สารบัญ หนา บทสรุปผูบริหาร
1
สถานการณดานรายได
7
สถานการณดานรายจาย
15
ฐานะการคลังรัฐบาล - ระบบกระแสเงินสด - ระบบ สศค.
21
ฐานะการคลังองคกรปกครองสวนทองถิ่น
25
สถานการณดานหนี้สาธารณะ
29
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง
31
การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล
33
การกระจายอํานาจการคลังใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น
36
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ
40
สถิติดานการคลัง 1) 2) 3) 4) 5) 6)
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล โครงสรางงบประมาณรายจาย ผลการเบิกจายงบประมาณ ฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสด ฐานะการคลังตามระบบ สศค. สัดสวนรายไดขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
บทสรุปผูบริหาร ดานรายได
• เดือนพฤษภาคม 2558 รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 224,835 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 74,660 ลานบาท หรือรอยละ 24.9 โดยรายไดที่จัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการเปนสําคัญ ไดแก ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม และการนําสงรายไดของรัฐวิสาหกิจ โดยจัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการ 26,897 26,884 9,675 และ 12,565 ลานบาท ตามลําดับ อยางไรก็ดี การจัดเก็บภาษีน้ํามัน และการจัดเก็บรายไดของสวนราชการอื่น จัดเก็บไดสูงกวา ประมาณการ 6,921 และ 4,096 ลานบาทตามลําดับ • ในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – พฤษภาคม 2558) รัฐบาลจัดเก็บ รายไดสุทธิ 1,370,803 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 56,523 ลานบาท หรือรอยละ 4.0 โดยกรมสรรพากร และกรมศุลกากรจัดเก็บรายไดต่ํากวาประมาณการ 114,185 และ 4,810 ตามลําดับ ขณะที่ การจัดเก็บรายไดของสวนราชการอื่น การนําสงรายไดของรัฐวิสาหกิจ และการจัดเก็บภาษีของ กรมสรรพสามิตสูงกวาประมาณการ 19,429 12,489 และ 11,743 ลานบาท ตามลําดับ
ดานรายจาย
• เดือนพฤษภาคม 2558 รัฐบาลเบิกจายเงินรวมทั้งสิ้น 176,754 ลานบาท ประกอบดวยการเบิกจาย จากปงบประมาณปปจจุบัน 163,958 ลานบาท (รายจายประจํา 139,510 ลานบาท และรายจาย ลงทุน 24,448 ลานบาท) และการเบิกจายรายจายปกอนจํานวน 12,796 ลานบาท • ในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – พฤษภาคม 2558) รัฐบาลเบิกจาย เงินรวมทั้งสิ้น 1,829,961 ลานบาท โดยแบงเปนการเบิกจายเงินงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558 จํานวน 1,666,983 ลานบาท (เปนรายจายประจํา 1,501,731 ลานบาท และรายจายลงทุน 165,252 ลานบาท) คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 64.7 ของวงเงินงบประมาณ (2,575,000 ลานบาท) และมีการเบิกจายรายจายปกอนจํานวน 162,978 ลานบาท • เมื่อรวมกับการเบิกจายเงินจากโครงการลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 6,675 ลานบาท เงินกูตางประเทศจํานวน 4,513 ลานบาท และโครงการภายใต พรก.บริหารจัดการน้ําฯ จํานวน 1,099 ลานบาท สงผลใหในปงบประมาณ 2558 รัฐบาลมีการเบิกจายเงินเขาสูระบบ เศรษฐกิจทั้งสิ้น 1,842,248 ลานบาท
ฐานะการคลังรัฐบาล
• ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด ในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – พฤษภาคม 2558) รัฐบาลมีรายไดนําสงคลัง 1,288,423 ลานบาท และมีการเบิกจายเงิน งบประมาณ (ปปจจุบันและปกอน) รวม 1,829,961 ลานบาท สงผลใหดุลเงินงบประมาณขาดดุล 541,538 ลานบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่ขาดดุล 1,421 ลานบาท ทําใหดุลเงินสดขาดดุล ทั้งสิ้น 542,959 ลานบาท • เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2558 มีจํานวน 134,150 ลานบาท -1-
• ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค. ในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – พฤษภาคม 2558) รัฐบาลมีรายไดทั้งสิ้น 1,515,999 ลานบาท และมีรายจายทั้งสิ้น 1,843,565 ลานบาท สงผลใหดุลเงินงบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 327,566 ลานบาท เมื่อรวมกับดุลของ กองทุนนอกงบประมาณที่เกินดุล 394,872 ลานบาท และหักรายจายตามแผนปฏิบัติการไทย เขมแข็ง รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) รายจายเพื่อวางระบบ บริหารจัดการน้ํา และเงินกูตางประเทศ 6,675 3,559 1,099 และ 954 ลานบาท ตามลําดับแลว ทําใหดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุลทั้งสิ้น 157,669 ลานบาท
ฐานะการคลัง อปท.
• ฐานะการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ณ ไตรมาสที่ 2 ประจําปงบประมาณ 2558 (เดือนมกราคม – มีนาคม 2558) คาดวาจะมีรายไดรวม 166,239 ลานบาท (รายไดที่จัดเก็บเอง 23,289 ลานบาท รายไดภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให 68,043 ลานบาท และรายไดจาก เงินอุดหนุน 74,907 ลานบาท) และคาดวามีรายจายจํานวน 124,598 ลานบาท สงผลให ดุลการคลัง ของ อปท. เกินดุล 41,641 ลานบาท
สถานะหนี้สาธารณะ
• หนี้สาธารณะคงคางของรัฐบาล ณ สิ้นเดือนเมษายน 2558 มีจํานวน 5,775,710.5 ลานบาท คิดเปนรอยละ 43.5 ของ GDP ประกอบดวยหนี้ในประเทศคิดเปนรอยละ 94.0 สวนที่เหลือ รอยละ 6.0 เปนหนี้ตางประเทศ และเมื่อแบงตามอายุเครื่องมือการกูเงิน หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 97.1 และหนี้ระยะสั้นรอยละ 2.9 สําหรับกรณีแบงตามอายุคงเหลือ หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 87.0 สวนที่เหลือรอยละ 13.0 เปนหนี้ระยะสั้น
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง (60 - 15 – 0 – 25)
• กระทรวงการคลังไดกําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีตัวชี้วัดประกอบดวย ยอดหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ไมเกินรอยละ 60 ภาระหนี้ตองบประมาณไมเกินรอยละ 15 จัดทํางบประมาณสมดุล และสัดสวนงบลงทุนตองบประมาณไมต่ํากวารอยละ 25 • การวิเคราะหกรอบความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง (ปงบประมาณ 2558 – 2562) - สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ในปงบประมาณ 2558 อยูที่รอยละ 45.3 และเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 50.3 ในปงบประมาณ 2562 - ระดับภาระหนี้ตองบประมาณอยูในระดับรอยละ 7.1 ในปงบประมาณ 2558 และเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 9.9 ในปงบประมาณ 2562 - รัฐบาลมีนโยบายลดการขาดดุลงบประมาณ โดยไดลดการขาดดุล จํานวน 400,000 ลานบาท ในปงบประมาณ 2555 ลงเหลือ จํานวน 250,000 ลานบาท ในปงบประมาณ 2558 อยางไรก็ตาม เพื่อลดผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจโลกถดถอย ในระยะสัน้ รัฐบาลยังมี ความจําเปนตองดําเนินนโยบายขาดดุลจนกวาภาวะเศรษฐกิจจะกลับเขาสูภาวะปกติ และจะดําเนินการจัดทํางบประมาณสมดุลในชวงตอไป
-2-
- สัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณรายจายคาดวาจะอยูในระดับเฉลี่ย รอยละ 20.4 ตองบประมาณรายจายตลอดชวงปงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งต่ํากวาระดับที่กําหนดไว อยางไรก็ดี รัฐบาลไดพยายามที่จะดําเนินโครงการลงทุนทั้งในสวนของ พรก. ใหอํานาจกระทรวงการคลังกูเงิน เพื่อบริหารจัดการน้ําฯ และการกูเงินเพื่อลงทุนโครงสรางพื้นฐานฯ ในป 2558 – 2562 ซึ่งเมื่อรวม การลงทุนดังกลาวจะทําใหสัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณเพิ่มขึ้นอยูในระดับเฉลี่ยรอยละ 26.0 ตองบประมาณรายจาย
การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล
• ผลการดําเนินโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ที่ยอดสินเชื่อคงคาง ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ป 2558 มีจํานวน 915,037.2 ลานบาท ขณะที่ยอดหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได (NPLs) เทากับ 8,184.1 ลานบาท คิดเปนสัดสวนหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดตอยอดสินเชื่อคงคาง (NPLs Ratio) รอยละ 0.9 • รัฐบาลมีภาระความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ซึ่งสามารถประมาณการ ความเสียหาย ที่ตองไดรับการชดเชยตั้งแตเริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ป 2558 มีจํานวนทั้งสิ้น 107,846.9 ลานบาท และคงเหลือภาระความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล อีกจํานวน 25,106.5 ลานบาท
การกระจายอํานาจทางการคลังใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น
การกอหนี้ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) อยูภายใตพระราชบัญญัติวาดวย อปท. แตละประเภทที่กําหนดให อปท. อาจกูเงินจากกระทรวง ทบวง กรม องคการหรือนิติบุคคลตางๆ เมื่อไดรับความเห็นชอบจากสภาทองถิ่นและกระทรวงมหาดไทย ซึ่งในทางปฏิบัติกระทรวงมหาดไทยจะ พิจารณากําหนดหลักเกณฑที่ใชในการพิจารณากอหนี้ของ อปท. (ยกเวนกรุงเทพมหานครที่กําหนดเอง) โดยสถานการณกอหนี้ของ อปท. มีแนวโนมเพิ่มขึ้นตามลําดับ จากจํานวนรวม 4,993 ลานบาท ในป 2547 เพิ่มขึ้นเปนจํานวนรวม 35,962 ลานบาท ในป 2557 หรือเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยรอยละ 22.66 ตอป และการให กูยืมแก อปท. ณ สิ้นปงบประมาณ 2557 จําแนกตามการใหกูยืมพบวา สถาบันการเงินเฉพาะกิจใหกูยืมมาก ที่สุด คิดเปนสัดสวนรอยละ 34.75 รองลงมาไดแก ธนาคารพาณิชยรอยละ 29.33 เงินทุนสงเสริมกิจการ เทศบาลรอยละ 28.71 เงินสะสมขององคการบริหารสวนจังหวัดรอยละ 6.26 และกองทุนพัฒนาเมืองใน ภูมิภาครอยละ 0.95
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ มิถุนายน 2558 1. เรื่อง รางพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และรางพระราชบัญญัติ สัญญาซื้อขายลวงหนา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... รวม 2 ฉบับ คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และรางพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายลวงหนา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... รวม 2 ฉบับ ตามที่ กระทรวงการคลังเสนอและใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา โดย 1) รางพระราชบัญญัติ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เปนการแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 เกี่ยวกับคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย และคณะกรรมการ ก.ล.ต. 2) รางพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายลวงหนา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เปนการเพิ่มบทบัญญัติเพื่อใหอํานาจแก คณะกรรมการกํากับตลาดทุน ยกเลิกบทบัญญัติเกี่ยวกับสมาคมกํากับผูประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายลวงหนา ทั้งหมดและกําหนดบทบัญญัติเพื่อรองรับการจดทะเบียนจัดตั้ง รวมถึงแกไขเพิ่มเติมบทกําหนดโทษ -3-
2. เรื่อง ความตกลงเพื่อการเวนการเก็บภาษีซอนระหวางไทยกับอินเดีย ฉบับแกไข คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลัง เสนอ เห็นชอบรางความตกลงเพื่อการเวน การเก็บภาษีซอนระหวางไทยกับอินเดีย ฉบับแกไข โดยเมื่อผานความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแลว หากมี การแกไขโดยที่ไมกระทบตอสาระสําคัญของความตกลง ฯ ให กค. สามารถทําการแกไขไดทันที และใหกระทรวงการตางประเทศรับไปดําเนินการตามแบบพิธีทางการทูตและกฎหมายภายในความตกลงฯ ดังกลาวมีผลใชบังคับตอไป ทั้งนี้ ความตกลงฯ มีวัตถุประสงคเพื่อชวยสงเสริมความรวมมือระหวางประเทศใน การปองกันการหลีกเลี่ยงการเสียภาษีระหวางประเทศทั้งสองตลอดจนมีการจัดสรรรายไดภาษีระหวางสอง ประเทศดวยการกําหนดสิทธิการเก็บภาษีสําหรับเงินไดประเภทตาง ๆ และพันธกรณีตามความตกลงฯ มี กฎหมายภายในของไทยรองรับที่สําคัญ ไดแก ประมวลรัษฎากร ประกอบกับพระราชกฤษฎีกาออกตามความ ในประมวลรัษฎากรวาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2505 และพระราชบัญญัติภาษีเงินได ปโตรเลียม พ.ศ. 2514 3. เรื่อง การลงนามรางความตกลงยอมรับรวมกันเกี่ยวกับโครงการผูประกอบการทางเศรษฐกิจที่ไดรับ อนุญาต ระหวางกรมศุลกากรแหงราชอาณาจักรไทยและเขตบริหารพิเศษฮองกง คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรางความตกลงยอมรับรวมกันเกี่ยวกับโครงการผูประกอบการ ทางเศรษฐกิจที่ไดรับอนุญาตระหวางกรมศุลกากรแหงราชอาณาจักรไทยและเขตบริหารพิเศษฮองกง และให อธิบดีกรมศุลกากรเปนผูลงนามในรางความตกลงดังกลาว ตามที่กระทรวงการคลัง เสนอ โดยมีวัตถุประสงค เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันทางการคาระหวางประเทศ เสริมสรางความปลอดภัย และการอํานวย ความสะดวกทางการคาตลอดหวงโซอุปทานรวมกัน 4. . เรื่อง โครงการใหความชวยเหลือวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในโครงการใหความชวยเหลือ SMEs ตามที่ กค.เสนอ โดย 1.เห็นชอบเงื่อนไขมาตรการเพิ่มวงเงินที่รัฐชําระคาธรรมเนียมค้ําประกันสินเชื่อแทนผูประกอบการ SMEs ที่ใหบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) ค้ําประกันสินเชื่อผานโครงการ Portfolio Guarantee Scheme (PGS) ระยะที่ 5 เพิ่มอีกจํานวน 50,000 ลานบาท โดยใหมีผลบังคับใชกับลูกคา ที่ยื่นขอค้ําประกันสินเชื่อนับตั้งแตวันที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการของมาตรการดังกลาว เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2558 และอนุมัติงบประมาณในการดําเนินมาตรการเปนวงเงินไมเกิน 875 ลานบาท ทั้งนี้ ใหเบิกจายจากงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2558 และปตอ ๆ ไป ตามประมาณการ คาใชจายที่จะเกิดขึ้นในแตละป โดยให บสย. ทําความตกลงกับสํานักงบประมาณ (สงป.) ในรายละเอียด ตอไป 2. เห็นชอบเงื่อนไขโครงการ Policy Loan และอนุมัติงบประมาณในการดําเนินโครงการเปนวงเงินรวม ไมเกิน 3,225 ลานบาท ทั้งนี้ ใหเบิกจายจากงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2558 และปตอ ๆ ไป ตามประมาณการคาใชจายที่จะเกิดขึ้นในแตละป โดยใหธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม แหงประเทศไทย (ธพว.) และ บสย. ทําความตกลงกับ สงป. ในรายละเอียดตอไป 5. เรื่อง รายงานผลการพิจารณาการขอจัดตั้งทุนหมุนเวียนของคณะกรรมการกลั่นกรองการจัดตั้งทุน หมุนเวียน คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบผลการพิจารณาการขอจัดตั้งทุนหมุนเวียนของคณะกรรมการกลั่นกรอง การจัดตั้งทุนหมุนเวียน จํานวน 4 ทุน ไดแก กองทุนยุติธรรม กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี กองทุนพัฒนา เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และเงินทุนหมุนเวียนการทาอากาศยานอูตะเภา และใหหนวยงานที่เกี่ยวของนํา ขอคิดเห็นและขอสังเกตของคณะกรรมการฯ ไปพิจารณาดําเนินการในสวนที่เกี่ยวของตอไป และเรงรัด -4-
กระทรวงการคลังใหดําเนินการตามมติ ครม. วันที่ 27 มกราคม 2558 โดยเสนอวิธีการนําเงินดังกลาวไปใช ประโยชนตอคณะรัฐมนตรีและเรงรัดการนําเงินทุนหมุนเวียนสวนเกินสงคลังเปนรายไดแผนดินใหครบถวน โดยดวนตอไป 6. เรื่อง รางกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวน รัษฎากร (การยกเวนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาใหแกผูขอกลับไปใชสิทธิในบําเหน็จบํานาญขาราชการตาม พระราชบัญญัติการกลับไปใชสิทธิในบําเหน็จบํานาญตามพระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. 2494 พ.ศ. 2557) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในประมวล รัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร (การยกเวนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาใหแกผูขอกลับไปใชสิทธิในบําเหน็จ บํานาญขาราชการตามพระราชบัญญัติการกลับไปใชสิทธิในบําเหน็จบํานาญตามพระราชบัญญัติบําเหน็จ บํานาญขาราชการ พ.ศ. 2494 พ.ศ. 2557) ซึ่งมีสาระสําคัญของรางกฎหมายการกําหนดใหเงินไดพึงประเมิน ที่ขาราชการและผูรับบํานาญไดรับเนื่องจากการกลับไปใชสิทธิในบําเหน็จบํานาญขาราชการตาม พระราชบัญญัติการกลับไปใชสิทธิในบําเหน็จบํานาญตามพระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. 2494 พ.ศ. 2557 ไดรับการยกเวนไมตองรวมคํานวณเพื่อเสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดามีผลใชบังคับสําหรับ เงินไดพึงประเมินประจําป พ.ศ. 2558 เปนตนไป
-5-
สถานการณดานการคลัง
I รายได 1. ตามหนวยงาน 1.1 กรมสรรพากร (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.2 กรมสรรพสามิต (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.3 กรมศุลกากร (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.4 รัฐวิสาหกิจ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.5 หนวยงานอื่น (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) - สวนราชการอื่น - กรมธนารักษ 1.6 รวมรายไดจัดเก็บ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.7 รวมรายไดสุทธิ (หลังหักการจัดสรรให อปท.) (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2. ตามฐานภาษี 2.1 ฐานจากเงินได (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2.2 ฐานจากการบริโภค (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2.3 ฐานจากการคาระหวางประเทศ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) II รายจาย 1.รายจายรัฐบาลจากงบประมาณ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.1 งบประมาณปปจจุบัน (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.2 งบประมาณปกอน 2. รายจายของกองทุนนอกงบประมาณ (15 กองทุน) 1/ - รายจาย - เงินใหกูยืมสุทธิ 3. รายจายจากเงินกูตางประเทศ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 4. รายจายของอปท. 5. รายจายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ III ดุลการคลัง 1. ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด 2. ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบ สศค. 2/ - รัฐบาล - อปท. 3. เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือน3/ IV ยอดหนี้สาธารณะ 1. หนี้รัฐบาลกูตรง 2. หนี้รัฐวิสาหกิจ 3. หนี้ของหนวยงานภาครัฐอื่น 4. หนี้ FIDF 5. รวม 6. หนี้คงคาง/GDP 7. หนี้ที่เปนภาระงบประมาณ/GDP (ปปฏิทิน)%
รวมทั้งป งบประมาณ 2557
ปงบประมาณ 2558 Q2 เม.ย. 58
Q1
หนวย :พันลานบาท
รวม ต.ค.57 - พ.ค. 58
พ.ค. 58
1,729.8 (2.0) 382.7 (11.6) 117.7 (4.3) 136.7 34.7 136.0 (14.5) 130.5 5.4 2,502.9 (3.0) 2,074.7 (4.0)
349.5 (2.0) 102.2 (2.0) 30.3 0.5 46.8 (1.2) 54.9 43.6 52.6 2.3 583.7 1.2 507.4 0.8
360.4 0.6 121.4 9.0 28.7 0.3 20.6 (17.8) 39.4 35.8 38.1 1.3 570.8 3.0 468.0 3.7
117.6 5.8 39.7 19.0 9.5 5.5 33.5 84.6 6.7 (8.1) 6.4 0.3 207.0 15.7 168.0 23.2
193.8 (23.3) 32.0 6.2 8.5 (10.3) 2.5 (83.6) 23.7 35.3 22.9 0.8 260.4 (19.8) 224.8 (19.3)
1,021.8 (4.5) 295.3 10.0 77.0 (0.4) 103.3 (10.4) 124.9 32.5 120.2 4.7 1,622.3 (0.2) 1,370.8 1.1
953.2 (5.1) 1,158.3 (2.8) 114.9 (4.7)
153.0 (5.4) 298.4 (0.2) 29.8 0.2
166.0 0.6 315.9 3.5 27.7 (0.4)
51.3 11.1 105.9 7.8 9.3 4.9
132.2 (29.9) 93.5 (0.6) 8.4 (10.6)
502.6 (8.9) 813.7 3.6 75.2 (1.1)
2,459.9 2.4 2,246.3 3.4 213.5 409.8 395.9 13.9 9.0 (59.2) 535.7 236
844.1 1.6 766.4 0.7 77.7 93.4 89.6 3.8 1.3 (43.6) 161.1 65.0
617.6 11.7 557.7 15.6 59.9 56.9 53.6 3.3 2.7 (24.2) 124.8 45.2
191.5 (2.2) 178.9 (0.5) 12.5 22.9 22.4 0.5 0.3 (78.7) 46.9 14.3
176.8 14.6 164.0 15.1 12.8 18.8 18.0 0.8 0.2 (76.7)
1,830.0 5.5 1,667.0 6.5 163.0 192.0 183.6 8.4 4.5 (31.5)
15.3
139.8
(359.3) (255.6) (255.6)
(347.7) (207.6) (207.6)
(142.3) (66.3) (66.3)
(37.6) 15.3 15.3
(15.4) 101.0 101.0
(543.0) (157.6) (157.6)
495.7
179.3
121.1
125.6
134.2
134.2
3,965.4 1,713.9 11.5 5,690.8 47.2
3,954.7 1,661.3 8.0 5,624.0 46.3
4,094.0 1,628.3 8.2 5,730.5 43.3
4,137.3 1,631.4 7.0
-
5,775.7 43.5
หมายเหตุ 1/ ประกอบดวย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณและการทําของ กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนคาธรรมเนียมผานทาง กองทุนสงเสริมวิสาหกิจ กองทุนออยและนําตาล กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ กองทุนหมูบานและชุมชนเมือง กองทุนสงเสริมการอนุรักษพลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กองทุนชวยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย 2/ ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาและวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) เปนผลรวมของดุลการคลังรัฐบาล และดุลการคลังของ อปท. 3/ ตั้งแตปงบประมาณ 2551 เงินคงคลังจะไมรวมเงินอื่น (บัตรภาษี) และเงินฝากธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) รวบรวมโดย : สวนวางแผนการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
-6-
n/a
n/a n/a n/a n/a n/a n/a
n/a n/a n/a n/a n/a n/a
สถานการณดานรายได • เดือนพฤษภาคม 2558
รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 224,835 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 74,660 ลานบาท หรือรอยละ 24.9 (ต่ํากวาเดือนเดียวกันปที่แลวรอยละ 19.3) โดย 3 กรมจัดเก็บภาษีสังกัดกระทรวงการคลังจัดเก็บรายไดต่ํากวา ประมาณการ 72,033 ลานบาท หรือรอยละ 23.5 สําหรับภาษีที่จัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการที่สําคัญ ไดแก ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม และภาษีมูลคาเพิ่มจัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการ 26,897 26,884 และ 9,675 ลานบาท หรือรอยละ 26.1 46.3 และ 14.6 ตามลําดับ โดยภาษีเงินไดนิติบุคคลไดรับผลกระทบจาก ภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวและผูประกอบการไดยื่นชําระภาษีผานทางอินเตอรเน็ตมากกวาที่คาดไว (ซึ่งขยายเวลา การชําระภาษีไดอีก 8 วัน) ภาษีเงินไดปโตรเลียมและภาษีมูลคาเพิ่มไดรับผลกระทบจากราคาน้ํามันดิบที่ลดลง เปนสําคัญ นอกจากนี้ การนําสงรายไดของรัฐวิสาหกิจต่ํากวาประมาณการ 12,565 ลานบาท หรือรอยละ 83.4 (ต่ํากวาเดือนเดียวกันปที่แลวรอยละ 83.6) เนื่องจากการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยนําสงรายไดไปแลวในเดือน เมษายน 2558 ที่ผานมา อยางไรก็ดี การจัดเก็บภาษีน้ํามันสูงกวาประมาณการ 6,921 ลานบาท หรือรอยละ 127.8 เนื่องจากการปรับขึ้น อัตราภาษีน้ํามันดีเซล ประกอบกับการจัดเก็บรายไดของสวนราชการอื่นสูงกวาประมาณการ 4,096 ลานบาท หรือรอยละ 21.8 เนื่องจากมีการนําสงรายไดจากการประมูลคลื่นความถี่เพื่อใหบริการโทรทัศนในระบบดิจิตอล งวดที่ 2 จํานวน 7,854 ลานบาท ตารางสรุปรายไดรัฐบาลเดือนพฤษภาคม 2558* หนวย: ลานบาท
ที่มาของรายได
ปนี้
ปที่แลว
1. กรมสรรพากร 2. กรมสรรพสามิต 3. กรมศุลกากร รายได 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น หัก1/ รายไดรัฐบาลสุทธิ
193,786 32,011 8,478 234,275 2,499 23,670 35,609 224,835
252,500 30,136 9,449 292,085 15,242 17,489 46,134 278,682
*
ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้ เปรียบเทียบปนี้กับ งปม.ทั้งปเทากับ กับปที่แลว ปมก. เอกสาร งปม. จํานวน รอยละ 2,325,000 ลานบาท จํานวน รอยละ (58,714) (23.3) 260,970 (67,184) (25.7) 1,875 6.2 35,038 (3,027) (8.6) (971) (10.3) 10,300 (1,822) (17.7) (57,810) (19.8) 306,308 (72,033) (23.5) (12,743) (83.6) 15,064 (12,565) (83.4) 6,181 35.3 19,026 4,644 24.4 (10,525) (22.8) 40,903 (5,294) (12.4) (53,847) (19.3) 299,495 (74,660) (24.9)
หมายเหตุ: ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 8 มิถุนายน 2558 1/ รายการหัก ไดแก (1) คืนภาษีของกรมสรรพากร 25,000 ลานบาท (เปนตัวเลขคาดการณ) (2) อากรถอนคืนกรมศุลกากร 647 ลานบาท (3) จัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อบจ. 1,200 ลานบาท (เปนตัวเลขคาดการณ) (4) เงินกันชดเชยสงออก 1,100 ลานบาท (เปนตัวเลขคาดการณ) (5) จัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ 7,662 ลานบาท (งวดที่ 5/2558) ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
-7-
ลานบาท
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลสุทธิในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (เดือนตุลาคม 2557 - พฤษภาคม 2558) จัดเก็บ 57
400,000
ปมก 58
350,000
จัดเก็บ 58
300,000 250,000
224,835
200,000
173,703
161,601 172,113 160,614 149,635 159,685 168,614
ต.ค.
พ.ย.
150,000 100,000 50,000 0
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ส.ค.
ก.ค.
ก.ย.
• ในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – พฤษภาคม 2558) รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 1,370,803 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 56,523 ลานบาท หรือรอยละ 4.0 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 1.1) โดยกรมสรรพากรและกรมศุลกากรจัดเก็บภาษีไดต่ํากวาประมาณการ 114,785 และ 4,810 ลานบาท หรือรอยละ 10.1 และ 5.9 ตามลําดับ ขณะที่การจัดเก็บรายไดของสวนราชการอื่น การนําสงรายไดของรัฐวิสาหกิจ และการจัดเก็บภาษีของกรมสรรพสามิตสูงกวาประมาณการ 19,429 12,489 และ 11,743 ลานบาท หรือรอยละ 19.3 13.8 และ 4.1 ตามลําดับ ผลการจัดเก็บรายไดของ 3 กรมในสังกัดกระทรวงการคลัง ในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (เดือนตุลาคม 2557 - พฤษภาคม 2558) ลานบาท 1,600,000 1,400,000 1,200,000 1,000,000
จัดเก็บ 57 ประมาณการ 58 จัดเก็บ 58
1,501,986 1,415,388 1,394,134
1,136,615 1,069,516 1,021,830
800,000 600,000 400,000
268,570 283,571 295,314
200,000
77,302 81,800 76,990
0 กรมสรรพากร
กรมสรรพสามิต
-8-
กรมศุลกากร
รวม 3 กรม
ตารางสรุปรายไดรัฐบาลในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – พฤษภาคม 2558)* ที่มาของรายได 1. กรมสรรพากร 2. กรมสรรพสามิต 3. กรมศุลกากร รายได 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น หัก1/ รายไดรัฐบาลสุทธิ
ปนี้
ปที่แลว
เปรียบเทียบปนี้ กับปที่แลว จํานวน รอยละ
1,021,830 1,069,516 (47,686) 295,314 268,570 26,744 76,990 77,302 (312) 1,394,134 1,415,388 (21,254) 103,265 115,294 (12,029) 124,884 94,237 30,647 251,480 269,170 (17,690) 1,370,803 1,355,749 15,054
(4.5) 10.0 (0.4) (1.5) (10.4) 32.5 (6.6) 1.1
หนวย : ลานบาท
ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้กับ งปม.ทั้งปเทากับ ปมก. เอกสาร งปม. 2,325,000 ลาน จํานวน รอยละ บาท 1,136,615 (114,785) (10.1) 283,571 11,743 4.1 81,800 (4,810) (5.9) 1,501,986 (107,852) (7.2) 90,776 12,489 13.8 105,490 19,394 18.4 270,926 (19,446) (7.2) 1,427,326 (56,523) (4.0)
หมายเหตุ: *ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 8 มิถุนายน 2558 1/ รายการหัก ไดแก (1) คืนภาษีสรรพากร 184,379 ลานบาท (เดือนตุลาคม – มีนาคม 2558 เปนตัวเลขจริง เดือนเมษายน – พฤษภาคม 2558 เปนตัวเลขคาดการณ) (2) อากรถอนคืนกรมศุลกากร 7,161 ลานบาท (3) จัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อบจ. 9,706 ลานบาท (เดือนตุลาคม 2557 – เมษายน 2558 เปนตัวเลขจริง เดือนพฤษภาคม 2558 เปนตัวเลขคาดการณ) (4) เงินกันชดเชยสงออก 9,307 ลานบาท (เดือนตุลาคม 2557 – เมษายน 2558 เปนตัวเลขจริง เดือนพฤษภาคม 2558 เปนตัวเลขคาดการณ) (5) จัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ 40,927 ลานบาท (งวดที่ 1/2558 - 5/2558) ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ผลการจัดเก็บรายไดตามหนวยงานจัดเก็บสรุปได ดังนี้ กรมสรรพากร จัดเก็บรายไดรวม 1,021,830 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 114,785 ลานบาท หรือรอยละ 10.1 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 4.5) โดยภาษีที่จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมายที่สําคัญ ไดแก (1) ภาษีเงินไดนิติบุคคลจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 46,500 ลานบาท หรือรอยละ 15.5 (ต่ํากวาชวงเดียวกัน ปที่แลวรอยละ 9.8) สาเหตุจากการเก็บภาษีจากฐานกําไรสุทธิที่จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมายเปนสําคัญ (2) ภาษีมูลคาเพิ่มจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 34,823 ลานบาท หรือรอยละ 6.8 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว รอยละ 0.2) ซึ่งเปนผลจากภาษีมูลคาเพิ่มที่จัดเก็บจากการนําเขาจํานวน 187,110 ลานบาท ต่ํากวาเปาหมาย 37,745 ลานบาท หรือรอยละ 16.8 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 10.3) เนื่องจากมูลคานําเขาที่ยังหดตัว สวนหนึ่งเปนผลจากราคาน้ํามันดิบที่ปรับตัวลดลงในชวงที่ผานมา ในขณะที่ภาษีมูลคาเพิ่มจากการบริโภคในประเทศ จัดเก็บได 287,129 ลานบาท สูงกวาเปาหมาย 2,923 ลานบาท หรือรอยละ 1.0 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 7.8) (3) ภาษีเงินไดปโตรเลียมจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 32,350 ลานบาท หรือรอยละ 45.4 (ต่ํากวาชวงเดียวกัน ปที่แลวรอยละ 49.1) เนื่องจากผลประกอบการของบริษัทขุดเจาะน้ํามันไดรับผลกระทบจากราคาน้ํามันดิบที่ปรับตัว ลดลงในชวงที่ผานมา ประกอบกับภาษีที่จัดเก็บจากการจําหนายกําไรไปตางประเทศจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย อยางไรก็ดี อากรแสตมปจัดเก็บไดสูงกวาเปาหมาย 618 ลานบาท หรือรอยละ 7.3 (สูงกวาชวงเดียวกัน ปที่แลวรอยละ 18.2) เปนผลจากการโอนหรือกอตั้งสิทธิใด ๆ เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยที่ยังขยายตัวดี
-9-
สัดสวนผลการจัดเก็บรายไดของกรมสรรพากรแยกตามรายภาษี ในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 - พฤษภาคม 2558) ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป 3.49% 0.89% รายไดอื่น ภาษีเงินไดปโตรเลียม 0.02% 3.81% ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 20.61%
ภาษีมูลคาเพิ่ม 46.41%
ภาษีเงินไดนิตบิ ุคคล 24.77%
กรมสรรพสามิต จัดเก็บรายไดรวม 295,314 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 11,743 ลานบาท หรือรอยละ 4.1 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 10.0) เปนผลจากภาษีน้ํามันจัดเก็บไดสูงกวาเปาหมาย 34,882 ลานบาท หรือรอยละ 79.4 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 89.4) เนื่องจากการปรับขึ้นอัตราภาษีน้ํามันดีเซลและราคาขายปลีก น้ํามันที่ลดลง สงผลใหปริมาณการใชน้ํามันเพิ่มสูงขึ้น อยางไรก็ดี ภาษีสรรพสามิตรถยนตจัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการ 15,115 ลานบาท หรือรอยละ 21.5 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 18.3) สาเหตุมาจากความตองการซื้อรถยนตที่ยังไมฟนตัว ภาษีเบียรและ ภาษีสุราจัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการ 4,949 และ 4,148 ลานบาท หรือรอยละ 8.1 และ 8.5 ตามลําดับ สัดสวนผลการจัดเก็บรายไดของกรมสรรพสามิตแยกตามรายภาษี ในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 - พฤษภาคม 2558) ภาษีสุราฯ 15.08%
ภาษีอื่นๆ 5.93%
ภาษียาสูบ 14.53%
ภาษีน้ํามันฯ 26.68%
ภาษีรถยนต 18.74%
ภาษีเบียร 19.04%
กรมศุลกากร จัดเก็บรายไดรวม 76,990 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 4,810 ลานบาท หรือรอยละ 5.9 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 0.4) โดยเปนผลจากการจัดเก็บอากรขาเขาต่ํากวาเปาหมายจํานวน 5,199 ลานบาท หรือรอยละ 6.5 เนื่องจากมูลคาการนําเขาที่ยังคงหดตัว โดยมูลคาการนําเขาในรูปดอลลารสหรัฐ และเงินบาทในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 หดตัวรอยละ 6.1 และ 4.4 ตามลําดับ ทั้งนี้ สินคาที่จัดเก็บอากรขาเขาไดสูงสุด 5 อันดับแรก ไดแก ยานบกและสวนประกอบ เครื่องใชไฟฟาและอุปกรณประกอบ เครื่องจักรและเครื่องใชกล ของทําดวยเหล็กหรือเหล็กกลา และพลาสติก
-10-
สัดสวนผลการจัดเก็บรายไดของกรมศุลกากรแยกตามรายภาษี ในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 - พฤษภาคม 2558) อากรขาออก 0.20%
รายไดอื่น 2.28%
อากรขาเขา 97.52%
รัฐวิสาหกิจ นําสงรายไดรวม 103,265 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 12,489 ลานบาท หรือรอยละ 13.8 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 10.4) เนื่องจากการนําสงรายไดของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ธนาคารออมสิน บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) การทางพิเศษแหงประเทศไทย และการทาเรือแหงประเทศไทย ที่สูงกวาประมาณการ เปนสําคัญ สัดสวนการนําสงรายไดรัฐวิสาหกิจแยกตามสาขา ในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 - พฤษภาคม 2558) สถาบันการเงิน สังคมและเทคโนโลยี 15.01% พาณิชยและบริการ 0.39% 10.29% เกษตรและ ทรัพยากรธรรมชาติ 0.10% อุตสาหกรรม 4.60% สาธารณูปการ 3.99%
สื่อสาร 8.43%
กิจการที่กระทรวงการคลัง ถือหุนต่ํากวารอยละ 50 1.77%
พลังงาน 46.24%
ขนสง 9.17%
หนวยงานอื่น จัดเก็บรายไดรวม 124,884 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 19,394 ลานบาท หรือรอยละ 18.4 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 32.5) สาเหตุสําคัญจากกองทุนหมุนเวียนนําสงเงินสภาพคลองสวนเกิน เปนรายไดแผนดินจํานวน 10,701 ลานบาท สํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และ กิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) นําสงรายไดจากการประมูลคลื่นความถี่เพื่อใหบริการโทรทัศนในระบบดิจิตอล งวดที่ 2 เปนรายไดแผนดินจํานวน 7,854 ลานบาท และกรมศุลกากรสงคืนเงินกันชดเชยใหแกผูสงออกเปนรายได แผนดินสูงกวาประมาณการ 5,562 ลานบาท สําหรับกรมธนารักษจัดเก็บรายไดรวม 4,689 ลานบาท ต่ํากวาเปาหมาย 35 ลานบาท หรือรอยละ 0.7 (ต่ํากวาชวงเดียวกันของปที่แลวรอยละ 1.5) เนื่องจากการจัดเก็บรายไดจากที่ราชพัสดุต่ํากวาเปาหมายเปนสําคัญ การคืนภาษีของกรมสรรพากร จํานวน 184,379 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 13,807 ลานบาท หรือ รอยละ 7.0 ประกอบดวยการคืนภาษีมูลคาเพิ่ม 145,718 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 9,782 ลานบาท หรือรอยละ 6.3 และการคืนภาษีอื่นๆ (ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป) จํานวน 38,661 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 4,025 ลานบาท หรือรอยละ 9.4 -11-
อากรถอนคืนกรมศุลกากร จํานวน 7,161 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 761 ลานบาท หรือรอยละ 11.9 การจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มใหกับองคการบริหารสวนจังหวัด จํานวน 9,706 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 1,764 ลานบาท หรือรอยละ 15. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินคาสงออก จํานวน 9,307 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 1,393 ลานบาท หรือรอยละ 13.0 การจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย อํานาจฯ จํานวน 5 งวด เปนเงิน 40,927 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 3,243 ลานบาท หรือรอยละ 7.3
-12-
ตารางที่ 1 ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลเบื้องตน เดือนพฤษภาคม 2558
1/
หนวย : ลานบาท
เปรียบเทียบปนี้กับปที่แลว ที่มาของรายได 1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7
ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น
2. กรมสรรพสามิต
2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษีรถยนต 2.3 ภาษีเบียร 2.4 ภาษียาสูบ 2.5 ภาษีสุราฯ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีรถจักรยานยนต 2.8 ภาษีแบตเตอรี่ 2.9 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.10 ภาษีอื่น 2/ 2.11 รายไดอื่น
3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่น
รวมรายได 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น 5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ
รวมรายไดจัดเก็บ (Gross)
หัก
1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายไดจาก VAT ให อบจ. 4. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินคาสงออก
รวมรายไดสุทธิ (Net) 5/
หักเงินจัดสรรจาก VAT ให อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ
รวมรายไดสุทธิหลังหักการจัดสรรแลว หมายเหตุ
1/
ปนี้
ปที่แลว
จํานวน
รอยละ
ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม. งปม.ทั้งปเทากับ 2,325,000 ลานบาท
จํานวน
รอยละ
193,786
252,500
(58,714)
(23.3)
260,970
(67,184)
(25.7)
56,531 76,020 24,990 31,206 3,977 1,027 35
58,779 99,442 24,557 64,478 4,281 932 31
(2,248) (23,422) 433 (33,272) (304) 95 4
(3.8) (23.6) 1.8 (51.6) (7.1) 10.2 12.9
66,206 102,917 28,005 58,090 4,670 1,053 29
(9,675) (26,897) (3,015) (26,884) (693) (26) 6
(14.6) (26.1) (10.8) (46.3) (14.8) (2.5) 20.7
32,011
30,136
1,875
6.2
35,038
(3,027)
(8.6)
12,338 5,965 4,681 3,877 3,159 1,419 241 151 37 97 46
5,140 6,866 5,485 5,397 5,181 1,524 203 170 36 89 45
7,198 (901) (804) (1,520) (2,022) (105) 38 (19) 1 8 1
140.0 (13.1) (14.7) (28.2) (39.0) (6.9) 18.7 (11.2) 2.8 9 2.2
5,417 8,923 7,249 5,217 6,020 1,539 280 200 61 100 32
6,921 (2,958) (2,568) (1,340) (2,861) (120) (39) (49) (24) (3) 14
127.8 (33.2) (35.4) (25.7) (47.5) (7.8) (13.9) (24.5) (39.3) (3.0) 43.8
8,478
9,449
(971)
(10.3)
10,300
(1,822)
(17.7)
8,360 1 118
9,323 24 102
(963) (23) 16
(10.3) 15.6
10,110 25 165
(1,750) (24) (47)
(17.3) (28.5)
234,275 2,499 23,670
292,085 15,242 17,489
(57,810) (12,743) 6,181
(19.8) (83.6) 35.3
306,308 15,064 19,026
(72,033) (12,565) 4,644
(23.5) (83.4) 24.4
17,172 317
5,704 477
33.2 150.5
18,780 246
4,096 548
21.8 222.8
324,816 38,072
(64,372) (10,125)
(19.8) (26.6)
340,398 31,823
(79,954) (3,876)
(23.5) (12.2)
232,497
286,744
(54,247)
(18.9)
308,575
(76,078)
(24.7)
7,662
8,062
(400)
(5.0)
9,080
(1,418)
(15.6)
224,835
278,682
(53,847)
(19.3)
299,495
(74,660)
(24.9)
22,876 794
260,444 27,947
25,000 18,000 7,000 647 1,200 1,100
3/
4/
4/ 4/
34,977 25,139 9,838 569 1,271 1,255
(9,977) (7,139) (2,838) 78 (71) (155)
(28.5) (28.4) (28.8) 13.7 (5.6) (12.4)
28,164 20,800 7,364 800 1,408 1,451
ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 8 มิถุนายน 2558
2/
ภาษีไพ แกวฯ เครื่องหอม พรม สนามมา สนามกอลฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนทคลับและดิสโกเธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด ขอมูลจากระบบ GFMIS 4/ ตัวเลขคาดการณ 5/ รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย: สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/
-13-
(3,164) (2,800) (364) (153) (208) (351)
(11.2) (13.5) (4.9) (19.1) (14.8) (24.2)
ตารางที่ 2 ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลสุทธิในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 1/ (ตุลาคม 2557 - พฤษภาคม 2558) หนวย : ลานบาท
เปรียบเทียบปนี้กับปที่แลว ที่มาของรายได 1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7
ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น
2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษีรถยนต 2.3 ภาษีเบียร 2.4 ภาษียาสูบ 2.5 ภาษีสุราฯ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีรถจักรยานยนต 2.8 ภาษีแบตเตอรี่ 2.9 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.10 ภาษีอื่น 2/ 2.11 รายไดอื่น
3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่น
รวมรายได 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น 5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ
หัก
รวมรายไดจัดเก็บ (Gross)
1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายไดจาก VAT ให อบจ. 4. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินคาสงออก
รวมรายไดสุทธิ (Net) 6/
หักเงินจัดสรรจาก VAT ให อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ
รวมรายไดสุทธิหลังหักการจัดสรร อปท. หมายเหตุ
1/ 2/ 3/
ปนี้
ปที่แลว
จํานวน
รอยละ
ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม. งปม.ทั้งปเทากับ 2,325,000 ลานบาท
จํานวน
รอยละ
1,021,830
1,069,516
(47,686)
(4.5)
1,136,615
(114,785)
(10.1)
474,239 253,071 210,559 38,939 35,696 9,077 249
475,034 280,418 194,783 76,433 34,962 7,679 207
(795) (27,347) 15,776 (37,494) 734 1,398 42
(0.2) (9.8) 8.1 (49.1) 2.1 18.2 20.3
509,062 299,571 210,258 71,289 37,788 8,459 188
(34,823) (46,500) 301 (32,350) (2,092) 618 61
(6.8) (15.5) 0.1 (45.4) (5.5) 7.3 32.4
295,314
268,570
26,744
10.0
283,571
11,743
4.1
78,788 55,339 56,223 42,913 44,539 12,214 1,990 1,482 326 913 587
41,607 67,759 56,040 41,248 45,838 11,325 1,720 1,346 337 800 550
37,181 (12,420) 183 1,665 (1,299) 889 270 136 (11) 113 37
89.4 (18.3) 0.3 4.0 (2.8) 7.8 15.7 10.1 (3.3) 14 6.7
43,906 70,454 61,172 41,910 48,687 12,049 1,978 1,518 503 882 512
34,882 (15,115) (4,949) 1,003 (4,148) 165 12 (36) (177) 31 75
79.4 (21.5) (8.1) 2.4 (8.5) 1.4 0.6 (2.4) (35.2) 3.5 14.6
76,990
77,302
(312)
(0.4)
81,800
(4,810)
(5.9)
75,081 154 1,755
75,884 153 1,265
(803) 1 490
(1.1) 0.7 38.7
80,280 200 1,320
(5,199) (46) 435
(6.5) (23.0) 33.0
1,394,134 103,265 124,884
1,415,388 115,294 94,237
(21,254) (12,029) 30,647
(1.5) (10.4) 32.5
1,501,986 90,776 105,490
(107,852) 12,489 19,394
(7.2) 13.8 18.4
89,479 4,758
30,716 (69)
34.3 (1.5)
100,766 4,724
19,429 (35)
19.3 (0.7)
1,624,919 226,793
(2,636) (16,240)
(16,549) (5,300) (11,249) 907 (649) 51
(0.2) (7.2)
(8.2) (3.5) (22.5) 14.5 (6.3) 0.6
1,698,252 226,756
(75,969) (16,203)
(13,807) (9,782) (4,025) 761 (1,764) (1,393)
(4.5) (7.1)
(7.0) (6.3) (9.4) 11.9 (15.4) (13.0)
1,411,730
1,398,126
13,604
1.0
1,471,496
(59,766)
(4.1)
40,927
42,377
(1,450)
(3.4)
44,170
(3,243)
(7.3)
1,370,803
1,355,749
15,054
1.1
1,427,326
(56,523)
(4.0)
120,195 4,689
1,622,283 210,553
184,379 145,718 38,661 7,161 9,706 9,307
3/
4/
5/ 5/
200,928 151,018 49,910 6,254 10,355 9,256
ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 8 มิถุนายน 2558 ภาษีไพ เครื่องแกว เครื่องหอม พรม สนามมา สนามกอลฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนทคลับและดิสโกเธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด ตัวเลขจากระบบ GFMIS
4/
เดือนตุลาคม 2557 - มีนาคม 2558 เปนตัวเลขจริง เดือนเมษายน - พฤษภาคม 2558 เปนตัวเลขคาดการณ
5/
เดือนตุลาคม 2557 - เมษายน 2558 เปนตัวเลขจริง เดือนพฤษภาคม 2558 เปนตัวเลขคาดการณ
6/
รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย : สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
-14-
198,186 155,500 42,686 6,400 11,470 10,700
สถานการณดานรายจาย • พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ 2558 ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 131 ตอนที่ 69 ก เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2557 กําหนดวงเงินงบประมาณรายจายจํานวน 2,575,000 ลานบาท สูงกวาวงเงินปงบประมาณ 2557 รอยละ 2.0 โดยแบงเปนรายจายประจํา 2,027,859 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปที่เเลวรอยละ 0.5 รายจายลงทุน 449,476 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก ปที่เเลวรอยละ 1.9 รายจายชําระคืนตนเงินกู 55,700 ลานบาท และรายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง 41,965 ลานบาท โครงสรางงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558
โครงสรางงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณรายจาย (สัดสวนตอ GDP) - รายจายประจํา (สัดสวนตองบประมาณ) - รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) - รายจายลงทุน (สัดสวนตองบประมาณ) - รายจายชําระคืนตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) 2. รายรับ (สัดสวนตอ GDP) - รายได - เงินกู 3. ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP)
ปงบประมาณ 2557 เพิ่ม/ลด จํานวน รอยละ 2,525,000 5.2 20.4 2,017,626 6.2 79.9 13,424 100.0 0.5 441,129 -2.1 17.5 52,822 7.5 2.1 2,525,000 5.2 20.4 2,275,000 8.3 250,000 -16.7 12,364,000 3.9
ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2558
- 15 -
หนวย : ลานบาท
ปงบประมาณ 2558 เพิ่ม/ลด จํานวน รอยละ 2,575,000 2.0 19.6 2,027,859 0.5 78.7 41,965 212.6 1.6 449,476 1.9 17.5 55,700 5.4 2.2 2,575,000 2.0 19.6 2,325,000 2.2 250,000 13,143,000 6.3
• คณะรักษาความสงบแหงชาติมีมติเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2557 เห็นชอบการกําหนดเปาหมายการ เบิกจายงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ.2558 ที่อัตรารอยละ 96.0 และกําหนดเปาหมาย การเบิกจายรายจายลงทุนไวไมนอยกวารอยละ 87.0 ของวงเงินงบรายจายลงทุน โดยไดกําหนด เปาหมายการเบิกจายรายไตรมาส ดังนี้ ไตรมาสที่
เปาหมายการเบิกจาย แตละสิ้นไตรมาส
1 2 3 4
830,720 584,222 530,094 531,125
เปาหมายอัตรา การเบิกจายแตละ สิ้นไตรมาส (%) 32 23 21 21
• เดือนพฤษภาคม 2558 รัฐบาลมีการเบิกจายเงินงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 176,754 ลานบาท สูงกวาชวงเดือนเดียวกันปที่แลว 22,454 ลานบาท หรือรอยละ 14.6 ปงบประมาณ 1. รายจายปปจจุบัน 1.1 รายจายประจํา 1.2 รายจายลงทุน 2. รายจายปกอน รวม
เดือนพฤษภาคม 2558 2558 163,958 139,510 24,448 12,796 176,754
2557 142,463 125,854 16,609 11,837 154,300
เปรียบเทียบ งปม. 2557 จํานวน รอยละ 21,495 15.1 13,656 10.9 7,839 47.2 959 8.1 22,454 14.6
ผลการเบิกจาย
อัตราการเบิกจาย (%)
766,371 557,708
29.8 21.6
ประกอบดวย 1) การเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558 จํานวน 163,958 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกัน ปที่แลว 21,495 ลานบาท หรือรอยละ 15.1 แบงเปน รายจายประจํา 139,510 ลานบาท และรายจายลงทุน 24,448 ลานบาท โดยมีการเบิกจายรายการที่สําคัญคือ รายจายชําระหนี้ของกระทรวงการคลัง 22,568 ลานบาท เงินอุดหนุนของกรมสงเสริมการปกครอง ทองถิ่น 10,051 ลานบาท และเงินอุดหนุนของ กระทรวงศึกษาธิการ 8,442 ลานบาท 2) การเบิกจายรายจายปกอน มีจํานวน 12,796 ลานบาท สูงกวาชวงเดือนเดียวกันปที่แลว 959 ลานบาท หรือรอยละ 8.1
• ในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – พฤษภาคม 2558) รัฐบาลไดเบิกจายแลวจํานวนรวมทั้งสิ้น 1,829,961 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 95,733 หรือรอยละ 5.5
ประกอบดวย 1) การเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558 จํานวน 1,666,983 ลานบาท คิดเปนอัตรา การเบิกจายรอยละ 64.7 ของวงเงินงบประมาณ 2,575,000 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 101,377 หรือรอยละ 6.5 แบงเปน รายจายประจํา 1,501,731 ลานบาท คิดเปนรอยละ 69.7 ของวงเงิน งบประมาณรายจายประจําหลังโอนเปลี่ยนแปลง
- 16 -
ปงบประมาณ 1. รายจายปปจจุบัน 1.1 รายจายประจํา 1.2 รายจายลงทุน 2. รายจายปกอน รวม
ตนแตตนปงบประมาณจนถึงสิ้นเดือนพฤษภาคม2558 2558
2557
1,666,983 1,501,731 165,252 162,978 1,829,961
1,565,606 1,375,141 190,465 168,622 1,734,228
เปรียบเทียบ งปม. 2557 รอยละตอวงเงิน งปม. 2558 จํานวน รอยละ 101,377 6.5 64.7 126,590 9.2 69.7 (25,213) (13.2) 39.3 (5,644) (3.3) 46.4 95,733 5.5 62.5
(2,154,079 ลานบาท) รายจายลงทุน 165,252 ลานบาท คิดเปนรอยละ 39.3 ของวงเงินงบประมาณ รายจายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง (420,921 ลานบาท) โดยมีการเบิกจายรายการที่สําคัญ ไดแก เงินอุดหนุนของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 180,391 ลานบาท เงินอุดหนุนของกระทรวงศึกษาธิการ 122,399 ลานบาท และรายจายชําระหนี้ของ กระทรวงการคลัง 100,320 ลานบาท - การเบิกจายงบกลาง มีจํานวน 190,364 ลานบาท คิดเปนรอยละ 50.7 ของวงเงินงบกลาง (375,708 ลานบาท) โดยมีการเบิกจายรายการที่สําคัญ ไดแก - เงินเบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ 108,526 ลานบาท คิดเปนรอยละ 74.9 - คาใชจายในการรักษาพยาบาลขาราชการ ลูกจาง และพนักงานของรัฐ 42,660 ลานบาท คิดเปนรอยละ 71.1 - เงินสํารอง เงินสมทบ และเงินชดเชยของขาราชการ 29,974 ลานบาท คิดเปนรอยละ 66.0 - เงินชวยเหลือขาราชการ ลูกจางและพนักงาน ของรัฐ 3,124 ลานบาท คิดเปนรอยละ 62.2 - เงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน 3,341 ลานบาท คิดเปนรอยละ 3.8 2) การเบิกจายรายจายปกอน มีจํานวน 162,978 ลานบาท คิดเปนรอยละ 46.4 ของวงเงินรายจายปกอน (351,323 ลานบาท) ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 5,644 ลานบาท หรือรอยละ 3.3
การเบิกจายงบประมาณในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558
ลานบาท
2,575,000
2,575,000
2,060,000
2,060,000
1,545,000
1,545,000
1,030,000
1,030,000
515,000
515,000
0
ต.ค. 57 พ.ย. 57 ธ.ค. 57 ม.ค. 58 ก.พ. 58 มี.ค. 58 เม.ย. 58 พ.ค. 58 มิ.ย. 58 ก.ค. 58 ส.ค. 58 ก.ย. 58
ต.ค. 57 พ.ย. 57 ธ.ค. 57 ม.ค. 58 ก.พ. 58 มี.ค. 58 ปปจจุบัน(รายเดือน) 344,801 180,660 240,910 197,891 131,447 228,371 สะสม 2557 244,001 476,569 760,825 947,220 1,101,327 1,243,363 สะสม 2558 344,801 525,460 766,371 964,262 1,095,709 1,324,079
- 17 -
เม.ย. 58 178,945 1,423,143 1,503,025
0
พ.ค. 58 มิ.ย. 58 ก.ค. 58 ส.ค. 58 ก.ย. 58 163,958 0 0 0 0 1,565,606 1,720,032 1,909,452 2,034,122 2,246,306 1,666,983
• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินจากโครงการลงทุน ภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ในเดือน พฤษภาคม 2558 จํานวน 2,655 ลานบาท
- เดือนพฤษภาคม 2558 มีการเบิกจายเงินจากโครงการ ลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 2,655 ลานบาท และสงผลใหตั้งแตตนปงบประมาณ จนถึงเดือนพฤษภาคม 2558 มีการเบิกจายรวม 6,675 ลานบาท โดยตั้งแตเริ่มโครงการ (เดือนตุลาคม 2552) เบิกจายไปแลว 338,961 ลานบาท คิดเปนรอยละ 97.1 ของวงเงินที่ไดรับอนุมัติ 348,940 ลานบาท
• รัฐบาลไมมีการเบิกจายเงินกูภายใต พรก. บริหารจัดการน้ําฯ ในเดือนพฤษภาคม 2558
- เดือนพฤษภาคม 2558 ไมมีการเบิกจายเงินกูภายใต พรก.บริหารจัด การน้ําฯ โดยตั้งแตตนปงบประมาณ จนถึงเดือนพฤษภาคม 2558 มีการเบิกจายรวม 1,099 ลานบาท โดยตั้งแตเริ่มโครงการ (เดือนกุมภาพันธ 2555) เบิกจายไปแลว 23,394 ลานบาท คิดเปนรอยละ 6.7 ของวงเงินที่ไดรับอนุมัติจํานวน 350,000 ลานบาท
หนวย: ลานบาท
ปงบประมาณ 2558
โครงการ
วงเงินที่ไดรับ อนุมัติ
2553
2554
2555
2556
เบิกจาย
1.โครงการภายใตปฏิบัติการไทยเขมแข็ง1/ 2. เงินกูภายใต พรก. บริหารจัดการน้ําฯ
348,940 350,000
234,369 -
61,391 -
24,420 1,762
7,509 13,740
4,597 6,793
ตั้งแตตนปงบประมาณ จนถึงสิ้นเดือน พ.ค.58
พ.ค. 58
2557
2,655 -
รอยละของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ
0.8 0.00
เบิกจาย
รอยละของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ
6,675 1,099
1.9 0.3
ตั้งแตเริ่มโครงการ จนถึงสิ้นเดือน พ.ค.58 เบิกจาย
รอยละของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ
338,961 23,394
97.1 6.7
หมายเหตุ 1/เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553 คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหยกเลิกวงเงินเหลือจายคงเหลือ จํานวน 1,020 ลานบาท ทําใหเหลือวงเงินที่ไดรับอนุมัติ 348,940 ลานบาท (วงเงินที่ไดรับอนุมัติเดิม 349,960 ลานบาท) 2/ เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหยกเลิกการดําเนินการตาม พรก . บริหารจัดการน้ําจํานวน 324,606 ลานบาท
• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินกูตางประเทศ ในเดือน - เดือนพฤษภาคม 2558 มีการเบิกจายเงินกู ตางประเทศจํานวน 171.9 ลานบาท ในขณะที่เดือน พฤษภาคม 2558 จํานวน 171.9 ลานบาท เดียวกันปที่แลวมีการเบิกจาย 737.1 ลานบาท และในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – พฤษภาคม 2558) มีการเบิกจายเงินกูตางประเทศ 4,512.8 บาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 2,071.9 ลานบาท หนวย : ลานบาท รายการ
พฤษภาคม 2558
2557
ในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558
เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง 2558 2557 จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ (96.2) (45.4) 940.2 1,070.5 (130.3) (12.2) 13.6 711.2 (697.6) (98.1) (469.0) (89.3) 3,559.0 4,803.0 (1,244.0) (25.9) (565.2) (76.7) 4,512.8 6,584.7 (2,071.9) (31.5)
1. Project Loans 115.9 212.1 2. Structural Adjustment Loans (SAL) 3. Development Policy Loan (DPL)* 56.0 525.0 รวม 171.9 737.1 ที่มา : สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ, กรมบัญชีกลาง หมายเหตุ : * วงเงินกู DPL 1,300 ลานเหรียญสหรัฐ หรือ 39,284.50 ลานบาท (อัตราแลกเปลี่ยน 1 USD = 30 บาท) วงเงินที่ ครม. อนุมัติแลว 37,928.54 ลานบาท ประกอบดวยเงินกูภายใต TKK 17,684.99 ลานบาท และนอก TKK 20,243.55 ลานบาท
- 18 -
• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินเขาสูระบบเศรษฐกิจ - ในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – พฤษภาคม 2558) มีการเบิกจายเงินเขาสู ทั้งสิ้น 1,842,248 ลานบาท ระบบเศรษฐกิจจํานวนทั้งสิ้น 1,842,248 ลานบาท แบงเปน งบประมาณรายจายประจําป 2558 จํานวน 1,666,983 ลานบาท รายจายปกอน 162,978 ลานบาท โครงการลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทย เขมแข็ง 2555 จํานวน 6,675 ลานบาท โครงการภายใต พรก.บริหารจัดการน้ําฯ จํานวน 1,099 ลานบาท และ การเบิกจายเงินกูตางประเทศจํานวน 4,513 ลานบาท
- 19 -
การเบิกจายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค.1/ • เดือนพฤษภาคม 2558 กองทุนนอกงบประมาณเบิกจาย 18,756 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลว 2,941 ลานบาท หรือรอยละ 18.6 เปนผลจากการเพิ่มขึ้นของรายจายกองทุน หลักประกันสุขภาพแหงชาติเปนสําคัญ
เดือนพฤษภาคม 2558 มีการเบิกจายรวม 18,756 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลว 2,941 ลานบาท หรือรอยละ 18.6 ประกอบดวยรายจาย 17,939 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกัน ปที่แลว 549 ลานบาท และการใหกูยืมสุทธิ 817 ลานบาท
• ในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – พฤษภาคม 2558) กองทุนฯ เบิกจาย 192,046 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 1,377 ลานบาท หรือรอยละ 0.7 สาเหตุหลักมาจากกองทุน น้ํามันเชื้อเพลิงมีการเบิกจายลดลง
ในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 มีการเบิกจายรวม 192,046 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 1,377 ลานบาท หรือรอยละ 0.7 ประกอบดวย 1) รายจาย 183,608 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันของ ปที่แลว 2,462 ลานบาท หรือรอยละ 1.3 เปนผลมาจากกองทุน น้ํามันเชื้อเพลิงมีการเบิกจายลดลง 12,816 ลานบาท ในขณะที่ กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติมีการเบิกจายเพิ่มขึ้น 7,993 ลานบาท 2) เงินใหกูยืมสุทธิ 8,438 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกัน ของปที่แลว 1,085 ลานบาท หรือรอยละ 14.8 เปนผลมาจาก กองทุนออยและน้ําตาลทรายมีรายจายเพื่อการกูยืมเพิ่มขึ้น
การเบิกจายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. เดือนพฤษภาคม 2558 และในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 พฤษภาคม รายการ
2558*
2557
17,939 817
เปรียบเทียบ
หนวย : ลานบาท ในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ เปรียบเทียบ 2558* 2557 จํานวน รอยละ
จํานวน
รอยละ
17,390
549
3.2
183,608
186,070
(2,462)
(1.3)
(1,575)
2,392
151.9
8,438
7,353
1,085
14.8
รวม 18,756 15,815 หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ โดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
2,941
18.6
192,046
193,423 (1,377)
(0.7)
1. รายจาย 2. เงินใหกูยืมสุทธิ
1/
การเบิกจายของกองทุนนอกงบประมาณ 14 กองทุน (จากกองทุนทั้งหมด 113 กองทุน) ประกอบดวย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณและการทําของ กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนคาธรรมเนียมผานทาง กองทุนสงเสริมวิสาหกิจฯ กองทุนออยและน้ําตาลทราย กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ กองทุนหมูบานและชุมชนเมืองแหงชาติ กองทุนสงเสริมการอนุรักษพลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจยั
- 20 -
ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด1ในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – พฤษภาคม 2558) ในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 รัฐบาล • ในชวง 8 เดือนแรกของ ปงบประมาณ 2558 ดุลการคลังของ มีรายไดนําสงคลัง 1,288,423 ลานบาท และมีการเบิกจาย งบประมาณจากงบประมาณปปจจุบันและปกอนรวม รัฐบาลตามระบบ กระแสเงินสด ขาดดุล 542,959 ลานบาท คิดเปน 1,829,961 ลานบาท สงผลใหดุลเงินงบประมาณขาดดุล จํานวน 541,538 ลานบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอก รอยละ 4.0 ของ GDP 2 งบประมาณที่ขาดดุล 1,421 ลานบาท ทําใหดุลเงินสด ขาดดุลทั้งสิ้น 542,959 ลานบาท รัฐบาลชดเชย การขาดดุลโดยการออกพันธบัตร 181,362 ลานบาท สงผลใหเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2558 มีจํานวน 134,150 ลานบาท ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด
รายได รายจาย ปปจจุบัน ปกอน ดุลเงินงบประมาณ ดุลเงินนอกงบประมาณ ดุลเงินสดกอนกู เงินกูเพื่อชดเชยการขาดดุล ดุลเงินสดหลังกู เงินคงคลังปลายงวด
ในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 2557 1,288,423 1,229,525 1,829,961 1,734,228 1,666,983 1,565,606 162,978 168,622 (541,538) (504,703) (1,421) (43,616) (542,959) (548,319) 181,362 186,704 (361,597) (361,615) 134,150 243,437
ที่มา : กรมบัญชีกลาง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
1
หนวย: ลานบาท
เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ 58,898 4.8 95,733 5.5 101,377 6.5 (5,644) (3.3) (36,835) 7.3 42,195 (96.7) 5,360 (1.0) (5,342) (2.9) 18 (0.0) (109,287) (44.9)
ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด เปนดุลการคลังที่แสดงใหเห็นผลกระทบตอเงินคงคลังและการกูเงินเพื่อชดเชยการขาดดุล GDP ปงบประมาณ 2557 เทากับ 13,074,771 ลานบาท และคาดการณ GDP ปงบประมาณ 2558 เทากับ 13,513,400 ลานบาท
2
-21-
ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) 3 ในชวง 8 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม-พฤษภาคม 2558) • ปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557พฤษภาคม 2558) รัฐบาลขาดดุล 157,669 ลานบาท โดยขาดดุล งบประมาณ 327,566 ลานบาท ในขณะทีด่ ุลกองทุนนอกงบประมาณ เกินดุล 182,184 ลานบาท นอกจากนี้ มีรายจายตามแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็งจํานวน 6,675 ลานบาท รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจ และ พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) จํานวน 3,559 ลานบาท รายจาย เพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา จํานวน 1,099 ลานบาท และ เงินกูตางประเทศ (Project loan และ SAL) จํานวน 954 ลานบาท
ดานรายได รัฐบาลมีรายไดรวมทั้งสิ้น 1,515,999 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 45,415 ลานบาท ประกอบดวย รายไดในงบประมาณ (กอนจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อปท.) 1,515,024 ลานบาท และเงินชวยเหลือตางประเทศ 975 ลานบาท ดานรายจาย รัฐบาลมีรายจายทั้งสิ้น 1,843,565 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 34,132 ลานบาท ประกอบดวย รายจาย (ไมรวมรายจายชําระตนเงินกูการถือครองสินทรัพย ทางการเงิน รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนา โครงสรางพื้นฐาน (DPL) รายจายเพื่อวางระบบการบริหาร จัดการน้ํา เงินกูตางประเทศ และรายจายตามแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง) จํานวน 1,842,590 ลานบาท และเงินชวยเหลือตางประเทศ 975 ลานบาท ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิ้น 327,566 ลานบาท ขาดดุลลดลงจากชวงเดียวกันปที่แลว 11,283 ลานบาท กองทุนนอกงบประมาณ มีรายไดรวมทั้งสิ้น 394,872 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 12.1 ในขณะที่มีรายจายจํานวน 204,250 ลานบาท ต่ํากวา ชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 35.7 และมีเงินใหกูหักชําระคืน 8,438 ลานบาท สงผลใหดุลกองทุนนอกงบประมาณเกินดุล 182,184 ลานบาท ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุล มีสาเหตุมาจากดุลเงิน งบประมาณที่ขาดดุลเปนสําคัญ โดยเมื่อรวมกับดุลกองทุน นอกงบประมาณที่เกินดุล รายจายตามแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนา โครงสรางพื้นฐาน (DPL) รายจายเพื่อวางระบบการบริหาร จัดการน้ํา และเงินกูตางประเทศ จํานวน 6,675 3,559 1,099 และ 954 ลานบาท ตามลําดับ ทําใหดุลการคลังรัฐบาล ขาดดุลจํานวน 157,669 ลานบาท
3
ดุลการคลังตามระบบ สศค. เปนดุลการคลังที่สะทอนเม็ดเงินที่แทจริงที่สงผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจ
- 22 -
ดุลการคลังเบื้องตนของรัฐบาล (Primary Balance) ซึ่งเปนดุลการคลังที่สะทอนถึงผลการดําเนินงานของรัฐบาล และทิศทางของนโยบายการคลังรัฐบาลอยางแทจริง (ไมรวมรายได และรายจายจากดอกเบี้ยและการชําระคืน ตนเงินกู) ขาดดุลทั้งสิน้ 94,572 ลานบาท ขาดดุลลดลงจาก ชวงเดียวกันปที่แลว 170,400 ลานบาท ดุลการคลังเบื้องตนตามระบบ สศค. หนวย : ลานบาท ปงบประมาณ รัฐบาล 1. รายได 2. รายจาย 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. แผนปฎิบัติการไทยเขมแข็ง (TKK) 5. รายจายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา 6. รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) 7. เงินกูตางประเทศ (Project loan และ SAL) 8. ดุลกองทุนนอกงบประมาณ (8.1-8.2-8.3) 8.1 รายได 8.2 รายจาย 8.3 เงินใหกูหักชําระคืน 9. ดุลการคลังของรัฐบาล (3+8-4-5-6-7) 10. ดุลการคลังเบื้องตนของรัฐบาล
เดือนพฤษภาคม 2558
2557
เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ
270,302 172,832 97,470 2,655 56 116 6,388 27,567 20,362 817 101,031 107,135
300,130 157,459 142,671 62 273 525 212 9,701 30,150 22,024 (1,575) 151,300 157,991
(29,828) 15,373 (45,201) 2,593 (273) (469) (96) (3,313) (2,583) (1,662) 2,392 (50,269) (50,856)
จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
- 23 -
(9.9) 9.8 (31.7) 4,171.8 (100.0) (89.3) (45.3) (34.2) (8.6) (7.5) 151.9 (33.2) (32.2)
ปงบประมาณ 2558 1,515,999 1,843,565 (327,566) 6,675 1,099 3,559 954 182,184 394,872 204,250 8,438 (157,669) (94,572)
% of GDP 11.2 13.6 (2.4) 0.0 0.0 0.0 0.0 1.3 2.9 1.5 0.1 (1.2) (0.7)
2557 1,470,584 1,809,433 (338,849) 1,267 5,135 4,803 1,782 27,259 352,118 317,506 7,353 (324,577) (264,972)
% of GDP
เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ
11.2 45,415 13.8 34,132 (2.6) 11,283 0.0 5,408 0.0 (4,036) 0.0 (1,244) 0.0 (828) 0.2 154,925 2.7 42,754 2.4 (113,256) 0.1 1,085 (2.5) 166,908 (2.0) 170,400
3.1 1.9 (3.3) 426.9 (78.6) (25.9) (46.5) 568.3 12.1 (35.7) 14.8 (51.4) (64.3)
ดุลการคลังของภาคสาธารณะตามระบบงบประมาณ ระบบกระแสเงินสด และตามระบบ สศค. ปงบประมาณ 2557 - 2558 ปงบประมาณ รัฐบาล 1. รายได - รายไดสุทธิ - จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. - จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ - เงินชวยเหลือตางประเทศ - อื่นๆ 2. รายจาย - รายจายปปจจุบัน (อัตราการเบิกจาย : %) - รายจายปกอน - จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. - จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ - เงินชวยเหลือตางประเทศ - หัก สวนเกินพันธบัตรรัฐบาล - อื่นๆ 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. ดุลนอกงบประมาณ 5. รายจายจากเงินกูตางประเทศ 6. รายจายจากไทยเข็มแข็ง (TKK) และมาตรการกระตุนเศรษฐกิจ 7.รายจายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา 8.รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) 9. บัญชีนอกงบประมาณ(9.1-9.2-9.3) 9.1 รายได 9.2 รายจาย 9.3 เงินใหกูหักชําระคืน 10. การหับนับซ้ําของรัฐบาล 10.1 รายได 10.2 รายจาย 11. ดุลการคลังของรัฐบาล (3+4-5-6-7-8+9-10)
จํานวน
% of GDP
เอกสารงบประมาณ
จํานวน
2557
% of GDP
ระบบกระแสเงินสด 18.3
2,070,018.0
15.8
2,525,000.0 2,525,000.0
20.3 20.3
2,459,990.0 2,246,306.0 89.0 213,684.0
18.8 17.2
(250,000.0)
(2.0)
(2.0)
% of GDP
ระบบ สศค.
2,275,000.0
(250,000.0)
จํานวน
1.6
(389,972.0) 8,161.7
(3.0) 0.1
(381,810.3)
(2.9)
จํานวน
% of GDP
เอกสารงบประมาณ
2558e จํานวน
หนวย: ลานบาท % of GDP
ระบบกระแสเงินสด
17.6 15.9 0.1 0.7 0.0
2,325,000
18.7
2,325,000
17.8
19.7 16.7
2,575,000 2,575,000
20.7 20.7
2,718,256 2,476,161 96.2 242,095
20.8 18.9
2,414.0 4,597.0 6,793.0 6,646.0 39,675.7 449,424.2 395,842.5 13,906.0 183,714.0 183,714.0 (252,572.1)
0.0 0.0 0.1 0.1 0.3 3.4 3.0 0.1 1.4 1.4 (1.9)
(2.1)
(250,000)
(250,000)
(2.0)
(1.9)
1.9
(393,256) 40,981
(3.0) 0.3
(352,275)
(2.6)
องคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. รายรับ (12.1+12.2) 554,348.9 4.2 12.1 รายได 199,941.0 1.5 12.2 เงินชวยเหลือจากรัฐบาล 354,407.9 2.7 13 รายจาย 533,120.2 4.1 14. ดุลการคลัง (12-13) 21,228.7 0.2 15. การหักนับซ้ําของภาครัฐบาล 15.1 รายได 354,407.9 2.7 15.2 รายจาย 354,407.9 2.7 16. ดุลการคลังของภาครัฐบาล (11+14-15) (231,343.4) (1.8) GDP (ลานบาท) 12,424,000 13,074,771 13,074,771 13,201,000 13,513,400 หมายเหตุ 1. ดุลการคลังตามระบบงบกระแสเงินสดเปนการแสดงรายได (รวมคา Premium และรายไดจากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ แตไมรวมรายรับจากการกูเงินเพื่อชดเชยการขาดดุลและรายไดจากภาษีมูลคาเพิ่ม ที่โอนใหแกอปท.) และรายจายทั้งหมดจากบัญชีเงินคงคลัง 2. ระบบ สศค. มีรายการปรับปรุงรายไดเพิ่มเติมจากระบบกระแสเงินสด คือ อบจ. ,พรบ.แผน,ภาคหลวงแร,ภาคหลวงปโตรเลียม,ดอกเบี้ยพันธบัตร FIDF,การชําระตนเงินกูพันธบัตร FIDF,เงินชวยเหลือตางประเทศ หัก การขายสินทรัพย,เงินเหลือจาย,เงินกูรับคืน รายไดเงินกูรับคืน และรวมเงินภาษีที่จัดสรรให อปท. และเงินชวยเหลือจากตางประเทศ ตั้งแตปงบประมาณ 2546 เปนตนมา 3. ระบบ สศค. มีการปรับปรุงทางดานรายจาย คือ อบจ. ,พรบ.แผน,ภาคหลวงแร,ภาคหลวงปโตรเลียม,ดอกเบี้ยพันธบัตร FIDF,เงินชวยเหลือตางประเทศ หัก สวนเกินพันธบัตร,การขายสินทรัพย,เงินเหลือจาย,เงินใหกูรับคืน และเงินภาษีที่จัดสรรใหอปท. . 4. บัญชีนอกงบประมาณประกอบดวย เงินทนหมนเวียน และกองทนนอกงบประมาณ ทั้งนี้ ไดบันทึกขอมูลตามเกณฑคงคาง สําหรับกองทุนน้ํามันไดเริ่มบันทึกรายจายชดเชยน้ํามันตามเกณฑคงคางตั้งแตเดือนมกราคม 2547 เปนตนมา 5. รายไดตามระบบกระแสเงินสดบันทึกอยูในระบบ cash basis สวนรายไดตามระบบ สศค. บันทึกอยูในระบบ acrual basis 6. ขอมูล GDP ป 2558 อางอิงจากขอมูลประมาณการจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ณ วันที่ 18 พฤษภาคม 2558 7. รายจายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา อยูระหวางการเสนอ ครม. จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่มา : กรมบัญชีกลาง สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ ธนาคารแหงประเทศไทย และ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ วันทีบันทึกขอมูล : 25 พฤษภาคม 2558
- 24 -
% of GDP
ระบบ สศค.
2,306,459.8 2,075,024.4 9,263.4 96,387.0 5,368.0 120,417.0 2,578,257.6 2,184,524.0 86.5 213,684.0 9,263.4 96,387.0 5,368.0 5,857.8 74,889.0 (271,797.8)
1.6 0.1 0.7 0.0 0.0
จํานวน 2,565,509 2,325,000 10,260 109,000 1,449 119,800 2,881,300 2,476,161 96.2 242,095 10,260 109,000 1,449 6,000 48,335 (315,790)
19.0 17.2 0.1 0.8 0.0 0.9 21.3 18.3
3,000 14,000 1,412 6,009 42,300 476,400 419,600 14,500 137,761 137,761 (297,911)
0.0 0.1 0.0 0.0 0.3 3.5 3.1 0.1 1.0 1.0 (2.2)
587,213 329,549 257,664 528,492 58,721
4.3 2.4 1.9 3.9 0.4 1.9 1.9 (1.8)
257,664 257,664 (239,190) 13,513,400
1.8 0.1 0.8 0.0 0.0 (2.3)
ฐานะการคลังองคกรปกครองสวนทองถิ่น ฐานะการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 2 ของปงบประมาณ 2558 (เดือนมกราคม – มีนาคม 2558) 1. ดานรายได อปท. จํานวน 7,853 แหง มีรายไดรวม 166,239 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก ชวงเดียวกันของปที่แลว 18,894 ลานบาท หรือรอยละ 12.8 โดยเปนรายไดจากเงินอุดหนุนและรายได ที่จัดเก็บเองเพิ่มขึ้น 15,945 และ 1,947 ลานบาท หรือรอยละ 27.0 และ 9.1 ตามลําดับ เนื่องจาก ในไตรมาสที่ 2 ปงบประมาณ 2558 อปท. ไดรับการจัดสรรเงินอุดหนุนจากกรมสงเสริมการปกครอง ทองถิ่นและเงินอุดหนุนเหลื่อมปทเี่ พิ่มขึ้นจากปงบประมาณ 2557 (ขอมูลจากกรมบัญชีกลาง) ตารางที่ 1 รายไดของ อปท. ไตรมาสที่ 2 ของปงบประมาณ 2558 ประเภท 1. รายไดจัดเก็บเอง 1/ (รอยละของรายไดรวม) 1.1 รายไดจากภาษีอากร 1.2 รายไดที่ไมใชภาษีอากร 2. รายไดจากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบงให 2/ (รอยละของรายไดรวม) 3. รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล 3/ (รอยละของรายไดรวม) รวม (รอยละของรายไดรวม)
ไตรมาสที่ 2 ปงบประมาณ 2558 ปงบประมาณ 2557 23,289 14.0 16,935 6,354 68,043 40.9 74,907 45.1 166,239 100
21,342 14.5 15,577 5,765 67,041 45.5 58,962 40.0 147,345 100
หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ 1,947
9.1
1,358 589 1,002
8.7 10.2 1.5
15,945
27.0
18,894
12.8
หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 6 พฤษภาคม 2558 ที่มา : 1/ องคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) และคาดการณโดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 2/ รายไดจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กรมที่ดิน กรมการขนสงทางบก กรมการปกครอง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายไดเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
รายไดของ อปท. จําแนกตามแหลงที่มาได ดังนี้ 1.1 รายไดที่จัดเก็บเอง จํานวน 23,289 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปที่แลว 1,947 ลานบาท หรือรอยละ 9.1 ประกอบดวย รายไดจากภาษีอากร 16,935 ลานบาท และรายไดที่ไมใชภาษีอากร 6,354 ลานบาท 1.2 รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให จํานวน 68,043 ลานบาท เพิ่มขึ้น จากชวงเดียวกันของปที่แลว 1,002 ลานบาท หรือรอยละ 1.5 1.3 รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล จํานวน 74,907 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันปที่แลว 15,945 ลานบาท หรือรอยละ 27.0
- 25 -
2. ดานรายจาย 1 อปท. จํานวน 7,853 แหง มีรายจายทั้งสิ้น 124,598 ลานบาท ลดลงจาก ชวงเดียวกันของปที่แลว 6,214 ลานบาท หรือรอยละ 4.8 โดยเปนการลดลงจากรายประจําและรายจาย พิเศษ 3,416 และ 2,324 ลานบาท หรือรอยละ 5.0 และ 6.2 ตามลําดับ (รายละเอียดตามตารางที่ 2) ตารางที่ 2 รายจายของ อปท. ไตรมาสที่ 2 ของปงบประมาณ 2558 ประเภท
หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ (190) (2.3) (3,416) (5.0) (843) (11.3) (2,324) (6.2) 559 6.1 (6,214) (4.8)
ไตรมาสที่ 2 ปงบประมาณ 2558 ปงบประมาณ 2557 7,936 8,126 65,011 68,427 6,592 7,435 35,377 37,701 9,682 9,123 124,598 130,812
1. รายจายงบกลาง 2. รายจายประจํา 3. รายจายเพื่อการลงทุน 4. รายจายพิเศษ 5. รายจายจากเงินกันไวเบิกเหลื่อมป รวม หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 6 พฤษภาคม 2558 จัดทําโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
3. ดุลการคลัง 2 อปท. เกินดุล 41,641 ลานบาท เกินดุลเพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปที่แลว 25,108 ลานบาท (รายละเอียดตามตารางที่ 3 และแผนภูมิที่ 1) ตารางที่ 3 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 2 ของปงบประมาณ 2558 ประเภท 1. รายได 1.1 รายไดที่จัดเก็บเอง 1/ 1.2 รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บ และแบงให 2/ 1.3 รายไดจากเงินอุดหนุน 3/ 2. รายจาย 3. ดุลการคลัง 4/
ไตรมาสที่ 2 ปงบประมาณ 2558 ปงบประมาณ 2557 166,239 23,289
147,345 21,342
68,043 74,907 124,598 41,641
หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ 18,894 1,947
12.8 9.1
67,041
1,002
1.5
58,962 130,812 16,533
15,945 (6,214) 25,108
27.0 (4.8) 151.9
หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 6 พฤษภาคม 2558 ที่มา : 1/ จากองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) 2/ รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กรมที่ดิน กรมการขนสงทางบก กรมการปกครอง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ พิจารณาจากขอมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) ของ ธปท. และเงินฝากคลัง อปท.ในกระทรวงการคลังจากกรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
1 2
รายจาย อปท. พิจารณาจากผลตางของรายไดกับดุลการคลังของ อปท. ดุลการคลังของ อปท. พิจารณาจากขอมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) จากธนาคารแหงประเทศไทย และเงินฝากคลัง อปท. ในกระทรวงการคลังจากกรมบัญชีกลาง
- 26 -
แผนภูมิที่ 1 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 2 ของปงบประมาณ 2558 หนวย : ลานบาท
ฐานะดุลการคลังของ อปท. ในชวงครึ่งแรกของปงบประมาณ 2558 1. ดานรายได อปท. มีรายไดจํานวน 345,058 ลานบาท ลดลงจากชวงเดียวกันของปที่แลว 18,492 ลานบาท หรือรอยละ 5.1 โดยเปนรายไดจากเงินอุดหนุนลดลงจํานวน 23,596 ลานบาท หรือรอยละ 11.6 ในขณะที่รายไดที่จัดเก็บเองและรายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให เพิ่มขึ้น 2,735 และ 2,369 ลานบาท หรือรอยละ 9.8 และ 1.8 ตามลําดับ 2. ดานรายจาย มีรายจายรวมทั้งสิ้น 285,583 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปที่แลว 12,489 ลานบาท หรือรอยละ 4.6 โดยเปนการเพิ่มขึ้นจากหมวดรายจายประจําและหมวดรายจายเงินกันไว เบิกเหลื่อมป 8,102 และ 7,927 ลานบาท หรือรอยละ 5.9 และ 26.0 ตามลําดับ 3. ดุลการคลัง อปท. เกินดุ ล 59,475 ลานบาท เกิ นดุล ลดลงจากชวงเดี ยวกั นของป ที่แลว 30,981 ล านบาท หรื อร อยละ 34.2 ตารางที่ 4 ดุลการคลังของ อปท. ครึ่งแรกของปงบประมาณ 2558 ประเภท 1. รายได 1.1 รายไดที่จัดเก็บเอง 1/ 1.2 รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให 2/ 1.3 รายไดจากเงินอุดหนุน 3/ 2. รายจาย 3. ดุลการคลัง 4/
ครึ่งแรกของป ปงบประมาณ ปงบประมาณ 2558 2557 345,058 30,740 135,228 179,090 285,583 59,475
363,550 28,005 132,859 202,686 273,094 90,456
หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 6 พฤษภาคม 2558 ที่มา : 1/ จากองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) 2/ รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กรมที่ดิน กรมการขนสงทางบก กรมการปกครอง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ พิจารณาจากขอมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) ของ ธปท. และเงินฝากคลัง อปท.ในกระทรวงการคลังจากกรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
- 27 -
หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบ จํานวน (18,492) 2,735 2,369 (23,596) 12,489 (30,981)
รอยละ (5.1) 9.8 1.8 (11.6) 4.6 (34.2)
แผนภูมิที่ 2 ดุลการคลังของ อปท. ครึ่งแรกของปงบประมาณ 2558 หนวย : ลานบาท
- 28 -
สถานการณดานหนีส้ าธารณะ หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนเมษายน 2558 หนวย : ลานบาท
• หนี้สาธารณะคงคางจํานวน 5,775,710.5 ลานบาท คิดเปน รอยละ 43.5 ของ GDP เพิ่มขึ้น จากเดือนที่แลว 45,191.3 ลานบาท ประกอบดวย หนี้ในประเทศ คิดเปนรอยละ 94.0 สวนที่เหลือ รอยละ 6.0 เปนหนี้ตางประเทศ และเมื่อแบงตามอายุเครื่องมือ การกูเงิน หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 97.1 และหนี้ระยะสั้น รอยละ 2.9 กรณีแบงตามอายุ คงเหลือ หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 87.0 สวนที่เหลือรอยละ 13.0 เปนหนีร้ ะยะสั้น • หนี้คงคางทีเ่ พิ่มขึ้น มีสาเหตุมาจากหนี้ของรัฐบาล เพิ่มขึ้นจากเดือนที่แลว 43,306.3 ลานบาท ในขณะทีห่ นี้ของ รัฐวิสาหกิจ และหนี้หนวยงานอื่น ของรัฐ ลดลง 3,051.3 และ 1,166.2 ลานบาท ตามลําดับ
1. รวมหนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง-ตางประเทศ หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง-ในประเทศ 2. รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจ หนี้ที่รัฐบาลค้ําประกัน-ตางประเทศ หนี้ที่รัฐบาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รัฐบาลไมค้ําประกันตางประเทศ** หนี้ที่รัฐบาลไมค้ําประกัน-ในประเทศ** 3. หนี้ของหนวยงานภาครัฐอื่น * หนี้ที่รัฐบาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รัฐบาลไมค้ําประกัน-ในประเทศ 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟนฟูฯ FIDF 5. ยอดหนี้สาธารณะคงคางรวม (1+2+3+4) GDP*** หนี้สาธารณะคงคางรวมตอ GDP (%) หมายเหตุ
31 มี.ค. 58 4,094,008.59 76,904.80 4,017,103.79 1,628,313.99 103,097.17 898,218.75 161,713.95
30 เม.ย. 58 4,137,314.87 77,354.09 4,059,960.78 1,631,365.25 103,525.12 891,537.50 164,135.90
465,284.12 8,196.65 0.00 8,196.65 0 5,730,519.23
472,166.73 7,030.41 0.00 7,030.41 0 5,775,710.53
13,225,780.00 43.33
13,291,117.56 43.46
* หนวยงานภาครัฐอื่น ไดแก สถาบันบริหารกองทุนพลังงาน ** ไมรวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน *** สํานักงานบริหารหนีส้ าธารณะไดปรับวิธีการคํานวณ GDP ในแตละเดือน โดย GDP ของเดือน มีนาคม 2558 เทากับ 13,225.78 พันลานบาท และ GDP ของเดือนเมษายน 2558 คํานวณ ดังนี้ [GDP ไตรมาส 2 ป 57/3]*2 + [GDP ไตรมาส 3 - 4 ป 57] + [(GDP ไตรมาส 1 ป 58)+ (ประมาณการ GDP ป 58 – GDP ไตรมาส 1 ป 58)/9] เทากับ 13,291.12 พันลานบาท ที่มา สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ รวบรวมโดย สวนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
- 29 -
• หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง เพิ่มขึ้น 43,306.3 ลานบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แลว โดย มีสาเหตุหลักจากเงินกูเพื่อชดเชย การขาดดุลงบประมาณ 42,000 ลานบาท • หนี้ของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้น 3,051.3 ลานบาท เมื่อเทียบ กับเดือนที่ มีสาเหตุหลักมาจาก บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ออกหุนกู 7,000 ลานบาท ในขณะที่ธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ การเกษตรเบิกจายจากแหลง เงินกูนอยกวาชําระคืนตนเงินกู 3,786 ลานบาท
สัดสวนหนี้ในประเทศและหนี้ตางประเทศ หนี้ในประเทศ หนี้ตางประเทศ จํานวน (ลานบาท) 5,430,695.4 345,015.1 รอยละ (%) 94.0 6.0 สัดสวนหนี้ระยะยาวและหนี้ระยะสั้น (แบงตามอายุของเครื่องมือการกูเงิน) หนี้ระยะยาว 5,610,347.4 97.1
จํานวน (ลานบาท) รอยละ (%)
หนี้ระยะสั้น 165,363.1 2.9
สัดสวนหนี้ระยะยาวและหนี้ระยะสั้น (แบงตามอายุคงเหลือ) หนี้ระยะยาว 5,027,257.7 87.0
จํานวน (ลานบาท) รอยละ (%)
• หนี้หนวยงานอื่นของรัฐ ลดลง 1,166.2 ลานบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แลว เนื่องจากกองทุนออยและ น้ําตาลไดเบิกจายจากแหลง เงินกูนอยกวาชําระคืนตน เงินกู 1,110.0 ลานบาท สํานักงานธนานุเคราะห ชําระคืนตนเงินตามสัญญา เงินกู 56.2 ลานบาท
- 30 -
หนี้ระยะสั้น 748,452.8 13.0
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง กระทรวงการคลังไดกําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง เพื่อเปนแนวทางในการดําเนิน นโยบายทางการคลังที่สอดคลองกับสถานะเศรษฐกิจการเงินและการคลังของประเทศ โดยมีเปาหมาย เพื่อรักษาเสถียรภาพดานการคลังในระยะปานกลางและระยะยาว ซึ่งกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ประกอบดวยตัวชี้วัดและเปาหมาย (60-15-0-25) ดังนี้ • สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ไมเกินรอยละ 60 • ภาระหนี้ตองบประมาณไมเกินรอยละ 15 • การจัดทํางบประมาณสมดุล • สัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณรายจายไมต่ํากวารอยละ 25 สํานักงานเศรษฐกิจการคลังไดจัดทําการวิเคราะหความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง เพื่อใชเปนแนวทางในการประเมินและรักษาความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีผลการวิเคราะหระหวาง ปงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งสรุปไดดังนี้ • สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ในปงบประมาณ 2558 อยูที่รอยละ 49.0 และเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 54.4 ในปงบประมาณ 2562 • ระดับภาระหนี้ตองบประมาณอยูในระดับรอยละ 7.1 ในปงบประมาณ 2558 และเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 9.9 ในปงบประมาณ 2562 • รัฐบาลมีนโยบายลดการขาดดุลงบประมาณ โดยไดลดการขาดดุล จํานวน 400,000 ลานบาท ในปงบประมาณ 2555 ลงเหลือ จํานวน 250,000 ลานบาท ในปงบประมาณ 2558 อยางไรก็ตาม เพื่อลดผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจโลกถดถอย ในระยะสั้นรัฐบาล ยังมีความจําเปนตองดําเนินนโยบายขาดดุลจนกวาภาวะเศรษฐกิจจะกลับเขาสูภาวะปกติ และจะดําเนินการจัดทํางบประมาณสมดุลในชวงตอไป • สัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณรายจายคาดวาจะอยูในระดับเฉลี่ย รอยละ 20.4 ตองบประมาณรายจายตลอดชวงปงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งต่ํากวาระดับที่กําหนดไว อยางไรก็ดี รัฐบาลไดมีการดําเนินโครงการลงทุนผานเงินนอกงบประมาณ (พ.ร.ก. ใหอํานาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อบริหารจัดการน้ําฯ และการกูเงินเพื่อลงทุนโครงสราง พื้นฐานฯ ในป 2558 - 2562) ซึ่งเมื่อรวมการลงทุนจากเงินนอกงบประมาณดังกลาว จะทําสัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณเพิ่มขึ้นอยูในระดับเฉลี่ย รอยละ 26.8 ตองบประมาณรายจาย
- 32 -
ผลการวิเคราะหการดําเนินงานตามกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ณ สิ้นไตรมาสที่ 2 ของปงบประมาณ 2558 หนวย: ลานบาท 2561 2562 53.9 54.4 15,023,138 15,924,526 8,102,808 8,667,840 9.4 9.9 281,057 307,562 89,451 93,654 191,606 213,908 -363,700 -346,700 2,618,000 2,775,100 2,981,700 3,121,800 22.2 22.3 662,769 696,117
2558 2559 2560 1. หนี้สาธารณะคงคาง1)/GDP (FY) (1.2/1.1) 49.0 50.8 52.6 1) 1.1 nominal GDP (FY) 12,597,700 13,370,539 14,172,772 1.2 หนี้สาธารณะคงคาง 6,175,218 6,793,425 7,458,210 2) 2. ภาระหนี้/งบประมาณ ( 2.1/3.2) 7.1 7.4 8.8 2.1 ภาระหนี้ (2.1.1 + 2.1.2) 183,271 201,200 251,326 2.1.1 ชําระตนเงินกู 55,700 62,200 85,434 2.1.2 ดอกเบี้ยและคาธรรมเนียม 127,571 139,000 165,892 3. ดุลงบประมาณ (3.1 - 3.2) -250,000 -390,000 -378,000 3.1 รายไดรัฐบาลสุทธิ3) 2,325,000 2,330,000 2,469,800 3.2 งบประมาณรายจาย4) 2,575,000 2,720,000 2,847,800 4. รายจายลงทุน/งบประมาณ (4.1/3.2) 17.5 20.0 20.0 4.1 รายจายลงทุน 449,476 544,000 569,542 ที่มา : 1) ขอสมมติฐานเศรษฐกิจป 2558 – 2562 จากสํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สศค. 2) ขอมูลภาระหนี้ตองบประมาณป 2558 จากเอกสารงบประมาณรายจายประจําป 2558 และป 2559– 2562 จากสํานักงานบริหาร หนี้สาธารณะ 3) ประมาณการรายไดรัฐบาลสุทธิ ป 2558 ตามเอกสารงบประมาณ ป 2558 ป 2559 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558 เรื่องวงเงินงบประมาณรายจายประจําป 2559 และป 2560 – 2562 ประมาณการโดย สศค. 4) ขอมูลงบประมาณรายจายป 2558 จากเอกสารงบประมาณป 2558 ป 2559 จากมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558 เรื่องวงเงินงบประมาณรายจายประจําป 2559 และป 2560 – 2562 ประมาณการโดย สศค.
- 33 -
การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ
1/
ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ป 2558 (ณ 31 มีนาคม 2558)
ผลการดําเนินงานในภาพรวม 1. ผลการดําเนินงานของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA การดําเนินโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA มียอดสินเชื่อคงคาง ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ป 2558 จํานวนทั้งสิ้น 915,037.16 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 0.68 จากไตรมาสที่ผานมา ขณะที่หนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได (NPLs) ของโครงการ ที่มีการแยกบัญชี PSA ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ป 2558 มีจํานวนทั้งสิ้น 8,184.08 ลานบาท คิดเปนสัดสวน หนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดตอยอดสินเชื่อคงคาง (NPLs Ratio) รอยละ 0.89 ลดลงจากไตรมาสที่ผานมา เนื่องจาก คณะรัฐมนตรีมีมติใหองคการสวนยาง ซึ่งเปนลูกหนี้ในโครงการรักษาเสถียรภาพราคายางป 2554/2555 ของ ธ.ก.ส. สามารถขยายเวลาชําระหนี้จากแตเดิมที่กําหนดใหชําระภายในเดือนธันวาคม 2557 เปนเดือนพฤษภาคม 2559 เปนจํานวน 21,942 ลานบาท ดังนั้น ธ.ก.ส. จึงไดจัดชั้นหนี้จากโครงการดังกลาวใหมโดยเปลี่ยนจาก NPL เปนสินเชื่อปกติ (แผนภาพที่ 1) แผนภาพที่ 1
ลานบาท
1,100,000 1,000,000 900,000 800,000 700,000 600,000 500,000 400,000 300,000 200,000 100,000 0
976,575.97 3.07
980,505.04 3.14
3.31 916,062.74
รอยละ 4
3.61 908,823.76
915,037.16
3 2
0.89 29,988.83 Q1/57
30,742.41 30,328.23 32,777.87 8,184.08
Q2/57 สินเชื่อคงคาง
Q3/57 NPLs
Q1/58 Q4/57 NPLs Ratio
1 0
2. ประมาณการความเสียหายของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA แมวาการดําเนินโครงการตามนโยบายรัฐจะสงผลดีตอระบบเศรษฐกิจ แตขณะเดียวกันก็กอใหเกิดภาระ ทางการคลังของรัฐบาลในการชดเชยความเสียหายจากการดําเนินโครงการตางๆ ดังจะเห็นไดจากประมาณการ ความเสียหายของสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล (โครงการที่มีการแยกบัญชี PSA) ตั้งแต เริ่มตนจนถึงสิ้นสุดโครงการ ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ป 2558 มีจํานวนทั้งสิ้น 107,846.88 ลานบาท และคงเหลือภาระ ความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาลจํานวน 25,106.54 ลานบาท ทั้งนี้ สัดสวนความเสียหายคงเหลือ รอการชดเชยจากรัฐบาลตอประมาณการความเสียหายโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ทั้งหมด คิดเปนรอยละ หมายเหตุ : 1/ การรายงานการดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังในที่นี้ พิจารณาเฉพาะโครงการที่มีการแยกบัญชีธุรกรรมการดําเนินงานตามนโยบายรัฐ (PSA) ผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) 6 แหง ไดแก ธนาคารออมสิน ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) ธนาคารอาคารสงเคราะห (ธอส.) ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย (ธสน.) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (ธพว.) และธนาคาร อิสลามแหงประเทศไทย (ธอท.) ยกเวนบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) ที่เปนสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ค้ําประกันสินเชื่อ ขณะที่ บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยูอาศัย (บตท.) ไมมีการดําเนินโครงการตามนโยบายรัฐ ทั้งนี้ หลักเกณฑในการพิจารณาโครงการ PSA ของสํานักงานเศรษฐกิจ การคลัง กําหนดใหนับเฉพาะโครงการที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบหลังวันที่ 4 สิงหาคม 2552 เปนตนไป
-33-
23.28 ลดลงจากไตรมาสที่ผานมา (แผนภาพที่ 2) ลานบาท
120,000
47.24
43.25
100,000
แผนภาพที่ 2
รอยละ
37.62
80,000
26.50
23.28
0
Q1/57
107,846.88 25,106.54
110,660.59 29,324.46
20,000
102,444.37 38,534.50
79,456.61 34,361.89
40,000
99,390.96 46,951.49
60,000
50 45 40 35 30 25 20 15 10 5 0
Q2/57 Q3/57 Q4/57 Q1/58 ประมาณการความเสียหายทั้งหมดที่ขอรับการชดเชยจากรัฐ บาล ความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐ บาล สัดสวนความเสียหายคงเหลือต อความเสียหายทั้งหมด
ผลการดําเนินงานรายสถาบัน 1. ผลการดําเนินงานรายสถาบันของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ป 2558 ธ.ก.ส. มียอดสินเชื่อคงคางสูงที่สุดจํานวน 828,094.91 ลานบาท รองลงมา คือ ธนาคารออมสิน ที่มียอดสินเชื่อคงคางจํานวน 43,762.97 ลานบาท ขณะที่ NPLs ของ ธพว. มีมูลคาสูงที่สุด เทากับ 6,658.00 ลานบาท โดย NPLs สวนใหญของ ธพว. มาจากโครงการดังตอไปนี้ 1) โครงการสินเชื่อ SME Power เพื่อวันใหม (ระยะที่ 1) 2) โครงการสินเชื่อ SME Power เพื่อผูประสบอุทกภัย ป 2553 3) โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนากระบวนการผลิตภายใตสินเชื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต นอกจากนี้ หากพิจารณา NPLs Ratio พบวา ธอท. และ ธพว. มีสัดสวนคอนขางสูง เนื่องจากกลุมลูกคา จะเปนผูประกอบการรายยอย ที่มีความสามารถในการชําระหนี้ต่ํา ไมมีหลักประกัน และเปนผูประกอบการ ที่ไดรับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจหรือภัยธรรมชาติ รวมทั้งบางโครงการมีเงื่อนไขที่ไมตองตรวจเครดิตบูโรกอน การปลอยกู ซึ่งแตกตางจากสถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่นที่ทําหนาที่เปนตัวกลางในการจายเงินแทนรัฐบาลและ การปลอยกูระหวางรัฐบาลกับรัฐบาล ทั้งนี้ หากสถาบันการเงินเฉพาะกิจดังกลาวมี NPLs Ratio สูง รัฐบาล อาจมีความเสี่ยงในการพิจารณาเพิ่มทุนตอไป (แผนภาพที่ 3) แผนภาพที่ 3
6,658.00 26,358.00
6,109.00
8,505.75
53.62
25.26
100 10 1
0.00 ออมสิน
0.02 ธ.ก.ส. NPLs
1,183.04 2,206.53
1,000
รอ ยละ
192.19
10,000
43,762.97
100,000
150.85
1,000,000
828,094.91
ลานบาท
60
40
20
2.26 ธอส.
0.00 ธสน.
สินเชื่อคงคาง
-34-
ธพว.
NPLs Ratio
ธอท.
0
2. ประมาณการความเสียหายของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA2/ ประมาณการความเสียหายที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล ธ.ก.ส. มีมูลคาดังกลาวมากที่สุดจํานวน 80,991.52 ลานบาท ในขณะที่ความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาลพบวา ธนาคารออมสินมีมูลคา ดังกลาวมากที่สุดจํานวน 10,640.77 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหายทั้งหมด ของ ธ.ก.ส. และ ธนาคารออมสิน อยูที่รอยละ 8.30 และ 66.91 ตามลําดับ นอกจากนี้ หากพิจารณา ธสน. ธอท. ธอส. และ ธพว. ซึ่งมีสัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหาย ทั้งหมดอยูในระดับสูงเทากับรอยละ 86.37 79.20 80.34 และ 62.55 ตามลําดับแลว พบวา สัดสวนความเสียหาย คงเหลือของ ธสน. ดังกลาวไมสงผลกระทบตอการดําเนินงานตามปกติหรือสภาพคลอง เนื่องจาก ธสน. มีโครงการ ที่มกี ารแยกบัญชี PSA เพียงโครงการเดียว และมีหลักเกณฑการปลอยสินเชื่อที่เขมงวด ดังนั้น คาดวาโครงการ ดังกลาวมีโอกาสเสียหายคอนขางนอยขณะที่ ธอท. และ ธพว. แมวามูลคาความเสียหายคงเหลือรอการชดเชย จากรัฐบาลคอนขางนอยเมื่อเปรียบเทียบกับสถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่น ๆ แตจากสัดสวนความเสียหายคงเหลือ ตอความเสียหายทั้งหมด และ ผลการดําเนินงานที่มีสัดสวน NPLs Ratio อยูในระดับสูง อาจสงผลใหรัฐบาล ตองรับภาระชดเชยความเสียหายเพิ่มขึ้น และสงผลกระทบตอการดําเนินงานและสภาพคลองของ ธอท. และ ธพว. ในที่สุด (แผนภาพที่ 4) สําหรับ บสย. แมวาจะเปนสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ค้ําประกันสินเชื่อ แตการค้ําประกันดังกลาวสวนหนึ่ง เปนการค้ําประกันโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ทําใหรัฐบาลมีภาระในการชดเชยความเสียหายเชนเดียวกับ สถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่นๆ โดยประมาณการความเสียหายที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาลของ บสย. มีจํานวน ทั้งสิ้น 16,881.24 ลานบาท ขณะที่มีความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยอีกจํานวน 13,634.69 ลานบาท
0
ออมสิน
8.30 ธอส. ธพว. ธ.ก.ส. ธสน. ธอท. ประมาณการความเสียหายทั้งหมดที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล ความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาล สัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหายทัง้ หมดแตละ SFI
2/
100 80 60
1,311.15 1,038.45
6,189.95 3,871.63
20,000
79.20
86.37
1,050.00 906.90
40,000
รอยละ
62.55
2400 1,928.14
60,000
66.91
80.34
80991.52 6,720.65
80,000
13,114.26 10,640.77
100,000
แผนภาพที่ 4
ลานบาท
40 20 0
การประมาณการความเสียหายที่ตองไดรับการชดเชยจากรัฐบาลตั้งแตเริ่ม - สิ้นสุดโครงการ มีรูปแบบการชดเชยตามขอตกลงซึ่งแตกตางกันตาม SFIs แตละแหง ทั้งนี้ ธ.ก.ส. เปนการประมาณการความเสียหายตั้งแตเริ่มโครงการถึงวันที่ 31 มีนาคม 2558
-35-
การกระจายอํานาจทางการคลังใหแก องคกรปกครองสวนทองถิ่น การกอหนี้ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น องคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) มีฐานะเปนนิติบุคคล ซึ่งมีแหลงรายไดและการจัดทํา งบประมาณรายจาย รวมทั้งสามารถกอหนี้ไดตามที่กฎหมายกําหนด ปจจุบัน อปท. มีจํานวน 7,853 แหง ไดแก องคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) 76 แหง เทศบาล 2,440 แหง องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) 5,335 แหง และ อปท. รูปแบบพิเศษ ไดแก กรุงเทพมหานคร (กทม.) และเมืองพัทยา ตามพระราชบัญญัติวาดวย อปท. แตละประเภทกําหนดให อปท. อาจกูเงินจากกระทรวง ทบวง กรม องคการหรือนิติบุคคลตางๆ เมื่อไดรับ ความเห็นชอบจากสภาทองถิ่นและกระทรวงมหาดไทย ยกเวน กทม. สามารถกูเงินโดยไมอยูภายใตหลักเกณฑ ที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด โดยมีกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับการกอหนี้ของ อปท. ดังนี้ 1. การกอหนี้ของเทศบาลและ อบจ. ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และพระราชบัญญัติองคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 กําหนดใหเทศบาลและ อบจ. กอหนี้ไดจากการออกพันธบัตรหรือกูเงินตามที่มีกฎหมายบัญญัติไว โดยอาจกูเงินจากกระทรวง ทบวง กรม องคการหรือนิติบุคคลตางๆ ทั้งนี้ การกูเงินจะตองไดรับความเห็นชอบจาก สภาทองถิ่นและรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย 2. การกอหนี้ของ อบต. พระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 กําหนดให อบต. กอหนี้ไดจากการกูเงินจากกระทรวง ทบวง กรม องคการหรือนิติบุคคลตางๆ เมื่อไดรับอนุญาตจากสภาองคการ บริหารสวนตําบล อยางไรก็ดี เนื่องจากกระทรวงมหาดไทยไมไดมีการกําหนดหลักเกณฑที่ใชในการพิจารณากอหนี้ ของ อบต. ดังนั้น ในทางปฏิบัติ อบต. จึงยังไมสามารถจะกอหนี้ได 3. การกอหนี้ของเมืองพัทยา พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 กําหนดใหเมืองพัทยากอหนี้ ไดจากการจําหนายพันธบัตรเมื่อไดรับความเห็นชอบจากกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงการคลังรวมกันและ ตราเปนขอบัญญัติแลว และการกูเงินเมื่อไดรับความเห็นชอบจากกระทรวงมหาดไทยและตราเปนขอบัญญัติแลว และถาเปนการกูเงินจากตางประเทศตองไดรับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลังดวย
- 36 -
4. การกอหนี้ของ กทม. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 กําหนดให กทม. กอหนี้ ไดจากการจําหนายพันธบัตร เมื่อไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี และตราเปนขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร และการกูเงินจากกระทรวง ทบวง กรม องคการ หรือ นิติบุคคลตางๆ เมื่อไดรับความเห็นชอบจากสภากรุงเทพมหานคร และถาเปนการกูเงินจากตางประเทศ องคการตางประเทศ หรือองคการระหวางประเทศตองไดรับความเห็นชอบ จากสภากรุงเทพมหานคร นอกจากนี้ พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครอง สวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 ตามมาตรา 28 กําหนดให อปท. อาจมีรายไดจากรายไดจากการจําหนายพันธบัตร เงินกู จากกระทรวง ทบวง กรม องคการหรือนิติบุคคลตางๆ เงินกูจากตางประเทศ องคการตางประเทศ หรือองคการ ระหวางประเทศ โดยการออกพันธบัตร การกูเงินจากองคการหรือนิติบุคคลตางๆ และการกูเงินจากตางประเทศ ใหออกเปนขอบัญญัติทองถิ่น โดยไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี 5. หลักเกณฑที่ใชในการพิจารณากอหนี้ของ อปท. สําหรับหลักเกณฑที่ใชในการพิจารณากอหนี้ของ อบจ. เทศบาล และเมืองพัทยาในปจจุบัน เปนไปตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท. 0808.3/ว 4715 ลงวันที่ 23 พฤศจิกายน 2554 ซึ่งกําหนด หลักเกณฑในการพิจารณาการขอกูเงินของ อปท. ดังกลาว สรุปสาระสําคัญดังนี้ 1. การกูเงินของ อปท. ดังกลาว จะตองดําเนินการตามขั้นตอนที่กฎหมายกําหนด และ ตองผานการพิจารณาจากคณะกรรมการในระดับจังหวัดกอนที่ผูวาราชการจังหวัดจะเห็นชอบและสงเรื่องให รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยพิจารณาตอไป 2. โครงการที่จะขอกูเงินตองเปนโครงการที่จําเปนเรงดวนภายใตอํานาจหนาที่ของ อปท. และปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบของหนวยงานที่เกี่ยวของ และการจัดทําโครงการตองแสดงผลสําเร็จของ โครงการและวงเงินที่จะกูใหครบถวน 3. การพิจารณาความสามารถทางการคลังของ อปท. โดยพิจารณาจากฐานะการคลังของ อปท. ไดแก ขอมูลรายรับและรายจายจริงยอนหลัง 3 ป และขอมูลรายรับและรายจายที่คาดการณในอนาคต ไมนอยกวา 3 ป โดยมีเพดานการกอหนี้รวมไมเกินรอยละ 35 ของงบประมาณรายจายเพื่อการลงทุน มีระยะเวลา การชําระหนี้ไมเกิน 10 ป และเงินสะสมมีจํานวนเหมาะสม 6. สถานะการกอหนี้ของ อปท. 6.1 สถานะการกอหนี้ของ อปท. มีแนวโนมเพิ่มขึ้นตามลําดับ จากจํานวนรวม 4,993 ลานบาท ในป 2547 เพิ่มขึ้นเปนจํานวนรวม 35,962 ลานบาท ในป 2557 หรือเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยรอยละ 22.66 ตอป โดยมียอดคงคางเงินใหกูยืมแก อปท. ณ สิ้นปงบประมาณ 2547-2557 สรุปไดดังนี้
- 37 -
ตารางที่ 1 ยอดคงคางเงินใหกูยืมแก อปท. ณ สิ้นปงบประมาณ 2547 - 2557 สรุปไดดังนี้ ยอดคงคางเงินให กูยืมแก อปท. (ลานบาท) เงินทุนสงเสริม กิจการเทศบาล (กสท.) เงินสะสมของ องคการบริหาร สวนจังหวัด (กสอ.) ธนาคารพาณิชย สถาบันการเงิน เฉพาะกิจ กองทุนพัฒนา เมืองในภูมิภาค (กพม.) รวม
ปงบประมาณ 2547
2548
2549
2550
2551
2552
2553
2554
2555
2,584
2,690
3,270
5,470
6,730
7,359
8,091
8,478
9,478
10,306
10,325 1/
1,108
1,043
1,168
929
1,027
1,217
1,495
1,553
1,927
2,248
2,250 2/
732
1,622
2,467
3,329
4,730
5,064
7,691
10,648
12,069
11,681
10,548
0
0
0
0
0
0
3,235
6,622
9,288
12,854
12,497
569
564
550
557
580
619
531
507
452
403
342
4,993
5,919
7,455
10,285
13,067
14,259
21,043
27,808
33,214
37,492
35,962
หมายเหตุ : 1/ และ 2/ เปนตัวเลขประมาณการ ที่มา : สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ธนาคารแหงประเทศไทย และสํานักงานกองทุนพัฒนาเมืองในภูมิภาค รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2558
กราฟที่ 1 แสดงยอดคงคางเงินใหกูยืมแก อปท. ณ สิ้นปงบประมาณ 2547 – 2557 ลานบาท
ปงบประมาณ
- 38 -
2556
2557
6.2 การใหกูยืมแก อปท. ณ สิ้นปงบประมาณ 2557 จําแนกตามการใหกูยืมพบวา สถาบันการเงินเฉพาะกิจใหกูยืมมากที่สุดคิดเปนสัดสวนรอยละ 34.75 รองลงมาไดแก ธนาคารพาณิชยรอยละ 29.33 เงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล (กสท.) รอยละ 28.71 เงินสะสมขององคการบริหารสวนจังหวัด (กสอ.) รอยละ 6.26 และกองทุนพัฒนาเมืองในภูมิภาค (กพม.) รอยละ 0.95 โดยแนวโนมสัดสวนการกูยืมจากสถาบัน การเงินเฉพาะกิจ ตั้งแตปงบประมาณ 2553 มีทิศทางเพิ่มขึ้นตามลําดับ ในขณะที่การกูยืมจากธนาคารพาณิชย มีแนวโนมเพิ่มขึ้นตั้งแตป 2547-2554 และลดลงในชวงป 2555-2557 สําหรับการกูยืมจาก กสท. กสอ. และ กพม. มีแนวโนมลดลงตามลําดับ โดยเฉพาะในสวน กพม. ซึ่งวงเงินกูจากการสนับสนุนของธนาคารโลกและการสมทบ ของธนาคารออมสินมีจํานวนจํากัด ตารางที่ 2 สัดสวนเงินใหกูยืมแก อปท. (รอยละ) ณ สิ้นปงบประมาณ 2547-2557 สัดสวนเงินใหกูยืมแก อปท. (รอยละ) เงินทุนสงเสริมกิจการ เทศบาล (กสท.) เงินสะสมขององคการ บริหารสวนจังหวัด (กสอ.) ธนาคารพาณิชย สถาบันการเงินเฉพาะกิจ กองทุนพัฒนาเมือง ในภูมิภาค (กพม.) รวม
2547
2548
2549
2550
2551
ปงบประมาณ 2552 2553
51.75
45.45
43.86
53.18
51.50
51.61
38.45
30.49
28.54
27.49
28.71 1/
22.19
17.62
15.67
9.03
7.86
8.53
7.10
5.58
5.80
6.00
6.26 2/
14.66 0.00
27.40 0.00
33.09 0.00
32.37 0.00
36.20 0.00
35.51 0.00
36.55 15.37
38.29 23.81
36.34 27.96
31.16 34.28
29.33 34.75
11.40
9.53
7.38
5.42
4.44
4.34
2.52
1.82
1.36
1.07
0.95
100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00
100.00
2554
2555
2556
2557
หมายเหตุ : 1/ และ 2/ เปนตัวเลขประมาณการ ที่มา : สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ธนาคารแหงประเทศไทย และสํานักงานกองทุนพัฒนาเมืองในภูมิภาค รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2558
กราฟที่ 2 แสดงสัดสวนเงินใหกูยืมแก อปท. (รอยละ) ณ สิ้นปงบประมาณ 2547-2557 ลานบาท 60 50
53.18
51.75
51.50 51.61
เงินทุนสงเสริมกิจการเทศบาล (กสท.)
45.45
43.86 36.20 38.4538.29 36.34 35.51 34.28 34.75 33.09 32.37 30.49 36.55 27.40 28.54 31.16 30 29.33 23.81 22.19 27.96 27.49 28.71 17.62 20 15.37 15.67 14.66 9.53 7.38 9.03 7.86 8.53 7.10 5.58 5.80 6.00 6.26 10 11.40 5.42 4.44 0.95 0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 4.34 0.00 2.52 1.82 1.36 1.07 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 40
ปงบประมาณ
- 39 -
เงินสะสมขององคการบริหารสวนจังหวัด (กสอ.) ธนาคารพาณิชย สถาบันการเงินเฉพาะกิจ กองทุนพัฒ นาเมืองในภูมิภาค (กพม.)
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ มติคณะรัฐมนตรีที่สําคัญ เดือนมิถุนายน 2558 2 มิถุนายน 2558 1. เรื่อง รางพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และรางพระราชบัญญัติ สัญญาซื้อขายลวงหนา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... รวม 2 ฉบับ คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และรางพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายลวงหนา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... รวม 2 ฉบับ ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา โดยใหยึดหลักตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2558 ในการตรวจพิจารณารางพระราชบัญญัติดังกลาวดวย แลวสงใหคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติ แหงชาติพิจารณา กอนเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติตอไป สาระสําคัญของรางพระพระราชบัญญัติ 1. รางพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... แกไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 ดังตอไปนี้ 1.1 แกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับคณะกรรมการ ก.ล.ต. และคณะกรรมการกํากับ ตลาดทุนใหปฏิบัติหนาที่ตอไปได แมวาจะไมครบองคประกอบ แตตองมีจํานวนกรรมการที่เหลืออยูตามที่กฎหมาย กําหนด 1.2 เพิ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับการนําบทบัญญัติในเรื่องการจัดทําทะเบียนและการโอนมาใชบังคับ กับบริษัทที่ออกหลักทรัพยจดทะเบียนอันมิใชตั๋วเงิน 1.3 แกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับการใหความเห็นชอบผูสอบบัญชี 1.4 เพิ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับการนําบทบัญญัติในเรื่องการเปดเผยขอมูลและผูสอบบัญชีมาใช บังคับกับบริษัทที่ออกหลักทรัพยจดทะเบียนอันมิใชตั๋วเงิน 1.5 เพิ่มบทบัญญัติใหคณะกรรมการ ก.ล.ต. มีอํานาจกําหนดใหผูไดรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจ หลักทรัพยตองเปนสมาชิกขององคกรผูประกอบธุรกิจในตลาดทุนที่กํากับดูแลสมาชิก 1.6 แกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับการเปนนายหนาหรือตัวแทนซื้อขายหลักทรัพย ในตลาดหลักทรัพย 1.7 แกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย 1.8 แกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเพื่อใหมีการนําหลักทรัพยเขาจดทะเบียนโดยบุคคลอื่นนอกจาก บริษัทที่ออกหลักทรัพยได 1.9 เพิ่มบทบัญญัติใหคณะกรรมการ ก.ล.ต. มีอํานาจยกเวนไมนําบทบัญญัติในสวนที่ 4 หลักทรัพยจดทะเบียนของหมวด 5 ตลาดหลักทรัพย รวมทั้งอาจกําหนดหลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการใหปฏิบัติ เปนอยางอื่นหรือกําหนดหลักเกณฑเพิ่มเติมก็ได 1.10 เพิ่มบทบัญญัติเพื่อรองรับการจัดตั้งและการกํากับดูแล “องคกรผูประกอบธุรกิจ ในตลาดทุนที่กํากับดูแลสมาชิก” 1.11 ยกเลิกบทบัญญัติในสวนที่ 2 สมาคมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักทรัพยของหมวด 7 องคกร ที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักทรัพย และเปลี่ยนชื่อสวนเปน “องคกรผูประกอบธุรกิจในตลาดทุน” โดยกําหนด บทบัญญัติเกี่ยวกับการจัดตั้งและการกํากับดูแลองคกรผูประกอบธุรกิจในตลาดทุน
-40-
หลักทรัพย
1.12 เพิ่มบทบัญญัติเพื่อรองรับการแปรสภาพและการรวมองคกรที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจ
1.13 เพิ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับอํานาจของพนักงานเจาหนาที่ในการปฏิบัติหนาที่ตอองคกร ผูประกอบธุรกิจในตลาดทุนที่กํากับดูแลสมาชิกและองคกรผูประกอบธุรกิจในตลาดทุน 1.14 เพิ่มเติมบทกําหนดโทษของมาตรา 200/1 1.15 เพิ่มเติมบทกําหนดโทษในกรณีที่องคกรผูประกอบธุรกิจในตลาดทุนที่กํากับดูแลสมาชิก หรือองคกรผูประกอบธุรกิจในตลาดทุนฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม 1.16 แกไขเพิ่มเติมบทกําหนดโทษ 1.17 แกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับการเปดเผยขอมูลใหกับหนวยงานกํากับดูแลไดเพิ่มเติม รวมทั้งบทกําหนดโทษผูเปดเผยขอมูลโดยไมเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด 1.18 เพิ่มบทบัญญัติใหการอางอิงถึง “สมาคมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักทรัพย” หมายรวมถึง “องคกรผูประกอบธุรกิจในตลาดทุนที่กํากับดูแลสมาชิก” ตามสวนที่ 1/1 องคกรผูประกอบธุรกิจ ในตลาดทุนที่กํากับดูแลสมาชิก หรือ “องคกรผูประกอบธุรกิจในตลาดทุน” ตามสวนที่ 2 องคกรผูประกอบธุรกิจ ในตลาดทุน ของหมวด 7 องคกรที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักทรัพยแหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย พ.ศ. 2535 แลวแตกรณี 2. รางพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายลวงหนา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... 2.1 เพิ่มบทบัญญัติเพื่อใหอํานาจแกคณะกรรมการกํากับตลาดทุน กําหนดใหผูไดรับใบอนุญาต ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายลวงหนา ตองเปนสมาชิกขององคกรผูประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายลวงหนาที่กํากับ ดูแลสมาชิกตามหลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุนประกาศกําหนด 2.2 ยกเลิกบทบัญญัติเกี่ยวกับสมาคมกํากับผูประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายลวงหนาทั้งหมด และกําหนดบทบัญญัติเพื่อรองรับการจดทะเบียนจัดตั้ง “องคกรผูประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายลวงหนาที่กํากับ ดูแลสมาชิก” แทน โดย ใหนําความในสวนที่ 1/1 องคกรผูประกอบธุรกิจในตลาดทุนที่กํากับดูแลสมาชิก มาตรา 229/1 ถึงมาตรา 229/6 มาตรา 229/9 ถึงมาตรา 229/20 และมาตรา 229/24 ถึงมาตรา 229/32 ของ หมวด 7 องคกรที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักทรัพย แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 มาใชบังคับกับการจัดตั้ง การดําเนินการ และการกํากับดูแลองคกรผูประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายลวงหนาที่กํากับ ดูแลสมาชิกโดยอนุโลม 2.3 เพิ่มเติมบทกําหนดโทษของมาตรา 90/3 2.4 เพิ่มเติมบทกําหนดโทษในกรณีที่องคกรผูประกอบธุรกิจในตลาดทุนที่กํากับดูแลสมาชิก หรือองคกรผูประกอบธุรกิจในตลาดทุนฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามกฎหมาย 2.5 แกไขเพิ่มเติมบทกําหนดโทษ 2. เรื่อง ความตกลงเพื่อการเวนการเก็บภาษีซอนระหวางไทยกับอินเดีย ฉบับแกไข คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบรางความตกลงเพื่อการเวนการเก็บภาษีซอนระหวางไทยกับอินเดีย ฉบับแกไข โดยเมื่อผานความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแลว หากมีการแกไขโดยที่ไมกระทบตอสาระสําคัญของความตกลง ฯ ให กค. สามารถทําการแกไขไดทันที 2. ใหกระทรวงการตาง (กต.) รับไปดําเนินการตามแบบพิธีทางการทูตและกฎหมายภายใน เพื่อใหความตกลงฯ ดังกลาวมีผลใชบังคับตอไป สาระสําคัญของเรื่อง กค. รายงานวา 1. กรมเศรษฐกิจระหวางประเทศ กต. แจงกําหนดการเยือนประเทศไทยอยางเปนทางการของ นางศุษมา สวราช รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศอินเดีย เพื่อเปนประธานรวมการประชุม
-41-
คณะกรรมาธิการรวมวาดวยความรวมมือทวิภาคีไทย-อินเดียครั้งที่ 7 ซึ่งจะจัดขึ้นในชวงปลายเดือนมิถุนายน 2558 โดยจะมีการลงนามความตกลงเพื่อการเวนการเก็บภาษีซอนระหวางไทยกับอินเดียฉบับแกไขดวย 2. ความตกลงเพื่อการเวนการเก็บภาษีซอนระหวางไทยกับอินเดีย ฉบับแกไข กําหนดหลักการที่สําคัญ เพื่อขจัดการเก็บภาษีซ้ําซอนในสวนที่เกี่ยวกับภาษีเงินไดระหวางประเทศที่เกิดขึ้น อันเนื่องจากอํานาจในการ จัดเก็บภาษีระหวางทั้งสองประเทศทําใหเกิดการจัดเก็บภาษีซ้ําซอนบนฐานรายไดจํานวนเดียวกัน นอกจากนั้น ความตกลงฯ มีวัตถุประสงคเพื่อชวยสงเสริมความรวมมือระหวางประเทศในการปองกันการหลีกเลี่ยงการเสียภาษี ระหวางประเทศทั้งสองตลอดจนมีการจัดสรรรายไดภาษีระหวางสองประเทศดวยการกําหนดสิทธิการเก็บภาษี สําหรับเงินไดประเภทตาง ๆ ทั้งนี้ พันธกรณีตามความตกลงฯ มีกฎหมายภายในของไทยรองรับที่สําคัญ ไดแก ประมวลรัษฎากร ประกอบกับพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2505 และพระราชบัญญัติภาษีเงินไดปโตรเลียม พ.ศ. 2514 ซึ่งการจัดทําความตกลง ฯ สรุปสาระสําคัญไดดังนี้ ลําดับที่ การดําเนินการ 1. ขอบขายของความตกลงฯ 2. 3. 4. 5.
6. 7.
สาระสําคัญ จะใชกับผูมีถิ่นที่อยูในประเทศไทยหรือประเทศคูสัญญา หรือทั้งสอง ประเทศ และจะใชบังคับกับภาษีเก็บจากฐานเงินไดและผลไดจากทุน วิธีขจัดภาษีซอน ประเทศคูสัญญาจะยอมใหผูมีถิ่นที่อยูของตนนําภาษีที่เสียไวแลวในอีก ประเทศหนึ่งมาหักออกจากภาษีที่ตองชําระในประเทศตนเทาจํานวนภาษี ที่ไดชําระไวจริงแตตองไมเกินกวาจํานวนภาษีที่คํานวณไดในประเทศตน การเก็บภาษีจากกําไรธุรกิจ ประเทศที่มีการจายเงินไดจะเก็บภาษีจากผูรับเงินได ซึ่งเปนวิสาหกิจ ของอีกประเทศหนึ่งได ตอเมื่อวิสาหกิจนั้นดําเนินธุรกิจผานสถาน ประกอบการถาวรในประเทศที่มีการจายเงินไดนั้น การเก็บภาษีจากการขนสงระหวาง ประเทศแหลงเงินไดยกเวนภาษีใหเฉพาะการขนสงทางอากาศ ประเทศ สวนการขนสงทางเรือจะลดภาษีใหกึ่งหนึ่ง การเก็บภาษีจากทรัพยสินประเภททุน กรณีเงินปนผล เงินไดจากสิทธิเรียกรองในหนี้ (ดอกเบี้ย) และคาสิทธิ จะมีการจํากัดอัตราภาษีในประเทศผูจายเงินไดโดยไมใหเก็บเกินกวา เพดานภาษีตามที่ความตกลงฯ กําหนดไว กรณีคาเชาอสังหาริมทรัพย และผลไดจากการจําหนายอสังหาริมทรัพยและสังหาริมทรัพยของ สถานประกอบการถาวร และผลไดจากการขายหุนที่มีทรัพยสินสวนใหญ เปนอสังหาริมทรัพย ใหประเทศที่ทรัพยสินตั้งอยูยังคงมีสิทธิเก็บภาษี ได เวนแตผลไดจากการจําหนายเรือและอากาศยานที่ใชในการขนสง ระหวางประเทศใหเก็บภาษีไดเฉพาะในประเทศที่ผูจาํ หนาย มีถิ่นที่อยู นอกจากนี้ กรณีบริษัทสาขาที่ตั้งอยูในประเทศแหลงเงินได จําหนายกําไรออกไปยังประเทศที่สํานักงานใหญตั้งอยู ใหประเทศ แหลงเงินไดยังคงมีสิทธิเก็บภาษีได การเก็บภาษีจากเงินเดือน คาจาง หากมีการใหบริการในประเทศใดใหประเทศนั้นมีสิทธิเก็บภาษีได หรือคาตอบแทนจากการจางแรงงาน แตอาจไดรับยกเวนภาษีตามเงื่อนไขที่ความตกลงฯ กําหนดไว และการใหบริการสวนบุคคล บทบัญญัติพิเศษอื่นๆ เชน คํานิยามทั่วไป การไมเลือกปฏิบัติ วิธีดําเนินการ เพื่อความตกลงรวมกัน การแลกเปลี่ยนขอสนเทศ มีการบัญญัติขึ้น เพื่อใหการใชบังคับความตกลงฯ เปนไปดวยความเรียบรอย
-42-
ลําดับที่ การดําเนินการ 8.
การเริ่มใชและการเลิกใช
สาระสําคัญ ไมเกิดการเลือกปฏิบัติระหวางคนชาติและมีการประสานงาน เพื่อประโยชนในการบริหารจัดเก็บภาษีของประเทศคูสัญญา เมื่อประเทศคูสัญญาไดดําเนินการตามแบบพิธีที่มีอยูตามกฎหมาย ภายในของตนและไดมีการแลกเปลี่ยนสัตยาบันสารแลว ความตกลงฯ จึงจะมีผลบังคับใช สําหรับการเลิกใชนั้น ประเทศคูสัญญาสามารถแจง การเลิกใชดวยวิธีทางการทูตภายหลังที่ความตกลงฯ นี้มีผลใชบังคับ มาแลว 5 ป โดยแจงภายในระยะเวลาที่กําหนดไว
9 มิถุนายน 2558 3. เรื่อง การลงนามรางความตกลงยอมรับรวมกันเกี่ยวกับโครงการผูประกอบการทางเศรษฐกิจที่ไดรับอนุญาต ระหวางกรมศุลกากรแหงราชอาณาจักรไทยและเขตบริหารพิเศษฮองกง คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบรางความตกลงยอมรับรวมกันเกี่ยวกับโครงการผูประกอบการทางเศรษฐกิจที่ไดรับ อนุญาตระหวางกรมศุลกากรแหงราชอาณาจักรไทยและเขตบริหารพิเศษฮองกง 2. เห็นชอบใหอธิบดีกรมศุลกากรเปนผูลงนามในรางความตกลงดังกลาว สาระสําคัญของเรื่อง กค.รายงานวา 1. กรมศุลกากรไดดําเนินโครงการผูประกอบการระดับมาตรฐานเออีโอ (Authorized Economic Operator : AEO) ซึ่งเปนโครงการรับรองมาตรฐานความปลอดภัยของผูประกอบการตามองคการ ศุลกากรโลก (WCO) SAFF Framework of Standard (SAFE FoS) อยางเปนทางการ ในป 2554 โดยมี วัตถุประสงคเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันทางการคาระหวางประเทศ เสริมสรางความปลอดภัย และการอํานวยความสะดวกทางการคาตลอดหวงโซอุปทานรวมกัน โดยโครงการดังกลาวยังคงมีพัฒนาการ มาอยางตอเนื่อง 2. ความตกลงยอมรับรวมกัน (Mutual Recognition Arrangement MRA) เปนความตกลง ระหวางศุลกากรที่จะยอมรับมาตรฐานและแลกเปลี่ยนสิทธิประโยชนของผูประกอบการระหวางกัน ดังนั้น เพื่อใหผูประกอบการ AEO ในประเทศ ไดรับการอํานวยความสะดวกในการผานพิธีศุลกากรเมื่อสงสินคาออก ไปยังประเทศคูภาคีภายใตความตกลงยอมรับรวมกัน (MRA) กรมศุลกากรจึงมีนโยบายที่จะทําความตกลงยอมรับ รวมกัน (MRA) กับศุลกากรประเทศตาง ๆ ทั้งนี้ การทําความตกลงดังกลาวนอกจากจะเปนการอํานวยความ สะดวกทางการคาระหวางประเทศแลว ยังถือเปนการกระชับความสัมพันธระหวางกรมศุลกากรและศุลกากร ตางประเทศในอีกทางหนึ่งดวย 0
0
16 มิถุนายน 2558 4. เรื่อง โครงการใหความชวยเหลือวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบเงื่อนไขมาตรการเพิ่มวงเงินที่รัฐชําระคาธรรมเนียมค้ําประกันสินเชื่อแทนผูประกอบการ SMEs ที่ใหบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) ค้ําประกันสินเชื่อผานโครงการ Portfolio Guarantee Scheme (PGS) ระยะที่ 5 เพิ่มอีกจํานวน 50,000 ลานบาท โดยใหมีผลบังคับใชกับลูกคาที่ยื่น ขอค้ําประกันสินเชื่อนับตั้งแตวันที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการของมาตรการดังกลาวเมื่อวันที่ 17
-43-
มีนาคม 2558 และอนุมัติงบประมาณในการดําเนินมาตรการเปนวงเงินไมเกิน 875 ลานบาท ทั้งนี้ ใหเบิกจาย จากงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2558 และปตอ ๆ ไป ตามประมาณการคาใชจายที่จะเกิดขึ้น ในแตละป โดยให บสย. ทําความตกลงกับสํานักงบประมาณ (สงป.) ในรายละเอียดตอไป 2. เห็นชอบเงื่อนไขโครงการ Policy Loan และอนุมัติงบประมาณในการดําเนินโครงการเปนวงเงิน รวมไมเกิน 3,225 ลานบาท ทั้งนี้ ใหเบิกจายจากงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2558 และปตอ ๆ ไป ตามประมาณการคาใชจายที่จะเกิดขึ้นในแตละป โดยใหธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม แหงประเทศไทย (ธพว.) และ บสย. ทําความตกลงกับ สงป. ในรายละเอียดตอไป สาระสําคัญของเรื่อง กค. รายงานวา 1. ตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2558 อนุมัติหลักการโครงการมาตรการ ใหความชวยเหลือรัฐวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม SMEs จํานวน 2 โครงการ ไดแก (1) โครงการสินเชื่อ ดอกเบี้ยต่ํา Policy Loan และ (2) มาตรการเพิ่มวงเงินที่รัฐชําระคาธรรมเนียมค้ําประกันสินเชื่อแทน SMEs ในปแรกที่ให บสย. ค้ําประกันสินเชื่อผานโครงการ PGS ระยะที่ 5 เพิ่มอีกจํานวน 50,000 ลานบาท ธพว. และ บสย. ไดจัดทําโครงการ / มาตรการ ภายใตโครงการใหความชวยเหลือ SMEs ดังนี้ 1.1 มาตรการเพิ่มวงเงินที่รัฐชําระคาธรรมเนียมค้ําประกันสินเชื่อแทนผูประกอบการ SMEs ที่ให บสย. ค้ําประกันสินเชื่อผานโครงการ PGS ระยะที่ 5 เพิ่มอีกจํานวน 50,000 ลานบาท มีวัตถุประสงค เพื่อลดภาระการจายคาธรรมเนียมค้ําประกันสินเชื่อใหแกผูประกอบการ SMEs โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1) โครงการ PGS ระยะที่ 5 เปนโครงการเดิมที่เริ่มดําเนินการตั้งแตวันที่ 8 มกราคม 2556 โดยมีวงเงิน ค้ําประกันรวม 240,000 ลานบาท และคิดคาธรรมเนียมค้ําประกันรอยละ 1.75 ตอปของวงเงิน ค้ําประกัน (ณ วันที่ 17 มีนาคม 2558 มีวงเงินค้ําประกันคงเหลือทั้งสิ้น 112,405 ลานบาท) 2) มาตรการเพิ่มวงเงิ นที่รัฐ ชําระค าธรรมเนี ยมค้ําประกั นสินเชื่ อแทนผูประกอบการ SMEs ที่เขารวมโครงการ PGS ระยะที่ 5 เพิ่มอีกจํานวน 50,000 ลานบาท (เปนสวนหนึ่งของวงเงิน 240,000 ลานบาท) เพื่อลดภาระคาธรรมเนียมใหแกผูประกอบการ SMEs โดยใหมีผลบังคับใชกับลูกคาที่ยื่นขอค้ําประกัน สินเชื่อนับตั้งแตวันที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการของมาตรการดังกลาวเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2558 3) บสย. จําเปนตองขอรับงบประมาณชดเชยจากรัฐบาลจํานวนไมเกิน 875 ลานบาท (รอยละ 1.75 X วงเงิน 50,000 ลานบาท) 1.2 โครงการ Policy Loan มีวัตถุประสงคเพื่อชวยเหลือผูประกอบการ SMEs ขนาดเล็ก ที่ประสบปญหาขาดสภาพคลอง พรอมทั้งสงเสริมใหผูประกอบการ SMEs ขนาดเล็กที่มีศักยภาพใหมี สภาพคลองสําหรับปรับปรุงกิจการ เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน นอกจากนี้ ยังเปนการสรางความเชื่อมั่น ใหแกผูประกอบการเนื่องจากมี Specialized Financial Institution: SFIs (SFIs) เปนผูใหการสนับสนุนและ สงเสริมการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจไทย ซึ่งมีสาระสําคัญของโครงการสรุปได ดังนี้ โครงการ Policy Loan 1. วงเงินรวม 15,000 ลานบาท โดยตองเปนลูกหนี้ใหมและไมใชลูกหนี้ที่โอนหนี้ (Re-Finance) มาจากสถาบันการเงินอื่น 2. วงเงินสินเชื่อตอรายใหเปนไปตามมติของที่ประชุม คนร. 3. ระยะเวลาการกูยืมไมเกิน 5 ป 4. อัตราดอกเบี้ยรอยละ 4 ตลอดระยะเวลา 3 ป สวนปที่ 4 และปที่ 5 ใหเปนไปตาม อัตราดอกเบี้ยที่ ธพว. กําหนด 5. รัฐชดเชยอัตราดอกเบี้ยใหแก ธพว. รอยละ 3 ในสวนของเงินใหสินเชื่อ 15 ลานบาทแรก ในชวง 3 ปแรก 6. ให บสย. ค้ําประกันสินเชื่อใหแกผูประกอบการที่เขารวมโครงการ Policy Loan ของ ธพว. โดยมีเงื่อนไข ดังนี้
-44-
6.1 วงเงินค้ําประกันรวม 15,000 ลานบาท 6.2 วงเงินค้ําประกันตอรายสูงสุดไมเกิน 40 ลานบาท 6.3 ระยะเวลาค้ําประกันไมเกิน 5 ป 6.4 คาธรรมเนียมค้ําประกันอัตรารอยละ 1.75 ตอป ของวงเงินค้ําประกันสินเชื่อ ตลอดอายุการค้ําประกัน 5 ป โดยมีรายละเอียด ดังนี้ - ปที่ 1 รัฐบาลเปนผูรับภาระชดเชยคาธรรมเนียมแทน SMEs ในอัตรารอยละ 1.75 ตอป ของวงเงินค้ําประกัน - ปที่ 2 และ 3 รัฐบาลเปนผูรับภาระชดเชยคาธรรมเนียมแทน SMEs ในอัตรา รอยละ 0.75 ตอป ของวงเงินค้ําประกัน (SMEs รับภาระจายคาธรรมเนียมเองรอยละ 1 ตอป ของวงเงิน ค้ําประกัน) - ปที่ 4 และ 5 ผูประกอบการ SMEs รับภาระคาธรรมเนียมเองเต็มจํานวน ในอัตรารอยละ 1.75 ตอป ของวงเงินค้ําประกัน 6.5 การจายคาประกันชดเชยของ บสย. 6.5.1 บสย. จายคาประกันชดเชยตามภาระค้ําประกัน SMEs แตละราย (Coverage Ratio per SME) เปนสัดสวนรอยละ 100 ของภาระค้ําประกันเฉลี่ย ตลอดระยะเวลาโครงการ 5 ป 6.5.2 บสย. จายคาประกันชดเชยตามภาระค้ําประกันในแตละ Portfolio (Coverage Ratio per Portfolio) สูงสุดไมเกินรอยละ 18 ของภาระค้ําประกันเฉลี่ย ตลอดระยะเวลา โครงการ 5 ป 7. ธพว. และ บสย. จําเปนตองขอรับงบประมาณชดเชยจากรัฐบาลรวมทั้งสิ้นไมเกิน 3,225 ลานบาท ประกอบดวย 7.1 ชดเชยอัตราดอกเบี้ยใหแก ธพว. จํานวนไมเกิน 1,350 ลานบาท (วงเงิน 15,000 ลานบาท X อัตราดอกเบี้ยรอยละ 3 X ระยะเวลา 3 ป) 7.2 ชดเชยคาธรรมเนียมค้ําประกันใหแก บสย. จํานวนไมเกิน 487.50 ลานบาท (วงเงิน 15,000 ลานบาท X (ปที่ 1 รอยละ 1.75 + ปที่ 2 รอยละ 0.75 + ปที่ 3 รอยละ 0.75)) 7.3 ชดเชยการจายคาประกันชดเชยใหแก บสย. ในสวนตางระหวางคาประกัน ชดเชยกับคาธรรมเนียมที่ไดรับ จํานวน 1,387.50 ลานบาท [(15,000 ลานบาท X รอยละ 18) – (15,000 ลานบาท X รอยละ 1.75 X 5 ป)] 8. กําหนดใหเริ่มรับคําขอตั้งแตวันที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558 หรือจนกวาจะเต็มวงเงิน แลวแตอยางหนึ่งอยางใดจะถึงกอน เพื่อเปนการเรงกระตุนเศรษฐกิจในชวงครึ่งป หลังของป 2558 ทั้งนี้ สําหรับผูประกอบการ SMEs ที่จะเขารวมโครงการ Machine Fund ของ สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมเพื่อปรับเปลี่ยนเครื่องจักรสามารถเขารวมโครงการ Policy Loan ไดเชนเดียวกัน 23 มิถุนายน 2558 5. เรื่อง รายงานผลการพิจารณาการขอจัดตั้งทุนหมุนเวียนของคณะกรรมการกลั่นกรองการจัดตั้งทุน หมุนเวียน คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ผลการพิจารณาการขอจัดตั้งทุน หมุนเวียนของคณะกรรมการกลั่นกรองการจัดตั้งทุนหมุนเวียน ที่เห็นควรใหมีการจัดตั้งทุนหมุนเวียน จํานวน 4 ทุน ไดแก กองทุนยุติธรรม กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี กองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และเงินทุน หมุนเวียนการทาอากาศยานอูตะเภา และใหหนวยงานที่เกี่ยวของนําขอคิดเห็นและขอสังเกตของคณะกรรมการฯ
-45-
ไปพิจารณาดําเนินการในสวนที่เกี่ยวของตอไป และเรงรัดกระทรวงการคลังใหดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2558 โดยเสนอวิธีการนําเงินดังกลาวไปใชประโยชนตอคณะรัฐมนตรีและเรงรัดการนํา เงินทุนหมุนเวียนสวนเกินสงคลังเปนรายไดแผนดินใหครบถวนโดยดวนตอไป 30 มิถุนายน 2558 6. เรื่อง รางกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร (การยกเวนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาใหแกผูขอกลับไปใชสิทธิในบําเหน็จบํานาญขาราชการตาม พระราชบัญญัติการกลับไปใชสิทธิในบําเหน็จบํานาญตามพระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. 2494 พ.ศ. 2557) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร (การยกเวนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาใหแกผูขอกลับไปใชสิทธิในบําเหน็จบํานาญ ขาราชการตามพระราชบัญญัติการกลับไปใชสิทธิในบําเหน็จบํานาญตามพระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญ ขาราชการ พ.ศ. 2494 พ.ศ. 2557) ตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลวดําเนินการตอไปได สาระสําคัญของรางกฎกระทรวง 1. การกําหนดใหเงินไดพึงประเมินที่ขาราชการและผูรับบํานาญไดรับเนื่องจากการกลับไปใชสิทธิใน บําเหน็จบํานาญขาราชการตามพระราชบัญญัติการกลับไปใชสิทธิในบําเหน็จบํานาญตามพระราชบัญญัติบําเหน็จ บํานาญขาราชการ พ.ศ. 2494 พ.ศ. 2557 ดังตอไปนี้ เปนเงินไดพึงประเมินที่ไดรับยกเวนไมตองรวมคํานวณเพื่อ เสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 1.1 เงินหรือผลประโยชนตอบแทนใด ๆ ที่ขาราชการซึ่งขอกลับไปใชสิทธิในบําเหน็จบํานาญ ขาราชการตามพระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. 2494 ไดรับจากกองทุนบําเหน็จบํานาญ ขาราชการตามมาตรา 12 แหงพระราชบัญญัติการกลับไปใชสิทธิในบําเหน็จบํานาญตามพระราชบัญญัติบําเหน็จ บํานาญขาราชการ พ.ศ. 2494 พ.ศ. 2557 1.2 เงินสวนเพิ่มที่ผูรับบํานาญซึ่งขอกลับไปใชสิทธิในบําเหน็จบํานาญขาราชการ ตามพระราชบัญญัติ บําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. 2494 ไดรับจากกรมบัญชีกลางตามมาตรา 13 แหงพระราชบัญญัติการกลับไปใช สิทธิในบําเหน็จบํานาญตามพระราชบัญญัติบําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. 2494 พ.ศ. 2557 2. กําหนดใหเงินไดพึงประเมินที่ไดรับยกเวนไมตองรวมคํานวณเพื่อเสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดามีผล ใชบังคับสําหรับเงินไดพึงประเมินประจําป พ.ศ. 2558 เปนตนไป
-46-
สถิติดานการคลัง
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีการคา ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ GDP (ปปฏิทิน) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) GDP (ปงบประมาณ) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ)
2537 366,957 67,651 133,268 3,603 1,441 134,791 21,227 4,752 224 138,670 46,131 19,708 19,272 12,262 34,515 5,636 899 136 111 11 64 2 52 7 116,872 115,540 14 1,318 622,499 85,047 41,794 43,253 707,546
2538 444,512 86,190 157,078 3,196 1,082 163,122 28,311 5,284 249 155,308 53,501 20,717 19,759 15,131 38,147 6,598 1,190 156 109 12 69 59 16 128,548 127,124 9 1,415 728,368 86,775 41,250 45,525 815,143
2539 508,832 109,396 172,235 3,430 572 184,227 33,410 5,286 276 167,160 58,005 24,057 21,548 17,360 37,343 6,845 1,729 153 119 10 75 2 55 12 129,543 128,212 6 1,324 805,535 89,756 40,650 49,106 895,291
หนวย : ลานบาท 2540 2541 518,620 498,966 115,137 122,945 162,655 99,480 5,322 5,316 264 342 195,813 232,388 34,286 35,241 4,734 2,992 408 263 180,168 155,564 63,983 65,373 29,816 28,560 22,763 20,257 21,383 23,191 32,295 8,557 7,519 7,023 1,765 1,003 538 129 168 442 204 481 142 139 126 11 163 91 103 7 11 17 19 59 56 19 3 104,160 69,338 102,704 67,108 8 17 1,448 2,213 802,947 723,868 106,101 91,813 38,102 42,518 68,000 49,295 909,049 815,681
2535 261,042 52,945 87,273 2,884 37,783 66,614 9,629 3,781 134 102,028 41,346 15,490 15,247 7,818 15,713 5,125 301 695 294 7 38 1 2 86,246 85,082 11 1,153 449,316 76,048 42,896 33,152 525,364
2536 300,805 57,237 103,975 3,448 2,739 112,582 16,764 3,876 184 125,789 43,711 15,638 16,679 9,478 34,350 5,158 546 73 157 10 56 2 6 105,910 104,651 11 1,247 532,504 75,603 36,701 38,902 608,106
525,364 N/A N/A N/A N/A
41,432 48,723 52,937 37,813 58,400 74,660 38,354 45,330 49,143 34,148 55,313 63,858 3,078 3,393 3,794 3,665 3,087 10,802 10,348 6,262 7,108 7,473 7,073 7,559 556,326 652,561 755,098 850,005 843,576 733,462 3,263,439 3,689,090 4,217,609 4,638,605 4,710,299 4,701,559 17.0 17.7 17.9 18.3 17.9 15.6 N/A 3,572,116 4,107,453 4,533,732 4,695,277 4,710,587 N/A 18.3 18.4 18.7 18.0 15.6
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีการคา ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีกิจการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รายไดจากการขายหุนใหกองทุนวายุภักษ แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปปฏิทิน) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) GDP (ปงบประมาณ) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ)
2542 452,317 106,071 108,820 10,872 186 201,976 21,311 2,824 258 163,892 66,584 26,655 22,800 24,992 13,941 6,484 904 482 419 474 158 114 191 87 6 24 49 3 68,095 66,994 36 1,064 684,303 109,042 52,679 56,364 793,346
2543 461,322 91,790 145,554 10,739 126 192,510 17,015 3,351 236 168,822 64,832 28,134 8,276 26,438 26,781 7,444 1,104 791 444 579 3,999 97 218 127 11 20 55 53 87,195 85,338 75 1,782 717,338 100,257 56,182 44,075 817,595
2544 499,711 101,136 149,677 17,154 84 215,158 12,852 3,408 242 177,600 64,124 32,310 8,933 29,991 30,330 8,100 1,429 932 713 525 213 62 246 112 14 26 59 5 92,838 91,359 82 1,397 770,149 104,617 45,482 59,135 874,766
2545 544,281 108,371 170,415 19,128 99 228,196 13,715 4,122 236 208,153 68,840 31,697 22,290 31,650 41,560 7,748 1,793 1,224 582 556 212 45 268 126 15 23 60 5 15 98,629 96,326 163 2,139 851,062 108,375 46,965 2,483 1,065 57,862 959,437
2546 627,682 117,309 208,859 21,773 45 261,306 12,757 5,348 286 246,641 73,605 33,289 25,676 36,987 56,474 8,621 2,347 1,581 591 6,420 813 239 68 299 145 22 26 65 19 54 38 78 111,819 110,054 216 1,549 986,142 118,485 50,772 3,599 64,114 1,104,627
หนวย : ลานบาท 2547 2548 772,236 937,149 135,155 147,352 261,890 329,516 31,935 41,178 316,134 385,718 20,024 26,304 6,820 6,816 278 266 275,773 279,395 76,996 76,458 36,325 38,193 26,181 28,620 42,749 45,483 65,012 58,760 9,350 10,106 2,859 3,712 1,849 1,641 763 762 12,625 13,935 993 1,121 280 398 97 86 332 372 167 179 34 40 23 38 44 74 5 48 53 82 92 161 185 106,122 110,403 103,635 106,917 267 285 3,202 2,220 1,154,132 1,326,948 135,747 147,472 49,086 60,664 2,976 3,210 25,075 6,000 1,484 52,611 82,114 1,289,880 1,474,420
75,325 64,655 10,670 2,994 5,916 709,111 709,111 4,789,821 14.8 4,739,558 15.0
57,036 47,358 9,679 3,198 7,278 750,082 750,082 5,069,823 14.8 4,989,221 15.0
77,920 65,682 12,239 3,732 7,698 785,416 785,416 5,345,013 14.7 5,304,426 14.8
79,902 65,769 14,133 4,109 8,234 867,192 16,525 850,667 5,769,578 14.7 5,628,548 15.1
80,150 69,261 10,888 5,042 10,501 1,008,934 40,604 968,330 6,317,302 15.3 6,168,364 15.7
115,574 96,947 18,627 6,368 11,226 1,156,713 47,726 1,108,986 6,954,271 15.9 6,757,787 16.4
131,220 109,625 21,594 7,451 12,421 1,323,328 58,400 1,264,928 7,614,409 16.6 7,454,607 17.0
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีกิจการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปปฏิทิน) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) GDP (ปงบประมาณ) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ)
หนวย : ลานบาท 2555 1,617,293 266,203 544,591 94,097 659,804 41,057 11,180 362 379,652 61,061 59,915 53,500 64,893 117,145 16,208 977 2,318 2,126 1,099 411 57 476 221 23 40 35 0.03 2 104 140 118,973 116,325 323 2,326 2,115,919 239,391 112,268 4,374 122,749 2,355,310
2549 1,057,200 170,079 374,689 56,524 417,772 30,623 7,268 244 274,095 70,742 35,657 29,143 44,207 59,810 10,765 3,525 2,010 1,178 15,523 1,169 367 87 425 185 56 39 52 26 104 196 96,232 93,633 314 2,285 1,427,528 153,996 73,500 3,330 77,165 1,581,524
2550 1,119,194 192,795 384,619 65,735 434,272 34,406 7,137 230 287,231 76,944 41,824 33,298 52,088 55,844 11,735 3,727 1,665 1,426 7,229 1,183 269 87 447 177 68 29 46 16 111 202 90,625 88,169 345 2,112 1,497,050 206,724 80,593 3,052 36,951 86,129 1,703,775
2551 1,276,080 204,847 460,650 74,033 503,439 25,133 7,724 254 278,303 67,211 41,832 36,816 53,465 57,822 12,391 3,769 1,673 1,708 111 1,196 309 84 490 167 63 44 37 6 111 192 99,602 96,944 501 2,157 1,653,985 183,659 77,546 4,682 101,430 1,837,643
2552 1,138,565 198,095 392,172 90,712 431,775 18,099 7,488 223 291,221 91,059 43,936 37,982 48,993 49,278 12,186 3,111 1,608 1,479 1,062 528 73 428 183 43 31 42 7 91 164 80,288 77,187 404 2,697 1,510,074 174,224 83,761 3,822 86,641 1,684,297
2553 1,264,584 208,374 454,565 67,599 502,176 22,892 8,735 243 405,862 152,825 53,381 42,398 58,831 77,202 14,245 1,615 1,979 1,947 1,039 400 64 452 190 39 27 26 0.11 3 95 141 97,148 93,512 169 3,467 1,767,594 235,453 140,031 3,868 91,553 2,003,047
2554 1,515,666 236,339 574,059 81,444 577,632 35,614 10,299 279 399,779 117,914 57,197 48,624 61,498 92,844 14,526 1,183 2,284 2,197 1,088 424 62 494 201 22 24 29 0.03 0.04 113 143 102,882 99,968 241 2,673 2,018,326 206,051 102,687 4,569 98,795 2,224,377
162,951 138,206 24,745 9,172 12,399 1,397,002 57,312 1,339,691 8,400,655 15.9 8,252,527 16.2
181,793 150,035 31,758 9,514 10,416 1,502,051 57,592 1,444,460 9,076,307 15.9 8,846,471 16.3
202,716 173,994 28,723 11,625 12,044 1,611,258 65,420 1,545,837 9,706,932 15.9 9,752,663 15.9
199,408 157,838 41,570 9,040 11,160 1,464,690 53,832 1,410,858 9,654,016 14.6 9,443,365 14.9
208,733 160,052 48,681 11,096 13,005 1,770,213 65,736 1,704,477 10,802,402 15.8 10,614,376 16.1
230,014 188,471 41,543 12,677 14,813 1,966,873 74,556 1,892,317 11,300,485 16.7 11,366,038 16.6
260,374 216,012 44,362 14,815 15,280 2,064,841 88,965 1,975,876 12,354,656 16.0 11,775,760 16.8
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป
หนวย : ลานบาท 2558 (8 เดือน) 1,021,830 210,559 253,071 38,939 474,239 35,696 9,077 249 295,314 78,788 42,913 44,539 56,223 55,339 12,214 326 1,990 1,482 913 587 76 420 178 16 27 14 89 93 76,990 75,081 154 1,755 1,394,134 228,149 120,195 4,689 103,265 1,622,283
2556 2557 กรมสรรพากร 1,764,707 1,729,819 ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 299,034 280,945 ภาษีเงินไดนิติบุคคล 592,499 570,118 ภาษีเงินไดปโตรเลียม 113,291 102,165 ภาษีมูลคาเพิ่ม 698,087 711,556 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 48,771 53,034 อากรแสตมป 12,735 11,663 อื่นๆ 290 338 กรมสรรพสามิต 432,897 382,731 ภาษีน้ํามันฯ 63,532 63,403 ภาษียาสูบ 67,893 61,001 ภาษีสุราฯ 52,640 64,654 ภาษีเบียร 69,119 76,559 ภาษีรถยนต 153,874 93,473 ภาษีเครื่องดื่ม 17,838 16,622 ภาษีเครื่องไฟฟา 1,003 519 ภาษีรถจักรยานยนต 2,933 2,585 ภาษีแบตเตอรี่ 2,294 2,074 ภาษีอื่นๆ 1,208 1,157 รายไดอื่นๆ 563 684 ภาษีสถานบริการ(สนามมา) 58 55 ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) 566 552 ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม 236 224 ภาษีแกวและเครื่องแกว 32 27 ภาษีพรม 39 35 ภาษีไพ 27 21 ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค 107 107 ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด 143 136 กรมศุลกากร 113,393 117,740 อากรขาเขา 110,628 114,647 อากรขาออก 254 269 รายไดอื่นๆ 2,511 2,824 รวม 3 กรม 2,310,997 2,230,290 หนวยงานอื่น 260,464 272,645 สวนราชการอื่น 152,568 130,527 กรมธนารักษ 6,448 5,427 รัฐวิสาหกิจ 101,448 136,691 รวมรายไดจัดเก็บ 2,571,461 2,502,935 หัก 291,007 184,379 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 283,471 - ภาษีมูลคาเพิ่ม 228,941 226,086 145,718 - ภาษีอื่นๆ 54,530 64,921 38,661 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร N/A 8,610 7,161 3. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 15,476 15,439 9,706 4. เงินกันชดเชยการสงออก 16,946 16,178 9,307 รวมรายไดสุทธิ 2,255,568 2,171,701 1,411,730 จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ 93,967 97,041 40,927 รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร 2,161,601 2,074,660 1,370,803 GDP (ปปฏิทิน) 12,910,038 13,148,601 13,635,100 สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) 16.7 15.8 10.1 GDP (ปงบประมาณ) 12,867,249 13,074,771 N/A สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ) 16.8 15.9 N/A หมายเหตุ: 1. ขอมูล GDP ป 2536 - 2558 จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ณ วันที่ 18 พฤษภาคม 2558 2. ผลการจัดเก็บรายไดของกรมศุลกากรตั้งแตปงบประมาณ 2557 เปนตัวเลขกอนหักอากรถอนคืน ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย: สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน หนวย: ลานบาท หนวย: ลานบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดเบ็ดเตล็ด ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร
ต.ค.54 พ.ย.54 ธ.ค.54 ม.ค.55 ก.พ.55 88,824 98,404 91,520 99,215 113,459 18,411 15,450 18,155 27,377 21,977 19,135 33,027 16,639 16,475 25,910 17 640 54 14 7,648 47,791 45,714 52,020 51,665 53,808 2,745 2,837 3,706 2,816 3,198 707 719 914 766 896 17 16 31 102 21 26,802 25,632 30,755 27,908 30,531 4,804 4,701 4,923 5,514 5,245 3,206 7,150 6,214 4,313 4,761 4,117 3,264 5,941 4,715 4,631 5,013 4,940 6,488 5,573 5,802 8,202 3,544 5,271 6,123 8,370 923 1,705 1,520 1,162 1,142 49 31 57 64 72 205 69 47 147 200 163 121 142 150 170 87 64 75 96 108 31 43 79 53 31 5 3 1 5 5 31 23 36 43 58 20 14 13 18 17 2 2 1 3 2 4 2 2 2 1 3 1 2 3 2 0.013 1.738 9 9 8 9 9 12 11 11 12 12 7,752 9,190 10,291 9,760 9,709 7,599 9,012 10,061 9,549 9,531 63 23 27 3 22 90 154 204 208 156 123,377 133,225 132,566 136,883 153,698 25,002 25,764 11,789 15,325 19,149 4,221 13,571 8,793 6,459 14,736 82 426 160 1,580 620 20,700 11,767 2,836 7,286 3,793 148,380 158,989 144,355 152,208 172,847
ปงบประมาณ 2555 มี.ค.55 เม.ย.55 110,475 105,826 32,109 26,879 17,071 17,734 935 664 55,599 56,659 3,788 3,009 948 857 26 24 37,620 32,213 5,151 4,897 6,195 5,363 5,812 4,411 6,796 5,449 11,460 9,908 1,569 1,540 92 77 216 243 194 198 107 103 27 22 5 5 54 48 19 21 2 2 3 4 2 3 9 9 12 12 11,195 10,317 10,874 10,128 66 24 255 165 159,291 148,355 15,981 25,262 5,012 4,195 270 654 10,699 20,413 175,272 173,617
พ.ค.55 277,714 22,403 121,712 72,530 56,276 3,605 1,160 27 31,324 5,128 4,043 3,629 5,190 11,198 1,543 94 197 186 90 26 7 36 20 2 2 4 9 11 11,314 11,077 28 209 320,351 20,106 15,338 120 4,648 340,457
มิ.ย.55 152,927 23,009 66,689 748 57,025 4,268 1,162 27 32,068 4,997 4,026 3,852 4,658 12,453 1,391 121 249 203 89 28 5 38 17 1 5 3 8 12 9,829 9,699 3 127 194,824 12,661 8,811 141 3,709 207,485
ก.ค.55 100,699 20,857 18,874 0.29 56,349 3,562 1,030 26 34,015 5,327 5,070 4,325 5,218 12,219 1,195 110 243 196 87 26 5 35 18 2 3 3 0.001 8 12 9,960 9,908 32 20 144,674 13,444 4,724 99 8,621 158,118
ส.ค.55 207,576 19,304 114,643 10,833 58,229 3,567 977 24 36,790 5,338 5,562 4,756 4,787 14,307 1,334 111 259 219 94 23 5 36 20 2 7 3 0.013 0.591 8 12 10,496 9,865 29 601 254,862 20,403 16,890 107 3,407 275,265
ก.ย.55 170,656 20,272 76,681 12 68,669 3,957 1,043 22 33,995 5,036 4,012 4,048 4,981 14,089 1,183 100 242 186 98 22 5 38 24 2 4 5 8 12 9,162 9,023 2 136 213,813 34,505 9,520 116 24,869 248,317
13,553 12,270 1,283 1,040 826 132,961 132,961
26,956 18,040 8,916 1,303 1,198 145,815 5,845 139,969
24,039 18,291 5,748 1,256 1,348 313,814 7,541 306,273
22,729 18,257 4,472 1,339 2,538 180,879 6,661 174,218
21,318 19,324 1,994 1,281 1,071 134,448 7,534 126,914
23,803 21,035 2,768 1,273 1,259 248,930 8,170 240,760
30,245 27,654 2,590 1,524 2,026 214,524 38,445 176,079
18,234 16,564 1,669 1,012 908 138,836 138,836
15,409 14,104 1,304 1,198 1,084 126,665 126,665
15,490 14,114 1,377 1,074 1,011 134,632 134,632
25,190 20,412 4,778 1,249 1,017 145,391 7,155 138,236
23,409 15,946 7,463 1,265 995 147,948 7,615 140,333
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน หนวย: ลานบาท หนวย: ลานบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดเบ็ดเตล็ด ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร
ต.ค.55 106,740 21,133 21,836 0.69 58,962 3,732 1,053 24 37,241 4,945 4,684 4,031 6,449 15,162 1,325 95 225 183 95 49 6 36 26 2 2 3 8 12 10,859 10,535 20 303 154,839 18,996 4,919 831 13,247 173,835
พ.ย.55 122,454 19,553 35,395 600 61,600 4,218 1,068 20 41,689 5,121 6,041 4,987 7,271 15,992 1,607 90 214 208 95 64 5 38 23 2 3 2 9 12 10,679 10,484 20 175 174,822 25,777 19,738 970 5,068 200,599
ธ.ค.55 117,663 19,113 33,800 1,538 57,487 4,720 987 19 40,140 5,485 5,072 3,992 6,780 16,540 1,554 90 213 203 107 104 5 50 21 4 3 2 10 12 9,533 9,378 20 136 167,337 40,320 35,810 1,629 2,881 207,657
ม.ค.56 124,080 33,461 22,467 1,435 62,107 3,508 1,082 19 37,983 5,856 5,753 5,392 5,503 13,204 1,568 93 241 161 115 96 5 60 17 3 4 2 11 12 9,895 9,814 3 78 171,958 14,959 5,620 240 9,099 186,917
ก.พ.56 115,473 23,673 20,506 9,676 56,913 3,662 1,024 19 36,007 4,882 6,392 4,568 5,326 12,700 1,424 101 243 200 123 48 4 69 20 2 3 2 10 12 8,595 8,338 22 235 160,076 25,311 19,461 420 5,431 185,387
ปงบประมาณ 2556 มี.ค.56 เม.ย.56 116,606 118,463 35,874 30,789 18,220 23,147 9 228 57,134 59,568 4,240 3,661 1,103 1,040 26 29 38,110 37,844 5,211 5,501 5,640 5,153 4,637 4,730 6,816 6,093 13,284 13,785 1,816 1,854 96 86 258 295 192 212 113 108 46 29 4 7 62 53 20 18 2 2 2 4 2 2 9 9 12 12 9,107 8,948 8,897 8,804 16 3 194 140 163,823 165,255 21,657 26,924 6,376 4,399 246 662 15,034 21,863 185,479 192,179
พ.ค.56 291,871 25,245 114,243 90,970 56,123 4,150 1,113 28 33,387 5,501 5,288 4,221 5,812 10,326 1,611 84 241 187 91 25 5 39 19 2 4 2 9 12 8,637 8,453 39 146 333,895 29,152 18,486 107 10,559 363,048
มิ.ย.56 164,929 24,816 78,109 0.08 56,374 4,553 1,048 29 34,048 5,028 5,218 3,932 4,752 12,996 1,446 72 285 199 95 25 4 43 18 3 3 2 8 12 8,714 8,523 37 155 207,691 10,250 7,548 121 2,582 217,942
ก.ค.56 104,928 22,656 20,989 0.57 56,117 4,059 1,080 27 31,761 5,562 5,412 4,137 4,386 10,531 1,126 62 248 180 87 28 4 39 16 2 3 2 8 12 9,688 9,357 23 307 146,376 16,352 5,961 110 10,281 162,728
ส.ค.56 181,778 20,926 88,631 7,059 59,840 4,228 1,070 24 32,885 5,191 5,645 5,130 4,525 10,636 1,133 65 258 189 88 26 4 37 19 4 2 2 8 12 9,677 9,211 24 442 224,340 21,255 17,968 116 3,171 245,594
ก.ย.56 199,722 21,795 115,157 1,774 55,862 4,040 1,067 27 31,803 5,249 7,594 2,885 5,406 8,716 1,375 68 213 182 92 23 5 38 19 3 4 2 9 12 9,060 8,833 27 200 240,586 9,511 6,283 996 2,232 250,097
24,357 23,516 18,129 20,759 27,095 32,750 27,958 23,731 23,943 21,305 19,452 20,478 22,251 21,618 16,983 17,687 20,696 21,995 17,264 17,428 19,338 18,900 17,104 17,677 2,106 1,898 1,146 3,072 6,399 10,754 10,694 6,303 4,604 2,405 2,348 2,801 1,332 1,313 1,293 1,371 1,234 1,326 1,378 1,177 1,277 1,241 1,310 1,224 1,180 1,234 1,247 1,308 991 1,276 1,283 1,287 2,635 1,069 1,284 2,152 146,966 174,537 186,988 163,480 156,067 150,128 161,560 336,853 190,087 139,113 223,548 226,243 32,385 7,249 7,022 8,499 7,745 31,067 146,966 174,537 186,988 163,480 156,067 150,128 129,175 329,603 183,065 130,614 215,803 195,177
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน หนวย: ลานบาท หนวย: ลานบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดเบ็ดเตล็ด ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 4. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร
ต.ค.56 พ.ย.56 ธ.ค.56 ม.ค.57 ก.พ.57 112,332 118,159 126,301 120,637 115,871 22,094 20,613 19,217 27,634 23,865 23,685 33,865 39,155 23,265 21,856 0.07 1,154 1,950 0.05 8,850 61,045 57,073 59,889 64,671 56,265 4,396 4,460 4,103 5,128 4,124 1,085 971 941 942 889 26 23 21 22 22 36,625 34,994 32,666 33,324 31,364 5,204 5,014 4,934 5,671 5,312 5,837 3,452 4,886 4,810 5,382 7,069 7,830 4,170 6,144 4,729 7,552 8,070 7,156 6,056 6,208 9,153 8,592 9,682 8,713 7,922 1,164 1,523 1,277 1,220 1,213 50 39 35 40 74 219 179 179 251 214 190 135 133 210 170 96 81 94 114 118 67 68 117 100 55 6 2 2 3 4 36 36 50 59 67 23 14 13 20 18 4 3 2 2 3 5 2 2 6 3 2 2 2 2 2 8 10 10 11 9 12 12 12 12 11 10,400 9,983 9,788 10,162 8,695 10,257 9,843 9,614 9,908 8,610 2 2 23 26 25 141 138 151 228 61 159,357 163,136 168,755 164,122 155,930 44,051 26,180 15,356 21,106 26,810 7,168 18,411 10,206 6,192 18,289 250 260 1,953 306 720 7,509 3,196 14,609 36,633 7,802 203,407 189,316 184,111 185,228 182,740 21,481 18,150 3,331 853 1,341 1,161 178,571
19,669 18,085 1,584 1,015 1,208 973 166,451
21,795 19,695 2,100 1,099 1,391 1,385 158,441
178,571
166,451
158,441
17,382 15,344 2,038 553 1,370 1,197 164,726 8,591 156,134
22,987 16,045 6,942 711 1,243 956 156,843 7,799 149,044
ปงบประมาณ 2557 มี.ค.57 เม.ย.57 พ.ค.57 มิ.ย.57 ก.ค.57 ส.ค.57 ก.ย.57 112,535 111,183 252,501 180,339 110,035 175,683 194,245 30,194 26,610 24,557 23,623 21,450 20,050 21,038 19,599 19,551 99,442 78,322 21,953 82,924 106,500 0.14 0.07 64,478 15,420 1,574 7,088 1,649 57,252 60,060 58,779 57,491 59,482 60,499 59,049 4,477 3,993 4,281 4,482 4,553 4,173 4,864 981 938 932 964 989 918 1,113 32 31 31 36 33 30 32 36,125 33,339 30,134 28,003 27,768 28,026 30,363 5,208 5,124 5,140 4,757 5,560 5,380 6,099 5,641 5,844 5,397 5,436 4,420 4,653 5,244 5,751 4,964 5,181 4,510 4,318 4,944 5,045 8,795 6,717 5,485 5,140 5,093 4,954 5,333 8,425 8,406 6,866 6,250 6,542 6,213 6,709 1,728 1,676 1,524 1,395 1,236 1,319 1,348 41 48 22 36 31 45 58 211 264 203 223 228 211 203 161 177 170 207 157 178 187 107 102 89 81 83 94 99 42 39 57 45 24 39 32 4 4 4 2 4 9 11 59 52 40 41 35 38 39 21 22 15 18 22 19 20 2 2 2 2 3 2 2 4 3 1 2 3 3 2 2 1 2 2 2 2 8 9 9 7 7 9 10 11 11 11 10 11 12 12 9,796 9,028 9,449 9,533 10,526 9,583 10,797 9,450 8,878 9,323 9,344 9,800 9,367 10,252 28 24 24 24 23 23 47 318 127 102 166 703 193 498 158,456 153,550 292,084 217,875 148,329 213,291 235,404 17,887 25,410 32,731 13,384 15,471 22,164 12,094 5,419 6,623 17,172 9,024 6,147 18,672 7,204 285 667 317 197 144 156 172 12,183 18,120 15,242 4,163 9,180 3,336 4,718 176,343 178,960 324,815 231,259 163,799 235,456 247,499 32,989 19,914 13,075 847 1,229 1,205 140,072 8,036 132,037
29,647 18,646 11,001 607 1,302 1,123 146,281 9,889 136,392
34,977 25,139 9,838 569 1,271 1,255 286,742 8,062 278,680
25,713 19,044 6,669 901 1,239 2,559 200,848 7,456 193,392
23,081 20,038 3,043 522 1,256 1,101 137,838 8,285 129,553
20,937 19,055 1,883 422 1,308 1,064 211,724 6,668 205,056
20,348 16,932 3,416 511 1,280 2,199 223,161 32,254 190,907
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน หนวย: ลานบาท หนวย: ลานบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดเบ็ดเตล็ด ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 4. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร
ต.ค.57 111,838 21,261 23,367 16 61,214 4,717 1,231 30 33,935 5,852 7,272 5,099 6,721 6,755 1,596 50 233 183 105 68 9 43 24 2 5 2 9 12 10,303 10,084 22 198 156,076 45,740 8,614 162 36,963 201,815
พ.ย.57 119,166 20,831 34,179 669 58,010 4,345 1,107 26 32,589 5,130 5,570 5,803 7,040 6,931 1,451 48 244 195 99 78 8 39 22 2 4 2 10 12 9,728 9,562 19 146 161,483 24,559 19,006 352 5,200 186,042
ธ.ค.57 118,500 19,641 32,464 562 58,932 5,441 1,432 28 35,690 7,554 5,644 5,062 7,707 7,264 1,711 38 261 193 111 146 9 50 23 2 3 2 11 12 10,295 10,104 21 170 164,485 31,386 25,007 1,787 4,592 195,872
24,427 21,501 2,927 1,300 1,246 1,139 173,703 173,703
21,215 19,602 1,613 1,104 1,171 950 161,601 161,601
20,490 18,657 1,833 783 1,225 1,261 172,113 172,113
ปงบประมาณ 2558 ม.ค.58 ก.พ.58 126,302 111,216 34,931 23,756 22,945 21,419 13 6,465 62,977 54,723 4,352 3,823 1,058 999 26 31 39,967 37,961 11,237 10,376 5,211 5,902 7,337 6,749 6,427 7,149 7,908 5,878 1,178 1,253 41 38 230 234 174 189 124 139 100 54 9 9 60 74 21 24 3 2 4 3 2 2 13 13 12 12 9,692 9,203 9,533 8,852 17 37 142 314 175,962 158,381 13,967 22,949 7,013 15,792 275 734 6,680 6,423 189,929 181,330 18,203 15,999 2,204 691 1,178 1,254 168,603 7,989 160,614
หมายเหตุ: ผลจัดเก็บรายไดของกรมศุลกากรตั้งแต เดือนตุลาคม 2556 เปนตนไป เปนตัวเลขกอนหักอากรถอนคืน ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย: สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
21,116 16,687 4,429 700 1,069 1,105 157,340 7,704 149,635
มี.ค.58 123,388 35,619 20,887 0.16 61,036 4,667 1,143 36 43,478 12,489 6,227 6,725 9,285 6,279 1,790 38 270 203 122 51 9 63 24 2 1 2 11 11 9,764 9,261 20 484 176,630 23,034 15,280 304 7,450 199,664
เม.ย.58 117,634 29,530 21,790 8 60,816 4,373 1,080 37 39,682 13,812 3,211 4,605 7,214 8,360 1,817 34 275 194 116 44 13 53 20 2 5 2 11 12 9,526 9,325 17 184 166,842 40,345 6,607 281 33,457 207,187
พ.ค.58 193,786 24,990 76,020 31,206 56,531 3,977 1,027 35 32,011 12,338 3,877 3,159 4,681 5,965 1,419 37 241 151 97 46 11 38 20 2 3 2 11 11 8,478 8,360 1 118 234,275 26,169 22,876 794 2,499 260,444
28,127 18,272 9,856 955 1,429 1,381 167,772 8,087 159,685
25,800 17,000 8,800 981 1,188 1,118 178,100 9,485 168,614
25,000 18,000 7,000 647 1,200 1,100 232,497 7,662 224,835
สัดสวนรายไดตอ GDP (FY) 1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7
ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น ๆ
หนวย: รอยละ 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 12.57 12.81 12.65 13.08 12.06 11.91 13.34 13.73 13.71 13.23 1.98 4.42 0.55 5.17 0.35 0.09 0.00
2.06 4.54 0.68 5.06 0.37 0.09 0.00
2.18 4.35 0.74 4.91 0.39 0.08 0.00
2.10 4.72 0.76 5.16 0.26 0.08 0.00
2.10 4.15 0.96 4.57 0.19 0.08 0.00
1.96 4.28 0.64 4.73 0.22 0.08 0.00
2.08 5.05 0.72 5.08 0.31 0.09 0.00
2.26 4.62 0.80 5.60 0.35 0.09 0.00
2.32 4.60 0.88 5.43 0.38 0.10 0.00
2.15 4.36 0.78 5.44 0.41 0.09 0.00
2. กรมสรรพสามิต
3.75
3.32
3.25
2.85
3.08
3.82
3.52
3.22
3.36
2.93
3. กรมศุลกากร
1.48
1.17
1.10
1.02
0.85
0.92
0.91
1.01
0.88
0.90
4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น
1.12 0.86
0.94 0.93
1.04 1.36
1.04 0.84
0.92 0.93
0.86 1.36
0.87 0.94
1.04 0.99
0.79 1.24
1.05 1.04
2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีกิจการโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ
5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ
1.03 0.51 0.38 0.61 0.79 0.14 0.05 0.02 0.01 0.19 0.02 0.01 1.43 0.00 0.04
0.81 0.04
0.86 0.43 0.35 0.54 0.72 0.13 0.04 0.02 0.01 0.19 0.01 0.00 1.13 0.00 0.03
0.89 0.04
0.87 0.47 0.38 0.59 0.63 0.13 0.04 0.02 0.02 0.08 0.01 0.00 1.00 0.00 0.02
0.91 0.03
0.69 0.43 0.38 0.55 0.59 0.13 0.04 0.02 0.02 0.00 0.01 0.00 0.99 0.01 0.02
0.80 0.05
0.96 0.47 0.40 0.52 0.52 0.13 0.03 0.02 0.02 0.01 0.01 0.82 0.00 0.03
0.89 0.04
1.44 0.50 0.40 0.55 0.73 0.13 0.02 0.02 0.02 0.01 0.00 0.88 0.00 0.03
1.32 0.04
1.04 0.50 0.43 0.54 0.82 0.13 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.88 0.00 0.02
0.90 0.04
0.52 0.51 0.45 0.55 0.99 0.14 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.99 0.00 0.02
0.95 0.04
0.49 0.53 0.41 0.54 1.20 0.14 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.86 0.00 0.02
1.19 0.05
0.48 0.47 0.49 0.59 0.71 0.13 0.00 0.02 0.02 0.01 0.01 0.88 0.00 0.02
1.00 0.04
6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก
19.78 19.16 19.26 18.84 17.84 18.87 19.57 20.00 19.98 19.14 2.03 2.24 2.28 2.32 2.33 2.19 2.27 2.47 2.46 2.53
8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.
17.75 16.93 16.98 16.52 15.51 16.68 17.30 17.53 17.53 16.61 0.78 0.69 0.65 0.67 0.57 0.62 0.66 0.76 0.73 0.74 16.97 16.23 16.33 15.85 14.94 16.06 16.65 16.78 16.80 15.87
7.1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก
1.76 1.47 0.29 0.10 0.17
1.97 1.67 0.30 0.11 0.15
2.05 1.70 0.36 0.11 0.12
2.08 1.78 0.29 0.12 0.12
2.11 1.67 0.44 0.10 0.12
1.97 1.51 0.46 0.10 0.12
2.02 1.66 0.37 0.11 0.13
2.21 1.83 0.38 0.13 0.13
2.20 1.78 0.42 0.12 0.13
2.23 1.73 0.50 0.12 0.12
Revenue Buoyancy (GDP: FY) 1. กรมสรรพากร
หนวย: รอยละ 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2.07 1.20 0.81 1.37 3.40 0.89 2.80 1.86 0.98 (1.23)
2. กรมสรรพสามิต
0.13 (0.18) 0.67 (0.30) (1.46) 3.17 (0.21) (1.40) 1.51 (7.19)
3. กรมศุลกากร
0.39 (1.20) (0.81) 0.97
4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น
4.13 (0.72) 1.61 1.73 4.60 0.46 1.12 6.73 (1.87) 21.54 (1.67) 1.90 7.91 (3.11) (2.05) 5.19 (3.60) 2.43 3.92 (8.99)
6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก
1.39 1.31
1.07 1.30
0.77 1.19
2.63 0.94
1.53 0.49
1.56 1.50
1.63 3.55
0.99 (1.65) 0.94 3.01
8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.
1.40 0.52 1.04 2.17 (0.17) 0.07 1.36 0.55 1.09
0.71 1.33 0.69
2.87 5.59 2.75
1.68 1.78 1.68
1.57 1.89 1.56
1.38 5.36 1.22
1.00 (2.31) 0.61 2.03 1.01 (2.49)
1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7
ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น ๆ
2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีกิจการโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ
3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ
5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ
7.1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก
0.88 2.50 2.81 2.13 3.04 (0.01) (0.41)
1.44 1.28 3.48 0.78 1.53 0.62 (0.77)
1.86 0.37 2.26 0.55 1.72 (0.25) (0.84)
0.61 1.93 1.23 1.55 (2.63) 0.80 1.04
1.04 4.69 (7.10) 4.49 8.82 0.96 3.85
0.42 1.28 (2.05) 1.31 2.14 1.34 0.73
1.90 3.71 2.89 2.12 7.85 2.53 2.05
(0.07) 0.50 0.90 0.62 (0.93) 0.78 2.89 1.23 (0.01) 1.01 1.25 4.07
(0.70) (0.62) 0.17 (0.26) 0.17 0.61 (0.47) 0.82 5.09 1.06 0.40 (0.71)
1.22 2.40 1.98 2.48 (0.92) 1.25 0.79 (2.38) 2.93 (7.42) 0.16 (3.73)
(1.23) (11.19) 0.00 (1.59) 1.03 (1.00) 0.26 2.64 0.35 4.66 0.55 0.52 0.11 5.51 0.04 1.21 1.93 4.23 (9.61) 0.11 3.54 1.44 (22.43)
5.47 1.73 0.94 1.62 4.57 1.36 (3.88) 1.86 2.56 (0.18) (1.96)
(3.23) (13.38) 1.01 1.32 2.07 2.78 0.64 1.53 2.86 7.26 0.28 3.21 (3.77) (4.82) 2.17 0.42 1.81 (0.89) 0.67 0.28 0.87 (0.86)
0.44 (0.13) 1.44 (6.29) (0.17) 14.15 0.70 6.67 3.38 (24.34) 1.09 (4.23) 0.29 (29.95) 2.86 (7.36) 0.85 (5.95) 1.07 (2.60) 3.99 13.31
0.31 0.64 4.29
(1.16) 0.98 (2.68)
(0.81) 1.34 (1.05)
0.97 4.44 0.21
0.97 6.01 (3.24)
4.54 9.34 (3.61)
(0.53) (2.29) 0.86
2.25 3.81 7.72
2.29 0.76
1.98 0.35
1.34 (1.16)
(0.37) 5.21
2.59 (1.19)
3.87 5.12
(8.96) (9.82)
0.96 0.65 2.47 0.48 1.18
1.65 (0.77) 11.82 (0.15) (2.81)
1.31 1.27 1.54 1.65 1.03
0.68 2.07
2.26 2.44 1.36 2.16 (0.02)
1.61 1.19 3.94 0.52 (2.22)
6.11
6.43 6.14 (7.89)
(2.53) 5.79
1.12 0.51 1.56 2.93 (0.93) (14.10) 2.17 7.01 1.53 2.31
1.69
1.71 (4.69) 2.30
5.42 0.10
0.38 0.11 1.38 1.83 1.33
0.83
(3.77) 2.56
1.44 2.51 (2.07) 2.01 1.96
3.51 (1.42) 4.31 3.95 4.24 2.37 8.34
1.33 0.95 2.20 0.63 2.03 1.50 (2.15)
(3.75) (2.34) (6.09) 1.20 5.42 (5.22) 10.32
4.34 (0.51) 2.38
3.66 4.05 1.88 4.68 0.88
สัดสวนรายไดตอ GDP (CY) 1. กรมสรรพากร
หนวย: รอยละ 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 12.31 12.58 12.33 13.15 11.79 11.71 13.41 13.09 13.67 13.16 1.94 4.33 0.54 5.07 0.35 0.09 0.00
2.02 4.46 0.67 4.97 0.36 0.09 0.00
2.12 4.24 0.72 4.78 0.38 0.08 0.00
2.11 4.75 0.76 5.19 0.26 0.08 0.00
2.05 4.06 0.94 4.47 0.19 0.08 0.00
1.93 4.21 0.63 4.65 0.21 0.08 0.00
2.09 5.08 0.72 5.11 0.32 0.09 0.00
2.15 4.41 0.76 5.34 0.33 0.09 0.00
2.32 4.59 0.88 5.41 0.38 0.10 0.00
2.14 4.34 0.78 5.41 0.40 0.09 0.00
2. กรมสรรพสามิต
3.67
3.26
3.16
2.87
3.02
3.76
3.54
3.07
3.35
2.91
3. กรมศุลกากร
1.45
1.15
1.08
1.03
0.83
0.90
0.91
0.96
0.88
0.90
4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น
1.10 0.84
0.92 0.91
1.03 1.33
1.04 0.85
0.90 0.91
0.85 1.33
0.87 0.95
0.99 0.94
0.79 1.23
1.04 1.03
1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7
ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น ๆ
2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีกิจการโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ
5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ
1.00 0.50 0.38 0.60 0.77 0.13 0.05 0.02 0.01 0.18 0.01 0.01 1.40 0.00 0.04
0.80 0.04
0.84 0.42 0.35 0.53 0.71 0.13 0.04 0.02 0.01 0.18 0.01 0.00 1.11 0.00 0.03
0.87 0.04
0.85 0.46 0.37 0.57 0.62 0.13 0.04 0.02 0.02 0.08 0.01 0.00 0.97 0.00 0.02
0.89 0.03
0.69 0.43 0.38 0.55 0.60 0.13 0.04 0.02 0.02 0.00 0.01 0.00 1.00 0.01 0.02
0.80 0.05
0.94 0.46 0.39 0.51 0.51 0.13 0.03 0.02 0.02 0.01 0.01 0.80 0.00 0.03
0.87 0.04
1.41 0.49 0.39 0.54 0.71 0.13 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.87 0.00 0.03
1.30 0.04
1.04 0.51 0.43 0.54 0.82 0.13 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.88 0.00 0.02
0.91 0.04
0.49 0.48 0.43 0.53 0.95 0.13 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.94 0.00 0.02
0.91 0.04
0.49 0.53 0.41 0.54 1.19 0.14 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.86 0.00 0.02
1.18 0.05
0.48 0.46 0.49 0.58 0.71 0.13 0.00 0.02 0.02 0.01 0.01 0.87 0.00 0.02
0.99 0.04
6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก
19.36 18.83 18.77 18.93 17.45 18.54 19.68 19.06 19.92 19.04 1.98 2.20 2.22 2.33 2.27 2.16 2.28 2.35 2.45 2.52
8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.
17.38 16.63 16.55 16.60 15.17 16.39 17.41 16.71 17.47 16.52 0.77 0.68 0.63 0.67 0.56 0.61 0.66 0.72 0.73 0.74 16.61 15.95 15.91 15.93 14.61 15.78 16.75 15.99 16.74 15.78
7.1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก
1.72 1.44 0.28 0.10 0.16
1.94 1.65 0.29 0.11 0.15
2.00 1.65 0.35 0.10 0.11
2.09 1.79 0.30 0.12 0.12
2.07 1.63 0.43 0.09 0.12
1.93 1.48 0.45 0.10 0.12
2.04 1.67 0.37 0.11 0.13
2.11 1.75 0.36 0.12 0.12
2.20 1.77 0.42 0.12 0.13
2.21 1.72 0.49 0.12 0.12
Revenue Buoyancy (GDP: CY) 1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7
ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น ๆ
หนวย: รอยละ 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2.25 1.24 0.73 2.02 19.77 0.93 4.31 0.72 2.03 (1.07) 0.95 2.72 3.05 2.32 3.30 (0.01) (0.45)
1.49 1.33 3.61 0.80 1.59 0.64 (0.79)
1.66 0.33 2.03 0.49 1.54 (0.23) (0.76)
2. กรมสรรพสามิต
0.14
(0.18)
0.60
3. กรมศุลกากร
0.42
(1.24) (0.72) (1.20) 1.01 (2.77)
(0.73) 1.20 (0.94)
4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น
4.49 (0.75) (1.81) 1.96 2.48 0.83
2.05 0.36
6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก
1.51 1.42
8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.
1.52 2.36 1.48
2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีกิจการโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ
3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ
5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ
7.1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก
(0.07) 0.54 0.98 0.67 (1.01) 0.85 3.14 1.33 (0.01) 1.09 1.36 4.42 0.33 0.69 4.66
1.43 1.38 1.68 1.79 1.12
0.44 1.34 (2.14) 1.37 2.23 1.40 0.77
2.91 5.70 4.44 3.26 12.05 3.88 3.15
(0.45) (8.52)
3.31
1.43 35.57
1.44 7.08
0.70 2.14
0.54 (0.18) 0.57
(0.72) (0.64) 0.18 (0.27) 0.17 0.63 (0.49) 0.85 5.28 1.10 0.42 (0.74)
2.34 2.52 1.41 2.24 (0.02)
2.74 1.96 4.54 1.29 4.18 3.09 (4.43)
(3.27) (2.04) (5.31) 1.04 4.73 (4.55) 9.01
(0.33) (0.54) (4.95) 1.55 3.18 0.98 4.39 0.43 (5.80) 3.33 2.78 1.04 1.33
(5.17) 0.51 1.07 0.59 2.81 1.24 (1.86) 0.16 (0.34) 0.11 (0.33)
3.12
(6.27)
1.77
1.28
1.68
(1.04)
2.07
2.56 26.75 (4.58) (11.95)
0.48 5.41
1.72 (5.52)
2.60 0.94
(3.86) 18.80 8.08 (7.85) 7.99 10.55
(7.82) (8.57)
0.96 1.16
1.13 15.31 1.76 5.49
1.59 0.51
2.40 2.30
0.63 1.37
2.04 1.95
(1.44) 2.63
0.93 0.06 0.97
1.05 16.69 1.96 32.49 1.01 16.02
1.75 1.86 1.75
2.41 2.91 2.39
0.53 2.07 0.47
2.05 1.25 2.09
(2.01) 1.77 (2.18)
1.09 2.15 1.77 2.22 (0.82) 1.12 0.71 (2.13) 2.62 (6.64) 0.15 (3.34)
1.20 (1.04)
1.44 1.06 3.52 0.46 (1.99)
0.90 2.85 1.82 2.29 (3.88) 1.18 1.53
6.05 27.27 (41.33) 26.11 51.34 5.60 22.42
(1.82) (65.09) 0.00 (9.23) 1.52 (5.81) 0.38 15.34 0.51 27.11 0.80 3.03 0.17 32.06 0.06 7.06 2.84 24.60 (14.17) 0.16 20.58 2.13 (130.51) 1.43 6.54 0.31
(0.54) 7.69
1.66 2.30 (1.38) 3.19 2.25
37.38 35.70 (45.91)
(14.70) 33.71
2.99 17.03 (82.04) 40.78 13.46
5.70 1.81 0.98 1.69 4.76 1.42 (4.04) 1.94 2.66 (0.19) (2.04)
1.78 (4.89) 2.40
5.65 0.10
0.39 0.12 1.44 1.91 1.39
1.50 9.24 (4.97)
(5.78) 3.93
2.21 3.85 (3.18) 3.09 3.01
1.35 (0.55) 1.67 1.52 1.64 0.92 3.22
1.75 3.61 (1.39)
1.00 (0.46)
1.41 1.57 0.73 1.81 0.34
0.90 2.96 (0.36) 1.45 6.97 2.24 0.59 5.91 1.76 2.21 8.23 (1.09) (4.71) 1.78
1.97 1.33 5.10 0.99 2.42
หมายเหตุ: 1. ขอมูล GDP จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ณ วันที่ 18 พฤษภาคม 2558 2. ผลการจัดเก็บรายไดของกรมศุลกากรตั้งแตปงบประมาณ 2557 เปนตัวเลขกอนหักอากรถอนคืน ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมบัญชีกลาง สํานักงบประมาณ และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จัดทําโดย: สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
(0.11) (5.49) 12.35 5.83 (21.24) (3.69) (26.14) (6.42) (5.20) (2.27) 11.62 1.97 3.32 6.74
1.44 (0.67) 10.31 (0.13) (2.45)
โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ
หนวย : ลานบาท
2532
2533
2534
2535
2536
285,500.0
335,000.0
387,500.0
460,400.0
560,000.0
(สัดสวนตอ GDP) (%)
16.9
16.7
16.1
17.6
17.9
(อัตราเพิ่ม) (%)
17.2
17.3
15.7
18.8
21.6
210,571.8
227,541.2
261,932.2
301,818.2
351,060.8
(สัดสวนตอ GDP) (%)
12.5
11.3
10.9
11.5
11.2
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
73.8
67.9
67.6
65.6
62.7
(อัตราเพิม่ ) (%)
13.3
8.1
15.1
15.2
16.3
53,592.4
82,043.2
105,647.6
130,652.6
171,606.7
3.2
4.1
4.4
5.0
5.5
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
18.8
24.5
27.3
28.4
30.6
(อัตราเพิม่ ) (%)
32.9
53.1
28.8
23.7
31.3
21,335.8
25,415.6
19,920.2
27,929.2
37,332.5
7.5
7.6
5.1
6.1
6.7
22.9
19.1
(21.6)
40.2
33.7
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
262,500.0
310,000.0
387,500.0
460,400.0
534,400.0
15.5
15.5
16.1
17.6
17.1
9.4
18.1
25.0
18.8
16.1
(23,000.0)
(25,000.0)
0.0
0.0
(25,600.0)
(1.4)
(1.2)
0.0
0.0
(0.8)
1,690,500.0
2,005,254.0
2,400,000.0
2,620,000.0
3,130,000.0
9.2
19.5
1. วงเงินงบประมาณ
1.1 รายจายประจํา
1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)
1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ
(อัตราเพิ่ม GDP) (%) 22.4 18.6 19.7 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2532 - 2559 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ 2533 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 1,507.5 ลานบาท
โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ
หนวย : ลานบาท
2537
2538
2539
2540
2541
625,000.0
715,000.0
843,200.0
944,000.0
800,000.0
(สัดสวนตอ GDP) (%)
17.9
17.4
18.0
18.1
15.8
(อัตราเพิ่ม) (%)
11.6
14.4
17.9
12.0
(15.3)
376,382.3
434,383.3
482,368.2
528,293.4
512,331.1
(สัดสวนตอ GDP) (%)
10.8
10.6
10.3
10.1
10.1
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
60.2
60.8
57.2
56.0
64.0
7.2
15.4
11.0
9.5
(3.0)
212,975.6
253,839.8
327,288.6
391,209.7
256,432.8
6.1
6.2
7.0
7.5
5.1
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
34.1
35.5
38.8
41.4
32.1
(อัตราเพิม่ ) (%)
24.1
19.2
28.9
19.5
(34.5)
35,642.1
26,776.9
33,543.2
24,496.9
31,236.1
5.7
3.7
4.0
2.6
3.9
(4.5)
(24.9)
25.3
(27.0)
27.5
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
600,000.0
715,000.0
843,200.0
925,000.0
782,020.0
(สัดสวนตอ GDP) (%)
17.1
17.4
18.0
17.8
15.4
(อัตราเพิ่ม) (%)
12.3
19.2
17.9
9.7
(15.5)
(25,000.0)
0.0
0.0
(19,000.0)
(17,980.0)
(0.7)
0.0
0.0
(0.4)
(0.4)
3,499,000.0
4,099,000.0
4,684,000.0
5,205,500.0
5,076,000.0
1. วงเงินงบประมาณ
1.1 รายจายประจํา
(อัตราเพิม่ ) (%) 1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)
1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได
3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ
(อัตราเพิ่ม GDP) (%) 11.8 17.1 14.3 11.1 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2532 - 2559 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ พ.ศ. 2540 เปนตัวเลขที่ปรับลดจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใชจํานวน 984,000 ลานบาท 2. ปงบประมาณ พ.ศ. 2541 เปนตัวเลขที่ปรับลดและปรับเพิ่มจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใชจํานวน 923,000 ลานบาท
(2.5)
โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ
หนวย : ลานบาท
2542
2543
2544
825,000.0
860,000.0
910,000.0
1,023,000.0
999,900.0
(สัดสวนตอ GDP) (%)
16.5
16.7
17.5
19.3
17.2
(อัตราเพิ่ม) (%)
(0.6)
4.2
5.8
12.4
(2.3)
586,115.1
635,585.1
679,286.5
773,714.1
753,454.7
(สัดสวนตอ GDP) (%)
11.7
12.4
13.0
14.6
13.0
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
71.0
73.9
74.6
75.6
75.4
(อัตราเพิม่ ) (%)
12.8
8.4
6.9
13.9
(2.6)
233,534.7
217,097.6
218,578.2
223,617.0
211,493.5
4.7
4.2
4.2
4.2
3.6
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
28.3
25.2
24.0
21.9
21.2
(อัตราเพิม่ ) (%)
(8.9)
(7.0)
0.7
2.3
(5.4)
5,350.2
7,317.3
12,135.3
25,668.9
34,951.8
0.6
0.9
1.3
2.5
3.5
(82.9)
36.8
65.8
111.5
36.2
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
800,000.0
750,000.0
805,000.0
823,000.0
825,000.0
16.0
14.6
15.5
15.5
14.2
2.3
(6.3)
7.3
2.2
0.2
(25,000.0)
(110,000.0)
(105,000.0)
(200,000.0)
(174,900.0)
(0.5)
(2.1)
(2.0)
(3.8)
(3.0)
5,002,000.0
5,137,000.0
5,208,600.0
5,309,200.0
5,799,700.0
(อัตราเพิ่ม GDP) (%) (1.4) 2.7 1.4 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2532 - 2559 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
1.9
9.2
1. วงเงินงบประมาณ
1.1 รายจายประจํา
1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)
1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ
2545
2546
โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ
2547
2548
2549
หนวย : ลานบาท
2550
2551
2552
1,163,500.0 1,250,000.0 1,360,000.0 1,566,200.0 1,660,000.0 1,951,700.0
(สัดสวนตอ GDP) (%)
18.0
17.4
17.5
18.6
17.6
22.4
(อัตราเพิ่ม) (%)
16.4
7.4
8.8
15.2
6.0
17.6
836,544.4
881,251.7
(สัดสวนตอ GDP) (%)
12.9
12.2
12.3
13.5
12.9
16.2
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
71.9
70.5
70.5
72.5
73.1
72.3
(อัตราเพิม่ ) (%)
11.0
5.3
8.8
18.5
6.9
16.3
292,800.2
318,672.0
358,335.8
374,721.4
400,483.9
429,961.8
4.5
4.4
4.6
4.5
4.3
4.9
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
25.2
25.5
26.3
23.9
24.1
22.0
(อัตราเพิม่ ) (%)
38.4
8.8
12.4
4.6
6.9
7.4
34,155.4
50,076.3
43,187.2
55,490.5
45,527.0
63,676.1
2.9
4.0
3.2
3.5
2.7
3.3
(2.3)
46.6
(13.8)
28.5
(18.0)
39.9
-
-
-
-
-
46,679.7
-
-
-
-
-
2.4
1.1 รายจายประจํา
1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)
1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได
958,477.0 1,135,988.1 1,213,989.1 1,411,382.4
1,063,600.0 1,250,000.0 1,360,000.0 1,420,000.0 1,495,000.0 1,604,639.5
(สัดสวนตอ GDP) (%)
16.4
17.4
17.5
16.9
15.9
18.4
(อัตราเพิ่ม) (%)
28.9
17.5
8.8
4.4
5.3
7.3
(99,900.0)
0.0
0.0 (146,200.0) (165,000.0) (347,060.5)
(1.5)
0.0
0.0
3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ
(1.7)
(1.8)
(4.0)
6,476,100.0 7,195,000.0 7,786,200.0 8,399,000.0 9,232,600.0 8,712,500.0
(อัตราเพิ่ม GDP) (%) 11.7 11.1 8.2 7.9 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2532 - 2559 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ 2547 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 135,500 ลานบาท 2. ปงบประมาณ 2548 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิม่ เติม จํานวน 50,000 ลานบาท 3. ปงบประมาณ 2552 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 116,700 ลานบาท และเปนปแรกที่มีการตั้งงบประมาณรายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง จํานวน 46,679.7 ลานบาท
9.9
(5.6)
โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.1 รายจายประจํา
2553
2554
1,700,000.0
2555
2,169,967.5 2,380,000.0
หนวย : ลานบาท
2556
2557
2558
2,400,000.0
2,525,000.0
2,575,000.0
17.0
20.6
20.7
20.1
19.1
20.2
(12.9)
27.6
9.7
0.8
5.2
2.0
1,667,439.7 1,840,672.6 1,900,476.7
2,017,625.8
2,027,858.8
1,434,710.1
(สัดสวนตอ GDP) (%)
14.3
15.8
16.0
15.9
15.2
15.9
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
84.4
76.8
77.4
79.2
79.9
78.8
1.7
16.2
10.4
3.2
6.2
0.5
214,369.0
355,484.6
438,555.4
450,373.8
441,128.6
449,475.8
2.1
3.4
3.8
3.8
3.3
3.5
12.6
16.4
18.4
18.7
17.5
17.5
(50.1)
65.8
23.4
2.7
(2.1)
1.9
50,920.9
32,554.6
46,854.0
49,149.5
52,821.9
55,700.0
3.0
1.5
2.0
2.1
2.1
2.2
(20.0)
(36.1)
43.9
4.9
7.5
5.4
-
114,488.6
53,918.0
-
13,423.7
41,965.4
-
5.3
2.2
-
0.5
1.6
1,770,000.0 1,980,000.0 2,100,000.0
2,275,000.0
2,325,000.0
(อัตราเพิม่ ) (%) 1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%) (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ
1,350,000.0
13.5
16.8
17.2
17.6
17.2
18.2
(15.9)
3.8
11.9
6.1
8.3
2.2
(400,000) (400,000.0) (300,000.0)
(250,000.0)
(250,000.0)
(2.0)
(2.0)
(350,000.0) (3.5)
(3.8)
(3.5)
(2.5)
10,000,900.0 10,539,400.0 11,478,600.0 11,922,000.0 12,364,000.0 12,627,000.0
(อัตราเพิ่ม GDP) (%) 14.8 5.4 8.9 3.9 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2532 - 2559 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : ปงบประมาณ 2554 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 99,967.5 ลานบาท
3.7
2.1
โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.1 รายจายประจํา
2559 2,720,000
20.4 5.6 2,100,836.3
(สัดสวนตอ GDP) (%)
15.7
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
77.2
(อัตราเพิม่ ) (%) 1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)
3.6 543,635.9 4.1
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
20.0
(อัตราเพิม่ ) (%)
20.9
1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ
61,991.7 2.3 11.3 13,536.1 0.5 2,330,000
17.3 0.2 (390,000) (2.9) 13,359,400
(อัตราเพิ่ม GDP) (%) 5.8 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2532 - 2559 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
หนวย : ลานบาท
ผลการเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558
1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปปจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจายประจํา - วงเงินงบประมาณรายจายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปกอน 2. การเบิกจายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจายปปจจุบัน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) - รายจายประจํา (รอยละตอวงเงินรายจายประจํา) - รายจายลงทุน (รอยละตอวงเงินรายจายลงทุน) 2.2 รายจายจากปกอน (รอยละตอวงเงินงบประมาณปกอน) 2. รายจายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจายปปจจุบันสะสม - รายจายประจําสะสม - รายจายลงทุนสะสม 2.2 รายจายจากปกอนสะสม
ต.ค. 57 2,754,737 2,575,000 2,130,645 444,355 179,737 367,598 344,801 13.4 329,977 15.5 14,824 3.3 22,797 12.7 367,598 344,801 329,977 14,824 22,797
ที่มา : กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่ : 17 มิถุนายน 2558
พ.ย. 57 2,894,596 2,575,000 2,130,590 444,410 319,596 205,758 180,660 7.0 171,898 8.1 8,762 2.0 25,098 7.9 573,358 525,462 501,875 23,587 47,895
ธ.ค. 57 2,911,748 2,575,000 2,130,618 444,382 336,748 270,763 240,910 9.4 223,234 10.5 17,676 4.0 29,853 8.9 844,102 766,371 725,109 41,262 77,731
ม.ค. 58 2,918,123 2,575,000 2,130,806 444,194 343,123 215,737 197,891 7.7 181,071 8.5 16,820 3.8 17,846 5.2 1,059,839 964,262 906,180 58,082 95,577
ก.พ. 58 2,921,856 2,575,000 2,151,589 423,411 346,856 150,428 131,447 5.1 109,685 5.1 21,762 5.1 18,981 5.5 1,210,266 1,095,709 1,015,865 79,844 114,557
มี.ค. 58 2,926,323 2,575,000 2,150,751 424,249 351,323 251,453 228,371 8.9 190,218 8.8 38,153 9.0 23,082 6.6 1,461,719 1,324,079 1,206,082 117,997 137,640
ปงบประมาณ 2558 เม.ย. 58 พ.ค. 58 2,926,323 2,926,323 2,575,000 2,575,000 2,154,123 2,154,079 420,877 420,921 351,323 351,323 191,488 176,754 178,945 163,958 6.9 6.4 156,138 139,510 7.2 6.5 22,807 24,448 5.4 5.8 12,543 12,796 3.6 3.6 1,653,207 1,829,961 1,503,025 1,666,983 1,362,221 1,501,731 140,804 165,252 150,182 162,978
หนวย : ลานบาท มิ.ย. 58
ก.ค. 58
ส.ค. 58
ก.ย. 58
รวม
ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปงบประมาณ 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financing) 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังตนป (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายป (Closing Treasury Reserve)
ปงบประมาณ 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financing) 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังตนป (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายป (Closing Treasury Reserve) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 15 มิถุนายน 2558
2548 1,264,928 1,244,063 1,139,775 104,288 20,865 -73,009 -52,144 0 -52,144 153,242 101,098
2549 1,339,691 1,395,283 1,270,739 124,544 -55,592 92,921 37,329 0 37,329 101,098 138,427
2554
2555
1,892,047 2,177,895 2,050,540 127,355 -285,848 177,449 -108,399 200,666 92,267 429,026 521,294
1,977,670 2,295,327 2,148,475 146,852 -317,657 13,549 -304,108 344,084 39,976 521,294 561,270
2550 1,444,718 1,574,967 1,470,839 104,127 -130,249 -11,674 -141,923 146,200 4,277 138,427 142,704
2556 2,163,469 2,402,481 2,171,459 231,022 -239,011 845 -238,167 281,949 43,782 561,270 605,052
2551 1,545,837 1,633,404 1,532,479 100,925 -87,568 8,888 -78,680 165,000 86,320 142,704 229,024
หนวย: ลานบาท 2553 2552 1,409,653 1,708,625 1,917,129 1,784,413 1,790,862 1,627,875 126,266 156,538 -507,476 -75,788 131,198 -21,568 -376,278 -97,356 441,061 232,575 64,783 135,220 229,024 293,807 293,807 429,026
หนวย: ลานบาท 2558 2557 (8 เดือน) 2,075,665 1,288,423 2,459,990 1,829,961 2,246,306 1,666,983 213,684 162,978 -384,325 -541,538 -1,421 25,020 -359,305 -542,959 250,000 181,362 -109,306 -361,597 605,052 495,747 495,746 134,150
ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) รายป Table 4-1 CONSOLIDATED CENTRAL GOVERNMENT GFS 2001 FRAMEWORK: ANNUAL DATA 1. Budgetary Account: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 2. Extrabudgetary Accounts: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 3. Social Security Funds: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 4. Elimination of Double Counting: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 5. Consolidated Central Government: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign Notes: 1/ 2/ 3/ 4/ 5/
6/ 7/ 8/
FY2010 1/ 2/
3/ 4/
FY2011
FY2012
FY2013
1,819,713 2,015,974 2,118,451 2,377,921 2,131,350 2,197,461 2,394,541 2,613,844 1,925,684 2,040,230 2,208,883 2,381,216 205,666 157,230 185,658 232,629 (105,971) (24,256) (90,432) (3,295) (311,637) (181,486) (276,090) (235,924) 10,845 92,188 57,416 1,401 322,482 273,675 333,506 237,324 270,603 272,684 (89,452) 95,340 51,879 991 422,958 141,984
FY2014 2,306,092 2,612,066 2,443,102 168,964 (137,010) (305,973) (145,534) 160,440 119,279 41,161
5/ 2/
3/ 4/
225,210 177,005 172,625 4,380 52,585 48,205 42,800 (5,405) (5,405) -
226,661 206,767 204,986 1,781 21,675 19,894 5,053 (14,844) (14,844) -
253,946 229,335 228,940 395 25,006 24,611 28,520 3,909 3,909 -
378,643 252,043 250,870 1,173 127,774 126,601 125,142 (1,458) (1,458) -
281,835 248,770 249,580 (810) 32,255 33,065 31,297 (1,768) (1,768) -
221,270 77,447 77,447 143,823 143,823 80,633 (63,190) (63,190) -
158,180 50,520 50,520 107,661 107,661 100,558 (7,103) (7,103) -
150,309 56,631 56,631 93,679 93,679 118,972 25,294 25,294 -
180,653 63,067 63,067 117,586 117,586 124,789 7,203 7,203 -
208,079 67,083 67,083 140,996 140,996 156,877 15,880 15,880 -
191,764 191,764 191,764 -
169,258 169,258 169,258 -
193,246 193,246 193,246 -
264,660 264,660 264,660 -
206,502 206,502 206,502 -
2,074,428 2,231,558 2,329,460 2,672,557 2,194,037 2,285,490 2,487,261 2,664,294 1,983,992 2,126,478 2,301,208 2,430,493 210,046 159,011 186,054 233,802 90,437 105,080 28,253 242,064 (119,609) (53,931) (157,801) 8,263 134,278 197,798 204,908 251,332 253,887 251,727 362,709 243,069 202,008 250,736 (60,248) 101,085 51,879 991 422,958 141,984
2,589,504 2,721,416 2,553,263 168,153 36,241 (131,912) 42,640 174,552 133,391 41,161
6/ 2/ 8/ 3/ 4/
7/ 2/
3/ 4/
1/ 2/
3/ 4/
Receipts from premium on issue of government bonds, repayments of lending (Tier1) and proceeds from sales of shares/equity (privatization) have been reclassified to lending minus repayments and financing. The GFS 2001 concept of expenditure is different from the traditional concept which did not take the disposal of nonfinancial assets into account Represent the net change in the unit's net worth due to transactions cash transactions, and is equal to "current expenditure" plus "capital transfer Net lending/borrowing is the overall borrowing requirement and is equal to the traditional "deficit/surplus" excluding "lending minus repayments". The following are included as "extrabudgetary funds": 12 extrabudgetary funds (National Health Security Fund, Oil Fund, Thailand Village Fund Energy Saving Fund, Coin Production Fund, Sugarcane Fund, Science and Technology Development Fund, Thai Health Promotion Fund, Tollway Fund, Student Loan Fund, SMEs Fund) Oil Fund data has been recorded as accrual basis since Jan, 04 Social security fund and Employment Contribution Fund. Elimination of transactions between the budget account, extrabudgetary funds and social security funds included in the data. Increase (Decrease) in Provision for Old Age Person has been excluded since 2008. Source : GFMIS , Bank of Thailand , Public Debt Management office , Extrabudgetary fund and FPO Last update March 31, 2015
ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) รายเดือน CONSOLIDATED CENTRAL GOVERNMENT
GFS 2001 FRAMEWORK: MONTHLY DATA 1. Budgetary Account: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Net operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 2. Extrabudgetary Accounts: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Net operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 3. Social Security Funds: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Net operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 4. Elimination of Double Counting: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Net operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 5. Consolidated Central Government: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Net operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign Notes: 1/ 2/ 3/ 4/ 5/
6/ 7/
Oct-14
Nov-14
Dec-14
Jan-15
Feb-15
Mar-15
Apr-15
May-15
1/ 180,512 168,486 2/ 329,468 202,014 316,382 188,940 13,086 13,074 3/ (135,870) (20,454) 4/ (148,956) (33,528) (161,299) (36,234) (12,343) (2,706) (12,015) (2,706) (328) 5/ 67,481 16,815 2/ 27,115 15,538 27,717 15,324 (602) 214 3/ 39,764 1,491 4/ 40,366 1,277 41,343 4,823 977 3,546 977 3,546 6/ 18,030 18,070 2/ 4,744 4,122 4,744 4,122 3/ 13,286 13,948 4/ 13,286 13,948 2,507 21,584 (10,779) 7,636 (10,779) 7,636 7/ 58,195 4,958 2/ 58,195 4,958 58,195 4,958 3/ N.A. N.A. 4/ N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.
187,215 287,365 259,015 28,350 (71,800) (100,150) (81,548) 18,602 18,986 (384)
177,218 233,305 219,018 14,287 (41,800) (56,087) (10,542) 45,545 45,638 (93)
164,015 157,429 135,947 21,482 28,068 6,586 82,633 76,047 76,421 (374)
182,388 266,267 230,500 35,767 (48,112) (83,879) (59,832) 24,047 24,047 -
185,863 204,345 184,029 20,316 1,834 (18,482) 28,550 47,032 47,360 (328)
270,302 175,659 153,088 22,571 117,214 94,643 12,627 (82,016) (79,226) (2,790)
54,285 18,006 17,059 14,097 17,086 20,991 13,844 16,710 20,840 253 376 151 40,441 1,296 (3,781) 40,188 920 (3,932) 36,071 243 (8,844) (4,117) (677) (4,912) (4,117) (677) (4,912) -
38,944 19,482 19,200 282 19,744 19,463 20,318 855 855 -
9,893 16,141 15,913 228 (6,020) (6,248) (8,493) (2,245) (2,245) -
5,599 5,599 5,599 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.
1/ 207,828 198,413 2/ 303,132 216,716 290,648 203,428 12,484 13,288 3/ (82,820) (5,015) 4/ (95,304) (18,303) (117,450) (9,827) (22,145) 8,476 (21,817) 8,476 (328) -
235,329 325,589 296,975 28,614 (61,646) (90,260) (76,707) 13,553 13,937 (384)
20,100 28,230 27,966 264 (7,866) (8,130) (12,497) (4,367) (4,367) -
33,613 7,674 15,593 4,022 15,593 4,022 18,020 3,652 18,020 3,652 17,338 10,176 (682) 6,524 (682) 6,524 -
17,971 3,499 3,499 14,472 14,472 9,099 (5,373) (5,373) -
19,994 4,947 4,947 15,047 15,047 15,645 598 598 -
19,263 4,423 4,423 14,840 14,840 21,908 7,068 7,068 -
17,674 4,221 4,221 13,453 13,453 7,681 (5,772) (5,772) -
42,556 42,556 42,556 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.
4,275 4,275 4,275 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.
4,387 4,387 4,387 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.
29,141 29,141 29,141 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.
3,788 3,788 3,788 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.
196,621 208,868 194,328 14,540 2,293 (12,247) 35,706 47,952 48,045 (93)
195,717 173,739 151,881 21,858 43,836 21,978 91,975 69,997 70,371 (374)
215,054 287,818 251,900 35,918 (36,846) (72,764) (53,031) 19,733 19,733 -
214,929 199,109 178,511 20,598 36,418 15,820 70,775 54,955 55,283 (328)
294,081 192,233 169,434 22,799 124,647 101,848 11,815 (90,032) (87,242) (2,790)
Receipts from premium on issue of government bonds, repayments of lending (Tier1) and proceeds from sales of shares/equity (privatization) been reclassified to lending minus repayments and financing. The GFS 2001 concept of expenditure is different from the traditional concept which did not take the disposal of nonfinancial assets into acc Represent the net change in the unit's net worth due to transactions cash transactions, and is equal to "current expenditure" plus "capital tran Net lending/borrowing is the overall borrowing requirement and is equal to the traditional "deficit/surplus" excluding "lending minus repaymen The following are included as "extrabudgetary funds": 12 extrabudgetary funds (National Health Security Fund, Oil Fund, Thailand Village Fund Energy Saving Fund, Coin Production Fund, Sugarcane Fund, Science and Technology Development Fund, Thai Health Promotion Fund, Tollway Fund, Student Loan Fund, SMEs Fund) Oil Fund data has been recorded as accrual basis since Jan, 04 Social security fund and Employment Contribution Fund. Elimination of transactions between the budget account, extrabudgetary funds and social security funds included in the data. Last update June 30, 2015
เปาหมายสัดสวนรายไดขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ปงบประมาณ 2551-2558
ประเภทรายได 1. รายไดรวมของ อปท. 1.1 รายไดที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บใหและแบงให 1.3 ภาษีมูลคาเพิ่มที่รัฐบาลแบงให (ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุน 2. รายไดสุทธิของรัฐบาล 3. สัดสวนรายได อปท.ตอรัฐบาล (%)
หนวย : ลานบาท ป 2551 ป 2552 ป 2553 ป 2554 ป 2555 ป 2556 ป 2557 ป 2558 จํานวนเงิน สัดสวน จํานวนเงิน สัดสวน จํานวนเงิน สัดสวน จํานวนเงิน สัดสวน จํานวนเงิน สัดสวน จํานวนเงิน สัดสวน จํานวนเงิน สัดสวน จํานวนเงิน สัดสวน 376,740 100.00 414,382 100.00 340,995 100.00 431,305 100.00 529,979 100.00 572,670 100.00 622,625 100.00 646,344 100.00 35,224 9.35 38,746 9.35 29,110 8.54 38,746 8.98 46,530 8.78 50,282 8.78 56,306 9.04 61,458 9.51 128,676 34.16 140,679 33.95 126,590 37.12 148,109 34.34 175,457 33.11 187,988 32.83 203,819 32.74 218,222 33.76 65,000 17.25 71,900 17.35 45,400 13.31 70,500 16.35 86,900 16.40 97,900 17.10 109,000 17.51 109,000 16.86 147,840 1,495,000
39.24 25.20
163,057 1,604,640
39.35 25.82
139,895 1,350,000
41.03 25.26
173,950 2/ 1,650,000
40.33 26.14
221,092 1,980,000
41.72 26.77
หมายเหตุ : 2/เปนตัวเลขกอนการจัดทํางบประมาณรายจายของรัฐบาลเพิ่มเติมระหวางป 99,967.5 ลานบาท ซึ่งไดจัดสรรเงินอุดหนุนใหแก อปท. เพิ่มเติม 5,957 .4 ลานบาท ทั้งนี้ เงินอุดหนุนใหแก อปท. เมื่อรวมกับที่ไดรับการจัดสรรเพิ่มเติมระหวางปแลว เทากับ 179,907.4 ลานบาท ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นและสํานักงบประมาณ รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 21 ตุลาคม 2557
236,500 2,100,000
41.30 27.27
253,500 2,275,000
40.71 27.37
257,664 2,325,000
39.86 27.80
เรื่อง
ผูรับผิดชอบ
โทรศัพท
บทสรุปผูบริหาร สถานการณดานรายได สถานการณดานรายจาย การเบิกจายเงินกูตางประเทศ การเบิกจายของกองทุนนอก งบประมาณตามระบบ สศค. ฐานะการคลัง - ดุลการคลังตามระบบ กระแสเงินสด - ดุลการคลังตามระบบ สศค. ฐานะการคลัง อปท. สถานการณดานหนี้สาธารณะ กรอบความยั่งยืนทางการคลัง การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลัง ผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ของรัฐบาล การกระจายอํานาจการคลังใหแก องคกรปกครองสวนทองถิ่น มติคณะรัฐมนตรี สถิติดานการคลัง - รายไดรัฐบาล - โครงสรางงบประมาณ - ฐานะการคลังของรัฐบาล ตามระบบกระแสเงินสด - ฐานะการคลังของรัฐบาล ตามระบบกระแสเงินสด - สัดสวนรายไดของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น
มาติกา อินวิน อาริศรา นนทะคุณ สายทิพย คําพุฒ ไพลิน ชางภิญโญ ไพลิน ชางภิญโญ
3557 3555 3556 3595 3595
mayinwin6@gmail.com dear_arisara@hotmail.co.th nui-642@hotmail.com pailin@fpo.go.th pailin@fpo.go.th
มณีขวัญ จันทรศร
3558
maneekwan@fpo.go.th
ไพลิน ชางภิญโญ
3595
pailin@fpo.go.th
ธรรมฤทธิ์ คุณหิรัญ ศุทธธี เกตุทัต ลลิตา ละสอน ธนากร ไพรวรรณ
3544 3586 3563 3546
thammarit@gmail.com suthee@fpo.go.th lalita.lasorn@gmail.com thanakornpepe@gmail.com
ณัฏฐรวี กรรณุมาตร
3576
sandyfaprew@hotmail.com
มณีขวัญ จันทรศร
3558
maneekwan@fpo.go.th
อาริศรา นนทะคุณ สายทิพย คําพุฒ ศุทธธี เกตุทัต
3555 3556 3586
dear_arisara@hotmail.co.th nui-642@hotmail.com suthee@fpo.go.th
ไพลิน ชางภิญโญ
3595
pailin@fpo.go.th
ณัฏฐรวี กรรณุมาตร
3576
sandyfaprew@hotmail.com