รายงานสถานการณ์ด้านการคลังปีงบประมาณ2555

Page 1

บทสรุปผู้บริหาร ด้านรายได้

 เดือนเมษายน 2554 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 127,532 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 16,060 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.4 (ลดลงร้อยละ 25.0 จากช่วงเดียวกันปีทแี่ ล้ว เนื่องจากปีทแี่ ล้วมีรายได้ พิเศษจากการยึดทรัพย์ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร) โดยภาษีที่จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการที่สําคัญ ได้แก่ ภาษีสรรพสามิตรถยนต์ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีเงินได้นิติบุคคล อย่างไรก็ดี คาดว่าในช่วง ที่เหลือของปีงบประมาณ ภาษีสรรพสามิตรถยนต์ จะเริ่มได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ภัยพิบัติ ในประเทศญี่ปนุ่  ในช่วง 7 แรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – เมษายน 2554) รัฐบาลจัดเก็บ รายได้สุทธิ 917,538 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 117,511 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.7 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 7.2 และถ้าหักรายได้พิเศษจากการยึดทรัพย์ฯ ในปีที่แล้วออก จะสูงกว่าร้อยละ 13.7) โดยเป็นการจัดเก็บรายได้ของ 3 กรมจัดเก็บภาษี การนําส่งรายได้ของ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นที่สูงกว่าประมาณการ 106,886 10,156 และ 7,623 ล้านบาท หรือร้อยละ 12.5 19.0 และ 15.2 ตามลําดับ  คาดการณ์รายได้ปีงบประมาณ 2554 จากผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลในช่วง 7 เดือนแรก และทิศทางการขยายตัวของภาวะเศรษฐกิจ รวมทั้งแนวโน้มการวิเคราะห์รายได้ในช่วง 5 เดือน ที่เหลือ แม้ว่าจะได้รับผลกระทบจากปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการจัดเก็บรายได้ กระทรวงการคลัง ยังมั่นใจว่าในปีงบประมาณ 2554 จะจัดเก็บรายได้สูงกว่าเป้าหมาย (1.65 ล้านล้านบาท) เกินกว่า 100,000 ล้านบาท ซึ่งจะเพียงพอสําหรับงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจําปี งบประมาณ 2554

ด้านรายจ่าย

 เดือนเมษายน 2554 รัฐบาลเบิกจ่ายเงินรวมทั้งสิ้น 139,706 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นการเบิกจ่าย งบประมาณประจําปีงบประมาณ 2554 จํานวน 135,081 ล้านบาท (เป็นรายจ่ายประจํา 120,856 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 14,225 ล้านบาท) และมีการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี จํานวน 4,625 ล้านบาท  ในช่วง 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – เมษายน 2554) รัฐบาล เบิกจ่ายเงินรวมทั้งสิ้น 1,298,870 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นการเบิกจ่ายงบประมาณประจําปี งบประมาณ 2554 จํานวน 1,205,535 ล้านบาท (เป็นรายจ่ายประจํา 1,051,382 ล้านบาท และ รายจ่ายลงทุน 154,153 ล้านบาท) คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 58.2 ของวงเงินงบประมาณ 2,070,000 ล้านบาท และมีการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี จํานวน 93,335 ล้านบาท ทั้งนี้ สําหรับงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจําปีงบประมาณ 2554 ยังไม่มีการเบิกจ่าย  เมื่อรวมกับการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 อีกจํานวน 41,465 ล้านบาท ส่งผลให้ในช่วง 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลมีการ เบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจทั้งสิ้น 1,340,335 ล้านบาท

1 สํานักนโยบายการคลัง


ฐานะการคลังรัฐบาล

 ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด ในช่วง 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลมีรายได้ นําส่งคลัง 916,238 ล้านบาท และมีการเบิกจ่ายงบประมาณจากงบประมาณปีปัจจุบันและปีก่อน รวม 1,298,869 ล้านบาท ส่งผลให้ดลุ เงินงบประมาณขาดดุลจํานวน 382,631 ล้านบาท เมื่อรวมกับ ดุลเงินนอกงบประมาณที่ขาดดุล 61,082 ล้านบาท ทําให้ดลุ เงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 443,713 ล้านบาท โดยรัฐบาลได้ชดเชยการขาดดุลโดยการออกพันธบัตรจํานวน 129,605 ล้านบาท ส่งผลให้ ดุลเงินสดหลังการกู้เงินขาดดุลทั้งสิ้น 314,108 ล้านบาท  ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค. ในช่วง 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาล มีรายได้ทั้งสิ้น 946,875 ล้านบาท และมีรายจ่ายทั้งสิ้น 1,317,461 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงิน งบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 370,586 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณที่เกินดุล 16,579 ล้านบาท และเมื่อหักรายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศและรายจ่ายจากโครงการไทยเข้มแข็ง จํานวน 1,230 และ 41,465 ล้านบาท ตามลําดับแล้ว ทําให้ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุลทั้งสิ้น 396,702 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.7 ของ GDP

ฐานะการคลัง อปท.

 ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ณ ไตรมาสที่ 1 ประจําปีงบประมาณ 2554 ประมาณการว่าจะมีรายได้รวม 89,545 ล้านบาท (รายได้ที่จัดเก็บเอง 5,354 ล้านบาท รายได้จาก การจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 42,339 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 41,852 ล้านบาท) และคาดว่ามีรายจ่ายจํานวน 114,276 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลการคลังของ อปท. ขาดดุล 24,731 ล้านบาท

สถานะหนี้สาธารณะ

 หนี้สาธารณะคงค้างของรัฐบาล ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2554 มีจํานวน 4,246.1 พันล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 41.3 ของ GDP โดยร้อยละ 91.8 ของหนี้สาธารณะคงค้างเป็นหนี้ในประเทศและ ส่วนที่เหลือร้อยละ 8.2 เป็นหนี้ต่างประเทศ  หนี้ระยะยาวมีจํานวน 4,212.1 พันล้านบาท ส่วนหนี้ระยะสั้นมีจํานวน 34.0 พันล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 99.2 และ 0.8 ของหนี้สาธารณะคงค้าง ตามลําดับ

กรอบความยั่งยืนทางการคลัง (60 - 15 – 0 – 25)

 กระทรวงการคลังได้กําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีตัวชี้วัดประกอบด้วย สัดส่วนหนี้ สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 จัดทํา งบประมาณสมดุล และสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25  กรอบความยั่งยืนในระยะปานกลาง (ปีงบประมาณ 2554 – 2558) - รัฐบาลยังสามารถรักษาสัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่ให้เกินร้อยละ 60 ไว้ได้ แม้ว่ารัฐบาลจะต้องมีการกู้ยืมเพิ่มสูงขึ้นเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งในส่วนของการขาด ดุลงบประมาณรายจ่ายประจําปี และการกู้ยืมเพื่อดําเนินการแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็งฯ - รัฐบาลยังสามารถรักษาสัดส่วนภาระหนี้ต่องบประมาณไม่ให้เกินร้อยละ 15 สํานักนโยบายการคลัง 2


- รัฐบาลไม่สามารถจัดทํางบประมาณสมดุลในปีงบประมาณ 2554 ได้ เนื่องจากยังมี ความจําเป็นต้องจัดทํางบประมาณแบบขาดดุล เพื่อกระตุ้นการเจริญเติบโตเศรษฐกิจของประเทศ และจากแนวโน้มภาระงบประมาณรายจ่ายที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้มขี ้อจํากัดในการดําเนินการจัดทํา งบประมาณรายจ่ายแบบสมดุลระหว่างปีงบประมาณ 2554-2558 - รัฐบาลไม่สามารถรักษาสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายให้เมื่อม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 ในปีงบประมาณ 2554 ได้ แต่คาดว่าในปีงบประมาณ 2558 จะสามารถจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 25 ของวงเงินงบประมาณได้

การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผ่าน SFIs ของรัฐบาล รัฐบาลได้ดําเนินมาตรการกิจกรรมกึ่งการคลังผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจโดยการปล่อยสินเชื่อให้ โครงการต่างๆ ซึ่งในปัจจุบันได้มีการปล่อยสินเชื่อเพื่อสนับสนุนมาตรการต่างๆ เช่น มาตรการเพื่อสนับสนุน กิจการ SMEs มาตรการเพื่อสนับสนุนผู้มีรายได้น้อยให้มีทอี่ ยู่อาศัย และมาตรการเพื่อสนับสนุนการประกอบ อาชีพระดับฐานราก ผลการปล่อยสินเชื่อและค้าํ ประกันสินเชื่อ ในไตรมาส 4 ปี 2553 (เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2553) มีจํานวน 68,054.1 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีทแี่ ล้วร้อยละ 14.9 และมีการปล่อยสินเชื่อ และ การค้ําประกันสินเชื่อสะสมตัง้ แต่เริ่มโครงการ จนถึง ณ สิ้นไตรมาส 4 ปี 2553 จํานวน 1,155,237.8 ล้านบาท ทั้งนี้ ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ปี 2553 มียอดสินเชื่อคงค้าง จํานวน 369,207.5 ล้านบาท โดยเป็น หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) จํานวน 31,176.5 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 8.4 ของยอดสินเชื่อคงค้าง และมีภาระค้ําประกันหนี้จดั ชั้นด้อยคุณภาพ (NPGs) ของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) จํานวน 4,446.3 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.1 ของยอดค้ําประกันคงค้าง

การกระจายอํานาจทางการคลังให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 ความคืบหน้าการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการกระจายอํานาจ คณะกรรมการการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (กกถ.) ได้แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการด้านการติดตามและประเมินผล เพื่อให้ กกถ. สามารถติดตามและประเมินผลการ ปฏิบัติงานด้านการกระจายอํานาจได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยจะมีการประเมินผลใน 3 ด้าน คือ ด้านประสิทธิภาพและสมรรถภาพ ด้านมาตรฐาน และด้านผลลัพธ์และผลกระทบ ซึ่งคณะอนุกรรมการ ได้ออกแบบประเมินตนเอง (Self Assessment Report) เกี่ยวกับความก้าวหน้าของการถ่ายโอนภารกิจ ของ อปท. ประจําปีงบประมาณ 2553 เพื่อให้ อปท. ได้ประเมินตนเอง โดยผลในเบื้องต้นของ อปท. ภาคเหนือ พบว่าได้มีการถ่ายโอนภารกิจด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิต ด้านการจัด ระเบียบชุมชน/สังคมและการรักษาความสงบเรียบร้อย และด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างไรก็ดี อปท. ยังมีปัญหาและอุปสรรคหลายประการ เช่น การจัดสรรและเบิกจ่ายงบประมาณที่ล่าช้า จํานวนบุคลากรที่ไม่เพียงพอ และการขาดการประสานงาน ระหว่างหน่วยงานกับ อปท.

3 สํานักนโยบายการคลัง


มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ ประจําเดือนพฤษภาคม 2554 1. เรื่อง โครงการบ้านธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) เพื่อที่อยู่อาศัยหลังแรก คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2554 เห็นชอบโครงการบ้านธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) เพื่อที่อยู่อาศัยหลังแรก วงเงิน 25,000 ล้านบาท โดยเป็นการให้สินเชื่อเพื่อช่วยเหลือประชาชน ผู้มีรายได้น้อยที่ไม่เคยมีที่อยูอ่ าศัยเป็นของตัวเอง คิดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0 เป็นเวลา 2 ปี และอัตรา ดอกเบี้ยแบบผ่อนปรนในปีต่อ ๆ ไป มีระยะเวลาผ่อนชําระไม่เกิน 30 ปี 2. เรื่อง มาตรการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติปี 2553 และ 2554 (เพิม่ เติม) คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2554 เห็นชอบมาตการให้ความช่วยเหลือผู้ได้รับ ผลกระทบจากอุทกภัยและวาตภัยปี 2553 และ 2554 ดังนี้ - ขยายกลุม่ เป้าหมายในมาตรการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรที่เป็นลูกค้าของธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรและสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ประสบอุทกภัยปี 2553 ให้ ครอบคลุมถึงกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง - ขยายวงเงินโครงการสินเชื่อเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบอาชีพอิสระรายย่อย ของธนาคารอิสลาม แห่งประเทศไทย - ชดเชยส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยของโครงการสินเชื่อ SME Power และให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบ ธุรกิจขนาดกลาง ของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย 3. เรื่อง ขอความเห็นชอบการปรับปรุงโครงสร้างของสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2554 เห็นชอบหลักการปรับปรุงโครงสร้างสํานักงาน เศรษฐกิจการคลัง ด้วยการจัดตั้งสํานักนโยบายพัฒนาระบบการเงินภาคประชาชน และอนุมัติหลักการ ร่างกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง พ.ศ. .... และร่าง กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงการคลัง พ.ศ. .... และส่งให้สํานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา โดยให้ยกเว้นมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องก่อนหน้า เป็นกรณีพิเศษ เฉพาะราย แล้วดําเนินการต่อไปได้ 4. เรื่อง การปรับโครงสร้างภาษีสรรพสามิต คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2554 เห็นชอบหลักการมุ่งเน้นในการสนับสนุนให้ ผู้ประกอบอุตสาหกรรมรถยนต์พัฒนาเทคโนโลยีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการใช้พลังงานอย่างมี ประสิทธิภาพ โดยกระทรวงการคลังได้กําหนดให้อัตราภาษีสรรพสามิตรถยนต์ตามโครงสร้างใหม่มีผล บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 5. เรื่อง ร่างพระราชบัญญัตกิ ารให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2554 เห็นชอบหลักการร่างพระราชบัญญัติฯ การให้ เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. .... ซึ่งมีหลักการสําคัญ คือ การแก้ไขข้อบกพร่องที่มีใน พ.ร.บ. ร่วมทุนฯ และการกําหนดกระบวนการขึ้นใหม่ในการให้เอกชนเข้าร่วมลงทุนในกิจการของรัฐทั้งหมดให้มี ความชัดเจน ครบถ้วน และเป็นระบบมากขึ้น โดยกําหนดให้มีการจัดทําแผนยุทธศาสตร์การให้เอกชนเข้า ร่วมลงทุนในกิจการชองรัฐ สํานักนโยบายการคลัง 4


6. เรื่อง มาตรการภาษีและค่าธรรมเนียมเพื่อสนับสนุนการพัฒนาตลาดทุนไทย คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2554 เห็นชอบมาตรการการดําเนินงานตามแผนพัฒนา ตลาดทุนไทย ดังนี้ - มาตรการยกเว้นภาษีและค่าธรรมเนียมเพื่อสนับสนุนการลงทุนในตราสารการเงินที่ออก เพื่อระดมทุนตามหลักศาสนาอิสลาม (ศุกูก) - มาตรการยกเว้นการเก็บภาษีเงินได้จากเงินปันผลในระดับนิติบุคคล - มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการควบรวมกิจการและมาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนโอนย้ายเงินออม ในระบบการออมระยะยาว สําหรับผู้ที่เป็นสมาชิกของกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ - มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมความเชื่อมโยงตลาดทุนไทยกับตลาดทุนในภูมิภาคอาเซียน 7. เรื่อง มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการลงทุนในต่างประเทศ คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2554 เห็นชอบตามมาตรการภาษีเพื่อสนับสนุน การลงทุนในต่างประเทศ เพื่อปรับปรุงสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการลงทุนในต่างประเทศที่เคยให้ไว้แล้ว ตามพระราชกฤษฏีกาฯ ฉบับที่ 442 เป็นการช่วยสนับสนุนการขยายขีดความสามารถในการแข่งขันของ ธุรกิจไทยในการไปลงทุนประกอบการในต่างประเทศ โดยการขจัดปัญหาและอุปสรรคในการลงทุน ในต่างประเทศของภาคเอกชน 8. เรื่อง การปรับปรุงแก้ไขหลักเกณฑ์การจัดตั้งสํานักงานปฏิบัติการภูมิภาค คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2554 เห็นชอบให้ปรับปรุงบทลงโทษตามพระราช กฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 508/2554) เรื่องสํานักงานปฏิบัติการภูมิภาค กรณี สํานักงานปฏิบัติการภูมิภาคมีคุณสมบัติไม่ครบตามเกณฑ์ที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกาฯ โดยให้มีบทลงโทษ ย้อนหลังตั้งแต่ปีแรกเฉพาะทีผ่ ิดเงื่อนไขเรื่องทุนจดทะเบียน จํานวนวิสาหกิจในเครือต่างประเทศ การมี สถานประกอบการจริงในต่างประเทศ และเงื่อนไขการจ่ายค่าตอบแทนให้พนักงาน ส่วนกรณีผิดเงื่อนไข ด้านรายจ่ายในการดําเนินการหรือรายจ่ายเพื่อการลงทุนในประเทศ หรือกรณีพนักงานมีทักษะความรู้ขั้นต่ํา ไม่ถึงเกณฑ์ที่กาํ หนด ให้หมดสิทธิการได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีเฉพาะปีที่ผิดเงื่อนไขเท่านั้น 9. เรื่อง มาตรการช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากการชุมนุม (กรณีผปู้ ระกอบการทีม่ ี กรมธรรม์ประกันภัยยังไม่ได้รับสินไหมมดแมนจากบริษทั ประกันภัย) คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2554 เห็นชอบให้ขยายระยะเวลาและปรับปรุง หลักเกณฑ์เงื่อนไขในการขอสินเชื่อจากธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ธพว.) เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากการชุมนุม และผู้ประกอบการซึ่งอยู่ในระหว่างฟ้องร้อง ดําเนินคดีบริษัทประกันภัยตามโครงการราชประสงค์ฯ 10. เรื่อง การบริหารโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 และโครงการเงินกู้เพื่อการฟื้นฟู เศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2554 เห็นชอบรายงานความก้าวหน้าในการดําเนิน โครงการเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (Development Policy Loan: DPL) วงเงิน 1,300 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ซึ่งประกอบด้วยเงินกู้จากธนาคารโลกวงเงิน 1,000 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกาและเงินกู้จากธนาคารพัฒนาเอเชียวงเงิน 300 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา และได้นําเสนอ คณะรัฐมนตรีเพื่ออนุมัติการจัดสรรเงินกู้ DPL ภายใต้กรอบวงเงิน 30,529.14 ล้านบาท 5 สํานักนโยบายการคลัง


สถานการณ์ด้านการคลัง หน่วย : พันล้านบาท

รวมทั้งปี งบประมาณ 2553 I รายได้ 1. ตามหน่วยงาน 1.1 กรมสรรพากร (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.2 กรมสรรพสามิต (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.3 กรมศุลกากร (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.4 รัฐวิสาหกิจ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.5 หน่วยงานอื่น (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) - ส่วนราชการอื่น - กรมธนารักษ์ 1.6 รวมรายได้จัดเก็บ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.7 รวมรายได้สุทธิ (หลังหักอปท.) (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2. ตามฐานภาษี 2.1 เงินได้ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2.2 การบริโภค (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2.3 การค้าระหว่างประเทศ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) II รายจ่าย 1.รายจ่ายรัฐบาลจากงบประมาณ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.1 งบประมาณปีปัจจุบัน (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.2 งบประมาณปีก่อน 2. รายจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ (15 กองทุน) 1/ - รายจ่าย - เงินให้กู้ยืมสุทธิ 3. รายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 4. รายจ่ายของอปท. 5. รายจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ III ดุลการคลัง 1. ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด 2. ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบ สศค. 2/ - รัฐบาล - อปท. IV ยอดหนี้สาธารณะ 1. หนี้รัฐบาลกู้ตรง 2. หนี้รัฐวิสาหกิจ 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น 4. หนี้ FIDF 5. รวม 6. หนี้คงค้าง/GDP (ปีปฏิทิน)% 7. หนี้ที่เป็นภาระงบประมาณ/GDP (ปีปฏิทิน)%

ปีงบประมาณ 2554 Q2

Q1

เม.ย.-54

รวม ต.ค. 53 -เมย. 54

1,264.6 11.1 405.9 39.4 97.1 21.0 91.6 5.7 135.8 55.1 131.9 3.9 1,995.0 18.4 1,678.9 19.0

261.8 13.7 111.8 10.9 25.4 (0.1) 26.0 22.8 25.9 12.7 24.3 1.7 451.0 12.5 396.2 13.5

284.7 15.4 116.4 9.2 25.6 14.3 16.3 (13.5) 27.7 43.4 26.7 1.0 470.7 13.8 393.8 16.6

92.5 17.2 39.5 13.5 7.7 (19.3) 21.3 37.0 4.2 (93.2) 4.1 0.1 165.1 (17.3) 127.5 (22.5)

639.0 15.0 267.7 10.5 58.7 2.4 63.7 14.4 57.8 (44.0) 55.0 2.7 1,086.9 7.2 916.8 7.2

730.5 7.3 907.6 25.6 93.7 20.7

117.5 14.2 244.8 10.3 24.7 1.3

134.3 15.6 256.1 11.1 25.2 14.6

38.4 20.4 90 14.0 7.4 (12.7)

290.2 15.6 590.8 11.2 57.3 4.5

1,784.4 (6.9) 1,627.9 (9.1) 156.5 302.6 279.6 23.0 1.0 (18.0) (97.1) (88.5) 2,907.5 1,261.2 62.1 4,230.7 42.0 30.5

598.4 32.6 553.3 39.7 45.0 143.9 135.5 9.0 0.1 (50.3)

560.8 16.1 517.1 19.4 43.7 65.6 59.3 5.5 0.9 101.8

139.7 (4.0) 135.1 (1.1) 4.6 15.0 13.8 1.2 0.2 377.6

1,298.9 20.3 1,205.5 24.8 93.3 223.9 208.2 15.7 1.2 150.6

(168.9)

(259.6)

(15.2)

(443.7)

(246.8)

(162.6)

12.8

(396.7)

3,002.4 1,249.1 30.6 4,282.1 42.4 31.3

2,988.8 1,226.2 31.1 4,246.1 41.3 30.3

หมายเหตุ 1/ ประกอบด้วย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการทําของ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจ กองทุนอ้อยและน้ําตาล กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนช่วยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย 2/ ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาและวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค.) เป็นผลรวมของดุลการคลังรัฐบาล และดุลการคลังของ อปท. 3/ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2551 เงินคงคลังจะไม่รวมเงินอื่น (บัตรภาษี) และเงินฝากธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) รวบรวมโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

สํานักนโยบายการคลัง 6


สถานการณ์ด้านรายได้  เดือนเมษายน 2554 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 127,532 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 16,060 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.4 ตารางสรุปรายได้รัฐบาลเดือนเมษายน 2554* หน่วย: ล้านบาท เทียบปีนี้กับ เทียบปีนี้กับ ที่มาของรายได้ ปีนี้ ประมาณการ ปีที่แล้ว (%) (%) กรมสรรพากร 92,490 11.4 17.2 กรมสรรพสามิต 39,507 20.2 13.5 กรมศุลกากร 7,657 8.2 -19.3 รัฐวิสาหกิจ 21,335 14.3 37.0 หน่วยงานอืน่ 4,160 9.4 -93.2 รายได้สทุ ธิ** 127,532 14.4 -25.0 หมายเหตุ * ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2554 ** รายได้สุทธิหลังหักการจัดสรร อปท.

เดือนเมษายน 2554 รัฐบาลจัดเก็บ รายได้สุทธิ 127,532 ล้านบาท สูงกว่า ประมาณการ 16,060 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.4 จากภาวะเศรษฐกิจที่ยังขยายตัวต่อเนื่อง ส่งผลให้การจัดเก็บภาษีที่สําคัญสูงกว่าเป้าหมาย เป็นจํานวนมาก แม้จะมีปัจจัยลบที่ส่งผลกระทบ ต่อการจัดเก็บรายได้ อาทิ ภัยพิบัติในประเทศ ญี่ปุ่น อุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ และการปรับลด อัตราภาษีสรรพสามิตน้ํามันดีเซลลง 5.305 บาทต่อลิตร เมื่อวันที่ 21 เมษายนที่ผ่านมา ภาษีที่จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการที่สําคัญ ได้แก่ ภาษีสรรพสามิตรถยนต์ ภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีเงินได้นิติบุคคลจัดเก็บได้สูงกว่า ประมาณการ 3,989 3,646 และ 3,569 ล้านบาท ตามลําดับ สําหรับภาษีสรรพสามิตรถยนต์ในเดือนนี้ จัดเก็บได้สูงเป็นประวัติการณ์ถึง 9,114 ล้านบาท เป็นผลจากการจัดงาน Motor Show ในเดือน มีนาคม 2554 อย่างไรก็ตาม คาดว่าในช่วงที่เหลือ ของปีงบประมาณ การจัดเก็บจะเริ่มได้รับ ผลกระทบจากเหตุการณ์ภัยพิบัติในประเทศญี่ปุ่น ที่ส่งผลกระทบต่อเนื่องต่อห่วงโซ่อุปทานของการผลิต รถยนต์ในประเทศไทย (automotive supply chain) อย่างไรก็ดี การจัดเก็บรายได้เดือนเมษายน 2554 เมื่อเปรียบเทียบกับรายได้เดือนเดียวกัน ปีก่อน ลดลงถึง 42,542 ล้านบาท หรือร้อยละ 25.0 เนื่องจากปีที่แล้วมีรายได้พิเศษจากการยึดทรัพย์ อดีตนายกรัฐมนตรี (พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร) จํานวน 49,016 ล้านบาท ซึ่งหากหักรายการ ดังกล่าวออกรายได้ในเดือนเมษายนจะสูงกว่าปี ก่อนร้อยละ 5.3 (รายละเอียดตามตารางที่ 1)

7 สํานักนโยบายการคลัง


ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลประจําปีงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553 - เมษายน 2554) ล้านบาท

300,000 250,000 200,000 150,000

146,105 124,879

136,693 125,227

128,336

128,767

127,532

100,000 50,000 0 ตค.

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

จัดเก็บ 53

เม.ย. ปมก. 54

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

จัดเก็บ 54

 ในช่วง 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – เมษายน 2554) รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 917,538 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 117,511 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 14.7 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 7.2 และถ้าหักรายได้พิเศษจากการยึดทรัพย์ฯ ในปีที่แล้วออกจะสูงกว่าร้อยละ 13.7) ตารางสรุปรายได้รัฐบาล ปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – เมษายน 2554)* หน่วย: ล้านบาท

ที่มาของรายได้

ปีนี้

กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่น รายได้สุทธิ **

639,043 267,706 58,658 63,690 57,769 917,538

เทียบปีนี้กับ เทียบปีนี้กับ ประมาณการ ปีที่แล้ว (%) (%) 10.8 15.0 16.1 10.5 13.9 2.4 19.0 14.4 15.2 -44.0 14.7 7.2

หมายเหตุ: * ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2554 ** รายได้สุทธิหลังจัดสรรให้ อปท. ผลการจัดเก็บรายได้ของ 3 กรมในสังกัดกระทรวงการคลัง ปีงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553 - เมษายน 2554) ล้านบาท 1,200,000

จัดเก็บ 53 ประมาณการ 54 จัดเก็บ 54

1,000,000

965,407 858,521 855,334

800,000

600,000

555,831

639,043 576,534

400,000 242,201

267,706 230,507

200,000 57,302 51,480 58,658 0

กรมสรรพากร

กรมสรรพสามิต

กรมศุลกากร

รวม 3 กรม

ผลการจัดเก็บรายได้แยกตามหน่วยงาน จัดเก็บสรุปได้ ดังนี้  กรมสรรพากร จัดเก็บรายได้รวม 639,043 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 62,509 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.8 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 15.0) ภาษีที่จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการที่สําคัญ ได้แก่ ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสูงกว่าประมาณการ 26,688 18,278 และ 10,830 ล้านบาท หรือร้อยละ 23.6 6.0 และ 8.2 ตามลําดับ โดยภาษีมูลค่าเพิ่มที่เก็บจากการนําเข้า และการบริโภคในประเทศจัดเก็บได้สูงกว่า ประมาณการร้อยละ 9.7 และ 3.2 ตามลําดับ  กรมสรรพสามิต จัดเก็บรายได้รวม 267,706 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 37,199 ล้านบาท หรือร้อยละ 16.1 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 10.5) เป็นผลจากการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตรถยนต์ และภาษีน้ํามันได้สูงกว่าประมาณการถึง 17,863 และ 4,122 ล้านบาท ตามลําดับ นอกจากนี้ ผู้ประกอบการคาดว่าจะมี การปรับเพิ่มอัตราภาษีสุราและภาษียาสูบ สํานักนโยบายการคลัง 8


จึงเร่งผลิตสินค้าและชําระภาษีไว้ก่อน ส่งผลให้ จัดเก็บภาษีดังกล่าวได้สูงกว่าประมาณการ 6,126 และ 4,341 ล้านบาท หรือร้อยละ 23.9 และ 13.9 ตามลําดับ  กรมศุลกากร จัดเก็บรายได้รวม 58,658 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 7,178 ล้านบาท หรือร้อยละ 13.9 (สูงกว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 2.4) สาเหตุสําคัญ เกิดจากการขยายตัวของมูลค่าการนําเข้าสูงกว่า ที่คาดการณ์ไว้ ทําให้จดั เก็บอากรขาเข้าได้สูงกว่า ประมาณการ 7,072 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.1 โดยอัตราการขยายตัวของมูลค่าการนําเข้า ในรูปดอลลาร์สหรัฐฯ และเงินบาทในครึ่งปีแรก ของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – มีนาคม 2554) เท่ากับร้อยละ 24.0 และ 13.1 ตามลําดับ  รัฐวิสาหกิจ นําส่งรายได้ 63,690 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 10,156 ล้านบาท หรือร้อยละ 19.0 เป็นผลจากการนําส่งรายได้ จากกําไรสุทธิปี 2553 ของธนาคารออมสิน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การประปา ส่วนภูมิภาค การท่าเรือแห่งประเทศไทย สูงกว่า ประมาณการ 4,525 3,715 1,267 และ 1,041 ล้านบาท ตามลําดับ โดยในส่วนของธนาคารออมสิน ได้นําส่งรายได้ก่อนกําหนด (จากที่ประมาณการ ไว้ในเดือนพฤษภาคม 2554) นอกจากนี้ ยังมีเงินปันผลของกองทุนรวมวายุภักษ์สูงกว่า ประมาณการ 1,100 ล้านบาท อย่างไรก็ดี บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) และบริษทั การบินไทย จํากัด (มหาชน) ตามประมาณการ จะนําส่งเงินปันผลในเดือนเมษายนได้ขอเลื่อน เป็นเดือนพฤษภาคม  หน่วยงานอื่น จัดเก็บรายได้รวม 57,769 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 7,623 ล้านบาท หรือร้อยละ 15.2 (ต่ํากว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 44.0) 9 สํานักนโยบายการคลัง


เนื่องจากมีรายได้ค่าใบอนุญาตกิจการ โทรคมนาคมจากสํานักงานคณะกรรมการ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติจํานวน 2,378 ล้านบาท ส่งเร็วกว่าที่ประมาณการไว้ ในเดือนพฤษภาคม 2554 นอกจากนี้ มีเงินรับคืน จากโครงการมิยาซาว่าและโครงการเงินกู้ เพื่อปรับโครงสร้างภาคเกษตรจํานวน 1,952 และ 445 ล้านบาท ตามลําดับ สําหรับสาเหตุ ที่ทําให้การจัดเก็บรายได้ของหน่วยงานอื่น ต่ํากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 44.0 เนื่องจากปีที่แล้วมีรายได้พิเศษจากการยึดทรัพย์ฯ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร จํานวน 49,016 ล้านบาท  การคืนภาษีของกรมสรรพากร จํานวน 131,613 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 4,545 ล้ านบาท หรือร้ อ ยละ 3.6 โดยเป็น การคื นภาษีมู ล ค่าเพิ่ม 103,167 ล้านบาท ต่ํากว่าประมาณการ 1,333 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.3 และการคืนภาษีอื่นๆ 28,446 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 5,878 ล้านบาท หรือร้อยละ 26.0  การจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ตาม พ.ร.บ. กําหนดแผนและขัน้ ตอนการกระจายอํานาจฯ ในปีงบประมาณ 2554 นี้ การจัดสรร ภาษีมูลค่าเพิ่มให้ อปท.จะแบ่งการจัดสรร ออกเป็น 12 งวด (จากเดิมจัดสรร 6 งวด) โดยมีการจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว 4 งวด (ตุลาคม 2553 – มกราคม 2554) รวม 24,264 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการจํานวน 2,354 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.7

สํานักนโยบายการคลัง 10


 คาดการณ์รายได้ตลอดปีงบประมาณ 2554 กระทรวงการคลังยังมัน่ ใจว่าในปีงบประมาณ 2554 จะจัดเก็บรายได้สูงกว่าเป้าหมาย (1.65 ล้านล้านบาท) เกินกว่า 100,000 ล้านบาท ซึ่งจะเพียงพอสําหรับงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ในปีงบประมาณ 2554

ในการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ประจําปีงบประมาณ 2554 จํานวน 99,968 ล้านบาท ซึ่งเริม่ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 18 เมษายน 2554 ได้คาดการณ์ว่า ตลอดปีงบประมาณ 2554 จะจัดเก็บรายได้สทุ ธิ เท่ากับ 1,770,000 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ (1.65 ล้านล้านบาท) จํานวน 120,000 ล้านบาท แต่ต่อมารัฐบาลได้มีนโยบายลดอัตราภาษี สรรพสามิตน้ํามันดีเซลลงชั่วคราว ลิตรละ 5.305 บาทต่อลิตร เริ่มตั้งแต่วันที่ 21 เมษายน 2554 จนถึงสิน้ เดือนกันยายน 2554 ซึ่งกรมสรรพสามิตคาดว่าจะมีผลกระทบ ต่อการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตน้ํามันประมาณ 45,500 ล้านบาท อย่างไรก็ดี จากผลการจัดเก็บรายได้ รัฐบาลในช่วง 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 ที่สูงกว่าประมาณการ 117,511 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 14.7 และจากทิศทาง การขยายตัวของภาวะเศรษฐกิจและแนวโน้ม การวิเคราะห์รายได้ในช่วง 5 เดือนที่เหลือ แม้ว่าจะได้รับผลกระทบจากปัจจัยต่าง ๆ อาทิ ภัยพิบัติในประเทศญี่ปนุ่ ความไม่สงบ ทางการเมืองในภูมิภาคตะวันออกกลาง และอุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ก็ตาม กระทรวงการคลัง ยังมั่นใจว่าในปีงบประมาณ 2554 จะจัดเก็บ รายได้สูงกว่าเป้าหมาย (1.65 ล้านล้านบาท) เกินกว่า 100,000 ล้านบาท ซึ่งจะเพียงพอ สําหรับงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ในปีงบประมาณ 2554 (รายละเอียดตามตารางที่ 2)

11 สํานักนโยบายการคลัง


ตารางที่ 1 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลเบื้องต้น เดือนเมษายน 2554

1/ หน่วย: ล้านบาท

เปรียบเทียบปีนี้กับปีทแี่ ล้ว ทีม่ าของรายได้

ปีนี้

ปีทแี่ ล้ว

จํานวน

ร้อยละ

ปมก.ตามเอกสาร งปม.ทั้งปีเท่ากับ

เปรียบเทียบปีนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม.

จํานวน

ร้อยละ

1,650,000 ล้านบาท

92,490

78,895

13,595

17.2

83,057

9,433

11.4

20,469 17,282 632 50,526 2,763 778 40 39,507

17,829 14,061 44,196 2,113 675 21 34,805

2,640 3,221 632 6,330 650 103 19 4,702

14.8 22.9 14.3 30.8 15.3 90.5 13.5

18,908 13,713 794 46,880 2,053 687 22 32,871

1,561 3,569 (162) 3,646 710 91 18 6,636

8.3 26.0 (20.4) 7.8 34.6 13.2 81.8 20.2

13,246 6,180 4,100 4,994 9,114 1,277 57 218 203 96

13,852 4,155 3,629 4,849 6,307 1,478 106 180 148 82

(606) 2,025 471 145 2,807 (201) (49) 38 55 14

(4.4) 48.7 13.0 3.0 44.5 (13.6) (46.2) 21.1 37.2 17.1

12,876 4,709 3,565 4,884 5,125 1,269 90 126 123 88

370 1,471 535 110 3,989 8 (33) 92 80 8

2.9 31.2 15.0 2.3 77.8 0.6 (36.7) 73.0 65.0 9.1

22

19

3

15.8

16

6

37.5

7,657 7,378 38 241

9,494 8,464 34 996

(1,837) (1,086) 4 (755)

(19.3) (12.8) 10.7 (75.8)

7,080 6,880 8 192

577 498 30 49

8.2 7.2 370.5 25.8

139,654

123,194

16,460

13.4

123,008

16,646

13.5

4. รัฐวิสาหกิจ

21,335

15,578

5,757

37.0

18,661

2,674

14.3

5. หน่วยงานอื่น

4,160

1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7

ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบคุ คล ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีมูลค่าเพิม่ ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อื่น

2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุราฯ 2.4 ภาษีเบียร์ 2.5 ภาษีรถยนต์ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต์ 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีอื่น 2/ 2.11 รายได้อื่น 3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่น

รวมรายได้ 3 กรม

5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์

รวมรายได้จัดเก็บ (Gross)

60,841

(56,681)

(93.2)

3,802

358

9.4

4,057 103 165,149

3/

60,205 636 199,613

(56,148) (533) (34,464)

3,225 577 145,471

832 (474) 19,678

22,400 16,700 5,700 1,170 1,050 140,529

4/

16,317 10,488 5,829 1,014 947 181,335

6,083 6,212 (129) 156 103 (40,806)

(93.3) (83.8) (17.3) 37.3 59.2 (2.2) 15.4 10.9 (22.5)

20,413 15,500 4,913 1,087 969 123,002

1,987 1,200 787 83 81 17,527

25.8 (82.1) 13.5 9.7 7.7 16.0 7.6 8.4 14.2

12,997

11,261

1,736

15.4

11,530

1,467

12.7

127,532

170,074

(42,542)

(25.0)

111,472

16,060

14.4

หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินค้าส่งออก

รวมรายได้สุทธิ (Net)

5/

หักเงินจัดสรรจาก VAT ให้ อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ

รวมรายได้สุทธิหลังหักการจัดสรรแล้ว หมายเหตุ

4/ 4/

1/ ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2554 2/ ภาษีไพ่ แก้ว เครื่องหอม พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด 3/ ตัวเลขจากระบบ GFMIS 4/

ตัวเลขคาดการณ์

5/ รายได้สุทธิก่อนการจัดสรรให้อปท. จัดทําโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

สํานักนโยบายการคลัง 12


ตารางที่ 2 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลเบื้องต้น ปีงบประมาณ 2554 1/ ( ตุลาคม 2553 - เมษายน 2554 ) หน่วย : ล้านบาท

ทีม่ าของรายได้

ปีนี้

ปีทแี่ ล้ว

เปรียบเทียบปีนี้กับปีทแี่ ล้ว

ปมก.ตามเอกสาร

จํานวน

งปม.ทั้งปีเท่ากับ

ร้อยละ

เปรียบเทียบปีนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม.

จํานวน

ร้อยละ

1,650,000 ล้านบาท

1. กรมสรรพากร

639,043

555,831

83,212

15.0

576,534

62,509

10.8

143,362 139,645 7,189 323,449 19,509 5,714 175 267,706

129,361 116,726 4,877 289,532 10,106 5,096 133 242,201

14,001 22,919 2,312 33,917 9,403 618 42 25,505

10.8 19.6 47.4 11.7 93.0 12.1 31.6 10.5

132,532 112,957 7,654 305,171 13,220 4,863 137 230,507

10,830 26,688 (465) 18,278 6,289 851 38 37,199

8.2 23.6 (6.1) 6.0 47.6 17.5 27.7 16.1

92,942 35,586 31,793 38,240 56,135 8,722 788 1,273 1,265 651 311

91,046 31,091 26,468 37,432 43,354 8,711 922 1,138 1,128 653 258

1,896 4,495 5,325 808 12,781 11 (134) 135 137 (2) 53

2.1 14.5 20.1 2.2 29.5 0.1 (14.5) 11.9 12.1 (0.3) 20.5

88,820 31,245 25,667 35,182 38,272 7,854 682 986 914 632 253

4,122 4,341 6,126 3,058 17,863 868 106 287 351 19 58

4.6 13.9 23.9 8.7 46.7 11.1 15.5 29.1 38.4 3.0 22.9

58,658 57,152 115 1,391 965,407

57,302 54,744 75 2,483 855,334

1,356 2,408 40 (1,092) 110,073

2.4 4.4 53.3 (44.0) 12.9

51,480 50,080 56 1,344 858,521

7,178 7,072 59 47 106,886

13.9 14.1 105.4 3.5 12.5

4. รัฐวิสาหกิจ

63,690

55,655

8,035

14.4

53,534

10,156

19.0

5. หน่วยงานอื่น

57,769 55,031 2,738 1,086,866

103,160 100,233 2,927 1,014,149

(45,391) (45,202) (189) 72,717

(44.0) (45.1) (6.5) 7.2

50,146 47,093 3,053 962,201

7,623 7,938 (315) 124,665

15.2 16.9 (10.3) 13.0

123,979 87,679 36,300 6,332 6,262 877,576

7,634 15,488 (7,854) 849 8 64,226

6.2 17.7 (21.6) 13.4 0.1 7.3

127,068 104,500 22,568 6,792 6,404 821,937

4,545 (1,333) 5,878 389 (134) 119,865

3.6 (1.3) 26.0 5.7 (2.1) 14.6

24,264

22,038

2,226

10.1

21,910

2,354

10.7

917,538

855,538

62,000

7.2

800,027

117,511

14.7

1.1 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 1.2 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 1.3 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 1.4 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป์ 1.7 รายได้อื่น

2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุราฯ 2.4 ภาษีเบียร์ 2.5 ภาษีรถยนต์ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต์ 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2/

2.10 ภาษีอื่น 2.11 รายได้อื่น

3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่น

รวมรายได้ 3 กรม

5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์

รวมรายได้จัดเก็บ (Gross)

3/

หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินค้าส่งออก

รวมรายได้สุทธิ (Net) 6/ หักเงินจัดสรรจาก VAT ให้ อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ

รวมรายได้สุทธิหลังหักการจัดสรร อปท. หมายเหตุ

131,613 103,167 28,446 7,181 6,270 941,802

4/

4/ 5/

1/ ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2554 2/ ภาษีไพ่ เครื่องแก้ว เครื่องหอม พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด 3/ ข้อมูลจากระบบ GFMIS 4/ เดือนตุลาคม 2553 - มีนาคม 2554 เป็นตัวเลขจริง และเดือนเมษายน 2554 เป็นตัวเลขคาดการณ์ 5/ เดือนตุลาคม 2553 - มกราคม 2554 เป็นตัวเลขจริง และเดือนกุมภาพันธ์ - เมษายน 2554 เป็นตัวเลขคาดการณ์ 6/ รายได้สุทธิก่อนการจัดสรรให้ อปท.

ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

13 สํานักนโยบายการคลัง


สถานการณ์ด้านรายจ่าย  พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ 2554 ซึ่งได้ลงประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเล่มที่ 127 ตอนที่ 60ก เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2553 ได้กําหนดวงเงินงบประมาณรายจ่าย จํานวน 2,070,000 ล้านบาท สูงกว่าวงเงินปีงบประมาณ 2553 ร้อยละ 21.8 โดยแบ่งเป็นรายจ่าย ประจํา 1,661,482 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 15.9 รายจ่ายลงทุน 345,617 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 60.7 รายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ 32,555 ล้านบาท และมีการตั้งงบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง 30,346 ล้านบาท  คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2553 เห็นชอบการกําหนดเป้าหมายการเบิกจ่าย งบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ที่อัตราร้อยละ 93.0 และกําหนดเป้าหมาย การเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 72.0 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน โดยได้กําหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายรายไตรมาส ดังนี้ ไตรมาสที่ 1 2 3 4

เป้าหมาย การเบิกจ่าย แต่ละไตรมาส (ล้านบาท) 414,000 496,800 496,800 517,500

เป้าหมาย การเบิกจ่ายสะสม ณ สิ้นไตรมาส (ล้านบาท) 414,000 910,800 1,407,600 1,925,100

เป้าหมายอัตรา เบิกจ่าย อัตรา การเบิกจ่ายสะสม สะสม เบิก ณ สิ้นไตรมาส (ล้านบาท) จ่าย (%) % 20 553,323 26.7 44 1,070,454 51.7 68 93

 พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ซึ่งได้ลงประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 128 ตอนที่ 27ก เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2554 ได้กําหนดวงเงินงบประมาณไว้ จํานวน 99,968 ล้านบาท ทําให้ปีงบประมาณ 2554 มีวงเงินงบประมาณรวมทั้งสิ้น 2,169,968 ล้านบาท

สํานักนโยบายการคลัง 14


โครงสร้างงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2554 โครงสร้างงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณรายจ่าย (สัดส่วนต่อ GDP) - รายจ่ายประจํา (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) 2. รายรับ (สัดส่วนต่อ GDP) - รายได้ - เงินกู้ 3. ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP)

ปีงบประมาณ 2553 เพิ่ม/ลด จํานวน ร้อยละ 1,700,000 -12.9 18.8 1,434,710 1.7 84.4 -100.0 214,369 -50.1 12.6 50,921 -20.0 3.0 1,700,000 -12.9 18.8 1,350,000 -15.9 350,000 0.8 10,103,000 11.7

ปีงบประมาณ 2554 เพิ่ม/ลด จํานวน ร้อยละ 2,169,968 27.6 20.0 1,667,440 16.2 76.8 114,489 100.0 5.3 355,485 65.8 16.4 32,555 -36.1 1.5 2,169,968 27.6 20.0 1,770,000 31.1 399,968 14.3 10,840,500 7.3

ที่มา : สํานักงบประมาณ

 เดือนเมษายน 2554 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณปี 2554 จํานวน 135,081 ล้านบาท ต่ํากว่าเดือนเดียวกัน ของปีที่แล้ว 1,506 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.1 และมีการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี 4,625 ล้านบาท ทําให้มีการเบิกจ่ายรวมทั้งสิน้ 139,706 ล้านบาท

15 สํานักนโยบายการคลัง

- การเบิกจ่ายงบประมาณ จํานวน 135,081 ล้านบาท เป็นการเบิกจ่ายจาก 1) งบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ 2554 จํานวน 135,081 ล้านบาท แบ่งเป็น รายจ่ายประจํา จํานวน 120,856 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน จํานวน 14,225 ล้านบาท 2) สําหรับงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ประจําปีงบประมาณ 2554 นั้น ยังไม่มีการเบิกจ่าย - การเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี มีจํานวน 4,625 ล้านบาท


 ในช่วง 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 - เมษายน 2554) ปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลได้เบิกจ่ายเงินแล้ว - การเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจําปี งบประมาณ 2554 จํานวน 1,205,535 ล้านบาท จํานวน 1,205,535 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกัน ปีที่แล้ว 239,772 ล้านบาท หรือร้อยละ 24.8 และ คิดเป็นอัตราการเบิกจ่าย ร้อยละ 55.6 ของวงเงิน มีการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี 93,335 ล้านบาท งบประมาณ 2,169,968 ล้านบาท โดยเป็น ทําให้มีการเบิกจ่ายรวมทั้งสิน้ 1,298,870 ล้านบาท การเบิกจ่ายจาก 1) งบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ 2554 จํานวน 1,205,535 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 58.2 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจําปี งบประมาณ 2554 (2,070,000 ล้านบาท) แบ่งเป็น รายจ่ายประจํา จํานวน 1,051,382 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 61.0 ของวงเงินงบประมาณรายจ่าย ประจําหลังโอนเปลี่ยนแปลง (1,724,938 ล้านบาท) รายจ่ายลงทุน จํานวน 154,153 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 44.7 ของวงเงิน งบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง (345,062 ล้านบาท) - การเบิกจ่ายงบกลาง มีจํานวน 155,791 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 58.6 ของงบประมาณ งบกลาง (265,763 ล้านบาท) - สําหรับการเบิกจ่ายงบประมาณตามหน่วยงาน หน่วยงานที่มีการเบิกจ่ายสูงที่สุด 3 อันดับแรก คือ กระทรวงแรงงานมีการเบิกจ่าย 25,681 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 90.1 หน่วยงานอิสระ ตามรัฐธรรมนูญ มีการเบิกจ่าย 16,714 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 87.0 และรัฐวิสาหกิจ มีการเบิกจ่าย 93,420 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 80.9 - ในขณะที่หน่วยงานที่มีการเบิกจ่ายต่ําสุด 3 อันดับสุดท้าย คือ จังหวัดมีการเบิกจ่าย 2,619 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 14.6 กระทรวงคมนาคม มีการเบิกจ่าย 26,018 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 32.4 และกระทรวงพลังงานมีการเบิกจ่าย 770 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 38.3 2) สําหรับงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ประจําปีงบประมาณ 2554 นั้น ยังไม่มีการเบิกจ่าย 3) การเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี มีจํานวน 93,335 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 50.9 ของเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี (183,221 ล้านบาท) สํานักนโยบายการคลัง 16


ลานบาท

การเบิกจ ายรายจ ายประจํา รายจ ายลงทุน และเงินกันไวเบิกเหลื่ อมป (รายเดือน)

300,000 200,000 100,000 -

ต.ค. 53

พ.ย. 53

ธ.ค. 53

ม.ค. 54

ก.พ. 54

มี.ค. 54

เม.ย. 54

รายจายประจํา

189,957

196,444

133,696

146,289

122,765

141,375

120,856

รายจายลงทุน

4,161

10,757

18,308

74,368

16,699

15,635

14,225

เงินกันไวเบิกเหลื่อมป

13,334

15,951

15,763

14,534

15,225

13,903

4,625

พ.ค. 54

มิ.ย. 54

ก.ค. 54

ส.ค. 54

ก.ย. 54

การเบิกจ ายงบประมาณประจํา ป งบประมาณ 2554 (สะสม)

ลานบาท 2,000,000 1,500,000 1,000,000 500,000 0

ต.ค. 53

พ.ย. 53

ธ.ค. 53

ม.ค. 54

ก.พ. 54

มี.ค. 54

เม.ย. 54

พ.ค. 54

มิ.ย. 54

ก.ค. 54

ส.ค. 54

ก.ย. 54

พ.ศ. 2553

80,143

246,259

396,155

530,141

699,523

829,176

965,763

1,083,822

1,207,018

1,342,146

1,445,468

1,627,875

พ.ศ. 2554

194,118

401,319

553,323

773,980

913,444

1,070,454

1,205,535

 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุน - เดือนเมษายน 2554 มีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการ ลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 จํานวน ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ในเดือนเมษายน 2554 จํานวน 4,467 ล้านบาท 4,467 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.3 ของวงเงินที่ได้รับ อนุมัติ จํานวน 349,960 ล้านบาท1 และตั้งแต่ ต้นปีงบประมาณมีการเบิกจ่ายรวมทั้งสิ้น 41,465 ล้านบาท - การเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุนภายใต้แผน ปฏิบัติการไทยเข้มแข็งสะสมจนถึงสิ้นเดือนเมษายน 2554 มีจํานวนทั้งสิ้น 275,866 ล้านบาท2 คิดเป็น ร้อยละ 78.8 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ จํานวน 349,960 ล้านบาท - สําหรับสาขาที่มีการเบิกจ่ายสะสมสูงสุด 3 อันดับแรก คือ สาขาการประกันรายได้และการดําเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องมีการเบิกจ่าย 40,000 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 100.0 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (40,000 1

เป็นวงเงินที่ได้รับการอนุมัติตามพระราชกําหนดให้อํานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 รอบที่ 1 จํานวน 199,960 ล้านบาท และรอบที่ 2 จํานวน 150,000 ล้านบาท 2 เป็นการเบิกจ่ายจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง จนถึงสิ้นสุดปีงบประมาณ 2553 จํานวน 234,401 ล้านบาท

17 สํานักนโยบายการคลัง


ล้านบาท) สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีการเบิกจ่าย 178 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 96.5 ของวงเงินที่ได้รับ การอนุมัติ (185 ล้านบาท) และสาขาสิ่งแวดล้อม มีการเบิกจ่าย 664 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 96.3 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (689 ล้านบาท) - ในขณะทีส่ าขาที่มีการเบิกจ่ายสะสมต่ําสุด 3 อันดับ คือ สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานมีการเบิกจ่าย 4,316 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 29.4 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (14,692 ล้านบาท) สาขาโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยวมีการเบิกจ่าย 1,001 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 30.5 ของวงเงิน ที่ได้รับอนุมัติ (3,282 ล้านบาท) และสาขาพัฒนา ด้านสาธารณสุข พัฒนาบุคลากรมีการเบิกจ่าย 732 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 38.0 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (1,928 ล้านบาท) - สําหรับสาขาที่ยังไม่มกี ารเบิกจ่าย ได้แก่ สาขาพลังงาน มีวงเงินที่ได้รับอนุมัติ 174 ล้านบาท  รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ - ในช่วง 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553 - เมษายน 2554) มีการเบิกจ่ายเงิน ทั้งสิน้ 1,340,335 ล้านบาท เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ จํานวนทั้งสิ้น 1,340,335 ล้านบาท แบ่งเป็น งบประมาณรายจ่ายประจําปี งบประมาณ 2554 จํานวน 1,205,535 ล้านบาท เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี จํานวน 93,335 ล้านบาท และโครงการลงทุนไทยเข้มแข็ง 2555 จํานวน 41,465 ล้านบาท

สํานักนโยบายการคลัง 18


รายงานผลการเบิกจ่ายเงินโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 วัตถุประสงค์ / สาขา 1. สร้างความมั่นคงทางด้านอาหารและพลังงานฯ

เบิกจ่าย ร้อยละของ สะสม การเบิกจ่าย ณ 30 เม.ย. 54 สะสม 59,503.3 46,972.0 78.9

วงเงินที่ได้รับ อนุมัติ

1.1 สาขาทรัพยากรน้ําและการเกษตร

59,503.3

46,972.0

78.9

2. ปรับปรุงบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานฯ

74,781.1

55,199.1

73.8

46,586.5

42,621.9

91.5

174.3

-

-

-

-

-

3,281.7

1,001.3

30.5

14,691.5

4,316.2

29.4

9,172.9

6,417.7

70.0

2.7 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

185.0

178.4

96.5

2.8 สาขาสิ่งแวดล้อม

689.2

663.6

96.3

5,394.3

2,359.2

43.7

3.1 สาขาพัฒนาการท่องเที่ยว

5,394.3

2,359.2

43.7

4. สร้างฐานรายได้ใหม่ของประเทศฯ

1,330.6

1,270.0

95.4

4.1 สาขาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์

1,330.6

1,270.0

95.4

51,981.4

34,915.2

67.2

51,981.4

34,915.2

67.2

1,927.7

731.6

38.0

1,927.7

731.6

38.0

106,542.1

91,476.2

85.9

7.1 สาขาการลงทุนในระดับชุมชน

106,542.1

91,476.2

85.9

8. อื่น ๆ ตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด

40,000.0

40,000.0

100.0

40,000.0

40,000.0

100.0

341,460.4

272,923.2

79.9

8,500.0

2,942.7

34.6

349,960.4

275,865.9

78.8

2.1 สาขาขนส่ง 2.2 สาขาพลังงาน 2.3 สาขาการสื่อสาร 2.4 สาขาโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว 2.5 สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 2.6 สาขาสวัสดิภาพของประชาชน

3. สร้างศักยภาพในการหารายได้จากการท่องเที่ยว

5. ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ 5.1 สาขาการศึกษา 6. ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุขฯ 6.1 สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาบุคลากร 7. สร้างอาชีพและรายได้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตฯ

8.1 สาขาการประกันรายได้และการดําเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวม สํารองจ่ายตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหาร รวมทั้งสิ้น ข้อมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 2554

19 สํานักนโยบายการคลัง


การเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ ผลการเบิกจ่าย - เดือนเมษายน 2554 มีการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ 194.4 ล้านบาท เปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันปีที่แล้ว เพิ่มขึ้น 153.7 ล้านบาท หรือร้อยละ 377.6 - 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 - เมษายน 2554) มีการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ 1,230.5 ล้านบาท เปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้วเพิ่มขึ้นจํานวน 739.4 ล้านบาท หรือร้อยละ 150.6

สรุปการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ เดือนเมษายน 2554 และ 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 รายการ

1. Project Loans 2. Structural Adjustment Loans (SAL) รวม ที่มา : สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ

เมษายน 2554 2553 อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 40.7 194.4 194.4 40.7 377.6

หน่วย : ล้านบาท ตุลาคม - เมษายน 2554 2553 อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 92.3 477.9 0.00 1,138.1 13.2 1,230.5 491.1 150.6

สํานักนโยบายการคลัง 20


การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. • เดือนเมษายน 2554 การเบิกจ่ายเงินของกองทุนนอกงบประมาณ 1. เดือนเมษายน 2554 มีการเบิกจ่ายรวม 15,043.3 ต่ํากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 30.1 เป็นผล ล้านบาท ต่ํากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 6,478.1 ล้านบาท จากการลดลงของรายจ่ายกองทุนหลักประกัน หรือร้อยละ 30.1 ประกอบด้วยรายจ่ายดําเนินงาน 13,812.5 สุขภาพแห่งชาติ ล้านบาท ต่ํากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 6,775.5 ล้านบาท • ในช่วง 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 หรือร้อยละ 32.9 ในขณะที่มีการให้กู้สุทธิ 1,230.8 ล้านบาท (ตุลาคม 2553 - เมษายน 2554) สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 297.4 ล้านบาท หรือร้อยละ 31.9 2. ในช่วง 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 มีการเบิกจ่าย การเบิกจ่ายเงินของกองทุน ฯ สูงกว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 7.7 โดยมี รวม 223,880.1 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 16,076.7 สาเหตุหลักมาจากการเบิกจ่ายของกองทุน ล้านบาท หรือร้อยละ 7.7 ประกอบด้วย 1) รายจ่ายดําเนินงาน 208,220 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกัน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และกองทุนอ้อย ของปีที่แล้ว 13,329.3 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.8 เป็นผลมาจาก และน้ําตาลทราย กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และกองทุนอ้อยและน้ําตาลทราย มีการเบิกจ่ายเพิ่มขึ้น 2) รายจ่ายเงินให้กู้ยืมสุทธิ 15,660.1 ล้านบาท สูงกว่า ช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว 2,747.4 ล้านบาท หรือร้อยละ 21.3 เป็นผลมาจากการให้กู้ยืมที่เพิ่มขึ้นของกองทุนเงินให้กู้ยืม เพื่อการศึกษา

สรุปการเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. ในช่วง 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ ๒๕๕๔ (ตุลาคม ๒๔๔๓ - เมษายน ๒๕๕๔) หน่วย : ล้านบาท รายการ

เมษายน

ในช่วง 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ

2554*

2553

การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ

15,043.3

21,521.4

-30.10 223,880.1 207,803.4

7.7

๑. รายจ่ายดําเนินงาน

13,812.5

20,588.0

-32.90 208,220.0

194,890.7

6.8

1,230.8

933.4

12,912.7

21.3

๒. รายจ่ายเงินให้กู้ยืมสุทธิ

อัตราเพิ่ม

31.9

2554*

15,660.1

2553

อัตราเพิ่ม

ที่มา : กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการทําของ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจฯ กองทุนอ้อยและน้ําตาลทราย กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนรวมเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุน การวิจัย หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ โดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

21 สํานักนโยบายการคลัง


ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด1 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553 – เมษายน 2554) 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลมีรายได้  เดือนตุลาคม 2553 – เมษายน 2554 ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแส นําส่งคลัง 916,238 ล้านบาท และมีการเบิกจ่าย เงินสดขาดดุล 443,713 ล้านบาท คิดเป็น งบประมาณจากงบประมาณปีปัจจุบันและปีก่อนรวม 1,298,869 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณ ร้อยละ 4.1 ของ GDP 2 ขาดดุลจํานวน 382,631 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลเงิน นอกงบประมาณที่ขาดดุลจํานวน 61,082 ล้านบาท ทําให้ดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 443,713 ล้านบาท โดยรัฐบาลชดเชยการขาดดุลโดยการออกพันธบัตร จํานวน 129,605 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินสด หลังการกู้เงินขาดดุลทั้งสิ้น 314,108 ล้านบาท ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด หน่วย: ล้านบาท

7 เดือนแรก ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2553 รายได้ 916,238 848,943 รายจ่าย 1,298,869 1,079,542 ปีปัจจุบนั 1,205,534 965,763 ปีก่อน 93,335 113,779 ดุลเงินงบประมาณ -382,631 -230,599 ดุลเงินนอกงบประมาณ -61,082 -62,915 ดุลเงินสดก่อนกู้ -443,713 -293,514 กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล 129,605 175,572 ดุลเงินสดหลังกู้ -314,108 -117,942 ที่มา : กรมบัญชีกลาง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

เปรียบเทียบ จํานวน ร้อยละ 67,295 7.9 219,327 20.3 239,771 24.8 -20,444 -18.0 -152,032 65.9 1,833 -2.9 -150,199 51.2 -45,967 -26.2 -196,166 166.3

1 2

ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด เป็นดุลการคลังที่แสดงให้เห็นผลกระทบต่อเงินคงคลังและการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล GDP ปีปฏิทิน 2553 เท่ากับ 10,103.0 พันล้านบาท และคาดการณ์ GDP ปีปฏิทิน 2554 เท่ากับ 10,840.5 พันล้านบาท

สํานักนโยบายการคลัง 22


ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค.1 ในช่วง 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – เมษายน 2554)  ในช่วง 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลมีรายได้ทั้งสิน้ 946,875 ล้านบาท และมีรายจ่ายทั้งสิน้ 1,317,461 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 8.7 และ 12.2 ของ GDP ตามลําดับ

ด้านรายได้ รัฐบาลมีรายได้ทั้งสิ้น 946,875 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 8.3 โดยประกอบด้วยรายได้ในงบประมาณ 946,110.5 ล้านบาท (ก่อนจัดสรรภาษีมลู ค่าเพิ่มให้ อปท.) และเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ 764.6 ล้านบาท ด้านรายจ่าย รัฐบาลมีรายจ่ายทั้งสิ้น 1,317,461 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 22.6 ประกอบด้วยรายจ่ายจากงบประมาณปีปัจจุบันและ ปีก่อน (รายจ่ายไม่รวมรายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ 1,316,696.8 ล้านบาท รายจ่ายเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ 764.6 ล้านบาท)

 ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิน้ 370,586 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 3.4 ของ GDP

ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิ้น 370,586 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 3.4 ของ GDP ในขณะเดียวกันปีที่แล้ว ขาดดุล 200,496 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 2.2 ของ GDP

 ดุลบัญชีนอกงบประมาณ เกินดุล 16,579 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.2 ของ GDP

บัญชีนอกงบประมาณ ประกอบด้วยเงินฝาก นอกงบประมาณ และกองทุนนอกงบประมาณ มีรายได้ รวมทั้งสิ้น 261,497 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกัน ปีที่แล้วร้อยละ 18.6 มีรายจ่ายจํานวน 229,258 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 41.5 และมี เงินให้กู้หักชําระคืน 15,660 ล้านบาท ทําให้ดุลบัญชี นอกงบประมาณเกินดุลทั้งสิน้ 16,579 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.2 ของ GDP

23 สํานักนโยบายการคลัง


 ดุลการคลังของรัฐบาล ขาดดุลทั้งสิ้น 396,702 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.7 ของ GDP

ดุลเงินงบประมาณที่ขาดดุลรวมกับดุลบัญชีนอกงบประมาณ ที่เกินดุล และเมื่อหักรายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศและ รายจ่ายจากโครงการไทยเข้มแข็งแล้ว จํานวน 1,230 ล้านบาท และ 41,465 ล้านบาท ตามลําดับ ทําให้ดุลการคลัง ขาดดุล จํานวน 396,702 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.7 ของ GDP ในขณะที่ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว ขาดดุล 267,945 ล้านบาท สําหรับดุลการคลังเบื้องต้นของรัฐบาล (Primary Balance) ซึ่งเป็นดุลการคลังที่สะท้อนถึงผลการดําเนินงาน ของรัฐบาลและทิศทางของนโยบายการคลังของรัฐบาล อย่างแท้จริง (ไม่รวมรายได้และรายจ่ายดอกเบี้ย และ การชําระคืนต้นเงินกู้) ขาดดุลทั้งสิ้น 315,729 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.9 ของ GDP ในขณะที่ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว ขาดดุล 180,757 ล้านบาท

ดุลการคลังเบื้องต้นตามระบบ สศค. หน่วย: ล้านบาท ปงบประมาณ

เม.ย. 54

เม.ย. 53

ลานบาท % of GDP

ลานบาท

เปรียบเทียบ

% of GDP

ลานบาท

รอยละ

ต.ค.53 - เม.ย. 54

ต.ค.52 - เม.ย. 53

เปรียบเทียบ

ลานบาท % of GDP ลานบาท % of GDP ลานบาท

รอยละ

รัฐบาล 1. รายได 2. รายจาย 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. รายจายจากเงินกูตางประเทศ 5. รายจายจากมาตรการไทยเข็มแข็ง (TKK) 6. ดุลบัญชีนอกงบประมาณ (6.1-6.2-6.3) 6.1 รายได 6.2 รายจาย 6.3 เงินใหกูหักชําระคืน 7. ดุลการคลังของรัฐบาล (3-4-5+6) 8. ดุลการคลังเบื้องตนของรัฐบาล

141,331 147,470 (6,140) 194 4,467 23,547 40,893 16,116 1,231 12,746 22,188

1.3 1.4 (0.1) 0.0 0.0 0.2 0.4 0.1 0.0 0.1 0.2

174,183 138,672 35,511 41 21,144 22,896 46,854 23,025 934 37,221 54,929

1.6 1.3 0.3 0.0 0.2 0.2 0.4 0.2 0.0 0.3 0.5

(32,852) 8,798 (41,650) 154 (16,678) 651 (5,961) (6,910) 297 (24,476) (32,741.3)

(18.9) 6.3 (117.3) 377.6 (78.9) 2.8 (12.7) (30.0) 31.8 (65.8) (59.6)

946,875 1,317,461 (370,586) 1,230 41,465 16,579 261,497 229,258 15,660 (396,702) (315,729)

8.7 12.2 (3.4) 0.0 0.4 0.2 2.4 2.1 0.1 (3.7) (2.9)

874,068 1,074,563 (200,496) 491 112,461 45,502 220,430 162,015 12,913 (267,945) (180,757)

72,807 9.7 11.9 242,898 (2.2) (170,091) 739 0.0 (70,996) 1.2 (28,924) 0.5 41,067 2.4 67,243 1.8 2,747 0.1 (3.0) (128,757) (2.0) (134,972)

8.3 22.6 84.8 150.6 (63.1) (63.6) 18.6 41.5 21.3 48.1 74.7

จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

สํานักนโยบายการคลัง 24


ฐานะการคลังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รายงานการคลังท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ประจําไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2554 ฐานะการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2553) ดุลการคลังขาดดุล 24,731 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว 778 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 3 ดังนี้ 1. ด้านรายได้ อปท. คาดการณ์เบื้องต้นมีจํานวนประมาณ 89,545 ล้านบาท ลดลงจากช่วง เดียวกันปีที่แล้ว 11,541 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 11) ทัง้ นี้ รายได้ของ อปท. ประกอบด้วย (รายละเอียด ตามตารางที่ 1) 1.1 รายได้ที่จดั เก็บเอง จํานวน 5,354 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 3,253 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 38) แยกเป็นรายได้จากภาษีอากร 2,548 ล้านบาท และรายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร 2,806 ล้านบาท เนื่องจากไตรมาสที่ 1 อปท. ที่ได้รับความเสียหายจากภัยน้ําท่วมทําให้ผู้ประกอบการที่ได้รับ ความเสียหายจากภัยดังกล่าวได้รับการลดหย่อนค่าภาษีทําให้มีรายได้น้อยลง 1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จํานวน 42,339 ล้านบาท สูงกว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 3,601 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 47 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน จํานวน 41,852 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 11,889 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 22

ตารางที่ 1 รายได้ของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2554 ประเภท 1. รายได้จัดเก็บเอง 1/ (ร้อยละของรายได้รวม) 1.1 รายได้จากภาษีอากร 1.2 รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร 2. รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 2/ (ร้อยละของรายได้รวม) 3. รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล 3/ (ร้อยละของรายได้รวม) รวม (ร้อยละของรายได้รวม)

ไตรมาส 1 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2553 5,354 8,607 6 9 2,548 5,864 2,806 2,743 42,339 38,738 47 38 41,852 53,741 47 53 89,545 101,086 100 100

หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ

จํานวน (3,253)

ร้อยละ (38)

(3,316) 63 3,601

(57) 2 9

(11,889)

(22)

(11,541)

(11)

ที่มา

1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จํานวน 1,299 แห่ง จากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจํานวน 6,572 แห่ง รวม 7,871 แห่ง 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดิน และกรมการขนส่งทางบก 3/ รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จัดทําและรวบรวมโดย ส่วนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง นายกิจจา ยกยิ่ง ผู้รับผิดชอบ จัดทําขึ้น ณ วันที่ 10 มีนาคม 2554

สํานักนโยบายการคลัง 26


2. ด้านรายจ่าย อปท. คาดการณ์เบื้องต้นมีจํานวน 114,276 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกัน ปีที่แล้ว 10,764 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 9) สาเหตุที่รายจ่ายของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2554 ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีทแี่ ล้ว เนื่องจากประสบปัญหาน้ําท่วม ทําให้ อปท. ไม่สามารถใช้จ่ายงบประมาณ ได้ตามแผนการใช้จ่ายที่ได้เสนอไว้ในข้อบัญญัติของแต่ละ อปท. (รายละเอียดตามตารางที่ 2) 2.1 รายจ่ายงบกลาง เบิกจ่ายจํานวน 8,743 ล้านบาท เพิม่ ขึ้นจากไตรมาสเดียวกันปีที่แล้ว 1,935 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 28) 2.2 รายจ่ายประจํา เบิกจ่ายจํานวน 67,714 ล้านบาท เพิม่ ขึ้นจากไตรมาสเดียวกันปีที่แล้ว 16,956 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 33) 2.3 รายจ่ายเพื่อการลงทุน เบิกจ่ายจํานวน 15,828 ล้านบาท ลดลงจากไตรมาสเดียวกันปีที่ แล้ว 28,057 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 64) 2.4 รายจ่ายพิเศษ เบิกจ่ายจํานวน 13,560 ล้านบาท ลดลงจากไตรมาสเดียวกันปีที่แล้ว 240 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 2) 2.5 รายจ่ายจากเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี เบิกจ่ายจํานวน 8,431 ล้านบาท ลดลงจากไตรมาส เดียวกันปีที่แล้ว 1357 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 14)

ตารางที่ 2 รายจ่ายของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2554 1/ ประเภท 1. รายจ่ายงบกลาง (ร้อยละของรายจ่ายรวม) 2. รายจ่ายประจํา (ร้อยละของรายจ่ายรวม) 3. รายจ่ายเพื่อการลงทุน (ร้อยละของรายจ่ายรวม) 4. รายจ่ายพิเศษ (ร้อยละของรายจ่ายรวม) 5. รายจ่ายกันไว้เบิกเหลื่อมปี (ร้อยละของรายจ่ายรวม) รวม (ร้อยละของรายจ่ายรวม)

หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ

ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2553 8,743 8 67,714 59 15,828 14 13,560 12 8,431 7 114,276 100

6,808 5 50,758 41 43,885 35 13,800 11 9,788 8 125,040 100

จํานวน 1,935

28

16,956

33

(28,057)

(64)

(240)

(2)

(1,357)

(14)

(10,764)

(9)

ที่มา

1/ประมาณการจากการให้สินเชื่อและเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) หักด้วยรายได้ อปท.

จัดทําและรวบรวมโดย

ส่วนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

ผู้รับผิดชอบ

นายกิจจา ยกยิ่ง

จัดทําขึ้น

ณ วันที่ 10 มีนาคม 2554

27 สํานักนโยบายการคลัง

ร้อยละ


3. ดุลการคลัง อปท. จากการให้สินเชื่อและเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) ของ ธปท. ขาดดุลการคลัง จํานวน 24,731 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 778 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 3 (รายละเอียดตามตารางที่ 3 และรูปที่ 1)

ตารางที่ 3 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2554 ประเภท 1. รายได้ 1/

หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ

ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2553

จํานวน

ร้อยละ

89,545

101,086

(11,541)

(11)

5,354

8,607

(3,253)

(38)

1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐจัดเก็บหรือแบ่งให้

42,339

38,738

3,601

9

1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน

41,852

53,741

(11,889)

(22)

114,276

125,040

(10,764)

(9)

2.1 รายจ่ายงบกลาง

8,743

6,808

1,935

28

2.2 รายจ่ายประจํา

67,714

50,758

16,956

33

2.3 รายจ่ายเพื่อการลงทุน

15,828

43,885

(28,057)

(64)

2.4 รายจ่ายพิเศษ

13,560

13,800

(240)

(2)

8,431

9,788

(1,357)

(14)

(24,731)

(23,954)

(777)

3

1.1 รายได้ที่จัดเก็บเอง

2. รายจ่าย

2.5 รายจ่ายกันไว้เบิกเหลื่อมปี 3. ดุลการคลัง 2/ ที่มา

1/ รายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จํานวน 1,299 แห่ง และข้อมูลจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจํานวน 6,572 แห่ง 2/เป็นตัวเลขประมาณการจากการให้สินเชื่อและเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKINK SYSTEM) ของ ธปท.

จัดทําและรวบรวมโดย ส่วนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบ

นายกิจจา ยกยิ่ง

จัดทําขึ้น

ณ วันที่ 10 มีนาคม 2554

รูปที่ 1 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2554

สํานักนโยบายการคลัง 28


สถานการณ์ด้านหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2554 หน่วย : ล้านบาท

 หนี้สาธารณะคงค้าง เท่ากับ 4,246.1 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 41.3 ของ GDP ลดลงจากเดือนที่แล้ว 11.3 พันล้านบาท โดยเป็นหนี้ คงค้างที่เป็นภาระงบประมาณ ต่อ GDP เท่ากับร้อยละ 30.3 และแยกเป็นหนี้ในประเทศ ร้อยละ 91.8 ส่วนที่เหลือ ร้อยละ 8.2 เป็นหนี้ ต่างประเทศ  หนี้คงค้างที่ลดลง เป็นผลจากหนีข้ องรัฐวิสาหกิจ ลดลง 12.4 พันล้านบาท โดยหนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง เพิ่มขึ้น 0.6 พันล้านบาท  หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง เพิ่มขึน้ 0.6 พันล้านบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว โดยหนี้ในประเทศเพิ่มขึ้น 1.9 พันล้านบาท มีสาเหตุหลัก จากการกู้เงินเพื่อชดเชย การขาดดุลงบประมาณ 24.5 พันล้านบาท และการไถ่ถอน ตั๋วเงินคลัง 21.0 พันล้านบาท ในขณะทีห่ นี้ต่างประเทศลดลง 1.2 พันล้านบาท

29 สํานักนโยบายการคลัง

1. รวมหนี้ที่รฐั บาลกู้โดยตรง หนีท้ ี่รัฐบาลกู้โดยตรง-ต่างประเทศ หนีท้ ี่รัฐบาลกู้โดยตรง-ในประเทศ 2. รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจ

หนี้ที่รฐั บาลค้ําประกัน-ต่างประเทศ หนี้ที่รฐั บาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รฐั บาลไม่ค้ําประกันต่างประเทศ** หนี้ที่รฐั บาลไม่ค้ําประกันในประเทศ** 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น * หนีท้ ี่รัฐบาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนีท้ ี่รัฐบาลไม่ค้ําประกัน-ในประเทศ 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟืน้ ฟูฯ FIDF 5. ยอดหนี้สาธารณะคงค้างรวม (1+2+3+4) GDP หนี้สาธารณะคงค้างรวมต่อ GDP (%) หนี้คงค้างที่เป็นภาระงบประมาณต่อ

ณ 28 ก.พ. 54 ณ 31 มี.ค. 54 2,988,172.17 2,988,845.39 54,522.92 53,311.65 2,933,649.25 2,935,533.74 1,238,655.13 1,226,212.40 171,999.32 166,129.09 507,363.56 502,900.70 132,356.13 130,891.14 426,936.12

426,291.47

30,582.51 4,257,409.81

31,056.89 4,246,114.68

10,225,920 41.63 30.46

10,287,380 41.27 30.30

GDP (%) หมายเหตุ * หน่วยงานภาครัฐอื่น ได้แก่ สํานักงานคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมืองแห่งชาติและสถาบันบริหารกองทุนพลังงาน ** ไม่รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน *** สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะได้ปรับวิธีการคํานวณ GDP ในแต่ละเดือน โดยคํานวณ GDP ของเดือนมีนาคม 2554 จาก ( (GDP ปี 2553/12) *9 ) + ( (GDP ปี 2554/12) x 3) = 10,287,380 ล้านบาท ที่มา สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ


หนี้สาธารณะ ณ 31 มีนาคม 2554 หน่วย : พันล้านบาท  หนี้ของรัฐวิสาหกิจลดลง 12.4 พันล้านบาท เมื่อเทียบ กับเดือนก่อน เนื่องจากมีการ เบิกจ่ายเงินกู้น้อยกว่าการชําระ คืนเงินกู้ โดยรัฐวิสาหกิจที่มี การชําระคืนเงินกู้สุทธิที่สําคัญ ได้แก่ บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) และ การทางพิเศษ แห่งประเทศไทย จํานวน 5.8 และ 3.2 พันล้านบาท ตามลําดับ ในขณะที่การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค และ การรถไฟแห่ง ประเทศไทย เบิกจ่ายเงินกู้สทุ ธิ จํานวน 1.8 และ 1.5 พันล้าน บาท ตามลําดับ

จํานวน ร้อยละ (%)

หนี้ในประเทศ 3,895.8 91.8

หนี้ต่างประเทศ 350.3 8.2

หนี้สาธารณะ ณ 31 มีนาคม 2554

จํานวน ร้อยละ (%)

หน่วย : พันล้านบาท หนี้ระยะยาว หนี้ระยะสัน้ 4,212.1 34.0 99.2 0.8

สํานักนโยบายการคลัง 30


กรอบความยั่งยืนทางการคลัง กระทรวงการคลังได้กําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง เพื่อเป็นแนวทางในการดําเนินนโยบาย ทางการคลังที่สอดคล้องกับสถานะเศรษฐกิจการเงินและการคลังของประเทศ โดยมีเป้าหมายเพื่อรักษา เสถียรภาพด้านการคลังในระยะปานกลางและระยะยาว ซึ่งกรอบความยั่งยืนทางการคลังประกอบด้วยตัวชี้วัด และเป้าหมาย (60-15-0-25) ดังนี้ o o o o

ยอดหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 การจัดทํางบประมาณสมดุล สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25

สํานักงานเศรษฐกิจการคลังได้จัดทําการวิเคราะห์ความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประเมินและรักษาความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีผลการวิเคราะห์ระหว่าง ปีงบประมาณ 2554-2558 (รายละเอียดดังปรากฏในตารางสรุป) ซึ่งสรุปได้ดังนี้ o สามารถรักษาสัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ให้ไม่เกินร้อยละ 60 o สามารถรักษาสัดส่วนภาระหนี้ต่องบประมาณไม่ให้เกินร้อยละ 15 o ไม่สามารถจัดทํางบประมาณสมดุลในปีงบประมาณ 2554 เนื่องจากจําเป็นต้องจัดทํางบประมาณ แบบขาดดุล เพื่อกระตุ้นการเจริญเติบโตเศรษฐกิจของประเทศ และจากแนวโน้มภาระงบประมาณรายจ่ายที่ เพิ่มขึ้น ส่งผลให้มีข้อจํากัดในการดําเนินการจัดทํางบประมาณรายจ่ายแบบสมดุล ระหว่างปีงบประมาณ 2554 – 2558 o ไม่สามารถรักษาสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายให้ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 ในปีงบประมาณ 2554 อย่างไรก็ดี คาดว่าในปีงบประมาณ 2558 รัฐบาลจะสามารถจัดสรรงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 25 ของวงเงินงบประมาณได้ เพื่อการพัฒนาและการขยายตัวของเศรษฐกิจที่ยั่งยืน

31 สํานักนโยบายการคลัง


ตารางสรุปผลการวิเคราะห์และสมมติฐาน ตัวชี้วัด 1. ยอดหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP 2. ภาระหนี้ต่องบประมาณ 3. การจัดทํางบประมาณสมดุล 4. สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่าย สมมติฐานสําคัญในการประมาณการ - อัตราขยายตัวของเศรษฐกิจไทย (Real GDP) ร้อยละ - Inflation - Revenue Buoyancy ในประมาณการรายได้

ปีงบประมาณ เป้าหมาย 2554 2555 2556 F 2557 F 2558 F ไม่เกินร้อยละ 60 44.4 46.4 47.7 49.0 50.4 ไม่เกินร้อยละ 15 10.0 11.0 12.3 12.5 12.7 สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 16.5 17.0 20.0 23.0 25.0 4.0 3.3 1.09

4.4 3.4 0.95

4.5 3.0 1.07

4.5 3.0 1.04

4.5 3.0 1.02

ข้อมูล ณ เดือนเมษายน 2554

สํานักนโยบายการคลัง 32


การดําเนินกิจกรรมกึง่ การคลัง ผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล ไตรมาสที่ 4 ปี 2553 (เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2553) รัฐบาลมีการดําเนินมาตรการกิจกรรม กึ่งการคลังผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจใน โครงการต่าง ๆ ทีส่ ําคัญอย่างต่อเนื่อง โดยมี ผลการดําเนินงาน ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ปี 2553 ดังนี้  การอนุมัติสนิ เชื่อและการค้ําประกัน สินเชื่อในไตรมาสที่ 4 ปี 2553 มีการอนุมัติ จํานวน 68,054.1 ล้านบาท ลดลง จากช่วงเดียวกันของปีทแี่ ล้ว จํานวน 11,903.5 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 14.9

 การอนุมัติสนิ เชื่อสะสมและการค้ําประกัน สินเชื่อสะสมนับตั้งแต่เริ่มโครงการจนถึง ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ปี 2553 มีจํานวน 1,155,237.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ไตรมาสที่ผ่านมาจํานวน 68,054.1 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.3 โดยมีสาขาสนับสนุนกิจการ SMEs อนุมัติสนิ เชื่อสูงสุดจํานวน 681,065.6 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 59.0 ของยอด สินเชื่อสะสม สาขาสนับสนุนผู้มีรายได้น้อยให้ มีที่อยู่อาศัยจํานวน 207,185.8 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 17.9 ของยอดสินเชื่อสะสม และสาขาสนับสนุนการประกอบอาชีพระดับ ฐานรากจํานวน 266,986.4 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 23.1 ของยอดสินเชื่อสะสม

33 สํานักนโยบายการคลัง

กิจกรรมกึ่งการคลัง จําแนกตามประเภทกิจกรรม หนวย : ลานบาท

อัตราการ เปลี่ยนแปลง จากไตรมาส 4/2553

การอนุมัติสินเชื่อและค้ําประกันสินเชื่อ สาขา สาขาสนับสนุนกิจการ SMEs - โครงการสินเชื่อ สําหรับกิจการ SMEs - โครงการค้ําประกัน สินเชื่อให้แก่ SMEs สาขาสนับสนุนผู้มี รายได้น้อยให้มีที่อยู่ อาศัย - โครงการปล่อยสินเชือ่ ของธนาคารอาคาร สงเคราะห์ - โครงการบ้านออมสิน เพื่อประชาชน - โครงการบ้านเอื้ออาทร (เพื่อประชาชนกู้ซื้อบ้าน) สาขาสนับสนุนการ ประกอบอาชีพระดับ ฐานราก - โครงการธนาคาร ประชาชน - โครงการวิสาหกิจ ชุมชน* รวม

ยอดสะสม ตั้งแต่เริ่มดําเนินโครงการ

ยอดการอนุมัติ ในไตรมาส

ไตรมาส 4/2553

ไตรมาส 3/2553

ไตรมาส 4/2553

ไตรมาส 4/2552

681,065.6

628,892.9 52,172.7 44,981.9

16.0

571,535.2

532,858.0 38,677.2

29,646.3

30.5

15,335.6

-12.0

4,624.1 11,776.7

-60.7

109,530.4

96,034.9

207,185.8

202,561.7

147,389.3

147,389.3

-

5,373.9

-

2,944.4

2,944.4

-

-

-

56,852.1

52,228.0

4,624.1

6,402.8

27.8

255,729.1 11,257.3

23,199.0

-51.5

266,986.4

13,495.5

ร้อยละ

76,162.8

73,486.5

2,676.3

9,854.0

-72.8

190,823.6

182,242.6

8,581.0

13,345.0

-35.7

1,155,237.8 1,087,183.7 68,054.1 79,957.6

-14.9

หมายเหตุ * โครงการวิสาหกิจชุมชนของ ธ.ก.ส. เป็นการรายงานข้อมูลการอนุมัติสินเชื่อของลูกค้า วิสาหกิจรายย่อยทั่วไป ซึ่งเป็นการนับซ้ํากับลูกค้าในโครงการสินเชื่อสําหรับกิจการ SMEs


 หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) ลดลงจาก ไตรมาสทีผ่ ่านมา ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ปี 2553 ยอด NPLs เท่ากับ 31,176.5 ล้านบาท คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 8.4 ของยอดสินเชื่อคงค้าง และมี ภาระค้ําประกันหนี้จัดชั้นด้อยคุณภาพ (NPGs) ของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) อีกจํานวน 4,446.3 ล้านบาท คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 6.1 ของยอดค้ําประกันคงค้าง

หนี้ไมกอใหเกิดรายไดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ หนวย : ลานบาท

สิ้นไตรมาสที่ 4/2553 สินเชื่อ สาขา คงค้าง 1. สาขาสนันสนุนกิจการ SMEs 1.1 สินเชื่อสําหรับกิจการ SMEs 190,068.2 สินเชื่อ SMEs (ธพว.) 81,286.5 สินเชื่อ SMEs (ธสน.) 13,738.0 สินเชื่อ SMEs (ธนาคารออมสิน) 47,050.7 สินเชื่อ SMEs (ธ.ก.ส.) 47,993.0 1.2 การค้ําประกันสินเชื่อ (บสย.) 72,890.1 2. สาขาสนับสนุนผู้มีรายได้น้อยให้มีที่ อยู่อาศัย 106,556.9 โครงการบ้านเอื้ออาทร 38,653.3 โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 3 25,848.8 โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 4 9,660.1 โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 5 8,801.9 โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 6 15,887.2 โครงการบ้าน ธอส. - สปส. 2,755.8 โครงการบ้านมิตรภาพสปส. - ธอส. 4,949.8 เพื่อทีอ่ ยู่อาศัยของผู้ประกันตน 3. สาขาสนับสนุนการประกอบอาชีพ 72,582.4 ระดับฐานราก โครงการธนาคารประชาชน 18,878.4 โครงการวิสาหกิจชุมชน 53,704.0 รวมทั้งหมด 369,207.5 (ยกเว้นการค้ําประกันสินเชื่อ SMEs ของ บสย.)

NPLs

NPLs ratio

23,789.8 16,509.6 1,748.4 1,056.8 4,475.0 4,446.3*

12.5 % 20.3 % 12.7 % 2.2 % 9.3 % 6.1 %

1,283.2 251.3 459.0 165.6 146.0 121.4 72.4

1.2 % 0.7 % 1.8 % 1.7 % 1.7 % 0.8 % 2.6 %

67.5

1.4 %

6,103.5

8.4 %

956.5 5,147.0

5.1 % 9.6 %

31,176.5

8.4 %

หมายเหตุ * หนี้จัดชั้นด้อยคุณภาพ (NPGs)

สํานักนโยบายการคลัง 34


การกระจายอํานาจทางการคลัง ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ความคืบหน้าการติดตามและประเมินผล การปฏิบัติงานด้านการกระจายอํานาจ

35 สํานักนโยบายการคลัง

 ความเป็นมา คณะกรรมการการกระจายอํานาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (กกถ.) ได้แต่งตั้ง คณะอนุกรรมการด้านการติดตามและประเมินผล อันประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนส่วนราชการ ได้แก่ สํานักนายกรัฐมนตรี สํานักงบประมาณ กระทรวงการคลัง กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ โดยมีศาสตราจารย์ชาติชาย ณ เชียงใหม่ เป็นประธาน อนุกรรมการ เพื่อให้ กกถ. สามารถติดตามและประเมินผล การปฏิบัติงานด้านการกระจายอํานาจได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น โดยพัฒนาระบบการตรวจสอบ และระบบการติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) อาศัยเครือข่าย ส่วนราชการ สถาบันการศึกษาและสถาบันอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง  กรอบแนวทางและวิธีการติดตาม และประเมินผลการปฏิบัตงิ านด้านการกระจายอํานาจ ให้แก่ อปท. ของคณะอนุกรรมการฯ สรุปดังนี้ 1. แนวทางการขับเคลื่อนระบบการติดตาม และประเมินผล มีเป้าหมายคือทําให้ประชาชนพึงพอใจ โดยดําเนินการอย่างมีขั้นตอนตามกระบวนการที่กําหนด สรุปดังนี้ (1) กระบวนการติดตามผล คือ ติดตามดูความก้าวหน้าการปฏิบัติงานเกี่ยวกับ การถ่ายโอนงาน เงิน คน เครือ่ งมือ การแก้ไขกฎหมาย และการปฏิบัติงานของ อปท. ให้เป็นไปตาม KPI และแผนการกระจายอํานาจให้แก่ อปท. (2) กระบวนการการประเมินผล มีการประเมิน 3 ด้านคือ (2.1) ด้านประสิทธิภาพและสมรรถภาพ เช่น การจัดบริการสาธารณะของ อปท. การจัดโครงสร้าง องค์กรและการบริหารจัดการของ อปท.


(2.2) ด้านมาตรฐาน การประเมิน การจัดบริการสาธารณะของ อปท. ว่าเป็นไปตาม มาตรฐานที่กําหนดตามคู่มือการปฏิบัติงานหรือมาตรฐาน ของส่วนราชการ (2.3) ด้านผลลัพธ์และผลกระทบ ประเมินการจัดการบริการสาธารณะของ อปท. ว่า เป็นไปตามความต้องการของประชาชน แก้ไขปัญหา ให้ประชาชน หรือส่งเสริมความเป็นอยูข่ องประชาชน ให้ดีขึ้นมากน้อยเพียงใด 2. Road Map เพื่อขับเคลื่อนระบบ การติดตามและประเมินผล โดยมีการกําหนดแนวคิด และผังกิจกรรมที่จะดําเนินการกําหนดไว้เป็นขั้นตอน มีประเด็นสําคัญดังนี้ (1) ในปี 2553 จะทําการติดตาม และประเมินผลการถ่ายโอนภารกิจ งบประมาณ บุคลากรและแก้ไขหรือจัดให้มีกฎหมาย โดยมีจุดมุ่งหมายในการเร่งรัดการถ่ายโอน (2) ตั้งแต่ปี 2554 เป็นการประเมิน ภารกิจที่ถ่ายโอนไปแล้ว ว่าครบองค์ประกอบหรือไม่ ประชาชนได้รับประโยชน์หรือไม่ อปท. มีการบริหารจัดการ หรือไม่แล้วจึงประเมินผลลัพธ์ ผลกระทบและความ พึงพอใจของประชาชน (3) กําหนดกรอบแนวทางดําเนินงาน โดยแสดงเป็นลําดับก่อน – หลัง การเลือกเรื่อง ที่จะทําการประเมิน เน้นเรื่องที่มีความสําคัญและเป็น นโยบายของรัฐหรือเรื่องที่ส่วนราชการต่าง ๆ เกี่ยวข้อง ควรมีการประเมิน (4) ควรมีการผลักดันการมีส่วนร่วม ของประชาชนในการกํากับดูแลและตรวจสอบการ ดําเนินงานของ อปท. โดยคณะอนุกรรมการฯ ทําหน้าที่ เชื่อมโยงหน่วยงานส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องให้ดําเนินงาน ได้ครอบคลุมมากขึ้น (5) การสร้างฐานข้อมูล ให้มีการรวม ฐานข้อมูลไว้ใช้ร่วมกันสําหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อการใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่มีอยู่จํานวนมาก โดยฐานข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ระดับคือ 1) ข้อมูลทั่วไป เช่น ข้อมูลประชากร และ 2) ข้อมูลกิจกรรมการถ่ายโอนภารกิจ สํานักนโยบายการคลัง 36


3. แนวทางดําเนินการ สรุปดังนี้ ที่ประชุมคณะอนุกรรมการฯ เห็นชอบแบบ ประเมินตนเอง (Self Assessment Report) เกี่ยวกับ ความก้าวหน้าการถ่ายโอนภารกิจของ อปท. ประจําปี งบประมาณ 2553 เพื่อให้ อปท. ประเมินตนเองเกี่ยวกับ ความก้าวหน้าการถ่ายโอนภารกิจที่ดําเนินการใน ปีงบประมาณ 2552 จํานวน 4 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ได้แก่ ถนน แหล่งน้ําเพื่อการเกษตรและแหล่งน้ําเพื่อการ อุปโภคบริโภค (2) ด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิต ได้แก่ การพัฒนาเด็กและเยาวชน การส่งเสริมและ พัฒนาผู้สูงอายุ และงานสาธารณสุขมูลฐาน (3) ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย เกี่ยวกับภารกิจการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (4) ด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม เกี่ยวกับเรื่อง การบําบัดน้ําเสีย  ความคืบหน้าการติดตามและประเมินผล ฝ่ายเลขานุการได้ดําเนินการจัดส่งแบบรายงาน ความก้าวหน้าการถ่ายโอนภารกิจให้ อปท. ทั่วประเทศ จํานวน 7,851 แห่ง ประกอบด้วย อบจ. จํานวน 75 แห่ง เทศบาลจํานวน 2,006 แห่ง และ อบต. จํานวน 5,770 แห่ง ได้รับแบบรายงานฯ จํานวน 4,598 แห่ง แบ่งเป็น อบจ. 60 แห่ง เทศบาล 1,250 แห่ง และ อบต. 3,288 แห่ง สรุปความก้าวหน้าการถ่ายโอนภารกิจของ อปท. ภาคเหนือ 17 จังหวัดมี อปท. จํานวน 1,693 แห่ง ประกอบด้วย อบจ. 17 แห่ง เทศบาลจํานวน 480 แห่ง และ อบต. จํานวน 1,196 แห่ง มี อปท. ทีต่ อบรับแบบ รายงานฯ 1,048 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 61.90 ของ อปท. ในภาคเหนือ แบ่งออกเป็น อบจ. 14 แห่ง หรือร้อยละ 82.35 ของจํานวน อบจ. ทั้งหมดในภาคเหนือ เทศบาล 306 แห่งหรือร้อยละ 63.75 และ อบต. 728 แห่งหรือ ร้อยละ 60.87 ในจํานวนนี้มี อปท. 822 แห่ง ที่รายงาน ข้อมูลเกี่ยวกับงบประมาณ โดยปีงบประมาณ 2552 อปท. ภาคเหนือมีงบประมาณ 37 สํานักนโยบายการคลัง


รายจ่ายจริงจํานวน 25,435,090,928 บาท สรุปตามประเภท อปท. ดังนี้ - อบต. เป็น อปท. ประเภทที่มี งบประมาณรายจ่ายจริงสูงสุด จํานวน 11,993,668,755 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 47.15 ของรายจ่ายจริงรวม ของ อปท. ภาคเหนือ - รองลงมาคือ เทศบาล ซึ่งมีงบประมาณ รายจ่ายจริงจํานวน 9,942,389,779 บาท หรือร้อยละ 39.09 ของรายจ่ายจริงรวมของ อปท. ภาคเหนือ เทศบาลที่มีงบประมาณรายจ่ายจริงสูงสุดคือ เทศบาล นครเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ จํานวน 1,050,536,627.67 บาท - อบจ. เป็นประเภท อปท. ที่มีงบประมาณ รายจ่ายจริงน้อยที่สุดคือ 3,499,032,394 บาท หรือร้อยละ 13.76 ของรายจ่ายจริงรวมของ อปท. ภาคเหนือ อบจ. ที่มีงบประมาณรายจ่ายจริงสูงสุดคือ อบจ. เชียงราย จังหวัดเชียงราย จํานวน 685,595,576.65 บาท โดยมีผลการดําเนินงานตามภารกิจที่ได้รับ ถ่ายโอนในแต่ละด้าน ดังนี้  ด้านโครงสร้างพื้นฐาน - ถนน อปท. ภาคเหนือมีถนน ในพื้นที่ทั้งหมด 5,526 สาย เป็นระยะทาง 31,560 กิโลเมตร ถนนที่ได้รับถ่ายโอนจํานวน 3,362 สาย เป็นระยะทาง 10,121.93 กิโลเมตร เป็นถนนลาดยาง 1,825 สาย ระยะทาง 6,841.10 กิโลเมตร หรือร้อยละ 67.59 ของระยะทางที่ได้รับถ่ายโอน สําหรับสภาพ ของถนนที่ได้รับถ่ายโอนส่วนใหญ่สามารถใช้งานได้ โดยมีจํานวน 3,107 สาย ระยะทาง 9,281.60 กิโลเมตร หรือร้อยละ 91.70 ของระยะทางที่ได้รับถ่ายโอน ในจํานวนนี้มีถนนที่ได้รับการบํารุงรักษาจาก อปท. จํานวน 1,650 สาย ระยะทาง 5,865.29 กิโลเมตร หรือร้อยละ 57.95 ของระยะทางที่ได้รับถ่ายโอน โดยมีการใช้จ่ายงบประมาณในการบํารุงรักษา จํานวน 782,351,832.68 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 2.89 ของงบประมาณรายจ่ายจริงของ อปท. ภาคเหนือทั้งหมด

สํานักนโยบายการคลัง 38


- แหล่งน้ําเพื่อการเกษตร อปท. ภาคเหนือมีแหล่งน้ําเพื่อการเกษตรในพื้นที่ 5,266 แห่ง เป็นแหล่งน้ําเพื่อการเกษตรที่ได้รับถ่ายโอน 3,449 แห่ง ส่วนใหญ่เป็นแหล่งน้ําเพื่อการเกษตรที่สามารถใช้งาน ได้ทั้งปี จํานวน 2,434 แห่ง หรือร้อยละ 70.57 ของจํานวนแหล่งน้ําเพื่อการเกษตรในพื้นที่ อปท. โดยได้รับการบํารุงรักษา 1,603 แห่ง หรือร้อยละ 46.48 ของแหล่งน้ําเพื่อการเกษตรที่ได้รับถ่ายโอน และมีการใช้จ่าย งบประมาณ เพื่อการบํารุงรักษาแหล่งน้ําเพื่อการเกษตร จํานวน 556,176,061.10 บาท หรือร้อยละ 2.05 ของงบประมาณรายจ่ายจริงของ อปท. - แหล่งน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค อปท. ในพื้นทีภ่ าคเหนือมีระบบประปาหมู่บ้านในพื้นที่ 2,515 แห่งเป็นระบบประปาหมู่บ้านที่ได้รับการถ่ายโอน จํานวน 2,008 แห่ง ส่วนใหญ่คือจํานวน 1,555 แห่ง หรือร้อยละ 77.44 ของระบบประปาหมู่บ้าน ที่ได้รับถ่ายโอนเป็นระบบประปาหมู่บ้านที่สามารถ ใช้งานได้ทั้งปี และ อปท. ในพื้นที่ภาคเหนือมีการใช้จ่าย งบประมาณในการบํารุงรักษาระบบประปาหมู่บ้าน จํานวน 560,251,683.13 บาท หรือร้อยละ 2.07 ของงบประมาณรายจ่ายจริงของ อปท.  ด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิต - ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก อปท.ในพื้นที่ ภาคเหนือมีเด็กก่อนวัยเรียน 102,074 คน ได้รับ อาหารเสริม (นม) ครบ 97,758 คน หรือร้อยละ 95.77 ของจํานวนเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์ฯ ในพืน้ ที่ อปท. ได้รับอาหารกลางวันครบจํานวน 97,606 คน หรือ ร้อยละ 95.62 ของจํานวนเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์ฯ ในพื้นที่ อปท. โดย อปท.ในพื้นที่ภาคเหนือใช้ งบประมาณ เพื่อดูแลเด็กก่อนวัยเรียนในพื้นที่ อปท. จํานวน 1,114,301,477.66 บาท หรือร้อยละ 4.12 ของงบประมาณรายจ่ายจริงของ อปท. - การส่งเสริมพัฒนาผู้สูงอายุ อปท. ในพื้นที่ภาคเหนือได้จ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุให้แก่ผู้สูงอายุ ในพื้นที่ที่มีอยู่ 550,394 คน โดยจ่ายให้ผู้สูงอายุได้ครบ จํานวน 523,683 คน หรือร้อยละ 95.15 ของจํานวน ผู้สูงอายุในพื้นที่ อปท. โดยผูส้ ูงอายุจะได้รับ การสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาล จํานวน 500 บาท 39 สํานักนโยบายการคลัง


ต่อคนต่อเดือน - งานสาธารณสุขมูลฐาน อปท. ในพื้นที่ภาคเหนือได้มีการดําเนินกิจกรรมด้าน สาธารณสุขขั้นมูลฐาน เช่น การแก้ไขปัญหาเด็ก น้ําหนักตัวต่ํากว่าเกณฑ์ การส่งเสริมสุขภาพกลุ่ม แม่และเด็ก เป็นต้น โดยได้จัดสรรงบประมาณ เพื่อดําเนินงานจํานวน 87,254,977 บาท หรือร้อยละ 0.32 ของงบประมาณรายจ่ายจริงของ อปท.  ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย อปท. ในพื้นที่ ภาคเหนือได้มีการจัดทําแผนป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยจํานวน 417 ครั้ง และมีการซักซ้อม การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 411 ครั้ง โดย อปท. ในพื้นที่ภาคเหนือได้จัดสรรงบประมาณด้านการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย 218,763,789.92 บาท หรือร้อยละ 0.8 ของงบประมาณรายจ่ายจริงของ อปท.  ด้านการบริหารจัดการและอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี อปท. ในพื้นที่ ภาคเหนือ 2 แห่งที่ได้รับการถ่ายโอนระบบบําบัดน้ําเสีย ได้แก่ เทศบาลนครเชียงราย จังหวัดเชียงราย และเทศบาลเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา โดยทั้ง 2 แห่ง สามารถใช้งานได้ และเทศบาลนครเชียงราย เป็น อปท. เดียว ที่จัดสรรงบประมาณเพื่อบํารุงรักษาระบบบําบัดน้ําเสีย เป็นจํานวน 3,349,890.50 บาท หรือร้อยละ 0.01 ของงบประมาณรายจ่ายจริงของ อปท.  ปัญหาและอุปสรรคของ อปท. 1. ด้านการถ่ายโอนงบประมาณ - งบประมาณที่ได้รับไม่เพียงพอกับภารกิจ ที่ได้รับถ่ายโอน รวมทั้งการจัดสรรและการเบิกจ่าย งบประมาณล่าช้า - บุคลากรของ อปท. ขาดความรู้ ความชํานาญเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติทางการเงิน การคลัง และงบประมาณ 2. ด้านการถ่ายโอนภารกิจ - การถ่ายโอนล่าช้าไม่เป็นไปตาม แผนปฏิบัติการฯ ไม่มีการถ่ายโอนงบประมาณ และบุคลากรมาพร้อมกับภารกิจถ่ายโอน - ขาดการประสานงาน ให้คําปรึกษา สํานักนโยบายการคลัง 40


จากหน่วยงานที่ถ่ายโอนภารกิจมาให้ อปท. ทําให้ อปท. ทีร่ ับถ่ายโอนขาดความรู้ ความเข้าใจ ในแนวทางปฏิบัติ 3. ด้านการถ่ายโอนบุคลากร - ได้รับการถ่ายโอนบุคลากรไม่เพียงพอ กับภารกิจ และบางตําแหน่งไม่ตรงกับภารกิจที่ได้รับถ่ายโอน รวมทั้งบุคลากรไม่มีความรู้เกีย่ วกับการบริหารงาน ท้องถิ่น - บุคลากรไม่สมัครใจถ่ายโอนมา เนื่องจากไม่มั่นใจในความก้าวหน้าของชีวิตราชการ 4. ด้านการแก้ไขกฎหมาย - บุคลากรของ อปท.ขาดความรู้ ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับกฎหมายเฉพาะด้านที่ได้มีการแก้ไข ปรับปรุงเพื่อให้ อปท. มีอํานาจหน้าที่ตามภารกิจที่ได้รับ ถ่ายโอน ซึ่งอาจทําให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงานได้  ข้อเสนอแนะของ อปท. 1. จัดให้มีการส่งเสริมสนับสนุนด้านวิชาการ และงบประมาณ เพื่อให้ความรู้กับ อปท. ทีไ่ ด้รับถ่ายโอน ภารกิจ ทั้งการจัดการอบรมให้ความรู้แก่บุคลากร การจัดทําคู่มือการปฏิบัติงาน และการให้บคุ ลากร ที่มีความชํานาญไปเป็นที่ปรึกษาให้คําแนะนํา 2. จัดให้มีการสํารวจความคิดเห็น และความพึงพอใจของบุคลากรของ อปท. เกี่ยวกับ ภารกิจที่ได้รับถ่ายโอน

41 สํานักนโยบายการคลัง


มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ มติคณะรัฐมนตรีที่สําคัญ เดือนพฤษภาคม 2554

3 พฤษภาคม 2554 1. เรื่อง โครงการบ้านธนาคารอาคารสงเคราะห์ เพื่อที่อยู่อาศัยหลังแรก คณะรัฐมนตรีเห็นชอบโครงการบ้านธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) เพือ่ ที่อยู่อาศัยหลังแรก ซึ่งเป็นการให้สนิ เชื่ออัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0 เป็นเวลา 2 ปี และอัตราดอกเบี้ยผ่อนปรนในปีต่อๆ ไป ระยะผ่อนชําระไม่เกิน 30 ปี ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ดังนี้ 1. ให้ขยายวงเงินปล่อยกู้ของโครงการเป็น 25,000 ล้านบาท เพื่อช่วยเหลือประชาชน ผู้มีรายได้น้อยที่ไม่เคยมีที่อยูอ่ าศัยเป็นของตัวเองให้สามารถซื้อบ้านเป็นของตนเองได้อย่างทั่วถึง ทั้งนี้ ให้กระทรวงการคลังและ ธอส. รับความเห็นของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติไปพิจารณาดําเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป 2. เห็นชอบในหลักการขอชดเชยภาระค่าใช้จ่ายในการดําเนินโครงการฯ ดังกล่าว และให้ ธอส. ขอตกลงในรายละเอียดกับสํานักงบประมาณ แล้วให้นําเสนอคณะรัฐมนตรีต่อไป 2. เรื่อง มาตรการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติปี 2553 และ 2554 (เพิม่ เติม) คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบเพิ่มเติมหลักเกณฑ์การให้สินเชือ่ ใหม่เพื่อการฟื้นฟูการประกอบอาชีพและพัฒนา คุณภาพชีวิตและการชดเชยดอกเบี้ย โดยการขยายกลุ่มเป้าหมายในมาตรการให้ความช่วยเหลือเกษตรกรที่เป็น ลูกค้าของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ประสบ อุทกภัยปี 2553 ให้ครอบคลุมเกษตรกรในภาคใต้ตอนล่าง 2. เห็นชอบขยายวงเงินโครงการสินเชื่อเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบอาชีพอิสระรายย่อยที่ได้รับ ผลกระทบจากอุทกภัยและวาตภัยปี 2553 ของธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทยเพิ่มอีก 887.56 ล้านบาท 3. เห็นชอบหลักการในการชดเชยส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย โครงการสินเชื่อ SME Power ของ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการ SME ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุอุทกภัยในปี 2554 โดยให้ชดเชยส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2 ต่อปี ตลอดอายุ สัญญาเงินกู้ 4. เห็นชอบมาตรการให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบธุรกิจขนาดกลางที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย และวาตภัยในปี 2554 ของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ในวงเงิน ไม่เกิน 10 ล้านบาทต่อราย ทั้งนี้ ในส่วนของงบประมาณให้เป็นไปตามความเห็นของสํานักงบประมาณ 3. เรื่อง ขอความเห็นชอบการปรับปรุงโครงสร้างของสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 1. เห็นชอบหลักการปรับปรุงโครงสร้างสํานักงานเศรษฐกิจการคลังด้วยการจัดตั้งสํานักนโยบาย พัฒนาระบบการเงินภาคประชาชน ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ โดยให้ถือว่าเป็นเรื่องที่มีความสําคัญ เร่งด่วนที่จะต้องดําเนินการตามนโยบายรัฐบาล ทั้งนี้ การดําเนินการดังกล่าวต้องไม่มีการเพิ่มอัตรากําลัง และงบประมาณด้านบุคลากรภาครัฐ สํานักนโยบายการคลัง 42


2. อนุมัติหลักการร่างกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง พ.ศ. .... และร่างกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงการคลัง พ.ศ. .... รวม 2 ฉบับ และให้ส่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาโดยให้ยกเว้นมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2549 (เรื่อง การปรับปรุงมติคณะรัฐมนตรี เรื่อง กฎการแบ่งส่วนราชการ) มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2552 (เรื่อง นโยบายการพัฒนาระบบราชการ) มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 26 มกราคม 2553 (เรื่อง การขยายระยะเวลาของมาตรการระงับการขอจัดตั้งหน่วยงานใหม่หรือขยาย หน่วยงานตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2552) และมติคณะรัฐมนตรีเมือ่ วันที่ 7 กันยายน 2553 (เรื่อง การขยายเวลาของมาตรการระงับการขอจัดตั้งหน่วยงานใหม่หรือขยายหน่วยงานตามมติ คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 26 มกราคม 2553) เป็นกรณีพิเศษเฉพาะราย แล้วดําเนินการต่อไปได้ 4. เรื่อง การปรับโครงสร้างภาษีสรรพสามิต คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการมุ่งเน้นในการสนับสนุนให้ผู้ประกอบอุตสาหกรรมรถยนต์ พัฒนาเทคโนโลยีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมิได้มุ่งเน้นเรื่อง รายได้เป็นสําคัญ อนึ่ง กระทรวงการคลังได้กําหนดระยะเวลาของการมีผลบังคับใช้ของอัตราภาษี สรรพสามิตรถยนต์ตามโครงสร้างใหม่ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 เพื่อให้ผู้ประกอบการรถยนต์มีเวลา ในการปรับตัวประมาณ 3 ปี 5. เรื่อง ร่างพระราชบัญญัตกิ ารให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการร่างพระราชบัญญัติฯ ดังกล่าว ซึ่งมีหลักการสําคัญ ใน 2 แนวทาง คือ 1. การแก้ไขข้อบกพร่องที่มีใน พ.ร.บ. ร่วมทุนฯ โดยกําหนดบทบัญญัติให้มีความชัดเจน ครบถ้วน เช่น กระบวนการแก้ไขสัญญา และการต่อหรือขยายอายุสัญญา เป็นต้น 2. การกําหนดกระบวนการขึ้นใหม่ในการให้เอกชนเข้าร่วมลงทุนในกิจการของรัฐทั้งหมดให้มี ความชัดเจน และเป็นระบบมากขึ้น โดยกําหนดให้มีการจัดทําแผนยุทธศาสตร์การให้เอกชนเข้าร่วมลงทุน ในกิจการชองรัฐซึ่งเป็นแผนหลักระดับชาติในการกําหนดนโยบายการให้เอกชนเข้ามามีบทบาทสําคัญ ในการพัฒนาประเทศอย่างมาตรฐาน 6. เรื่อง มาตรการภาษีและค่าธรรมเนียมเพื่อสนับสนุนการพัฒนาตลาดทุนไทย คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการดําเนินงานตามแผนพัฒนาตลาดทุนไทย ซึ่งประกอบด้วย 5 มาตรการย่อย ดังนี้ 1. มาตรการยกเว้นภาษีและค่าธรรมเนียมเพื่อสนับสนุนการลงทุนในตราสารการเงินที่ออก เพื่อระดมทุนตามหลักศาสนาอิสลาม (ศุกูก) 2. มาตรการยกเว้นการเก็บภาษีเงินได้จากเงินปันผลในระดับนิติบุคคล 3. มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการควบรวมกิจการ 4. มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนโอนย้ายเงินออมในระบบการออมระยะยาว สําหรับผู้ที่เป็นสมาชิก ของกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ 5. มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมความเชื่อมโยงตลาดทุนไทยกับตลาดทุนในภูมิภาคอาเซียน

43 สํานักนโยบายการคลัง


7. เรื่อง มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการลงทุนในต่างประเทศ คณะรัฐมนตรีมมี ติเห็นชอบตามมาตรการดังกล่าวเพื่อปรับปรุงสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการลงทุน ในต่างประเทศที่เคยให้ไว้แล้วตามพระราชกฤษฏีกาฯ ฉบับที่ 442 อันจะเป็นการช่วยสนับสนุนการขยาย ขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจไทยในการไปลงทุนประกอบการในต่างประเทศ โดยการขจัด ปัญหาและอุปสรรคในการลงทุนในต่างประเทศของภาคเอกชนในหลายประเด็น อาทิ กรณี การลงทุน ผ่าน Holding Company ในต่างประเทศ สัดส่วนการลงทุนในบริษัทต่างประเทศที่กําหนดไว้สูงเกินไป หรือการลงทุนในบริษัทต่างประเทศที่ไม่มีการจัดเก็บภาษีจากกําไรสุทธิ เป็นต้น 8. เรื่อง การปรับปรุงแก้ไขหลักเกณฑ์การจัดตั้งสํานักงานปฏิบัติการภูมิภาค คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้ปรับปรุงบทลงโทษตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวล รัษฎากร (ฉบับที่ 508/2554) เรื่องสํานักงานปฏิบัติการภูมิภาค ซึ่งต้องเสียภาษีย้อนหลังตั้งแต่ปีแรกที่ได้รับ สิทธิประโยชน์ทางภาษีหากสํานักงานปฏิบัติการภูมิภาคมีคุณสมบัติไม่ครบตามเกณฑ์ที่กําหนดในพระราช กฤษฎีกาฯ โดยได้มีการแก้ไขบทลงโทษให้มบี ทลงโทษย้อนหลังตั้งแต่ปีแรกเฉพาะที่ผิดเงื่อนไขเรื่อง ทุนจดทะเบียน จํานวนวิสาหกิจในเครือต่างประเทศ การมีสถานประกอบการจริงในต่างประเทศ และ เงื่อนไขการจ่ายค่าตอบแทนให้พนักงาน ส่วนกรณีผิดเงื่อนไข ด้านรายจ่ายในการดําเนินการในประเทศไทย หรือรายจ่ายเพื่อการลงทุนในประเทศไทย หรือกรณีพนักงานมีทักษะความรู้ขั้นต่ําไม่ถึงเกณฑ์ที่กําหนด ให้หมดสิทธิการได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีเฉพาะปีที่ผิดเงื่อนไขเท่านั้น 9. เรื่อง มาตรการช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากการชุมนุม (กรณีผปู้ ระกอบการทีม่ ี กรมธรรม์ประกันภัยยังไม่ได้รับสินไหมทดแทนจากบริษทั ประกันภัย) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้ขยายระยะเวลาและปรับปรุงหลักเกณฑ์เงื่อนไขในการขอสินเชื่อ จากธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ธพว.) เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับ ผลกระทบจากการชุมนุม และบรรเทาความเดือดร้อนของผู้ประกอบการซึ่งอยู่ในระหว่างฟ้องร้องดําเนินคดี บริษัทประกันภัยตามโครงการราชประสงค์ฯ (วงเงิน 2,000 ล้านบาทเดิม) 10. เรื่อง การบริหารโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 และโครงการเงินกู้เพื่อการฟื้นฟู เศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรายงานความก้าวหน้าในการดําเนินโครงการเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจ และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (Development Policy Loan: DPL) วงเงิน 1,300 ล้านเหรียญ สหรัฐอเมริกา ซึ่งประกอบด้วยเงินกู้จากธนาคารโลกวงเงิน 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา และเงินกู้ จากธนาคารพัฒนาเอเชียวงเงิน 300 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา และได้นําเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่ออนุมัติ การจัดสรรเงินกู้ DPL ภายใต้กรอบวงเงิน 30,529.14 ล้านบาท

สํานักนโยบายการคลัง 44


สถิติด้านการคลัง


ผลการจัดเก็บรายได้รฐั บาลเป็นรายปี ตั้งแต่ปี 2533 จนถึงปัจจุบัน (ฐานข้อมูลรายปี) 2533 2534 2535 2536 2537 2538 (หน่วย: ล้านบาท) กรมสรรพากร 192,488 237,308 261,042 300,805 366,957 444,512 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 39,338 48,913 52,945 57,237 67,651 86,190 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 58,900 75,032 87,273 103,975 133,268 157,078 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 1,794 2,870 2,884 3,448 3,603 3,196 ภาษีการค้า 88,035 106,183 37,783 2,739 1,441 1,082 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 66,614 112,582 134,791 163,122 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 9,629 16,764 21,227 28,311 อากรแสตมป์ 3,780 3,691 3,781 3,876 4,752 5,284 รายได้อื่นๆ 642 620 134 184 224 249 กรมสรรพสามิต 73,279 92,493 102,028 125,789 138,670 155,308 ภาษีน้ํามันฯ 32,014 44,415 41,346 43,711 46,131 53,501 ภาษียาสูบ 13,636 15,904 15,490 15,638 19,708 20,717 ภาษีสุราฯ 13,754 15,734 15,247 16,679 19,272 19,759 ภาษีเบียร์ 6,625 7,973 7,818 9,478 12,262 15,131 ภาษีรถยนต์ 15,713 34,350 34,515 38,147 ภาษีเครื่องดื่ม 5,142 6,224 5,125 5,158 5,636 6,598 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 301 546 899 1,190 ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ 1,813 1,927 695 73 136 156 รายได้อื่นๆ 295 316 294 157 111 109 กรมศุลกากร 91,025 93,196 86,246 105,910 116,872 128,548 อากรขาเข้า 89,869 91,998 85,082 104,651 115,540 127,124 อากรขาออก 55 13 11 11 14 9 รายได้อื่นๆ 1,102 1,185 1,153 1,247 1,318 1,415 รวม 3 กรม 356,792 422,997 449,316 532,504 622,499 728,368 หน่วยงานอื่น 48,147 53,977 76,048 75,603 85,047 86,775 ส่วนราชการอื่น 29,527 30,225 42,896 36,701 41,794 41,250 กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์

2539 508,832 109,396 172,235 3,430 572 184,227 33,410 5,286 276 167,160 58,005 24,057 21,548 17,360 37,343 6,845 1,729

153 119 129,543 128,212 6 1,324 805,535 89,756 40,650

เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน

แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) รายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ)

18,620 23,752 33,152 38,902 43,253 45,525 49,106 404,939 476,974 525,364 608,106 707,546 815,143 895,291 41,432 38,354 3,078

48,723 45,330 3,393

52,937 49,143 3,794

37,813 34,148 3,665

10,348 6,262 7,108 7,473 404,939 476,974 525,364 556,326 652,561 755,098 850,005 404,939 476,974 525,364 556,326 652,561 755,098 850,005 2,183,545 2,506,635 2,830,914 3,165,222 3,629,341 4,681,212 4,611,041 18.5 19.0 18.6 17.6 18.0 16.1 18.4

หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2554 เป็นตัวเลขประมาณการ จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554 ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร สํานักงบประมาณ กรมธนารักษ์ และกรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง


ผลการจัดเก็บรายได้รฐั บาลเป็นรายปี ตั้งแต่ปี 2533 จนถึงปัจจุบัน (ฐานข้อมูลรายปี) 2540 2541 (หน่วย: ล้านบาท) กรมสรรพากร 518,620 498,966 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 115,137 122,945 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 162,655 99,480 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 5,322 5,316 ภาษีการค้า 264 342 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 195,813 232,388 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 34,286 35,241 อากรแสตมป์ 4,734 2,992 รายได้อื่นๆ 408 263 กรมสรรพสามิต 180,168 155,564 ภาษีน้ํามันฯ 63,983 65,373 ภาษียาสูบ 29,816 28,560 ภาษีสุราฯ 22,763 20,257 ภาษีเบียร์ 21,383 23,191 ภาษีรถยนต์ 32,295 8,557 ภาษีเครื่องดื่ม 7,519 7,023 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 1,765 1,003 ภาษีรถจักรยานยนต์ 129 538 ภาษีแบตเตอรี่ 168 442 ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ 204 481 รายได้อื่นๆ 142 139 กรมศุลกากร 104,160 69,338 อากรขาเข้า 102,704 67,108 อากรขาออก 8 17 รายได้อื่นๆ 1,448 2,213 รวม 3 กรม 802,947 723,868 หน่วยงานอื่น 106,101 91,813 ส่วนราชการอื่น 38,102 42,518 กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์

2542 2543 2544 2545 452,317 461,322 499,711 544,281 106,071 91,790 101,136 108,371 108,820 145,554 149,677 170,415 10,872 10,739 17,154 19,128 186 126 84 99 201,976 192,510 215,158 228,196 21,311 17,015 12,852 13,715 2,824 3,351 3,408 4,122 258 236 242 236 163,892 168,822 177,600 208,153 66,584 64,832 64,124 68,840 26,655 28,134 32,310 31,697 22,800 8,276 8,933 22,290 24,992 26,438 29,991 31,650 13,941 26,781 30,330 41,560 6,484 7,444 8,100 7,748 904 1,104 1,429 1,793 482 791 932 1,224 419 444 713 582 474 579 525 556 158 3,999 213 212 68,095 87,195 92,838 98,629 66,994 85,338 91,359 96,326 36 75 82 163 1,064 1,782 1,397 2,139 684,303 717,338 770,149 851,062 109,042 100,257 104,617 108,375 52,679 56,182 45,482 46,965 2,483

2546 627,682 117,309 208,859 21,773 45 261,306 12,757 5,348 286 246,641 73,605 33,289 25,676 36,987 56,474 8,621 2,347 1,581 591 6,420 813 239 111,819 110,054 216 1,549 986,142 118,485 50,772 3,599

เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน

แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) รายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ)

1,065 68,000 49,295 56,364 44,075 59,135 57,862 64,114 909,049 815,681 793,346 817,595 874,766 959,437 1,104,627 58,400 55,313 3,087

74,660 63,858 10,802

75,325 57,036 77,920 79,902 80,150 64,655 47,358 65,682 65,769 69,261 10,670 9,679 12,239 14,133 10,888 2,994 3,198 3,732 4,109 5,042 7,073 7,559 5,916 7,278 7,698 8,234 10,501 843,576 733,462 709,111 750,082 785,416 867,192 1,008,934 16,525 40,604 843,576 733,462 709,111 750,082 785,416 850,667 968,330 4,732,610 4,626,447 4,637,079 4,922,731 5,133,502 5,450,643 5,917,369 17.8 15.9 15.3 15.2 15.3 15.6 16.4

หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2554 เป็นตัวเลขประมาณการ จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554 ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร สํานักงบประมาณ กรมธนารักษ์ และกรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง


ผลการจัดเก็บรายได้รฐั บาลเป็นรายปี ตั้งแต่ปี 2533 จนถึงปัจจุบัน (ฐานข้อมูลรายปี) 2547 2548 (หน่วย: ล้านบาท) กรมสรรพากร 772,236 937,149 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 135,155 147,352 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 261,890 329,516 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 31,935 41,178 ภาษีการค้า 316,134 385,718 ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธรุ กิจเฉพาะ 20,024 26,304 อากรแสตมป์ 6,820 6,816 รายได้อื่นๆ 278 266 กรมสรรพสามิต 275,773 279,395 ภาษีน้ํามันฯ 76,996 76,458 ภาษียาสูบ 36,325 38,193 ภาษีสรุ าฯ 26,181 28,620 ภาษีเบียร์ 42,749 45,483 ภาษีรถยนต์ 65,012 58,760 ภาษีเครื่องดื่ม 9,350 10,106 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2,859 3,712 ภาษีรถจักรยานยนต์ 1,641 1,849 ภาษีแบตเตอรี่ 763 762 ภาษีการโทรคมนาคม 12,625 13,935 ภาษีอื่นๆ 993 1,121 รายได้อื่นๆ 280 398 กรมศุลกากร 106,122 110,403 อากรขาเข้า 103,635 106,917 อากรขาออก 267 285 รายได้อื่นๆ 2,220 3,202 รวม 3 กรม 1,154,132 1,326,948 หน่วยงานอื่น 135,747 147,472 ส่วนราชการอื่น 49,086 60,664 กรมธนารักษ์ 2,976 3,210 รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ 25,075

2549 2550 1,057,200 1,119,194 170,079 192,795 374,689 384,619 56,524 65,735 417,772 434,272 30,623 34,406 7,268 7,137 244 230 274,095 287,231 70,742 76,944 35,657 41,824 29,143 33,298 44,207 52,088 59,810 55,844 10,765 11,735 3,525 3,727 2,010 1,665 1,178 1,426 15,523 7,229 1,169 1,183 367 269 96,232 90,625 93,633 88,169 314 345 2,285 2,112 1,427,528 1,497,050 153,996 206,724 73,500 80,593 3,330 3,052 36,951

เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน

แปรรูปรัฐวิสาหกิจ 6,000 1,484 รัฐวิสาหกิจ 52,611 82,114 รวมรายได้จัดเก็บ 1,289,880 1,474,420 หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 115,574 131,220 - ภาษีมูลค่าเพิ่ม 96,947 109,625 - ภาษีอื่นๆ 18,627 21,594 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 6,368 7,451 3. เงินกันชดเชยการส่งออก 11,226 12,421 รวมรายได้สุทธิ 1,156,713 1,323,328 จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ 47,726 58,400 1,108,986 1,264,928 รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทนิ ) 6,489,476 7,092,893 รายได้สทุ ธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) 17.1 17.8

2551 2552 1,276,080 1,138,565 204,847 198,095 460,650 392,172 74,033 90,712 503,439 431,775 25,133 18,099 7,724 7,488 254 223 278,303 291,221 67,211 91,059 41,832 43,936 36,816 37,982 53,465 48,993 57,822 49,278 12,391 12,186 3,769 3,111 1,673 1,608 1,708 1,479 111 0 1,196 1,062 309 528 99,602 80,288 96,944 77,187 501 404 2,157 2,697 1,653,985 1,510,074 183,659 174,224 77,546 83,761 4,682 3,822

77,165 86,129 1,581,524 1,703,775

101,430 86,641 1,837,643 1,684,297

162,951 181,793 202,716 199,408 138,206 150,035 173,994 157,838 24,745 31,758 28,723 41,570 9,172 9,514 11,625 9,040 12,399 10,416 12,044 11,160 1,397,002 1,502,051 1,611,258 1,464,690 57,312 57,592 65,420 53,832 1,339,691 1,444,460 1,545,837 1,410,858 7,844,939 8,525,197 9,080,466 9,041,551 17.1 16.9 17.0 15.6

หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2554 เป็นตัวเลขประมาณการ จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554 ทีม่ า : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร สํานักงบประมาณ กรมธนารักษ์ และกรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง


ผลการจัดเก็บรายได้รฐั บาลเป็นรายปี ตั้งแต่ปี 2533 จนถึงปัจจุบัน (ฐานข้อมูลรายปี) 2553 2554 (7 เดือน) (หน่วย: ล้านบาท) กรมสรรพากร 1,264,584 639,042 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 208,374 143,362 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 454,565 139,645 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 67,599 7,189 ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม 502,176 323,449 ภาษีธรุ กิจเฉพาะ 22,892 19,509 อากรแสตมป์ 8,735 5,714 รายได้อื่นๆ 243 175 กรมสรรพสามิต 405,862 267,707 ภาษีน้ํามันฯ 152,825 92,942 ภาษียาสูบ 53,381 35,586 ภาษีสรุ าฯ 42,398 31,793 ภาษีเบียร์ 58,831 38,240 ภาษีรถยนต์ 77,202 56,135 ภาษีเครื่องดื่ม 14,245 8,722 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 1,615 788 ภาษีรถจักรยานยนต์ 1,979 1,273 ภาษีแบตเตอรี่ 1,947 1,265 ภาษีการโทรคมนาคม 1,039 651 ภาษีอ่นื ๆ รายได้อื่นๆ 400 311 กรมศุลกากร 97,148 58,658 อากรขาเข้า 93,512 57,152 อากรขาออก 169 115 รายได้อื่นๆ 3,467 1,391 รวม 3 กรม 1,767,594 965,407 หน่วยงานอื่น 227,371 121,458 ส่วนราชการอื่น 131,950 55,031 กรมธนารักษ์ 3,868 2,738 รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเป แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ 91,553 63,690 รวมรายได้จัดเก็บ 1,994,966 1,086,865 หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 222,709 131,613 - ภาษีมูลค่าเพิ่ม 170,280 103,167 - ภาษีอื่นๆ 52,429 28,446 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 11,942 7,181 3. เงินกันชดเชยการส่งออก 13,518 6,270 รวมรายได้สุทธิ 1,746,797 941,802 จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ 67,886 24,264 1,678,911 917,538 รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทนิ ) 10,102,986 10,840,500 รายได้สทุ ธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) 16.6 8.5 หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2554 เป็นตัวเลขประมาณการ จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554 ทีม่ า : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร สํานักงบประมาณ กรมธนารักษ์ และกรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง


โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ

2532

2533

2534

2535

2536

2537

1. วงเงินงบประมาณ

285,500.0

335,000.0

387,500.0

460,400.0

560,000.0

625,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP)

16.9

16.7

16.1

17.6

17.9

17.9

(อัตราเพิ่ม)

17.2

17.3

15.7

18.8

21.6

11.6

210,571.8

227,541.2

261,932.2

301,818.2

351,060.8

376,382.3

(สัดส่วนต่อ GDP)

12.5

11.3

10.9

11.5

11.2

10.8

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

73.8

67.9

67.6

65.6

62.7

60.2

(อัตราเพิ่ม)

13.3

8.1

15.1

15.2

16.3

7.2

53,592.4

82,043.2

105,647.6

130,652.6

171,606.7

212,975.6

3.2

4.1

4.4

5.0

5.5

6.1

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

18.8

24.5

27.3

28.4

30.6

34.1

(อัตราเพิ่ม)

32.9

53.1

28.8

23.7

31.3

24.1

21,335.8

25,415.6

19,920.2

27,929.2

37,332.5

35,642.1

7.5

7.6

5.1

6.1

6.7

5.7

22.9

19.1

(21.6)

40.2

33.7

(4.5)

1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง

-

-

-

-

-

-

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

-

-

-

-

-

-

2. ประมาณการรายได้

262,500.0

310,000.0

387,500.0

460,400.0

534,400.0

600,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP)

15.5

15.5

16.1

17.6

17.1

17.1

9.4

18.1

25.0

18.8

16.1

12.3

(23,000.0)

(25,000.0)

0.0

0.0

(25,600.0)

(25,000.0)

(1.4)

(1.2)

0.0

0.0

(0.8)

(0.7)

1.1 รายจ่ายประจํา

1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP)

1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)

(อัตราเพิ่ม) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ

1,690,500.0 2,005,254.0 2,400,000.0 2,620,000.0 3,130,000.0 3,499,000.0

(GDP) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2552 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2533 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 1,507.5 ล้านบาท


โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ

2538

2539

2540

2541

2542

2543

1. วงเงินงบประมาณ

715,000.0

843,200.0

944,000.0

830,000.0

825,000.0

860,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP)

17.4

18.0

18.1

16.4

16.5

16.7

(อัตราเพิ่ม)

14.4

17.9

12.0

(10.3)

3.1

4.2

434,383.3

482,368.2

528,293.4

519,505.8

586,115.1

635,585.1

(สัดส่วนต่อ GDP)

10.6

10.3

10.1

10.2

11.7

12.4

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

60.8

57.2

56.0

62.6

71.0

73.9

(อัตราเพิ่ม)

15.4

11.0

9.5

(0.2)

14.4

8.4

253,839.8

327,288.6

391,209.7

279,258.1

233,534.7

217,097.6

6.2

7.0

7.5

5.5

4.7

4.2

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

35.5

38.8

41.4

33.6

28.3

25.2

(อัตราเพิ่ม)

19.2

28.9

19.5

(26.5)

(8.9)

(7.0)

26,776.9

33,543.2

24,496.9

31,236.1

5,350.2

7,317.3

3.7

4.0

2.6

3.8

0.6

0.9

(24.9)

25.3

(27.0)

27.5

(82.9)

36.8

1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง

-

-

-

-

-

-

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

-

-

-

-

-

-

2. ประมาณการรายได้

715,000.0

843,200.0

925,000.0

782,020.0

800,000.0

750,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP)

17.4

18.0

17.8

15.4

16.0

14.6

(อัตราเพิ่ม)

19.2

17.9

9.7

(15.5)

2.3

(6.3)

3. การขาดดุล/เกินดุล

0.0

0.0

0.0

(47,980.0)

0.0

0.0

0.0

(0.9)

1.1 รายจ่ายประจํา

1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP)

1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)

(สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ

(25,000.0) (110,000.0) (0.5)

(2.1)

4,099,000.0 4,684,000.0 5,205,500.0 5,073,000.0 5,002,000.0 5,137,000.0

(GDP) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2552 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2540 เป็นตัวเลขที่ปรับลดจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จํานวน 984,000 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2541 เป็นตัวเลขที่ปรับลดและปรับเพิ่มจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จํานวน 923,000 ล้านบาท


โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดส่วนต่อ GDP)

2544

2545

2546

910,000.0 1,023,000.0

2547

2548

2549

999,900.0 1,163,500.0 1,250,000.0 1,360,000.0

17.5

19.3

17.2

18.0

17.4

17.5

5.8

12.4

(2.3)

16.4

7.4

8.8

679,286.5

773,714.1

753,454.7

836,544.4

881,251.7

958,477.0

(สัดส่วนต่อ GDP)

13.0

14.6

13.0

12.9

12.2

12.3

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

74.6

75.6

75.4

71.9

70.5

70.5

6.9

13.9

(2.6)

11.0

5.3

8.8

218,578.2

223,617.0

211,493.5

292,800.2

318,672.0

358,335.8

4.2

4.2

3.6

4.5

4.4

4.6

24.0

21.9

21.2

25.2

25.5

26.3

0.7

2.3

(5.4)

38.4

8.8

12.4

12,135.3

25,668.9

34,951.8

34,155.4

50,076.3

43,187.2

1.3

2.5

3.5

2.9

4.0

3.2

65.8

111.5

36.2

(2.3)

46.6

(13.8)

1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง

-

-

-

-

-

-

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

-

-

-

-

-

-

2. ประมาณการรายได้

805,000.0

823,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP)

15.5

15.5

14.2

16.4

17.4

17.5

7.3

2.2

0.2

28.9

17.5

8.8

(105,000.0) (200,000.0) (174,900.0)

(99,900.0)

0.0

0.0

(1.5)

0.0

0.0

(อัตราเพิ่ม) 1.1 รายจ่ายประจํา

(อัตราเพิ่ม) 1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)

(อัตราเพิ่ม) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ

(2.0)

(3.8)

825,000.0 1,063,600.0 1,250,000.0 1,360,000.0

(3.0)

5,208,600.0 5,309,200.0 5,799,700.0 6,476,100.0 7,195,000.0 7,786,200.0

(GDP) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2552 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2547 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 135,500 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2548 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 50,000 ล้านบาท


โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดส่วนต่อ GDP) (อัตราเพิ่ม) 1.1 รายจ่ายประจํา (สัดส่วนต่อ GDP) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (อัตราเพิ่ม) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ (GDP)

2550

2551

2552

2553

2554

1,566,200.0 1,660,000.0 1,951,700.0 1,700,000.0

2,169,967.5

18.6

18.0

22.4

17.5

20.0

15.2

6.0

17.6

(12.9)

27.6

1,135,988.1 1,213,989.1 1,411,382.4 1,434,710.1

1,667,439.7

13.5

13.1

16.2

14.8

15.4

72.5

73.1

72.3

84.4

76.8

18.5

6.9

16.3

1.7

16.2

374,721.4

400,483.9

429,961.8

214,369.0

355,484.5

4.5

4.3

4.9

2.2

3.3

23.9

24.1

22.0

12.6

16.4

4.6

6.9

7.4

(50.1)

65.8

55,490.5

45,527.0

63,676.1

50,920.9

32,554.6

3.5

2.7

3.3

3.0

1.5

28.5

(18.0)

39.9

(20.0)

(36.1)

-

-

46,679.7

-

114,488.7

-

-

2.4

-

5.3

1,420,000.0 1,495,000.0 1,604,639.5 1,350,000.0

1,770,000.0

16.9

16.2

18.4

13.9

16.3

4.4

5.3

7.3

(15.9)

31.1

(146,200.0) (165,000.0) (347,060.5) (350,000.0)

(399,967.5)

(1.7)

(1.8)

(4.0)

(3.6)

(3.7)

8,399,000.0 9,232,200.0 8,712,500.0 9,726,200.0

10,840,500.0

ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2553 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2552 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 116,700 ล้านบาท และเป็นปีแรกที่มีการตั้ง งบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง จํานวน 46,679.7 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2554 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 99,967.5 ล้านบาท


ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปีงบประมาณ 1. รายได้นําส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นาณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 25 เมษายน 2554

2552 1,409,653 1,917,129 1,790,862 126,266 (507,476) 131,190 (376,286) 441,061 64,775

หน่วย: ล้านบาท 2553 7 เดือนแรก 2554 1,699,431 916,238 1,784,413 1,298,869 1,627,875 1,205,534 156,538 93,335 (84,982) (382,631) (12,107) (61,082) (97,088) (443,713) 232,575 129,605 135,487 (314,108)


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financi 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 12 พฤษภาคม 2554

ต.ค. 44 55,425.10 100,049.96 90,062.75 9,987.21 (44,624.86) 19,378.63 (25,246.23) 0.00 (25,246.23)

พ.ย. 44 62,156.09 85,918.77 73,774.53 12,144.24 (23,762.68) (11,119.21) (34,881.89) 18,000.00 (16,881.89)

ธ.ค. 44 57,848.99 72,432.29 60,235.39 12,196.90 (14,583.30) (6,436.38) (21,019.68) 22,000.00 980.32

ม.ค. 45 66,738.15 78,848.96 69,253.94 9,595.02 (12,110.81) 16,745.52 4,634.71 11,000.00 15,634.71

ก.พ. 45 54,488.57 81,164.16 72,824.92 8,339.24 (26,675.59) 14,026.04 (12,649.55) 19,000.00 6,350.45

ปงบประมาณ 2545 มี.ค. 45 เม.ย. 45 76,384.30 71,471.73 106,000.75 74,669.56 96,192.66 69,233.75 9,808.09 5,435.81 (29,616.45) (3,197.83) (3,820.75) (15,701.93) (33,437.20) (18,899.76) 15,000.00 33,000.00 (18,437.20) 14,100.24

พ.ค. 45 83,477.86 73,606.26 68,969.47 4,636.79 9,871.60 (3,307.64) 6,563.96 17,000.00 23,563.96

มิ.ย. 45 103,154.68 75,724.03 72,404.49 3,319.54 27,430.65 (14,309.61) 13,121.04 6,000.00 19,121.04

ก.ค. 45 63,596.81 79,078.33 75,909.41 3,168.92 (15,481.52) (8,772.60) (24,254.12) 10,000.00 (14,254.12)

ส.ค. 45 63,270.72 67,111.93 64,041.41 3,070.52 (3,841.21) (3,201.63) (7,042.84) 11,000.00 3,957.16

ก.ย. 45 90,694.37 108,995.56 104,864.46 4,131.10 (18,301.19) 20,990.52 2,689.33 8,000.00 10,689.33

ต.ค. 45 63,866.99 87,469.20 77,465.35 10,003.85 (23,602.21) 2,866.57 (20,735.64) 0.00 (20,735.64)

พ.ย. 45 65,853.71 85,991.04 78,387.53 7,603.51 (20,137.33) (12,475.75) (32,613.08) 14,500.00 (18,113.08)


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financi 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการค ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 12 พฤษภาคม 2554

ธ.ค. 45 76,597.35 71,767.18 63,556.22 8,210.96 4,830.17 (14,081.38) (9,251.21) 12,000.00 2,748.79

ม.ค. 46 78,963.93 72,712.45 65,672.68 7,039.77 6,251.48 (6,256.83) (5.35) 19,000.00 18,994.65

ก.พ. 46 72,577.44 67,944.32 60,629.66 7,314.66 4,633.12 (31,478.01) (26,844.89) 20,500.00 (6,344.89)

ปงบประมาณ 2546 มี.ค. 46 เม.ย. 46 78,045.85 71,084.74 70,814.78 99,528.82 60,722.72 97,198.30 10,092.06 2,330.52 7,231.07 (28,444.08) (20,171.24) 42,616.21 (12,940.17) 14,172.13 0.00 0.00 (12,940.17) 14,172.13

พ.ค. 46 76,847.65 76,029.76 70,487.83 5,541.93 817.89 (31,533.33) (30,715.44) 4,500.00 (26,215.44)

มิ.ย. 46 134,398.68 81,883.44 75,777.31 6,106.13 52,515.24 (21,583.36) 30,931.88 4,000.00 34,931.88

ก.ค. 46 74,115.05 91,158.28 87,175.00 3,983.28 (17,043.23) 16,248.76 (794.47) 1,500.00 705.53

ส.ค. 46 73,441.92 74,328.64 68,825.45 5,503.19 (886.72) 15,826.01 14,939.29 0.00 14,939.29

ก.ย. 46 101,047.42 99,878.14 92,401.05 7,477.09 1,169.28 31,924.61 33,093.89 0.00 33,093.89

ต.ค. 46 81,873.68 83,154.55 73,127.36 10,027.19 (1,280.87) (13,762.21) (15,043.08) 0.00 (15,043.08)

พ.ย. 46 68,985.30 86,343.15 74,669.43 11,673.72 (17,357.85) (24,780.42) (42,138.27) 0.00 (42,138.27)

ธ.ค. 46 105,945.66 131,699.42 118,931.97 12,767.45 (25,753.76) 2,006.94 (23,746.82) 0.00 (23,746.82)

ม.ค. 47 88,994.15 94,457.93 86,714.71 7,743.22 (5,463.78) 10,099.83 4,636.05 13,000.00 17,636.05


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financi 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการค ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 12 พฤษภาคม 2554

ก.พ. 47 66,317.88 74,960.10 65,653.35 9,306.75 (8,642.22) (27,842.96) (36,485.18) 0.00 (36,485.18)

ปงบประมาณ 2547 มี.ค. 47 เม.ย. 47 92,302.62 81,144.53 86,329.03 98,726.51 76,347.35 94,085.57 9,981.68 4,640.94 5,973.59 (17,581.98) (3,760.85) 11,578.89 2,212.74 (6,003.09) 8,000.00 18,500.00 10,212.74 12,496.91

พ.ค. 47 78,294.72 85,310.34 81,337.85 3,972.49 (7,015.62) (6,321.48) (13,337.10) 3,500.00 (9,837.10)

มิ.ย. 47 167,553.56 94,594.90 89,927.40 4,667.50 72,958.66 (24,203.78) 48,754.88 0.00 48,754.88

ก.ค. 47 82,369.12 98,056.31 94,429.25 3,627.06 (15,687.19) 3,527.31 (12,159.88) 0.00 (12,159.88)

ส.ค. 47 78,747.85 97,739.39 94,164.26 3,575.13 (18,991.54) 10,608.35 (8,383.19) 10,960.00 2,576.81

ก.ย. 47 134,624.31 108,738.42 103,271.37 5,467.05 25,885.89 7,832.93 33,718.82 36,040.00 69,758.82

ต.ค. 47 63,128.73 89,877.24 86,902.43 2,974.81 (26,748.51) (15,026.49) (41,775.00) 0.00 (41,775.00)

พ.ย. 47 80,493.63 99,995.83 92,444.25 7,551.58 (19,502.20) (28,238.72) (47,740.92) 0.00 (47,740.92)

ธ.ค. 47 105,599.21 108,367.14 98,217.20 10,149.94 (2,767.93) 17,770.72 15,002.79 0.00 15,002.79

ม.ค. 48 109,572.54 131,441.63 124,068.03 7,373.60 (21,869.09) (2,574.89) (24,443.98) 0.00 (24,443.98)

ก.พ. 48 82,220.73 78,642.63 69,554.07 9,088.56 3,578.10 (4,637.83) (1,059.73) 0.00 (1,059.73)

ปงบประมาณ มี.ค. 48 90,209.51 94,434.28 83,724.98 10,709.30 (4,224.77) 13,092.30 8,867.53 0.00 8,867.53


รายเดือน

2548 เม.ย. 48 96,049.87 103,612.91 93,171.27 10,441.64 (7,563.04) 6,734.24 (828.80) 0.00 (828.80)

1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financi 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing

ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการค ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 12 พฤษภาคม 2554

พ.ค. 48 95,991.57 99,011.99 91,541.35 7,470.64 (3,020.42) (2,059.19) (5,079.61) 0.00 (5,079.61)

มิ.ย. 48 181,585.93 111,946.80 103,941.67 8,005.13 69,639.13 (14,681.67) 54,957.46 0.00 54,957.46

ก.ค. 48 85,035.00 90,468.84 82,914.17 7,554.67 (5,433.84) 1,918.59 (3,515.25) 0.00 (3,515.25)

ส.ค. 48 92,744.13 103,686.17 94,959.67 8,726.50 (10,942.04) (967.19) (11,909.23) 0.00 (11,909.23)

ก.ย. 48 182,297.15 133,695.46 118,335.91 15,359.55 48,601.69 (26,393.08) 22,208.61 0.00 22,208.61


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financi 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการค ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 12 พฤษภาคม 2554

ต.ค. 48 83,151.90 125,509.55 116,991.55 8,518.00 (42,357.65) (22,475.41) (64,833.06) 0.00 (64,833.06)

พ.ย. 48 92,336.70 123,942.84 111,572.84 12,370.00 (31,606.14) 7,527.05 (24,079.09) 0.00 (24,079.09)

ธ.ค. 48 78,738.60 112,308.49 83,443.49 28,865.00 (33,569.89) 38,616.09 5,046.20 0.00 5,046.20

ม.ค. 49 102,039.40 116,800.23 110,090.23 6,710.00 (14,760.83) 27,213.95 12,453.12 0.00 12,453.12

ก.พ. 49 88,199.20 112,467.96 100,880.96 11,587.00 (24,268.76) 17,558.83 (6,709.93) 0.00 (6,709.93)

ปงบประมาณ 2549 มี.ค. 49 เม.ย. 49 110,019.90 115,364.00 127,437.29 100,074.26 109,598.29 96,226.26 17,839.00 3,848.00 (17,417.39) 15,289.74 20,845.92 (6,660.59) 3,428.53 8,629.15 0.00 0.00 3,428.53 8,629.15

พ.ค. 49 107,845.70 88,878.80 82,182.80 6,696.00 18,966.90 (26,537.37) (7,570.47) 0.00 (7,570.47)

มิ.ย. 49 214,818.20 117,303.38 110,649.38 6,654.00 97,514.82 (22,994.19) 74,520.63 0.00 74,520.63

ก.ค. 49 73,583.00 98,591.67 92,368.67 6,223.00 (25,008.67) 9,901.37 (15,107.30) 0.00 (15,107.30)

ส.ค. 49 93,270.80 116,507.14 111,094.14 5,413.00 (23,236.34) 6,863.00 (16,373.34) 0.00 (16,373.34)


หนวย: ลานบาท รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financi 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการค ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 12 พฤษภาคม 2554

ก.ย. 49 180,323.20 155,461.55 145,640.55 9,821.00 24,861.65 43,231.28 68,092.93 0.00 68,092.93

ต.ค. 49 110,228.35 89,558.95 81,266.44 8,292.51 20,669.40 (50,427.78) (29,758.38)

พ.ย. 49 97,895.04 111,438.22 93,464.94 17,973.28 (13,543.18) (25,856.30) (39,399.48)

(29,758.38)

(39,399.48)

ธ.ค. 49 96,686.52 99,182.26 83,126.82 16,055.44 (2,495.74) 8,754.64 6,258.90 6,258.90

ม.ค. 50 107,034.75 97,053.24 87,122.34 9,930.90 9,981.51 192.14 10,173.65 18,000.00 28,173.65

ก.พ. 50 90,660.38 200,314.37 191,229.42 9,084.95 (109,653.99) 27,531.98 (82,122.01) 21,500.00 (60,622.01)

ปงบประมาณ มี.ค. 50 110,251.71 139,900.26 127,872.18 12,028.08 (29,648.55) (24,937.83) (54,586.38) 65,760.00 11,173.62

2550 เม.ย. 50 88,717.27 115,829.71 111,215.46 4,614.25 (27,112.44) (802.58) (27,915.02) 12,395.00 (15,520.02)

พ.ค. 50 108,693.26 137,086.33 131,311.65 5,774.68 (28,393.07) 1,629.11 (26,763.96) 26,005.00 (758.96)

มิ.ย. 50 259,906.17 164,380.91 158,603.01 5,777.90 95,525.26 (41,114.60) 54,410.66

ก.ค. 50 84,981.74 146,554.95 142,783.24 3,771.71 (61,573.21) 10,415.72 (51,157.49)

ส.ค. 50 110,234.72 122,778.40 118,609.07 4,169.33 (12,543.68) 22,625.91 10,082.23

54,410.66

(51,157.49)

10,082.23

ก.ย. 50 179,428.01 150,888.99 144,234.89 6,654.10 28,539.02 43,550.81 72,089.83 2,540.00 74,629.83


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financi 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการค ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 12 พฤษภาคม 2554

ต.ค. 50 116,253.36 155,388.77 147,936.01 7,452.76 (39,135.41) (20,659.94) (59,795.35) 11,500.00 (48,295.35)

พ.ย. 50 102,332.24 127,018.47 112,112.92 14,905.55 (24,686.23) (26,908.07) (51,594.30) 13,500.00 (38,094.30)

ธ.ค. 50 108,087.37 110,866.76 97,846.06 13,020.70 (2,779.39) (2,051.81) (4,831.20) 17,500.00 12,668.80

ม.ค. 51 99,967.16 158,402.13 146,916.71 11,485.42 (58,434.97) 23,962.97 (34,472.00) 16,500.00 (17,972.00)

ก.พ. 51 108,209.40 118,658.14 108,633.38 10,024.76 (10,448.74) 11,214.11 765.37 15,269.73 16,035.10

ปงบประมาณ มี.ค. 51 95,822.28 125,147.22 113,532.92 11,614.30 (29,324.94) 5,464.24 (23,860.70) 11,178.15 (12,682.55)

2551 เม.ย. 51 124,153.48 154,636.48 150,029.48 4,607.00 (30,483.00) 7,744.69 (22,738.31) 35,943.45 13,205.14

พ.ค. 51 168,954.93 126,766.19 119,961.33 6,804.86 42,188.74 (48,861.72) (6,672.98) 11,500.00 4,827.02

มิ.ย. 51 208,079.74 143,198.27 137,088.31 6,109.96 64,881.47 32,513.48 97,394.95 19,000.00 116,394.95

ก.ค. 51 104,134.25 138,837.60 134,497.09 4,340.51 (34,703.35) (32,798.66) (67,502.01) 5,808.67 (61,693.34)

ส.ค. 51 107,658.48 124,628.30 120,423.44 4,204.86 (16,969.82) 22,917.98 5,948.16 6,635.64 12,583.80

ก.ย. 51 202,184.00 149,855.93 143,501.13 6,354.80 52,328.07 36,284.47 88,612.54 664.36 89,276.90


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financi 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการค ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 12 พฤษภาคม 2554

ต.ค. 51 93,001.00 93,718.12 85,192.72 8,525.40 (717.12) (58,699.02) (59,416.14) 10,000.00 (49,416.14)

พ.ย. 51 90,411.00 165,200.46 149,302.68 15,897.78 (74,789.46) (29,544.46) (104,333.92) 15,000.00 (89,333.92)

ธ.ค. 51 95,078.00 145,421.61 127,825.37 17,596.24 (50,343.61) 5,960.05 (44,383.56) 15,000.00 (29,383.56)

ม.ค. 52 95,525.00 192,417.15 177,999.96 14,417.19 (96,892.15) 53,963.72 (42,928.43) 19,000.00 (23,928.43)

ก.พ. 52 80,821.00 179,678.99 166,568.90 13,110.09 (98,857.99) 50,435.15 (48,422.84) 69,530.00 21,107.16

ปงบประมาณ 2552 มี.ค. 52 เม.ย. 52 96,646.00 102,914.00 195,344.61 141,682.20 178,472.53 137,194.07 16,872.08 4,488.13 (98,698.61) (38,768.20) 4,436.68 (872.92) (94,261.93) (39,641.12) 87,000.00 86,688.00 (7,261.93) 47,046.88

พ.ค. 52 104,550.00 161,005.90 154,745.07 6,260.83 (56,455.90) 8,972.12 (47,483.78) 51,312.00 3,828.22

มิ.ย. 52 264,932.00 139,497.85 131,025.26 8,472.59 125,434.15 (21,309.46) 104,124.69 9,500.00 113,624.69

ก.ค. 52 98,714.00 164,117.96 158,730.02 5,387.94 (65,403.96) 64,048.01 (1,355.95) 65,000.00 63,644.05

ส.ค. 52 93,284.00 142,161.71 136,915.13 5,246.58 (48,877.71) 31,960.66 (16,917.05) 9,000.00 (7,917.05)

ก.ย. 52 193,777.00 196,882.16 186,890.53 9,991.63 (3,105.16) 21,839.05 18,733.89 4,031.00 22,764.89


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financi 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการค ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 12 พฤษภาคม 2554

ต.ค. 52 115,827.00 90,339.40 80,143.48 10,195.92 25,487.60 (36,797.08) (11,309.48) (11,309.48)

พ.ย. 52 118,116.00 188,614.47 166,115.98 22,498.49 (70,498.47) (31,421.31) (101,919.78) 31,000.00 (70,919.78)

ธ.ค. 52 119,156.00 172,221.38 149,895.70 22,325.68 (53,065.38) (8,799.31) (61,864.69) 20,572.00 (41,292.69)

ม.ค. 53 115,389.00 150,007.77 133,985.77 16,022.00 (34,618.77) (9,973.01) (44,591.78) 39,000.00 (5,591.78)

ก.พ. 53 95,301.00 182,849.88 169,382.08 13,467.80 (87,548.88) 36,771.74 (50,777.14) 20,000.00 (30,777.14)

ปงบประมาณ 2553 มี.ค. 53 เม.ย. 53 120,318.00 168,923.00 149,980.78 145,528.30 129,652.57 136,587.12 20,328.21 8,941.18 (29,662.78) 23,394.70 (21,729.98) 4,947.20 (51,392.76) 28,341.90 36,000.00 29,000.00 (15,392.76) 57,341.90

พ.ค. 53 117,690.00 123,967.00 118,058.80 5,908.20 (6,277.00) (18,446.89) (24,723.89) 37,000.00 12,276.11

มิ.ย. 53 283,324.00 135,455.10 123,196.34 12,258.76 147,868.90 6,970.18 154,839.08 17,000.00 171,839.08

ก.ค. 53 109,953.00 142,627.17 135,128.19 7,498.98 (32,674.17) 20,690.93 (11,983.24) 3,003.46 (8,979.78)

ส.ค. 53 103,148.00 110,117.62 103,322.30 6,795.32 (6,969.62) 49,786.15 42,816.53 42,816.53

ก.ย. 53 232,286.00 192,703.75 182,406.65 10,297.10 39,582.25 (4,105.49) 35,476.76 0.00 35,476.76


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financi 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการค ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 12 พฤษภาคม 2554

ต.ค. 53 124,833.00 207,451.52 194,117.58 13,333.94 (82,618.52) (25,332.57) (107,951.09) 16,000.00 (91,951.09)

พ.ย. 53 125,435.00 223,153.00 207,201.89 15,951.11 (97,718.00) (20,176.18) (117,894.18) 20,021.00 (97,873.18)

ธ.ค. 53 144,682.00 167,766.18 152,003.65 15,762.52 (23,084.18) 80,015.65 56,931.47 17,000.00 73,931.47

ปงบประมาณ 2554 ม.ค. 54 129,902.00 235,192.18 220,657.29 14,534.88 (105,290.18) (37,800.38) (143,090.56) 15,000.00 (128,090.56)

ก.พ. 54 126,714.00 154,688.49 139,463.91 15,224.58 (27,974.49) (8,645.56) (36,620.05) 21,084.00 (15,536.05)

มี.ค. 54 127,458.00 170,913.03 157,009.62 13,903.41 (43,455.03) (36,461.80) (79,916.83) 24,500.00 (55,416.83)

เม.ย. 54 137,214.00 139,705.00 135,080.00 4,625.00 (2,491.00) (12,680.29) (15,171.29) 16,000.00 828.71


สัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2540-2543

ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

ปี 2540 จํานวนเงิน สัดส่วน 93,879.49 100.00 16,985.70 18.09 47,386.19 50.48 29,507.60 31.43 843,576.00 11.13

ที่มา : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 18 พฤษภาคม 2554

ปี 2541 จํานวนเงิน สัดส่วน 96,055.80 100.00 16,758.90 17.45 48,666.90 50.67 30,630.00 31.89 733,462.00 13.10

ปี 2542 จํานวนเงิน สัดส่วน 100,805.27 100.00 17,808.20 17.67 44,869.87 44.51 38,127.20 37.82 709,111.00 14.22

หน่วย : ล้านบาท ปี 2543 จํานวนเงิน สัดส่วน 94,721.30 100.00 17,403.60 18.37 45,095.60 47.61 32,222.10 34.02 749,948.60 12.63


เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2544-2554

ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนฯ) 1/ 1.4 เงินอุดหนุนและการถ่ายโอนงาน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

ปี 2544 จํานวนเงิน สัดส่วน 159,752.58 100.00 17,701.88 11.08 55,651.90 34.84 12,669.00 7.93 73,729.80 772,574.00

46.15 20.68

ปี 2545 จํานวนเงิน สัดส่วน 175,850.29 100.00 21,084.47 11.99 58,143.52 33.07 19,349.00 11.00 77,273.30 803,651.00

43.94 21.88

ปี 2546 จํานวนเงิน สัดส่วน 184,066.03 100.00 22,258.28 12.09 60,217.74 32.72 35,504.44 19.29

ปี 2547 จํานวนเงิน สัดส่วน 241,947.64 100.00 24,786.27 10.24 82,623.37 34.15 43,100.00 17.82

ปี 2548 จํานวนเงิน สัดส่วน 293,750.00 100.00 27,018.96 9.20 102,520.34 34.90 49,000.00 16.68

หน่วย ปี 2549 จํานวนเงิน 327,113.00 29,110.41 110,189.59 61,800.00

66,085.60 829,495.56

91,438.00 1,063,600.00

115,210.70 1,250,000.00

126,013.00 1,360,000.00

35.90 22.19

หมายเหตุ : 1/ ในปีงบประมาณ 2544 และ 2545 มีงบประมาณการถ่ายโอนงานซึ่งตั้งอยู่ที่ส่วนราชการที่ถ่ายโอนงานให้ อปท. แต่นับรวมในสัดส่วนรายได้ของ อปท. เป็นจํานวน 32,339.60 ล้านบาท และ 27,061.80 ล้านบาท ตามลําดับ

37.79 22.75

39.22 23.50


ย : ล้านบาท 9 สัดส่วน 100.00 8.90 33.69 18.89 38.52 24.05


เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2544-2554

ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

2/

ปี 2550 จํานวนเงิน สัดส่วน 357,424.15 100.00 32,021.46 8.96 120,728.69 33.78 65,300.00 18.27

ปี 2551 จํานวนเงิน สัดส่วน 376,740.00 100.00 35,223.60 9.35 128,676.40 34.16 65,000.00 17.25

ปี 2552 จํานวนเงิน สัดส่วน 414,382.23 100.00 38,745.96 9.35 140,679.27 33.95 71,900.00 17.35

139,374.00 1,420,000.00

147,840.00 1,495,000.00

163,057.00 1,604,640.00

38.99 25.17

39.24 25.20

39.35 25.82

ปี 2553 จํานวนเงิน สัดส่วน 340,995.18 100.00 29,110.41 8.54 126,589.59 37.12 45,400.00 13.31 139,895.18 1,350,000.00

41.03 25.26

หมายเหตุ : 2/ ตัวเลขปี 2552 เป็นเป็นตัวเลขซึ่งรวมรายได้เพิ่มเติมจากการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมระหว่างปีงบประมาณ 2552 โดยรายได้รวมเพิ่มจาก เป้าหมายเดิม 14,043.48 ล้านบาท ประกอบด้วยภาษีอากรที่รัฐบาลจัดเก็บเพิ่มให้ 1,486.48 ล้านบาท และเงินอุดหนุน 12,557 ล้านบาท ในส่วนของรายได้สุทธิของรัฐบาลเพิ่มขึ้นจากเป้าหมายเดิม 19,140 ล้านบาท และสัดส่วนรายได้ อปท. ต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 25.25 เป็น 25.82 - เป้าหมายสัดส่วนรายได้ของ อปท. ในแต่ละปีงบประมาณผ่านขั้นตอนการพิจารณาของสํานักงบประมาณเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว ที่มา : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 18 พฤษภาคม 2554

หน่วย : ล้านบาท ปี 2554 จํานวนเงิน สัดส่วน 431,305.00 100.00 38,745.96 8.98 148,109.04 34.34 70,500.00 16.35 173,950.00 1,650,000.00

40.33 26.14


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.