ประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2557
THAILAND'S ECONOMIC OUTLOOK 2014 : MARCH
เดือนมีนาคม
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง
http://www.fpo.go.th
THAILAND’S ECONOMIC OUTLOOK 2014 : MARCH FISCAL POLICY OFFICE เป้าประสงค์ และ ยุทธศาสตร์ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง 1. ความยั่งยืนทางการคลัง (Fiscal Sustainability) + เสนอแนะนโยบายและมาตรการด้านการคลัง เพื่อให้ภาคการคลังของประเทศมีความแข็งแกร่งยั่งยืน เป็นที่น่าเชื่อถือ และเป็นหลักของ ระบบเศรษฐกิจไทย 2. การพัฒนาความแข็งแกร่งของระบบการเงินที่ยั่งยืน (Sustainable Financial System Development) + เสนอแนะนโยบายและมาตรการด้านการเงิน เพื่อให้ภาคการเงินแข็งแกร่ง มีประสิทธิภาพ และเอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศ 3. เศรษฐกิจและสังคมที่ยั่งยืน (Sustainable Economic and Social Development) + เสนอแนะนโยบายและมาตรการด้านเศรษฐกิจมหภาคและระหว่างประเทศเพื่อให้ระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพอย่างต่อเนื่อง + เสนอแนะนโยบายที่เกี่ยวข้องเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศ + เสนอแนะนโยบายที่เกี่ยวข้องเพื่อกระจายความมั่งคั่ง สู่ภูมิภาคและเศรษฐกิจฐานราก + เสนอแนะนโยบายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ประชาชนมีรายได้ และมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น 4. ความมีประสิทธิภาพ ความทันสมัย และความโปร่งใสในการท�ำงาน (Modernization of Management and Good Governance Promotion) + ด�ำเนินการเพื่อให้เป็นองค์กรเรียนรู้ เป็นที่ยอมรับด้านความสามารถของบุคลากร + ด�ำเนินการเพื่อให้การท�ำงานและการให้บริการโปร่งใส มีประสิทธิภาพ และตรวจสอบได้ โดยใช้ระบบ IT ลดขั้นตอนการท�ำงาน
กลยุทธ์ ส�ำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค : “เสาหลักด้านเศรษฐกิจมหภาคอย่างมืออาชีพ” “วิเคราะห์สถานการณ์เศรษฐกิจได้อย่างมีคุณภาพ แม่นย�ำ และทันต่อเหตุการณ์ เพื่อให้สามารถเสนอแนะนโยบายเศรษฐกิจมหภาคได้อย่าง มีประสิทธิภาพ รวมทั้งสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องต่อสาธารณชน”
ช่องทางใหม่ในการติดตามสถานการณ์เศรษฐกิจ
ขั้นตอนการใช้งานผ่านอุปกรณ์ iPad iPhone / ระบบปฏิบัติการ Android 1 โหลด App ชื่อ “ebooks.in.th” จาก App Store / Android Market 2 เปิด App “ebooks.in.th” แล้ว Search ค�ำว่า “Fiscal Policy Office” 3 เลือกหนังสือและบทความที่ท่านต้องการอ่าน เพื่อเก็บไว้ที่ตู้หนังสือ 4 เลือก Icon “Bookshelf” เพื่ออ่านหนังสือที่ต้องการ (ในครั้งแรกต้องลงทะเบียนก่อนใช้งาน)
THAILAND’S ECONOMIC OUTLOOK 2014 : MARCH FISCAL POLICY OFFICE
สารบัญ 1. ประมาณการเศรษฐกิจไทย บทสรุปผู้บริหาร Executive Summary ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2557 (ณ เดือนมีนาคม 2557) 1.1 สมมติฐานหลักในการประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2557 1.2 ผลการประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2557 2. ภาคการคลัง : รายงานสถานการณ์ด้านการคลังใน 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2557 3. บทวิเคราะห์เศรษฐกิจ : Macroeconomic Analysis Briefings 3.1 เศรษฐกิจไทยจะเป็นอย่างไรท่ามกลางความไม่แน่นอนทางการเมือง 3.2 นโยบายเศรษฐกิจ ปี 2557 กับการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ 3.3 ราคาส่งออกสินค้าเกษตรส�ำคัญของไทยปี 2557 : รุ่งหรือร่วง 3.4 ฤๅอาร์เจนตินาจะร�่ำไห้อีกครั้ง ? 3.5 จากปฏิวัติยูเครนสู่วิกฤติไครเมีย : นัยต่อเศรษฐกิจโลกสู่เศรษฐกิจไทย 3.6 Is the worst behind us ? Chinese real estate bubble, shadow banking, liquidity crunch, credit trust default, and Yuan volatility ! 3.7 ประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศต่อสาขาการผลิตของไทย
หน้า 3 6 9 10 26 38 43 49 56 63 72 79 86
4. ภาคการเงิน : รายงานภาวะเศรษฐกิจการเงินไทยในไตรมาสที่ 1 ปี 2557
92
5. Thailand’s Key Economic Indicators
96
คณะผู้จัดท�ำ : ส�ำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง โทรศัพท์ 02-273-9020 ต่อ 3257 โทรสาร 02-298-5602 / 02-618-3397 http:// www.fpo.go.th
บทสรุปผู้บริหาร
ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2557 (ณ เดือนมีนาคม 2557) รายงานประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2557 “เศรษฐกิจไทยปี 2557 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.6 ปรับลดลงจากการคาดการณ์ครั้งก่อน ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.0 ตามสถานการณ์ทางการเมืองที่ยืดเยื้อ” ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ประเมินว่า “เศรษฐกิจไทยในปี 2557 คาดว่าจะสามารถขยายตัวได้รอ้ ยละ 2.6 (โดยมีชว่ งคาดการณ์ทรี่ อ้ ยละ 2.1–3.1) ซึง่ เป็นการปรับลดลงจากการคาดการณ์ครัง้ ก่อนทีค่ าดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.0 เนือ่ งจากอุปสงค์ในประเทศทีค่ าดว่าจะชะลอลงในช่วงครึง่ แรกของปี ตามสถานการณ์ทางการเมืองในประเทศอันยืดเยือ้ มาจากช่วงปลายปี 2556 ทีไ่ ด้สง่ ผลกระทบต่อความเชือ่ มัน่ ของผูบ้ ริโภค นักลงทุน และนักท่องเทีย่ วต่างชาติ นอกจากนี้ การใช้จ่ายภายใต้แผนการลงทุนภาครัฐยังมีแนวโน้มล่าช้ากว่าแผนที่ก�ำหนดไว้เดิม โดยเฉพาะแผนการลงทุนภายใต้ พรบ.ให้อ�ำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานฯ วงเงิน 2 ล้านล้านบาท ที่ศาลรัฐธรรมนูญ ลงมติว่าขัดรัฐธรรมนูญ และโครงการลงทุนบริหารจัดการน�้ำวงเงิน 3.5 แสนล้านบาท ที่ต้องมีการท�ำประชาพิจารณ์ ตามค�ำสัง่ ศาลปกครอง และการยืดเยือ้ ของสถานการณ์ความไม่แน่นอนทางการเมืองยังจะส่งผลกระทบต่อการใช้จา่ ย ลงทุนภาครัฐ อันเนือ่ งมาจากความล่าช้าของกระบวนการจัดท�ำงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี 2558 อีกด้วย อย่างไรก็ตาม การส่งออกคาดว่าจะกลับมาฟื้นตัวขึ้นจากปีก่อนหน้าตามเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าที่ปรับตัวดีขึ้น โดยเฉพาะเศรษฐกิจ สหรัฐฯ และเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศในสหภาพยุโรปทีเ่ ริ่มฟื้นตัวจากภาวะเศรษฐกิจถดถอย และคาดว่าการส่งออก จะเป็นแรงขับเคลือ่ นเศรษฐกิจในปี 2557 ให้สามารถขยายตัวได้อย่างต่อเนือ่ ง โดยคาดว่ามูลค่าการส่งออกสินค้าในปี 2557 จะกลับมาขยายตัวที่ร้อยละ 5.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.0-7.0) ขณะที่การส่งออกบริการแม้ว่าจะได้รับ ผลกระทบจากเหตุการณ์ทางการเมืองในช่วงครึ่งปีแรก แต่คาดว่าจะขยายตัวดีขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี ส�ำหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจของไทยยังคงแข็งแกร่ง โดยในส่วนเสถียรภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ คาดว่า อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2557 จะปรับสูงขึ้นจากปีก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ร้อยละ 2.5 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.0–3.0) ตามแนวโน้มการทยอยปรับเพิ่มขึ้นของราคาก๊าซหุงต้มที่อาจส่งผ่านไปสู่ราคาสินค้าประเภทอื่น โดยเฉพาะ ราคาอาหารส�ำเร็จรูป นอกจากนี้ แนวโน้มอัตราแลกเปลี่ยนที่อ่อนค่าลงและแนวโน้มค่าไฟฟ้าผันแปร (FT) ที่เพิ่มขึ้น อาจผลักดันให้ต้นทุนการผลิตสินค้าและบริการต่าง ๆ เพิ่มขึ้น และส่งผ่านแรงกดดันไปสู่เงินเฟ้อในปี 2557 ขณะที่ เสถียรภาพเศรษฐกิจภายนอกประเทศ คาดว่าดุลการค้าจะเกินดุลเพิม่ ขึน้ จากปีทแี่ ล้ว เนือ่ งจากมูลค่าการส่งออกสินค้า ทีข่ ยายตัวในอัตราเร่งกว่าการน�ำเข้าสินค้า ส่งผลให้ดลุ บัญชีเดินสะพัดเกินดุลประมาณ 4.7 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือ คิดเป็นร้อยละ 1.1 ของ GDP (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.8-1.7 ของ GDP)”
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
3
ตารางสรุปสมมติฐานและผลการประมาณการเศรษฐกิจปี 2557 (ณ เดือนมีนาคม 2557) 2557 f 2556 (ณ มีนาคม 2557) เฉลี่ย ช่วง สมมติฐานหลัก สมมติฐานภายนอก 1) อัตราการขยายตัวเฉลี่ย 14 ประเทศคู่ค้าหลัก (ร้อยละต่อปี) 3.9 3.9 3.4-4.4 2) ราคาน�้ำมันดิบดูไบ (ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล) 105.1 105.0 100.0-110.0 3) ราคาสินค้าส่งออกในรูปดอลลาร์สหรัฐ (ร้อยละต่อปี) -0.3 0.0 -0.5 ถึง 0.5 4) ราคาสินค้าน�ำเข้าในรูปดอลลาร์สหรัฐ (ร้อยละต่อปี) -2.2 -0.2 -0.7 ถึง 0.3 สมมติฐานด้านนโยบาย 5) อัตราแลกเปลี่ยน (บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ) 30.7 32.25 31.3-33.3 6) อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทย ณ สิ้นปี (ร้อยละต่อปี) 2.25 2.00 1.50-2.50 7) รายจ่ายภาคสาธารณะตามปีงบประมาณ (ล้านล้านบาท) 3.03 3.11 3.06-3.16 ผลการประมาณการ 1) อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (ร้อยละต่อปี) 2.9 2.6 2.1-3.1 2) อัตราการขยายตัวของการบริโภครวม (ร้อยละต่อปี) 1.0 2.2 1.7-2.7 - การบริโภคภาคเอกชน (ณ ราคาคงที่) (ร้อยละต่อปี) 0.2 2.3 1.8-2.8 - การบริโภคภาครัฐ (ณ ราคาคงที่) (ร้อยละต่อปี) 4.9 1.9 1.4-2.4 3) อัตราการขยายตัวของการลงทุนรวม (ร้อยละต่อปี) -1.9 0.8 -1.8 ถึง 1.8 - การลงทุนภาคเอกชน (ณ ราคาคงที่) (ร้อยละต่อปี) -2.8 1.9 0.9-2.9 - การลงทุนภาครัฐ (ณ ราคาคงที่) (ร้อยละต่อปี) 1.3 -3.1 -4.1 ถึง -2.1 4) อัตราการขยายตัวปริมาณส่งออกสินค้าและบริการ (ร้อยละต่อปี) 4.2 4.4 3.4-5.4 5) อัตราการขยายตัวปริมาณน�ำเข้าสินค้าและบริการ (ร้อยละต่อปี) 2.3 3.8 2.8-4.8 6) ดุลการค้า (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) 6.4 9.5 8.5-10.5 - สินค้าส่งออกในรูปดอลลาร์สหรัฐ (ร้อยละต่อปี) -0.2 5.0 3.0-7.0 - สินค้าน�ำเข้าในรูปดอลลาร์สหรัฐ (ร้อยละต่อปี) -0.4 3.7 1.7-5.7 7) ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) -2.8 4.7 3.7-5.7 - ร้อยละของ GDP -0.6 1.1 0.8-1.4 8) อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (ร้อยละต่อปี) 2.2 2.5 2.0-3.0 อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (ร้อยละต่อปี) 1.0 1.5 1.0-2.0 9) อัตราการว่างงาน (ร้อยละของก�ำลังแรงงานรวม) 0.7 0.7 0.6-0.8 f = ประมาณการ โดยส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.)
4
1. เศรษฐกิจไทยในปี 2557 1.1 ด้านการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจไทยในปี 2557 คาดว่าจะสามารถขยายตัวได้ร้อยละ 2.6 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.1–3.1) ซึ่งเป็น การปรับลดลงจากการคาดการณ์ครั้งก่อนที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.0 เนื่องจากอุปสงค์ในประเทศที่คาดว่าจะชะลอลง ในช่วงครึ่งแรกของปี ตามสถานการณ์ทางการเมืองในประเทศอันยืดเยื้อมาจากช่วงปลายปี 2556 ที่ได้ส่งผลกระทบต่อ ความเชื่อมั่นของผู้บริโภค นักลงทุน และนักท่องเที่ยวต่างชาติ โดยการบริโภคภาคเอกชนมีแนวโน้มขยายตัวที่ร้อยละ 2.3 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.8–2.8) ส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากการเร่งการใช้จ่ายในหมวดสินค้าคงทนโดยเฉพาะยานยนต์ ไปค่อนข้างมากในช่วงก่อนหน้า ท�ำให้ฐานการค�ำนวณในช่วงครึง่ แรกของปี 2556 อยูใ่ นเกณฑ์ทสี่ งู กว่าแนวโน้มปกติ ประกอบกับ สถานการณ์ทางการเมืองภายในประเทศยังได้บั่นทอนความเชื่อมั่นของผู้บริโภคต่อเศรษฐกิจ และส่งผลให้ผู้บริโภคระมัดระวัง การจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น อย่างไรก็ดี ปัจจัยสนับสนุนจากรายได้ครัวเรือนนอกภาคเกษตรและสถานการณ์การจ้างงาน ที่ยังอยู่ในเกณฑ์ดีคาดว่าจะยังสามารถเอื้อต่อการบริโภคภาคเอกชนให้ขยายตัวได้ ในขณะที่การลงทุนภาคเอกชนคาดว่า จะขยายตัวร้อยละ 1.9 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.9-2.9) ตามความเชื่อมั่นของภาคธุรกิจที่ปรับลดลง เนื่องจาก ความวิตกกังวลเกี่ยวกับสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองที่ยืดเยื้อ นอกจากนี้ การขาดความชัดเจนในการด�ำเนินโครงการ ลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐจะส่งผลให้การลงทุนภาคเอกชนที่เกี่ยวเนื่องชะลอตัวลงตาม ส�ำหรับการใช้จ่ายภาครัฐมีแนวโน้ม ลดลงจากที่เคยคาดไว้ โดยคาดว่าการบริโภคภาครัฐจะขยายตัวร้อยละ 1.9 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.9–2.9) และ การลงทุนภาครัฐจะหดตัวที่ร้อยละ 3.1 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ -4.1 ถึง -2.1) อันเป็นผลมาจากการใช้จ่ายภายใต้ แผนการลงทุนภาครัฐยังมีแนวโน้มล่าช้ากว่าแผนที่ก�ำหนดไว้เดิม โดยเฉพาะแผนการลงทุนภายใต้ พรบ.ให้อ�ำนาจกระทรวง การคลังกู้เงินเพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานฯ วงเงิน 2 ล้านล้านบาท ที่ศาลรัฐธรรมนูญลงมติว่าขัดรัฐธรรมนูญ และโครงการ ลงทุนบริหารจัดการน�้ำวงเงิน 3.5 แสนล้านบาท ที่ต้องมีการท�ำประชาพิจารณ์ตามค�ำสั่งศาลปกครอง และการยืดเยื้อของ สถานการณ์ความไม่แน่นอนทางการเมืองยังจะส่งผลกระทบต่อการใช้จ่ายลงทุนภาครัฐ อันเนื่องมาจากความล่าช้าของ กระบวนการจัดท�ำงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี 2558 อีกด้วย อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับอุปสงค์ภายนอกประเทศนั้น การส่งออก คาดว่าจะกลับมาฟื้นตัวขึ้นจากปีก่อนหน้ามาขยายตัวที่ร้อยละ 4.4 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.4–5.4) ตามเศรษฐกิจ ประเทศคู่ค้าที่ปรับตัวดีขึ้น โดยเฉพาะเศรษฐกิจสหรัฐฯ และเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศในสหภาพยุโรปที่เริ่มฟื้นตัวจาก ภาวะเศรษฐกิจถดถอย ขณะที่การส่งออกบริการแม้ว่าจะได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ทางการเมืองในช่วงครึ่งปีแรก แต่ คาดว่าจะขยายตัวดีขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี ส�ำหรับปริมาณการน�ำเข้าสินค้าและบริการคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.8 (โดยมี ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.8–4.8) สอดคล้องกับแนวโน้มการชะลอตัวของอุปสงค์ภายในประเทศทั้งการบริโภคและการลงทุน 1.2 ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ เสถียรภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ คาดว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2557 จะปรับสูงขึ้นจากปีก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ ร้อยละ 2.5 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.0–3.0) ตามแนวโน้มการทยอยปรับเพิ่มขึ้นของราคาก๊าซหุงต้มที่อาจส่งผ่านไปสู่ ราคาสินค้าประเภทอื่น โดยเฉพาะราคาอาหารส�ำเร็จรูป นอกจากนี้ แนวโน้มอัตราแลกเปลี่ยนที่อ่อนค่าลงและแนวโน้มค่าไฟฟ้า ผันแปร (FT) ที่เพิ่มขึ้นอาจผลักดันให้ต้นทุนการผลิตสินค้าและบริการต่าง ๆ สูงขึ้น และส่งผ่านแรงกดดันไปสู่เงินเฟ้อในปี 2557 ในส่วนของอัตราการว่างงาน คาดว่าจะยังอยูใ่ นระดับต�ำ่ ทีร่ อ้ ยละ 0.7 ของก�ำลังแรงงานรวม (โดยมีชว่ งคาดการณ์ทรี่ อ้ ยละ 0.6–0.8 ของก�ำลังแรงงานรวม) ส�ำหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจภายนอกประเทศ คาดว่าดุลการค้าจะเกินดุลเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เนื่องจาก มูลค่าการส่งออกสินค้าจะกลับมาขยายตัวเพิม่ ขึน้ ทีร่ อ้ ยละ 5.0 (โดยมีชว่ งคาดการณ์ทรี่ อ้ ยละ 3.0-7.0) ในขณะทีม่ ลู ค่าการน�ำเข้า สินค้าคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.7 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.7–5.7) ส่งผลให้ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลประมาณ 4.7 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือคิดเป็นร้อยละ 1.1 ของ GDP (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.8-1.7 ของ GDP)
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
5
Executive Summary
Thailand’s Economic Projection for 2014 (As of March 2014) Thailand’s Economic Outlook Projection 2014 The Thai economy in 2014 is projected to grow at 2.6 percent, lower than the previous projection of 4.0 percent due to the prolonged political uprising The Fiscal Policy Office (FPO), Ministry of Finance, announced Thailand’s economic projections as of March 2014 stating that “the Thai economy in 2014 is projected to grow at an annualized rate of 2.6 percent (or within a range of 2.1-3.1 percent), lower than the previous projection of 4.0 percent, due to the slow growth of domestic demand in the first half of the year. The reduction in the growth rate is the result of the prolonged political uprising since late 2013, which has affected the confidence of consumers, investors, and foreign tourists. Moreover, public investment has been delayed, especially infrastructure projects under the two-trillion-baht infrastructure development plan, which the Constitutional Court ruled had proceeded under an illegal process, and the water resource management plan which is bound by the Administrative Court’s order to call for a public hearing. Furthermore, the prolonged political uprising is also expected to affect public investment from the delay of the fiscal year 2015 budgetary process. Nevertheless, exports of goods and services are anticipated to improve from the economic recovery of Thailand’s major trading partners, especially the US and the Eurozone which is recovering from the economic recession. It is expected that exports will be the main economic driver for the Thai economy in 2014. The value of merchandise exports in 2014 is expected to expand at 5.0 percent (or within a range of 3.0-7.0 percent) whereas the value of services exports, despite being affected by the political unrest in the first half of the year, is expected to expand more in the latter half of the year. Thailand’s economic stability is still resilient. With regard to internal stability, headline inflation in 2014 is anticipated to be 2.5 percent (or within a range of 2.0-3.0 percent), higher than that of the previous year, due to increasing prices of LPG gas, the effects of which could be passed on to other commodity prices, especially the prices of instant food. Furthermore, rising pressure from exchange rate depreciation and the cost of electricity (Fuel Adjustment Charge : FT) could increase the cost of output production and result in higher inflationary pressure in 2014. For external stability, the estimated trade surplus is expected to be higher than that of the previous year, due to the accelerated export growth, which is higher than the import growth. As a result, there will be a current account surplus of USD 4.7 billion or 1.1 percent of GDP (or within a range of 0.8-1.7 percent of GDP).”
6
Major Assumptions and Economic Projections of 2014 (As of March 2014) 2013 Major Assumptions Exogenous Variables 1) Average Economic Growth Rate of Major Trading Partners 3.9 (percent y-o-y)
2014 f (As of Mar 14) Average Range
3.9
3.4-4.4
2) Dubai Crude Oil Price (U.S. dollar per Barrel) 105.1 105.0 100.0-110.0 3) Export prices in U.S. dollar (percent y-o-y) -0.3 0.0 -0.5 to 0.5 4) Import prices in U.S. dollar (percent y-o-y) -2.2 -0.2 -0.7 to 0.3 Policy Variables 5) Exchange Rate (Baht per U.S. dollar) 30.7 32.25 31.3-33.3 6) Repurchase Rate (Policy Rate) at year-end (percent y-o-y) 2.25 2.00 1.50-2.50 7) Fiscal-Year Public Expenditure (Trillion Baht) 3.03 3.11 3.06-3.16 Projections 1) Economic Growth Rate (percent y-o-y) 2.9 2.6 2.1-3.1 2) Real Consumption Growth (percent y-o-y) 1.0 2.2 1.7-2.7 - Real Private Consumption 0.2 2.3 1.8-2.8 - Real Public Consumption 4.9 1.9 1.4-2.4 3) Real Investment Growth (percent y-o-y) -1.9 0.8 -1.8 to 1.8 - Real Private Investment -2.8 1.9 0.9-2.9 - Real Public Investment 1.3 -3.1 -4.1 to -2.1 4) Export Volume of Goods and Services (percent y-o-y) 4.2 4.4 3.4-5.4 5) Import Volume of Goods and Services (percent y-o-y) 2.3 3.8 2.8-4.8 6) Trade Balance (billion U.S. dollar) 6.4 9.5 8.5-10.5 - Export Value of Goods in U.S. dollar (percent y-o-y) -0.2 5.0 3.0-7.0 - Import Value of Goods in U.S. dollar (percent y-o-y) -0.4 3.7 1.7-5.7 7) Current Account (billion U.S. dollar) -2.8 4.7 3.7-5.7 - Percentage of GDP -0.6 1.1 0.8-1.4 8) Headline Inflation (percent y-o-y) 2.2 2.5 2.0-3.0 Core Inflation (percent y-o-y) 1.0 1.5 1.0-2.0 9) Unemployment Rate (percentage of total labor force) 0.7 0.7 0.6-0.8 f = forecast by Fiscal Policy Office, Ministry of Finance, Thailand, Tel. 0 2273 9020
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
7
1. Thailand’s Economic Projections for 2014 1.1 Economic Growth The Thai economy in 2014 is forecasted to grow at an annualized rate of 2.6 percent (or within a range of 2.1–3.1 percent), lower than the earlier projection of 4.0 percent, due to the slow growth of domestic demand in the first half of the year. The reduction in the growth rate is the result of the prolonged political uprising since late 2013, which has affected the confidence of consumers, investors, and foreign tourists. Private consumption is projected to grow at a rate of 2.3 percent (or within a range of 1.8-2.8 percent) partly from the high base due to the accelerated growth of the purchase of durable goods, especially motor vehicles in the previous year. Moreover, the political turmoil also diminishes consumer confidence and raises consumers’ carefulness on spending. However, non-agricultural household income, coupled with a solid employment level, still supports private consumption to grow continuously. Private investment is estimated to grow at a rate of 1.9 percent per year (or within a range of 0.9-2.9 percent), due to the lower business confidence from the prolonged political uprising. Furthermore, the uncertainty of the process for public investment projects could also hinder the private investment growth. Public consumption is expected to grow at a rate of 1.9 percent (or within a range of 1.4-2.4 percent) and public investment is expected to contract at a rate of -3.1 percent (or within a range of (-4.1) – (-2.1) percent). This is due to the delay in public investment plan, especially infrastructure projects under the two-trillion-baht infrastructure development plan, which the Constitutional Court ruled had proceeded under an illegal process, and the water resource management plan which is bound by the Administrative Court’s order to call for a public hearing. Furthermore, the prolonged political uprising would also affect the public investment from the delay of the fiscal year 2015 budgetary process. Nevertheless, for the international trade, exports of goods and services are anticipated to expand at the rate of 4.4 percent (or within a range of 3.4-5.4 percent) from the economic recovery of Thailand’s major trading partners especially the US and the Eurozone which are recovering from the economic recession. The export of services, despite being affected by the political unrest in the first half of the year, is expected to expand more in the latter half of the year. The import of goods and services is expected to grow at a rate of 3.8 percent (or within a range of 2.8-4.8 percent) in line with the slower growth of domestic demand, both consumption and investment. 1.2 Economic Stability For internal stability, headline inflation in 2014 is likely to rise to 2.5 percent (or within a range of 2.0–3.0 percent), following the increase in LPG prices, the effects of which could be passed on to other commodity prices, especially the prices of instant food. Furthermore, the rising pressure from the exchange rate depreciation and the cost of electricity (Fuel Adjustment Charge : FT) could push the cost of output production and result in higher inflationary pressure in 2014. Unemployment is expected to be 0.7 percent of the total labor force (or within a range of 0.6–0.8 percent). On external stability, the current account in 2014 is projected to record a surplus of USD 4.7 billion, accounting for 1.1 percent of GDP (or within a range of 0.8–1.7 percent of GDP) as the estimated trade surplus is expected to increase slightly, partially explained by the accelerated export growth of 5.0 percent (or within a range of 3.0–7.0 percent), which is higher than the import growth of 3.7 percent (or within a range of 1.7–5.7 percent).
8
ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2557 (ณ เดือนมีนาคม 2557) ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) คาดว่าเศรษฐกิจไทยในปี 2557 จะขยายตัวทีร่ อ้ ยละ 2.6 (โดยมีชว่ งคาดการณ์ ที่ร้อยละ 2.1-3.1) จากปี 2556 ที่ขยายตัวร้อยละ 2.9 โดยมีการปรับปรุงข้อมูลและสมมติฐานที่ส�ำคัญ ดังนี้ ปรับฐานข้อมูลอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในปี 2556 ทีข่ ยายตัวร้อยละ 2.9 และในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ที่ขยายตัวเล็กน้อยที่ร้อยละ 0.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตามที่ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ (สศช.) แถลงเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2557 ❍❍
เครือ่ งชีภ้ าวะเศรษฐกิจมหภาคในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2557 บ่งชีว้ า่ เศรษฐกิจไทยยังคงหดตัวต่อเนือ่ งจาก ปีกอ่ น โดยเฉพาะด้านภาคการผลิต สะท้อนจากดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมทีย่ งั คงหดตัวต่อเนือ่ งโดยหดตัวร้อยละ 5.0 เมือ่ เทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีกอ่ น ตามการลดลงของหมวดยานยนต์ หมวดอาหารและเครือ่ งดืม่ เป็นส�ำคัญ สอดคล้องกับการผลิตภาคบริการ ที่หดตัวครั้งแรกในรอบ 27 เดือน จากจ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่หดตัวร้อยละ 4.1 โดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากสถานการณ์ ความไม่สงบทางการเมือง ส่วนผลผลิตภาคเกษตรกรรมยังขยายตัวในเกณฑ์ดีที่ร้อยละ 2.2 ตามการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของ ผลผลิตยางพาราและข้าวโพด จากพื้นที่เพาะปลูกและเก็บเกี่ยวที่เพิ่มขึ้น ส�ำหรับด้านการใช้จ่ายพบว่า เครื่องชี้การบริโภคและ ลงทุนส่งสัญญาณหดตัวต่อเนื่องจากปีก่อนเช่นกัน โดยเฉพาะการบริโภคภาคเอกชนในหมวดสินค้าคงทน ในขณะที่การส่งออก สินค้าขยายตัวเล็กน้อยทีร่ อ้ ยละ 0.2 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น จากการขยายตัวของการส่งออกในหมวดอิเล็กทรอนิกส์ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า และยานยนต์ อย่างไรก็ดี การส่งออกสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรยังคงหดตัวต่อเนือ่ ง ส่วนการน�ำเข้า สินค้ายังคงหดตัวในระดับสูงที่ร้อยละ 16.0 ตามการลดลงของการน�ำเข้าในหมวดสินค้าทุนและสินค้าอุปโภคบริโภคเป็นส�ำคัญ ส่งผลให้ดุลการค้าตามระบบกรมศุลกากรในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2557 ขาดดุลที่ระดับ 0.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ❍❍
การเปลี่ยนแปลงสมมติฐานที่ส�ำคัญ ได้แก่ (1) อัตราการขยายตัวของ 14 ประเทศคู่ค้า ในปี 2557 สศค. ประมาณการการขยายตัวของ 14 ประเทศคู่ค้าอยู่ที่ร้อยละ 3.9 ปรับตัวดีขึ้นจากปีก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 3.7 ตามการฟื้นตัวของ เศรษฐกิจกลุ่มประเทศ G3 (สหรัฐฯ สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น) (2) ก�ำหนดสมมติฐานราคาน�้ำมันดิบดูไบในปี 2557 อยู่ที่ 105.0 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล ทรงตัวจากปี 2556 (3) ปรับสมมติฐานราคาส่งออกและราคาน�ำเข้าในปี 2557 โดยราคาสินค้าส่งออก ในปี 2557 จะไม่ขยายตัว (ขยายตัวร้อยละ 0.0) จากการฟื้นตัวอย่างล่าช้าของเศรษฐกิจโลก ขณะที่ปัญหาทางการเมืองภายใน ประเทศถือเป็นปัจจัยเสีย่ งส�ำคัญ ส่วนราคาสินค้าน�ำเข้าคาดว่าจะหดตัวร้อยละ 0.2 จากราคาสินค้าโภคภัณฑ์ทมี่ แี นวโน้มชะลอลง เล็กน้อย (4) ปรับสมมติฐานอัตราแลกเปลี่ยนบาทต่อดอลลาร์สหรัฐในปี 2557 ให้อยู่ที่ 32.25 อ่อนค่าลงจากประมาณการ ครัง้ ก่อน โดยเป็นผลจากการไหลออกของเงินทุน จากสถานการณ์ QE Tapering ของสหรัฐฯ (5) ก�ำหนดสมมติฐานอัตราดอกเบีย้ นโยบายในปี 2557 อยู่ที่ร้อยละ 2.00 ต่อปี เนื่องจากแรงกดดันด้านเงินเฟ้ออยู่ในระดับต�่ำ และช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจภายใน ประเทศที่ส่งสัญญาณชะลอตัว และ (6) รายจ่ายภาคสาธารณะในปีงบประมาณ 2557 คาดว่าจะมีจ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 3.11 ล้านล้านบาท หรือขยายตัวร้อยละ 2.56 ต่อปี โดยมีรายละเอียดสมมติฐานและผลการประมาณการ ดังนี้ ❍❍
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
9
สมมติฐานหลักในการประมาณการเศรษฐกิจไทย ปี 2557 1. อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของ 14 ประเทศคู่ค้าหลักของไทย “สศค.คาดว่า ในปี 2557 เศรษฐกิจคู่ค้าหลักของไทย 14 ประเทศจะขยายตัวร้อยละ 3.9 เร่งขึ้นจากปี 2556 ที่ขยายตัวร้อยละ 3.7 จากแนวโน้มเศรษฐกิจโลกที่เริ่มปรับตัวดีขึ้น โดยเฉพาะประเทศเศรษฐกิจหลัก อาทิ เศรษฐกิจ สหรัฐฯ ที่ส่งสัญญาณการฟื้นตัวต่อเนื่อง เศรษฐกิจยูโรโซนที่ปรับตัวดีขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา และเศรษฐกิจจีนที่แม้จะมี สัญญาณชะลอตัวลงแต่ยังคงมีแนวโน้มเติบโตได้ต่อเนื่อง ขณะเดียวกันยังคงมีปัจจัยเสี่ยงส�ำคัญที่ต้องติดตามอย่าง ใกล้ชิด คือ ประเด็นความเสี่ยงในภาคการเงินการธนาคารของจีน การด�ำเนินมาตรการทางการเงินแบบผ่อนคลาย และการปรับเพิ่มอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มของญี่ปุ่น และวิกฤติหนี้สาธารณะในยูโรโซน ซึ่งแม้จะบรรเทาเบาบางลง แต่เครือ่ งชีเ้ สถียรภาพทางเศรษฐกิจยังคงเปราะบาง สะท้อนจากอัตราการว่างงานทีย่ งั คงทรงตัวอยูใ่ นระดับสูง กอปรกับ อัตราเงินเฟ้อของยุโรปทีล่ ดลงต่อเนือ่ งอาจเพิม่ ความเสีย่ งต่อภาวะเงินฝืด ซึง่ เป็นความเสีย่ งทีอ่ าจส่งผลกระทบเชือ่ มโยง ต่อภาคเศรษฐกิจจริง ภาคการเงิน และอุปสงค์โดยรวมของโลก ส่งผลท�ำให้ประเทศที่พึ่งพาการส่งออกในระดับสูงนั้น ขยายตัวชะลอลงตาม”
ตารางที่ 1 อัตราการขยายตัวเฉลี่ยของเศรษฐกิจคู่ค้าหลักของไทย 14 ประเทศ (ร้อยละ) ประเทศคู่ค้าหลัก เรียงตามสัดส่วนการส่งออกปี 2556 14 ประเทศคู่ค้า (75.0%) 1. จีน (11.9%) 2. สหรัฐฯ (10.0%) 3. ญี่ปุ่น (9.7%) 4. สหภาพยุโรป (6.9%) 5. ฮ่องกง (5.8%) 6. มาเลเซีย (5.7%) 7. สิงคโปร์ (4.9%) 8. อินโดนีเซีย (4.8%) 9. ออสเตรเลีย (4.5%) 10. เวียดนาม (2.8%) 11. อินเดีย (2.3%) 12. ฟิลิปปินส์ (2.2%) 13. เกาหลีใต้ (2.0%) 14. ไต้หวัน (1.5%)
2555
2554 2556
3.4 7.7 2.8 1.4 -0.6 1.5 5.6 1.9 6.3 3.6 5.0 4.8 6.8 2.0 1.5
3.7 7.7 1.9 1.5 -0.4 2.9 4.7 4.1 5.8 2.4 5.4 4.6 7.2 2.8 2.1
2556 Q1
Q2
Q3
Q4
ทั้งปี 2557 f
3.0 7.7 1.3 0.0 -1.2 2.9 4.1 0.6 6.0 2.1 4.8 4.8 7.7 1.5 1.4
3.5 7.5 1.6 1.2 -0.6 3.2 4.4 4.2 5.8 2.4 5.0 4.4 7.6 2.3 2.7
3.9 7.8 2.0 2.3 -0.3 2.8 5.0 5.8 5.6 2.4 5.5 4.8 6.9 3.3 1.7
4.2 7.7 2.5 2.6 0.5 3.0 5.1 5.5 5.7 2.8 6.0 4.7 6.5 3.9 2.9
3.9 7.3 2.4 1.3 0.8 4.0 5.0 3.8 5.3 3.0 5.4 4.8 6.3 3.2 3.2
ที่มา : รวบรวมและประมาณการโดย สศค.
1.1 เศรษฐกิจจีน (ตลาดส่งออกใหญ่อันดับ 1 ของไทย : สัดส่วนการส่งออกร้อยละ 11.9 ของมูลค่าส่งออก สินค้ารวมปี 2556) ➥➥ เศรษฐกิจของจีนในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ขยายตัวร้อยละ 7.7 ชะลอลงเล็กน้อยจากไตรมาสก่อนหน้า ทีข่ ยายตัวร้อยละ 7.8 อันเป็นผลจากอุปสงค์ภายในประเทศและการผลิตภาคอุตสาหกรรมทีข่ ยายตัวชะลอลงเล็กน้อย ในขณะที่ ภาคการส่งออกขยายตัวเร่งขึ้นเล็กน้อย โดยอุปสงค์ภายในประเทศที่ขยายตัวชะลอลงสะท้อนจากการลงทุนในสินทรัพย์คงทน ที่ขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 18.0 จากร้อยละ 20.4 ในไตรมาสก่อนหน้า อีกทั้งยอดค้าปลีกในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ขยายตัว
10
ร้อยละ 13.5 ใกล้เคียงกับร้อยละ 13.4 ในไตรมาสก่อนหน้า และการผลิตภาคอุตสาหกรรมในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ขยายตัวร้อยละ 10.0 ใกล้เคียงกับร้อยละ 10.1 ในไตรมาสก่อนหน้า ในขณะที่การส่งออกในรูปดอลลาร์สหรัฐในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ขยายตัว ร้อยละ 7.4 เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 3.9 ท�ำให้ทั้งปี 2556 เศรษฐกิจจีนขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 7.7 โดยแม้จะขยายตัวสูงกว่าเป้าหมายของรัฐบาลทีก่ ำ� หนดไว้รอ้ ยละ 7.5 แต่เป็นการทรงตัวจากปีกอ่ นหน้า ซึง่ เป็นอัตราการขยายตัว ทางเศรษฐกิจที่ต�่ำที่สุดในรอบ 14 ปี ด้านเสถียรภาพภายในประเทศพบว่า อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในช่วงไตรมาสที่ 4 ปี 2556 อยู่ที่ ระดับเฉลี่ยร้อยละ 2.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ใกล้เคียงกับร้อยละ 2.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ภาพที่ 1 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจีน (ร้อยละ)
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
➥➥ ในช่วง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 1 ปี 2557 (เดือนมกราคม–กุมภาพันธ์ 2557) เศรษฐกิจจีนมีแนวโน้ม
ชะลอลงจากไตรมาสก่อ นหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการผลิตภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ ภาคอุตสาหกรรมที่จัดท�ำโดย HSBC ซึ่งลดต�่ำลงกว่าระดับ 50.0 จุดเป็นครั้งแรกในรอบ 6 เดือน โดยในเดือนมกราคม 2557 อยูท่ รี่ ะดับ 49.5 จุด และลดลงต่อเนือ่ งสูร่ ะดับ 48.5 จุด และ 48.1 จุดในเดือนกุมภาพันธ์และเดือนมีนาคมตามล�ำดับ บ่งชีก้ ารหดตัว ของการผลิตภาคอุตสาหกรรม สอดคล้องกับการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งมูลค่าการส่งออกในช่วง 2 เดือนแรกของปีหดตัวร้อยละ -1.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยในเดือนกุมภาพันธ์การส่งออกหดตัวถึงร้อยละ -18.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีก่อน อย่างไรก็ตาม ตัวเลขการหดตัวของการส่งออกนี้อาจสูงเกินจริง เนื่องจากวันหยุดยาวในช่วงเทศกาลตรุษจีนท� ำให้ มีจำ� นวนวันท�ำการน้อยลง ประกอบกับปัจจัยฐานสูงจากการปลอมแปลงเอกสารการส่งออกเพือ่ โอนย้ายเงินตราต่างประเทศในช่วง 4 เดือนแรกของปี 2556 ส่งผลให้มูลค่าการส่งออกในช่วงเวลาดังกล่าวสูงเกินจริง อย่างไรก็ตาม การบริโภคภายในประเทศ ยังคงขยายตัวได้ตอ่ เนือ่ ง สะท้อนจากดัชนีความเชือ่ มัน่ ผูบ้ ริโภคในช่วง 2 เดือนแรกของปีเฉลีย่ ทีร่ ะดับ 102.1 จุด บ่งชีว้ า่ ผูบ้ ริโภค ยังคงมีความเชื่อมั่นต่อเศรษฐกิจจีนอยู่ ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจพบว่าเงินเฟ้อทั่วไปทรงตัวเฉลี่ยที่ร้อยละ 2.3 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อน ➥➥ ในปี 2557 คาดว่า เศรษฐกิจจีนจะขยายตัวทีร่ อ ้ ยละ 7.3 หรือในช่วงคาดการณ์ทรี่ อ้ ยละ 7.1–7.5 ขยายตัว ชะลอลงจากปีกอ่ นซึง่ ขยายตัวร้อยละ 7.7 เนือ่ งจากการเริม่ ต้นด�ำเนินนโยบายปฏิรปู เศรษฐกิจของจีนในปี 2557 อาจส่งผลให้ เศรษฐกิจขยายตัวชะลอลงในระยะสัน้ เพราะนโยบายปฏิรปู ส่วนใหญ่ตามแผนการปฏิรปู เศรษฐกิจจีนจากการประชุมใหญ่ครัง้ ที่ 3 ของคณะกรรมการกลางแห่งพรรคคอมมิวนิสต์จีนชุดที่ 18 (The 3th Plenary Session of 18th Communist Party of China Central Committee) จะเป็นการลดการแทรกแซงของทางการจีนและเปิดให้กลไกตลาดมีบทบาทมากขึ้น ซึ่งจะก่อให้เกิด การเปลี่ยนแปลงในหลายมิติ อาทิ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อลดการพึ่งพาการลงทุนและหันมาพึ่งพาการบริโภคภายใน ประเทศให้เป็นแรงขับเคลื่อนหลักของเศรษฐกิจ การเร่งเปิดเสรีดอกเบี้ย การผลักดันเงินให้เงินหยวนสามารถแลกเปลี่ยนได้ อย่างเต็มรูปแบบ นอกจากนี้ ในปี 2557 ยังมีความท้าทายในภาคการเงินและการธนาคาร ซึ่งปัญหาที่เกิดจากการปล่อยสินเชื่อ ในระบบธนาคารเงาในปีกอ่ นได้เริม่ ก่อให้เกิดความเสียหาย ทัง้ นี้ นายกรัฐมนตรีหลี่ เค่อเฉียง ได้ประกาศในการประชุมสภาผูแ้ ทน ประมาณการเศรษฐกิจไทย
11
ประชาชนจีนครั้งที่ 12 (The 12th National People’s Congress) เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2557 ว่า ทางการจีนได้ก�ำหนดเป้าหมาย อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจีนที่ร้อยละ 7.5 ซึ่งเป็นระดับเดียวกันกับเป้าหมายของปี 2556 และก�ำหนดเป้าหมาย อัตราเงินเฟ้อที่ร้อยละ 3.5 อย่างไรก็ตาม การบรรลุเป้าหมายการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ร้อยละ 7.5 ในปี 2557 นี้ น่าจะเป็น ความท้าทายส�ำคัญของทางการจีนในการด�ำเนินนโยบายที่จะต้องหาจุดสมดุลระหว่างการประคองอัตราการขยายตัวทาง เศรษฐกิจไม่ให้อยู่ในระดับต�่ำจนเกินไปในระยะสั้น และการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจและภาคการเงินให้เกิดความมั่นคงยั่งยืน ในระยะยาว 1.2 เศรษฐกิจสหรัฐฯ (ตลาดส่งออกใหญ่อันดับ 2 ของไทย : สัดส่วนการส่งออกร้อยละ 10.0 ของมูลค่าส่งออก สินค้ารวมในปี 2556) ➥➥ เศรษฐกิจสหรัฐฯ ไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ขยายตัวร้อยละ 2.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน จากอุปสงค์ในประเทศเป็นส�ำคัญ หรือคิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 0.6 จากไตรมาสก่อนหน้า หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว โดยการบริโภคภาคเอกชนขยายตัวต่อเนื่องที่ร้อยละ 2.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า ในขณะทีก่ ารลงทุนภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 8.8 เร่งขึน้ จากไตรมาสก่อนหน้าทีข่ ยายตัวร้อยละ 6.9 ท�ำให้ทงั้ ปี 2556 เศรษฐกิจ สหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 1.9 ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจพบว่า ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ปี 2556 อัตราการว่างงานของสหรัฐฯ ปรับตัว ลดลงต่อเนื่องมาอยู่ที่ระดับร้อยละ 7.0 ของก�ำลังแรงงานรวม แต่ยังคงสูงกว่าระดับก่อนวิกฤติเศรษฐกิจที่ประมาณร้อยละ 5.0 ขณะที่เงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 1.2 ลดลงจากไตรมาสที่ 3 ปี 2556 ที่อยู่ที่ร้อยละ 1.6 ภาพที่ 2 แหล่งที่มาและอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
ที่มา : BEA รวบรวมโดย สศค.
➥➥ ในช่วง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 1 ปี 2557 (เดือนมกราคม–กุมภาพันธ์ 2557) เศรษฐกิจสหรัฐฯ
มีสัญญาณการฟื้นตัวต่อเนื่องทั้งด้านอุปสงค์และอุปทาน โดยการจ้างงานนอกภาคเกษตรสหรัฐฯ ในช่วงเดือนมกราคม– กุมภาพันธ์ 2557 เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2556 ถึง 304,000 ต�ำแหน่ง และอัตราการว่างงานลดลงต่อเนื่องมาอยู่ที่ระดับร้อยละ 6.7 ของก�ำลังแรงงานรวม เป็นสัญญาณว่าภาคการจ้างงานเริม่ ฟืน้ ตัวแล้ว ซึง่ จะส่งผลดีตอ่ การบริโภคภาคเอกชนต่อไป สอดคล้องกับ ยอดค้าปลีกของสหรัฐฯ ในช่วงเดือนมกราคม–กุมภาพันธ์ 2557 ที่ขยายตัวร้อยละ 1.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ถึงแม้ว่าสหรัฐฯ จะเผชิญกับสภาวะอากาศหนาวเย็นผิดปกติจากปรากฏการณ์ลมวนขั้วโลก (Polar Vortex) ในช่วงเวลา ดังกล่าวก็ตาม บ่งชี้ความแข็งแกร่งของการบริโภคภาคเอกชนซึ่งเป็นหัวใจหลักของเศรษฐกิจสหรัฐฯ ด้านอุปทานยังคงแสดง สัญญาณการขยายตัวต่อเนือ่ ง บ่งชีจ้ ากดัชนีผจู้ ดั การฝ่ายจัดซือ้ ทัง้ ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ ในเดือนมกราคม–กุมภาพันธ์ 2557 อยูท่ รี่ ะดับเฉลีย่ 52.3 จุด และ 52.8 จุด ตามล�ำดับ บ่งชีว้ า่ ภาคการผลิตสหรัฐฯ กลับมาฟืน้ ตัวอย่างเต็มทีเ่ พือ่ ตอบรับอุปสงค์ ในประเทศที่มีการฟื้นตัวเช่นเดียวกัน ➥➥ ในปี 2557 คาดว่า เศรษฐกิจสหรัฐฯ จะขยายตัวที่ร้อยละ 2.4 หรือในช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.2-2.6 เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 1.9 โดยคาดว่าในปี 2557 เศรษฐกิจภายในของสหรัฐฯ จะได้รับปัจจัยสนับสนุน จากการฟื้นตัวของภาคการจ้างงานอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลดีต่อการบริโภคภาคเอกชนอันเป็นหัวใจหลักของเศรษฐกิจสหรัฐฯ
12
อีกทั้งมาตรการทางการเงินที่คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ระดับต�่ำที่ร้อยละ 0-0.25 ต่อปี ต่อเนื่องจนถึงกลางปี 2558 เป็น อย่างน้อย ปัจจัยเหล่านี้จะเอื้อให้เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวได้ดี อย่างไรก็ตาม การประกาศลดขนาดมาตรการ QE3 และ QE4 โดยธนาคารกลางสหรัฐฯ ตัง้ แต่เดือนมกราคม 2557 อาจเป็นปัจจัยทีท่ ำ� ให้การขยายตัวทางเศรษฐกิจสหรัฐฯ ชะลอตัวลงเล็กน้อย 1.3 เศรษฐกิจญี่ปุ่น (ตลาดส่งออกใหญ่อันดับ 3 ของไทย : สัดส่วนการส่งออกร้อยละ 9.7 ของมูลค่าส่งออก สินค้ารวมในปี 2556) ➥➥ เศรษฐกิจญี่ปุ่นในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ขยายตัวเร่งขึ้นมาอยู่ที่ร้อยละ 2.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีกอ่ น หรือเมือ่ ขจัดผลทางฤดูกาลแล้วจะขยายตัวร้อยละ 0.2 จากไตรมาสก่อน ส่งผลให้ในปี 2557 เศรษฐกิจญีป่ นุ่ ขยายตัว เฉลี่ยร้อยละ 1.5 จากการใช้จ่ายภาครัฐที่ขยายตัวต่อเนื่องในระดับสูง กอปรกับภาคการส่งออกและการบริโภคภาคเอกชน ที่เริ่มกลับมาขยายตัวต่อเนื่องนับตั้งแต่ไตรมาสที่ 2 ปี 2556 เป็นส�ำคัญ ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจญี่ปุ่นในปี 2556 พบว่า อัตราการว่างงานปรับตัวลดลงจากปีก่อนหน้ามาอยู่ที่เฉลี่ยร้อยละ 4.0 ของก�ำลังแรงงานรวม ส่วนอัตราเงินเฟ้อทั่วไปที่ปรับตัว กลับมาอยู่ในแดนบวกนับตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2556 เป็นต้นมา ส่งผลให้ทั้งปี 2556 อัตราเงินเฟ้อญี่ปุ่นเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 0.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน สะท้อนภาวะเงินฝืดของญี่ปุ่นเริ่มส่งสัญญาณคลี่คลายไปในทิศทางที่ดีขึ้นต่อเนื่อง ส่วนหนึ่ง เป็นผลจากการด�ำเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจญี่ปุ่นที่ส่งผลในการคาดการณ์เงินเฟ้อของผู้บริโภคชาวญี่ปุ่นเป็นส�ำคัญ ทั้งนี้ ธนาคารกลางญีป่ นุ่ ยังคงอัตราดอกเบีย้ นโยบายในอัตราทีต่ ำ�่ ทีช่ ว่ งร้อยละ 0.0-0.1 ต่อปี เพือ่ สนับสนุนการลงทุนและการจ้างงาน ภายในประเทศให้ฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง ภาพที่ 3 แหล่งที่มาและอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
ที่มา : CEIC ค�ำนวณโดย สศค.
➥➥ ในช่วง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 1 ปี 2557 (เดือนมกราคม–กุมภาพันธ์ 2557) เศรษฐกิจญี่ปุ่นยังคง
มีสัญญาณที่ดีจากการฟื้นตัวแบบค่อยเป็นค่อยไปของอุปสงค์ทั้งในประเทศและนอกประเทศ บ่งชี้จากดัชนีผู้จัดการ ฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมในเดือนมกราคม–กุมภาพันธ์ 2557 เฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 56.1 จุด บ่งชี้การขยายตัวของภาคการผลิต อย่างต่อเนื่อง ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าส�ำคัญ สะท้อนจากมูลค่าการส่งออกเดือนมกราคม–กุมภาพันธ์ 2557 ที่ยังขยายตัวในระดับสูงเฉลี่ยร้อยละ 9.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน นอกจากนี้ อุปสงค์ในประเทศยังคงมีสัญญาณที่ดีต่อเนื่อง จากยอดค้าปลีกในเดือนมกราคม 2557 ขยายตัวร้อยละ 4.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ➥➥ ในปี 2557 คาดว่า เศรษฐกิจญีป ่ นุ่ จะขยายตัวทีร่ อ้ ยละ 1.3 หรือช่วงคาดการณ์รอ้ ยละ 0.8–1.8 ชะลอลง จากปี 2556 ที่ขยายตัวร้อยละ 1.5 จากปัจจัยเสี่ยงส�ำคัญหลายประการที่ญี่ปุ่นต้องเผชิญ ดังนี้ (1) การปรับเพิ่มภาษี มูลค่าเพิ่มจากร้อยละ 5.0 เป็นร้อยละ 8.0 ในช่วงเดือนเมษายน 2557 นี้ และเป็นร้อยละ 10 ในช่วงเดือนตุลาคม 2558 อาจเป็น อุปสรรคต่อการขยายตัวของอุปสงค์ในประเทศ (2) การด�ำเนินแผนการกระตุ้นเศรษฐกิจโดยเฉพาะการเร่งใช้จ่ายของภาครัฐ ในระดับสูงช่วงปีที่ผ่านมาส่งผลโดยตรงต่อปัจจัยทางด้านฐานเป็นส�ำคัญ ขณะที่มาตรการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจญี่ปุ่นยังคง ล่าช้าและไม่มีความชัดเจนในรายละเอียด และ (3) ภาคการค้าระหว่างประเทศที่กลับมาขยายตัวในระดับปกติจากอานิสงส์ ประมาณการเศรษฐกิจไทย
13
ด้านปัจจัยฐานต�ำ่ ทีห่ มดลงในปีทผี่ า่ นมา จากทีก่ ล่าวมานัน้ เป็นประเด็นส�ำคัญทางเศรษฐกิจญีป่ นุ่ ทีค่ วรให้ความส�ำคัญและจับตา มองอย่างใกล้ชิดในระยะต่อไป 1.4 เศรษฐกิจสหภาพยุโรป 17 ประเทศ (ตลาดส่งออกใหญ่อันดับ 4 ของไทย : สัดส่วนการส่งออกร้อยละ 6.9 ของมูลค่าส่งออกสินค้ารวมในปี 2556) ➥➥ เศรษฐกิจยูโรโซนในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 กลับมาขยายตัวที่ร้อยละ 0.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของ ปีก่อน โดยหากเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า ขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ที่ร้อยละ 0.3 (หลังจากขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) จากภาพรวมเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวจากปัญหาหนี้สาธารณะอย่างต่อเนื่อง โดยในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 การบริโภคและการลงทุน ภาคเอกชนกลับมาขยายตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 2 ปีที่ร้อยละ 0.3 และร้อยละ 0.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตามล�ำดับ นอกจากนี้ การบริโภคภาครัฐและการส่งออกขยายตัวต่อเนื่องที่ร้อยละ 0.4 และร้อยละ 2.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของ ปีก่อน ตามล�ำดับ ท�ำให้ทั้งปี 2556 เศรษฐกิจยูโรโซนหดตัวชะลอลงจากปีก่อนหน้ามาอยู่ที่ร้อยละ -0.4 อย่างไรก็ตาม ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจพบว่า อัตราการว่างงานโดยเฉลี่ยในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ยังคงทรงตัวอยู่ในระดับที่สูงถึงร้อยละ 12.0 ของก�ำลังแรงงานรวม ในขณะที่อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ลดลงมาอยู่ที่ร้อยละ 0.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ปีก่อนหน้า ซึ่งต�่ำกว่าเป้าหมายเงินเฟ้อของธนาคารกลางยุโรปที่ก�ำหนดไว้ที่ไม่เกินร้อยละ 2.0 และเพิ่มความเสี่ยงที่ยูโรโซน อาจเข้าสู่ภาวะเงินฝืดมากขึ้น ภาพที่ 4 แหล่งที่มาและอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
ที่มา : European Central Bank
➥➥ ในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2557 (เดือนมกราคม–กุมภาพันธ์ 2557) เศรษฐกิจยูโรโซนเริ่มส่งสัญญาณ
การฟื้นตัวที่ชัดเจนมากขึ้น สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการในช่วงเดือนมกราคม– กุมภาพันธ์ 2557 ซึ่งอยู่ในระดับสูงกว่าระดับ 50.0 จุดต่อเนื่อง ที่ระดับเฉลี่ย 53.1 จุด และ 52.1 จุด ตามล�ำดับ บ่งชี้ภาคการผลิต ที่ขยายตัวต่อเนื่องตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ขณะที่ยอดการส่งออกเดือนมกราคม 2557 ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2 ที่ร้อยละ 1.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน นอกจากนี้ อุปสงค์ในประเทศส่งสัญญาณฟื้นตัวต่อเนื่องเช่นกัน สะท้อนจาก ยอดค้าปลีกในเดือนมกราคม 2557 ขยายตัวต่อเนื่องที่ร้อยละ 1.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือขยายตัวร้อยละ 1.6 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า (ขจัดปัจจัยทางฤดูกาลแล้ว) อย่างไรก็ตาม อัตราการว่างงานที่ยังคงทรงตัวในระดับสูงต่อเนื่อง เป็นปัจจัยเสี่ยงส�ำคัญที่อาจส่งผลกระทบต่อการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายใน โดยในเดือนมกราคม 2557 อยู่ที่ร้อยละ 12.0 ของ ก�ำลังแรงงานรวม โดยเฉพาะอัตราการว่างงานวัยเยาวชนที่สูงถึงร้อยละ 24.0 ของก�ำลังแรงงานเยาวชนรวม ➥➥ ในปี 2557 คาดว่า เศรษฐกิจยูโรโซนจะกลับมาขยายตัวทีร่ อ ้ ยละ 0.8 จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ น เร่งขึน้ จากปีกอ่ นหน้าทีห่ ดตัวร้อยละ 0.4 ส่วนหนึง่ เป็นผลจากปัจจัยฐานต�ำ่ กอปรกับวิกฤติหนีส้ าธารณะทีค่ าดว่าจะคลีค่ ลายต่อเนือ่ ง นอกจากนี้ ภาคการผลิ ต และการส่ ง ออกที่ มี ทิ ศ ทางขยายตั ว ที่ ชั ด เจนมากขึ้ น ถื อ เป็ น ปั จ จั ย สนั บ สนุ น เศรษฐกิ จ ส� ำ คั ญ อย่างไรก็ตาม ปัญหาเสถียรภาพเศรษฐกิจภายในยูโรโซนยังถือเป็นความเสี่ยงส�ำคัญ ทั้งจากอัตราการว่างงานที่ยังทรงตัว ในระดับสูง และความเสี่ยงที่ยูโรโซนอาจเข้าสู่ภาวะเงินฝืด ซึ่งอาจส่งผลลบต่ออุปสงค์ภายในที่ควรติดตามอย่างใกล้ชิดต่อไป
14
1.5 เศรษฐกิจอาเซียน 5 ประเทศ (สัดส่วนการส่งออกร้อยละ 17.6 ของมูลค่าการส่งออกรวมในปี 2556) ➥➥ เศรษฐกิจอาเซียน 5 ประเทศ (มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย เวียดนาม และฟิลป ิ ปินส์) ในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ส่วนใหญ่ขยายตัวเร่งขึ้นเล็กน้อยจากไตรมาสก่อน เนื่องจากภาคการส่งออกขยายตัวเร่งขึ้นอย่างชัดเจน ซึ่งเป็นผล จากการฟื้นตัวของประเทศคู่ค้าส�ำคัญ โดยเฉพาะสหรัฐฯ และญี่ปุ่น แม้ว่าอุปสงค์ภายในประเทศทั้งจากภาคเอกชนและภาครัฐ รวมถึงการลงทุนรวมของประเทศอาเซียนส่วนใหญ่ขยายตัวชะลอลง ส�ำหรับด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ แรงกดดันด้านเงินเฟ้อ ของประเทศส่วนใหญ่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นผลจากปัจจัยภายในของแต่ละประเทศ เช่น กรณีมาเลเซีย อัตราเงินเฟ้อ ในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 อยูท่ รี่ อ้ ยละ 3.0 จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ น เพิม่ ขึน้ จากไตรมาสก่อนซึง่ อยูท่ รี่ อ้ ยละ 2.2 โดยเป็นผลมาจาก มาตรการลดเงินอุดหนุนราคาน�้ำมันในเดือนตุลาคม 2556 และกรณีฟิลิปปินส์ ซึ่งประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติในช่วงเวลา ดังกล่าว ส่งผลกระทบต่อภาคการผลิต ท�ำให้ราคาสินค้าโดยเฉพาะในหมวดอาหารปรับตัวสูงขึน้ ส่งผลให้อตั ราเงินเฟ้อไตรมาสที่ 4 ปี 2556 อยู่ที่ร้อยละ 3.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนที่อยู่ที่ร้อยละ 2.4 ฯลฯ โดยสรุปในปี 2556 เศรษฐกิจอาเซียนส่วนใหญ่ขยายตัวเร่งขึ้นจากปี 2555 ยกเว้นประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย ที่ขยายตัวชะลอลง การบริโภคภาคเอกชนขยายตัวชะลอลงเล็กน้อยหรือทรงตัวจากปีก่อน ขณะที่การบริโภคภาครัฐของประเทศ ส่วนใหญ่ขยายตัวเร่งขึน้ เนือ่ งจากทางการของแต่ละประเทศพยายามเพิม่ การใช้จา่ ยภาครัฐเพือ่ กระตุน้ เศรษฐกิจในช่วงครึง่ แรก ของปี 2556 ส่วนการลงทุนรวมของประเทศส่วนใหญ่ชะลอลงจนถึงหดตัวเมื่อเทียบกับปีก่อน สวนทางกับภาคการส่งออก ที่ขยายตัวเร่งขึ้นตามสัญญาณของเศรษฐกิจโลกที่มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นตั้งแต่ไตรมาสที่ 3 ปี 2556 ตารางที่ 2 การเติบโตทางเศรษฐกิจและแหล่งที่มาของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (%) ประเทศ (สัดส่วนการส่งออก ปี 2556) อัตราการขยายตัวของ GDP ปี 2556 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน (%yoy) การบริโภคภาคเอกชน การบริโภคภาครัฐ การลงทุนรวม การส่งออกสุทธิ การเปลี่ยนแปลงของสินค้าคงคลัง
มาเลเซีย (5.7%)
สิงคโปร์ อินโดนีเซีย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ (4.9%) (4.8%) (2.8%) (2.2%)
4.7
4.1
5.8
5.4
7.2
3.8 0.8 2.2 -1.9 -0.2
1.0 1.0 -0.7 2.2 0.6
2.9 0.4 1.2 2.0 -0.7
n.a. n.a. n.a. n.a. n.a.
2.6 0.5 5.0 -1.2 0.3
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
ภาพที่ 5 อัตราการขยายตัวของการส่งออก (%yoy)
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
ภาพที่ 6 ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (%yoy)
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
15
➥➥ เศรษฐกิจของกลุ่มประเทศอาเซียน 5 ประเทศในช่วง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 1 ปี 2557 (เดือน
มกราคม–กุมภาพันธ์ 2557) ส่งสัญญาณฟื้นตัวต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนทั้งจากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก โดยเทศกาลตรุษจีนในช่วงเวลาดังกล่าวเป็นปัจจัยสนับสนุนการบริโภคภาคเอกชนของประเทศในกลุ่มอาเซียน ท�ำให้มีแนวโน้ม ขยายตัวได้ดี สะท้อนจากยอดค้าปลีกของประเทศในอาเซียนส่วนใหญ่ขยายตัวเร่งขึ้น ด้านเศรษฐกิจระหว่างประเทศขยายตัวดี ต่อเนือ่ งตามเศรษฐกิจประเทศคูค่ า้ ส�ำคัญทีฟ่ น้ื ตัวแล้วอย่างชัดเจน ในส่วนภาคอุตสาหกรรมในประเทศของกลุม่ ประเทศอาเซียน แม้จะขยายตัวในอัตราชะลอลง ซึง่ ส่วนหนึง่ เป็นผลมาจากการเร่งการผลิตในช่วงปลายปี 2557 แต่กย็ งั ขยายตัวต่อเนือ่ ง ดังสะท้อน จากดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม ซึ่งสอดคล้องกับการส่งออกที่ฟื้นตัวแล้ว ➥➥ ในปี 2557 คาดว่าเศรษฐกิจของประเทศในกลุ่มอาเซียนจะขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 5.0 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอตัวลงเล็กน้อยจากปี 2556 ที่ขยายตัวร้อยละ 5.2 เนื่องจากประเทศในกลุ่มอาเซียนยังคง มีความเสีย่ งทัง้ จากภายในประเทศและภายนอกประเทศ โดยความเสีย่ งจากปัจจัยภายนอกทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ การลดขนาดมาตรการ QE อย่างต่อเนื่องของสหรัฐฯ ที่ท�ำให้เงินทุนไหลออกจากประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ รวมทั้งประเทศในกลุ่มอาเซียน ในขณะที่ ความเสี่ยงจากปัจจัยภายในมาจากผลข้างเคียงของมาตรการที่ทางการของแต่ละประเทศด�ำเนินการ เช่น มาตรการห้ามส่งออก ทรัพยากรธรรมชาติที่ยังไม่ได้แปรรูปบางชนิดของเวียดนามและอินโดนีเซียที่อาจส่งผลเชิงลบต่อการส่งออก การลดเงินอุดหนุน ราคาน�้ำมันของมาเลเซียเพื่อลดการขาดดุลงบประมาณ ซึ่งส่งผลกระทบให้อัตราเงินเฟ้อเพิ่มขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ฯลฯ 1.6 เศรษฐกิจประเทศคู่ค้าอื่น ๆ ในเอเชียและออสเตรเลีย (สัดส่วนการส่งออกร้อยละ 16.1 ของมูลค่าส่งออก สินค้ารวมในปี 2556) ➥➥ เศรษฐกิจประเทศคู่ค้าอื่น ๆ ในเอเชีย (ฮ่องกง อินเดีย เกาหลีใต้ และไต้หวัน) และออสเตรเลีย ในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 สามารถจ�ำแนกได้เป็น 2 กลุ่ม โดยอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ของ ประเทศที่พึ่งพาการส่งออกเป็นหลัก ได้แก่ ฮ่องกง เกาหลีใต้ และไต้หวัน มีทิศทางเร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า โดยเศรษฐกิจ ฮ่องกงขยายตัวร้อยละ 3.0 เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.8 เกาหลีใต้ขยายตัวร้อยละ 3.9 เร่งขึ้นจากร้อยละ 3.3 และไต้หวันขยายตัว ร้อยละ 2.9 เร่งขึ้นจากร้อยละ 1.7 จากอุปสงค์ต่อสินค้าส่งออกที่เพิ่มขึ้นจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก เป็นส�ำคัญ ในขณะที่ ประเทศที่พึ่งพาการบริโภคภาคเอกชนเป็นหลัก ได้แก่ ออสเตรเลีย และอินเดีย อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ขึ้นอยู่กับปัจจัยภายใน โดยเศรษฐกิจออสเตรเลียมีทิศทางการขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งมีผลมาจาก การบริโภคทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชนทีข่ ยายตัวเร่งขึน้ แม้วา่ การลงทุนจะหดตัวลงตามภาคเหมืองแร่ทกี่ ำ� ลังประสบปัญหาก็ตาม นอกจากนี้ การส่งออกสุทธิได้ขยายตัวเร่งขึ้นจากการส่งออกที่เร่งตัวขึ้นและการน�ำเข้าหดตัว ในขณะที่เศรษฐกิจอินเดียขยายตัว ชะลอลงมาอยูท่ รี่ อ้ ยละ 4.7 จากร้อยละ 5.1 จากการลงทุนทีข่ ยายตัวชะลอลง อีกทัง้ มีการเร่งน�ำเข้าสินค้าพลังงานในช่วงทีค่ า่ เงิน รูปอี อ่ นค่าเป็นส�ำคัญ ด้านเสถียรภาพภายในประเทศพบว่า โดยรวมอัตราเงินเฟ้อมีแนวโน้มทรงตัวถึงชะลอลง ยกเว้นในกรณีของ ฮ่องกงที่อัตราเงินเฟ้อขยายตัวเร่งขึ้นเล็กน้อย ➥➥ ทัง้ นี้ ทัง้ ปี 2556 เศรษฐกิจประเทศคูค ่ า้ อืน่ ๆ ในเอเชียและออสเตรเลีย โดยรวมขยายตัวเร่งขึน้ โดยเฉพาะ ประเทศที่พึ่งพาการส่งออกมีการขยายตัวเร่งขึ้นจากอุปสงค์ภายนอกที่ฟื้นตัวอย่างชัดเจนเป็นส�ำคัญ ในขณะที่เศรษฐกิจของ ประเทศที่พึ่งพาการใช้จ่ายภายในประเทศเป็นหลัก ส่งสัญญาณชะลอลงอย่างชัดเจนจากปัจจัยเฉพาะของประเทศนั้น ๆ ตารางที่ 3 การเติบโตทางเศรษฐกิจและแหล่งที่มาของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (%) ประเทศ (สัดส่วนการส่งออก ปี 2556) อัตราการขยายตัวของ GDP ปี 2556 (%yoy) การบริโภคภาคเอกชน การบริโภคภาครัฐ การลงทุนรวม การส่งออกสุทธิ การเปลี่ยนแปลงของสินค้าคงคลัง ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
16
ฮ่องกง ออสเตรเลีย อินเดีย เกาหลีใต้ ไต้หวัน (5.8%) (4.5%) (2.3%) (2.0%) (1.5%) 2.9 2.4 4.6 2.8 2.1 2.7 1.1 2.0 1.0 1.0 0.2 0.2 0.5 0.4 0.0 0.8 -0.4 0.1 0.9 0.9 -0.9 2.0 1.2 0.7 0.6 0.1 -0.6 1.0 -0.2 -0.3
ภาพที่ 7 อัตราการขยายตัวของการส่งออก (%yoy)
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
ภาพที่ 8 ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (%yoy)
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
➥➥ เศรษฐกิจของประเทศคูค ่ า้ อืน่ ๆ ในเอเชียและออสเตรเลียในช่วง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 1 ปี 2557
(เดือนมกราคม–กุมภาพันธ์ 2557) มีทิศทางขยายตัวต่อเนื่อง แต่ในระดับต�่ำ ส�ำหรับประเทศที่เศรษฐกิจพึ่งพาการส่งออก เป็นหลักมีอัตราการขยายตัวของการส่งออกได้ต่อเนื่องในระดับต�่ำ ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากปัจจัยฐานสูงในช่วงเดือนมกราคม 2556 ในขณะที่ประเทศที่เศรษฐกิจพึ่งพาการบริโภคภาคเอกชนเป็นหลักยังคงเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับไตรมาสก่อนหน้า โดยในกรณีของออสเตรเลียเศรษฐกิจมีแนวโน้มดีขึ้น สะท้อนจากยอดค้าปลีกที่ขยายตัวเร่งขึ้นติดต่อกันเป็นเดือนที่ 4 และ แตะระดับสูงที่สุดในรอบ 4 ปีในเดือนมกราคม 2557 ➥➥ ในปี 2557 คาดว่า การขยายตัวของเศรษฐกิจประเทศคูค ่ า้ อืน่ ๆ ในเอเชียและออสเตรเลียในภาพรวม จะขยายตัวดีขนึ้ ต่อเนือ่ งจากปี 2556 โดยเฉพาะกลุม่ ประเทศทีพ่ งึ่ พาการส่งออกเป็นหลักซึง่ จะได้รบั อานิสงส์จากเศรษฐกิจโลก ที่ยังคงมีสัญญาณฟื้นตัวต่อเนื่อง โดยเฉพาะในประเทศคู่ค้าส�ำคัญ ได้แก่ สหรัฐฯ และสหภาพยุโรป อย่างไรก็ตาม ความเสี่ยง จากการชะลอตัวลงของเศรษฐกิจจีนอาจท�ำให้อุปสงค์ต่อสินค้าส่งออกจากทั้ง 3 ประเทศ ไม่เพิ่มขึ้นมากเท่าที่ควร ในขณะที่ เศรษฐกิจของประเทศทีพ่ งึ่ พาการบริโภคภาคเอกชนเป็นหลักน่าจะยังคงสามารถขยายตัวได้ตอ่ เนือ่ งในระดับไม่สงู นัก โดยเฉพาะ ในกรณีของอินเดีย ซึง่ การบรรเทาปัญหาอัตราเงินเฟ้อด้วยการขึน้ อัตราดอกเบีย้ นโยบายโดยธนาคารกลาง อาจจะไม่เป็นผลดีนกั ต่อการบริโภคและการลงทุนภายในประเทศซึ่งเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจส�ำคัญ
2. ราคาน�้ำมันดิบในตลาดโลก ในปี 2557 คาดว่าราคาน�้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยจะอยู่ที่ 105.0 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล (ช่วงคาดการณ์อยู่ที่ 100.0–110.0 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล) คงทีจ่ ากปี 2556 ตามสัญญาณการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจโลกทีม่ แี นวโน้มปรับตัว ดีขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป ส่งผลให้มีความต้องการใช้พลังงานสูงขึ้น ทั้งจากกลุ่มประเทศก�ำลังพัฒนาอย่างจีนและ อินเดียเป็นส�ำคัญ และเศรษฐกิจของประเทศพัฒนา อาทิ สหรัฐฯ และสหภาพยุโรปทีม่ แี นวโน้มจะขยายตัว อย่างไรก็ตาม การเพิ่มขึ้นจะเป็นไปได้อย่างจ�ำกัดเนื่องจากปริมาณอุปทานน�้ำมันดิบโลกคาดว่าจะเพิ่มขึ้นในระดับสูงจากการผลิต น�้ำมันดิบจากชั้นหินดินดาน (Tight Oil) ของประเทศสหรัฐฯ และแคนาดา รวมถึงการผลิตน�้ำมันดิบเพิ่มขึ้นของ กลุ่ม OPEC โดยเฉพาะซาอุดีอาระเบีย ทั้งนี้ ราคาน�้ำมันดิบอาจผันผวนในระยะสั้นได้จากเหตุการณ์ความไม่สงบ ทางการเมืองในภูมภิ าคตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ (MENA) ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ และวิกฤติการเมืองในยูเครน
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
17
ภาพที่ 9 สมมติฐานราคาน�้ำมันดิบดูไบในปี 2557
ที่มา : Reuters และการคาดการณ์โดย สศค.
➥➥ ทัง้ นี้ ในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2557 ราคาน�ำ้ มันดิบดูไบปรับตัวเพิม ่ ขึน้ ต่อเนือ่ งจากปลายปี 2556 จากการฟืน้ ตัว
ของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะสหรัฐฯ และสหภาพยุโรป ท�ำให้อุปสงค์การใช้น�้ำมันทั้งภาคการผลิตและการบริโภคเพิ่มสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม จากข้อมูลล่าสุดในเดือนมีนาคม 2557 ราคาน�้ำมันดิบดูไบปรับตัวลดลงเล็กน้อยมาอยู่ที่ 104.4 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อบาร์เรล เนื่องจากความต้องการใช้น�้ำมันดิบของสหรัฐฯ ลดลงในช่วงฤดูการปิดซ่อมโรงกลั่น ท�ำให้ปริมาณน�้ำมันคงคลัง ยังอยูใ่ นระดับทีส่ งู รวมถึงอุปสงค์ทชี่ ะลอลงตามภาวะเศรษฐกิจจีน และความกังวลต่อวิกฤตินวิ เคลียร์ในญีป่ นุ่ อีกด้วย ซึง่ ส่งผลให้ ในช่วงไตรมาสแรกของปี 2557 ราคาน�้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยอยู่ที่ 104.5 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล ลดลงร้อยละ 3.5 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีกอ่ น ส่วนด้านอุปทานน�ำ้ มันดิบนัน้ ความไม่แน่นอนของมาตรการคว�ำ่ บาตรรัสเซียโดยสหรัฐฯ และสหภาพยุโรป ในวิกฤติการเมืองในยูเครน ประกอบกับเหตุการณ์การประท้วงในลิเบียและไนจีเรียที่ยังคงไม่มีทีท่าว่าจะหาข้อยุติได้ ส่งผลให้ ปริมาณอุปทานน�้ำมันดิบโลกยังอยู่ในระดับต�่ำและผลักดันให้ราคายังยืนอยู่ในระดับสูง ➥➥ ปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อราคาน�้ำมันดิบดูไบในปี 2557 คือ 1) การเพิ่มขึ้นของอุปสงค์ต่อน�้ำมันดิบโลก ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเศรษฐกิจสหรัฐฯ สหภาพยุโรป 15 และประเทศนอกกลุ่ม OECD ในเอเชีย ขณะที่ 2) อุปทานน�้ำมันดิบโลกคาดว่าจะเพิ่มขึ้นจากการผลิตน�้ำมันจากทั้งกลุ่ม OPEC จากรัสเซีย กลุ่มประเทศลาตินอเมริกา และทวีปแอฟริกาเป็นส�ำคัญ และกลุ่ม Non-OPEC น�ำโดยประเทศสหรัฐฯ ที่มีเทคโนโลยี การผลิตน�้ำมันแบบใหม่ (Shale Gas) 1) อุปสงค์ต่อน�้ำมันดิบที่เพิ่มขึ้น International Energy Agency (IEA) คาดการณ์ ณ เดือนมีนาคม 2557 ว่า ในปี 2557 ความต้องการน�้ำมันดิบทั่วโลกจะอยู่ที่ 92.68 ล้านบาร์เรลต่อวัน เทียบกับปี 2556 ที่อยู่ที่ระดับ 91.33 ล้านบาร์เรลต่อวัน ซึ่งเป็น การปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.35 ล้านบาร์เรลต่อวัน หรือขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5 ต่อปี โดยเป็นผลมาจากความต้องการของประเทศ นอกกลุ่ม OECD เป็นส�ำคัญ ประเทศในกลุ่ม OECD คาดว่าในปี 2557 มีความต้องการใช้น�้ำมันดิบรวมที่ 46.01 ล้านบาร์เรลต่อวัน เทียบกับ ปี 2556 ที่อยู่ที่ระดับ 46.05 ล้านบาร์เรลต่อวัน เป็นการปรับตัวลดลง 0.04 ล้านบาร์เรลต่อวัน หรือหดตัวร้อยละ 0.1 ต่อปี ในขณะที่ประเทศนอกกลุ่ม OECD คาดว่าในปี 2557 มีความต้องการใช้น�้ำมันดิบรวมที่ 46.67 ล้านบาร์เรลต่อวัน เทียบกับปี 2556 ที่อยู่ที่ 45.28 ล้านบาร์เรลต่อวัน หรือเพิ่มขึ้น 1.39 ล้านบาร์เรลต่อวัน คิดเป็นอัตราขยายตัวร้อยละ 3.1 ต่อปี
• •
2) อุปทานน�้ำมันดิบโลกที่เพิ่มขึ้น ณ เดือนมีนาคม 2557 คาดว่าในปี 2557 ปริมาณน�้ำมันดิบที่ผลิตทั่วโลกจะอยู่ที่ 93.46 ล้านบาร์เรลต่อวัน เทียบกับปี 2556 ที่อยู่ที่ 91.52 ล้านบาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้น 1.94 ล้านบาร์เรลต่อวัน คิดเป็นอัตราขยายตัว ร้อยละ 2.12 จากปีก่อนหน้า
18
•
ในกลุ่ม OPEC คาดว่าก�ำลังการผลิตน�้ำมันดิบในปี 2557 จะอยู่ที่ 37.01 ล้านบาร์เรลต่อวัน เทียบกับปี 2556 ที่อยู่ที่ระดับ 36.85 ล้านบาร์เรลต่อวัน หรือเพิ่มขึ้น 0.16 ล้านบาร์เรลต่อวัน คิดเป็นอัตราขยายตัวร้อยละ 0.43 โดยการผลิต ที่เพิ่มขึ้นมาจากประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นหลัก ส่วนในกลุ่ม Non-OPEC คาดว่าก�ำลังการผลิตในปี 2557 อยู่ที่ระดับ 56.45 ล้านบาร์เรลต่อวัน เทียบกับปี 2556 ที่อยู่ที่ 54.68 ล้านบาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้น 1.77 ล้านบาร์เรลต่อวัน คิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 3.24 ต่อปี เนื่องจากการผลิต ที่เพิ่มขึ้นจากรัสเซีย กลุ่มประเทศลาตินอเมริกา และทวีปแอฟริกาเป็นส�ำคัญ
•
3. ราคาสินค้าส่งออกและน�ำเข้า (ในรูปดอลลาร์สหรัฐ) ในปี 2557 คาดว่าราคาสินค้าส่งออกจะไม่ขยายตัว (ขยายตัวร้อยละ 0.0) จากการฟืน้ ตัวอย่างล่าช้าของเศรษฐกิจ โลก ขณะทีป่ ญ ั หาทางการเมืองภายในประเทศถือเป็นปัจจัยเสีย่ งส�ำคัญ ส่วนราคาสินค้าน�ำเข้าคาดว่าจะหดตัวร้อยละ 0.2 จากราคาพลังงานที่มีแนวโน้มชะลอลงเล็กน้อย ภาพที่ 10 อัตราการขยายตัวของราคาสินค้าส่งออกและน�ำเข้า (รูปดอลลาร์สหรัฐ) ในปี 2556 และปี 2557 อัตราการขยายตัวของราคาสินค้าส่งออก (รูปดอลลาร์สหรัฐ)
อัตราการขยายตัวของราคาสินค้าน�ำเข้า (รูปดอลลาร์สหรัฐ)
ที่มา : กระทรวงพาณิชย์ และ สศค.
3.1 ราคาสินค้าส่งออกในรูปดอลลาร์สหรัฐ ➥➥ ราคาสินค้าส่งออกในปี 2557 คาดว่าจะไม่ขยายตัว (ขยายตัวร้อยละ 0.0) ตามแนวโน้มเศรษฐกิจโลก ที่คาดว่าจะปรับตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไปจากปี 2556 โดยเฉพาะประเทศที่เป็นอุปสงค์สุดท้าย (Final Demand) อาทิ ประเทศ สหรัฐฯ และสหภาพยุโรป จะเป็นปัจจัยบวกให้ราคาสินค้าส่งออกปรับตัวดีขึ้นได้ โดยในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2556 ดัชนี ราคาส่งออกหดตัวร้อยละ 1.7 จากทุกหมวดสินค้า กล่าวคือ ดัชนีราคาส่งออกสินค้าเกษตรหดตัวร้อยละ 7.2 ในทุกผลิตภัณฑ์ ราคาสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตรหดตัวร้อยละ 0.6 และราคาสินค้าอุตสาหกรรมหดตัวร้อยละ 1.1 จากหมวดยานพาหนะ อุปกรณ์และส่วนประกอบเป็นส�ำคัญ 3.2 ราคาสินค้าน�ำเข้าในรูปดอลลาร์สหรัฐ ➥➥ ราคาสินค้าน�ำเข้าในปี 2557 คาดว่าจะหดตัวร้อยละ 0.2 หดตัวในอัตราชะลอลงเมื่อเทียบกับปีก่อน หน้าที่หดตัวร้อยละ 2.1 ตามการส่งออกที่คาดว่าจะกลับมาฟื้นตัวอีกครั้งในช่วงครึ่งหลังของปี 2557 ซึ่งจะส่งผลต่อเนื่องไปยัง ความต้องการน�ำเข้าสินค้าวัตถุดิบเพิ่มขึ้นและท�ำให้ราคาสินค้าน�ำเข้าวัตถุดิบปรับตัวดีขึ้นในปี 2557 ทั้งนี้ ในช่วง 2 เดือนแรก ของปี 2557 ดัชนีราคาสินค้าน�ำเข้ามีการหดตัวร้อยละ 1.4 จากการหดตัวของสินค้าเชื้อเพลิงและสินค้าวัตถุดิบเป็นส�ำคัญ โดยหดตัวร้อยละ 0.8 และร้อยละ 3.1 ตามล�ำดับ ส่วนราคาสินค้าน�ำเข้าทุนขยายตัวเล็กน้อยร้อยละ 0.3 ในขณะที่ราคาสินค้า อุปโภคบริโภคทรงตัวที่ร้อยละ 0.0 ประมาณการเศรษฐกิจไทย
19
4. อัตราแลกเปลี่ยนบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ “ในปี 2557 ค่าเงินบาทมีทิศทางอ่อนค่าลงมาอยู่ที่ 32.25 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ หรือในช่วงคาดการณ์ระหว่าง 31.3–33.3 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ” (ภาพที่ 11) ภาพที่ 11 สมมติฐานอัตราแลกเปลี่ยนบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ เฉลี่ยในปี 2557
ที่มา : ธปท. รวบรวมโดย สศค.
4.1 สถานการณ์ค่าเงินบาทในช่วงที่ผ่านมา หากพิจารณาทิศทางความเคลื่อนไหวของค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 แล้วจะพบว่าค่าเงินบาทอ่อนค่าลงถึงร้อยละ 5.5 เมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยปี 2556 (ภาพที่ 12) เนื่องจากเงินทุนไหลออกจาก ตลาดหลักทรัพย์และตลาดพันธบัตร จากการลดขนาดมาตรการทางการเงินแบบผ่อนคลายระลอกที่ 3 และ 4 ของสหรัฐฯ (QE3 และ QE4) ในช่วงเวลาดังกล่าว ตลอดจนประเด็นทางการเมืองในประเทศ ส่งผลให้นักลงทุนเริ่มถอนเงินกลับจาก ตลาดภูมิภาคไปสู่สินทรัพย์ที่มีความปลอดภัยสูง (Safe Haven) สะท้อนจากดัชนีค่าเงินดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึ้นเล็กน้อย อย่างไรก็ตาม ในช่วงเดียวกันมีเงินทุนไหลเข้าจากต่างประเทศเพื่อเข้าควบรวมกิจการในไทย เป็นปัจจัยที่ท�ำให้ค่าเงินบาท ไม่อ่อนค่าจนเกินไป ภาพที่ 12 อัตราแลกเปลี่ยนบาทต่อดอลลาร์สหรัฐรายวัน 32.435 (31 มี.ค. 2557)
ที่มา : ธปท. รวบรวมโดย สศค.
ทั้งนี้ ดุลบัญชีการช�ำระเงิน (Balance of Payment) ในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2557 ที่ขาดดุลสะสม 0.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ภาพที่ 13) สะท้อนปัจจัยที่ท�ำให้ค่าเงินบาทในช่วงเวลาดังกล่าวอ่อนค่าลง
20
ภาพที่ 13 ดุลการช�ำระเงินของประเทศไทยปี 2556-2557
ที่มา : ธปท.
4.2 แนวโน้มของค่าเงินบาทในระยะถัดไป ในปี 2557 คาดว่าค่าเงินบาทเฉลี่ยต่อดอลลาร์สหรัฐจะมีแนวโน้มอ่อนค่าลงเล็กน้อยมาอยู่ที่ระดับ 32.25 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ (โดยมีช่วงคาดการณ์อยู่ที่ระดับ 31.3-33.3 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ) จากปัจจัยหลัก คือ เงินทุนเคลือ่ นย้ายทีค่ าดว่าจะไหลออกตามการลดขนาดมาตรการทางการเงินแบบผ่อนคลายของประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ตา่ ง ๆ โดยเฉพาะสหรัฐฯ ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโดยเฉพาะในภาคการจ้างงาน ประกอบกับแรงกดดันด้านเงินเฟ้อของประเทศ เหล่านัน้ ทีค่ าดว่าจะเพิม่ สูงขึน้ จากปัจจัยด้านอุปสงค์ทคี่ าดว่าจะฟืน้ ตัวขึน้ อย่างไรก็ดี คาดว่าดุลบัญชีเดินสะพัดจะกลับมาเกินดุล ตามการส่งออกที่ฟื้นตัวดีขึ้นจากเศรษฐกิจโลกที่ส่งสัญญาณฟื้นตัวที่ชัดเจนขึ้น นอกจากนี้ ดุลเงินทุนของไทยในระยะต่อไปคาดว่าจะยังคงมีความผันผวนสูง อันเป็นผลจากความไม่แน่นอน ของการยุติมาตรการอัดฉีดสภาพคล่องจากธนาคารกลางประเทศต่าง ๆ ท�ำให้นักลงทุนอาจถอนเงินทุนกลับสู่แหล่งการลงทุน ทีป่ ลอดภัย (Safe Haven) หากธนาคารกลางประเทศต่าง ๆ มีแนวโน้มจะยุตมิ าตรการดังกล่าว ปัจจัยเหล่านีจ้ ะส่งผลให้คา่ เงินบาท ตลอดจนค่าเงินในภูมิภาคอื่น ๆ มีความผันผวนตามไปด้วย
5. อัตราดอกเบี้ยนโยบาย “สศค.คาดว่า ณ สิน้ ปี 2557 อัตราดอกเบีย้ นโยบายจะทรงตัวอยูท่ รี่ ะดับปัจจุบนั ทีร่ อ้ ยละ 2.00 ต่อปี (ช่วงคาดการณ์ ร้อยละ 1.50-2.50 ต่อปี)” ➥➥ คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้ดำ� เนินนโยบายการเงินแบบ
ผ่อนคลายต่อเนื่องในปี 2556 ซึ่งเป็นผลจากการที่เศรษฐกิจไทยขยายตัวต�่ำกว่าที่คาดไว้เดิม ตามอุปสงค์ภายนอกประเทศ ที่ชะลอตัว กอปรกับอุปสงค์ภายในประเทศที่ชะลอลง ภายหลังผลจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐเริ่มทยอยหมดลง ขณะที่แรงกดดันจากเงินเฟ้อในปัจจุบันยังคงอยู่ในระดับที่บริหารจัดการได้ ส่งผลให้ในเดือนมีนาคม 2557 กนง.ประกาศ ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงร้อยละ 0.25 มาอยู่ที่ร้อยละ 2.00
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
21
ภาพที่ 14 อัตราดอกเบี้ยนโยบายและอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน
ที่มา : กระทรวงพาณิชย์ และ ธปท. รวบรวมโดย สศค.
➥➥ ในปี 2557 สศค.คาดว่าอัตราดอกเบี้ยนโยบายจะยังคงทรงตัวอยู่ที่ร้อยละ 2.00 (ช่วงคาดการณ์ร้อยละ
1.00–2.00 ต่อปี) เนื่องจากแรงกดดันจากเงินเฟ้อมีไม่มากนัก ส่วนหนึ่งมาจากราคาน�้ำมันดิบในตลาดโลกที่คาดว่าจะทรงตัว ทั้งนี้ แม้คาดว่าสถานการณ์เศรษฐกิจโลกในปี 2557 จะปรับตัวดีขึ้นจากปี 2556 อย่างไรก็ตาม ภาคเศรษฐกิจจริงยังคงมี ความเสี่ยงจึงจ�ำเป็นต้องติดตามอย่างใกล้ชิดต่อไป
ภาพที่ 15 สมมติฐานอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ณ สิ้นปี
ที่มา : ธปท. ประมวลผลโดย สศค.
6. รายจ่ายภาคสาธารณะประจ�ำปีงบประมาณ 2557 “ปีงบประมาณ 2557 รายจ่ายภาคสาธารณะซึ่งประกอบด้วย (1) รายจ่ายรัฐบาล (2) รายจ่ายองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (อปท.) และ (3) รายจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ คาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายได้ทั้งสิ้นจ�ำนวน 3,033,485 ล้านบาท หรือขยายตัวร้อยละ 4.8 ต่อปี”
22
6.1 กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายของรัฐบาล กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายปีงบประมาณ 2557 มีจ�ำนวน 2,525,000 ล้านบาท โดยเป็นการด�ำเนินนโยบาย การคลังแบบขาดดุล 250,000 ล้านบาท หรือประมาณร้อยละ 1.9 ของ GDP1 ภายใต้ประมาณการการจัดเก็บรายได้รัฐบาล เท่ากับ 2,275,000 ล้านบาท โครงสร้างงบประมาณรายจ่ายรัฐบาลแบ่งออกเป็น (1) รายจ่ายประจ�ำ 2,017,244 ล้านบาท (2) รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง 13,424 ล้านบาท (3) รายจ่ายลงทุน 441,510 ล้านบาท และ (4) รายจ่ายช�ำระคืนต้นเงินกู้ 52,822 ล้านบาท นอกจากนี้ รัฐบาลได้มีการใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณภายใต้พระราชก�ำหนด (พ.ร.ก.) ให้อ�ำนาจกระทรวง การคลังกู้เงินเพื่อการวางระบบบริหารจัดการน�้ำและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 วงเงินกู้ 350,000 ล้านบาท ตารางที่ 4 กรอบโครงสร้างงบประมาณประจ�ำปีงบประมาณ 2557 ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดส่วนต่อ GDP) (อัตราเพิ่ม) 1.1 รายจ่ายประจ�ำ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราขยายตัว) 1.2 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราขยายตัว) 1.3 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราขยายตัว) 1.4 รายจ่ายช�ำระคืนต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราขยายตัว) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (อัตราขยายตัว) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ (GDP) เบื้องต้น
2557 2,525,000.0 19.1 5.2 2,017,244.0 79.9 5.3 13,423.7 0.5 100.0 441,510.4 17.5 1.5 52,821.9 2.1 8.3 2,275,000.0 17.3 8.3 -250,000.0 1.9 13,242,000.0
ที่มา : ส�ำนักงบประมาณ
ปีงบประมาณ 2557 คาดว่ารัฐบาลจะสามารถเบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 2,468,525 ล้านบาท โดยคาดว่าจะสามารถ เบิกจ่ายงบประมาณรวมได้ 2,453,893 ล้านบาท โดยรายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณ 2557 คาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายได้ 2,242,147 ล้านบาท ภายใต้สมมติฐานการเบิกจ่ายที่ประมาณร้อยละ 90 ของกรอบวงเงินงบประมาณ 2,525,000 ล้านบาท ซึ่งต�่ำกว่า เป้าหมายของคณะรัฐมนตรีทตี่ งั้ เป้าการเบิกจ่ายไว้ทรี่ อ้ ยละ 95.0 โดยรายจ่ายงบประมาณแบ่งออกเป็น (1) รายจ่ายประจ�ำคาดว่า จะสามารถเบิกจ่ายได้ 1,963,250 ล้านบาท (2) รายจ่ายลงทุนคาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายได้ 278,897 ล้านบาท และรายจ่าย ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP) ปี 2556 เท่ากับ 13,242,000 ล้านบาท
1
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
23
เหลื่อมปีคาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายได้ 211,746 ล้านบาท เนื่องจากแนวโน้มของการเบิกจ่ายโดยรวมที่คาดว่าจะชะลอลง จากการบริหารของรัฐบาลเฉพาะกาลภายหลังจากมีการยุบสภาเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2556 ส�ำหรับการเบิกจ่ายรายจ่าย นอกงบประมาณในส่วนของ พ.ร.ก.ให้อ�ำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อวางระบบบริหารจัดการน�้ำและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 คาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายได้ 6,292 ล้านบาท และเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) คาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายได้ 5,000 ล้านบาท ตารางที่ 5 สมมติฐานการเบิกจ่ายรายจ่ายของรัฐบาลปีงบประมาณ 2557
(หน่วย : ล้านบาท)
ปีงบประมาณ 2557 ปีงบประมาณ 2556 คาดการณ์ ณ ธ.ค. 2556 กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่าย
2,400,000
2,525,000
อัตราเบิกจ่ายรายจ่ายงบประมาณ
90.5%
90%
2,423,722 2,402,481 1,894,885 276,575 231,021 2,171,460
2,468,525 2,453,893 1,963,250 278,897 211,746 2,242,147
21,243 7,504
14,632 3,340
13,739
6,292
1. รายจ่ายรัฐบาล (1.1+1.2) 1.1 รายจ่ายงบประมาณ (1)+(2)+(3) (1) รายจ่ายประจ�ำ (2) รายจ่ายลงทุน (3) รายจ่ายเหลื่อมปี รายจ่ายรัฐบาลประจ�ำปี (1)+(2) 1.2 รายจ่ายนอกงบประมาณ (1)+(2)+(3)+(4) (1) แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 (2) พ.ร.ก.กู้เงินเพื่อใช้จ่ายบริหารจัดการน�้ำ (วงเงิน 3.5 แสนล้านบาท) (3) พ.ร.บ.กู้เงินเพื่อลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานฯ (วงเงิน 2.0 ล้านล้านบาท) (4) เงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL)
- 14,998
5,000
ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.)
6.2 งบประมาณรายจ่ายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ปีงบประมาณ 2557 คาดว่า อปท.จะมีการเบิกจ่ายงบประมาณรวม 328,931 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 9.1 ซึ่งสอดคล้องกับหลักการตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และพระราชบัญญัติก�ำหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอ�ำนาจให้แก่ อปท. พ.ศ. 2542 และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม โดยในปีงบประมาณ 2557 ได้ให้ความส�ำคัญกับการเพิม่ ศักยภาพ และการกระจายอ�ำนาจให้แก่ อปท.เพิ่มขึ้น โดยมีเป้าหมายให้เกิดความยั่งยืนทางการคลังของท้องถิ่น รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้จ่ายและจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนในด้านคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น ตารางที่ 6 สมมติฐานการเบิกจ่ายรายจ่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในปีงบประมาณ 2557 (หน่วย : ล้านบาท)
ปีงบประมาณ 2556 รายจ่ายท้องถิ่น
301,371
ปีงบประมาณ 2557 คาดการณ์ ณ ธ.ค. 2556 328,931
ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) และส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ค�ำนวณโดย สศค.
24
6.3 งบประมาณรายจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ ปีงบประมาณ 2557 คาดว่ารายจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจจะสามารถเบิกจ่ายได้ 318,813 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 3.4 ต่อปี เนื่องจากมาตรการการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณ ตารางที่ 7 สมมติฐานการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจในปีงบประมาณ 2557 ปีงบประมาณ 2556 รายจ่ายลงทุนรัฐวิสาหกิจ
308,390
(หน่วย : ล้านบาท)
ปีงบประมาณ 2557 คาดการณ์ ณ ธ.ค. 2556 318,813
ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) และส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ค�ำนวณโดย สศค.
6.4 สรุปรวมรายจ่ายภาคสาธารณะ จากสมมติ ฐ านการใช้ จ ่ า ยของรั ฐ บาล องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น และการลงทุ น ของรั ฐ วิ ส าหกิ จ ในปีงบประมาณ 2557 ดังกล่าว ท�ำให้คาดว่าในปีงบประมาณ 2557 รายจ่ายภาคสาธารณะสามารถเบิกจ่ายได้ทงั้ สิน้ 3,116,269 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 2.2 ต่อปี ประกอบด้วย (1) รายจ่ายรัฐบาลรวมจ�ำนวน 2,468,525 ล้านบาท (2) รายจ่ายองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นจ�ำนวน 328,931 ล้านบาท และ (3) รายจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจจ�ำนวน 318,813 ล้านบาท ตารางที่ 8 สมมติฐานการเบิกรายจ่ายภาคสาธารณะในปีงบประมาณ 2557 (หน่วย : ล้านบาท)
ปีงบประมาณ 2557 ปีงบประมาณ 2556 คาดการณ์ ณ ก.ย. 2556 กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่าย
2,400,000
2,525,000
อัตราเบิกจ่ายรายจ่ายงบประมาณ
90.5%
90.0%
1. รายจ่ายรัฐบาล (1.1+1.2) 1.1 รายจ่ายงบประมาณ (1)+(2)+(3) (1) รายจ่ายประจ�ำ (2) รายจ่ายลงทุน (3) รายจ่ายเหลื่อมปี รายจ่ายรัฐบาลประจ�ำปี (1)+(2) 1.2 รายจ่ายนอกงบประมาณ (1)+(2)+(3)+(4) (1) แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 (2) พ.ร.ก.กู้เงินเพื่อใช้จ่ายบริหารจัดการน�้ำ (วงเงิน 3.5 แสนล้านบาท) (3) พ.ร.บ.กู้เงินเพื่อลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานฯ (วงเงิน 2.0 ล้านล้านบาท) (4) เงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL)
2,423,724 2,402,481 1,894,885 276,575 231,021 2,171,460 21,243 7,504
2,468,525 2,453,893 1,963,250 278,897 211,746 2,242,147 14,632 3,340
13,739
6,292
14,998
5,000
2. รายจ่ายท้องถิ่น
301,371
328,931
3. รายจ่ายลงทุนรัฐวิสาหกิจ
308,390
318,813
4. รายจ่ายภาคสาธารณะ (1+2+3)
3,033,483
3,116,269
- -
ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) และส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ค�ำนวณโดย สศค.
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
25
ผลการประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2557 1. ด้านการขยายตัวทางเศรษฐกิจ “สศค.ประเมินว่า เศรษฐกิจไทยในปี 2557 เศรษฐกิจมีแนวโน้มจะขยายตัวที่ร้อยละ 2.6 (ช่วงคาดการณ์ร้อยละ 2.1-3.1) จากปี 2556” ➥➥ เศรษฐกิจไทยในปี 2557 มีแนวโน้มขยายตัวที่ร้อยละ 2.6 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.1-3.1)
โดยมีสาเหตุจาก 1) อุปสงค์ในประเทศทีค่ าดว่าจะชะลอลงในช่วงครึง่ แรกของปี โดยเฉพาะการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน ตามสถานการณ์ทางการเมืองในประเทศอันยืดเยื้อมาจากช่วงปลายปี 2556 ที่ได้ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของผู้บริโภค นักลงทุน และนักท่องเที่ยวต่างชาติ ประกอบกับการขาดความชัดเจนในการด�ำเนินโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐจะ ส่งผลให้การลงทุนภาคเอกชนที่เกี่ยวเนื่องชะลอตัวลงตาม สอดคล้องกับการใช้จ่ายภาครัฐที่มีแนวโน้มชะลอตัวเช่นกัน อันเป็น ผลมาจากการใช้จา่ ยภายใต้แผนการลงทุนภาครัฐทีย่ งั มีแนวโน้มล่าช้ากว่าแผนทีก่ ำ� หนดไว้เดิม โดยเฉพาะแผนการลงทุนภายใต้ พระราชบัญญัติให้อ�ำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานฯ วงเงิน 2 ล้านล้านบาท ที่ศาลรัฐธรรมนูญลง มติว่าขัดรัฐธรรมนูญ และโครงการลงทุนบริหารจัดการน�้ำวงเงิน 3.5 แสนล้านบาท ที่ต้องมีการท�ำประชาพิจารณ์ตามค�ำสั่งศาล ปกครอง และการยืดเยือ้ ของสถานการณ์ความไม่แน่นอนทางการเมืองยังจะส่งผลกระทบต่อการใช้จา่ ยลงทุนภาครัฐ อันเนือ่ งมา จากความล่าช้าของกระบวนการจัดท�ำงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี 2558 อีกด้วย และ 2) อุปสงค์ภายนอก สะท้อนจากการส่ง ออกคาดว่าจะกลับมาฟื้นตัวขึ้นจากปีก่อน ตามเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าที่ปรับตัวดีขึ้น โดยเฉพาะเศรษฐกิจสหรัฐฯ และเศรษฐกิจ ของกลุ่มประเทศในสหภาพยุโรปที่เริ่มฟื้นตัวจากภาวะเศรษฐกิจถดถอย ขณะที่การส่งออกบริการแม้ว่าจะได้รับผลกระทบจาก เหตุการณ์ทางการเมืองในช่วงครึ่งปีแรก แต่คาดว่าจะขยายตัวดีขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี ส�ำหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจภายใน ประเทศ คาดว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2557 จะปรับสูงขึ้นจากปีก่อนเล็กน้อยมาอยู่ที่ร้อยละ 2.5 ตามแนวโน้มของการทยอย ปรับเพิ่มขึ้นของราคาก๊าซหุงต้มที่อาจส่งผ่านไปสู่ราคาสินค้าประเภทอื่น โดยเฉพาะราคาอาหารส�ำเร็จรูป รวมถึงแนวโน้มอัตรา แลกเปลี่ยนที่อ่อนค่าลงและแนวโน้มค่าไฟฟ้าผันแปร (FT) ที่เพิ่มขึ้น ในส่วนของอัตราการว่างงาน คาดว่าจะยังอยู่ในระดับต�่ำที่ ร้อยละ 0.7 ของก�ำลังแรงงานรวม ส�ำหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจภายนอกประเทศ คาดว่าดุลการค้าจะเกินดุลเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เนื่องจากมูลค่าการส่งออกสินค้าจะกลับมาขยายตัวเพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 5.0 ในขณะที่มูลค่าการน�ำเข้าสินค้าคาดว่าจะขยายตัว ร้อยละ 3.7 ส่งผลให้ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลประมาณ 4.7 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือคิดเป็นร้อยละ 1.1 ของ GDP ภาพที่ 16 ประมาณการอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.)
26
1.1 การบริโภคภาคเอกชนและการบริโภคภาครัฐที่แท้จริง
1.1.1 การบริโภคภาคเอกชนที่แท้จริง ➥➥ การบริโภคภาคเอกชนที่แท้จริงในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 หดตัวในระดับสูงที่ร้อยละ 4.5 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อน จากไตรมาสที่ 3 ปี 2556 ที่หดตัวร้อยละ 1.2 ส่งผลให้การบริโภคภาคเอกชนที่แท้จริงในปี 2556 ขยายตัวเพียงเล็กน้อยที่ร้อยละ 0.2 ชะลอลงจากปีก่อนที่ขยายตัวที่ร้อยละ 6.7 ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการหดตัวของการใช้จ่าย ในหมวดสินค้าคงทน โดยเฉพาะรถยนต์ที่ลดลงมากจากผลของนโยบายคืนภาษีรถยนต์คันแรกที่สิ้นสุดลง ประกอบกับรายได้ เกษตรกรทีช่ ะลอตัวลงจากราคาพืชผลทีส่ ำ� คัญลดลง รวมถึงความไม่แน่นอนของสถานการณ์การเมืองภายในประเทศในช่วงปลาย ไตรมาส ส่งผลต่อความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่ลดลงมากในไตรมาสนี้ ท�ำให้ประชาชนเพิ่มความระมัดระวังในการจับจ่ายใช้สอย มากขึน้ ส่งผลให้การใช้จา่ ยของครัวเรือนโดยรวมหดตัวลงต่อเนือ่ งจากไตรมาสทีผ่ า่ นมา ในขณะทีก่ ารบริโภคในหมวดอืน่ ๆ อาทิ กลุม่ สินค้ากึง่ คงทนและไม่คงทนส่งสัญญาณชะลอตัวเช่นเดียวกัน ทัง้ นี้ เมือ่ พิจารณาการบริโภคจ�ำแนกตามรายหมวดส�ำคัญพบ ว่า ในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 การบริโภคภาคเอกชนในหมวดสินค้าคงทนประเภทยานยนต์ที่หดตัวร้อยละ 31.6 เมื่อเทียบกับช่วง เดียวกันของปีที่แล้ว ต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนที่หดตัวร้อยละ 13.6 ทั้งจากรถยนต์นั่งส่วนบุคคล รถบรรทุกส่วนบุคคล และ รถจักรยานยนต์ เป็นผลส�ำคัญมาจากมาตรการคืนภาษีรถยนต์คันแรกของรัฐบาลที่ได้ทยอยหมดลง สอดคล้องกับการใช้จ่าย กลุ่มสินค้าที่ไม่คงทน โดยเฉพาะในหมวดผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องดื่ม ยาสูบ และเครื่องนุ่งห่ม ที่หดตัวลงครั้งแรกที่ร้อยละ 1.0 จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ น จากทีข่ ยายตัวร้อยละ 1.9 ในไตรมาสก่อน โดยเป็นผลมาจากการปรับตัวลดลงของหมวดเนือ้ สัตว์และ สินค้าเกษตรแปรรูป และหมวดเครื่องดื่ม ที่ลดลงร้อยละ 1.2 และร้อยละ 5.1 ตามล�ำดับ ส�ำหรับสินค้าในหมวดที่เหลือขยายตัว ชะลอลง ได้แก่ นมและผลิตภัณฑ์นมขยายตัวร้อยละ 7.1 แป้งและผลิตภัณฑ์จากแป้งขยายตัวร้อยละ 1.0 บุหรี่ขยายตัวร้อยละ 1.1 และเสื้อผ้าเครื่องแต่งกายและสิ่งทออื่น ๆ ขยายตัวร้อยละ 2.6 ในส่วนของการใช้จ่ายภาคบริการยังคงขยายตัวได้บ้าง แม้ว่า จะขยายตัวในอัตราชะลอลงก็ตาม โดยหมวดโรงแรมและภัตตาคาร ขยายตัวร้อยละ 5.2 เทียบกับที่ขยายตัวได้ร้อยละ 18.8 ใน ไตรมาสที่แล้ว ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากจ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศในเกือบทุกภูมิภาคชะลอตัวลง เช่นเดียวกับหมวดขนส่ง และสื่อสาร ขยายตัวร้อยละ 8.2 ชะลอลงจากไตรมาสก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 11.3 โดยหมวดบริการขนส่งโดยรวมขยายตัว ร้อยละ 4.7 อันเป็นผลมาจากการชะลอตัวของการขนส่งทั้งทางบก ทางอากาศ และทางน�้ำ ส�ำหรับหมวดบริการไปรษณีย์และ สื่อสารโทรคมนาคมขยายตัวร้อยละ 11.3 ตามผลประกอบการของธุรกิจโทรคมนาคม ภาพที่ 17 ประมาณการอัตราการขยายตัวของการบริโภคภาคเอกชนที่แท้จริง
ที่มา : สศค.
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
27
➥➥ ในปี 2557 การบริโภคภาคเอกชนที่แท้จริง คาดว่าจะขยายตัวในอัตราที่ร้อยละ 2.3 (โดยมีช่วง
คาดการณ์ที่ร้อยละ 1.8-2.8 ) จากปี 2556 ที่ขยายตัวร้อยละ 0.2 โดยได้รับปัจจัยบวกจาก (1) แนวโน้มรายได้ของครัวเรือน นอกภาคเกษตรทีอ่ ยูใ่ นระดับสูง ส่วนหนึง่ เป็นผลของการปรับเพิม่ ค่าจ้างขัน้ ต�ำ่ เป็น 300 บาท และสถานการณ์การจ้างงานทีย่ งั อยู่ ในเกณฑ์ดี สะท้อนจากอัตราการว่างงานที่มีแนวโน้มอยู่ในระดับต�่ำ (2) ระดับราคาสินค้าทั่วไปที่ไม่สูงมากนัก สะท้อนจากอัตรา เงินเฟ้อที่ยังทรงตัวอยู่ในระดับต�่ำที่ร้อยละ 1.9 ในช่วง 2 เดือนแรกปี 2557 และ (3) ภาวะการเงินโดยรวมที่ผ่อนคลาย สะท้อน จากอัตราดอกเบี้ยที่คาดว่าจะยังอยู่ในระดับต�่ำซึ่งจะเอื้อต่อการใช้จ่ายของภาคเอกชน อย่างไรก็ดี ปัจจัยที่คาดว่าจะบั่นทอน การบริโภคภาคเอกชนในปี 2557 ได้แก่ สถานการณ์ทางการเมืองภายในประเทศที่ยืดเยื้อ ส่งผลให้ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคต่อ เศรษฐกิจลดลงอย่างต่อเนื่อง และผู้บริโภคระมัดระวังการจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น ทั้งนี้ จากข้อมูลเชิงประจักษ์พบว่า การบริโภค ภาคเอกชน ในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2557 มีแนวโน้มชะลอตัวลง โดยเฉพาะการบริโภคในหมวดสินค้าคงทน ที่สะท้อนจาก ปริมาณการจ�ำหน่ายรถยนต์นั่งและรถจักรยานยนต์ หดตัวที่ร้อยละ 55.0 และร้อยละ 22.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน สอดคล้องกับรายได้เกษตรกรที่แท้จริงที่หดตัวร้อยละ 0.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน อย่างไรก็ดี การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ระดับราคาคงที่ ขยายตัวได้เล็กน้อยที่ร้อยละ 0.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
1.1.2 การบริโภคภาครัฐที่แท้จริง ➥➥ การบริโภคภาครัฐที่แท้จริงในไตรมาสที่ 4 ของปี 2556 ขยายตัวร้อยละ 0.9 ต่อปี ชะลอลงจากไตรมาส ก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 7.3 ต่อปี และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลออกพบว่า หดตัวร้อยละ 3.3 จากไตรมาสก่อนหน้า ส่งผลให้ ทัง้ ปี 2556 การบริโภคภาครัฐทีแ่ ท้จริงขยายตัวร้อยละ 4.9 ต่อปี ชะลอลงจากปีกอ่ นหน้าทีข่ ยายตัวร้อยละ 7.5 โดยเป็นผลมาจาก ค่าตอบแทนแรงงานที่ขยายตัวชะลอลงมาอยู่ที่ร้อยละ 1.1 และรายจ่ายค่าซื้อสินค้าและบริการสุทธิขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 3.5 ขณะที่รายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคของภาครัฐโดยรวมในราคาประจ�ำปีมีมูลค่า 384.5 พันล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 1.7 ต่อปี โดยแบ่งออกเป็นค่าตอบแทนแรงงานขยายตัวร้อยละ 1.0 ส�ำหรับรายจ่ายค่าซือ้ สินค้าและบริการสุทธิขยายตัวทีร่ อ้ ยละ 3.5 ภาพที่ 18 ประมาณการอัตราการขยายตัวของการบริโภคภาครัฐที่แท้จริง
ที่มา : สศค.
28
➥➥ ในปี 2557 การบริโภคของภาครัฐที่แท้จริง คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.9 ต่อปี (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่
ร้อยละ 0.9-2.9 ต่อปี) และเป็นการปรับลดลงจากการประมาณการครั้งก่อนที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.1 จากแนวโน้มของ การเบิกจ่ายโดยรวมที่คาดว่าจะชะลอลง จากการบริหารของรัฐบาลเฉพาะกาลภายหลังจากมีการยุบสภาเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2556 ทั้งนี้ กรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณ 2557 มีวงเงินงบประมาณรายจ่ายจ�ำนวน 2,255.0 พันล้าน บาท โดยในจ�ำนวนนี้เป็นงบประมาณรายจ่ายประจ�ำจ�ำนวน 2,017.2 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 79.9 ของวงเงินงบประมาณ รวม และเพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ นหน้าร้อยละ 6.1 ต่อปี โดยในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2557 รายจ่ายประจ�ำสามารถเบิกจ่าย ได้ 644.3 พันล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 0.5 ต่อปี หรือคิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายที่ร้อยละ 31.6 ของกรอบวงเงินงบประจ�ำ 1.2 การลงทุนภาคเอกชนและการลงทุนภาครัฐที่แท้จริง
1.2.1 การลงทุนภาคเอกชนที่แท้จริง ➥➥ การลงทุนภาคเอกชนที่แท้จริงในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 หดตัวลงร้อยละ 13.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีกอ่ น ต่อเนือ่ งจากไตรมาสก่อนทีห่ ดตัวร้อยละ 3.1 ส่งผลให้การลงทุนภาคเอกชนทีแ่ ท้จริงในปี 2556 หดตัวร้อยละ 2.8 ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาในรายละเอียดพบว่า การลงทุนในหมวดเครื่องมือเครื่องจักร (มีสัดส่วนประมาณร้อยละ 80.0 ของการลงทุน ภาคเอกชนรวม) ในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 หดตัวร้อยละ 15.4 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น จากไตรมาสก่อนหน้าทีข่ ยายตัว ร้อยละ 5.4 (ส่งผลให้ทั้งปี 2556 การลงทุนในหมวดเครื่องมือเครื่องจักรหดตัวร้อยละ 4.7) เนื่องจากมีการเร่งลงทุนไปแล้วในช่วง ก่อนหน้า ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาในรายละเอียดพบว่า การลงทุนหมวดเครื่องจักรอุตสาหกรรมหดตัวร้อยละ 10.6 หมวดยานยนต์ หดตัวร้อยละ 18.1 แต่ส�ำหรับหมวดเครื่องใช้ส�ำนักงานขยายตัวร้อยละ 0.2 ส่วนการลงทุนในหมวดการก่อสร้างภาคเอกชน (มีสัดส่วนประมาณร้อยละ 20.0 ของการลงทุนภาคเอกชนรวม) ในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 หดตัวร้อยละ 4.6 จากไตรมาสที่แล้วที่ ขยายตัวร้อยละ 4.8 (ส่งผลให้ทั้งปี 2556 การลงทุนในหมวดการก่อสร้างขยายตัวร้อยละ 4.0) ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากผู้บริโภค ชะลอการตัดสินใจซื้อเนื่องจากรายได้คงที่ ท�ำให้ประชาชนลดการจับจ่ายใช้สอย อีกทั้งธนาคารพาณิชย์เข้มงวดในการปล่อย สินเชื่อมากขึ้น ส่งผลให้การก่อสร้างอาคารเพื่ออยู่อาศัยหดตัวร้อยละ 5.3 จากไตรมาสก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 6.4 ส�ำหรับอาคาร พาณิชย์หดตัวร้อยละ 4.4 จากไตรมาสก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 4.3 ขณะที่อาคารโรงงานหดตัวร้อยละ 0.8 เมื่อเทียบกับไตรมาส ก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 3.5 ภาพที่ 19 ประมาณการอัตราการขยายตัวของการลงทุนภาคเอกชนที่แท้จริง
ที่มา : สศค.
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
29
➥➥ ในปี 2557 การลงทุนภาคเอกชนที่แท้จริง คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 1.9 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่
ร้อยละ 0.9-2.9) จากปี 2556 ที่หดตัวร้อยละ 2.8 แต่ปรับลดลงจากประมาณการครั้งก่อน เนื่องจากความวิตกกังวลเกี่ยวกับ สถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองที่ยืดเยื้อ นอกจากนี้ การขาดความชัดเจนในการด�ำเนินโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของ ภาครัฐจะส่งผลให้การลงทุนภาคเอกชนที่เกี่ยวเนื่องชะลอตัวลงตาม ทั้งนี้ จากข้อมูลเชิงประจักษ์พบว่า ในช่วง 2 เดือนแรกปี 2557 การลงทุนภาคเอกชนส่งสัญญาณหดตัวต่อเนือ่ งจากปี 2556 สะท้อนจากเครือ่ งชีเ้ ศรษฐกิจด้านการลงทุนในหมวดเครือ่ งมือ เครื่องจักร อาทิ การน�ำเข้าสินค้าทุนหักเครื่องบิน เรือ และรถไฟ หดตัวร้อยละ 15.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และ ปริมาณการจ�ำหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ หดตัวร้อยละ 36.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนการลงทุนภาคเอกชนใน หมวดการก่อสร้างที่วัดจากเครื่องชี้เศรษฐกิจ อาทิ ปริมาณการจ�ำหน่ายปูนซีเมนต์หดตัวที่ร้อยละ 1.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีก่อน ในขณะที่ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง (ที่สะท้อนต้นทุนในการผลิตหรือการก่อสร้าง) ขยายตัวที่ร้อยละ 1.0 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อน อย่างไรก็ตาม หากสถานการณ์การเมืองคลี่คลายลงอย่างรวดเร็วจะส่งผลให้การลงทุนภาคเอกชน ปรับตัวดีขนึ้ ได้บา้ ง เนือ่ งจากมีปจั จัยสนับสนุนส�ำคัญ อาทิ (1) ความจ�ำเป็นในการลงทุนปรับโครงสร้างการผลิตเพือ่ รองรับปัญหา การขาดแคลนแรงงาน และ (2) มูลค่าการขอรับและออกบัตรส่งเสริมการลงทุนของส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ที่ยังอยู่ในระดับสูงต่อเนื่อง โดยเฉพาะในโครงการลงทุนขนาดใหญ่ อาทิ กิจการขนส่งทางอากาศ กิจการศูนย์กระจาย สินค้า และกิจการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
1.2.2 การลงทุนภาครัฐที่แท้จริง ➥➥ การลงทุนภาครัฐที่แท้จริงในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 หดตัวร้อยละ 4.7 ต่อปี หดตัวชะลอลงจากไตรมาส ก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ 16.2 และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลออกพบว่า ขยายตัวร้อยละ 24.1 จากไตรมาสก่อนหน้า ท�ำให้ในปี 2556 การลงทุนภาครัฐที่แท้จริงขยายตัวร้อยละ 1.3 ชะลอลงจากปีก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 8.9 โดยการลงทุนของรัฐบาล หดตัวร้อยละ 13.1 ในขณะที่การลงทุนของรัฐวิสาหกิจขยายตัวร้อยละ 3.4 ทั้งนี้ การลงทุนของภาครัฐที่แท้จริงสามารถแบ่งออก ได้เป็น 1) การลงทุนในหมวดก่อสร้าง ในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 หดตัวร้อยละ 13.2 โดยมีปัจจัยหลักจากการก่อสร้างของรัฐบาล และการก่อสร้างของรัฐวิสาหกิจหดตัวต่อเนื่องที่ร้อยละ 15.2 และร้อยละ 10.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ตามล�ำดับ ท�ำให้ทั้งปี 2556 การลงทุนในหมวดก่อสร้างหดตัวร้อยละ 2.8 และ 2) การลงทุนในหมวดเครื่องมือเครื่องจักร ในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ขยายตัวร้อยละ 10.7 โดยการลงทุนของรัฐวิสาหกิจขยายตัวร้อยละ 17.4 จากการน�ำเข้าเครื่องบินเพื่อการพาณิชย์จ�ำนวน 2 ล�ำ ของบริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) ในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ในขณะที่การลงทุนของรัฐบาลหดตัวต่อเนื่องที่ร้อยละ 5.2 ท�ำให้ทั้งปี 2556 การลงทุนในหมวดเครื่องมือเครื่องจักรขยายตัวร้อยละ 9.5 ภาพที่ 20 ประมาณการอัตราการขยายตัวของการลงทุนภาครัฐที่แท้จริง
ที่มา : สศค.
30
➥➥ ในปี 2557 การลงทุนภาครัฐคาดว่าจะหดตัวร้อยละ 3.1 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ -4.1 ถึง -2.1)
ลดลงจากปี 2556 เนื่องจากแนวโน้มของการเบิกจ่ายโดยรวมที่คาดว่าจะชะลอลงจากการบริหารของรัฐบาลเฉพาะกาลใน การอนุมตั กิ ารเบิกจ่ายงบประมาณ นอกจากนี้ การใช้จา่ ยภายใต้แผนการลงทุนภาครัฐยังมีแนวโน้มล่าช้ากว่าแผนทีก่ ำ� หนดไว้เดิม โดยเฉพาะแผนการลงทุนภายใต้ พรบ.ให้อำ� นาจกระทรวงการคลังกูเ้ งินเพือ่ การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานฯ วงเงิน 2 ล้านล้านบาท ที่ศาลรัฐธรรมนูญลงมติว่าขัดรัฐธรรมนูญ และโครงการลงทุนบริหารจัดการน�้ำวงเงิน 3.5 แสนล้านบาท ที่ต้องมีการท�ำ ประชาพิจารณ์ตามค�ำสัง่ ศาลปกครอง และการยืดเยือ้ ของสถานการณ์ความไม่แน่นอนทางการเมืองยังส่งผลกระทบต่อการใช้จา่ ย ลงทุนภาครัฐ อันเนือ่ งมาจากความล่าช้าของกระบวนการจัดท�ำงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี 2558 อีกด้วย ทัง้ นี้ ในปีงบประมาณ 2557 รัฐบาลได้ตั้งวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนจ�ำนวน 441.5 พันล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 17.5 ของกรอบวงเงิน งบประมาณ และตั้งเป้าอัตราเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนไว้ที่ร้อยละ 82.0 โดยในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 2557 รายจ่าย งบประมาณลงทุนสามารถเบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 116.5 พันล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 99.5 ต่อปี หรือคิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายที่ ร้อยละ 24.0 ของกรอบวงเงินงบลงทุน 1.3 ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการที่แท้จริง ➥➥ ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการที่แท้จริงในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 2.0
เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น ลดลงจากไตรมาสก่อนหน้าทีข่ ยายตัวร้อยละ 3.8 หากพิจารณาเมือ่ ขจัดผลทางฤดูกาล แล้วพบว่า ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการขยายตัวที่ร้อยละ 1.6 โดยในด้านของมิติสินค้าพบว่า ในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 การส่งออกสินค้าขยายตัวที่ร้อยละ 0.2 กลับมาขยายตัวเป็นบวกอีกครั้งหลังจากหดตัวร้อยละ 1.4 ในไตรมาสก่อนหน้า จากการขยายตัวดีขนึ้ ของสินค้าเกษตรกรรม สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ และสินค้าเครือ่ งใช้ไฟฟ้าทีข่ ยายตัวร้อยละ 5.9 ร้อยละ 4.8 และ ร้อยละ 0.7 ตามล�ำดับ อย่างไรก็ตาม สินค้าอุตสาหกรรมยังคงหดตัวต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 0.6 รวมถึงสินค้า ยานยนต์และสินค้าอุตสาหกรรมเกษตรทีห่ ดตัวเช่นเดียวกันทีร่ อ้ ยละ 3.5 และร้อยละ 3.6 ตามล�ำดับ และเมือ่ พิจารณารายตลาด พบว่า การส่งออกไปยังสหรัฐฯ ยูโรโซน และจีนขยายตัวดีขึ้นที่ร้อยละ 0.8 ร้อยละ 2.7 และร้อยละ 1.4 ตามล�ำดับ ในขณะที่ การส่งออกไปยังญี่ปุ่นหดตัวที่ร้อยละ 5.2 และส�ำหรับการส่งออกบริการในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 8.0 จากจ�ำนวนนักท่องเที่ยวที่ลดลง เนื่องจากมีความกังวลถึงสถานการณ์ทางการเมืองที่เกิดขึ้นของไทย ภาพที่ 21 ประมาณการอัตราการขยายตัวของปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการ
ที่มา : สศค.
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
31
➥➥ ในปี 2557 ปริมาณการส่งออกสินค้าบริการคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.4 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่
ร้อยละ 3.4-5.4) เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ นหน้าทีข่ ยายตัวทีร่ อ้ ยละ 4.2 เนือ่ งจากคาดว่าการส่งออกสินค้าจะได้รบั อานิสงส์จากการฟืน้ ตัว ของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่ปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่องตามการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น และเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศ ในสหภาพยุโรปที่เริ่มฟื้นตัวจากภาวะเศรษฐกิจถดถอย ขณะที่การส่งออกด้านบริการแม้ว่าจะได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ ทางการเมืองในช่วงครึ่งปีแรก แต่คาดว่าจะขยายตัวดีขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี 1.4 ปริมาณการน�ำเข้าสินค้าและบริการที่แท้จริง ➥➥ ปริมาณการน�ำเข้าสินค้าและบริการที่แท้จริงในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 หดตัวร้อยละ 3.5 เมื่อเทียบกับ
ช่วงเดียวกันของปีกอ่ น ลดลงจากไตรมาสที่ 3 ปี 2556 ทีข่ ยายตัวร้อยละ 0.8 ทัง้ นีเ้ มือ่ ขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่า ปริมาณ การน�ำเข้าสินค้าและบริการหดตัวร้อยละ 0.6 และเมื่อพิจารณาปริมาณการน�ำเข้าสินค้าพบว่า หดตัวร้อยละ 5.3 ต่อเนื่องจาก ไตรมาสก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ 0.5 ตามการหดตัวเกือบทุกหมวดสินค้าหลัก โดยเฉพาะสินค้าวัตถุดิบและสินค้าอุปโภคบริโภค ที่หดตัวร้อยละ 8.2 และร้อยละ 0.2 ลดลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 7.3 และร้อยละ 6.2 ตามล�ำดับ ประกอบกับ สินค้าทุนทีห่ ดตัวเช่นเดียวกันทีร่ อ้ ยละ 16.6 ในขณะทีส่ นิ ค้าเชือ้ เพลิงขยายตัวเร่งขึน้ ทีร่ อ้ ยละ 19.3 และส�ำหรับปริมาณการน�ำเข้า บริการขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 6.3 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ชะลอจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 8.1
ภาพที่ 22 ประมาณการอัตราการขยายตัวของปริมาณการน�ำเข้าสินค้าและบริการ
ที่มา : สศค.
32
➥➥ ในปี 2557 ปริมาณการน�ำเข้าสินค้าและบริการคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.8 (โดยมีช่วงคาดการณ์
ร้อยละ 2.8-4.8) สอดคล้องกับแนวโน้มการชะลอตัวของอุปสงค์ภายในประเทศทั้งการบริโภคและการลงทุน และปัจจัยทาง การเมืองภายในประเทศที่ยังคงยืดเยื้อ นอกจากนี้จากการส่งออกที่ขยายตัวอย่างล่าช้า ส่งผลให้ความต้องการน�ำเข้าสินค้า วัตถุดิบและสินค้าทุนน้อยลงตามไปด้วย
2. ด้านการค้าระหว่างประเทศ 2.1 มูลค่าส่งออกสินค้าในรูปดอลลาร์สหรัฐ ➥➥ มูลค่าส่งออกสินค้าในรูปดอลลาร์สหรัฐ1 ในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2557 อยู่ที่ 36.3 พันล้านดอลลาร์
สหรัฐ คิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 0.2 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น ทัง้ นี้ หากพิจารณามูลค่าการส่งออกตามระบบ กรมศุลกากรพบว่า เมื่อหักผลของการส่งออกทองค�ำที่มีความผันผวนสูงออก มูลค่าการส่งออกในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2557 หดตัวร้อยละ 2.0 โดยการส่งออกทีข่ ยายตัวนัน้ เป็นผลจากส่งออกทองค�ำ และสินค้าคงคลังในหมวดยานยนต์ เครือ่ งอิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องใช้ไฟฟ้า ประกอบกับเศรษฐกิจตลาดส่งออกหลักของไทย อาทิ สหภาพยุโรป 15 และญี่ปุ่นมีสัญญาณการฟื้นตัวที่ดี ขึ้นท�ำให้มีความต้องการน�ำเข้าสินค้าของไทยมากขึ้น นอกจากนี้แนวโน้มการอ่อนค่าของอัตราแลกเปลี่ยนยังเป็นอีกหนึ่งปัจจัย ที่สนับสนุนภาคส่งออกในช่วงที่ผ่านมา ➥➥ ส�ำหรับสินค้าที่ส่งออกได้ดีในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2557 ได้แก่ สินค้าอุตสาหกรรม โดยเฉพาะสินค้ายานยนต์ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ขยายตัวร้อยละ 2.3 ร้อยละ 8.0 และร้อยละ 7.5 ตามล�ำดับ ส่วนสินค้าในหมวดอื่นมี การหดตัวทุกหมวดสินค้า กล่าวคือ สินค้าเกษตรหดตัวร้อยละ 1.2 จากการลดลงของปริมาณการส่งออกยางพารา ไก่แปรรูป และกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง ส่วนสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตรมีการหดตัวร้อยละ 9.8 จากการลดลงของการส่งออกอาหารทะเล กระป๋องและแปรรูป และน�้ำตาลทราย และท้ายสุดคือ สินค้าเชื้อเพลิงมีการหดตัวร้อยละ 16.4 โดยส่วนหนึ่งเกิดจากเศรษฐกิจ โลกที่ฟื้นตัวช้ากว่าที่คาด ➥➥ ส่วนการส่งออกรายประเทศพบว่าในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2557 ตลาดหลักของไทยคือ สหภาพยุโรป 15 ญีป ่ นุ่ และกลุ่มอินโดจีน (CLMV) โดยมีการขยายตัวร้อยละ 5.8 ร้อยละ 2.3 และร้อยละ 10.9 ตามล�ำดับ ส่วนตลาดที่เป็นแหล่งที่มา ของการหดตัว (Contribution) หลักในช่วงที่ผ่านมาคือ จีน สหรัฐฯ และอาเซียน 5 ที่หดตัวร้อยละ 0.8 ร้อยละ 1.0 และร้อยละ 8.0
มูลค่าการส่งออกตามระบบดุลการช�ำระเงิน (รายงานโดยธนาคารแห่งประเทศไทย)
1
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
33
ภาพที่ 23 ประมาณการอัตราการขยายตัวของมูลค่าส่งออกสินค้าในรูปดอลลาร์สหรัฐ
ที่มา : สศค.
➥➥ ในปี 2557 สศค.คาดว่ามูลค่าส่งออกสินค้าในรูปดอลลาร์สหรัฐจะขยายตัวร้อยละ 5.0 (โดยมีช่วง
คาดการณ์รอ้ ยละ 3.0-7.0) เพิม่ ขึน้ จากปี 2556 เนือ่ งจากคาดว่าการส่งออกสินค้าจะได้รบั อานิสงส์จากการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจ โลก โดยเฉพาะเศรษฐกิจสหรัฐฯ และสหภาพยุโรป 15 ที่ปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่องตามการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น และเศรษฐกิจญี่ปุ่นที่มี แนวโน้มขยายตัวเร่งขึ้นโดยได้รับอานิสงส์จากนโยบายเศรษฐกิจของภาครัฐ แม้ว่าเศรษฐกิจจีนจะยังอยู่ในช่วงของการปรับตัว ต่อเสถียรภาพในระบบการเงินก็ตาม 2.2 มูลค่าน�ำเข้าสินค้าในรูปดอลลาร์สหรัฐ ➥➥ มูลค่าน�ำเข้าสินค้าในรูปดอลลาร์สหรัฐ2 ในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2557 อยู่ที่ 37.0 พันล้านดอลลาร์
สหรัฐ คิดเป็นการหดตัวร้อยละ 16.0 ทั้งนี้ หากพิจารณามูลค่าการน�ำเข้าตามระบบกรมศุลกากรที่หักการน�ำเข้าทองค�ำที่ มีความผันผวนออกพบว่า มูลค่าการน�ำเข้าหดตัวในอัตราชะลอลงที่ร้อยละ 7.2 ซึ่งเกิดจากการหดตัวของการน�ำเข้าทุกหมวด สินค้า ยกเว้นสินค้าเชื้อเพลิง กล่าวคือ สินค้าวัตถุดิบและกึ่งส�ำเร็จรูปหดตัวร้อยละ 28.0 อย่างไรก็ดี การหดตัวของการน�ำเข้า สินค้าวัตถุดิบและกึ่งส�ำเร็จรูปเกิดจากทองค�ำเป็นส�ำคัญ โดยการน�ำเข้าทองค�ำหดตัวถึงร้อยละ 86.8 โดยหากหักทองค�ำออก การน�ำเข้าสินค้าวัตถุดิบจะหดตัวในอัตราชะลอลงมาอยู่ที่ร้อยละ 6.2 ประกอบกับสินค้าทุนหดตัวร้อยละ 13.4 เช่นเดียวกัน สะท้อนภาคการลงทุนที่มีแนวโน้มอ่อนแอต่อเนื่อง นอกจากนี้สินค้าอุปโภคบริโภคหดตัวร้อยละ 7.2 บ่งชี้การบริโภคภาคเอกชน มีแนวโน้มชะลอลง ขณะที่สินค้าเชื้อเพลิงยังสามารถขยายตัวได้ดีร้อยละ 8.6
มูลค่าการน�ำเข้าตามระบบดุลการช�ำระเงิน (รายงานโดยธนาคารแห่งประเทศไทย)
2
34
ภาพที่ 24 ประมาณการอัตราการขยายตัวของมูลค่าน�ำเข้าสินค้าในรูปดอลลาร์สหรัฐ
ที่มา : สศค.
➥➥ ในปี 2557 สศค.คาดว่ามูลค่าน�ำเข้าสินค้าในรูปดอลลาร์สหรัฐจะขยายตัวที่ร้อยละ 3.7 (โดยมีช่วง
คาดการณ์ทรี่ อ้ ยละ 1.7-5.7) เพิม่ ขึน้ จากปี 2556 เนือ่ งจากคาดว่าจะมีการน�ำเข้าสินค้าเพิม่ ขึน้ ในทุกประเภท โดยเฉพาะสินค้า วัตถุดิบและสินค้าเชื้อเพลิงตามความต้องการสินค้าในตลาดโลก ที่มีแนวโน้มขยายตัวตามเศรษฐกิจโลกที่ฟื้นตัวดีขึ้นท�ำให้มี การน�ำเข้าสินค้าวัตถุดิบเพิ่มขึ้นจากภาคส่งออกที่ขยายตัวเร่งขึ้นจากปีก่อน 2.3 ดุลการค้า3 ➥➥ ดุลการค้าในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2557 ขาดดุล 0.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลงจากช่วง 2 เดือน
แรกของปี 2556 ที่ขาดดุล 7.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ อันเป็นผลจากมูลค่าการส่งออกมีระดับต�่ำกว่ามูลค่าการน�ำเข้า โดย 2 เดือนแรกมูลค่าการส่งออกสินค้าอยูท่ ี่ 36.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในขณะทีม่ ลู ค่าการน�ำเข้าสินค้าอยูท่ ี่ 37.0 พันล้านดอลลาร์ สหรัฐ ส�ำหรับดุลการค้าหักดุลทองค�ำขาดดุลเช่นเดียวกันที่ 1.0 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ภาพที่ 25 ประมาณการดุลการค้า
ที่มา : สศค. ดุลการค้าตามระบบดุลการช�ำระเงิน (รายงานโดยธนาคารแห่งประเทศไทย)
3
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
35
➥➥ ในปี 2557 คาดว่าดุลการค้าจะเกินดุล 9.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (โดยมีชว่ งคาดการณ์รอ ้ ยละ 8.5-10.5
พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) เพิ่มขึ้นจากปี 2556 ตามมูลค่าสินค้าส่งออกที่คาดว่าจะขยายตัวในอัตราเร่งกว่ามูลค่าสินค้าน�ำเข้า
3. ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 3.1 ดุลบัญชีเดินสะพัด ➥➥ ดุลบัญชีเดินสะพัดในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2557 เกินดุล 5.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ สูงขึ้นเมื่อ
เปรียบเทียบกับช่วง 2 เดือนแรกของปี 2556 ทีข่ าดดุล 1.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยดุลการค้าตามระบบดุลการช�ำระเงิน เกินดุล 3.0 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ จากการน�ำเข้าที่หดตัวในระดับสูงเนื่องจากมีการลดการน�ำเข้าในทุกหมวดสินค้า ในขณะที่ การส่งออกขยายตัวเล็กน้อย ในขณะที่ดุลบริการ รายได้ปฐมภูมิ และรายได้ทุติยภูมิเกินดุล 2.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ จาก ค่าระวางสินค้าที่ลดลงตามมูลค่าการน�ำเข้า ในขณะที่รายรับจากการท่องเที่ยวเริ่มชะลอตัวลง ทั้งนี้ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2557 ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลสูงเป็นประวัติการณ์ถึง 5.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ภาพที่ 26 ประมาณการดุลบัญชีเดินสะพัด
ที่มา : ธปท. รวบรวมและคาดการณ์โดย สศค.
➥➥ ในปี 2557 ดุลบัญชีเดินสะพัดคาดว่าจะเกินดุล 4.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่
3.7-5.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณร้อยละ 0.8-1.4 ของ GDP) เพิ่มขึ้นจากปี 2556 ที่ขาดดุล 2.8 พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐ จากการส่งออกที่คาดว่าจะกลับมาฟื้นตัวขึ้นจากปีก่อนหน้า และมีอัตราการขยายตัวสูงกว่าการน�ำเข้า ตามเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าที่ปรับตัวดีขึ้น โดยเฉพาะเศรษฐกิจสหรัฐฯ และเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศในสหภาพยุโรปที่เริ่ม ฟื้นตัวจากภาวะเศรษฐกิจถดถอย
36
3.2 อัตราเงินเฟ้อ ➥➥ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในช่วงไตรมาสแรกของปี 2557 อยู่ที่ร้อยละ 2.0 ลดลงจากปี 2556 ที่อยู่ที่ร้อยละ 3.1
โดยมีสาเหตุหลักจาก 1) ราคาอาหารจ�ำพวกผักและผลไม้ เครือ่ งประกอบอาหารและเครือ่ งดืม่ ไม่มแี อลกอฮอล์ขยายตัวชะลอลง จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ น ตามภาวะเศรษฐกิจทีช่ ะลอลงส่งผลให้ผบู้ ริโภคมีความต้องการน้อยลงในการจับจ่ายใช้สอย 2) ราคา สินค้าเชื้อเพลิงมีแนวโน้มชะลอลงจากราคาน�้ำมันดิบในตลาดโลกตามเศรษฐกิจโลกที่มีการฟื้นตัวอย่างล่าช้า ส่วนอัตราเงินเฟ้อ พื้นฐานที่ไม่รวมราคาสินค้าในหมวดพลังงานและอาหารสดอยู่ที่ร้อยละ 1.2 ลดลงจากปีก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.5 เนื่องจาก ราคาอาหารส�ำเร็จรูปในปี 2557 ไม่ได้เร่งตัวรุนแรงเช่นเดียวกับปี 2556 ที่ผ่านมา ภาพที่ 27 ประมาณการอัตราเงินเฟ้อทั่วไป
ที่มา : สศค.
➥➥ ส�ำหรับปี 2557 คาดว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2557 จะอยู่ที่ร้อยละ 2.5 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่
ร้อยละ 2.0-3.0) มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า จากแรงกดดันด้านต้นทุนที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ตามแนวโน้ม ของการทยอยปรับเพิ่มขึ้นของราคาก๊าซหุงต้ม (LPG) ที่อาจส่งผ่านไปสู่ราคาสินค้าประเภทอื่น เช่น ราคาอาหารส�ำเร็จรูป (ราคา LPG เพิ่มขึ้นจากราคา 20.13 บาทต่อกิโลกรัม เป็น 25.30 บาทต่อกิโลกรัม) ฯลฯ นอกจากนี้การคาดการณ์ดังกล่าวยังได้รวมผล ของมาตรการพยุงราคาน�้ำมันขายปลีกดีเซลไม่เกิน 30 บาทต่อลิตร มาตรการขยายระยะเวลาลดภาษีสรรพสามิตน�้ำมันดีเซลลง เหลือ 0.0005 บาทต่อลิตร ผลกระทบของวิกฤติภยั แล้งภายในประเทศ การปรับขึน้ ค่าไฟฟ้าอัตโนมัติ (ค่า FT) และการปรับขึน้ ค่า โดยสารรถไฟฟ้าใต้ดิน (MRT) ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2557 ไว้ด้วยแล้ว ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานที่ไม่รวมราคาสินค้าในหมวด พลังงานและอาหารสดคาดว่าจะปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อยมาอยู่ที่ร้อยละ 1.5 (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.0-2.0))
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
37
ภาคการคลัง รายงานสรุปสถานการณ์ด้านการคลัง ในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2557 บทสรุปผู้บริหาร ปีงบประมาณ 2557 รัฐบาลยังคงจัดท�ำงบประมาณแบบขาดดุล (Expansionary Fiscal Policy) ต่อเนือ่ งจาก ปีงบประมาณ 2556 โดยจัดท�ำงบประมาณแบบขาดดุลจ�ำนวน 250.0 พันล้านบาท นอกจากนี้ รัฐบาลยังได้ด�ำเนินงานตาม โครงการแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ที่ต่อเนื่องจากปีงบประมาณ 2553 และการเบิกจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและ พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน (Development Policy Loan : DPL) รวมถึงการเบิกจ่ายเงินกูภ้ ายใต้ พ.ร.ก.บริหารจัดการน�้ ำเป็นส�ำคัญ ❍❍ ในช่วง 5 เดือนแรกปีงบประมาณ 2557 (เดือนตุลาคม 2556–กุมภาพันธ์ 2557) รัฐบาลสามารถจัดเก็บ รายได้สุทธิได้ 802.9 พันล้านบาท ใกล้เคียงกับเป้าหมายที่ตั้งไว้ที่ 807.6 พันล้านบาท แต่ลดลงร้อยละ 0.6 ต่อปี ส�ำหรับการ เบิกจ่ายงบประมาณ รัฐบาลสามารถเบิกจ่ายงบประมาณรวมได้จ�ำนวน 1,218.6 พันล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว 72.6 พันล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 6.3 ต่อปี ส�ำหรับฐานะการคลัง รัฐบาลขาดดุลงบประมาณจ�ำนวน 433.2 พันล้านบาท และเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2556 มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 236.6 พันล้านบาท ❍❍ หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2557 มีจ�ำนวน 5,530.4 พันล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 46.10 ของ GDP และเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า หนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นสุทธิ 64.16 พันล้านบาท โดยหนี้ที่เพิ่มขึ้นมาจาก หนี้ของรัฐบาล 67.46 พันล้านบาท เป็นส�ำคัญ ทั้งนี้ ระดับหนี้สาธารณะคงค้างยังอยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพ สะท้อนได้จาก (1) หนี้สาธารณะคงค้างเป็นหนี้ภายในประเทศถึงร้อยละ 93.20 ของหนี้สาธารณะคงค้าง (2) หนี้สาธารณะคงค้างเป็นหนี้ระยะ ยาวถึงร้อยละ 98.05 ของหนี้สาธารณะคงค้าง และ (3) สัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ยังคงอยู่ในกรอบความยั่งยืนทาง การคลังที่ก�ำหนดสัดส่วนไว้ไม่เกินร้อยละ 60.0 ของ GDP ❍❍ ผลการเบิกจ่ายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจทีด ่ ำ� เนินงานตามปีงบประมาณจ�ำนวน 36 แห่ง มีการเบิกจ่ายงบ ลงทุนของรัฐวิสาหกิจในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2557 (เดือนตุลาคม 2556–กุมภาพันธ์ 2557) ได้ 22.0 พันล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 15.5 ของแผนงบลงทุนทั้งปี ขณะที่รัฐวิสาหกิจที่ด�ำเนินการตามปีปฏิทินจ�ำนวน 10 แห่ง มีการเบิกจ่ายงบ ลงทุนของรัฐวิสาหกิจในช่วง 2 เดือนแรกของปีปฏิทิน 2557 ได้ 16.4 พันล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 8.6 ของแผนงบลงทุนทั้งปี ❍❍
ผลการด�ำเนินนโยบายการคลังในช่วง 5 เดือนแรกปีงบประมาณ 2557 (เดือนตุลาคม 2556-กุมภาพันธ์ 2557) 1. ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลในช่วง 5 เดือนแรกปีงบประมาณ 2557 ในช่วง 5 เดือนแรกปีงบประมาณ 2557 (เดือนตุลาคม 2556–กุมภาพันธ์ 2557) รัฐบาลสามารถจัดเก็บรายได้สุทธิ ได้ 802.9 พันล้านบาท ใกล้เคียงกับเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ 807.6 พันล้านบาท แต่ลดลงร้อยละ 0.6 ต่อปี ทั้งนี้ ผลการจัดเก็บรายได้ตามหน่วยงานจัดเก็บสรุปได้ดังนี้ กรมสรรพากร กรมสรรพากรจัดเก็บได้รวม 593.2 พันล้านบาท ต�่ำกว่าประมาณการ 9.1 พันล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 1.5 แต่ สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 1.2 ต่อปี โดยภาษีที่จัดเก็บได้ต�่ำกว่าเป้าหมายที่ส�ำคัญ ได้แก่ 1) ภาษีมูลค่าเพิ่ม จัดเก็บ ได้ต�่ำกว่าเป้าหมาย 6.5 พันล้านบาท หรือต�่ำกว่าเป้าหมายคิดเป็นร้อยละ 2.1 และสูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 0.6 ต่อปี จากภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการน�ำเข้าจัดเก็บได้ต�่ำกว่าเป้าหมาย 2) ภาษีเงินได้นิติบุคคล จัดเก็บได้ต�่ำกว่าเป้าหมาย
38
2.3 พันล้านบาท เนื่องจากภาษีจากประมาณการก�ำไรสุทธิ (ภ.ง.ด. 51) และภาษีหัก ณ ที่จ่ายภาคเอกชน (ภ.ง.ด. 53) จัดเก็บ ได้ต�่ำกว่าประมาณการ และ 3) ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา จัดเก็บได้ต�่ำกว่าเป้าหมาย 1.4 พันล้านบาท ส่วนหนึ่งมาจากการปรับ ลดอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่มีผลกระทบมากกว่าที่คาดการณ์ไว้ กรมสรรพสามิต กรมสรรพสามิตจัดเก็บรายได้รวม 169.0 พันล้านบาท ต�ำ่ กว่าประมาณการ 21.0 พันล้านบาท หรือร้อยละ 11.1 และ ต�่ำกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 12.4 ต่อปี โดยภาษีที่จัดเก็บได้ต�่ำกว่าเป้าหมายที่ส�ำคัญ ได้แก่ 1) ภาษีสรรพสามิตรถยนต์ จัดเก็บได้ต�่ำกว่าเป้าหมาย 12.7 พันล้านบาท หรือต�่ำกว่าเป้าหมายร้อยละ 22.4 และต�่ำกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 40.1 ต่อปี เนื่องจากการใช้สิทธิส่วนใหญ่ในโครงการรถยนต์คันแรกเกือบครบทั้งโครงการแล้วในปีงบประมาณ 2556 2) ภาษีน�้ำมัน จัดเก็บได้ต�่ำกว่าเป้าหมาย 12.0 พันล้านบาท หรือต�่ำกว่าเป้าหมายคิดเป็นร้อยละ 31.4 และลดลงร้อยละ 0.6 ต่อปี เนื่องจาก มีการขยายเวลาปรับลดภาษีน�้ำมันดีเซล และ 3) ภาษียาสูบจัดเก็บได้ต�่ำกว่าเป้าหมาย 4.4 พันล้านบาท หรือต�่ำกว่าเป้าหมาย ร้อยละ 15.4 และลดลงร้อยละ 12.8 ต่อปี จากปริมาณบุหรี่ที่ช�ำระภาษีต�่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้ กรมศุลกากร กรมศุลกากรจัดเก็บรายได้รวม 45.6 พันล้านบาท ต�่ำกว่าประมาณการ 8.9 พันล้านบาท หรือต�่ำกว่าประมาณการ ร้อยละ 16.3 และต�่ำกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 7.9 ต่อปี จากอากรขาเข้าที่จัดเก็บได้ต�่ำกว่าเป้าหมาย 8.7 พันล้านบาท รัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจน�ำส่งรายได้รวม 69.7 พันล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 16.5 พันล้านบาท หรือร้อยละ 31.1 และ สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 95.2 ต่อปี โดยรัฐวิสาหกิจที่น�ำส่งรายได้/เงินปันผลสูงกว่าประมาณการที่ส�ำคัญ ได้แก่ การประปาส่วนภูมิภาค บมจ.ท่าอากาศยานไทย บมจ.กสท โทรคมนาคม โรงงานยาสูบ และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หน่วยงานอื่น หน่วยงานอื่นจัดเก็บรายได้รวม 63.6 พันล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 11.7 พันล้านบาท หรือร้อยละ 22.6 และต�่ำ กว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 29.1 ต่อปี โดยมีสาเหตุส�ำคัญมาจาก 1) การน�ำส่งคืนรายได้ที่กันไว้เพื่อชดเชยให้แก่ผู้ส่งออก สินค้า 2) การน�ำส่งรายได้จากค่าต่ออายุสัมปทานการผลิตปิโตรเลียม และ 3) การน�ำส่งรายได้จากก�ำไรสุทธิประจ�ำปี 2555 ของ ส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เป็นส�ำคัญ ตารางที่ 1 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลในช่วง 5 เดือนแรกปีงบประมาณ 2557 (เดือนตุลาคม 2556-กุมภาพันธ์ 2557) (หน่วย : ล้านบาท)
1. กรมสรรพากร 2. กรมสรรพสามิต 3. กรมศุลกากร รวมรายได้ 3 กรมจัดเก็บ 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หน่วยงานอื่น รวมรายได้จัดเก็บ (Gross) หัก รวมรายได้สุทธิ (Net) หักเงินจัดสรรจาก VAT ให้ อปท. ตาม พรบ.ก�ำหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักการจัดสรร อปท.
ปีงบประมาณ 2557 ร้อยละ 593,238 1.2 168,973 -12.4 45,626 -7.9 807,837 -2.5 69,748 95.2 63,546 -29.1 941,131 -1.4 121,868 -3.6 819,263 -1.1
ประมาณการตามเอกสารงบประมาณ จ�ำนวน ร้อยละ 602,295 -1.5 189,985 -11.1 54,500 -16.3 846,780 -4.6 53,212 31.1 51,851 22.6 951,843 -1.1 129,181 -5.7 822,662 -0.4
16,390
-
15,110
8.5
802,873
-3.0
807,552
-0.6
ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
39
2. ผลการเบิกจ่ายงบประมาณในช่วง 5 เดือนแรกปีงบประมาณ 2557 (เดือนตุลาคม 2556–กุมภาพันธ์ 2557) ผลการเบิกจ่ายงบประมาณรวมในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2557 เท่ากับ 1,218.6 พันล้านบาท สูงกว่า ช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า 72.6 พันล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 6.3 ต่อปี ประกอบด้วยรายจ่ายปีปัจจุบันจ�ำนวน 1,101.3 พันล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 8.9 ต่อปี หรือคิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 43.6 ของกรอบวงเงินงบประมาณ (2.525 ล้านล้านบาท) ทั้งนี้ รายจ่ายปีปัจจุบันจ�ำนวน 1,101.3 พันล้านบาท ประกอบด้วย (1) รายจ่ายประจ�ำ 963.7 พันล้านบาท เพิ่มขึ้น ร้อยละ 2.8 ต่อปี หรือคิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 47.3 ของกรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจ�ำ (2) รายจ่ายลงทุน 137.6 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 86.7 ต่อปี หรือคิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 28.3 ของกรอบวงเงินงบประมาณ ส�ำหรับรายจ่าย เหลื่อมปีเบิกจ่ายได้ 117.3 พันล้านบาท ลดลงร้อยละ 12.9 ต่อปี ตารางที่ 2 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณในช่วง 5 เดือนแรกปีงบประมาณ 2557 (เดือนตุลาคม 2556-กุมภาพันธ์ 2557) (หน่วย : ล้านบาท)
ประเภทรายจ่าย วงเงิน 1. รายจ่ายปีปัจจุบัน 2,525,000 1.1 รายจ่ายประจ�ำ 2,097,701 1.2 รายจ่ายลงทุน 427,899 2. รายจ่ายจากงบประมาณปีก่อน 301,083 3. รายจ่ายรวม (1+2) 2,826,083
2557 1,101,328 963,692 137,636 117,318 1,218,646
ปีงบประมาณ อัตราการเบิกจ่าย ร้อยละ 43.6 8.9 47.3 2.8 28.3 86.7 39.0 -12.9 45.1 6.3
ที่มา : กรมบัญชีกลาง และส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง
นอกจากนี้ รัฐบาลได้มีการเบิกจ่ายเงินกู้นอกงบประมาณ ได้แก่ (1) การเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้แผนปฏิบัติการไทย เข้มแข็ง 2555 ตัง้ แต่เริม่ โครงการ (เดือนตุลาคม 2552–กุมภาพันธ์ 2557) โดยมีการเบิกจ่ายรวมทัง้ สิน้ 328.6 พันล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 94.2 ของวงเงิน 348.9 พันล้านบาท (2) การเบิกจ่ายเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) ตั้งแต่ เริ่มโครงการ (เดือนเมษายน 2554) จนถึงสิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2557 มีจ�ำนวน 25.9 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 66.0 ของวงเงิน 39.3 พันล้านบาท และ (3) การเบิกจ่ายเงินกูภ้ ายใต้พระราชก�ำหนดให้อำ� นาจกระทรวงการคลังกูเ้ งินเพือ่ วางระบบบริหารจัดการ น�้ำและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 ตั้งแต่เริ่มโครงการ (เดือนกุมภาพันธ์ 2555–กุมภาพันธ์ 2557) มีการเบิกจ่ายรวมทั้งสิ้น 18.8 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.4 ของกรอบวงเงิน 350.0 พันล้านบาท ตารางที่ 3 ผลการเบิกจ่ายเงินกู้นอกงบประมาณ โครงการ 1. โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการ ไทยเข้มแข็ง 2. เงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจ และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) 3. เงินกู้ภายใต้ พรก. บริหารจัดการน�้ำ
ตั้งแต่เริ่ม ร้อยละของ วงเงิน โครงการจนถึ ง วงเงิ นที่ได้รับ ที่ได้รับอนุมัติ 2553 2554 2555 2556 สิ้นเดือน ก.พ. 57 อนุ มัติ 348,940 234,369 61,391 24,420 7,509
328,590
94.2
39,285 286 7,382 14,998
25,939
66.0
350,000 1,762 13,740
18,763
5.4
ที่มา : กรมบัญชีกลาง และส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง
40
(หน่วย : ล้านบาท)
3. ฐานะการคลังในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2557 (เดือนตุลาคม 2556–กุมภาพันธ์ 2557) ฐานะการคลังในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2557 (เดือนตุลาคม 2556–กุมภาพันธ์ 2557) รัฐบาลขาดดุล 487.7 พันล้านบาท โดยเป็นการขาดดุลเงินงบประมาณ 433.2 พันล้านบาท และการขาดดุลเงินนอกงบประมาณจ�ำนวน 54.5 พันล้านบาท ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากการไถ่ถอนตั๋วเงินคลังสุทธิ 42.1 พันล้านบาท การเบิกเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ได้รับจัดสรรจากภาษีมูลค่าเพิ่มตามพระราชบัญญัติก�ำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ�ำนาจฯ จ�ำนวน 22.1 พันล้านบาท และรายรับจากการชดใช้เงินคงคลังจ�ำนวน 13.4 พันล้านบาท ทั้งนี้ รัฐบาลได้บริหารเงินสดให้สอดคล้องกับความต้องการใช้เงิน โดยชดเชยการขาดดุลด้วยการกูจ้ ำ� นวน 120.3 พันล้านบาท ส่งผลให้ดลุ เงินสด (หลังการกูเ้ พือ่ ชดเชยการขาดดุล) ขาดดุลเท่ากับ 367.4 พันล้านบาท และเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2557 มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 236.6 พันล้านบาท ตารางที่ 4 ฐานะการคลังในช่วง 5 เดือนแรกปีงบประมาณ 2557 (เดือนตุลาคม 2556-กุมภาพันธ์ 2557) (หน่วย : ล้านบาท)
1. รายได้ 2. รายจ่าย 3. ดุลเงินงบประมาณ 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (3+4) 6. เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุล 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (5+6) 8. เงินคงคลังปลายงวด
ปีงบประมาณ 2557 2556 785,479 819,837 1,218,646 1,146,101 -433,167 -326,264 -54,498 -127,005 -487,665 -453,269 120,311 155,492 -367,354 -297,777 236,570 262,560
เปรียบเทียบ จ�ำนวน ร้อยละ -34,358 -4.2 72,545 6.3 -106,903 32.8 72,507 -57.1 -34,396 7.6 -35,181 -22.6 -69,577 23.4 -25,990 -9.9
ที่มา : กรมบัญชีกลาง และส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง
4. หนี้สาธารณะ ยอดหนีส้ าธารณะคงค้าง ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2557 มีจำ� นวน 5,530.4 พันล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 46.10 ของ GDP โดยเป็นหนีข้ องรัฐบาล 3,905.9 พันล้านบาท หนีร้ ฐั วิสาหกิจทีไ่ ม่เป็นสถาบันการเงิน 1,090.2 พันล้านบาท หนีร้ ฐั วิสาหกิจที่ เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค�้ำประกัน) 533.4 พันล้านบาท และหนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ 0.83 พันล้านบาท และเมื่อเปรียบเทียบ กับเดือนก่อนหน้า หนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นสุทธิ 64.2 พันล้านบาท โดยเป็นหนี้ของรัฐบาลที่เพิ่มขึ้น 67.5 พันล้านบาท เป็นส�ำคัญ ทั้งนี้ ระดับหนี้สาธารณะคงค้างยังอยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพ สะท้อนได้จาก (1) หนี้สาธารณะคงค้างเป็นหนี้ภายในประเทศถึง ร้อยละ 93.20 ของหนี้สาธารณะคงค้าง (2) หนี้สาธารณะคงค้างเป็นหนี้ระยะยาวถึงร้อยละ 98.05 ของหนี้สาธารณะคงค้าง และ (3) สัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ยังคงอยู่ในกรอบความยั่งยืนทางการคลังที่ก�ำหนดสัดส่วนไว้ไม่เกินร้อยละ 60.0 ของ GDP
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
41
ตารางที่ 5 หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2557
(หน่วย : ล้านบาท)
ณ เดือน ม.ค. 57 หนี้สาธารณะคงค้าง จ�ำนวน %GDP 1. หนี้ของรัฐบาล 3,838,401.41 32.13 2. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน 1,090,502.45 9.13 3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน 536,459.52 4.49 (รัฐบาลค�้ำประกัน) 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟื้นฟู -------- ---- 5. หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ 834.69 0.01 หนี้สาธารณะรวม (1+2+3+4+5) 5,466,198.07 45.75
ณ เดือน ก.พ.56
เพิ่ม/ลด
จ�ำนวน
%GDP
จ�ำนวน
3,905,865.68 1,090,240.86
32.56 9.09
67,464.27 -261.59
533,422.71
4.45
-3,036.81
-------- 834.69 5,530,363.94
- -- 0.01 46.10
----------64,165.86
ที่มา : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง
5. ผลการเบิกจ่ายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจในช่วง 5 เดือนแรกปีงบประมาณ 2557 (เดือนตุลาคม 2556–กุมภาพันธ์ 2557)
กรอบอนุมตั งิ บลงทุนของรัฐวิสาหกิจประจ�ำปีงบประมาณ 2557 (เดือนตุลาคม 2556–ธันวาคม 2557) ของรัฐวิสาหกิจ รวม 46 แห่ง จ�ำนวนทั้งสิ้น 325.5 พันล้านบาท โดยรัฐวิสาหกิจที่ด�ำเนินงานตามปีงบประมาณจ�ำนวน 36 แห่ง มีการเบิกจ่ายงบ ลงทุนของรัฐวิสาหกิจในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2557 (เดือนตุลาคม 2556–กุมภาพันธ์ 2557) ได้ 22.0 พันล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 15.5 ของแผนงบลงทุนทั้งปีของรัฐวิสาหกิจที่ด�ำเนินงานตามปีงบประมาณ ขณะที่รัฐวิสาหกิจที่ด�ำเนินการ ตามปีปฏิทินจ�ำนวน 10 แห่ง มีการเบิกจ่ายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจในช่วง 2 เดือนแรกของปีปฏิทิน 2557 ได้ 16.4 พันล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 8.6 ของแผนงบลงทุนทั้งปีของรัฐวิสาหกิจที่ด�ำเนินงานตามปีปฏิทิน ตารางที่ 6 ผลการเบิกจ่ายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจที่ด�ำเนินการตามปีงบประมาณในช่วง 5 เดือนแรก ปีงบประมาณ 2557 และรัฐวิสาหกิจที่ด�ำเนินการตามปีปฏิทินในช่วง 2 เดือนแรกปีปฏิทิน การเบิกจ่ายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจ
งบลงทุน อนุมัติ
(1) รัฐวิสาหกิจที่ด�ำเนินงาน 141,932 ตามปีงบประมาณ (36 แห่ง) การรถไฟแห่งประเทศไทย 50,425 การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย 25,182 บริษัท ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน) 17,678 การประปานครหลวง 8,382 การเคหะแห่งชาติ 6,840 (2) รัฐวิสาหกิจที่ด�ำเนินงานตามปีปฏิทิน (10 แห่ง) 191,486 บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) 68,778 การไฟฟ้านครหลวง 16,158 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 38,072 บริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) 27,130 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 18,642 (3) รวม (46 แห่ง) = (1) + (2) 333,422 ที่มา : ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) กระทรวงการคลัง
42
(หน่วย : ล้านบาท)
เบิกจ่ายเดือน % ต่อแผน เบิกจ่ายสะสม % ต่องบ ก.พ. 57 การเบิกจ่าย (ต.ค.56-ก.พ.57) ลงทุนอนุมัติ 7,371
81.9
22,025
15.5
1,883 2,510 608 403 640 8,541 1,395 683 1,195 1,270 444 15,912
59.8 115.5 169.5 46.7 146.6 72.0 38.6 99.8 50.2 33.0 99.4 76.3
4,752 6,041 1,635 1,529 3,030 16,415 2,544 864 2,559 4,676 827 38,440
9.4 24.0 9.2 18.2 44.3 8.6 3.7 5.3 6.7 17.2 4.4 11.5
Macroeconomic Analysis Briefing บทวิเคราะห์ เรื่อง เศรษฐกิจไทยจะเป็นอย่างไร ท่ามกลางความไม่แน่นอนทางการเมือง
1
บทสรุปผู้บริหาร การพิจารณาร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมเมื่อปลายเดือนพฤศจิกายน 2556 ได้น�ำไปสู่ เหตุการณ์การชุมนุมตามท้องถนนและสถานทีร่ าชการส�ำคัญต่าง ๆ เพือ่ ให้มกี ารถอนร่างพระราชบัญญัตดิ งั กล่าว จนน�ำไปสู่การประกาศยุบสภาในที่สุด เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2556 ❍❍ ปัญหาข้อขัดแย้งทางการเมืองทีเ่ กิดขึน ้ ดังกล่าวยังคงด�ำเนินเรือ่ ยมาจนถึงปัจจุบนั และคาดว่า จะส่งผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจไทยอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ ซึง่ สามารถสรุปสาระส�ำคัญได้ 5 ประการ 1. ผลกระทบ ต่อภาคการท่องเทีย่ ว 2. ผลกระทบต่อการใช้จา่ ยภาครัฐ 3. ผลกระทบต่อภาคการลงทุน 4. ผลกระทบต่อการใช้จา่ ย ภาคเอกชน และ 5. ผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือจากต่างชาติลดลง ❍❍ จากปัจจัยข้างต้นจึงท�ำให้ สศค.คาดการณ์ว่า อัตราการเจริญเติบโตของ GDP จะลดลงเหลือ ร้อยละ 2.6 ❍❍
บทน�ำ ปั ญ หาข้ อ ขั ด แย้ ง ทางการเมื อ งที่ เ ริ่ ม ต้ น จากการที่ ป ระชาชนจ� ำ นวนมากไม่ เ ห็ น ด้ ว ยเกี่ ย วกั บ การพิ จ ารณาร่ า ง พระราชบัญญัตินิรโทษกรรม เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556 ได้น�ำไปสู่เหตุการณ์การชุมนุมตามท้องถนนและสถานที่ราชการ ส�ำคัญต่าง ๆ เพื่อให้มีการถอนร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว และหลังจากนั้นรัฐบาลก็ได้ประกาศยุบสภาเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2556 อย่างไรก็ตาม การชุมนุมเพื่อเคลื่อนไหวทางการเมืองดังกล่าวยังคงด�ำเนินเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ให้เกิดการปฏิรูปทางการเมืองของไทย ดังนั้น ผลกระทบของปัญหาความไม่แน่นอนทางการเมืองที่เกิดขึ้นต่อเศรษฐกิจไทย จึงเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ และอาจแยกพิจารณาได้เป็น 5 ส่วน กล่าวคือ 1. ผลกระทบต่อภาคการท่องเที่ยว : จ�ำนวนนักท่องเที่ยวลดลง ความขัดแย้งทางการเมืองของไทยเริ่มก่อตัวขึ้นอย่างชัดเจนตั้งแต่ช่วงปลายปี 2556 (เดือนพฤศจิกายน 2556) ที่มี การแสดงออกโดยการชุมนุมเพื่อเคลื่อนไหวทางการเมืองตามท้องถนนและสถานที่ส�ำคัญต่าง ๆ การชุมนุมดังกล่าวมีผู้เข้าร่วม ชุมนุมเป็นจ�ำนวนมาก และถึงแม้ว่าจะไม่ได้มีความรุนแรงจนส่งผลกระทบให้เกิดการบาดเจ็บต่อนักท่องเที่ยวต่างชาติโดยตรง แต่ก็ได้ส่งผลกระทบทางจิตวิทยาและความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยวที่จะเดินทางมายังกรุงเทพมหานคร นอกจากนี้ ยังส่ง ผลกระทบต่อการคมนาคมขนส่งในบริเวณใกล้เคียงกับการชุมนุม จากข้อมูลล่าสุดพบว่า ประเทศทีม่ กี ารประกาศเตือนนักท่องเทีย่ วทีจ่ ะเดินทางเข้าประเทศไทยมีจำ� นวนทัง้ สิน้ 50 ประเทศ คิดเป็นสัดส่วนนักท่องเที่ยวต่างชาติในไทยประมาณร้อยละ 92 โดยส่วนใหญ่เป็นการแจ้งเตือนสถานการณ์หรือให้นักท่องเที่ยว หลีกเลี่ยงพื้นที่ชุมนุม
ผู้เขียน : นางวิภารัตน์ ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ ส่วนแบบจ�ำลองและประมาณการเศรษฐกิจการคลัง ส�ำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ ดร.ศรพล ตุลยเสถียร นางสาวคงขวัญ ศิลา และนายกระแสร์ รังสิพล ส�ำหรับข้อมูล
1
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
43
การประกาศเตือนนักท่องเที่ยวเกี่ยวกับสถานการณ์ทางการเมืองในประเทศไทยเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลให้จ�ำนวน นักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้าไทยขยายตัวในอัตราชะลอลงอย่างต่อเนื่อง โดยจากข้อมูลล่าสุดพบว่า จ�ำนวนนักท่องเที่ยว ต่างชาติที่เดินทางมาประเทศไทยในเดือนมกราคม 2557 ขยายตัวเพียงร้อยละ 0.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน คิดเป็นการชะลอลง ต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเดือนที่ 5 นับตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2556 เป็นต้นมา และในเดือนกุมภาพันธ์ จ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ ได้หดตัวแล้วที่ร้อยละ -8.1 นับเป็นการหดตัวครั้งแรกในรอบ 27 เดือนนับจากสถานการณ์อุทกภัยเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2554 ตารางที่ 1 การแจ้งเตือนของประเทศต่าง ๆ/หลีกเลี่ยงพื้นที่ชุมนุม แจ้งเตือนสถานการณ์/หลีกเลี่ยงพื้นที่ชุมนุม Austria Australia Belgium Brazil Canada China Czech Denmark Finland France
เลื่อนการเดินทางออกไปก่อน แต่มิได้สั่งห้าม
หลีกเลี่ยงการเดินทาง
กรุงเทพฯ และ ประเทศไทย กรุงเทพฯ ประเทศไทย ปริมณฑล Germany Laos Portugal Malaysia UAE Hong Kong Kuwait Greece Lithuania Saudi Arabia Qatar Kazakhstan Iran Hungary Luxemburg Singapore Russia Indonesia Mexico Slovak Taiwan India Netherlands Spain Ireland New Zealand Sweden Israel Norway Switzerland Italy Romania Turkey Japan Philippines UK Korea Poland USA
เดินทาง ออกจาก ประเทศไทย Oman
ที่มา : กระทรวงการต่างประเทศ (ณ วันที่ 14 มีนาคม 2557) และกรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
ภาพที่ 1 จ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ
ที่มา : กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
จ�ำนวนนักท่องเทีย่ วต่างชาติทลี่ ดลงได้สง่ ผลให้รายได้จากการท่องเทีย่ วของประเทศไทยขยายตัวในอัตราชะลอลงตัง้ แต่ ปลายปี 2556 เช่นกัน โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2557 รายได้จากการท่องเที่ยวมีจ�ำนวน 102,436 ล้านบาท คิดเป็นการหดตัว ร้อยละ -5.93
44
ภาพที่ 2 มูลค่าและอัตราการขยายตัวของรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติ
ที่มา : กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
แนวโน้มจ�ำนวนนักท่องเทีย่ วในปี 2557 ทีล่ ดลงต�ำ่ กว่าทีค่ าดไว้เดิม ท�ำให้ สศค.คาดว่าจ�ำนวนนักท่องเทีย่ วต่างชาติจะ ลดลง 3.1 ล้านคนในช่วงครึ่งแรกของปี คิดเป็นการสูญเสียโอกาสที่จะสร้างรายได้ประมาณ 1.41 แสนล้านบาท และ จะส่งผลให้จ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งปี 2557 ลดลงเหลือ 28.0 ล้านคน คิดเป็นการขยายตัวเพียงร้อยละ 4.8 ต่อปี (จาก กรณีฐานที่เดิมคาดไว้ว่าจ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติในปี 2557 จะอยู่ที่ 31.1 ล้านคน คิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 16.5 ต่อปี) ภาพที่ 3 จ�ำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติปี 2553-2557
ที่มา : กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ค�ำนวณโดยส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
2. ผลกระทบต่อการใช้จ่ายภาครัฐ : การเบิกจ่ายงบลงทุนภาครัฐล่าช้า การเบิกจ่ายรายจ่ายภาคสาธารณะคาดว่าจะต�่ำกว่าการคาดการณ์เดิม โดยเฉพาะในส่วนของงบประมาณ รายจ่ายลงทุนประจ�ำปีงบประมาณ 2557 รวมทั้งโครงการลงทุนบริหารจัดการน�้ำวงเงิน 3.5 แสนล้านบาท ที่ต้องมี การท�ำประชาพิจารณ์ตามค�ำสั่งศาลปกครอง และโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานวงเงิน 2 ล้านล้านบาท ที่ศาล รัฐธรรมนูญลงมติว่าขัดรัฐธรรมนูญ โดย สศค.คาดว่าจะคิดเป็นการสูญเสียเม็ดเงินกว่า 1 แสนล้านบาท
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
45
ตารางที่ 2 แสดงผลกระทบต่อความล่าช้าในการใช้จ่ายภาครัฐจากความไม่สงบทางการเมือง
ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.)
นอกจากนี้ หากการจัดตั้งรัฐบาลล่าช้าไปยังอาจกระทบต่อแผนการใช้จ่ายเงินตามงบประมาณรายจ่ายของ รัฐบาลช่วงปีงบประมาณ 2558 โดยการด�ำเนินการเพื่อก�ำหนดแผนงานเกี่ยวกับการจัดท�ำงบประมาณรายจ่ายของรัฐบาล ปีงบประมาณ 2558 อาจไม่สามารถด�ำเนินการได้ และอาจท�ำให้ต้องใช้งบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี งปม. 2557 ไปพลางก่อน จนกว่าพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณ 2558 จะประกาศใช้ 3. ผลกระทบต่อภาคการลงทุน : นักลงทุนขาดความเชื่อมั่น ความไม่สงบทางการเมืองอันน�ำมาสู่การขาดเสถียรภาพของรัฐบาลจากการยุบสภาคาดว่าจะส่งผลให้นักลงทุน ชะลอการลงทุนออกไป สะท้อนจากความเชื่อมั่นของผู้ประกอบการและนักธุรกิจที่ลดลง โดยในเดือนธันวาคม 2556 ดัชนี ความเชื่อมั่นทางธุรกิจปรับลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6 มาอยู่ที่ระดับ 45.0 ซึ่งเป็นระดับที่ต�่ำที่สุดหลังจากเหตุการณ์ อุทกภัยในปี 2554 ภาพที่ 4 ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจและดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม
46
ภาพที่ 4 ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจและดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ต่อ)
ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
นอกจากนี้ ความไม่สงบทางการเมืองคาดว่าจะส่งผลให้นักลงทุนชะลอการลงทุนออกไป เนื่องจากสุญญากาศทาง การเมืองส่งผลให้เกิดอุปสรรคต่อการลงทุน อาทิ • การชะลอโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐออกไปจะส่งผลให้การลงทุนภาคเอกชนที่เกี่ยวเนื่องชะลอตัวลงตาม • การยุบสภาส่งผลให้กระบวนการแต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (Board of Investment : BOI) หยุดชะงัก ซึง่ ปัจจุบนั มีโครงการทีม่ มี ลู ค่าเกิน 200 ล้านบาท ทีร่ อขออนุมตั จิ ากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนจ�ำนวน 370 โครงการ มูลค่า เกือบ 5 แสนล้านบาท 4. ผลกระทบต่อการใช้จ่ายภาคเอกชน : การบริโภคภาคเอกชนชะลอลง ความไม่สงบทางการเมืองส่งผลให้ประชาชนชะลอการจับจ่ายใช้สอยจากความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่ลดลง โดยในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจปรับลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 มาอยู่ที่ระดับ 46.4 ซึ่งเป็น ระดับที่ต�่ำที่สุดหลังจากเหตุการณ์อุทกภัยในปี 2554 ภาพที่ 5 การขยายตัวทางเศรษฐกิจไทยกับดัชนีความเชื่อมั่นภาคเอกชน
ที่มา : ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
47
5. ผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือของประเทศไทยในสายตาต่างชาติลดลง ความไม่สงบทางการเมืองที่น�ำไปสู่ความไม่มีเสถียรภาพของรัฐบาลผ่านการยุบสภาส่งผลให้ความน่าเชื่อถือ ของประเทศไทยในสายตาต่างชาติลดลง โดยความเสี่ยงของพันธบัตรรัฐบาลปรับตัวเพิ่มขึ้นในสายตานักลงทุน ต่างประเทศ สะท้อนจากดัชนีความเสีย่ ง (Credit Default Swap) ของพันธบัตรรัฐบาลไทยปรับเพิม่ สูงขึน้ ในอัตราทีเ่ ร่ง ตัวกว่าดัชนีความเสี่ยงของมาเลเซียและเกาหลี โดยได้เพิ่มขึ้นจากระดับ 120 basis points ในช่วงเดือนตุลาคม 2556 มาอยู่ที่ระดับ 158 basis points ในช่วงเดือนมกราคม 2557 ภาพที่ 6 ดัชนีความเสี่ยง (Credit Default Swap) ของพันธบัตรรัฐบาลไทย
จากปัจจัยข้างต้นจึงท�ำให้ สศค.คาดการณ์ว่า อัตราการเจริญเติบโตของ GDP จะลดลงเหลือร้อยละ 2.6 จาก การใช้จ่ายของทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่ลดลง รวมถึงรายได้จากการท่องเที่ยวที่จะเติบโตเหลือเพียงไม่เกินร้อยละ ตารางที่ 3 อัตราการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจมหภาคที่ส�ำคัญ ปี 2554-2557 Real GDP - Real Private Consumption - Real Public Consumption - Real Private Investment - Real Public Investment - Real Export of goods and services - Real Import of goods and services Trade Balance - Export of goods in $ term - Import of goods in $ term Headline Inflation
2554 0.1 1.3 1.1 7.2 -8.7 9.5 13.7 17.0 14.3 24.9 3.8
2555 6.5 6.7 7.5 14.4 8.9 3.1 6.2 6.0 3.1 8.8 3.0
2556 2.9 0.2 4.9 -2.8 1.3 4.2 2.3 6.4 -0.2 -0.4 2.2
หน่วย : ร้อยละ
2557F 2.6 2.3 1.9 1.9 -3.1 4.4 3.8 9.5 5.0 3.7 2.5
ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (คาดการณ์ ณ เดือนมีนาคม 2557)
อย่างไรก็ดี ที่ผ่านมาเศรษฐกิจไทยมักฟื้นตัวจากวิกฤติทางการเมืองได้ในระยะเวลาอันสั้น เนื่องจากปัญหา การเมืองทีผ่ า่ นมาไม่ได้สนั่ คลอนพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจของประเทศ ไม่วา่ จะเป็นระดับรายได้ของประชาชน กฎระเบียบ ทางการค้าการลงทุนทีเ่ กีย่ วข้อง จุดแข็งด้านภูมศิ าสตร์และเสถียรภาพทางเศรษฐกิจทีแ่ ข็งแกร่ง รวมไปถึงความสามารถ ในการแข่งขันของภาคธุรกิจไทยแต่อย่างใด ดังนัน้ จึงคาดว่าการใช้จา่ ยของภาคเอกชนและการท่องเทีย่ วจึงเพียงแค่จะ ชะลอออกไปแต่จะไม่หายไปอย่างถาวร ทว่าหากปัญหาการเมืองน�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางกฎกติกาบ้านเมืองอย่าง มีนัยส�ำคัญ อาจท�ำให้เกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจเชิงโครงสร้างได้ ทั้งนี้ หากปัญหาการเมืองมีข้อสรุปได้เร็วเท่าไหร่ การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจจะเกิดเร็วขึ้นเท่านั้น
48
บทวิเคราะห์ เรื่อง นโยบายเศรษฐกิจ ปี 2557 กับการฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ
1
บทสรุปผู้บริหาร เศรษฐกิจไทยถูกคาดการณ์ว่าจะชะลอตัวต่อเนื่องในปี 2557 และมีอัตราการเติบโตต�่ำกว่า ระดับศักยภาพการผลิต ❍❍ อย่างไรก็ตาม นโยบายเศรษฐกิจหลัก 2 ประเภท คือ นโยบายการเงินผ่านอัตราดอกเบี้ย และ นโยบายการคลังผ่านการใช้จ่ายภาคสาธารณะกลับมีข้อจ�ำกัดที่ท�ำให้ไม่สามารถช่วยประคับประคองเศรษฐกิจ ในช่วงของการชะลอตัวได้ ❍❍ นโยบายการเงินผ่านอัตราดอกเบี้ยมีประสิทธิผลในการดึงเงินเฟ้อและกระตุ้นเศรษฐกิจน้อย และให้ผลช้าจากลักษณะการส่งผ่านดอกเบี้ยธนาคารพาณิชย์ที่มีประสิทธิภาพน้อย ❍❍ นโยบายการคลังผ่านการใช้จ่ายฯ เผชิญข้อจ�ำกัดอันเป็นผลพวงจากปัญหาการเมือง ท�ำให้ การเบิกจ่ายในปีงบประมาณ 2557 ท�ำได้ไม่เต็มที่ และมีความเสี่ยงสูงที่จะจัดท�ำงบประมาณในปี 2558 ไม่ได้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม เป็นเหตุให้เศรษฐกิจในช่วงปลายปีชะลอตัวและอาจครอบคลุมไปถึงช่วงต้นปี 2558 ด้วย ❍❍
บทน�ำ เศรษฐกิจไทยได้มีการชะลอลงอย่างชัดเจนตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของปี 2556 เป็นต้นมา กระทั่งในปัจจุบันสัญญาณทาง เศรษฐกิจหลายประเภทก็ยังบ่งชี้ไปในทิศทางเดียวกันถึงการชะลอตัวต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นยอดการส่งออกสินค้า (2 เดือนแรก ของปี 2557 ขยายตัวเพียงร้อยละ 0.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน) รายได้เกษตรกรที่แท้จริง (2 เดือนแรกของปี 2557 หดตัวร้อยละ 3.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน) ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (2 เดือนแรกของปี 2557 หดตัวร้อยละ 5.0 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น) อัตราเงินเฟ้อ (เดือนกุมภาพันธ์ 2557 อยูท่ รี่ อ้ ยละ 2.0 เร่งขึน้ จากเดือนก่อนทีร่ อ้ ยละ 1.9 แต่ ยังถือว่าอยู่ในระดับต�่ำ) และจ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงาน (จ�ำนวนผู้มีงานท�ำเกิน 50 ชั่วโมง ลดลงราว 1.7 ล้านคน) จากสัญญาณทีไ่ ม่สดู้ นี กั ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) รวมไปถึงธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) จึงได้มกี ารปรับ ประมาณการทางเศรษฐกิจล่าสุด (ณ เดือนมีนาคม 2557) ลงจากเดิม ที่เคยคาดว่าเศรษฐกิจไทยในปี 2557 จะเติบโตดีขึ้นจาก ปี 2556 เป็นเติบโตชะลอลงในปี 2557 โดย สศค.ได้ปรับอัตราการเติบโตลงจากร้อยละ 4.0 เหลือร้อยละ 2.6 (ภาพที่ 1) ขณะที่ ธปท.ปรับจากร้อยละ 4.8 เหลือร้อยละ 2.7
1
ผู้เขียน : นายกระแสร์ รังสิพล เศรษฐกรปฏิบัติการ ส่วนแบบจ�ำลองและประมาณการเศรษฐกิจการคลัง ส�ำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ นางวิภารัตน์ ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ และ ดร.กุลยา ตันติเตมิท ส�ำหรับข้อมูลค�ำแนะน�ำ
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
49
ภาพที่ 1 อัตราการเติบโตที่แท้จริงของ GDP ณ ราคาคงที่
ที่มา : สศช. และคาดการณ์โดย สศค.
ทิศทางของอุปสงค์ในประเทศ ได้แก่ การบริโภคภาคเอกชน และการลงทุนภาคเอกชน ซึง่ มีสดั ส่วนรวมกันถึงร้อยละ 67.8 ก็มแี รงส่งทีช่ ะลอลงเช่นกัน โดยจากคาดการณ์ของ สศค. การบริโภคภาคเอกชนในปี 2557 จะเติบโตชะลอลงจากคาดการณ์เดิม ที่ร้อยละ 2.9 มาอยู่ที่ร้อยละ 2.3 ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนจะเติบโตชะลอลงจากเดิมในอัตราที่มากกว่า จากร้อยละ 7.0 มา อยู่ที่ร้อยละ 1.9 ด้าน ธปท.ก็ได้ปรับประมาณการในทิศเดียวกัน แต่ ธปท.มองว่าอุปสงค์ภายในทั้ง 2 ตัวแปรจะปรับตัวลดลงต�่ำ กว่าที่ สศค.คาดการณ์มาอยู่ที่ร้อยละ 0.3 และร้อยละ -0.9 ตามล�ำดับ ภาพที่ 2 อัตราการเติบโตที่แท้จริงของการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน
ที่มา : สศช. และคาดการณ์โดย สศค.
เมื่อพิจารณาอัตราการเติบโตที่คาดการณ์เปรียบเทียบกับศักยภาพการเติบโตของเศรษฐกิจไทย (ค�ำนวณโดยใช้วิธี HP Filter จากอัตราการเติบโตของ Real GDP) จะเห็นได้ชดั ว่า เศรษฐกิจไทยในปี 2557 จะเติบโตต�ำ่ กว่าศักยภาพต่อเนือ่ งจากปีทแี่ ล้ว
50
ภาพที่ 3 การเติบโตทางเศรษฐกิจ ผลผลิตศักยภาพ (Potential Output) และช่องว่างผลผลิต (Output Gap)
%yoy
2011
2012
2013
2014F
Real GDP Growth Potential Output Growth Output Gap
0.1 3.4 -3.3
6.5 3.6 +2.9
2.9 3.6 -0.7
2.6 3.5 -0.9
ที่มา : สศช. และค�ำนวณโดย สศค.
จากเศรษฐกิจที่ถูกคาดการณ์ว่าจะอยู่ในภาวะชะลอตัวและต�่ำกว่าระดับศักยภาพ นโยบายทางเศรษฐกิจจึงควรที่จะ ผ่อนคลาย (Accommodative) เพื่อผลักดันเศรษฐกิจให้มีอัตราการเติบโตที่ใกล้เคียงกับศักยภาพ ในบทความนี้ได้ประเมิน เครื่องมือหลักในการผลักดันเศรษฐกิจ 2 ประเภท คือ อัตราดอกเบี้ยนโยบาย และรายจ่ายภาคสาธารณะ ว่า สถานะและ ประสิทธิภาพในปี 2557 นี้จะมีความสามารถในการสนับสนุนเศรษฐกิจในลักษณะดังกล่าวหรือไม่ อย่างไร
นโยบายการเงิน : อัตราดอกเบี้ยนโยบาย ในรอบ 2 ปีที่ผ่านมา คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ได้ลดดอกเบี้ยนโยบาย (RP 1-day) ลง 4 ครั้ง เพื่อสนับสนุน การเติบโตทางเศรษฐกิจและจากที่เงินเฟ้อมีแนวโน้มลดลง อย่างไรก็ดี เงินเฟ้อพื้นฐานซึ่งเป็นเป้าหมายในการด�ำเนินนโยบาย การเงินผ่านอัตราดอกเบี้ยกลับมีทิศทางปรับลดลงมาโดยตลอด แม้ว่าจะมีการปรับเพิ่มขึ้นตั้งแต่เดือนตุลาคม 2556 ที่ผ่านมา บ้าง แต่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานล่าสุดที่ร้อยละ 1.22 ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2557 ก็ยังถือว่าไม่สูงนัก คือ อยู่ในช่วงครึ่งล่างของกรอบ นโยบายการเงินที่ร้อยละ 0.5-3.0
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
51
ภาพที่ 4 อัตราดอกเบี้ยนโยบายและอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน
ที่มา : ธปท.
สาเหตุที่การลดดอกเบี้ยในช่วง 2 ปีที่ผ่านมาไม่ได้น�ำไปสู่การเร่งขึ้นของเงินเฟ้อ (และการสนับสนุนการเติบโตทาง เศรษฐกิจ) อย่างชัดเจน อาจมาจากการส่งผ่านอัตราดอกเบี้ยนโยบายไปสู่ระบบเศรษฐกิจ (Pass-through) ผ่านระบบธนาคาร พาณิชย์ที่ค่อนข้างน้อย โดยการปรับลดดอกเบี้ยนโยบาย 3 ครั้งล่าสุดน�ำไปสู่การลดดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชย์ไม่ถึง 2 ครั้ง โดยเฉลี่ย (ภาพที่ 5) แสดงให้เห็นถึงโครงสร้างช่องทางการส่งผ่านอิทธิพลจากอัตราดอกเบี้ยของไทยมีข้อจ�ำกัด นอกจากนี้ จาก การศึกษาของ Pih et al. (2012) ตามตารางที่ 1 ยังพบว่าการส่งผ่านของประเทศไทยต�ำ่ กว่าระดับของประเทศเพือ่ นบ้านอยูม่ าก2 แม้จะยังมีช่องในการลดดอกเบี้ยเพิ่มเติมจากแรงกดดันเงินเฟ้อที่ยังไม่มีนัยส�ำคัญมากนักในปัจจุบัน แต่ผลกระทบจาก การปรับลดดอกเบี้ยโดย กนง. ส่งผลช้าและมีประสิทธิภาพในการกระตุ้นเศรษฐกิจไม่มาก ท�ำให้ในช่วงที่เหลือของปีหลังจากนี้ การที่ กนง.จะลดดอกเบี้ยอาจไม่ส่งผลกระทบเชิงบวกต่อเศรษฐกิจมากนัก เว้นแต่จะเป็นการลดแบบเกินความคาดหมายของ ตลาด (Surprise) ภาพที่ 5 อัตราดอกเบี้ยนโยบายและอัตราดอกเบี้ยธนาคารพาณิชย์
ที่มา : ธปท. (รวบรวมโดย สศค.)
2
52
Tai, Pih Nee, Siok Kun Sek, and Wai Mun Har. "Interest rate pass-through and monetary transmission in Asia." International Journal of Economics and Finance 4.2 (2012): p163.
ตารางที่ 1 การส่งผ่านอัตราดอกเบี้ยนโยบายไปยังอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้
ที่มา : Pih et al. (2012)
นโยบายการคลัง : การใช้จ่ายภาคสาธารณะ การใช้จา่ ยภาคสาธารณะในปีงบประมาณ 2557 เผชิญอุปสรรคมาตัง้ แต่ชว่ งต้นปีงบประมาณ (ไตรมาสที่ 4 ของปีปฏิทนิ 2556) จากการจัดท�ำและอนุมัติงบประมาณล่าช้าซึ่งท�ำให้ต้องใช้งบประมาณในลักษณะของปีงบประมาณ 2556 ไปพลางก่อน เป็นเวลา 1 เดือน การใช้จ่ายฯ ยังต้องเผชิญอุปสรรคต่อเนื่องหลังรัฐบาลนายกฯ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ได้ประกาศยุบสภา ท� ำให้ เกิดข้อจ�ำกัดทางการใช้จ่ายขึ้นในบางโครงการที่ต้องอาศัยคณะรัฐมนตรีที่มีอ�ำนาจบริหารเต็มในการอนุมัติ ขณะที่โครงการ ลงทุนบริหารจัดการน�้ำวงเงิน 3.5 แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ลดลงมาก เนื่องจากต้องท�ำประชาพิจารณ์ตามค�ำสั่งศาลปกครอง และโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานวงเงิน 2 ล้านล้านบาท ที่ศาลรัฐธรรมนูญลงมติว่าขัดรัฐธรรมนูญ ซึ่ง สศค.คาดว่าจะไม่ สามารถเบิกจ่ายเม็ดเงินจากโครงการดังกล่าวได้ทนั ภายในปี 2557 ด้วยเหตุนี้ สศค.จึงปรับลดประมาณการการเบิกจ่ายรายจ่าย ภาคสาธารณะลงดังตารางที่ 2 โดยรายการที่ปรับลงทั้งหมดเป็นรายการที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนทั้งสิ้น เป็นผลให้การเบิกจ่าย รายจ่ายภาคสาธารณะในรายการที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนท�ำได้ต�่ำกว่าคาดจ�ำนวน 118.2 พันล้านบาท ตารางที่ 2 เปรียบเทียบคาดการณ์รายจ่ายภาคสาธารณะปีงบประมาณ 2557
ที่มา : คาดการณ์โดย สศค.
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
53
รายจ่ายตามตารางที่ 2 แสดงถึงรายจ่ายในปีงบประมาณ 2557 ซึ่งจะมีผลต่อ 3 ไตรมาสแรกของปีปฏิทิน 2557 ส�ำหรับ ไตรมาสที่ 4 เราต้องพิจารณางบประมาณประจ�ำปี 2558 ซึง่ หลังจากทีก่ ารเลือกตัง้ ครัง้ ล่าสุดเมือ่ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2557 ถูกศาล รัฐธรรมนูญตัดสินให้เป็นโมฆะ และยังไม่แน่ชดั ว่าจะเลือกตัง้ ได้อกี เมือ่ ใด ท�ำให้มคี วามเป็นไปได้สงู ว่ารัฐบาลจะไม่สามารถจัดท�ำ งบประมาณปี 2558 ได้ทัน ดังนั้น งบประมาณจะถูกใช้ในลักษณะ “งบพลางก่อน” อีกครั้ง คือ การเบิกจ่ายโดยรัฐจะท�ำได้ไม่เกิน จากที่เคยใช้ในปีที่แล้ว ประกอบกับดุลยพินิจเพิ่มเติมในบางรายการจากผู้อ�ำนวยการส�ำนักงบประมาณ นอกจากนี้ หากงบพลางก่อนดังกล่าวยังอยูภ่ ายใต้การบริหารโดยนายกฯ รักษาการ การบังคับใช้ในบางรายการจะอยูภ่ าย ใต้เงือ่ นไขของกฎหมายซึง่ จ�ำกัดอ�ำนาจการใช้งบประมาณเพิม่ เติมตามมาตรา 181 แห่งรัฐธรรมนูญฯ อันประกอบด้วยอนุมาตรา ทั้งสิ้น 4 อนุมาตรา ได้แก่ 1) การแต่งตั้งโยกย้ายและถอดถอนบุคลากรของรัฐ (สามารถขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ การเลือกตั้ง (กกต.)) 2) การใช้จ่ายงบประมาณส�ำรองเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจ�ำเป็น (สามารถขอความเห็นชอบจาก กกต.) 3) การห้ามก่อภาระผูกพันคณะรัฐมนตรีชุดต่อไป และ 4) การห้ามใช้ทรัพยากรของรัฐให้เกิดผลในการเลือกตั้งตามระเบียบ กกต. ใจความของกฎหมายมาตรานีใ้ นอนุมาตราที่ 2 และ 3 มีนยั ต่อการเบิกจ่ายงบประมาณ คือ อาจใช้จ่ายงบส�ำรองล่าช้าหรือ ไม่ได้เต็มจ�ำนวนเพราะขึ้นอยู่กับ กกต. ขณะเดียวกันรัฐบาลรักษาการไม่อาจด�ำเนินโครงการลงทุนใหม่ได้เพราะเป็นผลผูกพัน ไปยังรัฐบาลใหม่ สศค.จึงได้ตั้งข้อสมมติการเบิกจ่ายพลางก่อน โดยก�ำหนดให้การบริโภคจากภาครัฐมีจ�ำนวนเท่ากับปีที่แล้ว เนื่องจาก ส่วนใหญ่เป็นเงินเดือนข้าราชการและลูกจ้างซึ่งมีความเป็นไปได้น้อยที่จะมีการตัดทอน ด้านตัวเลขการลงทุนภาครัฐจะเป็น ตัวเลขของปีก่อนหน้า หักด้วยประมาณการเงินลงทุนของโครงการลงทุนบริหารจัดการน�้ำวงเงิน 3.5 แสนล้านบาท ทีต่ ิดข้อจ�ำกัด ด้านการอนุมัติตามกฎหมายและการลงทุนของรัฐวิสาหกิจที่มีแนวโน้มชะลอลงจากโอกาสการท�ำก�ำไรที่ลดลง เมื่อประกอบเป็นตัวเลข 4 ไตรมาส และแยกเป็นการบริโภคและการลงทุนภาครัฐตามตารางที่ 3 พบว่า การบริโภคลดลง จากคาดการณ์เดิม 22.3 พันล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 1.3 ท�ำให้อัตราการเติบโตลดลงเหลือร้อยละ 4.4 ส่วนการลงทุนลดลง จากคาดการณ์เดิม 73.3 พันล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 10.2 ตารางที่ 3 เปรียบเทียบคาดการณ์การบริโภคและการลงทุนภาคสาธารณะ ณ ราคาปัจจุบัน Calendar Year 2557 Public Consumption Public Investment
เงินลงสู่เศรษฐกิจ (ล้านบาท) เงินลงสู่เศรษฐกิจ (ล้านบาท) Dec13 Outlook Mar14 Outlook 1,737,743 721,974
1,715,443 648,654
%yoy Mar 14 Outlook 4.4 -1.2
ที่มา : คาดการณ์โดย สศค.
การชะงักของการเบิกจ่ายภาคการคลังในภาวะของการชะลอเศรษฐกิจ ท�ำให้กล่าวได้วา่ ประเทศไทยยังคงไม่สามารถใช้ นโยบายการคลังในการ Smooth Cycle เศรษฐกิจได้ในปีนี้ โดย สศค.คาดการณ์ว่า การลงทุนภาครัฐจะเป็นตัวฉุดเศรษฐกิจไทย ในปี 2557 คือ มีการเปลี่ยนแปลงติดลบ จากภาพที่ 6 จะเห็นได้ว่าในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา นโยบายการคลังของไทยมีลักษณะที่ล้อ ตามภาวะเศรษฐกิจ (Pro-Cyclical) มากกว่าสวนทางกับภาวะเศรษฐกิจ (Counter-Cyclical) ซึ่งรัฐบาลไทยได้ด�ำเนินนโยบาย การคลังในลักษณะของ Pro-Cyclicality นี้มาตลอดช่วงกว่า 5 ทศวรรษก่อนหน้า (Frankel et al., 2013)3
3
54
Frankel, Jeffrey A., Carlos A. Vegh, and Guillermo Vuletin. "On graduation from fiscal procyclicality." Journal of Development Economics 100.1 (2013): 32-47.
ภาพที่ 6 การเติบโตทางเศรษฐกิจและ Contribution จากการใช้จ่ายภาครัฐ
Contribution
2011
2012
2013
2014F
Real GDP Real Public Consumption Real Public Investment Total contribution from Public Expenditure
0.08 0.11 -0.45 -0.34
6.49 0.75 0.42 1.17
2.87 0.50 0.06 0.56
2.61 0.19 -0.14 0.05
ที่มา : สศช. และค�ำนวณโดย สศค.
สรุป นโยบายทางเศรษฐกิจหลักของไทยทั้ง 2 ประเภทล้วนแต่มีข้อจ�ำกัดในการสนับสนุนเศรษฐกิจ กล่าวคือ นโยบายการเงิน ผ่านการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนั้นมีประสิทธิภาพไม่มากจากการส่งผ่านที่น้อยและยังส่งผลค่อนข้างช้า ขณะเดียวกัน นโยบาย การใช้จา่ ยภาคสาธารณะรวมไปถึงเครือ่ งมือทางการคลังอืน่ ๆ ก็มขี อ้ จ�ำกัดจากภาวะสุญญากาศทางการเมืองซึง่ อาจกินเวลานาน จนส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจในปี 2558 อีกเช่นกัน ทัง้ ๆ ทีใ่ นช่วงเวลาทีภ่ าวะเศรษฐกิจชะลอตัวและความเข้มงวดของการปล่อย สินเชือ่ มีเพิม่ มากขึน้ การใช้นโยบายการใช้จา่ ยภาครัฐจะมีอทิ ธิพลเชิงบวกต่อเศรษฐกิจมากขึน้ กว่าในช่วงเวลาปกติ (Blanchard and Leigh, 2013)4 อย่างไรก็ดี หากการชะลอตัวไม่บั่นทอนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของไทยที่ยังคงแข็งแกร่งรอบด้านทั้ง ด้านตลาดแรงงาน ภาคการเงิน และภาคต่างประเทศ เศรษฐกิจไทยก็เพียงแต่อยู่ในช่วงการรอความไม่แน่นอน (Uncertainty) ของปัญหาการเมืองให้สงบลง เมือ่ นัน้ เครือ่ งยนต์ของภาครัฐจะกลับมาท�ำงานอีกครัง้ และความมัน่ ใจของผูบ้ ริโภคและนักลงทุน กลับมา เศรษฐกิจไทยก็จะกลับคืนสู่ระดับศักยภาพอีกครั้ง
4
Blanchard, Olivier J., and Daniel Leigh. Growth forecast errors and fiscal multipliers. No. w18779. National Bureau of Economic Research, 2013.
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
55
บทวิเคราะห์ เรื่อง ราคาส่งออกสินค้าเกษตรส�ำคัญของไทยปี 2557 : รุ่งหรือร่วง 1
บทสรุปผู้บริหาร
ในปี 2556 ที่ผ่านมา ราคาสินค้าเกษตรส่งออกส�ำคัญของไทยปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่ง เป็นสาเหตุสำ� คัญทีท่ ำ� ให้ราคาสินค้าเกษตรทีเ่ กษตรกรขายได้ปรับตัวลดลง และส่งผลกระทบต่อรายได้เกษตรกร อันส่งผลกระทบต่อเนื่องไปยังการบริโภคภาคเอกชนให้ปรับตัวลดลง โดยเฉพาะการบริโภคภาคเอกชนในส่วน ภาคชนบท ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความโน้มเอียงในการบริโภค (MPC : Marginal Propensity to Consume) ค่อนข้างสูง นอกจากนี้ จากการที่ราคาสินค้าเกษตรปรับตัวลดลงได้ส่งผลกระทบให้ราคาส่งออกสินค้าของไทยในภาพรวม มีแนวโน้มปรับตัวลดลงเช่นกัน ❍❍ ราคาส่งออกสินค้าเกษตรส�ำคัญของไทยในช่วง 2 เดือนแรกปี 2557 ยังคงปรับตัวลดลง ต่อเนื่อง น�ำโดยราคาส่งออกข้าวขาว 5% หดตัวร้อยละ 23.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน สอดคล้องกับ ราคาส่งออกยางพาราที่หดตัวร้อยละ 31.2 เช่นเดียวกับราคาส่งออกแป้งมันส�ำปะหลังและราคาน�้ำตาลในตลาด ล่วงหน้านิวยอร์ก ที่หดตัวร้อยละ 7.2 และร้อยละ 14.1 ตามล�ำดับ เนื่องจากอุปทานที่มีค่อนข้างสูงจากประเทศ ผู้ผลิตและส่งออกหลัก ในขณะที่อุปสงค์กลับเพิ่มขึ้นอย่างจ�ำกัด ❍❍ ปัจจัยส�ำคัญที่จะส่งผลต่อราคาส่งออกสินค้าเกษตรในปี 2557 ได้แก่ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ประเทศคู่ค้า ภัยธรรมชาติ แนวโน้มการใช้พลังงานทดแทน นโยบายระบายสินค้าเกษตร โดยเฉพาะสินค้าข้าว ของแต่ละประเทศ และการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งจากปัจจัยดังกล่าวจะพบว่าราคาส่งออกสินค้า เกษตรในปี 2557 คาดว่าจะปรับตัวดีขึ้นจากปี 2556 โดยเฉพาะสินค้าประเภทพืชพลังงานทดแทน อาทิ อ้อย มันส�ำปะหลัง และข้าวโพด เนือ่ งจากความต้องการยังคงมีตอ่ เนือ่ งทัง้ จากในประเทศและต่างประเทศ อย่างไรก็ดี ราคาส่งออกสินค้าข้าวมีแนวโน้มที่จะซบเซาต่อไป เนื่องจากแนวโน้มผลผลิตข้าวโลกที่เพิ่มขึ้นและความเข้มข้น ของนโยบายในการระบายข้าวของแต่ละประเทศ ❍❍ จากการประเมินข้างต้นว่าราคาส่งออกสินค้าเกษตรส�ำคัญในปี 2557 มีแนวโน้มที่จะปรับตัว ดีขนึ้ จะส่งผลดีตอ่ เศรษฐกิจไทยผ่านการบริโภคภาคเอกชน โดยเฉพาะการบริโภคภาคเอกชนในส่วนภาคชนบท ต่อไป ❍❍
1. บทน�ำ ในปี 2556 ที่ผ่านมา ราคาสินค้าเกษตรส่งออกส�ำคัญของไทยได้ปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง และเป็นปัจจัยหลักที่ท�ำให้ ราคาสินค้าเกษตรที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวลดลง โดยส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากอุปทานที่มีค่อนข้างสูงจากประเทศผู้ผลิตและ ส่งออกสินค้าเกษตรหลัก ในขณะทีอ่ ปุ สงค์กลับเพิม่ ขึน้ อย่างจ�ำกัด เนือ่ งจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกเป็นส�ำคัญ ซึง่ การปรับ ตัวลดลงของราคาสินค้าเกษตรดังกล่าวจะส่งผลกระทบให้รายได้เกษตรกรปรับตัวลดลง อันส่งผลกระทบต่อเนือ่ งไปยังการบริโภค ภาคเอกชน โดยเฉพาะการบริโภคภาคเอกชนในส่วนภาคชนบท ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความโน้มเอียงในการบริโภค (MPC : Marginal Propensity to Consume) ค่อนข้างสูง นอกจากนี้ จากการทีร่ าคาสินค้าเกษตรปรับตัวลดลงได้สง่ ผลกระทบให้ราคาส่งออกสินค้า ผู้เขียน : นางสาวกาญจนา จันทรชิต เศรษฐกรปฏิบัติการ นางสาวสริดา โกยทอง และนางสาวศุภลักษณ์ บุญนะรา นักศึกษาฝึกงาน ขอขอบคุณ นางวิภารัตน์ ปัน้ เปีย่ มรัษฎ์ ผูอ้ ำ� นวยการส่วนแบบจ�ำลองและประมาณการเศรษฐกิจการคลัง และ ดร.กุลยา ตันติเตมิท ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ส�ำนักงาน เศรษฐกิจการคลัง ส�ำหรับค�ำแนะน�ำ
1
56
ของไทยในภาพรวมมีแนวโน้มปรับตัวลดลงเช่นกัน เนือ่ งจากราคาสินค้าเกษตรมีสดั ส่วนร้อยละ 10.2 ของดัชนีราคาส่งออกสินค้า ของไทยรวม ดังนั้น การติดตามสถานการณ์รวมถึงการประเมินแนวโน้มการปรับตัวดีขึ้นหรือลดลงของราคาสินค้าเกษตรจึงมี ความส�ำคัญ ทัง้ ในแง่ของการประเมินความสามารถในการจับจ่ายใช้สอยของประชาชน โดยเฉพาะการบริโภคภาคเอกชนในส่วน ภาคชนบทและในแง่ของแนวโน้มดัชนีราคาส่งออกสินค้าของไทย
2. สถานการณ์ราคาส่งออกสินค้าเกษตรส�ำคัญของไทย ❍❍
สินค้าข้าว ภาพที่ 1 ราคาส่งออกข้าวขาว 5% ของไทยและเวียดนาม
ภาพที่ 2 ราคาข้าวเปลือกความชื้น 15% ที่เกษตรกรขายได้
ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร และ Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO)
• ราคาส่งออกข้าวขาว 5% เฉลีย่ ของประเทศไทยในช่วง 2 เดือนแรกปี 2557 อยูท่ ี่ 455 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อตัน หรือหดตัวร้อยละ 23.8 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันปีกอ่ น สอดคล้องกับราคาส่งออกข้าวขาว 5% เฉลีย่ ของประเทศ เวียดนามทีอ่ ยูท่ ี่ 395 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน หรือหดตัวร้อยละ 2.0 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันปีกอ่ น สะท้อนให้เห็นถึงราคาข้าว ในตลาดโลกทีป่ รับตัวลดลงอย่างต่อเนือ่ ง สาเหตุสำ� คัญมาจาก (1) อุปสงค์ในตลาดโลกทีค่ อ่ นข้างทรงตัว สะท้อนจากปริมาณการ ส่งออกข้าวของโลกในปี 2556 อยู่ที่ 38.7 ล้านตันข้าวสาร หรือหดตัวร้อยละ 2.9 จากปี 2555 จากอุปสงค์ในตลาดโลกที่ปรับตัว ลดลง ส่งผลให้ประเทศเวียดนามมีการปรับราคาส่งออกลงในปี 2556 ในขณะทีป่ ระเทศไทยไม่สามารถปรับลดราคาส่งออกลงได้ เนื่องจากต้นทุนที่ค่อนข้างสูง ตามราคาข้าวในโครงการรับจ�ำน�ำข้าว (2) อุปทานในตลาดโลกยังคงปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สะท้อนจากผลผลิตข้าวโลกในปี 2556 ทีอ่ ยูท่ ี่ 471.5 ล้านตันข้าวสาร หรือขยายตัวร้อยละ 1.1 จากปี 2555 จากประเทศผูผ้ ลิตซึง่ เป็น ผูส้ ง่ ออกหลัก อาทิ ประเทศอินเดียทีส่ ามารถผลิตได้ 105.2 ล้านตันข้าวสาร และประเทศเวียดนามทีส่ ามารถผลิตได้ 27.7 ล้านตัน ข้าวสาร และ (3) ปริมาณข้าวสารในสต๊อกตลาดโลกที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2556 อยู่ที่ 111.0 ล้านตันข้าวสาร ขณะที่ข้าวสารในสต๊อกของประเทศไทยอยู่ที่ 12.8 ล้านตัน ในปี 2556 อันเป็นผลจากโครงการรับจ�ำน�ำข้าวของรัฐบาลไทย ซึ่ง จากปัจจัยดังกล่าวได้กดดันราคาข้าวในตลาดโลกให้ปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง และได้ส่งผลให้ราคาข้าวในประเทศปรับตัว ลดลงเช่นกัน สะท้อนราคาข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% เฉลี่ยอยู่ที่ 7,870.5 บาทต่อตัน หรือหดตัวร้อยละ 25.3 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันปีก่อน ประมาณการเศรษฐกิจไทย
57
ตารางที่ 1 ปริมาณการส่งออกข้าวในตลาดโลก หน่วย : ล้านตันข้าวสาร อินเดีย ไทย เวียดนาม ปากีสถาน เมียนมาร์ อื่นๆ ส่งออกข้าวโลกรวม
2553/54
2554/55
2555/56
2556/57f
4.6 10.6 7.0 3.4 1.1 9.8 36.5
10.3 6.9 7.7 3.4 1.4 10.2 39.8
10.5 6.7 6.8 3.5 1.2 10.0 38.7
10.0 8.5 7.5 3.4 1.3 10.3 41.0
2553/54
2554/55
2555/56
2556/57f
137.0 96.0 26.4 20.3 11.1 449.8
140.7 105.3 27.2 20.5 11.5 466.5
143.0 105.2 27.7 20.2 11.7 471.5
142.3 105.0 27.7 20.5 12.0 474.8
ที่มา : U.S. Department of Agriculture (USDA) คาดการณ์ ณ เดือนมีนาคม 2557
ตารางที่ 2 ปริมาณการผลิตข้าวโลก หน่วย : ล้านตันข้าวสาร จีน อินเดีย เวียดนาม ไทย เมียนมาร์ ผลผลิตข้าวโลก
ที่มา : U.S. Department of Agriculture (USDA) คาดการณ์ ณ เดือนมีนาคม 2557
❍❍
สินค้ายางพารา ภาพที่ 3 ราคาส่งออกและราคาในประเทศของยางพารา
ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.)
58
• ราคาส่งออกยางพาราเฉลีย่ ในช่วง 2 เดือนแรกปี 2557 อยูท่ ี่ 2,253 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน หรือหดตัว ร้อยละ 31.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ซึ่งเป็นการปรับลดลงต่อเนื่องตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2554 เป็นต้นมา โดยมี สาเหตุส�ำคัญมาจาก (1) ปริมาณสต๊อกที่ยังคงอยู่ในระดับสูงในปี 2556 ที่ 2.19 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2555 ที่อยู่ที่ 1.97 ล้านตัน และ (2) อุปทานยังคงปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยข้อมูลจาก International Rubber Study Group (IRSG) พบว่าผลผลิต ยางโลกในปี 2556 อยู่ที่ 11.45 ล้านตัน หรือขยายตัวร้อยละ 1.1 จากปี 2555 จากประเทศผู้ผลิตหลักอย่างไทยที่ 3.59 ล้านตัน ปรับเพิ่มขึ้นจากปี 2555 ที่อยู่ที่ 3.51 ล้านตัน สอดคล้องกับผลผลิตในประเทศเวียดนามที่ผลผลิตยางพาราปรับเพิ่มขึ้นเช่นกัน มาอยู่ที่ 0.97 ล้านตัน จากปี 2555 ที่อยู่ที่ 0.86 ล้านตัน ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากพื้นที่กรีดยางที่เพิ่มขึ้นจากนโยบายรัฐบาลของ แต่ละประเทศในการเพิ่มพื้นที่เพาะปลูกยางพาราในปี 2551 ที่ราคายางพาราปรับตัวสูงเป็นประวัติการณ์ ซึ่งจากปัจจัยดังกล่าว ได้กดดันราคายางพาราในตลาดโลกปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง และได้ส่งผลให้ราคายางพาราในประเทศปรับตัวลดลงเช่นกัน สะท้อนจากราคายางพาราแผ่นดิบชั้น 3 เฉลี่ยในช่วง 2 เดือนแรกปี 2557 อยู่ที่ 62.4 บาทต่อกิโลกรัม หรือหดตัวร้อยละ 25.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ❍❍
สินค้ามันส�ำปะหลัง ภาพที่ 4 ราคาส่งออกและราคาในประเทศของมันส�ำปะหลัง
ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) และสมาคมแป้งมันส�ำปะหลังไทย
• ราคาส่งออกแป้งมันส�ำปะหลัง ในช่วง 2 เดือนแรกปี 2557 อยู่ที่ 422.5 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน หรือหดตัวร้อยละ 7.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ขณะที่ราคามันส�ำปะหลังในประเทศปรับตัวดีขึ้น สะท้อนจากราคา มันส�ำปะหลังคละเฉลี่ยอยู่ที่ 2,195 บาทต่อตัน หรือขยายตัวร้อยละ 8.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจาก ความต้องการของลานมันเส้น และโรงแป้งมันที่ต้องการวัตถุดิบเพื่อเร่งผลิตสินค้าเพื่อเก็บสะสมในสต๊อก ประกอบกับภาครัฐมี นโยบายส่งเสริมการใช้เอทานอลจากมันส�ำปะหลัง ท�ำให้มคี วามต้องการเพือ่ ผลิตเอทานอลเพิม่ สูงขึน้ ทัง้ นีค้ าดว่าในระยะต่อไป ราคาแป้งมันส�ำปะหลังจะปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากความต้องการจากต่างประเทศ โดยเฉพาะ จากตลาดเอเชียทีม่ คี วามต้องการใช้ในอุตสาหกรรมแอลกอฮอล์และเอทานอล นอกจากนีผ้ ลิตภัณฑ์มนั ส�ำปะหลังยังเป็นพืชอาหาร หลักที่ส�ำคัญต่อความมั่นคงด้านอาหารของทวีปแอฟริกา โดยกลุ่มประเทศแอฟริกาและลาตินอเมริกามีมาตรการส่งเสริมให้ใช้ แป้งมันส�ำปะหลังทดแทนธัญพืชน�ำเข้า อาทิ บราซิลมีมาตรการให้ผสมแป้งมันส�ำปะหลังร้อยละ 10 ในแป้งสาลีท�ำให้การบริโภค แป้งมันส�ำปะหลังสูงขึน้ ขณะทีแ่ ถบแคริบเบียนและแอฟริกาตะวันออกมีการใช้มนั ส�ำปะหลังในอุตสาหกรรมการผลิตเบียร์ อาทิ เคนยามีนโยบายลดภาษีสรรพสามิตในการผลิตเบียร์จากมันส�ำปะหลัง และโมซัมบิกใช้มนั ส�ำปะหลังเป็นวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรม การผลิตเบียร์สูงถึงร้อยละ 70
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
59
❍❍
สินค้าน�้ำตาล ภาพที่ 5 ราคาส่งออกน�้ำตาลในตลาดโลกและราคาอ้อยโรงงานในประเทศ
ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) และ Intercontinental Exchange Group, Inc. (ICE)
• ราคาน�้ำตาลในตลาดล่วงหน้านิวยอร์ก ในช่วง 2 เดือนแรกปี 2557 อยู่ที่ 348.7 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อตัน หรือหดตัวร้อยละ 14.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ซึ่งเป็นการปรับตัวลดลงต่อเนื่องนับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2554 เป็นต้นมา ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากปริมาณผลผลิตที่ออกมาอย่างต่อเนื่องจากประเทศผู้ผลิตหลัก อาทิ บราซิลและอินเดีย ประกอบกับการทีร่ ฐั บาลอินเดียมีมาตรการอุดหนุนการส่งออกน�ำ้ ตาลทรายดิบในช่วงเดือนกุมภาพันธ์–มีนาคม 2557 ได้สง่ ผลให้ ราคาน�้ำตาลในตลาดโลกปรับตัวลดลง อย่างไรก็ดี ในระยะต่อไปคาดว่าราคาน�้ำตาลจะสามารถปรับตัวสูงขึ้นได้บ้าง เนื่องจาก ผลผลิตจากประเทศผูผ้ ลิตหลักมีแนวโน้มลดลง จากแนวโน้มสถานการณ์ภยั แล้งในปี 2557 ในหลายพืน้ ที่ โดยจากรายงานล่าสุด ของ Economist Intelligence Unit (EIU) ได้ปรับลดการคาดการณ์ผลผลิตน�้ำตาลโลกในปีการผลิต 2556/2557 มาอยู่ที่ 181.9 จากปีการผลิต 2555/2556 ที่อยู่ที่ 183.0 ล้านตัน หรือหดตัวลงที่ร้อยละ 0.6 ตามการลดลงของประเทศอินเดียเป็นส�ำคัญ
3. แนวโน้มราคาส่งออกสินค้าเกษตรส�ำคัญของไทยในปี 2557 และนัยเชิงเศรษฐกิจไทย ปัจจัยส�ำคัญที่จะส่งผลต่อราคาส่งออกสินค้าเกษตรในปี 2557 • การฟื้นตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้า เศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มที่เริ่มปรับตัวดีขึ้น โดยเฉพาะเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่ส่งสัญญาณการฟื้นตัวชัดเจน เนื่องจากได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการฟื้นตัวของการจ้างงานอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลดีต่อการบริโภคภาคเอกชนซึ่งเป็นหัวใจ หลักของเศรษฐกิจสหรัฐฯ อีกทั้งมาตรการทางการเงินที่คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ระดับต�่ำที่ร้อยละ 0-0.25 ต่อปี ต่อเนื่อง จนถึงกลางปี 2558 เป็นอย่างน้อย ยังเอื้อต่อการบริโภคและการลงทุน สอดคล้องกับเศรษฐกิจยูโรโซนที่ส่งสัญญาณปรับตัว ดีขึ้นเช่นกัน โดยวิกฤติหนี้สาธารณะคาดว่าจะคลี่คลายลงต่อเนื่อง นอกจากนี้ ภาคการผลิตและการส่งออกยังมีทิศทางขยายตัว ที่ชัดเจนมากขึ้น และถือเป็นปัจจัยสนับสนุนเศรษฐกิจส�ำคัญ ขณะที่เศรษฐกิจขนาดใหญ่ในภูมิภาคเอเชียอย่างเศรษฐกิจจีนที่ แม้จะมีสัญญาณชะลอตัวลง แต่ยังคงมีแนวโน้มเติบโตได้ในระดับสูงเช่นเดียวกันกับเศรษฐกิจญี่ปุ่นที่ส่งสัญญาณขยายตัวได้ใน เกณฑ์ดี แม้วา่ จะขยายตัวชะลอลงจากปีกอ่ น โดยได้รบั ปัจจัยบวกจากภาคการค้าระหว่างประเทศทีก่ ลับมาขยายตัวในระดับปกติ แนวโน้มการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจประเทศคูค่ า้ หลักนีจ้ ะส่งผลดีตอ่ การส่งออกสินค้าเกษตรของไทย โดยหาก เศรษฐกิจสหรัฐฯ และเศรษฐกิจญี่ปุ่นขยายตัวดีจะเป็นปัจจัยสนับสนุนการส่งออกสินค้ายางพารา เนื่องจากเป็นแหล่งอุปสงค์ ขนาดใหญ่ของสินค้ายางพาราเพือ่ น�ำไปผลิตเป็นสินค้าต่อเนือ่ งในอุตสาหกรรมยานยนต์ต่อไป ขณะทีเ่ ศรษฐกิจจีนจะเป็นแหล่ง อุปสงค์สำ� คัญของสินค้าผลิตภัณฑ์มนั ส�ำปะหลัง เนือ่ งจากใช้เป็นวัตถุดบิ ในการผลิตอาหารและอุตสาหกรรมแอลกอฮอล์ นอกจากนี้ ทางการจีนได้วางแผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาพลังงานทดแทน โดยในแต่ละปีจีนจะน�ำเข้ามันเส้นกว่า 9-0 ล้านตัน ซึ่งส่วนใหญ่จะน�ำเข้าจากไทยเป็นส�ำคัญ ❍❍
60
• ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ในช่วง 4-5 ปีผ่านมา พบว่าทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยประสบกับสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวนเพิ่ม มากขึ้น จนท�ำให้ประสบปัญหากับภัยธรรมชาติบ่อยครั้งไม่ว่าจะเป็นอุทกภัย พายุ แผ่นดินไหว ภัยแล้ง และโรคระบาด ซึ่งปัจจัย ดังกล่าวส่งผลกระทบโดยตรงต่อการเพาะปลูกพืชพันธุ์ทางการเกษตร โดยในปี 2557 มีนักวิชาการหลายฝ่ายคาดการณ์ว่าทั่ว โลกจะประสบกับปัญหาเอลนีโญหรือปัญหาภัยแล้ง นอกจากนี้ ประเทศต่าง ๆ ที่ผลิตสินค้าเกษตรได้รับผลกระทบบ้างแล้ว อาทิ ประเทศจีนมีปริมาณน�้ำฝนไม่เพียงพอและส่งผลกระทบต่อการเพาะปลูกสินค้าเกษตร โดยเฉพาะข้าวในเขตลุ่มน�้ำแยงซีเกียง ทางตะวันตกเฉียงใต้และเขตภาคกลาง ขณะที่อินเดียประสบปัญหาสภาพอากาศที่แห้งแล้งกว่าปกติ ส�ำหรับประเทศไทยอาจ ต้องเผชิญกับความเสี่ยงจากสถานการณ์ภัยแล้งที่คาดว่าจะรุนแรงที่สุดในรอบ 10-15 ปี ส่งผลให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีการเร่งประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรมีการเพาะปลูกพืชอายุสั้นที่ใช้น�้ำน้อย และงดการเพาะปลูกข้าวนาปรังรอบที่ 2 เนื่องจาก ปริมาณน�ำ้ มีไม่เพียงพอต่อการปลูกข้าว ซึง่ สอดคล้องกับทีส่ ำ� นักงานเศรษฐกิจการเกษตรได้มกี ารปรับประมาณการการเพาะปลูก ข้าวนาปรังรอบการผลิต 2556/2557 ลดลงเหลือ 8.47 ล้านตัน จากปีก่อนที่เพาะปลูกได้ 10.74 ล้านตัน หรือหดตัวลงที่ร้อยละ 21.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ตารางที่ 3 คาดการณ์ผลผลิตข้าวนาปรังรอบการผลิต 2556/2557 ข้าวนาปรัง อัตราการขยายตัว (ร้อยละ)
เนื้อที่ในการเพาะปลูก (ล้านไร่) 2554/55 2555/56 2556/57 18.10 16.07 12.55 n.a. -11.25 -21.85
ผลผลิต (ล้านตัน) 2554/55 2555/56 2556/57 12.24 10.74 8.47 n.a. -12.21 -21.17
ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.)
• แนวโน้มการใช้พลังงานทดแทน ในช่วงกลางปี 2551 ราคาน�ำ้ มันดิบทีป่ รับตัวสูงขึน้ เป็นประวัตกิ ารณ์ได้สง่ ผลให้ทวั่ โลกมีความตืน่ ตัวมากขึน้ ในการหาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรมาเป็นพลังงานทดแทน และท�ำให้อปุ สงค์ตอ่ สินค้าเกษตรพลังงาน อาทิ อ้อย มันส�ำปะหลัง และ ข้าวโพดปรับตัวเพิม่ ขึน้ ต่อเนือ่ ง โดยประเทศจีนได้จดั ท�ำแผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาพลังงานทดแทน ขณะทีร่ ฐั บาลเวียดนามมี มาตรการบังคับใช้สว่ นผสมเอทานอลร้อยละ 5 ในน�ำ้ มันเบนซินในปี 2557 ส�ำหรับประเทศไทยมีความต้องการใช้เพือ่ ผลิตเอทานอล เพิ่มสูงขึ้นเช่นกัน เนื่องจากภาครัฐมีนโยบายส่งเสริมการใช้เอทานอลจากมันส�ำปะหลัง โดยก�ำหนดให้ผู้ซื้อตามมาตรา 7 ใช้เอทานอลจากมันส�ำปะหลังในสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น ซึ่งปัจจัยดังกล่าวจะเป็นปัจจัยหลักที่ช่วยสนับสนุนให้ราคาสินค้าเกษตรไทย อาทิ อ้อย มันส�ำปะหลัง และข้าวโพดให้ปรับตัวดีขึ้น • นโยบายระบายสินค้าเกษตร โดยเฉพาะสินค้าข้าวของแต่ละประเทศ ในปีทผี่ า่ นมาจะเห็นราคาข้าวในตลาดโลกปรับตัวลดลงอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ ส่วนหนึง่ มาจากนโยบายการระบาย ข้าวของประเทศคู่แข่ง อาทิ เวียดนาม มีการยกเลิกราคาส่งออกขั้นต�่ำข้าวขาว 5% เพื่อกระตุ้นการส่งออก อินเดีย มีการก�ำหนด มาตรการรับซื้อข้าวเปลือกจากเกษตรกรในราคาประกันขั้นต�่ำ (Minimum Support Price) เมียนมาร์ มีการก�ำหนดเป้าหมาย ผลิตข้าวปีละ 25-30 ล้านตันข้าวสาร โดยมีมาตรการสนับสนุนการเพิ่มพื้นที่ปลูกและผลผลิตในช่วงฤดูฝน รวมทั้งตั้งเป้าหมาย ส่งออกข้าวเป็นอันดับ 1 ของโลก เพื่อรองรับการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 และได้รับสิทธิ์ยกเว้นภาษีในการ ส่งออกข้าวไปยังสหภาพยุโรปในฐานะประเทศพัฒนาน้อยที่สุด (LDCs) กัมพูชา มีการก�ำหนดเป้าหมายส่งออกข้าว 1 ล้านตัน ภายในปี 2558 และได้รับสิทธิ์ยกเว้นภาษีในการส่งออกข้าวไปยังสหภาพยุโรปในฐานะประเทศพัฒนาน้อยที่สุด (LDCs) เช่นเดียวกับเมียนมาร์ ขณะที่ จีน มีการก�ำหนดมาตรการก�ำหนดราคารับซื้อขั้นต�่ำ (Minimum Procurement Price) เพื่อกระตุ้น ให้เกษตรกรปลูกข้าวมากขึน้ และเป็นการส่งเสริมการผลิตข้าว และ ฟิลปิ ปินส์ เน้นเพิม่ ผลผลิตตามนโยบายของรัฐบาลทีต่ อ้ งการ พึ่งพาผลผลิตข้าวในประเทศ (Rice Self - Sufficiency) เพื่อลดปริมาณน�ำเข้าข้าวจากต่างประเทศ โดยก�ำหนดเป้าหมายผลิต ข้าวปีละ 22.5 ล้านตันภายในปี 2559 และส่งเสริมให้เกษตรกรขยายพื้นที่เพาะปลูกและเพิ่มการใช้เครื่องจักรกลในภาคเกษตร เพื่อพัฒนาการผลิตและลดต้นทุน ประมาณการเศรษฐกิจไทย
61
• การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนจะส่งผลโดยตรงต่อการท�ำธุรกิจของผู้ส่งออก โดยเฉพาะผู้ส่งออก รายย่อย อาทิ หากอัตราแลกเปลีย่ นมีแนวโน้มแข็งค่าขึน้ จะส่งผลให้ความสามารถในการแข่งขันด้านราคากับประเทศคูแ่ ข่งลดลง ซึง่ อาจกระทบต่อการส่งออกสินค้าเกษตรได้ อย่างไรก็ดี ในปี 2557 คาดว่าค่าเงินบาทเฉลีย่ ต่อดอลลาร์สหรัฐจะมีแนวโน้มอ่อนค่า ลงเล็กน้อยจากปี 2556 เนื่องจากเงินทุนเคลื่อนย้ายที่คาดว่าจะไหลออกตามการลดขนาดมาตรการทางการเงินแบบผ่อนคลาย ของประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ต่าง ๆ โดยเฉพาะสหรัฐฯ ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโดยเฉพาะในภาคการจ้างงาน ประกอบ กับแรงกดดันด้านเงินเฟ้อของประเทศเหล่านั้นที่คาดว่าจะเพิ่มสูงขึ้นจากปัจจัยด้านอุปสงค์ที่คาดว่าจะฟื้นตัวขึ้น ซึ่งแนวโน้ม การอ่อนค่าของค่าเงินบาทคาดว่าจะส่งผลดีต่อการส่งออกสินค้าเกษตรไทยในระยะต่อไป ทัง้ นี้ จากการประเมินปัจจัยต่าง ๆ ทีจ่ ะส่งผลกระทบต่อราคาส่งออกสินค้าเกษตรข้างต้น ท�ำให้คาด ว่าราคาส่งออกสินค้าเกษตรในปี 2557 จะปรับตัวดีขึ้นจากปี 2556 โดยเฉพาะสินค้าประเภทพืชพลังงานทดแทน อาทิ อ้อย มันส�ำปะหลัง และข้าวโพด เนือ่ งจากความต้องการยังคงมีตอ่ เนือ่ งทัง้ จากในประเทศและต่างประเทศ โดยเฉพาะ ผลิตภัณฑ์จากมันส�ำปะหลังทีน่ อกจากจะใช้เป็นวัตถุในการผลิตพลังงานทดแทนแล้ว ยังสามารถใช้เป็นวัตถุในการผลิต อาหารและอุตสาหกรรมแอลกอฮอล์ได้อีกด้วย สอดคล้องกับราคาสินค้าส่งออกยางพาราที่มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นใน ช่วงครึ่งหลังของปี 2557 ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าหลักของไทย อย่างสหรัฐฯ สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น อย่างไรก็ดี ราคาส่งออกสินค้าข้าวมีแนวโน้มทีจ่ ะซบเซาต่อไป เนือ่ งจากแนวโน้มผลผลิตข้าวโลกทีเ่ พิม่ ขึน้ จากประเทศ เมียนมาร์ กัมพูชา และปากีสถาน ประกอบกับความเข้มข้นของนโยบายระบายข้าวของแต่ละประเทศ เหล่านีล้ ว้ นเป็น ปัจจัยที่กดดันส�ำคัญของราคาส่งออกข้าวไทยในระยะต่อไปทั้งสิ้น o นัยเชิงเศรษฐกิจไทย จากการประเมินข้างต้นว่า ราคาส่งออกสินค้าเกษตรส�ำคัญในปี 2557 มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น-ยกเว้นข้าว นั้นจะส่งผลดีต่อเศรษฐกิจไทย โดยมีกลไกการส่งผ่านดังนี้ • การบริโภคภาคเอกชน จะมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น เนื่องจากคาดว่ารายได้เกษตรกรจะปรับตัวดีขึ้นตาม การเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าเกษตรส�ำคัญ โดยเฉพาะจากราคายางพารา มันส�ำปะหลัง และอ้อย เป็นต้น ท�ำให้คาดว่าการบริโภค ภาคเอกชนโดยเฉพาะการบริโภคภาคเอกชนในส่วนภาคชนบท ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความโน้มเอียงในการบริโภค (MPC : Marginal Propensity to Consume) ค่อนข้างสูงจะปรับตัวดีขึ้นตาม ทั้งนี้ คาดว่าในปี 2557 การบริโภคภาคเอกชนที่แท้จริงจะขยายตัวที่ ร้อยละ 2.3 โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.8-2.8 (ประมาณการ ณ เดือนมีนาคม 2557) • ราคาสินค้าส่งออก มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นตามแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของราคาส่งออกสินค้าเกษตรใน ช่วงครึ่งปีหลังเป็นส�ำคัญ อย่างไรก็ตาม จากตัวเลขเชิงประจักษ์พบว่า ในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2557 ดัชนีราคาส่งออกหดตัว ร้อยละ 1.7 จากทุกหมวดสินค้า โดยเฉพาะดัชนีราคาส่งออกสินค้าเกษตรทีห่ ดตัวร้อยละ 7.2 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันปีกอ่ นในทุก ผลิตภัณฑ์ สอดคล้องกับราคาสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตรที่หดตัวร้อยละ 0.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน และราคาสินค้า อุตสาหกรรมหดตัวร้อยละ 1.1 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันปีกอ่ น จากหมวดยานพาหนะ อุปกรณ์และส่วนประกอบเป็นส�ำคัญ ทัง้ นี้ คาดว่าในปี 2557 ราคาสินค้าส่งออกจะทรงตัวจากปีก่อน (ขยายตัวร้อยละ 0.0) ดีขึ้นจากปี 2556 ที่หดตัวร้อยละ 0.5
62
บทวิเคราะห์ เรื่อง ฤๅอาร์เจนตินาจะร�่ำไห้อีกครั้ง ?
1
บทสรุปผู้บริหาร ในช่วงทีผ่ า่ นมา เงินเปโซอาร์เจนตินาได้ออ่ นค่าลงมาก ท�ำให้ทางการอาร์เจนตินาจ�ำเป็นต้อง ผ่อนคลายกฎการถือเงินตราต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม ความพยายามในการรักษาเสถียรภาพอัตราแลกเปลี่ยน ของธนาคารกลางอาร์เจนตินายังไม่สมั ฤทธิผ์ ลเท่าใดนัก โดยเงินเปโซอาร์เจนตินายังคงอ่อนค่าลงอย่างต่อเนือ่ ง ❍❍ อาร์เจนตินาเคยประสบวิกฤติค่าเงินและวิกฤติเศรษฐกิจมาแล้วในช่วงปี 2541–2545 จาก ปัญหาการชะลอตัวลงของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าส�ำคัญ ประกอบกับเสถียรภาพเศรษฐกิจอาร์เจนตินาอ่อนแอ อีกทั้งการใช้นโยบายที่ไม่เหมาะสมและไม่สอดคล้องกับปัจจัยพื้นฐาน ท�ำให้เศรษฐกิจอาร์เจนตินาอยู่ในภาวะ ถดถอยยาวนาน ❍❍ หลังจากเศรษฐกิจอาร์เจนตินาเริ่มฟื้นตัวขึ้น ปัญหาความไม่สมดุลของเศรษฐกิจที่ยังไม่ได้ รับการแก้ไขส่งผลให้เสถียรภาพเศรษฐกิจอาร์เจนตินาอ่อนแอลงอีกครั้ง โดยเฉพาะเสถียรภาพต่างประเทศดัง จะเห็นได้จากทุนส�ำรองระหว่างประเทศที่ลดลงมากแตะระดับ 30 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ จากการพยายามเข้า แทรกแซงค่าเงินของธนาคารกลางอาร์เจนตินา ในขณะที่มีเงินไหลออกจากประเทศทั้งจากช่องทางการค้าและ เงินทุนเคลื่อนย้าย ❍❍ วิกฤติค่าเงินอาร์เจนตินาส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจอื่น ๆ โดยเฉพาะในภูมิภาคลาตินอเมริกา และตลาดการเงินบ้าง โดยมากเป็นผลเชิงจิตวิทยาของนักลงทุน แต่ผลกระทบยังไม่ชัดเจนนัก ในขณะที่ผลต่อ เศรษฐกิจใหม่อื่น ๆ ยังไม่ปรากฏ ❍❍ ถึ ง แม้ ว ่ า ไทยจะมี ค วามเชื่ อ มโยงทางเศรษฐกิ จ กั บ อาร์ เ จนติ น าในระดั บ ต�่ ำ อย่ า งไรก็ ต าม หากประเด็นปัญหาดังกล่าวยืดเยือ้ เราอาจเห็นการลุกลามและส่งผลกระทบต่อตลาดทุนในตลาดเกิดใหม่ทวั่ โลก ซึ่งอาจจะส่งผ่านผลกระทบทางอ้อมมายังไทยได้ จ�ำเป็นต้องจับตามองสถานการณ์ดังกล่าวอย่างใกล้ชิดต่อไป ❍❍
1. บทน�ำ เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2557 ที่ผ่านมา ทางการอาร์เจนตินาได้ประกาศผ่อนคลายกฎการถือครองเงินตราต่างชาติ โดย อนุญาตให้ชาวอาร์เจนไตน์ที่มีเงินเดือนมากกว่า 7,200 เปโซอาร์เจนตินา (900 ดอลลาร์สหรัฐ) ถือครองและท�ำธุรกรรมเงิน ดอลลาร์สหรัฐได้ไม่เกินร้อยละ 20 ของเงินเดือน และไม่เกินเดือนละ 2,000 ดอลลาร์สหรัฐ อีกทั้งยังลดอัตราภาษีการถือครอง ดอลลาร์สหรัฐจากร้อยละ 35 เหลือเพียงร้อยละ 20 อีกด้วย การผ่อนคลายกฎในครั้งนี้เกิดขึ้นภายหลังจากที่ธนาคารกลางอาร์เจนตินาปล่อยค่าเงินลอยตัว ส่งผลให้ค่าเงินเปโซ อาร์เจนตินาอ่อนค่าลงถึงร้อยละ 17.2 ภายในระยะเวลาเพียง 5 วัน (วันที่ 20–24 มกราคม 2557) โดยมุ่งหวังที่จะขจัดช่องว่าง ระหว่างอัตราแลกเปลีย่ นในตลาดทางการและในตลาดมืด โดยก่อนการผ่อนคลายกฎค่าเงินอาร์เจนตินาในตลาดมืดทีป่ ราศจาก กฎควบคุมอ่อนค่ากว่าในตลาดทางการเกือบเท่าตัว (ณ วันที่ 17 มกราคม 2557 เงิน 1 ดอลลาร์สหรัฐในตลาดมืดมีค่าถึง 11.95 เปโซอาร์เจนตินา ในขณะที่ถ้าคิดตามอัตราแลกเปลี่ยนของทางการแล้วจะมีค่าเพียง 6.8 เปโซอาร์เจนตินาเท่านั้น2) ผู้เขียน : ดร.พิมพ์นารา หิรัญกสิ เศรษฐกรช�ำนาญการ นางสาวอาร์จนา ปานกาญจโนภาส นางสาวอรกันยา เตชะไพบูลย์ นางสาวปารีณา วงศ์สุขเกษม เศรษฐกรปฏิบัติการ และนางสาวภัทราพร คุ้มสะอาด เศรษฐกรตรี ส่วนการวิเคราะห์เสถียรภาพเศรษฐกิจ ส�ำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ ดร.ศรพล ตุลยะเสถียร และ ดร.กุลยา ตันติเตมิท ส�ำหรับข้อแนะน�ำ 2 http://online.wsj.com/news/articles/SB10001424052702304419104579327174143840730 1
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
63
ภาพที่ 1 ค่าเงินเปโซอาร์เจนตินาต่อดอลลาร์สหรัฐ (อัตราอ้างอิงทางการ)
ที่มา : Central Bank of Argentina รวบรวมโดย สศค.
ทั้งนี้ ทางการอาร์เจนตินาเชื่อว่าการผ่อนคลายกฎการถือครองเงินตราต่างชาติดังกล่าวเป็นการส่งสัญญาณว่า ค่าเงิน อาร์เจนตินาได้ปรับมาอยู่ในระดับที่สมดุลแล้ว อย่างไรก็ตาม ค่าเงินเปโซอาร์เจนตินายังคงอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง บทความนี้ น�ำเสนอพื้นฐานทางเศรษฐกิจของอาร์เจนตินา อีกทั้งวิเคราะห์นัยต่อเศรษฐกิจโลกเพื่อความเข้าใจที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น
2. วิกฤติเศรษฐกิจและค่าเงินปี 2545 : ร�่ำไห้ครั้งแรก การอ่อนค่าลงของเงินเปโซอาร์เจนตินาอย่างกะทันหันในครั้งนี้มิใช่ครั้งแรก หากแต่วิกฤติเศรษฐกิจและค่าเงินเปโซ อาร์เจนตินาในลักษณะคล้ายคลึงกันนี้ได้เคยเกิดขึ้นมาแล้วในช่วงปี 2541-2545 โดยในครั้งนั้นอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ของอาร์เจนตินาลดลงกว่าร้อยละ 28 นับตัง้ แต่ปี 2541 จนถึงปี 2545 อัตราเงินเฟ้อซึง่ อยูใ่ นระดับต�ำ่ ในช่วงทศวรรษก่อนหน้ากลับ เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 41 ในปี 2545 และหากเปรียบเทียบช่วงวิกฤติในปี 2545 กับช่วงก่อนวิกฤติในปี 2541 อัตราการว่างงานเพิ่ม ขึ้นจากร้อยละ 12.4 เป็นร้อยละ 23.6 อัตราความยากจน (Poverty Headcount Ratio) เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 25.9 เป็นร้อยละ 57.5 ในขณะที่รายได้ที่แท้จริงของประชาชนลดลงกว่าร้อยละ 23.73 ภาพที่ 2 การขยายตัวของเศรษฐกิจอาร์เจนตินา ก่อนและหลังวิกฤติเศรษฐกิจ (ปี 2541–2546)
ที่มา : Argentina’s National Statistics & Census Institute
สาเหตุของการอ่อนค่าลงของเงินเปโซอาร์เจนตินาในครั้งนั้น เนื่องมาจาก 1. การชะลอตัวลงของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าส�ำคัญ อาทิ บราซิล ซึ่งประสบปัญหาเศรษฐกิจจนต้องลอยตัวค่าเงิน เรอัลบราซิล จากเดิมที่ใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบจ�ำกัด (Crawling Peg) จนท�ำให้ค่าเงินเรอัลบราซิลอ่อนค่าลงอย่าง ฉับพลันจาก 1.21 เรอัลต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐ เป็น 2.18 เรอัลต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐ และอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจชะลอลง จากร้อยละ 3.3 ในปี 2540 เหลือเพียงร้อยละ 0.8 ในปี 2542 ส่งผลให้การค้าระหว่างทั้ง 2 ประเทศ ชะลอตัวและหดตัวในที่สุด 3
64
http://www.jec.senate.gov/republicans/public/?a=Files.Serve&File_id=5fbf2f91-6cdf-4e70-8ff2-620ba901fc4c
ภาพที่ 3 เศรษฐกิจบราซิลและค่าเงินเรอัลบราซิล ในช่วงก่อนวิกฤติเศรษฐกิจ
ที่มา : Brazilian Institute of Geography and Statistics รวบรวมโดย สศค.
2. เสถียรภาพเศรษฐกิจอาร์เจนตินาทีอ่ อ่ นแอ เนือ่ งจากอาร์เจนตินาอยูภ่ ายใต้การปกครองของรัฐบาลเผด็จการทหารมา ช้านาน และมีการใช้นโยบายประชานิยมอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ทศวรรษที่ 1940 (ปี 2483–2492) โดยเริ่มต้นจากสมัยแรกใน การด�ำรงต�ำแหน่งประธานาธิบดีของนายพล ฮวน เปรอง ผูซ้ งึ่ ได้รบั ฉายาว่าเป็นต้นแบบของประชานิยม4 ท�ำให้พนื้ ฐานเศรษฐกิจ ภายในประเทศขาดเสถียรภาพ ดังจะเห็นได้จากหนี้สาธารณะและอัตราการว่างงานอยู่ในระดับสูง ตลอดจนอัตราเงินเฟ้ออยู่ใน ระดับสูงต่อเนื่องมาจากทศวรรษที่ 1980 จากการขาดวินัยทางการเงินและการคลัง อีกทัง้ มีการด�ำเนินนโยบายอัตราแลกเปลี่ยน แบบตรึงตัวหรืออัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ (Fixed Exchange Rate) ท�ำให้ค่าเงินไม่สามารถสะท้อนปัจจัยพื้นฐานที่แท้จริงได้ อีกทั้งไม่สามารถได้ประโยชน์จากปัจจัยด้านราคาในการส่งออกในยามที่เศรษฐกิจอ่อนแอซึ่งมักจะส่งผลให้ค่าเงินอ่อนค่าตาม ท�ำให้เสถียรภาพเศรษฐกิจอาร์เจนตินาอยู่ในขั้นวิกฤติ ภาพที่ 4 เสถียรภาพเศรษฐกิจอาร์เจนตินา ช่วงก่อนและระหว่างเกิดวิกฤติ
ที่มา : Argentina National Statistics & Census Institute รวบรวมโดย สศค. Dornbusch, R., and S. Edwards. 1990. The Macroeconomics of Populism in Latin America. Journal of Development Economics 32: 247-77
4
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
65
3. นโยบายการเพิ่มอัตราภาษีที่มีผลบังคับใช้ในปี 2543 เพื่อบรรเทาปัญหาขาดดุลการคลัง ซึ่งนโยบายนี้ได้ส่งผลในทาง ตรงกันข้ามกับวัตถุประสงค์ของรัฐบาลคือ แทนทีจ่ ะช่วยให้ดลุ การคลังมีความสมดุลมากขึน้ กลับท�ำให้ความเชือ่ มัน่ ต่อรัฐบาลใน การบริหารจัดการดุลการคลังลดน้อยลง จนกระทั่งส่งผลให้ภาคธุรกิจเอกชนชะลอตัว ซึ่งน�ำไปสู่การชะลอตัวลงของเศรษฐกิจใน ภาพรวม อีกทัง้ การชะลอตัวลงของเศรษฐกิจได้ทำ� ให้ฐานภาษีมขี นาดเล็กลง รัฐบาลจึงไม่สามารถทีจ่ ะจัดเก็บภาษีได้เพียงพอต่อ การใช้จ่ายที่จ�ำเป็นของภาครัฐ จึงท�ำให้ต้องมีการกู้ยืมเงินเพิม่ ขึ้น ส่งผลให้ปริมาณหนี้สาธารณะเพิม่ สูงขึ้นแตะระดับกว่าร้อยละ 50 ของขนาดเศรษฐกิจ ในขณะที่รายได้ภาครัฐยังคงไม่เพียงพอกับรายจ่าย จนกระทั่งรัฐบาลอาร์เจนตินาถูกลดอันดับความน่า เชือ่ ถือ ซึง่ ได้สง่ ผลให้ตน้ ทุนของการกูย้ มื เพิม่ ขึน้ เป็นทวีคณ ู จนเกือบถึงระดับร้อยละ 20 กลายเป็นวงจรทีท่ ำ� ให้รฐั บาลอาร์เจนตินา ไม่สามารถแก้ไขได้อย่างทันท่วงที 4. นโยบายการห้ามถอนเงินออกจากบัญชีเงินฝากเป็นระยะเวลา 1 ปี ที่รัฐบาลได้น�ำมาบังคับใช้ในช่วงวิกฤติในปี 2544 ได้ซ�้ำเติมปัญหาความเชื่อมั่นต่อสถานะทางเศรษฐกิจของอาร์เจนตินา อีกทั้งยังก่อให้เกิดเหตุการณ์จลาจลและการลาออกของ คณะผู้บริหารด้านเศรษฐกิจของรัฐบาลอีกหลายครั้ง ซึ่งส่งผลให้การด�ำเนินนโยบายแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและวิกฤติค่าเงินขาด เอกภาพและไม่สามารถด�ำเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง 5. การปฏิรูปเศรษฐกิจในปี 2534 ซึ่งท�ำให้อาร์เจนตินาน�ำระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ซึ่งได้มีการก�ำหนดให้ 1 เปโซมีค่า เท่ากับ 1 ดอลลาร์สหรัฐมาใช้ (Peso Convertability) เพื่อบรรเทาปัญหาเงินเฟ้อในขณะนั้น ได้ส่งผลให้ค่าเงินเปโซอาร์เจนตินา ไม่สามารถสะท้อนสภาพเศรษฐกิจที่แท้จริงได้ในช่วงวิกฤติ และท�ำให้การใช้นโยบายทางการคลังเพื่อสนับสนุนการขยายตัว ทางเศรษฐกิจไม่สามารถเป็นไปได้อย่างอิสระเท่าที่ควร แม้รัฐบาลได้พยายามน�ำนโยบายใหม่ อาทิ การเปลี่ยนจากการผูกติด เงินเปโซอาร์เจนตินาไว้กับดอลลาร์สหรัฐเป็นดอลลาร์สหรัฐและยูโร หรือการออกกฎให้อัตราแลกเปลี่ยนแตกต่างกันระหว่าง ผู้ใช้แต่ละกลุ่ม แต่นโยบายเหล่านี้กลับไม่เป็นผลเท่าที่ควร และท�ำให้สุดท้ายต้องมีการลอยตัวค่าเงินเปโซอาร์เจนตินาในที่สุด ในเดือนมกราคม 2545 โดยในเบื้องต้นจากเดิมที่ได้ก�ำหนดให้อัตราแลกเปลี่ยนเป็น 1 เปโซต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐ ได้เพิ่มระบบคู่ ขนานและก�ำหนดให้ 1.4 เปโซมีค่าเท่ากับ 1 ดอลลาร์สหรัฐ จนกระทั่งเปลี่ยนเป็นระบบลอยตัวอย่างเต็มรูปแบบ ส่งผลให้ค่าเงิน อ่อนลงจนใกล้เคียงระดับ 4 เปโซต่อดอลลาร์สหรัฐ ในช่วงเดือนมิถุนายน 2545 ซึ่งเป็นการอ่อนค่าลงกว่าร้อยละ 290 เมื่อเทียบ กับช่วงที่มีการใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ การลอยตัวค่าเงินเปโซอาร์เจนตินาในครั้งนั้นได้ท�ำให้หนี้ต่างประเทศ โดยเฉพาะ หนีข้ องรัฐบาลต่อองค์กรระหว่างประเทศ อาทิ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ ซึง่ ได้ให้เงินกูช้ ว่ ยเหลือเพือ่ บรรเทาวิกฤติเศรษฐกิจ ในช่วงก่อนหน้ารวมมูลค่ากว่า 22 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ5 มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นเป็นทวีคูณ จนท�ำให้รัฐบาลต้องประกาศการผิดนัด ช�ำระหนี้ (Default on Debt) อย่างเป็นทางการ ตั้งแต่ปี 2544 เป็นต้นมา ภาพที่ 5 หนี้สาธารณะอาร์เจนตินาที่ผิดนัดช�ำระหนี้
ทีม่ า : World Bank, Argentina Finance Secretariat รวบรวมและค�ำนวณโดย สศค.
5
66
http://www.washingtonpost.com/wp-srv/business/articles/argentinatimeline.html
3. เศรษฐกิจอาร์เจนตินาหลังวิกฤติปี 2545 ภายหลังวิกฤติครัง้ ใหญ่ทสี่ ดุ ในประวัตศิ าสตร์ เศรษฐกิจอาร์เจนตินาค่อย ๆ ฟืน้ ตัวขึน้ โดย ณ ปี 2555 เศรษฐกิจอาร์เจนตินา มีขนาดประมาณ 475 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งใหญ่เป็นล�ำดับ 26 ของโลก อันดับ 3 ของภูมิภาคลาตินอเมริกา และใหญ่กว่า เศรษฐกิจไทยเล็กน้อย โดยในด้านอุปสงค์เป็นเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยการบริโภคภาคเอกชนเป็นหลัก ด้วยสัดส่วนถึงร้อยละ 66.9 ของเศรษฐกิจโดยรวม อีกทัง้ ยังเป็นเศรษฐกิจแบบปิด ด้วยอัตราการเปิดของเศรษฐกิจ (Degree of Openness) เพียงร้อยละ 25.1 ของ GDP เท่านั้น โดยส่วนใหญ่จะเป็นผู้น�ำเข้าสุทธิและเป็นผู้ส่งออกสุทธิในบางปี ในขณะที่ด้านอุปทาน เศรษฐกิจ อาร์เจนตินาพึ่งพาการผลิตขั้นตติยภูมิหรือภาคบริการเป็นหลัก โดยมีสัดส่วนสูงกว่าร้อยละ 77.5 ของเศรษฐกิจโดยรวม ในขณะ ที่ภาคเกษตรและอุตสาหกรรมมีขนาดที่เล็กเพียงร้อยละ 4.1 และร้อยละ 18.4 ของเศรษฐกิจอาร์เจนตินาเท่านั้น ภาพที่ 6 โครงสร้างเศรษฐกิจอาร์เจนตินา ด้านอุปสงค์และด้านอุปทาน (สัดส่วนปี 2555)
ที่มา : Argentina’s National Statistics & Census Institute
ภาพที่ 7 ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อ GDP (ร้อยละ)
ที่มา : Argentina National Statistics & Census Institute
ด้วยโครงสร้างเศรษฐกิจทีม่ กี ารใช้จา่ ยด้านการบริโภคเป็นหลัก ในขณะเดียวกันภาคการผลิตสินค้ากลับมีขนาดเล็ก จึงไม่ น่าแปลกใจที่อาร์เจนตินาจะต้องเป็นผู้น�ำเข้าสุทธิ โดยสินค้าน�ำเข้าหลักของอาร์เจนตินาเป็นสินค้าในหมวดสินค้าทุน เครื่องจักร และส่วนประกอบ ตลอดจนสินค้าอุปโภคบริโภคและยานยนต์ อย่างไรก็ตาม อาร์เจนตินาสามารถแก้ปัญหาการขาดดุลบัญชี เดินสะพัดได้ตงั้ แต่ปี 2545 เป็นต้นมา แต่ภาคการส่งออกทีช่ ะลอตัว ในขณะทีค่ วามต้องการสินค้าน�ำเข้ายังมีอยูใ่ นระดับสูง ท�ำให้ ดุลบัญชีเดินสะพัดลดลงมากตั้งแต่ปี 2553 เป็นต้นมา
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
67
ภาพที่ 8 อัตราเงินเฟ้อที่ประกาศโดยทางการอาร์เจนตินา และอัตราเงินเฟ้อที่น่าจะเป็นจริง
ที่มา : The Economist
สาเหตุหนึ่งที่การน�ำเข้าของอาร์เจนตินาปรับตัวสูงขึ้นเรื่อยมา เนื่องจากอัตราเงินเฟ้อที่ยังคงอยู่ในระดับสูงต่อเนื่องกว่า ร้อยละ 10.6 ในปี 2556 นอกจากนัน้ นักเศรษฐศาสตร์เป็นจ�ำนวนมากทัง้ ภายในอาร์เจนตินาและนานาชาติ ต่างไม่มคี วามเชือ่ มัน่ ต่อการจัดท�ำดัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price Index : CPI) ของทางการอาร์เจนตินา โดยนักวิเคราะห์หลายสถาบันได้ ตั้งสมมติฐานว่าอัตราเงินเฟ้อที่ค�ำนวณจาก CPI ของทางการอาร์เจนตินานั้นต�่ำกว่าความเป็นจริงไปมาก โดยอัตราเงินเฟ้อที่ ถูกต้องแล้วอาจสูงถึงกว่าร้อยละ 30 ได้ ภาวะเงินเฟ้อที่สูงต่อเนื่อง ประกอบกับความไม่มั่นใจต่ออัตราเงินเฟ้อของทางการ ส่งผลทั้งด้านการคาดการณ์เงินเฟ้อของประชาชน (Inflation Expectation) ให้สูงขึ้นต่อเนื่อง และส่งผลต่ออัตราเงินเฟ้อในระบบ ให้สูงขึ้นตาม อีกทั้งท�ำให้สินค้าน�ำเข้าเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะสินค้าจากจีนที่มีราคาถูกกว่า ผู้บริโภคจึงนิยมซื้อสินค้าออนไลน์จาก จีน ท�ำให้ทางการอาร์เจนตินาต้องประกาศกฎการควบคุมการถือเงินตราต่างชาติ ก่อนที่จะต้องผ่อนคลายกฎลงดังกล่าวข้างต้น เมื่อเสถียรภาพเศรษฐกิจภายในสั่นคลอน ย่อมส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพภายนอกด้วย อัตราเงินเฟ้อที่สูงเป็นปัจจัย พื้นฐานให้ค่าเงินเปโซอาร์เจนตินาอ่อนค่าลง อย่างไรก็ตาม ความพยายามของธนาคารกลางอาร์เจนตินาที่ปกป้องค่าเงิน ให้เคลื่อนไหวในทิศทางใกล้เคียงกับดอลลาร์สหรัฐอย่างไม่สอดคล้องกับปัจจัยพื้นฐาน ส่งผลให้เงินทุนส�ำรองระหว่างประเทศ ลดลงมาก โดยเหลือเพียง 30.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณร้อยละ 7 ของ GDP เท่านั้น6 ภาพที่ 9 เงินทุนส�ำรองระหว่างประเทศของอาร์เจนตินา (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)
ที่มา : Central Bank of Argentina รวบรวมโดย สศค.
ด้านภาคการคลัง อาร์เจนตินาได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่มีวินัยการคลังหละหลวม ถึงแม้ว่ารัฐบาลอาร์เจนตินาจะพยายาม รักษาวินัยทางการคลังให้เข้มงวดขึ้น โดยภายหลังวิกฤติเศรษฐกิจปี 2545 อาร์เจนตินาสามารถรักษาดุลการคลังให้กลับมาเกิน ดุลได้จนถึงปี 2551 แต่ดุลการคลังกลับมาขาดดุลในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจโลกปี 2552 อีกครั้ง โดยรัฐบาลอาร์เจนตินาได้ด�ำเนิน ฐาน GDP ในการค�ำนวณจากการประมาณการเศรษฐกิจของอาร์เจนตินา ณ เดือนกันยายน 2556
6
68
นโยบายทางการคลังแบบผ่อนคลายในช่วงเวลาดังกล่าวเพือ่ พยุงเศรษฐกิจทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากการหดตัวของเศรษฐกิจโลกโดย รวม อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ในปี 2555 อาร์เจนตินาได้ประกาศนโยบายรัดเข็มขัดภาคการคลังเพื่อแก้ปัญหาการขาดดุลการคลังที่ มีแนวโน้มรุนแรงขึ้น แต่ดุลการคลังอาร์เจนตินาในปี 2555 กลับขาดดุลถึง 55.6 พันล้านเปโซอาร์เจนตินา หรือร้อยละ 11.7 ของ GDP ส่งผลให้หนี้สาธารณะมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นตาม ภาพที่ 10 ดุลการคลังต่อ GDP (ร้อยละ)
ทีม่ า : Argentina National Statistics & Census Institute and Ministry of Finance
4. สาเหตุของวิกฤติค่าเงินเปโซอาร์เจนตินาระลอกสอง จากปัจจัยข้างต้นเห็นได้วา่ อาร์เจนตินาถูกรุมเร้าด้วยปัญหาด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ แต่หากจะเจาะลึกไปถึงสาเหตุของ การอ่อนค่าลงของเงินเปโซอาร์เจนตินาในครั้งนี้ สามารถสรุปได้ดังนี้ 1. อัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับสูงอย่างต่อเนื่อง โดยล่าสุดอัตราเงินเฟ้ออยู่ที่ร้อยละ 10.9 ต่อปีในเดือนธันวาคม 2556 โดย อัตราเงินเฟ้อที่สูงเป็นแรงจูงใจให้ประชาชนแลกเปลี่ยนเงินสกุลเปโซเป็นดอลลาร์สหรัฐ และหันมาสั่งซื้อสินค้าจากต่างประเทศ โดยเฉพาะจากจีนซึ่งมีราคาถูกกว่าสินค้าในประเทศ อันเป็นแรงกดดันให้ค่าเงินเปโซอ่อนค่าลงต่อเนื่อง ภาพที่ 11 อัตราเงินเฟ้ออาร์เจนตินารายเดือน
ที่มา : Argentina National Statistics & Census Institute รวบรวมโดย สศค.
2. มาตรการควบคุมตลาดเงินเปโซ เพื่อลดแรงกดดันต่อค่าเงิน รัฐบาลได้ควบคุมการแลกเงินเปโซเป็นดอลลาร์สหรัฐ อย่างเข้มข้น โดยล่าสุดได้ก�ำหนดให้ผู้ซื้อสินค้าผ่านอินเทอร์เน็ตต้องลงทะเบียนกับกรมศุลกากร และเสียภาษีน�ำเข้าร้อยละ 35 โดยสามารถน�ำเข้าสินค้าโดยไม่ต้องเสียภาษีได้เพียงปีละ 2 ชิ้นเท่านั้น อย่างไรก็ตาม มาตรการดังกล่าวไม่ประสบประสิทธิผล มากนัก เนื่องจากได้ก่อให้เกิดการค้าเงินในตลาดมืด ท�ำให้การควบคุมดูแลอัตราแลกเปลี่ยนเป็นไปได้ยากขึ้น 3. เงินทุนส�ำรองระหว่างประเทศลดลงอย่างมากในช่วงหลายเดือนทีผ่ า่ นมา ธนาคารกลางอาร์เจนตินาได้เข้าแทรกแซง ตลาดเงินเปโซอย่างต่อเนือ่ ง ส่งผลให้คา่ เงินเปโซอ่อนค่าลงอย่างไม่รนุ แรงมากนัก อย่างไรก็ตาม การเข้าแทรกแซงดังกล่าวได้สง่ ผลให้เงินทุนส�ำรองระหว่างประเทศลดลงอย่างรวดเร็ว โดยล่าสุด ณ เดือนมกราคม 2557 เงินทุนส�ำรองระหว่างประเทศลดลงต�ำ่ กว่า 30 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นระดับต�่ำสุดนับตั้งแต่ปี 2549 ประมาณการเศรษฐกิจไทย
69
4. การปรับลดค่าเงินเปโซด้วยเงินทุนส�ำรองระหว่างที่ไม่เพียงพอ อาร์เจนตินาจึงจ�ำเป็นต้องปล่อยให้ค่าเงินอ่อนค่าลง อย่างรวดเร็วในช่วงปลายเดือนมกราคมที่ผ่านมา จากปัจจัยดังกล่าวเห็นได้วา่ พืน้ ฐานและเสถียรภาพเศรษฐกิจอาร์เจนตินากลับไปอ่อนแอไม่ตา่ งจากช่วงวิกฤติเศรษฐกิจ ปี 2541–2545 เท่าใดนัก อีกทั้งทางการอาร์เจนตินาไม่มีความชัดเจนในการด�ำเนินนโยบายเพื่อบรรเทาเงินทุนไหลออก แต่กลับ น�ำทุนส�ำรองระหว่างประเทศจ�ำนวนมากมาใช้ในการปกป้องค่าเงิน จึงมีความเป็นไปได้ว่าเศรษฐกิจอาร์เจนตินาอาจกลับเข้า สู่ภาวะวิกฤติอีกครั้ง โดยมีวิกฤติค่าเงินเป็นตัวกระตุ้น คล้ายคลึงกับวิกฤติเศรษฐกิจและการเงินในเอเชียในช่วงปี 2540–2541
5. ผลกระทบของวิกฤติค่าเงินเปโซอาร์เจนตินา อาร์เจนตินามีความเชื่อมโยงทางการค้าที่ค่อนข้างสูงระหว่างประเทศในกลุ่มลาตินอเมริกา โดยหากพิจารณาแหล่ง น�ำเข้าส�ำคัญแล้วพบว่า บราซิลเป็นแหล่งน�ำเข้าที่ส�ำคัญที่สุด โดยกว่าหนึ่งในสี่ของสินค้าที่อาร์เจนตินาน�ำเข้านั้นมาจากบราซิล ภาพที่ 12 แหล่งน�ำเข้าที่ส�ำคัญของอาร์เจนตินา
ที่มา : International Monetary Fund รวบรวมและค�ำนวณโดย สศค.
ในขณะเดียวกัน หากมองในมุมของบราซิลผูเ้ ป็นผูส้ ง่ ออกแล้ว อาร์เจนตินาเป็นตลาดทีส่ ำ� คัญตลาดหนึง่ ถึงแม้จะเป็นรอง จากมูลค่าส่งออกไปยังจีนและสหรัฐฯ ที่มีสัดส่วนร้อยละ 17.0 และร้อยละ 11.1 ตามล�ำดับ (สัดส่วนปี 2555) แต่ก็มีสัดส่วนถึง ร้อยละ 7.4 ของมูลค่าส่งออกรวมของบราซิล อีกทั้งบราซิลเป็นประเทศที่มีความเชื่อมโยงกับประเทศต่าง ๆ ในลาตินอเมริกาใน ระดับสูงผ่านช่องทางการค้า ประเด็นดังกล่าวจึงส่งผลให้เกิดความกังวลว่าวิกฤติคา่ เงินของอาร์เจนตินาอาจลุกลามไปยังประเทศ อื่น ๆ ทั้งในภูมิภาคลาตินอเมริกาและในตลาดเกิดใหม่ และส่งผลกระทบมายังไทยได้ อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบนั ผลกระทบจากวิกฤติคา่ เงินในอาร์เจนตินาดังกล่าวยังอยูใ่ นวงจ�ำกัด ดังเห็นได้จากการปรับอ่อน ค่าลงเพียงเล็กน้อยของค่าเงินของบางประเทศในกลุ่มลาตินอเมริกา อาทิ เงินเปโซชิลี เปโซโคลอมเบีย และเงินเรอัลบราซิล ใน ขณะที่ค่าเงินของประเทศอื่น ๆ ยังคงไม่ผันผวนนัก ส่วนหนึ่งจากการที่ทางการของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคลาตินอเมริกาได้ เข้าควบคุมตลาดอัตราแลกเปลี่ยนอย่างใกล้ชิด โดยบางประเทศ อาทิ เวเนซุเอลา ใช้อัตราแลกเปลี่ยนแบบตรึงตัว ในขณะที่ หากพิจารณาอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศตลาดเกิดใหม่ เห็นได้ว่าถึงแม้จะมีแนวโน้มอ่อนค่าบ้างในช่วงที่ผ่านมาจากเงินทุน เคลื่อนย้ายที่ไหลกลับสู่แหล่งปลอดภัย แต่การอ่อนค่ายังคงเป็นไปในระดับที่ไม่น่าเป็นห่วง อีกทั้งไม่มีการอ่อนค่าแบบฉับพลัน ในช่วงเวลาที่ค่าเงินเปโซอาร์เจนตินาถูกปล่อยให้อ่อนค่าลงกว่าร้อยละ 17 จึงอาจกล่าวได้ว่ายังไม่มีสัญญาณของการลุกลาม (Contagion) ของวิกฤติค่าเงิน
70
ภาพที่ 13 อัตราแลกเปลี่ยนของสกุลเงินในลาตินอเมริกา และในประเทศเศรษฐกิจใหม่
ที่มา : Central Bank of Argentina, Reserve Bank of India, Bank of Indonesia, Bank of Korea, Central Bank of Russian Federation, South African Reserve Bank รวบรวมโดย สศค.
ส�ำหรับผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยนั้น ในระยะสั้น คาดว่าวิกฤติอาร์เจนตินาจะส่งผลต่อความผันผวนของตลาดหุ้นและ เงินทุนเคลื่อนย้าย โดยจะเห็นได้จากในวันที่ 27 มกราคม 2557 ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ทั่วโลกปรับลดลง อาทิ ดัชนีดาวโจนส์ ลดลงร้อยละ 1.96 จากวันก่อนหน้า ดัชนี S&P 500 ปรับตัวลดลงร้อยละ 2.09 ดัชนี FTSE ลดลงร้อยละ 1.03, ดัชนีนิกเกอิ 225 ลดลงร้อยละ 2.51 ดัชนีฮั่งเส็งลดลงร้อยละ 2.11 ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ไทยลดลงร้อยละ 1.98 (ภาพที่ 13) ก่อนที่จะปรับตัว สู่สภาพปกติในวันถัด ๆ มา ภาพที่ 14 ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ในตลาดต่าง ๆ ช่วงวันที่ 20 มกราคม–7 กุมภาพันธ์ 2557
ที่มา : CEIC ค�ำนวณโดย สศค.
อย่างไรก็ตาม ในส่วนของภาคเศรษฐกิจจริงผ่านความเชื่อมโยงด้านการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว คาดว่าไทยจะ ไม่ได้รับผลกระทบมากนัก เนื่องจากความเชื่อมโยงระหว่างเศรษฐกิจไทยกับอาร์เจนตินาอยู่ในวงจ�ำกัด
6. สรุป วิกฤติค่าเงินเปโซอาร์เจนตินาที่เกิดขึ้นในขณะนี้เกิดจากพื้นฐานทางเศรษฐกิจอาร์เจนตินาที่มีปัญหาสะสมมาช้านาน โดยเฉพาะปัญหาด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจทั้งภายในและภายนอกที่อ่อนแอ ประกอบกับการด�ำเนินนโยบายที่ไม่สอดคล้องกับ ปัจจัยพื้นฐานของเศรษฐกิจมาช้านาน ถึงแม้ว่าตอนนี้วิกฤติดังกล่าวจะยังมีผลในวงจ�ำกัด อย่างไรก็ตาม ในระยะยาว หากประเด็นปัญหาดังกล่าวยืดเยื้อจนส่ง ผลลบต่อเศรษฐกิจอาร์เจนตินาอย่างรุนแรง เราอาจเห็นการลุกลามและส่งผลกระทบต่อตลาดทุนในตลาดเกิดใหม่ทั่วโลก รวมถึงภูมภิ าคอาเซียน ตลอดจนผลกระทบด้านการค้าโดยเฉพาะในประเทศคูค่ า้ ส�ำคัญของอาร์เจนตินา อาทิ บราซิล และเม็กซิโก ซึ่งอาจจะส่งผ่านผลกระทบทางอ้อมมายังไทยได้ จ�ำเป็นต้องจับตามองสถานการณ์ดังกล่าวอย่างใกล้ชิดต่อไป ประมาณการเศรษฐกิจไทย
71
บทวิเคราะห์ เรื่อง จากปฏิวัติยูเครนสู่วิกฤติไครเมีย : นัยต่อเศรษฐกิจโลกสู่เศรษฐกิจไทย 1
บทสรุปผู้บริหาร
ยูเครนตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันออก เคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต โดยได้รับเอกราช ภายหลังสหภาพโซเวียตล่มสลายในปี 2534 ทั้งนี้ ยูเครนเป็นประเทศที่อุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ จนได้ รับการขนานนามว่าเป็นอู่ข้าวอู่น�้ำของยุโรปตะวันออก อีกทั้งยังเป็นแหล่งผลิตยุทโธปกรณ์ที่ส�ำคัญตั้งแต่สมัย สหภาพโซเวียตอีกด้วย ❍❍ ยูเครนต้องเผชิญกับเหตุการณ์ไม่สงบทางการเมือง โดยเหตุการณ์การชุมนุม ณ จัตร ุ สั อิสรภาพ ในกรุงเคียฟ ประเทศยูเครน เกิดขึน้ ตัง้ แต่วนั ที่ 21 พฤศจิกายน 2556 หลังจากนายวิกเตอร์ ยานูโควิช ประธานาธิบดี ยูเครน ปฏิเสธการลงนามในข้อตกลงด้านการค้าและการเมืองกับสหภาพยุโรป และหันไปรักษาความสัมพันธ์ กับรัสเซียแทน โดยผู้ชุมนุมต่อต้านรัฐบาลน�ำโดยฝ่ายค้านเรียกร้องให้ประธานาธิบดีลาออก และเกิดการปะทะ กันระหว่างผู้ชุมนุมกับต�ำรวจเป็นระยะ ๆ โดยในการเข้าสลายการชุมนุมในคืนวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2557 ส่งผล ให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจ�ำนวนมาก และท�ำให้รัฐสภาถอดถอนนายยานูโควิชในที่สุด ต่อมาในวันที่ 3 มีนาคม 2557 ทางการรัสเซียได้เข้าแทรกแซงการเมืองในยูเครน โดยได้สง่ กองทัพเข้าตรึงก�ำลังในบริเวณแคว้นไครเมีย แต่อา้ ง เหตุว่าเป็นการปกป้องประชาชนซึ่งมีเชื้อสายรัสเซีย ❍❍ ผลกระทบโดยตรงจากวิกฤติทางการเมืองในยูเครนต่อเศรษฐกิจไทยมีไม่มากนัก เนื่องจาก เศรษฐกิจไทยมีความเชื่อมโยงด้านการค้า การท่องเที่ยว และการลงทุนกับยูเครนค่อนข้างน้อย อย่างไรก็ตาม จากการทีย่ เู ครนอยูใ่ นจุดยุทธศาสตร์ในการส่งผ่านพลังงานระหว่างรัสเซียและภูมภิ าคยุโรป จึงอาจส่งผลกระทบ ผ่านช่องทางอื่น ๆ ตามล�ำดับความรุนแรงของสถานการณ์ได้ อาทิ ผลกระทบต่อราคาพลังงานและค่าเงิน และ ผลกระทบต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจของสหภาพยุโรปและรัสเซีย หากสถานการณ์ดังกล่าวยืดเยื้อ ❍❍ ล่าสุดแม้ว่าวิกฤติในคาบสมุทรไครเมียจะเริ่มมีสัญญาณคลี่คลายลงจากการสั่งถอนก�ำลังจาก แคว้นไครเมียของทางการรัสเซีย แต่สถานการณ์ความขัดแย้งยังคงอยู่ จึงจ�ำเป็นต้องติดตามประเด็นนีอ้ ย่างใกล้ชดิ เพื่อวิเคราะห์ถึงความรุนแรงของสถานการณ์ต่อภาพรวมเศรษฐกิจโลกและประเมินผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย ❍❍
1. บทน�ำ เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2557 นายวลาดิเมียร์ ปูติน ประธานาธิบดีรัสเซีย ได้ประกาศให้กองทัพรัสเซียเคลื่อนทัพเข้าสู่ คาบสมุทรไครเมีย (Crimea) ซึ่งเป็นที่ตั้งของเขตปกครองตนเองไครเมีย ประเทศยูเครน หลังจากที่การเมืองภายในยูเครนเข้าสู่ ขั้นวิกฤติ ภายหลังสภาผู้แทนราษฎรมีมติถอดถอนนายวิกเตอร์ ยานูโควิช (Viktor Yanukovych) ประธานาธิบดียูเครนเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2557 ที่ผ่านมา
ผูเ้ ขียน : ดร.พิมพ์นารา หิรญ ั กสิ เศรษฐกรช�ำนาญการ นางสาวอาร์จนา ปานกาญจโนภาส และนางสาวปารีณา วงศ์สขุ เกษม เศรษฐกรปฏิบตั กิ าร ส่วนการวิเคราะห์ เสถียรภาพเศรษฐกิจ ส�ำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ ดร.ศรพล ตุลยะเสถียร และ ดร.กุลยา ตันติเตมิท ส�ำหรับข้อแนะน�ำ
1
72
ภาพที่ 1 ทหารรัสเซียในเขตเมืองซิมเฟโรโพล แคว้นไครเมีย ยูเครน เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2557
ที่มา : REUTERS
ทั้งนี้ สถานการณ์ที่เริ่มต้นจากการชุมนุมประท้วงต่อต้านรัฐบาลของชาวยูเครนจนลุกลามไปสู่วิกฤติคาบสมุทรไครเมีย ได้กลายเป็นประเด็นร้อนในเวทีโลก ณ ขณะนี้ แม้ยูเครนจะเป็นประเทศเล็ก ๆ มีประชากรเพียง 46 ล้านคน และเพิ่งแยกตัว เป็นเอกราชได้เพียง 23 ปี แต่หากพิจารณาถึงปัจจัยทางด้านภูมิศาสตร์และความอุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติจะพบ ว่า ยูเครนถือเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญ ซึ่งประเทศมหาอ�ำนาจอย่างทั้งสหรัฐฯ สหภาพยุโรป และรัสเซียต่างให้ความส�ำคัญ บทความนี้น�ำเสนอภาพรวมของประเทศยูเครน ปัญหาวิกฤติการณ์ทางการเมืองของยูเครนในปัจจุบัน พร้อมทั้งวิเคราะห์ถึง ผลกระทบจากวิกฤติดังกล่าวต่อประเทศไทย
2. ยูเครน : ข้อมูลพื้นฐานและประวัติศาสตร์ ยูเครนตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตด้านตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันออกติดกับรัสเซีย ทิศเหนือติดกับ เบลารุส ทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับโปแลนด์ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับมอลโดวา และทางทิศใต้ติดกับทะเลด�ำ (Black Sea) อย่างไรก็ตาม ยูเครนไม่มที างออกไปยังมหาสมุทรแอตแลนติกผ่านทะเลเมดิเตอร์เรเนียนเหมือนประเทศเพือ่ นบ้านอืน่ ๆ ในภูมภิ าค ยูเครนเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิต่าง ๆ ที่ทรงอ�ำนาจ ไม่ว่าจะเป็นจักรวรรดิรัสเซีย จักรวรรดิโปแลนด์ และจักรวรรดิ ออตโตมัน โดยเป็นประเทศเอกราชในช่วงปี 2460–2464 (ค.ศ. 1917–1921) ภายหลังการปฏิวัติรัสเซียและล้มล้างราชวงศ์ โรมานอฟ ก่อนจะถูกรวมอยู่ในสหภาพโซเวียต (Union of Soviet Socialist Republics : USSR) ตั้งแต่ปี 2465 (ค.ศ. 1922) ยูเครนได้รับเอกราชอีกครั้งภายหลังสหภาพโซเวียตล่มสลายในปี 2534 (ค.ศ. 1991) ทั้งนี้ประชากรส่วนใหญ่มีเชื้อสายยูเครน (ร้อยละ 77.8) และรัสเซีย (ร้อยละ 17.0) มีภาษายูเครนเป็นภาษาราชการ แต่ประชากรในภาคตะวันออกและภาคใต้พูดภาษา รัสเซียเป็นหลัก และมีความพยายามผลักดันให้ภาษารัสเซียเป็นภาษาราชการภาษาที่ 2 อีกด้วย
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
73
ภาพที่ 2 แผนที่ยูเครนและประเทศเพื่อนบ้าน
ที่มา : worldatlas.com
ยูเครนเป็นประเทศที่อุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะสินแร่ ถ่านหิน และไฟฟ้าพลังน�้ำ ตลอดจนมีพื้นที่ การเกษตรที่อุดมสมบูรณ์ จนได้รับการขนานนามว่าเป็นอู่ข้าวอู่น�้ำ (Breadbasket) ของยุโรปตะวันออก อีกทั้งยังเป็นแหล่งผลิต ยุทโธปกรณ์ที่ส�ำคัญตั้งแต่สมัยสหภาพโซเวียตอีกด้วย ตารางที่ 1 สรุปสินค้าส่งออก-น�ำเข้าหลักของยูเครน สินค้าส่งออกส�ำคัญ
สินค้าน�ำเข้าส�ำคัญ
โลหะ
27.8%
สินแร่
29.1%
พืชผลทางการเกษตร
14.0%
เครื่องเสียงและอุปกรณ์มัลติมีเดีย
16.2%
สินแร่
11.8%
เคมีภัณฑ์
11.0%
เครื่องเสียงและอุปกรณ์มัลติมีเดีย
11.0%
อุปกรณ์การขนส่ง
7.7%
โลหะ
6.5%
เคมีภัณฑ์
6.8%
ที่มา : State Statistics Service of Ukraine
ในด้านการเมืองการปกครอง ยูเครนแบ่งออกเป็น 24 จังหวัด เขตปกครองพิเศษ 2 เขต ได้แก่ กรุงเคียฟ ซึ่งเป็นเมืองหลวง และเมืองเซวัสโตปอล ซึง่ เป็นฐานของกองเรือทะเลด�ำของรัสเซีย (Black Sea Fleet) ภายใต้สญ ั ญาเช่าระหว่างรัฐบาลยูเครนและ รัสเซีย อีกทั้งยังมีสาธารณรัฐปกครองอิสระไครเมีย (Crimea Autonomous Republic) ซึ่งตั้งอยู่บนคาบสมุทรไครเมียอีกด้วย
74
3. วิกฤติการเมืองในยูเครน ปี 2556-2557 เหตุการณ์การชุมนุม ณ จัตุรัสอิสรภาพ (Independence Square) ในกรุงเคียฟ ประเทศยูเครน เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่วันที่ 21 พฤศจิกายน 2556 หลังจากนายวิกเตอร์ ยานูโควิช (Viktor Yanukovych) ประธานาธิบดียูเครน ปฏิเสธการลงนามในข้อตกลง ด้านการค้าและการเมืองกับสหภาพยุโรป และหันไปรักษาความสัมพันธ์กับรัสเซียแทน โดยผู้ชุมนุมต่อต้านรัฐบาลน�ำโดยฝ่าย ค้านเรียกร้องให้ประธานาธิบดีลาออก การชุมนุมที่ด�ำเนินต่อเนื่องท�ำให้วัตถุประสงค์ในการชุมนุมเริ่มขยายเป็นการต่อต้านการ ทุจริตคอร์รัปชันของรัฐบาล และการใช้อ�ำนาจรัฐอย่างไม่เหมาะสมโดยใช้ศาลและอัยการเป็นเครื่องมือในการควบคุมผู้ต่อต้าน รัฐบาลและสื่อมวลชน การปะทะกันระหว่างผู้ชุมนุมกับต�ำรวจเป็นระยะ ๆ เป็นแรงกดดันให้ชาวยูเครนจ�ำนวนมากออกมาชุมนุมเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2556 โดยประเมินว่ามีชาวยูเครนร่วมชุมนุมมากถึง 400,000-600,000 คน และการชุมนุมได้ด�ำเนินมาต่อเนื่องถึง ปัจจุบัน (มีผู้เข้าร่วมชุมนุมราว 50,000-200,000 คน) การเข้าสลายการชุมนุมในคืนวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2557 ส่งผลให้มีผู้เสีย ชีวิตราว 100 ราย เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2557 ผู้น�ำสหภาพยุโรปกดดันประธานาธิบดียูเครนให้เจรจากับกลุ่มผู้ชุมนุมโดยมีตัวแทนจาก รัสเซียเข้าร่วมด้วย ซึ่งจากการเจรจาทั้งสองฝ่ายตกลงให้ประธานาธิบดีอยู่ในต�ำแหน่งต่อไปจนถึงการเลือกตั้งใหม่ในอีก 2 เดือน ข้างหน้า อย่างไรก็ตาม หลังจากนัน้ เพียงไม่กชี่ วั่ โมง รัฐสภายูเครนได้ลงมติถอดถอนนายยานูโควิช และให้จดั ตัง้ รัฐบาลรักษาการ ภาพที่ 3 ผู้ชุมนุมประท้วง ณ จัตุรัสอิสรภาพ กรุงเคียฟ ยูเครน เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2556
ที่มา : www.news.com.au
เหตุการณ์ดังกล่าวได้ขยายเป็นชนวนความขัดแย้งระหว่างประเทศ เมื่อนายยานูโควิชซึ่งได้หลบหนีออกจากยูเครนมี แนวคิดจะจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นในรัสเซีย แต่ไม่มีการรับรองจากทางการรัสเซียแต่อย่างใด เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2557 ทางการรัสเซียได้เข้าแทรกแซงการเมืองในยูเครน โดยส่งกองทัพเข้าตรึงก�ำลังในบริเวณแคว้น ไครเมียของยูเครน ซึ่งเป็นสาธารณรัฐปกครองอิสระ ตั้งอยู่บนคาบสมุทรทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของยูเครน อีกทั้งประชากร ส่วนใหญ่มีเชื้อสายรัสเซียและพูดภาษารัสเซียเป็นหลัก
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
75
ภาพที่ 4 ภูมิรัฐศาสตร์และความแตกต่างทางวัฒนธรรมในยูเครน
ที่มา : nytimes.com
สหรัฐฯ และสหภาพยุโรปออกมาประณามการเข้าแทรกแซงยูเครนและอาจด�ำเนินมาตรการคว�่ำบาตร (Sanctions) ต่อรัสเซีย ปัญหาทางการเมืองดังกล่าวได้ท�ำให้ทั่วโลกกังวลว่าอาจเป็นการจุดชนวนให้เกิดสงครามระหว่างประเทศ และส่ง ผลกระทบต่อภาพรวมเศรษฐกิจและภาคการเงินทั่วโลก รวมถึงเศรษฐกิจไทยด้วย
4. นัยต่อเศรษฐกิจโลก และผลกระทบต่อไทย ผลกระทบโดยตรงจากวิกฤติทางการเมืองในยูเครนต่อเศรษฐกิจไทยนัน้ มีไม่สงู นักจากการทีเ่ ศรษฐกิจไทยมีความเชือ่ มโยง ด้านการค้า การท่องเทีย่ ว และการลงทุนกับยูเครนค่อนข้างน้อย (ตารางที่ 2) อย่างไรก็ตาม จากการทีย่ เู ครนอยูใ่ นจุดยุทธศาสตร์ ในการส่งผ่านพลังงานระหว่างรัสเซียและภูมิภาคยุโรป (ภาพที่ 5) จึงอาจส่งผลกระทบผ่านช่องทางอื่น ๆ ตามล�ำดับความรุนแรง ของสถานการณ์ได้ดังนี้ ตารางที่ 2 ความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจของไทยกับทวีปยุโรป รัสเซีย และยูเครน ปี 2556 Europe
Russia
6,307,503 23.6
1,736,990 6.5
11,894 0.1
14,061 36.3
3,340 8.6
n.a. n.a.
50.0 0.4
101.870 0.8
n.a. n.a.
Export (USD mn) %share of total
25,576 11.3
1,164 0.5
126 0.1
Import (USD mn) %share of total
36,395 16.6
3,503 1.6
308 0.1
Tourist (person) %share of total Tourist Revenue (USDmn)* %share of total Net Direct Investment (USD mn) %share of total
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค. /* ตัวเลขประมาณการปี 2556
76
Ukraine
ภาพที่ 5 ท่อส่งก๊าซธรรมชาติในยูเครนไปยังภูมิภาคยุโรป
ที่มา : nytimes.com
ขั้นที่ 1 : ผลกระทบต่อราคาพลังงานและค่าเงินซึ่งเป็นผลกระทบที่เกิดขึ้นแล้ว • ราคาพลังงานผันผวน เนือ่ งจากรัสเซียเป็นหนึง่ ในผูส้ ง่ ออกก๊าซธรรมชาติรายใหญ่ของสหภาพยุโรป โดยอาศัยท่อส่ง ผ่านทางประเทศยูเครน นอกจากนี้ ยูเครนยังเป็นหนึ่งในประเทศที่ส่งออกข้าวโพดหลักของโลก ประเด็นดังกล่าวอาจ ท�ำให้ราคาพลังงานและราคาสินค้าโภคภัณฑ์อื่น ๆ ในตลาดโลกเพิ่มสูงขึ้น โดยล่าสุดราคาน�้ำมันดิบดูไบเพิ่มขึ้นไป อยู่ที่ 107.15 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล (ปิดตลาด ณ วันที่ 3 มีนาคม 2557) (ภาพที่ 6) ภาพที่ 6 ราคาน�้ำมันในตลาดโลก
ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.
• เงินทุนเคลื่อนย้ายผันผวน ส่งผลกระทบต่อค่าเงิน ประเด็นดังกล่าวน่าจะส่งผลกระทบต่อค่าเงินสกุลหลักส� ำคัญ โดยเฉพาะค่าเงินยูโร ซึ่งในวันที่ 4 มีนาคม 2557 อยู่ที่ 1.3742 ยูโรต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงเล็กน้อยที่ร้อยละ 0.06 จากวันก่อนหน้าซึง่ อยูท่ ี่ 1.3734 ยูโรต่อดอลลาร์สหรัฐ ซึง่ หากสถานการณ์ดงั กล่าวยังคงยืดเยือ้ อาจส่งให้ตลาดทุนทัว่ โลกผันผวนมากขึ้นจากการที่นักลงทุนโยกย้ายเงินไปตลาดที่มีความปลอดภัยมากขึ้น อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ ดังกล่าวยังไม่กระทบค่าเงินบาทและค่าเงินอืน่ ๆ ในภูมภิ าคมากนัก โดยค่าเงินบาทค่อนข้างทรงตัว โดย ณ วันที่ 4 มีนาคม 2557 ปิดที่ 32.31 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ หรือแข็งค่าขึ้นเล็กน้อยที่ร้อยละ 0.65 จากค่าเงินที่ทรงตัวเมื่อเทียบกับวัน ก่อนหน้าเช่นเดียวกับ SET Index ซึ่งปิดที่ 1,345.82 จุด หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 จากวันก่อนหน้า ประมาณการเศรษฐกิจไทย
77
ภาพที่ 7 ค่าเงินบาทและค่าเงินยูโร
ที่มา : Reuters รวบรวมโดย สศค.
ภาพที่ 8 ดัชนีตลาดหลักทรัพย์
ที่มา : Reuters รวบรวมโดย สศค.
ขั้นที่ 2 : ผลกระทบต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจสหภาพยุโรปและเศรษฐกิจรัสเซีย โดยหากสถานการณ์ดงั กล่าวยืดเยือ้ อาจส่งผลกระทบต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจรัสเซีย รวมไปถึงการฟืน้ ตัวของ เศรษฐกิจสหภาพยุโรป เนือ่ งจากสหภาพยุโรปมีความเชือ่ มโยงทางการค้าค่อนข้างสูงกับรัสเซีย ซึง่ ในกรณีดงั กล่าวอาจจะ กระทบต่อภาพรวมของเศรษฐกิจไทยทัง้ ทางตรงและทางอ้อม เนือ่ งจากไทยและประเทศคูค่ า้ หลักของไทยมีความเชือ่ มโยง ทางการค้ากับสหภาพยุโรปในระดับสูง ในกรณีของไทยมีสัดส่วนการค้ากับสหภาพยุโรปสูงถึงร้อยละ 9.9 ของมูลค่า การส่งออกรวมในปี 2556 ส�ำหรับผลกระทบจากการชะลอลงของเศรษฐกิจรัสเซีย ไทยอาจได้รบั ผลกระทบผ่านช่องทาง การท่องเที่ยว โดยสัดส่วนนักท่องเที่ยวรัสเซียที่เดินทางมายังไทยสูงถึงร้อยละ 6.5 โดยรายได้จากนักท่องเที่ยวรัสเซีย มีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 8.6 ของรายได้จากการท่องเที่ยวรวม
5. สรุป ถึงแม้วา่ วิกฤติในคาบสมุทรไครเมียจะเริม่ มีสญ ั ญาณคลีค่ ลายลง หลังจากรัสเซียได้รบั แรงกดดันจากนานาชาติอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่าทีของสหรัฐฯ ที่ล่าสุดเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2557 นายจอห์น เคอร์รี่ (John Kerry) รัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศสหรัฐฯ ได้รุดเดินทางไปยังกรุงเคียฟ ยูเครน เพื่อประกาศให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่รัฐบาลรักษาการของ ยูเครนด้วยการค�ำ้ ประกันเงินกูม้ ลู ค่า 1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ พร้อมกับประกาศจะด�ำเนินมาตรการคว�ำ่ บาตรรัสเซีย ล่าสุดทางการ รัสเซียได้มที า่ ทีผอ่ นคลายเป็นครัง้ แรกหลังมีการตรึงก�ำลังของกองทัพรัสเซียในบริเวณแคว้นไครเมีย โดยนายวลาดิเมียร์ ปูตนิ ได้ ออกมาแถลงว่า แม้ว่ารัสเซียจะมีสิทธิในการปกป้องประชาชนเชื้อสายรัสเซีย แต่ในปัจจุบันยังไม่มีความจ�ำเป็นต้องใช้ก�ำลังใน การบุกเข้ายึดครองดินแดนด้านตะวันออกของยูเครน ส่งผลให้ตลาดหุน้ ทัว่ โลกปรับตัวดีขนึ้ ขานรับสถานการณ์ความตึงเครียดทีม่ ี แนวโน้มผ่อนคลายมากขึ้น โดย ณ เวลาปิดตลาดในวันที่ 4 มีนาคม 2557 ตลาดหุ้นรัสเซีย ปิดที่ 1,356.54 จุด ตลาดดาวน์โจนส์ ปิดที่ระดับ 16,395.88 จุด ตลาดหุ้นไทย ปิดที่ระดับ 1,345.82 จุด อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ความขัดแย้งดังกล่าวยังคงด�ำเนินต่อไป จึงจ�ำเป็นต้องติดตามประเด็นดังกล่าวอย่างใกล้ชิด เพื่อวิเคราะห์ถึงความรุนแรงของสถานการณ์ดังกล่าวต่อภาพรวมเศรษฐกิจโลกและประเมินผลต่อเศรษฐกิจไทย
78
Briefing Analysis Is the worst behind us ?1 Chinese real estate bubble, shadow banking, liquidity crunch, credit trust default, and Yuan volatility ! Executive Summary
Chinese government’s attempt to contain bubble in real estate sector has triggered shadow banking activities, which in turn fueled credit boom. ❍❍ People’s Bank of China (PBoC)’s recent strategies to allow occasional liquidity crunch in Chinese interbank market, to refuse to intervene when a wealth management product is on the verge of default, and to add more volatility in RMB value, seemed to have worked out the way PBoC has planned, as money supply, loan, and TSF expanded at a decreasing rate in 2013, while new house prices began to taper in 2014. ❍❍ Although declining money supply and loan growth might pave way for the Chinese economy to grow in a more sustainable path with less reliance on investment-driven growth and lower leverage, it has in fact weaken growth momentum. Likewise, even though waning TSF and new house prices could reflect curbing of shadow banking and cooling of property market, it might lead to additional default in financial product, corporate bankruptcy, or collapse of property developer, which could affect the overall Chinese economy and other economies whose growth depends on it. ❍❍ The answer to whether the worst is already behind us or whether it is yet to come lies in the Chinese government’s discretion on how much more sacrifices they will be willing to make in order to achieve their ambitious economic and financial reform. It is an imperative for the policymakers to find a reasonable balance between achieving structural adjustment, mitigating financial risk, and stabilizing growth. ❍❍
Introduction A slowdown of the Chinese economy over the past few years has made economists, policymakers, and investors alike to become increasingly concerned about the economic fundamentals of the world’s second largest economy. Last year, the most prevalent question asked around the world was whether the Chinese economy would experience a hard landing or a soft landing. Annual growth rate at 7.7% in 2013, which was slightly better than the 7.5% target set by Chinese government, has somewhat eased market concern. However, the outlook for the Chinese economy seems to be gloomier this year as many more structural problems especially in financial sector become more apparent.
1
The author, Ms. Aurakanya Tejapaibul, would like to express her sincere appreciation to her advisors and colleagues, Dr. Kulaya Tantitemit, Executive Director of Macroeconomic Policy Bureau; Dr. Soraphol Tulayasathien, Director of Economic Stability Analysis Division; Dr. Pimnara Hirankasi, Economist (Professional Level); Ms. Archana Pankanchanophas, Economist (Practitioner Level); Ms. Pareena Wongsukkasem, Economist (Practitioner Level); and Ms. Phattraporn Kumsaard, Economist; for guidance and suggestions throughout this study.
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
79
This article addresses several of these persistent concerns, namely overheating housing market, shadow banking, as well as risks stemming from liquidity crunch, credit trust default, and RMB volatility. The objective is to explore how these issues are interrelated as well as how policy responses by the Chinese government and the People’s Bank of China (PBoC) have been influencing the way the situation unfolds. Ultimately, this article attempts to identify whether “the worst is already behind us,” or “the more worrisome financial calamity and economic hard landing is yet to come”.
Attempts to contain bubble in real estate sector breeds shadow banking in financial sector After a decade of remarkable economic development in China that resulted in an enormous wealth creation for Chinese business tycoons, real estate sector has been booming. Given limited options to invest their new-found wealth, investors perceived real estate as an attractive investment alternative. Higher demand for real estate has caused property prices to ascend rapidly and substantially. At the beginning of real estate boom, average commodity building selling price expanded 17.8% y-o-y in 2004 and 14.0% y-o-y in 2005. The Chinese government has been imposing tighter regulations to prevent real estate bubble. These regulations include, for example, stricter rules for lending to real estate developers and higher reserve requirements for banks. Required reserve ratio has increased considerably from 6.0% in 2002 to 17.5% in 2008. This was a reversal of policy implemented a decade ago when the government encouraged home ownership through bank lending at low interest rates. Based lending rate was 7.5% in 2008 compared to 5.3% in 2002. Consequently, real estate developers had to seek for an alternative source of fund outside traditional banking sector, which was dominated by government controlled banks and financial companies. This is how shadow banking activities emerged.2
Shadow banking breeds credit boom
An abrupt emergence of shadow banking was evident in 2008-2009 in the United States as well as in China. Total Social Financing (TSF),3 which includes both traditional and shadow banking activities, indicated that the amount of financing available in the financial sector for the real economy in 2009 was doubled the amount in 2008. Specifically, TSF expanded from RMB 69,802 billion in 2008 to RMB 139,104 billion in 2009. Shadow banking activities also surged during the period. The proportion of TSF through traditional banking channel has been shrinking considerably from 95.5% in 2002 to 75.6% in 2009, and to 51.4% in 2013. The comparison between lending in traditional bank and nonbank is illustrated in Chart 1.
Shadow banking is basically an operation in which an intermediary borrows from money market and invests in wealth management products, which in turn used to supply loans to various (risky) segments of the economy. 3 TSF is a flow rather than a stock value. It includes local currency and foreign currency loans, entrusted loans, trust loans, undiscounted bankers acceptances, bond financing of enterprises, and financing by nonfinancial companies via stock market. 2
80
Figure 1 Lending in Traditional Bank and Nonbank
Source : PBoC
With greater proportion of lending channeling through shadow banks, China’s liquidity and asset bubbles accelerated. The reason is that the money multiplier in shadow banking is greater than that in traditional banking. This is because banks can only lend out 80% of the money deposited in the bank as the required reserve ratio for large depository institution is at 20%. However, there is no reserve requirement in shadow banking. Trust companies can lend out as much money as they see fit, making money multiplier significantly larger in this case. Concurrently, monetary policy easing from major economies has generated hot money flowing into China especially when the RMB has been speculated to continue to appreciate. To put in number, RMB has appreciated 18.0% during 2007 to 2013. This resulted in arbitrage opportunities for speculators to benefit enormously from doing “carry trade” by swapping currency positions to gain higher yield investment alternative in China. This speculative money has been fuelling shadow banking activities. As a result of the aforementioned factors, Chinese credit growth and money supply have been growing and outstripping fundamental economic growth.4 A comparison between bank loan, money supply, and nominal GDP growth is demonstrated in Chart 2.
4
It should be noted that although TSF and shadow banking activities are closely related and overlapped, they are 2 separate concepts. There is no official documentation or statistic of shadow banking in China, which consists mainly of trust funds, wealth management products, and underground lending. Therefore, a combination of financial indicators, including TSF, bank loan, and money supply, is used when assessing the size of shadow banking.
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
81
Figure 2 Bank Loan, Money Supply, and GDP Growth
Source : PBoC
Damage control has taken its toll
Amid looming signs of financial problems and weakening growth momentum, Chinese government’s commitment to curb credit boom and contain shadow banking is obvious. The PBoC has recently implemented several inventive policies in its crackdown against shadow banking. The PBoC has been using interbank lending rate and its role as the lender of last resort as its weapon in domestic frontier, while using daily fixing exchange rate as its weapon against foreign speculators. Increase funding cost for shadow banks In domestic front, the PBoC utilized its ability to influence liquidity in interbank market to cause temporary spike in funding caused the so-called “liquidity crunch” in order to shake shadow banks out of their comfort zone.5 Chart 3 demonstrates a short but sharp spike of SHIBOR (Shanghai Interbank Offered Rate), once in June 2013 and once in January 2014. The prior case, SHIBOR rate spike was partly a result of the PBoC’s intention to create a cash squeeze. The PBoC signaled that it would not always be there to support liquidity if banks overstretch and lend too much or allow mismatch by borrowing short term to finance long term loan. The latter case, SHIBOR rate spike was mainly a result of fear that one of the biggest wealth management products in shadow banking would default.
5
82
In normal times, banks manage their own reserve through a borrowing or a lending of cash among themselves. PBoC occasionally intervenes by injecting additional liquidity when necessary. If a bank is short of money, it can borrow from other banks using Overnight Shanghai Interbank Offered Rate (SHIBOR) as a reference. However, this time was different. PBoC refused to add more money into the system. Therefore, an unexpected liquidity crunch occurred.
Figure 3 Overnight Shanghai Interbank Offered Rate (SHIBOR)
Source : PBoC
Allow risking wealth management products to default Moreover, the recent case of China Credit Trust’s “Credit Equals Gold” investment product was not the first of its kind to get into trouble. Several credit trusts have reportedly missed interest payments or defaulted partially in 2012. However, CCTC (China Credit Trust Co. Ltd.) was the biggest by far. The PBoC denied to play its role as the lender of last resort and did not intervene publicly when CCTC warned investors that they might not be able to repay when its RMB 3 billion investment product matures. Fortunately, CCTC managed to avoid the default just a few days before the deadline. Investors would receive a full amount of the principle and some interest but excluding the interest in the third and final year of the product value around RMB 300 million. Even though the CCTC case ended with a managed default but the identity of the third party who purchased the right in this RMB 3 billion product and the share in the bankrupt company was never disclosed to the public. The ambiguous information about this bailout package has drawn criticism from investors and analysts alike. Defaults were not only limited to shadow banking. Shanghai Chaori Solar Energy Science and Technology defaulted by failing to pay an interest payment on its corporate bond. This first default on domestic bond without any intervention from the government has signaled that an implicit guarantee previously offered by the PBoC to ensure financial market stability was no longer available. Curb Yuan speculation When battling with foreign rivals, the PBoC manipulated the daily fixing of RMB midpoint to be significantly weaker than usual in order to stamp out speculators who have been benefitting from long RMB and short USD position by introducing two-way risk in the currency. Local financial institutions were also allowed to buy RMB more freely than usual. The implementation of these monetary policies coupled with sizable trade deficit in February and the widening of trading band from 1.0% to 2.0% in March, the value of RMB as of March had depreciated approximately 2.1% from the beginning of 2014. Chart 4 exhibits the movement of RMB, daily fixing, and trading band.
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
83
Figure 4 Movement of RMB, Daily Fixing, and Trading Band
Source : China Foreign Exchange Trading Center
PBoC’s brutal strategies to allow occasional liquidity crunch in the interbank market, to refuse to intervene when wealth management product is on the verge of default, and to add more volatility in RMB value, seem to have worked out the way the PBoC has planned.
PBOC’s brutal strategies seem to have worked out as planned. Recent statistics from the PBoC have revealed that, although both money supply and credit continue to expand, the expansion rate has shown a slow down due to various policies implemented by the PBoC in order to contain risky debt and credit bubble while stabilizing growth. At the end of 2013, broad money supply stood at RMB 110.65 trillion or grew at 13.6% y-o-y, down 0.2% from the end of 2012. At the end of 2012, broad money supply stood at RMB 97.4 trillion or grew at 13.8% y-o-y. In February 2014, broad money supply stood at RMB 113.18 trillion or grew at 13.3%yoy, down 1.9% from the same period a year earlier. Nonetheless, this slowing growth is still above the target set by the PBoC for the year 2014 at 13.0%. The slowdown in money supply growth can be partially explained by a slowing credit growth. At the end of 2013, outstanding local currency loan stood at RMB 71.90 trillion or grew at 14.1% y-o-y, down 0.9% from the end of 2012. At the end of 2012, local currency loan stood at RMB 63.0 trillion or grew at 15.0% y-o-y. In February 2014, local currency loan stood at RMB 73.86 trillion or grew at 14.2% y-o-y, down 0.8% from the same period a year earlier. Nevertheless, new loan registered an enormous increase of RMB 1.32 trillion in January, RMB 246.9 billion more than the same period last year. This unusual bank loan data could simply be a result of banks moving off balance sheet items back on to their balance sheets to prepare for an audit on shadow banking from both the PBoC and National Audit Office, which will begin in the second quarter of this year. In this case, the actual loan growth would be somewhat lower than published. Alternatively, this could partially be a loosening of monetary policy by the government to support growth as several macroeconomic indicators in recent months, for example Purchasing Manager Index by HSBC which posted at 49.5 in January and 48.5 in February, have signaled a moderate deterioration of domestic economic condition. Nonetheless, new loan in February decreased to normal level at RMB 644.5 billion, RMB 24.5 billion more than the same period last year. At the end of 2013, TSF reached RMB 17.29 trillion, up 9.7% y-o-y or RMB 1.53 trillion from RMB 15.76 trillion at the end of 2012. The incremental amount of TSF in 2013 is significantly lower than that in 2012, which was up 22.9% y-o-y or RMB 2.93 trillion from a year earlier. Growth of TSF seemed less aggressive in 2013 comparing to 2012, reflecting the fact that the PBoC has been able to restrain slightly the size of lending in the economy.
84
Recent property market data corresponded with financial data. Average new house price in 70 major cities in China rose 8.7% in February, slowing down from 9.6% in January. This price easing for the second consecutive month is the latest sign of softening in the property market. Chart 5 illustrates new house price trend in China. Figure 5 New House Price in 70 major cities in China
Source : Reuters
Is the worst behind us ? The ability of the Chinese government and the PBoC to influence economic and financial direction of China is unquestionable. However, their explicit aspiration to achieve economic and financial reform while willing to trade-off, within a reasonable range, short term growth and stability for long term sustainability is rather worrisome. The government aims to shift Chinese economy reliance on investment and export to consumption and service, to push further the liberalization of bank deposit rate and the internationalization of RMB exchange rate, and also to deleverage shadow banking and local government. Chinese Premier Li Keqiang hinted that there is some flexibility regarding the growth target at 7.5% as long as 10 million new jobs are created in 2014. The government will also tolerate, to a certain extent, necessary financial and economic distress caused by structural adjustment and reform. Although declining money supply and loan growth might pave way for the Chinese economy to rely less on investment and to deleverage, it could further weaken growth momentum. Likewise, even though waning TSF and new house price could reflect curbing of shadow banking and cooling of property market, it might lead to additional default in financial product especially wealth management product, corporate bankruptcy, or collapse of property developer. It is obvious that, what is currently happening is basically the structural adjustment and reform measures implemented by the Chinese government and the PBoC beginning to take effect. The answer to whether the worst is already behind us or whether it is yet to come lies in the government discretion on how much more sacrifices they will be willing to make in order to achieve their ambitious economic and financial reform. There are still miles to go before they can reach the trophy at the finish line. In the meantime, we, as outsiders who could get heartburn almost every time a decision is made in Beijing, will have to watch closely and hope the decision makers will find a reasonable balance between achieving ambitious economic and financial reform, mitigating financial risk, and stabilizing growth.
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
85
บทวิเคราะห์ เรื่อง ประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจของการลงทุนโดยตรง จากต่างประเทศต่อสาขาการผลิตของไทย 1
บทสรุปผู้บริหาร การลงทุนภาคเอกชนมีบทบาทส�ำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยในปี 2556 เศรษฐกิจไทยได้มีการลงทุนภาคเอกชนคิดเป็นร้อยละ 16.8 ของ GDP ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นการพึ่งพาเม็ดเงินลงทุน จากต่างประเทศในรูปแบบการลงทุนโดยตรง (Foreign Direct Investment : FDI) ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 3.3 ของ GDP ทั้งนี้ การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในปี 2556 มีจ�ำนวน 13 พันล้านเหรียญสหรัฐ โดยเม็ดเงินส่วนใหญ่ เป็นการลงทุนในสาขาอุตสาหกรรมทีร่ อ้ ยละ 40 ของการลงทุนทัง้ หมด และมีแหล่งเงินจากประเทศญีป่ นุ่ เป็นหลัก กว่าร้อยละ 53 ของการลงทุนทั้งหมด ❍❍ จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องพบว่า ผลงานวิจัยส่วนใหญ่สะท้อนได้ว่าการลงทุน โดยตรงจากต่างประเทศมีผลกระทบในเชิงบวกต่อระบบเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดการถ่ายทอดทางเทคโนโลยีการผลิต การพัฒนาฝีมอื แรงงาน และระบบบริหารจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้ ซึง่ ปัจจัยดังกล่าวเป็นองค์ประกอบส�ำคัญ ในการขยายตัวทางเศรษฐกิจในระยะยาว ❍❍ บทวิเคราะห์นี้ได้มีการศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ในกรณีของประเทศไทย ทั้งในภาพรวมและรายสาขาการผลิต แบ่งออกเป็น 9 สาขา โดยใช้ข้อมูลสถิติในช่วงปี 2548-2556 และพบว่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจไทย ในภาพรวม อย่างไรก็ตาม เมื่อแยกการวิเคราะห์ผลกระทบในแต่ละสาขาการผลิตมีผลที่แตกต่างกัน โดยสาขา การผลิตที่การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศมีผลบวกอย่างมีนัยทางสถิติ ประกอบด้วย (1) สาขาอุตสาหกรรม (2) สาขาก่อสร้าง (3) สาขาการค้าส่งและค้าปลีก และ (4) สาขาการเงิน ขณะที่สาขาการผลิตที่ไม่มีความสัมพันธ์ อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ประกอบด้วย (1) สาขาการขนส่ง (2) สาขาการไฟฟ้า (3) สาขาอสังหาริมทรัพย์ และ (4) สาขาโรงแรมและภัตตาคาร ❍❍ ดังนั้น ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่เกี่ยวกับการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศมีดังนี้ (1) นโยบายรัฐ ควรสนับสนุนการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง สะท้อนจากผลการศึกษาวิจัยที่แสดงถึงบทบาท เชิงบวกของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศต่อการพัฒนาเศรษฐกิจในมิติต่าง ๆ (2) ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ การตัดสินใจลงทุน FDI ประกอบด้วย ปัจจัยด้านนโยบายการส่งเสริมการลงทุนส�ำหรับการลงทุนจากต่างประเทศ ปัจจัยด้านเศรษฐศาสตร์ และปัจจัยด้านการรองรับและสนับสนุนทางธุรกิจ ซึง่ นโยบายรัฐควรเน้นการพัฒนาในประเด็น ทางเศรษฐกิจเหล่านี้ และ (3) ผลการวิเคราะห์รายสาขาการผลิตของเศรษฐกิจไทยสะท้อนให้เห็นว่า ภาครัฐควรมี การทบทวนนโยบายการส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ นโยบายการแข่งขันทางการค้า และนโยบายประกอบธุรกิจ คนต่างด้าว โดยเฉพาะในสาขาการผลิตที่การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศไม่มีความสัมพันธ์ทางสถิติกับสาขา การผลิตนั้น เพื่อให้เศรษฐกิจไทยได้รับประโยชน์สูงสุดจากการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ❍❍
1. บทน�ำ เศรษฐกิจของไทยมีการเติบโตอย่างมากเมื่อเปรียบเทียบกับอดีตที่ผ่านมา การที่จะท�ำให้เศรษฐกิจของไทยมีการเติบโต อย่างต่อเนื่องจ�ำเป็นต้องอาศัยการเชื่อมโยงกันของการค้าระหว่างประเทศ และจ�ำเป็นต้องมีการลงทุนระหว่างประเทศด้วย ดังนั้น การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment : FDI) จึงมีบทบาทส�ำคัญในการท�ำให้เศรษฐกิจ ผูเ้ ขียน : ดร.พีรพัฒน์ วงศ์ชยั วัฒน์ เศรษฐกรปฏิบตั กิ าร ส่วนการวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาค ส�ำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค และนางสาวอภิสรา พวงจันทร์ ขอขอบคุณ ดร.กุลยา ตันติเตมิท ผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค และ ดร.พิสิทธิ์ พัวพันธ์ ผู้อ�ำนวยการส่วนการวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาค ส�ำหรับข้อแนะน�ำ
1
86
ของประเทศที่ได้รับการลงทุนขยายตัว โดยการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศมีความส�ำคัญอย่างมากต่อการพัฒนาระบบ เศรษฐกิจของไทยและทัว่ โลก เนือ่ งจากการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศท�ำให้เศรษฐกิจของประเทศทีไ่ ด้รบั การลงทุนขยายตัว ช่วยเพิ่มความสามารถในการผลิตของเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดการจ้างงาน สร้างรายได้ ทั้งยังสร้างโอกาสให้เกิดการถ่ายทอดและ ยกระดับเทคโนโลยีในประเทศที่ได้รับการลงทุนอีกด้วย ในภาวะเศรษฐกิ จ ปั จ จุ บั น ประเทศก� ำ ลั ง พั ฒ นาและประเทศกลุ ่ ม ตลาดเกิ ด ใหม่ จ� ำ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะต้ อ งเพิ่ ม ขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศให้มากขึ้น เพื่อแข่งขันกับประเทศอื่น ๆ ซึ่งจะต้องอาศัยการลงทุน โดยตรงจากต่างประเทศที่เป็นตัวช่วยผลักดันกิจกรรมต่าง ๆ ในระบบเศรษฐกิจ โดยการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ จะท�ำให้มเี งินทุนไหลเข้าประเทศเพิม่ มากขึน้ เป็นการเพิม่ สภาพคล่องให้แก่ตลาดเงินภายในประเทศและกิจการทีป่ ระสบปัญหา ทางด้านการเงิน มีการขยายกิจการหรือการลงทุนใหม่ ซึ่งท�ำให้มีการจ้างงานเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นการลงทุนจากต่างชาติ จะก่อให้เกิดการถ่ายโอนเทคโนโลยี ความรูท้ างด้านการบริหารจัดการ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มมี าตรฐานเป็นสินค้าคุณภาพ ที่สามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศตามนิยามสากล เป็นการซือ้ สินทรัพย์ทมี่ ตี วั ตนในต่างประเทศ หรือเป็นการซือ้ สินทรัพย์ ทีจ่ บั ต้องได้ อาทิ การซือ้ หุน้ (เป็นเจ้าของ) สิง่ ก่อสร้าง ทีด่ นิ อุปกรณ์ และระบบบริหารจัดการของบริษทั นัน้ ๆ ซึง่ ยังอยูภ่ ายใต้บงั คับ บัญชาจากบริษทั แม่ทอี่ ยูใ่ นต่างประเทศ โดยทีผ่ ลู้ งทุนถือหุน้ ของกิจการในเครือหรือกิจการทีน่ ำ� เงินไปลงทุนตัง้ แต่รอ้ ยละ 10 ขึน้ ไป2 นอกจากนี้การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศสามารถบ่งบอกถึงภาวะเศรษฐกิจของประเทศในขณะนั้นได้ กล่าวคือ เมื่อเศรษฐกิจของประเทศมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น มีปัจจัยบวกต่าง ๆ คอยผลักดันให้การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นไปด้วยดี นักลงทุนต่างชาติจึงมีความมั่นใจในการลงทุน ท�ำให้มีกระแสเงินทุนไหลเข้ามาก ในทางตรงกันข้ามหากภาวะเศรษฐกิจเริ่ม ชะลอตัวและมีแนวโน้มตกต�่ำในอนาคต การลงทุนจากต่างประเทศก็จะลดลง
2. สถานการณ์ล่าสุดของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในประเทศไทยได้ขยายตัวอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2548 และเริ่มชะลอตัวตั้งแต่ปี 2550-2554 หลังจากเกิดวิกฤติทางการเงินโลก ประกอบกับวิกฤติน�้ำท่วมที่เกิดขึ้นในปี 2554 ท�ำให้การลงทุนโดยตรงจาก ต่างประเทศลดลงอย่างมากอยู่ที่ร้อยละ 1.1 ต่อ GDP อย่างไรก็ดี หลังจากปี 2554 การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศมีแนวโน้ม ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยมีค่าเฉลี่ยที่ร้อยละ 3.2 ต่อ GDP (เฉลี่ยตั้งแต่ปี 2548–2556) (ภาพที่ 1) ภาพที่ 1 การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย
Balance of Payments Manual, International Monetary Fund (2010)
2
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
87
เมือ่ พิจารณาการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศรายอุตสาหกรรมพบว่า เงินลงทุนทีเ่ ข้ามาส่วนใหญ่จะอยูใ่ นภาคการผลิต ภาคการเงิน และภาคอสังหาริมทรัพย์ (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศแยกตามรายธุรกิจ (หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐ)
ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย
ส�ำหรับประเทศที่เข้ามาลงทุนในประเทศนั้นพบว่า ประเทศญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา ประเทศในกลุ่มอาเซียน รวมทั้งฮ่องกง ไต้หวัน และประเทศจีน เป็นประเทศหลักที่เข้ามาลงทุนโดยตรงของประเทศไทย ทั้งนี้ ประเทศญี่ปุ่นเข้ามาลงทุนในประเทศไทย เป็นอันดับหนึ่งมีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 40 ของเงินลงทุนทั้งหมด โดยในปี 2556 ประเทศญี่ปุ่นเข้ามาลงทุนถึงร้อยละ 53 ของ เงินลงทุนทั้งหมด (ตารางที่ 2) ตารางที่ 2 การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศแยกตามประเทศ (หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐ)
ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย
88
3. ความส�ำคัญของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ในการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องพบว่า ผลงานวิจัยส่วนใหญ่สะท้อนได้ว่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ มีผลกระทบในเชิงบวกต่อระบบเศรษฐกิจ จากแบบจ�ำลองการเติบโตทางเศรษฐกิจพบว่า เทคโนโลยีเป็นปัจจัยส�ำคัญอย่างหนึ่ง ที่ท�ำให้มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ Findlay3 (1978) และ De Mello4 (1997) สนับสนุนว่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ มีส่วนช่วยในการถ่ายทอดทางเทคโนโลยีการผลิต การพัฒนาฝีมือแรงงาน และระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึง่ ปัจจัยดังกล่าวเป็นองค์ประกอบส�ำคัญในการขยายตัวทางเศรษฐกิจในระยะยาว นอกจากนี้ Bosworth, Collins and Reinhart5 (1999) พบว่า เงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในระยะยาวจะช่วยกระตุ้นการลงทุนในประเทศในอัตรา 1 ต่อ 1 ขณะที่เงินทุน ไหลเข้าในลักษณะเงินลงทุนในหลักทรัพย์จากต่างประเทศ หรือในลักษณะของเงินทุนไหลเข้าระยะสั้นไม่มีความสัมพันธ์และ ไม่มีผลกระทบต่อการลงทุนในประเทศ หรืออาจจะมีผลกระทบที่น้อยมากเมื่อเทียบกับเงินทุนไหลเข้าระยะยาว ส�ำหรับการศึกษาผลกระทบของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศต่อเศรษฐกิจไทยพบว่า การลงทุนโดยตรงจาก ต่างประเทศส่งผลให้เศรษฐกิจเติบโต โดย Wongpit6 (2006) ได้ศกึ ษาหาความสัมพันธ์ระหว่างการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ กับอุตสาหกรรมส่งออก ควบคู่ไปกับอัตราแลกเปลี่ยนและภาษีอากร (Tariff) โดยการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าการลงทุนโดยตรง จากต่างประเทศเป็นส่วนหนึ่งในการขยายตัวของอุตสาหกรรมส่งออกของไทย Dunning7 (2003) พบว่า ปัจจัยที่ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศสามารถแบ่งได้ 3 ปัจจัย ได้แก่ 1) ปัจจัยด้านนโยบาย การส่งเสริมการลงทุนส�ำหรับการลงทุนจากต่างประเทศ 2) ปัจจัยด้านเศรษฐศาสตร์ และ 3) ปัจจัยด้านการรองรับและสนับสนุน ทางธุรกิจ นอกจากนี้ Arbatli8 (2011) ได้ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศมาสู่ประเทศก�ำลังพัฒนา โดยพิจารณาผลกระทบของนโยบายทางเศรษฐกิจ การวิเคราะห์ได้ศึกษาเพิ่มเติมถึงปัจจัยภายนอกและความส� ำคัญของ เสถียรภาพทางการเมือง อ้างอิงจากฐานข้อมูลเหตุการณ์ความขัดแย้งในแต่ละประเทศ การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าการลด อัตราภาษีนติ บิ คุ คลและภาษีการค้า และการใช้นโยบายอัตราแลกเปลีย่ นคงที่ ส่งผลกระทบต่อการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ทัง้ นี้ เหตุการณ์ความขัดแย้งในประเทศและความไม่แน่นอนทางการเมืองจะส่งผลกระทบในแง่ลบอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อการลงทุน โดยตรงจากต่างประเทศ โดยหากเกิดเหตุการณ์ความไม่มั่นคงในประเทศ 1 ครั้ง ท�ำให้การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศลดลง ร้อยละ 0.26 ต่อ GDP อภิรัตน์ จิตต์ 9 (2554) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในประเทศไทยพบว่า ผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศ อัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ และการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในปีทผี่ า่ นมา มีความสัมพันธ์ กับการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในทิศทางเดียวกันอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ขณะทีอ่ ตั ราค่าจ้างแรงงานขัน้ ต�ำ่ มีความสัมพันธ์ กับการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในทิศทางตรงกันข้ามกันอย่างมีนยั ส�ำคัญ เมือ่ พิจารณาในรายละเอียดพบว่า เมือ่ ผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 จะส่งผลให้การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น 9.6 ล้านเหรียญสหรัฐ ขณะที่ อัตราแลกเปลี่ยนบาทต่อเหรียญสหรัฐเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าค่าเงินบาทอ่อนค่าลง ท�ำให้ต้นทุนจากต่างประเทศ ลดลงส่งผลให้การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น 216.9 ล้านเหรียญสหรัฐ
Findlay, R. 1978. “Relative Backwardness, Direct Foreign Investment, and the Transfer of Technology: A Simple Dynamic Model”, Quarterly Journal of Economics 92(1):1-16. 4 De Mello, L.R. 1997. “Foreign Direct Investment in Developing Countries and Growth: A Selective Survey”, Journal of Development Studies, 34(1),1-34. 5 Barry Bosworth, Susan M. Collins and Carmen M. Reinhart (1999). Capital Flows to Developing Economies: Implications for Saving and Investment Brooking paper on economics :143-148 6 Wongpit, P. (2006). “Impact of FDI on manufacturing exports in Thailand”, Graduate School of International Cooperation Studies, Kobe University, Unpublished paper. 7 Dunning, John H. (2003). Determinants of Foreign Direct Investment : Globalizaion – Induced Change and the Role of Policies. 5th Annual World Bank Conference on Development Economics-Europe. 8 Elif Arbatli, 2011. "Economic Policies and FDI Inflows to Emerging Market Economies," IMF Working Papers 11/192, International Monetary Fund. 9 อภิรัตน์ จิตต์ (2554). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในประเทศไทย. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมทางวิชาการและน�ำเสนอผลงาน วิจัย “มสธ. วิจัย ประจ�ำปี 2554” 3
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
89
4. ผลกระทบของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศต่อสาขาการผลิตไทย เพื่อศึกษาผลกระทบของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศต่อสาขาการผลิตของไทย ได้มีการใช้สมการเชิงเส้นถดถอย แบบ OLS โดยข้อมูลครอบคลุมทั้งหมด 9 ภาคการผลิตเป็นรายไตรมาสตั้งแต่ปี 2548-2556 ตามสมการด้านล่างนี้
ทั้งนี้ ตัวแปรของสมการด้านขวาแสดงถึงผลกระทบของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ปัจจัยทางเงินทุนและปัจจัย ทางด้านแรงงาน ต่อสาขาการผลิตทั้งหมด ได้แก่ 1) ภาคก่อสร้าง 2) ภาคการผลิต 3) ภาคการเงิน 4) ภาคการค้าส่งและค้าปลีก 5) ภาคเกษตรกรรม 6) ภาคการขนส่ง 7) ภาคการไฟฟ้า 8) ภาคอสังหาริมทรัพย์ และ 9) ภาคโรงแรมและภัตตาคาร ผลการศึกษาในทางเศรษฐมิตแิ สดงให้เห็นว่า การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการขยายตัว ของเศรษฐกิจไทย อย่างไรก็ตาม เมื่อวิเคราะห์ในแต่ละสาขาการผลิตทั้ง 9 สาขา พบว่า การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ส่งผลกระทบต่อสาขาการผลิตที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะใน 4 ภาคการผลิตย่อย ได้แก่ ภาคการผลิต ภาคก่อสร้าง ภาคการค้าส่ง และค้าปลีก และภาคการเงิน แสดงผลกระทบของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศต่อสาขาการผลิตในระบบเศรษฐกิจ อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ขณะทีภ่ าคการผลิตทีเ่ หลือ ได้แก่ ภาคการขนส่ง ภาคการไฟฟ้า ภาคอสังหาริมทรัพย์ และภาคโรงแรม และภัตตาคาร ไม่ได้แสดงผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศต่อภาคการผลิต อย่างไรก็ตาม ในภาคเกษตรกรรม การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศส่งผลกระทบในด้านลบต่อผลผลิตด้านเกษตรกรรม ในทางตรงกันข้าม ปัจจัยด้านแรงงานกลับมีความส�ำคัญอย่างมากต่อสาขาการผลิตนี้ (ตารางที่ 3) ตารางที่ 3 ผลทางเศรษฐมิติของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศต่อสาขาการผลิตไทย
ที่มา : ค�ำนวณโดยผู้เขียน
90
5. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่เกี่ยวกับการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศมีดังนี้ 1. นโยบายรัฐควรสนับสนุนการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง สะท้อนจากผลการศึกษาวิจัยที่แสดงถึง บทบาทเชิงบวกของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศต่อการพัฒนาเศรษฐกิจในมิติต่าง ๆ การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ มีผลกระทบในเชิงบวกต่อระบบเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดการถ่ายทอดทางเทคโนโลยีการผลิต การพัฒนาฝีมอื แรงงาน และระบบบริหาร จัดการที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งปัจจัยดังกล่าวเป็นองค์ประกอบส�ำคัญในการขยายตัวทางเศรษฐกิจในระยะยาว 2. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการตัดสินใจลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ประกอบด้วย 1) ปัจจัยด้านนโยบายการส่งเสริม การลงทุนส�ำหรับการลงทุนจากต่างประเทศ 2) ปัจจัยด้านเศรษฐศาสตร์ และ 3) ปัจจัยด้านการรองรับและสนับสนุนทางธุรกิจ ซึง่ นโยบายรัฐควรเน้นการพัฒนาในประเด็นทางเศรษฐกิจเหล่านี้ รวมทัง้ สถานการณ์ทางการเมืองก็เป็นปัจจัยส�ำคัญต่อการดึงดูด เงินลงทุนจากต่างประเทศ 3. ผลการวิเคราะห์รายสาขาการผลิตของเศรษฐกิจไทยสะท้อนให้เห็นว่า ภาครัฐควรมีการทบทวนนโยบายการส่งเสริม การลงทุนจากต่างประเทศ นโยบายการแข่งขันทางการค้า และนโยบายประกอบธุรกิจคนต่างด้าว โดยเฉพาะในสาขาการผลิต ที่การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศไม่มีความสัมพันธ์ทางสถิติกับสาขาการผลิตนั้น เพื่อให้เศรษฐกิจไทยได้รับประโยชน์สูงสุด จากการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ซึ่งได้แก่ สาขาเกษตรกรรม สาขาการขนส่ง สาขาการไฟฟ้า สาขาอสังหาริมทรัพย์ และ ภาคโรงแรมและภัตตาคาร
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
91
ภาคการเงิน
รายงานภาวะเศรษฐกิจการเงินไทยในไตรมาสที่ 1 ปี 2557 ในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2557 อัตราดอกเบี้ยเงินฝากลดลง ขณะที่อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เพิ่มขึ้น เล็กน้อย โดยอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจ�ำ 1 ปีเฉลี่ย 5 ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ ลดลงเล็กน้อยจากร้อยละ 2.25 ณ สิ้น ปี 2556 เป็นร้อยละ 2.13 ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2557 ขณะที่อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ MLR เฉลี่ย 5 ธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2557 อยู่ที่ร้อยละ 7.07 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจาก ณ สิ้นปี 2556 ที่อยู่ที่ร้อยละ 7.00 (ภาพที่ 1) ทั้งนี้ อัตรา เงินเฟ้อทีย่ งั อยูใ่ นระดับไม่สงู มากนักนับตัง้ แต่ชว่ งต้นปี 2556 ส่งผลให้อตั ราดอกเบีย้ เงินฝากทีแ่ ท้จริง1 ในเดือนกุมภาพันธ์ 2557 เป็นบวกต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 11 ❍❍ ในปี 2557 คาดว่าอัตราดอกเบีย ้ จะทรงตัวใกล้เคียงกับปัจจุบนั สอดคล้องกับอัตราดอกเบีย้ นโยบาย ที่คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 2.00 ต่อปี (ช่วงคาดการณ์ร้อยละ 1.50–2.50 ต่อปี) ณ สิ้นปี 2557 โดยแม้ว่าภาพรวมเศรษฐกิจ ไทยจะมีทิศทางขยายตัวได้ อย่างไรก็ตาม ยังคงมีปัจจัยเสี่ยงจากอุปสงค์ภายในประเทศที่มีทิศทางชะลอลง ขณะที่อุปสงค์จาก นอกประเทศยังคงมีความไม่แน่นอน แม้จะเริ่มมีทิศทางเป็นบวกมากขึ้น กอปรกับคาดการณ์ว่าอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานจะยังคงอยู่ ในกรอบเงินเฟ้อของธนาคารแห่งประเทศไทยระหว่างร้อยละ 0.5-3.0 ต่อปี ❍❍
ภาพที่ 1 อัตราดอกเบี้ยธนาคารพาณิชย์
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
ยอดคงค้างสินเชื่อและเงินฝากของสถาบันการเงินที่รับฝากเงินอื่น 2 (Depository Institutions) ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2557 ขยายตัวชะลอลง (ภาพที่ 2 และภาพที่ 3) โดย ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สถาบันรับฝากเงิน อืน่ มียอดคงค้างของสินเชือ่ ภาคเอกชนจ�ำนวน 14,728.0 พันล้านบาท ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าทีร่ อ้ ยละ 8.6 เมือ่ เทียบ กับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น หรือขยายตัวร้อยละ 0.4 เมือ่ เทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลของฤดูกาลแล้ว สอดคล้องกับอุปสงค์ใน ประเทศทีย่ งั คงขยายตัวได้ แม้มที ศิ ทางชะลอลง โดยเมือ่ วิเคราะห์ตามผูใ้ ห้สนิ เชือ่ พบว่า ทัง้ ยอดคงค้างสินเชือ่ ของสถาบันการเงิน เฉพาะกิจและธนาคารพาณิชย์ชะลอลง ด้านเงินฝากของสถาบันรับฝากเงินอืน่ มียอดคงค้างเงินฝากจ�ำนวน 15,821.0 พันล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 9.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า และเมื่อขจัดผลของฤดูกาลแล้วขยายตัวที่ร้อยละ 0.7 เมื่อเทียบ กับเดือนก่อน โดยเงินฝากธนาคารพาณิชย์ยังคงเร่งขึ้น แต่การแข่งขันระดมเงินฝากทยอยลดความร้อนแรงจากช่วงก่อนหน้า ตามทิศทางการขยายตัวของสินเชื่อที่ชะลอลง ❍❍
ค�ำนวณโดยน�ำอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจ�ำ 12 เดือนเฉลี่ย - อัตราเงินเฟ้อในช่วงเดียวกัน ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน สถาบันการเงินเฉพาะกิจ สหกรณ์ออมทรัพย์ และกองทุนรวมตลาดเงิน
1 2
92
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ภาพที่ 2 สินเชื่อในสถาบันรับฝากเงิน
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
ภาพที่ 3 เงินฝากในสถาบันรับฝากเงิน
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
ยอดคงค้างสินเชื่อและเงินฝาก ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2557 ทรงตัวอยู่ในระดับใกล้เคียงกับช่วง ก่อนหน้า (ภาพที่ 4 และภาพที่ 5) โดย ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2557 ธนาคารพาณิชย์มียอดคงค้างสินเชื่อภาคเอกชนจ�ำนวน 9,864.3 พันล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 9.8 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น และเมือ่ ขจัดผลของฤดูกาลแล้วขยายตัวร้อยละ 0.5 เมื่อเทียบกับเดือนก่อน จากสินเชื่อผู้บริโภคและสินเชื่อธุรกิจที่ขยายตัวได้ แม้จะเริ่มมีทิศทางชะลอลง ด้านเงินฝากของธนาคาร พาณิชย์มียอดคงค้างเงินฝากจ�ำนวน 11,283.6 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อ ขจัดผลของฤดูกาลแล้วเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.3 เมื่อเทียบกับเดือนก่อน ❍❍
ภาพที่ 4 สินเชื่อในธนาคารพาณิชย์
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
ภาพที่ 5 เงินฝากในธนาคารพาณิชย์
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
ยอดคงค้างสินเชือ่ ภาคครัวเรือนและยอดคงค้างสินเชือ่ ธุรกิจของธนาคารพาณิชย์ ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2557 ขยายตัวชะลอลงเล็กน้อย (ภาพที่ 6) สินเชื่อภาคครัวเรือนซึ่งมีสัดส่วนร้อยละ 45 ของสินเชื่อรวมขยายตัวในอัตราที่ชะลอลง ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5 ที่ร้อยละ 14.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่สินเชื่อที่ให้แก่ภาคธุรกิจซึ่งมีสัดส่วนร้อยละ 55 ของ สินเชื่อรวม ขยายตัวต่อเนื่องที่ร้อยละ 7.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ❍❍
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
93
ภาพที่ 6 ยอดคงค้างสินเชื่อครัวเรือนและสินเชื่อธุรกิจของธนาคารพาณิชย์
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
ในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ยอดคงค้างสินเชือ่ ธุรกิจในเกษตรกรรมและภาคอสังหาริมทรัพย์ขยายตัวเร่ง ขึ้น ขณะที่ยอดคงค้างสินเชื่อภาคบริการและภาคอุตสาหกรรมชะลอลง (ภาพที่ 8) ยอดคงค้างสินเชื่อภาคเกษตรกรรม ซึ่งมีส่วนแบ่งร้อยละ 2.1 ของสินเชื่อธุรกิจ ขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 14.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน สอดคล้องกับดัชนี ผลผลิตภาคเกษตรกรรมในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ที่กลับมาขยายตัวร้อยละ 3.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เช่นเดียว กับยอดคงค้างสินเชื่อภาคอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งมีสัดส่วนร้อยละ 6.8 ของสินเชื่อธุรกิจขยายตัวชะลอลงเร่งขึ้นที่ร้อยละ 6.8 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น ขณะทีย่ อดคงค้างสินเชือ่ ภาคอุตสาหกรรมขยายตัวชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้ามาอยูท่ ี่ ร้อยละ 12.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน สอดคล้องกับดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ที่หดตัว ร้อยละ -7.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ❍❍
ภาพที่ 7 สินเชื่อแยกตามภาคธุรกิจ
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
ภาพที่ 8 การขยายตัวของสินเชื่อธุรกิจธนาคารพาณิชย์
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
ภาพที่ 9 โครงสร้างสินเชื่อผู้บริโภค
94
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
ยอดคงค้างสินเชื่อผู้บริโภคในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 ขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 11.6 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยสินเชื่อบุคคลเพื่อซื้อรถหรือเช่าซื้อรถยนต์และรถจักรยานยนต์ ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนประมาณ ร้อยละ 7.5 ของสินเชือ่ รวม หรือร้อยละ 29.2 ของสินเชือ่ บุคคล ขยายตัวชะลอลงต่อเนือ่ งเป็นไตรมาสที่ 4 ทีร่ อ้ ยละ 8.4 เมือ่ เทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่ยอดคงค้างสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 11.9 ของสินเชื่อทั้งหมด หรือ ร้อยละ 46.0 ของสินเชื่อบุคคล ขยายตัวในอัตราที่ใกล้เคียงกับไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 12.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปี ก่อนหน้า แม้การจัดเก็บภาษีธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ได้ชะลอลงมาอยู่ที่ร้อยละ 9.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ส�ำหรับ ยอดคงค้างสินเชื่อบัตรเครดิตคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 1.7 ของยอดคงค้างสินเชื่อสถาบันการเงินรวม ในเดือนมกราคม 2557 ขยายตัวในอัตราทีใ่ กล้เคียงกับเดือนก่อนหน้าทีร่ อ้ ยละ 11.0 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันปีกอ่ นหน้า ขณะทีด่ ชั นีความเชือ่ มัน่ ผูบ้ ริโภค ในเดือนมกราคม 2557 ลดลงต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่ระดับ 61.4 ❍❍
ภาพที่ 10 การขยายตัวสินเชื่อบุคคล ธนาคารพาณิชย์แยกประเภท
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
ภาพที่ 11 การใช้จ่ายภาคครัวเรือน ผ่านบัตรเครดิต
ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.
กล่าวโดยสรุป ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2557 เงินฝากและสินเชื่อของสถาบันการเงินไทยขยายตัว ในอัตราที่ชะลอลง สอดคล้องกับเครื่องชี้เศรษฐกิจทั้งด้านการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนที่ชะลอลง ทั้งนี้ หากวิเคราะห์ ถึงสถานภาพของธนาคารพาณิชย์ในปัจจุบันพบว่ายังคงมีความแข็งแกร่ง โดยสัดส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้สุทธิยังคงอยู่ใน ระดับต�ำ่ ทีร่ อ้ ยละ 1.0 ของสินเชือ่ ทัง้ หมด ขณะทีส่ ดั ส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสีย่ งยังคงอยูใ่ นระดับสูงทีร่ อ้ ยละ 15.5 ซึง่ สูงกว่า เกณฑ์ที่กฎหมายก�ำหนดไว้ที่ร้อยละ 8.55 ❍❍
ประมาณการเศรษฐกิจไทย
95
Thailand’s Key Economic Indicators ตารางเครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจ (Economic Indicators)
96
ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง FISCAL POLICY OFFICE
ส
เสนอแนะอย่างมีหลักการ
ศ ค
ศึกษาโดยไม่หยุดนิ่ง คนคลังที่มีคุณภาพ
คณะผู้จัดท�ำ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ดร.กุลยา ตันติเตมิท : kulaya.t@mof.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนแบบจ�ำลองและประมาณการเศรษฐกิจ วิภารัตน์ ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ : wiparat@fpo.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนการวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาค ดร.พิสิทธิ์ พัวพันธ์ : pisitp@mof.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนการวิเคราะห์เสถียรภาพเศรษฐกิจ ดร.ศรพล ตุลยะเสถียร : soraphol@fpo.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนวิเทศและสถาบันสัมพันธ์ สิริกัลยา เรืองอ�ำนาจ : sirigunya@hotmail.com
ผู้รับผิดชอบรายภาคเศรษฐกิจ
ภาคการคลัง นรพัชร์ อัศววัลลภ : norabajra@mof.go.th คงขวัญ ศิลา : nu_nub@yahoo.com นิภัทร์ ชมบ้านแพ้ว : nipat44@hotmail.com พีรพัฒน์ วงศ์ชัยวัฒน์ : wongchaiwat@hotmail.com วรพล คหัฎฐา : worpol1@yahoo.com สุธิรัตน์ จิรชูสกุล : j_suthi01@yahoo.com ณัฏฐธิดา จัทภักดี : fongnutdee@hotmail.com ภาคการค้าระหว่างประเทศ ธนิต ภัทรแสงไทย : thanitcf@gmail.com อรุณรัตน์ นานอก : aobcy2000@hotmail.com ตลาดน�้ำมัน กระแสร์ รังสิพล : krasae.a@gmail.com เศรษฐกิจต่างประเทศ อรกันยา เตชะไพบูลย์ : aurakunya.t@gmail.com ปารีณา วงศ์สุขเกษม : yukinohana.p@gmail.com ภัทราพร คุ้มสะอาด : phattraporn088@gmail.com
ภาคการเงิน อาร์จนา ปานกาญจโนภาส : annulet@hotmail.com อัตราแลกเปลี่ยน ดร.พิมพ์นารา หิรัญกสิ : pim.hirankasi@gmail.com ภาคอุตสาหกรรม ปฐมดนัย พลจันทร์ : pathomdanai@gmail.com อรอุมา หนูช่วย : onumaneung@hotmail.com ภาคเกษตรกรรม กาญจนา จันทรชิต : kulmbe6@yahoo.com ภาคการท่องเที่ยว คงขวัญ ศิลา : nu_nub@yahoo.com รชานนท์ ฉิมเชิด : rachanon.fpo@gmail.com ภาคการบริโภค การลงทุน และอสังหาริมทรัพย์ กาญจนา จันทรชิต : kulmbe6@yahoo.com วรพล คหัฎฐา : worpol1@yahoo.com ด้านเสถียรภาพ อรอุมา หนูช่วย : onumaneung@hotmail.com
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 0-2273-9020 โทรสาร 0-2298-5602 website : http://www.fpo.go.th