บทสรุปผู้บริหาร ด้านรายได้ เดือนกรกฎาคม 2556 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 132,716 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 1,285 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.0 โดยรัฐวิสาหกิจนาส่งรายได้สูงกว่าประมาณการ 2,688 ล้านบาท จากการนาส่งเงินปันผลของ บมจ.ทีโอที ที่สูงกว่าประมาณการเป็นสาคัญ นอกจากนี้ หน่วยงานอื่น จัดเก็บรายได้สูงกว่าประมาณการ 1,136 ล้านบาท ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการจัดเก็บรายได้จากสัมปทาน ปิโตรเลียมที่สูงกว่าประมาณการ อย่างไรก็ดี ภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีเงินได้นิติบุคคลจัดเก็บได้ต่ากว่า ประมาณการ 4,171 และ 2,077 ล้านบาท ตามลาดับ โดยในส่วนของภาษีมูลค่าเพิ่มนั้นเป็นผลจาก ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้าจัดเก็บได้ต่ากว่าประมาณการ ซึ่งมีสาเหตุสาคัญมาจากมูลค่า การนาเข้าที่ลดลง สอดคล้องกับอากรขาเข้าที่จัดเก็บได้ต่ากว่าประมาณการเช่นกัน ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม 2555 – กรกฎาคม 2556) รัฐบาล จัดเก็บรายได้สุทธิ 1,753,011 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย 86,898 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.2 โดยการจัดเก็บรายได้ของ 3 กรมจัดเก็บภาษีสังกัดกระทรวงการคลังสูงกว่าเป้าหมาย 41,911 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.3 ประกอบกับการจัดเก็บรายได้ของหน่วยงานอื่นและการนาส่งรายได้ รัฐวิสาหกิจสูงกว่าเป้าหมาย 45,867 และ 9,369 ล้านบาท หรือร้อยละ 52.4 และ 10.8 ตามลาดับ
ด้านรายจ่าย เดือนกรกฎาคม 2556 รัฐบาลเบิกจ่ายเงินรวมทั้งสิ้น 171,087 ล้านบาท ประกอบด้วย การเบิกจ่ายจากปีงบประมาณปีปัจจุบัน 158,406 ล้านบาท (รายจ่ายประจา 137,824 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 20,582 ล้านบาท) และการเบิกจ่ายของปีก่อนจานวน 12,681 ล้านบาท ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม 2555 – กรกฎาคม 2556) รัฐบาลเบิกจ่าย เงินรวมทั้งสิ้น 2,024,701 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2556 จานวน 1,822,344 ล้านบาท (เป็นรายจ่ายประจา 1,602,512 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 219,832 ล้านบาท) คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 75.9 ของวงเงินงบประมาณ (2,400,000 ล้านบาท) และมีการเบิกจ่ายของปีก่อนจานวน 202,357 ล้านบาท เมื่อรวมกับการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 จานวน 4,898 ล้านบาท เงินกูเ้ พื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) จานวน 11,595 ล้านบาท และเงินกู้ภายใต้ พรก.บริหารจัดการน้าฯ จานวน 11,471 ล้านบาท ส่งผลให้ในช่วง 10 เดือนแรก ของปีงบประมาณ 2556 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจทั้งสิ้น 2,052,665 ล้านบาท
-1-
ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 รัฐบาลมีรายได้ นาส่งคลัง 1,752,169 ล้านบาท และมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (ปีปัจจุบันและปีก่อน) รวม 2,024,701 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณขาดดุล 272,532 ล้านบาท เมื่อรวมกับ ดุลเงินนอกงบประมาณที่ขาดดุล 134,906 ล้านบาท ทาให้ดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 407,438 ล้านบาท และรัฐบาลได้ชดเชยการขาดดุลโดยการออกพันธบัตรจานวน 233,048 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินสด หลังการกู้เงินขาดดุลทั้งสิ้น 174,390 ล้านบาท เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2556 มีจานวน 385,947 ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค. ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 รัฐบาล มีรายได้ทั้งสิ้น 1,871,299 ล้านบาท และมีรายจ่ายทั้งสิ้น 2,110,789 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงิน งบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 239,490 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณที่เกินดุล 104,154 ล้านบาท และหักรายจ่ายเพื่อวางระบบบริหารจัดการน้า รายจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟู เศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) และรายจ่ายตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 11,471 11,595 และ 4,898 ล้านบาท ตามลาดับแล้ว ทาให้ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุลทั้งสิ้น 170,350 ล้านบาท
ฐานะการคลัง อปท. ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ณ ไตรมาสที่ 3 ประจาปีงบประมาณ 2556 คาดว่า จะมีรายได้รวม 143,590 ล้านบาท (รายได้ที่จัดเก็บเอง 13,869 ล้านบาท รายได้ภาษีที่รัฐบาล จัดเก็บและแบ่งให้ 88,338 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 41,383 ล้านบาท) และคาดว่า มีรายจ่ายจานวน 130,448 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลการคลังของ อปท. เกินดุล 13,142 ล้านบาท ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 คาดว่า จะมีรายได้รวม 418,697 ล้านบาท (รายได้ที่จัดเก็บเอง 32,222 ล้านบาท รายได้ภาษีที่รัฐบาล จัดเก็บและแบ่งให้ 170,396 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 216,079 ล้านบาท) และคาดว่า มีรายจ่ายจานวน 336,149 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลการคลังของ อปท. เกินดุล 82,549 ล้านบาท
สถานะหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะคงค้างของรัฐบาล ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2556 มีจานวน 5,225.0 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 44.27 ของ GDP ประกอบด้วยหนี้ระยะยาว 5,108.8 พันล้านบาท และหนี้ระยะสั้น 116.2 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 97.8 และ 2.2 ของหนี้สาธารณะคงค้างตามลาดับ โดยร้อยละ 93.2 ของหนี้สาธารณะคงค้างเป็นหนี้ในประเทศและส่วนที่เหลือร้อยละ 6.8 เป็นหนี้ต่างประเทศ
-2-
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง (60 - 15 – 0 – 25) กระทรวงการคลังได้กาหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีตัวชี้วัดประกอบด้วย ยอดหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 จัดทางบประมาณสมดุล และสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณไม่ต่ากว่าร้อยละ 25 การวิเคราะห์กรอบความยั่งยืนในระยะปานกลาง (ปีงบประมาณ 2556 – 2560) - สัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ในปีงบประมาณ 2556 อยู่ที่ร้อยละ 46.8 และเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 49.8 ในปีงบประมาณ 2560 - ระดับภาระหนี้ต่องบประมาณอยู่ในระดับร้อยละ 7.4 ในปีงบประมาณ 2556 และเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 10.8 ในปีงบประมาณ 2560 - รัฐบาลมีนโยบายลดการขาดดุลงบประมาณ โดยกาหนดให้ปีงบประมาณ 2556 ถึง 2559 ขาดดุลงบประมาณ 300,000 250,000 150,000 และ 75,000 ล้านบาท ตามลาดับ และจัดทา งบประมาณสมดุลในปีงบประมาณ 2560 เพื่อรักษาวินัยการคลังและขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้ขยายตัว อย่างมีเสถียรภาพ - สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายต่ากว่าร้อยละ 25 แต่หากรวมการลงทุนของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ และพระราชกาหนดให้อานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อวางระบบบริหารจัดการน้าฯ แล้ว จะคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 38.2 ของงบประมาณรายจ่าย
การดาเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล
ยอดสินเชื่อคงค้างของโครงการตามนโยบายรัฐที่มีการแยกบัญชีธุรกรรมการดาเนินงานตาม นโยบายรัฐ (PSA) ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ปี 2556 มีจานวน 1,103,348.65 ล้านบาท ขณะที่ ยอด NPLs เท่ากับ 8,613.89 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อยอดสินเชื่อ คงค้าง (NPLs Ratio) ร้อยละ 0.78 รัฐบาลมีภาระความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ซึ่งสามารถประมาณการ ความเสียหายที่ต้องได้รับการชดเชยตั้งแต่เริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการจานวนทั้งสิ้น 83,802.87 ล้านบาท โดยรัฐบาลได้ชดเชยความเสียหายให้แล้วทั้งสิ้น 27,487.49 ล้านบาท และคงเหลือ ความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาลอีกจานวน 56,315.38 ล้านบาท
การกระจายอานาจทางการคลังให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลการปรับบทบาทของส่วนราชการภายหลังการถ่ายโอนภารกิจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สานักงานคณะกรรมการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (สกถ.) และคณะอนุกรรมการ ด้านการติดตามและประเมินผล ได้ดาเนินการประเมินผลการปรับบทบาทของส่วนราชการ ภายหลัง การถ่ายโอนภารกิจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามมติของคณะอนุกรรมการด้านการติดตามและ ประเมินผลในการประชุมครั้งที่ 2/2556 เมื่อวันพุธที่ 20 มีนาคม 2556 โดยจาแนกเป็น 6 ประเด็น ดังนี้ 1) การบริหารจัดการงบประมาณ 2) การสนับสนุนด้านเทคนิควิชาการและการพัฒนาศักยภาพบุคลากร 3) การกากับดูแล อปท. ที่รับโอนภารกิจ 4) การจัดทามาตรฐานและคู่มือการปฏิบัติงาน -3-
5) การแก้ไขกฎหมาย 6) การลดความซ้าซ้อนในการจัดบริการสาธารณะ ทั้งนี้ สกถ. จะรวบรวมข้อมูล สรุปผลการดาเนินงาน พร้อมทั้งปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ นาเสนอ คณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (กกถ.) เพื่อดาเนินการกาหนดนโยบาย การกระจายอานาจให้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ของส่วนราชการ และ อปท. ต่อไป
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สาคัญ ประจาเดือนสิงหาคม 2556 1. เรื่อง มาตรการสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2556 เห็นชอบในหลักการและมอบหมายหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องพิจารณาดาเนินการตามมาตรการสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ โดยแบ่งเป็น 4 ด้าน ได้แก่ 1) มาตรการด้านการบริโภคภาคเอกชน 2) มาตรการด้านการลงทุนภาคเอกชน 3) มาตรการด้านการใช้จ่ายภาครัฐ และ 4) มาตรการด้านการส่งออก ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ 2. เรื่อง มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2556 เห็นชอบตามที่สานักงบประมาณเสนอ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 วงเงินทั้งสิ้น 170,475.027 ล้านบาท (47,131.077 ล้านบาท + 123,343.950 ล้านบาท) ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานของรัฐที่มีความพร้อมสามารถดาเนินการก่อหนี้ผูกพันได้ทันภายในกันยายน 2556 หรือ ไม่สามารถดาเนินการก่อหนี้ผูกพันได้ทัน แต่มีความจาเป็นเร่งด่วนที่จะต้องดาเนินการใช้จ่าย เพื่อกระตุ้น เศรษฐกิจในเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556 ภายใต้ยุทธศาสตร์ประเทศ และนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล 3. เรื่อง โครงการประกันภัยข้าวนาปี ปีการผลิต 2556 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2556 เห็นชอบการดาเนินโครงการประกันภัยข้าวนาปี ปีการผลิต 2556 โดยอนุมัติวงเงินงบประมาณ 494,906,221.50 บาท เพื่อให้ธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) นาไปดาเนินโครงการประกันภัยข้าวนาปี ปีการผลิต 2556 และให้ ธ.ก.ส. ทดรองจ่ายสารองจ่ายเงินอุดหนุนค่าเบี้ยประกันภัยแทนรัฐบาล และเบิกเงินชดเชยตามจานวนที่จ่ายจริง ในปีงบประมาณถัดไป รวมทั้งมอบหมายให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์และกระทรวงมหาดไทยดาเนินการ เชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับระบบการรับประกันภัยและการจ่ายค่าสินไหมทดแทน ตลอดจน ความชัดเจนในการประกาศภัยของผู้ว่าราชการจังหวัดในพื้นที่ประสบภัย เพื่อความถูกต้องและรวดเร็ว ในขั้นตอนการขอเอาประกันและการจ่ายค่าสินไหมทดแทนแก่เกษตรกร 4. เรื่อง ร่างประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การลดอัตราอากรและยกเว้นอากรศุลกากร ตามมาตรา 12 แห่งพระราชกาหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 (ฉบับที่ ..) (การปรับปรุงโครงสร้างอัตราอากร ขาเข้าสินค้าในกลุ่มอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ อุตสาหกรรมผลิตเบเกอรี่และไอศกรีม และ กลุ่มอุตสาหกรรมเคมี) คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2556 เห็นชอบในหลักการร่างประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การลดอัตราอากรและยกเว้นอากรศุลกากร ตามมาตรา 12 แห่งพระราชกาหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 (ฉบับที่ ..) (การปรับปรุงโครงสร้างอัตราอากรขาเข้าสินค้าในกลุ่มอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ อุตสาหกรรมผลิตเบเกอรี่และไอศกรีม และกลุ่มอุตสาหกรรมเคมี) ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ และให้ส่ง คณะกรรมการตรวจสอบร่างกฎหมายและร่างอนุบัญญัติที่เสนอคณะรัฐมนตรีตรวจพิจารณา แล้วดาเนินการ -4-
ต่อไปได้ รวมทั้งเห็นชอบข้อสังเกตของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ มอบหมายให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์รับข้อสังเกตดังกล่าวไปพิจารณาดาเนินการต่อไป 5. เรื่อง ร่างประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ลดอัตราภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ ..) คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2556 เห็นชอบให้ขยายเวลาการปรับลดอัตราภาษี สรรพสามิตน้ามันดีเซลที่มีปริมาณกามะถันไม่เกินร้อยละ 0.005 โดยน้าหนัก ในอัตราภาษี 0.005 บาท ต่อลิตร และน้ามันดีเซลที่มีไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอสเตอร์ของกรดไขมันผสมอยู่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 4 ใน อัตราภาษี 0.005 บาทต่อลิตร ออกไปอีก 1 เดือน คือตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2556 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2556 6. เรื่อง มาตรการสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2556 เห็นชอบร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความใน ประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการจัดการ สัมมนาในประเทศ) และร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการหักค่าสึกหรอ และค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการภาษีเพื่อยกระดับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว) ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ เพื่อสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2556 7. เรื่อง การแปรสภาพกองทุนรวมวายุภักษ์ หนึ่ง คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2556 เห็นชอบการแปรสภาพกองทุนรวมวายุภักษ์ หนึ่ง ที่จะครบกาหนดอายุโครงการในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2556 โดยให้กระทรวงการคลังพิจารณาขยายอายุ กองทุนให้เสร็จก่อนสิ้นสุดอายุกองทุน และปรับเปลี่ยนวัตถุประสงค์ รูปแบบ โครงสร้างเงินทุน และข้อกาหนด ต่าง ๆ ของกองทุนรวมวายุภักษ์ หนึ่ง ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักในการบริหารจัดการหลักทรัพย์ที่รัฐถือครองอยู่ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อสร้างผลตอบแทนอย่างยั่งยืนในระยะยาวและมั่นคง และลงทุนในกิจการที่มี ความจาเป็นและเป็นประโยชน์ต่อประเทศ เพื่อลดภาระของรัฐในการจัดสรรเงินงบประมาณ ตามที่ กระทรวงการคลังเสนอ โดยการขอความเห็นชอบในการดาเนินการดังกล่าวจากผู้ถือหน่วยลงทุน
-5-
สถานการณ์ดา้ นการคลัง หน่วย : พันล้านบาท
รวมทั้งปี งบประมาณ 2555 I รายได้ 1. ตามหน่วยงาน 1.1 กรมสรรพากร (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.2 กรมสรรพสามิต (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.3 กรมศุลกากร (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.4 รัฐวิสาหกิจ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.5 หน่วยงานอื่น (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) - ส่วนราชการอื่น - กรมธนารักษ์ 1.6 รวมรายได้จดั เก็บ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.7 รวมรายได้สุทธิ (หลังหักอปท.) (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2. ตามฐานภาษี 2.1 ฐานจากเงินได้ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2.2 ฐานจากการบริโภค (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2.3 ฐานจากการค้าระหว่างประเทศ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) II รายจ่าย 1.รายจ่ายรัฐบาลจากงบประมาณ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.1 งบประมาณปีปัจจุบัน (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.2 งบประมาณปีก่อน 2. รายจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ (15 กองทุน) 1/ - รายจ่าย - เงินให้กู้ยมื สุทธิ 3. รายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 4. รายจ่ายของอปท. 5. รายจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ III ดุลการคลัง 1. ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด 2. ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบ สศค. 2/ - รัฐบาล - อปท. 3. เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือน3/ IV ยอดหนี้สาธารณะ 1. หนี้รฐั บาลกู้ตรง 2. หนี้รฐั วิสาหกิจ 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น 4. หนี้ FIDF 5. รวม 6. หนี้คงค้าง/GDP (ปีปฏิทิน)%
ปีงบประมาณ 2556 Q2 Q3
Q1
รวม ต.ค. 55 - ก.ค. 56
ก.ค.-56
1,617.3 6.7 379.7 (5.0) 119.0 15.6 122.7 24.2 116.6 8.8 112.3 4.4 2,355.3 5.9 1,975.9 4.4
346.6 24.4 119.1 43.1 31.1 14.1 21.2 (40.0) 63.9 134.5 60.5 3.4 581.9 28.8 508.3 27.6
356.4 16.8 112.0 28.9 27.6 1.3 17.0 (11.1) 64.0 72.1 31.5 0.9 557.9 19.7 469.8 20.6
575.6 12.3 105.3 22.4 26.3 (4.9) 17.4 (0.1) 63.2 49.8 30.4 0.9 773.6 14.3 642.2 13.1
105.0 4.2 31.8 (6.6) 9.7 (2.7) 10.3 19.3 5.8 20.2 5.7 0.1 162.5 2.8 132.7 4.6
1,383.5 11.7 368.2 19.2 94.6 (4.7) 96.0 1.7 133.4 48.2 128.1 5.3 2,075.8 13.3 1,753.0 12.4
904.9 1.5 1,039.0 6.4 116.6 16.4
153.0 25.9 296.7 29.8 30.5 13.7
165.3 17.4 288.2 20.4 27.1 1.2
387.6 13.2 277.6 14.8 25.9 (5.0)
43.7 10.0 87.9 (2.7) 9.4 (5.6)
749.6 13.0 950.4 12.9 92.8 (5.1)
2,295.3 5.4 2,148.5 4.8 146.9 360.9 336.4 24.5 10.0 231.6
785.9 60.5 699.8 59.3 86.1 181.4 172.2 9.2 4.3 -
585.7 (24.9) 512.9 (29.9) 72.8 74.7 66.7 8.0 4.3 -
482.0 4.8 451.3 3.6 30.8 61.1 60.2 0.9 9.3 111.1
171.0 (4.6) 158.4 (7.5) 12.7 18.9 19.4 (0.5) 0.7 -
2,024.7 6.1 1,822.3 2.5 202.4 336.1 318.5 17.6 18.6 169.5
(305.0)
(404.1)
(125.8)
171.4
(48.9)
(407.4)
(248.7)
(268.9)
(81.4)
189.5
(9.4)
170.3
560.3
259.1
194.1
423.5
385.9
385.9
3,515.0 1,416.5 5.7 4,937.2 43.9
3,516.6 1,437.4 7.3 4,961.3 44.0
3,563.4 1,563.0 5.6 1,312.0 44.3
3,657.8 1,566.4 0.8 5,225.0 44.3
หมายเหตุ 1/ ประกอบด้วย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้้ามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการท้าของ กองทุนเงินให้กู้ยมื เพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจ กองทุนอ้อยและน้้าตาล กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนช่วยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย 2/ ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบสถิตเิ พื่อการศึกษาและวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค.) เป็นผลรวมของดุลการคลังรัฐบาล และดุลการคลังของ อปท. 3/ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2551 เงินคงคลังจะไม่รวมเงินอื่น (บัตรภาษี) และเงินฝากธนาคารกรุงไทย จ้ากัด (มหาชน) รวบรวมโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ ส้านักนโยบายการคลัง ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง
-6-
สถานการณ์ด้านรายได้ เดือนกรกฎาคม 2556 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 132,716 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 1,285 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.0 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 4.6) ตารางสรุปรายได้รัฐบาลเดือนกรกฎาคม 2556* หน่วย: ล้านบาท เทียบปีนี้กับ เทียบปีนี้กับ ที่มาของรายได้ ปีนี้ ประมาณการ ปีที่แล้ว (%) (%) กรมสรรพากร 104,960 (4.5) 4.2 กรมสรรพสามิต 31,759 (5.0) (6.6) กรมศุลกากร 9,687 (2.2) (2.7) รัฐวิสาหกิจ 10,281 35.4 19.3 หน่วยงานอื่น 5,798 24.4 20.2 รายได้สุทธิ ** 132,716 1.0 4.6 หมายเหตุ * ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 7 สิงหาคม 2556 ** รายได้สุทธิหลังจัดสรรให้ อปท.
เดือนกรกฎาคม 2556 รัฐบาลจัดเก็บ รายได้สุทธิ 132,716 ล้านบาท สูงกว่า ประมาณการ 1,285 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.0 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 4.6) โดยรัฐวิสาหกิจนาส่งรายได้สูงกว่าประมาณการ 2,688 ล้านบาท โดยเป็นการนาส่งเงินปันผล จากกาไรสุทธิประจาปี 2555 ของ บมจ.ทีโอที ที่สูงกว่าประมาณการเป็นสาคัญ ประกอบกับ หน่วยงานอื่นจัดเก็บรายได้สูงกว่าประมาณการ 1,136 ล้านบาท ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการจัดเก็บ รายได้สัมปทานปิโตรเลียมจัดเก็บได้สูงกว่า ประมาณการ 664 ล้านบาท จากปริมาณ ปิโตรเลียมที่ขุดเจาะได้เพิ่มขึ้นสูงกว่าที่คาดไว้ นอกจากนี้ การคืนภาษีมูลค่าเพิ่มของ กรมสรรพากรต่ากว่าประมาณการ 3,852 ล้านบาท หรือร้อยละ 17.0 อย่างไรก็ดี ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจาก การนาเข้าจัดเก็บได้ต่ากว่าประมาณการ 4,572 ล้านบาท หรือร้อยละ 15.0 เป็นผลจากมูลค่า การนาเข้าที่ลดลง สอดคล้องกับอากรขาเข้า ที่จัดเก็บได้ต่ากว่าประมาณการ 344 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.5 ในขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บ จากการบริโภคในประเทศจัดเก็บได้สูงกว่า ประมาณการ 401 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.4 จากการบริโภคในประเทศที่ยังขยายตัว สาหรับภาษีเงินได้นิติบุคคลจัดเก็บได้ต่ากว่า ประมาณการ 2,077 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.0 (รายละเอียดตามตารางที่ 1)
-7-
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลประจาปีงบประมาณ 2556 (เดือนตุลาคม 2555 - กรกฎาคม 2556)
ล้านบาท 400,000 350,000
331,458
300,000 250,000 200,000 150,000
174,298
181,514
187,021 163,493
146,957
156,099
150,200
132,716
127,581
100,000 50,000 -
0 ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
จัดเก็บ 55
เม.ย.
ปมก. 56
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
จัดเก็บ 56
ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม 2555 – กรกฎาคม 2556) รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 1,753,011 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย 86,898 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.2 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 12.4)
ผลการจัดเก็บรายได้ตามหน่วยงาน จัดเก็บสรุปได้ ดังนี้
กรมสรรพากร จัดเก็บรายได้รวม 1,383,527 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย 19,832 ตารางสรุปรายได้รัฐบาล ล้านบาท หรือร้อยละ 1.5 (สูงกว่าช่วงเดียวกัน ปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม 2555 – กรกฎาคม 2556)* ปีที่แล้วร้อยละ 11.7) โดยภาษีที่จัดเก็บได้ หน่วย: ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมายที่สาคัญ ได้แก่ (1) ภาษีเงินได้ เทียบปีนี้กับ เทียบปีนี้กับ บุคคลธรรมดาจัดเก็บได้สูงกว่าเป้าหมาย ที่มาของรายได้ ปีนี้ ประมาณการ ปีที่แล้ว 23,590 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.1 (สูงกว่า (%) (%) กรมสรรพากร 1,383,527 1.5 11.7 ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 13.1) สะท้อนถึง กรมสรรพสามิต 368,210 6.7 19.2 รายได้ภาคครัวเรือน โดยเฉพาะฐานเงินเดือน กรมศุลกากร 94,644 (0.9) (4.7) และฐานเงินฝากที่ขยายตัวได้ดี (2) ภาษีเงินได้ รัฐวิสาหกิจ 96,045 10.8 1.7 ปิโตรเลียมจัดเก็บได้สูงกว่าเป้าหมาย 17,867 หน่วยงานอื่น 133,388 52.4 48.2 ** รายได้สุทธิ 1,753,011 5.2 12.4 ล้านบาท หรือร้อยละ 20.6 เนื่องจาก หมายเหตุ: * ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 7 สิงหาคม 2556 ผลประกอบการในธุรกิจปิโตรเลียมที่เติบโตดี ** รายได้สุทธิหลังจัดสรรให้ อปท. (3) ภาษีธุรกิจเฉพาะจัดเก็บได้สูงกว่าเป้าหมาย 7,069 ล้านบาท หรือร้อยละ 21.2 เนื่องจาก ภาษีที่เก็บจากธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์จัดเก็บได้ สูงกว่าเป้าหมาย อย่างไรก็ดี ภาษีเงินได้ นิติบุคคลจัดเก็บได้ต่ากว่าเป้าหมาย 25,259 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.1 (สูงกว่าช่วงเดียวกัน -8-
ผลการจัดเก็บรายได้ของ 3 กรมในสังกัดกระทรวงการคลัง ปีงบประมาณ 2556 (เดือนตุลาคม 2555 - กรกฎาคม 2556) ล้านบาท 2,000,000
1,600,000 1,400,000 1,200,000
1,846,381 1,804,470 1,647,242
จัดเก็บ 55 ประมาณการ 56 จัดเก็บ 56
1,800,000
1,363,695 1,383,527 1,239,062
1,000,000 800,000 600,000 368,210 308,864345,225
400,000 200,000
99,316 95,550 94,644
0
กรมสรรพากร
กรมสรรพสามิต
กรม ุลกากร
รวม 3 กรม
สัดส่วนผลการจัดเก็บรายได้ของกรมสรรพากรแยกตามราย า ี ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม 2555 - กรกฎาคม 2556)
า ีเงินได้ บุคคลธรรมดา 19.94
า ีเงินได้ ปโตรเลียม 2.26
า ีธุรกิ จเฉพาะ อากรแสตมป 2.93 0.77
า มี ูลค่าเพิ่ม 42.11
า ีเงินได้นิติบุคคล 28.10
สัดส่วนผลการจัดเก็บรายได้ของกรมสรรพสามิตแยกตามราย า ี ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม 2555 - กรกฎาคม 2556) า ีสุรา 12.12
า ีอื่น 6.01
า ีน้ามัน 14.42
า ียาสูบ 14.84
า ีรถยนต์ 36.53
า ีเบียร์ 16.07
สัดส่วนผลการจัดเก็บรายได้ของกรม ุลกากรแยกตามราย า ี ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม 2555 - กรกฎาคม 2556) อากรขาออก รายได้อื่น 1.69 0.15
อากรขาเข้า 98.16
ปีที่แล้วร้อยละ 10.0) สาเหตุสาคัญมาจาก เหตุการณ์อุทกภัยที่ส่งผลให้การยื่นชาระภาษี จากกาไรสุทธิประจาปี 2555 (ภ.ง.ด. 50) ของภาคธุรกิจต่ากว่าประมาณการ และสาหรับ ภาษีมูลค่าเพิ่มจัดเก็บได้ต่ากว่าเป้าหมาย 4,811 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.8 (สูงกว่าช่วงเดียวกัน ปีที่แล้วร้อยละ 9.3) เนื่องจากภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่จัดเก็บจากการนาเข้าจัดเก็บได้ต่ากว่า ประมาณการ 23,183 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.9 สืบเนื่องจากมูลค่าการนาเข้าที่ชะลอตัวลง เป็นสาคัญ ในขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บ จากการบริโภคในประเทศจัดเก็บได้สูงกว่า ประมาณการ 18,372 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.2 เป็นผลจากการบริโภคในประเทศที่ขยายตัว ต่อเนื่อง กรมสรรพสามิต จัดเก็บรายได้รวม 368,210 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย 22,985 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.7 (สูงกว่าช่วงเดียวกัน ปีที่แล้วร้อยละ 19.2) สาเหตุสาคัญมาจาก (1) ภาษีสรรพสามิตรถยนต์จัดเก็บได้สูงกว่า เป้าหมาย 31,948 ล้านบาท หรือร้อยละ 31.1 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 51.6) (2) ภาษียาสูบจัดเก็บได้สูงกว่าเป้าหมาย 4,847 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.7 สืบเนื่องจาก การปรับเพิ่มอัตราภาษีสรรพสามิตยาสูบ เมื่อเดือนสิงหาคม 2555 และ (3) ภาษีเบียร์ จัดเก็บได้สูงกว่าเป้าหมาย 3,255 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.8 จากปริมาณการบริโภคที่ เพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ดี ภาษีน้ามันและภาษีสุรา จัดเก็บได้ต่ากว่าเป้าหมาย 13,751 และ 5,961 ล้านบาท หรือร้อยละ 20.6 และ 11.8 ตามลาดับ กรม ุลกากร จัดเก็บรายได้รวม 94,644 ล้านบาท ต่ากว่าเป้าหมาย 906 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.9 (ต่ากว่าช่วงเดียวกัน ปีที่แล้วร้อยละ 4.7) โดยอากรขาเข้าจัดเก็บได้ ต่ากว่าเป้าหมาย 1,057 ล้านบาท หรือร้อยละ -9-
สัดส่วนการนาส่งรายได้รัฐวิสาหกิจ แยกตามสาขา ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม 2555 - กรกฎาคม 2556)
สังคมและเทคโนโลยี 0.66
กิจการที่ กระทรวงการคลังถือหุน้ ต่ ากว่ าร้อยละ 50 สถาบันการเงิน 1.90 19.33
พลังงาน 33.43
พาณิชย์และ บริการ 11.96 เก ตรและ ทรัพยากรธรรมชาติ อุตสาหกรรม 0.22 สาธารณูปการ 3.96 2.70
สื่อสาร 18.11
ขนส่ง 6.52
1.1 (ต่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 5.0) ซึ่งเป็นผลจากมูลค่าการนาเข้าที่ชะลอตัวลง ทั้งนี้ มูลค่าการนาเข้าในรูปดอลลาร์สหรัฐฯ และเงินบาท ในช่วง 9 เดือนแรกของ ปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม 2555 – มิถุนายน 2556) ขยายตัวร้อยละ 9.3 และ ร้อยละ 5.9 ตามลาดับ ขณะที่มูลค่าสินค้า นาเข้าที่ชาระอากรขยายตัวเพียงร้อยละ 2.3 สาหรับสินค้าที่จัดเก็บอากรขาเข้าได้สูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ รถยนต์และส่วนประกอบ รถยนต์ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ เครื่องใช้ไฟฟ้าและส่วนประกอบ เหล็ กและ เหล็กกล้า และผลิตภัณฑ์เหล็กและเหล็กกล้า รัฐวิสาหกิจ นาส่งรายได้ 96,045 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย 9,369 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.8 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว ร้อยละ 1.7) โดยรัฐวิสาหกิจที่นาส่งรายได้/ เงินปันผลสูงกว่าประมาณการที่สาคัญ ได้แก่ บมจ.ทีโอที ธนาคารออมสิน และบมจ.กสท โทรคมนาคม นาส่งรายได้/เงินปันผลสูงกว่า ประมาณการ 4,985 3,793 และ 2,471 ล้านบาท ตามลาดับ หน่วยงานอื่น จัดเก็บรายได้รวม 133,388 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย 45,867 ล้านบาท หรือร้อยละ 52.4 (สูงกว่าช่วงเดียวกัน ปีที่แล้วร้อยละ 48.2) ส่วนหนึง่ เป็นผลจากปริมาณ ปิโตรเลียมที่ขุดเจาะได้เพิ่มขึ้นสูงกว่าที่คาดไว้ ทาให้การจัดเก็บรายได้สัมปทานปิโตรเลียม จัดเก็บได้สูงกว่าเป้าหมาย 7,752 ล้านบาท และ กรมธนารักษ์จัดเก็บรายได้สูงกว่าเป้าหมาย 1,245 ล้านบาท จากการจ่ายแลกเหรียญกษาปณ์ หมุนเวียนและเหรียญกษาปณ์ที่ระลึก นอกจากนี้ ยังมีรายได้พิเศษ ได้แก่ (1) รายได้จากการประมูล ให้ใช้คลื่นความถี่ 3G ย่าน 2.1 GHz 20,843 ล้านบาท (2) การส่งคืนเงินที่กนั ไว้เพื่อชดเชย ค่าภาษีอากรสาหรับผู้ส่งออกสินค้า 8,227 ล้านบาท (3) การเหลื่อมนาส่งรายได้จากกาไรสุทธิ - 10 -
ประจาปี 2553 ของ กสทช. 1,655 ล้านบาท เป็นต้น การคืน า ีของกรมสรรพากร จานวน 241,057 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 12,093 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.3 ประกอบด้วย การคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม 192,461 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 10,827 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 6.0 และการคืนภาษีอื่นๆ (ภาษี เงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์) 48,596 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 1,266 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.7 การจัดสรร า ีมูลค่าเพิ่มให้กับ องค์การบริหารส่วนจังหวัด และเงินกัน เพื่อชดเชยค่า า ีอากรสินค้าส่งออกที่ ผลิตในประเท จานวน 12,950 และ 13,640 ล้านบาท ตามลาดับ สูงกว่าประมาณการ 295 และ 295 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.3 และ 2.2 ตามลาดับ การจัดสรร า ีมูลค่าเพิ่มให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ตาม พ.ร.บ.กาหนดแผน และขั้นตอนการกระจายอานาจ จานวน 7 งวด เป็นเงิน 55,156 ล้านบาท ต่ากว่า ประมาณการ 2,434 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.2 เป็นผลจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มต่ากว่า ประมาณการและการคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม สูงกว่าประมาณการ (การจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่ม ให้ อปท. จะจัดสรรจากฐานจัดเก็บสุทธิคือ ภาษีมูลค่าเพิ่มจัดเก็บหักการคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม) (รายละเอียดตามตารางที่ 2)
- 11 -
ตารางที่ 1 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลเบื้องต้น เดือนกรกฎาคม 2556
1/ หน่วย : ล้านบาท
เปรียบเทียบปีนี้กับปีที่แล้ว ที่มาของรายได้
ปีนี้
ปีที่แล้ว
จานวน
ร้อยละ
ปมก.ตามเอกสาร งปม.ทั้งปีเท่ากับ
เปรียบเทียบปีนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม.
จานวน
ร้อยละ
2,100,000 ล้านบาท
1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7
ภาษีมลู ค่าเพิ่ม ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อื่น
2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ามันฯ 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9
ภาษีรถยนต์ ภาษีเบียร์ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีเครื่องไฟฟ้า
2.10 ภาษีอื่น 2/
104,960
100,698
4,262
4.2
109,957
(4,997)
(4.5)
56,130 21,008 22,685 1 4,041 1,068 27 31,759
56,349 18,874 20,857 3,562 1,030 26 34,016
(219) 2,134 1,828 1 479 38 1 (2,257)
(0.4) 11.3 8.8 13.4 3.7 3.8 (6.6)
60,301 23,085 22,081 3,400 1,069 21 33,441
(4,171) (2,077) 604 1 641 (1) 6 (1,682)
(6.9) (9.0) 2.7 18.9 (0.1) 28.6 (5.0)
5,562 10,531 4,386 5,412 4,137 1,126 248 180 62 87
5,327 12,219 5,218 5,070 4,325 1,195 243 196 110 87
235 (1,688) (832) 342 (188) (69) 5 (16) (48) -
4.4 (13.8) (15.9) 6.7 (4.3) (5.8) 2.1 (8.2) (43.6) -
6,948 9,994 4,997 4,950 4,596 1,334 219 210 84 87
(1,386) 537 (611) 462 (459) (208) 29 (30) (22) -
(19.9) 5.4 (12.2) 9.3 (10.0) (15.6) 13.2 (14.3) (26.2) -
28
26
2
7.7
22
6
27.3
9,687 9,356 23 307
9,960 9,908 32 20
(273) (552) (9) 287
(2.7) (5.6) (26.7) 1,433.5
9,900 9,700 25 175
(213) (344) (2) 132
(2.2) (3.5) (6.2) 75.3
146,406
144,674
1,732
1.2
153,298
(6,892)
(4.5)
4. รัฐวิสาหกิจ
10,281
8,621
1,660
19.3
7,593
2,688
35.4
5. หน่วยงานอื่น
5,798
2.11 รายได้อื่น 3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่น
รวมรายได้ 3 กรม
5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์
รวมรายได้จัดเก็บ (Gross)
4,823
975
20.2
4,662
1,136
24.4
5,693 105 162,485
3/
4,724 99 158,118
969 6 4,367
4,501 161 165,553
1,192 (56) (3,068)
18,820 17,200 1,620 1,250 1,200 141,215
4/
21,318 19,324 1,994 1,281 1,071 134,448
(2,498) (2,124) (374) (31) 129 6,767
20.5 6.1 2.8 (11.7) (11.0) (18.8) (2.4) 12.0 5.0
22,672 20,218 2,454 1,349 1,191 140,341
(3,852) (3,018) (834) (99) 9 874
26.5 (34.8) (1.9) (17.0) (14.9) (34.0) (7.3) 0.8 0.6
8,499
7,534
965
12.8
8,910
(411)
(4.6)
132,716
126,914
5,802
4.6
131,431
1,285
1.0
หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่น 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสาหรับสินค้าส่งออก
รวมรายได้สุทธิ (Net)
5/
หักเงินจัดสรรจาก VAT ให้ อปท. ตาม พรบ. กาหนดแผนฯ
รวมรายได้สุทธิหลังหักการจัดสรรแล้ว หมายเหตุ
4/ 4/
1/
ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 7 สิงหาคม 2556
2/
ภาษีไพ่ แก้วฯ เครื่องหอม พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารทาลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้าหรืออบตัวและนวด
3/
ข้อมูลจากระบบ GFMIS
4/
ตัวเลขคาดการณ์
5/
รายได้สุทธิก่อนการจัดสรรให้ อปท. ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทาโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
- 12 -
ตารางที่ 2 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 1/ ( ตุลาคม 2555 - กรกฎาคม 2556 ) หน่วย : ล้านบาท
เปรียบเทียบปีนี้กับปีที่แล้ว ที่มาของรายได้
ปีนี้
1. กรมสรรพากร
ปีที่แล้ว
จานวน
ร้อยละ
ปมก.ตามเอกสาร งปม.ทั้งปีเท่ากับ 2,100,000 ล้านบาท
เปรียบเทียบปีนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม.
จานวน
ร้อยละ
1,383,527
1,239,062
144,465
11.7
1,363,695
19,832
1.5
582,666 388,744 256,351 104,458 40,484 10,585 239 368,210
532,906 353,266 226,627 83,252 33,533 9,161 317 308,864
49,760 35,478 29,724 21,206 6,951 1,424 (78) 59,346
9.3 10.0 13.1 25.5 20.7 15.5 (24.6) 19.2
587,477 414,003 232,761 86,591 33,415 9,240 208 345,225
(4,811) (25,259) 23,590 17,867 7,069 1,345 31 22,985
(0.8) (6.1) 10.1 20.6 21.2 14.6 14.9 6.7
53,092 134,521 59,188 54,653 44,626 15,330 2,462 1,924 871 1,029 514
50,687 88,749 55,124 50,341 44,696 13,691 1,816 1,722 766 905 367
2,405 45,772 4,064 4,312 (70) 1,639 646 202 105 124 147
4.7 51.6 7.4 8.6 (0.2) 12.0 35.6 11.7 13.7 13.7 40.1
66,843 102,573 55,933 49,806 50,587 13,475 1,998 1,988 712 939 371
(13,751) 31,948 3,255 4,847 (5,961) 1,855 464 (64) 159 90 143
(20.6) 31.1 5.8 9.7 (11.8) 13.8 23.2 (3.2) 22.3 9.6 38.5
4. รัฐวิสาหกิจ
94,644 92,573 203 1,868 1,846,381 96,045
99,316 97,436 292 1,588 1,647,242 94,473
(4,672) (4,863) (89) 280 199,139 1,572
(4.7) (5.0) (30.5) 17.6 12.1 1.7
95,550 93,630 250 1,670 1,804,470 86,676
(906) (1,057) (47) 198 41,911 9,369
(0.9) (1.1) (18.8) 11.9 2.3 10.8
5. หน่วยงานอื่น
133,388
1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7
ภาษีมลู ค่าเพิ่ม ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อื่น
2. กรมสรรพสามิต 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9
ภาษีน้ามันฯ ภาษีรถยนต์ ภาษีเบียร์ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีเครื่องไฟฟ้า
2.10 ภาษีอื่น 2/ 2.11 รายได้อื่น
3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่น
รวมรายได้ 3 กรม
5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์
รวมรายได้จัดเก็บ (Gross)
90,010
43,378
48.2
87,521
45,867
52.4
128,062 5,326 2,075,814
3/
85,859 4,151 1,831,725
42,203 1,175 244,089
49.2 28.3 13.3
83,440 4,081 1,978,667
44,622 1,245 97,147
53.5 30.5 4.9
241,057 192,461 48,596 12,950 13,640 1,808,167
4/
206,327 167,323 39,004 12,018 11,996 1,601,384
34,730 25,138 9,592 932 1,644 206,783
16.8 15.0 24.6 7.8 13.7 12.9
228,964 181,634 47,330 12,655 13,345 1,723,703
12,093 10,827 1,266 295 295 84,464
5.3 6.0 2.7 2.3 2.2 4.9
55,156
42,351
12,805
30.2
57,590
(2,434)
(4.2)
1,753,011
1,559,033
193,978
12.4
1,666,113
86,898
5.2
หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสาหรับสินค้าส่งออก
รวมรายได้สุทธิ (Net)
5/
หักเงินจัดสรรจาก VAT ให้ อปท. ตาม พรบ. กาหนดแผนฯ
รวมรายได้สุทธิหลังหักการจัดสรร อปท. หมายเหตุ
6/
4/ 4/
1/
ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 7 สิงหาคม 2556
2/
ภาษีไพ่ เครื่องแก้ว เครื่องหอม พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารทาลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้าหรืออบตัวและนวด
3/
ข้อมูลจากระบบ GFMIS
4/
เดือนตุลาคม 2555 - มิถุนายน 2556 เป็นตัวเลขจริง และเดือนกรกฎาคม 2556 เป็นตัวเลขคาดการณ์
5/
รายได้สุทธิก่อนการจัดสรรให้ อปท.
6/
การจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้แก่ อปท. ตาม พรบ. กาหนดแผนฯ ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 2556 รวม 7 งวด (ต.ค. 55 - เม.ย. 56) ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทาโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
- 13 -
สถานการณ์ด้านรายจ่าย พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2556 ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 129 ตอนที่ 93 ก เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2555 กาหนดวงเงินงบประมาณรายจ่ายจานวน 2,400,000 ล้านบาท สูงกว่าวงเงินปีงบประมาณ 2555 ร้อยละ 0.8 โดยแบ่งเป็นรายจ่ายประจา 1,900,476 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีที่เเล้วร้อยละ 3.2 รายจ่ายลงทุน 450,374 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ปีที่เเล้วร้อยละ 2.7 รายจ่ายชาระคืนต้นเงินกู้ 49,150 ล้านบาท โครงสร้างงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2556
โครงสร้างงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณรายจ่าย (สัดส่วนต่อ GDP) - รายจ่ายประจา (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายชาระคืนต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) 2. รายรับ (สัดส่วนต่อ GDP) - รายได้ - เงินกู้ 3. ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP)
ปีงบประมาณ 2555 เพิ่ม/ลด จานวน ร้อยละ 2,380,000 9.7 20.7 1,840,673 10.4 77.4 53,918 -52.9 2.2 438,555 23.4 18.4 46,854 43.9 2.0 2,380,000 9.7 20.7 1,980,000 11.9 400,000 11,478,600 8.9
หน่วย : ล้านบาท
ปีงบประมาณ 2556 เพิ่ม/ลด จานวน ร้อยละ 2,400,000 0.8 19.3 1,900,476 3.2 79.2 -100.0 450,374 2.7 18.7 49,150 4.9 2.1 2,400,000 0.8 19.3 2,100,000 6.1 300,000 -25.0 12,442,800 8.4
ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป ฉบับปรับปรุงตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
- 14 -
คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2555 เห็นชอบการกาหนดเป้าหมายการเบิกจ่าย งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ที่อัตราร้อยละ 94.0 และกาหนดเป้าหมาย การเบิกจ่ายรายจ่ายรายจ่ายลงทุนไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของวงเงินงบรายจ่ายลงทุน โดยได้ กาหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายรายไตรมาส ดังนี้ ไตรมาสที่ 1 2 3 4
เป้าหมายการ เบิกจ่าย แต่ละไตรมาส 480,000 576,000 600,000 600,000
เป้าหมายการ เบิกจ่ายสะสม ณ สิ้นไตรมาส 480,000 1,056,000 1,656,000 2,256,000
เป้าหมายอัตราการ เบิกจ่ายสะสม ณ สิ้น ไตรมาส (%) 20 44 69 94
เบิกจ่าย สะสม 699,780 1,212,687 1,663,938
อัตราการ เบิกจ่าย (%) 29.2 50.5 69.3
เดือนกรกฎาคม 2556 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ รวมทั้งสิ้น ประกอบด้วย 171,087 ล้านบาท ต่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 8,161 1) การเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ ล้านบาท หรือร้อยละ 4.6 2556 จานวน 158,406 ล้านบาท ต่ากว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 12,836 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 7.5 แบ่งเป็น รายจ่ายประจา 137,824 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 20,582 ล้านบาท โดยมีการเบิกจ่ายรายการที่สาคัญ ได้แก่ รายจ่าย เพื่อการชาระหนี้กระทรวงการคลัง 20,750 ล้านบาท รายจ่ายกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 11,639 ล้านบาท และเงินอุดหนุนกระทรวง ศึกษาธิการ 7,464 ล้านบาท 2) การเบิกจ่ายรายจ่ายปีก่อน มีจานวน 12,681 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 4,675 ล้านบาท หรือร้อยละ 58.4 ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม 2555 – กรกฎาคม 2556) รัฐบาลได้เบิกจ่ายแล้วจานวนรวมทั้งสิ้น 2,024,701 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 116,229 หรือร้อยละ 6.1
- 15 -
ประกอบด้วย 1) การเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2556 จานวน 1,822,344 ล้านบาท คิดเป็นอัตรา การเบิกจ่ายร้อยละ 75.9 ของวงเงินงบประมาณ 2,400,000 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 44,475 หรือร้อยละ 2.5 แบ่งเป็น รายจ่ายประจา 1,602,512 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 80.3 ของ
วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจาหลังโอน เปลี่ยนแปลง (1,995,740 ล้านบาท) รายจ่ายลงทุน 219,832 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 54.4 ของวงเงิน งบประมาณรายจ่ายประจาหลังโอนเปลี่ยนแปลง (404,260 ล้านบาท) - การเบิกจ่ายงบกลาง มีจานวน 204,079 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 63.8 ของงบประมาณกลาง (319,864 ล้านบาท) โดยมีการเบิกจ่ายรายการที่สาคัญ ได้แก่ - เงินเบี้ยหวัด บาเหน็จ บานาญ 115,296 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 93.0 - ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลข้าราชการ ลูกจ้าง 48,016 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 80.0 - เงินสารอง เงินสมทบ และเงินชดเชยของข้าราชการ 30,481 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 87.1 - เงินช่วยเหลือข้าราชการ ลูกจ้างและพนักงาน 3,937 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 98.4 - เงินสารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น 4,222 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.7 2) การเบิกจ่ายรายจ่ายปีก่อน มีจานวน 202,357 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 67.4 ของวงเงินรายจ่ายปีก่อน (300,341 ล้านบาท) สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 71,754 ล้านบาท หรือร้อยละ 54.9 การเบิกจ่ายงบประมาณในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556
ล้านบาท
ล้านบาท
2,000,000
2,000,000
1,500,000
1,500,000
1,000,000
1,000,000
500,000
500,000
0
0
ต.ค. 55 ต.ค. 55 รายจ่ายปีปจจุบัน 290,631 สะสม 2555 155,910 สะสม 2556 290,631
พ.ย. 55 พ.ย. 55 270,813 287,773 561,444
ธ.ค. 55 ธ.ค. 55 138,335 439,360 699,779
ม.ค. 56
ก.พ. 56
ม.ค. 56 181,092 574,970 880,871
- 16 -
มี.ค. 56
ก.พ. 56 130,538 819,043 1,011,409
เม.ย. 56
มี.ค. 56 201,278 1,170,916 1,212,687
พ.ค. 56
มิ.ย. 56
ก.ค. 56
เม.ย. 56 พ.ค. 56 มิ.ย. 56 170,268 125,710 155,273 1,321,195 1,456,246.4 1,606,627 1,382,955 1,508,665 1,663,938
ก.ค. 56 158,406 1,777,869 1,822,344
รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุน ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ในเดือนกรกฎาคม 2556 จานวน 552 ล้านบาท
- เดือนกรกฎาคม 2556 มีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการ ลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 จานวน 552 ล้านบาท ส่งผลให้ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึง เดือนกรกฎาคม 2556 มีการเบิกจ่ายทั้งสิ้น 4,898 ล้านบาท นอกจากนี้ตั้งแต่เริ่มโครงการ (เดือนตุลาคม 2552) เบิกจ่ายไปแล้ว 325,078 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 93.2 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ 348,940 ล้านบาท
รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจ และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) ในเดือน กรกฎาคม 2556 จานวน 603 ล้านบาท
- เดือนกรกฎาคม 2556 มีการเบิกจ่ายเงินกูเ้ พื่อฟื้นฟู เศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) 603 ล้านบาท ส่งผลให้ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึงเดือน กรกฎาคม 2556 มีการเบิกจ่ายทั้งสิ้น 11,595 ล้านบาท และตั้งแต่เริ่มโครงการ (เดือนเมษายน 2554) เบิกจ่าย ไปแล้ว 19,263 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 49.0 ของ วงเงินที่ได้รับอนุมัติ 39,285 ล้านบาท
รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้ พรก.บริหาร - เดือนกรกฎาคม 2556 มีการเบิกจ่ายเงินกูภ้ ายใต้ พรก.บริหารจัดการน้าฯ 1,347 ล้านบาท ส่งผลให้ จัดการน้าฯ ในเดือนกรกฎาคม 2556 จานวน ตัง้ แต่ต้นปีงบประมาณจนถึงเดือนกรกฎาคม 2556 1,347 ล้านบาท มีการเบิกจ่ายทั้งสิ้น 11,471 ล้านบาท และตั้งแต่เริ่ม โครงการ (เดือนกุมภาพันธ์ 2555) เบิกจ่ายไปแล้ว 13,233 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.8 ของวงเงินที่ได้รับ อนุมัตจิ านวน 350,000 ล้านบาท หน่วย: ล้านบาท
ปีงบประมาณ 2556
โครงการ
วงเงินทีไ่ ด้รับ อนุมัติ
2553
2554
2555
ก.ค. 56 เบิกจ่าย
1/
1.โครงการภายใต้ปฏิบตั กิ ารไทยเข้มแข็ง 2. เงินกูเ้ พือ่ ฟืน้ ฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้าง พืน้ ฐาน (DPL)
2/
3. เงินกูภ้ ายใต้ พรก. บริหารจัดการน้า้ ฯ
348,940 39,285 350,000
234,369
ร้อยละของวงเงินที่ ได้รบั อนุมัติ
ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ จนถึงสิ้นเดือน ก.ค. 56 ร้อยละของวงเงินที่ เบิกจ่าย ได้รบั อนุมัติ
ตั้งแต่เริ่มโครงการ จนถึงสิ้นเดือน ก.ค. 56 เบิกจ่าย
ร้อยละของวงเงินที่ ได้รบั อนุมัติ
61,391
24,420
552
0.2
4,898
1.4
325,078
93.2
286
7,382
603
1.5
11,595
29.5
19,263
49.0
1,762
1,347
0.4
11,471
3.3
13,233
3.8
หมายเหตุ 1/เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553 คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้ยกเลิกวงเงินเหลือจ่ายคงเหลือ จานวน 1,020 ล้านบาท ทาให้เหลือวงเงินที่ได้รับอนุมัติ 348,940 ล้านบาท (วงเงินที่ได้รับอนุมัติเดิม 349,960 ล้านบาท) 2/
วงเงินกู้ DPL 1,300 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือเทียบเท่า 39,285 ล้านบาท (อัตราแลกเปลีย่ นประมาณ 1 เหรียญสหรัฐฯ เท่ากับ 30 บาท) จากธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) จานวน 300 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นจานวนเงิน 9,209 ล้านบาท (เบิกครบแล้ว) จากธนาคารโลก (World Bank) จานวน 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือเทียบเท่า 30,076 ล้านบาท (อัตราแลกเปลีย่ นประมาณ 1 เหรียญสหรัฐฯ เท่ากับ 30 บาท)(อยูร่ ะหว่างเบิก)
- 17 -
รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ - ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 มีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจจานวนทั้งสิ้น ทั้งสิ้น 2,052,665 ล้านบาท 2,052,665 ล้านบาท แบ่งเป็นงบประมาณรายจ่าย ประจาปีงบประมาณ 2556 จานวน 1,822,344 ล้านบาท รายจ่ายปีก่อน 202,357 ล้านบาท โครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 จานวน 4,898 ล้านบาท โครงการเงินกู้ เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) จานวน 11,595 ล้านบาท และโครงการภายใต้ พรก.บริหารจัดการน้าฯ จานวน 11,471 ล้านบาท
- 18 -
รายงานผลการเบิกจ่ายเงินโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
วงเงินที่ได้รับ อนุมัติ
วัตถุประสงค์ / สาขา 1. สร้างความมั่นคงทางด้านอาหารและพลังงานฯ
เบิกจ่ายตั้งแต่ เริ่มโครงการ ถึงสิ้นเดือน กรกฎาคม 56
หน่วย : ล้านบาท ร้อยละของ การเบิกจ่าย
59,462.2
57,954.2
97.5
1.1 สาขาทรัพยากรน้าและการเกษตร
59,462.2
57,954.2
97.5
2. ปรับปรุงบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานฯ
74,211.7
69,702.0
93.9
46,586.3
45,324.9
97.3
12.0
9.4
78.3
-
-
-
3,281.4
3,137.3
95.6
14,302.4
11,913.9
83.3
9,158.0
8,470.6
92.5
2.7 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
182.4
182.3
99.9
2.8 สาขาสิ่งแวดล้อม
689.2
663.6
96.3
5,389.9
2,690.9
49.9
3.1 สาขาพัฒนาการท่องเที่ยว
5,389.9
2,690.9
49.9
4. สร้างฐานรายได้ใหม่ของประเทศฯ
1,311.0
1,275.8
97.3
4.1 สาขาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์
1,311.0
1,275.8
97.3
51,980.8
47,844.2
92.0
51,980.8
47,844.2
92.0
1,831.6
1,629.1
88.9
1,831.6
1,629.1
88.9
106,253.0
99,430.8
93.6
7.1 สาขาการลงทุนในระดับชุมชน
106,253.0
99,430.8
93.6
8. อื่น ๆ ตามที่คณะรัฐมนตรีกาหนด
40,000.0
40,000.0
100.0
40,000.0
40,000.0
100.0
340,440.2
320,527.0
94.2
8,500.0
4,551.1
53.5
348,940.2
325,078.0
93.2
2.1 สาขาขนส่ง 2.2 สาขาพลังงาน 2.3 สาขาการสื่อสาร 2.4 สาขาโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว 2.5 สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 2.6 สาขาสวัสดิภาพของประชาชน
3. สร้างศักยภาพในการหารายได้จากการท่องเที่ยว
5. ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ 5.1 สาขาการศึกษา 6. ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุขฯ 6.1 สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาบุคลากร 7. สร้างอาชีพและรายได้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตฯ
8.1 สาขาการประกันรายได้และการดาเนินงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวม สารองจ่ายตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหาร รวมทั้งสิ้น ที่มา : กรมบัญชีกลาง
- 19 -
การเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ ผลการเบิกจ่าย - เดือนกรกฎาคม 2556 มีการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ 668.1 ล้านบาท ตา่ กว่าเดือนเดียวกันปีทีแล้ว 1,051.7 ล้านบาท - ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม 2555 – กรกฎาคม 2556) มีการเบิกจ่ายเงินกู้ ต่างประเทศ 18,644.9 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีทีแล้ว 11,727.1 ล้านบาท สรุปการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ เดือนกรกฎาคม 2556 และในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556
รายการ 1. Project Loans 2. Structural Adjustment Loans (SAL) 3. Development Policy Loan (DPL)* รวม
2556 65.6 -1.0 603.5 668.1
หน่วย : ล้านบาท กรกฎาคม ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง 2555 2556 2555 จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ 440.3 -374.7 -85.1 6,853.7 3,601.0 3,252.7 90.3 25.6 -26.6 -103.9 195.8 117.9 77.9 66.1 1,253.9 -650.4 -51.9 11,595.4 3,198.9 8,396.5 262.5 1,719.8 -1,051.7 -61.2 18,644.9 6,917.8 11,727.1 169.5
ทีมา : ส่านักงานบริหารหนีส้ าธารณะ, กรมบัญชีกลาง หมายเหตุ : * วงเงินกู้ DPL 1,300 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือ 39,284.50 ล้านบาท (อัตราแลกเปลียน 1 USD = 30 บาท) วงเงินที ครม. อนุมัติแล้ว 37,928.54 ล้านบาท ประกอบด้วยเงินกู้ภายใต้ TKK 17,684.99 ล้านบาท และนอก TKK 20,243.55 ล้านบาท
- 20 -
การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค.1/ เดือนกรกฎาคม 2556 กองทุนนอกงบประมาณเบิกจ่าย 18,923.2 ล้านบาท ตากว่าเดือนเดียวกัน ปีทีแล้ว 10,172.4 ล้านบาท หรือร้อยละ 35.0 เป็นผลจากการลดลงของรายจ่าย กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เป็นสาคัญ ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม 2555 – กรกฎาคม 2556) กองทุนฯ เบิกจ่าย 336,129.7 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีทีแล้ว 19,065.1 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.0 สาเหตุหลักมา จากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองทีมี การเบิกจ่ายเพิมขึ้น
เดือนกรกฎาคม 2556 มีการเบิกจ่ายรวม 18,923.2 ล้านบาท ต่า้ กว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 10,172.4 ล้านบาท หรือร้อยละ 35.0 ประกอบด้วยรายจ่าย 19,481.2 ล้านบาท ต่า้ กว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 9,328.3 ล้านบาท และการช้าระคืน เงินให้กู้ยืมสุทธิ 558.0 ล้านบาท ขณะที่เดือนเดียวกันปีที่แล้ว ให้กู้ยืม 286.1 ล้านบาท ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 มีการเบิกจ่าย รวม 336,129.7 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 19,065.1 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.0 ประกอบด้วย 1) รายจ่าย 318,474.7 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันของ ปีที่แล้ว 20,020.6 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.7 เป็นผลมาจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และกองทุนหมู่บ้านและ ชุมชนเมืองที่มีการเบิกจ่ายเพิ่มขึ้น 2) เงินให้กู้ยืมสุทธิ 17,655.0 ล้านบาท ต่า้ กว่าช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว 955.5 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.1 เป็นผลมาจาก กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษามีรายจ่ายเพื่อการกู้ยืมลดลง
การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. เดือนกรกฎาคม 2556 และในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 กรกฎาคม รายการ 1. รายจ่าย 2. เงินให้กู้ยืมสุทธิ
2556*
2555
19,481.2
28,809.5
-558.0
286.1
เปรียบเทียบ จานวน -9,328.3
ร้อยละ
หน่วย : ล้านบาท ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ เปรียบเทียบ 2556* 2555 จานวน ร้อยละ
-32.4 318,474.7 298,454.1 20,020.6 -955.5
-5.1
รวม 18,923.2 29,095.6 -10,172.4 -35.0 336,129.7 317,064.6 19,065.1 หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ โดยส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง
6.0
1/
-844.1 -295.0
17,655.0
18,610.5
6.7
การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ 14 กองทุน (จากกองทุนทั้งหมด 110 กองทุน) ประกอบด้วย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้้ามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการท้าของ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจฯ กองทุนอ้อยและน้้าตาลทราย กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจยั
- 21 -
ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด1 ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม 2555 – กรกฎาคม 2556) ในช่วง 10 เดือนของปีงบประมาณ 2556 ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 รัฐบาล มีรายได้นาส่งคลัง 1,752,169 ล้านบาท และมีการเบิกจ่าย ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ กระแสเงินสดขาดดุล 407,438 ล้านบาท งบประมาณจากงบประมาณปีปัจจุบันและปีก่อน รวม 2,024,701 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณ คิดเป็นร้อยละ 3.3 ของ GDP2 ขาดดุลจานวน 272,532 ล้านบาท เมื่อรวมกับ ดุลเงินนอกงบประมาณที่ขาดดุล 134,906 ล้านบาท ทาให้ดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 407,438 ล้านบาท รัฐบาลชดเชยการขาดดุลโดยการออกพันธบัตร 233,048 ล้านบาท ส่งผลให้เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือน กรกฎาคม 2556 มีจานวน 385,947 ล้านบาท ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด หน่วย: ล้านบาท
รายได้ รายจ่าย ปีปัจจุบัน ปีก่อน ดุลเงินงบประมาณ ดุลเงินนอกงบประมาณ ดุลเงินสดก่อนกู้ เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุล ดุลเงินสดหลังกู้ เงินคงคลังปลายงวด
ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 2555 1,752,169 1,568,852 2,024,701 1,908,472 1,822,344 1,777,869 202,357 130,603 (272,532) (339,620) (134,906) (37,159) (407,438) (376,779) 233,048 257,507 (174,390) (119,272) 385,947 402,018
เปรียบเทียบ จานวน ร้อยละ 183,317 11.7 116,229 6.1 44,475 2.5 71,754 54.9 67,088 (19.8) (97,747) 263.1 (30,659) 8.1 (24,459) (9.5) (55,118) 46.2 (16,071) (4.0)
ที่มา : กรมบัญชีกลาง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง
1 2
ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด เป็นดุลการคลังที่แสดงให้เห็นผลกระทบต่อเงินคงคลังและการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล GDP ปีปฏิทิน 2555 เท่ากับ 11,375 พันล้านบาท และคาดการณ์ GDP ปีปฏิทิน 2556 เท่ากับ 12,228 พันล้านบาท
- 22 -
ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค.)3 ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 (ตุลาคม 2555 – กรกฎาคม 2556) ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 รัฐบาลขาดดุล 170,350 ล้านบาท โดยขาดดุลงบประมาณ 239,490 ล้านบาท ในขณะที่ดลุ บัญชี เงินนอกงบประมาณเกินดุล 104,154 ล้านบาท นอกจากนี้ มีรายจ่าย เพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้้า จ้านวน 11,471 ล้านบาท รายจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจ และ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) จ้านวน 11,595 ล้านบาท รายจ่าย ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง จ้านวน 4,898 ล้านบาท
ด้านรายได้ รัฐบาลมีรายได้รวมทั้งสิ้น 1,871,299 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 249,126 ล้านบาท ประกอบด้วย รายได้ในงบประมาณ (ก่อนจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้ อปท.) 1,869,525 ล้านบาท และเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ 1,774 ล้านบาท ด้านรายจ่าย รัฐบาลมีรายจ่ายทั้งสิ้น 2,110,789 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 208,388 ล้านบาท ประกอบด้วย รายจ่าย (ไม่รวมรายจ่ายชาระต้นเงินกู้ การถือครองสินทรัพย์ ทางการเงิน รายจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจ และพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน (DPL) รายจ่ายเพื่อวางระบบการบริหาร จัดการน้า และรายจ่ายตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง) จานวน 2,109,015 ล้านบาท และเงินช่วยเหลือจาก ต่างประเทศ 1,774 ล้านบาท ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิ้น 239,490 ล้านบาท ในขณะช่วงเดียวกันปีที่แล้วขาดดุล 280,228 ล้านบาท บัญชีเงินนอกงบประมาณ มีรายได้รวมทั้งสิ้น 440,284 ล้านบาท สูงขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 25.7 ในขณะมีรายจ่ายจานวน 318,475 ล้านบาท สูงขึ้นจาก ช่วงเดียวกันของปีที่แล้วร้อยละ 6.9 และมีเงินให้กู้หัก ชาระคืน 17,655 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลบัญชีนอกงบประมาณ เกินดุล 104,154 ล้านบาท ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุล มีสาเหตุมาจากดุลเงิน งบประมาณที่ขาดดุลเป็นสาคัญ โดยเมื่อรวมกับดุลเงินนอก งบประมาณที่เกินดุล รายจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) รายจ่ายเพื่อวางระบบการ บริหารจัดการน้า และรายจ่ายตามแผนปฏิบัติการไทย เข้มแข็ง จานวน 11,595 11,471 4,898 ล้านบาท ตามลาดับ ทาให้ดุลการคลังรัฐบาลขาดดุล จานวน 170,350 ล้านบาท
3
ดุลการคลังตามระบบ สศค. เป็นดุลการคลังที่สะท้อนเม็ดเงินที่แท้จริงที่ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ
- 23-
ดุลการคลังเบื้องต้นของรัฐบาล (Primary Balance) ซึ่งเป็นดุลการคลังที่สะท้อนถึงผลการดาเนินงานของรัฐบาล และทิศทางของนโยบายการคลังรัฐบาลอย่างแท้จริง (ไม่รวมรายได้และรายจ่ายจากดอกเบี้ยและการชาระคืน ต้นเงินกู้) ขาดดุลทั้งสิ้น 83,362 ล้านบาท ในขณะที่ ช่วงเดียวกันของปีที่แล้วขาดดุล 167,918 ล้านบาท ดุลการคลังเบื้องต้นตามระบบ สศค. หน่วย : ล้านบาท เดือนกรกฎาคม ปีงบประมาณ 1. รายได้ 2. รายจ่าย 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง (TKK) 5. รายจ่ายเพือ่ การบริหารจัดการน้้า 6. รายจ่ายเงินกู้เพือ่ ฟืน้ ฟูและพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน (DPL) 7. เงินกู้ต่างประเทศ 8. ดุลบัญชีนอกงบประมาณ (8.1-8.2-8.3) 8.1 รายได้ 8.2 รายจ่าย 8.3 เงินให้กู้หักช้าระคืน 9. ดุลการคลังของรัฐบาล (3+8-4-5-6-7) 10. ดุลการคลังเบีอ้ งต้นของรัฐบาล
2556
2555
157,097 180,326 (23,229) 552 1,347 603 65 16,324 35,247 19,481 (558) (9,472) 3,011
135,378 185,761 (50,383) 2,053 353 1,254 466 16,518 43,574 26,791 265 (37,991) (24,157)
เปรียบเทียบ จานวน ร้อยละ 21,719 16.0 (5,435) (2.9) 27,154 (53.9) (1,501) (73.1) 994 281.6 (651) (51.9) (401) (86.1) (194) (1.2) (8,327) (19.1) (7,310) (27.3) (823) (310.6) 28,519 (75.1) 27,168 (112.5)
จัดท้าโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
- 24 -
10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 1,871,299 2,110,789 (239,490) 4,898 11,471 11,595 7,050 104,154 440,284 318,475 17,655 (170,350) (83,362)
% of GDP 15.3 17.3 (2.0) 0.0 0.1 0.1 0.1 0.9 3.6 2.6 0.1 (1.4) (0.7)
2555 1,622,173 1,902,401 (280,228) 18,298 353 3,200 3,881 34,252 350,402 297,787 18,363 (271,708) (167,918)
% of GDP 14.3 16.7 (2.5) 0.2 0.0 0.0 0.0 0.3 3.1 2.6 0.2 (2.4) (1.5)
เปรียบเทียบ จานวน ร้อยละ 249,126 15.4 208,388 11.0 40,738 (14.5) (13,400) (73.2) 11,118 3,149.6 8,395 262.3 3,169 81.7 69,902 204.1 89,882 25.7 20,688 6.9 (708) (3.9) 101,358 (37.3) 84,556 (50.4)
ดุลการคลังของภาคสาธารณะตามระบบงบประมาณ ระบบกระแสเงินสด และตามระบบ สศค. ปีงบประมาณ 2555 - 2556 ปีงบประมาณ รัฐบาล 1. รายได้ - รายได้สุทธิ - จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. - จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.ก้าหนดแผนฯ - เงินช่วยเหลือต่างประเทศ 2. รายจ่าย - รายจ่ายปีปจั จุบน ั (อัตราการเบิกจ่าย : %) - รายจ่ายปีกอ่ น - จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. - จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.ก้าหนดแผนฯ - เงินช่วยเหลือต่างประเทศ - ส่วนเกินพันธบัตรรัฐบาล - หัก ช้าระคืนต้นเงินกู้ - หัก ชดใช้เงินคงคลัง 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. ดุลนอกงบประมาณ 5. รายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศ 6. รายจ่ายจากไทยเข็มแข็ง (TKK) 7.รายจ่ายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้า 8.รายจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) 9. บัญชีนอกงบประมาณ(9.1-9.2-9.3) 9.1 รายได้ 9.2 รายจ่าย 9.3 เงินให้กู้หกั ช้าระคืน 10. ดุลการคลังของรัฐบาล (3+4-5-6-7-8+9)
จานวน
% of GDP
เอกสารงบประมาณ
จานวน
2555
% of GDP
ระบบกระแสเงินสด 17.2
1,980,644.0
17.4
2,380,000.0 2,380,000.0
20.7 20.7
2,295,329.0 2,148,477.0 90.3 146,852.0
20.2 18.9
(314,685.0) 9,646.0
(2.8) 0.1
(400,000.0)
(3.5)
(3.5)
(305,039.0)
% of GDP
ระบบ สศค.
1,980,000.0
(400,000.0)
จานวน
1.3
(2.7)
จานวน
% of GDP
เอกสารงบประมาณ
2,075,080.0 1,975,876.0 8,888.7 88,965.3 1,350.0 2,324,181.4 2,148,477.0 90.3 146,852.0 8,888.7 88,965.3 1,350.0 3,987.4 53,912.0 20,427.0 (249,101.4)
18.2 17.4 0.1 0.8 0.0 20.4 18.9
2,616.8 24,422.4 1,762.0 7,382.0 36,630.8 441,281.5 380,090.5 24,560.2 (248,653.8)
0.0 0.2 0.0 0.1 0.3 3.9 3.3 0.2 (2.2)
1.5 0.1 0.8 0.0 0.0 0.5 0.2 (2.2)
2556e จานวน % of GDP ระบบกระแสเงินสด
2,100,000.0
16.9
2,170,223.0
17.7
2,400,000.0 2,400,000.0
19.3 19.3
2,474,603.0 2,256,000.0 94.0 218,603.0
20.2 18.4
(304,380.0) (7,808.0)
(2.5) (0.1)
(300,000.0)
(300,000.0)
(2.4)
(2.4)
(312,188.0)
1.8
(2.6)
หน่วย: ล้านบาท จานวน
1,400.0 7,808.0 14,913.2 16,256.0 41,270.0 477,910.0 411,640.0 25,000.0 (288,990.7)
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 11. รายรับ (11.1+11.2) 529,979.0 4.7 548,049.0 11.1 รายได้ 308,887.0 2.7 311,549.0 11.2 เงินช่วยเหลือจากรัฐบาล 221,092.0 1.9 236,500.0 12 รายจ่าย 486,395.2 4.3 548,049.0 13. ดุลการคลัง (11-12) 43,583.8 0.4 14. ดุลการคลังของภาครัฐบาล (10+13) (205,070.0) (1.8) (288,990.7) GDP (ล้านบาท) 11,478,600 11,375,349 11,375,349 12,442,800 12,228,000 12,228,000 หมายเหตุ 1. ดุลการคลังตามระบบงบกระแสเงินสดเป็นการแสดงรายได้ (รวมค่า Premium และรายได้จากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ แต่ไม่รวมรายรับจากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลและรายได้จากภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่โอนให้แก่อปท.) และรายจ่ายทั้งหมดจากบัญชีเงินคงคลัง 2. ระบบ สศค. มีรายการปรับปรุงรายได้เพิ่มเติมจากระบบกระแสเงินสด คือ อบจ. ,พรบ.แผน,ภาคหลวงแร่,ภาคหลวงปิโตรเลียม,ดอกเบี้ยพันธบัตร FIDF,การช้าระต้นเงินกู้พันธบัตร FIDF,เงินช่วยเหลือต่างประเทศ หัก การขายสินทรัพย์,เงินเหลือจ่าย,เงินกู้รับคืน รายได้เงินกู้รับคืน และรวมเงินภาษีที่จัดสรรให้ อปท. และเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ ตั้งแต่ปงี บประมาณ 2546 เป็นต้นมา 3. ระบบ สศค. มีการปรับปรุงทางด้านรายจ่าย คือ อบจ. ,พรบ.แผน,ภาคหลวงแร่,ภาคหลวงปิโตรเลียม,ดอกเบี้ยพันธบัตร FIDF,เงินช่วยเหลือต่างประเทศ หัก ส่วนเกินพันธบัตร,การขายสินทรัพย์,เงินเหลือจ่าย,เงินให้กู้รับคืน และเงินภาษีที่จัดสรรให้อปท. 4. บัญชีนอกงบประมาณประกอบด้วย เงินทุนหมุนเวียน และกองทุนนอกงบประมาณ ทั้งนี้ ได้บน ั ทึกข้อมูลตามเกณฑ์คงค้าง ส้าหรับกองทุนน้้ามันได้เริ่มบันทึกรายจ่ายชดเชยน้้ามันตามเกณฑ์คงค้างตั้งแต่เดือนมกราคม 2547 เป็นต้นมา 5. รายได้ตามระบบกระแสเงินสดบันทึกอยู่ในระบบ cash basis ส่วนรายได้ตามระบบ สศค. บันทึกอยู่ในระบบ acrual basis จัดท้าโดย : ส้านักนโยบายการคลัง ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่มา : กรมบัญชีกลาง ส้านักงานบริหารหนี้สาธารณะ ธนาคารแห่งประเทศไทย และ ส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันที่บน ั ทึกข้อมูล : 26 กรกฎาคม 2556
- 23-25-
% of GDP
ระบบ สศค. 2,249,320.0 2,139,900.0 9,360.0 97,900.0 2,160.0 2,539,203.5 2,256,000.0 94.0 218,603.0 9,360.0 97,900.0 2,160.0 4,330.0 49,149.5 (289,883.5)
18.4 17.5 0.1 0.8 0.0 20.8 18.4 1.8 0.1 0.8 0.0 0.0 0.4 (2.4) 0.0 0.1 0.1 0.1 0.3 3.9 3.4 0.2 (2.4) 4.5 2.5 1.9 4.5 (2.4)
ฐานะการคลังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฐานะการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ 2556 (เดือนเมษายน – มิถุนายน 2556) 1. ด้านรายได้ อปท. จานวน 7,853 แห่ง มีรายได้รวม 143,590 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 51,229 ล้านบาท หรือร้อยละ 55 เนื่องจาก อปท. มีรายได้ท่ีจัดเก็บเอง รายได้ จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ รวมทั้งรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาลเพิ่มขึ้น ตารางที่ 1 รายได้ของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ 2556 ประเภท 1/
1. รายได้จัดเก็บเอง (ร้อยละของรายได้รวม) 1.1 รายได้จากภาษีอากร 1.2 รายได้ทไี่ ม่ใช่ภาษีอากร 2. รายได้จากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 2/ (ร้อยละของรายได้รวม) 3. รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล 3/ (ร้อยละของรายได้รวม) รวม (ร้อยละของรายได้รวม)
หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ
ไตรมาส 3 ปีงบประมาณ 2556 ปีงบประมาณ 2555 13,869 12,628 10 14 10,345 9,229 3,524 3,399 88,338 61,712 62 41,383
67 18,021
29 143,590 100
20 92,361 100
จานวน 1,241
ร้อยละ 10
1,116 125 26,626
12 4 43
23,362
130
51,229
55
หมายเหตุ
ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556
ที่มา
1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดิน กรมการขนส่งทางบก กรมการปกครอง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง ส่วนระบบสถิติการคลัง สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
รวบรวมโดย
รายได้ของ อปท. จาแนกตามแหล่งที่มาได้ ดังนี้ 1.1 รายได้ที่จัดเก็บเอง จานวน 13,869 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 1,241 ล้านบาท หรือร้อยละ 10 ประกอบด้วยรายได้จากภาษีอากร 10,345 ล้านบาท และรายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร 3,524 ล้านบาท 1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จานวน 88,338 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 26,626 ล้านบาท หรือร้อยละ 43 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จานวน 41,383 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 23,362 ล้านบาท หรือร้อยละ 130
- 26 -
2. ด้านรายจ่าย อปท. 1 จานวน 7,853 แห่ง มีรายจ่ายทั้งสิ้น 130,448 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 17,429 ล้านบาท หรือร้อยละ 15 เนื่องจาก อปท. มีรายจ่ายเพิ่มขึ้นในส่วนของ เงินเดือน ค่าจ้างประจา ค่าใช้จ่ายจากการจัดซื้อจัดจ้างครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง เพื่อปรับปรุงและซ่อมแซม สาธารณูปโภค เช่น ถนน ขุดลอกคูคลอง 3. ดุลการคลัง อปท.2 เกินดุล 13,142 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 33,800 ล้านบาท หรือร้อยละ 164 เนื่องจาก อปท. ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วค่อนข้างมากและรายได้ ที่ อปท. จัดเก็บเองเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้ว ทาให้ ดุลการคลังเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ ผ่านมา (รายละเอียดตามตารางที่ 2 และแผนภูมิที่ 1) ตารางที่ 2 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ 2556
ประเภท 1. รายได้ 1.1 รายได้ทจี่ ัดเก็บเอง 1/
หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ
ไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ 2556 ปีงบประมาณ 2555 143,590 92,361 13,869 12,628
1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 2/ 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน 3/ 2. รายจ่าย 3. ดุลการคลัง 4/
จานวน 51,229 1,241
ร้อยละ 55 10
88,338
61,712
26,626
43
41,383 130,448
18,021 113,019
13,142
(20,658)
23,362 17,429 33,800
130 15 (164)
หมายเหตุ
ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556
ที่มา
1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดิน กรมการขนส่งทางบก กรมการปกครอง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ พิจารณาจากข้อมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKINK SYSTEM) ของ ธปท.
รวบรวมโดย
ส่วนระบบสถิติการคลัง สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
1
โดยพิจารณาจากผลต่างของรายได้กับดุลการคลังของ อปท. (การเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) จากธนาคารแห่งประเทศไทย 2 ดุลการคลัง อปท. พิจารณาจากข้อมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) จากธนาคารแห่งประเทศไทย
- 27 -
แผนภูมิที่ 1 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ 2556 ล้านบาท
ฐานะดุลการคลังของ อปท. ในช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 (เดือนตุลาคม 2555 – มิถุนายน 2556) 1. ด้านรายได้ อปท. มีรายได้จานวน 418,697 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 55,118 ล้านบาท หรือร้อยละ 15 เนื่องจากรายได้ที่ อปท. จัดเก็บเอง 32,222 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 4 รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 170,396 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 18 และรายได้ จากเงินอุดหนุน 216,079 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 15 2. ด้านรายจ่าย อปท. มีรายจ่ายรวมทั้งสิ้น 336,149 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 34,548 ล้านบาท หรือร้อยละ 11 3. ดุลการคลัง อปท. เกินดุลทั้งสิ้น จานวน 82,549 ล้านบาท เกินดุลเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 20,570 ล้านบาท หรือร้อยละ 33
- 28 -
ตารางที่ 3 ดุลการคลังของ อปท. ช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 2555 418,697 363,579
ประเภท 1. รายได้ 1.1 รายได้ทจี่ ัดเก็บเอง 1/ 1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน 2. รายจ่าย
2/
3/
3. ดุลการคลัง 4/
หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ จานวน ร้อยละ 55,118 15
32,222
30,935
1,287
4
170,396
144,398
25,998
18
216,079 336,149
188,246 301,601
27,833 34,548
15 11
82,549
61,978
20,570
33
หมายเหตุ
ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556
ที่มา
1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดิน กรมการขนส่งทางบก กรมการปกครอง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ พิจารณาจากข้อมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKINK SYSTEM) ของ ธปท.
รวบรวมโดย
ส่วนระบบสถิติการคลัง สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
แผนภูมิที่ 2 ดุลการคลังของ อปท. ช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 ล้านบาท
- 29 -
สถานการณ์ด้านหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2556 หนี้สาธารณะคงค้าง จานวน 5,225.0 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 44.27 ของ GDP เพิ่มขึ้นจากเดือนที่แล้ว 47.9 พันล้านบาท ประกอบด้วยหนี้ในประเทศ คิดเป็นร้อยละ 93.2 ส่วนที่เหลือร้อยละ 6.8 เป็น หนี้ต่างประเทศ หนี้คงค้างที่เพิ่มขึ้น 47.9 พันล้านบาท เป็นผลจากหนี้ ที่รั ฐ บาลกู้ โ ดยตรงเพิ่ม ขึ้น 48.6 พันล้านบาท ในขณะที่ หนี้ รั ฐ วิส าหกิจ ลดลง 0.7 พัน ล้ านบาท โดยหนี้ หน่ ว ยงานอื่น ของรั ฐ ไม่มี การเปลี่ ย นแปลง หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง เพิ่มขึ้น 48.6 พันล้านบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว โดยหนี้ในประเทศเพิ่มขึ้น 24.5 พันล้านบาท มีสาเหตุหลักจาก การกู้ชดเชยการขาดดุล งบประมาณ 24.4 พันล้านบาท ในขณะเดียวกัน หนี้ต่างประเทศเพิ่มขึ้นจาก เดือนก่อน 24.1 พันล้านบาท มีสาเหตุหลักมาจาก การเบิกจ่ายเงินกู้ให้กู้ต่อ แก่บริษัทการบินไทย จ้ากัด (มหาชน) 500 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ (15,633.75 ล้านบาท)
หน่วย : ล้านบาท
1. รวมหนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง-ต่างประเทศ หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง-ในประเทศ 2. รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจ
หนี้ที่รัฐบาลค้้าประกัน-ต่างประเทศ หนี้ที่รัฐบาลค้้าประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้าประกัน-ต่างประเทศ** หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้าประกัน-ในประเทศ** 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น * หนี้ที่รัฐบาลค้้าประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รัฐบาลไม่ค้าประกัน-ในประเทศ 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ FIDF 5. ยอดหนี้สาธารณะคงค้างรวม (1+2+3+4) GDP*** หนี้สาธารณะคงค้างรวมต่อ GDP (%)
ณ 31 พ.ค 56 3,609,170.92 46,641.54 3,562,529.38 1,567,050.39 111,459.92 829,713.88 165,828.63 460,047.96 813.37 813.37 -
ณ 30 มิ.ย 56 3,657,756.16 70,691.54 3,587,064.62 1,566,396.44 116,288.54 817,668.28 170,537.78 461,901.84 813.37 813.37 -
5,177,034.68 11,730,420.00 44.13
5,224,965.98 11,801,500.00 44.27
หมายเหตุ * หน่วยงานภาครัฐอื่น ได้แก่ ส้านักงานคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมืองแห่งชาติ และสถาบันบริหารกองทุนพลังงาน ** ไม่รวมหนีข้ องรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน *** ส้านักงานบริหารหนี้สาธารณะได้ปรับวิธีการค้านวณ GDP ในแต่ละเดือน โดยค้านวณ GDP ของเดือนพฤษภาคม 2556 ดังนี้[(GDP ป55/12)*7]+[(GDP ป56/12)*5] เท่ากับ 11,730.42 พันล้านบาท และได้ค้านวณ GDP ของเดือนมิถุนายน 2556 ดังนี้[(GDP ป55/12)*6]+[(GDP ป56/12)*6] เทากับ 11,801.50 พันลานบาท
-30- -
สัดส่วนหนี้ในประเทศและหนี้ต่างประเทศ หนี้ของรัฐวิสาหกิจลดลง 0.7 พันล้านบาท เมื่อเทียบกับ เดือนที่แล้ว โดยเกิดจาก การช้าระคืนต้นเงินกู้สุทธิของ รัฐวิสาหกิจ หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
จ้านวน (พันล้านบาท) ร้อยละ (%)
หนี้ในประเทศ 4,867.4 93.2
หนี้ต่างประเทศ 357.5 6.8
สัดส่วนหนี้ระยะยาวและหนี้ระยะสั้น จ้านวน (พันล้านบาท) ร้อยละ (%)
-31-
หนี้ระยะยาว 5,108.8 97.8
หนี้ระยะสั้น 116.2 2.2
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง กระทรวงการคลังได้กาหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนิน นโยบายทางการคลังที่สอดคล้องกับสถานะเศรษฐกิจการเงินและการคลังของประเทศ โดยมีเป้าหมาย เพื่อรักษาเสถียรภาพด้านการคลังในระยะปานกลางและระยะยาว ซึ่งกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ประกอบด้วยตัวชี้วัดและเป้าหมาย (60-15-0-25) ดังนี้ ยอดหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 การจัดทางบประมาณสมดุล สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายไม่ต่ากว่าร้อยละ 25 สานักงานเศรษฐกิจการคลังได้จัดทาการวิเคราะห์ความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประเมินและรักษาความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีผลการวิเคราะห์ระหว่าง ปีงบประมาณ 2556 – 2560 ซึ่งสรุปได้ดังนี้ สัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ในปีงบประมาณ 2556 อยู่ที่ร้อยละ 46.8 และ เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 49.8 ในปีงบประมาณ 2560 ระดับภาระหนี้ต่องบประมาณอยู่ในระดับร้อยละ 7.4 ในปีงบประมาณ 2556 และ เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 10.8 ในปีงบประมาณ 2560 รัฐบาลมีนโยบายลดการขาดดุลงบประมาณ โดยกาหนดให้ปีงบประมาณ 2556 ถึง 2559 ขาดดุลงบประมาณ 300,000 250,000 150,000 และ 75,000 ล้านบาท ตามลาดับ และจัดทางบประมาณสมดุลในปีงบประมาณ 2560 เพื่อรักษาวินัยการคลัง และขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้ขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพ สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายต่ากว่าร้อยละ 25 อย่างไรก็ดี หากนับรวม การลงทุนของภาคสาธารณะทั้งหมด เช่น การลงทุนตามพระราชกาหนดให้อานาจ กระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อวางระบบบริหารจัดการน้าฯ การลงทุนตาม พระราชบัญญัติให้อานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานฯ การลงทุนของรัฐวิสาหกิจ และการร่วมทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (PPPs) จะทาให้อัตราส่วนรายจ่ายลงทุนต่องบประมาณเพิ่มขึ้น โดยในปีงบประมาณ 2556 เมื่อนับรวมการลงทุนของรัฐบาล (450,442 ล้านบาท) กับรัฐวิสาหกิจ (433,488 ล้านบาท) และพระราชกาหนดให้อานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อวางระบบ บริหารจัดการน้าฯ (33,534 ล้านบาท) จะทาให้มีงบลงทุนรวมถึง 917,464 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 38.2 ของงบประมาณรายจ่าย
- 32 -
ผลการวิเคราะห์การดาเนินงานตามกรอบความยั่งยืนทางการคลัง 1)
1. หนี้สาธารณะคงค้าง /GDP (FY) (1.2/1.1) 1.1 nominal GDP (FY) 2) 1.2 หนี้สาธารณะคงค้าง 2. ภาระหนี้/งบประมาณ3) ( 2.1/3.2) 2.1 ภาระหนี้ (2.1.1 + 2.1.2) 2.1.1 ชาระต้นเงินกู้ 2.1.2 ดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม 3. ดุลงบประมาณ (3.1 - 3.2) 3.1 รายได้รัฐบาลสุทธิ 4) 3.2 งบประมาณรายจ่าย 4) 4. รายจ่ายลงทุน/งบประมาณ (4.1/3.2)5 4.1 รายจ่ายลงทุน
2556 46.8 12,026,800 5,632,400 7.4 177,947 49,149 128,798 -300,000 2,100,000 2,400,000 18.8 450,374
2557 48.1 12,942,700 6,219,897 7.4 185,862 52,822 133,040 -250,000 2,275,000 2,525,000 17.5 441,029
2558 49.2 13,902,900 6,846,030 9.9 257,270 77,594 179,676 -150,000 2,454,000 2,604,000 14.3 371,876
หน่วย : ล้านบาท 2559 2560 50.0 49.8 14,945,600 16,066,500 7,465,439 8,007,914 10.5 10.8 284,544 307,696 80,394 85,006 204,150 222,690 -75,000 0 2,647,000 2,855,000 2,722,000 2,855,000 15.3 14.8 416,561 421,809
ที่มา : 1) ข้อมูลหนี้สาธารณะคงค้างอ้างอิงการประมาณการโดยสานักงานบริหารหนี้สาธารณะ ณ วันที่ 21 มิถุนายน 2556 2) ข้อสมมติฐานเศรษฐกิจปี 2556 – 2560 จากสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 3) ข้อมูลภาระหนี้ต่องบประมาณปี 2556 และ ปี 2557 จากเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2557 และ ปี 2558 – 2560 อ้างอิงการประมาณการโดยสานักงานบริหารหนี้สาธารณะ ณ วันที่ 21 มิถุนายน 2556 4) ข้อมูลรายได้รัฐบาลสุทธิและงบประมาณรายจ่ายปี 2556 และ ปี 2557 จากเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2557 และ ปี 2558–2560 ประมาณการจากคณะกรรมการรายได้
- 33 -
การดาเนินกิจกรรมกึ่งการคลัง ผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ปี 2556 (เดือนมกราคม – มีนาคม 2556) โครงการที่มีการแยกบัญชีธุรกรรมเชิงนโยบายรัฐ (Public Service Account) จาแนกตามสถาบันการเงิน หน่วย : ล้านบาท
ณ 31 มี.ค. 2556 สถาบันการเงิน เฉพาะกิจ
สินเชื่อคงค้าง
NPLs
เฉพาะกิจ* ประมาณการความเสียหายที่ NPLs Ratio (%)
ต้องได้รับการชดเชยจาก รัฐบาล ตั้งแต่เริ่ม - สิ้นสุด โครงการ 8,756.20 30,944.61 4,306.72 1,050.00 16,482.20 20,951.99 1,311.15 83,802.87
ประมาณการภาระ ความเสียหายคงเหลือ รอการชดเชยจาก รัฐบาล 6,975.87 9,081.78 3,377.99 1,033.64 15,687.25 18,994.70 1,164.15 56,315.38
ธ. ออมสิน 42,767.86 0.00 0.00 ธ.ก.ส. 869,477.87 388.63 0.04 ธอส. 19,998.29 208.30 1.04 ธสน. 3,230.12 0.00 0.00 ธพว. 28,889.50 2,622.90 9.08 บสย. 135,786.64 4,627.45 3.41 ธอท. 3,198.37 766.61 23.97 รวมทุกสถาบัน 1,103,348.65 8,613.89 0.78 การเงิ นเฉพาะ หมายเหตุ * สถาบันการเงินเฉพาะกิจในที่นี้ ยกเว้น บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย (บตท.) เนื่องจากไม่มีรายการธุรกรรมนโยบายรัฐ ที่มา กิสถาบั จ นการเงินเฉพาะกิจ
สินเชื่อคงค้างและหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) ยอดสินเชื่อคงค้างของโครงการตามนโยบายรัฐที่มีการแยกบัญชี PSA มีจานวนทั้งสิ้น 1,103,348.65 ล้านบาท ในขณะที่ยอด NPLs เท่ากับ 8,613.89 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อยอดสินเชื่อ คงค้างร้อยละ 0.78 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ธนาคารออมสิน มียอดสินเชื่อคงค้าง จานวน 42,767.86 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.88 ของสินเชื่อคงค้าง โครงการ PSA ทั้งหมด ในส่วนของ NPLs พบว่าโครงการ PSA ของธนาคารออมสินไม่มีหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ เนื่องจากโครงการ Soft Loan ของธนาคารออมสินเป็นการปล่อยสินเชื่อให้แก่ธนาคารพาณิชย์ในรูปเงินฝาก ในขณะที่โครงการบางโครงการ เช่น โครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาระบบป้องกันอุทกภัยโดยธนาคารออมสิน และ โครงการสินเชื่อเพื่อก่อสร้างระบบป้องกันอุทกภัยในนิคมอุตสาหกรรมมีการอนุมัติวงเงินโครงการแล้ว แต่ยังไม่มีการเริ่มดาเนินการปล่อยกู้ เป็นต้น ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) เป็น SFIs ที่มีการดาเนินโครงการ PSA คิดเป็นมูลค่า มากที่สุด โดยมียอดสินเชื่อคงค้าง 869,477.87 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 78.80 ของยอดสินเชื่อคงค้างโครงการ PSA ทั้งหมด ในขณะที่มียอด NPLs จานวน 388.63 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อยอดสินเชื่อคงค้าง เท่ากับร้อยละ 0.04 อย่างไรก็ตาม เป็นที่น่าสังเกตว่าโครงการ PSA ของ ธ.ก.ส. มีมูลค่าและสัดส่วน NPL ที่ค่อนข้าง ต่าเมื่อเปรียบเทียบกับยอดสินเชื่อคงค้าง สาเหตุส่วนหนึ่งเกิดจากการเข้าร่วมโครงการพักหนี้เกษตรกรรายย่อยและ ประชาชนผู้มีรายได้น้อยที่มีหนี้คงค้างต่ากว่า 500,000 บาท ทาให้ NPLs ของกลุ่มลูกหนี้ที่มีปัญหาการชาระหนี้ได้ -34-
ปรับสถานะเป็นลูกหนี้ปรกติ รวมถึงโครงการที่มียอดสินเชื่อคงค้างสูง เช่น โครงการจานาผลิตผลทางการเกษตรต่าง ๆ ที่ไม่มีมูลค่าหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (ยกเว้นโครงการรับจานาข้าวนาปี ปี 2554/55 ประเภทจานายุ้งฉางที่เกษตรกร ผิดนัดการไถ่ถอนข้าว ก่อให้เกิดหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้จานวน 68.89 ล้านบาท) ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) มียอดสินเชื่อคงค้างโครงการแยกบัญชี PSA 19,998.29 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 1.81 ของยอดสินเชื่อคงค้างโครงการ PSA ทั้งหมด ในขณะที่มียอด NPLs 208.30 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อยอดสินเชื่อคงค้างเท่ากับร้อยละ 1.04 ธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) มียอดสินเชื่อคงค้างของโครงการ PSA เท่ากับ 3,230.12 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของยอดสินเชื่อคงค้างโครงการ PSA ทั้งหมด ในขณะที่ไม่มี มูลค่าหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) มียอดสินเชื่อคงค้างโครงการ แยกบัญชี PSA 28,889.50 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.62 ของยอดสินเชื่อคงค้างโครงการ PSA ทั้งหมด ในขณะที่ มียอด NPLs 2,622.90 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อยอดสินเชื่อคงค้างเท่ากับร้อยละ 9.08 บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) มียอดสินเชื่อคงค้างโครงการแยกบัญชี PSA 135,786.64 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 12.31 ของยอดสินเชื่อคงค้างโครงการ PSA ทั้งหมด ในขณะที่มียอด NPLs 4,627.45 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนหนี้ NPLs ต่อยอดภาระค้าประกันคงเหลือเท่ากับร้อยละ 3.41 ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (ธอท.) มียอดสินเชื่อคงค้างรวมทุกโครงการ 3,198.37 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 0.29 ของยอดสินเชื่อคงค้างโครงการ PSA ทั้งหมด ในขณะที่มียอด NPLs 766.61 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อยอดสินเชื่อคงค้างเท่ากับร้อยละ 23.97 คิดเป็นสัดส่วนสูงสุด เมื่อเปรียบเทียบกับ SFIs อื่น ๆ สาเหตุส่วนหนึ่งเกิดจากการพิจารณาปล่อยสินเชื่อที่ไม่รอบคอบ การประเมินหลักประกันไม่ถูกต้องจนส่งผลให้ยอด สินเชื่อสูงกว่าหลักประกัน และการติดตามดูแลลูกหนี้ไม่ดีพอ ประมาณการความเสียหายจากโครงการที่มีการแยกบัญชีธุรกรรมเชิงนโยบายรัฐ (PSA) สาหรับภาระการชดเชยความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA นั้น สามารถประมาณการความเสียหาย ที่สถาบันการเงินเฉพาะกิจต้องได้รับการชดเชยจากรัฐบาลตั้งแต่เริ่ม จนถึงสิน้ สุดโครงการ จานวนทั้งสิน้ 83,802.87 ล้านบาท โดยรัฐบาลชดเชยไปแล้ว 27,487.49 ล้านบาท คงเหลือภาระความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล 56,315.38 ล้านบาท ธนาคารออมสิน รัฐบาลมีภาระชดเชยความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ตั้งแต่เริ่มจนถึง สิ้นสุดโครงการ จานวนทั้งสิ้น 8,756.20 ล้านบาท ในขณะที่รัฐบาลมีการชดเชยแล้ว 1,780.33 ล้านบาท คงเหลือภาระความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล 6,975.87 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 12.40 ของประมาณ การภาระความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ
-35-
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) รัฐบาลมีภาระชดเชยความเสียหายที่เกิดจาก โครงการแยกบัญชี PSA ตั้งแต่เริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ จานวนทั้งสิ้น 30,944.61 ล้านบาท ในขณะที่รัฐบาลชดเชย ไปแล้ว 21,862.83 ล้านบาท คงเหลือภาระความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล 9,081.78 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 16.13 ของประมาณการภาระความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) รัฐบาลมีภาระชดเชยความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ตั้งแต่เริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ จานวนทั้งสิ้น 4,306.72 ล้านบาท ในขณะที่รัฐบาลชดเชยแล้ว 928.73 ล้านบาท คงเหลือภาระความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล 3,377.99 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.00 ของประมาณการ ภาระความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) รัฐบาลมีภาระชดเชยความเสียหายที่เกิดจาก โครงการแยกบัญชี PSA ตั้งแต่เริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ จานวนทั้งสิ้น 1,050.00 ล้านบาท ในขณะที่รัฐบาล ชดเชยแล้ว 16.36 ล้านบาท คงเหลือความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล 1,033.64 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.84 ของประมาณการภาระความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) รัฐบาลมีภาระชดเชย ความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ตั้งแต่เริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ จานวนทั้งสิ้น 16,482.20 ล้านบาท ในขณะที่รัฐบาลชดเชยแล้ว 794.95 ล้านบาท คงเหลือความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล 15,687.25 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 27.90 ของประมาณการภาระความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) รัฐบาลมีภาระชดเชยความเสียหายที่เกิดจาก โครงการแยกบัญชี PSA ตั้งแต่เริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ จานวนทั้งสิ้น 20,951.99 ล้านบาท ในขณะที่รัฐบาล ชดเชยแล้ว 1,957.29 ล้านบาท คงเหลือความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล 18,994.70 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 33.73 ของประมาณการภาระความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ทั้งนี้ บสย. มีความ เสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาลมากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โครงการ Portfolio Guarantee Scheme ระยะ ที่ 1 – 51 ที่มีความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาล 13,231.84 ล้านบาท (จากประมาณการความเสียหาย ทั้งสิ้น 15,165.94 ล้านบาท) ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (ธอท.) รัฐบาลมีภาระชดเชยความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ตั้งแต่เริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ จานวนทั้งสิ้น 1,311.15 ล้านบาท ในขณะที่รัฐบาลชดเชยแล้ว 147.04 ล้านบาท คงเหลือความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล 1,164.11 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.07 ของประมาณการภาระ ความเสียหายคงเหลือทั้งหมดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ
1
โครงการ Portfolio Guarantee Scheme เป็นโครงการเพื่อช่วยเหลือ SMEs ในทุกกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ และต้องการสินเชื่อแต่ขาด หลักประกัน ให้มีโอกาสเข้าถึงสินเชื่อจากสถาบันการเงิน ซึ่งสินเชื่อที่ได้รับการค้าประกันจาก บสย. ตามโครงการ Portfolio Guarantee Scheme นั้น สถาบันการเงินต่าง ๆ สามารถถือเสมือนว่าได้รับการค้าประกันโดยทางอ้อมจากรัฐบาล
-36-
การกระจายอานาจการคลัง ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การประเมินผลการปรับบทบาทของส่วนราชการภายหลังการถ่ายโอนภารกิจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. ความเป็นมา แผนปฏิบัติการกาหนดขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 1 ) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 กาหนดให้ราชการบริหารส่วนกลางและส่วนภูมิภาคถ่ายโอนภารกิจและอานาจหน้าที่ ในการจัดบริการสาธารณะให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ดาเนินการแทน และพระราชบัญญัติกาหนดแผน และขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 12 (14) ได้กาหนดให้คณะกรรมการ การกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (กกถ.) มีหน้าที่เสนอรายงานเกี่ยวกับการกระจายอานาจให้แก่ อปท. ต่อคณะรัฐมนตรี และมาตรา 15 ได้กาหนดให้สานักงานคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (สกถ.) มีหน้าที่รวบรวมข้อมูลศึกษาวิเคราะห์ รวมทั้งติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานเกี่ยวกับ การกระจายอานาจให้แก่ อปท. เสนอต่อ กกถ. พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 และแผนปฏิบัติการกาหนดขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 1 ) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ได้กาหนดบทบาทของส่วนราชการไว้ ดังนี้ 1) ราชการบริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคจะเปลี่ยนบทบาทจากฐานะผู้จัดทาบริการสาธารณะมาเป็นผู้ให้ การช่วยเหลือทางวิชาการ และกากับดูแลการดาเนินงานของ อปท. เท่าที่จาเป็น 2) ปรับลดบทบาทภารกิจและลดการกากับดูแลของราชการบริหารส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคโดยเพิ่ม บทบาทให้ส่วนท้องถิ่นเข้าดาเนินการแทน และให้การสนับสนุน ส่งเสริมด้านเทคนิควิชาการ กาหนดมาตรฐานและ ตรวจสอบติดตามประเมินผล 3) ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐที่ถ่ายโอนภารกิจไปแล้ว มีหน้าที่ติดตามผลการดาเนินงานภายหลัง การถ่ายโอน หากเห็นว่าภารกิจที่ถ่ายโอนให้แก่ อปท. ไปแล้วยังไม่ครอบคลุม หรือ อปท. ไม่สามารถดาเนินการ ได้เต็มที่ หน่วยงานของรัฐต้องนาปัญหามาทบทวน 4) ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐที่มีภารกิจถ่ายโอนต้องช่วยเหลือ สนับสนุนให้คาแนะนา และคาปรึกษา ทางด้านเทคนิควิชาการ และดาเนินงานให้แก่ อปท. ในภารกิจที่ถ่ายโอนตามความเหมาะสม 5) ราชการบริหารส่วนกลางยังคงต้องกาหนดมาตรฐานทั่วไปของการจัดบริการสาธารณะเพื่อเป็นแนวทาง ปฏิบัติหรือเป็นคู่มือปฏิบัติงานให้กับ อปท. และกากับดูแลให้ อปท. ปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ รวมทั้ง มาตรฐานต่างๆ ที่รัฐเห็นว่าจาเป็นต้องควบคุมดูแลให้ อปท. ปฏิบัติตาม 6) กรณีภารกิจที่ถ่ายโอนมีหลายหน่วยงานและมีการกาหนดมาตรฐานที่หลากหลาย ควรมีกลไกที่กาหนด มาตรฐานกลางเพื่อใช้เป็นคู่มือปฏิบัติให้เป็นเกณฑ์มาตรฐานเดียวกันและสามารถยืดหยุ่นได้
-37-
2. การดาเนินการ สกถ. และคณะกรรมการด้านการติดตามและประเมินผลได้ดาเนินการประเมินผลการปรับบทบาทของ ส่วนราชการภายหลังการถ่ายโอนภารกิจให้แก่ อปท. ตามมติของคณะอนุกรรมการด้านการติดตามและประเมินผล ในการประชุมครั้งที่ 2/2556 เมื่อวันพุธที่ 20 มีนาคม 2556 โดย สกถ. ได้ดาเนินการจัดทาแบบสารวจการปรับ บทบาทของส่วนราชการภายหลังการถ่ายโอนภารกิจให้แก่ อปท. และจัดส่งแบบสารวจการปรับบทบาทของ ส่วนราชการฯ ให้ส่วนราชการกรอกข้อมูล จานวน 30 หน่วยงาน 3. ผลการปรับบทบาทของส่วนราชการภายหลังการถ่ายโอนภารกิจให้แก่ อปท. จากการติดตามผลปรากฏว่าส่วนราชการได้กรอกข้อมูลและส่งแบบสารวจการปรับบทบาทของส่วนราชการฯ กลับมายัง สกถ. จานวน 21 หน่วยงาน ได้แก่ 1) กรมทางหลวง 2) กรมทางหลวงชนบท 3) กรมการขนส่งทางบก 4) สานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม 5) กรมพัฒนาที่ดิน 6) กรมประมง 7) กรมการปกครอง 8) กรมโยธาธิการ และผังเมือง 9) กรมทรัพยากรน้า 10) กรมการพัฒนาชุมชน 11) กรมส่งเสริมการเกษตร 12) กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม 13) การกีฬาแห่งประเทศไทย 14) สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 15) กรมการค้าภายใน 16) กรมธุรกิจพลังงาน 17) กรมโรงงานอุตสาหกรรม 18) กรมพัฒนาธุรกิจการค้า 19) กรมป่าไม้ 20) สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ 21) กรมศิลปากร โดยผู้ตอบแบบสารวจการปรับบทบาทของส่วนราชการฯ เป็นระดับหัวหน้างาน ร้อยละ 52 รองลงมาคือ ระดับผู้บริหาร ร้อยละ 24 และระดับปฏิบัติการ ร้อยละ 24 ซึ่ง สกถ. จะรวบรวมข้อมูล สรุปผลการดาเนินงาน พร้อมทั้งปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ นาเสนอคณะกรรมการ การกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (กกถ.) เพื่อดาเนินการกาหนดนโยบายการกระจายอานาจ ให้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ของส่วนราชการ และ อปท. ต่อไป ผลการปรับบทบาทของส่วนราชการภายหลังการถ่ายโอนภารกิจให้แก่ อปท. สรุปได้ ดังนี้ 1. การบริหารจัดการงบประมาณ ส่วนราชการ ร้อยละ 81 มีการจัดทาแผนและการปรับลดงบประมาณในภารกิจที่ได้ถ่ายโอนให้แก่ อปท. โดยไม่นาภารกิจที่ถ่ายโอนให้แก่ อปท. มารวมในการจัดทาแผนงบประมาณและมีการปรับลดงบประมาณ หรือไม่มี การตั้งงบประมาณสาหรับภารกิจนั้นตั้งแต่แผนปฏิบัติการกาหนดขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่ อปท. ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2545 เช่น กรมพัฒนาที่ดิน และส่วนราชการยังไม่ได้ดาเนินการ ร้อยละ 19 เช่น กรมป่าไม้ มีความเห็นว่า เป็นภารกิจที่ส่วนราชการต้องดาเนินการร่วมกับ อปท. 2. การสนับสนุนด้านเทคนิควิชาการและการพัฒนาศักยภาพบุคลากร 2.1 การจัดทาแผนงานให้ความช่วยเหลือทางด้านวิชาการ ส่วนราชการ ร้อยละ 76 ได้ดาเนินการ สารวจตามความต้องการของ อปท. เพื่อจัดทาแผนให้ความช่วยเหลือทางด้านวิชาการแก่ อปท. เช่น กรมศิลปากร ส่วนราชการอยู่ระหว่างดาเนินการ ร้อยละ 14 และส่วนราชการยังไม่ได้ดาเนินการ ร้อยละ 10 2.2 การให้ความช่วยเหลือทางด้านเทคนิควิชาการ ส่วนราชการ ร้อยละ 76 ได้ให้เจ้าหน้าที่ที่มีความรู้ ความชานาญด้านเทคนิคเฉพาะด้าน หรือมีความเชี่ยวชาญให้คาแนะนาทางด้านเทคนิควิชาการที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ เช่น กรมทางหลวงชนบท ส่วนราชการอยู่ระหว่างดาเนินการ ร้อยละ 14 และส่วนราชการยังไม่ได้ดาเนินการ ร้อยละ 10
-38-
2.3 การเป็นพี่เลี้ยงให้คาแนะนาปรึกษาแก่ อปท. ส่วนราชการ ร้อยละ 76 มีการให้คาแนะนา ปรึกษา แก่ อปท. เกี่ยวกับการดาเนินภารกิจที่รับโอน ทั้งในรูปแบบเอกสาร หนังสือโต้ตอบหรือทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยส่ง เจ้าหน้าที่จากส่วนกลางลงพื้นที่ และให้คาแนะนาในการดาเนินงาน รวมทั้งได้เผยแพร่องค์ความรู้ผ่านทางเว็บไซต์และ ส่วนราชการบางแห่งมีหน่วยงานในพื้นที่ประสานงานคอยให้ความช่วยเหลือ เช่น กรมการพัฒนาชุมชน ส่วนราชการ อยู่ระหว่างดาเนินการ ร้อยละ 14 และส่วนราชการยังไม่ได้ดาเนินการ ร้อยละ 10 2.4 การพัฒนาศักยภาพบุคลากร ส่วนราชการ ร้อยละ 76 ได้จัดให้มีการฝึกอบรม สัมมนา ประชุมทาง วิชาการรวมถึงสนับสนุนการศึกษาวิจัยแก่บุคลากรของ อปท. เช่น การกีฬาแห่งประเทศไทย ส่วนราชการอยู่ระหว่าง ดาเนินการ ร้อยละ 14 และส่วนราชการยังไม่ได้ดาเนินการ ร้อยละ 10 เช่น กรมการขนส่งทางบก มีความเห็นว่า ขาดงบประมาณในการจัดอบรม สัมมนาให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ อปท. 3. การกากับดูแล อปท. ที่รับโอนภารกิจ 3.1 การกากับดูแลให้ อปท. ดาเนินการเป็นไปตามระเบียบ/กฎหมายกาหนดให้มีอานาจหน้าที่ ส่วนราชการ ร้อยละ 52 ได้มีการกากับดูแลให้ อปท. ดาเนินการเกี่ยวกับภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอนให้เป็นไปตามที่ ระเบียบ/กฎหมายกาหนดให้มีอานาจหน้าที่ โดยติดตามประเมินผลและกากับดูแล เพื่อให้ อปท. เกิดความตระหนัก และรับผิดชอบในการดาเนินการเกี่ยวกับภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอนให้เป็นไปตามระเบียบ/กฎหมายกาหนด เช่น สานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่วนราชการยังไม่ได้ดาเนินการ ร้อยละ 38 และ ส่วนราชการอยู่ระหว่างดาเนินการ ร้อยละ 10 3.2 การติดตามประเมินการปฏิบัติงานของ อปท. ส่วนราชการ ร้อยละ 52 ได้มีการติดตามและ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ อปท. ที่รับโอนภารกิจอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 6 เดือนหรือทุกปี ทั้งด้านค่าใช้จ่าย งบประมาณ ความก้าวหน้าและประสิทธิภาพการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง และแจ้งผลการประเมินแก่หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมทางหลวงชนบท ส่วนราชการยังไม่ได้ดาเนินการ ร้อยละ 43 เช่น สานักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ มีความเห็นว่าไม่มีบทบาทอานาจหน้าที่ในการติดตาม แต่ดาเนินการร่วมกันในลักษณะกรรมการภาคี เครือข่าย และส่วนราชการอยู่ระหว่างดาเนินการ ร้อยละ 5 3.3 การสร้างกลไกกากับการถ่ายโอนภารกิจ ส่วนราชการ ร้อยละ 52 มีการสร้างกลไกกากับการถ่ายโอน ภารกิจ เพื่อขับเคลื่อนการดาเนินงานถ่ายโอนภารกิจให้แก่ อปท. เช่น สานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ส่วนราชการยังไม่ได้ดาเนินการ ร้อยละ 34 เช่น สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีความเห็นว่า อปท. เป็นผู้สร้างกลไกกากับ และให้ส่วนราชการในพื้นที่ให้การสนับสนุนและเอื้ออานวย ให้เกิดการทางานร่วมกัน และส่วนราชการอยู่ระหว่างการดาเนินการ ร้อยละ 14 3.4 การตรวจสอบการดาเนินงานการถ่ายโอนภารกิจให้แก่ อปท. ส่วนราชการ ร้อยละ 62 มีการตรวจสอบการดาเนินงานการถ่ายโอนภารกิจให้แก่ อปท. อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และมีการนาผลการตรวจสอบ จากหน่วยงานภายนอกแจ้ง อปท. เพื่อปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ เช่น สานักนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่วนราชการยังไม่ได้ดาเนินการ ร้อยละ 24 และส่วนราชการอยู่ระหว่าง ดาเนินการ ร้อยละ 14 3.5 การรายงานผลการตรวจสอบการดาเนินงานของ อปท. และข้อเสนอแนะของ อปท. และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่วนราชการ ร้อยละ 67 มีการรายงานผลการตรวจสอบการดาเนินงานของ อปท. และ ข้อเสนอแนะของ อปท. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ กกถ. โดยได้จัดส่งเอกสารทางวิชาการซึ่งเป็นผลจากการติดตาม อปท. ให้กับ สกถ. และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เพื่อรับทราบและนาไปใช้ประกอบการยกร่างแผนการ กระจายอานาจให้แก่ อปท. ฉบับที่ 3 ต่อไป เช่น กรมพัฒาธุรกิจการค้า และส่วนราชการยังไม่ได้ดาเนินการ ร้อยละ 33 เช่น กรมการปกครอง มีความเห็นว่า เป็นหน้าที่ของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน -39-
3.6 การติดตามประเมินผลการปรับปรุง และแก้ไขการดาเนินงานของ อปท. ที่ส่วนราชการได้ให้ ข้อเสนอแนะไว้ ส่วนราชการ ร้อยละ 52 ได้มีการติดตามการปรับปรุงแก้ไขการดาเนินงานของ อปท. ตามที่ หน่วยงานภูมิภาคและหน่วยงานในพื้นที่มีข้อเสนอแนะไว้ เช่น กรมศิลปากร ส่วนราชการยังไม่ได้ดาเนินการ ร้อยละ 43 เช่น กรมการปกครอง มีความเห็นว่าเป็นหน้าที่ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และส่วนราชการ อยู่ระหว่างดาเนินการ ร้อยละ 5 3.7 การส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจให้ อปท. ในการพัฒนาคุณภาพการจัดบริการสาธารณะ ส่วนราชการ ร้อยละ 19 จัดให้มีการแข่งขันระหว่าง อปท. ในการจัดบริการสาธารณะ เช่น การจัดประกวดให้รางวัล การบริหารจัดการที่ดี โดยมีผู้แทนจากภาครัฐ เอกชน ประชาชน และภาคประชาสังคม ร่วมเป็นกรรมการประเมิน โดยมีมาตรการในการส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจให้ อปท. ในการพัฒนาคุณภาพการดาเนินงาน และให้การสนับสนุน งบประมาณแก่ อปท. ที่ดาเนินงานมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง เช่น สานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม และส่วนราชการไม่ได้ดาเนินการ ร้อยละ 62 เช่น สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีความเห็นว่า ขาดงบประมาณในการดาเนินการ และกรมธุรกิจพลังงาน มีความเห็นว่าเป็นหน้าที่ของกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่น และส่วนราชการอยู่ระหว่างดาเนินการ ร้อยละ 19 4. การจัดทามาตรฐานและคู่มือการปฏิบัติงาน 4.1 การจัดมาตรฐานทั่วไปของการจัดบริการสาธารณะ ส่วนราชการ ร้อยละ 76 ได้ดาเนินการกาหนด มาตรฐานการดาเนินงานของแต่ละภารกิจที่ถ่ายโอนให้แก่ อปท. และได้นาเกณฑ์มาตรฐานดังกล่าวมาเป็นเกณฑ์ ในการติดตามและประเมินผลประสิทธิภาพในการดาเนินงานของ อปท. เช่น กรมทรัพยากรน้า ส่วนราชการยังไม่ได้ ดาเนินการ ร้อยละ 19 เช่น สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีความเห็นว่า อปท. ควรดาเนินการเอง และ ส่วนราชการอยู่ระหว่างดาเนินการ ร้อยละ 5 4.2 การจัดทาคู่มือการปฏิบัติงานให้แก่ อปท. ส่วนราชการ ร้อยละ 86 ได้ดาเนินการจัดทาคู่มือ การปฏิบัติงานเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติงานให้แก่ อปท. ในรูปแบบหนังสือ เอกสาร วีซีดี ดีวีดี เช่น กรมธุรกิจพลังงาน ส่วนราชการยังไม่ได้ดาเนินการ ร้อยละ 9 เช่น สานักงานปลัดกระทรวงการศึกษาธิการ มีความเห็นว่า อปท. ควรดาเนินการเอง และส่วนราชการอยู่ระหว่างดาเนินการ ร้อยละ 5 5. การแก้ไขปัญหากฎหมาย 5.1 การปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ส่วนราชการ ร้อยละ 48 ได้มีการสารวจตรวจสอบและ ทบทวนกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศ เพื่อดาเนินการแก้ไข ยกเลิก และปรับปรุงหรือจัดให้มีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและประกาศขึ้นใหม่ เพื่อให้ อปท. สามารถดาเนินการได้ตามภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอน ทั้งดาเนินการเอง และดาเนินการร่วมกับส่วนราชการอื่น เช่น กรมทางหลวงชนบทดาเนินการแก้ไขพระราชบัญญัติ ทางหลวง พ.ศ. 2535 เป็นพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 ส่วนราชการ ยังไม่ได้ดาเนินการ ร้อยละ 38 เช่น สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีความเห็นว่าไม่มีอานาจในการแก้ไข กฎหมาย และส่วนราชการอยู่ระหว่างดาเนินการ ร้อยละ 14 5.2 กระบวนการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ส่วนราชการ ร้อยละ 43 มีการหารือและนา ความเห็นหรือข้อเสนอของประชาชน และ อปท. มาประกอบการพิจารณาการแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศต่าง ๆ และประชุมหารือกับส่วนราชการอื่นที่เกี่ยวข้อง มีการจัดประชุมหารือพิจารณาคาสั่ง แต่งตั้ง คณะกรรมการดาเนินการแก้ไขกฎหมาย เช่น กรมศิลปากร ส่วนราชการยังไม่ได้ดาเนินการ ร้อยละ 38 และ ส่วนราชการอยู่ระหว่างดาเนินการ ร้อยละ 19
-40-
6. การลดความซ้าซ้อนในการจัดการบริการสาธารณะ ส่วนราชการร้อยละ 76 เมื่อถ่ายโอนภารกิจให้แก่ อปท. เรียบร้อยแล้วไม่มีการดาเนินการเกี่ยวกับภารกิจ ดังกล่าว ส่วนราชการยังไม่ได้ดาเนินการ ร้อยละ 24 เช่น กรมส่งเสริมการเกษตร มีความเห็นว่าเป็นภารกิจที่ต้อง ดาเนินการร่วมกับ อปท. และสานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม 7. ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการดาเนินงาน ปัญหาอุปสรรค 1. อปท. บางแห่งยังไม่มีความพร้อมในการรับโอน ภารกิจ เช่น ขาดบุคลากร งบประมาณ และไม่ ปฏิบัติตามมาตรฐาน และแนวทางการดาเนินงาน ที่ส่วนราชการกาหนดไว้ ทาให้ไม่สามารถดาเนินงาน ได้ตามภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอน 2. ส่วนราชการขาดงบประมาณในการติดตามผล การดาเนินการของ อปท. ภายหลังการถ่ายโอน ภารกิจ และการจัดอบรม สัมมนาพัฒนาศักยภาพให้ ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ อปท. อย่างต่อเนื่อง 3. บุคลากรของ อปท. บางแห่งเปลี่ยนงานบ่อยทาให้ ขาดความต่อเนื่องด้านการพัฒนาองค์ความรู้ ประกอบกับเจ้าหน้าที่ อปท. ขาดความเชี่ยวชาญ เฉพาะด้าน 4. อปท. หลายแห่งเปลี่ยนแปลงผู้บริหารบ่อยทาให้ ขาดความต่อเนื่องในการดาเนินงาน และส่งผลให้ เกิดความล่าช้าในการจัดบริการสาธารณะให้แก่ ประชาชน 5. กรมธุรกิจพลังงานได้รับข้อร้องเรียนหรือ ข้อเสนอแนะจากผู้ประกอบการหรือผู้ค้าน้ามัน หลายแห่ง เกี่ยวกับมาตรฐานและความมั่นใจ ต่อการปฏิบัติงานของ อปท.
-41-
ข้อเสนอแนะ 1. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรกาหนดระยะเวลาการ ถ่ายโอนให้ชัดเจน และเร่งรัดให้ อปท. รับโอนภารกิจ ตามที่กาหนดไว้ในแผน 2. รัฐบาลควรจัดสรรงบประมาณให้แก่ส่วนราชการ ที่ถา่ ยโอนภารกิจให้แก่ อปท. เกี่ยวกับการจัดอบรม ให้ความรู้เพื่อเพิ่มศักยภาพแก่เจ้าหน้าที่ อปท. อย่างต่อเนื่อง
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สาคัญ มติคณะรัฐมนตรีที่สาคัญ เดือนสิงหาคม 2556 6 สิงหาคม 2556 1. เรื่อง มาตรการสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการและมอบหมายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาดาเนินการตาม มาตรการสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพตามที่กระทรวงการคลังเสนอ สาระสาคัญของเรื่อง มาตรการสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ แบ่งเป็น 4 ด้าน ได้แก่ 1) มาตรการด้านการบริโภคภาคเอกชน 1.1) มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการจัดสัมมนาในประเทศ โดยให้นิติบุคคลสามารถหักค่าใช้จ่าย ได้ 2 เท่า ในปีภาษี 2556 และ 2557 สาหรับการจัดสัมมนาภายในประเทศให้แก่ลูกจ้าง ทั้งกรณีที่ดาเนินการเอง และกรณีจ้างผู้ประกอบธุรกิจนาเที่ยวที่ได้รับอนุญาตตามพระราชบัญญัติธุรกิจนาเที่ยว และมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551 เฉพาะสาหรับค่าใช้จ่ายที่เป็นค่าห้องสัมมนา ค่าห้องพัก ค่าจัดการ ค่าขนส่ง ค่าอาหาร ค่าวิทยากร และค่าวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ (หน่วยงานรับผิดชอบหลัก: กระทรวงการคลัง) 1.2) มาตรการสนับสนุนให้ผู้บริโภคใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ประหยัดพลังงาน ซึ่งเป็นการลงทุนของภาคครัวเรือนที่คุ้มค่าสาหรับการประหยัดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานในอนาคต โดย ดาเนินการในรูปแบบของมหกรรมสินค้าประหยัดพลังงานราคาถูก ด้วยการสนับสนุนงบประมาณจาก หน่วยงานภาครัฐและทุนหมุนเวียนที่มีภารกิจสอดคล้อง (หน่วยงานรับผิดชอบหลัก: กระทรวงพลังงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง: กระทรวงการคลัง กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงพาณิชย์) 2) มาตรการด้านการลงทุนภาคเอกชน 2.1) มาตรการภาษีเพื่อยกระดับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว โดยให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวที่ลงทุนซื้อหรือซ่อมแซมทรัพย์สินอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องตกแต่ง เฟอร์นิเจอร์ แต่ไม่รวมถึงยานพาหนะ สามารถหักค่าเสื่อมในอัตราเร่งที่ร้อยละ 50 ของมูลค่าทรัพย์สินในปีแรก และ ส่วนที่เหลือทยอยหักในระยะเวลา 5 ปี ในการลงทุนในปีภาษี 2556 และ 2557 (หน่วยงานรับผิดชอบหลัก: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และกระทรวงการคลัง) 2.2) มาตรการสนับสนุนอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล (Eco Car) ระยะที่ 2 ผ่านสิทธิประโยชน์ส่งเสริมการลงทุนของสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน โดยเปิดรับ สมัครผู้ผลิตที่มีความสนใจและมีความพร้อมในการลงทุนรายใหม่นอกเหนือจาก 5 รายเดิม ซึ่งอาจมีการกาหนด เงื่อนไขที่เข้มข้นขึ้นกว่าระยะแรก และอาจมีการผ่อนคลายเงื่อนไขให้ผู้ผลิตรายเดิมลงเพื่อให้เกิดความเป็นธรรม และความเชื่อถือในนโยบายการส่งเสริมของรัฐบาล (หน่วยงานรับผิดชอบหลัก: กระทรวงอุตสาหกรรม หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง:กระทรวงการคลัง และคณะกรรมการร่วมสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคมธนาคารไทย (กกร.))
-42-
2.3) มาตรการสนับสนุนการลงทุนในอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรที่เป็นทั้งอาหารและ พลังงาน โดยการอานวยความสะดวกผ่อนปรนกฎระเบียบในการจัดตั้งโรงงานผลิตอาหาร โรงงานน้าตาล และโรงงานเอทานอล ซึ่งเป็นนโยบายที่สอดคล้องกับเกษตรโซนนิ่ง (หน่วยงานรับผิดชอบหลัก: กระทรวง อุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงพลังงาน) 2.4) มาตรการส่งเสริมการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม รายเล็ก และรายย่อย ได้แก่ (1) มาตรการสินเชื่อและค้าประกันให้กับผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม โดย เร่งรัดการดาเนินการตามโครงการ Portfolio Guarantee Scheme ระยะที่ 5 ของบรรษัทประกันสินเชื่อ อุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) ในวงเงินเดิมที่คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติไว้ที่ 240,000 ล้านบาท ในช่วง 1 มกราคม 2556 ถึง 31 ธันวาคม 2558 และโครงการ Productivity Improvement Loan ของธนาคาร พัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) ในวงเงินเดิมที่คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติไว้ที่ 20,000 ล้านบาทในช่วง 24 เมษายน 2555 ถึง 31 ธันวาคม 2558 โดยขอความร่วมมือจากธนาคารพาณิชย์ และสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (หน่วยงานรับผิดชอบหลัก: กระทรวงการคลัง บสย. และ ธพว. หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง: ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่น ๆ) (2) มาตรการค้าประกันให้กับผู้ประกอบการ OTOP และวิสาหกิจชุมชน (สินเชื่อ Micro-finance) โดย บสย. โดยให้ใช้วงเงินรวมกับข้อ 3.2.4 (1) ที่เหมาะสม (หน่วยงานรับผิดชอบหลัก: กระทรวงการคลังและ บสย. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง: ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่นๆ) (3) มาตรการสินเชื่อเพื่อสนับสนุนการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของประชาชนรายย่อย (สินเชื่อ Nano-finance) โดยอนุญาตให้นิติบุคคลสามารถให้สินเชื่อ เพื่อให้ผู้ประกอบการรายย่อยสามารถเข้าถึง แหล่งเงินทุนได้สะดวกมากยิ่งขึ้น และแก้ไขปัญหาภาระดอกเบี้ยจากการกู้ยืมเงินนอกระบบโดยกาหนดให้ ธุรกิจสินเชื่อเพื่อประชาชนรายย่อยสามารถคิดอัตราดอกเบี้ยได้ตามความเหมาะสมและอยู่ในระดับที่ไม่เป็น ภาระมากจนเกินสมควร (หน่วยงานรับผิดชอบหลัก: กระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทย) 3) มาตรการด้านการใช้จ่ายภาครัฐ 3.1) มาตรการเร่งรัดการเบิกจ่ายในปีงบประมาณ 2556 (1) เร่งรัดการเบิกจ่ายงบพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด โดยในปีงบประมาณ 2556 งบพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดมีวงเงิน 18,090 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม ณ วันที่ 26 กรกฎาคม 2556 สามารถเบิกจ่ายได้เพียง 7,817 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 43.2 ของงบประมาณที่ได้จัดสรร จึงเห็นควรเร่งรัด การเบิกจ่ายงบประมาณปี 2556 ในส่วนที่เหลือ (หน่วยงานรับผิดชอบหลัก: สานักงานคณะกรรมการพัฒนา ระบบราชการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง: สานักงบประมาณ กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงการคลัง) (2) เร่งรัดการเบิกจ่ายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) โดยให้ อปท. ทุกแห่ง เร่งเบิกจ่ายเงินจากรายได้ปีงบประมาณ 2556 ทั้งในส่วนที่จัดเก็บเอง ที่รัฐบาลจัดเก็บให้และแบ่งให้ และ เงินอุดหนุนจากรัฐบาล เพื่อให้เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจโดยเร็ว (หน่วยงานรับผิดชอบหลัก: กระทรวงมหาดไทย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง: กระทรวงการคลัง)
-43-
(3) เร่งรัดการเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ โดยเห็นควรเร่งรัดการจ่ายเงินของ กองทุนนอกงบประมาณ เช่น กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุน SML กองทุนเศรษฐกิจพอเพียง กองทุน พัฒนาสตรี กองทุนตั้งตัวได้ และกองทุนอนุรักษ์พลังงาน เป็นต้น ให้ลงสู่ระบบเศรษฐกิจเร็วขึ้น และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องพิจารณาแก้ไขปัญหาเรื่องระเบียบหลักเกณฑ์ที่เป็นอุปสรรคในการเบิกจ่ายเงิน (หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก: สานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงพลังงาน และกระทรวงการคลัง) 3.2) มาตรการเร่งรัดการเบิกจ่ายในปีงบประมาณ 2557 (1) เตรียมความพร้อมในการใช้งบประมาณปี 2557 ในลักษณะเร่งรัดในช่วงแรกของ ปีงบประมาณ โดยเห็นควรกาหนดเป้าหมายอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณในปีงบประมาณ 2557 ให้สูงกว่า อัตราที่กาหนดในปีงบประมาณ 2556 (หน่วยงานรับผิดชอบหลัก: กระทรวงการคลังและสานักงบประมาณ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง: ทุกส่วนราชการ) (2) เร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายเหลื่อมปีของปีงบประมาณ 2556 และ ปีงบประมาณก่อนหน้า ให้สามารถเบิกจ่ายอย่างมีนัยสาคัญได้ภายในไตรมาสที่ 1 ของปีงบประมาณ 2557 โดยเฉพาะในส่วนของรายจ่ายประจาที่ก่อหนี้ผูกพันแล้ว (หน่วยงานรับผิดชอบหลัก: กระทรวงการคลัง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง: ทุกส่วนราชการ) (3) เร่งรัดการเบิกจ่ายเงินรางวัลของข้าราชการและลูกจ้างประจา ประจาปีงบประมาณ 2555 ให้สามารถจ่ายได้ภายในปี 2556 (ไตรมาสสุดท้ายของปีงบประมาณ 2556 หรือไตรมาสแรกของ ปีงบประมาณ 2557) (หน่วยงานรับผิดชอบหลัก: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สานักงบประมาณ และกระทรวงการคลัง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง: ทุกส่วนราชการ) (4) เร่งรัดการเบิกจ่ายงบอบรมและสัมมนา โดยกาหนดให้ส่วนราชการเร่งรัดการเบิกจ่าย งบอบรมสัมมนาในประเทศให้ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร โดยขอความร่วมมือ ให้จัดสัมมนากระจายไปตามจังหวัดต่างๆ อย่างทั่วถึง โดยเฉพาะจังหวัดที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นแหล่ง ท่องเที่ยวในอนาคต ภายในไตรมาสที่ 1 ของปีงบประมาณ 2557 (หน่วยงานรับผิดชอบหลัก: ทุกส่วนราชการ) 4) มาตรการด้านการส่งออก 4.1) การส่งออกสินค้าและการค้าสินค้าระหว่างประเทศ (1) การเร่งส่งเสริมการส่งออกสินค้าไปยังตลาดที่มีศักยภาพ เช่น ประเทศสมาชิกอาเซียน โดยเฉพาะกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม (CLMV) และมณฑลย่อยของประเทศจีน (หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก: กระทรวงพาณิชย์ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง: กระทรวงการคลัง) (2) การสนับสนุนการใช้เงินบาทในการค้ากับประเทศเพื่อนบ้าน โดยผ่อนคลายกฎระเบียบ การถือเงินบาทเข้าออกประเทศ เพื่ออานวยความสะดวกในการค้าชายแดน (หน่วยงานรับผิดชอบหลัก: กระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทย) (3) การส่งเสริมการทาธุรกรรมการค้าระหว่างประเทศ (Trade Finance) ผ่านธนาคาร เพื่อการส่งออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) โดยเพิ่มบทบาทเชิงรุกของ ธสน. ในการช่วยลดความเสี่ยง และสนับสนุนสภาพคล่องทางการเงินให้แก่ผู้ประกอบการที่จะไปดาเนินธุรกิจด้านการค้า การให้บริการ และ การลงทุน โดยเฉพาะใน CLMV โดยขอความร่วมมือสถานทูต สถานกงสุล สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ในการพิจารณาคัดเลือกคู่ค้าในต่างประเทศที่มีความน่าเชื่อถือ (หน่วยงานรับผิดชอบหลัก: กระทรวงการคลัง และ ธสน. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง: กระทรวงการต่างประเทศ และ กกร.)
-44-
4.2) การสนับสนุนภาคการท่องเที่ยวจากต่างชาติ (1) การสนับสนุนการจัดทาวีซ่าประเภทเข้าออกหลายครั้ง (Multiple-Entry Visa) ที่มีระยะเวลาหลายปี โดยให้สามารถมีผลบังคับใช้ได้ภายในปี 2556 ก่อนฤดูกาลท่องเที่ยวสาคัญปลายปี (หน่วยงานรับผิดชอบหลัก: กระทรวงการต่างประเทศ) (2) การสนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการจับจ่ายใช้สอย (Shopping Paradise) เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว โดยยกเว้นอากรขาเข้าสินค้าที่เป็นที่สนใจของนักท่องเที่ยวและไม่มี ผลกระทบหรือมีผลกระทบต่อผู้ผลิตในประเทศน้อย (หน่วยงานรับผิดชอบหลัก: กระทรวงการคลัง หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง: กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม และ กกร.) 13 สิงหาคม 2556 1. เรื่อง มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ตามที่สานักงบประมาณเสนอ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 วงเงินทั้งสิ้น 170,475.027 ล้านบาท (47,131.077 ล้านบาท + 123,343.950 ล้านบาท) ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานของรัฐที่มีความพร้อมสามารถดาเนินการก่อหนี้ผูกพันได้ทันภายในกันยายน 2556 หรือไม่ สามารถดาเนินการก่อหนี้ผูกพันได้ทันแต่มีความจาเป็นเร่งด่วนที่จะต้องดาเนินการใช้จ่าย เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจในช่วง เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556 ภายใต้ยุทธศาสตร์ประเทศ และนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล จึงกาหนดมาตรการเพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ดังนี้ 1) กรณีส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ ยังคงมีความจาเป็นต้องดาเนินการตาม แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณที่ได้รับความเห็นชอบแล้ว และมีความพร้อมที่จะสามารถก่อหนี้ ผูกพันได้ภายในกันยายน 2556 ให้เสนอรัฐมนตรีเจ้าสังกัดพิจารณานาเสนอคณะกรรมการติดตามเร่งรัดการใช้จ่าย งบประมาณภาครัฐเพื่อพิจารณาอนุมัติผ่อนผัน ต่อไป 2) กรณีส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ ที่ได้รับความเห็นชอบแผนการปฏิบัติงานและ แผนการใช้จ่ายงบประมาณแล้ว และไม่สามารถดาเนินการก่อหนี้ผูกพันโครงการหรือรายการภายในกันยายน 2556 แต่ยังมีความจาเป็นที่จะดาเนินการเพื่อเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจในช่วงเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556 ถือปฏิบัติ ดังนี้ 2.1) งบประมาณรายจ่ายของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ ให้สว่ นราชการ รัฐวิสาหกิจและหน่วยงานอื่นของรัฐพิจารณาทบทวนแผนการปฏิบัติงานและ แผนการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 โครงการ/รายการ ที่ไม่สามารถดาเนินการ หรือมีความซ้าซ้อน หรือที่ได้ดาเนินการบรรลุวัตถุประสงค์แล้วและมีงบประมาณเหลือจ่ายหรือคาดว่าไม่สามารถ เบิกจ่ายงบประมาณได้ตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ในแผนภายในวันที่ 30 กันยายน 2556 ให้พิจารณาปรับแผนการ ปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ โดยโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณจากโครงการ/รายการเดิมเพื่อนาไป ดาเนินการ ดังนี้ 1) เป็นรายการงบประมาณที่มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศและนโยบายเร่งด่วนรัฐบาล 2) เป็นรายการงบประมาณที่ก่อให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ซึ่งสามารถวิเคราะห์ความคุ้มค่าทาง เศรษฐกิจได้อย่างชัดเจน 3) เป็นรายการงบประมาณที่มีความพร้อมสามารถดาเนินงานได้ทันทีภายใน 30 กันยายน 2556 4) เป็นการโอนเปลี่ยนแปลงพื่อการแก้ไขปัญหาของหน่วยงานในกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็นเท่านั้น
-45-
5) เป็นรายการที่ผ่านการตรวจสอบข้อกาหนดตามกฎหมายฉบับต่างๆแล้ว 6) เป็นรายการที่แก้ปัญหา/ตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ ต้องมีข้อมูลที่ชัดเจนที่ แสดงถึงความสาคัญของปัญหาหรือความเดือดร้อนของประชาชน โดยต้องได้รับการยืนยันจากหน่วยงานที่ รับผิดชอบ และสามารถดาเนินการให้แล้วเสร็จภายในไตรมาสแรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 การโอนเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐไม่ควรโอนไปเป็น ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศ ยกเว้นกรณีการเดินทางไปปฏิบัติภารกิจตามสนธิสัญญาหรือที่มี ข้อผูกพันทางกฎหมายรองรับ ไม่ควรโอนไปเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อยานพาหนะไม่ควรโอนไปเป็นค่าใช้จ่ายใน การจ้างบุคลากรที่จะก่อให้เกิดภาระงบประมาณในอนาคต ไม่ควรโอนเป็นรายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ และไม่เป็นรายการที่ขาดความพร้อม และส่วนราชการ/หน่วยงานไม่สามารถใช้จ่ายงบประมาณได้ทันภายในไตร มาสแรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 2.2) งบประมาณรายจ่ายงบกลาง รายการใดที่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐได้รับการจัดสรรงบประมาณไปใช้จ่าย บรรลุวัตถุประสงค์แล้วมีเงินคงเหลือ ให้ส่งคืนสานักงบประมาณ และหากมีความจาเป็นต้องนาไปใช้จ่ายในรายการ อื่น ๆ ให้พิจารณาดาเนินการตามขั้นตอนต่อไป การดาเนินการตามข้อ 2 ให้นาเสนอรัฐมนตรีเจ้าสังกัดพิจาณาให้ความเห็นชอบก่อนนาเสนอ คณะกรรมการติดตามเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณภาครัฐเพื่อพิจารณาอนุมัติผ่อนผัน ภายในวันที่ 31 สิงหาคม 2556 ตามแบบฟอร์มที่กาหนด ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการติดตามเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณภาครัฐพิจารณาแผนการปฏิบัติงานและ แผนการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับมาตรการสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ อย่างมีเสถียรภาพ 4 ด้าน ตามนัยมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2556 (เรื่อง มาตราการสนับสนุน การขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ) ต่อไปด้วย 20 สิงหาคม 2556 1. เรื่อง โครงการประกันภัยข้าวนาปี ปีการผลิต 2556 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ดังนี้ 1) เห็นชอบการดาเนินโครงการประกันภัยข้าวนาปี ปีการผลิต 2556 โดยอนุมัติวงเงินงบประมาณจานวน 494,906,221.50 บาท เพื่อให้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) นาไปดาเนินโครงการ ประกันภัยข้าวนาปี ปีการผลิต 2556 2) ให้ ธ.ก.ส. ทดรองจ่ายสารองจ่ายเงินอุดหนุนค่าเบี้ยประกันภัยแทนรัฐบาล ตามข้อ 1 และเบิก เงินชดเชยตามจานวนที่จ่ายจริงพร้อมด้วยอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 6 เดือน ประเภทบุคคลธรรมดาของ 4 ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ (FDR) + 1% ในปีงบประมาณถัดไป 3) มอบหมายให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กษ.) โดยกรมส่งเสริมการเกษตรประสานงาน กับ ธ.ก.ส. และกระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้องกันบรรเทาสาธารณภัย ดาเนินการเชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้องกับระบบการรับประกันภัยและการจ่ายค่าสินไหมทดแทน ตลอดจนความชัดเจนในการประกาศภัยของ ผู้ว่าราชการจังหวัดในพื้นที่ประสบภัย ทั้งนี้ เพื่อความถูกต้องและรวดเร็วในขั้นตอนการขอเอาประกันภัยและ การจ่ายค่าสินไหมทดแทนแก่เกษตรกร
-46-
ทั้งนี้ ให้ ธ.ก.ส. เสนอขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจาปี เพื่อชดเชยค่าเบี้ยประกันภัยที่ได้สารองจ่ายตาม รายจ่ายที่เกิดขึ้นจริงต่อไป ตามความเห็นของสานักงบประมาณ สาระสาคัญของเรื่อง กระทรวงการคลัง (กค.) โดย สานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ธ.ก.ส. และสานักงานคณะกรรมการ กากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (สานักงาน คปภ.) ได้หารือร่วมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และสมาคมประกันวินาศภัยไทย เพื่อปรับปรุงโครงการประกันภัยข้าวนาปี ปีการผลิต 2556 โดยให้ภาคเอกชนเป็น ผู้รับประกันภัย และแบ่งพื้นที่รับประกันภัยออกเป็น 5 พื้นที่ ตามระดับความเสี่ยง อัตราเบี้ยประกันภัยที่เสนอโดยบริษัทรับประกันภัยแบ่งออกเป็น 5 อัตรา ตามระดับความเสี่ยงภัยของ พื้นที่ โดยมีวงเงินความคุ้มครอง 1,111 บาทต่อไร่ ตลอดช่วงการเพาะปลูกสาหรับภัยธรรมชาติทั้งหมด 6 ภัย และ วงเงินความคุ้มครอง 555 บาทต่อไร่ สาหรับภัยศัตรูพืชและโรคระบาด ทั้งนี้ หากกาหนดให้เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ ปีการผลิต 2556 รับภาระอัตราเบี้ยประกันภัยตั้งแต่ 60 - 100 บาทต่อไร่ และรัฐอุดหนุนค่าเบี้ยประกันภัยสาหรับเกษตรกรในส่วนที่เหลือ 69.97 - 410.39 บาทต่อไร่ (รวมภาษีมูลค่าเพิ่มและอากรแสตมป์) โดยกาหนดจานวนพื้นที่เป้าหมายเอาประกันภัย 1.5 ล้านไร่ และ ครอบคลุมพื้นที่แต่ละระดับความเสี่ยงในสัดส่วนที่เท่ากัน รัฐบาลจะมีภาระงบประมาณสูงสุดไม่เกิน 494,906,221.50 บาท 27 สิงหาคม 2556 1. เรื่อง ร่างประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การลดอัตราอากรและยกเว้นอากรศุลกากร ตามมาตรา 12 แห่งพระราชกาหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 (ฉบับที่ ..) (การปรับปรุงโครงสร้างอัตราอากรขาเข้า สินค้าในกลุ่มอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ อุตสาหกรรมผลิตเบเกอรี่และไอศกรีม และกลุ่มอุตสาหกรรมเคมี) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ดังนี้ 1) เห็นชอบในหลักการร่างประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การลดอัตราอากรและยกเว้นอากรศุลกากร ตามมาตรา 12 แห่งพระราชกาหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 (ฉบับที่ ..) (การปรับปรุงโครงสร้างอัตราอากร ขาเข้าสินค้าในกลุ่มอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ อุตสาหกรรมผลิตเบเกอรี่และไอศกรีม และกลุ่มอุตสาหกรรม เคมี) ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ และให้ส่งคณะกรรมการตรวจสอบร่างกฎหมายและร่างอนุบัญญัติที่เสนอ คณะรัฐมนตรีตรวจพิจารณา แล้วดาเนินการต่อไปได้ รายละเอียดตามตารางด้านล่าง 2) เห็นชอบข้อสังเกตของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และมอบหมาย ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์รับข้อสังเกตดังกล่าวไปพิจารณาดาเนินการต่อไป ประเภท
ประเภทย่อย
องุ่นแห้ง
0806.20.00
อัตราปัจจุบัน ร้อยละ 30 หรือกิโลกรัมละ 25 บาท
โพแตสเซียมคลอไรด์ ผลิตภัณฑ์และของที่ทาด้วย สิ่งทอ
3104.20.00 5911.10.00 5911.31.00 5911.32.00
5 10 1 1
-47-
อัตราอากรขาเข้าตามร่าง ประกาศ ที่ กค. เสนอ ร้อยละ 5 หรือกิโลกรัมละ 4 บาท ยกเว้นอากรขาเข้า ยกเว้นอากรขาเข้า ยกเว้นอากรขาเข้า ยกเว้นอากรขาเข้า
ประเภท
ประเภทย่อย
ผลิตภัณฑ์เซรามิกสาหรับใช้ ตามป้องปฏิบัติการ ใช้ ในทางเคมี หรือในทาง เทคนิคอย่างอื่น
6909.11.00 6909.12.00 6909.19.00
อัตราปัจจุบัน ร้อยละ 5 5 5
อัตราอากรขาเข้าตามร่าง ประกาศ ที่ กค. เสนอ ยกเว้นอากรขาเข้า ยกเว้นอากรขาเข้า ยกเว้นอากรขาเข้า
2. เรื่อง ร่างประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ลดอัตราภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่..) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบร่างประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ลดอัตราภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่..) ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ โดยเป็นการขยายเวลาการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ามันดีเซลที่มีปริมาณ กามะถันไม่เกินร้อยละ 0.005 โดยน้าหนัก ในอัตราภาษี 0.005 บาทต่อลิตร และน้ามันดีเซลที่มีไบโอดีเซล ประเภทเมทิลเอสเตอร์ของกรดไขมันผสมอยู่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 4 ในอัตราภาษี 0.005 บาทต่อลิตร ออกไป อีก 1 เดือน คือตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2556 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2556 3. เรื่อง มาตรการสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้น รัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการจัดการสัมมนาในประเทศ) และร่างพระราชกฤษฏีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการภาษีเพื่อยกระดับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว) รวม 2 ฉบับ ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ เพื่อสนับสนุน การขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2556 สาระสาคัญของเรื่อง 1) มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการจัดสัมมนาในประเทศ เป็นการยกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่บริษัทหรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล สาหรับเงินได้เป็นจานวนร้อยละหนึ่งร้อยของรายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าห้องสัมมนา ค่าห้องพัก ค่าขนส่ง หรือรายจ่ายอื่นที่เกี่ยวข้องในการจัดอบรมสัมมนาภายในประเทศให้แก่ลูกจ้าง หรือรายจ่ายที่ได้จ่ายแก่ ผู้ประกอบธุรกิจนาเที่ยวตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจนาเที่ยวและมัคคุเทศก์เพื่อการอบรมสัมมนาดังกล่าว ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ของกิจการของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้นเป็นเวลาสองรอบระยะเวลาบัญชีสาหรับรอบ ระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 2) มาตรการภาษีเพื่อยกระดับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่เป็น ผู้ประกอบอุตสาหกรรมท่องเที่ยวตามกฎหมายว่าด้วยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สามารถหักค่าสึกหรอ และค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินดังกล่าวได้เบื้องต้นในอัตราร้อยละห้าสิบของมูลค่าต้นทุน สาหรับมูลค่าต้นทุน ส่วนที่เหลือให้หักตามเงื่อนไขและอัตราที่กาหนดในมาตรา 4 แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวล รัษฎากร ว่าด้วยการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน (ฉบับที่ 145) พ.ศ. 2527 ตามปกติ สาหรับทรัพย์สินที่ได้มาและอยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตามวัตถุประสงค์ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557
-48-
4. เรื่อง การแปรสภาพกองทุนรวมวายุภักษ์ หนึ่ง คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการแปรสภาพกองทุนรวมวายุภักษ์ หนึ่ง ทีจ่ ะครบกาหนดอายุ โครงการในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2556 โดยให้กระทรวงการคลังพิจารณาขยายอายุกองทุนให้เสร็จก่อนสิ้นสุดอายุ กองทุน และปรับเปลี่ยนวัตถุประสงค์ รูปแบบ โครงสร้างเงินทุน และข้อกาหนดต่าง ๆ ของกองทุนรวมวายุภักษ์ หนึ่ง ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักในการบริหารจัดการหลักทรัพย์ที่รัฐถือครองอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อสร้าง ผลตอบแทนอย่างยั่งยืนในระยะยาวและมั่นคง และลงทุนในกิจการที่มีความจาเป็นและเป็นประโยชน์ต่อประเทศ เพื่อลดภาระของรัฐในการจัดสรรเงินงบประมาณ ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ โดยการขอความเห็นชอบในการ ดาเนินการดังกล่าวจากผู้ถือหน่วยลงทุน
-49-
สถิติด้านการคลัง
ผลการจัดเก็บ รายได้รัฐบาล ฐานข้อมูลรายปี กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บค ุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้นิตบ ิ ค ุ คล ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อน ื่ ๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดืม ่ ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอน ื่ ๆ รายได้อน ื่ ๆ ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครี่องหอม ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีเรือ ภาษีสารท้าลายชันบรรยากาศโอโซน ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้าหรืออบตัวและนวด ภาษีการออกสลากกินแบ่ง ภาษีหน ิ อ่อนและหินแกรนิต ภาษีซีเมนต์ ภาษีไม้ขีดไฟฯ ภาษียานัตถุ์ กรมศุล กากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อน ื่ ๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอืน ่ ส่วนราชการอืน ่ กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุน ้ ให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน
แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จด ั เก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอน ื่ ๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทน ิ ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีปฏิทน ิ (ร้อยละ) GDP (ปีงบประมาณ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีงบประมาณ (ร้อยละ)
2535 261,042 52,945 87,273 2,884 37,783 66,614 9,629 3,781 134 102,028 41,346 15,490 15,247 7,818 15,713 5,125 301 695 294 7 38 1 2 621 19 8 86,246 85,082 11 1,153 449,316 76,048 42,896 33,152 525,364
2536 300,805 57,237 103,975 3,448 2,739 112,582 16,764 3,876 184 125,789 43,711 15,638 16,679 9,478 34,350 5,158 546 73 157 10 56 2 6 105,910 104,651 11 1,247 532,504 75,603 36,701 38,902 608,106
2537 366,957 67,651 133,268 3,603 1,441 134,791 21,227 4,752 224 138,670 46,131 19,708 19,272 12,262 34,515 5,636 899 136 111 11 64 2 52 7 116,872 115,540 14 1,318 622,499 85,047 41,794 43,253 707,546
2538 444,512 86,190 157,078 3,196 1,082 163,122 28,311 5,284 249 155,308 53,501 20,717 19,759 15,131 38,147 6,598 1,190 156 109 12 69 59 16 128,548 127,124 9 1,415 728,368 86,775 41,250 45,525 815,143
2539 508,832 109,396 172,235 3,430 572 184,227 33,410 5,286 276 167,160 58,005 24,057 21,548 17,360 37,343 6,845 1,729 153 119 10 75 2 55 12 129,543 128,212 6 1,324 805,535 89,756 40,650 49,106 895,291
41,432 48,723 38,354 45,330 3,078 3,393 10,348 6,262 525,364 556,326 652,561 525,364 556,326 652,561 2,830,914 3,165,222 3,629,341 18.6 17.6 18.0 2,749,800 3,034,300 3,496,880 19.1 18.3 18.7
52,937 49,143 3,794 7,108 755,098 755,098 4,681,212 16.1 4,068,515 18.6
37,813 34,148 3,665 7,473 850,005 850,005 4,611,041 18.4 4,510,055 18.8
หน่วย : ล้านบาท 2540 2541 518,620 498,966 115,137 122,945 162,655 99,480 5,322 5,316 264 342 195,813 232,388 34,286 35,241 4,734 2,992 408 263 180,168 155,564 63,983 65,373 29,816 28,560 22,763 20,257 21,383 23,191 32,295 8,557 7,519 7,023 1,765 1,003 129 538 168 442 204 481 142 139 126 11 163 91 103 7 11 17 19 59 56 19 3 0.5 104,160 69,338 102,704 67,108 8 17 1,448 2,213 802,947 723,868 106,101 91,813 38,102 42,518 68,000 49,295 909,049 815,681 58,400 55,313 3,087 7,073 843,576 843,576 4,732,610 17.8 4,699,943 17.9
74,660 63,858 10,802 7,559 733,462 733,462 4,626,447 15.9 4,666,795 15.7
ผลการจัดเก็บ รายได้รัฐบาล ฐานข้อมูลรายปี กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บค ุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้นิตบ ิ ค ุ คล ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อน ื่ ๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดืม ่ ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอน ื่ ๆ รายได้อน ื่ ๆ ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครี่องหอม ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีเรือ ภาษีสารท้าลายชันบรรยากาศโอโซน ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้าหรืออบตัวและนวด ภาษีการออกสลากกินแบ่ง ภาษีหน ิ อ่อนและหินแกรนิต ภาษีซีเมนต์ ภาษีไม้ขีดไฟฯ ภาษียานัตถุ์ กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อน ื่ ๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอืน ่ ส่วนราชการอืน ่ กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุน ้ ให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน
แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จด ั เก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอน ื่ ๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทน ิ ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีปฏิทน ิ (ร้อยละ) GDP (ปีงบประมาณ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีงบประมาณ (ร้อยละ)
2542 452,317 106,071 108,820 10,872 186 201,976 21,311 2,824 258 163,892 66,584 26,655 22,800 24,992 13,941 6,484 904 482 419 474 158 114 191 87 6 24 49 3 68,095 66,994 36 1,064 684,303 109,042 52,679 56,364 793,346
2543 461,322 91,790 145,554 10,739 126 192,510 17,015 3,351 236 168,822 64,832 28,134 8,276 26,438 26,781 7,444 1,104 791 444 579 3,999 97 218 127 11 20 55 53 87,195 85,338 75 1,782 717,338 100,257 56,182 44,075 817,595
2544 499,711 101,136 149,677 17,154 84 215,158 12,852 3,408 242 177,600 64,124 32,310 8,933 29,991 30,330 8,100 1,429 932 713 525 213 62 246 112 14 26 59 5 92,838 91,359 82 1,397 770,149 104,617 45,482 59,135 874,766
75,325 64,655 10,670 2,994 5,916 709,111 709,111 4,637,079 15.3 4,607,310 15.4
57,036 47,358 9,679 3,198 7,278 750,082 750,082 4,922,731 15.2 4,849,547 15.5
77,920 65,682 12,239 3,732 7,698 785,416 785,416 5,133,502 15.3 5,101,367 15.4
2545 544,281 108,371 170,415 19,128 99 228,196 13,715 4,122 236 208,153 68,840 31,697 22,290 31,650 41,560 7,748 1,793 1,224 582 556 212 45 268 126 15 23 60 5 15 98,629 96,326 163 2,139 851,062 108,375 46,965 2,483 1,065 57,862 959,437
2546 627,682 117,309 208,859 21,773 45 261,306 12,757 5,348 286 246,641 73,605 33,289 25,676 36,987 56,474 8,621 2,347 1,581 591 6,420 813 239 68 299 145 22 26 65 19 54 38 78 111,819 110,054 216 1,549 986,142 118,485 50,772 3,599 64,114 1,104,627
หน่วย : ล้านบาท 2547 2548 772,236 937,149 135,155 147,352 261,890 329,516 31,935 41,178 316,134 385,718 20,024 26,304 6,820 6,816 278 266 275,773 279,395 76,996 76,458 36,325 38,193 26,181 28,620 42,749 45,483 65,012 58,760 9,350 10,106 2,859 3,712 1,641 1,849 763 762 12,625 13,935 993 1,121 280 398 97 86 332 372 167 179 34 40 23 38 44 74 5 48 53 82 92 161 185 106,122 110,403 103,635 106,917 267 285 2,220 3,202 1,154,132 1,326,948 135,747 147,472 49,086 60,664 2,976 3,210 25,075 6,000 1,484 52,611 82,114 1,289,880 1,474,420
79,902 80,150 115,574 131,220 65,769 69,261 96,947 109,625 14,133 10,888 18,627 21,594 4,109 5,042 6,368 7,451 8,234 10,501 11,226 12,421 867,192 1,008,934 1,156,713 1,323,328 16,525 40,604 47,726 58,400 850,667 968,330 1,108,986 1,264,928 5,450,643 5,917,369 6,489,476 7,092,893 15.6 16.4 17.1 17.8 5,345,826 5,780,452 6,321,068 6,920,178 15.9 16.8 17.5 18.3
ผลการจัดเก็บ รายได้รัฐบาล ฐานข้อมูลรายปี กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บค ุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้นิตบ ิ ค ุ คล ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อน ื่ ๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดืม ่ ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอน ื่ ๆ รายได้อน ื่ ๆ ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครี่องหอม ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีเรือ ภาษีสารท้าลายชันบรรยากาศโอโซน ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้าหรืออบตัวและนวด ภาษีการออกสลากกินแบ่ง ภาษีหน ิ อ่อนและหินแกรนิต ภาษีซีเมนต์ ภาษีไม้ขีดไฟฯ ภาษียานัตถุ์ กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อน ื่ ๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอืน ่ ส่วนราชการอืน ่ กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุน ้ ให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน
แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จด ั เก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอน ื่ ๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทน ิ ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีปฏิทน ิ (ร้อยละ) GDP (ปีงบประมาณ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีงบประมาณ (ร้อยละ)
2549 1,057,200 170,079 374,689 56,524 417,772 30,623 7,268 244 274,095 70,742 35,657 29,143 44,207 59,810 10,765 3,525 2,010 1,178 15,523 1,169 367 87 425 185 56 39 52 26 104 196 96,232 93,633 314 2,285 1,427,528 153,996 73,500 3,330 77,165 1,581,524
2550 1,119,194 192,795 384,619 65,735 434,272 34,406 7,137 230 287,231 76,944 41,824 33,298 52,088 55,844 11,735 3,727 1,665 1,426 7,229 1,183 269 87 447 177 68 29 46 16 111 202 90,625 88,169 345 2,112 1,497,050 206,724 80,593 3,052 36,951 86,129 1,703,775
2551 1,276,080 204,847 460,650 74,033 503,439 25,133 7,724 254 278,303 67,211 41,832 36,816 53,465 57,822 12,391 3,769 1,673 1,708 111 1,196 309 84 490 167 63 44 37 6 111 192 99,602 96,944 501 2,157 1,653,985 183,659 77,546 4,682 101,430 1,837,643
2553 1,264,584 208,374 454,565 67,599 502,176 22,892 8,735 243 405,862 152,825 53,381 42,398 58,831 77,202 14,245 1,615 1,979 1,947 1,039 400 64 452 190 39 27 26 0.107 3 95 141 97,148 93,512 169 3,467 1,767,594 235,453 140,031 3,868 91,553 2,003,047
หน่วย : ล้านบาท 2554 1,515,666 236,339 574,059 81,444 577,632 35,614 10,299 279 399,779 117,914 57,197 48,624 61,498 92,844 14,526 1,183 2,284 2,197 1,088 424 62 494 201 22 24 29 0.030 0.039 113 143 102,882 99,968 241 2,673 2,018,326 206,051 102,687 4,569 98,795 2,224,377
162,951 138,206 24,745 9,172 12,399 1,397,002 57,312 1,339,691 7,844,939 17.1 7,699,350 17.4
181,793 150,035 31,758 9,514 10,416 1,502,051 57,592 1,444,460 8,525,197 16.9 8,301,652 17.4
202,716 199,408 208,733 173,994 157,838 160,052 28,723 41,570 48,681 11,625 9,040 11,096 12,044 11,160 13,005 1,611,258 1,464,690 1,770,213 65,420 53,832 65,736 1,545,837 1,410,858 1,704,477 9,080,466 9,041,551 10,104,821 17.0 15.6 16.9 9,145,520 8,850,552 9,921,040 16.9 15.9 17.2
230,014 188,471 41,543 12,677 14,813 1,966,873 74,556 1,892,317 10,540,134 18.0 10,669,300 17.7
2552 1,138,565 198,095 392,172 90,712 431,775 18,099 7,488 223 291,221 91,059 43,936 37,982 48,993 49,278 12,186 3,111 1,608 1,479 1,062 528 73 428 183 43 31 42 7 91 164 80,288 77,187 404 2,697 1,510,074 174,224 83,761 3,822 86,641 1,684,297
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาล ฐานข้อมูลรายปี กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบคุ คล ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ รายได้อื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามม้า) ภาษีสถานบริการ(สนามกอล์ฟ) ภาษีผลิตภัณฑ์เครี่องหอม ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว ภาษีพรม ภาษีไพ่ ภาษีเรือ ภาษีสารท้าลายชันบรรยากาศโอโซน ภาษีไนท์คลับและดิสโก้เธค ภาษีสถานอาบน้าหรืออบตัวและนวด ภาษีการออกสลากกินแบ่ง ภาษีหน ิ อ่อนและหินแกรนิต ภาษีซีเมนต์ ภาษีไม้ขีดไฟฯ ภาษียานัตถุ์ กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อื่นๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอื่น ส่วนราชการอื่น กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภกั ษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน
แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จด ั เก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กาหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทน ิ ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีปฏิทน ิ (ร้อยละ) GDP (ปีงบประมาณ) สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP ปีงบประมาณ (ร้อยละ)
หน่วย : ล้านบาท 2555 2556 (10 เดือน) 1,617,293 1,383,528 266,203 256,351 544,591 388,744 94,097 104,458 659,804 582,666 41,057 40,484 11,180 10,585 362 239 379,652 368,210 61,061 53,092 59,915 54,653 53,500 44,626 64,893 59,188 117,145 134,521 16,208 15,330 977 871 2,318 2,462 2,126 1,924 1,099 1,029 411 514 57 49 476 491 221 199 23 25 40 33 35 22 0.026 2 104 91 140 119 118,973 94,644 116,325 92,573 323 203 2,326 1,868 2,115,919 1,846,382 239,391 229,433 112,268 128,062 4,374 5,326 122,749 96,045 2,355,310 2,075,815 260,374 216,012 44,362 14,815 15,280 2,064,841 88,965 1,975,876 11,375,349 17.4 10,865,400 18.2
241,057 192,461 48,596 12,950 13,640 1,808,168 55,156 1,753,012 12,228,000 13.2 12,026,800 13.4
หมายเหตุ : ข้อมูล GDP (ปีปฏิทน ิ ) ปี 2556 เป็นตัวเลขประมาณการ จากส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ณ วันที่ 20 พฤษภาคม 2556 : ข้อมูล GDP (ปีงบประมาณ) ปี 2556 ใช้ตัวเลข GDP ปีปฏิทน ิ จากแถลงข่าวของ สศช. ณ วันที่ 20 พฤษภาคม 2556 และประมาณการโดยส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และส้านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดท้าโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ ส้านักนโยบายการคลัง ส้านักงานเศรษฐกิจการคลัง
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2532 - 2556 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ
2532
2533
2534
2535
2536
285,500.0
335,000.0
387,500.0
460,400.0
560,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
16.9
16.7
16.1
17.6
17.9
(อัตราเพิ่ม) (%)
17.2
17.3
15.7
18.8
21.6
210,571.8
227,541.2
261,932.2
301,818.2
351,060.8
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
12.5
11.3
10.9
11.5
11.2
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
73.8
67.9
67.6
65.6
62.7
(อัตราเพิม่ ) (%)
13.3
8.1
15.1
15.2
16.3
53,592.4
82,043.2
105,647.6
130,652.6
171,606.7
3.2
4.1
4.4
5.0
5.5
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
18.8
24.5
27.3
28.4
30.6
(อัตราเพิม่ ) (%)
32.9
53.1
28.8
23.7
31.3
21,335.8
25,415.6
19,920.2
27,929.2
37,332.5
7.5
7.6
5.1
6.1
6.7
22.9
19.1
(21.6)
40.2
33.7
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
262,500.0
310,000.0
387,500.0
460,400.0
534,400.0
15.5
15.5
16.1
17.6
17.1
9.4
18.1
25.0
18.8
16.1
(23,000.0)
(25,000.0)
0.0
0.0
(25,600.0)
(1.4)
(1.2)
0.0
0.0
(0.8)
1,690,500.0
2,005,254.0
2,400,000.0
2,620,000.0
3,130,000.0
1. วงเงินงบประมาณ
1.1 รายจ่ายประจา
1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)
1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ (GDP) (%)
ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2555 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2533 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จานวน 1,507.5 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2532 - 2556 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ
2537
2538
2539
2540
2541
625,000.0
715,000.0
843,200.0
944,000.0
830,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
17.9
17.4
18.0
18.1
16.4
(อัตราเพิ่ม) (%)
11.6
14.4
17.9
12.0
(10.3)
376,382.3
434,383.3
482,368.2
528,293.4
519,505.8
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
10.8
10.6
10.3
10.1
10.2
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
60.2
60.8
57.2
56.0
62.6
7.2
15.4
11.0
9.5
(0.2)
212,975.6
253,839.8
327,288.6
391,209.7
279,258.1
6.1
6.2
7.0
7.5
5.5
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
34.1
35.5
38.8
41.4
33.6
(อัตราเพิม่ ) (%)
24.1
19.2
28.9
19.5
(26.5)
35,642.1
26,776.9
33,543.2
24,496.9
31,236.1
5.7
3.7
4.0
2.6
3.8
(4.5)
(24.9)
25.3
(27.0)
27.5
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
600,000.0
715,000.0
843,200.0
925,000.0
782,020.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
17.1
17.4
18.0
17.8
15.4
(อัตราเพิ่ม) (%)
12.3
19.2
17.9
9.7
(15.5)
(25,000.0)
0.0
0.0
(19,000.0)
(47,980.0)
(0.7)
0.0
0.0
(0.4)
(0.9)
3,499,000.0
4,099,000.0
4,684,000.0
5,205,500.0
5,073,000.0
1. วงเงินงบประมาณ
1.1 รายจ่ายประจา
(อัตราเพิม่ ) (%) 1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)
1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้
3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ (GDP) (%)
ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2555 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2540 เป็นตัวเลขที่ปรับลดจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จานวน 984,000 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2541 เป็นตัวเลขที่ปรับลดและปรับเพิ่มจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จานวน 923,000 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2532 - 2556 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ
2542
2543
2544
825,000.0
860,000.0
910,000.0
1,023,000.0
999,900.0
16.5
16.7
17.5
19.3
17.2
3.1
4.2
5.8
12.4
(2.3)
586,115.1
635,585.1
679,286.5
773,714.1
753,454.7
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
11.7
12.4
13.0
14.6
13.0
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
71.0
73.9
74.6
75.6
75.4
(อัตราเพิม่ ) (%)
14.4
8.4
6.9
13.9
(2.6)
233,534.7
217,097.6
218,578.2
223,617.0
211,493.5
4.7
4.2
4.2
4.2
3.6
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
28.3
25.2
24.0
21.9
21.2
(อัตราเพิม่ ) (%)
(8.9)
(7.0)
0.7
2.3
(5.4)
5,350.2
7,317.3
12,135.3
25,668.9
34,951.8
0.6
0.9
1.3
2.5
3.5
(82.9)
36.8
65.8
111.5
36.2
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
800,000.0
750,000.0
805,000.0
823,000.0
825,000.0
16.0
14.6
15.5
15.5
14.2
2.3
(6.3)
7.3
2.2
0.2
(25,000.0)
(110,000.0)
(105,000.0)
(200,000.0)
(174,900.0)
(0.5)
(2.1)
(2.0)
(3.8)
(3.0)
5,002,000.0
5,137,000.0
5,208,600.0
5,309,200.0
5,799,700.0
1. วงเงินงบประมาณ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.1 รายจ่ายประจา
1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)
1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
2545
(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2556 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
2546
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2532 - 2556 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ
2547
2548
2549
2550
2551
1,163,500.0
1,250,000.0
1,360,000.0
1,566,200.0
1,660,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
18.0
17.4
17.5
18.6
18.0
(อัตราเพิ่ม) (%)
16.4
7.4
8.8
15.2
6.0
836,544.4
881,251.7
958,477.0
1,135,988.1
1,213,989.1
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
12.9
12.2
12.3
13.5
13.1
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
71.9
70.5
70.5
72.5
73.1
(อัตราเพิม่ ) (%)
11.0
5.3
8.8
18.5
6.9
292,800.2
318,672.0
358,335.8
374,721.4
400,483.9
4.5
4.4
4.6
4.5
4.3
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
25.2
25.5
26.3
23.9
24.1
(อัตราเพิม่ ) (%)
38.4
8.8
12.4
4.6
6.9
34,155.4
50,076.3
43,187.2
55,490.5
45,527.0
2.9
4.0
3.2
3.5
2.7
(2.3)
46.6
(13.8)
28.5
(18.0)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
1,063,600.0
1,250,000.0
1,360,000.0
1,420,000.0
1,495,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
16.4
17.4
17.5
16.9
16.2
(อัตราเพิ่ม) (%)
28.9
17.5
8.8
4.4
5.3
(99,900.0)
0.0
0.0
(146,200.0)
(165,000.0)
(1.5)
0.0
0.0
(1.7)
(1.8)
6,476,100.0
7,195,000.0
7,786,200.0
8,399,000.0
9,232,200.0
1.1 รายจ่ายประจา
1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%)
1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้
3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2556 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2547 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จานวน 135,500 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2548 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิม่ เติม จานวน 50,000 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 2532 - 2556 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ
2552
2553
2554
2555
2556
1,951,700.0
1,700,000.0
2,169,967.5
2,380,000.0
2,400,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
22.4
17.5
20.0
20.7
19.3
(อัตราเพิ่ม) (%)
17.6
(12.9)
27.6
9.7
0.8
1,411,382.4
1,434,710.1
1,667,439.7
1,840,672.6
1,900,476.7
(สัดส่วนต่อ GDP) (%)
16.2
14.8
15.3
16.0
15.3
(สัดส่วนต่องบประมาณ) (%)
72.3
84.4
76.8
77.4
79.2
(อัตราเพิม่ ) (%)
16.3
1.7
16.2
10.4
3.2
429,961.8
214,369.0
355,484.6
438,555.4
450,373.8
4.9
2.2
3.3
3.8
3.6
22.0
12.6
16.4
18.4
18.7
7.4
(50.1)
65.8
23.4
2.7
63,676.1
50,920.9
32,554.6
46,854.0
49,149.5
3.3
3.0
1.5
2.0
2.1
39.9
(20.0)
(36.1)
43.9
4.9
46,679.7
-
114,488.6
53,918.0
-
2.4
-
5.3
2.2
-
1,604,639.5
1,350,000.0
1,770,000.0
1,980,000.0
2,100,000.0
18.4
13.9
16.3
17.2
16.9
7.3
(15.9)
31.1
11.9
6.1
(347,060.5)
(350,000.0)
(399,967.5)
(400,000.0)
(300,000.0)
(4.0)
(3.6)
(3.7)
(3.5)
(2.4)
8,712,500.0
9,726,200.0
10,867,600.0
11,478,600.0
12,442,800.0
1.1 รายจ่ายประจา
1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.3 รายจ่ายชาระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สานักงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2539 - 2556 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2552 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จานวน 116,700 ล้านบาท และเป็นปีแรกที่มีการตั้ง งบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง จานวน 46,679.7 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2554 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จานวน 99,967.5 ล้านบาท
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2549
1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ)
ต.ค. 48 พย. 48 ธ.ค. 48 ม.ค. 49 ก.พ. 49 มี.ค. 49 1,360,000 1,508,592 1,526,126 1,526,642 1,527,243 1,528,823 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 980,494 980,494 980,494 980,494 980,494 980,494 379,506 379,506 379,506 379,506 379,506 379,506 148,592 166,126 166,642 167,243 168,823 122,209 127,243 112,309 116,800 112,468 127,437 116,991 111,573 83,444 110,090 100,881 109,598 8.6 8.2 6.1 8.1 7.4 8.1 99,728 78,860 66,634 89,768 74,638 87,879 10.2 8.0 6.8 9.2 7.6 9.0 17,263 32,713 16,810 20,322 26,243 21,719 4.5 8.6 4.4 5.4 6.9 5.7 5,218 15,670 28,865 6,710 11,587 17,839 10.5 17.4 4.0 6.9 10.6
หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2549 เม.ย. 49 พ.ค. 49 มิ.ย. 49 ก.ค. 49 ส.ค. 49 ก.ย. 49 รวม 1,528,840 1,528,778 1,529,524 1,529,771 1,529,898 1,529,571 1,529,571 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 980,494 980,494 980,494 1,007,032 1,006,090 1,010,489 1,010,489 379,506 379,506 379,506 352,968 353,910 349,511 349,511 168,840 168,778 169,524 169,771 169,898 169,571 169,571 99,960 88,993 117,304 98,591 116,508 154,750 1,394,572 96,123 82,286 110,650 92,368 111,095 144,929 1,270,028 7.1 6.1 8.1 6.8 8.2 10.7 93.4 72,008 68,998 95,519 75,520 84,487 112,842 1,006,881 7.3 7.0 9.7 7.5 8.4 11.2 99.6 24,115 13,288 15,131 16,848 26,608 32,087 263,147 6.4 3.5 4.0 4.8 7.5 9.2 75.3 3,837 6,707 6,654 6,223 5,413 9,821 124,544 2.3 4.0 3.9 3.7 3.2 5.8 73.4
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2550 ต.ค. 49 พย. 49 ธ.ค. 49 ม.ค. 50 ก.พ. 50 มี.ค. 50 1. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 1,515,327 1,515,622 1,515,769 1,722,023 1,722,021 1,722,389 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,566,200 1,566,200 1,566,200 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา 980,482 980,637 983,670 1,230,747 1,227,904 1,246,571 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 379,518 379,363 376,330 335,453 338,296 319,629 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 155,327 155,622 155,769 155,823 155,821 156,189 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 89,559 111,439 99,181 97,054 200,314 139,900 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 81,266 93,466 83,126 87,123 191,229 127,872 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 6.0 6.9 6.1 5.6 12.2 8.2 - รายจ่ายประจา 75,534 84,896 77,650 74,971 136,792 106,881 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 7.7 8.7 7.9 6.1 11.1 8.6 - รายจ่ายลงทุน 5,732 8,570 5,476 12,152 54,437 20,991 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 1.5 2.3 1.5 3.6 16.1 6.6 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น 8,293 17,973 16,055 9,931 9,085 12,028 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 5.3 11.5 10.3 6.4 5.8 7.7 ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 28 พฤศจิกายน 2555
หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2550 เม.ย. 50 พ.ค. 50 มิ.ย. 50 ก.ค. 50 ส.ค. 50 ก.ย. 50 รวม 1,722,287 1,722,271 1,722,266 1,722,241 1,722,322 1,722,364 1,722,364 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1566200 1,246,335 1,245,965 1,245,109 1,244,236 1,242,815 1,239,641 1239641 319,865 320,235 321,091 321,964 323,385 326,559 326559 156,087 156,071 156,066 156,041 156,122 156,164 156164 115,830 137,086 164,381 146,556 122,778 150,888 1,574,966 111,216 131,311 158,603 142,784 118,609 144,234 1,470,839 7.1 8.4 10.1 9.1 7.6 9.2 93.9 97,682 90,381 126,402 119,440 101,347 116,157 1,208,133 7.8 7.3 10.2 9.6 8.2 9.4 97.5 13,534 40,930 32,201 23,344 17,262 28,077 262,706 4.2 12.8 10.0 7.3 5.3 8.6 80.4 4,614 5,775 5,778 3,772 4,169 6,654 104,127 3.0 3.7 3.7 2.4 2.7 4.3 66.7
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2551
1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ)
ต.ค. 50 1,769,427 1,660,000 1,295,140 364,860 109,427 155,389 147,936 8.9 121,123 9.4 26,813 7.3 7,453 6.8
พ.ย. 50 ธ.ค. 50 ม.ค. 51 ก.พ. 51 1,809,505 1,810,026 1,810,883 1,812,516 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,295,113 1,327,235 1,327,187 1,327,191 364,887 332,765 332,813 332,809 149,505 150,026 150,883 152,516 127,018 110,867 158,402 118,658 112,113 97,846 146,917 108,633 6.8 5.9 8.9 6.5 93,861 88,182 93,934 97,960 7.2 6.6 7.1 7.4 18,252 9,664 52,983 10,673 5.0 2.9 15.9 3.2 14,905 13,021 11,485 10,025 10.0 8.7 7.6 6.6
ปีงบประมาณ มี.ค. 51 เม.ย.51 1,811,083 1,811,181 1,660,000 1,660,000 1,327,071 1,327,087 332,929 332,913 151,083 151,181 125,147 154,636 113,533 150,029 6.8 9.0 100,423 104,918 7.6 7.9 13,110 45,111 3.9 13.6 11,614 4,607 7.7 3.0
หน่วย : ล้านบาท 2551 พ.ค.51 มิ.ย.51 ก.ค.51 ส.ค.51 ก.ย.51 รวม 1,811,408 1,811,408 1,811,408 1,811,940 1,812,063 1,812,063 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,326,271 1,326,029 1,326,205 1,325,380 1,319,724 1,319,724 333,729 333,971 333,795 334,620 340,276 340,276 151,408 151,667 151,925 151,940 152,063 152,063 126,767 143,198 138,838 124,629 149,856 1,633,405 119,962 137,088 134,497 120,424 143,501 1,532,479 7.2 8.3 8.1 7.3 8.6 92.3 108,354 107,295 115,870 107,822 125,248 1,264,990 8.2 8.1 8.7 8.1 9.5 95.9 11,608 29,793 18,627 12,602 18,253 267,489 3.5 8.9 5.6 3.8 5.4 78.6 6,805 6,110 4,341 4,205 6,355 100,926 4.5 4.0 2.9 2.8 4.2 66.4
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2552 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2552 ต.ค.51 พ.ย.51 ธ.ค.51 ม.ค.52 ก.พ.52 มี.ค.52 เม.ย.52 พ.ค.52 1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 2,009,163 2,026,393 2,026,061 2,026,212 2,026,408 2,143,222 2,143,223 2,143,228 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,951,700 1,951,700 1,951,700 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา 1,481,992 1,481,939 1,481,885 1,481,864 1,481,268 1,573,602 1,578,601 1,576,929 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 353,008 353,062 353,115 353,136 353,732 378,098 373,045 374,771 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 174,163 191,393 191,061 191,212 191,408 191,522 191,523 191,528 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 93,718 165,200 145,422 192,417 179,679 195,346 141,681 161,006 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 85,193 149,303 127,825 178,000 166,569 178,473 137,194 154,745 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 4.6 8.1 7.0 9.7 9.1 9.1 7.0 7.9 - รายจ่ายประจา 84,630 131,280 118,357 125,971 132,739 164,251 117,227 114,772 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 5.7 8.9 8.0 8.5 9.0 10.4 7.4 7.3 - รายจ่ายลงทุน 563 18,023 9,468 52,029 33,830 14,222 19,966 39,973 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 0.2 5.1 2.7 14.7 9.6 3.8 5.4 10.7 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น 8,525 15,898 17,596 14,417 13,110 16,873 4,487 6,261 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 4.9 8.3 9.2 7.5 6.8 8.8 2.3 3.3 หมายเหตุ : ปีงบประมาณ 2552 ได้มกี ารจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิม่ เติมจานวน 116,700 ล้านบาท มีผลบังคับใช้ตงั้ แต่วันที่ 8 มีนาคม 2552 ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 28 พฤศจิกายน 2555
มิ.ย. 52 2,143,228 1,951,700 1,575,694 376,006 191,528 139,498 131,026 6.7 110,789 7.0 20,237 5.4 8,472 4.4
ก.ค. 52 2,143,240 1,951,700 1,574,977 376,723 191,540 164,118 158,730 8.1 128,632 8.2 30,098 8.0 5,388 2.8
ส.ค. 52 2,143,240 1,951,700 1,574,085 337,615 191,540 142,162 136,915 7.0 119,691 7.6 17,224 5.1 5,247 2.7
ก.ย. 52 2,143,252 1,951,700 1,569,678 382,022 191,552 196,842 186,851 9.6 159,555 10.2 27,336 7.2 9,991 5.2
รวม 2,143,252 1,951,700 1,569,678 382,022 191,552 1,917,089 1,790,823 91.8 1,507,894 96.1 282,969 74.1 126,266 65.9
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2553
1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ)
ต.ค.52 พ.ย.52 ธ.ค.52 ม.ค.53 ก.พ.53 มี.ค.53 1,927,800 1,941,156 1,941,859 1,942,592 1,942,939 1,943,152 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,485,631 1,481,529 1,480,072 1,479,996 1,479,954 1,479,843 214,369 218,471 219,928 220,004 220,046 220,157 227,800 241,156 241,859 242,592 242,939 243,152 90,339 188,614 172,221 150,008 182,850 149,981 80,143 166,116 149,895 133,986 169,382 129,653 4.7 9.8 8.8 7.9 10.0 7.6 79,470 160,782 112,293 128,316 117,878 119,986 5.3 10.9 7.6 8.7 8.0 8.1 673 5,334 37,602 5,670 51,504 9,667 0.3 2.4 17.1 2.6 23.4 4.4 10,196 22,498 22,326 16,022 13,468 20,328 4.5 9.3 9.2 6.6 5.5 8.4
หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2553 เม.ย.53 พ.ค.53 มิ.ย. 53 ก.ค. 53 ส.ค. 53 ก.ย. 53 รวม 1,943,152 1,943,152 1,943,174 1,943,255 1,943,505 1,943,547 1,943,547 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,479,558 1,479,100 1,476,716 1,474,315 1,472,692 1,468,655 1,468,655 220,442 220,900 223,284 225,685 227,308 231,345 231,345 243,152 243,152 243,174 243,255 243,505 243,547 243,547 145,528 123,967 135,455 142,627 110,118 192,704 1,784,412 136,587 118,059 123,196 135,128 103,322 182,407 1,627,874 8.0 6.9 7.2 7.9 6.1 10.7 95.8 125,819 110,268 111,500 124,850 92,492 161,105 1,444,760 8.5 7.5 7.6 8.5 6.3 11.0 98.4 10,768 7,791 11,696 10,278 10,830 21,302 183,115 4.9 3.5 5.2 4.6 4.8 9.2 79.2 8,941 5,908 12,259 7,499 6,796 10,297 156,538 3.7 2.4 5.0 3.1 2.8 4.2 64.3
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2554 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2554 ต.ค.53 พ.ย.53 ธ.ค.53 ม.ค.54 ก.พ.54 มี.ค.54 เม.ย.54 พ.ค.54 มิ.ย. 54 ก.ค. 54 ส.ค. 54 ก.ย. 54 รวม 1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 2,230,628 2,233,968 2,249,378 2,252,646 2,252,896 2,253,208 2,353,188 2,353,189 2,353,191 2,353,192 2,353,202 2,353,202 2,353,202 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 2,169,968 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา 1,725,583 1,725,423 1,725,489 1,725,245 1,725,191 1,725,003 1,724,938 1,813,687 1,810,757 1,808,951 1,806,977 1,806,977 1,806,977 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 344,417 344,577 344,511 344,755 344,809 344,997 345,062 356,280 359,211 361,017 362,991 362,991 362,991 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 160,628 163,968 179,378 182,646 182,896 183,208 183,221 183,221 183,224 183,225 183,235 183,235 183,235 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 207,452 223,152 167,767 235,191 154,689 170,913 139,705 211,446 187,593 143,032 143,543 193,411 2,177,895 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 194,118 207,201 152,004 220,657 139,464 157,010 135,081 205,223 181,250 138,411 135,473 184,648 2,050,539 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 9.4 10.0 7.3 10.7 6.7 7.6 6.2 9.5 8.4 6.4 6.2 8.5 94.5 - รายจ่ายประจา 189,957 196,444 133,696 146,289 122,765 141,375 120,855 188,690 161,493 120,305 113,041 152,068 1,786,978 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 11.0 11.4 7.7 8.5 7.1 8.2 7.0 10.4 8.9 6.7 6.3 8.4 98.9 - รายจ่ายลงทุน 4,161 10,757 18,308 74,368 16,699 15,635 14,225 16,533 19,757 18,105 22,431 32,579 263,558 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 1.2 3.1 5.3 21.6 4.8 4.5 4.1 4.6 5.5 5.0 6.2 9.0 72.6 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น 13,334 15,951 15,763 14,534 15,225 13,903 4,625 6,223 6,343 4,621 8,070 8,763 127,355 (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 8.3 9.7 8.8 8.0 8.3 7.6 2.5 3.4 3.5 2.5 4.4 4.8 69.5 หมายเหตุ : ปีงบประมาณ 2554 ได้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายเพิม่ เติมจานวน 99,968 ล้านบาท มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วนั ที่ 18 เมษายน 2554 ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่ : 28 พฤศจิกายน 2555
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2555 หน่วย : ล้านบาท
1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ)
ต.ค. 54 2,271,861 2,070,000 1,706,509 363,491 201,861 166,954 155,910 7.5 136,594 8.0 19,316 5.3 11,044 5.5
พ.ย. 54 2,278,511 2,070,000 1,725,733 344,267 208,511 150,234 131,863 6.4 127,201 7.4 4,662 1.4 18,371 8.8
ธ.ค. 54 2,282,250 2,070,000 1,720,592 349,408 212,250 172,628 151,587 7.3 137,437 8.0 14,150 4.0 21,041 9.9
ม.ค. 55 2,285,784 2,070,000 1,714,147 355,853 215,784 150,463 135,611 6.6 131,401 7.7 4,210 1.2 14,852 6.9
ก.พ. 55 2,597,224 2,380,000 1,976,557 403,443 217,224 259,062 244,073 10.3 235,123 11.9 8,950 2.2 14,989 6.9
มี.ค. 55 2,595,716 2,380,000 1,973,811 406,189 215,716 369,978 351,873 14.8 283,286 14.4 68,587 16.9 18,105 8.4
ปีงบประมาณ 2555 เม.ย. 55 พ.ค. 55 2,595,703 2,595,707 2,380,000 2,380,000 1,973,465 1,971,729 406,535 408,271 215,703 215,707 157,569 144,922 150,279 135,051 6.3 5.7 135,231 113,242 6.9 5.7 15,048 21,810 3.7 5.3 7,290 9,871 3.4 4.6
มิ.ย. 55 2,595,893 2,380,000 1,969,865 410,135 215,893 157,415 150,381 6.3 127,772 6.5 22,609 5.5 7,034 3.3
ก.ค. 55 2,596,094 2,380,000 1,968,353 411,647 216,094 179,248 171,242 7.2 146,783 7.5 24,460 5.9 8,006 3.7
ส.ค. 55 2,596,251 2,380,000 1,966,525 413,475 216,251 159,508 152,964 6.4 125,741 6.4 27,223 6.6 6,544 3.0
ก.ย. 55 2,596,564 2,380,000 1,964,439 415,561 216,564 227,347 217,642 9.1 173,258 8.8 44,384 10.7 9,705 4.5
หมายเหตุ พรบ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2555 (วงเงิน 2,380,000 ล้านบาท) มีผลบังคับในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2555 ทาให้ในช่วงตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ 2555 ต้องใช้งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณที่ล่วงแล้ว (ปีงบประมาณ 2554) ไปพลางก่อน ตาม พรบ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 16
ที่มา : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครัง้ สุดท้ายวันที่ : 28 พฤศจิกายน 2555
รวม 2,596,564 2,380,000 1,964,439 415,561 216,564 2,295,327 2,148,475 90.3 1,873,067 95.3 275,408 66.3 146,852 67.8
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2556 หน่วย : ล้านบาท
1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปีกอ่ น 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายประจา (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ น (ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ) 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม - รายจ่ายประจาสะสม - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีกอ่ นสะสม
ต.ค. 55 2,622,170 2,400,000 1,941,257 458,743 222,170 312,152 290,631 12.1 286,670 14.8 3,961 0.9 21,521 9.7 312,152 290,631 286,670 3,961 21,521
ที่มา : กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครัง้ สุดท้ายวันที่ : 19 สิงหาคม 2556
พ.ย. 55 2,650,593 2,400,000 2,000,816 399,184 250,593 299,828 270,813 11.3 223,583 11.2 47,229 11.8 29,015 11.6 611,980 561,444 510,254 51,190 50,536
ธ.ค. 55 2,696,798 2,400,000 2,000,584 399,416 296,798 173,933 138,335 5.8 131,112 6.6 7,224 1.8 35,598 12.0 785,914 699,780 641,366 58,414 86,134
ม.ค. 56 2,699,332 2,400,000 2,000,565 399,435 299,332 208,114 181,092 7.5 173,709 8.7 7,383 1.8 27,022 9.0 994,027 880,871 815,074 65,797 113,156
ก.พ. 56 2,699,423 2,400,000 2,000,146 399,854 299,423 152,074 130,538 5.4 122,601 6.1 7,937 2.0 21,536 7.2 1,146,101 1,011,409 937,675 73,734 134,692
มี.ค. 56 2,700,236 2,400,000 1,999,867 400,133 300,236 225,477 201,278 8.4 125,923 6.3 75,355 18.8 24,199 8.1 1,371,578 1,212,687 1,063,598 149,089 158,891
ปีงบประมาณ 2556 เม.ย. 56 พ.ค. 56 2,700,230 2,700,247 2,400,000 2,400,000 1,999,020 1,997,524 400,980 402,476 300,230 300,247 180,364 135,275 170,268 125,710 7.1 5.2 156,669 108,997 7.8 5.5 13,599 16,713 3.4 4.2 10,096 9,565 3.4 3.2 1,551,941 1,687,216 1,382,955 1,508,665 1,220,267 1,329,264 162,688 179,401 168,986 178,551
มิ.ย. 56 2,700,255 2,400,000 1,996,729 403,271 300,255 166,398 155,273 6.5 135,424 6.8 19,849 4.9 11,125 3.7 1,853,614 1,663,938 1,464,688 199,250 189,676
ก.ค. 56 2,602,357 2,400,000 1,995,740 404,260 202,357 171,087 158,406 6.6 137,824 6.9 20,582 5.1 12,681 6.3 2,024,701 1,822,344 1,602,512 219,832 202,357
ส.ค. 56
ก.ย. 56
รวม
ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve) ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 11 มกราคม 2556
2524 110,392 132,212
2525 113,848 155,281
2526 136,608 171,033
2527 147,872 187,024
2528 159,199 209,830
หน่วย: ล้านบาท 2529 166,123 211,968
-21,820 8,940 -12,880 14,682 1,802 6,333 8,135
-41,433 15,404 -26,029 26,422 393 8,135 8,528
-34,425 3,838 -30,587 34,082 3,495 8,528 12,023
-39,152 5,498 -33,654 30,000 -3,654 12,023 8,369
-50,631 7,568 -43,063 47,000 3,937 8,369 12,306
-45,845 -1,512 -47,357 46,000 -1,357 12,306 10,949
2534 464,900 362,464 316,509 45,955 102,436 -51,816 50,620 0 50,620 130,258 180,878
หน่วย: ล้านบาท 2535 499,004 448,322 386,246 62,076 50,682 -7,086 43,596 0 43,596 180,878 224,474
2530 193,525 223,746 203,043 20,703 -30,221 -11,624 -41,845 42,000 155 8,528 8,683
2531 245,030 220,694 198,687 22,007 24,336 -56,780 -32,444 42,660 10,216 8,683 18,899
2532 309,536 269,351 247,401 21,950 40,185 -13,471 26,714 12,981 39,695 18,899 58,594
2533 394,509 312,320 280,841 31,479 82,189 -35,525 46,664 25,000 71,664 58,594 130,258
ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปจั จุบนั (Current Year) - ปีกอ่ น (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กูเ้ พื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve)
ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปจั จุบนั (Current Year) - ปีกอ่ น (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กูเ้ พื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผูร้ ับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 12 กันยายน 2556
2548 1,264,928 1,244,063 1,139,775 104,288 20,865 -56,181 -35,316 0 -35,316 153,242 117,926
2549 1,339,691 1,395,283 1,270,739 124,544 -55,592 93,090 37,498 0 37,498 117,926 155,424
2550 1,444,718 1,574,967 1,470,839 104,127 -130,249 -28,483 -158,732 146,200 -12,532 155,424 142,892
2553
2554
2555
1,708,625 1,784,413 1,627,875 156,538 -75,788 -21,301 -97,088 232,575 135,487 293,835 429,322
1,892,047 2,177,895 2,050,540 127,355 -285,848 177,150 -108,698 200,666 91,968 429,322 521,290
1,980,644 2,295,327 2,148,475 146,852 -314,683 9,645 -305,038 344,084 39,047 521,290 560,337
หน่วย: ล้านบาท 2551 2552 1,545,837 1,409,653 1,633,404 1,917,129 1,532,479 1,790,862 100,925 126,266 -87,568 -507,476 8,736 131,190 -78,832 -376,286 165,000 441,061 86,168 64,775 142,892 229,060 229,060 293,835 หน่วย: ล้านบาท 2556 10 เดือนแรก 1,752,169 2,024,701 1,822,344 202,357 -272,532 -134,906 -407,437 233,048 -174,390 560,337 385,947
ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve)
2536 557,783 529,619 462,744 66,875 28,164 -12,375 15,789 0 15,789 226,895 242,684
2537 655,989 598,798 511,937 86,861 57,191 -61,898 -4,707 0 -4,707 242,684 237,977
2538 760,138 670,553 569,384 101,169 89,585 -7,647 81,938 0 81,938 237,977 319,915
2539 850,177 777,246 652,261 124,985 72,931 5,897 78,828 0 78,828 319,915 398,743
2540 844,249 906,641 742,598 164,043 -62,392 -52,753 -115,145 0 -115,145 398,743 283,598
หน่วย: ล้านบาท 2541 727,393 848,029 687,102 160,927 -120,636 -18,565 -139,201 0 -139,201 283,598 144,397
ปีงบประมาณ 1. รายได้นาส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังต้นปี (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายปี (Closing Treasury Reserve) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทาโดย: สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 11 มกราคม 2556
2542 709,927 838,711 710,262 128,449 -128,784 30,827 -97,957 40,000 -57,957 144,397 86,440
2543 748,105 859,761 760,863 98,898 -111,656 -9,759 -121,415 107,925 -13,490 86,440 72,950
2544 769,448 901,529 812,044 89,485 -132,081 30,736 -101,345 104,797 3,452 72,950 76,402
2545 848,707 1,003,600 917,767 85,833 -154,893 4,471 -150,422 170,000 19,578 76,402 95,980
2546 966,841 979,506 898,300 81,206 -12,665 -28,098 -40,763 76,000 35,237 95,980 131,217
หน่วย: ล้านบาท 2547 1,127,153 1,140,110 1,052,660 87,450 -12,957 -55,018 -67,975 90,000 22,025 131,217 153,242
สัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2540-2543
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 รายได้ที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรายได้สุทธิของรัฐบาล (%) ที่มา : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ปีงบประมาณ 2540 จานวนเงิน สัดส่วน 93,879 100.0 16,986 18.1 47,386 50.5 29,508 31.4 843,576 11.13
ปีงบประมาณ 2541 จานวนเงิน สัดส่วน 96,056 100.0 16,759 17.4 48,667 50.7 30,630 31.9 733,462 13.10
ปีงบประมาณ 2542 จานวนเงิน สัดส่วน 100,805 100.0 17,808 17.7 44,870 44.5 38,127 37.8 709,111 14.22
หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2543 จานวนเงิน สัดส่วน 94,721 100.0 17,404 18.4 45,096 47.6 32,222 34.0 749,949 12.63
เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2544-2549
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 รายได้ที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิม่ ที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กาหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุนและการถ่ายโอนงาน 1/ 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรายได้สุทธิรฐั บาล (%)
ปีงบประมาณ 2544 ปีงบประมาณ 2545 ปีงบประมาณ 2546 ปีงบประมาณ 2547 จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน 159,753 100.0 175,850 100.0 184,066 100.0 241,948 100.0 17,702 11.1 21,084 12.0 22,258 12.1 24,786 10.2 55,652 34.8 58,144 33.1 60,218 32.7 82,623 34.2 12,669 7.9 19,349 11.0 35,504 19.3 43,100 17.8 73,730 772,574 20.68
46.2
77,273 803,651 21.88
43.9
66,086 829,496 22.19
35.9
91,438 1,063,600 22.75
หมายเหตุ : 1/ ในปีงบประมาณ 2544 และ 2545 มีงบประมาณการถ่ายโอนงานซึ่งตั้งอยูท่ ี่ส่วนราชการที่ถา่ ยโอนงานให้ อปท . แต่นับรวมในสัดส่วนรายได้ของ อปท. เป็นจานวน 32,339.60 ล้านบาท และ 27,061.80 ล้านบาท ตามลาดับ ที่มา : สานักงานคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
37.8
ปีงบประมาณ 2548 จานวนเงิน สัดส่วน 293,750 100.0 27,019 9.2 102,520 34.9 49,000 16.7 115,211 1,250,000 23.50
39.2
หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2549 จานวนเงิน สัดส่วน 327,113 100.0 29,110 8.9 110,190 33.7 61,800 18.9 126,013 1,360,000 24.05
38.5
เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2550-2556
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 รายได้ที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิม่ ที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กาหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรายได้สุทธิรฐั บาล (%)
ปีงบประมาณ 2550 ปีงบประมาณ 2551 ปีงบประมาณ 2552 ปีงบประมาณ 2553 จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน จานวนเงิน สัดส่วน 357,424 100.0 376,740 100.0 414,382 100.0 340,995 100.0 32,021 8.9 35,224 9.3 38,746 9.4 29,110 8.6 120,729 33.8 128,676 34.2 140,679 33.9 126,590 37.1 65,300 18.3 65,000 17.3 71,900 17.4 45,400 13.3
ปีงบประมาณ 2554 จานวนเงิน สัดส่วน 437,262 100.0
ปีงบประมาณ 2555 จานวนเงิน สัดส่วน 529,979 100.0
หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2556 จานวนเงิน สัดส่วน 572,670 100.0
257,355
58.9
308,887
58.3
336,170
58.7
179,907 2/ 1,650,000 26.50
41.1
221,092 1,980,000 26.77
41.7
236,500 2,100,000 27.27
41.3
\ 139,374 1,420,000 25.17
39.0
147,840 1,495,000 25.20
39.2
163,057 1,604,640 25.82
39.3
139,895 1,350,000 25.26
41.0
หมายเหตุ : 2/เป็นตัวเลขรวมจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท . เพิม่ เติมระหว่างปี 5,957 .4 ล้านบาท - เป้าหมายสัดส่วนรายได้ของ อปท. ในแต่ละปีงบประมาณผ่านขัน้ ตอนการพิจารณาของสานักงบประมาณเพือ่ เสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว ที่มา : สานักงานคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกคองส่วนท้องถิน่ และสานักงบประมาณ จัดทาโดย : สานักนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 22 พฤศจิกายน 2555