economics

Page 1

บทสรุปผู้บริหาร ด้านรายได้  ปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 1,977,453 ล้านบาท สอดคล้องกับประมาณการ (1.98 ล้านล้านบาท) และสูงกว่าผลการจัดเก็บรายได้ของปีงบประมาณ 2554 จานวน 85,135 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.5 เป็นผลจากอุปสงค์ในประเทศที่ฟี้นตัวจากอุทกภัย ส่งผลให้ภาษีมูลค่าเพิ่ม และอากรขาเข้าจัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ และการฟื้นตัวของอุตสาหกรรมรถยนต์และโครงการ รถยนต์คันแรกของรัฐบาล ส่งผลให้ภาษีรถยนต์จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ อย่างไรก็ดี ผลกระทบ จากน้าท่วมเมื่อปลายปี 2554 รวมทั้งการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีของสานักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน (BOI) ในเรื่องการลงทุนสีเขียว และการตั้งสารองเผื่อหนี้สูญของธนาคารพาณิชย์ ส่งผลให้การจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลต่ากว่าประมาณการ และการขยายเวลาการลดอัตราภาษี น้ามันดีเซลเหลือลิตรละ 0.005 บาท ส่งผลให้ภาษีน้ามัน จัดเก็บได้ต่ากว่าประมาณการ

ด้านรายจ่าย  เดือนกันยายน 2555 รัฐบาลเบิกจ่ายเงินรวมทั้งสิ้น 227,347 ล้านบาท ประกอบด้วย การเบิกจ่ายจากปีงบประมาณปีปัจจุบัน 217,642 ล้านบาท (รายจ่ายประจา 173,258 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 44,384 ล้านบาท) และการเบิกจ่ายของปีก่อนจานวน 9,705 ล้านบาท  ปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 – กันยายน 2555) รัฐบาลเบิกจ่ายเงินรวมทั้งสิ้น 2,295,327 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2555 จานวน 2,148,475 ล้านบาท (เป็นรายจ่ายประจา 1,873,067 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 275,408 ล้านบาท) คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 90.3 ของวงเงินงบประมาณ (2,380,000 ล้านบาท) และมีการเบิกจ่ายของปีก่อนจานวน 146,852 ล้านบาท  เมื่อรวมกับการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 อีกจานวน 24,422 ล้านบาท ส่งผลให้ปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ ระบบเศรษฐกิจทั้งสิ้น 2,319,749 ล้านบาท

ฐานะการคลังรัฐบาล

 ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด ปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลมีรายได้นาส่งคลัง 1,980,644 ล้านบาท และมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (ปีปัจจุบันและปีก่อน) รวม 2,295,327 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณขาดดุล 314,683 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่เกินดุล 9,646 ล้านบาท ทาให้ดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 305,037 ล้านบาท และรัฐบาลได้ชดเชยการขาดดุล โดยการออกพันธบัตรและตั๋วสัญญาใช้เงินจานวน 344,084 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินสดหลัง การกู้เงินเกินดุลทั้งสิ้น 39,047 ล้านบาท  เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนกันยายน 2555 มีจานวน 560,337

-1-


 ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค. ปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลมีรายได้ทั้งสิ้น 2,083,004 ล้านบาท และมีรายจ่ายทั้งสิ้น 2,377,134 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 294,130 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณที่เกินดุล 36,631 ล้านบาท และ หักรายจ่ายจากโครงการไทยเข้มแข็ง รายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศ รายจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟู เศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) และรายจ่ายเพื่อวางระบบบริหารจัดการน้า จานวน 24,422 9,999 7,383 และ 1,763 ล้านบาท ตามลาดับแล้ว ทาให้ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุล ทั้งสิ้น 301,066 ล้านบาท

ฐานะการคลัง อปท.

 ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ณ ไตรมาสที่ 3 ประจาปีงบประมาณ 2555 คาดว่า จะมีรายได้รวม 93,106 ล้านบาท (รายได้ที่จัดเก็บเอง 13,407 ล้านบาท รายได้ภาษีที่รัฐบาล จัดเก็บและแบ่งให้ 61,677 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 18,022 ล้านบาท) และคาดว่า มีรายจ่ายจานวน 113,756 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลการคลังของ อปท. ขาดดุล 20,650 ล้านบาท  ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 คาดว่า จะมีรายได้รวม 364,925 ล้านบาท (รายได้ที่จัดเก็บเอง 33,320 ล้านบาท รายได้ภาษีที่รัฐบาล จัดเก็บและแบ่งให้ 144,259 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 188,346 ล้านบาท) และคาดว่า มีรายจ่ายจานวน 302,900 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลการคลังของ อปท. เกินดุล 62,025 ล้านบาท

สถานะหนี้สาธารณะ  หนี้สาธารณะคงค้างของรัฐบาล ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2555 มีจานวน 5,011.9 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 44.9 ของ GDP ประกอบด้วย หนี้ระยะยาว 4,727.9 พันล้านบาท และหนี้ระยะสั้น 284.1 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 94.3 และ 5.7 ของหนี้สาธารณะคงค้าง ตามลาดับ โดยร้อยละ 93.3 ของหนี้สาธารณะคงค้างเป็นหนี้ในประเทศและส่วนที่เหลือร้อยละ 6.7 เป็นหนี้ต่างประเทศ

กรอบความยั่งยืนทางการคลัง (60 - 15 – 0 – 25)

 กระทรวงการคลังได้กาหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีตัวชี้วัดประกอบด้วย ยอดหนี้ สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 จัดทา งบประมาณสมดุล และสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณไม่ต่ากว่าร้อยละ 25  การวิเคราะห์กรอบความยั่งยืนในระยะปานกลาง (ปีงบประมาณ 2555 – 2559) - สัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ในปีงบประมาณ 2555 อยู่ที่ร้อยละ 42.6 และเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 48.0 ในปีงบประมาณ 2559 - ระดับภาระหนี้ต่องบประมาณอยู่ในระดับร้อยละ 9.3 ในปีงบประมาณ 2555 แต่เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 11.5 ในปีงบประมาณ 2559 - รัฐบาลจัดทางบประมาณแบบขาดดุลเนื่องจากความจาเป็นในการใช้จ่ายของรัฐ เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้ขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพ อย่างไรก็ดี แนวโน้มการจัดทางบประมาณ แบบขาดดุลจะลดลงตามลาดับเพื่อเข้าสู่งบประมาณแบบสมดุลในอนาคต - สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายต่ากว่าร้อยละ 25 แต่หากรวมการลงทุนของ รัฐบาลกับรัฐวิสาหกิจแล้วจะคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 33.2 ของงบประมาณรายจ่าย -2-


การดาเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล  ผลการอนุมัติสินเชื่อและค้าประกันสินเชื่อ ในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 (เดือนเมษายน – มิถุนายน 2555) มีจานวน 49,169.2 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วร้อยละ 9.7 และมีการอนุมัตสิ ินเชื่อ และการค้าประกันสินเชื่อสะสมตั้งแต่เริ่มโครงการ จนถึง ณ สิ้นไตรมาส 2 ปี 2555 จานวน 1,269,737.2 ล้านบาท  ยอดสินเชื่อคงค้าง ณ สิ้นไตรมาสที่ 2 ปี 2555 มีจานวน 347,803.8 ล้านบาท โดยเป็น หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) จานวน 31,423.0 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 9.0 ของยอดสินเชื่อ คงค้าง และมีภาระค้าประกันหนี้จัดชั้นด้อยคุณภาพ (NPGs) ของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรม ขนาดย่อม (บสย.) จานวน 5,881.6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.3 ของยอดค้าประกันคงค้าง

การกระจายอานาจทางการคลังให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  การจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ปีงบประมาณ 2556 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 รัฐบาลได้จัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. จานวน 236,500 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 15,408.21 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.97 แบ่งเป็น 1) กรุงเทพมหานคร 14,419.83 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 200.11 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.41 2) เมืองพัทยา 1,473.42 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 20.01 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.38 และ 3) องค์การ บริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตาบล 220,606.75 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จากปีก่อน 15,188.09 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.39

มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สาคัญ ประจาเดือนตุลาคม 2555 1. เรื่อง มาตรการภาษีและค่าธรรมเนียมเพื่อสนับสนุนการพัฒนาตลาดทุนไทย (กรณีสนับสนุนการ ลงทุนในตราสารการเงินที่ออกเพื่อระดมทุนตามหลักศาสนาอิสลาม) คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2555 อนุมัติให้ลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะและอากรแสตมป์ ให้แก่ ผู้ถือศุกูก ทรัสตี และผู้ระดมทุน สาหรับเงินได้ มูลค่าของฐานภาษี รายรับและการกระทาตราสารที่เกิดขึ้นหรือเนื่องมาจากธุรกรรมที่เกิดขึ้นตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์ที่เกี่ยวกับ การออกศุกูกตามกฎหมายว่าด้วยทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุนและกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์บางกรณี 2. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาดาเนินมาตรการลดภาระค่าครองชีพของประชาชนด้านการเดินทาง (ระยะที่ 11 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2555 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2556) คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2555 เห็นชอบการขยายระยะเวลาดาเนินมาตรการลดภาระ ค่าครองชีพของประชาชนด้านการเดินทางต่อไปเป็นระยะที่ 11 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2555 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2556 โดยสานักงบประมาณประมาณการในเบื้องต้นว่าจะเกิดภาระต่องบประมาณในปีงบประมาณ 2557 จานวน 2,108.34 ล้านบาท

-3-


3. เรื่อง การบริหารโครงการลงทุนภายใต้พระราชกาหนดในอานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟูและ เสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 และเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐาน (Development Policy Loan : DPL) ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2555 รับทราบการขยายระยะเวลาการดาเนินโครงการ พ.ร.ก. ให้อานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 หลังจากปีงบประมาณ 2555 วงเงินประมาณ 12,575.8 ล้านบาท เฉพาะในส่วนของโครงการเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (Development Policy Loan : DPL) ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็งฯ 4. เรื่อง ผลการประชุมของคณะกรรมการบริหารจัดการน้าและอุทกภัย ครั้งที่ 10/2555 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2555 อนุมัติให้ติดตั้งสถานีสูบน้าคลองพระพิมล 2 วงเงิน 170 ล้านบาท โดยให้ได้รับการจัดสรรงบประมาณจากเงินกู้ภายใต้ พ.ร.ก. ให้อานาจกระทรวง การคลังกู้เงินเพื่อวางระบบบริหารจัดการน้าและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 (350,000 ล้านบาท) 5. เรื่อง การกู้เงินเพื่อใช้ในโครงการรับจานาข้าวเปลือกนาปรัง ปี 2555 ของธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2555 อนุมัตใิ ห้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส.) ใช้เงินกู้โครงการรับจานาข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55 วงเงิน 105,910 ล้านบาท เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายโครงการรับจานาข้าวเปลือกนาปรัง ปีการผลิต 2555 เพิ่มเติมจากวงเงิน 120,000 ล้านบาท จานวน 8 ล้านตัน เป็นวงเงิน 161,000 ล้านบาท จานวน 11.11 ล้านตัน รวมทั้ง ให้ ธ.ก.ส. กู้เงินเพื่อบริหารจัดการหนี้เงินกู้ด้วยการ Refinance หรือ Roll over หรือ Prepayment โดยกระทรวงการคลังค้าประกันต้นเงินกู้และดอกเบี้ย และรัฐบาลรับภาระชาระคืนต้นเงินและดอกเบี้ย จากการกู้เงิน และค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นจริงจากการดาเนินโครงการทั้งหมด 6. เรื่อง การรับประกันภัยข้าวนาปี ปีการผลิต 2555 โดยกองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติและ การแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติ คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2555 รับทราบความคืบหน้าการดาเนินโครงการประกันภัย ข้าวนาปี ปี 2555 และเห็นชอบรูปแบบการประกันภัยทีใ่ ห้ภาคเอกชนผู้รับประกันภัยเข้ามามีส่วนร่วม ในการรับประกันภัยในโครงการในสัดส่วนร้อยละ 0.25 โดยได้กาหนดอัตราเบี้ยประกันภัยที่ 120 บาท ต่อไร่ สาหรับวงเงินความคุ้มครอง 1,111 บาทต่อไร่ ตลอดช่วงการเพาะปลูก สาหรับภัยธรรมชาติ และ 555 บาทต่อไร่ สาหรับภัยศัตรูพืชและโรคระบาด โดยอัตราเบี้ยประกันภัยดังกล่าวคิดเป็นร้อยละ 10.8 ของวงเงินความคุ้มครองสูงสุด นอกจากนี้ยังแต่งตั้งให้นายมานพ นาคทัต เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติแทนกรรมการรายที่ลาออก 7. แผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจาปีงบประมาณ 2556 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2555 อนุมัติแผนการบริหารหนี้สาธารณะประจาปี งบประมาณ 2556 ซึ่งประกอบด้วย แผนการก่อหนี้ใหม่ แผนการปรับโครงสร้างหนี้ และแผนการบริหาร ความเสี่ยง วงเงินรวม 1,920,133.15 ล้านบาท และรับทราบแผนการบริหารจัดการหนี้ของรัฐวิสาหกิจ -4-


ที่ไม่ต้องขออนุมัติภายใต้กรอบแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจาปีงบประมาณ 2556 วงเงิน 127,885.21 ล้านบาท 8. เรื่อง กรอบและงบประมาณของรัฐวิสาหกิจประจาปีงบประมาณ 2556 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2555 รับทราบประมาณการงบทาการของรัฐวิสาหกิจ ประจาปีงบประมาณ 2556 ที่คาดว่าจะมีกาไรสุทธิประมาณ 79,782 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2555 ร้อยละ 13.5 รวมทั้งแนวโน้มการดาเนินงานช่วงปี 2557-2559 ของรัฐวิสาหกิจที่คาดว่าผลประกอบการจะมีกาไรสุทธิ รวม 222,322 ล้านบาท (เฉลี่ยประมาณปีละ 74,107 ล้านบาท) และการเบิกจ่ายลงทุนรวม 2,305,426 ล้านบาท (เฉลี่ยประมาณปีละ 768,475 ล้านบาท) นอกจากนี้ยังเห็นชอบกรอบและงบประมาณของ รัฐวิสาหกิจประจาปีงบประมาณ 2556 วงเงินดาเนินการ จานวน 1,046,533 ล้านบาท และวงเงิน เบิกจ่ายลงทุน จานวน 637,111 ล้านบาท

-5-


สถานการณ์ดา้ นการคลัง หน่วย : พันล้านบาท

รวมทั้งปี งบประมาณ 2554 I รายได้ 1. ตามหน่วยงาน 1.1 กรมสรรพากร (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.2 กรมสรรพสามิต (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.3 กรมศุลกากร (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.4 รัฐวิสาหกิจ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.5 หน่วยงานอื่น (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) - ส่วนราชการอื่น - กรมธนารักษ์ 1.6 รวมรายได้จดั เก็บ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.7 รวมรายได้สุทธิ (หลังหักอปท.) (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2. ตามฐานภาษี 2.1 ฐานจากเงินได้ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2.2 ฐานจากการบริโภค (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2.3 ฐานจากการค้าระหว่างประเทศ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) II รายจ่าย 1.รายจ่ายรัฐบาลจากงบประมาณ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.1 งบประมาณปีปจั จุบนั (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.2 งบประมาณปีกอ่ น 2. รายจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ (15 กองทุน) 1/ - รายจ่าย - เงินให้กู้ยมื สุทธิ 3. รายจ่ายจากเงินกู้ตา่ งประเทศ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 4. รายจ่ายของอปท. 5. รายจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ III ดุลการคลัง 1. ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด 2. ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบ สศค. 2/ - รัฐบาล - อปท. 3. เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือน3/ IV ยอดหนีส้ าธารณะ 1. หนีร้ ัฐบาลกู้ตรง 2. หนีร้ ัฐวิสาหกิจ 3. หนีข้ องหน่วยงานภาครัฐอื่น 4. หนี้ FIDF 5. รวม 6. หนีค้ งค้าง/GDP (ปีปฏิทิน)% 7. หนีท้ ี่เป็นภาระงบประมาณ/GDP (ปีปฏิทิน)%

Q1

ปีงบประมาณ 2555 Q3 ก.ค.-55

Q2

ส.ค.-55

ก.ย.-55

รวม ต.ค. 54 - ก.ย. 55

1,515.7 19.9 399.8 (1.5) 102.9 5.9 98.8 7.9 107.3 (25.5) 102.7 4.6 2,224.4 11.0 1,892.3 11.0

278.7 6.4 83.2 (25.6) 27.2 7.2 35.3 35.7 27.3 4.6 26.6 0.7 451.7 0.1 398.4 0.7

323.2 10.1 96.1 (21.5) 30.6 13.5 21.9 34.8 31.0 4.1 26.2 2.5 500.4 3.3 412.9 2.8

536.3 7.2 95.6 (12.8) 31.5 19.0 13.9 7.6 32.3 5.8 28.2 0.9 721.3 3.8 620.5 3.2

100.7 13.9 34.0 33.8 10.0 19.6 8.6 86.1 4.8 34.1 4.7 0.1 158.1 21.2 126.9 25.1

262.7 (3.7) 36.8 33.1 10.5 2.8 3.4 (11.8) 17.0 (0.7) 16.9 0.1 330.4 (0.4) 295.9 (1.5)

114.5 23.7 34.0 8.1 9.2 (1.2) 24.9 137.1 8.9 43.9 8.8 0.1 191.5 27.7 122.8 18.5

1,616.2 6.6 379.7 (5.0) 118.9 15.6 122.7 24.2 115.7 7.9 111.4 4.4 2,353.3 5.8 1,977.5 4.5

891.8 22.1 977.0 7.6 100.2 7.0

121.5 3.3 228.6 (6.6) 26.8 8.5

149.6 7.6 257.0 (3.0) 30.0 13.9

352.4 4.1 265.5 0.9 31.0 19.7

39.6 4.7 90.3 25.5 9.9 23.1

199.9 (7.8) 95.0 19.4 9.9 2.3

41.6 8.8 102.0 25.9 9.0 (1.6)

904.6 1.4 1,038.4 6.3 116.6 16.4

2,177.9 22.1 2,050.5 26.0 127.4 382.8 357.8 25.0 3.0 878.9

489.8 (18.1) 439.4 (20.6) 50.5 157.0 147.7 9.3 (96.5)

779.5 39.0 731.6 41.5 47.9 64.4 57.0 7.4 (107.3)

459.9 (14.6) 435.7 (16.5) 24.2 60.7 59.4 1.3 3.3 1,710.5

179.2 25.3 171.2 23.7 8.0 29.0 28.7 0.3 0.4 (9.8)

159.5 11.1 153.0 12.9 6.5 24.2 20.2 4.0 3.1 -

227.3 17.5 217.6 17.9 9.7 25.6 23.4 2.2 3.1 145.5

2,295.3 5.4 2,148.5 4.8 146.9 360.9 336.4 24.5 9.9 231.6

(108.7)

(256.6)

(283.8)

211.5

(48.0)

6.8

64.9

(305.0)

(200.6)

(142.3)

(339.2)

164.6

(33.0)

132.3

(104.8)

(344.6)

521.3

264.7

74.5

424.9

402.0

463.9

560.3

560.3

3,181.2 1,236.7 30.4 4,448.3 42.3 32.4

3,088.5 1,208.8 4,297.3 40.3 31.3

3,268.4 1,198.5 6.2 4,473.1 41.4 32.2

3,506.3 1,275.2 10.0 4,791.5 43.5 -

3,571.0 1,329.6 7.5 4,908.0 44.3 -

3,629.4 1,376.0 6.5 5,011.9 44.9

หมายเหตุ 1/ ประกอบด้วย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้​้ามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการท้าของ กองทุนเงินให้กยู้ ืมเพือ่ การศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจ กองทุนอ้อยและน้​้าตาล กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพือ่ การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนช่วยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจยั 2/ ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบสถิติเพือ่ การศึกษาและวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค.) เป็นผลรวมของดุลการคลังรัฐบาล และดุลการคลังของ อปท. 3/ ตั้งแต่ปงี บประมาณ 2551 เงินคงคลังจะไม่รวมเงินอื่น (บัตรภาษี) และเงินฝากธนาคารกรุงไทย จ้ากัด (มหาชน) รวบรวมโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ ส้านักนโยบายการคลัง ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง

-6-


สถานการณ์ด้านรายได้  ปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 – กันยายน 2555) รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 1,977,453 ล้านบาท สอดคล้องกับประมาณการ (1.98 ล้านล้านบาท) และสูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 4.5 ตารางสรุปรายได้รัฐบาลปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 – กันยายน 2555)* หน่วย: ล้านบาท

ที่มาของรายได้ กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่น รายได้สุทธิ **

ปีนี้ 1,616,176 379,653 118,943 122,749 115,746 1,977,453

เทียบปีนี้กับ เทียบปีนี้กับ ประมาณการ ปีที่แล้ว (%) (%) -0.5 6.6 -6.3 -5.0 12.7 15.6 18.0 24.2 7.8 7.9 -0.1 4.5

หมายเหตุ: * ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 8 ตุลาคม 2555 ** รายได้สุทธิหลังจัดสรรให้ อปท. ผลการจัดเก็บรายได้ อง กรมในสังกัดกระทรวงการคลัง ปีงบประมาณ เดอนตุลาคม - กันยายน ล้านบาท 2,500,000 จัดเก บ ประมาณการ จัดเก บ

2,135,300

1,500,000

2,114,77

2,018,32

2,000,000 1,624,800 1,616,17 1,515,666

1,000,000

500,000

399,779 405,000 379,65 102,882

105,500

118,943

0 กรมสรรพากร

กรมสรรพสามิต

กรมศุลกากร

รวม กรม

ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลสุทธิ ปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 – กันยายน 2555) มีจานวนทั้งสิ้น 1,977,453 ล้านบาท สอดคล้องกับประมาณการ (1.98 ล้านล้านบาท) และสูงกว่าผลการจัดเก็บ รายได้ องปีงบประมาณ 2554 จานวน 85,135 ล้านบาท (ร้อยละ 4.5) โดยมี ปัจจัยสาคัญที่ส่งผลต่อการจัดเกบรายได้ ได้แก่ 1) ผลกระทบจากน้าท่วมเมื่อปลายปี 2554 รวมทั้งการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษี ของสานักงานคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน (BOI) ในเรื่องการลงทุนสีเขียว และการตั้งสารองเผื่อหนี้สูญของธนาคาร พาณิชย์ได้ส่งผลให้การจัดเกบภาษีเงินได้ นิติบุคคลต่ากว่าประมาณการ 55,354 ล้านบาท และ 2) มาตรการช่วยเหลือ ค่าครองชีพของประชาชนผ่านการขยายเวลา การลดอัตราภาษีน้ามันดีเซลเหลือลิตรละ 0.005 บาท ส่งผลให้การจัดเกบภาษีน้ามัน ต่ากว่าประมาณการ 44,939 ล้านบาท สาหรับปัจจัยบวกที่ส่งผลดีต่อการจัดเกบ รายได้ของรัฐบาลในปีงบประมาณ 2555 ได้แก่ 1) อุปสงค์ภายในประเทศที่แขงแกร่งและ การฟื้นตัวอย่างรวดเรวของภาคการผลิต ภายหลังวิกฤตอุทกภัยส่งผลให้ภาษีมูลค่าเพิ่ม และอากรขาเข้าจัดเกบได้สูงกว่าประมาณการ 30,998 และ 13,195 ล้านบาท ตามลาดับ สอดคล้องกับการคาดการณ์ของกระทรวง การคลัง (ณ เดือนกันยายน 2555) ที่คาดว่า การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนที่แท้จริง ในปี 2555 จะขยายตัวในอัตราสูงที่สุดในรอบ

-7-


สัดส่วนผลการจัดเก็บรายได้ องกรมสรรพากรแยกตามราย า ี ปีงบประมาณ ตุลาคม - กันยายน า ีธรุ กิจเฉพาะ อากรแสตมป า ีเงินได้ปโตรเลียม รายได้อ่น

า ีมูลค่าเพิ่ม

า เี งินได้บุคคล ธรรมดา

า ีเงินได้นิตบิ ุคคล

สัดส่วนผลการจัดเก็บรายได้ องกรมสรรพสามิตแยกตามราย า ี ปีงบประมาณ ตุลาคม - กันยายน า ีอ่น

า ีสุรา

า ีน้ามัน

า ียาสูบ า ีรถยนต์

า ีเบียร์

สัดส่วนผลการจัดเก็บรายได้ องกรม ลุ กากรแยกตามราย า ี ปีงบประมาณ ตุลาคม - กันยายน อากร าออก

รายได้อ่น

อากร าเ ้า

สัดส่วนการนาส่งรายได้รัฐวิสาหกิจแยกตามสา า ปีงบประมาณ ตุลาคม - กันยายน สถาบันการเงิน สังคมและเทคโนโลยี พาณิชย์และบริการ

กิจการที่กระทรวงการคลัง ถอหุ้นต่ากว่าร้อยละ พลังงาน

เก ตรและทรัพยากร ธรรมชาติ อุตสาหกรรม

สาธารณูปการ

ส่อสาร

นส่ง

8 ปี ที่ร้อยละ 5.2 และ ร้อยละ 14.1 ตามลาดับ โดยการลงทุนภาคเอกชนที่ขยายตัว ในระดับสูงจะเป็นปัจจัยสนับสนุนการจัดเกบ ภาษีในอนาคตอีกด้วย และ 2) การฟื้นตัว ของอุตสาหกรรมรถยนต์หลังจากมหาอุทกภัย และโครงการรถยนต์คันแรกของรัฐบาล ได้ส่งผลให้การจัดเกบภาษีสรรพสามิตรถยนต์ สูงกว่าประมาณการ 10,145 ล้านบาท ผลการจัดเก็บรายได้ตามหน่วยงานจัดเก็บ สรุปได้ ดังนี้  กรมสรรพากร จัดเกบรายได้รวม 1,616,176 ล้านบาท สูงกว่าปีที่แล้วร้อยละ 6.6 เนื่องจากภาษีมูลค่าเพิ่มจัดเกบได้สูงกว่า ประมาณการ 30,998 ล้านบาท (สูงกว่า ปีที่แล้วร้อยละ 14.1) จากการบริโภค ภายในประเทศและมูลค่านาเข้าที่ขยายตัวได้ดี และภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจัดเกบได้ สูงกว่าประมาณการ 12,091 ล้านบาท (สูงกว่า ปีที่แล้วร้อยละ 12.6) จากภาษีที่เกบจาก ฐานดอกเบี้ย เงินเดือนและการขาย อสังหาริมทรัพย์ที่สูงกว่าประมาณการเป็นสาคัญ แต่อย่างไรกดี กรมสรรพากรจัดเกบรายได้ ต่ากว่าเป้าหมาย 8,624 ล้านบาท หรือ เพียงร้อยละ 0.5 โดยมีสาเหตุมาจากการจัดเกบ ภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ต่ากว่าประมาณการ 55,354 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.2 (ต่ากว่า ปีที่แล้วร้อยละ 5.2) เนื่องจากได้รับผลกระทบ จากเหตุการณ์น้าท่วมเมื่อปลายปี 2554  กรมสรรพสามิต จัดเกบรายได้รวม 379,653 ล้านบาท ต่ากว่าเป้าหมาย 25,347 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.3 (ต่ากว่าปีที่แล้วร้อยละ 5.0) เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายช่วยลดภาระ

-8-


ค่าครองชีพของประชาชนโดยการขยายเวลา การลดอัตราภาษีน้ามันดีเซลเหลือลิตรละ 0.005 บาท ส่งผลให้จัดเกบภาษีน้ามัน ต่ากว่าประมาณการ 44,939 ล้านบาท หรือร้อยละ 42.4 ถึงแม้ว่าจะสามารถ จัดเกบภาษีสรรพสามิตรถยนต์ได้สูงกว่า ประมาณการถึง 10,145 ล้านบาท และ สูงกว่าปีที่แล้วร้อยละ 26.2 กตาม เนื่องจาก การฟื้นตัวของอุตสาหกรรมรถยนต์จาก มหาอุทกภัยและโครงการรถยนต์คันแรก ของรัฐบาล  กรม ุลกากร จัดเกบรายได้รวม 118,943 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย 13,443 ล้านบาท หรือร้อยละ 12.7 (สูงกว่าปีที่แล้ว ร้อยละ 15.6) สาเหตุสาคัญมาจากการจัดเกบ อากรขาเข้าได้สูงกว่าประมาณการ 13,195 ล้านบาท สอดคล้องกับมูลค่าการนาเข้า วัตถุดิบและเครื่องจักรที่เพิ่มขึ้นตามการฟื้นตัว ของภาคการผลิตหลังวิกฤตอุทกภัย โดยสินค้า ที่จัดเกบอากรขาเข้าได้สูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ (1) รถยนต์และส่วนประกอบ (2) เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ บอยเลอร์ เครื่องจักร เครื่องใช้กลและส่วนประกอบฯ (3) เครื่องจักรไฟฟ้า เครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้า และ ส่วนประกอบฯ (4) เหลกและเหลกกล้า และ (5) พลาสติกและของที่ทาด้วยพลาสติก  รัฐวิสาหกิจ นาส่งรายได้ รวม 122,749 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย 18,749 ล้านบาท หรือร้อยละ 18.0 (สูงกว่าปีที่แล้ว ร้อยละ 24.2) โดยมีสาเหตุจากการนาส่งรายได้ ที่สูงกว่าประมาณการของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) และโรงงานยาสูบ เป็นสาคัญ

-9-


 หน่วยงานอ่น จัดเกบรายได้รวม 115,746 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 8,346 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.8 (สูงกว่า ปีที่แล้วร้อยละ 7.9) มีสาเหตุสาคัญจาก (1) กรมศุลกากรส่งคืนเงินกันไว้เพื่อชดเชย ค่าภาษีอากรสาหรับผู้ส่งออกสินค้าเหลือจ่าย จานวน 4,655 ล้านบาท (2) กรมสรรพสามิต นาส่งเงินค่าใช้จ่ายเกบภาษีท้องถิ่นคืนเป็น รายได้แผ่นดินจานวน 2,000 ล้านบาท (3) กองทุนพัฒนาน้าบาดาลนาส่งรายได้ 2,000 ล้านบาท และ (4) สานักงาน คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนนาส่งคืน รายจ่ายของนักเรียนทุนในต่างประเทศจานวน 1,621 ล้านบาท  ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลเบ้องต้น (Gross) จากหน่วยงานจัดเก็บประกอบด้วย กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรม ุลกากร รัฐวิสาหกิจและส่วนราชการอ่น มีจานวน ทั้งสิ้น 2,353,267 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 6,567 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.3 และสูงกว่า ปีที่แล้ว 128,889 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.8  การคน า ี องกรมสรรพากร จานวน 255,333 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย 5,333 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.1 โดยเป็น การคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม 212,361 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 12,361 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.2 ขณะที่การคืนภาษีอื่นๆ มีจานวน 42,972 ล้านบาท ต่ากว่าประมาณการ 7,028 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.1  ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลสุทธิ (Net) ก่อนหักการจัดสรรให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น มีจานวนทั้งสิ้น 2,067,348 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 448 ล้านบาท และสูงกว่าปีงบประมาณ 2554 จานวน 100,474 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.1

- 10 -


 การจัดสรร า ีมูลค่าเพิ่มให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ตาม พ.ร.บ. กาหนดแผนและ ั้นตอนการกระจายอานาจ ให้แก่ อปท. รวมทั้งสิ้น 89,895 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 2,995 ล้านบาทหรือ ร้อยละ 3.4 (สูงกว่าปีที่แล้วร้อยละ 20.6) เป็นผลจากการจัดเกบภาษีมูลค่าเพิ่มได้สูงกว่า ที่ประมาณการ  ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลสุทธิ (Net) หลังหักการจัดสรรให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น มีจานวนทั้งสิ้น 1,977,453 ล้านบาท ต่ากว่าประมาณการ 2,547 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.1 แต่สูงกว่าปีงบประมาณ 2554 จานวน 85,135 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.5 (รายละเอียดตามตารางที่ 2)

- 11 -


ตารางที่ 1 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลเบือ้ งต้น เดือนกันยายน 2555

1/ หน่วย : ล้านบาท

เปรียบเทียบปีนี้กบั ปีที่แล้ว ที่มาของรายได้

ปีนี้

ปีที่แล้ว

จานวน

ร้อยละ

ปมก.ตามเอกสาร งปม.ทั้งปีเท่ากับ

เปรียบเทียบปีนี้ กบั ปมก. เอกสาร งปม.

จานวน

ร้อยละ

1,980,000 ล้านบาท

114,508 68,062 21,326 20,267 12 3,791 1,028 22 33,997

92,568 49,617 19,489 18,738 19 3,521 1,161 23 31,437

21,940 18,445 1,837 1,529 (7) 270 (133) (1) 2,560

23.7 37.2 9.4 8.2 (36.8) 7.7 (11.5) (4.3) 8.1

99,179 55,020 20,022 19,235 22 3,916 942 22 37,169

15,329 13,042 1,304 1,032 (10) (125) 86 (3,172)

15.5 23.7 6.5 5.4 (45.5) (3.2) 9.1 (8.5)

5,036 14,089 4,981 4,012 4,048 1,183 242 186 100 98 22

4,751 9,644 5,542 5,628 4,055 1,196 208 198 102 93 20

285 4,445 (561) (1,616) (7) (13) 34 (12) (2) 5 2

6.0 46.1 (10.1) (28.7) (0.2) (1.1) 16.3 (6.1) (2.0) 5.4 10.0

13,106 8,825 4,512 4,727 4,290 1,136 200 190 80 88 15

(8,070) 5,264 469 (715) (242) 47 42 (4) 20 10 7

(61.6) 59.6 10.4 (15.1) (5.6) 4.1 21.0 (2.1) 25.0 11.4 46.7

9,162 9,023 2 136

9,268 9,140 29 99

(106) (117) (27) 37

(1.1) (1.3) (92.4) 37.4

9,200 9,000 10 190

(38) 23 (8) (54)

(0.4) 0.3 (78.1) (28.4)

157,667

133,273

24,394

18.3

145,548

12,119

8.3

4. รั ฐวิสาหกิ จ

24,869

10,490

14,379

137.1

10,776

14,093

130.8

5. หน่วยงานอื่ น

8,930 8,814 116 191,466

6,206 5,988 218 149,969

2,724 2,826 (102) 41,497

5,624 5,447 177 161,948

3,306 3,367 (61) 29,518

20,320 18,637 1,683 1,097 2,188 126,364

4,884 5,367 (483) 383 372 35,858

43.9 47.2 (46.8) 27.7 24.0 28.8 (28.7) 34.9 17.0 28.4

18,000 15,000 3,000 1,194 2,363 140,391

7,204 9,004 (1,800) 286 197 21,831

58.8 61.8 (34.5) 18.2 40.0 60.0 (60.0) 24.0 8.3 15.5

39,375

22,722

16,653

73.3

39,000

375

1.0

122,847

103,642

19,205

18.5

101,391

21,456

21.2

1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7

ภาษีมูลค่ าเพิ่ ม ภาษีเงินได้ นิติ บคุ คล ภาษีเงินได้ บคุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้ ปโิ ตรเลียม ภาษีธุรกิ จเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้ อื่ น

2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีนามั ้ นฯ 2.2 ภาษีรถยนต์ 2.3 ภาษีเบียร์ 2.4 ภาษียาสูบ 2.5 ภาษีสรุ าฯ 2.6 ภาษีเครือ่ งดื่ ม 2.7 ภาษีรถจักรยานยนต์ 2.8 ภาษีแบตเตอรี่ 2.9 ภาษีเครือ่ งไฟฟ้ า 2.10 ภาษีโทรคมนาคม 2.10 ภาษีอื่ น 2/ 2.11 รายได้ อื่ น 3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้ อื่ น

รวมรายได้ 3 กรม

5.1 ส่วนราชการอื่ น 5.2 กรมธนารักษ์

รวมรายได้จดั เก็บ (Gross)

3/

หัก

25,204 24,004 1,200 1,480 2,560 162,222

1. คื นภาษี ของกรมสรรพากร - ภาษีมลู ค่าเพิ่ม - ภาษีอื่น 2. จัด สรรรายได้ จาก VAT ให้ อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษี สาหรับสินค้ าส่งออก

รวมรายได้สุทธิ (Net) หักเงิ นจัดสรรจาก VAT ให้ อปท. ตาม พรบ. กาหนดแผนฯ

รวมรายได้สุทธิหลังหักการจัดสรรแล้ว หมายเหตุ

5/

4/

4/ 4/

1/

ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 8 ตุลาคม 2555

2/

ภาษีไพ่ แก้วฯ เครื่องหอม พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารทาลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้าหรืออบตัวและนวด

3/

ข้อมูลจากระบบ GFMIS

4/

ตัวเลขคาดการณ์

5/

การจัดสรรภาษีมลู ค่าเพิ่มให้แก่ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ งวดที่ 8 - 12 ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทาโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง

- 12 -


ตารางที่ 2 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลปีงบประมาณ 25551/ ( ตุลาคม 2554 - กันยายน 2555 ) หน่วย : ล้านบาท

เปรียบเทียบปีนี้กบั ปีที่แล้ว ที่มาของรายได้ 1. กรมสรรพากร 1.1 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1.2 ภาษีเงินได้นิติบคุ คล 1.3 ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา 1.4 ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม 1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป์ 1.7 รายได้อื่น

2. กรมสรรพสามิต 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9

ภาษีนามั ้ นฯ ภาษีรถยนต์ ภาษีเบียร์ ภาษียาสูบ ภาษีสรุ าฯ ภาษีเครือ่ งดื่ม ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีเครือ่ งไฟฟ้า

2.10 ภาษีอื่น 3/ 2.11 รายได้อื่น

3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่น

รวมรายได้ 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หน่วยงานอืน่ 5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์

รวมรายได้จดั เก็บ (Gross)

ปีนี้ 1,616,176 659,198 544,446 266,091 94,097 40,827 11,154 363 379,653

ปีที่แล้ว

จานวน

ร้อยละ

ปมก.ตามเอกสาร งปม.ทั้งปีเท่ากับ 1,980,000 ล้านบาท

เปรียบเทียบปีนี้กบั ปมก. เอกสาร งปม.

จานวน

ร้อยละ

1,515,666 577,632 574,059 236,339 81,444 35,614 10,299 279 399,779

100,510 81,566 (29,613) 29,752 12,653 5,213 855 84 (20,126)

6.6 14.1 (5.2) 12.6 15.5 14.6 8.3 30.1 (5.0)

1,624,800 628,200 599,800 254,000 94,000 38,000 10,550 250 405,000

(8,624) 30,998 (55,354) 12,091 97 2,827 604 113 (25,347)

(0.5) 4.9 (9.2) 4.8 0.1 7.4 5.7 45.2 (6.3)

117,914 92,844 61,498 57,197 48,624 14,526 2,284 2,197 1,183 1,088 424 102,882 99,968 241 2,673 2,018,327 98,795

(56,853) 24,301 3,395 2,718 4,876 1,682 34 (71) (206) 11 (13) 16,061 16,327 82 (348) 96,445 23,954

(48.2) 26.2 5.5 4.8 10.0 11.6 1.5 (3.2) (17.4) 1.0 (3.1) 15.6 16.3 34.0 (13.0) 4.8 24.2

106,000 107,000 61,500 57,000 51,400 14,900 2,400 2,300 1,000 1,105 395 105,500 103,100 100 2,300 2,135,300 104,000

(44,939) 10,145 3,393 2,915 2,100 1,308 (82) (174) (23) (6) 16 13,443 13,195 223 25 (20,528) 18,749

(42.4) 9.5 5.5 5.1 4.1 8.8 (3.4) (7.6) (2.3) (0.5) 4.1 12.7 12.8 223.0 1.1 (1.0) 18.0

107,256 102,687 4,569 2,224,378

8,490 8,685 (195) 128,889

7.9 8.5 (4.3) 5.8

107,400 103,000 4,400 2,346,700

8,346 8,372 (26) 6,567

7.8 8.1 (0.6) 0.3

230,014 188,471 41,543 12,677 14,813 1,966,874

25,319 23,890 1,429 2,094 1,002 100,474

11.0 12.7 3.4 16.5 6.8 5.1

250,000 200,000 50,000 13,800 16,000 2,066,900

5,333 12,361 (7,028) 971 (185) 448

2.1 6.2 (14.1) 7.0 (1.2) 0.0

89,895

74,556

15,339

20.6

86,900

2,995

3.4

1,977,453

1,892,318

85,135

4.5

1,980,000

(2,547)

(0.1)

2/

61,061 117,145 64,893 59,915 53,500 16,208 2,318 2,126 977 1,099 411 118,943 116,295 323 2,325 2,114,772 122,749 115,746 111,372 4,374 2,353,267

4/

หัก 1. คื นภาษี ของกรมสรรพากร - ภาษีมลู ค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัด สรรรายได้ จาก VAT ให้ อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษี สาหรับสินค้ าส่งออก

รวมรายได้สุทธิ (Net) หักเงินจัดสรรจาก VAT ให้ อปท. ตาม พรบ. กาหนดแผนฯ

รวมรายได้สุทธิหลังหักการจัดสรร อปท. หมายเหตุ

255,333 212,361 42,972 14,771 15,815 2,067,348

5/

5/ 5/

1/

ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 8 ตุลาคม 2555

2/

เดือนสิงหาคม 2555 รวมผลการจัดเก็บภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลที่กรมสรรพากรได้ขยายเวลากรณีการยื่นแบบฯ ผ่านอินเทอร์เน็ต

3/

ภาษีไพ่ เครื่องแก้ว เครื่องหอม พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารทาลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้าหรืออบตัวและนวด

4/

ข้อมูลจากระบบ GFMIS

5/

เดือนตุลาคม 2554 - สิงหาคม 2555 เป็นตัวเลขจริง และเดือนกันยายน 2555 เป็นตัวเลขคาดการณ์ ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทาโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง

- 13 -


สถานการณ์ด้านรายจ่าย  พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2555 ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 129 ตอนที่ 15 ก เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2555 กาหนดวงเงินงบประมาณรายจ่ายจานวน 2,380,000 ล้านบาท สูงกว่าวงเงินปีงบประมาณ 2554 ร้อยละ 9.7 โดยแบ่งเป็นรายจ่ายประจา 1,840,673 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีที่เเล้วร้อยละ 10.4 รายจ่ายลงทุน 438,555 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีที่เเล้ว ร้อยละ 23.4 รายจ่ายชาระคืนต้นเงินกู้ 46,854 ล้านบาท และงบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง 53,918 ล้านบาท โครงสร้างงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2555

โครงสร้างงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณรายจ่าย (สัดส่วนต่อ GDP) - รายจ่ายประจา (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายชาระคืนต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) 2. รายรับ (สัดส่วนต่อ GDP) - รายได้ - เงินกู้ 3. ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP)

ปีงบประมาณ 2554 เพิ่ม/ลด จานวน ร้อยละ 2,169,968 27.6 20.0 1,667,440 16.2 76.8 114,489 100.0 5.3 355,485 65.8 16.4 32,555 -36.1 1.5 2,169,968 27.6 20.0 1,770,000 31.1 399,968 14.3 10,867,600 7.6

หน่วย : ล้านบาท

ปีงบประมาณ 2555 เพิ่ม/ลด จานวน ร้อยละ 2,380,000 9.7 20.2 1,840,673 10.4 77.3 53,918 -52.9 2.2 438,555 23.4 18.4 46,854 43.9 2.0 2,380,000 9.7 20.2 1,980,000 11.9 400,000 0.01 11,794,200 8.5

หมายเหตุ : งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 รวมงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 จานวน 99,967.5 ล้านบาท ที่มา : สานักงบประมาณ

- 14 -


 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2555 เห็นชอบการกาหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณ รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ที่อัตราร้อยละ 93.0 และกาหนดเป้าหมายการเบิกจ่าย รายจ่ายลงทุนไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 72.0 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน โดยได้กาหนดเป้าหมาย การเบิกจ่ายรายไตรมาส ดังนี้ หน่วย : ล้านบาท

ไตรมาสที่

เป้าหมายการ เบิกจ่าย แต่ละไตรมาส

1 2 3 4

476,000 523,600 595,000 618,800

เป้าหมายการเบิกจ่าย เป้าหมายอัตรา เบิกจ่าย สะสม ณ สิ้นไตรมาส การเบิกจ่ายสะสม สะสม ณ สิ้นไตรมาส (%) 476,000 20 439,360 999,600 42 1,170,916 1,594,600 67 1,606,627 2,213,400 93 2,148,475

อัตรา เบิก จ่าย (%) 18.5 49.2 67.5 90.3

 เดือนกันยายน 2555 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณจานวน รวมทั้งสิ้น 227,347 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกัน ปีที่แล้ว 33,936 ล้านบาท หรือร้อยละ 17.5

ประกอบด้วย 1) การเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2555 จานวน 217,642 ล้านบาท สูงกว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 32,994 ล้านบาท หรือร้อยละ 17.9 แบ่งเป็น รายจ่ายประจา 173,258 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 44,384 ล้านบาท โดยมี การเบิกจ่ายรายการที่สาคัญ คือ รายจ่ายชาระหนี้ 49,756 ล้านบาท เงินอุดหนุนกรมส่งเสริม การปกครองส่วนท้องถิ่น 6,777 ล้านบาท และ เงินอุดหนุนกระทรวงศึกษาธิการ 5,931 ล้านบาท 2) การเบิกจ่ายรายจ่ายปีก่อน มีจานวน 9,705 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 942 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 10.7

 ปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 – กันยายน 2555) รัฐบาลได้เบิกจ่ายเงินแล้วจานวนรวมทั้งสิ้น ประกอบด้วย 2,295,327 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 1) การเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 117,432 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.4 2555 จานวน 2,148,475 ล้านบาท คิดเป็น อัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 90.3 ของวงเงิน งบประมาณ 2,380,000 ล้านบาท สูงกว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 97,935 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.8

- 15 -


แบ่งเป็น รายจ่ายประจา 1,873,067 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 95.3 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา หลังโอนเปลี่ยนแปลง (1,964,439 ล้านบาท) รายจ่ายลงทุน 275,408 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 66.3 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลัง โอนเปลี่ยนแปลง (415,561 ล้านบาท) - การเบิกจ่ายงบกลาง มีจานวน 353,567 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 88.4 ของงบประมาณงบกลาง (399,8851 ล้านบาท) โดยมีการเบิกจ่ายรายการ ที่สาคัญ ได้แก่ - เงินเบี้ยหวัด บาเหน็จ บานาญ 123,772 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 110.1 - เงินสารอง เงินสมทบ และเงินชดเชยของ ข้าราชการ 34,773 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 108.2 - ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ 61,587 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 99.6 - ค่าใช้จ่ายในการเยียวยา ฟื้นฟู และป้องกัน ความเสียหายจากอุทกภัยอย่างบูรณาการ 99,759 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 83.1 - เงินสารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น 24,749 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 39.7 2) การเบิกจ่ายรายจ่ายปีก่อน มีจานวน 146,852 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 67.8 ของวงเงินรายจ่าย ปีก่อน (216,564 ล้านบาท) สูงกว่าช่วงเดียวกัน ปีที่แล้ว 19,496 ล้านบาท หรือร้อยละ 15.3

1

รัฐบาลโอนเปลี่ยนแปลงวงเงินรายจ่ายงบกลางโดยปรับลดจาก 422,211 ล้านบาท เป็น 353,569 ล้านบาท เป็นการปรับลดรายการค่าใช้จา่ ย การปรับเพิ่มเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของข้าราชการ ลูกจ้างประจา ลูกจ้างชั่วคราว พนักงานราชการ และทหารกองประจาการ 12,800 ล้านบาท และเงินเลื่อนเงินเดือนและเงินปรับวุฒิข้าราชการ 9,766 ล้านบาท ไปปรับเพิ่มในรายจ่ายงบบุคคลากร นอกจากนี้ เงินเบี้ยหวัด บาเหน็จ บานาญมีการปรับเพิ่มจาก 108,094 ล้านบาท เป็น 112,439 ล้านบาท รวมถึงเงินชดเชยค่างานสิ่งก่อสร้าง 2,700 ล้านบาท และ เงินสารองจ่ายเพื่อกรณีฉกุ เฉินหรือจาเป็น 65,700 ล้านบาท มีการปรับลดเป็น 1,700 ล้านบาท และ 62,355 ล้านบาท ตามลาดับ

- 16 -


 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุน - เดือนกันยายน 2555 มีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการ ลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 จานวน ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ในเดือนกันยายน 2555 จานวน 4,184 ล้านบาท 4,184 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.2 ของวงเงินที่ได้รับ อนุมัตจิ านวน 348,940 ล้านบาท2 และปีงบประมาณ 2555 มีการเบิกจ่ายทั้งสิ้น 24,422 ล้านบาท  การเบิกจ่ายสะสมตั้งแต่เริ่มโครงการลงทุนภายใต้ แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็งมีจานวนรวมทั้งสิ้น 320,186 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 91.8 ของวงเงิน ที่ได้รับอนุมัติ จานวน 348,940 ล้านบาท

2 3 4

- การเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการ ไทยเข้มแข็งสะสมตั้งแต่เริ่มโครงการมีจานวนรวมทั้งสิ้น 320,186 ล้านบาท3 คิดเป็นร้อยละ 91.8 ของวงเงิน ที่ได้รับอนุมัตจิ านวน 348,940 ล้านบาท - สาหรับสาขาที่มีการเบิกจ่ายสะสมสูงสุด 3 อันดับแรก คือ สาขาการประกันรายได้และการดาเนินงานอื่นๆ ทีเ่ กี่ยวข้องมีการเบิกจ่าย 40,000 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 100.0 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (40,000 ล้านบาท) สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีการเบิกจ่าย 182.3 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 99.9 ของวงเงินที่ได้รับ การอนุมัติ (182.4 ล้านบาท) และสาขาเศรษฐกิจ เชิงสร้างสรรค์มีการเบิกจ่าย 1,276 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 97.3 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (1,311 ล้านบาท) - ในขณะที่สาขาที่มีการเบิกจ่ายสะสมต่าสุด 3 อันดับ คือ สาขาพัฒนาการท่องเที่ยวมีการเบิกจ่าย 2,689 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 49.9 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (5,390 ล้านบาท) สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุขพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานมีการเบิกจ่าย 10,507 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 73.5 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (14,302 ล้านบาท) และสาขาพลังงาน4 มีการเบิกจ่าย 10 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 78.8 ของวงเงิน ที่ได้รับอนุมัติ (12 ล้านบาท)

มติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ 28 ธันวาคม 2553 ได้มีมติอนุมตั ิให้ยกเลิกวงเงินเหลือจ่ายคงเหลือ จานวน 1,020 ล้านบาท ทาให้เหลือวงเงินที่ได้รับอนุมัติ จานวนทั้งสิน้ 348,940 ล้านบาท จากวงเงินที่ได้รับอนุมตั ิเดิม จานวน 349,960 ล้านบาท เป็นการเบิกจ่ายจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัตกิ ารไทยเข้มแข็ง จนถึงสิน้ สุดปีงบประมาณ 2554 จานวน 295,763 ล้านบาท คณะรัฐมนตรีมีมติ เมือ่ วันที่ 28 ธันวาคม 2553 รับทราบการยกเลิกโครงการในสาขาพลังงาน 2 โครงการ ได้แก่ โครงการชุมชนเข้มแข็งด้วยพลั งงาน ทดแทน จานวน 56 ล้านบาท และโครงการพัฒนาชุมชนในพื้นที่ห่างไกลด้วยเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ จานวน 106 ล้านบาท ทาให้มวี งเงินที่ได้รับ อนุมตั ิคงเหลือทั้งสิน้ 12 ล้านบาท จากวงเงินที่ได้รับอนุมตั ิเดิม จานวน 174 ล้านบาท

- 17 -


 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ - ปีงบประมาณ 2555 มีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบ เศรษฐกิจจานวนทั้งสิ้น 2,319,749 ล้านบาท แบ่งเป็น ทั้งสิ้น 2,319,749 ล้านบาท งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2555 จานวน 2,148,475 ล้านบาท รายจ่ายปีก่อน 146,852 ล้านบาท และโครงการลงทุนไทยเข้มแข็ง 2555 จานวน 24,422 ล้านบาท

- 18 -


รายงานผลการเบิกจ่ายเงินโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 หน่วย : ล้านบาท

วงเงินที่ได้รับ อนุมัติ

เบิกจ่ายตั้งแต่ เริ่มโครงการถึง 30 ก.ย. 55

59,462.2

57,138.3

96.1

1.1 สาขาทรัพยากรน้าและการเกษตร

59,462.2

57,138.3

96.1

2. ปรับปรุงบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานฯ

74,211.7

67,952.1

91.6

46,586.3

45,167.7

97.0

12.0

9.5

78.8

-

-

3,281.4

3,113.1

94.9

14,302.4

10,506.7

73.5

9,158.0

8,309.3

90.7

2.7 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

182.4

182.3

99.9

2.8 สาขาสิ่งแวดล้อม

689.2

663.6

96.3

5,389.9

2,688.6

49.9

3.1 สาขาพัฒนาการท่องเที่ยว

5,389.9

2,688.6

49.9

4. สร้างฐานรายได้ใหม่ของประเทศฯ

1,311.0

1,275.8

97.3

4.1 สาขาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์

1,311.0

1,275.8

97.3

51,980.8

46,676.2

89.8

51,980.8

46,676.2

89.8

1,831.6

1,510.7

82.5

1,831.6

1,510.7

82.5

106,253.0

98,709.0

92.9

7.1 สาขาการลงทุนในระดับชุมชน

106,253.0

97,709.0

92.9

8. อื่น ๆ ตามที่คณะรัฐมนตรีกาหนด

40,000.0

40,000.0

100.0

40,000.0

40,000.0

100.0

340,440.1

315,950.7

92.8

8,500.0

4,234.9

49.8

348,940.1

320,185.6

91.8

วัตถุประสงค์ / สาขา 1. สร้างความมั่นคงทางด้านอาหารและพลังงานฯ

2.1 สาขาขนส่ง 2.2 สาขาพลังงาน 2.3 สาขาการสื่อสาร 2.4 สาขาโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว 2.5 สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 2.6 สาขาสวัสดิภาพของประชาชน

3. สร้างศักยภาพในการหารายได้จากการท่องเที่ยว

5. ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ 5.1 สาขาการศึกษา 6. ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุขฯ 6.1 สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาบุคลากร 7. สร้างอาชีพและรายได้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตฯ

8.1 สาขาการประกันรายได้และการดาเนินงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวม สารองจ่ายตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหาร รวมทั้งสิ้น ที่มา : กรมบัญชีกลาง

- 19 -

ร้อยละของ การเบิกจ่าย

-


การเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ ผลการเบิกจ่าย - เดือนกันยายน 2555 มีการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ 3,136.3 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกัน ปีที่แล้ว 1,858.8 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 145.5 - ในปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 – กันยายน 2555) มีการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ 9,998.7 ล้านบาท สูงกว่าปีงบประมาณทีแ่ ล้ว 6,983.6 ล้านบาท หรือร้อยละ 231.6

สรุปการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ เดือนกันยายน 2555 และปีงบประมาณ 2555

กันยายน รายการ 1. Project Loans 2. Structural Adjustment Loans (SAL)

รวม

2555

2554

เปลี่ยนแปลง จานวน ร้อยละ 3,075.8 -

2555

3,104.5

28.7

31.8

1,248.8

-1,217.0

-97.5

175.2

2,864.2

-2,689.0

-93.9

3,136.3

1,277.5

1,858.8

145.5

9,998.7

3,015.1

6,983.6

231.6

ที่มา : สานักงานบริหารหนีส้ าธารณะ

- 20 -

9,823.5

หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2555 เปลี่ยนแปลง 2554 จานวน ร้อยละ 150.9 9,672.6 -


การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค.1/  เดือนกันยายน 2555 กองทุนนอกงบประมาณเบิกจ่าย 25,619.5 ล้านบาท ต่ากว่าเดือนเดียวกัน ปีทีแล้ว 2,628.2 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.3 เป็นผลจากการลดลงของรายจ่ายกองทุน น้่ามันเชื้อเพลิง

เดือนกันยายน 2555 มีการเบิกจ่ายรวม 25,619.5 ล้านบาท ต่ากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 2,628.2 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.3 ประกอบด้วยรายจ่าย 23,407.6 ล้านบาท ต่ากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 2,542.7 ล้านบาท และการให้กู้ยืม สุทธิ 2,211.9 ล้านบาท ต่ากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 85.5

 ในปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 – กันยายน 2555) กองทุนฯ เบิกจ่าย 360,961.8 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีทีแล้ว 12,897.7 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.7 สาเหตุหลัก มาจากกองทุนประกันสังคมและกองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติมีการเบิกจ่าย เพิมขึ้น

ปีงบประมาณ 2555 มีการเบิกจ่ายรวม 360,961.8 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 12,897.7 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.7 ประกอบด้วย 1) รายจ่าย 336,402.2 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันของ ปีที่แล้ว 13,296.6 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.1 เป็นผลมาจาก กองทุนประกันสังคมและกองทุนหลักประกันสุข ภาพแห่งชาติ มีการเบิกจ่ายเพิ่มขึ้น 2) เงินให้กู้ยืมสุทธิ 24,559.6 ล้านบาท ต่ากว่าช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว 398.9 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.6 เป็นผลมาจาก การให้กู้ยืมที่ลดลงของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา

การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. เดือนกันยายน 2555 และปีงบประมาณ 2555 หน่วย : ล้านบาท กันยายน รายการ

2555*

ปีงบประมาณ เปรียบเทียบ

2554

จานวน

ร้อยละ

2555*

2554

เปรียบเทียบ จานวน ร้อยละ

1. รายจ่าย

23,407.6 25,950.3 -2,542.7

-9.8

336,402.2 323,105.6 13,296.6

2. เงินให้กู้ยืมสุทธิ

2,211.9 2,297.4

-85.5

-3.7

24,559.6

25,619.5 28,247.7 -2,628.2

-9.3

รวม

24,958.5

-398.9 -1.6

360,961.8 348,064.1 12,897.7 3.7

หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ โดยสานักงานเศรษฐกิจการคลัง 1/

การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ 15 กองทุน (จากกองทุนทั้งหมด 108 กองทุน) ประกอบด้วย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการทาของ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจฯ กองทุนอ้อยและน้าตาลทราย กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนรวมเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย

- 21 -

4.1


ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด1 ปีงบประมาณ 2555 (เดือนตุลาคม 2554 – กันยายน 2555) ปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลมีรายได้นาส่งคลัง  ปีงบประมาณ 2555 ดุลการคลัง 1,980,644 ล้านบาท และมีการเบิกจ่ายงบประมาณ ของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสด ขาดดุล 305,037 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ จากงบประมาณปีปัจจุบันและปีก่อนรวม 2,295,327 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณขาดดุลจานวน 2.7 ของ GDP2 314,683 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณ ที่เกินดุลจานวน 9,646 ล้านบาท ทาให้ดุลเงินสด ขาดดุลทั้งสิ้น 305,037 ล้านบาท โดยรัฐบาลชดเชย การขาดดุลโดยการออกพันธบัตร และตั๋วสัญญาใช้เงิน จานวน 344,084 ล้านบาท ทาให้ดุลเงินสดหลัง การกู้เงินเกินดุลทั้งสิ้น 39,047 ล้านบาท ส่งผลให้ เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนกันยายน 2555 มีจานวน 560,337 ล้านบาท ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด หน่วย: ล้านบาท

ปีงบประมาณ 2555 รายได้ 1,980,644 รายจ่าย 2,295,327 ปีปัจจุบัน 2,148,475 ปีก่อน 146,852 ดุลเงินงบประมาณ (314,683) ดุลเงินนอกงบประมาณ 9,646 ดุลเงินสดก่อนกู้ (305,037) เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุล 344,084 ดุลเงินสดหลังกู้ 39,047 เงินคงคลังปลายงวด 560,337 ที่มา : กรมบัญชีกลาง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง

1 2

2554 1,892,047 2,177,895 2,050,540 127,355 (285,848) 177,150 (108,698) 200,666 91,968 521,290

เปรียบเทียบ จานวน ร้อยละ 88,597 4.7 117,432 5.4 97,935 4.8 19,497 15.3 (28,835) 10.1 (167,504) (94.6) (196,339) 180.6 143,418 71.5 (52,921) (57.5) 39,047 7.5

ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด เป็นดุลการคลังที่แสดงให้เห็นผลกระทบต่อเงินคงคลังและการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล GDP ปีปฏิทิน 2554 เท่ากับ 10,540.1 พันล้านบาท และคาดการณ์ GDP ปีปฏิทิน 2555 เท่ากับ 11,478.6 พันล้านบาท

- 22 -


ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค.3 ปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 –กันยายน 2555)  ปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลขาดดุลการ คลัง 301,066 ล้านบาท โดยดุลเงิน งบประมาณขาดดุล 294,130 ล้านบาท ในขณะทีด่ ุลบัญชีเงินนอกงบประมาณ เกินดุล 36,631 ล้านบาท นอกจากนี้ มี รายจ่ายจากโครงการไทยเข้มแข็ง จานวน 24,422 นบ ท ร ย ย ทธ น ต ปร ท นวน 9,999 ล้านบาท รายจ่ายเงินกู้ เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานจานวน 7,383 ล้านบาท และ รายจ่ายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้า จานวน 1,763 ล้านบาท

ด้านรายได้ รัฐบาลมีรายได้ทั้งสิ้น 2,083,004 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่แล้วร้อยละ 3.2 ประกอบด้วย รายได้เงินงบประมาณ 2,081,361 ล้านบาท (ก่อนจัดสรร ภาษีมูลค่าเพิ่มให้ อปท.) และเงินช่วยเหลือ จากต่างประเทศ 1,643 ล้านบาท ด้านรายจ่าย รัฐบาลมีรายจ่ายทั้งสิ้น 2,377, 134 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่แล้วร้อยละ 6.1 ประกอบด้วย รายจ่ายที่ไม่รวมรายจ่ายชาระคืนต้นเงินกู้ 2,375,491 ล้านบาท และรายจ่ายเงินช่วยเหลือจาก ต่างประเทศ 1,643 ล้านบาท ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิ้น 294,130 ล้านบาท ในขณะทีป่ ีที่แล้วขาดดุล 222,072 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 32.4 บัญชีเงินนอกงบประมาณ ประกอบด้วยเงินฝาก นอกงบประมาณ และกองทุนนอกงบประมาณ มีรายได้รวม ทั้งสิ้น 441,282 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วร้อยละ 5.3 ในขณะที่มีรายจ่ายจานวน 380,091 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วร้อยละ 4.7 และมีเงินให้กู้หักชาระคืน 24,560 ล้านบาท ทาให้ดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณ เกินดุลทั้งสิ้น 36,631 ล้านบาท ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุล มีสาเหตุมาจากดุลเงิน งบประมาณที่ขาดดุล เมื่อหักรายจ่ายสุทธิจาก รายจ่าย จากโครงการไทยเข้มแข็ง เงินกู้ต่างประเทศ รายจ่าย เงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และรายจ่ายเพื่อวางระบบบริหารจัดการน้า จานวน 24,422 9,999 7,383 และ 1,763 ล้านบาท ตามลาดับ ทาให้ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุล จานวน 301,066 ล้านบาท ในขณะที่ช่วงเดียวกันปีที่แล้วขาดดุล 255,240 ล้านบาท

3

ดุลการคลังตามระบบ สศค. เป็นดุลการคลังที่สะท้อนเม็ดเงินที่แท้จริงที่ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ

- 23 -


ดุลการคลังเบื้องต้นของรัฐบาล (Primary Balance) ซึ่งเป็นดุลการคลังที่สะท้อนถึงผลการดาเนินงานของ รัฐบาลและทิศทางของนโยบายการคลังของรัฐบาล อย่างแท้จริง (ไม่รวมรายได้และรายจ่ายจากดอกเบี้ยและ การชาระคืนต้นเงินกู้) ขาดดุลทั้งสิ้น 138,948 ล้านบาท ในขณะที่ช่วงเดียวกันปีที่แล้วขาดดุล 54,776 ล้านบาท ดุลการคลังเบื้องต้นตามระบบ สศค. หน่วย: ล้านบาท เดือนกันยายน ปี บปร ม ณ รัฐ บ 1. ร ยได 2. ร ย ย 3. ด บปร ม ณ (1-2) 4. ร ย ย น ต ปร ท 5. แผนปฎบัต รไทย ข็มแข็ (TKK) 6 .ร ย ย พื่อว ร บบรห ร ัด รน้ 7.ร ย ย น พื่อฟื้นฟ รษฐ แ พัฒน โคร ร พื้นฐ น (DPL) 8. ด บัญชี นนอ บปร ม ณ (8.1-8.2-8.3) 8.1 ร ยได 8.2 ร ย ย 8.3 นให หั ช ร คืน 9. ด รค ั ขอ รัฐ บ (3-4-5-6-7+8) 10. ด รค ั บื้อ ตนขอ รัฐ บ

2555 163,254 249,279 (86,024) 3,136 4,184 799 2,743 2,931 34,649 29,506 2,212 (93,956) (52,687)

2554 132,655.5 218,405.9 (85,750.4) 1,277.5 6,601.1 (1,020.2) 32,600.8 31,323.6 2,297.4 (94,649.3) (67,259.1)

ปี บปร ม ณ 2555

ปรียบ ทียบ นวน รอย 30,598.89 30,872.82 (273.93) 1,858.80 (2,416.65) 799.00 2,743.00 3,951.72 2,048.28 (1,817.93) (85.51) 693.64 14,572.37

จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง

- 24 -

2555

23.1 2,083,004 14.1 2,377,134 0.3 (294,130) 145.5 9,999 (36.6) 24,422 1,763 7,383 (387.3) 36,631 6.3 441,282 (5.8) 380,091 (3.7) 24,560 (0.7) (301,066) (21.7) (138,948)

% of GDP

2554

18.1 2,018,212 20.7 2,240,284 (2.6) (222,072) 0.1 3,015 0.2 61,362 0.02 0.06 0.3 31,208 3.8 419,241 3.3 363,081 0.2 24,951 (2.6) (255,242) (1.2) (54,776)

% of GDP 19.1 21.3 (2.1) 0.03 0.6 0.3 4.0 3.4 0.2 (2.4) (0.5)

ปรียบ ทียบ นวน รอย 64,792 136,849 (72,057) 6,984 (36,940) 1,763 7,383 5,423 22,041 17,009 (391) (45,824) (84,172)

3.2 6.1 32.4 231.6 (60.2) 17.4 5.3 4.7 (1.6) 18.0 153.7


ด รค ั ขอ ภ ค ธ รณ ต มร บบ บปร ม ณ บ ร แ น ด แ ต มร บบ ค. ปี บปร ม ณ 2554 - 2555 หนวย: นบ ท ปี บปร ม ณ นวน รัฐบ 1. ร ยได 2. ร ย ย - รายจ่ายปีปัจจุบัน (อัตราการเบิกจ่าย : %) - รายจ่ายปีกอ่ น - รายจ่ายจากเงินคงคลัง 3. ด บปร ม ณ (1-2) 4. ด นอ บปร ม ณ 5. ร ย ย น ต ปร ท 6. ร ย ย ไทย ข็มแข็ (TKK) 7.ร ย ย พือ่ ว ร บบ รบรห ร ดั รน้ 8.ร ย ย น พือ่ ฟืน้ ฟ รษฐ แ พัฒน โคร ร พืน้ ฐ น (DPL) 9. บัญชีนอ บปร ม ณ(8.1-8.2-8.3) 9.1 รายได้ 9.2 รายจ่าย 9.3 เงินให้กหู้ ักชาระคืน 10. ด รค ั ขอ รัฐบ (3+4-5-6-7-8+9) อ ค์ รป ครอ วนทอ ถน่ 10. ร ยรับ (8.1+8.2) 10.1 รายได้ 10.2 เงินช่วยเหลือจากรัฐบาล 11 ร ย ย 12. ด รค ั (9-10) 13. ด รค ั ขอ ภ ครัฐบ (8+11) GDP ( นบ ท)

% of GDP

อ ร บปร ม ณ 1,770,000.0 2,169,968.0 2,169,968.0

(399,968.0)

(399,968.0)

10,540,100.0

2554p นวน % of GDP

นวน

บรแ นด

% of GDP

ร บบ ค.

นวน

อ ร บปร ม ณ

17.5 1,892,047.0 21.5 2,177,895.0 21.5 2,050,540.0 94.5 127,355.0

18.7 1,979,764.5 21.6 2,191,689.0 20.3 2,064,334.0 95.1 1.3 127,355.0

19.6 1,980,000.0 21.7 2,380,000.0 20.4 2,380,000.0

(4.0) (285,848.0) 177,150.0

(2.8) (211,924.5) 1.8 3,015.0 61,362.4

(2.1) (400,000.0)

(4.0) (108,698.0)

25,959.6 462,755.3 404,820.3 31,975.4 (1.1) (250,342.3)

0.3 4.6 4.0 0.3 (2.5) (400,000.0)

10,540,100.0

439,562.0 259,654.6 179,907.4 478,014.9 38,452.9 (211,889.4) 10,540,100.0

1.3

บรแ นด

ทีโ่ อนให้แก่อปท.) และรายจ่ายทัง้ หมดจากบัญชีเงินคงคลัง 2. ระบบ สศค. มีรายการปรับปรุงรายได้เพิม่ เติมจากระบบกระแสเงินสด คือ มีการหักรายได้จากการขายทรัพย์สิน รายได้จากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ รายได้ส่วนเกินพันธบัตร เงินเหลือจ่ายส่งคืน รายได้เงินกูร้ ับคืน และรวมเงินภาษีทจี่ ัดสรรให้ อปท. และเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ ตัง้ แต่ปีงบประมาณ 2546 เป็นต้นมา 3. ระบบ สศค. มีการปรับปรุงทางด้านรายจ่าย คือ มีการหักรายจ่ายชาระคืนต้นเงินกูข้ องรัฐบาลออก และตัง้ แต่ปีงบประมาณ 2546 เป็นต้นมารวมรายจ่ายเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ และเงินภาษีทจี่ ัดสรรให้อปท. 4. บัญชีนอกงบประมาณประกอบด้วย เงินฝากนอกงบประมาณ เงินทุนหมุนเวียน และกองทุนนอกงบประมาณ ทัง้ นี้ ได้บันทึกข้อมูลตามเกณฑ์คงค้าง สาหรับกองทุนน้ามันได้เริ่มบันทึกรายจ่ายชดเชยน้ามันตามเกณฑ์คงค้างตัง้ แต่เดือนมกราคม 2547 เป็นต้นมา 5. รายได้ตามระบบกระแสเงินสดบันทึกอยู่ในระบบ cash basis ส่วนรายได้ตามระบบ สศค. บันทึกอยู่ในระบบ acrual basis จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง สานักงานบริหารหนี้สาธารณะ ธนาคารแห่งประเทศไทย และ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันทีบ่ ันทึกข้อมูล : 31 ตุลาคม 2555

% of GDP

ร บบ ค. 17.2 2,083,004.2 20.0 2,377,133.8 18.7 2,230,282.0 93.7 1.3 146,851.8

18.1 20.7 19.4

(3.5) (317,876.1) 9,646.0

(2.6)

(3.5) (308,230.1)

(2.8) (294,129.6) 0.1 9,998.8 24,422.4 1,763.0 7,383.0 36,630.8 441,281.5 380,090.5 24,560.2 (2.7) (301,065.9)

11,478,600.0

529,979.0 308,887.0 221,092.0 529,979.0 (301,065.9) 11,478,600.0

4.4 2.6 1.8 4.7 0.4 (2.1) 11,478,600.0

นวน

17.2 1,977,450.9 20.7 2,295,327.0 20.7 2,148,475.0 90.3 146,852.0

0.0 0.6

หมายเหตุ 1. ดุลการคลังตามระบบงบกระแสเงินสดเป็นการแสดงรายได้ (รวมค่า Premium และรายได้จากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ แต่ไม่รวมรายรับจากการกูเ้ งินเพือ่ ชดเชยการขาดดุลและรายได้จากภาษีมลู ค่าเพิม่

- 25 -

% of GDP

2555e นวน % of GDP

0.1 0.2 0.0 0.1 0.3 3.8 3.3 0.2 (2.6) 4.6 2.7 1.9 4.6 (2.6)


ฐานะการคลังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฐานะการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ 2555 (เดือนเมษายน – เดือนมิถุนายน 2555) 1. ด้านรายได้ อปท. จานวน 7,853 แห่ง คาดว่ามีรายได้รวม 93,106 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกัน ปีที่แล้ว 2,419 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.5 เนื่องจาก อปท. ได้รับการจัดสรรเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและ รายได้ที่ อปท. จัดเก็บเองลดลง (รายละเอียดตามตารางที่ 1) ตารางที่ 1 รายได้ของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ 2555 ประเภท 1/

1. รายได้จดั เก็บเอง (ร้อยละของรายได้รวม) 1.1 รายได้จากภาษีอากร 1.2 รายได้ทไี่ ม่ใช่ภาษีอากร 2. รายได้จากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 2/ (ร้อยละของรายได้รวม) 3. รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล 3/ (ร้อยละของรายได้รวม) รวม (ร้อยละของรายได้รวม)

หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ

ไตรมาส 3 ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2554 13,407 13,660 14.4 14.3 9,798 9,974 3,609 3,686 61,677 60,843 66.2 63.7 18,022 21,022 19.4 22.0 93,106 95,525 100.0 100.0

จานวน

ร้อยละ (253)

(1.9)

(176) (77) 834

(1.8) (2.1) 1.4

(3,000)

(14.3)

(2,419)

(2.5)

หมายเหตุ

ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 11 กันยายน 2555

ที่มา

1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จานวน 1,021 แห่ง 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดนิ กรมการขนส่งทางบก กรมการปกครอง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายได้จากเงิ นอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง ส่วนระบบสถิตกิ ารคลัง สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง

รวบรวมโดย

รายได้ของ อปท. จาแนกตามแหล่งที่มาได้ ดังนี้ 1.1 รายได้ที่จัดเก็บเอง จานวน 13,407 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 253 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.9 ประกอบด้วย รายได้จากภาษีอากร 9,798 ล้านบาท และรายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร 3,609 ล้านบาท 1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จานวน 61,677 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 834 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.4 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จานวน 18,022 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 3,000 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 14.3

- 26 -


2. ด้านรายจ่าย อปท.1 จานวน 7,853 แห่ง ประมาณการว่ามีรายจ่ายทั้งสิ้น 113,756 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้วค่อนข้างมากถึง 34,623 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 43.8 เนื่องจาก อปท. มีรายจ่ายเพื่อการลงทุนเพิ่มสูงขึ้นจากการจัดซื้อครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง ประกอบกับ รายจ่ายประจา โดยเฉพาะค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งเป็นผลจากการปรับขึ้นเงินเดือนของข้า ราชการ ลูกจ้างประจาและลูกจ้างชั่วคราวในระดับปริญญาตรีขึ้นไปให้ได้รับเงินเดือนเพิ่มเป็น 15,000 บาท ข้าราชการและลูกจ้างประจาในระดับต่ากว่าปริญญาตรีได้รับเงินเดือนเพิ่มเป็น 12,285 บาท และลูกจ้าง ชั่วคราวในระดับต่ากว่าปริญญาตรีได้รับเงินเดือนเพิ่มเป็น 9,000 บาท (ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของข้าราชการและลูกจ้างประจาของส่วนราชการ (ฉบับที่ 5) ลงวันที่ 18 มกราคม 2555) 3. ดุลการคลัง อปท.2 ขาดดุล 20,650 ล้านบาท หากเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้วเกินดุล 16,392 ล้านบาท เนื่องจากรายได้ที่ อปท. จัดเก็บเองและที่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลลดลง ในขณะที่ อปท. มีรายจ่ายเพิ่มขึ้นจึงมีผลให้ อปท. ขาดดุลการคลังเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้ว (รายละเอียดตาม ตารางที่ 2 และแผนภูมิที่ 1) ตารางที่ 2 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ 2555 หน่วย : ล้านบาท ประเภท 1. รายได้ 1.1 รายได้ทจี่ ัดเก็บเอง

1/

1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 2/ 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน 2. รายจ่าย

3/

3. ดุลการคลัง 4/

ไตรมาสที่ 3

เปรียบเทียบ

ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2554 93,106 95,525 13,407 13,660

จานวน

ร้อยละ (2,419) (253)

(2.5) (1.9)

61,677

60,843

834

1.4

18,022 113,756

21,022 79,133

(20,650)

16,392

(3,000) 34,623 (37,042)

(14.3) 43.8 (226.0)

หมายเหตุ

ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 11 กันยายน 2555

ที่มา

1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จานวน 1,021 แห่ง 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดนิ กรมการขนส่งทางบก กรมการปกครอง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ เป็นตัวเลขประมาณการจากการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKINK SYSTEM) ของ ธปท. ส่วนระบบสถิตกิ ารคลัง สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง

รวบรวมโดย

1

โดยพิจารณาจากผลต่างของรายได้กับดุลการคลังของ อปท. (การเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) จากธนาคารแห่งประเทศไทย 2 ดุลการคลัง อปท. พิจารณาจากข้อมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) จากธนาคารแห่งประเทศไทย

- 27 -


แผนภูมิที่ 1 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ 2555

130,000

113,756

ไตรมาสที่

ปีงบประมาณ

ไตรมาสที่

ปีงบประมาณ

110,000

95,525

93,106

90,000

79,133

70,000 50,000

30,000

16,392

10,000 -10,000

20,650

-30,000

รายได้

รายจ่าย

ดุลการคลัง

ฐานะดุลการคลังของ อปท. ในช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 1. ด้านรายได้ คาดว่า อปท. มีรายได้จานวน 364,925 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 35,519 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 10.8 เนื่องจากมีรายได้ที่ อปท. จัดเก็บเอง 32,320 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.0 รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 144,259 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.0 และรายได้จาก เงินอุดหนุน 188,346 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.4 2. ด้านรายจ่าย คาดว่า อปท. มีรายจ่ายรวมทั้งสิ้น 302,900 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 25,899 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 9.3 3. ดุลการคลัง คาดว่า อปท. เกินดุลทั้งสิ้น จานวน 62,025 ล้านบาท เกินดุลเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกัน ปีทแี่ ล้ว จานวน 9,620 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 18.4 เนื่องจาก อปท. มีรายได้เพิ่มขึ้นจากรายได้ที่รัฐบาลจัดเก็บ และแบ่งให้ และได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเพิ่มขึ้นค่อนข้างมาก

- 28 -


ตารางที่ 3 ดุลการคลังของ อปท. ช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 2554 364,925 329,406

ประเภท 1. รายได้ 1.1 รายได้ทจี่ ัดเก็บเอง 1/ 1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้

2/

1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน 3/ 2. รายจ่าย 3. ดุลการคลัง 4/ หมายเหตุ ที่มา

รวบรวมโดย

หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ จานวน ร้อยละ 35,519 10.8

32,320

31,366

954

3.0

144,259

142,887

1,372

1.0

188,346 302,900

155,153 277,001

33,193 25,899

21.4 9.3

62,025

52,405

9,620

18.4

ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 11 กันยายน 2555 1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จานวน 1,021 แห่ง 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดนิ กรมการขนส่งทางบก กรมการปกครอง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายได้จากเงิ นอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ เป็นตัวเลขประมาณการจากการเปลี่ยนแปลงเงิ นฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKINK SYSTEM) ของ ธปท. ส่วนระบบสถิตกิ ารคลัง สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง

แผนภูมิที่ 2 ดุลการคลังของ อปท. ช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555 ล้านบาท 400,000 350,000 300,000 250,000 200,000 150,000 100,000 50,000 0

ช่วง เดือนแรกของปี ช่วง เดือนแรกของปี

364,925

329,406 277,001

302,900

52,405

รายได้

รายจ่าย

- 29 -

62,025

ดุลการคลัง


สถานการณ์ด้านหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2555  หนี้สาธารณะคงค้าง จ้านวน 5,011.9 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 44.9 ของ GDP เพิ่มขึ้นจากเดือนที่แล้ว 103.9 พันล้านบาท ประกอบด้วย หนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 93.3 ส่วนที่เหลือร้อยละ 6.7 เป็นหนี้ต่างประเทศ  หนี้คงค้างที่เพิ่มขึ้น เป็นผลจากการขยายตัว ของหนี้ ที่รัฐ บาลกู้โ ดยตรง และหนี้ รัฐ วิส าหกิจ จ้านวน 58.4 และ 46.5 พันล้านบาท ตามล้าดับ ในขณะที่หนี้หน่วยงานภาครัฐ อื่นลดลง 0.9 พันล้านบาท  หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง เพิ่มขึ้น 58.4 พันล้านบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว โดยหนี้ต่างประเทศเพิ่มขึ้น จากเดือนก่อน 2.3 พันล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักมาจาก การเบิกจ่ายเงินกู้สกุลเงินเยน และเหรียญสหรัฐฯ สุทธิ ในขณะเดียวกัน หนี้ในประเทศ เพิ่มขึ้น 56.1 พันล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักจากการกู้ เพื่อชดเชยการขาดดุล งบประมาณ 55.0 พันล้านบาท

หน่วย : ล้านบาท

1. รวมหนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง-ต่างประเทศ หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง-ในประเทศ 2. รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจ

ณ 31 ก.ค. 55 ณ 31 ส.ค. 55 3,570,950.38 3,629,352.22 47,740.92 50,079.33 3,523,209.46 3,579,272.89 1,329,577.09 1,376,045.77 169,688.28 168,454.11 625,390.13 673,347.43 115,642.33 114,798.55 418,856.35 419,445.68 7,464.85 6,541.85 7,464.85 6,541.85 -

หนี้ที่รัฐบาลค้​้าประกัน-ต่างประเทศ หนี้ที่รัฐบาลค้​้าประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้าประกัน-ต่างประเทศ** หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้าประกัน-ในประเทศ** 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น * หนี้ที่รัฐบาลค้​้าประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้าประกัน-ในประเทศ 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ FIDF 5. ยอดหนี้สาธารณะคงค้างรวม (1+2+3+4) 4,907,992.32 5,011,939.84 GDP*** 11,087,560.00 11,165,770.00 หนี้สาธารณะคงค้างรวมต่อ GDP (%) 44.27 44.89 หมายเหตุ * หน่วยงานภาครัฐอื่น ได้แก่ ส้านักงานคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมืองแห่งชาติ และสถาบันบริหารกองทุนพลังงาน ** ไม่รวมหนีข้ องรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน *** ส้านักงานบริหารหนี้สาธารณะได้ปรับวิธีการค้านวณ GDP ในแต่ละเดือน โดยค้านวณ GDP ของเดือนกรกฎาคม 2555 ดังนี้ ((GDP ปี 2554/12) * 5 + (GDP ปี 2555/12) * 7)) เท่ากับ 11,087.6 พันล้านบาท และ GDP ของเดือนสิงหาคม 2555 ดังนี้ ((GDP ปี 2554/12) * 4 + (GDP ปี 2555/12) * 8)) เท่ากับ 11,165.8 พันล้านบาท ที่มา ส้านักงานบริหารหนี้สาธารณะ

- 30 -


 หนี้ของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้น 46.5 พันล้านบาท เมื่อเทียบกับ เดือนที่แล้ว โดยมีสาเหตุหลัก จากการออกพันธบั ตรของ ธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร และ การเคหะแห่งชาติ จ้านวน 42.5 และ 3.5 พันล้านบาท ตามล้าดับ  หนี้ของของหน่วยงาน ภาครัฐอื่นลดลง 0.9 พันล้านบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว โดยมี สาเหตุมาจากการช้าระคืนเงินกู้ ระยะสั้นของสถาบันบริหาร กองทุนพลังงาน

สัดส่วนหนี้ในประเทศและหนี้ต่างประเทศ จ้านวน (พันล้านบาท) ร้อยละ (%)

หนี้ในประเทศ 4,678.6 93.3

หนี้ต่างประเทศ 333.3 6.7

สัดส่วนหนี้ระยะยาวและหนี้ระยะสั้น จ้านวน (พันล้านบาท) ร้อยละ (%)

- 31 -

หนี้ระยะยาว 4,727.9 94.3

หนี้ระยะสั้น 284.1 5.7


กรอบความยั่งยืนทางการคลัง กระทรวงการคลังได้กาหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนิน นโยบายทางการคลังที่สอดคล้องกับสถานะเศรษฐกิจการเงินและการคลังของประเทศ โดยมีเป้าหมาย เพื่อรักษาเสถียรภาพด้านการคลังในระยะปานกลางและระยะยาว ซึ่งกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ประกอบด้วยตัวชี้วัดและเป้าหมาย (60-15-0-25) ดังนี้  ยอดหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60  ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15  การจัดทางบประมาณสมดุล  สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายไม่ต่ากว่าร้อยละ 25 สานักงานเศรษฐกิจการคลังได้จัดทาการวิเคราะห์ความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประเมินและรักษาความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีผลการวิเคราะห์ระหว่าง ปีงบประมาณ 2555 – 2559 ซึ่งสรุปได้ดังนี้  สัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ในปีงบประมาณ 2555 อยู่ที่ร้อยละ 42.6 และ เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 48.0 ในปีงบประมาณ 2559  ระดับภาระหนี้ต่องบประมาณอยู่ในระดับร้อยละ 9.3 ในปีงบประมาณ 2555 และ เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 11.5 ในปีงบประมาณ 2559  รัฐบาลจัดทางบประมาณแบบขาดดุลเนื่องจากความจาเป็นในการใช้จ่ายของรัฐ เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้ขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพ อย่างไรก็ดี แนวโน้มการจัดทา งบประมาณแบบขาดดุลจะลดลงตามลาดับเพื่อเข้าสู่งบประมาณแบบสมดุลในอนาคต  สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายต่ากว่าร้อยละ 25 เนื่องจากปัจจุบันรัฐบาล มีทางเลือกในการลงทุน อาทิ การลงทุนของรัฐวิสาหกิจ และการร่วมทุนระหว่าง ภาครัฐและเอกชน (PPPs) ซึ่งหากนับรวมกันแล้วจะทาให้อัตราส่วนรายจ่ายลงทุน ต่องบประมาณเพิ่มมากขึ้น โดยในปีงบประมาณ 2555 เมื่อนับรวมการลงทุนของ รัฐบาล (438,555 ล้านบาท) กับรัฐวิสาหกิจ (351,299 ล้านบาท) จะทาให้มีงบ ลงทุนรวมถึง 789,854 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 33.2 ของงบประมาณรายจ่าย

- 32 -


การวิเคราะห์การดาเนินงานตามกรอบความยั่งยืนทางการคลัง หน่วย 2555 2556 2557 2558 2559 ปีงบประมาณ 1. หนี้สาธารณะคงค้าง/GDP (CY) (1.1/1.2) 42.6 47.5 48.4 48.5 48.0 1) 1.1 nominal GDP (CY) 11,573,100 12,544,900 13,485,800 14,497,200 15,584,500 1.2 หนี้สาธารณะคงค้าง 2) 4,932,540 5,961,951 6,529,556 7,030,158 7,481,956 2. ภาระหนี้/งบประมาณ (2.1/3.2) 9.3 7.4 11.6 11.7 11.5 3) 2.1 ภาระหนี้ (2.1.1 + 2.1.2) 222,098 177,948 286,909 298,700 307,622 2.1.1 ชาระต้นเงินกู้ 46,854 49,149 86,548 89,495 93,485 2.1.2 ดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม 175,244 128,798 200,361 209,205 214,137 3. ดุลงบประมาณ (3.1 - 3.2) -400,000 -300,000 -230,300 -138,000 -62,000 3.1 ประมาณการรายได้รัฐบาลสุทธิ 4) 1,980,000 2,100,000 2,242,500 2,419,000 2,609,000 3.2 ประมาณการวงเงินงบประมาณ 2,380,000 2,400,000 2,472,800 2,557,000 2,671,000 รายจ่าย 4) 4. รายจ่ายลงทุน/งบประมาณ (4.1/3.2) 18.4 18.7 17.6 18.2 18.5 4) 4.1 รายจ่ายลงทุน 438,555 448,939 434,194 466,084 493,809 ที่มา : 1) ข้อสมมติฐานเศรษฐกิจปี 2555 – 2559 จากสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2) หนี้สาธารณะคงค้างอ้างอิงการประมาณการโดยสานักงานบริหารหนี้สาธารณะ 3) ข้อมูลภาระหนี้ต่องบประมาณปี 2555 – 2556 จากเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2556 และปี 2557 – 2559 ประมาณการโดยสานักงานบริหารหนี้สาธารณะ 4) ข้อมูลรายได้รัฐบาลสุทธิวงเงินงบประมาณรายจ่ายและรายจ่ายลงทุนปี 2555 – 2556 จากเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2556 ข้อมูลประมาณการรายได้รัฐบาลสุทธิ วงเงินงบประมาณรายจ่าย และรายจ่ายลงทุนปี 2557 – 2559 โดยสานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ กันยายน 2555

- 33 -


การดาเนินกิจกรรมกึ่งการคลัง ผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล ไตรมาสที่ 2 ปี 2555 (เดือนเมษายน – มิถุนายน 2555) รัฐบาลมีการดาเนินมาตรการกิจกรรม กึ่งการคลังผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ในโครงการต่างๆ ที่สาคัญอย่างต่อเนื่อง โดยมี ผลการดาเนินงาน ณ สินไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ดังนี  การอนุมัติสินเชื่อและการคาประกัน สินเชื่อในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 มีการอนุมัตแิ ละคาประกันสินเชื่อจานวน 49,169.2 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้วจานวน 5,265.6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 9.7  การอนุมัติสินเชื่อสะสมและการคา ประกันสินเชื่อสะสมนับตังแต่เริ่มโครงการ จนถึง ณ สินไตรมาสที่ 2 ปี 2555 มีจานวน 1,269,737.3 ล้านบาท เพิ่มขึน จากไตรมาสที่ผ่านมาจานวน 49,169.2 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.0 โดยสาขา สนับสนุนกิจการ SMEs มีการอนุมัติและ คาประกันสินเชื่อสะสมสูงสุดจานวน 901,115.0 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 71.0 ของยอดสินเชื่อสะสม รองลงมาเป็นสาขา สนับสนุนการประกอบอาชีพระดับฐานราก จานวน 363,875.1 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 28.7 ของยอดสินเชื่อสะสม และ สาขาสนับสนุนผู้มีรายได้น้อยให้มีที่อยู่อาศัย จานวน 4,747.1 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.4 ของยอดสินเชื่อสะสม

กิจกรรมกึ่งการคลัง จาแนกตามประเภทกิจกรรม หน่วย : ล้านบาท

สาขา

สาขาสนับสนุน กิจการ SMEs - โครงการสินเชือ่ สาหรับกิจการ SMEs - โครงการคาประกัน สินเชือ่ ให้แก่ SMEs สาขาสนับสนุนผู้มี รายได้น้อยให้มีที่อยู่ อาศัย  โครงการบ้าน ธอส. เพื่อที่อยู่อาศัยแห่งแรก (0% 3 ปี) สาขาสนับสนุนการ ประกอบอาชีพระดับ ฐานราก - โครงการธนาคาร ประชาชน - โครงการวิสาหกิจ ชุมชน* รวม

การอนุมัติสินเชื่อและคาประกันสินเชื่อ ยอดการอนุมัติ ยอดสะสม ในไตรมาส ตังแต่เริ่มดาเนินโครงการ

อัตราการ เปลี่ยนแปลง จากไตรมาส 2/2554

ไตรมาส 2/2555

ไตรมาส 1/2555

ไตรมาส 2/2555

ไตรมาส 1/2555

31,704.9

28,886.1

901,115.0

869,410.1

-24.5

16,100.9

15,599.2

714,656.8

698,555.9

-43.8

15,604.0

13,286.9

186,458.2

170,854.2

17.3

1,576.0

2,241.6

4,747.1

3,171.1

-

1,576.0

2,241.6

4,747.1

3,171.1

-

15,888.3

16,875.9

363,875.1

347,986.8

27.5

4,004.3

8,525.9

110,291.5

106,287.2

13.5

11,884.0

8,350.0

253,583.6

241,699.6

33.0

48,003.6 1,269,737.2 1,220,568.0

-9.7

49,169.2

ร้อยละ

หมายเหตุ * โครงการวิสาหกิจชุมชนของ ธ.ก.ส. เป็นการรายงานข้อมูลการอนุมัติสนิ เชื่อของลูกค้า วิสาหกิจรายย่อยทั่วไป ซึ่งเป็นการนับซากับลูกค้าในโครงการสินเชือ่ สาหรับกิจการ SMEs ที่มา : สานักนโยบายระบบการเงินและสถาบันการเงิน สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพือ่ การส่งออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง

- 34 -


 หนีที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) ลดลง

จากไตรมาสที่ผ่านมา โดย ณ สินไตรมาสที่ 2 ปี 2555 ยอด NPLs เท่ากับ 31,423.0 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 9.0 ของยอดสินเชื่อคงค้าง และมี การคาประกันหนีจัดชันด้อยคุณภาพ (NPGs) ของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรม ขนาดย่อม (บสย.) อีกจานวน 5,881.6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.3 ของยอด คาประกันสินเชื่อคงค้าง

หนีท้ ี่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ของสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ หน่วย : ล้านบาท สาขา 1. สาขาสนันสนุนกิจการ SMEs 1.1 สินเชื่อสาหรับกิจการ SMEs - สินเชือ่ SMEs (ธพว.) - สินเชือ่ SMEs (ธสน.) - สินเชือ่ SMEs (ธนาคาร ออมสิน) - สินเชือ่ SMEs (ธ.ก.ส.) 1.2 การคาประกันสินเชื่อ (บสย.)* 2. สาขาสนับสนุนผู้มีรายได้น้อย ให้มีที่อยู่อาศัย - โครงการบ้าน ธอส. เพือ่ ทีอ่ ยู่ อาศัยแห่งแรก (0% 3 ปี) 3. สาขาสนับสนุนการประกอบ อาชีพระดับฐานราก - โครงการธนาคารประชาชน - โครงการวิสาหกิจชุมชน รวมทังหมด (ยกเว้นการคาประกัน สินเชื่อ SMEs ของ บสย.)

สินไตรมาสที่ 2/2555 สินเชื่อ คงค้าง

NPLs

NPLs ratio

245,684.4 98,297.5 11,979.4 77,771.5

25,906.7 18,259.2 1,325.7 2,859.8

10.5% 18.6% 11.1%

57,636.0

3,462.0

6.0%

136,464.5

5,881.6

4.3%

3,237.0

27.8

0.9%

3,237.0

27.8

0.9%

98,882.4

5,488.5

5.6%

33,944.4 64,938.0

1,102.5 4,386.0

3.2% 6.8%

347,803.8

31,423.0

9.0%

3.7%

หมายเหตุ * เป็นภาระการคาประกันหนีจัดชันด้อยคุณภาพ (NPGs) ที่มา : สานักนโยบายระบบการเงินและสถาบันการเงิน สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารเพือ่ การส่งออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง

- 35 -


การกระจายอานาจการคลัง ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ปีงบประมาณ 2556 การดาเนินการตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 ที่กาหนดให้รัฐจัดสรรรายได้ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) คิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2550 เป็นต้นไป และจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. จานวนไม่น้อยกว่าที่รัฐจัดสรรให้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 (126,013 ล้านบาท) เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพข้อเท็จจริงในการถ่ายโอนภารกิจ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 รัฐบาลได้ดาเนินการตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2556 จัดสรรเงินอุดหนุน ให้แก่ อปท. ดังนี้ 1. เงินอุดหนุนภาพรวม เงินอุดหนุนภาพรวม มีจานวน 236,500 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนซึ่งมีจานวน 221,091.79 ล้านบาท เป็นจานวน 15,408.21 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 6.97 2. เงินอุดหนุนตามประเภท อปท. 2.1 กรุงเทพมหานคร ภาพรวม เงินอุดหนุนมีจานวน 14,419.83 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ซึ่งมีจานวน 14,219.72 ล้านบาท เป็นจานวน 200.11 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 1.41 จาแนกเป็น (1) เงินอุดหนุนทั่วไป มีจานวน 9,736.63 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน ซึ่งมีจานวน 13,092.63 ล้านบาท เป็นจานวน 3,356.00 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 25.63 เนื่องจากในปีงบประมาณ 2556 ได้มีการเปลี่ยนแปลงรายการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุจากเดิมที่เคยอยู่ในรายการเงินอุดหนุนทั่วไปเป็นรายการ เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ตัวอย่างรายการเงินอุดหนุนทั่วไป เช่น ภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอน โครงการเรียนฟรี 15 ปี อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) เป็นต้น (2) เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ มีจานวน 4,683.20 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ซึ่งมีจานวน 1,127.10 ล้านบาท เป็นจานวน 3,556.10 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 315.51 ตัวอย่างรายการเงินอุดหนุน เฉพาะกิจ เช่น โครงการต้านยาเสพติด เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ โครงการการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์พกพา เป็นต้น

- 36 -


2.2 เมืองพัทยา ภาพรวม เงินอุดหนุนมีจานวน 1,473.42 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนซึ่งมีจานวน 1,453.41 ล้านบาท เป็นจานวน 20.01 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 1.38 จาแนกเป็น (1) เงินอุดหนุนทั่วไป มีจานวน 368.83 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ซึ่งมีจานวน 332.32 ล้านบาท เป็นจานวน 36.51 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 10.99 รายการเงินอุดหนุนทั่วไป ได้แก่ ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน เงินสนับสนุนสงเคราะห์ เบี้ยผู้ป่วยเอดส์ เงินสนับสนุนสงเคราะห์เบี้ยผู้พิการ เงินอุดหนุนสาหรับนักเรียนในพื้นที่ที่ได้รับการศึกษา (2) เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ มีจานวน 1,104.59 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน ซึ่งมีจานวน 1,121.09 ล้านบาท เป็นจานวน 16.50 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 1.47 ตัวอย่างรายการเงินอุดหนุน เฉพาะกิจ เช่น เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ โครงการการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์พกพา เงินอุดหนุน แหล่งท่องเที่ยวและการบริการด้านการท่องเที่ยวที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนา เป็นต้น 2.3 องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตาบล ภาพรวม เงินอุดหนุนมีจานวน 220,606.75 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ซึ่งมีจานวน 205,418.66 ล้านบาท เป็นจานวน 15,188.09 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 7.39 จาแนกเป็น (1) เงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนมีจานวน 104,444.85 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนซึ่งมีจานวน 97,104.73 ล้านบาท เป็นจานวน 7,340.12 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 7.56 ตัวอย่างรายการเงินอุดหนุนทั่วไป เช่น ดาเนินการตามอานาจหน้าที่และภารกิจถ่ายโอนเลือกทา สนับสนุนการบริการสาธารณสุข สนับสนุน อาหารเสริม (นม) สนับสนุนอาหารกลางวัน เป็นต้น (2) เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ เงินอุดหนุนมีจานวน 116,161.90 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ซึ่งมีจานวน 108,313.92 ล้านบาท เป็นจานวน 7,847.98 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 7.25 ตัวอย่างรายการ เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ เช่น สนับสนุนศูนย์เด็กเล็ก สนับสนุนค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษา เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ โครงการพัฒนา อปท. กรณีเร่งด่วน เป็นต้น

- 37 -


การจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556

หน่วยงาน/รายการเงินอุดหนุน

ปี 2555

รวมทั้งสิ้น 1. กรุงเทพมหานคร 1. เงินอุดหนุนทั่วไป (1) ภารกิจถ่ายโอน (2) เรียนฟรี 15 ปี (3) อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) (4) เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 1/ 2. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ (1) ยาเสพติด (2) เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 1/ (3) คอมพิวเตอร์พกพา (4) โครงสร้างพื้นฐานเพื่อการคมนาคม (5) พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว 2. เมืองพัทยา 1. เงินอุดหนุนทั่วไป (1) ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตัง้ แต่ระดับอนุบาลจนจบ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (2) เงินสนับสนุนสงเคราะห์เบี้ยผูป้ ่วยเอดส์ (3) เงินสนับสนุนสงเคราะห์เบี้ยผูพ้ ิการ (4) เงินอุดหนุนสาหรับนักเรียนในพื้นที่ที่ได้รับการศึกษา 2. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ (1) โครงการหลักประกันรายได้ผสู้ งู อายุ (2) โครงการการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์พกพา (3) เงินอุดหนุนแหล่งท่องเที่ยวและการบริการ ด้านการท่องเที่ยวที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนา (4) เงินอุดหนุนโครงสร้างพื้นฐานที่จัดทาเพื่อการคมนาคม (5) เงินอุดหนุนเพื่อบริการคุณภาพชีวิตที่ประชาชนได้รับ (6) เงินอุดหนุนเพื่อการเร่งรัดพัฒนาประสิทธิภาพ แก้ไขปัญหายากจน

ปี 2556

221,091.79 236,500.00 14,219.72 14,419.83 13,092.63 9,736.63 10,144.50 8,322.88 793.32 1,305.76 108.00 108.00 2046.82 1,127.10 4,683.20 394.59 4,085.43 137.70 203.17 270.42 718.98 1,453.41 1,473.42 332.32 368.83

- 38 -

หน่วย : ล้านบาท เพิ่ม/ลด จานวน

ร้อยละ

15,408.21 200.11 (3,356.00) (1,821.62) 512.44 0.00 3,556.10 394.59 65.47 (270.42) (718.98) 20.01 36.51

6.97 1.41 (25.63) (17.96) 64.60 0.00 315.51 N/A 47.55 (100) (100) 1.38 10.99

41.69 2.28 4.82 283.53 1,121.09 40.94 4.80

42.77 2.64 5.80 317.62 1,104.59 47.32 10.33

1.09 0.36 0.98 34.09 (16.50) 6.38 5.53

2.61 15.79 20.22 12.02 (1.47) 15.58 115.30

112.20 132.61 830.55

99.50 57.24 825.01

(12.70) (75.37) (5.53)

(11.32) (56.83) (0.67)

-

65.18

65.18

N/A


หน่วยงาน/รายการเงินอุดหนุน

ปี 2555

ปี 2556

หน่วย : ล้านบาท เพิ่ม/ลด จานวน

ร้อยละ

3. อบจ. เทศบาล และ อบต.

205,418.66 220,606.75

15,188.09

7.39

ก. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

205,192.07 219,519.74

14,327.66

6.98

1. เงินอุดหนุนทั่วไป

97,104.73 104,444.85

7,340.12

7.56

(1) ตามอานาจหน้าที่และภารกิจถ่ายโอนเลือกทา

55,768.89

61,635.16

5,866.27

10.52

934.50

934.50

0.00

0.00

(3) สนับสนุนอาหารเสริม (นม)

10,836.03

10,722.36

(113.67)

(1.05)

(4) สนับสนุนอาหารกลางวัน

16,272.49

16,143.57

(128.91)

(0.79)

(5) ส่งเสริมศักยภาพการจัดการศึกษาท้องถิ่น

329.67

575.45

245.77

74.55

(6) สนับสนุนการบริหารสนามกีฬา

107.46

111.07

3.61

3.36

(7) เบี้ยยังชีพผู้ป่วยเอดส์

395.98

410.38

14.40

3.64

-

13.57

13.57

N/A

12,459.70

13,898.79

1,439.08

11.55

108,087.34 115,074.89

6,987.54

6.46

(2) สนับสนุนการบริการสาธารณสุข

(8) สนับสนุนการจัดการศึกษาแก่เด็กด้อยโอกาส (จ้างครู) (9) สนับสนุนการจัดการศึกษา (เงินเดือนครูและ ค่าจ้างประจา) 2. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ (1) งานสูบน้าของสถานีสูบน้าด้วยไฟฟ้า

1,013.84

1,143.90

130.06

12.83

(2) สนับสนุนการถ่ายโอนบุคลากร

1,167.78

1,156.48

(11.30)

(0.97)

(3) การศึกษาภาคบังคับ (ค่ารักษาพยาบาล)

638.65

714.44

75.79

11.87

(4) การศึกษาภาคบังคับ (ค่าเช่าบ้าน)

103.56

120.00

16.44

15.88

(5) การศึกษาภาคบังคับ (บาเหน็จ บานาญ)

1,814.53

2,253.79

439.26

24.21

(6) สนับสนุนศูนย์เด็กเล็ก

8,343.14

9,709.87

1,366.73

16.38

242.84

333.00

90.16

37.13

(7) ค่าตอบแทนผู้ปฏิบัติงานชายแดนภาคใต้

- 39 -


หน่วยงาน/รายการเงินอุดหนุน

ปี 2555

(8) ชดเชยรายได้ อปท. จังหวัดชายแดนภาคใต้ (9) สนับสนุนการจัดการศึกษาของ อปท. 5 จังหวัด ชายแดนใต้ (10) สนับสนุนศูนย์บริการทางสังคม (11) สนับสนุนสถานสงเคราะห์คนชรา (12) ค่าปัจจัยพื้นฐานสาหรับนักเรียนยากจน (13) โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษา (14) พัฒนาคุณภาพด้านสาธารณสุขของสถานีอนามัย (15) สร้างหลักประกันรายได้แก่ผสู้ ูงอายุ (16) สนับสนุนสวัสดิการทางสังคมให้แก่ผู้พิการ หรือทุพพลภาพ (17) ส่งเสริมอาสาสมัครเชิงรุก (18) ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (19) ก่อสร้างอาคารเรียนและอาคารประกอบ (20) ก่อสร้างอาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (21) ครุภณ ั ฑ์ทางการศึกษาโรงเรียนท้องถิ่น (22) ครุภณ ั ฑ์ทางการศึกษาสาหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (23) พัฒนา อปท. กรณีเร่งด่วน (24) บริหารจัดการน้าเพื่อสนับสนุนงานฎีกา (25) แก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้าอุปโภค บริโภค (26) สนับสนุนการถ่ายโอนภารกิจการก่อสร้างและ บารุงรักษาถนน (27) จัดการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์พกพา (28) ช่วยเหลือฟื้นฟูความเสียหายจากภัยพิบัติธรรมชาติ (29) แผนแม่บทการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ

- 40 -

ปี 2556

หน่วย : ล้านบาท เพิ่ม/ลด จานวน

ร้อยละ

979.64

979.64

0.00

0.00

70.33 3.50 90.90 100.78 3,244.95 56.00

103.93 3.70 109.68 137.39 3,267.92 78.00

33.60 0.20 18.78 36.61 22.97 22.00

47.78 5.71 20.67 36.33 0.71 39.29

50,449.08

54,214.29

3,765.21

7.46

6,663.20 7,370.64 3,059.63 430.56 224.14 166.47 9,198.20 50.00 500.00

7,201.07 7,488.00 2,642.54 537.37 224.14 265.46 520.00 18,506.09 200.00 600.00

537.86 117.36 (417.09) 106.82 0.00 98.99 520 9,307.89 150.00 100.00

8.07 1.59 (13.63) 24.81 0.00 59.47 N/A 101.19 300.00 20.00

1,800.00 170.00 10,000.00 135.00

1,800.00 464.88 299.31

0.00 294.88 (10,000) 164.31

0.00 173.46 (100) 121.71


หน่วย : ล้านบาท หน่วยงาน/รายการเงินอุดหนุน

ปี 2555

ข. สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี 1. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ (1) เงินจูงใจในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ของท้องถิ่น (2) การพัฒนาระบบฐานข้อมูล อปท. ค. สานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 1. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ (1) โครงการแผนปฏิบตั ิการสิ่งแวดล้อม 1

ปี 2556

เพิ่ม/ลด จานวน

ร้อยละ

100.00 100.00

520.00 520.00

420.00 420.00

420.00 420.00

100.00 -

500.00 20.00

400.00 20.00

400.00 N/A

126.58 126.58 126.58

567.01 567.01 567.01

440.43 440.43 440.43

347.93 347.93 347.93

หมายเหตุ / ได้มีการเปลี่ยนแปลงรายการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุที่จัดอยู่ในรายการเงินอุดหนุนทัว่ ไปในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 เป็นจัดอยู่ในรายการเงินอุดหนุน เฉพาะกิจ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556

ที่มา : สานักงบประมาณ รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ : 17 ตุลาคม 2555

- 41 -


มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สาคัญ มติคณะรัฐมนตรีที่สาคัญ เดือนตุลาคม 2555 2 ตุลาคม 2555 1. เรื่อง มาตรการภาษีและค่าธรรมเนียมเพื่อสนับสนุนการพัฒนาตลาดทุนไทย (กรณีสนับสนุนการลงทุน ในตราสารการเงินที่ออกเพื่อระดมทุนตามหลักศาสนาอิสลาม) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการ ลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (กรณีสนับสนุนการลงทุนในตราสารการเงินที่ออกเพื่อ ระดมทุนตามหลักศาสนาอิสลาม) ที่สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแล้ว ตามที่ กระทรวงการคลังเสนอและดาเนินการต่อไปได้ ร่างกฎหมายดังกล่าวเป็นการลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และ อากรแสตมป์ ให้แก่ ผู้ถือศุกูก ทรัสตี และผู้ระดมทุน สาหรับเงินได้ มูลค่าของฐานภาษี รายรับและการกระทา ตราสารที่เกิดขึ้นหรือเนื่องมาจากธุรกรรมที่เกิดขึ้นตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์ที่เกี่ยวกับการออกศุกูกตามกฎหมาย ว่าด้วยทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุนและกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์บางกรณี 2. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาดาเนินมาตรการลดภาระค่าครองชีพของประชาชนด้านการเดินทาง (ระยะที่ 11 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2555 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2556) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการขยายระยะเวลาดาเนินมาตรการลดภาระค่าครองชีพของประชาชน ด้านการเดินทางต่อไป เป็นระยะที่ 11 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2555 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2556 ตามที่ กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ โดยให้กระทรวงคมนาคมและกระทรวงการคลังร่วมกันเร่งศึกษาแนวทาง การสนับสนุนมาตรการลดค่าครองชีพด้านการเดินทางอย่างเป็นระบบให้แล้วเสร็จโดยเร็วไปพิจารณา ดาเนินการด้วย สาหรับค่าใช้จ่ายเพื่อชดเชยการดาเนินการตามมาตรการดังกล่าวนั้น ให้ ขสมก. กู้เงินในวงเงิน 1,512,000,000 บาท และให้ รฟท. กู้เงินในวงเงิน 555,000,000 บาท เพื่อชดเชยการดาเนินการตาม มาตรการดังกล่าว โดยให้กระทรวงการคลังเป็นผู้ค้าประกันเงินกู้และให้สานักงบประมาณพิจารณาจัดสรรเงิน งบประมาณรายจ่ายเพื่อชดเชยเงินต้น ดอกเบี้ย และค่าใช้จ่ายทางการเงินที่เกิดขึ้นให้กับ 2 หน่วยงานต่อไป ซึ่งในเบื้องต้นจะเกิดภาระงบประมาณในปีงบประมาณ 2557 จานวน 2,108.34 ล้านบาท ตามความเห็น ของสานักงบประมาณ

- 42 -


3. เรื่อง การบริหารโครงการลงทุนภายใต้พระราชกาหนดในอานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟูและ เสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 และเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (Development Policy Loan : DPL) ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบการขยายระยะเวลาการดาเนินโครงการ พ.ร.ก. ให้อานาจกระทรวง การคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 หลังจากปีงบประมาณ 2555 วงเงินประมาณ 12,575.8 ล้านบาท ทั้งนี้ เฉพาะในส่วนของโครงการ เงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (Development Policy Loan : DPL) ภายใต้ แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็งฯ เนื่องจากเงินกู้ DPL เป็นเงินที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องนาส่งคลังตามกฎหมายว่า ด้วยวิธีการงบประมาณ อีกทั้งเป็นการกู้เงินจากต่างประเทศตามพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 ซึ่งไม่ได้กาหนดระยะเวลาการเบิกจ่ายเงินกู้ไว้ แต่เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนปฏิบัติการ ไทยเข้มแข็งฯ คณะกรรมการกลั่นกรองและบริหารโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็งฯ จึงให้ หน่วยงานเจ้าของโครงการเร่งรัดดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยสามารถเบิกจ่ายเงินกู้ DPL ได้จนบรรลุ วัตถุประสงค์ แต่ไม่ควรเกินเดือนกันยายน 2556 นอกจากนี้ คณะรัฐมนตรียังได้มีมติรับทราบและอนุมัติการจัดสรรวงเงินกู้ DPL ของหน่วยงานต่างๆ เพื่อดาเนินการตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 เช่น กระทรวงศึกษาธิการ และสภากาชาดไทย เป็นต้น 4. เรื่อง ผลการประชุมของคณะกรรมการบริหารจัดการน้าและอุทกภัย ครั้งที่ 10/2555 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติและเห็นชอบตามที่คณะกรรมการบริหารจัดการน้าและอุทกภัย ครั้งที่ 10/2555 ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประธานกรรมการบริหารจัดการ น้าและอุทกภัย เสนอโดยอนุมัติข้อเสนอของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในการติดตั้งสถานีสูบน้า คลองพระพิมล 2 วงเงิน 170 ล้านบาท โดยให้ได้รับการจัดสรรงบประมาณจากเงินกู้ภายใต้ พ.ร.ก. ให้อานาจ กระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อวางระบบบริหารจัดการน้าและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 (350,000 ล้านบาท) 5. เรื่อง การกู้เงินเพื่อใช้ในโครงการรับจานาข้าวเปลือกนาปรัง ปี 2555 ของธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติ ตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ดังนี้ 1) ให้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ใช้เงินกู้โครงการรับจานาข้าวเปลือก นาปี ปีการผลิต 2554/55 วงเงิน 105,910 ล้านบาท เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายโครงการรับจานาข้าวเปลือกนาปรัง ปีการผลิต 2555 เพิ่มเติมจากวงเงิน 120,000 ล้านบาท จานวน 8 ล้านตัน เป็นวงเงิน 161,000 ล้านบาท จานวน 11.11 ล้านตัน 2) ให้ ธ.ก.ส. กู้เงินเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินโครงการรับจานาข้าวเปลือกนาปรัง ปีการผลิต 2555 วงเงิน 161,000 ล้านบาท จากสถาบันการเงินต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งให้ ธ.ก.ส. กู้เงินเพื่อบริหารจัดการหนี้เงินกู้ด้วยการ Refinance หรือ Roll over หรือ Prepayment โดย กค. ค้าประกัน ต้นเงินกู้และดอกเบี้ย รัฐบาลรับภาระชาระคืนต้นเงินและดอกเบี้ยจาการกู้เงิน และค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นจริง จากการดาเนินโครงการทั้งหมด 3) ให้ กค. เป็นผู้พิจารณาการกู้เงิน วิธีการกู้เงิน เงื่อนไข และรายละเอียดต่างๆ ของการกู้เงินและ การค้าประกันเงินกู้ของ ธ.ก.ส. ที่เกิดจากการกู้เงินและการบริหารจัดการหนี้ของ ธ.ก.ส. โดย กค. ค้าประกัน เงินกู้ในแต่ละครั้งตามโครงการรับจานาข้าวเปลือกนาปรัง ปี 2555 วงเงินกู้ไม่เกิน 161,000 ล้านบาท - 43 -


ได้ตามความเหมาะสมและจาเป็น รวมทั้งการบริหารจัดการหนี้ร่วมกับ ธ.ก.ส. ด้วยการ Refinance หรือ Roll over หรือ Prepayment โดย กค. ค้าประกันจนกว่าจะมีการชาระคืนเงินกู้เสร็จสิ้น รัฐบาลรับภาระ ชาระคืนต้นเงินและดอกเบี้ยจากการกู้เงินและค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นจริง รวมทั้งผลขาดทุนที่เกิดขึ้นจาก โครงการทั้งหมด 4) การชดเชยต้นทุนเงินให้ ธ.ก.ส. ในส่วนที่ ธ.ก.ส. สารองจ่ายให้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี ที่ได้อนุมัติไว้เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2554 และ 22 กุมภาพันธ์ 2555 (ข้อ 2) สาหรับโครงการรับจานา ข้าวเปลือกนาปรัง ปี 2555 5) ให้ ธ.ก.ส. กระทรวงพาณิชย์และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการตามที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติ เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2555 สาหรับโครงการรับจานาข้าวเปลือกนาปรัง ปี 2555 เกี่ยวกับการแยกบัญชี ดาเนินงาน การนาส่งเงินที่ได้จากการชาระค่าสินค้า การดูแลสินค้า (Stock) การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ ปิดบัญชี การกากับ ติดตาม ควบคุม รวมทั้งการรายงานความก้าวหน้า 9 ตุลาคม 2555 1. เรื่อง การรับประกันภัยข้าวนาปี ปีการผลิต 2555 โดยกองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติและ การแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติ คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบความคืบหน้าการดาเนินโครงการประกันภัยข้าวนาปี ปี 2555 ตามที่ กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ โดยมอบหมายให้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ดาเนินการขายประกันภัยในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ และมีการบริหารจัดการที่ดีให้มีการกระจายความเสี่ยง และ แต่งตั้งให้นายมานพ นาคทัต เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมการประกันภัย พิบัติแทนกรรมการรายที่ลาออก ความคืบหน้าการดาเนินโครงการประกันภัยข้าวนาปี 2555 1) คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ได้มีมติเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2555 เห็นชอบรูปแบบ การประกันภัยตามโครงการประกันภัยข้าวนาปี ปีการผลิต 2555 โดยให้ภาคเอกชนผู้รับประกันภัยเข้ามามี ส่วนร่วมในการรับประกันภัยในโครงการด้วย ในสัดส่วนร้อยละ 0.25 และได้จัดทาประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การกาหนดภัยพิบัติอื่นตามพระราชกาหนดกองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติ พ.ศ. 2555 ไว้เรียบร้อยแล้ว เพื่อให้คาจากัดความคาว่า “ภัยพิบัต”ิ ครอบคลุมถึงภัยพิบัติต่อพืชผลทางการเกษตร 2) การบริหารความเสี่ยงของกองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติ 2.1) คณะรัฐมนตรีได้มีมติ (26 มิถุนายน 2555) เห็นชอบการกาหนดอัตราเบี้ยประกันภัยที่ 120 บาทต่อไร่ (ไม่รวมอากรแสตมป์และภาษีมูลค่าเพิ่ม) สาหรับวงเงินความคุ้มครอง 1,111 บาทต่อไร่ ตลอดช่วงการเพาะปลูก สาหรับภัยธรรมชาติ 6 ภัย ได้แก่ อุทกภัย ฝนทิ้งช่วง ลมพายุ อากาศหนาว ลูกเห็บ และอัคคีภัย และวงเงินความคุ้มครอง 555 บาทต่อไร่ สาหรับภัยศัตรูพืชและโรคระบาด 2.2) อัตราเบี้ยประกันภัยดังกล่าวคิดเป็นร้อยละ 10.8 ของวงเงินความคุ้มครองสูงสุด เป็นอัตรา ต่ากว่าอัตราตลาดที่ กค. ได้เคยหารือร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน และต่ากว่าสถิติอัตราความเสียหาย พื้นที่เพาะปลูกข้าวนาปีทั่วประเทศจากภัยธรรมชาติ ศัตรูพืชและโรคระบาดโดยเฉลี่ย 8 ปี (พ.ศ. 2547-2554) ซึ่งอยู่ที่ร้อยละ 12.23 2.3) การลดความเสี่ยงการรับประกันภัยของกองทุนฯ จะขึ้นอยู่กับความสามารถในการกระจาย ความเสี่ยงของพื้นที่เพาะปลูกที่เข้าร่วมโครงการ ซึ่ง ธ.ก.ส. ในฐานะที่เป็นผู้บริหารโครงการจะต้องมีการบริหาร จัดการที่ดี นอกจากกาหนดเป้าหมายรวมทั้งประเทศ ตามที่ ธ.ก.ส. คาดว่ามีความเป็นไปได้ประมาณ 4 ล้านไร่แล้ว ยังต้องมีการกระจายพื้นที่เพาะปลูกที่เข้าร่วมโครงการให้มีความหลากหลาย - 44 -


2.4) ในกรณีที่มีการจัดการความเสี่ยงดีที่สุดจะทาให้กองทุนไม่เกิดความเสียหายจากการรับ ประกันภัย ส่วนในกรณีเลวร้ายที่สุด กล่าวคือพื้นที่เพาะปลูกจานวน 4 ล้านไร่ ที่เข้าร่วมโครงการเป็นพื้นที่ที่มี ความเสี่ยงสูงทั้งหมด กองทุนอาจมีภาระการจ่ายค่าสินไหมทดแทนจานวน 4,444 ล้านบาท 3) คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการด้านการประกันภัยพืชผลทาหน้าที่ กากับดูแลการรับประกันภัยอย่างใกล้ชิดในช่วงระยะเวลาการขายประกันภัย ซึ่งกาหนดไว้ไม่เกิน 3 เดือน นับตั้งแต่วันเริ่มต้นการขายโดยทุกภาคยกเว้นภาคใต้ได้เริ่มต้นการขายตั้งแต่วันที่ 27 กรกฎาคม 2555 และ ภาคใต้จะเริ่มต้นการขายในวันที่ 27 สิงหาคม 2555 4) แต่งตั้งนายมานพ นาคทัต ประธานคณะอนุกรรมการด้านกฎหมายของกองทุนส่งเสริมการประกัน ภัยพิบัติ เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนนายเสรี จินตนเสรี ที่ได้ลาออกไปตั้งแต่วันที่ 13 มีนาคม 2555 2. เรื่อง แผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจาปีงบประมาณ 2556 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ประธานกรรมการนโยบายและ กากับการบริหารหนี้สาธารณะเสนอ ดังนี้ 1) อนุมัติแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจาปีงบประมาณ 2556 ซึ่งประกอบด้วย 3 แผนย่อย (รายละเอียดตามตารางด้านล่าง) และรับทราบแผนการบริหารจัดการหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่ต้องขออนุมัติ ภายใต้กรอบแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจาปีงบประมาณ 2556 วงเงิน 127,885.21 ล้านบาท

รายการแผน 1. แผนการก่อหนี้ใหม่ (1) รัฐบาล (2) รัฐวิสาหกิจ 2. แผนการปรับโครงสร้างหนี้ (1) รัฐบาล (2) รัฐวิสาหกิจ 3. แผนการบริหารความเสี่ยง รวม (1 ถึง 3)

ในประเทศ 943,936.10 717,741.22 226,194.88 703,394.50 527,576.18 175,818.32 47,100.00 1,694,430.60

วงเงิน ต่างประเทศ 15,455.77 0.00 15,455.77 34,208.40 34,208.40 0.00 176,038.38 225,702.55

รวม 959,391.87 717,741.22 241,650.65 737,602.90 561,784.58 175,818.32 223,138.38 1,920,133.15

หน่วย : ล้านบาท คาขอให้ กค. ค้าประกัน ขอค้า/กู้ต่อ ไม่ขอค้า 228,011.54 41,880.33 28,241.22 0.00 199,770.32 41,880.33 172,818.32 3,000.00 172,818.32

3,000.00

400,829.86

2) อนุมัติการกู้เงินของรัฐบาล การกู้มาเพื่อให้กู้ต่อการกู้เงินเพื่อปรับโครงสร้างหนี้และการค้าประกัน เงินกู้ให้กับรัฐวิสาหกิจภายใต้กรอบวงเงินของแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจาปีงบประมาณ 2556 3) อนุมัติให้กระทรวงการคลังเป็นผู้พิจารณาการกู้เงิน วิธีการกู้เงิน เงื่อนไข และรายละเอียดต่างๆ ของการกู้เงินและการค้าประกันในแต่ละครั้งได้ตามความเหมาะสมและจาเป็น 4) อนุมัติให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหรือผู้ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังมอบหมาย เป็นผู้ลงนามผูกพันการกู้เงินและหรือการค้าประกันเงินกู้ และเอกสารที่เกี่ยวข้อง

- 45 -


3. เรื่อง กรอบและงบประมาณของรัฐวิสาหกิจประจาปีงบประมาณ 2556 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบและเห็นชอบมติคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตามที่รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี (นายนิวัฒน์ธารง บุญทรงไพศาล) เสนอ ดังนี้ 1) รับทราบประมาณการงบทาการประจาปีงบประมาณ 2556 ที่คาดว่าจะมีกาไรสุทธิประมาณ 79,782 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2555 ร้อยละ 13.5 โดยสามารถจัดหาเงินสดเพื่อใช้ลงทุนได้ประมาณ 215,249 ล้านบาท และรับทราบประมาณการแนวโน้มการดาเนินงานช่วงปี 2557-2559 ของรัฐวิสาหกิจที่คาดว่า ผลประกอบการจะมีกาไรสุทธิรวม 222,322 ล้านบาท หรือเฉลี่ยประมาณปีละ 74,107 ล้านบาท และ การเบิกจ่ายลงทุนรวม 2,305,426 ล้านบาท หรือเฉลี่ยประมาณปีละ 768,475 ล้านบาท 2) เห็นชอบ กรอบและงบประมาณของรัฐวิสาหกิจประจาปีงบประมาณ 2556 วงเงินดาเนินการ จานวน 1,046,533 ล้านบาท และวงเงินเบิกจ่ายลงทุน จานวน 637,111 ล้านบาท ประกอบด้วย 2.1) การลงทุนโครงการต่อเนื่องที่ได้รับอนุมัติให้ดาเนินการแล้วและงานตามภารกิจปกติวงเงิน ดาเนินการ 946,533 ล้านบาท และวงเงินเบิกจ่ายลงทุน 557,111 ล้านบาท 2.2) การลงทุนที่ขอเพิ่มเติมระหว่างปี (การเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมงบลงทุนเพื่อการดาเนินงาน ปกติ) วงเงินดาเนินการ 100,000 ล้านบาท และวงเงินเบิกจ่ายลงทุน 80,000 ล้านบาท สาหรับโครงการลงทุน ที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติเพิ่มเติมระหว่างปี โดยมอบให้ สศช. ปรับเพิ่มกรอบวงเงินดาเนินการและกรอบวงเงิน เบิกจ่ายลงทุนให้สอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรีได้ และมอบหมายคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติเป็นผู้พิจารณาอนุมัติการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมงบลงทุนระหว่างปีดังกล่าว สาหรับโครงการที่ยังไม่ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีและการลงทุนที่ใช้เงิน งบประมาณ ให้ดาเนินการได้เมื่อได้รับอนุมัติตามขั้นตอนแล้ว ทั้งนี้ ให้รัฐวิสาหกิจเบิกจ่ายลงทุนตามเป้าหมาย ร้อยละ 95 ของวงเงินอนุมัติให้เบิกจ่ายลงทุน 2.3) ให้กระทรวงเจ้าสังกัดรับข้อเสนอแนะเชิงนโยบายระดับกระทรวงและระดับองค์กร ไปพิจารณาดาเนินการ รวมทั้งรายงานผลความก้าวหน้าของการดาเนินงานและการเบิกจ่ายลงทุน ในปีงบประมาณ 2556 ให้ สศช. ทราบภายในทุกวันที่ 5 ของเดือนอย่างเคร่งครัด และให้รายงานผล การดาเนินงานตามข้อเสนอแนะข้างต้นและความก้าวหน้าการดาเนินโครงการลงทุนทุกไตรมาส 2.4) เห็นชอบในหลักการให้ สศช. ปรับวงเงินลงทุนของรัฐวิสาหกิจประจาปีงบประมาณ 2556 ให้สอดคล้องกับผลการจัดสรรงบประมาณตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 และการอนุมัติโครงการของคณะรัฐมนตรี

- 46 -


สถิติด้านการคลัง


ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลตัง้ แต่ปี 2543 - 2554 (ฐานข้อมูลรายปี) ปีงบประมาณ กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้นิตบิ คุ คล ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อนื่ ๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดืม่ ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอนื่ ๆ รายได้อนื่ ๆ กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อนื่ ๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอืน่ ส่วนราชการอืน่ กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุน้ ให้กองทุนวายุภกั ษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน

แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จดั เก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอนื่ ๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทนิ ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีปฏิทนิ (ร้อยละ) GDP (ปีงบประมาณ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีงบประมาณ (ร้อยละ)

2533 192,488 39,338 58,900 1,794 88,035 3,780 642 73,279 32,014 13,636 13,754 6,625 5,142 1,813 295 91,025 89,869 55 1,102 356,792 48,147 29,527 18,620 404,939

2534 237,308 48,913 75,032 2,870 106,183 3,691 620 92,493 44,415 15,904 15,734 7,973 6,224 1,927 316 93,196 91,998 13 1,185 422,997 53,977 30,225 23,752 476,974

2535 261,042 52,945 87,273 2,884 37,783 66,614 9,629 3,781 134 102,028 41,346 15,490 15,247 7,818 15,713 5,125 301 695 294 86,246 85,082 11 1,153 449,316 76,048 42,896 33,152 525,364

2536 300,805 57,237 103,975 3,448 2,739 112,582 16,764 3,876 184 125,789 43,711 15,638 16,679 9,478 34,350 5,158 546 73 157 105,910 104,651 11 1,247 532,504 75,603 36,701 38,902 608,106

2537 366,957 67,651 133,268 3,603 1,441 134,791 21,227 4,752 224 138,670 46,131 19,708 19,272 12,262 34,515 5,636 899 136 111 116,872 115,540 14 1,318 622,499 85,047 41,794 43,253 707,546

2538 444,512 86,190 157,078 3,196 1,082 163,122 28,311 5,284 249 155,308 53,501 20,717 19,759 15,131 38,147 6,598 1,190 156 109 128,548 127,124 9 1,415 728,368 86,775 41,250 45,525 815,143

หน่วย : ล้านบาท 2539 508,832 109,396 172,235 3,430 572 184,227 33,410 5,286 276 167,160 58,005 24,057 21,548 17,360 37,343 6,845 1,729 153 119 129,543 128,212 6 1,324 805,535 89,756 40,650 49,106 895,291

404,939 404,939 2,183,545 18.5 2,101,900 19.3

476,974 476,974 2,506,635 19.0 2,425,900 19.7

525,364 525,364 2,830,914 18.6 2,749,800 19.1

41,432 38,354 3,078 10,348 556,326 556,326 3,165,222 17.6 3,034,300 18.3

48,723 45,330 3,393 6,262 652,561 652,561 3,629,341 18.0 3,496,880 18.7

52,937 49,143 3,794 7,108 755,098 755,098 4,681,212 16.1 4,068,515 18.6

37,813 34,148 3,665 7,473 850,005 850,005 4,611,041 18.4 4,510,055 18.8

หมายเหตุ : ข้อมูล GDP (ปีปฏิทนิ ) ปี 2555 เป็นตัวเลขประมาณการ จากส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ณ วันที่ 20 สิงหาคม 2555 : ข้อมูล GDP (ปีงบประมาณ) ปี 2555 ใช้ตวั เลข GDP ปีปฏิทนิ จากแถลงข่าวของ สศช. ณ วันที่ 20 สิงหาคม 2555 และประมาณการโดยส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และส้านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดท้าโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ ส้านักนโยบายการคลัง ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง


ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลตัง้ แต่ปี 2543 - 2554 (ฐานข้อมูลรายปี) ปีงบประมาณ กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้นิตบิ คุ คล ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อนื่ ๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดืม่ ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอนื่ ๆ รายได้อนื่ ๆ กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อนื่ ๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอืน่ ส่วนราชการอืน่ กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุน้ ให้กองทุนวายุภกั ษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน

แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จดั เก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอนื่ ๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทนิ ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีปฏิทนิ (ร้อยละ) GDP (ปีงบประมาณ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีงบประมาณ (ร้อยละ)

2540 518,620 115,137 162,655 5,322 264 195,813 34,286 4,734 408 180,168 63,983 29,816 22,763 21,383 32,295 7,519 1,765 129 168 204 142 104,160 102,704 8 1,448 802,947 106,101 38,102 68,000 909,049

2541 498,966 122,945 99,480 5,316 342 232,388 35,241 2,992 263 155,564 65,373 28,560 20,257 23,191 8,557 7,023 1,003 538 442 481 139 69,338 67,108 17 2,213 723,868 91,813 42,518 49,295 815,681

2542 452,317 106,071 108,820 10,872 186 201,976 21,311 2,824 258 163,892 66,584 26,655 22,800 24,992 13,941 6,484 904 482 419 474 158 68,095 66,994 36 1,064 684,303 109,042 52,679 56,364 793,346

2543 461,322 91,790 145,554 10,739 126 192,510 17,015 3,351 236 168,822 64,832 28,134 8,276 26,438 26,781 7,444 1,104 791 444 579 3,999 87,195 85,338 75 1,782 717,338 100,257 56,182 44,075 817,595

2544 499,711 101,136 149,677 17,154 84 215,158 12,852 3,408 242 177,600 64,124 32,310 8,933 29,991 30,330 8,100 1,429 932 713 525 213 92,838 91,359 82 1,397 770,149 104,617 45,482 59,135 874,766

2545 544,281 108,371 170,415 19,128 99 228,196 13,715 4,122 236 208,153 68,840 31,697 22,290 31,650 41,560 7,748 1,793 1,224 582 556 212 98,629 96,326 163 2,139 851,062 108,375 46,965 2,483 1,065 57,862 959,437

58,400 55,313 3,087 7,073 843,576 843,576 4,732,610 17.8 4,699,943 17.9

74,660 63,858 10,802 7,559 733,462 733,462 4,626,447 15.9 4,666,795 15.7

75,325 64,655 10,670 2,994 5,916 709,111 709,111 4,637,079 15.3 4,607,310 15.4

57,036 47,358 9,679 3,198 7,278 750,082 750,082 4,922,731 15.2 4,849,547 15.5

77,920 65,682 12,239 3,732 7,698 785,416 785,416 5,133,502 15.3 5,101,367 15.4

79,902 65,769 14,133 4,109 8,234 867,192 16,525 850,667 5,450,643 15.6 5,345,826 15.9

หมายเหตุ : ข้อมูล GDP (ปีปฏิทนิ ) ปี 2555 เป็นตัวเลขประมาณการ จากส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ณ วันที่ 20 สิงหาคม 2555 : ข้อมูล GDP (ปีงบประมาณ) ปี 2555 ใช้ตวั เลข GDP ปีปฏิทนิ จากแถลงข่าวของ สศช. ณ วันที่ 20 สิงหาคม 2555 และประมาณการโดยส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และส้านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดท้าโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ ส้านักนโยบายการคลัง ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง

หน่วย : ล้านบาท 2546 627,682 117,309 208,859 21,773 45 261,306 12,757 5,348 286 246,641 73,605 33,289 25,676 36,987 56,474 8,621 2,347 1,581 591 6,420 813 239 111,819 110,054 216 1,549 986,142 118,485 50,772 3,599 64,114 1,104,627 80,150 69,261 10,888 5,042 10,501 1,008,934 40,604 968,330 5,917,369 16.4 5,780,452 16.8


ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลตัง้ แต่ปี 2543 - 2554 (ฐานข้อมูลรายปี) ปีงบประมาณ กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้นิตบิ คุ คล ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อนื่ ๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดืม่ ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอนื่ ๆ รายได้อนื่ ๆ กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อนื่ ๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอืน่ ส่วนราชการอืน่ กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุน้ ให้กองทุนวายุภกั ษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน

แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จดั เก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอนื่ ๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทนิ ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีปฏิทนิ (ร้อยละ) GDP (ปีงบประมาณ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีงบประมาณ (ร้อยละ)

2547 772,236 135,155 261,890 31,935 316,134 20,024 6,820 278 275,773 76,996 36,325 26,181 42,749 65,012 9,350 2,859 1,641 763 12,625 993 280 106,122 103,635 267 2,220 1,154,132 135,747 49,086 2,976 25,075 6,000 52,611 1,289,880

2548 937,149 147,352 329,516 41,178 385,718 26,304 6,816 266 279,395 76,458 38,193 28,620 45,483 58,760 10,106 3,712 1,849 762 13,935 1,121 398 110,403 106,917 285 3,202 1,326,948 147,472 60,664 3,210 1,484 82,114 1,474,420

2549 1,057,200 170,079 374,689 56,524 417,772 30,623 7,268 244 274,095 70,742 35,657 29,143 44,207 59,810 10,765 3,525 2,010 1,178 15,523 1,169 367 96,232 93,633 314 2,285 1,427,528 153,996 73,500 3,330 77,165 1,581,524

2550 1,119,194 192,795 384,619 65,735 434,272 34,406 7,137 230 287,231 76,944 41,824 33,298 52,088 55,844 11,735 3,727 1,665 1,426 7,229 1,183 269 90,625 88,169 345 2,112 1,497,050 206,724 80,593 3,052 36,951 86,129 1,703,775

2551 1,276,080 204,847 460,650 74,033 503,439 25,133 7,724 254 278,303 67,211 41,832 36,816 53,465 57,822 12,391 3,769 1,673 1,708 111 1,196 309 99,602 96,944 501 2,157 1,653,985 183,659 77,546 4,682 101,430 1,837,643

2552 1,138,565 198,095 392,172 90,712 431,775 18,099 7,488 223 291,221 91,059 43,936 37,982 48,993 49,278 12,186 3,111 1,608 1,479 1,062 528 80,288 77,187 404 2,697 1,510,074 174,224 83,761 3,822 86,641 1,684,297

2553 1,264,584 208,374 454,565 67,599 502,176 22,892 8,735 243 405,862 152,825 53,381 42,398 58,831 77,202 14,245 1,615 1,979 1,947 1,039 400 97,148 93,512 169 3,467 1,767,594 235,453 140,031 3,868 91,553 2,003,047

หน่วย : ล้านบาท 2554 1,515,666 236,339 574,059 81,444 577,632 35,614 10,299 279 399,779 117,914 57,197 48,624 61,498 92,844 14,526 1,183 2,284 2,197 1,088 424 102,882 99,968 241 2,673 2,018,326 206,051 102,687 4,569 98,795 2,224,377

115,574 96,947 18,627 6,368 11,226 1,156,713 47,726 1,108,986 6,489,476 17.1 6,321,068 17.5

131,220 109,625 21,594 7,451 12,421 1,323,328 58,400 1,264,928 7,092,893 17.8 6,920,178 18.3

162,951 138,206 24,745 9,172 12,399 1,397,002 57,312 1,339,691 7,844,939 17.1 7,699,350 17.4

181,793 150,035 31,758 9,514 10,416 1,502,051 57,592 1,444,460 8,525,197 16.9 8,301,652 17.4

202,716 173,994 28,723 11,625 12,044 1,611,258 65,420 1,545,837 9,080,466 17.0 9,145,520 16.9

199,408 157,838 41,570 9,040 11,160 1,464,690 53,832 1,410,858 9,041,551 15.6 8,850,552 15.9

208,733 160,052 48,681 11,096 13,005 1,770,213 65,736 1,704,477 10,104,821 16.9 9,921,040 17.2

230,014 188,471 41,543 12,677 14,813 1,966,873 74,556 1,892,317 10,540,134 18.0 10,669,300 17.7

หมายเหตุ : ข้อมูล GDP (ปีปฏิทนิ ) ปี 2555 เป็นตัวเลขประมาณการ จากส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ณ วันที่ 20 สิงหาคม 2555 : ข้อมูล GDP (ปีงบประมาณ) ปี 2555 ใช้ตวั เลข GDP ปีปฏิทนิ จากแถลงข่าวของ สศช. ณ วันที่ 20 สิงหาคม 2555 และประมาณการโดยส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และส้านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดท้าโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ ส้านักนโยบายการคลัง ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง


ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาล ปี 2555 (ฐานข้อมูลรายปี) หน่วย: ล้านบาท 2555 กรมสรรพากร 1,616,175 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 659,198 ภาษีเงินได้นิตบิ คุ คล 544,446 ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา 266,091 ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม 94,097 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 40,827 อากรแสตมป์ 11,154 ภาษีการค้า รายได้อนื่ ๆ 363 กรมสรรพสามิต 379,652 ภาษีน้ามันฯ 61,061 ภาษีรถยนต์ 117,145 ภาษีเบียร์ 64,893 ภาษียาสูบ 59,915 ภาษีสุราฯ 53,500 ภาษีเครื่องดืม่ 16,208 ภาษีรถจักรยานยนต์ 2,318 ภาษีแบตเตอรี่ 2,126 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 977 ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอนื่ ๆ 1,099 รายได้อนื่ ๆ 411 กรมศุลกากร 118,943 อากรขาเข้า 116,295 อากรขาออก 323 รายได้อนื่ ๆ 2,325 รวม 3 กรม 2,114,770 หน่วยงานอืน่ 238,495 ส่วนราชการอืน่ 111,372 กรมธนารักษ์ 4,374 รายได้จากการขายหุน้ ให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ 122,749 รวมรายได้จดั เก็บ 2,353,265 หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 255,333 - ภาษีมูลค่าเพิ่ม 212,361 - ภาษีอนื่ ๆ 42,972 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 14,771 3. เงินกันชดเชยการส่งออก 15,815 รวมรายได้สุทธิ 2,067,346 จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ 89,895 รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร 1,977,451 GDP (ปีปฏิทนิ ) 11,478,600 สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) 17.2 GDP (ปีงบประมาณ) 10,991,300 สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) 18.0 ปีงบประมาณ

หมายเหตุ : ข้อมูล GDP (ปีปฏิทนิ ) ปี 2555 เป็นตัวเลขประมาณการ จากส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสัง คมแห่ง ชาติ (สศช.) ณ วันที่ 20 สิง หาคม 2555 : ข้อมูล GDP (ปีง บประมาณ) ปี 2555 ใช้ตวั เลข GDP ปีปฏิทนิ จากแถลงข่าวของ สศช. ณ วันที่ 20 สิง หาคม 2555 และประมาณการโดย ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และส้านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐ วิสาหกิจ จัดท้าโดย : ส่วนโยบายการคลัง และงบประมาณ ส้านักนโยบายการคลัง ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง


โครงสร้างงบประมาณ หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ

2532

2533

2534

2535

2536

285,500.0

335,000.0

387,500.0

460,400.0

560,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

16.9

16.7

16.1

17.6

17.9

(อัตราเพิ่ม) (%)

17.2

17.3

15.7

18.8

21.6

210,571.8

227,541.2

261,932.2

301,818.2

351,060.8

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

12.5

11.3

10.9

11.5

11.2

(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)

73.8

67.9

67.6

65.6

62.7

(อัตราเพิม่ ) (%)

13.3

8.1

15.1

15.2

16.3

53,592.4

82,043.2

105,647.6

130,652.6

171,606.7

3.2

4.1

4.4

5.0

5.5

(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)

18.8

24.5

27.3

28.4

30.6

(อัตราเพิม่ ) (%)

32.9

53.1

28.8

23.7

31.3

21,335.8

25,415.6

19,920.2

27,929.2

37,332.5

7.5

7.6

5.1

6.1

6.7

22.9

19.1

(21.6)

40.2

33.7

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

262,500.0

310,000.0

387,500.0

460,400.0

534,400.0

15.5

15.5

16.1

17.6

17.1

9.4

18.1

25.0

18.8

16.1

(23,000.0)

(25,000.0)

0.0

0.0

(25,600.0)

(1.4)

(1.2)

0.0

0.0

(0.8)

1,690,500.0

2,005,254.0

2,400,000.0

2,620,000.0

3,130,000.0

1. วงเงินงบประมาณ

1.1 รายจ่ายประจา

1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)

1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ (GDP) (%)

ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2555 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2533 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จานวน 1,507.5 ล้านบาท


โครงสร้างงบประมาณ หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ

2537

2538

2539

2540

2541

625,000.0

715,000.0

843,200.0

944,000.0

830,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

17.9

17.4

18.0

18.1

16.4

(อัตราเพิ่ม) (%)

11.6

14.4

17.9

12.0

(10.3)

376,382.3

434,383.3

482,368.2

528,293.4

519,505.8

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

10.8

10.6

10.3

10.1

10.2

(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)

60.2

60.8

57.2

56.0

62.6

7.2

15.4

11.0

9.5

(0.2)

212,975.6

253,839.8

327,288.6

391,209.7

279,258.1

6.1

6.2

7.0

7.5

5.5

(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)

34.1

35.5

38.8

41.4

33.6

(อัตราเพิม่ ) (%)

24.1

19.2

28.9

19.5

(26.5)

35,642.1

26,776.9

33,543.2

24,496.9

31,236.1

5.7

3.7

4.0

2.6

3.8

(4.5)

(24.9)

25.3

(27.0)

27.5

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

600,000.0

715,000.0

843,200.0

925,000.0

782,020.0

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

17.1

17.4

18.0

17.8

15.4

(อัตราเพิ่ม) (%)

12.3

19.2

17.9

9.7

(15.5)

(25,000.0)

0.0

0.0

(19,000.0)

(47,980.0)

(0.7)

0.0

0.0

(0.4)

(0.9)

3,499,000.0

4,099,000.0

4,684,000.0

5,205,500.0

5,073,000.0

1. วงเงินงบประมาณ

1.1 รายจ่ายประจา

(อัตราเพิม่ ) (%) 1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)

1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้

3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ (GDP) (%)

ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2555 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2540 เป็นตัวเลขที่ปรับลดจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จานวน 984,000 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2541 เป็นตัวเลขที่ปรับลดและปรับเพิ่มจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จานวน 923,000 ล้านบาท


โครงสร้างงบประมาณ หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ

2542

2543

2544

825,000.0

860,000.0

910,000.0

1,023,000.0

999,900.0

16.5

16.7

17.5

19.3

17.2

3.1

4.2

5.8

12.4

(2.3)

586,115.1

635,585.1

679,286.5

773,714.1

753,454.7

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

11.7

12.4

13.0

14.6

13.0

(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)

71.0

73.9

74.6

75.6

75.4

(อัตราเพิม่ ) (%)

14.4

8.4

6.9

13.9

(2.6)

233,534.7

217,097.6

218,578.2

223,617.0

211,493.5

4.7

4.2

4.2

4.2

3.6

(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)

28.3

25.2

24.0

21.9

21.2

(อัตราเพิม่ ) (%)

(8.9)

(7.0)

0.7

2.3

(5.4)

5,350.2

7,317.3

12,135.3

25,668.9

34,951.8

0.6

0.9

1.3

2.5

3.5

(82.9)

36.8

65.8

111.5

36.2

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

800,000.0

750,000.0

805,000.0

823,000.0

825,000.0

16.0

14.6

15.5

15.5

14.2

2.3

(6.3)

7.3

2.2

0.2

(25,000.0)

(110,000.0)

(105,000.0)

(200,000.0)

(174,900.0)

(0.5)

(2.1)

(2.0)

(3.8)

(3.0)

5,002,000.0

5,137,000.0

5,208,600.0

5,309,200.0

5,799,700.0

1. วงเงินงบประมาณ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.1 รายจ่ายประจา

1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)

1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ

2545

(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2556 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง

2546


โครงสร้างงบประมาณ หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ

2547

2548

2549

2550

2551

1,163,500.0

1,250,000.0

1,360,000.0

1,566,200.0

1,660,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

18.0

17.4

17.5

18.6

18.0

(อัตราเพิ่ม) (%)

16.4

7.4

8.8

15.2

6.0

836,544.4

881,251.7

958,477.0

1,135,988.1

1,213,989.1

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

12.9

12.2

12.3

13.5

13.1

(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)

71.9

70.5

70.5

72.5

73.1

(อัตราเพิม่ ) (%)

11.0

5.3

8.8

18.5

6.9

292,800.2

318,672.0

358,335.8

374,721.4

400,483.9

4.5

4.4

4.6

4.5

4.3

(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)

25.2

25.5

26.3

23.9

24.1

(อัตราเพิม่ ) (%)

38.4

8.8

12.4

4.6

6.9

34,155.4

50,076.3

43,187.2

55,490.5

45,527.0

2.9

4.0

3.2

3.5

2.7

(2.3)

46.6

(13.8)

28.5

(18.0)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

1,063,600.0

1,250,000.0

1,360,000.0

1,420,000.0

1,495,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

16.4

17.4

17.5

16.9

16.2

(อัตราเพิ่ม) (%)

28.9

17.5

8.8

4.4

5.3

(99,900.0)

0.0

0.0

(146,200.0)

(165,000.0)

(1.5)

0.0

0.0

(1.7)

(1.8)

6,476,100.0

7,195,000.0

7,786,200.0

8,399,000.0

9,232,200.0

1.1 รายจ่ายประจา

1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)

1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้

3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ

(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2556 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2547 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จานวน 135,500 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2548 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิม่ เติม จานวน 50,000 ล้านบาท


โครงสร้างงบประมาณ หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ

2552

2553

2554

2555

2556

1,951,700.0

1,700,000.0

2,169,967.5

2,380,000.0

2,400,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

22.4

17.5

20.0

20.2

19.1

(อัตราเพิ่ม) (%)

17.6

(12.9)

27.6

9.7

0.8

1,411,382.4

1,434,710.1

1,667,439.7

1,840,672.6

1,900,476.7

(สัดส่วนต่อ GDP) (%)

16.2

14.8

15.3

15.6

15.2

(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)

72.3

84.4

76.8

77.3

79.2

(อัตราเพิม่ ) (%)

16.3

1.7

16.2

10.4

3.2

429,961.8

214,369.0

355,484.6

438,555.4

450,373.8

4.9

2.2

3.3

3.7

3.6

22.0

12.6

16.4

18.4

18.7

7.4

(50.1)

65.8

23.4

2.7

63,676.1

50,920.9

32,554.6

46,854.0

49,149.5

3.3

3.0

1.5

2.0

2.1

39.9

(20.0)

(36.1)

43.9

4.9

46,679.7

-

114,488.6

53,918.0

-

2.4

-

5.3

2.2

-

1,604,639.5

1,350,000.0

1,770,000.0

1,980,000.0

2,100,000.0

18.4

13.9

16.3

16.8

16.7

7.3

(15.9)

31.1

11.9

6.1

(347,060.5)

(350,000.0)

(399,967.5)

(400,000.0)

(300,000.0)

(4.0)

(3.6)

(3.7)

(3.4)

(2.4)

8,712,500.0

9,726,200.0

10,867,600.0

11,794,200.0

12,544,000.0

1.1 รายจ่ายประจา

1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ

(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2556 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2552 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จานวน 116,700 ล้านบาท และเป็นปีแรกที่มีการตั้ง งบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง จานวน 46,679.7 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2554 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จานวน 99,967.5 ล้านบาท


ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2549

1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ)

ต.ค. 48 พย. 48 ธ.ค. 48 ม.ค. 49 ก.พ. 49 มี.ค. 49 1,360,000 1,508,592 1,526,126 1,526,642 1,527,243 1,528,823 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 980,494 980,494 980,494 980,494 980,494 980,494 379,506 379,506 379,506 379,506 379,506 379,506 148,592 166,126 166,642 167,243 168,823 122,209 127,243 112,309 116,800 112,468 127,437 116,991 111,573 83,444 110,090 100,881 109,598 8.6 8.2 6.1 8.1 7.4 8.1 99,728 78,860 66,634 89,768 74,638 87,879 10.2 8.0 6.8 9.2 7.6 9.0 17,263 32,713 16,810 20,322 26,243 21,719 4.5 8.6 4.4 5.4 6.9 5.7 5,218 15,670 28,865 6,710 11,587 17,839 10.5 17.4 4.0 6.9 10.6

หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2549 เม.ย. 49 พ.ค. 49 มิ.ย. 49 ก.ค. 49 ส.ค. 49 ก.ย. 49 รวม 1,528,840 1,528,778 1,529,524 1,529,771 1,529,898 1,529,571 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 980,494 980,494 980,494 1,007,032 1,006,090 1,010,489 379,506 379,506 379,506 352,968 353,910 349,511 168,840 168,778 169,524 169,771 169,898 169,571 99,960 88,993 117,304 98,591 116,508 154,750 1,394,572 96,123 82,286 110,650 92,368 111,095 144,929 1,270,028 7.1 6.1 8.1 6.8 8.2 10.7 93.4 72,008 68,998 95,519 75,520 84,487 112,842 1,006,881 7.3 7.0 9.7 7.5 8.4 11.2 99.6 24,115 13,288 15,131 16,848 26,608 32,087 263,147 6.4 3.5 4.0 4.8 7.5 9.2 75.3 3,837 6,707 6,654 6,223 5,413 9,821 124,544 2.3 4.0 3.9 3.7 3.2 5.8 73.4

ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2550 ต.ค. 49 พย. 49 ธ.ค. 49 ม.ค. 50 ก.พ. 50 มี.ค. 50 1. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 1,515,327 1,515,622 1,515,769 1,722,023 1,722,021 1,722,389 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,566,200 1,566,200 1,566,200 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา 980,482 980,637 983,670 1,230,747 1,227,904 1,246,571 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 379,518 379,363 376,330 335,453 338,296 319,629 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 155,327 155,622 155,769 155,823 155,821 156,189 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 89,559 111,439 99,181 97,054 200,314 139,900 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 81,266 93,466 83,126 87,123 191,229 127,872 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 6.0 6.9 6.1 5.6 12.2 8.2 - รายจ่ายประจา 75,534 84,896 77,650 74,971 136,792 106,881 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 7.7 8.7 7.9 6.1 11.1 8.6 - รายจ่ายลงทุน 5,732 8,570 5,476 12,152 54,437 20,991 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 1.5 2.3 1.5 3.6 16.1 6.6 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น 8,293 17,973 16,055 9,931 9,085 12,028 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 5.3 11.5 10.3 6.4 5.8 7.7 ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 31 กรกฎาคม 2554

หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2550 เม.ย. 50 พ.ค. 50 มิ.ย. 50 ก.ค. 50 ส.ค. 50 ก.ย. 50 รวม 1,722,287 1,722,271 1,722,266 1,722,241 1,722,322 1,722,364 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,246,335 1,245,965 1,245,109 1,244,236 1,242,815 1,239,641 319,865 320,235 321,091 321,964 323,385 326,559 156,087 156,071 156,066 156,041 156,122 156,164 115,830 137,086 164,381 146,556 122,778 150,888 1,574,966 111,216 131,311 158,603 142,784 118,609 144,234 1,470,839 7.1 8.4 10.1 9.1 7.6 9.2 93.9 97,682 90,381 126,402 119,440 101,347 116,157 1,208,133 7.8 7.3 10.2 9.6 8.2 9.4 97.5 13,534 40,930 32,201 23,344 17,262 28,077 262,706 4.2 12.8 10.0 7.3 5.3 8.6 80.4 4,614 5,775 5,778 3,772 4,169 6,654 104,127 3.0 3.7 3.7 2.4 2.7 4.3 66.7


ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2551

1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ)

ต.ค. 50 1,769,427 1,660,000 1,295,140 364,860 109,427 155,389 147,936 8.9 121,123 9.4 26,813 7.3 7,453 6.8

พ.ย. 50 ธ.ค. 50 ม.ค. 51 ก.พ. 51 1,809,505 1,810,026 1,810,883 1,812,516 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,295,113 1,327,235 1,327,187 1,327,191 364,887 332,765 332,813 332,809 149,505 150,026 150,883 152,516 127,018 110,867 158,402 118,658 112,113 97,846 146,917 108,633 6.8 5.9 8.9 6.5 93,861 88,182 93,934 97,960 7.2 6.6 7.1 7.4 18,252 9,664 52,983 10,673 5.0 2.9 15.9 3.2 14,905 13,021 11,485 10,025 10.0 8.7 7.6 6.6

ปีงบประมาณ มี.ค. 51 เม.ย.51 1,811,083 1,811,181 1,660,000 1,660,000 1,327,071 1,327,087 332,929 332,913 151,083 151,181 125,147 154,636 113,533 150,029 6.8 9.0 100,423 104,918 7.6 7.9 13,110 45,111 3.9 13.6 11,614 4,607 7.7 3.0

หน่วย : ล้านบาท 2551 พ.ค.51 มิ.ย.51 ก.ค.51 ส.ค.51 ก.ย.51 รวม 1,811,408 1,811,408 1,811,408 1,811,940 1,812,063 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,326,271 1,326,029 1,326,205 1,325,380 1,319,724 333,729 333,971 333,795 334,620 340,276 151,408 151,667 151,925 151,940 152,063 126,767 143,198 138,838 124,629 149,856 1,633,405 119,962 137,088 134,497 120,424 143,501 1,532,479 7.2 8.3 8.1 7.3 8.6 92.3 108,354 107,295 115,870 107,822 125,248 1,264,990 8.2 8.1 8.7 8.1 9.5 95.9 11,608 29,793 18,627 12,602 18,253 267,489 3.5 8.9 5.6 3.8 5.4 78.6 6,805 6,110 4,341 4,205 6,355 100,926 4.5 4.0 2.9 2.8 4.2 66.4

ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2552 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2552 ต.ค.51 พ.ย.51 ธ.ค.51 ม.ค.52 ก.พ.52 มี.ค.52 เม.ย.52 พ.ค.52 1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 2,009,163 2,026,393 2,026,061 2,026,212 2,026,408 2,143,222 2,143,223 2,143,228 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,951,700 1,951,700 1,951,700 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา 1,481,992 1,481,939 1,481,885 1,481,864 1,481,268 1,573,602 1,578,601 1,576,929 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 353,008 353,062 353,115 353,136 353,732 378,098 373,045 374,771 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 174,163 191,393 191,061 191,212 191,408 191,522 191,523 191,528 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 93,718 165,200 145,422 192,417 179,679 195,346 141,681 161,006 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 85,193 149,303 127,825 178,000 166,569 178,473 137,194 154,745 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 4.6 8.1 7.0 9.7 9.1 9.1 7.0 7.9 - รายจ่ายประจา 84,630 131,280 118,357 125,971 132,739 164,251 117,227 114,772 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 5.7 8.9 8.0 8.5 9.0 10.4 7.4 7.3 - รายจ่ายลงทุน 563 18,023 9,468 52,029 33,830 14,222 19,966 39,973 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 0.2 5.1 2.7 14.7 9.6 3.8 5.4 10.7 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น 8,525 15,898 17,596 14,417 13,110 16,873 4,487 6,261 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 4.9 8.3 9.2 7.5 6.8 8.8 2.3 3.3 หมายเหตุ : ปีงบประมาณ 2552 ได้มกี ารจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิม่ เติมจานวน 116,700 ล้านบาท มีผลบังคับใช้ตงั้ แต่วันที่ 8 มีนาคม 2552 ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 31 กรกฎาคม 2554

มิ.ย. 52 2,143,228 1,951,700 1,575,694 376,006 191,528 139,498 131,026 6.7 110,789 7.0 20,237 5.4 8,472 4.4

ก.ค. 52 2,143,240 1,951,700 1,574,977 376,723 191,540 164,118 158,730 8.1 128,632 8.2 30,098 8.0 5,388 2.8

ส.ค. 52 2,143,240 1,951,700 1,574,085 337,615 191,540 142,162 136,915 7.0 119,691 7.6 17,224 5.1 5,247 2.7

ก.ย. 52 รวม 2,143,252 1,951,700 1,569,678 382,022 191,552 196,842 1,917,089 186,851 1,790,823 9.6 91.8 159,555 1,507,894 10.2 96.1 27,336 282,969 7.2 74.1 9,991 126,266 5.2 65.9


ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2553

1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ)

ต.ค.52 พ.ย.52 ธ.ค.52 ม.ค.53 ก.พ.53 1,927,800 1,941,156 1,941,859 1,942,592 1,942,939 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,485,631 1,481,529 1,480,072 1,479,996 1,479,954 214,369 218,471 219,928 220,004 220,046 227,800 241,156 241,859 242,592 242,939 90,339 188,614 172,221 150,008 182,850 80,143 166,116 149,895 133,986 169,382 4.7 9.8 8.8 7.9 10.0 79,470 160,782 112,293 128,316 117,878 5.3 10.9 7.6 8.7 8.0 673 5,334 37,602 5,670 51,504 0.3 2.4 17.1 2.6 23.4 10,196 22,498 22,326 16,022 13,468 4.5 9.3 9.2 6.6 5.5

หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2553 มี.ค.53 เม.ย.53 พ.ค.53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 รวม 1,943,152 1,943,152 1,943,152 1,943,174 1,943,255 1,943,505 1,943,547 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,479,843 1,479,558 1,479,100 1,476,716 1,474,315 1,472,692 1,468,655 220,157 220,442 220,900 223,284 225,685 227,308 231,345 243,152 243,152 243,152 243,174 243,255 243,505 243,547 149,981 145,528 123,967 135,455 142,627 110,118 192,704 1,784,412 129,653 136,587 118,059 123,196 135,128 103,322 182,407 1,627,874 7.6 8.0 6.9 7.2 7.9 6.1 10.7 95.8 119,986 125,819 110,268 111,500 124,850 92,492 161,105 1,444,760 8.1 8.5 7.5 7.6 8.5 6.3 11.0 98.4 9,667 10,768 7,791 11,696 10,278 10,830 21,302 183,115 4.4 4.9 3.5 5.2 4.6 4.8 9.2 79.2 20,328 8,941 5,908 12,259 7,499 6,796 10,297 156,538 8.4 3.7 2.4 5.0 3.1 2.8 4.2 64.3

ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2554 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2554 ต.ค.53 พ.ย.53 ธ.ค.53 ม.ค.54 ก.พ.54 มี.ค.54 เม.ย.54 พ.ค.54 มิ.ย. 54 ก.ค. 54 ส.ค. 54 ก.ย. 54 รวม 1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 2,230,628 2,233,968 2,249,378 2,252,646 2,252,896 2,253,208 2,353,188 2,353,189 2,353,191 2,353,192 2,353,202 2,353,202 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา 1,725,583 1,725,423 1,725,489 1,725,245 1,725,191 1,725,003 1,724,938 1,813,687 1,810,757 1,808,951 1,806,977 1,806,977 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 344,417 344,577 344,511 344,755 344,809 344,997 345,062 356,280 359,211 361,017 362,991 362,991 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 160,628 163,968 179,378 182,646 182,896 183,208 183,221 183,221 183,224 183,225 183,235 183,235 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 207,452 223,152 167,767 235,191 154,689 170,913 139,705 211,446 187,593 143,032 143,543 193,411 2,177,895 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 194,118 207,201 152,004 220,657 139,464 157,010 135,081 205,223 181,250 138,411 135,473 184,648 2,050,539 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 9.4 10.0 7.3 10.7 6.7 7.6 6.2 9.5 8.4 6.4 6.2 8.5 94.5 - รายจ่ายประจา 189,957 196,444 133,696 146,289 122,765 141,375 120,855 188,690 161,493 120,305 113,041 152,068 1,786,978 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 11.0 11.4 7.7 8.5 7.1 8.2 7.0 10.4 8.9 6.7 6.3 8.4 98.9 - รายจ่ายลงทุน 4,161 10,757 18,308 74,368 16,699 15,635 14,225 16,533 19,757 18,105 22,431 32,579 263,558 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 1.2 3.1 5.3 21.6 4.8 4.5 4.1 4.6 5.5 5.0 6.2 9.0 72.6 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น 13,334 15,951 15,763 14,534 15,225 13,903 4,625 6,223 6,343 4,621 8,070 8,763 127,355 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 8.3 9.7 8.8 8.0 8.3 7.6 2.5 3.4 3.5 2.5 4.4 4.8 69.5 หมายเหตุ : ปีงบประมาณ 2554 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิม่ เติมจานวน 99,968 ล้านบาท มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วนั ที่ 18 เมษายน 2554 ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 30 กันยายน 2554


ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2555 หน่วย : ล้านบาท

1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ)

ต.ค. 54 2,271,861 2,070,000 1,706,509 363,491 201,861 166,954 155,910 7.5 136,594 8.0 19,316 5.3 11,044 5.5

พ.ย. 54 2,278,511 2,070,000 1,725,733 344,267 208,511 150,234 131,863 6.4 127,201 7.4 4,662 1.4 18,371 8.8

ธ.ค. 54 2,282,250 2,070,000 1,720,592 349,408 212,250 172,628 151,587 7.3 137,437 8.0 14,150 4.0 21,041 9.9

ม.ค. 55 2,285,784 2,070,000 1,714,147 355,853 215,784 150,463 135,611 6.6 131,401 7.7 4,210 1.2 14,852 6.9

ก.พ. 55 2,597,224 2,380,000 1,976,557 403,443 217,224 259,062 244,073 10.3 235,123 11.9 8,950 2.2 14,989 6.9

มี.ค. 55 2,595,716 2,380,000 1,973,811 406,189 215,716 369,978 351,873 14.8 283,286 14.4 68,587 16.9 18,105 8.4

ปีงบประมาณ 2555 เม.ย. 55 พ.ค. 55 2,595,703 2,595,707 2,380,000 2,380,000 1,973,465 1,971,729 406,535 408,271 215,703 215,707 157,569 144,922 150,279 135,051 6.3 5.7 135,231 113,242 6.9 5.7 15,048 21,810 3.7 5.3 7,290 9,871 3.4 4.6

มิ.ย. 55 2,595,893 2,380,000 1,969,865 410,135 215,893 157,415 150,381 6.3 127,772 6.5 22,609 5.5 7,034 3.3

ก.ค. 55 2,596,094 2,380,000 1,968,353 411,647 216,094 179,248 171,242 7.2 146,783 7.5 24,460 5.9 8,006 3.7

ส.ค. 55 2,596,251 2,380,000 1,966,525 413,475 216,251 159,508 152,964 6.4 125,741 6.4 27,223 6.6 6,544 3.0

ก.ย. 55 2,596,564 2,380,000 1,964,439 415,561 216,564 227,347 217,642 9.1 173,258 8.8 44,384 10.7 9,705 4.5

หมายเหตุ พรบ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2555 (วงเงิน 2,380,000 ล้านบาท) มีผลบังคับในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2555 ทาให้ในช่วงตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 2555 ต้องใช้งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณที่ล่วงแล้ว (ปีงบประมาณ 2554) ไปพลางก่อน ตาม พรบ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 16

ที่มา : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครัง้ สุดท้ายวันที่ : 24 กันยายน 2555

รวม

2,295,327 2,148,475 90.3 1,873,067 95.3 275,408 66.3 146,852 67.8


ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีกอ่ น (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve)

ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีกอ่ น (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที:่ 12 ตุลาคม 2555

2548 1,264,928 1,244,063 1,139,775 104,288 20,865 -56,181 -35,316 0 -35,316 153,242 117,926

2553 1,708,625 1,784,413 1,627,875 156,538 -75,788 -21,301 -97,088 232,575 135,487 293,835 429,322

2549 1,339,691 1,395,283 1,270,739 124,544 -55,592 93,090 37,498 0 37,498 117,926 155,424

2550 1,444,718 1,574,967 1,470,839 104,127 -130,249 -28,483 -158,732 146,200 -12,532 155,424 142,892

2554 1,892,047 2,177,895 2,050,540 127,355 -285,848 177,150 -108,698 200,666 91,968 429,322 521,290

หน่วย: ล้านบาท 2555 1,980,644 2,295,327 2,148,475 146,852 -314,683 9,646 -305,037 344,084 39,047 521,290 560,337

2551 1,545,837 1,633,404 1,532,479 100,925 -87,568 8,736 -78,832 165,000 86,168 142,892 229,060

หน่วย: ล้านบาท 2552 1,409,653 1,917,129 1,790,862 126,266 -507,476 131,190 -376,286 441,061 64,775 229,060 293,835


รายเดือน

ต.ค. 54 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 123,659.00 2. รายจ่าย (Expenditure) 166,953.99 - ปีปัจจุบัน (Current Year) 155,910.07 - ปีก่อน (Carry Over) 11,043.92 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) -43,294.99 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) -147,739.63 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) -191,034.62 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 0.00 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) -191,034.62 ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครัง้ สุดท้ายวันที:่ 12 ตุลาคม 2555

พ.ย. 54 134,708.00 150,234.27 131,863.03 18,371.24 -15,526.27 -13,033.26 -28,559.53 0.00 -28,559.53

ธ.ค. 54 146,647.00 172,627.54 151,586.51 21,041.03 -25,980.54 -11,038.23 -37,018.77 0.00 -37,018.77

ม.ค. 55 137,539.00 150,462.64 135,610.75 14,851.89 -12,923.64 -10,741.87 -23,665.51 0.00 -23,665.51


รายเดือน

ก.พ. 55 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 128,079.00 2. รายจ่าย (Expenditure) 259,061.09 - ปีปัจจุบัน (Current Year) 244,072.56 - ปีก่อน (Carry Over) 14,988.53 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) -130,982.09 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 11,577.85 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) -119,404.24 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 23,500.00 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) -95,904.24 ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครัง้ สุดท้ายวันที:่ 12 ตุลาคม 2555

ปีงบประมาณ 2555 มี.ค. 55 เม.ย. 55 141,515.00 136,342.00 369,978.01 157,570.19 351,873.08 150,279.19 18,104.93 7,291.00 -228,463.01 -21,228.19 87,779.77 36,005.04 -140,683.24 14,776.85 70,110.00 80,598.23 -70,573.24 95,375.08

พ.ค. 55 186,020.00 144,922.38 135,051.16 9,871.22 41,097.62 -11,082.51 30,015.11 15,329.20 45,344.31


ปีงบประมาณ 2555

รายเดือน

มิ.ย. 55 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 306,927.00 2. รายจ่าย (Expenditure) 157,414.54 - ปีปัจจุบัน (Current Year) 150,380.92 - ปีก่อน (Carry Over) 7,033.62 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 149,512.46 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 17,239.62 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 166,752.08 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 42,891.23 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 209,643.31 ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครัง้ สุดท้ายวันที:่ 12 ตุลาคม 2555

ก.ค. 55 127,350.00 179,247.89 171,242.11 8,005.78 -51,897.89 3,940.90 -47,956.99 25,078.38 -22,878.61

ส.ค. 55 155,919.00 159,507.25 152,963.28 6,543.97 -3,588.25 10,435.41 6,847.16 55,000.00 61,847.16

ก.ย. 55 255,939.00 227,347.43 217,642.22 9,705.21 28,591.57 36,302.39 64,893.96 31,577.24 96,471.20


สัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2540 - 2543

ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

ปี 2541 ปี 2540 จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน 93,879 100.0 96,056 100.0 16,986 18.1 16,759 17.4 47,386 50.5 48,667 50.7 29,508 31.4 30,630 31.9 843,576 733,462 11.13 13.10

หน่วย : ล้านบาท ปี 2542 ปี 2543 จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน 100,805 100.0 94,721 100.0 17,808 17.7 17,404 18.4 44,870 44.5 45,096 47.6 38,127 37.8 32,222 34.0 709,111 749,949 14.22 12.63

ที่มา : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 21 พฤศจิกายน 2554 เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2544 - 2549

ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กาหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุนและการถ่ายโอนงาน1/ 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

ปี 2544 ปี 2545 จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน 159,753 100.0 175,850 100.0 17,702 11.1 21,084 12.0 55,652 34.8 58,144 33.1 12,669 7.9 19,349 11.0 73,730 772,574 20.68

46.2

77,273 803,651 21.88

43.9

ปี 2546 ปี 2547 ปี 2548 จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน 184,066 100.0 241,948 100.0 293,750 100.0 22,258 12.1 24,786 10.2 27,019 9.2 60,218 32.7 82,623 34.2 102,520 34.9 35,504 19.3 43,100 17.8 49,000 16.7 66,086 829,496 22.19

35.9

91,438 1,063,600 22.75

หมายเหตุ : 1/ ในปีงบประมาณ 2544 และ 2545 มีงบประมาณการถ่ายโอนงาน ซึ่งตั้งอยู่ที่ส่วนราชการที่ถ่ายโอนงานให้ อปท. แต่นับรวมในสัดส่วนรายได้ของ อปท. เป็นจานวน 32,339.60 ล้านบาท และ 27,061.80 ล้านบาท ตามลาดับ

37.8

115,211 1,250,000 23.50

39.2

หน่วย : ล้านบาท ปี 2549 จานวนเงิน สัดส่วน 327,113 100.0 29,110 8.9 110,190 33.7 61,800 18.9 126,013 1,360,000 24.05

38.5


เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2550 - 2556

ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กาหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน 357,424 100.0 376,740 100.0 414,382 100.0 340,995 100.0 32,021 8.9 35,224 9.3 38,746 9.4 29,110 8.6 120,729 33.8 128,676 34.2 140,679 33.9 126,590 37.1 65,300 18.3 65,000 17.3 71,900 17.4 45,400 13.3

ปี 2554 จานวนเงิน สัดส่วน 431,305 100.0

ปี 2555 จานวนเงิน สัดส่วน 529,979 100.0

หน่วย : ล้านบาท ปี 2556 จานวนเงิน สัดส่วน 572,670 100.0

257,355

59.7

308,887

58.3

336,170

58.7

173,950 2/ 1,650,000 26.14

40.3

221,092 1,980,000 26.77

41.7

236,500 2,100,000 27.27

41.3

\ 139,374 1,420,000 25.17

39.0

147,840 1,495,000 25.20

39.2 163,057 1,604,640 25.82

39.3 139,895 1,350,000 25.26

41.0

หมายเหตุ : 2/เป็นตัวเลขก่อนการจัดทางบประมาณรายจ่ายของรัฐบาลเพิ่มเติมระหว่างปี 99,967.5 ล้านบาท ซึ่งได้จัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เพิ่มเติม 5,957.4 ล้านบาท ทั้งนี้ เงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เมื่อรวมกับที่ได้รับการจัดสรรเพิ่มเติมระหว่างปีแล้ว เท่ากับ 179,907.4 ล้านบาท - เป้าหมายสัดส่วนรายได้ของ อปท. ในแต่ละปีงบประมาณผ่านขั้นตอนการพิจารณาของสานักงบประมาณเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว ที่มา : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 15 พฤษภาคม 2555


กรุงเทพมหานคร งบแสดงฐานะการเงิน ณ 30 กันยายน 2551 - 2553

สินทรัพย์ ณ 30 ก.ย. 2551 2552 2553

หมุนเวียน1/ 42,954 34,192 31,025

ไม่หมุนเวียน2/

หนี้สิน รวม

77,319 120,273 84,233 118,425 91,335 122,360

หมุนเวียน3/ ไม่หมุนเวียน4/ 2,136 1,927 2,104

7,104 8,219 7,249

หมายเหตุ : 1/ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้หมุนเวียน และรายได้ค้างรับ เป็นต้น 2/ เงินลงทุนระยะยาว ทีด่ ินและอาคาร เป็นต้น 3/ เจ้าหนี้ และค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เป็นต้น 4/ เงินกู้ยืมระยะยาว และเงินรับฝากระยะยาว เป็นต้น 5/ รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่ายสะสมของหน่วยงาน 6/ รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่ายของบัญชีส่วนกลาง (คลัง กทม.) ซึ่งจะปิดเข้าบัญชีเงินสะสม ทีม่ า : กรุงเทพมหานคร รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2555

รวม 9,240 10,146 9,353

หน่วย : ล้านบาท รวมหนี้สิน และทุน รวม

ส่วนทุน รายได้สูงกว่า 6/ ทุน 5/ เงินสะสม ค่าใช้จ่ายสะสม 38,969 31,813 40,251 111,033 120,273 39,213 36,129 32,937 108,279 118,425 39,270 43,490 30,247 113,007 122,360


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.