Oct57

Page 1

บทสรุปผูบริหาร ดานรายได

• เดือนตุลาคม 2557 รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 171,498 ลานบาท สูงกวาประมาณการตามเอกสาร งบประมาณ 8,352 ลานบาท หรือรอยละ 5.1 โดยการจัดเก็บรายไดของ 3 กรมจัดเก็บภาษีสังกัด กระทรวงการคลังสูงกวาเปาหมาย 1,320 ลานบาท หรือรอยละ 0.9 สาเหตุสําคัญมาจาก ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษียาสูบ และภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาที่จัดเก็บไดสูงกวาประมาณการ เปนผล จากการบริโภคภายในประเทศที่ขยายตัว และการนําสงรายไดที่สูงกวาเปาหมายของรัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่น

ดานรายจาย

• เดือนตุลาคม 2557 รัฐบาลเบิกจายเงินรวมทั้งสิ้น 367,598 ลานบาท ประกอบดวยการเบิกจาย จากปงบประมาณปปจจุบัน 344,801 ลานบาท (รายจายประจํา 329,977 ลานบาท และรายจายลงทุน 14,824 ลานบาท) และการเบิกจายของปกอนจํานวน 22,797 ลานบาท • เมื่อรวมกับการเบิกจายเงินจากเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) จํานวน 301 ลานบาท เงินกูภายใต พรก.บริหารจัดการน้ําฯ จํานวน 103 ลานบาท และโครงการลงทุนภายใต แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 3 ลานบาท สงผลใหในเดือนตุลาคม 2557 รัฐบาล มีการเบิกจายเงินเขาสูระบบเศรษฐกิจทั้งสิ้น 368,005 ลานบาท

ฐานะการคลังรัฐบาล

• ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด ในเดือนตุลาคม 2557 รัฐบาลมีรายไดนําสงคลัง 174,146 ลานบาท และมีการเบิกจายเงินงบประมาณ (ปปจจุบันและปกอน) รวม 367,598 ลานบาท สงผลใหดุลเงินงบประมาณขาดดุล 193,452 ลานบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่เกินดุล 7,788 ลานบาท ทําใหดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 185,664 ลานบาท • เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2557 มีจํานวน 325,932 ลานบาท • ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค. ในเดือนตุลาคม 2557 รัฐบาลมีรายไดทั้งสิ้น 178,584 ลานบาท และมีรายจายทั้งสิ้น 329,315 ลานบาท สงผลใหดุลเงินงบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 150,731 ลานบาท เมื่อรวมกับดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณที่เกินดุล 45,160 ลานบาท และ หักรายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) รายจายเพื่อวางระบบ บริหารจัดการน้ํา เงินกูตางประเทศ และรายจายตามแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 301 103 41 และ 3 ลานบาท ตามลําดับแลว ทําใหดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุลทั้งสิ้น 106,019 ลานบาท

ฐานะการคลัง อปท.

• ฐานะการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ณ ไตรมาสที่ 4 ประจําปงบประมาณ 2557 (เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2557) คาดวาจะมีรายไดรวม 91,986 ลานบาท (รายไดที่จัดเก็บเอง 13,205 ลานบาท รายไดภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให 63,344 ลานบาท และรายไดจาก เงินอุดหนุน 15,437 ลานบาท) และคาดวามีรายจายจํานวน 141,951 ลานบาท สงผลให -1-


ดุลการคลัง ของ อปท. ขาดดุล 49,695 ลานบาท • ฐานะการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่นของปงบประมาณ 2557 (เดือนตุลาคม 2556 – กันยายน 2557) มีรายไดรวม 553,777 ลานบาท (รายไดที่จัดเก็บเอง 49,594 ลานบาท รายไดภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให 260,741 ลานบาท และรายไดจากเงินอุดหนุน 243,442 ลานบาท) และมีรายจายจํานวน 535,740 ลานบาท สงผลใหดุลการคลังของ อปท. เกินดุล 18,037 ลานบาท

สถานะหนี้สาธารณะ

• หนี้สาธารณะคงคางของรัฐบาล ณ สิ้นเดือนกันยายน 2557 มีจํานวน 5,690,814.2 ลานบาท คิดเปนรอยละ 46.5 ของ GDP ประกอบดวยหนี้ในประเทศคิดเปนรอยละ 93.7 สวนที่เหลือ รอยละ 6.3 เปนหนี้ตางประเทศ และเมื่อแบงตามอายุเครื่องมือการกูเงิน หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 97.0 และหนี้ระยะสั้นรอยละ 3.0 สําหรับกรณีแบงตามอายุคงเหลือ หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 85.6 สวนที่เหลือรอยละ 14.4 เปนหนี้ระยะสั้น

กรอบความยั่งยืนทางการคลัง (60 - 15 – 0 – 25)

• กระทรวงการคลังไดกําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีตัวชี้วัดประกอบดวย ยอดหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ไมเกินรอยละ 60 ภาระหนี้ตองบประมาณไมเกินรอยละ 15 จัดทํางบประมาณสมดุล และสัดสวนงบลงทุนตองบประมาณไมต่ํากวารอยละ 25 • การวิเคราะหกรอบความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง (ปงบประมาณ 2558 – 2562) - สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ในปงบประมาณ 2558 อยูที่รอยละ 47.1 และลดลงเปนรอยละ 42.6 ในปงบประมาณ 2562 - ระดับภาระหนี้ตองบประมาณอยูในระดับรอยละ 7.1 ในปงบประมาณ 2558 และเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 8.9 ในปงบประมาณ 2562 - รัฐบาลมีนโยบายลดการขาดดุลงบประมาณ โดยกําหนดใหงบประมาณสมดุล - ในปงบประมาณ 2560 เพื่อรักษาวินัยการคลังและขับเคลื่อนเศรษฐกิจใหขยายตัว อยางมีเสถียรภาพ - สัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณรายจายคาดวาจะอยูในระดับเฉลี่ย รอยละ 14.3 ตองบประมาณรายจายตลอดชวงปงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งต่ํากวาระดับที่กําหนดไว อยางไรก็ดี รัฐบาลไดพยายามที่จะดําเนินโครงการลงทุนทั้งในสวนของ พรก. ใหอํานาจ กระทรวงการคลังกูเงินเพื่อบริหารจัดการน้ําฯ และการกูเงินเพื่อลงทุนโครงสรางพื้นฐานฯ ในป 2558 – 2562 ซึ่งเมื่อรวมการลงทุนดังกลาวจะทําใหสัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณ เพิ่มขึ้นอยูในระดับเฉลี่ยรอยละ 22.5 ตองบประมาณรายจาย

การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล

• ผลการดําเนินโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ที่ยอดสินเชื่อคงคาง ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ป 2557 มีจํานวน 916,062.7 ลานบาท ขณะที่ยอดหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได (NPLs) เทากับ 30,328.2 ลานบาท คิดเปนสัดสวนหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดตอยอดสินเชื่อคงคาง (NPLs Ratio) รอยละ 3.3 -2-


• รัฐบาลมีภาระความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ซึ่งสามารถประมาณการ ความเสียหาย ที่ตองไดรับการชดเชยตั้งแตเริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ป 2557 มีจํานวนทั้งสิ้น 95,966.7 ลานบาท และคงเหลือภาระความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล อีกจํานวน 32,056.8 ลานบาท

การกระจายอํานาจทางการคลังใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น

• สรุปผลการศึกษาวิจัยโครงการประเมินผลนโยบายการกระจายอํานาจของไทยระยะ 15 ป สํานักงานคณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นไดมอบหมายให จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยศึกษาวิจัยเรื่อง โครงการประเมินผลนโยบายการกระจายอํานาจของไทย ระยะ 15 ป โดยผลการศึกษาแบงออกเปน 6 เรื่อง ไดแก ประเมินผลการปรับบทบาทของสวนราชการ ประเมินผล การปรับบทบาทขององคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) ในการจัดบริการสาธารณะ ประเมินผลการพัฒนา ศักยภาพดานการบริหารการเงินการคลังของ อปท. ประเมินความพึงพอใจของประชาชนเกี่ยวกับ การจัดบริการสาธารณะและการปรับบทบาทของ อปท. การมีสวนรวมของประชาชนในการตรวจสอบ การดําเนินงานของ อปท. และประเมินรูปแบบการจัดบริการสาธารณะของ อปท. ในลักษณะความรวมมือ ในภาพรวมพบวาประชาชนสวนใหญพึงพอใจตอการบริการสาธารณะที่ อปท. จัดใหในชวง 5-10 ป ที่ผานมา โดยพึงพอใจทั้งในดานการศึกษา สาธารณสุข สิ่งแวดลอม และโครงสรางพื้นฐาน โดยประชาชนกลุมตัวอยาง รอยละ 75 เห็นวาไมควรยุบเลิก อปท. เพราะ อปท. พัฒนาคุณภาพชีวิตใหประชาชน และประชาชนกลุม ตัวอยางรอยละ 71 เห็นวา อปท. ใสใจและทํางานแบบปรึกษาหารือกับประชาชน

มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ ประจําเดือนพฤศจิกายน 2557

1. เรื่อง ขออนุมัติวงเงินโครงการชดเชยดอกเบี้ยใหผูประกอบการคาขาวในการเก็บสตอกป 2557/58 เพิ่มเติม คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติวงเงินในการดําเนินการตามโครงการชดเชยดอกเบี้ยใหผูประกอบการ คาขาวในการเก็บสตอกป 2557 เพื่อชดเชยดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้นจากการเก็บสตอกขาวเปลือกเพิ่มอีกจํานวน 4 ลานตัน คิดเปนวงเงินจํานวน 612 ลานบาท สําหรับคาใชจายในการดําเนินการใหเปนไปตามความเห็น ของสํานักงบประมาณ 2. เรื่อง รางพระราชบัญญัติภาษีการรับมรดก พ.ศ. ... และรางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวล รัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ... คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรางพระราชบัญญัติภาษีการรับมรดก พ.ศ. ... ในการกําหนดหลักเกณฑ การเสียภาษีการรับมรดก โดยกําหนดใหมีผลใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา และไมใชบังคับแกมรดกที่เจามรดกไดตายกอนวันที่รางพระราชบัญญัตินี้ และราง พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ... โดยเพิ่มเติมบทบัญญัติแหงประมวล รัษฎากรในสวนที่เกี่ยวกับภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา เพื่อจัดเก็บภาษีเงินไดจากการรับใหเปนการสอดคลอง กับการจัดเก็บภาษีรับมรดกสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแลว และใหสงคณะกรรมการ ประสานงานสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณากอนเสนอสภานิติบัญญัติแหงชาติตอไป

-3-


3. เรื่อง รางระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของขาราชการ และลูกจางประจําของสวนราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการรางระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจายเงิน เพิ่มการครองชีพชั่วคราวของขาราชการและลูกจางประจําของสวนราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ตามที่กระทรวงการคลัง เสนอ ใหมีการปรับเพดานเงินเดือนขั้นสูงจาก 12,285 บาท เปน 13,285 บาท และปรับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเพิ่มขึ้นจากอัตราเดือนละ 1,500 บาท เปน 2,000 บาท แตเมื่อรวมกับเงินเดือนแลวตองไมเกินเดือนละ 13,285 บาท และกรณีที่มีรายไดไมถึงเดือนละ 10,000 บาท ใหไดรับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเพิ่มขึ้นอีกจนถึงเดือนละ 10,000 บาท โดยโดยใหระเบียบ มีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2557 เปนตนไป 4. เรื่อง การพิจารณาใหความชวยเหลือผูประกอบการกอสรางที่ไดรับผลกระทบจากการขาดแคลน แรงงานอันเนื่องมาจากการปรับคาจางขั้นต่ํา 300 บาท เพิ่มเติมจากมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2556 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบหลักเกณฑและเงื่อนไขการพิจารณาใหความชวยเหลือผูประกอบการ กอสรางที่ไดรับผลกระทบจากการขาดแคลนแรงงานอันเนื่องมาจากการปรับคาจางขั้นต่ํา 300 บาท และเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลังเสนอ โดยใหสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่นของรัฐ นําหลักเกณฑและเงื่อนไขในการพิจารณาใหความชวยเหลือผูประกอบการกอสรางที่ไดรับผลกระทบ จากการขาดแคลนแรงงานอันเนื่องมาจากการปรับคาจางขั้นต่ํา 300 บาท เพิ่มเติมจากมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2556 จํานวน 2 เรื่อง ไดแก การเพิ่มระยะเวลาในการดําเนินงานใหกับ ผูประกอบการกอสราง และการพิจารณาไมลงโทษเปนผูทิ้งงาน (เพิ่มเติม) ที่ กวพ. ไดพิจารณาแลว ไปถือปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน และมอบหมายใหกระทรวงมหาดไทย (มท.) นําหลักเกณฑและเงื่อนไข ดังกลาวไปใชบังคับในการจัดจางกอสรางขององคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) ดวยโดยอนุโลม 5. เรื่อง มาตรการทางภาษีอากรและคาธรรมเนียมเพื่อสนับสนุนการปรับปรุงโครงสรางหนี้ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบมาตรการทางภาษีอากรและคาธรรมเนียมเพื่อสนับสนุนการปรับปรุง โครงสรางหนี้ โดยขยายระยะเวลาการยกเวนภาษี การยกเวนการดําเนินการตามหลักเกณฑการจําหนาย หนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ที่กรมสรรพากรกําหนด รวมทั้งการลดหยอนคาธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและ นิติกรรมเปนพิเศษจากสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 เปนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และเห็นชอบ รางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... รางกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการจําหนายหนี้สูญ จากบัญชีลูกหนี้ รางประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง หลักเกณฑการลดหยอนคาธรรมเนียมจดทะเบียน สิทธิและนิติกรรมเปนพิเศษตามประมวลกฎหมายที่ดิน สําหรับกรณี การปรับปรุงโครงสรางหนี้ ตามหลักเกณฑที่คณะรัฐมนตรีกําหนดและรางประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง หลักเกณฑการลดหยอน คาธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเปนพิเศษตามกฎหมายวาดวยอาคารชุด สําหรับกรณี การปรับปรุงโครงสรางหนี้ ตามหลักเกณฑที่คณะรัฐมนตรีกําหนด รวม 4 ฉบับ ที่สํานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกาตรวจพิจารณาเสร็จแลวและมอบหมายใหสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีดําเนินการตอไป

-4-


6. เรื่อง การจัดสรรหุนเพิ่มทุนสามัญประจําป 2553 ของบรรษัทการเงินระหวางประเทศเพิ่มเติมใหแก ประเทศไทย คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบยืนยันการขอซื้อหุนเพิ่มทุนเพิ่มเติมจํานวน 4 หุน จากบรรษัทการเงิน ระหวางประเทศ (The International Financial Cooperation : IFC) ตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ โดยมอบหมายใหสํานักงบประมาณ จัดสรรงบประมาณ รายการเงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉิน หรือจําเปน ภายใตงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ 2558 สําหรับการซื้อหุนเพิ่มทุนดังกลาว เพื่อ กค. ดําเนินการในสวนที่เกี่ยวของตอไป และมอบหมายรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังในฐานะ ผูวาการของไทยในธนาคารโลกลงนามในเอกสารยืนยันขอรับการจัดสรรหุนเพิ่มทุน [Form of Instrument of Subscription (for additional shares)]

-5-


สถานการณดานการคลัง

Q1 I รายได 1. ตามหนวยงาน 1.1 กรมสรรพากร (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.2 กรมสรรพสามิต (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.3 กรมศุลกากร (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.4 รัฐวิสาหกิจ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.5 หนวยงานอื่น (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) - สวนราชการอื่น - กรมธนารักษ 1.6 รวมรายไดจัดเก็บ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.7 รวมรายไดสุทธิ (หลังหักการจัดสรรให อปท.) (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2. ตามฐานภาษี 2.1 ฐานจากเงินได (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2.2 ฐานจากการบริโภค (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2.3 ฐานจากการคาระหวางประเทศ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) II รายจาย 1.รายจายรัฐบาลจากงบประมาณ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.1 งบประมาณปปจจุบัน (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.2 งบประมาณปกอน 2. รายจายของกองทุนนอกงบประมาณ (15 กองทุน) 1/ - รายจาย - เงินใหกูยืมสุทธิ 3. รายจายจากเงินกูตางประเทศ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 4. รายจายของอปท. 5. รายจายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ III ดุลการคลัง 1. ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด 2. ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบ สศค. 2/ - รัฐบาล - อปท. 3. เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือน3/ IV ยอดหนี้สาธารณะ 1. หนี้รัฐบาลกูตรง 2. หนี้รัฐวิสาหกิจ 3. หนี้ของหนวยงานภาครัฐอื่น 4. หนี้ FIDF 5. รวม 6. หนี้คงคาง/GDP (ปปฏิทิน)% 7. หนี้ที่เปนภาระงบประมาณ/GDP (ปปฏิทิน)%

Q2

ปงบประมาณ 2557 Q3

หนวย : พันลานบาท

Q4

ทั้งป

ปงบประมาณ 2558 Oct-57

356.8 2.9 104.3 (12.4) 27.2 (12.5) 47.3 123.3 38.2 (40.1) 35.8 2.5 573.9 (1.4) 503.4 (1.0)

349.0 0.4 100.8 (11.3) 26.5 (8.4) 34.6 61.4 31.2 (27.8) 29.9 1.3 542.2 (2.1) 437.2 (3.8)

544.0 (2.2) 91.5 (11.9) 25.8 (6.4) 37.5 39.3 34.0 (18.9) 32.8 1.2 732.8 (3.4) 608.3 (4.4)

480.0 (2.0) 86.2 (11.6) 29.3 (4.0) 17.2 34.7 32.5 (14.5) 32.0 0.5 645.2 (3.0) 526.1 (4.0)

1,729.8 (2.0) 382.7 (11.6) 108.8 (4.0) 136.7 34.7 136.0 (14.5) 130.5 5.4 2,494.0 (3.0) 2,075.0 (4.0)

111.3 (0.9) 33.9 (7.3) 8.9 (6.2) 37.0 0.9 8.7 17.4 8.5 0.2 199.9 (1.3) 171.5 (4.0)

161.7 5.7 299.0 (4.4) 26.8 (12.1)

155.3 (0.4) 294.3 (3.6) 25.9 (8.4)

352.0 (5.2) 283.3 (3.5) 25.4 (6.4)

284.2 (5.1) 281.7 (2.8) 28.0 (4.4)

953.2 (5.1) 1,158.3 (2.8) 106.0 (4.4)

44.6 (2.5) 100.5 (2.5) 8.8 (6.9)

831.0 5.7 760.8 8.7 70.2 195.7 189.4 6.3 2.4 (45.1)

553.1 (5.6) 482.5 (5.9) 70.5 71.3 68.9 2.4 2.1 (50.2)

514.7 6.8 476.7 5.6 38.0 59.3 62.4 (3.1) 3.0 (67.9)

561.2 2.2 526.3 2.7 34.9 93.9 85.6 8.3 1.5 (63.7)

2,459.9 2.4 2,246.3 3.4 213.5 420.2 406.3 13.9 9.0 (59.2)

367.6 42.3 344.8 41.3 22.8 34.9 33.6 1.3 0.3 (45.3)

(342.6) (389.9) (389.9)

(178.0) (73.3) (73.3)

119.0 154.9 154.9

42.4 41.7 41.7

(359.3) (266.6) (266.6)

(185.7) (106.0) (106.0)

325.7

214.6

391.3

495.7

495.7

325.9

3,827.1 1,621.9 0.8 5,449.8 45.7

3,919.4 1,624.1 6.9 5,550.4 46.5

3,933.2 1,718.5 3.7 5,655.4 47.1

3,965.4 1,713.9 11.5 5,690.8 46.5

3,965.4 1,713.9 11.5 5,690.8 46.5

หมายเหตุ 1/ ประกอบดวย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณและการทําของ กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนคาธรรมเนียมผานทาง กองทุนสงเสริมวิสาหกิจ กองทุนออยและน้ําตาล กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ กองทุนหมูบานและชุมชนเมือง กองทุนสงเสริมการอนุรักษพลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กองทุนชวยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย 2/ ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาและวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) เปนผลรวมของดุลการคลังรัฐบาล และดุลการคลังของ อปท. 3/ ตั้งแตปงบประมาณ 2551 เงินคงคลังจะไมรวมเงินอื่น (บัตรภาษี) และเงินฝากธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) รวบรวมโดย : สวนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

-6-

n/a n/a n/a n/a n/a n/a


สถานการณดานรายได • เดือนตุลาคม 2557

รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 171,498 ลานบาท สูงกวาประมาณการตามเอกสารงบประมาณ 8,352 ลานบาท หรือรอยละ 5.1 (แตต่ํากวาเดือนเดียวกันปที่แลวรอยละ 4.0) โดยการจัดเก็บรายไดของ 3 กรมจัดเก็บภาษีสังกัด กระทรวงการคลังสูงกวาเปาหมาย 1,320 ลานบาท หรือรอยละ 0.9 สาเหตุสําคัญมาจากภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษียาสูบ และภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาที่จัดเก็บไดสูงกวาประมาณการ สวนหนึ่งเปนผลจากการบริโภคภายในประเทศที่ยังคง ขยายตัว นอกจากนี้ การนําสงรายไดของรัฐวิสาหกิจและการจัดเก็บรายไดของหนวยงานอื่นสูงกวาเปาหมาย 11,669 และ 633 ลานบาท หรือรอยละ 46.1 และ 7.8 ตามลําดับ ตารางสรุปรายไดรัฐบาลเดือนตุลาคม 2557* ที่มาของรายได

ปนี้

ปที่แลว

1. กรมสรรพากร 2. กรมสรรพสามิต 3. กรมศุลกากร รายได 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น หัก1/ รายไดรัฐบาลสุทธิ

111,345 33,934 8,947 154,226 36,963 8,709 28,400 171,498

112,331 36,625 9,543 158,499 36,633 7,418 23,983 178,567

ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้ งปม.ทั้งปเทากับ กับปที่แลว จํานวน รอยละ 2,325,000 ลานบาท (986) (0.9) 109,159 (2,691) (7.3) 34,447 (596) (6.2) 9,300 (4,273) (2.7) 152,906 330 0.9 25,294 1,291 17.4 8,076 4,417 18.4 23,130 (7,069) (4.0) 163,146

หนวย : ลานบาท

เปรียบเทียบปนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม. จํานวน รอยละ 2,186 2.0 (513) (1.5) (353) (3.8) 1,320 0.9 11,669 46.1 633 7.8 5,270 22.8 8,352 5.1

หมายเหตุ *ตัวเลข ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2557 1/ คาดการณรายการหัก ไดแก (1) คืนภาษีสรรพากร 25,400 ลานบาท (2) จัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อบจ. 1,600 ลานบาท (3) เงินกันชดเชยสงออก 1,400 ลานบาท ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557)

ลานบาท 400,000 350,000 300,000 250,000 200,000

171,498

150,000 100,000 50,000 0 ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ. จัดเก็บ 57

มี.ค.

เม.ย.

ปมก. 58

-7-

พ.ค. จัดเก็บ 58

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.


ผลการจัดเก็บรายไดตามหนวยงานจัดเก็บสรุปได ดังนี้  กรมสรรพากร จัดเก็บรายไดรวม 111,345 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 2,186 ลานบาท หรือรอยละ 2.0 (ต่ํากวาเดือนเดียวกันปที่แลวรอยละ 0.9) โดยภาษีที่จัดเก็บไดสูงกวาเปาหมายที่สําคัญ ไดแก (1) ภาษีมูลคาเพิ่ม จัดเก็บไดสูงกวาเปาหมาย 2,707 ลานบาท หรือรอยละ 4.7 (แตต่ํากวาเดือนเดียวกันปที่ แลวรอยละ 0.3) เปนผลจากการบริโภคที่ขยายตัวสูงกวาเปาหมาย โดยภาษีมูลคาเพิ่มที่จัดเก็บจากการบริโภค ในประเทศจัดเก็บไดสูงกวาเปาหมาย 1,504 ลานบาท หรือรอยละ 4.6 (สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลวรอยละ 4.7) และภาษีมูลคาเพิ่มที่จัดเก็บจากการนําเขาสูงกวาเปาหมาย 1,203 ลานบาท หรือรอยละ 4.7 (ต่ํากวาเดือนเดียวกัน ปที่แลวรอยละ 6.0) (2) ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา จัดเก็บไดสูงกวาเปาหมาย 1,038 ลานบาท หรือรอยละ 5.1 (ต่ํากวาเดือน เดียวกันปที่แลวรอยละ 3.8) เนื่องจากภาษีเงินไดหัก ณ ที่จาย ภาคเอกชนจัดเก็บไดสูงกวาเปาหมายเปนสําคัญ อยางไรก็ดี ภาษีเงินไดนิติบุคคลจัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 1,541 ลานบาท หรือรอยละ 6.2 (ต่ํากวาเดือน เดียวกันปที่แลวรอยละ 1.4) เนื่องจากภาษีเงินไดหัก ณ ที่จายจากการจําหนายกําไร (ภ.ง.ด. 54) จัดเก็บไดต่ํากวา เปาหมาย สอดคลองกับการลดลงของผลประกอบการของนิติบุคคลในปกอน สัดสวนผลการจัดเก็บรายไดของกรมสรรพากรแยกตามรายภาษี ในเดือนแรกของปง บประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557) ภาษีธุรกิ จเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น ภาษีเงินไดป โตรเลียม 4.16% 1.08% 0.03% 0.01% ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 19.09%

ภาษีเงินไดนิติบุคคล 20.98%

ภาษีมูลคาเพิ่ม 54.65%

 กรมสรรพสามิต จัดเก็บรายไดรวม 33,934 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 513 ลานบาท หรือรอยละ 1.5 (ต่ํากวาเดือนเดียวกันปที่แลวรอยละ 7.3) โดยภาษีที่จัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการที่สําคัญ ไดแก (1) ภาษีสรรพสามิตรถยนต จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 2,142 ลานบาท หรือรอยละ 24.1 (ต่ํากวาเดือน เดียวกันปที่แลวรอยละ 26.2) สาเหตุสําคัญมาจากความตองการซื้อรถยนตในป 2557 ที่ยังไมฟนตัว (2) ภาษีสุรา จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 995 ลานบาท หรือรอยละ 16.3 (ต่ํากวาเดือนเดียวกันปที่แลว รอยละ 27.9) เนื่องจากฐานการชําระภาษีสุราที่สูงในปกอนหนา (3) ภาษีเบียร จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 709 ลานบาท หรือรอยละ 9.5 (ต่ํากวาเดือนเดียวกันปที่แลว รอยละ 11.0) สวนหนึ่งเปนผลจากการเปลี่ยนวิธีคํานวณภาษีสําหรับผูสงออกเบียร จากเดิมที่ใหผูสงออกเบียร ชําระภาษีไวกอนแลวจึงขอคืนภาษีในภายหลัง เปนการยกเวนภาษีทั้งจํานวน สงผลใหการชําระภาษีมีจํานวนลดลง อยางไรก็ดี ภาษีที่จัดเก็บไดสูงกวาประมาณการที่สําคัญ ไดแก (1) ภาษียาสูบ จัดเก็บไดสูงกวาเปาหมาย 2,562 ลานบาท หรือรอยละ 54.4 (สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลวรอยละ 24.6) สวนหนึ่งเปนผลจากผูประกอบการ

-8-


ชะลอการชําระภาษีบุหรี่ในชวงกอนหนา เพื่อปรับปรุงบรรจุภัณฑบุหรี่ใหพิมพภาพคําเตือนพิษภัยของบุหรี่เพิ่มขึ้น ตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุขซึ่งมีผลตั้งแต 23 กันยายน 2557 และ (2) ภาษีน้ํามัน จัดเก็บไดสูงกวา เปาหมาย 594 ลานบาท หรือรอยละ 11.3 (สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลวรอยละ 12.5) สาเหตุสําคัญมาจากการปรับ อัตราภาษีน้ํามัน สัดสวนผลการจัดเก็บรายไดของกรมสรรพสามิตแยกตามรายภาษี ในเดือนแรกของปง บประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557) ภาษีสุราฯ 15.03%

ภาษีอื่นๆ 6.59%

ภาษีน้ํามันฯ 17.25%

ภาษีรถยนต 19.91%

ภาษียาสูบ 21.43% ภาษีเบียร 19.81%

 กรมศุลกากร จัดเก็บรายไดรวม 8,947 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 353 ลานบาท หรือรอยละ 3.8 (ต่ํากวาเดือนเดียวกันปที่แลวรอยละ 6.2) สาเหตุสําคัญมาจากอากรขาเขาที่จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 382 ลานบาท หรือรอยละ 4.2 สําหรับสินคาที่จัดเก็บอากรขาเขาลดลง ไดแก เครื่องจักรกลและสวนประกอบ เหล็กและเหล็กกลา ของทําดวยเหล็กหรือเหล็กกลา เครื่องมือของใชชนิดมีคม และผลไม สัดสวนผลการจัดเก็บรายไดของกรมศุลกากรแยกตามรายภาษี ในเดือนแรกของปง บประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557) อากรขาออก รายไดอื่น 2.20% 0.25%

อากรขาเขา 97.55%

 รัฐวิสาหกิจ นําสงรายไดรวม 36,963 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 11,669 ลานบาท หรือรอยละ 46.1 (สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลวรอยละ 0.9) โดยรัฐวิสาหกิจที่นําสงรายได/เงินปนผลสูงกวาประมาณการที่สําคัญ ไดแก บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย การทาเรือแหง ประเทศไทย และการประปานครหลวง

-9-


สัดสวนการนําสงรายไดรัฐวิส าหกิจแยกตามสาขา ในเดือนแรกของปง บประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557) เกษตรและ ทรัพยากรธรรมชาติ พาณิชยและบริการ สถาบันการเงิน 0.09% 13.41% 3.15% สาธารณูปการ 1.35% สื่อสาร 7.03%

พลังงาน 72.25%

ขนสง 2.71%

 หนวยงานอื่น จัดเก็บรายไดรวม 8,709 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 633 ลานบาท หรือรอยละ 7.8 (สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลวรอยละ 17.4) สาเหตุสําคัญมาจากการจัดเก็บรายไดสัมปทานปโตรเลียมที่สูงกวา ประมาณการ 322 ลานบาท สําหรับกรมธนารักษจัดเก็บรายไดรวม 162 ลานบาท ต่ํากวาเปาหมายจํานวน 7 ลานบาท หรือรอยละ 4.1 (ต่ํากวาเดือนเดียวกันปที่แลวรอยละ 35.2) เนื่องจากการจัดเก็บรายไดจากเหรียญกษาปณที่ต่ํากวาเปาหมาย  การคืนภาษีของกรมสรรพากร จํานวน 25,400 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 5,099 ลานบาท หรือรอยละ 25.1 ประกอบดวยการคืนภาษีมูลคาเพิ่ม 23,000 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 4,770 ลานบาท หรือรอยละ 26.2 และการคืนภาษีอื่นๆ (ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป) จํานวน 2,400 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 329 ลานบาท หรือรอยละ 15.9  การจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มใหองคการบริหารสวนจังหวัด จํานวน 1,600 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 106 ลานบาท หรือรอยละ 7.1  เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินคาสงออก จํานวน 1,400 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 65 ลานบาท หรือรอยละ 4.9

-10-


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลเบื้องตน เดือนตุลาคม 2557

1/

หนวย : ลานบาท

เปรียบเทียบปนี้กับปที่แลว ที่มาของรายได 1. กรมสรรพากร

ปนี้

ปที่แลว

จํานวน

รอยละ

ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม. งปม.ทั้งปเทากับ 2,325,000 ลานบาท

จํานวน

รอยละ

111,345

112,331

(986)

(0.9)

109,159

2,186

2.0

60,850 23,360 21,259 16 4,631 1,199 30

61,045 23,685 22,094 4,396 1,085 26

(195) (325) (835) 16 235 114 4

(0.3) (1.4) (3.8) 5.3 10.5 15.4

58,143 24,901 20,221 4,785 1,086 23

2,707 (1,541) 1,038 16 (154) 113 7

4.7 (6.2) 5.1 (3.2) 10.4 30.4

33,934

36,625

(2,691)

(7.3)

34,447

(513)

(1.5)

5,852 6,755 6,721 7,272 5,099 1,596 233 183 50 105 68

5,204 9,153 7,552 5,837 7,069 1,164 219 190 74 96 67

648 (2,398) (831) 1,435 (1,970) 432 14 (7) (24) 9 1

12.5 (26.2) (11.0) 24.6 (27.9) 37.1 6.4 (3.7) (32.4) 9 1.5

5,258 8,897 7,430 4,710 6,094 1,399 239 188 72 103 57

594 (2,142) (709) 2,562 (995) 197 (6) (5) (22) 2 11

11.3 (24.1) (9.5) 54.4 (16.3) 14.1 (2.5) (2.7) (30.6) 1.9 19.3

8,947

9,543

(596)

(6.2)

9,300

(353)

(3.8)

8,728 22 197

9,400 2 141

(672) 20 56

(7.1) 1,000.0 39.7

9,110 25 165

(382) (3) 32

(4.2) (12.0) 19.4

154,226

158,499

(4,273)

(2.7)

152,906

1,320

0.9

4. รัฐวิสาหกิจ

36,963

36,633

330

0.9

25,294

11,669

46.1

5. หนวยงานอื่น

8,709

7,418

1,291

17.4

8,076

633

7.8

7,168 250

1,379 (88)

19.2 (35.2)

7,907 169

640 (7)

8.1 (4.1)

202,550

(2,652)

(1.3)

186,276

13,622

7.3

21,481 18,150 3,331 1,341 1,161

3,919 4,850 (931) 259 239

18.2 26.7 (27.9) 19.3 20.6

20,301 18,230 2,071 1,494 1,335

5,099 4,770 329 106 65

25.1 26.2 15.9 7.1 4.9

178,567

(7,069)

(4.0)

163,146

8,352

5.1

1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7

ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น

2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษีรถยนต 2.3 ภาษีเบียร 2.4 ภาษียาสูบ 2.5 ภาษีสุราฯ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีรถจักรยานยนต 2.8 ภาษีแบตเตอรี่ 2.9 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.10 ภาษีอื่น 2/ 2.11 รายไดอื่น

3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่น

รวมรายได 3 กรม

5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ

รวมรายไดจัดเก็บ (Gross) หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ให อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินคาสงออก รวมรายไดสุทธิ (Net) หมายเหตุ

1/

8,547 162

3/

199,898 25,400 23,000 2,400 1,600 1,400

171,498

4/

4/ 4/

ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2557

2/

ภาษีไพ แกวฯ เครื่องหอม เรือ พรม สนามมา สนามกอลฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนทคลับและดิสโกเธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด

3/

ตัวเลขจากระบบ GFMIS ขอมูลคาภาคหลวงปโตรเลียมและกําไรองคกรรวมฯ จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ

4/

ตัวเลขคาดการณ ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย : สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

-11-


สถานการณดานรายจาย • พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ 2558 ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 131 ตอนที่ 69 ก เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2557 กําหนดวงเงินงบประมาณรายจายจํานวน 2,575,000 ลานบาท สูงกวาวงเงินปงบประมาณ 2557 รอยละ 2.0 โดยแบงเปนรายจายประจํา 2,027,859 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปที่เเลวรอยละ 0.5 รายจายลงทุน 449,476 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก ปที่เเลวรอยละ 1.9 รายจายชําระคืนตนเงินกู 55,700 ลานบาท และรายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง 41,965 ลานบาท โครงสรางงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558

โครงสรางงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณรายจาย (สัดสวนตอ GDP) - รายจายประจํา (สัดสวนตองบประมาณ) - รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) - รายจายลงทุน (สัดสวนตองบประมาณ) - รายจายชําระคืนตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) 2. รายรับ (สัดสวนตอ GDP) - รายได - เงินกู 3. ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP)

ปงบประมาณ 2557 เพิ่ม/ลด จํานวน รอยละ 2,525,000 5.2 20.3 2,017,626 6.2 79.9 13,424 100.0 0.5 441,129 -2.1 17.5 52,822 7.5 2.1 2,525,000 5.2 20.3 2,275,000 8.3 250,000 -16.7 12,424,000 4.4

ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2558

- 14 -

หนวย : ลานบาท

ปงบประมาณ 2558 เพิ่ม/ลด จํานวน รอยละ 2,575,000 2.0 19.5 2,027,859 0.5 78.8 41,965 212.6 1.6 449,476 1.9 17.5 55,700 5.4 2.2 2,575,000 2.0 19.5 2,325,000 2.2 250,000 13,201,000 6.3


• คณะรักษาความสงบแหงชาติมีมติเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2557 เห็นชอบการกําหนดเปาหมายการ เบิกจายงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ.2558 ที่อัตรารอยละ 96.0 และกําหนดเปาหมาย การเบิกจายรายจายลงทุนไวไมนอยกวารอยละ 87.0 ของวงเงินงบรายจายลงทุน โดยไดกําหนด เปาหมายการเบิกจายรายไตรมาส ดังนี้ ไตรมาสที่

เปาหมายการเบิกจาย สะสม ณ สิ้นไตรมาส

1 2 3 4

824,000 592,250 540,750 540,750

เปาหมายอัตราการ เบิกจายสะสม ณ สิ้นไตรมาส (%) 32 23 21 21

เบิกจายสะสม

อัตราการเบิกจาย (%)

• เดือนตุลาคม 2557 รัฐบาลมีการเบิกจายเงินงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 367,598 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 109,326 ลานบาท หรือรอยละ 42.3 ปงบประมาณ 1. รายจายปปจจุบัน 1.1 รายจายประจํา 1.2 รายจายลงทุน 2. รายจายปกอน รวม

เดือนตุลาคม 2557 2558

2557

344,801 329,977 14,824 22,797 367,598

244,001 241,304 2,697 14,271 258,272

เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ 100,800 41.3 88,673 36.7 12,127 449.6 8,526 59.7 109,326 42.3

- 15 -

ประกอบดวย 1) การเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2557 จํานวน 344,801 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกัน ปที่แลว 100,800 ลานบาท หรือรอยละ 41.3 แบงเปน รายจายประจํา 329,977 ลานบาท และ รายจายลงทุน 14,824 ลานบาท โดยมีการเบิกจาย รายการที่สําคัญ คือ รายจายอื่นของธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณการเกษตร 60,778 ลานบาท รายจายอื่นเพื่อชดใชเงินคงคลัง 41,965 รายจายของ กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ 46,193 ลานบาท เงินอุดหนุนทั่วไปของกระทรวงศึกษาธิการ 33,993 ลานบาท - การเบิกจายงบกลาง มีจํานวน 28,107 ลานบาท คิดเปนรอยละ 7.5 ของวงเงินงบกลาง (375,708 ลานบาท) โดยมีการเบิกจายรายการที่สําคัญ ไดแก - เงินเบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ 17,853 ลานบาท คิดเปนรอยละ 12.3 - คาใชจายในการรักษาพยาบาลขาราชการ ลูกจาง และพนักงานของรัฐ 6,005 ลานบาท คิดเปนรอยละ 10.0 - เงินเลื่อนเงินเดือนและเงินปรับวุฒิขาราชการ 3,732 ลานบาท คิดเปนรอยละ 8.2 - เงินชวยเหลือขาราชการ ลูกจางและพนักงาน ของรัฐ 444 ลานบาท คิดเปนรอยละ 8.8


2) การเบิกจายรายจายปกอน มีจํานวน 22,797 ลานบาท คิดเปนรอยละ 12.7 ของวงเงินรายจายปกอน (179,737 ลานบาท) สูงกวาปทแี่ ลว 8,526 ลานบาท หรือรอยละ 59.7

การเบิกจายงบประมาณประจําปประมาณ 2558

ลานบาท

2,575,000

2,575,000

2,060,000

2,060,000

1,545,000

1,545,000

1,030,000

1,030,000

515,000

515,000

0

ต.ค. 57 พ.ย. 57 ธ.ค. 57 ม.ค. 58 ก.พ. 58 มี.ค. 58 เม.ย. 58 พ.ค. 58 มิ.ย. 58 ก.ค. 58 ส.ค. 58 ก.ย. 58

0

ต.ค. 57 พ.ย. 57 ธ.ค. 57 ม.ค. 58 ก.พ. 58 มี.ค. 58 เม.ย. 58 พ.ค. 58 มิ.ย. 58 ก.ค. 58 ส.ค. 58 ก.ย. 58 ปปจจุบัน(รายเดือน) 344,801 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 สะสม 2557 244,001 476,569 760,826 947,220 1,101,328 1,243,364 1,423,144 1,565,607 1,720,033 1,909,453 2,034,124 2,246,306 สะสม 2558 344,801

• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินจากโครงการลงทุน ภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ในเดือนตุลาคม 2557 จํานวน 3 ลานบาท

- เดือนตุลาคม 2557 มีการเบิกจายเงินจากโครงการ ลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 3 ลานบาท และตั้งแตเริ่มโครงการ (เดือนตุลาคม 2552) เบิกจายไปแลว 332,288 ลานบาท คิดเปนรอยละ 95.2 ของวงเงินที่ไดรับอนุมัติ 348,940 ลานบาท

• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจ และพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) ในเดือน ตุลาคม 2557 จํานวน 301 ลานบาท

- เดือนตุลาคม 2557 มีการเบิกจายเงินกูเพื่อฟนฟู เศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) 301 ลานบาท และตั้งแตเริ่มโครงการ (เดือนเมษายน 2554) เบิกจายไปแลว 29,612 ลานบาท คิดเปนรอยละ 75.4 ของวงเงิน ที่ไดรับอนุมัติ 39,285 ลานบาท

• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินกูภายใต พรก.บริหาร - เดือนตุลาคม 2557 มีการเบิกจายเงินกูภายใต พรก.บริหารจัดการน้าํ ฯ 103 ลานบาท และตั้งแต จัดการน้ําฯ ในเดือนตุลาคม 2557 จํานวน เริม่ โครงการ (เดือนกุมภาพันธ 2555) เบิกจายไปแลว 103 ลานบาท 22,397 ลานบาท คิดเปนรอยละ 6.4 ของวงเงิน ที่ไดรับอนุมัติจํานวน 350,000 ลานบาท

- 16 -


หนวย: ลานบาท

ปงบประมาณ 2558

โครงการ

วงเงินที่ไดรับ อนุมัติ

2553

2554

2555

2556

เบิกจาย

1.โครงการภายใตปฏิบัติการไทยเขมแข็ง1/ 2. เงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสราง 2/ พื้นฐาน (DPL)

348,940

3. เงินกูภายใต พรก. บริหารจัดการน้ําฯ

350,000

39,285

234,369

ตั้งแตตนปงบประมาณ จนถึงสิ้นเดือน ต.ค.57

ต.ค. 57

2557

รอยละของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ

เบิกจาย

ตั้งแตเริ่มโครงการ จนถึงสิ้นเดือน ต.ค.57

รอยละของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ

เบิกจาย

รอยละของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ

61,391

24,420

7,509

4,597

3.0

0.0

3.0

0.0

332,289

95.2

286

7,382

14,998

6,646

301.0

0.8

301.0

0.8

29,612

75.4

1,762

13,740

6,793

103.0

0.0

103.0

0.0

22,398

6.4

1/

หมายเหตุ เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553 คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหยกเลิกวงเงินเหลือจายคงเหลือ จํานวน 1,020 ลานบาท ทําใหเหลือวงเงินที่ไดรับอนุมัติ 348,940 ลานบาท (วงเงินที่ไดรับอนุมัติเดิม 349,960 ลานบาท) 2/

วงเงินกู DPL 1,300 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือเทียบเทา 39,285 ลานบาท (อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 1 เหรียญสหรัฐฯ เทากับ 30 บาท) จากธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) จํานวน 300 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนจํานวนเงิน 9,209 ลานบาท จากธนาคารโลก (World Bank) จํานวน 1,000 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือเทียบเทา 30,076 ลานบาท (อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 1 เหรียญสหรัฐฯ เทากับ 30 บาท)

• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินเขาสูระบบเศรษฐกิจ - ในปงบประมาณ 2558 มีการเบิกจาย เงินเขาสูระบบ เศรษฐกิจจํานวนทั้งสิ้น 368,005 ลานบาท แบงเปน ทั้งสิ้น 368,005 ลานบาท งบประมาณรายจายประจํา ปงบประมาณ 2558 จํานวน 344,801 ลานบาท รายจายปกอน 22,797 ลานบาท โครงการเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนา โครงสรางพื้นฐาน (DPL) จํานวน 301 ลานบาท โครงการภายใต พรก.บริหารจัดการน้ําฯ จํานวน 103 ลานบาท และโครงการลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 3 ลานบาท

- 17 -


- 18 -


การเบิกจายเงินกูตางประเทศ ผลการเบิกจาย - เดือนตุลาคม 2557 มีการเบิกจายเงินกูตางประเทศ 342.1 ลานบาท ลดลงจากเดือนเดียวกัน ปที่แลว 283 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 45.3 สรุปการเบิกจายเงินกูตางประเทศ เดือนตุลาคม 2557

รายการ

1. Project Loans 2. Structural Adjustment Loans (SAL) 3. Development Policy Loan (DPL)* รวม

หนวย : ลานบาท

เดือนตุลาคม 2557

2556

31.4 9.7 301.0

166.1 459.0

เปลี่ยนแปลง จํานวน รอยละ -134.7 -81.1 9.7 158.0 -34.4

342.1

625.1

-283.0

-45.3

ที่มา : สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ, กรมบัญชีกลาง หมายเหตุ : * วงเงินกู DPL 1,300 ลานเหรียญสหรัฐ หรือ 39,284.50 ลานบาท (อัตราแลกเปลีย่ น 1 USD = 30 บาท) วงเงินที่ ครม. อนุมัติแลว 37,928.54 ลานบาท ประกอบดวยเงินกูภายใต TKK 17,684.99 ลานบาท และนอก TKK 20,243.55 ลานบาท

- 19 -


การเบิกจายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค.1/ • เดือนตุลาคม 2557 กองทุนนอกงบประมาณเบิกจาย 34,966 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลว 1,095 ลานบาท หรือรอยละ 3.2 เปนผลจาก การเพิ่มขึ้นของรายจายกองทุนน้ํามัน เชื้อเพลิง

เดือนตุลาคม 2557 มีการเบิกจายรวม 34,966 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลว 1,095 ลานบาท หรือรอยละ 3.2 ประกอบดวยรายจาย 33,650 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกัน ปที่แลว 1,447 ลานบาท และการใหกูยืมสุทธิ 1,316 ลานบาท ต่ํากวาเดือนเดียวกันปที่แลว 352 ลานบาท

การเบิกจายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. เดือนตุลาคม 2557 หนวย : ลานบาท เดือนตุลาคม รายการ

2557*

2556

1. รายจาย

33,650

2. เงินใหกูยืมสุทธิ รวม

เปรียบเทียบ จํานวน

รอยละ

32,203

1,447

4.5

1,316

1,668

-352

-21.1

34,966

33,871

1,095

3.2

หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ โดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

1/

การเบิกจายของกองทุนนอกงบประมาณ 14 กองทุน (จากกองทุนทั้งหมด 115 กองทุน) ประกอบดวย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณและการทําของ กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนคาธรรมเนียมผานทาง กองทุนสงเสริมวิสาหกิจฯ กองทุนออยและน้ําตาลทราย กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ กองทุนหมูบานและชุมชนเมือง กองทุนสงเสริมการอนุรักษพลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจยั

- 20 -


ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด1 ปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557) เดือนตุลาคม 2557 รัฐบาลมีรายไดนําสงคลัง 174,146 • เดือนตุลาคม 2557 ดุลการคลัง ของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสด ลานบาท และมีการเบิกจายงบประมาณจากงบประมาณ ขาดดุล 185,664 ลานบาท คิดเปน ปปจจุบันและปกอนรวม 367,598 ลานบาท สงผลใหดุล เงินงบประมาณขาดดุลจํานวน 193,452 ลานบาท รอยละ 1.5 ของ GDP 2 เมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่เกินดุล 7,788 ลานบาท ทําใหดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 185,664 ลานบาท ทั้งนี้ รัฐบาลไดชดเชยการขาดดุลโดยการออกพันธบัตร 15,850 ลานบาท สงผลใหเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2557 มีจํานวน 325,932 ลานบาท ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด ตุลาคม

รายได รายจาย - ปปจจุบัน - ปกอน ดุลเงินงบประมาณ ดุลเงินนอกงบประมาณ ดุลเงินสดกอนกู เงินกูเพื่อชดเชยการขาดดุล ดุลเงินสดหลังกู เงินคงคลังปลายงวด

2557 174,146 367,598 344,801 22,797 (193,452) 7,788 (185,664) 15,850 (169,814) 325,932

ที่มา : กรมบัญชีกลาง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

1

2556 179,524 258,272 244,001 14,271 (78,748) (21,033) (99,781) (99,781) 505,271

หนวย: ลานบาท

เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ (5,378) (3.0) 109,326 42.3 100,800 41.3 8,526 59.7 (114,704) 145.7 28,821 (137.0) (85,883) 86.1 15,850 (70,033) 70.2 (179,339) (35.5)

ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด เปนดุลการคลังที่แสดงใหเห็นผลกระทบตอเงินคงคลังและการกูเงินเพื่อชดเชยการขาดดุล GDP ปปฏิทิน 2556 เทากับ 11,898,710 ลานบาท และคาดการณ GDP ปปฏิทิน 2557 เทากับ 12,268,000 ลานบาท

2

-21-


ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) 3 ในเดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557) • ปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557) รัฐบาลขาดดุล 106,019 ลานบาท โดยขาดดุลงบประมาณ 150,731 ลานบาท ในขณะที่ดุลบัญชีเงินนอก งบประมาณเกินดุล 45,160 ลานบาท นอกจากนี้ มีรายจายเงินกูเพื่อฟนฟู เศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) จํานวน 301 ลานบาท รายจาย เพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา จํานวน 103 ลานบาท และเงินกู ตางประเทศ 41 ลานบาท เปนสําคัญ

ดานรายได รัฐบาลมีรายไดรวมทั้งสิ้น 178,584 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 5,415 ลานบาท ประกอบดวย รายไดในงบประมาณ (กอนจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อปท.) 178,454 ลานบาท และเงินชวยเหลือตางประเทศ 130 ลานบาท ดานรายจาย รัฐบาลมีรายจายทั้งสิ้น 329,315 ลานบาท รายจายสูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 64,675 ลานบาท ประกอบดวยรายจาย (ไมรวมรายจายชําระตนเงินกู การถือครองสินทรัพยทางการเงิน รายจายเงินกูเพื่อฟนฟู เศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) รายจายเพื่อวาง ระบบการบริหารจัดการน้ํา เงินกูตางประเทศ และรายจายตาม แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง) จํานวน 329,185 ลานบาท และเงินชวยเหลือตางประเทศ 130 ลานบาท ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิ้น 150,731 ลานบาท ขาดดุลมากกวาชวงเดียวกันปทแี่ ลว 70,090 ลานบาท บัญชีเงินนอกงบประมาณ มีรายไดรวมทั้งสิ้น 80,126 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 44.9 ในขณะที่ มีรายจายจํานวน 33,650 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกัน ปที่แลวรอยละ 4.5 และมีเงินใหกูหักชําระคืน 1,316 ลานบาท สงผลใหดุลบัญชีนอกงบประมาณเกินดุล 45,160 ลานบาท ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุล มีสาเหตุมาจากดุลเงิน งบประมาณที่ขาดดุลเปนสําคัญ โดยเมื่อรวมกับดุลเงิน นอกงบประมาณที่เกินดุล รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจ และพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) รายจายเพื่อวางระบบ การบริหารจัดการน้ํา เงินกูตางประเทศ และรายจายตาม แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง จํานวน 301 103 41 และ 3 ลานบาท ตามลําดับ ทําใหดุลการคลังรัฐบาลขาดดุลจํานวน 106,019 ลานบาท

3

ดุลการคลังตามระบบ สศค. เปนดุลการคลังที่สะทอนเม็ดเงินที่แทจริงที่สงผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจ

- 19-


ดุลการคลังเบื้องตนของรัฐบาล (Primary Balance) ซึ่งเปนดุลการคลังที่สะทอนถึงผลการดําเนินงานของรัฐบาล และทิศทางของนโยบายการคลังรัฐบาลอยางแทจริง (ไมรวมรายได และรายจายจากดอกเบี้ยและการชําระ คืนตนเงินกู) ขาดดุลทั้งสิน้ 104,331 ลานบาท ในขณะที่ ชวงเดียวกันปที่แลวขาดดุล 58,807 ลานบาท ดุลการคลังเบื้องตนตามระบบ สศค. หนวย : ลานบาท

เดือนตุลาคม

ปงบประมาณ

2558

2557

เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ

183,999 264,640 (80,641) 101 837 459 166 21,425 55,296 32,203 1,668 (60,779) (58,807)

(5,415) 64,675 (70,090) (98) (734) (158) (125) 23,735 24,830 1,447 (352) (45,240) (45,524)

รัฐบาล 1. รายได 2. รายจาย 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. แผนปฎิบัติการไทยเขมแข็ง (TKK) 5. รายจายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา 6. รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) 7. เงินกูตางประเทศ 8. ดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณ (8.1-8.2-8.3) 8.1 รายได 8.2 รายจาย 8.3 เงินใหกูหักชําระคืน 9. ดุลการคลังของรัฐบาล (3+8-4-5-6-7) 10. ดุลการคลังเบื้องตนของรัฐบาล

จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

- 20 -

178,584 329,315 (150,731) 3 103 301 41 45,160 80,126 33,650 1,316 (106,019) (104,331)

(2.9) 24.4 86.9 (97.0) (87.6) (34.4) (75.3) 110.8 44.9 4.5 (21.1) 74.4 77.4


ดุลการคลังของภาคสาธารณะตามระบบงบประมาณ ระบบกระแสเงินสด และตามระบบ สศค. ปงบประมาณ 2557 - 2558 ปงบประมาณ รัฐบาล 1. รายได - รายไดสุทธิ - จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. - จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ - เงินชวยเหลือตางประเทศ - อื่นๆ 2. รายจาย - รายจายปปจจุบัน (อัตราการเบิกจาย : %) - รายจายปกอน - จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. - จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ - เงินชวยเหลือตางประเทศ - หัก สวนเกินพันธบัตรรัฐบาล - อื่นๆ 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. ดุลนอกงบประมาณ 5. รายจายจากเงินกูตางประเทศ 6. รายจายจากไทยเข็มแข็ง (TKK) 7.รายจายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา 8.รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) 9. บัญชีนอกงบประมาณ(9.1-9.2-9.3) 9.1 รายได 9.2 รายจาย 9.3 เงินใหกูหักชําระคืน 10. การหับนับซ้ําของรัฐบาล 10.1 รายได 10.2 รายจาย 11. ดุลการคลังของรัฐบาล (3+4-5-6-7-8+9-10)

จํานวน

% of GDP

เอกสารงบประมาณ

จํานวน

2557

% of GDP

จํานวน

2,275,000.0

18.3

2,070,018.0

16.9

2,525,000.0 2,525,000.0

20.3 20.3

2,459,990.0 2,246,306.0 89.0 213,684.0

20.1 18.3

(250,000.0)

(250,000.0)

(2.0)

(2.0)

% of GDP

ระบบ สศค.

ระบบกระแสเงินสด

1.7

(389,972.0) 8,161.7

(3.2) 0.1

(381,810.3)

(3.1)

2,306,459.8 2,075,024.4 9,263.4 96,387.0 5,368.0 120,417.0 2,578,257.6 2,184,524.0 86.5 213,684.0 9,263.4 96,387.0 5,368.0 5,857.8 74,889.0 (271,797.8) 2,414.0 4,597.0 6,793.0 6,646.0 39,646.0 459,972.0 406,420.0 13,906.0 183,714.0 183,714.0 (252,601.8)

จํานวน

% of GDP

เอกสารงบประมาณ

2558e จํานวน

หนวย: ลานบาท % of GDP

ระบบกระแสเงินสด

18.8 16.9 0.1 0.8 0.0

2,325,000

18.7

2,325,000

19.0

21.0 17.8

2,575,000 2,575,000

20.7 20.7

2,718,157 2,476,161 96.2 241,996

22.2 20.2

1.7 0.1 0.8 0.0 0.0 (2.2) 0.0 0.0 0.1 0.1 0.3 3.7 3.3 0.1 1.5 1.5 (2.1)

(250,000)

(250,000)

(2.0)

(1.9)

2.0

(393,157) 40,981

(3.2) 0.3

(352,176)

(2.7)

องคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. รายรับ (12.1+12.2) 554,348.9 4.5 12.1 รายได 199,941.0 1.6 12.2 เงินชวยเหลือจากรัฐบาล 354,407.9 2.9 13 รายจาย 533,120.2 4.3 14. ดุลการคลัง (12-13) 21,228.7 0.2 15. การหักนับซ้ําของภาครัฐบาล 15.1 รายได 354,407.9 2.9 15.2 รายจาย 354,407.9 2.9 16. ดุลการคลังของภาครัฐบาล (11+14-15) (231,373.1) (1.9) GDP (ลานบาท) 12,424,000 12,268,000 12,268,000 13,201,000 12,877,300 หมายเหตุ 1. ดุลการคลังตามระบบงบกระแสเงินสดเปนการแสดงรายได (รวมคา Premium และรายไดจากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ แตไมรวมรายรับจากการกูเงินเพื่อชดเชยการขาดดุลและรายไดจากภาษีมูลคาเพิ่ม ที่โอนใหแกอปท.) และรายจายทั้งหมดจากบัญชีเงินคงคลัง 2. ระบบ สศค. มีรายการปรับปรุงรายไดเพิ่มเติมจากระบบกระแสเงินสด คือ อบจ. ,พรบ.แผน,ภาคหลวงแร,ภาคหลวงปโตรเลียม,ดอกเบี้ยพันธบัตร FIDF,การชําระตนเงินกูพันธบัตร FIDF,เงินชวยเหลือตางประเทศ หัก การขายสินทรัพย,เงินเหลือจาย,เงินกูรับคืน รายไดเงินกูรับคืน และรวมเงินภาษีที่จัดสรรให อปท. และเงินชวยเหลือจากตางประเทศ ตั้งแตปงบประมาณ 2546 เปนตนมา 3. ระบบ สศค. มีการปรับปรุงทางดานรายจาย คือ อบจ. ,พรบ.แผน,ภาคหลวงแร,ภาคหลวงปโตรเลียม,ดอกเบี้ยพันธบัตร FIDF,เงินชวยเหลือตางประเทศ หัก สวนเกินพันธบัตร,การขายสินทรัพย,เงินเหลือจาย,เงินใหกูรับคืน และเงินภาษีที่จัดสรรใหอปท. . 4. บัญชีนอกงบประมาณประกอบดวย เงินทนหมนเวียน และกองทนนอกงบประมาณ ทั้งนี้ ไดบันทึกขอมูลตามเกณฑคงคาง สําหรับกองทุนน้ํามันไดเริ่มบันทึกรายจายชดเชยน้ํามันตามเกณฑคงคางตั้งแตเดือนมกราคม 2547 เปนตนมา 5. รายไดตามระบบกระแสเงินสดบันทึกอยูในระบบ cash basis สวนรายไดตามระบบ สศค. บันทึกอยูในระบบ acrual basis 6. ขอมูล GDP ป 2557 อางอิงจากขอมูลประมาณการจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2557 7. รายจายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา อยูระหวางการเสนอ ครม. จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่มา : กรมบัญชีกลาง สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ ธนาคารแหงประเทศไทย และ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ วันทีบันทึกขอมูล : 28 พฤศจิกายน 2557

- 19-

-21-

จํานวน

% of GDP

ระบบ สศค. 2,565,568 2,325,729 10,319 108,270 1,449 119,800 2,880,530 2,476,161 96.2 241,996 10,319 108,270 1,449 6,000 48,335 (314,962)

22.4 19.2

3,000 984 4,008 42,300 487,600 430,800 14,500 137,761 137,761 (280,653)

0.0 0.0 0.0 0.3 3.8 3.3 0.1 1.1 1.1 (2.2)

616,626 358,956 257,670 524,132 92,494

4.8 2.8 2.0 4.1 0.7 2.0 2.0 (1.5)

257,670 257,670 (188,160) 12,877,300

19.9 18.1 0.1 0.8 0.0

1.9 0.1 0.8 0.0 0.0 (2.4)


ฐานะการคลังองคกรปกครองสวนทองถิ่น ฐานะการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ของปงบประมาณ 2557 (เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2557) 1. ดานรายได อปท. จํานวน 7,853 แหง มีรายไดรวม 91,986 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก ชวงเดียวกันปที่แลว 1,674 ลานบาท หรือรอยละ 1.9 ซึ่งเปนการเพิ่มขึ้นของรายไดจากเงินอุดหนุน จํานวน 2,814 ลานบาท หรือรอยละ 22.3 และรายไดที่ไมใชภาษีอากร 2,231 ลานบาท หรือรอยละ 49.9 ตามลําดับ ในขณะที่รายไดจัดเก็บเองเพิ่มขึ้น 534 ลานบาท หรือรอยละ 4.2 เนื่องจากในไตรมาสที่ 4 ปงบประมาณ 2557 ไดรับการจัดสรรเงินอุดหนุน (กทม,กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น,พัทยา) และ เงินอุดหนุนเหลื่อมป ซึ่งเปนการเพิ่มขึ้นจากปงบประมาณ 2556 (ขอมูลจากกรมบัญชีกลาง) ตารางที่ 1 รายไดของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ของปงบประมาณ 2557 ประเภท

ไตรมาสที่ 4 ปงบประมาณ 2557 ปงบประมาณ 2556

หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ

13,205 12,671 534 4.2 1. รายไดจัดเก็บเอง 1/ 14.4 14 (รอยละของรายไดรวม) 6,505 8,201 (1,696) (20.7) 1.1 รายไดจากภาษีอากร 6,700 4,469 2,231 49.9 1.2 รายไดที่ไมใชภาษีอากร 2/ 63,344 65,018 (1,674) (2.6) 2. รายไดจากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบงให 68.9 72 (รอยละของรายไดรวม) 15,437 12,623 2,814 22.3 3. รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล 3/ 16.8 14 (รอยละของรายไดรวม) 91,986 90,312 1,674 1.9 รวม 100 100 (รอยละของรายไดรวม) หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2557 ที่มา : 1/ จากองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) 2/ รายไดจากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบงให จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กรมที่ดิน กรมการขนสงทางบก กรมการปกครอง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง รวบรวมโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

รายไดของ อปท. จําแนกตามแหลงที่มาได ดังนี้ 1.1 รายไดที่จัดเก็บเอง จํานวน 13,205 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันปที่แลว 534 ลานบาท หรือรอยละ 14.4 ประกอบดวย รายไดจากภาษีอากร 6,505 ลานบาท และรายไดที่ไมใชภาษีอากร 6,700 ลานบาท 1.2 รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให จํานวน 63,344 ลานบาท ลดลงจากชวงเดียวกันปที่แลว 1,674 ลานบาท หรือรอยละ 2.6 1.3 รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล จํานวน 15,437 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันปที่แลว 2,814 ลานบาท หรือรอยละ 22.3

- 25 -


2. ดานรายจาย อปท. 1 จํานวน 7,853 แหง มีรายจายทั้งสิ้น 141,951 ลานบาท ลดลงจาก ชวงเดียวกันปที่แลว 4,827 ลานบาท หรือรอยละ 3.3 เนื่องจาก อปท. มีรายจายพิเศษลดลง 5,196 ลานบาท หรือรอยละ 13.8 ไดแก เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ เปนตน (รายละเอียดตามตารางที่ 2) ตารางที่ 2 รายจายของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ของปงบประมาณ 2557 ประเภท

ไตรมาสที่ 4 ปงบประมาณ 2557 ปงบประมาณ 2556 8,324 6,045 64,455 67,274 29,368 29,833 32,333 37,529 7,470 6,098 141,951 146,778

1. รายจายงบกลาง 2. รายจายประจํา 3. รายจายเพื่อการลงทุน 4. รายจายพิเศษ 5. รายจายจากเงินกันไวเบิกเหลื่อมป รวม หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2557 รวบรวมโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ 2,279 37.7 (2,819) (4.2) (465) (1.6) (5,196) (13.8) 1,372 22.5 (4,827) (3.3)

3. ดุลการคลัง 2 อปท. ขาดดุล 49,965 ลานบาท ขาดดุลลดลงจากชวงเดียวกันปที่แลว 6,501 ลานบาท (รายละเอียดตามตารางที่ 3 และแผนภูมิที่ 1) ตารางที่ 3 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ของปงบประมาณ 2557 ประเภท

ไตรมาสที่ 4 ปงบประมาณ 2557 ปงบประมาณ 2556

หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ

91,986 90,312 1,674 1.9 1. รายได 13,205 12,671 534 4.2 1.1 รายไดที่จัดเก็บเอง 1/ 1.2 รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บ 63,344 65,018 (1,674) (2.6) และแบงให 2/ 15,437 12,623 (2,814) (22.3) 1.3 รายไดจากเงินอุดหนุน 3/ 141,951 146,778 (4,827) (3.3) 2. รายจาย 4/ (49,965) (56,466) (6,501) (11.5) 3. ดุลการคลัง หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2557 ที่มา : 1/ จากองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) 2/ รายไดจากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบงให จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กรมที่ดิน กรมการขนสงทางบก กรมการปกครอง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ พิจารณาจากขอมูลการเปลีย่ นแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) ของ ธปท. และเงินฝากคลัง อปท.ในกระทรวงการคลังจากกรมบัญชีกลาง รวบรวมโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

1

โดยพิจารณาจากผลตางของรายไดกับดุลการคลังของ อปท. (การเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) จาก ธนาคารแหงประเทศไทยและเงินฝากคลัง อปท.ในกระทรวงการคลังจากกรมบัญชีกลาง 2 ดุลการคลัง อปท. พิจารณาจากขอมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) จากธนาคารแหงประเทศไทย และเงินฝากคลัง อปท.ในกระทรวงการคลังจากกรมบัญชีกลาง

- 26 -


แผนภูมิที่ 1 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ของปงบประมาณ 2557 ลานบาท

ฐานะดุลการคลังของ อปท. ทั้งปงบประมาณ 2557 1. ดานรายได อปท. มีรายไดจํานวน 553,777 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันปที่แลว 16,906 ลานบาท หรือรอยละ 3.1 โดยเปนการเพิ่มขึ้นจากรายไดเงินอุดหนุน 14,312 ลานบาท หรือรอยละ 6.2 รองลงมา คือ รายได ที่ อปท. จัดเก็บเอง 4,701 ลานบาท หรือรอยละ 10.5 2. ดานรายจาย มีรายจายรวมทั้งสิ้น 535,740 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันปที่แลว 34,310 ลานบาท หรือรอยละ 6.8 โดยเปนการเพิ่มขึ้นจากรายจายในสวนของงบกลาง 15,135 ลานบาท หรือรอยละ 64.9 เชน รายจายตามขอผูกพัน และเงินสํารองจาย เปนตน 3. ดุลการคลัง อปท. เกินดุ ล 18,037 ลานบาท เกินดุล ลดลงจากชวงเดียวกันปที่แลว 17,404 ลานบาท

- 27 -


ตารางที่ 4 ดุลการคลังของ อปท. ทั้งปงบประมาณ 2557 ประเภท

รวมทั้งป ปงบประมาณ ปงบประมาณ 2557 2556

หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบ จํานวน

รอยละ

1. รายได 553,777 536,871 16,906 3.1 1.1 รายไดที่จัดเก็บเอง 1/ 49,594 44,893 4,701 10.5 1.2 รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให 2/ 260,741 262,848 (2,107) (0.8) 3/ 1.3 รายไดจากเงินอุดหนุน 243,442 229,130 14,312 6.2 2. รายจาย 535,740 501,430 34,310 6.8 3. ดุลการคลัง 4/ 18,037 35,441 (17,404) (49.1) หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2557 ที่มา : 1/ จากองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) 2/ รายไดจากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบงให จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กรมที่ดิน กรมการขนสงทางบก กรมการปกครองและสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ พิจารณาจากขอมูลการเปลีย่ นแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) ของ ธปท.และเงิน ฝากคลัง อปท.ในกระทรวงการคลังจากกรมบัญชีกลาง รวบรวมโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

แผนภูมิที่ 2 ดุลการคลังของ อปท. ทั้งปงบประมาณ 2557 ลานบาท

- 28 -


สถานการณดานหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนกันยายน 2557 หนวย : ลานบาท

• หนี้สาธารณะคงคางจํานวน 5,690,814.2 ลานบาท คิดเปน รอยละ 46.5 ของ GDP เพิ่มขึ้น จากเดือนที่แลว 40,850.1 ลานบาท ประกอบดวย หนี้ในประเทศ คิดเปนรอยละ 93.7 สวนที่เหลือ รอยละ 6.3 เปนหนี้ตางประเทศ และเมื่อแบงตามอายุเครื่องมือ การกูเงิน หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 97.0 และหนี้ระยะสั้น รอยละ 3.0 กรณีแบงตามอายุ คงเหลือ หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 85.6 สวนที่เหลือรอยละ 14.4 เปนหนีร้ ะยะสั้น

ณ 31 ส.ค. 57 ณ 30 ก.ย. 57 1. รวมหนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง 3,924,375.0 3,965,455.1 หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง-ตางประเทศ 75,677.2 75,184.7 หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง-ในประเทศ 3,848,697.8 3,890,270.4 2. รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจ 1,710,847.6 1,713,902.1 หนี้ที่รัฐบาลค้ําประกัน-ตางประเทศ 112,883.3 110,406.6 หนี้ที่รัฐบาลค้ําประกัน-ในประเทศ 940,697.9 941,998.4 หนี้ที่รัฐบาลไมค้ําประกัน-ตางประเทศ** 175,235.9 172,586.5 หนี้ที่รัฐบาลไมค้ําประกัน-ในประเทศ** 481,402.1 488,910.6 3. หนี้ของหนวยงานภาครัฐอื่น * 15,369.9 11,457.0 หนี้ที่รัฐบาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รัฐบาลไมค้ําประกัน-ในประเทศ 15,369.9 11,457.0 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟนฟูฯ FIDF 5. ยอดหนี้สาธารณะคงคางรวม 5,649,964.1 5,690,814.2 (1+2+3+4) • หนี้คงคางทีเ่ พิ่มขึ้น GDP*** 12,161,935.0 12,236,249.0 มีสาเหตุมาจากหนี้ของรัฐบาลและ หนี้สาธารณะคงคางรวมตอ GDP (%) 46.5 46.5 รัฐวิสาหกิจ เพิ่มขึ้น 41,080.1 หมายเหตุ * หนวยงานภาครัฐอื่น ไดแก สถาบันบริหารกองทุนพลังงาน และ 3,683 ลานบาทตามลําดับ ** ไมรวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน *** สํานักงานบริหารหนีส้ าธารณะไดปรับวิธีการคํานวณ GDP ในแตละเดือน ในขณะที่หนี้หนวยงานอื่นของรัฐ โดย GDP ของเดือนสิงหาคม 2557 คํานวณดังนี้ (GDP ไตรมาส 3 ป 56/3)*2 + (GDP ของ ลดลง 3,912.9 ลานบาท ไตรมาส 4 ป 56) + (GDP ไตรมาส 1 – 2 ป 57) + [(ประมาณการ GDP ป 57 – GDP ไตรมาส 1 - 2 ป 57)/6] เทากับ 12,161.94 พันลานบาท และของเดือนกันยายน 2557 คํานวณดังนี้ (GDP ไตรมาส 4 ป 56) + (GDP ไตรมาส 1 – 2 ป 57) + [(ประมาณการ GDP ป 57 – GDP ไตรมาส 1 - 2 ป 57)/6]*3 เทากับ 12,236.25 พันลานบาท

ที่มา สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ รวบรวมโดย สวนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

- 29 -


• หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง เพิ่มขึ้น 41,080.1 ลานบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แลว โดยมี สาเหตุหลักจากการกูเพื่อชดเชย การขาดดุลงบประมาณและ บริหารหนี้เพิ่มขึ้น จํานวน 56,997.9 ลานบาท และ การชําระคืนหนี้ภายใต พ.ร.ก. ชวยเหลือกองทุนเพื่อการฟนฟู รวม 9,586.6 ลานบาท • หนี้ของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้น 3,683 ลานบาท เมื่อเทียบกับ เดือนที่แลว มีสาเหตุหลักจาก ธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณการเกษตร การไฟฟา สวนภูมิภาค และการไฟฟา นครหลวง ออกพันธบัตร 10,000 9,200 และ 3,000 ลานบาท ตามลําดับ ในขณะที่ มีการไถถอนพันธบัตรของ การรถไฟแหงประเทศไทย การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศ ไทย การไฟฟาสวนภูมิภาค การไฟฟาฝายผลิต และ ธนาคารอาคารสงเคราะห รวม 10,125 ลานบาท

สัดสวนหนี้ในประเทศและหนี้ตางประเทศ หนี้ในประเทศ หนี้ตางประเทศ จํานวน (ลานบาท) 5,332,636.5 358,177.7 รอยละ (%) 93.7 6.3 สัดสวนหนี้ระยะยาวและหนี้ระยะสั้น (แบงตามอายุของเครื่องมือการกูเงิน) หนี้ระยะยาว 5,517,381.4 97.0

จํานวน (ลานบาท) รอยละ (%)

หนี้ระยะสั้น 173,432.8 3.0

สัดสวนหนี้ระยะยาวและหนี้ระยะสั้น (แบงตามอายุคงเหลือ) หนี้ระยะยาว 4,874,050.5 85.6

จํานวน (ลานบาท) รอยละ (%)

• หนี้หนวยงานอื่นของรัฐ ลดลง 3,9125.9 ลานบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แลว เนื่องจากกองทุนออยและ น้ําตาลทรายเบิกจายจาก แหลงเงินกูตางๆนอยกวา ชําระคืนตนเงินกู

- 30 -

หนี้ระยะสั้น 816,763.7 14.4


กรอบความยั่งยืนทางการคลัง กระทรวงการคลังไดกําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง เพื่อเปนแนวทางในการดําเนิน นโยบายทางการคลังที่สอดคลองกับสถานะเศรษฐกิจการเงินและการคลังของประเทศ โดยมีเปาหมาย เพื่อรักษาเสถียรภาพดานการคลังในระยะปานกลางและระยะยาว ซึ่งกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ประกอบดวยตัวชี้วัดและเปาหมาย (60-15-0-25) ดังนี้ • สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ไมเกินรอยละ 60 • ภาระหนี้ตองบประมาณไมเกินรอยละ 15 • การจัดทํางบประมาณสมดุล • สัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณรายจายไมต่ํากวารอยละ 25 สํานักงานเศรษฐกิจการคลังไดจัดทําการวิเคราะหความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง เพื่อใชเปนแนวทางในการประเมินและรักษาความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีผลการวิเคราะหระหวาง ปงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งสรุปไดดังนี้ • สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ในปงบประมาณ 2558 อยูที่รอยละ 47.1 และลดลง เปนรอยละ 42.6 ในปงบประมาณ 2562 • ระดับภาระหนี้ตองบประมาณอยูในระดับรอยละ 7.1 ในปงบประมาณ 2558 และ เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 8.9 ในปงบประมาณ 2562 • รัฐบาลมีนโยบายลดการขาดดุลงบประมาณ โดยกําหนดใหปงบประมาณ 2558 ถึง 2559 ขาดดุลงบประมาณ 250,000 และ 100,000 ลานบาท ตามลําดับ และจัดทํา งบประมาณสมดุลในปงบประมาณ 2560 เพื่อรักษาวินัยการคลังและขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ใหขยายตัวอยางมีเสถียรภาพ • สัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณรายจายคาดวาจะอยูในระดับเฉลี่ย รอยละ 14.3 ตองบประมาณรายจายตลอดชวงปงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งต่ํากวาระดับที่กําหนดไว อยางไรก็ดี รัฐบาลไดมีการดําเนินโครงการลงทุนผานเงินนอกงบประมาณ (พ.ร.ก. ให อํานาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อบริหารจัดการน้ําฯ และการกูเงินเพื่อลงทุนโครงสราง พื้นฐานฯ ในป 2558 - 2562) ซึ่งเมื่อรวมการลงทุนจากเงินนอกงบประมาณดังกลาว จะทําสัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณเพิ่มขึ้นอยูในระดับเฉลี่ย รอยละ 22.5 ตองบประมาณรายจาย

- 28 -


ผลการวิเคราะหการดําเนินงานตามกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ของปงบประมาณ 2557 หนวย: ลานบาท 1)

1. หนี้สาธารณะคงคาง /GDP (FY) (1.2/1.1) 1.1 nominal GDP (FY)1) 1.2 หนี้สาธารณะคงคาง 2. ภาระหนี/้ งบประมาณ2) ( 2.1/3.2) 2.1 ภาระหนี้ (2.1.1 + 2.1.2) 2.1.1 ชําระตนเงินกู 2.1.2 ดอกเบี้ยและคาธรรมเนียม 3. ดุลงบประมาณ (3.1 - 3.2) 3.1 รายไดรัฐบาลสุทธิ3) 3.2 งบประมาณรายจาย4) 4. รายจายลงทุน/งบประมาณ (4.1/3.2) 4.1 รายจายลงทุน

2558 47.1 13,010,100 6,134,205 7.1 183,271 55,700 127,571 -250000 2,325,000 2,575,000 17.5 449,476

2559 46.3 13,920,807 6,450,752 9.3 239,885 76,854 163,031 -100000 2,487,800 2,587,800 13.9 358,771

2560 45.3 14,895,263 6,745,318 9.4 249,327 78,965 170,362 2,661,900 2,661,900 13.3 354,287

2561 44.1 15,937,932 7,034,173 9.2 261,742 85,154 176,588 2,848,200 2,848,200 13.0 370,266

2562 42.6 17,053,587 7,260,294 8.9 271,941 92,133 179,808 3,047,600 3,047,600 13.6 415,163

ที่มา : 1) ขอสมมติฐานเศรษฐกิจป 2558 – 2562 จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 2) ขอมูลภาระหนี้ตองบประมาณป 2558 จากเอกสารงบประมาณรายจายประจําป 2558 และป 2559– 2562 จากสํานักงานบริหาร หนี้สาธารณะ ณ วันที่ 3 ตุลาคม 2557 3) ประมาณการรายไดรัฐบาลสุทธิ ป 2558 ตามเอกสารงบประมาณ และป 2559 – 2562 ประมาณการโดย สศค. 4) ขอมูลงบประมาณรายจายป 2558 จากเอกสารงบประมาณป 2558 และป 2559 – 2562 ประมาณการโดย สศค.

- 29 -


การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ

1/

ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ป 2557 ( 30 กันยายน 2557)

ผลการดําเนินงานในภาพรวม 1. ผลการดําเนินงานของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA การดําเนินโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA มียอดสินเชื่อคงคาง ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ป 2557 จํานวนทั้งสิ้น 916,062.74 ลานบาท ลดลงรอยละ 6.57 จากไตรมาสที่ผานมา แสดงใหเห็นวา สถาบันการเงินเฉพาะกิจ ในภาพรวมมีการปลอยสินเชื่อลดลง สาเหตุสวนหนึ่งเกิดจากโครงการพักชําระหนี้เกษตรกรป 2554 ของ ธ.ก.ส. ไดสิ้นสุดโครงการ ขณะที่หนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได (NPLs) ของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ป 2557 มีจํานวนทั้งสิ้น 30,328.23 ลานบาท คิดเปนสัดสวนหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดตอยอดสินเชื่อคงคาง (NPLs Ratio) รอยละ 3.31 ทั้งนี้ จากการพิจารณาพบวา NPLs Ratio ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 - 3 ป 2557 มีสัดสวน ที่คอนขางสูง เนื่องจากโครงการรักษาเสถียรภาพราคายางป 2556/2557 ของ ธ.ก.ส. อยูระหวางการเสนอขยาย อายุโครงการตอคณะรัฐมนตรี ดังนั้น ในเบื้องตน ธ.ก.ส. จึงมีการจัดชั้นใหยอดสินเชื่อคงคางของโครงการดังกลาว เปน NPLs (แผนภาพที่ 1) แผนภาพที่ 1

ลานบาท 1,100,000 941,982.79 1,000,000 900,000 1,022,604.86 2.82 800,000 700,000 600,000 500,000 400,000 300,000 200,000 0.76 100,000 0 Q3/56 Q4/56 สินเชื่อคงคาง

3.31 รอยละ 4

3.14

3.07 980,505.04 976,575.97

3 916,062.74 3 2 2 1

30,742.41 Q1/57 NPLs

Q2/57

30,328.23

Q3/57 NPLs Ratio

1 0

2. ประมาณการความเสียหายของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA แมวาการดําเนินโครงการตามนโยบายรัฐจะสงผลดีตอระบบเศรษฐกิจ แตขณะเดียวกันก็กอใหเกิดภาระ ทางการคลังของรัฐบาลในการชดเชยความเสียหายจากการดําเนินโครงการตาง ๆ ดังจะเห็นไดจากประมาณการ ความเสียหายของสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล (โครงการที่มีการแยกบัญชี PSA) ตั้งแต เริ่มตนจนถึงสิ้นสุดโครงการ ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ป 2557 มีจํานวนทั้งสิ้น 95,966.72 ลานบาท และคงเหลือภาระ ความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาลจํานวน 32,056.85 ลานบาท ทั้งนี้ สัดสวนความเสียหายคงเหลือ รอการชดเชยจากรัฐบาลตอประมาณการความเสียหายโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ทั้งหมด คิดเปนรอยละ หมายเหตุ : 1/ การรายงานการดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังในที่นี้ พิจารณาเฉพาะโครงการที่มีการแยกบัญชีธุรกรรมการดําเนินงานตามนโยบายรัฐ (PSA) ผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) 6 แหง ไดแก ธนาคารออมสิน ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) ธนาคารอาคารสงเคราะห (ธอส.) ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย (ธสน.) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (ธพว.) และธนาคาร อิสลามแหงประเทศไทย (ธอท.) ยกเวนบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) ที่เปนสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ค้ําประกันสินเชื่อ ขณะที่ บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยูอาศัย (บตท.) ไมมีการดําเนินโครงการตามนโยบายรัฐ ทั้งนี้ หลักเกณฑในการพิจารณาโครงการ PSA ของสํานักงานเศรษฐกิจ การคลัง กําหนดใหนับเฉพาะโครงการที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบหลังวันที่ 4 สิงหาคม 2552 เปนตนไป

-35-


33.40 ลดลงจากไตรมาสที่ผานมา เนื่องจากโครงการสินเชื่อเพื่อชวยเหลือดานการเงินแกผูประกอบการธุรกิจ ทองเที่ยวฯ และสินเชื่อโครงการชวยเหลือดานการเงินแกผูประกอบธุรกิจ โลจิสติกสไทย ระยะที่ 1 ของ ธพว. ไดรับเงินชดเชยครบแลว (แผนภาพที่ 2) ลานบาท 120,000 100,000

แผนภาพที่ 2 50.00

80,000

47.24

43.25

42.55

รอยละ 60 50 33.40

40 20

Q3/56

95,966.72 32,056.85

79,456.61

0

34,361.89

20,000

99,390.96 46,951.49

40,000

77,794.83 33,099.68

30 70,270.91 35,135.72

60,000

Q4/56 Q1/57 Q2/57 Q3/57 ประมาณการความเสียหายทั้งหมดที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล ความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาล สัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหายทั้งหมด

10 0

ผลการดําเนินงานรายสถาบัน 1. ผลการดําเนินงานรายสถาบันของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ป 2557 ธ.ก.ส. มียอดสินเชื่อคงคางสูงที่สุดจํานวน 831,068.65 ลานบาท รองลงมาคือ ธนาคารออมสินที่มียอดสินเชื่อคงคางจํานวน 37,348.82 ลานบาท ขณะที่ NPLs ของ ธ.ก.ส. มีมูลคาสูงที่สุดเทากับ 22,758.60 ลานบาท ลดลงเล็กนอยจากไตรมาสที่ผานมา ซึ่งสาเหตุสําคัญที่ NPLs ของ ธ.ก.ส. ยังคงอยูในระดับสูง เนื่องจากโครงการรักษาเสถียรภาพราคายางป 2556/2557 สิ้นสุดระยะเวลาดําเนินการและอยูระหวางการเสนอ ขยายอายุโครงการตอคณะรัฐมนตรี ดังนั้น ในเบื้องตน ธ.ก.ส. จึงมีการจัดชั้นใหยอดสินเชื่อคงคางของโครงการ ดังกลาวเปน NPLs นอกจากนี้ หากพิจารณา NPLs Ratio พบวา ธอท. และ ธพว. มีสัดสวนคอนขางสูง เนื่องจากกลุมลูกคา จะเปนผูประกอบการรายยอยที่มีความสามารถในการชําระหนี้ต่ํา ไมมีหลักประกัน และเปนผูประกอบการที่ไดรับ ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจหรือภัยธรรมชาติ รวมทั้งบางโครงการมีเงื่อนไขที่ไมตองตรวจเครดิตบูโร กอนการปลอยกู ซึ่งแตกตางจากสถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่นที่ทําหนาที่เปนตัวกลางในการจายเงินแทนรัฐบาล และการปลอยกูระหวางรัฐบาลกับรัฐบาล ทั้งนี้ หากสถาบันการเงินเฉพาะกิจมี NPLs Ratio สูง รัฐบาลอาจมี ความเสี่ยงในการพิจารณาเพิ่มทุนตอไป (แผนภาพที่ 3)

100 10 1

ออมสิน

2.74 ธ.ก.ส. NPLs

6,425.46

8,867.77

0.00

47.85

1,141.79 2,386.04

1,000

22,758.60 831,068.65

37,348.82

10,000

149.84

100,000

6,278.00 29,966.00

แผนภาพที่ 3

ลานบาท 1,000,000

สินเชื่อคงคาง

-36-

40.00 30.00 10.00

0.00 ธสน.

50.00

20.00

20.95 1.69 ธอส.

รอยละ 60.00

ธพว. NPLs Ratio

ธอท.

0.00


2. ประมาณการความเสียหายของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA 2/ ประมาณการความเสียหายที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล และ ความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจาก รัฐบาลพบวา ธ.ก.ส. มีมูลคาดังกลาวมากที่สุดจํานวน 74,961.82 และ 17,093.73 ลานบาท ตามลําดับ หรือคิด เปนสัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหายทั้งหมดของ ธ.ก.ส. รอยละ 22.80 รองลงมาคือธนาคารออมสิน ที่มีประมาณการความเสียหายและความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาลจํานวน 13,114.26 และ 9,569.80 ลานบาท ตามลําดับ นอกจากนี้ หากพิจารณา ธสน. ธอท. ธอส. และ ธพว. ซึ่งมีสัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหาย ทั้งหมดอยูในระดับสูงเทากับรอยละ 90.17 81.16 80.33 และ 46.47 ตามลําดับแลว พบวา สัดสวนความเสียหาย คงเหลือของ ธสน. ดังกลาวไมสงผลกระทบตอการดําเนินงานตามปกติหรือสภาพคลอง เนื่องจาก ธสน. มีโครงการ ที่มีการแยกบัญชี PSA เพียงโครงการเดียว และมีหลักเกณฑการปลอยสินเชื่อที่เขมงวด ดังนั้น คาดวาโครงการ ดังกลาวมีโอกาสเสียหายคอนขางนอย ขณะที่ ธอท. และ ธพว. แมวามูลคาความเสียหายคงเหลือรอการชดเชย จากรัฐบาลคอนขางนอยเมื่อเปรียบเทียบกับสถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่น ๆ แตจากสัดสวนความเสียหายคงเหลือ ตอความเสียหายทั้งหมด และผลการดําเนินงานที่มีสัดสวน NPLs Ratio อยูในระดับสูง อาจสงผลใหรัฐบาล ตองรับภาระชดเชยความเสียหายเพิ่มขึ้น และกระทบตอการดําเนินงานและสภาพคลองของ ธอท. และ ธพว. ในที่สุด (แผนภาพที่ 4) · สําหรับ บสย. แมวาจะเปนสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ค้ําประกันสินเชื่อ แตการค้ําประกันดังกลาวสวนหนึ่ง เปนการค้ําประกันโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ทําใหรัฐบาลมีภาระในการชดเชยความเสียหายเชนเดียวกับ สถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่น ๆ โดยประมาณการความเสียหายที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาลของ บสย. มีจํานวน ทั้งสิ้น 15,281.24 ลานบาท ขณะที่มีความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยอีกจํานวน 12,034.69 ลานบาท

ออมสิน

ธ.ก.ส. ธอส. ธสน. ธพว. ประมาณการความเสียหายทั้งหมดที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล ความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาล สัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหายทั้งหมดแตละ SFI

2/

1,311.15 1,064.08

46.47

3129.02 1,454.20

0

22.80

1,050.00 946.83

20,000

81.16

90.17

รอยละ 100 80 60

2400.47 1,928.21

40,000

80.33 74961.82 17,093.73

60,000

72.97 13,114.26 9,569.80

80,000

แผนภาพที่ 4

ลานบาท

ธอท.

40 20 0

การประมาณการความเสียหายที่ตองไดรับการชดเชยจากรัฐบาลตั้งแตเริ่ม - สิ้นสุดโครงการ มีรูปแบบการชดเชยตามขอตกลงซึ่งแตกตางกันตาม SFIs แตละแหง ทั้งนี้ ธ.ก.ส. เปนการประมาณการความเสียหายตั้งแตเริ่มโครงการถึงวันที่ 30 กันยายน 2557

-37-


การกระจายอํานาจทางการคลัง ใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น สรุปผลการศึกษาวิจัยโครงการประเมินผลนโยบายการกระจายอํานาจของไทย ระยะ 15 ป สํานักงานคณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น (สํานักงาน ก.ก.ถ.) ไดมีการจัดประชุมคณะอนุกรรมการดานการติดตามและประเมินผล ครั้งที่ 3/2557 เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2557 ณ สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี โดยไดสรุปผลการศึกษาวิจัยเรื่อง โครงการประเมินผลนโยบายการกระจาย อํานาจของไทย ระยะ 15 ป ที่มอบหมายใหจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยศึกษา โดยเชื่อมโยงกับแนวทางกาขับเคลื่อน Road Map การติดตามและประเมินผลการกระจายอํานาจ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556 - 2559 โดยแบงออกเปน 6 เรื่อง ดังนี้ 1. ประเมินผลการปรับบทบาทของสวนราชการ 1.1 สวนราชการที่ถายโอนภารกิจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) ไดแก กรมทางหลวงชนบท กรมการขนสงทางบก กรมปาไม และกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช เปนตน ผลการศึกษาพบวา สวนราชการหลายแหงถายโอนภารกิจแลว แตปจจุบันยังคงดําเนินภารกิจอยู และไมตองการถายโอนภารกิจเพิ่มเติม อีกทั้งไมมีการจัดอบรมพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงานให อปท. ไมมีการจัดระบบงานสนับสนุนการกระจายอํานาจ และไมแจงขอมูลเกี่ยวกับภารกิจที่ถายโอนใหแก อปท. เปนตน 1.2 สวนราชการที่ไมประสงคจะถายโอนภารกิจใหแก อปท. ผลการศึกษาพบวา สวนราชการกลุมนี้ไมกระจายภารกิจให อปท. และพยายามขอรับ การสนับสนุนงบประมาณจาก อปท. เชน ภารกิจดานการจัดการศึกษา และดานการสาธารณสุข เปนตน 1.3 สวนราชการที่ปฏิบัติงานขับเคลื่อนการกระจายอํานาจ ไดแก กรมสงเสริมการปกครอง ทองถิ่น (สถ.) สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (สป. มท.) และสํานักงาน ก.ก.ถ. เปนตน ผลการศึกษาพบวา การขับเคลื่อนนโยบายการกระจายอํานาจขาดเอกภาพ ไมสามารถปฏิบัติงาน ใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน ขาดการพัฒนายุทธศาสตรขับเคลื่อนนโยบายการกระจายอํานาจ ขาดการพัฒนา ระบบปฏิบัติการและระบบขอมูลสําหรับการตัดสินใจในระดับนโยบายการกระจายอํานาจ เปนตน 1.4 สวนราชการที่ปฏิบัติงานสนับสนุนการกระจายอํานาจ ไดแก กระทรวงการคลัง สํานักงบประมาณ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ และสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เปนตน ผลการศึกษาพบวา ขาดความตอเนื่องในการทํางานสนับสนุนการกระจายอํานาจใหเกิดความกาวหนา ไมมีบุคลากรหรือสวนงานเฉพาะที่ดูแลเรื่องการกระจายอํานาจ จึงทําใหขาดการผลักดันการแกไขกฎหมาย ที่เกี่ยวของ ขาดการจัดสรรงบประมาณให อปท. ที่เหมาะสม เปนตน 2. ประเมินผลการปรับบทบาทของ อปท. ในการจัดบริการสาธารณะ 2.1 อปท. ขนาดใหญ ไดแก เทศบาลเมือง และองคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) มีความพรอมใน การปฏิบัติงาน มีความพรอมดานบุคลากร เครื่องมือ และงบประมาณสามารถจัดบริการสาธารณะใหแกประชาชน ไดหลากหลายกวา อปท. ขนาดเล็ก ไดแก เทศบาลตําบล และองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) นอกจากนี้ -35-


การถายโอนภารกิจและบุคลากรในชวงที่ผานมาขาดความสมดุล ทําใหเกิดภาระแก อปท. ขนาดเล็ก โดยความไมสมดุลในการกระจายงานและการกระจายคนใหแก อปท. สรุปไดดังนี้ ตารางที่ 1 ความไมสมดุลในการกระจายงานและการกระจายคนใหแก อปท. ภารกิจที่ถาย ภารกิจที่ถาย รวมภารกิจที่ โอนให อปท. โอนให อปท. บุคลากรที่ถายโอน บุคลากรที่ถายโอน ถายโอนให ประเภท จํานวน ตามแผนการ ตามแผนการ ตอ อปท. โดยเฉลี่ย ตอ อปท. โดยเฉลี่ย อปท. อปท. แหง กระจายอํานาจ กระจายอํานาจ (นับทุก อปท. (นับเฉพาะ อปท. ตามแผนฯ ใหแก อปท. ใหแก อปท. ในกลุมตัวอยาง) ที่มีบุคลากรถายโอน) ฉบับที่ 1 และ 2 ฉบับที่ 1 ฉบับที่ 2 อบจ. 12 21 29 50 65 คน 65 คน เทศบาล 33 120 82 202 1.4 คน 2.3 คน อบต. 65 173 87 260 1.1 คน 2.6 คน 2.2 อปท. สวนใหญมีการริเริ่มนวัตกรรมในการจัดบริการสาธารณะ การสงเสริมการมีสวนรวมของ ประชาชน โดย อปท. ขนาดใหญมีสัดสวนของจํานวนนวัตกรรมฉลี่ยตอ อปท. ในระดับที่สูงกวา อปท. ขนาดเล็ก โดยภาพรวมของนวัตกรรมทองถิ่นที่รวบรวมจาก อปท. สรุปได ดังนี้ ตารางที่ 2 ภาพรวมของนวัตกรรมทองถิ่นที่รวบรวมจาก อปท. กลุมตัวอยาง ประเภท จํานวน จํานวน อปท. อปท. แหง ที่มีนวัตกรรมทองถิ่น อบจ. 12 10 เทศบาลนคร 4 4 เทศบาล 9 8 เมือง เทศบาล 20 13 ตําบล อบต. 65 29 รวม 110 64

จํานวนนวัตกรรม ที่เกิดขึ้นทั้งหมด 13 5

จํานวนนวัตกรรมที่เกิดขึ้นทั้งหมด/ จํานวน อปท. ทั้งหมด 1.08 1.25

8

0.89

15

0.75

34 75

0.52 X = 0.68

2.3 การทําหนาที่ทางนิติบัญญัติของ อปท. มีขอจํากัดคอนขางมาก และตลอดระยะเวลา การกระจายอํานาจกวา 15 ปที่ผานมา พบวา การตราขอบัญญัติทองถิ่นเพื่อให อปท. ปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมาย แมบทเกิดขึ้นอยางจํากัด โดยจํานวนขอบัญญัติหรือเทศบัญญัติที่มีการตราขึ้นโดยสภาทองถิ่น ระหวางป 25402556 สรุปไดดังนี้

-36-


ตารางที่ 3 แสดงจํานวนขอบัญญัติ และเทศบัญญัติที่มีการตราขึ้น ระหวางป 2540-2556 ประเภท อปท.

จํานวน แหง

อบจ. เทศบาลนคร เทศบาล เมือง เทศบาล ตําบล อบต. รวม

12 4 9

อปท. ที่มีการตรา กฎหมายทองถิ่น จํานวน รอยละของ แหง อปท. 12 100.00 4 100.00 9 100.00

ขอบัญญัติที่ตราขึ้น ระหวางป 2540-2556 รวม เฉลี่ยตอ จํานวน อปท. 29 2.42 8 2.00 16 1.78

ขอบัญญัติที่ตราขึ้น ระหวางป 2550-2556 รวม เฉลี่ยตอ อปท. จํานวน 24 2.00 6 1.50 13 1.44

20

17

85.00

54

2.70

48

2.40

65 110

56 98

86.15 89.90

131 238

2.02 2.16

115 206

1.77 1.87

2.4 ดานทัศนคติของ อปท. พบวา ไมตองการรับถายโอนภารกิจเพิ่มจากปจจุบัน และขาดแรงจูงใจ ที่จะจัดบริการใหแกประชาชนเพิ่มขึ้น โดยมีขอมูลแสดงความจํานงของ อปท. ที่ไมตองการรับถายโอนภารกิจ เพิ่มเติมสรุปไดดังนี้ ตารางที่ 4 ขอมูลแสดงความจํานงของ อปท. กลุมตัวอยางที่ไมตองการรับถายโอนภารกิจเพิ่มเติม ประเภท จํานวน การศึกษา อปท. แหง อบจ. 12 6 เทศบาลนคร 4 3 เทศบาล 9 5 เมือง เทศบาล 20 13 ตําบล อบต. 65 56 รวม 110 83

บริการ สังคม 5 3

สาธารณสุข 7 1

เศรษฐกิจ จัดระเบียบ การจัดการ ชุมชน ชุมชน 9 11 11 3 4 1

จัดการปญหา อาชญากรรม 10 1

7

8

6

6

8

5

17

15

17

19

17

16

48 80

36 67

49 84

46 86

50 87

48 80

-37-


3. ประเมินผลการพัฒนาศักยภาพดานการบริหารการเงินการคลังของ อปท. 3.1 ดานการพัฒนารายได ระดับการพึ่งพาตนเองทางการคลังของ อปท. เกิดขึ้นในขอบเขตที่จํากัด อีกทั้งมี อปท. จํานวนไมมาก ที่มีแนวทางการพัฒนารายไดที่ชัดเจนเปนรูปธรรม และพบวา สัดสวนรายไดภาษีที่ทองถิ่นจัดเก็บเองตอรายไดรวม อยูระหวางรอยละ 5.5 - 14.3 ของรายไดรวม โดยสัดสวนรายไดภาษีที่ทองถิ่นจัดเก็บเองระหวางปงบประมาณ พ.ศ.2551-2556 สรุปไดดังนี้ ตารางที่ 5 แสดงสัดสวนรายไดภาษีที่ทองถิ่นจัดเก็บเองตอรายไดรวมระหวางปงบประมาณ พ.ศ. 2551-2556 หนวย : รอยละ ประเภท ป 2551 ป 2552 ป 2553 ป 2554 ป 2555 ป 2556 สัดสวนการพึ่งพาตนเอง อปท. ทางการคลังโดยเฉลี่ย ป 2551-2556 อบจ. 6.31 5.86 6.38 6.34 6.92 6.72 6.42 เทศบาลนคร 12.46 13.65 15.89 15.37 15.22 13.37 14.33 เทศบาลเมือง 7.69 8.57 9.66 9.43 9.99 9.11 9.08 เทศบาลตําบล 6.47 7.47 7.24 7.53 7.61 7.65 7.33 อบต. 5.24 5.81 5.49 5.53 5.02 5.72 5.47 3.2 ดานการจัดทํางบประมาณรายจาย การจัดทํางบประมาณแบบแผนงานของ อปท. มีขอจํากัด โดยเฉพาะวิธีการจัดสรรงบประมาณ และการประเมินผลการใชจายงบประมาณทองถิ่นยังไมมีประสิทธิภาพ โดย อปท. สวนใหญไมสามารถเชื่อมโยง การดําเนินงานตามยุทธศาสตร และพบวา เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตําบล และ อบต. มีสัดสวน รายจายบุคลากรตอรายจายรวมของ อปท. มากกวารอยละ 40 ซึ่งอาจจะตองมีการทบทวนการบริหารจัดการ ดานบุคลากรของทองถิ่น โดยสัดสวนของรายจายบุคลากรตอรายจายรวมของ อปท. สรุปไดดังนี้ ตารางที่ 6 แสดงสัดสวนของรายจายบุคลากรตอรายจายรวมของ อปท. ประเภท อปท. อบจ. เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตําบล อบต.

รายจายรวมดานบุคลากร โดยเฉลี่ย (ลานบาท/อปท.) 179.31 509.76 84.36 17.07 11.47 .

รายจายรวมของ อปท. สัดสวนรายจายบุคลากรตอ โดยเฉลี่ย (ลานบาท/อปท.) รายจายรวมของ อปท. (รอยละ) 699.44 25.64 791.75 64.38 182.02 46.35 40.66 41.98 32.15 35.70

-38-


3.3 ดานหนี้สาธารณะและการบริหารความเสี่ยงทางการคลังของ อปท. อปท. สวนหนึ่งจะกอหนี้ระยะยาวในสัดสวนที่สูง และกอหนี้เกินความสามารถในการชําระหนี้ ซึ่ง อาจสงผลตอความยั่งยืนทางการเงินการคลังและการใหบริการสาธารณะในระยะยาว และพบวา อบจ. แทบทุกแหง กอหนี้ระยะยาว หรือคิดเปนรอยละ 91.7 ของ อบจ. ทั้งหมด โดยมีภาระหนี้คงคาง ณ สิ้นปงบประมาณ 2555 จํานวน 125.04 ลานบาท ในขณะที่เทศบาลเมืองและเทศบาลตําบลกอหนี้ระยะยาวในจํานวนไมมาก แตภาระหนี้ คงคาง/รายรับรวม และภาระหนี้คงคาง/ประชากรคอนขางสูงกวา อปท. ประเภทอื่น โดยภาระหนี้ระยะยาวของ อปท. ณ วันสิ้นปงบประมาณ 2555 สรุปไดดังนี้ ตารางที่ 7 ภาระหนี้ระยะยาวของ อปท. ณ วันสิ้นปงบประมาณ 2555 ดัชนีชี้วัด จํานวน อปท. กลุมตัวอยางทั้งหมด จํานวน อปท. ที่กอหนี้ระยะยาว อปท. ที่กอหนี้ระยะยาว/อปท. ทั้งหมด ภาระหนี้ระยะยาว (เฉลี่ยลานบาท/อปท.) หนี้ระยะยาว/รายรับรวมของ อปท. (รอยละ) หนี้ระยะยาว/จํานวนประชากร (บาท/คน) ระดับรายจายเพื่อการชําระหนี้ (รอยละ)

อบจ. 12 11 91.66 125.04 14.57 171.06 3.48

เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตําบล 4 9 20 2 6 8 50 66.66 40 16.13 43.56 12.56 7.42 26.36 23.55 230.36 2,515.65 1,877.77 0.68 4.98 5.53

3.4 ดานการตรวจสอบและการควบคุมภายใน อปท. สวนใหญขาดการพัฒนากลไกการตรวจสอบภายในใหมีศักยภาพที่เขมแข็ง โดยพบวา มี อปท. 40 แหง หรือคิดเปนรอยละ 36.4 ที่มีบุคลากรในหนวยตรวจสอบภายใน และ อปท. แตละแหงมีบุคลากรนอยมาก ซึ่งอาจทําใหการตรวจสอบไมมีประสิทธิผล โดยอัตรากําลังในหนวยตรวจสอบภายในของ อปท. สรุปไดดังนี้ ตารางที่ 8 อัตรากําลังในหนวยตรวจสอบภายในของ อปท. ประเภท อปท. อบจ. เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตําบล อบต. รวม

จํานวน แหง 12 4 9 20 65 110

อปท. ที่มี รอยละของ อปท. บุคลากรใน ที่มีบุคลากรใน หนวยตรวจสอบ หนวยตรวจสอบ 11 4 5 5 15 40

91.7 100 55.6 25 23.1 36.4 -39-

จํานวนบุคลากรในหนวย ตรวจสอบเฉลี่ยตอ อปท. ขาราชการ พนักงาน 4 0.6 1.5 0.3 1.2 0 1 0.4 1.1 0.1 -

รวม 4.6 1.8 1.2 1.4 1.2 -

สัดสวนบุคลากรรวม ของ อปท. ตอพนักงาน ตรวจสอบ 1 คน 126.8 929.9 401.8 70.9 65.3 -


3.5 ดานมาตรฐานทางการบัญชีและการงบประมาณ การพัฒนาระบบมาตรฐานงบประมาณ การเงิน และการบัญชีของ อปท. ยังไมกาวหนา ระบบ งบประมาณของ อปท. ไมสามารถใชในการจัดสรรงบประมาณลงสูแผนงานตางๆ ได และไมสามารถเชื่อมตอกับ ระบบงบประมาณของรัฐบาลสงผลใหไมสามารถติดตามผลการใชจายในภาพรวมของรัฐ นอกจากนี้ อปท. ขนาดเล็ก ไมสามารถจัดทํางบประมาณแบบแสดงแผนงานได และการบันทึกขอมูลทางบัญชียังไมถูกตองตามหลักการบัญชี ที่รับรองทั่วไป (Generally Accepted Accounting Principles : GAAP) ทําใหไมสามารถแสดงฐานะทาการเงิน ที่แทจริงของ อปท. ได 4. ประเมินความพึงพอใจของประชาชนเกี่ยวกับการจัดบริการสาธารณะและการปรับบทบาทของ อปท. 4.1 ประชาชนสวนใหญพึงพอใจตอการบริการสาธารณะที่ อปท. จัดใหในชวง 5-10 ป ที่ผานมา โดยพึงพอใจทั้งในดานการศึกษา สาธารณสุข สิ่งแวดลอม และโครงสรางพื้นฐาน 4.2 ประชาชนกลุมตัวอยางรอยละ 66.8 เห็นวา อปท. แกไขปญหาไดสอดคลองกับความตองการ ของประชาชน 4.3 ประชาชนกลุมตัวอยางรอยละ 71.3 เห็นวา อปท. ใสใจและทํางานแบบปรึกษาหารือกับ ประชาชน 4.4 ประชาชนกลุมตัวอยางรอยละ 65.8 ตองการทํางานมีสวนรวมกับ อปท. 4.5 ประชาชนกลุมตัวอยางรอยละ 59.0 เห็นวา ควรสนับสนุน อปท. ดวยการจายภาษีอากร 4.6 ประชาชนกลุมตัวอยางรอยละ 75.0 เห็นวา ไมควรยุบเลิก อปท. เพราะ อปท. พัฒนาคุณภาพ ชีวิตใหประชาชน อยางไรก็ดี ประชาชนกลุมตัวอยางรอยละ 59.4 ไมแนใจวาการสงเสริมอาชีพที่ อปท. ดําเนินการอยู จะสงผลใหรายไดและคุณภาพชีวิตของประชาชนดีขึ้น 4.7 อปท. มีบทบาทสําคัญในการกระจายโอกาสการเขาถึงบริการขั้นพื้นฐานที่จําเปนใหแกประชาชน ในระดับฐานราก และกลุมครัวเรือนที่ฐานะยากจนมีความพึงพอใจตอบริการของ อปท. ในระดับสูงกวาปกติ ทั้งดานการศึกษา บริการสังคม สาธารณสุข สงเสริมอาชีพและพัฒนาเศรษฐกิจ และการรักษาความปลอดภัย ในชุมชน 5. การมีสวนรวมของประชาชนในการตรวจสอบการดําเนินงานของ อปท. การมีสวนรวมของประชาชนสวนใหญเกิดขึ้นในระดับตนของกระบวนการตัดสินใจ เชน การชี้แจง การประชาสัมพันธใหขอมูลแกประชาชน เปนตน และเกิดขึ้นในการมีปฏิสัมพันธระหวาง อปท. เชน การประชุมประชาคม การประชุมสภาทองถิ่น เปนตน แตการมีสวนรวมของประชาชนในการตัดสินใจรวมกับ อปท. ในประเด็นปญหาของสวนรวม หรือการตรวจสอบการทํางานของ อปท. ยังไมเกิดขึ้นบอย และสวนใหญ ประชาชนมีสวนรวมกับ อปท. ขนาดเล็กมากกวา อปท. ขนาดใหญ 6. ประเมินรูปแบบการจัดบริการสาธารณะของ อปท. ในลักษณะความรวมมือ การสรางความรวมมือระหวาง อปท. มีขอจํากัดพอสมควร โดยการรวมมือระหวาง อปท. ในจังหวัดเดียวกันเกิดขึ้นจากการจัดทําแผน ประสานแผนพัฒนาทองถิ่นเปนหลัก คิดเปนรอยละ 55.5 ของ กลุมตัวอยางที่ไดศึกษา และความรวมมือระหวาง อปท. ดวยกันในการจัดบริการสาธารณะยังมีไมมากเทาที่ควร โดยการสรางความรวมมือในการทํางานระหวาง อปท. สรุปไดดังนี้ -40-


ตารางที่ 9 แสดงการสรางความรวมมือในการทํางานระหวาง อปท. ในเรื่องตางๆ การแกไขปญหา การแกไขปญหา ประเภท จํานวน การวางแผน การจัดบริการ รวมลงทุนพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ อปท. อปท. พัฒนาทองถิน่ สาธารณะ โครงสรางพื้นฐาน ประชากร และสิ่งแวดลอม อบจ. 12 10 (83.3%) 5 (41.7%) 8 (66.7%) 8 (66.7%) 7 (58.3%) เทศบาล 33 17 (51.5%) 13 (39.4%) 6 (18.2%) 14 (42.4%) 6 (18.2%) อบต. 65 34 (52.3%) 20 (30.8%) 17 (26.2%) 19 (29.2%) 18 (27.7%) รวม 110 61 (55.5%) 38 (34.5%) 31 (28.2%) 41 (37.3%) 31 (28.2%) ประเภท จํานวน อปท. อปท. อบจ. เทศบาล อบต. รวม

12 33 65 110

รวมลงทุน ในกิจการ เชิงพาณิชย 1 (8.3%) 1 (1.5%) 2 (1.8%)

จัดเก็บภาษี และพัฒนา รายได 4 (33.3%) 3 (9.1%) 3 (4.6%) 10 (9.1%)

กําหนด อื่นๆ เชน รวมกันกําหนด มาตรฐาน กิจกรรมตาม หลักเกณฑระเบียบ บริการสาธารณะ ประเพณี ศาสนา 3 (25.0%) 1 (8.3%) 1 (3.0%) 6 (18.2%) 3 (4.6%) 2 (3.1%) 17 (26.2%) 4 (3.6%) 5 (4.5%) 23 (20.9%)

-41-


มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ มติคณะรัฐมนตรีที่สําคัญ เดือนพฤศจิกายน 2557 4 พฤศจิกายน 2557 1. เรื่อง ขออนุมัติวงเงินโครงการชดเชยดอกเบี้ยใหผูประกอบการคาขาวในการเก็บสตอกป 2557/58 เพิ่มเติม คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติวงเงินในการดําเนินการตามโครงการชดเชยดอกเบี้ยใหผูประกอบการคาขาว ในการเก็บสตอกป 2557 เพื่อชดเชยดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้นจากการเก็บสตอกขาวเปลือกเพิ่มอีกจํานวน 4 ลานตัน คิดเปนวงเงินจํานวน 612 ลานบาท ตามที่กระทรวงพาณิชย (พณ.) เสนอ สําหรับคาใชจายในการดําเนินการใหเปนไปตามความเห็นของสํานักงบประมาณ พณ. รายงานวา 1. พณ. โดยกรมการคาภายใน ไดมีการประชุมหารือรวมกับธนาคารพาณิชย สมาคมโรงสี และหนวยงาน ที่เกี่ยวของ เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2557 เพื่อชี้แจงโครงการฯ แกผูเกี่ยวของ และไดออกประกาศกรมการคาภายใน ลงวันที่ 24 กรกฎาคม 2557 เรื่อง รับสมัครผูเขารวมโครงการชดเชยดอกเบี้ยใหผูประกอบการคาขาวในการเก็บ สต็อก ปการผลิต 2557/58 โดยใหผูประกอบการสมัครเขารวมโครงการ ตั้งแตวันที่ 1 สิงหาคม – 30 กันยายน 2557 2. ณ วันที่ 2 ตุลาคม 2557 มีผูประสงคเขารวมโครงการฯ จํานวน 34 จังหวัด ผูประกอบการ จํานวน 256 ราย ปริมาณเก็บสต็อก 6.2 ลานตัน ซึ่งเกินเปาหมายและวงเงินที่ไดรับอนุมัติ 2 ลานตัน ซึ่งปจจุบันอยูระหวาง ขอความรวมมือธนาคารพาณิชย ตรวจสอบวงเงินสินเชื่อในการรับซื้อขาวเปลือกจากเกษตรกรของผูประกอบการ ที่ประสงคเขารวมโครงการฯ วาไดรับสินเชื่อวงเงินกูเปนจํานวนเทาใด เพื่อใชเปนขอมูลประกอบการพิจารณา ในการเขารวมโครงการฯ และกําหนดโควตาปริมาณการเก็บสต็อกขาวตอไป 3. รองหัวหนาฝายเศรษฐกิจ คณะรักษาความสงบแหงชาติ ไดเห็นชอบเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2557 ใหนําเงินเหลือจายของหนวยงานในสังกัดกระทรวงพาณิชย งบประมาณป 2557 โอนเปลี่ยนแปลงมาใชใน โครงการชดเชยดอกเบี้ยใหผูประกอบการคาขาวในการเก็บสต็อกเพิ่มขึ้น วงเงิน 315 ลานบาท (คาชดเชย ดอกเบี้ยรอยละ 3 วงเงิน 306 ลานบาท และคาใชจายในการดําเนินการของคณะอนุกรรมการระดับจังหวัด และ กรมการคาภายใน 9 ลานบาท) ซึ่งสํานักงบประมาณไดมีหนังสือลงวันที่ 23 กันยายน 2557 แจงการอนุมัติ เปลี่ยนแปลงงบประมาณดังกลาวแลว 18 พฤศจิกายน 2557 2. เรื่อง รางพระราชบัญญัติภาษีการรับมรดก พ.ศ. ... และรางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ... คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรางพระราชบัญญัติภาษีการรับมรดก พ.ศ. ... และรางพระราชบัญญัติแกไข เพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ... รวม 2 ฉบับ ของกระทรวงการคลังที่สํานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกาตรวจพิจารณาแลว และใหสงคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณากอนเสนอ สภานิติบัญญัติแหงชาติตอไป

-40-


สาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติ 1. รางพระราชบัญญัติภาษีการรับมรดก พ.ศ. ... กําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการเสียภาษีการรับมรดก โดยกําหนดใหมีผลใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวัน นับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา และไมใชบังคับแกมรดกที่เจามรดกไดตายกอนวันที่รางพระราชบัญญัตินี้ ใชบังคับและมรดกที่คูสมรสของเจามรดกไดรับจากเจามรดก ดังนี้ 1.1 กําหนดใหผูมีหนาที่เสียภาษีการรับมรดก ไดแก บุคคลผูมีสัญชาติไทย ผูมิไดมีสัญชาติไทย แตมีภูมิลําเนาหรือมีสํานักงานใหญตั้งอยูในประเทศไทยเปนเวลาสามปติดตอกันถึงวันมีสิทธิไดรับมรดก และบุคคล ผูมิไดมีสัญชาติไทย แตไดรับมรดกอันเปนทรัพยสินที่อยูในประเทศไทย 1.2 กําหนดใหมูลคามรดกที่ตองเสียภาษีการรับมรดก ผูไดรับมรดกไมวาจะไดรับมาในคราวเดียว หรือหลายคราว ถาแตละรายรวมกันแลวมีมูลคาเกินหาสิบลานบาทตองเสียภาษีเฉพาะสวนที่เกินหาสิบลานบาท ซึ่งมูลคามรดกนี้หมายถึงมูลคาของทรัพยสินทั้งสิ้นที่ไดรับเปนมรดกหักดวยภาระหนี้สินอันตกทอดมาจากการรับ มรดกนั้น 1.3 กําหนดบทยกเวนการเสียภาษีการรับมรดกใหแกบุคคลหรือองคกรที่ไดรับมรดก ไดแก บุคคล ผูไดรับมรดกที่เจามรดกแสดงเจตนาหรือเห็นไดวาประสงคใหใชมรดกนั้นเพื่อประโยชนในกิจการศาสนา กิจการศึกษา หรือกิจการสาธารณประโยชน หนวยงานของรัฐและนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงคเพื่อกิจการศาสนา กิจการศึกษา หรือกิจการสาธารณประโยชนโดยใหกําหนดเปนกฎกระทรวง 1.4 กําหนดอัตราภาษีสําหรับการเสียภาษีการรับมรดก ผูมีหนาที่เสียภาษีการรับมรดก ตองคํานวณ และเสียภาษีในอัตรารอยละสิบของมูลคามรดกในสวนที่ตองเสียภาษี ทั้งนี้ อัตรารอยละสิบดังกลาวจะตราพระราช กฤษฎีกาลดลงตามที่เห็นสมควรก็ได 1.5 กําหนดการยื่นแบบ การชําระภาษีและการประเมินภาษีการรับมรดก 1.6 กําหนดความผิดและลงโทษสําหรับการกระทําความผิดหรือการฝาฝนบทบัญญัติของกฎหมาย เชน กรณีไมยื่นแบบแสดงรายการภาษีโดยไมมีเหตุอันสมควรตองระวางโทษปรับไมเกินหาแสนบาท กรณีทําลาย ยายไปเสีย ซอนเรน หรือโอนไปใหแกบุคคลอื่นซึ่งทรัพยสินที่ถูกยึดหรืออายัด ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองป และปรับไมเกินสี่แสนบาท และกรณีผูใดโดยความเท็จ โดยเจตนาละเลย โดยฉอโกงหรือใชอุบายโดยวิธีการ อยางหนึ่งอยางใด หลีกเลี่ยง หรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีตามพระราชบัญญัตินี้ เปนตน 2. รางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ... เปนการแกไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแหงประมวลรัษฎากรในสวนที่เกี่ยวกับภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา เพื่อจัดเก็บภาษีเงินไดจากการรับให อันเปนการสอดคลองกับการจัดเก็บภาษีรับมรดก ดังนี้ 2.1 กําหนดใหเงินไดที่ไดรับจากการรับมรดกไดรับยกเวนไมตองนํามาคํานวณเพื่อเสียภาษีเงินได 2.2 กําหนดใหผูมีเงินไดจะเลือกเสียภาษีในอัตรารอยละ 5 ของเงินไดสวนที่เกินสิบลานบาท โดยไมตองนําไปรวมคํานวณเพื่อเสียภาษีได สําหรับเงินไดจากการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครอง ในอสังหาริมทรัพยโดยไมมีคาตอบแทน ใหแกบุตรชอบดวยกฎหมายซึ่งไมรวมถึงบุตรบุญธรรมที่ไมไดรับยกเวน 2.3 กําหนดใหการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพยโดยไมมีคาตอบแทน ใหแกบุตรชอบดวยกฎหมายซึ่งไมรวมถึงบุตรบุญธรรมใหผูโอนหักภาษีไวรอยละ 5 ของเงินไดเฉพาะในสวนที่เกิน สิบลานบาท 2.4 กําหนดบทเฉพาะกาล ใหการเสียภาษีเงินไดในสวนของเงินไดพึงประเมินที่ไมไดรับยกเวน ตามประมวลรัษฎากรซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ใหคิดเฉพาะเงินไดที่ไดรับมาภายหลังวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ

-41-


3. เรื่อง รางระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของขาราชการและ ลูกจางประจําของสวนราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการรางระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจายเงินเพิ่ม การครองชีพชั่วคราวของขาราชการและลูกจางประจําของสวนราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ตามที่ กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ และใหสงคณะกรรมการตรวจสอบรางกฎหมายและรางอนุบัญญัติที่เสนอ คณะรัฐมนตรีตรวจพิจารณา แลวดําเนินการตอไปได สาระสําคัญของเรื่อง กค. เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาวา 1. สืบเนื่องจากนโยบายของรัฐบาลดานที่ 10 การสงเสริมการบริหารราชการแผนดินที่มีธรรมาภิบาล และการปองกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ ขอ 10.1 จัดระบบอัตรากําลังและปรับปรุง คาตอบแทนบุคลากรภาครัฐใหเหมาะสมและเปนธรรม สํานักงาน ก.พ. จึงไดจัดทําขอเสนอเรื่องการยกระดับ รายไดขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐชั้นผูนอยใหนายกรัฐมนตรีพิจารณา โดยเสนอแนวทางดําเนินการ 2 แนวทางคือ 1) ปรับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราว และ 2) ปรับบัญชีเงินเดือน ซึ่งในแนวทางการปรับเงิน เพิ่มการครองชีพชั่วคราวของขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐทุกประเภท ให กค. เสนอแกไขระเบียบกระทรวง การคลังวาดวยการเบิกจายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของขาราชการและลูกจางประจําของสวนราชการ พ.ศ. 2548 และที่แกไขเพิ่มเติม และนําเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาโดยเร็ว 2. โดยใหระเบียบมีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2557 เปนตนไป และมีการปรับเพดานเงินเดือน ขั้นสูงจาก 12,285 บาท เปน 13,285 บาท และปรับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเพิ่มขึ้นจากอัตราเดือนละ 1,500 บาท เปน 2,000 บาท แตเมื่อรวมกับเงินเดือนแลวตองไมเกินเดือนละ 13,285 บาท และกรณีที่มีรายไดไมถึง เดือนละ 10,000 บาท ใหไดรับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเพิ่มขึ้นอีกจนถึงเดือนละ 10,000 บาท ซึ่ง นายกรัฐมนตรีไดพิจารณาเห็นชอบกับแนวทางตามที่สํานัก ก.พ. เสนอ 3. เพื่อใหสอดคลองเปนไปตามนโยบายของรัฐบาลและแนวทางที่นายกรัฐมนตรีเห็นชอบจึงไดดําเนินการ ยกรางระเบียบการคลังวาดวยการเบิกจายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของขาราชการลูกจางประจําของสวนราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ขึ้น โดยไดกําหนดใหเบิกจายตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2557 เปนตนไป รางระเบียบมีสาระสําคัญ ดังนี้ 1. กําหนดวันใชบังคับระเบียบดังกลาวตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2557 เปนตนไป 2. กําหนดใหขาราชการและลูกจางประจําที่บรรจุ หรือแตงตั้งใหดํารงตําแหนงที่กําหนดคุณสมบัติเฉพาะ ตําแหนงตองใชผูสําเร็จการศึกษาระดับต่ํากวาปริญญาตรี ที่มีอัตราเงินเดือนหรืออัตราคาจางไมถึงเดือนละ 13,285 บาท ใหไดรับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเดือนละ 2,000 บาท แตเมื่อรวมกับเงินเดือนหรือคาจางแลวตองไมเกิน เดือนละ 13,285 บาท 3. กําหนดใหขาราชการและลูกจางประจําตามขอ 2 ที่ไดรับเงินเดือนหรืออัตราคาจางรวมกับเงินเพิ่ม การครองชีพชั่วคราวไมถึงเดือนละ 10,000 บาท ใหไดรับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเพิ่มขึ้นจากเงินเดือนหรือ คาจางอีกจนถึงเดือนละ 10,000 บาท 4. กําหนดใหลูกจางชั่วคราวที่กําหนดคุณสมบัติเฉพาะตําแหนงตองใชผูสําเร็จการศึกษาระดับต่ํากวา ปริญญาตรี ที่มีคาจางไมถึงเดือนละ 10,000 บาท ใหไดรับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเพิ่มขึ้นจากคาจางอีกจนถึง เดือนละ 10,000 บาท 5. กําหนดใหทหารกองประจําการที่ไดรับเงินเดือนในระดับ พ.1 ที่ไดรับเงินเดือนไมถึงเดือนละ 10,000 บาท ใหไดรับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเพิ่มขึ้นจากเงินเดือนอีกจนถึงเดือนละ 10,000 บาท

-42-


4. เรื่อง การพิจารณาใหความชวยเหลือผูประกอบการกอสรางที่ไดรับผลกระทบจากการขาดแคลนแรงงาน อันเนื่องมาจากการปรับคาจางขั้นต่ํา 300 บาท เพิ่มเติมจากมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2556 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบและเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ดังนี้ 1. รับทราบหลักเกณฑและเงื่อนไขการพิจารณาใหความชวยเหลือผูประกอบการกอสรางที่ไดรับ ผลกระทบจากการขาดแคลนแรงงานอันเนื่องมาจากการปรับคาจางขั้นต่ํา 300 บาท เพิ่มเติมจากมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2556 ที่คณะกรรมการวาดวยการพัสดุ (กวพ.) ไดพิจารณาแลวในการประชุมครั้งที่ 8/2557 เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2557 และการประชุมครั้งที่ 9/2557 เมื่อวันที่21 กรกฎาคม 2557 2. เห็นชอบใหสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่นของรัฐนําหลักเกณฑและเงื่อนไขในการพิจารณา ใหความชวยเหลือผูประกอบการกอสรางที่ไดรับผลกระทบจากการขาดแคลนแรงงานอันเนื่องมาจากการปรับ คาจางขั้นต่ํา 300 บาท เพิ่มเติมจากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2556 จํานวน 2 เรื่อง ไดแก การเพิ่มระยะเวลาในการดําเนินงานใหกับผูประกอบการกอสราง และการพิจารณาไมลงโทษเปนผูทิ้งงาน (เพิ่มเติม) ที่ กวพ. ไดพิจารณาแลว ไปถือปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน และมอบหมายใหกระทรวงมหาดไทย (มท.) นําหลักเกณฑและเงื่อนไขดังกลาวไปใชบังคับในการจัดจางกอสรางขององคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) ดวยโดยอนุโลม 25 พฤศจิกายน 2557 5. เรื่อง มาตรการทางภาษีอากรและคาธรรมเนียมเพื่อสนับสนุนการปรับปรุงโครงสรางหนี้ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบมาตรการทางภาษีอากรและคาธรรมเนียมเพื่อสนับสนุนการปรับปรุงโครงสรางหนี้ โดยขยายระยะเวลาการยกเวนภาษี การยกเวนการดําเนินการตามหลักเกณฑการจําหนายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ ที่กรมสรรพากรกําหนด รวมทั้งการลดหยอนคาธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเปนพิเศษจากสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 เปนสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2. เห็นชอบรางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... รางกฎกระทรวง ฉบับที่ ... (พ.ศ. ....) ออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการจําหนายหนี้สูญ จากบัญชีลูกหนี้ รางประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง หลักเกณฑการลดหยอนคาธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิ และนิติกรรมเปนพิเศษตามประมวลกฎหมายที่ดิน สําหรับกรณี การปรับปรุงโครงสรางหนี้ ตามหลักเกณฑ ที่คณะรัฐมนตรีกําหนดและรางประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง หลักเกณฑการลดหยอนคาธรรมเนียม จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเปนพิเศษตามกฎหมายวาดวยอาคารชุด สําหรับกรณีการปรับปรุงโครงสรางหนี้ ตามหลักเกณฑที่คณะรัฐมนตรีกําหนด รวม 4 ฉบับ ที่สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาเสร็จแลว และมอบหมายใหสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีดําเนินการตอไป สาระสําคัญของเรื่อง 1. มาตรการทางภาษีอากรและคาธรรมเนียมเพื่อสนับสนุนการปรับปรุงโครงสรางหนี้เปนการขยาย ระยะเวลาการยกเวนภาษีทางตรงและทางออมบางกรณี การยกเวนการดําเนินการตามหลักเกณฑการจําหนาย หนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ที่กรมสรรพากรกําหนด รวมทั้งการลดหยอนคาธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม เปนพิเศษใหแกเจาหนี้ซึ่งเปนสถาบันการเงินหรือเจาหนี้อื่นและลูกหนี้ สําหรับการปรับปรุงโครงสรางหนี้ ที่ไมกอใหเกิดรายได (Non-Performing Loan: NPL) ตามหลักเกณฑการปรับปรุงโครงสรางหนี้ของสถาบัน การเงินที่ธนาคารแหงประเทศไทยประกาศกําหนด โดยมีหลักการดังตอไปนี้

-43-


1.1 ยกเวนภาษีและยกเวนการดําเนินการตามหลักเกณฑการจําหนายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ตาม หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกําหนด ประกอบดวย (ก) ยกเวนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาและภาษีเงินไดนิติบุคคลใหแกลูกหนี้ของสถาบันการเงินหรือ ลูกหนี้ของเจาหนี้อื่น สําหรับเงินไดที่ไดรับจากการปลดหนี้ของสถาบันการเงินหรือเจาหนี้อื่น เฉพาะการปลดหนี้ ที่ไดกระทําในระหวางวันที่ 1 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ข) ยกเวนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมปใหแกลูกหนี้ของสถาบันการเงินหรือลูกหนี้ของเจาหนี้อื่นและสถาบันการเงินหรือเจาหนี้อื่น สําหรับเงินไดที่ไดรับจากการโอนทรัพยสิน การขายสินคาหรือการใหบริการ และการกระทําตราสารอัน เนื่องมาจากการปรับปรุงโครงสรางหนี้ของสถาบันการเงินหรือเจาหนี้อื่น เฉพาะการโอนทรัพยสิน การขายสินคา หรือการใหบริการ และการกระทําตราสารที่ไดกระทําในระหวางวันที่ 1 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ค) ยกเวนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป ใหแกลูกหนี้ของสถาบันการเงินและผูค้ําประกันของลูกหนี้ที่จํานองอสังหาริมทรัพยเปนประกันหนี้กับ เจาหนี้สถาบันการเงินและไดมีการขายอสังหาริมทรัพยดังกลาวใหบุคคลอื่น เพื่อนําเงินมาชําระหนี้แกเจาหนี้ สถาบันการเงิน ซึ่งไดดําเนินการปรับปรุงโครงสรางหนี้ตามหลักเกณฑ การปรับปรุงโครงสรางหนี้ของสถาบัน การเงินที่ธนาคารแหงประเทศไทยประกาศกําหนด เฉพาะสวนที่ไมเกินกวาหนี้ที่คางชําระอยูกับสถาบันการเงิน หรือมีภาระผูกพันตามสัญญาประกันหนี้กับสถาบันการเงินตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดี กรมสรรพากรประกาศกําหนด โดยการโอนอสังหาริมทรัพยและการกระทําตราสารตองกระทําในระหวาง วันที่ 1 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557 (ง) ยกเวนการดําเนินการตามหลักเกณฑการจําหนายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ที่กรมสรรพากร กําหนด สําหรับการจําหนายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ของเจาหนี้ซึ่งเปนสถาบันการเงินหรือเจาหนี้อื่น ในสวนของ หนี้ที่เจาหนี้ดังกลาวไดปลดหนี้ใหแกลูกหนี้ในระหวางวันที่ 1 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557 อันเนื่องมาจากการปรับปรุงโครงสรางหนี้ตามหลักเกณฑการปรับปรุงโครงสรางหนี้ของสถาบันการเงินที่ธนาคาร แหงประเทศไทยประกาศกําหนด 1.2 ลดหยอนคาธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเปนพิเศษตั้งแตวันถัดจากวันที่ประกาศ กระทรวงมหาดไทยประกาศในราชกิจจานุเบกษาถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ประกอบดวย (ก) ลดคาธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมการโอนและการจํานองอสังหาริมทรัพยตาม ประมวลกฎหมายที่ดินลงเหลือรอยละ 0.01 (ข) ลดคาธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมการโอนและการจํานองหองชุดตามกฎหมาย วาดวยอาคารชุดลงเหลือรอยละ 0.01 2. เพื่อใหเปนไปตามหลักการขางตน จะตองดําเนินการดังตอไปนี้ 2.1 กระทรวงการคลังตราพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวน รัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... จํานวน 1 ฉบับ และกฎกระทรวง ฉบับที่ ... (พ.ศ. ....) ออกตามความในประมวล รัษฎากร วาดวยการจําหนายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ จํานวน 1 ฉบับ 2.2 กระทรวงมหาดไทยออกประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง หลักเกณฑ การลดหยอนคาธรรมเนียม จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเปนพิเศษตามประมวลกฎหมายที่ดิน สําหรับกรณี การปรับปรุงโครงสรางหนี้ ตามหลักเกณฑที่คณะรัฐมนตรีกําหนด จํานวน 1 ฉบับ และประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง หลักเกณฑ

-44-


การลดหยอนคาธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเปนพิเศษตามกฎหมายวาดวยอาคารชุด สําหรับกรณี การปรับปรุงโครงสรางหนี้ ตามหลักเกณฑที่คณะรัฐมนตรีกําหนด จํานวน 1 ฉบับ ทั้งนี้ กระทรวงการคลัง โดย กรมสรรพากร และกระทรวงมหาดไทย โดยกรมที่ดิน ไดดําเนินการยกรางพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง และ ประกาศกระทรวงมหาดไทยดังกลาวขางตนและสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไดตรวจพิจารณาเสร็จแลว 6. เรื่อง การจัดสรรหุนเพิ่มทุนสามัญประจําป 2553 ของบรรษัทการเงินระหวางประเทศเพิ่มเติมใหแกประเทศไทย คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบยืนยันการขอซื้อหุนเพิ่มทุนเพิ่มเติมจํานวน 4 หุน จากบรรษัทการเงินระหวางประเทศ (The International Financial Cooperation : IFC) 2. มอบหมายใหสํานักงบประมาณ (สงป.) จัดสรรงบประมาณ รายการเงินสํารองจายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือ จําเปน ภายใตงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ 2558 สําหรับการซื้อหุนเพิ่มทุนดังกลาว เพื่อ กค. จะได ดําเนินการในสวนที่เกี่ยวของตอไป 3. มอบหมายรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังในฐานะผูวาการของไทยในธนาคารโลกลงนามในเอกสาร ยืนยันขอรับการจัดสรรหุนเพิ่มทุน [Form of Instrument of Subscription (for additional shares)] สาระสําคัญของเรื่อง กค. รายงานวา 1. บรรษัทการเงินระหวางประเทศ (IFC) เปนสถาบันการเงินในสังกัดกลุมธนาคารโลก จัดตั้งขึ้นในป 2499 มีนโยบายหลักเพื่อสงเสริมและสนับสนุนการลงทุนของภาคเอกชนในประเทศกําลังพัฒนา ซึ่งรวมถึง การจัดสรรเงินกูระยะยาว การค้ําประกัน การบริหารความเสี่ยง และการใหคําปรึกษาตาง ๆ โดยปจจุบัน IFC มีสมาชิกทั้งสิ้น 182 ประเทศ ซึ่งสมาชิกของ IFC ดังกลาวเปนสมาชิกของธนาคารโลกดวย 2. สําหรับการเพิ่มทุนสามัญประจําป 2553 ของ IFC เปนสวนหนึ่งของการปฏิรูปของกลุมธนาคารโลก ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อตองการปฏิรูปอํานาจการออกเสียงและการมีสวนรวมของประเทศกําลังพัฒนา 3. ประเทศไทยไดรับการจัดสรรหุนเพิ่มทุนจํานวน 836 หุน โดยมีคาหุน 1,000 ดอลลารสหรัฐตอหุน โดย IFC ไดกําหนดใหประเทศที่ไดรับการจัดสรรหุนเพิ่มทุนเพิ่มเติมรวมถึงประเทศไทยยืนยันขอรับการจัดสรร หุนเพิ่มทุนดังกลาวอยางเปนทางการภายในวันที่ 27 ธันวาคม 2557 และกําหนดใหชําระคาหุนดังกลาวภายใน วันที่ 27 มิถุนายน 2558 ทั้งนี้ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังในฐานะผูวาการของไทยในธนาคารโลกจะตอง ลงนามในเอกสารยืนยันขอรับการจัดสรรหุนเพิ่มทุน (Form of Instrument of Subscription (for additional shares) และสงให IFC ภายในวันที่ 27 ธันวาคม 2557

-45-


สถิติดานการคลัง


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปปฏิทิน) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) GDP (ปงบประมาณ) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ)

2535 261,042 52,945 87,273 2,884 66,614 9,629 3,781 134 102,028 41,346 15,490 15,247 7,818 15,713 5,125 301 695 294 7 38 1 2 86,246 85,082 11 1,153 449,316 76,048 42,896 33,152 525,364

2536 300,805 57,237 103,975 3,448 112,582 16,764 3,876 184 125,789 43,711 15,638 16,679 9,478 34,350 5,158 546 73 157 10 56 2 6 105,910 104,651 11 1,247 532,504 75,603 36,701 38,902 608,106

2537 366,957 67,651 133,268 3,603 134,791 21,227 4,752 224 138,670 46,131 19,708 19,272 12,262 34,515 5,636 899 136 111 11 64 2 52 7 116,872 115,540 14 1,318 622,499 85,047 41,794 43,253 707,546

2538 444,512 86,190 157,078 3,196 163,122 28,311 5,284 249 155,308 53,501 20,717 19,759 15,131 38,147 6,598 1,190 156 109 12 69 59 16 128,548 127,124 9 1,415 728,368 86,775 41,250 45,525 815,143

2539 508,832 109,396 172,235 3,430 184,227 33,410 5,286 276 167,160 58,005 24,057 21,548 17,360 37,343 6,845 1,729 153 119 10 75 2 55 12 129,543 128,212 6 1,324 805,535 89,756 40,650 49,106 895,291

หนวย : ลานบาท 2540 2541 518,620 498,966 115,137 122,945 162,655 99,480 5,322 5,316 195,813 232,388 34,286 35,241 4,734 2,992 408 263 180,168 155,564 63,983 65,373 29,816 28,560 22,763 20,257 21,383 23,191 32,295 8,557 7,519 7,023 1,765 1,003 129 538 168 442 204 481 142 139 126 11 163 91 103 7 11 17 19 59 56 19 3 104,160 69,338 102,704 67,108 8 17 1,448 2,213 802,947 723,868 106,101 91,813 38,102 42,518 68,000 49,295 909,049 815,681

525,364 525,364 2,830,900 18.6 2,749,800 19.1

41,432 38,354 3,078 10,348 556,326 556,326 3,165,222 17.6 3,034,300 18.3

48,723 45,330 3,393 6,262 652,561 652,561 3,629,341 18.0 3,496,880 18.7

52,937 49,143 3,794 7,108 755,098 755,098 4,186,212 18.0 4,068,515 18.6

37,813 34,148 3,665 7,473 850,005 850,005 4,611,041 18.4 4,510,055 18.8

58,400 55,313 3,087 7,073 843,576 843,576 4,732,610 17.8 4,699,943 17.9

74,660 63,858 10,802 7,559 733,462 733,462 4,626,447 15.9 4,666,795 15.7


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปปฏิทิน) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) GDP (ปงบประมาณ) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ)

2542 452,317 106,071 108,820 10,872 201,976 21,311 2,824 258 163,892 66,584 26,655 22,800 24,992 13,941 6,484 904 482 419 474 158 114 191 87 6 24 49 3 68,095 66,994 36 1,064 684,303 109,042 52,679 56,364 793,346

2543 461,322 91,790 145,554 10,739 192,510 17,015 3,351 236 168,822 64,832 28,134 8,276 26,438 26,781 7,444 1,104 791 444 579 3,999 97 218 127 11 20 55 53 87,195 85,338 75 1,782 717,338 100,257 56,182 44,075 817,595

2544 499,711 101,136 149,677 17,154 215,158 12,852 3,408 242 177,600 64,124 32,310 8,933 29,991 30,330 8,100 1,429 932 713 525 213 62 246 112 14 26 59 5 92,838 91,359 82 1,397 770,149 104,617 45,482 59,135 874,766

หนวย : ลานบาท 2545 2546 2547 2548 544,281 627,682 772,236 937,149 108,371 117,309 135,155 147,352 170,415 208,859 261,890 329,516 19,128 21,773 31,935 41,178 228,196 261,306 316,134 385,718 13,715 12,757 20,024 26,304 4,122 5,348 6,820 6,816 236 286 278 266 208,153 246,641 275,773 279,395 68,840 73,605 76,996 76,458 31,697 33,289 36,325 38,193 22,290 25,676 26,181 28,620 31,650 36,987 42,749 45,483 41,560 56,474 65,012 58,760 7,748 8,621 9,350 10,106 1,793 2,347 2,859 3,712 1,224 1,581 1,641 1,849 582 591 763 762 556 813 993 1,121 212 239 280 398 45 68 97 86 268 299 332 372 126 145 167 179 15 22 34 40 23 26 23 38 60 65 44 74 5 19 5 15 54 48 53 38 82 92 78 161 185 98,629 111,819 106,122 110,403 96,326 110,054 103,635 106,917 163 216 267 285 2,139 1,549 2,220 3,202 851,062 986,142 1,154,132 1,326,948 108,375 118,485 135,747 147,472 46,965 50,772 49,086 60,664 2,483 3,599 2,976 3,210 57,862 64,114 52,611 82,114 959,437 1,104,627 1,289,880 1,474,420

75,325 64,655 10,670 2,994 5,916 709,111 709,111 4,637,079 15.3 4,607,310 15.4

57,036 47,358 9,679 3,198 7,278 750,082 750,082 4,922,731 15.2 4,849,547 15.5

77,920 65,682 12,239 3,732 7,698 785,416 785,416 5,133,502 15.3 5,101,367 15.4

79,902 80,150 115,574 131,220 65,769 69,261 96,947 109,625 14,133 10,888 18,627 21,594 4,109 5,042 6,368 7,451 8,234 10,501 11,226 12,421 867,192 1,008,934 1,156,713 1,323,328 16,525 40,604 47,726 58,400 850,667 968,330 1,108,986 1,264,928 5,450,643 5,917,369 6,489,476 7,092,893 15.6 16.4 17.1 17.8 5,345,826 5,780,452 6,321,068 6,920,178 15.9 16.8 17.5 18.3


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปปฏิทิน) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) GDP (ปงบประมาณ) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ)

หนวย : ลานบาท 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 1,057,200 1,119,194 1,276,080 1,138,565 1,264,584 1,515,666 1,617,293 170,079 192,795 204,847 198,095 208,374 236,339 266,203 374,689 384,619 460,650 392,172 454,565 574,059 544,591 56,524 65,735 74,033 90,712 67,599 81,444 94,097 417,772 434,272 503,439 431,775 502,176 577,632 659,804 30,623 34,406 25,133 18,099 22,892 35,614 41,057 7,268 7,137 7,724 7,488 8,735 10,299 11,180 244 230 254 223 243 279 362 274,095 287,231 278,303 291,221 405,862 399,779 379,652 70,742 76,944 67,211 91,059 152,825 117,914 61,061 35,657 41,824 41,832 43,936 53,381 57,197 59,915 29,143 33,298 36,816 37,982 42,398 48,624 53,500 44,207 52,088 53,465 48,993 58,831 61,498 64,893 59,810 55,844 57,822 49,278 77,202 92,844 117,145 10,765 11,735 12,391 12,186 14,245 14,526 16,208 3,525 3,727 3,769 3,111 1,615 1,183 977 2,010 1,665 1,673 1,608 1,979 2,284 2,318 1,178 1,426 1,708 1,479 1,947 2,197 2,126 1,169 1,183 1,196 1,062 1,039 1,088 1,099 367 269 309 528 400 424 411 87 87 84 73 64 62 57 425 447 490 428 452 494 476 185 177 167 183 190 201 221 56 68 63 43 39 22 23 39 29 44 31 27 24 40 52 46 37 42 26 29 35 0 0 0 26 16 6 7 3 0 2 104 111 111 91 95 113 104 196 202 192 164 141 143 140 96,232 90,625 99,602 80,288 97,148 102,882 118,973 93,633 88,169 96,944 77,187 93,512 99,968 116,325 314 345 501 404 169 241 323 2,285 2,112 2,157 2,697 3,467 2,673 2,326 1,427,528 1,497,050 1,653,985 1,510,074 1,767,594 2,018,326 2,115,919 153,996 206,724 183,659 174,224 235,453 206,051 239,391 73,500 80,593 77,546 83,761 140,031 102,687 112,268 3,330 3,052 4,682 3,822 3,868 4,569 4,374 77,165 86,129 101,430 86,641 91,553 98,795 122,749 1,581,524 1,703,775 1,837,643 1,684,297 2,003,047 2,224,377 2,355,310 162,951 181,793 202,716 199,408 208,733 138,206 150,035 173,994 157,838 160,052 24,745 31,758 28,723 41,570 48,681 9,172 9,514 11,625 9,040 11,096 12,399 10,416 12,044 11,160 13,005 1,397,002 1,502,051 1,611,258 1,464,690 1,770,213 57,312 57,592 65,420 53,832 65,736 1,339,691 1,444,460 1,545,837 1,410,858 1,704,477 7,844,939 8,525,197 9,080,466 9,041,551 10,104,821 17.1 16.9 17.0 15.6 16.9 7,699,350 8,301,652 9,145,520 8,850,552 9,921,040 17.4 17.4 16.9 15.9 17.2

230,014 188,471 41,543 12,677 14,813 1,966,873 74,556 1,892,317 10,540,134 18.0 10,669,274 17.7

260,374 216,012 44,362 14,815 15,280 2,064,841 88,965 1,975,876 11,375,349 17.4 10,865,428 18.2


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปปฏิทิน) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) GDP (ปงบประมาณ) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ)

หนวย : ลานบาท 2556 2557 2558 (1 เดือน) 1,764,706 1,729,819 111,345 299,034 280,945 21,259 592,499 570,118 23,360 113,291 102,165 16 698,087 711,556 60,850 48,771 53,034 4,631 12,735 11,663 1,199 290 338 30 432,898 382,731 33,934 63,532 63,403 5,852 67,893 61,001 7,272 52,640 64,654 5,099 69,119 76,559 6,721 153,874 93,473 6,755 17,838 16,622 1,596 1,003 519 50 2,933 2,585 233 2,294 2,074 183 1,208 1,157 105 563 684 68 58 55 9 566 552 43 236 224 24 32 27 2 39 35 5 27 21 2 107 107 9 143 136 12 113,393 108,841 8,947 110,628 105,761 8,728 254 269 22 2,511 2,811 197 2,310,997 2,221,391 154,226 260,465 272,645 45,672 152,568 130,527 8,547 6,448 5,427 162 101,448 136,691 36,963 2,571,462 2,494,036 199,898 283,471 228,941 54,530 15,476 16,946 2,255,569 93,967 2,161,602 11,898,710 18.2 11,843,330 18.3

291,007 226,086 64,921 15,439 16,178 2,171,412 96,387 2,075,025 12,268,000 16.9 12,061,100 17.2

25,400 23,000 2,400 1,600 1,400 171,498 171,498 N/A N/A N/A N/A

หมายเหตุ : ขอมูล GDP ป 2557 จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2557 ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน

กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร

ต.ค.54 88,824 18,411 19,135 17 47,791 2,745 707 17 26,802 4,804 3,206 4,117 5,013 8,202 923 49 205 163 87 31 5 31 20 2 4 3 9 12 7,752 7,599 63 90 123,377 25,002 4,221 82 20,700 148,380

พ.ย.54 98,404 15,450 33,027 640 45,714 2,837 719 16 25,632 4,701 7,150 3,264 4,940 3,544 1,705 31 69 121 64 43 3 23 14 2 2 1 0 9 11 9,190 9,012 23 154 133,225 25,764 13,571 426 11,767 158,989

ธ.ค.54 91,520 18,155 16,639 54 52,020 3,706 914 31 30,755 4,923 6,214 5,941 6,488 5,271 1,520 57 47 142 75 79 1 36 13 1 2 2 8 11 10,291 10,061 27 204 132,566 11,789 8,793 160 2,836 144,355

ม.ค.55 99,215 27,377 16,475 14 51,665 2,816 766 102 27,908 5,514 4,313 4,715 5,573 6,123 1,162 64 147 150 96 53 5 43 18 3 2 3 9 12 9,760 9,549 3 208 136,883 15,325 6,459 1,580 7,286 152,208

ก.พ.55 113,459 21,977 25,910 7,648 53,808 3,198 896 21 30,531 5,245 4,761 4,631 5,802 8,370 1,142 72 200 170 108 31 5 58 17 2 1 2 2 9 12 9,709 9,531 22 156 153,698 19,149 14,736 620 3,793 172,847

ปงบประมาณ 2555 มี.ค.55 เม.ย.55 110,475 105,826 32,109 26,879 17,071 17,734 935 664 55,599 56,659 3,788 3,009 948 857 26 24 37,620 32,213 5,151 4,897 6,195 5,363 5,812 4,411 6,796 5,449 11,460 9,908 1,569 1,540 92 77 216 243 194 198 107 103 27 22 5 5 54 48 19 21 2 2 3 4 2 3 9 9 12 12 11,195 10,317 10,874 10,128 66 24 255 165 159,291 148,355 15,981 25,262 5,012 4,195 270 654 10,699 20,413 175,272 173,617

13,553 12,270 1,283 1,040 826 132,961 132,961

18,234 16,564 1,669 1,012 908 138,836 138,836

15,409 14,104 1,304 1,198 1,084 126,665 126,665

15,490 14,114 1,377 1,074 1,011 134,632 134,632

25,190 20,412 4,778 1,249 1,017 145,391 7,155 138,236

26,956 18,040 8,916 1,303 1,198 145,815 5,845 139,969

23,409 15,946 7,463 1,265 995 147,948 7,615 140,333

หนวย: ลานบาท พ.ค.55 277,714 22,403 121,712 72,530 56,276 3,605 1,160 27 31,324 5,128 4,043 3,629 5,190 11,198 1,543 94 197 186 90 26 7 36 20 2 2 4 9 11 11,314 11,077 28 209 320,351 20,106 15,338 120 4,648 340,457

มิ.ย.55 152,927 23,009 66,689 748 57,025 4,268 1,162 27 32,068 4,997 4,026 3,852 4,658 12,453 1,391 121 249 203 89 28 5 38 17 1 5 3 8 12 9,829 9,699 3 127 194,824 12,661 8,811 141 3,709 207,485

ก.ค.55 100,699 20,857 18,874 0 56,349 3,562 1,030 26 34,015 5,327 5,070 4,325 5,218 12,219 1,195 110 243 196 87 26 5 35 18 2 3 3 0 8 12 9,960 9,908 32 20 144,674 13,444 4,724 99 8,621 158,118

ส.ค.55 207,576 19,304 114,643 10,833 58,229 3,567 977 24 36,790 5,338 5,562 4,756 4,787 14,307 1,334 111 259 219 94 23 5 36 20 2 7 3 0 1 8 12 10,496 9,865 29 601 254,862 20,403 16,890 107 3,407 275,265

ก.ย.55 170,656 20,272 76,681 12 68,669 3,957 1,043 22 33,995 5,036 4,012 4,048 4,981 14,089 1,183 100 242 186 98 22 5 38 24 2 4 5 8 12 9,162 9,023 2 136 213,813 34,505 9,520 116 24,869 248,317

24,039 18,291 5,748 1,256 1,348 313,814 7,541 306,273

22,729 18,257 4,472 1,339 2,538 180,879 6,661 174,218

21,318 19,324 1,994 1,281 1,071 134,448 7,534 126,914

23,803 21,035 2,768 1,273 1,259 248,930 8,170 240,760

30,245 27,654 2,590 1,524 2,026 214,524 38,445 176,079


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน

กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร

หนวย: ลานบาท ต.ค.55 106,740 21,133 21,836 1 58,962 3,732 1,053 24 37,241 4,945 4,684 4,031 6,449 15,162 1,325 95 225 183 95 49 6 36 26 2 2 3 8 12 10,859 10,535 20 303 154,839 18,996 4,919 831 13,247 173,835

พ.ย.55 122,454 19,553 35,395 600 61,600 4,218 1,068 20 41,689 5,121 6,041 4,987 7,271 15,992 1,607 90 214 208 95 64 5 38 23 2 3 2 9 12 10,679 10,484 20 175 174,822 25,777 19,738 970 5,068 200,599

ธ.ค.55 117,663 19,113 33,800 1,538 57,487 4,720 987 19 40,140 5,485 5,072 3,992 6,780 16,540 1,554 90 213 203 107 104 5 50 21 4 3 2 10 12 9,533 9,378 20 136 167,337 40,320 35,810 1,629 2,881 207,657

ม.ค.56 124,080 33,461 22,467 1,435 62,107 3,508 1,082 19 37,983 5,856 5,753 5,392 5,503 13,204 1,568 93 241 161 115 96 5 60 17 3 4 2 11 12 9,895 9,814 3 78 171,958 14,959 5,620 240 9,099 186,917

ก.พ.56 115,473 23,673 20,506 9,676 56,913 3,662 1,024 19 36,007 4,882 6,392 4,568 5,326 12,700 1,424 101 243 200 123 48 4 69 20 2 3 2 10 12 8,595 8,338 22 235 160,076 25,311 19,461 420 5,431 185,387

ปงบประมาณ 2556 มี.ค.56 เม.ย.56 116,606 118,463 35,874 30,789 18,220 23,147 9 228 57,134 59,568 4,240 3,661 1,103 1,040 26 29 38,110 37,844 5,211 5,501 5,640 5,153 4,637 4,730 6,816 6,093 13,284 13,785 1,816 1,854 96 86 258 295 192 212 113 108 46 29 4 7 62 53 20 18 2 2 2 4 2 2 9 9 12 12 9,107 8,948 8,897 8,804 16 3 194 140 163,823 165,255 21,657 26,924 6,376 4,399 246 662 15,034 21,863 185,479 192,179

24,357 22,251 2,106 1,332 1,180 146,966 146,966

23,516 21,618 1,898 1,313 1,234 174,537 174,537

18,129 16,983 1,146 1,293 1,247 186,988 186,988

20,759 17,687 3,072 1,371 1,308 163,480 163,480

27,095 20,696 6,399 1,234 991 156,067 156,067

32,750 21,995 10,754 1,326 1,276 150,128 150,128

27,958 17,264 10,694 1,378 1,283 161,560 32,385 129,175

พ.ค.56 291,871 25,245 114,243 90,970 56,123 4,150 1,113 28 33,387 5,501 5,288 4,221 5,812 10,326 1,611 84 241 187 91 25 5 39 19 2 4 2 9 12 8,637 8,453 39 146 333,895 29,152 18,486 107 10,559 363,048

มิ.ย.56 164,929 24,816 78,109 0 56,374 4,553 1,048 29 34,048 5,028 5,218 3,932 4,752 12,996 1,446 72 285 199 95 25 4 43 18 3 3 2 8 12 8,714 8,523 37 155 207,691 10,250 7,548 121 2,582 217,942

ก.ค.56 104,928 22,656 20,989 1 56,117 4,059 1,080 27 31,761 5,562 5,412 4,137 4,386 10,531 1,126 62 248 180 87 28 4 39 16 2 3 2 8 12 9,688 9,357 23 307 146,376 16,352 5,961 110 10,281 162,728

ส.ค.56 181,778 20,926 88,631 7,059 59,840 4,228 1,070 24 32,885 5,191 5,645 5,130 4,525 10,636 1,133 65 258 189 88 26 4 37 19 4 2 2 8 12 9,677 9,211 24 442 224,340 21,255 17,968 116 3,171 245,594

ก.ย.56 199,722 21,795 115,157 1,774 55,862 4,040 1,067 27 31,803 5,249 7,594 2,885 5,406 8,716 1,375 68 213 182 92 23 5 38 19 3 4 2 9 12 9,060 8,833 27 200 240,586 9,511 6,283 996 2,232 250,097

23,731 17,428 6,303 1,177 1,287 336,853 7,249 329,603

23,943 19,338 4,604 1,277 2,635 190,087 7,022 183,065

21,305 18,900 2,405 1,241 1,069 139,113 8,499 130,614

19,452 17,104 2,348 1,310 1,284 223,548 7,745 215,803

20,478 17,677 2,801 1,224 2,152 226,243 31,067 195,177


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน

กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร

หนวย: ลานบาท

ต.ค.56 112,332 22,094 23,685 0 61,045 4,396 1,085 26 36,625 5,204 5,837 7,069 7,552 9,153 1,164 74 219 190

พ.ย.56 118,159 20,613 33,865 1,154 57,073 4,460 971 23 34,994 5,014 3,452 7,830 8,070 8,592 1,523 50 179 135

ธ.ค.56 126,301 19,217 39,155 1,950 59,889 5,128 941 21 32,666 4,934 4,886 4,170 7,156 9,682 1,277 39 179 133

ม.ค.57 120,637 27,634 23,265 0 64,671 4,103 942 22 33,324 5,671 4,810 6,144 6,056 8,713 1,220 35 251 210

ก.พ.57 115,871 23,865 21,856 8,850 56,265 4,124 889 22 31,364 5,312 5,382 4,729 6,208 7,922 1,213 40 214 170

ปงบประมาณ 2557 มี.ค.57 เม.ย.57 112,535 111,183 30,194 26,610 19,599 19,551 0 0 57,252 60,060 4,477 3,993 981 938 32 31 36,125 33,339 5,208 5,124 5,641 5,844 5,751 4,964 8,795 6,717 8,425 8,406 1,728 1,676 41 22 211 264 161 177

96 67 6 36 23 4 5 2 8 12 9,542 9,400 2 141 158,499 44,051 7,168 250 36,633 202,550

81 68 2 36 14 3 2 2 10 12 8,966 8,828 2 137 162,119 26,180 18,411 260 7,509 188,300

94 117 2 50 13 2 2 2 10 12 8,687 8,514 23 150 167,654 15,356 10,206 1,953 3,196 183,010

114 100 3 59 20 2 6 2 11 12 9,608 9,353 26 228 163,568 21,106 6,192 306 14,609 184,674

118 55 4 67 18 3 3 2 9 11 7,982 7,897 25 60 155,216 26,810 18,289 720 7,802 182,026

107 57 4 59 19 2 4 1 8 11 8,948 8,602 28 318 157,608 17,887 5,419 285 12,183 175,495

102 42 4 52 21 2 3 9 11 8,358 8,208 24 126 152,879 25,410 6,623 667 18,120 178,289

89 45 4 40 22 2 1 2 9 11 8,797 8,675 24 98 291,432 32,731 17,172 317 15,242 324,163

81 24 2 41 15 2 2 2 7 10 8,608 8,419 24 166 216,950 13,384 9,024 197 4,163 230,334

83 39 4 35 18 2 3 2 7 11 9,971 9,245 23 703 147,774 15,471 6,147 144 9,180 163,245

94 32 9 38 20 3 3 2 9 12 9,112 8,897 23 192 212,820 22,164 18,672 156 3,336 234,985

99 39 11 39 22 2 2 2 10 12 10,263 9,724 47 492 234,871 12,094 7,204 172 4,718 246,965

21,481 18,150 3,331 1,341 1,161 178,566 178,566

19,669 18,085 1,584 1,208 973 166,450 166,450

21,795 19,695 2,100 1,391 1,385 158,439 158,439

17,382 15,344 2,038 1,370 1,197 164,724 8,591 156,133

22,987 16,045 6,942 1,243 956 156,840 7,799 149,041

32,989 19,914 13,075 1,229 1,205 140,071 8,036 132,035

29,647 18,646 11,001 1,302 1,123 146,218 9,889 136,329

34,977 25,139 9,838 1,271 1,255 286,660 8,062 278,598

25,713 19,044 6,669 1,239 2,559 200,824 7,456 193,368

23,081 20,038 3,043 1,256 1,101 137,806 8,285 129,521

20,937 19,055 1,883 1,308 1,064 211,675 6,668 205,007

20,348 16,932 3,416 1,280 2,199 223,138 31,600 191,538

พ.ค.57 252,501 24,557 99,442 64,478 58,779 4,281 932 31 30,134 5,140 5,397 5,181 5,485 6,866 1,524 36 203 170

มิ.ย.57 180,339 23,623 78,322 15,420 57,491 4,482 964 36 28,003 4,757 5,436 4,510 5,140 6,250 1,395 31 223 157

ก.ค.57 110,035 21,450 21,953 1,574 59,482 4,553 989 33 27,768 5,560 4,420 4,318 5,093 6,542 1,236 45 228 207

ส.ค.57 175,683 20,050 82,924 7,088 60,499 4,173 918 30 28,026 5,380 4,653 4,944 4,954 6,213 1,319 48 211 178

ก.ย.57 194,245 21,038 106,500 1,649 59,049 4,864 1,113 32 30,363 6,099 5,244 5,045 5,333 6,709 1,348 58 203 187


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน

กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร

หนวย: ลานบาท ปงบประมาณ 2558 ต.ค.57 111,346 21,259 23,360 16 60,850 4,631 1,199 30 33,934 5,852 7,272 5,099 6,721 6,755 1,596 50 233 183 105 68 9 43 24 2 5 2 9 12 8,947 8,728 22 197 154,227 45,673 8,547 162 36,963 199,900 25,400 23,000 2,400 1,600 1,400 171,500 171,500

ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง


สัดสวนรายไดตอ GDP (FY) 1. กรมสรรพากร 1.1 ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 1.2 ภาษีเงินไดนิติบุคคล 1.3 ภาษีเงินไดปโตรเลียม 1.4 ภาษีการคา 1.5 ภาษีมูลคาเพิ่ม 1.6 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.7 อากรแสตมป 1.8 รายไดอื่น ๆ 2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ 3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ 4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น 5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ 6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก 7.1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก 8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.

2548 13.54 2.13 4.76 0.60 5.57 0.38 0.10 0.00 4.04 1.10 0.55 0.41 0.66 0.85 0.15 0.05 0.03 0.01 0.20 0.02 0.01 1.60 1.55 0.00 0.05 1.21 0.92 0.88 0.05 21.31 2.18 1.90 1.58 0.31 0.11 0.18 19.12 0.84 18.28

2549 13.73 2.21 4.87 0.73 5.43 0.40 0.09 0.00 3.56 0.92 0.46 0.38 0.57 0.78 0.14 0.05 0.03 0.02 0.20 0.02 0.00 1.25 1.22 0.00 0.03 1.00 1.00 0.95 0.04 20.54 2.40 2.12 1.80 0.32 0.12 0.16 18.14 0.74 17.40

2550 13.48 2.32 4.63 0.79 5.23 0.41 0.09 0.00 3.46 0.93 0.50 0.40 0.63 0.67 0.14 0.04 0.02 0.02 0.09 0.01 0.00 1.18 1.06 0.00 0.03 1.12 1.45 0.97 0.04 20.52 2.43 2.19 1.81 0.38 0.11 0.13 18.09 0.69 17.40

2551 13.95 2.24 5.04 0.81 5.50 0.27 0.08 0.00 3.04 0.73 0.46 0.40 0.58 0.63 0.14 0.04 0.02 0.02 0.00 0.01 0.00 1.09 1.06 0.01 0.02 1.11 0.90 0.85 0.05 20.09 2.48 2.22 1.90 0.31 0.13 0.13 17.62 0.72 16.90

2552 12.86 2.24 4.43 1.02 4.88 0.20 0.08 0.00 3.29 1.03 0.50 0.43 0.55 0.56 0.14 0.04 0.02 0.02 0.01 0.01 0.91 0.87 0.00 0.03 0.98 0.99 0.95 0.04 19.03 2.48 2.25 1.78 0.47 0.10 0.13 16.55 0.61 15.94

2553 12.75 2.10 4.58 0.68 5.06 0.23 0.09 0.00 4.09 1.54 0.54 0.43 0.59 0.78 0.14 0.02 0.02 0.02 0.01 0.00 0.98 0.94 0.00 0.03 0.92 1.45 1.41 0.04 20.19 2.35 2.10 1.61 0.49 0.11 0.13 17.84 0.66 17.18

2554 14.21 2.22 5.38 0.76 5.41 0.33 0.10 0.00 3.75 1.11 0.54 0.46 0.58 0.87 0.14 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.96 0.94 0.00 0.03 0.93 1.01 0.96 0.04 20.85 2.41 2.16 1.77 0.39 0.12 0.14 18.43 0.70 17.74

2555 14.88 2.45 5.01 0.87 6.07 0.38 0.10 0.00 3.49 0.56 0.55 0.49 0.60 1.08 0.15 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 1.09 1.07 0.00 0.02 1.13 1.07 1.03 0.04 21.68 2.67 2.40 1.99 0.41 0.14 0.14 19.00 0.82 18.18

หนวย: รอยละ 2556 2557 14.90 14.34 2.52 2.33 5.00 4.73 0.96 0.85 5.89 5.90 0.41 0.44 0.11 0.10 0.00 0.00 3.66 3.17 0.54 0.53 0.57 0.51 0.44 0.54 0.58 0.63 1.30 0.77 0.15 0.14 0.01 0.00 0.02 0.02 0.02 0.02 0.01 0.01 0.00 0.01 0.96 0.90 0.93 0.88 0.00 0.00 0.02 0.02 0.86 1.13 1.34 1.13 1.29 1.08 0.05 0.04 21.71 20.68 2.67 2.67 2.39 2.41 1.93 1.87 0.46 0.54 0.13 0.13 0.14 0.13 19.05 18.00 0.79 0.80 18.25 17.20

ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมบัญชีกลาง สํานักงบประมาณ และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จัดทําโดย สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง


Revenue Buoyancy (GDP: FY) 1. กรมสรรพากร 1.1 ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 1.2 ภาษีเงินไดนิติบุคคล 1.3 ภาษีเงินไดปโตรเลียม 1.4 ภาษีการคา 1.5 ภาษีมูลคาเพิ่ม 1.6 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.7 อากรแสตมป 1.8 รายไดอื่น ๆ 2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ 3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ 4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น 5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ 6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก 7.1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก 8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.

2548 2.25 0.95 2.72 3.05 2.32 3.31 (0.01) (0.45) 0.14 (0.07) 0.54 0.98 0.67 (1.01) 0.85 3.15 1.34 (0.01) 1.09 1.36 4.43 0.43 0.33 0.70 4.67 4.50 (1.81) 2.49 0.83 1.51 1.42 1.43 1.38 1.68 1.79 1.12 1.52 2.36 1.48

หนวย: รอยละ

2549 2550 2551 1.14 0.75 1.38 1.37 1.71 0.61 1.22 0.34 1.94 3.31 2.08 1.24 0.74 0.50 1.57 1.46 1.58 (2.65) 0.59 (0.23) 0.81 (0.73) (0.78) 1.05 (0.17) 0.61 (0.31) (0.66) 1.12 (1.24) (0.59) 2.21 0.00 0.16 1.82 1.04 (0.25) 2.28 0.26 0.16 (0.85) 0.35 0.58 1.15 0.55 (0.45) 0.73 0.11 0.78 (2.19) 0.04 4.84 2.70 1.94 1.01 (6.83) (9.69) 0.38 0.15 0.11 (0.68) (3.43) 1.46 (1.14) (0.74) 0.97 (1.10) (0.75) 0.98 0.93 1.23 4.47 (2.54) (0.97) 0.21 (0.68) 1.48 1.75 1.80 7.28 (3.13) 1.88 1.23 (0.37) 0.33 (1.07) 5.25 0.65 0.99 0.77 1.97 1.19 1.20 2.15 1.48 1.13 2.32 1.09 1.57 1.30 3.62 (0.94) 2.05 0.48 2.18 (0.02) (2.04) 1.54 0.49 0.96 0.72 (0.17) 0.06 1.34 0.52 1.00 0.69

2552 2553 2554 3.34 0.92 2.63 1.02 0.43 1.78 4.61 1.32 3.49 (6.99) (2.11) 2.72 4.41 1.35 1.99 8.68 2.19 7.37 0.95 1.38 2.37 3.79 0.75 1.93 (1.44) 3.25 (0.20) (11.00) 5.61 (3.03) (1.56) 1.78 0.95 (0.98) 0.96 1.95 2.59 1.66 0.60 4.58 4.69 2.69 0.51 1.40 0.26 5.42 (3.98) (3.54) 1.19 1.91 2.04 4.16 2.62 1.70 3.48 (0.18) 0.63 (22.06) (2.01) 0.81 6.01 1.74 0.78 6.32 1.75 0.92 6.03 (4.81) 5.65 (7.76) 2.36 (3.04) 4.52 0.47 1.05 (2.02) 5.32 (3.38) (2.49) 5.55 (3.54) 5.70 0.10 2.40 2.59 1.56 1.47 0.93 0.50 1.40 0.51 0.39 1.35 2.88 0.12 2.35 (13.87) 1.41 (1.94) 6.89 1.88 1.89 2.28 1.37 1.84 2.82 1.72 1.47 5.49 1.83 1.78 2.71 1.72 1.46

2555 2556 3.65 1.01 6.87 1.37 (2.79) 0.98 8.45 2.27 7.74 0.64 8.31 2.09 4.65 1.55 16.35 (2.21) (2.74) 1.56 (26.23) 0.45 2.58 1.48 5.45 (0.18) 3.00 0.72 14.24 3.48 6.30 1.12 (9.46) 0.29 0.82 2.95 (1.74) 0.88 0.54 1.10 (1.69) 4.11 8.51 (0.52) 8.90 (0.54) 18.31 (2.35) (7.07) 0.89 13.19 (1.93) 4.76 4.04 5.07 3.99 (2.32) 5.27 3.20 1.02 6.96 0.97 7.18 0.99 7.95 0.67 3.69 2.55 9.17 0.50 1.72 1.21 2.71 1.03 10.51 0.62 2.40 1.04

ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมบัญชีกลาง สํานักงบประมาณ และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จัดทําโดย สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

2557 (1.08) (3.29) (2.05) (5.34) 1.05 4.75 (4.58) 8.97 (6.30) (0.11) (5.52) 12.41 5.85 (21.35) (3.71) (26.25) (6.46) (5.22) (2.29) 11.66 (2.18) (2.39) 3.25 6.50 18.89 (7.89) (7.86) (8.61) (1.64) 1.16 1.45 (0.68) 10.36 (0.13) (2.46) (2.03) 1.40 (2.18)


สัดสวนรายไดตอ GDP (CY) 1. กรมสรรพากร 1.1 ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 1.2 ภาษีเงินไดนิติบุคคล 1.3 ภาษีเงินไดปโตรเลียม 1.4 ภาษีการคา 1.5 ภาษีมูลคาเพิ่ม 1.6 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.7 อากรแสตมป 1.8 รายไดอื่น ๆ 2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ 3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ 4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น 5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ 6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก 7.1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก 8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.

2548 13.21 2.08 4.65 0.58 5.44 0.37 0.10 0.00 3.94 1.08 0.54 0.40 0.64 0.83 0.14 0.05 0.03 0.01 0.20 0.02 0.01 1.56 1.51 0.00 0.05 1.18 0.90 0.86 0.05 20.79 2.13 1.85 1.55 0.30 0.11 0.18 18.66 0.82 17.83

2549 13.48 2.17 4.78 0.72 5.33 0.39 0.09 0.00 3.49 0.90 0.45 0.37 0.56 0.76 0.14 0.04 0.03 0.02 0.20 0.01 0.00 1.23 1.19 0.00 0.03 0.98 0.98 0.94 0.04 20.16 2.35 2.08 1.76 0.32 0.12 0.16 17.81 0.73 17.08

2550 13.13 2.26 4.51 0.77 5.09 0.40 0.08 0.00 3.37 0.90 0.49 0.39 0.61 0.66 0.14 0.04 0.02 0.02 0.08 0.01 0.00 1.16 1.03 0.00 0.02 1.10 1.41 0.95 0.04 19.99 2.37 2.13 1.76 0.37 0.11 0.12 17.62 0.68 16.94

2551 14.05 2.26 5.07 0.82 5.54 0.28 0.09 0.00 3.06 0.74 0.46 0.41 0.59 0.64 0.14 0.04 0.02 0.02 0.00 0.01 0.00 1.10 1.07 0.01 0.02 1.12 0.91 0.85 0.05 20.24 2.49 2.23 1.92 0.32 0.13 0.13 17.74 0.72 17.02

2552 12.59 2.19 4.34 1.00 4.78 0.20 0.08 0.00 3.22 1.01 0.49 0.42 0.54 0.55 0.13 0.03 0.02 0.02 0.00 0.01 0.01 0.89 0.85 0.00 0.03 0.96 0.97 0.93 0.04 18.63 2.43 2.21 1.75 0.46 0.10 0.12 16.20 0.60 15.60

2553 12.51 2.06 4.50 0.67 4.97 0.23 0.09 0.00 4.02 1.51 0.53 0.42 0.58 0.76 0.14 0.02 0.02 0.02 0.01 0.00 0.96 0.93 0.00 0.03 0.91 1.42 1.39 0.04 19.82 2.30 2.07 1.58 0.48 0.11 0.13 17.52 0.65 16.87

2554 14.38 2.24 5.45 0.77 5.48 0.34 0.10 0.00 3.79 1.12 0.54 0.46 0.58 0.88 0.14 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.98 0.95 0.00 0.03 0.94 1.02 0.97 0.04 21.10 2.44 2.18 1.79 0.39 0.12 0.14 18.66 0.71 17.95

2555 14.23 2.34 4.79 0.83 5.81 0.36 0.10 0.00 3.34 0.54 0.53 0.47 0.57 1.03 0.14 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 1.05 1.02 0.00 0.02 1.08 1.03 0.99 0.04 20.73 2.56 2.29 1.90 0.39 0.13 0.13 18.17 0.78 17.39

หนวย: รอยละ

2556 14.83 2.51 4.98 0.95 5.87 0.41 0.11 0.00 3.64 0.53 0.57 0.44 0.58 1.29 0.15 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.95 0.93 0.00 0.02 0.85 1.34 1.28 0.05 21.61 2.65 2.38 1.92 0.46 0.13 0.14 18.96 0.79 18.17

ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมบัญชีกลาง สํานักงบประมาณ และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จัดทําโดย สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

2557 14.10 2.29 4.65 0.83 5.80 0.43 0.10 0.00 3.12 0.52 0.50 0.53 0.62 0.76 0.14 0.00 0.02 0.02 0.01 0.01 0.89 0.86 0.00 0.02 1.11 1.11 1.06 0.04 20.33 2.63 2.37 1.84 0.53 0.13 0.13 17.70 0.79 16.91


Revenue Buoyancy (GDP: CY) 1. กรมสรรพากร 1.1 ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 1.2 ภาษีเงินไดนิติบุคคล 1.3 ภาษีเงินไดปโตรเลียม 1.4 ภาษีการคา 1.5 ภาษีมูลคาเพิ่ม 1.6 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.7 อากรแสตมป 1.8 รายไดอื่น ๆ 2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ 3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ 4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น 5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ 6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก 7.1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก 8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.

2548 2.30 0.97 2.78 3.11 2.37 3.37 (0.01) (0.45) 0.14 (0.08) 0.55 1.00 0.69 (1.03) 0.87 3.21 1.36 (0.01) 1.12 1.38 4.52 0.43 0.34 0.71 4.76 4.58 (1.85) 2.54 0.85 1.54 1.45 1.46 1.41 1.71 1.83 1.15 1.55 2.41 1.51

2549 2550 2551 1.21 0.68 2.15 1.45 1.54 0.96 1.29 0.31 3.04 3.52 1.88 1.94 0.78 0.46 2.45 1.55 1.42 (4.14) 0.63 (0.21) 1.26 (0.77) (0.70) 1.63 (0.18) 0.55 (0.48) (0.71) 1.01 (1.94) (0.63) 1.99 0.00 0.17 1.64 1.62 (0.26) 2.06 0.41 0.17 (0.76) 0.54 0.61 1.04 0.86 (0.47) 0.66 0.18 0.82 (1.98) 0.07 5.14 2.43 3.03 1.07 (6.16) 0.40 0.14 0.17 (0.72) (3.09) 2.27 (1.21) (0.67) 1.52 (1.17) (0.67) 1.53 0.99 1.11 6.98 (2.70) (0.87) 0.33 (0.73) 1.34 2.73 1.91 6.57 (4.88) 2.00 1.11 (0.58) 0.35 (0.96) 8.20 0.69 0.89 1.21 2.09 1.08 1.88 2.28 1.33 1.77 2.46 0.99 2.45 1.38 3.27 (1.47) 2.18 0.43 3.41 (0.02) (1.84) 2.40 0.53 0.87 1.12 (0.18) 0.06 2.09 0.56 0.90 1.08

2552 2553 25.15 0.94 7.69 0.44 34.69 1.35 (52.57) (2.17) 33.22 1.39 65.30 2.25 7.12 1.42 28.51 0.77 (10.83) 3.35 (82.79) 5.77 (11.74) 1.83 (7.39) 0.99 19.52 1.71 34.48 4.82 3.85 1.44 40.78 (4.09) 8.98 1.96 31.29 2.70 233.34 (8.50) 26.18 (0.19) (166.01) (2.07) 45.25 1.79 47.55 1.80 45.41 (4.95) (58.40) 2.43 34.02 0.48 (15.20) 5.47 (18.70) 5.71 42.87 0.10 19.47 1.61 6.99 0.51 3.81 0.40 21.67 0.12 (104.36) 1.45 51.88 1.93 17.13 1.41 21.23 1.77 41.33 1.88 20.37 1.77

2554 2555 4.61 0.86 3.12 1.62 6.10 (0.66) 4.75 1.99 3.49 1.82 12.90 1.96 4.16 1.10 3.37 3.85 (0.35) (0.64) (5.30) (6.18) 1.66 0.61 3.41 1.28 1.05 0.71 4.70 3.35 0.46 1.48 (6.20) (2.23) 3.57 0.19 2.97 (0.41) 1.11 0.13 1.42 (0.40) 1.37 2.00 1.60 2.10 9.89 4.31 (5.32) (1.67) 1.84 3.11 (5.91) 1.12 (6.19) 1.20 4.21 (0.55) 2.56 0.75 2.46 1.64 2.37 1.69 4.12 1.87 (3.40) 0.87 3.31 2.16 3.23 0.40 2.58 0.64 3.11 2.48 2.56 0.57

หนวย: รอยละ

2556 1.93 2.62 1.87 4.33 1.23 3.98 2.95 (4.23) 2.97 0.86 2.82 (0.34) 1.38 6.65 2.13 0.56 5.63 1.67 2.10 7.85 (0.99) (1.04) (4.49) 1.70 (3.68) 7.70 7.61 10.06 1.95 1.86 1.88 1.27 4.86 0.95 2.31 1.96 1.19 1.99

ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมบัญชีกลาง สํานักงบประมาณ และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จัดทําโดย สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

2557 (0.64) (1.95) (1.22) (3.16) 0.62 2.82 (2.71) 5.31 (3.73) (0.07) (3.27) 7.35 3.47 (12.65) (2.20) (15.55) (3.83) (3.09) (1.36) 6.91 (1.29) (1.42) 1.93 3.85 11.19 (4.67) (4.65) (5.10) (0.97) 0.69 0.86 (0.40) 6.14 (0.08) (1.46) (1.20) 0.83 (1.29)


โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2558 ปงบประมาณ

หนวย : ลานบาท

2532

2533

2534

2535

2536

285,500.0

335,000.0

387,500.0

460,400.0

560,000.0

(สัดสวนตอ GDP) (%)

16.9

16.7

16.1

17.6

17.9

(อัตราเพิ่ม) (%)

17.2

17.3

15.7

18.8

21.6

210,571.8

227,541.2

261,932.2

301,818.2

351,060.8

(สัดสวนตอ GDP) (%)

12.5

11.3

10.9

11.5

11.2

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

73.8

67.9

67.6

65.6

62.7

(อัตราเพิม่ ) (%)

13.3

8.1

15.1

15.2

16.3

53,592.4

82,043.2

105,647.6

130,652.6

171,606.7

3.2

4.1

4.4

5.0

5.5

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

18.8

24.5

27.3

28.4

30.6

(อัตราเพิม่ ) (%)

32.9

53.1

28.8

23.7

31.3

21,335.8

25,415.6

19,920.2

27,929.2

37,332.5

7.5

7.6

5.1

6.1

6.7

22.9

19.1

(21.6)

40.2

33.7

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

262,500.0

310,000.0

387,500.0

460,400.0

534,400.0

15.5

15.5

16.1

17.6

17.1

9.4

18.1

25.0

18.8

16.1

(23,000.0)

(25,000.0)

0.0

0.0

(25,600.0)

(1.4)

(1.2)

0.0

0.0

(0.8)

1,690,500.0

2,005,254.0

2,400,000.0

2,620,000.0

3,130,000.0

1. วงเงินงบประมาณ

1.1 รายจายประจํา

1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)

1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ (GDP) (%)

ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2539 - 2558 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ 2533 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 1,507.5 ลานบาท


โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2558 ปงบประมาณ

หนวย : ลานบาท

2537

2538

2539

2540

2541

625,000.0

715,000.0

843,200.0

944,000.0

830,000.0

(สัดสวนตอ GDP) (%)

17.9

17.4

18.0

18.1

16.4

(อัตราเพิ่ม) (%)

11.6

14.4

17.9

12.0

(10.3)

376,382.3

434,383.3

482,368.2

528,293.4

519,505.8

(สัดสวนตอ GDP) (%)

10.8

10.6

10.3

10.1

10.2

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

60.2

60.8

57.2

56.0

62.6

7.2

15.4

11.0

9.5

(0.2)

212,975.6

253,839.8

327,288.6

391,209.7

279,258.1

6.1

6.2

7.0

7.5

5.5

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

34.1

35.5

38.8

41.4

33.6

(อัตราเพิม่ ) (%)

24.1

19.2

28.9

19.5

(26.5)

35,642.1

26,776.9

33,543.2

24,496.9

31,236.1

5.7

3.7

4.0

2.6

3.8

(4.5)

(24.9)

25.3

(27.0)

27.5

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

600,000.0

715,000.0

843,200.0

925,000.0

782,020.0

(สัดสวนตอ GDP) (%)

17.1

17.4

18.0

17.8

15.4

(อัตราเพิ่ม) (%)

12.3

19.2

17.9

9.7

(15.5)

(25,000.0)

0.0

0.0

(19,000.0)

(47,980.0)

(0.7)

0.0

0.0

(0.4)

(0.9)

3,499,000.0

4,099,000.0

4,684,000.0

5,205,500.0

5,073,000.0

1. วงเงินงบประมาณ

1.1 รายจายประจํา

(อัตราเพิม่ ) (%) 1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)

1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได

3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ (GDP) (%)

ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2539 - 2558 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ พ.ศ. 2540 เปนตัวเลขที่ปรับลดจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใชจํานวน 984,000 ลานบาท 2. ปงบประมาณ พ.ศ. 2541 เปนตัวเลขที่ปรับลดและปรับเพิ่มจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใชจํานวน 923,000 ลานบาท


โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2558 ปงบประมาณ

หนวย : ลานบาท

2542

2543

2544

825,000.0

860,000.0

910,000.0

1,023,000.0

999,900.0

16.5

16.7

17.5

19.3

17.2

3.1

4.2

5.8

12.4

(2.3)

586,115.1

635,585.1

679,286.5

773,714.1

753,454.7

(สัดสวนตอ GDP) (%)

11.7

12.4

13.0

14.6

13.0

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

71.0

73.9

74.6

75.6

75.4

(อัตราเพิม่ ) (%)

14.4

8.4

6.9

13.9

(2.6)

233,534.7

217,097.6

218,578.2

223,617.0

211,493.5

4.7

4.2

4.2

4.2

3.6

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

28.3

25.2

24.0

21.9

21.2

(อัตราเพิม่ ) (%)

(8.9)

(7.0)

0.7

2.3

(5.4)

5,350.2

7,317.3

12,135.3

25,668.9

34,951.8

0.6

0.9

1.3

2.5

3.5

(82.9)

36.8

65.8

111.5

36.2

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

800,000.0

750,000.0

805,000.0

823,000.0

825,000.0

16.0

14.6

15.5

15.5

14.2

2.3

(6.3)

7.3

2.2

0.2

(25,000.0)

(110,000.0)

(105,000.0)

(200,000.0)

(174,900.0)

(0.5)

(2.1)

(2.0)

(3.8)

(3.0)

5,002,000.0

5,137,000.0

5,208,600.0

5,309,200.0

5,799,700.0

1. วงเงินงบประมาณ (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.1 รายจายประจํา

1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)

1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ

2545

(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2539 - 2558 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

2546


โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2558 ปงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ

2547

2548

2549

หนวย : ลานบาท

2550

2551

2552

1,163,500.0 1,250,000.0 1,360,000.0 1,566,200.0 1,660,000.0 1,951,700.0

(สัดสวนตอ GDP) (%)

18.0

17.4

17.5

18.6

18.0

22.4

(อัตราเพิ่ม) (%)

16.4

7.4

8.8

15.2

6.0

17.6

836,544.4

881,251.7

(สัดสวนตอ GDP) (%)

12.9

12.2

12.3

13.5

13.1

16.2

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

71.9

70.5

70.5

72.5

73.1

72.3

(อัตราเพิม่ ) (%)

11.0

5.3

8.8

18.5

6.9

16.3

292,800.2

318,672.0

358,335.8

374,721.4

400,483.9

429,961.8

4.5

4.4

4.6

4.5

4.3

4.9

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

25.2

25.5

26.3

23.9

24.1

22.0

(อัตราเพิม่ ) (%)

38.4

8.8

12.4

4.6

6.9

7.4

34,155.4

50,076.3

43,187.2

55,490.5

45,527.0

63,676.1

2.9

4.0

3.2

3.5

2.8

3.3

(2.3)

46.6

(13.8)

28.5

(18.0)

39.9

-

-

-

-

-

46,679.7

-

-

-

-

-

2.4

1.1 รายจายประจํา

1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)

1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได

958,477.0 1,135,988.1 1,213,989.1 1,411,382.4

1,063,600.0 1,250,000.0 1,360,000.0 1,420,000.0 1,495,000.0 1,604,639.5

(สัดสวนตอ GDP) (%)

16.4

17.4

17.5

16.9

16.2

18.4

(อัตราเพิ่ม) (%)

28.9

17.5

8.8

4.4

5.3

7.3

(99,900.0)

0.0

0.0 (146,200.0) (165,000.0) (347,060.5)

(1.5)

0.0

0.0

3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ

(1.7)

(1.8)

(4.0)

6,476,100.0 7,195,000.0 7,786,200.0 8,399,000.0 9,232,200.0 8,712,500.0

(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2539 - 2557 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ 2547 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 135,500 ลานบาท 2. ปงบประมาณ 2548 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิม่ เติม จํานวน 50,000 ลานบาท


โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2558 ปงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.1 รายจายประจํา

2553

2554

1,700,000.0

2555

2,169,967.5 2,380,000.0

หนวย : ลานบาท

2556

2557

2558

2,400,000.0

2,525,000.0

2,575,000.0

17.0

20.6

20.7

20.1

20.3

19.5

(12.9)

27.6

9.7

0.8

5.2

2.0

1,667,439.7 1,840,672.6 1,900,476.7

2,017,625.8

2,027,858.8

1,434,710.1

(สัดสวนตอ GDP) (%)

14.3

15.8

16.0

15.9

16.2

15.4

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

84.4

76.8

77.4

79.2

79.9

78.8

1.7

16.2

10.4

3.2

6.2

0.5

214,369.0

355,484.6

438,555.4

450,373.8

441,128.6

449,475.8

2.1

3.4

3.8

3.8

3.6

3.4

12.6

16.4

18.4

18.7

17.5

17.5

(50.1)

65.8

23.4

2.7

(2.1)

1.9

50,920.9

32,554.6

46,854.0

49,149.5

52,821.9

55,700.0

3.0

1.5

2.0

2.1

2.1

2.2

(20.0)

(36.1)

43.9

4.9

7.5

5.4

-

114,488.6

53,918.0

-

13,423.7

41,965.4

-

5.3

2.2

-

0.5

1.6

1,770,000.0 1,980,000.0 2,100,000.0

2,275,000.0

2,325,000.0

(อัตราเพิม่ ) (%) 1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%) (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ

1,350,000.0

13.5

16.8

17.2

17.6

18.3

17.6

(15.9)

3.8

11.9

6.1

8.3

2.2

(400,000) (400,000.0) (300,000.0)

(250,000.0)

(250,000.0)

(2.0)

(1.9)

(350,000.0) (3.5)

(3.8)

(3.5)

(2.5)

10,000,900.0 10,539,400.0 11,478,600.0 11,922,000.0 12,424,000.0 13,201,000.0

(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2539 - 2558 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ 2552 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 116,700 ลานบาท และเปนปแรกที่มีการตั้ง งบประมาณรายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง จํานวน 46,679.7 ลานบาท 2. ปงบประมาณ 2554 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 99,967.5 ลานบาท 3. ปงบประมาณ 2558 พระราชบัญญัติงบบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ 2558


ผลการเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2557

1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปปจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจายประจํา - วงเงินงบประมาณรายจายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปกอน 2. การเบิกจายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจายปปจจุบัน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) - รายจายประจํา (รอยละตอวงเงินรายจายประจํา) - รายจายลงทุน (รอยละตอวงเงินรายจายลงทุน) 2.2 รายจายจากปกอน (รอยละตอวงเงินงบประมาณปกอน) 2. รายจายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจายปปจจุบันสะสม - รายจายประจําสะสม - รายจายลงทุนสะสม 2.2 รายจายจากปกอนสะสม

ต.ค. 56 2,767,610 2,525,000 2,097,308 427,692 242,610 258,272 244,001 9.7 241,304 11.5 2,697 0.6 14,271 5.9 258,272 244,001 241,304 2,697 14,271

ที่มา : กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่ : 29 ตุลาคม 2557

พ.ย. 56 2,806,747 2,525,000 2,097,273 427,727 281,747 255,803 232,568 9.2 227,852 10.9 4,717 1.1 23,235 8.2 514,076 476,569 469,155 7,414 37,507

ธ.ค. 56 2,826,083 2,525,000 2,097,101 427,899 301,083 316,983 284,256 11.3 175,127 8.4 109,129 25.5 32,727 10.9 831,059 760,826 644,283 116,543 70,233

ม.ค. 57 2,826,091 2,525,000 2,097,053 427,947 301,091 213,209 186,395 7.4 177,496 8.5 8,898 2.1 26,814 8.9 1,044,267 947,220 821,778 125,441 97,047

ก.พ. 57 2,826,093 2,525,000 2,096,723 428,277 301,093 174,379 154,109 6.1 141,914 6.8 12,195 2.8 20,270 6.7 1,218,646 1,101,328 963,692 137,636 117,318

มี.ค. 57 2,826,093 2,525,000 2,096,645 428,355 301,093 165,457 142,036 5.6 128,728 6.1 13,308 3.1 23,421 7.8 1,384,103 1,243,364 1,092,420 150,944 140,739

ปงบประมาณ 2557 เม.ย. 57 พ.ค. 57 2,826,093 2,826,093 2,525,000 2,525,000 2,096,540 2,096,418 428,460 428,582 301,093 301,093 195,825 154,300 179,780 142,463 7.1 5.6 156,868 125,854 7.5 6.0 22,912 16,609 5.3 3.9 16,045 11,837 5.3 3.9 1,579,928 1,734,228 1,423,144 1,565,607 1,249,288 1,375,142 173,856 190,465 156,784 168,621

หนวย : ลานบาท มิ.ย. 57 2,826,141 2,525,000 2,096,538 428,462 301,141 164,554 154,426 6.1 135,722 6.5 18,704 4.4 10,128 3.4 1,898,782 1,720,033 1,510,864 209,169 178,749

ก.ค. 57 2,826,141 2,525,000 2,096,455 428,545 301,141 200,235 189,421 7.5 170,070 8.1 19,351 4.5 10,814 3.6 2,099,016 1,909,453 1,680,933 228,520 189,563

ส.ค. 57 2,826,161 2,525,000 2,095,928 429,072 301,161 132,110 124,671 4.9 107,216 5.1 17,455 4.1 7,439 2.5 2,231,126 2,034,124 1,788,149 245,975 197,002

ก.ย. 57 2,827,340 2,525,000 2,093,452 431,548 302,340 228,864 212,182 8.4 174,107 8.3 38,075 8.8 16,682 5.5 2,459,990 2,246,306 1,962,257 284,049 213,684

รวม 2,827,340 2,525,000 2,093,452 431,548 302,340 2,459,991 2,246,307 89.0 1,962,257 93.7 284,049 65.8 213,684 70.7 2,459,990 2,246,306 1,962,257 284,049 213,684


ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปงบประมาณ 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financing) 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังตนป (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายป (Closing Treasury Reserve)

2548 1,264,928 1,244,063 1,139,775 104,288 20,865 (73,009) (52,144) 0 (52,144) 153,242 101,098

2549 1,339,691 1,395,283 1,270,739 124,544 (55,592) 92,921 37,329 0 37,329 101,098 138,427

2550 1,444,718 1,574,967 1,470,839 104,127 (130,249) (11,674) (141,923) 146,200 4,277 138,427 142,704

หนวย: ลานบาท 2551 2552 1,545,837 1,409,653 1,633,404 1,917,129 1,532,479 1,790,862 100,925 126,266 (87,568) (507,476) 8,888 131,198 (78,680) (376,278) 165,000 441,061 86,320 64,783 142,704 229,024 229,024 293,807 หนวย: ลานบาท

ปงบประมาณ 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financing) 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังตนป (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายป (Closing Treasury Reserve) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผูรับผิดชอบขอมูล: ศุทธธี เกตุทัต ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที:่ 29 ตุลาคม 2557

2553 1,708,625 1,784,413 1,627,875 156,538 (75,788) (21,568) (97,356) 232,575 135,220 293,807 429,026

2554 1,892,047 2,177,895 2,050,540 127,355 (285,848) 177,449 (108,399) 200,666 92,267 429,026 521,294

2555 1,977,670 2,295,327 2,148,475 146,852 (317,657) 13,549 (304,108) 344,084 39,976 521,294 561,270

2556

2557

2,163,469 2,070,018 2,402,481 2,459,990 2,171,459 2,246,306 231,022 213,684 (239,011) (389,972) 845 30,666 (238,167) (359,306) 281,949 250,000 43,782 (109,306) 561,270 605,052 605,052 495,746


สัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ�น ปีงบประมาณ 2540-2543

ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที� อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที�รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

ปี 2540 จํานวนเงิน สัดส่วน 93,879 100.00 16,986 18.09 47,386 50.48 29,508

31.43

843,576

ปี 2541 จํานวนเงิน สัดส่วน 96,056 100.00 16,759 17.45 48,667 50.67

30,630

31.89

733,462 11.13

ที�มา : กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ�นและสํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที� 27 มีนาคม 2556

หน่วย : ล้านบาท ปี 2542 ปี 2543 จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน 100,805 100.00 94,721 100.00 17,808 17.67 17,404 18.37 44,870 44.51 45,096 47.61

38,127

37.82

709,111 13.10

32,222

34.02

749,949 14.22

12.63


เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ�น ปีงบประมาณ 2544-2550

ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที� อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที�รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ�มที�รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุนและการถ่ายโอนงาน1/ 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

ปี 2544 ปี 2545 ปี 2546 ปี 2547 ปี 2548 จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน 159,753 100.00 175,850 100.00 184,066 100.00 241,948 100.00 293,750 100.00 17,702 11.08 21,084 11.99 22,258 12.09 24,786 10.24 27,019 9.20 55,652 34.84 58,144 33.07 60,218 32.72 82,623 34.15 102,520 34.90 12,669 7.93 19,349 11.00 35,504 19.29 43,100 17.82 49,000 16.68 73,730 772,574

46.15 20.68

77,273 803,651

43.94 21.88

66,086 829,496

35.90 22.19

91,438 1,063,600

37.79

115,211 1,250,000

22.75

หมายเหตุ : 1/ ในปีงบประมาณ 2544 และ 2545 มีงบประมาณการถ่ายโอนงานซึ�งตั�งอยู่ที�ส่วนราชการที�ถ่ายโอนงานให้ อปท. แต่นับรวมในสัดส่วนรายได้ของ อปท. เป็นจํานวน 32,339.60 ล้านบาท และ 27,061.80 ล้านบาท ตามลําดับ

39.22 23.50

หน่วย : ล้านบาท ปี 2549 ปี 2550 จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน 327,113 100.00 357,424 100.00 29,110 8.90 32,021 8.96 110,190 33.69 120,729 33.78 61,800 18.89 65,300 18.27 126,013 1,360,000

38.52 24.05

139,374 1,420,000

38.99 25.17


เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ�น ปีงบประมาณ 2551-2558

ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที� อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที�รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ�มที�รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

หน่วย : ล้านบาท ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน 376,740 100.00 414,382 100.00 340,995 100.00 431,305 100.00 529,979 100.00 572,670 100.00 622,625 100.00 646,344 100.00 35,224 9.35 38,746 9.35 29,110 8.54 38,746 8.98 46,530 8.78 50,282 8.78 56,306 9.04 61,458 9.51 128,676 34.16 140,679 33.95 126,590 37.12 148,109 34.34 175,457 33.11 187,988 32.83 203,819 32.74 218,222 33.76 65,000 17.25 71,900 17.35 45,400 13.31 70,500 16.35 86,900 16.40 97,900 17.10 109,000 17.51 109,000 16.86 147,840 1,495,000

39.24 25.20

163,057 1,604,640

39.35 25.82

139,895 1,350,000

41.03 25.26

173,950 2/ 1,650,000

40.33 26.14

221,092 1,980,000

41.72 26.77

หมายเหตุ : 2/เป็นตัวเลขก่อนการจัดทํางบประมาณรายจ่ายของรัฐบาลเพิ�มเติมระหว่างปี 99,967.5 ล้านบาท ซึ�งได้จัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เพิ�มเติม 5,957 .4 ล้านบาท ทั�งนี� เงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เมื�อรวมกับที�ได้รับการจัดสรรเพิ�มเติมระหว่างปีแล้ว เท่ากับ 179,907.4 ล้านบาท ที�มา : สํานักงานคณะกรรมการการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ�นและสํานักงบประมาณ รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที� 21 ตุลาคม 2557

236,500 2,100,000

41.30 27.27

253,500 2,275,000

40.71 27.37

257,664 2,325,000

39.86 27.80


ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) CONSOLIDATED CENTRAL GOVERNMENT GFS 2001 FRAMEWORK: MONTHLY DATA 1. Budgetary Account: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 2. Extrabudgetary Accounts: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 3. Social Security Funds: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 4. Elimination of Double Counting: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 5. Consolidated Central Government: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign Notes: 1/ 2/ 3/ 4/ 5/

6/ 7/

Oct-10 1/ 2/

3/ 4/

Nov-10

Dec-10

Jan-11

Feb-11

2011 Mar-11 Apr-11

May-11

Jun-11

Jul-11

Aug-11

Sep-11

127,558 215,246 N.A. N.A. N.A. 0 -98,630 -10,942 -11,315 374

150,411 231,664 N.A. N.A. N.A. 0 -63,043 18,210 19,793 -1,584

128,297 180,968 N.A. N.A. N.A. 0 57,675 110,346 108,946 1,400

143,087 254,683 N.A. N.A. N.A. 0 -125,806 -14,210 -15,470 1,261

140,317 163,038 N.A. N.A. N.A. 0 -14,409 8,312 9,427 -1,115

132,646 180,458 N.A. N.A. N.A. 0 -41,167 6,645 7,857 -1,211

148,174 154,705 N.A. N.A. N.A. 0 4,924 11,455 11,073 381

365,847 215,433 N.A. N.A. N.A. 0 175,530 25,116 33,658 -8,542

120,066 164,961 N.A. N.A. N.A. 0 -56,586 -11,691 -11,362 -329

113,224 158,103 N.A. N.A. N.A. 0 -26,198 18,681 18,934 -253

312,110 155,299 N.A. N.A. N.A. 0 153,248 -3,563 -1,247 -2,317

132,483 226,112 N.A. N.A. N.A. 0 80,811 174,440 172,775 1,665

32,991 17,300 16,855 445 16,136 15,691 14,838 -853 -853 0

15,934 12,263 12,316 -53 3,618 3,670 -404 -4,074 -4,074 0

23,525 11,707 11,519 188 12,006 11,818 8,576 -3,242 -3,242 0

28,089 11,063 11,045 18 17,044 17,026 14,315 -2,711 -2,711 0

9,876 13,436 13,496 -60 -3,620 -3,560 -4,414 -855 -855 0

15,494 24,463 24,604 -141 -9,111 -8,970 -8,700 270 270 0

23,568 8,601 8,858 -257 14,710 14,967 13,717 -1,250 -1,250 0

10,388 21,450 20,147 1,303 -9,759 -11,062 -10,916 143 143 0

13,111 33,140 32,959 181 -19,848 -20,028 -20,871 -843 -843 0

23,058 9,646 9,569 76 13,489 13,412 13,517 104 104 0

13,111 9,295 9,320 -25 3,790 3,816 1,610 -2,206 -2,206 0

12,177 21,959 22,512 -553 -10,334 -9,782 -8,062 1,719 1,719 0

12,184 3,170 3,170 0 9,014 9,014 6,169 -2,844 -2,844 0

12,531 5,495 5,495 0 7,036 7,036 8,255 1,219 1,219 0

21,814 85,491 85,491 0 -63,677 -63,677 16,693 80,371 80,371 0

5,113 3,721 3,721 0 1,392 1,392 1,791 400 400 0

12,410 2,997 2,997 0 9,413 9,413 8,310 -1,104 -1,104 0

13,046 3,375 3,375 0 9,671 9,671 12,278 2,607 2,607 0

13,721 3,263 3,263 0 10,458 10,458 10,920 461 461 0

13,024 4,852 4,852 0 8,172 8,172 5,715 -2,457 -2,457 0

13,152 3,544 3,544 0 9,608 9,608 7,042 -2,566 -2,566 0

12,984 3,408 3,408 0 9,576 9,576 9,506 -70 -70 0

14,411 5,475 5,475 0 8,936 8,936 14,187 5,252 5,252 0

13,790 3,613 3,613 0 10,177 10,177 5,525 -4,651 -4,651 0

30,113 30,113 30,113 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

11,458 11,458 11,458 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

18,951 18,951 18,951 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

24,946 24,946 24,946 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

6,236 6,236 6,236 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

11,196 11,196 11,196 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

20,584 20,584 20,584 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

5,893 5,893 5,893 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

7,869 7,869 7,869 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

17,447 17,447 17,447 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

6,767 6,767 6,767 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

7,696 7,696 7,696 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

142,620 205,604 N.A. N.A. N.A. -62,984 -77,623 -14,640 -15,013 374

167,418 237,964 N.A. N.A. N.A. -70,546 -55,192 15,354 16,938 -1,584

154,685 259,216 N.A. N.A. N.A. -104,531 82,944 187,475 186,075 1,400

151,343 244,521 N.A. N.A. N.A. -93,178 -109,700 -16,521 -17,782 1,261

156,368 173,234 N.A. N.A. N.A. -16,867 -10,513 6,353 7,468 -1,115

149,989 197,101 N.A. N.A. N.A. -47,112 -37,589 9,522 10,733 -1,211

164,880 145,985 N.A. N.A. N.A. 18,895 29,561 10,666 10,285 381

383,365 235,842 N.A. N.A. N.A. 147,524 170,329 22,803 31,345 -8,542

138,460 193,776 N.A. N.A. N.A. -55,316 -70,415 -15,099 -14,771 -329

131,820 153,710 N.A. N.A. N.A. -21,890 -3,175 18,715 18,968 -253

332,864 163,302 N.A. N.A. N.A. 169,562 169,045 -518 1,799 -2,317

150,755 243,989 N.A. N.A. N.A. -93,234 78,274 171,508 169,843 1,665

5/ 2/

3/ 4/

6/ 2/

3/ 4/

7/ 2/

3/ 4/

1/ 2/

3/ 4/

Receipts from premium on issue of government bonds, repayments of lending (Tier1) and proceeds from sales of shares/equity (privatization) have been reclassified to lending minus repayments and financing. The GFS 2001 concept of expenditure is different from the traditional concept which did not take the disposal of nonfinancial assets into account. Represent the net change in the unit's net worth due to transactions cash transactions, and is equal to "current expenditure" plus "capital transfers". Net lending/borrowing is the overall borrowing requirement and is equal to the traditional "deficit/surplus" excluding "lending minus repayments". The following are included as "extrabudgetary funds": 12 extrabudgetary funds (National Health Security Fund, Oil Fund, Thailand Village Fund Energy Saving Fund, Coin Production Fund, Sugarcane Fund, Science and Technology Development Fund, Thai Health Promotion Fund, Tollway Fund, Student Loan Fund, SMEs Fund) Oil Fund data has been recorded as accrual basis since Jan, 04 Social security fund and Employment Contribution Fund. Elimination of transactions between the budget account, extrabudgetary funds and social security funds included in the data. Source : GFMIS , Bank of Thailand , Public Debt Management office , Extrabudgetary fund and FPO Last update Noverber 28, 2014


ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) CONSOLIDATED CENTRAL GOVERNMENT GFS 2001 FRAMEWORK: MONTHLY DATA 1. Budgetary Account: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 2. Extrabudgetary Accounts: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 3. Social Security Funds: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 4. Elimination of Double Counting: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 5. Consolidated Central Government: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign Notes: 1/ 2/ 3/ 4/ 5/

6/ 7/

Oct-11 1/ 2/

3/ 4/

Nov-11

Dec-11

Jan-12

Feb-12

Mar-12

2012 Apr-12

137,178 151,314 151,681 156,937 272,260 382,616 151,227 261,176 312,330 5,710 11,084 70,286 -14,050 -109,862 -160,649 -19,759 -120,946 -230,935 5,566 -94,735 -117,249 25,325 26,210 113,686 25,375 26,584 113,707 -50 -374 -21

152,704 174,205 148,141 26,065 4,563 -21,502 124,911 146,413 143,710 2,703

May-12

Jun-12

Jul-12

358,355 145,724 139,348 158,308 171,244 192,448 124,719 139,869 157,326 33,589 31,376 35,122 233,635 5,855 - 17,978 200,046 -25520 - 53,101 217,321 18,502 - 24,754 17,275 44,022 28,347 17,275 44,083 28,483 0 -61 136

Aug-12

Sep-12

313,705 178,503 144,743 33,759 168,962 135,202 199,440 64,238 61,480 2,758

170,846 266,240 211,714 54,525 - 40,868 - 95,394 - 54,675 40,719 40,827 108

10,269 13,958 14,084 126 3,815 3,689 3,766 77 77 -

13,137 19,771 20,278 508 7,141 6,634 4,769 1,865 1,865 -

135,833 172,472 151,669 20,803 -15,835 -36,638 -160,724 -124,086 -123,661 -425

142,939 156,349 149,742 6,607 -6,803 -13,410 -11,457 1,953 1,953 0

130,590 179,348 162,576 16,773 -31,986 -48,759 -46,050 2,709 2,730 -21

35,998 20,974 20,842 132 15,155 15,023 13,685 -1,339 -1,339 0

3,252 7,920 7,868 52 -4,616 -4,668 -4,983 -315 -315 0

16,786 17,793 16,674 1,119 112 -1,007 -3,129 -2,123 -2,123 -

7,528 12,248 12,150 98 -4,622 -4,720 -3,765 956 956 -

39,508 12,773 12,591 182 26,917 26,734 29,655 2,921 2,921 -

9,749 19,724 19,679 45 -9,931 -9,975 -9,736 240 240 -

31,146 8,980 9,151 -172 21,995 22,166 30,264 8,098 8,098 -

7,982 26,856 26,440 416 -18,458 -18,874 -19,826 -952 -952 -

8,979 27,810 27,632 178 -18,653 -18,831 -18,440 392 392 -

33,269 23,023 23,066 43 10,203 10,246 4,982 5,264 5,264 -

12,736 3,423 3,423 0 9,313 9,313 7,676 -1,637 -1,637 0

13,474 6,069 6,069 0 7,405 7,405 10,596 3,190 3,190 0

23,871 91,399 91,399 0 -67,528 -67,528 20,765 88,294 88,294 -

5,418 4,769 4,769 0 649 649 62 -587 -587 -

10,485 3,826 3,826 0 6,660 6,660 10,702 4,043 4,043 -

13,046 3,375 3,375 0 9,671 9,671 12,278 2,607 2,607 -

13,721 3,263 3,263 0 10,458 10,458 10,920 461 461 -

13,024 4,852 4,852 0 8,172 8,172 5,715 -2,457 -2,457 -

13,152 3,544 3,544 0 9,608 9,608 7,042 -2,566 -2,566 -

12,984 3,408 3,408 9,576 9,576 9,506 70 70 -

36,057 36,057 36,057 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

2,491 2,491 2,491 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

13,928 13,928 13,928 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

5,199 5,199 5,199 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

36,695 36,695 36,695 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

5,201 5,201 5,201 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

28,037 28,037 28,037 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,461 3,461 3,461 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,106 3,106 3,106 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

24,355 24,355 24,355 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,368 3,368 3,368 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

8,645 8,645 8,645 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

157,174 157,319 167,847 274,613 161,187 256,722 6,660 17,891 -4,013 -99,403 -10,673 -117,294 -5,845 -28,414 4,828 88,880 4,828 88,901 0 -21

144,925 168,755 162,947 5,808 -18,022 -23,830 1,863 25,694 25,743 -50

164,613 169,275 252,164 400,514 240,898 330,184 11,266 70,331 -76,285 -160,909 -87,551 -231,240 -54,377 -114,707 33,174 116,532 33,548 116,553 -374 -21

169,534 158,411 132,518 25,893 37,016 11,123 166,095 154,972 152,269 2,703

375,899 186,556 152,551 34,005 223,348 189,344 203,211 13,867 13,867 0

164,748 161,246 199,492 194,525 167,938 159,446 31,554 35,079 -3,190 1,801 -34,744 - 33,278 7,104 - 10,266 41,848 23,012 41,909 23,148 -61 136

335,017 194,568 160,935 33,633 174,082 140,449 209,862 69,413 66,655 2,758

189,259 281,003 226,985 54,018 - 37,726 - 91,744 - 53,812 37,932 38,040 108

5/ 2/

3/ 4/

-

-

6/ 2/

3/ 4/

14,411 13,921 5,475 3,637 5,475 3,637 8,936 10,284 8,936 10,284 14,187 5,632 5,252 - 4,651 5,252 - 4,651 -

7/ 2/

3/ 4/

1/ 2/

3/ 4/

148,510 160,812 139,877 20,935 8,633 -12,302 -139,363 -127,061 -126,636 -425

Receipts from premium on issue of government bonds, repayments of lending (Tier1) and proceeds from sales of shares/equity (privatization) have been reclassified to lending minus repayments and financing. The GFS 2001 concept of expenditure is different from the traditional concept which did not take the disposal of nonfinancial assets into account. Represent the net change in the unit's net worth due to transactions cash transactions, and is equal to "current expenditure" plus "capital transfers". Net lending/borrowing is the overall borrowing requirement and is equal to the traditional "deficit/surplus" excluding "lending minus repayments". The following are included as "extrabudgetary funds": 12 extrabudgetary funds (National Health Security Fund, Oil Fund, Thailand Village Fund Energy Saving Fund, Coin Production Fund, Sugarcane Fund, Science and Technology Development Fund, Thai Health Promotion Fund, Tollway Fund, Student Loan Fund, SMEs Fund) Oil Fund data has been recorded as accrual basis since Jan, 04 Social security fund and Employment Contribution Fund. Elimination of transactions between the budget account, extrabudgetary funds and social security funds included in the data. Source : GFMIS , Bank of Thailand , Public Debt Management office , Extrabudgetary fund and FPO Last update Noverber 28, 2014


ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) CONSOLIDATED CENTRAL GOVERNMENT GFS 2001 FRAMEWORK: MONTHLY DATA 1. Budgetary Account: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 2. Extrabudgetary Accounts: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 3. Social Security Funds: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 4. Elimination of Double Counting: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 5. Consolidated Central Government: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign Notes: 1/ 2/ 3/ 4/ 5/

6/ 7/

Oct-12 1/ 2/

3/ 4/ -

Nov-12

Dec-12

151,131 178,048 303,171 299,983 290,248 282,165 12,923 17,818 139,117 - 104,117 152,040 - 121,935 264,604 - 64,939 112,564 56,995 119,982 43,218 7,419 13,776

Jan-13

190,356 170,685 180,969 216,084 161,525 200,919 19,443 15,165 28,830 - 30,233 9,387 - 45,399 66,192 - 33,520 56,806 11,879 43,430 438 13,376 11,441

Feb-13 162,053 157,464 144,245 13,218 17,808 4,589 27,206 22,615 10,593 12,022

2013 Mar-13 Apr-13 155,860 233,946 214,161 19,785 - 58,301 - 78,086 - 70,322 7,766 - 28,046 35,812

167,931 228,748 212,653 16,095 - 44,722 - 60,818 - 34,488 26,328 - 21,738 48,066

May-13

Jun-13

341,096 196,805 150,905 185,767 136,438 164,060 14,467 21,707 204,658 32,744 190,191 11,037 209,633 59,623 19,444 48,585 19,336 48,787 108 202

Jul-13

Aug-13

Sep-13

154,873 228,029 237,219 183,319 162,847 260,815 160,854 144,267 223,090 22,465 18,580 37,725 - 5,981 83,763 14,130 - 28,447 65,182 - 23,596 - 56,865 101,969 68,600 - 28,416 36,784 92,195 - 17,266 59,875 62,913 - 11,150 - 23,091 29,282

5/ 58,088 29,607 30,115 507 3/ 27,973 4/ 28,480 38,363 9,882 9,882 6/ 15,475 2/ 3,960 3,960 3/ 11,515 4/ 11,515 20,555 9,040 9,040 7/ 49,100 2/ 49,100 49,100 N.A. 3/ N.A. 4/ N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. 2/

74,517 16,614 16,590 24 57,926 57,903 54,716 3,187 3,187 -

-

14,011 30,254 30,459 205 16,448 16,243 18,355 2,111 2,111 -

14,102 22,139 4,358 98,300 4,358 98,300 9,743 - 76,161 9,743 - 76,161 4,903 15,715 4,840 91,876 4,840 91,876 63,632 63,632 63,632 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,387 3,387 3,387 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

56,170 12,812 30,906 41,661 20,073 23,030 28,651 19,200 14,787 29,957 13,409 15,366 29,879 17,149 18,979 14,293 30,391 13,594 14,974 29,961 17,048 221 494 434 185 393 81 100 37,191 - 1,481 515 28,067 5,100 - 6,930 11,602 36,970 - 1,975 949 28,252 4,707 - 6,849 11,502 38,889 404 8,761 13,912 2,361 16,643 617 1,919 2,379 7,813 - 14,340 - 2,346 23,492 - 12,119 1,919 2,379 7,813 - 14,340 - 2,346 23,492 - 12,119 6,440 5,806 5,806 634 634 3,703 3,069 3,069 -

14,616 14,540 3,888 3,654 3,888 3,654 10,728 10,886 10,728 10,886 20,096 6,721 9,368 - 4,166 9,368 - 4,166 -

17,464 14,688 4,318 3,840 4,318 3,840 13,146 10,848 13,146 10,848 18,880 3,810 5,734 - 7,037 5,734 - 7,037 -

43,216 43,216 43,216 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,135 3,135 3,135 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

19,471 19,471 19,471 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

26,060 26,060 26,060 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,068 3,068 3,068 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

175,593 203,034 223,119 190,078 287,638 257,323 306,136 197,873 275,222 239,481 286,897 182,487 12,416 17,842 19,239 15,386 3/ - 99,629 - 36,447 - 63,778 7,591 4/ - 112,045 - 54,289 - 83,017 - 7,795 - 205,687 - 5,320 63,553 9,071 - 93,642 48,968 146,571 16,867 - 101,060 35,191 133,195 5,426 7,419 13,776 13,376 11,441

186,346 173,003 159,291 13,712 27,055 13,343 47,706 34,362 22,340 12,022

181,834 248,085 228,734 19,351 - 46,900 - 66,251 - 54,840 11,413 - 24,399 35,812

200,995 220,415 204,504 15,911 3,509 19,420 1,695 17,723 30,344 48,066

372,788 167,043 152,183 14,860 220,605 205,745 215,804 10,060 9,953 108 -

1/ 2/

-

Receipts from premium on issue of government bonds, repayments of lending (Tier1) and proceeds from sales of shares/equity (privatization) have been reclassified to lending minus repayments and financing. The GFS 2001 concept of expenditure is different from the traditional concept which did not take the disposal of nonfinancial assets into account. Represent the net change in the unit's net worth due to transactions cash transactions, and is equal to "current expenditure" plus "capital transfers". Net lending/borrowing is the overall borrowing requirement and is equal to the traditional "deficit/surplus" excluding "lending minus repayments". The following are included as "extrabudgetary funds": 12 extrabudgetary funds (National Health Security Fund, Oil Fund, Thailand Village Fund Energy Saving Fund, Coin Production Fund, Sugarcane Fund, Science and Technology Development Fund, Thai Health Promotion Fund, Tollway Fund, Student Loan Fund, SMEs Fund) Oil Fund data has been recorded as accrual basis since Jan, 04 Social security fund and Employment Contribution Fund. Elimination of transactions between the budget account, extrabudgetary funds and social security funds included in the data. Source : GFMIS , Bank of Thailand , Public Debt Management office , Extrabudgetary fund and FPO Last update Noverber 28, 2014

15,603 4,164 4,164 11,439 11,439 12,914 1,474 1,474 -

14,903 4,197 4,197

9,104 9,104 9,104 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

15,108 15,108 15,108 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

226,334 210,707 189,081 21,626 37,253 15,627 89,179 73,551 73,753 202

-

-

14,442 15,306 16,943 21,060 16,557 19,417 386 1,642 2,115 - 4,112 2,501 - 5,754 4,478 - 4,238 1,977 1,516 1,977 1,516 15,586 4,135 4,135

15,073 6,898 6,898

10,706 11,451 10,706 11,451 10,131 - 13,465 575 - 24,916 575 - 24,916 -

8,175 8,175 20,823 12,648 12,648 -

183,318 189,556 166,991 22,565 16,327 6,238 47,350 41,110 29,959 11,150 -

2,907 2,907 2,907 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

4,064 4,064 4,064 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

255,151 263,533 181,018 284,708 162,052 245,341 18,966 39,367 93,098 18,193 74,133 - 21,175 84,026 85,185 9,891 106,360 32,982 77,077 23,091 29,282


ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) CONSOLIDATED CENTRAL GOVERNMENT GFS 2001 FRAMEWORK: MONTHLY DATA 1. Budgetary Account: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 2. Extrabudgetary Accounts: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 3. Social Security Funds: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 4. Elimination of Double Counting: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 5. Consolidated Central Government: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets Gross operating balance (1-2.1) 3. 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign Notes: 1/ 2/ 3/ 4/ 5/

6/ 7/

Oct-13 1/ 2/

3/ 4/

Nov-13

Dec-13

Jan-14

Feb-14

2014 Mar-14 Apr-14

183,999 172,237 170,244 170,846 164,768 155,296 153,065 266,203 248,502 331,807 227,860 189,646 185,609 214,260 261,433 235,688 318,121 218,964 180,455 174,575 200,849 4,770 12,813 13,687 8,898 9,192 11,034 13,410 (77,434) (63,451) (147,878) (48,118) (15,688) (19,278) (47,784) (82,203) (76,264) (161,565) (57,016) (24,880) (30,312) (61,194) (84,380) (43,720) (128,801) (57,167) 42,783 (14,651) (23,160) (2,177) 32,544 32,763 (151) 67,662 15,661 38,034 (1,849) 32,544 33,147 (58) 68,037 19,661 38,362 (328) (384) (93) (374) (4,000) (328)

May-14

Jun-14

Jul-14

Aug-14

Sep-14

2015 Oct-13

300,130 214,552 145,403 230,239 245,682 178,584 158,531 186,539 196,395 146,932 260,819 329,762 146,365 173,272 180,932 135,212 241,341 317,742 12,166 13,267 15,464 11,722 19,477 12,020 153,765 41,280 (35,529) 95,027 4,341 (139,158) 141,599 28,014 (50,993) 83,305 (15,136) (151,179) 90,299 50,105 (59,247) 84,302 24,421 (142,364) (51,299) 22,092 (8,255) 997 39,557 8,815 (44,299) 22,475 (8,162) 12,071 39,557 9,143 (93) (11,074) (328) (7,000) (384)

5/ 2/

3/ 4/

40,417 23,650 23,916 (266) 16,501 16,767 16,529 (238) (238) -

15,028 6,813 6,896 (84) 8,131 8,215 5,667 (2,547) (2,547) -

16,016 28,346 28,283 62 (12,267) (12,330) -10,005 2,325 2,325 -

53,476 12,537 12,539 (2) 40,937 40,939 39,102 (1,836) (1,836) -

5,778 13,958 14,045 (87) (8,267) (8,180) -8,191 (11) (11) -

6,041 28,780 28,882 (103) (22,841) (22,739) -22,669 70 70 -

36,575 14,980 14,941 39 21,634 21,596 22,357 761 761 -

7,668 13,169 13,159 11 (5,490) (5,501) -5,504 (3) (3) -

8,001 20,512 20,098 413 (12,098) (12,511) -12,563 (52) (52) -

24,532 21,622 21,577 45 2,955 2,910 1,431 (1,479) (1,479) -

13,535 16,483 16,656 (174) (3,121) (2,947) -5,948 (3,001) (3,001) -

24,827 30,414 30,240 174 (5,413) (5,587) -6,751 (1,163) (1,163) -

65,246 25,097 25,716 (619) 39,530 40,149 42,313 2,164 2,164 -

14,880 8,553 8,553 6,327 6,327 6,367 41 41 -

15,052 4,445 4,445 10,606 10,606 6,977 (3,630) (3,630) -

24,349 117,561 117,561 (93,212) (93,212) 12,716 105,928 105,928 -

7,220 5,296 5,296 1,924 1,924 1,749 (175) (175) -

18,346 3,883 3,883 14,463 14,463 17,935 3,472 3,472 -

19,313 4,482 4,482 14,831 14,831 21,957 7,126 7,126 -

18,225 3,469 3,469 14,756 14,756 29,889 15,133 15,133 -

17,674 4,221 4,221 13,453 13,453 7,681 (5,772) (5,772) -

17,702 6,113 6,113 11,589 11,589 16,012 4,423 4,423 -

18,020 6,145 6,145 11,875 11,875 4,630 (7,245) (7,245) -

18,807 4,381 4,381 14,427 14,427 9,954 (4,472) (4,472) -

18,491 6,606 6,606 11,885 11,885 23,380 11,494 11,494

14,880 8,553 8,553 6,327 6,327 6,367 41 41 -

36,897 36,897 36,897 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

10,376 10,376 10,376 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

11,719 11,719 11,719 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

49,661 49,661 49,661 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,088 3,088 3,088 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,394 3,394 3,394 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

30,844 30,844 30,844 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,292 3,292 3,292 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,488 3,488 3,488 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

15,567 15,567 15,567 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,159 3,159 3,159 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

12,229 12,229 12,229 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

58,026 58,026 58,026 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

6/ 2/

3/ 4/

7/ 2/

3/ 4/

1/ 2/

3/ 4/

202,399 191,940 198,889 181,880 185,802 177,256 177,021 261,509 249,383 465,996 196,032 204,399 215,478 201,864 257,005 236,653 452,247 187,138 195,295 204,545 188,414 4,504 12,729 13,749 8,896 9,105 10,931 13,449 (54,606) (44,714) (253,358) (5,258) (9,493) (27,289) (11,394) (59,110) (57,444) (267,106) (14,153) (18,597) (38,221) (24,843) (61,484) (31,076) (126,090) (16,316) 52,527 (15,363) 29,086 (2,374) 26,367 141,016 (2,163) 71,123 22,856 53,929 (2,046) 26,367 141,400 (2,069) 71,498 26,856 54,256 (328) (384) (93) (374) (4,000) (328)

322,180 236,767 172,388 172,629 209,676 208,595 160,453 195,995 193,086 12,177 13,680 15,509 161,727 40,772 (20,698) 149,551 27,091 (36,207) 92,476 53,553 (53,186) (57,074) 26,462 (16,979) (50,074) 26,845 (16,886) (7,000) (384) (93)

Receipts from premium on issue of government bonds, repayments of lending (Tier1) and proceeds from sales of shares/equity (privatization) have been reclassified to lending minus repayments and financing. The GFS 2001 concept of expenditure is different from the traditional concept which did not take the disposal of nonfinancial assets into account. Represent the net change in the unit's net worth due to transactions cash transactions, and is equal to "current expenditure" plus "capital transfers". Net lending/borrowing is the overall borrowing requirement and is equal to the traditional "deficit/surplus" excluding "lending minus repayments". The following are included as "extrabudgetary funds": 12 extrabudgetary funds (National Health Security Fund, Oil Fund, Thailand Village Fund Energy Saving Fund, Coin Production Fund, Sugarcane Fund, Science and Technology Development Fund, Thai Health Promotion Fund, Tollway Fund, Student Loan Fund, SMEs Fund) Oil Fund data has been recorded as accrual basis since Jan, 04 Social security fund and Employment Contribution Fund. Elimination of transactions between the budget account, extrabudgetary funds and social security funds included in the data. Source : GFMIS , Bank of Thailand , Public Debt Management office , Extrabudgetary fund and FPO Last update Noverber 28, 2014

259,423 276,771 200,684 164,637 285,610 305,387 153,090 265,958 293,986 11,548 19,651 11,402 106,333 10,813 (93,301) 94,786 (8,839) (104,703) 88,308 41,050 (93,683) (6,476) 49,888 11,020 4,598 49,888 11,348 (11,074) (328)


เรื่อง

ผูรับผิดชอบ

โทรศัพท

E-mail

บทสรุปผูบริหาร สถานการณดานรายได สถานการณดานรายจาย การเบิกจายเงินกูตางประเทศ การเบิกจายของกองทุนนอก งบประมาณตามระบบ สศค. ฐานะการคลัง - ดุลการคลังตามระบบ กระแสเงินสด - ดุลการคลังตามระบบ สศค. ฐานะการคลัง อปท. สถานการณดานหนี้สาธารณะ กรอบความยั่งยืนทางการคลัง การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลัง ผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ของรัฐบาล การกระจายอํานาจการคลังใหแก องคกรปกครองสวนทองถิ่น มติคณะรัฐมนตรี สถิติดานการคลัง - รายไดรัฐบาล - โครงสรางงบประมาณ - ฐานะการคลังของรัฐบาล ตามระบบกระแสเงินสด - ฐานะการคลังของรัฐบาล ตามระบบกระแสเงินสด - สัดสวนรายไดของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น

มาติกา อินวิน อาริศรา นนทะคุณ สายทิพย คําพุฒ ไพลิน ชางภิญโญ ไพลิน ชางภิญโญ

3557 3555 3556 3595 3595

mayinwin6@gmail.com dear_arisara@hotmail.co.th nui-642@hotmail.com pailin@fpo.go.th pailin@fpo.go.th

มณีขวัญ จันทรศร

3558

maneekwan@fpo.go.th

ไพลิน ชางภิญโญ

3595

pailin@fpo.go.th

ธรรมฤทธิ์ คุณหิรัญ ศุทธธี เกตุทัต ลลิตา ละสอน กุสุมา บุญแทน

3544 3586 3563 3533

thammarit@gmail.com suthee@fpo.go.th lalita.lasorn@gmail.com nanpiaoliang@hotmail.com

ณัฏฐรวี กรรณุมาตร

3576

sandyfaprew@hotmail.com

มณีขวัญ จันทรศร

3558

maneekwan@fpo.go.th

อาริศรา นนทะคุณ สายทิพย คําพุฒ ศุทธธี เกตุทัต

3555 3556 3586

dear_arisara@hotmail.co.th nui-642@hotmail.com suthee@fpo.go.th

ไพลิน ชางภิญโญ

3595

pailin@fpo.go.th

ณัฏฐรวี กรรณุมาตร

3576

sandyfaprew@hotmail.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.