บทสรุปผู้บริหาร ด้านรายได้ เดือนธันวาคม 2555 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 183,688 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 41,985 ล้านบาท หรือร้อยละ 29.6 โดยภาษีที่จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการที่สาคัญ ได้แก่ ภาษีรถยนต์ จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ 6,002 ล้านบาท เป็นผลจากนโยบายรถยนต์คันแรก และภาษีเงินได้ นิติบุคคลจัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ 5,663 ล้านบาท ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการใช้สิทธิขยายเวลา ยื่นแบบแสดงรายการและชาระภาษีทางอินเตอร์เน็ตสูงกว่าที่คาดไว้ นอกจากนี้ ยังมีรายได้นาส่ง จากการประมูลใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ 3จี* งวดแรกจานวน 20,843 ล้านบาท และการส่งคืน เงินกันเพื่อชดเชยค่าภาษีอากรสาหรับผู้ส่งออก 8,227 ล้านบาท ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม – ธันวาคม 2555) รัฐบาลจัดเก็บ รายได้สุทธิ 504,582 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย 66,910 ล้านบาทหรือร้อยละ 15.3 (สูงกว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 26.6) เป็นผลจากการจัดเก็บที่สูงกว่าเป้าหมายของ 3 กรมภาษี สังกัดกระทรวงการคลังและส่วนราชการอื่นจานวน 43,768 และ 36,074 ล้านบาท ตามลาดับ ในขณะที่การคืนภาษีของกรมสรรพากรสูงกว่าเป้าหมาย 9,622 ล้านบาท
ด้านรายจ่าย
เดือนธันวาคม 2555 รัฐบาลเบิกจ่ายรวมทั้งสิ้น 173,933 ล้านบาท ประกอบด้วย การเบิกจ่าย จากงบประมาณปีปัจจุบัน 138,335 ล้านบาท (รายจ่ายประจา 131,110 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 7,225 ล้านบาท) และการเบิกจ่ายของปีก่อนจานวน 14,557 ล้านบาท ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม – ธันวาคม 2555) รัฐบาลเบิกจ่าย เงินรวมทั้งสิ้น 785,914 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2556 จานวน 699,780 ล้านบาท (เป็นรายจ่ายประจา 641,366 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 58,415 ล้านบาท) คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 29.2 ของวงเงินงบประมาณ (2,400,000 ล้านบาท) และมีการเบิกจ่ายของปีก่อนจานวน 86,134 ล้านบาท เมื่อรวมกับการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 จานวน 1,143 ล้านบาท เงินกูเ้ พื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) จานวน 3,514 ล้านบาท และเงินกู้ภายใต้ พรก.บริหารจัดการน้าฯ จานวน 2,784 ล้านบาท ส่งผลให้ในช่วงไตรมาสแรก ของปีงบประมาณ 2556 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจทั้งสิ้น 793,355 ล้านบาท
*
หมายเหตุ : ทั้งนี้ กระทรวงการคลังอยู่ในระหว่างการพิจารณาข้อกฎหมายว่าเงินจานวนดังกล่าวสามารถนาส่งเป็นรายได้แผ่นดินได้อย่าง สมบูรณ์หรือไม่ เนื่องจากการออกใบอนุญาตดังกล่าวยังอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด
-1-
ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2556 รัฐบาลมีรายได้ นาส่งคลัง 499,203 ล้านบาท และมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (ปีปัจจุบันและปีก่อน) รวม 785,914 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณขาดดุล 286,711 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอก งบประมาณที่ขาดดุล 117,426 ล้านบาท ทาให้ดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 404,137 ล้านบาท และรัฐบาล ได้ชดเชยการขาดดุลโดยการออกพันธบัตรจานวน 102,936 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินสดหลังการกู้เงิน ขาดดุลทั้งสิ้น 301,201 ล้านบาท เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2555 มีจานวน 259,136 ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค. ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2556 รัฐบาล มีรายได้ทั้งสิ้น 515,945 ล้านบาท และมีรายจ่ายทั้งสิ้น 795,044 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงิน งบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 279,099 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณที่ขาดดุล 43,741 ล้านบาท และหักรายจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) รายจ่ายเพื่อวางระบบบริหารจัดการน้า และรายจ่ายจากโครงการไทยเข้มแข็ง 3,514 2,783 และ 1,143 ล้านบาท ตามลาดับแล้ว ทาให้ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุลทั้งสิ้น 330,280 ล้านบาท
ฐานะการคลัง อปท. ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ณ ไตรมาสที่ 4 ประจาปีงบประมาณ 2555 คาดว่า จะมีรายได้รวม 133,789 ล้านบาท (รายได้ที่จัดเก็บเอง 12,673 ล้านบาท รายได้ภาษีที่รัฐบาล จัดเก็บและแบ่งให้ 95,530 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 25,586 ล้านบาท) และคาดว่า มีรายจ่ายจานวน 152,182 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลการคลังของ อปท. ขาดดุล 18,393 ล้านบาท ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในปีงบประมาณ 2555 คาดว่าจะมีรายได้รวม 498,716 ล้านบาท (รายได้ที่จัดเก็บเอง 44,993 ล้านบาท รายได้ภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 239,790 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 213,933 ล้านบาท) และคาดว่ามีรายจ่ายจานวน 455,132 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลการคลังของ อปท. เกินดุล 43,584 ล้านบาท
สถานะหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะคงค้างของรัฐบาล ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน 2555 มีจานวน 4,875.5 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 43.5 ของ GDP ประกอบด้วย หนี้ระยะยาว 4,696.3 พันล้านบาท และหนี้ระยะสั้น 179.2 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 96.3 และ 3.7 ของหนี้สาธารณะคงค้างตามลาดับ โดยร้อยละ 93.3 ของหนี้สาธารณะคงค้างเป็นหนี้ในประเทศและส่วนที่เหลือร้อยละ 6.7 เป็นหนี้ต่างประเทศ
-2-
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง (60 - 15 – 0 – 25) กระทรวงการคลังได้กาหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีตัวชี้วัดประกอบด้วย ยอดหนี้ สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 จัดทา งบประมาณสมดุล และสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณไม่ต่ากว่าร้อยละ 25 การวิเคราะห์กรอบความยั่งยืนในระยะปานกลาง (ปีงบประมาณ 2555 – 2559) - สัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ในปีงบประมาณ 2555 อยู่ที่ร้อยละ 42.6 และเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 48.0 ในปีงบประมาณ 2559 - ระดับภาระหนี้ต่องบประมาณอยู่ในระดับร้อยละ 9.3 ในปีงบประมาณ 2555 แต่เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 11.5 ในปีงบประมาณ 2559 - รัฐบาลจัดทางบประมาณแบบขาดดุลเนื่องจากความจาเป็นในการใช้จ่ายของรัฐ เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้ขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพ อย่างไรก็ดี แนวโน้มการจัดทางบประมาณ แบบขาดดุลจะลดลงตามลาดับเพื่อเข้าสู่งบประมาณแบบสมดุลในอนาคต - สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายต่ากว่าร้อยละ 25 แต่หากรวมการลงทุนของ รัฐบาลกับรัฐวิสาหกิจแล้วจะคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 33.2 ของงบประมาณรายจ่าย
การดาเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล ยอดสินเชื่อคงค้างของโครงการตามนโยบายรัฐที่มีการแยกบัญชีธุรกรรมการดาเนินงานตาม นโยบายรัฐ (PSA) ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ปี 2555 มีจานวน 577,718 ล้านบาท ขณะที่ยอด NPLs เท่ากับ 3,024 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อยอดสินเชื่อคงค้าง (NPLs Ratio) ร้อยละ 0.52 รัฐบาลมีภาระความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ซึ่งสามารถประมาณการ ความเสียหายที่ต้องได้รับการชดเชยตั้งแต่เริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการจานวนทั้งสิ้น 32,157 ล้านบาท และคงเหลือความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาลจานวน 21,145 ล้านบาท
การกระจายอานาจทางการคลังให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
งานศึกษาเรื่องสุขภาพทางการคลังของเทศบาล : กรอบแนวคิดและผลการวิจัยเชิงประจักษ์ โดย อาจารย์วีระศักดิ์ เครือเทพ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สุขภาพการทางการคลังของเทศบาล หมายถึง สภาวะที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) มีขีดความสามารถในการหารายได้เพียงพอต่อการใช้จ่าย โดยจะวิเคราะห์รายได้ที่ท้องถิ่นสามารถจัดเก็บได้ และระดับรายจ่ายที่จาเป็น ผลการศึกษาพบว่าเทศบาลนครขนาดใหญ่และเทศบาลเมืองที่ตั้งอยู่ในพื้นที่กึ่งชนบท มักประสบความอ่อนแอทางการคลังมากกว่าเทศบาลในพื้นที่อื่นๆ ปัจจัยที่ส่งผลกระทบทางลบต่อสุขภาพทางการคลัง ได้แก่ 1) สภาพเศรษฐกิจและประชากร โดยเฉพาะเมืองย่านที่พักและมีประชากรขยายตัวค่อนข้างสูง 2) การขาดความสมดุลระหว่าง การถ่ายโอน ภารกิจและความพยายามในการจัดเก็บภาษีท้องถิ่น และ 3) การขาดประสิทธิภาพทางการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาสุขภาพทางการคลังของเทศบาลงานศึกษาดังกล่าวได้มีข้อเสนอแนะคือ 1) การพัฒนาระบบเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. 2) เร่งส่งเสริมการพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดเก็บ -3-
รายได้ท้องถิ่น และ 3) ปรับปรุงหลักเกณฑ์การให้รางวัลหรือการส่งเสริมความพยายามในการจัดเก็บรายได้ ท้องถิ่น
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สาคัญ ประจาเดือนมกราคม 2555 1. เรื่อง มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการควบรวมกิจการประเด็นเงินสารองของสถาบันการเงินและ กิจการประกันภัย คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 8 มกราคม 2555 อนุมัติให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับเงินได้ ที่เป็นเงินสารองจากเบี้ยประกันภัยและเงินสารองที่กันไว้เป็นค่าเผื่อหนี้สูญหรือหนี้สงสัยจะสูญให้แก่บริษัท เดิมทีค่ วบเข้ากันหรือเป็นผู้โอนกิจการที่ต้องจดทะเบียนเลิก ทั้งนี้ ต้องนามารวมเป็นรายได้ในรอบระยะเวลา บัญชีที่ควบเข้ากันหรือโอนกิจการทั้งหมดให้แก่กัน และให้รายจ่ายของบริษัทใหม่ที่ควบเข้ากันหรือผู้โอน กิจการจากการโอนกิจการทั้งหมดเป็นจานวนเท่ากับเงินสารองที่ได้กันไว้ของบริษัทเดิมอันได้ควบเข้ากัน หรือเป็นผู้โอนกิจการที่ต้องจดทะเบียนเลิก เป็นรายจ่ายที่ไม่ให้ถือเป็นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุทธิ 2. เรื่อง มาตรการการคลังและการเงินเพื่อบรรเทาผลกระทบจากการปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่าและ เพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 8 มกราคม 2555 เห็นชอบให้ขยายระยะเวลามาตรการภาษีเพื่อ บรรเทาผลกระทบการขึ้นค่าจ้างขั้นต่าและเพิ่มขีดความสามารถของ SMEs ไปอีก 1 ปี จากสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 เป็นสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 สรุปได้ดังนี้ 1) มาตรการการคลัง ประกอบด้วย - การหักค่าใช้จ่ายส่วนต่างค่าแรงขั้นต่าเดิมและค่าแรงขั้นต่า 300 บาท/วัน ได้ 1.5 เท่า - ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ได้จากการขายเครื่องจักรเก่าเพื่อซื้อเครื่องจักรใหม่ - สามารถหักค่าเสื่อมเครื่องจักรใหม่ได้ร้อยละ 100 ในปีแรก แทนการทยอยหักค่าเสื่อม ภายใน 5 ปี - ปรับเพิม่ การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับเงินได้ 150,000 บาทแรก เป็น 300,000 บาทแรก สาหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งมีทุนที่ชาระแล้วในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลา บัญชีไม่เกิน 5 ล้านบาทและมีรายได้จากการขายสินค้าและบริการไม่เกิน 30 ล้านบาท - ปรับเพิ่มอัตราค่าอาหารและค่าเช่าที่พักในการฝึกอบรมของส่วนราชการให้เหมาะสมกับ ค่าครองชีพและสภาวการณ์ปัจจุบัน 2) มาตรการการเงิน ได้แก่ - โครงการค้าประกันสินเชื่อในลักษณะ Portfolio Guarantee Scheme (PGS) ระยะที่ 5 - ขยายระยะเวลาโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต (Productivity Improvement Loan) ออกไปจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558 - ขยายเวลาสิ้นสุดการขอรับสินเชื่อของโครงการค้าประกันสินเชื่อในลักษณะ Portfolio Guarantee Scheme สาหรับผู้ประกอบการใหม่ (PGS New/Start-up) จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558 พร้อมทั้งปรับเกณฑ์คุณสมบัติระยะเวลาการดาเนินงานของผู้ประกอบการ ใหม่จากไม่เกิน 2 ปี เป็นไม่เกิน 3 ปี และเปลี่ยนแปลงการชดเชยค่าธรรมเนียมการค้าประกัน ที่รัฐบาลเป็นผู้รับภาระแทน SMEs ในปีแรก จากอัตราร้อยละ 1.75 เป็นร้อยละ 2.50 3. เรื่อง มาตรการภาษีเพื่อช่วยเหลือผู้ถูกรอนสิทธิในอสังหาริมทรัพย์ตามข้อกฎหมายว่าด้วยการจากัด สิทธิในการใช้ที่ดิน คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2555 กาหนดให้ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา -4-
สาหรับเงินได้ค่าทดแทนเนื่องจากการรอนสิทธิในอสังหาริมทรัพย์ เฉพาะในกรณีที่มีกฎหมายโดยเฉพาะ ของประเทศไทยกาหนดให้รอนสิทธิในอสังหาริมทรัพย์ได้ โดยมีผลใช้บังคับสาหรับเงินได้ที่ได้รับตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 เป็นต้นไป 4. เรื่อง การขยายระยะเวลาการยกเว้นอากรขาเข้าส่วนประกอบและอุปกรณ์ประกอบสาหรั บรถยนต์ บรรทุก รถหัวลาก รถโดยสาร และรถใช้งานพิเศษ คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2555 เห็นชอบให้ขยายระยะเวลาการยกเว้นอากรขาเข้า ส่วนประกอบและอุปกรณ์ประกอบที่นาเข้ามาเพื่อประกอบหรือผลิตเป็นรถยนต์บรรทุก รถหัวลาก รถโดยสาร และรถใช้งานพิเศษ และกาหนดให้สามารถนาแบบ (model) สาหรับการประกอบหรือผลิตเป็นแชสซีส์ที่มี เครื่องยนต์ติดตั้งตามประเภทที่กรมศุลกากรอนุมัติให้ใช้สิทธิลดอัตราอากรไว้ก่อนวันที่ 1 มีนาคม 2554 โดยมิได้มีการขอผ่อนผันการถอดแยกไปใช้สิทธิในการยกเว้นอากรได้โดยไม่ต้องยื่นขออนุมัติแบบใหม่ 5. เรื่อง มาตรการทางภาษี และค่าธรรมเนียมจากการควบรวมกิจการตามแผนพัฒนาระบบสถาบัน การเงินระยะที่ 2 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2555 เห็นชอบให้ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้แก่ผู้ถือหุ้นของสถาบันการเงิน และยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ ให้แก่สถาบันการเงินเฉพาะการควบเข้ากันหรือโอนกิจการให้แก่กัน ที่ได้กระทาภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2557 รวมทั้งให้เก็บค่าจดทะเบียนการโอนและค่าจดทะเบียน การจานองอสังหาริมทรัพย์ กรณีที่มีทุนทรัพย์ในอัตราร้อยละ 0.01 6. เรื่อง ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 และการปรับปรุง ปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2555 เห็นชอบยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ประกอบด้วย 8 ยุทธศาสตร์ และรายการค่าดาเนินการภาครัฐ พร้อมทั้ง เห็นชอบการปรับปรุงปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 และรับทราบข้อเสนอแผน ความต้องการงบลงทุนเบื้องต้น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 เพื่อให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่น ใช้ประกอบการจัดทาคาของบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
-5-
สถานการณ์ด้านการคลัง หน่วย : พันล้านบาท
รวมทั้งปี งบประมาณ 2555 I รายได้ 1. ตามหน่วยงาน 1.1 กรมสรรพากร (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 1.2 กรมสรรพสามิต (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 1.3 กรมศุลกากร (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 1.4 รัฐวิสาหกิจ (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 1.5 หน่วยงานอื่น (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) - ส่วนราชการอื่น - กรมธนารักษ์ 1.6 รวมรายได้จัดเก็บ (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 1.7 รวมรายได้สุทธิ (หลังหักอปท.) (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 2. ตามฐานภาษี 2.1 ฐานจากเงินได้ (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 2.2 ฐานจากการบริโภค (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 2.3 ฐานจากการค้าระหว่างประเทศ (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) II รายจ่าย 1.รายจ่ายรัฐบาลจากงบประมาณ (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 1.1 งบประมาณปีปัจจุบัน (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 1.2 งบประมาณปีก่อน 2. รายจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ (15 กองทุน) 1/ - รายจ่าย - เงินให้กู้ยมื สุทธิ 3. รายจ่ายจากเงินกู้ตา่ งประเทศ (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 4. รายจ่ายของอปท. 5. รายจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ III ดุลการคลัง 1. ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด 2. ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบ สศค. 2/ - รัฐบาล - อปท. 3. เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือน3/ IV ยอดหนี้สาธารณะ 1. หนี้รฐั บาลกู้ตรง 2. หนี้รฐั วิสาหกิจ 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น 4. หนี้ FIDF 5. รวม 6. หนี้คงค้าง/GDP (ปีปฏิทิน)% 7. หนี้ที่เป็นภาระงบประมาณ/GDP (ปีปฏิทิน)%
ต.ค.-55
ปีงบประมาณ 2556 พ.ย.-55
รวม ไตรมาสแรก
ธ.ค.-55
1,617.3 6.7 379.7 (5.0) 118.9 15.6 122.7 24.2 116.6 8.8 112.3 4.4 2,355.3 5.9 1,975.8 4.4
106.7 20.1 37.2 38.9 10.8 39.5 13.2 (36.0) 5.7 33.1 4.9 0.8 173.7 17.1 146.9 10.4
121.7 23.6 41.7 62.6 10.6 15.5 5.1 (56.9) 20.5 46.7 19.6 0.9 199.6 25.5 174.4 25.6
117.4 28.2 40.1 30.5 9.5 (7.7) 2.9 1.6 36.7 309.6 35.2 1.5 206.5 43.1 183.7 45.0
346.2 24.2 119.1 43.1 30.9 13.6 21.2 (40.0) 63.0 131.1 59.7 3.3 580.4 28.5 504.6 26.6
904.9 1.5 1,039.0 6.4 116.6 16.4
43.0 14.4 96.1 28.9 10.5 37.2
55.2 12.4 102.9 44.3 10.4 15.6
54.3 55.8 97.5 18.9 9.4 (7.1)
152.8 25.8 296.6 29.8 30.3 13.2
2,295.3 5.4 2,148.5 4.8 146.9 360.9 336.4 24.5 10.0 231.6
313.2 87.0 290.6 86.4 21.5 27.7 24.5 3.2 453.3
299.8 99.6 270.8 105.4 29.0 18.4 15.6 2.8 0.4 -
173.9 0.8 138.3 (8.7) 35.5 118.0 115.0 3.0 0.1 -
786.9 187.4 699.7 183.1 86.0 156.1 146.8 9.3 0.5 -
(305.0)
(262.9)
(147.7)
8.4
(404.1)
(344.6)
(127.0)
(124.1)
(79.1)
(330.2)
560.3
297.4
192.8
259.1
259.1
3,515.0 1,416.5 5.7 4,937.2 43.9 -
3,402.5 1,417.6 7.2 4,827.3 43.3
3,459.5 1,408.8 7.3 4,875.5 43.5
หมายเหตุ 1/ ประกอบด้วย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้้ามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการท้าของ กองทุนเงินให้กยู้ มื เพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจ กองทุนอ้อยและน้้าตาล กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมูบ่ ้านและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนช่วยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย 2/ ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาและวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค.) เป็นผลรวมของดุลการคลังรัฐบาล และดุลการคลังของ อปท. 3/ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2551 เงินคงคลังจะไม่รวมเงินอืน่ (บัตรภาษี) และเงินฝากธนาคารกรุงไทย จ้ากัด (มหาชน) รวบรวมโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ ส้านักนโยบายการคลัง ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง
-6-
สถานการณ์ด้านรายได้ เดือนธันวาคม 2555 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 183,688 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 41,985 ล้านบาท หรือร้อยละ 29.6 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 45.0) ตารางสรุปรายได้รัฐบาลเดือนธันวาคม 2555* หน่วย: ล้านบาท เทียบปีนี้กับ เทียบปีนี้กับ ที่มาของรายได้ ปีนี้ ประมาณการ ปีที่แล้ว (%) (%) กรมสรรพากร 117,352 6.7 28.2 กรมสรรพสามิต 40,139 11.1 30.5 กรมศุลกากร 9,498 (5.5) (7.7) รัฐวิสาหกิจ 2,881 29.1 1.6 หน่วยงานอื่น 36,668 589.9 309.6 รายได้สุทธิ** 183,688 29.6 45.0 หมายเหตุ * ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 ** รายได้สุทธิหลังหักการจัดสรร อปท.
เดือนธันวาคม 2555 รัฐบาลจัดเก็บ รายได้สุทธิ 183,688 ล้านบาท สูงกว่า ประมาณการ 41,985 ล้านบาท หรือร้อยละ 29.6 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 45.0) โดยภาษีที่จัดเก็บได้สูงกว่าเป้าหมาย ที่สาคัญ ได้แก่ (1) ภาษีสรรพสามิตรถยนต์จัดเก็บ ได้สูงกว่าประมาณการ 6,002 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 57.0 เป็นผลจากโครงการรถยนต์ใหม่ คันแรก และ (2) ภาษีเงินได้นิติบุคคลจัดเก็บได้ สูงกว่าประมาณการ 4,569 ล้านบาท หรือร้อยละ 15.7 ส่วนหนึ่งเป็นผลจากผู้เสียภาษีใช้สิทธิ ยื่นแบบแสดงรายการและชาระภาษีตามแบบ ภ.ง.ด.51 ทางอินเตอร์เน็ต ซึ่งได้รับการขยายเวลา จากเดือนพฤศจิกายนสูงกว่าที่คาดไว้ นอกจากนี้ ส่วนราชการอื่นนาส่งรายได้สูงกว่า ประมาณการ 31,182 ล้านบาท หรือร้อยละ 780.5 โดยเป็นรายได้นาส่งจากการประมูลใบอนุญาตให้ใช้ คลื่นความถี่ 3จี งวดแรกจานวน 20,843 ล้านบาท1/ และการส่งคืนเงินกันเพื่อชดเชยค่าภาษีอากร สาหรับผู้ส่งออก 8,227 ล้านบาท ทั้งนี้ เป็นผลจาก การส่งออกในปีงบประมาณที่ผ่านมาชะลอตัวลง ประกอบกับมีการนาพิกัดฮาร์โมไนซ์อาเซียนมาใช้ ทาให้กระบวนการจ่ายเงินชดเชยค่าภาษีอากรใน ช่วงแรกชะลอลง (รายละเอียดตามตารางที่ 1)
1/
ทั้งนี้ กระทรวงการคลังอยู่ในระหว่างการพิจารณาข้อกฎหมายว่าเงินจานวนดังกล่าวสามารถนาส่งเป็นรายได้แผ่นดินได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่ เนื่องจากการออกใบอนุญาตดังกล่าวยังอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด
-7-
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลประจาปีงบประมาณ เดือนตุลาคม - ธันวาคม ล้านบาท 400,000
350,000 300,000
250,000 200,000 150,000
173,987
183,68
146,906
100,000 50,000
-
0
ตค
พย
ธค
มค
กพ
จัดเก็บ
มี ค
-
-
เม ย
ปมก
พค
มิ ย
กค
สค
กย
จัดเก็บ
ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม – ธันวาคม 2555) รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 504,582 ล้านบาท ผลการจัดเก็บรายได้ตามหน่วยงาน สูงกว่าเป้าหมาย 66,910 ล้านบาท หรือร้อยละ 15.3 จัดเก็บสรุปได้ ดังนี้ (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 26.6) กรมสรรพากร จัดเก็บรายได้รวม 346,196 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย 25,917 ตารางสรุปรายได้รัฐบาล ล้านบาท หรือร้อยละ 8.1 (สูงกว่าช่วงเดียวกัน ปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม – ธันวาคม 2555)* ปีที่แล้วร้อยละ 24.2) โดยภาษีที่จัดเก็บได้สูงกว่า หน่วย: ล้านบาท เป้าหมายที่สาคัญ ได้แก่ (1) ภาษีมูลค่าเพิ่ม เทียบปีนี้กับ เทียบปีนี้กับ จัดเก็บได้สูงกว่าเป้าหมาย 10,408 ล้านบาท ที่มาของรายได้ ปีนี้ ประมาณการ ปีที่แล้ว หรือร้อยละ 6.2 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว (%) (%) ร้อยละ 22.1) เป็นผลจากอุปสงค์ในประเทศ กรมสรรพากร 346,196 8.1 24.2 กรมสรรพสามิต 119,070 16.9 43.1 ที่เพิ่มสูงขึ้น โดยภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจาก กรมศุลกากร 30,922 2.2 13.6 การบริโภคภายในประเทศและการนาเข้า (14.7) (40.0) รัฐวิสาหกิจ 21,196 สูงกว่าเป้าหมาย 5,729 ล้านบาท และ 4,679 หน่วยงานอื่น 62,979 147.7 131.1 รายได้สุทธิ ** 504,582 15.3 26.6 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.6 และ 5.8 ตามลาดับ หมายเหตุ: * ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 10 มกราคม 2556 (2) ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจัดเก็บได้สูงกว่า ** รายได้สุทธิหลังจัดสรรให้ อปท. ประมาณการ 5,641 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.4 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 14.9) สืบเนื่องจากรายได้ภาคครัวเรือนที่ขยายตัว อย่างต่อเนื่อง และ (3) ภาษีเงินได้นิติบุคคล จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ 5,232 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.1 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว ร้อยละ 32.2) เนื่องจากผลประกอบการของ -8-
ล้านบาท
จัดเก็บ ประมาณการ จัดเก็บ
600,000 500,000
496,188 452,4 389,1
400,000 320,279
300,000
ภาคธุรกิจที่ฟื้นตัว หลังจากได้รับผลกระทบ จากอุทกภัยในปีงบประมาณที่ผ่านมา
ผลการจัดเก็บรายได้ของ กรมในสังกัดกระทรวงการคลัง ปีงบประมาณ เดือนตุลาคม - ธันวาคม
346,19
278,747
200,000 8
100,000
101,8
119,070 27,22 30,250 30,922
0 กรมสรรพากร
กรมสรรพสามิต
กรม ุลกากร
รวม กรม
สัดส่วนผลการจัดเก็บรายได้ของกรมสรรพากรแยกตามราย า ี ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ ตุลาคม - ธันวาคม า ีธรุ กิจเฉพาะ
อากรแสตมป รายได้อื่น
า ีเงินได้ปโตรเลียม า เี งินได้บุคคล ธรรมดา
า ีมูลค่าเพิ่ม
า ีเงินได้นิตบิ ุคคล
สัดส่วนผลการจัดเก็บรายได้ของกรมสรรพสามิตแยกตามราย า ี ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ ตุลาคม - ธันวาคม า ีสุรา
า ีอื่น
า ีน้ามัน
า ียาสูบ
า ีรถยนต์
า ีเบียร์
สัดส่วนผลการจัดเก็บรายได้ของกรม ลุ กากรแยกตามราย า ี ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ ตุลาคม - ธันวาคม อากรขาออก
รายได้อื่น
อากรขาเข้า
กรมสรรพสามิต จัดเก็บรายได้รวม 119,070 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย 17,179 ล้านบาท หรือร้อยละ 16.9 (สูงกว่าช่วง เดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 43.1) โดยภาษี ที่จัดเก็บได้สูงกว่าเป้าหมายที่สาคัญ ได้แก่ ภาษี สรรพสามิตรถยนต์จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ 16,615 ล้านบาท หรือร้อยละ 53.5 (สูงกว่าช่วง เดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 180.3) เป็นผลจาก โครงการรถยนต์ใหม่คันแรกเป็นสาคัญ สาหรับ ภาษียาสูบและภาษีเบียร์จัดเก็บได้สูงกว่าเป้าหมาย 2,621 ล้านบาท และ 2,541 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 19.9 และ 14.1 ตามลาดับ ส่วนหนึ่ง เป็นผลจากการปรับเพิ่มอัตราภาษีสรรพสามิต ยาสูบเมื่อเดือนสิงหาคม 2555 กรม ุลกากร จัดเก็บรายได้รวม 30,922 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย 672 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.2 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว ร้อยละ 13.6) โดยอากรขาเข้าจัดเก็บได้สูงกว่า ประมาณการ 572 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.9 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 13.5) เป็นผลจากมูลค่าการนาเข้า โดยเฉพาะหมวด รถยนต์และส่วนประกอบรถยนต์ที่ขยายตัว ต่อเนื่อง สืบเนื่องจากโครงการรถยนต์ใหม่ คันแรก ทั้งนี้ มูลค่าการนาเข้าในรูปดอลลาร์ สหรัฐฯ และเงินบาทในช่วง 2 เดือนแรกของ ปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม - พฤศจิกายน 2555) ขยายตัวร้อยละ 23.0 และร้อยละ 23.5 ตามลาดับ รัฐวิสาหกิจ นาส่งรายได้ 21,196 ล้านบาท ต่ากว่าเป้าหมาย 3,642 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.7 (ต่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว ร้อยละ 40.0)
-9-
สัดส่วนการนาส่งรายได้รัฐวิสาหกิจ แยกตามสาขา ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ ตุลาคม - ธันวาคม เก ตรและทรัพยากร ธรรมชาติ
กิจการที่ กระทรวงการคลังถือ หุ้นต่ากว่าร้อยละ พลังงาน
สถาบันการเงิน
ขนส่ง สื่อสาร พาณิชย์และบริการ
หน่วยงานอื่น จัดเก็บรายได้รวม 62,979 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย 37,557 ล้านบาท หรือร้อยละ 147.7 (สูงกว่าช่วง เดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 131.1) โดยมีรายได้ จัดเก็บที่สูงกว่าเป้าหมายที่สาคัญ ได้แก่ (1) รายได้จากค่าใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ 3จี งวดที่ 1 จานวน 20,843 ล้านบาท (2) การส่งคืนเงินที่กันไว้เพื่อชดเชยค่าภาษีอากร สาหรับผู้ส่งออกสินค้าจานวน 8,227 ล้านบาท (3) รายได้จากสัมปทานปิโตรเลียมจัดเก็บได้ สูงกว่าเป้าหมาย 2,161 ล้านบาท สาเหตุมาจาก มูลค่าการขายปิโตรเลียมที่สูงขึ้น และ (4) เงินชาระหนี้ค่าข้าวจากโครงการขายข้าว รัฐบาลรัสเซียจานวน 1,118 ล้านบาท การคืน า ีของกรมสรรพากร จานวน 68,073 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 9,622 ล้านบาท หรือร้อยละ 16.5 ประกอบด้วย การคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม 62,169 ล้านบาท สูงกว่า ประมาณการ 11,900 ล้านบาท หรือร้อยละ 23.7 และการคืนภาษีอื่นๆ (ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีธุรกิจเฉพาะ และ อากรแสตมป์) จานวน 5,904 ล้านบาท ต่ากว่า ประมาณการ 2,278 ล้านบาท หรือร้อยละ 27.8 (รายละเอียดตามตารางที่ 2)
- 10 -
ตารางที่ 1 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลเบือ้ งต้น เดือนธันวาคม 2555 1/ หน่วย : ล้านบาท
เปรียบเทียบปีนี้กบั ปีที่แล้ว ที่มาของรายได้
ปีนี้
ปีที่แล้ว
จานวน
ร้อยละ
ปมก.ตามเอกสาร งปม.ทั้งปีเท่ากับ
เปรียบเทียบปีนี้กบั ปมก. เอกสาร งปม.
จานวน
ร้อยละ
2,100,000 ล้านบาท
1. กรมสรรพากร
117,352 57,505 33,685 19,081 1,538 4,532 985 26 40,139
91,519 52,020 16,639 18,155 54 3,706 914 31 30,757
25,833 5,485 17,046 926 1,484 826 71 (5) 9,382
28.2 10.5 102.4 5.1 2,748.1 22.3 7.8 (16.1) 30.5
109,986 57,919 29,116 18,528 29 3,436 939 19 36,131
7,366 (414) 4,569 553 1,509 1,096 46 7 4,008
6.7 (0.7) 15.7 3.0 5,203.4 31.9 4.9 36.8 11.1
5,485 16,540 6,780 5,072 3,991 1,554 213 203 90 107 104
4,923 5,271 6,488 6,214 5,941 1,520 47 142 57 75 79
562 11,269 292 (1,142) (1,950) 34 166 61 33 32 25
11.4 213.8 4.5 (18.4) (32.8) 2.2 353.2 43.0 57.9 42.7 31.6
6,474 10,538 7,026 4,591 5,343 1,530 192 205 62 91 79
(989) 6,002 (246) 481 (1,352) 24 21 (2) 28 16 25
(15.3) 57.0 (3.5) 10.5 (25.3) 1.6 10.9 (1.0) 45.2 17.6 31.6
9,498 9,343 20 135
10,286 10,055 27 204
(788) (712) (7) (69)
(7.7) (7.1) (26.7) (33.8)
10,050 9,860 25 165
(552) (517) (5) (30)
(5.5) (5.2) (20.9) (18.1)
166,989
132,562
34,427
26.0
156,167
10,822
6.9
4. รัฐวิสาหกิจ
2,881
2,836
45
1.6
2,232
649
29.1
5. หน่วยงานอืน่
36,668 35,177 1,491 206,538
8,953 8,793 160 144,351
27,715 26,384 1,331 62,187
309.6 300.1 831.9 43.1
5,315 3,995 1,320 163,714
31,353 31,182 171 42,824
589.9 780.5 13.0 26.2
15,408 14,104 1,304 1,198 1,084
4,792 4,196 596 152 216
31.1 29.8 45.7 12.7 19.9
19,544 16,551 2,993 1,261 1,206
656 1,749 (1,093) 89 94
3.4 10.6 (36.5) 7.1 7.8
126,661
57,027
45.0
141,703
41,985
29.6
1.1 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1.2 ภาษีเงินได้นิติบคุ คล 1.3 ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา 1.4 ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม 1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป์ 1.7 รายได้อื่น
2. กรมสรรพสามิต 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9
ภาษีนามั ้ นฯ ภาษีรถยนต์ ภาษีเบียร์ ภาษียาสูบ ภาษีสรุ าฯ ภาษีเครือ่ งดื่ม ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีเครือ่ งไฟฟ้า
2.10 ภาษีอื่น 2/ 2.11 รายได้อื่น
3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่น
รวมรายได้ 3 กรม
5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์
รวมรายได้จดั เก็บ (Gross)
3/
หัก
3. เงินกันชดเชยภาษี สาหรับสินค้ าส่งออก
20,200 18,300 1,900 1,350 1,300
รวมรายได้สุทธิ (Net)
183,688
1. คื นภาษี ของกรมสรรพากร - ภาษีมลู ค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัด สรรรายได้ จาก VAT ให้ อบจ.
หมายเหตุ
4/
4/ 4/
1/
ตั วเลขเบื้องต้ น ณ วันที่ 10 มกราคม 2556
2/
ภาษีไพ่ แก้วฯ เครื่องหอม เรือ พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารทาลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้าหรืออบตัวและนวด
3/
ข้อมูลจากระบบ GFMIS (รวมรายได้จากค่าใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2.1 GHz (3G) จานวน 20,843 ล้านบาท)
4/
ตัวเลขคาดการณ์ จัดทาโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
- 11 -
ตารางที่ 2 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2556 1/ ( ตุลาคม 2555 - ธันวาคม 2555 ) หน่วย : ล้านบาท
เปรียบเทียบปีนี้กบั ปีที่แล้ว ที่มาของรายได้ 1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีเงินได้นิติบคุ คล ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อื่น
2. กรมสรรพสามิต 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9
ภาษีนามั ้ นฯ ภาษีรถยนต์ ภาษีเบียร์ ภาษียาสูบ ภาษีสรุ าฯ ภาษีเครือ่ งดื่ม ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีเครือ่ งไฟฟ้า
2.10 ภาษีอื่น 2/ 2.11 รายได้อื่น
3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่น
รวมรายได้ 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หน่วยงานอืน่ 5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์
รวมรายได้จดั เก็บ (Gross) หัก 1. คื นภาษี ของกรมสรรพากร - ภาษีมลู ค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัด สรรรายได้ จาก VAT ให้ อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษี สาหรับสินค้ าส่งออก
รวมรายได้สุทธิ (Net) หมายเหตุ
ปีนี้
ปีที่แล้ว
จานวน
ร้อยละ
ปมก.ตามเอกสาร งปม.ทั้งปีเท่ากับ 2,100,000 ล้านบาท
เปรียบเทียบปีนี้กบั ปมก. เอกสาร งปม.
จานวน
ร้อยละ
346,196 177,709 90,928 59,770 2,138 12,479 3,102 70 119,070
278,747 145,525 68,801 52,016 712 9,288 2,341 64 83,187
67,449 32,184 22,127 7,754 1,426 3,191 761 6 35,883
24.2 22.1 32.2 14.9 200.3 34.4 32.5 9.4 43.1
320,279 167,301 85,696 54,129 920 9,819 2,357 57 101,891
25,917 10,408 5,232 5,641 1,218 2,660 745 13 17,179
8.1 6.2 6.1 10.4 132.4 27.1 31.6 22.8 16.9
15,550 47,694 20,500 15,799 13,007 4,486 652 593 276 296 217 30,922 30,252 60 610 496,188 21,196
14,428 17,018 16,440 16,570 13,322 4,148 320 426 136 226 153 27,223 26,662 113 448 389,157 35,303
1,122 30,676 4,060 (771) (315) 338 332 167 140 70 64 3,699 3,590 (53) 162 107,031 (14,107)
7.8 180.3 24.7 (4.7) (2.4) 8.1 103.8 39.2 102.9 31.0 41.8 13.6 13.5 (46.9) 36.2 27.5 (40.0)
19,110 31,079 17,959 13,178 14,847 3,954 582 583 175 260 164 30,250 29,680 75 495 452,420 24,838
(3,560) 16,615 2,541 2,621 (1,840) 532 70 10 101 36 53 672 572 (15) 115 43,768 (3,642)
(18.6) 53.5 14.1 19.9 (12.4) 13.5 12.0 1.7 57.7 13.8 32.3 2.2 1.9 (20.0) 23.2 9.7 (14.7)
27,252 26,584 668 451,712
35,727 33,142 2,585 128,651
131.1 124.7 387.0 28.5
25,422 23,652 1,770 502,680
37,557 36,074 1,483 77,683
147.7 152.5 83.8 15.5
47,195 42,939 4,256 3,249 2,818 398,450
20,878 19,230 1,648 746 895 106,132
44.2 44.8 38.7 23.0 31.8 26.6
58,451 50,269 8,182 3,422 3,135 437,672
9,622 11,900 (2,278) 573 578 66,910
16.5 23.7 (27.8) 16.7 18.4 15.3
62,979 59,726 3,253 580,363 68,073 62,169 5,904 3,995 3,713 504,582
3/
4/
4/ 4/
1/
ตั วเลขเบื้องต้ น ณ วันที่ 10 มกราคม 2556
2/
ภาษีไพ่ เครื่องแก้ว เครื่องหอม พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารทาลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้าหรืออบตัวและนวด
3/
ข้อมูลจากระบบ GFMIS (รวมรายได้จากค่าใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2.1 GHz (3G) จานวน 20,843 ล้านบาท)
4/
เดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2555 เป็นตัวเลขจริง และเดือนธันวาคม 2555 เป็นตัวเลขคาดการณ์ ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทาโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
- 12 -
สถานการณ์ด้านรายจ่าย พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2556 ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 129 ตอนที่ 93 ก เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2555 กาหนดวงเงินงบประมาณรายจ่ายจานวน 2,400,000 ล้านบาท สูงกว่าวงเงินปีงบประมาณ 2555 ร้อยละ 0.8 โดยแบ่งเป็นรายจ่ายประจา 1,900,476 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีที่เเล้วร้อยละ 3.2 รายจ่ายลงทุน 450,374 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ปีที่เเล้วร้อยละ 2.7 รายจ่ายชาระคืนต้นเงินกู้ 49,150 ล้านบาท โครงสร้างงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2556
โครงสร้างงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณรายจ่าย (สัดส่วนต่อ GDP) - รายจ่ายประจา (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายชาระคืนต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) 2. รายรับ (สัดส่วนต่อ GDP) - รายได้ - เงินกู้ 3. ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP)
ปีงบประมาณ 2555 เพิ่ม/ลด จานวน ร้อยละ 2,380,000 9.7 20.7 1,840,673 10.4 77.4 53,918 -52.9 2.2 438,555 23.4 18.4 46,854 43.9 2.0 2,380,000 9.7 20.7 1,980,000 11.9 400,000 11,478,600 8.9
ที่มา : สานักงบประมาณ
- 13 -
หน่วย : ล้านบาท
ปีงบประมาณ 2556 เพิ่ม/ลด จานวน ร้อยละ 2,400,000 0.8 19.3 1,900,476 3.2 79.2 -100.0 450,374 2.7 18.7 49,150 4.9 2.1 2,400,000 0.8 19.3 2,100,000 6.1 300,000 -25.0 12,442,800 8.4
คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2555 เห็นชอบการกาหนดเป้าหมายการเบิกจ่าย งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ที่อัตราร้อยละ 94.0 และกาหนดเป้าหมาย การเบิกจ่ายรายจ่ายรายจ่ายลงทุนไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของวงเงินงบรายจ่ายลงทุน โดยได้ กาหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายรายไตรมาส ดังนี้ ไตรมาสที่ 1 2 3 4
เป้าหมายการ เบิกจ่าย แต่ละไตรมาส 480,000 576,000 600,000 600,000
เป้าหมายการ เบิกจ่ายสะสม ณ สิ้นไตรมาส 480,000 1,056,000 1,656,000 2,256,000
เป้าหมายอัตราการ เบิกจ่ายสะสม ณ สิ้น ไตรมาส (%) 20 44 69 94
เบิกจ่าย สะสม 699,780
อัตราการ เบิกจ่าย (%) 29.2
เดือนธันวาคม 2555 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ รวมทั้งสิ้น ประกอบด้วย 173,933 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 1,307 1) การเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ ล้านบาท หรือร้อยละ 0.8 2556 จานวน 138,335 ล้านบาท ต่ากว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 13,252 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 8.7 แบ่งเป็น รายจ่ายประจา 131,110 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 7,225 ล้านบาท โดยมีการเบิกจ่ายรายการที่สาคัญ ได้แก่ รายจ่ายเพื่อการชาระหนี้ 17,014 ล้านบาท เงินอุดหนุนกระทรวงศึกษาธิการ 15,118 ล้านบาท รายจ่ายกระทรวงกลาโหม 3,310 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายสาหรับข้าราชการที่ เกษียณอายุก่อนกาหนด 3,299 ล้านบาท 2) การเบิกจ่ายรายจ่ายปีก่อน มีจานวน 35,598 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 14,557 ล้านบาท หรือร้อยละ 69.2 ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม-ธันวาคม 2555) รัฐบาลได้เบิกจ่ายแล้วจานวนรวมทั้งสิ้น 785,914 ประกอบด้วย ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 296,098 หรือ 1) การเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ ร้อยละ 60.5 2556 จานวน 699,780 ล้านบาท คิดเป็นอัตรา การเบิกจ่ายร้อยละ 29.2 ของวงเงินงบประมาณ 2,400,000 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว - 14 -
260,420 ล้านบาท หรือร้อยละ 59.3 แบ่งเป็น รายจ่ายประจา 641,366 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 32.1 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจาหลังโอน เปลี่ยนแปลง (2,000,584 ล้านบาท) รายจ่ายลงทุน 58,415 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 14.6 ของวงเงิน งบประมาณรายจ่ายประจาหลังโอนเปลี่ยนแปลง (399,416 ล้านบาท) - การเบิกจ่ายงบกลาง มีจานวน 61,502 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 19.2 ของงบประมาณกลาง (319,864 ล้านบาท) โดยมีการเบิกจ่ายรายการที่สาคัญ ได้แก่ - เงินเบี้ยหวัด บาเหน็จ บานาญ 40,229 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 32.4 - ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลข้าราชการ ลูกจ้าง 14,855 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 24.8 - เงินสารอง เงินสมทบ และเงินชดเชยของข้าราชการ 4,653 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 13.3 - เงินช่วยเหลือข้าราชการ ลูกจ้างและพนักงาน 1,251 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 31.3 2) การเบิกจ่ายรายจ่ายปีก่อน มีจานวน 86,134 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 29.0 ของวงเงินรายจ่ายปีก่อน (296,789 ล้านบาท) สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 35,678 ล้านบาท หรือร้อยละ 70.7 การเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2556 (สะสม) ล้านบาท 2,500,000 2,000,000 1,500,000 1,000,000 500,000 0
พ.ย. ก.พ. เม.ย. พ.ค. ธ.ค. 55 ม.ค. 56 มี.ค. 56 มิ.ย. 56 ก.ค. 56 ส.ค. 56 ก.ย. 56 55 56 56 56 พ.ศ. 2555 155,910 287,773 439,360 574,970 819,043 1,170,9 1,321,1 1,456,2 1,606,6 1,777,8 1,930,8 2,148,4 พ.ศ. 2556 290,631 561,444 699,780 ต.ค. 55
- 15 -
รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุน ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ในเดือนธันวาคม 2555 จานวน 603 ล้านบาท
- เดือนธันวาคม 2555 มีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการ ลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 จานวน 603 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.2 ของวงเงินที่ได้รับ อนุมัติ 348,940 ล้านบาท1 และตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ จนถึงเดือนธันวาคม 2555 มีการเบิกจ่ายทั้งสิ้น 1,143 ล้านบาท นอกจากนี้ตั้งแต่เริ่มโครงการ2 มีเบิกจ่าย ไปแล้ว 321,328 ล้านบาท3 คิดเป็นร้อยละ 92.1 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ 348,940 ล้านบาท - สาหรับสาขาที่มีการเบิกจ่ายสะสมสูงสุด 3 อันดับแรก คือ สาขาการประกันรายได้และการดาเนินงานอื่นๆ ทีเ่ กี่ยวข้องมีการเบิกจ่าย 40,000 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 100.0 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (40,000 ล้านบาท) สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีการเบิกจ่าย 182.3 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 99.9 ของวงเงินที่ได้รับ การอนุมัติ (182.4 ล้านบาท) และสาขาเศรษฐกิจ เชิงสร้างสรรค์มีการเบิกจ่าย 1,276 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 97.3 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (1,311 ล้านบาท) - ในขณะที่สาขาที่มีการเบิกจ่ายสะสมต่าสุด 3 อันดับ คือ สาขาพัฒนาการท่องเที่ยวมีการเบิกจ่าย 2,689 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 49.9 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (5,390 ล้านบาท) สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนา โครงสร้างพื้นฐานมีการเบิกจ่าย 10,921 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 76.4 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (14,302 ล้านบาท) และสาขาพลังงาน4 มีการเบิกจ่าย 9 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 78.7 ของวงเงินที่ได้รับ อนุมัติ (12 ล้านบาท)
รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจ และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) ในเดือน ธันวาคม 2555 จานวน 1,195 ล้านบาท
- เดือนธันวาคม 2555 มีการเบิกจ่ายเงินกูเ้ พื่อฟื้นฟู เศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) 1,195 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.0 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ 39,303 ล้านบาท ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึง เดือนธันวาคม 2555 มีการเบิกจ่ายทั้งสิ้น 3,514 ล้านบาท และตั้งแต่เริ่มโครงการ5 เบิกจ่ายไปแล้ว
1 2 3 4
5
มติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ 28 ธันวาคม 2553 ได้มีมติอนุมตั ิให้ยกเลิกวงเงินเหลือจ่ายคงเหลือ จานวน 1,020 ล้านบาท ทาให้เหลือวงเงินที่ได้รับอนุมัติ จานวนทั้งสิน้ 348,940 ล้านบาท จากวงเงินที่ได้รับอนุมตั ิเดิม จานวน 349,960 ล้านบาท โครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง เริ่มโครงการเมื่อ ตุลาคม 2552 เป็นการเบิกจ่ายจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัตกิ ารไทยเข้มแข็ง จนถึงสิน้ สุดปีงบประมาณ 2555 จานวน 320,185 ล้านบาท คณะรัฐมนตรีมีมติ เมือ่ วันที่ 28 ธันวาคม 2553 รับทราบการยกเลิกโครงการในสาขาพลังงาน 2 โครงการ ได้แก่ โครงการชุมชนเข้มแข็งด้วยพลังงาน ทดแทน จานวน 56 ล้านบาท และโครงการพัฒนาชุมชนในพื้นที่ห่างไกลด้วยเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ จานวน 106 ล้านบาท ทาให้มวี งเงินที่ได้รับ อนุมตั ิคงเหลือทั้งสิน้ 12 ล้านบาท จากวงเงินที่ได้รับอนุมตั ิเดิม จานวน 174 ล้านบาท โครงการเงินกูเ้ พื่อฟืน้ ฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) เริ่มโครงการเมือ่ เมษายน 2554
- 16 -
11,182 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 28.5 ของวงเงินที่ได้รับ อนุมัติ 39,303 ล้านบาท - เดือนธันวาคม 2555 มีการเบิกจ่ายเงินกูภ้ ายใต้ พรก. รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้ พรก.บริหาร บริหารจัดการน้าฯ 892 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ จัดการน้าฯ ในเดือนธันวาคม 2555 จานวน 892 0.3 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ 350,000 ล้านบาท ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึงเดือนธันวาคม 2555 ล้านบาท มีการเบิกจ่ายทั้งสิ้น 2,784 ล้านบาท และตั้งแต่ เริ่มโครงการ6 มีเบิกจ่ายไปแล้ว 4,547 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.3 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ จานวน 350,000 ล้านบาท รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ - ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2556 มีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ จานวนทั้งสิ้น ทั้งสิ้น 793,355 ล้านบาท 793,355 ล้านบาท แบ่งเป็น งบประมาณรายจ่าย ประจาปีงบประมาณ 2556 จานวน 699,780 ล้านบาท รายจ่ายปีก่อน 86,134 ล้านบาท โครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 จานวน 1,143 ล้านบาท โครงการจ่ายเงินเงินกู้ เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) จานวน 3,514 ล้านบาท และจ่ายเงินเงินกู้ภายใต้ พรก.บริหารจัดการน้าฯ จานวน 2,784 ล้านบาท
6
โครงการเงินกู้ภายใต้ พรก.บริหารจัดการน้าฯ เริม่ โครงการเมือ่ กุมภาพันธ์ 2555
- 17 -
รายงานผลการเบิกจ่ายเงินโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
วงเงินที่ได้รับ อนุมัติ
วัตถุประสงค์ / สาขา 1. สร้างความมั่นคงทางด้านอาหารและพลังงานฯ
เบิกจ่ายตั้งแต่ เริ่มโครงการ ถึงสิ้นเดือน ธันวาคม 55
หน่วย : ล้านบาท ร้อยละของ การเบิกจ่าย
59,462.2
57,358.6
96.5
1.1 สาขาทรัพยากรน้าและการเกษตร
59,462.2
57,358.6
96.5
2. ปรับปรุงบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานฯ
74,211.7
68,426.2
92.2
46,586.3
45,167.7
97.0
12.0
9.4
78.7
-
-
-
3,281.4
3,122.2
95.1
14,302.4
10,920.5
76.4
9,158.0
8,360.6
91.3
2.7 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
182.4
182.3
99.9
2.8 สาขาสิ่งแวดล้อม
689.2
663.6
96.3
5,389.9
2,688.6
49.9
3.1 สาขาพัฒนาการท่องเที่ยว
5,389.9
2,688.6
49.9
4. สร้างฐานรายได้ใหม่ของประเทศฯ
1,311.0
1,275.8
97.3
4.1 สาขาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์
1,311.0
1,275.8
97.3
51,980.8
46,912.6
90.2
51,980.8
46,912.6
90.2
1,831.6
1,542.8
84.2
1,831.6
1,542.8
84.2
106,253.0
98,882.6
93.1
7.1 สาขาการลงทุนในระดับชุมชน
106,253.0
98,882.6
93.1
8. อื่น ๆ ตามที่คณะรัฐมนตรีกาหนด
40,000.0
40,000.0
100.0
40,000.0
40,000.0
100.0
340,440.1
317,087.1
93.1
8,500.0
4,240.5
49.9
348,940.1
321,327.6
92.1
2.1 สาขาขนส่ง 2.2 สาขาพลังงาน 2.3 สาขาการสื่อสาร 2.4 สาขาโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว 2.5 สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 2.6 สาขาสวัสดิภาพของประชาชน
3. สร้างศักยภาพในการหารายได้จากการท่องเที่ยว
5. ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ 5.1 สาขาการศึกษา 6. ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุขฯ 6.1 สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาบุคลากร 7. สร้างอาชีพและรายได้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตฯ
8.1 สาขาการประกันรายได้และการดาเนินงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวม สารองจ่ายตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหาร รวมทั้งสิ้น ที่มา : กรมบัญชีกลาง
- 18 -
การเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ ผลการเบิกจ่าย - เดือนธันวาคม 2555 มีการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ 105.4 ล้านบาท ในขณะที่เดือนเดียวกันปีที่แล้ว ไม่มีการเบิกจ่าย - ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม - ธันวาคม 2555) มีการเบิกจ่ายเงินกูต้ ่างประเทศ 537.0 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 532.5 ล้านบาท สรุปการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ เดือนธันวาคม 2555 และในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2556 ธันวาคม รายการ 1. Project Loans 2. Structural Adjustment Loans (SAL)
รวม
2555
2554
111.5
-
-6.1 105.4
เปลี่ยนแปลง จานวน ร้อยละ 111.5 -
-
หน่วย : ล้านบาท ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ เปลี่ยนแปลง 2556 2555 จานวน ร้อยละ 354.0 354.0 -
-6.1
-
183.0
4.5
178.5
-
105.4
-
537.0
4.5
532.5
-
ที่มา : สานักงานบริหารหนีส้ าธารณะ
- 19 -
การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค.1/ เดือนธันวาคม 2555 กองทุนนอกงบประมาณเบิกจ่าย 118,075.9 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกัน ปีที่แล้ว 5,957.9 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.3 เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของรายจ่ายกองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
เดือนธันวาคม 2555 มีการเบิกจ่ายรวม 118,075.9 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 5,957.9 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.3 ประกอบด้วยรายจ่าย 115,004.2 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 6,164.9 ล้านบาท และการให้กู้ยืม สุทธิ 3,071.7 ล้านบาท ต่ากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 207
ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม – ธันวาคม 2555) กองทุนฯ เบิกจ่าย 163,129.3 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 6,995.8 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.5 สาเหตุหลัก มาจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีการเบิกจ่ายเพิ่มขึ้น
ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2556 มีการเบิกจ่าย รวม 163,129.3 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 6,995.8 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.5 ประกอบด้วย 1) รายจ่าย 154,004.8 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันของ ปีที่แล้ว 7,226.6 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.9 เป็นผลมาจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีการเบิกจ่ายเพิ่มขึ้น 2) เงินให้กู้ยืมสุทธิ 9,124.5 ล้านบาท ต่ากว่าช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว 230.8 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.5 เป็นผลมาจาก กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาให้กู้ยืมลดลง
การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. เดือนธันวาคม 2555 และในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2556 หน่วย : ล้านบาท ธันวาคม รายการ 1. รายจ่าย 2. เงินให้กู้ยืมสุทธิ
1/
2555*
เปรียบเทียบ
2554
จานวน
115,004.2 108,839.3 6,164.9 3,071.7
3,278.7
ร้อยละ 5.7
-207.0
-6.3
รวม 118,075.9 112,118.0 5,957.9 หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ โดยสานักงานเศรษฐกิจการคลัง
5.3
ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ เปรียบเทียบ 2556* 2555 จานวน ร้อยละ 154,004.8 146,778.2 7,226.6 9,124.5
4.9
9,355.3 -230.8
-2.5
163,129.3 156,133.5 6,995.8
4.5
การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ 15 กองทุน (จากกองทุนทั้งหมด 108 กองทุน) ประกอบด้วย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการทาของ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจฯ กองทุนอ้อยและน้าตาลทราย กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนรวมเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย
- 20 -
ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด1 ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม – ธันวาคม 2555) ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2556 รัฐบาลมี ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ รายได้นาส่งคลัง 499,203 ล้านบาท และมีการเบิกจ่าย 2556 ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ กระแสเงินสดขาดดุล 404,137 ล้านบาท งบประมาณจากงบประมาณปีปัจจุบันและปีก่อนรวม 785,914 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณขาดดุล คิดเป็นร้อยละ 3.6 ของ GDP2 จานวน 286,711 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอก งบประมาณที่ขาดดุลจานวน 117,426 ล้านบาท ทาให้ ดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 404,137 ล้านบาท โดยรัฐบาล ชดเชยการขาดดุลโดยการออกพันธบัตร จานวน 102,936 ล้านบาท ส่งผลให้เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือน ธันวาคม 2555 มีจานวน 259,136 ล้านบาท ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด หน่วย: ล้านบาท
ในช่วงไตรมาสแรก ปีงบประมาณ 2556 ปีงบประมาณ 2555 รายได้ 499,203 405,014 รายจ่าย 785,914 489,816 ปีปัจจุบัน 699,780 439,360 ปีก่อน 86,134 50,456 ดุลเงินงบประมาณ (286,711) (84,802) ดุลเงินนอกงบประมาณ (117,426) (171,811) ดุลเงินสดก่อนกู้ (404,137) (256,613) เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุล 102,936 ดุลเงินสดหลังกู้ (301,201) (256,613) เงินคงคลังปลายงวด 259,136 264,677 ที่มา : กรมบัญชีกลาง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง
1 2
เปรียบเทียบ จานวน ร้อยละ 94,189 23.3 296,098 60.5 260,420 59.3 35,678 70.7 (201,909) 238.1 54,385 (31.7) (147,524) 57.5 102,936 (44,588) 17.4 (5,541) (2.1)
ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด เป็นดุลการคลังที่แสดงให้เห็นผลกระทบต่อเงินคงคลังและการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล GDP ปีปฏิทิน 2555 เท่ากับ 11,278 พันล้านบาท และคาดการณ์ GDP ปีปฏิทิน 2556 เท่ากับ 12,180 พันล้านบาท
- 21 -
ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค.3 ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม – ธันวาคม 2555) ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2556 รัฐบาลขาดดุล 330,280 ล้านบาท โดยดุลเงินงบประมาณ ขาดดุล 279,099 ล้านบาท ในขณะที่ ดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณขาดดุล 43,741 ล้านบาท นอกจากนี้ มีรายจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจ และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) จานวน 3,514 ล้านบาท รายจ่ายเพื่อ วางระบบการบริหารจัดการน้า จานวน 2,783 ล้านบาท รายจ่าย จากโครงการไทยเข้มแข็งจานวน 1,143 ล้านบาท
ด้านรายได้ รายได้รัฐบาลรวมทั้งสิ้น 515,945 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 28.4 ประกอบด้วยรายได้ในงบประมาณ (ก่อนจัดสรร ภาษีมูลค่าเพิ่มให้ อปท.) 515,388 ล้านบาท และเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ 557 ล้านบาท ด้านรายจ่าย รัฐบาลมีรายจ่ายทั้งสิ้น 795,044 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 59.2 ประกอบด้วย รายจ่ายที่ไม่รวมรายจ่ายชาระต้นเงินกู้ จานวน 794,487 ล้านบาท และ เงินช่วยเหลือจาก ต่างประเทศ 557 ล้านบาท ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิ้น 279,099 ล้านบาท ในขณะช่วงเดียวกันปีที่แล้วขาดดุล 97,444 ล้านบาท บัญชีเงินนอกงบประมาณ มีรายได้รวมทั้งสิ้น 122,293 ล้านบาท สูงขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 7.9 ในขณะที่มีรายจ่ายจานวน 156,931 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จากช่วงเดียวกันกับปีที่แล้วร้อยละ 0.6 และมีเงินให้กู้หัก ชาระคืน 9,103 ล้านบาท ทาให้ดุลบัญชีนอกงบประมาณ ขาดดุล 43,741 ล้านบาท ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุล มีสาเหตุมาจากดุลเงิน งบประมาณและดุลนอกงบประมาณที่ขาดดุล โดยเมื่อหัก รายจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐาน (DPL) รายจ่ายเพื่อวางระบบบริหารจัดการน้า และรายจ่ายแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง จานวน 3,514 2,783 และ 1,143 ล้านบาท ตามลาดับ ทาให้ดุลการคลัง รัฐบาลขาดดุล จานวน 330,280 ล้านบาท
3
ดุลการคลังตามระบบ สศค. เป็นดุลการคลังที่สะท้อนเม็ดเงินที่แท้จริงที่ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ
- 22 -
ดุลการคลังเบื้องต้นของรัฐบาล (Primary Balance) ซึ่งเป็นดุลการคลังที่สะท้อนถึงผลการดาเนินงานของ รัฐบาลและทิศทางของนโยบายการคลังรัฐบาลอย่าง แท้จริง (ไม่รวมรายได้และรายจ่ายจากดอกเบี้ยและ การชาระคืนต้นเงินกู้) ขาดดุลทั้งสิ้น 286,662 ล้านบาท ในขณะทีช่ ่วงเดียวกันของปีที่แล้วขาดดุล 128,133 ล้านบาท ดุลการคลังเบื้องต้นตามระบบ สศค. หน่วย: ล้านบาท เดือนธันวาคม ปีงบประมาณ รัฐบาล 1. รายได้ 2. รายจ่าย 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. แผนปฎิบัติการไทยเข้มแข็ง (TKK) 5.รายจ่ายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้า 6.รายจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) 7. ดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณ (7.1-7.2-7.3) 7.1 รายได้ 7.2 รายจ่าย 7.3 เงินให้กู้หักชาระคืน 8. ดุลการคลังของรัฐบาล (3-4-5-6+7) 9. ดุลการคลังเบื้องต้นของรัฐบาล
ปีงบประมาณ 2556
2555
2554
เปรียบเทียบ จานวน ร้อยละ
187,475 176,616 10,859 603 892 1,195 (87,290) 33,690 117,930 3,050 (79,121) (61,993)
127,817 176,841 (49,024) 2,623 (72,338) 42,706 111,765 3,279 (123,985) (109,654)
59,658 (225) 59,883 (2,020) 892 1,195 (14,952) (9,016) 6,165 (229) 44,864 47,661
จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
- 23 -
2556
46.7 515,945 (0.1) 795,044 (122.1) (279,099) (77.0) 1,143 2,783 3,514 20.7 (43,741) (21.1) 122,293 5.5 156,931 (7.0) 9,103 (36.2) (330,280) (43.5) (286,662)
% of GDP
2555
4.6 401,976 7.0 499,420 (2.5) (97,444) 0.0 6,051 0.0 0.0 (0.4) (51,934) 1.1 113,367 1.4 155,946 0.1 9,355 (2.9) (155,429) (2.5) (128,133)
% of GDP 3.8 4.7 (0.9) 0.1 (0.5) 1.1 1.5 0.1 (1.5) (1.2)
เปรียบเทียบ จานวน ร้อยละ 113,969 295,624 (181,655) (4,908) 2,783 3,514 8,193 8,926 985 (252) (174,851) (158,529)
28.4 59.2 186.4 (81.1) (15.8) 7.9 0.6 (2.7) 112.5 123.7
ดุลการคลังของภาคสาธารณะตามระบบงบประมาณ งบกระแสเงินสด และตามระบบ สศค. ปีงบประมาณ 2555 - 2556 ปีงบประมาณ รัฐบาล 1. รายได้ 2. รายจ่าย - รายจ่ายปีปจั จุบนั (อัตราการเบิกจ่าย : %) - รายจ่ายปีกอ่ น - รายจ่ายจากเงินคงคลัง 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. ดุลนอกงบประมาณ 5. รายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศ 6. รายจ่ายจากไทยเข็มแข็ง (TKK) 7.รายจ่ายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้า 8.รายจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) 9. บัญชีนอกงบประมาณ(9.1-9.2-9.3) 9.1 รายได้ 9.2 รายจ่าย 9.3 เงินให้กู้หกั ชาระคืน 10. ดุลการคลังของรัฐบาล (3+4-5-6-7-8+9) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 10. รายรับ (8.1+8.2) 10.1 รายได้ 10.2 เงินช่วยเหลือจากรัฐบาล 11 รายจ่าย 12. ดุลการคลัง (10-11) 13. ดุลการคลังของภาครัฐบาล (10+12) GDP (ล้านบาท)
จานวน
% of GDP
เอกสารงบประมาณ 1,980,000.0 2,380,000.0 2,380,000.0
(400,000.0)
(400,000.0)
11,794,200.0
2555p จานวน % of GDP งบกระแสเงินสด
16.8 20.2 20.2
(3.4)
(3.4)
% of GDP
ระบบ สศค.
1,980,644.0 2,295,329.0 2,148,477.0 90.3 146,852.0
17.3 20.0 18.7
(314,685.0) 9,646.0
(2.7) 0.1
(305,039.0)
จานวน 2,083,004.2 2,371,981.9 2,371,981.9 99.7
1.3
(2.7)
11,478,600.0
จานวน
18.1 20.7 20.7
2,100,000.0 2,400,000.0 2,400,000.0
(288,977.7)
(2.5)
2,616.8 24,422.4 1,763.0 7,382.0 36,630.8 441,281.5 380,090.5 24,560.2 (288,531.1)
0.0 0.2 0.0 0.1 0.3 3.8 3.3 0.2 (2.5)
529,979.0 308,887.0 221,092.0 486,395.2 43,583.8 (244,947.3) 11,478,600.0
4.6 2.7 1.9 4.2 0.4 (2.1)
(300,000.0)
(300,000.0)
12,544,000.0
หมายเหตุ 1. ดุลการคลังตามระบบงบกระแสเงินสดเป็นการแสดงรายได้ (รวมค่า Premium และรายได้จากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ แต่ไม่รวมรายรับจากการกู้เงินเพือ่ ชดเชยการขาดดุลและรายได้จากภาษีมูลค่าเพิม่ ทีโ่ อนให้แก่อปท.) และรายจ่ายทัง้ หมดจากบัญชีเงินคงคลัง 2. ระบบ สศค. มีรายการปรับปรุงรายได้เพิม่ เติมจากระบบกระแสเงินสด คือ มีการหักรายได้จากการขายทรัพย์สิน รายได้จากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ รายได้ส่วนเกินพันธบัตร เงินเหลือจ่ายส่งคืน รายได้เงินกู้รับคืน และรวมเงินภาษีทจี่ ัดสรรให้ อปท. และเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2546 เป็นต้นมา 3. ระบบ สศค. มีการปรับปรุงทางด้านรายจ่าย คือ มีการหักรายจ่ายชาระคืนต้นเงินกู้ของรัฐบาลออก และตั้งแต่ปีงบประมาณ 2546 เป็นต้นมารวมรายจ่ายเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ และเงินภาษีทจี่ ัดสรรให้อปท. 4. บัญชีนอกงบประมาณประกอบด้วย เงินฝากนอกงบประมาณ เงินทุนหมุนเวียน และกองทุนนอกงบประมาณ ทัง้ นี้ ได้บันทึกข้อมูลตามเกณฑ์คงค้าง สาหรับกองทุนน้ามันได้เริ่มบันทึกรายจ่ายชดเชยน้ามันตามเกณฑ์คงค้างตั้งแต่เดือนมกราคม 2547 เป็นต้นมา 5. รายได้ตามระบบกระแสเงินสดบันทึกอยู่ในระบบ cash basis ส่วนรายได้ตามระบบ สศค. บันทึกอยู่ในระบบ acrual basis จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง สานักงานบริหารหนี้สาธารณะ ธนาคารแห่งประเทศไทย และ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันทีบ่ ันทึกข้อมูล : 24 ตุลาคม 2555
- 24 -
% of GDP
เอกสารงบประมาณ
2556e จานวน % of GDP งบกระแสเงินสด 16.8 19.7 18.0
(368,406.0) (11,895.0)
(2.9) (0.1)
(2.4)
(380,301.0)
12,544,000.0
จานวน
% of GDP
ระบบ สศค.
16.7 2,103,200.0 19.1 2,471,606.0 19.1 2,256,000.0 94.0 215,606.0 (2.4)
หน่วย: ล้านบาท
1.7
(3.0)
2,252,420.0 2,597,422.0 2,381,816.0 99.2 215,606.0
18.0 20.7 19.0
(345,002.0)
(2.8)
11,895.0 63,883.0 5,997.1 41,269.9 477,907.9 411,638.1 25,000.0 (385,507.2)
0.1 0.5 0.0 0.3 3.8 3.3 0.2 (3.1) 4.4 2.5 1.9 4.4 (3.1)
548,049.0 311,549.0 236,500.0 548,049.0 (385,507.2) 12,544,000.0
ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฐานะการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ 2555 (เดือนกรกฎาคม – เดือนกันยายน 2555) 1. ด้านรายได้ อปท. จานวน 7,853 แห่ง คาดว่ามีรายได้รวม 133,789 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วง เดียวกันปีที่แล้ว 35,421 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 36.0 เนื่องจาก อปท. ได้รับการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บ และแบ่งให้ และเงินอุดหนุนเพิ่มขึ้น 23,950 และ 11,227 ล้านบาท ตามลาดับ สาหรับรายได้ที่ อปท. จัดเก็บเองเพิ่มขึ้น 244 ล้านบาท (รายละเอียดตามตารางที่ 1) ตารางที่ 1 รายได้ของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ 2555 หน่วย : ล้านบาท ประเภท
ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2554
1. รายได้จัดเก็บเอง 1/ (ร้อยละของรายได้รวม) 1.1 รายได้จากภาษีอากร 1.2 รายได้ทไี่ ม่ใช่ภาษีอากร 2. รายได้จากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 2/ (ร้อยละของรายได้รวม) 3. รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล 3/ (ร้อยละของรายได้รวม) รวม (ร้อยละของรายได้รวม)
12,673
12,429
9.5 6,722 5,951 95,530 71.4 25,586 19.1 133,789 100
12.6 7,409 5,020 71,580 72.8 14,359 14.6 98,368 100
เปรียบเทียบ จานวน ร้อยละ 244
2.0
(687) 931 23,950
(9.3) 18.5 33.5
11,227
78.2
35,421
36.0
หมายเหตุ
ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 20 ธันวาคม 2555
ที่มา
1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จานวน 1,829 แห่ง และหนังสือข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2554 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดิน กรมการขนส่งทางบก กรมการปกครอง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง
รวบรวมโดย
ส่วนระบบสถิติการคลัง สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
รายได้ของ อปท. จาแนกตามแหล่งที่มาได้ ดังนี้ 1.1 รายได้ที่จัดเก็บเอง จานวน 12,673 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 244 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.0 ประกอบด้วย รายได้จากภาษีอากร 6,722 ล้านบาท และรายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร 5,951 ล้านบาท 1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จานวน 95,530 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 23,950 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 33.5 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จานวน 25,586 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 11,227 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 78.2
-25-
2. ด้านรายจ่าย อปท.1 จานวน 7,853 แห่ง คาดว่ามีรายจ่าย 152,182 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 48,203 ล้านบาท หรือร้อยละ 46.4 เนื่องจาก อปท. มีรายจ่ายประจา และรายจ่ายเพื่อการลงทุนเพิ่มสูงขึ้นจากการจัดซื้อครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้างเพื่อปรับปรุงและซ่อมแซม สาธารณูปโภค เช่น ถนน ขุดลอกคูคลองและซ่อมแซมสิ่งปลูกสร้างที่เสียหายจากน้าท่วม และผลจากการปรับ ขึ้นเงินเดือนของข้าราชการท้องถิ่น ลูกจ้างประจา และลูกจ้างชั่วคราว 3. ดุลการคลัง อปท.2 ขาดดุล 18,393 ล้านบาท โดยขาดดุลเพิ่มขึ้นจานวน 12,782 ล้านบาท เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้ว เนื่องจากมีรายจ่ายเพิ่มสูงขึ้นมาก (รายละเอียดตามตารางที่ 2 และแผนภูมิที่ 1) ตารางที่ 2 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ 2555 ประเภท 1. รายได้ 1.1 รายได้ทจี่ ัดเก็บเอง 1/ 1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 2/ 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน 3/ 2. รายจ่าย 3. ดุลการคลัง 4/
หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ
ไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2554 133,789 98,368 12,673 12,429 95,530 71,580 25,586 14,359 152,182 103,979 (18,393)
(5,611)
จานวน 35,421 244 23,950 11,227 48,203 (12,782)
ร้อยละ 36.0 2.0 33.5 78.2 46.4 227.8
หมายเหตุ
ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 20 ธันวาคม 2555
ที่มา
1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จานวน 1,829 แห่ง และหนังสือข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2554 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดิน กรมการขนส่งทางบก กรมการปกครอง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ พิจารณาจากข้อมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKINK SYSTEM) ของ ธปท.
รวบรวมโดย
ส่วนระบบสถิติการคลัง สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
1
โดยพิจารณาจากผลต่างของรายได้กับดุลการคลังของ อปท. (การเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) จากธนาคารแห่งประเทศไทย 2 ดุลการคลัง อปท. พิจารณาจากข้อมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) จากธนาคารแห่งประเทศไทย
-26-
แผนภูมิที่ 1 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ 2555
ฐานะการคลังของ อปท. ในปีงบประมาณ 2555 1. ด้านรายได้ คาดว่า อปท. มีรายได้รวม 498,716 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 70,942 ล้านบาท หรือร้อยละ 16.6 สาเหตุสาคัญเนื่องจาก อปท. ได้รับการจัดสรรเงินอุดหนุนและภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ เพิ่มขึ้น 44,421 และ 25,322 ล้านบาท หรือร้อยละ 26.2 และ 11.8 ตามลาดับ 2. ด้านรายจ่าย คาดว่า อปท. มีรายจ่ายรวม 455,132 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 74,149 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 19.5 เป็นผลจาก อปท. มีรายจ่ายประจาโดยเฉพาะค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรเพิ่มสูงขึ้นจากการปรับ ขึ้นเงินเดือนข้าราชการ ลูกจ้างประจา และลูกจ้างชั่วคราวในระดับปริญญาตรีเป็น 15,000 บาท ข้าราชการและ ลูกจ้างประจาในระดับต่ากว่าปริญญาตรีเป็น 12,285 บาท และลูกจ้างชั่วคราวในระดับต่ากว่าปริญญาตรีเป็น 9,000 บาท (ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของข้าราชการและ ลูกจ้างประจาของส่วนราชการ (ฉบับที่ 5) ลงวันที่ 18 มกราคม 2555) นอกจากนี้มีการเบิกจ่ายรายจ่ายเพื่อ การลงทุนเพิ่มขึ้นจากการจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้างเพื่อปรับปรุงและซ่อมแซมสาธารณูปโภคที่เสียหาย จากน้าท่วม 3. ดุลการคลัง คาดว่า อปท. เกินดุลทั้งสิ้น จานวน 43,584 ล้านบาท ลดลงจากปีที่แล้ว 3,207 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.9
-27-
ตารางที่ 3 ดุลการคลังของ อปท. ปีงบประมาณ 2555 ประเภท 1. รายได้ 1.1 รายได้ทจี่ ัดเก็บเอง 1/ 1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 2/ 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน 3/ 2. รายจ่าย 3. ดุลการคลัง 4/
หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ
ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2554 498,716 427,774 44,993 43,794 239,790 214,468 213,933 169,512 455,132 380,983 43,584
46,791
จานวน 70,942 1,199 25,322 44,421 74,149 (3,207)
ร้อยละ 16.6 2.7 11.8 26.2 19.5 (6.9)
หมายเหตุ
ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 20 ธันวาคม 2555
ที่มา
1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จานวน 1,829 แห่ง และหนังสือข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2554 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดิน กรมการขนส่งทางบก กรมการปกครอง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง
รวบรวมโดย
3/ รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ พิจารณาจากข้อมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKINK SYSTEM) ของ ธปท. ส่วนระบบสถิติการคลัง สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
แผนภูมิที่ 2 ดุลการคลังของ อปท. ของปีงบประมาณ 2555
-28-
สถานการณ์ด้านหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน 2555 หนี้สาธารณะคงค้าง จ้านวน 4,875.5 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 43.5 ของ GDP เพิ่มขึ้นจากเดือนที่แล้ว 48.2 พันล้านบาท ประกอบด้วย หนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 93.3 ส่วนที่เหลือร้อยละ 6.7 เป็นหนี้ต่างประเทศ หนี้คงค้างที่เพิ่มขึ้น เป็นผลจากหนี้ ที่รั ฐ บาล กู้โ ดยตรงและหนี้ ของ หน่ ว ยงานภาครั ฐ อื่น เพิ่ม ขึ้น 57.1 และ 0.03 พันล้านบาท ตามล้า ดับ ในขณะที่ หนี้ รั ฐ วิส าหกิจ ลดลง 8.9 พันล้านบาท หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง เพิ่มขึ้น 57.1 พันล้านบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว โดยหนี้ในประเทศเพิ่มขึ้น 61.8 พันล้านบาท โดยมีสาเหตุหลัก จากการกู้ชดเชยการขาดดุล งบประมาณ จ้านวน 30.5 พันล้านบาท การออก R-bill เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ จ้านวน 20.0 พันล้านบาท และการออกพันธบัตรเพื่อชดเชย ความเสียหายให้แก่กองทุนเพื่อการ ฟื้นฟูฯ จ้านวน 10.0 พันล้านบาท ในขณะเดียวกัน หนี้ต่างประเทศ ลดลงจากเดือนก่อน 4.7 พันล้าน บาท โดยมีสาเหตุหลักมาจากการ ช้าระคืนหนี้สกุลเงินต่างๆ และการ เปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน
หน่วย : ล้านบาท
1. รวมหนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง-ต่างประเทศ หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง-ในประเทศ 2. รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจ
ณ 31 ต.ค. 55
ณ 30 พ.ย. 55
3,402,463.22 51,088.33 3,351,374.89 1,417,630.38 160,629.55 683,922.34 123,295.25 449,783.24 7,232.21 7,232.21 -
3,459,510.78 46,363.30 3,413,147.48 1,408,757.44 155,692.39 681,501.52 126,749.22 444,814.31 7,263.95 7,263.95 -
หนี้ที่รัฐบาลค้้าประกัน-ต่างประเทศ หนี้ที่รัฐบาลค้้าประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้าประกัน-ต่างประเทศ** หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้าประกัน-ในประเทศ** 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น * หนี้ที่รัฐบาลค้้าประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้าประกัน-ในประเทศ 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ FIDF 5. ยอดหนี้สาธารณะคงค้างรวม (1+2+3+4) 4,827,325.81 4,875,532.17 GDP*** 11,155,020.00 11,216,510.00 หนี้สาธารณะคงค้างรวมต่อ GDP (%) 43.27 43.47 หมายเหตุ * หน่วยงานภาครัฐอื่น ได้แก่ ส้านักงานคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมืองแห่งชาติ และสถาบันบริหารกองทุนพลังงาน ** ไม่รวมหนีข้ องรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน *** ส้านักงานบริหารหนี้สาธารณะได้ปรับวิธีการค้านวณ GDP ในแต่ละเดือน โดยค้านวณ GDP ของเดือนตุลาคม 2555 ดังนี้ ((GDP ปี 2554/12) * 2 + (GDP ปี 2555/12) * 10)) เท่ากับ 11,155.02 พันล้านบาท และ GDP ของเดือนพฤศจิกายน 2555 ดังนี้ ((GDP ปี 2554/12) * 1 + (GDP ปี 2555/12) * 11)) เท่ากับ 11,216.51 พันล้านบาท ที่มา ส้านักงานบริหารหนี้สาธารณะ
-29-
หนี้ของรัฐวิสาหกิจลดลง 8.9 พันล้านบาท เมื่อเทียบกับ เดือนที่แล้ว โดยมีสาเหตุหลัก จากการเปลี่ยนแปลงอัตรา แลกเปลี่ยนท้าให้ยอดหนี้ คงค้างลดลงสุทธิ 5.0 พันล้านบาท และรัฐวิสาหกิจที่ รัฐบาลไม่ค้าประกันมีการ ช้าระคืนต้นเงินกู้สุทธิจ้านวน 4.9 พันล้านบาท หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น เพิ่มขึ้น 0.03 พันล้านบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว โดยมี สาเหตุมาจากการเบิกจ่ายเงินกู้ ของส้านักงานความร่วมมือ พัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศ เพื่อนบ้าน
สัดส่วนหนี้ในประเทศและหนี้ต่างประเทศ จ้านวน (พันล้านบาท) ร้อยละ (%)
หนี้ในประเทศ 4,546.73 93.3
หนี้ต่างประเทศ 328.80 6.7
สัดส่วนหนี้ระยะยาวและหนี้ระยะสั้น จ้านวน (พันล้านบาท) ร้อยละ (%)
-30- -
หนี้ระยะยาว 4,696.34 96.3
หนี้ระยะสั้น 179.19 3.7
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง กระทรวงการคลังได้กาหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนิน นโยบายทางการคลังที่สอดคล้องกับสถานะเศรษฐกิจการเงินและการคลังของประเทศ โดยมีเป้าหมาย เพื่อรักษาเสถียรภาพด้านการคลังในระยะปานกลางและระยะยาว ซึ่งกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ประกอบด้วยตัวชี้วัดและเป้าหมาย (60-15-0-25) ดังนี้ ยอดหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 การจัดทางบประมาณสมดุล สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายไม่ต่ากว่าร้อยละ 25 สานักงานเศรษฐกิจการคลังได้จัดทาการวิเคราะห์ความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประเมินและรักษาความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีผลการวิเคราะห์ระหว่าง ปีงบประมาณ 2555 – 2559 ซึ่งสรุปได้ดังนี้ สัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ในปีงบประมาณ 2555 อยู่ที่ร้อยละ 42.6 และ เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 48.0 ในปีงบประมาณ 2559 ระดับภาระหนี้ต่องบประมาณอยู่ในระดับร้อยละ 9.3 ในปีงบประมาณ 2555 และ เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 11.5 ในปีงบประมาณ 2559 รัฐบาลจัดทางบประมาณแบบขาดดุลเนื่องจากความจาเป็นในการใช้จ่ายของรัฐ เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้ขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพ อย่างไรก็ดี แนวโน้มการจัดทา งบประมาณแบบขาดดุลจะลดลงตามลาดับเพื่อเข้าสู่งบประมาณแบบสมดุลในอนาคต สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายต่ากว่าร้อยละ 25 เนื่องจากปัจจุบันรัฐบาล มีทางเลือกในการลงทุน อาทิ การลงทุนของรัฐวิสาหกิจ และการร่วมทุนระหว่าง ภาครัฐและเอกชน (PPPs) ซึ่งหากนับรวมกันแล้วจะทาให้อัตราส่วนรายจ่ายลงทุน ต่องบประมาณเพิ่มมากขึ้น โดยในปีงบประมาณ 2555 เมื่อนับรวมการลงทุนของ รัฐบาล (438,555 ล้านบาท) กับรัฐวิสาหกิจ (351,299 ล้านบาท) จะทาให้มีงบ ลงทุนรวมถึง 789,854 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 33.2 ของงบประมาณรายจ่าย
-31-
การวิเคราะห์การดาเนินงานตามกรอบความยั่งยืนทางการคลัง หน่วย 2555 2556 2557 2558 2559 ปีงบประมาณ 1. หนี้สาธารณะคงค้าง/GDP (CY) (1.1/1.2) 42.6 47.5 48.4 48.5 48.0 1) 1.1 nominal GDP (CY) 11,573,100 12,544,900 13,485,800 14,497,200 15,584,500 1.2 หนี้สาธารณะคงค้าง 2) 4,932,540 5,961,951 6,529,556 7,030,158 7,481,956 2. ภาระหนี้/งบประมาณ (2.1/3.2) 9.3 7.4 11.6 11.7 11.5 3) 2.1 ภาระหนี้ (2.1.1 + 2.1.2) 222,098 177,948 286,909 298,700 307,622 2.1.1 ชาระต้นเงินกู้ 46,854 49,149 86,548 89,495 93,485 2.1.2 ดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม 175,244 128,798 200,361 209,205 214,137 3. ดุลงบประมาณ (3.1 - 3.2) -400,000 -300,000 -230,300 -138,000 -62,000 3.1 ประมาณการรายได้รัฐบาลสุทธิ 4) 1,980,000 2,100,000 2,242,500 2,419,000 2,609,000 3.2 ประมาณการวงเงินงบประมาณ 2,380,000 2,400,000 2,472,800 2,557,000 2,671,000 รายจ่าย 4) 4. รายจ่ายลงทุน/งบประมาณ (4.1/3.2) 18.4 18.7 17.6 18.2 18.5 4) 4.1 รายจ่ายลงทุน 438,555 448,939 434,194 466,084 493,809 ที่มา : 1) ข้อสมมติฐานเศรษฐกิจปี 2555 – 2559 จากสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2) หนี้สาธารณะคงค้างอ้างอิงการประมาณการโดยสานักงานบริหารหนี้สาธารณะ 3) ข้อมูลภาระหนี้ต่องบประมาณปี 2555 – 2556 จากเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2556 และปี 2557 – 2559 ประมาณการโดยสานักงานบริหารหนี้สาธารณะ 4) ข้อมูลรายได้รัฐบาลสุทธิวงเงินงบประมาณรายจ่ายและรายจ่ายลงทุนปี 2555 – 2556 จากเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2556 ข้อมูลประมาณการรายได้รัฐบาลสุทธิ วงเงินงบประมาณรายจ่าย และรายจ่ายลงทุนปี 2557 – 2559 โดยสานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ กันยายน 2555
-32-
การดาเนินกิจกรรมกึ่งการคลัง ผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล ไตรมาสที่ 3 ปี 2555 (เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2555) โครงการที่มีการแยกบัญชีธุรกรรมเชิงนโยบายรัฐ (Public Service Account) จาแนกตามสถาบันการเงินเฉพาะกิจ หน่วย : ล้านบาท ประมาณการความเสียหายที่ ณ 30 ก.ย. 2555 สัดส่วน ประมาณการภาระ สถาบันการเงิน ต้องได้รับการชดเชยจาก ความเสียหาย NPLs ratio สินเชื่อคงค้าง รัฐบาลตั้งแต่เริ่ม - สิ้นสุด เฉพาะกิจ สินเชื่อคงค้าง รวม (%) คงเหลือ (%) โครงการ ออมสิน 18,727.32 0.00 3.24 5,509.50 4,264.12 ธกส. 519,077.83 0.43 89.85 16,478.03 7,659.97 ธอส. 17,508.54 0.35 3.03 4,306.72 3,615.88 ธสน. 1,391.59 0.00 0.24 1,050.00 1,047.65 ธพว. 21,012.73 3.59 3.64 4,812.97 4,556.99 รวมทุกสถาบัน 577,718.01 0.52 100 32,157.22 21,144.61 การเงินเฉพาะกิจ
กิจกรรมกึ่งการคลังเป็นกิจกรรมหรือโครงการตามนโยบายรัฐที่ดาเนินการผ่านหน่วยงานอื่นที่ไม่ใช่ รัฐบาล เช่น ธนาคารกลาง รัฐวิสาหกิจ และสถาบันการเงินเฉพาะกิจ เป็นต้น ซึง่ ในที่นี้พิจารณาเฉพาะกิจกรรม กึ่งการคลังที่ดาเนินการผ่าน SFIs และเป็นโครงการที่มีการแยกบัญชีธุรกรรมการดาเนินงานตามนโยบายรัฐ (Public Service Account หรือ PSA) 1. สินเชื่อคงค้างและหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) ยอดสินเชื่อคงค้างของโครงการตามนโยบายรัฐที่มีการแยกบัญชี PSA จานวนทั้งสิ้น 577,718 ล้านบาท ในขณะที่ยอด NPLs เท่ากับ 3,024 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อยอดสินเชื่อคงค้างร้อยละ 0.52 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.1 ธนาคารออมสิน มียอดสินเชื่อคงค้าง จานวน 18,727 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.24 ของ สินเชื่อคงค้างทั้งหมด ในส่วนของ NPLs พบว่า โครงการ PSA ของ ธ. ออมสิน ไม่มีหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ เนื่องจากส่วนหนึ่งเป็นโครงการ Soft Loan ที่ปล่อยให้แก่ธนาคารพาณิชย์ และเป็นโครงการที่เพิ่งเริ่ม ดาเนินการอีกส่วนหนึ่ง 1.2 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) เป็น SFIs ที่มีการดาเนินโครงการ PSA มากที่สุด โดยมียอดสินเชื่อคงค้าง จานวน 519,078 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 89.85 ของยอดสินเชื่อคงค้าง โครงการ PSA ทั้งหมด ในขณะที่มียอด NPLs จานวน 2,208 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อ ยอดสินเชื่อคงค้างเท่ากับร้อยละ 0.43 ทั้งนี้ ขนาดการดาเนินโครงการ PSA ของ ธกส. ค่อนข้างใหญ่เมื่อเทียบกับ SFIs อื่น ๆ สะท้อนให้เห็นถึงแนวนโยบายกึ่งการคลังที่ให้ความสาคัญต่อการช่วยเหลือประชาชนที่อยู่ในภาคเกษตร -33-
1.3 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) มียอดสินเชื่อคงค้างโครงการแยกบัญชี PSA จานวน 17,509 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.03 ของยอดสินเชื่อคงค้างโครงการ PSA ทั้งหมด ในขณะที่มียอด NPLs จานวน 62 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อยอดสินเชื่อคงค้างเท่ากับร้อยละ 0.35 1.4 ธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) มียอดสินเชื่อคงค้างของ โครงการ PSA ต่าที่สุดเท่ากับ 1,392 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.24 ของยอดสินเชื่อคงค้างโครงการ PSA ทั้งหมด 1.5 ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) มียอด สินเชื่อคงค้างจานวน 21,013 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.64 ของยอดสินเชื่อคงค้างโครงการ PSA ทั้งหมด ในขณะที่มียอด NPLs จานวน 754 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อยอดสินเชื่อคงค้าง เท่ากับร้อยละ 3.59 จะเห็นว่า ธพว. เป็นสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่มียอดสินเชื่อคงค้างตามโครงการ PSA ค่อนข้างสูง เมื่อเทียบกับ SFIs อื่น ๆ 2. ประมาณการความเสียหายจากโครงการที่มีการแยกบัญชีธุรกรรมการดาเนินการตาม นโยบายรัฐ (PSA) โครงการที่มีการแยกบัญชี PSA เป็นโครงการที่ดาเนินการโดยผ่านมติ ครม. อันนามาซึ่งภาระ ทางการคลังของรัฐบาลในการชดเชยความเสียหายจากโครงการต่าง ๆ ทั้งนี้ ความเสียหายที่รอการชดเชย เหล่านี้เป็นแรงกดดันต่อสภาพคล่องของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ หากรัฐบาลไม่จัดสรรเงินอุดหนุนชดเชยความ เสียหายในลักษณะปีต่อปี และอาจกระทบต่อความเชื่อมั่นของประชาชนที่มีต่อสถาบันการเงินเฉพาะกิจใน ที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SFIs ที่ระดมเงินฝากจากประชาชน มีรายละเอียดสามารถสรุปได้ ดังนี้ 2.1 ธนาคารออมสิน รัฐบาลมีภาระชดเชยความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ของ ธ. ออมสิน ซึ่งสามารถประมาณการความเสียหายตั้งแต่เริ่ม จนถึงสิ้นสุดโครงการ จานวนทั้งสิ้น 5,510 ล้าน บาท ในขณะที่คงเหลือภาระความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล จานวน 4,264 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 20.17 ของประมาณการภาระความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ 2.2 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) รัฐบาลมีภาระชดเชยความ เสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ซึ่งสามารถประมาณการความเสียหายที่ต้องได้รับการชดเชยจาก รัฐบาลตั้งแต่เริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ จานวนทั้งสิ้น 16,478 ล้านบาท ในขณะที่คงเหลือภาระความเสียหายที่ รอการชดเชยจากรัฐบาลจานวน 7,660 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 36.23 ของประมาณการภาระความเสียหาย คงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ 2.3 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) รัฐบาลมีภาระชดเชยความเสียหายที่เกิดจากโครงการ แยกบัญชี PSA ซึ่งสามารถประมาณการความเสียหายที่ต้องได้รับการชดเชยจากรัฐบาลตั้งแต่เริ่มจนถึงสิ้นสุด โครงการจานวนทั้งสิ้น 4,307 ล้านบาท ในขณะที่คงเหลือภาระความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาลจานวน 3,616 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 17.10 ของประมาณการภาระความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบัน การเงินเฉพาะกิจ 2.4 ธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) รัฐบาลมีภาระชดเชยความ เสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ซึ่งสามารถประมาณการความเสียหายที่ต้องได้รับการชดเชยจาก รัฐบาลตั้งแต่เริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการจานวนทั้งสิ้น 1,050 ล้านบาท ในขณะที่คงเหลือความเสียหายที่รอการ ชดเชยจากรัฐบาล จานวน 1,048 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.95 ของประมาณการภาระความเสียหายคงเหลือ ทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ
-34-
2.5 ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) รัฐบาลมี ภาระชดเชยความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ซึ่งสามารถประมาณการความเสียหายที่ต้องได้รับ การชดเชยจากรัฐบาลตั้งแต่เริ่ม จนถึงสิ้นสุดโครงการ จานวนทั้งสิ้น 4,813 ล้านบาท ในขณะที่ คงเหลือความ เสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล จานวน 4,557 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 22 ของประมาณการภาระความ เสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ
-35-
การกระจายอานาจการคลัง ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สุขภาพทางการคลังของเทศบาล : กรอบแนวคิดและผลการวิจัยเชิงประจักษ์ ส่วนนโยบายการคลังท้องถิ่น สานักนโยบายการคลัง ได้ศึกษาบทความ เรื่อง สุขภาพทางการคลัง ของเทศบาล : กรอบแนวคิดและผลการวิจัยเชิงประจักษ์ โดย อาจารย์วีระศักดิ์ เครือเทพ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรุปสาระสาคัญได้ ดังนี้ 1. สุขภาพทางการคลังท้องถิ่นคืออะไร สุขภาพการคลังท้องถิ่น คือ สภาวะที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีขีดความสามารถในการหารายได้ (revenue-raising capacity: RRC) ที่เพียงพอต่อความต้องการใช้จ่ายเพื่อการจัดบริการสาธารณะด้านต่างๆ (expenditure need: EN) ได้อย่างต่อเนื่องตามที่ชุมชนท้องถิ่นต้องการ ตัวบ่งชี้สุขภาพทางการคลังของท้องถิ่น คือ ความสมดุลระหว่างปัจจัยด้านรายได้และด้านรายจ่าย - ท้องถิ่นที่มีความสามารถในการจัดหารายได้ที่สมดุลหรือสูงกว่ารายจ่ายระดับที่จาเป็น ถือได้ว่าเป็น ท้องถิ่นที่มีสุขภาพทางการคลังที่เข้มแข็ง - ท้องถิ่นที่มีระดับรายจ่ายที่จาเป็นสูงกว่าขีดความสามารถในการหารายได้ของท้องถิ่น ถือได้ว่าท้องถิ่น แห่งนั้นประสบกับสภาวะแรงกดดันทางการคลัง หรือมีสุขภาพทางการคลังที่อ่อนแอ วิธีวัดสุขภาพทางการคลังของท้องถิ่น คือ การวิเคราะห์ในระบบสองขา ได้แก่ การวิเคราะห์ถึงระดับ รายได้ทที่ ้องถิ่นสามารถจัดเก็บได้ (potential revenue) และระดับรายจ่ายที่จาเป็น (essential spending level) ซึ่งมีความหมายแตกต่างไปจากรายได้จริงที่ท้องถิ่นจัดเก็บได้ (actual revenue: AR) และแตกต่างไป จากการใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริง (actual expenditure: AE) เพื่อให้ผลการวิเคราะห์สามารถสะท้อนปัจจัยพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนท้องถิ่นโดยตรง และปลอดจากการบิดเบือนของผลการวิเคราะห์ซึ่งอาจเกิด จากปัจจัยทางการเมืองและการบริหารในระดับท้องถิ่น ประโยชน์การวัดสุขภาพทางการคลังท้องถิ่น 1) ประเมินได้ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้ มากน้อยเพียงใด 2) มีข้อมูลประกอบการกาหนดแผนการจัดบริการสาธารณะควบคู่ไปกับการวางแผนทางการเงินการคลัง 3) ประเมินผลกระทบทางด้านการคลังและการจัดบริการสาธารณะของท้องถิ่นในช่วงหลังการ กระจายอานาจ 2. ท้องถิ่นต่างๆ มีสุขภาพทางการคลังเป็นอย่างไร กลุ่มตัวอย่าง : เทศบาลนครและเทศบาลเมืองในภูมิภาคตะวันออกและบริเวณรอบกรุงเทพมหานคร จานวน 14 แห่ง ได้แก่ นนทบุรี ปากเกร็ด นครปฐม ฉะเชิงเทรา ปทุมธานี ระยอง สมุทรสาคร สมุทรปราการ บางบัวทอง กระทุ่มแบน พนัสนิคม ปราจีนบุรี มาบตาพุด และเมืองพัทยา -36-
ระยะเวลา : พ.ศ. 2544-2549 วิธีวจิ ัย : วิเคราะห์จากข้อมูลพื้นฐานของท้องถิ่นโดยใช้อัตราค่าเฉลี่ยทางเศรษฐกิจและการขยายตัว ของประชากรโดยจัดเมืองเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1) ชุมชนเมืองใหญ่ (Urban City) : นนทบุรี ปากเกร็ด และนครปฐม 2) ชุมชนรอบพื้นที่อุตสาหกรรม (Suburban City) : ฉะเชิงเทรา ปทุมธานี ระยอง สมุทรสาคร และ สมุทรปราการ 3) ชุมชนกึ่งชนบท (Semi-rural City) : บางบัวทอง กระทุ่มแบน พนัสนิคม และปราจีนบุรี 4) ชุมชนอุตสาหกรรม (Industry-based City) : มาบตาพุด และเมืองพัทยาและข้อมูลจากการ สัมภาษณ์ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานของเทศบาล ผลการศึกษา : 1) เทศบาลนครขนาดใหญ่ที่มีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น และเทศบาลเมืองที่ตั้งอยู่ในพื้นที่กึ่ง เมืองกึ่งชนบทมักประสบความอ่อนแอทางการคลังมากกว่าเทศบาลนครหรือเทศบาลเมืองที่ตั้งอยู่ ใน/ติดกับพื้นที่เศรษฐกิจหรือพื้นที่อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ 2) เทศบาลในชุมชนเมืองขนาดใหญ่มีสุขภาพทางการคลังที่ดีขึ้น ในขณะที่เทศบาลในชุมชนกึ่งเมือง กึ่งชนบทมีสุขภาพทางการคลังที่อ่อนแอลง 3) การใช้นโยบายประชานิยมทางการคลัง และการขาดประสิทธิภาพทางการบริหารจัดการส่งผลให้ สุขภาพทางการคลังของท้องถิ่นเกิดความอ่อนแอได้ 3. ปัจจัยใดส่งผลกระทบในทางลบต่อสุขภาพทางการคลัง
ลักษณะพื้นฐานของเมืองในทางเศรษฐกิจและประชากรอาจส่งผลในทางลบต่อสุขภาพทางการคลัง - เมืองที่มีสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมที่อยู่ในระดับที่น่าเป็นห่วง เช่น ปากเกร็ด และบางบัวทอง ประสบภาวะเศรษฐกิจซบเซา และประชากรของเมืองมีอัตราการขยายตัวที่สูง ลักษณะของเมืองเป็นย่านที่พัก อาศัยและตั้งอยู่รอบเขตกรุงเทพมหานคร ข้อมูลนี้สะท้อนให้เห็นถึงการอพยพเข้าเมืองของประชากรในกลุ่มที่ อาจมิก่อให้เกิดผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและการคลังของเทศบาลมากเท่าใดนัก เช่น การเพิ่มขึ้นของประชากร กลุ่มผู้สูงอายุ หรือประชากรกลุ่มยากจน ซึ่งส่งผลต่อแรงกดดันด้านรายจ่ายต่อเทศบาลเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่ ไม่สามารถสร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจให้กับชุมชนที่จะช่วยให้เกิดการขยายตัวของฐานภาษีท้องถิ่น
-37- -
การกระจายอานาจส่งผลให้สุขภาพทางการคลังของเทศบาลในกลุ่มต่างๆ เกิดการเปลี่ยนแปลง ทั้งในด้านขนาด (magnitude) และทิศทาง (direction) - ความไม่สมดุลจากการปรับตัวของเทศบาลต่างๆ ในการจัดบริการสาธารณะและในการเพิ่ม ความสามารถทางการคลัง (รับการถ่ายโอนภารกิจและการมอบหมายอานาจหน้าที่เพิ่มขึ้น ในขณะที่การเพิ่ม ความพยายามในการจัดเก็บภาษีท้องถิ่นไม่ได้เพิ่มสูงในสัดส่วนเดียวกัน) และการขาดความสมดุลระหว่างการ กระจายภารกิจและการกระจายทรัพยากรทางการคลัง อาจส่งผลในทางลบต่อสุขภาพทางการคลัง การขาดประสิทธิภาพทางการบริหารจัดการส่งผลในทางลบต่อสุขภาพทางการคลัง - แนวคิดสุขภาพทางการคลังท้องถิ่นแบบดั้งเดิม มองว่าการมีสุขภาพทางการคลังที่เข้มแข็ง คือ การมีรายได้เหนือกว่ารายจ่ายในการจัดทางบประมาณแบบปีต่อปี ไม่มีการจัดทางบประมาณแบบขาดดุล ไม่เน้นก่อหนี้ผูกพันในระยะยาว และควรมีเงินสะสมในระดับสูง เน้นการใช้รายได้เป็นตัวกาหนดรายจ่ายแบบ ปีต่อปี ซึ่งอยู่บนฐาน “มีมากใช้มาก ถ้ามีน้อยก็ใช้น้อย” (ไม่ปรากฏแนวคิด “หากจาเป็นต้องใช้จ่ายมาก ก็หาเงินให้มาก และหากจาเป็นต้องใช้จ่ายน้อย ก็หาเงินให้น้อย”) วิธีคิดแบบดั้งเดิมมักนาไปสู่สภาวะ ของการขาดความกระตือรือร้นในการบริหารจัดการ การจัดบริการสาธารณะอาจไม่สอดคล้องกับความต้องการ ของประชาชนหรือสภาพปัญหาในท้องถิ่น และขาดความพยายามในการจัดเก็บภาษีและ/หรือการพัฒนา รายได้ใหม่ๆ เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการด้านรายจ่าย - ทัศนคติทางการคลังแบบประชานิยมยุคใหม่ (New Fiscal Populist) และดาเนินนโยบายการคลัง แบบประชานิยมของผู้นาท้องถิ่นที่เน้นการลดภาษี เน้นการใช้จ่ายด้านสวัสดิการสังคม และเน้นการดาเนิน แผนงานที่ได้ผลต่อคะแนนนิยมทางการเมืองอย่างรวดเร็ว ทาให้ผู้นาพยายามหาวิธีการในการช่วยแบ่งเบา ภาระภาษีให้กับประชาชน ภาระภาษีจึงไม่ได้อยู่บนพื้นฐานของสภาพความเป็นจริ งในปัจจุบัน หรือ การไม่จัดเก็บภาษีให้เต็มเม็ดเต็มหน่วย การไม่สนใจปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการจัดเก็บภาษี หรือแม้แต่การยอมจ่ายภาษีแทนประชาชน - การบริหารงานคลังของเทศบาลยังขาดความเชื่อมโยงระหว่างสภาพแวดล้อมภายนอกกับการวางแผน ประมาณการรายได้และการจัดทาแผนรายจ่าย ส่งผลให้เทศบาลไม่สามารถประเมินได้อย่างชัดเจนว่าขีดความสามารถ ในการหารายได้ท้องถิ่นที่แท้จริงและระดับรายจ่ายที่จาเป็นควรเป็นเท่าใด 4. ข้อเสนอแนะ ควรมีการพัฒนาระบบเงินอุดหนุนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อช่วยลดแรงกดดันทางการคลัง หลักการคือจัดสรรเงินอุดหนุนให้กับเทศบาลที่ประสบปัญหาแรงกดดันทางการคลังเป็นการเฉพาะตามขนาด ของแรงกดดันทางการคลัง และนาปัจจัยด้านสภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนท้องถิ่น และ ระดับสุขภาพทางการคลังของเทศบาล เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของสูตรการจัดสรรเงินอุดหนุนดังกล่าว ควรเร่งส่งเสริมพัฒนารายได้ท้องถิ่นและการปรับปรุงประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการบริหารจัดเก็บ ภาษีท้องถิ่น ควรปรับปรุงหลักเกณฑ์การให้รางวัลหรือการส่งเสริมความพยายามในการจัดเก็บรายได้ท้องถิ่นโดย นาปัจจัยด้านขีดความสามารถที่แท้จริงในการจัดหารายได้ของเทศบาลเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณา
-38-
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สาคัญ มติคณะรัฐมนตรีที่สาคัญ เดือนมกราคม 2556 8 มกราคม 2556 1. เรื่อง มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการควบรวมกิจการประเด็นเงินสารองของสถาบันการเงินและกิจการ ประกันภัย คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วย การยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยรายจ่าย ที่ไม่ให้ถือเป็นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุทธิ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... รวม 2 ฉบับ (มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุน การควบรวมกิจการประเด็นเงินสารองของสถาบันการเงินและกิจการประกันภัย) ตามที่กระทรวงการคลัง เสนอดังนี้ 1. กาหนดให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลให้แก่บริษัทเดิมอันได้ควบเข้ากันหรือเป็นผู้โอนกิจการที่ต้อง จดทะเบียนเลิก สาหรับเงินได้ที่เป็นเงินสารองซึ่งได้กันไว้ตามมาตรา 65 ตรี (1)1 แห่งประมวลรัษฎากร และต้องนามา รวมเป็นรายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีที่ควบเข้ากันหรือโอนกิจการทั้งหมดให้แก่กัน ตามมาตรา 74 (2) และ (3)2 แห่งประมวลรัษฎากร 2. กาหนดให้รายจ่ายของบริษัทใหม่ที่ควบเข้ากันหรือผู้โอนกิจการจากการโอนกิจการทั้งหมด เป็นจานวนเท่ากับเงินสารองที่ได้กันไว้ ตามมาตรา 65 ตรี (1) แห่งประมวลรัษฎากรของบริษัทเดิมอันได้ควบเข้ากัน หรือเป็นผู้โอนกิจการที่ต้องจดทะเบียนเลิกเป็นรายจ่ายที่ไม่ให้ถือเป็นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุทธิ ตามมาตรา 65 ตรี (20)
1
มาตรา 65 ตรี (1) บัญญัติให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลสามารถนาเงินสารองจากเบี้ยประกันภัย และเงินสารองที่กันไว้เป็นค่าเผื่ อหนี้สูญหรือหนี้สงสัย จะสูญ สาหรับหนี้จากการให้สินเชื่อที่ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์ หรือบริษัทเครดิตฟองซิเอร์ได้กันไว้ตามกฎหมายว่าด้วยการธนาคาร พาณิชย์หรือกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ แล้วแต่กรณี มาถือเป็นรายจ่ายในการคานว ณกาไรสุทธิ เพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล 2
มาตรา 74 (2) และ (3) บัญญัติให้กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเลิกกัน หรือควบเข้ากันกับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลอื่ น ให้นาเงินสารองหรือ เงินกาไรยกมาจากรอบระยะเวลาบัญชีก่อน ๆ เฉพาะส่วนที่ยังมิได้เสียภาษีเงินได้ ให้นามารวมคานวณเป็นรายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีสุดท้าย และสาหรับ กรณีที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลประกอบกิจการประกันภัยให้นาเงินสารอง ซึ่งได้กันไว้ในรอบระยะเวลาบัญชีก่อนๆ ตามมาตรา 65 ตรี (1) เฉพาะส่วน ที่ยังมิได้นามาเป็นรายได้มารวมคานวณเป็นรายได้
-39-
2. เรื่อง มาตรการการคลังและการเงินเพื่อบรรเทาผลกระทบจากการปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่าและเพิ่มขีด ความสามารถของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ดังนี้ 1. มาตรการการคลัง 1) มาตรการภาษี (1) ขยายระยะเวลามาตรการภาษีเดิมเพื่อบรรเทาผลกระทบการขึ้นค่าจ้างขั้นต่าและ เพิ่มขีดความสามารถของ SMEs ไปอีก 1 ปี จากสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 เป็นสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ดังนี้ (1.1) การหักค่าใช้จ่ายส่วนต่างค่าแรงขั้นต่าเดิมและค่าแรงขั้นต่า 300 บาท/วัน ได้ 1.5 เท่า ตามพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 553) พ.ศ. 2555 (1.2) ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ได้จากการขายเครื่องจักรเก่าเพื่อซื้อเครื่องจักรใหม่ ที่เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ตามพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 551) พ.ศ. 2555 (1.3) ให้สามารถหักค่าเสื่อมเครื่องจักรใหม่ได้ร้อยละ 100 ในปีแรกแทนการทยอยหัก ค่าเสื่อมภายใน 5 ปี ตามพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อม ราคาของทรัพย์สิน (ฉบับที่ 552) พ.ศ. 2555 (2) ปรับเพิ่มการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สาหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ซึ่งมีทุนที่ชาระแล้วในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้านบาทและมีรายได้จากการขายสินค้าและ การให้บริการในรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 30 ล้านบาท เพื่อลดภาระภาษีเงินได้นิติบุคคลให้แก่ SMEs ที่มีรายได้น้อย และปรับโครงสร้างอัตราภาษีของ SMEs ที่เป็นบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลให้เท่าเทียมกัน โดยปรับเพิ่มการยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับเงินได้ 150,000 บาทแรก เป็น 300,000 บาทแรก เพื่อให้สอดคล้องกับภาษีเงินได้นิติ บุคคลธรรมดาที่ปรับลดลง สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 เป็นต้นไป 2) มาตรการรายจ่าย ดาเนินการปรับเพิ่มอัตราค่าอาหารและค่าเช่าที่พักในการฝึกอบรมของส่วนราชการ ให้เหมาะสมกับค่าครองชีพและสภาวการณ์ปัจจุบัน 2. มาตรการการเงิน (1) โครงการค้าประกันสินเชื่อในลักษณะ Portfolio Guarantee Scheme (PGS) ระยะที่ 5 ระยะเวลาโครงการ 3 ปี (ปี 2556 – 2558) วงเงินค้าประกันรวม 240,000 ล้านบาท ระยะเวลาค้าประกัน 7 ปี (2) โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต (Productivity Improvement Loan) ขยายระยะเวลาโครงการออกไปจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558 (วงเงินเดิม 20,000 ล้านบาท) (3) โครงการค้าประกันสินเชื่อในลักษณะ Portfolio Guarantee Scheme สาหรับ ผู้ประกอบการใหม่ (PGS New/Start-up) 3.1) ขยายระยะเวลาสิ้นสุดการรับคาขอค้าประกันออกไปอีก 3 ปี จากเดิมสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 เป็นสิ้นสุดการขอรับสินเชื่อในวันที่ 31 ธันวาคม 2558 3.2) ปรับเกณฑ์คุณสมบัติระยะเวลาการดาเนินงานของผู้ประกอบการใหม่ให้ปรับจาก ไม่เกิน 2 ปี เป็นไม่เกิน 3 ปี 3.3) เปลี่ยนแปลงการชดเชยค่าธรรมเนียมการค้าประกันที่รัฐบาลเป็นผู้รับภาระแทน SMEs ในปีแรก จากอัตราร้อยละ 1.75 เป็นร้อยละ 2.50 เพื่อเป็นการลดภาระของผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบ จากการปรับเพิ่มอัตราค่าจ้างขั้นต่า ทั้งนี้ ให้อยู่ภายใต้กรอบงบประมาณเดิมที่เคยได้รับการอนุมัติตามมติ คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2555 -40-
15 มกราคม 2556 1. เรื่อง ภาษีเพื่อช่วยเหลือผู้ถูกรอนสิทธิในอสังหาริมทรัพย์ตามข้อกฎหมายว่าด้วยการจากัดสิทธิในการใช้ที่ดิน คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการร่างกฎกระทรวง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ออกตามความในประมวล รัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (มาตรการภาษีเพื่อช่วยเหลือผู้ถูกรอนสิทธิในอสังหาริมทรัพย์ตามข้อกฎหมายว่า ด้วยการจากัดสิทธิในการใช้ที่ดิน) ตามที่กระทรวงการคลังเสนอท โดยกาหนดให้ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สาหรับเงินได้ค่าทดแทนเนื่องจากการรอนสิทธิในอสังหาริมทรัพย์ เฉพาะในกรณีที่มีกฎหมายโดยเฉพาะของประเทศ ไทยกาหนดให้รอนสิทธิในอสังหาริมทรัพย์ได้ ให้มีผลใช้บังคับสาหรับเงินได้ที่ได้รับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 เป็นต้นไป 2. เรื่อง การขยายระยะเวลาการยกเว้นอากรขาเข้าส่วนประกอบและอุปกรณ์ประกอบสาหรับรถยนต์บรรทุก รถหัวลาก รถโดยสาร และรถใช้งานพิเศษ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ ร่างประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การลดอัตราอากรและยกเว้นอากร ศุลกากรตามมาตรา 12 แห่งพระราชกาหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 (ฉบับที่...) ตามที่กระทรวงการคลัง เสนอ ดังนี้ 1. กาหนดให้ขยายระยะเวลาการยกเว้นอากรขาเข้าส่วนประกอบและอุปกรณ์ประกอบ ไม่ว่าจะเป็น ของตามพิกัดประเภทใด (ไม่รวมหม้อน้า ชุดหม้อพักเก็บเสียงและท่อไอเสีย แบตเตอรี่ แหนบตับหน้าและหลัง ยางนอกและยางใน กระจกนิรภัย ดรัมเบรคหน้าและหลัง มอเตอร์สตาร์ต ตัวยึดชุดท่อไอเสีย ตัวยึดแบตเตอรี่ ฝาครอบแบตเตอรี่ ชุดสายแบตเตอรี่ ชุดสายไฟ สีรถยนต์ กระจกมองหลังภายในรถ และแผงบังแดด) ที่นาเข้ามาเพื่อ ประกอบหรือผลิตเป็นยานบกตามตอนที่ 87 สาหรับการนาเข้าตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2556 ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558 ดังต่อไปนี้ (1) ประกอบหรือผลิตเป็นแทรกเตอร์เดินบนถนนสาหรับลากรถกึ่งรถพ่วงตามประเภทย่อย 8701.20 (2) ประกอบหรือผลิตเป็นแชสซีส์ที่มีเครื่องยนต์ติดตั้งพร้อมแค้ปตามประเภท 87.04 (เว้นแต่รถบรรทุกชนิดแวน ชนิดปิกอัพ และรถที่มีลักษณะคล้ายกับรถดังกล่าว) และประเภท 87.05 (3) ประกอบหรือผลิตแชสซีส์ที่มีเครื่องยนต์ติดตั้งตามประเภท 87.06 สาหรับรถยนต์หรือ ยานยนต์ ดังต่อไปนี้ (3.1) แทรกเตอร์ตามประเภท 87.01 (3.2) ยานยนต์สาหรับขนส่งบุคคลตั้งแต่สิบคนขึ้นไป (รวมถึงคนขับ) ตามประเภท 87.02 และยานยนต์สาหรับขนส่งของตามประเภท 87.04 (เว้นแต่รถบรรทุกชนิดแวน ชนิดปิกอัพ และรถที่มีลักษณะ คล้ายกับรถดังกล่าว) (3.3) ยานยนต์สาหรับใช้งานพิเศษตามประเภท 87.05 2. กาหนดความหมายของคาว่า “ผู้ขอใช้สิทธิยกเว้นอากร” “แบบ (model)” “รูปร่างของรถยนต์” และ “ระบบเกียร์” 3. กาหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการยกเว้นอากรขาเข้าและส่วนประกอบอุปกรณ์ประกอบรถยนต์ บรรทุกขนาดใหญ่ 4. กาหนดให้สามารถนาแบบ (model) สาหรับการประกอบหรือผลิตเป็นแชสซีส์ที่มีเครื่องยนต์ ติดตั้งตามประเภท 87.06 ที่กรมศุลกากรอนุมัติให้ใช้สิทธิลดอัตราอากรไว้ก่อนวันที่ 1 มีนาคม 2554 โดยมิได้มีการ ขอผ่อนผันการถอดแยก ไปใช้สิทธิในการยกเว้นอากรได้ โดยไม่ต้องยื่นขออนุมัติแบบใหม่ต่อกรมศุลกากร
-41-
3. เรื่อง มาตรการทางภาษี และค่าธรรมเนียมจากการควบรวมกิจการตามแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ระยะที่ 2 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและอนุมัติตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอดังนี้ 1. เห็นชอบร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... กาหนดให้ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้แก่ผู้ถือหุ้นของสถาบันการเงิน และยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ ให้แก่สถาบันการเงินเฉพาะการ ควบเข้ากันหรือโอนกิจการให้แก่กัน ที่ได้กระทาภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ตามแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ระยะที่ 2 ที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2552 2) เห็นชอบในหลักการร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียน สิทธิและนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน กรณีการควบรวมกิจการตามแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ระยะที่ 2 ตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกาหนด กาหนดให้เรียกเก็บค่าจดทะเบียนการโอนและค่าจดทะเบียนการจานอง อสังหาริมทรัพย์ กรณีที่มีทุนทรัพย์ ในอัตราร้อยละ 0.01 สาหรับสถาบันการเงินที่ควบเข้ากันหรือโอนกิจการทั้งหมด หรือบางส่วนให้แก่กันตามแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ระยะที่ 2 ที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2552 ตั้งแต่วันที่ประกาศมีผลใช้บังคับถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557 3) เห็นชอบในหลักการร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียน สิทธิและนิติกรรมตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด กรณีการควบรวมกิจการตามแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ระยะที่ 2 ตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกาหนด กาหนดให้เรียกเก็บค่าจดทะเบียนการโอนและค่าจดทะเบียนการจานองห้อง ชุด กรณีที่มีทุนทรัพย์ ในอัตราร้อยละ 0.01 สาหรับสถาบันการเงินที่ควบเข้ากันหรือโอนกิจการทั้งหมดหรือบางส่วน ให้แก่กันตามแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ระยะที่ 2 ที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2552 ตั้งแต่วันที่ประกาศมีผลใช้บังคับ ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557 21 มกราคม 2556 1. เรื่อง ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 และการปรับปรุงปฏิทิน งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและรับทราบตามที่สานักงบประมาณเสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ประกอบด้วย 8 ยุทธศาสตร์ และรายการค่าดาเนินการภาครัฐ ดังนี้ 1) ยุทธศาสตร์เร่งรัดการพัฒนาประเทศ และเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน 2) ยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งรัฐ 3) ยุทธศาสตร์การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน 4) ยุทธศาสตร์การศึกษา คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต และความเท่าเทียมกันในสังคม 5) ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6) ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม 7) ยุทธศาสตร์การต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 8) ยุทธศาสตร์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 9) รายการค่าดาเนินการภาครัฐ 2. รับทราบข้อเสนอแผนความต้องการงบลงทุนเบื้องต้น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 เพื่อให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่น ใช้ประกอบการจัดทาคาของบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2557 โดยข้อเสนอแผนความต้องการงบลงทุนเบื้องต้นดังกล่าว จาแนกเป็นค่าครุภัณฑ์ จานวน 148,810 ล้านบาท ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง จานวน 415,440.9 ล้านบาท -42-
3. เห็นชอบการปรับปรุงปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ดังนี้ วันที่ 21 มกราคม 2556 คณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบยุทธศาสตร์การจัดสรร งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 วันที่ 22 มกราคม 2556 นายกรัฐมนตรีมอบนโยบายการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2557 วันที่ 22-24 มกราคม 2556 รองนายกรัฐมนตรีที่รับผิดชอบหรือรัฐมนตรีเจ้าสังกัดมอบนโยบาย ให้กระทรวง ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่น จัดทาเป้าหมายและยุทธศาสตร์กระทรวงที่สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ตามที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ และ ให้นาข้อสรุปแผนความต้องการงบลงทุนเบื้องต้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ไปจัดทาคาของบประมาณรายจ่ายประจาปี วันที่ 22 มกราคม – วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่น จัดทารายละเอียดวงเงินและคาของบประมาณ พ.ศ. 2557 ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 บูรณาการงบประมาณในมิตินโยบายสาคัญของรัฐบาลและบูรณาการงบประมาณ ในมิติพื้นที่ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และประมาณการรายได้ประจาปี เสนอรองนายกรัฐมนตรี ที่รับผิดชอบหรือรัฐมนตรีเจ้าสังกัดพิจารณาให้ความเห็นชอบ และส่งสานักงบประมาณ
-43-
สถิติด้านการคลัง
ผลการจัดเก็บ รายได้รัฐบาล ฐานข้อมูลรายปี กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บค ุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้นิตบ ิ ค ุ คล ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อน ื่ ๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดืม ่ ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอน ื่ ๆ รายได้อน ื่ ๆ ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครี่องหอม ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีเรือ ภาษีสารท้าลายชันบรรยากาศโอโซน ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้าหรืออบตัวและนวด ภาษีการออกสลากกินแบ่ง ภาษีหน ิ อ่อนและหินแกรนิต ภาษีซีเมนต์ ภาษีไม้ขีดไฟฯ ภาษียานัตถุ์ กรมศุล กากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อน ื่ ๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอืน ่ ส่วนราชการอืน ่ กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุน ้ ให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน
แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จด ั เก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอน ื่ ๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทน ิ ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีปฏิทน ิ (ร้อยละ) GDP (ปีงบประมาณ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีงบประมาณ (ร้อยละ)
2535 261,042 52,945 87,273 2,884 37,783 66,614 9,629 3,781 134 102,028 41,346 15,490 15,247 7,818 15,713 5,125 301 695 294 7 38 1 2 621 19 8 86,246 85,082 11 1,153 449,316 76,048 42,896 33,152 525,364
2536 300,805 57,237 103,975 3,448 2,739 112,582 16,764 3,876 184 125,789 43,711 15,638 16,679 9,478 34,350 5,158 546 73 157 10 56 2 6 105,910 104,651 11 1,247 532,504 75,603 36,701 38,902 608,106
2537 366,957 67,651 133,268 3,603 1,441 134,791 21,227 4,752 224 138,670 46,131 19,708 19,272 12,262 34,515 5,636 899 136 111 11 64 2 52 7 116,872 115,540 14 1,318 622,499 85,047 41,794 43,253 707,546
2538 444,512 86,190 157,078 3,196 1,082 163,122 28,311 5,284 249 155,308 53,501 20,717 19,759 15,131 38,147 6,598 1,190 156 109 12 69 59 16 128,548 127,124 9 1,415 728,368 86,775 41,250 45,525 815,143
2539 508,832 109,396 172,235 3,430 572 184,227 33,410 5,286 276 167,160 58,005 24,057 21,548 17,360 37,343 6,845 1,729 153 119 10 75 2 55 12 129,543 128,212 6 1,324 805,535 89,756 40,650 49,106 895,291
41,432 48,723 38,354 45,330 3,078 3,393 10,348 6,262 525,364 556,326 652,561 525,364 556,326 652,561 2,830,914 3,165,222 3,629,341 18.6 17.6 18.0 2,749,800 3,034,300 3,496,880 19.1 18.3 18.7
52,937 49,143 3,794 7,108 755,098 755,098 4,681,212 16.1 4,068,515 18.6
37,813 34,148 3,665 7,473 850,005 850,005 4,611,041 18.4 4,510,055 18.8
หน่วย : ล้านบาท 2540 2541 518,620 498,966 115,137 122,945 162,655 99,480 5,322 5,316 264 342 195,813 232,388 34,286 35,241 4,734 2,992 408 263 180,168 155,564 63,983 65,373 29,816 28,560 22,763 20,257 21,383 23,191 32,295 8,557 7,519 7,023 1,765 1,003 129 538 168 442 204 481 142 139 126 11 163 91 103 7 11 17 19 59 56 19 3 0.5 104,160 69,338 102,704 67,108 8 17 1,448 2,213 802,947 723,868 106,101 91,813 38,102 42,518 68,000 49,295 909,049 815,681 58,400 55,313 3,087 7,073 843,576 843,576 4,732,610 17.8 4,699,943 17.9
74,660 63,858 10,802 7,559 733,462 733,462 4,626,447 15.9 4,666,795 15.7
ผลการจัดเก็บ รายได้รัฐบาล ฐานข้อมูลรายปี กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บค ุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้นิตบ ิ ค ุ คล ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อน ื่ ๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดืม ่ ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอน ื่ ๆ รายได้อน ื่ ๆ ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครี่องหอม ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีเรือ ภาษีสารท้าลายชันบรรยากาศโอโซน ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้าหรืออบตัวและนวด ภาษีการออกสลากกินแบ่ง ภาษีหน ิ อ่อนและหินแกรนิต ภาษีซีเมนต์ ภาษีไม้ขีดไฟฯ ภาษียานัตถุ์ กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อน ื่ ๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอืน ่ ส่วนราชการอืน ่ กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุน ้ ให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน
แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จด ั เก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอน ื่ ๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทน ิ ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีปฏิทน ิ (ร้อยละ) GDP (ปีงบประมาณ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีงบประมาณ (ร้อยละ)
2542 452,317 106,071 108,820 10,872 186 201,976 21,311 2,824 258 163,892 66,584 26,655 22,800 24,992 13,941 6,484 904 482 419 474 158 114 191 87 6 24 49 3 68,095 66,994 36 1,064 684,303 109,042 52,679 56,364 793,346
2543 461,322 91,790 145,554 10,739 126 192,510 17,015 3,351 236 168,822 64,832 28,134 8,276 26,438 26,781 7,444 1,104 791 444 579 3,999 97 218 127 11 20 55 53 87,195 85,338 75 1,782 717,338 100,257 56,182 44,075 817,595
2544 499,711 101,136 149,677 17,154 84 215,158 12,852 3,408 242 177,600 64,124 32,310 8,933 29,991 30,330 8,100 1,429 932 713 525 213 62 246 112 14 26 59 5 92,838 91,359 82 1,397 770,149 104,617 45,482 59,135 874,766
75,325 64,655 10,670 2,994 5,916 709,111 709,111 4,637,079 15.3 4,607,310 15.4
57,036 47,358 9,679 3,198 7,278 750,082 750,082 4,922,731 15.2 4,849,547 15.5
77,920 65,682 12,239 3,732 7,698 785,416 785,416 5,133,502 15.3 5,101,367 15.4
2545 544,281 108,371 170,415 19,128 99 228,196 13,715 4,122 236 208,153 68,840 31,697 22,290 31,650 41,560 7,748 1,793 1,224 582 556 212 45 268 126 15 23 60 5 15 98,629 96,326 163 2,139 851,062 108,375 46,965 2,483 1,065 57,862 959,437
2546 627,682 117,309 208,859 21,773 45 261,306 12,757 5,348 286 246,641 73,605 33,289 25,676 36,987 56,474 8,621 2,347 1,581 591 6,420 813 239 68 299 145 22 26 65 19 54 38 78 111,819 110,054 216 1,549 986,142 118,485 50,772 3,599 64,114 1,104,627
หน่วย : ล้านบาท 2547 2548 772,236 937,149 135,155 147,352 261,890 329,516 31,935 41,178 316,134 385,718 20,024 26,304 6,820 6,816 278 266 275,773 279,395 76,996 76,458 36,325 38,193 26,181 28,620 42,749 45,483 65,012 58,760 9,350 10,106 2,859 3,712 1,641 1,849 763 762 12,625 13,935 993 1,121 280 398 97 86 332 372 167 179 34 40 23 38 44 74 5 48 53 82 92 161 185 106,122 110,403 103,635 106,917 267 285 2,220 3,202 1,154,132 1,326,948 135,747 147,472 49,086 60,664 2,976 3,210 25,075 6,000 1,484 52,611 82,114 1,289,880 1,474,420
79,902 80,150 115,574 131,220 65,769 69,261 96,947 109,625 14,133 10,888 18,627 21,594 4,109 5,042 6,368 7,451 8,234 10,501 11,226 12,421 867,192 1,008,934 1,156,713 1,323,328 16,525 40,604 47,726 58,400 850,667 968,330 1,108,986 1,264,928 5,450,643 5,917,369 6,489,476 7,092,893 15.6 16.4 17.1 17.8 5,345,826 5,780,452 6,321,068 6,920,178 15.9 16.8 17.5 18.3
ผลการจัดเก็บ รายได้รัฐบาล ฐานข้อมูลรายปี กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บค ุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้นิตบ ิ ค ุ คล ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อน ื่ ๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดืม ่ ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอน ื่ ๆ รายได้อน ื่ ๆ ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครี่องหอม ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีเรือ ภาษีสารท้าลายชันบรรยากาศโอโซน ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้าหรืออบตัวและนวด ภาษีการออกสลากกินแบ่ง ภาษีหน ิ อ่อนและหินแกรนิต ภาษีซีเมนต์ ภาษีไม้ขีดไฟฯ ภาษียานัตถุ์ กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อน ื่ ๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอืน ่ ส่วนราชการอืน ่ กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุน ้ ให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน
แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จด ั เก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอน ื่ ๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทน ิ ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีปฏิทน ิ (ร้อยละ) GDP (ปีงบประมาณ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีงบประมาณ (ร้อยละ)
2549 1,057,200 170,079 374,689 56,524 417,772 30,623 7,268 244 274,095 70,742 35,657 29,143 44,207 59,810 10,765 3,525 2,010 1,178 15,523 1,169 367 87 425 185 56 39 52 26 104 196 96,232 93,633 314 2,285 1,427,528 153,996 73,500 3,330 77,165 1,581,524
2550 1,119,194 192,795 384,619 65,735 434,272 34,406 7,137 230 287,231 76,944 41,824 33,298 52,088 55,844 11,735 3,727 1,665 1,426 7,229 1,183 269 87 447 177 68 29 46 16 111 202 90,625 88,169 345 2,112 1,497,050 206,724 80,593 3,052 36,951 86,129 1,703,775
2551 1,276,080 204,847 460,650 74,033 503,439 25,133 7,724 254 278,303 67,211 41,832 36,816 53,465 57,822 12,391 3,769 1,673 1,708 111 1,196 309 84 490 167 63 44 37 6 111 192 99,602 96,944 501 2,157 1,653,985 183,659 77,546 4,682 101,430 1,837,643
2553 1,264,584 208,374 454,565 67,599 502,176 22,892 8,735 243 405,862 152,825 53,381 42,398 58,831 77,202 14,245 1,615 1,979 1,947 1,039 400 64 452 190 39 27 26 0.107 3 95 141 97,148 93,512 169 3,467 1,767,594 235,453 140,031 3,868 91,553 2,003,047
หน่วย : ล้านบาท 2554 1,515,666 236,339 574,059 81,444 577,632 35,614 10,299 279 399,779 117,914 57,197 48,624 61,498 92,844 14,526 1,183 2,284 2,197 1,088 424 62 494 201 22 24 29 0.030 0.039 113 143 102,882 99,968 241 2,673 2,018,326 206,051 102,687 4,569 98,795 2,224,377
162,951 138,206 24,745 9,172 12,399 1,397,002 57,312 1,339,691 7,844,939 17.1 7,699,350 17.4
181,793 150,035 31,758 9,514 10,416 1,502,051 57,592 1,444,460 8,525,197 16.9 8,301,652 17.4
202,716 199,408 208,733 173,994 157,838 160,052 28,723 41,570 48,681 11,625 9,040 11,096 12,044 11,160 13,005 1,611,258 1,464,690 1,770,213 65,420 53,832 65,736 1,545,837 1,410,858 1,704,477 9,080,466 9,041,551 10,104,821 17.0 15.6 16.9 9,145,520 8,850,552 9,921,040 16.9 15.9 17.2
230,014 188,471 41,543 12,677 14,813 1,966,873 74,556 1,892,317 10,540,134 18.0 10,669,300 17.7
2552 1,138,565 198,095 392,172 90,712 431,775 18,099 7,488 223 291,221 91,059 43,936 37,982 48,993 49,278 12,186 3,111 1,608 1,479 1,062 528 73 428 183 43 31 42 7 91 164 80,288 77,187 404 2,697 1,510,074 174,224 83,761 3,822 86,641 1,684,297
ผลการจัดเก็ บ รายได้รั ฐบาล ฐานข้อมูลรายปี กรมสรรพากร ภาษี เงินได้บค ุ คลธรรมดา ภาษี เงินได้นิตบ ิ ค ุ คล ภาษี เงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษี การค้า ภาษี มู ลค่าเพิ่ม ภาษี ธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อน ื่ ๆ กรมสรรพสามิต ภาษี น้ามั นฯ ภาษี ยาสูบ ภาษี สุราฯ ภาษี เบียร์ ภาษี รถยนต์ ภาษี เครื่องดืม ่ ภาษี เครื่องไฟฟ้า ภาษี รถจักรยานยนต์ ภาษี แบตเตอรี่ ภาษี การโทรคมนาคม ภาษี อน ื่ ๆ รายได้อน ื่ ๆ ภาษี สถานบริ การ(สนามม้ า) ภาษี สถานบริ การ(สนามกอล์ฟ) ภาษี ผลิตภัณฑ์เครี่องหอม ภาษี แก้วและเครื่องแก้ว ภาษี พรม ภาษี ไพ่ ภาษี เรื อ ภาษี สารท้าลายชันบรรยากาศโอโซน ภาษี ไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษี สถานอาบน้าหรื ออบตัวและนวด ภาษี การออกสลากกินแบ่ง ภาษี หน ิ อ่อนและหินแกรนิต ภาษี ซีเมนต์ ภาษี ไม้ ขีดไฟฯ ภาษี ยานัตถุ์ กรมศุ ล กากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อน ื่ ๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอืน ่ ส่วนราชการอืน ่ กรมธนารั กษ์ รายได้จากการขายหุน ้ ให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน
แปรรู ปรั ฐวิสาหกิจ รั ฐวิสาหกิจ รวมรายได้จด ั เก็บ หัก 1.คื นภาษีของกรมสรรพากร - ภาษี มู ลค่าเพิ่ม - ภาษี อน ื่ ๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงิ นกันชดเชยการส่ งออก รวมรายได้สุ ทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ รวมรายได้สุ ทธิหลั งหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทน ิ ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีปฏิทน ิ (ร้ อยละ) GDP (ปีงบประมาณ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีงบประมาณ (ร้ อยละ)
2555 1,617,293 266,203 544,591 94,097 659,804 41,057 11,180 362 379,652 61,061 59,915 53,500 64,893 117,145 16,208 977 2,318 2,126 1,099 411 57 476 221 23 40 35 0.026 2 104 140 118,943 116,295 323 2,325 2,115,888 239,391 112,268 4,374 122,749 2,355,280 260,374 216,012 44,362 14,815 15,280 2,064,811 88,965 1,975,846 11,278,000 17.5 10,863,000 18.2
หน่วย : ล้ านบาท 2556 (3 เดือน) 346,196 59,770 90,928 2,138 177,709 12,479 3,102 70 119,070 15,550 15,799 13,007 20,500 47,694 4,486 276 652 593 296 217 16 125 70 8 8 7 27 35 30,922 30,252 60 610 496,188 84,175 59,726 3,253 21,196 580,363 68,073 62,169 5,904 3,995 3,713 504,582 504,582 12,180,000 4.1 11,971,000 4.2
หมายเหตุ : ข้อมู ล GDP (ปีปฏิทน ิ ) ปี 2555 และ 2556 เป็นตัวเลขประมาณการ จากส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสัง คมแห่ง ชาติ (สศช.) ณ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2555 : ข้อมู ล GDP (ปีง บประมาณ) ปี 2555 และ 2556 ใช้ตว ั เลข GDP ปีปฏิทน ิ จากแถลงข่าวของ สศช. ณ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2555 และประมาณการโดยส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่ม า :
กรมสรรพากร กรมสรรพสามิ ต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และส้านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐ วิสาหกิจ
จัดท้าโดย : ส่วนโยบายการคลัง และงบประมาณ ส้านักนโยบายการคลัง ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2532 - 2556 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ
2532
2533
2534
2535
2536
285,500.0
335,000.0
387,500.0
460,400.0
560,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
16.9
16.7
16.1
17.6
17.9
(อัตราเพิ่ม) (%)
17.2
17.3
15.7
18.8
21.6
210,571.8
227,541.2
261,932.2
301,818.2
351,060.8
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
12.5
11.3
10.9
11.5
11.2
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
73.8
67.9
67.6
65.6
62.7
(อัตราเพิม่ ) (%)
13.3
8.1
15.1
15.2
16.3
53,592.4
82,043.2
105,647.6
130,652.6
171,606.7
3.2
4.1
4.4
5.0
5.5
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
18.8
24.5
27.3
28.4
30.6
(อัตราเพิม่ ) (%)
32.9
53.1
28.8
23.7
31.3
21,335.8
25,415.6
19,920.2
27,929.2
37,332.5
7.5
7.6
5.1
6.1
6.7
22.9
19.1
(21.6)
40.2
33.7
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
262,500.0
310,000.0
387,500.0
460,400.0
534,400.0
15.5
15.5
16.1
17.6
17.1
9.4
18.1
25.0
18.8
16.1
(23,000.0)
(25,000.0)
0.0
0.0
(25,600.0)
(1.4)
(1.2)
0.0
0.0
(0.8)
1,690,500.0
2,005,254.0
2,400,000.0
2,620,000.0
3,130,000.0
1. วงเงินงบประมาณ
1.1 รายจ่ายประจา
1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)
1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ (GDP) (%)
ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2555 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2533 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จานวน 1,507.5 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2532 - 2556 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ
2537
2538
2539
2540
2541
625,000.0
715,000.0
843,200.0
944,000.0
830,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
17.9
17.4
18.0
18.1
16.4
(อัตราเพิ่ม) (%)
11.6
14.4
17.9
12.0
(10.3)
376,382.3
434,383.3
482,368.2
528,293.4
519,505.8
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
10.8
10.6
10.3
10.1
10.2
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
60.2
60.8
57.2
56.0
62.6
7.2
15.4
11.0
9.5
(0.2)
212,975.6
253,839.8
327,288.6
391,209.7
279,258.1
6.1
6.2
7.0
7.5
5.5
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
34.1
35.5
38.8
41.4
33.6
(อัตราเพิม่ ) (%)
24.1
19.2
28.9
19.5
(26.5)
35,642.1
26,776.9
33,543.2
24,496.9
31,236.1
5.7
3.7
4.0
2.6
3.8
(4.5)
(24.9)
25.3
(27.0)
27.5
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
600,000.0
715,000.0
843,200.0
925,000.0
782,020.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
17.1
17.4
18.0
17.8
15.4
(อัตราเพิ่ม) (%)
12.3
19.2
17.9
9.7
(15.5)
(25,000.0)
0.0
0.0
(19,000.0)
(47,980.0)
(0.7)
0.0
0.0
(0.4)
(0.9)
3,499,000.0
4,099,000.0
4,684,000.0
5,205,500.0
5,073,000.0
1. วงเงินงบประมาณ
1.1 รายจ่ายประจา
(อัตราเพิม่ ) (%) 1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)
1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้
3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ (GDP) (%)
ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2555 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2540 เป็นตัวเลขที่ปรับลดจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จานวน 984,000 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2541 เป็นตัวเลขที่ปรับลดและปรับเพิ่มจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จานวน 923,000 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2532 - 2556 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ
2542
2543
2544
825,000.0
860,000.0
910,000.0
1,023,000.0
999,900.0
16.5
16.7
17.5
19.3
17.2
3.1
4.2
5.8
12.4
(2.3)
586,115.1
635,585.1
679,286.5
773,714.1
753,454.7
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
11.7
12.4
13.0
14.6
13.0
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
71.0
73.9
74.6
75.6
75.4
(อัตราเพิม่ ) (%)
14.4
8.4
6.9
13.9
(2.6)
233,534.7
217,097.6
218,578.2
223,617.0
211,493.5
4.7
4.2
4.2
4.2
3.6
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
28.3
25.2
24.0
21.9
21.2
(อัตราเพิม่ ) (%)
(8.9)
(7.0)
0.7
2.3
(5.4)
5,350.2
7,317.3
12,135.3
25,668.9
34,951.8
0.6
0.9
1.3
2.5
3.5
(82.9)
36.8
65.8
111.5
36.2
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
800,000.0
750,000.0
805,000.0
823,000.0
825,000.0
16.0
14.6
15.5
15.5
14.2
2.3
(6.3)
7.3
2.2
0.2
(25,000.0)
(110,000.0)
(105,000.0)
(200,000.0)
(174,900.0)
(0.5)
(2.1)
(2.0)
(3.8)
(3.0)
5,002,000.0
5,137,000.0
5,208,600.0
5,309,200.0
5,799,700.0
1. วงเงินงบประมาณ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.1 รายจ่ายประจา
1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)
1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
2545
(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2556 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
2546
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2532 - 2556 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ
2547
2548
2549
2550
2551
1,163,500.0
1,250,000.0
1,360,000.0
1,566,200.0
1,660,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
18.0
17.4
17.5
18.6
18.0
(อัตราเพิ่ม) (%)
16.4
7.4
8.8
15.2
6.0
836,544.4
881,251.7
958,477.0
1,135,988.1
1,213,989.1
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
12.9
12.2
12.3
13.5
13.1
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
71.9
70.5
70.5
72.5
73.1
(อัตราเพิม่ ) (%)
11.0
5.3
8.8
18.5
6.9
292,800.2
318,672.0
358,335.8
374,721.4
400,483.9
4.5
4.4
4.6
4.5
4.3
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
25.2
25.5
26.3
23.9
24.1
(อัตราเพิม่ ) (%)
38.4
8.8
12.4
4.6
6.9
34,155.4
50,076.3
43,187.2
55,490.5
45,527.0
2.9
4.0
3.2
3.5
2.7
(2.3)
46.6
(13.8)
28.5
(18.0)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
1,063,600.0
1,250,000.0
1,360,000.0
1,420,000.0
1,495,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
16.4
17.4
17.5
16.9
16.2
(อัตราเพิ่ม) (%)
28.9
17.5
8.8
4.4
5.3
(99,900.0)
0.0
0.0
(146,200.0)
(165,000.0)
(1.5)
0.0
0.0
(1.7)
(1.8)
6,476,100.0
7,195,000.0
7,786,200.0
8,399,000.0
9,232,200.0
1.1 รายจ่ายประจา
1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)
1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้
3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2556 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2547 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จานวน 135,500 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2548 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิม่ เติม จานวน 50,000 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2532 - 2556 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ
2552
2553
2554
2555
2556
1,951,700.0
1,700,000.0
2,169,967.5
2,380,000.0
2,400,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
22.4
17.5
20.0
20.2
19.1
(อัตราเพิ่ม) (%)
17.6
(12.9)
27.6
9.7
0.8
1,411,382.4
1,434,710.1
1,667,439.7
1,840,672.6
1,900,476.7
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
16.2
14.8
15.3
15.6
15.2
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
72.3
84.4
76.8
77.3
79.2
(อัตราเพิม่ ) (%)
16.3
1.7
16.2
10.4
3.2
429,961.8
214,369.0
355,484.6
438,555.4
450,373.8
4.9
2.2
3.3
3.7
3.6
22.0
12.6
16.4
18.4
18.7
7.4
(50.1)
65.8
23.4
2.7
63,676.1
50,920.9
32,554.6
46,854.0
49,149.5
3.3
3.0
1.5
2.0
2.1
39.9
(20.0)
(36.1)
43.9
4.9
46,679.7
-
114,488.6
53,918.0
-
2.4
-
5.3
2.2
-
1,604,639.5
1,350,000.0
1,770,000.0
1,980,000.0
2,100,000.0
18.4
13.9
16.3
16.8
16.7
7.3
(15.9)
31.1
11.9
6.1
(347,060.5)
(350,000.0)
(399,967.5)
(400,000.0)
(300,000.0)
(4.0)
(3.6)
(3.7)
(3.4)
(2.4)
8,712,500.0
9,726,200.0
10,867,600.0
11,794,200.0
12,544,000.0
1.1 รายจ่ายประจา
1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2556 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2552 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จานวน 116,700 ล้านบาท และเป็นปีแรกที่มีการตั้ง งบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง จานวน 46,679.7 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2554 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จานวน 99,967.5 ล้านบาท
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2549
1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ)
ต.ค. 48 พย. 48 ธ.ค. 48 ม.ค. 49 ก.พ. 49 มี.ค. 49 1,360,000 1,508,592 1,526,126 1,526,642 1,527,243 1,528,823 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 980,494 980,494 980,494 980,494 980,494 980,494 379,506 379,506 379,506 379,506 379,506 379,506 148,592 166,126 166,642 167,243 168,823 122,209 127,243 112,309 116,800 112,468 127,437 116,991 111,573 83,444 110,090 100,881 109,598 8.6 8.2 6.1 8.1 7.4 8.1 99,728 78,860 66,634 89,768 74,638 87,879 10.2 8.0 6.8 9.2 7.6 9.0 17,263 32,713 16,810 20,322 26,243 21,719 4.5 8.6 4.4 5.4 6.9 5.7 5,218 15,670 28,865 6,710 11,587 17,839 10.5 17.4 4.0 6.9 10.6
หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2549 เม.ย. 49 พ.ค. 49 มิ.ย. 49 ก.ค. 49 ส.ค. 49 ก.ย. 49 รวม 1,528,840 1,528,778 1,529,524 1,529,771 1,529,898 1,529,571 1,529,571 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 980,494 980,494 980,494 1,007,032 1,006,090 1,010,489 1,010,489 379,506 379,506 379,506 352,968 353,910 349,511 349,511 168,840 168,778 169,524 169,771 169,898 169,571 169,571 99,960 88,993 117,304 98,591 116,508 154,750 1,394,572 96,123 82,286 110,650 92,368 111,095 144,929 1,270,028 7.1 6.1 8.1 6.8 8.2 10.7 93.4 72,008 68,998 95,519 75,520 84,487 112,842 1,006,881 7.3 7.0 9.7 7.5 8.4 11.2 99.6 24,115 13,288 15,131 16,848 26,608 32,087 263,147 6.4 3.5 4.0 4.8 7.5 9.2 75.3 3,837 6,707 6,654 6,223 5,413 9,821 124,544 2.3 4.0 3.9 3.7 3.2 5.8 73.4
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2550 ต.ค. 49 พย. 49 ธ.ค. 49 ม.ค. 50 ก.พ. 50 มี.ค. 50 1. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 1,515,327 1,515,622 1,515,769 1,722,023 1,722,021 1,722,389 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,566,200 1,566,200 1,566,200 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา 980,482 980,637 983,670 1,230,747 1,227,904 1,246,571 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 379,518 379,363 376,330 335,453 338,296 319,629 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 155,327 155,622 155,769 155,823 155,821 156,189 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 89,559 111,439 99,181 97,054 200,314 139,900 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 81,266 93,466 83,126 87,123 191,229 127,872 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 6.0 6.9 6.1 5.6 12.2 8.2 - รายจ่ายประจา 75,534 84,896 77,650 74,971 136,792 106,881 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 7.7 8.7 7.9 6.1 11.1 8.6 - รายจ่ายลงทุน 5,732 8,570 5,476 12,152 54,437 20,991 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 1.5 2.3 1.5 3.6 16.1 6.6 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น 8,293 17,973 16,055 9,931 9,085 12,028 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 5.3 11.5 10.3 6.4 5.8 7.7 ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 28 พฤศจิกายน 2555
หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2550 เม.ย. 50 พ.ค. 50 มิ.ย. 50 ก.ค. 50 ส.ค. 50 ก.ย. 50 รวม 1,722,287 1,722,271 1,722,266 1,722,241 1,722,322 1,722,364 1,722,364 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1566200 1,246,335 1,245,965 1,245,109 1,244,236 1,242,815 1,239,641 1239641 319,865 320,235 321,091 321,964 323,385 326,559 326559 156,087 156,071 156,066 156,041 156,122 156,164 156164 115,830 137,086 164,381 146,556 122,778 150,888 1,574,966 111,216 131,311 158,603 142,784 118,609 144,234 1,470,839 7.1 8.4 10.1 9.1 7.6 9.2 93.9 97,682 90,381 126,402 119,440 101,347 116,157 1,208,133 7.8 7.3 10.2 9.6 8.2 9.4 97.5 13,534 40,930 32,201 23,344 17,262 28,077 262,706 4.2 12.8 10.0 7.3 5.3 8.6 80.4 4,614 5,775 5,778 3,772 4,169 6,654 104,127 3.0 3.7 3.7 2.4 2.7 4.3 66.7
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2551
1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ)
ต.ค. 50 1,769,427 1,660,000 1,295,140 364,860 109,427 155,389 147,936 8.9 121,123 9.4 26,813 7.3 7,453 6.8
พ.ย. 50 ธ.ค. 50 ม.ค. 51 ก.พ. 51 1,809,505 1,810,026 1,810,883 1,812,516 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,295,113 1,327,235 1,327,187 1,327,191 364,887 332,765 332,813 332,809 149,505 150,026 150,883 152,516 127,018 110,867 158,402 118,658 112,113 97,846 146,917 108,633 6.8 5.9 8.9 6.5 93,861 88,182 93,934 97,960 7.2 6.6 7.1 7.4 18,252 9,664 52,983 10,673 5.0 2.9 15.9 3.2 14,905 13,021 11,485 10,025 10.0 8.7 7.6 6.6
ปีงบประมาณ มี.ค. 51 เม.ย.51 1,811,083 1,811,181 1,660,000 1,660,000 1,327,071 1,327,087 332,929 332,913 151,083 151,181 125,147 154,636 113,533 150,029 6.8 9.0 100,423 104,918 7.6 7.9 13,110 45,111 3.9 13.6 11,614 4,607 7.7 3.0
หน่วย : ล้านบาท 2551 พ.ค.51 มิ.ย.51 ก.ค.51 ส.ค.51 ก.ย.51 รวม 1,811,408 1,811,408 1,811,408 1,811,940 1,812,063 1,812,063 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,326,271 1,326,029 1,326,205 1,325,380 1,319,724 1,319,724 333,729 333,971 333,795 334,620 340,276 340,276 151,408 151,667 151,925 151,940 152,063 152,063 126,767 143,198 138,838 124,629 149,856 1,633,405 119,962 137,088 134,497 120,424 143,501 1,532,479 7.2 8.3 8.1 7.3 8.6 92.3 108,354 107,295 115,870 107,822 125,248 1,264,990 8.2 8.1 8.7 8.1 9.5 95.9 11,608 29,793 18,627 12,602 18,253 267,489 3.5 8.9 5.6 3.8 5.4 78.6 6,805 6,110 4,341 4,205 6,355 100,926 4.5 4.0 2.9 2.8 4.2 66.4
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2552 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2552 ต.ค.51 พ.ย.51 ธ.ค.51 ม.ค.52 ก.พ.52 มี.ค.52 เม.ย.52 พ.ค.52 1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 2,009,163 2,026,393 2,026,061 2,026,212 2,026,408 2,143,222 2,143,223 2,143,228 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,951,700 1,951,700 1,951,700 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา 1,481,992 1,481,939 1,481,885 1,481,864 1,481,268 1,573,602 1,578,601 1,576,929 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 353,008 353,062 353,115 353,136 353,732 378,098 373,045 374,771 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 174,163 191,393 191,061 191,212 191,408 191,522 191,523 191,528 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 93,718 165,200 145,422 192,417 179,679 195,346 141,681 161,006 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 85,193 149,303 127,825 178,000 166,569 178,473 137,194 154,745 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 4.6 8.1 7.0 9.7 9.1 9.1 7.0 7.9 - รายจ่ายประจา 84,630 131,280 118,357 125,971 132,739 164,251 117,227 114,772 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 5.7 8.9 8.0 8.5 9.0 10.4 7.4 7.3 - รายจ่ายลงทุน 563 18,023 9,468 52,029 33,830 14,222 19,966 39,973 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 0.2 5.1 2.7 14.7 9.6 3.8 5.4 10.7 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น 8,525 15,898 17,596 14,417 13,110 16,873 4,487 6,261 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 4.9 8.3 9.2 7.5 6.8 8.8 2.3 3.3 หมายเหตุ : ปีงบประมาณ 2552 ได้มกี ารจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิม่ เติมจานวน 116,700 ล้านบาท มีผลบังคับใช้ตงั้ แต่วันที่ 8 มีนาคม 2552 ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 28 พฤศจิกายน 2555
มิ.ย. 52 2,143,228 1,951,700 1,575,694 376,006 191,528 139,498 131,026 6.7 110,789 7.0 20,237 5.4 8,472 4.4
ก.ค. 52 2,143,240 1,951,700 1,574,977 376,723 191,540 164,118 158,730 8.1 128,632 8.2 30,098 8.0 5,388 2.8
ส.ค. 52 2,143,240 1,951,700 1,574,085 337,615 191,540 142,162 136,915 7.0 119,691 7.6 17,224 5.1 5,247 2.7
ก.ย. 52 2,143,252 1,951,700 1,569,678 382,022 191,552 196,842 186,851 9.6 159,555 10.2 27,336 7.2 9,991 5.2
รวม 2,143,252 1,951,700 1,569,678 382,022 191,552 1,917,089 1,790,823 91.8 1,507,894 96.1 282,969 74.1 126,266 65.9
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2553
1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ)
ต.ค.52 พ.ย.52 ธ.ค.52 ม.ค.53 ก.พ.53 มี.ค.53 1,927,800 1,941,156 1,941,859 1,942,592 1,942,939 1,943,152 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,485,631 1,481,529 1,480,072 1,479,996 1,479,954 1,479,843 214,369 218,471 219,928 220,004 220,046 220,157 227,800 241,156 241,859 242,592 242,939 243,152 90,339 188,614 172,221 150,008 182,850 149,981 80,143 166,116 149,895 133,986 169,382 129,653 4.7 9.8 8.8 7.9 10.0 7.6 79,470 160,782 112,293 128,316 117,878 119,986 5.3 10.9 7.6 8.7 8.0 8.1 673 5,334 37,602 5,670 51,504 9,667 0.3 2.4 17.1 2.6 23.4 4.4 10,196 22,498 22,326 16,022 13,468 20,328 4.5 9.3 9.2 6.6 5.5 8.4
หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2553 เม.ย.53 พ.ค.53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 รวม 1,943,152 1,943,152 1,943,174 1,943,255 1,943,505 1,943,547 1,943,547 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,479,558 1,479,100 1,476,716 1,474,315 1,472,692 1,468,655 1,468,655 220,442 220,900 223,284 225,685 227,308 231,345 231,345 243,152 243,152 243,174 243,255 243,505 243,547 243,547 145,528 123,967 135,455 142,627 110,118 192,704 1,784,412 136,587 118,059 123,196 135,128 103,322 182,407 1,627,874 8.0 6.9 7.2 7.9 6.1 10.7 95.8 125,819 110,268 111,500 124,850 92,492 161,105 1,444,760 8.5 7.5 7.6 8.5 6.3 11.0 98.4 10,768 7,791 11,696 10,278 10,830 21,302 183,115 4.9 3.5 5.2 4.6 4.8 9.2 79.2 8,941 5,908 12,259 7,499 6,796 10,297 156,538 3.7 2.4 5.0 3.1 2.8 4.2 64.3
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2554 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2554 ต.ค.53 พ.ย.53 ธ.ค.53 ม.ค.54 ก.พ.54 มี.ค.54 เม.ย.54 พ.ค.54 มิ.ย. 54 ก.ค. 54 ส.ค. 54 ก.ย. 54 รวม 1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 2,230,628 2,233,968 2,249,378 2,252,646 2,252,896 2,253,208 2,353,188 2,353,189 2,353,191 2,353,192 2,353,202 2,353,202 2,353,202 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา 1,725,583 1,725,423 1,725,489 1,725,245 1,725,191 1,725,003 1,724,938 1,813,687 1,810,757 1,808,951 1,806,977 1,806,977 1,806,977 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 344,417 344,577 344,511 344,755 344,809 344,997 345,062 356,280 359,211 361,017 362,991 362,991 362,991 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 160,628 163,968 179,378 182,646 182,896 183,208 183,221 183,221 183,224 183,225 183,235 183,235 183,235 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 207,452 223,152 167,767 235,191 154,689 170,913 139,705 211,446 187,593 143,032 143,543 193,411 2,177,895 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 194,118 207,201 152,004 220,657 139,464 157,010 135,081 205,223 181,250 138,411 135,473 184,648 2,050,539 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 9.4 10.0 7.3 10.7 6.7 7.6 6.2 9.5 8.4 6.4 6.2 8.5 94.5 - รายจ่ายประจา 189,957 196,444 133,696 146,289 122,765 141,375 120,855 188,690 161,493 120,305 113,041 152,068 1,786,978 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 11.0 11.4 7.7 8.5 7.1 8.2 7.0 10.4 8.9 6.7 6.3 8.4 98.9 - รายจ่ายลงทุน 4,161 10,757 18,308 74,368 16,699 15,635 14,225 16,533 19,757 18,105 22,431 32,579 263,558 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 1.2 3.1 5.3 21.6 4.8 4.5 4.1 4.6 5.5 5.0 6.2 9.0 72.6 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น 13,334 15,951 15,763 14,534 15,225 13,903 4,625 6,223 6,343 4,621 8,070 8,763 127,355 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 8.3 9.7 8.8 8.0 8.3 7.6 2.5 3.4 3.5 2.5 4.4 4.8 69.5 หมายเหตุ : ปีงบประมาณ 2554 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิม่ เติมจานวน 99,968 ล้านบาท มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วนั ที่ 18 เมษายน 2554 ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 28 พฤศจิกายน 2555
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2555 หน่วย : ล้านบาท
1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ)
ต.ค. 54 2,271,861 2,070,000 1,706,509 363,491 201,861 166,954 155,910 7.5 136,594 8.0 19,316 5.3 11,044 5.5
พ.ย. 54 2,278,511 2,070,000 1,725,733 344,267 208,511 150,234 131,863 6.4 127,201 7.4 4,662 1.4 18,371 8.8
ธ.ค. 54 2,282,250 2,070,000 1,720,592 349,408 212,250 172,628 151,587 7.3 137,437 8.0 14,150 4.0 21,041 9.9
ม.ค. 55 2,285,784 2,070,000 1,714,147 355,853 215,784 150,463 135,611 6.6 131,401 7.7 4,210 1.2 14,852 6.9
ก.พ. 55 2,597,224 2,380,000 1,976,557 403,443 217,224 259,062 244,073 10.3 235,123 11.9 8,950 2.2 14,989 6.9
มี.ค. 55 2,595,716 2,380,000 1,973,811 406,189 215,716 369,978 351,873 14.8 283,286 14.4 68,587 16.9 18,105 8.4
ปีงบประมาณ 2555 เม.ย. 55 พ.ค. 55 2,595,703 2,595,707 2,380,000 2,380,000 1,973,465 1,971,729 406,535 408,271 215,703 215,707 157,569 144,922 150,279 135,051 6.3 5.7 135,231 113,242 6.9 5.7 15,048 21,810 3.7 5.3 7,290 9,871 3.4 4.6
มิ.ย. 55 2,595,893 2,380,000 1,969,865 410,135 215,893 157,415 150,381 6.3 127,772 6.5 22,609 5.5 7,034 3.3
ก.ค. 55 2,596,094 2,380,000 1,968,353 411,647 216,094 179,248 171,242 7.2 146,783 7.5 24,460 5.9 8,006 3.7
ส.ค. 55 2,596,251 2,380,000 1,966,525 413,475 216,251 159,508 152,964 6.4 125,741 6.4 27,223 6.6 6,544 3.0
ก.ย. 55 2,596,564 2,380,000 1,964,439 415,561 216,564 227,347 217,642 9.1 173,258 8.8 44,384 10.7 9,705 4.5
หมายเหตุ พรบ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2555 (วงเงิน 2,380,000 ล้านบาท) มีผลบังคับในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2555 ทาให้ในช่วงตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 2555 ต้องใช้งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณที่ล่วงแล้ว (ปีงบประมาณ 2554) ไปพลางก่อน ตาม พรบ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 16
ที่มา : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครัง้ สุดท้ายวันที่ : 28 พฤศจิกายน 2555
รวม 2,596,564 2,380,000 1,964,439 415,561 216,564 2,295,327 2,148,475 90.3 1,873,067 95.3 275,408 66.3 146,852 67.8
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2555 หน่วย : ล้านบาท
1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม - รายจ่ายประจาสะสม - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ นสะสม
ต.ค. 55 2,622,170 2,400,000 1,941,257 458,743 222,170 312,152 290,631 12.1 286,670 14.8 3,961 0.9 21,521 9.7 312,152 290,631 286,670 3,961 21,521
พ.ย. 55 2,650,593 2,400,000 2,000,816 399,184 250,593 299,828 270,813 11.3 223,584 11.2 47,229 11.8 29,015 11.6 611,980 561,444 510,254 51,190 50,536
ธ.ค. 55 2,696,798 2,400,000 2,000,584 399,416 296,798 173,933 138,335 5.8 131,110 6.6 7,225 1.8 35,598 12.0 785,914 699,780 641,366 58,414 86,134
ม.ค. 56 -
ก.พ. 56 -
มี.ค. 56 -
-
-
-
ปีงบประมาณ 2555 เม.ย. 56 พ.ค. 56 -
-
-
มิ.ย. 56 -
ก.ค. 56 -
ส.ค. 56 -
ก.ย. 56 -
-
-
-
-
หมายเหตุ พรบ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2555 (วงเงิน 2,380,000 ล้านบาท) มีผลบังคับในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2555 ทาให้ในช่วงตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 2555 ต้องใช้งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณที่ล่วงแล้ว (ปีงบประมาณ 2554) ไปพลางก่อน ตาม พรบ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 16
ที่มา : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครัง้ สุดท้ายวันที่ : 24 มกราคม 2555
รวม
ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve) ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 11 มกราคม 2556
2524 110,392 132,212
2525 113,848 155,281
2526 136,608 171,033
2527 147,872 187,024
2528 159,199 209,830
หน่วย: ล้านบาท 2529 166,123 211,968
-21,820 8,940 -12,880 14,682 1,802 6,333 8,135
-41,433 15,404 -26,029 26,422 393 8,135 8,528
-34,425 3,838 -30,587 34,082 3,495 8,528 12,023
-39,152 5,498 -33,654 30,000 -3,654 12,023 8,369
-50,631 7,568 -43,063 47,000 3,937 8,369 12,306
-45,845 -1,512 -47,357 46,000 -1,357 12,306 10,949
2534 464,900 362,464 316,509 45,955 102,436 -51,816 50,620 0 50,620 130,258 180,878
หน่วย: ล้านบาท 2535 499,004 448,322 386,246 62,076 50,682 -7,086 43,596 0 43,596 180,878 224,474
2530 193,525 223,746 203,043 20,703 -30,221 -11,624 -41,845 42,000 155 8,528 8,683
2531 245,030 220,694 198,687 22,007 24,336 -56,780 -32,444 42,660 10,216 8,683 18,899
2532 309,536 269,351 247,401 21,950 40,185 -13,471 26,714 12,981 39,695 18,899 58,594
2533 394,509 312,320 280,841 31,479 82,189 -35,525 46,664 25,000 71,664 58,594 130,258
ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve)
2536 557,783 529,619 462,744 66,875 28,164 -12,375 15,789 0 15,789 226,895 242,684
2537 655,989 598,798 511,937 86,861 57,191 -61,898 -4,707 0 -4,707 242,684 237,977
2538 760,138 670,553 569,384 101,169 89,585 -7,647 81,938 0 81,938 237,977 319,915
2539 850,177 777,246 652,261 124,985 72,931 5,897 78,828 0 78,828 319,915 398,743
2540 844,249 906,641 742,598 164,043 -62,392 -52,753 -115,145 0 -115,145 398,743 283,598
หน่วย: ล้านบาท 2541 727,393 848,029 687,102 160,927 -120,636 -18,565 -139,201 0 -139,201 283,598 144,397
ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 11 มกราคม 2556
2542 709,927 838,711 710,262 128,449 -128,784 30,827 -97,957 40,000 -57,957 144,397 86,440
2543 748,105 859,761 760,863 98,898 -111,656 -9,759 -121,415 107,925 -13,490 86,440 72,950
2544 769,448 901,529 812,044 89,485 -132,081 30,736 -101,345 104,797 3,452 72,950 76,402
2545 848,707 1,003,600 917,767 85,833 -154,893 4,471 -150,422 170,000 19,578 76,402 95,980
2546 966,841 979,506 898,300 81,206 -12,665 -28,098 -40,763 76,000 35,237 95,980 131,217
หน่วย: ล้านบาท 2547 1,127,153 1,140,110 1,052,660 87,450 -12,957 -55,018 -67,975 90,000 22,025 131,217 153,242
ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปจั จุบนั (Current Year) - ปีกอ่ น (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กูเ้ พื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve)
2548 1,264,928 1,244,063 1,139,775 104,288 20,865 -56,181 -35,316 0 -35,316 153,242 117,926
2549 1,339,691 1,395,283 1,270,739 124,544 -55,592 93,090 37,498 0 37,498 117,926 155,424
2550 1,444,718 1,574,967 1,470,839 104,127 -130,249 -28,483 -158,732 146,200 -12,532 155,424 142,892
หน่วย: ล้านบาท 2551 2552 1,545,837 1,409,653 1,633,404 1,917,129 1,532,479 1,790,862 100,925 126,266 -87,568 -507,476 8,736 131,190 -78,832 -376,286 165,000 441,061 86,168 64,775 142,892 229,060 229,060 293,835 หน่วย: ล้านบาท
ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปจั จุบนั (Current Year) - ปีกอ่ น (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กูเ้ พื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผูร้ ับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 11 มกราคม 2556
2553
2554
2555
1,708,625 1,784,413 1,627,875 156,538 -75,788 -21,301 -97,088 232,575 135,487 293,835 429,322
1,892,047 2,177,895 2,050,540 127,355 -285,848 177,150 -108,698 200,666 91,968 429,322 521,290
1,980,644 2,295,327 2,148,475 146,852 -314,683 9,645 -305,038 344,084 39,047 521,290 560,337
2556 (ไตรมาสแรก) 499,203 785,914 699,780 86,134 -286,711 -117,426 -404,137 102,936 -301,201 560,337 259,136
ปีงบประมาณ 2556 ต.ค. 55 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 150,047.00 2. รายจ่าย (Expenditure) 312,152.63 - ปีปัจจุบัน (Current Year) 290,631.15 - ปีก่อน (Carry Over) 21,521.48 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) -162,105.63 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) -100,759.51 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) -262,865.14 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 0.00 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) -262,865.14 รายเดือน
ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครัง้ สุดท้ายวันที:่ 12 พฤศจิกายน 2555
สัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2540-2543
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 รายได้ที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรายได้สุทธิของรัฐบาล (%) ที่มา : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ปีงบประมาณ 2540 จานวนเงิน สัดส่วน 93,879 100.0 16,986 18.1 47,386 50.5 29,508 31.4 843,576 11.13
ปีงบประมาณ 2541 จานวนเงิน สัดส่วน 96,056 100.0 16,759 17.4 48,667 50.7 30,630 31.9 733,462 13.10
ปีงบประมาณ 2542 จานวนเงิน สัดส่วน 100,805 100.0 17,808 17.7 44,870 44.5 38,127 37.8 709,111 14.22
หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2543 จานวนเงิน สัดส่วน 94,721 100.0 17,404 18.4 45,096 47.6 32,222 34.0 749,949 12.63
เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2544-2549
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 รายได้ที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิม่ ที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กาหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุนและการถ่ายโอนงาน 1/ 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรายได้สุทธิรฐั บาล (%)
ปีงบประมาณ 2544 ปีงบประมาณ 2545 ปีงบประมาณ 2546 ปีงบประมาณ 2547 จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน 159,753 100.0 175,850 100.0 184,066 100.0 241,948 100.0 17,702 11.1 21,084 12.0 22,258 12.1 24,786 10.2 55,652 34.8 58,144 33.1 60,218 32.7 82,623 34.2 12,669 7.9 19,349 11.0 35,504 19.3 43,100 17.8 73,730 772,574 20.68
46.2
77,273 803,651 21.88
43.9
66,086 829,496 22.19
35.9
91,438 1,063,600 22.75
หมายเหตุ : 1/ ในปีงบประมาณ 2544 และ 2545 มีงบประมาณการถ่ายโอนงานซึ่งตั้งอยูท่ ี่ส่วนราชการที่ถา่ ยโอนงานให้ อปท . แต่นับรวมในสัดส่วนรายได้ของ อปท. เป็นจานวน 32,339.60 ล้านบาท และ 27,061.80 ล้านบาท ตามลาดับ ที่มา : สานักงานคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
37.8
ปีงบประมาณ 2548 จานวนเงิน สัดส่วน 293,750 100.0 27,019 9.2 102,520 34.9 49,000 16.7 115,211 1,250,000 23.50
39.2
หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2549 จานวนเงิน สัดส่วน 327,113 100.0 29,110 8.9 110,190 33.7 61,800 18.9 126,013 1,360,000 24.05
38.5
เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2550-2556
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 รายได้ที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิม่ ที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กาหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรายได้สุทธิรฐั บาล (%)
ปีงบประมาณ 2550 ปีงบประมาณ 2551 ปีงบประมาณ 2552 ปีงบประมาณ 2553 จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน 357,424 100.0 376,740 100.0 414,382 100.0 340,995 100.0 32,021 8.9 35,224 9.3 38,746 9.4 29,110 8.6 120,729 33.8 128,676 34.2 140,679 33.9 126,590 37.1 65,300 18.3 65,000 17.3 71,900 17.4 45,400 13.3
ปีงบประมาณ 2554 จานวนเงิน สัดส่วน 437,262 100.0
ปีงบประมาณ 2555 จานวนเงิน สัดส่วน 529,979 100.0
หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2556 จานวนเงิน สัดส่วน 572,670 100.0
257,355
58.9
308,887
58.3
336,170
58.7
179,907 2/ 1,650,000 26.50
41.1
221,092 1,980,000 26.77
41.7
236,500 2,100,000 27.27
41.3
\ 139,374 1,420,000 25.17
39.0
147,840 1,495,000 25.20
39.2
163,057 1,604,640 25.82
39.3
139,895 1,350,000 25.26
41.0
หมายเหตุ : 2/เป็นตัวเลขรวมจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท . เพิม่ เติมระหว่างปี 5,957 .4 ล้านบาท - เป้าหมายสัดส่วนรายได้ของ อปท. ในแต่ละปีงบประมาณผ่านขัน้ ตอนการพิจารณาของสานักงบประมาณเพือ่ เสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว ที่มา : สานักงานคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกคองส่วนท้องถิน่ และสานักงบประมาณ จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 22 พฤศจิกายน 2555