บทสรุปผู้บริหาร ด้านรายได้ เดือนมีนาคม 2555 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิจานวน 141,586 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 7,662 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.7 เป็นผลจากการฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจภายหลังอุทกภัย โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการนาเข้า ส่งผลให้การจัดเก็บอากรขาเข้าและภาษีมูลค่าเพิ่มจากการนาเข้าสูงกว่า ประมาณการ 2,065 และ 2,037 ล้านบาท ตามลาดับ นอกจากนี้ ภาษีสรรพสามิตรถยนต์ จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ 1,904 ล้านบาท เป็นผลจากการฟื้นตัวของอุตสาหกรรมรถยนต์ อย่างไรก็ดี ภาษีน้ามันจัดเก็บได้ต่ากว่าประมาณการ เนื่องจากการขยายเวลาลดอัตราภาษี น้ามันดีเซลเหลือลิตรละ 0.005 บาท ในช่วงครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 – มีนาคม 2555) รัฐบาลจัดเก็บ รายได้สุทธิ 812,690 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย 33,425 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.3 เนือ่ งจาก การจัดเก็บภาษีที่สาคัญส่วนใหญ่ (ยกเว้นภาษีรถยนต์และภาษีน้ามัน) สูงกว่าประมาณการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษีมูลค่าเพิ่ม อากรขาเข้าและภาษีเงินได้นิติบุคคล รวมทั้งการนาส่งรายได้ ของรัฐวิสาหกิจที่สูงกว่าเป้าหมาย
ด้านรายจ่าย
เดือนมีนาคม 2555 รัฐบาลเบิกจ่ายเงินรวมทั้งสิ้น 369,978 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นการเบิกจ่าย งบประมาณ 351,873 ล้านบาท (เป็นรายจ่ายประจา 283,286 ล้านบาทและรายจ่ายลงทุน 68,587 ล้านบาท) และการเบิกจ่ายเงินกันไว้เหลื่อมปี จานวน 18,105 ล้านบาท ในช่วงครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 – มีนาคม 2555) รัฐบาลเบิกจ่าย เงินรวมทั้งสิ้น 1,269,318 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2555 จานวน 1,170,916 ล้านบาท (เป็นรายจ่ายประจา 1,051,041 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 119,875 ล้านบาท) คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 49.2 ของวงเงินงบประมาณ (2,380,000 ล้านบาท) และมีการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีจานวน 98,402 ล้านบาท เมื่อรวมกับการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 อีกจานวน 11,434 ล้านบาท ส่งผลให้ในช่วงครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลมีการ เบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจทั้งสิ้น 1,280,752 ล้านบาท
ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด ในช่วงครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลมีรายได้ นาส่งคลัง 809,354 ล้านบาท และมีการเบิกจ่ายงบประมาณจากงบประมาณปีปัจจุบันและ ปีก่อนรวม 1,269,317 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณขาดดุลจานวน 459,963 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่ขาดดุล 80,403 ล้านบาท ทาให้ดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 540,366 ล้านบาท โดยรัฐบาลออกพันธบัตรเพื่อชดเชยการขาดดุลจานวน 93,610 ล้านบาท ส่งผลให้ ดุลเงินสดหลังการกู้เงินขาดดุลทั้งสิ้น 446,756 ล้านบาท
1 สานักนโยบายการคลัง
ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค. ในช่วงครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2555 รัฐบาล มีรายได้ทั้งสิ้น 833,011 ล้านบาท และมีรายจ่ายทั้งสิ้น 1,283,729 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงิน งบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 450,718 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณที่ขาดดุล 21,606 ล้านบาท และหักรายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศและรายจ่ายจากโครงการไทยเข้มแข็ง จานวน 62 และ 11,434 ล้านบาท ตามลาดับแล้ว ทาให้ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุลทั้งสิ้น 483,696 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.2 ของ GDP
ฐานะการคลัง อปท.
ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ณ ไตรมาสที่ 1 ประจาปีงบประมาณ 2555 คาดว่า จะมีรายได้รวม 90,783 ล้านบาท (รายได้ที่จัดเก็บเอง 5,865 ล้านบาท รายได้ภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บ และแบ่งให้ 32,518 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 52,400 ล้านบาท) และคาดว่ามีรายจ่าย จานวน 102,628 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลการคลังของ อปท. ขาดดุล 11,845 ล้านบาท
สถานะหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะคงค้างของรัฐบาล ณ สิ้นเดือนมกราคม 2555 มีจานวน 4,362.4 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 41.1 ของ GDP โดยร้อยละ 92.1 ของหนี้สาธารณะคงค้างเป็นหนี้ในประเทศ และส่วนที่เหลือร้อยละ 7.9 เป็นหนี้ต่างประเทศ หนี้ระยะยาวมีจานวน 4,320.0 พันล้านบาท ส่วนหนี้ระยะสั้นมีจานวน 42.4 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 99.0 และ 1.0 ของหนี้สาธารณะคงค้าง ตามลาดับ
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง (60 - 15 – 0 – 25) กระทรวงการคลังได้กาหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีตัวชี้วัดประกอบด้วย สัดส่วนหนี้ สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 จัดทา งบประมาณสมดุล และสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณไม่ต่ากว่าร้อยละ 25 กรอบความยั่งยืนในระยะปานกลาง (ปีงบประมาณ 2555 – 2559) - รัฐบาลยังสามารถรักษาสัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่ให้เกินร้อยละ 60 ไว้ได้ - รัฐบาลยังสามารถรักษาสัดส่วนภาระหนี้ต่องบประมาณไม่ให้เกินร้อยละ 15 - รัฐบาลไม่สามารถจัดทางบประมาณสมดุลในปีงบประมาณ 2555 - 2556 ได้ เนื่องจาก มีนโยบายที่จะอัดฉีดเม็ดเงินเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ แต่คาดว่าแนวโน้มการจัดทางบประมาณแบบ ขาดดุลจะลดลงตามลาดับ - รัฐบาลไม่สามารถรักษาสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายให้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 25 ในปีงบประมาณ 2555 ได้ แต่อย่างไรก็ดีเมื่อนับรวมงบลงทุนของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจพบว่า การลงทุนคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 27.05 ของงบประมาณรายจ่าย
การดาเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผ่าน SFIs ของรัฐบาล รัฐบาลได้ดาเนินมาตรการกิจกรรมกึ่งการคลังผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจโดยการปล่อยสินเชื่อ ให้โครงการต่างๆ ซึ่งในปัจจุบันได้มีการปล่อยสินเชื่อเพื่อสนับสนุนมาตรการต่างๆ เช่น มาตรการ สานักนโยบายการคลัง 2
เพื่อสนับสนุนกิจการ SMEs มาตรการเพื่อสนับสนุนผู้มีรายได้น้อยให้มีที่อยู่อาศัย และมาตรการ เพื่อสนับสนุนการประกอบอาชีพระดับฐานราก ผลการปล่อยสินเชื่อและค้าประกันสินเชื่อ ในไตรมาส 4 ปี 2554 (เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2554) มีจานวน 59,001.3 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วร้อยละ 13.3 และมีการปล่อยสินเชื่อ และการค้าประกันสินเชื่อสะสมตั้งแต่เริ่มโครงการ จนถึง ณ สิ้นไตรมาส 4 ปี 2554 จานวน 1,389,962.5 ล้านบาท ทั้งนี้ ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ปี 2554 มียอดสินเชื่อคงค้าง จานวน 432,150.9 ล้านบาท โดยเป็น หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) จานวน 33,314.3 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.7 ของยอดสินเชื่อ คงค้าง และมีภาระค้าประกันหนี้จัดชั้นด้อยคุณภาพ (NPGs) ของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรม ขนาดย่อม (บสย.) จานวน 5,538.2 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.9 ของยอดค้าประกันคงค้าง
การกระจายอานาจทางการคลังให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ความคืบหน้าการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการบริหารจัดการพื้นที่สุวรรณภูมิ พ.ศ. … คณะอนุกรรมการพัฒนาการกระจายอานาจให้แก่ท้องถิ่นในรูปแบบองค์กรบริหารจัดการพื้นที่ พิเศษได้ประชุมเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการบริหารจัดการพื้นที่สุวรรณภูมิ พ.ศ. … เพื่อแก้ไข ปัญหาในพื้นที่สุวรรณภูมิ โดยไม่กระทบต่อโครงสร้างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งทับซ้อนอยู่ในพื้นที่ สุวรรณภูมิ ทั้งนี้ สาระสาคัญของการประชุมเป็นการกาหนดพื้นที่สุวรรณภูมิ การบริหารพื้นที่สุวรรณภูมิ แหล่งรายได้ และการกากับดูแล
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สาคัญ ประจาเดือนมีนาคม – เมษายน 2555 1. เรื่อง มาตรการภาษีเพื่อให้ผู้ขายบุหรี่ที่ผลิตในประเทศเข้าสู่ระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ภายใต้กระบวนการ ระงับข้อพิพาทขององค์การการค้าโลก คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2555 เห็นชอบมาตรการภาษีเพื่อผู้ขายบุหรี่ที่ผลิตใน ประเทศเข้าสู่ระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ภายใต้กระบวนการระงับข้อพิพาทขององค์การการค้าโลก พร้อมทั้ง อนุมัติหลักการร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... โดยยกเลิกการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มสาหรับการประกอบกิจการขายบุหรี่ซิกแรต ที่ผลิตโดยผู้ประกอบอุตสาหกรรมยาสูบที่เป็นองค์กรของรัฐบาล และมีผู้ขายที่มิใช่ผู้ประกอบอุตสาหกรรม ยาสูบที่ผลิตสินค้าดังกล่าว แต่ไม่รวมถึงร้านค้าปลอดอากร 2. เรื่อง มาตรการภาษีและค่าธรรมเนียมเพื่อสนับสนุนการพัฒนาตลาดทุนไทย คณะรัฐมนตรีมีมติ เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2555 เห็นชอบมาตรการภาษีและค่าธรรมเนียมเพื่อ สนับสนุนการพัฒนาตลาดทุนไทย ดังนี้ 1) ร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. โดยลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้แก่ผู้มีเงินได้ที่อยู่ในประเทศไทยและ ได้รับเงินปันผลจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศและจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2) ร่างกฎกระทรวงฉบับที่ .. (พ.ศ. …) ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร โดยให้เงินได้จากการขายหลักทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีการซื้อขาย 3 สานักนโยบายการคลัง
ผ่านระบบเชื่อมโยงการซื้อขายกับตลาดหลักทรัพย์ในประเทศสมาชิกของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้ยกเว้นไม่ต้องรวมคานวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ 3. เรื่อง การดาเนินการตามพระราชกาหนดปรับปรุงการบริหารหนี้เงินกู้ที่กระทรวงการคลังกู้ เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน พ.ศ. 2555 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2555 รับทราบและอนุมัติการดาเนินการตาม พระราชกาหนดปรับปรุงการบริหารเงินกู้ และร่างกฎหมายเกี่ยวกับกองทุนเพื่อการเพื่อการฟื้นฟูและ พัฒนาระบบสถาบันการเงิน พ.ศ. 2555 ดังนี้ - อนุมัติหลักการร่างพระราชกฤษฎีกากาหนดอัตราเงินนาส่งเข้ากองทุนคุ้มครองเงินฝาก (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ให้สถาบันการเงินนาส่งเงินเข้ากองทุนคุ้มครองเงินฝากในอัตราร้อยละ 0.01 ต่อปีของยอดเงินรับฝาก ถัวเฉลี่ยของบัญชีที่ได้รับการคุ้มครอง - อนุมัติหลักการร่างพระราชบัญญัติกองทุนเพื่อการสนับสนุนและพัฒนาสถาบันการเงินเฉพาะกิจ พ.ศ. .... โดยให้จัดตั้งกองทุนเพื่อการสนับสนุนและพัฒนาระบบสถาบันการเงินเฉพาะกิจเพื่อช่วยเหลือ สถาบันการเงินเฉพาะกิจในการเพิ่มทุนเพื่อชดเชยความเสียหาย และกาหนดให้สถาบันการเงินเฉพาะกิจนาส่ง เงินเข้ากองทุนตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด แต่ไม่เกินร้อยละ 1 ต่อปีของยอดเงินฝากถัวเฉลี่ ย 4. เรื่อง ขอขยายเวลาเพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เรื่องการปรับโครงสร้างภาษีรถยนต์ คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2555 ให้ขยายเวลาการพิจารณาปรับโครงสร้างภาษี รถยนต์ออกไปอีก 4 เดือน นับตั้งแต่วันที่ 10 เมษายน 2555 เป็นต้นไป 5. เรื่อง เป้าหมายของนโยบายการเงินประจาปี 2555 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2555 เห็นชอบและอนุมัติเป้าหมายของนโยบายการเงิน ประจาปี 2555 โดยกาหนดเป้าหมายของนโยบายการเงินประจาปี 2555 ที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเฉลี่ย รายไตรมาสระหว่างร้อยละ 0.5 – 3.0 ต่อปี พร้อมทั้งติดตามความเคลื่อนไหวของเป้าหมายนโยบายการเงิน และรายงานความคืบหน้าเป็นระยะ 6. เรื่อง มาตรการเพิ่มขีดความสามารถ SMEs คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2555 เห็นชอบมาตรการทางการเงินและมาตรการภาษี เพื่อแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการประกอบธุรกิจของ SMEs แบ่งเป็น 1. มาตรการทางการเงิน ประกอบด้วย - โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต (Productivity Improvement Loan) ของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) - โครงการค้าประกันสินเชื่อในลักษณะ Portfolio Guarantee Scheme (PGS) ระยะที่ 4 และโครงการค้าประกันสินเชื่อในลักษณะ Portfolio Guarantee Scheme สาหรับผู้ประกอบการใหม่ (PGS New/Start-Up) ของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) นอกจากนี้ยังมีสินเชื่อดอกเบี้ยต่าจากแหล่งเงินทุนของกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานและกองทุน ประกันสังคม ทั้งนี้ คาดว่ามาตรการทั้งหมดจะสร้างสินเชื่อเพิ่มอีกประมาณ 86,000 ล้านบาท และมี SMEs ที่ได้รับประโยชน์กว่า 28,000 ราย
สานักนโยบายการคลัง 4
2. มาตรการภาษี โดยให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีกับ SMEs ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่มีทุนจดทะเบียน ไม่เกิน 5 ล้านบาท และรายได้จากการขายสินค้าและบริการไม่เกิน 30 ล้านบาทต่อปี ประกอบด้วย มาตรการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต มาตรการหักค่าเสื่อมเครื่องจักร และ มาตรการช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากการเพิ่มค่าแรงขั้นต่า 7. เรื่อง ขยายกลุ่มเป้าหมายโครงการพักหนี้เกษตรกรรายย่อยและประชาชนผู้มีรายได้น้อยที่มีหนี้คง ค้างต่ากว่า 500,000 บาท คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2555 เห็นชอบและอนุมัติการปรับปรุงโครงการพักหนี้ เกษตรกรรายย่อยและประชาชนผู้มีรายได้น้อยที่มีหนี้คงค้างต่ากว่า 500,000 บาท สรุปได้ดังนี้ - ให้สถาบันการเงินเฉพาะกิจเข้าดูแลประชาชนที่เข้าร่วมโครงการได้รับการฟื้นฟูศักยภาพ จนสามารถเริ่มชาระหนี้คืนตามแผนชาระหนี้ใหม่ได้หลังจาก 12 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดการฟื้นฟู และให้สถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ได้รับการชดเชยต้นทุนเงินจากรัฐบาล นาเงินไปขยายวงเงินสินเชื่อใหม่ สาหรับ SMEs - ให้ลูกหนี้ที่มีสถานะปกติที่มีหนี้ไม่เกิน 500,000 บาท ก่อนวันที่ 24 เมษายน 2555 ในสถาบัน การเงินเฉพาะกิจ ได้รับสิทธิในการพักหนี้ โดยเลือกพักเงินต้นและลดอัตราดอกเบี้ยของสินเชื่อที่มีอยู่เดิม ร้อยละ 3 ต่อปี หรือลดอัตราดอกเบี้ยของสินเชื่อที่มีอยู่เดิมในอัตราร้อยละ 3 ต่อปี โดยไม่พักเงินต้น เป็นระยะเวลา 3 ปี พร้อมทั้งมีสิทธิขอกู้เพิ่มใหม่ตามความสามารถในการชาระหนี้ ทั้งนี้ คาดว่าผลจากโครงการพักหนี้ฯ จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจประมาณร้อยละ 0.4 – 0.7 ต่อปี หรือ 44,000 – 77,000 ล้านบาทต่อปี
5 สานักนโยบายการคลัง
สถานการณ์ด้านการคลัง รวมทั้งปี งบประมาณ 2554 I รายได้ 1. ตามหน่วยงาน 1.1 กรมสรรพากร (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.2 กรมสรรพสามิต (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.3 กรมศุลกากร (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.4 รัฐวิสาหกิจ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.5 หน่วยงานอืน่ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) - ส่วนราชการอืน่ - กรมธนารักษ์ 1.6 รวมรายได้จัดเก็บ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.7 รวมรายได้สุทธิ (หลังหักอปท.) (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2. ตามฐานภาษี 2.1 เงินได้ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2.2 การบริโภค (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2.3 การค้าระหว่างประเทศ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) II รายจ่าย 1.รายจ่ายรัฐบาลจากงบประมาณ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.1 งบประมาณปีปจั จุบนั (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.2 งบประมาณปีก่อน 2. รายจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ (15 กองทุน) 1/ - รายจ่าย - เงินให้กยู้ ืมสุทธิ 3. รายจ่ายจากเงินกูต้ ่างประเทศ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 4. รายจ่ายของอปท. 5. รายจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ III ดุลการคลัง 1. ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด 2. ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบ สศค. 2/ - รัฐบาล - อปท. IV ยอดหนี้สาธารณะ 1. หนี้รัฐบาลกูต้ รง 2. หนี้รัฐวิสาหกิจ 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอืน่ 4. หนี้ FIDF 5. รวม 6. หนี้คงค้าง/GDP (ปีปฏิทิน)% 7. หนี้ที่เป็นภาระงบประมาณ/GDP (ปีปฏิทิน)%
Q1
หน่วย : พันล้านบาท
ม.ค.-55
ปีงบประมาณ 2555 ก.พ.-55
มี.ค.-55
Q2
รวม ต.ค. 54 - มี.ค. 55
1,515.7 19.9 399.8 (1.5) 102.9 5.9 98.8 7.9 107.3 (25.5) 102.7 4.6 2,224.4 11.0 1,892.3 11.0
278.7 6.4 83.2 (25.6) 27.2 7.2 35.3 35.7 27.2 4.4 26.5 0.7 451.6 0.1 398.3 0.7
99.2 4.0 27.9 (26.0) 9.7 20.1 7.3 (6.6) 6.8 (11.2) 6.5 0.3 150.9 (3.6) 133.4 3.9
113.4 24.8 30.5 (17.0) 9.7 22.3 3.8 (31.0) 16.6 24.3 14.7 1.9 174.0 12.7 139.4 2.0
110.4 12.0 37.6 (10.1) 11.2 17.3 10.7 251.3 5.1 (23.9) 4.8 0.3 175.0 9.6 141.6 10.0
323.0 10.1 96.1 (21.5) 30.6 13.5 21.9 34.8 29.7 3.6 26.0 2.5 499.9 3.2 414.4 3.0
601.7 10.1 179.2 (21.5) 57.9 13.5 57.1 34.8 55.7 3.6 52.5 3.1 951.5 3.2 812.7 3.0
891.8 22.1 977.0 7.6 100.2 7.0
121.5 3.3 228.6 (6.6) 26.8 8.5
43.8 (1.4) 79.5 (6.6) 9.5 19.4
55.5 27.1 84.3 4.6 9.6 21.7
50.1 8.5 93.2 3.2 10.9 17.1
149.4 7.6 257.0 (3.0) 30.0 13.9
270.9 7.6 485.6 (3.0) 56.8 13.9
2,177.9 22.1 2,050.5 26.0 127.4 382.8 357.8 25.0 3.0 878.9
489.8 (18.1) 439.4 (20.6) 50.5 157.0 147.7 9.3 (96.5)
150.5 (36.0) 135.6 (38.5) 14.9 19.6 16.6 3.0 (98.6)
259.1 67.5 244.1 75.0 15.0 18.4 15.7 2.6 -
370.0 116.5 351.9 124.1 18.1 24.4 22.6 1.8 (3,280.0)
779.5 39.0 731.6 41.5 47.9 62.4 55.0 7.4 (107.3)
1,269.3 9.5 1,170.9 9.4 98.4 219.4 202.7 16.7 1.0 (106.0)
(108.7)
(256.6)
(23.7)
(119.4)
(140.7)
(283.8)
(540.4)
(200.6)
(142.3)
(27.2)
(85.0)
(231.0)
(339.2)
(483.7)
3,181.2 1,236.7 30.4 4,448.3 42.3 32.4
3,088.5 1,208.8 4,297.3 40.3 31.3
3,117.2 1,245.2 4,362.4 41.1 -
หมายเหตุ 1/ ประกอบด้วย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้า้ มันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการท้าของ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพือ่ การศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจ กองทุนอ้อยและน้า้ ตาล กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพือ่ การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนช่วยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย 2/ ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบสถิติเพือ่ การศึกษาและวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค.) เป็นผลรวมของดุลการคลังรัฐบาล และดุลการคลังของ อปท. 3/ ตั้งแต่ปงี บประมาณ 2551 เงินคงคลังจะไม่รวมเงินอื่น (บัตรภาษี) และเงินฝากธนาคารกรุงไทย จ้ากัด (มหาชน) รวบรวมโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ ส้านักนโยบายการคลัง ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง
สานักนโยบายการคลัง 6
สถานการณ์ด้านรายได้ เดือนมีนาคม 2555 เดือนมีนาคม 2555 รัฐบาลจัดเก็บ รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 141,586 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 7,662 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.7 รายได้สุทธิ 141,586 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 7,662 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.7 (สูงกว่า (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 10.0) เดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 10.0) * ตารางสรุปรายได้รัฐบาลเดือนมีนาคม 2555 เป็นผลจากการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง ของภาวะเศรษฐกิจในประเทศภายหลังอุทกภัย หน่วย: ล้านบาท โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนาเข้าทีข่ ยายตัวในอัตราที่สูง เทียบปีนี้กับ เทียบปีนี้กับ ที่มาของรายได้ ปีนี้ ประมาณการ ปีที่แล้ว ส่งผลให้การจัดเก็บอากรขาเข้าและภาษีมูลค่าเพิ่ม (%) (%) จากการนาเข้าสูงกว่าประมาณการ 2,065 และ กรมสรรพากร 110,357 5.5 12.0 2,037 ล้านบาท หรือร้อยละ 23.5 และ 7.5 กรมสรรพสามิต 37,619 -1.0 -10.1 กรมศุลกากร 11,186 24.3 17.3 ตามลาดับ นอกจากนี้ การที่โรงงานผลิตรถยนต์ รัฐวิสาหกิจ 10,699 -1.7 251.4 และชิ้นส่วนรถยนต์เริ่มกลับมาผลิตได้ตามปกติ หน่วยงานอื่น 5,100 2.6 -23.9 หลังจากได้รับผลกระทบจากอุทกภัย รวมทั้ง รายได้สุทธิ** 141,586 5.7 10.0 หมายเหตุ * ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 5 เมษายน 2555 การจัดงาน Motor Show ได้มีการเปิดตัว ** รายได้สุทธิหลังหักการจัดสรร อปท. รถยนต์รุ่นใหม่ออกสู่ตลาดหลายรุ่น โดยเฉพาะ อย่างยิ่งรถยนต์ประหยัดพลังงาน (Eco Car) ทาให้ ฐานผู้บริโภครถยนต์กว้างขึ้น ประกอบกับกาลังซื้อ ของผู้บริโภคที่สะสมมาตั้งแต่ช่วงที่เกิดอุทกภัย ส่งผลให้ยอดจาหน่ายรถยนต์ภายในประเทศ เพิ่มสูงขึ้น ภาษีสรรพสามิตรถยนต์จึงจัดเก็บได้ถึง 11,460 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 1,904 ล้านบาท หรือร้อยละ 19.9 อย่างไรก็ดี การขยายเวลาลดอัตราภาษี น้ามันดีเซลเหลือลิตรละ 0.005 บาท ทาให้ ภาษีน้ามันจัดเก็บได้ต่ากว่าประมาณการ 2,952 ล้านบาท หรือร้อยละ 36.4 (รายละเอียดตามตารางที่ 1)
7 สานักนโยบายการคลัง
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลประจาปีงบประมาณ 2555 (เดือนตุลาคม 2554 - มีนาคม 2555)
ล้านบาท 400,000 350,000 300,000 250,000 200,000 150,000
133,654
138,072
133,359
126,605
141,586
139,415
100,000 50,000 0 ตค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
จัดเก็บ 54
เม.ย. ปมก. 55
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
จัดเก็บ 55
ในช่วงครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 – มีนาคม 2555) รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 812,690 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย 33,425 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.3 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 3.0) ตารางสรุปรายได้รัฐบาล ปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 – มีนาคม 2555)* หน่วย: ล้านบาท
ที่มาของรายได้
ปีนี้
กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่น รายได้สุทธิ **
601,667 179,245 57,866 57,082 55,653 812,690
เทียบปีนี้กับ เทียบปีนี้กับ ประมาณการ ปีที่แล้ว (%) (%) 3.2 10.1 -4.9 -21.5 9.6 13.5 7.6 34.8 3.0 3.6 4.3 3.0
หมายเหตุ: * ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 5 เมษายน 2555 ** รายได้สุทธิหลังจัดสรรให้ อปท.
ผลการจัดเก็บรายได้ตามหน่วยงานจัดเก็บ สรุปได้ ดังนี้ กรมสรรพากร จัดเก็บรายได้รวม 601,667 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย 18,777 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.2 (สูงกว่าช่วงเดียวกัน ปีที่แล้วร้อยละ 10.1) ภาษีที่จัดเก็บได้สูงกว่า ประมาณการที่สาคัญ ได้แก่ ภาษีมูลค่าเพิ่มและ ภาษีเงินได้นิติบุคคลสูงกว่าประมาณการ 7,760 และ 4,990 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.6 และ 4.0 ตามลาดับ ส่วนหนึ่งเป็นผลจากภาวะเศรษฐกิจ ที่ฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องภายหลังอุทกภัย ทาให้ การนาเข้าขยายตัวเพิ่มขึ้นมาก ทั้งนี้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่จัดเก็บจากการนาเข้าสูงกว่าประมาณการร้อยละ 7.9 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ วร้อยละ 23.7) กรมสรรพสามิต จัดเก็บรายได้รวม 179,245 ล้านบาท ต่ากว่าเป้าหมาย 9,246 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.9 (ต่ากว่าช่วงเดียวกัน ปีที่แล้วร้อยละ 21.5) สาเหตุสาคัญมาจากภาษี รถยนต์จัดเก็บได้ต่ากว่าประมาณการ 9,244 ล้านบาท หรือร้อยละ 17.7 เนื่องจากอุตสาหกรรม สานักนโยบายการคลัง 8
ผลการจัดเก็บรายได้ของ 3 กรมในสังกัดกระทรวงการคลัง ปีงบประมาณ 2555 (เดือนตุลาคม 2554 - มีนาคม 2555) ล้านบาท
900,000
จัดเก็บ 54 ประมาณการ 55 จัดเก็บ 55
800,000
825,779 824,181 838,778
700,000 600,000
582,890 601,667 546,576
500,000 400,000 300,000 228,202
200,000
188,491 179,245
100,000
51,001 52,800 57,866
0 กรมสรรพากร
กรมสรรพสามิต
กรมศุลกากร
รวม 3 กรม
รถยนต์ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยในช่วง ไตรมาสแรกของปีงบประมาณ ประกอบกับ ภาษีน้ามันจัดเก็บได้ต่ากว่าประมาณการ 5,935 ล้านบาท หรือร้อยละ 16.4 (ต่ากว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว ร้อยละ 61.9) เป็นผลจาก การลดอัตราภาษีน้ามันดีเซลเหลือลิตรละ 0.005 บาท อย่างไรก็ดี ภาษียาสูบและ ภาษีเบียร์จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ 3,655 และ 1,749 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 13.0 และ 5.3 ตามลาดับ เนื่องจากผู้จาหน่ายได้เร่ง การสั่งซื้อเพื่อทดแทนสต๊อกเก่าที่ไม่สามารถ สั่งซื้อสินค้าได้ในช่วงเกิดอุทกภัย ทั้งนี้ ภาษีรถยนต์ ที่เริ่มปรับตัวดีขึ้น ตั้งแต่เดือนมกราคม 2555 เป็นผลจาก การที่โรงงานผลิตรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ สามารถกลับมาผลิตได้ตามปกติ ประกอบกับ กาลังซื้อที่สะสมมาตั้งแต่ช่วงเกิดอุทกภัย ช่วยกระตุ้นให้ ยอดจาหน่ายรถยนต์ ภายในประเทศเพิ่มสูงขึ้น รวมถึงมาตรการ ด้านภาษีของรัฐบาลในการยกเว้นอากรขาเข้า สาหรับการนาเข้ารถยนต์และชิ้นส่วนเพื่อทดแทน การผลิ ต ในประเทศจะเป็น ปัจจัยสาคั ญ ที่จะส่ งผลให้ การจั ดเก็บภาษีรถยนต์ ของกรมสรรพสามิตเป็นไปตามเป้าหมาย กรมศุลกากร จัดเก็บรายได้รวม 57,866 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย 5,066 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.6 (สูงกว่าช่วงเดียวกัน ปีที่แล้วร้อยละ 13.5) เป็นผลจากการจัดเก็บ อากรขาเข้าที่สูงกว่าประมาณการ 4,995 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.7 เนื่องจากมูลค่าการนาเข้า ที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยอัตราการขยายตัว ของมูลค่านาเข้าในรูปดอลลาร์สหรัฐฯ และเงินบาท โดยเฉลี่ยในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 – กุมภาพันธ์ 2555) สูงกว่า
9 สานักนโยบายการคลัง
ปีที่แล้วร้อยละ 8.1 และ 10.9 ตามลาดับ ทั้งนี้ สินค้าที่จัดเก็บอากรขาเข้าได้สูงเป็น 3 อันดับแรก ได้แก่ รถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้าและส่วนประกอบ และ เครื่องจักรกล รัฐวิสาหกิจ นาส่ งรายได้ 57,082 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย 4,018 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.6 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว ร้อยละ 34.8) เนื่องจากบมจ.กสท โทรคมนาคม โรงงานยาสูบและบมจ.ท่าอากาศยานไทยนาส่ง รายได้/จ่ายเงินปันผลสูงกว่าประมาณการ 937 660 และ 330 ล้านบาท ตามลาดับ นอกจากนี้ การท่าเรือแห่งประเทศไทยนาส่งรายได้ก่อน กาหนด จานวน 1,047 ล้านบาท (จากที่ประมาณการ ว่าจะนาส่งเดือนเมษายน 2555) หน่วยงานอื่น จัดเก็บรายได้รวม 55,653 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย 1,607 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.0 (สูงกว่าช่วงเดียวกัน ปีที่แล้วร้อยละ 3.6) เนื่องจากกรมศุลกากรได้ ส่งคืนเงินที่กันไว้เพื่อชดเชยค่าภาษีอากร สาหรับผู้ส่งออกสินค้าเหลือจ่ายจานวน 4,655 ล้านบาท และกรมสรรพสามิต ได้นาส่งเงิน ค่าใช้จ่ายเก็บภาษีท้องถิ่นคืนเป็นรายได้ แผ่นดินจานวน 2,000 ล้านบาท อย่างไรก็ดี การจัดเก็บรายได้จากสัมปทานปิโตรเลียมต่ากว่า ประมาณการ 1,530 ล้านบาท เป็นผลจาก ปริมาณปิโตรเลียมที่ขุดเจาะได้มีแนวโน้มชะลอตัว นอกจากนี้ สานักงานคณะกรรมการกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคมแห่ งชาติได้เลื่ อนการนาส่ ง ค่าใบอนุญาตกิจการโทรคมนาคม (จากที่ ประมาณการว่าจะนาส่ ง ในเดือนมกราคม 2555 จานวน 2,000 ล้านบาท
สานักนโยบายการคลัง 10
การคืนภาษีของกรมสรรพากร จานวน 112,875 ล้านบาท ต่ากว่าประมาณการ 12,947 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.3 ประกอบด้วยการคืน ภาษีมูลค่าเพิ่ม 95,464 ล้านบาท ต่ากว่า ประมาณการ 5,536 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.5 และการคืนภาษีอื่นๆ (ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีธุรกิจเฉพาะ และ อากรแสตมป์) 17,411 ล้านบาท ต่ากว่าประมาณการ 7,411 ล้านบาท หรือร้อยละ 29.9 การจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ตาม พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจฯ ให้แก่ อปท. ในปีงบประมาณ 2555 ได้มีการจัดสรร ภาษีมูลค่าเพิ่มให้แก่ อปท. แล้ว 2 งวด เป็นจานวน 13,001 ล้านบาท ต่ากว่าประมาณการ 199 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.5 (รายละเอียดตามตารางที่ 2)
11 สานักนโยบายการคลัง
ตารางที่ 1 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลเบื้องต้น เดือนมีนาคม 2555
1/ หน่วย : ล้านบาท
เปรียบเทียบปีนี้กับปีที่แล้ว ที่มาของรายได้
ปีนี้
ปีที่แล้ว
จ้านวน
ร้อยละ
ปมก.ตามเอกสาร
เปรียบเทียบปีนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม.
งปม.ทั้งปีเท่ากับ
จ้านวน
ร้อยละ
1,980,000 ล้านบาท
110,357
98,506
11,851
12.0
104,634
5,723
5.5
55,601 17,077 32,063 935 3,682 936 63 37,619
48,504 15,020 31,081 58 2,948 869 26 41,853
7,097 2,057 982 877 734 67 37 (4,234)
14.6 13.7 3.2 1,512.1 24.9 7.7 142.3 (10.1)
54,435 15,136 30,850 67 3,206 916 24 37,986
1,166 1,941 1,213 868 476 20 39 (367)
2.1 12.8 3.9 1,295.5 14.8 2.2 162.5 (1.0)
2.10 ภาษีอื่น 2/
5,151 11,460 6,796 6,195 5,812 1,569 216 194 92 107
13,536 8,731 6,693 5,007 5,777 1,513 174 194 97 102
(8,385) 2,729 103 1,188 35 56 42 (5) 5
(61.9) 31.3 1.5 23.7 0.6 3.7 24.1 (5.2) 4.9
8,103 9,556 6,875 5,769 5,495 1,562 199 205 90 105
(2,952) 1,904 (79) 426 317 7 17 (11) 2 2
(36.4) 19.9 (1.1) 7.4 5.8 0.4 8.5 (5.4) 2.2 1.9
2.11 รายได้อื่น
27
29
(2)
(6.9)
27
-
-
11,186 10,865 66 255
9,540 9,334 3 203
1,646 1,531 63 52
17.3 16.4 2,100.6 25.7
9,000 8,800 8 192
2,186 2,065 58 63
24.3 23.5 725.2 32.9
159,162
149,899
9,263
6.2
151,620
7,542
5.0
4. รัฐวิสาหกิจ
10,699
3,045
7,654
251.4
10,885
(186)
(1.7)
5. หน่วยงานอื่น
5,100
1. กรมสรรพากร 1.1 ภาษีมลู ค่าเพิ่ม 1.2 ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล 1.3 ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา 1.4 ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม 1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป์ 1.7 รายได้อื่น 2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ามันฯ 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9
ภาษีรถยนต์ ภาษีเบียร์ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีเครื่องไฟฟ้า
3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่น
รวมรายได้ 3 กรม
5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์
รวมรายได้จัดเก็บ (Gross)
6,699
(1,599)
(23.9)
4,970
130
2.6
4,847 253 174,961
3/
6,371 328 159,643
(1,524) (75) 15,318
(23.9) (22.9) 9.6
4,642 328 167,475
205 (75) 7,486
4.4 (22.9) 4.5
25,000 18,000 7,000 1,240 1,290 147,431
4/
28,641 18,388 10,253 1,113 1,136 128,753
(3,641) (388) (3,253) 127 154 18,678
(12.7) (2.1) (31.7) 11.4 13.6 14.5
24,292 17,500 6,792 1,212 1,227 140,744
708 500 208 28 63 6,687
2.9 2.9 3.1 2.3 5.1 4.8
5,845
-
6,820
(975)
(14.3)
12,833
10.0
133,924
7,662
5.7
หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสาหรับสินค้าส่งออก
รวมรายได้สุทธิ (Net)
5/
หักเงินจัดสรรจาก VAT ให้ อปท. ตาม พรบ. ก้าหนดแผนฯ
รวมรายได้สุทธิหลังหักการจัดสรรแล้ว หมายเหตุ
5,845 141,586
4/ 4/
128,753
1/
ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 5 เมษายน 2555
2/
ภาษีไพ่ แก้วฯ เครื่องหอม เรือ พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารท้าลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้้าหรืออบตัวและนวด
3/
ตัวเลขจากระบบ GFMIS
4/
ตัวเลขคาดการณ์
5/
รายได้สุทธิก่อนการจัดสรรให้อปท. จัดท้าโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ ส้านักนโยบายการคลัง ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง
สานักนโยบายการคลัง 12
ตารางที่ 2 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลเบื้องต้น ปีงบประมาณ 2555 1/ ( ตุลาคม 2554 - มีนาคม 2555 ) หน่วย : ล้านบาท
เปรียบเทียบปีนี้กับปีที่แล้ว ที่มาของรายได้
ปีนี้
1. กรมสรรพากร
ปีที่แล้ว
จ้านวน
ร้อยละ
ปมก.ตามเอกสาร งปม.ทั้งปีเท่ากับ 1,980,000 ล้านบาท
เปรียบเทียบปีนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม.
จ้านวน
ร้อยละ
601,667
546,576
55,091
10.1
582,890
18,777
3.2
306,599 128,266 133,326 9,310 18,977 4,939 250 179,245
272,922 122,366 122,905 6,556 16,749 4,944 134 228,202
33,677 5,900 10,421 2,754 2,228 (5) 116 (48,957)
12.3 4.8 8.5 42.0 13.3 (0.1) 86.6 (21.5)
298,839 123,276 130,488 7,567 17,450 5,154 116 188,491
7,760 4,990 2,838 1,743 1,527 (215) 134 (9,246)
2.6 4.0 2.2 23.0 8.8 (4.2) 115.5 (4.9)
30,338 42,971 34,610 31,838 28,480 8,021 883 939 364 537 264
79,696 47,021 33,246 29,406 27,693 7,445 1,055 1,063 732 556 289
(49,358) (4,050) 1,364 2,432 787 576 (172) (124) (368) (19) (25)
(61.9) (8.6) 4.1 8.3 2.8 7.7 (16.3) (11.7) (50.3) (3.4) (8.7)
36,273 52,215 32,861 28,183 27,599 7,690 1,197 1,122 511 570 270
(5,935) (9,244) 1,749 3,655 881 331 (314) (183) (147) (33) (6)
(16.4) (17.7) 5.3 13.0 3.2 4.3 (26.2) (16.3) (28.8) (5.8) (2.2)
4. รัฐวิสาหกิจ
57,866 56,595 204 1,067 838,778 57,082
51,001 49,774 78 1,149 825,779 42,355
6,865 6,821 126 (82) 12,999 14,727
13.5 13.7 161.5 (7.1) 1.6 34.8
52,800 51,600 48 1,152 824,181 53,064
5,066 4,995 156 (85) 14,597 4,018
9.6 9.7 325.0 (7.4) 1.8 7.6
5. หน่วยงานอื่น
55,653
1.1 ภาษีมลู ค่าเพิ่ม 1.2 ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล 1.3 ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา 1.4 ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม 1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป์ 1.7 รายได้อื่น
2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ามันฯ 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9
ภาษีรถยนต์ ภาษีเบียร์ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีเครื่องไฟฟ้า
2.10 ภาษีอื่น 2/ 2.11 รายได้อื่น
3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่น
รวมรายได้ 3 กรม
5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์
รวมรายได้จัดเก็บ (Gross)
53,728
1,925
3.6
54,046
1,607
3.0
52,534 3,119 951,513
3/
51,064 2,664 921,862
1,470 455 29,651
2.9 17.1 3.2
51,249 2,797 931,291
1,285 322 20,222
2.5 11.5 2.2
112,875 95,464 17,411 6,813 6,134 825,691
4/
109,213 86,467 22,746 6,011 5,981 800,657
3,662 8,997 (5,335) 802 153 25,034
3.4 10.4 (23.5) 13.3 2.6 3.1
125,822 101,000 24,822 6,544 6,460 792,465
(12,947) (5,536) (7,411) 269 (326) 33,226
(10.3) (5.5) (29.9) 4.1 (5.0) 4.2
13,001
11,266
1,735
15.4
13,200
(199)
(1.5)
812,690
789,391
23,299
3.0
779,265
33,425
4.3
หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสาหรับสินค้าส่งออก
รวมรายได้สุทธิ (Net)
5/
หักเงินจัดสรรจาก VAT ให้ อปท. ตาม พรบ. ก้าหนดแผนฯ
รวมรายได้สุทธิหลังหักการจัดสรร อปท. หมายเหตุ
1/ 2/
4/ 4/
ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 5 เมษายน 2555 ภาษีไพ่ เครื่องแก้ว เครื่องหอม พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารท้าลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้้าหรืออบตัวและนวด
3/
ข้อมูลจากระบบ GFMIS
4/
เดือนตุลาคม 2554 - กุมภาพันธ์ 2555 เป็นตัวเลขจริง และเดือนมีนาคม 2555 เป็นตัวเลขคาดการณ์
5/
รายได้สุทธิก่อนการจัดสรรให้ อปท. ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และส้านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดท้าโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ ส้านักนโยบายการคลัง ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง
13 สานักนโยบายการคลัง
สถานการณ์ด้านรายจ่าย พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2555 ซึ่งได้ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 129 ตอนที่ 15 ก เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2555 ได้กาหนดวงเงินงบประมาณรายจ่ายจานวน 2,380,000 ล้านบาท สูงกว่าวงเงินปีงบประมาณ 2554 ร้อยละ 9.7 โดยแบ่งเป็นรายจ่ายประจา 1,840,673 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.4 เมื่อเทียบกับปีก่อน รายจ่ายลงทุน 438,555 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.4 เมื่อเทียบกับปีก่อน รายจ่ายชาระคืนต้นเงินกู้ 46,854 ล้านบาท และมีการตั้ง งบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง 53,918 ล้านบาท โครงสร้างงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2555 โครงสร้างงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณรายจ่าย (สัดส่วนต่อ GDP) - รายจ่ายประจา (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายชาระคืนต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) 2. รายรับ (สัดส่วนต่อ GDP) - รายได้ - เงินกู้ 3. ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP)
ปีงบประมาณ 2554 เพิ่ม/ลด จานวน ร้อยละ 2,169,968 27.6 20.0 1,667,440 16.2 76.8 114,489 100.0 5.3 355,485 65.8 16.4 32,555 -36.1 1.5 2,169,968 27.6 20.0 1,770,000 31.1 399,968 14.3 10,867,600 7.6
ปีงบประมาณ 2555 เพิ่ม/ลด จานวน ร้อยละ 2,380,000 9.7 20.2 1,840,673 10.4 77.3 53,918 -52.9 2.2 438,555 23.4 18.4 46,854 43.9 2.0 2,380,000 9.7 20.2 1,980,000 11.9 400,000 0.01 11,794,200 8.5
หมายเหตุ : งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 รวมงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 จานวน 99,967.5 ล้านบาท ที่มา : สานักงบประมาณ
สานักนโยบายการคลัง 14
คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2555 เห็นชอบการกาหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณ รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ที่อัตราร้อยละ 93.0 และกาหนดเป้าหมายการเบิกจ่าย รายจ่ายลงทุนไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 72.0 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน โดยได้กาหนดเป้าหมาย การเบิกจ่ายรายไตรมาส ดังนี้ ไตรมาสที่ 1 2 3 4
เป้าหมายการ เบิกจ่าย แต่ละไตรมาส (ล้านบาท) 476,000 523,600 595,000 618,800
เป้าหมายการเบิกจ่าย เป้าหมายอัตรา เบิกจ่าย อัตรา สะสม ณ สิ้นไตรมาส การเบิกจ่ายสะสม สะสม เบิก (ล้านบาท) ณ สิ้นไตรมาส (ล้านบาท) จ่าย (%) % 476,000 20 439,360 18.5 999,600 42 1,170,916 49.2 1,594,600 67 2,213,400 93
เดือนมีนาคม 2555 เดือนมีนาคม 2555 รัฐบาลมีการเบิกจ่าย เงินงบประมาณปี 2555 จานวน 351,873 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 194,863 ล้านบาท หรือร้อยละ 124.1 และมีการเบิกจ่ายเงินกันไว้ เบิกเหลื่อมปี 18,105 ล้านบาท ทาให้มีการเบิกจ่าย รวมทั้งสิ้น 369,978 ล้านบาท
- การเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2555 จานวน 351,873 ล้านบาท แบ่งเป็น รายจ่ายประจาจานวน 283,286 ล้านบาท และ รายจ่ายลงทุนจานวน 68,587 ล้านบาท - การเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี มีจานวน 18,105 ล้านบาท
ในช่วงครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 – มีนาคม 2555) ในช่วงครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลได้เบิกจ่ายเงินแล้วจานวน 1,170,916 บาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 100,462 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.4 และมีการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี 98,402 ล้านบาท ทาให้มีการเบิกจ่ายรวมทั้งสิ้น 1,269,318 ล้านบาท
15 สานักนโยบายการคลัง
- การเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2555 จานวน 1,170,916 ล้านบาท คิดเป็นอัตรา การเบิกจ่าย ร้อยละ 49.2 ของวงเงินงบประมาณ 2,380,000 ล้านบาท แบ่งเป็น รายจ่ายประจา จานวน 1,051,041 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 53.2 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจาหลังโอน เปลี่ยนแปลง (1,973,811 ล้านบาท) รายจ่ายลงทุน จานวน 119,875 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 29.5 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอน เปลี่ยนแปลง (406,189 ล้านบาท) - การเบิกจ่ายงบกลาง มีจานวน 169,999 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 40.3 ของงบประมาณงบกลาง (422,211 ล้านบาท)
- สาหรับการเบิกจ่ายงบประมาณตามหน่วยงาน หน่วยงานที่มีการเบิกจ่ายสูงที่สุด 3 อันดับแรก คือ รัฐวิสาหกิจมีการเบิกจ่าย 102,398 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 79.3 กระทรวงแรงงานมีการเบิกจ่าย 12,619 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 77.3 และ หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญมีการเบิกจ่าย 15,465 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 77.1 - ในขณะที่หน่วยงานที่มีการเบิกจ่ายต่าสุด 3 อันดับ สุดท้าย คือ จังหวัดมีการเบิกจ่าย 565 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.2 กระทรวงคมนาคมมีการเบิกจ่าย 11,883 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 13.4 และกระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬามีการเบิกจ่าย 1,931 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 18.8 - การเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี มีจานวน 98,402 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 45.6 ของเงินกันไว้ เบิกเหลื่อมปี (215,716 ล้านบาท) ล้านบาท
การเบิกจ่ายรายจ่ายประจา รายจ่ายลงทุน และเงินกันไว้เบิกเหลือ่ มปี (รายเดือน)
300,000 250,000 200,000 150,000 100,000 50,000 -
ต.ค. 54
พ.ย. 54
ธ.ค. 54
ม.ค. 55
ก.พ. 55
มี.ค. 55
เม.ย. 55
พ.ค. 55
มิ.ย. 55
ก.ค. 55
ส.ค. 55
ก.ย. 55
รายจ่ ายประจา
136,594
127,201
137,437
131,400
235,123
283,286
-
-
-
-
-
-
รายจ่ ายลงทุน
19,316
4,662
14,150
4,210
8,950
68,587
-
-
-
-
-
-
เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี
11,044
18,371
21,041
14,852
14,989
18,105
-
-
-
-
-
-
การเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2555 (สะสม)
ล้านบาท 2,500,000 2,000,000 1,500,000 1,000,000 500,000 -
ต.ค. 54
พ.ย. 54
ธ.ค. 54
ม.ค. 55
ก.พ. 55
มี.ค. 55
เม.ย. 55
พ.ค. 55
มิ.ย. 55
ก.ค. 55
ส.ค. 55
ก.ย. 55
พ.ศ. 2554 194,118
401,319
553,323
773,980
913,444
1,070,454
1,205,535
1,410,757
1,592,008
1,730,419
1,865,892
2,050,540
พ.ศ. 2555 155,910
287,773
439,360
574,970
819,043
1,170,916
-
-
-
-
-
-
สานักนโยบายการคลัง 16
รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุน ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ในเดือนมีนาคม 2555 จานวน 1,760 ล้านบาท
1 2 3
- เดือนมีนาคม 2555 มีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุน ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 จานวน 1,760 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.5 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ จานวน 348,940 ล้านบาท1 และตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ จนถึงเดือนมีนาคม 2555 มีการเบิกจ่ายทั้งสิ้น 11,434 ล้านบาท - การเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการ ไทยเข้มแข็งสะสมจนถึงสิ้นเดือนมีนาคม 2555 มีจานวนทั้งสิ้น 307,197 ล้านบาท2 คิดเป็นร้อยละ 88.0 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ จานวน 348,940 ล้านบาท - สาหรับสาขาที่มีการเบิกจ่ายสะสมสูงสุด 3 อันดับแรก คือ สาขาการประกันรายได้และการดาเนินงานอื่นๆ ทีเ่ กี่ยวข้องมีการเบิกจ่าย 40,000 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 100.0 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติสาขา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีการเบิกจ่าย 182.3 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 99.9 ของวงเงินที่ได้รับ การอนุมัติ (182.4 ล้านบาท) และสาขาเศรษฐกิจ เชิงสร้างสรรค์มีการเบิกจ่าย 1,276 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 97.3 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (1,311 ล้านบาท) - ในขณะที่สาขาที่มีการเบิกจ่ายสะสมต่าสุด 3 อันดับ คือ สาขาพัฒนาการท่องเที่ยวมีการเบิกจ่าย 2,632 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 48.8 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (5,390 ล้านบาท) สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานมีการเบิกจ่าย 8,936 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 62.5 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (14,302 ล้านบาท) และสาขาพลังงานมีการเบิกจ่าย 8 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 63.8 ของวงเงินที่ได้รับ อนุมัติ (12 ล้านบาท3)
มติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ 28 ธันวาคม 2553 ได้มีมติอนุมตั ิให้ยกเลิกวงเงินเหลือจ่ายคงเหลือ จานวน 1,020 ล้านบาท ทาให้เหลือวงเงินที่ได้รับอนุมัติ จานวนทั้งสิน้ 348,940 ล้านบาท จากวงเงินที่ได้รับอนุมตั ิเดิม จานวน 349,960 ล้านบาท เป็นการเบิกจ่ายจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัตกิ ารไทยเข้มแข็ง จนถึงสิน้ สุดปีงบประมาณ 2554 จานวน 295,763 ล้านบาท คณะรัฐมนตรีมีมติ เมือ่ วันที่ 28 ธันวาคม 2553 รับทราบการยกเลิกโครงการในสาขาพลังงาน 2 โครงการ ได้แก่ โครงการชุมชนเข้มแข็งด้วยพลั งงาน ทดแทน จานวน 56 ล้านบาท และโครงการพัฒนาชุมชนในพื้นที่ห่างไกลด้วยเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ จานวน 106 ล้านบาท ทาให้มวี งเงินที่ได้รับ อนุมตั ิคงเหลือทั้งสิน้ 12 ล้านบาท จากวงเงินที่ได้รับอนุมตั ิเดิม จานวน 174 ล้านบาท
17 สานักนโยบายการคลัง
รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ - ในช่วงครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2555 มีการเบิกจ่าย เงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ จานวนทั้งสิ้น 1,280,752 ทั้งสิ้น 1,280,752 ล้านบาท ล้านบาท แบ่งเป็น งบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ 2555 จานวน 1,170,916 ล้านบาท เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี จานวน 98,402 ล้านบาท และโครงการลงทุนไทยเข้มแข็ง 2555 จานวน 11,434 ล้านบาท
สานักนโยบายการคลัง 18
รายงานผลการเบิกจ่ายเงินโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 วงเงินที่ได้รับ อนุมัติ
เบิกจ่าย สะสม ณ 31 มี.ค. 55
59,462.2
54,511.2
91.7
1.1 สาขาทรัพยากรน้าและการเกษตร
59,462.2
54,511.2
91.7
2. ปรับปรุงบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานฯ
74,211.7
65,108.3
87.7
46,586.3
44,578.6
95.7
12.0
7.7
63.8
-
-
3,281.4
2,690.3
82.0
14,302.4
8,935.7
62.5
9,158.0
8,050.2
87.9
2.7 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
182.4
182.3
99.9
2.8 สาขาสิ่งแวดล้อม
689.2
663.6
96.3
5,389.9
2,631.6
48.8
3.1 สาขาพัฒนาการท่องเที่ยว
5,389.9
2,631.6
48.8
4. สร้างฐานรายได้ใหม่ของประเทศฯ
1,311.0
1,275.8
97.3
4.1 สาขาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์
1,311.0
1,275.8
97.3
51,980.8
42,053.1
80.9
51,980.8
42,053.1
80.9
1,831.6
1,412.9
77.1
1,831.6
1,412.9
77.1
106,253.0
96,065.2
90.4
7.1 สาขาการลงทุนในระดับชุมชน
106,253.0
96,065.2
90.4
8. อื่น ๆ ตามที่คณะรัฐมนตรีกาหนด
40,000.0
40,000.0
100.0
40,000.0
40,000.0
100.0
340,440.1
303,058.1
89.0
8,500.0
4,139.0
48.7
348,940.1
307,197.1
88.0
วัตถุประสงค์ / สาขา 1. สร้างความมั่นคงทางด้านอาหารและพลังงานฯ
2.1 สาขาขนส่ง 2.2 สาขาพลังงาน 2.3 สาขาการสื่อสาร 2.4 สาขาโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว 2.5 สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 2.6 สาขาสวัสดิภาพของประชาชน
3. สร้างศักยภาพในการหารายได้จากการท่องเที่ยว
5. ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ 5.1 สาขาการศึกษา 6. ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุขฯ 6.1 สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาบุคลากร 7. สร้างอาชีพและรายได้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตฯ
8.1 สาขาการประกันรายได้และการดาเนินงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวม สารองจ่ายตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหาร รวมทั้งสิ้น ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2555
19 สานักนโยบายการคลัง
ร้อยละของ การเบิกจ่าย สะสม
-
การเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ ผลการเบิกจ่าย - เดือนมีนาคม 2555 มีการคืนเงินกู้ต่างประเทศ 79.5 ล้านบาท เปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันปีที่แล้วที่มี การเบิกจ่ายเงินกู้ 2.5 ล้านบาท - ในช่วงครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 – มีนาคม 2555) มีการคืนเงินกู้ต่างประเทศ 62.4 ล้านบาท ในขณะที่ช่วงเดียวกันปีที่แล้วมีการเบิกจ่าย 1,036.0 ล้านบาท
สรุปการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ เดือนมีนาคม 2555 และในช่วงครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2555 หน่วย : ล้านบาท
มีนาคม รายการ
2555
2554
1. Project Loans 2. Structural Adjustment Loans (SAL)
-79.5
2.5
เปลี่ยนแปลง (ร้อยละ) -3,280.0
รวม
-79.5
2.5
-3,280.0
ตุลาคม – มีนาคม เปลี่ยนแปลง 2555 2554 (ร้อยละ) 92.3 -62.4 943.7 -106.6 -62.4
1,036.0
-106.0
ที่มา : สานักงานบริหารหนีส้ าธารณะ
สานักนโยบายการคลัง 20
การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. เดือนมีนาคม 2555 การเบิกจ่ายเงินของกองทุนนอกงบประมาณ ตากว่าเดือนเดียวกันปีทีแล้วร้อยละ 17.1 เป็นผลจากการลดลงของรายจ่ายกองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
1. เดือนมีนาคม 2555 มีการเบิกจ่ายรวม 24,374.7 ล้านบาท ต่า้ กว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 5,030.7 ล้านบาท หรือร้อยละ 17.1 ประกอบด้วยรายจ่าย 22,551.8 ล้านบาท ต่า้ กว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 5,286.4 ล้านบาท หรือร้อยละ 19.0 และเงินให้กู้ยืมสุทธิ 1,822.9 ล้านบาท สูงกว่า เดือนเดียวกันปีที่แล้ว 255.7 ล้านบาท หรือร้อยละ 16.3
ในช่วงครึงปีแรกของปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 – มีนาคม 2555) การเบิกจ่ายเงินของกองทุน ฯ สูงกว่า ช่วงเดียวกันปีทีแล้วร้อยละ 5.0 โดยมี สาเหตุหลักมาจากกองทุน น้ามันเชื้อเพลิง และกองทุนประกันสังคมมีการเบิกจ่ายเพิมขึ้น
2. ในช่วงครึงปีแรกของปีงบประมาณ 2555 มีการเบิกจ่ายรวม 219,404.1 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 10,351.4 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.0 ประกอบด้วย 1) รายจ่าย 202,707.7 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกัน ปีที่แล้ว 8,084.3 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.2 เป็นผลมาจาก กองทุนน้้ามันเชื้อเพลิงและกองทุนประกันสังคมมีการเบิกจ่าย เพิ่มขึ้น 2) เงินให้กู้ยืมสุทธิ 16,696.4 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว 2,267.1 ล้านบาท หรือร้อยละ 15.7 เป็นผลมาจาก การให้กู้ยืมที่เพิ่มขึ้นของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
สรุปการเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. เดือนมีนาคม 2555 และในช่วงครึงปีแรกของปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 – มีนาคม 2555) หน่วย : ล้านบาท
รายการ 2555* การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ 24,374.7 1. รายจ่าย 22,551.8 2. เงินให้กยู้ ืมสุทธิ 1,822.9
มีนาคม ครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2554 เปลี่ยนแปลง 2555* 2554 เปลี่ยนแปลง 29,405.4 -17.1 219,404.1 209,052.7 5.0 27,838.2 -19.0 202,707.7 194,623.4 4.2 1,567.2 16.3 16,696.4 14,429.3 15.7
ที่มา : กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้้ามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการท้าของ กองทุนเงินให้กยู้ ืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจฯ กองทุนอ้อยและ น้้าตาลทราย กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนรวมเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ โดยส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง
21 สานักนโยบายการคลัง
ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด1 ครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 – มีนาคม 2555) ปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลมีรายได้นาส่งคลัง ครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2555 ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแส 809,354 ล้านบาท และมีการเบิกจ่ายงบประมาณ เงินสดขาดดุล 540,366 ล้านบาท คิดเป็น จากงบประมาณปีปัจจุบันและปีก่อนรวม 1,269,317 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณขาดดุลจานวน ร้อยละ 4.7 ของ GDP 2 459,963 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณ ที่ขาดดุลจานวน 80,403 ล้านบาท ทาให้ดุลเงินสด ขาดดุลทั้งสิ้น 540,366 ล้านบาท โดยรัฐบาลชดเชย การขาดดุลโดยการออกพันธบัตร จานวน 93,610 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินสดหลังการกู้เงินขาดดุลทั้งสิ้น 446,756 ล้านบาท ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด หน่วย: ล้านบาท
ครึ่งปีแรก ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2555 2554 รายได้ 809,354 779,156 รายจ่าย 1,269,317 1,159,164 ปีปัจจุบัน 1,170,916 1,070,454 ปีก่อน 98,401 88,710 ดุลเงินงบประมาณ (459,963) (380,008) ดุลเงินนอกงบประมาณ (80,403) (48,533) ดุลเงินสดก่อนกู้ (540,366) (428,541) กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล 93,610 113,605 ดุลเงินสดหลังกู้ (446,756) (314,936) ที่มา : กรมบัญชีกลาง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง
1 2
เปรียบเทียบ จานวน 30,198 110,153 100,462 9,691 (79,955) (31,870) (111,825) (19,995) (131,820)
ร้อยละ 3.9 9.5 9.4 10.9 21.0 65.7 26.1 (17.6) 41.9
ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด เป็นดุลการคลังที่แสดงให้เห็นผลกระทบต่อเงินคงคลังและการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล GDP ปีปฏิทิน 2554 เท่ากับ 10,539.4 พันล้านบาท และคาดการณ์ GDP ปีปฏิทิน 2555 เท่ากับ 11,572.3 พันล้านบาท
สานักนโยบายการคลัง 22
ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค.3 ในช่วงครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 - มีนาคม 2555)
3
ในช่วงครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลมีรายได้ทั้งสิ้น 833,011 ล้านบาท และมีรายจ่ายทั้งสิ้น 1,283,729 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.2 และ 11.1 ของ GDP ตามลาดับ
ด้านรายได้ รัฐบาลมีรายได้ทั้งสิ้น 833,011 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 3.5 ประกอบด้วยรายได้เงินงบประมาณ 832,169 ล้านบาท (ก่อนจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้ อปท.) และเงินช่วยเหลือ จากต่างประเทศ 842 ล้านบาท ด้านรายจ่าย รัฐบาลมีรายจ่ายทั้งสิ้น 1,283,729 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 9.7 ประกอบด้วย รายจ่ายที่ไม่รวมรายจ่ายชาระคืนต้นเงินกู้ 1,282,887 ล้านบาท และรายจ่ายเงินช่วยเหลือจาก ต่างประเทศ 842 ล้านบาท
ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิ้น 450,718 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 3.9 ของ GDP
ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิ้น 450,718 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 3.9 ของ GDP ในขณะทีช่ ่วงเดียวกัน ปีที่แล้วขาดดุล 364,758 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 3.5 ของ GDP
ดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณ ขาดดุล 21,606 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.2 ของ GDP
บัญชีเงินนอกงบประมาณ ประกอบด้วยเงินฝาก นอกงบประมาณ และกองทุนนอกงบประมาณ มีรายได้รวมทั้งสิ้น 216,312 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 1.9 ในขณะที่มีรายจ่ายจานวน 221,222 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 3.9 และมีเงินให้กู้ หักชาระคืน 16,696 ล้านบาท ทาให้ดุลบัญชีเงินนอก งบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 21,606 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.2 ของ GDP
ดุลการคลังตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค.) เป็นดุลการคลังที่สะท้อนเม็ดเงินที่แท้จริงที่ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ
23 สานักนโยบายการคลัง
ดุลการคลังของรัฐบาล ขาดดุลทั้งสิ้น 483,696 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.2 ของ GDP
ดุลเงินงบประมาณและดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณ ที่ขาดดุล เมื่อหักรายจ่ายสุทธิจากเงินกู้ต่างประเทศและ รายจ่ายจากโครงการไทยเข้มแข็ง จานวน 62 ล้านบาท และ 11,434 ล้านบาท ตามลาดับ ทาให้ดุลการคลัง ของรัฐบาลขาดดุล 483,696 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.2 ของ GDP ในขณะทีช่ ่วงเดียวกันปีที่แล้ว ขาดดุล 409,645 ล้านบาท สาหรับดุลการคลังเบื้องต้นของรัฐบาล (Primary Balance) ซึ่งเป็นดุลการคลังที่สะท้อนถึง ผลการดาเนินงานของรัฐบาลและทิศทางของนโยบาย การคลังของรัฐบาลอย่างแท้จริง (ไม่รวมรายได้และรายจ่าย จากดอกเบี้ย และการชาระคืนต้นเงินกู้) ขาดดุลทั้งสิ้น 415,205 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.6 ของ GDP ในขณะที่ช่วงเดียวกันปีที่แล้วขาดดุล 345,188 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.3 ของ GDP
ดุลการคลังเบื้องต้นตามระบบ สศค. หน่วย: ล้านบาท ปีงบประมาณ
มี.ค. 55 ล้านบาท
มี.ค. 54
% of GDP
ล้านบาท
เปรียบเทียบ
% of GDP
ล้านบาท
ต.ค.54 - มี.ค. 55
ร้อยละ
ล้านบาท
ต.ค.53 - มี.ค. 54
% of GDP
ล้านบาท
% of GDP
เปรียบเทียบ ล้านบาท
ร้อยละ
รัฐบาล 1. รายได้ 2. รายจ่าย 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. รายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศ 5. แผนปฎิบตั ิการไทยเข็มแข็ง (TKK) 6. ดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณ (6.1-6.2-6.3) 6.1 รายได้ 6.2 รายจ่าย 6.3 เงินให้กู้หกั ชาระคืน 7. ดุลการคลังของรัฐบาล (3-4-5+6) 8. ดุลการคลังเบื้องต้นของรัฐบาล
148,580 376,642 (228,062) (80) 1,760 (1,254) 25,681 25,112 1,823 (230,996) (208,699)
1.3 3.3 (2.0) (0.0) 0.0 (0.0) 0.2 0.2 0.0 (2.0) (1.8)
129,531 171,924 (42,393) 3 5,972 (312) 31,653 30,398 1,567 (48,680) (25,560)
1.2 1.6 (0.4) 0.0 0.1 (0.0) 0.3 0.3 0.0 (0.4) (0.2)
19,049 204,718 (185,669) (83) (4,212) (941) (5,972) (5,286) 256 (182,316)
14.7 119.1 438.0 (2,766.7) (70.5) 301.7 (18.9) (17.4) 16.3 374.5
(183,139)
716.5
833,011 1,283,729 (450,718) (62) 11,434 (21,606) 216,312 221,222 16,696 (483,696) (415,205)
7.2 804,929 11.1 1,169,687 (3.9) (364,758) (0.0) 1,036 0.1 36,998 (0.2) (6,853) 1.9 220,394 1.9 212,818 0.1 14,429 (4.2) (409,645) (3.6) (345,188)
7.6 11.1 (3.5) 0.0 0.4 (0.1) 2.1 2.0 0.1 (3.9) (3.3)
28,082 114,042 (85,960) (1,098) (25,564) (14,753) (4,082) 8,404 2,267 (74,051) (70,017)
3.5 9.7 23.6 (106.0) (69.1) 215.3 (1.9) 3.9 15.7 18.1 20.3
จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
สานักนโยบายการคลัง 24
ฐานะการคลังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รายงานการคลังท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ไตรมาสที่ 1 และปีงบประมาณ 2555 ฐานะการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม – ธันวาคม 2554) 1. ด้านรายได้ อปท. จานวน 7,853 แห่ง คาดว่ามีรายได้รวม 90,783 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 16,407 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 22.1 เนื่องจาก อปท. ได้รับการจัดสรรเงินอุดหนุน จากรัฐบาลเพิ่มขึ้น นอกจากนี้รายได้ที่ อปท. จัดเก็บเองในส่วนของรายได้จากภาษีอากรและที่ไม่ใช่ภาษี อากรก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน อย่างไรก็ตาม รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ อปท. ลดลง 2,128 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.1 เป็นผลจาก อปท. ในหลายพื้นที่ประสบภัยน้าท่วม (รายละเอียดตามตารางที่ 1) ตารางที่ 1 รายได้ของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2555 ประเภท 1. รายได้จัดเก็บเอง 1/ (ร้อยละของรายได้รวม) 1.1 รายได้จากภาษีอากร 1.2 รายได้ทไี่ ม่ใช่ภาษีอากร 2. รายได้จากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 2/ (ร้อยละของรายได้รวม) 3. รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล 3/ (ร้อยละของรายได้รวม) รวม (ร้อยละของรายได้รวม) หมายเหตุ
หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ
ไตรมาส 1 ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2554 5,865 5,354 6.5 7.2 2,782 2,548 3,083 2,806 32,518 34,646 35.8 46.6 52,400 34,376 57.7 46.2 90,783 74,376 100.0 100.0
จานวน 511
ร้อยละ 9.5
234 277 (2,128)
9.2 9.9 (6.1)
18,024
52.4
16,407
22.1
ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 27 มีนาคม 2555
ที่มา
1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จานวน 1,138 แห่ง จากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจานวน 6,715 แห่ง รวม 7,853 แห่ง 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดิน กรมการขนส่งทางบก และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง จัดทาและรวบรวมโดย ส่วนระบบสถิติการคลัง สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
รายได้ของ อปท. จาแนกตามแหล่งที่มาได้ ดังนี้ 1.1 รายได้ที่จัดเก็บเอง จานวน 5,865 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 511 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 9.5 ประกอบด้วย รายได้จากภาษีอากร 2,782 ล้านบาท และรายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร 3,083 ล้านบาท
สานักนโยบายการคลัง 26
1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จานวน 32,518 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 2,128 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.1 เนื่องจาก อปท. ในหลายพื้นที่ประสบ ภัยน้าท่วม 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จานวน 52,400 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 18,024 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 52.4 2. ด้านรายจ่าย อปท.1 จานวน 7,853 แห่ง ประมาณการรายจ่ายทั้งสิ้น 102,628 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 2,955 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.0 โดยส่วนใหญ่เป็นการซ่อมแซม สาธารณูปโภคและการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน ขณะเดียวกันบาง อปท. ชะลอการใช้จ่ายเพื่อรอผล การสารวจความเสียหายจากภัยน้าท่วม 3. ดุลการคลัง อปท.2 ขาดดุล 11,845 ล้านบาท ขาดดุลลดลงจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 13,452 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 53.2 เนื่องจาก อปท. มีเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วค่อนข้ างมาก ทาให้มีรายได้เพิ่มขึ้นมากกว่ารายจ่าย ส่งผลให้การขาดดุลลดลงเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา (รายละเอียดตาม ตารางที่ 2 และแผนภูมิที่ 1) ตารางที่ 2 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2555
ประเภท 1/
1. รายได้ 1.1 รายได้ทจี่ ัดเก็บเอง 1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน 2. รายจ่าย 3. ดุลการคลัง 2/
ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2554 90,783 74,376 5,865 5,354 32,518 34,646 52,400 34,376 102,628 99,673 (11,845) (25,297)
หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ จานวน 16,407 511 (2,128) 18,024 2,955 13,452
ร้อยละ 22.1 9.5 (6.1) 52.4 3.0 (53.2)
หมายเหตุ
ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 27 มีนาคม 2555
ที่มา
1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จานวน 1,138 แห่ง จากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจานวน 6,715 แห่ง รวม 7,853 แห่ง 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดิน กรมการขนส่งทางบก และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ เป็นตัวเลขประมาณการจากการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKINK SYSTEM) ของ ธปท. ส่วนระบบสถิติการคลัง สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
จัดทาและรวบรวมโดย
1
โดยพิจารณาจากผลต่างของรายได้กับดุลการคลังของ อปท. (การเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM)) จากธนาคารแห่งประเทศไทย 2 ดุลการคลัง อปท. พิจารณาจากข้อมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) . จากธนาคารแห่งประเทศไทย
27 สานักนโยบายการคลัง
แผนภูมิที่ 1 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2555 ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2554 120,000
ล้านบาท
ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2555
100,000 80,000
90,783
99,673
102,628
74,376
60,000 40,000 20,000 -20,000
(25,297)
-40,000
รายได้
รายจ่าย
(11,845)
ดุลการคลัง
สานักนโยบายการคลัง 28
สถานการณ์ด้านหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนมกราคม 2555 หนี้สาธารณะคงค้าง เท่ากับ 4,362.4 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 41.1 ของ GDP เพิ่มขึ้นจากเดือนที่แล้ว 64.5 พันล้านบาท และแยกเป็น หนี้ในประเทศร้อยละ 92.1 ส่วนที่เหลือร้อยละ 7.9 เป็นหนี้ต่างประเทศ หนี้คงค้างที่เพิ่มขึ้น เป็นผลจากการขยายตัวของ หนี้ของรัฐวิสาหกิจ และหนี้ที่ รัฐบาลกู้โดยตรงจ้านวน 35.8 และ 28.7 พันล้านบาท ตามล้าดับ หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง เพิ่มขึ้น 28.7 พันล้านบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว โดยหนี้ต่างประเทศลดลง 0.05 พันล้านบาท โดยมี สาเหตุหลักมาจากการช้าระ คืนเงินกู้ และหนี้ในประเทศ เพิ่มขึ้น 28.7 พันล้านบาท จากการกู้เงินล่วงหน้าเพื่อปรับ โครงสร้างหนี้ของพันธบัตร FIDF 3 และการออกพันธบัตร เพื่อการแปลงตั๋วเงินคลัง
หน่วย : ล้านบาท
1. รวมหนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง-ต่างประเทศ หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง-ในประเทศ 2. รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจ
หนี้ที่รัฐบาลค้้าประกัน-ต่างประเทศ หนี้ที่รัฐบาลค้้าประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้าประกันต่างประเทศ** หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้าประกันในประเทศ** 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น * หนี้ที่รัฐบาลค้้าประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้าประกัน-ในประเทศ 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ FIDF 5. ยอดหนี้สาธารณะคงค้างรวม (1+2+3+4) GDP หนี้สาธารณะคงค้างรวมต่อ GDP (%) หนี้คงค้างที่เป็นภาระงบประมาณต่อ
417,069.11
437,051.88
4,297,897.08
4,362,357.32
10,539,400 40.78 31.1
10,625,480 41.06 N/A
GDP (%) หมายเหตุ * หน่วยงานภาครัฐอื่น ได้แก่ ส้านักงานคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมืองแห่งชาติและสถาบันบริหารกองทุนพลังงาน ** ไม่รวมหนีข้ องรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน *** ส้านักงานบริหารหนี้สาธารณะได้ปรับวิธีการค้านวณ GDP ในแต่ละเดือน โดยค้านวณ GDP ของเดือนธันวาคม 2554 เท่ากับ 10,539.40 พันล้านบาท ซึ่งเป็น GDP ของปี 2554 และ GDP ของเดือนมกราคม 2555 ดังนี้ ( (GDP ปี 2554/12) *11 ) + ( (GDP ปี 2555/12) *1 ) = 10,625.48 พันล้านบาท ที่มา ส้านักงานบริหารหนี้สาธารณะ
29 สานักนโยบายการคลัง
ณ 31 ธ.ค. 54 ณ 31 ม.ค. 55 3,088,521.36 3,117,186.74 45,898.05 45,848.27 3,042,623.31 3,071,338.47 1,209,375.72 1,245,170.58 176,894.70 177,195.74 492,157.45 510,173.44 123,254.46 120,749.52
หนี้ของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้น 35.8 พันล้านบาท เมื่อเทียบ กับเดือนที่แล้ว โดยมีสาเหตุ หลักจากการออกหุ้นกู้ของ บริษัท ปตท. จ้ากัด (มหาชน) จ้านวน 20.0 พันล้านบาท และการเบิกจ่ายเงินกู้ ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบัน การเงินประมาณ 20.0 พันล้านบาท
สัดส่วนหนี้ในประเทศและหนี้ต่างประเทศ
จ้านวน ร้อยละ (%)
หน่วย : พันล้านบาท หนี้ในประเทศ หนี้ต่างประเทศ 4,018.6 343.8 92.1 7.9 สัดส่วนหนี้ระยะยาวและหนี้ระยะสั้น
จ้านวน ร้อยละ (%)
หน่วย : พันล้านบาท หนี้ระยะยาว หนี้ระยะสั้น 4,320.0 42.4 99.0 1.0
สานักนโยบายการคลัง 30
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง กระทรวงการคลังได้กาหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนิน นโยบายทางการคลังที่สอดคล้องกับสถานะเศรษฐกิจการเงินและการคลังของประเทศ โดยมีเป้าหมาย เพื่อรักษาเสถียรภาพด้านการคลังในระยะปานกลางและระยะยาว ซึ่งกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ประกอบด้วยตัวชี้วัดและเป้าหมาย (60-15-0-25) ดังนี้ ยอดหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 การจัดทางบประมาณสมดุล สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายไม่ต่ากว่าร้อยละ 25 สานักงานเศรษฐกิจการคลังได้จัดทาการวิเคราะห์ความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประเมินและรักษาความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีผลการวิเคราะห์ระหว่าง ปีงบประมาณ 2555 – 2559 (รายละเอียดดังปรากฏในตารางสรุป) ซึ่งสรุปได้ดังนี้ สามารถรักษาสัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ให้ไม่เกินร้อยละ 60 สามารถรักษาระดับภาระหนี้ต่องบประมาณให้อยู่ในระดับไม่เกินร้อยละ 15 ไม่สามารถจัดทางบประมาณแบบสมดุลในปีงบประมาณ 2555 และในปีงบประมาณ 2556 ไม่สามารถจัดทางบประมาณสมดุลได้เช่นกัน เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายอัดฉีดเม็ดเงินเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจ แต่คาดว่าแนวโน้มการจัดทางบประมาณแบบขาดดุลจะลดลงตามลาดับ โดยคาดว่า ในปีงบประมาณ 2559 จะมีการจัดทางบประมาณขาดดุลจานวน 2330000 ล้านบาท อย่างไรก็ดี หากพิจารณาดุลการคลังเบื้องต้น (Primary Balance) ที่ไม่รวมรายจ่ายชาระต้นเงินกู้และดอกเบี้ย งบประมาณรายจ่ายจะสามารถเข้าสู่ภาวะสมดุลได้ในปีงบประมาณ 2559 ไม่สามารถรักษาสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายให้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 25 ในระยะปานกลางและระยะยาวได้ เนื่องจากมีข้อจากัดด้านงบประมาณในการลงทุน แต่อย่างไรก็ดีใน ปัจจุบันรัฐบาลมีทางเลือกในการลงทุน อาทิ การร่วมทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (PPPs) ซึ่งอยู่ ระหว่างการปรับปรุงกฎระเบียบให้เอื้อต่อการร่วมทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน ดังนั้น หากนับรวม รายจ่ายลงทุนของรัฐบาลกับการร่วมทุนระหว่างภาครัฐและเอกชนจะทาให้อัตราส่วนรายจ่ายลงทุน ต่องบประมาณเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ 2555 เมื่อนับรวมงบลงทุนของรัฐบาลและ รัฐวิสาหกิจพบว่าการลงทุนคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 27.05 ของงบประมาณรายจ่าย
31 สานักนโยบายการคลัง
ตารางสรุปผลการวิเคราะห์และสมมติฐาน ปีงบประมาณ 2555 2556 F 2557 F 2558 F 2559 F 48.56 50.40 52.32 53.69 54.64
ตัวชี้วัด เป้าหมาย 1. ยอดหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 2. ภาระหนี้ต่องบประมาณ ไม่เกินร้อยละ 15 10.30 7.63 9.01 8.99 8.97 3. การจัดทางบประมาณสมดุล สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล 4. สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่าย ไม่ต่ากว่าร้อยละ 25 18.4 19.5 17.7 18.0 18.3 สมมติฐานสาคัญในการประมาณการ - อัตราขยายตัวของเศรษฐกิจไทย (Real GDP) ร้อยละ (0.85) 9.02 6.35 6.65 5.50 - Inflation 3.52 3.15 1.38 0.85 2.00 - Revenue Buoyancy ในประมาณการรายได้ 1.74 0.50 0.88 1.05 1.05 ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2555
สานักนโยบายการคลัง 32
การดาเนินกิจกรรมกึ่งการคลัง ผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล ไตรมาสที่ 4 ปี 2554 (เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2554) รัฐบาลมีการดาเนินมาตรการกิจกรรม กึ่งการคลังผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ในโครงการต่างๆ ที่สาคัญอย่างต่อเนื่อง โดยมี ผลการดาเนินงาน ณ สินไตรมาสที่ 4 ปี 2554 ดังนี การอนุมัติสินเชื่อและการคาประกัน สินเชื่อในไตรมาสที่ 4 ปี 2554 มีการอนุมัตแิ ละคาประกันสินเชื่อจานวน 59,001.3 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว จานวน 9,052.8 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 13.3 การอนุมัติสินเชื่อสะสมและการคาประกัน สินเชื่อสะสมนับตังแต่เริ่มโครงการจนถึง ณ สินไตรมาสที่ 4 ปี 2554 มีจานวน 1,389,962.5 ล้านบาท เพิ่มขึนจาก ไตรมาสที่ผ่านมาจานวน 59,001.3 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.4 โดยสาขาสนับสนุนกิจการ SMEs มีการอนุมัติและคาประกันสินเชื่อสะสม สูงสุดจานวน 840,524.0 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 60.5 ของยอดสินเชื่อสะสม รองลงมา เป็นสาขาสนับสนุนการประกอบอาชีพระดับ ฐานรากจานวน 331,110.9 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 23.8 ของยอดสินเชื่อสะสม และสาขา สนับสนุนผู้มีรายได้น้อยให้มีที่อยู่อาศัยจานวน 218,327.6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 15.7 ของยอดสินเชื่อสะสม ในวันที่ 4 ตุลาคม 2554 คณะรัฐมนตรีได้ อนุมัติให้ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) ดาเนินโครงการบ้าน ธอส. เพื่อที่อยู่อาศัยแห่งแรก (อัตราดอกเบีย 0% 3 ปี) ในวงเงิน 20,000 ล้านบาท ซึ่ง ธอส. ได้เริ่มดาเนินการอนุมัติ สินเชื่อไปแล้วในเดือนธั 2554 จานวนง 33นสวาคม านักโยบายการคลั 687.4 ล้านบาท 33 สานักนโยบายการคลัง
กิจกรรมกึ่งการคลัง จาแนกตามประเภทกิจกรรม
หน่วย : ล้านบาท
สาขา สาขาสนับสนุน กิจการ SMEs - โครงการสินเชือ่ สาหรับกิจการ SMEs - โครงการคาประกัน สินเชือ่ ให้แก่ SMEs สาขาสนับสนุนผู้มี รายได้น้อยให้มีที่อยู่ อาศัย - โครงการปล่อย สินเชื่อของธนาคาร อาคารสงเคราะห์ โครงการบ้าน ธอส. เพื่อที่อยู่อาศัย แห่งแรก (0% 3 ปี) โครงการอื่นๆ - โครงการบ้านออมสิน เพื่อประชาชน - โครงการบ้านเอืออาทร (เพือ่ ประชาชนกู้ซือบ้าน) สาขาสนับสนุนการ ประกอบอาชีพระดับ ฐานราก - โครงการธนาคาร ประชาชน - โครงการวิสาหกิจ ชุมชน* รวม
อัตราการ เปลี่ยนแปลง จากไตรมาส 4/2553
การอนุมัติสินเชื่อและคาประกันสินเชื่อ ยอดสะสม ยอดการอนุมัติ ตังแต่เริม่ ดาเนินโครงการ ในไตรมาส ไตรมาส 4/2554
ไตรมาส 3/2554
ไตรมาส 4/2554
840,524.0
801,373.8
39,150.2 52,172.7
-25.0
682,956.7
657,792.4
25,164.3
38,677.2
-34.9
157,567.3
143,581.4
13,985.9
13,495.5
3.6
218,327.6
215,688.3
2,639.3
4,624.1
-42.9
146,569.4
145,653.8
915.6
-
-
687.4
-
687.4
-
-
145,882.0
145,653.8
228.2
-
-
2,944.4
2,944.4
-
-
-
68,813.8
67,090.1
1,723.7
4,624.1
-62.7
331,110.9
313,899.1
17,211.8 11,257.3
52.9
97,761.3
88,997.5
8,763.8
2,676.3
227.5
233,349.6
224,901.6
8,448.0
8,581.0
-1.5
59,001.3 68,054.1
-13.3
1,389,962.5 1,330,961.2
ไตรมาส 4/2553
ร้อยละ
หมายเหตุ * โครงการวิสาหกิจชุมชนของ ธ.ก.ส. เป็นการรายงานข้อมูลการอนุมัติสนิ เชื่อของลูกค้า วิสาหกิจรายย่อยทั่วไป ซึ่งเป็นการนับซากับลูกค้าในโครงการสินเชือ่ สาหรับกิจการ SMEs
(อัตราดอกเบีย 0% 3 ปี) ในวงเงิน 20,000 ล้านบาท ซึ่ง ธอส. ได้เริ่ม ดาเนินการอนุมัติสินเชื่อไปแล้วในเดือน ธันวาคม 2554 จานวน 687.4 ล้านบาท หนีที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) ลดลงจากไตรมาสที่ผ่านมา โดย ณ สินไตรมาสที่ 4 ปี 2554 ยอด NPLs เท่ากับ 33,314.3 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.7 ของยอดสินเชื่อคงค้าง และมีการคา ประกันหนีจัดชันด้อยคุณภาพ (NPGs) ของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรม ขนาดย่อม (บสย.) อีกจานวน 5,538.2 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.9 ของยอด คาประกันสินเชื่อคงค้าง
หนี้ไม่ก่อให้เกิดรายได้ของสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ หน่วย : ล้านบาท สาขา
สินไตรมาสที่ 4/2554 สินเชื่อ คงค้าง
1. สาขาสนันสนุนกิจการ SMEs 1.1 สินเชื่อสาหรับกิจการ SMEs - สินเชื่อ SMEs (ธพว.) - สินเชื่อ SMEs (ธสน.) - สินเชื่อ SMEs (ธนาคารออมสิน) - สินเชื่อ SMEs (ธ.ก.ส.) 1.2 การคาประกันสินเชื่อ (บสย.)* 2. สาขาสนับสนุนผู้มีรายได้น้อย ให้มีที่อยู่อาศัย - โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 3 - โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 4 - โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 5 - โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 6 - โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 7 - โครงการบ้าน ธอส. - สปส. - โครงการบ้านมิตรภาพสปส. - ธอส. เพือ่ ทีอ่ ยู่อาศัยของผู้ประกันตน - โครงการบ้าน ธอส. เพื่อที่อยูอ่ าศัย แห่งแรก (0% 3 ปี) - โครงการบ้านเอืออาทร 3. สาขาสนับสนุนการประกอบอาชีพ ระดับฐานราก - โครงการธนาคารประชาชน - โครงการวิสาหกิจชุมชน รวมทังหมด (ยกเว้นการคาประกันสินเชื่อ SMEs ของ บสย.)
NPLs ratio
NPLs
238,568.8 97,581.0 11,758.5 74,964.3 54,265.0 113,024.3
24,724.5 15,347.0 1,760.9 1,975.6 5,641.0 5,538.2
10.4% 15.7% 15.0% 2.6% 10.4% 4.9%
107,102.4
1,390.3
1.3%
22,245.1 8,150.4 7,538.6 14,826.4 889.4 2,600.6
421.8 158.8 178.3 213.1 0.0 86.9
1.9% 1.9% 2.4% 1.4% 0.0% 3.3%
4,161.6
22.2
0.5%
499.8
0.0
0.0%
46,190.5
309.2
0.7%
86,479.7
7,199.5
8.3%
24,825.7 61,654.0
812.5 6,387.0
3.3% 10.4%
432,150.9
33,314.3
7.7%
หมายเหตุ * เป็นภาระการคาประกันหนีจัดชันด้อยคุณภาพ (NPGs)
สานักนโยบายการคลัง 34
การกระจายอานาจทางการคลัง ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ความคืบหน้าการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการบริหารจัดการพื้นที่สุวรรณภูมิ พ.ศ. … ในการประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาการกระจายอานาจให้แก่ท้องถิ่นในรูปแบบองค์กร บริหารจัดการพื้นที่พิเศษ เมื่อวันที่ 1 และ 21 กุมภาพันธ์ 2555 ได้มีการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ การบริหารจัดการพื้นที่สุวรรณภูมิ พ.ศ. … ซึ่งคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (กกถ.) ได้มอบหมายให้คณะอนุกรรมการพัฒนาการกระจายอานาจให้แก่ท้องถิ่นในรูปแบบ องค์กรบริหารจัดการพื้นที่พิเศษพิจารณาเพื่อแก้ไขปัญหาในพื้นที่สุวรรณภูมิโดยไม่กระทบต่อ โครงสร้างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งมีอยู่หลายแห่งในพื้นที่สุวรรณภูมิ ซึ่งได้ข้อสรุปเพื่อเสนอ กกถ. ต่อไป มีสาระสาคัญดังนี้ 1. พื้นที่สุวรรณภูมิ หมายความว่า พื้นที่สนามบินสุวรรณภูมิ และพื้นที่ตามคาบรรยาย แนวเขตตามแผนที่แนบท้ายพระราชบัญญัตินี้ 2. การบริหารพื้นที่สุวรรณภูมิ ประกอบด้วยคณะกรรมการ 2 คณะ ได้แก่ 2.1 คณะกรรมการนโยบายการบริหารจัดการพื้นที่สุวรรณภูมิ ประกอบด้วย - นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธาน - ผู้แทนส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ ผู้แทน สถาบันองค์กรภาคเอกชนที่มีความเกี่ยวข้องกับการพัฒนาพื้นที่สุวรรณภูมิ และผู้ทรงคุณวุฒิที่นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งเป็นกรรมการ - เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการบริหารจัดการพื้นที่สุวรรณภูมิเป็นกรรมการ และเลขานุการ โดยมีอานาจหน้าที่ดังนี้ (1) กาหนดนโยบายการพัฒนาพื้นที่สุวรรณภูมิ (2) อนุมัติแผนแม่บทการบริหารจัดการพื้นที่สุวรรณภูมิ และเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ (3) อนุมัติและให้ความเห็นชอบแผนงานและโครงการที่คณะกรรมการบริหารเสนอ (4) เสนอแนะมาตรการภาษี การจัดสรรงบประมาณ และการพัฒนาพื้นที่สุวรรณภูมิ ต่อคณะรัฐมนตรี เป็นต้น 2.2 คณะกรรมการบริหารพื้นที่สุวรรณภูมิ ประกอบด้วย - ประธานที่คณะกรรมการนโยบายคัดเลือกกันเอง - ผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่นายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง และผู้เชี่ยวชาญในสาขา ที่เกี่ยวข้องเป็นกรรมการ 35 สานักนโยบายการคลัง
- เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการบริหารจัดการพื้นที่สุวรรณภูมิเป็นกรรมการ และเลขานุการ โดยมีอานาจหน้าที่ดังนี้ (1) จัดทาแผนดาเนินงานประจาปีที่เป็นแผนประสานและโครงการจัดบริการ สาธารณะร่วมกันระหว่างหน่วยงานของรัฐ และภาคเอกชนที่มุ่งจะแก้ปัญหา ความซ้าซ้อน (2) ส่งเสริมการประสานงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่ปฏิบัติงานในพื้นที่สุวรรณภูมิ (3) ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามแผนงานและโครงการในเขตพื้นที่ สุวรรณภูมิ และรายงานต่อคณะกรรมการนโยบายอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง นอกจากนี้ ยังกาหนดให้จัดตั้งสานักงานคณะกรรมการบริหารจัดการพื้นที่สุวรรณภูมิ ซึ่งมีฐานะเป็นนิติบุคคลและอยู่ในกากับของนายกรัฐมนตรี ทาหน้าที่จัดทาแผนแม่บทการบริหาร จัดการพื้นที่สุวรรณภูมิ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางประสานงานกับหน่วยงานของรัฐบาลและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดการทางานร่วมกันในระดับนโยบาย ยุทธศาสตร์การพัฒนา และการจัดระบบ บริการสาธารณะในเขตพื้นที่สุวรรณภูมิ 3. รายได้ของพื้นที่สุวรรณภูมิ ประกอบด้วย (1) รายได้ของสานักงานคณะกรรมการบริหารจัดการพื้นที่สุวรรณภูมิ ซึ่งมีรายได้หลักจาก งบประมาณรายจ่ายประจาปีของรัฐบาล เพื่อใช้จ่ายในการดาเนินงานของสานักงานฯ (2) รายได้ของกองทุนการบริหารจัดการพื้นที่สุวรรณภูมิที่จัดตั้งขึ้นในสานักงานฯ ซึ่งมี รายได้หลักจากงบประมาณรายจ่ายประจาปีของรัฐบาล เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณะตามแผนแม่บทการบริหารจัดการพื้นที่สุวรรณภูมิ 4. การกากับดูแล (1) กรณีที่คณะกรรมการบริหารมีมติในทางที่อาจนามาซึ่งความเสียหายในพื้นที่สุวรรณภูมิ หรือกระทาการฝ่าฝืนและนายกรัฐมนตรีได้ชี้แจงแนะนาแล้ว แต่คณะกรรมการบริหาร ไม่ปฏิบัติตามให้นายกรัฐมนตรีรายงานให้คณะรัฐมนตรีทราบเพื่อพิจารณาสั่งการตามที่ เห็นสมควร (2) กรณีฉุกเฉินหรือจาเป็นรีบด่วนที่จะรอช้ามิได้ ให้นายกรัฐมนตรีมีอานาจสั่งระงับ การปฏิบัติราชการของคณะกรรมการบริหารหรือเลขาธิการได้ และรายงานให้ คณะกรรมการนโยบายเพื่อพิจารณาดาเนินการ (3) กรณีที่คณะกรรมการบริหารปฏิบัติหน้าที่ซึ่งอาจนามาซึ่งความเสียหายแก่พื้นที่สุวรรณภูมิ คณะกรรมการนโยบายอาจเสนอนายกรัฐมนตรีเพื่อให้กรรมการบริหารทั้งคณะ พ้นจากตาแหน่งได้
สานักนโยบายการคลัง 36
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สาคัญ มติคณะรัฐมนตรีที่สาคัญ เดือนมีนาคม - เมษายน 2555 29 มีนาคม 2555 1. เรื่อง มาตรการภาษีเพื่อให้ผู้ขายบุหรี่ที่ผลิตในประเทศเข้าสู่ระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ภายใต้กระบวนการ ระงับข้อพิพาทขององค์การการค้าโลก คณะรัฐมนตรีเห็นชอบมาตรการภาษีเพื่อผู้ขายบุหรี่ที่ผลิตในประเทศเข้าสู่ระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ภายใต้กระบวนการระงับข้อพิพาทขององค์การการค้าโลก และอนุมัติหลักการร่างพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามที่กระทรวง การคลังเสนอ โดยเป็นการยกเลิกการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มสาหรับการประกอบกิจการขายบุหรี่ซิกาแรต ที่ผลิตโดยผู้ประกอบอุตสาหกรรมยาสูบที่เป็นองค์กรของรัฐบาล และมีผู้ขายที่มิใช่ผู้ประกอบอุตสาหกรรม ยาสูบที่ผลิตสินค้าดังกล่าว แต่ไม่รวมถึงร้านค้าปลอดอากร 2. เรื่อง มาตรการภาษีและค่าธรรมเนียมเพื่อสนับสนุนการพัฒนาตลาดทุนไทย คณะรัฐมนตรีเห็นชอบร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตรา และยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. และร่างกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในประมวล รัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (มาตรการภาษีและค่าธรรมเนียมเพื่อสนับสนุนการพัฒนาตลาดทุนไทย กรณีส่ ง เสริ ม ความเชื่อมโยงตลาดทุน ไทยกับตลาดทุ นในกลุ่ มภูมิภ าคอาเซียน) รวม 2 ฉบับ ที่ส านักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกาได้ตรวจพิจารณาแล้วตามที่กระทรวงการคลังเสนอ และให้ดาเนินการต่อไปได้ สาระสาคัญของร่างกหหมาย 1. ร่ า งพระราชกฤษหี กาออกตามความในประมวลรั ษ หากร ว่ า ด้ วยการลดอัต ราและยกเว้ น รัษหากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. กาหนดให้ลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้แก่ผู้มีเงินได้ที่อยู่ใน ประเทศไทยและได้รับเงินปันผลจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศและ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2. ร่างกหกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ….) ออกตามความในประมวลรัษหากร ว่าด้วยการยกเว้น รัษหากร กาหนดให้เงินได้จากการขายหลั กทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในประเทศสมาชิกอาเซียน ที่มีการซื้อขายผ่านระบบเชื่อมโยงการซื้อขายกับตลาดหลักทรัพย์ในประเทศสมาชิกของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย เป็นเงินได้พึงประเมินที่ได้ยกเว้นไม่ต้องรวมคานวณเพื่อเสียภาษีเงินได้
37 สานักนโยบายการคลัง
2 เมษายน 2555 1. เรื่อง การบริหารโครงการเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (Development Policy Loan: DPL) คณะรัฐมนตรีอนุมัติให้ดาเนินโครงการและอนุมัติจัดสรรเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐาน (Development Policy Loan: DPL) ตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) รายละเอียดดังนี้ - โครงการติดรั้วสองข้างทางตามแนวเขตพื้นที่รถไฟ 15 รายการของการรถไฟแห่งประเทศไทย วงเงิน 1,107.05 ล้านบาท - โครงการระบบตั๋วร่วม (Program Management Service: PMS) วงเงิน 305.30 ล้านบาท - โครงการจัดทาระบบศูนย์บริหารจัดการรายได้กลาง (Central Clearing House: CCH) วงเงิน 409.53 ล้านบาท ของสานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร 10 เมษายน 2555 1. เรื่อง การดาเนินการตามพระราชกาหนดปรับปรุงการบริหารหนี้เงินกู้ที่กระทรวงการคลังกู้ เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน พ.ศ. 2555 คณะรัฐมนตรีรับทราบและอนุมัติตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ดังนี้ 1. รับทราบความคืบหน้าการดาเนินการตามพระราชกาหนดปรับปรุงการบริหารหนี้เงินกู้ ที่กระทรวงการคลังกู้เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน พ.ศ. 2555 2. อนุมัติหลักการร่างพระราชกฤษฎีกากาหนดอัตราเงินนาส่งเข้ากองทุนคุ้มครองเงินฝาก (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ว่าด้วยการกาหนดให้สถาบันการเงินนาส่งเงินเข้ากองทุนคุ้มครองเงินฝากในอัตราร้อยละ 0.01 ต่อปี ของยอดเงินรับฝากถัวเฉลี่ยของบัญชีที่ได้รับการคุ้มครอง ตั้งแต่วันที่ 27 มกราคม 2555 เป็นต้นไป 3. อนุมัติหลักการร่างพระราชบัญญัติกองทุนเพื่อการสนับสนุนและพัฒนาสถาบันการเงินเฉพาะกิจ พ.ศ. .... มีสาระสาคัญ ดังนี้ 3.1 กาหนดให้จัดตั้งกองทุนเพื่อการสนับสนุนและพัฒนาระบบสถาบันการเงินเฉพาะกิจ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือสถาบันการเงินเฉพาะกิจในการเพิ่มทุนเพื่อชดเชยความเสียหาย ตามมติ คณะรัฐมนตรีเพื่อการสนับสนุนและพัฒนาระบบสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ตลอดจนการนาส่งเป็นรายได้ แผ่นดิน 3.2 กาหนดให้สถาบันการเงินเฉพาะกิจนาส่งเงินเข้ากองทุนตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด แต่ไม่เกินร้อยละ 1 ต่อปีของยอดเงินฝากถัวเฉลี่ย 3.3 กาหนดให้เงินกองทุนจะนาออกมาใช้ได้ในการจัดสรรเงินให้แก่การเพิ่มทุนของสถาบันการเงิน เฉพาะกิจ การจ่ายเงินชดเชย การนาส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ฯลฯ 3.4 กาหนดให้มีคณะกรรมการกองทุนเพื่อการสนับสนุนและพัฒนาระบบสถาบันการเงินเฉพาะกิจ โดยมีอานาจและหน้าที่วางนโยบายและควบคุมดูแลกิจการทั่วไปของกองทุน 2. เรื่อง ขอขยายเวลาเพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เรื่องการปรับโครงสร้างภาษีรถยนต์ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบให้กระทรวงการคลังขยายเวลาการพิจารณาปรับโครงสร้างภาษีรถยนต์ออกไป อีก 4 เดือน นับตั้งแต่วันที่ 10 เมษายน 2555 เป็นต้นไป สานักนโยบายการคลัง 38
17 เมษายน 2555 1. เรื่อง เป้าหมายของนโยบายการเงินประจาปี 2555 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบและอนุมัติให้เป้าหมายของนโยบายการเงินประจาปี 2555 ที่เป็นข้อตกลง ร่วมกันระหว่างคณะกรรมการนโยบายการเงินและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. กาหนดเป้าหมายของนโยบายการเงินประจาปี 2555 ไว้ที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเฉลี่ยรายไตรมาส ระหว่างร้อยละ 0.5 – 3.0 ต่อปี 2. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยในฐานะประธาน คณะกรรมการนโยบายการเงิน ได้ลงนามในข้อตกลงร่วมกัน โดยมีสาระสาคัญ ดังนี้ 2.1 เป้าหมายของนโยบายการเงินประจาปี 2555 อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานเฉลี่ยรายไตรมาสระหว่าง ร้อยละ 0.5 – 3.0 ต่อปี 2.2 การติดตามความเคลื่อนไหวของเป้ายหมายนโยบายการเงิน กระทรวงการคลังและธนาคาร แห่งประเทศไทยจะจัดให้มีการหารือร่วมกันทุกไตรมาสและเมื่อมีเหตุจาเป็นที่สองหน่วยงานจะเห็นสมควร 2.3 หากมีการเคลื่อนไหวของอัตราเงินเฟ้อนอกเป้าหมายจากช่วงที่ได้ตกลงร่วมกันไว้ ให้คณะกรรมการนโยบายการเงินชี้แจงสาเหตุ แนวทางแก้ไข ตลอดจนระยะเวลาที่คาดว่าอัตราเงินเฟ้อ จะกลับเข้าสู่ช่วงที่กาหนดไว้ รวมทั้งรายงานความคืบหน้าให้ทราบเป็นระยะ 2.4 ในกรณีที่มีเหตุอันสมควรหรือจาเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและคณะกรรมการ นโยบายการเงิน อาจตกลงร่วมกันเพื่อแก้ไขเป้าหมายของนโยบายการเงินก่อนนาเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา 24 เมษายน 2555 1. เรื่อง มาตรการเพิ่มขีดความสามารถ SMEs คณะรัฐมนตรีเห็นชอบมาตรการทางการเงินและมาตรการภาษีเพื่อแก้ไขปัญหาและอุปสรรค ในการประกอบธุรกิจของ SMEs 3 ด้าน ได้แก่ 1) การยกระดับผลิตภาพการผลิต (Productivity) 2) สนับสนุน การเข้าถึงแหล่งเงินทุน และ 3) การลดภาระต้นทุนจากค่าแรงที่เพิ่มขึ้น สรุปได้ดังนี้ 1. มาตรการทางการเงิน ประกอบด้วย 1.1 โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต (Productivity Improvement Loan) โดย ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) ประกอบด้วยสินเชื่อ 2 ประเภท คือ สินเชื่อเพื่อพัฒนาเครื่องจักร และสินเชื่อเพื่อพัฒนากระบวนการในการทางาน โดยมีวงเงินโครงการ 20,000 ล้านบาท ระยะเวลาโครงการ 2 ปี นับตั้งแต่วันที่มีมติคณะรัฐมนตรี และงบประมาณที่ใช้ในการสนับสนุน โครงการไม่เกิน 1,805 ล้านบาท 1.2 โครงการค้าประกันสินเชื่อในลักษณะ Portfolio Guarantee Scheme (PGS) ระยะที่ 4 ของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) โดยมีวงเงินคาประกันรวม 24,000 ล้านบาท โดย บสย. จ่ายอัตราค่าประกันชดเชยให้กับสถาบันการเงินสูงสุดไม่เกินร้อยละ 18 ของภาระค้าประกันเฉลี่ย ตลอดระยะเวลาโครงการ 5 ปี และรัฐบาลชดเชยส่วนต่างค่าประกันชดเชยตามจริงแต่ไม่เกิน 2,200 ล้านบาท 1.3 โครงการค้าประกันสินเชื่อในลักษณะ Portfolio Guarantee Scheme สาหรับผู้ประกอบการใหม่ (PGS New/Start-Up) ของ บสย. สาหรับ SMEs ที่มีอายุกิจการไม่เกิน 2 ปี มีวงเงินค้าประกันรวม 100,000 บาท โดย บสย. จ่ายอัตราค่าประกันชดเชย (Coverage Ratio) ให้กับสถาบันการเงินในอัตราสูงสุดไม่เกินร้อยละ 39 สานักนโยบายการคลัง
48 ของภาระค้าประกันเฉลี่ยตลอดระยะเวลาโครงการ 7 ปี และงบประมาณที่ใช้ในการสนับสนุนรวม 3,300 ล้านบาท 1.4 กองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ให้ SMEs กู้เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมในอัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 0.1 ต่อปี วงเงินกู้ยืมสูงสุด 42,000 ล้านบาท ระยะเวลาชาระคืน 4 ปี ขึ้นอยู่กับระยะเวลาที่ใช้ ในการฝึกอบรม ปัจจุบันมีกองทุนอยู่ 570 ล้านบาท 1.5 โครงการสินเชื่อส่งเสริมการจ้างงาน (กองทุนประกันสังคม) ให้ธนาคารพาณิชย์ปล่อยสินเชื่อ ดอกเบี้ยต่า โดยอาศัยแหล่งเงินทุนจากกองทุนประกันสังคมให้แก่ SMEs ที่ได้รับผลกระทบจากค่าแรงที่เพิ่มขึ้น มีวงเงินรวม 10,000 ล้านบาท ทั้งนี้ มาตรการตามข้อ 1.1 – 1.3 มีงบประมาณที่ต้องใช้ในการสนับสนุนทั้งสิ้นไม่เกิน 7,325 ล้านบาท ส่วนมาตรการข้อ 1.4 – 1.5 ไม่ต้องใช้งบประมาณในการสนับสนุน โดยมาตรการทั้งหมดจะสร้าง สินเชื่อเพิ่มอีกประมาณ 86,000 ล้านบาท และคาดว่ามี SMEs ที่ได้รับประโยชน์กว่า 28,000 ราย 2. มาตรการภาษี โดยให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีกับ SMEs ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่มีทุนจดทะเบียนไม่เกิน 5 ล้านบาท และรายได้จากการขายสินค้าและบริการไม่เกิน 30 ล้านบาทต่อปี ประกอบด้วยมาตรการ ปรับเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต มาตรการหักค่าเสื่อมเครื่องจักร และมาตรการช่วยเหลือ ผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากการเพิ่มค่าแรงขั้นต่า โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกาเพื่อยกเว้นรัษฎากร และหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน รวม 3 ฉบับ 2. เรื่อง ขยายกลุ่มเป้าหมายโครงการพักหนี้เกษตรกรรายย่อยและประชาชนผู้มีรายได้น้อยที่มีหนี้คงค้าง ต่ากว่า 500,000 บาท คณะรัฐมนตรีเห็นชอบและอนุมัติการปรับปรุงโครงการพักหนี้เกษตรกรรายย่อยและประชาชนผู้มี รายได้น้อยที่มีหนี้คงค้างต่ากว่า 500,000 บาท โครงการพักหนี้ฯ ได้เริ่มดาเนินการระยะแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2554 โดยเน้นช่วยเหลือประชาชนที่มีหนี้คงค้างต่ากว่า 500,000 บาทและมีปัญหา ในการชาระหนี้ ในสถาบันการเงินเฉพาะกิจ 6 แห่ง รวมประชาชนทั้งสิ้น 775,090 ราย จนถึงวันที่ 15 เมษายน 2555 มีประชาชนมายื่นความจานงแล้ว 661,508 ราย หรือร้อยละ 85.35 ของประชาชนที่มีสิทธิ ทั้งหมด ในจานวนนี้ได้รับการอนุมัติแล้ว 428,384 ราย คิดเป็นร้อยละ 55.27 ของประชาชนที่มีสิทธิทั้งหมด หรือร้อยละ 64.76 ของประชาชนที่ยื่นความจานง มูลหนี้ที่ได้รับการดูแล 5,230,187 ล้านบาท และโครงการ ระยะแรกจะสิ้นสุดในวันที่ 15 เมษายน 2555 นี้ เพื่อเป็นการดูแลปัญหาของประชาชนอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลจึงมีมติปรับปรุงโครงการพักหนี้ฯ ไปพร้อม กับการขยายกลุ่มเป้าหมายไปสู่ประชาชนที่มีหนี้ในสถาบันการเงินเฉพาะกิจไม่เกิน 500,000 บาท ที่มีสถานะ หนี้ปกติ สรุปรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. ปรับปรุงโครงการพักหนี้เดิมที่กาลังดาเนินการอยู่ เพื่อส่งเสริมประชาชนที่เข้าร่วมโครงการให้มี ความเข้มแข็งและเพิ่มศักยภาพในการชาระหนี้ โดยกาหนดให้ 1.1 สถาบันการเงินเฉพาะกิจต้องเข้าดูแลประชาชนที่เข้าร่วมโครงการพักหนี้ฯ ให้ได้รับการฟื้นฟู ศักยภาพจนสามารถเริ่มชาระหนี้คืนตามแผนชาระหนี้ใหม่ได้หลังจาก 12 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดการฟื้นฟู 1.2 ให้สถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ได้รับการชดเชยต้นทุนเงินจากรัฐบาล นาเงินไปขยายวงเงินสินเชื่อ ใหม่สาหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) 2. ให้รางวัลประชาชนที่เป็นลูกหนี้ที่มีสถานะปกติที่มีหนี้ไม่เกิน 500,000 บาท ก่อนวันที่ 24 เมษายน 2555 ในสถาบันการเงินเฉพาะกิจ โดยต้องไม่เป็นหนี้ประเภทสินเชื่อที่อยู่อาศัย สินเชื่อเช่าซื้อ/ลิสซิ่ง สินเชื่อ สานักนโยบายการคลัง 40
สาหรับผู้มีรายได้ประจา และไม่เป็นลูกหนี้ที่ได้รับการลดอัตราดอกเบี้ยเป็นกรณีพิเศษ ซึ่งการขยายกลุ่มนี้คาดว่า จะมีประชาชนซึ่งเป็นเกษตรรายย่อย และผู้มีรายได้น้อยที่ได้รับประโยชน์เพิ่มอีก 3,758,226 ราย/บัญชี คิด เป็นมูลค่าหนี้คงค้าง 459,113.05 ล้านบาท โดยประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถสมัครใจเข้าใช้สิทธิตาม โครงการพักหนี้ฯ ได้ดังนี้ (1) เลือกพักเงินต้นและลดอัตราดอกเบี้ยของสินเชื่อที่มีอยู่เดิมร้อยละ 3 ต่อปี หรือลดอัตราดอกเบี้ย ของสินเชื่อที่มีอยู่เดิมในอัตราร้อยละ 3 ต่อปี โดยไม่พักเงินต้นเป็นระยะเวลา 3 ปี (2) มีสิทธิขอกู้เพิ่มใหม่ตามความสามารถในการชาระหนี้ (3) ลูกหนี้ต้องไม่ผิดนัดชาระหนี้หลังเข้าโครงการฯ ทั้งนี้ รัฐบาลคาดว่าผลจากโครงการพักหนี้ฯ จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจประมาณ ร้อยละ 0.4 – 0.7 ต่อปี หรือ 44,000 – 77,000 ล้านบาทต่อปี อย่างไรก็ดี จะมีการดูแลผลกระทบอื่นๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากการดาเนินโครงการอย่างรอบคอบ ไม่ว่าจะเป็น 1) การขาดวินัยทางการคลังของลูกหนี้ 2) การแนะนาและติดตามดูแลการใช้เงินของลูกหนี้ โดยกระทรวงการคลังจะมีการแต่งตั้ง คณะกรรมการเพื่อทาหน้าที่ดังกล่าว 3) การบรรเทาและช่วยเหลือผลกระทบต่อสถานะทางการเงินของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ โดยกระทรวงการคลังจะชดเชยรายได้ดอกเบี้ยให้ในอัตราร้อยละ 1.5 ต่อปี พร้อมทั้งจัดหาแหล่งเงินทุน ต้นทุนต่าและแหล่งเพิ่มทุน เพื่อลดผลกระทบจากการดาเนินการ
41 สานักนโยบายการคลัง
สถิติด้านการคลัง
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลตั้งแต่ปี 2533 - 2554 (ฐานข้อมูลรายปี) ปีงบประมาณ
2533 192,488 39,338 58,900 1,794 88,035
2534 237,308 48,913 75,032 2,870 106,183
2535 261,042 52,945 87,273 2,884 37,783 66,614 9,629 3,781 134 102,028 41,346 15,490 15,247 7,818 15,713 5,125 301
2536 300,805 57,237 103,975 3,448 2,739 112,582 16,764 3,876 184 125,789 43,711 15,638 16,679 9,478 34,350 5,158 546
2537 366,957 67,651 133,268 3,603 1,441 134,791 21,227 4,752 224 138,670 46,131 19,708 19,272 12,262 34,515 5,636 899
กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิม่ ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ 3,780 3,691 รายได้อื่นๆ 642 620 กรมสรรพสามิต 73,279 92,493 ภาษีน้ามันฯ 32,014 44,415 ภาษียาสูบ 13,636 15,904 ภาษีสุราฯ 13,754 15,734 ภาษีเบียร์ 6,625 7,973 ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดื่ม 5,142 6,224 ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ 1,813 1,927 695 73 136 รายได้อื่นๆ 295 316 294 157 111 กรมศุลกากร 91,025 93,196 86,246 105,910 116,872 อากรขาเข้า 89,869 91,998 85,082 104,651 115,540 อากรขาออก 55 13 11 11 14 รายได้อื่นๆ 1,102 1,185 1,153 1,247 1,318 รวม 3 กรม 356,792 422,997 449,316 532,504 622,499 หน่วยงานอื่น 48,147 53,977 76,048 75,603 85,047 ส่วนราชการอื่น 29,527 30,225 42,896 36,701 41,794 กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุน้ ให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ 18,620 23,752 33,152 38,902 43,253 รวมรายได้จัดเก็บ 404,939 476,974 525,364 608,106 707,546 หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 41,432 48,723 - ภาษีมูลค่าเพิม่ 38,354 45,330 - ภาษีอื่นๆ 3,078 3,393 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก 10,348 6,262 รวมรายได้สุทธิ 404,939 476,974 525,364 556,326 652,561 จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ 404,939 476,974 525,364 556,326 652,561 รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) 2,183,545 2,506,635 2,830,914 3,165,222 3,629,341 สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) 18.5 19.0 18.6 17.6 18.0 หมายเหตุ : ข้อมูล GDP จากส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทีม่ า : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และส้านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดท้าโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ ส้านักนโยบายการคลัง ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง
2538 444,512 86,190 157,078 3,196 1,082 163,122 28,311 5,284 249 155,308 53,501 20,717 19,759 15,131 38,147 6,598 1,190
หน่วย: ล้านบาท 2539 508,832 109,396 172,235 3,430 572 184,227 33,410 5,286 276 167,160 58,005 24,057 21,548 17,360 37,343 6,845 1,729
156 109 128,548 127,124 9 1,415 728,368 86,775 41,250
153 119 129,543 128,212 6 1,324 805,535 89,756 40,650
45,525 815,143
49,106 895,291
52,937 49,143 3,794
37,813 34,148 3,665
7,108 755,098
7,473 850,005
755,098 4,681,212 16.1
850,005 4,611,041 18.4
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลตั้งแต่ปี 2533 - 2554 (ฐานข้อมูลรายปี) ปีงบประมาณ
2540 518,620 115,137 162,655 5,322 264 195,813 34,286 4,734 408 180,168 63,983 29,816 22,763 21,383 32,295 7,519 1,765 129 168
2541 498,966 122,945 99,480 5,316 342 232,388 35,241 2,992 263 155,564 65,373 28,560 20,257 23,191 8,557 7,023 1,003 538 442
2542 452,317 106,071 108,820 10,872 186 201,976 21,311 2,824 258 163,892 66,584 26,655 22,800 24,992 13,941 6,484 904 482 419
2543 461,322 91,790 145,554 10,739 126 192,510 17,015 3,351 236 168,822 64,832 28,134 8,276 26,438 26,781 7,444 1,104 791 444
2544 499,711 101,136 149,677 17,154 84 215,158 12,852 3,408 242 177,600 64,124 32,310 8,933 29,991 30,330 8,100 1,429 932 713
กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิม่ ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ 204 481 474 579 525 รายได้อื่นๆ 142 139 158 3,999 213 กรมศุลกากร 104,160 69,338 68,095 87,195 92,838 อากรขาเข้า 102,704 67,108 66,994 85,338 91,359 อากรขาออก 8 17 36 75 82 รายได้อื่นๆ 1,448 2,213 1,064 1,782 1,397 รวม 3 กรม 802,947 723,868 684,303 717,338 770,149 หน่วยงานอื่น 106,101 91,813 109,042 100,257 104,617 ส่วนราชการอื่น 38,102 42,518 52,679 56,182 45,482 กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุน้ ให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ 68,000 49,295 56,364 44,075 59,135 รวมรายได้จัดเก็บ 909,049 815,681 793,346 817,595 874,766 หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 58,400 74,660 75,325 57,036 77,920 - ภาษีมูลค่าเพิม่ 55,313 63,858 64,655 47,358 65,682 - ภาษีอื่นๆ 3,087 10,802 10,670 9,679 12,239 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 2,994 3,198 3,732 3. เงินกันชดเชยการส่งออก 7,073 7,559 5,916 7,278 7,698 รวมรายได้สุทธิ 843,576 733,462 709,111 750,082 785,416 จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ 843,576 733,462 709,111 750,082 785,416 รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) 4,732,610 4,626,447 4,637,079 4,922,731 5,133,502 สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) 17.8 15.9 15.3 15.2 15.3 หมายเหตุ : ข้อมูล GDP จากส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทีม่ า : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และส้านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดท้าโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ ส้านักนโยบายการคลัง ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง
556 212 98,629 96,326 163 2,139 851,062 108,375 46,965 2,483
หน่วย: ล้านบาท 2546 627,682 117,309 208,859 21,773 45 261,306 12,757 5,348 286 246,641 73,605 33,289 25,676 36,987 56,474 8,621 2,347 1,581 591 6,420 813 239 111,819 110,054 216 1,549 986,142 118,485 50,772 3,599
1,065 57,862 959,437
64,114 1,104,627
79,902 65,769 14,133 4,109 8,234 867,192 16,525 850,667 5,450,643 15.6
80,150 69,261 10,888 5,042 10,501 1,008,934 40,604 968,330 5,917,369 16.4
2545 544,281 108,371 170,415 19,128 99 228,196 13,715 4,122 236 208,153 68,840 31,697 22,290 31,650 41,560 7,748 1,793 1,224 582
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลตั้งแต่ปี 2533 - 2554 (ฐานข้อมูลรายปี) ปีงบประมาณ
2547 772,236 135,155 261,890 31,935
2548 937,149 147,352 329,516 41,178
2549 1,057,200 170,079 374,689 56,524
2550 1,119,194 192,795 384,619 65,735
กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิม่ 316,134 385,718 417,772 434,272 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 20,024 26,304 30,623 34,406 อากรแสตมป์ 6,820 6,816 7,268 7,137 รายได้อื่นๆ 278 266 244 230 กรมสรรพสามิต 275,773 279,395 274,095 287,231 ภาษีน้ามันฯ 76,996 76,458 70,742 76,944 ภาษียาสูบ 36,325 38,193 35,657 41,824 ภาษีสุราฯ 26,181 28,620 29,143 33,298 ภาษีเบียร์ 42,749 45,483 44,207 52,088 ภาษีรถยนต์ 65,012 58,760 59,810 55,844 ภาษีเครื่องดื่ม 9,350 10,106 10,765 11,735 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2,859 3,712 3,525 3,727 ภาษีรถจักรยานยนต์ 1,641 1,849 2,010 1,665 ภาษีแบตเตอรี่ 763 762 1,178 1,426 ภาษีการโทรคมนาคม 12,625 13,935 15,523 7,229 ภาษีอื่นๆ 993 1,121 1,169 1,183 รายได้อื่นๆ 280 398 367 269 กรมศุลกากร 106,122 110,403 96,232 90,625 อากรขาเข้า 103,635 106,917 93,633 88,169 อากรขาออก 267 285 314 345 รายได้อื่นๆ 2,220 3,202 2,285 2,112 รวม 3 กรม 1,154,132 1,326,948 1,427,528 1,497,050 หน่วยงานอื่น 135,747 147,472 153,996 206,724 ส่วนราชการอื่น 49,086 60,664 73,500 80,593 กรมธนารักษ์ 2,976 3,210 3,330 3,052 รายได้จากการขายหุน้ ให้กองทุนวายุภักษ์ 25,075 เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน 36,951 แปรรูปรัฐวิสาหกิจ 6,000 1,484 รัฐวิสาหกิจ 52,611 82,114 77,165 86,129 รวมรายได้จัดเก็บ 1,289,880 1,474,420 1,581,524 1,703,775 หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 115,574 131,220 162,951 181,793 - ภาษีมูลค่าเพิม่ 96,947 109,625 138,206 150,035 - ภาษีอื่นๆ 18,627 21,594 24,745 31,758 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 6,368 7,451 9,172 9,514 3. เงินกันชดเชยการส่งออก 11,226 12,421 12,399 10,416 รวมรายได้สุทธิ 1,156,713 1,323,328 1,397,002 1,502,051 จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ 47,726 58,400 57,312 57,592 1,108,986 1,264,928 1,339,691 1,444,460 รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) 6,489,476 7,092,893 7,844,939 8,525,197 สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) 17.1 17.8 17.1 16.9 หมายเหตุ : ข้อมูล GDP จากส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทีม่ า : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และส้านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดท้าโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ ส้านักนโยบายการคลัง ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง
2551 1,276,080 204,847 460,650 74,033
2552 1,138,565 198,095 392,172 90,712
2553 1,264,584 208,374 454,565 67,599
หน่วย: ล้านบาท 2554 1,515,666 236,339 574,059 81,444
503,439 25,133 7,724 254 278,303 67,211 41,832 36,816 53,465 57,822 12,391 3,769 1,673 1,708 111 1,196 309 99,602 96,944 501 2,157 1,653,985 183,659 77,546 4,682
431,775 18,099 7,488 223 291,221 91,059 43,936 37,982 48,993 49,278 12,186 3,111 1,608 1,479
502,176 22,892 8,735 243 405,862 152,825 53,381 42,398 58,831 77,202 14,245 1,615 1,979 1,947
577,632 35,614 10,299 279 399,779 117,914 57,197 48,624 61,498 92,844 14,526 1,183 2,284 2,197
1,062 528 80,288 77,187 404 2,697 1,510,074 174,224 83,761 3,822
1,039 400 97,148 93,512 169 3,467 1,767,594 235,453 140,031 3,868
1,088 424 102,882 99,968 241 2,673 2,018,326 206,051 102,687 4,569
101,430 1,837,643
86,641 1,684,297
91,553 2,003,047
98,795 2,224,377
202,716 173,994 28,723 11,625 12,044 1,611,258 65,420 1,545,837 9,080,466 17.0
199,408 157,838 41,570 9,040 11,160 1,464,690 53,832 1,410,858 9,041,551 15.6
208,733 160,052 48,681 11,096 13,005 1,770,213 65,736 1,704,477 10,104,821 16.9
230,014 188,471 41,543 12,677 14,813 1,966,873 74,556 1,892,317 10,539,446 18.0
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาล ปี 2555 (ฐานข้อมูลรายปี) ปีงบประมาณ
หน่วย: ล้านบาท 2555 (6 เดือน) 601,667 306,599 128,266 133,326 9,310 18,977 4,939 250 179,247 30,338 42,971 34,610 31,838 28,480 8,021 883 939 364 537 264 57,866 56,595 204 1,067 838,780 112,734 52,534 3,119 57,082 951,514
กรมสรรพากร ภาษีมูลค่าเพิม่ ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ ภาษีการค้า รายได้อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ามันฯ ภาษีรถยนต์ ภาษีเบียร์ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ รายได้อื่นๆ กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อื่นๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอื่น ส่วนราชการอื่น กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุน้ ให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 112,875 - ภาษีมูลค่าเพิม่ 95,464 - ภาษีอื่นๆ 17,411 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 6,813 3. เงินกันชดเชยการส่งออก 6,134 รวมรายได้สุทธิ 825,692 จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ 13,001 รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร 812,691 GDP (ปีปฏิทิน) 11,572,300 สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) 7.0 หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2555 เป็นตัวเลขประมาณการ จากส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2555 ทีม่ า : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และส้านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดท้าโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ ส้านักนโยบายการคลัง ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง
โครงสร้างงบประมาณ หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ
2532
2533
2534
2535
2536
2537
285,500.0
335,000.0
387,500.0
460,400.0
560,000.0
625,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
16.9
16.7
16.1
17.6
17.9
17.9
(อัตราเพิ่ม) (%)
17.2
17.3
15.7
18.8
21.6
11.6
210,571.8
227,541.2
261,932.2
301,818.2
351,060.8
376,382.3
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
12.5
11.3
10.9
11.5
11.2
10.8
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
73.8
67.9
67.6
65.6
62.7
60.2
(อัตราเพิม่ ) (%)
13.3
8.1
15.1
15.2
16.3
7.2
53,592.4
82,043.2
105,647.6
130,652.6
171,606.7
212,975.6
3.2
4.1
4.4
5.0
5.5
6.1
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
18.8
24.5
27.3
28.4
30.6
34.1
(อัตราเพิม่ ) (%)
32.9
53.1
28.8
23.7
31.3
24.1
21,335.8
25,415.6
19,920.2
27,929.2
37,332.5
35,642.1
7.5
7.6
5.1
6.1
6.7
5.7
22.9
19.1
(21.6)
40.2
33.7
(4.5)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
262,500.0
310,000.0
387,500.0
460,400.0
534,400.0
600,000.0
15.5
15.5
16.1
17.6
17.1
17.1
9.4
18.1
25.0
18.8
16.1
12.3
(23,000.0)
(25,000.0)
0.0
0.0
(25,600.0)
(25,000.0)
(1.4)
(1.2)
0.0
0.0
(0.8)
(0.7)
1. วงเงินงบประมาณ
1.1 รายจ่ายประจา
1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)
1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
1,690,500.0 2,005,254.0 2,400,000.0 2,620,000.0 3,130,000.0 3,499,000.0
(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2555 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2533 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จานวน 1,507.5 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ
2538
2539
2540
2541
2542
2543
715,000.0
843,200.0
944,000.0
830,000.0
825,000.0
860,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
17.4
18.0
18.1
16.4
16.5
16.7
(อัตราเพิ่ม) (%)
14.4
17.9
12.0
(10.3)
3.1
4.2
434,383.3
482,368.2
528,293.4
519,505.8
586,115.1
635,585.1
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
10.6
10.3
10.1
10.2
11.7
12.4
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
60.8
57.2
56.0
62.6
71.0
73.9
(อัตราเพิม่ ) (%)
15.4
11.0
9.5
(0.2)
14.4
8.4
253,839.8
327,288.6
391,209.7
279,258.1
233,534.7
217,097.6
6.2
7.0
7.5
5.5
4.7
4.2
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
35.5
38.8
41.4
33.6
28.3
25.2
(อัตราเพิม่ ) (%)
19.2
28.9
19.5
(26.5)
(8.9)
(7.0)
26,776.9
33,543.2
24,496.9
31,236.1
5,350.2
7,317.3
3.7
4.0
2.6
3.8
0.6
0.9
(24.9)
25.3
(27.0)
27.5
(82.9)
36.8
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
715,000.0
843,200.0
925,000.0
782,020.0
800,000.0
750,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
17.4
18.0
17.8
15.4
16.0
14.6
(อัตราเพิ่ม) (%)
19.2
17.9
9.7
(15.5)
2.3
(6.3)
0.0
0.0
0.0
(47,980.0)
0.0
0.0
0.0
(0.9)
1. วงเงินงบประมาณ
1.1 รายจ่ายประจา
1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)
1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้
3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
(25,000.0) (110,000.0) (0.5)
(2.1)
4,099,000.0 4,684,000.0 5,205,500.0 5,073,000.0 5,002,000.0 5,137,000.0
(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2555 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2540 เป็นตัวเลขที่ปรับลดจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จานวน 984,000 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2541 เป็นตัวเลขที่ปรับลดและปรับเพิ่มจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จานวน 923,000 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดส่วนต่อ GDP) (%)
2544
2545
2546
910,000.0 1,023,000.0
2547
2548
2549
999,900.0 1,163,500.0 1,250,000.0 1,360,000.0
17.5
19.3
17.2
18.0
17.4
17.5
5.8
12.4
(2.3)
16.4
7.4
8.8
679,286.5
773,714.1
753,454.7
836,544.4
881,251.7
958,477.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
13.0
14.6
13.0
12.9
12.2
12.3
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
74.6
75.6
75.4
71.9
70.5
70.5
6.9
13.9
(2.6)
11.0
5.3
8.8
218,578.2
223,617.0
211,493.5
292,800.2
318,672.0
358,335.8
4.2
4.2
3.6
4.5
4.4
4.6
24.0
21.9
21.2
25.2
25.5
26.3
0.7
2.3
(5.4)
38.4
8.8
12.4
12,135.3
25,668.9
34,951.8
34,155.4
50,076.3
43,187.2
1.3
2.5
3.5
2.9
4.0
3.2
65.8
111.5
36.2
(2.3)
46.6
(13.8)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
805,000.0
823,000.0
15.5
15.5
14.2
16.4
17.4
17.5
7.3
2.2
0.2
28.9
17.5
8.8
(105,000.0) (200,000.0) (174,900.0)
(99,900.0)
0.0
0.0
(1.5)
0.0
0.0
(อัตราเพิ่ม) (%) 1.1 รายจ่ายประจา
(อัตราเพิม่ ) (%) 1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
(2.0)
(3.8)
825,000.0 1,063,600.0 1,250,000.0 1,360,000.0
(3.0)
5,208,600.0 5,309,200.0 5,799,700.0 6,476,100.0 7,195,000.0 7,786,200.0
(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2555 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2547 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จานวน 135,500 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2548 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิม่ เติม จานวน 50,000 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ
2550
2551
2552
2553
2554
1,566,200.0 1,660,000.0 1,951,700.0 1,700,000.0
2555
2,169,967.5 2,380,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
18.6
18.0
22.4
17.5
20.0
20.2
(อัตราเพิ่ม) (%)
15.2
6.0
17.6
(12.9)
27.6
9.7
1,135,988.1
1,213,989.1
1,411,382.4
1,434,710.1
1,667,439.7
1,840,672.6
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
13.5
13.1
16.2
14.8
15.3
15.6
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
72.5
73.1
72.3
84.4
76.8
77.3
(อัตราเพิม่ ) (%)
18.5
6.9
16.3
1.7
16.2
10.4
374,721.4
400,483.9
429,961.8
214,369.0
355,484.6
438,555.4
4.5
4.3
4.9
2.2
3.3
3.7
23.9
24.1
22.0
12.6
16.4
18.4
4.6
6.9
7.4
(50.1)
65.8
23.4
55,490.5
45,527.0
63,676.1
50,920.9
32,554.6
46,854.0
3.5
2.7
3.3
3.0
1.5
2.0
28.5
(18.0)
39.9
(20.0)
(36.1)
43.9
1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง
-
-
46,679.7
-
114,488.6
53,918.0
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
-
-
2.4
-
5.3
2.2
1.1 รายจ่ายประจา
1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%)
2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
1,420,000.0 1,495,000.0 1,604,639.5 1,350,000.0
1,770,000.0 1,980,000.0
16.9
16.2
18.4
13.9
16.3
16.8
4.4
5.3
7.3
(15.9)
31.1
11.9
(146,200.0)
(165,000.0)
(347,060.5)
(350,000.0)
(399,967.5)
(400,000.0)
(1.7)
(1.8)
(4.0)
(3.6)
(3.7)
(3.4)
8,399,000.0 9,232,200.0 8,712,500.0 9,726,200.0
10,867,600.0 11,794,200.0
(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2555 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2552 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จานวน 116,700 ล้านบาท และเป็นปีแรกที่มีการตั้ง งบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง จานวน 46,679.7 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2554 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิม่ เติม จานวน 99,967.5 ล้านบาท
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2549 หน่วย : ล้านบาท ต.ค. 48 พย. 48 ธ.ค. 48 ม.ค. 49 ก.พ. 49 122,209 127,243 112,309 116,800 112,468 116,991 111,573 83,444 110,090 100,881 99,728 78,860 66,634 89,768 74,638 17,263 32,713 16,810 20,322 26,243 5,218 15,670 28,865 6,710 11,587 122,209 249,452 361,761 478,561 591,029 116,991 228,564 312,008 422,098 522,979 99,728 178,588 245,222 334,990 409,628 17,263 49,976 66,786 87,108 113,351 5,218 20,888 49,753 56,463 68,050 1,360,000 1,508,592 1,526,126 1,526,642 1,527,243 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 980,494 980,494 980,494 980,494 980,494 379,506 379,506 379,506 379,506 379,506 148,592 166,126 166,642 167,243
1. รายจ่ายรวม (1.1+1.2) 1.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน - รายจ่ายประจา - รายจ่ายลงทุน 1.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม - รายจ่ายประจาสะสม - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ นสะสม 3. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 3.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 3.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบ: นายวิธีร์ พานิชวงศ์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที:่ 31 กรกฎาคม 2554
ปีงบประมาณ 2549 มี.ค. 49 เม.ย. 49 พ.ค. 49 มิ.ย. 49 ก.ค. 49 ส.ค. 49 ก.ย. 49 127,437 99,960 88,993 117,304 98,591 116,508 154,750 109,598 96,123 82,286 110,650 92,368 111,095 144,929 87,879 72,008 68,998 95,519 75,520 84,487 112,842 21,719 24,115 13,288 15,131 16,848 26,608 32,087 17,839 3,837 6,707 6,654 6,223 5,413 9,821 718,466 818,426 907,419 1,024,723 1,123,314 1,239,822 1,394,572 632,577 728,700 810,986 921,636 1,014,004 1,125,099 1,270,028 497,507 569,515 638,513 734,032 809,552 894,039 1,006,881 135,070 159,185 172,473 187,604 204,452 231,060 263,147 85,889 89,726 96,433 103,087 109,310 114,723 124,544 1,528,823 1,528,840 1,528,778 1,529,524 1,529,771 1,529,898 1,529,571 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 980,494 980,494 980,494 980,494 1,007,032 1,006,090 1,010,489 379,506 379,506 379,506 379,506 352,968 353,910 349,511 168,823 168,840 168,778 169,524 169,771 169,898 169,571
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2550 หน่วย : ล้านบาท ต.ค. 49 พย. 49 ธ.ค. 49 ม.ค. 50 89,559 111,439 99,181 97,054 81,266 93,466 83,126 87,123 75,534 84,896 77,650 74,971 5,732 8,570 5,476 12,152 8,293 17,973 16,055 9,931 89,559 200,998 300,179 397,233 81,266 174,732 257,858 344,981 75,534 160,430 238,080 313,051 5,732 14,302 19,778 31,930 8,293 26,266 42,321 52,252 1,515,327 1,515,622 1,515,769 1,722,023 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,566,200 980,482 980,637 983,670 1,230,747 379,518 379,363 376,330 335,453 155,327 155,622 155,769 155,823
1. รายจ่ายรวม (1.1+1.2) 1.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน - รายจ่ายประจา - รายจ่ายลงทุน 1.2 รายจ่ายจากปีก่อน 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม - รายจ่ายประจาสะสม - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีก่อนสะสม 3. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 3.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 3.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน ทีม่ า: สานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบ: นายวิธรี ์ พานิชวงศ์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที:่ 31 กรกฎาคม 2554
ก.พ. 50 200,314 191,229 136,792 54,437 9,085 597,547 536,210 449,843 86,367 61,337 1,722,021 1,566,200 1,227,904 338,296 155,821
ปีงบประมาณ 2550 มี.ค. 50 เม.ย. 50 139,900 115,830 127,872 111,216 106,881 97,682 20,991 13,534 12,028 4,614 737,447 853,277 664,082 775,298 556,724 654,406 107,358 120,892 73,365 77,979 1,722,389 1,722,287 1,566,200 1,566,200 1,246,571 1,246,335 319,629 319,865 156,189 156,087
พ.ค. 50 137,086 131,311 90,381 40,930 5,775 990,363 906,609 744,787 161,822 83,754 1,722,271 1,566,200 1,245,965 320,235 156,071
มิ.ย. 50 164,381 158,603 126,402 32,201 5,778 1,154,744 1,065,212 871,189 194,023 89,532 1,722,266 1,566,200 1,245,109 321,091 156,066
ก.ค. 50 146,556 142,784 119,440 23,344 3,772 1,301,300 1,207,996 990,629 217,367 93,304 1,722,241 1,566,200 1,244,236 321,964 156,041
ส.ค. 50 122,778 118,609 101,347 17,262 4,169 1,424,078 1,326,605 1,091,976 234,629 97,473 1,722,322 1,566,200 1,242,815 323,385 156,122
ก.ย. 50 150,888 144,234 116,157 28,077 6,654 1,574,966 1,470,839 1,208,133 262,706 104,127 1,722,364 1,566,200 1,239,641 326,559 156,164
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2551 หน่วย : ล้านบาท ต.ค. 50 155,389 147,936 121,123 26,813 7,453 155,389 147,936 121,123 26,813 7,453 1,769,427 1,660,000 1,295,140 364,860 109,427
พ.ย. 50 ธ.ค. 50 ม.ค. 51 ก.พ. 51 127,018 110,867 158,402 118,658 112,113 97,846 146,917 108,633 93,861 88,182 93,934 97,960 18,252 9,664 52,983 10,673 14,905 13,021 11,485 10,025 282,407 393,274 551,676 670,334 260,049 357,895 504,812 613,445 214,984 303,166 397,100 495,060 45,065 54,729 107,712 118,385 22,358 35,379 46,864 56,889 1,809,505 1,810,026 1,810,883 1,812,516 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,295,113 1,327,235 1,327,187 1,327,191 364,887 332,765 332,813 332,809 149,505 150,026 150,883 152,516
1. รายจ่ายรวม (1.1+1.2) 1.1 รายจ่ายปีปจั จุบนั - รายจ่ายประจา - รายจ่ายลงทุน 1.2 รายจ่ายจากปีก่อน 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปจั จุบนั สะสม - รายจ่ายประจาสะสม - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีก่อนสะสม 3. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 3.1 วงเงินงบประมาณปีปจั จุบนั - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 3.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน ทีม่ า: สานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผูร้ ับผิดชอบ: นายวิธีร์ พานิชวงศ์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที:่ 31 กรกฎาคม 2554
ปีงบประมาณ 2551 มี.ค. 51 เม.ย.51 125,147 154,636 113,533 150,029 100,423 104,918 13,110 45,111 11,614 4,607 795,481 950,117 726,978 877,007 595,483 700,401 131,495 176,606 68,503 73,110 1,811,083 1,811,181 1,660,000 1,660,000 1,327,071 1,327,087 332,929 332,913 151,083 151,181
พ.ค.51 126,767 119,962 108,354 11,608 6,805 1,076,884 996,969 808,755 188,214 79,915 1,811,408 1,660,000 1,326,271 333,729 151,408
มิ.ย.51 143,198 137,088 107,295 29,793 6,110 1,220,082 1,134,057 916,050 218,007 86,025 1,811,408 1,660,000 1,326,029 333,971 151,667
ก.ค.51 138,838 134,497 115,870 18,627 4,341 1,358,920 1,268,554 1,031,920 236,634 90,366 1,811,408 1,660,000 1,326,205 333,795 151,925
ส.ค.51 124,629 120,424 107,822 12,602 4,205 1,483,549 1,388,978 1,139,742 249,236 94,571 1,811,940 1,660,000 1,325,380 334,620 151,940
ก.ย.51 149,856 143,501 125,248 18,253 6,355 1,633,405 1,532,479 1,264,990 267,489 100,926 1,812,063 1,660,000 1,319,724 340,276 152,063
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2552 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2552 ต.ค.51 พ.ย.51 ธ.ค.51 ม.ค.52 ก.พ.52 มี.ค.52 เม.ย.52 พ.ค.52 1. รายจ่ายรวม (1.1+1.2) 93,718 165,200 145,422 192,417 179,679 195,346 141,681 161,006 1.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 85,193 149,303 127,825 178,000 166,569 178,473 137,194 154,745 - รายจ่ายประจา 84,630 131,280 118,357 125,971 132,739 164,251 117,227 114,772 - รายจ่ายลงทุน 563 18,023 9,468 52,029 33,830 14,222 19,966 39,973 1.2 รายจ่ายจากปีก่อน 8,525 15,898 17,596 14,417 13,110 16,873 4,487 6,261 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 93,718 258,919 404,340 596,757 776,436 971,782 1,113,463 1,274,469 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม 85,193 234,495 362,321 540,321 706,890 885,362 1,022,556 1,177,301 - รายจ่ายประจาสะสม 84,630 215,909.44 334,267 460,238 592,977 757,228 874,455 989,227 - รายจ่ายลงทุนสะสม 563 18,585.96 28,054 80,082 113,913 128,135 148,101 188,074 2.2 รายจ่ายจากปีก่อนสะสม 8,525 24,423.18 42,019 56,437 69,547 86,420 90,907 97,168 3. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 2,009,163 2,026,393 2,026,061 2,026,212 2,026,408 2,143,222 2,143,223 2,143,228 3.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,951,700 1,951,700 1,951,700 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา 1,481,992 1,481,939 1,481,885 1,481,864 1,481,268 1,573,602 1,578,601 1,576,929 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 353,008 353,062 353,115 353,136 353,732 378,098 373,045 374,771 3.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน 174,163 191,393 191,061 191,212 191,408 191,522 191,523 191,528 หมายเหตุ ปีงบประมาณ 2552 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิม่ เติมจานวน 116,700 ล้านบาท มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วนั ที่ 8 มีนาคม 2552 ทีม่ า: สานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบ: นายวิธรี ์ พานิชวงศ์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที:่ 31 กรกฎาคม 2554
มิ.ย. 52 139,498 131,026 110,789 20,237 8,472 1,413,967 1,308,327 1,100,016 208,311 105,640 2,143,228 1,951,700 1,575,694 376,006 191,528
ก.ค. 52 164,118 158,730 128,632 30,098 5,388 1,578,085 1,467,057 1,228,648 238,409 111,028 2,143,240 1,951,700 1,574,977 376,723 191,540
ส.ค. 52 142,162 136,915 119,691 17,224 5,247 1,720,247 1,603,972 1,348,339 255,633 116,275 2,143,240 1,951,700 1,574,085 337,615 191,540
ก.ย. 52 196,842 186,851 159,555 27,336 9,991 1,917,089 1,790,823 1,507,894 282,969 126,266 2,143,252 1,951,700 1,569,678 382,022 191,552
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2553 หน่วย : ล้านบาท ต.ค.52 พ.ย.52 ธ.ค.52 ม.ค.53 ก.พ.53 90,339 188,614 172,221 150,008 182,850 80,143 166,116 149,895 133,986 169,382 79,470 160,782 112,293 128,316 117,878 673 5,334 37,602 5,670 51,504 10,196 22,498 22,326 16,022 13,468 90,339 278,953 451,175 601,183 784,033 80,143 246,259 396,155 530,141 699,523 79,470 240,252 352,546 480,862 598,740 673 6,007 43,609 49,279 100,783 10,196 32,694 55,020 71,042 84,510 1,927,800 1,941,156 1,941,859 1,942,592 1,942,939 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,485,631 1,481,529 1,480,072 1,479,996 1,479,954 214,369 218,471 219,928 220,004 220,046 227,800 241,156 241,859 242,592 242,939
1. รายจ่ายรวม (1.1+1.2) 1.1 รายจ่ายปีปจั จุบนั - รายจ่ายประจา - รายจ่ายลงทุน 1.2 รายจ่ายจากปีก่อน 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปจั จุบนั สะสม - รายจ่ายประจาสะสม - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีก่อนสะสม 3. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 3.1 วงเงินงบประมาณปีปจั จุบนั - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 3.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบ: นายวิธีร์ พานิชวงศ์ ปรับปรุงครัง้ สุดท้ายวันที:่ 31 กรกฎาคม 2554
ปีงบประมาณ 2553 มี.ค.53 เม.ย.53 149,981 145,528 129,653 136,587 119,986 125,819 9,667 10,768 20,328 8,941 934,014 1,079,542 829,176 965,763 718,726 844,545 110,450 121,218 104,838 113,779 1,943,152 1,943,152 1,700,000 1,700,000 1,479,843 1,479,558 220,157 220,442 243,152 243,152
พ.ค.53 123,967 118,059 110,268 7,791 5,908 1,203,509 1,083,822 954,813 129,009 119,687 1,943,152 1,700,000 1,479,100 220,900 243,152
มิ.ย. 53 135,455 123,196 111,500 11,696 12,259 1,338,964 1,207,018 1,066,313 140,705 131,946 1,943,174 1,700,000 1,476,716 223,284 243,174
ก.ค. 53 142,627 135,128 124,850 10,278 7,499 1,481,591 1,342,146 1,191,163 150,983 139,445 1,943,255 1,700,000 1,474,315 225,685 243,255
ส.ค. 53 110,118 103,322 92,492 10,830 6,796 1,591,709 1,445,468 1,283,655 161,813 146,241 1,943,505 1,700,000 1,472,692 227,308 243,505
ก.ย. 53 192,704 182,407 161,105 21,302 10,297 1,784,413 1,627,875 1,444,760 183,115 156,538 1,943,547 1,700,000 1,468,655 231,345 243,547
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2554 หน่วย : ล้านบาท
ปีงบประมาณ 2554 ต.ค.53 พ.ย.53 ธ.ค.53 ม.ค.54 ก.พ.54 มี.ค.54 เม.ย.54 1. รายจ่ายรวม (1.1+1.2) 207,452 223,152 167,767 235,191 154,689 170,913 139,705 1.1 รายจ่ายปีปจั จุบนั 194,118 207,201 152,004 220,657 139,464 157,010 135,081 - รายจ่ายประจา 189,957 196,444 133,696 146,289 122,765 141,375 120,855 - รายจ่ายลงทุน 4,161 10,757 18,308 74,368 16,699 15,635 14,225 1.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น 13,334 15,951 15,763 14,534 15,225 13,903 4,625 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 207,452 430,604 598,371 833,562 988,251 1,159,164 1,298,870 2.1 รายจ่ายปีปจั จุบนั สะสม 194,118 401,319 553,323 773,980 913,444 1,070,454 1,205,535 - รายจ่ายประจาสะสม 189,957 386,401 520,097 666,386 789,151 930,526 1,051,382 - รายจ่ายลงทุนสะสม 4,161 14,918 33,226 107,594 124,293 139,928 154,153 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ นสะสม 13,334 29,285 45,048 59,582 74,807 88,710 93,335 3. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 2,230,628 2,233,968 2,249,378 2,252,646 2,252,896 2,253,208 2,353,188 3.1 วงเงินงบประมาณปีปจั จุบนั 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,169,968 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา 1,725,583 1,725,423 1,725,489 1,725,245 1,725,191 1,725,003 1,724,938 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 344,417 344,577 344,511 344,755 344,809 344,997 345,062 3.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 160,628 163,968 179,378 182,646 182,896 183,208 183,221 หมายเหตุ ปีงบประมาณ 2554 ได้มกี ารจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมจานวน 99,968 ล้านบาท มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 18 เมษายน 2554 ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบ: นายวิธีร์ พานิชวงศ์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที:่ 30 กันยายน 2554
พ.ค.54 211,446 205,223 188,690 16,533 6,223 1,510,316 1,410,757 1,240,071 170,686 99,558 2,353,189 2,169,968 1,813,687 356,280 183,221
มิ.ย. 54 187,593 181,250 161,493 19,757 6,343 1,697,909 1,592,008 1,401,565 190,443 105,901 2,353,191 2,169,968 1,810,757 359,211 183,224
ก.ค. 54 143,032 138,411 120,305 18,105 4,621 1,840,941 1,730,419 1,521,871 208,548 110,522 2,353,192 2,169,968 1,808,951 361,017 183,225
ส.ค. 54 143,543 135,473 113,041 22,431 8,070 1,984,484 1,865,892 1,634,913 230,979 118,592 2,353,202 2,169,968 1,806,977 362,991 183,235
ก.ย. 54 193,411 184,648 152,068 32,579 8,763 2,177,895 2,050,540 1,786,982 263,558 127,355 2,353,202 2,169,968 1,806,977 362,991 183,235
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2555 หน่วย : ล้านบาท
1. รายจ่ายรวม (1.1+1.2) 1.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน - รายจ่ายประจา - รายจ่ายลงทุน 1.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม - รายจ่ายประจาสะสม - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ นสะสม 3. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 3.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 3.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น
ต.ค. 54 พ.ย. 54 166,954 150,234 155,910 131,863 136,594 127,201 19,316 4,662 11,044 18,371 166,954 317,188 155,910 287,773 136,594 263,795 19,316 23,978 11,044 29,415 2,271,861 2,278,511 2,070,000 2,070,000 1,706,509 1,725,733 363,491 344,267 201,861 208,511
ธ.ค. 54 172,628 151,587 137,437 14,150 21,041 489,816 439,360 401,232 38,128 50,456 2,282,250 2,070,000 1,720,592 349,408 212,250
ม.ค. 55 150,462 135,610 131,400 4,210 14,852 640,278 574,970 532,632 42,338 65,308 2,285,784 2,070,000 1,714,147 355,853 215,784
ก.พ. 55 259,062 244,073 235,123 8,950 14,989 899,340 819,043 767,755 51,288 80,297 2,597,224 2,380,000 1,976,557 403,443 217,224
ปีงบประมาณ 2555 มี.ค. 55 เม.ย. 55 369,978 351,873 283,286 68,587 18,105 1,269,318 1,170,916 1,051,041 119,875 98,402 2,595,716 2,380,000 1,973,811 406,189 215,716
พ.ค. 55
มิ.ย. 55
ก.ค. 55
ส.ค. 55
ก.ย. 55
หมายเหตุ พรบ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2555 (วงเงิน 2,380,000 ล้านบาท) มีผลบังคับในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2555 ทาให้ในช่วงตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 2555 ต้องใช้งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณทีล่ ่วงแล้ว (ปีงบประมาณ 2554) ไปพลางก่อน ตาม พรบ. วิธกี ารงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 16
ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบ: นายวิธรี ์ พานิชวงศ์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 31 มีนาคม 2555
ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพือ่ ชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) ทีม่ า: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที:่ 11 เมษายน 2555
2552 1,409,653 1,917,129 1,790,862 126,266 -507,476 131,190 -376,286 441,061 64,775
2553 1,708,625 1,784,413 1,627,875 156,538 -75,788 -21,301 -97,088 232,575 135,487
2554 1,892,047 2,177,895 2,050,540 127,355 -285,848 177,150 -108,698 200,666 91,968
หน่วย: ล้านบาท ครึ่งปีแรกปี 2555 809,354 1,269,317 1,170,916 98,401 -459,963 -80,402 -540,366 93,610 -446,756
รายเดือน
ต.ค. 54 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 134,037.00 2. รายจ่าย (Expenditure) 166,953.99 - ปีปัจจุบัน (Current Year) 155,910.07 - ปีก่อน (Carry Over) 11,043.92 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) -32,916.99 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) -158,117.63 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) -191,034.62 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 0.00 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) -191,034.62 ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครัง้ สุดท้ายวันที:่ 11 เมษายน 2555
พ.ย. 54 124,320.00 150,234.27 131,863.03 18,371.24 -25,914.27 -2,645.26 -28,559.53 0.00 -28,559.53
ปีงบประมาณ 2555 ธ.ค. 54 ม.ค. 55 146,663.00 137,542.00 172,627.54 150,462.64 151,586.51 135,610.75 21,041.03 14,851.89 -25,964.54 -12,920.64 -11,054.23 -10,744.87 -37,018.77 -23,665.51 0.00 0.00 -37,018.77 -23,665.51
ปีงบประมาณ 2555 รายเดือน
`ก.พ. 55 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 128,076.00 2. รายจ่าย (Expenditure) 259,061.09 - ปีปัจจุบัน (Current Year) 244,072.56 - ปีก่อน (Carry Over) 14,988.53 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) -130,985.09 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 11,580.85 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) -119,404.24 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 23,500.00 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) -95,904.24 ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครัง้ สุดท้ายวันที:่ 11 เมษายน 2555
`มี.ค. 55 138,716.00 369,978.01 351,873.08 18,104.93 -231,262.01 90,578.77 -140,683.24 70,110.00 -70,573.24
สัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2540-2543
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรทีร่ ัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)
ปี 2541 ปี 2540 จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน 93,879 100.0 96,056 100.0 16,986 18.1 16,759 17.4 47,386 50.5 48,667 50.7 29,508 31.4 30,630 31.9 843,576 733,462 11.13 13.10
ทีม่ า : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 21 พฤศจิกายน 2554
ปี 2542 จานวนเงิน สัดส่วน 100,805 100.0 17,808 17.7 44,870 44.5 38,127 37.8 709,111 14.22
หน่วย : ล้านบาท ปี 2543 จานวนเงิน สัดส่วน 94,721 100.0 17,404 18.4 45,096 47.6 32,222 34.0 749,949 12.63
เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2544-2555
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กาหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุนและการถ่ายโอนงาน1/ 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)
ปี 2544 ปี 2545 ปี 2546 ปี 2547 ปี 2548 จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน 159,753 100.0 175,850 100.0 184,066 100.0 241,948 100.0 293,750 100.0 17,702 11.1 21,084 12.0 22,258 12.1 24,786 10.2 27,019 9.2 55,652 34.8 58,144 33.1 60,218 32.7 82,623 34.2 102,520 34.9 12,669 7.9 19,349 11.0 35,504 19.3 43,100 17.8 49,000 16.7 73,730 772,574 20.68
46.2
77,273 803,651 21.88
43.9
66,086 829,496 22.19
35.9
91,438 1,063,600 22.75
37.8
115,211 1,250,000 23.50
หมายเหตุ : 1/ ในปีงบประมาณ 2544 และ 2545 มีงบประมาณการถ่ายโอนงาน ซึ่งตั้งอยู่ที่ส่วนราชการที่ถา่ ยโอนงานให้ อปท. แต่นับรวมในสัดส่วนรายได้ของ อปท. เป็นจานวน 32,339.60 ล้านบาท และ 27,061.80 ล้านบาท ตามลาดับ
39.2
หน่วย : ล้านบาท ปี 2549 จานวนเงิน สัดส่วน 327,113 100.0 29,110 8.9 110,190 33.7 61,800 18.9 126,013 1,360,000 24.05
38.5
2 เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2544-2555
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรทีร่ ัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิม่ ทีร่ ัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กาหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)
ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน 357,424 100.0 376,740 100.0 414,382 100.0 340,995 100.0 32,021 8.9 35,224 9.3 38,746 9.4 29,110 8.6 120,729 33.8 128,676 34.2 140,679 33.9 126,590 37.1 65,300 18.3 65,000 17.3 71,900 17.4 45,400 13.3 139,374 1,420,000 25.17
39.0
147,840 1,495,000 25.20
39.2
163,057 1,604,640 25.82
39.3
139,895 1,350,000 25.26
41.0
ปี 2554 จานวนเงิน สัดส่วน 431,305 100.0
หน่วย : ล้านบาท ปี 2555 จานวนเงิน สัดส่วน 529,979 100.0
257,355
59.7
308,887
58.3
173,950 2/ 1,650,000 26.14
40.3
221,092 1,980,000 26.77
41.7
หมายเหตุ : 2/เป็นตัวเลขก่อนการจัดทางบประมาณรายจ่ายของรัฐบาลเพิม่ เติมระหว่างปี 99,967.5 ล้านบาท ซึ่งได้จัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เพิม่ เติม 5,957 .4 ล้านบาท ทัง้ นี้ เงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เมื่อรวมกับทีไ่ ด้รับการจัดสรรเพิม่ เติมระหว่างปีแล้ว เท่ากับ 179,907.4 ล้านบาท - เป้าหมายสัดส่วนรายได้ของ อปท. ในแต่ละปีงบประมาณผ่านขั้นตอนการพิจารณาของสานักงบประมาณเพือ่ เสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว ทีม่ า : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2555