ÃÒ§ҹʶҹ¡Òó ´ŒÒ¹¡ÒäÅѧ
»‚§º»ÃÐÁÒ³ 2558 µØÅÒ¤Á 2557 - àÁÉÒ¹ 2558
ฉบับที่ 7/2558
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง ถนนพระราม 6 กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2273-9020 โทรสาร 0-2618-3385 www.fpo.go.th
Êӹѡ¹âºÒ¡ÒäÅѧ Êӹѡ§Ò¹àÈÃÉ°¡Ô¨¡ÒäÅѧ
สารบัญ หนา บทสรุปผูบริหาร
1
สถานการณดา นรายได
8
สถานการณดา นรายจาย
16
ฐานะการคลังรัฐบาล - ระบบกระแสเงินสด - ระบบ สศค.
22
ฐานะการคลังองคกรปกครองสวนทองถิ่น
26
สถานการณดานหนี้สาธารณะ
30
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง
32
การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล
34
การกระจายอํานาจการคลังใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น
37
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สาํ คัญ
40
สถิติดานการคลัง 1) 2) 3) 4) 5) 6)
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล โครงสรางงบประมาณรายจาย ผลการเบิกจายงบประมาณ ฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสด ฐานะการคลังตามระบบ สศค. สัดสวนรายไดขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
บทสรุปผูบริหาร ดานรายได
• เดือนเมษายน 2558 รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 168,020 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 15,089 ลานบาท หรือรอยละ 9.9 โดยรายไดที่จัดเก็บไดสูงกวาเปาหมายเปนสําคัญ ไดแก การนําสง รายไดของสวนราชการอื่นสูงกวาประมาณการ 15,078 ลานบาท ประกอบกับการจัดเก็บภาษีน้ํามัน สูงกวาประมาณการ 8,234 ลานบาท อยางไรก็ดี ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษียาสูบ และภาษีสุราฯ จัดเก็บ ไดต่ํากวาประมาณการ 5,852 2,307 และ 1,607 ลานบาตามลําดับ • ในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – เมษายน 2558) รัฐบาลจัดเก็บ รายไดสุทธิ 1,143,407 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 15,577 ลานบาท หรือรอยละ 1.4 โดยการนําสง รายไดของรัฐวิสาหกิจ การจัดเก็บภาษีของกรมสรรพสามิต และการจัดเก็บรายไดของหนวยราชการอืน่ สูงกวาประมาณการ 25,055 14,771 และ 14,562 ตามลําดับ ขณะที่การจัดเก็บรายไดของ กรมสรรพากรและกรมศุลกากรต่าํ กวาเปาหมาย 47,713 และ 2,988 ลานบาท สําหรับภาษี ที่จัดเก็บไดสูงกวาประมาณการที่สําคัญ ไดแก ภาษีน้ํามัน
ดานรายจาย
• เดือนเมษายน 2558 รัฐบาลเบิกจายเงินรวมทั้งสิ้น 191,488 ลานบาท ประกอบดวยการเบิกจาย จากปงบประมาณปปจจุบัน 178,945 ลานบาท (รายจายประจํา 156,136 ลานบาท และรายจาย ลงทุน 22,807 ลานบาท) และการเบิกจายรายจายปกอ นจํานวน 12,543 ลานบาท • ในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – เมษายน 2558) รัฐบาลเบิกจาย เงินรวมทั้งสิ้น 1,653,207 ลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 56.5 ของวงเงินงบประมาณ (2,575,000 ลานบาท) โดยแบงเปนการเบิกจายเงินงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558 จํานวน 1,503,025 ลานบาท (เปนรายจายประจํา 1,362,221 ลานบาท และรายจายลงทุน 140,804 ลานบาท) และมีการเบิกจายรายจายปกอนจํานวน 150,182 ลานบาท • เมื่อรวมกับการเบิกจายเงินกูตางประเทศจํานวน 4,341 ลานบาท โครงการลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 4,020 ลานบาท และโครงการภายใต พรก.บริหารจัดการน้ําฯ จํานวน 1,099 ลานบาท สงผลใหในปงบประมาณ 2558 รัฐบาลมีการเบิกจายเงินเขาสูระบบเศรษฐกิจทั้งสิ้น 1,662,667 ลานบาท
ฐานะการคลังรัฐบาล
• ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด ในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – เมษายน 2558) รัฐบาลมีรายไดนําสงคลัง 1,119,940 ลานบาท และมีการเบิกจายเงิน งบประมาณ (ปปจจุบันและปกอน) รวม 1,653,207 ลานบาท สงผลใหดุลเงินงบประมาณขาดดุล 533,267 ลานบาท เมือ่ รวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่เกินดุล 5,710 ลานบาท ทําใหดุลเงินสดขาดดุล ทั้งสิ้น 527,557 ลานบาท • เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนเมษายน 2558 มีจํานวน 125,552 ลานบาท -1-
• ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค. ในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – เมษายน 2558) รัฐบาลมีรายไดทั้งสิ้น 1,322,067 ลานบาท และมีรายจายทั้งสิ้น 1,742,114 ลานบาท สงผลใหดุลเงินงบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 420,047 ลานบาท เมื่อรวมกับดุลของกองทุน นอกงบประมาณที่เกินดุล 158,261 ลานบาท และหักรายจายตามแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) รายจายเพือ่ วางระบบบริหาร จัดการน้ํา และเงินกูตางประเทศ 4,020 3,503 1,099 และ 838 ลานบาท ตามลําดับแลว ทําให ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุลทั้งสิ้น 271,246 ลานบาท
ฐานะการคลัง อปท.
• ฐานะการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ณ ไตรมาสที่ 2 ประจําปงบประมาณ 2558 (เดือนมกราคม – มีนาคม 2558) คาดวาจะมีรายไดรวม 166,239 ลานบาท (รายไดที่จัดเก็บเอง 23,289 ลานบาท รายไดภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให 68,043 ลานบาท และรายไดจาก เงินอุดหนุน 74,907 ลานบาท) และคาดวามีรายจายจํานวน 124,598 ลานบาท สงผลให ดุลการคลัง ของ อปท. เกินดุล 41,641 ลานบาท
สถานะหนี้สาธารณะ
• หนี้สาธารณะคงคางของรัฐบาล ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2558 มีจํานวน 5,730,519.2 ลานบาท คิดเปนรอยละ 43.3 ของ GDP ประกอบดวยหนี้ในประเทศคิดเปนรอยละ 94.0 สวนที่เหลือ รอยละ 6.0 เปนหนี้ตางประเทศ และเมือ่ แบงตามอายุเครื่องมือการกูเงิน หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 97.2 และหนี้ระยะสั้นรอยละ 2.8 สําหรับกรณีแบงตามอายุคงเหลือ หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 86.8 สวนที่เหลือรอยละ 13.2 เปนหนี้ระยะสั้น
กรอบความยัง่ ยืนทางการคลัง (60 - 15 – 0 – 25)
• กระทรวงการคลังไดกําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีตัวชี้วัดประกอบดวย ยอดหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ไมเกินรอยละ 60 ภาระหนี้ตองบประมาณไมเกินรอยละ 15 จัดทํางบประมาณสมดุล และสัดสวนงบลงทุนตองบประมาณไมต่ํากวารอยละ 25 • การวิเคราะหกรอบความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง (ปงบประมาณ 2558 – 2562) - สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ในปงบประมาณ 2558 อยูที่รอยละ 49.0 และเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 54.4 ในปงบประมาณ 2562 - ระดับภาระหนี้ตองบประมาณอยูในระดับรอยละ 7.1 ในปงบประมาณ 2558 และเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 9.9 ในปงบประมาณ 2562 - รัฐบาลมีนโยบายลดการขาดดุลงบประมาณ โดยไดลดการขาดดุล จํานวน 400,000 ลานบาท ในปงบประมาณ 2555 ลงเหลือ จํานวน 250,000 ลานบาท ในปงบประมาณ 2558 อยางไรก็ตาม เพื่อลดผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจโลกถดถอย ในระยะสั้นรัฐบาลยังมี ความจําเปนตองดําเนินนโยบายขาดดุลจนกวาภาวะเศรษฐกิจจะกลับเขาสูภาวะปกติ และจะดําเนินการจัดทํางบประมาณสมดุลในชวงตอไป
-2-
- สัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณรายจายคาดวาจะอยูในระดับเฉลี่ย รอยละ 20.4 ตองบประมาณรายจายตลอดชวงปงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งต่ํากวาระดับที่กําหนดไว อยางไรก็ดี รัฐบาลไดพยายามที่จะดําเนินโครงการลงทุนทั้งในสวนของ พรก. ใหอํานาจกระทรวงการคลังกูเงิน เพื่อบริหารจัดการน้ําฯ และการกูเงินเพื่อลงทุนโครงสรางพื้นฐานฯ ในป 2558 – 2562 ซึ่งเมื่อรวม การลงทุนดังกลาวจะทําใหสดั สวนรายจายลงทุนตองบประมาณเพิ่มขึ้นอยูในระดับเฉลี่ยรอยละ 26.8 ตองบประมาณรายจาย
การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล
• ผลการดําเนินโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ที่ยอดสินเชื่อคงคาง ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ป 2557 มีจํานวน 904,452.8 ลานบาท ขณะที่ยอดหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได (NPLs) เทากับ 32,777.9 ลานบาท คิดเปนสัดสวนหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดตอยอดสินเชื่อคงคาง (NPLs Ratio) รอยละ 3.6 • รัฐบาลมีภาระความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ซึง่ สามารถประมาณการ ความเสียหาย ที่ตองไดรับการชดเชยตั้งแตเริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ป 2557 มีจํานวนทั้งสิ้น 105,629.6 ลานบาท และคงเหลือภาระความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล อีกจํานวน 24,293.5 ลานบาท
การกระจายอํานาจทางการคลังใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น
รายไดองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) ประกอบดวย 1) รายไดที่ อปท. จัดหาเอง 2) รายไดจาก ภาษีที่รัฐบาลเก็บใหและแบงให และ 3) เงินอุดหนุน และตามพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอน กระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม ไดกําหนดใหรัฐ จัดสรรรายไดใหแก อปท. โดยให อปท. มีรายไดรวมคิดเปนสัดสวนตอรายไดรัฐบาลสุทธิในอัตราไมนอยกวา รอยละ 25 ตั้งแตปงบประมาณ 2550 เปนตนไป และการจัดสรรเงินอุดหนุนใหแก อปท. ตองมีจํานวน ไมนอยกวาที่จัดสรรใหในปงบประมาณ 2549 ที่ไดจัดสรรไวจํานวน 126,013 ลานบาท สําหรับการดําเนินการ ใหเปนไปตามพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจฯ ในปงบประมาณ 2559 รายได รวมของ อปท. มีจํานวน 657,300 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 28.21 ของรายไดสุทธิของรัฐบาลเพิ่มขึ้น จากปกอนจํานวน 10,956 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 1.70 (ป 2558 อปท. มีรายไดรวมจํานวน 646,344 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 27.80 ของรายไดสุทธิของรัฐบาล) มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ 28 เมษายน และ พฤษภาคม 2558 1. เรื่อง รางกฎกระทรวงกําหนดอัตราคาธรรมเนียมในการกําหนดราคาของของนําเขา หรือถิ่นกําเนิด ของของที่จะนําเขามาในราชอาณาจักร หรือตีความพิกัดอัตราศุลกากร เปนการลวงหนา พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางกฎกระทรวงกําหนดอัตราคาธรรมเนียมในการกําหนดราคาของ ของนําเขาหรือถิ่นกําเนิดของของทีจ่ ะนําเขามาในราชอาณาจักร หรือตีความพิกัดอัตราศุลกากรเปนการลวงหนา พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ โดยกําหนดอัตราคาธรรมเนียมในการกําหนดราคาของของนําเขา หรือถิ่นกําเนิดของของที่จะนําเขามาในราชอาณาจักร หรือตีความพิกัดอัตราศุลกากร เปนการลวงหนา ดังนี้ 1. การกําหนดราคาของของนําเขา เปนการลวงหนา ชนิดละ 2,000 บาท 2. การกําหนดถิ่นกําเนิดของของทีจ่ ะนําเขามาในราชอาณาจักร เปนการลวงหนา ชนิดละ 2,000 บาท -3-
3. การตีความพิกัดอัตราศุลกากร เปนการลวงหนา ชนิดละ 2,000 บาท ทั้งนี้ โดยใหมีผลใชบังคับ ตั้งแตวันที่ 4 มีนาคม 2558 เปนตนไป 2. เรื่อง โครงการประกันภัยขาวนาป ปการผลิต 2558 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในการดําเนินโครงการประกันภัยขาวนาป ปการผลิต 2558 ซึ่งเปน การดําเนินงานตอเนื่องจากโครงการฯ ปการผลิต 2557 เพื่อใหธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) ไปดําเนินการไดทันฤดูกาลเพาะปลูกที่จะเริ่มในเดือนพฤษภาคม 2558 วงเงินงบประมาณจํานวน 476,483,250 บาท ทั้งนี้ โครงการฯ ปการผลิต 2558 มีหลักการแนวทางการรับประกันภัย และรายละเอียด การรับประกันภัย เชนเดียวกับรูปแบบที่ไดดําเนินการในปการผลิต 2557 3. เรื่อง รางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... [มาตรการปองกันการ กําหนดราคาโอนระหวางบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคลที่มีความสัมพันธกัน (Transfer Pricing)] คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... [มาตรการปองกันการกําหนดราคาโอนระหวางบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคลที่มีความสัมพันธกัน (Transfer Pricing)] ตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ แกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร เพิ่มบทบัญญัติ ในประมวลรัษฎากรเพื่อกําหนดหลักเกณฑในการพิจารณาราคาโอนระหวางบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล ที่มีความสัมพันธกันยื่นเอกสารแสดงความสัมพันธระหวางกันตอเจาพนักงานประเมินตามหลักการ ดังนี้ 1.กรณีที่บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลตั้งแตสองนิติบุคคลขึ้นไปมีความสัมพันธระหวางกัน และไดมีการ กําหนดเงื่อนไขระหวางกันทางดานการพาณิชยและการเงินแตกตางไปจากที่ควรไดกําหนด หากบริษัทหรือ หางหุนสวนนิติบุคคลดังกลาวไดดําเนินการโดยอิสระ เจาพนักงานประเมินมีอํานาจประเมินรายไดหรือ รายจายของบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลดังกลาว 2. กรณีที่การประเมินมีผลใหบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธกันไดชําระภาษีไวหรือ ถูกหักภาษี ณ ที่จายและนําสงแลวเปนจํานวนเงินเกินกวาที่ควรตองเสียภาษี หรือโดยไมมีหนาที่ตองเสีย ใหบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลนั้นมีสิทธิยื่นคํารองขอคืนภายในหกสิบวัน นับแตวันที่ไดรับแจงการ ประเมินหรือภายในสามปนับแตวันสุดทายแหงกําหนดเวลายื่นรายการภาษีตามที่กฎหมายกําหนด ทั้งนี้ เพื่อเปนการขจัดภาระภาษีซ้ําซอน 3. ภายในหนึ่งรอยหาสิบวัน นับแตวันสุดทายของรอบระยะเวลาบัญชี ใหบริษัทหรือหางหุนสวน นิติบุคคลที่มีความสัมพันธระหวางกันตามขอ 1 จัดทําและยื่นเอกสารหรือหลักฐานที่แสดงความสัมพันธใน ดานทุน การจัดการ หรือการควบคุม ไมวาโดยทางตรงหรือทางออม และวิธีการคํานวณรายไดและรายจาย ระหวางกันตอเจาพนักงานประเมิน และหากไมไดดําเนินการตามกําหนด หรือจัดทําเอกสารหรือหลักฐาน ไมถูกตองตามความเปนจริง หรือไมครบถวนใหระวางโทษไมเกินสี่แสนบาท 4. เรื่อง มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการบริจาคใหแกกองทุนสงเสริมและพัฒนาการศึกษาสําหรับคนพิการ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบมาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการบริจาคใหแกกองทุนสงเสริมและพัฒนา การศึกษาสําหรับคนพิการและอนุมัติหลักการรางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวย การยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามที่ กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอโดย ยกเวนภาษีเงินไดใหแก บุคคลธรรมดา และบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล สําหรับการบริจาคเงินหรือทรัพยสินใหแกกองทุนฯ ดังนี้ 1. สําหรับบุคคลธรรมดา ใหยกเวนภาษีสําหรับเงินไดพึงประเมินหลังหักคาใชจายและหักลดหยอน ตามมาตรา 47 (1) (2) (3) (4) (5) หรือ (6) แหงประมวลรัษฎากรเทาจํานวนเงินที่บริจาคแตเมื่อรวมกับ -4-
เงินบริจาคตามมาตรา 47 (7) แหงประมวลรัษฎากรแลวตองไมเกินรอยละสิบของเงินไดพึงประเมินหลังหัก คาใชจายและหักลดหยอนนั้น 2. สําหรับบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล ใหยกเวนภาษีสําหรับเงินไดเทาจํานวนเงินหรือทรัพยสิน ที่บริจาค แตเมื่อรวมกับรายจายเพื่อการกุศลสาธารณะหรือเพื่อการสาธารณประโยชน ตามมาตรา 65 ตรี (3) แหงประมวลรัษฎากรแลว ตองไมเกินรอยละสองของกําไรสุทธิ 3. ใหมีผลใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป 5. เรื่อง โครงการสวัสดิการเงินกูเพื่อที่อยูอาศัยของขาราชการ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบใหยกเลิกโครงการสวัสดิการเงินกูเพื่อที่อยูอาศัยของขาราชการ และนํา เงินงบประมาณในโครงการสวัสดิการเงินกูเพื่อที่อยูอาศัยของขาราชการที่กรมบัญชีกลางฝากอยูที่ธนาคาร อาคารสงเคราะหสงคลังเปนรายไดแผนดิน และอนุมัติหลักการรางพระราชพระราชกฤษฎีกายกเลิกพระราช กฤษฎีกาสวัสดิการเงินกูเพื่อที่อยูอาศัย พ.ศ. 2535 พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ และใหสง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลวสงใหคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติ แหงชาติพิจารณา กอนเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติตอไป 6. เรื่อง รางพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายภาษีสรรพสามิต พ.ศ. ... และรางประมวลกฎหมาย ภาษีสรรพสามิต รวม 2 ฉบับ คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายภาษีสรรพสามิต พ.ศ. ... และรางประมวลกฎหมายภาษีสรรพสามิต รวม 2 ฉบับ ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ และใหสงสํานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลวใหสงคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณา กอนเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติตอไป โดยสาระสําคัญ คือ ใหรวบรวมบทบัญญัติแหงกฎหมายวาดวยภาษี สรรพสามิต กฎหมายวาดวยไพ กฎหมายวาดวยสุรา กฎหมายวาดวยยาสูบ กฎหมายวาดวยพิกัดอัตราภาษี สรรพสามิต กฎหมายวาดวยการจัดสรรเงินภาษีสรรพสามิต และกฎหมายวาดวยการจัดสรรเงินภาษีสุราไวใน ประมวลกฎหมายฉบับเดียวกัน และไดปรับปรุงกฎหมายดังกลาว โดย การเพิ่ม/ยกเลิกบทบัญญัติและแกไข นิยาม ปรับปรุงวิธีการจัดเก็บภาษี ปรับอัตราคาธรรมเนียมและอัตราภาษี และเปลี่ยนฐานในการคํานวณภาษี ตามมูลคา รวมถึงเพิ่มอํานาจรัฐมนตรีในการกําหนดใหมีการเชื่อมโยงประเภทสินคาตามประมวลกฎหมาย ภาษีสรรพสามิตกับพิกัดอัตราศุลกากร 7. เรื่อง การประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานสากลดานการปองกันปราบปรามการฟอกเงินและ การตอตานการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการรายของ FATF ในป พ.ศ. 2559 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบการเขารับการประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานสากลดานการปองกัน ปราบปรามการฟอกเงินและการตอตานการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการราย (Anti-Money Laundering and Combating the Financing of Terrorism : AML/CFT) ในป พ.ศ. 2559 และเห็นชอบ โดยมอบหมายใหหนวยงานที่เกี่ยวของสนับสนุนการดําเนินมาตรการรองรับการประเมินดังกลาว ตามที่ ประเทศไทยไดเขาเปนสมาชิกขององคกรตอตานการฟอกเงินเอเชียแปซิฟก (Anti-Pacific Group on Money Laundering-APG) ตั้งแตป พ.ศ. 2544 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2544 ซึ่งประเทศไทยในฐานะสมาชิกมีพันธกรณีที่ตองเขารับการประเมินที่ผานมาประเทศไทยไดเขารับการประเมิน แลว 2 รอบ และมีกําหนดเขารับการประเมินเปนรอบที่ 3 ในป พ.ศ. 2559 หากประเทศไทยไมเขารับ การประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานสากลดาน AML/CFT จะสงผลใหประเทศไทยถูกจัดเปนประเทศที่มี -5-
ความเสี่ยงดานการฟอกเงินและการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการรายทันที หรือกรณีที่ไมมีการปรับปรุง แกไขกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน และกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปราม การสนับสนุนทางการเงินแกการกอการรายใหเปนไปตามมาตรฐานสากล อาจสงผลใหประเทศไทยไมผาน การประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานดาน AML/CFT ในป พ.ศ. 2559 8. เรื่อง รางแผนยุทธศาสตรการใหเอกชนรวมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2558 – 2562 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรางแผนยุทธศาสตรการใหเอกชนรวมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2558 – 2562 เพื่อคณะกรรมการนโยบายใหเอกชนรวมลงทุนในกิจการของรัฐจะไดดําเนินการประกาศใชใน ราชกิจจานุเบกษาตอไป และรับทราบการจัดทํารายการโครงการในกิจการภายใตรางแผนยุทธศาสตรฯ พ.ศ. 2558 – 2562 เพื่อคณะกรรมการนโยบายฯ กํากับดูแลและติดตามใหเปนไปตามแผนงานโครงการ ตอไป เนื่องจากพระราชบัญญัติการใหเอกชนรวมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 มาตรา 19 บัญญัติใหมี แผนยุทธศาสตรเพื่อกําหนดนโยบายการใหเอกชนรวมลงทุนในกิจการ ของรัฐที่สอดคลองกับบทบัญญัติวาดวยแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ซึ่งมีระยะเวลาครั้งละหาปและมาตรา 16 และ 21 บัญญัติให คณะกรรมการนโยบายการใหเอกชนรวมลงทุนในกิจการของรัฐมีอํานาจหนาที่ในการจัดแผนยุทธศาสตรฯ เพื่อเสนอตอคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบกอนประกาศใชแผนยุทธศาสตรฯ ในราชกิจจานุเบกษาตอไป
-6-
สถานการณดานการคลัง
I รายได 1. ตามหนวยงาน 1.1 กรมสรรพากร (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.2 กรมสรรพสามิต (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.3 กรมศุลกากร (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.4 รัฐวิสาหกิจ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.5 หนวยงานอื่น (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) - สวนราชการอื่น - กรมธนารักษ 1.6 รวมรายไดจัดเก็บ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.7 รวมรายไดสุทธิ (หลังหักการจัดสรรให อปท.) (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2. ตามฐานภาษี 2.1 ฐานจากเงินได (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2.2 ฐานจากการบริโภค (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2.3 ฐานจากการคาระหวางประเทศ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) II รายจาย 1.รายจายรัฐบาลจากงบประมาณ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.1 งบประมาณปปจจุบัน (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.2 งบประมาณปกอน 2. รายจายของกองทุนนอกงบประมาณ (15 กองทุน) 1/ - รายจาย - เงินใหกูยืมสุทธิ 3. รายจายจากเงินกูตางประเทศ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 4. รายจายของอปท. 5. รายจายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ III ดุลการคลัง 1. ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด 2. ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบ สศค. 2/ - รัฐบาล - อปท. 3. เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือน3/ IV ยอดหนี้สาธารณะ 1. หนี้รัฐบาลกูตรง 2. หนี้รัฐวิสาหกิจ 3. หนี้ของหนวยงานภาครัฐอื่น 4. หนี้ FIDF 5. รวม 6. หนี้คงคาง/GDP 7. หนี้ที่เปนภาระงบประมาณ/GDP (ปปฏิทิน)%
รวมทั้งป งบประมาณ 2557
ปงบประมาณ 2558 Q2
Q1
หนวย :พันลานบาท
เม.ย 58
รวม ต.ค.57 - เม.ย. 58
1,729.8 (2.0) 382.7 (11.6) 117.7 (4.3) 136.7 34.7 136.0 (14.5) 130.5 5.4 2,502.9 (3.0) 2,074.7 (4.0)
349.5 (2.0) 102.2 (2.0) 30.3 0.5 46.8 (1.2) 54.9 43.6 52.6 2.3 583.7 1.2 507.4 0.8
360.4 0.6 121.4 9.0 28.7 0.3 20.6 (17.8) 39.4 35.8 38.1 1.3 570.8 3.0 468.0 3.7
117.6 5.8 39.7 19.0 9.5 5.5 33.5 84.6 6.7 (8.1) 6.4 0.3 207.0 15.7 168.0 23.2
827.9 1.3 263.3 10.4 68.5 1.0 100.8 0.7 101.0 31.6 97.1 3.9 1,361.5 4.7 1,143.4 6.2
953.2 (5.1) 1,158.3 (2.8) 114.9 (4.7)
153.0 (5.4) 298.4 (0.2) 29.8 0.2
166.0 0.6 315.9 3.5 27.7 (0.4)
51.3 11.1 105.9 7.8 9.3 4.9
370.3 2.0 720.2 4.1 66.9 0.3
2,459.9 2.4 2,246.3 3.4 213.5 409.8 395.9 13.9 9.0 (59.2) 201.7 236
844.1 1.6 766.4 0.7 77.7 93.4 89.6 3.8 1.3 (43.6) 54.4 65.0
617.6 11.7 557.7 15.6 59.9 67.2 63.9 3.3 2.7 (24.2) 45.3 45.2
191.5 (2.2) 178.9 (0.5) 12.5 23.0 22.5 0.5 0.3 (78.7)
1,655.2 4.6 1,503.0 5.6 150.1 183.6 176.0 7.6 4.3 (25.8) n/a 125.2
(359.3) (255.6) (255.6)
(347.7) (205.4) (205.4)
(142.3) (82.2) (82.2)
(37.6) 16.5 16.5
(527.6) (271.2) (271.2)
495.7
179.3
121.1
125.6
125.6
3,965.4 1,713.9 11.5 5,690.8 47.2
3,954.7 1,661.3 8.0 5,624.0 46.3
4,094.0 1,628.3 8.2 5,730.5 43.3
n/a 15.0
n/a n/a n/a n/a n/a n/a
หมายเหตุ 1/ ประกอบดวย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณและการทําของ กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนคาธรรมเนียมผานทาง กองทุนสงเสริมวิสาหกิจ กองทุนออยและนําตาล กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ กองทุนหมูบานและชุมชนเมือง กองทุนสงเสริมการอนุรักษพลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กองทุนชวยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย 2/ ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาและวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) เปนผลรวมของดุลการคลังรัฐบาล และดุลการคลังของ อปท. 3/ ตั้งแตปงบประมาณ 2551 เงินคงคลังจะไมรวมเงินอื่น (บัตรภาษี) และเงินฝากธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) รวบรวมโดย : สวนวางแผนการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
-7-
n/a n/a n/a n/a n/a n/a
สถานการณดานรายได • เดือนเมษายน 2558
รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 168,020 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 15,089 ลานบาท หรือรอยละ 9.9 (สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลวรอยละ 23.2) เนื่องจากการนําสงรายไดของรัฐวิสาหกิจสูงกวาประมาณการ 15,078 ลานบาท หรือรอยละ 82.0 (สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลวรอยละ 84.6) โดยธนาคารออมสินเลื่อนการนําสงรายได จากเดือนมีนาคม 2558 มาเปนเดือนเมษายน 2558 จํานวน 10,062 ลานบาท และการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย นําสงรายไดใหเร็วขึ้นจากเดือนพฤษภาคม 2558 มาเปนเดือนเมษายน 2558 จํานวน 8,440 ลานบาท ประกอบกับ การจัดเก็บภาษีน้ํามันสูงกวาประมาณการ 8,234 ลานบาท หรือรอยละ 147.6 (สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลวรอยละ 169.6) เนื่องจากการปรับขึ้นอัตราภาษีน้ํามันดีเซล อยางไรก็ดี ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษียาสูบ และภาษีสุราฯ จัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการ 5,852 2,307 และ 1,607 ลานบาท หรือรอยละ 8.8 41.8 และ 25.9 ตามลําดับ โดยภาษีมลู คาเพิ่มไดรับผลกระทบจากมูลคาการนําเขา ที่หดตัว เนื่องจากราคาน้ํามันดิบที่ลดลง สําหรับภาษียาสูบและภาษีสุราฯ สวนหนึ่งเปนผลจากการเรงชําระภาษียาสูบ และภาษีสุราฯ กอนที่พระราชบัญญัติการกีฬาแหงประเทศไทย พ.ศ. 2558 จะมีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2558 ตารางสรุปรายไดรฐั บาลเดือนเมษายน 2558* ทีม่ าของรายได
ปนี้
ปที่แลว
1. กรมสรรพากร 2. กรมสรรพสามิต 3. กรมศุลกากร รายได 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น หัก1/ รายไดรฐั บาลสุทธิ
117,622 39,682 9,526 166,830 33,457 6,699 38,966 168,020
111,183 33,338 9,029 153,550 18,120 7,290 42,568 136,392
*
ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้ งปม.ทั้งปเทากับ กับปที่แลว จํานวน รอยละ 2,325,000 ลานบาท 6,439 5.8 124,692 6,344 19.0 36,001 497 5.5 10,000 13,280 8.6 170,693 15,337 84.6 18,379 (591) (8.1) 6,812 (3,602) (8.5) 42,953 31,628 23.2 152,931
หนวย: ลานบาท
เปรียบเทียบปนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม. จํานวน รอยละ (7,070) (5.7) 3,681 10.2 (474) (4.7) (3,863) (2.3) 15,078 82.0 (113 (1.7) (3,987) (9.3) 15,089 9.9
หมายเหตุ: ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 7 พฤษภาคม 2558 1/ รายการหัก ไดแก (1) คืนภาษีของกรมสรรพากร 25,800 ลานบาท (เปนตัวเลขคาดการณ) (2) อากรถอนคืนกรมศุลกากร 981 ลานบาท (3) จัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อบจ. 1,400 ลานบาท (เปนตัวเลขคาดการณ) (4) เงินกันชดเชยสงออก 1,300 ลานบาท (เปนตัวเลขคาดการณ) (5) จัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ 9,485 ลานบาท (งวดที่ 4/2558) ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
-8-
ลานบาท
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลสุทธิในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (เดือนตุลาคม 2557 - เมษายน 2558) จัดเก็บ 57
400,000
ปมก 58
350,000
จัดเก็บ 58
300,000 250,000 200,000
173,703
168,020 161,601 172,113 160,614 149,624 157,731
150,000 100,000 50,000 0 ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
• ในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – เมษายน 2558) รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 1,143,407 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 15,577 ลานบาท หรือรอยละ 1.4 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 6.2) โดยการนําสงรายไดของรัฐวิสาหกิจ การจัดเก็บภาษีของกรมสรรพสามิต และการจัดเก็บรายไดของหนวยงานอื่นสูงกวาประมาณการ 25,055 14,771 และ 14,562 ลานบาท หรือรอยละ 33.1 5.9 และ 16.8 ตามลําดับ ขณะที่กรมสรรพากรและกรมศุลกากรจัดเก็บภาษีไดต่ํากวาเปาหมาย 47,713 และ 2,988 ลานบาท หรือรอยละ 5.4 และ 4.2 ตามลําดับ
ผลการจัดเก็บรายไดของ 3 กรมในสังกัดกระทรวงการคลัง ในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (เดือนตุลาคม 2557 - เมษายน 2558) ลานบาท 1,400,000 1,200,000
จัด เก็บ 57 ประมาณการ 58 จัด เก็บ 58
1,000,000 800,000
817,016
875,648
1,123,305
1,195,679
827,935
600,000 400,000
238,436 248,531 263,302
200,000
67,853 71,500 68,512
0 กรมสรรพากร
กรมสรรพสามิต
-9-
กรมศุลกากร
รวม 3 กรม
1,159,749
ตารางสรุปรายไดรฐั บาลในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – เมษายน 2558)*
หนวย : ลานบาท
ทีม่ าของรายได 1. กรมสรรพากร 2. กรมสรรพสามิต 3. กรมศุลกากร รายได 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น หัก1/ รายไดรฐั บาลสุทธิ
ปนี้
ปที่แลว
827,935 817,016 263,302 238,436 68,512 67,853 1,159,749 1,123,305 100,766 100,052 101,025 76,748 218,133 223,035 1,143,407 1,077,070
ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้ เปรียบเทียบปนี้กับ งปม.ทั้งปเทากับ กับปที่แลว ปมก. เอกสาร งปม. จํานวน รอยละ 2,325,000 ลานบาท จํานวน รอยละ 10,919 1.3 875,648 (47,713) (5.4) 24,866 10.4 248,531 14,771 5.9 659 1.0 71,500 (2,988) (4.2) 36,444 3.2 1,195,679 (35,930) (3.0) 714 0.7 75,711 25,055 33.1 24,277 31.6 86,463 14,562 16.8 (4,902) (2.2) 230,023 (11,890) (5.2) 66,337 6.2 1,127,830 15,577 1.4
หมายเหตุ: *ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 7 พฤษภาคม 2558 1/ รายการหัก ไดแก (1) คืนภาษีสรรพากร 161,252 ลานบาท (เดือนตุลาคม – กุมภาพันธ 2558 เปนตัวเลขจริง เดือนมีนาคม – เมษายน 2558 เปนตัวเลขคาดการณ) (2) อากรถอนคืนกรมศุลกากร 6,513 ลานบาท (3) จัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อบจ. 8,718 ลานบาท (เดือนตุลาคม 2557 – มีนาคม 2558 เปนตัวเลขจริง เดือนเมษายน 2558 เปนตัวเลขคาดการณ) (4) เงินกันชดเชยสงออก 8,385 ลานบาท (เดือนตุลาคม 2557 – มีนาคม 2558 เปนตัวเลขจริง เดือนเมษายน 2558 เปนตัวเลขคาดการณ) (5) จัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ 33,265 ลานบาท (งวดที่ 1/2558 - 4/2558) ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ผลการจัดเก็บรายไดตามหนวยงานจัดเก็บสรุปได ดังนี้ กรมสรรพากร จัดเก็บรายไดรวม 827,935 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 47,713 ลานบาท หรือรอยละ 5.4 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 1.3) โดยภาษีที่จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมายที่สําคัญ ไดแก (1) ภาษีมูลคาเพิ่มจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 25,147 ลานบาท หรือรอยละ 5.7(แตสูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว รอยละ 0.3) ซึ่งเปนผลจากภาษีมูลคาเพิ่มที่จัดเก็บจากการนําเขาจํานวน 165,853 ลานบาท ต่ํากวาเปาหมาย 29,616 ลานบาท หรือรอยละ 15.2 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 8.8) เนื่องจากมูลคานําเขาที่ยังหดตัว สวนหนึ่งเปนผลจากราคาน้ํามันดิบที่ปรับตัวลดลงในชวงที่ผานมา ในขณะที่ภาษีมูลคาเพิ่มจากการบริโภคในประเทศ จัดเก็บได 251,857 ลานบาท สูงกวาเปาหมาย 4,470 ลานบาท หรือรอยละ 1.8 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 7.5) (2) ภาษีเงินไดนิติบุคคลจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 19,677 ลานบาท หรือรอยละ 10.0 (ต่ํากวาชวงเดียวกัน ปที่แลวรอยละ 2.2) เนื่องจากภาษีที่เก็บจากคาบริการและการจําหนายกําไร (ภ.ง.ด. 54) ภาษีจากกําไรสุทธิ รอบครึ่งปบัญชีของบริษัทญี่ปุน (ภ.ง.ด. 51) และภาษีหัก ณ ที่จายภาคเอกชน (ภ.ง.ด. 53) จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย เปนสําคัญ (3) ภาษีเงินไดปโตรเลียมจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 5,467 ลานบาท หรือรอยละ 41.4 (ต่ํากวาชวงเดียวกันป ที่แลวรอยละ 35.3) เนื่องจากราคาน้ํามันดิบที่ปรับตัวลดลง ประกอบกับภาษีที่จัดเก็บจากการจําหนายกําไร ไปตางประเทศจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย อยางไรก็ดี ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาจัดเก็บไดสูงกวาเปาหมาย 3,313 ลานบาท หรือรอยละ 1.8 (สูงกวา ชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 9.0) เนื่องจากภาษีเงินไดหัก ณ ที่จายภาคเอกชนจัดเก็บไดสูงกวาเปาหมายเปนสําคัญ ซึ่งสะทอนสภาพการจางงานที่ยังอยูในระดับดี
-10-
สัดสวนผลการจัดเก็บรายไดของกรมสรรพากรแยกตามรายภาษี ในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 - เมษายน 2558) ภาษีธุรกิจเฉพาะอากรแสตมป รายไดอื่น ภาษีเงินไดปโตรเลียม 3.83% 0.97% 0.03% 0.93% ภาษีเงินไดบุคคล ธรรมดา 22.41%
ภาษีมูลคาเพิ่ม 50.45%
ภาษีเงินไดนิติบุคคล 21.38%
กรมสรรพสามิต จัดเก็บรายไดรวม 263,302 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 14,771 ลานบาท หรือรอยละ 5.9 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 10.4) เปนผลจากภาษีน้ํามันจัดเก็บไดสูงกวาเปาหมาย 27,961 ลานบาท หรือรอยละ 72.6 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 82.2) เนื่องจากการปรับขึ้นอัตราภาษีน้ํามันดีเซลและราคาขาย ปลีกน้ํามันที่ลดลง สงผลใหปริมาณการใชน้ํามันเพิ่มสูงขึ้น อยางไรก็ดี ภาษีสรรพสามิตรถยนตจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 12,156 ลานบาท หรือรอยละ 19.8 (ต่ํากวา ชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 18.9) สาเหตุมาจากความตองการซื้อรถยนตที่ยังไมฟนตัว สัดสวนผลการจัดเก็บรายไดของกรมสรรพสามิตแยกตามรายภาษี ในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 - เมษายน 2558) ภาษีอื่นๆ 5.89%
ภาษีสรุ าฯ 15.72%
ภาษียาสูบ 14.83%
ภาษีน้ํามันฯ 25.24%
ภาษีรถยนต 18.75%
ภาษีเบียร 19.57%
กรมศุลกากร จัดเก็บรายไดรวม 68,512 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 2,988 ลานบาท หรือรอยละ 4.2 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 1.0) โดยเปนผลจากการจัดเก็บอากรขาเขาต่ํากวาเปาหมายจํานวน 3,447 ลานบาท หรือรอยละ 4.9 เนื่องจากมูลคาการนําเขาที่ยังคงหดตัว โดยมูลคาการนําเขาในรูปดอลลารสหรัฐ และเงินบาทในชวง 6 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 หดตัวรอยละ 6.0 และรอยละ 4.2 ตามลําดับ ทั้งนี้ สินคาที่จัดเก็บอากรขาเขาไดสูงสุด 5 อันดับแรก ไดแก ยานบกและสวนประกอบ เครื่องใชไฟฟาและอุปกรณ ประกอบ เครื่องจักรและเครื่องใชกล ของทําดวยเหล็กหรือเหล็กกลา และพลาสติก
-11-
สัดสวนผลการจัดเก็บรายไดของกรมศุลกากรแยกตามรายภาษี ในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 - เมษายน 2558) อากรขาออก รายไดอื่น 0.22% 2.39%
อากรขาเขา 97.39%
รัฐวิสาหกิจ นําสงรายไดรวม 100,766 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 25,055 ลานบาท หรือรอยละ 33.1 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 0.7) เนื่องจากการนําสงรายไดของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ธนาคารออมสิน บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) และการทางพิเศษแหงประเทศไทย ที่สูงกวาประมาณการ สัดสวนการนําสงรายไดรัฐวิสาหกิจแยกตามสาขา ในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 - เมษายน 2558) กิจการที่กระทรวงการคลัง สังคมและเทคโนโลยี สถาบันการเงิน ถือหุนต่ํากวารอยละ 50 15.17% พาณิชยและบริการ 0.02% 0.96% 9.70% เกษตรและ ทรัพยากรธรรมชาติ 0.08%
พลังงาน 47.38%
อุตสาหกรรม 4.65% สาธารณูปการ 4.09% สื่อสาร 8.53%
ขนสง 9.40%
หนวยงานอื่น จัดเก็บรายไดรวม 101,025 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 14,562 ลานบาท หรือรอยละ 16.8 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 31.6) สาเหตุสําคัญมาจากการนําสงเงินสภาพคลองสวนเกินของกองทุน หมุนเวียนเปนรายไดแผนดินจํานวน 10,700 ลานบาท และการสงคืนเงินกันชดเชยใหแกผูสงออกเปนรายไดแผนดิน สูงกวาประมาณการ 5,562 ลานบาท สําหรับกรมธนารักษจัดเก็บรายไดรวม 3,895 ลานบาท ต่ํากวาเปาหมาย 582 ลานบาท หรือรอยละ 13.0 (ต่ํา กวาชวงเดียวกันของปที่แลวรอยละ 12.3) เนื่องจากการจัดเก็บรายไดจากที่ราชพัสดุต่ํากวาเปาหมายเปนสําคัญ การคืนภาษีของกรมสรรพากร จํานวน 161,252 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 8,770 ลานบาท หรือรอยละ 5.2 ประกอบดวยการคืนภาษีมูลคาเพิ่ม 129,246 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 5,454 ลานบาท หรือรอยละ 4.0 และการคืนภาษีอื่นๆ (ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป) จํานวน 32,006 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 3,316 ลานบาท หรือรอยละ 9.4
-12-
อากรถอนคืนกรมศุลกากร จํานวน 6,513 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 913 ลานบาท หรือรอยละ 16.3 การจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มใหกับองคการบริหารสวนจังหวัด จํานวน 8,718 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 1,344 ลานบาท หรือรอยละ 13.4 เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินคาสงออก จํานวน 8,385 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 864 ลานบาท หรือรอยละ 9.3 การจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนและขัน้ ตอนการกระจาย อํานาจฯ จํานวน 4 งวด เปนเงิน 33,265 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 1,825 ลานบาท หรือรอยละ 5.2
-13-
ตารางที่ 1 ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลเบื้องตน เดือนเมษายน 2558
1/
หนวย: ลานบาท
เปรียบเทียบปนี้กับปที่แลว ที่มาของรายได
ปนี้
1. กรมสรรพากร 1.1 ภาษีมูลคาเพิ่ม 1.2 ภาษีเงินไดนิติบุคคล 1.3 ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 1.4 ภาษีเงินไดปโตรเลียม 1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป 1.7 รายไดอื่น
2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษีรถยนต 2.3 ภาษีเบียร 2.4 ภาษียาสูบ 2.5 ภาษีสุราฯ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีรถจักรยานยนต 2.8 ภาษีแบตเตอรี่ 2.9 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.10 ภาษีอื่น 2/ 2.11 รายไดอื่น
3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่น
รวมรายได 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น 5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ
หัก
1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายไดจาก VAT ให อบจ. 4. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินคาสงออก
รวมรายไดสุทธิ (Net)
5/
หักเงินจัดสรรจาก VAT ให อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ
รวมรายไดสุทธิหลังหักการจัดสรรแลว
จํานวน
รอยละ
งปม.ทั้งปเทากับ 2,325,000 ลานบาท
จํานวน
รอยละ
117,622
111,183
6,439
5.8
124,692
(7,070)
(5.7)
60,821 21,777 29,521 8 4,377 1,081 37
60,060 19,551 26,610 3,993 938 31
761 2,226 2,911 8 384 143 6
1.3 11.4 10.9 9.6 15.2 19.4
66,673 22,459 29,824 4,665 1,042 29
(5,852) (682) (303) 8 (288) 39 8
(8.8) (3.0) (1.0) (6.2) 3.7 27.6
39,682
33,338
6,344
19.0
36,001
3,681
10.2
13,812 8,360 7,214 3,211 4,605 1,817 275 194 34 116 44
5,124 8,406 6,717 5,844 4,964 1,676 264 177 22 102 42
8,688 (46) 497 (2,633) (359) 141 11 17 12 14 2
169.6 (0.5) 7.4 (45.1) (7.2) 8.4 4.2 9.6 54.5 14 4.8
5,578 8,756 7,623 5,518 6,212 1,632 279 201 57 110 35
8,234 (396) (409) (2,307) (1,607) 185 (4) (7) (23) 6 9
147.6 (4.5) (5.4) (41.8) (25.9) 11.3 (1.4) (3.5) (40.4) 5.5 25.7
9,526
9,029
497
5.5
10,000
(474)
(4.7)
9,325 17 184
8,878 24 127
447 (7) 57
5.0 (29.2) 44.9
9,810 25 165
(485) (8) 19
(4.9) (32.0) 11.5
166,830 33,457 6,699
153,550 18,120 7,290
13,280 15,337 (591)
8.6 84.6 (8.1)
170,693 18,379 6,812
(3,863) 15,078 (113)
(2.3) 82.0 (1.7)
6,623 667
(205) (386)
(3.1) (57.9)
6,096 716
322 (435)
5.3 (60.8)
178,960 32,679
28,026 (3,198)
(3,847) (1,646) (2,201) 374 98 177
15.7 (9.8)
(13.0) (8.8) (20.0) 61.6 7.5 15.8
195,884 32,763
11,102 (3,282)
5.7 (10.0)
177,505
146,281
31,224
21.3
163,121
14,384
8.8
9,485
9,889
(404)
(4.1)
10,190
(705)
(6.9)
168,020
136,392
31,628
23.2
152,931
15,089
9.9
6,418 281
รวมรายไดจัดเก็บ (Gross)
ปที่แลว
ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม.
206,986 29,481
25,800 17,000 8,800 981 1,400 1,300
3/
4/
4/ 4/
29,647 18,646 11,001 607 1,302 1,123
29,223 19,200 10,023 800 1,442 1,298
หมายเหตุ 1/ ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 7 พฤษภาคม 2558 2/
ภาษีไพ แกวฯ เครื่องหอม เรือ พรม สนามมา สนามกอลฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนทคลับและดิสโกเธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด
3/
ตัวเลขจากระบบ GFMIS
4/
ตัวเลขคาดการณ
ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย : สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
-14-
(3,423) (2,200) (1,223) 181 (42) 2
(11.7) (11.5) (12.2) 22.6 (2.9) 0.2
ตารางที่ 2 ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลสุทธิในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 1/ (ตุลาคม 2557 - เมษายน 2558) หนวย : ลานบาท
เปรียบเทียบปนี้กับปที่แลว ที่มาของรายได 1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7
ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น
2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษีรถยนต 2.3 ภาษีเบียร 2.4 ภาษียาสูบ 2.5 ภาษีสุราฯ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีรถจักรยานยนต 2.8 ภาษีแบตเตอรี่ 2.9 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.10 ภาษีอื่น 2/ 2.11 รายไดอื่น
3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่น
รวมรายได 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น 5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ
หัก
รวมรายไดจัดเก็บ (Gross)
1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายไดจาก VAT ให อบจ. 4. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินคาสงออก
รวมรายไดสุทธิ (Net) 6/
หักเงินจัดสรรจาก VAT ให อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ
รวมรายไดสุทธิหลังหักการจัดสรร อปท. หมายเหตุ
1/ 2/
ปนี้
ปที่แลว
จํานวน
รอยละ
ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม. งปม.ทั้งปเทากับ 2,325,000 ลานบาท
จํานวน
รอยละ
827,935
817,016
10,919
1.3
875,648
(47,713)
(5.4)
417,710 176,977 185,567 7,733 31,689 8,045 214
416,255 180,976 170,227 11,955 30,680 6,747 176
1,455 (3,999) 15,340 (4,222) 1,009 1,298 38
0.3 (2.2) 9.0 (35.3) 3.3 19.2 21.6
442,857 196,654 182,254 13,200 33,118 7,406 159
(25,147) (19,677) 3,313 (5,467) (1,429) 639 55
(5.7) (10.0) 1.8 (41.4) (4.3) 8.6 34.6
263,302
238,436
24,866
10.4
248,531
14,771
5.9
66,450 49,375 51,542 39,036 41,380 10,794 1,749 1,331 288 816 541
36,468 60,893 50,554 35,851 40,657 9,801 1,517 1,176 302 711 506
29,982 (11,518) 988 3,185 723 993 232 155 (14) 105 35
82.2 (18.9) 2.0 8.9 1.8 10.1 15.3 13.2 (4.6) 15 6.9
38,489 61,531 53,923 36,692 42,667 10,510 1,697 1,318 443 781 480
27,961 (12,156) (2,381) 2,344 (1,287) 284 52 13 (155) 35 61
72.6 (19.8) (4.4) 6.4 (3.0) 2.7 3.1 1.0 (35.0) 4.5 12.7
68,512
67,853
659
1.0
71,500
(2,988)
(4.2)
66,722 153 1,637
66,561 129 1,163
161 24 474
0.2 18.6 40.8
70,170 175 1,155
(3,448) (22) 482
(4.9) (12.6) 41.7
1,159,749 100,766 101,025
1,123,305 100,052 76,748
36,444 714 24,277
3.2 0.7 31.6
1,195,679 75,711 86,463
(35,930) 25,055 14,562
(3.0) 33.1 16.8
72,307 4,441
24,823 (546)
34.3 (12.3)
81,986 4,477
15,144 (582)
18.5 (13.0)
1,300,105 188,720
61,435 (3,852)
(4,698) 3,367 (8,065) 828 (366) 384
4.7 (2.0)
(2.8) 2.7 (20.1) 14.6 (4.0) 4.8
1,357,853 194,933
3,687 (10,065)
(8,770) (5,454) (3,316) 913 (1,344) (864)
0.3 (5.2)
(5.2) (4.0) (9.4) 16.3 (13.4) (9.3)
1,176,672
1,111,385
65,287
5.9
1,162,920
13,752
1.2
33,265
34,315
(1,050)
(3.1)
35,090
(1,825)
(5.2)
1,143,407
1,077,070
66,337
6.2
1,127,830
15,577
1.4
97,130 3,895
1,361,540 184,868
161,252 129,246 32,006 6,513 8,718 8,385
3/
4/
5/ 5/
165,950 125,879 40,071 5,685 9,084 8,001
ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 7 พฤษภาคม 2558 ภาษีไพ เครื่องแกว เครื่องหอม พรม สนามมา สนามกอลฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนทคลับและดิสโกเธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด
3/
ตัวเลขจากระบบ GFMIS
4/
เดือนตุลาคม 2557 - กุมภาพันธ 2558 เปนตัวเลขจริง เดือนมีนาคม - เมษายน 2558 เปนตัวเลขคาดการณ
5/
เดือนตุลาคม 2557 - มีนาคม 2558 เปนตัวเลขจริง เดือนเมษายน 2558 เปนตัวเลขคาดการณ
6/
รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย : สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
-15-
170,022 134,700 35,322 5,600 10,062 9,249
สถานการณดานรายจาย • พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ 2558 ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 131 ตอนที่ 69 ก เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2557 กําหนดวงเงินงบประมาณรายจายจํานวน 2,575,000 ลานบาท สูงกวาวงเงินปงบประมาณ 2557 รอยละ 2.0 โดยแบงเปนรายจายประจํา 2,027,859 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปที่เเลวรอยละ 0.5 รายจายลงทุน 449,476 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก ปที่เเลวรอยละ 1.9 รายจายชําระคืนตนเงินกู 55,700 ลานบาท และรายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง 41,965 ลานบาท โครงสรางงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558
โครงสรางงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณรายจาย (สัดสวนตอ GDP) - รายจายประจํา (สัดสวนตองบประมาณ) - รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) - รายจายลงทุน (สัดสวนตองบประมาณ) - รายจายชําระคืนตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) 2. รายรับ (สัดสวนตอ GDP) - รายได - เงินกู 3. ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP)
ปงบประมาณ 2557 เพิ่ม/ลด จํานวน รอยละ 2,525,000 5.2 20.4 2,017,626 6.2 79.9 13,424 100.0 0.5 441,129 -2.1 17.5 52,822 7.5 2.1 2,525,000 5.2 20.4 2,275,000 8.3 250,000 -16.7 12,364,000 3.9
ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2558
- 16 -
หนวย : ลานบาท
ปงบประมาณ 2558 เพิ่ม/ลด จํานวน รอยละ 2,575,000 2.0 19.6 2,027,859 0.5 78.7 41,965 212.6 1.6 449,476 1.9 17.5 55,700 5.4 2.2 2,575,000 2.0 19.6 2,325,000 2.2 250,000 13,143,000 6.3
• คณะรักษาความสงบแหงชาติมีมติเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2557 เห็นชอบการกําหนดเปาหมายการ เบิกจายงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ.2558 ที่อัตรารอยละ 96.0 และกําหนดเปาหมาย การเบิกจายรายจายลงทุนไวไมนอยกวารอยละ 87.0 ของวงเงินงบรายจายลงทุน โดยไดกาํ หนด เปาหมายการเบิกจายรายไตรมาส ดังนี้ ไตรมาสที่
เปาหมายการเบิกจาย แตละสิ้นไตรมาส
1 2 3 4
830,720 584,222 530,094 531,125
เปาหมายอัตรา การเบิกจายแตละ สิ้นไตรมาส (%) 32 23 21 21
• เดือนเมษายน 2558 รัฐบาลมีการเบิกจายเงินงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 191,488 ลานบาท ต่ํากวาเดือนเดียวกันปที่แลว 4,337 ลานบาท หรือรอยละ 2.2 ปงบประมาณ 1. รายจายปปจจุบัน 1.1 รายจายประจํา 1.2 รายจายลงทุน 2. รายจายปกอน รวม
เดือนเมษายน 2558 2558 178,945 156,138 22,807 12,543 191,488
2557 179,780 156,868 22,912 16,045 195,825
เปรียบเทียบ งปม. 2557 จํานวน รอยละ (835) (0.5) (730) (0.5) (105) (0.5) (3,502) (21.8) (4,337) (2.2)
ผลการเบิกจาย
อัตราการเบิกจาย (%)
766,371 557,708
29.8 21.6
ประกอบดวย 1) การเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558 จํานวน 178,945 ลานบาท ต่ํากวาเดือนเดียวกัน ปที่แลว 835 ลานบาท หรือรอยละ 0.5 แบงเปน รายจายประจํา 156,138 ลานบาท และรายจายลงทุน 22,807 ลานบาท โดยมีการเบิกจายรายการที่สําคัญคือ เงินอุดหนุนของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 17,498 ลานบาท และเงินอุดหนุนของกระทรวงศึกษาธิการ 12,611 ลานบาท 2) การเบิกจายรายจายปกอน มีจาํ นวน 12,543 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดือนเดียวกันปที่แลว 3,502 ลานบาท หรือรอยละ 21.8
• ในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – เมษายน 2558) รัฐบาลไดเบิกจายงบประมาณแลวจํานวนรวมทั้งสิ้น 1,653,207 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 73,279 หรือรอยละ 4.6
ประกอบดวย 1) การเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558 จํานวน 1,503,025 ลานบาท คิดเปนอัตรา การเบิกจายรอยละ 58.4 ของวงเงินงบประมาณ 2,575,000 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 79,882 หรือรอยละ 5.6 แบงเปน รายจายประจํา 1,362,221 ลานบาท คิดเปนรอยละ 63.2 ของวงเงิน งบประมาณรายจายประจําหลังโอนเปลี่ยนแปลง (2,154,123 ลานบาท) รายจายลงทุน 140,804 ลานบาท คิดเปนรอยละ 33.5 ของวงเงินงบประมาณ
- 17 -
ตนแตตนปงบประมาณจนถึงสิ้นเดือนเมษายน2558
ปงบประมาณ 1. รายจายปปจจุบัน 1.1 รายจายประจํา 1.2 รายจายลงทุน 2. รายจายปกอน รวม
2558
2557
1,503,025 1,362,221 140,804 150,182 1,653,207
1,423,143 1,249,287 173,856 156,785 1,579,928
เปรียบเทียบ งปม. 2557 รอยละตอวงเงิน งปม. 2558 จํานวน รอยละ 79,882 5.6 58.4 112,934 9.0 63.2 (33,052) (19.0) 33.5 (6,603) (4.2) 42.7 73,279 4.6 56.5
รายจายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง (420,877 ลานบาท) โดยมีการเบิกจายรายการที่สําคัญ ไดแก เงินอุดหนุนของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 170,395 ลานบาท เงินอุดหนุนของกระทรวงศึกษาธิการ 113,840 ลานบาท และรายจายอื่นของธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณการเกษตร 78,632 ลานบาท - การเบิกจายงบกลาง มีจาํ นวน 166,467 ลานบาท คิดเปนรอยละ 44.3 ของวงเงินงบกลาง (375,708 ลานบาท) โดยมีการเบิกจายรายการที่สําคัญ ไดแก - เงินเบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ 95,582 ลานบาท คิดเปนรอยละ 66.0 - คาใชจา ยในการรักษาพยาบาลขาราชการ ลูกจาง และพนักงานของรัฐ 36,879 ลานบาท คิดเปนรอยละ 61.5 - เงินสํารอง เงินสมทบ และเงินชดเชยของขาราชการ 26,214 ลานบาท คิดเปนรอยละ 57.7 - เงินชวยเหลือขาราชการ ลูกจางและพนักงาน ของรัฐ 2,915 ลานบาท คิดเปนรอยละ 58.0 - เงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน 2,855 ลานบาท คิดเปนรอยละ 3.2 2) การเบิกจายรายจายปกอ น มีจาํ นวน 150,182 ลานบาท คิดเปนรอยละ 42.7 ของวงเงินรายจายปกอ น (351,323 ลานบาท) ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 6,603 ลานบาท หรือรอยละ 4.2
การเบิกจายงบประมาณในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558
ลา นบาท
2,575,000
2,575,000
2,060,000
2,060,000
1,545,000
1,545,000
1,030,000
1,030,000
515,000
515,000
0
ต.ค. 57 พ.ย. 57 ธ.ค. 57 ม.ค. 58 ก.พ. 58 มี.ค. 58 เม.ย. 58 พ.ค. 58 มิ.ย. 58 ก.ค. 58 ส.ค. 58 ก.ย. 58
ต.ค. 57 พ.ย. 57 ธ.ค. 57 ม.ค. 58 ก.พ. 58 มี.ค. 58 ปปจจุบัน(รายเดือน) 344,801 180,660 240,910 197,891 131,447 228,371 สะสม 2557 244,001 476,569 760,825 947,220 1,101,327 1,243,363 สะสม 2558 344,801 525,460 766,371 964,262 1,095,709 1,324,079
- 18 -
0
เม.ย. 58 พ.ค. 58 มิ.ย. 58 ก.ค. 58 ส.ค. 58 ก.ย. 58 178,945 0 0 0 0 0 1,423,143 1,565,606 1,720,032 1,909,452 2,034,122 2,246,306 1,503,025
• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินจากโครงการลงทุน ภายใตแผนปฏิบตั ิการไทยเขมแข็ง 2555 ในเดือน เมษายน 2558 จํานวน 1,570 ลานบาท
- เดือนเมษายน 2558 มีการเบิกจายเงินจากโครงการ ลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 1,570 ลานบาท และสงผลใหตั้งแตตนปงบประมาณ จนถึงเดือนเมษายน 2558 มีการเบิกจายรวม 4,020 ลานบาท โดยตั้งแตเริ่มโครงการ (เดือนตุลาคม 2552) เบิกจายไปแลว 336,306 ลานบาท คิดเปนรอยละ 96.4 ของวงเงินที่ไดรับอนุมัติ 348,940 ลานบาท
• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินกูภายใต พรก.บริหาร - เดือนเมษายน 2558 มีการเบิกจายเงินกูภายใต พรก.บริหารจัดการน้ําฯ จํานวน 163 ลานบาท และ จัดการน้ําฯ ในเดือนเมษายน 2558 จํานวน สงผลใหตั้งแตตนปงบประมาณจนถึงเดือนเมษายน 163 ลานบาท 2558 มีการเบิกจายรวม 1,099 ลานบาท โดยตั้งแตเริ่ม โครงการ (เดือนกุมภาพันธ 2555) เบิกจายไปแลว 23,394 ลานบาท คิดเปนรอยละ 6.7 ของวงเงินที่ไดรับอนุมัติ จํานวน 350,000 ลานบาท
หนวย: ลานบาท
ปงบประมาณ 2558
โครงการ
วงเงินที่ไดรับ อนุมัติ
2553
2554
2555
2556
เบิกจาย
1.โครงการภายใตปฏิบัติการไทยเขมแข็ง1/ 2. เงินกูภายใต พรก. บริหารจัดการน้ําฯ
348,940 350,000
234,369 -
61,391 -
24,420 1,762
7,509 13,740
4,597 6,793
ตั้งแตตนปงบประมาณ จนถึงสิ้นเดือน เม.ย.58
เม.ย. 58
2557
1,570 163
รอยละของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ
0.4 0.05
เบิกจาย
รอยละของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ
4,020 1,099
1.2 0.3
ตั้งแตเริ่มโครงการ จนถึงสิ้นเดือน เม.ย.58 เบิกจาย
336,306 23,394
รอยละของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ
96.4 6.7
หมายเหตุ 1/เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553 คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหยกเลิกวงเงินเหลือจายคงเหลือ จํานวน 1,020 ลานบาท ทําใหเหลือวงเงินที่ไดรับอนุมัติ 348,940 ลานบาท (วงเงินที่ไดรับอนุมัติเดิม 349,960 ลานบาท) 2/ เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหยกเลิกการดําเนินการตาม พรก . บริหารจัดการน้ําจํานวน 324,606 ลานบาท
• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินกูตางประเทศ ในเดือน - เดือนเมษายน 2558 มีการเบิกจายเงินกูตางประเทศ จํานวน 280.5 ลานบาท ในขณะที่เดือนเดียวกันปที่แลว เมษายน 2558 จํานวน 280.5 ลานบาท มีการเบิกจาย 1,311 ลานบาท และในชวง 7 เดือนแรก ของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – เมษายน 2558) มีการเบิกจายเงินกูตางประเทศ 4,340.8 บาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 1,506.8 ลานบาท
หนวย : ลานบาท
รายการ
เมษายน 2558 2558
2557
ในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558
เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง 2557 2558 จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ (77.3) (32.2) 824.2 858.4 (34.2) (4.0) (711.2) 13.6 711.2 (697.6) (98.1) (242.0) (67.2) 3,503.0 4,278.0 (775.0) (18.1) (1,030.5) (78.6) 4,340.8 5,847.6 (1,506.8) (25.8)
1. Project Loans 162.5 239.8 2. Structural Adjustment Loans (SAL) 711.2 3. Development Policy Loan (DPL)* 118.0 360.0 รวม 280.5 1,311.0 ที่มา : สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ, กรมบัญชีกลาง หมายเหตุ : * วงเงินกู DPL 1,300 ลานเหรียญสหรัฐ หรือ 39,284.50 ลานบาท (อัตราแลกเปลี่ยน 1 USD = 30 บาท) วงเงินที่ ครม. อนุมัติแลว 37,928.54 ลานบาท ประกอบดวยเงินกูภายใต TKK 17,684.99 ลานบาท และนอก TKK 20,243.55 ลานบาท
- 19 -
• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินเขาสูระบบเศรษฐกิจ - ในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – เมษายน 2558) มีการเบิกจายเงินเขาสูระบบ ทั้งสิ้น 1,662,667 ลานบาท เศรษฐกิจจํานวนทั้งสิ้น 1,662,667 ลานบาท แบงเปน งบประมาณรายจายประจําป 2558 จํานวน 1,503,025 ลานบาท รายจายปกอน 150,182 ลานบาท โครงการ ลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 4,020 ลานบาท โครงการภายใต พรก.บริหารจัดการน้าํ ฯ จํานวน 1,099 ลานบาท และการเบิกจายเงินกูตางประเทศ จํานวน 4,341 ลานบาท
- 20 -
การเบิกจายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค.1/ • เดือนเมษายน 2558 กองทุนนอกงบประมาณเบิกจาย 22,959 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลว 4,278 ลานบาท หรือรอยละ 22.9 เปนผลจากการเพิ่มขึ้นของรายจาย กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติเปน สําคัญ • ในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – เมษายน 2558) กองทุนฯ เบิกจาย 183,559 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 5,951 ลานบาท หรือรอยละ 3.4 สาเหตุหลัก มาจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ แหงชาติท่ีมีการเบิกจายเพิ่มขึ้น
เดือนเมษายน 2558 มีการเบิกจายรวม 22,959 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลว 4,278 ลานบาท หรือรอยละ 22.9 ประกอบดวยรายจาย 22,463 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกัน ปที่แลว 4,015 ลานบาท และการใหกูยืมสุทธิ 496 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลว 263 ลานบาท ในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 มีการเบิกจายรวม 183,559 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 5,951 ลานบาท หรือรอยละ 3.4 ประกอบดวย 1) รายจาย 175,938 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันของ ปที่แลว 7,258 ลานบาท หรือรอยละ 4.3 เปนผลมาจากกองทุน หลักประกันสุขภาพแหงชาติท่ีมีการเบิกจายเพิ่มขึ้น 6,851 ลานบาท ในขณะที่กองทุนน้าํ มันเชื้อเพลิงมีการเบิกจายลดลง 2,545 ลานบาท 2) เงินใหกูยืมสุทธิ 7,621 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกัน ของปที่แลว 1,307 ลานบาท หรือรอยละ 14.6 เปนผลมาจาก กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษามีรายจายเพื่อการกูยืมลดลง
การเบิกจายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. เดือนเมษายน 2558 และในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 เมษายน รายการ
2558*
2557
22,463 496
เปรียบเทียบ
หนวย : ลานบาท ในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ เปรียบเทียบ 2558* 2557 จํานวน รอยละ
จํานวน
รอยละ
18,448
4,015
21.8
175,938
168,680
233
263
112.9
7,621
8,928
รวม 22,959 18,681 4,278 22.9 183,559 หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ โดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ** ไมนับรวมรายจายปรับเพิ่มหนี้สิน กรณชราภาพของกองทุนประกันสังคม
177,608
1. รายจาย 2. เงินใหกูยืมสุทธิ
1/
7,258
(1,307) (14.6) 5,951
การเบิกจายของกองทุนนอกงบประมาณ 14 กองทุน (จากกองทุนทั้งหมด 113 กองทุน) ประกอบดวย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณและการทําของ กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนคาธรรมเนียมผานทาง กองทุนสงเสริมวิสาหกิจฯ กองทุนออยและน้ําตาลทราย กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ กองทุนหมูบานและชุมชนเมืองแหงชาติ กองทุนสงเสริมการอนุรักษพลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจยั
- 21 -
4.3 3.4
ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด1ในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – เมษายน 2558) ในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 รัฐบาล • ในชวง 7 เดือนแรกของ ปงบประมาณ 2558 ดุลการคลังของ มีรายไดนําสงคลัง 1,119,940 ลานบาท และมีการเบิกจาย งบประมาณจากงบประมาณปปจ จุบนั และปกอนรวม รัฐบาลตามระบบ กระแสเงินสด ขาดดุล 527,557 ลานบาท คิดเปน 1,653,207 ลานบาท สงผลใหดลุ เงินงบประมาณขาดดุล จํานวน 533,267 ลานบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอก รอยละ 3.9 ของ GDP 2 งบประมาณที่เกินดุล 5,710 ลานบาท ทําใหดุลเงินสด ขาดดุลทั้งสิ้น 527,557 ลานบาท รัฐบาลชดเชยการ ขาดดุลโดยการออกพันธบัตร 157,362 ลานบาท สงผลให เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนเมษายน 2558 มีจํานวน 125,552 ลานบาท ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด
รายได รายจาย ปปจจุบัน ปกอน ดุลเงินงบประมาณ ดุลเงินนอกงบประมาณ ดุลเงินสดกอนกู เงินกูเพื่อชดเชยการขาดดุล ดุลเงินสดหลังกู เงินคงคลังปลายงวด
ในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 2557 1,119,940 1,069,705 1,653,207 1,579,928 1,503,025 1,423,143 150,182 156,785 (533,267) (510,223) 5,710 (39,872) (527,557) (550,095) 157,362 155,160 (370,195) (394,935) 125,552 210,116
ที่มา : กรมบัญชีกลาง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
1
หนวย: ลานบาท
เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ 50,235 4.7 73,279 4.6 79,882 5.6 (6,603) (4.2) (23,044) 4.5 45,582 (114.3) 22,538 (4.1) 2,202 1.4 24,740 (6.3) (84,564) (40.2)
ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด เปนดุลการคลังที่แสดงใหเห็นผลกระทบตอเงินคงคลังและการกูเงินเพื่อชดเชยการขาดดุล GDP ปงบประมาณ 2557 เทากับ 13,074,771 ลานบาท และคาดการณ GDP ปงบประมาณ 2558 เทากับ 13,513,400 ลานบาท
2
- 22 -
ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) 3 ในชวง 7 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 -เมษายน 2558) • ปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557เมษายน 2558) รัฐบาลขาดดุล 271,245 ลานบาท โดยขาดดุล งบประมาณ 420,047 ลานบาท ในขณะที่ดุลกองทุนนอกงบประมาณ เกินดุล 158,261 ลานบาท นอกจากนี้ มีรายจายตามแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็งจํานวน 4,020 ลานบาท รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจ และ พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) จํานวน 3,503 ลานบาท รายจาย เพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา จํานวน 1,099 ลานบาท และ เงินกูตางประเทศ (Project loan และ SAL) จํานวน 838 ลานบาท
ดานรายได รัฐบาลมีรายไดรวมทั้งสิ้น 1,322,067 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 151,613 ลานบาท ประกอบดวย รายไดในงบประมาณ (กอนจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อปท.) 1,321,211 ลานบาท และเงินชวยเหลือตางประเทศ 856 ลานบาท ดานรายจาย รัฐบาลมีรายจายทั้งสิ้น 1,742,114 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 90,140 ลานบาท ประกอบดวย รายจาย (ไมรวมรายจายชําระตนเงินกูการถือครองสินทรัพย ทางการเงิน รายจายเงินกูเ พือ่ ฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนา โครงสรางพื้นฐาน (DPL) รายจายเพื่อวางระบบการบริหาร จัดการน้ํา เงินกูตางประเทศ และรายจายตามแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง) จํานวน 1,741,258 ลานบาท และเงินชวยเหลือตางประเทศ 856 ลานบาท ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิ้น 420,047 ลานบาท ขาดดุลลดลงจากชวงเดียวกันปท่แี ลว 61,473 ลานบาท กองทุนนอกงบประมาณ มีรายไดรวมทั้งสิ้น 355,735 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 10.5 ในขณะที่มีรายจายจํานวน 189,853 ลานบาท ต่ํากวา ชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 35.7 และมีเงินใหกูหักชําระคืน 7,621 ลานบาท สงผลใหดุลกองทุนนอกงบประมาณเกินดุล 158,261 ลานบาท ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุล มีสาเหตุมาจากดุลเงิน งบประมาณที่ขาดดุลเปนสําคัญ โดยเมื่อรวมกับดุลกองทุน นอกงบประมาณที่เกินดุล รายจายตามแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนา โครงสรางพื้นฐาน (DPL) รายจายเพื่อวางระบบการบริหาร จัดการน้ํา และเงินกูตางประเทศ จํานวน 4,020 3,503 1,099 และ 838 ลานบาท ตามลําดับ ทําใหดุลการคลังรัฐบาลขาด ดุลจํานวน 271,246 ลานบาท
3
ดุลการคลังตามระบบ สศค. เปนดุลการคลังที่สะทอนเม็ดเงินที่แทจริงที่สงผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจ
- 23-
ดุลการคลังเบื้องตนของรัฐบาล (Primary Balance) ซึ่งเปนดุลการคลังที่สะทอนถึงผลการดําเนินงานของรัฐบาล และทิศทางของนโยบายการคลังรัฐบาลอยางแทจริง (ไมรวมรายได และรายจายจากดอกเบีย้ และการชําระคืน ตนเงินกู) ขาดดุลทั้งสิน้ 214,253 ลานบาท ขาดดุลลดลงจาก ชวงเดียวกันปที่แลว 208,710 ลานบาท ดุลการคลังเบื้องตนตามระบบ สศค.
ปงบประมาณ รัฐบาล 1. รายได 2. รายจาย 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. แผนปฎิบัติการไทยเขมแข็ง (TKK) 5. รายจายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา 6. รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) 7. เงินกูตางประเทศ (Project loan และ SAL) 8. ดุลกองทุนนอกงบประมาณ (8.1-8.2-8.3) 8.1 รายได 8.2 รายจาย 8.3 เงินใหกูหักชําระคืน 9. ดุลการคลังของรัฐบาล (3+8-4-5-6-7) 10. ดุลการคลังเบื้องตนของรัฐบาล
เดือนเมษายน
เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ
2558
2557
213,612 228,881 (15,269) 1,570 163 118 163 33,807 58,208 23,905 496 16,524 18,232
153,065 212,058 (58,993) 131 759 360 951 36,293 59,608 23,082 233 (24,901) (23,044)
60,547 16,823 43,724 1,439 (596) (242) (788) (2,486) (1,400) 823 263 41,424 41,276
จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
- 24 -
39.6 7.9 (74.1) 1,098.1 (78.5) (67.3) (82.9) (6.9) (2.3) 3.6 112.8 (166.4) (179.1)
ปงบประมาณ 2558 1,322,067 1,742,114 (420,047) 4,020 1,099 3,503 838 158,261 355,735 189,853 7,621 (271,246) (214,253)
% of GDP 9.8 12.9 (3.1) 0.0 0.0 0.0 0.0 1.2 2.6 1.4 0.1 (2.0) (1.6)
2557 1,170,454 1,651,974 (481,520) 1,205 4,862 4,278 1,570 17,558 321,968 295,482 8,928 (475,875) (422,963)
หนวย : ลานบาท
% of GDP
เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ
9.0 151,613 12.6 90,140 (3.7) 61,473 0.0 2,814 0.0 (3,763) 0.0 (775) 0.0 (732) 0.1 140,703 2.5 33,767 2.3 (105,629) 0.1 (1,307) (3.6) 204,630 (3.2) 208,710
13.0 5.5 (12.8) 233.6 (77.4) (18.1) (46.6) 801.3 10.5 (35.7) (14.6) (43.0) (49.3)
ดุลการคลังของภาคสาธารณะตามระบบงบประมาณ ระบบกระแสเงินสด และตามระบบ สศค. ปงบประมาณ 2557 - 2558 ปงบประมาณ รัฐบาล 1. รายได - รายไดสุทธิ - จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. - จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ - เงินชวยเหลือตางประเทศ - อื่นๆ 2. รายจาย - รายจายปปจจุบัน (อัตราการเบิกจาย : %) - รายจายปกอน - จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. - จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ - เงินชวยเหลือตางประเทศ - หัก สวนเกินพันธบัตรรัฐบาล - อื่นๆ 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. ดุลนอกงบประมาณ 5. รายจายจากเงินกูตางประเทศ 6. รายจายจากไทยเข็มแข็ง (TKK) และมาตรการกระตุนเศรษฐกิจ 7.รายจายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา 8.รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) 9. บัญชีนอกงบประมาณ(9.1-9.2-9.3) 9.1 รายได 9.2 รายจาย 9.3 เงินใหกูหักชําระคืน 10. การหับนับซ้ําของรัฐบาล 10.1 รายได 10.2 รายจาย 11. ดุลการคลังของรัฐบาล (3+4-5-6-7-8+9-10)
จํานวน
% of GDP
เอกสารงบประมาณ
จํานวน
2557
% of GDP
ระบบกระแสเงินสด
2,275,000.0
18.3
2,070,018.0
15.8
2,525,000.0 2,525,000.0
20.3 20.3
2,459,990.0 2,246,306.0 89.0 213,684.0
18.8 17.2
(250,000.0)
(250,000.0)
(2.0)
(2.0)
1.6
(389,972.0) 8,161.7
(3.0) 0.1
(381,810.3)
(2.9)
จํานวน
% of GDP
ระบบ สศค. 2,306,459.8 2,075,024.4 9,263.4 96,387.0 5,368.0 120,417.0 2,578,257.6 2,184,524.0 86.5 213,684.0 9,263.4 96,387.0 5,368.0 5,857.8 74,889.0 (271,797.8) 2,414.0 4,597.0 6,793.0 6,646.0 39,675.7 449,424.2 395,842.5 13,906.0 183,714.0 183,714.0 (252,572.1)
จํานวน
% of GDP
เอกสารงบประมาณ
2558e จํานวน
หนวย: ลานบาท % of GDP
ระบบกระแสเงินสด
17.6 15.9 0.1 0.7 0.0
2,325,000
18.7
2,325,000
17.8
19.7 16.7
2,575,000 2,575,000
20.7 20.7
2,718,256 2,476,161 96.2 242,095
20.8 18.9
1.6 0.1 0.7 0.0 0.0 (2.1) 0.0 0.0 0.1 0.1 0.3 3.4 3.0 0.1 1.4 1.4 (1.9)
(250,000)
(250,000)
(2.0)
(1.9)
1.9
(393,256) 40,981
(3.0) 0.3
(352,275)
(2.6)
องคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. รายรับ (12.1+12.2) 554,348.9 4.2 12.1 รายได 199,941.0 1.5 12.2 เงินชวยเหลือจากรัฐบาล 354,407.9 2.7 13 รายจาย 533,120.2 4.1 14. ดุลการคลัง (12-13) 21,228.7 0.2 15. การหักนับซ้ําของภาครัฐบาล 15.1 รายได 354,407.9 2.7 15.2 รายจาย 354,407.9 2.7 16. ดุลการคลังของภาครัฐบาล (11+14-15) (231,343.4) (1.8) GDP (ลานบาท) 12,424,000 13,074,771 13,074,771 13,201,000 13,513,400 หมายเหตุ 1. ดุลการคลังตามระบบงบกระแสเงินสดเปนการแสดงรายได (รวมคา Premium และรายไดจากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ แตไมรวมรายรับจากการกูเงินเพื่อชดเชยการขาดดุลและรายไดจากภาษีมูลคาเพิ่ม ที่โอนใหแกอปท.) และรายจายทั้งหมดจากบัญชีเงินคงคลัง 2. ระบบ สศค. มีรายการปรับปรุงรายไดเพิ่มเติมจากระบบกระแสเงินสด คือ อบจ. ,พรบ.แผน,ภาคหลวงแร,ภาคหลวงปโตรเลียม,ดอกเบี้ยพันธบัตร FIDF,การชําระตนเงินกูพันธบัตร FIDF,เงินชวยเหลือตางประเทศ หัก การขายสินทรัพย,เงินเหลือจาย,เงินกูรับคืน รายไดเงินกูรับคืน และรวมเงินภาษีที่จัดสรรให อปท. และเงินชวยเหลือจากตางประเทศ ตั้งแตปงบประมาณ 2546 เปนตนมา 3. ระบบ สศค. มีการปรับปรุงทางดานรายจาย คือ อบจ. ,พรบ.แผน,ภาคหลวงแร,ภาคหลวงปโตรเลียม,ดอกเบี้ยพันธบัตร FIDF,เงินชวยเหลือตางประเทศ หัก สวนเกินพันธบัตร,การขายสินทรัพย,เงินเหลือจาย,เงินใหกูรับคืน และเงินภาษีที่จัดสรรใหอปท. . 4. บัญชีนอกงบประมาณประกอบดวย เงินทนหมนเวียน และกองทนนอกงบประมาณ ทั้งนี้ ไดบันทึกขอมูลตามเกณฑคงคาง สําหรับกองทุนน้ํามันไดเริ่มบันทึกรายจายชดเชยน้ํามันตามเกณฑคงคางตั้งแตเดือนมกราคม 2547 เปนตนมา 5. รายไดตามระบบกระแสเงินสดบันทึกอยูในระบบ cash basis สวนรายไดตามระบบ สศค. บันทึกอยูในระบบ acrual basis 6. ขอมูล GDP ป 2558 อางอิงจากขอมูลประมาณการจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ณ วันที่ 18 พฤษภาคม 2558 7. รายจายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา อยูระหวางการเสนอ ครม. จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่มา : กรมบัญชีกลาง สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ ธนาคารแหงประเทศไทย และ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ วันทีบันทึกขอมูล : 28 เมษายน 2558
- 23-25-
จํานวน ระบบ สศค. 2,565,509 2,325,000 10,260 109,000 1,449 119,800 2,881,300 2,476,161 96.2 242,095 10,260 109,000 1,449 6,000 48,335 (315,790)
% of GDP 19.0 17.2 0.1 0.8 0.0 0.9 21.3 18.3 1.8 0.1 0.8 0.0 0.0 (2.3)
3,000 14,000 1,412 5,353 42,300 476,400 419,600 14,500 137,761 137,761 (297,255)
0.0 0.1 0.0 0.0 0.3 3.5 3.1 0.1 1.0 1.0 (2.2)
587,213 329,549 257,664 528,492 58,721
4.3 2.4 1.9 3.9 0.4 1.9 1.9 (1.8)
257,664 257,664 (238,534) 13,513,400
ฐานะการคลังองคกรปกครองสวนทองถิน่ ฐานะการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 2 ของปงบประมาณ 2558 (เดือนมกราคม – มีนาคม 2558) 1. ดานรายได อปท. จํานวน 7,853 แหง มีรายไดรวม 166,239 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก ชวงเดียวกันของปที่แลว 18,894 ลานบาท หรือรอยละ 12.8 โดยเปนรายไดจากเงินอุดหนุนและรายได ที่จัดเก็บเองเพิ่มขึ้น 15,945 และ 1,947 ลานบาท หรือรอยละ 27.0 และ 9.1 ตามลําดับ เนื่องจาก ในไตรมาสที่ 2 ปงบประมาณ 2558 อปท. ไดรับการจัดสรรเงินอุดหนุนจากกรมสงเสริมการปกครอง ทองถิ่นและเงินอุดหนุนเหลื่อมปท่เี พิ่มขึ้นจากปงบประมาณ 2557 (ขอมูลจากกรมบัญชีกลาง) ตารางที่ 1 รายไดของ อปท. ไตรมาสที่ 2 ของปงบประมาณ 2558 ประเภท 1. รายไดจัดเก็บเอง 1/ (รอยละของรายไดรวม) 1.1 รายไดจากภาษีอากร 1.2 รายไดที่ไมใชภาษีอากร 2. รายไดจากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบงให 2/ (รอยละของรายไดรวม) 3. รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล 3/ (รอยละของรายไดรวม) รวม (รอยละของรายไดรวม)
ไตรมาสที่ 2 ปงบประมาณ 2558 ปงบประมาณ 2557 23,289 14.0 16,935 6,354 68,043 40.9 74,907 45.1 166,239 100
21,342 14.5 15,577 5,765 67,041 45.5 58,962 40.0 147,345 100
หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ 1,947
9.1
1,358 589 1,002
8.7 10.2 1.5
15,945
27.0
18,894
12.8
หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 6 พฤษภาคม 2558 ที่มา : 1/ องคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) และคาดการณโดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 2/ รายไดจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กรมที่ดิน กรมการขนสงทางบก กรมการปกครอง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายไดเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
รายไดของ อปท. จําแนกตามแหลงที่มาได ดังนี้ 1.1 รายไดที่จัดเก็บเอง จํานวน 23,289 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปที่แลว 1,947 ลานบาท หรือรอยละ 9.1 ประกอบดวย รายไดจากภาษีอากร 16,935 ลานบาท และรายไดที่ไมใชภาษีอากร 6,354 ลานบาท 1.2 รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให จํานวน 68,043 ลานบาท เพิ่มขึ้น จากชวงเดียวกันของปที่แลว 1,002 ลานบาท หรือรอยละ 1.5 1.3 รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล จํานวน 74,907 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันปที่แลว 15,945 ลานบาท หรือรอยละ 27.0
- 26 -
2. ดานรายจาย 1 อปท. จํานวน 7,853 แหง มีรายจายทั้งสิ้น 124,598 ลานบาท ลดลงจาก ชวงเดียวกันของปที่แลว 6,214 ลานบาท หรือรอยละ 4.8 โดยเปนการลดลงจากรายประจําและรายจาย พิเศษ 3,417 และ 2,324 ลานบาท หรือรอยละ 5.0 และ 6.2 ตามลําดับ (รายละเอียดตามตารางที่ 2) ตารางที่ 2 รายจายของ อปท. ไตรมาสที่ 2 ของปงบประมาณ 2558 ประเภท
หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ (190) (2.3) (3,416) (5.0) (843) (11.3) (2,324) (6.2) 559 6.1 (6,214) (4.8)
ไตรมาสที่ 2 ปงบประมาณ 2558 ปงบประมาณ 2557 7,936 8,126 65,011 68,427 6,592 7,435 35,377 37,701 9,682 9,123 124,598 130,812
1. รายจายงบกลาง 2. รายจายประจํา 3. รายจายเพือ่ การลงทุน 4. รายจายพิเศษ 5. รายจายจากเงินกันไวเบิกเหลื่อมป รวม หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 6 พฤษภาคม 2558 จัดทําโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
3. ดุลการคลัง 2 อปท. เกินดุล 41,641 ลานบาท เกินดุลเพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปที่แลว 25,108 ลานบาท (รายละเอียดตามตารางที่ 3 และแผนภูมิที่ 1) ตารางที่ 3 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 2 ของปงบประมาณ 2558 ประเภท 1. รายได 1.1 รายไดที่จัดเก็บเอง 1/ 1.2 รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บ และแบงให 2/ 1.3 รายไดจากเงินอุดหนุน 3/ 2. รายจาย 3. ดุลการคลัง 4/
ไตรมาสที่ 2 ปงบประมาณ 2558 ปงบประมาณ 2557 166,239 23,289
147,345 21,342
68,043 74,907 124,598 41,641
หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ 18,894 1,947
12.8 9.1
67,041
1,002
1.5
58,962 130,812 16,533
15,945 (6,214) 25,108
27.0 (4.8) 151.9
หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 6 พฤษภาคม 2558 ที่มา : 1/ จากองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) 2/ รายไดจากการจัดสรรภาษีทร่ี ัฐบาลจัดเก็บและแบงให จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กรมที่ดิน กรมการขนสงทางบก กรมการปกครอง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ พิจารณาจากขอมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) ของ ธปท. และเงินฝากคลัง อปท.ในกระทรวงการคลังจากกรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
1 2
รายจาย อปท. พิจารณาจากผลตางของรายไดกบั ดุลการคลังของ อปท. ดุลการคลังของ อปท. พิจารณาจากขอมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) จากธนาคารแหงประเทศไทย และเงินฝากคลัง อปท. ในกระทรวงการคลังจากกรมบัญชีกลาง
- 27 -
แผนภูมิที่ 1 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 2 ของปงบประมาณ 2558 หนวย : ลานบาท
ฐานะดุลการคลังของ อปท. ในชวงครึ่งแรกของปงบประมาณ 2558 1. ดานรายได อปท. มีรายไดจํานวน 345,058 ลานบาท ลดลงจากชวงเดียวกันของปท่ีแลว 18,492 ลานบาท หรือรอยละ 5.1 โดยเปนรายไดจากเงินอุดหนุนลดลงจํานวน 23,596 ลานบาท หรือรอยละ 11.6 ในขณะที่รายไดที่จัดเก็บเองและรายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให เพิ่มขึ้น 2,735 และ 2,369 ลานบาท หรือรอยละ 9.8 และ 1.8 ตามลําดับ 2. ดานรายจาย มีรายจายรวมทั้งสิน้ 285,583 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปท่ีแลว 12,489 ลานบาท หรือรอยละ 4.6 โดยเปนการเพิ่มขึ้นจากหมวดรายจายประจําและหมวดรายจายเงินกันไว เบิกเหลื่อมป 8,102 และ 7,927 ลานบาท หรือรอยละ 5.9 และ 26.0 ตามลําดับ 3. ดุลการคลัง อปท. เกินดุ ล 59,475 ลานบาท เกินดุล ลดลงจากชวงเดียวกันของปที่แลว 30,981 ล านบาท หรื อร อยละ 34.2 ตารางที่ 4 ดุลการคลังของ อปท. ครึ่งแรกของปงบประมาณ 2558 ประเภท 1. รายได 1.1 รายไดที่จัดเก็บเอง 1/ 1.2 รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให 2/ 1.3 รายไดจากเงินอุดหนุน 3/ 2. รายจาย 3. ดุลการคลัง 4/
ครึ่งแรกของป ปงบประมาณ ปงบประมาณ 2558 2557 345,058 30,740 135,228 179,090 285,583 59,475
363,550 28,005 132,859 202,686 273,094 90,456
หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 6 พฤษภาคม 2558 ที่มา : 1/ จากองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) 2/ รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กรมที่ดิน กรมการขนสงทางบก กรมการปกครอง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ พิจารณาจากขอมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) ของ ธปท. และเงินฝากคลัง อปท.ในกระทรวงการคลังจากกรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
- 28 -
หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบ จํานวน (18,492) 2,735 2,369 (23,596) 12,489 (30,981)
รอยละ (5.1) 9.8 1.8 (11.6) 4.6 (34.2)
แผนภูมิที่ 2 ดุลการคลังของ อปท. ครึ่งแรกของปงบประมาณ 2558 หนวย : ลานบาท
- 29 -
สถานการณดานหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2558 หนวย : ลานบาท
• หนี้สาธารณะคงคางจํานวน 5,730,519.2 ลานบาท คิดเปน รอยละ 43.3 ของ GDP เพิ่มขึ้น จากเดือนที่แลว 10,093.6 ลานบาท ประกอบดวย หนี้ในประเทศ คิดเปนรอยละ 94.0 สวนที่เหลือ รอยละ 6.0 เปนหนี้ตางประเทศ และเมื่อแบงตามอายุเครื่องมือ การกูเงิน หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 97.2 และหนีร้ ะยะสั้น รอยละ 2.8 กรณีแบงตามอายุ คงเหลือ หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 86.8 สวนที่เหลือรอยละ 13.2 เปนหนีร้ ะยะสั้น • หนีค้ งคางที่เพิ่มขึ้น มีสาเหตุมาจากหนี้ของรัฐบาล เพิ่มขึ้นจากเดือนที่แลว 23,846.1 ลานบาท ในขณะที่หนี้ของ รัฐวิสาหกิจ และหนี้หนวยงานอื่น ของรัฐ ลดลง 12,530.4 และ 1,222.1 ลานบาท ตามลําดับ
1. รวมหนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง-ตางประเทศ หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง-ในประเทศ 2. รวมหนีข้ องรัฐวิสาหกิจ หนี้ที่รัฐบาลค้ําประกัน-ตางประเทศ หนี้ที่รัฐบาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รัฐบาลไมค้ําประกันตางประเทศ** หนี้ที่รัฐบาลไมค้ําประกัน-ในประเทศ** 3. หนีข้ องหนวยงานภาครัฐอืน่ * หนี้ที่รัฐบาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รัฐบาลไมค้ําประกัน-ในประเทศ 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟนฟูฯ FIDF 5. ยอดหนี้สาธารณะคงคางรวม (1+2+3+4) GDP*** หนี้สาธารณะคงคางรวมตอ GDP (%) หมายเหตุ
28 ก.พ. 58 4,070,162.48 76,301.65 3,993,860.83 1,640,844.37 104,372.75 902,197.40 164,219.67
31 มี.ค. 58 4,094,008.59 76,904.80 4,017,103.79 1,628,313.99 103,097.17 898,218.75 161,713.95
470,054.55 9,418.72 0.00 9,418.72 0.00 5,720,425.57
465,284.12 8,196.65 0.00 8,196.65 0.00 5,730,519.23
13,200,050.00 43.34
13,225,780.00 43.33
* หนวยงานภาครัฐอื่น ไดแก สถาบันบริหารกองทุนพลังงาน ** ไมรวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน *** สํานักงานบริหารหนีส้ าธารณะไดปรับวิธีการคํานวณ GDP ในแตละเดือน โดย GDP ของเดือน กุมภาพันธ 2558 เทากับ 13,200.05 พันลานบาท และ GDP ของเดือนมีนาคม 2558 คํานวณ ดังนี้ (GDP ไตรมาส 2-4 ป 57) + (GDP ไตรมาส 1 ป 58) เทากับ 13,225.78 พันลานบาท ที่มา สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ รวบรวมโดย สวนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
- 30 -
• หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง เพิ่มขึ้น 23,846.1 ลานบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แลว โดย มีสาเหตุหลักจากเงินกูเพื่อชดใช การขาดดุลงบประมาณและการ บริหารหนี้ 18,102.8 ลานบาท • หนี้ของรัฐวิสาหกิจลดลง 12,530.4 ลานบาท เมื่อเทียบ กับเดือนที่ มีสาเหตุหลักมาจาก บริษทั ปตท. จํากัด(มหาชน) ไถ ถอนหุนกูที่ครบกําหนด 6,000 ลานบาท ธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ การเกษตรชําระคืนตนตาม สัญญาเงินกู 3,221 ลานบาท และการทางพิเศษแหง ประเทศไทยไถถอนพันธบัตร ที่ครบกําหนด 3,000 ลานบาท
สัดสวนหนี้ในประเทศและหนี้ตางประเทศ หนีใ้ นประเทศ หนีต้ า งประเทศ จํานวน (ลานบาท) 5,388,803.3 341,715.9 รอยละ (%) 94.0 6.0 สัดสวนหนี้ระยะยาวและหนี้ระยะสั้น (แบงตามอายุของเครื่องมือการกูเงิน) หนีร้ ะยะยาว 5,570,643.9 97.2
จํานวน (ลานบาท) รอยละ (%)
หนี้ระยะสั้น 159,875.3 2.8
สัดสวนหนี้ระยะยาวและหนี้ระยะสั้น (แบงตามอายุคงเหลือ) หนีร้ ะยะยาว 4,976,803.2 86.8
จํานวน (ลานบาท) รอยละ (%)
• หนี้หนวยงานอื่นของรัฐ ลดลง 1,222.1 ลานบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แลว เนื่องจากกองทุนออยและ น้ําตาลไดเบิกจายจากแหลง เงินกูน อยกวาชําระคืนตน เงินกู 892.07 ลานบาท สํานักงานธนานุเคราะห และ มหาวิทยาลัยพะเยาชําระคืน ตนเงินตามสัญญาเงินกู จํานวน 325 และ 5 ลานบาท ตามลําดับ
- 31 -
หนี้ระยะสั้น 753,716.0 13.2
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง กระทรวงการคลังไดกําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง เพื่อเปนแนวทางในการดําเนิน นโยบายทางการคลังที่สอดคลองกับสถานะเศรษฐกิจการเงินและการคลังของประเทศ โดยมีเปาหมาย เพื่อรักษาเสถียรภาพดานการคลังในระยะปานกลางและระยะยาว ซึ่งกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ประกอบดวยตัวชี้วัดและเปาหมาย (60-15-0-25) ดังนี้ • สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ไมเกินรอยละ 60 • ภาระหนี้ตองบประมาณไมเกินรอยละ 15 • การจัดทํางบประมาณสมดุล • สัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณรายจายไมต่ํากวารอยละ 25 สํานักงานเศรษฐกิจการคลังไดจัดทําการวิเคราะหความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง เพื่อใชเปนแนวทางในการประเมินและรักษาความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีผลการวิเคราะหระหวาง ปงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งสรุปไดดังนี้ • สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ในปงบประมาณ 2558 อยูที่รอยละ 49.0 และเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 54.4 ในปงบประมาณ 2562 • ระดับภาระหนี้ตองบประมาณอยูในระดับรอยละ 7.1 ในปงบประมาณ 2558 และเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 9.9 ในปงบประมาณ 2562 • รัฐบาลมีนโยบายลดการขาดดุลงบประมาณ โดยไดลดการขาดดุล จํานวน 400,000 ลานบาท ในปงบประมาณ 2555 ลงเหลือ จํานวน 250,000 ลานบาท ในปงบประมาณ 2558 อยางไรก็ตาม เพื่อลดผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจโลกถดถอย ในระยะสัน้ รัฐบาล ยังมีความจําเปนตองดําเนินนโยบายขาดดุลจนกวาภาวะเศรษฐกิจจะกลับเขาสูภาวะปกติ และจะดําเนินการจัดทํางบประมาณสมดุลในชวงตอไป • สัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณรายจายคาดวาจะอยูในระดับเฉลี่ย รอยละ 20.4 ตองบประมาณรายจายตลอดชวงปงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งต่ํากวาระดับที่กําหนดไว อยางไรก็ดี รัฐบาลไดมีการดําเนินโครงการลงทุนผานเงินนอกงบประมาณ (พ.ร.ก. ใหอํานาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อบริหารจัดการน้ําฯ และการกูเงินเพือ่ ลงทุนโครงสราง พื้นฐานฯ ในป 2558 - 2562) ซึง่ เมื่อรวมการลงทุนจากเงินนอกงบประมาณดังกลาว จะทําสัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณเพิ่มขึ้นอยูในระดับเฉลี่ย รอยละ 26.8 ตองบประมาณรายจาย
- 32 -
ผลการวิเคราะหการดําเนินงานตามกรอบความยัง่ ยืนทางการคลัง ณ สิ้นไตรมาสที่ 2 ของปงบประมาณ 2558 หนวย: ลานบาท 2561 2562 53.9 54.4 15,023,138 15,924,526 8,102,808 8,667,840 9.4 9.9 281,057 307,562 89,451 93,654 191,606 213,908 -363,700 -346,700 2,618,000 2,775,100 2,981,700 3,121,800 22.2 22.3 662,769 696,117
2558 2559 2560 1. หนีส้ าธารณะคงคาง1)/GDP (FY) (1.2/1.1) 49.0 50.8 52.6 1) 1.1 nominal GDP (FY) 12,597,700 13,370,539 14,172,772 1.2 หนี้สาธารณะคงคาง 6,175,218 6,793,425 7,458,210 2) 2. ภาระหนี้/งบประมาณ ( 2.1/3.2) 7.1 7.4 8.8 2.1 ภาระหนี้ (2.1.1 + 2.1.2) 183,271 201,200 251,326 2.1.1 ชําระตนเงินกู 55,700 62,200 85,434 2.1.2 ดอกเบี้ยและคาธรรมเนียม 127,571 139,000 165,892 3. ดุลงบประมาณ (3.1 - 3.2) -250,000 -390,000 -378,000 3.1 รายไดรัฐบาลสุทธิ3) 2,325,000 2,330,000 2,469,800 3.2 งบประมาณรายจาย4) 2,575,000 2,720,000 2,847,800 4. รายจายลงทุน/งบประมาณ (4.1/3.2) 17.5 20.0 20.0 4.1 รายจายลงทุน 449,476 544,000 569,542 ที่มา : 1) ขอสมมติฐานเศรษฐกิจป 2558 – 2562 จากสํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สศค. 2) ขอมูลภาระหนี้ตองบประมาณป 2558 จากเอกสารงบประมาณรายจายประจําป 2558 และป 2559– 2562 จากสํานักงานบริหาร หนี้สาธารณะ 3) ประมาณการรายไดรฐั บาลสุทธิ ป 2558 ตามเอกสารงบประมาณ ป 2558 ป 2559 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558 เรื่องวงเงินงบประมาณรายจายประจําป 2559 และป 2560 – 2562 ประมาณการโดย สศค. 4) ขอมูลงบประมาณรายจายป 2558 จากเอกสารงบประมาณป 2558 ป 2559 จากมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558 เรื่องวงเงินงบประมาณรายจายประจําป 2559 และป 2560 – 2562 ประมาณการโดย สศค.
- 33 -
การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ
1/
ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ป 2557 (ณ 31 ธันวาคม 2557)
ผลการดําเนินงานในภาพรวม 1. ผลการดําเนินงานของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA การดําเนินโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA มียอดสินเชื่อคงคาง ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ป 2557 จํานวนทั้งสิ้น 904,452.76 ลานบาท ลดลงรอยละ 1.27 จากไตรมาสทีผ่ านมา แสดงใหเห็นวา สถาบันการเงินเฉพาะกิจ ในภาพรวมมีการปลอยสินเชื่อลดลง สาเหตุสวนหนึ่งเกิดจากโครงการพักชําระหนี้เกษตรกรป 2554 ของ ธ.ก.ส. ไดสิ้นสุดโครงการ ขณะที่หนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได (NPLs) ของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ป 2557 มีจํานวนทั้งสิ้น 32,777.87 ลานบาท คิดเปนสัดสวนหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดตอยอดสินเชื่อคงคาง (NPLs Ratio) รอยละ 3.62 ทั้งนี้ จากการพิจารณาพบวา NPLs Ratio ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 - 4 ป 2557 มีสัดสวน ที่คอนขางสูง เนื่องจากโครงการรักษาเสถียรภาพราคายางป 2556/2557 ของ ธ.ก.ส. อยูระหวางการเสนอขยาย อายุโครงการตอคณะรัฐมนตรี ดังนั้น ในเบื้องตน ธ.ก.ส. จึงมีการจัดชั้นใหยอดสินเชื่อคงคางของโครงการดังกลาว เปน NPLs (แผนภาพที่ 1)
2. ประมาณการความเสียหายของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA แมวาการดําเนินโครงการตามนโยบายรัฐจะสงผลดีตอระบบเศรษฐกิจ แตขณะเดียวกันก็กอใหเกิดภาระ ทางการคลังของรัฐบาลในการชดเชยความเสียหายจากการดําเนินโครงการตาง ๆ ดังจะเห็นไดจากประมาณการ ความเสียหายของสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล (โครงการที่มีการแยกบัญชี PSA) ตั้งแต เริ่มตนจนถึงสิ้นสุดโครงการ ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ป 2557 มีจํานวนทั้งสิ้น 105,629.58 ลานบาท และคงเหลือภาระ ความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาลจํานวน 24,293.45 ลานบาท ทั้งนี้ สัดสวนความเสียหายคงเหลือ รอการชดเชยจากรัฐบาลตอประมาณการความเสียหายโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ทั้งหมด คิดเปนรอยละ หมายเหตุ : 1/ การรายงานการดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังในที่นี้ พิจารณาเฉพาะโครงการที่มีการแยกบัญชีธุรกรรมการดําเนินงานตามนโยบายรัฐ (PSA) ผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) 6 แหง ไดแก ธนาคารออมสิน ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) ธนาคารอาคารสงเคราะห (ธอส.) ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย (ธสน.) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (ธพว.) และธนาคาร อิสลามแหงประเทศไทย (ธอท.) ยกเวนบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) ที่เปนสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ค้ําประกันสินเชื่อ ขณะที่ บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยูอาศัย (บตท.) ไมมีการดําเนินโครงการตามนโยบายรัฐ ทั้งนี้ หลักเกณฑในการพิจารณาโครงการ PSA ของสํานักงานเศรษฐกิจ การคลัง กําหนดใหนับเฉพาะโครงการที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบหลังวันที่ 4 สิงหาคม 2552 เปนตนไป
-34-
23.00 ลดลงจากไตรมาสที่ผานมา เนื่องจากโครงการอุทกภัยป 2553 และ 2554 ของ ธ.ก.ส. ไดรับเงินชดเชย ครบหมดแลว (แผนภาพที่ 2)
ผลการดําเนินงานรายสถาบัน 1. ผลการดําเนินงานรายสถาบันของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ป 2557 ธ.ก.ส. มียอดสินเชื่อคงคางสูงที่สุดจํานวน 831,247.69 ลานบาท รองลงมาคือ ธพว. ที่มียอดสินเชื่อคงคางจํานวน 31,004.00 ลานบาท ขณะที่ NPLs ของ ธ.ก.ส. มีมูลคาสูงที่สุดเทากับ 22,191.56 ลานบาท ลดลงเล็กนอยจากไตรมาสที่ผานมา ซึ่งสาเหตุสําคัญที่ NPLs ของ ธ.ก.ส. ยังคงอยูในระดับสูง เนื่องจากโครงการรักษาเสถียรภาพราคายางป 2556/2557 สิ้นสุดระยะเวลาดําเนินการและอยูระหวางการเสนอ ขยายอายุโครงการตอคณะรัฐมนตรี ดังนั้น ในเบื้องตน ธ.ก.ส. จึงมีการจัดชั้นใหยอดสินเชื่อคงคางของโครงการ ดังกลาวเปน NPLs นอกจากนี้ หากพิจารณา NPLs Ratio พบวา ธอท. และ ธพว. มีสัดสวนคอนขางสูง เนื่องจากกลุมลูกคา จะเปนผูประกอบการรายยอยที่มีความสามารถในการชําระหนี้ต่ํา ไมมีหลักประกัน และเปนผูประกอบการที่ไดรับ ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจหรือภัยธรรมชาติ รวมทั้งบางโครงการมีเงื่อนไขที่ไมตองตรวจเครดิตบูโร กอนการปลอยกู ซึ่งแตกตางจากสถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่นที่ทําหนาที่เปนตัวกลางในการจายเงินแทนรัฐบาล และการปลอยกูระหวางรัฐบาลกับรัฐบาล ทั้งนี้ หากสถาบันการเงินเฉพาะกิจมี NPLs Ratio สูง รัฐบาลอาจมี ความเสี่ยงในการพิจารณาเพิ่มทุนตอไป (แผนภาพที่ ๓)
-35-
2. ประมาณการความเสียหายของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA 2/ ประมาณการความเสียหายที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล และความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจาก รัฐบาลพบวา ธ.ก.ส. มีมูลคาดังกลาวมากที่สุดจํานวน 80,286.67 และ 7,166.82 ลานบาท ตามลําดับ หรือคิดเปน สัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหายทั้งหมดของ ธ.ก.ส. รอยละ 8.93 รองลงมาคือธนาคารออมสินที่มี ประมาณการความเสียหายและความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาลจํานวน 15,904.26 และ 10,797.02 ลานบาท ตามลําดับ นอกจากนี้ หากพิจารณา ธสน. ธอท. ธอส. และ ธพว. ซึ่งมีสัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหาย ทั้งหมดอยูในระดับสูงเทากับรอยละ 88.22 80.26 80.34 และ 51.80 ตามลําดับแลว พบวา สัดสวนความเสียหาย คงเหลือของ ธสน. ดังกลาว ไมสง ผลกระทบตอการดําเนินงานตามปกติหรือสภาพคลอง เนื่องจาก ธสน. มีโครงการ ที่มีการแยกบัญชี PSA เพียงโครงการเดียว และมีหลักเกณฑการปลอยสินเชื่อที่เขมงวด ดังนั้น คาดวาโครงการ ดังกลาวมีโอกาสเสียหายคอนขางนอย ขณะที่ ธอท. และ ธพว. แมวามูลคาความเสียหายคงเหลือรอการชดเชย จากรัฐบาลคอนขางนอยเมื่อเปรียบเทียบกับสถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่น ๆ แตจากสัดสวนความเสียหายคงเหลือ ตอความเสียหายทั้งหมด และผลการดําเนินงานที่มีสัดสวน NPLs Ratio อยูในระดับสูง อาจสงผลใหรัฐบาล ตองรับภาระชดเชยความเสียหายเพิ่มขึ้น และกระทบตอการดําเนินงานและสภาพคลองของ ธอท. และ ธพว. ในที่สุด (แผนภาพที่ 4) · สําหรับ บสย. แมวาจะเปนสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ค้ําประกันสินเชื่อ แตการค้ําประกันดังกลาวสวนหนึ่ง เปนการค้ําประกันโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ทําใหรัฐบาลมีภาระในการชดเชยความเสียหายเชนเดียวกับ สถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่น ๆ โดยประมาณการความเสียหายที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาลของ บสย. มีจํานวน ทั้งสิ้น 16,881.24 ลานบาท ขณะที่มีความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยอีกจํานวน 13,634.69 ลานบาท
2/
การประมาณการความเสียหายที่ตองไดรับการชดเชยจากรัฐบาลตั้งแตเริ่ม - สิ้นสุดโครงการ มีรูปแบบการชดเชยตามขอตกลงซึ่งแตกตางกันตาม SFIs แตละแหง ทั้งนี้ ธ.ก.ส. เปนการประมาณการความเสียหายตั้งแตเริ่มโครงการถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557
-36-
การกระจายอํานาจทางการคลัง ใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น รายไดองคกรปกครองสวนทองถิ่น 1. องคประกอบของรายไดองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) ไดแก 1.1 รายไดที่ อปท. จัดหาเอง ประกอบดวย 2 สวน คือ 1.1.1 สวนที่ 1 ภาษีที่ อปท. จัดเก็บเอง ไดแก ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบํารุงทองที่ ภาษีปาย อากรฆาสัตว อากรรังนกอีแอน และภาษีบํารุงทองถิ่นจากยาสูบ น้ํามัน และโรงแรม 1.1.2 สวนที่ 2 รายไดที่ไมใชภาษีอากร ไดแก คาธรรมเนียม คาปรับ ใบอนุญาต รายไดจากทรัพยสินรายไดจาก สาธารณูปโภค และรายไดเบ็ดเตล็ด 1.2 รายไดจากภาษีที่รัฐบาลเก็บใหและแบงให ไดแก ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีสุรา ภาษีสรรพสามิต ภาษีและคาธรรมเนียมรถยนตและลอเลื่อน คาธรรมเนียมจดทะเบียนอสังหาริมทรัพย ภาษีการพนัน คาภาคหลวงแร และคาภาคหลวงปโตรเลียม 1.3 เงินอุดหนุน เปนเงินอุดหนุนที่รัฐบาลจัดสรรใหจากงบประมาณรายจายของรัฐบาล แบงตาม ประเภทของเงินอุดหนุน ดังนี้ 1.3.1 เงินอุดหนุนทั่วไป จัดสรรเพื่อเพิ่มรายไดใหแก อปท. โดย อปท. สามารถนําเงินอุดหนุน ไปดําเนินการไดตามอํานาจหนาที่และตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว ทั้งนี้ อปท. ทุกแหงจะไดรับการจัดสรร ตามเกณฑที่กําหนดโดยทั่วกัน ไดแก เกณฑประชากร คาใชจายในการจัดบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานตอ หัวประชากรของ อปท. และจํานวนภารกิจที่ไดรับการถายโอน เชน เบี้ยยังชีพผูสูงอายุ อาหารเสริมและ อาหารกลางวันเด็กนักเรียน เปนตน 1.3.2 เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ เปนเงินที่จัดสรรให อปท. เพียงบางแหง เพื่อทํากิจกรรมเฉพาะอยาง ตามนโยบายของรัฐบาล และแนวทางการกระจายอํานาจของคณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวน ทองถิ่น เชน การกอสรางถนน ประปาหมูบาน และการกอสรางอาคารตางๆ เปนตน 2. เปาหมายสัดสวนรายได อปท. ตอรายไดรัฐบาลสุทธิ ตามพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542และที่แกไข เพิ่มเติม ไดกําหนดใหรัฐจัดสรรรายไดใหแก อปท. โดยให อปท. มีรายไดรวมคิดเปนสัดสวนตอรายไดรัฐบาลสุทธิในอัตราไม นอยกวารอยละ 25 ตั้งแตปงบประมาณ 2550 เปนตนไป และการจัดสรร เงินอุดหนุนใหแก อปท. ตองมีจํานวนไมนอยกวาที่จัดสรรใหในปงบประมาณ 2549 ที่ไดจัดสรรไวจํานวน 126,013 ลานบาท
-37-
3. เปาหมายรายได อปท. ปงบประมาณ 2558 – 2559 3.1 ภาพรวมของรายได ในปงบประมาณ 2559 มีจํานวน 657,300 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 28.21 ของ รายไดสุทธิของรัฐบาล โดยรายไดเพิ่มขึ้นจากปกอนจํานวน 10,956 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 1.70 (รายได อปท. ปงบประมาณ 2558 มีจํานวน 646,344 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 27.80 ของรายไดสุทธิของรัฐบาล) 3.2 องคประกอบของรายได • รายไดที่ อปท. จัดเก็บเองและรัฐบาลเก็บใหและแบงใหมีจํานวน 397,940 ลานบาท คิดเปน สัดสวนรอยละ 60.54 ของรายไดรวม โดยรายไดเพิ่มขึ้นจากปกอนจํานวน 9,260 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 2.38 (รายได อปท. ปงบประมาณ 2558 มีจํานวน 388,680 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 60.14 ของรายไดรวม) • เงินอุดหนุนที่สํานักงบประมาณจัดสรรใหมีจํานวน 259,360 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 39.46 ของ รายไดรวม โดยเงินอุดหนุนเพิ่มขึ้นจากปกอนจํานวน 1,696 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 0.66 (เงินอุดหนุนปงบประมาณ 2558 มีจํานวน 257,664 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 39.86 ของรายไดรวม) ดังรายละเอียดตามตารางประกอบ ตารางแสดงเปาหมายสัดสวนรายไดของ อปท. และสัดสวนรายได อปท. ตอรายไดสุทธิของรัฐบาล ปงบประมาณ 2558 และ 2559 ประเภทรายได
ป 2558
ป 2559
จํานวนเงิน สัดสวน จํานวนเงิน 1. รายไดรวมของ อปท.
หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบป 2559 เพิม่ (ลด) จากป 2558
สัดสวน
จํานวน
646,344 100.00
657,300
1.1 รายไดที่จัดเก็บเองและรัฐบาลเก็บใหและแบงให
388,680
60.14
397,940
60.54
9,260
2.38
1.2 เงินอุดหนุน
257,664
39.86
259,360
39.46
1,696
0.66
5,000
0.22
2. รายไดสุทธิของรัฐบาล
2,325,000
3. สัดสวนรายได อปท. ตอรายไดสุทธิของรัฐบาล (รอยละ)
100.00 10,956
รอยละ
2,330,000 27.80
28.21
ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น สํานักงบประมาณ กรมสงเสริม การปกครองทองถิ่น และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 8 พฤษภาคม 2558
-38-
1.70
แผนภาพที่ 1 แสดงจํานวนเงินรายได อปท. และรายไดสุทธิของรัฐบาล ปงบประมาณ 2558 และ 2559 ลานบาท
ประเภทรายได อปท. แผนภาพที่ 2 แสดงสัดสวนรายได อปท. แตละประเภทตอรายไดรวมของ อปท. และสัดสวนรายได อปท. ตอรายไดสุทธิของรัฐบาล ปงบประมาณ 2558 และ 2559 รอยละ
ประเภทรายได อปท. -39-
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ มติคณะรัฐมนตรีที่สําคัญ 28 เมษายน และ พฤษภาคม 2558 28 เมษายน 2558 1. เรื่อง รางกฎกระทรวงกําหนดอัตราคาธรรมเนียมในการกําหนดราคาของของนําเขา หรือถิ่นกําเนิดของ ของที่จะนําเขามาในราชอาณาจักร หรือตีความพิกัดอัตราศุลกากร เปนการลวงหนา พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางกฎกระทรวงกําหนดอัตราคาธรรมเนียมในการกําหนดราคาของ ของนําเขา หรือถิ่นกําเนิดของของที่จะนําเขามาในราชอาณาจักร หรือตีความพิกัดอัตราศุลกากร เปนการลวงหนา พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา โดยใหรับ ขอสังเกตของรองนายกรัฐมนตรี (หมอมราชวงศปรีดิยาธร เทวกุล) เกี่ยวกับวันมีผลใชบังคับของกฎกระทรวง ดังกลาวใหเปนไปตามหลักการในการบัญญัติกฎหมายไปประกอบการพิจารณาดวย แลวดําเนินการตอไปได สาระสําคัญของรางกฎกระทรวง กําหนดอัตราคาธรรมเนียมในการกําหนดราคาของของนําเขา หรือถิ่นกําเนิดของของที่จะนําเขามา ในราชอาณาจักร หรือตีความพิกัดอัตราศุลกากร เปนการลวงหนา ดังนี้ 1. การกําหนดราคาของของนําเขา เปนการลวงหนา ชนิดละ 2,000 บาท 2. การกําหนดถิ่นกําเนิดของของที่จะนําเขามาในราชอาณาจักร เปนการลวงหนา ชนิดละ 2,000 บาท 3. การตีความพิกัดอัตราศุลกากร เปนการลวงหนา ชนิดละ 2,000 บาท ทั้งนี้ โดยใหมีผลใชบังคับตั้งแต วันที่ 4 มีนาคม 2558 เปนตนไป 2. เรื่อง โครงการประกันภัยขาวนาป ปการผลิต 2558 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบในการดําเนินโครงการประกันภัยขาวนาป ปการผลิต 2558 ซึ่งเปนการดําเนินงานตอเนื่อง จากโครงการฯ ปการผลิต 2557 เพื่อใหธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) ไปดําเนินการ ไดทันฤดูกาลเพาะปลูกที่จะเริ่มในเดือนพฤษภาคม 2558 วงเงินงบประมาณจํานวน 476,483,250 บาท โดยเปน เงินงบประมาณคงเหลือในสวนที่ ธ.ก.ส. ไดเบิกจายจากสํานักงบประมาณ (สงป.) เพื่อดําเนินโครงการฯ ในป การผลิต 2557 จํานวน 208,471,024.74 บาทและเสนอของบประมาณเพิ่มเติมอีกจํานวน 268,012,225.26 บาท 2. ให ธ.ก.ส. ทดรองจายเงินอุดหนุนคาเบี้ยประกันภัยแทนรัฐบาลในสวนของงบประมาณเพิ่มเติมจํานวน 268,012,225.26 บาท และเบิกเงินชดเชยตามจํานวนที่จายจริงพรอมดวยอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํา 6 เดือน ประเภทบุคคลธรรมดาของ 4 ธนาคารพาณิชยขนาดใหญ (FDR) + 1% ในปงบประมาณถัดไป 3. มอบหมายใหกระทรวงเกษตรและสหกรณ (กษ.) โดยกรมสงเสริมการเกษตรประสานงานกับสมาคม ประกันภัยวินาศภัยไทย โดยผูรับประกันภัยเอกชน (สมาคมฯ) ธ.ก.ส. และกระทรวงมหาดไทย (มท.) โดย กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ดําเนินการเชื่อมโยงขอมูลเอกสารทะเบียนเกษตรกร (ทบก.) แบบประมวล รวบรวมความเสียหายและการชวยเหลือเกษตรกรผูประสบภัย (แบบ กษ 02) และแบบรายงานขอมูลความ เสียหายจริงของเกษตรกรผูเอาประกันภัยขาว เพื่อรับคาสินไหมทดแทน (แบบ กษ 02 เพื่อการรับประกันภัย) ตลอดจนพัฒนาระบบฐานขอมูลสารสนเทศที่เกี่ยวของกับระบบการรับประกันภัยและการจายคาสินไหมทดแทน และขอมูลพื้นที่ประสบภัยตามการประกาศภัยของผูวาราชการจังหวัดในพื้นที่ดังกลาว
-40-
สาระสําคัญของเรื่อง กค. รายงานวา 1. กค. โดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ซึ่งเปนหนวยงานหลักในการดําเนินโครงการประกันภัย ขาวนาป ตั้งแตปการผลิต 2554 – 2557 ไดพบวาอุปสรรคสําคัญที่ทําใหผลการดําเนินโครงการต่ํากวาเปาหมาย ในทุกปการผลิตมาจากโครงการฯ ในปการผลิตที่ผาน ๆ มาเริ่มรับประกันภัยหลังฤดูกาลเพาะปลูกขาวของ เกษตรกร โดยเริ่มดําเนินโครงการตั้งแตวันที่ 1 กรกฎาคม 27 กรกฎาคม 13 กันยายน และ 24 มิถุนายน สําหรับ โครงการฯ ปการผลิต 2554 2555 2556 และ 2557 ตามลําดับ ในขณะที่เกษตรกรสวนใหญ (ยกเวนเกษตรกร ที่ปลูกในพื้นที่ภาคใตตอนลาง) ไดเริ่มเพาะปลูกตั้งแตเดือนพฤษภาคม สงผลใหเกษตรกรกลุมนี้ ซึ่งเปนกลุมเกษตรกร จํานวนมากไมสามารถเขารวมโครงการฯ ในปการผลิต 2556 และ 2557 ได เนื่องจากไดเริ่มเพาะปลูกไปแลว เกิน 45 วันหลังจากวันเพาะปลูกวันแรก ซึ่งไมตรงกับเงื่อนไขของกรมธรรม นอกจากนี้ เกษตรกรจะใชเวลา ในการตัดสินใจซื้อกรมธรรมคอนขางมาก ประกอบกับระยะเวลาการประชาสัมพันธมีจํานวนจํากัด ปจจัยดังกลาว ลวนเปนอุปสรรคสําคัญตอความสําเร็จของโครงการฯ ดังนั้น หากการดําเนินโครงการฯ ปการผลิต 2558 มีความลาชาในการเริ่มดําเนินการเหมือนกับปการผลิตผาน ๆ มา จะทําใหเกษตรกรจํานวนมากไมสามารถเขารวม โครงการฯ และหนวยงานที่เกี่ยวของมีระยะเวลาในการประชาสัมพันธจํากัดไมสามารถจูงใจใหเกษตรกร ทําความเขาใจในการดูแลความเสี่ยงดวยตนเองโดยการประกันภัย และไมมีเวลาใหเกษตรกรเพียงพอในการ ตัดสินใจซื้อกรมธรรม 2. กค. โดย สศค. ธ.ก.ส. และสํานักงานคณะกรรมการกํากับและสงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (สํานักงาน คปภ.) ไดหารือรวมกับ กษ. และสมาคมประกันวินาศภัยไทย โดยผูรับประกันภัยเอกชน เพื่อดําเนิน โครงการฯ ปการผลิต 2558 โดยเห็นควรดําเนินการรับประกันภัยตอเนื่องจากโครงการฯ ในปการผลิต 2557 และเริ่มดําเนินการกอนฤดูกาลเพาะปลูกขาวของเกษตรกร ทั้งนี้ โครงการฯ ปการผลิต 2558 มีหลักการ แนวทางการรับประกันภัย และรายละเอียดการรับประกันภัย เชนเดียวกับรูปแบบที่ไดดําเนินการในปการผลิต 2557 ดังนี้ รายละเอียดโครงการ
ผูรับประกันภัย ระยะเวลาการขาย
อัตราเบี้ยประกันภัย (บาทตอไร) - เบี้ยประกันภัยเบื้องตน
-
เบี้ยประกันภัยที่เกษตรกรตองชําระ
การรับประกันป 2558 สมาคมประกันวินาศภัยไทย โดยผูรับประกันภัยเอกชน หลังจากที่คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติ และสิ้นสุดการขาย กรมธรรมภายใน 30 วัน หลังจากเดือนที่มีปริมาณพื้นที่ เพาะปลูกสูงสุดผานไป แบงพื้นที่รับประกันภัย 5 พื้นที่ตามระดับความเสี่ยง 115-450 บาทตอไร (กระทรวงการคลังไดเจรจาขอปรับ ลดอัตราเบี้ยประกันภัยจากสมาคมฯ ไดต่ํากวา โครงการฯ ปการผลิต 2557 อยูท ร่ี อยละ 4.8 ทั้งนี้ ปจจัยสําคัญที่สงผลใหการลดลงของอัตราเบี้ย ประกันภัยไมมากเทาที่ควรมาจากสัดสวนพื้นที่ที่เขารวม โครงการฯ ตอพื้นที่เพาะปลูกรวมยังอยูในระดับต่ํา) 60 -100 บาทตอไร (เปนอัตราเดียวกับโครงการฯ ปการ ผลิต 2557)
-41-
-
รายละเอียดโครงการ เบี้ยประกันภัย สวนที่รัฐตองอุดหนุน
ความคุม ครอง
อัตราคาสินไหมทดแทน (บาทตอไร) พื้นที่เพาะปลูกเขารวมโครงการ (ไร)
การรับประกันป 2558 64.12-383.64 บาทตอไร วงเงิน 476,483,250 บาท (โดยเปนเงินงบประมาณคงเหลือในสวนที่ธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรไดเบิกจายจาก สํานักงบประมาณเพื่อดําเนินโครงการฯ ในปการผลิต 2557 จํานวน 208,471,024.74 บาท และเสนอขอ งบประมาณเพิ่มเติมอีกจํานวน 268,012,225.26 บาท) ซึ่งนอยกวาโครงการฯ ปการผลิต 2557 จํานวน 18,422,971.50 บาท หรือคิดเปนอัตราการลดลง รอยละ 3.72 ภัย 7 ประเภท ไดแก น้ําทวมหรือฝนตกหนัก ภัยแลง ฝนแลงหรือฝนทิ้งชวงลมพายุหรือพายุไตฝุน ภัยอากาศ หนาวหรือน้ําคางแข็ง ลูกเก็บ และไฟไหม รวมทั้งภัย ศัตรูพืชและโรคระบาด 1,111 บาทตอไร สําหรับภัยธรรมชาติ 6 ภัย และวงเงิน คุม ครอง 555 บาท ตอไร สําหรับภัยศัตรูพืชและโรค ระบาด (เปนอัตราเดียวกับโครงการฯ ปการผลิต 2557) 1.5 ลานไร
7 พฤษภาคม 2558 3. เรื่อง รางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... [มาตรการปองกันการกําหนด ราคาโอนระหวางบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคลที่มีความสัมพันธกัน (Transfer Pricing)] คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... [มาตรการปองกันการกําหนดราคาโอนระหวางบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคลที่มีความสัมพันธกัน (Transfer Pricing)] ตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจ พิจารณา แลวใหสงคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณา กอนเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติ ตอไป สาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติ แกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร โดยเพิ่มบทบัญญัติในประมวลรัษฎากรเพื่อกําหนดหลักเกณฑ ในการพิจารณาราคาโอนระหวางบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธกัน โดยใหเจาพนักงานประเมิน มีอํานาจในการปรับปรุงรายไดและรายจาย รวมทั้งกําหนดอายุความในการขอคืน และกําหนดใหบริษัทหรือ หางหุนสวนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธกันยื่นเอกสารแสดงความสัมพันธระหวางกันตอเจาพนักงานประเมิน ตามหลักการ ดังนี้ 1. กําหนดใหในกรณีที่บริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลตั้งแตสองนิติบุคคลขึ้นไปมีความสัมพันธระหวางกัน ในดานทุน การจัดการ หรือการควบคุม ไมวาโดยทางตรงหรือโดยทางออม และไดมีการกําหนดเงื่อนไขระหวางกัน ทางดานการพาณิชยและการเงินแตกตางไปจากที่ควรไดกําหนด หากบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลดังกลาวได ดําเนินการโดยอิสระ เจาพนักงานประเมินมีอํานาจประเมินรายไดหรือรายจายของบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล ดังกลาว
-42-
2. กําหนดใหในกรณีที่การประเมินมีผลใหบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธกันไดชําระ ภาษีไวหรือถูกหักภาษี ณ ที่จายและนําสงแลวเปนจํานวนเงินเกินกวาที่ควรตองเสียภาษี หรือโดยไมมีหนาที่ ตองเสีย ใหบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลนั้นมีสิทธิยื่นคํารองขอคืนภายในหกสิบวัน นับแตวันที่ไดรับแจง การประเมินหรือภายในสามปนับแตวันสุดทายแหงกําหนดเวลายื่นรายการภาษีตามที่กฎหมายกําหนด ทั้งนี้ เพื่อเปนการขจัดภาระภาษีซ้ําซอน 3. กําหนดใหภายในหนึ่งรอยหาสิบวัน นับแตวันสุดทายของรอบระยะเวลาบัญชี ใหบริษัทหรือ หางหุนสวนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธระหวางกันตามขอ 1 จัดทําและยื่นเอกสารหรือหลักฐานที่แสดง ความสัมพันธในดานทุน การจัดการ หรือการควบคุม ไมวาโดยทางตรงหรือทางออม และวิธีการคํานวณรายได และรายจายระหวางกันตอเจาพนักงานประเมิน และหากไมไดดําเนินการตามกําหนด หรือจัดทําเอกสารหรือ หลักฐานไมถูกตองตามความเปนจริง หรือไมครบถวนใหระวางโทษไมเกินสี่แสนบาท 4. เรื่อง มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการบริจาคใหแกกองทุนสงเสริมและพัฒนาการศึกษาสําหรับคนพิการ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและอนุมัติตามที่ กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบมาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการบริจาคใหแกกองทุนสงเสริมและพัฒนาการศึกษาสําหรับ คนพิการ 2. อนุมัติหลักการรางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจ พิจารณา แลวดําเนินการตอไปได กค. เสนอวา 1. พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 ไดกําหนดใหจัดตั้งกองทุนสงเสริมและ พัฒนาการศึกษาสําหรับคนพิการในสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใชจายในการสงเสริม สนับสนุนและพัฒนาการศึกษาสําหรับคนพิการอยางเปนธรรมและทั่วถึง ครู คณาจารย และบุคลากรทางการ ศึกษา โดยรายไดของกองทุนฯ สวนหนึ่งมาจากเงินอุดหนุนรัฐบาล และบริหารจัดการโดยคณะกรรมการบริหาร กองทุนใหเปนไปตามระเบียบที่คณะกรรมการสงเสริมการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการกําหนด โดยความเห็นชอบ จากกระทรวงการคลัง ซึ่งประกอบดวยผูแทนจากหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชน 2. ปจจุบันไดมีการกําหนดมาตรการภาษีที่เกี่ยวของกับการศึกษาและคนพิการ ดังนี้ 2.1 กรณีหักลดหยอนหรือคาใชจายไดเทาที่มีการจายจริง บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลที่บริจาคใหแกสถานศึกษาของทางราชการ และเอกชน หอสมุดหรือ หองสมุดของทางราชการ กองทุนสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ รวมทั้งการใหทุนการศึกษาแกนักเรียน นิสิต นักศึกษาเปนการทั่วไป สามารถนํามาหักเปนคาลดหยอนหรือรายจายในการคํานวณภาษีไดเทากับจํานวน เงินที่บริจาคแตไมเกินรอยละสิบของเงินไดสุทธิหรือรอยละสองของกําไรสุทธิ แลวแตกรณี 2.2 กรณีหักลดหยอนหรือคาใชจายไดสองเทาของที่มีการจายจริง เพื่อการสงเสริมเปน กรณีพเิ ศษ 2.2.1 บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลที่บริจาคเพื่อสนับสนุนการศึกษาตามโครงการที่กระทรวง ศึกษาธิการใหความเห็นชอบ สามารถนํามาหักเปนคาลดหยอนหรือรายจายไดสองเทาของที่มีการจายจริง แตไมเกินรอยละสิบของเงินไดสุทธิหรือกําไรสุทธิแลวแตกรณี โดยตองเปนคาใชจายสําหรับการจัดหาหรือจัดสราง อาคาร อาคารพรอมที่ดิน หรือที่ดินใหแกสถานศึกษาเพื่อใชประโยชนทางการศึกษา หรือจัดหาวัสดุอุปกรณ เพื่อการศึกษาแบบเรียน ตํารา หนังสือทางวิชาการ สื่อ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ตลอดจนวัสดุอุปกรณอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการศึกษา
-43-
2.2.2 บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลที่บริจาคเงินเขากองทุนพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากร ทางการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการจัดตั้งขึ้น สามารถนํามาหักลดหยอนหรือรายจายไดสองเทา ของที่มีการจายจริง แตไมเกินรอยละสิบของเงินไดสุทธิหรือกําไรสุทธิ แลวแตกรณี 2.2.3 บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลที่บริจาคใหสถานศึกษาของทางราชการและเอกชน สามารถนํา รายจายดังกลาวมาหักเปนคาลดหยอนและรายจายในการคํานวณภาษีได สองเทาของที่มีการจายจริง แตไมเกิน รอยละสิบของเงินไดสุทธิหรือกําไรสุทธิแลวแตกรณี ตั้งแต 1 มกราคม 2556 ถึง 31 ธันวาคม 2558 3. โดยที่ปจจุบัน การบริจาคใหแกกองทุนสงเสริมและพัฒนาการศึกษา สําหรับคนพิการ ผูบริจาค ไมสามารถนํามาหักเปนคาลดหยอนภาษีหรือรายจายในการคํานวณภาษีได ดังนั้น เพื่อเปนการจูงใจใหมี การบริจาคเงินหรือทรัพยสินเพื่อการดําเนินงานของกองทุนฯ เห็นควรกําหนดมาตรการภาษีเพื่อสนับสนุน การบริจาคใหแกกองทุนสงเสริมและพัฒนาการศึกษา สําหรับคนพิการ ใหเทาเทียมกับการบริจาคกรณีทั่วไป ยกเวนภาษีเงินไดใหแกบุคคลธรรมดา และบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล สําหรับการบริจาคเงินหรือทรัพยสิน ใหแกกองทุนฯ สาระสําคัญของรางพระราชกฤษฎีกา ยกเวนภาษีเงินไดใหแกบุคคลธรรมดา และบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล สําหรับการบริจาคเงิน หรือทรัพยสินใหแกกองทุนฯ ดังนี้ 1. สําหรับบุคคลธรรมดา ใหยกเวนภาษีสําหรับเงินไดพึงประเมินหลังหักคาใชจายและหักลดหยอน ตามมาตรา 47 (1) (2) (3) (4) (5) หรือ (6) แหงประมวลรัษฎากรเทาจํานวนเงินที่บริจาคแตเมื่อรวมกับเงินบริจาค ตามมาตรา 47 (7) แหงประมวลรัษฎากรแลวตองไมเกินรอยละสิบของเงินไดพึงประเมินหลังหักคาใชจายและ หักลดหยอนนั้น 2. สําหรับบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล ใหยกเวนภาษีสําหรับเงินไดเทาจํานวนเงินหรือทรัพยสิน ที่บริจาค แตเมื่อรวมกับรายจายเพื่อการกุศลสาธารณะหรือเพื่อการสาธารณประโยชน ตามมาตรา 65 ตรี (3) แหงประมวลรัษฎากรแลว ตองไมเกินรอยละสองของกําไรสุทธิ 3. ใหมีผลใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป 5. เรื่อง โครงการสวัสดิการเงินกูเพื่อที่อยูอาศัยของขาราชการ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและอนุมัติ ตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบใหยกเลิกโครงการสวัสดิการเงินกูเพื่อที่อยูอาศัยของขาราชการ และนําเงินงบประมาณใน โครงการสวัสดิการเงินกูเพื่อที่อยูอาศัยของขาราชการที่กรมบัญชีกลางฝากอยูที่ธนาคารอาคารสงเคราะหสงคลัง เปนรายไดแผนดิน 2. อนุมัติหลักการรางพระราชพระราชกฤษฎีกายกเลิกพระราชกฤษฎีกาสวัสดิการเงินกูเพื่อที่อยูอาศัย พ.ศ. 2535 พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลวสงใหคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณา กอนเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติตอไป สาระสําคัญของเรื่อง ยกเลิกโครงการสวัสดิการเงินกูเพื่อที่อยูอาศัยของขาราชการ และใหตรารางพระราชกฤษฎีกายกเลิก พระราชกฤษฎีกาสวัสดิการเงินกูเพื่อที่อยูอาศัย พ.ศ. 2535 พ.ศ. .... ซึ่งมีสาระสําคัญ ดังนี้ 1. กําหนดใหยกเลิกพระราชกฤษฎีกาสวัสดิการเงินกูเพื่อที่อยูอาศัย พ.ศ. 2535 2. กําหนดให ธอส. นําเงินตามโครงการสวัสดิการเงินกูเพื่อที่อยูอาศัยของขาราชการพรอมดอกเบี้ยที่เกิด จากโครงการดังกลาวทั้งหมดคืนใหกรมบัญชีกลาง เพื่อสงคืนเปนรายไดแผนดิน 3. กําหนดใหขาราชการและลูกจางประจําซึ่งไดกูเงินตามโครงการฯ ตามพระราชกฤษฎีกาสวัสดิการเงินกู เพื่อที่อยูอาศัย พ.ศ. 2535 และอยูระหวางผอนชําระเงินกูในวันที่พระราชกฤษฎีกานี้ใชบังคับให
-44-
คงมีสิทธิและหนาที่ความรับผิดชอบตามโครงการฯ ตอไปจนกวาสัญญาสิ้นสุด หรือออกจากการเขารวมโครงการ ดังกลาว 19 พฤษภาคม 2558 6. เรื่อง รางพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายภาษีสรรพสามิต พ.ศ. ... และรางประมวลกฎหมายภาษี สรรพสามิต รวม 2 ฉบับ คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายภาษีสรรพสามิต พ.ศ. ... และรางประมวลกฎหมายภาษีสรรพสามิต รวม 2 ฉบับ ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ และใหสงสํานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลวใหสงคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณา กอนเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติตอไป สาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติ รวบรวมบทบัญญัติแหงกฎหมายวาดวยภาษีสรรพสามิต กฎหมายวาดวยไพ กฎหมายวาดวยสุรา กฎหมายวาดวยยาสูบ กฎหมายวาดวยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต กฎหมายวาดวยการจัดสรรเงินภาษีสรรพสามิต และกฎหมายวาดวยการจัดสรรเงินภาษีสุราไวในประมวลกฎหมายฉบับเดียวกัน และไดปรับปรุงกฎหมายดังกลาว ดังนี้ 1. เพิ่มบทนิยามคําวา “ราคาขายปลีก” “ราคาขายปลีกแนะนํา” และ “ผลิตภัณฑยาสูบ” รวมทัง้ ปรับแกไขบทนิยามคําวา “ผลิต” “สุรา” และ “ไพ” เพื่อสรางความชัดเจนในการจัดเก็บภาษียิ่งขึ้น 2. เพิ่มบทบัญญัติใหมีคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีสรรพสามิตซึ่งเปนไปตามแนวทางเดียวกับกฎหมายของ กรมสรรพากรและกรมศุลกากร 3. ปรับปรุงวิธีการจัดเก็บภาษี จากเดิมที่จัดเก็บในอัตราตามมูลคาหรือตามปริมาณแลวแตอัตราใด จะคิดเปนเงินสูงกวา เปน จัดเก็บทั้งตามมูลคาและตามปริมาณเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษี 4. เปลี่ยนฐานในการคํานวณภาษีตามมูลคา จากเดิมที่กําหนดใหใชราคาขาย ณ โรงงานอุตสาหกรรม ในกรณีสินคาที่ผลิตในราชอาณาจักร และราคา ซี.ไอ.เอฟ. ในกรณีสินคานําเขา รวมทั้งราคาขายสงชวงสุดทาย กรณีสินคาสุรา เปนราคาขายปลีกแนะนํา ทั้งนี้ เพื่อใหเกิดความเปนธรรมในระหวางผูเสียภาษีและแกไขปญหา การถายโอนราคา 5. เพิ่มบทบัญญัติในการกําหนดราคาขายและราคาสินคานําเขากรณีไมมีราคาขายปลีกแนะนํา หรือราคา ขายปลีกแนะนํามีหลายราคา หรือราคาดังกลาวไมเปนไปตามกลไกตลาด หรือไมสอดคลองกับความเปนจริง เพื่อประโยชนในการบริหารการจัดเก็บภาษี 6. เพิ่มบทบัญญัติใหผูประกอบอุตสาหกรรม ผูน าํ เขา แจงโครงสรางตนทุน เพื่อประโยชนในการตรวจสอบภาษี 7. เพิ่มบทบัญญัติกรณีการจางผลิต โดยกําหนดใหผูวาจางมีหนาที่และความรับผิดในการเสียภาษีรวมกับ ผูมีหนาที่เสียภาษี เพื่อปองกันการหลีกเลี่ยงภาษี 8. เพิ่มบทบัญญัติใหผูนําเขาจดทะเบียนสรรพสามิตและจัดทําบัญชีเชนเดียวกับผูประกอบอุตสาหกรรม เพื่อความเปนธรรมและประโยชนในการตรวจสอบภาษี 9. เพิ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับวิธีการแสดงการเสียภาษีนอกจากการใชแสตมปสรรพสามิต และเครื่องหมาย แสดงการเสียภาษี เพื่อรองรับการเสียภาษีสินคาสุราและสินคาไพ 10. ปรับปรุงอายุความในการประเมินภาษีจาก 2 ป เปน 3 ป เพื่อประโยชนในการตรวจสอบภาษี 11. ปรับปรุงระบบการโตแยงการประเมินภาษี โดยการยกเลิกขั้นตอนการคัดคานการประเมิน รวมทั้ง กําหนดกรอบระยะเวลาในการพิจารณาอุทธรณ เพื่อใหเกิดความรวดเร็วในการหาขอยุติทางภาษี ซึ่งเปนไป ในแนวทางเดียวกับวิธีการยุติขอพิพาททางภาษีของกรมสรรพากรและกรมศุลกากร
-45-
12. เพิ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับการยกเวนหรือคืนภาษีสําหรับสินคาที่นําไปใชเปนวัตถุดิบหรือสวนประกอบ ในการผลิตสินคาอื่นเพื่อสงออกนอกราชอาณาจักร เพื่อเปนการสงเสริมการแขงขันของผูประกอบอุตสาหกรรม 13. เพิ่มบทบัญญัติใหไมตองนําตัวผูตองหาไปยังที่ทําการของพนักงานสอบสวน เพื่อเปนการลดขั้นตอน และระยะเวลาในการควบคุมตัวผูตองหา 14. เพิ่มบทบัญญัติในการกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการนําเขาสินคา สุรา ยาสูบ และไพ เพื่อการควบคุมการบริหารการจัดเก็บภาษีใหมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น 15. ยกเลิกบทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิประโยชนของยาสูบพันธุพื้นเมืองเพื่อสรางความเปนธรรมในการจัดเก็บภาษี 16. กําหนดลักษณะและจัดหมวดหมูสินคาและบริการที่ตองเสียภาษีใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของการ จัดเก็บภาษี 17. แกไขเพิ่มเติมความหมายของลักษณะสินคาและบริการ ใหครบถวนและชัดเจนขึ้น 18. ปรับอัตราคาธรรมเนียมและอัตราภาษี ใหสอดคลองกับสภาวการณในปจจุบันและการเปลี่ยนแปลง วิธีการเสียภาษี รวมทั้งการเปลี่ยนฐานในการคํานวณภาษี 19. แกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับบทกําหนดลงโทษ ใหสอดคลองกับรูปแบบของการจัดทําราง ประมวลกฎหมาย โดยเฉพาะการเพิ่มอัตราโทษปรับ ใหสอดคลองกับคาเงินในปจจุบัน 20. เพิ่มอํานาจรัฐมนตรีในการกําหนดใหมีการเชื่อมโยงประเภทสินคาตามประมวลกฎหมายภาษี สรรพสามิตกับพิกัดอัตราศุลกากร เพื่อรองรับการเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 7. เรื่อง การประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานสากลดานการปองกันปราบปรามการฟอกเงินและการตอตาน การสนับสนุนทางการเงินแกการกอการรายของ FATF ในป พ.ศ. 2559 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบและเห็นชอบตามที่สํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (สํานักงาน ปปง.) เสนอ ดังนี้ 1. รับทราบการเขารับการประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานสากลดานการปองกันปราบปรามการฟอกเงิน และการตอตานการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการราย (Anti-Money Laundering and Combating the Financing of Terrorism : AML/CFT) ในป พ.ศ. 2559 2. เห็นชอบมาตรการรองรับการประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานสากลดาน AML/CFT ของ FATF ในป พ.ศ. 2559 ตามมติคณะกรรมการ ปปง. ในคราวการประชุมครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันจันทรที่ 17 พฤศจิกายน 2557 3. มอบหมายใหหนวยงานที่เกี่ยวของสนับสนุนการดําเนินมาตรการรองรับการประเมินดังกลาว สาระสําคัญของเรื่อง สํานักงาน ปปง. รายงานวา 1. ประเทศไทยไดเขาเปนสมาชิกขององคกรตอตานการฟอกเงินเอเชียแปซิฟก (Anti-Pacific Group on Money Laundering-APG) ตั้งแตป พ.ศ. 2544 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2544 ซึ่งประเทศ ไทยในฐานะสมาชิกมีพันธกรณีที่ตองเขารับการประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานสากลดานการปองกันปราบปราม การฟอกเงินและการตอตานการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการราย (Anti-Money Laundering and Combating the Financing of Terrorism : AML/CFT) ซึ่งไดแกขอแนะนําของ Financial Action Task Force (FATF) ที่ผานมาประเทศไทยไดเขารับการประเมินแลว 2 รอบในป พ.ศ. 2545 และ พ.ศ. 2550 และมีกําหนดเขา รับการประเมินเปนรอบที่ 3 ในป พ.ศ. 2559 2. หากประเทศไทยไมเขารับการประเมินการปฏิบตั ิตามมาตรฐานสากลดาน AML/CFT จะสงผลใหประเทศ ไทยถูกจัดเปนประเทศที่มีความเสี่ยงดานการฟอกเงินและการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการรายทันที ซึ่งจะ สงผลกระทบดานลบตอภาพลักษณความโปรงใส และหลักธรรมาภิบาลของประเทศไทยในสายตาประชาคมโลก 3. กรณีที่ไมมีการปรับปรุงแกไขกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน และกฎหมายวา ดวยการปองกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการราย ใหเปนไปตามมาตรฐานสากล อาจ -46-
สงผลใหประเทศไทยไมผานการประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานดาน AML/CFT ในป พ.ศ. 2559 และอาจเปน เหตุใหประเทศไทยถูกขึ้นบัญชีรายชื่อเปนประเทศเสี่ยง ซึ่งประเทศตาง ๆ ที่เปนสมาชิกของ FATF อาจใช มาตรการตอบโตทางการเงินที่จะสงผลใหการทําธุรกรรมของลูกคา หรือสถาบันการเงินไทยเกิดความลาชา เพราะ จะถูกสถาบันการเงินตางประเทศตรวจสอบธุรกรรมอยางเขมขน รวมทั้งประเมินความสัมพันธกับสถาบันการเงิน ไทยอยางตอเนื่อง ซึ่งอาจมีผลตอการตัดสินใจยกเลิกความสัมพันธ จนอาจกระทบตอการคาการลงทุนระหวาง ประเทศของประเทศไทยไดในที่สุด จึงเปนเรื่องที่มีความสําคัญยิ่งที่ทุกภาคสวนจะตองรวมมือในการเตรียมการ ดังกลาว 4. การประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานสากลดาน AML/CFT ในป พ.ศ. 2559 จะใชเกณฑการประเมิน ที่มีความเขมขนมากขึ้นโดยจะมุงเนนการประเมินประสิทธิผล (Effectiveness) ของระบบ AML/CFT นอกเหนือไปจากการประเมินการปฏิบัติตามเชิงเทคนิค (technical compliance) โดยจะพิจารณาวากฎหมาย วาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินและกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการสนับสนุน ทางการเงินแกการกอการราย ที่ใชบังคับอยูนั้นมีหลักการตลอดจนผลการบังคับใชที่สอดคลองกับมาตรฐานสากล ตามขอแนะนําของ FATF หรือไม 5. อยางไรก็ตาม ในสวนของการแกไขปรับปรุงกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน และกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการราย เพื่อใหสอดคลอง ตามมาตรฐานสากล คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2558 ใหเสนอรางพระราชบัญญัติปองกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และรางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการสนับสนุน ทางการเงินแกการกอการราย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตอสภานิติบัญญัติแหงชาติแลว โดยขณะนี้อยูระหวางการ พิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญสภานิติบัญญัติแหงชาติ 6. มาตรการรองรับการประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานสากลดาน AML/CFT ของ FATF ในป พ.ศ. 2559 มี ดังนี้ มาตรการ ความผิดเกี่ยวกับภาษี อากรเปนความผิด มูลฐาน
กรณีการสําแดงเงิน และตราสารผานแดน
หนวยงานที่ รับผิดชอบ กรมสรรพากร
สํานักงานเศรษฐกิจ การคลัง กระทรวงการคลัง และธนาคารแหง ประเทศไทย
การดําเนินการ แกไขเพิ่มเติมกฎหมายที่เกี่ยวของใหสอดคลองกับขอแนะนํา ของ FATF ขอที่ 3 โดยกําหนดใหความผิดเกี่ยวกับการ หลีกเลี่ยงภาษีหรือฉอโกงภาษีตามประมวลรัษฎากรเปน ความผิดมูลฐานตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปราม การฟอกเงิน และกําหนดใหการจําหนายจายโอนทรัพยสินที่ ไดมาจากการกระทําความผิดดังกลาวเปนความผิดฐานฟอกเงิน ใหแลวเสร็จภายในป พ.ศ. 2558 ปรับปรุงแกไขเพิ่มเติมกฎหมายที่อยูในความรับผิดชอบให สอดคลองกับรางพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการ ฟอกเงิน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และมาตรฐานสากลตามขอแนะนํา ของ FATF ขอที่ 32 โดยดําเนินการแกไขเพิ่มเติมกรณีดังตอไปนี้ ใหแลวเสร็จภายในป พ.ศ. 2558 ดังนี้ - กําหนดใหบุคคลตองสําแดงเงินตราที่เปนเงินบาทขาเขา - กําหนดใหมีมาตรการควบคุมตราสารผานแดน โดยจะตอง กําหนดใหผูที่นําตราสารเปลี่ยนมือที่มีมูลคารวมกันจํานวนตั้งแต
-47-
มาตรการ
หนวยงานที่ รับผิดชอบ
กรณีการเขาเปนภาคี กระทรวงการ อนุสัญญาและพิธีสาร ตางประเทศ ระหวางประเทศ เกี่ยวกับการกอการราย
การดําเนินการ 15,000 เหรียญสหรัฐขึ้นไปผานแดนตองสําแดงตอพนักงาน เจาหนาที่ศุลกากรและกําหนดใหพนักงานเจาหนาที่ศุลกากร รายงานขอมูลการสําแดงตราสารดังกลาวใหสํานักงาน ปปง. ทราบดวยทํานองเดียวกับกรณีการสําแดงเงินตรา - กําหนดใหพนักงานเจาหนาที่ศุลกากรมีอํานาจตรวจคน บุคคล ยานพาหนะใด ๆ ตูขนสงสินคา พัสดุไปรษณีย หรือ ไปรษณียภัณฑที่ออกไปนอกหรือเขามาในประเทศได หากมีเหตุ อันควรสงสัยวามีเงินตราหรือตราสารซุกซอนอยูโดยมิไดสําแดง ตอพนักงานเจาหนาที่ศุลกากร หรือมีเหตุอันควรสงสัยวามีการ สําแดงอันเปนเท็จ รวมทั้งใหมีอํานาจยึดหรืออายัดเงินตราหรือ ตราสารผานแดนหากมีเหตุอันควรสงสัยวาเงินตราหรือตราสาร ที่ขนสงผานแดนนั้นเกี่ยวของกับการฟอกเงินหรือการสนับสนุน ทางการเงินแกการกอการราย ประสานกับหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อดําเนินการใหประเทศไทย เขาเปนภาคีอนุสัญญาและพิธีสารระหวางประเทศที่เกี่ยวของกับ การกอการรายในสวนที่ประเทศไทยยังมิไดเปนภาคี ใหแลว เสร็จภายในป พ.ศ. 2558
26 พฤษภาคม 2558 8. เรื่อง รางแผนยุทธศาสตรการใหเอกชนรวมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2558 – 2562 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและรับทราบตามที่รองนายกรัฐมนตรี (หมอมราชวงศปรีดิยาธร เทวกุล) ประธานกรรมการนโยบายการใหเอกชนรวมลงทุนในกิจการของรัฐ เสนอดังนี้ 1. เห็นชอบรางแผนยุทธศาสตรการใหเอกชนรวมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2558 – 2562 เพื่อ คณะกรรมการนโยบายใหเอกชนรวมลงทุนในกิจการของรัฐจะไดดําเนินการประกาศใชในราชกิจจานุเบกษาตอไป 2. รับทราบการจัดทํารายการโครงการ (Project Pipeline) ในกิจการภายใตรางแผนยุทธศาสตรฯ พ.ศ. 2558 – 2562 เพื่อคณะกรรมการนโยบายฯ กํากับดูแลและติดตามใหเปนไปตามแผนงานโครงการตอไป สาระสําคัญของเรื่อง คณะกรรมการนโยบายใหเอกชนรวมลงทุนในกิจการของรัฐ รายงานวา 1. พระราชบัญญัติการใหเอกชนรวมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 มาตรา 19 บัญญัติใหมีแผน ยุทธศาสตรเพื่อกําหนดนโยบายการใหเอกชนรวมลงทุนในกิจการของรัฐที่สอดคลองกับบทบัญญัติวาดวย แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ซึ่งมีระยะเวลาครั้งละหาปและมาตรา 16 และ 21 บัญญัติใหคณะกรรมการนโยบายการใหเอกชนรวมลงทุน ในกิจการของรัฐมีอํานาจหนาที่ในการจัดแผนยุทธศาสตรฯ เพื่อเสนอตอคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบ กอนประกาศใชแผนยุทธศาสตรฯ ในราชกิจจานุเบกษาตอไป 2. เพื่อเปนแนวนโยบายการใหเอกชนรวมลงทุนในกิจการของรัฐในระยะเวลา 5 ป ระหวาง พ.ศ. 2558 – 2562 ใหหนวยงานของรัฐไดรับทราบกิจการโครงสรางพื้นฐานและบริการสาธารณะที่รัฐ ใหการสนับสนุนและผลักดันใหเอกชนรวมลงทุนและเพื่อจัดทําและเสนอโครงการที่สอดคลองกับแผนยุทธศาสตรฯ รวมทั้งดึงดูดภาคเอกชนใหเขามารวมลงทุนในโครงการที่อยูภายใตกิจการในรางแผนยุทธศาสตรฯ ทําใหสามารถ
-48-
ลงทุนพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและบริการสาธารณะไดรวดเร็วขึ้น รวมถึงเพื่อเปนการเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขงขันของประเทศ เปนการประหยัดงบประมาณและเงินกูของภาครัฐ ทําใหการใชทรัพยากรของรัฐ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการนโยบายฯ จึงจัดทํารางแผนยุทธศาสตรฯ พ.ศ. 2558 – 2562 ซึ่งมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้ หัวขอ 1) ประเภทและลักษณะของกิจการทีเ่ หมาะสมให เอกชนมีสวนรวมลงทุน
2) เปาหมายการใหเอกชนรวมลงทุนและกรอบ ระยะเวลา 3) ประมาณการลงทุนระหวางป พ.ศ. 2558 – 2562 4) ความเชื่อมโยงของกิจการภายใตแผนยุทธศาสตรฯ พ.ศ. 2558 – 2562
รายละเอียด กิจการที่เหมาะสมใหเอกชนมีสวนรวมลงทุนมีจํานวน 20 กิจการ 65 โครงการ ประกอบดวย - กลุมที่ 1 กิจการที่สมควรใหเอกชนมีสวนรวมในการ ลงทุน (Opt – out) จํานวน 6 กิจการ - กลุมที่ 2 กิจการที่รัฐสงเสริมใหเอกชนมีสวนรวมใน การลงทุน (Opt –in) จํานวน 14 กิจการ รัฐมีเปาหมายที่จะดําเนินโครงการที่อยูภายใต 6 กิจการ ในกลุมที่ 1 ในลักษณะการใหเอกชนรวมลงทุนเปนหลัก และสงเสริมใหเอกชนมีสว นรวมในการลงทุนโครงการที่ อยูภายใต 14 กิจการในกลุมที่ 2 มูลคารวมประมาณ 1.41 ลานลานบาท - ความเชื่อมโยงแบงออกเปน 3 ระดับ ไดแก - ความเชื่อมโยงภายในกิจการเดียวกัน - ความเชื่อมโยงระหวางกิจการภายในสาขา - ความเชื่อมโยงระหวางกิจการกับกิจการในสาขาอื่น
-49-
สถิติดานการคลัง
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีการคา ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ GDP (ปปฏิทิน) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) GDP (ปงบประมาณ) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ)
2537 366,957 67,651 133,268 3,603 1,441 134,791 21,227 4,752 224 138,670 46,131 19,708 19,272 12,262 34,515 5,636 899 136 111 11 64 2 52 7 116,872 115,540 14 1,318 622,499 85,047 41,794 43,253 707,546
2538 444,512 86,190 157,078 3,196 1,082 163,122 28,311 5,284 249 155,308 53,501 20,717 19,759 15,131 38,147 6,598 1,190 156 109 12 69 59 16 128,548 127,124 9 1,415 728,368 86,775 41,250 45,525 815,143
2539 508,832 109,396 172,235 3,430 572 184,227 33,410 5,286 276 167,160 58,005 24,057 21,548 17,360 37,343 6,845 1,729 153 119 10 75 2 55 12 129,543 128,212 6 1,324 805,535 89,756 40,650 49,106 895,291
หนวย : ลานบาท 2540 2541 518,620 498,966 115,137 122,945 162,655 99,480 5,322 5,316 264 342 195,813 232,388 34,286 35,241 4,734 2,992 408 263 180,168 155,564 63,983 65,373 29,816 28,560 22,763 20,257 21,383 23,191 32,295 8,557 7,519 7,023 1,765 1,003 538 129 168 442 204 481 142 139 126 11 163 91 103 7 11 17 19 59 56 19 3 104,160 69,338 102,704 67,108 8 17 1,448 2,213 802,947 723,868 106,101 91,813 38,102 42,518 68,000 49,295 909,049 815,681
2535 261,042 52,945 87,273 2,884 37,783 66,614 9,629 3,781 134 102,028 41,346 15,490 15,247 7,818 15,713 5,125 301 695 294 7 38 1 2 86,246 85,082 11 1,153 449,316 76,048 42,896 33,152 525,364
2536 300,805 57,237 103,975 3,448 2,739 112,582 16,764 3,876 184 125,789 43,711 15,638 16,679 9,478 34,350 5,158 546 73 157 10 56 2 6 105,910 104,651 11 1,247 532,504 75,603 36,701 38,902 608,106
525,364 N/A N/A N/A N/A
41,432 48,723 52,937 37,813 58,400 74,660 38,354 45,330 49,143 34,148 55,313 63,858 3,078 3,393 3,794 3,665 3,087 10,802 10,348 6,262 7,108 7,473 7,073 7,559 556,326 652,561 755,098 850,005 843,576 733,462 3,263,439 3,689,090 4,217,609 4,638,605 4,710,299 4,701,559 17.0 17.7 17.9 18.3 17.9 15.6 N/A 3,572,116 4,107,453 4,533,732 4,695,277 4,710,587 N/A 18.3 18.4 18.7 18.0 15.6
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีการคา ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีกิจการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รายไดจากการขายหุนใหกองทุนวายุภักษ แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปปฏิทิน) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) GDP (ปงบประมาณ) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ)
2542 452,317 106,071 108,820 10,872 186 201,976 21,311 2,824 258 163,892 66,584 26,655 22,800 24,992 13,941 6,484 904 482 419 474 158 114 191 87 6 24 49 3 68,095 66,994 36 1,064 684,303 109,042 52,679 56,364 793,346
2543 461,322 91,790 145,554 10,739 126 192,510 17,015 3,351 236 168,822 64,832 28,134 8,276 26,438 26,781 7,444 1,104 791 444 579 3,999 97 218 127 11 20 55 53 87,195 85,338 75 1,782 717,338 100,257 56,182 44,075 817,595
2544 499,711 101,136 149,677 17,154 84 215,158 12,852 3,408 242 177,600 64,124 32,310 8,933 29,991 30,330 8,100 1,429 932 713 525 213 62 246 112 14 26 59 5 92,838 91,359 82 1,397 770,149 104,617 45,482 59,135 874,766
2545 544,281 108,371 170,415 19,128 99 228,196 13,715 4,122 236 208,153 68,840 31,697 22,290 31,650 41,560 7,748 1,793 1,224 582 556 212 45 268 126 15 23 60 5 15 98,629 96,326 163 2,139 851,062 108,375 46,965 2,483 1,065 57,862 959,437
2546 627,682 117,309 208,859 21,773 45 261,306 12,757 5,348 286 246,641 73,605 33,289 25,676 36,987 56,474 8,621 2,347 1,581 591 6,420 813 239 68 299 145 22 26 65 19 54 38 78 111,819 110,054 216 1,549 986,142 118,485 50,772 3,599 64,114 1,104,627
หนวย : ลานบาท 2547 2548 772,236 937,149 135,155 147,352 261,890 329,516 31,935 41,178 316,134 385,718 20,024 26,304 6,820 6,816 278 266 275,773 279,395 76,996 76,458 36,325 38,193 26,181 28,620 42,749 45,483 65,012 58,760 9,350 10,106 2,859 3,712 1,849 1,641 763 762 12,625 13,935 993 1,121 280 398 97 86 332 372 167 179 34 40 23 38 44 74 5 48 53 82 92 161 185 106,122 110,403 103,635 106,917 267 285 3,202 2,220 1,154,132 1,326,948 135,747 147,472 49,086 60,664 2,976 3,210 25,075 6,000 1,484 52,611 82,114 1,289,880 1,474,420
75,325 64,655 10,670 2,994 5,916 709,111 709,111 4,789,821 14.8 4,739,558 15.0
57,036 47,358 9,679 3,198 7,278 750,082 750,082 5,069,823 14.8 4,989,221 15.0
77,920 65,682 12,239 3,732 7,698 785,416 785,416 5,345,013 14.7 5,304,426 14.8
79,902 65,769 14,133 4,109 8,234 867,192 16,525 850,667 5,769,578 14.7 5,628,548 15.1
80,150 69,261 10,888 5,042 10,501 1,008,934 40,604 968,330 6,317,302 15.3 6,168,364 15.7
115,574 96,947 18,627 6,368 11,226 1,156,713 47,726 1,108,986 6,954,271 15.9 6,757,787 16.4
131,220 109,625 21,594 7,451 12,421 1,323,328 58,400 1,264,928 7,614,409 16.6 7,454,607 17.0
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีกิจการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปปฏิทิน) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) GDP (ปงบประมาณ) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ)
หนวย : ลานบาท 2555 1,617,293 266,203 544,591 94,097 659,804 41,057 11,180 362 379,652 61,061 59,915 53,500 64,893 117,145 16,208 977 2,318 2,126 1,099 411 57 476 221 23 40 35 0.03 2 104 140 118,973 116,325 323 2,326 2,115,919 239,391 112,268 4,374 122,749 2,355,310
2549 1,057,200 170,079 374,689 56,524 417,772 30,623 7,268 244 274,095 70,742 35,657 29,143 44,207 59,810 10,765 3,525 2,010 1,178 15,523 1,169 367 87 425 185 56 39 52 26 104 196 96,232 93,633 314 2,285 1,427,528 153,996 73,500 3,330 77,165 1,581,524
2550 1,119,194 192,795 384,619 65,735 434,272 34,406 7,137 230 287,231 76,944 41,824 33,298 52,088 55,844 11,735 3,727 1,665 1,426 7,229 1,183 269 87 447 177 68 29 46 16 111 202 90,625 88,169 345 2,112 1,497,050 206,724 80,593 3,052 36,951 86,129 1,703,775
2551 1,276,080 204,847 460,650 74,033 503,439 25,133 7,724 254 278,303 67,211 41,832 36,816 53,465 57,822 12,391 3,769 1,673 1,708 111 1,196 309 84 490 167 63 44 37 6 111 192 99,602 96,944 501 2,157 1,653,985 183,659 77,546 4,682 101,430 1,837,643
2552 1,138,565 198,095 392,172 90,712 431,775 18,099 7,488 223 291,221 91,059 43,936 37,982 48,993 49,278 12,186 3,111 1,608 1,479 1,062 528 73 428 183 43 31 42 7 91 164 80,288 77,187 404 2,697 1,510,074 174,224 83,761 3,822 86,641 1,684,297
2553 1,264,584 208,374 454,565 67,599 502,176 22,892 8,735 243 405,862 152,825 53,381 42,398 58,831 77,202 14,245 1,615 1,979 1,947 1,039 400 64 452 190 39 27 26 0.11 3 95 141 97,148 93,512 169 3,467 1,767,594 235,453 140,031 3,868 91,553 2,003,047
2554 1,515,666 236,339 574,059 81,444 577,632 35,614 10,299 279 399,779 117,914 57,197 48,624 61,498 92,844 14,526 1,183 2,284 2,197 1,088 424 62 494 201 22 24 29 0.03 0.04 113 143 102,882 99,968 241 2,673 2,018,326 206,051 102,687 4,569 98,795 2,224,377
162,951 138,206 24,745 9,172 12,399 1,397,002 57,312 1,339,691 8,400,655 15.9 8,252,527 16.2
181,793 150,035 31,758 9,514 10,416 1,502,051 57,592 1,444,460 9,076,307 15.9 8,846,471 16.3
202,716 173,994 28,723 11,625 12,044 1,611,258 65,420 1,545,837 9,706,932 15.9 9,752,663 15.9
199,408 157,838 41,570 9,040 11,160 1,464,690 53,832 1,410,858 9,654,016 14.6 9,443,365 14.9
208,733 160,052 48,681 11,096 13,005 1,770,213 65,736 1,704,477 10,802,402 15.8 10,614,376 16.1
230,014 188,471 41,543 12,677 14,813 1,966,873 74,556 1,892,317 11,300,485 16.7 11,366,038 16.6
260,374 216,012 44,362 14,815 15,280 2,064,841 88,965 1,975,876 12,354,656 16.0 11,775,760 16.8
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป 2556 1,764,707 299,034 592,499 113,291 698,087 48,771 12,735 290 432,897 63,532 67,893 52,640 69,119 153,874 17,838 1,003 2,933 2,294 1,208 563 58 566 236 32 39 27 107 143 113,393 110,628 254 2,511 2,310,997 260,464 152,568 6,448 101,448 2,571,461
หนวย : ลานบาท 2557 2558 (7 เดือน) 1,729,819 827,935 280,945 185,567 570,118 176,977 102,165 7,733 711,556 417,710 53,034 31,689 11,663 8,045 338 214 382,731 263,302 63,403 66,450 61,001 39,036 64,654 41,380 76,559 51,542 93,473 49,375 16,622 10,794 519 288 2,585 1,749 2,074 1,331 1,157 816 684 541 55 65 552 382 224 158 27 14 35 24 21 12 107 78 136 82 117,740 68,512 114,647 66,722 269 153 2,824 1,637 2,230,290 1,159,749 272,645 201,791 130,527 97,130 5,427 3,895 136,691 100,766 2,502,935 1,361,540
กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 291,007 161,252 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 283,471 - ภาษีมูลคาเพิ่ม 228,941 226,086 129,246 - ภาษีอื่นๆ 54,530 64,921 32,006 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร N/A 8,610 6,513 3. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 15,476 15,439 8,718 4. เงินกันชดเชยการสงออก 16,946 16,178 8,385 รวมรายไดสุทธิ 2,255,568 2,171,701 1,176,672 จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ 93,967 97,041 33,265 รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร 2,161,601 2,074,660 1,143,407 GDP (ปปฏิทิน) 12,910,038 13,148,601 13,635,100 สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) 16.7 15.8 8.4 GDP (ปงบประมาณ) 12,867,249 13,074,771 N/A สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ) 16.8 15.9 N/A หมายเหตุ: 1. ขอมูล GDP ป 2536 - 2558 จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ณ วันที่ 18 พฤษภาคม 2558 2. ผลการจัดเก็บรายไดของกรมศุลกากรตั้งแตปงบประมาณ 2557 เปนตัวเลขกอนหักอากรถอนคืน ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย: สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน หนวย: ลานบาท หนวย: ลานบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดเบ็ดเตล็ด ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร
ต.ค.54 พ.ย.54 ธ.ค.54 ม.ค.55 ก.พ.55 88,824 98,404 91,520 99,215 113,459 18,411 15,450 18,155 27,377 21,977 19,135 33,027 16,639 16,475 25,910 17 640 54 14 7,648 47,791 45,714 52,020 51,665 53,808 2,745 2,837 3,706 2,816 3,198 707 719 914 766 896 17 16 31 102 21 26,802 25,632 30,755 27,908 30,531 4,804 4,701 4,923 5,514 5,245 3,206 7,150 6,214 4,313 4,761 4,117 3,264 5,941 4,715 4,631 5,013 4,940 6,488 5,573 5,802 8,202 3,544 5,271 6,123 8,370 923 1,705 1,520 1,162 1,142 49 31 57 64 72 205 69 47 147 200 163 121 142 150 170 87 64 75 96 108 31 43 79 53 31 5 3 1 5 5 31 23 36 43 58 20 14 13 18 17 2 2 1 3 2 4 2 2 2 1 3 1 2 3 2 0.013 1.738 9 9 8 9 9 12 11 11 12 12 7,752 9,190 10,291 9,760 9,709 7,599 9,012 10,061 9,549 9,531 63 23 27 3 22 90 154 204 208 156 123,377 133,225 132,566 136,883 153,698 25,002 25,764 11,789 15,325 19,149 4,221 13,571 8,793 6,459 14,736 82 426 160 1,580 620 20,700 11,767 2,836 7,286 3,793 148,380 158,989 144,355 152,208 172,847
ปงบประมาณ 2555 มี.ค.55 เม.ย.55 110,475 105,826 32,109 26,879 17,071 17,734 935 664 55,599 56,659 3,788 3,009 948 857 26 24 37,620 32,213 5,151 4,897 6,195 5,363 5,812 4,411 6,796 5,449 11,460 9,908 1,569 1,540 92 77 216 243 194 198 107 103 27 22 5 5 54 48 19 21 2 2 3 4 2 3 9 9 12 12 11,195 10,317 10,874 10,128 66 24 255 165 159,291 148,355 15,981 25,262 5,012 4,195 270 654 10,699 20,413 175,272 173,617
พ.ค.55 277,714 22,403 121,712 72,530 56,276 3,605 1,160 27 31,324 5,128 4,043 3,629 5,190 11,198 1,543 94 197 186 90 26 7 36 20 2 2 4 9 11 11,314 11,077 28 209 320,351 20,106 15,338 120 4,648 340,457
มิ.ย.55 152,927 23,009 66,689 748 57,025 4,268 1,162 27 32,068 4,997 4,026 3,852 4,658 12,453 1,391 121 249 203 89 28 5 38 17 1 5 3 8 12 9,829 9,699 3 127 194,824 12,661 8,811 141 3,709 207,485
ก.ค.55 100,699 20,857 18,874 0.29 56,349 3,562 1,030 26 34,015 5,327 5,070 4,325 5,218 12,219 1,195 110 243 196 87 26 5 35 18 2 3 3 0.001 8 12 9,960 9,908 32 20 144,674 13,444 4,724 99 8,621 158,118
ส.ค.55 207,576 19,304 114,643 10,833 58,229 3,567 977 24 36,790 5,338 5,562 4,756 4,787 14,307 1,334 111 259 219 94 23 5 36 20 2 7 3 0.013 0.591 8 12 10,496 9,865 29 601 254,862 20,403 16,890 107 3,407 275,265
ก.ย.55 170,656 20,272 76,681 12 68,669 3,957 1,043 22 33,995 5,036 4,012 4,048 4,981 14,089 1,183 100 242 186 98 22 5 38 24 2 4 5 8 12 9,162 9,023 2 136 213,813 34,505 9,520 116 24,869 248,317
13,553 12,270 1,283 1,040 826 132,961 132,961
26,956 18,040 8,916 1,303 1,198 145,815 5,845 139,969
24,039 18,291 5,748 1,256 1,348 313,814 7,541 306,273
22,729 18,257 4,472 1,339 2,538 180,879 6,661 174,218
21,318 19,324 1,994 1,281 1,071 134,448 7,534 126,914
23,803 21,035 2,768 1,273 1,259 248,930 8,170 240,760
30,245 27,654 2,590 1,524 2,026 214,524 38,445 176,079
18,234 16,564 1,669 1,012 908 138,836 138,836
15,409 14,104 1,304 1,198 1,084 126,665 126,665
15,490 14,114 1,377 1,074 1,011 134,632 134,632
25,190 20,412 4,778 1,249 1,017 145,391 7,155 138,236
23,409 15,946 7,463 1,265 995 147,948 7,615 140,333
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน หนวย: ลานบาท หนวย: ลานบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดเบ็ดเตล็ด ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร
ต.ค.55 106,740 21,133 21,836 0.69 58,962 3,732 1,053 24 37,241 4,945 4,684 4,031 6,449 15,162 1,325 95 225 183 95 49 6 36 26 2 2 3 8 12 10,859 10,535 20 303 154,839 18,996 4,919 831 13,247 173,835
พ.ย.55 122,454 19,553 35,395 600 61,600 4,218 1,068 20 41,689 5,121 6,041 4,987 7,271 15,992 1,607 90 214 208 95 64 5 38 23 2 3 2 9 12 10,679 10,484 20 175 174,822 25,777 19,738 970 5,068 200,599
ธ.ค.55 117,663 19,113 33,800 1,538 57,487 4,720 987 19 40,140 5,485 5,072 3,992 6,780 16,540 1,554 90 213 203 107 104 5 50 21 4 3 2 10 12 9,533 9,378 20 136 167,337 40,320 35,810 1,629 2,881 207,657
ม.ค.56 124,080 33,461 22,467 1,435 62,107 3,508 1,082 19 37,983 5,856 5,753 5,392 5,503 13,204 1,568 93 241 161 115 96 5 60 17 3 4 2 11 12 9,895 9,814 3 78 171,958 14,959 5,620 240 9,099 186,917
ก.พ.56 115,473 23,673 20,506 9,676 56,913 3,662 1,024 19 36,007 4,882 6,392 4,568 5,326 12,700 1,424 101 243 200 123 48 4 69 20 2 3 2 10 12 8,595 8,338 22 235 160,076 25,311 19,461 420 5,431 185,387
ปงบประมาณ 2556 มี.ค.56 เม.ย.56 116,606 118,463 35,874 30,789 18,220 23,147 9 228 57,134 59,568 4,240 3,661 1,103 1,040 26 29 38,110 37,844 5,211 5,501 5,640 5,153 4,637 4,730 6,816 6,093 13,284 13,785 1,816 1,854 96 86 258 295 192 212 113 108 46 29 4 7 62 53 20 18 2 2 2 4 2 2 9 9 12 12 9,107 8,948 8,897 8,804 16 3 194 140 163,823 165,255 21,657 26,924 6,376 4,399 246 662 15,034 21,863 185,479 192,179
พ.ค.56 291,871 25,245 114,243 90,970 56,123 4,150 1,113 28 33,387 5,501 5,288 4,221 5,812 10,326 1,611 84 241 187 91 25 5 39 19 2 4 2 9 12 8,637 8,453 39 146 333,895 29,152 18,486 107 10,559 363,048
มิ.ย.56 164,929 24,816 78,109 0.08 56,374 4,553 1,048 29 34,048 5,028 5,218 3,932 4,752 12,996 1,446 72 285 199 95 25 4 43 18 3 3 2 8 12 8,714 8,523 37 155 207,691 10,250 7,548 121 2,582 217,942
ก.ค.56 104,928 22,656 20,989 0.57 56,117 4,059 1,080 27 31,761 5,562 5,412 4,137 4,386 10,531 1,126 62 248 180 87 28 4 39 16 2 3 2 8 12 9,688 9,357 23 307 146,376 16,352 5,961 110 10,281 162,728
ส.ค.56 181,778 20,926 88,631 7,059 59,840 4,228 1,070 24 32,885 5,191 5,645 5,130 4,525 10,636 1,133 65 258 189 88 26 4 37 19 4 2 2 8 12 9,677 9,211 24 442 224,340 21,255 17,968 116 3,171 245,594
ก.ย.56 199,722 21,795 115,157 1,774 55,862 4,040 1,067 27 31,803 5,249 7,594 2,885 5,406 8,716 1,375 68 213 182 92 23 5 38 19 3 4 2 9 12 9,060 8,833 27 200 240,586 9,511 6,283 996 2,232 250,097
24,357 23,516 18,129 20,759 27,095 32,750 27,958 23,731 23,943 21,305 19,452 20,478 22,251 21,618 16,983 17,687 20,696 21,995 17,264 17,428 19,338 18,900 17,104 17,677 2,106 1,898 1,146 3,072 6,399 10,754 10,694 6,303 4,604 2,405 2,348 2,801 1,332 1,313 1,293 1,371 1,234 1,326 1,378 1,177 1,277 1,241 1,310 1,224 1,180 1,234 1,247 1,308 991 1,276 1,283 1,287 2,635 1,069 1,284 2,152 146,966 174,537 186,988 163,480 156,067 150,128 161,560 336,853 190,087 139,113 223,548 226,243 32,385 7,249 7,022 8,499 7,745 31,067 146,966 174,537 186,988 163,480 156,067 150,128 129,175 329,603 183,065 130,614 215,803 195,177
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน หนวย: ลานบาท หนวย: ลานบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดเบ็ดเตล็ด ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 4. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร
ต.ค.56 112,332 22,094 23,685 0.07 61,045 4,396 1,085 26 36,625 5,204 5,837 7,069 7,552 9,153 1,164 74 219 190 96 67 6 36 23 4 5 2 8 12 10,400 10,257 2 141 159,357 44,051 7,168 250 36,633 203,407
พ.ย.56 118,159 20,613 33,865 1,154 57,073 4,460 971 23 34,994 5,014 3,452 7,830 8,070 8,592 1,523 50 179 135 81 68 2 36 14 3 2 2 10 12 9,983 9,843 2 138 163,136 26,180 18,411 260 7,509 189,316
ธ.ค.56 126,301 19,217 39,155 1,950 59,889 5,128 941 21 32,666 4,934 4,886 4,170 7,156 9,682 1,277 39 179 133 94 117 2 50 13 2 2 2 10 12 9,788 9,614 23 151 168,755 15,356 10,206 1,953 3,196 184,111
ม.ค.57 120,637 27,634 23,265 0.05 64,671 4,103 942 22 33,324 5,671 4,810 6,144 6,056 8,713 1,220 35 251 210 114 100 3 59 20 2 6 2 11 12 10,162 9,908 26 228 164,122 21,106 6,192 306 14,609 185,228
ก.พ.57 115,871 23,865 21,856 8,850 56,265 4,124 889 22 31,364 5,312 5,382 4,729 6,208 7,922 1,213 40 214 170 118 55 4 67 18 3 3 2 9 11 8,695 8,610 25 61 155,930 26,810 18,289 720 7,802 182,740
ปงบประมาณ 2557 มี.ค.57 เม.ย.57 112,535 111,183 30,194 26,610 19,599 19,551 0.14 0.07 57,252 60,060 4,477 3,993 981 938 32 31 36,125 33,339 5,208 5,124 5,641 5,844 5,751 4,964 8,795 6,717 8,425 8,406 1,728 1,676 41 22 211 264 161 177 107 102 57 42 4 4 59 52 19 21 2 2 4 3 1 8 9 11 11 9,796 9,028 9,450 8,878 28 24 318 127 158,456 153,550 17,887 25,410 5,419 6,623 285 667 12,183 18,120 176,343 178,960
21,481 18,150 3,331 853 1,341 1,161 178,571
19,669 18,085 1,584 1,015 1,208 973 166,451
21,795 19,695 2,100 1,099 1,391 1,385 158,441
178,571
166,451
158,441
17,382 15,344 2,038 553 1,370 1,197 164,726 8,591 156,134
22,987 16,045 6,942 711 1,243 956 156,843 7,799 149,044
32,989 19,914 13,075 847 1,229 1,205 140,072 8,036 132,037
29,647 18,646 11,001 607 1,302 1,123 146,281 9,889 136,392
พ.ค.57 252,501 24,557 99,442 64,478 58,779 4,281 932 31 30,134 5,140 5,397 5,181 5,485 6,866 1,524 36 203 170 89 45 4 40 22 2 1 2 9 11 9,449 9,323 24 102 292,084 32,731 17,172 317 15,242 324,815
มิ.ย.57 180,339 23,623 78,322 15,420 57,491 4,482 964 36 28,003 4,757 5,436 4,510 5,140 6,250 1,395 31 223 157 81 24 2 41 15 2 2 2 7 10 9,533 9,344 24 166 217,875 13,384 9,024 197 4,163 231,259
ก.ค.57 110,035 21,450 21,953 1,574 59,482 4,553 989 33 27,768 5,560 4,420 4,318 5,093 6,542 1,236 45 228 207 83 39 4 35 18 2 3 2 7 11 10,526 9,800 23 703 148,329 15,471 6,147 144 9,180 163,799
ส.ค.57 175,683 20,050 82,924 7,088 60,499 4,173 918 30 28,026 5,380 4,653 4,944 4,954 6,213 1,319 48 211 178 94 32 9 38 20 3 3 2 9 12 9,583 9,367 23 193 213,291 22,164 18,672 156 3,336 235,456
ก.ย.57 194,245 21,038 106,500 1,649 59,049 4,864 1,113 32 30,363 6,099 5,244 5,045 5,333 6,709 1,348 58 203 187 99 39 11 39 22 2 2 2 10 12 10,797 10,252 47 498 235,404 12,094 7,204 172 4,718 247,499
34,977 25,139 9,838 569 1,271 1,255 286,742 8,062 278,680
25,713 19,044 6,669 901 1,239 2,559 200,848 7,456 193,392
23,081 20,038 3,043 522 1,256 1,101 137,838 8,285 129,553
20,937 19,055 1,883 422 1,308 1,064 211,724 6,668 205,056
20,348 16,932 3,416 511 1,280 2,199 223,161 32,254 190,907
ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน หนวย: ลานบาท หนวย: ลานบาท กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดเบ็ดเตล็ด ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. อากรถอนคืนกรมศุลกากร 3. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 4. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร
ต.ค.57 111,838 21,261 23,367 16 61,214 4,717 1,231 30 33,935 5,852 7,272 5,099 6,721 6,755 1,596 50 233 183 105 68 9 43 24 2 5 2 9 12 10,303 10,084 22 198 156,076 45,740 8,614 162 36,963 201,815
พ.ย.57 119,166 20,831 34,179 669 58,010 4,345 1,107 26 32,589 5,130 5,570 5,803 7,040 6,931 1,451 48 244 195 99 78 8 39 22 2 4 2 10 12 9,728 9,562 19 146 161,483 24,559 19,006 352 5,200 186,042
24,427 21,501 2,927 1,300 1,246 1,139 173,703 173,703
21,215 19,602 1,613 1,104 1,171 950 161,601 161,601
ปงบประมาณ 2558 ธ.ค.57 ม.ค.58 118,500 126,302 19,641 34,931 32,464 22,945 562 13 58,932 62,977 5,441 4,352 1,432 1,058 28 26 35,690 39,967 7,554 11,237 5,644 5,211 5,062 7,337 7,707 6,427 7,264 7,908 1,711 1,178 38 41 261 230 193 174 111 124 146 100 9 9 50 60 23 21 2 3 3 4 2 2 11 13 12 12 10,295 9,692 10,104 9,533 21 17 170 142 164,485 175,962 31,386 13,967 25,007 7,013 1,787 275 4,592 6,680 195,872 189,929 20,490 18,657 1,833 783 1,225 1,261 172,113 172,113
18,203 15,999 2,204 691 1,178 1,254 168,603 7,989 160,614
หมายเหตุ: ผลจัดเก็บรายไดของกรมศุลกากรตั้งแต เดือนตุลาคม 2556 เปนตนไป เปนตัวเลขกอนหักอากรถอนคืน ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย: สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ก.พ.58 111,205 23,760 21,406 6,465 54,719 3,826 998 31 37,961 10,376 5,902 6,749 7,149 5,878 1,253 38 234 189 139 54 9 74 24 2 3 2 13 12 9,203 8,852 37 314 158,370 22,949 15,792 734 6,423 181,319
มี.ค.58 123,301 35,623 20,838 0.16 61,037 4,630 1,137 36 43,478 12,489 6,227 6,725 9,285 6,279 1,790 38 270 203 122 51 9 63 24 2 1 2 11 11 9,764 9,261 20 484 176,543 23,034 15,280 304 7,450 199,577
เม.ย.58 117,622 29,521 21,777 8 60,821 4,377 1,081 37 39,682 13,812 3,211 4,605 7,214 8,360 1,817 34 275 194 116 44 13 53 20 2 5 2 11 12 9,526 9,325 17 184 166,830 40,156 6,418 281 33,457 206,986
21,116 16,687 4,429 700 1,069 1,105 157,329 7,704 149,624
30,000 19,800 10,200 955 1,429 1,376 165,817 8,087 157,731
25,800 17,000 8,800 981 1,400 1,300 177,505 9,485 168,020
สัดสวนรายไดตอ GDP (FY) 1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7
ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น ๆ
หนวย: รอยละ 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 12.57 12.81 12.65 13.08 12.06 11.91 13.34 13.73 13.71 13.23 1.98 4.42 0.55 5.17 0.35 0.09 0.00
2.06 4.54 0.68 5.06 0.37 0.09 0.00
2.18 4.35 0.74 4.91 0.39 0.08 0.00
2.10 4.72 0.76 5.16 0.26 0.08 0.00
2.10 4.15 0.96 4.57 0.19 0.08 0.00
1.96 4.28 0.64 4.73 0.22 0.08 0.00
2.08 5.05 0.72 5.08 0.31 0.09 0.00
2.26 4.62 0.80 5.60 0.35 0.09 0.00
2.32 4.60 0.88 5.43 0.38 0.10 0.00
2.15 4.36 0.78 5.44 0.41 0.09 0.00
2. กรมสรรพสามิต
3.75
3.32
3.25
2.85
3.08
3.82
3.52
3.22
3.36
2.93
3. กรมศุลกากร
1.48
1.17
1.10
1.02
0.85
0.92
0.91
1.01
0.88
0.90
4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น
1.12 0.86
0.94 0.93
1.04 1.36
1.04 0.84
0.92 0.93
0.86 1.36
0.87 0.94
1.04 0.99
0.79 1.24
1.05 1.04
2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีกิจการโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ
5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ
1.03 0.51 0.38 0.61 0.79 0.14 0.05 0.02 0.01 0.19 0.02 0.01 1.43 0.00 0.04
0.81 0.04
0.86 0.43 0.35 0.54 0.72 0.13 0.04 0.02 0.01 0.19 0.01 0.00 1.13 0.00 0.03
0.89 0.04
0.87 0.47 0.38 0.59 0.63 0.13 0.04 0.02 0.02 0.08 0.01 0.00 1.00 0.00 0.02
0.91 0.03
0.69 0.43 0.38 0.55 0.59 0.13 0.04 0.02 0.02 0.00 0.01 0.00 0.99 0.01 0.02
0.80 0.05
0.96 0.47 0.40 0.52 0.52 0.13 0.03 0.02 0.02 0.01 0.01 0.82 0.00 0.03
0.89 0.04
1.44 0.50 0.40 0.55 0.73 0.13 0.02 0.02 0.02 0.01 0.00 0.88 0.00 0.03
1.32 0.04
1.04 0.50 0.43 0.54 0.82 0.13 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.88 0.00 0.02
0.90 0.04
0.52 0.51 0.45 0.55 0.99 0.14 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.99 0.00 0.02
0.95 0.04
0.49 0.53 0.41 0.54 1.20 0.14 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.86 0.00 0.02
1.19 0.05
0.48 0.47 0.49 0.59 0.71 0.13 0.00 0.02 0.02 0.01 0.01 0.88 0.00 0.02
1.00 0.04
6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก
19.78 19.16 19.26 18.84 17.84 18.87 19.57 20.00 19.98 19.14 2.03 2.24 2.28 2.32 2.33 2.19 2.27 2.47 2.46 2.53
8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.
17.75 16.93 16.98 16.52 15.51 16.68 17.30 17.53 17.53 16.61 0.78 0.69 0.65 0.67 0.57 0.62 0.66 0.76 0.73 0.74 16.97 16.23 16.33 15.85 14.94 16.06 16.65 16.78 16.80 15.87
7.1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก
1.76 1.47 0.29 0.10 0.17
1.97 1.67 0.30 0.11 0.15
2.05 1.70 0.36 0.11 0.12
2.08 1.78 0.29 0.12 0.12
2.11 1.67 0.44 0.10 0.12
1.97 1.51 0.46 0.10 0.12
2.02 1.66 0.37 0.11 0.13
2.21 1.83 0.38 0.13 0.13
2.20 1.78 0.42 0.12 0.13
2.23 1.73 0.50 0.12 0.12
Revenue Buoyancy (GDP: FY) 1. กรมสรรพากร
หนวย: รอยละ 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2.07 1.20 0.81 1.37 3.40 0.89 2.80 1.86 0.98 (1.23)
2. กรมสรรพสามิต
0.13 (0.18) 0.67 (0.30) (1.46) 3.17 (0.21) (1.40) 1.51 (7.19)
3. กรมศุลกากร
0.39 (1.20) (0.81) 0.97
4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น
4.13 (0.72) 1.61 1.73 4.60 0.46 1.12 6.73 (1.87) 21.54 (1.67) 1.90 7.91 (3.11) (2.05) 5.19 (3.60) 2.43 3.92 (8.99)
6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก
1.39 1.31
1.07 1.30
0.77 1.19
2.63 0.94
1.53 0.49
1.56 1.50
1.63 3.55
0.99 (1.65) 0.94 3.01
8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.
1.40 0.52 1.04 2.17 (0.17) 0.07 1.36 0.55 1.09
0.71 1.33 0.69
2.87 5.59 2.75
1.68 1.78 1.68
1.57 1.89 1.56
1.38 5.36 1.22
1.00 (2.31) 0.61 2.03 1.01 (2.49)
1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7
ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น ๆ
2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีกิจการโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ
3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ
5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ
7.1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก
0.88 2.50 2.81 2.13 3.04 (0.01) (0.41)
1.44 1.28 3.48 0.78 1.53 0.62 (0.77)
1.86 0.37 2.26 0.55 1.72 (0.25) (0.84)
0.61 1.93 1.23 1.55 (2.63) 0.80 1.04
1.04 4.69 (7.10) 4.49 8.82 0.96 3.85
0.42 1.28 (2.05) 1.31 2.14 1.34 0.73
1.90 3.71 2.89 2.12 7.85 2.53 2.05
(0.07) 0.50 0.90 0.62 (0.93) 0.78 2.89 1.23 (0.01) 1.01 1.25 4.07
(0.70) (0.62) 0.17 (0.26) 0.17 0.61 (0.47) 0.82 5.09 1.06 0.40 (0.71)
1.22 2.40 1.98 2.48 (0.92) 1.25 0.79 (2.38) 2.93 (7.42) 0.16 (3.73)
(1.23) (11.19) 0.00 (1.59) 1.03 (1.00) 0.26 2.64 0.35 4.66 0.55 0.52 0.11 5.51 0.04 1.21 1.93 4.23 (9.61) 0.11 3.54 1.44 (22.43)
5.47 1.73 0.94 1.62 4.57 1.36 (3.88) 1.86 2.56 (0.18) (1.96)
(3.23) (13.38) 1.01 1.32 2.07 2.78 0.64 1.53 2.86 7.26 0.28 3.21 (3.77) (4.82) 2.17 0.42 1.81 (0.89) 0.67 0.28 0.87 (0.86)
0.44 (0.13) 1.44 (6.29) (0.17) 14.15 0.70 6.67 3.38 (24.34) 1.09 (4.23) 0.29 (29.95) 2.86 (7.36) 0.85 (5.95) 1.07 (2.60) 3.99 13.31
0.31 0.64 4.29
(1.16) 0.98 (2.68)
(0.81) 1.34 (1.05)
0.97 4.44 0.21
0.97 6.01 (3.24)
4.54 9.34 (3.61)
(0.53) (2.29) 0.86
2.25 3.81 7.72
2.29 0.76
1.98 0.35
1.34 (1.16)
(0.37) 5.21
2.59 (1.19)
3.87 5.12
(8.96) (9.82)
0.96 0.65 2.47 0.48 1.18
1.65 (0.77) 11.82 (0.15) (2.81)
1.31 1.27 1.54 1.65 1.03
0.68 2.07
2.26 2.44 1.36 2.16 (0.02)
1.61 1.19 3.94 0.52 (2.22)
6.11
6.43 6.14 (7.89)
(2.53) 5.79
1.12 0.51 1.56 2.93 (0.93) (14.10) 2.17 7.01 1.53 2.31
1.69
1.71 (4.69) 2.30
5.42 0.10
0.38 0.11 1.38 1.83 1.33
0.83
(3.77) 2.56
1.44 2.51 (2.07) 2.01 1.96
3.51 (1.42) 4.31 3.95 4.24 2.37 8.34
1.33 0.95 2.20 0.63 2.03 1.50 (2.15)
(3.75) (2.34) (6.09) 1.20 5.42 (5.22) 10.32
4.34 (0.51) 2.38
3.66 4.05 1.88 4.68 0.88
สัดสวนรายไดตอ GDP (CY) 1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7
ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น ๆ
หนวย: รอยละ 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 12.31 12.58 12.33 13.15 11.79 11.71 13.41 13.09 13.67 13.16 1.94 4.33 0.54 5.07 0.35 0.09 0.00
2.02 4.46 0.67 4.97 0.36 0.09 0.00
2.12 4.24 0.72 4.78 0.38 0.08 0.00
2.11 4.75 0.76 5.19 0.26 0.08 0.00
2.05 4.06 0.94 4.47 0.19 0.08 0.00
1.93 4.21 0.63 4.65 0.21 0.08 0.00
2.09 5.08 0.72 5.11 0.32 0.09 0.00
2.15 4.41 0.76 5.34 0.33 0.09 0.00
2.32 4.59 0.88 5.41 0.38 0.10 0.00
2.14 4.34 0.78 5.41 0.40 0.09 0.00
2. กรมสรรพสามิต
3.67
3.26
3.16
2.87
3.02
3.76
3.54
3.07
3.35
2.91
3. กรมศุลกากร
1.45
1.15
1.08
1.03
0.83
0.90
0.91
0.96
0.88
0.90
4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น
1.10 0.84
0.92 0.91
1.03 1.33
1.04 0.85
0.90 0.91
0.85 1.33
0.87 0.95
0.99 0.94
0.79 1.23
1.04 1.03
2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีกิจการโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ
3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ
5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ
1.00 0.50 0.38 0.60 0.77 0.13 0.05 0.02 0.01 0.18 0.01 0.01
1.40 0.00 0.04
0.80 0.04
0.84 0.42 0.35 0.53 0.71 0.13 0.04 0.02 0.01 0.18 0.01 0.00
1.11 0.00 0.03
0.87 0.04
0.85 0.46 0.37 0.57 0.62 0.13 0.04 0.02 0.02 0.08 0.01 0.00
0.97 0.00 0.02
0.89 0.03
0.69 0.43 0.38 0.55 0.60 0.13 0.04 0.02 0.02 0.00 0.01 0.00
1.00 0.01 0.02
0.80 0.05
0.94 0.46 0.39 0.51 0.51 0.13 0.03 0.02 0.02 0.01 0.01
0.80 0.00 0.03
0.87 0.04
1.41 0.49 0.39 0.54 0.71 0.13 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.87 0.00 0.03
1.30 0.04
1.04 0.51 0.43 0.54 0.82 0.13 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.88 0.00 0.02
0.91 0.04
0.49 0.48 0.43 0.53 0.95 0.13 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.94 0.00 0.02
0.91 0.04
0.49 0.53 0.41 0.54 1.19 0.14 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.86 0.00 0.02
1.18 0.05
0.48 0.46 0.49 0.58 0.71 0.13 0.00 0.02 0.02 0.01 0.01 0.87 0.00 0.02
0.99 0.04
6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก
19.36 18.83 18.77 18.93 17.45 18.54 19.68 19.06 19.92 19.04 1.98 2.20 2.22 2.33 2.27 2.16 2.28 2.35 2.45 2.52
8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.
17.38 16.63 16.55 16.60 15.17 16.39 17.41 16.71 17.47 16.52 0.77 0.68 0.63 0.67 0.56 0.61 0.66 0.72 0.73 0.74 16.61 15.95 15.91 15.93 14.61 15.78 16.75 15.99 16.74 15.78
7.1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก
1.72 1.44 0.28 0.10 0.16
1.94 1.65 0.29 0.11 0.15
2.00 1.65 0.35 0.10 0.11
2.09 1.79 0.30 0.12 0.12
2.07 1.63 0.43 0.09 0.12
1.93 1.48 0.45 0.10 0.12
2.04 1.67 0.37 0.11 0.13
2.11 1.75 0.36 0.12 0.12
2.20 1.77 0.42 0.12 0.13
2.21 1.72 0.49 0.12 0.12
Revenue Buoyancy (GDP: CY) 1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7
ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น ๆ
หนวย: รอยละ 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2.25 1.24 0.73 2.02 19.77 0.93 4.31 0.72 2.03 (1.07) 0.95 2.72 3.05 2.32 3.30 (0.01) (0.45)
1.49 1.33 3.61 0.80 1.59 0.64 (0.79)
1.66 0.33 2.03 0.49 1.54 (0.23) (0.76)
2. กรมสรรพสามิต
0.14
(0.18)
0.60
3. กรมศุลกากร
0.42
(1.24) (0.72) (1.20) 1.01 (2.77)
(0.73) 1.20 (0.94)
4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น
4.49 (0.75) (1.81) 1.96 2.48 0.83
2.05 0.36
6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก
1.51 1.42
8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.
1.52 2.36 1.48
2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีกิจการโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ
5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ
7.1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก
(0.07) 0.54 0.98 0.67 (1.01) 0.85 3.14 1.33 (0.01) 1.09 1.36 4.42 0.33 0.69 4.66
1.43 1.38 1.68 1.79 1.12
0.44 1.34 (2.14) 1.37 2.23 1.40 0.77
2.91 5.70 4.44 3.26 12.05 3.88 3.15
(0.45) (8.52)
3.31
1.43 35.57
1.44 7.08
0.70 2.14
0.54 (0.18) 0.57
(0.72) (0.64) 0.18 (0.27) 0.17 0.63 (0.49) 0.85 5.28 1.10 0.42 (0.74)
2.34 2.52 1.41 2.24 (0.02)
2.74 1.96 4.54 1.29 4.18 3.09 (4.43)
(3.27) (2.04) (5.31) 1.04 4.73 (4.55) 9.01
(0.33) (0.54) (4.95) 1.55 3.18 0.98 4.39 0.43 (5.80) 3.33 2.78 1.04 1.33
(5.17) 0.51 1.07 0.59 2.81 1.24 (1.86) 0.16 (0.34) 0.11 (0.33)
3.12
(6.27)
1.77
1.28
1.68
(1.04)
2.07
2.56 26.75 (4.58) (11.95)
0.48 5.41
1.72 (5.52)
2.60 0.94
(3.86) 18.80 8.08 (7.85) 7.99 10.55
(7.82) (8.57)
0.96 1.16
1.13 15.31 1.76 5.49
1.59 0.51
2.40 2.30
0.63 1.37
2.04 1.95
(1.44) 2.63
0.93 0.06 0.97
1.05 16.69 1.96 32.49 1.01 16.02
1.75 1.86 1.75
2.41 2.91 2.39
0.53 2.07 0.47
2.05 1.25 2.09
(2.01) 1.77 (2.18)
1.09 2.15 1.77 2.22 (0.82) 1.12 0.71 (2.13) 2.62 (6.64) 0.15 (3.34)
1.20 (1.04)
1.44 1.06 3.52 0.46 (1.99)
0.90 2.85 1.82 2.29 (3.88) 1.18 1.53
6.05 27.27 (41.33) 26.11 51.34 5.60 22.42
(1.82) (65.09) 0.00 (9.23) 1.52 (5.81) 0.38 15.34 0.51 27.11 0.80 3.03 0.17 32.06 0.06 7.06 2.84 24.60 (14.17) 0.16 20.58 2.13 (130.51) 1.43 6.54 0.31
(0.54) 7.69
1.66 2.30 (1.38) 3.19 2.25
37.38 35.70 (45.91)
(14.70) 33.71
2.99 17.03 (82.04) 40.78 13.46
5.70 1.81 0.98 1.69 4.76 1.42 (4.04) 1.94 2.66 (0.19) (2.04)
1.78 (4.89) 2.40
5.65 0.10
0.39 0.12 1.44 1.91 1.39
1.50 9.24 (4.97)
(5.78) 3.93
2.21 3.85 (3.18) 3.09 3.01
1.35 (0.55) 1.67 1.52 1.64 0.92 3.22
1.75 3.61 (1.39)
1.00 (0.46)
1.41 1.57 0.73 1.81 0.34
0.90 2.96 (0.36) 1.45 6.97 2.24 0.59 5.91 1.76 2.21 8.23 (1.09) (4.71) 1.78
1.97 1.33 5.10 0.99 2.42
หมายเหตุ: 1. ขอมูล GDP จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ณ วันที่ 18 พฤษภาคม 2558 2. ผลการจัดเก็บรายไดของกรมศุลกากรตั้งแตปงบประมาณ 2557 เปนตัวเลขกอนหักอากรถอนคืน ที่มา: กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมบัญชีกลาง สํานักงบประมาณ และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จัดทําโดย: สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
(0.11) (5.49) 12.35 5.83 (21.24) (3.69) (26.14) (6.42) (5.20) (2.27) 11.62 1.97 3.32 6.74
1.44 (0.67) 10.31 (0.13) (2.45)
โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ
หนวย : ลานบาท
2532
2533
2534
2535
2536
285,500.0
335,000.0
387,500.0
460,400.0
560,000.0
(สัดสวนตอ GDP) (%)
16.9
16.7
16.1
17.6
17.9
(อัตราเพิ่ม) (%)
17.2
17.3
15.7
18.8
21.6
210,571.8
227,541.2
261,932.2
301,818.2
351,060.8
(สัดสวนตอ GDP) (%)
12.5
11.3
10.9
11.5
11.2
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
73.8
67.9
67.6
65.6
62.7
(อัตราเพิม่ ) (%)
13.3
8.1
15.1
15.2
16.3
53,592.4
82,043.2
105,647.6
130,652.6
171,606.7
3.2
4.1
4.4
5.0
5.5
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
18.8
24.5
27.3
28.4
30.6
(อัตราเพิม่ ) (%)
32.9
53.1
28.8
23.7
31.3
21,335.8
25,415.6
19,920.2
27,929.2
37,332.5
7.5
7.6
5.1
6.1
6.7
22.9
19.1
(21.6)
40.2
33.7
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
262,500.0
310,000.0
387,500.0
460,400.0
534,400.0
15.5
15.5
16.1
17.6
17.1
9.4
18.1
25.0
18.8
16.1
(23,000.0)
(25,000.0)
0.0
0.0
(25,600.0)
(1.4)
(1.2)
0.0
0.0
(0.8)
1,690,500.0
2,005,254.0
2,400,000.0
2,620,000.0
3,130,000.0
9.2
19.5
1. วงเงินงบประมาณ
1.1 รายจายประจํา
1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)
1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ
(อัตราเพิ่ม GDP) (%) 22.4 18.6 19.7 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2532 - 2559 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ 2533 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 1,507.5 ลานบาท
โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ
หนวย : ลานบาท
2537
2538
2539
2540
2541
625,000.0
715,000.0
843,200.0
944,000.0
800,000.0
(สัดสวนตอ GDP) (%)
17.9
17.4
18.0
18.1
15.8
(อัตราเพิ่ม) (%)
11.6
14.4
17.9
12.0
(15.3)
376,382.3
434,383.3
482,368.2
528,293.4
512,331.1
(สัดสวนตอ GDP) (%)
10.8
10.6
10.3
10.1
10.1
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
60.2
60.8
57.2
56.0
64.0
7.2
15.4
11.0
9.5
(3.0)
212,975.6
253,839.8
327,288.6
391,209.7
256,432.8
6.1
6.2
7.0
7.5
5.1
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
34.1
35.5
38.8
41.4
32.1
(อัตราเพิม่ ) (%)
24.1
19.2
28.9
19.5
(34.5)
35,642.1
26,776.9
33,543.2
24,496.9
31,236.1
5.7
3.7
4.0
2.6
3.9
(4.5)
(24.9)
25.3
(27.0)
27.5
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
600,000.0
715,000.0
843,200.0
925,000.0
782,020.0
(สัดสวนตอ GDP) (%)
17.1
17.4
18.0
17.8
15.4
(อัตราเพิ่ม) (%)
12.3
19.2
17.9
9.7
(15.5)
(25,000.0)
0.0
0.0
(19,000.0)
(17,980.0)
(0.7)
0.0
0.0
(0.4)
(0.4)
3,499,000.0
4,099,000.0
4,684,000.0
5,205,500.0
5,076,000.0
1. วงเงินงบประมาณ
1.1 รายจายประจํา
(อัตราเพิม่ ) (%) 1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)
1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได
3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ
(อัตราเพิ่ม GDP) (%) 11.8 17.1 14.3 11.1 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2532 - 2559 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ พ.ศ. 2540 เปนตัวเลขที่ปรับลดจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใชจํานวน 984,000 ลานบาท 2. ปงบประมาณ พ.ศ. 2541 เปนตัวเลขที่ปรับลดและปรับเพิ่มจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใชจํานวน 923,000 ลานบาท
(2.5)
โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ
หนวย : ลานบาท
2542
2543
2544
825,000.0
860,000.0
910,000.0
1,023,000.0
999,900.0
(สัดสวนตอ GDP) (%)
16.5
16.7
17.5
19.3
17.2
(อัตราเพิ่ม) (%)
(0.6)
4.2
5.8
12.4
(2.3)
586,115.1
635,585.1
679,286.5
773,714.1
753,454.7
(สัดสวนตอ GDP) (%)
11.7
12.4
13.0
14.6
13.0
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
71.0
73.9
74.6
75.6
75.4
(อัตราเพิม่ ) (%)
12.8
8.4
6.9
13.9
(2.6)
233,534.7
217,097.6
218,578.2
223,617.0
211,493.5
4.7
4.2
4.2
4.2
3.6
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
28.3
25.2
24.0
21.9
21.2
(อัตราเพิม่ ) (%)
(8.9)
(7.0)
0.7
2.3
(5.4)
5,350.2
7,317.3
12,135.3
25,668.9
34,951.8
0.6
0.9
1.3
2.5
3.5
(82.9)
36.8
65.8
111.5
36.2
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
800,000.0
750,000.0
805,000.0
823,000.0
825,000.0
16.0
14.6
15.5
15.5
14.2
2.3
(6.3)
7.3
2.2
0.2
(25,000.0)
(110,000.0)
(105,000.0)
(200,000.0)
(174,900.0)
(0.5)
(2.1)
(2.0)
(3.8)
(3.0)
5,002,000.0
5,137,000.0
5,208,600.0
5,309,200.0
5,799,700.0
(อัตราเพิ่ม GDP) (%) (1.4) 2.7 1.4 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2532 - 2559 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
1.9
9.2
1. วงเงินงบประมาณ
1.1 รายจายประจํา
1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)
1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ
2545
2546
โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ
2547
2548
2549
หนวย : ลานบาท
2550
2551
2552
1,163,500.0 1,250,000.0 1,360,000.0 1,566,200.0 1,660,000.0 1,951,700.0
(สัดสวนตอ GDP) (%)
18.0
17.4
17.5
18.6
17.6
22.4
(อัตราเพิ่ม) (%)
16.4
7.4
8.8
15.2
6.0
17.6
836,544.4
881,251.7
(สัดสวนตอ GDP) (%)
12.9
12.2
12.3
13.5
12.9
16.2
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
71.9
70.5
70.5
72.5
73.1
72.3
(อัตราเพิม่ ) (%)
11.0
5.3
8.8
18.5
6.9
16.3
292,800.2
318,672.0
358,335.8
374,721.4
400,483.9
429,961.8
4.5
4.4
4.6
4.5
4.3
4.9
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
25.2
25.5
26.3
23.9
24.1
22.0
(อัตราเพิม่ ) (%)
38.4
8.8
12.4
4.6
6.9
7.4
34,155.4
50,076.3
43,187.2
55,490.5
45,527.0
63,676.1
2.9
4.0
3.2
3.5
2.7
3.3
(2.3)
46.6
(13.8)
28.5
(18.0)
39.9
-
-
-
-
-
46,679.7
-
-
-
-
-
2.4
1.1 รายจายประจํา
1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)
1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได
958,477.0 1,135,988.1 1,213,989.1 1,411,382.4
1,063,600.0 1,250,000.0 1,360,000.0 1,420,000.0 1,495,000.0 1,604,639.5
(สัดสวนตอ GDP) (%)
16.4
17.4
17.5
16.9
15.9
18.4
(อัตราเพิ่ม) (%)
28.9
17.5
8.8
4.4
5.3
7.3
(99,900.0)
0.0
0.0 (146,200.0) (165,000.0) (347,060.5)
(1.5)
0.0
0.0
3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ
(1.7)
(1.8)
(4.0)
6,476,100.0 7,195,000.0 7,786,200.0 8,399,000.0 9,232,600.0 8,712,500.0
(อัตราเพิ่ม GDP) (%) 11.7 11.1 8.2 7.9 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2532 - 2559 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ 2547 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 135,500 ลานบาท 2. ปงบประมาณ 2548 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิม่ เติม จํานวน 50,000 ลานบาท 3. ปงบประมาณ 2552 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 116,700 ลานบาท และเปนปแรกที่มีการตั้งงบประมาณรายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง จํานวน 46,679.7 ลานบาท
9.9
(5.6)
โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.1 รายจายประจํา
2553
2554
1,700,000.0
2555
2,169,967.5 2,380,000.0
หนวย : ลานบาท
2556
2557
2558
2,400,000.0
2,525,000.0
2,575,000.0
17.0
20.6
20.7
20.1
19.1
20.2
(12.9)
27.6
9.7
0.8
5.2
2.0
1,667,439.7 1,840,672.6 1,900,476.7
2,017,625.8
2,027,858.8
1,434,710.1
(สัดสวนตอ GDP) (%)
14.3
15.8
16.0
15.9
15.2
15.9
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
84.4
76.8
77.4
79.2
79.9
78.8
1.7
16.2
10.4
3.2
6.2
0.5
214,369.0
355,484.6
438,555.4
450,373.8
441,128.6
449,475.8
2.1
3.4
3.8
3.8
3.3
3.5
12.6
16.4
18.4
18.7
17.5
17.5
(50.1)
65.8
23.4
2.7
(2.1)
1.9
50,920.9
32,554.6
46,854.0
49,149.5
52,821.9
55,700.0
3.0
1.5
2.0
2.1
2.1
2.2
(20.0)
(36.1)
43.9
4.9
7.5
5.4
-
114,488.6
53,918.0
-
13,423.7
41,965.4
-
5.3
2.2
-
0.5
1.6
1,770,000.0 1,980,000.0 2,100,000.0
2,275,000.0
2,325,000.0
(อัตราเพิม่ ) (%) 1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%) (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ
1,350,000.0
13.5
16.8
17.2
17.6
17.2
18.2
(15.9)
3.8
11.9
6.1
8.3
2.2
(400,000) (400,000.0) (300,000.0)
(250,000.0)
(250,000.0)
(2.0)
(2.0)
(350,000.0) (3.5)
(3.8)
(3.5)
(2.5)
10,000,900.0 10,539,400.0 11,478,600.0 11,922,000.0 12,364,000.0 12,627,000.0
(อัตราเพิ่ม GDP) (%) 14.8 5.4 8.9 3.9 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2532 - 2559 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : ปงบประมาณ 2554 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 99,967.5 ลานบาท
3.7
2.1
โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2559 ปงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.1 รายจายประจํา
2559 2,720,000
20.4 5.6 2,100,836.3
(สัดสวนตอ GDP) (%)
15.7
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
77.2
(อัตราเพิม่ ) (%) 1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)
3.6 543,635.9 4.1
(สัดสวนตองบประมาณ) (%)
20.0
(อัตราเพิม่ ) (%)
20.9
1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ
61,991.7 2.3 11.3 13,536.1 0.5 2,330,000
17.3 0.2 (390,000) (2.9) 13,359,400
(อัตราเพิ่ม GDP) (%) 5.8 ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2532 - 2559 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
หนวย : ลานบาท
ผลการเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558
1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปปจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจายประจํา - วงเงินงบประมาณรายจายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปกอน 2. การเบิกจายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจายปปจจุบัน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) - รายจายประจํา (รอยละตอวงเงินรายจายประจํา) - รายจายลงทุน (รอยละตอวงเงินรายจายลงทุน) 2.2 รายจายจากปกอน (รอยละตอวงเงินงบประมาณปกอน) 2. รายจายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจายปปจจุบันสะสม - รายจายประจําสะสม - รายจายลงทุนสะสม 2.2 รายจายจากปกอนสะสม
ต.ค. 57 2,754,737 2,575,000 2,130,645 444,355 179,737 367,598 344,801 13.4 329,977 15.5 14,824 3.3 22,797 12.7 367,598 344,801 329,977 14,824 22,797
ที่มา : กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่ : 25 พฤษภาคม 2558
พ.ย. 57 2,894,596 2,575,000 2,130,590 444,410 319,596 205,758 180,660 7.0 171,898 8.1 8,762 2.0 25,098 7.9 573,358 525,462 501,875 23,587 47,895
ธ.ค. 57 2,911,748 2,575,000 2,130,618 444,382 336,748 270,763 240,910 9.4 223,234 10.5 17,676 4.0 29,853 8.9 844,102 766,371 725,109 41,262 77,731
ม.ค. 58 2,918,123 2,575,000 2,130,806 444,194 343,123 215,737 197,891 7.7 181,071 8.5 16,820 3.8 17,846 5.2 1,059,839 964,262 906,180 58,082 95,577
ก.พ. 58 2,921,856 2,575,000 2,151,589 423,411 346,856 150,428 131,447 5.1 109,685 5.1 21,762 5.1 18,981 5.5 1,210,266 1,095,709 1,015,865 79,844 114,557
มี.ค. 58 2,926,323 2,575,000 2,150,751 424,249 351,323 251,453 228,371 8.9 190,218 8.8 38,153 9.0 23,082 6.6 1,461,719 1,324,079 1,206,082 117,997 137,640
ปงบประมาณ 2558 เม.ย. 58 พ.ค. 58 2,926,323 2,575,000 2,154,123 420,877 351,323 191,488 178,945 6.9 156,138 7.2 22,807 5.4 12,543 3.6 1,653,207 1,503,025 1,362,221 140,804 150,182
หนวย : ลานบาท มิ.ย. 58
ก.ค. 58
ส.ค. 58
ก.ย. 58
รวม
ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financing) 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังตนงวด (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายงวด (Closing Treasury Reserve)
ต.ค. 57 166,104 367,598 344,801 22,797 -201,494 15,828 -185,666 15,850 -169,816 495,747 325,932
ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที:่ 14 พฤษภาคม 2558
พ.ย. 57 144,182 205,758 180,660 25,098 -61,577 -31,456 -93,033 9,970 -83,063 325,932 242,869
ธ.ค. 57 186,469 270,745 240,911 29,835 -84,276 15,268 -69,008 5,463 -63,545 242,869 179,324
ปงบประมาณ 2558 ม.ค. 58 ก.พ. 58 162,172 142,860 215,737 150,428 197,891 131,447 17,846 18,981 -53,565 -7,567 -26,873 23,838 -80,438 16,271 17,116 50,860 -63,322 67,131 179,324 116,002 116,002 183,133
หนวย: ลานบาท มี.ค. 58 171,703 251,453 228,371 23,082 -79,750 1,612 -78,139 16,103 -62,036 183,133 121,097
เม.ย. 58 2558 (7 เดือน) 146,449 1,119,940 191,488 1,653,207 178,945 1,503,025 12,542 150,182 -45,038 -533,267 7,493 5,710 -37,545 -527,557 42,000 157,362 4,455 -370,195 121,097 495,747 125,552 125,552
ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) รายป Table 4-1 CONSOLIDATED CENTRAL GOVERNMENT GFS 2001 FRAMEWORK: ANNUAL DATA 1. Budgetary Account: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 2. Extrabudgetary Accounts: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 3. Social Security Funds: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 4. Elimination of Double Counting: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 5. Consolidated Central Government: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign Notes: 1/ 2/ 3/ 4/ 5/
6/ 7/ 8/
FY2010 1/ 2/
3/ 4/
FY2011
1,819,713 2,015,974 2,131,350 2,197,461 1,925,684 2,040,230 205,666 157,230 (105,971) (24,256) (311,637) (181,486) 10,845 92,188 322,482 273,675 270,603 272,684 51,879 991
FY2012
FY2013
2,118,451 2,377,921 2,394,541 2,613,844 2,208,883 2,381,216 185,658 232,629 (90,432) (3,295) (276,090) (235,924) 57,416 1,401 333,506 237,324 (89,452) 95,340 422,958 141,984
FY2014 2,306,092 2,612,066 2,443,102 168,964 (137,010) (305,973) (145,534) 160,440 119,279 41,161
5/ 2/
3/ 4/
225,210 177,005 172,625 4,380 52,585 48,205 42,800 (5,405) (5,405) -
226,661 206,767 204,986 1,781 21,675 19,894 5,053 (14,844) (14,844) -
253,946 229,335 228,940 395 25,006 24,611 28,520 3,909 3,909 -
378,643 252,043 250,870 1,173 127,774 126,601 125,142 (1,458) (1,458) -
281,835 248,770 249,580 (810) 32,255 33,065 31,297 (1,768) (1,768) -
221,270 77,447 77,447 143,823 143,823 80,633 (63,190) (63,190) -
158,180 50,520 50,520 107,661 107,661 100,558 (7,103) (7,103) -
150,309 56,631 56,631 93,679 93,679 118,972 25,294 25,294 -
180,653 63,067 63,067 117,586 117,586 124,789 7,203 7,203 -
208,079 67,083 67,083 140,996 140,996 156,877 15,880 15,880 -
191,764 191,764 191,764 -
169,258 169,258 169,258 -
193,246 193,246 193,246 -
264,660 264,660 264,660 -
206,502 206,502 206,502 -
2,329,460 2,672,557 2,487,261 2,664,294 2,301,208 2,430,493 186,054 233,802 28,253 242,064 (157,801) 8,263 204,908 251,332 362,709 243,069 (60,248) 101,085 422,958 141,984
2,589,504 2,721,416 2,553,263 168,153 36,241 (131,912) 42,640 174,552 133,391 41,161
6/ 2/ 8/ 3/ 4/
7/ 2/
3/ 4/
1/ 2/
3/ 4/
2,074,428 2,231,558 2,194,037 2,285,490 1,983,992 2,126,478 210,046 159,011 90,437 105,080 (119,609) (53,931) 134,278 197,798 253,887 251,727 202,008 250,736 51,879 991
Receipts from premium on issue of government bonds, repayments of lending (Tier1) and proceeds from sales of shares/equity (privatization) have been reclassified to lending minus repayments and financing. The GFS 2001 concept of expenditure is different from the traditional concept which did not take the disposal of nonfinancial assets into account Represent the net change in the unit's net worth due to transactions cash transactions, and is equal to "current expenditure" plus "capital transfer Net lending/borrowing is the overall borrowing requirement and is equal to the traditional "deficit/surplus" excluding "lending minus repayments". The following are included as "extrabudgetary funds": 12 extrabudgetary funds (National Health Security Fund, Oil Fund, Thailand Village Fund Energy Saving Fund, Coin Production Fund, Sugarcane Fund, Science and Technology Development Fund, Thai Health Promotion Fund, Tollway Fund, Student Loan Fund, SMEs Fund) Oil Fund data has been recorded as accrual basis since Jan, 04 Social security fund and Employment Contribution Fund. Elimination of transactions between the budget account, extrabudgetary funds and social security funds included in the data. Increase (Decrease) in Provision for Old Age Person has been excluded since 2008. Source : GFMIS , Bank of Thailand , Public Debt Management office , Extrabudgetary fund and FPO Last update March 31, 2015
ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) รายเดือน Table 4-1
2015
CONSOLIDATED CENTRAL GOVERNMENT GFS 2001 FRAMEWORK: MONTHLY DATA
Oct-14
Nov-14
Dec-14
Jan-15
Feb-15
Mar-15
Apr-15
1. Budgetary Account: 1.
Revenue
1/
2.
Expenditure (2.1+2.2):
2/
2.1 2.2
Expense Net acquisition of nonfinancial assets
3.
Gross operating balance (1-2.1)
3/
4.
Net lending/borrowing (1-2)=(5-6)
4/
5.
Net acquisition of financial assets
6.
Net incurrence of liabilities 6.1
Domestic
6.2
Foreign
2. Extrabudgetary Accounts: 1.
Revenue
2.
Expenditure (2.1+2.2): 2.1 2.2
5/
2/
Expense Net acquisition of nonfinancial assets
3.
Gross operating balance (1-2.1)
3/
4.
Net lending/borrowing (1-2)=(5-6)
4/
5.
Net acquisition of financial assets
6.
Net incurrence of liabilities 6.1
Domestic
6.2
Foreign
3. Social Security Funds: 1.
Revenue
2.
Expenditure (2.1+2.2): 2.1
Expense
2.2
Net acquisition of nonfinancial assets
6/
2/ 8/
3.
Gross operating balance (1-2.1)
3/
4.
Net lending/borrowing (1-2)=(5-6)
4/
5.
Net acquisition of financial assets
6.
Net incurrence of liabilities 6.1
Domestic
6.2
Foreign
4. Elimination of Double Counting: 1.
Revenue
2.
Expenditure (2.1+2.2): 2.1 2.2
7/
2/
Expense Net acquisition of nonfinancial assets
3.
Gross operating balance (1-2.1)
3/
4.
Net lending/borrowing (1-2)=(5-6)
4/
5.
Net acquisition of financial assets
6.
Net incurrence of liabilities 6.1
Domestic
6.2
Foreign
180,511 329,512 322,559 6,952 (142,048) (149,001) (161,344) (12,343) (12,015) (328)
172,918 205,525 196,589 8,936 (23,671) (32,607) (35,313) (2,706) (2,706) -
196,174 295,172 269,846 25,326 (73,672) (98,998) (80,397) 18,601 18,985 (384)
191,406 245,904 235,210 10,694 (43,806) (54,498) (8,952) 45,546 45,639 (93)
163,408 156,625 136,614 20,012 26,794 6,783 82,831 76,048 76,422 (374)
204,038 287,940 254,194 33,747 (50,156) (83,902) (59,855) 24,047 24,047 -
213,612 230,895 213,434 17,460 178 (17,283) 29,749 47,032 47,360 (328)
69,498 27,648 28,250 (602) 41,248 41,850 42,827 977 977 -
16,381 14,742 14,528 214 1,853 1,639 5,185 3,546 3,546 -
18,791 28,609 28,345 264 (9,554) (9,818) (14,185) (4,367) (4,367) -
56,388 12,094 11,844 250 44,544 44,294 40,177 (4,117) (4,117) -
10,768 18,545 18,172 373 (7,404) (7,777) (8,452) (675) (675) -
10,350 27,384 27,236 148 (16,886) (17,034) (22,134) (5,100) (5,100) -
38,944 19,482 6,390 282 32,554 19,462 20,317 855 855 -
18,030 4,744 4,744 13,286 13,286 2,507 (10,779) (10,779) -
18,070 4,122 4,122 13,948 13,948 21,584 7,636 7,636 -
33,613 15,593 15,593 18,020 18,020 17,338 (682) (682) -
7,674 4,022 4,022 3,652 3,652 10,176 6,524 6,524 -
17,971 3,499 3,499 14,472 14,472 9,099 (5,373) (5,373) -
19,994 4,947 4,947 15,047 15,047 15,645 598 598 -
19,263 4,423 4,423 14,840 14,840 21,908 7,068 7,068 -
58,834 58,834 58,834 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.
4,807 4,807 4,807 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.
5,167 5,167 5,167 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.
43,415 43,415 43,415 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.
4,226 4,226 4,226 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.
4,560 4,560 4,560
29,141 29,141 29,141
-
-
N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.
N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.
209,205 303,070 296,719 6,350 (87,514) (93,865) (116,010) (22,145) (21,817) (328)
202,560 219,582 210,431 9,150 (7,871) (17,022) (8,544) 8,476 8,476 -
243,410 334,206 308,616 25,590 (65,206) (90,797) (77,244) 13,552 13,936 (384)
212,054 218,605 207,661 10,944 4,391 (6,551) 41,401 47,953 48,046 (93)
187,921 174,444 154,060 20,385 33,862 13,477 83,478 70,000 70,374 (374)
229,821 315,711 281,817 33,895 (51,995) (85,891) (66,344) 19,545 19,545 -
242,679 225,660 195,106 17,742 47,572 17,019 71,973 54,955 55,283 (328)
5. Consolidated Central Government: 1.
Revenue
1/
2.
Expenditure (2.1+2.2):
2/
2.1 2.2
Expense Net acquisition of nonfinancial assets
3.
Gross operating balance (1-2.1)
3/
4.
Net lending/borrowing (1-2)=(5-6)
4/
5.
Net acquisition of financial assets
6.
Notes: 1/ 2/ 3/ 4/ 5/
6/ 7/ 8/
Net incurrence of liabilities 6.1
Domestic
6.2
Foreign
Receipts from premium on issue of government bonds, repayments of lending (Tier1) and proceeds from sales of shares/equity (privatization) have been reclassified to lending minus repayments and financing. The GFS 2001 concept of expenditure is different from the traditional concept which did not take the disposal of nonfinancial assets into account. Represent the net change in the unit's net worth due to transactions cash transactions, and is equal to "current expenditure" plus "capital transfers". Net lending/borrowing is the overall borrowing requirement and is equal to the traditional "deficit/surplus" excluding "lending minus repayments". The following are included as "extrabudgetary funds": 12 extrabudgetary funds (National Health Security Fund, Oil Fund, Thailand Village Fund Energy Saving Fund, Coin Production Fund, Sugarcane Fund, Science and Technology Development Fund, Thai Health Promotion Fund, Tollway Fund, Student Loan Fund, SMEs Fund) Oil Fund data has been recorded as accrual basis since Jan, 04 Social security fund and Employment Contribution Fund. Elimination of transactions between the budget account, extrabudgetary funds and social security funds included in the data. Increase (Decrease) in Provision for Old Age Person has been excluded since 2011. Source : GFMIS , Bank of Thailand , Public Debt Management office , Extrabudgetary fund and FPO Last update May 29, 2015
เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ�น ปีงบประมาณ 2551-2558
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที� อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที�รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ�มที�รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)
หน่วย : ล้านบาท ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน 376,740 100.00 414,382 100.00 340,995 100.00 431,305 100.00 529,979 100.00 572,670 100.00 622,625 100.00 646,344 100.00 35,224 9.35 38,746 9.35 29,110 8.54 38,746 8.98 46,530 8.78 50,282 8.78 56,306 9.04 61,458 9.51 128,676 34.16 140,679 33.95 126,590 37.12 148,109 34.34 175,457 33.11 187,988 32.83 203,819 32.74 218,222 33.76 65,000 17.25 71,900 17.35 45,400 13.31 70,500 16.35 86,900 16.40 97,900 17.10 109,000 17.51 109,000 16.86 147,840 1,495,000
39.24 25.20
163,057 1,604,640
39.35 25.82
139,895 1,350,000
41.03 25.26
173,950 2/ 1,650,000
40.33 26.14
221,092 1,980,000
41.72 26.77
หมายเหตุ : 2/เป็นตัวเลขก่อนการจัดทํางบประมาณรายจ่ายของรัฐบาลเพิ�มเติมระหว่างปี 99,967.5 ล้านบาท ซึ�งได้จัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เพิ�มเติม 5,957 .4 ล้านบาท ทั�งนี� เงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เมื�อรวมกับที�ได้รับการจัดสรรเพิ�มเติมระหว่างปีแล้ว เท่ากับ 179,907.4 ล้านบาท ที�มา : สํานักงานคณะกรรมการการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ�นและสํานักงบประมาณ รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที� 21 ตุลาคม 2557
236,500 2,100,000
41.30 27.27
253,500 2,275,000
40.71 27.37
257,664 2,325,000
39.86 27.80
เรื่อง
ผูรับผิดชอบ
โทรศัพท
บทสรุปผูบริหาร สถานการณดานรายได สถานการณดานรายจาย การเบิกจายเงินกูตางประเทศ การเบิกจายของกองทุนนอก งบประมาณตามระบบ สศค. ฐานะการคลัง - ดุลการคลังตามระบบ กระแสเงินสด - ดุลการคลังตามระบบ สศค. ฐานะการคลัง อปท. สถานการณดานหนี้สาธารณะ กรอบความยั่งยืนทางการคลัง การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลัง ผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ของรัฐบาล การกระจายอํานาจการคลังใหแก องคกรปกครองสวนทองถิ่น มติคณะรัฐมนตรี สถิติดานการคลัง - รายไดรัฐบาล - โครงสรางงบประมาณ - ฐานะการคลังของรัฐบาล ตามระบบกระแสเงินสด - ฐานะการคลังของรัฐบาล ตามระบบกระแสเงินสด - สัดสวนรายไดของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น
มาติกา อินวิน อาริศรา นนทะคุณ สายทิพย คําพุฒ ไพลิน ชางภิญโญ ไพลิน ชางภิญโญ
3557 3555 3556 3595 3595
mayinwin6@gmail.com dear_arisara@hotmail.co.th nui-642@hotmail.com pailin@fpo.go.th pailin@fpo.go.th
มณีขวัญ จันทรศร
3558
maneekwan@fpo.go.th
ไพลิน ชางภิญโญ
3595
pailin@fpo.go.th
ธรรมฤทธิ์ คุณหิรัญ ศุทธธี เกตุทัต ลลิตา ละสอน ธนากร ไพรวรรณ
3544 3586 3563 3546
thammarit@gmail.com suthee@fpo.go.th lalita.lasorn@gmail.com thanakornpepe@gmail.com
ณัฏฐรวี กรรณุมาตร
3576
sandyfaprew@hotmail.com
มณีขวัญ จันทรศร
3558
maneekwan@fpo.go.th
อาริศรา นนทะคุณ สายทิพย คําพุฒ ศุทธธี เกตุทัต
3555 3556 3586
dear_arisara@hotmail.co.th nui-642@hotmail.com suthee@fpo.go.th
ไพลิน ชางภิญโญ
3595
pailin@fpo.go.th
ณัฏฐรวี กรรณุมาตร
3576
sandyfaprew@hotmail.com