ÃÒ§ҹʶҹ¡Òó ´ŒÒ¹¡ÒäÅѧ
»‚§º»ÃÐÁÒ³ 2558 µØÅÒ¤Á 2557 - ¡ØÁÀҾѹ¸ 2558
ฉบับที่ 5/2558
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง ถนนพระราม 6 กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2273-9020 โทรสาร 0-2618-3385 www.fpo.go.th
Êӹѡ¹âºÒ¡ÒäÅѧ Êӹѡ§Ò¹àÈÃÉ°¡Ô¨¡ÒäÅѧ
สารบัญ หนา บทสรุปผูบริหาร
1
สถานการณดา นรายได
10
สถานการณดา นรายจาย
18
ฐานะการคลังรัฐบาล - ระบบกระแสเงินสด - ระบบ สศค.
24
ฐานะการคลังองคกรปกครองสวนทองถิ่น
28
สถานการณดานหนี้สาธารณะ
28
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง
31
การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล
35
การกระจายอํานาจการคลังใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น
38
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สาํ คัญ
41
สถิติดานการคลัง 1) 2) 3) 4) 5) 6)
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล โครงสรางงบประมาณรายจาย ผลการเบิกจายงบประมาณ ฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสด ฐานะการคลังตามระบบ สศค. สัดสวนรายไดขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
บทสรุปผูบริหาร ดานรายได
• เดือนกุมภาพันธ 2558 รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 149,834 ลานบาท ต่าํ กวาประมาณการ ตามเอกสารงบประมาณ 14,359 ลานบาท หรือรอยละ 8.7 โดยการจัดเก็บรายไดของกรมสรรพากร กรมศุลกากร และหนวยงานอื่นจัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการ 19,275 497 และ 3,945 ลานบาท ตามลําดับ สําหรับภาษีที่จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมายที่สําคัญ ไดแก ภาษีมูลคาเพิ่ม รายไดจาก สัมปทานปโตรเลียมและภาษีเงินปโตรเลียม อยางไรก็ดี ภาษีน้ํามันและภาษียาสูบจัดเก็บไดสูงกวา ประมาณการ 4,956 1,038 ลานบาท ตามลําดับ • ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กุมภาพันธ 2558) รัฐบาลจัดเก็บ รายไดสุทธิ 816,083 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 12,217 ลานบาท หรือรอยละ 1.5 โดยกรมสรรพากร และกรมศุลกากรจัดเก็บภาษีไดต่ํากวาเปาหมาย 35,512 และ 1,678 ลานบาท โดยภาษีที่จัดเก็บได ต่ํากว าเปาหมายที่สาํ คัญ ได แก ภาษีเงิน ไดนิติบุคคล ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีเงิน ไดปโ ตรเลีย ม ภาษีสรรพสามิตรถยนต ภาษีเบียร และอากรขาเขา อยางไงก็ดี ภาษีที่จัดเก็บไดสูงกวาเปาหมาย ที่สําคัญไดแก ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีน้ํามัน และภาษียาสูบ ทั้งนี้ การนําสงรายไดของ รัฐวิสาหกิจ การจัดเก็บภาษีของกรมสรรพสามิต และหนวยงานอื่นสูงกวาประมาณการ 12,813 4,972 และ 4,598 ลานบาท ตามลําดับ
ดานรายจาย
• เดือนกุมภาพันธ 2558 รัฐบาลเบิกจายเงินรวมทั้งสิ้น 150,428 ลานบาท ประกอบดวยการเบิกจาย จากปงบประมาณปปจจุบัน 131,447 ลานบาท (รายจายประจํา 109,685 ลานบาท และรายจาย ลงทุน 21,762 ลานบาท) และการเบิกจายรายจายปกอ นจํานวน 18,981 ลานบาท • ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กุมภาพันธ 2558) รัฐบาลเบิกจาย เงินรวมทั้งสิ้น 1,210,266 ลานบาท โดยแบงเปนการเบิกจายเงินงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558 จํานวน 1,095,709 ลานบาท (เปนรายจายประจํา 1,015,865 ลานบาท และรายจายลงทุน 79,844 ลานบาท) คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 42.6 ของวงเงินงบประมาณ (2,575,000 ลานบาท) และมีการเบิกจายรายจายปกอนจํานวน 114,577 ลานบาท • เมื่อรวมกับการเบิกจายเงินเงินกูตางประเทศจํานวน 1,752 ลานบาท โครงการลงทุนภายใตแผนปฏิบัติ การไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 1,555 ลานบาท และโครงการภายใต พรก.บริหารจัดการน้ําฯ จํานวน 668 ลานบาท และสงผลใหในปงบประมาณ 2558 รัฐบาลมีการเบิกจายเงินเขาสูระบบเศรษฐกิจ ทั้งสิ้น 1,214,241 ลานบาท
ฐานะการคลังรัฐบาล
• ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กุมภาพันธ 2558) รัฐบาลมีรายไดนําสงคลัง 797,432 ลานบาท และมีการเบิกจายเงิน งบประมาณ (ปปจจุบันและปกอน) รวม 1,210,266 ลานบาท สงผลใหดุลเงินงบประมาณขาดดุล -1-
412,834 ลานบาท เมือ่ รวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่เกินดุล 961 ลานบาท ทําใหดุลเงินสดขาดดุล ทั้งสิ้น 411,873 ลานบาท • เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ 2558 มีจํานวน 183,133 ลานบาท • ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค. ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กุมภาพันธ 2558) รัฐบาลมีรายไดทั้งสิ้น 902,823 ลานบาท และมีรายจายทั้งสิน้ 1,226,804 ลานบาท สงผลใหดุลเงินงบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 323,981 ลานบาท เมื่อรวมกับดุลบัญชีเงินนอก งบประมาณที่เกินดุล 113,643 ลานบาท และหักรายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนา โครงสรางพื้นฐาน (DPL) รายจายตามแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง รายจายเพื่อวางระบบบริหาร จัดการน้ํา และเงินกูตางประเทศ 3,130 1,555 668 และ 597 ลานบาท ตามลําดับแลว ทําให ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุลทั้งสิ้น 216,287 ลานบาท
ฐานะการคลัง อปท.
• ฐานะการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ณ ไตรมาสที่ 1 ประจําปงบประมาณ 2558 (เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2557) คาดวาจะมีรายไดรวม 177,684 ลานบาท (รายไดที่จัดเก็บเอง 7,239 ลานบาท รายไดภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให 66,263 ลานบาท และรายไดจาก เงินอุดหนุน 104,182 ลานบาท) และคาดวามีรายจายจํานวน 159,851 ลานบาท สงผลให ดุลการคลัง ของ อปท. เกินดุล 17,833 ลานบาท
สถานะหนี้สาธารณะ
• หนี้สาธารณะคงคางของรัฐบาล ณ สิ้นเดือนมกราคม 2558 มีจํานวน 5,658,059.4 ลานบาท คิดเปนรอยละ 46.5 ของ GDP ประกอบดวยหนี้ในประเทศคิดเปนรอยละ 93.8 สวนที่เหลือ รอยละ 6.2 เปนหนี้ตางประเทศ และเมือ่ แบงตามอายุเครื่องมือการกูเงิน หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 97.7 และหนี้ระยะสั้นรอยละ 2.3 สําหรับกรณีแบงตามอายุคงเหลือ หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 87.6 สวนที่เหลือรอยละ 12.4 เปนหนี้ระยะสั้น
กรอบความยัง่ ยืนทางการคลัง (60 - 15 – 0 – 25)
• กระทรวงการคลังไดกําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีตัวชี้วัดประกอบดวย ยอดหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ไมเกินรอยละ 60 ภาระหนี้ตองบประมาณไมเกินรอยละ 15 จัดทํางบประมาณสมดุล และสัดสวนงบลงทุนตองบประมาณไมต่ํากวารอยละ 25 • การวิเคราะหกรอบความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง (ปงบประมาณ 2558 – 2562) - สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ในปงบประมาณ 2558 อยูที่รอยละ 47.1 และลดลงเปนรอยละ 42.6 ในปงบประมาณ 2562 - ระดับภาระหนี้ตองบประมาณอยูในระดับรอยละ 7.1 ในปงบประมาณ 2558 และเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 8.9 ในปงบประมาณ 2562 - รัฐบาลมีนโยบายลดการขาดดุลงบประมาณ โดยกําหนดใหงบประมาณสมดุลในปงบประมาณ 2560 เพื่อรักษาวินัยการคลังและขับเคลื่อนเศรษฐกิจใหขยายตัวอยางมีเสถียรภาพ -2-
- สัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณรายจายคาดวาจะอยูในระดับเฉลีย่ รอยละ 14.3 ตองบประมาณรายจายตลอดชวงปงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งต่ํากวาระดับที่กําหนดไว อยางไรก็ดี รัฐบาลไดพยายามที่จะดําเนินโครงการลงทุนทั้งในสวนของ พรก. ใหอํานาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อ บริหารจัดการน้ําฯ และการกูเงินเพื่อลงทุนโครงสรางพื้นฐานฯ ในป 2558 – 2562 ซึ่งเมื่อรวมการ ลงทุนดังกลาวจะทําใหสัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณเพิ่มขึ้นอยูในระดับเฉลี่ยรอยละ 22.5 ตอ งบประมาณรายจาย
การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล
• ผลการดําเนินโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ที่ยอดสินเชื่อคงคาง ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ป 2557 มีจํานวน 904,452.8 ลานบาท ขณะที่ยอดหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได (NPLs) เทากับ 32,777.9 ลานบาท คิดเปนสัดสวนหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดตอยอดสินเชื่อคงคาง (NPLs Ratio) รอยละ 3.6 • รัฐบาลมีภาระความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ซึง่ สามารถประมาณการ ความเสียหาย ที่ตองไดรับการชดเชยตั้งแตเริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ป 2557 มีจํานวนทั้งสิ้น 105,629.6 ลานบาท และคงเหลือภาระความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล อีกจํานวน 24,293.5 ลานบาท
การกระจายอํานาจทางการคลังใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น
การกระจายอํานาจทางการคลังใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตามที่รัฐบาลไดมีนโยบาย สนับสนุนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิน่ (อปท.) โดยการออกพระราชบัญญัติกําหนด แผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแก อปท. พ.ศ. 2542 สงผลใหรายไดรวมของ อปท. มีทิศทางเพิ่มขึ้น อยางตอเนื่อง โดยรายไดรวมของ อปท. ในปงบประมาณ พ.ศ. 2558 เทากับ 646,344 ลานบาท หรือรอยละ 27.80 ตอรายไดสุทธิของรัฐบาล ซึ่งคิดเปน 6.82 เทาของรายได อปท. ในปงบประมาณ พ.ศ. 2543 ซึ่ง เทากับ 94,721.30 ลานบาท หรือรอยละ 12.63 ตอรายไดสุทธิของรัฐบาล และพบวาสัดสวนรายได อปท. ตอรายไดสุทธิของรัฐบาลไดเพิ่มขึ้นตามลําดับ จากสัดสวนรอยละ 12.63 ในปงบประมาณ พ.ศ. 2543 เปน รอยละ 20.68 21.88 22.19 22.75 23.50 24.05 25.17 25.20 25.82 25.26 26.14 26.77 27.27 27.37 และ 27.80 ในปงบประมาณ พ.ศ. 2544 - 2558 ตามลําดับ ยกเวนในปงบประมาณ พ.ศ. 2553 ที่มีสัดสวน รายได อปท. ตอรายไดสุทธิของรัฐบาลเปนสัดสวนรอยละ 25.26 ลดลงจากปกอน เนื่องจากประมาณการ รายไดของรัฐบาลต่ํากวาปกอน จึงจําเปนตองลดการจัดสรรเงินอุดหนุนใหแก อปท.
-3-
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ ประจําเดือนมีนาคม 2558 1. เรื่อง รางกฎหมายและการดําเนินการที่เกี่ยวของกับกองทุนการออมแหงชาติ คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติรา งกฎหมายที่เกี่ยวของกับการดําเนินการของกองทุนการออมแหงชาติ ที่กําหนดให กอช. รับโอนผูประกันตนและเงินของผูประกันตนตามมาตรา 40 กรณีบํานาญชราภาพทั้งหมด ที่แสดงความจํานงเปนสมาชิกของ กอช. ใหผูที่มีอายุ 50 ปบริบูรณขึ้นไปมีสิทธิเปนสมาชิกตอไปไดอีก 10 ป นับแตวันที่เปนสมาชิก และไดกําหนดหลักเกณฑและอัตราการจายเงินสบทบประเภทของประโยชนทดแทน โดยการขอจัดสรรงบประมาณกรณีมีผูเขาเปนสมาชิกกองทุนการออมแหงชาติจํานวนมากเกินกวางบประมาณ คงเหลือจะรองรับได นั้น ใหกระทรวงการคลังดําเนินการตามแนวทางปฏิบัติกรณีการขออนุมัติใชเงินงบกลาง รายการเงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเปนตอไป รวมทัง้ ใหกระทรวงการคลังรับขอสังเกตของ คณะกรรมการรัฐมนตรีดานเศรษฐกิจและสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไปพิจารณาดําเนินการดวย 2. เรื่อง การจัดทําเหรียญเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาส พระราชพิธฉี ลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชกฤษฎีกาเหรียญเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสพระราชพิธีฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงการคลัง เสนอ และสงใหสาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา โดย กระทรวงการคลังไดขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดทําเหรียญเฉลิมพระเกียรติดังกลาว ตามแบบที่ ทูลเกลาฯ ถวาย ซึ่งไดรับพระราชทานพระบรมราชานุญาตแลว แลวใหสงสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีนําขึ้นทูลเกลาฯ ถวาย เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศในราชกิจจานุเบกษาใชบังคับเปนกฎหมายตอไป 3. เรื่อง ขอความเห็นชอบและลงนามพิธีสารอนุวัติขอผูกพันการเปดเสรีการคาบริการดานการเงิน ฉบับที่ 6 ภายใตกรอบความตกลงวาดวยการคาบริการของอาเซียน คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและอนุมัติการลงนามในพิธีสารอนุวัติขอผูกพันการเปดเสรีการคาบริการ ดานการเงิน ฉบับที่ 6 ภายใตกรอบความตกลงวาดวยการคาบริการของอาเซียน โดยมอบอํานาจให รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังหรือผูแทนที่ไดรับมอบหมายเปนผูลงนาม ทั้งนี้ หากมีการแกไขถอยคําที่ ไมใชสาระสําคัญและไมขัดตอผลประโยชนของไทย ใหกระทรวงการคลังดําเนินการไดโดยไมตองนําเสนอ คณะรัฐมนตรีพิจารณาอีกครั้ง โดยสาระสําคัญของรางพิธีสารฯ กําหนดใหประเทศสมาชิกที่เปนสมาชิก องคการการคาโลกจะตองคงการใหสิทธิประโยชนตามขอผูกพันเฉพาะของตนภายใตความตกลงทั่วไปวาดวย การคาบริการแกประเทศสมาชิกอื่น ที่มิใชสมาชิกองคการการคาโลก และใหพิธีสารฉบับนี้เปนอันเดียวกับ กรอบความตกลงวาดวยการคาบริการของอาเซียน พรอมทั้งกําหนดใหประเทศสมาชิกตั้งแตสองประเทศหรือ มากกวานั้นอาจดําเนินการเจรจาและตกลงเปดเสรีสาขาการธนาคารประเทศของตน และตองระบุขอผูกพัน ในสาขาการธนาคารของตนตามที่ตกลงกัน ลงในตารางรวมขอผูกพันเฉพาะการคาบริการดานการเงินดวย รวมถึงกําหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับการใหพิธีสารฯ และขอผูกพันฯ ใหมีผลใชบังคับ -4-
4. เรื่อง รางพระราชบัญญัติสํานักงานสลากกินแบงรัฐบาล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชบัญญัติสํานักงานสลากกินแบงรัฐบาล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... โดยแกไขเพิ่มเติมใหกําหนดวิธีการจัดสรรเงินที่ไดรับจากการจําหนายสลากกินแบงเพื่อ สาธารณประโยชนและกําหนดมาตรการคุมครองแกเด็กและเยาวชนมิใหเกี่ยวของกับสลากกินแบงรัฐบาล ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ (กค.) เสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแลวสง ใหคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณา กอนเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติตอไป 5. เรื่อง รางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และรางกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวน รัษฎากร รวม 5 ฉบับ (มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนกิจการโรงเรียนเอกชนและปรับปรุงการจัดเก็บภาษี โรงเรียนกวดวิชา) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวย การยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และรางกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในประมวล รัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร รวม 5 ฉบับ (มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนกิจการโรงเรียนเอกชนและ ปรับปรุงการจัดเก็บภาษีโรงเรียนกวดวิชา) ตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ โดยเปนการแกไขเพิ่มเติม และยกเวนการจัดเก็บภาษีบางรายการเพื่อปรับปรุงขอกฎหมายและสิทธิประโยชนทางภาษีตามประมวล รัษฎากรใหสอดคลองกับพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ โรงเรียนเอกชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 6. รางกฎกระทรวงกําหนดลักษณะของเหรียญกษาปณที่ระลึกเนื่องในโอกาสครบ 80 ป วันสถาปนา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางกฎกระทรวงกําหนดลักษณะของเหรียญกษาปณที่ระลึก เนือ่ งในโอกาสครบ 80 ป วันสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. .... ขอใหกรมธนารักษ จัดทําเหรียญ ที่ระลึกเนื่องในโอกาสครบ 80 ป วันสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร โดยกําหนดลักษณะของเหรียญ กษาปณที่ระลึก ชนิด ราคา โลหะ อัตราเนื้อโลหะ น้ําหนัก ขนาด อัตรา เผื่อเหลือเผื่อขาด ลวดลาย และ ลักษณะอื่น ๆ ของเหรียญกษาปณโลหะสีขาว (ทองแดงผสมนิกเกิล) ราคายี่สิบบาท หนึ่งชนิด (จํานวนผลิต ไมเกิน 800,000 เหรียญ) 7. เรื่อง รางกฎกระทรวงกําหนดลักษณะของเหรียญกษาปณที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในโอกาสที่สหภาพวิทยาศาสตรทางดินนานาชาติ ทูลเกลาฯ ถวาย “รางวัลนักวิทยาศาสตรดินเพื่อมนุษยธรรม” พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางกฎกระทรวงกําหนดลักษณะของเหรียญกษาปณที่ระลึกเฉลิม พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในโอกาสที่สหภาพวิทยาศาสตรทางดิน นานาชาติ ทูลเกลาฯ ถวาย “รางวัลนักวิทยาศาสตรดินเพื่อมนุษยธรรม” พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงการคลัง เสนอ รวม 3 ชนิด ประกอบดวย เหรียญกษาปณทองคํา เหรียญกษาปณเงิน และเหรียญกษาปณโลหะสีขาว (ทองแดงผสมนิกเกิล)
-5-
8. เรือ่ ง รางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบั บที ่ ..) พ.ศ. .... รวม 2 ฉบับ (การปรับปรุงมาตรการภาษีเ พือ่ สงเสริมการจัด ตัง้ สํา นักงานใหญ ขามประเทศและมาตรการภาษีเพื่อสงเสริมการจัดตั้งบริษัทการคาระหวางประเทศ) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวย การลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... รวม 2 ฉบับ 1.รางพระราชกฤษฎีกาออกตามความ ในประมวลรัษฎากรวาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เปนการลดอัตราภาษีเงินได หัก ณ ที่จาย ใหแกคนตางดาวซึ่งเปนบุคคลธรรมดา สําหรับเงินไดพึงประเมินที่ไดรับเนื่องจากการจาง แรงงานของสํานักงานใหญขามชาติในประเทศไทย ยกเวนเงินไดพึงประเมินบางกรณี ใหแกคนตางดาวซึ่งเปน บุคคลธรรมดาที่ปฏิบัติงานในสํานักงานใหญขามชาติไมตองนํามารวมคํานวณเพื่อเสียภาษีเงินได ยกเวนภาษี เงินไดสําหรับเงินไดพึงประเมินบางกรณี ใหแกคนตางดาวซึ่งเปนบุคคลธรรมดาและถูกสงไปปฏิบัติงาน ในตางประเทศ และยกเวนภาษีเงินไดใหแกสํานักงานใหญขามชาติสําหรับเงินไดพึงประเมินบางกรณี 2. รางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการภาษีเพื่อสงเสริมการจัดตั้งบริษัทการคาระหวางประเทศ) เปนการยกเวนภาษีเงินไดใหแก บริษัทการคาระหวางประเทศสําหรับเงินไดบางกรณี และลดอัตราภาษีเงินไดหัก ณ ที่จาย สําหรับเงินได พึงประเมินบางกรณีใหแกคนตางดาวซึ่งเปนบุคคลธรรมดาที่ทํางานประจําบริษัทการคาระหวางประเทศ 9. เรื่อง การระดมทุนผานกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานโรงไฟฟาพระนครเหนือ ชุดที่ 1 การไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทย คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบใหการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) จัดตั้งกองทุนรวม โครงสรางพื้นฐานโรงไฟฟาพระนครเหนือ ชุดที่ 1 กฟผ. โดยให กฟผ. เขาถือหนวยลงทุนในกองทุนรวมฯ ของ กฟผ. ในจํานวนรอยละ 25 ของหนวยลงทุนทั้งหมดได พรอมทั้งอนุมัติงบประมาณลงทุน เพื่อใชในการ เขาถือหนวยลงทุนดังกลาวของ กฟผ. 10. เรื่อง รางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (แกไขเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ความผิดทางอาญา) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เปนการแกไขเพิ่มเติมเกี่ยวกับความผิดทางอาญา กรณีไมปฏิบัติตามหรือหลีกเลี่ยงภาษีโดยการ เพิม่ เติมบทลงโทษใหชัดเจนและครอบคลุมมากขึ้น 11. เรื่อง รางพระราชบัญญัติการบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรางพระราชบัญญัติการบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ. .... ตามที่ กระทรวงการคลัง เสนอ ในการกําหนดคํานิยาม การดําเนินงาน และกําหนดใหมีคณะกรรมการนโยบาย การบริหารทุนหมุนเวียน ของทุนหมุนเวียน รวมถึงการกําหนดหลักเกณฑการรวมทุนหมุนเวียน การยุบเลิก ทุนหมุนเวียน รวมทัง้ การกําหนดบทเฉพาะกาล ใหนํากฎ ประกาศ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ และ หลักเกณฑเกี่ยวกับทุนหมุนเวียนซึ่งใชบังคับอยูในวันกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ มาใชบังคับ ไปพลางกอนเทาที่ไมขัดหรือแยงกับพระราชบัญญัตินี้จนกวาจะไดออกขอบังคับ ประกาศ และหลักเกณฑ ตามพระราชบัญญัตินี้ -6-
12. เรื่อง ขออนุมัติโครงการและการกูเงินสําหรับโครงการเงินกูเพื่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการ ทรัพยากรน้าํ และระบบขนสงทางถนน ระยะเรงดวน : มาตรการกระตุนเศรษฐกิจระยะที่ 2 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติใหดําเนินโครงการเงินกูเพื่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา และระบบขนสงทางถนน ระยะเรงดวน ภายใตกรอบวงเงิน 78,294.85 ลานบาท โดยอนุมัติให กค. กูเงินตราตางประเทศเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในกรอบวงเงินไมเกิน 80,000 ลานบาท ตามมาตรา 22 ของพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 และที่แกไขเพิ่มเติมและเห็นชอบรางระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรี วาดวยการบริหารโครงการเงินกูเพื่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา และระบบ ขนสงทางถนนระยะเรงดวน พ.ศ. .... ทั้งนี้ ไดมอบหมายใหสํานักงบประมาณ (สงป.) เปนผูพิจารณาให ความเห็นชอบแผนปฏิบัติงานและแผนการใชจายเงินกู และจัดสรรเงินกูตามกรอบวงเงินที่คณะรัฐมนตรี อนุมัติ และพิจารณาจัดสรรงบประมาณรายจายประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2559 13. เรื่อง การปรับกฎเฉพาะรายสินคาจากพิกัดศุลกากรระบบฮารโมไนซ ฉบับป 2007 เปนฉบับป 2012 ภายใตความตกลงการคาเสรีอาเซียน – สาธารณรัฐเกาหลี คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงพาณิชย (พณ.) เสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบตอการปรับกฎเฉพาะรายสินคาจากพิกัดศุลกากรระบบฮารโมไนซ ฉบับป 2007 เปน ฉบับป 2012 ภายใตความตกลงการคาเสรีอาเซียน – สาธารณรัฐเกาหลี 2. มอบหมายใหกระทรวงการคลัง (กค.) (กรมศุลกากร) และ พณ.(กรมการคาตางประเทศ) ดําเนินการตอไปเพื่อใหกฎเฉพาะรายสินคาภายใตความตกลงการคาสินคาอาเซียน – สาธารณรัฐเกาหลี พิกัดศุลกากรระบบฮารโมไนซ ฉบับป 2012 มีผลบังคับใชโดยเร็ว 3. มอบหมายใหกระทรวงการตางประเทศ (กต.) แจงสํานักเลขาธิการอาเซียน เพื่อผนวกกฎเฉพาะ รายสินคา ฉบับป 2012 เขาไปในความตกลงการคาสินคาภายใตกรอบความตกลงวาดวยความรวมมือ ทางเศรษฐกิจระหวางประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใตและสาธารณรัฐเกาหลี ทั้งนี้ ใหแจงเมื่อคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบและกรมศุลกากรดําเนินกระบวนการภายในแลวเสร็จ 14. เรื่อง ความตกลงเพื่อการเวนการเก็บภาษีซอนระหวางไทยกับสิงคโปร ฉบับแกไข คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรางความตกลงเพื่อการเวนการเก็บภาษีซอนระหวางไทยกับสิงคโปรฉบับ แกไข ซึ่งเปนการปรับปรุงอนุสัญญาเพื่อการเวนการเก็บภาษีซอนระหวางไทยกับสิงคโปรที่มีผลใชบังคับ อยูในปจจุบัน โดยกําหนดหลักการที่สําคัญเพื่อขจัดการเก็บภาษีซ้ําซอนในสวนที่เกี่ยวกับภาษีเงินไดระหวาง ประเทศที่เกิดขึ้นอันเนื่องจากอํานาจในการจัดเก็บภาษีของทั้งสอง ซึ่งพันธกรณีตามความตกลงฯ มีกฎหมาย ภายในของไทยรองรับที่สําคัญ ไดแก ประมวลรัษฎากร ประกอบพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวล รัษฎากรวาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2505 และพระราชบัญญัติภาษีเงินไดปโตรเลียม พ.ศ. 2514 และการจัดทําความตกลงฯ เปนไปตามแบบมาตรฐานสากลซึ่งเปนที่ยอมรับของนานาประเทศ เนื่องจากเปนเครื่องมือที่สําคัญในนโยบายการคาการลงทุนของไทย เพื่อชวยสงเสริมบรรยากาศการลงทุน ระหวางประเทศ ซึ่งจะมีผลใชบังคับไดตอเมื่อไดมีการลงนามอยางเปนทางการ และไดมีการเปลี่ยนแปลง สัตยาบันระหวางกัน โดยกอนมีการลงนามอยางเปนทางการ รางอนุสัญญาหรือความตกลงฯ ที่ไดดําเนินการ จนแลวเสร็จนั้นจะตองไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีและอนุมัติให กต. รับไปดําเนินการเพื่อใหมีผล ใชบังคับตอไป
-7-
15. เรื่อง การลงนามรางพิธีสารวาดวยกรอบกฎหมายเพื่อดําเนินการเชื่อมโยงขอมูลอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียวของอาเซียน (Protocol on the Legal Framework to Implement the ASEAN Single Window) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรางพิธีสารวาดวยกรอบกฎหมายเพื่อดําเนินการเชื่อมโยงขอมูล อิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียวของอาเซียนและใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังเปนผูลงนามในรางพิธีสาร ดังกลาว โดยใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศจัดทําหนังสือมอบอํานาจเต็ม (Full Powers) เพื่อการลงนามรางพิธีสารดังกลาว โดยสาระสําคัญเพื่อเปนกรอบทางกฎหมายเพื่อการดําเนินการการ ติดตอสื่อสาร และการประมวลผลทางอิเล็กทรอนิกสของธุรกรรมระหวางระบบ National Single Window ของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหลายภายในสภาพแวดลอม ASEAN Single Window โดยคํานึงถึง มาตรฐานสากลและแนวปฏิบัติที่ดีที่เกี่ยวของ อันเปนความตกลงระหวางประเทศและอนุสัญญาเกี่ยวกับ การอํานวยความสะดวกทางการคาและการทําใหเทคนิคและการปฏิบัติทางศุลกากรมีความทันสมัย และ กําหนดขอบเขตการบังคับใชกับธุรกรรมระหวางระบบ National Single Window ของประเทศสมาชิก อาเซียนทั้งหลาย ภายในสภาพแวดลอมของ ASEAN Single Window เทานั้น โดยไมมีผลเปนการสราง พันธกรณีตอประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหลายอันเกี่ยวของกับการดําเนินการและการทําธุรกรรมภายในระบบ National Single Window ของตน เวนแตขอบทที่วาดวยความปลอดภัยและความลับของสารสนเทศ
-8-
สถานการณดานการคลัง
I รายได 1. ตามหนวยงาน 1.1 กรมสรรพากร (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.2 กรมสรรพสามิต (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.3 กรมศุลกากร (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.4 รัฐวิสาหกิจ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.5 หนวยงานอื่น (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) - สวนราชการอื่น - กรมธนารักษ 1.6 รวมรายไดจัดเก็บ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.7 รวมรายไดสุทธิ (หลังหักการจัดสรรให อปท.) (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2. ตามฐานภาษี 2.1 ฐานจากเงินได (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2.2 ฐานจากการบริโภค (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2.3 ฐานจากการคาระหวางประเทศ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) II รายจาย 1.รายจายรัฐบาลจากงบประมาณ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.1 งบประมาณปปจจุบัน (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.2 งบประมาณปกอน 2. รายจายของกองทุนนอกงบประมาณ (15 กองทุน) 1/ - รายจาย - เงินใหกูยืมสุทธิ 3. รายจายจากเงินกูตางประเทศ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 4. รายจายของอปท. 5. รายจายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ III ดุลการคลัง 1. ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด 2. ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบ สศค. 2/ - รัฐบาล - อปท. 3. เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือน3/ IV ยอดหนี้สาธารณะ 1. หนี้รัฐบาลกูตรง 2. หนี้รัฐวิสาหกิจ 3. หนี้ของหนวยงานภาครัฐอื่น 4. หนี้ FIDF 5. รวม 6. หนี้คงคาง/GDP (ปปฏิทิน)% 7. หนี้ที่เปนภาระงบประมาณ/GDP (ปปฏิทิน)%
รวมทั้งป งบประมาณ 2557
-
ปงบประมาณ 2558 ม.ค.-58
Q1
หนวย : พันลานบาท
รวม ต.ค. 57 - ก.พ. 58
ก.พ.-58
1,729.8 (2.0) 382.7 (11.6) 117.7 (4.3) 136.7 34.7 136.0 (14.5) 130.5 5.4 2,502.9 (3.0) 2,074.7 (4.0)
349.4 (2.1) 102.2 (2.0) 30.3 0.5 46.8 (1.2) 54.9 43.6 52.6 2.3 583.6 1.2 507.3 0.8
126.3 4.7 40.0 19.9 9.7 (4.6) 6.7 (54.3) 7.3 12.2 7.0 0.3 189.9 2.5 158.9 1.8
111.4 (3.8) 38.0 21.0 9.2 5.8 6.4 (17.7) 16.3 (14.2) 15.6 0.7 181.3 (0.8) 149.8 0.5
587.2 (1.0) 180.1 6.6 49.2 0.4 59.9 (14.2) 78.5 23.2 75.2 3.3 954.9 1.1 816.1 0.9
953.2 (5.1) 1,158.3 (2.8) 114.9 (4.7)
152.9 (5.5) 298.3 (0.2) 29.8 0.2
57.9 13.7 108.3 5.2 9.6 (3.9)
51.8 (5.0) 97.5 5.3 8.9 2.9
262.6 (1.7) 504.1 1.9 48.3 (0.1)
2,459.9 2.4 2,246.3 3.4 213.5 409.8 395.9 13.9 9.0 (59.2) 547,864.6 236.0
844.1 1.6 766.4 0.7 77.7 199.1 195.3 3.8 1.3 (43.6) 159,850.9 65.0
215.7 1.2 197.9 6.2 17.8 16.6 15.7 0.9 0.6 (31.3) 36,998.5 16.7
150.4 (13.7) 131.4 (14.7) 19.0 22.4 20.8 1.6 1.8 232.2
1,210.2 (0.7) 1,095.7 (0.5) 114.5 238.1 231.8 6.3 3.7 (2.8)
(359.3) (158.9) (158.9)
(347.7) (212.3) (212.3)
(80.4) (14.8) (14.8)
16.3 10.9 10.9
(411.8) (216.2) (216.2)
325.9
179.3
116.0
183.1
183.1
3,965.4 1,713.9 11.5
3,954.7 1,661.3 8.0
3,996.8 1,654.4 6.9 0 5,658.1 46.5
5,690.8 47.2
-
5,624.0 46.3
หมายเหตุ 1/ ประกอบดวย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณและการทําของ กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนคาธรรมเนียมผานทาง กองทุนสงเสริมวิสาหกิจ กองทุนออยและน้ําตาล กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ กองทุนหมูบานและชุมชนเมือง กองทุนสงเสริมการอนุรักษพลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กองทุนชวยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย 2/ ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาและวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) เปนผลรวมของดุลการคลังรัฐบาล และดุลการคลังของ อปท. 3/ ตั้งแตปงบประมาณ 2551 เงินคงคลังจะไมรวมเงินอื่น (บัตรภาษี) และเงินฝากธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) รวบรวมโดย : สวนวางแผนการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
-9-
n/a n/a
n/a n/a n/a n/a n/a n/a
n/a n/a
n/a n/a n/a n/a n/a n/a
สถานการณดานรายได • เดือนกุมภาพันธ 2558
รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 149,834 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 14,359 ลานบาท หรือรอยละ 8.7 (สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลวรอยละ 0.5) โดยการจัดเก็บรายไดของกรมสรรพากร กรมศุลกากร และหนวยงานอืน่ จัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการ 19,275 497 และ 3,945 ลานบาท ตามลําดับ สําหรับภาษีที่จัดเก็บไดต่ํากวา เปาหมายที่สําคัญ ไดแก ภาษีมูลคาเพิ่มจัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการ 9,285 ลานบาท หรือรอยละ 14.5 (ต่ํากวา ปที่แลวรอยละ 2.7) โดยมีสาเหตุสําคัญจากมูลคาการนําเขาที่หดตัว ประกอบกับราคาน้ํามันดิบที่ลดลง สงผลให การจัดเก็บรายไดจากสัมปทานปโตรเลียมและภาษีเงินไดปโตรเลียมต่ํากวาประมาณการ 3,973 และ 3,307 ลานบาท หรือรอยละ 20.3 และ 33.8 ตามลําดับ อยางไรก็ดี ภาษีที่จัดเก็บไดสูงกวาเปาหมาย ไดแก ภาษีน้ํามันจัดเก็บไดสูงกวาประมาณการ 4,956 ลานบาท หรือรอยละ 91.4 เนื่องจากการปรับขึ้นอัตราภาษีน้ํามันดีเซล และภาษียาสูบจัดเก็บไดสูงกวาเปาหมาย 1,038 ลานบาท หรือรอยละ 18.2 ตารางสรุปรายไดรฐั บาลเดือนกุมภาพันธ 2558* ทีม่ าของรายได
ปนี้
ปที่แลว
1. กรมสรรพากร 2. กรมสรรพสามิต 3. กรมศุลกากร รายได 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น หัก1/ รายไดรฐั บาลสุทธิ
111,448 37,958 9,203 158,609 6,423 16,306 31,504 149,834
115,871 31,363 8,696 155,930 7,802 19,009 33,696 149,045
หนวย : ลานบาท
ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้ เปรียบเทียบปนี้กับ งปม.ทั้งปเทากับ กับปที่แลว ปมก. เอกสาร งปม. จํานวน รอยละ 2,325,000 ลานบาท จํานวน รอยละ (4,423) (3.8) 130,723 (19,275) (14.7) 6,595 21.0 34,222 3,736 10.9 507 5.8 9,700 (497) (5.1) 2,679 1.7 174,645 (16,036) (9.2) (1,379) (17.7) 5,835 588 10.1 (2,703) (14.2) 20,251 (3,945) (19.5) (2,192) (6.5) 36,538 (5,034) (13.8) 789 0.5 164,193 (14,359) (8.7)
หมายเหตุ *ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 6 มีนาคม 2558 1/ รายการหัก ไดแก (1) คืนภาษีของกรมสรรพากร 20,900 ลานบาท (เปนตัวเลขคาดการณ) (2) อากรถอนคืนกรมศุลกากร 700 ลานบาท (3) จัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อบจ. 1,200 ลานบาท (เปนตัวเลขคาดการณ) (4) เงินกันชดเชยสงออก 1,000 ลานบาท (เปนตัวเลขคาดการณ) (5) จัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ 7,704 ลานบาท (งวดที่ 2/2558) ทีม่ า : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
-10-
ลานบาท
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลสุทธิในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (เดือนตุลาคม 2557 - กุมภาพันธ 2558) จัดเก็บ 57
400,000
ปมก 58
350,000
จัดเก็บ 58
300,000 250,000 200,000
173,694
161,597 172,043 158,914
ต.ค.
พ.ย.
150,000
149,836
100,000 50,000 0 ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ส.ค.
ก.ค.
ก.ย.
• ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กุมภาพันธ 2558) รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 816,083 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 12,217 ลานบาท หรือรอยละ 1.5 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 0.9) ทั้งนี้ กรมสรรพากรและกรมศุลกากรจัดเก็บภาษีไดต่ํากวาเปาหมาย 35,512 และ 1,678 ลานบาท หรือรอยละ 5.7 และ 3.3 ขณะที่การนําสงรายไดของรัฐวิสาหกิจ การจัดเก็บภาษีของ กรมสรรพสามิต และการจัดเก็บรายไดของหนวยงานอื่นสูงกวาประมาณการ 12,813 4,972 และ 4,598 ลานบาท หรือรอยละ 27.2 2.8 และ 6.2 ตามลําดับ
ผลการจัดเก็บรายไดของ 3 กรมในสังกัดกระทรวงการคลัง ปงบประมาณ 2558 (เดือนตุลาคม 2557 - กุมภาพันธ 2558) ลานบาท 900,000 800,000
จัด เก็บ 57 ประมาณการ 58 จัด เก็บ 58
700,000 600,000
593,300
622,680
811,301
848,747
816,529
587,168
500,000 400,000 300,000 168,973
200,000
175,167 180,139 49,028 50,900 49,222
100,000 0 กรมสรรพากร
กรมสรรพสามิต
-11-
กรมศุลกากร
รวม 3 กรม
ตารางสรุปรายไดรฐั บาลปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กุมภาพันธ 2558)* ทีม่ าของรายได
ปนี้
ปที่แลว
1. กรมสรรพากร 2. กรมสรรพสามิต 3. กรมศุลกากร รายได 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น หัก1/ รายไดรฐั บาลสุทธิ
587,168 180,139 49,222 816,529 59,859 78,523 138,828 816,083
593,300 168,973 49,028 811,301 69,748 63,754 136,161 808,642
หนวย : ลานบาท
ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปน้ี เปรียบเทียบปนี้กับ งปม.ทั้งปเทากับ กับปที่แลว ปมก. เอกสาร งปม. จํานวน รอยละ 2,325,000 ลานบาท จํานวน รอยละ (6,132) (1.0) 622,680 (35,512) (5.7) 11,166 6.6 175,167 4,972 2.8 194 0.4 50,900 (1,678) (3.3) 5,228 0.6 848,747 (32,218) (3.8) (9,889) (14.2) 47,046 12,813 27.2 14,769 23.2 73,925 4,598 6.2 2,667 2.0 141,418 (2,590) (1.8) 7,441 0.9 828,300 (12,217) (1.5)
หมายเหตุ *ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 6 มีนาคม 2558 1/ รายการหัก ไดแก (1) คืนภาษีสรรพากร 106,933 ลานบาท (เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2557 เปนตัวเลขจริง เดือนมกราคม และ กุมภาพันธ 2558 เปนตัวเลขคาดการณ) (2) อากรถอนคืนกรมศุลกากร 4,578 ลานบาท (3) จัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อบจ. 6,021 ลานบาท (เดือนตุลาคม 2557 – มกราคม 2558 เปนตัวเลขจริง เดือนกุมภาพันธ 2558 เปนตัวเลขคาดการณ) (4) เงินกันชดเชยสงออก 5,603 ลานบาท (เดือนตุลาคม 2557 – มกราคม 2558 เปนตัวเลขจริง เดือนกุมภาพันธ 2558 เปนตัวเลขคาดการณ) (5) จัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ 15,693 ลานบาท (งวดที่ 1/2558 - 2/2558) ทีม่ า : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ผลการจัดเก็บรายไดตามหนวยงานจัดเก็บสรุปได ดังนี้ กรมสรรพากร จัดเก็บรายไดรวม 587,168 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 35,512 ลานบาท หรือรอยละ 5.7 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 1.0) โดยภาษีที่จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมายที่สําคัญ ไดแก (1) ภาษีเงินไดนิติบุคคลจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 16,981 ลานบาท หรือรอยละ 11.2 (ต่ํากวาชวงเดียวกัน ปที่แลวรอยละ 5.3) เนื่องจากภาษีที่เก็บจากคาบริการและการจําหนายกําไร (ภ.ง.ด. 54) ภาษีจากกําไรสุทธิ รอบครึง่ ปบัญชีของบริษัทญี่ปุน (ภ.ง.ด. 51) และภาษีหัก ณ ที่จายภาคเอกชน (ภ.ง.ด. 53) จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย เปนสําคัญ (2) ภาษีมูลคาเพิ่มจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 14,770 ลานบาท หรือรอยละ 4.8 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว รอยละ 1.0) โดยภาษีมูลคาเพิ่มจากการบริโภคในประเทศจัดเก็บสูงกวาเปาหมาย 1,677 ลานบาท หรือรอยละ 1.0 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 4.4) ขณะทีภ่ าษีมูลคาเพิ่มที่จัดเก็บจากการนําเขาจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 16,447 ลานบาท หรือรอยละ 12.0 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 8.0) เนื่องจากมูลคานําเขาที่ยังหดตัว โดยสวนหนึ่งเปนผลจากราคาน้ํามันดิบที่ปรับตัวลดลงในชวงที่ผานมา (3) ภาษีเงินไดปโตรเลียมจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 5,475 ลานบาท หรือรอยละ 41.5 (ต่ํากวาชวงเดียวกัน ปที่แลวรอยละ 35.4) เนื่องจากภาษีที่จัดเก็บจากการจําหนายกําไรไปตางประเทศจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย สะทอน ผลประกอบการที่ปรับตัวลดลง อยางไรก็ดี ภาษีที่จัดเก็บไดสูงกวาเปาหมายที่สําคัญ ไดแก ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา จัดเก็บไดสูงกวา เปาหมาย 2,018 ลานบาท หรือรอยละ 1.7 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 6.3) เนื่องจากภาษีเงินไดหัก ณ ที่จาย ภาคเอกชนจากดอกเบี้ย และเงินเดือนจัดเก็บไดสูงกวาเปาหมายเปนสําคัญ
-12-
สัดสวนผลการจัดเก็บรายไดของกรมสรรพากรแยกตามรายภาษี ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 - กุมภาพันธ 2558) ภาษีธุรกิจเฉพาะอากรแสตมป รายไดอื่น ภาษีเงินไดปโตรเลียม 3.87% 0.99% 0.02% ภาษีเงินไดบุคคล 1.32% ธรรมดา 20.53%
ภาษีมูลคาเพิ่ม 50.39%
ภาษีเงินไดนิติบุคคล 22.88%
กรมสรรพสามิต จัดเก็บรายไดรวม 180,139 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 4,972 ลานบาท หรือรอยละ 2.8 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 6.6) โดยภาษีที่จัดเก็บไดสูงกวาประมาณการที่สําคัญ ไดแก (1) ภาษีน้ํามันจัดเก็บไดสูงกวาเปาหมาย 12,812 ลานบาท หรือรอยละ 46.9 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว รอยละ 53.6) เนื่องจากการปรับขึ้นอัตราภาษีน้ํามันดีเซลและราคาขายปลีกน้ํามันที่ลดลง สงผลใหปริมาณการใช น้ํามันเพิ่มสูงขึ้น (2) ภาษียาสูบจัดเก็บไดสูงกวาเปาหมาย 4,026 ลานบาท หรือรอยละ 15.7 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว รอยละ 21.5) เนื่องจากปริมาณยาสูบที่ชําระภาษีขยายตัวสูงกวาที่ประมาณการไว อยางไรก็ดี ภาษีที่จัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการที่สําคัญ ไดแก ภาษีสรรพสามิตรถยนตจัดเก็บไดต่ํากวา เปาหมาย 8,835 ลานบาท หรือรอยละ 20.3 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 21.2) สาเหตุมาจากความตองการ ซื้อรถยนตที่ยังไมฟนตัว และภาษีเบียรจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 2,942 ลานบาท หรือรอยละ 7.7 (ใกลเคียงกับ ชวงเดียวกันปที่แลว) สัดสวนผลการจัดเก็บรายไดของกรมสรรพสามิตแยกตามรายภาษี ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 - กุมภาพันธ 2558) ภาษีสรุ าฯ 16.68%
ภาษีอื่นๆ 5.87%
ภาษียาสูบ 16.43% ภาษีเบียร 19.45%
ภาษีน้ํามันฯ 22.29%
ภาษีรถยนต 19.28%
กรมศุลกากร จัดเก็บรายไดรวม 49,222 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 1,678 ลานบาท หรือรอยละ 3.3 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 0.4) เปนผลจากมูลคาการนําเขาที่ยงั คงหดตัว โดยมูลคาการนําเขาในรูป ดอลลารสหรัฐ และเงินบาทในชวง 4 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 หดตัวรอยละ 7.6 และรอยละ 5.0 ตามลําดับ ทั้งนี้ สินคาที่จัดเก็บอากรขาเขาไดสูงสุด 5 อันดับแรก ไดแก ยานบกและสวนประกอบ เครื่องใชไฟฟา และอุปกรณประกอบ เครื่องจักรและเครื่องใชกล ของทําดวยเหล็กหรือเหล็กกลา และพลาสติก -13-
สัดสวนผลการจัดเก็บรายไดของกรมศุลกากรแยกตามรายภาษี ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 - กุมภาพันธ 2558) อากรขาออก รายไดอื่น 0.24% 1.97%
อากรขาเขา 97.79%
รัฐวิสาหกิจ นําสงรายไดรวม 59,859 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 12,813 ลานบาท หรือรอยละ 27.2 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 14.2) เนื่องจากการนําสงรายไดของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) การทาเรือแหง ประเทศไทย บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย และสํานักงานสลากกินแบงรัฐบาล ที่สูงกวาประมาณการ สัดสวนการนําสงรายไดรัฐวิสาหกิจแยกตามสาขา ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 - กุมภาพันธ 2558)
เกษตรและ ทรัพยากรธรรมชาติ 0.12%
พาณิชยและบริการ 11.64%
กิจการที่กระทรวงการคลัง สถาบัน การเงิน ถือหุน ต่ํากวารอยละ 50 1.57% 8.73%
พลังงาน 44.63%
สาธารณูปการ 5.84% สื่อสาร 14.37% ขนสง 13.44%
หนวยงานอื่น จัดเก็บรายไดรวม 78,523 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 4,598 ลานบาท หรือรอยละ 6.2 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 23.2) สาเหตุสําคัญมาจากการสงคืนเงินกันชดเชยใหแกผูสงออกเปนรายได แผนดินสูงกวาประมาณการ 5,562 ลานบาท สําหรับกรมธนารักษจัดเก็บรายไดรวม 3,311 ลานบาท ต่ํากวาเปาหมาย 54 ลานบาท หรือรอยละ 1.6 (ต่ํากวาชวงเดียวกันของปที่แลวรอยละ 5.1) เนื่องจากการจัดเก็บรายไดที่ราชพัสดุต่ํากวาเปาหมายเปนสําคัญ การคืนภาษีของกรมสรรพากร จํานวน 106,933 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 559 ลานบาท หรือรอยละ 0.5 ประกอบดวยการคืนภาษีมูลคาเพิ่ม 93,760 ลานบาท ใกลเคียงกับประมาณการ และการคืนภาษีอื่นๆ (ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป) จํานวน 13,173 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 619 ลานบาท หรือรอยละ 4.5
-14-
อากรถอนคืนกรมศุลกากร จํานวน 4,578 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 578 ลานบาท หรือรอยละ 14.5 การจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มใหกับองคการบริหารสวนจังหวัด จํานวน 6,021 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 1,237 ลานบาท หรือรอยละ 17.0 เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินคาสงออก จํานวน 5,603 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 955 ลานบาท หรือรอยละ 14.6 การจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนและขัน้ ตอนการกระจาย อํานาจฯ จํานวน 2 งวด เปนเงิน 15,693 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 417 ลานบาท หรือรอยละ 2.6
-15-
ตารางที่ 1 ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลเบื้องตน เดือนกุมภาพันธ 2558
1/
หนวย : ลานบาท
เปรียบเทียบปนี้กับปที่แลว ที่มาของรายได 1. กรมสรรพากร 1.1 ภาษีมูลคาเพิ่ม 1.2 ภาษีเงินไดนิติบุคคล 1.3 ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 1.4 ภาษีเงินไดปโตรเลียม 1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป 1.7 รายไดอื่น
2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษีรถยนต 2.3 ภาษีเบียร 2.4 ภาษียาสูบ 2.5 ภาษีสุราฯ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีรถจักรยานยนต 2.8 ภาษีแบตเตอรี่ 2.9 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.10 ภาษีอื่น 2/ 2.11 รายไดอื่น
3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่น
รวมรายได 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น 5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ
รวมรายไดจัดเก็บ (Gross) หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายไดจาก VAT ให อบจ. 4. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินคาสงออก
รวมรายไดสุทธิ (Net)
หักเงินจัดสรรจาก VAT ให อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ
รวมรายไดสุทธิหลังหักการจัดสรรให อปท. หมายเหตุ
1/
ปนี้
ปที่แลว
จํานวน
รอยละ
ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม. งปม.ทั้งปเทากับ 2,325,000 ลานบาท
จํานวน
รอยละ
111,448
115,871
(4,423)
(3.8)
130,723
(19,275)
(14.7)
54,723 21,391 23,975 6,465 3,858 1,005 31
56,265 21,856 23,865 8,850 4,124 889 22
(1,542) (465) 110 (2,385) (266) 116 9
(2.7) (2.1) 0.5 (26.9) (6.5) 13.0 40.9
64,008 24,287 26,970 9,772 4,633 1,032 21
(9,285) (2,896) (2,995) (3,307) (775) (27) 10
(14.5) (11.9) (11.1) (33.8) (16.7) (2.6) 47.6
37,958
31,363
6,595
21.0
34,222
3,736
10.9
10,376 5,878 7,149 5,901 6,747 1,253 234 189 38 139 54
5,312 7,922 6,208 5,382 4,729 1,213 214 170 40 118 55
5,064 (2,044) 941 519 2,018 40 20 19 (2) 21 (1)
95.3 (25.8) 15.2 9.6 42.7 3.3 9.3 11.2 (5.0) 18 (1.8)
5,420 8,774 7,142 5,219 5,709 1,311 229 185 62 120 51
4,956 (2,896) 7 682 1,038 (58) 5 4 (24) 19 3
91.4 (33.0) 0.1 13.1 18.2 (4.4) 2.2 2.2 (38.7) 15.8 5.9
9,203
8,696
507
5.8
9,700
(497)
(5.1)
8,852 37 314
8,610 25 61
242 12 253
2.8 48.5 414.8
9,510 25 165
(658) 12 149
(6.9) 48.5 90.3
158,609 6,423 16,306
155,930 7,802 19,009
2,679 (1,379) (2,703)
1.7 (17.7) (14.2)
174,645 5,835 20,251
(16,036) 588 (3,945)
(9.2) 10.1 (19.5)
18,289 720
(2,717) 14
(14.9) 1.9
19,545 706
(3,973) 28
(20.3) 4.0
182,741
(1,403)
(0.8)
200,731
(19,393)
(9.7)
22,987 16,045 6,942 711 1,243 956
(2,087) 955 (3,042) (11) (43) 44
(9.1) 6.0 (43.8) (1.5) (3.5) 4.6
25,276 19,400 5,876 800 1,377 1,105
(4,376) (2,400) (1,976) (100) (177) (105)
(17.3) (12.4) (33.6) (12.5) (12.9) (9.5)
157,538
156,844
694
0.4
172,173
(14,635)
(8.5)
7,704
7,799
(95)
(1.2)
7,980
(276)
(3.5)
149,834
149,045
789
0.5
164,193
(14,359)
(8.7)
15,572 734
3/
181,338 20,900 17,000 3,900 700 1,200 1,000
4/
4/ 4/
ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 6 มีนาคม 2558
2/
ภาษีไพ แกวฯ เครื่องหอม เรือ พรม สนามมา สนามกอลฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนทคลับและดิสโกเธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด ตัวเลขจากระบบ GFMIS 4/ ตัวเลขคาดการณ ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย : สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/
-16-
ตารางที่ 2 ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 1/ (ตุลาคม 2557 - กุมภาพันธ 2558) หนวย : ลานบาท
เปรียบเทียบปนี้กับปที่แลว ที่มาของรายได 1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7
ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น
2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษีรถยนต 2.3 ภาษีเบียร 2.4 ภาษียาสูบ 2.5 ภาษีสุราฯ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีรถจักรยานยนต 2.8 ภาษีแบตเตอรี่ 2.9 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.10 ภาษีอื่น 2/ 2.11 รายไดอื่น
3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่น
รวมรายได 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น 5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ
รวมรายไดจัดเก็บ (Gross) หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายไดจาก VAT ให อบจ. 4. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินคาสงออก
รวมรายไดสุทธิ (Net) 6/
หักเงินจัดสรรจาก VAT ให อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ
รวมรายไดสุทธิหลังหักการจัดสรร อปท. หมายเหตุ
1/ 2/ 3/
ปนี้
ปที่แลว
จํานวน
รอยละ
ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม. งปม.ทั้งปเทากับ 2,325,000 ลานบาท
จํานวน
รอยละ
587,168
593,300
(6,132)
(1.0)
622,680
(35,512)
(5.7)
295,871 134,337 120,566 7,725 22,700 5,828 141
298,943 141,826 113,423 11,955 22,210 4,829 114
(3,072) (7,489) 7,143 (4,230) 490 999 27
(1.0) (5.3) 6.3 (35.4) 2.2 20.7 23.7
310,641 151,318 118,548 13,200 23,604 5,267 102
(14,770) (16,981) 2,018 (5,475) (904) 561 39
(4.8) (11.2) 1.7 (41.5) (3.8) 10.7 38.2
180,139
168,973
11,166
6.6
175,167
4,972
2.8
40,150 34,736 35,043 29,598 30,049 7,188 1,203 934 215 578 445
26,136 44,062 35,042 24,367 29,942 6,397 1,042 838 238 503 406
14,014 (9,326) 1 5,231 107 791 161 96 (23) 75 39
53.6 (21.2) 0.0 21.5 0.4 12.4 15.5 11.5 (9.7) 15 9.6
27,338 43,571 37,985 25,572 30,119 7,201 1,176 925 322 556 402
12,812 (8,835) (2,942) 4,026 (70) (13) 27 9 (107) 22 43
46.9 (20.3) (7.7) 15.7 (0.2) (0.2) 2.3 1.0 (33.2) 4.0 10.7
49,222
49,028
194
0.4
50,900
(1,678)
(3.3)
48,135 117 970
48,232 77 719
(97) 40 251
(0.2) 51.9 34.9
49,950 125 825
(1,815) (8) 145
(3.6) (6.4) 17.6
816,529 59,859 78,523
811,301 69,748 63,754
5,228 (9,889) 14,769
0.6 (14.2) 23.2
848,747 47,046 73,925
(32,218) 12,813 4,598
(3.8) 27.2 6.2
60,265 3,489
14,947 (178)
24.8 (5.1)
70,560 3,365
4,652 (54)
6.6 (1.6)
944,803
10,108
1.1
969,718
(14,807)
(1.5)
103,314 87,319 15,995 4,231 6,553 5,673
3,619 6,441 (2,822) 347 (532) (70)
3.5 7.4 (17.6) 8.2 (8.1) (1.2)
107,492 93,700 13,792 4,000 7,258 6,558
(559) 60 (619) 578 (1,237) (955)
(0.5) 0.1 (4.5) 14.5 (17.0) (14.6)
831,776
825,032
6,744
0.8
844,410
(12,634)
(1.5)
15,693
16,390
(697)
(4.3)
16,110
(417)
(2.6)
816,083
808,642
7,441
0.9
828,300
(12,217)
(1.5)
75,212 3,311
3/
954,911 106,933 93,760 13,173 4,578 6,021 5,603
4/
5/ 5/
ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 6 มีนาคม 2558 ภาษีไพ เครื่องแกว เครื่องหอม พรม สนามมา สนามกอลฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนทคลับและดิสโกเธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด ตัวเลขจากระบบ GFMIS
4/
เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2557 เปนตัวเลขจริง เดือนมกราคม และ กุมภาพันธ 2558 เปนตัวเลขคาดการณ
5/
เดือนตุลาคม 2557 - มกราคม 2558 เปนตัวเลขจริง เดือนกุมภาพันธ 2558 เปนตัวเลขคาดการณ
6/
รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย : สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
-17-
สถานการณดานรายจาย • พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ 2558 ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 131 ตอนที่ 69 ก เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2557 กําหนดวงเงินงบประมาณรายจายจํานวน 2,575,000 ลานบาท สูงกวาวงเงินปงบประมาณ 2557 รอยละ 2.0 โดยแบงเปนรายจายประจํา 2,027,859 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปที่เเลวรอยละ 0.5 รายจายลงทุน 449,476 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก ปที่เเลวรอยละ 1.9 รายจายชําระคืนตนเงินกู 55,700 ลานบาท และรายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง 41,965 ลานบาท โครงสรางงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558
โครงสรางงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณรายจาย (สัดสวนตอ GDP) - รายจายประจํา (สัดสวนตองบประมาณ) - รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) - รายจายลงทุน (สัดสวนตองบประมาณ) - รายจายชําระคืนตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) 2. รายรับ (สัดสวนตอ GDP) - รายได - เงินกู 3. ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP)
ปงบประมาณ 2557 เพิ่ม/ลด จํานวน รอยละ 2,525,000 5.2 20.4 2,017,626 6.2 79.9 13,424 100.0 0.5 441,129 -2.1 17.5 52,822 7.5 2.1 2,525,000 5.2 20.4 2,275,000 8.3 250,000 -16.7 12,364,000 3.9
ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2558
- 18 -
หนวย : ลานบาท
ปงบประมาณ 2558 เพิ่ม/ลด จํานวน รอยละ 2,575,000 2.0 19.6 2,027,859 0.5 78.7 41,965 212.6 1.6 449,476 1.9 17.5 55,700 5.4 2.2 2,575,000 2.0 19.6 2,325,000 2.2 250,000 13,143,000 6.3
• คณะรักษาความสงบแหงชาติมีมติเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2557 เห็นชอบการกําหนดเปาหมายการ เบิกจายงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ.2558 ที่อัตรารอยละ 96.0 และกําหนดเปาหมาย การเบิกจายรายจายลงทุนไวไมนอยกวารอยละ 87.0 ของวงเงินงบรายจายลงทุน โดยไดกาํ หนด เปาหมายการเบิกจายรายไตรมาส ดังนี้ ไตรมาสที่
เปาหมายการเบิกจาย แตละสิ้นไตรมาส
1 2 3 4
830,720 584,222 530,094 531,125
เปาหมายอัตรา การเบิกจายแตละ สิ้นไตรมาส (%) 32 23 21 21
ผลการเบิกจาย
อัตราการเบิกจาย (%)
766,371
29.8
• เดือนกุมภาพันธ 2558 รัฐบาลมีการเบิกจายเงินงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 150,428 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 23,953 ลานบาท หรือรอยละ 13.7 ปงบประมาณ 1. รายจายปปจจุบัน 1.1 รายจายประจํา 1.2 รายจายลงทุน 2. รายจายปกอน รวม
เดือนกุมภาพันธ 2558 2558 131,447 109,685 21,762 18,981 150,428
2557 154,109 141,914 12,195 20,271 174,380
เปรียบเทียบ งปม. 2557 จํานวน รอยละ (22,662) (14.7) (32,229) (22.7) 9,567 78.4 (1,290) (6.4) (23,953) (13.7)
ประกอบดวย 1) การเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558 จํานวน 131,447 ลานบาท ต่ํากวาเดือนเดียวกัน ปที่แลว 22,662 ลานบาท หรือรอยละ 14.7 แบงเปน รายจายประจํา 109,685 ลานบาท และรายจายลงทุน 21,762 ลานบาท โดยมีการเบิกจายรายการที่สําคัญ คือ รายจายชําระหนี้ของกระทรวงการคลัง 6,440 ลานบาท เงินอุดหนุนของกระทรวงศึกษาธิการ 4,865 ลานบาท และรายจายอื่นของธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตร 4,225 ลานบาท 2) การเบิกจายรายจายปกอน มีจาํ นวน 18,981 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 1,290 ลานบาท หรือรอยละ 6.4
• ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กุมภาพันธ 2558) รัฐบาลไดเบิกจายแลวจํานวนรวมทั้งสิ้น 1,210,266 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 8,380 หรือรอยละ 0.7
- 19 -
ประกอบดวย 1) การเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558 จํานวน 1,095,709 ลานบาท คิดเปนอัตรา การเบิกจายรอยละ 42.6 ของวงเงินงบประมาณ 2,575,000 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 5,618 หรือรอยละ 0.5 แบงเปน รายจายประจํา 1,015,865 ลานบาท คิดเปนรอยละ 47.2 ของวงเงิน งบประมาณรายจายประจําหลังโอนเปลี่ยนแปลง
ปงบประมาณ 1. รายจายปปจจุบัน 1.1 รายจายประจํา 1.2 รายจายลงทุน 2. รายจายปกอน รวม
ตนแตตนปงบประมาณจนถึงสิ้นเดือนกุมภาพันธ2558 2558
2557
1,095,709 1,015,865 79,844 114,557 1,210,266
1,101,327 963,691 137,636 117,319 1,218,646
เปรียบเทียบ งปม. 2557 รอยละตอวงเงิน งปม. 2558 จํานวน รอยละ (5,618) (0.5) 42.6 52,174 5.4 47.2 (57,792) (42.0) 18.9 (2,762) (2.4) 33.0 (8,380) (0.7) 41.4
(2,151,589 ลานบาท) รายจายลงทุน 79,844 ลานบาท คิดเปนรอยละ 18.9 ของวงเงินงบประมาณ รายจายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง (423,411 ลานบาท) โดยมีการเบิกจายรายการที่สําคัญ ไดแก ไดแก เงินอุดหนุนของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 110,006 ลานบาท เงินอุดหนุนของกระทรวงศึกษาธิการ 86,990 ลานบาท และรายจายอื่นของธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณการเกษตร 74,876 ลานบาท - การเบิกจายงบกลาง มีจาํ นวน 115,884 ลานบาท คิดเปนรอยละ 30.8 ของวงเงินงบกลาง (375,708 ลานบาท) โดยมีการเบิกจายรายการที่สําคัญ ไดแก - เงินเบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ 68,447 ลานบาท คิดเปนรอยละ 47.3 - คาใชจายในการรักษาพยาบาลขาราชการ ลูกจาง และพนักงานของรัฐ 25,642 ลานบาท คิดเปนรอยละ 42.7 - เงินสํารอง เงินสมทบ และเงินชดเชยของขาราชการ 18,714 ลานบาท คิดเปนรอยละ 41.2 - เงินชวยเหลือขาราชการ ลูกจางและพนักงาน ของรัฐ 2,245 ลานบาท คิดเปนรอยละ 44.7 - เงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน 32.6 ลานบาท คิดเปนรอยละ 0.04 2) การเบิกจายรายจายปกอน มีจํานวน 114,557 ลานบาท คิดเปนรอยละ 33.0 ของวงเงินรายจายปกอ น (346,856 ลานบาท) ต่ํากวาปที่แลว 2,762 ลานบาท หรือรอยละ 2.4
การเบิกจายงบประมาณในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558
ลา นบาท
2,575,000
2,575,000
2,060,000
2,060,000
1,545,000
1,545,000
1,030,000
1,030,000
515,000
515,000
0
ต.ค. 57 พ.ย. 57 ธ.ค. 57 ม.ค. 58 ก.พ. 58 มี.ค. 58 เม.ย. 58 พ.ค. 58 มิ.ย. 58 ก.ค. 58 ส.ค. 58 ก.ย. 58
0
ต.ค. 57 พ.ย. 57 ธ.ค. 57 ม.ค. 58 ก.พ. 58 มี.ค. 58 เม.ย. 58 พ.ค. 58 มิ.ย. 58 ก.ค. 58 ส.ค. 58 ก.ย. 58 ปปจจุบัน(รายเดือน) 344,801 180,660 240,910 197,891 131,447 0 0 0 0 0 0 0 สะสม 2557 244,001 476,569 760,825 947,220 1,101,327 1,243,363 1,423,143 1,565,606 1,720,032 1,909,452 2,034,122 2,246,306 สะสม 2558 344,801 525,460 766,371 964,262 1,095,709
- 20 -
• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินจากโครงการลงทุน ภายใตแผนปฏิบตั ิการไทยเขมแข็ง 2555 ในเดือน กุมภาพันธ 2558 จํานวน 453 ลานบาท
- เดือนกุมภาพันธ 2558 มีการเบิกจายเงินจากโครงการ ลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 453 ลานบาท และสงผลใหตั้งแตตนปงบประมาณจนถึง เดือนกุมภาพันธ 2558 มีการเบิกจายรวม 1,555 ลานบาท โดยตั้งแตเริ่มโครงการ (เดือนตุลาคม 2552) เบิกจายไป แลว 333,841 ลานบาท คิดเปนรอยละ 95.7 ของวงเงิน ที่ไดรับอนุมัติ 348,940 ลานบาท
• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินกูภายใต พรก.บริหาร - เดือนกุมภาพันธ 2558 มีการเบิกจายเงินกูภายใต พรก.บริหารจัดการน้ําฯ จํานวน 31 ลานบาท และสงผล จัดการน้ําฯ ในเดือนกุมภาพันธ 2558 จํานวน ใหตั้งแตตนปงบประมาณจนถึงเดือนกุมภาพันธ 2558 31 ลานบาท มีการเบิกจายรวม 668 ลานบาท โดยตั้งแตเริ่มโครงการ (เดือนกุมภาพันธ 2555) เบิกจายไปแลว 22,963 ลานบาท คิดเปนรอยละ 6.6 ของวงเงินที่ไดรับอนุมัติจํานวน 350,000 ลานบาท หนวย: ลานบาท
ปงบประมาณ 2558
โครงการ
วงเงินที่ไดรับ อนุมัติ
2553
2554
2555
2556
เบิกจาย
1.โครงการภายใตปฏิบัติการไทยเขมแข็ง1/ 2. เงินกูภายใต พรก. บริหารจัดการน้ําฯ
348,940 350,000
234,369 -
61,391 -
24,420 1,762
7,509 13,740
4,597 6,793
ตั้งแตตนปงบประมาณ จนถึงสิ้นเดือน ก.พ.58
ก.พ. 58
2557
453 31
รอยละของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ
0.1 0.0
เบิกจาย
รอยละของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ
1,555 668
0.4 0.2
ตั้งแตเริ่มโครงการ จนถึงสิ้นเดือนก.พ.58 เบิกจาย
รอยละของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ
333,841 22,963
95.7 6.6
หมายเหตุ 1/เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553 คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหยกเลิกวงเงินเหลือจายคงเหลือ จํานวน 1,020 ลานบาท ทําใหเหลือวงเงินที่ไดรับอนุมัติ 348,940 ลานบาท (วงเงินที่ไดรับอนุมัติเดิม 349,960 ลานบาท) 2/ เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหยกเลิกการดําเนินการตาม พรก . บริหารจัดการน้ําจํานวน 324,606 ลานบาท
• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินกูตางประเทศ ในเดือน - เดือนกุมภาพันธ 2558 มีการเบิกจายเงินกูตางประเทศ จํานวน 1,752 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลว กุมภาพันธ 2558 จํานวน 1,752 ลานบาท จํานวน 1,224 ลานบาท และสงผลใหตั้งแตตนปงบประมาณ จนถึงเดือนกุมภาพันธ 2558 มีการเบิกจายรวม 3,727 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 106 ลานบาท หนวย : ลานบาท
รายการ
กุมภาพันธ 2558 2558
ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ
เปลี่ยนแปลง 2558 2557 จํานวน รอยละ 99.4 72.4 72.8 587.6 535.6 9.7 428.0 1,152.0 269.2 3,130.0 3,298.0 527.4 1,224.4 232.2 3,727.3 3,833.6
2557
เปลี่ยนแปลง จํานวน รอยละ 52.0 9.7 9.7 (168.0) (5.1) (106.3) (2.8)
1. Project Loans 171.8 2. Structural Adjustment Loans (SAL) 3. Development Policy Loan (DPL)* 1,580.0 รวม 1,751.8 ที่มา : สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ, กรมบัญชีกลาง หมายเหตุ : * วงเงินกู DPL 1,300 ลานเหรียญสหรัฐ หรือ 39,284.50 ลานบาท (อัตราแลกเปลี่ยน 1 USD = 30 บาท) วงเงินที่ ครม. อนุมัติแลว 37,928.54 ลานบาท ประกอบดวยเงินกูภายใต TKK 17,684.99 ลานบาท และนอก TKK 20,243.55 ลานบาท
- 21 -
• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินเขาสูระบบเศรษฐกิจ - ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กุมภาพันธ 2558) มีการเบิกจายเงินเขาสู ทั้งสิ้น 1,214,241 ลานบาท ระบบเศรษฐกิจจํานวนทั้งสิ้น 1,214,241 ลานบาท แบงเปน งบประมาณรายจายประจําป 2558 จํานวน 1,095,709 ลานบาท รายจายปกอน 114,557 ลานบาท โครงการลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 1,555 ลานบาท โครงการภายใต พรก.บริหาร จัดการน้ําฯ จํานวน 668 ลานบาท และการเบิกจาย เงินกูตางประเทศจํานวน 1,752 ลานบาท
- 22 -
การเบิกจายเงินกูตางประเทศ ผลการเบิกจาย - เดือนกุมภาพันธ 2558 มีการเบิกจายเงินกูตางประเทศ 1,751.8 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลว 1,224.4 ลานบาท - ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กุมภาพันธ 2558) มีการเบิกจายเงินกู ตางประเทศ 3,727.3 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 106.3 ลานบาท สรุปการเบิกจายเงินกูตางประเทศ เดือนกุมภาพันธ 2558 และในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558
รายการ 1. Project Loans 2. Structural Adjustment Loans (SAL) 3. Development Policy Loan (DPL)* รวม
2558 171.8 1,580.0 1,751.8
หนวย : ลานบาท กุมภาพันธ ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ เปลี่ยนแปลง เปลีย่ นแปลง 2557 2558 2557 จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ 99.4 72.4 72.8 587.6 535.6 52.0 9.7 9.7 9.7 428.0 1,152.0 269.2 3,130.0 3,298.0 (168.0) (5.1) 527.4 1,224.4 232.2 3,727.3 3,833.6 (106.3) (2.8)
ที่มา : สํานักงานบริหารหนีส้ าธารณะ, กรมบัญชีกลาง หมายเหตุ : * วงเงินกู DPL 1,300 ลานเหรียญสหรัฐ หรือ 39,284.50 ลานบาท (อัตราแลกเปลี่ยน 1 USD = 30 บาท) วงเงินที่ ครม. อนุมัติแลว 37,928.54 ลานบาท ประกอบดวยเงินกูภายใต TKK 17,684.99 ลานบาท และนอก TKK 20,243.55 ลานบาท
- 19 -
การเบิกจายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค.1/ • เดือนกุมภาพันธ 2558 กองทุนนอกงบประมาณเบิกจาย 22,356 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลว 2,780 ลานบาท หรือรอยละ 14.2 เปนผลจากการเพิ่มขึ้นของรายจาย กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ เปนสําคัญ • ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – กุมภาพันธ 2558) กองทุนฯ เบิกจาย 238,116 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 5,187 ลานบาท หรือรอยละ 2.2 สาเหตุหลักมาจากกองทุน หลักประกันสุขภาพแหงชาติท่มี กี ารเบิกจาย เพิ่มขึ้น
เดือนกุมภาพันธ 2558 มีการเบิกจายรวม 22,356 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลว 2,780 ลานบาท หรือรอยละ 14.2 ประกอบดวยรายจาย 20,762 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกัน ปที่แลว 2,921 ลานบาท และการใหกูยืมสุทธิ 1,594 ลานบาท ต่ํากวาเดือนเดียวกันปที่แลว 141 ลานบาท ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 มีการเบิกจาย รวม 238,116 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 5,187 ลานบาท หรือรอยละ 2.2 ประกอบดวย 1) รายจาย 231,807 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันของ ปที่แลว 6,765 ลานบาท หรือรอยละ 3.0 เปนผลมาจากกองทุน หลักประกันสุขภาพแหงชาติท่ีมีการเบิกจายเพิ่มขึ้น 2) เงินใหกูยืมสุทธิ 6,309 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกัน ของปที่แลว 1,578 ลานบาท หรือรอยละ 20.0 เปนผลมาจาก กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษามีรายจายเพื่อการกูยืมลดลง
การเบิกจายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. เดือนกุมภาพันธ 2558 และในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 หนวย : ลานบาท กุมภาพันธ รายการ
2558*
2557
1. รายจาย
20,762
2. เงินใหกูยืมสุทธิ
1,594
เปรียบเทียบ
ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ เปรียบเทียบ 2558* 2557 จํานวน รอยละ
จํานวน
รอยละ
17,841
2,921
16.4
231,807
225,042
1,735
(141)
(8.1)
6,309
7,887
รวม 22,356 19,576 หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ โดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
2,780
14.2
238,116
232,929
1/
6,765
(1,578) (20.0) 5,187
การเบิกจายของกองทุนนอกงบประมาณ 14 กองทุน (จากกองทุนทั้งหมด 115 กองทุน) ประกอบดวย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณและการทําของ กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนคาธรรมเนียมผานทาง กองทุนสงเสริมวิสาหกิจฯ กองทุนออยและน้ําตาลทราย กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ กองทุนหมูบานและชุมชนเมืองแหงชาติ กองทุนสงเสริมการอนุรักษพลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจยั
- 23 -
3.0 2.2
ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด1 ปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557– กุมภาพันธ 2558) ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 รัฐบาลมี • ในชวง 5 เดือนแรกของ รายไดนําสงคลัง 797,432 ลานบาท และมีการเบิกจาย ปงบประมาณ 2558 ดุลการคลัง ของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสด งบประมาณจากงบประมาณปปจ จุบนั และปกอนรวม ขาดดุล 411,873 ลานบาท คิดเปน 1,210,266 ลานบาท สงผลใหดลุ เงินงบประมาณขาดดุล จํานวน 412,834 ลานบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอก รอยละ 3.3 ของ GDP 2 งบประมาณที่เกินดุล 961 ลานบาท ทําใหดุลเงินสด ขาดดุลทั้งสิ้น 411,873 ลานบาท ทั้งนี้ รัฐบาลไดชดเชย การขาดดุลโดยการออกพันธบัตร 99,259 ลานบาท สงผลใหเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ 2558 มีจาํ นวนทั้งสิ้น 183,133 ลานบาท ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด
รายได รายจาย - ปปจจุบัน - ปกอน ดุลเงินงบประมาณ ดุลเงินนอกงบประมาณ ดุลเงินสดกอนกู เงินกูเพื่อชดเชยการขาดดุล ดุลเงินสดหลังกู เงินคงคลังปลายงวด
ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 2557 797,432 791,846 1,210,266 1,218,646 1,095,709 1,101,327 114,557 117,319 (412,834) (426,800) 961 (61,609) (411,873) (488,409) 99,259 120,311 (312,614) (368,098) 183,133 236,954
ที่มา : กรมบัญชีกลาง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
1
หนวย: ลานบาท
เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ 5,586 0.7 (8,380) (0.7) (5,618) (0.5) (2,762) (2.4) 13,966 (3.3) 62,570 (101.6) 76,536 (15.7) (21,052) (17.5) 55,484 (15.1) (53,821) (22.7)
ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด เปนดุลการคลังที่แสดงใหเห็นผลกระทบตอเงินคงคลังและการกูเงินเพื่อชดเชยการขาดดุล GDP ปงบประมาณ 2557 เทากับ 12,065,116 ลานบาท และ GDP ปงบประมาณ 2558 เทากับ 12,495,700 ลานบาท
2
- 24 -
ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) 3 ในชวงหาเดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม - กุมภาพันธ 2558) • ปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557กุมภาพันธ 2558) รัฐบาลขาดดุล 216,287 ลานบาท โดยขาดดุล งบประมาณ 323,981 ลานบาท ในขณะที่กองทุนนอกงบประมาณ เกินดุล 113,643 ลานบาท นอกจากนี้ มีรายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจ และพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) จํานวน 3,130 ลานบาท รายจาย ตามแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง จํานวน 1,555 ลานบาท รายจาย เพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา จํานวน 668 ลานบาท และเงินกู ตางประเทศ (Project loan และ SAL) จํานวน 597 ลานบาท
ดานรายได รัฐบาลมีรายไดรวมทั้งสิ้น 902,823 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 40,729 ลานบาท ประกอบดวย รายไดในงบประมาณ (กอนจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อปท.) 902,204 ลานบาท และเงินชวยเหลือตางประเทศ 619 ลานบาท ดานรายจาย รัฐบาลมีรายจายทั้งสิ้น 1,226,804 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 29,261 ลานบาท ประกอบดวย รายจาย (ไมรวมรายจายชําระตนเงินกูการถือครองสินทรัพย ทางการเงิน รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนา โครงสรางพื้นฐาน (DPL) รายจายเพื่อวางระบบการบริหาร จัดการน้ํา เงินกูตางประเทศ และรายจายตามแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง) จํานวน 1,226,185 ลานบาท และเงินชวยเหลือตางประเทศ 619 ลานบาท ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิ้น 323,981 ลานบาท ขาดดุลลดลงจากชวงเดียวกันปที่แลว 69,990 ลานบาท กองทุนนอกงบประมาณ มีรายไดรวมทั้งสิ้น 239,908 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 13.9 ในขณะที่มีรายจายจํานวน 119,955 ลานบาท สูงกวา ชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 2.6 และมีเงินใหกูหักชําระคืน 6,310 ลานบาท สงผลใหดุลของกองทุนนอกงบประมาณ เกินดุล 113,643 ลานบาท ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุล มีสาเหตุมาจากดุลเงิน งบประมาณที่ขาดดุลเปนสําคัญ โดยเมื่อรวมกับดุลเงิน นอกงบประมาณที่เกินดุล รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจ และพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) รายจายตาม แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง รายจายเพื่อวางระบบการ บริหารจัดการน้ํา และเงินกูตางประเทศ จํานวน 3,130 1,555 668 และ 597 ลานบาท ตามลําดับ ทําใหดุลการคลังรัฐบาล ขาดดุลจํานวน 216,287 ลานบาท
3
ดุลการคลังตามระบบ สศค. เปนดุลการคลังที่สะทอนเม็ดเงินที่แทจริงที่สงผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจ
- 25 -
ดุลการคลังเบื้องตนของรัฐบาล (Primary Balance) ซึ่งเปนดุลการคลังที่สะทอนถึงผลการดําเนินงานของรัฐบาล และทิศทางของนโยบายการคลังรัฐบาลอยางแทจริง (ไมรวมรายได และรายจายจากดอกเบีย้ และการชําระ คืนตนเงินกู) ขาดดุลทั้งสิน้ 169,267 ลานบาท ในขณะที่ ชวงเดียวกันปที่แลวขาดดุล 273,006 ลานบาท ดุลการคลังเบื้องตนตามระบบ สศค. หนวย : ลานบาท ปงบประมาณ รัฐบาล 1. รายได 2. รายจาย 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. แผนปฎิบัติการไทยเขมแข็ง (TKK) 5. รายจายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา 6. รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) 7. เงินกูตางประเทศ (Project loan และ SAL) 8. ดุลกองทุนนอกงบประมาณ (8.1-8.2-8.3) 8.1 รายได 8.2 รายจาย 8.3 เงินใหกูหักชําระคืน 9. ดุลการคลังของรัฐบาล (3+8-4-5-6-7) 10. ดุลการคลังเบื้องตนของรัฐบาล
เดือนกุมภาพันธ 2558
2557
เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ
163,719 154,488 9,231 453 31 1,580 172 3,948 26,304 20,762 1,594 10,943 11,314
164,768 188,476 (23,708) 211 432 428 99 4,548 24,124 17,841 1,735 (20,330) (19,902)
(1,049) (33,988) 32,939 242 (401) 1,152 73 (600) 2,180 2,921 (141) 31,273 31,216
จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
- 26-
(0.6) (18.0) (138.9) 114.4 (92.9) 269.1 72.8 (13.2) 9.0 16.4 (8.2) (153.8) (156.8)
ปงบประมาณ 2558 902,823 1,226,804 (323,981) 1,555 668 3,130 597 113,643 239,908 119,955 6,310 (216,287) (169,267)
% of GDP 7.2 9.8 (2.6) 0.0 0.0 0.0 0.0 0.9 1.9 1.0 0.1 (1.7) (1.4)
2557 862,094 1,256,065 (393,971) 863 3,261 3,298 536 85,703 210,560 116,970 7,887 (316,226) (273,006)
% of GDP 7.1 10.4 (3.3) 0.0 0.0 0.0 0.0 0.7 1.7 1.0 0.1 (2.6) (2.3)
เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ 40,729 (29,261) 69,990 691 (2,593) (168) 61 27,940 29,348 2,985 (1,577) 99,939 103,739
4.7 (2.3) (17.8) 80.1 (79.5) (5.1) 11.5 32.6 13.9 2.6 (20.0) (31.6) (38.0)
ดุลการคลังของภาคสาธารณะตามระบบงบประมาณ ระบบกระแสเงินสด และตามระบบ สศค. ปงบประมาณ 2557 - 2558 ปงบประมาณ รัฐบาล 1. รายได - รายไดสุทธิ - จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. - จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ - เงินชวยเหลือตางประเทศ - อื่นๆ 2. รายจาย - รายจายปปจจุบัน (อัตราการเบิกจาย : %) - รายจายปกอน - จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. - จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ - เงินชวยเหลือตางประเทศ - หัก สวนเกินพันธบัตรรัฐบาล - อื่นๆ 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. ดุลนอกงบประมาณ 5. รายจายจากเงินกูตางประเทศ 6. รายจายจากไทยเข็มแข็ง (TKK) และมาตรการกระตุนเศรษฐกิจ 7.รายจายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา 8.รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) 9. บัญชีนอกงบประมาณ(9.1-9.2-9.3) 9.1 รายได 9.2 รายจาย 9.3 เงินใหกูหักชําระคืน 10. การหับนับซ้ําของรัฐบาล 10.1 รายได 10.2 รายจาย 11. ดุลการคลังของรัฐบาล (3+4-5-6-7-8+9-10)
จํานวน
% of GDP
เอกสารงบประมาณ
จํานวน
2557
% of GDP
ระบบกระแสเงินสด
2,275,000.0
18.3
2,070,018.0
17.2
2,525,000.0 2,525,000.0
20.3 20.3
2,459,990.0 2,246,306.0 89.0 213,684.0
20.4 18.6
(250,000.0)
(250,000.0)
(2.0)
(2.0)
1.8
(389,972.0) 8,161.7
(3.2) 0.1
(381,810.3)
(3.2)
จํานวน
% of GDP
ระบบ สศค. 2,306,459.8 2,075,024.4 9,263.4 96,387.0 5,368.0 120,417.0 2,578,257.6 2,184,524.0 86.5 213,684.0 9,263.4 96,387.0 5,368.0 5,857.8 74,889.0 (271,797.8) 2,414.0 4,597.0 6,793.0 6,646.0 39,675.7 449,424.2 395,842.5 13,906.0 183,714.0 183,714.0 (252,572.1)
จํานวน
% of GDP
เอกสารงบประมาณ
2558e จํานวน
หนวย: ลานบาท % of GDP
ระบบกระแสเงินสด
19.1 17.2 0.1 0.8 0.0
2,325,000
18.7
2,325,000
19.3
21.4 18.1
2,575,000 2,575,000
20.7 20.7
2,718,256 2,476,161 96.2 242,095
22.5 20.5
1.8 0.1 0.8 0.0 0.0 (2.3) 0.0 0.0 0.1 0.1 0.3 3.7 3.3 0.1 1.5 1.5 (2.1)
(250,000)
(250,000)
(2.0)
(1.9)
2.0
(393,256) 40,981
(3.3) 0.3
(352,275)
(2.8)
องคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. รายรับ (12.1+12.2) 554,348.9 4.6 12.1 รายได 199,941.0 1.7 12.2 เงินชวยเหลือจากรัฐบาล 354,407.9 2.9 13 รายจาย 533,120.2 4.4 14. ดุลการคลัง (12-13) 21,228.7 0.2 15. การหักนับซ้ําของภาครัฐบาล 15.1 รายได 354,407.9 2.9 15.2 รายจาย 354,407.9 2.9 16. ดุลการคลังของภาครัฐบาล (11+14-15) (231,343.4) (1.9) GDP (ลานบาท) 12,424,000 12,065,116 12,065,116 13,201,000 12,495,700 หมายเหตุ 1. ดุลการคลังตามระบบงบกระแสเงินสดเปนการแสดงรายได (รวมคา Premium และรายไดจากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ แตไมรวมรายรับจากการกูเงินเพื่อชดเชยการขาดดุลและรายไดจากภาษีมูลคาเพิ่ม ที่โอนใหแกอปท.) และรายจายทั้งหมดจากบัญชีเงินคงคลัง 2. ระบบ สศค. มีรายการปรับปรุงรายไดเพิ่มเติมจากระบบกระแสเงินสด คือ อบจ. ,พรบ.แผน,ภาคหลวงแร,ภาคหลวงปโตรเลียม,ดอกเบี้ยพันธบัตร FIDF,การชําระตนเงินกูพันธบัตร FIDF,เงินชวยเหลือตางประเทศ หัก การขายสินทรัพย,เงินเหลือจาย,เงินกูรับคืน รายไดเงินกูรับคืน และรวมเงินภาษีที่จัดสรรให อปท. และเงินชวยเหลือจากตางประเทศ ตั้งแตปงบประมาณ 2546 เปนตนมา 3. ระบบ สศค. มีการปรับปรุงทางดานรายจาย คือ อบจ. ,พรบ.แผน,ภาคหลวงแร,ภาคหลวงปโตรเลียม,ดอกเบี้ยพันธบัตร FIDF,เงินชวยเหลือตางประเทศ หัก สวนเกินพันธบัตร,การขายสินทรัพย,เงินเหลือจาย,เงินใหกูรับคืน และเงินภาษีที่จัดสรรใหอปท. . 4. บัญชีนอกงบประมาณประกอบดวย เงินทนหมนเวียน และกองทนนอกงบประมาณ ทั้งนี้ ไดบันทึกขอมูลตามเกณฑคงคาง สําหรับกองทุนน้ํามันไดเริ่มบันทึกรายจายชดเชยน้ํามันตามเกณฑคงคางตั้งแตเดือนมกราคม 2547 เปนตนมา 5. รายไดตามระบบกระแสเงินสดบันทึกอยูในระบบ cash basis สวนรายไดตามระบบ สศค. บันทึกอยูในระบบ acrual basis 6. ขอมูล GDP ป 2557 อางอิงจากขอมูลประมาณการจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2557 7. รายจายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา อยูระหวางการเสนอ ครม. จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่มา : กรมบัญชีกลาง สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ ธนาคารแหงประเทศไทย และ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ วันทีบันทึกขอมูล : 31 มีนาคม 2558
- 26-27-
จํานวน ระบบ สศค. 2,565,509 2,325,000 10,260 109,000 1,449 119,800 2,881,300 2,476,161 96.2 242,095 10,260 109,000 1,449 6,000 48,335 (315,790)
% of GDP 20.5 18.6 0.1 0.9 0.0 1.0 23.1 19.8 1.9 0.1 0.9 0.0 0.0 (2.5)
3,000 14,000 1,412 6,330 42,300 476,400 419,600 14,500 137,761 137,761 (298,232)
0.0 0.1 0.0 0.1 0.3 3.8 3.4 0.1 1.1 1.1 (2.4)
587,213 329,549 257,664 528,492 58,721
4.7 2.6 2.1 4.2 0.5 2.1 2.1 (1.9)
257,664 257,664 (239,511) 12,495,700
ฐานะการคลังองคกรปกครองสวนทองถิน่ ฐานะการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ของปงบประมาณ 2558 (เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2557) 1. ดานรายได อปท.1 จํานวน 7,853 แหง มีรายไดรวม 177,684 ลานบาท ลดลงจาก ชวงเดียวกันปที่แลว 38,112 ลานบาท หรือรอยละ 17.7 ซึ่งเปนการลดลงของรายไดจากเงินอุดหนุน มากที่สุดจํานวน 39,541 ลานบาท หรือรอยละ 27.5 ในขณะที่รายไดจัดเก็บเองเพิ่มขึ้น 826 ลานบาท หรือรอยละ 12.9 อยางไรก็ดี รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงใหเพิ่มขึ้น 603 ลานบาท หรือรอยละ 0.9 ตารางที่ 1 รายไดของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ของปงบประมาณ 2558 ประเภท 1. รายไดจัดเก็บเอง 1/ (รอยละของรายไดรวม) 1.1 รายไดจากภาษีอากร 1.2 รายไดที่ไมใชภาษีอากร 2. รายไดจากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบงให 2/ (รอยละของรายไดรวม) 3. รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล 3/ (รอยละของรายไดรวม) รวม (รอยละของรายไดรวม)
ไตรมาสที่ 1 ปงบประมาณ 2558 ปงบประมาณ 2557 7,239 6,413 4.1 3.0 2,521 2,334 4,718 4,079 66,263 65,660 37.3 30.4 104,182 143,723 58.6 66.6 177,684 215.796 100 100
หนวย : ลานบาท
เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ 826 12.9 187 639 603
8.0 15.7 0.9
(39,541)
(27.5)
(38,112)
(17.7)
หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 30 มกราคม 2558 ที่มา : 1/ องคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) และคาดการณโดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 2/ รายไดจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กรมที่ดิน กรมการขนสงทางบก กรมการปกครอง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายไดเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
รายไดของ อปท. จําแนกตามแหลงที่มาได ดังนี้ 1.1 รายไดที่จัดเก็บเอง จํานวน 7,239 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันปที่แลว 826 ลานบาท หรือรอยละ 12.9 ประกอบดวย รายไดจากภาษีอากร 2,521 ลานบาท และรายไดที่ไมใชภาษีอากร 4,718 ลานบาท 1.2 รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให จํานวน 66,263 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันปที่แลว 603 ลานบาท หรือรอยละ 0.9 1.3 รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล จํานวน 104,182 ลานบาท ลดลงจากชวงเดียวกันปทีแ่ ลว 39,541 ลานบาท หรือรอยละ 27.5
- 28 -
2. ดานรายจาย อปท. 1 จํานวน 7,853 แหง มีรายจายทั้งสิ้น 159,851 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก ชวงเดียวกันปที่แลว 17,978 ลานบาท หรือรอยละ 12.7 เนื่องจากมีการเพิ่มขึ้นของรายจายประจํา 11,250 ลานบาท หรือรอยละ 16.5 ไดแก เงินเดือน รองลงมา คือ รายจายเงินกันไวเบิกเหลื่อมป เพิม่ ขึน้ 4,818 ลานบาท หรือรอยละ 22.1 ไดแก คาตอบแทนใชสอยและวัสดุ ตารางที่ 2 รายจายของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ของปงบประมาณ 2558 ประเภท 1. รายจายงบกลาง 2. รายจายประจํา 3. รายจายเพื่อการลงทุน 4. รายจายพิเศษ 5. รายจายจากเงินกันไวเบิกเหลื่อมป รวม
ไตรมาสที่ 1 ปงบประมาณ 2558 ปงบประมาณ 2557 10,688 8,003 79,483 68,233 3,046 3,733 39,981 40,069 26,653 21,835 159,851 141,873
หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 30 มกราคม 2558 จัดทําโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
หนวย : ลานบาท
เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ 2,685 33.6 11,250 16.5 -687 -18.4 -88 -0.2 4,818 22.1 17,978 12.7
3. ดุลการคลัง 2 อปท. เกินดุล 17,833 ลานบาท ลดลงจากชวงเดียวกันของปที่แลว 56,090 ลานบาท หรือรอยละ 75.9 ตารางที่ 3 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ของปงบประมาณ 2558 ประเภท 1. รายได 1.1 รายไดที่จัดเก็บเอง 1/ 1.2 รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บ และแบงให 2/ 1.3 รายไดจากเงินอุดหนุน 3/ 2. รายจาย 3. ดุลการคลัง 4/
ไตรมาสที่ 1 ปงบประมาณ 2558 ปงบประมาณ 2557 177,684 215,796 7,239 6,413
หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ -38,112 -17.7 826 12.9
66,263
65,660
603
0.9
104,182 159,851 17,833
143,723 141,873 73,923
-39,541 17,978 -56,090
-27.5 12.7 -75.9
หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 30 มกราคม 2558 ที่มา : 1/ จากองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) 2/ รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กรมที่ดิน กรมการขนสงทางบก กรมการปกครอง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ พิจารณาจากขอมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) ของ ธปท. และเงินฝากคลัง อปท.ในกระทรวงการคลังจากกรมบัญชีกลาง รวบรวมและวิเคราะหโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
1 2
รายจาย อปท. พิจารณาจากผลตางของรายไดกบั ดุลการคลังของ อปท. ดุลการคลังของ อปท. พิจารณาจากขอมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) จากธนาคารแหงประเทศไทย และเงินฝากคลัง อปท. ในกระทรวงการคลังจากกรมบัญชีกลาง
- 29 -
แผนภูมิที่ 1 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ของปงบประมาณ 2558 ลานบาท 250,000 200,000
ไตรมาส 1 ปงบประมาณ 2557
215,796
ไตรมาส 1 ปงบประมาณ 2558
177,684 141,873
150,000
159,851
100,000
73,923
50,000 0
17,833
1. รายได
2. รายจาย
- 30 -
3. ดุลการคลัง
สถานการณดานหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนมกราคม 2558 หนวย : ลานบาท
• หนี้สาธารณะคงคางจํานวน 5,658,059.4 ลานบาท คิดเปน รอยละ 46.5 ของ GDP เพิ่มขึ้น จากเดือนที่แลว 34,085.5 ลานบาท ประกอบดวย หนี้ในประเทศ คิดเปนรอยละ 93.8 สวนที่เหลือ รอยละ 6.2 เปนหนี้ตางประเทศ และเมื่อแบงตามอายุเครื่องมือ การกูเงิน หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 97.7 และหนีร้ ะยะสั้น รอยละ 2.3 กรณีแบงตามอายุ คงเหลือ หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 87.6 สวนที่เหลือรอยละ 12.4 เปนหนีร้ ะยะสั้น • หนีค้ งคางที่เพิ่มขึ้น มีสาเหตุมาจากหนี้ของรัฐบาล เพิ่มขึ้นจากเดือนที่แลว 42,109.7 ลานบาท ในขณะที่หนี้ของ รัฐวิสาหกิจ และหนี้หนวยงานอื่น ของรัฐ ลดลง 6,978.2 และ 1,046 ลานบาท ตามลําดับ
31 ธ.ค. 57 1. รวมหนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง 3,954,659.25 หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง-ตางประเทศ 75,749.11 หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง-ในประเทศ 3,878,910.14 2. รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจ 1,661,344.00 หนี้ที่รัฐบาลค้ําประกัน-ตางประเทศ 106,097.82 หนี้ที่รัฐบาลค้ําประกัน-ในประเทศ 902,593.19 หนี้ที่รัฐบาลไมค้ําประกัน-ตางประเทศ** 167,575.05 หนี้ที่รัฐบาลไมค้ําประกัน-ในประเทศ** 485,077.94 3. หนีข้ องหนวยงานภาครัฐอืน่ * 7,970.58 หนี้ที่รัฐบาลค้ําประกัน-ในประเทศ 0.00 หนี้ที่รัฐบาลไมค้ําประกัน-ในประเทศ 7,970.58 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟนฟูฯ FIDF 0.00 5. ยอดหนีส้ าธารณะคงคางรวม 5,623,973.83 (1+2+3+4) GDP*** 12,141,100.00 หนี้สาธารณะคงคางรวมตอ GDP (%) 46.3 หมายเหตุ
31 ม.ค. 58 3,996,768.97 76,579.99 3,920,188.98 1,654,365.81 105,425.59 901,702.20 167,626.38 479,611.64 6,924.58 0.00 6,924.58 0.00 5,658,059.36 12,178,830.00 46.5
* หนวยงานภาครัฐอื่น ไดแก สถาบันบริหารกองทุนพลังงาน ** ไมรวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน *** สํานักงานบริหารหนีส้ าธารณะไดปรับวิธีการคํานวณ GDP ในแตละเดือน โดย GDP ของเดือน ธันวาคม 2557 เทากับ 12,141.10 พันลานบาท และ GDP ของเดือนมกราคม 2558 คํานวณ ดังนี้ (GDP ไตรมาส 1 ป 57/3)*2 + (GDP ไตรมาส 2-4 ป 57) + (ประมาณการ GDP ป 58/12) เทากับ 12,178.83 พันลานบาท ที่มา สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ รวบรวมโดย สวนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
- 31 -
• หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง เพิ่มขึ้น 42,109.8 ลานบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แลว โดย มีสาเหตุหลักจากหนี้เงินกู ลวงหนาเพื่อปรับโครงสรางหนี้ และเงินกูเพื่อชดใชการขาดดุล งบประมาณและการบริหารหนี้ เพิ่มขึ้น 23,976.0 และ 17,116.6 ลานบาท ตามลําดับ • หนี้ของรัฐวิสาหกิจลดลง 6,978.2 ลานบาท เมื่อเทียบ กับเดือนที่ มีสาเหตุหลักมาจาก บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ไถถอนตั๋วแลกเงิน ที่ครบกําหนด รัฐวิสาหกิจมี การเบิกจายจากแหลงเงินกู ตางๆ นอยกวาชําระคืนตนเงินกู และการไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทยไถถอนพันธบัตร ที่ครบกําหนด จํานวน 3,000 1,339.1 1,000 ลานบาท ตามลําดับ
สัดสวนหนี้ในประเทศและหนี้ตางประเทศ หนีใ้ นประเทศ หนีต้ า งประเทศ จํานวน (ลานบาท) 5,308,427.4 349,632.0 รอยละ (%) 93.8 6.2 สัดสวนหนี้ระยะยาวและหนี้ระยะสั้น (แบงตามอายุของเครื่องมือการกูเงิน) หนีร้ ะยะยาว 5,525,971.6 97.7
จํานวน (ลานบาท) รอยละ (%)
หนี้ระยะสั้น 132,087.7 2.3
สัดสวนหนี้ระยะยาวและหนี้ระยะสั้น (แบงตามอายุคงเหลือ) หนีร้ ะยะยาว 4,958,188.4 87.6
จํานวน (ลานบาท) รอยละ (%)
• หนีห้ นวยงานอืน่ ของรัฐ ลดลง 1,046.0 ลานบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แลว เนื่องจากกองทุนออยและ น้ําตาลไดเบิกจายจาก แหลงเงินกูนอยกวาชําระคืน ตนเงินกู
- 32 -
หนี้ระยะสั้น 699,871.0 12.4
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง กระทรวงการคลังไดกําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง เพื่อเปนแนวทางในการดําเนิน นโยบายทางการคลังที่สอดคลองกับสถานะเศรษฐกิจการเงินและการคลังของประเทศ โดยมีเปาหมาย เพื่อรักษาเสถียรภาพดานการคลังในระยะปานกลางและระยะยาว ซึ่งกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ประกอบดวยตัวชี้วัดและเปาหมาย (60-15-0-25) ดังนี้ • สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ไมเกินรอยละ 60 • ภาระหนี้ตองบประมาณไมเกินรอยละ 15 • การจัดทํางบประมาณสมดุล • สัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณรายจายไมต่ํากวารอยละ 25 สํานักงานเศรษฐกิจการคลังไดจัดทําการวิเคราะหความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง เพื่อใชเปนแนวทางในการประเมินและรักษาความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีผลการวิเคราะหระหวาง ปงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งสรุปไดดังนี้ • สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ในปงบประมาณ 2558 อยูที่รอยละ 47.1 และลดลง เปนรอยละ 42.6 ในปงบประมาณ 2562 • ระดับภาระหนี้ตองบประมาณอยูในระดับรอยละ 7.1 ในปงบประมาณ 2558 และ เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 8.9 ในปงบประมาณ 2562 • รัฐบาลมีนโยบายลดการขาดดุลงบประมาณ โดยกําหนดใหปงบประมาณ 2558 ถึง 2559 ขาดดุลงบประมาณ 250,000 และ 100,000 ลานบาท ตามลําดับ และจัดทํา งบประมาณสมดุลในปงบประมาณ 2560 เพื่อรักษาวินัยการคลังและขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ใหขยายตัวอยางมีเสถียรภาพ • สัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณรายจายคาดวาจะอยูใ นระดับเฉลี่ย รอยละ 14.3 ตองบประมาณรายจายตลอดชวงปงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งต่ํากวาระดับที่กําหนดไว อยางไรก็ดี รัฐบาลไดมีการดําเนินโครงการลงทุนผานเงินนอกงบประมาณ (พ.ร.ก. ให อํานาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อบริหารจัดการน้ําฯ และการกูเงินเพื่อลงทุนโครงสราง พืน้ ฐานฯ ในป 2558 - 2562) ซึง่ เมื่อรวมการลงทุนจากเงินนอกงบประมาณดังกลาว จะทําสัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณเพิ่มขึ้นอยูในระดับเฉลี่ย รอยละ 22.5 ตองบประมาณรายจาย
- 33 -
ผลการวิเคราะหการดําเนินงานตามกรอบความยัง่ ยืนทางการคลัง ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ของปงบประมาณ 2557 หนวย: ลานบาท 1)
1. หนี้สาธารณะคงคาง /GDP (FY) (1.2/1.1) 1.1 nominal GDP (FY)1) 1.2 หนี้สาธารณะคงคาง 2. ภาระหนี/้ งบประมาณ2) ( 2.1/3.2) 2.1 ภาระหนี้ (2.1.1 + 2.1.2) 2.1.1 ชําระตนเงินกู 2.1.2 ดอกเบี้ยและคาธรรมเนียม 3. ดุลงบประมาณ (3.1 - 3.2) 3.1 รายไดรัฐบาลสุทธิ3) 3.2 งบประมาณรายจาย4) 4. รายจายลงทุน/งบประมาณ (4.1/3.2) 4.1 รายจายลงทุน
2558 47.1 13,010,100 6,134,205 7.1 183,271 55,700 127,571 -250000 2,325,000 2,575,000 17.5 449,476
2559 46.3 13,920,807 6,450,752 9.3 239,885 76,854 163,031 -100000 2,487,800 2,587,800 13.9 358,771
2560 45.3 14,895,263 6,745,318 9.4 249,327 78,965 170,362 2,661,900 2,661,900 13.3 354,287
2561 44.1 15,937,932 7,034,173 9.2 261,742 85,154 176,588 2,848,200 2,848,200 13.0 370,266
2562 42.6 17,053,587 7,260,294 8.9 271,941 92,133 179,808 3,047,600 3,047,600 13.6 415,163
ที่มา : 1) ขอสมมติฐานเศรษฐกิจป 2558 – 2562 จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 2) ขอมูลภาระหนี้ตองบประมาณป 2558 จากเอกสารงบประมาณรายจายประจําป 2558 และป 2559– 2562 จากสํานักงานบริหาร หนี้สาธารณะ ณ วันที่ 3 ตุลาคม 2557 3) ประมาณการรายไดรฐั บาลสุทธิ ป 2558 ตามเอกสารงบประมาณ และป 2559 – 2562 ประมาณการโดย สศค. 4) ขอมูลงบประมาณรายจายป 2558 จากเอกสารงบประมาณป 2558 และป 2559 – 2562 ประมาณการโดย สศค.
- 34 -
การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ
1/
ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ป 2557 (ณ 31 ธันวาคม 2557)
ผลการดําเนินงานในภาพรวม 1. ผลการดําเนินงานของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA การดําเนินโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA มียอดสินเชื่อคงคาง ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ป 2557 จํานวนทั้งสิ้น 904,452.76 ลานบาท ลดลงรอยละ 1.27 จากไตรมาสทีผ่ านมา แสดงใหเห็นวา สถาบันการเงินเฉพาะกิจ ในภาพรวมมีการปลอยสินเชื่อลดลง สาเหตุสวนหนึ่งเกิดจากโครงการพักชําระหนี้เกษตรกรป 2554 ของ ธ.ก.ส. ไดสิ้นสุดโครงการ ขณะที่หนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได (NPLs) ของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ป 2557 มีจํานวนทั้งสิ้น 32,777.87 ลานบาท คิดเปนสัดสวนหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดตอยอดสินเชื่อคงคาง (NPLs Ratio) รอยละ 3.62 ทั้งนี้ จากการพิจารณาพบวา NPLs Ratio ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 - 4 ป 2557 มีสัดสวน ที่คอนขางสูง เนื่องจากโครงการรักษาเสถียรภาพราคายางป 2556/2557 ของ ธ.ก.ส. อยูระหวางการเสนอขยาย อายุโครงการตอคณะรัฐมนตรี ดังนั้น ในเบื้องตน ธ.ก.ส. จึงมีการจัดชั้นใหยอดสินเชื่อคงคางของโครงการดังกลาว เปน NPLs (แผนภาพที่ 1) แผนภาพที่ 1
ลานบาท 1,100,000 976,575.97 1,000,000 3.14 3.14 980,505.04 900,000 941,982.79 916,062.74 800,000 3.07 700,000 600,000 500,000 400,000 300,000 0.76 200,000 30,328.23 100,000 0 Q4/56 Q1/57 Q2/57 Q3/57 สินเชื่อคงคาง
NPLs
3.31
รอยละ 4 4
904,452.76 3 3 2 2 1 32,777.87 Q4/57
1 0
NPLs Ratio
2. ประมาณการความเสียหายของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA แมวาการดําเนินโครงการตามนโยบายรัฐจะสงผลดีตอระบบเศรษฐกิจ แตขณะเดียวกันก็กอใหเกิดภาระ ทางการคลังของรัฐบาลในการชดเชยความเสียหายจากการดําเนินโครงการตาง ๆ ดังจะเห็นไดจากประมาณการ ความเสียหายของสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล (โครงการที่มีการแยกบัญชี PSA) ตั้งแต เริ่มตนจนถึงสิ้นสุดโครงการ ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ป 2557 มีจํานวนทั้งสิ้น 105,629.58 ลานบาท และคงเหลือภาระ ความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาลจํานวน 24,293.45 ลานบาท ทั้งนี้ สัดสวนความเสียหายคงเหลือ รอการชดเชยจากรัฐบาลตอประมาณการความเสียหายโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ทั้งหมด คิดเปนรอยละ หมายเหตุ : 1/ การรายงานการดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังในที่นี้ พิจารณาเฉพาะโครงการที่มีการแยกบัญชีธุรกรรมการดําเนินงานตามนโยบายรัฐ (PSA) ผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) 6 แหง ไดแก ธนาคารออมสิน ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) ธนาคารอาคารสงเคราะห (ธอส.) ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย (ธสน.) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (ธพว.) และธนาคาร อิสลามแหงประเทศไทย (ธอท.) ยกเวนบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) ที่เปนสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ค้ําประกันสินเชื่อ ขณะที่ บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยูอาศัย (บตท.) ไมมีการดําเนินโครงการตามนโยบายรัฐ ทั้งนี้ หลักเกณฑในการพิจารณาโครงการ PSA ของสํานักงานเศรษฐกิจ การคลัง กําหนดใหนับเฉพาะโครงการที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบหลังวันที่ 4 สิงหาคม 2552 เปนตนไป
-35-
23.00 ลดลงจากไตรมาสที่ผานมา เนื่องจากโครงการอุทกภัยป 2553 และ 2554 ของ ธ.ก.ส. ไดรับเงินชดเชย ครบหมดแลว (แผนภาพที่ 2) ลานบาท 120,000
42.55
43.25
33.40
Q4/56
99,390.96
34,361.89
Q1/57
Q2/57
95,966.72 32,056.85
0
79,456.61
20,000
77,794.83 33,099.68
60,000
46,951.49
80,000
40,000
รอยละ 50 45 40 35 30 23.00 25 20 15 10 5 0 Q4/57
47.24
105,629.58 24,293.45
100,000
แผนภาพที่ 2
Q3/57
ประมาณการความเสียหายทั้งหมดที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล ความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาล สัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหายทั้งหมด
ผลการดําเนินงานรายสถาบัน 1. ผลการดําเนินงานรายสถาบันของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ป 2557 ธ.ก.ส. มียอดสินเชื่อคงคางสูงที่สุดจํานวน 831,247.69 ลานบาท รองลงมาคือ ธพว. ที่มียอดสินเชื่อคงคางจํานวน 31,004.00 ลานบาท ขณะที่ NPLs ของ ธ.ก.ส. มีมูลคาสูงที่สุดเทากับ 22,191.56 ลานบาท ลดลงเล็กนอยจากไตรมาสที่ผานมา ซึ่งสาเหตุสําคัญที่ NPLs ของ ธ.ก.ส. ยังคงอยูในระดับสูง เนื่องจากโครงการรักษาเสถียรภาพราคายางป 2556/2557 สิ้นสุดระยะเวลาดําเนินการและอยูระหวางการเสนอ ขยายอายุโครงการตอคณะรัฐมนตรี ดังนั้น ในเบื้องตน ธ.ก.ส. จึงมีการจัดชั้นใหยอดสินเชื่อคงคางของโครงการ ดังกลาวเปน NPLs นอกจากนี้ หากพิจารณา NPLs Ratio พบวา ธอท. และ ธพว. มีสัดสวนคอนขางสูง เนื่องจากกลุมลูกคา จะเปนผูประกอบการรายยอยที่มีความสามารถในการชําระหนี้ต่ํา ไมมีหลักประกัน และเปนผูประกอบการที่ไดรับ ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจหรือภัยธรรมชาติ รวมทั้งบางโครงการมีเงื่อนไขที่ไมตองตรวจเครดิตบูโร กอนการปลอยกู ซึ่งแตกตางจากสถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่นที่ทําหนาที่เปนตัวกลางในการจายเงินแทนรัฐบาล และการปลอยกูระหวางรัฐบาลกับรัฐบาล ทั้งนี้ หากสถาบันการเงินเฉพาะกิจมี NPLs Ratio สูง รัฐบาลอาจมี ความเสี่ยงในการพิจารณาเพิ่มทุนตอไป (แผนภาพที่ ๓) แผนภาพที่ 3
30,000ลานบาท
ธ.ก.ส.
NPL
1.86 ธอส.
ธสน.
-36-
0.00
รอยละ60 40
29.76
ธพว. NPL Ratio
1,197.99
2.67
0.00
ออมสิน
9,227.00
22,191.56 0.00
161.32
0
0.00
20,000 10,000
51.94
ธอท.
20 0
2. ประมาณการความเสียหายของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA 2/ ประมาณการความเสียหายที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล และความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจาก รัฐบาลพบวา ธ.ก.ส. มีมูลคาดังกลาวมากที่สุดจํานวน 80,286.67 และ 7,166.82 ลานบาท ตามลําดับ หรือคิดเปน สัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหายทั้งหมดของ ธ.ก.ส. รอยละ 8.93 รองลงมาคือธนาคารออมสินที่มี ประมาณการความเสียหายและความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาลจํานวน 15,902.46 และ 10,792.02 ลานบาท ตามลําดับ นอกจากนี้ หากพิจารณา ธสน. ธอท. ธอส. และ ธพว. ซึ่งมีสัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหาย ทั้งหมดอยูในระดับสูงเทากับรอยละ 88.22 80.26 80.34 และ 51.80 ตามลําดับแลว พบวา สัดสวนความเสียหาย คงเหลือของ ธสน. ดังกลาว ไมสง ผลกระทบตอการดําเนินงานตามปกติหรือสภาพคลอง เนื่องจาก ธสน. มีโครงการ ที่มีการแยกบัญชี PSA เพียงโครงการเดียว และมีหลักเกณฑการปลอยสินเชื่อที่เขมงวด ดังนั้น คาดวาโครงการ ดังกลาวมีโอกาสเสียหายคอนขางนอย ขณะที่ ธอท. และ ธพว. แมวามูลคาความเสียหายคงเหลือรอการชดเชย จากรัฐบาลคอนขางนอยเมื่อเปรียบเทียบกับสถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่น ๆ แตจากสัดสวนความเสียหายคงเหลือ ตอความเสียหายทั้งหมด และผลการดําเนินงานที่มีสัดสวน NPLs Ratio อยูในระดับสูง อาจสงผลใหรัฐบาล ตองรับภาระชดเชยความเสียหายเพิ่มขึ้น และกระทบตอการดําเนินงานและสภาพคลองของ ธอท. และ ธพว. ในที่สุด (แผนภาพที่ 4) · สําหรับ บสย. แมวาจะเปนสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ค้ําประกันสินเชื่อ แตการค้ําประกันดังกลาวสวนหนึ่ง เปนการค้ําประกันโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ทําใหรัฐบาลมีภาระในการชดเชยความเสียหายเชนเดียวกับ สถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่น ๆ โดยประมาณการความเสียหายที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาลของ บสย. มีจํานวน ทั้งสิ้น 16,881.24 ลานบาท ขณะที่มีความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยอีกจํานวน 13,634.69 ลานบาท
1,050.00 926.30
4,677.50 2,422.79
80,286.67 7,166.82 8.93 ธ.ก.ส.
51.80 2,400.00 1,928.14
ออมสิน
88.22
ธอส.
ธสน.
ธพว.
รอยละ 100 80.26 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 ธอท.
1,311.15 1,052.38
80.34 67.89
15,904.26 10,797.02
90,000 80,000 70,000 60,000 50,000 40,000 30,000 20,000 10,000 0
แผนภาพที่ 4
ลานบาท
ประมาณการความเสียหายทั้งหมดที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล ความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาล สัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหายทั้งหมดแตละ SFI
2/
การประมาณการความเสียหายที่ตองไดรับการชดเชยจากรัฐบาลตั้งแตเริ่ม - สิ้นสุดโครงการ มีรูปแบบการชดเชยตามขอตกลงซึ่งแตกตางกันตาม SFIs แตละแหง ทั้งนี้ ธ.ก.ส. เปนการประมาณการความเสียหายตั้งแตเริ่มโครงการถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557
-37-
การกระจายอํานาจทางการคลังใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น การกําหนดเปาหมายสัดสวนรายได อปท. ตอรายไดสทุ ธิของรัฐบาลในรอบระยะเวลา 16 ป (ป 2543 - 2558) ตามที่รัฐบาลไดมีนโยบายสนับสนุนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิน่ (อปท.) โดยการออกพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแก อปท. พ.ศ. 2542 กําหนดเปาหมาย การจัดสรรรายไดใหแก อปท. เพื่อใหเปนไปตามสัดสวนรายไดของ อปท. ตอรายไดสุทธิของรัฐบาล ซึ่งกําหนดใหมี สัดสวนไมนอยกวารอยละ 20 ภายในป พ.ศ. 2544 เพิ่มขึ้นเปนไมนอยกวารอยละ 35 ภายในป พ.ศ. 2549 ตอมาไดมีการออกพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแก อปท. (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 เพื่อปรับปรุงเรื่องสัดสวนรายไดของ อปท. ตอรายไดสุทธิของรัฐบาล โดยกําหนดเปาหมายสัดสวนรายได ของ อปท. ตอรายไดสุทธิของรัฐบาลใหไมนอยกวารอยละ 25 ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2550 และเงินอุดหนุน ที่จัดสรรตองมีจํานวนไมนอยกวาเงินอุดหนุนที่ อปท. ไดรับการจัดสรรในปงบประมาณ พ.ศ. 2549 (126,013 ลานบาท) โดยมีจุดมุงหมายที่จะให อปท. มีรายไดเพิ่มขึ้นคิดเปนสัดสวนตอรายไดสุทธิของรัฐบาลไมนอยกวารอยละ 35 เพื่อให สอดคลองกับสถานการณการกระจายอํานาจทางการคลังใหแก อปท. และการถายโอนภารกิจระหวางรัฐบาลกับ อปท. สําหรับรายไดรวมของ อปท. มีทิศทางเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2543 ถึง 2558 โดยรายไดรวมของ อปท. ในปงบประมาณ พ.ศ. 2558 เทากับ 646,344 ลานบาท หรือรอยละ 27.80 ตอรายไดสุทธิ ของรัฐบาล ซึ่งคิดเปน 6.82 เทาของรายได อปท. ในปงบประมาณ พ.ศ. 2543 ซึ่งเทากับ 94,721.30 ลานบาท หรือ รอยละ 12.63 ตอรายไดสุทธิของรัฐบาล ประเภทรายได
1. รายไดรวมของ อปท.
1.1 รายไดที่ อปท. จัดหาเอง
1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาล เก็บใหและแบงให
1.3 ภาษีมูลคาเพิ่ม ที่รัฐบาลแบงให (ตามพระราชบัญญัติ กําหนดแผนฯ)
1.4 เงินอุดหนุนและ 2/ การถายโอนงาน
2. รายไดสทุ ธิ ของรัฐบาล
3. สัดสวน รายไดรวม ของ อปท. ตอรายไดสทุ ธิ ของรัฐบาล รอยละ 12.63 20.68 21.88 22.19 22.75 23.50 24.05 25.17 25.20 25.82 25.26 26.14 26.77 27.27 27.37 27.80
ปงบประมาณ จํานวนเงิน สัดสวน จํานวนเงิน สัดสวน จํานวนเงิน สัดสวน จํานวนเงิน สัดสวน จํานวนเงิน สัดสวน จํานวนเงิน 1/ ป 2543 94,721.30 100 17,403.60 18.37 45,095.60 47.61 32,222.10 34.02 749,948.60 ป 2544 159,752.58 100 17,701.88 11.08 55,651.90 34.84 12,669.00 7.93 73,729.80 46.15 772,574.00 ป 2545 175,850.29 100 21,084.47 11.99 58,143.52 33.07 19,349.00 11.00 77,273.30 43.94 803,651.00 ป 2546 184,066.03 100 22,258.28 12.09 60,217.74 32.72 35,504.44 19.29 66,085.60 35.90 829,495.56 ป 2547 241,947.64 100 24,786.27 10.24 82,623.37 34.15 43,100.00 17.82 91,438.00 37.79 1,063,600.00 ป 2548 293,750.00 100 27,018.96 9.20 102,520.34 34.90 49,000.00 16.68 115,210.70 39.22 1,250,000.00 ป 2549 327,113.00 100 29,110.41 8.90 110,189.59 33.69 61,800.00 18.89 126,013.00 38.52 1,360,000.00 ป 2550 357,424.15 100 32,021.46 8.96 120,728.69 33.78 65,300.00 18.27 139,374.00 38.99 1,420,000.00 ป 2551 376,740.00 100 35,223.60 9.35 128,676.40 34.16 65,000.00 17.25 147,840.00 39.24 1,495,000.00 ป 2552 414,382.23 100 38,745.96 9.35 140,679.27 33.95 71,900.00 17.35 163,057.00 39.35 1,604,640.00 ป 2553 340,995.18 100 29,110.41 8.54 126,589.59 37.12 45,400.00 13.31 139,895.18 41.03 1,350,000.00 ป 2554 431,305.00 100 38,745.96 8.98 148,109.04 34.34 70,500.00 16.35 173,950.00 40.33 1,650,000.00 ป 2555 529,978.79 100 46,529.72 8.78 175,457.28 33.11 86,900.00 16.40 221,091.79 41.72 1,980,000.00 ป 2556 572,670.00 100 50,281.54 8.78 187,988.46 32.83 97,900.00 17.10 236,500.00 41.30 2,100,000.00 ป 2557 622,625.00 100 56,306.25 9.04 203,818.75 32.74 109,000.00 17.51 253,500.00 40.71 2,275,000.00 ป 2558 646,344.00 100 61,458.00 9.51 218,222.00 33.76 109,000.00 16.86 257,664.00 39.86 2,325,000.00 หมายเหตุ : 1/ ตัวเลขป 2543 เปนตัวเลขจริง 2/ ปงบประมาณ 2544 และ 2545 มีงบประมาณการถายโอนซึ่งตั้งอยูที่หนวยงานที่ถายโอนใหแก อปท. แตนบั รวมในรายได อปท. 32,399.60 ลานบาท และ 27,061.80 ลานบาท ตามลําดับ ที่มา : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
- 38 -
จากตารางขางตน จะพบวาสัดสวนรายได อปท. ตอรายไดสุทธิของรัฐบาลไดเพิ่มขึ้นตามลําดับตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2543 - 2558 คือเปนสัดสวนรอยละ 12.63 20.68 21.88 22.19 22.75 23.50 24.05 25.17 25.20 25.82 25.26 26.14 26.77 27.27 27.37 และ 27.80 เวนแตในปงบประมาณ พ.ศ. 2553 ที่มีสัดสวนรายได อปท. ตอรายไดสุทธิของรัฐบาลเปนสัดสวนรอยละ 25.26 ลดลงจากปกอน เนื่องจากประมาณการรายไดของรัฐบาล ต่ํากวาปกอน จึงจําเปนตองลดการจัดสรรเงินอุดหนุนใหแก อปท. แผนภาพที่ 1 แสดงสัดสวนรายได อปท. ตอรายไดสุทธิของรัฐบาล (รอยละ) ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2543 - 2558
ปงบประมาณ แผนภาพที่ 2 แสดงรายไดรวมของ อปท. และรายไดสุทธิของรัฐบาล (ลานบาท) ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2543 - 2558 รายได (ลานบาท)
ปงบประมาณ
- 39 -
หากจําแนกตามประเภทรายไดจะเห็นไดวา รายไดของ อปท. ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2543 2558 มีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องทุกประเภท กลาวคือ เมื่อเปรียบเทียบรายไดของปงบประมาณ พ.ศ. 2558 กับปงบประมาณ พ.ศ. 2543 แลว จะพบวา รายไดที่ อปท. จัดหาเอง และภาษีอากรที่รัฐบาลจัดเก็บใหและแบงให คิดเปน 3.53 และ 4.84 เทาของปงบประมาณ พ.ศ. 2543 ตามลําดับ และรายไดจากเงินอุดหนุนคิดเปน 8 เทา ของปงบประมาณ พ.ศ. 2543 นอกจากนี้ ภาษีมูลคาเพิ่มที่รัฐบาลแบงใหคิดเปน 8.6 เทาของปงบประมาณ พ.ศ. 2544 ทั้งนี้ รายไดจากเงินอุดหนุนเปนสวนสําคัญที่รัฐสนับสนุนให อปท. มีรายไดสอดคลองกับการถายโอนภารกิจระหวาง รัฐบาลกับ อปท. ตามแผนการกระจายใหแก อปท. (ตามแผนภาพที่ 3) รายได (ลานบาท)
แผนภาพที่ 3 แสดงรายได อปท. จําแนกตามประเภท
300,000 250,000
รายไดที่ อปท. จัดหาเอง
200,000
ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บใหและแบงให
150,000
ภาษีมูลคาเพิ่มที่รัฐบาลแบงให (ตาม พระราชบัญญัติกําหนดแผนฯ) เงินอุดหนุนและการถายโอนงาน
100,000
-
ป 2543 ป 2544 ป 2545 ป 2546 ป 2547 ป 2548 ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2553 ป 2554 ป 2555 ป 2556 ป 2557 ป 2558
50,000
ปงบประมาณ เมื่อพิจารณาจากแผนภาพเห็นไดวาสัดสวนรายไดรวมของ อปท. ตอรายไดสุทธิของรัฐบาลเปนไป ตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติกําหนดแผนฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 ที่กําหนดใหตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2550 เปนตนไป สัดสวนรายไดรวมของ อปท. ตอรายไดสุทธิของรัฐบาลไมนอยกวารอยละ 25 และมีจุดมุงหมายเพื่อให สัดสวนรายไดรวมของ อปท. ตอรายไดสุทธิของรัฐบาลเปนรอยละ 35 โดยเปนไปตามความเหมาะสม ให อปท. สามารถดําเนินกิจการบริการสาธารณะของ อปท. รวมทั้งภารกิจถายโอนได
- 40 -
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ มติคณะรัฐมนตรีที่สําคัญ เดือนมีนาคม 2558 3 มีนาคม 2558 1. เรื่อง รางกฎหมายและการดําเนินการที่เกี่ยวของกับกองทุนการออมแหงชาติ คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติและเห็นชอบตามมติคณะกรรมการรัฐมนตรีดานเศรษฐกิจซึ่งมีนายกรัฐมนตรี เปนประธานกรรมการ ในคราวประชุม ครั้งที่ 2/2558 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2558 ดังนี้ 1. อนุมัติหลักการรางกฎหมายที่เกี่ยวของกับการดําเนินการของกองทุนการออมแหงชาติดังนี้ 1) รางพระราชบัญญัติกองทุนการออมแหงชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลวสงใหคณะกรรมการประสานงานสภานิติ บัญญัติแหงชาติพิจารณา กอนเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติตอไป 2) รางพระราชกฤษฎีกากําหนดหลักเกณฑและอัตราการจายเงินสมทบ ประเภทของประโยชนทดแทน ตลอดจนหลักเกณฑและเงื่อนไขแหงสิทธิในการรับประโยชนทดแทนของบุคคลซึ่งสมัครเปนผูประกันตน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และรางกฎกระทรวงที่ออกตามพระราชบัญญัติกองทุนการออมแหงชาติ พ.ศ. 2554 จํานวน 7 ฉบับ ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแลวดําเนินการตอไปได 2. . เห็นชอบในหลักการรางประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง หลักเกณฑและอัตราคาตอบแทนของ คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการกองทุนการออมแหงชาติ ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ และใหสง คณะกรรมการตรวจสอบรางกฎหมายและรางอนุบัญญัติที่เสนอคณะรัฐมนตรีตรวจพิจารณาแลวดําเนินการตอไป 3. สําหรับการขอจัดสรรงบประมาณจากงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2558 งบกลาง รายการเงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน กรณีที่มีผูเขาเปนสมาชิกกองทุนการออมแหงชาติจํานวนมาก เกินกวางบประมาณคงเหลือจะรองรับได นั้น ใหกระทรวงการคลังดําเนินการตามแนวทางปฏิบัติกรณีการขออนุมัติ ใชเงินงบกลาง รายการเงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2557 ตอไป 4. ใหกระทรวงการคลังรับขอสังเกตของคณะกรรมการรัฐมนตรีดานเศรษฐกิจและสํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไปพิจารณาดําเนินการดวย สาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติ รางพระราชกฤษฎีกา รางกฎกระทรวง และรางประกาศ กค. 1.รางพระราชบัญญัติกองทุนการออมแหงชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... กําหนดให กอช. รับโอน ผูประกันตนและเงินของผูประกันตนตามมาตรา 40 กรณีบํานาญชราภาพทั้งหมดที่แสดงความจํานงเปนสมาชิก ของ กอช. โดยกําหนดใหผูสมัครสมาชิก กอช. รายใหมที่อายุ 50 ปบริบูรณขึ้นไป และสมัครภายใน 1 ป นับแตวันที่รางพระราชบัญญัติดังกลาวมีผลใชบังคับมีสิทธิเปนสมาชิกตอไปไดอีก 10 ปนับแตวันที่เปนสมาชิก ทั้งนี้ รัฐบาลจะไมจายเงินสมทบเขากองทุนสําหรับเงินสะสมที่โอนมาดังกลาว และสมาชิก กอช. จะไดรับเงินสมทบ เปนอัตราสวนตามชวงอายุตามที่ไดกําหนดไว
-41-
2.รางพระราชกฤษฎีกากําหนดหลักเกณฑและอัตราการจายเงินสมทบประเภทของประโยชนทดแทน ตลอดจนหลักเกณฑและเงื่อนไขแหงสิทธิในการรับประโยชนทดแทนของบุคคลซึ่งสมัครเปนผูประกันตน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ยกเลิกการดําเนินการตามมาตรา 40 กรณีบํานาญชราภาพ ซึ่งสํานักงานประกันสังคมจะโอนผูประกันตน และเงินของผูประกันตนตามมาตรา 40 กรณีบํานาญชราภาพ ทั้งหมดที่ประสงคจะเปนสมาชิก กอช. มาที่ กอช. ซึ่งรวมถึงผูประกันตนที่อายุเกิน 60 ปดวย สวนผูประกันตนที่ไมประสงคจะเปนสมาชิก กอช. จะไดรับเงินที่ ผูประกันตนสงเขากองทุนเงินสมทบจากรัฐ และดอกผล คืนทั้งจํานวน 3.รางกฎกระทรวงที่ออกตามพระราชบัญญัติกองทุนการออมแหงชาติ พ.ศ. 2554 จํานวน 7 ฉบับ ดังนี้ 3.1 รางกฎกระทรวงกําหนดการเปนสมาชิกกองทุนหรืออยูในระบบบํานาญอื่นที่ไมมีสิทธิเปน สมาชิกกองทุนการออมแหงชาติ พ.ศ. .... กําหนดใหบุคคลที่มีสิทธิเปนสมาชิก กอช. ตองไมเปนบุคคลที่เปน สมาชิกกองทุนหรืออยูในระบบบําเหน็จบํานาญของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ องคการมหาชน หนวยงานของรัฐ หนวยงานอื่นที่มีเงินสมทบจากนายจางเพื่อการชราภาพ 3.2 รางกฎกระทรวงกําหนดคุณสมบัติของผูรับมอบหมายใหจัดการเงินของกองทุนการออม แหงชาติ พ.ศ. .... กําหนดเกี่ยวกับผูดําเนินการจัดการเงินของกองทุน คุณสมบัติของบริษัทจัดการลงทุน ขอจํากัด เกี่ยวกับหลักทรัพยที่จะลงทุน และคาใชจายในการดําเนินการจัดการเงินของกองทุน 3.3 รางกฎกระทรวงกําหนดอัตราการจายเงินสะสมและเงินสมทบ พ.ศ. .... กําหนดใหสมาชิก จายเงินสะสมเขากองทุนปละไมเกิน 13,200 บาท และรัฐบาลจายเงินสมทบตามอายุสมาชิก ดังนี้ อายุสมาชิก
อัตราเงินสมทบตอเงินสะสม
ไมต่ํากวา 15 ปแตไมเกิน 30 ป มากกวา 30 ปแตไมเกิน 50 ป มากกวา 50 ป แตไมเกิน 60 ป
รอยละ 50 รอยละ 80 รอยละ 100
เงินสมทบสูงสุดที่จะกําหนด โดยกฎกระทรวง 600 บาท/ป 960 บาท/ป 1,200 บาท/ป
3.4 รางกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑการคํานวณเงินบํานาญและจํานวนเงินบํานาญขั้นต่ํา พ.ศ. .... กําหนดหลักเกณฑการคํานวณบํานาญใหเพียงพอกับการจายบํานาญใหแกสมาชิกไดจนถึงอายุครบ 80 ป บริบูรณ 3.5 รางกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ วิธีการจายเงินใหกับสมาชิก หรือผูรับบํานาญ หรือผูรับ เงินดํารงชีพ ตามมาตรา 40 ของกฎหมายวาดวยกองทุนการออมแหงชาติ พ.ศ. .... กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการจายเงินจากกองทุนใหแกสมาชิกในกรณีสมาชิกอายุครบ 60 ปบริบูรณ กรณีการจายเงินดํารงชีพ ใหแกสมาชิก ที่เมื่อคํานวณบํานาญแลวไดนอยกวาบํานาญขั้นต่ํา กรณีสมาชิกผูรับบํานาญหรือผูรับเงินดํารงชีพ ถึงแกความตาย กรณีสมาชิกทุพพลภาพกอนอายุครบ 60 ปบริบูรณ และกรณีสมาชิกลาออกจากกองทุน 3.6 รางกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการจัดการเงินของกองทุนการออมแหงชาติ พ.ศ. .... กําหนดเกี่ยวกับการลงทุนในหลักทรัพยที่มีความมั่นคงสูงไมต่ํากวารอยละ 80 ของเงินกองทุน การแบงเงินของ กองทุนเปนกองทุนยอย และการดําเนินการกรณีมอบหมายบริษัทจัดการลงทุน เปนผูจัดการเงินของกองทุนยอย และกรณีท่ี กอช. ดําเนินการจัดการเอง 3.7 รางกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขการจายเงินชดเชย พ.ศ. .... กําหนดให กองทุนจายเงินชดเชยจากบัญชีเงินกองกลางใหแกสมาชิก ในกรณีที่สมาชิกไดรับผลประโยชนจากเงินสะสมและ เงินสมทบ ตั้งแตวันที่เริ่มเปนสมาชิกจนถึงวันที่สิ้นสมาชิกนอยกวาอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจําประเภท 12 เดือน -42-
โดยเฉลี่ยของธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร และธนาคารพาณิชยแหงใหญ 5 แหง เพื่อใหสมาชิกไดรับผลตอบแทนเทากับอัตราดอกเบี้ยดังกลาว 4. รางประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง หลักเกณฑและอัตราคาตอบแทนของคณะกรรมการและ คณะอนุกรรมการ กองทุนการออมแหงชาติ กําหนดใหคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการของ กอช. ไดรับ ประโยชนตอบแทนในอัตราเดียวกันกับกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ (กบข.) โดยประธานกรรมการไดรับ ประโยชนตอบแทน 10,000 บาทตอเดือน กรรมการไดรับ 8,000 บาทตอเดือน ประธานอนุกรรมการไดรับ 5,000 บาทตอเดือน และอนุกรรมการไดรับ 4,000 บาทตอเดือน โดยใหจายเปนรายเดือนเฉพาะเดือนที่เขารวมประชุม 2. เรื่อง การจัดทําเหรียญเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาส พระราชพิธฉี ลองพระชนมมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชกฤษฎีกาเหรียญเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสพระราชพิธีฉลองพระชนมมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงการคลัง เสนอ และสงใหสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา โดยกระทรวงการคลัง ไดขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดทําเหรียญเฉลิมพระเกียรติดังกลาว ตามแบบที่ทูลเกลาฯ ถวาย ซึ่งไดรับ พระราชทานพระบรมราชานุญาตแลว แลวใหสงสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีนําขึ้นทูลเกลาฯ ถวาย เพื่อทรง ลงพระปรมาภิไธย และประกาศในราชกิจจานุเบกษาใชบังคับเปนกฎหมายตอไป 3. เรื่อง ขอความเห็นชอบและลงนามพิธีสารอนุวัติขอผูกพันการเปดเสรีการคาบริการดานการเงิน ฉบับที่ 6 ภายใตกรอบความตกลงวาดวยการคาบริการของอาเซียน คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและอนุมัติตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบการใหสัตยาบันพิธีสารอนุวัติขอผูกพันการเปดเสรีการคาบริการดานการเงิน ฉบับที่ 6 ภายใต กรอบความตกลงวาดวยการคาบริการของอาเซียน และตารางขอผูกพันการเปดเสรีการคาบริการดานการเงิน ซึ่งเปนภาคผนวกแนบทายพิธีสารฯ 2. เห็นชอบและอนุมัติการลงนามในพิธีสารอนุวัติขอผูกพันการเปดเสรีการคาบริการดานการเงิน ฉบับที่ 6 ภายใตกรอบความตกลงวาดวยการคาบริการของอาเซียน โดยมอบอํานาจใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังหรือ ผูแทนที่ไดรับมอบหมายเปนผูลงนาม ทั้งนี้ หากมีการแกไขถอยคําที่ไมใชสาระสําคัญและไมขัดตอผลประโยชนของ ไทย ใหกระทรวงการคลังดําเนินการไดโดยไมตองนําเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอีกครั้ง 3. ใหนําพิธีสารอนุวัติขอผูกพันการเปดเสรีการคาบริการดานการเงิน ฉบับที่ 6 ภายใตกรอบความตกลง วาดวยการคาบริการของอาเซียน และตารางขอผูกพันการเปดเสรีการคาบริการดานการเงินซึ่งเปนภาคผนวกแนบ ทายพิธีสารฯ เสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติเพื่อใหความเห็นชอบ 4. มอบหมายใหกระทรวงการตางประเทศดําเนินการออกหนังสือมอบอํานาจเต็ม (Full Power) ให รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง หรือผูแทนที่ไดรับมอบหมายเปนผูลงนามในพิธีสารดังกลาว เมื่อสภานิติบัญญัติ แหงชาติใหความเห็นชอบพิธีสารฯ และตารางขอผูกพันฯ ดังกลาวแลวตามขอ 3 5. มอบหมายใหกระทรวงการตางประเทศดําเนินการมอบสัตยาบันสารของพิธีสารอนุวัติขอผูกพัน การเปดเสรีการคาบริการดานการเงิน ฉบับที่ 6 ภายใตกรอบความตกลงวาดวยการคาบริการของอาเซียน ใหแก สํานักเลขาธิการอาเซียน เพื่อรับทราบการใหสัตยาบันพิธีสารฯ เมื่อรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังหรือผูแทน ที่ไดรับมอบหมายลงนามในพิธีสารดังกลาวแลว
-43-
สาระสําคัญของรางพิธีสารและขอผูกพัน 1. รางพิธีสารฯ 1.1 กําหนดใหประเทศสมาชิกที่เปนสมาชิกองคการการคาโลกจะตองคงการใหสิทธิประโยชน ตามขอผูกพันเฉพาะของตนภายใตความตกลงทั่วไปวาดวยการคาบริการแกประเทศสมาชิกอื่น ที่มิใชสมาชิก องคการการคาโลก 1.2 กําหนดใหพิธีสารฉบับนี้และภาคผนวกของพิธีสารฉบับนี้จะรวมกันเปนอันเดียวกับกรอบ ความตกลงวาดวยการคาบริการของอาเซียน 1.3 กําหนดใหประเทศสมาชิกตั้งแตสองประเทศหรือมากกวานั้นอาจดําเนินการเจรจาและตกลง เปดเสรีสาขาการธนาคารประเทศของตน และตองระบุขอผูกพันในสาขาการธนาคารของตนตามที่ตกลงกัน ลงในตารางรวมขอผูกพันเฉพาะการคาบริการดานการเงินดวย 1.4 กําหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับการใหพิธีสารฯ และขอผูกพันฯ มีผลใชบังคับ 2. ตารางขอผูกพัน 2.1 สาขาประกันภัย ปรับเพิ่มสัดสวนผูถือหุนตางชาติของบริการนายหนาและตัวแทนภายใตรูปแบบการ จัดตั้งธุรกิจ (Mode 3) จากเดิมที่จํากัดไวไมเกินรอยละ 25 ของทุนจดทะเบียน เปนรอยละ 49 ของทุน จดทะเบียน 2.2 สาขาธนาคารพาณิชย 2.2.1 ปรับปรุงตารางขอผูกพัน สาขาธนาคารยอยใน Mode 3 2.2.2 ยกเลิกขอจํากัดดานจํานวนบุคลากรสําหรับบุคคลสัญชาติอาเซียน (Mode 4) 10 มีนาคม 2558 4. เรื่อง รางพระราชบัญญัติสํานักงานสลากกินแบงรัฐบาล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชบัญญัติสํานักงานสลากกินแบงรัฐบาล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ (กค.) เสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแลวสงให คณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณา กอนเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติตอไป สาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติ 1. แกไขเพิ่มเติมบทนิยามคําวา “สลากกินแบงรัฐบาล” และ “กองทุนบริหารจัดการสลาก” 2. แกไขเพิ่มเติมวัตถุประสงคของสํานักงานสลากฯ เพื่อใหครอบคลุมถึงการออกสลากกินแบง เพื่อสาธารณประโยชนและใหมีการจัดการระบบบริหารสลากและชองทางการจําหนาย 3. แกไขเพิ่มเติมองคประกอบคณะกรรมการสลากกินแบงรัฐบาลและระยะเวลาการดํารงตําแหนง 4. แกไขเพิ่มเติมอํานาจหนาที่คณะกรรมการสลากกินแบงรัฐบาลใหกําหนดจํานวนรูปแบบสลากกินแบง รัฐบาล เพิ่มเติมการออกระเบียบหรือขอบังคับวาดวยกองทุนบริหารจัดการสลาก 5. แกไขเพิ่มเติมอํานาจของผูอํานวยการใหสอดคลองโครงสรางสํานักงานสลากกินแบงรัฐบาล 6. แกไขเพิ่มเติมสัดสวนการจัดสรรเงินที่ไดรับจากการจําหนายสลากกินแบง 7. กําหนดวิธีการจัดสรรเงินที่ไดรับจากการจําหนายสลากกินแบงเพื่อสาธารณประโยชน 8. แกไขเพิ่มเติมเกี่ยวกับเงินที่ไดรับไวนอกเหนือจากการจําหนายสลากกินแบงรัฐบาล ดอกผล คาใชจาย การจําหนายสลากกินแบงรัฐบาล คาใชจายในการบริหารงานอายุความสิทธิเรียกรองเงินรางวัล การวางระบบบัญชี ผูตรวจสอบบัญชี 9. กําหนดมาตรการคุมครองแกเด็กและเยาวชนมิใหเกี่ยวของกับสลากกินแบงรัฐบาล -44-
5. เรื่อง รางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และรางกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวน รัษฎากร รวม 5 ฉบับ (มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนกิจการโรงเรียนเอกชนและปรับปรุงการจัดเก็บภาษี โรงเรียนกวดวิชา) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติดังนี้ 1. อนุมัติหลักการรางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และรางกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวน รัษฎากร รวม 5 ฉบับ (มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนกิจการโรงเรียนเอกชนและปรับปรุงการจัดเก็บภาษีโรงเรียน กวดวิชา) ตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลวดําเนินการตอไปได 2. ใหกระทรวงศึกษาธิการเรงรัดดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 และมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2557 กค. เสนอวา เพื่อปรับปรุงขอกฎหมายและสิทธิประโยชนทางภาษีตามประมวลรัษฎากรใหสอดคลองกับ พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 และใหเปนไปตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 และมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2557 ซึ่งมอบหมายให กค. เรงรัดดําเนินการจัดเก็บภาษีจากโรงเรียนสอนกวดวิชาที่มีลักษณะเปน การประกอบธุรกิจ จึงจําเปนตองปรับปรุงขอกฎหมายและสิทธิประโยชนทางภาษี ดังนี้ 1) ยกเวนภาษีเงินไดใหกับการประกอบกิจการโรงเรียนเอกชน และยกเลิกการยกเวนภาษีเงินไดสําหรับ การประกอบกิจการโรงเรียนเอกชนประเภทกวดวิชา โดยกําหนดใหเงินไดกําไรสุทธิ หรือผลตอบแทนที่ไดจาก กิจการโรงเรียนเอกชนซึ่งไดตั้งขึ้นตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนเอกชนหรือกิจการของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ซึ่งตั้งขึ้นตามกฎหมายวาดวยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน รวมถึงเงินปนผลหรือสวนแบงกําไรที่ไดรับจากการประกอบ กิจการโรงเรียนเอกชนหรือสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ทั้งนี้ ไมรวมถึงเงินไดหรือกําไรสุทธิที่ไดจากกิจการของ โรงเรียนเอกชนประเภทกวดวิชา 2) ยกเวนภาษีเงินได ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป สําหรับการโอนกรรมสิทธิ์ ในอสังหาริมทรัพยและทรัพยสินใด ๆ ใหกับโรงเรียนเอกชน และการโอนกลับคืนเมื่อเลิกใชประโยชนหรือเลิก กิจการ 3) ยกเวนภาษีเงินได ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป ใหแกผูบริจาคที่ดินและอสังหาริมทรัพยใหแก โรงเรียนเอกชน และการโอนกลับคืนเมื่อเลิกใชประโยชนหรือเลิกกิจการ 4) ยกเวนภาษีเงินไดที่ไดรับจากกองทุนสงเคราะหตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนเอกชน เมื่อผูอํานวยการ ผูบริหาร ครู หรือบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนเอกชนออกจากงานเพราะเหตุสูงอายุ ทุพพลภาพ หรือตาย สาระสําคัญของรางพระราชกฤษฎีกาและรางกฎกระทรวง ชื่อรางกฎหมาย 1. ราง พ.ร.ฎ. ออกตามความในประมวล รัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (การยกเวนภาษีเงินไดใหแกบริษัทหรือ หางหุนสวนนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิ หรือ ผลตอบแทนจากกิจการของโรงเรียนเอกชน หรือกิจการสถาบันอุดมศึกษาเอกชน)
สาระสําคัญ - แกไขเพิ่มเติม ม.3 แหง พ.ร.ฎ. ออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการ ยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ 284) พ.ศ. 2538 - กําหนดใหกําไรสุทธิหรือผลตอบแทนที่ไดรับจากกิจการของโรงเรียนเอกชนซึง่ ไดตั้งขึ้นตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนเอกชน หรือกิจการของสถาบันอุดมศึกษา เอกชน ซึ่งไดตั้งขึ้นตามกฎหมายวาดวยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน เปนเงินไดพงึ ประเมินทีไ่ ดรับยกเวนไมตองนํามารวมคํานวณ เพื่อเสียภาษีเงินได
-45-
ชื่อรางกฎหมาย
สาระสําคัญ แตการยกเวนดังกลาวไมรวมถึงเงินไดที่ไดรับจากกิจการโรงเรียนเอกชน ประเภทกวดวิชา - กําหนดใหเงินปนผลหรือเงินสวนแบงของกําไรที่ไดรบั จากบริษัทหรือ หางหุนสวนนิติบุคคลที่เปนผูประกอบกิจการโรงเรียนเอกชนซึ่งไดตงั้ ขึ้น ตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนเอกชน หรือจากบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล ที่เปนผูประกอบกิจการสถาบันอุดมศึกษาเอกชนซึ่งไดตั้งขึ้นตามกฎหมายวาดวย สถาบันอุดมศึกษาเอกชน เปนเงินไดพึงประเมินที่ไดรับยกเวนไมตองนํามารวม คํานวณ เพื่อเสียภาษีเงินได แตการยกเวนดังกลาวไมรวมถึงเงินปนผลหรือเงินสวน แบงของกําไรที่ไดรบั จากกิจการโรงเรียนเอกชนประเภทกวดวิชา 2. ราง พ.ร.ฎ. ออกตามความในประมวล - แกไขเพิ่มเติมมาตรา 5 นว แหง พ.ร.ฎ. ออกตามความในประมวลรัษฎากร รัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) วาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2500 ซึ่งแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. .... (การยกเวนภาษีเงินไดใหแกมูลนิธิหรือ โดย พ.ร.ฎ. ออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร สมาคม สําหรับเงินไดหรือผลตอบแทนจาก (ฉบับที่ 159) พ.ศ. 2528 - กําหนดใหเงินไดหรือผลตอบแทนที่มูลนิธิหรือสมาคมไดรับจากกิจการของ กิจการของโรงเรียนเอกชน) โรงเรียนเอกชนซึ่งไดตั้งขึ้นตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนเอกชน เปนเงินได พึงประเมินที่ไดรับยกเวนไมตองนํามารวมคํานวณเพื่อเสียภาษีเงินได แตการยกเวนดังกลาวไมรวมถึงเงินไดหรือผลตอบแทนที่มูลนิธิหรือสมาคม ทีไ่ ดรบั จากกิจการโรงเรียนเอกชนประเภทกวดวิชา 3. ราง พ.ร.ฎ. ออกตามความในประมวล เพื่อเปนการสนับสนุนการศึกษาใหเปนไปอยางตอเนื่องและมีคุณภาพ รัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) จึงยกเวนภาษีอากร ดังตอไปนี้ พ.ศ. .... (การยกเวนภาษีเงินได ภาษีมูลคาเพิ่ม 1. การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในที่ดินและอสังหาริมทรัพยที่เปน ภาษีธรุ กิจเฉพาะ และอากรแสตมปบางกรณี) สวนควบของที่ดิน รวมทั้งทรัพยสนิ ใด ๆ ที่ตองใชในกิจการของโรงเรียน และ การบริจาคทีด่ ินและอสังหาริมทรัพยที่เปนสวนควบของที่ดินใหแกโรงเรียน ในระบบตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนเอกชน 2. การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในที่ดินและอสังหาริมทรัพย ที่เปนสวนควบของที่ดิน รวมทั้งทรัพยสินใด ๆ คืนใหแกผูไดรับใบอนุญาตให จัดตั้งโรงเรียนเอกชนเจาของเดิม ผูบริจาคหรือทายาท เมื่อโรงเรียนในระบบ ตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนเอกชน เลิกใชประโยชนหรือเลิกกิจการ 4. รางกฎกระทรวง ฉบับที่.. (พ.ศ. ....) - แกไขเพิ่มเติมความใน (1) และ (37) ของขอ 2 แหงกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 ออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวย (พ.ศ. 2509) ออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร การยกเวนรัษฎากร (การยกเวนภาษีเงินไดจาก - กําหนดใหเงินไดหรือผลตอบแทนที่ไดรับจากกิจการของโรงเรียนเอกชนซึ่งได ผลตอบแทนทีผ่ ูรับใบอนุญาตไดรบั จัดสรรจาก ตั้งขึ้นตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนเอกชน เปนเงินไดพึงประเมินที่ไดรับยกเวน โรงเรียนเอกชน) ไมตองนํามารวมคํานวณเพื่อเสียภาษีเงินได - ยกเลิกการยกเวนจัดเก็บภาษีอากรจากกิจการโรงเรียนเอกชนประเภทกวดวิชา 5. รางกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) - แกไขเพิม่ เติมกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509) ออกตามความใน ออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวย ประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร การยกเวนรัษฎากร (การยกเวนภาษีเงินไดใหแก - กําหนดยกเวนภาษีเงินไดใหแกผอู ํานวยการ ผูบริหาร ครู หรือบุคลากรทาง ผูอํานวยการ ผูบริหาร ครู หรือบุคลากรทาง การศึกษาในโรงเรียนเอกชน สําหรับเงินหรือผลประโยชนใด ๆ ที่ไดรับจาก การศึกษาในโรงเรียนเอกชน สําหรับเงินหรือ กองทุนสงเคราะหตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนเอกชน ผลประโยชนใด ๆ ที่ไดรับจากกองทุนสงเคราะห
-46-
6. รางกฎกระทรวงกําหนดลักษณะของเหรียญกษาปณที่ระลึกเนื่องในโอกาสครบ 80 ป วันสถาปนา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางกฎกระทรวงกําหนดลักษณะของเหรียญกษาปณที่ระลึก เนื่องในโอกาสครบ 80 ป วันสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. .... ตามทีก่ ระทรวงการคลังเสนอ และสงให สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลวดําเนินการตอไปได กค. เสนอวา ดวยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ขอใหกระทรวงการคลัง (กรมธนารักษ) จัดทําเหรียญที่ระลึก เนื่องในโอกาสครบ 80 ป วันสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ในวันที่ 27 มิถุนายน 2557 โดยวัตถุประสงค เพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติและนอมรําลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช และเผยแพรภารกิจของมหาวิทยาลัย ใหเปนที่รูจักของประชาชนทั่วไป ซึ่ง กค.ไดขอพระราชทาน พระบรมราชานุญาตจัดทําเหรียญกษาปณที่ระลึกดังกลาวตามแนบที่ทูลเกลาฯ ถวาย และไดรับพระราชทาน พระบรมราชานุญาตแลว สาระสําคัญของรางกฎกระทรวง กําหนดลักษณะของเหรียญกษาปณที่ระลึกเนื่องในโอกาสครบ 80 ป วันสถาปนามหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร ชนิด ราคา โลหะ อัตราเนื้อโลหะ น้ําหนัก ขนาด อัตรา เผื่อเหลือเผื่อขาด ลวดลาย และลักษณะ อื่น ๆ ของเหรียญกษาปณโลหะสีขาว (ทองแดงผสมนิกเกิล) ราคายี่สิบบาท หนึ่งชนิด (จํานวนผลิตไมเกิน 800,000 เหรียญ) 7. เรื่อง รางกฎกระทรวงกําหนดลักษณะของเหรียญกษาปณที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในโอกาสที่สหภาพวิทยาศาสตรทางดินนานาชาติ ทูลเกลาฯ ถวาย “รางวัลนักวิทยาศาสตรดินเพื่อมนุษยธรรม” พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางกฎกระทรวงกําหนดลักษณะของเหรียญกษาปณที่ระลึก เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในโอกาสที่สหภาพวิทยาศาสตรทางดิน นานาชาติ ทูลเกลาฯ ถวาย “รางวัลนักวิทยาศาสตรดินเพื่อมนุษยธรรม” พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงการคลัง เสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลวดําเนินการตอไปได สาระสําคัญของรางกฎกระทรวง กําหนดลักษณะของเหรียญกษาปณที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช เนื่องในโอกาสที่สหภาพวิทยาศาสตรทางดินนานาชาติทูลเกลาฯ ถวาย “รางวัลนักวิทยาศาสตรดิน เพื่อมนุษยธรรม” รวม 3 ชนิด ดังนี้ 1. เหรียญกษาปณทองคํา ชนิดราคา 16,000 บาท ประเภทขัดเงา จํานวนผลิตไมเกิน 5,000 เหรียญ 2. เหรียญกษาปณเงิน ชนิดราคา 800 บาท ประเภทขัดเงา จํานวนผลิตไมเกิน 50,000 เหรียญ 3. เหรียญกษาปณโลหะสีขาว (ทองแดงผสมนิกเกิล) ชนิดราคา 20 บาท ประเภทธรรมดา จํานวนผลิต ไมเกิน 2,000,000 เหรียญ โดยมีอัตราเนื้อโลหะ น้ําหนัก ขนาด อัตราเผื่อเหลือเผื่อขาด ลวดลาย และลักษณะ อื่น ๆ ของเหรียญกษาปณ ตามบัญชีทายกระทรวง
-47-
8. เรื่อง รางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... รวม 2 ฉบับ (การปรับปรุงมาตรการภาษีเพื่อสงเสริมการจัดตั้งสํานักงานใหญขามประเทศ และมาตรการภาษีเพื่อสงเสริมการจัดตั้งบริษัทการคาระหวางประเทศ) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวย การลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... รวม 2 ฉบับ (การปรับปรุงมาตรการภาษีเพื่อสงเสริม การจัดตั้งสํานักงานใหญขามประเทศและมาตรการภาษีเพื่อสงเสริมการจัดตั้งบริษัทการคาระหวางประเทศ) ทีก่ ระทรวงการคลัง (กค.) ไดปรับปรุงแกไขจากรางที่สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (สคก.) ตรวจพิจารณาแลว ตามที่ กค. เสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง แลวดําเนินการตอไปได สาระสําคัญของรางพระราชกฤษฎีกา 1. รางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการภาษีเพื่อสงเสริมการจัดตั้งสํานักงานใหญขามประเทศ) เปนการลดอัตราภาษีเงินได หัก ณ ที่จาย ใหแกคนตางดาวซึ่งเปนบุคคลธรรมดา สําหรับเงินไดพึงประเมินที่ไดรับเนื่องจากการจางแรงงานของ สํานักงานใหญขามชาติในประเทศไทย ยกเวนเงินไดพึงประเมินบางกรณี ใหแกคนตางดาวซึ่งเปนบุคคลธรรมดา ที่ปฏิบัติงานในสํานักงานใหญขามชาติไมตองนํามารวมคํานวณเพื่อเสียภาษีเงินได ยกเวนภาษีเงินไดสําหรับเงินได พึงประเมินบางกรณี ใหแกคนตางดาวซึ่งเปนบุคคลธรรมดาและถูกสงไปปฏิบัติงานในตางประเทศ และยกเวนภาษี เงินไดใหแกสํานักงานใหญขามชาติสําหรับเงินไดพึงประเมินบางกรณี 2. รางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการภาษีเพื่อสงเสริมการจัดตั้งบริษัทการคาระหวางประเทศ) เปนการยกเวนภาษีเงินได ใหแกบริษัทการคาระหวางประเทศสําหรับเงินไดบางกรณี และลดอัตราภาษีเงินไดหัก ณ ที่จาย สําหรับ เงินไดพึงประเมินบางกรณีใหแกคนตางดาวซึ่งเปนบุคคลธรรมดาที่ทํางานประจําบริษัทการคาระหวางประเทศ 9. เรื่อง การระดมทุนผานกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานโรงไฟฟาพระนครเหนือ ชุดที่ 1 การไฟฟาฝายผลิต แหงประเทศไทย คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบใหการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) จัดตั้งกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานโรงไฟฟา พระนครเหนือ ชุดที่ 1 กฟผ. (กองทุนรวมฯ) ตามรูปแบบโครงสรางภายใตเงื่อนไขหลักตามรายงานการศึกษา แนวทางการจัดตั้งกองทุนรวมฯ ของ กฟผ. ที่เสนอได 2. เห็นชอบให กฟผ. เขาถือหนวยลงทุนในกองทุนรวมฯ ของ กฟผ. ในจํานวนรอยละ 25 ของหนวยลงทุน ทั้งหมดได พรอมทั้งอนุมัติงบประมาณลงทุน เพื่อใชในการเขาถือหนวยลงทุนดังกลาวของ กฟผ. ได 3. เห็นชอบการอนุมัติยกเวนใหการขายคืนหนวยลงทุนบางสวนหรือทั้งหมดภายหลังจากหมดระยะเวลา หามขายหนวยลงทุน (Loke–up Period) ของ กฟผ. โดยไมตองปฏิบัติตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวย การจําหนายกิจการหรือหุนที่สวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจเปนเจาของ พ.ศ. 2504 และที่แกไขเพิ่มเติม และ มอบหมายใหคณะกรรมการ กฟผ. เปนผูพิจารณาการดําเนินการในเรื่องดังกลาวตามความเหมาะสมตอไป 4. กรณีการระดมทุนผานกองทุนรวมฯ ของ กฟผ. ไมไดเขาลักษณะเปนการประกอบกิจการที่อยูในบังคับ ตองเสียภาษีธุรกิจเฉพาะตามมาตรา 91/2 แหงประมวลรัษฎากร จึงไมตองเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติ การยกเวนภาษีธุรกิจเฉพาะใหกับกองทุนรวมฯ ของ กฟผ.
-48-
17 มีนาคม 2558 10. เรื่อง รางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (แกไขเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ความผิดทางอาญา) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (แกไขเพิ่มเติมเกี่ยวกับความผิดทางอาญา) ตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลวสงใหคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณากอนเสนอสภานิติ บัญญัติแหงชาติพิจารณาตอไป กค. เสนอวา บทบัญญัติในประมวลรัษฎากรมีเนื้อหาที่ไมสอดรับกับสภาพปญหาที่เกิดขึ้นในปจจุบัน และสรางความไมเปนธรรมเกี่ยวกับสภาพบังคับทางกฎหมาย นอกจากนี้บทบัญญัติบางมาตรายังขาดความชัดเจน ทําใหเกิดปญหาความไมเปนธรรมและการใชบังคับ จึงเห็นควรแกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติในประมวลรัษฎากร ดังนี้ 1. มาตรา 69 บัญญัติใหบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลยื่นแบบแสดงรายการภาษีพรอมดวยบัญชีงบดุล บัญชีทําการ บัญชีกําไรขาดทุน บัญชีรายรับ รายจาย หรือบัญชีรายรับกอนหักรายจาย ที่มีผูสอบบัญชีภาษีอากร ตามมาตรา 3 สัตต ทําการตรวจสอบและรับรอง แตไมมีบทบัญญัติใดในประมวลรัษฎากรกําหนดมาตรการบังคับ สําหรับการไมปฏิบัติตามเงื่อนไขดังกลาว จึงทําใหมาตรา 69 ขาดสภาพบังคับในทางกฎหมาย 2. มาตรา 37 ทวิ บัญญัติใหผูใดเจตนาละเลยไมยื่นแบบแสดงรายการเพื่อหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากร ตองระวางโทษปรับไมเกินหาพันบาท หรือจําคุกไมเกินหกเดือนหรือทั้งปรับทั้งจํา ซึ่งมีบทลงโทษที่นอยกวา บทกําหนดโทษกรณีการหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากรตามบทบัญญัติในมาตรา 37 ทําใหสภาพบังคับทางกฎหมาย ของบทบัญญัติทั้งสองนี้มีความแตกตางกันมาก กอใหเกิดความไมเปนธรรมในสวนที่เกี่ยวกับบทลงโทษทางอาญา 3. มาตรา 90/4 (6) บัญญัติใหบทลงโทษสําหรับผูประกอบการจดทะเบียนโดยเจตนาหลีกเลี่ยงหรือ พยายามหลีกเลี่ยงภาษีมูลคาเพิ่ม กระทําการใด ๆ โดยความเท็จ โดยฉอโกงหรืออุบาย หรือโดยวิธีการอื่นใด ทํานองเดียวกัน คําวา “เจตนาหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงภาษีมูลคาเพิ่ม” เปนถอยคําที่อาจใหความหมายได อยางกวางขวางและไมครอบคลุมถึงความผิดสําหรับการทุจริตในการขอคืนภาษีมูลคาเพิ่มที่เปนเท็จ” สาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติ 1. แกไขเพิ่มเติมกรณีไมปฏิบัติตามมาตรา 69 โดยการฝาฝนหนาที่ในการแนบเอกสารพรอมการยื่นแบบ แสดงรายการภาษี ตองระวางโทษปรับ 2. แกไขเพิ่มเติมใหการกระทําความผิดเกี่ยวกับการหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากรตามมาตรา 37 ใหครอบคลุมถึงการขอคืนภาษีอากรอันเปนเท็จ 3. แกไขเพิ่มเติมใหการกระทําอันเปนการหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากรตามมาตรา 37 ทวิ มีอัตราโทษ เดียวกับมาตรา 37 คือ ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสามเดือนถึงเจ็ดป และปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสองแสนบาท โดยยกเลิกมาตรา 37 ทวิ 4. แกไขเพิ่มเติมใหบทกําหนดโทษเกี่ยวกับการหลีกเลี่ยงภาษีมูลคาเพิ่มใหครอบคลุมถึงการขอคืน ภาษีมูลคาเพิ่มอันเปนเท็จ
-49-
11. เรื่อง รางพระราชบัญญัติการบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรางพระราชบัญญัติการบริหารทุนหมุนเวียน พ.ศ. .... ที่สํานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแลว ตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ และใหสง คณะกรรมการ ประสานงานสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณา กอนเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติตอไป สาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติ 1. กําหนดนิยามคําวา “ทุนหมุนเวียน” ตามรางพระราชบัญญัตินี้ หมายถึงกองทุน กองทุนหมุนเวียน เงินทุน เงินทุนหมุนเวียน ทุน หรือทุนหมุนเวียน ที่ตั้งขึ้นเพื่อกิจการที่อนุญาตใหนํารายรับสมทบทุนไวใชจายได โดยไมตองนําสงคลังเปนรายไดแผนดิน และกําหนดนิยามคําวา “หนวยงานของรัฐ” “คณะกรรมการ” “คณะกรรมการบริหาร” “ผูบริหารทุนหมุนเวียน” 2. กําหนดใหในกรณีที่ทุนหมุนเวียนใดมีกฎหมายกําหนดบทบัญญัติในเรื่องใดไวเปนการเฉพาะ ใหการ ดําเนินงานของทุนหมุนเวียนนั้นเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด เวนแตในกรณีที่กฎหมายมิไดบัญญัติไว ใหนํา บทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้มาใชบังคับ 3. กําหนดใหมีคณะกรรมการนโยบายการบริหารทุนหมุนเวียน ประกอบดวย รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการคลัง เปนประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงการคลัง เปนรองประธานกรรมการ กรรมการโดยตําแหนง ไดแก ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ และเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และกรรมการผูทรงคุณวุฒิจํานวนสามคน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้ง โดยมีอธิบดีกรมบัญชีกลางเปนกรรมการและ เลขานุการ 4. กําหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับทุนหมุนเวียนที่ไมมีสถานะเปนนิติบุคคลในสวนการขอจัดตั้ง การบริหาร คณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียน ผูบริหารทุนหมุนเวียน พนักงานและลูกจาง การบัญชีและการตรวจสอบ และการประเมินผล 5. กําหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับทุนหมุนเวียนที่ไมมีสถานะเปนนิติบุคคล โดยใหนําบทบัญญัติในสวน การขอจัดตั้ง ทุนหมุนเวียนที่ไมมีสถานะเปนนิติบุคคล มาใชบังคับ และใหนําบทบัญญัติในสวนการบริหาร คณะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียน ผูบริหาร พนักงานและลูกจาง การบัญชีและการตรวจสอบ และการ ประเมินผล ทุนหมุนเวียนที่ไมมีสถานะเปนนิติบุคคล มาใชบังคับกรณีกฎหมายมิไดบัญญัติไวเปนการเฉพาะ โดยอนุโลม 6. กําหนดใหคณะกรรมการนโยบายการบริหารทุนหมุนเวียนมีอํานาจรวม หรือยุบเลิกทุนหมุนเวียนที่ไมมี สถานะเปนนิติบุคคลและทุนหมุนเวียนที่มีสถานะเปนนิติบุคคล ตามหลักเกณฑที่กําหนดในรางพระราชบัญญัตินี้ โดยไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี 7. กําหนดหลักเกณฑการรวมทุนหมุนเวียน เมื่อทุนหมุนเวียนที่จะรวมกันนั้นมีวัตถุประสงคเดียวกัน หรือสามารถดําเนินการรวมกันได และจะตองไมมีผลเปนการขยายวัตถุประสงคเกินกวาวัตถุประสงคเดิมของ ทุนหมุนเวียนที่นํามารวมกันนั้น 8. กําหนดหลักเกณฑการยุบเลิกทุนหมุนเวียน กรณีหมดความจําเปนที่จะตองดําเนินการตามวัตถุประสงค ในการจัดตั้ง กรณีหยุดการดําเนินงานทุนหมุนเวียนโดยไมมีเหตุผลอันสมควร กรณีมีผลการประเมินต่ํากวาเกณฑที่ คณะกรรมการกําหนดเปนเวลาสามปติดตอกันและคณะกรรมการเห็นสมควรใหยุบเลิกทุนหมุนเวียนนั้น กรณีมีเหตุ อื่นตองยุบเลิกทุนหมุนเวียนตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนด 9. กําหนดบทเฉพาะกาล ใหนํากฎ ประกาศ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ และหลักเกณฑเกี่ยวกับ ทุนหมุนเวียนซึ่งใชบังคับอยูในวันกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ มาใชบังคับไปพลางกอน เทาที่ไมขัดหรือแยง กับพระราชบัญญัตินี้จนกวาจะไดออกขอบังคับ ประกาศ และหลักเกณฑตามพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งตองดําเนินการ
-50-
ภายในเวลาไมเกินสองปนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ กําหนดใหกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนซึ่งดํารง ตําแหนงอยูในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ปฏิบัติหนาที่ในฐานะกรรมการบริหารทุนหมุนเวียนตาม พระราชบัญญัตินี้จนกวาจะครบวาระการดํารงตําแหนง และกําหนดใหผูบริหาร พนักงาน และลูกจางของทุน หมุนเวียนตามสัญญาจางซึ่งปฏิบัติหนาที่อยูในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ปฏิบัติหนาที่ตอไปไดจนกวาสัญญา จางจะสิ้นสุดลง 12. เรื่อง ขออนุมัติโครงการและการกูเงินสําหรับโครงการเงินกูเพื่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากร น้าํ และระบบขนสงทางถนน ระยะเรงดวน : มาตรการกระตุนเศรษฐกิจระยะที่ 2 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติและเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ดังนี้ 1. อนุมัติใหดําเนินโครงการเงินกูเพื่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ําและระบบขนสงทางถนน ระยะเรงดวน ภายใตกรอบวงเงิน 78,294.85 ลานบาท และในกรณีโครงการใดตองดําเนินการตามขั้นตอนของ กฎหมายและระเบียบใด ใหหนวยงานเจาของโครงการดําเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของ โดยเครงครัดดวย ทั้งนี้ ใหหนวยงานเจาของโครงการสามารถเริ่มดําเนินกระบวนการจัดหาพัสดุไดทันทีหลังจาก ที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติใหดําเนินการโครงการ แตจะลงนามในสัญญาไดเมื่อไดรับการจัดสรรวงเงินกูจากสํานัก งบประมาณ (สงป.) แลว 2. อนุมัติให กค. กูเงินตราตางประเทศเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในกรอบวงเงินไมเกิน 80,000 ลานบาท ตามมาตรา 22 ของพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 และทีแ่ กไขเพิม่ เติม และถา ภาวะตลาดการเงินในประเทศเอื้ออํานวยและจะเปนประโยชนตอการพัฒนาระบบการเงิน การคลัง และตลาดทุน กค. สามารถกูเปนเงินบาทแทนการกูเงินตราตางประเทศก็ได และอนุมัติใหจัดสรรเงินกูเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคม เพื่อใชในการดําเนินโครงการตามขอ 1 3. เห็นชอบรางระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการบริหารโครงการเงินกูเพื่อการพัฒนาระบบบริหาร จัดการทรัพยากรน้ํา และระบบขนสงทางถนนระยะเรงดวน พ.ศ. .... 4. มอบหมายใหสาํ นักงบประมาณ (สงป.) เปนผูพิจารณาใหความเห็นชอบแผนปฏิบัติงานและแผนการ ใชจายเงินกู และจัดสรรเงินกูตามกรอบวงเงินที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติ ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีฯ ขอ 9 (1) พิจารณากําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการขอโอนเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ ตามระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรีฯ ขอ 11 พิจารณากําหนดวงเงินกูสํารองจาย รวมทั้งวิธีการ ขั้นตอน และเงื่อนไขในการจัดสรร เงินสํารองจายตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีฯ ขอ 15 รวมทั้งการอนุมัติการใชเงินเหลือจายเพื่อเปนเงินชดเชย คางานกอสราง ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีฯ ขอ 16 5. มอบหมายให สงป. พิจารณาจัดสรรงบประมาณรายจายประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2559 เพื่อเปน คาดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นจากการกูเงินเพื่อดําเนินโครงการเงินกูเพื่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ําและ ระบบขนสงทางถนน ระยะเรงดวน สาระสําคัญของเรื่อง กค. รายงาน โดยคาดการณวาในป 2558 เศรษฐกิจไทยจะเริ่มฟนตัว โดยมีแนวโนมขยายตัวในอัตรา รอยละ 3.5 – 4.5 อยางไรก็ดี การเติบโตของเศรษฐกิจไทยยังมีปจจัยเสี่ยงจากราคาสินคาเกษตร ซึ่งเปนขอจํากัด ตอการขยายตัวของการบริโภคของภาคครัวเรือน รวมถึงความไมแนนอนของการฟนตัวของเศรษฐกิจโลกและ ความผันผวนของตลาดการเงินโลก อาจสงผลใหการสงออกฟนตัวลาชากวาการคาดการณ การดําเนินนโยบาย การคลังจึงยังมีความจําเปนในการสนับสนุนใหเศรษฐกิจของประเทศเติบโตไดตามเปาหมาย โดยเฉพาะอยางยิ่ง การขับเคลื่อนเศรษฐกิจในประเทศผานการลงทุนในโครงสรางพื้นฐานของภาครัฐ ซึ่งโครงการพัฒนาระบบบริหาร จัดการทรัพยากรน้ํา และระบบขนสงทางถนน ระยะเรงดวน ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2557
-51-
และวันที่ 3 มีนาคม 2558 เปนโครงการขนาดกลางและขนาดเล็ก มีพื้นที่ดําเนินการกระจายในภูมิภาค และมี ความพรอมสามารถดําเนินการไดทันที ในปงบประมาณ 2558 ดังนั้น จึงเห็นควรดําเนินการโดยเร็วเพื่อสนับสนุน การขยายตัวทางเศรษฐกิจและเพื่อใหการดําเนินการเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 13. เรื่อง การปรับกฎเฉพาะรายสินคาจากพิกัดศุลกากรระบบฮารโมไนซ ฉบับป 2007 เปนฉบับป 2012 ภายใตความตกลงการคาเสรีอาเซียน – สาธารณรัฐเกาหลี คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงพาณิชย (พณ.) เสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบตอการปรับกฎเฉพาะรายสินคาจากพิกัดศุลกากรระบบฮารโมไนซ ฉบับป 2007 เปนฉบับ ป 2012 ภายใตความตกลงการคาเสรีอาเซียน – สาธารณรัฐเกาหลี 2. มอบหมายใหกระทรวงการคลัง (กค.) (กรมศุลกากร) และ พณ.(กรมการคาตางประเทศ) ดําเนินการ ตอไปเพื่อใหกฎเฉพาะรายสินคาภายใตความตกลงการคาสินคาอาเซียน – สาธารณรัฐเกาหลี พิกัดศุลกากรระบบ ฮารโมไนซ ฉบับป 2012 มีผลบังคับใชโดยเร็ว 3. มอบหมายใหกระทรวงการตางประเทศ (กต.) แจงสํานักเลขาธิการอาเซียน เพื่อผนวกกฎเฉพาะ รายสินคา ฉบับป 2012 เขาไปในความตกลงการคาสินคาภายใตกรอบความตกลงวาดวยความรวมมือ ทางเศรษฐกิจระหวางประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใตและสาธารณรัฐเกาหลี ทั้งนี้ ใหแจงเมื่อคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบและกรมศุลกากรดําเนินกระบวนการภายในแลวเสร็จ 14. เรื่อง ความตกลงเพื่อการเวนการเก็บภาษีซอนระหวางไทยกับสิงคโปร ฉบับแกไข คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ดังนี้ 1. รางความตกลงเพื่อการเวนการเก็บภาษีซอนระหวางไทยกับสิงคโปรฉบับแกไข ทั้งนี้ เมื่อผาน ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแลว หากมีการแกไขโดยที่ไมกระทบตอสาระสําคัญของความตกลงฯ ดังกลาว ให กค. สามารถทําการแกไขไดทันทีและเมื่อแกไขแลวใหกระทรวงการตางประเทศ (กต.) รับไปดําเนินการ ทางการทูต เพื่อใหมีผลใชบังคับตอไป 2. ให กต. รับไปดําเนินการตามแบบพิธีทางการทูตและกฎหมายภายในเพื่อใหความตกลงฯ ดังกลาว มีผลใชบังคับตอไป สาระสําคัญของเรื่อง 1. การจัดทําความตกลงฯ ดังกลาวเปนการปรับปรุงอนุสัญญาเพื่อการเวนการเก็บภาษีซอนระหวางไทย กับสิงคโปรที่มีผลใชบังคับอยูในปจจุบันใหมีความเหมาะสมกับขอกฎหมายและลักษณะการประกอบธุรกิจ ในปจจุบัน โดยไดกําหนดหลักการที่สําคัญเพื่อขจัดการเก็บภาษีซ้ําซอนในสวนที่เกี่ยวกับภาษีเงินไดระหวาง ประเทศที่เกิดขึ้นอันเนื่องจากอํานาจในการจัดเก็บภาษีของทั้งสองประเทศทําใหเกิดการจัดเก็บภาษีซ้ําซอน บนฐานรายไดจํานวนเดียวกัน นอกจากนั้นความตกลงฯ มีวัตถุประสงคเพื่อชวยสงเสริมความรวมมือระหวาง ประเทศ ในการปองกันการหลีกเลี่ยงการเสียภาษีระหวางประเทศทั้งสอง ตลอดจนมีการจัดสรรรายไดภาษีระหวาง สองประเทศดวยการกําหนดสิทธิการเก็บภาษีสําหรับเงินไดประเภทตาง ๆ ทั้งนี้ พันธกรณีตามความตกลงฯ มีกฎหมายภายในของไทยรองรับที่สําคัญ ไดแก ประมวลรัษฎากร ประกอบพระราชกฤษฎีกาออกตามความ ในประมวลรัษฎากรวาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2505 และพระราชบัญญัติภาษีเงินไดปโตรเลียม พ.ศ. 2514 2. การจัดทําความตกลงฯ เปนไปตามแบบมาตรฐานสากลซึ่งเปนที่ยอมรับของนานาประเทศ เนื่องจาก เปนเครื่องมือที่สําคัญในนโยบายการคาการลงทุนของไทย เพื่อชวยสงเสริมบรรยากาศการลงทุนระหวางประเทศ เนื่องจากสามารถสรางความเชื่อมั่นเกี่ยวกับภาระภาษีที่ชัดเจนกับนักลงทุนตางชาติที่เขามาลงทุนในไทย และ
-52-
นักลงทุนไทยที่ออกไปลงทุนในตางประเทศ โดยประเทศไทยไดเริ่มเจรจาจัดทําอนุสัญญาหรือความตกลงเพื่อ การเวนการเก็บภาษีซอนกับตางประเทศมาตั้งแตป 2507 ซึ่งปจจุบันประเทศไทยมีอนุสัญญาหรือความตกลงเพื่อ การเวนการเก็บภาษีซอนที่มีผลใชบังคับอยูแลวจํานวน 58 ฉบับ 3. อนุสัญญาหรือความตกลงเพื่อการเวนการเก็บภาษีซอนจะมีผลใชบังคับไดตอเมื่อไดมีการลงนาม อยางเปนทางการ และไดมีการเปลี่ยนแปลงสัตยาบันระหวางกัน โดยกอนมีการลงนามอยางเปนทางการ รางอนุสัญญาหรือความตกลงฯ ที่ไดดําเนินการจนแลวเสร็จนั้นจะตองไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี และอนุมัติให กต. รับไปดําเนินการเพื่อใหมีผลใชบังคับตอไป 15. เรื่อง การลงนามรางพิธีสารวาดวยกรอบกฎหมายเพื่อดําเนินการเชื่อมโยงขอมูลอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียวของอาเซียน (Protocol on the Legal Framework to Implement the ASEAN Single Window) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบรางพิธีสารวาดวยกรอบกฎหมายเพื่อดําเนินการเชื่อมโยงขอมูลอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียว ของอาเซียน 2. เห็นชอบใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังเปนผูลงนามในรางพิธีสารดังกลาว 3. อนุมัติใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศจัดทําหนังสือมอบอํานาจเต็ม (Full Powers) เพื่อการลงนามรางพิธีสารดังกลาว รางพิธีสารวาดวยกรอบกฎหมายเพื่อดําเนินการเชื่อมโยงขอมูลอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียวของอาเซียน มี สาระสําคัญเพื่อเปนกรอบทางกฎหมายเพื่อการดําเนินการการติดตอสื่อสาร และการประมวลผลทางอิเล็กทรอนิกส ของธุรกรรมระหวางระบบ National Single Window ของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหลายภายในภาพแวดลอม ASEAN Single Window โดยคํานึงถึงมาตรฐานสากลและแนวปฏิบัติที่ดีที่เกี่ยวของ อันเปนความตกลงระหวาง ประเทศและอนุสัญญาเกี่ยวกับการอํานวยความสะดวกทางการคาและการทําใหเทคนิคและการปฏิบัติ ทางศุลกากรมีความทันสมัยแนะนําไว รางพิธีสารดังกลาวกําหนดขอบเขตการบังคับใชกับธุรกรรมระหวางระบบ National Single Window ของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหลาย ภายในสภาพแวดลอมของ ASEAN Single Window เทานั้น โดยไมมผี ล เปนการสรางพันธกรณีตอประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหลายอันเกี่ยวของกับการดําเนินการและการทําธุรกรรม ภายในระบบ National Single Window ของตน เวนแตขอบทที่วาดวยความปลอดภัยและความลับของ สารสนเทศ (“ธุรกรรม” หมายถึง การสงและการรับสารสนเทศหรือขอมูลระหวางระบบ National Single Window ทั้งหลาย) โดยรางพิธีสารดังกลาวกําหนดใหมีผลบังคับใชภายหลังจากประเทศสมาชิกทั้งหมด ไดแจง สงมอบเอกสารการใหสัตยาบันกับเลขาธิการอาเซียน เมื่อไดดําเนินกระบวนการภายในของตนเสร็จสิ้นแลว ทั้งนี้ โดยรางพิธีสารไดกําหนดเวลาเรงรัดสําหรับการดําเนินกระบวนการภายในไวไมเกิน 180 วัน ภายหลัง การลงนามรางพิธีสารดังกลาว
-53-
สถิติดานการคลัง
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปปฏิทิน) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) GDP (ปงบประมาณ) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ)
2535 261,042 52,945 87,273 2,884 66,614 9,629 3,781 134 102,028 41,346 15,490 15,247 7,818 15,713 5,125 301 695 294 7 38 1 86,246 85,082 11 1,153 449,316 76,048 42,896 33,152 525,364
2536 300,805 57,237 103,975 3,448 112,582 16,764 3,876 184 125,789 43,711 15,638 16,679 9,478 34,350 5,158 546 73 157 10 56 2 105,910 104,651 11 1,247 532,504 75,603 36,701 38,902 608,106
2537 366,957 67,651 133,268 3,603 134,791 21,227 4,752 224 138,670 46,131 19,708 19,272 12,262 34,515 5,636 899 136 111 11 64 2 52 116,872 115,540 14 1,318 622,499 85,047 41,794 43,253 707,546
2538 444,512 86,190 157,078 3,196 163,122 28,311 5,284 249 155,308 53,501 20,717 19,759 15,131 38,147 6,598 1,190 156 109 12 69 59 128,548 127,124 9 1,415 728,368 86,775 41,250 45,525 815,143
2539 508,832 109,396 172,235 3,430 184,227 33,410 5,286 276 167,160 58,005 24,057 21,548 17,360 37,343 6,845 1,729 153 119 10 75 2 55 129,543 128,212 6 1,324 805,535 89,756 40,650 49,106 895,291
หนวย : ลานบาท 2540 2541 518,620 498,966 115,137 122,945 162,655 99,480 5,322 5,316 195,813 232,388 34,286 35,241 4,734 2,992 408 263 180,168 155,564 63,983 65,373 29,816 28,560 22,763 20,257 21,383 23,191 32,295 8,557 7,519 7,023 1,765 1,003 129 538 442 168 204 481 142 139 126 11 163 91 103 7 11 17 19 59 56 104,160 69,338 102,704 67,108 8 17 1,448 2,213 802,947 723,868 106,101 91,813 38,102 42,518 68,000 49,295 909,049 815,681
525,364 525,364 2,830,900 18.6 2,749,800 19.1
41,432 38,354 3,078 10,348 556,326 556,326 3,165,222 17.6 3,034,300 18.3
48,723 45,330 3,393 6,262 652,561 652,561 3,629,341 18.0 3,496,880 18.7
52,937 49,143 3,794 7,108 755,098 755,098 4,186,212 18.0 4,068,515 18.6
37,813 34,148 3,665 7,473 850,005 850,005 4,611,041 18.4 4,510,055 18.8
58,400 55,313 3,087 7,073 843,576 843,576 4,732,610 17.8 4,699,943 17.9
74,660 63,858 10,802 7,559 733,462 733,462 4,626,447 15.9 4,666,795 15.7
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีกิจการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปปฏิทิน) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) GDP (ปงบประมาณ) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ)
2545 544,281 108,371 170,415 19,128 228,196 13,715 4,122 236 208,153 68,840 31,697 22,290 31,650 41,560 7,748 1,793 1,224 582 556 212 45 268 126 15 23 60 98,629 96,326 163 2,139 851,062 108,375 46,965 2,483 57,862 959,437
2546 627,682 117,309 208,859 21,773 261,306 12,757 5,348 286 246,641 73,605 33,289 25,676 36,987 56,474 8,621 2,347 1,581 591 6,420 813 239 68 299 145 22 26 65 38 78 111,819 110,054 216 1,549 986,142 118,485 50,772 3,599 64,114 1,104,627
หนวย : ลานบาท 2547 2548 772,236 937,149 135,155 147,352 261,890 329,516 31,935 41,178 316,134 385,718 20,024 26,304 6,820 6,816 278 266 275,773 279,395 76,996 76,458 36,325 38,193 26,181 28,620 42,749 45,483 65,012 58,760 9,350 10,106 2,859 3,712 1,641 1,849 762 763 12,625 13,935 993 1,121 280 398 97 86 332 372 167 179 34 40 23 38 44 74 82 92 161 185 106,122 110,403 103,635 106,917 267 285 2,220 3,202 1,154,132 1,326,948 135,747 147,472 49,086 60,664 2,976 3,210 52,611 82,114 1,289,880 1,474,420
75,325 57,036 77,920 79,902 64,655 47,358 65,682 65,769 10,670 9,679 12,239 14,133 2,994 3,198 3,732 4,109 5,916 7,278 7,698 8,234 709,111 750,082 785,416 867,192 16,525 709,111 750,082 785,416 850,667 4,637,079 4,922,731 5,133,502 5,450,643 15.3 15.2 15.3 15.6 4,607,310 4,849,547 5,101,367 5,345,826 15.4 15.5 15.4 15.9
80,150 69,261 10,888 5,042 10,501 1,008,934 40,604 968,330 5,917,369 16.4 5,780,452 16.8
115,574 96,947 18,627 6,368 11,226 1,156,713 47,726 1,108,986 6,489,476 17.1 6,321,068 17.5
2542 452,317 106,071 108,820 10,872 201,976 21,311 2,824 258 163,892 66,584 26,655 22,800 24,992 13,941 6,484 904 482 419 474 158 114 191 87 6 24 49 68,095 66,994 36 1,064 684,303 109,042 52,679 56,364 793,346
2543 461,322 91,790 145,554 10,739 192,510 17,015 3,351 236 168,822 64,832 28,134 8,276 26,438 26,781 7,444 1,104 791 444 579 3,999 97 218 127 11 20 55 87,195 85,338 75 1,782 717,338 100,257 56,182 44,075 817,595
2544 499,711 101,136 149,677 17,154 215,158 12,852 3,408 242 177,600 64,124 32,310 8,933 29,991 30,330 8,100 1,429 932 713 525 213 62 246 112 14 26 59 92,838 91,359 82 1,397 770,149 104,617 45,482 59,135 874,766
131,220 109,625 21,594 7,451 12,421 1,323,328 58,400 1,264,928 7,092,893 17.8 6,920,178 18.3
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีกิจการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปปฏิทิน) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) GDP (ปงบประมาณ) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ)
2549 1,057,200 170,079 374,689 56,524 417,772 30,623 7,268 244 274,095 70,742 35,657 29,143 44,207 59,810 10,765 3,525 2,010 1,178 15,523 1,169 367 87 425 185 56 39 52 104 196 96,232 93,633 314 2,285 1,427,528 153,996 73,500 3,330 77,165 1,581,524
2550 1,119,194 192,795 384,619 65,735 434,272 34,406 7,137 230 287,231 76,944 41,824 33,298 52,088 55,844 11,735 3,727 1,665 1,426 7,229 1,183 269 87 447 177 68 29 46 111 202 90,625 88,169 345 2,112 1,497,050 206,724 80,593 3,052 86,129 1,703,775
2551 1,276,080 204,847 460,650 74,033 503,439 25,133 7,724 254 278,303 67,211 41,832 36,816 53,465 57,822 12,391 3,769 1,673 1,708 111 1,196 309 84 490 167 63 44 37 111 192 99,602 96,944 501 2,157 1,653,985 183,659 77,546 4,682 101,430 1,837,643
2552 1,138,565 198,095 392,172 90,712 431,775 18,099 7,488 223 291,221 91,059 43,936 37,982 48,993 49,278 12,186 3,111 1,608 1,479 1,062 528 73 428 183 43 31 42 91 164 80,288 77,187 404 2,697 1,510,074 174,224 83,761 3,822 86,641 1,684,297
2553 1,264,584 208,374 454,565 67,599 502,176 22,892 8,735 243 405,862 152,825 53,381 42,398 58,831 77,202 14,245 1,615 1,979 1,947 1,039 400 64 452 190 39 27 26 95 141 97,148 93,512 169 3,467 1,767,594 235,453 140,031 3,868 91,553 2,003,047
หนวย : ลานบาท 2554 2555 1,515,666 1,617,293 236,339 266,203 574,059 544,591 81,444 94,097 577,632 659,804 35,614 41,057 10,299 11,180 279 362 399,779 379,652 117,914 61,061 57,197 59,915 48,624 53,500 61,498 64,893 92,844 117,145 14,526 16,208 1,183 977 2,284 2,318 2,126 2,197 1,088 1,099 424 411 62 57 494 476 201 221 22 23 24 40 29 35 113 104 143 140 102,882 118,973 99,968 116,325 241 323 2,673 2,326 2,018,326 2,115,919 206,051 239,391 102,687 112,268 4,569 4,374 98,795 122,749 2,224,377 2,355,310
162,951 138,206 24,745 9,172 12,399 1,397,002 57,312 1,339,691 7,844,939 17.1 7,699,350 17.4
181,793 150,035 31,758 9,514 10,416 1,502,051 57,592 1,444,460 8,525,197 16.9 8,301,652 17.4
202,716 173,994 28,723 11,625 12,044 1,611,258 65,420 1,545,837 9,080,466 17.0 9,145,520 16.9
199,408 157,838 41,570 9,040 11,160 1,464,690 53,832 1,410,858 9,041,551 15.6 8,850,552 15.9
208,733 160,052 48,681 11,096 13,005 1,770,213 65,736 1,704,477 10,104,821 16.9 9,921,040 17.2
230,014 188,471 41,543 12,677 14,813 1,966,873 74,556 1,892,317 10,540,134 18.0 10,669,274 17.7
260,374 216,012 44,362 14,815 15,280 2,064,841 88,965 1,975,876 11,375,349 17.4 10,865,428 18.2
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป
หนวย : ลานบาท 2558 (5 เดือน) 587,168 120,566 134,337 7,725 295,871 22,700 5,828 141 180,139 40,150 29,598 30,049 35,043 34,736 7,188 215 1,203 934 578 445 44 267 115 11 17 8 57 59 49,222 48,135 117 970 816,529 138,382 75,212 3,311 59,859 954,911
2556 2557 กรมสรรพากร 1,764,707 1,729,819 ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 299,034 280,945 ภาษีเงินไดนิติบุคคล 592,499 570,118 ภาษีเงินไดปโตรเลียม 113,291 102,165 ภาษีมูลคาเพิ่ม 698,087 711,556 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 48,771 53,034 อากรแสตมป 12,735 11,663 อื่นๆ 290 338 กรมสรรพสามิต 432,897 382,731 ภาษีน้ํามันฯ 63,532 63,403 ภาษียาสูบ 67,893 61,001 ภาษีสุราฯ 52,640 64,654 ภาษีเบียร 69,119 76,559 ภาษีรถยนต 153,874 93,473 ภาษีเครื่องดื่ม 17,838 16,622 ภาษีเครื่องไฟฟา 1,003 519 ภาษีรถจักรยานยนต 2,933 2,585 ภาษีแบตเตอรี่ 2,294 2,074 ภาษีอื่นๆ 1,208 1,157 รายไดอื่นๆ 563 684 ภาษีสถานบริการ(สนามมา) 58 55 ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) 566 552 ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม 236 224 ภาษีแกวและเครื่องแกว 32 27 ภาษีพรม 39 35 ภาษีไพ 27 21 ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค 107 107 ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด 143 136 กรมศุลกากร 113,393 117,740 อากรขาเขา 110,628 114,647 อากรขาออก 254 269 รายไดอื่นๆ 2,511 2,824 รวม 3 กรม 2,310,997 2,230,290 หนวยงานอื่น 260,464 272,645 สวนราชการอื่น 152,568 130,527 กรมธนารักษ 6,448 5,427 รัฐวิสาหกิจ 101,448 136,691 รวมรายไดจัดเก็บ 2,571,461 2,502,935 หัก 291,007 106,933 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 283,471 - ภาษีมูลคาเพิ่ม 228,941 226,086 93,760 - ภาษีอื่นๆ 54,530 64,921 13,173 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร N/A 8,610 4,578 3. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 15,476 15,439 6,021 4. เงินกันชดเชยการสงออก 16,946 16,178 5,603 รวมรายไดสุทธิ 2,255,568 2,171,701 831,776 จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ 93,967 97,041 15,693 รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร 2,161,601 2,074,660 816,083 GDP (ปปฏิทิน) 11,898,710 12,141,096 12,627,000 สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) 18.2 17.1 6.5 GDP (ปงบประมาณ) 11,843,330 12,065,116 N/A สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ) 18.3 17.2 N/A หมายเหตุ : 1. ขอมูล GDP ป 2557 จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ณ วันที่ 16 กุมภาพันธ 2558 2. ผลการจัดเก็บรายไดของกรมศุลกากรตั้งแตปงบประมาณ 2557 เปนตัวเลขกอนหักอากรถอนคืน ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน หนวย: ลานบาท หนวย: ลานบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดเบ็ดเตล็ด ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร
ต.ค.54 พ.ย.54 ธ.ค.54 ม.ค.55 ก.พ.55 88,824 98,404 91,520 99,215 113,459 18,411 15,450 18,155 27,377 21,977 19,135 33,027 16,639 16,475 25,910 17 640 54 14 7,648 47,791 45,714 52,020 51,665 53,808 2,745 2,837 3,706 2,816 3,198 707 719 914 766 896 17 16 31 102 21 26,802 25,632 30,755 27,908 30,531 4,804 4,701 4,923 5,514 5,245 3,206 7,150 6,214 4,313 4,761 4,117 3,264 5,941 4,715 4,631 5,013 4,940 6,488 5,573 5,802 8,202 3,544 5,271 6,123 8,370 923 1,705 1,520 1,162 1,142 49 31 57 64 72 205 69 47 147 200 163 121 142 150 170 87 64 75 96 108 31 43 79 53 31 5 3 1 5 5 31 23 36 43 58 4 2 2 2 1 3 1 2 3 2 9 9 8 9 9 12 11 11 12 12 7,752 9,190 10,291 9,760 9,709 7,599 9,012 10,061 9,549 9,531 63 23 27 3 22 90 154 204 208 156 123,377 133,225 132,566 136,883 153,698 25,002 25,764 11,789 15,325 19,149 4,221 13,571 8,793 6,459 14,736 82 426 160 1,580 620 20,700 11,767 2,836 7,286 3,793 148,380 158,989 144,355 152,208 172,847
ปงบประมาณ 2555 มี.ค.55 เม.ย.55 110,475 105,826 32,109 26,879 17,071 17,734 935 664 55,599 56,659 3,788 3,009 948 857 26 24 37,620 32,213 5,151 4,897 6,195 5,363 5,812 4,411 6,796 5,449 11,460 9,908 1,569 1,540 92 77 216 243 194 198 107 103 27 22 5 5 54 48 3 4 2 3 9 9 12 12 11,195 10,317 10,874 10,128 66 24 255 165 159,291 148,355 15,981 25,262 5,012 4,195 270 654 10,699 20,413 175,272 173,617
พ.ค.55 277,714 22,403 121,712 72,530 56,276 3,605 1,160 27 31,324 5,128 4,043 3,629 5,190 11,198 1,543 94 197 186 90 26 7 36 2 4 9 11 11,314 11,077 28 209 320,351 20,106 15,338 120 4,648 340,457
มิ.ย.55 152,927 23,009 66,689 748 57,025 4,268 1,162 27 32,068 4,997 4,026 3,852 4,658 12,453 1,391 121 249 203 89 28 5 38 5 3 8 12 9,829 9,699 3 127 194,824 12,661 8,811 141 3,709 207,485
ก.ค.55 100,699 20,857 18,874 0 56,349 3,562 1,030 26 34,015 5,327 5,070 4,325 5,218 12,219 1,195 110 243 196 87 26 5 35 3 3 8 12 9,960 9,908 32 20 144,674 13,444 4,724 99 8,621 158,118
ส.ค.55 207,576 19,304 114,643 10,833 58,229 3,567 977 24 36,790 5,338 5,562 4,756 4,787 14,307 1,334 111 259 219 94 23 5 36 7 3 8 12 10,496 9,865 29 601 254,862 20,403 16,890 107 3,407 275,265
ก.ย.55 170,656 20,272 76,681 12 68,669 3,957 1,043 22 33,995 5,036 4,012 4,048 4,981 14,089 1,183 100 242 186 98 22 5 38 4 5 8 12 9,162 9,023 2 136 213,813 34,505 9,520 116 24,869 248,317
13,553 18,234 15,409 15,490 25,190 26,956 23,409 24,039 22,729 21,318 23,803 30,245 12,270 16,564 14,104 14,114 20,412 18,040 15,946 18,291 18,257 19,324 21,035 27,654 1,283 1,669 1,304 1,377 4,778 8,916 7,463 5,748 4,472 1,994 2,768 2,590 1,040 1,012 1,198 1,074 1,249 1,303 1,265 1,256 1,339 1,281 1,273 1,524 826 908 1,084 1,011 1,017 1,198 995 1,348 2,538 1,071 1,259 2,026 132,961 138,836 126,665 134,632 145,391 145,815 147,948 313,814 180,879 134,448 248,930 214,524 7,155 5,845 7,615 7,541 6,661 7,534 8,170 38,445 132,961 138,836 126,665 134,632 138,236 139,969 140,333 306,273 174,218 126,914 240,760 176,079
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน หนวย: ลานบาท หนวย: ลานบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดเบ็ดเตล็ด ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร
ต.ค.55 106,740 21,133 21,836 1 58,962 3,732 1,053 24 37,241 4,945 4,684 4,031 6,449 15,162 1,325 95 225 183 95 49 6 36 2 3 8 12 10,859 10,535 20 303 154,839 18,996 4,919 831 13,247 173,835
พ.ย.55 122,454 19,553 35,395 600 61,600 4,218 1,068 20 41,689 5,121 6,041 4,987 7,271 15,992 1,607 90 214 208 95 64 5 38 3 2 9 12 10,679 10,484 20 175 174,822 25,777 19,738 970 5,068 200,599
ธ.ค.55 117,663 19,113 33,800 1,538 57,487 4,720 987 19 40,140 5,485 5,072 3,992 6,780 16,540 1,554 90 213 203 107 104 5 50 3 2 10 12 9,533 9,378 20 136 167,337 40,320 35,810 1,629 2,881 207,657
ม.ค.56 124,080 33,461 22,467 1,435 62,107 3,508 1,082 19 37,983 5,856 5,753 5,392 5,503 13,204 1,568 93 241 161 115 96 5 60 4 2 11 12 9,895 9,814 3 78 171,958 14,959 5,620 240 9,099 186,917
ก.พ.56 115,473 23,673 20,506 9,676 56,913 3,662 1,024 19 36,007 4,882 6,392 4,568 5,326 12,700 1,424 101 243 200 123 48 4 69 3 2 10 12 8,595 8,338 22 235 160,076 25,311 19,461 420 5,431 185,387
ปงบประมาณ 2556 มี.ค.56 เม.ย.56 116,606 118,463 35,874 30,789 18,220 23,147 9 228 57,134 59,568 4,240 3,661 1,103 1,040 26 29 38,110 37,844 5,211 5,501 5,640 5,153 4,637 4,730 6,816 6,093 13,284 13,785 1,816 1,854 96 86 258 295 192 212 113 108 46 29 4 7 62 53 2 4 2 2 9 9 12 12 9,107 8,948 8,897 8,804 16 3 194 140 163,823 165,255 21,657 26,924 6,376 4,399 246 662 15,034 21,863 185,479 192,179
พ.ค.56 291,871 25,245 114,243 90,970 56,123 4,150 1,113 28 33,387 5,501 5,288 4,221 5,812 10,326 1,611 84 241 187 91 25 5 39 4 2 9 12 8,637 8,453 39 146 333,895 29,152 18,486 107 10,559 363,048
มิ.ย.56 164,929 24,816 78,109 0 56,374 4,553 1,048 29 34,048 5,028 5,218 3,932 4,752 12,996 1,446 72 285 199 95 25 4 43 3 2 8 12 8,714 8,523 37 155 207,691 10,250 7,548 121 2,582 217,942
ก.ค.56 104,928 22,656 20,989 1 56,117 4,059 1,080 27 31,761 5,562 5,412 4,137 4,386 10,531 1,126 62 248 180 87 28 4 39 3 2 8 12 9,688 9,357 23 307 146,376 16,352 5,961 110 10,281 162,728
ส.ค.56 181,778 20,926 88,631 7,059 59,840 4,228 1,070 24 32,885 5,191 5,645 5,130 4,525 10,636 1,133 65 258 189 88 26 4 37 2 2 8 12 9,677 9,211 24 442 224,340 21,255 17,968 116 3,171 245,594
ก.ย.56 199,722 21,795 115,157 1,774 55,862 4,040 1,067 27 31,803 5,249 7,594 2,885 5,406 8,716 1,375 68 213 182 92 23 5 38 4 2 9 12 9,060 8,833 27 200 240,586 9,511 6,283 996 2,232 250,097
24,357 23,516 18,129 20,759 27,095 32,750 27,958 23,731 23,943 21,305 19,452 20,478 22,251 21,618 16,983 17,687 20,696 21,995 17,264 17,428 19,338 18,900 17,104 17,677 2,106 1,898 1,146 3,072 6,399 10,754 10,694 6,303 4,604 2,405 2,348 2,801 1,332 1,313 1,293 1,371 1,234 1,326 1,378 1,177 1,277 1,241 1,310 1,224 1,180 1,234 1,247 1,308 991 1,276 1,283 1,287 2,635 1,069 1,284 2,152 146,966 174,537 186,988 163,480 156,067 150,128 161,560 336,853 190,087 139,113 223,548 226,243 32,385 7,249 7,022 8,499 7,745 31,067 146,966 174,537 186,988 163,480 156,067 150,128 129,175 329,603 183,065 130,614 215,803 195,177
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน หนวย: ลานบาท หนวย: ลานบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดเบ็ดเตล็ด ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 4. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร
ต.ค.56 พ.ย.56 ธ.ค.56 ม.ค.57 ก.พ.57 112,332 118,159 126,301 120,637 115,871 22,094 20,613 19,217 27,634 23,865 23,685 33,865 39,155 23,265 21,856 0 1,154 1,950 0 8,850 61,045 57,073 59,889 64,671 56,265 4,396 4,460 5,128 4,103 4,124 1,085 971 941 942 889 26 23 21 22 22 36,625 34,994 32,666 33,324 31,364 5,204 5,014 4,934 5,671 5,312 5,837 3,452 4,886 4,810 5,382 7,069 7,830 4,170 6,144 4,729 7,552 8,070 7,156 6,056 6,208 9,153 8,592 9,682 8,713 7,922 1,164 1,523 1,277 1,220 1,213 74 50 39 35 40 219 179 179 251 214 190 135 133 210 170 96 81 94 114 118 67 68 117 100 55 6 2 2 3 4 36 36 50 59 67 5 2 2 6 3 2 2 2 2 2 8 10 10 11 9 12 12 12 12 11 10,400 9,983 9,788 10,162 8,695 10,257 9,843 9,614 9,908 8,610 2 2 23 26 25 141 138 151 228 61 159,357 163,136 168,755 164,122 155,930 44,051 26,180 15,356 21,106 26,810 7,168 18,411 10,206 6,192 18,289 250 260 1,953 306 720 36,633 7,509 3,196 14,609 7,802 203,407 189,316 184,111 185,228 182,740 21,481 18,150 3,331 853 1,341 1,161 178,571
19,669 18,085 1,584 1,015 1,208 973 166,451
21,795 19,695 2,100 1,099 1,391 1,385 158,441
178,571
166,451
158,441
17,382 15,344 2,038 553 1,370 1,197 164,726 8,591 156,134
22,987 16,045 6,942 711 1,243 956 156,843 7,799 149,044
ปงบประมาณ 2557 มี.ค.57 เม.ย.57 112,535 111,183 30,194 26,610 19,599 19,551 0 0 57,252 60,060 4,477 3,993 981 938 32 31 36,125 33,339 5,208 5,124 5,641 5,844 5,751 4,964 8,795 6,717 8,425 8,406 1,728 1,676 41 22 211 264 161 177 107 102 57 42 4 4 59 52 4 3 1 8 9 11 11 9,796 9,028 9,450 8,878 28 24 318 127 158,456 153,550 17,887 25,410 5,419 6,623 285 667 12,183 18,120 176,343 178,960
พ.ค.57 252,501 24,557 99,442 64,478 58,779 4,281 932 31 30,134 5,140 5,397 5,181 5,485 6,866 1,524 36 203 170 89 45 4 40 1 2 9 11 9,449 9,323 24 102 292,084 32,731 17,172 317 15,242 324,815
มิ.ย.57 180,339 23,623 78,322 15,420 57,491 4,482 964 36 28,003 4,757 5,436 4,510 5,140 6,250 1,395 31 223 157 81 24 2 41 2 2 7 10 9,533 9,344 24 166 217,875 13,384 9,024 197 4,163 231,259
ก.ค.57 110,035 21,450 21,953 1,574 59,482 4,553 989 33 27,768 5,560 4,420 4,318 5,093 6,542 1,236 45 228 207 83 39 4 35 3 2 7 11 10,526 9,800 23 703 148,329 15,471 6,147 144 9,180 163,799
ส.ค.57 175,683 20,050 82,924 7,088 60,499 4,173 918 30 28,026 5,380 4,653 4,944 4,954 6,213 1,319 48 211 178 94 32 9 38 3 2 9 12 9,583 9,367 23 193 213,291 22,164 18,672 156 3,336 235,456
ก.ย.57 194,245 21,038 106,500 1,649 59,049 4,864 1,113 32 30,363 6,099 5,244 5,045 5,333 6,709 1,348 58 203 187 99 39 11 39 2 2 10 12 10,797 10,252 47 498 235,404 12,094 7,204 172 4,718 247,499
32,989 19,914 13,075 847 1,229 1,205 140,072 8,036 132,037
34,977 25,139 9,838 569 1,271 1,255 286,742 8,062 278,680
25,713 19,044 6,669 901 1,239 2,559 200,848 7,456 193,392
23,081 20,038 3,043 522 1,256 1,101 137,838 8,285 129,553
20,937 19,055 1,883 422 1,308 1,064 211,724 6,668 205,056
20,348 16,932 3,416 511 1,280 2,199 223,161 32,254 190,907
29,647 18,646 11,001 607 1,302 1,123 146,281 9,889 136,392
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน หนวย: ลานบาท หนวย: ลานบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดเบ็ดเตล็ด ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 4. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร
ต.ค.57 111,828 21,258 23,361 16 61,214 4,717 1,231 30 33,935 5,852 7,272 5,099 6,721 6,755 1,596 50 233 183 105 68 9 43 5 2 9 12 10,303 10,084 22 198 156,066 45,740 8,614 162 36,963 201,806 24,427 21,501 2,927 1,300 1,246 1,139 173,694 173,694
ปงบประมาณ 2558 พ.ย.57 ธ.ค.57 119,162 118,430 20,829 19,587 34,176 32,462 669 562 58,010 58,932 4,346 5,431 1,106 1,429 26 28 32,589 35,690 5,130 7,554 5,570 5,644 5,803 5,062 7,040 7,707 6,931 7,264 1,451 1,711 48 38 244 261 195 193 99 111 78 146 8 9 39 50 4 3 2 2 10 11 12 12 9,728 10,295 9,562 10,104 19 21 146 170 161,479 164,415 24,559 31,386 19,006 25,007 352 1,787 5,200 4,592 186,038 195,802 21,215 19,602 1,613 1,104 1,171 950 161,597 161,597
20,490 18,657 1,833 783 1,225 1,261 172,043 172,043
ม.ค.58 126,299 34,917 22,947 13 62,992 4,348 1,056 26 39,967 11,237 5,211 7,337 6,427 7,908 1,178 41 230 174 124 100 9 60 4 2 13 12 9,692 9,533 17 142 175,959 13,967 7,013 275 6,680 189,926
ก.พ.58 111,449 23,975 21,391 6,465 54,723 3,858 1,005 31 37,959 10,376 5,901 6,747 7,149 5,878 1,253 38 234 189 139 54 9 74 3 2 13 12 9,203 8,852 37 314 158,611 22,730 15,572 734 6,423 181,341
19,900 17,000 2,900 691 1,179 1,254 166,903 7,989 158,914
20,900 17,000 3,900 700 1,200 1,000 157,540 7,704 149,836
หมายเหตุ : ผลจัดเก็บรายไดของกรมศุลกากรตั้งแต เดือนตุลาคม 2556 เปนตนไป เปนตัวเลขกอนหักอากรถอนคืน ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
สัดสวนรายไดตอ GDP (FY) 1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8
ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีการคา ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น ๆ
หนวย: รอยละ 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 13.54 13.73 13.48 13.95 12.86 12.75 14.21 14.88 14.90 14.34 2.13 4.76 0.60 5.57 0.38 0.10 0.00
2.21 4.87 0.73 5.43 0.40 0.09 0.00
2.32 4.63 0.79 5.23 0.41 0.09 0.00
2.24 5.04 0.81 5.50 0.27 0.08 0.00
2.24 4.43 1.02 4.88 0.20 0.08 0.00
2.10 4.58 0.68 5.06 0.23 0.09 0.00
2.22 5.38 0.76 5.41 0.33 0.10 0.00
2.45 5.01 0.87 6.07 0.38 0.10 0.00
2.52 5.00 0.96 5.89 0.41 0.11 0.00
2.33 4.73 0.85 5.90 0.44 0.10 0.00
2. กรมสรรพสามิต
4.04
3.56
3.46
3.04
3.29
4.09
3.75
3.49
3.66
3.17
3. กรมศุลกากร
1.60
1.25
1.18
1.09
0.91
0.98
0.96
1.09
0.96
0.98
4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น
1.21 0.92
1.00 1.00
1.12 1.45
1.11 0.90
0.98 0.99
0.92 1.45
0.93 1.01
1.13 1.07
0.86 1.34
1.13 1.13
2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีกิจการโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ
5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ
1.10 0.55 0.41 0.66 0.85 0.15 0.05 0.03 0.01 0.20 0.02 0.01 1.55 0.00 0.05
0.88 0.05
0.92 0.46 0.38 0.57 0.78 0.14 0.05 0.03 0.02 0.20 0.02 0.00 1.22 0.00 0.03
0.95 0.04
0.93 0.50 0.40 0.63 0.67 0.14 0.04 0.02 0.02 0.09 0.01 0.00 1.06 0.00 0.03
0.97 0.04
0.73 0.46 0.40 0.58 0.63 0.14 0.04 0.02 0.02 0.00 0.01 0.00 1.06 0.01 0.02
0.85 0.05
1.03 0.50 0.43 0.55 0.56 0.14 0.04 0.02 0.02 0.01 0.01 0.87 0.00 0.03
0.95 0.04
1.54 0.54 0.43 0.59 0.78 0.14 0.02 0.02 0.02 0.01 0.00 0.94 0.00 0.03
1.41 0.04
1.11 0.54 0.46 0.58 0.87 0.14 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.94 0.00 0.03
0.96 0.04
0.56 0.55 0.49 0.60 1.08 0.15 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 1.07 0.00 0.02
1.03 0.04
0.54 0.57 0.44 0.58 1.30 0.15 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.93 0.00 0.02
1.29 0.05
0.53 0.51 0.54 0.63 0.77 0.14 0.00 0.02 0.02 0.01 0.01 0.95 0.00 0.02
1.08 0.04
6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก
21.31 20.54 20.52 20.09 19.03 20.19 20.85 21.68 21.71 20.75 2.18 2.40 2.43 2.48 2.48 2.35 2.41 2.67 2.67 2.75
8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.
19.12 18.14 18.09 17.62 16.55 17.84 18.43 19.00 19.05 18.00 0.84 0.74 0.69 0.72 0.61 0.66 0.70 0.82 0.79 0.80 18.28 17.40 17.40 16.90 15.94 17.18 17.74 18.18 18.25 17.20
7.1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก
1.90 1.58 0.31 0.11 0.18
2.12 1.80 0.32 0.12 0.16
2.19 1.81 0.38 0.11 0.13
2.22 1.90 0.31 0.13 0.13
2.25 1.78 0.47 0.10 0.13
2.10 1.61 0.49 0.11 0.13
2.16 1.77 0.39 0.12 0.14
2.40 1.99 0.41 0.14 0.14
2.39 1.93 0.46 0.13 0.14
2.41 1.87 0.54 0.13 0.13
Revenue Buoyancy (GDP: FY) 1. กรมสรรพากร
หนวย: รอยละ 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2.25 1.14 0.75 1.38 3.34 0.92 2.63 3.65 1.01 (1.06)
2. กรมสรรพสามิต
0.14 (0.17) 0.61 (0.31) (1.44) 3.25 (0.20) (2.74) 1.56 (6.19)
3. กรมศุลกากร
0.43 (1.14) (0.74) 0.97
4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น
4.50 (0.68) 1.48 1.75 4.52 0.47 1.05 13.19 (1.93) 18.55 (1.81) 1.80 7.28 (3.13) (2.02) 5.32 (3.38) 4.76 4.04 (7.74)
6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก
1.51 1.42
0.99 1.19
0.77 1.20
2.59 0.93
1.56 0.50
1.47 1.40
3.20 6.96
1.02 (1.42) 0.97 2.59
8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.
1.52 0.49 0.96 2.36 (0.17) 0.06 1.48 0.52 1.00
0.72 1.34 0.69
2.82 5.49 2.71
1.72 1.83 1.72
1.47 2.71 1.78 10.51 1.46 2.40
1.03 (1.99) 0.62 1.75 1.04 (2.15)
1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8
ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีการคา ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น ๆ
2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีกิจการโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ
5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ
7.1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก
0.95 2.72 3.05 2.32 3.31 (0.01) (0.45)
1.37 1.22 3.31 0.74 1.46 0.59 (0.73)
1.71 0.34 2.08 0.50 1.58 (0.23) (0.78)
0.61 1.94 1.24 1.57 (2.65) 0.81 1.05
1.02 4.61 (6.99) 4.41 8.68 0.95 3.79
0.43 1.32 (2.11) 1.35 2.19 1.38 0.75
1.78 3.49 2.72 1.99 7.37 2.37 1.93
(0.07) 0.54 0.98 0.67 (1.01) 0.85 3.15 1.34 (0.01) 1.09 1.36 4.43
(0.66) (0.59) 0.16 (0.25) 0.16 0.58 (0.45) 0.78 4.84 1.01 0.38 (0.68)
1.12 2.21 1.82 2.28 (0.85) 1.15 0.73 (2.19) 2.70 (6.83) 0.15 (3.43)
(1.24) (11.00) 0.00 (1.56) 1.04 (0.98) 0.26 2.59 0.35 4.58 0.55 0.51 0.11 5.42 0.04 1.19 1.94 4.16 (9.69) 0.11 3.48 1.46 (22.06)
5.61 1.78 0.96 1.66 4.69 1.40 (3.98) 1.91 2.62 (0.18) (2.01)
(3.03) (26.23) 0.95 2.58 1.95 5.45 0.60 3.00 2.69 14.24 0.26 6.30 (3.54) (9.46) 2.04 0.82 1.70 (1.74) 0.63 0.54 0.81 (1.69)
0.45 (0.11) 1.48 (5.42) (0.18) 12.19 0.72 5.75 3.48 (20.96) 1.12 (3.64) 0.29 (25.78) 2.95 (6.34) 0.88 (5.13) 1.10 (2.25) 4.11 11.45
0.33 0.70 4.67
(1.10) 0.93 (2.54)
(0.75) 1.23 (0.97)
0.98 4.47 0.21
0.92 5.65 (3.04)
8.90 18.31 (7.07)
(0.54) (2.35) 0.89
1.94 3.19 6.66
2.49 0.83
1.88 0.33
1.23 (1.07)
(0.37) 5.25
(3.54) 2.40
5.07 (2.32)
3.99 5.27
(7.71) (8.46)
0.99 0.67 2.55 0.50 1.21
1.42 (0.67) 10.18 (0.13) (2.42)
1.43 1.38 1.68 1.79 1.12
0.65 1.97
2.15 2.32 1.30 2.05 (0.02)
1.48 1.09 3.62 0.48 (2.04)
6.01
6.32 6.03 (7.76)
(2.49) 5.70
1.13 0.51 1.57 2.88 (0.94) (13.87) 2.18 6.89 1.54 2.28
1.74
1.75 (4.81) 2.36
5.55 0.10
0.39 0.12 1.41 1.88 1.37
0.78
1.35 2.35 (1.94) 1.89 1.84
6.87 (2.79) 8.45 7.74 8.31 4.65 16.35
1.37 0.98 2.27 0.64 2.09 1.55 (2.21)
(3.23) (2.02) (5.24) 1.03 4.67 (4.49) 8.81
8.51 (0.52) 2.05
7.18 7.95 3.69 9.17 1.72
สัดสวนรายไดตอ GDP (CY) 1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8
ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีการคา ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น ๆ
หนวย: รอยละ 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 13.21 13.48 13.13 14.05 12.59 12.51 14.38 14.23 14.83 14.25 2.08 4.65 0.58 5.44 0.37 0.10 0.00
2.17 4.78 0.72 5.33 0.39 0.09 0.00
2.26 4.51 0.77 5.09 0.40 0.08 0.00
2.26 5.07 0.82 5.54 0.28 0.09 0.00
2.19 4.34 1.00 4.78 0.20 0.08 0.00
2.06 4.50 0.67 4.97 0.23 0.09 0.00
2.24 5.45 0.77 5.48 0.34 0.10 0.00
2.34 4.79 0.83 5.81 0.36 0.10 0.00
2.51 4.98 0.95 5.87 0.41 0.11 0.00
2.31 4.70 0.84 5.86 0.44 0.10 0.00
2. กรมสรรพสามิต
3.94
3.49
3.37
3.06
3.22
4.02
3.79
3.34
3.64
3.15
3. กรมศุลกากร
1.56
1.23
1.16
1.10
0.89
0.96
0.98
1.05
0.95
0.97
4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น
1.18 0.90
0.98 0.98
1.10 1.41
1.12 0.91
0.96 0.97
0.91 1.42
0.94 1.02
1.08 1.03
0.85 1.34
1.13 1.12
2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีกิจการโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ
3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ
5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ
1.08 0.54 0.40 0.64 0.83 0.14 0.05 0.03 0.01 0.20 0.02 0.01
1.51 0.00 0.05
0.86 0.05
0.90 0.45 0.37 0.56 0.76 0.14 0.04 0.03 0.02 0.20 0.01 0.00
1.19 0.00 0.03
0.94 0.04
0.90 0.49 0.39 0.61 0.66 0.14 0.04 0.02 0.02 0.08 0.01 0.00
1.03 0.00 0.02
0.95 0.04
0.74 0.46 0.41 0.59 0.64 0.14 0.04 0.02 0.02 0.00 0.01 0.00
1.07 0.01 0.02
0.85 0.05
1.01 0.49 0.42 0.54 0.55 0.13 0.03 0.02 0.02 0.00 0.01 0.01
0.85 0.00 0.03
0.93 0.04
1.51 0.53 0.42 0.58 0.76 0.14 0.02 0.02 0.02 0.01 0.00 0.93 0.00 0.03
1.39 0.04
1.12 0.54 0.46 0.58 0.88 0.14 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.95 0.00 0.03
0.97 0.04
0.54 0.53 0.47 0.57 1.03 0.14 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 1.02 0.00 0.02
0.99 0.04
0.53 0.57 0.44 0.58 1.29 0.15 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.93 0.00 0.02
1.28 0.05
0.52 0.50 0.53 0.63 0.77 0.14 0.00 0.02 0.02 0.01 0.01 0.94 0.00 0.02
1.08 0.04
6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก
20.79 20.16 19.99 20.24 18.63 19.82 21.10 20.73 21.61 20.62 2.13 2.35 2.37 2.49 2.43 2.30 2.44 2.56 2.65 2.73
8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.
18.66 17.81 17.62 17.74 16.20 17.52 18.66 18.17 18.96 17.89 0.82 0.73 0.68 0.72 0.60 0.65 0.71 0.78 0.79 0.80 17.83 17.08 16.94 17.02 15.60 16.87 17.95 17.39 18.17 17.09
7.1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก
1.85 1.55 0.30 0.11 0.18
2.08 1.76 0.32 0.12 0.16
2.13 1.76 0.37 0.11 0.12
2.23 1.92 0.32 0.13 0.13
2.21 1.75 0.46 0.10 0.12
2.07 1.58 0.48 0.11 0.13
2.18 1.79 0.39 0.12 0.14
2.29 1.90 0.39 0.13 0.13
2.38 1.92 0.46 0.13 0.14
2.40 1.86 0.53 0.13 0.13
Revenue Buoyancy (GDP: CY) 1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8
ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีการคา ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น ๆ
2. กรมสรรพสามิต
2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีกิจการโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ
2548 2549 2550 2551 2.30 1.21 0.68 2.15 0.97 2.78 3.11 2.37 3.37 (0.01) (0.45)
1.45 1.29 3.52 0.78 1.55 0.63 (0.77)
1.54 0.31 1.88 0.46 1.42 (0.21) (0.70)
0.14
(0.18)
0.55
(0.08) 0.55 1.00 0.69 (1.03) 0.87 3.21 1.36 (0.01) 1.12 1.38 4.52
(0.71) (0.63) 0.17 (0.26) 0.17 0.61 (0.47) 0.82 5.14 1.07 0.40 (0.72)
1.01 1.99 1.64 2.06 (0.76) 1.04 0.66 (1.98) 2.43 (6.16) 0.14 (3.09)
7.69 34.69 (52.57) 33.22 65.30 7.12 28.51
(0.48) (10.83) (1.94) 0.00 1.62 0.41 0.54 0.86 0.18 0.07 3.03 (15.12) 0.17 2.27
(82.79) (11.74) (7.39) 19.52 34.48 3.85 40.78 8.98 31.29
26.18 (166.01)
1.52
0.44 1.35 (2.17) 1.39 2.25 1.42 0.77
3.12 6.10 4.75 3.49 12.90 4.16 3.37
3.35
(0.35) (0.64)
5.77 1.83 0.99 1.71 4.82 1.44 (4.09) 1.96 2.70
1.62 (0.66) 1.99 1.82 1.96 1.10 3.85
2.62 1.87 4.33 1.23 3.98 2.95 (4.23)
(2.97) (1.85) (4.82) 0.95 4.29 (4.13) 8.10
2.97
(5.69)
(0.19) (2.07)
(5.30) 1.66 3.41 1.05 4.70 0.46 (6.20) 3.57 2.97 1.11 1.42
(6.18) 0.61 1.28 0.71 3.35 1.48 (2.23) 0.19 (0.41) 0.13 (0.40)
0.86 2.82 (0.34) 1.38 6.65 2.13 0.56 5.63 1.67 2.10 7.85
45.25
1.79
1.37
2.00
(0.99)
(0.10) (4.98) 11.20 5.28 (19.27) (3.35) (23.70) (5.83) (4.71) (2.07) 10.53
3. กรมศุลกากร
0.43
4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น
4.58 (0.73) (1.85) 1.91 2.54 0.85
2.00 0.35
1.34 6.57
2.73 34.02 (4.88) (15.20) (0.58) 8.20
(18.70) 42.87
0.48 5.47
1.84 (5.91)
3.11 1.12
(3.68) 17.05 7.70 (7.12) 7.61 10.06
(7.09) (7.77)
6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก
1.54 1.45
0.69 2.09
0.89 1.08
1.21 1.88
1.77 2.45 (1.47) 3.41 2.40
19.47 6.99
3.81 21.67 (104.36) 51.88 17.13
1.61 0.51
2.56 2.46
0.75 1.64
1.95 1.86
(1.31) 2.38
8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.
1.55 2.41 1.51
0.53 (0.18) 0.56
0.87 0.06 0.90
1.12 2.09 1.08
21.23 41.33 20.37
1.77 1.88 1.77
2.58 3.11 2.56
0.64 2.48 0.57
1.96 1.19 1.99
(1.83) 1.61 (1.97)
3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ
5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ
7.1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก
0.34 0.71 4.76
1.46 1.41 1.71 1.83 1.15
(1.21) (0.67)
0.96 3.04 1.94 2.45 (4.14) 1.26 1.63
หนวย: รอยละ 2552 2553 2554 2555 2556 2557 25.15 0.94 4.61 0.86 1.93 (0.97)
(1.17) 0.99 (2.70)
2.28 2.46 1.38 2.18 (0.02)
(0.67) 1.11 (0.87)
1.11 (0.96)
1.33 0.99 3.27 0.43 (1.84)
1.53 6.98 0.33
47.55 45.41 (58.40)
1.80 (4.95) 2.43
5.71 0.10
0.40 0.12 1.45 1.93 1.41
1.60 9.89 (5.32)
(6.19) 4.21
2.37 4.12 (3.40) 3.31 3.23
2.10 4.31 (1.67)
1.20 (0.55)
1.69 1.87 0.87 2.16 0.40
(1.04) (4.49) 1.70
1.88 1.27 4.86 0.95 2.31
หมายเหตุ : ผลจัดเก็บรายไดของกรมศุลกากรตั้งแต ปงบประมาณ 2557 เปนตนไป เปนตัวเลขกอนหักอากรถอนคืน ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมบัญชีกลาง สํานักงบประมาณ และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จัดทําโดย : สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
1.88
1.78 2.94 6.12
1.31 (0.61) 9.35 (0.12) (2.22)
โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ
หนวย : ลานบาท
2532
2533
2534
2535
2536
285,500.0
335,000.0
387,500.0
460,400.0
560,000.0
(สัดสวนตอ GDP) (%)
16.9
16.7
16.1
17.6
17.9
(อัตราเพิ่ม) (%)
17.2
17.3
15.7
18.8
21.6
210,571.8
227,541.2
261,932.2
301,818.2
351,060.8
(สัดสวนตอ GDP) (%)
12.5
11.3
10.9
11.5
11.2
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
73.8
67.9
67.6
65.6
62.7
(อัตราเพิม่ ) (%)
13.3
8.1
15.1
15.2
16.3
53,592.4
82,043.2
105,647.6
130,652.6
171,606.7
3.2
4.1
4.4
5.0
5.5
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
18.8
24.5
27.3
28.4
30.6
(อัตราเพิม่ ) (%)
32.9
53.1
28.8
23.7
31.3
21,335.8
25,415.6
19,920.2
27,929.2
37,332.5
7.5
7.6
5.1
6.1
6.7
22.9
19.1
(21.6)
40.2
33.7
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
262,500.0
310,000.0
387,500.0
460,400.0
534,400.0
15.5
15.5
16.1
17.6
17.1
9.4
18.1
25.0
18.8
16.1
(23,000.0)
(25,000.0)
0.0
0.0
(25,600.0)
(1.4)
(1.2)
0.0
0.0
(0.8)
1,690,500.0
2,005,254.0
2,400,000.0
2,620,000.0
3,130,000.0
1. วงเงินงบประมาณ
1.1 รายจายประจํา
1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)
1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ (GDP) (%)
ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2539 - 2558 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ 2533 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 1,507.5 ลานบาท
โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ
หนวย : ลานบาท
2537
2538
2539
2540
2541
625,000.0
715,000.0
843,200.0
944,000.0
830,000.0
(สัดสวนตอ GDP) (%)
17.9
17.4
18.0
18.1
16.4
(อัตราเพิ่ม) (%)
11.6
14.4
17.9
12.0
(10.3)
376,382.3
434,383.3
482,368.2
528,293.4
519,505.8
(สัดสวนตอ GDP) (%)
10.8
10.6
10.3
10.1
10.2
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
60.2
60.8
57.2
56.0
62.6
7.2
15.4
11.0
9.5
(0.2)
212,975.6
253,839.8
327,288.6
391,209.7
279,258.1
6.1
6.2
7.0
7.5
5.5
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
34.1
35.5
38.8
41.4
33.6
(อัตราเพิม่ ) (%)
24.1
19.2
28.9
19.5
(26.5)
35,642.1
26,776.9
33,543.2
24,496.9
31,236.1
5.7
3.7
4.0
2.6
3.8
(4.5)
(24.9)
25.3
(27.0)
27.5
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
600,000.0
715,000.0
843,200.0
925,000.0
782,020.0
(สัดสวนตอ GDP) (%)
17.1
17.4
18.0
17.8
15.4
(อัตราเพิ่ม) (%)
12.3
19.2
17.9
9.7
(15.5)
(25,000.0)
0.0
0.0
(19,000.0)
(47,980.0)
(0.7)
0.0
0.0
(0.4)
(0.9)
3,499,000.0
4,099,000.0
4,684,000.0
5,205,500.0
5,073,000.0
1. วงเงินงบประมาณ
1.1 รายจายประจํา
(อัตราเพิม่ ) (%) 1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)
1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได
3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ (GDP) (%)
ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2539 - 2558 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ พ.ศ. 2540 เปนตัวเลขที่ปรับลดจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใชจํานวน 984,000 ลานบาท 2. ปงบประมาณ พ.ศ. 2541 เปนตัวเลขที่ปรับลดและปรับเพิ่มจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใชจํานวน 923,000 ลานบาท
โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ
หนวย : ลานบาท
2542
2543
2544
825,000.0
860,000.0
910,000.0
1,023,000.0
999,900.0
16.5
16.7
17.5
19.3
17.2
3.1
4.2
5.8
12.4
(2.3)
586,115.1
635,585.1
679,286.5
773,714.1
753,454.7
(สัดสวนตอ GDP) (%)
11.7
12.4
13.0
14.6
13.0
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
71.0
73.9
74.6
75.6
75.4
(อัตราเพิม่ ) (%)
14.4
8.4
6.9
13.9
(2.6)
233,534.7
217,097.6
218,578.2
223,617.0
211,493.5
4.7
4.2
4.2
4.2
3.6
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
28.3
25.2
24.0
21.9
21.2
(อัตราเพิม่ ) (%)
(8.9)
(7.0)
0.7
2.3
(5.4)
5,350.2
7,317.3
12,135.3
25,668.9
34,951.8
0.6
0.9
1.3
2.5
3.5
(82.9)
36.8
65.8
111.5
36.2
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
800,000.0
750,000.0
805,000.0
823,000.0
825,000.0
16.0
14.6
15.5
15.5
14.2
2.3
(6.3)
7.3
2.2
0.2
(25,000.0)
(110,000.0)
(105,000.0)
(200,000.0)
(174,900.0)
(0.5)
(2.1)
(2.0)
(3.8)
(3.0)
5,002,000.0
5,137,000.0
5,208,600.0
5,309,200.0
5,799,700.0
1. วงเงินงบประมาณ (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.1 รายจายประจํา
1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)
1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ
2545
(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2539 - 2558 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
2546
โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ
2547
2548
2549
หนวย : ลานบาท
2550
2551
2552
1,163,500.0 1,250,000.0 1,360,000.0 1,566,200.0 1,660,000.0 1,951,700.0
(สัดสวนตอ GDP) (%)
18.0
17.4
17.5
18.6
18.0
22.4
(อัตราเพิ่ม) (%)
16.4
7.4
8.8
15.2
6.0
17.6
836,544.4
881,251.7
(สัดสวนตอ GDP) (%)
12.9
12.2
12.3
13.5
13.1
16.2
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
71.9
70.5
70.5
72.5
73.1
72.3
(อัตราเพิม่ ) (%)
11.0
5.3
8.8
18.5
6.9
16.3
292,800.2
318,672.0
358,335.8
374,721.4
400,483.9
429,961.8
4.5
4.4
4.6
4.5
4.3
4.9
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
25.2
25.5
26.3
23.9
24.1
22.0
(อัตราเพิม่ ) (%)
38.4
8.8
12.4
4.6
6.9
7.4
34,155.4
50,076.3
43,187.2
55,490.5
45,527.0
63,676.1
2.9
4.0
3.2
3.5
2.8
3.3
(2.3)
46.6
(13.8)
28.5
(18.0)
39.9
-
-
-
-
-
46,679.7
-
-
-
-
-
2.4
1.1 รายจายประจํา
1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)
1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได
958,477.0 1,135,988.1 1,213,989.1 1,411,382.4
1,063,600.0 1,250,000.0 1,360,000.0 1,420,000.0 1,495,000.0 1,604,639.5
(สัดสวนตอ GDP) (%)
16.4
17.4
17.5
16.9
16.2
18.4
(อัตราเพิ่ม) (%)
28.9
17.5
8.8
4.4
5.3
7.3
(99,900.0)
0.0
0.0 (146,200.0) (165,000.0) (347,060.5)
(1.5)
0.0
0.0
3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ
(1.7)
(1.8)
(4.0)
6,476,100.0 7,195,000.0 7,786,200.0 8,399,000.0 9,232,200.0 8,712,500.0
(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2539 - 2557 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ 2547 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 135,500 ลานบาท 2. ปงบประมาณ 2548 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิม่ เติม จํานวน 50,000 ลานบาท
โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.1 รายจายประจํา
2553
2554
1,700,000.0
2555
2,169,967.5 2,380,000.0
หนวย : ลานบาท
2556
2557
2558
2,400,000.0
2,525,000.0
2,575,000.0
17.0
20.6
20.7
19.5
19.1
20.2
(12.9)
27.6
9.7
0.8
5.2
2.0
1,667,439.7 1,840,672.6 1,900,476.7
2,017,625.8
2,027,858.8
1,434,710.1
(สัดสวนตอ GDP) (%)
14.3
15.8
16.0
15.5
15.2
15.9
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
84.4
76.8
77.4
79.2
79.9
78.8
1.7
16.2
10.4
3.2
6.2
0.5
214,369.0
355,484.6
438,555.4
450,373.8
441,128.6
449,475.8
2.1
3.4
3.8
3.7
3.3
3.5
12.6
16.4
18.4
18.7
17.5
17.5
(50.1)
65.8
23.4
2.7
(2.1)
1.9
50,920.9
32,554.6
46,854.0
49,149.5
52,821.9
55,700.0
3.0
1.5
2.0
2.1
2.1
2.2
(20.0)
(36.1)
43.9
4.9
7.5
5.4
-
114,488.6
53,918.0
-
13,423.7
41,965.4
-
5.3
2.2
-
0.5
1.6
1,770,000.0 1,980,000.0 2,100,000.0
2,275,000.0
2,325,000.0
(อัตราเพิม่ ) (%) 1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%) (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ
1,350,000.0
13.5
16.8
17.2
17.1
17.2
18.2
(15.9)
3.8
11.9
6.1
8.3
2.2
(400,000) (400,000.0) (300,000.0)
(250,000.0)
(250,000.0)
(2.0)
(2.0)
(350,000.0) (3.5)
(3.8)
(3.5)
(2.4)
10,000,900.0 10,539,400.0 11,478,600.0 12,295,000.0 13,242,000.0 12,744,000.0
(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2532 - 2558 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ 2552 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 116,700 ลานบาท และเปนปแรกที่มีการตั้ง งบประมาณรายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง จํานวน 46,679.7 ลานบาท 2. ปงบประมาณ 2554 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 99,967.5 ลานบาท 3. GDP ที่ใชเปน GDP ที่ปรับตามงบประมาณโดยสังเขป
โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.1 รายจายประจํา
2559 2,720,000
20.2 5.6 2,100,363.8
(สัดสวนตอ GDP) (%)
15.6
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
77.2
(อัตราเพิม่ ) (%) 1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)
3.6 544,000 4.0
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
20.0
(อัตราเพิม่ ) (%)
21.0
1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ
หนวย : ลานบาท
62,100 2.3 11.5 13,536.2 0.5 2,330,000
17.3 0.2 (390,000) (2.9) 13,483,000
(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2532 - 2558 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ 2552 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 116,700 ลานบาท และเปนปแรกทีม่ กี ารตัง้ งบประมาณรายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง จํานวน 46,679.7 ลานบาท 2. ปงบประมาณ 2554 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 99,967.5 ลานบาท 3. GDP ที่ใชเปน GDP ทีป่ รับตามงบประมาณโดยสังเขป
ผลการเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2557
1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปปจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจายประจํา - วงเงินงบประมาณรายจายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปกอน 2. การเบิกจายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจายปปจจุบัน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) - รายจายประจํา (รอยละตอวงเงินรายจายประจํา) - รายจายลงทุน (รอยละตอวงเงินรายจายลงทุน) 2.2 รายจายจากปกอน (รอยละตอวงเงินงบประมาณปกอน) 2. รายจายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจายปปจจุบันสะสม - รายจายประจําสะสม - รายจายลงทุนสะสม 2.2 รายจายจากปกอนสะสม
ต.ค. 56 2,767,610 2,525,000 2,097,308 427,692 242,610 258,272 244,001 9.7 241,303 11.5 2,697 0.6 14,271 5.9 258,272 244,001 241,304 2,697 14,271
ที่มา : กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่ : 29 ตุลาคม 2557
พ.ย. 56 2,806,747 2,525,000 2,097,273 427,727 281,747 255,803 232,568 9.2 227,852 10.9 4,717 1.1 23,235 8.2 514,076 476,568 469,154 7,414 37,508
ธ.ค. 56 2,826,083 2,525,000 2,097,101 427,899 301,083 316,983 284,256 11.3 175,127 8.4 109,129 25.5 32,727 10.9 831,059 760,826 644,283 116,543 70,233
ม.ค. 57 2,826,091 2,525,000 2,097,053 427,947 301,091 213,210 186,395 7.4 177,496 8.5 8,898 2.1 26,814 8.9 1,044,267 947,220 821,778 125,441 97,047
ก.พ. 57 2,826,093 2,525,000 2,096,723 428,277 301,093 174,379 154,109 6.1 141,913 6.8 12,195 2.8 20,270 6.7 1,218,646 1,101,328 963,692 137,636 117,318
มี.ค. 57 2,826,093 2,525,000 2,096,645 428,355 301,093 165,457 142,036 5.6 128,728 6.1 13,308 3.1 23,421 7.8 1,384,103 1,243,364 1,092,420 150,944 140,739
ปงบประมาณ 2557 เม.ย. 57 พ.ค. 57 2,826,093 2,826,093 2,525,000 2,525,000 2,096,540 2,096,418 428,460 428,582 301,093 301,093 195,825 154,300 179,780 142,463 7.1 5.6 156,868 125,854 7.5 6.0 22,912 16,609 5.3 3.9 16,045 11,837 5.3 3.9 1,579,928 1,734,228 1,423,144 1,565,607 1,249,288 1,375,142 173,856 190,465 156,784 168,621
หนวย : ลานบาท มิ.ย. 57 2,826,141 2,525,000 2,096,538 428,462 301,141 164,554 154,426 6.1 135,722 6.5 18,704 4.4 10,128 3.4 1,898,782 1,720,033 1,510,864 209,169 178,749
ก.ค. 57 2,826,141 2,525,000 2,096,455 428,545 301,141 200,235 189,421 7.5 170,069 8.1 19,351 4.5 10,814 3.6 2,099,016 1,909,453 1,680,933 228,520 189,563
ส.ค. 57 2,826,161 2,525,000 2,095,928 429,072 301,161 132,110 124,670 4.9 107,216 5.1 17,454 4.1 7,440 2.5 2,231,126 2,034,124 1,788,149 245,975 197,002
ก.ย. 57 2,827,340 2,525,000 2,093,452 431,548 302,340 228,864 212,182 8.4 174,107 8.3 38,075 8.8 16,682 5.5 2,459,990 2,246,306 1,962,257 284,049 213,684
รวม 2,827,340 2,525,000 2,093,452 431,548 302,340 2,459,992 2,246,307 89.0 1,962,257 93.7 284,050 65.8 213,684 70.7 2,459,990 2,246,306 1,962,257 284,049 213,684
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2558 หน่วย : ล้านบาท
1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปจั จุบนั - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปจั จุบนั (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินรายจ่ายประจา) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินรายจ่ายลงทุน) 2.2 รายจ่ายจากปีก่อน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณปีก่อน) 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปจั จุบนั สะสม - รายจ่ายประจาสะสม - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีก่อนสะสม
ต.ค. 57 2,754,737 2,575,000 2,130,645 444,355 179,737 367,598 344,801 13.4 329,977 15.5 14,824 3.3 22,797 12.7 367,598 344,801 329,977 14,824 22,797
ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 13 มีนาคม 2558
พ.ย. 57 2,894,596 2,575,000 2,130,590 444,410 319,596 205,758 180,660 7.0 171,898 8.1 8,762 2.0 25,098 7.9 573,358 525,462 501,875 23,587 47,895
ธ.ค. 57 2,911,748 2,575,000 2,130,618 444,382 336,748 270,763 240,910 9.4 223,234 10.5 17,676 4.0 29,853 8.9 844,102 766,371 725,109 41,262 77,731
ม.ค. 58 2,918,123 2,575,000 2,130,806 444,194 343,123 215,737 197,891 7.7 181,071 8.5 16,820 3.8 17,846 5.2 1,059,839 964,262 906,180 58,082 95,577
ก.พ. 58 2,921,856 2,575,000 2,151,589 423,411 346,856 150,428 131,447 5.1 109,685 5.1 21,762 5.1 18,981 5.5 1,210,266 1,095,709 1,015,865 79,844 114,557
มี.ค. 58
ปีงบประมาณ 2558 เม.ย. 58 พ.ค. 58
มิ.ย. 58
ก.ค. 58
ส.ค. 58
ก.ย. 58
รวม
ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financing) 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังตนงวด (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายงวด (Closing Treasury Reserve)
ต.ค. 57 176,515 367,598 344,801 22,797 -191,083 5,418 -185,665 15,850 -169,815 495,747 325,932
ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผูรับผิดชอบขอมูล: ศุทธธี เกตุทัต ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที:่ 13 กุมภาพันธ 2558
พ.ย. 57 134,114 205,758 180,660 25,098 -71,644 -21,388 -93,033 9,970 -83,063 325,932 242,869
ปงบประมาณ 2558 ธ.ค. 57 ม.ค. 58 186,682 158,190 270,745 215,737 240,910 197,891 29,835 17,846 -84,063 -57,547 15,055 -22,891 -69,008 -80,438 5,463 17,116 -63,545 -63,322 242,869 179,324 179,324 116,002
หนวย: ลานบาท ก.พ. 58 2558 (5 เดือน) 141,931 797,432 150,428 1,210,266 131,447 1,095,709 18,981 114,557 -8,497 -412,834 24,767 961 16,271 -411,873 50,860 99,259 67,131 -312,614 116,002 495,747 183,133 183,133
ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) รายป Table 4-1 CONSOLIDATED CENTRAL GOVERNMENT GFS 2001 FRAMEWORK: ANNUAL DATA 1. Budgetary Account: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 2. Extrabudgetary Accounts: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 3. Social Security Funds: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 4. Elimination of Double Counting: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 5. Consolidated Central Government: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign Notes: 1/ 2/ 3/ 4/ 5/
6/ 7/ 8/
FY2010 1/ 2/
3/ 4/
FY2011
FY2012
FY2013
1,819,713 2,015,974 2,118,451 2,377,921 2,131,350 2,197,461 2,394,541 2,613,844 1,925,684 2,040,230 2,208,883 2,381,216 205,666 157,230 185,658 232,629 (105,971) (24,256) (90,432) (3,295) (311,637) (181,486) (276,090) (235,924) 10,845 92,188 57,416 1,401 322,482 273,675 333,506 237,324 270,603 272,684 (89,452) 95,340 51,879 991 422,958 141,984
FY2014 2,306,092 2,612,066 2,443,102 168,964 (137,010) (305,973) (145,534) 160,440 119,279 41,161
5/ 2/
3/ 4/
225,210 177,005 172,625 4,380 52,585 48,205 42,800 (5,405) (5,405) -
226,661 206,767 204,986 1,781 21,675 19,894 5,053 (14,844) (14,844) -
253,946 229,335 228,940 395 25,006 24,611 28,520 3,909 3,909 -
378,643 252,043 250,870 1,173 127,774 126,601 125,142 (1,458) (1,458) -
281,835 248,770 249,580 (810) 32,255 33,065 31,297 (1,768) (1,768) -
221,270 77,447 77,447 143,823 143,823 80,633 (63,190) (63,190) -
158,180 50,520 50,520 107,661 107,661 100,558 (7,103) (7,103) -
150,309 56,631 56,631 93,679 93,679 118,972 25,294 25,294 -
180,653 63,067 63,067 117,586 117,586 124,789 7,203 7,203 -
208,079 67,083 67,083 140,996 140,996 156,877 15,880 15,880 -
191,764 191,764 191,764 -
169,258 169,258 169,258 -
193,246 193,246 193,246 -
264,660 264,660 264,660 -
206,502 206,502 206,502 -
2,074,428 2,231,558 2,329,460 2,672,557 2,194,037 2,285,490 2,487,261 2,664,294 1,983,992 2,126,478 2,301,208 2,430,493 210,046 159,011 186,054 233,802 90,437 105,080 28,253 242,064 (119,609) (53,931) (157,801) 8,263 134,278 197,798 204,908 251,332 253,887 251,727 362,709 243,069 202,008 250,736 (60,248) 101,085 51,879 991 422,958 141,984
2,589,504 2,721,416 2,553,263 168,153 36,241 (131,912) 42,640 174,552 133,391 41,161
6/ 2/ 8/ 3/ 4/
7/ 2/
3/ 4/
1/ 2/
3/ 4/
Receipts from premium on issue of government bonds, repayments of lending (Tier1) and proceeds from sales of shares/equity (privatization) have been reclassified to lending minus repayments and financing. The GFS 2001 concept of expenditure is different from the traditional concept which did not take the disposal of nonfinancial assets into account Represent the net change in the unit's net worth due to transactions cash transactions, and is equal to "current expenditure" plus "capital transfer Net lending/borrowing is the overall borrowing requirement and is equal to the traditional "deficit/surplus" excluding "lending minus repayments". The following are included as "extrabudgetary funds": 12 extrabudgetary funds (National Health Security Fund, Oil Fund, Thailand Village Fund Energy Saving Fund, Coin Production Fund, Sugarcane Fund, Science and Technology Development Fund, Thai Health Promotion Fund, Tollway Fund, Student Loan Fund, SMEs Fund) Oil Fund data has been recorded as accrual basis since Jan, 04 Social security fund and Employment Contribution Fund. Elimination of transactions between the budget account, extrabudgetary funds and social security funds included in the data. Increase (Decrease) in Provision for Old Age Person has been excluded since 2008. Source : GFMIS , Bank of Thailand , Public Debt Management office , Extrabudgetary fund and FPO Last update March 31, 2015
ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) รายเดือน Table 4-1 CONSOLIDATED CENTRAL GOVERNMENT GFS 2001 FRAMEWORK: MONTHLY DATA 1. Budgetary Account: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 2. Extrabudgetary Accounts: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 3. Social Security Funds: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 4. Elimination of Double Counting: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 5. Consolidated Central Government: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign Notes: 1/ 2/ 3/ 4/ 5/
6/ 7/ 8/
Oct-14 1/ 2/
3/ 4/
Nov-14
180,530 172,914 329,540 205,618 322,576 196,682 6,964 8,936 (142,046) (23,768) (149,010) (32,704) (161,353) (35,412) (12,343) (2,708) (12,015) (2,708) (328) -
2015 Dec-14
Jan-15
Feb-15
195,953 189,709 163,719 294,971 245,904 156,724 269,645 235,137 134,473 25,326 10,767 22,251 (73,692) (45,428) 29,246 (99,018) (56,195) 6,995 (80,417) (10,649) 83,043 18,601 45,546 76,048 18,985 45,639 76,422 (384) (93) (374)
5/ 2/
3/ 4/
64,407 25,193 25,795 (602) 38,612 39,214 40,191 977 977 -
13,741 13,616 13,402 214 339 126 3,671 3,546 3,546 -
17,026 26,308 26,044 264 (9,018) (9,282) (13,649) (4,367) (4,367) -
50,760 10,426 10,175 250 40,585 40,335 36,218 (4,117) (4,117) -
7,958 16,878 16,505 373 (8,547) (8,920) (9,595) (675) (675) -
18,030 4,744 4,744 13,286 13,286 2,508 (10,779) (10,779) -
18,070 4,122 4,122 13,948 13,948 21,584 7,636 7,636 -
24,349 9,489 9,489 14,860 14,860 12,716 (2,144) (2,144) -
7,220 5,296 5,296 1,924 1,924 1,749 (175) (175) -
18,346 3,883 3,883 14,463 14,463 15,564 1,101 1,101 -
57,195 57,195 57,195 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.
3,958 3,958 3,958 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.
3,524 3,524 3,524 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.
41,531 41,531 41,531 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.
3,180 3,180 3,180 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.
6/ 2/ 8/ 3/ 4/
7/ 2/
3/ 4/
1/ 2/
3/ 4/
205,772 200,768 302,282 219,398 295,920 210,248 6,362 9,150 (90,148) (9,481) -96,510 -18,631 (118,654) (10,157) -22,144 8,474 -21,816 8,474 (328) -
233,805 206,158 186,843 327,244 220,094 174,305 301,654 209,077 151,681 25,590 11,017 22,624 (67,850) (2,919) 35,162 -93,440 -13,937 12,537 (81,350) 27,318 89,012 12,090 41,254 76,474 12,474 41,347 76,848 (384) (93) (374)
Receipts from premium on issue of government bonds, repayments of lending (Tier1) and proceeds from sales of shares/equity (privatization) have been reclassified to lending minus repayments and financing. The GFS 2001 concept of expenditure is different from the traditional concept which did not take the disposal of nonfinancial assets into account. Represent the net change in the unit's net worth due to transactions cash transactions, and is equal to "current expenditure" plus "capital transfers". Net lending/borrowing is the overall borrowing requirement and is equal to the traditional "deficit/surplus" excluding "lending minus repayments". The following are included as "extrabudgetary funds": 12 extrabudgetary funds (National Health Security Fund, Oil Fund, Thailand Village Fund Energy Saving Fund, Coin Production Fund, Sugarcane Fund, Science and Technology Development Fund, Thai Health Promotion Fund, Tollway Fund, Student Loan Fund, SMEs Fund) Oil Fund data has been recorded as accrual basis since Jan, 04 Social security fund and Employment Contribution Fund. Elimination of transactions between the budget account, extrabudgetary funds and social security funds included in the data. Increase (Decrease) in Provision for Old Age Person has been excluded since 2011. Source : GFMIS , Bank of Thailand , Public Debt Management office , Extrabudgetary fund and FPO Last update March 31, 2015
เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ�น ปีงบประมาณ 2551-2558
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที� อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที�รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ�มที�รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)
หน่วย : ล้านบาท ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน 376,740 100.00 414,382 100.00 340,995 100.00 431,305 100.00 529,979 100.00 572,670 100.00 622,625 100.00 646,344 100.00 35,224 9.35 38,746 9.35 29,110 8.54 38,746 8.98 46,530 8.78 50,282 8.78 56,306 9.04 61,458 9.51 128,676 34.16 140,679 33.95 126,590 37.12 148,109 34.34 175,457 33.11 187,988 32.83 203,819 32.74 218,222 33.76 65,000 17.25 71,900 17.35 45,400 13.31 70,500 16.35 86,900 16.40 97,900 17.10 109,000 17.51 109,000 16.86 147,840 1,495,000
39.24 25.20
163,057 1,604,640
39.35 25.82
139,895 1,350,000
41.03 25.26
173,950 2/ 1,650,000
40.33 26.14
221,092 1,980,000
41.72 26.77
หมายเหตุ : 2/เป็นตัวเลขก่อนการจัดทํางบประมาณรายจ่ายของรัฐบาลเพิ�มเติมระหว่างปี 99,967.5 ล้านบาท ซึ�งได้จัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เพิ�มเติม 5,957 .4 ล้านบาท ทั�งนี� เงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เมื�อรวมกับที�ได้รับการจัดสรรเพิ�มเติมระหว่างปีแล้ว เท่ากับ 179,907.4 ล้านบาท ที�มา : สํานักงานคณะกรรมการการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ�นและสํานักงบประมาณ รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที� 21 ตุลาคม 2557
236,500 2,100,000
41.30 27.27
253,500 2,275,000
40.71 27.37
257,664 2,325,000
39.86 27.80
เรื่อง
ผูรับผิดชอบ
โทรศัพท
บทสรุปผูบริหาร สถานการณดานรายได สถานการณดานรายจาย การเบิกจายเงินกูตางประเทศ การเบิกจายของกองทุนนอก งบประมาณตามระบบ สศค. ฐานะการคลัง - ดุลการคลังตามระบบ กระแสเงินสด - ดุลการคลังตามระบบ สศค. ฐานะการคลัง อปท. สถานการณดานหนี้สาธารณะ กรอบความยั่งยืนทางการคลัง การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลัง ผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ของรัฐบาล การกระจายอํานาจการคลังใหแก องคกรปกครองสวนทองถิ่น มติคณะรัฐมนตรี สถิติดานการคลัง - รายไดรัฐบาล - โครงสรางงบประมาณ - ฐานะการคลังของรัฐบาล ตามระบบกระแสเงินสด - ฐานะการคลังของรัฐบาล ตามระบบกระแสเงินสด - สัดสวนรายไดของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น
สายทิพย คําพุฒ อาริศรา นนทะคุณ สายทิพย คําพุฒ ไพลิน ชางภิญโญ ไพลิน ชางภิญโญ
3557 3555 3556 3595 3595
nui-642@hotmail.com dear_arisara@hotmail.co.th nui-642@hotmail.com pailin@fpo.go.th pailin@fpo.go.th
มณีขวัญ จันทรศร
3558
maneekwan@fpo.go.th
ไพลิน ชางภิญโญ
3595
pailin@fpo.go.th
ธรรมฤทธิ์ คุณหิรัญ ศุทธธี เกตุทัต ลลิตา ละสอน กุสุมา บุญแทน
3544 3586 3563 3533
thammarit@gmail.com suthee@fpo.go.th lalita.lasorn@gmail.com nanpiaoliang@hotmail.com
ณัฏฐรวี กรรณุมาตร
3576
sandyfaprew@hotmail.com
มณีขวัญ จันทรศร
3558
maneekwan@fpo.go.th
อาริศรา นนทะคุณ สายทิพย คําพุฒ ศุทธธี เกตุทัต
3555 3556 3586
dear_arisara@hotmail.co.th nui-642@hotmail.com suthee@fpo.go.th
ไพลิน ชางภิญโญ
3595
pailin@fpo.go.th
ณัฏฐรวี กรรณุมาตร
3576
sandyfaprew@hotmail.com