บทสรุปผู้บริหาร ด้านรายได้
เดือนธันวาคม 2554 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สทุ ธิจํานวน 124,595 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 5,768 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.9 โดยภาษีมูลค่าเพิ่มและอากรขาเข้าจัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ เนื่องจากในเดือนนี้มีการนําเข้าสินค้าประเภทรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ (พิกัด 87) ค่อนข้างสูง นอกจากนี้ กรมศุลกากรได้สง่ คืนเงินที่กันไว้สําหรับชดเชยค่าภาษีอากรสําหรับผู้ส่งออกสินค้า เหลือจ่ายจํานวน 4,655 ล้านบาท อย่างไรก็ดี ภาษีสรรพสามิตรถยนต์จัดเก็บได้ต่ํากว่า ประมาณการร้อยละ 45.6 และรัฐวิสาหกิจนําส่งรายได้ต่ํากว่าประมาณการร้อยละ 58.7 ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม – ธันวาคม 2554) รัฐบาลจัดเก็บ รายได้สุทธิ 396,150 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 13,672 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.6 (สูงกว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 0.1) เป็นผลจากการจัดเก็บรายได้ของกรมสรรพากร หน่วยงานอื่น และการนําส่งรายได้ของรัฐวิสาหกิจสูงกว่าประมาณการ 5,999 1,688 และ 505 ล้านบาท ตามลําดับ นอกจากนี้ การคืนภาษีของกรมสรรพากรต่ํากว่าประมาณการที่ตั้งไว้
ด้านรายจ่าย
เดือนธันวาคม 2554 รัฐบาลเบิกจ่ายเงินรวมทั้งสิ้น 172,628 ล้านบาท โดยแบ่งเป็น การเบิกจ่ายงบประมาณ 151,587 ล้านบาท (เป็นรายจ่ายประจําจํานวน 137,437 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุนจํานวน 14,150 ล้านบาท) และการเบิกจ่ายเงินกันไว้เหลื่อมปี จํานวน 21,041 ล้านบาท ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม – ธันวาคม 2554) รัฐบาลเบิกจ่ายเงิน รวมทั้งสิ้น 489,816 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2555 จํานวน 439,360 ล้านบาท (เป็นรายจ่ายประจํา 401,232 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 38,128 ล้านบาท) คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 21.2 ของวงเงินงบประมาณ 2,070,000 ล้านบาท และ มีการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีจํานวน 50,456 ล้านบาท เมื่อรวมกับการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 อีกจํานวน 6,051 ล้านบาท ส่งผลให้ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลมีการ เบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจทั้งสิ้น 495,867 ล้านบาท
ฐานะการคลังรัฐบาล
ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลมีรายได้ นําส่งคลัง 402,809 ล้านบาท และมีการเบิกจ่ายงบประมาณจากงบประมาณปีปัจจุบันและปีก่อน รวม 489,816 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณขาดดุลจํานวน 87,007 ล้านบาท เมื่อรวมกับ ดุลเงินนอกงบประมาณที่ขาดดุล 169,606 ล้านบาท ทําให้ดลุ เงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 256,613 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.4 ของ GDP
1 สํานักนโยบายการคลัง
ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค. ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2555 รัฐบาล มีรายได้ทั้งสิ้น 398,510 ล้านบาท และมีรายจ่ายทั้งสิ้น 491,728 ล้านบาท ส่งผลให้ดลุ เงิน งบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 93,218 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณที่ขาดดุล 43,060 ล้านบาท และเมื่อหักรายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศและรายจ่ายจากโครงการไทยเข้มแข็ง จํานวน 4 และ 6,051 ล้านบาท ตามลําดับแล้ว ทําให้ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุลทั้งสิ้น 142,333 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.2 ของ GDP
ฐานะการคลัง อปท.
ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ณ ไตรมาสที่ 4 ประจําปีงบประมาณ 2554 คาดว่า จะมีรายได้รวม 100,065.8 ล้านบาท (รายได้ที่จัดเก็บเอง 12,428.9 ล้านบาท รายได้ภาษีที่รัฐบาล จัดเก็บและแบ่งให้ 73,277.7 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 14,359.2 ล้านบาท) และคาดว่า มีรายจ่ายจํานวน 105,679.7 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลการคลังของ อปท. ขาดดุล 5,613.9 ล้านบาท ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปีงบประมาณ 2554 คาดว่าจะมีรายได้รวม 429,323.5 ล้านบาท (รายได้ที่จัดเก็บเอง 43,794.5 ล้านบาท รายได้ภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บ และ แบ่งให้ 216,016.6 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 169,512.4 ล้านบาท) และคาดว่า มีรายจ่ายจํานวน 382,532.2 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลการคลังของ อปท. เกินดุล 46,791.3 ล้านบาท
สถานะหนี้สาธารณะ
หนี้สาธารณะคงค้างของรัฐบาล ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน 2554 มีจํานวน 4,303.5 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 40.5 ของ GDP โดยร้อยละ 92.0 ของหนี้สาธารณะคงค้างเป็นหนี้ในประเทศ และส่วนที่เหลือร้อยละ 8.0 เป็นหนี้ต่างประเทศ หนี้ระยะยาวมีจํานวน 4,261.4 พันล้านบาท ส่วนหนี้ระยะสั้นมีจํานวน 42.1 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 99.0 และ 1.0 ของหนี้สาธารณะคงค้าง ตามลําดับ
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง (60 - 15 – 0 – 25)
กระทรวงการคลังได้กําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีตัวชี้วัดประกอบด้วย สัดส่วนหนี้ สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 จัดทํา งบประมาณสมดุล และสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 กรอบความยั่งยืนในระยะปานกลาง (ปีงบประมาณ 2555 – 2559) - รัฐบาลยังสามารถรักษาสัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่ให้เกินร้อยละ 60 ไว้ได้ - รัฐบาลยังสามารถรักษาสัดส่วนภาระหนี้ต่องบประมาณไม่ให้เกินร้อยละ 15 - รัฐบาลไม่สามารถจัดทํางบประมาณสมดุลในปีงบประมาณ 2555 - 2556 ได้ เนื่องจาก มีนโยบายที่จะอัดฉีดเม็ดเงินเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ อย่างไรก็ดี พบว่าแนวโน้มการจัดทํางบประมาณ แบบขาดดุลจะลดลงตามลําดับ - รัฐบาลไม่สามารถรักษาสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายให้ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 ในปีงบประมาณ 2555 ได้ แต่เมื่อนับรวมงบลงทุนของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจพบว่า การลงทุน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 26.4 ของงบประมาณรายจ่าย
สํานักนโยบายการคลัง 2
การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผ่าน SFIs ของรัฐบาล
รัฐบาลได้ดําเนินมาตรการกิจกรรมกึ่งการคลังผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจโดยการปล่อยสินเชื่อ ให้โครงการต่างๆ ซึ่งในปัจจุบันได้มีการปล่อยสินเชื่อเพื่อสนับสนุนมาตรการต่างๆ เช่น มาตรการ เพื่อสนับสนุนกิจการ SMEs มาตรการเพื่อสนับสนุนผู้มีรายได้น้อยให้มีทอี่ ยู่อาศัย และมาตรการ เพื่อสนับสนุนการประกอบอาชีพระดับฐานราก ผลการปล่อยสินเชื่อและค้าํ ประกันสินเชื่อ ในไตรมาส 3 ปี 2554 (เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2554) มีจํานวน 65,180.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วร้อยละ 27.0 และมีการปล่อย สินเชื่อและการค้ําประกันสินเชื่อสะสมตั้งแต่เริ่มโครงการ จนถึง ณ สิ้นไตรมาส 3 ปี 2554 จํานวน 1,335,667.0 ล้านบาท ทั้งนี้ ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ปี 2554 มียอดสินเชื่อคงค้าง จํานวน 416,280.2 ล้านบาท โดยเป็น หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) จํานวน 32,670.6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.8 ของยอดสินเชื่อ คงค้าง และมีภาระค้ําประกันหนี้จัดชั้นด้อยคุณภาพ (NPGs) ของบรรษัทประกันสินเชือ่ อุตสาหกรรม ขนาดย่อม (บสย.) จํานวน 5,213.0 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.1 ของยอดค้ําประกันคงค้าง
การกระจายอํานาจทางการคลังให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ความคืบหน้าการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการนครเกาะสมุย พ.ศ. .... การประชุมคณะกรรมการการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (กกถ.) เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2554 ได้มมี ติเห็นชอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารนครเกาะสมุย พ.ศ. .... และจะนําเสนอ คณะรัฐมนตรีต่อไป โดยสาระสําคัญของร่างดังกล่าวสรุปได้ดังนี้ - พื้นที่นครเกาะสมุย : ให้ยุบเลิกเทศบาลเมืองเกาะสมุย และจัดตั้งนครเกาะสมุยเป็นองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ โดยไม่รวมอยู่ในเขตพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด สุราษฎร์ธานี - การบริหารนครเกาะสมุย : ประกอบด้วย 1) นายกนครเกาะสมุย และรองนายกไม่เกิน 4 คน 2) สภานครเกาะสมุย จํานวน 24 คน และ 3) คณะกรรมการที่ปรึกษาพัฒนานโยบายนครเกาะสมุย จํานวน 21 คน - อํานาจหน้าที่นครเกาะสมุย : นอกจากมีอํานาจหน้าทีเ่ ช่นเดียวกับเทศบาลนครแล้ว เมื่อมีความพร้อมอาจมีอํานาจหน้าที่ในการบริหารจัดการหรือดําเนินการตรากฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับการเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงนิเวศ - รายได้ของนครเกาะสมุย : มีรายได้เหมือน อปท. ทั่วไป และอาจมีรายได้ตามกฎหมายอื่นๆ เพิ่มขึ้น เช่น ค่าธรรมเนียมการท่องเที่ยว ค่าธรรมเนียมประกอบกิจการโรงแรมที่ตั้งอยู่ ในเขตนครเกาะสมุย เป็นต้น - การกํากับดูแล : ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอํานาจหน้าที่กํากับดูแลการปฏิบัติราชการ และให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีอํานาจสั่งเพิกถอนหรือระงับการปฏิบัติการหรือสั่งการ อื่นใดตามที่เห็นสมควร
3 สํานักนโยบายการคลัง
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ ประจําเดือนธันวาคม 2554 และมกราคม 2555 1. เรื่อง เป้าหมายของนโยบายการเงินประจําปี 2555 คณะรัฐมนตรีมีมติเมือ่ วันที่ 27 ธันวาคม 2554 อนุมัติหลักการกําหนดเป้าหมายของนโยบาย การเงินเพื่อดํารงไว้ซ่ึงเสถียรภาพด้านราคาประจําปี 2555 เป็นอัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยรายปีที่ร้อยละ 3.0 โดยสามารถเบี่ยงเบนจากค่ากลางได้ไม่เกิน ร้อยละ 1.5 2. เรื่อง การบริหารโครงการภายใต้พระราชกําหนดให้อํานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟูและ เสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 และโครงการเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน คณะรัฐมนตรีมีมติเมือ่ วันที่ 27 ธันวาคม 2554 อนุมัติให้โครงการเงินกู้ภายใต้พระราชกําหนดให้ อํานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 และโครงการ เงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (Development Policy Loan: DPL) ภายใต้ แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ที่ได้รับการอนุมัติแล้วให้ดําเนินการต่อไปได้ทั้งหมด โดยเร่งรัดให้ดําเนิน โครงการและเบิกจ่ายให้แล้วเสร็จภายในเดือนกันยายน 2555 3. เรื่อง งบประมาณลงทุนของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ประจําปี 2555 และกรอบงบประมาณ ของรัฐวิสาหกิจประจําปีงบประมาณ 2555 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2554 รับทราบและเห็นชอบงบประมาณลงทุนของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ประจําปี 2555 และกรอบงบประมาณของรัฐวิสาหกิจประจําปีงบประมาณ 2555 สรุปได้ดังนี้ ปี 2555 บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) คาดว่าจะมีรายได้ 2.83 ล้านล้านบาท และมีงบประมาณ ลงทุน 213,710 ล้านบาท และในช่วงปี 2556 – 2558 คาดว่าจะมีรายได้รวมทั้งสิ้น 9.88 ล้านล้านบาท และการลงทุนรวมทั้งสิ้น 415,574 ล้านบาท เฉลี่ยปีละ 138,525 ล้านบาท นอกจากนี้ คณะรัฐมนตรี ได้มอบหมายให้บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) พิจารณาจัดสรรงบประมาณเพื่อการวิจัยและพัฒนา สัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 ของกําไรสุทธิ กรอบงบประมาณของรัฐวิสาหกิจประจําปีงบประมาณ 2555 วงเงินดําเนินการจํานวน 827,428 ล้านบาท และวงเงินเบิกจ่ายลงทุนจํานวน 533,411 ล้านบาท ในช่วงปี 2556 – 2558 คาดว่า จะมีการเบิกจ่ายลงทุนรวม 1.51 ล้านบาท หรือเฉลี่ยปีละ 505,301 ล้านบาท 4. มาตรการภาษีเพื่อช่วยเหลือและฟื้นฟูผไู้ ด้รับผลกระทบจากอุทกภัย คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 4 มกราคม 2555 เห็นชอบมาตรการภาษีเพื่อช่วยเหลือและฟื้นฟู ผู้ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย โดยให้หักค่าลดหย่อนภาษีเงินได้สําหรับค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมบ้าน ได้ตามจริงแต่ไม่เกิน 100,000 บาท และค่าซ่อมแซมรถยนต์ได้ตามจริงแต่ไม่เกิน 30,000 บาท ทั้งนี้ คาดว่ามาตรการภาษีดังกล่าวจะมีผลกระทบต่อรายได้ภาษีอากรประมาณ 4,120 ล้านบาท ประกอบด้วยภาษีสูญเสียจากมาตรการลดหย่อนค่าซ่อมแซมบ้าน 4,000 ล้านบาท และมาตรการ ลดหย่อนการซ่อมแซมรถยนต์ 120 ล้านบาท
สํานักนโยบายการคลัง 4
5. มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการลงทุนในทรัพย์สนิ ของผู้ประสบอุทกภัย คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 4 มกราคม 2555 เห็นชอบมาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการลงทุน ในทรัพย์สินของผู้ประสบอุทกภัย โดยยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลจํานวนร้อยละ 25 ของเงินที่ได้จ่ายไป เพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิตหรือให้บริการรับจ้างผลิตสินค้าให้แก่บริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ได้รบั ผลกระทบจากเหตุอุทกภัยและให้หกั ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาเบื้องต้น ของทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรในอัตราร้อยละ 40 ของมูลค่าต้นทุน ส่วนที่เหลือให้หกั ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่กําหนดไว้ในประมวลรัษฎากร ทั้งนี้ คาดว่ามาตรการดังกล่าวจะมีผลกระทบต่อรายได้ภาษี ประมาณ 7,700 ล้านบาท 6. ขอขยายระยะเวลาดําเนินมาตรการลดภาระค่าครองชีพของประชาชนด้านการเดินทาง คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2555 เห็นชอบให้ขยายระยะเวลาดําเนินมาตรการ ลดภาระค่าครองชีพของประชาชนด้านการเดินทางตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม ถึงวันที่ 30 เมษายน 2555 โดยลดค่าใช้จ่ายเดินทางรถโดยสารประจําทางดําเนินการผ่านองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) และ ลดค่าใช้จ่ายเดินทางรถไฟชั้น 3 ดําเนินการผ่านการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) สําหรับการชดเชย ค่าใช้จ่ายในการดําเนินมาตรการดังกล่าว ให้ ขสมก. และ รฟท. กู้เงินเพื่อชดเชยการดําเนินการดังกล่าว โดยให้กระทรวงการคลังค้ําประกันเงินกู้ และให้สํานักงบประมาณพิจารณาจัดสรรเงินงบประมาณรายจ่าย ประจําปี 2556 เพื่อชดเชยให้แก่ ขสมก. และ รฟท. 7. ร่างพระราชกําหนด 4 ฉบับเพื่อการพัฒนาประเทศในระยะยาว คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2555 เห็นชอบหลักการของร่างพระราชกําหนด 4 ฉบับตามที่คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศเสนอ สรุปได้ดังนี้ 1) พระราชกําหนดปรับปรุงบริหารหนี้เงินกู้เพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน พ.ศ. ... เพื่อให้ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) รับผิดชอบภาระการชําระดอกเบี้ยและเงินต้นของ กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินจํานวน 1.14 ล้านล้านบาท 2) ร่างพระราชกําหนดเงินกู้เพื่อการบูรณะและฟื้นฟูประเทศที่ได้รับความเสียหายจากอุทกภัย พ.ศ. ... วงเงิน 3.5 แสนล้านบาท 3) ร่างพระราชกําหนดจัดตั้งกองทุนประกันภัยให้ผู้ประกอบการลงทุนในประเทศ วงเงิน 5 หมื่นล้านบาท 4) ร่างพระราชกําหนดแก้ไขพระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไทย เพื่อให้ ธปท. สามารถ ปล่อยสินเชื่อเงื่อนไขผ่อนปรนให้แก่สถาบันการเงิน วงเงิน 3 แสนล้านบาท 8. ผลการประชุมร่วมภาครัฐและเอกชนเพือ่ แก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจในภูมิภาค ครัง้ ที่ 1/2555 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2555 รับทราบผลการประชุมร่วมภาครัฐและเอกชน เพื่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจในภูมิภาค ครัง้ ที่ 1/2555 เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2555 ณ จังหวัดเชียงใหม่ และมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปดําเนินการตามมติที่ประชุม สรุปได้ดังนี้ 1).การพัฒนาโครงข่ายคมนาคมระบบโลจิสติกส์ โดยเร่งรัดการดําเนินโครงการรถไฟความเร็วสูง เส้นทางกรุงเทพฯ – เชียงใหม่ รวมถึงการเร่งศึกษาและก่อสร้างเส้นทางอื่นๆ ทั้งนี้ มอบหมายให้กระทรวง คมนาคมและกระทรวงการคลังเร่งพิจารณารายละเอียดของโครงการโดยกําหนดรูปแบบการลงทุนร่วม ระหว่างรัฐบาลไทยและสาธารณรัฐประชาชนจีน รวมทั้งศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (EIA) และ ทําการศึกษาความเหมาะสมทางการเงินและเศรษฐศาสตร์ของโครงการโดยละเอียด 5 สํานักนโยบายการคลัง
2).การพัฒนาตลาดทุนไทย โดยมอบหมายให้กระทรวงการคลังพิจารณาดังต่อไปนี้ - ข้อกําหนดการยกเว้นการหักภาษี ณ ที่จ่ายเงินปันผล ดอกเบี้ย ให้กับบริษทั และกองทุนที่ลงทุน ข้ามชาติ (Offshore Holding Company and Funds) ในอนุสัญญาภาษีซ้อนระหว่างประเทศไทยและ สาธารณรัฐเมียนมาร์ และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว - โครงการ “การเงินขั้นพื้นฐานเพื่อผู้ประกอบการและประชาชนภาคเหนือตอนบน” - การส่งเสริมให้ตลาดทุนเป็นกลไกหลักในการระดมเงินทุนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ 9. เรื่อง การขยายเวลาลดภาษีสรรพสามิตน้ํามันดีเซล 1 เดือน คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2555 เห็นชอบให้ขยายระยะเวลาการลดอัตราภาษี สรรพสามิตน้ํามันดีเซลทีม่ ีปริมาณกํามะถันไม่เกินร้อยละ 0.035 โดยน้ําหนักในอัตราภาษี 0.005 บาท/ลิตร และน้ํามันไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอสเตอร์ของกรดไขมันผสมอยู่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 4 ในอัตราภาษี 0.005 บาท/ลิตร ออกไปอีก 1 เดือนจนถึงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2555 ซึ่งจะส่งผลให้การจัดเก็บภาษีน้ํามัน ดีเซลลดลงจํานวน 9,000 ล้านบาท
สํานักนโยบายการคลัง 6
สถานการณ์ด้านการคลัง หน่วย : พันล้านบาท
รวมทั้งปี งบประมาณ 2554 I รายได้ 1. ตามหน่วยงาน 1.1 กรมสรรพากร (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.2 กรมสรรพสามิต (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.3 กรมศุลกากร (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.4 รัฐวิสาหกิจ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.5 หน่วยงานอื่น (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) - ส่วนราชการอื่น - กรมธนารักษ์ 1.6 รวมรายได้จัดเก็บ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.7 รวมรายได้สุทธิ (หลังหักอปท.) (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2. ตามฐานภาษี 2.1 เงินได้ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2.2 การบริโภค (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2.3 การค้าระหว่างประเทศ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) II รายจ่าย 1.รายจ่ายรัฐบาลจากงบประมาณ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.1 งบประมาณปีปัจจุบัน (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.2 งบประมาณปีก่อน 1/ 2. รายจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ (15 กองทุน) - รายจ่าย - เงินให้กู้ยืมสุทธิ 3. รายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 4. รายจ่ายของอปท. 5. รายจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ III ดุลการคลัง 1. ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด 2/ 2. ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบ สศค. - รัฐบาล - อปท. IV ยอดหนี้สาธารณะ 1. หนี้รัฐบาลกู้ตรง 2. หนี้รัฐวิสาหกิจ 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น 4. หนี้ FIDF 5. รวม 6. หนี้คงค้าง/GDP (ปีปฏิทิน)% 7. หนี้ที่เป็นภาระงบประมาณ/GDP (ปีปฏิทิน)% หมายเหตุ
ปีงบประมาณ 2555 พ.ย.-54
ต.ค.-54
1,515.7 19.9 399.8 (1.5) 102.9 5.9 98.8 7.9 107.3 (25.5) 102.7 4.6 2,224.4 11.0 1,892.3 11.0
88.9 12.1 26.8 (17.6) 7.7 1.4 20.7 14.9 4.3 (11.2) 4.2 0.1 148.4 4.3 133.7 7.1
98.3 (2.6) 25.6 (29.3) 9.2 1.4 11.8 106.9 14.1 2.0 13.6 0.4 137.8 (4.1) 137.8 (5.7)
91.1 11.7 30.6 (28.9) 10.3 18.1 2.8 23.3 8.7 16.3 8.6 0.1 124.6 0.3 124.6 0.1
278.3 6.3 83.0 (25.8) 27.2 7.2 35.3 35.7 27.0 3.7 26.4 0.6 410.8 (8.9) 396.2 0.1
891.8 22.1 977.0 7.6 100.2 7.0
37.7 10.3 74.6 0.4 7.7 2.2
49.0 (6.7) 71.3 (12.2) 9.0 1.0
34.6 12.2 82.5 (7.6) 10.1 22.4
121.3 3.2 228.4 (6.7) 26.8 8.5
2,177.9 22.1 2,050.5 26.0 127.4 382.8 357.8 25.0 3.0 878.9
167.0 (19.5) 155.9 (19.7) 11.0 26.7 24.5 2.2 (75.7)
150.2 (32.7) 131.9 (36.4) 18.4 17.5 13.8 3.7 -
172.6 2.9 151.6 (0.3) 21.0 105.2 101.9 3.3 -
489.8 (18.1) 439.4 (20.6) 50.5 149.5 140.2 9.3 (96.5)
(108.7)
(191.0)
(28.6)
(37.0)
(256.6)
(200.6)
(13.7)
(13.4)
(115.1)
(142.3)
3,092.9 1,213.3 30.4 4,336.7 41.0 31.3
3,087.2 1,216.3 4,303.5 40.5 30.3
1/ ประกอบด้วย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการทําของ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจ กองทุนอ้อยและน้ําตาล กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนช่วยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย 2 / ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาและวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค.) เป็นผลรวมของดุลการคลังรัฐบาล และดุลการคลังของ อปท. 3 / ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2551 เงินคงคลังจะไม่รวมเงินอื่น (บัตรภาษี) และเงินฝากธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) รวบรวมโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
7 สํานักนโยบายการคลัง
รวม Q1
ธ.ค.-54
สถานการณ์ด้านรายได้ เดือนธันวาคม 2554 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 124,595 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 5,768 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.9 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 0.1) ตารางสรุปรายได้รัฐบาลเดือนธันวาคม 2554* หน่วย: ล้านบาท เทียบปีนี้กับ เทียบปีนี้กับ ที่มาของรายได้ ปีนี้ ประมาณการ ปีที่แล้ว (%) (%) กรมสรรพากร 91,121 5.6 11.7 กรมสรรพสามิต 30,601 -8.8 -28.9 กรมศุลกากร 10,286 13.7 18.1 รัฐวิสาหกิจ 2,836 -58.7 23.3 หน่วยงานอืน่ 8,701 59.7 16.3 รายได้สทุ ธิ** 124,595 4.9 0.1 หมายเหตุ * ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 9 มกราคม 2555 ** รายได้สุทธิหลังหักการจัดสรร อปท.
เดือนธันวาคม 2554 รัฐบาลจัดเก็บ รายได้สุทธิ 124,595 ล้านบาท สูงกว่า ประมาณการ 5,768 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.9 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 0.1) ภาษีที่จัดเก็บได้สูงกว่าเป้าหมายที่สําคัญ ได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีมูลค่าเพิ่ม และ อากรขาเข้า จัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ 1,963 1,883 และ 1,205 ล้านบาท หรือร้อยละ 12.3 3.8 และ 13.6 ตามลําดับ โดยภาษีมูลค่าเพิ่ม และอากรขาเข้าจัดเก็บได้สูงกว่าประมาณการ เนื่องจากในเดือนนี้มีการนําเข้าสินค้าประเภท รถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ (พิกัด 87) ค่อนข้างสูง นอกจากนี้ กรมศุลกากรได้ส่งคืนเงินที่กันไว้ สําหรับชดเชยค่าภาษีอากรสําหรับผู้ส่งออก สินค้าเหลือจ่ายจํานวน 4,655 ล้านบาท อย่างไรก็ดี ภาษีสรรพสามิตรถยนต์ จัดเก็บได้ต่ํากว่าประมาณการ 4,330 ล้านบาท หรือร้อยละ 45.6 เนื่องจากอุตสาหกรรมรถยนต์ ยังคงได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์อุทกภัย ในประเทศ นอกจากนี้ รัฐวิสาหกิจนําส่งรายได้ ต่ํากว่าประมาณการ 4,037 ล้านบาท หรือร้อยละ 58.7 เนื่องจาก บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) ได้นําส่งเงินปันผลจากกําไรสุทธิประจําปี 2553 ไปแล้ว ในเดือนพฤศจิกายน 2554 จากที่ประมาณการไว้ จะนําส่งในเดือนธันวาคม 2554 (รายละเอียดตามตารางที่ 1)
สํานักนโยบายการคลัง 8
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลประจําปีงบประมาณ 2555 (เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2554) ล้านบาท
400,000 350,000 300,000 250,000 200,000 150,000
133,724
137,838 124,595
100,000 50,000 0 ตค.
พ.ย.
ธ.ค.
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
จัดเก็บ 54
ปมก. 55
จัดเก็บ 55
ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม – ธันวาคม 2554) รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 396,150 ล้านบาท ผลการจัดเก็บรายได้ตามหน่วยงานจัดเก็บ สูงกว่าประมาณการ 13,672 ล้านบาท หรือร้อยละ สรุปได้ ดังนี้ 3.6 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีทแี่ ล้วร้อยละ 0.1) กรมสรรพากร จัดเก็บรายได้รวม 278,297 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ ตารางสรุปรายได้รัฐบาล 5,999 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.2 (สูงกว่า ปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม – ธันวาคม 2554)* ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 6.3) ภาษีทจี่ ัดเก็บ หน่วย: ล้านบาท ได้สูงกว่าประมาณการที่สําคัญ ได้แก่ ภาษีเงินได้ เทียบปีนี้กับ เทียบปีนี้กับ นิติบุคคลและภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สูงกว่า ที่มาของรายได้ ปีนี้ ประมาณ ปีที่แล้ว ประมาณการ 3,846 และ 2,006 ล้านบาท การ (%) (%) หรือร้อยละ 5.9 และ 4.0 ตามลําดับ สําหรับ กรมสรรพากร 278,297 2.2 6.3 กรมสรรพสามิต 83,033 -2.2 -25.8 ภาษีมูลค่าเพิ่มจัดเก็บได้ใกล้เคียงกับประมาณการ กรมศุลกากร 27,223 -1.0 7.2 เนื่องจากภาษีที่จัดเก็บจากการนําเข้าสูงกว่า รัฐวิสาหกิจ 35,303 1.5 35.7 ประมาณการร้อยละ 1.8 ขณะที่ภาษีมลู ค่าเพิ่ม หน่วยงานอื่น 27,020 6.7 3.7 รายได้สุทธิ ** 396,150 3.6 0.1 ที่จัดเก็บจากการบริโภคในประเทศต่ํากว่า หมายเหตุ: * ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 9 มกราคม 2555 ประมาณการร้อยละ 1.2 ** รายได้สุทธิหลังจัดสรรให้ อปท. กรมสรรพสามิต จัดเก็บรายได้รวม 83,033 ล้านบาท ต่ํากว่าประมาณการ 1,869 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.2 (ต่ํากว่าช่วงเดียวกัน ปีที่แล้วร้อยละ 25.8) ภาษีที่จัดเก็บได้ต่ํากว่า ประมาณการที่สําคัญ ได้แก่ ภาษีสรรพสามิต รถยนต์จัดเก็บได้ 16,914 ล้านบาท ต่ํากว่า 9 สํานักนโยบายการคลัง
ผลการจัดเก็บรายได้ของ 3 กรมในสังกัดกระทรวงการคลัง ปีงบประมาณ 2555 (เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2554) ล้านบาท
450,000 400,000
จัดเก็บ 54 ประมาณการ 55 จัดเก็บ 55
399,053 388,553 384,700
350,000 300,000 250,000
278,297 272,298 261,810
200,000 150,000 111,837
100,000
84,902 83,033
50,000
27,223 25,406 27,500
0 กรมสรรพากร
กรมสรรพสามิต
กรมศุลกากร
รวม 3 กรม
ประมาณการ 8,044 ล้านบาท หรือร้อยละ 32.2 เนื่องจากโรงงานผลิตรถยนต์ค่ายต่างๆ ได้รับผลกระทบในช่วงเหตุการณ์อุทกภัย แต่อย่างไรก็ดี ขณะนี้เหตุการณ์น้ําท่วมได้คลีค่ ลาย ลงแล้ว ประกอบกับรัฐบาลมีมาตรการด้านภาษี ในการยกเว้นอากรขาเข้าสําหรับการนําเข้า รถยนต์และชิ้นส่วนเพื่อทดแทนการผลิต ในประเทศ ดังนั้น คาดว่าการจัดเก็บภาษี สรรพสามิตรถยนต์จะดีขึ้นเป็นลําดับ สําหรับภาษีที่จดั เก็บได้สูงกว่าประมาณการ ที่สําคัญ ได้แก่ ภาษียาสูบและภาษีสุราจัดเก็บ ได้สูงกว่าประมาณการ 3,466 และ 1,093 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 26.5 และ 9.0 ตามลําดับ เนื่องจากผู้จําหน่ายได้เร่งการสั่งซื้อ เพื่อนําไปทดแทนสต๊อกเก่าที่ไม่สามารถสั่งซื้อ สินค้าได้ในช่วงที่เกิดเหตุการณ์อุทกภัย ส่วนภาษีน้ํามันจัดเก็บได้ต่ํากว่า ช่วงเดียวกันปีทแี่ ล้ว 23,940 ล้านบาท หรือร้อยละ 62.4 เป็นผลจากการลดอัตราภาษีน้ํามันดีเซล เหลือลิตรละ 0.005 บาท ตั้งแต่เดือนเมษายน 2554 กรมศุลกากร จัดเก็บรายได้รวม 27,223 ล้านบาท ต่ํากว่าประมาณการ 277 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.0 (สูงกว่าช่วงเดียวกัน ปี ที่ แ ล้ ว ร้ อ ยละ 7.2) เนื่ อ งจากจั ด เก็ บ อากรขาเข้าได้ต่ํากว่าประมาณการ 238 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.9 ทั้งนี้ อัตราการขยายตัว ของมูลค่านําเข้าในรูปดอลาร์สหรัฐฯ และเงินบาท เฉลี่ย 2 เดือน (ตุลาคม – พฤศจิกายน 2554) เท่ากับร้อยละ 9.3 และ 10.0 ตามลําดับ รัฐวิสาหกิจ นําส่งรายได้ 35,303 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 505 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.5 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 35.7) ส่วนหนึ่งเป็นผลจาก บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) และบริษัท อสมท. จํากัด (มหาชน) นําส่งเงินปันผลสูงกว่าประมาณการ 829 และ 303 ล้านบาท ตามลําดับ
สํานักนโยบายการคลัง 10
หน่วยงานอื่น จัดเก็บรายได้รวม 27,020 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 1,688 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.7 (สูงกว่าช่วงเดียวกัน ปีที่แล้วร้อยละ 3.7) เนื่องจากกรมศุลกากร ได้ส่งคืนเงินที่กันไว้สําหรับชดเชยค่าภาษีอากร สําหรับผู้ส่งออกสินค้าเหลือจ่ายจํานวน 4,655 ล้านบาท อย่างไรก็ดี การจัดเก็บรายได้จาก สัมปทานปิโตรเลียมต่ํากว่าประมาณการ 1,131 ล้านบาท นอกจากนี้ กรมธนารักษ์ ยังจัดเก็บรายได้ต่ํากว่าประมาณการ 978 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 60.6 เนื่องจาก บริษัท ท่าอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) ขอเลื่อนการนําส่งค่าเช่าอสังหาริมทรัพย์ ไปในเดือนมกราคม 2555 การคืนภาษีของกรมสรรพากร จํานวน 48,594 ล้านบาท ต่ํากว่าประมาณการ 7,421 ล้านบาท หรื อร้ อ ยละ 13.2 โดยเป็น การคื นภาษีมู ล ค่าเพิ่ม 41,526 ล้านบาท ต่ํากว่ า ประมาณการ 5,474 ล้านบาท หรือร้ อ ยละ 11.6 และการคืนภาษีอื่นๆ 7,068 ล้านบาท ต่ํากว่าประมาณการ 1,947 ล้านบาท หรือร้อยละ 21.6 (รายละเอียดตามตารางที่ 2)
11 สํานักนโยบายการคลัง
ตารางที่ 1 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลเบื้องต้น เดือนธันวาคม 2554 1/ หน่วย : ล้านบาท
เปรียบเทียบปีนี้กับปีที่แล้ว ที่มาของรายได้
ปีนี้
ปีที่แล้ว
จํานวน
ร้อยละ
ปมก.ตามเอกสาร งปม.ทั้งปีเท่ากับ
เปรียบเทียบปีนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม.
จํานวน
ร้อยละ
1,980,000 ล้านบาท
1. กรมสรรพากร
91,121
81,578
9,543
11.7
86,272
4,849
5.6
52,020 16,623 17,966 54 3,512 915 31 30,601
46,358 16,127 14,739 23 3,456 852 23 43,026
5,662 496 3,227 31 56 63 8 (12,425)
12.2 3.1 21.9 134.8 1.6 7.4 34.8 (28.9)
50,137 16,114 16,003 27 3,089 884 18 33,544
1,883 509 1,963 27 423 31 13 (2,943)
3.8 3.2 12.3 100.0 13.7 3.5 72.2 (8.8)
4,926 5,167 6,480 6,207 5,901 1,520 47 142 57 75
13,916 8,881 6,390 7,200 4,524 1,435 182 187 147 86
(8,990) (3,714) 90 (993) 1,377 85 (135) (45) (90) (11)
(64.6) (41.8) 1.4 (13.8) 30.4 5.9 (74.2) (24.1) (61.2) (12.8)
4,938 9,497 6,637 5,620 4,715 1,482 205 197 87 89
(12) (4,330) (157) 587 1,186 38 (158) (55) (30) (14)
(0.2) (45.6) (2.4) 10.4 25.2 2.6 (77.1) (27.9) (34.5) (15.7)
79
78
1
1.3
77
2
2.6
10,286 10,055 27 204
8,707 8,218 20 469
1,579 1,837 7 (265)
18.1 22.4 32.7 (56.5)
9,050 8,850 8 192
1,236 1,205 19 12
13.7 13.6 231.9 6.3
132,008
133,311
(1,303)
(1.0)
128,866
3,142
2.4
4. รัฐวิสาหกิจ
2,836
2,300
536
23.3
6,873
(4,037)
(58.7)
5. หน่วยงานอื่น
8,701
1.1 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1.2 ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล 1.3 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 1.4 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป์ 1.7 รายได้อื่น
2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9
ภาษีรถยนต์ ภาษีเบียร์ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเครื่องดืม่ ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีเครื่องไฟฟ้า
2.10 ภาษีอื่น 2/ 2.11 รายได้อื่น
3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่น
รวมรายได้ 3 กรม
5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์
รวมรายได้จัดเก็บ (Gross)
7,480
1,221
16.3
5,447
3,254
59.7
8,569 132 143,545
3/
6,244 1,236 143,091
2,325 (1,104) 454
37.2 (89.3) 0.3
4,225 1,222 141,186
4,344 (1,090) 2,359
102.8 (89.2) 1.7
16,600 14,000 2,600 1,150 1,200
4/
16,407 14,151 2,256 1,020 1,149
193 (151) 344 130 51
1.2 (1.1) 15.2 12.7 4.4
20,005 17,000 3,005 1,111 1,243
(3,405) (3,000) (405) 39 (43)
(17.0) (17.6) (13.5) 3.5 (3.5)
124,515
80
0.1
118,827
5,768
4.9
-
-
80
0.1
หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินค้าส่งออก
รวมรายได้สุทธิ (Net) 5/ หักเงินจัดสรรจาก VAT ให้ อปท. ตาม พรบ. กําหนดแ
รวมรายได้สุทธิหลังหักการจัดสรรแล้ว หมายเหตุ
1/
124,595 -
124,595
4/ 4/
-
124,515
-
-
118,827
5,768
-
4.9
ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 9 มกราคม 2555 2/ ภาษีไพ่ แก้วฯ เครื่องหอม เรือ พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด 3/
ข้อมูลจากระบบ GFMIS
4/
ตัวเลขคาดการณ์
5/
รายได้สุทธิก่อนการจัดสรรให้อปท. จัดทําโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
สํานักนโยบายการคลัง 12
ตารางที่ 2 ผลการจัดเก็บรายได้รฐั บาลเบื้องต้น ปีงบประมาณ 2555
1/
( ตุลาคม 2554 - ธันวาคม 2554 ) หน่วย : ล้านบาท
เปรียบเทียบปีนี้กับปีที่แล้ว ที่มาของรายได้
ปีนี้
ปีที่แล้ว
จํานวน
ร้อยละ
ปมก.ตามเอกสาร งปม.ทั้งปีเท่ากับ
เปรียบเทียบปีนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม.
จํานวน
ร้อยละ
1,980,000 ล้านบาท
1. กรมสรรพากร
278,297
261,810
16,487
6.3
272,298
5,999
2.2
145,525 68,784 51,807 712 9,063 2,342 64 83,033
133,089 70,755 45,814 971 8,715 2,397 69 111,837
12,436 (1,971) 5,993 (259) 348 (55) (5) (28,804)
9.3 (2.8) 13.1 (26.7) 4.0 (2.3) (7.2) (25.8)
145,217 64,938 49,801 1,120 8,661 2,503 58 84,902
308 3,846 2,006 (408) 402 (161) 6 (1,869)
0.2 5.9 4.0 (36.4) 4.6 (6.4) 10.3 (2.2)
14,431 16,914 16,433 16,563 13,282 4,148 320 426 137 226 153
38,371 23,035 16,761 15,977 12,193 3,575 533 512 461 248 171
(23,940) (6,121) (328) 586 1,089 573 (213) (86) (324) (22) (18)
(62.4) (26.6) (2.0) 3.7 8.9 16.0 (40.0) (16.8) (70.3) (8.9) (10.5)
13,727 24,958 15,437 13,097 12,189 3,692 603 541 248 253 157
704 (8,044) 996 3,466 1,093 456 (283) (115) (111) (27) (4)
5.1 (32.2) 6.5 26.5 9.0 12.4 (46.9) (21.3) (44.8) (10.7) (2.5)
4. รัฐวิสาหกิจ
27,223 26,662 113 448 388,553 35,303
25,406 24,621 56 729 399,053 26,006
1,817 2,041 57 (281) (10,500) 9,297
7.2 8.3 101.8 (38.5) (2.6) 35.7
27,500 26,900 24 576 384,700 34,798
(277) (238) 89 (128) 3,853 505
(1.0) (0.9) 370.8 (22.2) 1.0 1.5
5. หน่วยงานอื่น
27,020
1.1 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1.2 ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล 1.3 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 1.4 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป์ 1.7 รายได้อื่น
2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษีรถยนต์ 2.3 ภาษีเบียร์ 2.4 ภาษียาสูบ 2.5 ภาษีสุราฯ 2.6 ภาษีเครื่องดืม่ 2.7 ภาษีรถจักรยานยนต์ 2.8 ภาษีแบตเตอรี่ 2.9 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2.10 ภาษีอื่น 2/ 2.11 รายได้อื่น
3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่น
รวมรายได้ 3 กรม
5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์
รวมรายได้จัดเก็บ (Gross)
26,058
962
3.7
25,332
1,688
6.7
26,384 636 450,876
3/
24,396 1,662 451,117
1,988 (1,026) (241)
8.1 (61.7) (0.1)
23,718 1,614 444,830
2,666 (978) 6,046
11.2 (60.6) 1.4
48,594 41,526 7,068 3,202 2,930 396,150
4/
49,675 42,905 6,770 2,928 2,912 395,602
(1,081) (1,379) 298 274 18 548
(2.2) (3.2) 4.4 9.4 0.6 0.1
56,015 47,000 9,015 3,188 3,149 382,478
(7,421) (5,474) (1,947) 14 (219) 13,672
(13.2) (11.6) (21.6) 0.4 (7.0) 3.6
-
-
หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินค้าส่งออก
รวมรายได้สุทธิ (Net)
6/
หักเงินจัดสรรจาก VAT ให้ อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ
รวมรายได้สุทธิหลังหักการจัดสรร อปท. หมายเหตุ
396,150
5/ 5/
395,602
-
-
548
0.1
382,478
1/
ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 9 มกราคม 2555
2/
ภาษีไพ่ เครื่องแก้ว เครื่องหอม พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด
3/
ข้อมูลจากระบบ GFMIS
4/
เดือนตุลาคม 2554 เป็นตัวเลขจริง และเดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม 2554 เป็นตัวเลขคาดการณ์
5/
เดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2554 เป็นตัวเลขจริง และเดือนธันวาคม 2554 เป็นตัวเลขคาดการณ์
6/
รายได้สุทธิก่อนการจัดสรรให้ อปท. ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
13 สํานักนโยบายการคลัง
13,672
3.6
สถานการณ์ด้านรายจ่าย คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2554 เห็นชอบการจัดทํางบประมาณรายจ่าย ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 โดยมีวงเงินงบประมาณรายจ่ายจํานวน 2,380,000 ล้านบาท สูงกว่า วงเงินปีงบประมาณ 2554 ร้อยละ 9.7 โดยแบ่งเป็นรายจ่ายประจํา 1,855,841 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 11.3 เมื่อเทียบกับปีก่อน รายจ่ายลงทุน 423,387 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.1 เมื่อเทียบกับปีก่อน รายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ 46,854 ล้านบาท และรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง 53,918 ล้านบาท โครงสร้างงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2555
โครงสร้างงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณรายจ่าย (สัดส่วนต่อ GDP) - รายจ่ายประจํา (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) 2. รายรับ (สัดส่วนต่อ GDP) - รายได้ - เงินกู้ 3. ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP)
ปีงบประมาณ 2554 รวมงบประมาณรายจ่าย เพิ่มเติม เพิ่ม/ลด จํานวน ร้อยละ 2,169,968 27.6 20.0 1,667,440 16.2 76.8 114,489 100.0 5.3 355,485 65.8 16.4 32,555 -36.1 1.5 2,169,968 27.6 20.0 1,770,000 31.1 399,968 14.3 10,867,600 7.6
ปีงบประมาณ 2555 จํานวน 2,380,000 20.2 1,855,841 78.0 53,918 2.2 423,387 17.8 46,854 2.0 2,380,000 20.2 1,980,000 400,000 11,794,200
เพิ่ม/ลด ร้อยละ 9.7 11.3 -52.9 19.1 43.9 9.7 11.9 0.01 8.5
ที่มา : สํานักงบประมาณ
อย่างไรก็ดี เนือ่ งจากพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ 2555 อยู่ระหว่าง การพิจารณาของรัฐสภา จึงต้องใช้งบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณทีล่ ่วงแล้ว (ปีงบประมาณ 2554) ไปพลางก่อนตามพระราชบัญญัตวิ ิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 16
สํานักนโยบายการคลัง 14
เดือนธันวาคม 2554 เดือนธันวาคม 2554 รัฐบาลมีการเบิกจ่าย เงินงบประมาณปี 2555 จํานวน 151,587 ล้านบาท ต่ํากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 417 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.3 และมีการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี 21,041 ล้านบาท ทําให้มีการเบิกจ่ายรวมทั้งสิ้น 172,628 ล้านบาท
- การเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2555 จํานวน 151,587 ล้านบาท แบ่งเป็น รายจ่ายประจําจํานวน 137,437 ล้านบาท และ รายจ่ายลงทุนจํานวน 14,150 ล้านบาท - การเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี มีจํานวน 21,041 ล้านบาท
ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม - ธันวาคม 2554) ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลได้เบิกจ่ายเงินแล้วจํานวน 439,360 ล้านบาท ต่ํากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 113,963 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 20.6 และมีการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี 50,456 ล้านบาท ทําให้มีการเบิกจ่ายรวมทั้งสิ้น 489,816 ล้านบาท
15 สํานักนโยบายการคลัง
- การเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2555 จํานวน 439,360 ล้านบาท คิดเป็นอัตรา การเบิกจ่าย ร้อยละ 21.2 ของวงเงินงบประมาณ 2,070,000 ล้านบาท แบ่งเป็น รายจ่ายประจํา จํานวน 401,232 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 23.3 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจําหลังโอน เปลี่ยนแปลง (1,720,592 ล้านบาท) รายจ่ายลงทุน จํานวน 38,128 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 10.9 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอน เปลี่ยนแปลง (349,408 ล้านบาท) - การเบิกจ่ายงบกลาง มีจํานวน 85,023 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 32.0 ของงบประมาณงบกลาง (265,763 ล้านบาท) - สําหรับการเบิกจ่ายงบประมาณตามหน่วยงาน หน่วยงานที่มีการเบิกจ่ายสูงที่สุด 3 อันดับแรก คือ กองทุนและเงินทุนหมุนเวียนมีการเบิกจ่าย 40,242 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 31.5 กระทรวงการต่างประเทศ มีการเบิกจ่าย 2,265 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 30.3 และกระทรวงแรงงานมีการเบิกจ่าย 8,603 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 30.2 - ในขณะที่หน่วยงานที่มีการเบิกจ่ายต่ําสุด 3 อันดับ สุดท้าย คือ จังหวัดมีการเบิกจ่าย 65 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.4 กระทรวงคมนาคมมีการเบิกจ่าย 4,566 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.7 และกระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬามีการเบิกจ่าย 584 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 8.3
- การเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี มีจํานวน 50,456 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 23.8 ของเงินกันไว้ เบิกเหลื่อมปี (212,250 ล้านบาท) ล้านบาท
การเบิกจ่ายรายจ่ายประจํา รายจ่ายลงทุน และเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี (รายเดือน)
150,000 100,000 50,000 -
ต.ค. 54
พ.ย. 54
ธ.ค. 54
ม.ค. 55
ก.พ. 55
มี.ค. 55
เม.ย. 55
พ.ค. 55
มิ.ย. 55
ก.ค. 55
ส.ค. 55
ก.ย. 55
รายจ่ายประจํา
136,594
127,201
137,437
-
-
-
-
-
-
-
-
-
รายจ่ายลงทุน
19,316
4,662
14,150
-
-
-
-
-
-
-
-
-
เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี
11,044
18,371
21,041
-
-
-
-
-
-
-
-
-
การเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2555 (สะสม)
ล้านบาท 2,500,000 2,000,000 1,500,000 1,000,000 500,000 -
ต.ค. 54
พ.ย. 54
ธ.ค. 54
ม.ค. 55
ก.พ. 55
มี.ค. 55
เม.ย. 55
พ.ค. 55
มิ.ย. 55
ก.ค. 55
ส.ค. 55
ก.ย. 55
พ.ศ. 2554 194,118
401,319
553,323
773,980
913,444
1,070,454
1,205,535
1,410,757
1,592,008
1,730,419
1,865,892
2,050,540
พ.ศ. 2555 155,910
287,773
439,360
-
-
-
-
-
-
-
-
-
รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุน - เดือนธันวาคม 2554 มีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุน ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 จํานวน 2,623 ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ในเดือนธันวาคม 2554 จํานวน 2,623 ล้านบาท ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.8 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ จํานวน 348,940 ล้านบาท1 และตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ จนถึงเดือนธันวาคม 2554 มีการเบิกจ่ายทั้งสิ้น 6,051 ล้านบาท - การเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการ ไทยเข้มแข็งสะสมจนถึงสิ้นเดือนธันวาคม 2554 มีจํานวนทั้งสิ้น 301,814 ล้านบาท2 คิดเป็นร้อยละ 86.5 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ จํานวน 348,940 ล้านบาท 1 2
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553 ได้มีมติอนุมัติให้ยกเลิกวงเงินเหลือจ่ายคงเหลือ จํานวน 1,020 ล้านบาท ทําให้เหลือวงเงินที่ได้รับอนุมัติ จํานวนทั้งสิ้น 348,940 ล้านบาท จากวงเงินที่ได้รับอนุมัติเดิม จํานวน 349,960 ล้านบาท เป็นการเบิกจ่ายจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง จนถึงสิ้นสุดปีงบประมาณ 2554 จํานวน 295,763 ล้านบาท
สํานักนโยบายการคลัง 16
- สําหรับสาขาที่มีการเบิกจ่ายสะสมสูงสุด 3 อันดับแรก คือ สาขาการประกันรายได้และการดําเนินงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมีการเบิกจ่าย 40,000 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 100.0 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (40,000 ล้านบาท) สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีการเบิกจ่าย 182.3 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 99.9 ของวงเงินที่ได้รับ การอนุมัติ (182.4 ล้านบาท) และสาขาเศรษฐกิจ เชิงสร้างสรรค์มีการเบิกจ่าย 1,275 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 97.2 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (1,311 ล้านบาท) - ในขณะที่สาขาที่มีการเบิกจ่ายสะสมต่ําสุด 3 อันดับ คือ สาขาพัฒนาการท่องเที่ยวมีการเบิกจ่าย 2,552 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 47.3 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (5,390 ล้านบาท) สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานมีการเบิกจ่าย 8,067 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 56.4 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (14,302 ล้านบาท) และสาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาบุคลากรมีการเบิกจ่าย 1,373 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 75.0 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (1,832 ล้านบาท) - สําหรับสาขาที่ยังไม่มกี ารเบิกจ่าย ได้แก่ สาขาพลังงาน มีวงเงินที่ได้รับอนุมัติ 12 ล้านบาท3 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ - ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2555 มีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ จํานวนทั้งสิ้น ทั้งสิน้ 495,867 ล้านบาท 495,867 ล้านบาท แบ่งเป็น งบประมาณรายจ่าย ประจําปีงบประมาณ 2555 จํานวน 439,360 ล้านบาท เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี จํานวน 50,456 ล้านบาท และโครงการลงทุนไทยเข้มแข็ง 2555 จํานวน 6,051 ล้านบาท
3
คณะรัฐมนตรีมีมติ เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553 รับทราบการยกเลิกโครงการในสาขาพลังงาน 2 โครงการ ได้แก่ โครงการชุมชนเข้มแข็งด้วยพลังงาน ทดแทน จํานวน 56 ล้านบาท และโครงการพัฒนาชุมชนในพื้นที่ห่างไกลด้วยเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ จํานวน 106 ล้านบาท ทําให้มีวงเงินที่ได้รับ อนุมัติคงเหลือทั้งสิ้น 12 ล้านบาท จากวงเงินที่ได้รับอนุมัติเดิม จํานวน 174 ล้านบาท
17 สํานักนโยบายการคลัง
รายงานผลการเบิกจ่ายเงินโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ร้อยละของ การเบิกจ่าย สะสม
วงเงินที่ได้รับ อนุมัติ
เบิกจ่าย สะสม ณ 31 ธ.ค. 54
59,462.2
53,182.6
89.4
1.1 สาขาทรัพยากรน้ําและการเกษตร
59,462.2
53,182.6
89.4
2. ปรับปรุงบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานฯ
74,211.7
63,510.8
85.6
46,586.3
44,253.2
95.0
12.0
-
-
-
-
-
3,281.4
2,529.7
77.1
14,302.4
8,067.1
56.4
9,158.0
7,815.0
85.3
2.7 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
182.4
182.3
99.9
2.8 สาขาสิ่งแวดล้อม
689.2
663.6
96.3
5,389.9
2,551.8
47.3
3.1 สาขาพัฒนาการท่องเที่ยว
5,389.9
2,551.8
47.3
4. สร้างฐานรายได้ใหม่ของประเทศฯ
1,311.0
1,274.9
97.2
4.1 สาขาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์
1,311.0
1,274.9
97.2
51,980.8
40,583.7
78.1
51,980.8
40,583.7
78.1
1,831.6
1,373.2
75.0
1,831.6
1,373.2
75.0
106,253.0
95,241.4
89.6
7.1 สาขาการลงทุนในระดับชุมชน
106,253.0
95,241.4
89.6
8. อื่น ๆ ตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด
40,000.0
40,000.0
100.0
40,000.0
40,000.0
100.0
340,440.1
297,718.3
87.5
8,500.0
4,095.5
48.2
348,940.1
301,813.8
86.5
วัตถุประสงค์ / สาขา 1. สร้างความมั่นคงทางด้านอาหารและพลังงานฯ
2.1 สาขาขนส่ง 2.2 สาขาพลังงาน 2.3 สาขาการสื่อสาร 2.4 สาขาโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว 2.5 สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 2.6 สาขาสวัสดิภาพของประชาชน
3. สร้างศักยภาพในการหารายได้จากการท่องเที่ยว
5. ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ 5.1 สาขาการศึกษา 6. ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุขฯ 6.1 สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาบุคลากร 7. สร้างอาชีพและรายได้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตฯ
8.1 สาขาการประกันรายได้และการดําเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวม สํารองจ่ายตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหาร รวมทั้งสิ้น ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
สํานักนโยบายการคลัง 18
การเบิกจ่ายเงินกู้ตา่ งประเทศ ผลการเบิกจ่าย - เดือนธันวาคม 2554 ไม่มีการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ ในขณะที่เดือนเดียวกันปีที่แล้วมีการเบิกจ่าย 76.1 ล้านบาท - ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม 2554 – ธันวาคม 2554) มีการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ 4.5 ล้านบาท เปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้วลดลงจํานวน 122.6 ล้านบาท หรือร้อยละ 96.5
สรุปการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ เดือนธันวาคม 2554 และไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2555 หน่วย : ล้านบาท
ธันวาคม รายการ 1. Project Loans 2. Structural Adjustment Loans (SAL)
0 0
73.7 2.4
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -
รวม
0
76.1
-
ที่มา : สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ
19 สํานักนโยบายการคลัง
2554
2553
ตุลาคม – ธันวาคม อัตราเพิ่ม 2554 2553 (ร้อยละ) 92.3 4.5 34.3 - 86.9 4.5
127.1
- 96.5
การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. เดือนธันวาคม 2554 การเบิกจ่ายเงินของกองทุนนอกงบประมาณ สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 5.0 เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของรายจ่ายกองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม – ธันวาคม 2554) การเบิกจ่ายเงินของกองทุนฯ สูงกว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 3.9 โดยมี สาเหตุหลักมาจากการเบิกจ่ายของกองทุน น้ํามันเชื้อเพลิง
1. เดือนธันวาคม 2554 มีการเบิกจ่ายรวม 105,169.3 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 5,026.0 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.0 ประกอบด้วยรายจ่ายดําเนินงาน 101,871.5 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 4,861.2 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.0 เนื่องจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีรายจ่ายเพิ่มขึ้น ในขณะที่มีการให้กู้สุทธิ 3,297.8 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 164.8 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.3 2. ไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2555 มีการเบิกจ่ายรวม 149,487.2 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 5,658.8 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.9 ประกอบด้วย 1) รายจ่ายดําเนินงาน 140,225.2 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว 5,378.4 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.0 เป็นผลมาจาก กองทุนน้าํ มันเชื้อเพลิงมีการเบิกจ่ายเพิ่มขึ้น 2) รายจ่ายเงินให้กู้ยืมสุทธิ 9,262.0 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว 280.4 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.1 เป็นผลมาจาก การให้กู้ยืมที่เพิ่มขึ้นของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
สรุปการเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. ปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม – ธันวาคม 2554) หน่วย : ล้านบาท
รายการ
ธันวาคม 2554* 2553 การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ 105,169.3 100,143.3 1. รายจ่ายดําเนินงาน 101,871.5 97,010.3 2. รายจ่ายเงินให้กู้ยืมสุทธิ 3,297.8 3,133.0
อัตราเพิ่ม 5.0 5.0 5.3
ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2555* 2554 อัตราเพิ่ม 149,487.2 143,828.4 3.9 140,225.2 134,846.8 4.0 9,262.0 8,981.6 3.1
ที่มา : กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการทําของ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจฯ กองทุนอ้อยและน้ําตาลทราย กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนรวมเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุน สนับสนุนการวิจยั หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการจาก 15 กองทุนนอกงบประมาณหลัก ซึ่งมีมูลค่ารวมเป็นร้อยละ 85 จากกองทุนนอกงบประมาณทัง้ หมด โดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
สํานักนโยบายการคลัง 20
ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด1 ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2555 (เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2554) ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลมี ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ รายได้นําส่งคลัง 402,809 ล้านบาท และมีการเบิกจ่าย 2555 ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ งบประมาณจากงบประมาณปีปัจจุบันและปีก่อนรวม กระแสเงินสดขาดดุล 256,613 ล้านบาท 2 489,816 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณขาดดุล คิดเป็นร้อยละ 2.4 ของ GDP จํานวน 87,007 ล้านบาท เมือ่ รวมกับดุลเงินนอก งบประมาณ ที่ขาดดุลจํานวน 169,606 ล้านบาท ทําให้ดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 256,613 ล้านบาท ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด หน่วย: ล้านบาท
ไตรมาสแรก ปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2555 2554 รายได้ 402,809 395,060 รายจ่าย 489,816 598,371 ปีปัจจุบนั 439,360 553,323 ปีก่อน 50,456 45,048 ดุลเงินงบประมาณ -87,007 -203,311 ดุลเงินนอกงบประมาณ -169,606 34,397 ดุลเงินสดก่อนกู้ -256,613 -168,914 กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล 53,021 ดุลเงินสดหลังกู้ -256,613 -115,893 ที่มา : กรมบัญชีกลาง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
เปรียบเทียบ จํานวน 7,749 -108,555 -113,963 5,408 116,304 -204,003 -87,699 -53,021 -140,720
1 2
ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด เป็นดุลการคลังที่แสดงให้เห็นผลกระทบต่อเงินคงคลังและการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล GDP ปีปฏิทิน 2553 เท่ากับ 10,104.8 พันล้านบาท และคาดการณ์ GDP ปีปฏิทิน 2554 เท่ากับ 10,662.5 พันล้านบาท
21 สํานักนโยบายการคลัง
ร้อยละ 2.0 -18.1 -20.6 12.0 -57.2 -593.1 51.9 -100.0 121.4
ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค.3 ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2555 (ตุลาคม – ธันวาคม 2554) ในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลมีรายได้ทั้งสิน้ 398,510 ล้านบาท และมีรายจ่ายทั้งสิน้ 491,728 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.4 และ 4.2 ของ GDP ตามลําดับ
ด้านรายได้ รัฐบาลมีรายได้ทั้งสิ้น 398,510 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 0.2 โดยประกอบด้วยรายได้ในงบประมาณ 398,073 ล้านบาท (ก่อนจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้ อปท.) และเงินช่วยเหลือ จากต่างประเทศ 437 ล้านบาท ด้านรายจ่าย รัฐบาลมีรายจ่ายทั้งสิ้น 491,728 ล้านบาท ลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 17.4 ประกอบด้วยรายจ่ายจากงบประมาณปีปัจจุบันและปีก่อน (รายจ่ายไม่รวมรายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ 491,291 ล้านบาท รายจ่ายเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ 437 ล้านบาท)
ดุลเงินงบประมาณขาดดุลทัง้ สิ้น 93,218 ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิ้น 93,218 ล้านบาท ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 0.8 ของ GDP หรือคิดเป็นร้อยละ 0.8 ของ GDP ในขณะช่วงเดียวกัน ปีที่แล้วขาดดุล 197,962 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 1.9 ของ GDP ดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณขาดดุล 43,060 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.4 ของ GDP
บัญชีเงินนอกงบประมาณ ประกอบด้วยเงินฝาก นอกงบประมาณ และกองทุนนอกงบประมาณ มีรายได้ รวมทั้งสิ้น 117,011 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกัน ปีที่แล้วร้อยละ 8.3 ในขณะที่มีรายจ่ายจํานวน 150,809 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 4.1 และมีเงินให้กู้หักชําระคืน 9,262 ล้านบาท ทําให้ดุลบัญชี เงินนอกงบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 43,060 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 0.4 ของ GDP
3
ดุลการคลังตามระบบ สศค. เป็นดุลการคลังที่สะท้อนเม็ดเงินที่แท้จริงที่ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ
สํานักนโยบายการคลัง 22
ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุลทั้งสิ้น 142,333 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.2 ของ GDP
ดุลเงินงบประมาณและดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณ ที่ขาดดุล และเมื่อหักรายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศและ รายจ่ายจากโครงการไทยเข้มแข็ง จํานวน 4 ล้านบาท และ 6,051 ล้านบาท ตามลําดับ ทําให้ดุลการคลัง ของรัฐบาลขาดดุล จํานวน 142,333 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.2 ของ GDP ในขณะช่วงเดียวกันปีที่แล้ว ขาดดุล 247,044 ล้านบาท สําหรับดุลการคลังเบื้องต้นของรัฐบาล (Primary Balance) ซึ่งเป็นดุลการคลังที่สะท้อนถึงผล การดําเนินงานของรัฐบาลและทิศทางของนโยบายการคลัง ของรัฐบาลอย่างแท้จริง (ไม่รวมรายได้และรายจ่ายจาก ดอกเบี้ย และการชําระคืนต้นเงินกู้) ขาดดุลทั้งสิ้น 142,123 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.2 ของ GDP ในขณะที่ช่วงเดียวกัน ปีที่แล้วขาดดุล 219,748 ล้านบาท ดุลการคลังเบือ้ งต้นตามระบบ สศค. หน่วย: ล้านบาท
ปีงบประมาณ รัฐบาล 1. รายได้ 2. รายจ่าย 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. รายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศ 5. รายจ่ายจากมาตรการไทยเข็มแข็ง (TKK)
ธ.ค. 54
ธ.ค. 53
เปรียบเทียบ
ล้านบาท % of GDP ล้านบาท % of GDP 125,418 173,430 (48,012) 2,623 (64,487) 44,658 105,847 3,298
1.1 125,233 1.5 165,489 (0.4) (40,256) 76 0.0 12,429 (0.6) (54,902) 0.4 48,403 0.9 100,172 3,133 0.0 (1.0) (107,663) (1.0) (93,332)
6. ดุลบัญชีนอกงบประมาณ (6.1-6.2-6.3) 6.1 รายได้ 6.2 รายจ่าย 6.3 เงินให้กู้หกั ชําระคืน (115,122) 7. ดุลการคลังของรัฐบาล (3-4-5+6) 8. ดุ ล การคลั ง เบื อ ้ งต้ น ของรั ฐ บาล (115,105) จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
23 สํานักนโยบายการคลัง
1.2 1.6 (0.4) 0.0 0.1 (0.5) 0.5 0.9 0.0 (1.0) (0.9)
ล้านบาท
ร้อยละ
ต.ค.54 - ธ.ค. 54
ต.ค.53 - ธ.ค. 53
ล้านบาท % of GDP
185 0.1 398,510 7,941 4.8 491,728 (7,756) 19.3 (93,218) (76) (100.0) 4 (9,806) (78.9) 6,051 (9,585) 17.5 (43,060) (3,745) (7.7) 117,011 5,675 5.7 150,809 165 5.3 9,262 (7,459) 6.9 (142,333) (21,771) 23.3 (142,123)
3.4 4.2 (0.8) 0.0 0.1 (0.4) 1.0 1.3 0.1 (1.2) (1.2)
เปรียบเทียบ
ล้านบาท % of GDP ล้านบาท 397,690 595,652 (197,962) 127 22,674 (26,281) 127,555 144,854 8,982 (247,044) (219,748)
820 3.7 (103,924) 5.6 (1.9) 104,744 (123) 0.0 0.2 (16,623) (0.2) (16,779) 1.2 (10,544) 5,955 1.4 280 0.1 104,711 (2.3) (2.1) 77,626
ร้อยละ 0.2 (17.4) (52.9) (96.9) (73.3) 63.8 (8.3) 4.1 3.1 (42.4) (35.3)
ฐานะการคลังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รายงานการคลังท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ไตรมาสที่ 4 และปีงบประมาณ 2554 ฐานะการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ 2554 (กรกฎาคม – กันยายน 2554) 1. ด้านรายได้ อปท. จํานวน 7,853 แห่ง คาดว่ามีรายได้รวม 100,065.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 16,684.9 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 20.0 เนื่องจาก อปท. ได้รับการจัดสรรเงินอุดหนุน เพิ่มขึ้น นอกจากนี้รายได้ที่ อปท. จัดเก็บเองในส่วนของรายได้จากภาษีอากรและที่ไม่ใช่ภาษีอากรก็เพิ่มขึ้น เช่นกัน (รายละเอียดตามตารางที่ 1) ตารางที่ 1 รายได้ของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ 2554 ประเภท 1. รายได้จัดเก็บเอง 1/ (ร้อยละของรายได้รวม) 1.1 รายได้จากภาษีอากร 1.2 รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร 2. รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 2/ (ร้อยละของรายได้รวม) 3. รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล 3/ (ร้อยละของรายได้รวม) รวม (ร้อยละของรายได้รวม)
ไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2553 12,428.94 7,874.29 12.42 9.44 7,409.37 5,864.29 5,019.57 2,010.00 73,277.66 65,034.71 73.23 78.00 14,359.20 10,471.90 14.35 12.56 100,065.80 83,380.90 100.00 100.00
หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ จํานวน 4,554.65
ร้อยละ 57.84
1,545.08 3,009.57 8,242.95
26.35 149.73 12.67
3,887.30
37.12
16,684.90
20.01
หมายเหตุ ที่มา
ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 8 ธันวาคม 2554 1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จํานวน 1,342 แห่ง จากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจํานวน 6,511 แห่ง รวม 7,853 แห่ง 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รฐั บาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดิน กรมการขนส่งทางบก และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง จัดทําและรวบรวมโดย ส่วนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
รายได้ของ อปท. จําแนกตามแหล่งทีม่ าได้ ดังนี้ 1.1 รายได้ที่จดั เก็บเอง จํานวน 12,428.9 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 4,554.7 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 57.8 ประกอบด้วย รายได้จากภาษีอากร 7,409.4 ล้านบาท และรายได้ ที่ไม่ใช่ภาษีอากร 5,019.6 ล้านบาท 1.2 รายได้ภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จํานวน 73,277.7 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 8,243.0 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 12.7 25 สํานักนโยบายการคลัง
1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน จํานวน 14,359.2 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 3,887.3 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 37.1 2. ด้านรายจ่าย อปท.1 จํานวน 7,853 แห่ง ประมาณการรายจ่ายทั้งสิ้น 105,679.7 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 24,952.5 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 30.9 เนื่องจากมีการใช้จ่าย เพิ่มขึ้นส่วนใหญ่จะเกิดจากรายจ่ายด้านโครงสร้างพื้นฐานสาธารณูปโภค และการช่วยเหลือผู้ประสบภัย น้ําท่วม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหลายจังหวัดที่ประสบกับปัญหาอุทกภัย 3. ดุลการคลัง อปท.2 ขาดดุล 5,613.9 ล้านบาท ขณะที่ช่วงเดียวกันปีที่แล้วเกินดุล 2,653.7 ล้านบาท เนื่องจาก อปท. ได้มีรายจ่ายเพิ่มขึ้นในด้านโครงสร้างพื้นฐาน การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ประสบภัย น้ําท่วมและการบริหารจัดการน้ําท่วม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหลายจังหวัดที่ประสบกับปัญหาอุทกภัย จึงเป็นผลให้ ปริมาณเงินฝากของ อปท. ที่อยู่ในระบบธนาคารลดลง (รายละเอียดตามตารางที่ 2 และแผนภูมิที่ 1) ตารางที่ 2 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ 2554 ประเภท 1. รายได้ 1/ 1.1 รายได้ที่จัดเก็บเอง 1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รฐั บาลจัดเก็บและแบ่งให้ 2/ 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน 3/ 2. รายจ่าย 3. ดุลการคลัง 4/ หมายเหตุ ที่มา
จัดทําและรวบรวมโดย
ไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2553 100,065.80 83,380.90 12,428.94 7,874.29 73,277.66 65,034.71 14,359.20 10,471.90 105,679.69 80,727.17 (5,613.89) 2,653.73
หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ จํานวน ร้อยละ 16,684.90 20.01 4,554.65 57.84 8,242.95 12.67 3,887.30 37.12 24,952.52 30.91 (8,267.62) (311.55)
ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 8 ธันวาคม 2554 1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จํานวน 1,342 แห่ง จากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจํานวน 6,511 แห่ง รวม 7,853 แห่ง 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดิน กรมการขนส่งทางบก และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ เป็นตัวเลขประมาณการจากการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKINK SYSTEM) ของ ธปท. ส่วนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
1
โดยพิจารณาจากผลต่างของรายได้กับดุลการคลังของ อปท. (การเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM)) จากธนาคารแห่งประเทศไทย 2 ดุลการคลัง อปท. พิจารณาจากข้อมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) . จากธนาคารแห่งประเทศไทย
สํานักนโยบายการคลัง 26
แผนภูมิที่ 1 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ 2554 ไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ 2553 ไตรมาสที่ 4 ปีงบประมาณ 2554
ล้านบาท
120,000.00
80,000.00
105,679.69
100,065.80
100,000.00 83,380.90
80,727.17
60,000.00 40,000.00 20,000.00 2,653.73
-
(5,613.89)
-20,000.00 รายได้
รายจ่าย
ดุลการคลัง
ฐานะการคลังของ อปท. ปีงบประมาณ 2554 1. ด้านรายได้ คาดว่า อปท. มีรายได้รวม 429,323.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 50,398.6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 13.3 เป็นผลจากรายได้ที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 216,016.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.8 และรายได้จากเงินอุดหนุน 169,512.4 ล้านบาท เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 9.1 ส่วนรายได้ ที่จัดเก็บเอง 43,794.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 18.3 2. ด้านรายจ่าย คาดว่า อปท. มีรายจ่ายรวม 382,532.2 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีทแี่ ล้ว 47,871.8 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 14.3 3. ดุลการคลัง คาดว่า อปท. เกินดุลการคลัง 46,791.3 ล้านบาท เนื่องจากได้รับการจัดสรร รายได้ที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ เงินอุดหนุนจากรัฐบาลเพิ่มขึ้น ตลอดจน อปท. สามารถจัดเก็บรายได้ ที่จัดเก็บเองได้เพิ่มขึ้นเช่นกัน (รายละเอียดตามตารางที่ 3 และแผนภูมิที่ 2)
27 สํานักนโยบายการคลัง
ตารางที่ 3 ดุลการคลังของ อปท. ปีงบประมาณ 2554 ประเภท 1. รายได้ 1/ 1.1 รายได้ที่จัดเก็บเอง 1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รฐั บาลจัดเก็บและแบ่งให้ 2/ 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน 3/ 2. รายจ่าย 3. ดุลการคลัง 4/
ปีงบประมาณ 2554 2553 429,323.50 378,924.91 43,794.47 37,029.84 216,016.63 186,513.87 169,512.40 155,381.20 382,532.20 334,660.44 46,791.30 44,264.47
หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ จํานวน ร้อยละ 50,398.59 13.30 6,764.63 18.27 29,502.76 15.82 14,131.20 9.09 47,871.76 14.30 2,526.83 5.71
หมายเหตุ ที่มา
ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 8 ธันวาคม 2554 1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จํานวน 1,342 แห่ง จากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจํานวน 6,511 แห่ง รวม 7,853 แห่ง 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดิน กรมการขนส่งทางบก และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ เป็นตัวเลขประมาณการจากการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKINK SYSTEM) ของ ธปท. จัดทําและรวบรวมโดย ส่วนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
แผนภูมิที่ 2 ดุลการคลังของ อปท. ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2553 ล้านบาท 500,000.00 450,000.00 400,000.00 350,000.00 300,000.00
ปีงบประมาณ 2554 429,323.50 382,532.20
378,924.91 334,660.44
250,000.00 200,000.00 150,000.00 100,000.00
44,264.47 46,791.30
50,000.00 0.00 รายได้
รายจ่าย
ดุลการคลัง
สํานักนโยบายการคลัง 28
สถานการณ์ด้านหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน 2554 หนี้สาธารณะคงค้าง เท่ากับ 4,303.5 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 40.5 ของ GDP ลดลงจากเดือนที่แล้ว 33.2 พันล้านบาท โดยเป็นหนี้คงค้าง ที่เป็นภาระงบประมาณต่อ GDP เท่ากับร้อยละ 30.3 และ แยกเป็นหนี้ในประเทศร้อยละ 92.0 ส่วนที่เหลือร้อยละ 8.0 เป็นหนี้ต่างประเทศ หนี้คงค้างที่ลดลง เป็นผลจากการไถ่ถอน พันธบัตรที่ครบกําหนด จํานวน 30.4 พันล้านบาท ของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ และหนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรงลดลง 5.7 พันล้านบาท ในขณะที่ หนี้ของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้น 3.0 พันล้านบาท หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง ลดลง 5.7 พันล้านบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว โดยหนี้ในประเทศลดลง 6.7 พันล้านบาท เนื่องจาก มีการชําระหนี้กองทุน เพื่อการฟื้นฟูฯ สุทธิ 7 พันล้านบาท และการกู้เงินให้ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่ง ประเทศไทยกูต้ ่อ จํานวน 0.3 พันล้านบาท สําหรับหนี้ ต่างประเทศเพิ่มขึ้น 1.0 พันล้านบาท
29 สํานักนโยบายการคลัง
หน่วย : ล้านบาท
1. รวมหนี้ที่รฐั บาลกู้โดยตรง หนีท้ ี่รัฐบาลกู้โดยตรง-ต่างประเทศ หนีท้ ี่รัฐบาลกู้โดยตรง-ในประเทศ 2. รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจ
หนี้ที่รฐั บาลค้ําประกัน-ต่างประเทศ หนี้ที่รฐั บาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รฐั บาลไม่ค้ําประกันต่างประเทศ** หนี้ที่รฐั บาลไม่ค้ําประกันในประเทศ** 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น * หนีท้ ี่รัฐบาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนีท้ ี่รัฐบาลไม่ค้ําประกัน-ในประเทศ 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟืน้ ฟูฯ FIDF 5. ยอดหนี้สาธารณะคงค้างรวม (1+2+3+4) GDP หนี้สาธารณะคงค้างรวมต่อ GDP (%) หนี้คงค้างที่เป็นภาระงบประมาณต่อ GDP (%) ****
ณ 31 ต.ค. 54 3,092,940.64 44,083.20 3,048,857.44 1,213,317.43 171,306.32 500,994.01 125,659.62
ณ 30 พ.ย. 54 3,087,237.28 45,071.84 3,042,165.44 1,216,294.83 174,323.97 498,863.22 126,288.08
415,357.48
416,819.56
30,445.18 4,336,703.25
4,303,532.11
10,569,550 41.03 31.3
10,616,030 40.54 30.3
หมายเหตุ * หน่วยงานภาครัฐอื่น ได้แก่ สํานักงานคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมืองแห่งชาติและสถาบันบริหารกองทุนพลังงาน ** ไม่รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน *** สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะได้ปรับวิธีการคํานวณ GDP ในแต่ละเดือน โดยคํานวณ GDP ของเดือนพฤศจิกายน 2554 จาก ( (GDP ปี 2553/12) *1 ) + ( (GDP ปี 2554/12) *11 ) = 10,616.03 พันล้านบาท **** ประมาณการโดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่มา สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ
หนี้ของกองทุน เพื่อการฟื้นฟูฯ ลดลง 30.4 พันล้านบาท เนื่องจากการไถ่ถอน พันธบัตรที่ครบกําหนดในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 ทําให้ ณ สิ้นเดือน ไม่มียอดหนี้คงค้าง ของหนี้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ หนี้ของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้น 3.0 พันล้านบาท เนื่องจาก มีการเบิกจ่ายเงินกู้สูงกว่า การชําระคืนเงินกู้ โดยรัฐวิสาหกิจ ที่มีการเบิกจ่ายเงินกู้สุทธิสูงสุด ได้แก่ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จํานวน 1.2 พันล้านบาท ในขณะที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทยมีการชําระคืน เงินกู้สูงสุดจํานวน 1.8 พันล้านบาท
สัดส่วนหนีใ้ นประเทศและหนี้ต่างประเทศ
จํานวน ร้อยละ (%)
หน่วย : พันล้านบาท หนี้ในประเทศ หนี้ต่างประเทศ 3,957.8 345.7 92.0 8.0 สัดส่วนหนีร้ ะยะยาวและหนีร้ ะยะสั้น
จํานวน ร้อยละ (%)
หน่วย : พันล้านบาท หนี้ระยะยาว หนี้ระยะสัน้ 4,261.4 42.1 99.0 1.0
สํานักนโยบายการคลัง 30
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง กระทรวงการคลังได้กําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง เพื่อเป็นแนวทางในการดําเนิน นโยบายทางการคลังที่สอดคล้องกับสถานะเศรษฐกิจการเงินและการคลังของประเทศ โดยมีเป้าหมาย เพื่อรักษาเสถียรภาพด้านการคลังในระยะปานกลางและระยะยาว ซึ่งกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ประกอบด้วยตัวชี้วัดและเป้าหมาย (60-15-0-25) ดังนี้ ยอดหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 การจัดทํางบประมาณสมดุล สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 สํานักงานเศรษฐกิจการคลังได้จัดทําการวิเคราะห์ความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง เพื่อใช้เป็นแนวทงในการประเมินและรักษาความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีผลการวิเคราะห์ระหว่าง ปีงบประมาณ 2555 – 2559 (รายละเอียดดังปรากฏในตารางสรุป) ซึ่งสรุปได้ดังนี้ สามารถรักษาสัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ให้ไม่เกินร้อยละ 60 สามารถรักษาระดับภาระหนี้ต่องบประมาณให้อยู่ในระดับไม่เกินร้อยละ 15 ไม่สามารถจัดทํางบประมาณแบบสมดุลในปีงบประมาณ 2555 และคาดว่า ในปีงบประมาณ 2556 จะไม่สามารถจัดทํางบประมาณสมดุลได้เช่นกัน เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบาย ที่จะอัดฉีดเม็ดเงินเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ แต่อย่างไรก็ดี พบว่าแนวโน้มการจัดทํางบประมาณแบบขาดดุล จะลดลงตามลําดับ โดยคาดว่าในปี 2559 จะมีการจัดทํางบประมาณแบบขาดดุลเพียง 76,000 ล้านบาท และหากพิจารณาดุลการคลังที่ไม่นับรวมรายจ่ายดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียมจะพบว่า สามารถจัดทํางบประมาณรายจ่ายแบบสมดุลได้ภายในปี 2558 ซึ่งนับเป็นการแสดงเจตนารมณ์ ของรัฐบาลที่จะดําเนินการตามกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ไม่สามารถรักษาสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายให้ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 ในระยะปานกลางและระยะยาวได้ แต่อย่างไรก็ดี ในปีงบประมาณ 2555 เมื่อนับรวมงบลงทุน ของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจพบว่า การลงทุนคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 26.4 ของงบประมาณรายจ่าย สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง โดยสํานักนโยบายการคลังกําลังศึกษาความเหมาะสม ของตัวชี้วัดตามกรอบความยั่งยืนทางการคลัง เนื่องจากตัวชี้วัดดังกล่าวถูกกําหนดขึ้นตั้งแต่ปี 2544 และในปัจจุบันประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอย่างมาก ทั้งจาก ความผันผวนของเศรษฐกิจซึ่งเกิดจากวิกฤติเศรษฐกิจโลกและภัยพิบัติต่างๆ การเข้าสูส่ ังคมผู้สูงอายุ ตลอดจนนโยบายของรัฐบาลที่มุ่งเน้นการเสริมสร้างสวัสดิการแก่ประชาชน ดังนั้น เพื่อให้ตัวชี้วัด ตามกรอบความยั่งยืนเป็นเครื่องมือที่เหมาะสมกับสภาวการณ์ในปัจจุบันจึงควรมีการปรับปรุงต่อไป
31 สํานักนโยบายการคลัง
ตารางสรุปผลการวิเคราะห์และสมมติฐาน ตัวชี้วัด 1. ยอดหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP 2. ภาระหนี้ต่องบประมาณ 3. การจัดทํางบประมาณสมดุล 4. สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่าย สมมติฐานสําคัญในการประมาณการ - อัตราขยายตัวของเศรษฐกิจไทย (Real GDP) ร้อยละ - Inflation - Revenue Buoyancy ในประมาณการรายได้
ปีงบประมาณ เป้าหมาย 2555 2556 F 2557 F 2558 F 2559 F ไม่เกินร้อยละ 60 45.0 48.8 49.7 49.2 48.6 ไม่เกินร้อยละ 15 12.0 12.7 13.7 13.7 13.4 สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 17.8 15.4 17.2 18.3 19.5 5.0 3.8 1.17
5.9 3.8 0.60
6.5 3.8 0.96
6.7 4.0 1.06
5.1 4.3 1.02
ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม 2554
สํานักนโยบายการคลัง 32
การดําเนินกิจกรรมกึง่ การคลัง ผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล ไตรมาสที่ 3 ปี 2554 (เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2554) รัฐบาลมีการดําเนินมาตรการกิจกรรม กึ่งการคลังผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ในโครงการต่างๆ ที่สําคัญอย่างต่อเนื่อง โดยมี ผลการดําเนินงาน ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ปี 2554 ดังนี้ การอนุมัติสนิ เชื่อและการค้ําประกัน สินเชื่อในไตรมาสที่ 3 ปี 2554 มีการอนุมัติ จํานวน 65,180.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว จํานวน 13,843.7 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 27.0
การอนุมัติสนิ เชื่อสะสมและการค้ําประกัน สินเชื่อสะสมนับตั้งแต่เริ่มโครงการจนถึง ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ปี 2554 มีจํานวน 1,335,667.0 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ไตรมาสที่ผ่านมาจํานวน 65,180.8 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.1 โดยมีสาขาสนับสนุนกิจการ SMEs อนุมัติและค้ําประกันสินเชื่อสะสมสูงสุด จํานวน 806,079.6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 60.4 ของยอดสินเชื่อสะสม รองลงมาเป็นสาขา สนับสนุนการประกอบอาชีพระดับฐานราก จํานวน 313,899.1 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 23.5 ของยอดสินเชื่อสะสม และสาขา สนับสนุนผู้มรี ายได้น้อยให้มีที่อยู่อาศัยจํานวน 215,688.3 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 16.1 ของยอดสินเชื่อสะสม
33 สํานักนโยบายการคลัง
กิจกรรมกึ่งการคลัง จําแนกตามประเภทกิจกรรม หนวย : ลานบาท
สาขา สาขาสนับสนุน กิจการ SMEs - โครงการสินเชื่อ สําหรับกิจการ SMEs - โครงการค้ําประกัน สินเชื่อให้แก่ SMEs สาขาสนับสนุนผู้มี รายได้น้อยให้มีที่อยู่ อาศัย - โครงการปล่อย สินเชื่อของธนาคาร อาคารสงเคราะห์ - โครงการบ้านออมสิน เพื่อประชาชน - โครงการบ้านเอื้ออาทร (เพื่อประชาชนกู้ซื้อบ้าน) สาขาสนับสนุนการ ประกอบอาชีพระดับ ฐานราก - โครงการธนาคาร ประชาชน - โครงการวิสาหกิจ ชุมชน* รวม
อัตราการ เปลี่ยนแปลง จากไตรมาส 3/2553
การอนุมัติสินเชื่อและค้ําประกันสินเชื่อ ยอดสะสม ยอดการอนุมัติ ตั้งแต่เริ่มดําเนินโครงการ ในไตรมาส ไตรมาส 3/2554
ไตรมาส 2/2554
ไตรมาส 3/2554
806,079.6
760,113.3
45,966.3 35,490.7
29.5
657,475.4
630,517.8
26,957.6
23,163.3
16.4
148,604.2
129,595.5
19,008.7
12,327.4
54.2
215,688.3
211,101.6
4,586.7
5,165.3
-11.2
145,653.8
145,360.3
293.5
-
-
2,944.4
2,944.4
-
-
-
67,090.1
62,796.9
4,293.2
5,165.3
-16.9
313,899.1
299,271.3
14,627.8 10,681.1
37.0
88,997.5
82,950.7
6,046.8
3,686.7
64.0
224,901.6
216,320.6
8,581.0
6,994.4
22.7
65,180.8 51,337.1
27.0
1,335,667.0 1,270,486.2
ไตรมาส 3/2553
ร้อยละ
หมายเหตุ * โครงการวิสาหกิจชุมชนของ ธ.ก.ส. เป็นการรายงานข้อมูลการอนุมัติสินเชื่อของลูกค้า วิสาหกิจรายย่อยทั่วไป ซึ่งเป็นการนับซ้ํากับลูกค้าในโครงการสินเชื่อสําหรับกิจการ SMEs
หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs)
ลดลงจากไตรมาสที่ผ่านมา โดย ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ปี 2554 ยอด NPLs เท่ากับ 32,670.6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.8 ของยอดสินเชื่อคงค้าง และมีการค้ํา ประกันหนี้จัดชั้นด้อยคุณภาพ (NPGs) ของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรม ขนาดย่อม (บสย.) อีกจํานวน 5,213.0 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.1 ของยอด ค้ําประกันสินเชื่อคงค้าง
หนี้ไมกอใหเกิดรายไดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ หน่วย : ล้านบาท สาขา
สิ้นไตรมาสที่ 3/2554 สินเชื่อ คงค้าง
1. สาขาสนันสนุนกิจการ SMEs 1.1 สินเชื่อสําหรับกิจการ SMEs สินเชื่อ SMEs (ธพว.) สินเชื่อ SMEs (ธสน.) สินเชื่อ SMEs (ธนาคารออมสิน) สินเชื่อ SMEs (ธ.ก.ส.) 1.2 การค้ําประกันสินเชื่อ (บสย.)* 2. สาขาสนับสนุนผู้มีรายได้น้อย ให้มีที่อยู่อาศัย โครงการบ้านเอือ้ อาทร โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 3 โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 4 โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 5 โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 6 โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 7 โครงการบ้าน ธอส. - สปส. โครงการบ้านมิตรภาพสปส. - ธอส. เพื่อทีอ่ ยู่อาศัยของผู้ประกันตน 3. สาขาสนับสนุนการประกอบอาชีพ ระดับฐานราก โครงการธนาคารประชาชน โครงการวิสาหกิจชุมชน รวมทั้งหมด (ยกเว้นการค้ําประกันสินเชื่อ SMEs ของ บสย.)
NPLs
NPLs ratio
226,102.7 94,911.5 12,665.9 64,628.3 53,897.0 102,423.7
25,447.9 17,346.6 1,929.6 1,799.7 4,372.0 5,213.0
11.3% 18.3% 15.2% 2.8% 8.1% 5.1%
108,028.0
1,300.3
1.2%
45,624.2 23,109.1 8,470.1 7,944.9 15,103.4 687.8 2,650.7 4,437.8
254.8 441.4 161.5 172.2 183.6 0.0 80.9 5.9
0.6% 1.9% 1.9% 2.2% 1.2% 0.0% 3.1% 0.1%
82,149.5
5,922.4
7.2%
21,001.5 61,148.0
894.4 5,028.0
4.3% 8.2%
416,280.2
32,670.6
7.8%
หมายเหตุ * เป็นภาระการค้ําประกันหนี้จัดชั้นด้อยคุณภาพ (NPGs)
สํานักนโยบายการคลัง 34
การกระจายอํานาจทางการคลัง ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ความคืบหน้าการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการนครเกาะสมุย พ.ศ. ....
35 สํานักนโยบายการคลัง
ในการประชุมคณะกรรมการการกระจายอํานาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (กกถ.) เมือ่ วันที่ 9 ธันวาคม 2554 ได้มีการพิจารณาพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารนครเกาะสมุย พ.ศ. .... ซึ่งจัดทําร่าง โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาการกระจายอํานาจให้แก่ ท้องถิ่นในรูปแบบองค์กรบริหารจัดการพื้นที่พิเศษ และ ร่างดังกล่าวได้ผ่านการเห็นชอบของ กกถ. เพื่อนําเสนอ คณะรัฐมนตรีพจิ ารณาต่อไป โดยร่างดังกล่าวมีสาระสําคัญ สรุปได้ดังนี้ 1. พื้นทีน่ ครเกาะสมุย ให้ยบุ เลิกเทศบาล เมืองเกาะสมุย และจัดตั้งนครเกาะสมุยขึ้นเป็นองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ มีพื้นที่ตามเขตพื้นที่ ของอําเภอเกาะสมุย โดยไม่รวมอยู่ในเขตพื้นที่ ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี 2. การบริหารนครเกาะสมุย ประกอบด้วย 1.1 นายกนครเกาะสมุย มาจากการเลือกตั้ง โดยตรงของประชาชน อยู่ในวาระคราวละ 4 ปี มีรองนายก ได้ไม่เกิน 4 คน 1.2 สภานครเกาะสมุย มีจํานวน 24 คน โดยมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน และให้ สมาชิกสภาเลือกประธานสภาและรองประธานสภา สองคนแล้วเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้ง นอกจากนี้ยังกําหนดให้มี “คณะกรรมการ ที่ปรึกษาพัฒนานโยบายนครเกาะสมุย” จํานวน 21 คน ประกอบด้วย (1) หัวหน้าส่วนราชการประจําจังหวัด สุราษฎร์ธานีหรือผู้แทนรัฐวิสาหกิจที่ดําเนินการ ในจังหวัดสุราษฎร์ธานีจํานวน 7 คน แต่งตั้ง โดยผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี
(2) ผู้แทนภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และผู้แทนชุมชนที่เกี่ยวข้อง จํานวน 7 คน แต่งตั้ง โดยนายกนครเกาะสมุย (3) ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจ และสังคม การเมือง การปกครอง หรือด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง จํานวน 7 คน แต่งตั้งโดยสภานครเกาะสมุย โดยคณะกรรมการที่ปรึกษาพัฒนานโยบาย นครเกาะสมุยมีหน้าที่เสนอแนะหรือให้คําปรึกษาต่อ นายกนครเกาะสมุยในการจัดทําแผนพัฒนาฯ การดําเนินการ ตามอํานาจหน้าที่ฯ รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับปัญหา เศรษฐกิจและสังคม รวมถึงข้อบัญญัติที่เกี่ยวข้อง 3. อํานาจหน้าทีน่ ครเกาะสมุย นอกเหนือจาก อํานาจหน้าที่เช่นเดียวกับเทศบาลนครในการจัดทําบริการ สาธารณะพื้นฐานเพื่อตอบสนองความจําเป็น ของชุมชน ในเขตนครเกาะสมุยแล้ว เมื่อนครเกาะสมุยมีความพร้อม และคณะรัฐมนตรีเห็นสมควร อาจมีการตราพระราช กฤษฎีกากําหนดให้นครเกาะสมุยมีอํานาจหน้าที่เข้าไป บริหารจัดการหรือดําเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการ ดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิง นิเวศได้ เช่น ออกกฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจนําเที่ยวและ มัคคุเทศก์ กฎหมายว่าด้วยการออกใบอนุญาตโรงแรม และที่พัก กฎหมายว่าด้วยการดูแลพื้นที่ชายฝั่งทะเล พื้นที่ทะเล และหมู่เกาะ เป็นต้น 4. รายได้ของนครเกาะสมุย นครเกาะสมุย จะมีรายได้ตามที่กฎหมายกําหนดให้ โดยเป็นรายได้ ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดและเทศบาลในเขตพื้นที่ ของนครเกาะสมุย และอาจมีรายได้ตามกฎหมายอื่นๆ เพิ่มขึ้นจาก อปท. ทั่วไป เช่น ค่าธรรมเนียมการท่องเที่ยว ค่าธรรมเนียมประกอบกิจการโรงแรมที่ตั้งอยู่ในเขต นครเกาะสมุย เป็นต้น 5. การกํากับดูแล ผู้ว่าราชการจังหวัด มีอํานาจหน้าที่กํากับดูแลการปฏิบัติราชการของนคร เกาะสมุยให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และคําสั่งของทางราชการ และให้รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทยมีอํานาจสั่งเพิกถอนหรือสั่งให้ระงับ การปฏิบัติการใดของนครเกาะสมุยหรือสั่งการอื่นใด ตามที่เห็นสมควร สํานักนโยบายการคลัง 36
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ มติคณะรัฐมนตรีที่สําคัญ เดือนธันวาคม 2554 - มกราคม 2555 27 ธันวาคม 2554 1. เรื่อง เป้าหมายของนโยบายการเงินประจําปี 2555 คณะรัฐมนตรีอนุมัติหลักการเป้าหมายของนโยบายการเงินประจําปี 2555 ตามที่รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลังเสนอ โดยมีสาระสําคัญ คือ การกําหนดเป้าหมายของนโยบายการเงินเพื่อดํารงไว้ ซึ่งเสถียรภาพด้านราคาประจําปี 2555 เป็นอัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยรายปีที่ร้อยละ 3.0 โดยสามารถเบี่ยงเบน จากค่ากลางได้ไม่เกินร้อยละ 1.5 และให้มีการหารือร่วมกันระหว่างกระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทย ทุกไตรมาสและเมื่อมีเหตุจําเป็นตามที่ท้ังสองหน่วยงานเห็นว่าสมควร ทั้งนี้ หากอัตราเงินเฟ้อเคลื่อนไหวออกนอกช่วงเป้าหมายให้คณะกรรมการนโยบายการเงินชี้แจง วางแผนแก้ไขและระยะเวลาดําเนินการ โดยในกรณีท่ีมีเหตุจําเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและ คณะกรรมการนโยบายการเงินอาจตกลงร่วมกันเพื่อแก้ไขเป้าหมายของนโยบายการเงินได้ 2. เรื่อง การบริหารโครงการภายใต้พระราชกําหนดให้อํานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟูและ เสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 และโครงการเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน คณะรัฐมนตรีรบั ทราบและอนุมัติหลักการตามที่กระทรวงการคลังเสนอ โดยมีสาระสําคัญ ได้แก่ การกําหนดให้โครงการที่ได้รับอนุมัติเงินกู้ภายใต้พระราชกําหนดให้อํานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟู และเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 และอยู่ระหว่างการพิจารณาจัดสรรเงินของสํานัก งบประมาณหรือได้รับการจัดสรรเงินแล้ว แต่ยังไม่ได้ลงนามในสัญญาให้สามารถดําเนินการลงนามในสัญญา และเบิกจ่ายเงินต่อไปได้จนกว่าจะบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ ทั้งนี้ให้เร่งรัดการดําเนินโครงการและ เบิกจ่ายให้แล้วเสร็จภายในเดือนกันยายน 2555 สําหรับโครงการเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (Development Policy Loan : DPL) ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ได้มีการอนุมัติให้โครงการจํานวน 59 โครงการ วงเงิน 9,235.68 ล้านบาท สามารถดําเนินโครงการต่อไปได้ พร้อมเห็นชอบให้โครงการ DPL ภายใต้แผนปฏิบัติการ ไทยเข้มแข็ง 2555 ทั้งหมดวงเงิน 14,258.64 ล้านบาท เร่งรัดดําเนินโครงการและเบิกจ่ายให้แล้วเสร็จ ภายในเดือนกันยายน 2555 3. เรื่อง งบประมาณลงทุนของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ประจําปี 2555 และกรอบงบประมาณ ของรัฐวิสาหกิจประจําปีงบประมาณ 2555 คณะรัฐมนตรีรบั ทราบและเห็นชอบตามที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติเสนอ ดังนี้
37 สํานักนโยบายการคลัง
1. งบประมาณลงทุนของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ประจําปี 2555 1.1.ประมาณการรายได้ปี 2555 ของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) คาดว่าจะมีรายได้รวม 2,834,237 ล้านบาท และประมาณการแนวโน้มการดําเนินงานช่วงปี 2556 – 2558 คาดว่าจะมีรายได้รวม 9,879,726 ล้านบาท สําหรับการลงทุนในช่วง 3 ปีข้างหน้าคาดว่าจะมีการลงทุนรวมทัง้ สิ้น 415,574 ล้านบาท หรือเฉลี่ย ปีละ 138,525 ล้านบาท 1.2.งบประมาณลงทุนประจําปี 2555 ของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) วงเงินดําเนินการและ เบิกจ่ายลงทุนจํานวน 213,710 ล้านบาท 2. กรอบงบประมาณของรัฐวิสาหกิจประจําปีงบประมาณ 2555 2.1 วงเงินดําเนินการจํานวน 827,428 ล้านบาท และวงเงินเบิกจ่ายลงทุนจํานวน 533,411 ล้านบาท ประกอบด้วย - การลงทุนโครงการต่อเนื่องที่ได้รับการอนุมัติให้ดําเนินการแล้วและงานตามภารกิจปกติ วงเงินดําเนินการ 767,428 ล้านบาท และวงเงินเบิกจ่ายลงทุนจํานวน 473,442 ล้านบาท - การลงทุนที่ขอเพิ่มเติมระหว่างปี วงเงินดําเนินการและวงเงินเบิกจ่ายลงทุนจํานวน 60,000 ล้านบาท 2.2.ประมาณการแนวโน้มการลงทุนในช่วงปี 2556 – 2558 ของรัฐวิสาหกิจ คาดว่าจะมีการ เบิกจ่ายลงทุนรวม 1,515,904 ล้านบาท หรือเฉลี่ยปีละ 505,301 ล้านบาท 2.3 มอบหมายให้บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) พิจารณาจัดสรรงบประมาณเพื่อการวิจัยและ พัฒนาสัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 ของกําไรสุทธิ 2.4 กระทรวงการคลังในฐานะผู้ถือหุ้นใหญ่เป็นหน่วยงานกํากับดูแลการลงทุนการดําเนินการ ของรัฐวิสาหกิจประเภทบริษัทมหาชนจํากัด โดยเร่งยกร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการกํากับและพัฒนานโยบาย รัฐวิสาหกิจ พ.ศ..... 4 มกราคม 2555 1. มาตรการภาษีเพื่อช่วยเหลือและฟื้นฟูผไู้ ด้รับผลกระทบจากอุทกภัย คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบมาตรการเพื่อช่วยเหลือและฟื้นฟูผู้ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย โดยดําเนินการออกกฎกระทรวง ฉบับ.... (พ.ศ.....) ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้น รัษฎากร ดังนี้ 1. มาตรการให้หักค่าลดหย่อนภาษีสําหรับค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมบ้าน ให้หักค่าลดหย่อนภาษี โดยการยกเว้นภาษีเงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซ่อมแซมรวมถึงค่าวัสดุอุปกรณ์ในการซ่อมแซมทรัพย์สิน ซึ่งเป็น อสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคารนหรือที่อยู่ในเขตอาคารยหรือห้องชุดในอาคารชุดยและทรัพย์สินที่มีการประกอบ ติดตั้งติดกับตัวอาคารหรือห้องชุดในอาคารชุด รั้ว ประตู แต่ไม่เกิน 100,000 บาทตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 1.1 ทรัพย์สนิ ที่ได้รับการซ่อมแซมต้องได้รับความเสียหายจากเหตุอุทกภัยที่เกิดขึ้นในระหว่างวันที่ 25 กรกฎาคม 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และอยู่ในท้องที่ที่ทางราชการประกาศให้เป็นพื้นที่ประสบ อุทกภัย 1.2 ผู้มีเงินได้ต้องเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้น หรือเป็นผู้เช่าทรัพย์สิน หรือเป็นผู้ใช้ ประโยชน์เป็นที่อยู่อาศัยหรือใช้ประกอบกิจการ และถ้าผูม้ เี งินได้นั้นจ่ายค่าซ่อมแซมในการซ่อมแซมเกินกว่า 1 แห่ง ให้ได้รับสิทธิยกเว้นภาษีรวมกันตามจํานวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 100,000 บาท สํานักนโยบายการคลัง 38
1.3 ทรัพย์สนิ ที่ได้ทําประกันภัยคุ้มครองจากเหตุอุทกภัย ให้ได้รับสิทธิยกเว้นเฉพาะส่วนที่ได้จ่าย เกินกว่าค่าสินไหมทดแทนที่ได้รับจากบริษัทซึ่งประกอบธุรกิจประกันภัยแต่ไม่เกิน 100,000 บาท 1.4 ผู้มีเงินได้ต้องใช้สิทธิยกเว้นภาษีในปีที่จ่ายค่าซ่อมแซม ในปีภาษี 2554 หรือในปีภาษี 2555 ถ้าใช้สิทธิยกเว้นทั้งสองปีภาษีให้ได้รับสิทธิยกเว้นรวมกันไม่เกิน 100,000 บาท 2. มาตรการให้หักค่าลดหย่อนภาษีสําหรับค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมรถยนต์ ให้หักค่าลดหย่อนภาษี โดยการยกเว้นภาษีเงินได้ที่ได้จ่ายเป็นค่าซ่อมแซมรถยนต์ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ รวมทั้งอุปกรณ์ ในการซ่อมแซมแต่ไม่เกิน 30,000 บาทตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 2.1 รถยนต์ที่ได้รับการซ่อมแซมต้องเป็นรถยนต์ที่ได้รับความเสียหายจากการถูกน้ําท่วม 2.2 ผูม้ ีเงินได้ต้องเป็นเจ้าของกรรมสิทธิใ์ นรถยนต์ หรือเป็นผู้เช่าซื้อ 2.3 ผูม้ ีเงินได้ต้องเป็นผู้จ่ายค่าซ่อมแซมรถยนต์ในระหว่างวันที่ 25 กรกฎาคม 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และหากจ่ายค่าซ่อมแซมรถยนต์มากกว่า 1 คันให้ได้รับสิทธิยกเว้นภาษีรวมกันตามจํานวน ที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 30,000 บาท 2.4 รถยนต์ที่ได้ทําประกันภัยคุ้มครองจากเหตุอุทกภัย ให้ได้รับสิทธิยกเว้นเฉพาะส่วนที่ได้จ่าย เกินกว่าค่าสินไหมทดแทนที่ได้รับจากบริษัทซึ่งประกอบธุรกิจประกันภัยแต่ไม่เกิน 30,000 บาท 2.5 ผูม้ ีเงินได้ต้องใช้สิทธิยกเว้นภาษีในปีที่จ่ายค่าซ่อมแซมในปีภาษี 2554 หรือในปีภาษี 2555 ถ้าใช้สิทธิยกเว้นทั้งสองปีภาษีให้ได้รับสิทธิยกเว้นรวมกันไม่เกิน 30,000 บาท คาดว่ามาตรการภาษีดังกล่าวจะมีผลกระทบต่อรายได้ภาษีอากรประมาณ 4,1201ล้านบาท ประกอบด้วยภาษีสูญเสียจากมาตรการลดหย่อนค่าซ่อมแซมบ้าน 4,000 ล้านบาท และมาตรการลดหย่อน การซ่อมแซมรถยนต์ 120 ล้านบาท 2. มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการลงทุนในทรัพย์สนิ ของผู้ประสบอุทกภัย คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบมาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการลงทุนในทรัพย์สินของผู้ประสบอุทกภัย โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.ยมาตรการหักค่าใช้จ่ายเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิตสินค้าหรือ ให้บริการรับจ้างผลิตสินค้าโดยให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลให้แก่บริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ได้รับ ผลกระทบจากเหตุอุทกภัยที่เกิดขึ้นในระหว่างวันที่ 25 กรกฎาคม 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และอยู่ ในท้องที่พื้นทีป่ ระสบอุทกภัย สําหรับเงินได้ที่ได้จ่ายเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ ในการผลิตหรือให้บริการรับจ้างผลิตสินค้าเป็นจํานวนร้อยละ 25 ของเงินที่ได้จ่ายไปนั้น โดยค่าใช้จ่ายต้อง จ่ายไปตั้งแต่วันที่ 25 กรกฎาคม 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ตามหลักเกณฑ์ต่อไปนี้ 1.1 ทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรต้องเป็นทรัพย์สินซึ่งได้มาและอยู่ในสภาพพร้อมใช้งานได้ตั้งแต่ วันที่ 25 กรกฎาคม 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 1.2 ทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรต้องหักค่าสึกหรอและค่าเสือ่ มราคาเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปีนับแต่วันที่ทรัพย์สินนั้นพร้อมใช้งาน 2. มาตรการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมของทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิตสินค้าหรือ ให้บริการรับจ้างผลิตสินค้า
39 สํานักนโยบายการคลัง
2.1.หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาเบื้องต้นของทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรในอัตราร้อยละ 40 ของมูลค่าต้นทุน ส่วนที่เหลือให้หักตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กําหนดไว้ในประมวลรัษฎากร 2.2 ทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรต้องเป็นทรัพย์สินซึ่งได้มาและอยู่ในสภาพพร้อมใช้งานได้ตั้งแต่ วันที่ 25 กรกฎาคม 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 การได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามมาตรการ 1 และ 2 ข้างต้น ผูเ้ สียภาษีจะต้องไม่ได้รับสิทธิประโยชน์ อื่นๆ อยู่แล้ว ทั้งนี้คาดว่ามาตรการนี้จะมีผลกระทบต่อรายได้ภาษีประมาณ 7,700 ล้านบาท แต่เมื่อมีการลงทุน เพื่อผลิตสินค้าเพิ่มขึ้นแล้วจะส่งผลดีต่อการจัดเก็บภาษีเพิ่มขึ้นในระยะยาว 10 มกราคม 2555 1. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาดําเนินมาตรการลดภาระค่าครองชีพของประชาชนด้านการเดินทาง คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบให้ขยายระยะเวลาดําเนินมาตรการลดภาระค่าครองชีพของประชาชนด้านการเดินทาง ตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม 2555 ถึงวันที่ 30 เมษายน 2555 ตลอดจนขอรับการสนับสนุนงบประมาณรายจ่าย ตามมาตรการฯ ระยะที่ 9 ดังนี้ 1) มาตรการลดค่าใช้จ่ายเดินทางรถโดยสารประจําทาง ดําเนินการผ่าน ขสมก. โดยรัฐ รับภาระค่าใช้จ่ายการจัดรถโดยสารธรรมดาจํานวน 800 คัน/วัน ใน 73 เส้นทาง วงเงิน 837 ล้านบาท 2) มาตรการลดค่าใช้จ่ายเดินทางรถไฟชั้น 3 ดําเนินการผ่าน รฟท. โดยรัฐรับภาระค่าใช้จ่าย การจัดรถไฟชั้น 3 เชิงสังคมจํานวน 164 ขบวน/วัน และรถไฟชั้น 3 เชิงพาณิชย์จํานวน 8 ขบวน/วัน วงเงิน 340 ล้านบาท ทั้งนี้ การชดเชยค่าใช้จ่ายในการดําเนินมาตรการดังกล่าว ให้ ขสมก. และ รฟท. กู้เงินเพื่อชดเชย การดําเนินการดังกล่าว โดยให้กระทรวงการคลังค้ําประกันเงินกู้ และให้สํานักงบประมาณพิจารณาจัดสรร เงินงบประมาณรายจ่ายประจําปี 2556 เพือ่ ชดเชยให้แก่ ขสมก. และ รฟท. 2. มอบหมายให้กระทรวงคมนาคมศึกษาแนวทางการสนับสนุนมาตรการลดค่าครองชีพด้าน การเดินทางที่มีความเหมาะสม มีประสิทธิภาพ และมีประโยชน์อย่างแท้จริง และนําเสนอต่อคณะรัฐมนตรี พิจารณาก่อนสิ้นสุดระยะเวลาตามมาตรการฯ ระยะที่ 9 ต่อไป 2. เรื่อง ร่างพระราชกําหนด 4 ฉบับเพื่อการพัฒนาประเทศในระยะยาว คณะรัฐมนตรีเห็นชอบหลักการของร่างพระราชกําหนด 4 ฉบับตามที่คณะกรรมการยุทธศาสตร์ เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศเสนอ ดังนี้ 1) พระราชกําหนดปรับปรุงบริหารหนี้เงินกู้เพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน พ.ศ..... เพื่อให้ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) รับผิดชอบภาระการชําระดอกเบี้ยและเงินต้นของกองทุนเพื่อการฟื้นฟู และพัฒนาระบบสถาบันการเงินจํานวน 1.14 ล้านล้านบาท โดย ธปท. จะต้องมีการหารือร่วมกับธนาคาร พาณิชย์เพื่อเพิ่มอัตราเงินนําส่งจากฐานเงินฝากเพื่อให้มีเงินเพียงพอต่อการชําระดอกเบี้ย และชําระเงินต้น
สํานักนโยบายการคลัง 40
2) ร่างพระราชกําหนดเงินกู้เพื่อการบูรณะและฟื้นฟูประเทศที่ได้รับความเสียหายจากอุทกภัย พ.ศ. ... วงเงิน 3.5 แสนล้านบาท เนื่องจากรัฐบาลยังมีความจําเป็นในการบริหารจัดการน้ํา 3) ร่างพระราชกําหนดจัดตั้งกองทุนประกันภัยให้ผู้ประกอบการลงทุนในประเทศ วงเงิน 5 หมื่นล้านบาท 4) ร่างพระราชกําหนดแก้ไขพระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไทย เพื่อให้ ธปท. สามารถปล่อย เงื่อนไขสินเชื่อผ่อนปรนให้แก่สถาบันการเงิน วงเงิน 3 แสนล้านบาท 15 มกราคม 2555 1. เรื่อง ผลการประชุมร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจในภูมิภาค ครั้งที่ 1/2555 คณะรัฐมนตรีรบั ทราบผลการประชุมร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจในภูมิภาค ครั้งที่ 1/2555 เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2555 ณ จังหวัดเชียงใหม่ และมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไป ดําเนินการตามมติที่ประชุม โดยมีเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงการคลัง ได้แก่ 1..การพัฒนาโครงข่ายคมนาคมระบบโลจิสติกส์ (เสนอโดยคณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน) โดยเร่งรัดการดําเนินโครงการรถไฟความเร็วสูง เส้นทางกรุงเทพฯ – เชียงใหม่ รวมถึงการเร่งศึกษาและ ก่อสร้างเส้นทางอื่นๆ มติที่ประชุม มอบหมายให้กระทรวงคมนาคมและกระทรวงการคลังเร่งพิจารณารายละเอียดโครงการเส้นทาง กรุงเทพฯ – เชียงใหม่ โดยกําหนดรูปแบบการลงทุนร่วมระหว่างรัฐบาลไทยและสาธารณรัฐประชาชนจีน ตามที่ได้มีการตกลงร่วมกัน รวมทั้งศึกษาผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม (EIA) และทําการศึกษาความเหมาะสม ทางการเงินและเศรษฐศาสตร์ของโครงการโดยละเอียด 2..การพัฒนาตลาดทุนไทย (เสนอโดย สภาธุรกิจตลาดทุนไทย) ข้อเสนอประกอบด้วย 1) พิจารณาเพิ่มข้อกําหนดการยกเว้นการหักภาษี ณ ที่จ่ายเงินปันผล ดอกเบี้ย ให้กับบริษทั และ กองทุนที่ลงทุนข้ามชาติ (Offshore Holding Company and Funds) ในอนุสัญญาภาษีซ้อนระหว่าง ประเทศไทย สาธารณรัฐเมียนมาร์ และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 2) โครงการ “การเงินขั้นพื้นฐานเพื่อผู้ประกอบการและประชาชนภาคเหนือตอนบน” 3) การส่งเสริมให้ตลาดทุนเป็นกลไกหลักในการระดมเงินทุนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ มติที่ประชุม 1) มอบหมายให้กระทรวงการคลังพิจารณาความเหมาะสมในการเพิ่มข้อกําหนด เรื่องการยกเว้น การหักภาษี ณ ที่จ่ายเงินปันผล ดอกเบี้ย ให้กบั บริษัทและกองทุนที่ลงทุนข้ามชาติในอนุสัญญาภาษีซอ้ น 2) มอบหมายให้กระทรวงการคลังเป็นเจ้าภาพให้การดําเนินงานให้ความรู้พื้นฐานทางการเงินแก่ ผู้ประกอบการและประชาชนในภาคเหนือตอนบน และขยายกลุ่มเป้าหมายถึงกองทุนหมู่บ้าน 3) มอบหมายให้กระทรวงการคลังพิจารณารับความเห็นของที่ประชุมไปเร่งรัดการพัฒนาตลาด พันธบัตรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
41 สํานักนโยบายการคลัง
24 มกราคม 2555 1. เรื่อง การขยายเวลาลดภาษีสรรพสามิตน้ํามันดีเซล 1 เดือน คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลังเสนอในการขยายระยะเวลาการลดอัตราภาษี สรรพสามิตน้ํามันดีเซลทีม่ ีปริมาณกํามะถันไม่เกินร้อยละ 0.035 โดยน้ําหนัก ในอัตราภาษี 0.005 บาท/ลิตร และน้ํามันไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอสเตอร์ของกรดไขมันผสมอยู่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 4 ในอัตรา 0.005 บาท/ลิตร ออกไปอีก 1 เดือนจนถึงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2555 ซึ่งจะส่งผลให้การจัดเก็บภาษีน้ํามันดีเซลลดลง จํานวน 9,000 ล้านบาท
สํานักนโยบายการคลัง 42
สถิติด้านการคลัง
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลตั้งแต่ปี 2533 - 2554 (ฐานข้อมูลรายปี) (หน่วย: ล้านบาท) 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 กรมสรรพากร 192,488 237,308 261,042 300,805 366,957 444,512 508,832 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 39,338 48,913 52,945 57,237 67,651 86,190 109,396 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 58,900 75,032 87,273 103,975 133,268 157,078 172,235 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 1,794 2,870 2,884 3,448 3,603 3,196 3,430 ภาษีการค้า 88,035 106,183 37,783 2,739 1,441 1,082 572 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 66,614 112,582 134,791 163,122 184,227 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 9,629 16,764 21,227 28,311 33,410 อากรแสตมป์ 3,780 3,691 3,781 3,876 4,752 5,284 5,286 รายได้อนื่ ๆ 642 620 134 184 224 249 276 กรมสรรพสามิต 73,279 92,493 102,028 125,789 138,670 155,308 167,160 ภาษีน้ํามันฯ 32,014 44,415 41,346 43,711 46,131 53,501 58,005 ภาษียาสูบ 13,636 15,904 15,490 15,638 19,708 20,717 24,057 ภาษีสุราฯ 13,754 15,734 15,247 16,679 19,272 19,759 21,548 ภาษีเบียร์ 6,625 7,973 7,818 9,478 12,262 15,131 17,360 34,515 38,147 37,343 ภาษีรถยนต์ 15,713 34,350 ภาษีเครื่องดื่ม 5,142 6,224 5,125 5,158 5,636 6,598 6,845 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 301 546 899 1,190 1,729 ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอนื่ ๆ 1,813 1,927 695 73 136 156 153 รายได้อนื่ ๆ 295 316 294 157 111 109 119 กรมศุลกากร 91,025 93,196 86,246 105,910 116,872 128,548 129,543 อากรขาเข้า 89,869 91,998 85,082 104,651 115,540 127,124 128,212 อากรขาออก 55 13 11 11 14 9 6 1,185 1,153 1,247 1,318 1,415 1,324 รายได้อนื่ ๆ 1,102 รวม 3 กรม 356,792 422,997 449,316 532,504 622,499 728,368 805,535 หน่วยงานอื่น 48,147 53,977 76,048 75,603 85,047 86,775 89,756 ส่วนราชการอืน่ 29,527 30,225 42,896 36,701 41,794 41,250 40,650 กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ 18,620 23,752 33,152 38,902 43,253 45,525 49,106 รวมรายได้จัดเก็บ 404,939 476,974 525,364 608,106 707,546 815,143 895,291 หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 41,432 48,723 52,937 37,813 - ภาษีมูลค่าเพิ่ม 38,354 45,330 49,143 34,148 - ภาษีอนื่ ๆ 3,078 3,393 3,794 3,665 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก 10,348 6,262 7,108 7,473 รวมรายได้สุทธิ 404,939 476,974 525,364 556,326 652,561 755,098 850,005 จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ 404,939 476,974 525,364 556,326 652,561 755,098 850,005 รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) 2,183,545 2,506,635 2,830,914 3,165,222 3,629,341 4,681,212 4,611,041 18.5 19.0 18.6 17.6 18.0 16.1 18.4 สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2554 เป็นตัวเลขประมาณการ จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 21 พฤศจิกายน 2554 ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลตั้งแต่ปี 2533 - 2554 (ฐานข้อมูลรายปี) (หน่วย: ล้านบาท) 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 กรมสรรพากร 518,620 498,966 452,317 461,322 499,711 544,281 627,682 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 115,137 122,945 106,071 91,790 101,136 108,371 117,309 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 162,655 99,480 108,820 145,554 149,677 170,415 208,859 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 5,322 5,316 10,872 10,739 17,154 19,128 21,773 ภาษีการค้า 264 342 186 126 84 99 45 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 195,813 232,388 201,976 192,510 215,158 228,196 261,306 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 34,286 35,241 21,311 17,015 12,852 13,715 12,757 อากรแสตมป์ 4,734 2,992 2,824 3,351 3,408 4,122 5,348 รายได้อนื่ ๆ 408 263 258 236 242 236 286 กรมสรรพสามิต 180,168 155,564 163,892 168,822 177,600 208,153 246,641 ภาษีน้ํามันฯ 63,983 65,373 66,584 64,832 64,124 68,840 73,605 ภาษียาสูบ 29,816 28,560 26,655 28,134 32,310 31,697 33,289 ภาษีสุราฯ 22,763 20,257 22,800 8,276 8,933 22,290 25,676 ภาษีเบียร์ 21,383 23,191 24,992 26,438 29,991 31,650 36,987 32,295 8,557 13,941 26,781 30,330 41,560 56,474 ภาษีรถยนต์ ภาษีเครื่องดื่ม 7,519 7,023 6,484 7,444 8,100 7,748 8,621 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 1,765 1,003 904 1,104 1,429 1,793 2,347 ภาษีรถจักรยานยนต์ 129 538 482 791 932 1,224 1,581 ภาษีแบตเตอรี่ 168 442 419 444 713 582 591 ภาษีการโทรคมนาคม 6,420 ภาษีอนื่ ๆ 204 481 474 579 525 556 813 รายได้อนื่ ๆ 142 139 158 3,999 213 212 239 กรมศุลกากร 104,160 69,338 68,095 87,195 92,838 98,629 111,819 อากรขาเข้า 102,704 67,108 66,994 85,338 91,359 96,326 110,054 อากรขาออก 8 17 36 75 82 163 216 รายได้อนื่ ๆ 1,448 2,213 1,064 1,782 1,397 2,139 1,549 รวม 3 กรม 802,947 723,868 684,303 717,338 770,149 851,062 986,142 หน่วยงานอื่น 106,101 91,813 109,042 100,257 104,617 108,375 118,485 ส่วนราชการอืน่ 38,102 42,518 52,679 56,182 45,482 46,965 50,772 กรมธนารักษ์ 2,483 3,599 รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน 1,065 แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ 68,000 49,295 56,364 44,075 59,135 57,862 64,114 รวมรายได้จัดเก็บ 909,049 815,681 793,346 817,595 874,766 959,437 1,104,627 หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 58,400 74,660 75,325 57,036 77,920 79,902 80,150 - ภาษีมูลค่าเพิ่ม 55,313 63,858 64,655 47,358 65,682 65,769 69,261 - ภาษีอนื่ ๆ 3,087 10,802 10,670 9,679 12,239 14,133 10,888 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 2,994 3,198 3,732 4,109 5,042 3. เงินกันชดเชยการส่งออก 7,073 7,559 5,916 7,278 7,698 8,234 10,501 843,576 733,462 709,111 750,082 785,416 867,192 1,008,934 รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ 16,525 40,604 843,576 733,462 709,111 750,082 785,416 850,667 968,330 รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) 4,732,610 4,626,447 4,637,079 4,922,731 5,133,502 5,450,643 5,917,369 สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) 17.8 15.9 15.3 15.2 15.3 15.6 16.4 หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2554 เป็นตัวเลขประมาณการ จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 21 พฤศจิกายน 2554 ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลตั้งแต่ปี 2533 - 2554 (ฐานข้อมูลรายปี) (หน่วย: ล้านบาท) 2547 2548 2549 2550 2551 2552 กรมสรรพากร 772,236 937,149 1,057,200 1,119,194 1,276,080 1,138,565 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 135,155 147,352 170,079 192,795 204,847 198,095 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 261,890 329,516 374,689 384,619 460,650 392,172 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 31,935 41,178 56,524 65,735 74,033 90,712 ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม 316,134 385,718 417,772 434,272 503,439 431,775 18,099 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 20,024 26,304 30,623 34,406 25,133 อากรแสตมป์ 6,820 6,816 7,268 7,137 7,724 7,488 รายได้อนื่ ๆ 278 266 244 230 254 223 กรมสรรพสามิต 275,773 279,395 274,095 287,231 278,303 291,221 ภาษีน้ํามันฯ 76,996 76,458 70,742 76,944 67,211 91,059 ภาษียาสูบ 36,325 38,193 35,657 41,824 41,832 43,936 ภาษีสุราฯ 26,181 28,620 29,143 33,298 36,816 37,982 ภาษีเบียร์ 42,749 45,483 44,207 52,088 53,465 48,993 ภาษีรถยนต์ 65,012 58,760 59,810 55,844 57,822 49,278 ภาษีเครื่องดื่ม 9,350 10,106 10,765 11,735 12,391 12,186 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2,859 3,712 3,525 3,727 3,769 3,111 ภาษีรถจักรยานยนต์ 1,641 1,849 2,010 1,665 1,673 1,608 ภาษีแบตเตอรี่ 763 762 1,178 1,426 1,708 1,479 ภาษีการโทรคมนาคม 12,625 13,935 15,523 7,229 111 0 ภาษีอนื่ ๆ 993 1,121 1,169 1,183 1,196 1,062 รายได้อนื่ ๆ 280 398 367 269 309 528 กรมศุลกากร 106,122 110,403 96,232 90,625 99,602 80,288 อากรขาเข้า 103,635 106,917 93,633 88,169 96,944 77,187 อากรขาออก 267 285 314 345 501 404 2,220 3,202 2,285 2,112 2,157 2,697 รายได้อนื่ ๆ รวม 3 กรม 1,154,132 1,326,948 1,427,528 1,497,050 1,653,985 1,510,074 หน่วยงานอื่น 135,747 147,472 153,996 206,724 183,659 174,224 ส่วนราชการอืน่ 49,086 60,664 73,500 80,593 77,546 83,761 กรมธนารักษ์ 2,976 3,210 3,330 3,052 4,682 3,822 รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์ 25,075 เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน 36,951 แปรรูปรัฐวิสาหกิจ 6,000 1,484 รัฐวิสาหกิจ 52,611 82,114 77,165 86,129 101,430 86,641 1,289,880 1,474,420 1,581,524 1,703,775 1,837,643 1,684,297 รวมรายได้จัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 115,574 131,220 162,951 181,793 202,716 199,408 - ภาษีมูลค่าเพิ่ม 96,947 109,625 138,206 150,035 173,994 157,838 - ภาษีอนื่ ๆ 18,627 21,594 24,745 31,758 28,723 41,570 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 6,368 7,451 9,172 9,514 11,625 9,040 3. เงินกันชดเชยการส่งออก 11,226 12,421 12,399 10,416 12,044 11,160 รวมรายได้สุทธิ 1,156,713 1,323,328 1,397,002 1,502,051 1,611,258 1,464,690 53,832 จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ 47,726 58,400 57,312 57,592 65,420 1,108,986 1,264,928 1,339,691 1,444,460 1,545,837 1,410,858 รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) 6,489,476 7,092,893 7,844,939 8,525,197 9,080,466 9,041,551 สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) 17.1 17.8 17.1 16.9 17.0 15.6 หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2554 เป็นตัวเลขประมาณการ จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 21 พฤศจิกายน 2554 ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลตั้งแต่ปี 2533 - 2554 (ฐานข้อมูลรายปี) (หน่วย: ล้านบาท) 2553 2554 กรมสรรพากร 1,264,584 1,515,666 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 208,374 236,339 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 454,565 574,059 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 67,599 81,444 ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม 502,176 577,632 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 22,892 35,614 อากรแสตมป์ 8,735 10,299 รายได้อนื่ ๆ 243 279 กรมสรรพสามิต 405,862 399,779 152,825 117,914 ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ 53,381 57,197 ภาษีสุราฯ 42,398 48,624 ภาษีเบียร์ 58,831 61,498 ภาษีรถยนต์ 77,202 92,844 ภาษีเครื่องดื่ม 14,245 14,526 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 1,615 1,183 ภาษีรถจักรยานยนต์ 1,979 2,284 ภาษีแบตเตอรี่ 1,947 2,197 ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอนื่ ๆ 1,039 1,088 รายได้อนื่ ๆ 400 424 กรมศุลกากร 97,148 102,882 อากรขาเข้า 93,512 99,968 อากรขาออก 169 241 รายได้อนื่ ๆ 3,467 2,673 รวม 3 กรม 1,767,594 2,018,326 หน่วยงานอื่น 235,453 206,051 ส่วนราชการอืน่ 140,031 102,687 กรมธนารักษ์ 3,868 4,569 รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ 91,553 98,795 รวมรายได้จัดเก็บ 2,003,047 2,224,377 หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 208,733 230,014 160,052 188,471 - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอนื่ ๆ 48,681 41,543 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 11,096 12,677 3. เงินกันชดเชยการส่งออก 13,005 14,813 รวมรายได้สุทธิ 1,770,213 1,966,873 จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ 65,736 74,556 1,704,477 1,892,317 รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) 10,104,821 10,662,500 สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) 16.9 17.7 หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2554 เป็นตัวเลขประมาณการ จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 21 พฤศจิกายน 2554 ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลปี 2555 (ฐานข้อมูลรายปี) (หน่วย : ล้านบาท) 2555 (3 เดือน) กรมสรรพากร 278,298 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 145,525 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 68,784 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 51,807 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 9,063 อากรแสตมป์ 2,342 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 712 ภาษีการค้า รายได้อนื่ ๆ 64 กรมสรรพสามิต 83,033 ภาษีน้ํามันฯ 14,431 ภาษีรถยนต์ 16,914 ภาษีเบียร์ 16,433 ภาษียาสูบ 16,563 ภาษีสุราฯ 13,282 ภาษีเครื่องดื่ม 4,148 ภาษีรถจักรยานยนต์ 320 ภาษีแบตเตอรี่ 426 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 137 ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอนื่ ๆ 226 รายได้อนื่ ๆ 153 กรมศุลกากร 27,223 อากรขาเข้า 26,662 อากรขาออก 113 รายได้อนื่ ๆ 448 รวม 3 กรม 388,554 หน่วยงานอื่น 62,323 ส่วนราชการอืน่ 26,384 กรมธนารักษ์ 636 รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ 35,303 รวมรายได้จัดเก็บ 450,877 หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 48,594 - ภาษีมูลค่าเพิ่ม 41,526 - ภาษีอนื่ ๆ 7,068 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3,202 3. เงินกันชดเชยการส่งออก 2,930 รวมรายได้สุทธิ 396,152 จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร 396,152 GDP (ปีปฏิทิน) 11,595,700 สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) 3.4 หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2554 เป็นตัวเลขประมาณการ จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 21 พฤศจิกายน 2554 ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ
2532
2533
2534
2535
2536
2537
1. วงเงินงบประมาณ
285,500.0
335,000.0
387,500.0
460,400.0
560,000.0
625,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP)
16.9
16.7
16.1
17.6
17.9
17.9
(อัตราเพิ่ม)
17.2
17.3
15.7
18.8
21.6
11.6
210,571.8
227,541.2
261,932.2
301,818.2
351,060.8
376,382.3
(สัดส่วนต่อ GDP)
12.5
11.3
10.9
11.5
11.2
10.8
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
73.8
67.9
67.6
65.6
62.7
60.2
(อัตราเพิ่ม)
13.3
8.1
15.1
15.2
16.3
7.2
53,592.4
82,043.2
105,647.6
130,652.6
171,606.7
212,975.6
3.2
4.1
4.4
5.0
5.5
6.1
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
18.8
24.5
27.3
28.4
30.6
34.1
(อัตราเพิ่ม)
32.9
53.1
28.8
23.7
31.3
24.1
21,335.8
25,415.6
19,920.2
27,929.2
37,332.5
35,642.1
7.5
7.6
5.1
6.1
6.7
5.7
22.9
19.1
(21.6)
40.2
33.7
(4.5)
1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง
-
-
-
-
-
-
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
-
-
-
-
-
-
2. ประมาณการรายได้
262,500.0
310,000.0
387,500.0
460,400.0
534,400.0
600,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP)
15.5
15.5
16.1
17.6
17.1
17.1
9.4
18.1
25.0
18.8
16.1
12.3
(23,000.0)
(25,000.0)
0.0
0.0
(25,600.0)
(25,000.0)
(1.4)
(1.2)
0.0
0.0
(0.8)
(0.7)
1.1 รายจ่ายประจํา
1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP)
1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)
(อัตราเพิ่ม) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
1,690,500.0 2,005,254.0 2,400,000.0 2,620,000.0 3,130,000.0 3,499,000.0
(GDP) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2552 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2533 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 1,507.5 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ
2538
2539
2540
2541
2542
2543
1. วงเงินงบประมาณ
715,000.0
843,200.0
944,000.0
830,000.0
825,000.0
860,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP)
17.4
18.0
18.1
16.4
16.5
16.7
(อัตราเพิ่ม)
14.4
17.9
12.0
(10.3)
3.1
4.2
434,383.3
482,368.2
528,293.4
519,505.8
586,115.1
635,585.1
(สัดส่วนต่อ GDP)
10.6
10.3
10.1
10.2
11.7
12.4
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
60.8
57.2
56.0
62.6
71.0
73.9
(อัตราเพิ่ม)
15.4
11.0
9.5
(0.2)
14.4
8.4
253,839.8
327,288.6
391,209.7
279,258.1
233,534.7
217,097.6
6.2
7.0
7.5
5.5
4.7
4.2
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
35.5
38.8
41.4
33.6
28.3
25.2
(อัตราเพิ่ม)
19.2
28.9
19.5
(26.5)
(8.9)
(7.0)
26,776.9
33,543.2
24,496.9
31,236.1
5,350.2
7,317.3
3.7
4.0
2.6
3.8
0.6
0.9
(24.9)
25.3
(27.0)
27.5
(82.9)
36.8
1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง
-
-
-
-
-
-
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
-
-
-
-
-
-
2. ประมาณการรายได้
715,000.0
843,200.0
925,000.0
782,020.0
800,000.0
750,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP)
17.4
18.0
17.8
15.4
16.0
14.6
(อัตราเพิ่ม)
19.2
17.9
9.7
(15.5)
2.3
(6.3)
3. การขาดดุล/เกินดุล
0.0
0.0
0.0
(47,980.0)
0.0
0.0
0.0
(0.9)
1.1 รายจ่ายประจํา
1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP)
1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)
(สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
(25,000.0) (110,000.0) (0.5)
(2.1)
4,099,000.0 4,684,000.0 5,205,500.0 5,073,000.0 5,002,000.0 5,137,000.0
(GDP) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2552 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2540 เป็นตัวเลขที่ปรับลดจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จํานวน 984,000 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2541 เป็นตัวเลขที่ปรับลดและปรับเพิ่มจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จํานวน 923,000 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดส่วนต่อ GDP)
2544
2545
2546
910,000.0 1,023,000.0
2547
2548
2549
999,900.0 1,163,500.0 1,250,000.0 1,360,000.0
17.5
19.3
17.2
18.0
17.4
17.5
5.8
12.4
(2.3)
16.4
7.4
8.8
679,286.5
773,714.1
753,454.7
836,544.4
881,251.7
958,477.0
(สัดส่วนต่อ GDP)
13.0
14.6
13.0
12.9
12.2
12.3
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
74.6
75.6
75.4
71.9
70.5
70.5
6.9
13.9
(2.6)
11.0
5.3
8.8
218,578.2
223,617.0
211,493.5
292,800.2
318,672.0
358,335.8
4.2
4.2
3.6
4.5
4.4
4.6
24.0
21.9
21.2
25.2
25.5
26.3
0.7
2.3
(5.4)
38.4
8.8
12.4
12,135.3
25,668.9
34,951.8
34,155.4
50,076.3
43,187.2
1.3
2.5
3.5
2.9
4.0
3.2
65.8
111.5
36.2
(2.3)
46.6
(13.8)
1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง
-
-
-
-
-
-
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
-
-
-
-
-
-
2. ประมาณการรายได้
805,000.0
823,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP)
15.5
15.5
14.2
16.4
17.4
17.5
7.3
2.2
0.2
28.9
17.5
8.8
(105,000.0) (200,000.0) (174,900.0)
(99,900.0)
0.0
0.0
(1.5)
0.0
0.0
(อัตราเพิ่ม) 1.1 รายจ่ายประจํา
(อัตราเพิ่ม) 1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)
(อัตราเพิ่ม) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
(2.0)
(3.8)
825,000.0 1,063,600.0 1,250,000.0 1,360,000.0
(3.0)
5,208,600.0 5,309,200.0 5,799,700.0 6,476,100.0 7,195,000.0 7,786,200.0
(GDP) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2552 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2547 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 135,500 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2548 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 50,000 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดส่วนต่อ GDP) (อัตราเพิ่ม) 1.1 รายจ่ายประจํา (สัดส่วนต่อ GDP) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (อัตราเพิ่ม) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ (GDP)
2550
2551
2552
2553
2554
1,566,200.0 1,660,000.0 1,951,700.0 1,700,000.0
2,169,967.5
18.6
18.0
22.4
17.5
20.0
15.2
6.0
17.6
(12.9)
27.6
1,135,988.1 1,213,989.1 1,411,382.4 1,434,710.1
1,667,439.7
13.5
13.1
16.2
14.8
15.4
72.5
73.1
72.3
84.4
76.8
18.5
6.9
16.3
1.7
16.2
374,721.4
400,483.9
429,961.8
214,369.0
355,484.5
4.5
4.3
4.9
2.2
3.3
23.9
24.1
22.0
12.6
16.4
4.6
6.9
7.4
(50.1)
65.8
55,490.5
45,527.0
63,676.1
50,920.9
32,554.6
3.5
2.7
3.3
3.0
1.5
28.5
(18.0)
39.9
(20.0)
(36.1)
-
-
46,679.7
-
114,488.7
-
-
2.4
-
5.3
1,420,000.0 1,495,000.0 1,604,639.5 1,350,000.0
1,770,000.0
16.9
16.2
18.4
13.9
16.3
4.4
5.3
7.3
(15.9)
31.1
(146,200.0) (165,000.0) (347,060.5) (350,000.0)
(399,967.5)
(1.7)
(1.8)
(4.0)
(3.6)
(3.7)
8,399,000.0 9,232,200.0 8,712,500.0 9,726,200.0
10,840,500.0
ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2553 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2552 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 116,700 ล้านบาท และเป็นปีแรกที่มีการตั้ง งบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง จํานวน 46,679.7 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2554 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 99,967.5 ล้านบาท
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2549 หน่วย : ล้านบาท ต.ค. 48 พย. 48 ธ.ค. 48 ม.ค. 49 ก.พ. 49 122,209 127,243 112,309 116,800 112,468 116,991 111,573 83,444 110,090 100,881 99,728 78,860 66,634 89,768 74,638 17,263 32,713 16,810 20,322 26,243 5,218 15,670 28,865 6,710 11,587 122,209 249,452 361,761 478,561 591,029 116,991 228,564 312,008 422,098 522,979 99,728 178,588 245,222 334,990 409,628 17,263 49,976 66,786 87,108 113,351 5,218 20,888 49,753 56,463 68,050 1,360,000 1,508,592 1,526,126 1,526,642 1,527,243 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 980,494 980,494 980,494 980,494 980,494 379,506 379,506 379,506 379,506 379,506 148,592 166,126 166,642 167,243
1. รายจ่ายรวม (1.1+1.2) 1.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน - รายจ่ายประจํา - รายจ่ายลงทุน 1.2 รายจ่ายจากปีก่อน 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม - รายจ่ายประจําสะสม - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีก่อนสะสม 3. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 3.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจํา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 3.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบ: นายวิธีร์ พานิชวงศ์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที:่ 31 กรกฎาคม 2554
ปีงบประมาณ 2549 มี.ค. 49 เม.ย. 49 พ.ค. 49 มิ.ย. 49 ก.ค. 49 ส.ค. 49 ก.ย. 49 127,437 99,960 88,993 117,304 98,591 116,508 154,750 109,598 96,123 82,286 110,650 92,368 111,095 144,929 87,879 72,008 68,998 95,519 75,520 84,487 112,842 21,719 24,115 13,288 15,131 16,848 26,608 32,087 17,839 3,837 6,707 6,654 6,223 5,413 9,821 718,466 818,426 907,419 1,024,723 1,123,314 1,239,822 1,394,572 632,577 728,700 810,986 921,636 1,014,004 1,125,099 1,270,028 497,507 569,515 638,513 734,032 809,552 894,039 1,006,881 135,070 159,185 172,473 187,604 204,452 231,060 263,147 85,889 89,726 96,433 103,087 109,310 114,723 124,544 1,528,823 1,528,840 1,528,778 1,529,524 1,529,771 1,529,898 1,529,571 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 980,494 980,494 980,494 980,494 1,007,032 1,006,090 1,010,489 379,506 379,506 379,506 379,506 352,968 353,910 349,511 168,823 168,840 168,778 169,524 169,771 169,898 169,571
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2550 หน่วย : ล้านบาท ต.ค. 49 พย. 49 ธ.ค. 49 ม.ค. 50 ก.พ. 50 89,559 111,439 99,181 97,054 200,314 81,266 93,466 83,126 87,123 191,229 75,534 84,896 77,650 74,971 136,792 5,732 8,570 5,476 12,152 54,437 8,293 17,973 16,055 9,931 9,085 89,559 200,998 300,179 397,233 597,547 81,266 174,732 257,858 344,981 536,210 75,534 160,430 238,080 313,051 449,843 5,732 14,302 19,778 31,930 86,367 8,293 26,266 42,321 52,252 61,337 1,515,327 1,515,622 1,515,769 1,722,023 1,722,021 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,566,200 1,566,200 980,482 980,637 983,670 1,230,747 1,227,904 379,518 379,363 376,330 335,453 338,296 155,327 155,622 155,769 155,823 155,821
1. รายจ่ายรวม (1.1+1.2) 1.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน - รายจ่ายประจํา - รายจ่ายลงทุน 1.2 รายจ่ายจากปีก่อน 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม - รายจ่ายประจําสะสม - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีก่อนสะสม 3. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 3.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจํา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 3.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบ: นายวิธีร์ พานิชวงศ์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 31 กรกฎาคม 2554
ปีงบประมาณ 2550 มี.ค. 50 เม.ย. 50 พ.ค. 50 139,900 115,830 137,086 127,872 111,216 131,311 106,881 97,682 90,381 20,991 13,534 40,930 12,028 4,614 5,775 737,447 853,277 990,363 664,082 775,298 906,609 556,724 654,406 744,787 107,358 120,892 161,822 73,365 77,979 83,754 1,722,389 1,722,287 1,722,271 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,246,571 1,246,335 1,245,965 319,629 319,865 320,235 156,189 156,087 156,071
มิ.ย. 50 164,381 158,603 126,402 32,201 5,778 1,154,744 1,065,212 871,189 194,023 89,532 1,722,266 1,566,200 1,245,109 321,091 156,066
ก.ค. 50 146,556 142,784 119,440 23,344 3,772 1,301,300 1,207,996 990,629 217,367 93,304 1,722,241 1,566,200 1,244,236 321,964 156,041
ส.ค. 50 122,778 118,609 101,347 17,262 4,169 1,424,078 1,326,605 1,091,976 234,629 97,473 1,722,322 1,566,200 1,242,815 323,385 156,122
ก.ย. 50 150,888 144,234 116,157 28,077 6,654 1,574,966 1,470,839 1,208,133 262,706 104,127 1,722,364 1,566,200 1,239,641 326,559 156,164
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2551 หน่วย : ล้านบาท ต.ค. 50 พ.ย. 50 ธ.ค. 50 ม.ค. 51 ก.พ. 51 1. รายจ่ายรวม (1.1+1.2) 155,389 127,018 110,867 158,402 118,658 1.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 147,936 112,113 97,846 146,917 108,633 - รายจ่ายประจํา 121,123 93,861 88,182 93,934 97,960 - รายจ่ายลงทุน 26,813 18,252 9,664 52,983 10,673 1.2 รายจ่ายจากปีก่อน 7,453 14,905 13,021 11,485 10,025 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 155,389 282,407 393,274 551,676 670,334 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม 147,936 260,049 357,895 504,812 613,445 - รายจ่ายประจําสะสม 121,123 214,984 303,166 397,100 495,060 - รายจ่ายลงทุนสะสม 26,813 45,065 54,729 107,712 118,385 2.2 รายจ่ายจากปีก่อนสะสม 7,453 22,358 35,379 46,864 56,889 3. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 1,769,427 1,809,505 1,810,026 1,810,883 1,812,516 3.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจํา 1,295,140 1,295,113 1,327,235 1,327,187 1,327,191 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 364,860 364,887 332,765 332,813 332,809 3.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน 109,427 149,505 150,026 150,883 152,516 ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบ: นายวิธีร์ พานิชวงศ์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 31 กรกฎาคม 2554
ปีงบประมาณ 2551 มี.ค. 51 เม.ย.51 125,147 154,636 113,533 150,029 100,423 104,918 13,110 45,111 11,614 4,607 795,481 950,117 726,978 877,007 595,483 700,401 131,495 176,606 68,503 73,110 1,811,083 1,811,181 1,660,000 1,660,000 1,327,071 1,327,087 332,929 332,913 151,083 151,181
พ.ค.51 126,767 119,962 108,354 11,608 6,805 1,076,884 996,969 808,755 188,214 79,915 1,811,408 1,660,000 1,326,271 333,729 151,408
มิ.ย.51 143,198 137,088 107,295 29,793 6,110 1,220,082 1,134,057 916,050 218,007 86,025 1,811,408 1,660,000 1,326,029 333,971 151,667
ก.ค.51 138,838 134,497 115,870 18,627 4,341 1,358,920 1,268,554 1,031,920 236,634 90,366 1,811,408 1,660,000 1,326,205 333,795 151,925
ส.ค.51 124,629 120,424 107,822 12,602 4,205 1,483,549 1,388,978 1,139,742 249,236 94,571 1,811,940 1,660,000 1,325,380 334,620 151,940
ก.ย.51 149,856 143,501 125,248 18,253 6,355 1,633,405 1,532,479 1,264,990 267,489 100,926 1,812,063 1,660,000 1,319,724 340,276 152,063
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2552 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2552 ต.ค.51 พ.ย.51 ธ.ค.51 ม.ค.52 ก.พ.52 มี.ค.52 เม.ย.52 พ.ค.52 1. รายจ่ายรวม (1.1+1.2) 93,718 165,200 145,422 192,417 179,679 195,346 141,681 161,006 1.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 85,193 149,303 127,825 178,000 166,569 178,473 137,194 154,745 - รายจ่ายประจํา 84,630 131,280 118,357 125,971 132,739 164,251 117,227 114,772 - รายจ่ายลงทุน 563 18,023 9,468 52,029 33,830 14,222 19,966 39,973 1.2 รายจ่ายจากปีก่อน 8,525 15,898 17,596 14,417 13,110 16,873 4,487 6,261 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 93,718 258,919 404,340 596,757 776,436 971,782 1,113,463 1,274,469 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม 85,193 234,495 362,321 540,321 706,890 885,362 1,022,556 1,177,301 - รายจ่ายประจําสะสม 84,630 215,909.44 334,267 460,238 592,977 757,228 874,455 989,227 563 18,585.96 28,054 80,082 113,913 128,135 148,101 188,074 - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีก่อนสะสม 8,525 24,423.18 42,019 56,437 69,547 86,420 90,907 97,168 3. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 2,009,163 2,026,393 2,026,061 2,026,212 2,026,408 2,143,222 2,143,223 2,143,228 3.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,951,700 1,951,700 1,951,700 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจํา 1,481,992 1,481,939 1,481,885 1,481,864 1,481,268 1,573,602 1,578,601 1,576,929 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 353,008 353,062 353,115 353,136 353,732 378,098 373,045 374,771 3.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน 174,163 191,393 191,061 191,212 191,408 191,522 191,523 191,528 หมายเหตุ ปีงบประมาณ 2552 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมจํานวน 116,700 ล้านบาท มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 8 มีนาคม 2552 ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบ: นายวิธีร์ พานิชวงศ์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 31 กรกฎาคม 2554
มิ.ย. 52 139,498 131,026 110,789 20,237 8,472 1,413,967 1,308,327 1,100,016 208,311 105,640 2,143,228 1,951,700 1,575,694 376,006 191,528
ก.ค. 52 164,118 158,730 128,632 30,098 5,388 1,578,085 1,467,057 1,228,648 238,409 111,028 2,143,240 1,951,700 1,574,977 376,723 191,540
ส.ค. 52 142,162 136,915 119,691 17,224 5,247 1,720,247 1,603,972 1,348,339 255,633 116,275 2,143,240 1,951,700 1,574,085 337,615 191,540
ก.ย. 52 196,842 186,851 159,555 27,336 9,991 1,917,089 1,790,823 1,507,894 282,969 126,266 2,143,252 1,951,700 1,569,678 382,022 191,552
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2553 หน่วย : ล้านบาท ต.ค.52 พ.ย.52 ธ.ค.52 ม.ค.53 ก.พ.53 90,339 188,614 172,221 150,008 182,850 80,143 166,116 149,895 133,986 169,382 79,470 160,782 112,293 128,316 117,878 673 5,334 37,602 5,670 51,504 10,196 22,498 22,326 16,022 13,468 90,339 278,953 451,175 601,183 784,033 80,143 246,259 396,155 530,141 699,523 79,470 240,252 352,546 480,862 598,740 673 6,007 43,609 49,279 100,783 10,196 32,694 55,020 71,042 84,510 1,927,800 1,941,156 1,941,859 1,942,592 1,942,939 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,485,631 1,481,529 1,480,072 1,479,996 1,479,954 214,369 218,471 219,928 220,004 220,046 227,800 241,156 241,859 242,592 242,939
1. รายจ่ายรวม (1.1+1.2) 1.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน - รายจ่ายประจํา - รายจ่ายลงทุน 1.2 รายจ่ายจากปีก่อน 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม - รายจ่ายประจําสะสม - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีก่อนสะสม 3. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 3.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจํา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 3.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบ: นายวิธีร์ พานิชวงศ์ ปรับปรุงครังสุดท้ายวันที: 31 กรกฎาคม 2554
ปีงบประมาณ 2553 มี.ค.53 เม.ย.53 149,981 145,528 129,653 136,587 119,986 125,819 9,667 10,768 20,328 8,941 934,014 1,079,542 829,176 965,763 718,726 844,545 110,450 121,218 104,838 113,779 1,943,152 1,943,152 1,700,000 1,700,000 1,479,843 1,479,558 220,157 220,442 243,152 243,152
พ.ค.53 123,967 118,059 110,268 7,791 5,908 1,203,509 1,083,822 954,813 129,009 119,687 1,943,152 1,700,000 1,479,100 220,900 243,152
มิ.ย. 53 135,455 123,196 111,500 11,696 12,259 1,338,964 1,207,018 1,066,313 140,705 131,946 1,943,174 1,700,000 1,476,716 223,284 243,174
ก.ค. 53 142,627 135,128 124,850 10,278 7,499 1,481,591 1,342,146 1,191,163 150,983 139,445 1,943,255 1,700,000 1,474,315 225,685 243,255
ส.ค. 53 110,118 103,322 92,492 10,830 6,796 1,591,709 1,445,468 1,283,655 161,813 146,241 1,943,505 1,700,000 1,472,692 227,308 243,505
ก.ย. 53 192,704 182,407 161,105 21,302 10,297 1,784,413 1,627,875 1,444,760 183,115 156,538 1,943,547 1,700,000 1,468,655 231,345 243,547
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2554 หน่วย : ล้านบาท
ปีงบประมาณ 2554 ต.ค.53 พ.ย.53 ธ.ค.53 ม.ค.54 ก.พ.54 มี.ค.54 เม.ย.54 1. รายจ่ายรวม (1.1+1.2) 207,452 223,152 167,767 235,191 154,689 170,913 139,705 1.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 194,118 207,201 152,004 220,657 139,464 157,010 135,081 - รายจ่ายประจํา 189,957 196,444 133,696 146,289 122,765 141,375 120,855 - รายจ่ายลงทุน 4,161 10,757 18,308 74,368 16,699 15,635 14,225 1.2 รายจ่ายจากปีก่อน 13,334 15,951 15,763 14,534 15,225 13,903 4,625 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 207,452 430,604 598,371 833,562 988,251 1,159,164 1,298,870 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม 194,118 401,319 553,323 773,980 913,444 1,070,454 1,205,535 - รายจ่ายประจําสะสม 189,957 386,401 520,097 666,386 789,151 930,526 1,051,382 - รายจ่ายลงทุนสะสม 4,161 14,918 33,226 107,594 124,293 139,928 154,153 2.2 รายจ่ายจากปีก่อนสะสม 13,334 29,285 45,048 59,582 74,807 88,710 93,335 3. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 2,230,628 2,233,968 2,249,378 2,252,646 2,252,896 2,253,208 2,353,188 3.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,169,968 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจํา 1,725,583 1,725,423 1,725,489 1,725,245 1,725,191 1,725,003 1,724,938 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 344,417 344,577 344,511 344,755 344,809 344,997 345,062 3.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน 160,628 163,968 179,378 182,646 182,896 183,208 183,221 หมายเหตุ ปีงบประมาณ 2554 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมจํานวน 99,968 ล้านบาท มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 18 เมษายน 2554 ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบ: นายวิธีร์ พานิชวงศ์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 30 กันยายน 2554
พ.ค.54 211,446 205,223 188,690 16,533 6,223 1,510,316 1,410,757 1,240,071 170,686 99,558 2,353,189 2,169,968 1,813,687 356,280 183,221
มิ.ย. 54 187,593 181,250 161,493 19,757 6,343 1,697,909 1,592,008 1,401,565 190,443 105,901 2,353,191 2,169,968 1,810,757 359,211 183,224
ก.ค. 54 143,032 138,411 120,305 18,105 4,621 1,840,941 1,730,419 1,521,871 208,548 110,522 2,353,192 2,169,968 1,808,951 361,017 183,225
ส.ค. 54 143,543 135,473 113,041 22,431 8,070 1,984,484 1,865,892 1,634,913 230,979 118,592 2,353,202 2,169,968 1,806,977 362,991 183,235
ก.ย. 54 193,411 184,648 152,068 32,579 8,763 2,177,895 2,050,540 1,786,982 263,558 127,355 2,353,202 2,169,968 1,806,977 362,991 183,235
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2555 หน่วย : ล้านบาท
ต.ค. 54 166,954 155,910 136,594 19,316 11,044 166,954 155,910 136,594 19,316 11,044 2,271,861 2,070,000 1,706,509 363,491 201,861
พ.ย. 54 150,234 131,863 127,201 4,662 18,371 317,188 287,773 263,795 23,978 29,415 2,278,511 2,070,000 1,725,733 344,267 208,511
ธ.ค. 54 172,628 151,587 137,437 14,150 21,041 489,816 439,360 401,232 38,128 50,456 2,282,250 2,070,000 1,720,592 349,408 212,250
ม.ค. 55
ก.พ. 55
ปีงบประมาณ 2555 มี.ค. 55 เม.ย. 55
พ.ค. 55
มิ.ย. 55
ก.ค. 55
ส.ค. 55
1. รายจ่ายรวม (1.1+1.2) 1.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน - รายจ่ายประจํา - รายจ่ายลงทุน 1.2 รายจ่ายจากปีก่อน 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม - รายจ่ายประจําสะสม - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีก่อนสะสม 3. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 3.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจํา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 3.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน หมายเหตุ ปีงบประมาณ 2555 พรบ. งบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ 2555 บังคับล่าช้า จึงต้องใช้งบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณที่ล่วงแล้ว (ปีงบประมาณ 2554) ไปพลางก่อน ตาม พรบ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 16 ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบ: นายวิธีร์ พานิชวงศ์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 31 ธันวาคม 2554
ก.ย. 55
ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปีงบประมาณ 1. รายได้นําส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 12 มกราคม 2555
2551 1,545,837 1,633,404 1,532,479 100,925 (87,568) 8,822 (78,746) 165,000 86,254
2552 1,409,653 1,917,129 1,790,862 126,266 (507,476) 131,190 (376,286) 441,061 64,775
2553 1,708,625 1,784,413 1,627,875 156,538 (75,788) (21,301) (97,088) 232,575 135,487
หน่วย: ล้านบาท 2554 ไตรมาสแรกปี 2555 1,892,047 402,809 2,177,895 489,816 2,050,540 439,360 127,355 50,456 (285,848) (87,007) 177,150 (169,606) (108,698) (256,613) 200,666 0 91,968 (256,613)
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi
ต.ค. 44 55,425.10 100,049.96 90,062.75 9,987.21 (44,624.86) 19,378.63 (25,246.23) 0.00 (25,246.23)
ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
พ.ย. 44 62,156.09 85,918.77 73,774.53 12,144.24 (23,762.68) (11,119.21) (34,881.89) 18,000.00 (16,881.89)
ธ.ค. 44 57,848.99 72,432.29 60,235.39 12,196.90 (14,583.30) (6,436.38) (21,019.68) 22,000.00 980.32
ม.ค. 45 66,738.15 78,848.96 69,253.94 9,595.02 (12,110.81) 16,745.52 4,634.71 11,000.00 15,634.71
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ก.พ. 45 54,488.57 81,164.16 72,824.92 8,339.24 (26,675.59) 14,026.04 (12,649.55) 19,000.00 6,350.45
ปงบประมาณ 2545 มี.ค. 45 เม.ย. 45 76,384.30 71,471.73 106,000.75 74,669.56 96,192.66 69,233.75 9,808.09 5,435.81 (29,616.45) (3,197.83) (3,820.75) (15,701.93) (33,437.20) (18,899.76) 15,000.00 33,000.00 (18,437.20) 14,100.24
พ.ค. 45 83,477.86 73,606.26 68,969.47 4,636.79 9,871.60 (3,307.64) 6,563.96 17,000.00 23,563.96
มิ.ย. 45 103,154.68 75,724.03 72,404.49 3,319.54 27,430.65 (14,309.61) 13,121.04 6,000.00 19,121.04
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ก.ค. 45 63,596.81 79,078.33 75,909.41 3,168.92 (15,481.52) (8,772.60) (24,254.12) 10,000.00 (14,254.12)
ส.ค. 45 63,270.72 67,111.93 64,041.41 3,070.52 (3,841.21) (3,201.63) (7,042.84) 11,000.00 3,957.16
ก.ย. 45 90,694.37 108,995.56 104,864.46 4,131.10 (18,301.19) 20,990.52 2,689.33 8,000.00 10,689.33
ต.ค. 45 63,866.99 87,469.20 77,465.35 10,003.85 (23,602.21) 2,866.57 (20,735.64) 0.00 (20,735.64)
พ.ย. 45 65,853.71 85,991.04 78,387.53 7,603.51 (20,137.33) (12,475.75) (32,613.08) 14,500.00 (18,113.08)
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ธ.ค. 45 76,597.35 71,767.18 63,556.22 8,210.96 4,830.17 (14,081.38) (9,251.21) 12,000.00 2,748.79
ม.ค. 46 78,963.93 72,712.45 65,672.68 7,039.77 6,251.48 (6,256.83) (5.35) 19,000.00 18,994.65
ก.พ. 46 72,577.44 67,944.32 60,629.66 7,314.66 4,633.12 (31,478.01) (26,844.89) 20,500.00 (6,344.89)
ปงบประมาณ 2546 มี.ค. 46 เม.ย. 46 78,045.85 71,084.74 70,814.78 99,528.82 60,722.72 97,198.30 10,092.06 2,330.52 7,231.07 (28,444.08) (20,171.24) 42,616.21 (12,940.17) 14,172.13 0.00 0.00 (12,940.17) 14,172.13
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
พ.ค. 46 76,847.65 76,029.76 70,487.83 5,541.93 817.89 (31,533.33) (30,715.44) 4,500.00 (26,215.44)
มิ.ย. 46 134,398.68 81,883.44 75,777.31 6,106.13 52,515.24 (21,583.36) 30,931.88 4,000.00 34,931.88
ก.ค. 46 74,115.05 91,158.28 87,175.00 3,983.28 (17,043.23) 16,248.76 (794.47) 1,500.00 705.53
ส.ค. 46 73,441.92 74,328.64 68,825.45 5,503.19 (886.72) 15,826.01 14,939.29 0.00 14,939.29
ก.ย. 46 101,047.42 99,878.14 92,401.05 7,477.09 1,169.28 31,924.61 33,093.89 0.00 33,093.89
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ต.ค. 46 81,873.68 83,154.55 73,127.36 10,027.19 (1,280.87) (13,762.21) (15,043.08) 0.00 (15,043.08)
พ.ย. 46 68,985.30 86,343.15 74,669.43 11,673.72 (17,357.85) (24,780.42) (42,138.27) 0.00 (42,138.27)
ธ.ค. 46 105,945.66 131,699.42 118,931.97 12,767.45 (25,753.76) 2,006.94 (23,746.82) 0.00 (23,746.82)
ม.ค. 47 88,994.15 94,457.93 86,714.71 7,743.22 (5,463.78) 10,099.83 4,636.05 13,000.00 17,636.05
ก.พ. 47 66,317.88 74,960.10 65,653.35 9,306.75 (8,642.22) (27,842.96) (36,485.18) 0.00 (36,485.18)
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ปงบประมาณ 2547 มี.ค. 47 เม.ย. 47 92,302.62 81,144.53 86,329.03 98,726.51 76,347.35 94,085.57 9,981.68 4,640.94 5,973.59 (17,581.98) (3,760.85) 11,578.89 2,212.74 (6,003.09) 8,000.00 18,500.00 10,212.74 12,496.91
พ.ค. 47 78,294.72 85,310.34 81,337.85 3,972.49 (7,015.62) (6,321.48) (13,337.10) 3,500.00 (9,837.10)
มิ.ย. 47 167,553.56 94,594.90 89,927.40 4,667.50 72,958.66 (24,203.78) 48,754.88 0.00 48,754.88
ก.ค. 47 82,369.12 98,056.31 94,429.25 3,627.06 (15,687.19) 3,527.31 (12,159.88) 0.00 (12,159.88)
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ส.ค. 47 78,747.85 97,739.39 94,164.26 3,575.13 (18,991.54) 10,608.35 (8,383.19) 10,960.00 2,576.81
ก.ย. 47 134,624.31 108,738.42 103,271.37 5,467.05 25,885.89 7,832.93 33,718.82 36,040.00 69,758.82
ต.ค. 47 63,128.73 89,877.24 86,902.43 2,974.81 (26,748.51) (15,026.49) (41,775.00) 0.00 (41,775.00)
พ.ย. 47 80,493.63 99,995.83 92,444.25 7,551.58 (19,502.20) (28,238.72) (47,740.92) 0.00 (47,740.92)
ธ.ค. 47 105,599.21 108,367.14 98,217.20 10,149.94 (2,767.93) 17,770.72 15,002.79 0.00 15,002.79
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ม.ค. 48 109,572.54 131,441.63 124,068.03 7,373.60 (21,869.09) (2,574.89) (24,443.98) 0.00 (24,443.98)
ก.พ. 48 82,220.73 78,642.63 69,554.07 9,088.56 3,578.10 (4,637.83) (1,059.73) 0.00 (1,059.73)
ปงบประมาณ 2548 มี.ค. 48 เม.ย. 48 90,209.51 96,049.87 94,434.28 103,612.91 83,724.98 93,171.27 10,709.30 10,441.64 (4,224.77) (7,563.04) 13,092.30 6,734.24 8,867.53 (828.80) 0.00 0.00 8,867.53 (828.80)
พ.ค. 48 95,991.57 99,011.99 91,541.35 7,470.64 (3,020.42) (2,059.19) (5,079.61) 0.00 (5,079.61)
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
มิ.ย. 48 181,585.93 111,946.80 103,941.67 8,005.13 69,639.13 (14,681.67) 54,957.46 0.00 54,957.46
ก.ค. 48 85,035.00 90,468.84 82,914.17 7,554.67 (5,433.84) 1,918.59 (3,515.25) 0.00 (3,515.25)
ส.ค. 48 92,744.13 103,686.17 94,959.67 8,726.50 (10,942.04) (967.19) (11,909.23) 0.00 (11,909.23)
ก.ย. 48 182,297.15 133,695.46 118,335.91 15,359.55 48,601.69 (26,393.08) 22,208.61 0.00 22,208.61
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ต.ค. 48 83,151.90 125,509.55 116,991.55 8,518.00 (42,357.65) (22,475.41) (64,833.06) 0.00 (64,833.06)
พ.ย. 48 92,336.70 123,942.84 111,572.84 12,370.00 (31,606.14) 7,527.05 (24,079.09) 0.00 (24,079.09)
ธ.ค. 48 78,738.60 112,308.49 83,443.49 28,865.00 (33,569.89) 38,616.09 5,046.20 0.00 5,046.20
ม.ค. 49 102,039.40 116,800.23 110,090.23 6,710.00 (14,760.83) 27,213.95 12,453.12 0.00 12,453.12
ก.พ. 49 88,199.20 112,467.96 100,880.96 11,587.00 (24,268.76) 17,558.83 (6,709.93) 0.00 (6,709.93)
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ปงบประมาณ 2549 มี.ค. 49 เม.ย. 49 110,019.90 115,364.00 127,437.29 100,074.26 109,598.29 96,226.26 17,839.00 3,848.00 (17,417.39) 15,289.74 20,845.92 (6,660.59) 3,428.53 8,629.15 0.00 0.00 3,428.53 8,629.15
พ.ค. 49 107,845.70 88,878.80 82,182.80 6,696.00 18,966.90 (26,537.37) (7,570.47) 0.00 (7,570.47)
มิ.ย. 49 214,818.20 117,303.38 110,649.38 6,654.00 97,514.82 (22,994.19) 74,520.63 0.00 74,520.63
ก.ค. 49 73,583.00 98,591.67 92,368.67 6,223.00 (25,008.67) 9,901.37 (15,107.30) 0.00 (15,107.30)
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ส.ค. 49 93,270.80 116,507.14 111,094.14 5,413.00 (23,236.34) 6,863.00 (16,373.34) 0.00 (16,373.34)
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ก.ย. 49 180,323.20 155,461.55 145,640.55 9,821.00 24,861.65 43,231.28 68,092.93 0.00 68,092.93
ต.ค. 49 110,228.35 89,558.95 81,266.44 8,292.51 20,669.40 (50,427.78) (29,758.38)
พ.ย. 49 97,895.04 111,438.22 93,464.94 17,973.28 (13,543.18) (25,856.30) (39,399.48)
ธ.ค. 49 96,686.52 99,182.26 83,126.82 16,055.44 (2,495.74) 8,754.64 6,258.90
(29,758.38)
(39,399.48)
6,258.90
ม.ค. 50 107,034.75 97,053.24 87,122.34 9,930.90 9,981.51 192.14 10,173.65 18,000.00 28,173.65
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ก.พ. 50 90,660.38 200,314.37 191,229.42 9,084.95 (109,653.99) 27,531.98 (82,122.01) 21,500.00 (60,622.01)
ปงบประมาณ มี.ค. 50 110,251.71 139,900.26 127,872.18 12,028.08 (29,648.55) (24,937.83) (54,586.38) 65,760.00 11,173.62
2550 เม.ย. 50 88,717.27 115,829.71 111,215.46 4,614.25 (27,112.44) (802.58) (27,915.02) 12,395.00 (15,520.02)
พ.ค. 50 108,693.26 137,086.33 131,311.65 5,774.68 (28,393.07) 1,629.11 (26,763.96) 26,005.00 (758.96)
มิ.ย. 50 259,906.17 164,380.91 158,603.01 5,777.90 95,525.26 (41,114.60) 54,410.66 54,410.66
หนวย: ลานบาท รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ก.ค. 50 84,981.74 146,554.95 142,783.24 3,771.71 (61,573.21) 10,415.72 (51,157.49)
ส.ค. 50 110,234.72 122,778.40 118,609.07 4,169.33 (12,543.68) 22,625.91 10,082.23
(51,157.49)
10,082.23
ก.ย. 50 179,428.01 150,888.99 144,234.89 6,654.10 28,539.02 43,550.81 72,089.83 2,540.00 74,629.83
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ต.ค. 50 116,253.36 155,388.77 147,936.01 7,452.76 (39,135.41) (20,659.94) (59,795.35) 11,500.00 (48,295.35)
พ.ย. 50 102,332.24 127,018.47 112,112.92 14,905.55 (24,686.23) (26,908.07) (51,594.30) 13,500.00 (38,094.30)
ธ.ค. 50 108,087.37 110,866.76 97,846.06 13,020.70 (2,779.39) (2,051.81) (4,831.20) 17,500.00 12,668.80
ม.ค. 51 99,967.16 158,402.13 146,916.71 11,485.42 (58,434.97) 23,962.97 (34,472.00) 16,500.00 (17,972.00)
ก.พ. 51 108,209.40 118,658.14 108,633.38 10,024.76 (10,448.74) 11,214.11 765.37 15,269.73 16,035.10
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ปงบประมาณ มี.ค. 51 95,822.28 125,147.22 113,532.92 11,614.30 (29,324.94) 5,464.24 (23,860.70) 11,178.15 (12,682.55)
2551 เม.ย. 51 124,153.48 154,636.48 150,029.48 4,607.00 (30,483.00) 7,744.69 (22,738.31) 35,943.45 13,205.14
พ.ค. 51 168,954.93 126,766.19 119,961.33 6,804.86 42,188.74 (48,861.72) (6,672.98) 11,500.00 4,827.02
มิ.ย. 51 208,079.74 143,198.27 137,088.31 6,109.96 64,881.47 32,513.48 97,394.95 19,000.00 116,394.95
ก.ค. 51 104,134.25 138,837.60 134,497.09 4,340.51 (34,703.35) (32,798.66) (67,502.01) 5,808.67 (61,693.34)
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ส.ค. 51 107,658.48 124,628.30 120,423.44 4,204.86 (16,969.82) 22,917.98 5,948.16 6,635.64 12,583.80
ก.ย. 51 202,184.00 149,855.93 143,501.13 6,354.80 52,328.07 36,284.47 88,612.54 664.36 89,276.90
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ต.ค. 51 93,001.00 93,718.12 85,192.72 8,525.40 (717.12) (58,699.02) (59,416.14) 10,000.00 (49,416.14)
พ.ย. 51 90,411.00 165,200.46 149,302.68 15,897.78 (74,789.46) (29,544.46) (104,333.92) 15,000.00 (89,333.92)
ธ.ค. 51 95,078.00 145,421.61 127,825.37 17,596.24 (50,343.61) 5,960.05 (44,383.56) 15,000.00 (29,383.56)
ม.ค. 52 95,525.00 192,417.15 177,999.96 14,417.19 (96,892.15) 53,963.72 (42,928.43) 19,000.00 (23,928.43)
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ก.พ. 52 80,821.00 179,678.99 166,568.90 13,110.09 (98,857.99) 50,435.15 (48,422.84) 69,530.00 21,107.16
ปงบประมาณ 2552 มี.ค. 52 เม.ย. 52 96,646.00 102,914.00 195,344.61 141,682.20 178,472.53 137,194.07 16,872.08 4,488.13 (98,698.61) (38,768.20) 4,436.68 (872.92) (94,261.93) (39,641.12) 87,000.00 86,688.00 (7,261.93) 47,046.88
พ.ค. 52 104,550.00 161,005.90 154,745.07 6,260.83 (56,455.90) 8,972.12 (47,483.78) 51,312.00 3,828.22
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
มิ.ย. 52 264,932.00 139,497.85 131,025.26 8,472.59 125,434.15 (21,309.46) 104,124.69 9,500.00 113,624.69
ก.ค. 52 98,714.00 164,117.96 158,730.02 5,387.94 (65,403.96) 64,048.01 (1,355.95) 65,000.00 63,644.05
ส.ค. 52 93,284.00 142,161.71 136,915.13 5,246.58 (48,877.71) 31,960.66 (16,917.05) 9,000.00 (7,917.05)
ก.ย. 52 193,777.00 196,882.16 186,890.53 9,991.63 (3,105.16) 21,839.05 18,733.89 4,031.00 22,764.89
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ต.ค. 52 115,827.09 90,339.40 80,143.48 10,195.92 25,487.69 (36,797.17) (11,309.48) (11,309.48)
พ.ย. 52 118,129.19 188,614.47 166,115.98 22,498.49 (70,485.28) (31,434.50) (101,919.78) 31,000.00 (70,919.78)
ธ.ค. 52 119,168.87 172,221.38 149,895.70 22,325.68 (53,052.51) (8,812.18) (61,864.69) 20,572.00 (41,292.69)
ม.ค. 53 115,404.41 150,007.77 133,985.77 16,022.00 (34,603.36) (9,988.42) (44,591.78) 39,000.00 (5,591.78)
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ก.พ. 53 95,323.16 182,849.88 169,382.08 13,467.80 (87,526.72) 36,749.58 (50,777.14) 20,000.00 (30,777.14)
ปงบประมาณ 2553 มี.ค. 53 เม.ย. 53 120,436.56 164,648.18 149,980.78 145,528.30 129,652.57 136,587.12 20,328.21 8,941.18 (29,544.22) 19,119.88 (21,848.54) 9,222.02 (51,392.76) 28,341.90 36,000.00 29,000.00 (15,392.76) 57,341.90
พ.ค. 53 117,738.28 123,967.00 118,058.80 5,908.20 (6,228.72) (18,495.17) (24,723.89) 37,000.00 12,276.11
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
มิ.ย. 53 283,384.03 135,455.10 123,196.34 12,258.76 147,928.93 6,910.15 154,839.08 17,000.00 171,839.08
ก.ค. 53 109,897.17 142,627.17 135,128.19 7,498.98 (32,730.00) 20,746.76 (11,983.24) 3,003.46 (8,979.78)
ส.ค. 53 107,479.35 110,117.62 103,322.30 6,795.32 (2,638.27) 45,454.80 42,816.53 0.00 42,816.53
ก.ย. 53 241,188.48 192,703.75 182,406.65 10,297.10 48,484.73 (13,007.97) 35,476.76 0.00 35,476.76 (21,300.64)
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ต.ค. 53 124,854.00 207,451.52 194,117.58 13,333.94 (82,597.52) (25,353.57) (107,951.09) 16,000.00 (91,951.09)
พ.ย. 53 125,512.00 223,152.35 207,201.24 15,951.11 (97,640.35) (20,253.83) (117,894.18) 20,021.00 (97,873.18)
ธ.ค. 53 144,694.00 167,767.26 152,004.31 15,762.95 (23,073.26) 80,004.73 56,931.47 17,000.00 73,931.47
ม.ค. 54 129,902.00 235,191.75 220,657.29 14,534.45 (105,289.75) (37,800.81) (143,090.56) 15,000.00 (128,090.56)
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ก.พ. 54 126,718.00 154,688.49 139,463.92 15,224.58 (27,970.49) (8,649.56) (36,620.05) 21,084.00 (15,536.05)
ปงบประมาณ 2554 มี.ค. 54 เม.ย. 54 127,476.00 141,447.00 170,913.02 139,705.36 157,009.62 135,080.55 13,903.40 4,624.81 (43,437.02) 1,741.64 (36,479.81) (16,912.93) (79,916.83) (15,171.29) 24,500.00 16,000.00 (55,416.83) 828.71
พ.ค. 54 128,165.00 211,445.98 205,222.85 6,223.13 (83,280.98) 117,889.12 34,608.14 5,333.00 39,941.14
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
มิ.ย. 54 342,273.00 187,593.36 181,250.38 6,342.98 154,679.64 (13,291.66) 141,387.98 4,500.00 145,887.98
ก.ค. 54 99,318.00 143,031.74 138,411.12 4,620.62 (43,713.74) 13,215.15 (30,498.59) 8,000.00 (22,498.59)
ส.ค. 54 126,039.00 143,542.87 135,472.91 8,069.96 (17,503.87) 8,931.17 (8,572.70) 78.00 (8,494.70)
ก.ย. 54 275,649.00 193,411.44 184,648.06 8,763.38 82,237.56 115,852.07 198,089.63 53,150.00 251,239.63
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 16 พฤศจิกายน 2554
ต.ค. 54 129,245.06 166,953.99 155,910.07 11,043.92 (37,708.93) (153,325.69) (191,034.62) 0.00 (191,034.62)
ปงบประมาณ 2555 พ.ย. 54 124,441.51 150,234.27 131,863.03 18,371.24 (25,792.76) (2,766.77) (28,559.53) 0.00 (28,559.53)
ธ.ค. 54 144,290.00 172,627.54 151,586.51 21,041.03 (28,337.54) (8,681.23) (37,018.77) 0.00 (37,018.77)
สัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2540-2543
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)
ปี 2541 ปี 2540 จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน 93,879 100.0 96,056 100.0 16,986 18.1 16,759 17.4 47,386 50.5 48,667 50.7 29,508 31.4 30,630 31.9 843,576 733,462 11.13 13.10
ที่มา : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 21 พฤศจิกายน 2554
ปี 2542 จํานวนเงิน สัดส่วน 100,805 100.0 17,808 17.7 44,870 44.5 38,127 37.8 709,111 14.22
หน่วย : ล้านบาท ปี 2543 จํานวนเงิน สัดส่วน 94,721 100.0 17,404 18.4 45,096 47.6 32,222 34.0 749,949 12.63
เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2544-2554
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุนและการถ่ายโอนงาน1/ 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)
หน่วย : ล้านบาท ปี 2544 ปี 2549 ปี 2545 ปี 2546 ปี 2547 ปี 2548 จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน 159,753 100.0 175,850 100.0 184,066 100.0 241,948 100.0 293,750 100.0 327,113 100.0 17,702 11.1 21,084 12.0 22,258 12.1 24,786 10.2 27,019 9.2 29,110 8.9 55,652 34.8 58,144 33.1 60,218 32.7 82,623 34.2 102,520 34.9 110,190 33.7 12,669 7.9 19,349 11.0 35,504 19.3 43,100 17.8 49,000 16.7 61,800 18.9 73,730 772,574 20.68
46.2
77,273 803,651 21.88
43.9
66,086 829,496 22.19
35.9
91,438 1,063,600 22.75
37.8
115,211 1,250,000 23.50
หมายเหตุ : 1/ ในปีงบประมาณ 2544 และ 2545 มีงบประมาณการถ่ายโอนงานซึ่งตั้งอยู่ที่ส่วนราชการที่ถ่ายโอนงานให้ อปท. แต่นับรวมในสัดส่วนรายได้ของ อปท. เป็นจํานวน 32,339.60 ล้านบาท และ 27,061.80 ล้านบาท ตามลําดับ
39.2
126,013 1,360,000 24.05
38.5
เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2550-2555
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)
ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน 357,424 100.0 376,740 100.0 414,382 100.0 340,995 100.0 32,021 8.9 35,224 9.3 38,746 9.4 29,110 8.6 120,729 33.8 128,676 34.2 140,679 33.9 126,590 37.1 65,300 18.3 65,000 17.3 71,900 17.4 45,400 13.3 139,374 1,420,000 25.17
39.0
147,840 1,495,000 25.20
39.2
163,057 1,604,640 25.82
39.3
139,895 1,350,000 25.26
41.0
หมายเหตุ : 2/เป็นตัวเลขก่อนการจัดทํางบประมาณรายจ่ายของรัฐบาลเพิ่มเติมระหว่างปี 99,967.5 ล้านบาท ซึ่งได้จัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เพิ่มเติม 5,957 .4 ล้านบาท ทั้งนี้ เงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เมื่อรวมกับที่ได้รับการจัดสรรเพิ่มเติมระหว่างปีแล้ว เท่ากับ 179,907.4 ล้านบาท - เป้าหมายสัดส่วนรายได้ของ อปท. ในแต่ละปีงบประมาณผ่านขั้นตอนการพิจารณาของสํานักงบประมาณเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว ที่มา : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 21 พฤศจิกายน 2554
ปี 2554 จํานวนเงิน สัดส่วน 431,305 100.0
หน่วย : ล้านบาท ปี 2555 จํานวนเงิน สัดส่วน 527,467 100.0
257,355
59.7
308,887
58.6
173,950 2/ 1,650,000 26.14
40.3
218,580 1,980,000 26.64
41.4