ประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 และ 2555
THAILAND'S ECONOMIC OUTLOOK 2011-2012 : SEPTEMBER
เดือนกันยายน
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง
http://www.fpo.go.th
THAILAND’S ECONOMIC OUTLOOK 2011-2012 FISCAL POLICY OFFICE เปาประสงค และ ยุทธศาสตร สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 1. ความยั่งยืนทางการคลัง (Fiscal Sustainability) + เสนอแนะนโยบายและมาตรการดานการคลัง เพื่อใหภาคการคลังของประเทศมีความแข็งแกรงยั่งยืน เปนที่นาเชื่อถือ และเปนหลักของ ระบบเศรษฐกิจไทย 2. การพัฒนาความแข็งแกรงของระบบการเงินที่ยั่งยืน (Sustainable Financial System Development) + เสนอแนะนโยบายและมาตรการดานการเงิน เพื่อใหภาคการเงินแข็งแกรง มีประสิทธิภาพ และเอื้อประโยชนตอการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศ 3. เศรษฐกิจและสังคมที่ยั่งยืน (Sustainable Economic and Social Development) + เสนอแนะนโยบายและมาตรการดานเศรษฐกิจมหภาคและระหวางประเทศเพื่อใหระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพอยางตอเนื่อง + เสนอแนะนโยบายที่เกี่ยวของเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจของประเทศ + เสนอแนะนโยบายที่เกี่ยวของเพื่อกระจายความมั่งคั่ง สูภูมิภาคและเศรษฐกิจฐานราก + เสนอแนะนโยบายที่เกี่ยวของเพื่อใหประชาชนมีรายได และมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น 4. ความมีประสิทธิภาพ ความทันสมัย และความโปรงใสในการทํางาน (Modernization of Management and Good Governance Promotion) + ดําเนินการเพื่อใหเปนองคกรเรียนรู เปนที่ยอมรับดานความสามารถของบุคลากร + ดําเนินการเพื่อใหการทํางานและการใหบริการโปรงใส มีประสิทธิภาพ และตรวจสอบได โดยใชระบบ IT ลดขั้นตอนการทํางาน
กลยุทธ สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค : “เสาหลักดานเศรษฐกิจมหภาคอยางมืออาชีพ” “วิเคราะหสถานการณเศรษฐกิจไดอยางมีคุณภาพ แมนยํา และทันตอเหตุการณ เพื่อใหสามารถเสนอแนะนโยบายเศรษฐกิจมหภาคไดอยาง มีประสิทธิภาพ รวมทั้งสรางความเขาใจที่ถูกตองตอสาธารณชน”
คณะผูจัดทํา ผูอํานวยการสํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค บุญชัย จรัสแสงสมบูรณ : boonchar@mof.go.th ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานเศรษฐกิจมหภาค ดร.กุลยา ตันติเตมิท : kulaya.t@hotmail.mof.go.th ผูอํานวยการสวนแบบจําลองและประมาณการเศรษฐกิจ วิภารัตน ปนเปยมรัษฎ : wiparat@fpo.go.th ผูอํานวยการสวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค ณัฐยา อัชฌากรลักษณ : nuttaya@fpo.go.th ผูอํานวยการสวนการวิเคราะหเสถียรภาพเศรษฐกิจ ดร.ศรพล ตุลยะเสถียร : soraphol@fpo.go.th ผูอํานวยการสวนวิเทศและสถาบันสัมพันธ สิริกัลยา เรืองอํานาจ : sirigunya@hotmail.com
ผูรับผิดชอบรายภาคเศรษฐกิจ
ภาคการคลัง พิสิทธิ์ พัวพันธ : pisitp@mof.go.th ดร.จงกล คําไล : jongkon@fpo.go.th จรสพร เฉลิมเตียรณ : charosporn@yahoo.com ยุทธภูมิ จารุเศรนี : iam5111@msn.com คงขวัญ ศิลา : nu_nub@yahoo.com วรพล คหัฎฐา : worpol1@yahoo.com สุธิรัตน จิรชูสกุล : j_suthi01@ yahoo.com ภาคการคาระหวางประเทศ ธนิต ภัทรแสงไทย : thanitcfa@gmail.com อรุณรัตน นานอก : aobcy2000@hotmail.com ตลาดนํา มัน ยุทธภูมิ จารุเศรนี : iam5111@msn.com ดร.กุลกัลยา พระยาราช : kulkunya@mof.go.th เศรษฐกิจตางประเทศ ดร.สิริกมล อุดมผล : sirikamon@mof.go.th
ภาคการเงิน อารจนา ปานกาญจโนภาส : annulet@hotmail.com อัตราแลกเปลี่ยน ดร.พิมพนารา หิรัญกสิ : pim.hirankasi@gmail.com พีรพรรณ สุวรรณรัตน : peerapan.ps@gmail.com ภาคอุตสาหกรรม ธรรมฤทธิ์ คุณหิรัญ : thammaritud@yahoo.com อรอุมา หนูชวย : onumaneung@hotmail.com ภาคเกษตรกรรม กาญจนา จันทรชิต : kulmbe6@yahoo.com ภาคการทองเที่ยว คงขวัญ ศิลา : nu_nub@yahoo.com ภาคการบริโภค การลงทุน และอสังหาริมทรัพย วรพล คหัฎฐา : worpol1@yahoo.com กาญจนา จันทรชิต : kulmbe6@yahoo.com ดานเสถียรภาพ อรรถพล จรจันทร : golf1137@hotmail.com พนันดร อรุณีนิรมาน : panundorn.a@gmail.com
THAILAND’S ECONOMIC OUTLOOK 2011-2012 : SEPTEMBER FISCAL POLICY OFFICE
สารบัญ หนา 1. ประมาณการเศรษฐกิจไทย บทสรุปผูบริหาร Executive Summary ประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 และป 2555 (ณ เดือนกันยายน 2554) 1.1 สมมติฐานหลักในการประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 และป 2555 1.2 ผลการประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 และป 2555
3 7 11 12 30
2. ภาคการคลัง : สรุปสถานการณดานการคลังในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554
43
3. บทวิเคราะหเศรษฐกิจ : Macroeconomic Analysis Briefings 3.1 ถอดรหัสความสัมพันธระหวาง CPI และ PPI 3.2 บทบาทการลงทุนภาครัฐเพื่อยกระดับศักยภาพการผลิตระยะยาวของประเทศไทย 3.3 ฝามหาอุทกภัยป 2554 3.4 ปจจัยที่มีผลตออัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยในครึ่งแรกของป 2554 3.5 บทบาทของภาครัฐเพื่อรุงอรุณใหมของเศรษฐกิจไทย 3.6 นักลงทุนตางชาติกับตลาดหลักทรัพยไทย : ความเชื่อและความจริง 3.7 อุตสาหกรรม...กุญแจสูการยกระดับขีดความสามารถในการแขงขัน 3.8 ทองเที่ยวไทย : การเติบโตที่ยั่งยืน
51 59 66 75 81 89 99 109
4. ภาคการเงิน : รายงานภาวะเศรษฐกิจการเงินไทยในไตรมาสที่ 3 ป 2554
116
5. Thailand’s Key Economic Indicators
120
คณะผูจัดทํา : สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง โทรศัพท 02-273-9020 ตอ 3257 โทรสาร 02-298-5602 / 02-618-3397 http:// www.fpo.go.th
บทสรุปผูบริหาร ประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 และป 2555 (ณ เดือนกันยายน 2554) รายงานประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 และป 2555
“เศรษฐกิจไทยป 2554 มีแนวโนมขยายตัวชะลอลง เนื่องจากเศรษฐกิจโลกขยายตัวตํ่ากวาคาด แตคาดวาจะยังคงขยายตัวไดอยางตอเนื่องในป 2555” สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ประเมินวา เศรษฐกิจไทยในป 2554 จะยังขยายตัวอยูในอัตรารอยละ 4.0 โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 3.8-4.3 ชะลอลงจากปกอนหนาตามอุปสงคภายในประเทศ โดยเฉพาะการบริโภค ภาคเอกชนที่ ค าดว า จะชะลอลง เนื่ อ งจากได รั บ ผลกระทบจากป ญ หาอุ ท กภั ย ในภาคเหนื อ ภาคกลาง และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และจากแรงกดดันดานเงินเฟอและตนทุนที่ยังอยูในระดับสูงตอเนื่อง ขณะที่ปริมาณ การสงออกสินคาและบริการคาดวาจะยังคงขยายตัวในระดับสูง เนื่องจากการขยายตัวของการสงออกสินคาและ บริการที่สูงเกินคาดในชวงครึ่งปแรก อยางไรก็ตาม ความไมแนนอนของการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกจากปญหา ภาคอสังหาริมทรัพยและการจางงานในสหรัฐอเมริกา และปญหาหนี้สาธารณะในกลุมประเทศยุโรป ยังคงเปนปจจัย เสี่ยงสําคัญตอแนวโนมอุปสงคโลกที่อาจชะลอตัวลงมากกวาที่คาด และสงผลกระทบใหภาคการสงออกสินคาและ บริการในป 2554 ขยายตัวในอัตราชะลอลงจากปกอน ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนคาดวาจะขยายตัวตอเนื่อง เพื่อรองรับอุปสงคที่เพิ่มขึ้นในชวงครึ่งปหลัง ภายหลังจากที่ชะลอลงเนื่องจากไดรับผลกระทบของภัยพิบัติในญี่ปุน ในชวงไตรมาสที่ 2 ของป 2554 สําหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจภายในประเทศคาดวาอัตราเงินเฟอทั่วไปในป 2554 จะอยูท รี่ อ ยละ 3.8 (โดยมีชว งคาดการณทรี่ อ ยละ 3.6-4.1) เรงตัวขึน้ จากทัง้ ตนทุนในหมวดอาหารสดทีไ่ ดรบั แรงกดดัน จากตนทุนการผลิตทีส่ งู และอากาศแปรปรวน และตนทุนในหมวดพลังงานทีเ่ รงขึน้ ตามทิศทางราคานํา้ มันในตลาดโลก เปนสําคัญ สําหรับเศรษฐกิจไทยในป 2555 สํานักงานเศรษฐกิจการคลังคาดวา เศรษฐกิจไทยมีแนวโนมขยายตัวตอเนื่อง ทีร่ อ ยละ 4.5 (โดยมีชว งคาดการณทรี่ อ ยละ 4.0-5.0) โดยมีแรงขับเคลือ่ นหลักจากทัง้ อุปสงคภายในประเทศและอุปสงค จากตางประเทศทีค่ าดวาจะยังคงขยายตัวได ตามการจางงานทีค่ าดวาจะยังคงอยูใ นระดับสูง และนโยบายของภาครัฐ ในการสนับสนุนการใชจา ย เชน มาตรการปรับเพิม่ รายไดแรงงานรายวันและเงินเดือนขาราชการ ขณะทีแ่ รงสนับสนุน จากเศรษฐกิจโลกที่มีแนวโนมวาจะเริ่มฟนตัวขึ้นตามลําดับ โดยไดรับอานิสงสจากการฟนตัวของเศรษฐกิจญี่ปุน ภายหลังเหตุการณภัยพิบัติสึนามิ แมวาจะยังคงไดรับความเสี่ยงจากการเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยจากกลุมประเทศ พัฒนาแลว ในดานเสถียรภาพภายในประเทศคาดวาอัตราเงินเฟอทั่วไปในป 2555 จะอยูที่รอยละ 3.3 (โดยมีชวง คาดการณที่รอยละ 2.8-3.8) ตามอุปสงคนํ้ามันในตลาดโลกที่คาดวาจะชะลอลง
1. ประมาณการเศรษฐกิจไทยในป 2554 1.1 ดานการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจไทยในป 2554 คาดวาจะขยายตัวในอัตรารอยละ 4.0 โดยมีชว งคาดการณทรี่ อ ยละ 3.8-4.3 ซึง่ เปนการขยายตัว ชะลอลงจากปกอนหนาตามอุปสงคภายในประเทศ โดยการบริโภคภาคเอกชนคาดวาจะขยายตัวรอยละ 3.9 (โดยมีชวง ประมาณการเศรษฐกิจไทย
3
คาดการณที่รอยละ 3.8-4.8) ชะลอลงจากปกอนหนา เนื่องจากไดรับผลกระทบจากปญหาอุทกภัยในภาคเหนือ ภาคกลาง และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และจากแรงกดดันดานเงินเฟอและตนทุนที่ยังทรงตัวอยูในระดับสูง อยางไรก็ดี ภาวะการจางงาน และรายไดที่ยังอยูในเกณฑดี ทั้งในสวนของรายไดเกษตรกรที่คาดวาจะปรับสูงขึ้นตามราคาพืชผลสําคัญ รวมถึงรายไดจาก ภาคทองเที่ยวที่คาดวาจะเพิ่มขึ้นตามแนวโนมจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติที่ขยายตัวในระดับสูง คาดวาจะยังคงมีสวนชวย สนับสนุนการบริโภคภาคเอกชนใหขยายตัวได ขณะที่ปริมาณการสงออกสินคาและบริการในป 2554 คาดวาจะยังคงขยายตัว ในระดับสูงที่รอยละ 13.2 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 12.7-13.7) เนื่องจากการขยายตัวของการสงออกสินคาและบริการ ที่สูงเกินคาดในชวงครึ่งปแรก โดยขยายตัวสูงถึงรอยละ 13.9 อยางไรก็ตาม ความไมแนนอนของการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก จากปญหาภาคอสังหาริมทรัพยและการจางงานในสหรัฐอเมริกา และปญหาหนี้สาธารณะในกลุมประเทศยุโรป ยังคงเปน ปจจัยเสี่ยงสําคัญตอแนวโนมอุปสงคโลกที่อาจชะลอตัวลงมากกวาที่คาด และสงผลกระทบใหภาคการสงออกสินคาและ บริการในป 2554 ขยายตัวในอัตราชะลอลงจากปกอน สวนปริมาณการนําเขาสินคาและบริการคาดวาจะขยายตัวชะลอลงมา อยูที่รอยละ 15.0 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 14.5-15.5) ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนในป 2554 คาดวาจะขยายตัวรอยละ 11.3 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 10.8-11.8) โดยไดรับปจจัยสนับสนุนจากการเรงตัวขึ้นอยางมากของการลงทุนภาคเอกชน ในครึง่ แรกของป 2554 ทีข่ ยายตัวสูงถึงรอยละ 10.5 ประกอบกับความเชือ่ มัน่ ของภาคธุรกิจทีย่ งั อยูใ นเกณฑดี คาดวาจะสงผลให ผูป ระกอบการลงทุนเพิม่ ขึน้ เพือ่ ขยายกําลังการผลิตใหสามารถรองรับความตองการสินคาทีเ่ พิม่ ขึน้ ได สําหรับการใชจา ยภาครัฐ ในป 2554 คาดวาการบริโภคภาครัฐจะขยายตัวรอยละ 2.7 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 2.2-3.2) ชะลอลงเล็กนอยจาก ปกอนหนา เนื่องจากความลาชาในการจัดทํางบประมาณประจําป 2555 จะสงผลใหการเบิกจายในชวงไตรมาสที่ 4 ของปนี้ เปนไปอยางลาชา ขณะที่การลงทุนภาครัฐคาดวาจะหดตัวรอยละ -1.4 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ -1.9 ถึง -0.9) เนื่องจาก การเบิกจายงบประมาณรายจายลงทุนในไตรมาสที่ 2 ป 2554 มีการเบิกจายชะลอตัวลงมาก โดยเฉพาะจากรัฐบาลทองถิ่น ที่หดตัวกวารอยละ -35.2 ทําใหในชวงครึ่งปแรกการลงทุนภาครัฐหดตัวกวารอยละ -5.9 1.2 ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจ เสถียรภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ ในดานอัตราเงินเฟอทั่วไปในป 2554 คาดวาจะเพิ่มขึ้นมาอยูที่รอยละ 3.8 ตอป (ชวงคาดการณทรี่ อ ยละ 3.6-4.1 ตอป) จากตนทุนทีส่ งู ขึน้ โดยเฉพาะในหมวดอาหารสดทีไ่ ดรบั แรงกดดันจากตนทุนการผลิตทีส่ งู และอากาศแปรปรวน และตนทุนในหมวดพลังงานทีเ่ รงขึน้ ตามทิศทางราคานํา้ มันในตลาดโลกเปนสําคัญ สวนอัตราการวางงาน คาดวาจะยังคงอยูในระดับตํ่าที่รอยละ 0.7 ของกําลังแรงงานรวม (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 0.6-0.8 ของกําลังแรงงานรวม) ในดานเสถียรภาพภายนอกประเทศคาดวาดุลบัญชีเดินสะพัดจะเกินดุลลดลงเล็กนอยมาอยูที่ 13.5 พันลานเหรียญสหรัฐ หรือคิดเปนรอยละ 3.7 ของ GDP (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 3.5-4.0 ของ GDP) เนื่องจากดุลการคาที่คาดวาจะเกินดุล ลดลงมาอยูที่ 9.5 พันลานเหรียญสหรัฐ (โดยมีชวงคาดการณที่ 8.5-10.5 พันลานเหรียญสหรัฐ) โดยคาดวามูลคานําเขาสินคา ในป 2554 จะขยายตัวในระดับสูงที่รอยละ 26.6 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 26.1-27.1) ตามราคาสินคานําเขาในตลาดโลก ขณะที่มูลคาสงออกสินคาในป 2554 คาดวาจะขยายตัวรอยละ 22.3 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 21.8-22.8)
2. คาดการณเศรษฐกิจไทยในป 2555 2.1 ดานการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจไทยในป 2555 คาดวาจะขยายตัวอยางตอเนื่องในอัตรารอยละ 4.5 โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 4.0-5.0 ซึง่ ไดรบั แรงขับเคลือ่ นหลักจากทัง้ อุปสงคภายในประเทศและอุปสงคจากตางประเทศทีค่ าดวาจะยังคงขยายตัวได โดยการบริโภค ภาคเอกชนคาดวาจะขยายตัวรอยละ 4.4 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 3.9-4.9) ตามการจางงานที่คาดวาจะยังคงอยูในระดับ สูง ประกอบกับนโยบายของภาครัฐในการสนับสนุนการใชจาย เชน มาตรการปรับเพิ่มรายไดแรงงานรายวันและเงินเดือน ขาราชการ ขณะทีก่ ารลงทุนภาคเอกชนคาดวาจะขยายตัวรอยละ 10.9 (โดยมีชว งคาดการณทรี่ อ ยละ 9.9-11.9) โดยไดรบั ปจจัย สนับสนุนจากอุปสงคจากภายในประเทศและตางประเทศทีอ่ ยูใ นเกณฑดี ซึง่ คาดวาจะสงผลใหภาคธุรกิจมีความเชือ่ มัน่ มากขึน้
4
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
และสนับสนุนใหการลงทุนของเอกชนขยายตัวเพิ่มขึ้นตอเนื่อง นอกจากนี้ แรงสนับสนุนจากเศรษฐกิจโลกที่มีแนวโนมวาจะเริ่ม ฟนตัวขึ้นตามลําดับ โดยไดรับอานิสงสจากการฟนตัวของเศรษฐกิจญี่ปุนภายหลังเหตุการณภัยพิบัติสึนามิ คาดวาจะสงผลให การสงออกสินคาและบริการในป 2555 ยังคงขยายตัวไดตอเนื่อง อยางไรก็ตาม อุปสงคตา งประเทศยังคงไดรับความเสี่ยงจาก การเกิดภาวะเศรษฐกิจจากกลุมประเทศพัฒนาแลว ทําใหการสงออกสินคาและบริการในป 2555 คาดวาจะขยายตัวชะลอลง จากปกอ นมาอยูท รี่ อ ยละ 5.5 (โดยมีชว งคาดการณทรี่ อ ยละ 4.5-6.5) สวนปริมาณการนําเขาสินคาและบริการคาดวาจะขยายตัว รอยละ 10.3 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 9.3-11.3) สําหรับการใชจายภาครัฐในป 2555 คาดวาการบริโภคภาครัฐจะขยายตัว รอยละ 2.8 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 2.3-3.3) ตามการเบิกจายงบประมาณประจําปของรัฐบาลในป 2555 ที่คาดวา จะเปนไปอยางตอเนือ่ ง ขณะทีก่ ารลงทุนภาครัฐคาดวาจะขยายตัวเรงขึน้ มาอยูท รี่ อ ยละ 5.5 (โดยมีชว งคาดการณทรี่ อ ยละ 4.5-6.5) 2.2 ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจ เสถียรภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ ในดานอัตราเงินเฟอทัว่ ไปในป 2555 คาดวาจะอยูท รี่ อ ยละ 3.3 ตอป (ชวงคาดการณ ที่รอยละ 2.8-3.8) ชะลอลงจากป 2554 อันเปนผลจากความเปราะบางของการฟนตัวทางเศรษฐกิจของประเทศคูคาของไทย โดยเฉพาะเศรษฐกิจกลุมประเทศที่พัฒนาแลวที่คาดวาจะสงผลใหอุปสงคนํ้ามันในตลาดโลกชะลอลง ประกอบกับแนวโนม การชะลอตัวของราคาสินคาโภคภัณฑในตลาดโลก ทั้งนี้ การประมาณการเศรษฐกิจไดคํานึงถึงความเปนไปไดที่ภาครัฐ จะพิจารณาตออายุมาตรการชวยเหลือคาครองชีพบางสวนออกไปอีกหลังครบกําหนด ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2554 สวน อัตราการวางงานคาดวาจะยังคงอยูในระดับตํ่าที่รอยละ 0.7 ของกําลังแรงงานรวม (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 0.6-0.8 ของกําลังแรงงานรวม) ในดานเสถียรภาพภายนอกประเทศคาดวาดุลบัญชีเดินสะพัดจะเกินดุลลดลงเล็กนอยมาอยูท ี่ 9.0 พันลาน เหรียญสหรัฐ หรือคิดเปนรอยละ 2.2 ของ GDP (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 1.7-2.7 ของ GDP) เนื่องจากดุลการคาที่คาดวา จะเกินดุลลดลงมาอยูที่ 6.0 พันลานเหรียญสหรัฐ (โดยมีชวงคาดการณที่ 5.0-7.0 พันลานเหรียญสหรัฐ) ตามมูลคาสินคา นําเขาที่คาดวาจะขยายตัวในอัตราเรงกวามูลคาสินคาสงออก โดยคาดวามูลคานําเขาสินคาในป 2554 จะขยายตัวรอยละ 15.8 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 14.8-16.7) ขณะที่มูลคาสงออกสินคาคาดวาจะขยายตัวรอยละ 13.7 (โดยมีชวงคาดการณ ที่รอยละ 12.7-14.7) รายละเอียดสรุปผลการประมาณการเศรษฐกิจ ดังนี้
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
5
ตารางสรุปสมมติฐานและผลการประมาณการเศรษฐกิจป 2554 และป 2555 (ณ เดือนกันยายน 2554)
2553
2554 f (ณ กันยายน 2554) เฉลี่ย ชวง
2555 f (ณ กันยายน 2554) เฉลี่ย ชวง
สมมติฐานหลัก สมมติฐานภายนอก 1) อัตราการขยายตัวเฉลี่ย 14 ประเทศคูคาหลัก (รอยละตอป) 4.8 2) ราคานํ้ามันดิบดูไบ (ดอลลารสหรัฐตอบารเรล) 78.2 3) ราคาสินคาสงออกในรูปดอลลารสหรัฐ (รอยละตอป) 9.1 4) ราคาสินคานําเขาในรูปดอลลารสหรัฐ (รอยละตอป) 8.1 สมมติฐานดานนโยบาย 5) อัตราแลกเปลี่ยน (บาทตอดอลลารสหรัฐ) 31.7 6) อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทย ณ สิ้นป (รอยละตอป) 2.00 7) รายจายภาคสาธารณะตามปงบประมาณ (ลานลานบาท) 2.52 ผลการประมาณการ 7.8 1) อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (รอยละตอป) 2) อัตราการขยายตัวของการบริโภครวม (รอยละตอป) 5.1 - การบริโภคภาคเอกชน (ณ ราคาคงที่) (รอยละตอป) 4.8 - การบริโภคภาครัฐ (ณ ราคาคงที่) (รอยละตอป) 6.4 3) อัตราการขยายตัวของการลงทุนรวม (รอยละตอป) 9.4 - การลงทุนภาคเอกชน (ณ ราคาคงที่) (รอยละตอป) 13.8 - การลงทุนภาครัฐ (ณ ราคาคงที่) (รอยละตอป) -2.2 4) อัตราการขยายตัวปริมาณสงออกสินคาและบริการ (รอยละตอป) 14.7 5) อัตราการขยายตัวปริมาณนําเขาสินคาและบริการ (รอยละตอป) 21.5 6) ดุลการคา (พันลานดอลลารสหรัฐ) 14.0 - สินคาสงออกในรูปดอลลารสหรัฐ (รอยละตอป) 28.5 - สินคานําเขาในรูปดอลลารสหรัฐ (รอยละตอป) 36.8 7) ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันลานดอลลารสหรัฐ) 14.8 - รอยละของ GDP 4.6 8) อัตราเงินเฟอทั่วไป (รอยละตอป) 3.3 อัตราเงินเฟอพื้นฐาน (รอยละตอป) 0.9 9) อัตราการวางงาน (รอยละของกําลังแรงงานรวม) 1.0 f = ประมาณการ โดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.)
6
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
3.2 3.0-3.5 3.5 3.0-4.0 101.0 96.0-106.0 115.0 110.0-120.0 7.0 6.5-7.5 7.5 6.5-8.5 10.0 9.5-10.5 4.5 3.5-5.5 30.5 3.50 2.81
30.3-30.8 3.25-3.75 2.80-2.82
30.0 3.75 2.95
29.0-31.0 3.25-4.00 2.93-2.96
4.0 3.8-4.3 3.7 3.2-4.2 3.9 3.4-4.4 2.7 2.2-3.2 7.4 6.9-7.9 11.3 10.8-11.8 -1.4 -1.9 ถึง -0.9 13.2 12.7-13.7 15.0 14.5-15.5 9.5 8.5-10.5 22.3 21.8-22.8 26.6 26.1-27.1 13.5 12.1-13.9 3.7 3.5-4.0 3.8 3.6-4.1 2.5 2.3-2.8 0.7 0.6-0.8
4.5 4.2 4.4 2.8 8.3 10.9 5.5 5.5 10.3 6.0 13.7 15.8 9.0 2.2 3.3 2.3 0.7
4.0-5.0 3.7-4.7 3.9-4.9 2.3-3.3 7.8-8.8 9.9-11.9 4.5-6.5 4.5-6.5 9.3-11.3 5.0-7.0 12.7-14.7 14.8-16.8 6.9-10.9 1.7-2.7 2.8-3.8 1.8-2.8 0.6-0.8
Executive Summary
Thailand’s Economic Projection for 2011 and 2012 (As of September 2011) Thailand’s Economic Outlook Projection 2011
The Thai economy in 2011 is expected to expand moderately due to global economic concerns, and is expected to grow steadily in 2012 The Fiscal Policy Office (FPO), Ministry of Finance, announced that Thai economy in 2011 will grow at an annualized rate of 4.0 percent (or within a range of 3.8-4.3 percent). The rate of growth is lower than previous year due to a slowdown in domestic demand, in particular in private consumption, as a result of flooding situation in the northern, central and northeastern provinces of Thailand as well as inflationary concern. Meanwhile, the export volume in 2011 is expected to expand at a high rate driven by higher than expected growth in the first half of 2011. However, the US economic slowdown and the European sovereign debt crisis continue to pose downside risks that may adversely affect the exports of goods and services. Private investment is expected to grow steadily and support higher domestic demand for the remainder of the year buoyed by the recovery from Japan’s tsunami disaster in Q2/2011. For internal stability, headline inflation in 2011 is likely to rise to 3.8 percent (or within a range of 3.6-4.1 percent) due to higher costs of production especially from raw food costs which have been pressured by poor weather conditions and the increase in energy prices. Looking forward, the Thai economy in 2012 is forecasted to continue its steady growth at an annualized rate of 4.5 percent (or within a range of 4.0-5.0 percent). Domestic and external demand will both continue to drive economic growth. High employment coupled with government policies to stimulate domestic spending such as a higher minimum wage policy and a higher salary’s threshold for newly recruited government officials will contribute to next year consumption. With regard to internal stability, inflation in 2012 is forecasted to rise at 3.3 percent (or within a range of 2.8-3.8 percent) which is lower than this year as crude oil price is forecasted to be more stable due to moderate global oil demand growth.
1. Thailand’s Economic Projections for 2011 1.1 Economic Growth The Thai economy in 2011 will grow at an annualized rate of 4.0 percent (or within a range of 3.8-4.3 percent), lower than previous year due to a slowdown in domestic demand. Private consumption is projected to continually expand at 3.9 percent (or within a range of 3.8-4.8 percent), lower than last year’s level. This is mainly due to the flooding situation in the northern, central and northeastern provinces of Thailand, as well as inflationary concern. Nevertheless, the unemployment rate and income level remain strong owing to an increase in farm income due to a
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
7
gradual rise in the prices of major commodity products and stronger tourism income which are projected to support private consumption growth. Meanwhile, the export volume in 2011 is estimated to expand at 13.2 percent (or within a range of 12.7-13.7 percent) driven by an increase in the exports of goods and services in the first half of 2011. Uncertainty of the continued US recovery along with European sovereign debt crisis to pose downside risks that may lower exports of goods and services in 2011. At the same time, imports of goods and services in real terms are set to grow at roughly 15.0 percent (or within a range of 14.5-15.5 percent) lower than previous year. Private investment is likely to grow robustly at 11.3 percent (or within a range of 10.8-11.8 percent) as it grew at the increasing rate of 10.5 percent in the first half of 2011. Business sentiment remains strong and entrepreneurs are expected to expand their investments in response to the higher domestic demand. Public consumption is forecasted to increase by 2.7 percent (or within a range of 2.2-3.2 percent ) slower than last year’s rate owing to the delay in the budget disbursement plan in fiscal year 2012 which will impact fiscal outlays in the fourth quarter. Meanwhile, public investment is projected to contract at -1.4 percent (or within a range of -1.9 to -0.9 percent) because of the slowdown in budgetary capital expenditure disbursement in the second quarter of 2011, in particular lower local government spending in the first half of the year negative at -5.9 percent year on year. 1.2 Economic Stability For internal stability, headline inflation in 2011 is likely to rise to 3.8 percent (or within a range of 3.6-4.1 percent) as a result of higher costs of production, especially from raw food costs associated with adverse climate conditions and increase in energy prices. Unemployment is expected to hold its current low level of 0.7 percent of the total labor force (or within a range of 0.6-0.8 percent). For external stability, the current account is projected to record a smaller surplus of USD 13.5 billion, accounting for 3.7 percent of GDP (or within a range of 3.5-4.0 percent of GDP) as the estimated trade balance surplus declines to USD 9.5 billion (or within a range of USD 8.5-10.5 billion). This is partially explained by accelerated import growth of 26.6 percent (or within a range of 26.1-27.1 percent) due to an increase in import prices in world markets. However, the total export value is likely to grow by 22.3 percent (or within a range of 21.8-22.8 percent).
2. Thailand’s Economic Projections for 2012 2.1 Economic Growth The Thai economy in 2012 is forecasted to continue its steady growth at an annualized rate of 4.5 percent (or within a range of 4.0-5.0 percent) driven by both domestic and external demand. Private consumption is projected to grow at 4.4 percent (or within a range of 3.9-4.9 percent). High employment coupled with government policies to stimulate domestic spending, such as a higher minimum wage policy and a higher salary’s threshold for newly recruited government officials will contribute for next year consumption. On the other hand, private investment is estimated to grow at 10.9 percent (or within a range of 9.9-11.9 percent per year) supported by domestic spending and external demand as a result of an increase in private confidence. As the global recovery continues following Japan’s tsunami disaster, export volume is expected to continually expand at 5.5 percent (or within the range of 4.56.5 percent) though the magnitude is expected to be lower than previous year, with downside risks from developed economies. At the same time, import volume is set to grow at 10.3 percent (or within the range of 9.3-11.3 percent). With respect to public spending, public consumption is likely to grow at 2.8 percent (or within a range of 2.3-3.3
8
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
percent) with the continuation of the budgetary disbursement plan in 2012, while acceleration of public investment is projected to grow at 5.5 percent (or within a range of 4.5-6.5 percent). 2.2 Economic Stability For internal stability, inflation in 2012 is forecasted to rise at 3.3 percent (or within a range of 2.8-3.8 percent) as crude oil price is forecasted to be more stable due to moderate global growth of oil demand. The economic projection has taken into consideration the possibility that the government may extend some living-cost subsidization policies due to end in December 2011. Unemployment is expected to hold its current low level of 0.7 percent of the total labor force (or within a range of 0.6-0.8 percent). For external stability, the current account in 2012 is projected to record a smaller surplus of USD 9.0 billion accounting for 2.2 percent of GDP (or within a range of 1.7-2.7 percent of GDP) as the estimated trade balance surplus drops to USD 6.0 billion (or within a range of USD 5.0-7.0 billion) partially explained by accelerated import growth which is expected to increase to 15.8 percent per year (or within a range of 14.8-16.7 percent). However, export value is likely to grow at 13.7 percent (or within a range of 12.7-14.7 percent ). Summary table is attached herewith.
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
9
Major Assumptions and Economic Projections of 2011 and 2012 (As of September 2011) 2011 f 2012 f 2010 (As of Sep 2011) (As of Sep 2011) Average Range Average Range Major Assumptions Exogenous Variables 1) Average Economic Growth Rate of Major Trading Partners (% y-o-y) 2) Dubai Crude Oil Price (USD per Barrel) 3) Export price in USD Dollars (% y-o-y) 4) Import price in USD Dollars (% y-o-y) Policy Variables 5) Exchange Rate (Baht per USD Dollars) 6) Repurchase Rate (Policy Rate) at year-end (% y-o-y) 7) Fiscal-Year Pubic Expenditure (Trillion Baht) Projections 1) Economic Growth Rate (% y-o-y) 2) Real Consumption Growth (% y-o-y) - Real Private Consumption - Real Public Consumption 3) Real Investment Growth (% y-o-y) - Real Private Investment - Real Public Investment 4) Export Volume of Goods and Services (% y-o-y) 5) Import Volume of Goods and Services (% y-o-y) 6) Trade Balance (USD billion) - Export Value of Goods in USD Dollars (% y-o-y) - Import Value of Goods in USD Dollars (% y-o-y) 7) Current Account (USD billion) - Percentage of GDP 8) Headline Inflation (% y-o-y) Core Inflation (% y-o-y) 9) Unemployment rate (% of total labor force) f = forecast by Fiscal Policy Office, Ministry of Finance, Thailand
10
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
4.8
3.2
3.0-3.5
3.5
3.0-4.0
78.2 9.1 8.1
101.0 96.0-106.0 115.0 110.0-120.0 7.0 6.5-7.5 7.5 6.5-8.5 10.0 9.5-10.5 4.5 3.5-5.5
31.7 2.00 2.52
30.5 3.50 2.81
30.3-30.8 3.25-3.75 2.80-2.82
30.0 3.75 2.95
29.0-31.0 3.25-4.00 2.93-2.96
7.8 5.1 4.8 6.4 9.4 13.8 -2.2 14.7 21.5 14.0 28.5 36.8 14.8 4.6 3.3 0.9 1.0
4.0 3.8-4.3 3.7 3.2-4.2 3.9 3.4-4.4 2.7 2.2-3.2 7.4 6.9-7.9 11.3 10.8-11.8 -1.4 -1.9 ถึง -0.9 13.2 12.7-13.7 15.0 14.5-15.5 9.5 8.5-10.5 22.3 21.8-22.8 26.6 26.1-27.1 13.5 12.1-13.9 3.7 3.5-4.0 3.8 3.6-4.1 2.5 2.3-2.8 0.7 0.6-0.8
4.5 4.2 4.4 2.8 8.3 10.9 5.5 5.5 10.3 6.0 13.7 15.8 9.0 2.2 3.3 2.3 0.7
4.0-5.0 3.7-4.7 3.9-4.9 2.3-3.3 7.8-8.8 9.9-11.9 4.5-6.5 4.5-6.5 9.3-11.3 5.0-7.0 12.7-14.7 14.8-16.8 6.9-10.9 1.7-2.7 2.8-3.8 1.8-2.8 0.6-0.8
ประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 และป 2555 (ณ เดือนกันยายน 2554) สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) คาดวาเศรษฐกิจไทยในป 2554 จะขยายตัวทีร่ อ ยละ 4.0 โดยมีชว งคาดการณ ที่รอยละ 3.8-4.3 ชะลอลงจากป 2553 ที่ขยายตัวในระดับสูงที่รอยละ 7.8 ในขณะที่อัตราการขยายตัวในป 2555 จะอยูที่ รอยละ 4.5 (ชวงคาดการณที่รอยละ 4.0-5.0) โดยมีการปรับปรุงขอมูลและสมมติฐานที่สําคัญ ดังนี้ ปรับปรุงฐานขอมูลอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในไตรมาสที่ 1 และไตรมาสที่ 2 ป 2554 ที่รอยละ 3.2 และรอยละ 2.6 ตามลําดับ ตามที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) แถลงเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2554 ❍
เครือ่ งชีภ้ าวะเศรษฐกิจมหภาคในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 บงชีว้ า ภาคบริการขยายตัวไดดตี อ เนือ่ งและ มีบทบาทสําคัญในการชวยสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในชวงที่ผานมา สะทอนจากจํานวนนักทองเที่ยวที่ขยายตัว ระดับสูงถึงรอยละ 27.6 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น สําหรับดานการผลิต ภาคการเกษตรยังขยายตัวอยูใ นเกณฑดตี าม ราคาสินคาเกษตรในตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ้นมาก ประกอบกับสภาวะภูมิอากาศที่เอื้ออํานวยตอการเพาะปลูก อยางไรก็ตาม ภาคอุตสาหกรรมมีการชะลอตัวลงอยางเห็นไดชัด โดยเปนการลดลงของอุตสาหกรรมสําคัญ คือ อุตสาหกรรมยานยนตและ เครือ่ งอิเล็กทรอนิกส เนือ่ งจากผลกระทบจากเหตุการณภยั พิบตั สิ นึ ามิทญ ี่ ปี่ นุ ทีม่ ผี ลกระทบตอความตึงตัวหวงโซอปุ ทาน อีกทัง้ โรงกลัน่ ปโตรเลียมทีล่ ดลงเนือ่ งจากการปดซอมบํารุง ประกอบกับอุตสาหกรรมสิง่ ทอมีแนวโนมชะลอลง เนือ่ งจากตนทุนการผลิตทีป่ รับตัว สูงขึน้ ในดานการใชจา ยพบวา เครือ่ งชีก้ ารบริโภคและลงทุนสงสัญญาณขยายตัวอยางตอเนือ่ งจากปกอ นหนา สําหรับการสงออก สินคาและบริการยังคงขยายตัวอยางตอเนื่อง เปนผลมาจากการฟนตัวของเศรษฐกิจประเทศคูคาสําคัญ โดยเฉพาะใน ภูมิภาคเอเชีย ไดแก จีน อินเดีย เปนสําคัญ ตามการนําเขาสินคาและบริการยังคงขยายตัวอยางตอเนื่องเชนเดียวกัน จาก การเพิ่มขึ้นของการนําเขาในหมวดเชื้อเพลิงและวัตถุดิบและกึ่งสําเร็จรูป ทั้งนี้การขยายตัวของการสงออกที่สูงกวาเมื่อเทียบกับ การขยายตัวของการนําเขา สงผลใหดุลการคาในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 เกินดุลเล็กนอยที่ระดับ 5.0 พันลานดอลลารสหรัฐ ❍
การเปลีย่ นแปลงสมมติฐานทีส่ าํ คัญ ไดแก (1) อัตราการขยายตัวของ 14 ประเทศคูค า สําคัญ ซึง่ ถึงแมวา อัตรา การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของหลายประเทศไดผานภาวะวิกฤตมาแลวและมีสัญญาณฟนตัว แตในอีกหลายประเทศยังคง มีสัญญาณการฟนตัวที่เปราะบางและไมแนนอน สศค.จึงไดปรับประมาณอัตราการขยายตัวของ 14 ประเทศคูคาในป 2554 และป 2555 ลดลงเล็กนอยมาอยูที่รอยละ 3.2 และรอยละ 3.5 ตามลําดับ (2) กําหนดสมมติฐานราคานํ้ามันดิบดูไบในป 2554 และป 2555 ใหอยูท ี่ 101.0 และ 115.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล ตามลําดับ ตามสถานการณราคานํา้ มันดิบในตลาดโลกทีป่ รับตัว อยูในระดับสูง จากความกังวลของความเสี่ยงเศรษฐกิจโลกฝงตะวันตกที่อาจเขาสูภาวะถดถอยอีกครั้ง ทําใหนักลงทุน มีการเคลื่อนยายเงินมาเก็งกําไรในตลาดโภคภัณฑเพิ่มขึ้น (3) ปรับสมมติฐานราคาสงออกในป 2554 และป 2555 ใหขยายตัวที่ รอยละ 7.0 และรอยละ 7.5 ตามลําดับ และการนําเขาในป 2554 และป 2555 ใหอยูที่รอยละ 10.0 และรอยละ 4.5 ตามลําดับ (4) ปรับสมมติฐานอัตราแลกเปลีย่ นบาทตอดอลลารสหรัฐในป 2554 และป 2555 ใหอยูท ี่ 30.5 และ 30.0 บาทตอดอลลารสหรัฐ ตามลําดับ ตามดุลการคาที่เกินดุลเล็กนอย และตามความผันผวนของการเคลื่อนยายเงินทุนเขาออกตลาดตราสารหนี้และ ตราสารทุน (5) กําหนดสมมติฐานอัตราดอกเบี้ยนโยบายในป 2554 ใหอยูที่รอยละ 3.5 ตอป (ชวงคาดการณ 3.25–3.75) และ ในป 2555 คาดวาจะขยายตัวในชวงรอยละ 3.25–4.00 และ (6) รายจายภาคสาธารณะในปงบประมาณ 2554 (ตั้งแตตุลาคม 2553–กันยายน 2554) อยูที่ 2.81 ลานลานบาท และในปงบประมาณ 2555 อยูในชวง 2.92-2.95 ลานลานบาท ❍
โดยมีรายละเอียดสมมติฐานและผลการประมาณการ ดังนี้ ประมาณการเศรษฐกิจไทย
11
สมมติฐานหลักในการประมาณการเศรษฐกิจไทย ป 2554 และป 2555 1. อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของ 14 ประเทศคูคาหลักของไทย “สศค.คาดวาในป 2554 เศรษฐกิจคูคาหลักของไทย 14 ประเทศจะขยายตัวรอยละ 3.2 ชะลอลงจากป 2553 ที่ ขยายตัวทีร่ อ ยละ 4.8 เนือ่ งจากการฟน ตัวของเศรษฐกิจสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกาทีย่ งั คงเปนไปอยางเปราะบาง ประกอบกับเศรษฐกิจในภูมภิ าคเอเชียโดยเฉพาะจีนทีค่ าดวาจะขยายตัวในอัตราทีช่ ะลอลง และญีป่ นุ ทีค่ าดวาจะหดตัว ในป 2555 สศค.คาดวาเศรษฐกิจคูคาหลักของไทย 14 ประเทศจะขยายตัวรอยละ 3.5 ตามการฟนตัวของ เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา และแนวโนมขยายตัวในระดับสูงตอเนื่องของเศรษฐกิจจีนและอินเดีย ประกอบกับฐาน การคํานวณที่ตํ่าในปกอนหนา”
ตารางที่ 1 อัตราการขยายตัวเฉลี่ยของเศรษฐกิจคูคาหลักของไทย 14 ประเทศ (รอยละ) ประเทศคูคาหลัก เรียงตามสัดสวน การสงออกป 2553 14 ประเทศ (78.7%) 1. จีน (11.0%) 2. ญี่ปุน (10.5%) 3. สหรัฐอเมริกา (10.3%) 4. สหภาพยุโรป (9.8%) 5. ฮองกง (6.7%) 6. สิงคโปร (5.4%) 7. ออสเตรเลีย (5.4%) 8. มาเลเซีย (4.6%) 9. อินโดนีเซีย (3.8%) 10. เวียดนาม (3.0%) 11. ฟลิปปนส (2.5%) 12. อินเดีย (2.2%) 13. เกาหลีใต (1.8%) 14. ไตหวัน (1.7%)
2552
2553
-0.2 9.2 -6.3 -2.4 -4.1 -2.7 -0.8 1.3 -1.7 4.5 5.3 1.1 7.0 0.2 -1.9
4.8 10.4 4.0 3.0 1.7 6.8 14.5 2.6 7.2 6.1 6.8 7.6 8.8 6.2 10.8
2553
2554
Q1
Q2
Q3
Q4
Q1
Q2
5.4 11.9 5.6 2.2 0.8 8.1 16.4 2.2 10.1 5.6 5.9 8.4 9.4 8.5 13.6
5.3 10.3 3.1 3.3 2.0 6.4 19.4 3.4 8.9 6.1 6.3 8.9 8.9 7.5 12.9
4.6 9.6 5.0 3.5 2.0 6.7 10.5 2.5 5.3 5.8 7.4 7.3 8.9 4.4 10.7
4.2 9.8 2.2 3.1 2.0 6.2 12.0 2.3 4.8 6.9 7.2 6.1 8.2 4.7 6.9
3.6 9.7 -1.0 2.2 2.5 7.5 9.3 1.0 4.7 6.5 5.4 4.6 7.8 4.2 6.2
2.7 9.5 -1.1 1.6 1.6 5.1 1.0 1.4 4.0 6.5 5.7 3.4 7.7 3.4 5.0
ทั้งป 2554 f
ทั้งป 2555 f
3.2 9.2 -0.6 1.7 1.7 5.5 5.0 2.8 5.0 6.3 5.0 4.8 8.5 3.9 6.1
3.5 8.8 2.5 2.0 1.5 4.7 4.7 3.5 5.5 6.4 6.6 5.2 8.1 4.0 4.3
ที่มา : รวบรวมและประมาณการโดย สศค.
1.1 เศรษฐกิจจีน (ตลาดสงออกใหญอันดับ 1 ของไทย : สัดสวนการสงออกรอยละ 11.0 ของมูลคาการสงออก สินคารวมในป 2553) ➥ ในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 เศรษฐกิจจีนขยายตัวในระดับสูงที่รอยละ 9.5 จากชวงเดียวกันของปกอน ชะลอลงเล็กนอยจากไตรมาสแรกที่ขยายตัวที่รอยละ 9.7 จากชวงเดียวกันของปกอน ตามการชะลอตัวของเศรษฐกิจ ประเทศคูค า โดยเฉพาะสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกาซึง่ เปนคูค า อันดับ 1 และอันดับ 2 ของจีน สะทอนไดจากมูลคาการสงออก (ในรูปดอลลารสหรัฐ) ในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ซึง่ ขยายตัว ทีร่ อ ยละ 22.0 จากชวงเดียวกันของปกอ น ชะลอลงจากไตรมาสแรกของ ปที่ขยายตัวรอยละ 26.4 ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจพบวา เงินเฟอทั่วไปไตรมาสที่ 2 ป 2554 เฉลี่ยที่รอยละ 5.7 จากชวงเดียวกัน ของปกอน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสแรกของปเฉลี่ยที่รอยละ 5.1 จากราคาอาหารที่เพิ่มขึ้นเปนสําคัญ
12
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ภาพที่ 1 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจีน (รอยละ)
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
➥ ในชวง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ป 2554 (เดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554) เศรษฐกิจจีนมีสญ ั ญาณ
ชะลอลงเล็กนอยโดยเฉพาะอุปสงคภายในประเทศ โดยยอดคาปลีกสินคาบริโภคของจีนในเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 ขยายตัวที่รอยละ 17.3 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ลดลงจากไตรมาสที่ 2 ของปที่ขยายตัวรอยละ 18.2 สําหรับผลผลิต ภาคอุตสาหกรรมในเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2554 ขยายตัวเฉลี่ยที่รอยละ 13.8 ใกลเคียงกับไตรมาสที่ 2 ของปที่ขยายตัว เฉลี่ยรอยละ 13.9 ดานอุปสงคภายนอกประเทศพบวายังคงขยายตัวในระดับสูง โดยมูลคาการสงออก (ในรูปดอลลารสหรัฐ) ขยายตัวใกลเคียงกับไตรมาสที่ 2 ของปที่รอยละ 22.3 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจพบวา ในเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 เงินเฟอทัว่ ไปอยูท รี่ ะดับเฉลีย่ รอยละ 6.4 เพิม่ ขึน้ จากไตรมาสที่ 2 ของปทรี่ ะดับเฉลีย่ ทีร่ อ ยละ 5.7 ตอกยํ้าความกังวลตอความเสี่ยงดานเงินเฟอของเศรษฐกิจจีนที่มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง จากราคาอาหารและ พลังงานที่ปรับตัวสูงขึ้นเปนสําคัญ ➥ ในป 2554 คาดวาเศรษฐกิจจีนจะขยายตัวรอยละ 9.2 หรือในชวงคาดการณที่รอยละ 8.7–9.7 ชะลอ ลงจากปกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 10.4 จากสัญญาณชะลอตัวลงของอุปสงคภายในประเทศที่สะทอนจากยอดคาปลีก ที่ชะลอลง ประกอบกับภาคการสงออกที่คาดวาจะขยายตัวชะลอลงในชวงที่เหลือของปตามการชะลอตัวของเศรษฐกิจประเทศ คูคาสําคัญ โดยเฉพาะสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา และดัชนีผูจัดการฝายซื้อภาคอุตสาหกรรม (NBS Manufacturing Purchasing Manager Index) ในชวง 9 เดือนแรกของป 2554 ซึ่งอยูที่ระดับเฉลี่ยที่ 51.9 ลดลงจากคาเฉลี่ยในป 2553 ที่ 53.8 บงชี้สัญญาณชะลอตัวในภาคการผลิตของจีน ประกอบกับมาตรการเพื่อควบคุมปริมาณสินเชื่อและเงินเฟอในประเทศจีน ซึ่งทําใหคาดวาเศรษฐกิจในประเทศจีนจะชะลอลงในป 2554 ➥ ในป 2555 คาดวาเศรษฐกิจจีนจะขยายตัวที่รอยละ 8.8 หรือในชวงคาดการณที่รอยละ 8.3–9.3 ชะลอ ลงจากปกอนหนาที่คาดวาจะขยายตัวที่รอยละ 9.2 โดยคาดวาในป 2555 เศรษฐกิจจีนจะยังคงเผชิญกับปจจัยเสี่ยงจาก (1) ภาวะเงินเฟอในระดับสูง ซึง่ จะสงผลใหภาครัฐดําเนินมาตรการดานการเงินแบบตึงตัวตอเนือ่ งเพือ่ ควบคุมระดับเงินเฟอภายใน ประเทศ และ (2) การชะลอตัวของเศรษฐกิจของประเทศคูคาหลักของจีนโดยเฉพาะสหภาพยุโรป ซึ่งจะสงผลกระทบตอ ภาคการสงออกของจีนไปยังประเทศดังกลาว
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
13
1.2 เศรษฐกิจญีป่ นุ (ตลาดสงออกใหญอนั ดับ 2 ของไทย : สัดสวนการสงออกรอยละ 10.5 ของมูลคาการสงออก สินคารวมในป 2553) ➥ ในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 เศรษฐกิจญีป ่ นุ หดตัวทีร่ อ ยละ -1.1 จากชวงเดียวกันของปกอ น จากการหดตัว ของการสงออกและการบริโภคภาคเอกชนเปนสําคัญ และเมื่อปรับผลทางฤดูกาลหดตัวรอยละ -0.5 จากไตรมาส กอนหนา (%qoq_sa) ซึ่งนับเปนการหดตัวตอเนื่องเปนไตรมาสที่ 3 โดยเปนผลตอเนื่องจากการชะงักงันของหวงโซอุปทาน ในภาคอุตสาหกรรมภายหลังจากเหตุการณแผนดินไหวและสึนามิ เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจ พบวา อัตราการวางงานในไตรมาสที่ 2 ของปอยูที่ระดับเฉลี่ยที่รอยละ 4.6 ของกําลังแรงงานรวม ใกลเคียงกับคาเฉลี่ย ในไตรมาสแรกของปที่รอยละ 4.7 ของกําลังแรงงานรวม ขณะที่อัตราเงินเฟอทั่วไปในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 อยูที่รอยละ 0.3 จากชวงเดียวกันของปกอน เพิ่มขึ้นเล็กนอยจากไตรมาสแรกของปที่รอยละ 0.0 สงผลใหธนาคารกลางญี่ปุนยังคงอัตราดอกเบี้ย นโยบาย (Overnight Call) ในระดับตํ่าที่รอยละ 0-0.1 เพื่อสนับสนุนการลงทุนและการจางงานภายในประเทศ ภาพที่ 2 แหลงที่มาและอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (รอยละ)
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
➥ ในชวง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ป 2554 (เดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554) เศรษฐกิจญี่ปุนมี
สัญญาณการฟนตัวที่ชัดเจนจากเหตุการณสึนามิ โดยยอดคาปลีกในเดือนกรกฎาคม 2554 ขยายตัวรอยละ 0.6 จากชวง เดียวกันของปกอน ดีขึ้นจากไตรมาสที่ 2 ของปที่หดตัวที่รอยละ -1.7 จากชวงเดียวกันของปกอน ดานอุปสงคภายนอกประเทศ พบวาดีขนึ้ เชนกัน โดยมูลคาการสงออกในชวงเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 หดตัวทีร่ อ ยละ -0.5 จากชวงเดียวกันของปกอ น ดีขึ้นจากไตรมาสที่ 2 ของปที่หดตัวที่รอยละ -8.0 จากชวงเดียวกันของปกอน บงชี้การคลี่คลายของปญหาการชะงักงันใน ภาคการผลิตและสงออกจากเหตุการณสึนามิ ➥ ในป 2554 คาดวาเศรษฐกิจญีป ่ นุ จะหดตัวทีร่ อ ยละ -0.6 หรือในชวงคาดการณรอ ยละ -1.1–0.1 ตอป ลดลงจากปกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 4.0 โดยในครึ่งหลังของปคาดวาเศรษฐกิจญี่ปุนจะฟนตัวไดตอเนื่อง โดยมีปจจัย สนับสนุนจาก (1) การบริโภคภาคเอกชนที่มีสัญญาณที่ดีขึ้น ดังเห็นไดจากดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภคในชวงเดือนกรกฎาคม– สิงหาคม 2554 ซึ่งเปนหนึ่งในเครื่องชี้การบริโภคภาคเอกชนที่มีสัดสวนรอยละ 60 ใน GDP ที่อยูในระดับเฉลี่ยที่ 37.6 เพิ่มขึ้น จากคาเฉลีย่ ในไตรมาสที่ 2 ของปทรี่ ะดับ 34.8 (2) ภาคการผลิตทีก่ ลับมาขยายตัว โดยคําสัง่ ซือ้ ผูจ ดั การฝายซือ้ ภาคอุตสาหกรรม (Manufacturing Purchasing Manager Index) ในชวงเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 ซึ่งอยูในระดับเฉลี่ยที่ 51.1 เพิ่มขึ้นจาก คาเฉลี่ยในไตรมาสที่ 2 ของปที่ระดับ 49.2 และ (3) มาตรการดานการคลังและการเงินของรัฐบาลเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจภายใน ประเทศในครึ่งปหลังเปนตนไป ผานการอัดฉีดสภาพคลองของธนาคารกลางญี่ปุนในวงเงินรวมกวา 25 ลานลานเยน (รอยละ 4.6 ของ GDP) และการใชจา ยงบประมาณรายจายที่ประมาณ 16 ลานลานเยน (รอยละ 3 ของ GDP)
14
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
➥ ในป 2555 คาดวาเศรษฐกิจญี่ปุนจะขยายตัวที่รอยละ 2.5 หรือในชวงคาดการณที่รอยละ 2.0–3.0
ฟนตัวจากปกอนหนาที่คาดวาจะหดตัวที่รอยละ -0.6 สวนหนึ่งจากฐานการคํานวณที่ตํ่าในปกอนหนา ประกอบกับคาดวา มาตรการฟน ฟูเศรษฐกิจของภาครัฐจะสงผลใหเกิดการลงทุนเพิม่ ขึน้ ทัง้ การลงทุนโดยภาครัฐบาลและภาคเอกชน อยางไรก็ตาม ในป 2555 คาดวาเศรษฐกิจญี่ปุนจะยังคงเผชิญกับปจจัยเสี่ยงจาก (1) สถานการณคาเงินเยนที่จะมีแนวโนมแข็งคา จากการที่ นักลงทุนหันมาถือครองเงินเยนซึ่งเปนสกุลเงินที่มีความปลอดภัย (Safe Haven) เพิ่มขึ้น อันจะสงผลตอรายไดของผูสงออก และ (2) การชะลอตัวของเศรษฐกิจของประเทศคูคาหลักของญี่ปุนโดยเฉพาะสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา 1.3 เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา (ตลาดสงออกใหญอันดับ 3 ของไทย : สัดสวนการสงออกรอยละ 10.3 ของมูลคา สงออกสินคารวมในป 2553) ➥ เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 ขยายตัวที่รอยละ 1.5 จากชวงเดียวกันของปกอน จากการขยายตัวของการบริโภคภาคเอกชนเปนสําคัญ และเมื่อปรับผลทางฤดูกาลแลวขยายตัวรอยละ 0.3 จากไตรมาส กอนหนา (%qoq_sa) ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจพบวา ในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 อัตราการวางงานของสหรัฐอเมริกายังคงอยู ในระดับสูงที่รอยละ 9.1 ของกําลังแรงงานรวม ซึ่งสูงกวาระดับกอนวิกฤตเศรษฐกิจที่ประมาณรอยละ 5.0 ขณะที่เงินเฟอทั่วไป อยูที่รอยละ 3.4 จากชวงเดียวกันของปกอน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสแรกของปที่รอยละ 2.1 จากชวงเดียวกันของปกอน ภาพที่ 3 แหลงทีม่ าและอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (รอยละ)
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
➥ ในชวง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ป 2554 (เดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554) อุปสงคในประเทศ
ของสหรัฐอเมริกาทรงตัวจากไตรมาสที่ 2 ของป โดยยอดคาปลีกของสหรัฐอเมริกาในชวงเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 ขยายตัวทีร่ อ ยละ 7.7 จากชวงเดียวกันของปกอ น ใกลเคียงกับไตรมาสที่ 2 ของปทขี่ ยายตัวทีร่ อ ยละ 7.8 จากชวงเดียวกันของปกอ น สําหรับยอดจําหนายรถยนตในชวงเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 มีคาเฉลี่ยที่ 9.6 ลานคันตอป ดีขึ้นเล็กนอยจากไตรมาสที่ 2 ที่ระดับ 9.4 ลานคันตอป นอกจากนี้ ภาคอสังหาริมทรัพยซึ่งไดรับผลกระทบจากวิกฤตการเงินและเศรษฐกิจโลกมากที่สุดยังคง ไมมีสัญญาณการฟนตัวที่ชัดเจน โดยยอดจําหนายบาน (Existing Home Sales) ในชวงเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 อยูที่ ระดับเฉลี่ยที่ 4.85 ลานหลังตอป ลดลงเล็กนอยจากคาเฉลี่ยในไตรมาสที่ 2 ของปที่ 4.88 ลานหลังตอป ➥ ในป 2554 คาดวาเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาจะขยายตัวที่รอยละ 1.7 หรือในชวงคาดการณที่รอยละ 1.3–2.0 ชะลอลงจากปกอนหนาที่ขยายตัวรอยละ 3.0 โดยคาดวาในชวงครึ่งหลังของป 2554 เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาจะ ชะลอตัวลงเมื่อเปรียบเทียบกับครึ่งแรกของป จากอุปสงคภายในประเทศที่คาดวาจะลดลงจากความกังวลของประชาชนตอ สถานการณทางเศรษฐกิจและการจางงาน ดังเห็นไดจากดัชนีความเชือ่ มัน่ ผูบ ริโภคในชวงเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 ซึง่ เปน หนึง่ ในเครือ่ งชีก้ ารบริโภคภาคเอกชนทีม่ สี ดั สวนรอยละ 70 ใน GDP ทีอ่ ยูใ นระดับเฉลีย่ ที่ 51.9 ลดลงจากคาเฉลีย่ ในไตรมาสที่ 2 ของปที่ระดับ 61.8 ประกอบกับภาคการผลิตที่มีสัญญาณชะลอตัวในครึ่งหลังของปเชนเดียวกัน โดยดัชนีผูจัดการฝายซื้อ ภาคอุตสาหกรรม (ISM Manufacturing Purchasing Manager Index) ในไตรมาสที่ 3 ของปอยูท รี่ ะดับเฉลีย่ ที่ 51.0 ลดลงจากคา เฉลี่ยของไตรมาสที่ 2 ของปที่ระดับ 56.4 ประมาณการเศรษฐกิจไทย
15
➥ ในป 2555 คาดวาเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาจะขยายตัวที่รอยละ 2.0 หรือในชวงคาดการณที่รอยละ
1.5–2.5 เพิ่มขึ้นจากปกอนหนาที่คาดวาจะขยายตัวที่รอยละ 1.7 โดยคาดวาในป 2555 เศรษฐกิจภายในของสหรัฐอเมริกา จะไดรับปจจัยสนับสนุนจากผลของมาตรการกระตุนเศรษฐกิจของรัฐบาล ทั้ง (1) มาตรการดานการคลังที่ลาสุดประธานาธิบดี บารัก โอบามา ไดเสนอแผนกระตุน เศรษฐกิจผานการใชจา ยและลดภาษีวงเงิน 4.47 แสนลานดอลลารสหรัฐ โดย 0.62 แสนลาน ดอลลารสหรัฐจะใชเพือ่ ตออายุมาตรการจางงานและ 1.4 แสนลานดอลลารสหรัฐเปนโครงการลงทุน และ (2) มาตรการดานการเงิน ผานการคงอัตราดอกเบีย้ นโยบาย (Fed Fund Rate) ในระดับตํา่ ทีร่ อ ยละ 0.0–0.25 การกดดันอัตราดอกเบีย้ ระยะยาวใหลดลงดวย การที่ Federal Reserve เขาซื้อพันธบัตรอายุ 6 ถึง 30 ป วงเงิน 4 แสนลานดอลลารสหรัฐ และขายพันธบัตรอายุ 3 ปและตํ่า กวาในวงเงินที่เทากันภายในกลางป 2555 (Operation Twist) และการพยุงภาคอสังหาริมทรัพยผานการเขาถือหลักทรัพยที่มี อสังหาริมทรัพยคํ้าประกัน (Mortgage-back securities) เพิ่มเติม อยางไรก็ตาม ในป 2555 คาดวาเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาจะ ยังคงเผชิญกับความเสีย่ งจากวิกฤตหนีส้ าธารณะในยุโรป ซึง่ อาจสงผลกระทบตอเสถียรภาพของภาคการเงินในสหรัฐอเมริกาได 1.4 เศรษฐกิจสหภาพยุโรป 17 ประเทศ (ตลาดสงออกใหญอันดับ 4 ของไทย : สัดสวนการสงออกรอยละ 9.8 ของมูลคาสงออกสินคารวมในป 2553) ➥ เศรษฐกิจยูโรโซนในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 ขยายตัวที่รอยละ 1.6 จากชวงเดียวกันของปกอน จาก อุปสงคภายในประเทศและการสงออกเปนสําคัญ และเมื่อปรับผลทางฤดูกาลแลวขยายตัวรอยละ 0.2 จากไตรมาสกอนหนา (%qoq_sa) ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจพบวา อัตราการวางงานในไตรมาสที่ 2 ทรงตัวในระดับสูงทีร่ อ ยละ 10.0 ของกําลังแรงงาน รวม ดานเงินเฟอทั่วไปในไตรมาสที่ 2 ของปอยูที่รอ ยละ 2.7 จากชวงเดียวกันของปกอน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสแรกที่รอยละ 2.5 จากการเพิ่มขึ้นของราคาเชื้อเพลิงเปนสําคัญ ภาพที่ 4 แหลงทีม่ าและอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (รอยละ)
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
➥ ในเดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ป 2554 (เดือนกรกฎาคม 2554) เศรษฐกิจยูโรโซนมีสัญญาณชะลอลง
โดยภาคการผลิตมีสัญญาณชะลอลงจากผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (ไมรวมภาคกอสราง) ในเดือนกรกฎาคม 2554 ขยายตัว รอยละ 3.5 จากชวงเดียวกันของปกอน ชะลอลงจากไตรมาสที่ 2 ของปที่ขยายตัวที่รอยละ 3.7 จากชวงเดียวกันของปกอน ดาน การสงออกในเดือนกรกฎาคม 2554 ขยายตัวรอยละ 5.3 จากชวงเดียวกันของปกอน ชะลอลงจากไตรมาสที่ 2 ของปที่ขยายตัว รอยละ 12.7 จากชวงเดียวกันของปกอน ➥ ในป 2554 คาดวาเศรษฐกิจของกลุมประเทศยูโรโซนจะขยายตัวที่รอยละ 1.7 หรือในชวงคาดการณ ที่รอยละ 1.3–2.0 เทากับปกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 1.7 โดยคาดวาเศรษฐกิจยูโรโซนในครึ่งหลังของปจะขยายตัว ชะลอลงเมือ่ เปรียบเทียบกับครึง่ แรกของปทงั้ ในภาคการผลิตและการบริโภคภาคเอกชน โดยเห็นไดจาก (1) ดัชนีผจู ดั การฝายซือ้ ภาคการผลิตและดัชนีผจู ดั การฝายซือ้ ภาคบริการในชวงเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 อยูท รี่ ะดับเฉลีย่ ที่ 49.1 และระดับ 50.3 ตามลําดับ ลดลงจากคาเฉลีย่ ในไตรมาสที่ 2 ของปทรี่ ะดับ 54.9 และระดับ 55.5 ตามลําดับ บงชีส้ ญ ั ญาณทีด่ ขี นึ้ ในภาคการผลิตและ ภาคบริการในชวงที่เหลือของป และ (2) ความเชื่อมั่นผูบริโภคในชวงเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 ซึ่งอยูที่ระดับเฉลี่ยที่ -13.9 ลดลงจากไตรมาสที่ 2 ของปที่ระดับเฉลี่ยที่ -10.4
16
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
➥ ในป 2555 คาดวาเศรษฐกิจของกลุมประเทศยูโรโซนจะขยายตัวที่รอยละ 1.5 หรือในชวงคาดการณที่
รอยละ 1.0–2.0 ลดลงจากปกอนหนาที่คาดวาจะขยายตัวที่รอยละ 1.7 โดยคาดวาในป 2555 เศรษฐกิจของกลุมประเทศ ยูโรโซนจะยังคงเผชิญกับความเสี่ยงจาก (1) การฟนตัวของเศรษฐกิจยูโรโซนโดยรวมจากวิกฤตหนี้สาธารณะในประเทศในกลุม PIIGS โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศโปรตุเกส กรีซ และอิตาลี ซึ่งทําใหรัฐบาลในประเทศที่ประสบปญหาจําตองตัดงบประมาณ รายจายลง เพือ่ ใหเปนไปตามเงือ่ นไขการรับความชวยเหลือจากสหภาพยุโรปและกองทุนการเงินระหวางประเทศ อันเปนขอจํากัดของ การใชนโยบายการคลังเพื่อกระตุนเศรษฐกิจในป 2555 (2) เสถียรภาพของเงินสกุลยูโรและของภาคการเงินโดยรวมจากวิกฤต หนี้สาธารณะ และ (3) การชะลอตัวของเศรษฐกิจของประเทศคูคาที่สําคัญโดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา 1.5 เศรษฐกิจอาเซียน 5 ประเทศ (สัดสวนการสงออกรอยละ 19.3 ของมูลคาสงออกสินคารวมในป 2553) ➥ เศรษฐกิจอาเซียน 5 ประเทศ (สิงคโปร มาเลเซีย เวียดนาม อินโดนีเซีย และฟลป ิ ปนส) ในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ขยายตัวในอัตราทีช่ ะลอลง โดยการสงออกซึง่ เปนสัดสวนสําคัญของเศรษฐกิจกลุม ประเทศอาเซียนขยายตัวชะลอลง ขณะทีก่ ารบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวไดดตี อ เนือ่ ง ดานเสถียรภาพภายในประเทศพบวา ระดับเงินเฟอของประเทศ สมาชิกอาเซียน 5 ประเทศในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ปรับตัวเพิ่มขึ้นตอเนื่องจากไตรมาสกอนหนา โดยเฉพาะประเทศเวียดนาม ซึง่ อัตราเงินเฟอเฉลีย่ ในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 อยูใ นระดับสูงทีร่ อ ยละ 19.4 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ นหนา สาเหตุจาก ราคาอาหารและพลั ง งานที่ ยั ง คงทรงตั ว อยู ใ นระดั บ สู ง ขณะที่ อั ต ราว า งงานของกลุ ม ประเทศอาเซี ย นปรั บ ตั ว ลดลง ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจโดยเฉพาะในสวนของการบริโภคและการลงทุน ตารางที่ 2 การเติบโตทางเศรษฐกิจและแหลงที่มาของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (%) ประเทศ สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม (สัดสวนการสงออก ป 2553) (5.4%) (4.6%) (3.8%) (3.0%) อัตราการขยายตัวของ GDP Q2/2554 0.9 4.0 6.5 5.7 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปกอน (%yoy) การบริโภคภาคเอกชน 2.3 3.3 2.6 n/a การบริโภคภาครัฐ 0.4 0.5 0.3 n/a การลงทุนรวม 2.3 0.7 2.1 n/a การสงออกสุทธิ -1.5 1.3 2.1 n/a การเปลี่ยนแปลงของสินคาคงคลัง -2.6 -5.1 -0.6 n/a
ฟลิปปนส (2.5%) 3.4 3.6 0.5 -1.2 -2.2 2.7
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
ภาพที่ 5 อัตราการขยายตัวของการสงออก (% yoy)
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
ภาพที่ 6 ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (% yoy)
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
➥ เศรษฐกิจอาเซียน 5 ประเทศในชวง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ป 2554 โดยรวมขยายตัวดีขึ้น
จากไตรมาสกอนหนา โดยภาคการสงออกซึ่งเปนสัดสวนสําคัญของเศรษฐกิจกลุมประเทศอาเซียนยังคงขยายตัวไดตอเนื่อง จากเศรษฐกิจประเทศคูคาหลักโดยเฉพาะจีนที่ยังคงขยายตัวไดดี ผนวกกับเศรษฐกิจญี่ปุนเริ่มฟนตัว (ภาพที่ 5) นอกจากนี้ ดานภาคการผลิตมีสญ ั ญาณเรงขึน้ โดยดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของประเทศคูค า ในภูมภิ าคอาเซียนโดยรวมปรับตัวเพิม่ ขึน้ ประมาณการเศรษฐกิจไทย
17
(ภาพที่ 6) จากการฟนตัวของการผลิตสินคาในหมวดยานยนตซึ่งหดตัวในไตรมาสกอนหนา จากการขาดแคลนชิ้นสวนการผลิต ยานยนตหลังภัยสึนามิในชวงเดือนมีนาคม 2554 ซึ่งปญหาดังกลาวไดคลี่คลายลงในชวงครึ่งหลังของป 2554 ➥ ในป 2554 คาดวาเศรษฐกิจอาเซียน 5 ประเทศจะขยายตัวชะลอลงจากป 2553 จากปจจัยฐานสูง และ ความเสี่ยงจากความผันผวนของเศรษฐกิจคูคาหลัก โดยเฉพาะปญหาวิกฤตหนี้สาธารณะในยุโรปและสหรัฐอเมริกา ผนวกกับ เศรษฐกิจจีนที่คาดวาอาจขยายตัวชะลอลงในชวงที่เหลือของป 2554 อยางไรก็ตาม อุปสงคในประเทศที่ยังคงขยายตัวไดดี ตอเนือ่ ง ประกอบกับแรงกดดันจากเงินเฟอทีม่ แี นวโนมปรับตัวลดลง นาจะเปนปจจัยสงเสริมใหเศรษฐกิจของกลุม ประเทศอาเซียน ดังกลาวขยายตัวไดในป 2554 ➥ ในป 2555 คาดวาเศรษฐกิจอาเซียน 5 ประเทศจะขยายตัวไดดขี น ึ้ เมือ่ เทียบกับป 2554 จากภาคการสงออก ที่คาดวาจะปรับตัวดีขึ้น หลังการคลี่คลายลงของปญหาวิกฤตหนี้สาธารณะในยุโรป และการฟนตัวของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา ประกอบกับเศรษฐกิจญี่ปุนที่คาดวาจะฟนตัวอยางชัดเจนในป 2555 นอกจากนี้ คาดวาอุปสงคในประเทศทั้งจากภาคการลงทุน และการบริโภคของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 5 ประเทศ จะยังคงเปนเครื่องจักรสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของอาเซียน ไดตอเนื่องในป 2555 1.6 เศรษฐกิจประเทศคูคาอื่น ๆ ในเอเชียและออสเตรเลีย (สัดสวนการสงออกรอยละ 17.8 ของมูลคาสงออก สินคารวมในป 2553) ➥ เศรษฐกิจประเทศคูคาอื่น ๆ ในเอเชีย (ฮองกง อินเดีย เกาหลีใต และไตหวัน) และออสเตรเลียใน ไตรมาสที่ 2 ป 2554 ขยายตัวชะลอลง จากปจจัยฐานสูงในปกอนหนา รวมถึงการชะลอลงของเศรษฐกิจโลกที่สงผลใหภาค การสงออกปรับตัวลดลง อยางไรก็ตาม อุปสงคในประเทศโดยเฉพาะในสวนของการบริโภคภาคเอกชนของประเทศดังกลาวยัง คงขยายตัวไดตอเนื่อง และเปนปจจัยสําคัญของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในชวงไตรมาสที่ 2 ของป 2554 ดานเสถียรภาพภายใน ประเทศพบวา ราคาสินคาโภคภัณฑในตลาดโลกทีส่ งู ขึน้ ตอเนือ่ งในชวงครึง่ แรกของป 2554 สงผลใหอตั ราเงินเฟอในกลุม ประเทศ ดังกลาวปรับตัวสูงขึ้น ขณะที่อัตราการวางงานปรับตัวลดลงตามการขยายตัวของอุปสงคในประเทศ ตารางที่ 3 การเติบโตทางเศรษฐกิจและแหลงที่มาของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (%) ประเทศ ฮองกง ออสเตรเลีย อินเดีย (สัดสวนการสงออก ป 2553) (6.2%) (6.1%) (2.1%) อัตราการขยายตัวของ GDP Q2/2554 5.1 1.7 7.7 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปกอน (%yoy) การบริโภคภาคเอกชน 5.9 1.7 4.4 การบริโภคภาครัฐ 0.1 0.6 0.2 การลงทุนรวม 1.7 1.4 2.6 การสงออกสุทธิ -2.0 -0.8 -1.7 การเปลี่ยนแปลงของสินคาคงคลัง -0.7 -1.2 2.2
เกาหลีใต (1.8%)
ไตหวัน (1.5%)
3.4
5.0
1.5 0.3 -0.3 1.4 0.5
1.7 0.0 0.3 2.8 0.2
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
ภาพที่ 7 ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (% yoy)
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
18
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ภาพที่ 8 อัตราการขยายตัวของการสงออก (% yoy)
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
➥ เศรษฐกิจประเทศคูคาอื่น ๆ ในเอเชียและออสเตรเลียในชวง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ป 2554
ขยายตัวชะลอลง โดยเฉพาะในสวนของภาคการผลิตสะทอนไดจากผลผลิตภาคอุตสาหกรรมในชวง 2 เดือนแรกของไตรมาส ที่ 2 ที่ขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงชัดเจน โดยมีสาเหตุหลักมาจากปจจัยฐานสูง ผนวกกับอุปสงคประเทศโดยเฉพาะในสวนของ การลงทุนภาคเอกชนทีเ่ ริม่ สงสัญญาณชะลอลงเล็กนอย (ภาพที่ 7) อยางไรก็ตาม ในภาพรวมอุปสงคจากนอกประเทศซึง่ สะทอน จากมูลคาการสงออกในเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม 2554 ขยายตัวดีขนึ้ เมือ่ เทียบกับไตรมาสกอนหนา โดยเฉพาะการสงออกของ ประเทศอินเดียและเกาหลีใต ขณะทีก่ ารสงออกในประเทศไตหวันขยายตัวชะลอลงตามการชะลอลงของเศรษฐกิจจีน (ภาพที่ 8) ➥ ในป 2554 สศค.คาดวาการขยายตัวของเศรษฐกิจประเทศคูคาอื่น ๆ ในเอเชียและออสเตรเลียจะ ขยายตัวไดในอัตราที่ชะลอลง จากปจจัยฐานสูงในปกอนหนา ผนวกกับปจจัยเสี่ยงจากความเปราะบางของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะจากปญหาวิกฤตหนี้สาธารณะในยุโรปและการฟนตัวอยางเปราะบางของสหรัฐอเมริกา อยางไรก็ตาม การขยายตัว ของอุปสงคในประเทศโดยเฉพาะในสวนของการบริโภคภาคเอกชน นาจะเปนปจจัยสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของกลุม ประเทศดังกลาวในชวงที่เหลือของป 2554 ➥ ในป 2555 สศค.คาดวาการขยายตัวของเศรษฐกิจประเทศคูค า อืน่ ๆ ในเอเชียและออสเตรเลียในภาพรวม จะขยายตัวตอเนื่องจากป 2554 สวนหนึ่งจากสถานการณเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกาและวิกฤตหนี้สาธารณะในยุโรปที่คาด วาจะคลี่คลายลง นอกจากนี้ คาดวาเศรษฐกิจจีนซึ่งเปนเครื่องยนตหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลกจะสามารถขยายตัวไดดี ผนวกกับเศรษฐกิจญี่ปุนที่คาดวาจะฟนตัวอยางตอเนื่องในป 2555
2. ราคานํ้ามันดิบในตลาดโลก “ในป 2554 คาดวาราคานํ้ามันดิบดูไบเฉลี่ยอยูที่ 101.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล (ชวงคาดการณอยูที่ 96.0106.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล) เพิ่มขึ้นจากป 2553 ที่อยูที่ระดับ 78.2 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล โดยมีปจจัยหลัก มาจากอุปสงคที่กลับมาขยายตัวตอเนื่องจากป 2553 หลังจากหดตัวอยางตอเนื่องเปนเวลากวา 2 ป โดยเฉพาะ ความตองการของประเทศนอกกลุม OECD อาทิ จีน อินเดีย และประเทศในกลุม เอเชียเปนสําคัญ นอกจากนี้ ภัยพิบตั ทิ ี่ เกิดขึน้ ในญีป่ นุ ถือเปนอีกปจจัยหนึง่ ทีอ่ าจสงผลใหความตองการนํา้ มันมีแนวโนมเพิม่ ขึน้ เพือ่ ทดแทนการผลิตกระแส ไฟฟาดวยพลังงานนิวเคลียรภายในประเทศ อยางไรก็ตาม จากความกังวลดานปญหาหนี้สาธารณะของยุโรป รวมถึง ปญหาความเปราะบางของการฟนตัวของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา คาดวาจะสงผลลบตอราคานํ้ามันดิบดูไบในตลาด โลกได ขณะที่อุปทานการผลิตมีแนวโนมเพิ่มขึ้นบางประเทศในกลุม OPEC โดยเฉพาะประเทศซาอุดีอาระเบีย อิรัก และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส สําหรับการผลิตของกลุม ประเทศนอกกลุม OPEC มีแนวโนมปรับตัวสูงขึน้ ตามราคานํา้ มัน อยางไรก็ดี การเพิม่ ขึน้ ของการผลิตเปนไปไดอยางจํากัด เนือ่ งจากไดรบั ผลกระทบจากสถานการณความไมสงบทางการเมือง ของประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง เชน อียิปต ลิเบีย และตูนิเซีย ซึ่งเปนผูผลิตและสงออกนํ้ามันดิบรายใหญของ โลก สงผลใหมีการเก็งกําไรจากการซื้อขายสัญญานํ้ามันดิบลวงหนาเพิ่มขึ้น สวนในป 2555 คาดวาราคานํ้ามันดิบดูไบเฉลี่ยอยูที่ 115.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล (ชวงคาดการณอยูที่ 110.0-120.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล) เนือ่ งจากอุปสงคทขี่ ยายตัวขึน้ ตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจของกลุม ประเทศ Non-OECD เปนสําคัญ โดยเฉพาะประเทศจีน และอินเดีย โดยอาจจะมีปจ จัยเสีย่ งคือ ปญหาหนีส้ าธารณะในประเทศ กลุม ยุโรปและความเปราะบางในการฟน ตัวของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา ขณะทีอ่ ปุ ทานนํา้ มันดิบยังเพิม่ ขึน้ ไดในกรอบ ที่จํากัด”
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
19
ภาพที่ 9 สมมติฐานราคานํา้ มันดิบดูไบในป 2554 และป 2555
ที่มา : Reuters
➥ ราคานํา้ มันดิบดูไบเฉลีย่ ป 2554 คาดวาจะปรับตัวเพิม ่ ขึน้ สูร ะดับ 101.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล (ชวง
คาดการณอยูที่ 96.0-106.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล) จากป 2553 ที่อยู ณ ระดับ 78.2 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล ในชวง 9 เดือนแรกของป 2554 ราคานํ้ามันดิบดูไบเฉลี่ยอยูที่ระดับ 105.8 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล ขยายตัวเพิ่มขึ้นรอยละ 39.0 เมื่อ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น โดยมีสาเหตุหลักมาจากอุปทานการผลิตนํา้ มันทีล่ ดลงจากความไมสงบในตะวันออกกลางและ ประเทศลิเบีย รวมถึงปจจัยดานอุปสงคทเี่ พิม่ ขึน้ จากความตองการของประเทศนอกกลุม OECD เปนสําคัญ ประกอบกับเหตุการณ ภัยพิบตั แิ ผนดินไหวและสึนามิทญ ี่ ปี่ นุ ในวันที่ 11 มีนาคม 2554 สงผลใหญปี่ นุ ตองนําเขานํา้ มันมากขึน้ เพือ่ ใชในการทําความรอน และผลิ ต กระแสไฟฟ า ภายในประเทศทดแทนจากการผลิ ต ของโรงไฟฟ า นิ ว เคลี ย ร ที่ ไ ด ห ยุ ด ดํ า เนิ น การ อย า งไรก็ ต าม จากความกังวลดานปญหาหนี้สาธารณะของยุโรปและปญหาความเสี่ยงที่เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาจะเขาสูภาวะถดถอยอีกครั้ง สงผลใหราคานํา้ มันปรับตัวลดลงในชวงไตรมาสที่ 3 ทีผ่ า นมา ทัง้ นี้ ในชวงทีเ่ หลือของป 2554 คาดวาราคานํา้ มันจะปรับตัวลดลง โดยมีสาเหตุหลักมาจากความเปราะบางของการฟนตัวของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา วิกฤตหนี้สาธารณะยุโรป และแนวโนม การชะลอความรอนแรงของเศรษฐกิจจีน อันเนือ่ งมาจากการดําเนินนโยบายการเงินแบบตึงตัวเพือ่ ควบคุมอัตราเงินเฟอ นอกจากนี้ อุปทานนํา้ มันมีแนวโนมปรับตัวเพิม่ ขึน้ ทัง้ จากการผลิตของประเทศในกลุม OPEC และ Non-OPEC ยังเปนอีกปจจัยหนึง่ ชวยลด แรงกดดันตอราคานํ้ามัน สวนในป 2555 คาดวาราคานํ้ามันดิบดูไบเฉลี่ยอยูที่ 115.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล (ชวงคาดการณ อยูที่ 110.0-120.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล) เนื่องจากอุปสงคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจของกลุมประเทศ Non-OECD เปนสําคัญ ในขณะที่ปญหาหนี้สาธารณะในประเทศกลุมยุโรป และความเปราะบางในการฟนตัวของเศรษฐกิจ สหรัฐฯ ยังคงเปนปจจัยเสี่ยงที่สําคัญ ➥ ปจจัยหลักที่มีผลตอราคานํ้ามันดิบดูไบในป 2554 ไดแก 1) อุปสงคที่กลับมาขยายตัวไดอีกครั้ง หลังจากที่หดตัวอยางตอเนื่องมานานกวา 2 ป โดยไดแรงขับเคลื่อนหลักมาจากอุปสงคจากประเทศนอกกลุม OECD อยางประเทศจีนและอินเดียเปนสําคัญ ประกอบกับเหตุการณภยั พิบตั แิ ผนดินไหวและสึนามิในประเทศญีป่ นุ ถือเปนอีก ปจจัยหนึง่ ทีท่ าํ ใหมคี วามตองการนํา้ มันทดแทนการผลิตกระแสไฟฟาภายในประเทศเพิม่ สูงขึน้ อยางไรก็ตาม ปญหา ดานเงินเฟอในจีนและอินเดีย ความกังวลดานวิกฤตหนีส้ าธารณะในยุโรป และความเสีย่ งทีเ่ ศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาอาจ เขาสูภาวะถดถอยอีกครั้ง จะลดแรงกดดันราคานํ้ามันในชวงที่เหลือของปไมใหปรับตัวขึ้นมากนัก ขณะที่ 2) อุปทาน นํ้ามันดิบคาดวาจะเพิ่มขึ้นไดในกรอบที่จํากัด โดยเปนผลมาจากสถานการณความไมสงบทางการเมืองของประเทศ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง เชน อียิปต ลิเบีย และตูนิเซีย ซึ่งเปนผูผลิตและสงออกนํ้ามันดิบรายใหญของโลก สวนในป 2555 คาดวา ราคานํา้ มันดิบดูไบจะไดรบั ผลจากอุปสงคทเี่ พิม่ ขึน้ ตามการขยายตัวของประเทศในกลุม เอเชีย ตะวันออกกลาง และลาตินอเมริกา อยางไรก็ดี คาดวาอุปสงคจากกลุม ประเทศอเมริกาเหนือและยุโรป จะมีการปรับตัว ลดลง จากปจจัยเสี่ยงดานเศรษฐกิจของกลุมประเทศยุโรปและอเมริกา ขณะที่อุปทานยังเพิ่มขึ้นไดในกรอบที่จํากัด
20
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
1) อุปสงคนํ้ามันดิบเพิ่มขึ้น International Energy Agency (IEA) คาดวา ในป 2554 ความตองการนํ้ามันดิบ ทั่วโลกจะอยูที่ 89.3 ลานบารเรลตอวัน เทียบกับป 2553 ที่อยูที่ระดับ 88.2 ลานบารเรลตอวัน ซึ่งจะเปนการปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.1 ลานบารเรลตอวัน หรือขยายตัวรอยละ 1.3 ตอป โดยเปนการขยายตัวตอเนื่องหลังจากที่หดตัวติดตอกันมาเปนเวลากวา 2 ป ในป 2551 และป 2552 ทั้งนี้ การขยายตัวที่เกิดขึ้นเปนผลมาจากความตองการของประเทศนอกกลุม OECD เปนสําคัญ • โดยประเทศในกลุม OECD คาดวาในป 2554 มีความตองการใชนํ้ามันดิบรวมที่ 45.8 ลานบารเรลตอวัน เทียบกับป 2553 ทีอ่ ยูท รี่ ะดับ 46.2 ลานบารเรลตอวัน เปนการปรับตัวลดลง 0.4 ลานบารเรลตอวัน หรือหดตัวรอยละ 0.9 ตอป เนื่องจากความตองการใชนาํ้ มันดิบในกลุม สหภาพยุโรปทีล่ ดลงจากความกังวลเรือ่ งวิกฤตหนีส้ าธารณะยุโรป และความเปราะบาง การฟน ตัวของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา อยางไรก็ตาม จากการฟน ตัวของเศรษฐกิจญีป่ นุ สงผลใหความตองการนํา้ มันดิบโลกของญีป่ นุ มี แนวโนมสูงขึน้ ทัง้ นี้ ญีป่ นุ เปนประเทศทีน่ าํ เขานํา้ มันดิบเปนอันดับ 3 ของโลก • ในขณะทีป่ ระเทศนอกกลุม OECD คาดวาในป 2554 มีความตองการใชนาํ้ มันดิบรวมที่ 43.5 ลานบารเรลตอวัน เทียบกับป 2553 ทีอ่ ยูท ี่ 42.1 ลานบารเรลตอวัน หรือเพิม่ ขึน้ 1.4 ลานบารเรลตอวัน คิดเปนอัตราขยายตัวรอยละ 3.3 ตอป สาเหตุสาํ คัญ มาจากความตองการนํา้ มันของประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม โดยเฉพาะประเทศจีน อินเดีย และประเทศในกลุม อาเซียนบางประเทศ 2) อุปทานนํา้ มันดิบโลกทีเ่ พิม่ ขึน้ คาดวาในป 2554 ปริมาณนํา้ มันทีผ่ ลิตทัว่ โลกจะอยูท ี่ 88.3 ลานบารเรลตอวัน เทียบกับ ป 2553 ทีอ่ ยูท ี่ 87.4 ลานบารเรลตอวัน เพิม่ ขึน้ 0.9 ลานบารเรลตอวัน คิดเปนอัตราขยายตัวรอยละ 1.03 จากปกอ นหนา ➥ ในกลุม OPEC คาดวากําลังการผลิตนํ้ามันดิบในป 2554 จะอยูที่ 35.5 ลานบารเรลตอวัน เทียบกับป 2553 ที่อยูที่ระดับ 34.8 ลานบารเรลตอวัน หรือเพิ่มขึ้น 0.7 ลานบารเรลตอวัน คิดเปนอัตราขยายตัวรอยละ 2.0 ตอป โดยในชวงที่ผาน มา ประเทศในกลุม OPEC โดยเฉพาะประเทศซาอุดีอาระเบีย อิรัก และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส ไดเพิ่มกําลังการผลิตเพื่อชดเชย อุปทานนํา้ มันทีส่ ญ ู หายไป เนือ่ งจากเหตุการณความไมสงบในตะวันออกกลางและลิเบีย ทัง้ นี้ สถานการณความไมสงบในลิเบีย ไดคลี่คลายลงแลว โดยคาดวาในชวง 2-3 เดือนนี้ ลิเบียจะสามารถผลิตนํ้ามันที่ระดับ 500,000-600,000 บารเรลตอวัน และจะ เพิ่มกําลังการผลิตเปน 1.6 ลานบารเรลตอวันภายในปนี้ ซึ่งจะสงผลใหอุปทานนํ้ามันดิบเพิ่มขึ้นได ➥ สวนในกลุม Non-OPEC คาดวากําลังการผลิตในป 2554 อยูท รี่ ะดับ 52.8 ลานบารเรลตอวัน เทียบกับป 2553 ที่ อยูท ี่ 52.6 ลานบารเรลตอวัน เพิม่ ขึน้ 0.2 ลานบารเรลตอวัน คิดเปนการขยายตัวรอยละ 0.4 ตอป เนือ่ งจากการผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ จากกลุม ประเทศลาตินอเมริกา รัสเซีย จีน เม็กซิโก บราซิล และโคลัมเบีย ตามราคานํา้ มันโลกทีเ่ พิม่ สูงขึน้ เพือ่ ใหเพียงพอตอการขยายตัวทาง เศรษฐกิจ อยางไรก็ตาม ความเสีย่ งจากพายุเฮอรรเิ คนในประเทศเม็กซิโกประกอบกับอุทกภัยในประเทศออสเตรเลีย จะทําใหอปุ ทาน เพิม่ ขึน้ ไดในกรอบทีจ่ าํ กัด
3. ราคาสินคาสงออกและนําเขา (ในรูปดอลลารสหรัฐ) ในป 2554 คาดวาราคาสินคาสงออกจะขยายตัวในอัตราชะลอลงทีร่ อ ยละ 7.0 (ชวงคาดการณทรี่ อ ยละ 6.0-8.0) เมือ่ เทียบกับปกอ น โดยมีปจ จัยสนับสนุนมาจากราคาสินคาเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรทีป่ รับตัวสูงขึน้ อยางตอเนือ่ ง ซึง่ เปนผลจากความตองการของประเทศคูค า ของไทยเพือ่ ใชเปนพลังงานทดแทน และนําไปใชเปนวัตถุดบิ ของภาคอุตสาหกรรม ภาพที่ 10 อัตราการขยายตัวของราคาสินคาสงออกและนําเขา (รูปดอลลารสหรัฐ) ในป 2554 อัตราการขยายตัวของราคาสินคาสงออก (รูปดอลลารสหรัฐ)
อัตราการขยายตัวของราคาสินคานําเขา (รูปดอลลารสหรัฐ)
ที่มา : กระทรวงพาณิชย และ สศค.
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
21
ขณะทีร่ าคาสินคานําเขาคาดวาจะขยายตัวสูงขึน้ ทีร่ อ ยละ 10.0 (ชวงคาดการณทรี่ อ ยละ 9.0-11.0) สาเหตุหลักมาจากราคา เชือ้ เพลิงทีป่ รับตัวเพิม่ ขึน้ มากตามการเพิม่ ขึน้ ของราคานํา้ มันดิบในตลาดโลก เนือ่ งจากอุปสงคทเี่ พิม่ ขึน้ จากจีนและอินเดีย ประกอบกับความกังวลในอุปทานนํา้ มันทีค่ าดวาจะลดลงจากผลกระทบการจลาจลในตะวันออกกลาง ขณะทีใ่ นป 2555 คาดวา ราคาสินคาสงออกจะขยายตัวในอัตราทีเ่ รงขึน้ มาอยูท รี่ อ ยละ 7.5 เนือ่ งจากคาดวาราคาสินคาเกษตรและราคาสินคาในหมวด ทีใ่ ชแรงงานจะปรับตัวสูงขึน้ จากมาตรการของรัฐบาล สวนราคาสินคานําเขาจะมีการขยายตัวทีช่ ะลอลงมาอยูท รี่ อ ยละ 4.5 เมือ่ เทียบกับป 2554 เนือ่ งจากคาดวาราคาสินคาประเภทเชือ้ เพลิงจะขยายตัวในอัตราทีช่ ะลอลงจากป 2554 3.1 ราคาสินคาสงออกในรูปดอลลารสหรัฐ ➥ ราคาสินคาสงออกในป 2554 คาดวาจะขยายตัวอยูที่รอยละ 7.0 (ชวงคาดการณที่รอยละ 6.0-8.0) เทียบกับป 2553 ทีข่ ยายตัวทีร่ อ ยละ 9.1 เนือ่ งจากคาดวาราคาสินคาอุตสาหกรรมซึง่ มีสดั สวนสูงทีร่ อ ยละ 75.3 ของดัชนีราคารวม จะขยายตัวเพิม่ ขึน้ ตามอุปสงคในตลาดโลกทีฟ่ น ตัวจนใกลเคียงระดับกอนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ โดยราคาสินคาอุตสาหกรรมในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 ขยายตัวรอยละ 4.3 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น ประกอบกับราคาสินคาเกษตรและสินคาแรและ เชื้อเพลิง ในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 ซึ่งมีสัดสวนรองลงมาที่รอยละ 11.3 และรอยละ 6.8 ตามลําดับ ปรับตัวสูงขึ้นถึง รอยละ 16.4 และรอยละ 17.7 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น โดยเฉพาะยางพาราและมันสําปะหลังมีราคาปรับตัวเพิม่ สูงมาก เนือ่ งมาจากความตองการสินคาเกษตรของประเทศคูค า เพือ่ ใชเปนพลังงานทดแทน และนําไปเปนวัตถุดบิ ของภาคอุตสาหกรรม อยางไรก็ดี ในชวง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ราคายางพารามีอัตราการขยายตัวที่ชะลอลงซึ่งเปนผลมาจากเศรษฐกิจจีนที่ลด ความรอนแรงลง โดยชวง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 3 ขยายตัวเหลือรอยละ 52.7 จากไตรมาสที่ 2 ที่ขยายตัวรอยละ 60.5 ทําให ในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 ราคายางพาราขยายตัวถึงรอยละ 66.9 ขณะที่ราคาผลิตภัณฑมันสําปะหลังขยายตัวถึงรอยละ 47.8 เทียบกับชวงเดียวกันของปกอน เนื่องจากความตองการจากประเทศคูคาของไทยโดยเฉพาะจีนและญี่ปุนยังอยูในระดับ สูง สวนในป 2555 คาดวาราคาสินคาสงออกในป 2555 จะขยายตัวที่รอยละ 7.5 ตอป (ชวงคาดการณที่รอยละ 6.5-8.5 ตอป) เรงตัวขึน้ จากปทผี่ า นมา เนือ่ งจากราคาสินคาเกษตรปรับตัวเพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะราคาขาว เนือ่ งจากผลของมาตรการรับจํานําราคา ขาว ประกอบกับราคาสินคาในหมวดที่ใชแรงงานปรับตัวเพิ่มขึ้นจากนโยบายขึ้นคาแรงขั้นตํ่า จึงทําใหตนทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้น 3.2 ราคาสินคานําเขาในรูปดอลลารสหรัฐ ➥ ราคาสินคานําเขาในป 2554 คาดวาจะขยายตัวเรงขึ้นที่รอยละ 10.0 (ชวงคาดการณที่รอยละ 9.011.0) เทียบกับป 2553 ที่ขยายตัวที่รอยละ 8.1 เนื่องจากราคาสินคาประเภทเชื้อเพลิงซึ่งมีสัดสวนรอยละ 20.9 ของดัชนีราคา รวมจะขยายตัวเพิ่มขึ้นมาก โดยในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 ขยายตัวสูงถึงรอยละ 33.3 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ตามการเพิ่มขึ้นของราคานํ้ามันดิบในตลาดโลก เนื่องจากอุปสงคที่เพิ่มขึ้นจากประเทศจีนและอินเดีย ประกอบกับปญหา ความไมสงบในตะวันออกกลาง นอกจากนี้ ราคาสินคาประเภทวัตถุดบิ และกึง่ สําเร็จรูปทีม่ สี ดั สวนมากทีส่ ดุ ถึงรอยละ 43.5 ก็ขยายตัวไดดี โดยในชวง 8 เดือนแรกขยายตัวที่รอยละ 7.3 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ซึ่งเปนไปตามการฟนตัวของภาคอุตสาหกรรมที่มี การเรงการผลิตเพิ่มขึ้นจนเขาสูภาวะปกติ สวนในป 2555 คาดวาราคาสินคานําเขาจะขยายตัวทีร่ อ ยละ 4.5 ตอป (ชวงคาดการณทรี่ อ ยละ 3.5-5.5 ตอป) โดยคาดวา ราคาสินคาประเภทเชือ้ เพลิงจะขยายตัวในอัตราทีช่ ะลอลงเมือ่ เทียบกับป 2554 สงผลใหราคาสินคานําเขามีการขยายตัวในอัตรา ที่ชะลอลงจากป 2554
4. อัตราแลกเปลี่ยนบาทตอดอลลารสหรัฐ “สศค.คาดวาในป 2554 คาเงินบาทเฉลีย่ มีความผันผวนสูง แตมที ศิ ทางแข็งคาขึน้ จากคาเฉลีย่ ในป 2553 มาอยู ที่ 30.5 บาทตอดอลลารสหรัฐ (โดยมีชวงคาดการณที่ประมาณ 29.5–31.5 บาทตอดอลลารสหรัฐ) และคาดวาจะ แข็งคาขึ้นตอเนื่องไปในป 2555 โดยมีคาเฉลี่ยในชวงระหวาง 29.0–31.0 บาทตอดอลลารสหรัฐ”
22
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ภาพที่ 11 สมมติฐานอัตราแลกเปลี่ยนบาทตอดอลลารสหรัฐ เฉลี่ยในป 2554 และป 2555
ที่มา : Reuters
4.1 สถานการณคาเงินบาทในชวงที่ผานมา หากพิจารณาทิศทางความเคลื่อนไหวของคาเงินบาทตอดอลลารสหรัฐในปจจุบันเทียบกับตนป 2554 แลวจะพบวา คาเงินบาทออนคาลงรอยละ 3.46 (ภาพที่ 12) เนื่องจากมีเงินทุนไหลออกจากตลาดทุนไทยโดยเฉพาะตลาด ตราสารหนี้ในชวงตนป และตลาดหลักทรัพยในชวงเดือนพฤษภาคม–มิถุนายน และเดือนสิงหาคม-กันยายน 2554 ซึ่งมีสาเหตุ สําคัญจากการที่การฟนตัวของเศรษฐกิจโลกยังคงไมแนนอน โดยเฉพาะเศรษฐกิจสหภาพยุโรปยังคงเปราะบางจากปญหา หนีส้ าธารณะและการถูกปรับลดอันดับความนาเชือ่ ถือของกรีซและอิตาลี อีกทัง้ เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกายังคงสงสัญญาณชะลอตัว อยางตอเนือ่ ง ภายหลังทีถ่ กู ปรับลดอันดับครัง้ แรกในประวัตศิ าสตร ทําใหเกิดความตืน่ ตระหนกในตลาดเงินและตลาดทุนทัว่ โลก สงผลใหนักลงทุนดึงเงินกลับไปถือสินทรัพยที่ถือวามีความปลอดภัยสูงอื่น ๆ (Safe Haven) ภาพที่ 12 อัตราแลกเปลี่ยนบาทตอดอลลารสหรัฐรายวัน
ที่มา : Reuters / สศค.
อยางไรก็ตาม ดุลบัญชีการชําระเงิน (Balance of Payment) ในชวง 8 เดือนที่ผานมาที่เกิดดุลสะสมแลว กวา 7.3 พันลานดอลลารสหรัฐ เปนปจจัยที่ผลักดันมิใหคาเงินบาทออนคาลงมากจากเงินทุนไหลออก
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
23
ภาพที่ 13 ดุลการชําระเงินของประเทศไทยป 2553-2554
ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย
4.2 แนวโนมของคาเงินบาทในระยะถัดไป ในป 2554 คาดวาคาเงินบาทเฉลี่ยตอดอลลารสหรัฐจะมีแนวโนมแข็งคาขึ้นมาอยูที่ระดับ 30.5 บาทตอ ดอลลารสหรัฐ (โดยมีชวงคาดการณอยูที่ระดับ 29.5–31.5 บาทตอดอลลารสหรัฐ) ในขณะที่ในป 2555 คาดวาคาเงิน บาทเฉลี่ยตอดอลลารสหรัฐจะมีแนวโนมแข็งคาขึ้นมาอยูที่ระดับ 30.0 บาทตอดอลลารสหรัฐ (โดยมีชวงคาดการณอยูที่ระดับ 29.0–31.0 บาทตอดอลลารสหรัฐ) จากปจจัยหลักคือ ดุลบัญชีเดินสะพัดของไทยในป 2554 และป 2555 ทีน่ า จะยังคงเกินดุลตอเนือ่ ง จากการสงออกและภาคการทองเที่ยวของไทยที่ยังคงขยายตัวไดดี เนื่องจากเศรษฐกิจโลกโดยเฉพาะเศรษฐกิจของประเทศ ในภูมิภาคที่ยังขยายตัวไดดี ทําใหความตองการสินคาสงออกของไทยนาจะมีอยูอยางตอเนื่อง ทั้งนี้ ภาคการสงออกและ ภาคการทองเทีย่ วของไทยทีค่ าดวาจะยังขยายตัวไดในเกณฑทดี่ นี า จะสงผลใหบญ ั ชีเดินสะพัดของไทยในป 2554 และป 2555 เปนบวกซึ่งจะเปนปจจัยสนับสนุนใหคาเงินบาทมีแนวโนมแข็งคาขึ้น อยางไรก็ตาม ดุลเงินทุนของไทยในระยะตอไปคาดวาจะยังคงมีความผันผวนสูง จากความไมแนนอนทาง การเมืองของสหรัฐอเมริกาในการปรับเพดานหนีส้ าธารณะ ตลอดจนความไมแนนอนของการชวยเหลือประเทศในกลุม สหภาพยุโรป ที่ประสบวิกฤตหนี้สาธารณะ ซึ่งจะสงผลใหคาเงินบาทตลอดจนคาเงินในภูมิภาคอื่น ๆ มีความผันผวนตามไปดวย
5. อัตราดอกเบี้ยนโยบาย “สศค.คาดการณ ว า ในป 2554 อั ต ราดอกเบี้ ย นโยบายจะปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น มาอยู ที่ ร อ ยละ 3.50 ต อ ป (ชวงคาดการณรอยละ 3.25–3.75 ตอป) และในป 2555 อัตราดอกเบี้ยนโยบายจะอยูที่ชวงคาดการณ 3.25–4.00)” ➥ คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ธนาคารแหงประเทศไทยไดดําเนินนโยบายการเงินแบบ
เขมงวดมากขึ้น หลังจากที่คงอัตราดอกเบี้ยไวที่ระดับตํ่าที่รอยละ 1.25 ตอป เพื่อสนับสนุนการฟนตัวของเศรษฐกิจไทยในชวง วิกฤตเศรษฐกิจโลกเปนเวลากวา 16 เดือน โดยนับตัง้ แตครึง่ หลังของป 2553 กนง.ไดประกาศปรับขึน้ อัตราดอกเบีย้ นโยบาย 9 ครัง้ มาอยูที่รอยละ 3.50 จากการที่เศรษฐกิจไทยสามารถขยายตัวไดอยางตอเนื่อง และแรงกดดันจากอัตราเงินเฟอที่ปรับตัว เพิ่มขึ้นตามราคานํ้ามันในตลาดโลกที่ทรงตัวในระดับสูงในชวงครึ่งแรกของป 2554
24
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ภาพที่ 14 อัตราดอกเบี้ยนโยบายและอัตราเงินเฟอพื้นฐาน
ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย รวบรวมโดย สศค.
➥ ในปลายป 2554 สศค.คาดวาอัตราดอกเบีย้ นโยบายทรงตัวอยูท รี่ ะดับรอยละ 3.50 ตอป (ชวงคาดการณ
ที่รอยละ 3.25-3.75 ตอป) จากแรงกดดันจากเงินเฟอที่เริ่มชะลอลง ขณะที่เศรษฐกิจโลกมีความเสี่ยงมากขึ้น ทั้งจาก ปญหาวิกฤตหนี้สาธารณะในสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป รวมถึงการฟนตัวอยางเปราะบางของเศรษฐกิจญี่ปุน ผนวกกับ การชะลอลงของเศรษฐกิจจีน ➥ ในป 2555 สศค.คาดวาอัตราดอกเบี้ยนโยบายมีแนวโนมที่จะปรับตัวสูงขึ้นอยูในชวงคาดการณ 3.254.00 จากแรงกดดันจากเงินเฟอที่คาดวาจะสูงขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ ขณะที่ความเปราะบางของเศรษฐกิจโลกนา จะเปนปจจัยเสี่ยงสําคัญที่คาดวาจะสงผลกระทบตอการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย ซึ่งอาจสงผลใหการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย นโยบายชะลอลงเมื่อเทียบกับป 2554 ภาพที่ 15 สมมติฐานอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ณ สิ้นป
ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย รวบรวมโดย สศค.
6. รายจายภาคสาธารณะประจําปงบประมาณ 2554 “ปงบประมาณ 2554 รายจายภาคสาธารณะ (ประกอบดวย (1) รายจายรัฐบาล (2) รายจายองคกรปกครอง สวนทองถิน่ (อปท.) และ (3) รายจายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ) คาดวาจะสามารถเบิกจายไดจาํ นวน 2.823 ลานลานบาท เพิ่มจากปงบประมาณ 2553 ซึ่งมีรายจายภาคสาธารณะจํานวน 2.521 ลานลานบาท หรือขยายตัวรอยละ 12.0 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน”
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
25
6.1 กรอบวงเงินงบประมาณรายจายของรัฐบาล ปงบประมาณ 2554 รัฐบาลตั้งกรอบวงเงินงบประมาณรายจายจํานวน 2,070,000 ลานบาท ซึ่งเปน การดําเนินนโยบายงบประมาณแบบขาดดุลจํานวน 420,000 ลานบาท หรือประมาณรอยละ 3.9 ของ GDP ภายใตประมาณการจัด เก็บรายไดรฐั บาลเทากับ 1,650,000 ลานบาท โครงสรางงบประมาณรายจายของรัฐบาลแบงออกเปน (1) รายจายประจําจํานวน 1,662,604 ลานบาท (2) รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลังจํานวน 30,346 ลานบาท (3) รายจายลงทุนจํานวน 344,495 ลานบาท และ (4) รายจายชําระคืนตนเงินกูจํานวน 32,555 ลานบาท นอกจากนี้ รัฐบาลไดมกี ารจัดทํางบประมาณเพิม่ เติมจํานวน 99,968 ลานบาท โดยเปนรายจายเพือ่ ชดใชเงินคงคลัง จํานวน 84,143 ลานบาท และรายจายเพื่อการฟนฟูภัยพิบัติและเงินอุดหนุนให อปท. จํานวน 15,825 ลานบาท
ตารางที่ 4 กรอบโครงสรางงบประมาณประจําปงบประมาณ 2553 และ 2554 ปงบประมาณ
2554
1,700,000.0 17.5 (12.9)
2,070,000.0 20.0 21.8
2,169,967.5 20.0 27.6
1.1 รายจายประจํา (สัดสวนตอ GDP) (สัดสวนตองบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)
1,434,710.1 14.8 84.4 1.7
1,662,604.2 16.1 80.3 15.9
1,667,439.7 15.4 76.8 16.2
1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (สัดสวนตองบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)
214,369.0 2.2 12.6 (50.1)
344,495.1 3.3 16.6 60.7
355,484.5 3.3 16.4 65.8
1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)
50,920.9 3.0 (20.0)
32,554.6 1.6 (36.1)
32,555.6 1.5 (36.1)
2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (อัตราเพิ่ม)
1,350,000.0 13.9 (15.9)
1,650,000.0 15.9 22.2
1,770,000.0 16.3 31.1
3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP)
(350,000.0) (3.6)
(420,000.0) (4.1)
(399,967.5) (3.7)
4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ (GDP) เบื้องตน
9,726,200.0
10,358,400.0
10,840,500.0
1. วงเงินงบประมาณ (สัดสวนตอ GDP) (อัตราเพิ่ม)
ที่มา : สํานักงบประมาณ
26
2554 รวมงบเพิ่มเติม
2553
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
สําหรับงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ 2554 คาดวา รัฐบาลจะสามารถเบิกจายไดทั้งสิ้นจํานวน 2,231,869 ลานบาท ภายใตสมมติฐานการเบิกจายรายจายประจําปงบประมาณ 2554 คิดเปนรอยละ 93.0 ของกรอบ วงเงินงบประมาณ 2,070,000 ลานบาท แบงเปนการเบิกจายรายจายประจําจํานวน 1,757,928 ลานบาท และรายจายลงทุน จํานวน 259,758 ลานบาท โดยคิดเปนอัตราการเบิกจายรายจายลงทุนที่รอยละ 72.0 ของกรอบวงเงินรายจายลงทุน ปจจุบัน เบิกจายไดทั้งสิ้นจํานวน 1,984,484 ลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 86.0 ของกรอบวงเงินงบประมาณ (รวมงบ เพิม่ เติม) สําหรับในปงบประมาณ 2555 คาดวา รัฐบาลจะสามารถเบิกจายไดทงั้ สิน้ จํานวน 2,320,819 ลานบาท ภายใตสมมติฐาน การเบิกจายรอยละ 93.0 ของกรอบวงเงินงบประมาณจํานวน 2,330,000 ลานบาท แบงเปนการเบิกจายรายจายประจําจํานวน 1,868,391 ลานบาท และรายจายลงทุนจํานวน 299,520 ลานบาท นอกจากนี้ รั ฐ บาลได มี แ ผนปฏิ บั ติ ก ารไทยเข ม แข็ ง 2555 โดยมี ก รอบวงเงิ น ลงทุ น จํ า นวน 349,960 ล า นบาท โดยคาดวาในปงบประมาณ 2554 จะมีการเบิกจายเงินลงทุนจากแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 56,037 ลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 16.0 ของกรอบเงินลงทุนโครงการไทยเขมแข็ง 349,960 ลานบาท โดยมีการเบิกจาย สะสมตั้งแตเริ่มโครงการ (เดือนกันยายน 2552–สิงหาคม 2554) จํานวนทั้งสิ้น 289,162 ลานบาท คิดเปนอัตราการเบิก จายรอยละ 82.6 ของกรอบวงเงินที่ไดรับอนุมัติ 349,960 ลานบาท และในปงบประมาณ 2555 คาดวาจะมีการเบิกจาย รวมจํานวน 52,244 ลานบาท คิดเปนรอยละ 14.9 ของกรอบเงินลงทุนโครงการไทยเขมแข็ง 349,960 ลานบาท (โดยมีชว งคาดการณ การเบิกจายจํานวน 45,342–59,145 ลานบาท) ตารางที่ 5 สมมติฐานการเบิกจายรายจายของรัฐบาลกลางปงบประมาณ 2554 และ 2555 (หนวย : ลานบาท)
ปงบประมาณ ชวง 11 เดือนแรก 2553 ป งปม. 2554 1. รายจายรัฐบาล (1.1+1.2)
ปงบประมาณ 2554 ปงบประมาณ 2555 คาดการณ คาดการณ ณ ก.ย. 2554 ณ ก.ย. 2554
2,004,313
2,039,245
2,287,906
2,366,161-2,379,964
1,784,413
1,984,484
2,231,869
2,320,819
(1) รายจายประจํา
1,444,760
1,547,945
1,757,928
1,868,391
(2) รายจายลงทุน
183,115
228,435
259,758
299,520
-
89,512
95,089
-
- ชดใชเงินคงคลัง
-
84,143
84,143
-
- เพือ่ ฟน ฟูภยั พิบตั แิ ละอุดหนุน อปท.
-
5,369
10,947
-
1,627,875
1,865,892
2,112,775
2,167,911
156,538
118,592
119,094
152,908
อัตราเบิกจายรายจายงบประมาณ
95.8%
86.0%
93.0%
93.0%
(จากวงเงินงบประมาณรายจาย)
1,700,000
2,169,968
2,169,968
2,330,000
1.2 รายจายนอกงบประมาณ แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555
219,901
54,761
56,037
45,342-59,145
1.1 รายจายงบประมาณ (1)+(2)+(3)
รายจายเพิ่มเติม (งบกลางป)
รายจายรัฐบาลประจําป (1)+(2) (3) รายจายเหลื่อมป
ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.)
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
27
6.2 งบประมาณรายจายขององคกรปกครองสวนทองถิ่น องคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) คาดวาจะมีการเบิกจายงบประมาณตามระบบบัญชีประชาชาติ (SNA) รวมทั้งสิ้น 282,675 ลานบาท หดตัวรอยละ -1.4 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน เนื่องจากการเบิกจายงบประมาณรายจายลงทุน ในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 มี ก ารเบิ ก จ า ยชะลอลงมาก ประกอบกั บ ความล า ช า ในการจั ด ทํ า งบประมาณรายจ า ย ประจําปงบประมาณ 2555 จะสงผลใหการเบิกจายในชวงไตรมาสที่ 1 ของปงบประมาณ 2555 เปนไปอยางลาชา นอกจากนี้ อปท. มีรายไดเพื่อการใชจายงบประมาณในการพัฒนาทองถิ่นที่ปรับตัวสูงขึ้นตามการฟนตัวของภาวะเศรษฐกิจของประเทศ สะทอนไดจากการที่ อปท. ไดมีการเบิกจายจริงของงบประมาณทองถิ่นแลวในชวง 3 ไตรมาสแรกของปงบประมาณ 2554 แลว จํานวน 191,675 ลานบาท สําหรับรายจายของ อปท. ในป 2555 คาดวาจะสามารถเบิกจายไดจํานวนทั้งสิ้น 297,448 ลานบาท หรือขยายตัวรอยละ 5.2 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ตารางที่ 6 สมมติฐานการเบิกรายจายองคกรปกครองสวนทองถิ่นในปงบประมาณ 2554 และ 2555 (หนวย : ลานบาท)
ปงบประมาณ 2553 รายจายทองถิ่น
286,557
ไตรมาสที่ 3 ปงบประมาณ 2554 191,675
ปงบประมาณ 2554 ปงบประมาณ 2555 คาดการณ คาดการณ ณ ก.ย. 2554 ณ ก.ย. 2554 282,675 297,448
ทีม่ า : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.)
6.3 งบประมาณรายจายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ งบประมาณลงทุนประจําป 2554 ของรัฐวิสาหกิจทีพ่ รอมดําเนินการมีจาํ นวน 315,370 ลานบาท สามารถแบงออกได ดังนี้ 1) รัฐวิสาหกิจที่ใชปงบประมาณ (เริ่มดําเนินการ 1 ตุลาคม 2553–30 กันยายน 2554) มีงบลงทุนที่พรอมดําเนินการจํานวน 114,755 ลานบาท และ 2) รัฐวิสาหกิจที่ใชปปฏิทิน (เริ่มดําเนินการ 1 มกราคม 2554–ธันวาคม 2554) มีงบลงทุนอนุมัติที่พรอม ดําเนินการจํานวน 200.6 พันลานบาท ทัง้ นี้ คาดวาทัง้ ปงบประมาณ 2554 รัฐวิสาหกิจจะสามารถเบิกจายงบลงทุนไดประมาณรอยละ 75 ของกรอบวงเงิน ลงทุนรัฐวิสาหกิจ หรือหากคิดเปนระบบบัญชีรายไดประชาชาติ (SNA) คาดวาจะเบิกจายรายลงทุนไดจาํ นวน 259,491 ลานบาท สะทอนไดจากในชวง 3 ไตรมาสแรกของปงบประมาณ 2554 แลวจํานวน 190,265 ลานบาท สําหรับรายจายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ ในป 2555 คาดวาจะสามารถเบิกจายไดจํานวนทั้งสิ้น 265,138 ลานบาท ตารางที่ 7 สมมติฐานการเบิกจายรายจายลงทุนของรัฐวิสาหกิจในปงบประมาณ 2554 ปงบประมาณ 2553 รายจายลงทุนรัฐวิสาหกิจ
315,370
ไตรมาสที่ 3 ปงบประมาณ 2554 190,265
(หนวย : ลานบาท)
ปงบประมาณ 2554 ปงบประมาณ 2555 คาดการณ คาดการณ ณ ก.ย. 2554 ณ ก.ย. 2554 253,257 265,138
ทีม่ า : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.)
6.4 สรุปรวมรายจายภาคสาธารณะ จากสมมติฐานการใชจา ยของรัฐบาล องคกรปกครองสวนทองถิน่ และการลงทุนของรัฐวิสาหกิจในปงบประมาณ 2554 ดังกลาว ทําใหคาดวาในปงบประมาณ 2554 รายจายภาคสาธารณะสามารถเบิกจายไดจํานวน 2,823,838 ลานบาท ขยายตัวรอยละ 12.0 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น ประกอบดวย 1) รายจายรัฐบาลจํานวน 2,231,869 ลานบาท และรายจาย จากแผนปฏิบตั กิ ารไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 56,037 ลานบาท 2) รายจายองคกรปกครองสวนทองถิน่ จํานวน 282,675 ลานบาท และ 3) รายจายลงทุนของรัฐวิสาหกิจจํานวน 253,257 ลานบาท สําหรับในปงบประมาณ 2555 คาดวารายจายภาคสาธารณะจะมีจาํ นวน 2,935,648 ลานบาท คิดเปนการขยายตัว รอยละ 4.0 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน (โดยมีชวงคาดการณจํานวน 2,922,747–2,948,549 ลานบาท) ซึ่งประกอบดวย
28
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
1) รายจายรัฐบาลจํานวน 2,320,819 ลานบาท และรายจายจากแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 52,244 ลานบาท (โดยมีชวงคาดการณจํานวน 45,342–59,145 ลานบาท) 2) รายจายองคกรปกครองสวนทองถิ่นจํานวน 297,448 ลานบาท และ 3) รายจายลงทุนรัฐวิสาหกิจจํานวน 265,138 ลานบาท (โดยมีชวงคาดการณจํานวน 259,138-271,138 ลานบาท) ตารางที่ 8 สมมติฐานการเบิกรายจายภาคสาธารณะในปงบประมาณ 2554 และ 2555
1. รายจายรัฐบาล (1.1+1.2) 1.1 รายจายงบประมาณ (1)+(2)+(3)
(หนวย : ลานบาท)
ปงบประมาณ ชวง 11 เดือน ปงบประมาณ 2554 ปงบประมาณ 2555 2553 แรก ป งปม. คาดการณ คาดการณ 2554 ณ ก.ย. 2554 ณ ก.ย. 2554 2,366,161-2,379,964 2,004,313 2,039,245 2,287,906 1,784,413
1,984,484
2,231,869
2,320,819
(1) รายจายประจํา
1,444,760
1,547,945
1,757,928
1,868,391
(2) รายจายลงทุน
183,115
228,435
259,758
299,520
-
89,512
95,089
-
- ชดใชเงินคงคลัง
-
84,143
84,143
-
- เพื่อฟนฟูภัยพิบัติและอุดหนุน อปท.
-
5,369
10,947
-
1,627,875
1,865,892
2,112,775
2,167,911
156,538
118,592
119,094
152,908
อัตราเบิกจายรายจายงบประมาณ
95.8%
86.0%
93.0%
93.0%
(จากวงเงินงบประมาณรายจาย)
1,700,000
2,169,968
2,169,968
2,330,000
1.2 รายจายนอกงบประมาณ แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555
219,901
54,761
56,037
45,342-59,145
2. รายจายทองถิ่น
286,557
191,675
282,675
297,448
3. รายจายลงทุนรัฐวิสาหกิจ
230,377
190,265
253,257
259,138-271,138
4. รายจายภาคสาธารณะ (1+2+3)
2,521,248
2,421,185
2,823,838
2,922,747-2,948,549
รายจายเพิ่มเติม (งบกลางป)
รายจายรัฐบาลประจําป (1)+(2) (3) รายจายเหลื่อมป
ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) คํานวณโดย สศค.
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
29
ผลการประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 และป 2555 1. ดานการขยายตัวทางเศรษฐกิจ “สศค.ประเมินวา เศรษฐกิจไทยในป 2554 จะขยายตัวที่รอยละ 4.0 ตอป โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 3.8–4.3 เทียบกับป 2553 ที่เศรษฐกิจขยายตัวรอยละ 7.8 โดยเปนการปรับประมาณการลดลงจากครั้งกอนในเดือนมิถุนายน 2554 ที่คาดการณไววาเศรษฐกิจไทยจะขยายตัวที่รอยละ 4.5” ➥ สศค.ประเมินวา เศรษฐกิจไทยในป 2554 มีแนวโนมจะขยายตัวที่รอยละ 4.0 โดยมีชวงคาดการณ
ที่รอยละ 3.8-4.3 โดยการเติบโตของเศรษฐกิจในปนี้จะไดรับแรงขับเคลื่อนทั้งจากอุปสงคภายในประเทศและอุปสงคภายนอก ประเทศ โดยเฉพาะการบริโภคภาคเอกชนที่ขยายตัวตอเนื่องตามรายไดและการจางงานที่อยูในเกณฑดี ประกอบกับปริมาณ และมูลคาการสงออกสินคาและบริการที่ยังคงขยายตัวอยางตอเนื่อง ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจประเทศคูคาในแถบเอเชีย แมจะไดรับผลกระทบจากปญหาอุทกภัยและภัยพิบัติในประเทศญี่ปุนบางก็ตาม อีกทั้งเสถียรภาพเศรษฐกิจทั้งภายในและ ภายนอกยังอยูในระดับแข็งแกรง อยางไรก็ตาม การปรับประมาณการลดลงจากครั้งกอนในเดือนมิถุนายน 2554 มีสาเหตุ มาจากการขยายตัวของเศรษฐกิจประเทศคูคาที่ลดลงจากความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นของแนวโนมภาวะเศรษฐกิจถดถอยอีกครั้ง (Double-Dip Recession) ของโลกตะวันตก ประกอบกับผลกระทบจากเหตุการณอุทกภัย ซึ่งในเบื้องตนครอบคลุมพื้นที่ 26 จังหวัด ในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือบางสวน ➥ สําหรับเศรษฐกิจไทยในป 2555 สศค.คาดวาจะขยายตัวทีร่ อ ยละ 4.5 ตอป โดยมีชว งคาดการณทรี่ อ ยละ 4.0-5.0 โดยมีปจ จัยสนับสนุนหลักมาจากอุปสงคภายในประเทศทีข่ ยายตัวไดดี จากมาตรการเพิม่ รายไดและลดคาครองชีพของ ประชาชน อาทิ โครงการรับจํานําขาว นโยบายคาแรงขัน้ ตํา่ 300 บาท และนโยบายขึน้ เงินเดือนขาราชการ ขณะทีภ่ าคการสงออก คาดวาจะเติบโตไดอยางตอเนื่องตามการฟนตัวของเศรษฐกิจโลก ภาพที่ 16 ประมาณการอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.)
30
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
1.1 การบริโภคภาคเอกชนและการบริโภคภาครัฐที่แทจริง 1.1.1 การบริโภคภาคเอกชนที่แทจริง ➥ การบริโภคภาคเอกชนที่แทจริงในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ขยายตัวรอยละ 2.8 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกัน ของปกอน ชะลอลงจากไตรมาสที่ 1 ป 2554 ที่ขยายตัวรอยละ 3.3 เนื่องจากปจจัยฐานที่เริ่มปรับตัวสูงขึ้น ประกอบกับ ไดรบั ผลกระทบจากสถานการณนาํ้ ทวมในหลายพืน้ ที่ สงผลตอความเชือ่ มัน่ ในการใชจา ยโดยรวม รวมถึงการบริโภคสินคาคงทน ในหมวดยานยนตลดลง เนื่องจากไดรับผลกระทบจากสึนามิในประเทศญี่ปุน ทําใหบริษัทผูผลิตรถยนตไมสามารถผลิตรถยนต ไดเต็มกําลังการผลิต และไมสามารถสงมอบใหแกลูกคาไดตามระยะเวลาที่กําหนด อยางไรก็ตาม ถือไดวายังขยายตัว ในเกณฑดี แมวา จะขยายตัวในอัตราชะลอลงจากไตรมาสกอน (ทัง้ นี้ เมือ่ ขจัดปจจัยทางฤดูกาลแลวพบวา การบริโภคภาคเอกชน ในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ขยายตัวรอยละ 0.2 จากไตรมาสกอนหนา) โดยมีปจจัยสําคัญที่สนับสนุนการใชจายของภาคครัวเรือน ไดแก 1) อัตราการวางงานที่อยูในระดับตํ่าที่รอยละ 0.6 ของกําลังแรงงานรวมในไตรมาสที่ 2 ป 2554 และ 2) รายไดเกษตรกร ทีข่ ยายตัวในระดับสูงถึงรอยละ 17.7 จากราคาผลผลิตเกษตรสําคัญปรับตัวสูงขึน้ มากตามความตองการของตลาดโลก ในขณะที่ อุปทานคอนขางตึงตัว เนื่องจากไดรับผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวน ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาการบริโภคภาคเอกชน จําแนกตามรายหมวดสําคัญพบวา ในไตรมาสที่ 2 ป 2554 การบริโภคสินคาในหมวดสินคาคงทนชะลอลงอยูที่รอยละ 3.5 จากไตรมาสกอนทีข่ ยายตัว 23.6 ตามการลดลงของหมวดยานยนตเปนสําคัญ สวนการบริโภคสินคากึง่ คงทน เชน เสือ้ ผา รองเทา ภาชนะและสิง่ ทอทีใ่ ชในครัวเรือน ขยายตัวรอยละ 5.7 จากไตรมาสกอนทีข่ ยายตัวรอยละ 4.5 ในขณะทีก่ ารบริโภคสินคาไมคงทน เชน หมวดอาหาร เครือ่ งดืม่ เครือ่ งใชไฟฟาภายในบาน ขยายตัวรอยละ 3.4 จากไตรมาสกอนทีข่ ยายตัวรอยละ 2.0 ตามการขยายตัว ของหมวดอาหารที่ขยายตัวรอยละ 4.1 และหมวดที่ไมใชอาหารที่ขยายตัวรอยละ 3.0 เปนตน ภาพที่ 17 ประมาณการอัตราการขยายตัวของการบริโภคภาคเอกชนที่แทจริง
ที่มา : สศค.
➥ ในป 2554 การบริโภคภาคเอกชนที่แทจริงคาดวาจะขยายตัวรอยละ 3.9 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ
3.4-4.4) ชะลอลงจากป 2553 ที่ขยายตัวรอยละ 4.8 เนื่องจากไดรับผลกระทบจากปญหาอุทกภัยในภาคเหนือ ภาคกลาง และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และจากแรงกดดันดานเงินเฟอและตนทุนที่ยังทรงตัวอยูในระดับสูง อยางไรก็ดี ภาวะการจางงานและ รายไดที่ยังอยูในเกณฑดี ทั้งในสวนของรายไดเกษตรกรที่คาดวาจะปรับสูงขึ้นตามราคาพืชผลสําคัญ รวมถึงรายไดจาก ภาคทองเที่ยวที่คาดวาจะเพิ่มขึ้นตามแนวโนมจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติที่ขยายตัวในเกณฑดี ประกอบกับการขยายตัวอยาง ตอเนื่องของสินเชื่อเพื่อการบริโภค คาดวาจะยังคงมีสวนชวยสนับสนุนการบริโภคภาคเอกชนในป 2554 ใหขยายตัวได ทั้งนี้ จากขอมูลเชิงประจักษพบวา การบริโภคภาคเอกชนในชวง 8 เดือนแรกป 2554 ยังคงขยายตัวอยางตอเนื่อง สะทอนไดจาก ประมาณการเศรษฐกิจไทย
31
เครื่องชี้วัดเศรษฐกิจดานการบริโภคภาคเอกชน โดยเฉพาะการจัดเก็บภาษีมูลคาเพิ่ม ณ ระดับราคาคงที่ ขยายตัวตอเนื่อง ที่รอยละ 13.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน สอดคลองกับปริมาณการจําหนายรถยนตนั่งและรถจักรยานยนต (สะทอน ดานการบริโภคภาคเอกชนในหมวดสินคาคงทน) ที่ยังคงขยายตัวในระดับสูงที่รอยละ 24.8 และรอยละ 14.7 เมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันของปกอน ตามลําดับ แมวาจะไดรับผลกระทบจากสึนามิในประเทศญี่ปุนทําใหยอดขายชะลอตัวและหดตัวในชวง เดือนเมษายนและเดือนพฤษภาคมที่ผานมา ในขณะที่รายไดภาคครัวเรือนยังอยูในเกณฑดีตามรายไดเกษตรกรที่อยูในระดับสูง ที่รอยละ 21.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน และอัตราการวางงานอยูในระดับตํ่าที่รอยละ 0.7 ของกําลังแรงงานรวม สอดคลองกับสินเชื่อเพื่อการบริโภคที่ยังคงขยายตัวตอเนื่อง โดยขยายตัวรอยละ 11.4 ในชวง 8 เดือนแรกป 2554 อยางไรก็ตาม ปจจัยเสี่ยงที่คาดวาจะสงผลกระทบตอการบริโภคภาคเอกชนในป 2554 ไดแก 1) แนวโนมระดับราคาสินคาทั่วไปที่เริ่มปรับตัว สูงขึ้นตามราคานํ้ามันและราคาโภคภัณฑ 2) ปญหาอุทกภัยในหลายพื้นที่ของประเทศ โดยเฉพาะในภาคเหนือและภาคกลางของ ประเทศทีค่ าดวาจะสงผลกระทบตอการเติบโตของเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคการผลิตภาคเกษตรและอุตสาหกรรมสําคัญ ซึง่ ในทีส่ ดุ จะกระทบตอการบริโภคของประชาชนโดยรวม และ 3) การฟนตัวของเศรษฐกิจโลกที่ยังคงเปราะบาง ตามสัญญาณการชะลอตัว ของเศรษฐกิจของสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา ➥ ในป 2555 การบริโภคภาคเอกชนที่แทจริงคาดวาจะขยายตัวรอยละ 4.4 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 3.9-4.9) เรงขึน้ จากป 2554 ทีค่ าดวาจะขยายตัวรอยละ 3.9 โดยไดรบั ปจจัยบวกจาก 1) ทิศทางรายไดทงั้ ในและนอกภาคเกษตร ที่คาดวาจะยังคงอยูในเกณฑดีจากการจางงานที่คาดวาจะยังคงอยูในระดับสูง ตามการเติบโตของเศรษฐกิจในป 2555 ที่คาดวา จะขยายตัวรอยละ 4.5 ประกอบกับราคาสินคาเกษตรที่คาดวาจะยังคงทรงตัวในระดับสูง ตามความตองการสินคาเกษตร ที่ยังคงขยายตัวตอเนื่อง ในขณะที่อุปทานคอนขางตึงตัวเนื่องจากประเทศที่ผลิตสินคาเกษตรหลัก เชน อินเดีย เวียดนาม รวมถึงประเทศไทย ประสบปญหาภัยพิบัติธรรมชาติ และ 2) มาตรการกระตุนเศรษฐกิจของรัฐบาลในการสนับสนุนการใชจาย เชน มาตรการปรับเพิ่มคาจางงานแรงงานขั้นตํ่า 300 นโยบายรถยนตคันแรก และการปรับขึ้นเงินเดือนขาราชการที่จะมีผล ในเดือนมกราคม ป 2555 เปนตนไป 1.1.2 การบริโภคภาครัฐที่แทจริง ➥ การบริโภคภาครัฐที่แทจริงในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 ขยายตัวรอยละ 1.0 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกัน ของปกอน ขยายตัวชะลอลงจากไตรมาสกอนหนาที่ขยายตัวรอยละ 1.8 และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลออกพบวาหดตัว รอยละ -0.7 จากไตรมาสกอนหนา ทําใหในชวงครึ่งปแรกของป 2554 ขยายตัวรอยละ 1.4 โดยเปนผลมาจากคาตอบแทน แรงงานเพิ่มขึ้นรอยละ 0.1 และรายจายคาซื้อสินคาและบริการสุทธิเพิ่มขึ้นรอยละ 2.1 ในขณะที่รายจายเพื่อการอุปโภคทั้งหมด ของภาครัฐในราคาประจําปมูลคา 337.7 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 7.0 ซึ่งแบงออกเปนคาตอบแทนแรงงานจํานวน 234.0 ภาพที่ 18 ประมาณการอัตราการขยายตัวของการบริโภคภาครัฐที่แทจริง
ที่มา : สศค.
32
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 8.9 และรายจายคาซื้อสินคาและบริการสุทธิจํานวน 103.7 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 2.8 ทั้งนี้ ในปงบประมาณ 2554 มีวงเงินงบประมาณจํานวน 2.07 ลานลานบาท และงบประมาณรายจายเพิ่มเติมจํานวน 1.0 แสนลานบาท ทําใหมีวงเงินงบประมาณจํานวน 2.17 ลานลานบาท โดยในไตรมาสที่ 2 มีการเบิกจายรวม 521.6 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 38.0 รายจายเหลือ่ มปจาํ นวน 17.2 พันลานบาท หดตัวรอยละ -36.6 และการเบิกจายจากโครงการแผนปฏิบตั กิ าร ไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 12.5 พันลานบาท ทําใหการเบิกจายในไตรมาสที่ 2 มีจํานวนทั้งสิ้น 551.2 พันลานบาท ➥ ในป 2554 การบริโภคภาครัฐที่แทจริงคาดวาจะขยายตัวในชวงรอยละ 2.7 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกัน ของปกอน (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 2.2-3.2 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน) ชะลอลงจากป 2553 ที่ขยายตัว ร อ ยละ 6.4 โดยป จ จั ย หลั ก มาจากฐานสู ง ของช ว งเดี ย วกั น ของป ก อ น รวมถึ ง ความล า ช า ในการจั ด ทํ า งบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2555 ที่จะสงผลกระทบตอการเบิกจายงบประมาณไตรมาสที่ 4 ของป 2554 ทั้งนี้ ในปงบประมาณ 2554 รัฐบาลไดมีการอนุมัติวงเงินงบประมาณรายจายประจําจํานวน 1.667 ลานลานบาท (รวมงบเพิ่มเติมในสวนของงบประจํา ทีช่ ดใชเงินคงคลังจํานวน 84.1 พันลานบาท) เพิม่ ขึน้ จากปงบประมาณ 2553 ทีม่ วี งเงินงบประมาณรายจายประจําจํานวน 1.434 ลานลานบาท หรือเพิ่มขึ้นจํานวน 232.7 พันลานบาท หรือคิดเปนอัตราการขยายตัวรอยละ 16.2 ทั้งนี้ ในชวง 11 เดือนแรก ของปงบประมาณ 2554 รายจายประจําของรัฐบาลสามารถเบิกจายไดจํานวน 1,634.9 พันลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจาย รอยละ 90.4 ของกรอบวงเงินงบประมาณรายจายประจํา (รวมงบเพิ่มเติม) ขณะที่เม็ดเงินของแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ที่คงเหลือใหเบิกจายลดลงจากปกอนหนา แตยังคงมีการเรงรัดการเบิกจายไปในโครงการตาง ๆ ที่ไดรับการอนุมัติอยางตอเนื่อง ➥ ในป 2555 การบริโภคของภาครัฐทีแ ่ ทจริงคาดวาจะขยายตัวรอยละ 2.8 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอน (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 2.3-3.3 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน) โดยคาดวากรอบวงเงินงบประมาณ รายจายประจําปงบประมาณ 2555 ทีค่ ณะรัฐมนตรีไดเห็นชอบการอนุมตั วิ งเงินงบประมาณรายจายจํานวน 2.330.0 ลานลานบาท โดยในจํานวนนีเ้ ปนงบประมาณรายจายประจําจํานวน 1.839.7 ลานลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 79.0 ของวงเงินงบประมาณรวม และเพิ่มขึ้นจากปกอนหนารอยละ 10.3 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน 1.2 การลงทุนภาคเอกชนและการลงทุนภาครัฐที่แทจริง 1.2.1 การลงทุนภาคเอกชนที่แทจริง ➥ การลงทุนภาคเอกชนที่แทจริงในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ขยายตัวรอยละ 8.6 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกัน ของปกอน ชะลอลงจากไตรมาสกอนที่ขยายตัวรอยละ 12.6 แตเมื่อขจัดปจจัยทางฤดูกาลแลวพบวาการลงทุนภาคเอกชน ในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ขยายตัวรอยละ 1.9 จากไตรมาสกอนหนา ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาในรายละเอียดพบวาการลงทุนในหมวด เครื่องมือ เครื่องจักร (มีสัดสวนประมาณรอยละ 75.0 ของการลงทุนภาคเอกชนรวม) ขยายตัวรอยละ 9.5 จากไตรมาสที่ 1 ภาพที่ 19 ประมาณการอัตราการขยายตัวของการลงทุนภาคเอกชนที่แทจริง
ที่มา : สศค.
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
33
ป 2554 ทีข่ ยายตัวรอยละ 14.7 ตามการขยายตัวของการนําเขาสินคาทุนทีข่ ยายตัวรอยละ 14.5 ชะลอลงจากเดือนกอนทีข่ ยายตัว รอยละ 29.3 สวนหนึ่งเปนผลมาจากมีการเรงนําเขาสูงในชวงตนป เพื่อรองรับการขยายกําลังการผลิตและทดแทนเครื่องจักร เกา โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมปโตรเลียม เครื่องใชไฟฟา และยานยนต ตามการขยายตัวของภาคการสงออกและอุปสงค ในประเทศ โดยในไตรมาสที่ 2 ป 2554 หมวดยานพาหนะขยายตัวรอยละ 20.3 ชะลอลงจากไตรมาสกอนที่รอยละ 27.8 ตามการหดตัวของรถโดยสารทีร่ อ ยละ -12.1 ในขณะทีร่ ถบรรทุกยังขยายตัวไดดที รี่ อ ยละ 21.6 ในขณะทีเ่ ครือ่ งจักรอุตสาหกรรมและ เครื่องใชสํานักงานขยายตัวรอยละ 0.6 และรอยละ 6.6 ตามลําดับ สวนการลงทุนในหมวดการกอสรางภาคเอกชน (มีสัดสวน ประมาณรอยละ 25.0 ของการลงทุนภาคเอกชนรวม) ในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ขยายตัวรอยละ 5.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอน ชะลอลงจากไตรมาสกอนที่ขยายตัวรอยละ 5.8 สวนหนึ่งเปนผลมาจากอัตราดอกเบี้ยและระดับราคาสินคาวัสดุกอสราง เริ่มปรับตัวสูงขึ้น ในขณะที่มาตรการลดหยอนตาง ๆ ของภาครัฐ เชน คาธรรมเนียมการโอน การจดจํานอง และภาษีธุรกิจของ รัฐบาลหมดไปแลวในเดือนมิถุนายน 2553 โดยการกอสรางที่อยูอาศัยขยายตัวรอยละ 2.8 ชะลอลงจากไตรมาสกอนที่ขยายตัว รอยละ 3.2 ในขณะที่อาคารเพื่อการพาณิชยและอาคารโรงงานขยายตัวรอยละ 4.8 และรอยละ 11.7 ตามลําดับ ➥ ในป 2554 การลงทุนภาคเอกชนทีแ ่ ทจริงคาดวาจะขยายตัวรอยละ 11.3 (โดยมีชว งคาดการณทรี่ อ ยละ 10.8-11.8) ตอเนื่องจากป 2553 ที่ขยายตัวรอยละ 13.8 โดยไดรับปจจัยสนับสนุนจาก 1) การเรงตัวขึ้นอยางมากของ การลงทุนภาคเอกชนในครึง่ แรกของป 2554 ทีข่ ยายตัวสูงถึงรอยละ 10.5 2) ความเชือ่ มัน่ ของภาคธุรกิจทีย่ งั อยูใ นเกณฑดี คาดวา จะสงผลใหผปู ระกอบการลงทุนเพิม่ ขึน้ เพือ่ ขยายกําลังการผลิตใหสามารถรองรับความตองการสินคาทีเ่ พิม่ ขึน้ ได และ 3) นโยบาย ภาครัฐที่กระตุนการลงทุนอยางตอเนื่อง เชน โครงการบานหลังแรก รถยนตคันแรก จะมีสวนชวยสนับสนุนการบริโภคการลงทุน ภาคเอกชนในชวงที่เหลือของป 2554 ทั้งนี้ จากขอมูลเชิงประจักษพบวาในชวง 8 เดือนแรกป 2554 การลงทุนภาคเอกชนยังคง ขยายตัวไดในเกณฑดี สะทอนจากเครือ่ งชีเ้ ศรษฐกิจดานการลงทุน เชน ปริมาณการนําเขาสินคาทุนหักรายการพิเศษ (เครือ่ งบิน เรือ รถไฟ) ขยายตัวทีร่ อ ยละ 13.2 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ นหนา สอดคลองกับปริมาณการจําหนายรถยนตเชิงพาณิชย ที่ยังขยายตัวตอเนื่องที่รอยละ 16.1 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา สะทอนถึงการลงทุนภาคเอกชนในหมวดเครื่องมือ เครื่องจักรมีการฟนตัวตอเนื่อง ในขณะที่การลงทุนภาคเอกชนในหมวดการกอสรางที่วัดจากเครื่องชี้เศรษฐกิจ เชน ปริมาณ การจําหนายเหล็กและปูนซีเมนต ขยายตัวตอเนื่องที่รอยละ 13.9 และรอยละ 2.9 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา ตามลําดับ ตามการฟน ตัวอยางแข็งแกรงของอุปสงคในประเทศในชวงครึง่ แรกป 2554 อยางไรก็ตาม ในชวงครึง่ หลังของป 2554 การลงทุนภาคเอกชนตองเผชิญกับปจจัยเสี่ยงที่สงผลกระทบตอการลงทุนภาคเอกชน ไดแก 1) อัตราดอกเบี้ยที่มีแนวโนม ปรับตัวสูงขึ้น ซึ่งจะเปนการเพิ่มตนทุนของการลงทุนภาคเอกชน 2) ทิศทางคาเงินบาทที่มีแนวโนมแข็งคา จะเปนปจจัยกดดัน การสงออกสินคาของไทยและสงผลตอเนื่องตอการลงทุนได 3) ตนทุนการผลิต โดยเฉพาะราคานํ้ามันและราคาวัสดุกอสราง ที่ยังคงอยูในระดับสูง และ 4) ปญหาภัยพิบัติจากธรรมชาติที่ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยอาจตองเผชิญมากขึ้นในป 2554 จะเปน ปจจัยกดดันตอการฟนตัวของเศรษฐกิจโลก ซึ่งจะสงผลกระทบตอเนื่องตอการลงทุนใหมในประเทศ และการลงทุนโดยตรงจาก ตางประเทศ เนื่องจากตองจัดสรรเงินทุนเพื่อซอมแซมทรัพยสินและสิ่งปลูกสรางที่ไดรับความเสียหายจากภัยพิบัติตาง ๆ ➥ ในป 2555 การลงทุนภาคเอกชนทีแ ่ ทจริงคาดวาจะขยายตัวรอยละ 10.9 (โดยมีชว งคาดการณทรี่ อ ยละ 9.9-11.9) ตอเนื่องจากป 2553 ที่ขยายตัวรอยละ 13.8 โดยไดรับปจจัยสนับสนุนจาก 1) อุปสงคภายในประเทศและ ตางประเทศทีอ่ ยูใ นเกณฑดี ซึง่ คาดวาจะสงผลใหภาคธุรกิจมีความเชือ่ มัน่ มากขึน้ และสนับสนุนใหการลงทุนของเอกชนขยายตัว เพิม่ ขึน้ ตอเนือ่ ง ในขณะทีแ่ รงสนับสนุนจากเศรษฐกิจโลกทีม่ แี นวโนมวาจะเริม่ ฟน ตัวขึน้ ตามลําดับ โดยไดรบั อานิสงสจากการฟน ตัว ของเศรษฐกิจญี่ปุนภายหลังเหตุการณภัยพิบัติสึนามิ และการขยายตัวในระดับสูงของเศรษฐกิจคูคาหลักอยางจีนและอินเดีย คาดวาจะสงผลใหการสงออกสินคาและบริการในป 2555 ยังคงขยายตัวตอเนื่อง และ 3) นโยบายภาครัฐที่กระตุนการลงทุน อยางตอเนื่องจากป 2554 โดยเฉพาะโครงการบานหลังแรก รถยนตคันแรก และมาตรการลดภาษีนิติบุคคลจากรอยละ 30 เหลือรอยละ 26 ในป 2555 และรอยละ 20 ในป 2556 คาดวาจะเปนปจจัยหลักในการชวยสนับสนุนการลงทุนภาคเอกชน ในป 2555 ตอไป 1.2.2 การลงทุนภาครัฐที่แทจริง ➥ การลงทุนภาครัฐทีแ ่ ทจริงในไตรมาสที่ 2 ป 2554 หดตัวรอยละ -9.9 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น หดตัวลงจากไตรมาสกอนหนาที่หดตัวรอยละ -1.4 และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลออกพบวาหดตัวรอยละ -8.1 จากไตรมาส กอนหนา ทําใหในชวงครึง่ ปแรกของป 2554 หดตัวรอยละ -5.9 โดยปจจัยหลักมาจากยอดการเบิกจายงบลงทุนหดตัวรอยละ -5.1
34
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
และการเบิกจายงบลงทุนของรัฐบาลทองถิน่ ทีห่ ดตัวกวารอยละ -35.2 ทัง้ นี้ การลงทุนของภาครัฐทีแ่ ทจริงสามารถแบงออกไดเปน 1) การลงทุนในหมวดกอสราง หดตัวรอยละ -19.9 หดตัวลดลงจากไตรมาสกอนหนาที่หดตัวรอยละ -8.8 ปจจัยหลักมาจาก การกอสรางของรัฐบาลกลางและองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่หดตัวรอยละ -28.3 ขณะที่การลงทุนในดานการกอสราง ของรัฐวิสาหกิจขยายตัวรอยละ 2.0 สวนหนึ่งเปนโครงการตอเนื่องของการรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย การรถไฟ แหงประเทศไทย การเคหะแหงชาติ เปนตน และ 2) การลงทุนในหมวดเครื่องมือเครื่องจักร ขยายตัวรอยละ 19.0 ขยายตัว ตอเนื่องจากไตรมาสกอนหนาที่ขยายตัวรอยละ 13.9 จากการเรงรัดการเบิกจายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจที่ขยายตัวรอยละ 48.1 ตอเนื่องจากไตรมาสที่ 1 ป 2554 ที่ขยายตัวรอยละ 22.1 โดยในไตรมาสที่ 2 ป 2554 มีการนําเขาเครื่องบินเพื่อการพาณิชย ของบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) จํานวน 3 ลํา มูลคา 12,018 ลานบาท ขณะที่รัฐบาลกลางและองคกรปกครอง สวนทองถิ่นหดตัวรอยละ -5.0 ภาพที่ 20 ประมาณการอัตราการขยายตัวของการลงทุนภาครัฐที่แทจริง
ที่มา : สศค.
➥ ในป 2554 การลงทุนภาครัฐที่แทจริงคาดวาจะหดตัวรอยละ -1.4 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ -1.9
ถึง -0.9 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน) หดตัวชะลอลงจากป 2554 ที่หดตัวรอยละ -2.2 เนื่องจากความลาชา ในการจัดทํางบประมาณประจําปงบประมาณ 2555 ที่จะสงผลใหการเบิกจายงบลงทุนในไตรมาสที่ 4 ของป 2554 ชะลอ ลง ประกอบกับงบประมาณรายจายลงทุนในปงบประมาณ 2554 ที่มีวงเงินงบประมาณลงทุนจํานวน 355.5 พันลานบาท (รวมงบเพิ่มเติมในสวนของงบลงทุนที่ใชในการฟนฟูภัยพิบัติ และเงินอุดหนุนให อปท. จํานวน 15.8 พันลานลานบาท) เพิ่มขึ้น จากปงบประมาณ 2553 ที่มีวงเงินงบประมาณลงทุนจํานวน 214.4 พันลานบาท หรือขยายตัวรอยละ 65.8 ทําใหคาดวารัฐบาล จะสามารถเรงรัดการเบิกจายงบประมาณรายจายลงทุนใหไดรอยละ 72.0 ของกรอบวงเงินงบประมาณรายจายลงทุน รวมถึง การเบิกจายงบลงทุนจากแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ที่คาดวาในปงบประมาณ 2554 สามารถเบิกจายไดจํานวน 56.0 พันลานบาท ทั้งนี้ ในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 รายจายลงทุนของรัฐบาลสามารถเบิกจายไดจํานวน 231.0 พันลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 64.0 ของกรอบวงเงินงบประมาณรายจายลงทุน (รวมงบเพิม่ เติม) และการเบิกจาย จากแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 สามารถเบิกจายไดจํานวน 54.8 พันลานบาท และมีการเบิกจายสะสมตั้งแตเริ่มโครงการ (เดือนกันยายน 2552–สิงหาคม 2554) จํานวนทั้งสิ้น 289.2 พันลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 82.6 ของกรอบวงเงิน 350.0 พันลานบาท ➥ ในป 2555 การลงทุนของภาครัฐที่แทจริงคาดวาจะขยายตัวรอยละ 5.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอน (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 4.5-6.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน) เพิ่มขึ้นจากป 2554 โดยมีปจจัยหลัก มาจากฐานตํา่ ของชวงเดียวกันของปกอ น ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบายการกอสรางโครงสรางพืน้ ฐาน ภายใตยทุ ธศาสตรการสราง ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางมีเสถียรภาพและยั่งยืน ประกอบกับการจัดสรรงบประมาณรายจายใหแกองคกรปกครอง สวนทองถิ่นในปงบประมาณ 2555 โดยรัฐบาลไดจัดสรรอุดหนุนแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นจํานวน 223.2 พันลานบาท ประมาณการเศรษฐกิจไทย
35
หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 24.1 ทั้งนี้ ในปงบประมาณ 2555 รัฐบาลไดตั้งวงเงินงบประมาณรายจายลงทุนจํานวน 354.4 พันลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 16.5 ของกรอบวงเงินงบประมาณ ขณะทีง่ บลงทุนภายใตแผนปฏิบตั กิ ารไทยเขมแข็ง 2555 ในปงบประมาณ 2555 คาดวาจะสามารถเบิกจายไดภายในชวงคาดการณจํานวน 45.3–59.2 พันลานบาท 1.3 ปริมาณการสงออกสินคาและบริการที่แทจริง ➥ ปริมาณการสงออกสินคาและบริการทีแ ่ ทจริงในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ขยายตัวรอยละ 11.8 เมือ่ เทียบกับ
ชวงเดียวกันของปกอนหนา ขยายตัวชะลอลงจากไตรมาสกอนที่ขยายตัวรอยละ 16.0 ผลจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจ โลก โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาที่ถูกสถาบันจัดอันดับความนาเชื่อถือ S&P ลดอันดับความนาเชื่อถือจาก AAA เปน AA+ จาก ความกังวลเรื่องหนี้สาธารณะและความขัดแยงทางการเมืองเกี่ยวกับการปรับเพิ่มเพดานหนี้ ซึ่งเปนการลดอันดับครั้งแรก ในรอบ 70 ป และสหภาพยุโรปที่ประสบปญหาหนี้สาธารณะเชนเดียวกัน ประกอบกับเริ่มไดรับผลกระทบจากภัยพิบัติ ในญี่ปุน โดยเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแลวพบวา ปริมาณการสงออกสินคาและบริการหดตัวรอยละ -1.0 ลดลงจากไตรมาสกอน ดานมิติสินคาพบวา ปริมาณการสงออกสินคาขยายตัวชะลอลงที่รอยละ 9.2 สะทอนจากปริมาณการสงออกของผลิตภัณฑ ยานยนตทหี่ ดตัวรอยละ -12.1 จากการขาดแคลนชิน้ สวนในการผลิตเนือ่ งจากภัยพิบตั ใิ นญีป่ นุ แตยงั คงไดรบั อานิสงสจากปริมาณ การสงออกสินคาเกษตรกรรม อุตสาหกรรมเกษตร และสินคาแรและเชื้อเพลิง ที่ขยายตัวเรงขึ้นจากไตรมาสที่ 1 ป 2554 รอยละ 33.8 รอยละ 21.2 และรอยละ 18.4 ตามลําดับ รวมถึงสินคาในหมวดอิเล็กทรอนิกสที่เริ่มกลับมาขยายตัวดีขึ้นจากไตรมาส กอนหนาที่สงสัญญาณชะลอลงมาก เมื่อพิจารณารายตลาดพบวา การสงออกไปยังตลาดหลัก ไดแก สหรัฐอเมริกา สหภาพ ยุโรป มีสัญญาณการชะลอตัวลงอยางเห็นไดชัด สวนจีนยังคงขยายตัวดีตอเนื่อง ในขณะที่ญี่ปุนขยายตัวเรงขึ้นจากไตรมาส กอนหนาจากสินคายางพารา อาหารทะเลกระปองและแปรรูป และเครื่องจักรกล เพื่อใชฟนฟูประเทศใหกลับเขาสูภาวะปกติ โดยเร็ว สําหรับตลาดอาเซียนขยายตัวเรงขึ้นจากนํ้ามันสําเร็จรูป ยางพารา และแผงวงจรไฟฟา สวนการสงออกบริการขยายตัว เรงขึ้นรอยละ 28.5 เพิ่มขึ้นจากไตรมาสกอนหนาที่ขยายตัวรอยละ 6.4 เริ่มฟนตัวอยางตอเนื่องจากกลุมเอเชียตะวันออก ที่ขยายตัวไดดี ภาพที่ 21 ประมาณการอัตราการขยายตัวของปริมาณการสงออกสินคาและบริการ
ที่มา : สศค.
➥ ในป 2554 ปริมาณการสงออกสินคาและบริการคาดวาจะขยายตัวรอยละ 13.2 (โดยมีชวงคาดการณ
ที่รอยละ 12.7-13.7) ขยายตัวชะลอลงจากปกอนหนา แตคาดวาจะยังคงขยายตัวอยูในระดับสูง เนื่องจากการขยายตัวของ การสงออกสินคาและบริการที่สูงเกินคาดในชวงครึ่งปแรก อยางไรก็ตาม ความไมแนนอนของการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก จากปญหาภาคอสังหาริมทรัพยและการจางงานในสหรัฐอเมริกา และปญหาหนี้สาธารณะในกลุมประเทศยุโรป ยังคงเปน ปจจัยเสี่ยงสําคัญตอแนวโนมอุปสงคโลกที่อาจชะลอตัวลงมากกวาที่คาด ซึ่งอาจสงผลใหปริมาณการสงออกสินคาและบริการ ในป 2554 ขยายตัวในอัตราชะลอลงจากปกอน
36
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
➥ ในป 2555 ปริมาณการสงออกสินคาและบริการคาดวาจะขยายตัวรอยละ 5.5 (โดยมีชวงคาดการณ
ที่รอยละ 4.5-6.5) เนื่องมาจากปจจัยฐานสูงในปกอน ประกอบกับคาดวาอุปสงคตางประเทศจะยังคงไดรับความเสี่ยงจาก การเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยจากกลุมประเทศพัฒนาแลว ทําใหการสงออกสินคาและบริการในป 2555 คาดวาจะขยายตัว ชะลอลงจากปกอ น อยางไรก็ตาม ยังคงไดรบั ปจจัยบวกจากการฟน ตัวของเศรษฐกิจประเทศญีป่ นุ ทีค่ าดวาจะฟน ตัวไดในป 2555 1.4 ปริมาณการนําเขาสินคาและบริการที่แทจริง ➥ ปริมาณการนําเขาสินคาและบริการทีแ ่ ทจริงในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ขยายตัวรอยละ 14.9 เมือ่ เทียบกับ
ชวงเดียวกันของปกอนหนา ชะลอลงจากไตรมาสที่ 1 ป 2554 ที่ขยายตัวรอยละ 16.8 ทั้งนี้ เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแลว พบวา ปริมาณการนําเขาสินคาและบริการขยายตัวชะลอลงเชนกันจากไตรมาสกอนหนาที่รอยละ 2.4 เนื่องจากการหดตัว ของปริมาณการนําเขาสินคาหมวดยานยนตที่หดตัวรอยละ -3.1 ลดลงจากไตรมาสกอนหนาที่ขยายตัวรอยละ 22.9 ซึ่งไดรับ ผลกระทบจากภัยพิบัติในประเทศญี่ปุนที่เริ่มสงผลกระทบในไตรมาสนี้ ประกอบกับมีการชะลอตัวลงของปริมาณการนําเขา สินคาหมวดหลักอื่น ๆ ไดแก ปริมาณการนําเขาสินคาเชื้อเพลิงที่ขยายตัวชะลอลงที่รอยละ 0.8 จากไตรมาสกอนที่ขยายตัว รอยละ 13.7 ปริมาณการนําเขาสินคาทุนขยายตัวชะลอลงรอยละ 14.5 และปริมาณการนําเขาสินคาอุปโภคบริโภคขยายตัว ชะลอลงที่รอยละ 11.9 อยางไรก็ตาม ปริมาณการนําเขาสินคาวัตถุดิบขยายตัวเรงขึ้นที่รอยละ 26.5 จากการนําเขาทองคําที่สูง เนื่องจากการเก็งกําไร ในขณะที่การนําเขาบริการที่แทจริงหดตัวที่รอยละ -3.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา ลดลง จากไตรมาสที่ 1 ป 2554 ที่ขยายตัวรอยละ 6.1 ภาพที่ 22 ประมาณการอัตราการขยายตัวของปริมาณการนําเขาสินคาและบริการ
ที่มา : สศค.
➥ ในป 2554 ปริมาณการนําเขาสินคาและบริการคาดวาจะขยายตัวรอยละ 15.0 (โดยมีชวงคาดการณ
ที่รอยละ 14.5-15.5) ขยายตัวชะลอลงจากปกอนหนา สาเหตุสวนใหญมาจากราคานํ้ามันดิบที่ยังคงอยูในระดับสูง อีกทั้งยังคง ไดรับผลกระทบจากเหตุการณภัยพิบัติในญี่ปุนที่สงผลกระทบอยางตอเนื่อง เนื่องจากญี่ปุนเปนแหลงนําเขาหลักของไทย ทําให การนําเขาสินคาจากญี่ปุนชะลอลงอยางมาก สงผลใหภาคการผลิตในประเทศชะลอลง ประกอบกับคาเงินบาทที่มีแนวโนม ออนคาลงตอเนื่อง คาดวาจะสงผลใหราคาสินคานําเขาในรูปเงินบาทสูงขึ้น ซึ่งจะเปนปจจัยทําใหมีการนําเขาสินคาลดลง
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
37
➥ ในป 2555 ปริมาณการนําเขาสินคาและบริการคาดวาจะขยายตัวรอยละ 10.3 (โดยมีชวงคาดการณ
ที่รอยละ 9.3-11.3) ขยายตัวชะลอลงจากปกอนหนา อันเนื่องมาจากมีการเรงนําเขาในป 2554 ทําใหเกิดปจจัยฐานสูง ประกอบกับคาดวาในป 2555 ราคานํ้ามันดิบจะยังคงทรงตัวในระดับสูง อาจสงผลใหปริมาณการนําเขาสินคาและบริการ ขยายตัวชะลอลงจากปกอนหนา
2. ดานการคาระหวางประเทศ 2.1 มูลคาสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐ ➥ มูลคาสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐ ในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ 155.4 พันลานดอลลาร
สหรัฐ คิดเปนการขยายตัวรอยละ 25.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 ขยายตัว รอยละ 19.2 และเมื่อหักผลของการสงออกทองคําออกพบวา มูลคาการสงออกในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 ขยายตัวรอยละ 26.4 ทั้งนี้ การขยายตัวของมูลคาการสงออกสินคามีการเรงตัวขึ้นในหมวดสินคาเครื่องใชไฟฟา และหมวดยานพาหนะจาก การฟนตัวเขาสูสถานการณปกติหลังจากประสบภัยพิบัติสึนามิในไตรมาสที่ 2 ป 2554 รวมทั้งการสงออกทองคําของนักลงทุน เปนจํานวนมากเพือ่ เก็งกําไรในชวงเศรษฐกิจโลกผันผวน ในขณะทีส่ นิ คาหมวดเกษตรกรรม อุตสาหกรรมการเกษตร สินคาเชือ้ เพลิง และอิเล็กทรอนิกสขยายตัวในระดับที่สูง แตมีแนวโนมชะลอลง และหากพิจารณาเปนรายตลาดพบวา มูลคาการสงออก สินคาขยายตัวไดดีในเกือบทุกตลาด ยกเวนทวีปออสเตรเลียและประเทศฟลิปปนสที่ยังคงหดตัว โดยการสงออกไปยังจีน สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และญี่ปุน ขยายตัวรอยละ 34.7 รอยละ 15.4 รอยละ 24.5 และรอยละ 30.7 ตอป ตามลําดับ อีกทั้ง การสงออกไปยังตลาดภูมิภาค โดยเฉพาะตลาดอาเซียน-5 ขยายตัวเรงขึ้นที่รอยละ 25.0 ในขณะที่ทวีปออสเตรเลียและประเทศ ฟลิปปนสหดตัวที่รอยละ -7.2 และรอยละ -5.5 ตอป ตามลําดับ ภาพที่ 23 ประมาณการอัตราการขยายตัวของมูลคาสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐ
ที่มา : สศค.
➥ ในป 2554 สศค.คาดวามูลคาสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐจะยังคงขยายตัวในระดับสูงที่รอยละ
22.3 (โดยมีชวงคาดการณที่รอยละ 21.8-22.8) ชะลอลงจากป 2553 ที่ขยายตัวรอยละ 28.5 ตอป เนื่องจากการขยายตัว ของการสงออกสินคาและบริการทีส่ งู เกินคาดในชวงครึง่ แรกของป โดยขยายตัวสูงถึงรอยละ 13.9 อยางไรก็ตาม ความเปราะบาง ของการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกจากภาวะการจางงานในสหรัฐอเมริกาทีย่ งั คงอยูใ นระดับสูง และปญหาหนีส้ าธารณะในกลุม ประเทศยุโรปยังคงเปนปจจัยเสีย่ งสําคัญตอแนวโนมอุปสงคโลกทีอ่ าจชะลอตัวลงกวาทีค่ าด และสงผลกระทบใหภาคการสงออก สินคาและบริการในป 2554 ขยายตัวในอัตราชะลอลงจากปกอน
38
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
➥ ในป 2555 สศค.คาดวามูลคาสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐจะขยายตัวที่รอยละ 13.7 (โดยมี
ชวงคาดการณทรี่ อ ยละ 12.7-14.7) ชะลอตัวลงจากป 2554 เนือ่ งจากปจจัยฐานทีส่ งู ในป 2553 อยางไรก็ตาม คาดวาการสงออก ในป 2555 จะยังคงเติบโตไดอยางตอเนื่อง โดยไดรับแรงสนับสนุนจากเศรษฐกิจโลกที่มีแนวโนมวาจะเริ่มฟนตัวขึ้นตามลําดับ และไดรับอานิสงสจากการฟนตัวของเศรษฐกิจญี่ปุนภายหลังเหตุการณภัยพิบัติสึนามิ 2.2 มูลคานําเขาสินคาในรูปดอลลารสหรัฐ ➥ มูลคานําเขาสินคาในรูปดอลลารสหรัฐ ในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ 134.9 พันลานดอลลาร
สหรัฐ คิดเปนการขยายตัวรอยละ 28.1 ตอป โดยไตรมาสที่ 2 ของป 2554 ขยายตัวรอยละ 28.0 ตอป ซึ่งเปนผลจากอุปสงค ภายในประเทศทีแ่ ข็งแกรง โดยการนําเขาสินคาในหมวดสินคาอุปโภคบริโภค สินคาวัตถุดบิ สินคาทุน และยานพาหนะขยายตัว รอยละ 23.5 รอยละ 24.4 รอยละ 26.9 และรอยละ 27.4 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา ตามลําดับ ประกอบกับ การนําเขาสินคาเชื้อเพลิงยังคงขยายตัวในระดับสูงถึงรอยละ 47.8 ตามราคานํ้ามันดิบในตลาดโลกที่ยังทรงตัวในระดับสูง ทั้งนี้ หากหักนํ้ามันดิบซึ่งมีความผันผวนแลว มูลคานําเขาสินคาในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 จะขยายตัวรอยละ 25.3 เมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันของปกอนหนา
ภาพที่ 24 ประมาณการอัตราการขยายตัวของมูลคานําเขาสินคาในรูปดอลลารสหรัฐ
ที่มา : สศค.
➥ ในป 2554 สศค.คาดวามูลคานําเขาสินคาในรูปดอลลารสหรัฐจะขยายตัวที่รอยละ 26.6 (โดยมี
ชวงคาดการณที่รอยละ 26.1-27.1) ชะลอตัวลงจากป 2553 ที่ขยายตัวรอยละ 36.8 โดยมีสาเหตุสําคัญมาจากตนทุน การผลิตที่สูงขึ้น ทําใหความตองการการนําเขาสินคาวัตถุดิบและสินคาทุนชะลอลง ➥ ในป 2555 สศค.คาดวามูลคานําเขาสินคาในรูปดอลลารสหรัฐจะขยายตัวที่รอยละ 15.8 (โดยมี ชวงคาดการณที่รอยละ 14.8-16.8) ชะลอลงจากปกอน อันมีสาเหตุสําคัญมาจากการเรงปริมาณการนําเขาในป 2554 ประกอบกับราคาสินคาโภคภัณฑและเชื้อเพลิงที่อาจจะขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงเมื่อเทียบกับปกอน ซึ่งสงผลใหมูลคา การนําเขาในป 2555 ไมเรงตัวมากนัก
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
39
2.3 ดุลการคา ➥ ดุลการคาในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 เกินดุล 20.5 พันลานดอลลารสหรัฐ เพิม ่ ขึน้ จากชวง 8 เดือนแรก
ของป 2553 ที่เกินดุล 18.5 พันลานดอลลารสหรัฐ อันเปนผลมาจากมูลคาการสงออกสินคาที่สูงกวามูลคาการนําเขาสินคา โดยมูลคาการสงออกสินคาอยูท ี่ 155.4 พันลานดอลลารสหรัฐ ในขณะทีม่ ลู คาการนําเขาสินคาอยูท ี่ 134.9 พันลานดอลลารสหรัฐ
ภาพที่ 25 ประมาณการดุลการคา
ที่มา : สศค.
➥ ในป 2554 คาดวาดุลการคาจะเกินดุล 9.5 พันลานดอลลารสหรัฐ (โดยมีชวงคาดการณที่ 8.5-10.5
พันลานดอลลารสหรัฐ) ลดลงจากป 2553 โดยเปนผลจากแนวโนมอุปสงคจากตางประเทศชะลอลงตามการฟน ตัวของเศรษฐกิจ โลกที่ยังคงเปราะบาง และราคาสินคานําเขาในตลาดโลกที่ทรงตัวในระดับสูง อยางไรก็ตาม การเติบโตของเศรษฐกิจคูคาใหม โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชีย คาดวาจะทําใหการสงออกสินคาของไทยขยายตัวไดดีและยังคงมีมูลคาสูงกวาการนําเขาสินคา ➥ ในป 2555 คาดวาดุลการคาจะเกินดุล 6.0 พันลานดอลลารสหรัฐ (โดยมีชวงคาดการณที่ 5.0-7.0 พันลานดอลลารสหรัฐ) ซึง่ เปนการเกินดุลลดลงจากปกอ นหนา ตามมูลคาสินคานําเขาทีค่ าดวาจะขยายตัวในอัตราเรงกวา มูลคาสินคาสงออก เนือ่ งจากการนําเขาสินคาทุนและเครือ่ งจักรทีม่ แี นวโนมเพิม่ ขึน้ ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในป 2555
3. ดานเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 3.1 ดุลบัญชีเดินสะพัด ➥ ดุลบัญชีเดินสะพัดในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 เกินดุล 10.0 พันลานดอลลารสหรัฐ เพิ่มขึ้น
จากชวง 8 เดือนแรกของป 2553 ที่เกินดุล 5.7 พันลานดอลลารสหรัฐ โดยดุลการคาตามระบบดุลการชําระเงินเกินดุล 20.5 พันลานดอลลารสหรัฐ จากการสงออกทีย่ งั ขยายตัวในระดับสูง และดุลบริการ รายไดปฐมภูมิ และรายไดทตุ ยิ ภูมขิ าดดุลสูง ที่ -10.5 พันลานดอลลารสหรัฐ จากเงินบริการจาย โดยเฉพาะคาระวางสินคาและคาขนสงทีป่ รับตัวสูงขึน้ ตามการนําเขาทีส่ งู ขึน้
40
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ภาพที่ 26 ประมาณการดุลบัญชีเดินสะพัด
ที่มา : สศค.
➥ ในป 2554 ดุลบัญชีเดินสะพัดคาดวาจะเกินดุล 13.5 พันลานดอลลารสหรัฐ (โดยมีชวงคาดการณที่
12.1-13.9 พันลานดอลลารสหรัฐ หรือประมาณรอยละ 3.5-4.0 ของ GDP) ลดลงเล็กนอยจากป 2553 โดยเปนผลจาก ดุลการคาทีค่ าดวาจะปรับตัวลดลงตามการนําเขาสินคาทีข่ ยายตัวสูงขึน้ สวนหนึง่ จากราคานํา้ มันดิบในตลาดโลกทีป่ รับตัวสูงขึน้ ขณะที่ดุลบริการ เงินโอน และเงินบริจาค คาดวาจะเกินดุลเล็กนอย ตามรายรับจากภาคบริการที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้น ➥ ในป 2555 ดุลบัญชีเดินสะพัดคาดวาจะเกินดุล 9.0 พันลานดอลลารสหรัฐ (โดยมีชวงคาดการณที่ 6.9-10.9 พันลานดอลลารสหรัฐ หรือประมาณรอยละ 1.8-2.8 ของ GDP) ลดลงเล็กนอยจากป 2554 ตามการนําเขาสินคา ที่ขยายตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะการนําเขาสินคาวัตถุดิบและกึ่งสําเร็จรูป สินคาทุน และสินคาอุปโภคบริโภค ซึ่งคาดวาจะขยายตัว ดีขึ้นตามการขยายตัวของการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนที่ขยายตัวดี 3.2 เงินเฟอ ➥ อัตราเงินเฟอทั่วไปในชวง 9 เดือนแรกของป 2554 อยูที่รอยละ 3.8 ขยายตัวเรงขึ้นมากจากชวง
9 เดือนแรกของป 2553 ที่ขยายตัวรอยละ 3.4 อันเปนผลจาก 1) ราคาอาหารสําเร็จรูปปรับตัวสูงขึ้น ซึ่งเปนผลมาจากตนทุน วัตถุดิบและเครื่องประกอบอาหารที่เรงตัวสูงขึ้น 2) ราคาสินคาในหมวดยานพาหนะและเชื้อเพลิงปรับตัวสูงขึ้น เนื่องจากราคา นํา้ มันดิบในตลาดโลกยังคงอยูใ นระดับสูงเมือ่ เทียบกับปกอ นหนา และ 3) ราคาสินคาเกษตรทีป่ รับตัวสูงขึน้ จากปกอ น เนือ่ งจาก ความแปรปรวนของสภาพอากาศและเหตุการณนํ้าทวม ขณะที่อัตราเงินเฟอพื้นฐานในชวง 9 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ รอยละ 2.9
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
41
ภาพที่ 27 ประมาณการอัตราเงินเฟอทั่วไป
ที่มา : สศค.
➥ ในป 2554 คาดวาอัตราเงินเฟอทัว่ ไปจะปรับตัวเพิม ่ ขึน้ จากปกอ นมาอยูท รี่ อ ยละ 3.8 (โดยมีชว งคาดการณ
ที่รอยละ 3.6-4.1) เนื่องจากผลของ 1) ราคาอาหารสําเร็จรูปที่ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากตนทุนวัตถุดิบในการประกอบอาหาร ปรับตัวสูงขึ้น 2) ราคานํ้ามันดิบในตลาดโลกยังคงอยูในระดับสูง 3) ราคาสินคาเกษตรจําพวกเนื้อสัตว ผัก และผลไม ที่คาด วาจะปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสภาพอากาศที่ไมเอื้ออํานวยตอการเจริญเติบโต ประกอบกับผลผลิตเสียหายจากเหตุการณนํ้าทวม ซึ่งจะสงผลตอเนื่องทําใหราคาสินคาในหมวดอาหารอาจปรับตัวสูงขึ้น ขณะที่อัตราเงินเฟอพื้นฐานที่ไมรวมราคาสินคาในหมวด พลังงานและอาหารสดคาดวาจะปรับตัวเพิ่มขึ้นจากป 2553 มาอยูที่รอยละ 2.5 (ชวงคาดการณที่รอยละ 2.3–2.8 เมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันของปกอน) ➥ ในป 2555 คาดวาอัตราเงินเฟอทั่วไปจะปรับตัวชะลอลงจากปกอนมาอยูที่รอยละ 3.3 (โดยมี ชวงคาดการณที่รอยละ 2.8-3.8) โดยคาดวาราคานํ้ามันในตลาดโลกจะขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงจากป 2554 อยางไรก็ดี ราคาสินคาเกษตรโดยเฉพาะราคาขาวจะปรับตัวสูงขึน้ จากมาตรการรับจํานําขาวของรัฐบาล นอกจากนี้ ราคาสินคาทีใ่ ชแรงงาน ในการผลิตอาจปรับตัวสูงขึ้นจากมาตรการคาแรงขั้นตํ่า 300 บาท ขณะที่อัตราเงินเฟอพื้นฐานที่ไมรวมราคาสินคาในหมวด พลังงานและอาหารสดคาดวาจะปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยูที่รอยละ 2.3 (ชวงคาดการณที่รอยละ 1.8-2.8) ขยายตัวชะลอลงจาก ปกอนหนา
42
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ภาคการคลัง รายงานสรุปสถานการณดานการคลัง ในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 บทสรุปผูบริหาร ในป ง บประมาณ 2554 รั ฐ บาลได จั ด ทํ า งบประมาณแบบขาดดุ ล (Expansionary Fiscal Policy) เพื่อสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจภายในประเทศ โดยมีกรอบวงเงินงบประมาณรายจายจํานวน 2,070.0 พันลานบาท และประมาณการรายไดจํานวน 1,650.0 พันลานบาท สงผลใหมีการขาดดุลงบประมาณจํานวน -420.0 พันลานบาท รวมถึง การจัดทําโครงการแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ที่ตอเนื่องจากปงบประมาณ 2553 วงเงินจํานวน 350.0 พันลานบาท นอกจากนี้ รัฐบาลยังไดมีการจัดทํางบประมาณเพิ่มเติมอีกจํานวน 99.9 พันลานบาท โดยเปนการชดใชเงินคงคลังจํานวน 84.1 พันลานบาท และเพื่อการฟนฟูภัยพิบัติและอุดหนุนองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) จํานวน 15.8 พันลานบาท ทําให กรอบประมาณการตามเอกสารงบประมาณรวมงบเพิ่มเติมในสวนงบประมาณรายจายเพิ่มขึ้นเปน 2,170.0 พันลานบาท นอกจากนี้ ไดมีการปรับประมาณการการจัดเก็บรายไดเพิ่มขึ้นอีกจํานวน 120.0 พันลานบาท เปน 1,770.0 พันลานบาท ทําให มีการขาดดุลงบประมาณจํานวน -400.0 พันลานบาท ❍ สถานการณดานการคลังลาสุดพบวา ในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 รัฐบาลมีรายไดสุทธิ (หลังหักจัดสรรใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.)) จํานวนทั้งสิ้น 1,788.7 พันลานบาท สูงกวาประมาณการตามเอกสาร งบประมาณ 288.5 พันลานบาทหรือรอยละ 14.6 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 178.1 พันลานบาทหรือรอยละ 11.1 ซึ่งการจัดเก็บรายไดที่สูงกวาประมาณการฯ นี้ เปนผลมาจากการจัดเก็บภาษีที่สูงกวาประมาณการของ (1) กรมสรรพากร โดยเฉพาะจากภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล ภาษีมลู คาเพิม่ และภาษีเงินไดบคุ คลธรรมดา (2) กรมสรรพสามิต โดยเฉพาะจากภาษีรถยนต ภาษีสุรา และภาษียาสูบ (3) กรมศุลกากร จากอากรขาเขา และ (4) การนําสงรายไดของรัฐวิสาหกิจ เปนสําคัญ ❍ สําหรับผลการเบิกจายงบประมาณของรัฐบาลในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 รัฐบาลเบิกจาย เงินงบประมาณมีจํานวนทั้งสิ้น 1,984.5 พันลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนหนาจํานวน 392.8 พันลานบาทหรือ รอยละ 24.7 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น ทัง้ นี้ การเบิกจายงบประมาณประจําปประกอบดวย (1) รายจายของปงบประมาณ ปจจุบนั จํานวน 1,865.9 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 29.1 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 86.0 ของกรอบวงเงินงบประมาณประจําป 2554 (2,170.0 พันลานบาท) และ (2) รายจายเหลื่อมปเบิกจายไดจํานวน 118.6 พันลานบาท หดตัวรอยละ -18.9 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน นอกจากนี้ รัฐบาลไดมีการเบิกจายงบประมาณจาก แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 แลวจํานวน 289.2 พันลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 82.6 ของกรอบวงเงินลงทุนจํานวน 350.0 พันลานบาท (สะสม ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554) ❍ ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 รัฐบาล ขาดดุลเงินงบประมาณจํานวน -365.7 พันลานบาท และเมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่เกินดุลจํานวน 59.0 พันลานบาท สงผลใหดุลเงินสด (กอนกู) ขาดดุลจํานวน -306.8 พันลานบาท และทําใหเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554 มีจํานวน ทั้งสิ้น 289.2 พันลานบาท ❍ สําหรับหนีส ้ าธารณะคงคาง ณ สิน้ เดือนสิงหาคม 2554 มีจาํ นวนทัง้ สิน้ 4,269.0 พันลานบาท คิดเปนสัดสวน รอยละ 40.22 ของ GDP ลดลงจากเดือนกรกฎาคม 2554 จํานวน -11.0 พันลานบาท ซึ่งเปนการลดลงจากหนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง ซึง่ ลดลงสุทธิ -6.2 พันลานบาท โดยรายการทีส่ าํ คัญเกิดจากการไถถอนเงินกูร ะยะสัน้ จํานวน 20.0 พันลานบาท ทัง้ นี้ หนีส้ าธารณะ คงคางจําแนกไดเปน (1) หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง (2) หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน (3) หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบัน การเงิน และ (4) หนี้กองทุนเพื่อการฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ❍
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
43
ปงบประมาณ 2554 รัฐบาลไดดําเนินนโยบายการคลังแบบผอนคลาย (Expansionary Fiscal Policy) เพื่อเปน การกระตุนเศรษฐกิจภายในประเทศใหสามารถขยายตัวไดอยางตอเนื่อง รวมถึงการดําเนินการแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง 2555 ตอเนื่องจากปงบประมาณ 2552 และ 2553 ภายใตกรอบวงเงินลงทุน 350.0 พันลานบาท ที่ถือเปน การใชจา ยเงินนอกงบประมาณ (Extra Budgetary Expenditure) ภายในปปฏิทนิ 2554 เพือ่ เปนการเรงรัดการลงทุนภายใน ประเทศโดยเฉพาะการลงทุนในโครงสรางสาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐาน และเปนการสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ภายในประเทศ
1. สรุปผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553-สิงหาคม 2554) ผลการจั ด เก็ บ รายได สุ ท ธิ ข องรั ฐ บาลในช ว ง 11 เดื อ นแรกของป ง บประมาณ 2554 รั ฐ บาลจั ด เก็ บ รายได สุ ท ธิ (หลังหักการจัดสรรให อปท.) จํานวน 1,788.7 พันลานบาท สูงกวาประมาณการตามเอกสารงบประมาณ 228.5 พันลานบาท หรือรอยละ 14.6 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 178.1 พันลานบาทหรือรอยละ 11.1 ตอป ทั้งนี้ รายไดของรัฐบาลจาก 3 กรมจัดเก็บ (กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต และกรมศุลกากร) มีจํานวนทั้งสิ้น 1,885.1 พันลานบาท สูงกวาประมาณการ ตามเอกสารงบประมาณ 225.0 พันลานบาทหรือรอยละ 13.6 และสูงกวาปงบประมาณกอนหนา 238.4 พันลานบาทหรือ รอยละ 14.5 ตอป โดยมีรายละเอียดการจัดเก็บรายไดรัฐบาลที่สําคัญ ดังนี้ ❍ กรมสรรพากรจัดเก็บรายไดจา ํ นวน 1,423.1 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 199.8 พันลานบาท หรือรอยละ 16.3 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอ น 239.1 พันลานบาทหรือรอยละ 20.2 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอ น โดยมีรายละเอียดของภาษีทสี่ าํ คัญ ดังนี้ (1) ภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลจัดเก็บได 554.6 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 139.0 พันลานบาทหรือรอยละ 33.5 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 117.6 พันลานบาทหรือรอยละ 26.9 ตอป สะทอนภาวะ เศรษฐกิจที่ขยายตัวไดดีในชวงที่ผานมา (2) ภาษีมูลคาเพิ่มจัดเก็บได 528.0 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 37.7 พันลานบาทหรือรอยละ 7.7 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 68.2 พันลานบาทหรือรอยละ 14.8 ตอป สะทอนการบริโภค ภายในประเทศและการนําเขาทีข่ ยายตัวไดดตี ามภาวะเศรษฐกิจ และ (3) ภาษีเงินไดบคุ คลธรรมดาจัดเก็บได 217.6 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 17.5 พันลานบาทหรือรอยละ 8.7 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 24.9 พันลานบาทหรือรอยละ 12.9 ตอป เนื่องจากการจัดเก็บภาษีจากฐานเงินเดือนและคาจางเก็บไดสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน ❍ กรมสรรพสามิตจัดเก็บไดจํานวน 368.3 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 12.2 พันลานบาท หรือรอยละ 3.4 แตตาํ่ กวาชวงเดียวกันของปกอ น -5.3 พันลานบาทหรือหดตัวรอยละ -1.4 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอ น โดยรายไดทจี่ ดั เก็บไดตาํ่ กวาปกอ น มีผลเนือ่ งมาจากการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตนํา้ มันดีเซลเหลือ 0.005 บาทตอลิตร ตัง้ แตวนั ที่ 21 เมษายน 2554 โดยมีรายละเอียดของภาษีทสี่ าํ คัญ ดังนี้ (1) ภาษีสรรพสามิตนํา้ มันจัดเก็บได 113.2 พันลานบาท ตํา่ กวาประมาณการรายได 26.2 พันลานบาทหรือรอยละ 18.8 และตํา่ กวาชวงเดียวกันของปกอ น 27.6 พันลานบาท หรือรอยละ 19.6 และ (2) ภาษีสรรพสามิตรถยนตจัดเก็บได 83.2 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 22.4 พันลานบาท หรือรอยละ 36.9 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 12.9 พันลานบาทหรือรอยละ 18.3 เปนผลจากการขยายตัวของการบริโภค ภายในประเทศ ประกอบกับอุตสาหกรรมยานยนตไดเริม่ ฟน ตัวภายหลังจากไดรบั ผลกระทบจากเหตุการณสนึ ามิทปี่ ระเทศญีป่ นุ ❍ กรมศุลกากรจัดเก็บไดจํานวน 93.6 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 13.0 พันลานบาทหรือ รอยละ 16.1 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 4.5 พันลานบาทหรือรอยละ 5.1 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน โดยมีสาเหตุสาํ คัญจากอากรขาเขาทีจ่ ดั เก็บได 90.8 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 12.4 พันลานบาทหรือรอยละ 15.8 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอ น 5.1 พันลานบาทหรือรอยละ 6.0 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น สะทอนการขยายตัวของ มูลคาการนําเขาที่เพิ่มขึ้น แมจะไดรับผลกระทบจากเหตุการณภัยพิบัติในประเทศญี่ปุน
44
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ตารางที่ 1 ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 ประมาณการรายได
1. กรมสรรพากร - ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา - ภาษีเงินไดนิติบุคคล - ภาษีเงินไดปโตรเลียม - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีธุรกิจเฉพาะ - อื่น ๆ 2. กรมสรรพสามิต - ภาษีนํ้ามัน - ภาษียาสูบ - ภาษีสุราฯ - ภาษีเบียร - ภาษีรถยนต - อื่น ๆ 3. กรมศุลกากร - อากรขาเขา - อากรขาออก - อื่น ๆ รวมรายได 3 กรมภาษี 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น รวมรายไดจัดเก็บ รายไดสุทธิรัฐบาล (หลังการจัดสรรให อปท.)
(หนวย : ลานบาท)
ปมก. ตามเอกสาร เปรียบเทียบกับ ปนี้ ปที่แลว งปม. 1,650,000 ปกอน ประมาณการ (ต.ค. 53-ส.ค. 54) (ต.ค. 52-ส.ค. 53) ประมาณการ ลานบาท (รอยละ) (รอยละ)
1,423,097 217,600 554,569 81,425 528,015 32,093 9,394 368,342 113,163 51,569 44,569 55,956 83,200 19,885 93,613 90,828 212 2,573 1,885,052 88,304 100,847 2,074,407
1,183,977 192,724 436,986 66,135 459,801 20,148 8,183 373,602 140,818 49,149 38,852 54,736 70,306 19,734 89,110 85,679 149 3,282 1,646,690 82,209 138,810 1,867,709
1,223,266 200,128 415,527 88,353 490,337 21,002 7,919 356,173 139,411 47,411 38,049 53,075 60,767 17,460 80,610 78,410 90 2,110 1,660,049 76,787 88,030 1,824,866
20.2 12.9 26.9 23.1 14.8 59.3 14.8 -1.4 -19.6 4.9 14.7 2.2 18.3 0.8 5.1 6.0 42.4 -21.6 14.5 7.4 -27.3 11.1
199,830 17,472 139,043 -6,928 37,678 11,091 1,475 12,169 -26,248 4,157 6,520 2,881 22,433 2,425 13,003 12,418 122 463 225,003 11,518 12,817 249,541
16.3 8.7 33.0 -7.8 7.7 52.8 18.6 3.4 -18.8 8.8 17.1 5.4 36.9 13.9 16.1 15.8 135.8 22.0 13.6 15.0 14.6 13.7
1,788,674
1,610,601
1,560,204
11.1
228,470
14.6
ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง
รัฐวิสาหกิจนําสงรายไดจํานวน 88.3 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 11.5 พันลานบาท หรือรอยละ 15.0 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 6.1 พันลานบาทหรือรอยละ 7.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอน สวนหนึ่งเปนผลจากการนําสงรายไดจากกําไรสุทธิป 2553 ของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย การไฟฟานครหลวง การไฟฟาสวนภูมิภาค และรายไดจากเงินปนผลของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ที่จัดเก็บไดสูงกวาประมาณการ ❍ หนวยงานอืน ่ ๆ นําสงรายไดจาํ นวน 100.8 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 12.8 พันลานบาท หรือรอยละ 14.6 แตตํ่ากวาชวงเดียวกันของปกอน -37.9 พันลานบาทหรือรอยละ -27.3 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอน เนื่องจากการจัดเก็บรายไดจากสัมปทานปโตรเลียมที่สูงกวาประมาณการ นอกจากนี้ มีเงินรับคืนจากโครงการมิยาซาวา และโครงการเงินกูเพื่อปรับโครงสรางภาคเกษตรจํานวน 1.95 พันลานบาท รวมทั้งมีเงินรายไดจากเงินกันเพื่อชดเชยการสงออก ของกรมศุลกากรสงคืนคลังจํานวน 2.11 พันลานบาท ❍
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
45
2. สรุปผลการเบิกจายงบประมาณในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553-สิงหาคม 2554) ผลการเบิกจายงบประมาณของรัฐบาลในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 รัฐบาลสามารถเบิกจายงบประมาณ ทั้งสิ้นจํานวน 1,984.5 พันลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนจํานวน 392.8 พันลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 24.7 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น ทัง้ นี้ ผลการเบิกจายงบประมาณประกอบดวย (1) รายจายของปงบประมาณปจจุบนั จํานวน 1,865.9 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 29.1 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน หรือคิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 86.0 ของ กรอบวงเงินงบประมาณประจําป 2554 (2,170.0 พันลานบาท) ซึง่ รายจายปปจ จุบนั สามารถแบงออกไดเปน 1.1) รายจายประจํา เบิกจายไดจาํ นวน 1,634.9 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 27.4 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ น หรือคิดเปนอัตราการเบิกจาย ที่รอยละ 90.1 ของกรอบวงเงินงบประมาณรายจายประจํา (ประมาณ 1,813.7 พันลานบาท) และ 1.2) รายจายลงทุน เบิกจาย ไดจํานวน 231.0 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 42.7 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน หรือคิดเปนอัตราการเบิกจาย รอยละ 64.8 ของกรอบวงเงินงบประมาณรายจายลงทุน (356.3 พันลานบาท) และ (2) รายจายเหลือ่ มปเบิกจายไดจาํ นวน 118.6 พันลานบาท หรือหดตัวรอยละ -18.9 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ทั้งนี้ การเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2553 สามารถเบิกจายไดถึง รอยละ 86.0 ของกรอบวงเงินงบประมาณ ซึ่งเปนการเบิกจายที่สูงกวาเปาหมายในชวง 11 เดือนแรกที่ตั้งไวที่รอยละ 83.4 ของกรอบวงเงินงบประมาณ ดังนั้น ทําใหคาดวาการเบิกจายงบประมาณทั้งปงบประมาณ 2554 จะสูงกวาเปาหมายที่ตั้งไวที่ รอยละ 93.0 ของกรอบวงเงินงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ 2554 ซึ่งถือเปนสวนสําคัญของการใชนโยบายการคลัง ในการสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย ตารางที่ 2 สรุปผลการเบิกจาย รายจายรัฐบาลในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554
ประเภทรายจาย
1. รายจายกรอบ งปม. - รายจายประจํา - รายจายลงทุน 2. รายจายเหลื่อมป รายจายรวม (1+2)
(หนวย : ลานบาท)
กรอบวงเงิน ผลการเบิกจาย ผลการเบิกจาย อัตราเบิกจาย งบประมาณ ชวง 11 เดือนแรก ชวง 11 เดือนแรก อัตราการขยายตัว เทียบกับกรอบ ประจําป ของปงบประมาณ ของปงบประมาณ (รอยละ) วงเงินงบประมาณ งบประมาณ 2554 2554 2553 (1) (2) (3) (2) / (3) (2) / (1) 2,169,968 1,813,687 356,280 183,221 2,353,189
1,865,892 1,634,913 230,979 118,592 1,984,484
1,445,468 1,283,655 161,813 146,241 1,591,709
29.1 27.4 42.7 -18.9 24.7
86.0 90.4 64.0 64.7 84.3
ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง
นอกจากรายจายลงทุนที่จัดสรรภายใตงบประมาณสําหรับปงบประมาณ 2554 แลว รัฐบาลยังไดดําเนินการลงทุน ภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 โดยสถานะการเบิกจายจากโครงการลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 สะสมถึงสิ้นเดือนสิงหาคม 2554 สามารถเบิกจายไดรวมทั้งสิ้นจํานวน 289,162 ลานบาท หรือคิดเปนอัตราการเบิกจายที่ รอยละ 82.6 ของวงเงินที่ไดรับการอนุมัติจํานวน 349,960 ลานบาท สําหรับสาขาที่มีการเบิกจายสะสมสูงสุด 3 ลําดับ คือ (1) สาขาการประกันรายไดและการดําเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เบิกจายจํานวน 40,000 ลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจาย 100.0 ของวงเงินที่ไดรับอนุมัติ (40,000 ลานบาท) (2) สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เบิกจายจํานวน 179 ลานบาท คิดเปน อัตราการเบิกจาย 96.9 ของวงเงินที่ไดรับอนุมัติ (185 ลานบาท) และ (3) สาขาสิ่งแวดลอม เบิกจายจํานวน 664 ลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจาย 96.3 ของวงเงินที่ไดรับอนุมัติ (689 ลานบาท) โดยมีรายละเอียดผลการเบิกจาย ดังนี้
46
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ตารางที่ 3 ผลการเบิกจายตามแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 สะสม ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554 วัตถุประสงค/สาขา 1 สรางความมั่นคงดานอาหารและพลังงานฯ 1.1 สาขาทรัพยากรนํ้าและการเกษตร 2 ปรับปรุงบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานฯ 2.1 สาขาขนสง 2.2 สาขาพลังงาน 2.3 สาขาการสื่อสาร 2.4 สาขาโครงสรางพื้นฐานดานการทองเที่ยว 2.5 สาขาพัฒนาดานสาธารณสุข พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน 2.6 สาขาสวัสดิภาพของประชาชน 2.7 สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2.8 สาขาสิ่งแวดลอม 3 สรางศักยภาพในการหารายไดจากการทองเที่ยว 3.1 สาขาพัฒนาการทองเที่ยว 4 สรางฐานรายไดใหมของประเทศฯ 4.1 สาขาเศรษฐกิจเชิงสรางสรรค 5 ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรูฯ 5.1 สาขาการศึกษา 6 ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุขฯ 6.1 สาขาพัฒนาดานสาธารณสุข พัฒนาบุคลากร 7 สรางอาชีพและรายไดเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตฯ 7.1 สาขาการลงทุนในระดับชุมชน 8 อื่น ๆ ตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด 8.1 สาขาการประกันรายได และการดําเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ รวม สํารองจายตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการบริหาร รวมทั้งสิ้น
วงเงินที่ไดรับอนุมัติ 59,503.3 59,503.3 74,781.1 46,586.5 174.3 0 3,281.7 14,691.5 9,172.9 185.0 689.2 5,394.3 5,394.3 1,331.6 1,331.6 51,981.4 51,981.4 1,927.7 1,927.7 106,542.1 106,542.1 40,000.0 40,000.0 341,460.4 8,500.0 349,960.4
(หนวย : ลานบาท)
ผลการเบิกจาย จํานวน รอยละ 50,323.3 84.6 50,323.3 84.6 59,217.1 79.2 43,673.0 93.7 0 0 0 0 1,368.5 41.7 6,275.4 42.7 7,057.3 76.9 179.3 96.9 663.6 96.3 2,512.4 46.6 2,512.4 46.6 1,274.1 95.8 1,274.1 95.8 37,651.3 72.4 37,651.3 72.4 860.1 44.6 860.1 44.6 93,559.1 87.8 93,559.1 87.8 40,000 100.0 40,000 100.0 285,397.2 83.6 3,764.9 44.3 289,162.1 82.6
ที่มา : รวบรวมโดย สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง
3. ฐานะการคลังในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553-สิงหาคม 2554) ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 รัฐบาลขาดดุล เงินงบประมาณจํานวน -365.7 พันลานบาท และเมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่เกินดุลจํานวน 59.0 พันลานบาท ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากรายรับจากการชดใชเงินคงคลังจํานวน 114.5 พันลานบาท เงินฝากคลังของเงินกูภายใตแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง 2555 ที่คงเหลือจํานวน 52.5 พันลานบาท และมีการไถถอนตั๋วเงินคลังสุทธิจํานวน 107.0 พันลานบาท ทําให ดุลเงินสด (กอนกู) ขาดดุลจํานวน -306.8 พันลานบาท ทั้งนี้ รัฐบาลไดบริหารเงินสดใหสอดคลองกับความตองการใชเงิน รวมทั้ง สรางความมัน่ คงของฐานะการคลัง โดยการกูเ งินเพือ่ ชดเชยการขาดดุลในชวง 11 เดือนแรก จํานวน 147.5 พันลานบาท สงผลให ดุลเงินสดหลังการกูเงินขาดดุลจํานวน -159.3 พันลานบาท ทําใหเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554 มีจํานวนทั้งสิ้น 270.1 พันลานบาท ทั้งนี้ การขาดดุลการคลังในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 เปนไปตามบทบาทการใชนโยบายการคลัง เพื่อเปนการกระตุนเศรษฐกิจภายในประเทศ ประมาณการเศรษฐกิจไทย
47
ตารางที่ 4 ฐานะการคลังในชวง 11 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 11 เดือน ปงบประมาณ 2554 ปงบประมาณ 2553 1. รายได 1,618,739 1,467,436 2. รายจาย 1,984,484 1,591,709 3. ดุลเงินงบประมาณ -365,745 -124,273 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ 58,956 -8,292 5. ดุลเงินสดกอนกู (3+4) -306,789 -132,565 6. เงินกูเพื่อชดเชยการขาดดุล 147,517 232,575 7. ดุลเงินสดหลังกู (5+6) -159,272 100,010 เงินคงคลัง 270,050 393,845
(หนวย : ลานบาท)
เปรียบเทียบ
จํานวน 151,303 392,775 -241,472 67,248 -174,224 -85,058 -259,282
รอยละ 10.3 24.7 194.3 -810.9 131.4 -36.6 -259.3
ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง
4. หนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะคงคาง ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554 มีจํานวนทั้งสิ้น 4,269.0 พันลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 40.22 ของ GDP ลดลงจากเดือนกอนหนา -11.0 พันลานบาท ซึ่งเปนการลดลงที่สําคัญจากหนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง โดยลดลงสุทธิ -6.2 พันลานบาท รายการที่สําคัญเกิดจากการไถถอนเงินกูระยะสั้นจํานวน 20.0 พันลานบาท ทั้งนี้ หนี้สาธารณะคงคางจําแนก ไดเปน (1) หนีท้ รี่ ฐั บาลกูโ ดยตรงจํานวน 3,010.3 พันลานบาทหรือรอยละ 28.4 ของ GDP ลดลงจากเดือนกอนหนา -6.2 พันลานบาท (2) หนีร้ ฐั วิสาหกิจทีไ่ มเปนสถาบันการเงิน 1,072.1 พันลานบาทหรือรอยละ 10.1 ของ GDP ลดลงจากเดือนกอนหนา -2.8 ลานบาท (3) หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน (รัฐบาลคํ้าประกัน) 155.6 พันลานบาทหรือรอยละ 1.5 ของ GDP ลดลงจากเดือนกอน หนา -2.5 พันลานบาท และ (4) หนี้กองทุนเพื่อการฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน 31.0 พันลานบาทหรือรอยละ 0.3 ของ GDP เพิ่มขึ้นจากเดือนกอนหนา 430.6 ลานบาท ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาสถานะของหนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554 พบวา อยูในระดับที่มีเสถียรภาพ กลาวคือ (1) หนี้สาธารณะสวนใหญเปนหนี้สกุลเงินบาทโดยมีสัดสวนสูงถึงรอยละ 92.0 ของหนี้สาธารณะคงคาง (2) หนี้สาธารณะ สวนใหญเปนหนีร้ ะยะยาวมีสดั สวนสูงถึงรอยละ 98.6 ของหนีส้ าธารณะคงคาง และ (3) สัดสวนยอดหนีส้ าธารณะคงคางตอ GDP อยูที่รอยละ 40.22 ซึ่งยังคงอยูในกรอบความยั่งยืนทางการคลังที่กําหนดสัดสวนไวไมเกินรอยละ 60.0 ตอ GDP ภาพที่ 1 สถานะหนี้สาธารณะและสัดสวนหนี้สาธารณะตอ GDP รายเดือน
ที่มา : สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง
48
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ตารางที่ 5 หนี้สาธารณะคงคาง ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2554 ณ สิ้น มิ.ย. 54 ต.ค. 54 1. หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง 2,891,655 3,000,474 2. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน 1,072,376 1,074,288 (2.1+2.2) 2.1 หนี้ที่รัฐบาลคํ้าประกัน 532,436 517,128 2.2 หนี้ที่รัฐบาลไมคํ้าประกัน 539,940 557,161 3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน 175,200 158,306 (รัฐบาลคํ้าประกัน) 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟนฟูฯ (4.1+4.2) 62,092 30,526 4.1 หนี้ที่รัฐบาลคํ้าประกัน 30,445 30,445 4.2 หนี้ที่รัฐบาลไมคํ้าประกัน 31,647 80 5. หนี้หนวยงานอื่นของรัฐ (5.1+5.2) 5.1 หนี้ที่รัฐบาลคํ้าประกัน 5.2 หนี้ที่รัฐบาลไมคํ้าประกัน หนี้สาธารณะรวม (1+2+3+4+5) 4,201,324 4,263,593 สัดสวนหนี้สาธารณะตอ GDP (รอยละ) 41.59 40.66 หนี้สาธารณะคงคาง
(หนวย : ลานบาท)
ส.ค. 54 % ของหนี้ฯ ณ ส.ค. 54 3,016,485 3,010,318 71.7% 1,074,909 1,072,101 25.5%
ก.ค./ส.ค. เพิ่ม/ลด (6,167) (2,808)
523,648 551,261 158,107
ก.ค. 54
523,770 548,331 155,624
12.5% 13.1% 3.7%
122 (2,929) (2,482)
30,553 30,984 30,445 30,445 108 538 4,280,053 4,269,027 40.57 40.22
0.7% 0.7% 0.0% 0.0% 0.0% 0.0% 100.0 -
430.6 0 430.6 0 0 0 (11,027) -
หมายเหตุ : GDP เดือนสิงหาคม 2554 เทากับ 10,613.43 พันลานบาท (คํานวณจาก (GDP ป 53/12*4)+(GDP ป 54/12*8)) และ GDP เดือนกรกฎาคม 2554 เทากับ 10,549.85 พันลานบาท (คํานวณจาก (GDP ป 53/12*5)+(GDP ป 54/12*7)) ที่มา : สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง
5. ผลการเบิกจายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจของปงบประมาณ 2554 กรอบอนุมัติงบประมาณลงทุนประจําป 2554 ของรัฐวิสาหกิจรวม 48 แหง ที่พรอมดําเนินการมีจํานวนทั้งสิ้น 304.9 พันลานบาท โดยมีผลการเบิกจายสะสมถึงสิน้ เดือนสิงหาคม 2554 จํานวน 134.1 พันลานบาท หรือคิดเปนอัตรา การเบิกจายรอยละ 44.0 ของกรอบลงทุนอนุมัติ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 5.1 การเบิกจายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจของรัฐวิสาหกิจขนาดใหญ 17 แหง ซึ่งคิดเปนรอยละ 97.3 ของ กรอบอนุมัติงบประมาณลงทุนรัฐวิสาหกิจทั้งหมด 48 แหง มีงบลงทุนที่พรอมดําเนินการจํานวน 296.7 พันลานบาท มีการเบิกจายงบลงทุนสะสม 11 เดือน (1 ตุลาคม 2553-31 สิงหาคม 2554) จํานวน 130.4 พันลานบาท หรือคิดเปนอัตรา การเบิกจายรอยละ 44.0 ของกรอบการเบิกจายงบลงทุน ซึ่งสามารถแบงออกได ดังนี้ (1) รัฐวิสาหกิจที่ใชปงบประมาณ (10 แหง) เริ่มดําเนินการ 1 ตุลาคม 2553 มีงบลงทุนที่พรอมดําเนินการจํานวน 96.7 พันลานบาท มีการเบิกจายงบลงทุนสะสม 11 เดือน (1 ตุลาคม 2553-31 สิงหาคม 2554) จํานวน 43.1 พันลานบาท หรือ คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 44.5 ของกรอบการเบิกจายงบลงทุน (2) รัฐวิสาหกิจที่ใชปปฏิทิน (7 แหง) เริ่มดําเนินการ 1 มกราคม 2554 มีงบลงทุนอนุมัติที่พรอมดําเนินการทั้งสิ้น จํานวน 199.9 พันลานบาท ซึง่ มีการเบิกจายงบลงทุนสะสม 8 เดือน (1 มกราคม 2553-31 สิงหาคม 2554) จํานวน 87.4 ลานบาท หรือคิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 43.7 ของกรอบการเบิกจายงบลงทุน
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
49
ตารางที่ 6 การเบิกจายงบลงทุนปงบประมาณ 2554 ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554 รัฐวิสาหกิจ รวม 48 แหง รวม 17 แหง ปงบประมาณ 2554 (10 แหง) องคการเภสัชกรรม โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง การทางพิเศษแหงประเทศไทย การทาเรือแหงประเทศไทย บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) การรถไฟแหงประเทศไทย การรถไฟขนสงมวลชนแหงประเทศไทย การประปานครหลวง การประปาสวนภูมิภาค การเคหะแหงชาติ ปปฏิทิน 2554 (7 แหง) บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย การไฟฟานครหลวง การไฟฟาสวนภูมิภาค บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)
(1) งบลงทุนอนุมัติ ป 2554 304,928.08 296,657.23 96,700.87 2,338.00 3,408.49 3,596.65 2,617.00 4,966.37 35,811.81 24,131.00 4,056.00 8,815.00 6,960.55 199,956.37 21,222.00 10,100.00 22,913.78 38,281.00 8,186.82 17,977.00 81,275.77
(2) เบิกจายจริงสะสม ส.ค. 2554 134,107.13 130,409.13 43,051.81 419.28 1,148.50 1,892.96 1,538.88 2,909.39 6,209.48 14,717.00 3,249.98 5,066.97 5,899.37 87,357.32 7,519.70 4,126.28 8,569.62 9,863.20 3,295.00 7,771.39 46,212.13
(หนวย : ลานบาท)
(3) = (2)/(1) % อัตราการเบิกจาย ของงบลงทุนอนุมัติ 43.98% 43.96% 44.52% 17.93% 33.70% 52.63% 58.80% 58.58% 17.34% 60.99% 80.13% 57.48% 84.75% 43.69% 35.43% 40.85% 37.40% 25.77% 40.25% 43.23% 56.86%
ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง หมายเหตุ : ขอมูลงบลงทุนรัฐวิสาหกิจรายแหงจาก GFMIS-SOE ณ วันที่ 15 กันยายน 2554
5.2 รายละเอียดผลการเบิกจายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจปงบประมาณ 2554 (ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554) รัฐวิสาหกิจที่มีกรอบลงทุนอนุมัติป 2554 สูง ไดแก การรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย มีกรอบลงทุนอนุมัติ 24.1 พันลานบาท มีการเบิกจายสะสม 14.7 พันลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 60.9 ของกรอบลงทุนอนุมัติ โดยมี โครงการที่สําคัญ คือ โครงการกอสรางรถไฟฟาสายสีมวง ชวงบางใหญ-บางซื่อ และโครงการกอสรางรถไฟฟาสายสีนํ้าเงิน ชวงหัวลําโพง-บางแค การเคหะแหงชาติ มีกรอบลงทุนอนุมัติ 7.0 พันลานบาท มีการเบิกจายสะสม 5.8 พันลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 84.6 ของกรอบลงทุนอนุมัติ โดยมีโครงการที่สําคัญ คือ โครงการบานเอื้ออาทร ระยะที่ 4-5 การรถไฟแหงประเทศไทย มีกรอบการลงทุนอนุมัติ 35.8 พันลานบาท มีการเบิกจายสะสม 6.2 พันลานบาท คิดเปนอัตรา การเบิกจายรอยละ 17.3 ของกรอบลงทุนอนุมตั ิ โดยมีการลงทุนทีส่ าํ คัญ คือ โครงการกอสรางระบบขนสงมวลชนทางรางในพืน้ ที่ กรุงเทพมหานครสายสีแดง ชวงบางซือ่ -ตลิง่ ชัน บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) กรอบลงทุนอนุมตั ิ 81.3 พันลานบาท มีการเบิกจาย สะสม 46.2 พันลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 56.9 ของกรอบลงทุนอนุมัติ โดยมีโครงการที่สําคัญ คือ โครงการ แผนงานดานแกสธรรมชาติ แผนงานพัฒนาสถานีและตลาดนํ้ามัน และโครงการแผนงานดานปโตรเคมีและการกลั่น
50
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
Macroeconomic Analysis Briefing บทวิเคราะห เรื่อง ถอดรหัสความสัมพันธระหวาง CPI และ PPI
1
บทสรุปผูบริหาร
บทความนี้มีจุดประสงคในการใหความรูเกี่ยวกับความหมาย โครงสราง วิธีการจัดทํา รวมถึง ความสัมพันธของดัชนีราคาผูบริโภค (CPI) และดัชนีราคาผูผลิต (PPI) ❍ ผลการศึกษาบงชี้วา ดัชนีราคาผูบริโภค (CPI) และดัชนีราคาผูผลิต (PPI) ในชวงเวลาที่ศึกษา มีความสัมพันธกันทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยทั้งสองดัชนีตางมีผลซึ่งกันและกัน สะทอนใหเห็นถึงกลไก การปรับตัวดานราคาสินคาในชวงเวลาที่ศึกษา โดยสรุปไดวา การปรับตัวของราคาสินคาผูบริโภคเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงของราคาสินคาผูผลิต ในทางกลับกัน การเปลี่ยนแปลงของราคาสินคาผูบริโภคไดสงผล กลับไปยังราคาสินคาผูผลิตใหมีการเปลี่ยนแปลงตาม ❍ อยางไรก็ตาม ผลการศึกษาในชวงเวลายอยแสดงใหเห็นวา กอนเดือนสิงหาคม 2549 ราคา สินคาผูบริโภคเปนปจจัยตนเหตุที่ทําใหราคาสินคาผูผลิตเปลี่ยนแปลงไป ในขณะที่หลังเดือนสิงหาคม 2549 จนถึงปจจุบัน ราคาสินคาผูผลิตเปนปจจัยตนเหตุใหราคาสินคาผูบริโภคเปลี่ยนแปลงไป ❍
1. บทนํา เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ นับเปนอีกปจจัยสําคัญสําหรับการบริหารจัดการเศรษฐกิจใหเติบโตอยางยัง่ ยืน ทัง้ นี้ เสถียรภาพ ทางเศรษฐกิจประกอบดวย เสถียรภาพภายในและเสถียรภาพภายนอก สําหรับบทความนีม้ งุ ใหความสําคัญกับเสถียรภาพภายใน ประเทศเปนสําคัญ โดยหนึง่ ในตัวชีว้ ดั เสถียรภาพภายในของเศรษฐกิจทีส่ าํ คัญคือ อัตราเงินเฟอ โดยในปจจุบนั อัตราเงินเฟอกําลัง เปนประเด็นที่อยูในความสนใจของประชาชนอยางกวางขวาง เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟอไดสงผลกระทบตออํานาจ การจับจายใชสอยของประชาชนและสงผลกระทบตอปากทองของประชาชน และเนือ่ งจากปจจุบนั มีแรงกดดันจากปจจัยเสีย่ งดาน เงินเฟอเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง ดังนัน้ บทความนีจ้ งึ มีวตั ถุประสงคในการนําเสนอความหมาย วิธกี ารจัดทํา และโครงสรางของดัชนี ราคาที่สําคัญ ๆ คือ ดัชนีราคาผูบริโภค (CPI) และดัชนีราคาผูผลิต (PPI) ซึ่งเปนตัวสะทอนระดับราคาสินคาของผูบริโภคและ ผูผลิตตามลําดับ นอกจากนี้ งานศึกษานี้ยังศึกษาถึงความสัมพันธที่เปนเหตุเปนผล (Causal Relationship) ระหวางดัชนีราคา ผูผ ลิตและดัชนีราคาผูบ ริโภคในประเทศไทย โดยมีชว งระยะเวลาศึกษาตัง้ แตเดือนมกราคม 2543 ถึงเดือนกรกฎาคม 2554 ทัง้ นี้ ประโยชนจากการศึกษาความสัมพันธของทั้งสองดัชนีราคา จะชวยใหสามารถวิเคราะหกระบวนการสงผานของราคาไดวาเปน ไปในลักษณะใด รวมถึงสามารถประยุกตความสัมพันธของทั้งสองมาใชในการประมาณการเพื่อหาแนวโนมระดับราคาสินคา และอัตราเงินเฟอในอนาคตได
2. ดัชนีราคาผูบริโภค (Consumer Price Index: CPI) คืออะไร ? ดัชนีราคาผูบ ริโภค เปนเครือ่ งสะทอนการเปลีย่ นแปลงคาครองชีพของผูบ ริโภคกลุม เปาหมาย โดยวัดจากการเปลีย่ นแปลง ของระดับราคาสินคาและบริการที่ผูบริโภคกลุมนั้นใชบริโภคเปนประจําในชวงเวลาหนึ่งเปรียบเทียบกับปฐาน ซึ่งการจัดทํา ดัชนีราคาผูบริโภคในประเทศไทย เริ่มตนเมื่อป 2505 โดยเขามาแทนที่ดัชนีราคาขายปลีก (Retail price index) และดัชนี 1
ผูเขียน : นายพนันดร อรุณีนิรมาน เศรษฐกรปฏิบัติการ สวนแบบจําลองและประมาณการเศรษฐกิจการคลัง สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ นางสาวกุ ล กั ล ยา พระยาราช เศรษฐกรชํ า นาญการ นางวิ ภ ารั ต น ป น เป ย มรั ษ ฎ ผู อํ า นวยการส ว นแบบจํ า ลองและประมาณการเศรษฐกิ จ การคลั ง และนายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ สําหรับคําแนะนํา
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
51
คาครองชีพ (Cost of living index) ที่มีมาแตเดิม สําหรับการคํานวณดัชนีราคาผูบริโภคมีลักษณะการคํานวณแบบดัชนี รวม (Composite index) โดยคานํ้าหนักรายสินคาสามารถคํานวณไดจากสัดสวนของมูลคาสินคาที่ผูบริโภคใชจายตอมูลคา การบริโภคสินคาโดยรวม ณ ราคาปฐาน ซึ่งนํ้าหนักของสินคาประเภทตาง ๆ ไดมาจากขอมูลการสํารวจคาใชจายของครัวเรือน2 สําหรับ ตะกราสินคา ซึ่งใชในการคํานวณดัชนีราคาสินคา ไดขอมูลมาจากการสํารวจคาใชจายการบริโภคของผูบริโภค กลุมเปาหมาย โดยจะมีการปรับปรุงทุก 4 ป ซึ่งปจจุบันตะกราสินคาประกอบไปดวยสินคาและบริการทั้งหมด 417 รายการ สามารถแยกไดเปน 8 หมวดหมู ตามภาพที่ 1 ภาพที่ 1 สัดสวนหมวดหมูสินคาในดัชนีราคาผูบริโภค
ที่มา : กระทรวงพาณิชย
ดัชนีราคาผูบ ริโภคแบงออกเปน 2 ประเภท คือ ดัชนีราคาผูบ ริโภคทัว่ ไป (CPI) ซึง่ รวมรายการสินคาและบริการเขาไวดว ย กันทัง้ หมด และดัชนีราคาผูบ ริโภคพืน้ ฐาน (Core CPI) ซึง่ เปนดัชนีทไี่ มรวมกลุม ของอาหารสดและพลังงานมาคํานวณ เนือ่ งจาก ราคาของสินคาทั้งสองกลุมคอนขางผันผวน นอกจากนี้ ดัชนีราคาผูบริโภคยังสามารถแบงไดอีก 3 ประเภทตามกรอบลักษณะครัวเรือน โดยการจัดทําดัชนีราคา ผูบริโภคในแตละประเภทจะแตกตางกันทั้งนํ้าหนักและชนิดของสินคาในตะกราสินคา ตามลักษณะครัวเรือนที่ทําการตอบ แบบสอบถาม ดังนี้ ❍ ดัชนีราคาผูบ ริโภคทัว่ ไป ลักษณะครัวเรือน คือ ครัวเรือนทีต่ งั้ อยูใ นเขตเทศบาลเมืองทัง้ 4 ภาค รวมกรุงเทพฯ และปริมณฑล มีสมาชิกในครัวเรือนตั้งแต 1-5 คน และมีรายไดตั้งแต 3,000-60,000 บาทตอเดือนตอครัวเรือน ❍ ดั ช นี ร าคาผู บ ริ โ ภครายได น อ ย ลั ก ษณะครั ว เรื อ น คื อ ครั ว เรื อ นที่ ตั้ ง อยู ใ นเขตเทศบาลเมื อ งทั้ ง 4 ภาค รวมกรุงเทพฯ และปริมณฑล มีสมาชิกในครัวเรือนตั้งแต 1-5 คน และมีรายไดตั้งแต 3,000-15,000 บาทตอเดือนตอครัวเรือน ❍ ดัชนีราคาผูบ ริโภคเขตชนบท ลักษณะครัวเรือน คือ ครัวเรือนทีต่ งั้ อยูน อกเขตเทศบาลภูมภิ าค 4 ภาค มีสมาชิก ในครัวเรือนตั้งแต 2-6 คน และมีรายไดตั้งแต 2,000-25,000 บาทตอเดือนตอครัวเรือน
3. ดัชนีราคาผูผลิต (Producer Price Index: PPI) คืออะไร ? ดัชนีราคาผูผ ลิต เปนเครือ่ งสะทอนการเปลีย่ นแปลงของราคาสินคาโดยเฉลีย่ ทีผ่ ผู ลิตสินคาในประเทศไดรบั จากการขาย สินคาที่แหลงผลิต ไมรวมคาขนสงและภาษีมูลคาเพิ่ม ณ เวลาใดเวลาหนึ่งเปรียบเทียบกับเวลา ณ ปฐาน ดัชนีราคาผูผลิตสามารถแบงออกเปน 2 โครงสราง คือ (1) แบงตามกิจกรรมการผลิต (Classification of Products by Activity: CPA) ประกอบไปดวย ดัชนีรวม ผลผลิตเกษตรกรรม ผลิตภัณฑจากเหมืองและผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม และ (2) แบงตาม ขั้นตอนการผลิต (Stage of Processing: SOP) ประกอบไปดวย สินคาสําเร็จรูป สินคากึ่งสําเร็จรูป (แปรรูป) และสินคาวัตถุดิบ การจัดทําดัชนีราคาผูผลิตมีหลักการจัดทําแบบดัชนีรวม (Composite index) เชนเดียวกันกับดัชนีราคาผูบริโภค อยางไรก็ตาม ทั้งตะกราสินคาและคานํ้าหนักของดัชนีทั้งสองประเภทมีความแตกตางกัน โดยตะกราสินคาของดัชนีราคา 2
52
ขอมูลการสํารวจคาใชจา ยครัวเรือนรายงานในการสํารวจภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือน (Household Socio-Economic Survey) จัดทําโดย สํานักงานสถิตแิ หงชาติ
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ผูผ ลิตจะประกอบไปดวยสินคาทีผ่ ผู ลิตขายได ณ ราคาหนาฟารมหรือหนาโรงงาน ขณะทีต่ ะกราสินคาของดัชนีราคาผูบ ริโภคนัน้ จะประกอบไปดวยสินคาที่ผูบริโภคซื้อหาเปนประจํา สําหรับการคัดเลือกสินคาในตะกราสินคาของดัชนีราคาผูผ ลิตนัน้ จะทําการคัดเลือกจากมูลคาการผลิตเปนสําคัญ และตอง มีมลู คาการผลิตมากอยางตอเนือ่ ง ขณะทีน่ าํ้ หนักของสินคาในแตละรายการนัน้ นํามาจากมูลคาการผลิตในตารางปจจัยการผลิต และผลผลิต (I-O table) ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ โดยจะมีการปรับปรุงนํ้าหนักของ สินคาทุก 5 ป ตามการปรับปรุงตารางปจจัยการผลิตและผลผลิต โดยในปจจุบันดัชนีราคาผูผลิตเปนการปรับปรุงนํ้าหนักและป ฐานในป 2548 โดยที่ตะกราสินคาของดัชนีราคาผูผลิตประกอบไปดวยรายการสินคาทั้งหมด 609 รายการ แบงเปนสัดสวนดังนี้ ภาพที่ 2 สัดสวนประเภทสินคาในดัชนีราคาผูผลิต
ที่มา : กระทรวงพาณิชย
ภาพที่ 2 แสดงตะกราสินคาของดัชนีราคาผูผลิตประกอบดวยผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ซึ่งมีสัดสวนในตะกราสินคาสูงถึง รอยละ 82.3 ขณะที่ผลผลิตเกษตรกรรมและผลิตภัณฑจากเหมืองมีสัดสวนรองลงมาที่รอยละ 15.6 และรอยละ 2.1 ตามลําดับ และเมื่อพิจารณารายประเภทสินคาพบวา ผลิตภัณฑอาหารเครื่องดื่มและยาสูบ มีสัดสวนในตะกราสินคาสูงสุด โดยมีสัดสวน อยูที่รอยละ 15.8 รองลงมาคือ ผลผลิตการเกษตรมีสัดสวนรอยละ 12.6 และเครื่องไฟฟา อุปกรณและเครื่องอิเล็กทรอนิกส เปนอันดับ 3 อยูที่รอยละ 12.1
4. ความสัมพันธระหวางดัชนีราคาผูบริโภค (CPI) และดัชนีราคาผูผลิต (PPI) ในเชิงทฤษฎีเศรษฐศาสตร ดัชนีราคาผูบริโภคและดัชนีราคาผูผลิตจะเคลื่อนไหวสอดคลองกันแตอาจมีความลาชาใน การปรับตัวแตกตางกัน เนื่องจากดัชนีราคาทั้งสองประเภทตางก็สะทอนถึงระดับราคาสินคาที่เปลี่ยนแปลงไป อยางไรก็ตาม นักเศรษฐศาสตรหลายฝายยังคงถกเถียงถึงความสัมพันธที่เปนเหตุเปนผลของทั้งสองดัชนีราคา โดยสวนใหญมักเชื่อวา การเปลีย่ นแปลงดัชนีราคาผูผ ลิตมักจะสงผลใหดชั นีราคาผูบ ริโภคเปลีย่ นแปลงตามไปดวย ทัง้ นีเ้ พราะวาการเพิม่ ขึน้ ของดัชนีราคา ผูผลิตจะสะทอนการเพิ่มขึ้นของตนทุนวัตถุดิบในการผลิตสินคา จึงทําใหราคาสินคาผูบริโภคปรับตัวสูงขึ้นตาม โดยการปรับตัว ของดัชนีราคาทัง้ สองอาจเกิดความลาชาได (Time lag) เนือ่ งมาจากเหตุผลทางดานการบริหารสินคาคงเหลือเปนสําคัญ กลาวคือ ผูขายอาจจะยังมีสินคาคงเหลือที่ไมไดรับผลกระทบจากตนทุนที่สูงขึ้นคางอยูในสตอกสินคาและตองการขายสินคานี้ออก กอนสินคารุนใหมที่ไดรับผลกระทบจากตนทุนที่เปลี่ยนแปลงไป สงผลใหราคาสินคาผูบริโภคยังไมปรับตัวเพิ่มขึ้นในทันทีตาม การเปลี่ยนแปลงของราคาผูผลิตที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นแลว ในทางกลับกัน การเปลี่ยนแปลงของระดับราคาสินคาผูบริโภคอาจสงผลตอการเปลี่ยนแปลงระดับราคาสินคาผูผลิตได เนื่องจากอุปสงคในการซื้อสินคาผูผลิตของผูขายสินคาเปนอุปสงคแบบอุปสงคสืบเนื่อง (Derived demand) ซึ่งการเพิ่มขึ้นของ ราคาสินคาผูบ ริโภคจะทําใหผขู ายเล็งเห็นผลกําไรและตองการผลิตสินคามากขึน้ สงผลใหความตองการสินคาผูผ ลิตปรับตัวเพิม่ ขึ้น ราคาสินคาผูผลิตจึงปรับตัวสูงขึ้นตาม โดยอาจเกิดความลาชาในการปรับตัวเชนเดียวกัน ประมาณการเศรษฐกิจไทย
53
อยางไรก็ตาม มีงานศึกษามากมายที่ไมพบความสัมพันธของดัชนีราคาผูผลิตและดัชนีราคาผูบริโภค ดังที่ไดอธิบาย ขางตน โดยสวนใหญแลวจะใหเหตุผลในการอธิบายผลการศึกษาไววา เนือ่ งจากการเปลีย่ นแปลงราคาสินคาผูบ ริโภคนัน้ จะทําให เกิดตนทุนตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนราคาจําหนาย (Menu cost) และเสียโอกาสทางการแขงขันดานราคากับบริษัทคูแขง นอกจากนี้ การควบคุมราคาสินคาผูบ ริโภคบางประเภทยังเปนอีกปจจัยหนึง่ ทีส่ ง ผลใหราคาสินคาผูบ ริโภคไมสามารถปรับตัวได ตามการเปลี่ยนแปลงของราคาสินคาผูผลิต ดวยเหตุนี้จึงทําใหการเปลี่ยนแปลงดานราคาของสินคาผูผลิตไมสามารถสงผานไป ยังราคาของสินคาผูบริโภคได ดัชนีราคาผูผลิตและผูบริโภคจึงไมมีความสัมพันธกัน ภาพที่ 3 อัตราการเปลี่ยนแปลงของดัชนีราคาผูผลิตและดัชนีราคาผูบริโภค เทียบกับชวงเวลาเดียวกันของปกอน
ที่มา : จากการคํานวณขอมูลของ CEIC Data
ภาพที่ 3 แสดงการเคลื่อนไหวของอัตราการเปลี่ยนแปลงของดัชนีราคาผูบริโภคและผูผลิตในชวงป 2539–2554 พบวา ดัชนีทั้งสองมีการเคลื่อนไหวในแนวทางที่สอดคลองกัน โดย PPI มีความผันผวนมากกวา CPI สะทอนถึงการปรับตัวของราคา สินคาผูบริโภคที่สามารถปรับตัวไดนอยกวาสินคาผูผลิต ทั้งนี้ในป 2540-2542 อัตราเงินเฟอทั้ง CPI และ PPI อยูในระดับสูง เนื่องมาจากการประกาศลอยตัวคาเงินบาทในเดือนกรกฎาคม 2540 เปนผลใหราคาสินคานําเขามีการปรับตัวสูงขึ้นเปนเทาตัว สําหรับชวงเวลาตอมาในชวงป 2543-2548 อัตราเงินเฟอ CPI คอนขางมีเสถียรภาพ จนเมื่อตนป 2549 ราคานํ้ามันโลกปรับตัว ขึน้ สูงอยางรวดเร็ว3 และหลังจากนัน้ ราคานํา้ มันมีความผันผวนอยางมาก เปนผลใหอตั ราเงินเฟอมีความผันผวนตาม โดยลาสุด เดือนสิงหาคม 2554 อัตราเงินเฟออยูที่รอยละ 4.3 จากราคาอาหารสําเร็จรูปและสินคาเชื้อเพลิงปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นอยางมาก
5. วิธีการศึกษา งานศึกษานี้ใชวิธีการ Granger Causality Test เพื่อศึกษาความสัมพันธในเชิงเหตุและผลระหวางดัชนีราคาผูผลิตและ ดัชนีราคาผูบ ริโภคในประเทศไทย โดยใชแบบจําลอง Error Correction Model (ECM) และ Vector Auto Regression (VAR) ใน การวิเคราะหความสัมพันธของตัวแปร ทัง้ นีข้ อ มูลทีน่ าํ มาศึกษาเปนขอมูลรายเดือนแบบอนุกรมเวลา ตัง้ แตเดือนมกราคม 2543 ถึงเดือนกรกฎาคม 2554 ซึ่งมีป 2548 เปนปฐาน
3
54
เมื่อปลายป 2548 เกิดเหตุการณพายุเฮอรริเคนแคทรินาทําลายแหลงผลิตนํ้ามันในอาวเม็กซิโก สถานการณความไมสงบในตะวันออกกลางและเกาหลีเหนือ และปญหาความขัดแยงระหวางอิหรานกับชาติตะวันตกเกี่ยวกับโครงการนิวเคลียรของอิหราน ทําใหราคานํ้ามันปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็วในชวงตนป 2549
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
6. ผลการศึกษา แบบจําลอง All-Period Analysis ในแบบจําลอง All-Period Analysis ไดทาํ การศึกษาในชวงเวลาตัง้ แตเดือนมกราคม 2543 ถึงเดือนกรกฎาคม 2554 ผลจากการศึกษาพบวา ตัวแปรทั้งสอง log(CPI) และ log(PPI) มีลักษณะเปน non-stationary แตมีความสัมพันธกันใน ระยะยาว (cointegrate) สําหรับการศึกษาถึงความสัมพันธของดัชนีทงั้ สองในระยะสัน้ ดวยวิธกี าร Granger Causality ผลการศึกษาปรากฏ ตามตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ผลการทดสอบ Granger Causality จาก All-Period Analysis ชวงเวลา : เดือนมกราคม 2543-เดือนกรกฎาคม 25544 Null Hypothesis
Optimal Lag Length
Chi-square
p-value
∆(log(PPI)) does not Granger Cause ∆(log(CPI)) ∆(log(CPI)) does not Granger Cause ∆(log(PPI))
2
5.215973 7.315095
0.0737* 0.0258**
*,**,*** มีนัยสําคัญทางสถิติที่รอยละ 10 รอยละ 5 และรอยละ 1 ตามลําดับ ที่มา : จากการคํานวณ
จากผลการทดสอบขางตนสรุปไดวา ในระยะสั้น ดัชนีทั้งสองตางสงผลซึ่งกันและกัน โดยที่ดัชนีราคาผูผลิตเปนสาเหตุ (Granger cause) ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในดัชนีราคาผูบริโภค ที่ระดับนัยสําคัญรอยละ 10 และดัชนีราคาผูบริโภคเปนสาเหตุ (Granger cause) ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในดัชนีราคาผูผลิต ที่ระดับนัยสําคัญรอยละ 5 แบบจําลอง Subsample analysis สําหรับแบบจําลอง Subsample Analysis ไดแบงชวงระยะเวลาศึกษาออกเปน 2 ชวง คือ ชวงเวลาแรกศึกษาตัง้ แต เดือนมกราคม 2543 ถึงเดือนสิงหาคม 2549 และอีกชวงเวลาทําการศึกษาตั้งแตเดือนสิงหาคม 2549 ถึงเดือนกรกฎาคม 2554 โดยการแบงชวงเวลาดังกลาวมีสาเหตุจากราคานํ้ามันดิบโลกที่มีการปรับตัวขึ้นสูงอยางรวดเร็ว เมื่อตนป 2549 และหลังจาก นั้นราคานํ้ามันมีความผันผวนอยางมาก จึงทําใหความสัมพันธระหวางดัชนีราคาทั้งสองเปลี่ยนแปลงไปหลังจากเดือนสิงหาคม 2549 ซึ่งผลที่ไดสอดคลองกับผลการทดสอบการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางของความสัมพันธระหวางดัชนีทั้งสอง (Structural Break test) โดยใชวิธี Quandt-Andrews unknown breakpoint test คือเดือนสิงหาคม 2549 เปนจุดเปลี่ยนทางโครงสรางของ ความสัมพันธระหวางดัชนีทั้งสองสําหรับผลการทดสอบ Granger Causality แสดงได ดังนี้
4
แบบจําลองที่ใชศึกษา คือ ∆(log(CPI)) = -0.06ECM + 0.006∆(log(CPI(-1))) + 0.007∆(log(CPI(-2))) + 0.12∆(log(PPI(-1))) – 0.023∆(log(PPI(-2))) + 0.0018 [-0.79] [0.06] [0.06] [2.21]** [-0.45] [2.86]*** Adjusted R-squared = 0.04 S.E. of equation = 0.007 ∆(log(PPI)) = 0.37ECM + 0.353∆(log(CPI(-1))) + 0.555∆(log(CPI(-2))) + 0.248∆(log(PPI(-1))) – 0.113∆(log(PPI(-2))) + 0.0015 [2.64]*** [1.54] [2.5]** [2.32]** [-1.07] [1.22] Adjusted R-squared = 0.213 S.E. of equation = 0.01 ECM = log(CPI(-1)) – 2.148 – 0.535log(PPI(-1)) [-49.09]*** t-stat in [ ] และ *,**,*** แสดงนัยสําคัญทางสถิติที่รอยละ 10 รอยละ 5 และรอยละ 1 ตามลําดับ
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
55
ตารางที่ 3 ผลการทดสอบ Granger Causality จาก Subsample analysis5 ชวงเวลา : เดือนมกราคม 2543-เดือนสิงหาคม 25496 Null Hypothesis
Optimal Lag Length
Chi-square
p-value
∆(log(PPI)) does not Granger Cause ∆(log(CPI)) ∆(log(CPI)) does not Granger Cause ∆(log(PPI))
4
4.713169 21.33587
0.3180 0.0003***
Null Hypothesis
Optimal Lag Length
Chi-square
p-value
∆(log(PPI)) does not Granger Cause ∆(log(CPI)) ∆(log(CPI)) does not Granger Cause ∆(log(PPI))
1
4.102596 1.253763
0.0428** 0.2628
ชวงเวลา : เดือนสิงหาคม 2549-เดือนกรกฎาคม 25547
*,**,*** มีนัยสําคัญทางสถิติที่รอยละ 10 รอยละ 5 และรอยละ 1 ตามลําดับ ที่มา : จากการคํานวณ
56
5
เนื่องจากชวงเวลาแรกที่ศึกษา CPI และ PPI มีความสัมพันธในระยะยาว (Cointegrate) จึงใชแบบจําลอง ECM ในทางกลับกัน ไมพบความสัมพันธระยะยาว (Cointegrate) ในชวงเวลาที่สอง จึงใชแบบจําลอง VAR โดยใชตัวแปรเปน first difference เนื่องจาก CPI และ PPI มีลักษณะเปน I(1)
6
แบบจําลองที่ใชศึกษา คือ ∆(log(CPI)) = -0.273ECM + 0.096∆(log(CPI(-1))) – 0.014∆(log(CPI(-2)))+0.061∆(log(CPI(-3)) – 0.047∆(log(CPI(-4)) [-3.27]** [0.71] [-0.09] [0.41] [-0.34] - 0.046∆(log(PPI(-1))) – 0.205∆(log(PPI(-2))) – 0.054∆(log(PPI(-3)) – 0.046∆(log(PPI(-4)) + 0.0035 [-0.48] [-2.11]** [-0.6] [-0.54] [3.72]*** Adjusted R-squared = 0.095 S.E. of equation = 0.005 ∆(log(PPI)) = -0.12ECM + 0.664∆(log(CPI(-1))) + 0.458∆(log(CPI(-2))) – 0.05∆(log(CPI(-3)) – 0.54 ∆(log(CPI(-4)) [-0.92] [3.11]** [2.01]** [-0.22] [-2.43]** –0.203∆(log(PPI(-1))) – 0.306∆(log(PPI(-2)))+ 0.17 ∆(log(PPI(-3)) – 0.07∆(log(PPI(-4)) + 0.0048 [-1.35] [-1.99]** [1.2] [-0.52] [3.22]** Adjusted R-squared = 0.225 S.E. of equation =0.008 ECM = log(CPI(-1)) – 2.093 – 0.548 log(PPI(-1)) [-20.03]***
7
แบบจําลองที่ใชศึกษา คือ ∆(log(CPI)) = -0.005∆(log(CPI(-1))) + 0.14∆(log(PPI(-1))) + 0.0018 [-0.03] [2.03]** [1.76]* Adjusted R-squared = 0.091 S.E. of equation = 0.007 ∆(log(PPI)) = 0.473∆(log(CPI(-1))) + 0.299∆(log(PPI(-1))) + 0.0014 [1.12] [1.79]* [0.57] Adjusted R-squared = 0.172 S.E. of equation = 0.02 t-stat in [ ] และ *,**,*** แสดงนัยสําคัญทางสถิติที่รอยละ 10 รอยละ 5 และรอยละ 1 ตามลําดับ
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ผลการทดสอบในชวงเวลายอย บงชี้ถึงความแตกตางของความสัมพันธ (Causal relationship) ระหวางดัชนีทั้งสองใน สองชวงเวลา กลาวคือ ในชวงตั้งแตเดือนมกราคม 2543 ถึงเดือนสิงหาคม 2549 ดัชนีราคาผูบริโภคเปนตัวแปรตนเหตุ ตอการเปลี่ยนแปลงของดัชนีราคาผูผลิต ที่ระดับนัยสําคัญรอยละ 1 กลาวคือ หากราคาสินคาผูบริโภคปรับตัวสูงขึ้น จะสงแรงจูงใจใหผูประกอบการเรงการผลิต เนื่องจากเล็งเห็นถึงผลกําไรที่มากขึ้นตามราคาสินคา สงผลใหอุปสงค ตอปจจัยการผลิตของผูผลิตเพิ่มขึ้นตาม และราคาสินคาผูผลิตปรับตัวสูงขึ้น ในทางกลับกัน ชวงเดือนสิงหาคม 2549 ถึงเดือนกรกฎาคม 2554 ดัชนีราคาผูผลิตเปนตัวแปรตนเหตุตอการเปลี่ยนแปลงของดัชนีราคาผูบริโภค ที่ระดับนัย สําคัญรอยละ 5 ซึ่งเปนไปตามทฤษฎีที่วา เมื่อราคาสินคาผูผลิตสูงขึ้นทําใหตนทุนผูประกอบการสูงขึ้น และสงผลตอ การปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคาสินคาผูบริโภค นอกจากนี้ จากแบบจําลอง VAR ที่ใชในการศึกษาสําหรับชวงเดือนสิงหาคม 2549 ถึงเดือนกรกฎาคม 2554 ความลาชา ที่เหมาะสม (Optimal lag length) คือ 1 lag สะทอนใหเห็นวา ดัชนีราคาทั้งสองเกิดการเปลี่ยนแปลงคอนขางจะพรอมกัน โดยมี สาเหตุหลักมาจากความผันผวนในราคาสินคาเกษตรและราคานํา้ มันดิบในตลาดโลก ในชวงปลายป 2549 จนถึงปจจุบนั (สังเกต ไดจากภาพที่ 4) ซึง่ สินคาทัง้ สองประเภทมีสดั สวนอยูใ นตะกราสินคาของทัง้ สองดัชนี ดังนัน้ การเปลีย่ นแปลงดานราคาของสินคา ทั้งสองประเภทจึงสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งในดัชนีราคาผูผลิตและดัชนีราคาผูบริโภคอยางพรอมกัน
ภาพที่ 4 อัตราการขยายตัวของดัชนีราคาสินคาเกษตร ราคานํ้ามันดิบดูไบ ดัชนีราคาผูผลิต และดัชนีราคาผูบริโภค
ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร สํานักดัชนีเศรษฐกิจการคา และ CEIC Data
7. บทสรุป ดัชนีราคาผูผลิต (PPI) และดัชนีราคาผูบริโภค (CPI) มีลักษณะคลายกันในดานวิธีการจัดทํา อยางไรก็ตาม โครงสราง ตะกราสินคาของดัชนีทั้งสองมีความแตกตางกัน ดวยเหตุนี้จึงทําใหดัชนีทั้งสองมีความหมายที่แตกตางกัน กลาวคือ ดัชนีราคา ผูบ ริโภค หมายถึง ตัวชีว้ ดั ทีส่ ะทอนราคาของสินคาทีป่ ระชาชนทัว่ ไปใชในการดํารงชีวติ โดยทีต่ ะกราสินคาของดัชนีราคาผูบ ริโภค คือ สินคาและบริการที่ผูบริโภคใชบริโภคเปนประจําในชวงเวลาหนึ่ง ขณะที่ตะกราสินคาของดัชนีราคาผูผลิต คือ สินคาที่ผูผลิต สินคาในประเทศไดรับจากการขายสินคา ณ แหลงผลิต ไมรวมคาขนสงและภาษีมูลคาเพิ่ม ดังนั้น ดัชนีราคาผูผลิตจึงสะทอน ระดับราคาของสินคาที่ผูผลิตไดรับในชวงเวลาหนึ่ง ผลการศึกษาความสัมพันธของดัชนีทั้งสองประเภท ในชวงป 2543 ถึงปจจุบันพบวา ทั้งดัชนีราคาผูผลิตและดัชนีราคา ผูบ ริโภคมีความสัมพันธทเี่ ปนเหตุเปนผลทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว ซึง่ ผลการศึกษาดังกลาวแสดงใหเห็นถึงกลไกการสงผานดาน ประมาณการเศรษฐกิจไทย
57
ราคาของไทยในชวงเวลาที่ศึกษา กลาวคือ การปรับตัวของราคาสินคาผูบริโภคเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของราคาสินคา ผูผ ลิตซึง่ สะทอนตนทุนของผูป ระกอบการ ในทางกลับกัน การเปลีย่ นแปลงราคาของสินคาผูบ ริโภคจะสงผลกลับไปยังราคาสินคา ผูผ ลิตผานพฤติกรรมการผลิตสินคาของผูป ระกอบการทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปเนือ่ งจากราคาสินคาทีข่ ายได (สินคาผูบ ริโภค) มีการปรับ ตัว ซึง่ พฤติกรรมการผลิตสินคาทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปจะสงผลตอไปยังความตองการสินคาผูผ ลิตเพือ่ เรงหรือลดการผลิต และจะมีผล ตอราคาสินคาผูผลิตในที่สุด อยางไรก็ตาม จากการศึกษาในชวงเวลายอย แสดงใหเห็นวาในชวงเวลาตั้งแตป 2543 จนถึงปลายป 2549 ราคาสินคา ผูบริโภคจะมีผลตอการปรับตัวของราคาสินคาผูผลิต ในทางกลับกัน ตั้งแตปลายป 2549 จนถึงปจจุบัน การปรับตัวของราคา สินคาผูบริโภคเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของราคาสินคาผูผลิต โดยทั้งสองดัชนีมีแนวโนมที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงไป พรอม ๆ กัน เนื่องมาจากราคาของสินคาหลักบางประเภทที่อยูในตะกราสินคาของทั้งสองดัชนี ซึ่งก็คือสินคาเกษตรและนํ้ามัน ปโตรเลียมมีความผันผวนอยางมากในชวงหลัง ดวยเหตุนี้การเปลี่ยนแปลงดานราคาของสินคาทั้งสองประเภทจึงสงผลตอทั้ง สองดัชนีในระยะเวลาที่ใกลเคียงกัน
8. ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย การศึกษาเรื่องความสัมพันธของดัชนีราคาผูผลิตและดัชนีราคาผูบริโภค เปนประโยชนตอการวางแผนนโยบายมหภาค ที่ตองคํานึงถึงเสถียรภาพดานราคาภายในประเทศ โดยผลการศึกษาแสดงใหเห็นวา ปจจุบันราคาสินคาปรับตัวสูงขึ้นจากราคา วัตถุดบิ เปนสําคัญ โดยเฉพาะการเพิม่ ขึน้ ของราคาสินคาเกษตรและนํา้ มันปโตรเลียม นอกจากนี้ ผลการศึกษายังแสดงใหเห็นวา ดัชนีราคาผูผลิตเปนประโยชนตอการพยากรณดัชนีราคาผูบริโภค เพื่อนําไปวางแผนดานนโยบายตอไป
58
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
บทวิเคราะห
เรื่อง บทบาทการลงทุนภาครัฐเพื่อยกระดับศักยภาพการผลิต ระยะยาวของประเทศไทย 1
บทสรุปผูบริหาร
การลงทุนภาครัฐมีสว นชวยในการเพิม่ ศักยภาพการผลิตของประเทศมาโดยตลอด โดยในชวง กอนวิกฤตเศรษฐกิจป 2540 (ป 2536-2540) สัดสวนการลงทุนภาครัฐ ณ ราคาคงที่ อยูที่รอยละ 9.5 ตอ GDP กอนที่จะลดลงอยางตอเนื่อง และในชวงที่เศรษฐกิจไทยเขาสูภาวะปกติ สัดสวนการลงทุนภาครัฐตอ GDP ลดลงมาอยูเฉลี่ยที่รอยละ 5.7 ทั้งนี้ ในชวงวิกฤตเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา ระหวางป 2551-2553 การลงทุน ภาครัฐตอ GDP มีสัดสวนเพียงรอยละ 5.4 ❍ ปจจัยที่สนับสนุนเศรษฐกิจไทยในชวงกอนวิกฤตเศรษฐกิจในป 2540 จากปริมาณปจจัยทุน และแรงงานเนื่องจากมีอัตราการขยายตัวในระดับสูง ซึ่งผลมาจากการขยายตัวในระดับสูงของการลงทุนภาครัฐ และภาคเอกชน แตผลิตภาพการผลิตหรือ Total Factor Productivity (TFP) กลับหดตัวลงตอเนื่อง อยางไรก็ตาม หลังชวงวิกฤตป 2540 ผลิตภาพโดยรวมมีสวนในการสนับสนุนเศรษฐกิจไทยมากยิ่งขึ้น ขณะที่ปจจัยทุนและ แรงงานขยายตัวในระดับตํ่าสอดคลองกับปริมาณการลงทุนของภาครัฐและภาคเอกชนที่ขยายตัวเพียงเล็กนอย ❍ ผลการศึกษาจากแบบจําลองเศรษฐมิติพบวา ถาปจจัยทุนภาครัฐเพิ่มสูงขึ้นรอยละ 1 จะ สงผลทําให GDP เพิม่ สูงขึน้ รอยละ 0.166 สะทอนใหเห็นวาการลงทุนภาครัฐโดยรวมมีผลบวกตอการขยายตัวของ เศรษฐกิจในระยะยาว อยางไรก็ตาม ผลกระทบของปจจัยทุนของภาคเอกชนตอ GDP ระยะยาวสูงกวาปจจัยทุน ภาครัฐ โดยหากปจจัยทุนภาคเอกชนเพิ่มสูงขึ้นรอยละ 1 จะสงผลทําให Potential GDP เพิ่มสูงขึ้นรอยละ 0.648 ❍ จากการคาดการณศักยภาพการผลิตพบวา Potential GDP ขยายตัวอยูในชวงรอยละ 4.5-5.1 โดยหากตองการเพิ่มการลงทุนภาครัฐใหเขาสูระดับกอนวิกฤตเศรษฐกิจป 2540 ที่เคยอยูที่ระดับรอยละ 11.6 ตอ GDP จะมีสวนสนับสนุนให Potential GDP ขยายตัวจากกรณีฐานถึงรอยละ 2.0 ❍ ความทาทายของนโยบายของภาครัฐในอนาคต คือ การเพิม ่ การลงทุนของภาครัฐ โดยเฉพาะ การลงทุนในโครงสรางและสาธารณูปโภคพื้นฐาน เพื่อรักษาใหศักยภาพการผลิตของประเทศขยายตัวอยาง ยั่งยืน นอกจากนี้ ควรจะใหความสําคัญกับการพัฒนาทุนมนุษย (Human Capital) ควบคูกันไปดวย เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพแรงงานในอนาคต เพื่อรองรับการลดลงของจํานวนแรงงานและการกาวไปสูสังคม ผูส งู อายุ โดยตองเพิม่ ประสิทธิภาพการใชจา ยและจัดสรรสวัสดิการใหตรงกลุม เปาหมาย เพือ่ สรางโอกาสและลด ความเหลื่อมลํ้า รวมไปถึงการพัฒนาระบบการศึกษาใหเขาถึงอยางทั่วถึง ❍
1. บทนํา หลังจากวิกฤตการณทางเศรษฐกิจป 2540 เศรษฐกิจไทยเจริญเติบโตไดอยางตอเนื่อง โดยในชวงป 2542–2549 การเจริญ เติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) เฉลี่ยอยูที่รอยละ 4.7 ตอป แมวาอัตราการขยาย ตัวดังกลาวตํา่ กวาอัตราการขยายตัวเฉลีย่ ในชวงกอนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ (ระหวางป 2534–2539) ทีข่ ยายตัวเฉลีย่ รอยละ 8.4 ตอป โดยปจจัยสําคัญทีส่ ง ผลใหอตั ราการขยายตัวของเศรษฐกิจชะลอตัวลงเกิดจากการเปลีย่ นแปลงของศักยภาพการผลิตของเศรษฐกิจ (Potential output หรือ Potential GDP)2 ดังนัน้ เศรษฐกิจจะเติบโตไดยงั่ ยืนและมีเสถียรภาพมากนอยเพียงใด จําเปนตองพิจารณา ระดับศักยภาพการผลิตของเศรษฐกิจควบคูไปดวย ผูเขียน : ดร.จงกล คําไล เศรษฐกรปฏิบัติการ สวนการวิเคราะหภาวะเศรษฐกิจมหภาค สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ นางณัฐยา อัชฌากรลักษณ ผูอํานวยการสวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค และนายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ สําหรับคําแนะนํา 2 ซึ่งศักยภาพการผลิตของเศรษฐกิจนี้จะเปนระดับของผลผลิตที่มีการใชปจจัยการผลิตไดอยางเต็มประสิทธิภาพ การใชแรงงานอยูในระดับการจางงานเต็มที่ (Full employment) หรืออาจกลาวไดวาเปนระดับการผลิตที่มีการใชปจจัยการผลิตสูงสุดที่ไมกอใหเกิดแรงกดดันดานเงินเฟอ (Inflationary pressure) ตอเศรษฐกิจ 1
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
59
นโยบายการคลังเปนหนึ่งในเครื่องมือนโยบายเศรษฐกิจที่สําคัญของไทยในการบริหารจัดการภาวะเศรษฐกิจ สังคมใหมี ความแข็งแกรงและยัง่ ยืน โดยการดําเนินการผานการจัดการเกีย่ วกับงบประมาณรายรับและรายจายของรัฐบาลเพือ่ สรางเสถียรภาพ ของการใชจา ยรวมของระบบเศรษฐกิจใหอยูใ นระดับทีเ่ หมาะสม อาทิ ความเหมาะสมกับกําลังการผลิตทีม่ อี ยู เพราะคาใชจา ยรวม จะเปนตัวผลักดันใหเกิดการผลิตและการจางงานในระบบเศรษฐกิจ ในขณะเดียวกัน สามารถลดปญหาความผันผวนทางเศรษฐกิจ เชน ความผันผวนดานการจางงาน ความผันผวนของราคาสินคา ฯลฯ ดังนัน้ จะเห็นไดวา นอกจากนโยบายการคลังจะมีความสําคัญ ตอเศรษฐกิจและสังคมในระยะสัน้ และระยะปานกลางจากการกระตุน เศรษฐกิจและพัฒนาการทางสังคมแลว นโยบายการคลังยัง สามารถใชขบั เคลือ่ นความสามารถทางการแขงขันและศักยภาพทางการผลิตของประเทศไทยเพือ่ สรางความยัง่ ยืนทางเศรษฐกิจใน ระยะยาวอีกดวย บทความนีจ้ งึ เปนการศึกษาผลกระทบของการดําเนินนโยบายดานการคลังตอศักยภาพการผลิตของเศรษฐกิจไทย รวมไปถึงการวิเคราะหปจจัยการผลิตตาง ๆ ที่มีผลตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจในอนาคต
2. การลงทุนภาครัฐและการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย การลงทุนภาครัฐมีสวนชวยในการเพิ่มศักยภาพการผลิตของประเทศมาโดยตลอด โดยในชวงกอนวิกฤตเศรษฐกิจป 2540 (ป 2536-2540) สัดสวนการลงทุนภาครัฐ ณ ราคาคงที3่ อยูท รี่ อ ยละ 9.5 ตอ GDP กอนทีจ่ ะลดลงอยางตอเนือ่ งมาอยูท เี่ ฉลีย่ รอยละ 7.6 ตอ GDP ในชวงป 2541-2545 และในชวงทีเ่ ศรษฐกิจไทยเขาสูภ าวะปกติ สัดสวนการลงทุนภาครัฐตอ GDP ลดลงมาอยูเ ฉลีย่ ที่ รอยละ 5.7 ทัง้ นี้ ในชวงวิกฤตเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา ระหวางป 2551-2553 การลงทุนภาครัฐตอ GDP มีสดั สวนเพียงรอยละ 5.4 รายจายภาครัฐแยกออกเปนรายจายประจํา (Current Expenditure) และรายจายลงทุน (Capital Expenditure)4 โดย รายจายทีส่ ามารถเพิม่ ประสิทธิภาพของศักยภาพการผลิตของประเทศคือรายจายลงทุน ทัง้ นี้ รายจายลงทุนเปนรายจายทีไ่ มมภี าระ ผูกพันตอเนื่องเปนระยะเวลานาน (Discretionary Spending) ยกเวนโครงการลงทุนขนาดใหญ โดยรายจายลงทุนจะเบิกจายได ตํา่ กวารายจายประจํา เนือ่ งจากมีขนั้ ตอนการเบิกจาย ความซับซอน และระยะเวลาในการดําเนินงานโครงการทีน่ าน ทําใหการเบิก จายทําไดลาชา เพราะมีขั้นตอนและระยะเวลาในการดําเนินการนานกวารายจายประจํา และรายจายสามารถเบิกจายไดในอัตรา ที่ตํ่ากวารายจายประจําเสมอ โดยอัตราการเบิกจายรายจายลงทุนของประเทศไทยในปงบประมาณที่ผานมาอยูที่ระดับประมาณ รอยละ 70–80 ของกรอบวงเงินรายจายลงทุน ซึ่งเมื่อเทียบกับการเบิกจายรายจายประจําจะพบวารายจายประจําสามารถเบิกจาย ไดใกลเคียงกับกรอบงบประจําที่กําหนดมาในแตละป ภาพที่ 1 สัดสวนของรายจายประจําและรายจายลงทุนตองบประมาณในชวง 14 ปที่ผานมา
ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง รายจายภาครัฐตามระบบบัญชีประชาชาติ (System of National Accounts--SNA) คือ รายจายในการอุปโภคบริโภคของรัฐบาล (government consumption expenditures) คําวา รัฐบาลในที่นี้ใหรวมหนวยการบริหารทุกระดับไมวาจะเปนระดับชาติ สวนภูมิภาค หรือทองถิ่น รายจายในการอุปโภคบริโภคของรัฐบาลไม ไดรวมรายจายที่เปนเงินโอน (Transfer payments) อาทิ รายจายเพื่อสวัสดิการสังคม รายจายเพื่อสุขภาพอนามัยของประชาชน หรือดอกเบี้ยเงินกูของรัฐบาล เปนตน ซึ่งแตกตางจากรายจายในงบประมาณแผนดิน 4 คือ รายจายสําหรับการจัดซื้อสินทรัพยถาวรที่มีอายุการใชงานเกิน 1 ปขึ้นไป หรือการกอสรางสินทรัพยถาวร หรือการซอมบํารุงที่สามารถยืดอายุการใชงานของ สินทรัพยออกไปไดมากกวา 1 ป 3
60
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ภาพที่ 1 ชี้ใหเห็นวางบประมาณรายจายประจําในชวง 10 ปที่ผานมามีสัดสวนประมาณรอยละ 60–80 ตองบประมาณ ทั้งหมด ในขณะที่สัดสวนของงบลงทุนตองบประมาณทั้งหมดอยูที่ประมาณรอยละ 20 ดังนั้น ความทาทายของเศรษฐกิจไทยและ การจัดทํางบประมาณในระยะตอไปจึงเปนการพิจารณาปรับเพิม่ สัดสวนรายจายลงทุนในงบประมาณ เพือ่ เปนการเสริมสรางบทบาท ของภาครัฐในการเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจ การศึกษาผลกระทบของการลงทุนภาครัฐตอ GDP สามารถใชความสัมพันธของปจจัยทุนภาครัฐ (Capital stock of public sector) มาใชในการวิเคราะหได โดยอาศัยการวิเคราะหแหลงทีม่ าของการขยายตัวทางเศรษฐกิจเพือ่ แยกผลจากการเปลีย่ นแปลง ดานปริมาณและคุณภาพออกจากกัน ซึ่งในสวนของปจจัยทุน คือ ปริมาณทุน (Quantity of capital) หรือความเขมขนของทุน (Kt) ทีใ่ ชในการผลิต กลาวคือ ยิง่ มีปริมาณทุนมากขึน้ หรือเรงใหเครือ่ งมือเครือ่ งจักรมาใชในการผลิตมากขึน้ ก็จะชวยใหผลผลิตเพิม่ ขึน้ ตามไปดวย ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ปริมาณปจจัยทุนที่มีสวนรวมในการผลิต คือ คาเสื่อมราคาของปจจัยทุน (Capital depreciation)5 ซึ่งคาเสื่อมราคานี้ จะสะทอนการมีสวนรวมของปจจัยทุนในการผลิต กลาวคือ ยิ่งมีการใชปจจัยทุนในการผลิตมากก็จะมีคาเสื่อมราคาของทุนเพิ่ม มากขึ้นตามไปดวย จากตารางที่ 1 พบวา มูลคาสตอกทุน (Gross Capital Stock) ของประเทศไทยในชวงป 2548–2552 มีจํานวนเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่อง และมีเสถียรภาพทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยสวนใหญเปนสตอกทุนของภาคเอกชน ซึ่งมีสัดสวนประมาณรอยละ 70 และสัดสวนสตอกทุนที่เปนของภาครัฐมีประมาณรอยละ 29 ในขณะที่อัตราการขยายตัวของสตอกทุนโดยรวมมีอัตราการขยาย ตัวอยางตอเนื่องจากป 2548 มีอัตราการขยายตัวรอยละ 3.2 แตในป 2552 พบวา อัตราการขยายตัวชะลอลงเหลือเพียงรอยละ 2.8 ซึ่งเปนผลมาจากภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศที่หดตัวลงตามภาวะวิกฤตเศรษฐกิจโลกในชวงปลายป 2551 และตอเนื่องใน ป 2552 นอกจากนี้ สตอกทุนสามารถจําแนกตามกิจกรรมการผลิต (Classified by Economic Activities) พบวา สตอกทุนสุทธิ ในสาขาที่อยูอาศัยมีสัดสวนสูงสุดรอยละ 22.7 รองลงมาคือ สาขาโทรคมนาคมและการสื่อสารรอยละ 19.2 สาขาอุตสาหกรรม รอยละ 16.2 สาขาบริการรอยละ 10.7 และสาขาเกษตรกรรมรอยละ 7.3 ตามลําดับ และถาพิจารณาอัตราการขยายตัวของสตอก ทุนสุทธิ ณ ราคาคงที่ พบวา ในป 2552 สาขาที่อยูอาศัยมีอัตราการขยายตัวสูงสุดรอยละ 23.0 รองลงมาคือ สาขาโทรคมนาคม และการสื่อสารขยายตัวรอยละ 18.8 สาขาอุตสาหกรรมขยายตัวรอยละ 16.5 สาขาบริการขยายตัวรอยละ 10.3 และสาขาคาสง และคาปลีกขยายตัวรอยละ 7.9 ตามลําดับ ตารางที่ 1 มูลคาโครงสรางและอัตราการขยายตัวของสตอกทุน ณ ราคาคงที่ป 2531
มูลคาสตอกทุน ภาครัฐ ภาคเอกชน โครงสราง (รอยละ) ภาครัฐ ภาคเอกชน อัตราการขยายตัว (รอยละ) ภาครัฐ ภาคเอกชน
2548
2549
2550
2551
2552
13,975 4,112 9,863 100 29.4 70.6 3.2 3.8 3.0
14,431 4,275 10,156 100 29.6 70.4 3.3 3.9 3.0
14,895 4,461 10,435 100 29.9 70.1 3.2 4.4 2.7
15,380 4,642 10,738 100 30.2 69.8 3.3 4.1 2.9
15,813 4,796 11,017 100 30.3 69.7 2.8 3.3 2.6
ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.)
5
ขอมูลทั้งยอดคงคางของทุนและคาเสื่อมราคาของทุนมีการรายงานโดยสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติเปนประจําทุกป ซึ่งการเสื่อมราคาของทุนจะเปนไปตาม Physical Law of Motion ที่แสดงใหเห็นวายอดคงคางของทุนสุทธิ (Net capital stock) ที่เพิ่มขึ้นเทากับยอดคงคางของ ทุนสุทธิในอดีตบวกดวยการลงทุนทั้งหมด (Gross investment) หักดวยคาเสื่อมราคา (Depreciation)
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
61
จากขอมูลของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) พบวา ในชวงกอนวิกฤตเศรษฐกิจ หรือในชวงป 2539 สตอกทุนรวมขยายตัวรอยละ 11.2 โดยสาขากอสรางเปนสาขาทีม่ อี ตั ราการขยายตัวสูงทีส่ ดุ รองลงมาคือ สาขา คมนาคมและขนสง สาขาเหมืองแรและยอยหิน สาขาบริหารราชการแผนดิน และสาขาอุตสาหกรรม ตามลําดับ ในขณะทีป่ ระเทศไทย เกิดภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในป 2540 พบวา สตอกทุนสาขากอสรางลดลงอยางเห็นไดชัดจากรอยละ 18.0 ในป 2539 เหลือรอยละ 3.6 ในป 2540 และลดลงตอเนื่องในป 2541 ซึ่งสงผลกระทบตอภาคธุรกิจการกอสรางที่ตองปดกิจการลงเปนจํานวนมากในชวงดังกลาว และในชวงป 2542–2545 หรือในชวงวิกฤตเศรษฐกิจ พบวา สตอกทุนมีแนวโนมขยายตัวอยูในระดับตํ่า เนื่องจากนักลงทุนยังไม มัน่ ใจในการลงทุนมากนักจากภาวะเศรษฐกิจทีย่ งั คงมีความผันผวนในขณะนัน้ แตในภาพรวมสตอกทุนของประเทศก็ยงั คงเพิม่ ขึน้ ภาพที่ 2 แหลงที่มาของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (รอยละ) (Contribution to GDP growth)
ที่มา : คํานวณโดย สศค.
เมือ่ พิจารณาสัดสวนทีม่ าของการขยายตัวของปจจัยการผลิตทีม่ ผี ลตอการขยายตัวในศักยภาพการผลิตของไทย จากภาพ ที่ 2 พบวา ปจจัยที่สนับสนุนเศรษฐกิจไทยในชวงกอนวิกฤตเศรษฐกิจในป 2540 มาจากปริมาณปจจัยทุนและแรงงาน เนื่องจาก มีอัตราการขยายตัวในระดับสูง ซึ่งผลมาจากการขยายตัวในระดับสูงของการลงทุนภาครัฐและภาคเอกชน แตผลิตภาพการผลิต หรือ Total Factor Productivity (TFP) กลับหดตัวลงตอเนื่อง อยางไรก็ตาม หลังชวงวิกฤตป 2540 จะพบวา ผลิตภาพโดยรวมมี สวนในการสนับสนุนเศรษฐกิจไทยมากยิง่ ขึน้ ขณะทีป่ จ จัยทุนและแรงงานขยายตัวในระดับตํา่ สอดคลองกับปริมาณการลงทุนของ ภาครัฐและภาคเอกชนที่ขยายตัวเพียงเล็กนอย ผลิตภาพการผลิตโดยรวมหรือ Total Factor Productivity (TFP) มีสัดสวนในการกําหนดศักยภาพในการผลิตของประเทศ ถึงรอยละ 45 ในขณะที่ปจจัยแรงงานและปจจัยทุนมีสัดสวนในการกําหนดศักยภาพในการผลิตของประเทศประมาณรอยละ 27 และรอยละ 28 ตามลําดับ ดังนั้น สาเหตุหลักที่สงผลใหศักยภาพการผลิตของประเทศไทยขยายตัวลดลงจากรอยละ 6.3 ในป 2547 มาอยูที่รอยละ 4.6 ในป 2548 มาจากผลิตภาพโดยรวมของไทยที่ลดลงจากรอยละ 4.3 ในป 2547 มาอยูที่ 1.7 ในป 2548 เนื่องจากในชวงดังกลาวมีการลดลงของผลิตภาพการผลิตในสาขาเกษตรกรรมที่หดตัวลง อันเนื่องมาจากภัยธรรมชาติทั้งภัยแลง และนํ้าทวมที่สงผลใหผลิตภาพภาคการเกษตรลดลง นอกจากนี้ ปจจัยทุนภาครัฐมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอยจากรอยละ 0.3 ในป 2547 มาอยูที่รอยละ 0.5 ในป 2548 และปจจัยทุนภาคเอกชนปรับเพิ่มขึ้นจากรอยละ 1.8 ในป 2547 มาอยูที่รอยละ 2.5 ในป 2548 ทั้งนี้ ในป 2552 เศรษฐกิจไทยหดตัวรอยละ -2.3 มาจากผลิตภาพโดยรวมที่หดตัวอยางมากที่รอยละ -4.8 โดยเฉพาะ ในภาคการผลิตและภาคบริการ ผลจากวิกฤตเศรษฐกิจโลก นอกจากนี้ ปจจัยทุนภาครัฐและภาคเอกชนขยายตัวรอยละ 0.3 และ รอยละ 2.2 ตามลําดับ และจากแรงงานรอยละ -0.1
62
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
3. ผลกระทบของการลงทุนภาครัฐตอศักยภาพการผลิตระยะยาว การศึกษาผลกระทบของการลงทุนภาครัฐตอการเพิ่มศักยภาพการผลิตของประเทศจะใชทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ ของสํานักนีโอคลาสสิก (Neoclassical model)6 โดยอางจากแบบจําลองของ Aschauer (1989)7 ที่ไดจากสมการการผลิต (Production function) เพื่อวิเคราะหผลของการลงทุนภาครัฐที่มีตอประสิทธิภาพการผลิต (Productivity) ซึ่งจะไดวาปจจัยทุนมา จากการลงทุนภาครัฐ (Kg) และการลงทุนภาคเอกชน (Kp) และปจจัยแรงงานมาจากจํานวนชั่วโมงการทํางาน (L) ดังนั้นสามารถ เขียนในรูป Cobb-Douglas ไดดังนี้ (1) โดยที่ yt = Yt / Ltkpt = Kpt / Ltkgt = Kgt/ L (แสดงอยูในรูปตอหนวยแรงงาน) ซึ่งจากแนวคิดขางตนจะพบวา การเติบโต ทางเศรษฐกิจ (สะทอนในรูปของผลิตภัณฑมวลรวม) ขึน้ อยูก บั ความกาวหนาทางเทคโนโลยี ปจจัยทุนภาครัฐ ปจจัยทุนภาคเอกชน และปจจัยดานแรงงาน ในการใชแบบจําลองทางเศรษฐมิติ ขอมูลมีลักษณะอนุกรมเวลา (Panel data) รายป และแยกตามราย สาขาการผลิต เริ่มตั้งแตป 2533-2552 การศึกษาจะใชแบบจําลองปจจัยคงที่ (fixed effect model) ซึ่งอาจมีขอมูลของตัวแปร อิสระบางตัวที่ไมสามารถสํารวจได (Unobservable Explanatory Variables) ที่อาจมีคุณสมบัติไมเปลี่ยนแปลงไปตามขอมูลภาค ตัดขวาง (Cross-sectional Invariant) หรือที่รูจักกันในชื่อของ Fixed Effects Term ดังนั้น การศึกษานี้จึงไดทําการทดสอบวาแบบ จําลองมีปญหา Fixed Effects ดวยหรือไม ผลการศึกษาผลกระทบของปจจัยทุนภาครัฐตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจมีดังตอไปนี้ Ordinary Least Square (OLS) Ln(Q/L) = 0.154 - 0.438*Ln(Kg/L) + 1.165* Ln(Kp/L) - 0.217*DUMMY (2.109)* (-1.699) (3.816)*** (-3.359)*** R-squared = 0.934 Fixed Effect Model (FE) Ln(Q/L) = -0.0793 + 0.166*Ln(Kg/L) + 0.648* Ln(Kp/L) (-2.736)*** (1.722)* (3.742)*** R-squared = 0.812 Hausman test = 7.44 (0.0064)
(2)
(3)
จากการทดสอบทางเศรษฐมิติโดยใชแบบจําลองของสมการ (2) และสมการ (3) พบวา แบบจําลองปจจัยคงที่ (Fixed effect) มีความเหมาะสมกับขอมูลมากกวาแบบจําลองกําลังสองนอยทีส่ ดุ (OLS) โดยใชแบบทดสอบ Hausman test8 โดยสมมติฐาน หลัก H0 (Null Hypothesis) คือ คาสัมประสิทธิ์จากแบบจําลอง Fixed effect และ OLS ไมมีความคลาดเคลื่อน (Consistent) และ มีประสิทธิภาพ (Efficient)9 และสมมติฐานอื่น H1 (Alternative Hypothesis) คือ คาสัมประสิทธิ์จากแบบจําลอง Fixed effect มี ความคลาดเคลื่อน (Non-Consistent) ทําใหแบบจําลอง OLS เหมาะสมกับขอมูลมากที่สุด โดยจากการทดสอบพบวา คาสถิติ Hausman Statistic อยูที่ระดับ 7.44 โดยมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.00 ทําใหไมสามารถปฏิเสธสมมติฐานหลักได ซึ่งบงชี้วาแบบ จําลอง Fixed effect เหมาะสมกับขอมูลที่มีอยูมากกวาการใชแบบจําลอง OLS
จากการศึกษาของ Aschauer (1989) และ Barro (1990) พบวา ผลจากการใชจายของภาครัฐสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจผานการเพิ่มผลผลิตของ ภาคเอกชน ซึ่งการศึกษาอางอิงจากหลักทฤษฎี Endogenous growth บงชี้วาการใชจายภาครัฐทางดานยกระดับโครงสรางพื้นฐานของประเทศหรือบริการจาก การสรางโครงสรางพืน้ ฐาน อาทิ ระบบคมนาคมขนสงและระบบการสือ่ สารนัน้ เปนผลลัพธทกี่ อ ใหเกิดประโยชนในเชิงบวก อยางไรก็ตาม จากการศึกษาของ Bailey (1990) Karras (1994) Tanzi and Schuknecht (1995) พบวา ความสัมพันธของการขยายตัวทางเศรษฐกิจและรายจายภาครัฐมิไดเปนไปในเชิงบวกเสมอไป จําเปนตองศึกษาถึงความสัมพันธของแหลงที่มาของรายไดรัฐบาลและการออมของภาคเอกชน 7 แบบจําลองไดถูกพัฒนาและนํามาใชอยางแพรหลาย เชน การศึกษาของ IMF (2006) (“New Estimates of Government Net Capital Stocks for 22 OECD Countries”, IMF Staff Papers Vol. 53 N0. 1 by CHRISTOPHE KAMPS) 8 คา Hausman statistic มีดังนี้ โดย และ คือ สัมประสิทธิ์จากแบบจําลอง 2SLS และ OLS ตามลําดับ 9 มีคาความแปรผันนอย (smaller asymptotic variance) 6
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
63
จากสมการ (2) บงชีว้ า คาสัมประสิทธิข์ อง Ln(Kg/L) ทีเ่ ทากับ 0.166 มีคา เปนบวก แสดงวาผลิตภาพการผลิตของปจจัยทุน ภาครัฐ (Capital Productivity of public sector) มีคาเทากับ 0.166 หรือกลาวไดวา ถาปจจัยทุนภาครัฐเพิ่มสูงขึ้นรอยละ 1 จะสง ผลทําให GDP เพิ่มสูงขึ้นรอยละ 0.166 สะทอนใหเห็นวาการลงทุนภาครัฐโดยรวมมีผลบวกตอการขยายตัวของเศรษฐกิจในระยะ ยาว อยางไรก็ตาม จากสมการ (3) ผลกระทบของปจจัยทุนภาคเอกชนตอ GDP ระยะยาวสูงกวาปจจัยทุนภาครัฐ โดยหากปจจัย ทุนภาคเอกชนเพิ่มสูงขึ้นรอยละ 1 จะสงผลทําให Potential GDP เพิ่มสูงขึ้นรอยละ 0.648 นอกจากนี้ ผลการศึกษานี้ยังสอดคลอง กับผลการศึกษาของ Suwanrada (1999)10 โดยใชสมการ Production function ในชวงป 2513-2539 พบวา การลงทุนภาครัฐ มีผลเปนบวกตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยหากมีการลงทุนดานโครงสรางพื้นฐานเพิ่มขึ้นรอยละ 1 จะทําให GDP เพิ่มขึ้น รอยละ 0.2-0.3 และการศึกษาของ IMF (2006)11 ในประเทศ OECD พบวา ปจจัยทุนภาครัฐซึ่งใชแทนการลงทุนภาครัฐพบวา การลงทุนภาครัฐโดยรวมมีผลบวกตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยการลงทุนเพิ่มขึ้นรอยละ 1 จะสงผลทําให GDP ในประเทศ OECD เพิ่มขึ้นรอยละ 0.22 ตารางที่ 2 การประมาณการ Potential output growth ใชวิธี Production function จํานวนชั่วโมงการทํางาน มูลคาสตอกทุน (Capital Stock) ผลิตภาพโดยรวม (TFP) Potential GDP (Model) Potential GDP (HP filter)
2554-2559E 0.1 1.5 3.8 5.1
2560-2563E -0.4 2.0 3.8 4.9 4.5
2564-2568E -0.9 3.0 3.8 4.9
ที่มา : คํานวณโดยผูวิจัย
จากสมการ (2) ทําใหสามารถคํานวณศักยภาพการผลิตของประเทศ (Potential GDP) เพื่อจะใชเปนกรณีฐาน (Baseline Scenario) ในการประมาณการผลกระทบของการลงทุนภาครัฐในลําดับตอไป โดยการศึกษานี้จะใชผลการศึกษาจากแบบจําลอง Fixed effect และการหาคาแนวโนมของ GDP โดยวิธี Hodrick-Prescott Filte12 ทั้งนี้ เพื่อใหความสําคัญกับการเปลี่ยนแปลง ของโครงสรางทางเศรษฐกิจ การคาดการณไดแยกออกเปน 3 ชวง คือ ชวงที่ 1 ป 2554-2559 ชวงที่ 2 ป 2560-2563 และชวงที่ 3 ป 2564-2568 การศึกษามีสมมติฐานหลักดังตารางที่ 2 โดยจํานวนชั่วโมงการทํางานรวมทั้งประเทศมีแนวโนมลดลงตอเนื่อง ตามจํานวนประชากรแรงงานที่ลดลงในอนาคต อันเนื่องมาจากจํานวนประชากรวัยสูงอายุจะเพิ่มสูงขึ้น ขณะที่มูลคาการสตอก ทุน (Capital Stock) มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นตอเนื่อง เพื่อรองรับการลดลงของจํานวนแรงงานในภาคการผลิต นอกจากนี้ ผลิตภาพ โดยรวม (TFP) มีแนวโนมการขยายตัวที่คงที่เพื่อใหสอดคลองกับโครงสรางคุณภาพการศึกษา แรงงาน และคุณภาพทุนที่ขยายตัว คงที่ ผลการศึกษาพบวา อัตราการขยายตัวของศักยภาพการผลิตของประเทศไทย (Potential GDP) อยูในชวงรอยละ 4.5-5.1 โดย จากแบบจําลอง HP filter ใหคาอัตราการขยายตัวของ Potential GDP เทากับรอยละ 4.5 และจากแบบจําลอง Fixed effect ให คาอัตราการขยายตัวของ Potential GDP เทากับรอยละ 5.1 และรอยละ 4.9 ของป 2554-2559 และป 2560-2568 อยางไรก็ตาม นโยบายการลงทุนของภาครัฐสามารถเพิ่มศักยภาพการผลิตของประเทศได
Suwanrada, W. (1999). The Role of Public Capital in Thai Economy. Chulalongkorn Jourbal of Economics 11, 3: 273-320. IMF Staff Papers (2006). New Estimates of Government Net Capital Stocks for 22 OECD Countries, 1960–2001. 12 วิธี HP filter เปนเครื่องมือทางสถิติเพื่อใชในการหาแนวโนมของอัตราความเจริญทางเศรษฐกิจที่มีคาความแปรปรวนตํ่าที่สุด โดยปกติขอมูลทางสถิติประเภท อนุกรมเวลา (Time series) ซึง่ เปนลักษณะของขอมูลผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ จะมีองคประกอบในชุดขอมูล 2 ประเภท ไดแก ขอมูลวัฏจักร (Cycle) และ ขอมูลแนวโนม (Trend) ซึง่ วิธี HP filter จะแยกแนวโนมของผลผลิต (Y*) จากผลผลิตทีแ่ ทจริง (Y) โดยผานขัน้ ตอนของการหาขนาดของการเคลือ่ นไหวของผลผลิต ทีแ่ ทจริงรอบ ๆ แนวโนมของตัวมันเองใหมคี า ตํา่ ทีส่ ดุ ภายใตสมการ Minimization ขององคประกอบขอมูลวัฏจักร และองคประกอบขอมูลแนวโนม ดู Hodrick,R., and E. Prescott, 1997, “Postwar US. Business Cycles: An Empirical Investigation,” Journal of Money, Credit, and Banking, Vol. 29, pp. 1-16. 10 11
64
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ตารางที่ 3 ผลกระทบของการปรับเพิ่มการลงทุนภาครัฐตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจระยะยาว POTENTIAL GDP (กรณีฐาน) 2554E 2554-2559E 2560-2563E 2564-2568E 2568E
4.5 5.1 4.9 4.9 4.9
กรณีเพิ่มการลงทุนภาครัฐ ลงทุนภาครัฐตอ GDP Potential GDP เพิ่มจากกรณีฐาน 5.7 0.7 6.6 2.0 8.2 1.9 10.5 1.9 11.6 1.9
ที่มา : คํานวณโดยผูวิจัย
โดยทัว่ ไปนโยบายการเพิม่ การลงทุนในโครงการขนาดใหญของภาครัฐ (mega projects) จะกอใหเกิดการสะสมทุนในระบบ เศรษฐกิจเพือ่ รองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจในอนาคต ภายใตสมมติฐานทีก่ ารลงทุนภาครัฐ ณ ราคาคงทีจ่ ะกลับไปสูร ะดับกอน วิกฤตเศรษฐกิจป 2540 ที่อยูที่รอยละ 11.6 ตอ GDP ในป 2568 เพิ่มขึ้นจากรอยละ 5.1 ตอ GDP ในป 2553 ทั้งนี้ จากตารางที่ 3 ไดสรางสถานการณจาํ ลอง (Simulation) พบวา นโยบายเพิม่ ปริมาณการลงทุนภาครัฐใหถงึ ระดับรอยละ 11.6 ตอ GDP ในป 2568 โดยเปนการปรับเพิม่ แบบขัน้ บันไดจะสงผลทําใหอตั ราการขยายตัวของศักยภาพการผลิตของประเทศ (Potential GDP) เพิม่ สูงขึน้ โดยเฉลี่ยจากกรณีฐานรอยละ 1.9 ดังนั้น การลงทุนภาครัฐที่เพิ่มสูงขึ้นจะสงผลตอการใชจายภายในประเทศในระยะสั้น และยังสง ผลตอศักยภาพการผลิตของประเทศในระยะยาวดวย
4. ขอสรุปและแนวโนมศักยภาพการผลิตในอนาคต ผลการศึกษาจากการคาดการณศักยภาพการผลิตพบวา Potential GDP ขยายตัวอยูในชวงรอยละ 4.5-5.1 โดยหาก ตองการเพิม่ การลงทุนภาครัฐใหเขาสูร ะดับกอนวิกฤตเศรษฐกิจป 2540 ทีเ่ คยอยูท รี่ ะดับรอยละ 11.6 ตอ GDP จะมีสว นสนับสนุนให Potential GDP ขยายตัวจากกรณีฐานถึงรอยละ 2.0 ดังนั้น ความทาทายของนโยบายของภาครัฐในอนาคต คือการเพิ่มการลงทุน ของภาครัฐ โดยเฉพาะการลงทุนในโครงสรางและสาธารณูปโภคพืน้ ฐาน เพือ่ รักษาใหศกั ยภาพการผลิตของประเทศขยายตัวอยาง ยัง่ ยืน นอกจากนี้ ควรจะใหความสําคัญกับการพัฒนาทุนมนุษย (Human Capital) ควบคูก นั ไปดวย เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต และคุณภาพแรงงานในอนาคต เพือ่ รองรับการลดลงของจํานวนแรงงานและการกาวไปสูส งั คมผูส งู อายุ โดยตองเพิม่ ประสิทธิภาพ การใชจา ยและจัดสรรสวัสดิการใหตรงกลุม เปาหมาย เพือ่ สรางโอกาสและลดความเหลือ่ มลํา้ รวมไปถึงการพัฒนาระบบการศึกษา ใหเขาถึงอยางทั่วถึง
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
65
บทวิเคราะห
1
เรื่อง ฝามหาอุทกภัยป 2554 บทสรุปผูบริหาร
สภาพภูมิอากาศที่แปรปรวนจากปรากฏการณลานีญา สงผลใหในป 2554 ประเทศตองเผชิญ กับพายุโซนรอนถึง 5 ลูก ฝนตกชุกในหลายพื้นที่ ปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยสูงสุดในรอบ 23 ป ปริมาณนํ้าที่ไหลเขา เขื่อนขนาดใหญสูงจนยากตอการบริหารจัดการ เกิดนํ้าทวมขังในหลายพื้นที่จนเกิดเปนมหาอุทกภัยขึ้น ❍ ความเสียหายจากเหตุการณอุทกภัยครั้งนี้สงผลตอเศรษฐกิจไทยเปนวงกวางทั้งดานอุปทาน และเชื่อมโยงไปถึงดานอุปสงค โดยในดานอุปทานภาคที่ไดรับความเสียหายมากที่สุดคือภาคอุตสาหกรรม เนื่องจากมีนิคมอุตสาหกรรม 7 แหลงตองปดทําการเพราะนํ้าไดเขาทวมทั้งนิคม โดยประเมินความเสียหาย ประมาณ 1.1 แสนลานบาท สวนภาคบริการเปนภาคที่ไดรับผลกระทบรองลงมา เนื่องจากการคาปลีกคาสงตอง หยุดชะงัก การกอสรางอาคาร บานเรือนไมสามารถดําเนินการได ภาคการทองเที่ยวทั้งโรงแรม ภัตตาคาร และ การคมนาคมไดรบั ผลกระทบรุนแรงเนือ่ งจากนักทองเทีย่ วสวนใหญไดยกเลิกการเดินทางหลังจากเกิดความเสีย่ ง โดยประเมินความเสียหายในภาคบริการประมาณ 4.3 หมื่นลานบาท ขณะที่ภาคเกษตรที่ไดรับผลกระทบจาก ผลผลิตทีเ่ สียหายอยางมากเชนกัน โดยเฉพาะนาขาวซึง่ มีแหลงเพาะปลูกสําคัญอยูใ นภาคกลางไดถกู นํา้ ทวมเปน บริเวณกวาง โดยประเมินความเสียหายประมาณ 3.9 หมื่นลานบาท ❍ เมื่อรวมความเสียหายทั้งหมดจะพบวาเหตุการณมหาอุทกภัยครั้งนี้สรางความเสียหายแก ระบบเศรษฐกิจไทยในเบื้องตนรวม 1.9 แสนลานบาท หรือสงผลใหเศรษฐกิจไทยในป 2554 หดตัวจากที่ สศค. ประมาณการไวเดิมรอยละ -1.81 หรือคาดวาจะเหลือเพียงรอยละ 2.71 จากเดิมทีค่ าดวาจะขยายตัวไดรอ ยละ 4.5 ❍ นอกจากนั้น ภาคสงออกยังไดรับผลกระทบมากเนื่องจากนิคมอุตสาหกรรมที่ถูกนํ้าทวมเปน แหลงผลิตสินคาสงออกที่สําคัญ โดยจากการประเมินความเสียหายใน 4 หมวดสินคาหลัก ไดแก ยานยนต ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส เครื่องใชไฟฟา และสินคาเกษตร พบวามูลคาการสงออกจะลดลง 77,171.6 ลานบาท หรือ 2,489.4 ลานดอลลารสหรัฐ หรือขยายตัวเหลือรอยละ 21.0 เมื่อเทียบกับปกอนหนา ในขณะที่ดานแรงงาน มีสถานประกอบการไดรับผลกระทบจากนํ้าทวมทั่วประเทศ 10,827 แหง และลูกจางเดือดรอน 446,777 คน ซึ่งคาดวาจะมีผูที่เสี่ยงตอการถูกเลิกจางจํานวน 1 แสนคน ซึ่งจะทําใหอัตราการวางงานในป 2554 เพิ่มขึ้นจาก รอยละ 0.7 เปนรอยละ 0.9 นอกจากนั้น การขาดแคลนสินคาจําเปนในหลายรายการยังสงผลใหอัตราเงินเฟอ ทั่วไปในป 2554 สูงขึ้นมาอยูที่รอยละ 3.9 ❍ เพื่อใหการซอมแซม กอสราง และฟนฟูจากความเสียหายเปนไปไดอยางรวดเร็ว ภาครัฐได ออกมาตรการชวยเหลือผูประสบภัยทั้งภาคประชาชนและภาคเอกชน ซึ่งจะทําใหเศรษฐกิจไทยไมตองหยุด ชะงักเปนเวลานาน โดยแบงเปนมาตรการระยะสั้น ไดแก สินเชื่อเพื่อใชในการฟนฟูและเยียวยาผูประสบภัย เงินชวยเหลือผูป ระสบภัยทัง้ ในเขตกรุงเทพฯ และภูมภิ าค สวนระยะยาว รัฐบาลวางแผนพัฒนาระบบการบริหาร จัดการทรัพยากรนํ้าในอนาคต โดยจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการนํ้าอยางเปนระบบ แกไขปญหาภัยแลง ซํ้าซาก และวางกรอบการลงทุนดานบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าของประเทศ ❍
1
66
ผูเขียน : นายยุทธภูมิ จารุเศรนี และนางสาวกาญจนา จันทรชิต เศรษฐกรปฏิบัติการ สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ นางวิภารัตน ปนเปยมรัษฎ ผูอํานวยการสวนแบบจําลองและประมาณการเศรษฐกิจ และนายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ ผูอํานวยการสํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สําหรับคําแนะนํา
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
1. บทนํา สภาพภูมิอากาศที่แปรปรวนจากปรากฏการณลานีญา สงผลใหในป 2554 ประเทศตองเผชิญกับพายุโซนรอน ถึง 5 ลูก เกิดฝนตกชุก ปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยสูงสุดในรอบ 23 ป ปริมาณนํ้าที่ไหลเขาเขื่อนขนาดใหญสูงจนยากตอ การบริหารจัดการ เกิดนํ้าทวมขังในหลายพื้นที่จนเกิดเปนมหาอุทกภัยขึ้น ในป 2554 เปนปที่ประเทศไทยเผชิญกับสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวนอยางยิ่ง เนื่องจากประเทศในมหาสมุทรแปซิฟก เกิดปรากฏการณลานีญา (La Niña) ขึ้น ภาพที่ 1 ดัชนี Oceanic Nino (ONI)
ภาพที่ 2 อุณหภูมินํ้าทะเลในมหาสมุทรตาง ๆ
ที่มา : National Oceanic and Atmospheric administration (NOAA)
จากขอมูลของ National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA) หนวยงานติดตามสภาพภูมิอากาศของ สหรัฐอเมริกาพบวา ในป 2554 ดัชนี Oceanic Nino ซึ่งเปนคาที่บอกถึงความรุนแรงของสภาพภูมิอากาศอยูในระดับที่ตํ่ากวา 0 (ดังแสดงในภาพที่ 1) บงชี้วาจะเปนปที่เกิดปรากฏการณลานีญาในระดับรุนแรง ทําใหกระแสนํ้าอุนในมหาสมุทรแปซิฟก พัดผานมาอยูที่ฝงตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟกบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต ดังแสดงในภาพที่ 2 การที่กระแสนํ้าอุนไหลมา สะสมดังกลาวทําใหอุณหภูมิของนํ้าทะเลบริเวณนั้นปรับตัวสูงขึ้น ผลคือการเกิดการระเหยของนํ้าทะเลเพิ่มขึ้น กอตัวเปนเมฆ ฝนและรวมตัวกันจนพัฒนาเปนพายุในที่สุด จากสถานการณดังกลาวทําใหในป 2554 ประเทศไทยตองเผชิญกับพายุโซนรอน ถึง 5 ลูกดวยกัน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1) พายุไหหมา (Haima) ที่เกิดจากอิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต รองความกดอากาศตํ่า เคลื่อนเขาฝงที่ประเทศ เวียดนามตอนบน เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2554 แลวออนกําลังลงเปนพายุดีเปรสชันเคลื่อนผานประเทศลาว จนออนกําลังลงเปน หยอมความกดอากาศตํา่ กําลังแรง เมือ่ วันที่ 26 มิถนุ ายน 2554 จากนัน้ ไดเคลือ่ นเขาปกคลุมทีจ่ งั หวัดนาน ซึง่ มีผลทําใหภาคเหนือ ตอนบนของไทยมีฝนตกหนักถึงหนักมากอยางตอเนื่อง ทําใหมีนํ้าทวมฉับพลัน นํ้าปาไหลหลาก ดินถลมที่จังหวัดแพร เชียงราย พะเยา นาน ตาก และจังหวัดสุโขทัย พื้นที่เกษตรเสียหาย 159,598 ไร 2) พายุนกเตน (Nok-Ten) หรือพายุนกกระเต็น เปนพายุที่เกิดจากหยอมความกดอากาศตํ่ากําลังแรงในมหาสมุทร แปซิฟกเหนือดานตะวันตก จนทําใหเกิดฝนตกหนักในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของไทย ตั้งแตชวงปลาย เดือนกรกฎาคมถึงตนเดือนสิงหาคม เกิดเหตุนาํ้ ทวมรวม 20 จังหวัด ตัง้ แตภาคเหนือ ภาคกลางตอนบน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน และภาคใตตอนบน มีผูเสียชีวิต 20 ราย ประชาชนเดือดรอน 314,732 ครัวเรือน พื้นที่การเกษตรเสียหาย 619,723 ไร 3) พายุโซนรอนไหถาง (Haitang) เปนพายุหมุนเขตรอนเคลื่อนขึ้นฝงที่ประเทศเวียดนาม ในวันที่ 27 กันยายน 2554 และออนกําลังลงเปนพายุดเี ปรสชัน กอนเคลือ่ นตัวมาทีป่ ระเทศลาว จากนัน้ ออนกําลังลงเปนหยอมความกดอากาศตํา่ กําลังแรง เคลื่อนเขาปกคลุมที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือของไทยในวันที่ 28 กันยายน 2554
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
67
4) พายุโซนรอนเนสาด (Nesat) ซึง่ เดิมทีเปนพายุไตฝนุ ทีเ่ คลือ่ นตัวผานอาวตังเกีย๋ ขึน้ ฝง ทีป่ ระเทศเวียดนาม ออนกําลัง เปนพายุโซนรอนในวันที่ 30 กันยายน 2554 เคลือ่ นเขาสูไ ทย และจากสถานการณดงั กลาวทําใหประเทศไทยตอนบนมีฝนตกหนัก ตอเนื่อง จนเกิดนํ้าทวมขยายวงกวางในหลายพื้นที่ 5) พายุโซนรอนนาลแก (Nalgae) เปนพายุลูกสุดทายที่พัดเขามาสูในประเทศไทยในป 2554 สงผลใหประเทศไทยมี ฝนตกชุกหนาแนนจนหลายพื้นที่เกิดอุทกภัยอยางหนัก ทั้งภาคเหนือตอนลางและภาคกลาง ทําใหเกิดนํ้าทวมในพื้นที่เศรษฐกิจ สําคัญ โดยเฉพาะในเขตนิคมอุตสาหกรรมทั้งจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดปทุมธานี จากพายุที่พัดผานเขามาสูประเทศไทยทั้ง 5 ลูกดังกลาว เปนผลใหในป 2554 ปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยของทั้งประเทศ ตั้งแต ตนปถึงวันที่ 4 พฤศจิกายน 2554 อยูที่ 1,856 มิลลิเมตร นับเปนระดับที่สูงที่สุดในรอบ 23 ป ดังแสดงในภาพที่ 3 นอกจากนั้น ยังพบวาความสัมพันธระหวางปทเี่ กิดปรากฏการณลานีญากับปริมาณนํา้ ฝนเฉลีย่ ของไทย กลาวคือ ในป 2539 ป 2542 ป 2543 ป 2551 และป 2554 เปนปทเี่ กิดปรากฏการณลานีญาและมีปริมาณนํา้ ฝนเฉลีย่ สูงกวาปกติ ทําใหสามารถสรุปไดวา ปรากฏการณ ลานีญาในมหาสมุทรแปซิฟกมีผลใหเกิดปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยสูงกวาปกติอยางมีนัยสําคัญ ดวยปริมาณนํ้าฝนที่มากระดับนี้ทําใหระดับนํ้าในเขื่อนภูมิพลเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ตั้งแตตนเดือนพฤษภาคม 2554 เปนตนมา หลังพายุไหหมาพัดผานเขาสูประเทศไทย (ดังแสดงในภาพที่ 4) และเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องหลังพายุนกเตนพัดเขา มาเปนลูกที่ 2 จนทําใหการบริหารจัดการนํ้าในเขื่อนเปนดวยความยากลําบาก ทายที่สุดเมื่อระดับนํ้าในเขื่อนกักเก็บถึงระดับ รอยละ 100 ของความจุทั้งหมด จึงจําเปนที่จะตองปลอยนํ้าใหไหลผานประตูระบายนํ้าเสน (Spillway) ในวันที่ 3-13 ตุลาคม 2554 และวันที่ 18-20 ตุลาคม 2554 และเมื่อประกอบกับพายุอีก 3 ลูก ที่พัดเขามาจึงทําใหเกิดนํ้าทวมขังในหลายจังหวัด และ ลุกลามเปนมหาอุทกภัยของประเทศไทยในที่สุด
ภาพที่ 3 ปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยทั้งประเทศในปตาง ๆ
ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา * หมายเหตุ ขอมูลตั้งแตวันที่ 1 มกราคม–วันที่ 4 พฤศจิกายน
68
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ภาพที่ 4 ปริมาณนํ้าในเขื่อนภูมิพล
ที่มา : สํานักอุทกวิทยาและบริหารนํ้า กรมชลประทาน
2. ผลกระทบที่เกิดตอเศรษฐกิจไทย ความเสียหายจากเหตุการณอุทกภัยครั้งนี้สงผลตอเศรษฐกิจไทยเปนวงกวางทั้งดานอุปทาน ไดแก เกษตร อุตสาหกรรม และบริการและเชื่อมโยงไปถึงดานอุปสงค โดยคาดวาจะทําใหเกิดความเสียหาย 1.9 แสนลานบาท หรือสงผลใหเศรษฐกิจ ไทยในป 2554 หดตัวรอยละ -1.81 เหลือขยายตัวเพียงรอยละ 2.71 นอกจากนั้น การขาดแคลนสินคาจําเปนในหลายรายการ ยังสงผลใหอัตราเงินเฟอทั่วไปในป 2554 สูงขึ้นมาอยูที่รอยละ 3.9 โดยกลไกการเชื่อมโยงมีรายละเอียด ดังนี้ ภาพที่ 5 แผนภาพแสดงการเชื่อมโยงผลกระทบอุทกภัยตอเศรษฐกิจไทย
ที่มา : คํานวณโดย สศค.
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
69
ภาวะนํ้าทวมสรางความเสียหายแกผลผลิตในภาคเกษตรและภาคอุตสาหกรรม ทําใหรายไดของเกษตรกรและกําลัง แรงงานในภาคอุตสาหกรรมลดลง ซึ่งจะสงผลใหการจับจายใชสอยของแรงงานกลุมนี้ลดลงในอัตราสูง เนื่องจากประชาชน กลุมนี้มีคาความโนมเอียงหนวยสุดทายในการบริโภค (Marginal Propensity to consump: MPC) อยูในระดับสูง ดังนั้น จึง ทําใหการบริโภคภาคเอกชน (Private Consumption) ปรับตัวลดลงมาก ประกอบกับภาวะนํ้าทวมยังทําใหการลงทุนใหมหรือ การลงทุนเพือ่ ขยายกิจการไมสามารถดําเนินการจัดซือ้ และกอสรางได ภาคเอกชนจึงชะลอการลงทุนออกไปกอน ทําใหการลงทุน ภาคเอกชน (Private Investment) ปรับตัวลดลง การหยุดการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมที่ประสบภัยนํ้าทวมยังสงผลตอการสงออกสินคาของไทย เนื่องจากพื้นที่ นิคมอุตสาหกรรมสวนใหญมีการผลิตสินคาเพื่อการสงออกเปนหลัก โดยเฉพาะสินคาในหมวดยานยนต ฮารดดิสก ชิ้นสวน อิเล็กทรอนิกส และเครื่องใชไฟฟา ดังนั้น จึงทําใหการสงออกปรับตัวลดลงมาก นอกจากนั้น การสงออกบริการก็ยังไดรับ ผลกระทบจากวิกฤตนํ้าทวมครั้งนี้ เนื่องจากแหลงทองเที่ยวที่สําคัญของภาคกลางทั้งโบราณสถาน โบราณวัตถุ และมรดกโลก ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาไดถูกนํ้าทวมทั้งหมด เสนทางการเดินทางที่ใชเดินทางไปยังภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือถูก ตัดขาดจึงทําใหการสงออกบริการลดลง จากการลดลงขององคประกอบใน GDP ดังที่กลาวมาทําให GDP ของประเทศไทยหลัง เผชิญวิกฤตนํ้าทวมลดลงในที่สุด ขณะเดียวกัน การที่มีนํ้าทวมขังในหลายพื้นที่เพาะปลูกสินคาเกษตรทําใหผลผลิตผักและผลไมไดรับความเสียหาย ประกอบกับเหตุการณนาํ้ ทวมสงผลกระทบตอจิตวิทยาของประชาชน ทําใหมกี ารกักตุนสินคาโดยเฉพาะสินคาจําเปน เชน อาหาร เครือ่ งดืม่ เครือ่ งอุปโภคบริโภค สงผลใหเกิดการขาดแคลนสินคา ซึง่ สถานการณดงั กลาวจะเปนปจจัยใหระดับราคาสินคาปรับตัว สูงขึ้นและสงผลตออัตราเงินเฟอในที่สุด
• การวิเคราะหผลกระทบตอเศรษฐกิจในดานอุปทาน ภาคการเกษตร โดยคาดวาพืน้ ทีก่ ารเกษตรจะเสียหาย 10,986,252 ไร พืน้ ทีเ่ พาะเลีย้ งสัตวนาํ้ คาดวาจะเสียหาย 194,012 บอ/กระชัง ดานปศุสัตว สัตวเลี้ยงที่ไดรับผลกระทบรวมทั้งสิ้น 13,282,622 ตัว (ขอมูลจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ) โดย เลขาธิการสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) ประเมินผลกระทบดังกลาวตอการผลิตขาวเสียหายรวมทั้งสิ้นประมาณ 6 ลาน ตัน ทําใหโดยรวมแลวผลผลิตขาวนาป 2554/2555 จะมีเพียง 19 ลานตัน ลดลงจากเปาที่คาดวาจะไดประมาณ 25 ลานตัน และ ลดลงเมือ่ เทียบกับปทผี่ า นมาทีม่ ผี ลผลิต 21-22 ลานตัน ซึง่ หากภายหลังจากนํา้ ลดลงแลวเกษตรกรจะเริม่ ปลูกขาวนาปรังทีค่ าด วาจะใหผลผลิตประมาณ 8-9 ลานตัน ดังนั้น ผลผลิตขาวในป 2554/2555 จะไดรวม 27 ลานตัน ลดลงจาก 31 ลานตันในปกอน ภาคอุตสาหกรรม พื้นที่ที่ไดรับผลกระทบมาก ไดแก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ประกอบดวยนิคมอุตสาหกรรม 5 แหง คือ นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน นิคมอุตสาหกรรมบานหวาไฮเทค นิคมอุตสาหกรรมสหรัตนนคร เขตประกอบการอุตสาหกรรม แฟคตอรีแ่ ลนดวงั นอย และเขตประกอบการสวนอุตสาหกรรมโรจนะ) และจังหวัดปทุมธานี (ประกอบดวยนิคมอุตสาหกรรม 2 แหง คือ นิคมอุตสาหกรรมนวนคร และนิคมอุตสาหกรรมบางกะดี) ซึง่ สวนใหญเปนฐานการผลิตชิน้ สวนยานยนต อิเล็กทรอนิกส และ เครื่องใชไฟฟา การที่นิคมฯ ดังกลาวไดรับผลกระทบจากนํ้าทวมทําใหเกิดผลเสียตอหวงโซอุปทาน (Supply Chain) โดยเฉพาะ ในการผลิตยานยนต คายโตโยตา ฟอรด ฮอนดา และอีซูซุ ตองระงับการผลิตเนื่องจากขาดแคลนชิ้นสวนประกอบสําคัญที่ผลิต ขึน้ จากนิคมอุตสาหกรรมดังกลาว บริษทั อิเล็กทรอนิกสอยาง ซีเกท และเวสเทิรน ดิจติ อลระงับการผลิตฮารดดิสก และบริษทั ผลิต เครื่องใชไฟฟาอยาง แคนนอนและนิคอน ตองระงับการผลิตเครื่องใชไฟฟาและตองยายการผลิตไปที่ประเทศเวียดนามชั่วคราว โดยในแตละปภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจะสรางมูลคาใหแก GDP ของประเทศราว 3.6 แสนลานบาท หรือ 982.9 ลานบาท/วัน ทัง้ นีค้ ดิ เปนสัดสวนรอยละ 10.0 ของ GDP ภาคอุตสาหกรรมของทัง้ ประเทศ (หมายเหตุ : นํา้ เริม่ ทวมเขานิคม อุตสาหกรรมโรจนะ ในวันที่ 1 ตุลาคม 2554) ภาคบริการ โดยการผลิตภาคบริการในพื้นที่นํ้าทวมขัง สวนใหญจะเปนการผลิตบริการสาขาคาปลีกคาสง สาขาการ คมนาคมขนสงและสื่อสาร สาขาโรงแรมและภัตตาคาร สาขาการกอสราง และสาขาการเงิน ซึ่งสงผลใหภาคการผลิตดังกลาว ไดรับผลกระทบ โดยคาดการณระยะที่สงผลกระทบของแตละสาขาการผลิตในพื้นที่ภาคกลางอยูที่ 30 วัน และกรุงเทพฯ 15 วัน ในขณะที่ดานจํานวนนักทองเที่ยวจากตางชาติพบวา ไมไดรับผลกระทบมากนักเนื่องจากในชวงไตรมาสที่ 4 ของปนักทองเที่ยว สวนใหญจะเดินทางเพื่อมาทองเที่ยวในภาคใตบริเวณริมชายฝง ประกอบกับนักทองเที่ยวที่เดินทางมาเที่ยวในภาคกลางซึ่งเกิด ปญหาภัยพิบตั กิ ไ็ ดมกี ารเปลีย่ นจุดหมายปลายทางเพือ่ หลีกเลีย่ งไปทองเทีย่ วในภาคอืน่ ๆ แทน ทัง้ นีค้ าดวาจํานวนนักทองเทีย่ ว ตางชาติของป 2554 จะลดลง 100,000 คน เหลือ 19.45 ลานคน ขยายตัวรอยละ 22.1 ขณะที่ ปลัดกระทรวงคมนาคม ประเมิน วาตองใชงบประมาณฟน ฟูใหถนนกลับสูส ภาพเดิมประมาณ 25,000-27,000 ลานบาท แบงเปนถนนทางหลวงเสียหายประมาณ 580 สายทาง จํานวน 2,525 แหง ใน 20 จังหวัด มูลคาความเสียหายประมาณ 19,000 ลานบาท สวนถนนทางหลวงชนบท เสียหายรวมกวา 900 สายทาง มูลคาความเสียหายประมาณ 8,000 ลานบาท (โดยรายละเอียดตามตารางที่ 1 สรุป ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากเหตุการณนํ้าทวม)
70
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ตารางที่ 1 สรุปความเสียหายที่เกิดขึ้นจากเหตุการณนํ้าทวม
ความเสียหายที่เกิดขึ้น (ลานบาท)
รายการ ภาคเกษตร พื้นที่ที่ไดรับความเสียหาย - ขาว - พืชไร - มันสําปะหลัง ประมง ปศุสัตว - ไก - โค กระบือ - สุกร รวม ภาคอุตสาหกรรม การผลิต อุตสาหกรรม - อยุธยา - ปทุมธานี - กทม. ภาคบริการ การกอสราง - ภาคกลาง - กทม. คาปลีกคาสง - ภาคกลาง - กทม. โรงแรมภัตตาคาร - ภาคกลาง - กทม. ขนสงและสื่อสาร - ภาคกลาง - กทม. การเงิน - ภาคกลาง - กทม. โรงพยาบาล - ภาคกลาง - กทม. รวม รวมทั้งหมด
หนวย 10,986,252 ไร 8,789,002 ไร 2,197,250 ไร 194,012 บอ 13,282,622 ตัว 10,626,098 ตัว 664,131 ตัว 1,992,393 ตัว
120 วัน 120 วัน 15 วัน
60 วัน 15 วัน 60 วัน 15 วัน 30 วัน 15 วัน 30 วัน 30 วัน 15 วัน 30 วัน 15 วัน 393 แหง 30 วัน 15 วัน
เสียหาย/หนวย (บ.) กรณีสูง (100%) กรณีฐาน (75%) กรณีตํา (50%)
3,375
29,663
22,247
14,831
5,700 20,000
12,524 3,880
9,393 2,910
6,262 1,940
10 3,000 2,000
106.26 1,992 3,985 52,151
80 1,494 2,989 39,113
53 996 1,992 26,075
1,781.0 ลานบาท 982.9 ลานบาท 140.6 ลานบาท 657.5 ลานบาท
144,682 117,953 16,866 9,863
108,512 88,465 12,650 7,397
72,341 58,976 8,433 4,931
198.7 ลานบาท 99.3 ลานบาท 99.4 ลานบาท 1,030.0 ลานบาท 275.2 ลานบาท 754.8 ลานบาท 400.7 ลานบาท 15.8 ลานบาท 384.8 ลานบาท
7,450 5,960 1,490 27,836 16,514 11,322 6,247 475 5,773 7,891 1,711 6,180 4,880 571 4,309 3,186 2,525 661 57,491 254,324
5,588 4,470 1,118 20,877 12,386 8,491 4,686 356 4,330 5,919 1,284 4,635 3,660 428 3,232 2,390 1,894 496 43,118 190,743
3,725 2,980 745 13,918 8,257 5,661 3,124 237 2,886 3,946 856 3,090 2,440 285 2,155 1,593 1,263 331 28,746 127,162
57.0 ลานบาท 412.0 ลานบาท 19.0 ลานบาท 287.3 ลานบาท 84.2 ลานบาท 44.1 ลานบาท
ที่มา : คํานวณโดย สศค.
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
71
ในการประเมินความเสียหายจากภาวะนํ้าทวมในครั้งนี้จะเทียบจากฐานการประมาณการที่ระดับรอยละ 4.5 เมื่อเดือน มิถุนายน 2554 เนื่องจากเปนชวงกอนภาวะนํ้าทวม ทั้งนี้ความเสียหายรวมทั้งหมดจะอยูที่ 190,743 ลานบาท ชวงคาดการณ 127,162-254,324 ลานบาท และจะทําใหเศรษฐกิจไทยหดตัวลงรอยละ -1.81 ตอป ชวงคาดการณ -1.21 ถึง -2.42 ตอป ➥ กรณีสูง คาดวาเศรษฐกิจไทยในป 2554 จะหดตัวที่รอยละ -2.42 ตอป ลดลงจากรอยละ 4.53 ตอปมาอยูที่ รอยละ 2.11 ตอป ➥ กรณีฐาน คาดวาเศรษฐกิจไทยในป 2554 จะหดตัวที่รอยละ -1.81 ตอป ลดลงจากรอยละ 4.53 ตอปมาอยูที่ รอยละ 2.71 ตอป ➥ กรณีตํ่า คาดวาเศรษฐกิจไทยในป 2554 จะหดตัวที่รอยละ -1.21 ตอป ลดลงจากรอยละ 4.53 ตอปมาอยูที่ รอยละ 3.32 ตอป
ภาพที่ 6 อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในป 2554 กอนและหลังวิกฤตนํ้าทวม
ที่มา : คํานวณโดย สศค.
หมายเหตุ : กรณีสูง ภาคเกษตร เสียหายโดยสิ้นเชิง ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ เสียหายมาก กรณีฐาน ภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ เสียหายรอยละ 75 จากกรณีสูง กรณีตํ่า ภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ เสียหายรอยละ 50 จากกรณีสูง
➥ ทั้งนี้ สศค.ประเมินวาผลกระทบจากเหตุการณนํ้าทวมคาดวาจะสงผลให GDP ลดลงรอยละ -1.81 ทําให สศค.
ประเมินวาเศรษฐกิจไทยในป 2554 จะขยายตัวเหลือรอยละ 2.71 (จากประมาณการเดิมที่รอยละ 4.5 ณ เดือนมิถุนายน 2554)
• การวิเคราะหผลกระทบตอเศรษฐกิจในดานอุปสงค ภาคการสงออก ผลกระทบจากเหตุการณอุทกภัยจะสงผลใหภาคการสงออกไมสามารถผลิตสินคาเพื่อสงออกได เนื่องจากนิคมอุตสาหกรรมทั้ง 7 แหง ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดปทุมธานีตองหยุดทําการลง โดยมีสินคาหลักที่ ผลิตในพื้นที่ดังกลาว ไดแก ยานยนต ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส เครื่องใชไฟฟา นอกจากนั้น ยังสงผลตอการสงออกในหมวดสินคา เกษตร เชน ขาว และไกแปรรูป เนื่องจากแหลงผลิตถูกนํ้าทวมเปนบริเวณกวาง
72
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ตารางที่ 2 ผลกระทบที่เกิดกับภาคการสงออก การสงออก H1/54 หมวดยานยนต ฮอนดา 42,062.0 โตโยตา 81,844.0 นิสสัน มิตซูบิชิ รวม หมวดชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส 496,723.5 - อยุธยา หมวดสินคาเกษตร ขาว 105,283.3 - ภาคกลาง และไดรับความเสียหาย ไกแปรรูป 26,609.2 - ภาคกลาง และไดรับความเสียหาย รวมทั้งหมด
กรณีกระทบตอการสงออก 1 เดือน กรณีกระทบตอการสงออก 2 เดือน ความเสียหาย ความเสียหาย ความเสียหาย ความเสียหาย (ลานบาท) (ลานดอลลารสหรัฐ) (ลานบาท) (ลานดอลลารสหรัฐ) 7,677.0 13,640.7 116.7
247.6 440.0 3.8
15,354.0 27,281.3 233.3
495.3 880.0 7.5
21,434.3 82,787.2 24,836.2
691.4 2,670.6 801.2
42,868.7 165,574.5 49,672.3
1,382.9 5,341.1 1,602.3
18,321.0 3,664.2 4,761.6 952.3 77,171.6
591.0 118.2 153.6 30.7 2,489.4
36,642.0 7,328.4 9,523.2 1,904.6 154,343.2
1,182.0 236.4 307.2 61.4 4,978.8
ที่มา : คํานวณโดย สศค.
➥ จากการประเมินความเสียหายใน 4 หมวดสินคาหลัก พบวา มูลคาการสงออกจะลดลง 77,171.6 ลานบาท
หรือ 2,489.4 ลานดอลลารสหรัฐ ซึง่ เมือ่ เทียบกับการประมาณการมูลคาการสงออกสินคา ณ เดือนกันยายน 2554 จะพบวามูลคา การสงออกสินคาจะลดลงเหลือ 234,411 ลานดอลลารสหรัฐ หรือขยายตัวเหลือรอยละ 21.0 เมื่อเทียบกับปกอนหนา
ภาคการบริโภคภาคเอกชน นอกจากนั้นผลกระทบจากเหตุการณอุทกภัยครั้งนี้ยังจะสงผลใหเกิดการชะลอตัวในการ บริโภคภาคเอกชน ซึ่งมีสัดสวนใน GDP สูงถึงรอยละ 51.4 เนื่องจากการจับจายใชสอยของประชาชนในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบ จะหยุดชะงักลง โดยเฉพาะในหมวดอาหาร เครื่องดื่ม และโรงแรม ภัตตาคาร ซึ่งมีสัดสวนในการบริโภคภาคเอกชนสูงที่รอยละ 32.0 และรอยละ 9.3 ตามลําดับ ประกอบกับรายไดของกําลังแรงงานที่ลดลงจากการหยุดการจางงานของสถานประกอบการที่ ถูกนํ้าทวม และจากผลผลิตทางการเกษตรที่ไดรับความเสียหาย จะสงผลใหการบริโภคภาคเอกชนในอนาคตชะลอตัวลง ภาคการลงทุนภาคเอกชน ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนจะชะลอตัวในชวงแรกที่เกิดนํ้าทวม แตจะเรงตัวขึ้นหลังจาก ปญหาเริ่มคลี่คลาย เนื่องจากตองมีการซอมแซมถนน อาคาร สถานที่ที่พักอาศัย รวมทั้งโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมตาง ๆ จะ ตองมีการสั่งซื้อเครื่องจักร อุปกรณ ชิ้นสวนอะไหล เพื่อมาทดแทนสวนที่ไดรับความเสียหายจากภัยพิบัติ สินคาคงคลัง มีประเด็นที่ตองจับตาคือสตอกขาวที่เตรียมไวสําหรับการสงออก โดยผูประกอบการในจังหวัดนครสวรรค และจังหวัดพระนครศรีอยุธยาสวนใหญไดขนยายสตอกขาวมาเก็บไวในจังหวัดปทุมธานี ซึ่งถาพื้นที่ในจังหวัดปทุมธานีไดรับ ผลกระทบอีกก็จะเกิดความเสียหายกับสตอกสินคาเปนปจจัยลบอีกอยางหนึ่งที่มีตอ GDP ของประเทศ อัตราเงินเฟอ พบวา สินคาบริโภคที่ไดรับความเสียหายประกอบดวยสินคาในหมวดผักและผลไม ขาว ไขไก เนื้อสัตว อาหารสําเร็จรูป ทําใหราคาสินคาเหลานีป้ รับตัวสูงขึน้ จากการประมาณการโดยแบบจําลองเงินเฟอพบวา อัตราเงินเฟอทัว่ ไปใน ชวงเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554 จะเรงตัวขึ้นมาอยูที่รอยละ 4.2 เทียบกับชวงกอนนํ้าทวมที่คาดวาจะอยูเพียงรอยละ 4.1 ทําให ทั้งป 2554 อัตราเงินเฟอทั่วไปจะขยายตัวรอยละ 3.9 สูงขึ้นจากการประมาณการ ณ เดือนกันยายน 2554 ที่ขยายตัวรอยละ 3.8 ดานแรงงาน อธิบดีกรมสวัสดิการและคุม ครองแรงงาน (กสร.) เผยวา ใน 17 จังหวัดทีถ่ กู นํา้ ทวมมีสถานประกอบการไดรบั ผลกระทบจากนํา้ ทวมทัว่ ประเทศ 10,827 แหง และลูกจางเดือดรอน 446,777 คน ซึง่ ในจํานวนนีเ้ ฉพาะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ลูกจางเดือดรอน 373,590 คน ทั้งนี้คาดวาจะมีผูที่เสี่ยงตอการถูกเลิกจางจํานวน 1 แสนคน ซึ่งจะทําใหอัตราการวางงานเพิ่มขึ้น จากรอยละ 0.7 เปนรอยละ 0.9 และสงผลกระทบตอการบริโภคโดยรวมใหชะลอลง
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
73
3. มาตรการใหความชวยเหลือผูประสบภัย
ภาครัฐไดออกมาตรการชวยเหลือผูประสบภัยทั้งภาคประชาชนและภาคเอกชน เพื่อใหสามารถซอมแซม กอสราง และ ฟนฟูจากความเสียหายไดอยางรวดเร็ว และไมทําใหเศรษฐกิจไทยตองหยุดชะงักเปนเวลานาน โดยแบงเปนมาตรการระยะสั้น และระยะยาว ดังนี้ มาตรการระยะสั้น ➥ สินเชื่อเพื่อใชในการชวยเหลือ ฟนฟู และเยียวยาผูประสบภัย คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติสินเชื่อเพื่อใชในการฟนฟูใหประชาชนและภาคเอกชนตาง ๆ วงเงิน 325,000 ลานบาท โดยแบง เปน 3 กลุม คือ ผูประกอบการรายใหญ รวมถึงนักลงทุนชาวตางชาติ วงเงิน 65,000 ลานบาท รวมทั้งขยายสิทธิประโยชน การออก วีซาหรือใบอนุญาตแกผูประกอบการ การใหสินเชื่อดอกเบี้ยตํ่าจํานวน 5 หมื่นลานบาท ที่ไดรับความรวมมือจากธนาคารเพื่อ ความรวมมือระหวางประเทศญีป่ นุ หรือ เจบิก สวนวงเงินทีเ่ หลือจะเปนการใหความชวยเหลือในดานการผลิตในนิคมอุตสาหกรรม การปองกันอุทกภัยใหไดมาตรฐาน เพื่อรองรับฤดูฝนในปหนา ผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม วงเงิน 170,000 ลานบาท ปลอยสินเชื่อผานธนาคารพาณิชย จํานวน 120,000 ลานบาท โดยใหบรรษัทประกันสินเชือ่ อุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) เปนผูค าํ้ ประกันการปลอยสินเชือ่ ดอกเบีย้ ตํา่ รอยละ 0.01 โดยใหธนาคารออมสินปลอยผานธนาคารพาณิชยจาํ นวน 2 หมืน่ ลานบาท แลวใหธนาคารพาณิชยนนั้ ๆ ปลอยกูส มทบอีก 2 หมืน่ ลานบาท ดอกเบี้ยคงที่รอยละ 3.0 ใน 3 ป และสํานักงานประกันสังคมปลอยกูใหแรงงานที่ขึ้นทะเบียนประกันตนผานธนาคาร อีก 1 หมื่นลานบาท ผูประกอบการขนาดเล็ก พอคา แมคา และประชาชนทั่วไป วงเงิน 9 หมื่นลานบาท โดยจะปลอยสินเชื่อผานธนาคาร ออมสิน วงเงิน 2 หมื่นลานบาท ใหธนาคารอาคารสงเคราะห (ธอส.) ปลอยสินเชื่อเพื่อฟนฟูบาน และใหธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตรปลอยสินเชื่อใหแกเกษตรกร วงเงิน 3 หมื่นลานบาท ➥ เงินเพื่อชวยเหลือผูประสบภัย ประชาชน คณะรัฐมนตรีอนุมัติการชวยเหลือผูประสบภัยในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยจายเงินชวยเหลือครัวเรือน ละ 5,000 บาท จํานวน 30 เขต จํานวน 621,355 ครัวเรือน จํานวนเงิน 3,106,775,000 บาท ในขณะที่พื้นที่ภูมิภาคจะดูแลและ ซอมแซมบาน โดยในกรณีเสียหายบางสวนไมเกิน 20,000 บาท และเสียหายทั้งหลังไมเกิน 30,000 บาท ผูป ระกอบการ คณะรัฐมนตรีอนุมตั กิ ารชวยเหลือฟน ฟู เยียวยา ภาคอุตสาหกรรมจํานวน 4 โครงการ วงเงิน 147 ลานบาท ประกอบไปดวย 1. โครงการความชวยเหลือการระบายนํ้าจากนิคมอุตสาหกรรม วงเงิน 15.84 ลานบาท 2. โครงการตรวจสอบ คุณภาพนํ้า ดิน สารปนเปอน ของสารพิษอุตสาหกรรมที่ใชในสถานประกอบการทั้งในนิคมฯ และนอกนิคมฯ วงเงิน 25 ลานบาท 3. โครงการบริหารจัดการความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม และกากอุตสาหกรรม ในสถานประกอบการที่ประสบอุทกภัย วงเงิน 22 ลานบาท และ 4. โครงการตั้งศูนยพักพิงอุตสาหกรรม วงเงิน 50 ลานบาท มาตรการระยะยาว ➥ มาตรการเพื่อปองกันปญหาอุทกภัยในอนาคต รัฐบาลวางแผนพัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าโดยจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการนํ้าอยางเปนระบบ แกไขปญหาภัยแลงซํ้าซาก และวางกรอบการลงทุนดานบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าของประเทศ ดังมีแนวคิด ดังนี้ 1. การกอสรางแหลงกักเก็บนํ้า เขื่อน ฝาย และแกมลิง เพื่อใชเก็บกักนํ้าไวใชในชวงฤดูกาลเพาะปลูก โดยขยายเขตพื้นที่ ชลประทาน 301,950 ไร ประกอบไปดวยโครงการขนาดใหญ 12 โครงการ โครงการขนาดกลาง 63 โครงการ บริหารจัดการระบบ ชลประทาน 24 ลานไร 2. การพัฒนาฐานขอมูลเรื่องนํ้าใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อใหสามารถวิเคราะหสถานการณนํ้าและคาดการณ ปริมาณนํ้าไดอยางแมนยํา รวมทั้งมีการแจงเตือนประชาชนใหไดทราบปญหานํ้าไหลหลากลวงหนา 3. การจัดการผังเมืองใหมปี ระสิทธิภาพ เชน การไมอนุญาตใหมกี ารสรางสิง่ กอสรางทีก่ อ ใหเกิดการกีดขวางทางระบายนํา้ 4. การกอสรางระบบปองกันนํ้าทวมบริเวณรอบเมือง เชน การทําคูรอบบริเวณเมือง 5. การดูแลระบบระบายนํ้าตาง ๆ ไดแก การขุดลอกแมนํ้า การผันนํ้าเลี่ยงเมือง การบริหารจัดการโดยการผันนํ้าและ กระจายนํ้าในพื้นที่วิกฤต รวมทั้งพัฒนาแหลงนํ้าชุมชนและแหลงนํ้าในไรนานอกเขตชลประทาน ตลอดจนปองกันและบรรเทา ภัยจากนํ้าในพื้นที่เขตชลประทาน 6. มาตรการการรักษาดูแลพื้นที่ปาไมไมใหมีการบุกรุก รวมทั้งปลูกปาใหมเพื่อเปนแหลงตนนํ้าที่ยั่งยืน
74
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
บทวิเคราะห
เรื่อง ปจจัยที่มีผลตออัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทย ในครึ่งแรกของป 2554 1
บทสรุปผูบริหาร
ตลาดตราสารหนี้เปนหนึ่งในเสาหลักของตลาดทุนไทย โดยนอกจากจะเปนชองทางใน การเพิ่มสภาพคลองของสถาบันทางการเงินแลว ยังเปนทางเลือกแกนักลงทุนในการกระจายความเสี่ยงที่ นาสนใจอีกดวย ความสําคัญของตลาดตราสารหนี้สงผลใหหลายฝายใหความสนใจตอความเคลื่อนไหวของ อัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ ❍ ในชวงครึ่งแรกของป อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไดเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปอยาง มาก โดยเสนอัตราผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาล (Yield curve) ไดปรับตัวเขาสูลักษณะแบนราบ กลาวคือ อัตราผลตอบแทนตราสารหนี้ระยะสั้นปรับตัวสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญ ในขณะที่อัตราผลตอบแทนระยะยาว ปรับตัวลงเล็กนอย ❍ บทความนี้ ผู เ ขี ย นได วิ เ คราะห ป จ จั ย ต า ง ๆ ที่ อ าจมี ผ ลต อ ความเคลื่ อ นไหวของอั ต รา ผลตอบแทนของตราสารหนี้ ดวยขอมูลของตลาดเงินในชวงครึ่งปแรกของป 2554 พบวา 1) การคาดการณอัตราดอกเบี้ยในอนาคตไมสามารถอธิบายความเคลื่อนไหวของอัตรา ผลตอบแทนพันธบัตรได โดยจากขอมูลเชิงประจักษในชวงครึ่งปแรกของป 2554 พบวาอัตราดอกเบี้ยที่เกิดขึ้น จริงในอนาคต (Realized interest rate) จะตํ่ากวาอัตราดอกเบี้ย Forward interest rate ในปจจุบนั กวารอยละ 0.16 เสมอ 2) ดอกเบีย้ เงินฝากสามารถอธิบายความเคลือ่ นไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรได ทัง้ นี้ เนื่องจากการฝากเงินและการลงทุนในพันธบัตรเปนทางเลือกในการลงทุนที่สามารถทดแทนกันได (Substitute investment) 3) เชนเดียวกัน ผลตอบแทนของตลาดหุนสามารถอธิบายความเคลื่อนไหวของอัตรา ผลตอบแทนพันธบัตรได ทั้งนี้ เนื่องจากการลงทุนในหุนและการลงทุนในพันธบัตรเปนทางเลือกในการลงทุนที่ สามารถทดแทนกันได 4) ภาวะเศรษฐกิจของตางประเทศมีผลตอความเคลือ่ นไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตร โดยในชวงครึง่ แรกของป 2554 สภาพเศรษฐกิจโลกทีย่ งั คงมีความเปราะบาง นักลงทุนตางชาติจงึ ไดหนั มาลงทุน ในภูมภิ าคเอเชียซึง่ มีสภาพเศรษฐกิจทีด่ กี วา ทําใหเงินลงทุนไหลเขาไทยอยางตอเนือ่ ง สงผลใหอตั ราผลตอบแทน พันธบัตรรัฐบาลไทย โดยเฉพาะพันธบัตรระยะยาวไดปรับตัวลดลงตามลําดับ ❍ ความเกี่ยวของเชื่อมโยงกันระหวางพันธบัตร เงินฝาก และหลักทรัพยผานทางปจจัยดาน การลงทุนทดแทน ทําใหอัตราผลตอบแทนในตลาดการเงินตางประเภทกันทั้งในประเทศและตางประเทศมี แนวโนมเคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกัน แมจะมีความเร็วของการปรับตัวที่ไมเทากันก็ตาม จําเปนที่จะตองมี การกํากับติดตามในภาพรวมเพื่อใหการลงทุนในตลาดเงินและตลาดทุนไทยมีเสถียรภาพ ❍
1
ผู เ ขี ย น : นางสาวพี ร พรรณ สุ ว รรณรั ต น เศรษฐกรปฏิ บั ติ ก าร ส ว นการวิ เ คราะห เ สถี ย รภาพเศรษฐกิ จ สํ า นั ก นโยบายเศรษฐกิ จ มหภาค ขอขอบคุ ณ นายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ ดร.ศรพล ตุลยะเสถียร ดร.สิริกมล อุดมผล และ ดร.พิมพนารา หิรัญกสิ สําหรับคําแนะนํา
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
75
1. บทนํา ตลาดตราสารหนีเ้ ปนหนึง่ ในเสาหลักของตลาดทุนไทย โดยนอกจากจะเปนชองทางในการเพิม่ สภาพคลองของบริษทั และ สถาบันทางการเงินแลว ยังเปนทางเลือกแกนกั ลงทุนในการกระจายความเสีย่ งทีน่ า สนใจอีกดวย เพราะการลงทุนในตราสารหนี้ ในบางชวงเวลาใหผลตอบแทนสูงกวาการฝากเงินกับธนาคารพาณิชย ขณะเดียวกันก็มีความเสี่ยงตํ่ากวาและมั่นคงมากกวา การลงทุนในตราสารทุน ปจจุบันตลาดตราหนี้ของไทยมีการขยายตัวอยางตอเนื่อง โดยครึ่งแรกของป 2554 ตลาดตราสารหนี้ มีปริมาณการซื้อ-ขายรวมสูงถึง 265,458 ลานบาท ขยายตัวถึงรอยละ 45.4 จากชวงเดียวกันของปที่ผานมา ความสําคัญของตลาดตราสารหนี้สงผลใหหลายฝายใหความสนใจตอความเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทนของ ตราสารหนี้ โดยในชวงครึ่งแรกของป อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไดเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก โดยเสนอัตรา ผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาล (Yield curve) ไดปรับตัวเขาสูล กั ษณะแบนราบ (Flat yield curve) กลาวคือ อัตราผลตอบแทน ตราสารหนีร้ ะยะสัน้ นัน้ สูงขึน้ อยางมีนยั สําคัญ เพิม่ ขึน้ จากเดือนมกราคมกวารอยละ 2 ตอป ในขณะทีอ่ ตั ราผลตอบแทนระยะยาว ปรับตัวลงในชวงแคบไมเกินรอยละ 1 ตอป (ภาพที่ 1) ทําใหผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาลชวงอายุตาง ๆ ในเดือนกรกฎาคม ใกลเคียงกันมากขึ้น
ภาพที่ 1 อัตราผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาล
ที่มา : สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย
บทความนี้มุงเนนวิเคราะหปจจัยตาง ๆ ที่มีผลตอความเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ ดวยขอมูลของ ตลาดเงินในชวงครึ่งปแรกของป 2554
2. ปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทย บทความในสวนนี้มุงหาสาเหตุของอัตราผลตอบแทนที่เริ่มใกลเคียงกันในแตละชวงอายุตราสารหนี้ โดยแบงปจจัยออก เปน 4 ดาน ไดแก (1) การคาดการณอัตราดอกเบี้ยในอนาคต (2) อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก (3) อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนใน ตลาดหุน และ (4) สถานการณเศรษฐกิจโลก โดยมีรายละเอียด ดังนี้
76
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
2.1 การคาดการณอตั ราดอกเบีย้ ในอนาคตไมสามารถอธิบายความเคลือ่ นไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตร ได แมวาทฤษฎีคาดการณอัตราผลตอบแทน (Expectations Hypothesis) จะชี้ใหเห็นวาอัตราผลตอบแทนระยะยาวเปนคา เฉลี่ยระหวางอัตราผลตอบแทนระยะสั้นในปจจุบันและการคาดการณอัตราผลตอบแทนระยะสั้นในอนาคต (Implied forward interest rate)2 แตจากขอมูลเชิงประจักษในชวงครึ่งปแรกของป 2554 พบวา อัตราผลตอบแทนในอนาคตที่คาดการณไวอยูใน ระดับที่สูงกวาอัตราผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริง (Realized interest rate) เมื่อระยะเวลานั้นมาถึง ภาพที่ 2 ชี้วาอัตราผลตอบแทน ในอนาคตคาดการณลวงหนา 3 เดือนของพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1 ป ซึ่งคํานวณจากอัตราผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริงปจจุบันอายุ 1 ปและ 2 ป สูงกวาอัตราผลตอบแทนทีเ่ กิดขึน้ จริงเมือ่ ระยะเวลานัน้ มาถึง บงชีว้ า ยังคงมีปจ จัยอืน่ ทีม่ อี ทิ ธิพลตออัตราผลตอบแทน สงผลใหอตั ราผลตอบแทนทีเ่ กิดขึน้ จริงตํา่ กวาทีค่ าดการณเฉลีย่ รอยละ 0.16 (0.00–0.40) จึงสรุปจากขอมูลในชวงเวลาดังกลาว ไดวา ทฤษฎีการคาดการณอัตราผลตอบแทนไมสามารถทํานายอัตราผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริงไดดีนัก แมจะบงชี้ถึงทิศทางได อยางถูกตองก็ตาม ภาพที่ 2 อัตราผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริงและอัตราผลตอบแทนในอนาคตคาดการณลวงหนา 3 เดือน
อัตราผลตอบแทนในอนาคตคาดการณ
อัตราผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริง
ที่มา : สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย
2.2 อัตราดอกเบีย้ เงินฝากสามารถอธิบายความเคลือ่ นไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลได เนือ่ งจาก การฝากเงินและการลงทุนในพันธบัตรเปนทางเลือกในการลงทุนที่สามารถทดแทนกันได (Substitute investment) ดังนั้น อัตรา ผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาลและอัตราดอกเบีย้ เงินฝากซึง่ อางอิงมาจากอัตราดอกเบีย้ นโยบายนัน้ ควรเคลือ่ นไหวไปในทิศทาง เดียวกัน ทั้งนี้ จากขอมูลเชิงประจักษเมื่อเปรียบเทียบอัตราดอกเบี้ยนโยบาย อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และอัตราผลตอบแทนจาก พันธบัตรรัฐบาล อายุ 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปในชวงเวลาเดียวกัน (ภาพที่ 3) พบวาอัตราผลตอบแทนของพันธบัตรทุกชวง อายุปรับเพิ่มตามอัตราดอกเบี้ยนโยบายในทันที โดยสวนคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางอัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุ 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปและอัตราดอกเบี้ยนโยบายอยูที่รอยละ 100 ขณะที่อัตราผลตอบแทนของพันธบัตรและอัตราดอกเบี้ย เงินฝากก็เคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกัน แมมีสวนตางของอัตราผลตอบแทน โดยคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางอัตราผล ตอบแทนพันธบัตรและอัตราดอกเบี้ยเงินฝากอายุ 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปอยูที่รอยละ 83 รอยละ 93 และรอยละ 93 ตามลําดับ กลาวคือ การขึน้ อัตราดอกเบีย้ นโยบายซึง่ มีผลตอการขึน้ อัตราดอกเบีย้ เงินกูแ ละเงินฝากของสถาบันทางการเงินนัน้ จะเปนผลให นักลงทุนหันมาฝากเงินเพื่อเก็งกําไรจากสวนตางอัตราดอกเบี้ย (Arbitrage) และรอรับอัตราผลตอบแทนที่สูงขึ้นทดแทน ทําให ราคาตราสารหนี้ลดลงและอัตราผลตอบแทนเพิ่มสูงขึ้นจากการลดลงของอุปสงคการลงทุนในตราสารหนี้ ดังนั้น ผลกระทบจาก การทดแทนจึงเปนปจจัยหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงอัตราผลตอบแทนไปในทิศทางเดียวกัน 2
ผลตอบแทนระยะสั้น ณ เวลา t+1
โดย
คือ อัตราผลตอบแทนระยะยาว ณ เวลา t1
คือ อัตราผลตอบแทนระยะสั้น ณ เวลา t1 และ
คือ อัตรา
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
77
ภาพที่ 3 อัตราดอกเบี้ยนโยบาย อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และอัตราผลตอบแทนในครึ่งปแรก
ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย และตลาดตราสารหนี้ไทย
อยางไรก็ดี เปนทีน่ า สังเกตวาอัตราดอกเบีย้ เงินฝากไมสามารถสนองตอบตอการเปลีย่ นแปลงของอัตราดอกเบีย้ นโยบาย ไดเร็วเทากับอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้โดยเฉพาะตราสารหนี้อายุ 3 เดือน โดยมีสาเหตุสําคัญ 3 ประการ คือ (1) สถาบัน ทางการเงินตองการเพิ่มกําไรดวยการคงตนทุนอัตราดอกเบี้ยระยะสั้น และขยายเวลาคืนเงินฝากดวยการเพิ่มอัตราดอกเบี้ย ระยะยาว เนื่องจากคาดวาอัตราดอกเบี้ยนโยบายในอนาคตจะปรับเพิ่มขึ้นอีกในเวลาอันใกลเพื่อควบคุมสถานการณเงินเฟอที่ อยูในระดับสูงเฉลี่ยรอยละ 3.56 ในครึ่งแรกของป 2554 อัตราดอกเบี้ยเงินฝากระยะยาวจึงตอบสนองตออัตราดอกเบี้ยนโยบาย รวดเร็วกวาอัตราดอกเบี้ยเงินฝากระยะสั้น (2) การลงทุนในรูปเงินฝากมีความเสี่ยงตํ่ากวาการลงทุนในตราสารหนี้ เนื่องจาก การฝากเงินกับสถาบันทางการเงินมีสถาบันคุมครองเงินฝากชวยลดความเสี่ยงการผิดนัดชําระหนี้ (Default risk) เมื่อสถาบัน ทางการเงินปดกิจการ ผูฝากเงินจะไดรับเงินฝากคืนตามที่กําหนดไว และไมมีความเสี่ยงจากเหตุการณไมคาดคิด (Event risk) เชน การจลาจล ซึ่งอาจกระทบตอราคาตราสารหนี้แตไมมีผลตออัตราดอกเบี้ย รวมถึงไมมีความเสี่ยงตอการขาดสภาพ คลอง (Liquidity risk) ผูฝากเงินจึงสามารถฝากหรือถอนเงินไดทุกเวลาตามจํานวนที่ตองการโดยเฉพาะเงินฝากระยะสั้น และ (3) สภาพคลองสวนเกินของระบบสถาบันทางการเงินทีย่ งั คงอยูใ นระดับสูง ทําใหธนาคารพาณิชยไมมคี วามจําเปนตองปรับเพิม่ อัตราดอกเบี้ยเงินฝากตามอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่เพิ่มสูงขึ้นทันที จากสาเหตุสําคัญทั้ง 3 ประการดังกลาว สถาบันทางการเงิน จึงตอบสนองตอการเปลีย่ นแปลงอัตราดอกเบีย้ นโยบายไดชา อยางไรก็ตาม คาสัมประสิทธิส์ หสัมพันธระหวางอัตราผลตอบแทน พันธบัตรและอัตราดอกเบีย้ เงินฝากในระดับสูงทีก่ ลาวมาขางตนชีช้ ดั วา อัตราผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาลและอัตราดอกเบีย้ เงินฝากเคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกัน 2.3 อัตราผลตอบแทนของตลาดหลักทรัพยสามารถอธิบายความเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตร รัฐบาลได ทั้งนี้ เนื่องจากการลงทุนในหลักทรัพยและการลงทุนในพันธบัตรเปนทางเลือกในการลงทุนที่สามารถทดแทนกันได หากนําดัชนีตลาดหลักทรัพยของไทยมาเปรียบเทียบกับอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 3 เดือนและ 2 ป ปรากฏวาตัวแปร ทั้งสองเคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกัน โดยคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 3 เดือนและ 2 ปและดัชนีตลาดหลักทรัพยไทย (SET Index) อยูที่รอยละ 17.80 และรอยละ 34.01 ตามลําดับ แสดงใหเห็นวานักลงทุนมอง วาการลงทุนในตราสารหนีแ้ ละตราสารทุนสามารถทดแทนกันและเปนการเก็งกําไรจากสวนตางอัตราผลตอบแทนในระยะสัน้ ได หากตลาดตราสารทุนมีความผันผวนตลาดตราสารหนีก้ จ็ ะเปนทางเลือกหนึง่ ทีน่ กั ลงทุนนํามาพิจารณาในชวงการลงทุนระยะสัน้ จากภาพที่ 4 ในชวงครึง่ แรกของป 2554 นักลงทุนตองการลงทุนในตราสารทุนไทย ทําใหดชั นีตลาดหลักทรัพยเพิม่ สูงขึน้ เปนผล ใหความตองการซื้อตราสารหนี้โดยเฉพาะพันธบัตรรัฐบาลระยะสั้นลดลงเปนเหตุใหผลตอบแทนเพิ่มสูงขึ้น
78
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ภาพที่ 4 ผลตอบแทนของพันธบัตรอายุ 3 เดือนและ 2 ปกับดัชนีตลาดหลักทรัพยไทย (SET Index)
ที่มา : ตลาดตราสารหนี้ไทย และ Reuters
2.4 สถานการณของเศรษฐกิจโลก ในชวงครึ่งแรกของป 2554 เศรษฐกิจโลกก็ยังคงมีความเปราะบางจากวิกฤตการณ การเงิน การคาดการณถงึ ภาวะเศรษฐกิจถดถอยระลอกสอง (Double-dip recession) ของสหรัฐอเมริกา และปญหาหนีส้ าธารณะ ในสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป ทําใหการลงทุนในสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปมีความเสีย่ งเพิม่ มากขึน้ นักลงทุนจึงหันมา ลงทุนในภูมิภาคเอเชียซึ่งมีสภาพเศรษฐกิจที่ดีกวามากขึ้น มีผลทําใหเงินทุนไหลเขาไทยอยางตอเนื่อง โดยเงินทุนไหลเขาเพื่อ ซื้อพันธบัตรโดยเฉพาะพันธบัตรระยะยาว สงผลใหอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยระยะยาวปรับตัวลดลงตามปริมาณ เงินทุนที่ไหลเขา (ภาพที่ 5)
ภาพที่ 5 มูลคาซื้อพันธบัตรสุทธิ (ยกเวนพันธบัตร ธปท.) และผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาลอายุ 10 ป
ที่มา : ตลาดตราสารหนี้ไทย
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
79
3. สรุป บทความนีไ้ ดวเิ คราะหจากขอมูลเชิงประจักษพบวา ปจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลตอความเคลือ่ นไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตร รัฐบาลไทย ไดแก ปจจัยดานการลงทุนทดแทนอืน่ ๆ (Substitute investment) อาทิ อัตราดอกเบีย้ เงินฝาก และอัตราผลตอบแทน ในตลาดหุน รวมทัง้ สถานการณของเศรษฐกิจโลก ทีส่ ง ผลใหมเี งินทุนเคลือ่ นยายระหวางประเทศจํานวนมากเขามาลงทุนในตลาด ตราสารหนี้ของไทยในชวงครึ่งปแรกของป 2554 จากความเกี่ยวของเชื่อมโยงกันระหวางพันธบัตร เงินฝาก และหลักทรัพยผานทางปจจัยดานการลงทุนทดแทน ทําให อัตราผลตอบแทนของการลงทุนในตลาดการเงินตางประเภทกัน มีแนวโนมเคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกัน ทั้งตลาดในประเทศ และตางประเทศแมจะมีความเร็วของการปรับตัวที่ไมเทากันก็ตาม จึงจําเปนที่จะตองมีการกํากับติดตามในภาพรวม เพื่อให การลงทุนในตลาดเงินและตลาดทุนไทยมีเสถียรภาพและสามารถทําหนาที่เปนแหลงระดมทุนของทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ไดอยางมีประสิทธิภาพ
80
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
บทวิเคราะห
1
เรื่อง บทบาทของภาครัฐเพื่อรุงอรุณใหมของเศรษฐกิจไทย บทสรุปผูบริหาร
บริบทใหมของเศรษฐกิจโลกในปจจุบันหลังวิกฤตการเงินโลกในป 2552 ไดสรางมหัศจรรย แหงเอเชีย (Miracle of Asia) อีกครัง้ หลังจากทีเ่ คยเกิดขึน้ ในอดีต ซึง่ นับวาเปนชวงเวลาสําคัญสําหรับประเทศไทย ที่จะนําโอกาสนี้ในการกาวขึ้นสูการเปนประเทศที่มีรายไดระดับสูง (High Income Country) จากปจจุบันที่ไทย ถูกจัดวาเปนประเทศที่มีรายไดระดับกลางบน ❍ จากการศึกษาขอมูลพบวา ระดับของรายไดประชาชาติตอหัวของประเทศไทยมีการพัฒนา ในทิศทางที่ดีขึ้น ทวาความสามารถในการเพิ่มรายไดตอหัวของไทยยังดอยกวาประเทศเพื่อนบาน เนื่องจาก ปญหาการกระจายรายไดที่ไมสมดุลในกลุมคนที่มีรายไดสูงและกลุมคนที่มีรายไดตํ่าซึ่งเปนกลุมที่มีบทบาท สําคัญทางเศรษฐกิจ ❍ นอกจากนี้ เพื่อใหทราบถึงแนวโนมของรายไดประชาชาติตอหัวของประเทศไทยในอนาคต บทความนี้จึงประมาณการรายไดประชาชาติตอหัวของไทยในอนาคตขางหนาดวยสมมติฐานตาง ๆ ซึ่งพบวา ประเทศไทยจะสามารถกาวเขาสูการเปนประเทศที่มีรายไดระดับสูง (High Income Country) ในอนาคตไดดวย ระยะเวลาภายใน 18-47 ปขางหนานับจากป 2554 ❍ ทั้ ง นี้ ภาครั ฐ จึ ง มี บ ทบาทสํ า คั ญ ในการสนั บ สนุ น ทางการขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ ไทยควบคู ไปกับการกระจายรายไดที่สมดุลเปนปจจัยสําคัญ โดยเนนนโยบายการใชจายของรัฐเพื่อประชาชนฐานราก และขยายฐานภาษีทางตรงพรอมนําเสนอภาษีที่จัดเก็บบนฐานความมั่งคั่งมาใช ❍
1. บทนํา หากยอนกลับไปดูประเทศไทยเมื่อ 20 ปกอน เศรษฐกิจของประเทศไทยในอดีตกับในปจจุบันมีความแตกตางไปมาก โดยดานเศรษฐกิจนั้นประเทศไทยไดเปลี่ยนประเทศจากการเปนประเทศที่ผลิตเพื่อทดแทนการนําเขา (Import Substitution) เปนผลิตเพื่อการสงออก (Export-oriented Country) นับตั้งแตป 2528-2539 จากการสนับสนุนของนโยบายรัฐบาลตั้งแต นายกรัฐมนตรี เปรม ติณสูลานนท จนถึงนายกรัฐมนตรี บรรหาร ศิลปอาชา ซึ่งนําเศรษฐกิจของประเทศไปสูการคาระหวาง ประเทศจนไทยสามารถมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงสุดในป 2538 อยูที่รอยละ 14.5 ตอป ประกอบกับมหัศจรรย แหงเอเชีย (Miracle of Asia) ที่เกิดขึ้นในขณะนั้นไดทําใหประเทศไทยในอดีตเคยไดรับสมญานามวาเปน “เสือเศรษฐกิจ ตัวที่ 5 ของเอเชีย” ทามกลางคูแขงอยางประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย ตามหลังกลุมประเทศอุตสาหกรรมใหม (Newly Industrializing Countries: NICs) 4 ประเทศ กลาวคือ เกาหลีใต ฮองกง ไตหวัน และสิงคโปร ซึ่งจัดเปนประเทศที่มีรายได ระดับสูง (High Income Country) อยางไรก็ตาม มหัศจรรยแหงเอเชียไดพังทลายลงหลังจากวิกฤตการณทางการเงินในเอเชีย ในป 2540 หรือที่เรียกวา วิกฤตการณตมยํากุง ที่เริ่มตนจากประเทศไทย ทําใหประเทศไทยตองกลับมาปรับปรุงและ ฟนฟูสถานการณทางเศรษฐกิจอยูหลายป จนกระทั่งป 2544 ประเทศไทยจึงกลับมามีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจอีกครั้ง หลังจากที่สามารถควบคุมคาเงินบาทได ทวาหลังจากสงบไมนาน วิกฤตเศรษฐกิจโลกในป 2550-2553 และมรสุมทางการเมือง ไดสงผลกระทบทางเศรษฐกิจ จนนับถึงปจจุบันประเทศไทยไดกลับเขามาสูสถานการณปกติอีกครั้ง
1
ผูเขียน : นายธนิต ภัทรแสงไทย เศรษฐกรปฏิบัติการ สวนแบบจําลองและประมาณการเศรษฐกิจการคลัง สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ นายยุทธภูมิ จารุเศรนี เศรษฐกรปฏิบัติการ นางวิภารัตน ปนเปยมรัษฎ ผูอํานวยการสวนแบบจําลองและประมาณการเศรษฐกิจการคลัง และนายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ สําหรับคําแนะนํา
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
81
ทั้งนี้ วิกฤตเศรษฐกิจโลกระหวางป 2550-2553 ไดสรางโอกาสอีกครั้งใหแกประเทศไทยในการกาวไปสูการเปน เสือเศรษฐกิจแหงเอเชีย หรือกลาวไดวากาวไปสูการเปนประเทศที่มีรายไดระดับสูง เนื่องจากวิกฤตเศรษฐกิจโลกไดทําให เกิดการยายฐานทางเศรษฐกิจจากฝงประเทศสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป มาเปนฝงเอเชียนําโดยประเทศจีน อินเดีย และ ญีป่ นุ หรือไดสราง Miracle of Asia อีกครัง้ ซึง่ จะทําใหไทยไดรบั อานิสงสตามไปดวย ดังนัน้ บทความนีจ้ งึ มีวตั ถุประสงคเพือ่ ศึกษา ถึงสถานะปจจุบันที่ประเทศไทยเปนอยู โอกาสของประเทศไทยในการกาวสูประเทศที่มีรายไดระดับสูง และเสนอแนะมาตรการ ในการสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
2. การแบงกลุมประเทศตามรายไดประชาชาติตอหัวกับสถานะปจจุบันของไทย ในปจจุบัน นิยามการแบงกลุมประเทศตามรายไดประชาชาติตอหัว (Gross National Income Per Capita: GNI Per Capita) ไดถกู จัดทําขึน้ โดยองคกรระดับนานาชาติหลายหนวยงาน อาทิ กองทุนการเงินระหวางประเทศ (International Monetary Fund: IMF) หนวยสืบราชการลับกลางแหงสหรัฐอเมริกา (Central Intelligence Agency: CIA) ธนาคารโลก (World Bank: WB) สหประชาชาติ (United Nations: UN) เพือ่ จุดประสงคทตี่ า งกันตามเปาหมายของแตละองคกร โดยการแบงกลุม ตามธนาคารโลก นั้นถือวาไดรับการยอมรับเปนการทั่วไป มีการนําไปใชเพื่อการวิเคราะห วิจัย และใหความชวยเหลือสนับสนุนทางการเงินตอ การพัฒนาของประเทศสมาชิกที่ตองการความชวยเหลือ ทั้งนี้ ธนาคารโลกไดริเริ่มการใหคํานิยามในการแบงกลุมประเทศ ตามรายไดประชาชาติตอหัวขึ้นตั้งแตป 2530 โดยใชวิธี “World Bank Atlas Method” ในการปรับเปลี่ยนรายไดประชาชาติ ตอหัวของแตละประเทศใหอยูในรูปดอลลารสหรัฐ ดวยอัตราแลกเปลี่ยนกลางที่ขจัดผลจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน และอัตราเงินเฟอในแตละประเทศ เพื่อใหสามารถเปรียบเทียบแบงกลุมและจัดอันดับรายไดประชาชาติตอหัวระหวาง ประเทศได ซึ่งอัตราแลกเปลี่ยนกลาง (Atlas Conversion Factor: etAtlas) มีสูตรการคํานวณดังนี้
โดย
et
แทนอัตราแลกเปลี่ยนของแตละประเทศ แทนอัตราเงินเฟอภายในประเทศ (Domestic Inflation) จากป t-1 ถึงป t แทนอัตราเงินเฟอกลางจากป t-1 ถึงป t (International Inflation)
ในป 2553 ธนาคารโลกไดแบงกลุม ประเทศสมาชิกใหครอบคลุมมากขึน้ ถึง 186 ประเทศตามระดับรายไดประชาชาติตอ หัว โดยแยกออกเปน 4 กลุมดวยกันตามเกณฑป 2553 ดังตารางที่ 1 และภาพที่ 1 ตารางที่ 1 ตารางแสดงการแบงกลุมประเทศตามรายไดประชาชาติตอหัว กลุมประเทศ 1) รายไดระดับตํ่า (Low Income Country)
≤1,005
2) รายไดระดับกลางลาง (Lower Middle Income Country)
1,006 - 3,975
3) รายไดระดับกลางบน (Upper Middle Income Country)
3,976 - 12,275
4) รายไดระดับสูง (High Income Country) ที่มา : World Bank
82
รายได (ดอลลารสหรัฐ)
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
≥12,276
ภาพที่ 1 แผนภูมิโลกแสดงระดับรายไดประชาชาติตอหัวของแตละประเทศในป 2553
ที่มา : World Bank
แมวา อันดับของประเทศไทยจะลดลงเนือ่ งจากธนาคารโลกไดครอบคลุมประเทศสมาชิกมากขึน้ สําหรับระดับของรายได ประชาชาติตอ หัวของประเทศไทยในฐานะสมาชิกเริม่ กอตัง้ ธนาคารโลกนัน้ หากมาดูววิ ฒ ั นาการแลวพบวา มีการพัฒนาในทิศทาง ที่ดีขึ้น โดยในป 2533 ประเทศไทยอยูในอันดับที่ 81 จากทั้งหมด 155 ประเทศ มีรายไดประชาชาติตอหัว 1,490 ดอลลารสหรัฐ ซึ่งถูกจัดอยูในกลุมประเทศที่มีรายไดระดับกลางตํ่า (Lower Middle Income Country) ตามเกณฑป 2533 ที่อยูในชวง 996-3,945 ดอลลารสหรัฐ และในป 2553 ประเทศไทยปรับตัวขึน้ มาอยูใ นกลุม ประเทศทีม่ รี ายไดระดับกลางบน (Upper Middle Income Country) ตามเกณฑป 2553 หรืออยูที่อันดับ 98 จากทั้งหมด 186 ประเทศ โดยมีรายไดประชาชาติตอหัวอยูที่ 4,210 ดอลลารสหรัฐ คิดเปนอัตราการขยายตัวเฉลี่ยที่รอยละ 6.2 ตอป ซึ่งใชระยะเวลาทั้งสิ้นในการปรับตัวขึ้นสูหมวดรายไดระดับ กลางบน 20 ป นับจากป 2533 ดังภาพที่ 2 ภาพที่ 3 และภาพที่ 4 ตามลําดับ ภาพที่ 2 รายไดประชาชาติตอหัวและอัตราการขยายตัวของรายไดประชาชาติตอหัวของไทย ตั้งแตป 2533-2553
ที่มา : World Bank รวบรวมและประเมินผลโดย สศค.
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
83
ภาพที่ 3 แผนภูมิอันดับรายไดประชาชาติตอหัวของไทยในป 2533
ที่มา : World Bank รวบรวมและประเมินผลโดย สศค.
ภาพที่ 4 แผนภูมิอันดับรายไดประชาชาติตอหัวของไทยในป 2553
ที่มา : World Bank รวบรวมและประเมินผลโดย สศค.
อยางไรก็ดี หากเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบานในภูมิภาคอาเซียน (ประเทศมาเลเซีย เวียดนาม และอินโดนีเซีย) ในดานระดับรายไดประชาชาติตอ หัวป 2553 ประเทศมาเลเซียถือเปนประเทศทีม่ รี ายไดประชาชาติสงู ทีส่ ดุ (7,900 ดอลลารสหรัฐ) ตามมาดวยไทย (4,210 ดอลลารสหรัฐ) อินโดนีเซีย (2,580 ดอลลารสหรัฐ) และเวียดนาม (1,100 ดอลลารสหรัฐ) ตามลําดับ ดังภาพที่ 5 เมื่อพิจารณาอัตราการขยายตัวเฉลี่ยของรายไดประชาชาติตอหัวในชวง 10 ปลาสุด (ป 2543-2553) พบวา ประเทศ อินโดนีเซียเปนประเทศทีม่ กี ารขยายตัวสูงทีส่ ดุ ทีร่ อ ยละ 14.7 เนือ่ งจากรัฐบาลอินโดนีเซียมีนโยบายในการรักษาระดับการเติบโต เศรษฐกิจมหภาคโดยปฏิรูประบบภาษี รวมทั้งลดภาษีเงินไดนิติบุคคลเพื่อจูงใจใหเกิดการลงทุนมากขึ้น มีการบริหารการใช งบประมาณและหนี้สาธารณะ ตลอดจนมีการแปรรูปรัฐวิสาหกิจในภาคสถาบันการเงิน การขนสง สื่อสารคมนาคม และโรงงาน ผลิตวัสดุกอสราง รองลงมา ไดแก ประเทศเวียดนาม มาเลเซีย และไทยที่มีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยที่รอยละ 14.7 รอยละ 8.2 และรอยละ 7.4 ตามลําดับ ดังภาพที่ 6 แสดงใหเห็นวา เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบานในกลุมกําลังพัฒนาดวยกันในชวง 10 ปที่ผานมา ความสามารถในการเพิ่มรายไดตอหัวของไทยยังดอยกวาประเทศเพื่อนบาน
84
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ดั ง นั้ น ภาครั ฐ ภาคเอกชน และทุ ก หน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งจึ ง ควรตระหนั ก ถึ ง สถานะในป จ จุ บั น ของประเทศไทย และควรหันมาใหความสําคัญกับการสนับสนุนตอการยกระดับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เพื่อกาวเขาสูการเปนประเทศที่มี รายไดระดับสูง (High Income Country) ในอนาคต ภาพที่ 5 ระดับรายไดประชาชาติตอหัวของไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบานในอาเซียน ในชวงป 2543-2553
ที่มา : World Bank รวบรวมและประเมินผลโดย สศค.
ภาพที่ 6 อัตราการขยายตัวเฉลี่ยในชวงป 2543-2553 ของรายไดประชาชาติตอหัวของไทย เปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบานในอาเซียน
ที่มา : World Bank รวบรวมและประเมินผลโดย สศค.
3. โอกาสในการกาวสูประเทศที่มีรายไดระดับสูง ทั้งนี้ เพื่อใหทราบถึงแนวโนมของรายไดประชาชาติตอหัวของประเทศไทยในอนาคต บทความนี้จึงประมาณการรายได ประชาชาติตอหัวของไทยในอนาคตขางหนาดวยสมมติฐานตาง ๆ ดังนี้ กรณีที่ 1) อัตราการเติบโตของรายไดประชาชาติ ตอหัวอยูที่รอยละ 5.0 กรณีที่ 2) (กรณีฐาน) อัตราการเติบโตของรายไดประชาชาติตอหัวอยูที่รอยละ 7.4 เทากับคาเฉลี่ยของ รายไดประชาชาติตอ หัวในอดีต 10 ป (ป 2543-2553) และกรณีที่ 3) อัตราการเติบโตของรายไดประชาชาติตอ หัวอยูท รี่ อ ยละ 9.0 พรอมกับคาดการณระยะเวลาที่ประเทศไทยจะสามารถกาวเขาสูการเปนประเทศที่มีรายไดระดับสูง (High Income Country) ดวย Deterministic Trend Model ภายใตสมมติฐานดังกลาว ประมาณการเศรษฐกิจไทย
85
ภาพที่ 7 กราฟประมาณการรายไดประชาชาติตอหัวของประเทศไทยในอนาคตนับจากป 2554
ที่มา : World Bank รวบรวมและประเมินผลโดย สศค.
จากภาพที่ 7 พบวา ภายใตสมมติฐานวาธนาคารโลกจะปรับเกณฑรายไดประชาชาติตอ หัวของประเทศทีม่ รี ายไดระดับสูง เพิ่มขึ้นดวยอัตราคงที่ที่รอยละ 2.6 ซึ่งเปนคาเฉลี่ยของรายไดประชาชาติตอหัวในชวงป 2543-2553 ทั้งนี้ ในสมมติฐานแรก หากรายไดประชาชาติตอหัวของไทยขยายตัวรอยละ 5.0 ประเทศไทยจะตองใชระยะเวลาอีก 47 ปในการเปนประเทศที่มี รายไดระดับสูง (High Income Country) สวนในสมมติฐานที่ 2 (กรณีฐาน) หากรายไดประชาชาติตอ หัวของไทยขยายตัวรอยละ 7.4 เทากับคาเฉลี่ยของรายไดประชาชาติตอหัวของไทยในชวง 10 ปที่ผานมา ประเทศไทยจะตองใชระยะเวลาอีก 24 ป และในสมมติฐานที่ 3 หากรายไดประชาชาติตอหัวของไทยขยายตัวรอยละ 9.0 ประเทศไทยจะใชระยะเวลานอยที่สุดเพียง อีก 18 ปเมื่อนับจากป 2554 หรือจะเขาสูการเปนประเทศที่มีรายไดระดับสูง (High Income Country) ในป 2571
4. นโยบายเพื่อสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ภาพที่ 8 กราฟแสดงความสัมพันธระหวาง รายไดประชาชาติเฉลี่ยตอคนตอเดือน กับจํานวนประชากรในป 2552
ภาพที่ 9 กราฟแสดงรายไดประชาชาติเฉลี่ยตอคนตอเดือน จําแนกตามกลุมประชากรตามระดับรายไดทั่วประเทศ ในป 2552
ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ รวบรวมและประมวลผลโดย สศค.
86
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
จากการศึกษาขอมูลระหวางรายไดประชาชาติเฉลี่ยตอคนตอเดือนกับจํานวนประชากรในป 2552 พบวา ประชากร มากกวารอยละ 60 ของไทยมีรายไดประชาชาติเฉลีย่ ตอหัวตอเดือนนอยกวาคากลางรายไดเฉลีย่ ตอคนตอเดือนทัง้ ประเทศทีอ่ ยู 7,093 บาท บงชี้วา แมวา GDP ของประเทศไทยจะเติบโตในเชิงมหภาค แตการกระจายรายไดของประเทศนั้นไมมีความสมดุล อยางมาก โดยประชากรสวนใหญมรี ายไดตาํ่ ซึง่ จากการศึกษาพบวาเปนกลุม ทีท่ าํ งานในภาคเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรม อาทิ เกษตรกรและกรรมกร ซึง่ เปนปจจัยการผลิตสําคัญในการผลิตสินคาเพือ่ การบริโภคภายในประเทศ และผลิตเพือ่ การสงออก โดยเฉพาะสินคาเกษตรและสินคาอุตสาหกรรมที่ตองใชแรงงานเปนจํานวนมาก อาทิ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อันจะสงผลใหเกิด การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศไทย การพัฒนายกระดับรายไดประชาชาติ จึงควรเริ่มตนกับประชากรกลุมนี้โดยภาครัฐ ควรใชนโยบายพัฒนาเพือ่ ประชาชนฐานราก (Pro-Poor growth) หรือพัฒนาฐานรากใหมนั่ คงเพือ่ นําไปสูก ารเติบโตทางเศรษฐกิจ มหภาคที่ยั่งยืนโดยเริ่มตนจากการพัฒนาในแตละกลุมดังนี้
กลุมเกษตรกร
กลุมแรงงานในภาคอุตสาหกรรมและบริการ
4.1 กลุมเกษตรกร ❍ พัฒนาการเพิ่มผลผลิตตอพื้นที่เพาะปลูก (Increase Farm Productivity) ของพืชผลสําคัญทางเศรษฐกิจ ตาง ๆ เชน ขาว ยางพารา ขาวโพด ออย ปาลมนํ้ามัน ฯลฯ โดยฟนฟูดินที่เสื่อมโทรมดวยปุยอินทรียและพัฒนาระบบการบริหาร จัดการนํ้าและระบบชลประทาน เพื่อใหเกษตรกรสามารถใชนํ้าเปนปจจัยในการผลิตไดอยางพอเพียง มีการสรางเขื่อนและ ฝายกักเก็บนํ้าขนาดใหญในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ ซึ่งนอกจากจะทําใหมีนํ้าพอเพียงในฤดูแหงแลงแลวยังชวยแกปญหาอุทกภัย ในชวงฤดูนํ้าหลากของปดวย ❍ สนับสนุนใหเกษตรกรเขาถึงแหลงทุน/สินเชือ ่ ของรัฐตนทุนตํา่ เพือ่ เกษตรกรจะไดนาํ ไปซือ้ ปจจัยการผลิตและ แกไขปญหาหนี้สินโดยเฉพาะหนี้นอกระบบ พรอมทั้งสงเสริมระบบสหกรณการเกษตร ธนาคารชุมชน หรือ Micro Finance และ ระบบประกันภัยความเสีย่ งประเภทตาง ๆ ใหแกเกษตรกรทีป่ ระสบปญหาจากราคาสินคาเกษตรในตลาด อาทิ โครงการประกันราคา หรือรับจํานําขาว และปญหาความเสียหายของการผลิตจากภัยธรรมชาติ อาทิ โครงการประกันภัยพืชผล ตลอดจนจัดหาที่ดิน ทํากินใหแกเกษตรกร ❍ สงเสริมการวิจัย การพัฒนา และการสรางนวัตกรรมทางการเกษตรอยางครบวงจร เพื่อเพิ่มมูลคาใหสินคา เกษตร อีกทั้งสนับสนุนใหปราชญชาวบานเขามามีบทบาทในการถายทอดองคความรูและภูมิปญญาทองถิ่น ตลอดจนสราง เกษตรกรรุนใหมเพื่อฟนฟูอาชีพเกษตรกร ❍ นอกจากนี้ เกษตรกรควรทําการเกษตรตามแนวพระราชดําริ ขยายกระบวนการเรียนรู และการพัฒนาเกษตร ทฤษฎีใหม โครงการอาหารกลางวัน และธนาคารโคกระบือ ตามแนวพระราชดําริ รวมทัง้ เพือ่ ความมัน่ คงทางดานอาหารอีกดวย 4.2 กลุมแรงงานในภาคอุตสาหกรรมและบริการ ❍ สงเสริมใหมก ี ารพัฒนาเพือ่ ยกระดับความรู ความสามารถ และทักษะของผูใ ชแรงงานใหสงู ขึน้ และสอดคลอง กับสภาพการผลิตที่แปรเปลี่ยนไปจากเทคโนโลยีที่มีการพัฒนาสูง เพื่อใหคุณภาพชีวิตของผูใชแรงงานดีขึ้นกวาเดิม ❍ ส ง เสริ ม การมี ส ว นร ว มระหว า งภาครั ฐ กั บ สถาบั น ศึ ก ษาเพื่ อ ผลิ ต กํ า ลั ง คนในสาขาที่ ข าดแคลน และใหสอดคลองกับความตองการในทองถิ่น ❍ เพิ่มโอกาสในการเขาถึงแหลงเงินทุน สําหรับผูที่ตองการเปนผูประกอบการทําใหเกิดธุรกิจ SMEs ใหม ๆ เกิดขึ้นอีกมาก และสงเสริมระบบประกันภัยความเสี่ยงในภาคอุตสาหกรรมและบริการ ประมาณการเศรษฐกิจไทย
87
4.3 ในภาครวม ❍ ยกระดับการศึกษาของประชาชนใหมีความรูและความสามารถเพิ่มขึ้น โดยเพิ่มจํานวนผูที่จบการศึกษา ระดับปริญญาตรีที่มีความรูและความชํานาญเฉพาะทางใหมากขึ้น อีกทั้งออกมาตรการสาธารณสุข (Social Safety Net) ใหแกผูดอยโอกาส ❍ พัฒนาดานการวิจัยและการพัฒนา (Research and Development: R&D) ใหมีสัดสวนตอ GDP เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ R&D ในเชิงพาณิชยทจี่ ะนํามาซึง่ ผลิตภัณฑและนวัตกรรมใหม ๆ ซึง่ สามารถสรางมูลคาเพิม่ ในตลาดโลกไดอยางมาก ❍ พั ฒ นาระบบโลจิ ส ติ ก ส ข องไทยให มี โ ครงสร า งพื้ น ฐานที่ ดี มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพื่ อ ลดต น ทุ น ในการขนส ง และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันระยะยาวโดยเรงพัฒนาระบบ Public Private Partnerships (PPP) เพื่อดึงการรวมทุน ของเอกชนทั้งในประเทศและนอกประเทศ ❍ สนับสนุนนโยบายเศรษฐกิจสรางสรรค (Creative Economy) ในภาคธุรกิจ โดยรัฐควรจัดสรรงบประมาณ และสินเชื่อชุมชนเพื่อสรางฐานเศรษฐกิจใหแกชุมชน ❍ ปรับปรุงโครงสรางภาษีใหมีลักษณะกาวหนามากขึ้น โดยตองขยายฐานภาษีทางตรง เชน ปรับโครงสราง ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาใหมีการขยายขั้นอัตราภาษีเพิ่มมากขึ้น และควรกําหนดอัตราภาษีสําหรับกลุมผูมีรายไดสูงในอัตรา ที่มากขึ้น เพื่อใหผูมีรายไดสูงรับภาระภาษีเพิ่มขึ้นใหมากขึ้น ในขณะที่ตองลดสัดสวนของภาษีทางออม (หรือภาษีจากฐาน การบริโภค) ลง ซึ่งเปนภาษีที่รัฐบาลไทยจัดเก็บไดเปนสวนใหญและเปนสาเหตุที่ทําใหภาระภาษีเมื่อเทียบกับรายไดตกอยูกับ ผูมีรายไดตํ่ามากกวาผูมีรายไดสูง โดยรัฐควรพิจารณาถึงความเปนไปไดในการเรงนําเสนอภาษีที่จัดเก็บบนฐานความมั่งคั่ง มาใช เชน ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสราง ภาษีทรัพยสิน และภาษีมรดก ฯลฯ เพื่อลดความเหลื่อมลํ้าทางรายไดและการถือครอง ทรัพยสินในระยะยาว
5. บทสรุป บริบทใหมของเศรษฐกิจโลกในปจจุบันหลังวิกฤตการเงินโลกในป 2552 ไดสรางมหัศจรรยแหงเอเชีย (Miracle of Asia) อีกครั้งหลังจากที่เคยเกิดขึ้นในอดีต ซึ่งนับวาเปนชวงเวลาสําคัญสําหรับประเทศไทยที่จะนําโอกาสนี้ในการกาวขึ้นสูการเปน ประเทศที่มีรายไดระดับสูง (High Income Country) จากปจจุบันที่ประเทศไทยถูกจัดวาเปนประเทศที่มีรายไดระดับกลางบน อยางไรก็ดี จากการศึกษาขอมูลพบวา ความสามารถในการเพิ่มรายไดตอหัวของไทยยังดอยกวาประเทศเพื่อนบาน เนื่องจาก ปญหาการกระจายรายไดที่ไมสมดุลในกลุมคนที่มีรายไดสูงและกลุมคนที่มีรายไดตํ่าซึ่งเปนกลุมที่มีบทบาทสําคัญทาง การเศรษฐกิจ ทําใหประเทศไทยจําเปนตองมีนโยบายภาครัฐเพื่อสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจควบคูไปกับการกระจาย รายไดที่สมดุลเปนปจจัยสําคัญ โดยเนนนโยบายการใชจายของรัฐเพื่อประชาชนฐานราก และขยายฐานภาษีทางตรงพรอม นําเสนอภาษีทจี่ ดั เก็บบนฐานความมัง่ คัง่ มาใช ซึง่ ถาทุกฝายมีความพรอมและมีการบริหารจัดการทีด่ แี ลว ประเทศไทยจะสามารถ กาวเขาสูก ารเปนประเทศทีม่ รี ายไดระดับสูง (High Income Country) ในอนาคตดวยระยะเวลา 18-47 ปขา งหนานับจากป 2554
88
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
บทวิเคราะห
1
เรื่อง นักลงทุนตางชาติกับตลาดหลักทรัพยไทย : ความเชื่อและความจริง บทสรุปผูบริหาร
ในชวงที่ผานมา นักลงทุนตางชาติไดมีบทบาทสําคัญตอตลาดทุนไทยเปนอยางมาก โดย แมวา นักลงทุนตางชาติจะมีสดั สวนการลงทุนทีน่ อ ยเพียงรอยละ 25.0 ของมูลคารวมในตลาดหลักทรัพยทงั้ หมด แตการซื้อ-ขายของนักลงทุนตางชาติสามารถอธิบายการเคลื่อนไหวของตลาดหุนไทยไดกวาครึ่ง ❍ จากการศึกษาและวิเคราะหพฤติกรรมของนักลงทุนตางชาติในตลาดหุนไทยในชวงครึ่งแรก ของป 2554 พบวา 1) นักลงทุนตางชาติจะเขาซื้อสุทธิในมูลคาเฉลี่ยที่นอยกวาและจํานวนวันติดตอกันที่สั้นกวา การขายสุทธิ 2) นักลงทุนรายยอยซื้อ-ขายในทิศทางที่ตรงขามกับนักลงทุนตางชาติอยางมีนัยสําคัญ ทั้งใน ชวงตลาดหุนขาขึ้นและในชวงตลาดหุนขาลง 3) เมื่อนักลงทุนตางชาติลงทุนในตลาดหลักทรัพยไทยก็จะลงทุนในตลาดตราสารหนี้ไทยใน ทิศทางเดียวกัน ซึ่งเปนการสะทอนวานักลงทุนตางชาติแบงกลุมสินทรัพยทั้ง 2 ตลาด ในประเภทสินทรัพยที่มี ความเสี่ยงไวในระดับเดียวกัน ❍ นอกจากนัน ้ หากวิเคราะหพฤติกรรมนักลงทุนในการลงทุนในตลาดโลกจะพบวา หากนักลงทุนมี ความกังวลเกีย่ วกับสถานการณเศรษฐกิจและการเงินโลก นักลงทุนตางชาติจะถอนการลงทุนทัง้ ในตลาดหลักทรัพย ภูมภิ าคเอเชียและประเทศเศรษฐกิจพัฒนาแลว และจะนําเงินลงทุนบางสวนไปลงทุนในสินทรัพยทปี่ ลอดภัยกวา อยางพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐอเมริการะยะสัน้ เพือ่ รอดูสถานการณ อันจะสงผลใหตลาดหุน ทัว่ โลกมีการเคลือ่ นไหว ในทิศทางเดียวกัน ❍ ทัง ้ นี้ ในการคาดการณทศิ ทางของตลาดหลักทรัพยไทยควรจับตามองตลาดในภูมภิ าคอาเซียน และดัชนี Dow Jones ของสหรัฐอเมริกา เนือ่ งจากเปนตลาดทีเ่ คลือ่ นไหวไปในทิศทางเดียวกันกับตลาดหลักทรัพย ของไทยในระดับสูง ❍
บทนํา นับตัง้ แตตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไดเปดดําเนินการในป 2518 ตามแผนการจัดตัง้ ตลาดทุนซึง่ เปนสวนหนึง่ ของ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 2 ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไดมีบทบาทสําคัญในฐานะแหลงระดมทุน ของภาคเอกชน และเปนชองทางใหนักลงทุนสามารถลงทุนในสินทรัพยที่มีความเสี่ยงได ทั้งนี้ ในชวงที่ผานมา นักลงทุนตางชาติไดมีบทบาทสําคัญตอตลาดทุนไทยเปนอยางมาก2 โดยแมวานักลงทุนตางชาติ จะมีสัดสวนการลงทุนที่นอยเพียงรอยละ 25.0 ของมูลคารวมในตลาดหลักทรัพยทั้งหมด (ภาพที่ 1) แตการซื้อ-ขายของ นักลงทุนตางชาติสามารถอธิบายการเคลือ่ นไหวของตลาดหุน ไทยไดกวาครึง่ 3 บทความนีม้ จี ดุ ประสงคเพือ่ ศึกษาพฤติกรรมของ นักลงทุนตางชาติในตลาดหุน ไทย โดยศึกษาขอมูลเฉพาะชวงครึง่ แรก (เดือนมกราคม–มิถนุ ายน) ของป 2554 เพือ่ อธิบายและทํา ความเขาใจความเชื่อเกี่ยวกับพฤติกรรมของนักลงทุนตางชาติ โดยมีรายละเอียดดังนี้ ผู เ ขี ย น : ดร.พิ ม พ น ารา หิ รั ญ กสิ เศรษฐกรชํ า นาญการ และนายเฑี ย ร เที ย มศั ก ดิ์ เศรษฐกรตรี ส ว นการวิ เ คราะห เ สถี ย รภาพเศรษฐกิ จ ขอขอบคุ ณ ดร.ศรพล ตุลยะเสถียร และนายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ สําหรับคําแนะนํา 2 ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยแบงนักลงทุนออกเปน 4 ประเภท คือ นักลงทุนสถาบันในประเทศ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพยในประเทศ นักลงทุนรายยอย ภายในประเทศ และนักลงทุนตางชาติ 3 คาสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ (Correlation coefficient) ระหวางมูลคาซือ้ -ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติ กับการเปลีย่ นแปลงของดัชนีตลาดหลักทรัพย (SET Index) ในชวงครึ่งแรกของป 2554 สูงถึง 0.549 1
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
89
ภาพที่ 1 สัดสวนการลงทุนในตลาดหลักทรัพยของนักลงทุนประเภทตาง ๆ
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
ความเชื่อที่ 1 : นักลงทุนตางชาติทยอยเขาซื้อหลักทรัพย แตจะขายในปริมาณที่มากอยาง ฉับพลัน หากพิจารณาจากมูลคาซื้อ-ขายสุทธิเฉลี่ยของนักลงทุนตางชาติ ในชวงครึ่งแรกของป 2554 แลวจะพบวา สําหรับวันที่ นักลงทุนตางชาติซื้อสุทธิ มูลคาซื้อสุทธิเฉลี่ยจะอยูที่ 1,785.8 ลานบาท ในขณะที่วันที่นักลงทุนตางชาติขายสุทธิ มูลคาขายสุทธิ เฉลี่ยจะอยูที่ 1,904.0 ลานบาท (ภาพที่ 2) มูลคาขายสุทธิที่มากกวามูลคาซื้อสุทธินี้สอดคลองกับความเชื่อที่ 1 ที่วานักลงทุน ตางชาติทยอยเขาซื้อหลักทรัพย แตจะขายในปริมาณที่มากอยางฉับพลัน อยางไรก็ตาม หากเราทดสอบดวยวิธีทางสถิติจะพบวา มูลคาซื้อ-ขายสุทธิเฉลี่ยนี้ไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ เชิงสถิติ จึงไมสามารถพิสูจนไดวานักลงทุนตางชาติจะขายสุทธิดวยมูลคาที่สูงกวามูลคาซื้อสุทธิ ภาพที่ 2 มูลคาซื้อ-ขายสุทธิเฉลี่ยของนักลงทุนประเภทตาง ๆ
ที่มา : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย คํานวณโดย สศค.
นอกจากนี้ หากพิจารณาในแงของจํานวนวันเฉลี่ยที่นักลงทุนตางชาติซื้อ-ขายสุทธิติดตอกันในชวงครึ่งแรกของป 2554 แลวจะพบวา นักลงทุนตางชาติโดยเฉลี่ยจะซื้อสุทธิติดตอกัน 2.71 วัน ในขณะที่จะขายสุทธิเฉลี่ยติดตอกัน 3.1 วัน (ภาพที่ 3) ซึ่งจํานวนวันที่นักลงทุนเขาซื้อ-ขายสุทธินี้ไมสอดคลองกับความเชื่อที่วานักลงทุนตางชาติจะทยอยเขาซื้อ แตจะขายหลักทรัพย ออกอยางรวดเร็ว เนื่องจากโดยเฉลี่ยแลวนักลงทุนตางชาติจะขายสุทธิติดตอกันเปนระยะเวลาที่นานกวา
90
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
อยางไรก็ตาม หากเราทดสอบดวยวิธีทางสถิติ4 จะพบวา จํานวนวันเฉลี่ยที่นักลงทุนตางชาติซื้อ-ขายสุทธินี้ไมมี ความแตกตางอยางมีนัยสําคัญเชิงสถิติ จึงไมสามารถพิสูจนไดวานักลงทุนตางชาติขายสุทธิติดตอกันเปนระยะเวลาที่นานกวา ภาพที่ 3 สถิติเชิงบรรยายของจํานวนวันซื้อ-ขายสุทธิติดตอกันเฉลี่ยของนักลงทุนตางชาติ
ที่มา : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย คํานวณโดย สศค.
ดังนั้น จึงอาจสรุปไดวา ความเชื่อที่วานักลงทุนตางชาติทยอยเขาซื้อหลักทรัพย แตจะขายในปริมาณที่มาก อยางฉับพลันนั้น เปนความเชื่อที่ไมสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษ โดยนักลงทุนตางชาติจะเขาซื้อสุทธิในมูลคา เฉลี่ยที่นอยกวาและจํานวนวันติดตอกันที่สั้นกวาการขายสุทธิ ซึ่งสอดคลองกับมูลคาซื้อ-ขายสุทธิสะสมของนักลงทุน ตางชาติในชวงครึ่งแรกของป 2554 ที่นักลงทุนตางชาติขายสุทธิถึง 14,677 ลานบาท
ความเชื่อที่ 2 : นักลงทุนรายยอยในประเทศซื้อ-ขายหลักทรัพยตามทิศทางของนักลงทุน ตางชาติ เนื่องจากนักลงทุนตางชาติสามารถทําใหตลาดเคลื่อนไหว โดยถึงแมการซื้อ-ขายหลักทรัพยของนักลงทุนตางชาติจะมี สัดสวนเพียงรอยละ 25.0 ของมูลคาการซื้อ-ขายรวม แตสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของดัชนีตลาดหลักทรัพยในชวงครึ่ง แรกของป 2554 ไดถงึ รอยละ 54.9 จนอาจกลาวไดวา นักลงทุนตางชาติเปนผูก าํ หนดทิศทางของตลาด (Market mover) จึงทําให มีความเชื่อโดยทั่วไปวานักลงทุนรายยอยในประเทศมักทําการซื้อขายหลักทรัพยตามนักลงทุนตางชาติ ทั้งการซื้อ-ขายภายใน วันเดียวกัน หรือบางครั้งใชสัญญาณจากการซื้อ-ขายของนักลงทุนตางชาติในวันกอนหนาเปนสวนชวยในการตัดสินใจ และจะ ตัดสินใจซื้อ-ขายหลักทรัพยตามสัญญาณดังกลาว อยางไรก็ตาม หากพิจารณาจากขอมูลเชิงประจักษแลวจะพบวา ในชวงครึ่งแรกของป 2554 นักลงทุนรายยอยใน ประเทศมักจะมีทิศทางการซื้อ-ขายหลักทรัพยที่ตรงกันขามกับนักลงทุนตางชาติ โดยคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวาง มูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนรายยอยในประเทศกับมูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติในชวงครึ่งแรกของป 2554 อยูที่ -0.884 ซึ่งแสดงใหเห็นวากวารอยละ 88.4 ของการซื้อ-ขายของนักลงทุนรายยอยเปนไปในทิศทางตรงขามกับการซื้อ-ขาย ของนักลงทุนตางชาติ และเมื่อพิจารณาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางมูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติวันกอนหนา กับมูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนรายยอยในประเทศจะพบวา ยังคงมีคาเปนลบที่ -0.4499
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
91
ภาพที่ 4 Scattergram มูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติและนักลงทุนในประเทศ
ที่มา : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย คํานวณโดย สศค.
นอกจากนี้ หากแยกพิจารณาพฤติกรรมของนักลงทุนรายยอยออกเปนชวงหุน ขาขึน้ และหุน ขาลงจะพบวา ไมวา เมือ่ ดัชนี ตลาดหลักทรัพยอยูใน “ขาขึ้น” กลาวคือ ดัชนีของวันนี้สูงกวาดัชนีของวันกอนหนา หรือ “ขาลง” กลาวคือ ดัชนีของวันนี้มีคาตํ่า กวาวันกอนหนา นักลงทุนรายยอยยังคงซื้อ-ขายในทิศทางที่ตรงกันขามกับนักลงทุนตางชาติ5 (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 สรุปคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางมูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติและนักลงทุนอื่น ๆ
รวม ขาขึ้น ขาลง ตางชาติซื้อสุทธิ ตางชาติขายสุทธิ
ภายในวันเดียวกัน นักลงทุนตางชาติชี้นํา 1 วัน ภายในวันเดียวกัน ภายในวันเดียวกัน ภายในวันเดียวกัน ภายในวันเดียวกัน
สถาบัน 0.2328*** -0.0456 0.0264 -0.1691 0.0846 0.3208***
บัญชีบริษัทหลักทรัพย นักลงทุนรายยอย 0.0808 -0.8844*** 0.0584 -0.4499*** -0.0952 -0.8788*** -0.1983 -0.8760*** 0.1227 -0.7653*** -0.0502 -0.8550***
*** มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่รอยละ 99 ที่มา : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย คํานวณโดย สศค.
ดังนั้น จึงสามารถสรุปไดวา ความเชื่อที่วานักลงทุนรายยอยในประเทศซื้อ-ขายหลักทรัพยตามทิศทางของ นักลงทุนตางชาตินนั้ เปนความเชือ่ ทีไ่ มสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษ โดยพฤติกรรมของนักลงทุนรายยอยมักจะเปน ไปในทิศทางตรงขามกับนักลงทุนตางชาติ หรือกลาวอีกนัยหนึ่งไดวา เมื่อนักลงทุนตางชาติเขาซื้อสุทธิ ดัชนีตลาดหลักทรัพย มักปรับตัวสูงขึน้ ทําใหนกั ลงทุนรายยอยขายสุทธิเพือ่ ทํากําไร และในทางกลับกันเมือ่ นักลงทุนตางชาติขายสุทธิและทําใหดชั นีฯ ปรับตัวลดลง นักลงทุนรายยอยจะเขาซื้อเพื่อทํากําไรในอนาคต จึงอาจกลาวไดวานักลงทุนรายยอยเนนการซื้อ-ขายหลักทรัพย เพื่อทํากําไรระยะสั้นมากกวาจะซื้อ-ขายเพื่อรับเงินปนผล อยางไรก็ดี ผลการวิเคราะหขางตนอาจไดรับอิทธิพลจากธรรมชาติของตลาดหลักทรัพยไทย เนื่องจากการซื้อ-ขายหลักทรัพย รวมสุทธิจะมีลักษณะเปนแบบ Zero-sum กลาวคือ เมื่อมีผูขายจะตองมีผูซื้อเสมอจึงจะเปนการซื้อ-ขายที่สมบูรณ ดังนั้น เมื่อ นักลงทุนตางชาติซงึ่ เปนนักลงทุนกลุม ใหญลาํ ดับที่ 2 ขายหลักทรัพย นักลงทุนรายยอยในประเทศซึง่ เปนนักลงทุนกลุม ใหญทสี่ ดุ จึงมักเปนผูเขาซื้อ หรือในทางกลับกันเมื่อนักลงทุนรายยอยขายหลักทรัพย นักลงทุนตางชาติก็มักเปนผูเขาซื้อสุทธิดวยเชนกัน 5
92
ทัง้ นี้ คาสัมประสิทธิส์ หสัมพันธระหวางมูลคาซือ้ -ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติกบั นักลงทุนสถาบันมีคา เปนบวก แตจะมีนยั สําคัญทางสถิตเิ ฉพาะมูลคารวมภายใน วันเดียวกัน และวันที่ตางชาติขายสุทธิเทานั้น กลาวคือ โดยรวมแลวมูลคาการซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนสถาบันประมาณรอยละ 23.28 จะเปนไปตามมูลคาการ ซือ้ -ขายของนักลงทุนตางชาติ และหากนักลงทุนตางชาติขายสุทธิแลว นักลงทุนสถาบันมีโอกาสจะขายสุทธิตามดวยมูลคาประมาณรอยละ 32.08 ของมูลคาขาย สุทธิของนักลงทุนตางชาติ ในขณะที่คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางมูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติกับบัญชีบริษัทหลักทรัพยไมมีนัยสําคัญทางสถิติเลย
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ความเชื่อที่ 3 : เมื่อนักลงทุนตางชาติปรับพอรทการลงทุน จะถอนเงินออกจากตลาดหลักทรัพย ไทยแลวยายไปพักเงินลงทุนยังตลาดตราสารหนี้ไทย เนื่องจากพันธบัตรรัฐบาลเปนสินทรัพยที่มีความเสี่ยงตํ่ากวาเมื่อเทียบกับหุนสามัญ จึงมีความเชื่อวาในชวงที่นักลงทุน ตางชาติมคี วามกังวลตอปจจัยเสีย่ งดานตาง ๆ โดยเฉพาะจากปจจัยในประเทศ เชน ดานเศรษฐกิจและการเมือง นักลงทุนตางชาติ จะถอนเงินออกจากตลาดหลักทรัพยและนําเงินลงทุนไปพักในสินทรัพยที่ปลอดภัยกวาเพื่อรอดูสถานการณ ซึ่งหนึ่งในสินทรัพย ดังกลาวที่เปนที่นิยมคือพันธบัตรรัฐบาล อยางไรก็ตาม หากพิจารณาจากขอมูลเชิงประจักษในชวงครึ่งแรกของป 2554 จะพบวา นักลงทุนตางชาติมีพฤติกรรม การลงทุนในทางตรงกันขามกับความเชื่อ โดยคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางมูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติ ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กับมูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติในตลาดตราสารหนี้ (ไมรวมหุนกูเอกชน) ในประเทศในชวงครึ่งแรกของป 2554 อยูที่ 0.1943 ซึ่งแสดงใหเห็นวาการลงทุนโดยนักลงทุนตางชาติในตลาดหลักทรัพยและ ในตลาดตราสารหนี้โดยรวมแลวมีทิศทางเดียวกัน ภาพที่ 5 มูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติในตลาดหลักทรัพยและตลาดพันธบัตรไทย
ที่มา : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และ ThaiBMA คํานวณโดย สศค.
อยางไรก็ดี หากเราพิจารณาความสัมพันธระหวางมูลคาซือ้ -ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติในตลาดหลักทรัพยและตลาด พันธบัตรไทย โดยแยกพิจารณาออกเปน 2 กรณี คือ 1) ชวงตลาดขาขึ้น และ 2) ชวงตลาดขาลง จะพบวา คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ ระหวางมูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติในตลาดหลักทรัพยและตลาดพันธบัตรไทยในชวงที่ดัชนีตลาดหลักทรัพย ปรับตัวสูงขึ้นจากวันกอนหนา หรือเปนตลาด “ขาขึ้น” มีคา 0.2944 และมีนัยสําคัญทางสถิติ บงชี้วาเมื่อตลาดปรับตัวสูงขึ้น การเขาซื้อหลักทรัพยและพันธบัตรของนักลงทุนตางชาติจะเปนไปในทิศทางเดียวกัน อยางไรก็ตาม เมื่อดัชนีตลาดหลักทรัพย ปรับตัวลดลงจากวันกอนหนา หรือเปนตลาด “ขาลง” คาสัมประสิทธิส์ หสัมพันธระหวางมูลคาซือ้ -ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติ ในตลาดหลักทรัพยและตลาดพันธบัตรไทยจะมีคา -0.0956 และไมมนี ยั สําคัญทางสถิติ กลาวคือ เมือ่ ตลาดปรับตัวลง การลงทุน ในตลาดหลักทรัพยและตลาดพันธบัตรของนักลงทุนตางชาติจะไมมีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และหากเราพิจารณาความสัมพันธในลักษณะคลายคลึงกัน โดยพิจารณามูลคาซื้อ-ขายสุทธิของนักลงทุนตางชาติ ในตลาดหลักทรัพยและตลาดพันธบัตรไทยในชวงครึ่งแรกของป 2554 เฉพาะวันที่นักลงทุนเขาซื้อหลักทรัพยสุทธิจะพบวา คาสัมประสิทธิส์ หสัมพันธมคี า 0.2880 และมีนยั สําคัญทางสถิติ จึงสรุปไดวา การเขาซือ้ หลักทรัพยและพันธบัตรเปนไปในทิศทาง เดียวกัน ในขณะที่คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของความสัมพันธดังกลาวในวันที่นักลงทุนตางชาติขายสุทธิในตลาดหลักทรัพย มีคา -0.1321 และไมมีนัยสําคัญทางสถิติ จึงไมอาจสรุปไดวานักลงทุนตางชาติถอนเงินลงทุนจากตลาดหลักทรัพยแลวนํามา ลงทุนในตลาดพันธบัตร ตามตารางที่ 2 ประมาณการเศรษฐกิจไทย
93
ตารางที่ 2 สรุปคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางมูลคาซื้อ-ขายสุทธิในตลาดหลักทรัพยและตลาดตราสารหนี้ไทย ในชวงครึ่งแรกของป 2554 รวม คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ
0.1943***
นักลงทุนตางชาติ ตลาดขาขึ้น ตลาดขาลง นักลงทุนตางชาติ ซื้อหลักทรัพยสุทธิ ขายหลักทรัพยสุทธิ 0.2944***
-0.0956
0.2880***
-0.1321
*** มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่รอยละ 99 ที่มา : คํานวณโดย สศค.
ดังนั้น จึงสามารถสรุปไดวา ความเชื่อที่วาเมื่อนักลงทุนตางชาติปรับพอรทการลงทุนจะถอนเงินออกจาก ตลาดหลักทรัพยไทยแลวยายไปพักเงินลงทุนยังตลาดตราสารหนีไ้ ทยนัน้ เปนความเชือ่ ทีไ่ มสอดคลองกับหลักฐานเชิง ประจักษในชวงครึง่ แรกของป 2554 แตสอดคลองกับกรณีทนี่ กั ลงทุนตางชาติแบงกลุม หลักทรัพยไทยและพันธบัตรรัฐบาลใน ประเภทสินทรัพยทมี่ คี วามเสีย่ ง (Asset Class) ไวในระดับเดียวกัน โดยเมือ่ นักลงทุนมีความเชือ่ มัน่ ตอสภาพเศรษฐกิจ ก็จะลงทุน ในหลักทรัพยและพันธบัตรในทิศทางเดียวกัน อยางไรก็ตาม ดวยหลักฐานเชิงประจักษทาํ ใหเราไมสามารถสรุปไดวา เมือ่ มีปจ จัย เสี่ยงตาง ๆ ซึ่งสรางความหวาดกลัวแกนักลงทุนตางชาติแลว นักลงทุนตางชาติจะขายหลักทรัพยเพื่อเขาซื้อพันธบัตรรัฐบาล
ความเชื่อที่ 4 : เมื่อนักลงทุนตางชาติปรับพอรทการลงทุนจะถอนเงินออกจากตลาดหลักทรัพย ของประเทศพัฒนาแลวมายังตลาดภูมิภาคเอเชีย ในอดีตที่ผานมามีความเชื่อวา เมื่อนักลงทุนตางชาติมีความกังวลตอปจจัยเสี่ยงดานภาพรวมเศรษฐกิจและการเงินโลก จะยายเงินลงทุนจากตลาดหลักทรัพยภูมิภาคเอเชียไปลงทุนในตลาดหลักทรัพยของประเทศที่พัฒนาแลว ซึ่งนักลงทุนเชื่อวามี ความปลอดภัยสูงกวา ในขณะที่เมื่อภาพรวมสถานการณเศรษฐกิจและการเงินโลกเริ่มมีทิศทางดีขึ้นอีกครั้งก็จะทําใหนักลงทุน ตางชาติยายการลงทุนจากตลาดหลักทรัพยของประเทศพัฒนาแลวกลับเขามาลงทุนในตลาดภูมิภาคเอเชียอีกครั้ง เนื่องจากมี ผลตอบแทนสูงกวาควบคูกับความเสี่ยงที่มากกวา ทั้งนี้ ดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยกับดัชนีตลาดหลักทรัพยในภูมิภาคอาเซียนมีการเคลื่อนไหวไปในทิศทาง เดียวกันในระดับสูง โดยคาสัมประสิทธิส์ หสัมพันธระหวางดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยกับดัชนีหลักทรัพยมาเลเซีย ฟลปิ ปนสและ อินโดนีเซีย ในชวงครึ่งแรกของป 2554 อยูที่ 0.2961 0.8188 และ 0.7958 ตามลําดับ ซึ่งแสดงใหเห็นถึงดัชนีตลาดหลักทรัพย ไทยและตลาดในภูมิภาคที่มีการเคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกัน บงชี้วา นักลงทุนตางชาติจัดระดับของหลักทรัพยไทยไวในระดับ เดียวกับหลักทรัพยในตลาดภูมิภาค
94
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ภาพที่ 6 การเคลื่อนไหวของดัชนีหลักทรัพยไทยและในตลาดภูมิภาคอาเซียน
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
ในขณะที่หากเราพิจารณาการเคลื่อนไหวของดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยกับดัชนีตลาดหลักทรัพยอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชีย ในชวงครึ่งแรกของป 2554 จะพบวา ดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยและดัชนีตลาดหลักทรัพยอื่น ๆ ในเอเชียสวนใหญมี การเคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกัน แตในระดับความสัมพันธที่ตํ่ากวาตลาดในอาเซียน โดยคาสัมประสิทธิ์สห สัมพันธระหวางดัชนีตลาดหลักทรัพยไทย กับดัชนีหลักทรัพย Hang Seng ฮองกง ดัชนีหลักทรัพย Kospi เกาหลีใต และดัชนี หลักทรัพย Strait Times สิงคโปร ในชวงครึ่งแรกของป 2554 อยูที่ 0.2858 0.7371 และ 0.2877 ตามลําดับ ซึ่งแสดงใหเห็นถึง ดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยและตลาดในภูมิภาคที่มีการเคลื่อนไหวบางสวนไปในทิศทางเดียวกัน ภาพที่ 7 การเคลื่อนไหวของดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยและตลาดอื่น ๆ ในภูมิภาค
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
95
นอกจากนัน้ เมือ่ พิจารณาการเคลือ่ นไหวของดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยและดัชนีตลาดหลักทรัพยของเศรษฐกิจ ที่พัฒนาแลว (Advanced Economies) จะพบวา สวนใหญมีการเคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกัน ยกเวนดัชนีหลัก ทรัพย Nikkei ของญี่ปุนที่เคลื่อนไหวในทิศทางตรงกันขามอยางมีนัยสําคัญ ซึ่งเปนผลจากเหตุการณแผนดินไหวและสึนามิ6 โดยคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยกับดัชนีหลักทรัพย Dow Jones ของสหรัฐอเมริกา และ FTSE ของอังกฤษ อยูที่ 0.5971 และ 0.1486 ตามลําดับ ในขณะที่คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยกับดัชนี หลักทรัพย Nikkei ของญี่ปุนอยูที่ -0.5438 กลาวโดยสรุป หากพิจารณาจากขอมูลเชิงประจักษในชวงครึ่งแรกของป 2554 จะพบวา ดัชนีตลาดหลักทรัพย ทั่วโลกทั้งในภูมิภาคเอเชียและประเทศพัฒนาแลวตางเคลื่อนไหวไปในทิศทางที่สอดคลองกันอยางมีนัยสําคัญ โดย คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางดัชนีตลาดหลักทรัพยในภูมิภาคเอเชียและประเทศที่พัฒนาแลวในชวงครึ่งแรกของป 2554 เฉลี่ยแลวมีคาเปนบวก โดยอยูที่ 0.2975 ซึ่งแสดงใหเห็นถึงดัชนีตลาดหลักทรัพยในภูมิภาคเอเชียและประเทศที่พัฒนาแลว มีการเคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกัน ภาพที่ 8 การเคลื่อนไหวของดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยและตลาดของเศรษฐกิจที่พัฒนาแลว
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
6
96
ทั้งนี้ ในชวงกอนวิกฤตเศรษฐกิจโลก (ระหวางป 2547-2550) ดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยและดัชนี Nikkei มีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธอยูที่ 0.5819 และ ดัชนีตลาดหลักทรัพย Dow Jones และดัชนี Nikkei มีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธอยูที่ 0.8091 ซึ่งบงชี้ถึงการเคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกันอยางมีนัยสําคัญ อยางไรก็ตาม ทิศทางการเคลือ่ นไหวทีต่ รงกันขามกันของทัง้ สองตลาดในชวงครึง่ แรกของป 2554 อาจเปนผลมาจากภัยพิบตั สิ นึ ามิทญ ี่ ปี่ นุ ซึง่ สงผลใหดชั นี Nikkei ปรับตัวลดลงอยางมากในชวงดังกลาว ซึ่งสวนทางกับดัชนี Dow Jones และดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยที่มีแนวโนมปรับตัวเพิ่มขึ้น
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ตารางที่ 3 สรุปคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางดัชนีตลาดหลักทรัพยภูมิภาคเอเชียและประเทศที่พัฒนาแลว SET SET FTSE Bursa Malaysia PSEi JSEi Hang Seng Korea Composit Strait Times FTSE 100 Dow Jones Nikkei 225
FTSE Bursa PSEi Malaysia
JSXi
Hang Korea Strait Seng Composit Times
0.2961*** 0.8188*** 0.7958*** 0.2858*** 0.7317*** 0.2877*** 0.2961*** 0.6221*** 0.4791*** 0.1912** 0.4830*** 0.5023*** 0.8188*** 0.6221*** 0.9214*** 0.2982*** 0.7748*** 0.3798*** 0.7958*** 0.4791*** 0.9214*** 0.0772 0.6157*** 0.119 0.2858*** 0.1912** 0.2982*** 0.0772 0.6392*** 0.4959*** 0.7317*** 0.4830*** 0.7748*** 0.6157*** 0.6392*** 0.6526*** 0.2877*** 0.5023*** 0.3798*** 0.1119 0.4959*** 0.6526*** 0.1486** -0.0249*** -0.0375 -0.1616** 0.7022*** 0.3512*** 0.6052*** 0.5971*** -0.1386* 0.4093*** 0.4896*** 0.2127*** 0.4941*** 0.0022 -0.5438*** -0.1048 -0.5215*** -0.6319*** 0.2296*** -0.2482*** 0.3426***
FTSE 100
Dow Jones
Nikkei 225
0.1486** 0.5971*** -0.5438*** -0.0249 -0.1386* -0.1048 -0.0375 0.4093*** -0.5215*** -0.1616** 0.4896*** -0.6319*** 0.7022*** 0.2127*** 0.2296*** 0.3512*** 0.4941*** -0.2482*** 0.6052*** 0.0022 0.3426*** 0.3876*** 0.5927*** 0.3876*** -0.2234*** 0.5927*** -0.2234*** -
*, **, *** มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่รอยละ 90, 95, และ 99 ตามลําดับ ที่มา : CEIC คํานวณโดย สศค.
ดังนั้น จึ ง อาจสรุ ป ได ว า ความเชื่ อ ที่ ว า เมื่ อ นั ก ลงทุ น ต า งชาติ ป รั บ พอร ท การลงทุ น จะถอนเงิ น ออกจาก ตลาดหลั ก ทรั พ ย ข องประเทศพั ฒ นาแล ว มายั ง ตลาดภู มิ ภ าคเอเชี ย นั้ น ไม ส อดคล อ งกั บ ข อ เท็ จ จริ ง กล า วคื อ อันที่จริงแลวเมื่อนักลงทุนตางชาติถอนเงินลงทุนในตลาดหลักทรัพยของประเทศพัฒนาแลวก็จะถอนเงินลงทุนใน ตลาดหลักทรัพยภูมิภาคเอเชียดวยเชนกัน ซึ่งพฤติกรรมดังกลาวเปนการสะทอนวานักลงทุนตางชาติไดแบงกลุมหลักทรัพย ของภูมิภาคเอเชียและประเทศพัฒนาแลวในประเภทสินทรัพยที่มีความเสี่ยง (Asset Class) ไวในระดับเดียวกัน เมื่อนักลงทุนตางชาติมีความไมมั่นใจตอปจจัยเสี่ยงดานภาพรวมเศรษฐกิจและการเงินโลก จะขายหลักทรัพย ของทัง้ 2 ตลาดในชวงเวลาใกลเคียงกันและนําเงินไปลงทุนในสินทรัพยทมี่ คี วามปลอดภัยสูงกวาอยางพันธบัตรรัฐบาล สหรัฐอเมริการะยะสัน้ โดยคาสัมประสิทธิส์ หสัมพันธระหวางดัชนีตลาดหลักทรัพย Dow Jones และผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล สหรัฐอเมริการะยะเวลา 2 ป ในชวงครึง่ แรกของป 2554 อยูท ี่ 0.1323 ซึง่ แสดงใหเห็นวาเมือ่ นักลงทุนถอนเงินจากตลาดหลักทรัพย สหรัฐอเมริกาจะเขามาลงทุนซื้อพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐอเมริการะยะเวลา 2 ป สงผลใหราคาพันธบัตรดังกลาวปรับตัวสูงขึ้น หรือ อีกนัยหนึ่งคือผลตอบแทนพันธบัตรดังกลาวลดลง สอดคลองกับคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธที่เปนบวก ภาพที่ 9 การเคลื่อนไหวของดัชนีตลาดหลักทรัพย Dow Jones กับผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ระยะเวลา 2 ป
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
97
ตารางที่ 4 สรุปคาสัมประสิทธิส์ หสัมพันธระหวางดัชนีตลาดหลักทรัพย Dow Jones และผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล สหรัฐอเมริกา ระยะเวลา 2 ป Dow Jones Dow Jones 2 Year US Bond Yield
0.1323*
2 Year US Bond Yield 0.1323* -
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นที่รอยละ 90 ที่มา : CEIC คํานวณโดย สศค.
การเคลือ่ นไหวในทิศทางเดียวกันของดัชนีตลาดหลักทรัพยไทยและตลาดอืน่ ๆ ในระดับทีส่ งู ทัง้ ตลาดในภูมภิ าคอาเซียน ตลาดเอเชีย ตลอดจนตลาดเศรษฐกิจพัฒนาแลว อาจเปนการบงชี้วานักลงทุนตางชาติจัดกลุมหลักทรัพยในตลาดทุนโลกไวใน ประเภทสินทรัพยที่มีความเสี่ยงในระดับเดียวกัน ตามทิศทางและสถานการณเศรษฐกิจโลก อนึ่ง เปนที่นาสังเกตวาทิศทางของ ดัชนี Dow Jones ในวันกอนหนาเคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกับดัชนีตลาดหลักทรัพยไทย โดยมีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธสูงถึง 0.5971 จึงอาจกลาวไดวา นักลงทุนโดยเฉพาะนักลงทุนตางชาติจะใชสัญญาณจากดัชนี Dow Jones แลวจึงตัดสินใจซื้อ-ขาย หลักทรัพยในภูมิภาค รวมถึงตลาดหลักทรัพยไทยดวย
สรุปและแนวนโยบาย บทความนีไ้ ดวเิ คราะหความเชือ่ หลายประการในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยความเชือ่ สวนใหญเปนความเชือ่ ที่ไมสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษ จากการวิเคราะหขอมูลในชวงครึ่งแรกของป 2554 พบวา ไมมีสัญญาณเงินทุนเคลื่อนยายจากนักลงทุน ตางชาติที่นากังวล ไมวาจะเปนการเขาซื้อหรือเทขายหลักทรัพยในปริมาณมากอยางรวดเร็ว อีกทั้งนักลงทุนรายยอยในประเทศมิไดลงทุน ตามนักลงทุนตางชาติ แตพฤติกรรมของนักลงทุนรายยอยมักจะเปนไปในทิศทางตรงขามกับนักลงทุนตางชาติ และมักจะเปน ทิศทางที่ตรงขามกับตลาด กลาวคือ นักลงทุนรายยอยมักจะเขาซื้อในจังหวะที่ตลาดปรับตัวลง แลวจึงขายในจังหวะที่ตลาด ปรับตัวสูงขึ้น จึงอาจกลาวไดวานักลงทุนรายยอยลงทุนในตลาดหลักทรัพยระยะสั้นเพื่อทํากําไรจากสวนตางของราคา ในขณะ ที่นักลงทุนตางชาติจะเขาซื้อตามความเชื่อมั่นในสภาพเศรษฐกิจและเสถียรภาพการเมืองของไทย ดังนั้น หนวยงานที่มีหนาที่กํากับควบคุมตลาดทุนไทยและคาดการณทิศทางของตลาดหลักทรัพยไทย จึงควรจับตามอง ตลาดในภูมิภาคอาเซียนและดัชนี Dow Jones ของสหรัฐอเมริกา เนื่องจากเปนตลาดที่เคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกันกับ ตลาดหลักทรัพยของไทยในระดับสูง เพื่อใหตลาดทุนไทยมีความเคลื่อนไหวอยางมีเสถียรภาพ พรอมทําหนาที่เปนแหลงระดม เงินทุนของภาคเอกชนไทยตอไป
98
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
บทวิเคราะห
เรื่อง อุตสาหกรรม…กุญแจสูการยกระดับขีดความสามารถ ในการแขงขัน 1
บทสรุปผูบริหาร
จากขอมูลการจัดอันดับขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศของ IMD ป 2554 ไดจัดอันดับประเทศไทยอยูที่อันดับ 27 ซึ่งลดลงจากป 2553 โดยสวนที่ไทยมีขีดความสามารถในระดับตํ่าที่สุด คือ สวนของสภาพโครงสรางพื้นฐาน (Infrastructure) โดยเฉพาะในดานวิทยาศาสตร (Scientific) และเทคโนโลยี (Technology) ❍ แนวทางสํ า คั ญ ที่ จ ะยกระดั บ ขี ด ความสามารถด า น Scientific และ Technology ดั ง กล า ว คือการสงเสริมนวัตกรรมใหเปนรูปธรรม เพื่อขับเคลื่อนใหไทยกาวสูเศรษฐกิจสังคมฐานความรู (KnowledgeBased Society) โดยกุญแจสําคัญทีจ่ ะนําพาไปสูแ นวทางดังกลาวได คือ การพัฒนาภาคอุตสาหกรรมใหถกู ทิศทาง มากขึน้ เนือ่ งจากภาคอุตสาหกรรมมีบทบาทสําคัญตอภาคการผลิตและภาคการสงออก โดยมีสดั สวนกวารอยละ 41 และรอยละ 74 ของทั้งสองภาค ตามลําดับ ❍ อย า งไรก็ ดี เมื่ อ พิ จ ารณามู ล ค า เพิ่ ม (Value Added) ที่ เ กิ ด ขึ้ น กลั บ พบว า มี สั ด ส ว นที่ น อ ย เนื่องจากวัตถุดิบที่ใชในการผลิตสินคานั้นสวนใหญมาจากการนําเขาแลวผลิตเพื่อสงออก (Re-export) ซึ่งทําให มูลคาที่เกิดจากการสงออกสวนมากไปอยูที่ตนทุนการซื้อวัตถุดิบจากตางประเทศ โดยคงเหลือเพียงสวนนอย ที่เขาสูคาจางแรงงานกําไรจากการดําเนินงาน ❍ ดังนัน ้ อุตสาหกรรมทีค่ วรสงเสริมควรเปนอุตสาหกรรมทีม่ สี ดั สวนการใชปจ จัยการผลิตภายใน ประเทศ (Local Content) ในสัดสวนทีส่ งู ไดแก อุตสาหกรรมอาหาร เนือ่ งจาก ณ ปจจุบนั อยูใ นหมวดอุตสาหกรรม ที่มีสัดสวนการสงออกนอยกวารอยละ 30 ดังนั้น ยังมีโอกาสอีกมากในการพัฒนาอุตสาหกรรมดังกลาวเพื่อให มีการสงออกเพิ่มขึ้น และเปนตัวเชื่อมสําคัญระหวางภาคอุตสาหกรรม-ภาคเกษตรกรรม-ภาคบริการ โดยอาศัย 4 แนวทางหลัก ไดแก 1) การเพิ่มผลิตภาพดานทักษะแรงงาน 2) การบริหารจัดการ 3) การเพิ่มปจจัยสนับสนุน และ 4) การสงเสริมดานการวิจัย พัฒนา และการสรางนวัตกรรม ❍
1. ขีดความสามารถการแขงขันของไทยในปจจุบัน หลังจากวิกฤตการเงินโลกในชวงป 2551-2552 รัฐบาลและหนวยงานทีเ่ กีย่ วของในประเทศไทยมีความพยายามยกระดับ ขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศอยางตอเนือ่ ง อยางไรก็ดี จากขอมูลการจัดอันดับขีดความสามารถในการแขงขันของ ประเทศของสถาบันพัฒนาการบริหารจัดการระหวางประเทศ (International Institute for Management Development: IMD) ประจําป 2554 โดยประเมินจาก 4 ดานหลัก ไดแก ดานเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ดานประสิทธิภาพภาครัฐ ดานประสิทธิภาพ ภาคเอกชน และดานโครงสรางพื้นฐาน ไดจัดอันดับประเทศไทยอยูที่อันดับ 27 จากทั้งหมด 59 ประเทศ ลดลงจากอันดับ 26 เมื่อปที่แลว โดยมีคะแนนรวม 74.886 คะแนน
1
ผูเขียน : นายธรรมฤทธิ์ คุณหิรัญ เศรษฐกรชํานาญการ และนายนนทวัฒน รัตนรักษาสัตย นักศึกษาฝกงาน สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ นางวิภารัตน ปนเปยมรัษฎ ผูอํานวยการสวนแบบจําลองและประมาณการเศรษฐกิจ และนายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ สําหรับคําแนะนํา
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
99
ภาพที่ 1 ตัวชี้วัดเชิงโครงสรางเพื่อจัดอันดับขีดความสามารถในการแขงขันโดย IMD ใน 4 ดาน โดยในวงกลมสะทอนวาความสามารถในการแขงขันของไทยอยูในระดับตํ่า
ที่มา : IMD
ซึ่งเปนที่นาสังเกตวาขีดความสามารถในการแขงขันของไทยปรับตัวดีขึ้นเพียงดานเดียว คือ ประสิทธิภาพดานธุรกิจ ซึ่งขยับขึ้นไปอยูอันดับที่ 19 (จากอันดับ 20 เมื่อปกอนหนา) ขณะที่ดานที่ไทยมีขีดความสามารถอยูในระดับที่ต่ําสุด คือ ดานโครงสรางพืน้ ฐาน (Infrastructure) ทีล่ ดลงไปอยูท อี่ นั ดับ 47 จากอันดับ 46 เมือ่ ปทแี่ ลว โดยเมือ่ พิจารณาจากในกลุม ประเทศ อาเซียน (ASEAN)2 ดวยกัน ไทยมีอันดับดาน Infrastructure เหนือกวาเพียงอินโดนีเซียและฟลิปปนส (ที่อยูในอันดับ 55 และอันดับ 57 ตามลําดับ) (จากภาพที่ 1 และภาพที่ 2)
2
100
อาเซียน (ASEAN) หรือ สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of South East Asian Nations) เปนองคการทางภูมิศาสตรการเมือง และองคการความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ไดแก ไทย มาเลเซีย ฟลิปปนส อินโดนีเซีย สิงคโปร บรูไน ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพมา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อรวมมือกันในการเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม การพัฒนา วัฒนธรรมในกลุมประเทศสมาชิก อยางไรก็ดี กลุมประเทศ CLMV (กัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม) ไมไดอยูในกลุม 59 ประเทศแรกจากการจัดอันดับของ IMD
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ภาพที่ 2 แสดงลําดับขีดความสามารถทางการแขงขันของประเทศตาง ๆ 59 ประเทศ
ที่มา : IMD
2. จุดออนของขีดความสามารถทางการแขงขันของไทย คือ ขีดความสามารถดาน Technology เมื่อพิจารณาทฤษฎีในการคํานวณจากฟงกชันการผลิตแบบ Cobb-Douglas ที่มีรูปแบบมีความสัมพันธของตัวแปร ดานปจจัยการผลิตทุน (K) และแรงงาน (L) คือ Y = มูลคาเพิ่ม = A K L (โดย เปนสัมประสิทธิ์หรือคาความยืดหยุนของ ปจจัยทุนในการสรางมูลคาเพิ่ม และ เปนสัมประสิทธิ์หรือคาความยืดหยุนของปจจัยแรงงานในการสรางมูลคาเพิ่ม และ A แทน Technical progress หรือ TFP) นั้นจะพบวา ที่ผานมาประเทศไทยมีการพัฒนาอุตสาหกรรมอยางตอเนื่อง โดยเริ่มตน จากระดับการพัฒนาที่เนนการใชปจจัยการผลิตดานทุน (K) และแรงงาน (L) เปนตัวขับเคลื่อน (Factor Driven Economies) กระทั่งมาสูยุคปจจุบันที่เขาสูระดับการพัฒนาที่เนนการใชประสิทธิภาพและระบบการผลิต (Efficiency Driven Economies) ที่อยูใน Stage 2 สอดคลองกับรายงานการจัดระดับการพัฒนาของประเทศตาง ๆ โดย World Economic Forum3: The Global Competitiveness Report 2009-2010 ที่ประเมินระดับการพัฒนาเศรษฐกิจของไทยอยูในระดับ Efficiency เชนกัน ขณะที่ อีกหลาย ๆ ประเทศในเอเชีย อาทิ ฮองกง ญีป่ นุ สิงคโปร ไดกา วเขาสูร ะดับการพัฒนาทีใ่ ชนวัตกรรมเปนตัวขับเคลือ่ น (Innovation Driven) และใชเปนยุทธศาสตรเชิงรุก เชื่อมโยงองคความรูและภูมิปญญาของประเทศ โดยเฉพาะจากผลงานวิจัยและพัฒนา ที่สามารถนํามาตอยอดและขยายผลใหเกิดการลงทุนทางธุรกิจในระดับอุตสาหกรรมหรือในเชิงพาณิชย ซึ่งเปนปจจัยสําคัญ ที่ทําใหเกิดการเพิ่มขึ้นของ A ในสมการ Cobb-Douglas หรือ Technology Progress อยางกาวกระโดด นํามาซึ่งการสราง มูลคาเพิ่ม (Y) ใหแกเศรษฐกิจของประเทศอยางรวดเร็วเชนกัน (ตารางที่ 1)
3
หรือ WEF เปนอีกหนึ่งสถาบันจัดอันดับขีดความสามารถในการแขงขัน โดยใหความสําคัญกับขอมูลการสํารวจความคิดเห็นมากกวาขอมูลเชิงประจักษ ซึ่งอาจ มีอคติ (Bias) ตามความสนใจและความเขาใจของผูใ หขอ มูล สงผลตอความผันแปรของขอมูลของประเทศตาง ๆ ทําใหไมสามารถเปรียบเทียบไดอยางมีนยั สําคัญ ทั้งนี้ โดยทั่วไปจะใชขอมูลการจัดอันดับของ WEF เพื่อวิเคราะหปจจัยระดับจุลภาค (หนวยการผลิต/ระดับบริษัท) รวมกับการใชขอมูล Doing Business ของ World Bank ขณะที่ขอมูลฯ ของ IMD จะใชเปนวิเคราะหปจจัยมหภาคที่สงผลตอระดับขีดความสามารถในการแขงขันเชิงโครงสรางทางเศรษฐกิจในระยะยาว
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
101
ตารางที่ 1 แสดงลําดับขั้น (Stage) ของการพัฒนาของแตละประเทศ
ที่มา : IMD
นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาลงไปใน Infrastructure ซึ่งแยกไดเปนดานโครงสรางพื้นฐาน (Basic) ดานวิทยาศาสตร (Scientific) และดานเทคโนโลยี (Technology) พบวา มีคะแนนความสามารถในการแขงขันอยูท ลี่ าํ ดับ 20 ลําดับ 40 และลําดับ 52 ตามลําดับ ดังนั้น หากประเทศไทยสามารถดึงอันดับความสามารถในการแขงขันทางดาน Technology Infrastructure ใหสงู ขึน้ จะมีสว นสําคัญทีจ่ ะดึงใหประเทศไทยมีขดี ความสามารถในการแขงขันเพิม่ ขึน้ ในเวทีนานาชาติ ซึง่ ปจจัยทีจ่ ะสนับสนุน ขีดความสามารถดานเทคโนโลยีดังกลาว คือการสงเสริมนวัตกรรมใหเปนรูปธรรม โดยมุงเนนการใชความรู ทักษะการบริหาร จัดการ รวมทั้งประสบการณทางดานวิทยาศาสตรและดานเทคโนโลยี เพื่อการคิดคน การประดิษฐ การพัฒนา การผลิตสินคา การบริการ กระบวนการผลิต และการจัดการองคกรในรูปแบบใหม เพื่อขับเคลื่อนใหไทยกาวไปสูเศรษฐกิจสังคมฐานความรู (knowledge-based society) และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันระดับโลกไดอยางยั่งยืน
ภาพที่ 3 แสดงโครงสรางภาคการผลิตและการสงออก
ที่มา : NESDB
102
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ทั้งนี้ ภาคอุตสาหกรรมมีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยคอนขางมาก สะทอนจากสัดสวนมูลคา ผลผลิตอุตสาหกรรมตอ GDP และมูลคาการสงออกสินคาอุตสาหกรรมตอมูลคาการสงออกรวมที่มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น อยางรวดเร็ว โดยปจจุบันอยูที่ประมาณรอยละ 41 และรอยละ 74 ของ GDP และมูลคาสงออก ตามลําดับ (ดังแสดงในภาพที่ 3) โดยเมือ่ พิจารณาประเภทสินคาอุตสาหกรรมพบวา สินคาสงออกอันดับตน ๆ ของประเทศไทยจะอยูใ นกลุม สินคาอุตสาหกรรมที่ ใชเทคโนโลยีระดับสูง อาทิ อุปกรณอิเล็กทรอนิกส เครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบยานยนต และชิ้นสวนยานยนต แผงวงจรไฟฟา เครือ่ งจักรกลและสวนประกอบ (โดยอันดับรอง ๆ ลงมาเปนกลุม สินคาอุตสาหกรรมการเกษตร อาทิ สินคาเกษตร แปรรูป กลุมสินคาเกษตร อาทิ ยางพารา และกลุมสินคาแฟชั่น อาทิ อัญมณีและเครื่องประดับ)
ตารางที่ 2 แสดงอัตราการขยายตัว (% y-o-y) ของการผลิต (GDP) ภาคอุตสาหกรรม และดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI)
ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาการขยายตัวของ GDP ภาคอุตสาหกรรม4 ในชวงป 2540-2550 มีการขยายตัวโดยเฉลี่ยรอยละ 4.8 ตอป โดยมาหดตัวลงในป 2552 ที่ระดับรอยละ -6.1 ตอป (สอดคลองกับดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI)5 ที่หดตัวลงรอยละ -7.2 ตอปเชนกัน) เนื่องจากไดรับผลกระทบของวิกฤตทางเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกา (Hamburger Crisis) โดยตอมาในป 2553 พบวากลับมาขยายตัวรอยละ 5.2 ตอป (ทิศทางเดียวกับ MPI ที่กลับมาขยายตัวรอยละ 5.2 ในปเดียวกัน) ดังแสดงในตารางที่ 2
4 5
ขอมูลจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ Manufacturing Production Index (MPI) เปนดัชนีที่รวบรวมขอมูลโดยสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปนดัชนีที่บอกระดับการผลิตของภาคอุตสาหกรรม เปรียบเทียบกับการเปลี่ยนแปลงเดือนตอเดือน และมีการเปรียบเทียบกับขอมูลดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมของปฐาน (พ.ศ. 2543) ซึ่งอุตสาหกรรมที่นํามาใชจัดทํา ดัชนี ประกอบดวย 53 กลุมอุตสาหกรรมหลัก โดยการคิดถวงนํ้าหนักรวมเทากับรอยละ 75.07 ของผลผลิตอุตสาหกรรมทั้งหมด และถวงนํ้าหนักของอุตสาหกรรม แตละประเภทดวยสัดสวนมูลคาเพิม่ ของการผลิตของอุตสาหกรรมนัน้ ๆ ตอมูลคารวมตามบัญชีรายไดประชาชาติในปฐาน โดยพิจารณาวาดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม เพิ่มขึ้นหรือลดลงเมื่อเทียบกับปที่แลว ซึ่งเปนการเปรียบเทียบเดือนเดียวกัน (m-o-m) หรือชวงเวลาเดียวกันของปนี้กับปที่แลว (y-o-y)
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
103
ภาพที่ 4 แสดงตลาดสงออกสินคาอุตสาหกรรมที่สําคัญ
ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
อยางไรก็ดี เมื่อพิจารณาการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมในชวง 8 เดือนแรก ป 2554 พบวาชะลอตัวเหลือเพียง รอยละ 0.7 (MPI ชะลอลงเหลือรอยละ 0.7 ในชวงเวลาเดียวกัน) และเปนชวงเวลาเดียวกับที่สถานการณเศรษฐกิจโลกเผชิญ ความเปราะบางจากปญหาดานการคลังในยูโรโซนและปญหาการจางงานในสหรัฐอเมริกา สงผลใหการสงออกสินคาอุตสาหกรรม ไปยังตลาดสหรัฐอเมริกาหดตัวตอเนือ่ งเปนเดือนทีส่ าม (จากเดือนมิถนุ ายน-สิงหาคม 2554 หดตัวรอยละ -0.4 รอยละ -1.6 และ รอยละ -3.3 (y-o-y) ตามลําดับ) อยางไรก็ดี เมือ่ พิจารณามูลคาเพิม่ ทีเ่ กิดขึน้ พบวามีสดั สวนในระดับทีต่ าํ่ โดยเมือ่ พิจารณา หมวดสินคาสงออก6 จะพบวามีความสอดคลองใกลเคียงกันกับหมวดสินคานําเขา สะทอนใหเห็นถึงโครงสรางการผลิต เพื่อสงออกของสินคาไทยวา ยังเปนการผลิตสินคาสงออกที่ตองพึ่งพาการนําเขาวัตถุดิบขั้นตนและขั้นกลางจาก ตางประเทศเปนสวนใหญ ซึง่ ทําใหมลู คาทีเ่ กิดจากการสงออกสินคาเหลานัน้ ไมไดหมุนเวียนอยูใ นประเทศอยางแทจริง แตกลับไหลเวียนออกไปในรูปของตนทุนการซื้อวัตถุดิบจากตางประเทศ ซึ่งมูลคาเพิ่ม (Value added) ที่เกิดกับ อุตสาหกรรมโดยสวนใหญจงึ เปนเพียงคาจางแรงงานทีใ่ ชในการผลิตและกําไรจากการดําเนินงานเพียงบางสวนเทานัน้ ขณะทีอ่ ตุ สาหกรรมทีส่ ามารถสงเสริมใหเปนอุตสาหกรรมหลักทีจ่ ะพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของประเทศ ไดแก อุตสาหกรรมอาหาร กลับยังไมไดรับการพัฒนาเทาที่ควร ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาสัดสวนมูลคาการผลิต (ในตารางที่ 2) อุตสาหกรรม อาหารมีสัดสวนถึงรอยละ 15.5 ของมูลคาการผลิตรวมของทุก ๆ อุตสาหกรรม สะทอนวาเปนอุตสาหกรรมที่ไทยมีศักยภาพ (core competency) และสามารถเพิม่ มูลคาไดมากเพราะมีปจ จัยการผลิตในประเทศ (local content) สูง อยางไรก็ดี เมือ่ พิจารณา สัดสวนการสงออกพบวามีสัดสวนที่นอยกวารอยละ 30 แสดงใหเห็นวาโอกาสในการพัฒนาอุตสาหกรรมนี้ยังมีอีกมาก เพราะ สามารถทีจ่ ะพัฒนาเพือ่ เชือ่ มโยงระหวางภาคอุตสาหกรรมกับภาคเกษตร และสามารถยกระดับการเชือ่ มไปถึงตลาดตางประเทศ โดยการสงออกผลิตภัณฑอาหารไปยังประเทศตาง ๆ (local link, global reach) ขณะเดียวกันก็เชื่อมโยงถึงสายสัมพันธทั้งหมด ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจภายในประเทศ ไมวา จะเปนภาคบริการและธุรกิจโลจิสติกส และยังจะกอใหเกิดการพัฒนาเทคโนโลยี ภาคอุตสาหกรรมการเกษตรของประเทศ เชน อาหารปลอดภัย อาหารที่มีเทคโนโลยีทางการผลิต เปนตน รวมถึงกอใหเกิด การวิจัยและพัฒนาสินคาการเกษตรหรืออาหาร ซึ่งจะเปนตัวผลักดันใหเกิดการพัฒนาในภาคเกษตรตอไปในอนาคต
6
104
สินคานําเขาสวนใหญเปนสินคาประเภทวัตถุดิบหรือวัตถุขั้นกลางในการผลิตสินคาเพื่อการสงออก อาทิ สวนประกอบยานพาหนะ เครื่องเพชรพลอย อัญมณี สินแรโลหะ เครือ่ งคอมพิวเตอรและสวนประกอบ เหล็กและผลิตภัณฑเหล็ก เครือ่ งใชไฟฟาและสวนประกอบ แผงวงจรไฟฟา เคมีภณ ั ฑ เครือ่ งจักรกล และนํา้ มันดิบ ตามลําดับ
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
3. แนวทางการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ แมวา ในปจจุบนั สถานะการพัฒนาของประเทศไทยอยูใ นระดับทีเ่ นนการใชประสิทธิภาพและระบบการผลิต (Efficiency Driven Economies: Stage 2) อยางไรก็ดี ประเทศไทยยังคงอาศัยปจจัยการผลิตทั้งทุน (K) และแรงงาน (L) เปนตัวขับเคลื่อน การพัฒนา ทั้งนี้ ความไดเปรียบทางดานปจจัยการผลิตของไทยดังกลาวมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่องจากปจจัยตาง ๆ อาทิ ความไดเปรียบดานตนทุนแรงงานของไทย (Labor Cost Advantage) กําลังเปลี่ยนไปจากแนวโนมการขาดแคลนแรงงาน จากภาวะการตึงตัวของกําลังแรงงานในปจจุบันที่มีอัตราการวางงานเพียงรอยละ 0.5 ประกอบกับนโยบายการเพิ่มคาแรง ขัน้ ตํา่ เปนตน นอกจากนี้ ในสวนของปจจัยทุน (Capital) ทีป่ ระเทศไทยพึง่ พาเงินลงทุนสวนใหญจากตางประเทศ (FDIs) ก็ประสบกับ ภาวะการแขงขันเชิงนโยบายของประเทศเพื่อนบานเพื่อดึงดูด FDIs ไปลงทุนในประเทศนั้น ๆ อาทิ เวียดนามที่ปจจุบัน มีเขตสงเสริมการลงทุน 2 ประเภท คือ Export Processing Zone (EPZ) และ Industrial Zone (IZ) ในนครโฮจิมินห ไฮฟอง ฮานอย เพือ่ ดึงดูดนักลงทุนจากตางชาติ โดยกําหนดอัตราภาษีทตี่ าํ่ เปนพิเศษสําหรับอุตสาหกรรมทีเ่ ขาไปลงทุนในเขตอุตสาหกรรม ทั้ง 2 ประเภทดังกลาว เปนตน ดังนั้น ภาวะดังกลาวลวนกอใหเกิดขอจํากัดของประเทศไทยตอการพึ่งพาปจจัยการผลิตเปนตัวขับเคลื่อน จึงเปน สิง่ จําเปนทีป่ ระเทศไทยจะตองสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจใหแกภาคอุตสาหกรรมในแนวทางทีน่ อกเหนือจากการพึง่ พาปจจัย การผลิตดังกลาว โดยมุงเนนไปที่การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน ผานการใหความสําคัญกับการพัฒนาผลิตภาพ การผลิต (Productivity) ของภาคอุตสาหกรรม อีกทั้งตองอาศัยนโยบายและแผนการพัฒนาประเทศที่ชัดเจนและเปนรูปธรรม อันเปนความจําเปนที่ทุกภาคสวนตองเขามามีบทบาทในการทํางานรวมกัน ดังนี้ 3.1 แนวทางการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน 1) การปรั บ โครงสร า งภาษี เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดและสอดคลองกับการบริหารจัดการทรัพยากร ทางเศรษฐกิจ (หรือปจจัยการผลิตในนัยเชิงอุตสาหกรรม) ของประเทศ โดยเปนไปในแนวทางเพื่อรองรับสถานการณ การเปลีย่ นแปลง อาทิ ภาษีศลุ กากรทีม่ แี นวโนมลดบทบาทลง เนือ่ งจากขอตกลงในการลดพิกดั อัตราภาษีการคาระหวางประเทศ ตามการเปดเสรีการคาและการลงทุนกับประเทศตาง ๆ และแผนการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในป 2558 ตลอดจน ภายใตภาวะที่รัฐบาลมีคาใชจายผูกพันหรืองบประจําที่มีแนวโนมเพิ่มขึ้นทุกป ๆ เพื่อเสริมสรางสวัสดิการทางสังคม รวมทั้งยังมี แผนการลงทุนในโครงสรางพื้นฐานขนาดใหญ อาทิ การบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพกวาปจจุบัน เปนตน ซึ่งลวนตองใชเงินลงทุนมูลคาสูงเพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันของประเทศอีกดวย ทัง้ นี้ แนวทางของการปรับโครงสรางและอัตราภาษีเงินไดบคุ คลธรรมดา (PIT) นิตบิ คุ คล (CIT) ตองเปนไปในทิศทาง เพือ่ ยกระดับรายได สรางโอกาสและการเขาถึงโอกาส และเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขัน ทัง้ นี้ หากเปรียบเทียบกับประเทศ เพื่อนบานสวนใหญแลวพบวา ณ ปจจุบันประเทศไทยจัดเก็บ PIT และ CIT ในอัตราที่สูงกวาโดยเฉลี่ย (ดังแสดงในตารางที่ 3) ตารางที่ 3 เปรียบเทียบอัตราภาษี PIT CIT และ VAT ของไทยกับประเทศเพื่อนบาน ประเทศ ไทย สิงคโปร เวียดนาม อินโดนีเซีย ฟลิปปนส จีน
PIT 0-37% 3.5-20% 5-35% 5-30% 5-32% 5-45%
CIT 30% 17% 25% 28% 30% 25%
ที่มา : http://www.worldwide-tax.com
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
105
ในสวนของ PIT นั้นในระยะแรก ๆ ของการปฏิรูป แนวทางควรออกมาในลักษณะของการเนนขยายฐานภาษี รวมถึง การปรับเปลี่ยนเกณฑเกี่ยวกับคาลดหยอนในบางรายการ โดยเฉพาะรายการที่สรางความเหลื่อมลํ้าทางสังคม และเนนเพิ่ม การใหคาลดหยอนในรายการที่เกี่ยวพันกับคาครองชีพพื้นฐาน หรือเชื่อมโยงกับยุทธศาสตรการแกปญหาโครงการประชากร ในอนาคต ขณะที่ในสวนของการปรับลดอัตราภาษี CIT จะเปนไปในลักษณะที่ทยอยลดอัตรา โดยมติ ครม. อนุมัติใหลดอัตรา CIT จาก 30% เหลือ 23% โดยเริ่มตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2555 และลดลงเหลือ 20% ในป 2556 เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขงขันของภาคธุรกิจเอกชนควบคูก บั การขยายฐานภาษี โดยเนนการปรับเปลีย่ นระบบการบันทึกบัญชีของผูป ระกอบการ ใหมีความเปนมาตรฐานและตรวจสอบไดมากขึ้น ทั้งนี้ การปรับโครงสรางภาษีดังกลาวเพื่อชวยลดภาระภาษีใหแกประชาชนและผูประกอบการ โดยจะมีสวนกระตุน การลงทุนภาคเอกชนใหมากขึ้น แมวาจะกระทบรายไดจัดเก็บภาครัฐในชวงปแรก แตจากการที่เศรษฐกิจขยายตัว ประชาชน มีรายไดเพิ่มขึ้น มีความเชื่อมั่นในการใชจายดานอุปโภคบริโภคและการลงทุนเพิ่มขึ้น ก็จะทําใหรัฐจัดเก็บภาษีประเภทตาง ๆ ไดเพิ่มขึ้นในอนาคต นอกจากนี้ สําหรับการใหสิทธิประโยชนทางภาษี BOI นั้น แนวทางนาจะเกิดขึ้นในลักษณะของการปรับเกณฑเงื่อนไข ใหตรงกับกลุม เปาหมาย หรือสอดคลองกับยุทธศาสตรของประเทศเปนหลัก โดยไมถงึ กับยกเลิกการใหสทิ ธิประโยชนไปทัง้ หมด เพราะตองยอมรับวาการใหสทิ ธิประโยชนกม็ คี วามสําคัญในแงของการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะในประเด็นการดึงดูด เม็ดเงินลงทุนจากตางประเทศ (นอกเหนือไปจากโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจและโอกาสในการสรางผลตอบแทน) ใหเขามา ลงทุนในอุตสาหกรรมที่ควรสงเสริม 2) สงเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการแขงขัน ผานการเพิ่มประสิทธิภาพและเพิ่มบทบาทของระบบการเงิน ดังนี้ 2.1 สงเสริมใหสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ (SFIs) ใหบริการทางการเงินและไมใชทางการเงินที่เกี่ยวเนื่อง เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการสงออกสินคาหรือบริการจากประเทศไทยและกิจการที่ไดมาหรือสนับสนุนการไดมาซึ่งเงินตรา ตางประเทศ บริการรองรับการนําเขาและการทําธุรกิจในประเทศเพือ่ ยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันของภาคสงออกไทย ตลอดจนธุรกิจไทยในตางประเทศ ซึ่งสงผลตอการขยายฐานการคาและการลงทุนระหวางประเทศของไทย 2.2 ปรับปรุงประสิทธิภาพการกํากับดูแลสถาบันการเงินและระบบการเงิน โดยการปรับปรุงกฎหมายการเงิน ใหเหมาะสมกับสถานการณทเี่ ปลีย่ นแปลงไป และพิจารณาออกกฎหมายสําหรับธุรกิจการเงินใหม ๆ รองรับการเปลีย่ นแปลงของ ระบบการเงิน ทัง้ นี้ ตามแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงินระยะที่ 27 (ป 2553-2557) ไดมกี ารออกมาตรการเพือ่ เตรียมความพรอม ตอกระแสการเปดเสรีการคาและบริการดานการเงินเพือ่ มุง สู AEC 2015 โดยแบงเปนชวงที่ 1 (ป 2553-2554) เนนการเสริมสราง ความแข็งแกรงและสนับสนุนการแขงขันแกสถาบันการเงินไทย โดยกระทรวงการคลังรวมกับธนาคารแหงประเทศไทยได ดําเนินการโดยใชมาตรการทางภาษีเพื่อสนับสนุนการควบรวม โดยสถาบันการเงินจะไดรับยกเวนภาษีสําหรับรายไดที่เกิดจาก การควบรวมกิจการ และยกเวนคาธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมการโอนที่ดินและอาคารชุดที่เกิดจากการควบรวม (ปจจุบนั มีผลบังคับใชถงึ วันที่ 31 ธันวาคม 2554) ตอมาชวงที่ 2 (ป 2555-2556) จะเปนการเพิม่ ระดับการแขงขันโดยการเพิม่ ของ สถาบันการเงินตางชาติและผูใ หบริการรายใหมในระบบสถาบันการเงินไทย และชวงที่ 3 (ป 2557) จะเนนการเพิม่ ประสิทธิภาพ ของระบบใหสอดคลองกับทิศทางการขยายตัวทางการคาและการลงทุนในภูมิภาค 2.3 สงเสริมและสนับสนุนใหเอกชนกูยืมเงินไปลงทุน ในการจัดตั้งสถาบันฝกอบรมวิชาชีพเอกชนในสาขาที่ ขาดแคลนในอัตราดอกเบี้ยตํ่าโดยเฉพาะในเขตพื้นที่พัฒนาอุตสาหกรรม 2.4 สงเสริมและสนับสนุนใหแรงงานกูย มื กองทุนพัฒนาฝมอื แรงงาน เพือ่ ใหแรงงานเขาสูร ะบบการจางงาน และ แรงงานทีถ่ กู เลิกจางกูย มื ใหอตั ราดอกเบีย้ ตํา่ โดยปจจุบนั กรมพัฒนาฝมอื แรงงานไดเปดกองทุนฯ โดยใหกยู มื เพือ่ ฝกอบรมฝมอื แรงงานหลักสูตรระยะสั้นในอัตราดอกเบี้ยรอยละ 1 ตอป และผอนชําระคืนพรอมดอกเบี้ยเมื่อจบการฝกอบรมฝมือแรงงานแลว
7
106
แผนพัฒนาระบบสถาบันการเงินระยะที่ 2 เปนแผนที่ตอเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ระยะที่ 1 ที่วางกรอบการพัฒนาระบบสถาบันการเงินในชวงป 2547-2551 เพื่อปรับปรุงโครงสรางระบบสถาบันการเงินใหสามารถดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ แข็งแกรง และสามารถใหบริการไดทั่วถึง
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
2.5 อาศัยเครื่องมือนโยบายการเงินเพื่อจัดสรรทรัพยากรการเงินไปสูภาคการผลิตที่มีผลิตภาพสูงและ เปนประโยชนตอเศรษฐกิจ เสริมสรางศักยภาพการผลิต โดยการเพิ่มผลิตภาพของแรงงานและประสิทธิภาพการใชทรัพยากร 3) การเพิม่ ผลิตภาพดานทักษะแรงงาน (Labor Productivity) โดยมุง เนนการผลิตและพัฒนาแรงงานใหตรงกับ ความตองการในแตละสาขาอุตสาหกรรม โดยอาศัยความรวมมือระหวางสถาบันการศึกษากับผูประกอบการ ตลอดจนกําหนด มาตรฐานทักษะฝมือแรงงาน โดยสงเสริมใหผูประกอบการใชคุณวุฒิวิชาชีพเปนเครื่องมือในการพิจารณาคาจางแรงงาน เพื่อจูงใจใหพนักงานตองการพัฒนาทักษะฝมือตนเองมากขึ้น ดวยมาตรการทางภาษี อาทิ สถานประกอบการหรือสถาบัน การศึกษาที่ดําเนินการจัดฝกอบรมเพื่อพัฒนาฝมือแรงงาน จะไดรับสิทธิประโยชนทางภาษีจากการสนับสนุนการศึกษาตาม พระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับที่ 476 พ.ศ. 2551 สามารถหักคาใชจายได 2 เทาของคาใชจายที่จายไป แตไมเกินรอยละ 10 ของกําไร สุทธิกอนหักรายจายเพื่อสาธารณประโยชน เปนตน 4) การบริหารจัดการ ผานกระบวนการเสริมสรางความรูค วามเขาใจในการบริหารจัดการใหแกผบู ริหาร ทัง้ ในดาน การผลิตและการตลาด โดยใหคําปรึกษาแนะนําผูประกอบการในการปรับปรุงกระบวนการผลิตในดานตาง ๆ ใหมีประสิทธิภาพ และไดมาตรฐาน และสงเสริมและสนับสนุนใหผปู ระกอบการนําระบบการบริหารจัดการสมัยใหมตามมาตรฐานสากลมาใช อาทิ Lean Manufacturing8 / Toyota Production System / Total Quality Management ตลอดจนการสรางแรงจูงใจโดยการให สิทธิประโยชน (Incentive) แกผูประกอบการเพื่อกระตุนใหเกิดการเพิ่มผลิตภาพ 5) การสงเสริมปจจัยสนับสนุน (Enabling Factors) เนื่องจากในปจจุบันอุตสาหกรรมสนับสนุน (Supporting Industry) อุตสาหกรรมพื้นฐานยังไมเขมแข็งพอที่จะตอบสนองตอความตองการของภาคเอกชน และมีผลประโยชนทับซอน/ ขัดแยงกัน (Conflict of Interest) ระหวางกิจกรรมภายในหวงโซอุปทาน (Supply Chain) เดียวกัน ตั้งแตตนนํ้า กลางนํ้า จนถึงปลายนํ้า ดังนั้น แนวทางการพัฒนาควรมุงเนนที่การพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐาน (Infrastructure) พัฒนาระบบ Logistics & Supply Chain การสงเสริมเครือขายวิสาหกิจ (Cluster) ใหมคี วามเขมแข็ง ตลอดจนปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบตาง ๆ ใหเอื้อตอการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม 6) การสงเสริมดานการวิจัย พัฒนา และการสรางนวัตกรรม โดยอาศัยความรวมมือจากหนวยงานทุกฝาย ที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะภาคเอกชนที่ตองมีการกําหนดทิศทางและกลยุทธที่ชัดเจน เพื่อกระตุนใหเกิด การพัฒนานวัตกรรมภายในองคกร ไดแก การสงเสริมการวิจัยและพัฒนา (R&D) สินคาใหตรงตามความตองการของตลาด การสงเสริมการวิจัยเพื่อออกแบบ (Design) ผลิตภัณฑสินคาใหมีความแตกตาง ตลอดจนการพัฒนากําลังคนและเสริมสราง ศักยภาพสถาบันการศึกษาดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อใหมีความพรอมที่จะพัฒนาตอยอดองคความรูและ สรางองคความรูใหม ๆ ในแตละสาขาอุตสาหกรรมตอไป โดยที่ผานมาภาครัฐไดมีการกําหนดมาตรการตาง ๆ เพื่อชวยสงเสริม ญาไทยและทองถิน่ อาทิ การกําหนดมาตรการ การสรางสรรคนวัตกรรมโดยเฉพาะใน SMEs เพิม่ ขึน้ รวมทัง้ สินคาทีม่ าจากภูมปิ ญ ทางภาษีเพือ่ สงเสริมใหเกิด R&D โดยใหสทิ ธินติ บิ คุ คลหักภาษีได 2 เทา ของรายจายเพือ่ การวิจยั พัฒนาอุตสาหกรรม การบริการ ขอมูลทางเทคโนโลยีเพือ่ นําไปใชในการพัฒนาตอยอดผลิตภัณฑ โดยกรมทรัพยสนิ ทางปญญา กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม เปนตน นอกจากนี้ ยังไดดําเนินการจัดตั้งกองทุนพัฒนานวัตกรรมขึ้นเพื่อใหการสนับสนุนการพัฒนานวัตกรรม ของประเทศ กองทุนฯ ดังกลาวจะใหการสนับสนุนโครงการพัฒนานวัตกรรมเพือ่ นําไปใชในเชิงพาณิชย เพือ่ ประโยชนทางเศรษฐกิจ และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน
8
Lean Manufacturing เปนระบบบริหารจัดการดานการผลิตใหสอดคลองกับความตองการของลูกคาแบบทันที โดยเนนสรางประสิทธิผลสูงสุด และ ลดการสูญเสีย (waste) ในวงจรการผลิต และเพิ่มคุณคาใหแกตัวสินคาอยางตอเนื่อง เพื่อใหลูกคาเกิดความพอใจสูงสุด (Customer Satisfaction)
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
107
ทั้งนี้ ระดับของนวัตกรรมและความกาวหนาทางเทคโนโลยีนับเปนปจจัยเสริมที่สําคัญยิ่งตอการพัฒนาเศรษฐกิจ และอุตสาหกรรมของชาติ อยางไรก็ดี เมื่อพิจารณาดานปจจัยปอนเขา (Input) ทางการลงทุนดาน R&D เทียบเปนรอยละ ตอผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) ประเทศไทยอยูที่เพียงรอยละ 0.28 ในป 2554 เพิ่มขึ้นเล็กนอยจากรอยละ 0.22 ในปกอนหนา ขณะที่กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอมตั้งเปาเพิ่มสัดสวนการลงทุนดาน R&D ไวที่รอยละ 1 ของ GDP ภายในป 2559 โดยในปจจุบันประเทศอุตสาหกรรมใหมตาง ๆ เชน สิงคโปร ไตหวัน และเกาหลี มีสัดสวนการลงทุน ดาน R&D สูงกวาประเทศไทยถึง 8-12 เทา ขณะเดียวกัน R&D ของประเทศไทยนั้นขึ้นอยูกับภาครัฐเปนสวนใหญ โดยคาใช จายดาน R&D ของภาคเอกชนคิดเปนสัดสวนเพียงรอยละ 32.6 ของคาใชจาย R&D รวมทั้งประเทศ แสดงใหเห็นวานโยบาย การกระตุนใหเอกชนลงทุนดาน R&D ของไทยนั้นยังไมประสบความสําเร็จเทาที่ควร และยังมีศักยภาพที่จะสามารถตอยอด ตอไปไดอีก
108
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
บทวิเคราะห
1
เรื่อง ทองเที่ยวไทย : การเติบโตที่ยั่งยืน บทสรุปผูบริหาร
ภาวการณทองเที่ยวมีบทบาทสําคัญตอเศรษฐกิจไทยโดยเฉพาะอยางยิ่งจากนักทองเที่ยว ตางชาติถือเปนปจจัยสําคัญที่ชวยสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจในชวงที่ผานมา โดยเปนแหลงรายได เงินตราตางประเทศที่สําคัญของประเทศไทย ทั้งยังกอใหเกิดการจางงานในภาคธุรกิจการทองเที่ยวและธุรกิจ เชื่อมโยง ซึ่งในชวงที่ผานมาแมวาจะมีเหตุการณบั่นทอนบรรยากาศการทองเที่ยวไทยทั้งจากภายในประเทศ และภายนอกประเทศ ไดแก เหตุการณความไมสงบทางการเมืองภายในประเทศ ภัยธรรมชาติ การแพรระบาด ของโรคตาง ๆ และวิกฤตเศรษฐกิจโลก จะสงผลกระทบตอจํานวนและรายไดจากนักทองเที่ยวตางชาติที่ลดลง อยางหลีกเลี่ยงไมได แตก็เปนเพียงผลกระทบในระยะสั้น ๆ โดยสามารถพลิกฟนและผานพนวิกฤตตาง ๆ มาได อยางรวดเร็วและแข็งแกรง ❍ สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ประมาณการจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติที่จะเดินทางเขามา ทองเที่ยวในประเทศไทยในชวง 10 ปขางหนาวา อาจจะสูงถึง 26.5 ลานคน สรางรายไดใหแกประเทศเปนมูลคา 10 ลานลานบาท ❍ จากการวิเคราะหพบวา ในภาพรวมนักทองเทีย ่ วในกลุม ทีม่ กี ารขยายตัวไดดี (High Growth) และ มีสวนแบงตลาดเพิ่มขึ้น (Increasing Market Share) ยังคงเปนกลุมเอเชียและกลุมยุโรป ในขณะที่กลุมประเทศ BRIC (บราซิล รัสเซีย อินเดีย และจีน) ที่คาดการณวาจะมีแนวโนมเศรษฐกิจขยายตัวมากกวารอยละ 7 ในชวง 10 ปขางหนา จะนํามาสูการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทองเที่ยวของนักทองเที่ยวในอนาคต ❍ แนวนโยบายในอนาคตนอกจากการทําการตลาดเชิงลึกแลว การฟนฟูแหลงทองเที่ยวและ การมีสวนรวมของชุมชนในการอนุรักษแหลงทองเที่ยวตามธรรมชาติ เพื่อรองรับการทองเที่ยวในระยะยาวเปน สิ่งที่ตองเรงดําเนินการ โดยภาครัฐใหการสนับสนุนและเตรียมความพรอมเพื่อเสริมสรางศักยภาพใหแกชุมชน ทองถิ่นในการบริหารจัดการการทองเที่ยวและสรางกลยุทธในการสรางความแตกตางที่เหนือกวาคูแขงขัน เพื่อ เปนจุดขายในการกระตุนหรือเชิญชวนลูกคาใหเขามาซื้อหาหรือใชบริการทองเที่ยวอยางตอเนื่องและยั่งยืน ❍
1. บทนํา ภาคการทองเที่ยวมีบทบาทสําคัญตอเศรษฐกิจไทยโดยเฉพาะอยางยิ่งจากนักทองเที่ยวจากตางประเทศ ถือเปน ปจจัยสําคัญที่ชวยสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจในชวงที่ผานมา โดยเปนแหลงรายไดเงินตราตางประเทศที่สําคัญ ของประเทศ ทั้งยังกอใหเกิดการจางงานในภาคธุรกิจการทองเที่ยวและธุรกิจเชื่อมโยง ดังนั้น จึงไดจัดทําบทวิเคราะหเรื่อง “ทองเทีย่ วไทย : การเติบโตทีย่ งั่ ยืน” โดยไดวเิ คราะหถงึ ประเด็นสําคัญ ดังนี้ 1) บทบาทการทองเทีย่ วจากตางประเทศตอเศรษฐกิจไทย 2) สถานการณการทองเทีย่ วไทยจากอดีตสูป จ จุบนั 3) แนวโนมการทองเทีย่ วจากตางประเทศในทศวรรษหนา และ 4) ขอเสนอแนะ เชิงนโยบาย
1
ผูเ ขียน : นางสาวคงขวัญ ศิลา เศรษฐกรปฏิบตั กิ าร สวนการวิเคราะหภาวะเศรษฐกิจมหภาค สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ นางณัฐยา อัชฌากรลักษณ ผูอํานวยการสวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค และนายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ สําหรับคําแนะนํา
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
109
2. บทบาทการทองเที่ยวจากตางประเทศตอเศรษฐกิจไทย ภาคการทองเที่ยวจากตางประเทศถือวามีความสําคัญตอเศรษฐกิจไทยอยางมากในชวงที่ผานมา โดยมีสัดสวน ในผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) เฉลี่ย 10 ป สูงถึงกวารอยละ 6.0 (ภาพที่ 1) และคิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 50 ของมูลคาการสงออกภาคบริการ (Export of Services) ทั้งหมด ทั้งยังเปนแหลงรายไดเงินตราตางประเทศเขาสูประเทศ อยางตอเนื่อง นอกจากนี้ ภาคการทองเที่ยวยังมีความเชื่อมโยง (Linkages) กับภาคอุตสาหกรรมอื่น ๆ โดยเฉพาะอุตสาหกรรม บริการตาง ๆ เชน โรงแรม รานอาหาร การขนสง ฯลฯ ทั้งยังกอใหเกิดการจางงานในภาคธุรกิจการทองเที่ยวและธุรกิจเชื่อมโยง
ภาพที่ 1 สัดสวนรายไดจากการทองเที่ยวจากตางประเทศในผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP)
ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย และ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
2.1 ผลกระทบของการทองเที่ยวจากตางประเทศที่มีตอเศรษฐกิจไทย ภาคการทองเทีย่ วมีความเชือ่ มโยงตอเศรษฐกิจไทยผานหลายชองทาง ทัง้ ทางดานเศรษฐกิจดานอุปสงค (Demand-side) และอุปทาน (Supply side) นอกจากนี้ ยังมีผลกระทบตอเสถียรภาพทางเศรษฐกิจทั้งภายใน (Internal stability) และภายนอก (External stability) สามารถสรุปไดดังนี้ (ภาพที่ 2) ชองทางเศรษฐกิจดานอุปสงค ชองทางที่ 1 กระทบตอการสงออกบริการ ภาคการทองเทีย่ วจากตางประเทศคิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 50 ของการสงออกบริการ โดยรายไดจากการทองเที่ยวในป 2553 มีจํานวน 6.22 แสนลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 6.0 ของ GDP ❍
ชองทางเศรษฐกิจดานอุปทาน ชองทางที่ 2 กระทบตอบริการโรงแรมและภัตตาคาร ซึ่งมีสัดสวนรอยละ 3.8 ของ GDP ในป 2553 ดังนั้น หากจํานวนนักทองเที่ยวจากตางประเทศเพิ่มขึ้นยอมสงผลใหมูลคาเพิ่มจากการใหบริการของโรงแรมและภัตตาคารเพิ่มขึ้น ตามไปดวย ชองทางที่ 3 กระทบตอบริการคมนาคมขนสง ซึ่งมีสัดสวนรอยละ 9.4 ของ GDP ในป 2553 เมื่อจํานวน นักทองเที่ยวเพิ่มขึ้น การขนสงทางอากาศและการขนสงทางบกจะเพิ่มขึ้นตามจํานวนนักทองเที่ยวจากตางประเทศ ชองทางที่ 4 กระทบตอบริการขายสง ขายปลีก ซึง่ มีสดั สวนรอยละ 13.3 ของ GDP ในป 2553 เมือ่ การทองเทีย่ ว ของประเทศไทยขยายตัวจะทําใหกิจกรรมการขายปลีกขายสงของธุรกิจหางรานขยายตัวเชื่อมโยงตามไปดวย ❍
110
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ภาพที่ 2 ชองทางการสงผานผลกระทบของการทองเที่ยวจากตางประเทศตอเศรษฐกิจไทย
ที่มา : สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ชองทางเศรษฐกิจดานเสถียรภาพภายนอกประเทศ ชองทางที่ 5 กระทบตอดุลบัญชีเดินสะพัด2 ผานรายไดจากดุลบริการที่เกิดจากรายไดการทองเที่ยวจาก ตางประเทศโดยในป 2553 มีสดั สวนประมาณรอยละ 60 ของรายไดจากการสงออกบริการ ซึง่ เปนสวนหนึง่ ของดุลบัญชีเดินสะพัด ❍
ชองทางเศรษฐกิจดานเสถียรภาพภายในประเทศ ชองทางที่ 6 กระทบตอภาวะการจางงาน การทองเที่ยวจากตางประเทศจะมีผลโดยตรงตอการจางงาน ในหมวดโรงแรมและภัตตาคาร ตลอดจนการจางงานในสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เชน การคมนาคมขนสง และการคาสงคาปลีก โดยมีจํานวนแรงงานที่อยูในขายที่จะไดรับประโยชนประมาณ 10 ลานคน หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 26.3 ของการจางงานรวม หรือจากจํานวนผูมีงานทําทั้งสิ้น 38 ลานคน ในป 2553 ❍
2
ดุลบัญชีเดินสะพัด = ดุลการคา (Trade balance) + ดุลบริการ รายไดและเงินโอน (Net services income & transfers)
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
111
3. สถานการณการทองเที่ยวไทยจากอดีตสูปจจุบัน 3.1 สถานการณการทองเที่ยวไทยในชวง 10 ปที่ผานมา จํานวนนักทองเที่ยวจากตางประเทศที่เดินทางเขาประเทศไทยมีเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในชวงทศวรรษที่ผานมา โดยมี จํานวนนักทองเที่ยวจากตางประเทศที่เดินทางเขามาในประเทศไทยเฉลี่ยปละประมาณ 12.7 ลานคน มีอัตราเพิ่มเฉลี่ยรอยละ 5.6 ตอป (ตารางที่ 1) แมประเทศไทยจะประสบกับปญหาและวิกฤตดานการทองเทีย่ วในชวงทีผ่ า นมา ซึง่ สงผลกระทบตอจํานวน นักทองเที่ยว แตจากการศึกษาพบวาหลังจากวิกฤตตาง ๆ ผานพนไปไมวาจะเปนการระบาดของโรคซารส (SARS) เหตุการณ สึนามิ (Tsunami) การรัฐประหาร วิกฤตราคานํ้ามัน โรคไขหวัดสายพันธุใหม 2009 และวิกฤตการเมืองในประเทศ เปนตน นักทองเที่ยวก็จะเริ่มกลับเขามาอีกครั้งหนึ่งในระยะเฉลี่ยไมเกิน 3 เดือน (ภาพที่ 3) โดยการศึกษาพบวา นักทองเที่ยวในตลาด ระยะใกลจากเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือและอาเซียน ไดแก ญี่ปุน มาเลเซีย และจีน (สัดสวนรวมรอยละ 26.2 ของจํานวน นักทองเที่ยวจากตางประเทศทั้งหมดในป 2553) เปนกลุมที่มีความออนไหวตอสถานการณตาง ๆ มากที่สุด
ตารางที่ 1 จํานวนนักทองเที่ยวจากตางประเทศในชวง 10 ปที่ผานมา 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 เฉลี่ย 10 ป จํานวนนักทองเที่ยว 10.1 จากตางประเทศ (ลานคน)
10.8 10.0 11.7 11.5 13.8 14.5 14.6 14.1 15.9
12.7
% YoY
7.3
5.6
5.8
-7.4 16.5
-1.1
20.0
4.6
0.8
-3.0 12.6
ที่มา : กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา คํานวณโดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ภาพที่ 3 อัตราการขยายตัวของจํานวนนักทองเที่ยวจากตางประเทศ (ป 2525-2554)
ที่มา : สํานักนโยบายเศรษฐมหภาค สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
112
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
3.2 สถานการณการทองเที่ยวลาสุด ภาวการณทอ งเทีย่ วไทยลาสุดในชวง 9 เดือนแรกของป 2554 สามารถเติบโตไดดอี ยางตอเนือ่ งโดยสามารถผานพนวิกฤต ตาง ๆ มาไดอยางแข็งแกรง แมวาจะมีเหตุการณบั่นทอนบรรยากาศการทองเที่ยวไทยทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศ นับจากเหตุการณความไมสงบในลิเบียเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ 2554 กรณีธรณีพิบัติและสึนามิที่ประเทศญี่ปุนเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 ปญหาคาเงินบาทที่แข็งคามากขึ้นในชวงตนป ราคานํ้ามันที่ทรงตัวในระดับสูงและภาวะเศรษฐกิจของ กลุมตลาดยุโรปและอเมริกาที่ยังคงมีการฟนตัวอยางออนแอ และปญหาภายในประเทศจากอุทกภัยของไทยที่นับเปนวิกฤต นํา้ ทวมใหญของไทยในเขตพืน้ ทีภ่ าคใตชว งเดือนมีนาคม 2554 ภาคเหนือและภาคกลางชวงเดือนสิงหาคม 2554 แตไมไดทาํ ให จํานวนนักทองเทีย่ วจากตางประเทศในภาพรวมเดินทางเขาสูป ระเทศไทยลดลงแตอยางใด ในทางตรงขาม จํานวนนักทองเทีย่ ว กลับเพิ่มขึ้นทําลายสถิติ (High Record) ในทุก ๆ เดือนตั้งแตเดือนมกราคม 2554 เปนตนมา โดยในชวง 9 เดือนแรกของป 2554 มีจํานวนนักทองเที่ยวจากตางประเทศที่เดินทางเขาประเทศไทยทั้งสิ้น 14.4 ลานคน เพิ่มขึ้นรอยละ 27.1 (ภาพที่ 4) เติบโตได อยางแข็งแกรงจากปลายป 2553 ที่ขยายตัวเพียงรอยละ 12.6
ภาพที่ 4 จํานวนนักทองเที่ยวจากตางประเทศ (คน) รายเดือนตั้งแตป 2549–2554
ที่มา : กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา
ทั้งนี้ จากการศึกษาพบวา นักทองเที่ยวจากตางประเทศที่เดินทางเขาประเทศไทยในชวงแรกของป 2554 ไดรับ แรงเกื้อหนุนจากตลาดระยะใกลภายในเอเชียเปนหลัก โดยเฉพาะจากเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือและอาเซียน โดยนักทองเที่ยว จากจีน อินเดีย และเกาหลี มีแนวโนมเพิ่มขึ้นในอัตราเรง สวนหนึ่งเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจที่ 7 ยังขยายตัวไดดี ในขณะที่ภาวะ เศรษฐกิจของกลุม ตลาดยุโรปและสหรัฐอเมริกายังฟน ตัวไดไมเต็มทีท่ าํ ใหมกี ารขยายตัวในระดับทรงตัว อยางไรก็ตาม นักทองเทีย่ ว จากรัสเซียยังคงเติบโตไดดใี นระดับสูงแซงกระแสตลาดยุโรป สวนภูมภิ าคโอเชียเนียมีการขยายตัวไดดเี ชนกันโดยเฉพาะประเทศ ออสเตรเลีย ขณะที่กลุมตะวันออกกลางแมจะมีปญหาความไมสงบภายในภูมิภาคชวงตนป แตนักทองเที่ยวยังคงขยายตัวไดดี โดยเฉพาะจากประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
113
4. แนวโนมการทองเที่ยวจากตางประเทศในทศวรรษหนา จากขอเท็จจริงที่การทองเที่ยวจากตางประเทศมีความสําคัญตอเศรษฐกิจไทย สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จึงได ทําการประมาณการเบื้องตนของแนวโนมการทองเที่ยวจากตางประเทศโดยใชวิธี Hodrick-Prescott Filter ซึ่งเปนการใชขอมูล การเติบโตจากอดีตตั้งแตป 2524–2553 ภายใตสมมติฐานหากสถานการณเปนปกติ ไมมีภาวะความไมสงบในประเทศหรือ ภัยธรรมชาติทรี่ นุ แรง และไมมกี ารทําการตลาดเชิงรุก เพือ่ ประมาณการจํานวนนักทองเทีย่ วจากตางประเทศในชวง 10 ปขา งหนา พบวา ณ สิน้ ป 2564 จํานวนนักทองเทีย่ วจากตางประเทศทีจ่ ะเดินทางเขามาทองเทีย่ วในประเทศไทยจะมีจาํ นวนประมาณ 26.5 ลานคน และสรางรายไดใหแกประเทศสูงถึง 10 ลานลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 6.1 ของ GDP (ตารางที่ 2)
ตารางที่ 2 การคาดการณจํานวนนักทองเที่ยวจากตางประเทศ รายไดและสัดสวนรายไดนักทองเที่ยวจากตางประเทศตอ GDP ในชวง 10 ปขางหนา (2555-2565)
(หนวย : ลานบาท)
การคาดการณการทองเที่ยวในชวง 10 ปขางหนา (2555-2565) ป
คาดการณนักทองเที่ยว จากตางประเทศ (คน)
คาดการณรายได จากการทองเที่ยวจากตางประเทศ* (ลานบาท)
คาดการณสัดสวน รายไดตอ GDP
2555
17,227,152
678,970
5.88
2556
18,073,062
712,309
5.91
2557
18,960,509
747,286
5.93
2558
19,891,532
783,980
5.95
2559
20,868,272
822,476
5.98
2560
21,892,972
862,862
6.00
2561
22,967,989
905,232
6.02
2562
24,095,793
949,682
6.05
2563
25,278,976
996,314
6.07
2564
26,520,257
1,045,236
6.09
ที่มา : สํานักนโยบายเศรษฐมหภาค สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ *ภายใตสมมติฐานมีการใชจายตอหัวเทากันทุกปที่ 39,413 บาท (เฉลี่ยจากป 2551-2553)
114
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
5. บทสรุปและขอเสนอแนะเชิงนโยบาย จากการที่ ก ารท อ งเที่ ย วจากต า งประเทศมี ค วามสํ า คั ญ ต อ เศรษฐกิ จ ไทยโดยเป น ป จ จั ย สํ า คั ญ ที่ ช ว ยสนั บ สนุ น การขยายตัวทางเศรษฐกิจในชวงที่ผานมา ทั้งยังมีความเชื่อมโยงตอเศรษฐกิจไทยทั้งทางดานการขยายตัวทางเศรษฐกิจและ ยังมีผลกระทบตอเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ (Stability) จึงควรมีความจําเปนทีป่ ระเทศตองดําเนินมาตรการเพือ่ สรางความยัง่ ยืน ใหแกภาคการทองเที่ยวจากตางประเทศ ดังนี้ 5.1 นโยบายสนับสนุนการทองเที่ยวในดานอุปสงค แนวนโยบายในอนาคตควรใหความสําคัญกับการตลาดเชิงรุก เนือ่ งจากจํานวนนักทองเทีย่ วในตลาดโลกจะเพิม่ ขึน้ ทําให ในแตละประเทศจะมีการแขงขันดานการทองเทีย่ วสูงขึน้ ดังนัน้ ควรมีการโฆษณาประชาสัมพันธ การกําหนดกลยุทธ ใหสามารถ รักษาตลาดเดิมและแยงชิงตลาดใหม เพื่อแยงชิงสวนแบงการตลาดในเวทีโลกมากขึ้น รวมทั้งการใชระบบอิเล็กทรอนิกสและ สารสนเทศมาเปนเครือ่ งมือสําคัญในการสรางความแตกตางและสรางคุณคาของสินคาในอนาคต ทัง้ ในรูปแบบของ E-commerce และ E-business โดยเฉพาะสังคม Online ซึ่งบทบาทของอินเทอรเน็ตไดกลายมาเปนชองทางใหม และกําลังไดรับความนิยม ในการแพรขอ มูลและประชาสัมพันธ นอกจากนี้ รัฐบาลจําเปนตองดูแลรักษาเสถียรภาพคาเงินบาททีม่ แี นวโนมแข็งคาขึน้ ไมให แข็งคาขึ้นมากนักเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบาน เพื่อการรักษาการแขงขันทางดานราคา 5.2 นโยบายสนับสนุนการทองเที่ยวในดานอุปทาน ความสําเร็จของการทองเที่ยวของไทยสวนหนึ่งเนื่องจากมีสถานที่ทองเที่ยวที่มีความหลากหลายทั้งดานวัฒนธรรม และธรรมชาติ ประกอบกับมีทําเลที่ตั้งที่เปนยุทธศาสตรโดยอยูระหวางกลางของกลุมเอเชียตะวันออกเฉียงใต อยางไรก็ตาม การเพิม่ ขึน้ ของจํานวนนักทองเทีย่ วในอนาคตอาจสงผลตอการทําลายสถานทีท่ อ งเทีย่ วและระบบนิเวศ ดังนัน้ จึงควรมีมาตรการ ดานการบริหารจัดการแหลงทองเทีย่ วอยางเปนระบบ เพือ่ การรักษาการทองเทีย่ วใหมคี ณ ุ ภาพและยัง่ ยืน (Sustainable Tourism) ผานการสรางกระบวนการมีสวนรวมของชุมชนเนื่องจากเปนเจาของพื้นที่ โดยการกระจายอํานาจและเปดโอกาสใหชุมชน และทองถิ่นมีสวนรวมในการบริหารจัดการมากขึ้น ขณะที่ภาครัฐจําเปนตองเตรียมความพรอมและเสริมสรางศักยภาพ ใหแกชมุ ชนทองถิน่ ในการบริหารจัดการการทองเทีย่ ว นอกจากนี้ ปญหาดานสภาพแวดลอมเริม่ ไดรบั ความสนใจมากในระยะหลัง และสงผลกระทบมากขึ้นตออุตสาหกรรมการทองเที่ยว โดยนักทองเที่ยวจํานวนมากเริ่มมีจิตสํานึกและมีความรับผิดชอบตอ สภาพแวดลอมมากขึ้น ซึ่งในอนาคต Green Logistic จะเปนแนวโนมที่ถูกกําหนดใหแหลงทองเที่ยวตองใหความสําคัญกับ สิ่งแวดลอม และอาจถูกกําหนดเปนเงื่อนไขหนึ่งในการทองเที่ยวระหวางประเทศมากขึ้น ดังนั้น จึงควรมีการกําหนดยุทธศาสตร ในเรือ่ งการใหความสําคัญกับสิง่ แวดลอมมากขึน้ ผานการใหการฝกอบรมและเพิม่ ความรูใ หแกชมุ ชน และเผยแพรประชาสัมพันธ แนวความคิดการทองเทีย่ วแบบใหมใหแกนกั ทองเทีย่ ว เชน 1) การทองเทีย่ วแบบลดคารบอนไดออกไซด (Low Carbon Tourism) คือการทองเที่ยวที่ไมเรงรีบโดยการมุงเนนจํานวนวันพํานักมากขึ้น และ 2) การทองเที่ยวเชิงสรางสรรค (Creative Tourism) โดยมุงเนนดานวัฒนธรรมประเพณี ดานความสนุกรื่นรมยในเอกลักษณแหงทองถิ่น หรือ “รอยยิ้มและความสัมพันธ” ที่งดงาม ระหวางนักทองเที่ยวและคนทองถิ่น หรือเนนความถนัดในดานศิลปะความบันเทิงระหวางคนตอคน มากกวาการเนน การสรางพิพิธภัณฑและศิลปวัตถุ หรือเนนเฉพาะสถานที่ทองเที่ยว เชน สายลม แสงแดด และขุนเขา เหมือนที่ผานมา3 ทั้งนี้ การสรางกลยุทธในการสรางความแตกตางที่เหนือคูแขงขันทั้งทางดานอุปสงคและอุปทาน จะเปนจุดขายที่สําคัญ ในการกระตุนหรือเชิญชวนนักทองเที่ยวใหเขามาทองเที่ยวในประเทศอยางตอเนื่องและยั่งยืน
3
อางอิงจากการสัมภาษณ พันเอก ดร.นาฬกอติภัค แสงสนิท กรรมการและผูอํานวยการองคการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน (องคการมหาชน)
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
115
ภาคการเงิน รายงานภาวะเศรษฐกิจการเงินไทยในไตรมาสที่ 3 ป 2554 ในชวง 8 เดือนแรกของป 2554 อัตราดอกเบี้ยเงินกูและอัตราดอกเบี้ยเงินฝากของธนาคารพาณิชย ปรับตัวเพิม่ ขึน้ โดยอัตราดอกเบีย้ เงินฝากประจํา 1 ป และอัตราดอกเบีย้ เงินกู MLR ณ สิน้ เดือนสิงหาคม 2554 ปรับเพิม่ ขึน้ จาก รอยละ 1.55 และรอยละ 6.31 ณ สิ้นป 2553 มาอยูที่รอยละ 2.73 และรอยละ 7.31 ตามลําดับ (ภาพที่ 1) ตามการปรับเพิ่มอัตรา ดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารแหงประเทศไทยในชวงดังกลาว อยางไรก็ตาม อัตราเงินเฟอที่ยังคงเพิ่มขึ้นสงผลใหอัตราดอกเบี้ย เงินฝากที่แทจริงลดลงตอเนื่องจากไตรมาสกอนหนา ❍ การคาดการณอัตราดอกเบี้ยในป 2554 และป 2555 เชื่อวาอัตราดอกเบี้ยเงินกูและเงินฝากของธนาคาร พาณิชยจะปรับตัวเพิ่มขึ้น อัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชยมีแนวโนมที่จะปรับตัวเพิ่มขึ้นจากการแขงขันระดมเงินฝากของ สถาบันการเงิน เพื่อรองรับการขยายตัวของสินเชื่อตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ ❍
ภาพที่ 1 อัตราดอกเบี้ยธนาคารพาณิชย
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
ยอดคงค า งสิ น เชื่ อ ของสถาบั น การเงิ น ที่ รั บ ฝากเงิ น 1 (Depository institutions) ณ สิ้ น เดื อ น สิงหาคม 2554 ขยายตัวในอัตราเรงขึ้นตอเนื่อง ขณะที่เงินฝากขยายตัวตอเนื่อง แตในอัตราที่ชะลอกวาสินเชื่อ (ภาพที่ 2 และภาพที่ 3) โดย ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554 สถาบันรับฝากเงินมียอดคงคางของสินเชื่อภาคเอกชนจํานวน 10,899.9 พันลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 17.2 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน และเมื่อขจัดผลของฤดูกาลแลวเพิ่มขึ้น รอยละ 1.4 เมื่อเทียบกับเดือนกอนหนา ซึ่งเปนการขยายตัวทั้งสินเชื่อภาคธุรกิจและสินเชื่อภาคครัวเรือน โดยหากวิเคราะห ตามผูใ หสนิ เชือ่ พบวา สินเชือ่ ธนาคารพาณิชยขยายตัวเรงขึน้ ชัดเจน ขณะทีส่ นิ เชือ่ ของสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวตอเนือ่ ง ดานเงินฝากของสถาบันรับฝากเงินมียอดคงคางเงินฝากจํานวน 11,162.6 พันลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 11.4 เมือ่ เทียบชวงเดียวกัน ของปกอนหนา และเมื่อขจัดผลของฤดูกาลแลวเพิ่มขึ้นรอยละ 1.0 เมื่อเทียบกับเดือนกอนหนา จากการแขงขันระดมเงินฝาก ของธนาคารพาณิชยเพื่อรองรับการขยายตัวของสินเชื่อ และพยายามจํากัดตนทุนดอกเบี้ยในชวงที่อัตราดอกเบี้ยเปนชวงขาขึ้น ❍
1
116
ไดแก ธนาคารพาณิชย บริษัทเงินทุน สถาบันการเงินเฉพาะกิจ สหกรณออมทรัพย และกองทุนรวมตลาดเงิน
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ภาพที่ 2 สินเชื่อในสถาบันรับฝากเงิน
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
ภาพที่ 3 เงินฝากในสถาบันรับฝากเงิน
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
สินเชือ่ ของธนาคารพาณิชย ณ เดือนสิงหาคม ป 2554 ขยายตัวดีตอ เนือ่ ง ขณะทีเ่ งินฝากของธนาคาร พาณิชยขยายตัวชะลอลงเล็กนอย (ภาพที่ 4 และภาพที่ 5) ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554 ธนาคารพาณิชยมียอดคงคางสินเชื่อ ภาคเอกชนจํานวน 7,268.3 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 15.9 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ นหนา และเมือ่ ขจัดผลของฤดูกาล แลวเพิ่มขึ้นรอยละ 1.6 เมื่อเทียบกับเดือนกอนหนา ดานเงินฝากของสถาบันรับฝากเงินมียอดคงคางเงินฝากจํานวน 7,714.3 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 8.4 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา และเมื่อขจัดผลของฤดูกาลแลวหดตัวเล็กนอยที่ รอยละ 0.7 เมื่อเทียบกับเดือนกอนหนา ❍
ภาพที่ 4 สินเชื่อในธนาคารพาณิชย
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
ภาพที่ 5 เงินฝากในธนาคารพาณิชย
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
ยอดคงคางสินเชื่อภาคธุรกิจของธนาคารพาณิชย ณ เดือนสิงหาคม 2554 ขยายตัวเรงขึ้น ในขณะ ที่สินเชื่อภาคครัวเรือนยังคงขยายตัวตอเนื่อง (ภาพที่ 6) สินเชื่อที่ใหแกภาคธุรกิจของธนาคารพาณิชยซึ่งมีสัดสวนกวา รอยละ 40 ของสินเชือ่ รวม ณ สิน้ เดือนสิงหาคม ป 2554 ขยายตัวดีตอ เนือ่ งทีร่ อ ยละ 16.7 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ นหนา สอดคลองกับการขยายตัวของเศรษฐกิจโดยเฉพาะการลงทุนภาคเอกชน ในขณะที่สินเชื่อภาคครัวเรือนซึ่งมีสัดสวนกวารอยละ 60 ของสินเชื่อรวม ขยายตัวรอยละ 15.4 สอดคลองกับการขยายตัวของการบริโภคภาคเอกชน สะทอนความเชื่อมั่นของ ภาคเอกชนตอภาวะเศรษฐกิจไทย ❍
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
117
ภาพที่ 6 ยอดคงคางสินเชื่อครัวเรือนและสินเชื่อธุรกิจของธนาคารพาณิชย
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
สินเชื่อธุรกิจเกือบทุกภาคการผลิตขยายตัวดีตอเนื่อง โดยเฉพาะสินเชื่อภาคบริการและภาค อุตสาหกรรม (ภาพที่ 8) สินเชื่อภาคบริการซึ่งมีสัดสวนกวารอยละ 45 (ภาพที่ 7) ของสินเชื่อธุรกิจ ขยายตัวรอยละ 31.4 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา เรงขึ้นจากยอดคงคางสินเชื่อภาคบริการในไตรมาสกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 18.4 สอดคลองกับการขยายตัวของจํานวนนักทองเที่ยวในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ที่รอยละ 50.1 สินเชื่อภาคอุตสาหกรรมซึ่งมีสวน แบงรอยละ 42.6 ของสินเชื่อธุรกิจ ขยายตัวรอยละ 17.2 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา เรงขึ้นจากยอดคงคางสินเชื่อ ภาคอุตสาหกรรมในไตรมาสกอนหนาที่ขยายตัวรอยละ 12.1 นอกจากนี้ สินเชื่ออสังหาริมทรัพยขยายตัวตอเนื่องที่รอยละ 1.3 ขณะที่สินเชื่อภาคเกษตรกรรมขยายตัวชะลอลงจากยอดคงคางสินเชื่อเกษตรกรรมในไตรมาสกอนหนามาอยูที่รอยละ 17.5 สอดคลองกับดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรมและราคาสินคาเกษตรในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ทีข่ ยายตัวชะลอลงจากไตรมาสกอนหนา ❍
ภาพที่ 8 การขยายตัวของสินเชื่อธนาคารพาณิชย
ภาพที่ 7 สินเชื่อแยกตามภาคธุรกิจ
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
ภาพที่ 9 โครงสรางสินเชื่อผูบริโภค
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
118
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ยอดคงคางสินเชื่อผูบริโภคในไตรมาสที่ 2 ป 2554 ขยายตัวรอยละ 14.8 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกัน ของปกอนหนา โดยสินเชื่อบุคคลเพื่อซื้อรถหรือเชาซื้อรถยนตและรถจักรยานยนต ซึ่งคิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 5 ของสินเชือ่ รวม หรือรอยละ 22 ของสินเชือ่ บุคคล ขยายตัวในระดับสูงตอเนือ่ งจากยอดคงคางสินเชือ่ ดังกลาวในไตรมาสกอนหนา รอยละ 31.6 เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปกอ นหนา สะทอนการบริโภคสินคาคงทนในสวนของรถยนตและรถจักรยานยนตทยี่ งั คงอยูใ นระดับสูง แมวา การผลิตหมวดสินคายานยนตจะชะลอลงในชวงดังกลาว จากการขาดชิน้ สวนการผลิต (Supply shortage) หลังการปดบริการชั่วคราวของบริษัทผลิตรถยนตรายใหญในประเทศญี่ปุน จากภัยพิบัติสึนามิในเดือนมีนาคม 2554 ขณะที่ ยอดคงคางสินเชื่อเพื่อที่อยูอาศัย ซึ่งคิดเปนสัดสวนรอยละ 13 ของสินเชื่อทั้งหมด หรือกวารอยละ 55 ของสินเชื่อบุคคล ขยายตัวชะลอลงตอเนื่องเปนไตรมาสที่ 4 มาอยูที่รอยละ 9.5 จากการยกเลิกมาตรการลดอัตราภาษีธุรกิจเฉพาะจากการขาย อสังหาริมทรัพย ในวันที่ 30 มิถุนายน 2553 รวมถึงความเขมงวดของธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.) ในการปลอยสินเชื่อที่อยู อาศัย โดย ธปท. ไดออกเกณฑกาํ หนดวงเงินสินเชือ่ ตอมูลคา Loan to value ratio (LTV ratio) ใหม เพือ่ เพิม่ ความเขมงวดในการปลอย สินเชื่อของธนาคารพาณิชย โดยเฉพาะในสวนของสินเชื่อเพื่อที่อยูอาศัยแนวสูง (คอนโดมิเนียม) ที่ราคาตํ่ากวา 10 ลานบาท ในขณะเดียวกัน ยอดคงคางสินเชื่อบัตรเครดิตในเดือนกรกฎาคม ป 2554 ขยายตัวไดดีตอเนื่องจากเดือนกอนหนามาอยูที่ รอยละ 14.1 บงชี้การบริโภคภาคเอกชนที่ขยายตัวไดอยางตอเนื่อง สอดคลองกับดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภคในเดือนกรกฎาคม 2554 ที่ปรับตัวสูงขึ้นจากเดือนกอนหนามาอยูที่ระดับ 74.4 ❍
ภาพที่ 10 การขยายตัวสินเชื่อบุคคล ธนาคารพาณิชยแยกประเภท
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
ภาพที่ 11 การใชจายภาคครัวเรือน ผานบัตรเครดิต
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
กลาวโดยสรุป ณ สิ้นเดือนสิงหาคม ป 2554 สถาบันการเงินไทยยังคงระดมเงินทุนตอเนื่อง เพื่อรองรับการขยายตัวของสินเชื่อที่เรงขึ้น ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ โดยการขยายตัวของภาคการบริโภคและ ภาคการผลิตไดสง เสริมใหสนิ เชือ่ ขยายตัวเรงขึน้ ติดตอกันเปนเวลากวา 16 เดือน ทัง้ นี้ การแขงขันระดมเงินฝากระหวางสถาบันการเงิน ที่เพิ่มมากขึ้น ผนวกกับมาตรการคุมครองเงินฝากที่จะทยอยสิ้นสุดลงในเดือนสิงหาคม 2555 สงผลใหสถาบันการเงินตาง ๆ โดยเฉพาะธนาคารพาณิชยไดปรับเปลีย่ นวิธกี ารระดมเงินฝากผานการออกตัว๋ แลกเงินหรือใชกลยุทธพเิ ศษตาง ๆ เพือ่ สรางแรงจูงใจ แกลูกคาเพิ่มขึ้น สงผลใหธนาคารแหงประเทศไทยออกมาตรการลดความเสี่ยง อาทิ การเพิ่มเงินสดสํารองที่ตองดํารงตาม กฎหมายสําหรับธนาคารพาณิชยทมี่ กี ารระดมเงินฝากผานการออกตัว๋ แลกเงิน นอกจากนี้ ไดมกี ารรวมมือกับหนวยงานทีร่ บั ผิดชอบ อื่น ๆ เพื่อกํากับดูแลสถาบันการเงินอยางใกลชิด และออกมาตรการควบคุมไดทันทวงทีหากพบปจจัยเสี่ยง อยางไรก็ตาม หากวิเคราะหถึงสถานภาพของธนาคารพาณิชยในปจจุบันพบวายังคงมีความแข็งแกรง โดยสัดสวนหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได สุทธิยังคงอยูในระดับตํ่าที่รอยละ 1.6 ของสินเชื่อทั้งหมด ขณะที่สัดสวนเงินกองทุนตอสินทรัพยเสี่ยงยังคงอยูในระดับสูงที่ รอยละ 15.4 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กฎหมายกําหนดไวที่รอยละ 8.5 ❍
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
119
Thailand’s Key Economic Indicators ตารางเครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจ (Economic Indicators)
120
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง FISCAL POLICY OFFICE
ส
เสนอแนะอยางมีหลักการ
ศ
ศึกษาโดยไมหยุดนิ่ง
ค
คนคลังที่มีคุณภาพ
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 0-2273-9020 โทรสาร 0-2298-5602 website : http://www.fpo.go.th