57_เดือนพฤศจิกายน

Page 1

บทสรุปผูบริหาร ดานรายได

• เดือนพฤศจิกายน 2557 รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 162,304 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ ตามเอกสารงบประมาณ 3,969 ลานบาท หรือรอยละ 2.4 โดยการจัดเก็บรายไดของ 3 กรมจัดเก็บ ภาษีสังกัดกระทรวงการคลังต่ํากวาเปาประมาณการ 8,630 ลานบาท สําหรับภาษีที่จัดเก็บได ต่ํากวาเปาหมายที่สําคัญ ไดแก ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเบียร ภาษีสรรพสามิตรถยนต และ ภาษีมูลคาเพิ่ม อยางไรก็ดี ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาจัดเก็บไดสูงกวาประมาณการ 1,079 ลานบาท และการนําสงรายไดของรัฐวิสหกิจและหนวยงานอื่นจัดเก็บรายไดสูงกวาประมาณการ 2,079 และ 692 ลานบาท ตามลําดับ • ในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม – พฤศจิกายน 2557) รัฐบาลจัดเก็บ รายไดสุทธิ 335,911 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 6,490 ลานบาท หรือรอยละ 2.0 โดย 3 กรมจัดเก็บ ภาษีสังกัดกระทรวงการคลังจัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการ 6,862 ลานบาท โดยภาษีทจี่ ัดเก็บได ต่ํากวาเปาหมายที่สําคัญไดแก ภาษีสรรพสามิตรถยนต ภาษีเบียรและภาษีสุรา และอากรขาเขา อยางไงก็ดี ภาษีที่จัดเก็บไดสูงกวาเปาหมายที่สําคัญ ไดแก ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษียาสูบ และภาษีน้ํามัน ทั้งนี้ การนําสงรายไดของรัฐวิสาหกิจและหนวยงานอื่นยังสูงกวา ประมาณการ 13,749 ลานบาท และ 1,392 ลานบาท ตามลําดับ

ดานรายจาย

• เดือนพฤศจิกายน 2557 รัฐบาลเบิกจายเงินรวมทั้งสิ้น 205,758 ลานบาท ประกอบดวย การเบิกจายจากปงบประมาณปปจจุบัน 180,660 ลานบาท (รายจายประจํา 171,898 ลานบาท และรายจายลงทุน 8,762 ลานบาท) และการเบิกจายของปกอนจํานวน 25,098 ลานบาท • ในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม – พฤศจิกายน 2557) รัฐบาลเบิกจาย เงินรวมทั้งสิ้น 573,356 ลานบาท โดยแบงเปนการเบิกจายเงินงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558 จํานวน 525,461 ลานบาท (เปนรายจายประจํา 501,875 ลานบาท และรายจายลงทุน 23,586 ลานบาท) คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 20.4 ของวงเงินงบประมาณ (2,575,000 ลานบาท) และมี การเบิกจายของปกอนจํานวน 47,895 ลานบาท • เมื่อรวมกับการเบิกจายเงินจากเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) จํานวน 149 ลานบาท เงินกูภายใต พรก.บริหารจัดการน้ําฯ จํานวน 154 ลานบาท และโครงการลงทุนภายใต แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 154 ลานบาท สงผลใหในปงบประมาณ 2558 รัฐบาล มีการเบิกจายเงินเขาสูระบบเศรษฐกิจทั้งสิ้น 573,814 ลานบาท

ฐานะการคลังรัฐบาล

• ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด ในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 รัฐบาลมีรายได นําสงคลัง 312,291ลานบาท และมีการเบิกจายเงินงบประมาณ (ปปจจุบันและปกอน) รวม 573,356 ลานบาท สงผลใหดุลเงินงบประมาณขาดดุล 261,065 ลานบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอก งบประมาณที่ขาดดุล 17,632 ลานบาท ทําใหดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 278,697 ลานบาท -1-


• เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน 2557 มีจํานวน 242,869 ลานบาท • ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค. ในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 รัฐบาล มีรายไดทั้งสิ้น 347,882 ลานบาท และมีรายจายทั้งสิ้น 529,394 ลานบาท สงผลใหดุลเงิน งบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 181,512 ลานบาท เมื่อรวมกับดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณที่เกินดุล 47,596 ลานบาท และหักรายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) รายจายเพื่อวางระบบบริหารจัดการน้ํา เงินกูตางประเทศ และรายจายตามแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็ง 450 257 196 และ 156 ลานบาท ตามลําดับแลว ทําใหดุลการคลังของรัฐบาล ขาดดุลทั้งสิ้น 134,975 ลานบาท

ฐานะการคลัง อปท.

• ฐานะการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ณ ไตรมาสที่ 4 ประจําปงบประมาณ 2557 (เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2557) คาดวาจะมีรายไดรวม 91,986 ลานบาท (รายไดที่จัดเก็บเอง 13,205 ลานบาท รายไดภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให 63,344 ลานบาท และรายไดจาก เงินอุดหนุน 15,437 ลานบาท) และคาดวามีรายจายจํานวน 141,951 ลานบาท สงผลให ดุลการคลัง ของ อปท. ขาดดุล 49,965 ลานบาท • ฐานะการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่นของปงบประมาณ 2557 (เดือนตุลาคม 2556 – กันยายน 2557) มีรายไดรวม 553,777 ลานบาท (รายไดที่จัดเก็บเอง 49,594 ลานบาท รายไดภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให 260,741 ลานบาท และรายไดจากเงินอุดหนุน 243,442 ลานบาท) และมีรายจายจํานวน 535,740 ลานบาท สงผลใหดุลการคลังของ อปท. เกินดุล 18,037 ลานบาท

สถานะหนี้สาธารณะ

• หนี้สาธารณะคงคางของรัฐบาล ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2557 มีจํานวน 5,640,578.3 ลานบาท คิดเปนรอยละ 46.5 ของ GDP ประกอบดวยหนี้ในประเทศคิดเปนรอยละ 93.7 สวนที่เหลือ รอยละ 6.3 เปนหนี้ตางประเทศ และเมื่อแบงตามอายุเครื่องมือการกูเงิน หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 97.0 และหนี้ระยะสั้นรอยละ 3.0 สําหรับกรณีแบงตามอายุคงเหลือ หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 85.6 สวนที่เหลือรอยละ 14.4 เปนหนี้ระยะสั้น

กรอบความยั่งยืนทางการคลัง (60 - 15 – 0 – 25)

• กระทรวงการคลังไดกําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีตัวชี้วัดประกอบดวย ยอดหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ไมเกินรอยละ 60 ภาระหนี้ตองบประมาณไมเกินรอยละ 15 จัดทํางบประมาณสมดุล และสัดสวนงบลงทุนตองบประมาณไมต่ํากวารอยละ 25 • การวิเคราะหกรอบความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง (ปงบประมาณ 2558 – 2562) - สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ในปงบประมาณ 2558 อยูที่รอยละ 47.1 และลดลงเปนรอยละ 42.6 ในปงบประมาณ 2562 - ระดับภาระหนี้ตองบประมาณอยูในระดับรอยละ 7.1 ในปงบประมาณ 2558 และเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 8.9 ในปงบประมาณ 2562 - รัฐบาลมีนโยบายลดการขาดดุลงบประมาณ โดยกําหนดใหงบประมาณสมดุล -2-


- ในปงบประมาณ 2560 เพื่อรักษาวินัยการคลังและขับเคลื่อนเศรษฐกิจใหขยายตัว อยางมีเสถียรภาพ - สัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณรายจายคาดวาจะอยูในระดับเฉลี่ย รอยละ 14.3 ตองบประมาณรายจายตลอดชวงปงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งต่ํากวาระดับที่กําหนดไว อยางไรก็ดี รัฐบาลไดพยายามที่จะดําเนินโครงการลงทุนทั้งในสวนของ พรก. ใหอํานาจกระทรวงการคลังกูเงิน เพื่อบริหารจัดการน้ําฯ และการกูเงินเพื่อลงทุนโครงสรางพื้นฐานฯ ในป 2558 – 2562 ซึ่งเมื่อรวม การลงทุนดังกลาวจะทําใหสัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณเพิ่มขึ้นอยูในระดับเฉลี่ยรอยละ 22.5 ตองบประมาณรายจาย

การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล

• ผลการดําเนินโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ที่ยอดสินเชื่อคงคาง ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ป 2557 มีจํานวน 916,062.7 ลานบาท ขณะที่ยอดหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได (NPLs) เทากับ 30,328.2 ลานบาท คิดเปนสัดสวนหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดตอยอดสินเชื่อคงคาง (NPLs Ratio) รอยละ 3.3 • รัฐบาลมีภาระความเสียหายที่เกิดจากโครงการแยกบัญชี PSA ซึ่งสามารถประมาณการ ความเสียหาย ที่ตองไดรับการชดเชยตั้งแตเริ่มจนถึงสิ้นสุดโครงการ ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ป 2557 มีจํานวนทั้งสิ้น 95,966.7 ลานบาท และคงเหลือภาระความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาล อีกจํานวน 32,056.9 ลานบาท

การกระจายอํานาจทางการคลังใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น

• หลักเกณฑการจัดสรรภาษีและเงินอุดหนุนทั่วไปใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น ปงบประมาณ พ.ศ. 2558 คณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น (ก.ก.ถ.) มีมติเมื่อวันจันทรที่ 24 พฤศจิกายน 2558 เห็นชอบหลักเกณฑการจัดสรรภาษีและเงินอุดหนุนทั่วไปใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น ปงบประมาณ พ.ศ. 2558 โดยสรุปดังนี้ 1.) หลักเกณฑรายไดจากภาษีที่รัฐจัดเก็บใหและแบงใหแกองคกรปกครอง สวนทองถิ่น ที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑการจัดสรรจากปที่ผานมา 2.) หลักเกณฑรายไดจากภาษีที่รัฐ จัดเก็บใหและแบงให อปท. ที่มีการเปลีย่ นแปลงหลักเกณฑการจัดสรรจากปที่ผานมา 3.) หลักเกณฑเงินอุดหนุน ทั่วไปเพื่อดําเนินการตามอํานาจหนาที่

มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ ประจําเดือนธันวาคม 2557

1. เรื่อง การออกพันธบัตรออมทรัพยโดยกระทรวงการคลังและธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ การเกษตรเพื่อนักลงทุนรายยอย คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบการออกพันธบัตรออมทรัพยโดยกระทรวงการคลังและธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรเพื่อนักลงทุนรายยอยตามที่กระทรวงการคลังเสนอ เพื่อเปนทางเลือก ในการลงทุนและการออมใหแกประชาชนทั่วไป และนิติบุคคลที่ไมมีวัตถุประสงคในการแสวงหากําไร โดยเปนตราสารหนี้ของกระทรวงการคลังและสถาบันการเงินภาครัฐที่มีความมั่นคงสูง มีผลตอบแทนที่สูงกวา การฝากเงินในสถาบันการเงินและธนาคารพาณิชยในปจจุบัน และมีวงเงินเสนอขายไมเกิน 100,000 ลานบาท ซึ่งจะเสนอขายในเดือนมกราคม 2558 -3-


2. เรื่อง ขอทบทวนมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2557 เรื่อง การแกไขปญหายางพารา ตามมติคณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ (กนย.) เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2557 (โครงการสนับสนุน สินเชื่อเปนเงินทุนหมุนเวียนแกผูประกอบการยาง) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการทบทวนมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2557 ในสวนของขอคิดเห็นของสํานักงบประมาณ เกี่ยวกับงบประมาณดําเนินการโครงการสนับสนุนสินเชื่อ เปนเงินทุนหมุนเวียนแกผูประกอบการยาง โดยใหธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) ธนาคารธนชาต จํากัด (มหาชน) และธนาคารพาณิชยอื่น ๆ เปนผูสนับสนุนสินเชื่อเปน เงินทุนหมุนเวียนแกผูประกอบการยาง ภายในกรอบวงเงิน 10,000 ลานบาท และใหธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) เปนผูเสนอขอตั้งงบประมาณรายจายประจําปเพื่อชดเชยดอกเบี้ยรอยละ 3 ตามรายจายที่เกิดขึ้นจริง โดยกําหนดใหมีการจายชดเชยดอกเบี้ยเปนรายเดือน ตามลักษณะการประกอบธุรกรรมของธนาคาร ภายในกรอบวงเงินไมเกิน 300 ลานบาท โดยใหใชจากเงินทุนที่เปนสภาพคลองของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) 3. เรื่อง การปรับปรุงโครงสรางอัตราภาษีศุลกากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการปรับปรุงโครงสรางอัตราภาษีศุลกากร โดยปรับลดอัตรา อากรขาเขาสินคาในกลุมวัตถุดิบ ปจจัยการผลิตที่ไมมีผลิตในประเทศ เครื่องจักร เครื่องมือ และวัสดุ อุปกรณที่เปนสวนประกอบของเครื่องจักร เครื่องมือที่เกี่ยวของกับกระบวนการผลิต โดยยกเวนอากรขาเขา กลุมสินคาวัตถุดิบ ปจจัยการผลิตที่ไมมีผลิตในประเทศ เครื่องจักร เครื่องมือ และวัสดุอุปกรณที่เปน สวนประกอบของเครื่องจักร เครื่องมือที่เกี่ยวของกับกระบวนการผลิต จากอัตราอากรขาเขาปจจุบันเทากับ รอยละ 1 รอยละ 3 รอยละ 5 และรอยละ 10 และปรับลดอัตราอากรขาเขาลงเหลือรอยละ 10 ใหกับ ผูประกอบการที่ใชสินคาในกลุมเครื่องจักร เครื่องมือ และวัสดุอุปกรณที่เปนสวนประกอบของเครื่องจักร เครื่องมือที่เกี่ยวของกับกระบวนการผลิตที่มีการผลิตในประเทศ 4. เรื่อง การขยายระยะเวลามาตรการสําหรับเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให 1. ขยายระยะเวลามาตรการดานภาษีและคาธรรมเนียม และ มาตรการดานการเงิน ยกเวนมาตรการพักชําระหนี้ลูกคาธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) ออกไปอีก 3 ป 2. เห็นชอบมาตรการสินเชื่อผอนปรนโดยธนาคารออมสินใหครอบคลุมลูกคา รายเดิมและลูกคารายใหม 3. เห็นชอบการขยายระยะเวลามาตรการพักชําระหนี้ลูกคา ธ.ก.ส. ออกไปอีก 3 ป 3 เดือน และอนุมัติหลักการรางพระราชกฤษฎีกา และเห็นชอบในหลักการรางประกาศกระทรวง เพื่อขยายระยะเวลามาตรการดานภาษีและคาธรรมเนียมออกไปจนถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2560 รวมทั้ง อนุมัติงบประมาณสําหรับ 1. มาตรการชดเชยสวนตางเบี้ยประกันป 2. งบประมาณสําหรับการชดเชย สวนตางระหวางตนทุนเงินกับอัตราผลตอบแทนที่ธนาคารออมสินไดรับจากการปลอยสินเชื่อตามมาตรการ สินเชื่อผอนปรน 3. งบประมาณสําหรับมาตรการพักหนี้เกษตรกรลูกคา ธ.ก.ส. ในสวนของเงินตนที่ไมเกิน 200,000 บาท 5. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาโครงการสินเชื่อสงเสริมผูประกอบอาชีพใหบริการรถสาธารณะในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต ของธนาคารอิสลามแหงประเทศไทย คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ขอขยายระยะเวลา โครงการสินเชื่อสงเสริมผูประกอบอาชีพใหบริการรถสาธารณะในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใตของ ธนาคารอิสลามแหงประเทศไทย (ธอท.) ออกไปถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558 เปนครั้งสุดทาย และให ธอท. -4-


รายงานความคืบหนาของการดําเนินโครงการสินเชื่อฯ เปนรายไตรมาสให กค. ไดรับทราบและใชเปนขอมูล ประกอบการพิจารณากําหนดนโยบายและมาตรการในการพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตตอไป 6. เรื่อง รางกฎกระทรวงกําหนดความเสียหายที่จะใหไดรับคาเสียหายเบื้องตน จํานวนเงินคาเสียหาย เบื้องตน การรองขอรับและการจายคาเสียหายเบื้องตน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรางกฎกระทรวงกําหนดความเสียหายที่จะใหไดรับคาเสียหาย เบื้องตน จํานวนเงินคาเสียหายเบื้องตน การรองขอรับและการจายคาเสียหายเบื้องตน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ที่สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตรวจพิจารณาแลว ตามที่กระทรวงการคลัง เสนอ ซึ่งเปนการแกไข ปรับปุรงวงเงินคารักษาพยาบาลของผูประสบภัยจากรถในสวนของคาเสียหายเบื้องตนกรณีความเสียหาย ตอรางกาย ตามกฎกระทรวงกําหนดความเสียหายที่จะใหไดรับคาเสียหายเบื้องตน จํานวนเงินคาเสียหาย เบื้องตนการรองขอรับและการจายคาเสียหายเบื้องตน พ.ศ. 2552 เพิ่มจากจํานวนเงินไมเกินคนละ 15,000 บาท เปนจํานวนเงินไมเกินคนละ 30,000 บาท โดยใหไดรับเงินคาเสียหายเบื้องตนรวมกันแลวตองไมเกินคนละ 65,000 บาท 7. เรื่อง มาตรการภาษีเพื่อสงเสริมการจัดตั้งสํานักงานใหญขามประเทศและมาตรการภาษีเพื่อสงเสริม การจัดตั้งบริษัทการคาระหวางประเทศ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ มาตรการภาษีเพื่อสงเสริมการจัดตั้งสํานักงานใหญขามประเทศ (International Headquarters : IHQ) และมาตรการภาษีเพื่อสงเสริมการจัดตั้งบริษัทการคาระหวางประเทศ (International Trading Centers : ITC) ตามที่ กค. เสนอโดยกรมสรรพากรจะดําเนินการตราพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พศ. ....จํานวน 2 ฉบับ คือพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการภาษีเพื่อสงเสริมการจัดตั้งสํานักงานใหญขามประเทศ) จํานวน 1 ฉบับ และ พระราช กฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการภาษีเพื่อสงเสริมการจัดตั้งบริษัทการคาระหวางประเทศ) จํานวน 1 ฉบับ 8. เรื่อง มาตรการปรับลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวย การลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... จํานวน 1 ฉบับ (มาตรการปรับลดอัตราภาษีเงินไดนิติ บุคคลสําหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2557) ตามที่ กระทรวงการคลังเสนอ กําหนดใหมีการปรับลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับบริษัทหรือหางหุนสวนนิติ บุคคลซึ่งมีทุนที่ชําระแลวในวันสุดทายของรอบระยะเวลาบัญชีไมเกิน 5 ลานบาทและมีรายไดจากการขาย สินคาและการใหบริการในรอบระยะเวลาบัญชีไมเกิน 30 ลานบาท สําหรับชวงกําไรสุทธิเกิน 1,000,000 บาท แตไมเกิน 3,000,000 บาท จากอัตรารอยละ 20 ของกําไรสุทธิ เปนรอยละ 15 ของกําไรสุทธิ สําหรับ รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เปนตนไป และมาตรการนี้จะเปนประโยชน ในการชวยสงเสริมและสนับสนุน SMEs ซึ่งมีบทบาทสําคัญตอโครงสรางระบบเศรษฐกิจของประเทศใหมี ความเขมแข็ง ชวยเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศและจูงใจใหเกิดการลงทุนทั้งในประเทศ และตางประเทศ รวมถึงบรรเทาภาระตนทุนและเพิ่มสภาพคลองทางการเงินใหแก SMEs อันเปนการชวย กระตุนเศรษฐกิจของประเทศ

-5-


สถานการณดานการคลัง

I รายได 1. ตามหนวยงาน 1.1 กรมสรรพากร (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.2 กรมสรรพสามิต (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.3 กรมศุลกากร (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.4 รัฐวิสาหกิจ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.5 หนวยงานอื่น (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) - สวนราชการอื่น - กรมธนารักษ 1.6 รวมรายไดจัดเก็บ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.7 รวมรายไดสุทธิ (หลังหักการจัดสรรให อปท.) (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2. ตามฐานภาษี 2.1 ฐานจากเงินได (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2.2 ฐานจากการบริโภค (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 2.3 ฐานจากการคาระหวางประเทศ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) II รายจาย 1.รายจายรัฐบาลจากงบประมาณ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.1 งบประมาณปปจจุบัน (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 1.2 งบประมาณปกอน 2. รายจายของกองทุนนอกงบประมาณ (15 กองทุน) 1/ - รายจาย - เงินใหกูยืมสุทธิ 3. รายจายจากเงินกูตางประเทศ (อัตราเพิ่มจากปที่แลว%) 4. รายจายของอปท. 5. รายจายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ III ดุลการคลัง 1. ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด 2. ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบ สศค. 2/ - รัฐบาล - อปท. 3. เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือน3/ IV ยอดหนี้สาธารณะ 1. หนี้รัฐบาลกูตรง 2. หนี้รัฐวิสาหกิจ 3. หนี้ของหนวยงานภาครัฐอื่น 4. หนี้ FIDF 5. รวม 6. หนี้คงคาง/GDP (ปปฏิทิน)% 7. หนี้ที่เปนภาระงบประมาณ/GDP (ปปฏิทิน)%

รวมทั้งป งบประมาณ 2557

ปงบประมาณ 2557 Aug-57

Jul-57

Sep-57

ปงบประมาณ 2558 Oct-57 Nov-57

หนวย : พันลานบาท

รวม ต.ค. - พ.ย.57

1,729.8 (2.0) 382.7 (11.6) 108.8 (4.0) 136.7 34.7 136.0 (14.5) 130.5 5.4 2,494.0 (3.0) 2,075.0 (4.0)

110.0 4.9 27.8 (12.6) 10.0 2.9 9.2 (10.7) 6.3 3.6 6.1 0.1 163.2 0.3 129.5 (0.8)

175.7 (3.4) 28.0 (14.8) 9.1 (5.8) 3.3 5.2 18.8 4.1 18.7 0.2 235.0 (4.3) 205.0 (5.0)

194.2 (2.7) 30.4 (4.5) 10.3 13.3 4.7 111.4 7.4 1.3 7.2 0.2 247.0 (1.3) 191.5 (1.9)

111.8 (0.5) 33.9 (7.3) 9.0 (6.0) 37.0 0.9 8.8 18.3 8.6 0.2 200.4 (1.1) 173.6 (2.8)

119.1 0.8 32.6 (6.9) 8.6 (3.9) 5.2 (30.7) 19.2 2.8 18.8 0.4 184.7 (1.9) 162.3 (2.5)

230.9 0.2 66.5 (7.1) 17.6 (5.0) 42.2 (4.5) 28.0 7.2 27.5 0.5 385.1 (1.5) 335.9 (2.6)

953.2 (5.1) 1,158.3 (2.8) 106.0 (4.4)

45.0 3.1 92.8 (0.3) 9.3 (1.2)

110.1 (5.6) 93.6 (4.5) 8.9 (3.4)

129.2 (6.9) 95.3 2.8 9.8 10.3

44.6 (2.5) 101.0 (2.0) 8.8 (6.7)

55.7 0.2 95.9 (1.6) 8.5 (4.1)

100.3 (1.1) 196.9 (1.8) 17.2 (5.4)

2,459.9 2.4 2,246.3 3.4 213.5 409.8 395.9 13.9 9.0 (59.2)

200.2 17.0 189.4 19.6 10.8 35.6 24.6 11.0 0.6 (11.9)

132.1 (7.9) 124.7 (4.3) 7.4 17.3 15.7 (1.6) 0.2 (83.2)

228.9 (2.3) 212.2 (3.0) 16.7 32.1 33.2 (1.1) 0.7 (67.6)

367.6 42.3 344.8 41.3 22.8 35.0 33.7 1.3 0.4 (41.2)

205.8 (19.6) 180.7 (22.3) 25.1 20.1 18.7 1.4 0.2 (19.8)

573.4 11.5 525.5 10.3 47.9 55.1 52.4 2.7 0.6 (33.6)

(359.3) (267.0) (267.0)

(80.9) (47.2) (47.2)

3.4 96.3 96.3

119.8 (7.7) (7.7)

(185.7) (104.9) (104.9)

(93.0) (30.0) (30.0)

(278.7) (134.9) (134.9)

325.9

346.7

357.9

495.7

325.9

242.9

568.8

3,924.7 1,710.8 17.8 5,653.3 46.8

3,924.4 1,710.2 15.4

3,965.4 1,714.0 11.4 5,690.8 47.2

3,953.8 1,676.3 10.5 5,640.6 46.5

n/a n/a n/a n/a n/a n/a

-

5,650.0 46.5

หมายเหตุ 1/ ประกอบดวย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณและการทําของ กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนคาธรรมเนียมผานทาง กองทุนสงเสริมวิสาหกิจ กองทุนออยและน้ําตาล กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ กองทุนหมูบานและชุมชนเมือง กองทุนสงเสริมการอนุรักษพลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กองทุนชวยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย 2/ ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาและวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) เปนผลรวมของดุลการคลังรัฐบาล และดุลการคลังของ อปท. 3/ ตั้งแตปงบประมาณ 2551 เงินคงคลังจะไมรวมเงินอื่น (บัตรภาษี) และเงินฝากธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) รวบรวมโดย : สวนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

-6-

n/a n/a n/a n/a n/a n/a


สถานการณดานรายได

• เดือนพฤศจิกายน 2557

รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 162,304 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 3,969 ลานบาท หรือรอยละ 2.4 (ต่ํากวาเดือนเดียวกันปที่แลวรอยละ 2.5) โดย 3 กรมจัดเก็บภาษีสังกัดกระทรวงการคลังจัดเก็บรายไดต่ํากวา ประมาณการ 8,630 ลานบาท หรือรอยละ 5.1 สําหรับภาษีที่จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมายที่สําคัญ ไดแก ภาษีเงินได นิติบุคคล ภาษีเบียร ภาษีสรรพสามิตรถยนต และภาษีมูลคาเพิ่ม จัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการ 3,571 1,141 1,075 และ 1,049 หรือรอยละ 9.5 13.9 13.4 และ 1.8 ตามลําดับ อยางไรก็ดี ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาจัดเก็บไดสูงกวาประมาณการ 1,079 ลานบาท หรือรอยละ 5.5 นอกจากนี้ การนําสงรายไดของรัฐวิสาหกิจและการจัดเก็บรายไดของหนวยงานอื่นสูงกวาเปาหมาย 2,079 และ 692 ลานบาท หรือรอยละ 66.6 และ 3.7 ตามลําดับ ตารางสรุปรายไดรัฐบาลเดือนพฤศจิกายน 2557* ที่มาของรายได

ปนี้

ปที่แลว

1. กรมสรรพากร 2. กรมสรรพสามิต 3. กรมศุลกากร รายได 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น หัก1/ รายไดรัฐบาลสุทธิ

119,104 32,589 8,614 160,307 5,200 19,197 22,400 162,304

118,159 34,994 8,967 162,120 7,509 18,671 21,850 166,450

ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้ งปม.ทั้งปเทากับ กับปที่แลว จํานวน รอยละ 2,325,000 ลานบาท 945 0.8 123,648 (2,405) (6.9) 35,689 (353) (3.9) 9,600 (1,813) (1.1) 168,937 (2,309) (30.7) 3,121 526 2.8 18,505 550 2.5 24,290 (4,146) (2.5) 166,273

หนวย : ลานบาท

เปรียบเทียบปนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม. จํานวน รอยละ (4,544) (3.7) (3,100) (8.7) (986) (10.3) (8,630) (5.1) 2,079 66.6 692 3.7 (1,890) (7.8) (3,969) (2.4)

หมายเหตุ *ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 8 ธันวาคม 2557 1/ คาดการณรายการหัก ไดแก (1) คืนภาษีสรรพากร 19,900 ลานบาท (2) จัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อบจ. 1,400 ลานบาท (3) เงินกันชดเชยสงออก 1,100 ลานบาท ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลสุทธิในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (เดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2557)

ลานบาท 400,000 350,000 300,000 250,000 200,000 150,000

171,498 162,304

100,000 50,000 0 ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

จัดเก็บ 57

มี.ค. ปมก. 58

-7-

เม.ย.

พ.ค.

จัดเก็บ 58

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.


• ในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม – พฤศจิกายน 2557) รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ 335,911 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 6,490 ลานบาท หรือรอยละ 2.0 (ต่ํากวา ชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 2.6) ทั้งนี้ การจัดเก็บรายไดของ 3 กรมจัดเก็บภาษีสังกัดกระทรวงการคลังต่ํากวา ประมาณการ 6,862 ลานบาท หรือรอยละ 2.1 ในขณะที่การนําสงรายไดของรัฐวิสาหกิจและการจัดเก็บรายได ของหนวยงานอื่นสูงกวาประมาณการ 13,749 และ 1,392 ลานบาท หรือรอยละ 48.4 และ 5.2 ตามลําดับ

ผลการจัดเก็บรายไดของ 3 กรมในสังกัดกระทรวงการคลัง ปงบประมาณ 2558 (เดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2557) ลานบาท จัดเก็บ 57 ประมาณการ 58 จัดเก็บ 58

350,000 300,000 250,000

320,617

321,844

314,982

230,490 232,806 230,879

200,000 150,000 100,000

71,619 70,138 66,523

50,000

18,508 18,900 17,580

0 กรมสรรพากร

กรมสรรพสามิต

กรมศุลกากร

รวม 3 กรม

ตารางสรุปรายไดรัฐบาลปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม – พฤศจิกายน 2557)* ที่มาของรายได

ปนี้

ปที่แลว

1. กรมสรรพากร 2. กรมสรรพสามิต 3. กรมศุลกากร รายได 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น หัก1/ รายไดรัฐบาลสุทธิ

230,879 66,523 17,580 314,982 42,164 27,974 49,209 335,911

230,490 71,619 18,508 320,617 44,141 26,090 45,833 345,015

ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้ งปม.ทั้งปเทากับ กับปที่แลว จํานวน รอยละ 2,325,000 ลานบาท 389 0.2 232,806 (5,096) (7.1) 70,138 (928) (5.0) 18,900 (5,635) (1.8) 321,844 (1,977) (4.5) 28,415 1,884 7.2 26,582 3,376 7.4 47,420 (9,104) (2.6) 329,421

หนวย : ลานบาท

เปรียบเทียบปนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม. จํานวน รอยละ (1,927) (0.8) (3,615) (5.2) (1,320) (7.0) (6,862) (2.1) 13,749 48.4 1,392 5.2 1,789 3.8 6,490 2.0

หมายเหตุ *ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 8 ธันวาคม 2557 1/ รายการหัก ไดแก (1) คืนภาษีสรรพากร 44,328 ลานบาท (เดือนตุลาคม 2557 เปนตัวเลขจริง เดือนพฤศจิกายน 2557 เปนตัวเลขคาดการณ) (2) จัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อบจ. 2,646 ลานบาท (เดือนตุลาคม 2557 เปนตัวเลขจริง เดือนพฤศจิกายน 2557 เปนตัวเลขคาดการณ) (3) เงินกันชดเชยสงออก 2,235 ลานบาท (เดือนตุลาคม 2557 เปนตัวเลขจริง เดือนพฤศจิกายน 2557 เปนตัวเลขคาดการณ) ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

-8-


ผลการจัดเก็บรายไดตามหนวยงานจัดเก็บสรุปได ดังนี้  กรมสรรพากร จัดเก็บรายไดรวม 230,879 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 1,927 ลานบาท หรือรอยละ 0.8 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 0.2) โดยภาษีที่จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมายที่สําคัญ คือ ภาษีเงินไดนิติบุคคลจัดเก็บได ต่ํากวาเปาหมาย 5,118 ลานบาท หรือรอยละ 8.2 (ใกลเคียงกับชวงเดียวกันปที่แลว) เนื่องจากภาษีเงินไดหัก ณ ที่จาย จากการจําหนายกําไร (ภ.ง.ด. 54) จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมายเปนสําคัญ อยางไรก็ดี ภาษีที่จัดเก็บไดสูงกวาเปาหมายที่สําคัญ ไดแก (1) ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา จัดเก็บไดสูงกวาเปาหมาย 2,111 ลานบาท หรือรอยละ 5.3 (ต่ํากวาชวงเดียวกัน ปที่แลวรอยละ 1.4) เนื่องจากภาษีเงินไดหัก ณ ที่จาย ภาคเอกชนจัดเก็บไดสูงกวาเปาหมายเปนสําคัญ (2) ภาษีมูลคาเพิ่ม จัดเก็บไดสูงกวาเปาหมาย 2,022 ลานบาท หรือรอยละ 1.7 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว รอยละ 1.0) เปนผลจากการบริโภคที่ขยายตัวสูงกวาเปาหมาย โดยภาษีมูลคาเพิ่มที่จัดเก็บจากการบริโภคในประเทศ จัดเก็บไดสูงกวาเปาหมาย 2,370 ลานบาท หรือรอยละ 3.6 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 5.1) และภาษีมูลคาเพิ่ม ที่จัดเก็บจากการนําเขาต่ํากวาเปาหมาย 348 ลานบาท หรือรอยละ 0.7 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 4.0)

สัดสวนผลการจัดเก็บรายไดของกรมสรรพากรแยกตามรายภาษี ในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม - พฤศจิกายน 2557) ภาษีธุรกิจเฉพาะอากรแสตมป รายไดอื่น ภาษีเงินไดปโตรเลียม 3.86% 0.99% 0.03% ภาษีเงินไดบุคคล 0.30% ธรรมดา 18.24%

ภาษีเงินไดนิติบุคคล 24.93%

ภาษีมูลคาเพิ่ม 51.66%

 กรมสรรพสามิต จัดเก็บรายไดรวม 66,523 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 3,615 ลานบาท หรือรอยละ 5.2 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 7.1) โดยภาษีที่จัดเก็บไดต่ํากวาประมาณการที่สําคัญ ไดแก (1) ภาษีสรรพสามิตรถยนต จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 3,219 ลานบาท หรือรอยละ 19.0 (ต่ํากวาชวงเดียวกัน ปที่แลวรอยละ 22.9) สาเหตุมาจากความตองการซื้อรถยนตที่ยังไมฟนตัว (2) ภาษีเบียรและภาษีสุรา จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 1,850 และ 1,746 ลานบาท หรือรอยละ 11.9 และ 13.8 ตามลําดับ (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 11.9 และ 26.8 ตามลําดับ) อยางไรก็ดี ภาษีที่จัดเก็บไดสูงกวาประมาณการที่สําคัญ ไดแก (1) ภาษียาสูบ จัดเก็บไดสูงกวาเปาหมาย 2,674 ลานบาท หรือรอยละ 26.3 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 38.2) และ (2) ภาษีน้ํามัน จัดเก็บไดสูงกวา เปาหมาย 438 ลานบาท หรือรอยละ 4.2 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 7.5) สาเหตุสําคัญมาจากการปรับ อัตราภาษีน้ํามัน เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2557

-9-


สัดสวนผลการจัดเก็บรายไดของกรมสรรพสามิตแยกตามรายภาษี ในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม - พฤศจิกายน 2557) ภาษีสุราฯ 16.39%

ภาษีอื่นๆ 6.54%

ภาษีน้ํามันฯ 16.51% ภาษีรถยนต 20.57%

ภาษียาสูบ 19.30% ภาษีเบียร 20.69%

 กรมศุลกากร จัดเก็บรายไดรวม 17,580 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 1,320 ลานบาท หรือรอยละ 7.0 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 5.0) สาเหตุสําคัญมาจากอากรขาเขาที่จัดเก็บไดต่ํากวาเปาหมาย 1,323 ลานบาท หรือรอยละ 7.1 เปนผลจากมูลคาการนําเขาที่ยังคงหดตัวอยางตอเนื่อง โดยมูลคาการนําเขาในรูปดอลลารสหรัฐ และเงินบาทในเดือนตุลาคม 2557 หดตัวรอยละ 4.9 และรอยละ 2.1 ตามลําดับ ทั้งนี้ สินคาที่จัดเก็บอากรขาเขาได สูงสุด 5 อันดับแรก ไดแก ยานบกและสวนประกอบ เครื่องจักรและเครื่องใชกล เครื่องใชไฟฟาและอุปกรณประกอบ ของทําดวยเหล็กหรือเหล็กกลา และพลาสติก

สัดสวนผลการจัดเก็บรายไดของกรมศุลกากรแยกตามรายภาษี ในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม - พฤศจิกายน 2557) อากรขาออก รายไดอื่น 0.23% 1.95%

อากรขาเขา 97.82%

 รัฐวิสาหกิจ นําสงรายไดรวม 42,164 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 13,749 ลานบาท หรือรอยละ 48.4 (ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 4.5) โดยรัฐวิสาหกิจที่นําสงรายไดสูงสุด 5 อันดับแรกในชวง 2 เดือนแรกของ ปงบประมาณ 2558 ไดแก การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) การไฟฟาสวนภูมิภาค ธนาคารออมสิน และการไฟฟานครหลวง

-10-


สัดสวนการนําสงรายไดรัฐวิสาหกิจแยกตามสาขา ในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม - พฤศจิกายน 2557) กิจการที่กระทรวงการคลัง เกษตรและ ทรัพยากรธรรมชาติ พาณิชยและบริการ สถาบัน การเงิน ถือหุน ต่ํากวารอยละ 50 1.73% 12.39% 0.17% 5.53% สาธารณูปการ 3.56%

พลังงาน 63.34%

สื่อสาร 10.91% ขนสง 2.37%

 หนวยงานอื่น จัดเก็บรายไดรวม 27,974 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 1,392 ลานบาท หรือรอยละ 5.2 (สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 7.2) สาเหตุสําคัญมาจากการจัดเก็บคาใบอนุญาตตางดาวที่สูงกวาประมาณการ เปนสําคัญ ขณะที่กรมธนารักษจัดเก็บรายไดรวม 515 ลานบาท ใกลเคียงกับเปาหมาย  การคืนภาษีของกรมสรรพากร จํานวน 44,328 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 2,201 ลานบาท หรือรอยละ 5.2 ประกอบดวยการคืนภาษีมูลคาเพิ่ม 39,601 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 1,456 ลานบาท หรือรอยละ 3.8 และการคืนภาษีอื่นๆ (ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป) จํานวน 4,727 ลานบาท สูงกวาประมาณการ 745 ลานบาท หรือรอยละ 18.7  การจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มใหองคการบริหารสวนจังหวัด จํานวน 2,646 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 193 ลานบาท หรือรอยละ 6.8  เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินคาสงออก จํานวน 2,235 ลานบาท ต่ํากวาประมาณการ 219 ลานบาท หรือรอยละ 8.9

-11-


ตารางที่ 1 ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลเบื้องตน เดือนพฤศจิกายน 2557 เปรียบเทียบปนี้กับปที่แลว ที่มาของรายได 1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7

ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น

2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษีรถยนต 2.3 ภาษีเบียร 2.4 ภาษียาสูบ 2.5 ภาษีสุราฯ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีรถจักรยานยนต 2.8 ภาษีแบตเตอรี่ 2.9 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.10 ภาษีอื่น 2/ 2.11 รายไดอื่น

3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่น

รวมรายได 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น 5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ

รวมรายไดจัดเก็บ (Gross) หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ให อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินคาสงออก รวมรายไดสุทธิ (Net) หมายเหตุ

1/

ปนี้

ปที่แลว

จํานวน

รอยละ

1/

หนวย : ลานบาท ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม.

งปม.ทั้งปเทากับ 2,325,000 ลานบาท

จํานวน

รอยละ

119,104

118,159

945

0.8

123,648

(4,544)

(3.7)

58,060 34,201 20,851 669 4,215 1,078 30

57,073 33,865 20,613 1,154 4,460 971 23

987 336 238 (485) (245) 107 7

1.7 1.0 1.2 (42.0) (5.5) 11.0 30.4

59,109 37,772 19,772 1,275 4,656 1,045 19

(1,049) (3,571) 1,079 (606) (441) 33 11

(1.8) (9.5) 5.5 (47.5) (9.5) 3.2 57.9

32,589

34,994

(2,405)

(6.9)

35,689

(3,100)

(8.7)

5,130 6,931 7,040 5,570 5,803 1,451 244 195 48 99 78

5,014 8,592 8,070 3,452 7,830 1,523 179 135 50 81 68

116 (1,661) (1,030) 2,118 (2,027) (72) 65 60 (2) 18 10

2.3 (19.3) (12.8) 61.4 (25.9) (4.7) 36.3 44.4 (4.0) 22 14.7

5,287 8,006 8,181 5,458 6,555 1,586 214 164 63 101 74

(157) (1,075) (1,141) 112 (752) (135) 30 31 (15) (2) 4

(3.0) (13.4) (13.9) 2.1 (11.5) (8.5) 14.0 18.9 (23.8) (2.0) 5.4

8,614

8,967

(353)

(3.9)

9,600

(986)

(10.3)

8,449 19 145

8,828 2 137

(379) 17 8

(4.3) 873.6 5.8

9,410 25 165

(961) (6) (20)

(10.2) (22.1) (12.1)

160,307 5,200 19,197

162,120 7,509 18,671

(1,813) (2,309) 526

(1.1) (30.7) 2.8

168,937 3,121 18,505

(8,630) 2,079 692

(5.1) 66.6 3.7

18,845 352

18,411 260

434 92

2.4 35.4

18,158 347

687 5

3.8 1.4

184,704

188,300

(3,596)

(1.9)

190,563

(5,859)

(3.1)

19,669 18,085 1,584 1,208 973

231 15 216 192 127

1.2 0.1 13.6 15.9 13.1

21,826 19,915 1,911 1,345 1,119

(1,926) (1,815) (111) 55 (19)

(8.8) (9.1) (5.8) 4.1 (1.7)

166,450

(4,146)

(2.5)

166,273

(3,969)

(2.4)

19,900 18,100 1,800 1,400 1,100

162,304

3/

4/

4/ 4/

ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 8 ธันวาคม 2557

2/

ภาษีไพ แกวฯ เครื่องหอม เรือ พรม สนามมา สนามกอลฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนทคลับและดิสโกเธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด ตัวเลขจากระบบ GFMIS ขอมูลคาภาคหลวงปโตรเลียมและกําไรองคกรรวมฯ จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ 4/ ตัวเลขคาดการณ ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย : สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/

-12-


ตารางที่ 2 ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 1/ ( เดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2557) ที่มาของรายได 1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7

ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น

2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษีรถยนต 2.3 ภาษีเบียร 2.4 ภาษียาสูบ 2.5 ภาษีสุราฯ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีรถจักรยานยนต 2.8 ภาษีแบตเตอรี่ 2.9 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.10 ภาษีอื่น 2/ 2.11 รายไดอื่น

3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่น

รวมรายได 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น 5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ

รวมรายไดจัดเก็บ (Gross) หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ให อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินคาสงออก

รวมรายไดสุทธิ (Net)

ปนี้

ปที่แลว

230,879

เปรียบเทียบปนี้กับปที่แลว

หนวย : ลานบาท ปมก.ตามเอกสาร เปรียบเทียบปนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม.

งปม.ทั้งปเทากับ 2,325,000 ลานบาท

จํานวน

รอยละ

230,490

389

0.2

232,806

(1,927)

(0.8)

119,274 57,554 42,104 685 8,907 2,294 61

118,118 57,550 42,707 1,154 8,856 2,056 49

1,156 4 (603) (469) 51 238 12

1.0 0.0 (1.4) (40.6) 0.6 11.6 24.5

117,252 62,672 39,993 1,275 9,441 2,131 42

2,022 (5,118) 2,111 (590) (534) 163 19

1.7 (8.2) 5.3 (46.3) (5.7) 7.6 45.2

66,523

71,619

(5,096)

(7.1)

70,138

(3,615)

(5.2)

10,983 13,685 13,761 12,842 10,903 3,046 477 378 98 204 146

10,219 17,744 15,622 9,289 14,899 2,687 398 325 124 177 135

764 (4,059) (1,861) 3,553 (3,996) 359 79 53 (26) 27 11

7.5 (22.9) (11.9) 38.2 (26.8) 13.4 19.8 16.3 (21.0) 15 8.1

10,545 16,904 15,611 10,168 12,649 2,985 454 352 135 204 131

438 (3,219) (1,850) 2,674 (1,746) 61 23 26 (37) 15

4.2 (19.0) (11.9) 26.3 (13.8) 2.0 5.1 7.4 (27.4) 11.5

17,580

18,508

(928)

(5.0)

18,900

(1,320)

(7.0)

17,197 41 342

18,227 3 278

320,617 44,141 26,090

(1,030) 38 64

(5,635) (1,977) 1,884

(5.7) 1,266.7 23.0

(1.8) (4.5) 7.2

18,520 50 330

321,844 28,415 26,582

(1,323) (9) 12

(6,862) 13,749 1,392

(7.1) (18.0) 3.6

(2.1) 48.4 5.2

25,579 511

1,880 4

7.3 0.8

26,066 516

1,393 (1)

5.3 (0.2)

390,848

(5,728)

(1.5)

376,841

8,279

2.2

41,150 36,235 4,915 2,548 2,135

3,178 3,366 (188) 98 100

7.7 9.3 (3.8) 3.8 4.7

42,127 38,145 3,982 2,839 2,454

2,201 1,456 745 (193) (219)

5.2 3.8 18.7 (6.8) (8.9)

345,015

(9,104)

(2.6)

329,421

6,490

2.0

314,982 42,164 27,974

27,459 515

3/

385,120 44,328 39,601 4,727 2,646 2,235

335,911

4/

4/ 4/

1/

ตัวเลขเบื้องตน ณ วันที่ 8 ธันวาคม 2557 ภาษีไพ เครื่องแกว เครื่องหอม พรม สนามมา สนามกอลฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนทคลับและดิสโกเธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด 3/ ตัวเลขจากระบบ GFMIS 4/ เดือนตุลาคม 2557 เปนตัวเลขจริง เดือนพฤศจิกายน 2557 เปนตัวเลขคาดการณ ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย : สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ

2/

-13-

จํานวน

รอยละ


สถานการณดานรายจาย • พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ 2558 ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 131 ตอนที่ 69 ก เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2557 กําหนดวงเงินงบประมาณรายจายจํานวน 2,575,000 ลานบาท สูงกวาวงเงินปงบประมาณ 2557 รอยละ 2.0 โดยแบงเปนรายจายประจํา 2,027,859 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปที่เเลวรอยละ 0.5 รายจายลงทุน 449,476 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก ปที่เเลวรอยละ 1.9 รายจายชําระคืนตนเงินกู 55,700 ลานบาท และรายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง 41,965 ลานบาท โครงสรางงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558

โครงสรางงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณรายจาย (สัดสวนตอ GDP) - รายจายประจํา (สัดสวนตองบประมาณ) - รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) - รายจายลงทุน (สัดสวนตองบประมาณ) - รายจายชําระคืนตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) 2. รายรับ (สัดสวนตอ GDP) - รายได - เงินกู 3. ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP)

ปงบประมาณ 2557 เพิ่ม/ลด จํานวน รอยละ 2,525,000 5.2 20.3 2,017,626 6.2 79.9 13,424 100.0 0.5 441,129 -2.1 17.5 52,822 7.5 2.1 2,525,000 5.2 20.3 2,275,000 8.3 250,000 -16.7 12,424,000 4.4

ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2558

- 14 -

หนวย : ลานบาท

ปงบประมาณ 2558 เพิ่ม/ลด จํานวน รอยละ 2,575,000 2.0 19.5 2,027,859 0.5 78.8 41,965 212.6 1.6 449,476 1.9 17.5 55,700 5.4 2.2 2,575,000 2.0 19.5 2,325,000 2.2 250,000 13,201,000 6.3


• คณะรักษาความสงบแหงชาติมีมติเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2557 เห็นชอบการกําหนดเปาหมาย การเบิกจายงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ.2558 ที่อัตรารอยละ 96.0 และกําหนด เปาหมายการเบิกจายรายจายลงทุนไวไมนอยกวารอยละ 87.0 ของวงเงินงบรายจายลงทุน โดยไดกําหนด เปาหมายการเบิกจายรายไตรมาส ดังนี้ ไตรมาสที่

เปาหมายการเบิกจาย สะสม ณ สิ้นไตรมาส

1 2 3 4

824,000 592,250 540,750 540,750

เปาหมายอัตราการ เบิกจายสะสม ณ สิ้นไตรมาส (%) 32 23 21 21

เบิกจายสะสม

อัตราการเบิกจาย (%)

• เดือนพฤศจิกายน 2557 รัฐบาลมีการเบิกจายเงินงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 205,758 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 50,045 ลานบาท หรือรอยละ 19.6 ปงบประมาณ 1. รายจายปปจจุบัน 1.1 รายจายประจํา 1.2 รายจายลงทุน 2. รายจายปกอน รวม

2558 180,660 171,898 8,762 25,098 205,758

เดือนพฤศจิกายน 2557 เปรียบเทียบ 2557 จํานวน รอยละ 232,568 (51,908) (22.3) 227,851 (55,953) (24.6) 4,717 4,045 85.8 23,235 1,863 8.0 255,803 (50,045) (19.6)

ประกอบดวย 1) การเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558 จํานวน 180,660 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกัน ปที่แลว 51,908 ลานบาท หรือรอยละ 22.3 แบงเปน รายจายประจํา 171,898 ลานบาท และรายจายลงทุน 8,762 ลานบาท โดยมีการเบิกจายรายการที่สําคัญ คือ เงินอุดหนุนเฉพาะกิจของกรมสงเสริมการปกครอง ทองถิ่น 37,878 ลานบาท เงินอุดหนุนของสํานักงาน ประกันสังคม 16,280 ลานบาท และรายจายชําระหนี้ ของกระทรวงการคลัง 15,070 ลานบาท 2) การเบิกจายรายจายปกอน มีจํานวน 25,098 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 1,863 ลานบาท หรือรอยละ 8.0

• ในปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม 2557 – พฤศจิกายน 2557) รัฐบาลไดเบิกจายแลวจํานวนรวมทั้งสิ้น 573,356 ลานบาท สูงกวาปที่แลว 59,280 หรือรอยละ 11.5

- 15 -

ประกอบดวย 1) การเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558 จํานวน 525,461 ลานบาท คิดเปนอัตรา การเบิกจายรอยละ 20.4 ของวงเงินงบประมาณ 2,575,000 ลานบาท สูงกวาปที่แลว 48,892 หรือรอยละ 10.3 แบงเปน รายจายประจํา 501,875 ลานบาท คิดเปนรอยละ 23.6 ของวงเงินงบประมาณ


ปงบประมาณ 1. รายจายปปจจุบัน 1.1 รายจายประจํา 1.2 รายจายลงทุน 2. รายจายปกอน รวม

ตนแตตนปงบประมาณจนถึงสิ้นเดือนพฤศจิกายน2557 2558

2557

525,461 501,875 23,586 47,895 573,356

476,569 469,155 7,414 37,507 514,076

เปรียบเทียบ งปม. 2557 รอยละตอวงเงิน จํานวน รอยละ งปม. 2558 10.3 20.4 48,892 32,720 7.0 23.6 16,172 218.1 5.3 10,388 27.7 15.0 59,280 11.5 19.8

รายจายประจําหลังโอนเปลี่ยนแปลง (2,130,590 ลานบาท) รายจายลงทุน 23,586 ลานบาท คิดเปน รอยละ 5.3 ของวงเงินงบประมาณรายจายลงทุน หลังโอนเปลี่ยนแปลง (444,410 ลานบาท) โดยมี การเบิกจายรายการที่สําคัญ ไดแก รายจายอื่นของ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร 64,028 ลานบาท เงินอุดหนุนของกระทรวงศึกษาธิการ 45,693 ลานบาท และรายจายของกองทุนหลักประกันสุขภาพ แหงชาติ 46,193 ลานบาท - การเบิกจายงบกลาง มีจํานวน 49,340 ลานบาท คิดเปนรอยละ 13.2 ของวงเงินงบกลาง (375,708 ลานบาท) โดยมีการเบิกจายรายการที่สําคัญ ไดแก - เงินเบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ 30,897 ลานบาท คิดเปนรอยละ 21.3 - คาใชจายในการรักษาพยาบาลขาราชการ ลูกจาง และพนักงานของรัฐ 9,869 ลานบาท คิดเปนรอยละ 16.6 - เงินสํารอง เงินสมทบ และเงินชดเชยของขาราชการ 7,477 ลานบาท คิดเปนรอยละ 16.5 - เงินชวยเหลือขาราชการ ลูกจางและพนักงาน ของรัฐ 920 ลานบาท คิดเปนรอยละ 18.3 2) การเบิกจายรายจายปกอน มีจํานวน 47,895 ลานบาท คิดเปนรอยละ 15.0 ของวงเงินรายจายปกอน (319,596 ลานบาท) สูงกวาปทแี่ ลว 10,388 ลานบาท หรือรอยละ 27.7

การเบิกจายงบประมาณในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558

ลานบาท

2,575,000

2,575,000

2,060,000

2,060,000

1,545,000

1,545,000

1,030,000

1,030,000

515,000

515,000

0

ต.ค. 57 พ.ย. 57 ธ.ค. 57 ม.ค. 58 ก.พ. 58 มี.ค. 58 เม.ย. 58 พ.ค. 58 มิ.ย. 58 ก.ค. 58 ส.ค. 58 ก.ย. 58

0

ต.ค. 57 พ.ย. 57 ธ.ค. 57 ม.ค. 58 ก.พ. 58 มี.ค. 58 เม.ย. 58 พ.ค. 58 มิ.ย. 58 ก.ค. 58 ส.ค. 58 ก.ย. 58 ปปจจุบัน(รายเดือน) 344,801 180,660 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 สะสม 2557 244,001 476,569 760,825 947,221 1,101,327 1,243,363 1,423,143 1,565,606 1,720,032 1,909,452 2,034,122 2,246,306 สะสม 2558 344,801 525,462

- 16 -


• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินจากโครงการลงทุน ภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ในเดือน พฤศจิกายน 2557 จํานวน 154 ลานบาท

- เดือนพฤศจิกายน 2557 มีการเบิกจายเงินจากโครงการ ลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 154 ลานบาท และตั้งแตเริ่มโครงการ (เดือนตุลาคม 2552) เบิกจายไปแลว 332,442 ลานบาท คิดเปน รอยละ 95.3 ของวงเงินที่ไดรับอนุมัติ 348,940 ลานบาท

• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจ และพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) ในเดือน พฤศจิกายน 2557 จํานวน 149 ลานบาท

- เดือนพฤศจิกายน 2557 มีการเบิกจายเงินกูเพื่อฟนฟู เศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) 149 ลานบาท และตั้งแตเริ่มโครงการ (เดือนเมษายน 2554) เบิกจายไปแลว 29,756 ลานบาท คิดเปนรอยละ 75.7 ของวงเงิน ที่ไดรับอนุมัติ 39,285 ลานบาท

• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินกูภายใต พรก.บริหาร - เดือนพฤศจิกายน 2557 มีการเบิกจายเงินกูภายใต จัดการน้ําฯ ในเดือนพฤศจิกายน 2557 จํานวน พรก.บริหารจัดการน้าํ ฯ 154 ลานบาท และตั้งแต เริม่ โครงการ (เดือนกุมภาพันธ 2555) เบิกจายไปแลว 154 ลานบาท 22,552 ลานบาท คิดเปนรอยละ 6.4 ของวงเงิน ที่ไดรับอนุมัติจํานวน 350,000 ลานบาท หนวย: ลานบาท

ปงบประมาณ 2558

โครงการ

วงเงินที่ไดรับ อนุมัติ

2553

2554

2555

2556

เบิกจาย

1.โครงการภายใตปฏิบัติการไทยเขมแข็ง1/ 2. เงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสราง 2/ พื้นฐาน (DPL) 3. เงินกูภายใต พรก. บริหารจัดการน้ําฯ

348,940 39,285 350,000

234,369

ตั้งแตตนปงบประมาณ จนถึงสิ้นเดือน พ.ย.57

พ.ย. 57

2557

รอยละของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ

เบิกจาย

รอยละของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ

เบิกจาย

รอยละของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ

61,391

24,420

7,509

4,597

154

0.0

156

0.0

332,442

95.3

286

7,382

14,993

6,646

149

0.4

450

1.1

29,756

75.7

1,762

13,740

6,793

154

0.0

257

0.1

22,552

6.4

หมายเหตุ 1/เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553 คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหยกเลิกวงเงินเหลือจายคงเหลือ จํานวน 1,020 ลานบาท ทําใหเหลือวงเงินที่ไดรับอนุมัติ 348,940 ลานบาท (วงเงินที่ไดรับอนุมัติเดิม 349,960 ลานบาท) 2/

ตั้งแตเริ่มโครงการ จนถึงสิ้นเดือน พ.ย.57

วงเงินกู DPL 1,300 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือเทียบเทา 39,285 ลานบาท (อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 1 เหรียญสหรัฐฯ เทากับ 30 บาท) จากธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) จํานวน 300 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนจํานวนเงิน 9,209 ลานบาท จากธนาคารโลก (World Bank) จํานวน 1,000 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือเทียบเทา 30,076 ลานบาท (อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 1 เหรียญสหรัฐฯ เทากับ 30 บาท)

- 17 -


• รัฐบาลมีการเบิกจายเงินเขาสูระบบเศรษฐกิจ - ในปงบประมาณ 2558 มีการเบิกจาย เงินเขาสูระบบ เศรษฐกิจจํานวนทั้งสิ้น 573,814 ลานบาท แบงเปน ทั้งสิ้น 573,814 ลานบาท งบประมาณรายจายประจําป 2558 จํานวน 525,462 ลานบาท รายจายปกอน 47,895 ลานบาท โครงการ ภายใต พรก.บริหารจัดการน้ําฯ จํานวน 154 ลานบาท โครงการลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จํานวน 154 ลานบาท และโครงการเงินกูเพื่อฟนฟู เศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) จํานวน 149 ลานบาท

- 18 -


การเบิกจายเงินกูตางประเทศ ผลการเบิกจาย - เดือนพฤศจิกายน 2557 มีการเบิกจายเงินกูตางประเทศ 278.3 ลานบาท ต่ํากวาเดือนเดียวกันปที่แลว 68.7 ลานบาท - ในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม – พฤศจิกายน 2557) มีการเบิกจายเงินกู ตางประเทศ 645.4 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 326.4 ลานบาท สรุปการเบิกจายเงินกูตางประเทศ เดือนพฤศจิกายน 2557 และในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558

รายการ 1. Project Loans 2. Structural Adjustment Loans (SAL) 3. Development Policy Loan (DPL)* รวม

2557 129.4 148.9 278.3

พฤศจิกายน เปลี่ยนแปลง 2556 จํานวน รอยละ 58.6 70.8 120.8 288.4 (139.5) (48.4) 347.0 (68.7) (19.8)

หนวย : ลานบาท ในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ เปลี่ยนแปลง 2558 2557 จํานวน รอยละ 185.9 224.7 (38.8) (17.3) 9.7 9.7 449.8 747.1 (297.4) (39.8) 645.4 971.8 (326.4) (33.6)

ที่มา : สํานักงานบริหารหนีส้ าธารณะ, กรมบัญชีกลาง หมายเหตุ : * วงเงินกู DPL 1,300 ลานเหรียญสหรัฐ หรือ 39,284.50 ลานบาท (อัตราแลกเปลี่ยน 1 USD = 30 บาท) วงเงินที่ ครม. อนุมัติแลว 37,928.54 ลานบาท ประกอบดวยเงินกูภายใต TKK 17,684.99 ลานบาท และนอก TKK 20,243.55 ลานบาท

- 19 -


การเบิกจายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค.1/ • เดือนพฤศจิกายน 2557 กองทุนนอกงบประมาณเบิกจาย 20,144 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลว 7,244 ลานบาท หรือรอยละ 56.2 เปนผล จากการเพิ่มขึ้นของรายจายกองทุน หลักประกันสุขภาพแหงชาติเปนสําคัญ

เดือนพฤศจิกายน 2557 มีการเบิกจายรวม 20,144 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกันปที่แลว 7,244 ลานบาท หรือรอยละ 56.2 ประกอบดวยรายจาย 18,716 ลานบาท สูงกวาเดือนเดียวกัน ปที่แลว 7,458 ลานบาท และเงินใหกูยืมสุทธิ 1,428 ลานบาท ต่ํากวาเดือนเดียวกันปที่แลว 214 ลานบาท

• ในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม – พฤศจิกายน 2557) กองทุนฯ เบิกจาย 55,178 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 8,407 ลานบาท หรือรอยละ 18.0 สาเหตุหลัก มาจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ทีม่ ีการเบิกจายเพิ่มขึ้น

ในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 มีการเบิกจาย รวม 55,178 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 8,407 ลานบาท หรือรอยละ 18.0 ประกอบดวย 1) รายจาย 52,434 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันของ ปที่แลว 8,973 ลานบาท หรือรอยละ 20.6 เปนผลมาจากกองทุน หลักประกันสุขภาพแหงชาติและกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงที่มี การเบิกจายเพิ่มขึ้น 2) เงินใหกูยืมสุทธิ 2,744 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกัน ของปที่แลว 566 ลานบาท หรือรอยละ 17.1 เปนผลมาจาก กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษามีรายจายเพื่อการกูยืมลดลง

การเบิกจายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. เดือนพฤศจิกายน 2557 และในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 พฤศจิกายน รายการ 1. รายจาย 2. เงินใหกูยืมสุทธิ

2557*

2556

18,716 1,428

เปรียบเทียบ จํานวน

รอยละ

11,258

7,458

66.2

52,434

43,461

1,642

(214)

(13.0)

2,744

3,310

7,244

56.2

55,178

46,771

รวม 20,144 12,900 หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ โดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 1/

หนวย : ลานบาท ในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ เปรียบเทียบ 2558* 2557 จํานวน รอยละ 8,973

20.6

(566) (17.1) 8,407

18.0

การเบิกจายของกองทุนนอกงบประมาณ 14 กองทุน (จากกองทุนทั้งหมด 115 กองทุน) ประกอบดวย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณและการทําของ กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนคาธรรมเนียมผานทาง กองทุนสงเสริมวิสาหกิจฯ กองทุนออยและน้ําตาลทราย กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ กองทุนหมูบานและชุมชนเมือง กองทุนสงเสริมการอนุรักษพลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจยั

- 20 -


ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด1 ปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม – พฤศจิกายน 2557) ในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 รัฐบาลมี • ในชวง 2 เดือนแรกของ รายไดนําสงคลัง 312,291 ลานบาท และมีการเบิกจาย ปงบประมาณ 2558 ดุลการคลัง ของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสด งบประมาณจากงบประมาณปปจจุบันและปกอนรวม ขาดดุล 278,697 ลานบาท คิดเปน 573,356 ลานบาท สงผลใหดุลเงินงบประมาณขาดดุล จํานวน 261,065 ลานบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอก รอยละ 2.3 ของ GDP 2 งบประมาณที่ขาดดุล 17,632 ลานบาท ทําใหดุลเงินสด ขาดดุลทั้งสิ้น 278,697 ลานบาท ทั้งนี้ รัฐบาลไดชดเชย การขาดดุลโดยการออกพันธบัตร 25,820 ลานบาท สงผลใหเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน 2557 มีจํานวน 242,869 ลานบาท ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด

รายได รายจาย - ปปจจุบัน - ปกอน ดุลเงินงบประมาณ ดุลเงินนอกงบประมาณ ดุลเงินสดกอนกู เงินกูเพื่อชดเชยการขาดดุล ดุลเงินสดหลังกู เงินคงคลังปลายงวด

ในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 2557 312,291 332,681 573,356 514,075 525,461 476,569 47,895 37,506 (261,065) (181,394) (17,632) (29,573) (278,697) (210,967) 25,820 17,000 (252,877) (193,967) 242,869 411,085

ที่มา : กรมบัญชีกลาง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

1

หนวย: ลานบาท

เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ (20,390) (6.1) 59,281 11.5 48,892 10.3 10,389 27.7 (79,671) 43.9 11,941 (40.4) (67,730) 32.1 8,820 51.9 (58,910) 30.4 (168,216) (40.9)

ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด เปนดุลการคลังที่แสดงใหเห็นผลกระทบตอเงินคงคลังและการกูเงินเพื่อชดเชยการขาดดุล GDP ปปฏิทิน 2556 เทากับ 11,898,710 ลานบาท และคาดการณ GDP ปปฏิทิน 2557 เทากับ 12,268,000 ลานบาท

2

-21-


ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) 3 ในชวง 2 เดือนแรกของปงบประมาณ 2558 (ตุลาคม-พฤศจิกายน 2557) • ปงบประมาณ 2558 (ตุลาคมพฤศจิกายน 2557) รัฐบาลขาดดุล 134,975 ลานบาท โดยขาดดุล งบประมาณ 181,512 ลานบาท ในขณะที่ดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณ เกินดุล 47,596 ลานบาท นอกจากนี้ มีรายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและ พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) จํานวน 450 ลานบาท รายจายเพื่อวาง ระบบการบริหารจัดการน้ําจํานวน 257 ลานบาท เงินกูตางประเทศจํานวน 196 ลานบาท และรายจายตามแผนปฏิบัติการ ไทยเขมแข็งจํานวน 156 ลานบาท

ดานรายได รัฐบาลมีรายไดรวมทั้งสิ้น 347,882 ลานบาท ต่ํากวาชวงเดียวกันปที่แลว 8,354 ลานบาท ประกอบดวย รายไดในงบประมาณ (กอนจัดสรรภาษีมูลคาเพิ่มให อปท.) 347,625 ลานบาท และเงินชวยเหลือตางประเทศ 257 ลานบาท ดานรายจาย รัฐบาลมีรายจายทั้งสิ้น 529,394 ลานบาท รายจายสูงกวาชวงเดียวกันปที่แลว 17,457 ลานบาท ประกอบดวยรายจาย (ไมรวมรายจายชําระตนเงินกูการถือ ครองสินทรัพยทางการเงิน รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจ และพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) รายจายเพื่อวางระบบ การบริหารจัดการน้ํา เงินกูตางประเทศ และรายจาย ตามแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง) จํานวน 529,137 ลานบาท และเงินชวยเหลือตางประเทศ 257 ลานบาท ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิ้น 181,512 ลานบาท ขาดดุลมากกวาชวงเดียวกันปทแี่ ลว 25,811 ลานบาท บัญชีเงินนอกงบประมาณ มีรายไดรวมทั้งสิ้น 102,774 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันปที่แลวรอยละ 20.4 ในขณะที่ มีรายจายจํานวน 52,434 ลานบาท สูงกวาชวงเดียวกัน ปที่แลวรอยละ 20.6 และมีเงินใหกูหักชําระคืน 2,744 ลานบาท สงผลใหดุลบัญชีนอกงบประมาณเกินดุล 47,596 ลานบาท ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุล มีสาเหตุมาจากดุลเงิน งบประมาณที่ขาดดุลเปนสําคัญ โดยเมื่อรวมกับดุลเงิน นอกงบประมาณที่เกินดุล รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจ และพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) รายจายเพื่อวางระบบ การบริหารจัดการน้ํา เงินกูตางประเทศ และรายจายตาม แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง จํานวน 450 257 196 156 ลานบาท ตามลําดับ ทําใหดุลการคลังรัฐบาลขาดดุลจํานวน 134,975 ลานบาท

3

ดุลการคลังตามระบบ สศค. เปนดุลการคลังที่สะทอนเม็ดเงินที่แทจริงที่สงผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจ

- 22 -


ดุลการคลังเบื้องตนของรัฐบาล (Primary Balance) ซึ่งเปนดุลการคลังที่สะทอนถึงผลการดําเนินงานของรัฐบาล และทิศทางของนโยบายการคลังรัฐบาลอยางแทจริง (ไมรวมรายได และรายจายจากดอกเบี้ยและการชําระ คืนตนเงินกู) ขาดดุลทั้งสิน้ 128,564 ลานบาท ในขณะที่ ชวงเดียวกันปที่แลวขาดดุล 113,199 ลานบาท ดุลการคลังเบื้องตนตามระบบ สศค. ปงบประมาณ รัฐบาล 1. รายได 2. รายจาย 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. แผนปฎิบัติการไทยเขมแข็ง (TKK) 5. รายจายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา 6. รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) 7. เงินกูตางประเทศ 8. ดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณ (8.1-8.2-8.3) 8.1 รายได 8.2 รายจาย 8.3 เงินใหกูหักชําระคืน 9. ดุลการคลังของรัฐบาล (3+8-4-5-6-7) 10. ดุลการคลังเบื้องตนของรัฐบาล

เดือนพฤศจิกายน

ปงบประมาณ

2557

2556

เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ

2558

167,440 200,328 (32,888) 154 154 149 129 3,465 23,609 18,716 1,428 (30,009) (25,296)

172,237 247,297 (75,060) 147 710 288 59 17,179 30,079 11,258 1,642 (59,085) (54,392)

(4,797) (46,970) 42,172 7 (556) (139) 70 (13,714) (6,470) 7,458 (214) 29,076 29,096

347,882 529,394 (181,512) 156 257 450 196 47,596 102,774 52,434 2,744 (134,975) (128,564)

จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

- 23-

(2.8) (19.0) (56.2) 5.0 (78.3) (48.4) 120.8 (79.8) (21.5) 66.2 (13.0) (49.2) (53.5)

% of GDP

2557

2.8 356,236 4.3 511,937 (1.5) (155,701) 0.0 248 0.0 1,547 0.0 747 0.0 225 0.4 38,605 0.8 85,376 0.4 43,461 0.0 3,310 (1.1) (119,863) (1.0) (113,199)

หนวย : ลานบาท

% of GDP 3.0 4.3 (1.3) 0.0 0.0 0.0 0.0 0.3 0.7 0.4 0.0 (1.0) (1.0)

เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ (8,354) 17,457 (25,811) (92) (1,290) (297) (29) 8,991 17,398 8,973 (566) (15,112) (15,365)

(2.3) 3.4 16.6 (36.8) (83.4) (39.8) (12.9) 23.3 20.4 20.6 (17.1) 12.6 13.6


ดุลการคลังของภาคสาธารณะตามระบบงบประมาณ ระบบกระแสเงินสด และตามระบบ สศค. ปงบประมาณ 2557 - 2558 ปงบประมาณ รัฐบาล 1. รายได - รายไดสุทธิ - จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. - จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ - เงินชวยเหลือตางประเทศ - อื่นๆ 2. รายจาย - รายจายปปจจุบัน (อัตราการเบิกจาย : %) - รายจายปกอน - จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. - จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ - เงินชวยเหลือตางประเทศ - หัก สวนเกินพันธบัตรรัฐบาล - อื่นๆ 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. ดุลนอกงบประมาณ 5. รายจายจากเงินกูตางประเทศ 6. รายจายจากไทยเข็มแข็ง (TKK) 7.รายจายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา 8.รายจายเงินกูเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (DPL) 9. บัญชีนอกงบประมาณ(9.1-9.2-9.3) 9.1 รายได 9.2 รายจาย 9.3 เงินใหกูหักชําระคืน 10. การหับนับซ้ําของรัฐบาล 10.1 รายได 10.2 รายจาย 11. ดุลการคลังของรัฐบาล (3+4-5-6-7-8+9-10)

จํานวน

% of GDP

เอกสารงบประมาณ

จํานวน

2557

% of GDP

18.3

2,070,018.0

16.9

2,525,000.0 2,525,000.0

20.3 20.3

2,459,990.0 2,246,306.0 89.0 213,684.0

20.1 18.3

(250,000.0)

(2.0)

(2.0)

% of GDP

ระบบ สศค.

2,275,000.0

(250,000.0)

จํานวน

ระบบกระแสเงินสด

1.7

(389,972.0) 8,161.7

(3.2) 0.1

(381,810.3)

(3.1)

จํานวน

% of GDP

เอกสารงบประมาณ

2558e จํานวน

หนวย: ลานบาท % of GDP

ระบบกระแสเงินสด

18.8 16.9 0.1 0.8 0.0

2,325,000

18.7

2,325,000

19.0

21.0 17.8

2,575,000 2,575,000

20.7 20.7

2,718,257 2,476,161 96.2 242,096

22.2 20.2

2,414.0 4,597.0 6,793.0 6,646.0 39,646.0 459,972.0 406,420.0 13,906.0 183,714.0 183,714.0 (252,601.8)

0.0 0.0 0.1 0.1 0.3 3.7 3.3 0.1 1.5 1.5 (2.1)

(2.2)

(250,000)

(250,000)

(2.0)

(1.9)

2.0

(393,257) 40,981

(3.2) 0.3

(352,276)

(2.7)

องคกรปกครองสวนทองถิ่น 12. รายรับ (12.1+12.2) 554,348.9 4.5 12.1 รายได 199,941.0 1.6 12.2 เงินชวยเหลือจากรัฐบาล 354,407.9 2.9 13 รายจาย 533,120.2 4.3 14. ดุลการคลัง (12-13) 21,228.7 0.2 15. การหักนับซ้ําของภาครัฐบาล 15.1 รายได 354,407.9 2.9 15.2 รายจาย 354,407.9 2.9 16. ดุลการคลังของภาครัฐบาล (11+14-15) (231,373.1) (1.9) GDP (ลานบาท) 12,424,000 12,268,000 12,268,000 13,201,000 12,877,300 หมายเหตุ 1. ดุลการคลังตามระบบงบกระแสเงินสดเปนการแสดงรายได (รวมคา Premium และรายไดจากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ แตไมรวมรายรับจากการกูเงินเพื่อชดเชยการขาดดุลและรายไดจากภาษีมูลคาเพิ่ม ที่โอนใหแกอปท.) และรายจายทั้งหมดจากบัญชีเงินคงคลัง 2. ระบบ สศค. มีรายการปรับปรุงรายไดเพิ่มเติมจากระบบกระแสเงินสด คือ อบจ. ,พรบ.แผน,ภาคหลวงแร,ภาคหลวงปโตรเลียม,ดอกเบี้ยพันธบัตร FIDF,การชําระตนเงินกูพันธบัตร FIDF,เงินชวยเหลือตางประเทศ หัก การขายสินทรัพย,เงินเหลือจาย,เงินกูรับคืน รายไดเงินกูรับคืน และรวมเงินภาษีที่จัดสรรให อปท. และเงินชวยเหลือจากตางประเทศ ตั้งแตปงบประมาณ 2546 เปนตนมา 3. ระบบ สศค. มีการปรับปรุงทางดานรายจาย คือ อบจ. ,พรบ.แผน,ภาคหลวงแร,ภาคหลวงปโตรเลียม,ดอกเบี้ยพันธบัตร FIDF,เงินชวยเหลือตางประเทศ หัก สวนเกินพันธบัตร,การขายสินทรัพย,เงินเหลือจาย,เงินใหกูรับคืน และเงินภาษีที่จัดสรรใหอปท. . 4. บัญชีนอกงบประมาณประกอบดวย เงินทนหมนเวียน และกองทนนอกงบประมาณ ทั้งนี้ ไดบันทึกขอมูลตามเกณฑคงคาง สําหรับกองทุนน้ํามันไดเริ่มบันทึกรายจายชดเชยน้ํามันตามเกณฑคงคางตั้งแตเดือนมกราคม 2547 เปนตนมา 5. รายไดตามระบบกระแสเงินสดบันทึกอยูในระบบ cash basis สวนรายไดตามระบบ สศค. บันทึกอยูในระบบ acrual basis 6. ขอมูล GDP ป 2557 อางอิงจากขอมูลประมาณการจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2557 7. รายจายเพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ํา อยูระหวางการเสนอ ครม. จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่มา : กรมบัญชีกลาง สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ ธนาคารแหงประเทศไทย และ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ วันทีบันทึกขอมูล : 25 พฤศจิกายน 2557

23-- 24-

% of GDP

ระบบ สศค.

2,306,459.8 2,075,024.4 9,263.4 96,387.0 5,368.0 120,417.0 2,578,257.6 2,184,524.0 86.5 213,684.0 9,263.4 96,387.0 5,368.0 5,857.8 74,889.0 (271,797.8)

1.7 0.1 0.8 0.0 0.0

จํานวน 2,565,568 2,325,729 10,319 108,270 1,449 119,800 2,880,630 2,476,161 96.2 242,096 10,319 108,270 1,449 6,000 48,335 (315,062)

19.9 18.1 0.1 0.8 0.0

3,000 984 6,250 42,300 487,600 430,800 14,500 137,761 137,761 (282,995)

0.0 0.0 0.0 0.3 3.8 3.3 0.1 1.1 1.1 (2.2)

616,626 358,956 257,670 524,132 92,494

4.8 2.8 2.0 4.1 0.7 2.0 2.0 (1.5)

257,670 257,670 (190,501) 12,877,300

22.4 19.2 1.9 0.1 0.8 0.0 0.0 (2.4)


ฐานะการคลังองคกรปกครองสวนทองถิ่น ฐานะการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ของปงบประมาณ 2557 (เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2557) 1. ดานรายได อปท. จํานวน 7,853 แหง มีรายไดรวม 91,986 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก ชวงเดียวกันปที่แลว 1,674 ลานบาท หรือรอยละ 1.9 ซึ่งเปนการเพิ่มขึ้นของรายไดจากเงินอุดหนุน จํานวน 2,814 ลานบาท หรือรอยละ 22.3 และรายไดที่ไมใชภาษีอากร 2,231 ลานบาท หรือรอยละ 49.9 ตามลําดับ ในขณะที่รายไดจัดเก็บเองเพิ่มขึ้น 534 ลานบาท หรือรอยละ 4.2 เนื่องจากในไตรมาสที่ 4 ปงบประมาณ 2557 ไดรับการจัดสรรเงินอุดหนุน (กทม,กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น,พัทยา) และ เงินอุดหนุนเหลื่อมป ซึ่งเปนการเพิ่มขึ้นจากปงบประมาณ 2556 (ขอมูลจากกรมบัญชีกลาง) ตารางที่ 1 รายไดของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ของปงบประมาณ 2557 ประเภท

ไตรมาสที่ 4 ปงบประมาณ 2557 ปงบประมาณ 2556

หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ

13,205 12,671 534 4.2 1. รายไดจัดเก็บเอง 1/ 14.4 14 (รอยละของรายไดรวม) 6,505 8,201 (1,696) (20.7) 1.1 รายไดจากภาษีอากร 6,700 4,469 2,231 49.9 1.2 รายไดที่ไมใชภาษีอากร 2/ 63,344 65,018 (1,674) (2.6) 2. รายไดจากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบงให 68.9 72 (รอยละของรายไดรวม) 15,437 12,623 2,814 22.3 3. รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล 3/ 16.8 14 (รอยละของรายไดรวม) 91,986 90,312 1,674 1.9 รวม 100 100 (รอยละของรายไดรวม) หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2557 ที่มา : 1/ จากองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) 2/ รายไดจากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบงให จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กรมที่ดิน กรมการขนสงทางบก กรมการปกครอง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง รวบรวมโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

รายไดของ อปท. จําแนกตามแหลงที่มาได ดังนี้ 1.1 รายไดที่จัดเก็บเอง จํานวน 13,205 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันปที่แลว 534 ลานบาท หรือรอยละ 14.4 ประกอบดวย รายไดจากภาษีอากร 6,505 ลานบาท และรายไดที่ไมใชภาษีอากร 6,700 ลานบาท 1.2 รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให จํานวน 63,344 ลานบาท ลดลงจากชวงเดียวกันปที่แลว 1,674 ลานบาท หรือรอยละ 2.6 1.3 รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล จํานวน 15,437 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันปที่แลว 2,814 ลานบาท หรือรอยละ 22.3

- 25 -


2. ดานรายจาย อปท. 1 จํานวน 7,853 แหง มีรายจายทั้งสิ้น 141,951 ลานบาท ลดลงจาก ชวงเดียวกันปที่แลว 4,827 ลานบาท หรือรอยละ 3.3 เนื่องจาก อปท. มีรายจายพิเศษลดลง 5,196 ลานบาท หรือรอยละ 13.8 ไดแก เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ เปนตน (รายละเอียดตามตารางที่ 2) ตารางที่ 2 รายจายของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ของปงบประมาณ 2557 ประเภท

ไตรมาสที่ 4 ปงบประมาณ 2557 ปงบประมาณ 2556 8,324 6,045 64,455 67,274 29,368 29,833 32,333 37,529 7,470 6,098 141,951 146,778

1. รายจายงบกลาง 2. รายจายประจํา 3. รายจายเพื่อการลงทุน 4. รายจายพิเศษ 5. รายจายจากเงินกันไวเบิกเหลื่อมป รวม หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2557 รวบรวมโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ 2,279 37.7 (2,819) (4.2) (465) (1.6) (5,196) (13.8) 1,372 22.5 (4,827) (3.3)

3. ดุลการคลัง 2 อปท. ขาดดุล 49,965 ลานบาท ขาดดุลลดลงจากชวงเดียวกันปที่แลว 6,501 ลานบาท (รายละเอียดตามตารางที่ 3 และแผนภูมิที่ 1) ตารางที่ 3 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ของปงบประมาณ 2557 ประเภท

ไตรมาสที่ 4 ปงบประมาณ 2557 ปงบประมาณ 2556

หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบ จํานวน รอยละ

91,986 90,312 1,674 1.9 1. รายได 13,205 12,671 534 4.2 1.1 รายไดที่จัดเก็บเอง 1/ 1.2 รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บ 63,344 65,018 (1,674) (2.6) และแบงให 2/ 15,437 12,623 (2,814) (22.3) 1.3 รายไดจากเงินอุดหนุน 3/ 141,951 146,778 (4,827) (3.3) 2. รายจาย 4/ (49,965) (56,466) (6,501) (11.5) 3. ดุลการคลัง หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2557 ที่มา : 1/ จากองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) 2/ รายไดจากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบงให จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กรมที่ดิน กรมการขนสงทางบก กรมการปกครอง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ พิจารณาจากขอมูลการเปลีย่ นแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) ของ ธปท. และเงินฝากคลัง อปท.ในกระทรวงการคลังจากกรมบัญชีกลาง รวบรวมโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

1

โดยพิจารณาจากผลตางของรายไดกับดุลการคลังของ อปท. (การเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) จาก ธนาคารแหงประเทศไทยและเงินฝากคลัง อปท.ในกระทรวงการคลังจากกรมบัญชีกลาง 2 ดุลการคลัง อปท. พิจารณาจากขอมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) จากธนาคารแหงประเทศไทย และเงินฝากคลัง อปท.ในกระทรวงการคลังจากกรมบัญชีกลาง

- 26 -


แผนภูมิที่ 1 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 4 ของปงบประมาณ 2557 ลานบาท

ฐานะดุลการคลังของ อปท. ทั้งปงบประมาณ 2557 1. ดานรายได อปท. มีรายไดจํานวน 553,777 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันปที่แลว 16,906 ลานบาท หรือรอยละ 3.1 โดยเปนการเพิ่มขึ้นจากรายไดเงินอุดหนุน 14,312 ลานบาท หรือรอยละ 6.2 รองลงมา คือ รายได ที่ อปท. จัดเก็บเอง 4,701 ลานบาท หรือรอยละ 10.5 2. ดานรายจาย มีรายจายรวมทั้งสิ้น 535,740 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันปที่แลว 34,310 ลานบาท หรือรอยละ 6.8 โดยเปนการเพิ่มขึ้นจากรายจายในสวนของงบกลาง 15,135 ลานบาท หรือรอยละ 64.9 เชน รายจายตามขอผูกพัน และเงินสํารองจาย เปนตน 3. ดุลการคลัง อปท. เกินดุ ล 18,037 ลานบาท เกินดุล ลดลงจากชวงเดียวกันปที่แลว 17,404 ลานบาท

- 27 -


ตารางที่ 4 ดุลการคลังของ อปท. ทั้งปงบประมาณ 2557 ประเภท

รวมทั้งป ปงบประมาณ ปงบประมาณ 2557 2556

หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบ จํานวน

รอยละ

1. รายได 553,777 536,871 16,906 3.1 1.1 รายไดที่จัดเก็บเอง 1/ 49,594 44,893 4,701 10.5 1.2 รายไดจากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบงให 2/ 260,741 262,848 (2,107) (0.8) 3/ 1.3 รายไดจากเงินอุดหนุน 243,442 229,130 14,312 6.2 2. รายจาย 535,740 501,430 34,310 6.8 3. ดุลการคลัง 4/ 18,037 35,441 (17,404) (49.1) หมายเหตุ : ขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2557 ที่มา : 1/ จากองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) 2/ รายไดจากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบงให จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กรมที่ดิน กรมการขนสงทางบก กรมการปกครองและสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายไดจากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ พิจารณาจากขอมูลการเปลีย่ นแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) ของ ธปท.และเงิน ฝากคลัง อปท.ในกระทรวงการคลังจากกรมบัญชีกลาง รวบรวมโดย : สวนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

แผนภูมิที่ 2 ดุลการคลังของ อปท. ทั้งปงบประมาณ 2557 ลานบาท

- 28 -


สถานการณดานหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2557 หนวย : ลานบาท

• หนี้สาธารณะคงคางจํานวน 5,640,578.3 ลานบาท คิดเปน รอยละ 46.5 ของ GDP ลดลง จากเดือนที่แลว 50,235.8 ลานบาท ประกอบดวย หนี้ในประเทศ คิดเปนรอยละ 93.7 สวนที่เหลือ รอยละ 6.3 เปนหนี้ตางประเทศ และเมื่อแบงตามอายุเครื่องมือ การกูเงิน หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 97.0 และหนี้ระยะสั้น รอยละ 3.0 กรณีแบงตามอายุ คงเหลือ หนี้ระยะยาวคิดเปน รอยละ 85.6 สวนที่เหลือรอยละ 14.4 เปนหนีร้ ะยะสั้น

ณ 30 ก.ย. 57 3,965,455.0 75,184.6 3,890,270.4 1,713,902.1 110,406.6 941,998.4 172,586.5 488,910.6 11,457.0 0.00 11,457.0 0.0 5,690,814.1

ณ 31 ต.ค. 57 3,953,816.7 75,476.4 3,878,340.3 1,676,313.4 110,153.7 907,670.0 172,905.3 485,584.4 10,448.2 0.0 10,448.2 0.0 5,640,578.3

1. รวมหนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง-ตางประเทศ หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง-ในประเทศ 2. รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจ หนี้ที่รัฐบาลค้ําประกัน-ตางประเทศ หนี้ที่รัฐบาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รัฐบาลไมค้ําประกัน-ตางประเทศ** หนี้ที่รัฐบาลไมค้ําประกัน-ในประเทศ** 3. หนี้ของหนวยงานภาครัฐอื่น * หนี้ที่รัฐบาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รัฐบาลไมค้ําประกัน-ในประเทศ 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟนฟูฯ FIDF 5. ยอดหนี้สาธารณะคงคางรวม (1+2+3+4) • หนี้คงคางทีล่ ดลง GDP*** 12,061,090.0 12,130,060.0 มีสาเหตุมาจากหนี้ของรัฐวิสาหกิจ หนี้สาธารณะคงคางรวมตอ GDP (%) 47.2 46.5 หนี้รัฐบาล และหนี้หนวยงานอื่น หมายเหตุ * หนวยงานภาครัฐอื่น ไดแก สถาบันบริหารกองทุนพลังงาน ของรัฐ ลดลง 37,588.7 ** ไมรวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน *** สํานักงานบริหารหนีส้ าธารณะไดปรับวิธีการคํานวณ GDP ในแตละเดือน 11,638.3 และ 1,008.8 ลานบาท โดย GDP ของเดือนกันยายน 2557 คํานวณดังนี้ (GDP ไตรมาส 4 ป 56) + (GDP ไตรมาส 1 ตามลําดับ – 3 ป 57) เทากับ 12,061.09 พันลานบาท และของเดือนตุลาคม 2557 คํานวณดังนี้ [(GDP ไตรมาส 4 ป 56)/3]*2 + (GDP ไตรมาส 1 – 3 ป 57) + (ประมาณการ GDP ป 57 – GDP ไตรมาส 1 - 3 ป 57)/3 ประมาณการ เทากับ 12,130.06 พันลานบาท ที่มา สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ รวบรวมโดย สวนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

- 29 -


• หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรงลดลง 11,638.3 ลานบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แลว โดยมี สาเหตุหลักจากการกูเพื่อชดเชย การขาดดุลงบประมาณและ บริหารหนี้ลดลง 14,650 ลานบาท • หนี้ของรัฐวิสาหกิจลดลง 37,588.7 ลานบาท เมื่อเทียบ กับเดือนที่แลว มีสาเหตุหลัก จากธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตรไถถอน พันธบัตร 17,500 ลานบาท และไดเบิกจายจากแหลงเงินกู ตางๆ นอยกวาชําระคืนตนเงินกู จํานวน 16,689.96 ลานบาท

สัดสวนหนี้ในประเทศและหนี้ตางประเทศ หนี้ในประเทศ หนี้ตางประเทศ จํานวน (ลานบาท) 5,332,636.5 358,177.7 รอยละ (%) 93.7 6.3 สัดสวนหนี้ระยะยาวและหนี้ระยะสั้น (แบงตามอายุของเครื่องมือการกูเงิน) หนี้ระยะยาว 5,517,381.4 97.0

จํานวน (ลานบาท) รอยละ (%)

หนี้ระยะสั้น 173,432.8 3.0

สัดสวนหนี้ระยะยาวและหนี้ระยะสั้น (แบงตามอายุคงเหลือ) หนี้ระยะยาว 4,874,050.5 85.6

จํานวน (ลานบาท) รอยละ (%)

• หนี้หนวยงานอื่นของรัฐ ลดลง 1,008.8 ลานบาท เมื่อ เทียบกับเดือนที่แลว เนื่องจาก หนวยงานอื่นของรัฐไดเบิกจาย จากแหลงเงินกูตางๆนอยกวา ชําระคืนตนเงินกู

- 30 -

หนี้ระยะสั้น 816,763.7 14.4


กรอบความยั่งยืนทางการคลัง กระทรวงการคลังไดกําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง เพื่อเปนแนวทางในการดําเนิน นโยบายทางการคลังที่สอดคลองกับสถานะเศรษฐกิจการเงินและการคลังของประเทศ โดยมีเปาหมาย เพื่อรักษาเสถียรภาพดานการคลังในระยะปานกลางและระยะยาว ซึ่งกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ประกอบดวยตัวชี้วัดและเปาหมาย (60-15-0-25) ดังนี้ • สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ไมเกินรอยละ 60 • ภาระหนี้ตองบประมาณไมเกินรอยละ 15 • การจัดทํางบประมาณสมดุล • สัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณรายจายไมต่ํากวารอยละ 25 สํานักงานเศรษฐกิจการคลังไดจัดทําการวิเคราะหความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง เพื่อใชเปนแนวทางในการประเมินและรักษาความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีผลการวิเคราะหระหวาง ปงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งสรุปไดดังนี้ • สัดสวนหนี้สาธารณะคงคางตอ GDP ในปงบประมาณ 2558 อยูที่รอยละ 47.1 และลดลง เปนรอยละ 42.6 ในปงบประมาณ 2562 • ระดับภาระหนี้ตองบประมาณอยูในระดับรอยละ 7.1 ในปงบประมาณ 2558 และ เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 8.9 ในปงบประมาณ 2562 • รัฐบาลมีนโยบายลดการขาดดุลงบประมาณ โดยกําหนดใหปงบประมาณ 2558 ถึง 2559 ขาดดุลงบประมาณ 250,000 และ 100,000 ลานบาท ตามลําดับ และจัดทํา งบประมาณสมดุลในปงบประมาณ 2560 เพื่อรักษาวินัยการคลังและขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ใหขยายตัวอยางมีเสถียรภาพ • สัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณรายจายคาดวาจะอยูในระดับเฉลี่ย รอยละ 14.3 ตองบประมาณรายจายตลอดชวงปงบประมาณ 2558 – 2562 ซึ่งต่ํากวาระดับที่กําหนดไว อยางไรก็ดี รัฐบาลไดมีการดําเนินโครงการลงทุนผานเงินนอกงบประมาณ (พ.ร.ก. ให อํานาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อบริหารจัดการน้ําฯ และการกูเงินเพื่อลงทุนโครงสราง พื้นฐานฯ ในป 2558 - 2562) ซึ่งเมื่อรวมการลงทุนจากเงินนอกงบประมาณดังกลาว จะทําสัดสวนรายจายลงทุนตองบประมาณเพิ่มขึ้นอยูในระดับเฉลี่ย รอยละ 22.5 ตองบประมาณรายจาย

- 31 -


ผลการวิเคราะหการดําเนินงานตามกรอบความยั่งยืนทางการคลัง ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ของปงบประมาณ 2557 หนวย: ลานบาท 1)

1. หนี้สาธารณะคงคาง /GDP (FY) (1.2/1.1) 1.1 nominal GDP (FY)1) 1.2 หนี้สาธารณะคงคาง 2. ภาระหนี/้ งบประมาณ2) ( 2.1/3.2) 2.1 ภาระหนี้ (2.1.1 + 2.1.2) 2.1.1 ชําระตนเงินกู 2.1.2 ดอกเบี้ยและคาธรรมเนียม 3. ดุลงบประมาณ (3.1 - 3.2) 3.1 รายไดรัฐบาลสุทธิ3) 3.2 งบประมาณรายจาย4) 4. รายจายลงทุน/งบประมาณ (4.1/3.2) 4.1 รายจายลงทุน

2558 47.1 13,010,100 6,134,205 7.1 183,271 55,700 127,571 -250000 2,325,000 2,575,000 17.5 449,476

2559 46.3 13,920,807 6,450,752 9.3 239,885 76,854 163,031 -100000 2,487,800 2,587,800 13.9 358,771

2560 45.3 14,895,263 6,745,318 9.4 249,327 78,965 170,362 2,661,900 2,661,900 13.3 354,287

2561 44.1 15,937,932 7,034,173 9.2 261,742 85,154 176,588 2,848,200 2,848,200 13.0 370,266

2562 42.6 17,053,587 7,260,294 8.9 271,941 92,133 179,808 3,047,600 3,047,600 13.6 415,163

ที่มา : 1) ขอสมมติฐานเศรษฐกิจป 2558 – 2562 จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 2) ขอมูลภาระหนี้ตองบประมาณป 2558 จากเอกสารงบประมาณรายจายประจําป 2558 และป 2559– 2562 จากสํานักงานบริหาร หนี้สาธารณะ ณ วันที่ 3 ตุลาคม 2557 3) ประมาณการรายไดรัฐบาลสุทธิ ป 2558 ตามเอกสารงบประมาณ และป 2559 – 2562 ประมาณการโดย สศค. 4) ขอมูลงบประมาณรายจายป 2558 จากเอกสารงบประมาณป 2558 และป 2559 – 2562 ประมาณการโดย สศค.

- 32 -


การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ

1/

ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ป 2557 ( 30 กันยายน 2557)

ผลการดําเนินงานในภาพรวม 1. ผลการดําเนินงานของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA การดําเนินโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA มียอดสินเชื่อคงคาง ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ป 2557 จํานวนทั้งสิ้น 916,062.74 ลานบาท ลดลงรอยละ 6.57 จากไตรมาสที่ผานมา แสดงใหเห็นวา สถาบันการเงินเฉพาะกิจ ในภาพรวมมีการปลอยสินเชื่อลดลง สาเหตุสวนหนึ่งเกิดจากโครงการพักชําระหนี้เกษตรกรป 2554 ของ ธ.ก.ส. ไดสิ้นสุดโครงการ ขณะที่หนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได (NPLs) ของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ป 2557 มีจํานวนทั้งสิ้น 30,328.2 ลานบาท คิดเปนสัดสวนหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดตอยอดสินเชื่อคงคาง (NPLs Ratio) รอยละ 3.3 ทั้งนี้ จากการพิจารณาพบวา NPLs Ratio ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 - 3 ป 2557 มีสัดสวน ที่คอนขางสูง เนื่องจากโครงการรักษาเสถียรภาพราคายางป 2556/2557 ของ ธ.ก.ส. อยูระหวางการเสนอขยาย อายุโครงการตอคณะรัฐมนตรี ดังนั้น ในเบื้องตน ธ.ก.ส. จึงมีการจัดชั้นใหยอดสินเชื่อคงคางของโครงการดังกลาว เปน NPLs (แผนภาพที่ 1) แผนภาพที่ 1

ลานบาท 1,100,000 941,982.79 1,000,000 900,000 1,022,604.86 2.82 800,000 700,000 600,000 500,000 400,000 300,000 200,000 0.76 100,000 0 Q3/56 Q4/56 สินเชื่อคงคาง

3.31 รอยละ 4

3.14

3.07 980,505.04 976,575.97

3 916,062.74 3 2 2 1

30,742.41 Q1/57 NPLs

Q2/57

30,328.23

Q3/57 NPLs Ratio

1 0

2. ประมาณการความเสียหายของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA แมวาการดําเนินโครงการตามนโยบายรัฐจะสงผลดีตอระบบเศรษฐกิจ แตขณะเดียวกันก็กอใหเกิดภาระ ทางการคลังของรัฐบาลในการชดเชยความเสียหายจากการดําเนินโครงการตาง ๆ ดังจะเห็นไดจากประมาณการ ความเสียหายของสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล (โครงการที่มีการแยกบัญชี PSA) ตั้งแต เริ่มตนจนถึงสิ้นสุดโครงการ ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ป 2557 มีจํานวนทั้งสิ้น 95,966.7 ลานบาท และคงเหลือภาระ ความเสียหายที่รอการชดเชยจากรัฐบาลจํานวน 32,056.9 ลานบาท ทั้งนี้ สัดสวนความเสียหายคงเหลือ รอการชดเชยจากรัฐบาลตอประมาณการความเสียหายโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ทั้งหมด คิดเปนรอยละ หมายเหตุ : 1/ การรายงานการดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังในที่นี้ พิจารณาเฉพาะโครงการที่มีการแยกบัญชีธุรกรรมการดําเนินงานตามนโยบายรัฐ (PSA) ผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) 6 แหง ไดแก ธนาคารออมสิน ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) ธนาคารอาคารสงเคราะห (ธอส.) ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย (ธสน.) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (ธพว.) และธนาคาร อิสลามแหงประเทศไทย (ธอท.) ยกเวนบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) ที่เปนสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ค้ําประกันสินเชื่อ ขณะที่ บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยูอาศัย (บตท.) ไมมีการดําเนินโครงการตามนโยบายรัฐ ทั้งนี้ หลักเกณฑในการพิจารณาโครงการ PSA ของสํานักงานเศรษฐกิจ การคลัง กําหนดใหนับเฉพาะโครงการที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบหลังวันที่ 4 สิงหาคม 2552 เปนตนไป

-33-


33.4 ลดลงจากไตรมาสที่ผานมา เนื่องจากโครงการสินเชื่อเพื่อชวยเหลือดานการเงินแกผูประกอบการธุรกิจ ทองเที่ยวฯ และสินเชื่อโครงการชวยเหลือดานการเงินแกผูประกอบธุรกิจ โลจิสติกสไทย ระยะที่ 1 ของ ธพว. ไดรับเงินชดเชยครบแลว (แผนภาพที่ 2) ลานบาท 120,000 100,000

แผนภาพที่ 2 50.00

80,000

47.24

43.25

42.55

รอยละ 60 50 33.40

40 20

Q3/56

95,966.72 32,056.85

79,456.61

0

34,361.89

20,000

99,390.96 46,951.49

40,000

77,794.83 33,099.68

30 70,270.91 35,135.72

60,000

Q4/56 Q1/57 Q2/57 Q3/57 ประมาณการความเสียหายทั้งหมดที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล ความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาล สัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหายทั้งหมด

10 0

ผลการดําเนินงานรายสถาบัน 1. ผลการดําเนินงานรายสถาบันของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ณ สิ้นไตรมาสที่ 3 ป 2557 ธ.ก.ส. มียอดสินเชื่อคงคางสูงที่สุดจํานวน 831,068.7 ลานบาท รองลงมาคือ ธนาคารออมสินที่มียอดสินเชื่อคงคางจํานวน 37,348.8 ลานบาท ขณะที่ NPLs ของ ธ.ก.ส. มีมูลคาสูงที่สุดเทากับ 22,758.6 ลานบาท ลดลงเล็กนอยจากไตรมาสที่ผานมา ซึ่งสาเหตุสําคัญที่ NPLs ของ ธ.ก.ส. ยังคงอยูในระดับสูง เนื่องจากโครงการรักษาเสถียรภาพราคายางป 2556/2557 สิ้นสุดระยะเวลาดําเนินการและอยูระหวางการเสนอ ขยายอายุโครงการตอคณะรัฐมนตรี ดังนั้น ในเบื้องตน ธ.ก.ส. จึงมีการจัดชั้นใหยอดสินเชื่อคงคางของโครงการ ดังกลาวเปน NPLs นอกจากนี้ หากพิจารณา NPLs Ratio พบวา ธอท. และ ธพว. มีสัดสวนคอนขางสูง เนื่องจากกลุมลูกคา จะเปนผูประกอบการรายยอยที่มีความสามารถในการชําระหนี้ต่ํา ไมมีหลักประกัน และเปนผูประกอบการที่ไดรับ ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจหรือภัยธรรมชาติ รวมทั้งบางโครงการมีเงื่อนไขที่ไมตองตรวจเครดิตบูโร กอนการปลอยกู ซึ่งแตกตางจากสถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่นที่ทําหนาที่เปนตัวกลางในการจายเงินแทนรัฐบาลและการปลอยกู ระหว างรัฐบาลกับรัฐ บาล ทั้งนี้ หากสถาบันการเงิน เฉพาะกิจ มี NPLs Ratio สูง รัฐ บาลอาจมีความเสี่ย ง ในการพิจารณาเพิ่มทุนตอไป (แผนภาพที่ 3)

100 10 1

ออมสิน

2.74 ธ.ก.ส. NPLs

6,425.46

8,867.77

0.00

47.85

1,141.79 2,386.04

1,000

22,758.60 831,068.65

37,348.82

10,000

149.84

100,000

6,278.00 29,966.00

แผนภาพที่ 3

ลานบาท 1,000,000

สินเชื่อคงคาง

-34-

40.00 30.00 10.00

0.00 ธสน.

50.00

20.00

20.95 1.69 ธอส.

รอยละ 60.00

ธพว. NPLs Ratio

ธอท.

0.00


2. ประมาณการความเสียหายของโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA 2/ ประมาณการความเสียหายที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล และ ความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจาก รัฐบาลพบวา ธ.ก.ส. มีมูลคาดังกลาวมากที่สุดจํานวน 74,961.8 และ 17,093.7 ลานบาท ตามลําดับ หรือคิดเปน สัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหายทั้งหมดของ ธ.ก.ส. รอยละ 22.8 รองลงมาคือธนาคารออมสินที่มี ประมาณการความเสียหายและความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาลจํานวน 13,114.3 และ 9,569.8 ลานบาท ตามลําดับ นอกจากนี้ หากพิจารณา ธสน. ธอท. ธอส. และ ธพว. ซึ่งมีสัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหาย ทั้งหมดอยูในระดับสูงเทากับรอยละ 90.2 81.2 80.3 และ 46.5 ตามลําดับแลว พบวา สัดสวนความเสียหาย คงเหลือของ ธสน. ดังกลาวไมสงผลกระทบตอการดําเนินงานตามปกติหรือสภาพคลอง เนื่องจาก ธสน. มีโครงการ ที่มีการแยกบัญชี PSA เพียงโครงการเดียว และมีหลักเกณฑการปลอยสินเชื่อที่เขมงวด ดังนั้น คาดวาโครงการ ดังกลาวมีโอกาสเสียหายคอนขางนอย ขณะที่ ธอท. และ ธพว. แมวามูลคาความเสียหายคงเหลือรอการชดเชย จากรัฐบาลคอนขางนอยเมื่อเปรียบเทียบกับสถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่น ๆ แตจากสัดสวนความเสียหายคงเหลือ ตอความเสียหายทั้งหมด และผลการดําเนินงานที่มีสัดสวน NPLs Ratio อยูในระดับสูง อาจสงผลใหรัฐบาล ตองรับภาระชดเชยความเสียหายเพิ่มขึ้น และกระทบตอการดําเนินงานและสภาพคลองของ ธอท. และ ธพว. ในที่สุด (แผนภาพที่ 4) · สําหรับ บสย. แมวาจะเปนสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ค้ําประกันสินเชื่อ แตการค้ําประกันดังกลาวสวนหนึ่ง เปนการค้ําประกันโครงการที่มีการแยกบัญชี PSA ทําใหรัฐบาลมีภาระในการชดเชยความเสียหายเชนเดียวกับ สถาบันการเงินเฉพาะกิจอื่นๆ โดยประมาณการความเสียหายที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาลของ บสย. มีจํานวน ทั้งสิ้น 15,281.2 ลานบาท ขณะที่มีความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยอีกจํานวน 12,034.7 ลานบาท

ออมสิน

ธ.ก.ส. ธอส. ธสน. ธพว. ประมาณการความเสียหายทั้งหมดที่ขอรับการชดเชยจากรัฐบาล ความเสียหายคงเหลือรอการชดเชยจากรัฐบาล สัดสวนความเสียหายคงเหลือตอความเสียหายทั้งหมดแตละ SFI

2/

1,311.15 1,064.08

46.47

3129.02 1,454.20

0

22.80

1,050.00 946.83

20,000

81.16

90.17

รอยละ 100 80 60

2400.47 1,928.21

40,000

80.33 74961.82 17,093.73

60,000

72.97 13,114.26 9,569.80

80,000

แผนภาพที่ 4

ลานบาท

ธอท.

40 20 0

การประมาณการความเสียหายที่ตองไดรับการชดเชยจากรัฐบาลตั้งแตเริ่ม - สิน้ สุดโครงการ มีรูปแบบการชดเชยตามขอตกลงซึ่งแตกตางกันตาม SFIs แตละแหง ทั้งนี้ ธ.ก.ส. เปนการประมาณการความเสียหายตั้งแตเริ่มโครงการถึงวันที่ 30 กันยายน 2557

-35-


การกระจายอํานาจทางการคลัง ใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น หลักเกณฑการจัดสรรภาษีและเงินอุดหนุนทั่วไปใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น ปงบประมาณ พ.ศ. 2558 ในการประชุมคณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น (ก.ก.ถ.) ครั้งที่ 3/2557 เมื่อวันจันทรที่ 24 พฤศจิกายน 2557 ไดพิจารณาออกประกาศ ก.ก.ถ. เรื่อง หลักเกณฑการจัดสรร ภาษีและเงินอุดหนุนทั่วไปใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น ปงบประมาณ พ.ศ. 2558 โดยที่ประชุมมีมติสรุปไดดังนี้ 1. รายไดจากภาษีที่รัฐจัดเก็บใหและแบงใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) ที่ไมมี การเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑการจัดสรรจากปที่ผานมา 1.1 กลุมภาษีที่จัดสรรให อปท. ไดแก กรุงเทพมหานคร (กทม.) เมืองพัทยา เทศบาล และองคการบริการสวนตําบล (อบต.) ยกเวนองคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) (1) ภาษีมูลคาเพิ่ม (1 ใน 9) จัดสรรตามแหลงกําเนิดภาษีและจํานวนประชากร (2) ภาษีธุรกิจเฉพาะ จัดสรรตามแหลงกําเนิดภาษีและจํานวนประชากร (3) ภาษีสรรพสามิตและภาษีสุรา จัดสรรตามจํานวนประชากร (4) คาธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย จัดสรรให ตามแหลงกําเนิดภาษี 1.2 กลุมภาษีที่จัดสรรให อปท. ทุกประเภท (1) คาภาคหลวงแร จัดสรรตามแหลงกําเนิดภาษีและจํานวนประชากร (2) คาภาคหลวงปโตรเลียม จัดสรรตามแหลงกําเนิดภาษีและจํานวนประชากร จากปที่ผานมา

2. รายไดจากภาษีที่รัฐจัดเก็บใหและแบงให อปท. ที่มีการเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑการจัดสรร

2.1 ภาษีและคาธรรมเนียมรถยนตและลอเลื่อน ภาษีที่จัดเก็บไดในเขต กทม. และ อบจ. (รอยละ 80) จัดสรรตามแหลงกําเนิดภาษี สวนที่เหลืออีกรอยละ 20 จัดสรรใหเทศบาล (รวมเมืองพัทยา) และ อบต. ทั่วประเทศตามหลักเกณฑแบงเทากัน และจํานวนประชากร 2.2 ภาษีมูลคาเพิ่มตามพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแก อปท. พ.ศ. 2542 จัดสรรใหแก กทม. เมืองพัทยา อบจ. เทศบาล และ อบต. ตามอัตราสวนรอยละที่ อปท. แตละประเภทไดรับจัดสรรเงินภาษีมูลคาเพิ่ม ในปงบประมาณ พ.ศ. 2557

- 36 -


3. เงินอุดหนุนทั่วไปเพื่อดําเนินการตามอํานาจหนาที่ เงินอุดหนุนทั่วไปตามอํานาจหนาที่ ซึ่งพิจารณาจัดสรรใหแก อบจ. เทศบาล และ อบต. มีวงเงินรวม 58,030.88 ลานบาท จัดสรรตามอัตราสวนรอยละที่ อบจ. เทศบาล และ อบต. ไดรับการจัดสรร เงินอุดหนุนทั่วไปตามอํานาจหนาที่ในปงบประมาณ พ.ศ. 2557 รายละเอียดหลักเกณฑการจัดสรรภาษีอากรใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น ปงบประมาณ 2558 ประเภทภาษีอากร

การจัดสรรระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่น ในภาพรวม

1. รายไดจากภาษีทองถิ่น ที่รัฐบาลเก็บให 1.1 แบงการจัดสรรตามกรมจัดเก็บภาษี 3 กรม 1.1 ภาษีมูลคาเพิ่ม ไดแก กรมสรรพากร กรมศุลกากร และ (1 ใน 9) กรมสรรพสามิต - ในสวนที่กรมสรรพากรจัดเก็บ จัดสรรให เทศบาล อบต. และ กทม. โดยจัดสรรใหตามสัดสวน ผลการจัดเก็บภาษีของแตละจังหวัด - ในสวนที่กรมศุลกากรและกรมสรรพสามิต จัดเก็บ จัดสรรใหเทศบาล อบต. เมืองพัทยา และ กทม. ตามเกณฑประชากร - นอกจากนี้ ภาษีในสวนการจัดเก็บในเขตพื้นที่ เมืองพัทยาตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 ใหจัดสรรตรงแก เมืองพัทยา 1.2 ภาษีมูลคาเพิ่ม ตามพระราชบัญญัติ องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐

1.2 แบงให อบจ. ในอัตรารอยละ 5 ตามผลการจัดเก็บภาษีมูลคาเพิ่มตามประมวล รัษฎากรของแตละจังหวัด

- 37 -

การจัดสรรภายในของ แตละทองถิ่น 1.1 การจัดสรรภายในของ แตละทองถิ่นดวยกันเอง 1.1.1 สวนที่ กรมสรรพากรจัดเก็บจัดสรร ภายในระหวางเทศบาลและ อบต. ของแตละจังหวัดที่ไดรับ การจัดสรรตามสัดสวนผลการ จัดเก็บโดยการจัดสรรตาม เกณฑประชากร 1.1.2 สวนที่กรมศุลกากร และกรมสรรพสามิตจัดเก็บ จัดสรรใหแก เทศบาล อบต. (ทั้งประเทศ) เมืองพัทยา และ กทม. ตามเกณฑประชากร


ประเภทภาษีอากร 1.3 ภาษีธุรกิจเฉพาะ

1.4 ภาษีสรรพสามิต

การจัดสรรระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่น ในภาพรวม 1.3 แบงภาษีตามผลการจัดเก็บตามรายจังหวัด - สวนของ กทม. ไดรับเต็มตามผลการจัดเก็บ ในเขต กทม. - สวนของตางจังหวัด ในแตละจังหวัดจัดสรร ระหวางเทศบาลและ อบต. ตามเกณฑประชากร - ยกเวนสวนของเมืองพัทยา ในจังหวัดชลบุรี จะไดรับการจัดสรรตรงตามผลจัดเก็บจริงในเขต เมืองพัทยาตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2521

การจัดสรรภายในของ แตละทองถิ่น 1.3 การจัดสรรระหวาง ทองถิ่นดวยกันเองแตละจังหวัด - การจัดสรรระหวาง เทศบาลใชเกณฑประชากร - การจัดสรรระหวาง อบต. ใชเกณฑประชากร

1.4 จัดสรรระหวางเทศบาล อบต. เมืองพัทยา และ กทม. ตามเกณฑประชากร

1.4 การจัดสรรภายในระหวาง ทองถิ่นดวยกันเอง ระหวาง เทศบาล อบต. เมืองพัทยา และ กทม. ใชเกณฑประชากร

1.5 ภาษีสุราและเบียร 1.5 จัดสรรลักษณะเชนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิต 1.5 จัดสรรในลักษณะ เชนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิต 1.6 ภาษีและ คาธรรมเนียมรถยนต และลอเลื่อน

1.6 ภาษีที่จัดเก็บไดในเขต กทม. ใหจัดสรรแก กทม. และภาษีที่จัดเก็บไดในเขตจังหวัด ใหจัดสรร ดังนี้ - รอยละ 80 ใหจัดสรรแก อบจ. - รอยละ 20 ใหจัดสรรแกเทศบาล และ อบต. (รวมเมืองพัทยา)

- 38 -

1.6 การจัดสรรให กทม. จัดสรรตามแหลงกําเนิดภาษี และการจัดสรรภายในระหวาง ทองถิ่นดวยกันเองระหวาง เทศบาล อบต. เมืองพัทยา จัดสรรตามหลักเกณฑดังนี้ - รอยละ 45 ใหจัดสรรแก เทศบาล ตามหลักเกณฑแบง เทากันและจํานวนประชากร - รอยละ 55 ใหจัดสรรแก อบต. ตามหลักเกณฑแบง เทากันและจํานวนประชากร


ประเภทภาษีอากร 1.7 คาธรรมเนียม จดทะเบียนอสังหาริมทรัพย

1.8 คาภาคหลวงแร

การจัดสรรระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่น ในภาพรวม 1.7 แตละองคกรปกครองสวนทองถิ่น (ยกเวน อบจ.) จะไดรับคาธรรมเนียมจดทะเบียน อสังหาริมทรัพยตามผลการจัดเก็บในเขตพื้นที่ของ ตนเอง

1.8 การจัดสรรคาภาคหลวงแร แบงเปน 2 สวน 1.8.1 สวนที่ 1 การจัดเก็บคาภาคหลวงแร ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในตางจังหวัด จัดสรรดังนี้ - จัดสรรใหรัฐบาลรอยละ 40 - ที่เหลือรอยละ 60 จัดสรร ดังนี้ - รอยละ 20 จัดสรรใหเทศบาล และหรือ อบต. เจาของพื้นที่สัมปทาน หากพื้นที่ สัมปทานทับซอนกันหลายทองถิ่นใหแบงเฉลี่ย ทองถิ่นละเทา ๆ กัน - รอยละ 20 จัดสรรให อบจ. ในจังหวัดที่ทองถิ่นเปนเจาของพื้นที่สัมปทาน - รอยละ 10 จัดสรรใหเทศบาล และ อบต. ซึ่งไมใชเจาของพื้นที่สัมปทาน แตอยูใน จังหวัดเดียวกันกับเทศบาลและหรือ อบต. ซึ่งเปน เจาของพื้นที่สัมปทาน (กรณีที่ 1) - รอยละ 10 จัดสรรใหเทศบาลและ อบต. ซึ่งอยูในจังหวัดอื่น ๆ ทุกจังหวัดที่ไมไดมีพื้นที่ สัมปทานคาภาคหลวงแร (กรณีที่ 2) 1.8.2 สวนที่ 2 การจัดเก็บคาภาคหลวงแร ของ กทม. ใหจัดสรรใหรัฐบาลรอยละ 60 กทม. ไดรับรอยละ 40

- 39 -

การจัดสรรภายในของ แตละทองถิ่น 1.7 แตละองคกรปกครอง สวนทองถิ่น (ยกเวน อบจ.) จะไดรับคาธรรมเนียม จดทะเบียนอสังหาริมทรัพย ตามผลการจัดเก็บในเขตพื้นที่ ของตนเอง


ประเภทภาษีอากร 1.9 คาภาคหลวง ปโตรเลียม 2. ภาษีที่รัฐบาลแบงให 2.1 ภาษีมูลคาเพิ่ม (พระราชบัญญัติกําหนดแผน และขั้นตอนการกระจาย อํานาจใหแกองคกรปกครอง สวนทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒

การจัดสรรระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่น ในภาพรวม จัดสรรในลักษณะเชนเดียวกันกับคาภาคหลวงแร

การจัดสรรภายในของ แตละทองถิ่น จัดสรรในลักษณะเชนเดียวกัน กับคาภาคหลวงแร

2.1 จัดสรรระหวาง อบจ. เทศบาล อบต. เมืองพัทยา และ กทม. ตามอัตราสวนรอยละที่ อปท. แตละประเภทไดรับจัดสรรเงินภาษีมูลคาเพิ่ม ในปงบประมาณ พ.ศ. 2557

2.1 จัดสรรให อบจ. แตละ แหง ดังนี้ - รอยละ 50 แบงเทากัน ทุกแหง - รอยละ 20 ตามจํานวน พื้นที่ - รอยละ 20 ตามรายได ไมรวมเงินอุดหนุน - รอยละ 10 ตามจํานวน ประชากร

ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 2 ธันวาคม 2557

- 40 -


มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ มติคณะรัฐมนตรีที่สําคัญ เดือนธันวาคม 2557 9 ธันวาคม 2557 1. เรื่อง การออกพันธบัตรออมทรัพยโดยกระทรวงการคลังและธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร เพื่อนักลงทุนรายยอย คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบการออกพันธบัตรออมทรัพยโดยกระทรวงการคลังและธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตรเพื่อนักลงทุนรายยอยตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ กระทรวงการคลังจะดําเนินการออกพันธบัตรออมทรัพยเพื่อเปนทางเลือกในการลงทุนและการออมใหแก ประชาชนทั่วไป และนิติบุคคลที่ไมมีวัตถุประสงคในการแสวงหากําไร โดยเปนตราสารหนี้ของกระทรวงการคลัง และสถาบันการเงินภาครัฐที่มีความมั่นคงสูง และมีผลตอบแทนที่สูงกวาการฝากเงินในสถาบันการเงินและธนาคาร พาณิชยในปจจุบัน โดยมีวงเงินเสนอขายไมเกิน 100,000 ลานบาท เพื่อเปนการสงความสุขในชวงเทศกาลปใหม (ป 2558) ของกระทรวงการคลัง ซึ่งถือเปนการออกพันธบัตรออมทรัพยวงเงินสูงที่สุดในรอบ 3 ปที่ผานมา ซึ่งประกอบดวยพันธบัตรออมทรัพยของกระทรวงการคลัง อายุ 10 ป วงเงิน 50,000 ลานบาท และพันธบัตร ออมทรัพยของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) อายุ 5 ป วงเงิน 50,000 ลานบาท ซึ่งจะเสนอขายในเดือนมกราคม 2558 โดยมีรายละเอียดดังนี้ พันธบัตรออมทรัพยเพื่อนักลงทุนรายยอย ผูออกพันธบัตร กระทรวงการคลัง รุนอายุ วงเงินรวม ผูรับภาระชําระคืน ตนเงินและดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ย การชําระดอกเชี้ย กําหนดการจําหนาย

ตัวแทนจําหนาย ผูมีสิทธิ์ซื้อ

ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) 5 ป ไมเกิน 50,000 ลานบาท รัฐบาลโดยกระทรวงการคลังค้ําประกัน

10 ป ไมเกิน 50,000 ลานบาท รัฐบาล

อัตราดอกเบี้ยอางอิงอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาล + สวนตาง ชําระปละ 2 งวด คือ ในวันที่ 12 มกราคม และ 12 กรกฎาคม ของทุกป 12 - 13 มกราคม 2558 ชวงที่ 1 : 12 - 16 มกราคม 2558 (วงเงินซื้อขั้นต่ํา - สูง : 1,000 บาท 2,000,000 บาท) ชวงที่ 2 : 19 - 23 มกราคม 2558 (ไมจํากัดวงเงินซื้อขั้นสูง) ธนาคารตัวแทนจําหนายที่ไดรับการแตงตั้ง บุคคลธรรมดาที่ถือสัญชาติไทย หรือมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย สภากาชาดไทย มูลนิธิ สมาคมสหกรณ วัด สถานศึกษาของรัฐ โรงพยาบาลของรัฐ นิติบุคคลที่ไมมีวัตถุประสงคแสวงหากําไร

-41-


2. เรื่อง ขอทบทวนมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2557 เรื่อง การแกไขปญหายางพารา ตามมติคณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ (กนย.) เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2557 (โครงการสนับสนุน สินเชื่อเปนเงินทุนหมุนเวียนแกผูประกอบการยาง) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการทบทวนมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2557 ในสวนของ ขอคิดเห็นของสํานักงบประมาณ (สงป.) เกี่ยวกับงบประมาณดําเนินการโครงการสนับสนุนสินเชื่อเปนเงินทุน หมุนเวียนแกผูประกอบการยาง ซึ่งเปนผลการหารือรวมกับ สงป. และธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ตามที่ กระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) เสนอ ดังนี้ 1. ใหธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) ธนาคารธนชาต จํากัด (มหาชน) และธนาคารพาณิชยอื่น ๆ ที่ อก. เห็นสมควร เปนผูสนับสนุนสินเชื่อเปนเงินทุนหมุนเวียนแก ผูประกอบการยาง ภายในกรอบวงเงิน 10,000 ลานบาท 2. ใหธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) เปนผูเสนอขอตั้งงบประมาณรายจายประจําปเพื่อชดเชย ดอกเบี้ยร อยละ 3 ตามรายจ า ยที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง โดยกําหนดใหมี การจ ายชดเชยดอกเบี้ย เปน รายเดื อน ตามลักษณะการประกอบธุรกรรมของธนาคาร ภายในกรอบวงเงินไมเกิน 300 ลานบาท โดยใหใชจากเงินทุน ที่เปนสภาพคลอง ของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ทั้งนี้ ผูประกอบการที่เขารวมโครงการตองเปดบัญชีออมทรัพย/กระแสรายวันกับสาขาธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ที่ประสงคจะรับเงินชดเชยดอกเบี้ยและ อก. จะสงเจาหนาที่ไปตรวจสอบปริมาณการเก็บสต็อก ยางทุกวันสุดทายของเดือน เพื่อพิจารณาอนุมัติการชดเชยดอกเบี้ยในเดือนถัดไป ซึ่ง อก. จะแจงขอมูลรายละเอียด การจายเงินชดเชยดอกเบี้ยของผูประกอบการใหธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ทราบ เพื่อธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) จะโอนเงินใหแกผูประกอบการที่เปดบัญชีไวกับสาขาธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ตอไป 3. เรื่อง การปรับปรุงโครงสรางอัตราภาษีศุลกากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการปรับปรุงโครงสรางอัตราภาษีศุลกากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ โดยปรับลดอัตราอากรขาเขาสินคาในกลุมวัตถุดิบ ปจจัยการผลิตที่ไมมีผลิต ในประเทศ เครื่องจักร เครื่องมือ และวัสดุอุปกรณที่เปนสวนประกอบของเครื่องจักร เครื่องมือที่เกี่ยวของกับ กระบวนการผลิตจํานวน 1,532 ประเภทยอย เปนขอสรุปที่ไดจากการพิจารณารวมกันระหวางหนวยงานภาครัฐ และเอกชนที่เกี่ยวของ (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สํานักงานคณะกรรมการ สงเสริมการลงทุน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และหอการคาไทยและสภาหอการคาแหงประเทศไทย) ดังนี้ 1. ยกเวนอากรขาเขากลุมสินคาวัตถุดิบ ปจจัยการผลิตที่ไมมีผลิตในประเทศ เครื่องจักร เครื่องมือ และวัสดุอุปกรณที่เปนสวนประกอบของเครื่องจักร เครื่องมือที่เกี่ยวของกับกระบวนการผลิต จํานวน 1,274 ประเภทยอยจากอัตราอากรขาเขาปจจุบันเทากับรอยละ 1 รอยละ 3 รอยละ 5 และรอยละ 10 เชน กาซธรรมชาติ สังกะสี เนื้อสัตวที่ทําเปนเพลเลต ไมจําพวกสน เครื่องกังหันใบพัด เครื่องจักรสําหรับประกอบแผงวงจรยอย ทอสงกาซ เปนตน 2. ปรับลดอัตราอากรขาเขาลงเหลือรอยละ 10 เพื่อลดภาระตนทุนการผลิตใหกับผูประกอบการ ที่ใชสินคาในกลุมเครื่องจักร เครื่องมือ และวัสดุอุปกรณที่เปนสวนประกอบของเครื่องจักร เครื่องมือที่เกี่ยวของ กับกระบวนการผลิต เปนปจจัยการผลิต เนื่องจากสินคาในกลุมนี้มีผูผลิตในประเทศ และปจจุบันมีอัตราอากร ขาเขา ที่สูง คือ รอยละ 20 และรอยละ 30 เชน เครื่องจักรกลที่ใชแรงงาน เครื่องซักผาใชตามโรงงานเครื่องจักร ใชเชื่อม เปนตน

-42-


16 ธันวาคม 2557 4. เรื่อง การขยายระยะเวลามาตรการสําหรับเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและอนุมัติตามที่ กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบใหขยายระยะเวลามาตรการดานภาษีและคาธรรมเนียม และมาตรการดานการเงิน ยกเวนมาตรการพักชําระหนี้ลูกคาธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) ออกไปอีก 3 ป ซึ่งจะครบกําหนดในวันที่ 31 ธันวาคม 2560 2. เห็นชอบมาตรการสินเชื่อผอนปรนโดยธนาคารออมสินใหครอบคลุมลูกคารายเดิมและลูกคารายใหม 3. เห็นชอบการขยายระยะเวลามาตรการพักชําระหนี้ลูกคา ธ.ก.ส. ออกไปอีก 3 ป 3 เดือน ซึ่งจะครบ กําหนดในวันที่ 31 ธันวาคม 2560 โดยใหรัฐบาลชดเชยดอกเบี้ยเงินกูให ธ.ก.ส. แทนลูกคา ธ.ก.ส. ในอัตรา MRR – 1.5 ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2557 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2560 (ตอเนื่องจากมาตรการพักหนี้เกษตรกรรายยอย และประชาชนผูมีรายไดนอยที่มีหนี้คงคางต่ํากวา 500,000 บาท ซึ่งสิ้นสุดโครงการลงแลวเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2553) 4. อนุมัติหลักการรางพระราชกฤษฎีกา และเห็นชอบในหลักการรางประกาศกระทรวงเพื่อขยาย ระยะเวลามาตรการดานภาษีและคาธรรมเนียมออกไปจนถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ดังนี้ 4.1 รางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. 4.2 รางประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การเรียกเก็บคาธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ตามประมวลกฎหมายที่ดิน กรณีการโอนและการจํานองอสังหาริมทรัพยตามมาตรการสนับสนุนเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกิจ ตามหลักเกณฑที่คณะรัฐมนตรีกําหนด 4.3 รางประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การเรียกเก็บคาธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ตามกฎหมายวาดวยอาคารชุด กรณีการโอนและการจํานองหองชุดตามมาตรการสนับสนุนเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ ตามหลักเกณฑที่คณะรัฐมนตรีกําหนด 5. อนุมัติงบประมาณสําหรับแตละมาตรการ ดังนี้ 5.1 งบประมาณสําหรับมาตรการชดเชยสวนตางเบี้ยประกันปละ 20 ลานบาท ระยะเวลา 3 ป โดยใหศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต (ศอ.บต.) เปนหนวยงานรับการจัดสรรงบประมาณ 5.2 งบประมาณสําหรับการชดเชยสวนตางระหวางตนทุนเงินกับอัตราผลตอบแทนที่ธนาคารออมสิน ไดรับจากการปลอยสินเชื่อตามมาตรการสินเชื่อผอนปรน ในวงเงินปละ 930 ลานบาท ระยะเวลา 3 ป โดยให ธนาคารออมสินเปนผูขอรับการจัดสรรงบประมาณ และใหเบิกจายตามที่เกิดขึ้นจริง 5.3 งบประมาณสําหรับมาตรการพักหนี้เกษตรกรลูกคา ธ.ก.ส. ในสวนของเงินตนที่ไมเกิน 200,000 บาท ในวงเงินปละ 330 ลานบาท ระยะเวลา 3 ป 3 เดือน โดยให ธ.ก.ส. เปนผูขอรับการจัดสรรงบประมาณและ ใหเบิกจายตามที่เกิดขึ้นจริง 5. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาโครงการสินเชื่อสงเสริมผูประกอบอาชีพใหบริการรถสาธารณะในพื้นที่ 5 จังหวัด ชายแดนภาคใต ของธนาคารอิสลามแหงประเทศไทย คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ ขอขยายระยะเวลาโครงการ สินเชื่อสงเสริมผูประกอบอาชีพใหบริการรถสาธารณะในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใตของธนาคารอิสลามแหง ประเทศไทย (ธอท.) ออกไปถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558 เปนครั้งสุดทาย และให ธอท. รายงานความคืบหนาของ การดําเนินโครงการสินเชื่อฯ เปนรายไตรมาสให กค. ไดรับทราบและใชเปนขอมูลประกอบการพิจารณากําหนด นโยบายและมาตรการในการพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตตอไป

-43-


1. โครงการสินเชื่อฯ เปนโครงการสนับสนุนทางการเงินแกผูประกอบอาชีพใหบริการรถสาธารณะในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต ซึ่งเริ่มดําเนินโครงการสินเชื่อฯ เมื่อเดือนกรกฎาคม 2553 ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2553 และตอมาคณะรัฐมนตรีไดมีมติใหขยายระยะเวลาโครงการสินเชื่อฯ อีก 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2554 และครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2556 2. หลักเกณฑของโครงการสินเชื่อฯ 2.1 วงเงินรวมโครงการ: 5,000 ลานบาท 2.2 ระยะเวลารับคําขอกู: 1 ป (ตั้งแตวันที่ 29 มิถุนายน 2553 ถึงวันที่ 29 มิถุนายน 2554) ตอมา ไดขยายระยะเวลารับคําขอกูครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2554 เปนวันที่ 30 มิถุนายน 2555 และครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2556 เปนวันที่ 31 ธันวาคม 2556 2.3 ผลิตภัณฑ: 2.3.1 สินเชื่อเชาซื้อรถยนต (ระยะเวลาการผอนชําระไมเกิน 7 ป) แบงประเภทรถ ไดแก รถแท็กซี่ รถจักรยานยนต รถตูโดยสารปรับอากาศ รถสองแถวและรถโดยสาร 3 ลอ – 4 ลอเครื่อง 2.3.2 สินเชื่อวงเงินเอนกประสงค ใชในการซอมแซมรถ (ระยะเวลาการผอนชําระคืนไมเกิน 3 ป) 2.4 ผูมีสิทธิขอสินเชื่อ: ผูประกอบอาชีพใหบริการรถสาธารณะในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต ไดแก ยะลา นราธิวาส ปตตานี สงขลา และสตูล 2.5 อัตรากําไร: อัตรากําไรคงที่รอยละ 1.5 ตอป หรือคิดเปน Effective Rate ที่รอยละ 2.87 ตอป 3. กค. พิจารณาโครงการสินเชื่อฯ ดังกลาวแลวเห็นควรขยายระยะเวลาโครงการสินเชื่อฯ ออกไปถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ดังนี้ 1) นับแตเริ่มโครงการสินเชื่อฯ ธอท. มียอดอนุมัติสินเชื่อเพียง 2,260 ลานบาท คิดเปนรอยละ 45.20 ของวงเงินรวมโครงการสินเชื่อฯ (5,000 ลานบาท) สาเหตุสวนหนึ่งเนื่องมาจากการขาดความตอเนื่องในการ ดําเนินการ ทําใหการดําเนินการไมเปนไปตามเปาหมายที่กําหนดไว แต ธอท. เห็นวาโครงการสินเชื่อฯ ยังมีลูกคา ใหความสนใจและสามารถจะขยายกลุมลูกคาโครงการสินเชื่อฯ ไปยังประกอบการรถสี่ลอเล็ก (ตุกตุก) ได 2) โครงการนี้คณะรัฐมนตรีไดมีมติอนุมัติวงเงินชดเชยใหแก ธอท. ไวไมเกิน 515 ลานบาท โดยระหวางปงบประมาณ 2555 – 2557 เบิกจายไปแลวเพียง 277 ลานบาท หากขยายระยะเวลาออกไปอีก ก็ยังคงชดเชยภายใตกรอบวงเงินเดิม 515 ลานบาท 3) โครงการนี้จะมีประโยชนตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต ทําใหประชาชนไดรับบริการจากรถสาธารณะไดมากขึ้น 23 ธันวาคม 2557 6. เรื่อง รางกฎกระทรวงกําหนดความเสียหายที่จะใหไดรับคาเสียหายเบื้องตน จํานวนเงินคาเสียหายเบื้องตน การรองขอรับและการจายคาเสียหายเบื้องตน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรางกฎกระทรวงกําหนดความเสียหายที่จะใหไดรับคาเสียหายเบื้องตน จํานวนเงินคาเสียหายเบื้องตน การรองขอรับและการจายคาเสียหายเบื้องตน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ที่สํานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกา (สคก.) ตรวจพิจารณาแลว ตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ สาระสําคัญของรางกฎกระทรวง เปนการแกไขปรับปุรงวงเงินคารักษาพยาบาลของผูประสบภัยจากรถในสวนของคาเสียหายเบื้องตน กรณีความเสียหายตอรางกายตามกฎกระทรวงกําหนดความเสียหายที่จะใหไดรับคาเสียหายเบื้องตน จํานวนเงิน คาเสียหายเบื้องตน การรองขอรับและการจายคาเสียหายเบื้องตน พ.ศ. 2552 เพิ่มจากจํานวนเงินไมเกิน 15,000 บาท ตอคน เปนจํานวนเงินไมเกิน 30,000 บาทตอคน โดยใหไดรับเงินคาเสียหายเบื้องตนรวมกันแลวตองไมเกิน 65,000 บาท

-44-


7. เรื่อง มาตรการภาษีเพื่อสงเสริมการจัดตั้งสํานักงานใหญขามประเทศและมาตรการภาษีเพื่อสงเสริม การจัดตั้งบริษัทการคาระหวางประเทศ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบมาตรการภาษีเพื่อสงเสริมการจัดตั้งสํานักงานใหญขามประเทศและมาตรการ ภาษีเพื่อสงเสริมการจัดตั้งบริษัทการคาระหวางประเทศ ตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. มาตรการภาษีเพื่อสงเสริมการจัดตั้งสํานักงานใหญขามประเทศ (International Headquarters : IHQ) 1.1 คํานิยาม สํานักงานใหญขามประเทศ หมายความวา บริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย เพื่อประกอบกิจการใหบริการดานการบริหารหรือดานเทคนิค การใหบริการสนับสนุน หรือการบริหารเงิน แกวิสาหกิจในเครือหรือสาขาของตน ไมวาจะตั้งอยูในประเทศไทยหรือในตางประเทศ และหมายความรวมถึง การประกอบกิจการในลักษณะเปนบริษัทการคาระหวางประเทศดวย 1.2 คุณสมบัติ 1.2.1 มีทุนที่ชําระแลวในวันสุดทายของแตละรอบระยะเวลาบัญชีตั้งแต 10 ลานบาทขึ้นไป 1.2.2 มีการใหบริการแกวิสาหกิจในเครือที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายตางประเทศหรือสาขาใน ตางประเทศของวิสาหกิจในเครืออยางนอย 1 ประเทศ 1.2.3 มีรายจายในการดําเนินงานซึ่งเกี่ยวกับกิจการของสํานักงานใหญขามประเทศที่จายใหแก ผูรับในประเทศไทยไมนอยกวา 15 ลานบาทในแตละรอบระยะเวลาบัญชี 1.2.4 ยื่นคํารองขอและไดอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากรตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข ที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกําหนด 1.2.5 ปฏิบัติตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกําหนด ทั้งนี้ การไดรับสิทธิประโยชนทางภาษีมีระยะเวลา 15 รอบระยะเวลาบัญชีนับแตวันถัดจากวันที่ ไดรับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากรดังนี้ (1) กรณีที่รอบระยะเวลาบัญชีเริ่มในหรือหลังวันที่ไดรับอนุมัติใหนับรอบระยะเวลาบัญชีนั้น เปนรอบระยะเวลาบัญชีแรก หรือ (2) กรณีที่ไดรับอนุมัติระหวางรอบระยะเวลาบัญชีใดใหนับรอบระยะเวลาบัญชีนั้น เปนรอบระยะเวลาบัญชีแรก แมวาจะมีระยะเวลานอยกวา 12 เดือนก็ตาม อนึ่ง ในกรณีที่สํานักงานใหญขามประเทศขาดคุณสมบัติขางตนขอหนึ่งขอใดในรอบระยะเวลาบัญชีใด ใหการรับสิทธิประโยชนทางภาษีเปนอันระงับเฉพาะในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น 1.3 สิทธิประโยชนทางภาษี 1.3.1 ภาษีเงินไดนิติบุคคล (1) ยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลใหแกสํานักงานใหญขามประเทศสําหรับรายไดดังตอไปนี้ (1.1) รายไดจากการใหบริการดานการบริหารหรือดานเทคนิค การใหบริการสนับสนุน หรือการบริหารเงินแกวสิ าหกิจในเครือที่ตั้งอยูในตางประเทศ โดยรวมถึงดอกเบี้ยที่ไดรับจากวิสาหกิจในเครือที่ตั้งอยู ในตางประเทศสําหรับการใหกูยืมแกวิสาหกิจในเครือที่ตั้งอยูในตางประเทศดังกลาวเฉพาะที่เปนการบริหารการเงิน (1.2) คาสิทธิที่ไดรับจากวิสาหกิจในเครือที่ตั้งอยูในตางประเทศ (1.3) เงินปนผลที่ไดรับจากวิสาหกิจในเครือที่ตั้งอยูในตางประเทศตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกําหนด

-45-


(1.4) รายไดจากการโอนหุนของวิสาหกิจในเครือที่ตั้งอยูในตางประเทศ ทั้งนี้ เฉพาะซึ่ง ตีราคาเปนเงินไดเกินกวาที่ลงทุนตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกําหนด โดยตองไมนําผลขาดทุนสุทธิจากการโอนหุนของวิสาหกิจในเครือที่ตั้งอยูในตางประเทศมาถือเปนรายจาย ในการคํานวณกําไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินไดนิติบุคคล (1.5) รายไดของสาขาที่ตั้งอยูในตางประเทศ โดยตองไมนํารายจายของสาขาที่ตั้งอยู ในตางประเทศดังกลาวมาถือเปนรายจายในการคํานวณกําไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินไดนิติบุคคล (1.6) รายไดจากการจัดซื้อและขายสินคาในตางประเทศ โดยสินคาดังกลาว มิไดถูกนําเขามาในประเทศ (Out –Out) รวมทั้งรายไดจากการใหบริการที่เกี่ยวของกับการคาระหวางประเทศ แกนิติบุคคลในตางประเทศที่ไดรับจากหรือในตางประเทศ (2) ลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลใหแกสํานักงานใหญขามประเทศจากรอยละ 20 เหลือรอยละ 10 สําหรับรายไดดังตอไปนี้ (2.1) รายไดจากการใหบริการดานการบริหารหรือเทคนิค การใหบริการสนับสนุน หรือ การบริหารเงินแกวิสาหกิจในเครือที่ตั้งอยูในประเทศไทย โดยรวมถึงดอกเบี้ยที่ไดรับจากวิสาหกิจในเครือที่ตั้งอยู ในประเทศไทย สําหรับการใหกูยืมแกวิสาหกิจในเครือที่ตั้งอยูในประเทศไทยดังกลาวเฉพาะที่เปนการบริหารเงิน (2.2) คาสิทธิที่ไดรับจากวิสาหกิจในเครือที่ตั้งอยูในประเทศไทย ทั้งนี้ รายไดที่ไดรับการลดอัตราภาษีเงินไดนิบิตบุคคลตาม (2.1) และ (2.2) เมื่อรวมกันแลวตองเปน จํานวนไมเกินกวารายไดที่ไดรับการยกเวินภาษีเงินไดนิติบุคคลตาม (1.1) และ (1.2) รวมกัน (2.3) รายไดจากการจัดซื้อวัตถุดิบหรือชิ้นสวนในประเทศไทยและขายใหแกวิสาหกิจ ในเครือที่ตั้งอยูในตางประเทศ (In –Out) เพื่อความมุงประสงคในการผลิตในตางประเทศที่ไดกระทําโดยวิสาหกิจ ในเครือที่ตั้งอยูตางประเทศดังกลาว (3) ยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลใหแกบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย ของตางประเทศและมิไดประกอบกิจการในประเทศไทย สําหรับรายไดดังตอไปนี้ (3.1) เงินปนผลที่ไดรับจากสํานักงานใหญขามประเทศ ทั้งนี้ เฉพาะเงินปนผลที่จาย จากรายไดที่ไดรับการยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลตาม (1) (3.2) ดอกเบี้ยที่ไดรับจากสํานักงานใหญขามประเทศ ทั้งนี้ เฉพาะดอกเบี้ยจากเงินกูยืม ที่สํานักงานใหญขามประเทศไดกูมาเพื่อใหกูยืมตอแกวิสาหกิจในเครือที่เปนการบริหารเงินเทานั้น 1.3.2 ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ลดอัตราภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาเหลือรอยละ 15 สําหรับ เงินไดพึงประเมินที่คนตางดาวซึ่งทํางานประจําสํานักงานใหญขามประเทศไดรับ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการ ที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกําหนด โดยคนตางดาวที่ไดรับการลดอัตราภาษีเงินไดบุคคลธรรมดังกลาวตองยื่น รายการตามแบบที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนด และในกรณีที่การไดรับสิทธิประโยชนทางภาษีของสํานักงานใหญ ขามประเทศเปนอันระงับในชวงระยะเวลาใดใหการลดอัตราภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาแกคนตางดาวซึ่งทํางาน ประจําสํานักงานใหญขามประเทศเปนอันระงับในชวงระยะเวลานั้นดวย 1.3.3 ภาษีธุรกิจเฉพาะ ยกเวนภาษีธุรกิจเฉพาะใหแกสํานักงานใหญขามประเทศ สําหรับรายรับ จากการใหกูยืมแกวิสาหกิจในเครือ ทั้งนี้ เฉพาะการใหกูยืมที่เปนการบริหารเงิน ทั้งนี้ ใหสํานักงานปฏิบัติการภูมิภาคที่ไดรับสิทธิประโยชนทางภาษีตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความ ในประมวลรัษฎากร วาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ 405) พ.ศ.2545 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราช กฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ 508) พ.ศ.2553 สามารถยื่นคํารองขอรับสิทธิประโยชนทางภาษีตามมาตรการภาษีเพื่อสงเสริมการจัดตั้งสํานักงานใหญขามประเทศ

-46-


และแจงเลิกการเปนสํานักงานปฏิบัติการภูมิภาคไดโดยไมกระทบตอสิทธิประโยชนทางภาษีที่ไดรับระหวางเปน สํานักงานปฏิบัติการภูมิภาค 2. มาตรการภาษีเพื่อสงเสริมการจัดตั้งบริษัทการคาระหวางประเทศ (International Trading Centers : ITC) 2.1 คํานิยาม บริษัทการคาระหวางประเทศ หมายความวา บริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย เพื่อประกอบการจัดซื้อและขายสินคา วัตถุดิบ และชิ้นสวน รวมถึงการใหบริการที่เกี่ยวของกับการคาระหวาง ประเทศแกนิติบุคคลในตางประเทศ 2.2 คุณสมบัติ 2.2.1 มีทุนที่ชําระแลวในวันสุดทายของแตละรอบระยะเวลาบัญชีตั้งแต 10 ลานขึ้นไป 2.2.2 มีวิสาหกิจในเครือหรือสาขาที่ตั้งอยูในตางประเทศอยางนอย 1 ประเทศ 2.2.3 ยื่นคํารองขอและไดรับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากรตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข ที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกําหนด 2.2.4 ปฏิบัติตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพกรประกาศกําหนด ทั้งนี้ การไดรับสิทธิประโยชนทางภาษีมีระยะเวลา 15 รอบระยะเวลาบัญชีนับแตวันถัดจากวันที่ไดรับ อนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากรดังนี้ (1) กรณีที่รอบระยะเวลาบัญชีเริ่มในหรือหลังวันที่ไดรับอนุมัติใหนับรอบระยะเวลาบัญชีนั้น เปนรอบระยะเวลาบัญชีแรก หรือ (2) กรณีที่ไดรับอนุมัติระหวางรอบระยะเวลาบัญชีใดใหนับรอบระยะเวลาบัญชีนั้นเปน รอบระยะเวลาบัญชีแรก แมวาจะมีระยะเวลานอยกวา 12 เดือนก็ตาม อนึ่ง ในกรณีที่บริษัทการคาระหวางประเทศขาดคุณสมบัติขางตนขอหนึ่งขอใดรอบระยะเวลาบัญชีใด ใหการไดรับสิทธิประโยชนทางภาษีเปนอันระงับเฉพาะในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น 2.3 สิทธิประโยชนทางภาษี 2.3.1 ภาษีเงินไดนิติบุคคล (1) ยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลใหแกบริษัทการคาระหวางประเทศ สําหรับรายไดจาก การจัดซื้อและขายสินคาในตางประเทศ โดยสินคาดังกลาวมิไดถูกนําเขามาในประเทศ (Out – Out) รวมทั้งรายได จากการใหบริการที่เกี่ยวของกับการคาระหวางประเทศแกนิติบุคคลในตางประเทศที่ไดรับจากหรือในตางประเทศ (2) ลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลใหแกบริษัทการคาระหวางประเทศจากรอยละ 20 เหลือรอยละ 10 สําหรับรายไดจากการจัดซื้อวัตถุดิบหรือชิ้นสวนในประเทศไทยและขายใหแกวิสาหกิจในเครือที่ ตั้งอยูในตางประเทศ (In – Out) เพื่อความมุงประสงคในการผลิตในตางประเทศที่ไดกระทําโดยวิสาหกิจในเครือที่ ตั้งอยูในตางประเทศดังกลาว (3) ยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลใหแกบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย ของตางประเทศและมิไดประกอบกิจการในประเทศไทย สําหรับเงินปนผลที่ไดรับจากบริษัทการคาระหวาง ประเทศ ทั้งนี้ เฉพาะเงินปนผลที่จายจากรายไดที่ไดรับการยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลตาม (1) เทานั้น 2.3.2 ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ลดอัตราภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาเหลือรอยละ 15 สําหรับ เงินไดพึงประเมินที่คนตางดาวซึ่งทํางานประจําบริษัทการคาระหวางประเทศไดรับ เนื่องจากการจางแรงงาน ของบริษัทการคาระหวางประเทศตั้งแตวันที่บริษัทการคาระหวางประเทศไดรับอนุมัติสิทธิประโยชนทางภาษี จนถึงวันที่สิ้นสุดการทํางานประจําบริษัทการคาระหวางประเทศหรือสิทธิประโยชนทางภาษีของบริษัทการคา ระหวางประเทศสิ้นสุดลง ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกําหนด โดยคนตางดาว ที่ไดรับการลดอัตราภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาดังกลาวตองยื่นรายการตามแบบที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนดดวย

-47-


และในกรณีที่การไดรับสิทธิประโยชนทางภาษีของบริษัทการคาระหวางประเทศเปนอันระงับในชวงระยะเวลาใด ใหการลดอัตราภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาแกคนตางดาวซึ่งทํางานประจําบริษัทการคาระหวางประเทศเปนอันระงับ ในชวยระยะเวลานั้นดวย เพื่อใหเปนไปตามหลักการขางตน กระทรวงการคลังโดยกรมสรรพากรจะตองดําเนินการตรา พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พศ. ....จํานวน 2 ฉบับ แบงเปน 1. พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการภาษีเพื่อสงเสริมการจัดตั้งสํานักงานใหญขามประเทศ) จํานวน 1 ฉบับ 2. พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการภาษีเพื่อสงเสริมการจัดตั้งบริษัทการคาระหวางประเทศ) จํานวน 1 ฉบับ 8. เรื่อง มาตรการปรับลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการลดอัตรา และยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... จํานวน 1 ฉบับ (มาตรการปรับลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2557) ตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ 1. กําหนดใหมีการปรับลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลซึ่งมีทุน ที่ชําระแลวในวันสุดทายของรอบระยะเวลาบัญชีไมเกิน 5 ลานบาทและมีรายไดจากการขายสินคาและการใหบริการ ในรอบระยะเวลาบัญชีไมเกิน 30 ลานบาท สําหรับชวงกําไรสุทธิเกิน 1,000,000 บาท แตไมเกิน 3,000,000 บาท จากอัตรารอยละ 20 ของกําไรสุทธิ เปนรอยละ 15 ของกําไรสุทธิ สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เปนตนไป 2. การดําเนินการตามมาตรการขางตน สามารถดําเนินการไดโดยการตราเปนพระราชกฤษฎีกาออกตาม ความในประมวลรัษฎากร วาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... จํานวน 1 ฉบับ 3. มาตรการนี้จะเปนประโยชนในการชวยสงเสริมและสนับสนุน SMEs ซึ่งมีบทบาทสําคัญตอโครงสราง ระบบเศรษฐกิจของประเทศ ใหมีความเขมแข็ง ชวยเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศและจูงใจ ใหเกิดการลงทุนทั้งในประเทศและตางประเทศ รวมถึงบรรเทาภาระตนทุนและเพิ่มสภาพคลองทางการเงิน ใหแก SMEs อันเปนการชวยกระตุนเศรษฐกิจของประเทศ

-48-


สถิติดานการคลัง


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปปฏิทิน) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) GDP (ปงบประมาณ) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ)

2535 261,042 52,945 87,273 2,884 66,614 9,629 3,781 134 102,028 41,346 15,490 15,247 7,818 15,713 5,125 301 695 294 7 38 1 2 86,246 85,082 11 1,153 449,316 76,048 42,896 33,152 525,364

2536 300,805 57,237 103,975 3,448 112,582 16,764 3,876 184 125,789 43,711 15,638 16,679 9,478 34,350 5,158 546 73 157 10 56 2 6 105,910 104,651 11 1,247 532,504 75,603 36,701 38,902 608,106

2537 366,957 67,651 133,268 3,603 134,791 21,227 4,752 224 138,670 46,131 19,708 19,272 12,262 34,515 5,636 899 136 111 11 64 2 52 7 116,872 115,540 14 1,318 622,499 85,047 41,794 43,253 707,546

2538 444,512 86,190 157,078 3,196 163,122 28,311 5,284 249 155,308 53,501 20,717 19,759 15,131 38,147 6,598 1,190 156 109 12 69 59 16 128,548 127,124 9 1,415 728,368 86,775 41,250 45,525 815,143

2539 508,832 109,396 172,235 3,430 184,227 33,410 5,286 276 167,160 58,005 24,057 21,548 17,360 37,343 6,845 1,729 153 119 10 75 2 55 12 129,543 128,212 6 1,324 805,535 89,756 40,650 49,106 895,291

หนวย : ลานบาท 2540 2541 518,620 498,966 115,137 122,945 162,655 99,480 5,322 5,316 195,813 232,388 34,286 35,241 4,734 2,992 408 263 180,168 155,564 63,983 65,373 29,816 28,560 22,763 20,257 21,383 23,191 32,295 8,557 7,519 7,023 1,765 1,003 129 538 168 442 204 481 142 139 126 11 163 91 103 7 11 17 19 59 56 19 3 104,160 69,338 102,704 67,108 8 17 1,448 2,213 802,947 723,868 106,101 91,813 38,102 42,518 68,000 49,295 909,049 815,681

525,364 525,364 2,830,900 18.6 2,749,800 19.1

41,432 38,354 3,078 10,348 556,326 556,326 3,165,222 17.6 3,034,300 18.3

48,723 45,330 3,393 6,262 652,561 652,561 3,629,341 18.0 3,496,880 18.7

52,937 49,143 3,794 7,108 755,098 755,098 4,186,212 18.0 4,068,515 18.6

37,813 34,148 3,665 7,473 850,005 850,005 4,611,041 18.4 4,510,055 18.8

58,400 55,313 3,087 7,073 843,576 843,576 4,732,610 17.8 4,699,943 17.9

74,660 63,858 10,802 7,559 733,462 733,462 4,626,447 15.9 4,666,795 15.7


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปปฏิทิน) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) GDP (ปงบประมาณ) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ)

2542 452,317 106,071 108,820 10,872 201,976 21,311 2,824 258 163,892 66,584 26,655 22,800 24,992 13,941 6,484 904 482 419 474 158 114 191 87 6 24 49 3 68,095 66,994 36 1,064 684,303 109,042 52,679 56,364 793,346

2543 461,322 91,790 145,554 10,739 192,510 17,015 3,351 236 168,822 64,832 28,134 8,276 26,438 26,781 7,444 1,104 791 444 579 3,999 97 218 127 11 20 55 53 87,195 85,338 75 1,782 717,338 100,257 56,182 44,075 817,595

2544 499,711 101,136 149,677 17,154 215,158 12,852 3,408 242 177,600 64,124 32,310 8,933 29,991 30,330 8,100 1,429 932 713 525 213 62 246 112 14 26 59 5 92,838 91,359 82 1,397 770,149 104,617 45,482 59,135 874,766

หนวย : ลานบาท 2545 2546 2547 2548 544,281 627,682 772,236 937,149 108,371 117,309 135,155 147,352 170,415 208,859 261,890 329,516 19,128 21,773 31,935 41,178 228,196 261,306 316,134 385,718 13,715 12,757 20,024 26,304 4,122 5,348 6,820 6,816 236 286 278 266 208,153 246,641 275,773 279,395 68,840 73,605 76,996 76,458 31,697 33,289 36,325 38,193 22,290 25,676 26,181 28,620 31,650 36,987 42,749 45,483 41,560 56,474 65,012 58,760 7,748 8,621 9,350 10,106 1,793 2,347 2,859 3,712 1,224 1,581 1,641 1,849 582 591 763 762 556 813 993 1,121 212 239 280 398 45 68 97 86 268 299 332 372 126 145 167 179 15 22 34 40 23 26 23 38 60 65 44 74 5 19 5 15 54 48 53 38 82 92 78 161 185 98,629 111,819 106,122 110,403 96,326 110,054 103,635 106,917 163 216 267 285 2,139 1,549 2,220 3,202 851,062 986,142 1,154,132 1,326,948 108,375 118,485 135,747 147,472 46,965 50,772 49,086 60,664 2,483 3,599 2,976 3,210 57,862 64,114 52,611 82,114 959,437 1,104,627 1,289,880 1,474,420

75,325 64,655 10,670 2,994 5,916 709,111 709,111 4,637,079 15.3 4,607,310 15.4

57,036 47,358 9,679 3,198 7,278 750,082 750,082 4,922,731 15.2 4,849,547 15.5

77,920 65,682 12,239 3,732 7,698 785,416 785,416 5,133,502 15.3 5,101,367 15.4

79,902 80,150 115,574 131,220 65,769 69,261 96,947 109,625 14,133 10,888 18,627 21,594 4,109 5,042 6,368 7,451 8,234 10,501 11,226 12,421 867,192 1,008,934 1,156,713 1,323,328 16,525 40,604 47,726 58,400 850,667 968,330 1,108,986 1,264,928 5,450,643 5,917,369 6,489,476 7,092,893 15.6 16.4 17.1 17.8 5,345,826 5,780,452 6,321,068 6,920,178 15.9 16.8 17.5 18.3


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปปฏิทิน) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) GDP (ปงบประมาณ) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ)

หนวย : ลานบาท 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 1,057,200 1,119,194 1,276,080 1,138,565 1,264,584 1,515,666 1,617,293 170,079 192,795 204,847 198,095 208,374 236,339 266,203 374,689 384,619 460,650 392,172 454,565 574,059 544,591 56,524 65,735 74,033 90,712 67,599 81,444 94,097 417,772 434,272 503,439 431,775 502,176 577,632 659,804 30,623 34,406 25,133 18,099 22,892 35,614 41,057 7,268 7,137 7,724 7,488 8,735 10,299 11,180 244 230 254 223 243 279 362 274,095 287,231 278,303 291,221 405,862 399,779 379,652 70,742 76,944 67,211 91,059 152,825 117,914 61,061 35,657 41,824 41,832 43,936 53,381 57,197 59,915 29,143 33,298 36,816 37,982 42,398 48,624 53,500 44,207 52,088 53,465 48,993 58,831 61,498 64,893 59,810 55,844 57,822 49,278 77,202 92,844 117,145 10,765 11,735 12,391 12,186 14,245 14,526 16,208 3,525 3,727 3,769 3,111 1,615 1,183 977 2,010 1,665 1,673 1,608 1,979 2,284 2,318 1,178 1,426 1,708 1,479 1,947 2,197 2,126 1,169 1,183 1,196 1,062 1,039 1,088 1,099 367 269 309 528 400 424 411 87 87 84 73 64 62 57 425 447 490 428 452 494 476 185 177 167 183 190 201 221 56 68 63 43 39 22 23 39 29 44 31 27 24 40 52 46 37 42 26 29 35 0 0 0 26 16 6 7 3 0 2 104 111 111 91 95 113 104 196 202 192 164 141 143 140 96,232 90,625 99,602 80,288 97,148 102,882 118,973 93,633 88,169 96,944 77,187 93,512 99,968 116,325 314 345 501 404 169 241 323 2,285 2,112 2,157 2,697 3,467 2,673 2,326 1,427,528 1,497,050 1,653,985 1,510,074 1,767,594 2,018,326 2,115,919 153,996 206,724 183,659 174,224 235,453 206,051 239,391 73,500 80,593 77,546 83,761 140,031 102,687 112,268 3,330 3,052 4,682 3,822 3,868 4,569 4,374 77,165 86,129 101,430 86,641 91,553 98,795 122,749 1,581,524 1,703,775 1,837,643 1,684,297 2,003,047 2,224,377 2,355,310 162,951 181,793 202,716 199,408 208,733 138,206 150,035 173,994 157,838 160,052 24,745 31,758 28,723 41,570 48,681 9,172 9,514 11,625 9,040 11,096 12,399 10,416 12,044 11,160 13,005 1,397,002 1,502,051 1,611,258 1,464,690 1,770,213 57,312 57,592 65,420 53,832 65,736 1,339,691 1,444,460 1,545,837 1,410,858 1,704,477 7,844,939 8,525,197 9,080,466 9,041,551 10,104,821 17.1 16.9 17.0 15.6 16.9 7,699,350 8,301,652 9,145,520 8,850,552 9,921,040 17.4 17.4 16.9 15.9 17.2

230,014 188,471 41,543 12,677 14,813 1,966,873 74,556 1,892,317 10,540,134 18.0 10,669,274 17.7

260,374 216,012 44,362 14,815 15,280 2,064,841 88,965 1,975,876 11,375,349 17.4 10,865,428 18.2


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายป กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก รายไดอื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปปฏิทิน) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปปฏิทิน (รอยละ) GDP (ปงบประมาณ) สัดสวนรายไดสุทธิหลังจัดสรรตอ GDP ปงบประมาณ (รอยละ)

2556 1,764,706 299,034 592,499 113,291 698,087 48,771 12,735 290 432,898 63,532 67,893 52,640 69,119 153,874 17,838 1,003 2,933 2,294 1,208 563 58 566 236 32 39 27 107 143 113,393 110,628 254 2,511 2,310,997 260,465 152,568 6,448 101,448 2,571,462

หนวย : ลานบาท 2557 2558 (2 เดือน) 1,729,819 230,879 280,945 42,104 570,118 57,554 102,165 685 711,556 119,274 53,034 8,907 11,663 2,294 338 61 382,731 66,523 63,403 10,983 61,001 12,842 64,654 10,903 76,559 13,761 93,473 13,685 16,622 3,046 519 98 2,585 477 2,074 378 1,157 204 684 146 55 17 552 82 224 46 27 4 35 9 21 3 107 20 136 23 108,841 17,580 105,761 17,197 269 41 2,811 342 2,221,391 314,982 272,645 70,138 130,527 27,459 5,427 515 136,691 42,164 2,494,036 385,120

283,471 228,941 54,530 15,476 16,946 2,255,569 93,967 2,161,602 11,898,710 18.2 11,843,330 18.3

291,007 226,086 64,921 15,439 16,178 2,171,412 96,387 2,075,025 12,268,000 16.9 12,061,100 17.2

44,328 39,601 4,727 2,646 2,235 335,911 335,911 N/A N/A N/A N/A

หมายเหตุ : ขอมูล GDP ป 2557 จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2557 ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน

กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร

ต.ค.54 88,824 18,411 19,135 17 47,791 2,745 707 17 26,802 4,804 3,206 4,117 5,013 8,202 923 49 205 163 87 31 5 31 20 2 4 3 9 12 7,752 7,599 63 90 123,377 25,002 4,221 82 20,700 148,380

พ.ย.54 98,404 15,450 33,027 640 45,714 2,837 719 16 25,632 4,701 7,150 3,264 4,940 3,544 1,705 31 69 121 64 43 3 23 14 2 2 1 0 9 11 9,190 9,012 23 154 133,225 25,764 13,571 426 11,767 158,989

ธ.ค.54 91,520 18,155 16,639 54 52,020 3,706 914 31 30,755 4,923 6,214 5,941 6,488 5,271 1,520 57 47 142 75 79 1 36 13 1 2 2 8 11 10,291 10,061 27 204 132,566 11,789 8,793 160 2,836 144,355

ม.ค.55 99,215 27,377 16,475 14 51,665 2,816 766 102 27,908 5,514 4,313 4,715 5,573 6,123 1,162 64 147 150 96 53 5 43 18 3 2 3 9 12 9,760 9,549 3 208 136,883 15,325 6,459 1,580 7,286 152,208

ก.พ.55 113,459 21,977 25,910 7,648 53,808 3,198 896 21 30,531 5,245 4,761 4,631 5,802 8,370 1,142 72 200 170 108 31 5 58 17 2 1 2 2 9 12 9,709 9,531 22 156 153,698 19,149 14,736 620 3,793 172,847

ปงบประมาณ 2555 มี.ค.55 เม.ย.55 110,475 105,826 32,109 26,879 17,071 17,734 935 664 55,599 56,659 3,788 3,009 948 857 26 24 37,620 32,213 5,151 4,897 6,195 5,363 5,812 4,411 6,796 5,449 11,460 9,908 1,569 1,540 92 77 216 243 194 198 107 103 27 22 5 5 54 48 19 21 2 2 3 4 2 3 9 9 12 12 11,195 10,317 10,874 10,128 66 24 255 165 159,291 148,355 15,981 25,262 5,012 4,195 270 654 10,699 20,413 175,272 173,617

13,553 12,270 1,283 1,040 826 132,961 132,961

18,234 16,564 1,669 1,012 908 138,836 138,836

15,409 14,104 1,304 1,198 1,084 126,665 126,665

15,490 14,114 1,377 1,074 1,011 134,632 134,632

25,190 20,412 4,778 1,249 1,017 145,391 7,155 138,236

26,956 18,040 8,916 1,303 1,198 145,815 5,845 139,969

23,409 15,946 7,463 1,265 995 147,948 7,615 140,333

หนวย: ลานบาท พ.ค.55 277,714 22,403 121,712 72,530 56,276 3,605 1,160 27 31,324 5,128 4,043 3,629 5,190 11,198 1,543 94 197 186 90 26 7 36 20 2 2 4 9 11 11,314 11,077 28 209 320,351 20,106 15,338 120 4,648 340,457

มิ.ย.55 152,927 23,009 66,689 748 57,025 4,268 1,162 27 32,068 4,997 4,026 3,852 4,658 12,453 1,391 121 249 203 89 28 5 38 17 1 5 3 8 12 9,829 9,699 3 127 194,824 12,661 8,811 141 3,709 207,485

ก.ค.55 100,699 20,857 18,874 0 56,349 3,562 1,030 26 34,015 5,327 5,070 4,325 5,218 12,219 1,195 110 243 196 87 26 5 35 18 2 3 3 0 8 12 9,960 9,908 32 20 144,674 13,444 4,724 99 8,621 158,118

ส.ค.55 207,576 19,304 114,643 10,833 58,229 3,567 977 24 36,790 5,338 5,562 4,756 4,787 14,307 1,334 111 259 219 94 23 5 36 20 2 7 3 0 1 8 12 10,496 9,865 29 601 254,862 20,403 16,890 107 3,407 275,265

ก.ย.55 170,656 20,272 76,681 12 68,669 3,957 1,043 22 33,995 5,036 4,012 4,048 4,981 14,089 1,183 100 242 186 98 22 5 38 24 2 4 5 8 12 9,162 9,023 2 136 213,813 34,505 9,520 116 24,869 248,317

24,039 18,291 5,748 1,256 1,348 313,814 7,541 306,273

22,729 18,257 4,472 1,339 2,538 180,879 6,661 174,218

21,318 19,324 1,994 1,281 1,071 134,448 7,534 126,914

23,803 21,035 2,768 1,273 1,259 248,930 8,170 240,760

30,245 27,654 2,590 1,524 2,026 214,524 38,445 176,079


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน

กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร

หนวย: ลานบาท ต.ค.55 106,740 21,133 21,836 1 58,962 3,732 1,053 24 37,241 4,945 4,684 4,031 6,449 15,162 1,325 95 225 183 95 49 6 36 26 2 2 3 8 12 10,859 10,535 20 303 154,839 18,996 4,919 831 13,247 173,835

พ.ย.55 122,454 19,553 35,395 600 61,600 4,218 1,068 20 41,689 5,121 6,041 4,987 7,271 15,992 1,607 90 214 208 95 64 5 38 23 2 3 2 9 12 10,679 10,484 20 175 174,822 25,777 19,738 970 5,068 200,599

ธ.ค.55 117,663 19,113 33,800 1,538 57,487 4,720 987 19 40,140 5,485 5,072 3,992 6,780 16,540 1,554 90 213 203 107 104 5 50 21 4 3 2 10 12 9,533 9,378 20 136 167,337 40,320 35,810 1,629 2,881 207,657

ม.ค.56 124,080 33,461 22,467 1,435 62,107 3,508 1,082 19 37,983 5,856 5,753 5,392 5,503 13,204 1,568 93 241 161 115 96 5 60 17 3 4 2 11 12 9,895 9,814 3 78 171,958 14,959 5,620 240 9,099 186,917

ก.พ.56 115,473 23,673 20,506 9,676 56,913 3,662 1,024 19 36,007 4,882 6,392 4,568 5,326 12,700 1,424 101 243 200 123 48 4 69 20 2 3 2 10 12 8,595 8,338 22 235 160,076 25,311 19,461 420 5,431 185,387

ปงบประมาณ 2556 มี.ค.56 เม.ย.56 116,606 118,463 35,874 30,789 18,220 23,147 9 228 57,134 59,568 4,240 3,661 1,103 1,040 26 29 38,110 37,844 5,211 5,501 5,640 5,153 4,637 4,730 6,816 6,093 13,284 13,785 1,816 1,854 96 86 258 295 192 212 113 108 46 29 4 7 62 53 20 18 2 2 2 4 2 2 9 9 12 12 9,107 8,948 8,897 8,804 16 3 194 140 163,823 165,255 21,657 26,924 6,376 4,399 246 662 15,034 21,863 185,479 192,179

24,357 22,251 2,106 1,332 1,180 146,966 146,966

23,516 21,618 1,898 1,313 1,234 174,537 174,537

18,129 16,983 1,146 1,293 1,247 186,988 186,988

20,759 17,687 3,072 1,371 1,308 163,480 163,480

27,095 20,696 6,399 1,234 991 156,067 156,067

32,750 21,995 10,754 1,326 1,276 150,128 150,128

27,958 17,264 10,694 1,378 1,283 161,560 32,385 129,175

พ.ค.56 291,871 25,245 114,243 90,970 56,123 4,150 1,113 28 33,387 5,501 5,288 4,221 5,812 10,326 1,611 84 241 187 91 25 5 39 19 2 4 2 9 12 8,637 8,453 39 146 333,895 29,152 18,486 107 10,559 363,048

มิ.ย.56 164,929 24,816 78,109 0 56,374 4,553 1,048 29 34,048 5,028 5,218 3,932 4,752 12,996 1,446 72 285 199 95 25 4 43 18 3 3 2 8 12 8,714 8,523 37 155 207,691 10,250 7,548 121 2,582 217,942

ก.ค.56 104,928 22,656 20,989 1 56,117 4,059 1,080 27 31,761 5,562 5,412 4,137 4,386 10,531 1,126 62 248 180 87 28 4 39 16 2 3 2 8 12 9,688 9,357 23 307 146,376 16,352 5,961 110 10,281 162,728

ส.ค.56 181,778 20,926 88,631 7,059 59,840 4,228 1,070 24 32,885 5,191 5,645 5,130 4,525 10,636 1,133 65 258 189 88 26 4 37 19 4 2 2 8 12 9,677 9,211 24 442 224,340 21,255 17,968 116 3,171 245,594

ก.ย.56 199,722 21,795 115,157 1,774 55,862 4,040 1,067 27 31,803 5,249 7,594 2,885 5,406 8,716 1,375 68 213 182 92 23 5 38 19 3 4 2 9 12 9,060 8,833 27 200 240,586 9,511 6,283 996 2,232 250,097

23,731 17,428 6,303 1,177 1,287 336,853 7,249 329,603

23,943 19,338 4,604 1,277 2,635 190,087 7,022 183,065

21,305 18,900 2,405 1,241 1,069 139,113 8,499 130,614

19,452 17,104 2,348 1,310 1,284 223,548 7,745 215,803

20,478 17,677 2,801 1,224 2,152 226,243 31,067 195,177


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน

กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีเรือ ภาษีสารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร

หนวย: ลานบาท

ต.ค.56 112,332 22,094 23,685 0 61,045 4,396 1,085 26 36,625 5,204 5,837 7,069 7,552 9,153 1,164 74 219 190

พ.ย.56 118,159 20,613 33,865 1,154 57,073 4,460 971 23 34,994 5,014 3,452 7,830 8,070 8,592 1,523 50 179 135

ธ.ค.56 126,301 19,217 39,155 1,950 59,889 5,128 941 21 32,666 4,934 4,886 4,170 7,156 9,682 1,277 39 179 133

ม.ค.57 120,637 27,634 23,265 0 64,671 4,103 942 22 33,324 5,671 4,810 6,144 6,056 8,713 1,220 35 251 210

ก.พ.57 115,871 23,865 21,856 8,850 56,265 4,124 889 22 31,364 5,312 5,382 4,729 6,208 7,922 1,213 40 214 170

ปงบประมาณ 2557 มี.ค.57 เม.ย.57 112,535 111,183 30,194 26,610 19,599 19,551 0 0 57,252 60,060 4,477 3,993 981 938 32 31 36,125 33,339 5,208 5,124 5,641 5,844 5,751 4,964 8,795 6,717 8,425 8,406 1,728 1,676 41 22 211 264 161 177

96 67 6 36 23 4 5 2 8 12 9,542 9,400 2 141 158,499 44,051 7,168 250 36,633 202,550

81 68 2 36 14 3 2 2 10 12 8,966 8,828 2 137 162,119 26,180 18,411 260 7,509 188,300

94 117 2 50 13 2 2 2 10 12 8,687 8,514 23 150 167,654 15,356 10,206 1,953 3,196 183,010

114 100 3 59 20 2 6 2 11 12 9,608 9,353 26 228 163,568 21,106 6,192 306 14,609 184,674

118 55 4 67 18 3 3 2 9 11 7,982 7,897 25 60 155,216 26,810 18,289 720 7,802 182,026

107 57 4 59 19 2 4 1 8 11 8,948 8,602 28 318 157,608 17,887 5,419 285 12,183 175,495

102 42 4 52 21 2 3 9 11 8,358 8,208 24 126 152,879 25,410 6,623 667 18,120 178,289

89 45 4 40 22 2 1 2 9 11 8,797 8,675 24 98 291,432 32,731 17,172 317 15,242 324,163

81 24 2 41 15 2 2 2 7 10 8,608 8,419 24 166 216,950 13,384 9,024 197 4,163 230,334

83 39 4 35 18 2 3 2 7 11 9,971 9,245 23 703 147,774 15,471 6,147 144 9,180 163,245

94 32 9 38 20 3 3 2 9 12 9,112 8,897 23 192 212,820 22,164 18,672 156 3,336 234,985

99 39 11 39 22 2 2 2 10 12 10,263 9,724 47 492 234,871 12,094 7,204 172 4,718 246,965

21,481 18,150 3,331 1,341 1,161 178,566 178,566

19,669 18,085 1,584 1,208 973 166,450 166,450

21,795 19,695 2,100 1,391 1,385 158,439 158,439

17,382 15,344 2,038 1,370 1,197 164,724 8,591 156,133

22,987 16,045 6,942 1,243 956 156,840 7,799 149,041

32,989 19,914 13,075 1,229 1,205 140,071 8,036 132,035

29,647 18,646 11,001 1,302 1,123 146,218 9,889 136,329

34,977 25,139 9,838 1,271 1,255 286,660 8,062 278,598

25,713 19,044 6,669 1,239 2,559 200,824 7,456 193,368

23,081 20,038 3,043 1,256 1,101 137,806 8,285 129,521

20,937 19,055 1,883 1,308 1,064 211,675 6,668 205,007

20,348 16,932 3,416 1,280 2,199 223,138 31,600 191,538

พ.ค.57 252,501 24,557 99,442 64,478 58,779 4,281 932 31 30,134 5,140 5,397 5,181 5,485 6,866 1,524 36 203 170

มิ.ย.57 180,339 23,623 78,322 15,420 57,491 4,482 964 36 28,003 4,757 5,436 4,510 5,140 6,250 1,395 31 223 157

ก.ค.57 110,035 21,450 21,953 1,574 59,482 4,553 989 33 27,768 5,560 4,420 4,318 5,093 6,542 1,236 45 228 207

ส.ค.57 175,683 20,050 82,924 7,088 60,499 4,173 918 30 28,026 5,380 4,653 4,944 4,954 6,213 1,319 48 211 178

ก.ย.57 194,245 21,038 106,500 1,649 59,049 4,864 1,113 32 30,363 6,099 5,244 5,045 5,333 6,709 1,348 58 203 187


ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาล ฐานขอมูลรายเดือน

กรมสรรพากร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร ภาษีรถยนต ภาษีเครื่องดื่ม ภาษีเครื่องไฟฟา ภาษีรถจักรยานยนต ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีอื่นๆ รายไดอื่นๆ ภาษีสถานบริการ(สนามมา) ภาษีสถานบริการ(สนามกอลฟ) ภาษีผลิตภัณฑเครี่องหอม ภาษีแกวและเครื่องแกว ภาษีพรม ภาษีไพ ภาษีไนทคลับและดิสโกเธค ภาษีสถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด กรมศุลกากร อากรขาเขา อากรขาออก อื่นๆ รวม 3 กรม หนวยงานอื่น สวนราชการอื่น กรมธนารักษ รัฐวิสาหกิจ รวมรายไดจัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 3. เงินกันชดเชยการสงออก รวมรายไดสุทธิ จัดสรรให อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายไดสุทธิหลังหักจัดสรร

หนวย: ลานบาท ปงบประมาณ 2558 ต.ค.57 พ.ย.57 111,775 119,104 21,253 20,851 23,353 34,201 16 669 61,214 58,060 4,692 4,215 1,216 1,078 30 30 33,935 32,589 5,852 5,130 7,272 5,570 5,099 5,803 6,721 7,040 6,755 6,931 1,596 1,451 50 48 233 244 183 195 105 99 68 78 9 8 43 39 24 22 2 2 5 4 2 2 9 10 12 12 8,966 8,614 8,747 8,449 22 19 197 145 154,676 160,307 45,740 24,398 8,614 18,845 162 352 36,963 5,200 200,416 184,705 24,427 21,501 2,927 1,246 1,135 173,608 173,608

19,900 18,100 1,800 1,400 1,100 162,305 162,305

ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง


สัดสวนรายไดตอ GDP (FY) 1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8

ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีการคา ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น ๆ

หนวย: รอยละ

2548 13.54

2.13 4.76 0.60 5.57 0.38 0.10 0.00

2549 13.73

2.21 4.87 0.73 5.43 0.40 0.09 0.00

2550 13.48

2.32 4.63 0.79 5.23 0.41 0.09 0.00

2551 13.95

2.24 5.04 0.81 5.50 0.27 0.08 0.00

2552 12.86

2.24 4.43 1.02 4.88 0.20 0.08 0.00

2553 12.75

2.10 4.58 0.68 5.06 0.23 0.09 0.00

2554 14.21

2.22 5.38 0.76 5.41 0.33 0.10 0.00

2555 14.88

2.45 5.01 0.87 6.07 0.38 0.10 0.00

2556 14.90

2.52 5.00 0.96 5.89 0.41 0.11 0.00

2557 14.34

2.33 4.73 0.85 5.90 0.44 0.10 0.00

2. กรมสรรพสามิต

4.04

3.56

3.46

3.04

3.29

4.09

3.75

3.49

3.66

3.17

3. กรมศุลกากร

1.60

1.25

1.18

1.09

0.91

0.98

0.96

1.09

0.96

0.90

4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น

1.21 0.92

1.00 1.00

1.12 1.45

1.11 0.90

0.98 0.99

0.92 1.45

0.93 1.01

1.13 1.07

0.86 1.34

1.13 1.13

6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก

21.31 2.18

20.54 2.40

20.52 2.43

20.09 2.48

19.03 2.48

20.19 2.35

20.85 2.41

21.68 2.67

21.71 2.67

20.68 2.67

8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.

19.12 0.84 18.28

18.14 0.74 17.40

18.09 0.69 17.40

17.62 0.72 16.90

16.55 0.61 15.94

17.84 0.66 17.18

18.43 0.70 17.74

19.00 0.82 18.18

19.05 0.79 18.25

18.00 0.80 17.20

2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ

3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ

5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ

7.1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก

1.10 0.55 0.41 0.66 0.85 0.15 0.05 0.03 0.01 0.20 0.02 0.01

1.55 0.00 0.05

0.88 0.05

1.90 1.58 0.31 0.11 0.18

0.92 0.46 0.38 0.57 0.78 0.14 0.05 0.03 0.02 0.20 0.02 0.00

1.22 0.00 0.03

0.95 0.04

2.12 1.80 0.32 0.12 0.16

0.93 0.50 0.40 0.63 0.67 0.14 0.04 0.02 0.02 0.09 0.01 0.00

1.06 0.00 0.03

0.97 0.04

2.19 1.81 0.38 0.11 0.13

0.73 0.46 0.40 0.58 0.63 0.14 0.04 0.02 0.02 0.00 0.01 0.00 1.06 0.01 0.02

0.85 0.05

2.22 1.90 0.31 0.13 0.13

1.03 0.50 0.43 0.55 0.56 0.14 0.04 0.02 0.02 0.01 0.01 0.87 0.00 0.03

0.95 0.04

2.25 1.78 0.47 0.10 0.13

1.54 0.54 0.43 0.59 0.78 0.14 0.02 0.02 0.02 0.01 0.00 0.94 0.00 0.03

1.41 0.04

2.10 1.61 0.49 0.11 0.13

1.11 0.54 0.46 0.58 0.87 0.14 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.94 0.00 0.03

0.96 0.04

2.16 1.77 0.39 0.12 0.14

0.56 0.55 0.49 0.60 1.08 0.15 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 1.07 0.00 0.02

1.03 0.04

2.40 1.99 0.41 0.14 0.14

0.54 0.57 0.44 0.58 1.30 0.15 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.93 0.00 0.02

1.29 0.05

2.39 1.93 0.46 0.13 0.14

ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมบัญชีกลาง สํานักงบประมาณ และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จัดทําโดย สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

0.53 0.51 0.54 0.63 0.77 0.14 0.00 0.02 0.02 0.01 0.01 0.88 0.00 0.02

1.08 0.04

2.41 1.87 0.54 0.13 0.13


Revenue Buoyancy (GDP: FY) 1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8

ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีการคา ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น ๆ

หนวย: รอยละ

2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2.25 1.14 0.75 1.38 3.34 0.92 2.63 3.65 1.01 (1.08) 0.95 2.72 3.05 2.32 3.31 (0.01) (0.45)

1.37 1.22 3.31 0.74 1.46 0.59 (0.73)

1.71 0.34 2.08 0.50 1.58 (0.23) (0.78)

2. กรมสรรพสามิต

0.14

(0.17)

3. กรมศุลกากร

0.43

(1.14) (0.74)

4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น

4.50 (0.68) (1.81) 1.80

6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก

1.51 1.42

8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.

1.52 2.36 1.48

2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ

3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ

5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ

7.1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก

(0.07) 0.54 0.98 0.67 (1.01) 0.85 3.15 1.34 (0.01) 1.09 1.36 4.43 0.33 0.70 4.67

2.49 0.83

1.43 1.38 1.68 1.79 1.12

1.02 4.61 (6.99) 4.41 8.68 0.95 3.79

(1.24) 0.00 1.04 0.26 0.35 0.55 0.11 0.04 1.94 (9.69) 0.11 1.46

(11.00) (1.56) (0.98) 2.59 4.58 0.51 5.42 1.19 4.16 3.48 (22.06)

0.98 4.47 0.21

6.32 6.03 (7.76)

0.43 1.32 (2.11) 1.35 2.19 1.38 0.75

1.78 3.49 2.72 1.99 7.37 2.37 1.93

6.87 (2.79) 8.45 7.74 8.31 4.65 16.35

(3.03) 0.95 1.95 0.60 2.69 0.26 (3.54) 2.04 1.70 0.63 0.81

(26.23) 2.58 5.45 3.00 14.24 6.30 (9.46) 0.82 (1.74) 0.54 (1.69)

0.92 5.65 (3.04)

8.90 18.31 (7.07)

(3.54) 2.40

5.07 (2.32)

1.37 0.98 2.27 0.64 2.09 1.55 (2.21)

(3.29) (2.05) (5.34) 1.05 4.75 (4.58) 8.97

(0.31) (1.44)

3.25

(0.20) (2.74)

1.56

0.97

6.01

1.74

0.78

8.51

(0.52) (2.18)

1.48 7.28

1.75 4.52 (3.13) (2.02)

0.47 5.32

1.05 13.19 (3.38) 4.76

(1.93) 18.89 4.04 (7.89)

0.65 1.97

0.99 1.19

0.77 1.20

2.59 0.93

1.56 0.50

1.47 1.40

3.20 6.96

1.02 0.97

(1.64) 1.16

0.49 (0.17) 0.52

0.96 0.06 1.00

0.72 1.34 0.69

2.82 5.49 2.71

1.72 1.83 1.72

1.47 2.71 1.78 10.51 1.46 2.40

1.03 0.62 1.04

(2.03) 1.40 (2.18)

(0.66) (0.59) 0.16 (0.25) 0.16 0.58 (0.45) 0.78 4.84 1.01 0.38 (0.68)

(1.10) 0.93 (2.54)

1.88 0.33

2.15 2.32 1.30 2.05 (0.02)

0.61

0.61 1.94 1.24 1.57 (2.65) 0.81 1.05

1.12 2.21 1.82 2.28 (0.85) 1.15 0.73 (2.19) 2.70 (6.83) 0.15 (3.43)

(0.75) 1.23 (0.97)

1.23 (1.07)

1.48 1.09 3.62 0.48 (2.04)

(0.37) 5.25

1.13 1.57 (0.94) 2.18 1.54

(2.49) 5.70

0.51 2.88 (13.87) 6.89 2.28

5.61 1.78 0.96 1.66 4.69 1.40 (3.98) 1.91 2.62 (0.18) (2.01)

1.75 (4.81) 2.36

5.55 0.10

0.39 0.12 1.41 1.88 1.37

1.35 2.35 (1.94) 1.89 1.84

7.18 7.95 3.69 9.17 1.72

0.45 1.48 (0.18) 0.72 3.48 1.12 0.29 2.95 0.88 1.10 4.11

(6.30)

(0.11) (5.52) 12.41 5.85 (21.35) (3.71) (26.25) (6.46) (5.22) (2.29) 11.66

(0.54) (2.35) 0.89

(2.39) 3.25 6.50

3.99 5.27

(7.86) (8.61)

0.99 0.67 2.55 0.50 1.21

ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมบัญชีกลาง สํานักงบประมาณ และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จัดทําโดย สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

1.45 (0.68) 10.36 (0.13) (2.46)


สัดสวนรายไดตอ GDP (CY)

หนวย: รอยละ

1. กรมสรรพากร

2548 13.21

2549 13.48

2550 13.13

2551 14.05

2552 12.59

2553 12.51

2554 14.38

2555 14.23

2556 14.83

2557 14.10

2. กรมสรรพสามิต

3.94

3.49

3.37

3.06

3.22

4.02

3.79

3.34

3.64

3.12

3. กรมศุลกากร

1.56

1.23

1.16

1.10

0.89

0.96

0.98

1.05

0.95

0.89

4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น

1.18 0.90

0.98 0.98

1.10 1.41

1.12 0.91

0.96 0.97

0.91 1.42

0.94 1.02

1.08 1.03

0.85 1.34

1.11 1.11

6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก

20.79 2.13

20.16 2.35

19.99 2.37

20.24 2.49

18.63 2.43

19.82 2.30

21.10 2.44

20.73 2.56

21.61 2.65

20.33 2.63

8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.

18.66 0.82 17.83

17.81 0.73 17.08

17.62 0.68 16.94

17.74 0.72 17.02

16.20 0.60 15.60

17.52 0.65 16.87

18.66 0.71 17.95

18.17 0.78 17.39

18.96 0.79 18.17

17.70 0.79 16.91

1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8

ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีการคา ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น ๆ

2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ 3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ

5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ

7.1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก

2.08 4.65 0.58 5.44 0.37 0.10 0.00 1.08 0.54 0.40 0.64 0.83 0.14 0.05 0.03 0.01 0.20 0.02 0.01 1.51 0.00 0.05

0.86 0.05

1.85 1.55 0.30 0.11 0.18

2.17 4.78 0.72 5.33 0.39 0.09 0.00 0.90 0.45 0.37 0.56 0.76 0.14 0.04 0.03 0.02 0.20 0.01 0.00 1.19 0.00 0.03

0.94 0.04

2.08 1.76 0.32 0.12 0.16

2.26 4.51 0.77 5.09 0.40 0.08 0.00 0.90 0.49 0.39 0.61 0.66 0.14 0.04 0.02 0.02 0.08 0.01 0.00 1.03 0.00 0.02

0.95 0.04

2.13 1.76 0.37 0.11 0.12

2.26 5.07 0.82 5.54 0.28 0.09 0.00 0.74 0.46 0.41 0.59 0.64 0.14 0.04 0.02 0.02 0.00 0.01 0.00 1.07 0.01 0.02

0.85 0.05

2.23 1.92 0.32 0.13 0.13

2.19 4.34 1.00 4.78 0.20 0.08 0.00 1.01 0.49 0.42 0.54 0.55 0.13 0.03 0.02 0.02 0.00 0.01 0.01 0.85 0.00 0.03

0.93 0.04

2.21 1.75 0.46 0.10 0.12

2.06 4.50 0.67 4.97 0.23 0.09 0.00

1.51 0.53 0.42 0.58 0.76 0.14 0.02 0.02 0.02 0.01 0.00 0.93 0.00 0.03

1.39 0.04

2.07 1.58 0.48 0.11 0.13

2.24 5.45 0.77 5.48 0.34 0.10 0.00

1.12 0.54 0.46 0.58 0.88 0.14 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.95 0.00 0.03

0.97 0.04

2.18 1.79 0.39 0.12 0.14

2.34 4.79 0.83 5.81 0.36 0.10 0.00

0.54 0.53 0.47 0.57 1.03 0.14 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 1.02 0.00 0.02

0.99 0.04

2.29 1.90 0.39 0.13 0.13

2.51 4.98 0.95 5.87 0.41 0.11 0.00

0.53 0.57 0.44 0.58 1.29 0.15 0.01 0.02 0.02 0.01 0.00 0.93 0.00 0.02

1.28 0.05

2.38 1.92 0.46 0.13 0.14

ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมบัญชีกลาง สํานักงบประมาณ และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จัดทําโดย สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

2.29 4.65 0.83 5.80 0.43 0.10 0.00

0.52 0.50 0.53 0.62 0.76 0.14 0.00 0.02 0.02 0.01 0.01 0.86 0.00 0.02

1.06 0.04

2.37 1.84 0.53 0.13 0.13


Revenue Buoyancy (GDP: CY) 1. กรมสรรพากร

2548 2.30

2549 1.21

2550 0.68

2. กรมสรรพสามิต

0.14

(0.18)

0.55

3. กรมศุลกากร

0.43

(1.21) (0.67)

4. รวมรัฐวิสาหกิจ 5. หนวยงานอื่น

4.58 (0.73) (1.85) 1.91 2.54 0.85

2.00 0.35

6. รวมรายไดจัดเก็บ 7. หัก

1.54 1.45

8. รายไดสุทธิกอนจัดสรรให อปท. 9. หักจัดสรรให อปท. 10. รายไดสุทธิหลังจัดสรรให อปท.

1.55 2.41 1.51

1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8

ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดปโตรเลียม ภาษีการคา ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป รายไดอื่น ๆ

2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุรา ฯ 2.4 ภาษีเบียร 2.5 ภาษีรถยนต 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟา 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีโทรคมนาคม 2.11 ภาษีอื่นๆ 2.12 รายไดอื่นๆ

3.1 อากรขาเขา 3.2 อากรขาออก 3.3 รายไดอื่นๆ

5.1 สวนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ

7.1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลคาเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 7.2 จัดสรรรายไดจาก VAT ใหอบจ. 7.3 เงินกันชดเชยสงออก

0.97 2.78 3.11 2.37 3.37 (0.01) (0.45)

(0.08) 0.55 1.00 0.69 (1.03) 0.87 3.21 1.36 (0.01) 1.12 1.38 4.52 0.34 0.71 4.76

1.46 1.41 1.71 1.83 1.15

2555 0.86

2556 1.93

2557 (0.64)

3.35

(0.35) (0.64) (5.30) 1.66 3.41 1.05 4.70 0.46 (6.20) 3.57 2.97 1.11 1.42

(6.18) 0.61 1.28 0.71 3.35 1.48 (2.23) 0.19 (0.41) 0.13 (0.40)

2.97

(3.73)

45.25

1.79

1.37

2.00

(0.99) (1.29)

1.34 6.57

2.73 34.02 (4.88) (15.20) (0.58) 8.20

(18.70) 42.87

0.48 5.47

1.84 (5.91)

3.11 1.12

(3.68) 11.19 7.70 (4.67) 7.61 10.06

(4.65) (5.10)

0.69 2.09

0.89 1.08

1.21 1.88

1.77 2.45 (1.47) 3.41 2.40

19.47 6.99

3.81 21.67 (104.36) 51.88 17.13

1.61 0.51

2.56 2.46

0.75 1.64

1.95 1.86

(0.97) 0.69

0.53 (0.18) 0.56

0.87 0.06 0.90

1.12 2.09 1.08

21.23 41.33 20.37

1.77 1.88 1.77

2.58 3.11 2.56

0.64 2.48 0.57

1.96 1.19 1.99

(1.20) 0.83 (1.29)

1.45 1.29 3.52 0.78 1.55 0.63 (0.77)

(0.71) (0.63) 0.17 (0.26) 0.17 0.61 (0.47) 0.82 5.14 1.07 0.40 (0.72)

(1.17) 0.99 (2.70)

2.28 2.46 1.38 2.18 (0.02)

1.54 0.31 1.88 0.46 1.42 (0.21) (0.70)

1.01 1.99 1.64 2.06 (0.76) 1.04 0.66 (1.98) 2.43 (6.16) 0.14 (3.09)

(0.67) 1.11 (0.87)

1.11 (0.96)

1.33 0.99 3.27 0.43 (1.84)

2551 2.15

2552 25.15

2553 0.94

(0.48) (10.83) (1.94) 0.00 1.62 0.41 0.54 0.86 0.18 0.07 3.03 0.17 2.27

(82.79) (11.74) (7.39) 19.52 34.48 3.85 40.78 8.98 31.29 233.34 26.18 (166.01)

1.52

0.96 3.04 1.94 2.45 (4.14) 1.26 1.63

1.53 6.98 0.33

7.69 34.69 (52.57) 33.22 65.30 7.12 28.51

47.55 45.41 (58.40)

0.44 1.35 (2.17) 1.39 2.25 1.42 0.77 5.77 1.83 0.99 1.71 4.82 1.44 (4.09) 1.96 2.70 (8.50) (0.19) (2.07)

1.80 (4.95) 2.43

5.71 0.10

0.40 0.12 1.45 1.93 1.41

2554 4.61

หนวย: รอยละ

3.12 6.10 4.75 3.49 12.90 4.16 3.37

1.60 9.89 (5.32)

(6.19) 4.21

2.37 4.12 (3.40) 3.31 3.23

1.62 (0.66) 1.99 1.82 1.96 1.10 3.85

2.10 4.31 (1.67)

1.20 (0.55)

1.69 1.87 0.87 2.16 0.40

2.62 1.87 4.33 1.23 3.98 2.95 (4.23)

(1.95) (1.22) (3.16) 0.62 2.82 (2.71) 5.31

0.86 (0.07) 2.82 (3.27) (0.34) 7.35 1.38 3.47 6.65 (12.65) 2.13 (2.20) 0.56 (15.55) 5.63 (3.83) 1.67 (3.09) - #DIV/0! 2.10 (1.36) 7.85 6.91

(1.04) (4.49) 1.70

1.88 1.27 4.86 0.95 2.31

ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมบัญชีกลาง สํานักงบประมาณ และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จัดทําโดย สวนนโยบายรายได สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

(1.42) 1.93 3.85

0.86 (0.40) 6.14 (0.08) (1.46)


โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2558 ปงบประมาณ

หนวย : ลานบาท

2532

2533

2534

2535

2536

285,500.0

335,000.0

387,500.0

460,400.0

560,000.0

(สัดสวนตอ GDP) (%)

16.9

16.7

16.1

17.6

17.9

(อัตราเพิ่ม) (%)

17.2

17.3

15.7

18.8

21.6

210,571.8

227,541.2

261,932.2

301,818.2

351,060.8

(สัดสวนตอ GDP) (%)

12.5

11.3

10.9

11.5

11.2

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

73.8

67.9

67.6

65.6

62.7

(อัตราเพิม่ ) (%)

13.3

8.1

15.1

15.2

16.3

53,592.4

82,043.2

105,647.6

130,652.6

171,606.7

3.2

4.1

4.4

5.0

5.5

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

18.8

24.5

27.3

28.4

30.6

(อัตราเพิม่ ) (%)

32.9

53.1

28.8

23.7

31.3

21,335.8

25,415.6

19,920.2

27,929.2

37,332.5

7.5

7.6

5.1

6.1

6.7

22.9

19.1

(21.6)

40.2

33.7

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

262,500.0

310,000.0

387,500.0

460,400.0

534,400.0

15.5

15.5

16.1

17.6

17.1

9.4

18.1

25.0

18.8

16.1

(23,000.0)

(25,000.0)

0.0

0.0

(25,600.0)

(1.4)

(1.2)

0.0

0.0

(0.8)

1,690,500.0

2,005,254.0

2,400,000.0

2,620,000.0

3,130,000.0

1. วงเงินงบประมาณ

1.1 รายจายประจํา

1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)

1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ (GDP) (%)

ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2539 - 2558 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ 2533 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 1,507.5 ลานบาท


โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2558 ปงบประมาณ

หนวย : ลานบาท

2537

2538

2539

2540

2541

625,000.0

715,000.0

843,200.0

944,000.0

830,000.0

(สัดสวนตอ GDP) (%)

17.9

17.4

18.0

18.1

16.4

(อัตราเพิ่ม) (%)

11.6

14.4

17.9

12.0

(10.3)

376,382.3

434,383.3

482,368.2

528,293.4

519,505.8

(สัดสวนตอ GDP) (%)

10.8

10.6

10.3

10.1

10.2

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

60.2

60.8

57.2

56.0

62.6

7.2

15.4

11.0

9.5

(0.2)

212,975.6

253,839.8

327,288.6

391,209.7

279,258.1

6.1

6.2

7.0

7.5

5.5

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

34.1

35.5

38.8

41.4

33.6

(อัตราเพิม่ ) (%)

24.1

19.2

28.9

19.5

(26.5)

35,642.1

26,776.9

33,543.2

24,496.9

31,236.1

5.7

3.7

4.0

2.6

3.8

(4.5)

(24.9)

25.3

(27.0)

27.5

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

600,000.0

715,000.0

843,200.0

925,000.0

782,020.0

(สัดสวนตอ GDP) (%)

17.1

17.4

18.0

17.8

15.4

(อัตราเพิ่ม) (%)

12.3

19.2

17.9

9.7

(15.5)

(25,000.0)

0.0

0.0

(19,000.0)

(47,980.0)

(0.7)

0.0

0.0

(0.4)

(0.9)

3,499,000.0

4,099,000.0

4,684,000.0

5,205,500.0

5,073,000.0

1. วงเงินงบประมาณ

1.1 รายจายประจํา

(อัตราเพิม่ ) (%) 1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)

1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได

3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ (GDP) (%)

ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2539 - 2558 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ พ.ศ. 2540 เปนตัวเลขที่ปรับลดจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใชจํานวน 984,000 ลานบาท 2. ปงบประมาณ พ.ศ. 2541 เปนตัวเลขที่ปรับลดและปรับเพิ่มจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใชจํานวน 923,000 ลานบาท


โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2558 ปงบประมาณ

หนวย : ลานบาท

2542

2543

2544

825,000.0

860,000.0

910,000.0

1,023,000.0

999,900.0

16.5

16.7

17.5

19.3

17.2

3.1

4.2

5.8

12.4

(2.3)

586,115.1

635,585.1

679,286.5

773,714.1

753,454.7

(สัดสวนตอ GDP) (%)

11.7

12.4

13.0

14.6

13.0

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

71.0

73.9

74.6

75.6

75.4

(อัตราเพิม่ ) (%)

14.4

8.4

6.9

13.9

(2.6)

233,534.7

217,097.6

218,578.2

223,617.0

211,493.5

4.7

4.2

4.2

4.2

3.6

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

28.3

25.2

24.0

21.9

21.2

(อัตราเพิม่ ) (%)

(8.9)

(7.0)

0.7

2.3

(5.4)

5,350.2

7,317.3

12,135.3

25,668.9

34,951.8

0.6

0.9

1.3

2.5

3.5

(82.9)

36.8

65.8

111.5

36.2

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

800,000.0

750,000.0

805,000.0

823,000.0

825,000.0

16.0

14.6

15.5

15.5

14.2

2.3

(6.3)

7.3

2.2

0.2

(25,000.0)

(110,000.0)

(105,000.0)

(200,000.0)

(174,900.0)

(0.5)

(2.1)

(2.0)

(3.8)

(3.0)

5,002,000.0

5,137,000.0

5,208,600.0

5,309,200.0

5,799,700.0

1. วงเงินงบประมาณ (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.1 รายจายประจํา

1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)

1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ

2545

(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2539 - 2558 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

2546


โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2558 ปงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ

2547

2548

2549

หนวย : ลานบาท

2550

2551

2552

1,163,500.0 1,250,000.0 1,360,000.0 1,566,200.0 1,660,000.0 1,951,700.0

(สัดสวนตอ GDP) (%)

18.0

17.4

17.5

18.6

18.0

22.4

(อัตราเพิ่ม) (%)

16.4

7.4

8.8

15.2

6.0

17.6

836,544.4

881,251.7

(สัดสวนตอ GDP) (%)

12.9

12.2

12.3

13.5

13.1

16.2

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

71.9

70.5

70.5

72.5

73.1

72.3

(อัตราเพิม่ ) (%)

11.0

5.3

8.8

18.5

6.9

16.3

292,800.2

318,672.0

358,335.8

374,721.4

400,483.9

429,961.8

4.5

4.4

4.6

4.5

4.3

4.9

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

25.2

25.5

26.3

23.9

24.1

22.0

(อัตราเพิม่ ) (%)

38.4

8.8

12.4

4.6

6.9

7.4

34,155.4

50,076.3

43,187.2

55,490.5

45,527.0

63,676.1

2.9

4.0

3.2

3.5

2.8

3.3

(2.3)

46.6

(13.8)

28.5

(18.0)

39.9

-

-

-

-

-

46,679.7

-

-

-

-

-

2.4

1.1 รายจายประจํา

1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%)

1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได

958,477.0 1,135,988.1 1,213,989.1 1,411,382.4

1,063,600.0 1,250,000.0 1,360,000.0 1,420,000.0 1,495,000.0 1,604,639.5

(สัดสวนตอ GDP) (%)

16.4

17.4

17.5

16.9

16.2

18.4

(อัตราเพิ่ม) (%)

28.9

17.5

8.8

4.4

5.3

7.3

(99,900.0)

0.0

0.0 (146,200.0) (165,000.0) (347,060.5)

(1.5)

0.0

0.0

3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ

(1.7)

(1.8)

(4.0)

6,476,100.0 7,195,000.0 7,786,200.0 8,399,000.0 9,232,200.0 8,712,500.0

(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2539 - 2557 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ 2547 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 135,500 ลานบาท 2. ปงบประมาณ 2548 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิม่ เติม จํานวน 50,000 ลานบาท


โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2532 - 2558 ปงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 1.1 รายจายประจํา

2553

2554

1,700,000.0

2555

2,169,967.5 2,380,000.0

หนวย : ลานบาท

2556

2557

2558

2,400,000.0

2,525,000.0

2,575,000.0

17.0

20.6

20.7

20.1

20.3

19.5

(12.9)

27.6

9.7

0.8

5.2

2.0

1,667,439.7 1,840,672.6 1,900,476.7

2,017,625.8

2,027,858.8

1,434,710.1

(สัดสวนตอ GDP) (%)

14.3

15.8

16.0

15.9

16.2

15.4

(สัดสวนตองบประมาณ) (%)

84.4

76.8

77.4

79.2

79.9

78.8

1.7

16.2

10.4

3.2

6.2

0.5

214,369.0

355,484.6

438,555.4

450,373.8

441,128.6

449,475.8

2.1

3.4

3.8

3.8

3.6

3.4

12.6

16.4

18.4

18.7

17.5

17.5

(50.1)

65.8

23.4

2.7

(2.1)

1.9

50,920.9

32,554.6

46,854.0

49,149.5

52,821.9

55,700.0

3.0

1.5

2.0

2.1

2.1

2.2

(20.0)

(36.1)

43.9

4.9

7.5

5.4

-

114,488.6

53,918.0

-

13,423.7

41,965.4

-

5.3

2.2

-

0.5

1.6

1,770,000.0 1,980,000.0 2,100,000.0

2,275,000.0

2,325,000.0

(อัตราเพิม่ ) (%) 1.2 รายจายลงทุน (สัดสวนตอ GDP) (%) (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.3 รายจายชําระตนเงินกู (สัดสวนตองบประมาณ) (%) (อัตราเพิม่ ) (%) 1.4 รายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง (สัดสวนตองบประมาณ) (%) 2. ประมาณการรายได (สัดสวนตอ GDP) (%) (อัตราเพิ่ม) (%) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดสวนตอ GDP) (%) 4. ผลิตภัณฑรวมของประเทศ

1,350,000.0

13.5

16.8

17.2

17.6

18.3

17.6

(15.9)

3.8

11.9

6.1

8.3

2.2

(400,000) (400,000.0) (300,000.0)

(250,000.0)

(250,000.0)

(2.0)

(1.9)

(350,000.0) (3.5)

(3.8)

(3.5)

(2.5)

10,000,900.0 10,539,400.0 11,478,600.0 11,922,000.0 12,424,000.0 13,201,000.0

(GDP) (%) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ 2532 - 2558 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปงบประมาณ 2552 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 116,700 ลานบาท และเปนปแรกที่มีการตั้ง งบประมาณรายจายเพื่อชดใชเงินคงคลัง จํานวน 46,679.7 ลานบาท 2. ปงบประมาณ 2554 ไดมีการจัดทํางบประมาณรายจายเพิ่มเติม จํานวน 99,967.5 ลานบาท 3. GDP ที่ใชเปน GDP ที่ปรับตามงบประมาณโดยสังเขป


ผลการเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2558

1. วงเงินงบประมาณรวม (1.1+1.2) 1.1 วงเงินงบประมาณปปจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจายประจํา - วงเงินงบประมาณรายจายลงทุน 1.2 วงเงินงบประมาณปกอน 2. การเบิกจายงบประมาณ (2.1+2.2) 2.1 รายจายปปจจุบัน (รอยละตอวงเงินงบประมาณ) - รายจายประจํา (รอยละตอวงเงินรายจายประจํา) - รายจายลงทุน (รอยละตอวงเงินรายจายลงทุน) 2.2 รายจายจากปกอน (รอยละตอวงเงินงบประมาณปกอน) 2. รายจายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจายปปจจุบันสะสม - รายจายประจําสะสม - รายจายลงทุนสะสม 2.2 รายจายจากปกอนสะสม

ต.ค. 57 2,754,737 2,575,000 2,130,645 444,355 179,737 367,598 344,801 13.4 329,977 15.5 14,824 3.3 22,797 12.7 367,598 344,801 329,977 14,824 22,797

ที่มา : กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่ : 17 ธันวาคม 2557

พ.ย. 57 2,894,596 2,575,000 2,130,590 444,410 319,596 205,758 180,660 7.0 171,898 8.1 8,762 2.0 25,098 7.9 573,356 525,461 501,875 23,586 47,895

ธ.ค. 57

ม.ค. 58

ก.พ. 58

มี.ค. 58

ปงบประมาณ 2557 เม.ย. 58 พ.ค. 58

หนวย : ลานบาท มิ.ย. 58

ก.ค. 58

ส.ค. 58

ก.ย. 58

รวม


ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปงบประมาณ 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financing) 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังตนป (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายป (Closing Treasury Reserve)

2548 1,264,928 1,244,063 1,139,775 104,288 20,865 (73,009) (52,144) 0 (52,144) 153,242 101,098

2549 1,339,691 1,395,283 1,270,739 124,544 (55,592) 92,921 37,329 0 37,329 101,098 138,427

2550 1,444,718 1,574,967 1,470,839 104,127 (130,249) (11,674) (141,923) 146,200 4,277 138,427 142,704

หนวย: ลานบาท 2551 2552 1,545,837 1,409,653 1,633,404 1,917,129 1,532,479 1,790,862 100,925 126,266 (87,568) (507,476) 8,888 131,198 (78,680) (376,278) 165,000 441,061 86,320 64,783 142,704 229,024 229,024 293,807 หนวย: ลานบาท

ปงบประมาณ 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financing) 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing) 8. เงินคงคลังตนป (Opening Treasury Reserve) 9. เงินคงคลังปลายป (Closing Treasury Reserve) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผูรับผิดชอบขอมูล: ศุทธธี เกตุทัต ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที:่ 29 ตุลาคม 2557

2553 1,708,625 1,784,413 1,627,875 156,538 (75,788) (21,568) (97,356) 232,575 135,220 293,807 429,026

2554 1,892,047 2,177,895 2,050,540 127,355 (285,848) 177,449 (108,399) 200,666 92,267 429,026 521,294

2555 1,977,670 2,295,327 2,148,475 146,852 (317,657) 13,549 (304,108) 344,084 39,976 521,294 561,270

2556

2557

2,163,469 2,070,018 2,402,481 2,459,990 2,171,459 2,246,306 231,022 213,684 (239,011) (389,972) 845 30,666 (238,167) (359,306) 281,949 250,000 43,782 (109,306) 561,270 605,052 605,052 495,746


สัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ�น ปีงบประมาณ 2540-2543

ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที� อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที�รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

ปี 2540 จํานวนเงิน สัดส่วน 93,879 100.00 16,986 18.09 47,386 50.48 29,508

31.43

843,576

ปี 2541 จํานวนเงิน สัดส่วน 96,056 100.00 16,759 17.45 48,667 50.67

30,630

31.89

733,462 11.13

ที�มา : กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ�นและสํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที� 27 มีนาคม 2556

หน่วย : ล้านบาท ปี 2542 ปี 2543 จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน 100,805 100.00 94,721 100.00 17,808 17.67 17,404 18.37 44,870 44.51 45,096 47.61

38,127

37.82

709,111 13.10

32,222

34.02

749,949 14.22

12.63


เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ�น ปีงบประมาณ 2544-2550

ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที� อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที�รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ�มที�รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุนและการถ่ายโอนงาน1/ 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

ปี 2544 ปี 2545 ปี 2546 ปี 2547 ปี 2548 จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน 159,753 100.00 175,850 100.00 184,066 100.00 241,948 100.00 293,750 100.00 17,702 11.08 21,084 11.99 22,258 12.09 24,786 10.24 27,019 9.20 55,652 34.84 58,144 33.07 60,218 32.72 82,623 34.15 102,520 34.90 12,669 7.93 19,349 11.00 35,504 19.29 43,100 17.82 49,000 16.68 73,730 772,574

46.15 20.68

77,273 803,651

43.94 21.88

66,086 829,496

35.90 22.19

91,438 1,063,600

37.79

115,211 1,250,000

22.75

หมายเหตุ : 1/ ในปีงบประมาณ 2544 และ 2545 มีงบประมาณการถ่ายโอนงานซึ�งตั�งอยู่ที�ส่วนราชการที�ถ่ายโอนงานให้ อปท. แต่นับรวมในสัดส่วนรายได้ของ อปท. เป็นจํานวน 32,339.60 ล้านบาท และ 27,061.80 ล้านบาท ตามลําดับ

39.22 23.50

หน่วย : ล้านบาท ปี 2549 ปี 2550 จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน 327,113 100.00 357,424 100.00 29,110 8.90 32,021 8.96 110,190 33.69 120,729 33.78 61,800 18.89 65,300 18.27 126,013 1,360,000

38.52 24.05

139,374 1,420,000

38.99 25.17


เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ�น ปีงบประมาณ 2551-2558

ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที� อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที�รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ�มที�รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

หน่วย : ล้านบาท ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน 376,740 100.00 414,382 100.00 340,995 100.00 431,305 100.00 529,979 100.00 572,670 100.00 622,625 100.00 646,344 100.00 35,224 9.35 38,746 9.35 29,110 8.54 38,746 8.98 46,530 8.78 50,282 8.78 56,306 9.04 61,458 9.51 128,676 34.16 140,679 33.95 126,590 37.12 148,109 34.34 175,457 33.11 187,988 32.83 203,819 32.74 218,222 33.76 65,000 17.25 71,900 17.35 45,400 13.31 70,500 16.35 86,900 16.40 97,900 17.10 109,000 17.51 109,000 16.86 147,840 1,495,000

39.24 25.20

163,057 1,604,640

39.35 25.82

139,895 1,350,000

41.03 25.26

173,950 2/ 1,650,000

40.33 26.14

221,092 1,980,000

41.72 26.77

หมายเหตุ : 2/เป็นตัวเลขก่อนการจัดทํางบประมาณรายจ่ายของรัฐบาลเพิ�มเติมระหว่างปี 99,967.5 ล้านบาท ซึ�งได้จัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เพิ�มเติม 5,957 .4 ล้านบาท ทั�งนี� เงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เมื�อรวมกับที�ได้รับการจัดสรรเพิ�มเติมระหว่างปีแล้ว เท่ากับ 179,907.4 ล้านบาท ที�มา : สํานักงานคณะกรรมการการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ�นและสํานักงบประมาณ รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที� 21 ตุลาคม 2557

236,500 2,100,000

41.30 27.27

253,500 2,275,000

40.71 27.37

257,664 2,325,000

39.86 27.80


ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) CONSOLIDATED CENTRAL GOVERNMENT GFS 2001 FRAMEWORK: MONTHLY DATA 1. Budgetary Account: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 2. Extrabudgetary Accounts: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 3. Social Security Funds: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 4. Elimination of Double Counting: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 5. Consolidated Central Government: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign Notes: 1/ 2/ 3/ 4/ 5/

6/ 7/

Oct-10 1/ 2/

3/ 4/

Nov-10

Dec-10

Jan-11

Feb-11

2011 Mar-11 Apr-11

May-11

Jun-11

Jul-11

Aug-11

Sep-11

127,558 215,246 N.A. N.A. N.A. 0 -98,630 -10,942 -11,315 374

150,411 231,664 N.A. N.A. N.A. 0 -63,043 18,210 19,793 -1,584

128,297 180,968 N.A. N.A. N.A. 0 57,675 110,346 108,946 1,400

143,087 254,683 N.A. N.A. N.A. 0 -125,806 -14,210 -15,470 1,261

140,317 163,038 N.A. N.A. N.A. 0 -14,409 8,312 9,427 -1,115

132,646 180,458 N.A. N.A. N.A. 0 -41,167 6,645 7,857 -1,211

148,174 154,705 N.A. N.A. N.A. 0 4,924 11,455 11,073 381

365,847 215,433 N.A. N.A. N.A. 0 175,530 25,116 33,658 -8,542

120,066 164,961 N.A. N.A. N.A. 0 -56,586 -11,691 -11,362 -329

113,224 158,103 N.A. N.A. N.A. 0 -26,198 18,681 18,934 -253

312,110 155,299 N.A. N.A. N.A. 0 153,248 -3,563 -1,247 -2,317

132,483 226,112 N.A. N.A. N.A. 0 80,811 174,440 172,775 1,665

32,991 17,300 16,855 445 16,136 15,691 14,838 -853 -853 0

15,934 12,263 12,316 -53 3,618 3,670 -404 -4,074 -4,074 0

23,525 11,707 11,519 188 12,006 11,818 8,576 -3,242 -3,242 0

28,089 11,063 11,045 18 17,044 17,026 14,315 -2,711 -2,711 0

9,876 13,436 13,496 -60 -3,620 -3,560 -4,414 -855 -855 0

15,494 24,463 24,604 -141 -9,111 -8,970 -8,700 270 270 0

23,568 8,601 8,858 -257 14,710 14,967 13,717 -1,250 -1,250 0

10,388 21,450 20,147 1,303 -9,759 -11,062 -10,916 143 143 0

13,111 33,140 32,959 181 -19,848 -20,028 -20,871 -843 -843 0

23,058 9,646 9,569 76 13,489 13,412 13,517 104 104 0

13,111 9,295 9,320 -25 3,790 3,816 1,610 -2,206 -2,206 0

12,177 21,959 22,512 -553 -10,334 -9,782 -8,062 1,719 1,719 0

12,184 3,170 3,170 0 9,014 9,014 6,169 -2,844 -2,844 0

12,531 5,495 5,495 0 7,036 7,036 8,255 1,219 1,219 0

21,814 85,491 85,491 0 -63,677 -63,677 16,693 80,371 80,371 0

5,113 3,721 3,721 0 1,392 1,392 1,791 400 400 0

12,410 2,997 2,997 0 9,413 9,413 8,310 -1,104 -1,104 0

13,046 3,375 3,375 0 9,671 9,671 12,278 2,607 2,607 0

13,721 3,263 3,263 0 10,458 10,458 10,920 461 461 0

13,024 4,852 4,852 0 8,172 8,172 5,715 -2,457 -2,457 0

13,152 3,544 3,544 0 9,608 9,608 7,042 -2,566 -2,566 0

12,984 3,408 3,408 0 9,576 9,576 9,506 -70 -70 0

14,411 5,475 5,475 0 8,936 8,936 14,187 5,252 5,252 0

13,790 3,613 3,613 0 10,177 10,177 5,525 -4,651 -4,651 0

30,113 30,113 30,113 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

11,458 11,458 11,458 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

18,951 18,951 18,951 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

24,946 24,946 24,946 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

6,236 6,236 6,236 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

11,196 11,196 11,196 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

20,584 20,584 20,584 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

5,893 5,893 5,893 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

7,869 7,869 7,869 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

17,447 17,447 17,447 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

6,767 6,767 6,767 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

7,696 7,696 7,696 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

142,620 205,604 N.A. N.A. N.A. -62,984 -77,623 -14,640 -15,013 374

167,418 237,964 N.A. N.A. N.A. -70,546 -55,192 15,354 16,938 -1,584

154,685 259,216 N.A. N.A. N.A. -104,531 82,944 187,475 186,075 1,400

151,343 244,521 N.A. N.A. N.A. -93,178 -109,700 -16,521 -17,782 1,261

156,368 173,234 N.A. N.A. N.A. -16,867 -10,513 6,353 7,468 -1,115

149,989 197,101 N.A. N.A. N.A. -47,112 -37,589 9,522 10,733 -1,211

164,880 145,985 N.A. N.A. N.A. 18,895 29,561 10,666 10,285 381

383,365 235,842 N.A. N.A. N.A. 147,524 170,329 22,803 31,345 -8,542

138,460 193,776 N.A. N.A. N.A. -55,316 -70,415 -15,099 -14,771 -329

131,820 153,710 N.A. N.A. N.A. -21,890 -3,175 18,715 18,968 -253

332,864 163,302 N.A. N.A. N.A. 169,562 169,045 -518 1,799 -2,317

150,755 243,989 N.A. N.A. N.A. -93,234 78,274 171,508 169,843 1,665

5/ 2/

3/ 4/

6/ 2/

3/ 4/

7/ 2/

3/ 4/

1/ 2/

3/ 4/

Receipts from premium on issue of government bonds, repayments of lending (Tier1) and proceeds from sales of shares/equity (privatization) have been reclassified to lending minus repayments and financing. The GFS 2001 concept of expenditure is different from the traditional concept which did not take the disposal of nonfinancial assets into account. Represent the net change in the unit's net worth due to transactions cash transactions, and is equal to "current expenditure" plus "capital transfers". Net lending/borrowing is the overall borrowing requirement and is equal to the traditional "deficit/surplus" excluding "lending minus repayments". The following are included as "extrabudgetary funds": 12 extrabudgetary funds (National Health Security Fund, Oil Fund, Thailand Village Fund Energy Saving Fund, Coin Production Fund, Sugarcane Fund, Science and Technology Development Fund, Thai Health Promotion Fund, Tollway Fund, Student Loan Fund, SMEs Fund) Oil Fund data has been recorded as accrual basis since Jan, 04 Social security fund and Employment Contribution Fund. Elimination of transactions between the budget account, extrabudgetary funds and social security funds included in the data. Source : GFMIS , Bank of Thailand , Public Debt Management office , Extrabudgetary fund and FPO Last update Noverber 28, 2014


ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) CONSOLIDATED CENTRAL GOVERNMENT GFS 2001 FRAMEWORK: MONTHLY DATA 1. Budgetary Account: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 2. Extrabudgetary Accounts: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 3. Social Security Funds: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 4. Elimination of Double Counting: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 5. Consolidated Central Government: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign Notes: 1/ 2/ 3/ 4/ 5/

6/ 7/

Oct-11 1/ 2/

3/ 4/

Nov-11

Dec-11

Jan-12

Feb-12

Mar-12

2012 Apr-12

137,178 151,314 151,681 156,937 272,260 382,616 151,227 261,176 312,330 5,710 11,084 70,286 -14,050 -109,862 -160,649 -19,759 -120,946 -230,935 5,566 -94,735 -117,249 25,325 26,210 113,686 25,375 26,584 113,707 -50 -374 -21

152,704 174,205 148,141 26,065 4,563 -21,502 124,911 146,413 143,710 2,703

May-12

Jun-12

Jul-12

358,355 145,724 139,348 158,308 171,244 192,448 124,719 139,869 157,326 33,589 31,376 35,122 233,635 5,855 - 17,978 200,046 -25520 - 53,101 217,321 18,502 - 24,754 17,275 44,022 28,347 17,275 44,083 28,483 0 -61 136

Aug-12

Sep-12

313,705 178,503 144,743 33,759 168,962 135,202 199,440 64,238 61,480 2,758

170,846 266,240 211,714 54,525 - 40,868 - 95,394 - 54,675 40,719 40,827 108

10,269 13,958 14,084 126 3,815 3,689 3,766 77 77 -

13,137 19,771 20,278 508 7,141 6,634 4,769 1,865 1,865 -

135,833 172,472 151,669 20,803 -15,835 -36,638 -160,724 -124,086 -123,661 -425

142,939 156,349 149,742 6,607 -6,803 -13,410 -11,457 1,953 1,953 0

130,590 179,348 162,576 16,773 -31,986 -48,759 -46,050 2,709 2,730 -21

35,998 20,974 20,842 132 15,155 15,023 13,685 -1,339 -1,339 0

3,252 7,920 7,868 52 -4,616 -4,668 -4,983 -315 -315 0

16,786 17,793 16,674 1,119 112 -1,007 -3,129 -2,123 -2,123 -

7,528 12,248 12,150 98 -4,622 -4,720 -3,765 956 956 -

39,508 12,773 12,591 182 26,917 26,734 29,655 2,921 2,921 -

9,749 19,724 19,679 45 -9,931 -9,975 -9,736 240 240 -

31,146 8,980 9,151 -172 21,995 22,166 30,264 8,098 8,098 -

7,982 26,856 26,440 416 -18,458 -18,874 -19,826 -952 -952 -

8,979 27,810 27,632 178 -18,653 -18,831 -18,440 392 392 -

33,269 23,023 23,066 43 10,203 10,246 4,982 5,264 5,264 -

12,736 3,423 3,423 0 9,313 9,313 7,676 -1,637 -1,637 0

13,474 6,069 6,069 0 7,405 7,405 10,596 3,190 3,190 0

23,871 91,399 91,399 0 -67,528 -67,528 20,765 88,294 88,294 -

5,418 4,769 4,769 0 649 649 62 -587 -587 -

10,485 3,826 3,826 0 6,660 6,660 10,702 4,043 4,043 -

13,046 3,375 3,375 0 9,671 9,671 12,278 2,607 2,607 -

13,721 3,263 3,263 0 10,458 10,458 10,920 461 461 -

13,024 4,852 4,852 0 8,172 8,172 5,715 -2,457 -2,457 -

13,152 3,544 3,544 0 9,608 9,608 7,042 -2,566 -2,566 -

12,984 3,408 3,408 9,576 9,576 9,506 70 70 -

36,057 36,057 36,057 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

2,491 2,491 2,491 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

13,928 13,928 13,928 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

5,199 5,199 5,199 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

36,695 36,695 36,695 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

5,201 5,201 5,201 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

28,037 28,037 28,037 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,461 3,461 3,461 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,106 3,106 3,106 0 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

24,355 24,355 24,355 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,368 3,368 3,368 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

8,645 8,645 8,645 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

157,174 157,319 167,847 274,613 161,187 256,722 6,660 17,891 -4,013 -99,403 -10,673 -117,294 -5,845 -28,414 4,828 88,880 4,828 88,901 0 -21

144,925 168,755 162,947 5,808 -18,022 -23,830 1,863 25,694 25,743 -50

164,613 169,275 252,164 400,514 240,898 330,184 11,266 70,331 -76,285 -160,909 -87,551 -231,240 -54,377 -114,707 33,174 116,532 33,548 116,553 -374 -21

169,534 158,411 132,518 25,893 37,016 11,123 166,095 154,972 152,269 2,703

375,899 186,556 152,551 34,005 223,348 189,344 203,211 13,867 13,867 0

164,748 161,246 199,492 194,525 167,938 159,446 31,554 35,079 -3,190 1,801 -34,744 - 33,278 7,104 - 10,266 41,848 23,012 41,909 23,148 -61 136

335,017 194,568 160,935 33,633 174,082 140,449 209,862 69,413 66,655 2,758

189,259 281,003 226,985 54,018 - 37,726 - 91,744 - 53,812 37,932 38,040 108

5/ 2/

3/ 4/

-

-

6/ 2/

3/ 4/

14,411 13,921 5,475 3,637 5,475 3,637 8,936 10,284 8,936 10,284 14,187 5,632 5,252 - 4,651 5,252 - 4,651 -

7/ 2/

3/ 4/

1/ 2/

3/ 4/

148,510 160,812 139,877 20,935 8,633 -12,302 -139,363 -127,061 -126,636 -425

Receipts from premium on issue of government bonds, repayments of lending (Tier1) and proceeds from sales of shares/equity (privatization) have been reclassified to lending minus repayments and financing. The GFS 2001 concept of expenditure is different from the traditional concept which did not take the disposal of nonfinancial assets into account. Represent the net change in the unit's net worth due to transactions cash transactions, and is equal to "current expenditure" plus "capital transfers". Net lending/borrowing is the overall borrowing requirement and is equal to the traditional "deficit/surplus" excluding "lending minus repayments". The following are included as "extrabudgetary funds": 12 extrabudgetary funds (National Health Security Fund, Oil Fund, Thailand Village Fund Energy Saving Fund, Coin Production Fund, Sugarcane Fund, Science and Technology Development Fund, Thai Health Promotion Fund, Tollway Fund, Student Loan Fund, SMEs Fund) Oil Fund data has been recorded as accrual basis since Jan, 04 Social security fund and Employment Contribution Fund. Elimination of transactions between the budget account, extrabudgetary funds and social security funds included in the data. Source : GFMIS , Bank of Thailand , Public Debt Management office , Extrabudgetary fund and FPO Last update Noverber 28, 2014


ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) CONSOLIDATED CENTRAL GOVERNMENT GFS 2001 FRAMEWORK: MONTHLY DATA 1. Budgetary Account: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 2. Extrabudgetary Accounts: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 3. Social Security Funds: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 4. Elimination of Double Counting: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 5. Consolidated Central Government: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign Notes: 1/ 2/ 3/ 4/ 5/

6/ 7/

Oct-12 1/ 2/

3/ 4/ -

Nov-12

Dec-12

151,131 178,048 303,171 299,983 290,248 282,165 12,923 17,818 139,117 - 104,117 152,040 - 121,935 264,604 - 64,939 112,564 56,995 119,982 43,218 7,419 13,776

Jan-13

190,356 170,685 180,969 216,084 161,525 200,919 19,443 15,165 28,830 - 30,233 9,387 - 45,399 66,192 - 33,520 56,806 11,879 43,430 438 13,376 11,441

Feb-13 162,053 157,464 144,245 13,218 17,808 4,589 27,206 22,615 10,593 12,022

2013 Mar-13 Apr-13 155,860 233,946 214,161 19,785 - 58,301 - 78,086 - 70,322 7,766 - 28,046 35,812

167,931 228,748 212,653 16,095 - 44,722 - 60,818 - 34,488 26,328 - 21,738 48,066

May-13

Jun-13

341,096 196,805 150,905 185,767 136,438 164,060 14,467 21,707 204,658 32,744 190,191 11,037 209,633 59,623 19,444 48,585 19,336 48,787 108 202

Jul-13

Aug-13

Sep-13

154,873 228,029 237,219 183,319 162,847 260,815 160,854 144,267 223,090 22,465 18,580 37,725 - 5,981 83,763 14,130 - 28,447 65,182 - 23,596 - 56,865 101,969 68,600 - 28,416 36,784 92,195 - 17,266 59,875 62,913 - 11,150 - 23,091 29,282

5/ 58,088 29,607 30,115 507 3/ 27,973 4/ 28,480 38,363 9,882 9,882 6/ 15,475 2/ 3,960 3,960 3/ 11,515 4/ 11,515 20,555 9,040 9,040 7/ 49,100 2/ 49,100 49,100 N.A. 3/ N.A. 4/ N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. 2/

74,517 16,614 16,590 24 57,926 57,903 54,716 3,187 3,187 -

-

14,011 30,254 30,459 205 16,448 16,243 18,355 2,111 2,111 -

14,102 22,139 4,358 98,300 4,358 98,300 9,743 - 76,161 9,743 - 76,161 4,903 15,715 4,840 91,876 4,840 91,876 63,632 63,632 63,632 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,387 3,387 3,387 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

56,170 12,812 30,906 41,661 20,073 23,030 28,651 19,200 14,787 29,957 13,409 15,366 29,879 17,149 18,979 14,293 30,391 13,594 14,974 29,961 17,048 221 494 434 185 393 81 100 37,191 - 1,481 515 28,067 5,100 - 6,930 11,602 36,970 - 1,975 949 28,252 4,707 - 6,849 11,502 38,889 404 8,761 13,912 2,361 16,643 617 1,919 2,379 7,813 - 14,340 - 2,346 23,492 - 12,119 1,919 2,379 7,813 - 14,340 - 2,346 23,492 - 12,119 6,440 5,806 5,806 634 634 3,703 3,069 3,069 -

14,616 14,540 3,888 3,654 3,888 3,654 10,728 10,886 10,728 10,886 20,096 6,721 9,368 - 4,166 9,368 - 4,166 -

17,464 14,688 4,318 3,840 4,318 3,840 13,146 10,848 13,146 10,848 18,880 3,810 5,734 - 7,037 5,734 - 7,037 -

43,216 43,216 43,216 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,135 3,135 3,135 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

19,471 19,471 19,471 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

26,060 26,060 26,060 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,068 3,068 3,068 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

175,593 203,034 223,119 190,078 287,638 257,323 306,136 197,873 275,222 239,481 286,897 182,487 12,416 17,842 19,239 15,386 3/ - 99,629 - 36,447 - 63,778 7,591 4/ - 112,045 - 54,289 - 83,017 - 7,795 - 205,687 - 5,320 63,553 9,071 - 93,642 48,968 146,571 16,867 - 101,060 35,191 133,195 5,426 7,419 13,776 13,376 11,441

186,346 173,003 159,291 13,712 27,055 13,343 47,706 34,362 22,340 12,022

181,834 248,085 228,734 19,351 - 46,900 - 66,251 - 54,840 11,413 - 24,399 35,812

200,995 220,415 204,504 15,911 3,509 19,420 1,695 17,723 30,344 48,066

372,788 167,043 152,183 14,860 220,605 205,745 215,804 10,060 9,953 108 -

1/ 2/

-

Receipts from premium on issue of government bonds, repayments of lending (Tier1) and proceeds from sales of shares/equity (privatization) have been reclassified to lending minus repayments and financing. The GFS 2001 concept of expenditure is different from the traditional concept which did not take the disposal of nonfinancial assets into account. Represent the net change in the unit's net worth due to transactions cash transactions, and is equal to "current expenditure" plus "capital transfers". Net lending/borrowing is the overall borrowing requirement and is equal to the traditional "deficit/surplus" excluding "lending minus repayments". The following are included as "extrabudgetary funds": 12 extrabudgetary funds (National Health Security Fund, Oil Fund, Thailand Village Fund Energy Saving Fund, Coin Production Fund, Sugarcane Fund, Science and Technology Development Fund, Thai Health Promotion Fund, Tollway Fund, Student Loan Fund, SMEs Fund) Oil Fund data has been recorded as accrual basis since Jan, 04 Social security fund and Employment Contribution Fund. Elimination of transactions between the budget account, extrabudgetary funds and social security funds included in the data. Source : GFMIS , Bank of Thailand , Public Debt Management office , Extrabudgetary fund and FPO Last update Noverber 28, 2014

15,603 4,164 4,164 11,439 11,439 12,914 1,474 1,474 -

14,903 4,197 4,197

9,104 9,104 9,104 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

15,108 15,108 15,108 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

226,334 210,707 189,081 21,626 37,253 15,627 89,179 73,551 73,753 202

-

-

14,442 15,306 16,943 21,060 16,557 19,417 386 1,642 2,115 - 4,112 2,501 - 5,754 4,478 - 4,238 1,977 1,516 1,977 1,516 15,586 4,135 4,135

15,073 6,898 6,898

10,706 11,451 10,706 11,451 10,131 - 13,465 575 - 24,916 575 - 24,916 -

8,175 8,175 20,823 12,648 12,648 -

183,318 189,556 166,991 22,565 16,327 6,238 47,350 41,110 29,959 11,150 -

2,907 2,907 2,907 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

4,064 4,064 4,064 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

255,151 263,533 181,018 284,708 162,052 245,341 18,966 39,367 93,098 18,193 74,133 - 21,175 84,026 85,185 9,891 106,360 32,982 77,077 23,091 29,282


ดุลการคลังของรัฐบาล ตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาวิเคราะหนโยบายการคลัง (สศค.) CONSOLIDATED CENTRAL GOVERNMENT GFS 2001 FRAMEWORK: MONTHLY DATA 1. Budgetary Account: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 2. Extrabudgetary Accounts: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 3. Social Security Funds: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 4. Elimination of Double Counting: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign 5. Consolidated Central Government: 1. Revenue 2. Expenditure (2.1+2.2): 2.1 Expense 2.2 Net acquisition of nonfinancial assets 3. Gross operating balance (1-2.1) 4. Net lending/borrowing (1-2)=(5-6) 5. Net acquisition of financial assets 6. Net incurrence of liabilities 6.1 Domestic 6.2 Foreign Notes: 1/ 2/ 3/ 4/ 5/

6/ 7/

Oct-13 1/ 2/

3/ 4/

Nov-13

Dec-13

Jan-14

Feb-14

2014 Mar-14 Apr-14

183,999 172,237 170,244 170,846 164,768 155,296 153,065 266,203 248,502 331,807 227,860 189,646 185,609 214,260 261,433 235,688 318,121 218,964 180,455 174,575 200,849 4,770 12,813 13,687 8,898 9,192 11,034 13,410 (77,434) (63,451) (147,878) (48,118) (15,688) (19,278) (47,784) (82,203) (76,264) (161,565) (57,016) (24,880) (30,312) (61,194) (84,380) (43,720) (128,801) (57,167) 42,783 (14,651) (23,160) (2,177) 32,544 32,763 (151) 67,662 15,661 38,034 (1,849) 32,544 33,147 (58) 68,037 19,661 38,362 (328) (384) (93) (374) (4,000) (328)

May-14

Jul-14

Aug-14

Sep-14

2015 Oct-14 Nov-14

300,130 214,552 145,403 230,239 245,682 180,443 167,440 158,531 186,539 196,395 146,932 260,819 329,540 200,914 146,365 173,272 180,932 135,212 241,341 321,179 189,406 12,166 13,267 15,464 11,722 19,477 8,360 11,508 153,765 41,280 (35,529) 95,027 4,341 (140,737) (21,966) 141,599 28,014 (50,993) 83,305 (15,136) (149,097) (33,474) 90,299 50,105 (59,247) 84,302 24,421 (140,281) (36,180) (51,299) 22,092 (8,255) 997 39,557 8,815 (2,706) (44,299) 22,475 (8,162) 12,071 39,557 9,143 (2,706) (7,000) (384) (93) (11,074) (328) -

5/ 2/

3/ 4/

40,417 23,650 23,916 (266) 16,501 16,767 16,529 (238) (238) -

15,028 6,813 6,896 (84) 8,131 8,215 5,667 (2,547) (2,547) -

16,016 28,346 28,283 62 (12,267) (12,330) -10,005 2,325 2,325 -

53,476 12,537 12,539 (2) 40,937 40,939 39,102 (1,836) (1,836) -

5,778 13,958 14,045 (87) (8,267) (8,180) -8,191 (11) (11) -

6,041 28,780 28,882 (103) (22,841) (22,739) -22,669 70 70 -

36,575 14,980 14,941 39 21,634 21,596 22,357 761 761 -

7,668 13,169 13,159 11 (5,490) (5,501) -5,504 (3) (3) -

8,001 20,512 20,098 413 (12,098) (12,511) -12,563 (52) (52) -

24,532 21,622 21,577 45 2,955 2,910 1,431 (1,479) (1,479) -

13,535 16,483 16,656 (174) (3,121) (2,947) -5,948 (3,001) (3,001) -

24,827 30,414 30,240 174 (5,413) (5,587) -6,751 (1,163) (1,163) -

64,285 25,164 25,766 (602) 38,518 39,120 40,118 997 997 -

8,557 14,271 14,000 271 (5,443) (5,714) (2,170) 3,544 3,544 -

14,880 8,553 8,553 6,327 6,327 6,367 41 41 -

15,052 4,445 4,445 10,606 10,606 6,977 (3,630) (3,630) -

24,349 117,561 117,561 (93,212) (93,212) 12,716 105,928 105,928 -

7,220 5,296 5,296 1,924 1,924 1,749 (175) (175) -

18,346 3,883 3,883 14,463 14,463 17,935 3,472 3,472 -

19,313 4,482 4,482 14,831 14,831 21,957 7,126 7,126 -

18,225 3,469 3,469 14,756 14,756 29,889 15,133 15,133 -

17,674 4,221 4,221 13,453 13,453 7,681 (5,772) (5,772) -

17,702 6,113 6,113 11,589 11,589 16,012 4,423 4,423 -

18,020 6,145 6,145 11,875 11,875 4,630 (7,245) (7,245) -

18,807 4,381 4,381 14,427 14,427 9,954 (4,472) (4,472) -

18,491 6,606 6,606 11,885 11,885 23,380 11,494 11,494

14,880 8,553 8,553 6,327 6,327 6,367 41 41 -

15,052 4,445 4,445 10,606 10,606 6,977 (3,630) (3,630) -

36,897 36,897 36,897 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

10,376 10,376 10,376 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

11,719 11,719 11,719 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

49,661 49,661 49,661 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,088 3,088 3,088 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,394 3,394 3,394 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

30,844 30,844 30,844 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,292 3,292 3,292 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,488 3,488 3,488 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

15,567 15,567 15,567 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,159 3,159 3,159 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

12,229 12,229 12,229 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

57,049 57,049 57,049 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

3,655 3,655 3,655 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A.

6/ 2/

3/ 4/

7/ 2/

3/ 4/

1/ 2/

3/ 4/

202,399 191,940 198,889 181,880 185,802 177,256 177,021 261,509 249,383 465,996 196,032 204,399 215,478 201,864 257,005 236,653 452,247 187,138 195,295 204,545 188,414 4,504 12,729 13,749 8,896 9,105 10,931 13,449 (54,606) (44,714) (253,358) (5,258) (9,493) (27,289) (11,394) (59,110) (57,444) (267,106) (14,153) (18,597) (38,221) (24,843) (61,484) (31,076) (126,090) (16,316) 52,527 (15,363) 29,086 (2,374) 26,367 141,016 (2,163) 71,123 22,856 53,929 (2,046) 26,367 141,400 (2,069) 71,498 26,856 54,256 (328) (384) (93) (374) (4,000) (328)

322,180 236,767 172,388 172,629 209,676 208,595 160,453 195,995 193,086 12,177 13,680 15,509 161,727 40,772 (20,698) 149,551 27,091 (36,207) 92,476 53,553 (53,186) (57,074) 26,462 (16,979) (50,074) 26,845 (16,886) (7,000) (384) (93)

Receipts from premium on issue of government bonds, repayments of lending (Tier1) and proceeds from sales of shares/equity (privatization) have been reclassified to lending minus repayments and financing. The GFS 2001 concept of expenditure is different from the traditional concept which did not take the disposal of nonfinancial assets into account. Represent the net change in the unit's net worth due to transactions cash transactions, and is equal to "current expenditure" plus "capital transfers". Net lending/borrowing is the overall borrowing requirement and is equal to the traditional "deficit/surplus" excluding "lending minus repayments". The following are included as "extrabudgetary funds": 12 extrabudgetary funds (National Health Security Fund, Oil Fund, Thailand Village Fund Energy Saving Fund, Coin Production Fund, Sugarcane Fund, Science and Technology Development Fund, Thai Health Promotion Fund, Tollway Fund, Student Loan Fund, SMEs Fund) Oil Fund data has been recorded as accrual basis since Jan, 04 Social security fund and Employment Contribution Fund. Elimination of transactions between the budget account, extrabudgetary funds and social security funds included in the data. Source : GFMIS , Bank of Thailand , Public Debt Management office , Extrabudgetary fund and FPO Last update December 30, 2014

Jun-14

259,423 276,771 202,558 187,394 164,637 285,610 306,208 215,976 153,090 265,958 298,450 204,196 11,548 19,651 7,758 11,779 106,333 10,813 (95,892) (16,802) 94,786 (8,839) (103,650) (28,582) 88,308 41,050 (93,796) (31,373) (6,476) 49,888 9,853 (2,792) 4,598 49,888 10,181 (2,792) (11,074) (328) -


เรื่อง

ผูรับผิดชอบ

โทรศัพท

E-mail

บทสรุปผูบริหาร สถานการณดานรายได สถานการณดานรายจาย การเบิกจายเงินกูตางประเทศ การเบิกจายของกองทุนนอก งบประมาณตามระบบ สศค. ฐานะการคลัง - ดุลการคลังตามระบบ กระแสเงินสด - ดุลการคลังตามระบบ สศค. ฐานะการคลัง อปท. สถานการณดานหนี้สาธารณะ กรอบความยั่งยืนทางการคลัง การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลัง ผานสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ของรัฐบาล การกระจายอํานาจการคลังใหแก องคกรปกครองสวนทองถิ่น มติคณะรัฐมนตรี สถิติดานการคลัง - รายไดรัฐบาล - โครงสรางงบประมาณ - ฐานะการคลังของรัฐบาล ตามระบบกระแสเงินสด - ฐานะการคลังของรัฐบาล ตามระบบกระแสเงินสด - สัดสวนรายไดของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น

มาติกา อินวิน อาริศรา นนทะคุณ สายทิพย คําพุฒ ไพลิน ชางภิญโญ ไพลิน ชางภิญโญ

3557 3555 3556 3595 3595

mayinwin6@gmail.com dear_arisara@hotmail.co.th nui-642@hotmail.com pailin@fpo.go.th pailin@fpo.go.th

มณีขวัญ จันทรศร

3558

maneekwan@fpo.go.th

ไพลิน ชางภิญโญ

3595

pailin@fpo.go.th

ธรรมฤทธิ์ คุณหิรัญ ศุทธธี เกตุทัต ลลิตา ละสอน กุสุมา บุญแทน

3544 3586 3563 3533

thammarit@gmail.com suthee@fpo.go.th lalita.lasorn@gmail.com nanpiaoliang@hotmail.com

ณัฏฐรวี กรรณุมาตร

3576

sandyfaprew@hotmail.com

มณีขวัญ จันทรศร

3558

maneekwan@fpo.go.th

อาริศรา นนทะคุณ สายทิพย คําพุฒ ศุทธธี เกตุทัต

3555 3556 3586

dear_arisara@hotmail.co.th nui-642@hotmail.com suthee@fpo.go.th

ไพลิน ชางภิญโญ

3595

pailin@fpo.go.th

ณัฏฐรวี กรรณุมาตร

3576

sandyfaprew@hotmail.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.