริโภคเป็นอันดับ 1 และ 2 ของโลก ในขณะที่ประเทศไทย และเวียดนามเป็นผู้ส่งออกเป็นอันดับ 1 และ 2 ของโลก ส�ำหรับในปี 2555 กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา (USDA) ได้มีการประมาณการผลผลิตข้าวโลกอยู่ที่ 463.2 ล้านตันข้าวสาร และการส่งออกของโลกอยู่ที่ 35.7 ล้านตันข้าวสาร สถานการณ์การผลิตและการบริโภคข้าวของโลก • ด้านการผลิตข้าว จากข้อมูลเชิงประจักษ์ในปี 2554 พบว่าประเทศจีนเป็นประเทศผู้ผลิตข้าวอันดับ 1 ของโลก โดยสามารถผลิตได้ 140.7 ล้านตันข้าวสาร หรือสัดส่วนร้อยละ 30.0 ของผลผลิตข้าวโลกทั้งหมด รองลงมาประเทศอินเดีย ที่สามารถผลิตได้ 103.4 ล้านตันข้าวสาร ด้วยสัดส่วนร้อยละ 22.0 ของผลผลิตข้าวโลกทั้งหมด ในขณะที่ประเทศไทยผลิตข้าว 20.5 ล้านตันข้าวสาร หรือมีสัดส่วนร้อยละ 5.0 ของผลผลิตข้าวโลกทั้งหมด ส�ำหรับในปี 2555 กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา (United States Department of Agriculture : USDA) ได้มีการประมาณการผลผลิตข้าวโลกอยู่ที่ 463.2 ล้านตันข้าวสาร โดยคาดว่าจีนและอินเดียจะอยูท่ ี่ 142.0 และ 98.0 ล้านตันข้าวสาร ในขณะทีไ่ ทยคาดว่าจะอยูท่ ี่ 21.1 ล้านตันข้าวสาร (ภาพที่ 1) • ด้านการบริโภคข้าว จากข้อมูลเชิงประจักษ์ในปี 2554 พบว่าจีนเป็นประเทศผูบ้ ริโภคข้าวอันดับ 1 ของโลก โดยบริโภค 139.5 ล้านตันข้าวสาร หรือสัดส่วนร้อยละ 30.0 ของการบริโภคข้าวโลกทัง้ หมด รองลงมาคือประเทศอินเดียทีบ่ ริโภค 93.8 ล้านตัน ข้าวสาร ด้วยสัดส่วนร้อยละ 20.0 ของการบริโภคข้าวโลกทั้งหมด ตามมาด้วยประเทศอินโดนีเซียที่บริโภค 39.6 ล้านตันข้าวสาร หรือมีสัดส่วนร้อยละ 9.0 ของการบริโภคข้าวโลกทั้งหมด ในขณะที่ประเทศไทยบริโภคข้าว 10.4 ล้านตันข้าวสาร หรือมีสัดส่วน ร้อยละ 2.0 ของการบริโภคข้าวโลกทั้งหมด (ภาพที่ 2) ภาพที่ 1 สัดส่วนผลผลิตข้าวโลก

ภาพที่ 2 สัดส่วนการบริโภคข้าวโลก

ที่มา : USDA ประมาณการ ณ เดือนสิงหาคม 2555

สถานการณ์การค้าข้าวของโลกในปัจจุบัน • ด้านประเทศผู้ส่งออกข้าว ในปี 2554 พบว่าประเทศไทยเป็นประเทศผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1 ของโลก โดยส่งออกที่ 10.7 ล้านตันข้าวสาร หรือสัดส่วนร้อยละ 30.0 ของการส่งออกข้าวโลกทั้งหมด รองลงมาประเทศเวียดนามส่งออก 7.0 ล้านตัน ข้าวสาร ด้วยสัดส่วนร้อยละ 19.0 ของการส่งออกข้าวโลกทั้งหมด ในขณะที่อินเดียเป็นประเทศที่ส่งออกข้าวอันดับที่ 3 ของโลก ที่ 4.6 ล้านตันข้าวสาร หรือมีสัดส่วนร้อยละ 12.8 ของการส่งออกข้าวโลกทั้งหมด อย่างไรก็ตาม กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา (United States Department of Agriculture : USDA) ได้มีการประมาณการการส่งออกข้าวในปี 2555 ว่าจะอยู่ที่ 35.7 ล้านตัน

74


โดยประเทศอินเดียจะส่งออกข้าวเป็นอันดับ 1 ที่ 8.0 ล้านตันข้าวสาร รองลงมาคือประเทศเวียดนามที่คาดว่าจะส่งออกที่ 7.0 ล้านตันข้าวสาร ในขณะที่ไทยคาดว่าจะอยู่ที่ 6.5 ล้านตันข้าวสาร เนื่องจากราคาข้าวส่งออกของไทยที่ปรับตัวสูงขึ้นมาก จากนโยบายรับจ�ำน�ำข้าวของรัฐบาล ซึ่งท�ำให้สูญเสียความสามารถในการแข่งขันกับประเทศคู่แข่งอื่น ๆ • ด้านประเทศผู้น�ำเข้าข้าว ในปี 2554 พบว่าอินโดนีเซียและไนจีเรียเป็นประเทศน�ำเข้าข้าวเป็นอันดับ 1 และอันดับ 2 ของโลก ที่ 3.1 และ 2.6 ล้านตันข้าวสาร หรือสัดส่วนร้อยละ 9.0 และร้อยละ 7.0 ของการน�ำเข้าข้าวของโลกทั้งหมด รองลงมา จะเป็นประเทศอิหร่าน สหภาพยุโรป และบังกลาเทศ เป็นต้น ภาพที่ 3 สัดส่วนผู้ส่งออกข้าวหลักของโลก

ภาพที่ 4 สัดส่วนผู้น�ำเข้าข้าวหลักของโลก

ที่มา : USDA

สถานการณ์การผลิตและการส่งออกข้าวของไทย • ด้านการผลิต ในปี 2554 พบว่าไทยสามารถผลิตข้าวได้ 35.5 ล้านตันข้าวเปลือก โดยแบ่งเป็นข้าวนาปีที่ 25.4 ล้านตัน ข้าวเปลือก และข้าวนาปรัง 10.1 ล้านตันข้าวเปลือก ในขณะที่ปี 2555 ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) คาดว่าจะสามารถ ผลิตได้ 34.2 ล้านตันข้าวเปลือก แบ่งเป็นข้าวนาปี 22.97 ล้านตันข้าวเปลือก ปรับลดลงจากปีกอ่ น 2.5 ล้านตันข้าวเปลือก เนือ่ งจาก ได้รบั ผลกระทบจากปัญหาน�ำ้ ท่วมในช่วงปลายปี 2554 ส่วนข้าวนาปรังอยูท่ ี่ 11.25 ล้านตันข้าวเปลือก ปรับตัวเพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น ประมาณ 1.1 ล้านตันข้าวเปลือก ในขณะที่ปี 2556 คาดว่าจะสามารถผลิตข้าวได้ 37.4 ล้านตันข้าวเปลือก ปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก ปี 2555 ประมาณ 3.2 ล้านตันข้าวเปลือก เนื่องจากคาดว่าสถานการณ์ปกติ ไม่ประสบปัญหาน�้ำท่วมเหมือนปีก่อน ประกอบกับ นโยบายรับจ�ำน�ำข้าวของภาครัฐจูงใจให้เกษตรกรท�ำการเพาะปลูกข้าวเพิ่มขึ้น ตารางที่ 1 คาดการณ์ผลิตข้าวไทยในปี 2555-2556

(หน่วย : ล้านตันข้าวเปลือก)

2553/54

2554/55 f

2555/56 f

ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง ผลผลิตข้าวรวม

25.442 10.141 35.583

22.996 11.247 34.243

26.186 11.247 37.433

ที่มา : สศก.และ สศค.

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

75


• ด้านการส่งออก ในปี 2554 พบว่าไทยสามารถส่งออกข้าวได้ 10.7 ล้านตันข้าวสาร (มูลค่า 6,389 ล้านเหรียญดอลลาร์

สหรัฐ) เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าที่ส่งออกอยู่ที่ 9.1 ล้านตัน หรือขยายตัวที่ร้อยละ 17.9 ซึ่งเป็นการขยายตัวในทุกตลาด โดยเฉพาะ ในภูมิภาคอาเซียนและตะวันออกกลางที่ขยายตัวร้อยละ 43.2 และร้อยละ 9.9 ตามล�ำดับ ในขณะที่ในช่วง 8 เดือนแรกของ ปี 2555 การส่งออกข้าวอยู่ที่ 4.3 ล้านตันข้าวสาร (มูลค่า 2,941 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ) ปรับตัวลดลงมากจากช่วงเดียวกัน ปีก่อน หรือหดตัวที่ร้อยละ -36.8 โดยส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากอุปสงค์ในตลาดโลกที่ชะลอตัวตามภาวะเศรษฐกิจ ประกอบกับ ผลจากนโยบายรับจ�ำน�ำข้าวเปลือกรัฐบาล ซึ่งท�ำให้ราคาข้าวในประเทศและราคาข้าวส่งออกปรับตัวสูงขึ้น และส่งผลกระทบ ต่อความสามารถในการแข่งขันด้านราคากับประเทศคู่แข่งดังเช่นประเทศเวียดนาม ตารางที่ 2 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกไทย

2552

2553

2554

8 เดือนแรก ปี 2555

ปริมาณการส่งออกข้าว (ล้านตัน) อัตราขยายตัว (% YoY) มูลค่าการส่งออกข้าว (ล้าน USD) อัตราการขยายตัว (% YoY)

8.6 -14.2 5,027 -17.8

9.1 5.4 5,345 6.3

10.7 17.9 6,389 19.5

4.3 -36.8 2,941 -47.0

ที่มา : กระทรวงพาณิชย์

3. นโยบายรับจ�ำน�ำข้าวเปลือกของรัฐบาล ผลจากนโยบายรับจ�ำน�ำข้าวเปลือกของรัฐบาล ท�ำให้ราคาข้าวเปลือกในท้องตลาดปรับตัวสูงขึ้น ส่งผลให้ รายได้เกษตรกรปรับตัวสูงขึน้ เช่นกัน และเป็นปัจจัยบวกในการสนับสนุนการบริโภคเอกชน อย่างไรก็ดี จากการทีร่ าคา ข้าวปรับตัวสูงขึ้นท�ำให้ไทยสูญเสียความสามารถทางการแข่งขันด้านราคากับประเทศคู่แข่งดังเช่นประเทศเวียดนาม นโยบายรับจ�ำน�ำข้าวเปลือก เป็นนโยบายทีอ่ ยูก่ บั คนไทยมาร่วม 3 ทศวรรษแล้ว โดยเริม่ จากปีการเพาะปลูก 2524/2525 ที่เริ่มมีนโยบายจ�ำน�ำข้าวเปลือกครั้งแรก โดยให้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) รับจ�ำน�ำข้าวเปลือก จากชาวนาในอัตราดอกเบี้ยที่ต�่ำ เพื่อจูงใจให้ชาวนาชะลอการขายข้าวในช่วงต้นฤดูกาลเก็บเกี่ยวและลดอุปทานข้าวที่ออกสู่ ตลาด โดยเกษตรกรสามารถน�ำข้าวมาจ�ำน�ำกับรัฐบาล และเกษตรกรจะได้มีเงินไปใช้ก่อนโดยยังไม่ต้องขายข้าว เมื่อราคาข้าว หลังฤดูเก็บเกี่ยวปรับตัวสูงขึ้น เกษตรกรจึงค่อยมาไถ่ถอนข้าวเปลือกของตนไปขายในตลาดพร้อมจ่ายดอกเบี้ยให้แก่รัฐบาล ซึ่งจะช่วยให้เกษตรกรมีรายได้สูงขึ้นได้จนถึงปัจจุบัน ยกเว้นปี 2552 ในช่วงรัฐบาลนายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ที่มี การปรับเปลี่ยนรูปแบบเป็นนโยบายประกันรายได้เกษตรกรแทน อย่างไรก็ตาม นโยบายรับจ�ำน�ำข้าวเปลือกในช่วงของรัฐบาล ปัจจุบัน (เริ่มนโยบายเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2554) มีความแตกต่างจากนโยบายรับจ�ำน�ำข้าวในอดีต โดยการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือก ในปัจจุบันเป็นการรับจ�ำน�ำข้าวที่มีราคาสูงกว่าราคาตลาด ส�ำหรับนโยบายรับจ�ำน�ำข้าวในปัจจุบัน มีรายละเอียดการรับจ�ำน�ำ ดังนี้ คณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ (กขช.) ได้มีมติเมื่อวันที่ 9 กันยายน 2554 อนุมัติงบประมาณการด�ำเนินโครงการ รับจ�ำน�ำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55 และมีเงื่อนไขโครงการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55 สรุปได้ดังนี้ • ข้าวเปลือกหอมมะลิ (42 กรัม) ตันละ 20,000 บาท • ข้าวเปลือกหอมจังหวัด (40 กรัม) ตันละ 18,000 บาท (ข้าวหอมมะลินอกพื้นที่ 23 จังหวัด) • ข้าวเปลือกปทุมธานี (42 กรัม) ตันละ 16,000 บาท • ข้าวเปลือกเหนียว 10% เมล็ดยาว ตันละ 16,000 บาท • ข้าวเปลือกเหนียว 10% เมล็ดสั้น ตันละ 15,000 บาท • ข้าวเปลือกเจ้า 100% ตันละ 15,000 บาท

76


โดยในปีเพาะปลูก 2554/2555 รัฐบาลรับจ�ำน�ำข้าวเปลือกจากเกษตรกรที่ 6.799 ล้านตันข้าวเปลือก แบ่งเป็นข้าวเปลือก จากภาคเหนือ 2.281 ล้านตันข้าวเปลือก ภาคกลาง 1.344 ล้านตันข้าวเปลือก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3.150 ล้านตันข้าวเปลือก และภาคใต้ 22.780 หมื่นตันข้าวเปลือก (ตามตารางที่ 3) ตารางที่ 3 ผลการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือก โครงการข้าวนาปี ปี 2554/2555

ปริมาณการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือกนาปี (ตัน) ข้าวเจ้า ปทุมธานี หอมมะลิ หอมจังหวัด

ภาคเหนือ 1,465,654 ภาคกลาง 1,266,425 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 164,062 ภาคใต้ 22,780 รวมทั้งประเทศ 2,918,921

2,790 12,368 84 n.a. 15,242

312,852 n.a. 2,774,757 n.a. 3,087,609

269,552 65,872 n.a. n.a. 335,424

รวมทุกชนิด ข้าว

230,461 n.a. 211,626 n.a. 442,087

2,281,309 1,344,665 3,150,529 22,780 6,799,284

ที่มา : ศูนย์บริหารจัดการโครงการรับจ�ำน�ำสินค้าเกษตร (สะสมตั้งแต่เริ่มโครงการวันที่ 7 ตุลาคม 2554-9 เมษายน 2555)

โครงการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือกนาปรัง ปี 2555 เป็นการด�ำเนินการต่อเนื่องจากโครงการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือก ปีการผลิต 2554/2555 โดยคณะกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติ (กขช.) ได้มีการประชุมเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2555 โดยก�ำหนดราคา รับจ�ำน�ำข้าวเปลือกนาปรัง ปี 2555 ณ ความชื้นไม่เกิน 15% ดังนี้ • ข้าวเปลือกเจ้า 100% ตันละ 15,000 บาท • ข้าวเปลือกปทุมธานี 1 (42 กรัม) ตันละ 16,000 บาท • ข้าวเปลือกเหนียว 10% เมล็ดยาว ตันละ 16,000 บาท • ข้าวเปลือกเหนียว 10% เมล็ดสั้น ตันละ 15,000 บาท ตารางที่ 4 ผลการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือก โครงการข้าวนาปรัง ปี 2555 ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ รวมทั้งประเทศ

ข้าวเจ้า 5,165,806 782,819 6,033,539 29,245 12,011,409

ปริมาณการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือกนาปรัง (ตัน) ปทุมธานี ข้าวเหนียว 5,933 1 129,080 n.a. 135,014

205,647 97,434 n.a. n.a. 303,081

รวมทุกชนิดข้าว 5,377,386 880,254 6,162,619 29,245 12,449,504

ที่มา : ศูนย์บริหารจัดการโครงการรับจ�ำน�ำสินค้าเกษตร (สะสมตั้งแต่เริ่มโครงการวันที่ 1 มีนาคม-7 กันยายน 2555)

ผลกระทบจากโครงการรับจ�ำน�ำ ผลกระทบด้านบวก • ราคาข้าวที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้น โดยในช่วง 8 เดือนแรกของปี 2555 ราคาข้าวเปลือก ณ ราคานอกโครงการ รับจ�ำน�ำปรับตัวสูงขึ้นที่ร้อยละ 8.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และหากรวมกับโครงการรับจ�ำน�ำแล้วพบว่าราคา ข้าวเปลือกขยายตัวในอัตราเร่งขึ้นมากที่ร้อยละ 28.4 และเป็นสาเหตุหลักให้เกษตรกรมีรายได้สูงขึ้น โดยในเดือนสิงหาคม 2555 รายได้เกษตรกรขยายตัวถึงร้อยละ 10.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งจะเป็นปัจจัยหลักสนับสนุนให้การบริโภค ภาคเอกชนขยายตัวต่อเนื่องในปี 2555 ประมาณการเศรษฐกิจไทย

77


ภาพที่ 5 ราคาข้าวเปลือกเจ้าที่ปรับตัวสูงขึ้น จากโครงการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือกของรัฐบาล

ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ผลกระทบด้านลบ • จากการทีร่ าคาข้าวในประเทศปรับตัวสูงขึน้ ส่งผลให้ราคาส่งออกข้าวของไทยปรับตัวสูงขึน้ ตามไปด้วย ก่อให้เกิดปัญหา การสูญเสียความสามารถในการแข่งขันด้านราคากับประเทศคู่แข่ง โดยเฉพาะเวียดนาม ภาพที่ 6 เปรียบเทียบราคาส่งออกข้าวขาว 5% ในตลาดโลก

ที่มา : Reuters

จากภาพที่ 6 จะเห็นได้ว่าจากการที่มีนโยบายรับจ�ำน�ำข้าวได้ส่งผลให้ ระยะห่าง (Gap) ระหว่างราคาส่งออกข้าวขาว 5% ของไทยและเวียดนาม มีเพิ่มมากขึ้น โดยในเดือนกันยายน 2555 ราคาส่งออกข้าวขาว 5% ของไทยอยู่ ที่ 585 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน ในขณะที่ราคาส่งออกข้าวขาว 5% ของเวียดนาม อยู่ที่ 458.3 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน • การขาดแรงจูงใจในการเพิ่มผลิตภาพการผลิต (Productivity) เนื่องจากกลไกราคาที่มีการบิดเบือน ท�ำให้ไม่มีแรงกดดันให้ต้องปรับปรุง ประสิทธิภาพการผลิต โดยในปี 2553 ประสิทธิภาพการผลิตข้าวของไทยอยู่ที่ 474 กิโลกรัมต่อไร่ (โดยแบ่งเป็นผลผลิตข้าวนาปีต่อไร่ อยู่ที่ 394 กิโลกรัม และ ข้าวนาปรังอยู่ที่ 630 กิโลกรัม) ซึ่งน้อยกว่าประเทศเวียดนามที่อยู่ที่ 836.5 กิโลกรัมต่อไร่

78

ตารางที่ 5 ประสิทธิภาพการผลิตข้าว ในปี 2553 ผลผลิต กิโลกรัมต่อไร่ สหรัฐอเมริกา 1,270 เกาหลีใต้ 1,216 เวียดนาม 836 อินโดนีเซีย 780 พม่า 653 ลาว 576 ไทย 474 ที่มา : FAO


4. ความเสี่ยงที่เกษตรกรไทยต้องเผชิญในอนาคต ความเสี่ยงที่เกษตรกรอาจต้องเผชิญในอนาคต ได้แก่ ความเสี่ยงภายใน อาทิ อายุเฉลี่ยเกษตรกรที่เพิ่มขึ้น และประสิทธิภาพการผลิตของไทย และความเสี่ยงภายนอก อาทิ สภาพภูมิอากาศที่แปรปรวนก่อให้เกิดภัยธรรมชาติ บ่อยครั้งขึ้น และความผันผวนของราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลก ความเสี่ยงภายใน • อายุเฉลีย่ เกษตรกรทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยจากข้อมูลกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) อายุเฉลีย่ ของเกษตรกรไทยอยูท่ ี่ 45-51 ปี นอกจากนี้จากผลการศึกษาของ มูลนิธิชีววิถี สรุปผ่านเอกสาร คู่มือประชาชน เรื่อง “ความ(ไม่)มั่นคงทางอาหารกับทางออก ของประเทศไทย” พบว่าจ�ำนวนเกษตรกรลดลงอย่างรวดเร็ว จากร้อยละ 67 เมื่อปี 2532 ลดเหลือน้อยกว่าร้อยละ 40 ในปี 2552 • ประสิทธิภาพการผลิตของไทย ต�ำ่ กว่าประเทศเพือ่ นบ้านและต่างประเทศ ซึง่ ส่วนหนึง่ เป็นผลมาจากการทีป่ ระมาณ ร้อยละ 70 ของข้าวรวมเป็นข้าวนาปี ที่การเพาะปลูกขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศเป็นส�ำคัญ ประกอบกับในบางปีทางภาครัฐ จ�ำเป็นต้องจ�ำกัดพื้นที่เพาะปลูกข้าวนาปรังไว้ไม่เกิน 10 ล้านไร่ (จากที่นาทั้งหมดประมาณ 65 ล้านไร่) เนื่องจากปริมาณน�้ำจาก ชลประทานอาจมีไม่เพียงพอต่อการปลูกข้าวจ�ำนวนมาก ความเสี่ยงภายนอก • ภัยธรรมชาติ ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมาได้เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติรุนแรงติดต่อกันหลายครั้งในพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วโลก รวมถึงประเทศไทยที่เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติเช่นเดียวกัน โดยภัยพิบัติทางธรรมชาติที่น่าเป็นห่วงมากที่สุด คือ พายุ น�้ำท่วม ตามมาด้วยดินถล่ม อันเนือ่ งมาจากภาวะโลกร้อน ส่งผลให้อณ ุ หภูมผิ วิ น�ำ้ ในมหาสมุทรสูงขึน้ เอือ้ ให้เกิดพายุโซนร้อนในหลายพืน้ ที่ ทั่วโลก โดยในประเทศไทยได้ประสบปัญหาน�้ำท่วมใหญ่ในช่วงปลายปี 2554 ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจเป็น จ�ำนวนมาก • ความผันผวนของราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลก ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมาพบว่าราคาสินค้าเกษตรมีความผันผวน มาก ส่วนหนึง่ เป็นผลมาจากสภาพภูมอิ ากาศทีค่ อ่ นข้างแปรปรวนเพิม่ ขึน้ จากภาวะโลกร้อน รวมถึงสถานการณ์เศรษฐกิจโลกทีม่ ี ความผันผวน ซึ่งจะส่งผลกระทบโดยตรงต่ออุปสงค์สินค้าเกษตรในตลาดโลกเช่นเดียวกัน ภาพที่ 7 ราคาสินค้าส่งออกส�ำคัญของไทย

ที่มา : Reuters

ในช่วงปลายปี 2550 ราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลกขยายตัวในอัตราเร่ง เนื่องจากประเทศผู้ผลิตสินค้าเกษตรของโลก เช่น สหรัฐอเมริกา อินเดีย บราซิล เวียดนาม ฯลฯ ประสบปัญหาภัยแล้ง ประกอบกับอุปสงค์ในตลาดที่ขยายตัวในอัตราเร่ง โดยส่วนหนึ่งมาจากการเก็งก�ำไรในตลาดโภคภัณฑ์ ในขณะที่ในช่วงปลายปี 2551-2552 ราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลกส�ำคัญ ที่ปรับลดลงอย่างรวดเร็ว จากปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจโลกท�ำให้ความต้องการสินค้าเกษตรรวมถึงสินค้าโภคภัณฑ์ที่แท้จริงลดลง ในช่วงปลายปี 2553 ถึงต้นปี 2554 ราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้นอีกครั้ง จากสถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่ ประมาณการเศรษฐกิจไทย

79


ฟืน้ ตัวขึน้ ประกอบกับอุปสงค์ยางพาราในตลาดโลกเร่งตัวขึน้ มากตามการขยายตัวของอุตสาหกรรมรถยนต์ในประเทศจีน ขณะที่ ในช่วงปลายปี 2554 ถึงต้นปี 2555 ราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลกลดลงอีกครัง้ เนือ่ งจากสถานการณ์เศรษฐกิจโลกเริม่ มีแนวโน้ม ชะลอตัวเนื่องจากปัญหาวิกฤตหนี้สาธารณะในยุโรปที่ยืดเยื้อ ท�ำให้อุปสงค์ต่อสินค้าเกษตรโดยเฉพาะยางพาราปรับลดลงมาก

5. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย จากปัจจัยเสีย่ งต่าง ๆ ภาครัฐและภาคเอกชนจ�ำเป็นต้องมีมาตรการอย่างต่อเนือ่ งในการรับมือกับปัจจัยเสีย่ ง ดังกล่าว เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนของภาคเกษตรไทย ดังนี้ 1) ระยะสั้น • รัฐบาลควรมีนโยบายเข้าไปช่วยเหลือเพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร ทั้งด้านวัตถุดิบในการผลิต เช่น ปุ๋ย เมล็ดพันธุ์พืช ฯลฯ โดยอาจมอบหมายให้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ด�ำเนินการช่วยเหลือจัดซื้อปุ๋ย อุปกรณ์การผลิต รวมถึงมีมาตรการเพื่อให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งสินเชื่อได้ง่ายขึ้น เป็นต้น • เร่งหาตลาดใหม่ โดยผู้ส่งออกสินค้าเกษตรของไทยควรหันไปพึ่งตลาดใหม่ที่ยังได้รับผลกระทบจากการชะลอตัว ของเศรษฐกิจโลกค่อนข้างน้อย โดยเฉพาะประเทศในอาเซียนและตะวันออกกลาง ซึ่งยังคงมีก�ำลังซื้อและความต้องการสินค้า เกษตรอยู่มาก เพื่อกระจายความเสี่ยงจากการพึ่งพิงตลาดส่งออกหลัก • จากสถานการณ์ทางเศรษฐกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ทั้งในด้านการตลาดและพฤติกรรมของผู้บริโภค ดังนั้น ผู้ประกอบการจะต้องเตรียมพร้อมและปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 2) ระยะปานกลางและระยะยาว • เร่งโครงการลงทุนภาครัฐ ในส่วนของระบบชลประทานและขนส่ง (Logistics) ต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนสินค้าเกษตร ทั้งในด้านการผลิตและการขนส่ง (Logistics) คลังสินค้าเกษตร (ไซโล) ของไทยให้มีประสิทธิภาพ เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการขนส่ง และการรักษาคุณภาพข้าวในระหว่างการเดินทาง • เพิม่ ประสิทธิภาพผลผลิต (Productivity) โดยร่วมมือกับหน่วยงานทางวิชาการเกษตรทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ หน่วยงานภาครัฐ และสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ผลักดันการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีดา้ นการเกษตรให้สามารถมีผลผลิตต่อไร่เพิม่ มากขึน้ รวมถึง การพัฒนาพันธุ์พืชใหม่ ๆ ที่สามารถทนต่อสภาพแวดล้อมและโรคระบาดต่าง ๆ มากขึ้น • รัฐบาลอาจมีการพัฒนาอนุพนั ธ์ประกันความเสีย่ งด้านราคาสินค้าเกษตรใหม่ ๆ โดยเกษตรกรสามารถเลือกทีจ่ ะขาย สินค้าเกษตร ณ ราคาที่ตกลงไว้ล่วงหน้าหรือไม่ก็ได้ (ในกรณีที่ราคาในท้องตลาดสูงกว่าราคาในสัญญา) ซึ่งจะท�ำให้เกษตรกร เริ่มรู้จักบริหารความเสี่ยง • รัฐบาลต้องสานต่อแผนการปลูกพืชพลังงานทดแทน เช่น มันส�ำปะหลัง อ้อย ปาล์มน�ำ้ มัน ฯลฯ เพือ่ ให้สอดคล้องกับ แผนการลงทุนเพื่อผลิตรถยนต์ที่ประหยัดพลังงานจากบรรษัทข้ามชาติ (MNCs) และเพื่อรับมือกับการกลับมาสูงขึ้นของราคา น�้ำมันในตลาดโลกในอนาคต

80


บทวิเคราะห์ เรื่อง เสถียรภาพในภาคการธนาคาร : อุปสรรคต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจอังกฤษ

1

บทสรุปผู้บริหาร เศรษฐกิจอังกฤษยังคงต้องเผชิญกับความซบเซาอย่างต่อเนือ่ ง โดย GDP ของอังกฤษค่อนข้าง คงทีม่ าตัง้ แต่ไตรมาสที่ 4 ของปี 2553 และหดตัวในช่วง 3 ไตรมาสทีผ่ า่ นมา จึงเป็นประเทศหนึง่ ทีเ่ ข้าสู่ Double-dip recession โดย GDP ในไตรมาสที่ 1 และไตรมาสที่ 2 ของปีนปี้ รับลดลงร้อยละ -0.3 และร้อยละ -0.7 จากไตรมาส ก่อนหน้า ตามล�ำดับ นอกจากนี้ GDP ของอังกฤษยังอยู่ในระดับที่ต�่ำกว่าช่วงก่อนเกิดวิกฤต สะท้อนว่าการฟื้นตัว ของเศรษฐกิจเป็นไปอย่างเชือ่ งช้า โดยเฉพาะอุปสงค์ในประเทศทีซ่ บเซาเป็นอย่างมาก ในขณะทีภ่ าคการส่งออก ซึง่ ถือเป็นปัจจัยขับเคลือ่ นเศรษฐกิจของอังกฤษในช่วง 1-2 ปีทผี่ า่ นมา ต้องเผชิญกับความเสีย่ งทีส่ งู ขึน้ จากปัญหา หนีส้ าธารณะของยุโรปทีอ่ าจจะยืดเยือ้ และแพร่กระจายไปยังประเทศอืน่ ๆ มากขึน้ อัตราการว่างงานของอังกฤษ ยังอยูใ่ นระดับสูงทีร่ อ้ ยละ 8.1 ในเดือนกรกฎาคม 2555 จากประมาณร้อยละ 5 ในช่วงก่อนวิกฤต ในขณะเดียวกัน แรงกดดันต่อเงินเฟ้อมีแนวโน้มลดลง แม้ว่าอัตราเงินเฟ้อในเดือนกรกฎาคม 2555 จะอยู่ที่ร้อยละ 2.6 ซึ่งสูงกว่า เป้าหมายที่ธนาคารกลางอังกฤษ (BOE) ก�ำหนดไว้ที่ร้อยละ 2 แต่เป็นระดับที่ลดลงจากช่วงก่อนหน้า ส่วนหนึ่ง จากการปรับลดลงของราคาสินค้าโภคภัณฑ์และความซบเซาของเศรษฐกิจ อีกทั้งการเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อ ในช่วงก่อนหน้าเป็นผลจากการปรับเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่มซึ่งเป็นปัจจัยชั่วคราว ภาวะเศรษฐกิจของอังกฤษข้างต้น สะท้อนให้เห็นถึงความเปราะบางและอาจมีความจ�ำเป็นที่ทางการอังกฤษจะต้องด�ำเนินนโยบายเศรษฐกิจ แบบผ่อนคลายมากขึ้นในระยะต่อไป ❍❍ บทความนีไ ้ ด้กล่าวถึงปัจจัยส�ำคัญทีเ่ ป็นอุปสรรคต่อการฟืน้ ตัวทางเศรษฐกิจของอังกฤษในช่วง ทีผ่ า่ นมา และเป็นปัจจัยทีท่ างการควรให้ความส�ำคัญหากต้องการให้เศรษฐกิจสามารถขับเคลือ่ นไปเอง ท่ามกลาง ความไม่แน่นอนในการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจโลก ปัจจัยดังกล่าวคือ เสถียรภาพในภาคการธนาคาร (Banking sector stability) ซึง่ ก�ำลังได้รบั ผลกระทบจากต้นทุนการกูย้ มื ของธนาคารพาณิชย์ทอี่ ยูใ่ นระดับสูง และท�ำให้การท�ำหน้าที่ ของธนาคารพาณิชย์ในฐานะตัวกลางทางการเงิน (Financial intermediation) ประสบปัญหาอย่างมาก ❍❍

1. เสถียรภาพในภาคการเงินและการธนาคารของอังกฤษ สัญญาณทีช่ ดั เจนของปัญหาในภาคการธนาคารของอังกฤษคือ ความซบเซาในการปล่อยกูส้ ภู่ าคเศรษฐกิจจริง ซึง่ อยูใ่ น ระดับที่ค่อนข้างคงที่มากว่า 3-4 ปี เมื่อพิจารณาในองค์ประกอบ (ตารางที่ 1) การปล่อยกู้ต่อภาคธุรกิจ (ที่ไม่ใช่สถาบันการเงิน) ยังปรับลดลงอย่างต่อเนือ่ ง โดยข้อมูลล่าสุดเดือนมิถนุ ายน 2555 หดตัวลงร้อยละ -2.6 จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ น ในการปล่อยกู้ ต่อภาคธุรกิจทัง้ หมด การปล่อยกูต้ อ่ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ได้รบั ผลกระทบมากกว่าธุรกิจขนาดใหญ่ทสี่ ามารถ ระดมทุนผ่านตลาดทุนและแหล่งเงินกู้จากต่างประเทศได้ ในขณะเดียวกัน การปล่อยกู้สินเชื่อบุคคลที่มีหลักทรัพย์ค�้ำประกันซึ่ง ส่วนใหญ่คอื สินเชือ่ จ�ำนองและถือเป็นองค์ประกอบหลักในการปล่อยกูส้ ภู่ าคเศรษฐกิจจริงของภาคการธนาคารอังกฤษ ก็ขยายตัว อยูใ่ นระดับต�ำ่ ทีร่ อ้ ยละ 0.8 ในเดือนเมษายน-มิถนุ ายน 2555 จากเดิมทีเ่ คยเติบโตทีร่ อ้ ยละ 11.0 ในปี 2550 ทัง้ นีป้ ริมาณการอนุมตั ิ สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยอยู่ในระดับค่อนข้างคงที่ที่ 9-10 พันล้านปอนด์ มาตั้งแต่ปี 2552 (ภาพที่ 1) โดยในปีนี้ธนาคารพาณิชย์ ขนาดใหญ่ 2 แห่ง ได้ประกาศลดการปล่อยกู้ในภาคอสังหาริมทรัพย์ องค์ประกอบของการปล่อยกู้ต่อภาคครัวเรือนที่ขยายตัวได้ มากกว่าองค์ประกอบอื่น ๆ คือการให้สินเชื่อผู้บริโภค โดยเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 2 ในช่วง 1 ปีครึ่งที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี สินเชื่อ ผู้เขียน : นายนุวัต หนูขวัญ เศรษฐกรฝึกงาน ขอขอบคุณ ดร.ศรพล ตุลยะเสถียร ผู้อ�ำนวยการส่วนการวิเคราะห์เสถียรภาพเศรษฐกิจ ส�ำนักนโยบายเศรษฐกิจ มหภาค และ ดร.กุลยา ตันติเตมิท ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเศรษฐกิจมหภาค ส�ำหรับค�ำแนะน�ำ

1

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

81


เพือ่ การบริโภคถือเป็นสัดส่วนทีค่ อ่ นข้างน้อยในการปล่อยกูร้ วม และยังขยายตัวอยูใ่ นระดับทีต่ �่ำกว่าช่วงก่อนวิกฤต อีกทัง้ ยังเป็น สินเชือ่ ทีม่ คี วามยืดหยุน่ ต�ำ่ กว่าสินเชือ่ ประเภทอืน่ ๆ การปล่อยกูท้ ยี่ งั อ่อนแอนับว่าเป็นอุปสรรคส�ำคัญต่อการฟืน้ ตัวทางเศรษฐกิจ ทั้งด้านอุปสงค์และการผลิต ตารางที่ 1 อัตราการขยายตัวของการปล่อยสินเชื่อบุคคลและธุรกิจของ ธ.พ. อังกฤษ Averages 2012 Growth rate (Percent) 2011 2011 2012 2007 2008 2009 2010 2011 Apr May Jun Q3 Q4 Q1 Lending to UK businesses 16.8 17.9 -1.8 -7.1 -3.3 -3.2 -2.1 -2.9 -3.5 -3.1 -2.6 Secured lending to individuals 11.0 6.9 1.4 0.9 0.7 0.6 0.7 0.8 0.8 0.8 0.8 Consumer credit 6.1 6.4 2.8 0.7 1.8 2.2 2.2 2.1 2.1 2.3 2.4 ที่มา : Bank of England

ภาพที่ 1 ยอดการปล่อยสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยโดย ธ.พ. ขนาดใหญ่ของอังกฤษ

ที่มา : Bank of England

การชะลอลงของการปล่อยกู้เป็นผลมาจากหลายสาเหตุด้วยกัน ได้แก่ (1) เศรษฐกิจที่ซบเซา ตลอดจนการก่อหนี้ ในสัดส่วนสูงของครัวเรือนและภาคธุรกิจตั้งแต่ช่วงก่อนวิกฤต2 ซึ่งท�ำให้ต้องพยายามปรับลดหนี้ลง ส่งผลให้อุปสงค์ต่อเงินกู้ ของครัวเรือนและภาคธุรกิจลดลง ในขณะที่ผู้กู้ก็ยังมีความเสี่ยงสูง ท�ำให้ธนาคารพาณิชย์ต้องเพิ่มความเข้มงวดในการปล่อยกู้ (2) ความซบเซาของตลาด Wholesale funding ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นการกูย้ มื กันระหว่างธนาคาร (Interbank) และมักจะมีความอ่อนไหว ต่อความเสีย่ งต่อการผิดนัดช�ำระหนีข้ องคูส่ ญ ั ญา (Counterpart risk) ทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงทีต่ ลาดการเงินมีความผันผวนสูง จึงกระทบต่อ การระดมทุนของธนาคารพาณิชย์ และ (3) การด�ำเนินการลดหนี้ (Deleveraging) และเพิม่ ทุน (Recapitalization) จากภาวะหนีเ้ สีย ในช่วงวิกฤตที่ผ่านมา ซึ่งส่งผลให้ส่วนของทุนในงบดุลลดลง หนี้เสียในภาคการธนาคารของอังกฤษเป็นผลมาจากทั้งการลงทุน ในหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้องกับหนี้ภาคอสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐอเมริกา อาทิ Mortgage-backed securities (MBS) หรือ Collateralized debt obligations (CDOs) รวมถึงการแตกลงของฟองสบู่อสังหาริมทรัพย์ในอังกฤษ3 ซึ่งส่งผลให้ราคาบ้าน ปรับลดลงถึงร้อยละ 30 จากที่ได้เพิ่มขึ้นมาร้อยละ 50 มาอยู่ในระดับสูงสุดในช่วงปี 2549-2550 ซึ่งดังที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น ครัวเรือนของอังกฤษมีสัดส่วนหนี้ต่อรายได้ (debt-to-income) ที่สูงมากเมื่อเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้วอื่น ๆ ปัญหาฟองสบู่อสังหาริมทรัพย์เกิดขึ้นอย่างแพร่หลายในยุโรป มิใช่เฉพาะในอังกฤษหรือสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะในกรณีของไอร์แลนด์และสเปน ฟองสบู่ ที่แตกตัวลงน�ำมาสู่ปัญหาภาคการธนาคารเช่นเดียวกัน และทางการของทั้งสองประเทศจ�ำเป็นต้องขอรับความช่วยเหลือจากภายนอก

2 3

82


การปล่อยกู้ในภาคอสังหาริมทรัพย์มีสัดส่วนที่ค่อนข้างสูงในปริมาณการปล่อยกู้รวมของธนาคารพาณิชย์ โดยคิดเป็นมากกว่า ร้อยละ 60 ของปริมาณการปล่อยกูร้ วมต่อภาคธุรกิจและครัวเรือน หนีเ้ สียทีเ่ กิดขึน้ นัน้ ส่งผลให้ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่บางแห่ง ต้องตัดหนี้สูญเป็นมูลค่าสูงถึง 10-20 พันล้านดอลลาร์ สรอ. และท�ำให้ธนาคารพาณิชย์ต้องพยายามปรับงบดุลของตนเองโดย การลดหนี้ ซึง่ ท�ำให้ตอ้ งลดสินทรัพย์หรือการปล่อยกูล้ งด้วย ปัจจัยต่าง ๆ ข้างต้นสะท้อนให้เห็นว่า “แม้ระบบการเงินของธนาคารพาณิชย์ จะไม่มีวาณิชธนกิจ (Investment bank) ที่มีความซับซ้อน แต่การที่ธนาคารพาณิชย์ก่อหนี้ในระดับสูง ปล่อยกู้ให้แก่นักลงทุน ในภาคอสังหาริมทรัพย์ และเน้นระดมทุนระยะสั้นจากตลาด Wholesale ก็สามารถน�ำมาซึ่งความเสี่ยงที่สูงมากได้เช่นกัน” อีกทัง้ ในช่วง 1 ปีทผี่ า่ นมา อีกปัจจัยหนึง่ ทีส่ ง่ ผลต่อการด�ำเนินธุรกิจของธนาคารพาณิชย์อย่างมาก และกลายเป็น ประเด็นหลักที่ส่งผลต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ตลอดจนน�ำมาซึ่งการด�ำเนินนโยบายต่าง ๆ คือ ต้นทุนในการกู้ยืม ของธนาคารพาณิชย์ (Bank funding cost) ที่สูงขึ้นในตลาด Wholesale สะท้อนความเสี่ยง (Counterparty risk) ที่สูงขึ้น อันเป็นผลมาจากปัญหาหนีส้ าธารณะในยุโรป เป็นส�ำคัญ ทัง้ นีธ้ นาคารกลางอังกฤษได้คำ� นวณเครือ่ งชีท้ แี่ สดงต้นทุนในการปล่อยกู้ (Variable-rate loans) ของธนาคารพาณิชย์ทมี่ ชี อื่ ว่า “Marginal funding cost4” ซึง่ สะท้อนถึงต้นทุนทีส่ งู ขึน้ (ภาพที่ 2) ทัง้ ในส่วนของ (1) Sterling Libor ระยะเวลา 3 เดือน ได้ปรับสูงขึ้นจากปีก่อน แม้จะยังอยู่ในระดับต�่ำมากก็ตาม และ (2) Credit default swap (CDS) premium ของธนาคารพาณิชย์องั กฤษก็ได้ปรับสูงขึน้ เช่นเดียวกัน ตามความเชือ่ มโยงทางการเงินกับประเทศในกลุม่ ยูโรโซน โดยในทีน่ ี้ CDS premium ถูกใช้เป็นตัวแทน (Proxy) ของ Asset swap spread ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของอัตราดอกเบีย้ ในการออกพันธบัตร เพื่อกู้ยืมในตลาด Wholesale ของธนาคารพาณิชย์ ต้นทุนการกู้ยืมที่สูงขึ้นนี้กระทบต่อการปล่อยสินเชื่อของธนาคาร พาณิชย์และอัตราดอกเบีย้ เงินกูท้ ธี่ นาคารพาณิชย์คดิ กับภาคเอกชน โดยเฉพาะอัตราดอกเบีย้ จ�ำนองทีม่ แี นวโน้มปรับสูงขึน้ อย่างชัดเจนในช่วงทีผ่ า่ นมา (ภาพที่ 3) ในขณะทีอ่ ตั ราดอกเบีย้ ในการปล่อยกูใ้ ห้แก่ภาคธุรกิจก็มแี นวโน้มสูงขึน้ จากร้อยละ 2.13 ในเดือนธันวาคม 2553 เป็นร้อยละ 2.60 ในช่วงเดือนมิถุนายน 2555 แม้ว่าอัตราดอกเบี้ยนโยบายหรือ Bank rate จะยังคงอยู่ ในระดับต�่ำและธนาคารกลางอังกฤษมีการอัดฉีดสภาพคล่องอย่างต่อเนื่องผ่านมาตรการ Quantitative easing (QE) ซึ่งจะเป็น ผลเสียต่อการฟื้นตัวของตลาดอสังหาริมทรัพย์รวมถึงเศรษฐกิจโดยรวมต่อไป นอกจากความกังวลต่อปัญหาหนี้ยุโรปแล้ว ข้อบังคับตาม BASEL III ซึง่ ก�ำหนดให้ธนาคารพาณิชย์ตอ้ งถือเงินทุนในสัดส่วนทีม่ ากขึน้ ต่อปริมาณการปล่อยกูก้ ม็ สี ว่ น ท�ำให้ต้นทุนการกู้ยืมของธนาคารพาณิชย์สูงขึ้นเช่นกัน ภาพที่ 2 New Bank Rate Tracker mortgage rate, Bank Rate and an estimate of bank’s marginal funding cost

ที่มา : Inflation Report (Aug 2012), Bank of England หมายเหตุ : (a) อัตราดอกเบีย้ ของสินเชือ่ จ�ำนองทีม่ สี ดั ส่วน loan-to-value ร้อยละ 75 (b) ค�ำนวณจากผลรวม ของ Sterling Libor ระยะ 3 เดือนกับค่าเฉลีย่ ถ่วงน�ำ้ หนักของ CDS premia ของ ธ.พ. ขนาดใหญ่ของอังกฤษ ดูบทความเรื่อง “Understanding the price of new lending to households” เพิ่มเติม จาก Quarterly Bulletin 2010 Q3 ของ Bank of England

4

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

83


ต้นตอของปัญหาเสถียรภาพในภาคการธนาคารส่วนหนึ่งจึงมาจากปัจจัยด้านโครงสร้างของระบบ ธนาคาร พาณิชย์อังกฤษที่พึ่งพาการกู้ยืมผ่านตลาด Wholesale หรือตลาดกู้ยืมระหว่างธนาคาร นอกเหนือไปจากเงินฝากของ ครัวเรือนและภาคธุรกิจ ซึ่งเป็นปัญหาเดียวกับที่สถาบันการเงินในสหรัฐอเมริกาต้องเผชิญและส่งผลให้ประสบปัญหาทางด้าน สภาพคล่อง เมื่อสถาบันการเงินเริ่มมีความลังเลในการปล่อยกู้แก่กันและกันจาก Counterparty risk ที่สูงขึ้น ทั้งนี้สัดส่วนเงินกู้ ต่อเงินฝาก (Loan-to-deposit ratio) ของธนาคารพาณิชย์อยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูง และสะท้อนถึงปริมาณการปล่อยกู้ที่สูงกว่า ปริมาณเงินฝากทีไ่ ด้รบั มาจากครัวเรือนและธุรกิจ แสดงว่าธนาคารพาณิชย์จ�ำเป็นต้องพึง่ พาการระดมทุนผ่านตลาด Wholesale โดยสัดส่วนเงินกู้ต่อเงินฝากของธนาคาร Santander, Lloyds, Barclays และ Royal Bank of Scotland ในปี 2554 อยู่ที่ร้อยละ 138.0 ร้อยละ 139.4 ร้อยละ 124.0 และร้อยละ 111.1 ตามล�ำดับ ซึ่งเป็นสัดส่วนที่ลดลงแล้วจากช่วงวิกฤตซึ่งอยู่ที่ประมาณ ร้อยละ 150 การพึ่งพาตลาด Wholesale ที่ค่อนข้างมากส่งผลให้ธนาคารพาณิชย์อังกฤษได้รับผลกระทบจากความตึงตัวและ ต้นทุนที่สูงขึ้นในตลาด Wholesale ค่อนข้างมาก ซึ่งส่งผลลบต่อการปล่อยกู้ของธนาคารพาณิชย์ต่อไป ทั้งนี้มีบทความหนึ่ง5 ชี้วา่ ธนาคารพาณิชย์ทมี่ ีสดั ส่วนเงินกูต้ อ่ เงินฝากต�่ำหรือพึง่ พาการระดมผ่านตลาด Wholesale น้อย สามารถปล่อยกูจ้ �ำนองด้วย อัตราดอกเบี้ยที่ต�่ำกว่าอย่างชัดเจน ภาพที่ 3 อัตราดอกเบี้ยส�ำหรับการปล่อยสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย

ที่มา : Bank of England

แม้ธนาคารพาณิชย์องั กฤษจะพยายามปรับตัวโดยการหันไประดมทุนผ่านเงินฝากจากครัวเรือนและภาคธุรกิจ (Retail funding) แต่ก็ได้ส่งผลให้ต้นทุนของ Retail funding ปรับสูงขึ้นมาก เนื่องจากธนาคารต่าง ๆ ต้องแข่งขันเพื่อ แย่งชิงเงินฝาก ในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจ�ำของครัวเรือนปรับสูงขึ้นจากร้อยละ 2.24 ณ เดือนธันวาคม 2553 เป็นร้อยละ 3.10 ในเดือนมิถุนายน 2555 ผลที่ตามมาก็คือ ธนาคารพาณิชย์อังกฤษต้องเผชิญกับต้นทุนการกู้ยืมที่สูงขึ้น ทั้งในส่วนของตลาด Wholesale และ Retail ซึ่งได้ถูกส่งผ่านไปยังความต้องการปล่อยกู้ของธนาคารพาณิชย์ อัตราดอกเบี้ย เงินกู้ต่อครัวเรือนและธุรกิจ และเป็นอุปสรรคต่อการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศต่อไป นอกจากนี้ปจั จัยเชิงโครงสร้างเศรษฐกิจในด้านอืน่ ๆ ยังส่งผลให้การส่งผ่านของปัญหาในภาคการธนาคารไปสู่ ภาคเศรษฐกิจจริงมีความรุนแรงยิ่งขึ้น • ประการแรก ภาคการธนาคารของอังกฤษนับว่ามีขนาดใหญ่ ตลอดจนทัง้ ภาคครัวเรือนและธุรกิจต่างพึง่ พาเงินทุนจาก การกู้ยืมผ่านธนาคารในระดับสูง ทั้งนี้งบดุลของภาคการธนาคารของอังกฤษมีขนาดถึงร้อยละ 500 ของ GDP มากกว่าในกรณี ของสหรัฐอเมริกาที่คิดเป็นเพียง 1 ใน 5 ของ GDP6 ในช่วงก่อนวิกฤต การเพิ่มขึ้นของการกู้ยืมของภาคธุรกิจนั้นมาจากการกู้ยืม ข้อมูลจาก Financial times “Funding pressure on mortgage rates” by Tanya Powley George Osborne’s Mansion House Speech (June 14, 2012)

5 6

84


ผ่านธนาคารพาณิชย์เป็นหลัก ในขณะที่การระดมทุนผ่านช่องทางอื่น ๆ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยส�ำคัญ (ภาพที่ 4) ดังนั้น ปัญหาในภาคการธนาคารจึงส่งผลกระทบอย่างมากต่อการใช้จ่ายและด�ำเนินธุรกิจของภาคเอกชน ทั้งนี้ในช่วงวิกฤต ภาคธุรกิจ มีการปรับตัวโดยการกู้ยืมผ่านการออกพันธบัตรมากขึ้น โดยยอดการออกพันธบัตรของภาคธุรกิจขยายตัวในช่วง 5 ไตรมาส ทีผ่ า่ นมา ส่วนหนึง่ ได้รบั การสนับสนุนจากการด�ำเนินมาตรการ QE ซึง่ ส่งผลให้มกี ารปรับโครงสร้างสินทรัพย์ของภาคเอกชนจาก พันธบัตรรัฐบาลเป็นหุน้ หรือพันธบัตรของภาคเอกชน แต่กไ็ ม่เพียงพอทีจ่ ะรองรับความซบเซาในการปล่อยกูข้ องธนาคารพาณิชย์ได้

ภาพที่ 4 วิธีการระดมทุนของภาคธุรกิจอังกฤษ

ที่มา : Bank of England

• ประการที่สอง ภาคการธนาคารอังกฤษมีความกระจุกตัว (Market concentration) ที่ค่อนข้างสูง กล่าวคือ มีธนาคาร

พาณิชย์รายใหญ่ไม่กแี่ ห่งเป็นผูค้ รองส่วนแบ่งตลาด ปัญหาคือ ธนาคารพาณิชย์ทไี่ ด้รบั ผลกระทบมากจากปัญหาหนีเ้ สียต่างเป็น ธนาคารที่มีความส�ำคัญในการปล่อยกู้ต่อภาคธุรกิจ ข้อมูลในปี 2550 บ่งชี้ว่า Lloyds และ Royal Bank of Scotland มีขนาด การปล่อยกู้คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 40 ของการปล่อยกู้รวมต่อภาคธุรกิจของอังกฤษ ส่งผลให้ภาคการธนาคารของอังกฤษ โดยรวมได้รบั ผลกระทบมาก ในประเด็นนีท้ างการอังกฤษได้เล็งเห็นถึงปัญหาและจะพยายามสนับสนุนการแข่งขันในภาคธนาคาร พาณิชย์ ส่วนหนึ่งผ่านการลดอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาด (Barrier to entry) ในอนาคต (Tucker, 2555) • ประการที่สาม อุปสงค์ในประเทศถือเป็นปัจจัยส�ำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะการบริโภค ภาคเอกชนที่คิดเป็นร้อยละ 60 ของ GDP ตัวเลขของการบริโภคภาคเอกชนและการลงทุน ณ ไตรมาสที่ 1 ปี 2555 หดตัวร้อยละ -0.78 และร้อยละ -0.70 ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ในขณะที่มูลค่าการส่งออกคิดเป็นเพียงร้อยละ 30 ของ GDP และอังกฤษมีสถานะ เป็นผู้น�ำเข้าสุทธิ (Net importer) ดังนั้น เมื่อธนาคารพาณิชย์ไม่สามารถเดินหน้าปล่อยกู้ให้แก่ครัวเรือนและธุรกิจได้อย่างเต็มที่ จึงส่งผลกระทบต่อการฟื้นตัวของอุปสงค์ในประเทศและการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมาก ทั้งนี้แม้ทางการอังกฤษจะมี ความต้องการปรับสมดุล (Rebalance) ของการขยายตัวทางเศรษฐกิจจากอุปสงค์ในประเทศไปสู่การส่งออกสุทธิ แต่ด้วย ความไม่แน่นอนในการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกยังมีอยู่มาก ความจ�ำเป็นในการพึ่งพาและกระตุ้นอุปสงค์ในประเทศจึงยังมีอยู่ ด้วยปัจจัยเชิงโครงสร้างทั้งสามประการ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจอังกฤษส่วนหนึ่งจึงขึ้นอยู่กับการปรับตัวของ ภาคการธนาคารเป็นส�ำคัญ

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

85


2. วิกฤตหนี้ยุโรป : ความเสี่ยงส�ำคัญต่อเสถียรภาพในภาคการธนาคารและการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา ความไม่แน่นอนจากวิกฤตหนี้สาธารณะยุโรปได้สร้างความผันผวนให้แก่ตลาดการเงินโลก เป็นอย่างมาก ซึ่งรวมถึงความตึงตัวที่เกิดขึ้นในตลาดการกู้ยืมระหว่างธนาคาร แม้ว่าธนาคารพาณิชย์ของอังกฤษ ได้ดำ� เนินการสะสมเงินทุน (Loss-absorbing buffers) อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ รองรับความสูญเสียทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคต โดยสัดส่วน เงินกองทุนชัน้ ที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสีย่ ง (Tier-1 capital ratio) ของระบบธนาคารพาณิชย์องั กฤษเพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 8.34 ต่อสินทรัพย์ เสีย่ งในปี 2550 เป็นร้อยละ 12.24 ในปี 2554 แต่ดว้ ยความเชือ่ มโยงของภาคการธนาคารของอังกฤษกับเศรษฐกิจยุโรปได้สง่ ผลให้ ผู้ปล่อยกู้ยังมีความกังวลต่อความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น โดยเฉพาะในลักษณะของ Tail event (มีความเป็นไปได้น้อยที่จะเกิดขึ้น แต่สามารถเกิดขึ้นได้) ซึ่งจะน�ำมาซึ่งความเสียหายที่รุนแรงต่อภาคธนาคาร จึงท�ำให้ต้นทุนในตลาด Wholesale ปรับสูงขึ้น ผลกระทบจากการผิดช�ำระหนีใ้ นประเทศกลุม่ PIIGS สูภ่ าคการธนาคารของอังกฤษ จะส่งผ่านมาจากภาคธุรกิจ ทีไ่ ม่ใช่สถาบันการเงินเป็นส�ำคัญ มิได้มาจากภาครัฐหรือภาคการธนาคารของยุโรปซึง่ เป็นศูนย์กลางของวิกฤตโดยตรง ทั้งนี้ Exposure ของธนาคารพาณิชย์อังกฤษต่อหนี้ของภาครัฐและธนาคารพาณิชย์ของประเทศในกลุ่ม PIIGS (โปรตุเกส อิตาลี ไอร์แลนด์ กรีซ และสเปน) มีค่อนข้างน้อย ประมาณ 12 และ 30 พันล้านปอนด์ ตามล�ำดับ7 แต่ Exposure ต่อหนี้ของภาคเอกชน ที่ไม่ใช่ธนาคารมีสูงมากถึง 146 พันล้านปอนด์ หรือคิดเป็นร้อยละ 58 ต่อกองทุนชั้นที่ 1 (ตารางที่ 2) ดังนั้น ผลกระทบจาก ประเทศในกลุ่ม PIIGS จะกระทบต่อภาคการธนาคารของอังกฤษ หากปัญหาหนี้ยุโรปส่งผลเสียที่รุนแรงมายังภาคเศรษฐกิจจริง และกระทบความสามารถในการท�ำก�ำไรและช�ำระหนี้ของภาคธุรกิจของประเทศในกลุ่ม PIIGS นอกจากนี้อีกช่องทางหนึ่งที่ปัญหาในกลุ่ม PIIGS สามารถส่งผลมายังภาคการธนาคารของอังกฤษได้ คือ ผ่านประเทศ เศรษฐกิจหลักในยูโรโซน โดย Exposure ของธนาคารพาณิชย์องั กฤษต่อหนีข้ องธนาคารพาณิชย์ในประเทศฝรัง่ เศสและประเทศ เยอรมนีมีค่อนข้างมาก ประมาณ 60 และ 30 พันล้านปอนด์ ตามล�ำดับ ซึ่งธนาคารพาณิชย์ในทั้งสองประเทศต่างเป็นผู้ปล่อยกู้ รายใหญ่ให้แก่ประเทศในกลุ่ม PIIGS ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ดังนั้น เสถียรภาพของภาคการธนาคารของอังกฤษอาจได้รับ ผลกระทบมาก หากปัญหาถูกส่งผ่านมายังภาคการธนาคารของประเทศขนาดใหญ่ขา้ งต้น อย่างไรก็ดี การทีธ่ นาคารพาณิชย์ได้เริม่ สะสมเงินทุนในช่วงทีผ่ า่ นมาจะเป็นปัจจัยส�ำคัญทีช่ ว่ ยลดทอนผลกระทบ หากการเบีย้ วช�ำระหนีข้ องประเทศกลุม่ PIIGS เกิดขึน้ จริง อย่างไรก็ดี ตลาดการเงินของโลกและอังกฤษยังคงตอบสนองอย่างต่อเนื่องต่อพัฒนาการต่าง ๆ ของปัญหา หนี้ยุโรป ทั้งในส่วนของความรุนแรงของปัญหาและความคืบหน้าในการแก้ปัญหา ความไม่แน่นอนจากวิกฤตหนี้ยุโรป จะส่งผลให้ตลาดการเงินมีความผันผวน ส่งผลให้การระดมทุนของธนาคารพาณิชย์ผา่ นตลาดการเงินท�ำได้ยาก เนือ่ งจากธนาคาร พาณิชย์มีความกังวลต่อความเสี่ยงในการปล่อยกู้แก่กันและกัน อัตราดอกเบี้ยในตลาดการเงินปรับสูงขึ้นและกระทบต่อต้นทุน ในการกู้ยืมของธนาคารพาณิชย์ ดังนั้น ด้วยวิกฤตหนี้ยุโรปที่มีแนวโน้มยืดเยื้อและรุนแรงขึ้น อัตราดอกเบี้ยระหว่างธนาคารหรือ ในตลาด Wholesale จึงมีโอกาสที่จะปรับสูงขึ้นได้อีกในอนาคตข้างหน้า แม้ธนาคารพาณิชย์จะพยายามปรับตัวในด้านต่าง ๆ แล้วก็ตาม ล่าสุด Credit Conditions Survey ในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 คาดว่าอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จะปรับสูงขึ้นอีกในระยะต่อไป นอกเหนือผลกระทบทางตรงต่อภาคการเงินแล้ว วิกฤตหนี้ยุโรปยังส่งผลให้การขยายตัวของเศรษฐกิจโลกและอังกฤษชะลอลง กระทบต่อความเชื่อมั่นในการใช้จ่ายและลงทุนของภาคเอกชน ซึ่งก็จะส่งผลต่อเนื่องมายังภาคการเงินผ่านอุปสงค์ต่อเงินกู้ ในอีกทางหนึ่ง

ข้อมูลธนาคารพาณิชย์ ขนาดใหญ่ 4 แห่ง ณ สิ้นปี 2554

7

86


ตารางที่ 2 Exposures ของ ธ.พ. อังกฤษ ต่อประเทศต่าง ๆ ในยุโรป (as of Q4 11) Sovereigns Banks Greece Ireland Italy Portugal Spain Total vulnerable Europe (as of Q1 12) Belgium France Germany Netherland Total

(หน่วย : พันล้านปอนด์)

Non-bank Total private sector

Percent of core Tier 1 (Total less provisions)

0.7 2.1 5.3 1.0 3.0 12.1

0.8 9.7 5.6 1.4 12.4 29.9

3.6 65.7 26.4 10.4 39.7 145.9

5.1 77.5 37.3 12.9 55.1 187.9

2.3 29.9 17.8 6.0 25.7 81.7

5.2 29.9 130.1 69.7 247.0

5.5 61.3 29.7 6.6 133.0

2.1 53.7 41.1 41.4 284.2

12.8 144.9 200.9 117.7 664.1

NA NA NA NA NA

ที่มา : Financial Stability Report (Jun 12), Bank of England

3. การด�ำเนินนโยบายเศรษฐกิจของทางการอังกฤษ เศรษฐกิจอังกฤษต้องเผชิญกับข้อจ�ำกัดในการด�ำเนินนโยบายมหภาคเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ด้วยหนี้สาธารณะ ต่อ GDP8 ณ เดือนมิถุนายน 2555 ที่ร้อยละ 66.1 และการขาดดุลการคลังที่อยู่สูงกว่าร้อยละ 8 ต่อ GDP ณ สิ้นปี 2554 ทั้งนี้ รัฐบาลอังกฤษได้ประกาศว่าจะปรับลดการขาดดุลและวางเป้าหมายที่จะใช้นโยบายการคลังแบบสมดุลให้ได้ภายในปี 2560 ซึง่ ส่งผลให้แรงกระตุน้ จากภาคการคลังมีแนวโน้มลดลงเรือ่ ย ๆ ในระยะต่อไป ในส่วนของนโยบายการเงิน คณะกรรมการนโยบาย การเงินอังกฤษ (MPC) ได้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายหรือ Bank rate มาอยู่ที่ร้อยละ 0.5 ต่อปี มาตั้งแต่วันที่ 5 มีนาคม 2552 ท�ำให้ธนาคารกลางอังกฤษ (BOE) ไม่สามารถปรับลดอัตราดอกเบี้ยเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติมได้อีก และต้องน�ำมาตรการ ทางการเงินแบบอื่น ๆ (Unconventional monetary policy) มาใช้ ที่ส�ำคัญคือ มาตรการ Quantitative easing (QE) ในช่วงที่ผ่านมาตลาดได้ให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินมาตรการ QE ของ BOE ซึ่งเป็นการอัดฉีดสภาพคล่องเข้าสู่ ระบบเศรษฐกิจผ่านการเข้าซือ้ สินทรัพย์โดยเฉพาะพันธบัตรรัฐบาล จากนักลงทุนภาคเอกชน อาทิ Pension fund และ Insurance companies โดยนักลงทุนเหล่านี้จะน�ำสภาพคล่องที่ได้รับไปซื้อสินทรัพย์อื่น ๆ อาทิ พันธบัตรที่ออกโดยภาคเอกชน หลักทรัพย์ หุ้นกู้ ซึ่งให้อัตราผลตอบแทนสูงกว่า ก่อให้เกิดการปรับพอร์ตการลงทุน (Portfolio-balancing effect) ซึ่งช่วยลดต้นทุนการกู้ยืม ระยะยาวและกระตุ้นให้มีการออกหุ้นหรือพันธบัตรใหม่ ๆ ต่อไป ล่าสุดเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2555 หลังจากที่ MPC ประเมินว่า ความเสี่ยงทางด้านลบต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจจากวิกฤตหนี้สาธารณะในยุโรปเพิ่มขึ้น ตลอดจนภาวะสินเชื่อยังตึงตัว อย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ อาจส่งผลให้อตั ราเงินเฟ้อลดต�ำ่ ลงกว่าเป้าหมายทีร่ อ้ ยละ 2.0 MPC จึงเห็นชอบให้เพิม่ ขนาดการเข้าซือ้ สินทรัพย์ ผ่าน Asset purchase program อีก 50 พันล้านปอนด์ จาก 325 เป็น 375 พันล้านปอนด์9 การด�ำเนินมาตรการ QE ของอังกฤษได้ช่วยให้ปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น และท�ำให้ราคาสินทรัพย์ ได้แก่ หลักทรัพย์และพันธบัตร ปรับตัวดีขึ้น เป็นการเพิ่มความมั่งคั่งและลดต้นทุนในการกู้ยืมให้แก่กิจการที่สามารถกู้ยืม ในตลาดทุน (Capital market) ได้ อย่างไรก็ดี มาตรการ QE ไม่ได้เข้าไปจัดการกับปัญหาต้นทุนการกูย้ มื ทีส่ งู ขึน้ ของธนาคาร ไม่รวม financial sector intervention ปริมาณการเข้าซื้อสินทรัพย์ผ่าน Asset Purchase Program ของธนาคารกลางอังกฤษ: มีนาคม - พฤศจิกายน 2552 200 พันล้านปอนด์ 6 ตุลาคม 2554 275 พันล้านปอนด์ 9 กุมภาพันธ์ 2555 325 พันล้านปอนด์ 5 กรกฎาคม 2555 375 พันล้านปอนด์

8 9

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

87


พาณิชย์โดยตรง แต่เปรียบเสมือนกับการที่ BOE เข้ามาท�ำหน้าที่เป็นตัวกลางทางการเงิน (Financial intermediation) แทน และข้ามผ่าน (Bypass) ระบบธนาคารพาณิชย์ที่ก�ำลังประสบปัญหาไป ดังนั้น การแก้ปัญหาผ่านมาตรการ QE จึงอาจ มองได้ว่าเป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่ได้เข้าไปจัดการภาระต้นทุนและปัญหาด้านสภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ ตลอดจนภาวะตึงตัวของสินเชื่อโดยตรง ล่าสุดทางการอังกฤษจึงออกมาตรการใหม่ 2 มาตรการที่จะเข้าไปจัดการกับปัญหาโดยตรง และกอบกู้ ภาคการธนาคารให้กลับมาปล่อยสินเชื่อแก่ครัวเรือนและภาคธุรกิจอีกครั้ง ด้วยอัตราดอกเบี้ยที่เหมาะสมกับภาวะ เศรษฐกิจในปัจจุบัน (ภาพที่ 5) ภาพที่ 5 การด�ำเนินนโยบายของธนาคารอังกฤษ

ที่มา : รวบรวมโดยผู้เขียน

มาตรการแรก ในช่วงเดือนมิถนุ ายน 2555 BOE ได้ประกาศใช้ “Extended Collateral Term Repo (ECTR)” Facility เพิม่ เติมจาก Facility เดิมที่ BOE ใช้เป็นปกติอยูแ่ ล้ว เพือ่ ให้ความช่วยเหลือด้านสภาพคล่องแก่ธนาคารพาณิชย์ในภาวะฉุกเฉิน หรือในยามที่ตลาดตึงตัวมาก โดยให้ธนาคารพาณิชย์ประมูลสภาพคล่องระยะสั้นจาก BOE ด้วยหลักประกันที่หลากหลายขึ้น โดยอัตราดอกเบีย้ ขัน้ ต�ำ่ ทีธ่ นาคารพาณิชย์สามารถเสนอในการกูย้ มื สภาพคล่องจะมีคา่ เท่ากับ Bank rate บวกกับ 25 Basis point ซึ่งจะเป็นผลดีต่อภาระต้นทุนในการกู้ยืมของธนาคารพาณิชย์เช่นเดียวกัน ทั้งนี้ BOE ได้ระบุด้วยว่า ขนาดของการเปิดประมูล แต่ละครั้งจะไม่ต�่ำกว่า 5 พันล้านปอนด์ และจะด�ำเนินการเดือนละ 1 ครั้ง เป็นอย่างต�่ำ มาตรการที่สอง ซึ่ง BOE และกระทรวงการคลังอังกฤษได้ร่วมกันออกในช่วงเดือนกรกฎาคม 2555 และ ตลาดให้ความส�ำคัญค่อนข้างมาก ได้แก่ “Funding for Lending Scheme” โดยจะช่วยบรรเทาภาวะตึงตัวในภาคการธนาคาร ผ่านการให้เงินทุนแก่ธนาคารพาณิชย์ในอังกฤษ ด้วยอัตราดอกเบี้ยที่ต�่ำกว่าในตลาด จึงเป็นการช่วยลดต้นทุนการกู้ยืมของ ธนาคารพาณิชย์ และสร้างแรงจูงใจให้ธนาคารพาณิชย์ปล่อยกู้ให้แก่ครัวเรือนและภาคธุรกิจในปริมาณมากขึ้นและด้วย อัตราดอกเบี้ยที่ถูกลง วิธีการคือ BOE จะให้ธนาคารพาณิชย์กู้ยืมพันธบัตรรัฐบาล โดยใช้เงินกู้ที่ปล่อยให้ครัวเรือนและภาค ธุรกิจเป็นหลักประกัน (Collateral swap) โดยธนาคารพาณิชย์สามารถน�ำพันธบัตรรัฐบาลที่ได้มาเพื่อไปกู้ยืมเงินต่อด้วยอัตรา ดอกเบี้ยที่ใกล้เคียงกับ Bank rate ดังนั้น ต้นทุนการกู้ยืมของธนาคารพาณิชย์ผ่านมาตรการนี้จะมีค่าเท่ากับอัตราดอกเบี้ยใน การกู้ยมื ของธนาคารพาณิชย์โดยใช้พนั ธบัตรรัฐบาลเป็นหลักประกันข้างต้น บวกกับค่าธรรมเนียมในการกู้ยืมพันธบัตรรัฐบาลที่ ธนาคารพาณิชย์ตอ้ งจ่ายให้ BOE ทัง้ นีส้ งิ่ ทีน่ า่ สนใจของมาตรการนี้ คือ วิธกี ารสร้างแรงจูงใจในการปล่อยกูใ้ ห้แก่ธนาคารพาณิชย์

88


โดยปริมาณเงินกูท้ ธี่ นาคารพาณิชย์สามารถกูย้ มื จาก BOE ตลอดจนค่าธรรมเนียมในการกูย้ มื นัน้ จะขึน้ อยูก่ บั ปริมาณการปล่อยกู้ ของธนาคารพาณิชย์ไปสู่ภาคเศรษฐกิจจริง10 โดยธนาคารพาณิชย์ที่เพิ่มการปล่อยกู้จะสามารถกู้ยืมจากมาตรการนี้ได้มากขึ้น และเผชิญกับค่าธรรมเนียมที่ต�่ำกว่า ประสิทธิผลของ 2 มาตรการข้างต้นทีจ่ ะเข้ามาจัดการกับรากเหง้าของปัญหาในภาคการธนาคารโดยตรง ได้แก่ ภาระต้นทุนของธนาคารพาณิชย์ และการขาดแคลนสภาพคล่อง ยังเป็นสิ่งที่ต้องจับตามองต่อไป ท่ามกลางวิกฤต หนี้ยุโรปที่คาดว่าจะรุนแรงและยืดเยื้อ และสร้างความผันผวนให้แก่ตลาดการเงินโลก ทั้งนี้ประสิทธิผลของมาตรการน่าจะ ขึน้ อยูก่ บั การส่งผ่านผลของต้นทุนการกูย้ มื ของธนาคารพาณิชย์ทลี่ ดลงไปสูอ่ ตั ราดอกเบีย้ เงินกู้ การตอบสนองของอุปสงค์ตอ่ เงินกู้ จากการปรับลดลงของอัตราดอกเบี้ย การเพิ่มขนาดการปล่อยกู้ของธนาคารพาณิชย์ตลอดจนการส่งผ่านผลกระทบไปยัง อัตราดอกเบี้ยในตลาดตัวอื่น ๆ อย่างไรก็ดี เนื่องด้วยธนาคารพาณิชย์อังกฤษได้ด�ำเนินการฟื้นฟูงบดุลของตนในช่วงที่ผ่านมา กอปรกับการเข้าไปจัดการกับต้นเหตุของปัญหาโดยตรง การส่งผ่านผลกระทบของมาตรการผ่านช่องทางการปล่อยกู้ของ ภาคธนาคาร (Bank lending channel) น่าจะมีประสิทธิผลในระดับหนึ่ง นอกจากนี้ในช่วงที่ผ่านมาตลาดการเงินมีแนวโน้ม ปรับตัวไปในทางที่ดีขึ้นมาก หลังจากที่มีการประกาศว่าจะน�ำทั้งสองมาตรการมาใช้ โดยอัตราดอกเบี้ย Libor ระยะ 3 เดือน ปรับลดลงจากช่วงต้นเดือนมิถุนายน 2555 ที่ร้อยละ 1.00 มาอยู่ที่ร้อยละ 0.70 ในช่วงกลางเดือนสิงหาคม 2555 สะท้อน ความกังวลต่อความเสี่ยงทางด้านสภาพคล่องที่ลดลง

4. บทสรุป การฟื้นตัวของภาคการธนาคารของอังกฤษจะเป็นปัจจัยส�ำคัญปัจจัยหนึ่งที่จะชี้ชะตาการฟื้นตัวของเศรษฐกิจอังกฤษ โดยรวม ด้วยวิกฤตหนีย้ โุ รปและการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกทีส่ อ่ เค้าว่าจะต้องเผชิญกับความยากล�ำบากมากขึน้ การเร่งกระตุน้ อุปสงค์ในประเทศจึงเป็นสิง่ ทีท่ างการอาจต้องหันมาให้ความสนใจเพือ่ ทีจ่ ะสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ทงั้ นีท้ งั้ นัน้ ภาคการธนาคารทีม่ คี วามเข้มแข็งและสามารถสนับสนุนการใช้จา่ ยและการลงทุนของภาคเอกชนได้จะเป็นปัจจัยเกือ้ หนุนส�ำคัญ ด้วยเศรษฐกิจของอังกฤษทีย่ งั มีความเชือ่ มโยงกับภาคการธนาคารอยูม่ าก ทีผ่ า่ นมานโยบายของทางการอาจไม่มปี ระสิทธิผลนัก ในการฟืน้ ฟูภาคการธนาคารเมือ่ พิจารณาจากการปล่อยกูส้ ภู่ าคเศรษฐกิจจริงของธนาคารพาณิชย์ แต่ในช่วง 2-3 เดือนทีผ่ า่ นมา เราได้เห็นถึงความก้าวหน้าของมาตรการซึง่ เข้าไปรับมือกับปัญหาอย่างถูกจุดมากขึน้ และอาจช่วยพลิกเศรษฐกิจอังกฤษให้กลับมา ขยายตัวอีกครั้งหนึ่งได้ อย่างไรก็ดี ความท้าทายในภาคการธนาคารของอังกฤษยังมีประเด็นในระยะยาวที่ทางการอังกฤษต้องจัดการ คือ การปฏิรปู ภาคการธนาคาร โดยในปี 2553 กระทรวงการคลังอังกฤษได้จดั ตัง้ Independent Commission on Banking (ICB) ขึน้ เพื่อเป็นหัวรถจักรในการขับเคลื่อนการปฏิรูปดังกล่าว ที่มุ่งหวังเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้แก่ภาคการธนาคารในการรับมือ กับความเสี่ยงต่าง ๆ ตลอดจนเพิ่มพูนความสามารถทางการแข่งขันให้แก่ธนาคารพาณิชย์อังกฤษ ซึ่งประสิทธิภาพของ ICB นี้ จะเป็นประเด็นที่ต้องจับตาต่อไป

ปริมาณเงินกู้ที่ธนาคารพาณิชย์แต่ละแห่งสามารถกู้ยืมได้จะเท่ากับร้อยละ 5 ของยอดการปล่อยกู้สู่ภาคเศรษฐกิจจริง ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2555 รวมกับ การเพิม่ ขึน้ สุทธิของการปล่อยกูต้ งั้ แต่วนั ดังกล่าวจนถึงปลายปี 2556 โดยหากธนาคารพาณิชย์เพิม่ การปล่อยกู้ 1 ปอนด์ ก็จะสามารถกูย้ มื ได้เพิม่ ขึน้ 1 ปอนด์ ทัง้ นี้ BOE ประเมินว่าร้อยละ 5 ของยอดการปล่อยกู้สู่ภาคเศรษฐกิจจริงของธนาคารพาณิชย์ทุกแห่งอยู่ที่ประมาณ 8 หมื่นล้านปอนด์ ส่วนค่าธรรมเนียมในการกู้ยืม พันธบัตรจาก BOE นั้นจะอยู่ที่ร้อยละ 0.25 ต่อปี แต่หากการปล่อยกู้ของธนาคารพาณิชย์ลดลงร้อยละ 1 จากยอดการปล่อยกู้ ณ สิ้นเดือนมิถุนายน. 2555 ค่าธรรมเนียมจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.25 โดยมีเพดานที่ร้อยละ 1.5 ต่อปี

10

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

89


Briefing Analysis US Fiscal Cliff : Is Thailand falling off ?

1

Executive Summary

The U.S. Fiscal Cliff has emerged as a major concern in global economics. If changes are not made following the US Presidential Election in November 2012, the Bush Tax Cuts will expire at the end of 2012, and budgetary spending will decrease. This will reduce the U.S. deficit, but it will also stall growth. ❍❍ This article finds that the Fiscal Cliff, if occurs, would have a moderate impact on the Thai economy. Specifically, economic model suggests that it would at most result in an additional decline in real GDP growth from the base case of only -0.5 percent. ❍❍ To limit the impact, Thailand must seek new export markets, strengthen domestic demand, and closely monitor and manage any adverse impact through financial markets. ❍❍

1. Introduction The Fiscal Cliff is a threat that could potentially affect the U.S. economy beginning in January 2013. As the U.S. has not yet fully recovered from the Subprime Crisis of 2008-2009, the Fiscal Cliff would limit the U.S. government’s ability to conduct fiscal policy to further stimulate the economy, which could lead to recession in the long run. For Thailand and other countries that had experienced adverse effects from the Subprime Crisis, the threat from the Fiscal Cliff is a major concern. This article aims to analyze the potential impact of the Fiscal Cliff on the Thai economy as well as to formulate policy implications that could mitigate such impacts.

2. What is the “Fiscal Cliff” The phrase “Fiscal Cliff” was first mentioned by Ben Bernanke, the Chairman of the U.S. Federal Reserve, to describe the fiscal situation created by the expiration of tax provision in the end of 2012 as well as the simultaneous kicking in of automatic spending cuts required by the Budget Control Act 2011. From the revenue side, the increase in revenue is the result of the scheduled expirations of the tax provisions since George W. Bush era2. The tax provision was scheduled to expire at the end of 2012. The expiration would result in higher payroll taxes, higher income taxes, and higher alternative minimum tax. From spending side, the decrease in spending is the result of the automatic cuts in spending under the Budget Control Act 2011. The automatic cuts will trigger approximately $109 billion in the annual spending reductions starting in January 2013, totaling $1.2 trillion spending cuts over the next 10 years. In essence, the increase in tax burden and the reduction of government spending would create a sharp fiscal contraction at a time when the economic recovery is weak, thereby impeding long-term US economic development. Miss Praewpailin Soihongprai, the author, is an economist intern at the Fiscal Policy Office, Ministry of Finance and a graduate student in economics at the University of Michigan-Ann Arbor. The author thanks Dr. Soraphol Tulayasathien and Mr. Youthapoom Charusreni for comments and suggestions. The opinion and analysis in this paper do not reflect the official position of the Fiscal Policy Office. 2 Economic Growth and Tax Relief Reconciliation Act of 2011 and Job and Growth Tax Relief Reconciliation Act of 2003 1

90


3. The US 2012 Election and the Way Out of the Fiscal Cliff We could say that the Fiscal Cliff entwines itself to American political issues. The presidential election, to be held on November 6, 2012, will significantly determine policy direction on the issue of the Fiscal Cliff, given that Democrat and Republican differ in their stances. On tax increase, according to House Republicans, the party voted to extend all tax cuts from Bush Tax Cut administration for every working American. Nevertheless, Democrats in the House countered with a plan backed by President Barack Obama to extend the tax cuts for all but the highest-earning Americans. Their plan would raise the marginal top tax rate on annual incomes over $200,000 for individuals and $250,000 for couples from 35 percent to 39.6 percent. On spending cut, Democrats currently demanded to allow the automatic spending cuts, otherwise known as “sequestration.” Meanwhile, Republicans agreed to cut the spending according to the Budget Control Act 2011, except defense discretionary spending.

4. The Impacts of the Fiscal Cliff on the U.S. Economy This article divides the study of U.S. fiscal scenarios into 2 cases. 1) Budget projection under the Fiscal Cliff in budget year 2013 The Congressional Budget Office (CBO) estimates that with the Fiscal Cliff, the federal budget is projected to show a deficit of $1.2 trillion in 2012 (approximately -7.6 percent of GDP) or about 1 percentage point less than the deficit recorded last year. The CBO projected that under the Fiscal Cliff scenario, the U.S. economy in 2013 would additionally decline -1.1 percent from the base case (CBO’s base case in 2013 is at +2.2%). 2) Budget projection under the extension of tax provision and the kicking in of automatic spending cuts required by the Budget Control Act 2011: Under this fiscal scenario, deficits over the 2013-2022 periods would be much higher, averaging 5.3 percent of GDP. Moreover, instead of decreasing to 61 percent of GDP, debt held by the public would climb to 93 percent in 2022, the highest record since just after World War II. If we are to compare the two cases, we can indicate that the extension of Bush Tax Cuts will push federal debt to the unsupportable levels (Figure 1). Looking at the deficit in the next 10 budgetary years (2012-2022) of each scenario, the Fiscal Cliff scenario will result in an improvement of budget deficit while the extension scenario will further push the 10-year total budget deficit down to $10.73 billion. In addition, in 2022 the difference of the two deficits is as high as $1.15 billion.

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

91


Figure 1 Deficit comparison in 2 scenarios from 2012-2022

Source : CBO, compiled by FPO

5. The Impacts of the Fiscal Cliff on the Thai Economy Given the CBO projected impacts on the U.S. economy, a macro-econometric model of the Thai economy utilized in this article indicates that the slower U.S. economy would result in an additional decline in Thai real GDP growth in 2013 of only -0.5 percent. Through the trade channel, the impacts from the US Fiscal Cliff would cause Thai exports to fall from the baseline projection by -1.5 percent. Meanwhile, domestic consumption and investment do not show noticeably negative impact, showing in a contraction only -0.3 and -0.4 percent respectively. (Table 1) Table 1 Impacts of Fiscal Cliff on Thai Economic Growth Thai real GDP growth in 2013 Private consumption Private investment Export of goods and services

Difference from the Base Case (%) -0.54 -0.3 -0.4 -1.5

Source : Author’s Projection

6. Conclusion and Policy Recommendations Even though it is likely that the Fiscal Cliff situation would be resolved after the U.S. Presidential Election in November 2012, we should prepare for the worst. This article recommends the following: 1) Thailand must seek new export markets. Given that the model predicts some adverse impacts on exports, Thailand should diversify its export destination to new markets. As shown in Figure 2, the share of Thai exports to the U.S. has fallen continuously from 2000 to 2011, suggesting that the trade share exported to USA no longer plays a primary role in the Thai export market. Nonetheless,

92


to prepare for the Fiscal Cliff, Thailand should expedite new export channels to new markets such as Africa, South America and Middle East, in addition to ASEAN, China, and India. Through opening new export markets, Thailand can improve export level and thereby dramatically diversify risk on international trade sector. Figure 2 Share of Thai Exports to the U.S. (% of total Thai exports)

Source : Ministry of Commerce

2) Thailand should strengthen domestic demand. To bring about the balance between international trade sector and domestic demand is the significant way to create economic cushion in case the negative external shock occurs. That is, a stronger domestic section would mitigate the impacts from external factors such as the Fiscal Cliff or even the Eurozone debt crisis. This can be done by implementing policies aiming at raising income of taxpayers including price control policy. Infrastructure, however, takes a major role in business competency expansions and remains a major concern. The Thai government should endeavor to develop and facilitate private sector business via this channel. 3) Thailand must closely monitor and manage any adverse impact through financial markets. The impact through financial markets could quickly materialize and potentially poses a threat to the Thai economy. To prevent such adverse impacts, we should: • Closely monitor capital flows and other development in international financial markets. • Develop the financial system to run efficiently, transparently, and sustainably. This includes a careful supervision of financial institutions, since those institutions are highly connected to the real sector. At this stage, Thailand has undergone the Financial Sector Master Plan II and Capital Market Development Master Plan, which can be considered as a step closer to the world standard financial system. • Collaborate for the external source of funding from regional collaboration. For example, ASEAN+3 countries already have in place the Chiang Mai Initiative Multilateralisation (CMIM)3 which aims to provide funding for member countries in short of foreign exchange reserves. The access to funding can reduce systemic risk that can expose to nearby countries if their financial systems are extremely related.

Multilateral currency swap arrangement among the ten members of the Association of Southeast Asian Nations (ASEAN), the People's Republic of China (including Hong Kong), Japan, and South Korea. It draws from a foreign exchange reserves pool worth US$120 billion and was launched on 24 March 2010. That pool has been agree to expand to $240 billion by the end of 2012

3

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

93


บทวิเคราะห์ เรื่อง ฝ่าวิกฤตเศรษฐกิจกับการลงทุนภาครัฐ

1

บทสรุปผู้บริหาร การลงทุนโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐหรือ Mega Projects มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุน การพัฒนาประเทศ โดยเป็นการลงทุนด้านโครงสร้างพืน้ ฐานเพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และยกระดับคุณภาพชีวติ ทัง้ นี้ Mega Projects เป็นโครงการแผนงานทีส่ ว่ นราชการและรัฐวิสาหกิจลงทุนโดยมีวงเงิน ลงทุนตั้งแต่ 1,000 ล้านบาทขึ้นไป ซึ่งปัจจุบันครอบคลุมใน 8 สาขา คือ การขนส่งมวลชนขนาดใหญ่ (Mass Transit) คมนาคม ทรัพยากรน�้ำ การศึกษา สาธารณสุข ที่อยู่อาศัย พลังงาน และโทรคมนาคม ❍❍ ผลจากการลงทุนโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐ พบว่า ส่งผลดีต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (GDP) ทั้งภาคการลงทุนและการบริโภค รวมถึงทางด้านเสถียรภาพทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศ การจ้างงาน ระดับราคาสินค้า และดุลบัญชีเดินสะพัด อีกทั้งยังจะช่วยท�ำให้คนทุกกลุ่มได้รับประโยชน์ เป็นการกระจายรายได้ สร้างโอกาสให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ❍❍ ด้วยมูลค่าและขนาดของโครงการที่มีขนาดใหญ่จ�ำเป็นต้องใช้งบประมาณที่สูง ท�ำให้ภาครัฐ ต้องเตรียมความพร้อมในการจัดหาแหล่งเงินทุนที่เพียงพอส�ำหรับการด�ำเนินโครงการ และพิจารณาแนวทาง การระดมทุน โดยควรมีการผสมผสานระหว่างการใช้เงินงบประมาณ เงินรายได้ของรัฐวิสาหกิจ เงินกู้ และ การระดมทุนในวิธีอื่น ๆ โดยการเพิ่มบทบาทให้หน่วยงานเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมกับภาครัฐ (Public-Private Partnership : PPP) นับเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยท�ำให้ภาครัฐลดข้อจ�ำกัดด้านงบประมาณการลงทุนใน โครงการต่าง ๆ ❍❍ นอกจากนี้ การประเมินผลของนโยบายต่าง ๆ ของรัฐบาลจ�ำเป็นต้องมีความเข้าใจที่ถ่องแท้ ถึงผลกระทบที่มีต่อมิติของเศรษฐกิจและสังคม เพื่อให้นโยบายต่าง ๆ สามารถช่วยพัฒนาเศรษฐกิจและลด ความเหลือ่ มล�ำ้ ทางเศรษฐกิจของประเทศ และท�ำให้คนไทยส่วนใหญ่มคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ และสามารถด�ำรงอยู่ ในสังคมได้อย่างเท่าเทียมกันในอนาคตต่อไป ❍❍

ในช่วงกว่า 3 ทศวรรษที่ผ่านมา เศรษฐกิจไทยสามารถมีอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจในระดับสูงอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น โดยมีโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตาม ปัญหาเชิงสังคมทีส่ ำ� คัญในปัจจุบนั คือ ปัญหาความเหลือ่ มล�ำ้ ทางสังคมและการเข้าถึงสวัสดิการสังคมของประชาชน ที่ยังคงไม่ทั่วถึง อีกทั้งความผันผวนทางเศรษฐกิจในแต่ละครั้งได้ส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้น้อย ที่ยังไม่สามารถเข้าถึงสวัสดิการสังคม (Social Safety Net) ทั้งในด้านสุขภาพและด้านการศึกษาเป็นอย่างมาก ดังนั้น การมี ระบบสวัสดิการสังคมทีค่ รอบคลุมกลุม่ เป้าหมายจึงกลายเป็นส่วนหนึง่ ของนโยบายทีส่ ำ� คัญเพือ่ รองรับผลกระทบทางสังคม และ ยังเป็นการสร้างความเป็นธรรมในสังคม ทัง้ นีร้ ฐั บาลได้พยายามวางแผนนโยบายด้านสวัสดิการขัน้ พืน้ ฐานทีส่ ำ� คัญในหลายด้าน หนึ่งในนั้นคือนโยบายการเพิ่มการลงทุนในโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐ (Mega Projects) โดยเฉพาะการลงทุนในโครงสร้าง พืน้ ฐาน ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของการลงทุนภาครัฐ (Public Investment) เพือ่ เป็นการเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตของประเทศในระยะยาว และยังจะช่วยให้การกระจายรายได้ดีขึ้นและเพิ่มการสร้างโอกาสให้แก่ประชาชน บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ และประเมินถึงผลกระทบของการลงทุนในโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจและการกระจายรายได้ โดยใช้แบบจ�ำลองค�ำนวณดุลยภาพทั่วไปแบบ Stochastic (Stochastic Computable General Equilibrium : CGE) เพื่อเป็น เครื่องมือในการวิเคราะห์ผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคมที่เกี่ยวข้อง ผู้เขียน : นางสาวคงขวัญ ศิลา เศรษฐกรปฏิบัติการ ส่วนการวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาค ส�ำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ ดร.พิสิทธิ์ พัวพันธ์ และ ดร.กุลยา ตันติเตมิท ส�ำหรับข้อแนะน�ำ

1

94


1. ความส�ำคัญและความจ�ำเป็นของการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) การลงทุนโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐหรือ Mega Projects เป็นส่วนหนึ่งของการลงทุนภาครัฐ (Public Investment) ทีม่ คี วามส�ำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจไทย ซึง่ จะก่อให้เกิดการสะสมทุนในระบบเศรษฐกิจเพือ่ รองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ อนาคต การลงทุนภาครัฐ ประกอบด้วย รัฐบาลกลาง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ กองทุนทุกประเภทที่ควบคุม และด�ำเนินงานโดยรัฐ และหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ ในขณะทีก่ ารลงทุนภาคเอกชนเป็นการลงทุนโดยภาคธุรกิจทัง้ ส่วนที่ จดทะเบียนและมิได้จดทะเบียน แบ่งเป็นการลงทุนในสิ่งปลูกสร้าง (Construction) และเครื่องมือเครื่องจักร (Equipments) โดยหากพิจารณาสัดส่วนการลงทุนภาครัฐต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมรายประเทศ (GDP) ของไทย พบว่า ลดลงอย่างต่อเนือ่ งนับจาก ปี 2540 ที่มีสัดส่วนร้อยละ 11.6 ของ GDP เป็นร้อยละ 5.1 ของ GDP ในปัจจุบัน

ภาพที่ 1 สัดส่วนการลงทุนภาครัฐต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมรายประเทศ (GDP)

ที่มา : ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ด้านขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ จากข้อมูลล่าสุดของ World Economic Forum (WEF) ซึ่งได้เผยแพร่ รายงานขีดความสามารถในการแข่งขันอันดับโลกปี 2555–2556 พบว่า ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยขยับขึ้น หนึ่งอันดับจากอันดับ 39 ในปี 2554 มาเป็นอันดับที่ 38 ในปี 2555 จากทั้งหมด 144 ประเทศ คะแนนรวมอยู่ที่ 4.5 คะแนน ทั้งนี้ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์มีขีดความสามารถในการแข่งขันเป็นอันดับที่ 1 ตามด้วยสิงคโปร์และฟินแลนด์ โดยเมื่อจัดเรียงล�ำดับ ขัน้ ตอนในการพัฒนาเศรษฐกิจ ประเทศไทยถูกจัดอยูใ่ นกลุม่ ประเทศทีม่ กี ารพัฒนาเศรษฐกิจในขัน้ ที่ 2 คือเป็นประเทศทีม่ กี ารใช้ ประสิทธิภาพในการขับเคลื่อน ซึ่งมีประเทศถูกจัดอยู่ในกลุ่มนี้ทั้งหมด 39 ประเทศ โดย WEF ได้แบ่งขั้นในการพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับที่ 1 เป็นกลุ่มประเทศที่ใช้ปัจจัยในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ (Factor driven) มีประเทศ ที่อยู่ในกลุ่มนี้ทั้งหมด 38 ประเทศ รวมกัมพูชาและเวียดนาม ระดับที่ 2 เป็นกลุ่มประเทศที่ใช้ประสิทธิภาพในการขับเคลื่อน เศรษฐกิจ (Efficiency driven) รวมไทยและอินโดนีเซีย และระดับที่ 3 ซึ่งเป็นระดับสูงสุดโดยเป็นประเทศที่ใช้นวัตกรรม ในการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจ (Innovation driven) มีประเทศที่ถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มนี้ 35 ประเทศ รวมประเทศสิงคโปร์

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

95


ภาพที่ 2 ขีดความสามารถในการแข่งขัน แบ่งขั้นในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ในปี 2555-2556

ที่มา : World Economic Forum (WEF)

ภาพที่ 3 คะแนนขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนปี 2555-2556

ที่มา : World Economic Forum (WEF)

ภาพที่ 4 สัดส่วนการลงทุนรวมที่แท้จริงต่อ GDP ของอาเซียนในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา

ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง

96


นอกจากนี้ หากพิจารณาสัดส่วนการลงทุนรวมที่แท้จริงต่อ GDP ของประเทศไทยเทียบกับกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน เฉลี่ย 10 ปี พบว่า อยู่ที่ร้อยละ 21.5 ต่อ GDP ซึ่งอยู่ในอันดับที่ 5 จาก 6 ประเทศ โดยมีประเทศเวียดนามมีสัดส่วนสูงสุดเฉลี่ย 10 ปี อยู่ที่ร้อยละ 35.4 ต่อ GDP ดังนั้น ท�ำให้การพัฒนาศักยภาพเศรษฐกิจในระยะปานกลางอาจได้รับผลกระทบ หากภาครัฐ ยังคงมีการลงทุนในระดับที่ต�่ำต่อไป ดังนั้น ภาครัฐจึงได้มีแผนการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) อันจะช่วยเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในระยะยาว

2. การลงทุนของภาครัฐภายใต้ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ ช่วงปี 2555-2562 ในปี 2555 ภาครัฐมีแผนสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศระยะยาว โดยก�ำหนดให้ มีการลงทุนภายใต้ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ ส�ำหรับในระยะ 7 ปี (ปี 2555–2562) ด้วยวงเงินลงทุน 2.27 ล้านล้านบาท โดยในเบือ้ งต้นได้กำ� หนดให้มกี ารลงทุนในด้านต่าง ๆ ครอบคลุม 7 สาขา ประกอบด้วย ระบบราง ระบบขนส่ง ทางบก ระบบขนส่งทางน�้ำ ระบบขนส่งทางอากาศ ระบบสาธารณูปการ ระบบพลังงาน และระบบการสื่อสาร ตารางที่ 1 กรอบแผนการลงทุนเบื้องต้นด้านโครงสร้างพื้นฐานภายใต้ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตใน ช่วงปี 2555-2562

สาขาการลงทุน

สาขาขนส่งทางบก - การพัฒนาโครงข่ายทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง - การพัฒนาระบบรถไฟและรถไฟสายใหม่ - การพัฒนาระบบรถไฟความเร็วสูง - การพัฒนาระบบขนส่งมวลชนทางราง - การพัฒนาโครงข่ายถนนและขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ สาขาขนส่งทางอากาศและน�้ำ สาขาพลังงาน สาขาสื่อสาร สาขาสาธารณูปการ รวม

วงเงินลงทุน (ล้านบาท)

ร้อยละ

1,469,879.09 187,305.00 298,237.89 481,066.00 321,316.00 181,954.20 148,504.20 499,449.20 35,181.00 117,072.25 2,270,086.74

64.7 8.3 13.1 21.2 14.2 8.0 6.5 22.0 1.5 5.2 100.0

ที่มา : คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ สศช.

ทั้งนี้ กรอบการลงทุนจะมีวงเงินลงทุนที่จะเบิกจ่ายระหว่างปี 2555–2559 ประมาณ 1.5 ล้านล้านบาท และวงเงินลงทุน ทีจ่ ะเบิกจ่ายภายหลังจากปี 2559 จนจบโครงการอีกประมาณ 7.4 แสนล้านบาท โดยแหล่งเงินทีจ่ ะใช้ในการลงทุน ประกอบด้วย เงินงบประมาณ เงินกู้ ซึ่งรัฐบาลจะมุ่งเน้นการกู้เงินภายในประเทศเป็นหลัก เงินรายได้ของรัฐวิสาหกิจ และการร่วมลงทุนกับ ภาคเอกชนในรูปแบบ PPP 2.1 การศึกษานโยบายการลงทุนโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐหรือ Mega Projects การลงทุนโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐหรือ Mega Projects จะมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจภายในประเทศ ทัง้ ในส่วน ของภาคการลงทุนและการบริโภค รวมถึงการจ้างงานและระดับราคาสินค้า ทั้งนี้ในบางสาขาของโครงการ Mega Projects จ�ำเป็นต้องน�ำเข้าสินค้าตลอดจนวัตถุดบิ และเทคโนโลยีจากต่างประเทศเป็นจ�ำนวนมาก ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อดุลบัญชีเดินสะพัด

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

97


ภาพที่ 5 (Transmission Mechanism)

ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง

2.1.1 สมมติฐานในการศึกษา สมมติฐานการลงทุนภายใต้ยทุ ธศาสตร์เพือ่ การฟืน้ ฟูและสร้างอนาคตประเทศ ในช่วงปี 2555-2662 วงเงิน 2,270,086.74 บาท คาดว่าจะเป็นโครงการใหม่รอ้ ยละ 30 หรือคิดเป็นจ�ำนวน 681,026.022 บาท และคาดว่าจะมีการเบิกจ่ายกระจายเท่ากันในระยะ 7 ปี โดยมีสมมติฐานอัตราการขยายตัวของรายจ่ายภาครัฐเพื่อการลงทุนใหม่ (Incremental investment) ในแต่ละปี ดังนี้ ตารางที่ 2 สมมติฐานอัตราการเปลี่ยนแปลงของรายจ่ายภาครัฐเพื่อการลงทุนใหม่จากกรณีฐาน สมมติฐาน อัตราการเปลี่ยนแปลงของรายจ่ายภาครัฐเพื่อการลงทุนใหม่จากกรณีฐาน*

ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ปีที่ 5 ปีที่ 6 ปีที่ 7

3.02 2.80 2.59 2.40 2.23 2.06 1.91

หมายเหตุ * สมมติฐานอัตราการขยายตัว ณ ราคาปัจจุบัน ของรายจ่ายภาครัฐในกรณีฐานเท่ากับ 8.3 ซึ่งค�ำนวณจากข้อมูลเชิงประจักษ์ค่าเฉลี่ยอัตราขยายตัวช่วงปี 2542-2554

2.1.2 ผลการศึกษา : ตัวแปรทางมหภาค ➥➥ ผลกระทบจากการลงทุนโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐหรือ Mega Projects ในแบบจ�ำลองดุลยภาพทัว่ ไปนี้ รายจ่ายภาครัฐเพือ่ การลงทุนใหม่ได้ถกู ก�ำหนดให้เป็นตัวแปรภายนอกแบบจ�ำลอง (Exogenous Variable) เพือ่ ให้ผวู้ จิ ยั สามารถศึกษาผลกระทบและกลไกตัวแปรทีส่ ำ� คัญในระดับมหภาค ซึง่ ผลจากการลงทุนของ ภาครัฐ พบว่า เมือ่ รัฐบาลมีรายจ่ายส�ำหรับการลงทุนใหม่สง่ ผลท�ำให้การลงทุนและการบริโภคในประเทศ (Domestic Demand) เพิ่มขึ้น และท�ำให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Nominal GDP) ปรับตัวสูงขึ้น เมื่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Nominal GDP) ปรับตัวสูงขึน้ ส่งผลท�ำให้การน�ำเข้าสินค้าเพิม่ ขึน้ ในขณะเดียวกันการลงทุนใหม่ของภาครัฐนับเป็นการอัดฉีดเม็ดเงินเข้าไป ในระบบโดยตรง ส่งผลท�ำให้ดัชนีราคาสินค้าโดยรวมเพิ่มสูงขึ้นในช่วงปีแรก ๆ (ตามสมมติฐานที่คาดว่าโครงการลงทุนภายใต้ ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศที่มีวงเงินลงทุน 2.27 ล้านล้านบาท จะเป็นการลงทุนขนาดใหญ่ในระยะ 7 ปี ซึ่งจะมีการเร่งรัดการเบิกจ่ายหรือจะมีอัตราการขยายตัวของรายจ่ายภาครัฐเพื่อการลงทุนใหม่สูงในช่วงปีแรก ๆ) อย่างไรก็ตาม ปริมาณการลงทุนทีส่ งู กว่าดัชนีราคาสินค้าโดยรวมทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ส่งผลท�ำให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ณ ราคาคงที่ (Real GDP) ปรับตัวสูงขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 6

98


ภาพที่ 6 ผลกระทบจากการลงทุนโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐหรือ Mega Projects ต่อตัวแปรทางมหภาค

ที่มา : ผลจากการใช้แบบจ�ำลอง CGE Model หมายเหตุ : เส้นประ คือ ผลจากแบบจ�ำลองเมื่อมีการลงทุนใหม่ของภาครัฐ

ผลกระทบต่อตัวแปรมหภาคดังแสดงในตารางที่ 3 พบว่า การลงทุนโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐ (Mega Projects) ภายใต้ การลงทุนภายใต้ยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ ส�ำหรับในระยะ 7 ปี ส่งผลท�ำให้การลงทุนที่แท้จริงโดยรวม (Real investment) เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.26 จากในกรณีฐาน การบริโภคที่แท้จริง (Real consumption) เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.09 จาก ในกรณีฐาน ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Nominal GDP) ปรับตัวสูงขึ้นร้อยละ 1.2 จากในกรณีฐาน ทั้งนี้เมื่อผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ (Nominal GDP) ปรับตัวสูงขึน้ ส่งผลท�ำให้มกี ารน�ำเข้าสินค้าเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2.18 จากในกรณีฐาน ในขณะเดียวกัน เมื่อการลงทุนและการบริโภคเพิ่มขึ้นมีผลท�ำให้ดัชนีราคาสินค้าโดยรวมเพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 0.74 จากในกรณีฐาน และเมื่อราคา สินค้าในประเทศเพิ่มขึ้นส่งผลให้การส่งออกลดลงร้อยละ -0.07 จากในกรณีฐาน อย่างไรก็ตาม ปริมาณการลงทุนที่สูงกว่าดัชนี ราคาสินค้าโดยรวมที่เพิ่มสูงขึ้น ส่งผลท�ำให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ณ ราคาคงที่ (Real GDP) ปรับตัวสูงขึ้นร้อยละ 0.42 จากในกรณีฐาน ประมาณการเศรษฐกิจไทย

99


ตารางที่ 3 ผลกระทบในระดับมหภาคเมื่อมีรายจ่ายภาครัฐเพื่อการลงทุน 2.27 ล้านล้านบาท

ตัวแปรทางมหภาค

กรณีฐานปี 2556 (ร้อยละ)

กรณีลงทุนภาครัฐเพิ่มขึ้น

ผลิตภัณฑ์มวลรวม (Nominal GDP) ผลิตภัณฑ์มวลรวม ณ ราคาคงที่ ดัชนีราคาสินค้าโดยรวม (Price index) การบริโภค (Real consumption) การลงทุนรวม (Real investment) การส่งออก (Real exports) การน�ำเข้า (Real imports)

7.7 5.2 2.4 3.9 11.4 7.3 5.4

+1.20 +0.42 +0.74 +0.09 +3.26 -0.07 +2.18

ที่มา : ผลจากการใช้แบบจ�ำลอง CGE Model

➥➥ ผลกระทบต่อการกระจายรายได้

ส�ำหรับผลกระทบต่อการกระจายรายได้นั้นพบว่า การลงทุนโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐหรือ Mega Projects ทัง้ ในระบบขนส่งทางถนน ราง น�ำ้ และอากาศยาน ระบบสาธารณูปโภค และระบบโครงข่ายโทรคมนาคม ถือเป็นโครงสร้างพืน้ ฐาน ที่จ�ำเป็นต่อการพัฒนาประเทศ เป็นผลท�ำให้กลุ่มเกษตรกรที่มีรายได้ครัวเรือนในระดับล่างเป็นผู้ที่ได้รับประโยชน์โดยตรงจาก การลงทุนดังกล่าว ตารางที่ 5 พบว่า รายได้ครัวเรือนระดับรายได้ที่ 1 ถึง 5 มีการปรับตัวสูงจากกรณีฐานที่มีรายได้ 312.2 510.1 734.3 1,226.1 และ 2,728.3 พันล้านบาท ตามล�ำดับ โดยมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.27 1.22 0.83 0.65 และ 0.43 ตามล�ำดับ จากการลงทุนของภาครัฐที่เพิ่มขึ้น

ตารางที่ 4 ผลกระทบต่อรายได้ของครัวเรือนเมื่อมีการลงทุนภาครัฐเพิ่มขึ้น รายได้ครัวเรือน รายได้ครัวเรือนระดับรายได้ที่ 1 รายได้ครัวเรือนระดับรายได้ที่ 2 รายได้ครัวเรือนระดับรายได้ที่ 3 รายได้ครัวเรือนระดับรายได้ที่ 4 รายได้ครัวเรือนระดับรายได้ที่ 5

รายได้กรณีฐาน ณ ปี 2554 (พันล้านบาท)

รายได้กรณีเมื่อมีการลงทุนภาครัฐ เพิ่มขึ้น (ร้อยละการเปลี่ยนแปลง)

312.2 510.1 734.3 1226.1 2728.3

+1.27 +1.22 +0.83 +0.65 +0.43

ที่มา : ผลจากการใช้แบบจ�ำลอง CGE Model

➥➥ ด้านผลกระทบต่อภาคการผลิตรายสาขา

ด้านผลกระทบต่อภาคการผลิตรายสาขานัน้ ผลการใช้แบบจ�ำลองวิเคราะห์ผลกระทบได้แสดงให้เห็นว่า สาขาการผลิต ที่ได้รับผลกระทบเชิงบวกอันเนื่องมาจากการลงทุนของภาครัฐเพิ่มขึ้น ดังแสดงในตารางที่ 5 มีสาขาการผลิตมากถึง 24 สาขา จากสาขาการผลิตทั้งหมด 43 สาขา โดยสาขาการก่อสร้างได้รับประโยชน์มากที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 2.54 รองลงมาคือ สาขาบริการ ได้รบั ประโยชน์เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 1.81 รองลงมาคือ อุปกรณ์การขนส่งอืน่ ๆ ได้รบั ประโยชน์เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 1.63 ขณะทีส่ าขาการผลิต ที่ได้รับผลกระทบเชิงลบมี 19 สาขา โดยสาขาการผลิตที่เสียประโยชน์มากที่สุดคือ สาขาที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร อาทิ โรงกลั่น น�้ำตาล ผลิตภัณฑ์ยางและอาหารสัตว์ เสียประโยชน์ร้อยละ -0.69 -0.51 และ -0.48 ตามล�ำดับ

100


ตารางที่ 5 สาขาการผลิตที่ได้รับผลกระทบสูงสุด 43 สาขา เมื่อมีการลงทุนจากภาครัฐเพิ่มขึ้น ร้อยละ ร้อยละ สาขาการผลิต สาขาการผลิต การเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลง Sugar Refineries -0.69 Beverages 0.10 Rubber Products -0.51 Unclassified 0.11 Animal Food -0.48 Metal Ore and Non-Metal Ore 0.13 Electrical Machinery and Apparatus -0.43 Basic Chemical Products 0.15 Computer and parts -0.43 Transportation and Communication 0.19 Jewelry & Related Articles -0.38 Crude Oil and Coal 0.20 Spinning Weaving -0.32 Petroleum Refineries 0.22 Non-ferrous Metal -0.32 Other Manufacturing Products 0.35 Tobacco Processing and Products -0.31 Trade 0.38 Public Utilities -0.28 Other Chemical Products 0.64 Leather Products -0.16 Cement and Concrete Products 0.71 Saw Mills and Wood Products -0.10 Paper and Paper Products 0.75 Textile Bleaching Made-up Knitting -0.09 Other Non-metalic Products 0.75 Agriculture -0.08 Industrial Machinery 0.78 Rice and Other Grain Milling -0.07 Printing and Publishing 1.01 Slaughtering -0.04 Iron and Steel 1.33 Wearing Apparels Carpets and Cordage -0.03 Fabricated Metal Products 1.40 Plastic Wares -0.02 Fertilizer and Pesticides 1.59 Motor Vehicles and Repairing 0.00 Other Transportation Equipment 1.63 Processing and Preserving of Foods 0.05 Services 1.81 Other Foods 0.07 Construction 2.54 ที่มา : ผลจากการใช้แบบจ�ำลอง CGE Model

3. บทสรุปและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย การลงทุนโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐหรือ Mega Projects มีส่วนช่วยในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ในระยะยาว ช่วยสนับสนุนการพัฒนาประเทศ และยกระดับคุณภาพชีวิต โดยจากการศึกษาพบว่าจะท�ำให้คนทุกกลุ่มได้รับ ประโยชน์จากการลงทุนของภาครัฐ และจะส่งผลดีต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (GDP) แต่ด้วยมูลค่าและขนาดของโครงการ ที่มีขนาดใหญ่จ�ำเป็นต้องใช้งบประมาณที่สูง ท�ำให้ภาครัฐต้องเตรียมความพร้อมในการจัดหาแหล่งเงินทุนที่เพียงพอส�ำหรับ การด�ำเนินโครงการ พิจารณาแนวทางการระดมทุน โดยควรมีการผสมผสานระหว่างการใช้เงินงบประมาณ เงินรายได้ของ รัฐวิสาหกิจ เงินกู้ และการระดมทุนในวิธอี นื่ ๆ โดยการเพิม่ บทบาทให้หน่วยงานเอกชนเข้ามามีสว่ นร่วมกับภาครัฐ (Public-Private Partnership : PPP) นับเป็นอีกทางเลือกหนึง่ ทีจ่ ะช่วยท�ำให้ภาครัฐลดข้อจ�ำกัดด้านงบประมาณการลงทุนในโครงการต่าง ๆ ของ รัฐบาลในช่วงทีเ่ กิดวิกฤตเศรษฐกิจ ท�ำให้รฐั บาลจัดเก็บรายได้ไม่เพียงพอกับความต้องการการลงทุน ในขณะการกูเ้ งินทีม่ กั ถูกจ�ำกัด ด้วยกรอบกฎหมายต่าง ๆ นอกจากนี้ PPP ยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงาน สร้างทางเลือกทางการท�ำงานให้มากขึ้น และเป็นการขยายการเข้าถึงบริการของรัฐกับภาคประชาชน นอกจากนี้ การเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ภายในปี 2558 ท�ำให้ประเทศ จ�ำเป็นต้องเตรียมความพร้อม โดยภาครัฐควรก�ำหนดยุทธศาสตร์เพื่อรักษาความสามารถในการแข่งขันของประเทศทั้งในด้าน ประสิทธิภาพของแรงงาน ด้านเทคโนโลยี และระบบสาธารณูปโภคที่ควรปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ รวมถึงความต่อเนื่องและ ความชัดเจนของนโยบายในการลงทุนภาครัฐและการลงทุนในโครงสร้างพืน้ ฐานขนาดใหญ่ของประเทศ ซึง่ การด�ำเนินการทัง้ หมด จะมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจภายในประเทศตั้งแต่ภาคการลงทุน การบริโภค การจ้างงาน ระดับราคาสินค้าซึ่งเกี่ยวข้องกับ เสถียรภาพภายในประเทศ และมีผลกระทบต่อเสถียรภาพภายนอกของระบบเศรษฐกิจซึ่งเกี่ยวข้องกับดุลบัญชีเดินสะพัดและ อัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ ดังนัน้ การตัดสินใจด�ำเนินการลงทุนในโครงการต่าง ๆ จึงจ�ำเป็นต้องพิจารณาในรายละเอียด ของโครงการอย่างรอบคอบ เพื่อให้มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนและสังคม ประมาณการเศรษฐกิจไทย

101


ภาคการเงิน

รายงานภาวะเศรษฐกิจการเงินไทยในไตรมาสที่ 3 ปี 2555 ในช่วง 8 เดือนแรกของปี 2555 อัตราดอกเบี้ยเงินฝากปรับตัวเพิ่มขึ้น ขณะที่อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ปรับตัวลดลง โดยอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจ�ำ 1 ปี ปรับเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2.85 ณ สิ้นปี 2554 เป็นร้อยละ 2.98 ณ สิ้นเดือน สิงหาคม 2555 จากการแข่งขันระดมเงินฝากเพื่อรองรับแนวโน้มการขยายตัวของสินเชื่อ ขณะที่อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ MLR ปรับลดลงจากร้อยละ 7.44 ณ สิน้ ปี 2554 เป็นร้อยละ 7.32 ณ สิน้ เดือนสิงหาคม 2555 (ภาพที่ 1) ตามการลดลงของอัตราดอกเบีย้ นโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทยในช่วงต้นปี 2555 นอกจากนี้ การที่อัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพมากขึ้น ได้ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่แท้จริง1 ปรับตัวเป็นบวกต่อเนื่องนับตั้งแต่เดือนเมษายน 2555 ❍❍ การคาดการณ์อัตราดอกเบี้ย ณ สิ้นปี 2555 เชื่อว่าอัตราดอกเบี้ยเงินกู้และเงินฝากของธนาคาร พาณิชย์จะปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปี 2554 โดยคาดว่าอัตราดอกเบี้ยจะทรงตัวอยู่ในระดับปัจจุบันหรือเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ตามการคงอัตราดอกเบีย้ นโยบายเพือ่ สนับสนุนการขยายตัวเศรษฐกิจ จากความเสีย่ งของอุปสงค์จากภายนอกประเทศทีค่ าดว่า จะชะลอลง แม้ว่าอุปสงค์ในประเทศจะทยอยปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงปลายปี 2555 ❍❍

ภาพที่ 1 อัตราดอกเบี้ยธนาคารพาณิชย์

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

ยอดคงค้างเงินฝากของสถาบันการเงินทีร่ บั ฝากเงินอืน่ 2 (Depository institutions) ณ สิน้ เดือนสิงหาคม 2555 ขยายตัวเร่งขึ้น ขณะที่ยอดคงค้างสินเชื่อขยายตัวชะลอลง (ภาพที่ 2 และภาพที่ 3) โดย ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2555 สถาบันรับฝากเงินอื่นมียอดคงค้างของสินเชื่อภาคเอกชนจ�ำนวน 12,486.7 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.9 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อขจัดผลของฤดูกาลแล้วเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.1 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า จากการขยายตัวเร่งขึ้น ของทั้งสินเชื่อธุรกิจและสินเชื่อภาคครัวเรือน ตามการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของอุปสงค์ในประเทศ โดยวิเคราะห์ตามผู้ให้สินเชื่อ พบว่า ทั้งสินเชื่อของสถาบันการเงินเฉพาะกิจและธนาคารพาณิชย์ขยายตัวเร่งขึ้น ด้านเงินฝากของสถาบันรับฝากเงินอื่น มียอดคงค้างเงินฝากจ�ำนวน 13,329.3 พันล้านบาท ขยายตัวเร่งขึ้นร้อยละ 22.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า และเมื่อขจัดผลของฤดูกาลแล้วขยายตัวที่ร้อยละ 2.9 เมื่อเทียบกับเดือนก่อน จากการระดมเงินฝากเพื่อรองรับการขยายตัว ของสินเชื่อ และการแข่งขันของธนาคารพาณิชย์ ❍❍

ค�ำนวณโดยน�ำอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจ�ำ 12 เดือนเฉลี่ย–อัตราเงินเฟ้อในช่วงเดียวกัน ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน สถาบันการเงินเฉพาะกิจ สหกรณ์ออมทรัพย์ และกองทุนรวมตลาดเงิน

1 2

102

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ภาพที่ 2 สินเชื่อในสถาบันรับฝากเงิน

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

ภาพที่ 3 เงินฝากในสถาบันรับฝากเงิน

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

ยอดคงค้างเงินฝากของธนาคารพาณิชย์ ณ เดือนสิงหาคม 2555 ขยายตัวเร่งขึ้นมาก ขณะที่ ยอดคงค้างสินเชื่อขยายตัวชะลอลงเล็กน้อย (ภาพที่ 4 และภาพที่ 5) ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2555 ธนาคารพาณิชย์มี ยอดคงค้างสินเชื่อภาคเอกชนจ�ำนวน 8,396.2 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และ เมื่อขจัดผลของฤดูกาลแล้วเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.4 เมื่อเทียบกับเดือนก่อน ด้านเงินฝากของธนาคารพาณิชย์ยอดคงค้างเงินฝาก จ�ำนวน 9,743.3 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 26.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนและเมื่อขจัดผลของฤดูกาลแล้วเพิ่มขึ้น ที่ร้อยละ 3.1 เมื่อเทียบกับเดือนก่อน ❍❍

ภาพที่ 4 สินเชื่อในธนาคารพาณิชย์

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

ภาพที่ 5 เงินฝากในธนาคารพาณิชย์

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

ยอดคงค้างสินเชือ่ ภาคครัวเรือนและยอดคงค้างสินเชือ่ ธุรกิจของธนาคารพาณิชย์ ณ เดือนสิงหาคม 2555 ขยายตัวดีต่อเนื่อง (ภาพที่ 6) สินเชื่อภาคครัวเรือนซึ่งมีสัดส่วนร้อยละ 40 ของสินเชื่อรวมขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 17.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน สอดคล้องกับเครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจภาคการบริโภคที่ส่งสัญญาณการขยายตัวต่อเนื่อง โดยเฉพาะยอดขายรถยนต์และรถจักรยานยนต์ที่ขยายตัวเร่งขึ้นชัดเจน ขณะที่สินเชื่อที่ให้แก่ภาคธุรกิจซึ่งมีสัดส่วนกว่าร้อยละ 60 ของสินเชื่อรวม ขยายตัวดีต่อเนื่องที่ร้อยละ 13.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน สอดคล้องกับเครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจ ภาคการลงทุน ทั้งในส่วนของการก่อสร้างและการลงทุนในเครื่องมือเครื่องจักรที่ขยายตัวดีต่อเนื่อง ❍❍

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

103


ภาพที่ 6 ยอดคงค้างสินเชื่อครัวเรือนและสินเชื่อธุรกิจของธนาคารพาณิชย์

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

สินเชือ่ ธุรกิจในภาคบริการและภาคอุตสาหกรรมชะลอตัวลง ในขณะทีภ่ าคการเกษตรขยายตัวเร่งขึน้ (ภาพที่ 8) ยอดคงค้างสินเชื่อภาคบริการซึ่งมีสัดส่วนร้อยละ 44 ของสินเชื่อธุรกิจ (ภาพที่ 7) หดตัวต่อเนื่องเป็นร้อยละ -2.2 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น ขณะที่ยอดคงค้างสินเชือ่ ภาคเกษตรกรรมขยายตัวเร่งขึน้ จากไตรมาสก่อนมาอยูท่ รี่ อ้ ยละ 13.5 สอดคล้องกับดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรมในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ที่ขยายตัวได้ต่อเนื่องจากไตรมาสก่อน ยอดคงค้าง สินเชื่อภาคอุตสาหกรรมซึ่งมีส่วนแบ่งร้อยละ 42.6 ของสินเชื่อธุรกิจขยายตัวชะลอลงต่อเนื่องที่ร้อยละ 8.8 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีกอ่ น สอดคล้องกับดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ทีห่ ดตัวจากการทีบ่ างสาขาอุตสาหกรรม ยังฟื้นตัวไม่เต็มที่จากวิกฤตอุทกภัยที่ร้อยละ -1.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ❍❍

ภาพที่ 8 การขยายตัวของสินเชื่อธนาคารพาณิชย์

ภาพที่ 7 สินเชื่อแยกตามภาคธุรกิจ

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

ภาพที่ 9 โครงสร้างสินเชื่อผู้บริโภค

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

104

ประมาณการเศรษฐกิจไทย


ยอดคงค้างสินเชื่อผู้บริโภคในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ขยายตัวร้อยละ 16.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีก่อน โดยสินเชื่อบุคคลเพื่อซื้อรถหรือเช่าซื้อรถยนต์และรถจักรยานยนต์ ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 5.0 ของสินเชือ่ รวม หรือร้อยละ 22.0 ของสินเชือ่ บุคคล ขยายตัวชะลอลงจากไตรมาสก่อน แต่ยงั คงทรงตัวอยูใ่ นระดับสูงทีร่ อ้ ยละ 24.3 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น สะท้อนการบริโภคสินค้าคงทนทีย่ งั ขยายตัวได้ดี ขณะทีย่ อดคงค้างสินเชือ่ เพือ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัย ซึง่ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 13.0 ของสินเชือ่ ทัง้ หมด หรือร้อยละ 55.0 ของสินเชือ่ บุคคล ขยายตัวต่อเนือ่ งจากไตรมาสก่อนมาอยูท่ รี่ อ้ ยละ 9.0 จากการที่ผู้บริโภคมีความเชื่อมั่นที่จะลงทุนในอสังหาริมทรัพย์เพิ่มขึ้น หลังภาวะอุทกภัยคลี่คลายลง ส�ำหรับยอดคงค้าง สินเชือ่ บัตรเครดิตคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 2.7 ของยอดคงค้างสินเชือ่ ธนาคารพาณิชย์รวม ในเดือนกรกฎาคม 2555 ขยายตัวเร่งขึน้ จากเดือนก่อนมาอยู่ทรี่ ้อยละ 9.9 บ่งชี้ว่าการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากยอดการจับจ่ายใช้สอยฟืน้ ตัวต่อเนื่อง สอดคล้องกับ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคในเดือนกรกฎาคม 2555 ที่ยังคงทรงตัวอยู่ในระดับสูงกว่าช่วงวิกฤตอุทกภัยต่อเนื่องที่ระดับ 68.2 ❍❍

ภาพที่ 10 การขยายตัวสินเชื่อบุคคล ธนาคารพาณิชย์แยกประเภท

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

ภาพที่ 11 การใช้จ่ายภาคครัวเรือน ผ่านบัตรเครดิต

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

กล่าวโดยสรุป ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2555 เงินฝากและสินเชื่อของสถาบันการเงินไทยขยายตัว เร่งขึ้นตามการฟื้นตัวของอุปสงค์ในประเทศ โดยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ทั้งสินเชื่อผู้บริโภคและสินเชื่อธุรกิจขยายตัวดี ต่อเนื่อง จากความเชื่อมั่นภาคเอกชนที่ยังคงอยู่ในระดับสูงต่อเนื่อง ขณะที่สินเชื่อของสถาบันการเงินเฉพาะกิจยังคงขยายตัว ได้ดีตามมาตรการช่วยเหลือของภาครัฐ ทั้งนี้ เงินฝากขยายตัวเร่งขึ้นมาก โดยเป็นการเร่งขึ้นของเงินฝากธนาคารพาณิชย์ เป็นส�ำคัญ จากการเร่งระดมเงินฝากเพื่อรองรับการขยายตัวของสินเชื่อตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจหลังวิกฤตอุทกภัย รวมถึง การขยายระยะเวลาคุ้มครองเงินฝากวงเงิน 50 ล้านบาท ไปอีก 3 ปี จนถึงปี 2558 ทั้งนี้ หากวิเคราะห์ถึงสถานภาพของธนาคาร พาณิชย์ในปัจจุบันพบว่ายังคงมีความแข็งแกร่ง โดยสัดส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้สุทธิยังคงอยู่ในระดับต�่ำที่ร้อยละ 1.2 ของสินเชื่อทั้งหมด ขณะที่สัดส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงยังคงอยู่ในระดับสูงที่ร้อยละ 14.9 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กฎหมาย ก�ำหนดไว้ที่ร้อยละ 8.5 ❍❍

ประมาณการเศรษฐกิจไทย

105


Thailand’s Key Economic Indicators ตารางเครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจ (Economic Indicators)

106


ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง FISCAL POLICY OFFICE

เสนอแนะอย่างมีหลักการ

ศ ค

ศึกษาโดยไม่หยุดนิ่ง คนคลังที่มีคุณภาพ

คณะผู้จัดท�ำ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค บุญชัย จรัสแสงสมบูรณ์ : boonchar@mof.go.th ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเศรษฐกิจมหภาค ดร.กุลยา ตันติเตมิท : kulaya.t@mof.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนแบบจ�ำลองและประมาณการเศรษฐกิจ วิภารัตน์ ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ : wiparat@fpo.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนการวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาค ดร.พิสิทธิ์ พัวพันธ์ : pisitp@mof.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนการวิเคราะห์เสถียรภาพเศรษฐกิจ ดร.ศรพล ตุลยะเสถียร : soraphol@fpo.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนวิเทศและสถาบันสัมพันธ์ สิริกัลยา เรืองอ�ำนาจ : sirigunya@hotmail.com

ผู้รับผิดชอบรายภาคเศรษฐกิจ

ภาคการคลัง นรพัชร์ อัศววัลลภ : norabajra@mof.go.th คงขวัญ ศิลา : nu_nub@yahoo.com นิภัทร์ ชมบ้านแพ้ว : nipat44@hotmail.com วรพล คหัฎฐา : worpol1@yahoo.com พีรพัฒน์ วงศ์ชัยวัฒน์ : wongchaiwat@hotmail.com สุธิรัตน์ จิรชูสกุล : j_suthi01@ yahoo.com ภาคการค้าระหว่างประเทศ พนันดร อรุณีนิรมาน : panundorn.a@gmail.com อรุณรัตน์ นานอก : aobcy2000@hotmail.com ดารินทร์ เกตุเรืองโรจน์ : lexlexjung@hotmail.com ตลาดน�้ำมัน ยุทธภูมิ จารุเศร์นี : iam5111@msn.com เศรษฐกิจต่างประเทศ พีรพรรณ สุวรรณรัตน์ : peerapan.ps@gmail.com ภัทราพร คุ้มสะอาด : phattraporn088@gmail.com ภาคการเงิน อาร์จนา ปานกาญจโนภาส : annulet@hotmail.com

อัตราแลกเปลี่ยน ดร.พิมพ์นารา หิรัญกสิ : pim.hirankasi@gmail.com ภาคอุตสาหกรรม ธรรมฤทธิ์ คุณหิรัญ : thammaritud@yahoo.com อรอุมา หนูช่วย : onumaneung@hotmail.com ภาคเกษตรกรรม กาญจนา จันทรชิต : kulmbe6@yahoo.com ภาคการท่องเที่ยว คงขวัญ ศิลา : nu_nub@yahoo.com รชานนท์ ฉิมเชิด : rachanon.fpo@gmail.com ภาคการบริโภค การลงทุน และอสังหาริมทรัพย์ ยุทธภูมิ จารุเศร์นี : iam5111@msn.com กาญจนา จันทรชิต : kulmbe6@yahoo.com วรพล คหัฎฐา : worpol1@yahoo.com ด้านเสถียรภาพ กมลพงศ์ วิศษิ ฐวาณิชย์ : sasri_aorn13@hotmail.com


สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 0-2273-9020 โทรสาร 0-2298-5602 website : http://www.fpo.go.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.