บทสรุปผู้บริหาร ด้านรายได้
เดือนมีนาคม 2554 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 132,263 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 15,930 ล้านบาท หรือร้อยละ 13.7 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 6.3) เป็นผลจากการขยายตัว ของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิที่ประเทศญี่ปุ่น แต่ในเดือนนี้ยังไม่ได้รับผลกระทบ โดยภาษีที่เก็บจากฐานการบริโภคและการนําเข้าจัดเก็บได้ สูงกว่าประมาณการ ได้แก่ ภาษีสรรพสามิตรถยนต์ ภาษีมูลค่าเพิ่ม อากรขาเข้า และภาษีสุรา อย่างไรก็ดี คาดว่าการจัดเก็บภาษีในเดือนต่อๆไปอาจจะได้รับผลกระทบบ้าง ครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – มีนาคม 2554) รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 793,410 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 104,860 ล้านบาท หรือร้อยละ 15.2 (สูงกว่าช่วงเดียวกัน ปีที่แล้วร้อยละ 15.7) โดยเป็นการจัดเก็บรายได้ของ 3 กรมจัดเก็บภาษี การนําส่งรายได้ ของรัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นที่สูงกว่าประมาณการ 90,001 7,483 และ 4,756 ล้านบาท หรือร้อยละ 12.2 21.5 และ 10.3 ตามลําดับ
ด้านรายจ่าย
เดือนมีนาคม 2554 รัฐบาลเบิกจ่ายเงินรวมทั้งสิ้น 170,913 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นการเบิกจ่าย งบประมาณประจําปีงบประมาณ 2554 จํานวน 157,010 ล้านบาท (เป็นรายจ่ายประจํา 141,375 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 15,635 ล้านบาท) และมีการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี จํานวน 13,903 ล้านบาท ครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – มีนาคม 2554) รัฐบาลเบิกจ่ายเงินรวม ทั้งสิ้น 1,159,164 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นการเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2554 จํานวน 1,070,454 ล้านบาท (เป็นรายจ่ายประจํา 930,526 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 139,928 ล้านบาท) คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 51.7 ของวงเงินงบประมาณ 2,070,000 ล้านบาท และมีการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี จํานวน 88,710 ล้านบาท เมื่อรวมกับการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 อีกจํานวน 36,998 ล้านบาท ส่งผลให้ครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงิน เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจทั้งสิ้น 1,196,162 ล้านบาท
ฐานะการคลังรัฐบาล
ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด ครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลมีรายได้นําส่งคลัง 784,567 ล้านบาท และมีการเบิกจ่ายงบประมาณจากงบประมาณปีปัจจุบันและปีก่อนรวม 1,159,164 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณขาดดุลจํานวน 374,597 ล้านบาท เมื่อรวมกับ ดุลเงินนอกงบประมาณที่ขาดดุล 53,944 ล้านบาท ทําให้ดลุ เงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 428,541 ล้านบาท โดยรัฐบาลได้ชดเชยการขาดดุลโดยการออกพันธบัตรจํานวน 113,605 ล้านบาท ส่งผลให้ ดุลเงินสดหลังการกู้เงินขาดดุลทั้งสิ้น 314,936 ล้านบาท
1 สํานักนโยบายการคลัง
ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค. ครึง่ ปีแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลมีรายได้ทั้งสิ้น 808,938 ล้านบาท และมีรายจ่ายทั้งสิ้น 1,170,644 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณขาดดุล ทั้งสิ้น 361,706 ล้านบาท เมือ่ รวมกับดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณที่ขาดดุล 9,482 ล้านบาท และ เมื่อหักรายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศและรายจ่ายจากโครงการไทยเข้มแข็ง จํานวน 1,036 และ 36,998 ล้านบาท ตามลําดับแล้ว ทําให้ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุลทั้งสิ้น 337,692 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.1 ของ GDP
ฐานะการคลัง อปท.
ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ณ ไตรมาสที่ 1 ประจําปีงบประมาณ 2554 คาดว่า จะมีรายได้รวม 89,545 ล้านบาท (รายได้ทจี่ ัดเก็บเอง 5,354 ล้านบาท รายได้จากการจัดสรรภาษี ที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 42,339 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 41,852 ล้านบาท) และคาดว่ามีรายจ่ายจํานวน 114,276 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลการคลังของ อปท. ขาดดุล 24,731 ล้านบาท
สถานะหนี้สาธารณะ
หนี้สาธารณะคงค้างของรัฐบาล ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2554 มีจํานวน 4,257.4 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 41.6 ของ GDP โดยร้อยละ 91.6 ของหนี้สาธารณะคงค้างเป็นหนี้ในประเทศ และส่วนที่เหลือร้อยละ 8.4 เป็นหนี้ต่างประเทศ หนี้ระยะยาวมีจํานวน 4,206.4 พันล้านบาท ส่วนหนี้ระยะสั้นมีจํานวน 51.0 พันล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 98.8 และ 1.2 ของหนี้สาธารณะคงค้าง ตามลําดับ
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง (60 - 15 – 0 – 25)
กระทรวงการคลังได้กําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีตัวชี้วัดประกอบด้วย สัดส่วนหนี้ สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 จัดทํา งบประมาณสมดุล และสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 กรอบความยั่งยืนในระยะปานกลาง (ปีงบประมาณ 2554 – 2558) - รัฐบาลยังสามารถรักษาสัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่ให้เกินร้อยละ 60 ไว้ได้ แม้ว่ารัฐบาลจะต้องมีการกู้ยืมเพิ่มสูงขึ้นเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งในส่วนของการขาด ดุลงบประมาณรายจ่ายประจําปี และการกู้ยืมเพื่อดําเนินการแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็งฯ - รัฐบาลยังสามารถรักษาสัดส่วนภาระหนี้ต่องบประมาณไม่ให้เกินร้อยละ 15 - รัฐบาลไม่สามารถจัดทํางบประมาณสมดุลในปีงบประมาณ 2554 ได้ เนื่องจากยังมีความ จําเป็นต้องจัดทํางบประมาณแบบขาดดุล เพื่อกระตุ้นการเจริญเติบโตเศรษฐกิจของประเทศ และจากแนวโน้มภาระงบประมาณรายจ่ายที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้มขี ้อจํากัดในการดําเนินการ จัดทํางบประมาณรายจ่ายแบบสมดุลระหว่างปีงบประมาณ 2554 - 2558 - รัฐบาลไม่สามารถรักษาสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายให้ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 ในปีงบประมาณ 2554 ได้ แต่คาดว่าในปีงบประมาณ 2558 จะสามารถจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 25 ของวงเงินงบประมาณได้ สํานักนโยบายการคลัง 2
การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผ่าน SFIs ของรัฐบาล รัฐบาลได้ดําเนินมาตรการกิจกรรมกึ่งการคลังผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจโดยการปล่อยสินเชื่อให้ โครงการต่างๆ ซึ่งในปัจจุบันได้มีการปล่อยสินเชื่อเพื่อสนับสนุนมาตรการต่างๆ เช่น มาตรการเพื่อสนับสนุน กิจการ SMEs มาตรการเพื่อสนับสนุนผู้มีรายได้น้อยให้มีทอี่ ยู่อาศัย และมาตรการเพื่อสนับสนุนการประกอบ อาชีพระดับฐานราก ผลการปล่อยสินเชื่อและค้าํ ประกันสินเชื่อ ในไตรมาส 4 ปี 2553 (เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2553) มีจํานวน 68,054.1 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีทแี่ ล้วร้อยละ 14.9 และมีการปล่อยสินเชื่อ และ การค้ําประกันสินเชื่อสะสมตัง้ แต่เริ่มโครงการ จนถึง ณ สิ้นไตรมาส 4 ปี 2553 จํานวน 1,155,237.8 ล้านบาท ทั้งนี้ ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ปี 2553 มียอดสินเชื่อคงค้าง จํานวน 369,207.5 ล้านบาท โดยเป็น หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) จํานวน 31,176.5 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 8.4 ของยอดสินเชื่อคงค้าง และมีภาระค้ําประกันหนี้จดั ชั้นด้อยคุณภาพ (NPGs) ของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) จํานวน 4,446.3 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.1 ของยอดค้ําประกันคงค้าง
การกระจายอํานาจทางการคลังให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ความคืบหน้าการจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2554
การประชุมคณะกรรมการการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (กกถ.) ปีงบประมาณ 2554 เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 มีมติเห็นชอบหลักเกณฑ์และแผนการจัดสรรเงินอุดหนุน เฉพาะกิจ รายการเงินอุดหนุนสําหรับพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จํานวน 8,142 ล้านบาท โดย จะต้องเป็นโครงการที่อยู่ในอํานาจหน้าที่ และอยู่ในแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือสอดคล้อง กับแผนพัฒนาชุมชน และเป็นโครงการในลักษณะงบลงทุนเฉพาะรายการที่เป็นสิ่งก่อสร้าง ได้แก่ การก่อสร้างถนนไร้ฝุ่น การก่อสร้างลานกีฬา และการก่อสร้างโครงการตามยุทธศาสตร์ โดยจะจัดสรรให้ โครงการละไม่ต่ํากว่า 500,000 บาท และไม่ถึง 10,000,000 บาท และต้องเป็นโครงการที่มีความพร้อมที่ จะดําเนินการได้ทันที และต้องเสร็จภายใน 1 ปี ทั้งนี้ ได้จัดสรรเงินอุดหนุนเฉพาะกิจฯ ให้แก่โครงการ จํานวน 5,432 โครงการ ประกอบด้วย 1) การก่อสร้างถนนไร้ฝุ่น 2,407 โครงการ วงเงิน 3,406 ล้านบาท 2) การก่อสร้างลานกีฬา 644 โครงการ วงเงิน 720 ล้านบาท และ 3) การก่อสร้างตามโครงการยุทธศาสตร์ 2,381 โครงการ วงเงิน 4,015 ล้านบาท โดย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับการจัดสรรเงินอุดหนุนมากที่สุด ได้แก่ องค์กรปกครอง ส่วนตําบล รองลงมาคือ เทศบาล และ องค์กรปกครองส่วนจังหวัด ตามลําดับ
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ ประจําเดือนเมษายน 2554 1. เรื่อง การบริหารโครงการภายใต้แผนปฏิบตั ิการไทยเข้มแข็ง 2555 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2554 อนุมัติ รับทราบ และเห็นชอบแผนการปฏิบัติงาน และแผนการใช้จ่ายเงินของโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 และมีมติเห็นชอบการจัดตั้ง คณะกรรมการกลั่นกรองและบริหารโครงการเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โดยมี ปลัดกระทรวงการคลังเป็นประธาน เพื่อพิจารณากลั่นกรองกํากับดูและบริหารโครงการเงินกู้เพื่อพื้นฟู เศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (Development Policy Loan: DPL) ที่อยู่นอกเหนือกรอบ 3 สํานักนโยบายการคลัง
การพิจารณาของคณะกรรมการคณะกรรมการกลั่นกรองและบริหารโครงการตามแผนปฏิบัติการ ไทยเข้มแข็ง 2555 2. เรื่อง สิทธิประโยชน์ทางภาษีสําหรับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2554 เห็นชอบการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีสําหรับ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ โดยการลดอัตราภาษีนติ ิบุคคลเหลือร้อยละ 25 เป็นระยะ เวลา 5 ปี เพื่อส่งเสริมให้บริษทั ที่จดทะเบียนเดิมในตลาดหลักทรัพย์สามารถยกระดับเป็นบริษัทขนาดใหญ่ได้ รวมทั้งจูงใจให้มีบริษัทขนาดกลางและขนาดย่อมเข้ามาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์มากขึ้น ทั้งนี้ บริษัท ที่ยื่นคําขอจดทะเบียนหลักทรัพย์กับตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2550 – 31 ธันวาคม 2551 และได้รับการจดทะเบียนภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ตาม พรฎ. ฉบับที่ 467 ให้ได้รับ สิทธิประโยชน์ต่อจากเดิมไปจนครบระยะเวลา แล้วจึงจะได้รับสิทธิประโยชน์ดังกล่าว แต่ต้องไม่เกินรอบ ระยะเวลาบัญชี 2558 (ภายในหรือหลัง 31 ธันวาคม 2558) ส่วนบริษัทที่จะทะเบียนก่อนวันที่ 1 มกราคม 2558 ตาม พรฎ. ฉบับที่ 475 และบริษทั ที่จดทะเบียนตั้งแต่ 1 มกราคม 2552 – 31 ธันวาคม 2553 แต่ ไม่ได้รับสิทธิประโยชน์ตาม พรฎ. ฉบับที่ 467 มาก่อน ให้ได้รับสิทธิประโยชน์นับแต่รอบระยะเวลาบัญชีแรก ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 แต่ไม่เกินรอบระยะเวลาบัญชี 2558 สําหรับบริษัทที่ได้รับการ จดทะเบียนตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 – 31 ธันวาคม 2556 ให้ได้รับสิทธิประโยชน์เป็นเวลา 5 รอบ ระยะเวลาบัญชีนับแต่รอบบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่บริษัทได้รับการจดทะเบียนลง 3. เรื่อง การค้ําประกันสินเชื่อในลักษณะ Portfolio Guarantee Scheme ระยะที่ 3 ในปี 2554 ของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2554 เห็นชอบให้บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรม ขนาดย่อม (บยส.) ดําเนินโครงการ Portfolio Guarantee Scheme (PGS) ระยะที่ 3 โดยกําหนดวงเงิน ค้ําประกัน 36,000 ล้านบาท และชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการดําเนินโครงการดังกล่าวให้กับ บสย. ไม่เกินร้อยละ 3.0 ต่อปีของภาระค้ําประกันเฉลี่ยในปีนั้น หรือไม่เกินร้อยละ 15 ของภาระค้ําประกัน ทั้งโครงการโดยคิดเป็นวงเงินไม่เกิน 2,250 ล้านบาท โดยให้ทบส่วนต่างไปปีถัดไปได้ ทั้งนี้ หาก บสย. พิจารณาลดค่าธรรมเนียมค้ําประกันในปีแรกลงต่ํากว่าอัตราปกติ ให้ บสย. รับภาระค่าธรรมเนียมดังกล่าวเอง 4. เรื่อง การรายงานผลการลงนามในสัญญาเงินกู้จากธนาคารพัฒนาเอเชียเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจ และพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน (เงินกู้ Capital Market Development Program: CMDP) คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2554 รับทราบรายงานผลการลงนามในสัญญาเงินกู้ จากธนาคารพัฒนาเอเชียเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (เงินกู้ Capital Market Development Program: CMDP) เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2554 ในวงเงิน 300 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยให้ลงประกาศกระทรวงการคลังเกี่ยวกับการกู้เงินเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานใน ราชกิจจานุเบกษาในวันที่ 9 พฤษภาคม 2554 5. เรื่อง มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2554 เห็นชอบให้ขยายเวลาของมาตรการภาษีเพื่อ ส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานออกไปอีก 2 ปี และอนุมัติหลักการร่างพระราชกฤษฎีกาออก ตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่...) พ.ศ. .... โดยสามารถสรุปสาระสําคัญ ของร่าง พรฎ. ดังนี้ สํานักนโยบายการคลัง 4
กําหนดให้ยกเว้นเงินได้ สําหรับเงินได้ที่จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการซื้อทรัพย์สินประเภทวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักร ที่มผี ลต่อการประหยัดพลังงาน (ไม่รวมยานพาหนะ และวัสดุ อุปกรณ์ หรือ เครื่องจักรที่ใช้กับยานพาหนะ) จํานวนร้อยละ 25 ของค่าใช้จ่ายดังกล่าว โดยค่าใช้จ่ายนี้ต้องจ่ายไปตั้งแต่ วันที่ พรฎ.ฯ มีผลบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 กําหนดให้ทรัพย์สินประเภทวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน และ ต้องไม่เคยผ่านการใช้งาน ซึ่งได้ซื้อมาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 – 31 ธันวาคม 2555 6. เรื่อง การทบทวนการดําเนินมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยว คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2554 อนุมัติในหลักการดําเนินมาตรการกระตุ้นการ ท่องเที่ยว โดยสรุปสาระสําคัญได้ดังนี้ ขยายระยะเวลาการดําเนินมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยว ตามนัยมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2554 ออกไปอีก 1 ปี จนถึงวันที่ 31 มกราคม 2555 เฉพาะในส่วนของการลดหย่อนค่าประกันการ ใช้ไฟฟ้าสําหรับผู้ประกอบธุรกิจโรงแรม และให้ผู้ประกอบการนําค่าใช้จ่ายด้านการในการจัดประชุม สัมมนา อบรม และการจัดการท่องเที่ยวเป็นรางวัลในประเทศแก่พนักงานมาหักเป็นค่าใช้จ่ายได้ 2 เท่าของที่จ่าย จริง ไม่ขยายระยะเวลาการดําเนินมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยว ตามนัยมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2554 ในส่วนของการยกเว้นค่าธรรมเนียมวีซ่าสําหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ การลดหย่อน ค่าธรรมเนียมการขึ้นลงของอากาศยานและที่เก็บอากาศยาน การปรับแผนการฝึกอบรม จัดสัมมนาใน ประเทศให้มากขึ้นแทนการไปต่างประเทศ และการประกันภัยคุ้มครองชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาใน ประเทศไทยกรณีเกิดการจลาจลที่จะสิ้นสุดในวันที่ 31 มีนาคม 2554 เพิ่มมาตรการเพื่อส่งเสริมและกระตุ้นการท่องเที่ยว โดยให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจที่ เกี่ยวข้องดําเนินการต่างๆ เช่น เร่งรัดการดําเนินการยกเว้นการตรวจลงตรานักท่องเที่ยวชาวจีนและไต้หวัน รวมทั้งปรับปรุงบริการการตรวจลงตรา ณ ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิให้รวดเร็วยิ่งขึ้น กําชับให้ กระทรวงมหาดไทยสนับสนุนให้สถานประกอบการโรงแรมมีการจดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย และให้ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ดําเนินโครงการสร้างรายได้จากนักท่องเที่ยวเดินทางระหว่าง ประเทศต่อไปได้โดยไม่กําหนดระยะเวลาสิ้นสุดของโครงการฯ เป็นต้น
5 สํานักนโยบายการคลัง
สถานการณ์ด้านการคลัง รวมทั้งปี งบประมาณ 2553 I รายได้ 1. ตามหน่วยงาน 1.1 กรมสรรพากร (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 1.2 กรมสรรพสามิต (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 1.3 กรมศุลกากร (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 1.4 รัฐวิสาหกิจ (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 1.5 หน่วยงานอื่น (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) - ส่วนราชการอื่น - กรมธนารักษ์ 1.6 รวมรายได้จัดเก็บ (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 1.7 รวมรายได้สุทธิ (หลังหักอปท.) (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 2. ตามฐานภาษี 2.1 เงินได้ (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 2.2 การบริโภค (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 2.3 การค้าระหว่างประเทศ (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) II รายจ่าย 1.รายจ่ายรัฐบาลจากงบประมาณ (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 1.1 งบประมาณปีปัจจุบัน (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 1.2 งบประมาณปีก่อน 2. รายจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ (15 กอ - รายจ่าย - เงินให้กู้ยืมสุทธิ 3. รายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศ (อัตราเพิม่ จากปีที่แล้ว%) 4. รายจ่ายของอปท. 5. รายจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ III ดุลการคลัง 1. ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด 2. ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบ สศค. 2/ - รัฐบาล - อปท. 3. เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือน3/ - วันทําการ IV ยอดหนี้สาธารณะ 1. หนี้รัฐบาลกู้ตรง 2. หนี้รัฐวิสาหกิจ 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น 4. หนี้ FIDF 5. รวม 6. หนี้คงค้าง/GDP (ปีปฏิทิน)% 7. หนี้ที่เป็นภาระงบประมาณ/GDP (ปีปฏิทิน)%
Q1
ม.ค.-54
ปีงบประมาณ 2554 ก.พ.-54
มี.ค.-54
Q2
หน่วย : พันล้านบาท รวม ต.ค. 53 -มี.ค. 54
1,264.6 11.1 405.9 39.4 97.1 21.0 91.6 5.7 135.8 55.1 131.9 3.9 1,995.0 18.4 1,678.9 19.0
261.8 13.7 111.8 10.9 25.4 (0.1) 26.0 22.8 26.0 12.8 24.3 1.7 451.0 12.5 396.2 13.5
95.4 17.5 37.7 10.9 8.1 16.8 7.8 90.3 7.6 55.1 7.3 0.3 156.7 19.5 128.4 22.0
90.9 26.4 36.8 12.2 7.9 12.6 5.5 (23.9) 13.2 23.0 12.9 0.4 154.3 19.0 136.6 26.0
98.3 5.0 41.9 5.3 9.5 13.7 3.0 (59.8) 4.3 18.0 4.0 0.3 157.0 2.6 132.3 6.3
284.5 15.3 116.4 9.2 25.6 14.3 16.3 (13.5) 25.1 30.2 24.2 0.9 468.0 13.1 397.2 17.6
546.3 14.5 228.2 10.0 51.0 6.7 42.4 5.7 51.1 20.7 48.5 2.6 919.0 12.8 793.4 15.7
730.5 7.3 907.6 25.6 93.7 20.7
117.5 14.2 244.8 10.3 24.7 1.3
44.5 21.9 85.2 11.3 8.0 16.7
43.7 41.4 80.6 12.2 7.8 13.3
46.0 (5.7) 90.3 9.8 9.3 14.1
134.1 15.5 256.1 11.1 25.2 14.6
251.7 14.9 500.8 10.7 49.9 7.6
1,784.4 (6.9) 1,627.9 (9.1) 156.5 302.6 279.6 23.0 1.0 (18.0) (97.1) (88.5) 429.3 65.0 2,907.5 1,261.2 62.1 4,230.7 42.0 30.5
598.4 32.6 553.3 39.7 45.0 143.9 135.0 8.9 0.1 (50.3)
235.2 56.8 220.7 64.7 14.5 17.3 14.9 2.4 0.9 7,269.7
154.7 (15.4) 139.5 (17.7) 15.2 18.5 17.0 1.5 -
170.9 14.0 157.0 21.1 13.9 29.8 28.2 1.6 (97.3)
560.8 16.1 517.1 19.4 43.7 65.6 60.1 5.5 0.9 101.8
1,159.2 24.1 1,070.5 29.1 88.7 209.5 195.1 14.4 1.0 130.0
(168.9)
(143.1)
(36.6)
(79.9)
(259.6)
(428.5)
(246.8)
(95.5)
(20.1)
(46.7)
(162.4)
(409.2)
337.4 42.0
185.3 23.0
169.8 21.0
114.4 14.0
114.4 14.0
114.4 14.0
3,002.4 1,249.1 30.6 4,282.1 42.4 31.3
2,984.5 1,247.9 30.6 4,263.0 41.9 30.9
2,988.2 1,238.6 30.6 4,257.4 41.6 30.5
หมายเหตุ 1/ ประกอบด้วย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการทําของ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจ กองทุนอ้อยและน้ําตาล กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนช่วยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย 2/ ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาและวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค.) เป็นผลรวมของดุลการคลังรัฐบาล และดุลการคลังของ อปท. 3/ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2551 เงินคงคลังจะไม่รวมเงินอืน่ (บัตรภาษี) และเงินฝากธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) รวบรวมโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
สํานักนโยบายการคลัง 6
สถานการณ์ด้านรายได้ เดือนมีนาคม 2554
เดือนมีนาคม 2554 รัฐบาลจัดเก็บ รายได้สุทธิ 132,263 ล้านบาท สูงกว่า ประมาณการ 15,930 ล้านบาท หรือร้อยละ 13.7 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 6.3) เป็นผลจากการขยายตัวของเศรษฐกิจ อย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว และคลื่นสึนามิที่ประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่วันที่ 11 มีนาคม 2554 โดยภาษีที่เก็บจากฐานการ บริโภคและการนําเข้าจัดเก็บได้สูงกว่าประมาณ การ ได้แก่ ภาษีสรรพสามิตรถยนต์ ภาษีมูลค่าเพิ่ม อากรขาเข้า และภาษีสุรา สูงกว่า เป้าหมาย 3,377 2,412 2,254 และ 1,505 ล้านบาท หรือร้อยละ 63.1 5.2 31.8 และ 35.2 ตามลําดับ ทั้งนี้ การจัดเก็บภาษีสรรพสามิต รถยนต์ที่สูงกว่าเป้าหมายนั้น ส่วนหนึ่งเกิดจาก ผู้ประกอบการ ยังไม่ได้รับผลกระทบจาก เหตุการณ์แผ่นดินไหวและสึนามิที่ญี่ปุ่น เพราะ ยังมีชิ้นส่วนที่นําเข้าจากญี่ปุ่นอยู่ และยังเร่งผลิต เพื่อรองรับคําสั่งซื้อจากงาน Motor Show อย่างไรก็ดี คาดว่าเหตุการณ์แผ่นดินไหวฯ จะ ส่งผลต่อการจัดเก็บภาษีรถยนต์ในเดือนถัดไป สําหรับภาษีสุราที่จัดเก็บได้สูงกว่าเป้าหมาย เป็น ผลจากผู้ประกอบการคาดว่าจะมีการเพิ่มอัตราภาษี สุราจึงเร่งผลิตสินค้าไว้ล่วงหน้า (รายละเอียดตามตารางที่ 1)
รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 132,263 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 15,930 ล้านบาท หรือร้อยละ 13.7 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 6.3) ตารางสรุปรายได้รัฐบาลเดือนมีนาคม 2554* หน่วย: ล้านบาท เทียบปีนี้กับ เทียบปีนี้กับ ที่มาของรายได้ ปีนี้ ประมาณการ ปีที่แล้ว (%) (%) กรมสรรพากร 98,263 5.7 5.0 กรมสรรพสามิต 41,852 23.8 5.3 กรมศุลกากร 9,540 31.0 13.7 รัฐวิสาหกิจ 3,045 87.8 -59.8 หน่วยงานอืน่ 4,263 8.8 18.0 รายได้สทุ ธิ** 132,263 13.7 6.3 หมายเหตุ * ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 7 เมษายน 2554 ** รายได้สุทธิหลังหักการจัดสรร อปท.
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลประจําปีงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553 - มีนาคม 2554) 300,000
ล้านบาท
250,000 200,000 150,000
144,622 124,896
121,787
125,751
136,575
132,263
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
100,000 50,000 0 ตค.
พ.ย.
จัดเก็บ 53
7 สํานักนโยบายการคลัง
เม.ย. ปมก. 54
พ.ค. จัดเก็บ 54
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – มีนาคม 2554) รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 793,410 ล้านบาท ผลการจัดเก็บรายได้แยกตามหน่วยงาน สูงกว่าประมาณการ 104,860 ล้านบาท หรือร้อยละ จัดเก็บสรุปได้ ดังนี้ 15.2 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 15.7) กรมสรรพากร จัดเก็บรายได้รวม ตารางสรุปรายได้รัฐบาล 546,308 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ ปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – มีนาคม 2554)* 52,832 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.7 (สูงกว่า หน่วย: ล้านบาท ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 14.5) เป็นผลจาก เทียบปีนี้กับ เทียบปีนี้กับ การจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่มาของรายได้ ปีนี้ ประมาณการ ปีที่แล้ว ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีธุรกิจเฉพาะ (%) (%) สูงกว่าประมาณการ 23,066 14,626 9,190 กรมสรรพากร 546,308 10.7 14.5 กรมสรรพสามิต 228,201 15.5 10.0 และ 5,497 ล้านบาท หรือร้อยละ 23.2 กรมศุลกากร 51,001 14.9 6.7 5.7 8.1 และ 49.2 ตามลําดับ ทั้งนี้ รัฐวิสาหกิจ 42,355 21.5 5.7 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนําเข้าและ หน่วยงานอื่น 51,100 10.3 20.7 รายได้สุทธิ ** 793,410 15.2 15.7 การบริโภคในประเทศสูงกว่าประมาณการ หมายเหตุ: * ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 7 เมษายน 2554 ร้อยละ 8.8 และ 3.3 ตามลําดับ ** รายได้สุทธิหลังจัดสรรให้ อปท. ผลการจัดเก็บรายได้ของ 3 กรมในสังกัดกระทรวงการคลัง ปีงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553 - มีนาคม 2554) ล้านบาท 900,000 800,000
จัดเก็บ 53 ประมาณการ 54 จัดเก็บ 54
825,510 732,135 735,509
700,000 600,000 500,000
546,308 476,933 493,476
400,000 300,000 207,395197,633
200,000
228,201
100,000
47,807 44,400 51,001
0
กรมสรรพากร
กรมสรรพสามิต
กรมศุลกากร
รวม 3 กรม
กรมสรรพสามิต จัดเก็บรายได้รวม 228,201 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 30,568 ล้านบาท หรือร้อยละ 15.5 (สูงกว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 10.0) เป็นผลจาก การบริโภคภายในประเทศทีข่ ยายตัวต่อเนื่อง ประกอบกับยอดการผลิตรถยนต์ยังอยู่ใน ระดับสูง แม้จะมีแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิ ในญี่ปุ่นก็ตาม โดยสามารถจัดเก็บภาษี สรรพสามิตรถยนต์ ภาษีสุรา ภาษีน้ํามัน ภาษีเบียร์ และภาษียาสูบได้สูงกว่า ประมาณการ 13,875 5,590 3,752 2,949 และ 2,870 ล้านบาท หรือร้อยละ 41.9 25.3 4.9 9.7 และ 10.8 ตามลําดับ กรมศุลกากร จัดเก็บรายได้รวม 51,001 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 6,601 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.9 (สูงกว่าช่วง เดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 6.7) เนื่องจากจัดเก็บ อากรขาเข้าได้สูงกว่าเป้าหมาย 6,574 ล้านบาท หรือร้อยละ 15.2 สาเหตุสําคัญเกิดจากการ ขยายตัวของมูลค่าการนําเข้าโดยเฉพาะสินค้า ประเภทรถยนต์และส่วนประกอบ สํานักนโยบายการคลัง 8
เครื่องจักรกล เครื่องใช้กล เครื่องจักรไฟฟ้า และเครื่องอุปกรณ์ไฟฟ้า เป็นต้น ทั้งนี้ การจัดเก็บอากรขาเข้าไม่ได้รับผลกระทบจาก เหตุการณ์แผ่นดินไหวและสึนามิที่ญี่ปุ่นมากนัก โดยอัตราการขยายตัวของมูลค่าการนําเข้า ในรูปดอลลาร์สหรัฐฯ และเงินบาท ในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ (ตุลาคม 2553 – กุมภาพันธ์ 2554) เพิ่มขึ้น ร้อยละ 22.9 และ 11.8 ตามลําดับ รัฐวิสาหกิจ นําส่งรายได้ 42,355 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 7,483 ล้านบาท หรือร้อยละ 21.5 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีทแี่ ล้ว ร้อยละ 5.7) ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการนําส่ง รายได้จากกําไรสุทธิปี 2553 และเงินปันผล ที่สูงกว่าประมาณการของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง โรงงาน ยาสูบ กองทุนรวมวายุภักษ์ และธนาคารออมสิน อย่างไรก็ดี บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) จ่ายเงินปันผลต่ํากว่าประมาณการ หน่วยงานอื่น จัดเก็บรายได้รวม 51,100 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 4,756 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.3 (สูงกว่าช่วง เดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 20.7) เนื่องจาก มีรายได้ค่าใบอนุญาตกิจการโทรคมนาคมจาก สํานักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติจํานวน 2,378 ล้านบาท (ส่งเร็วกว่า ที่ประมาณการจะนําส่งในเดือนพฤษภาคม 2554 การคืนภาษีของกรมสรรพากร จํานวน 103,071 ล้านบาท ต่ํากว่าประมาณการ 3,584 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.4 โดยเป็นการคืน ภาษีมูลค่าเพิ่ม 84,379 ล้านบาท ต่ํากว่า ประมาณการ 4,621 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.2 และการคืนภาษีอื่นๆ 18,692 ล้านบาท สูงกว่า ประมาณการ 1,037 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.9
9 สํานักนโยบายการคลัง
การจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ตาม พ.ร.บ. กําหนดแผนและขัน้ ตอนการกระจายอํานาจฯ ในปีงบประมาณ 2554 นี้ การจัดสรร ภาษีมูลค่าเพิ่มให้ อปท.จะแบ่งการจัดสรร ออกเป็น 12 งวด (จากเดิมจัดสรร 6 งวด) โดยมีการจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่ม 2 งวดแรก ของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม พฤศจิกายน 2553) ในเดือนมกราคม 2554 รวม 11,266 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 886 ล้านบาท หรือร้อยละ 8.5 (รายละเอียดตามตารางที่ 2)
สํานักนโยบายการคลัง 10
ตารางที่ 1 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลเบื้องต้น เดือนมีนาคม 2554
1/ หน่วย : ล้านบาท
ที่มาของรายได้
ปีนี้
เปรียบเทียบปีนี้กับปีที่แล้ว
ปมก.ตามเอกสาร
จํานวน
งปม.ทั้งปีเท่ากับ
ปีที่แล้ว
ร้อยละ
เปรียบเทียบปีนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม.
จํานวน
ร้อยละ
1,650,000 ล้านบาท
98,263
93,616
4,647
5.0
92,970
5,293
5.7
30,993 14,964 58 48,498 2,885 839 26 41,852
29,707 15,001 4,083 42,534 1,391 877 23 39,745
1,286 (37) (4,025) 5,964 1,494 (38) 3 2,107
4.3 (0.2) (98.6) 14.0 107.4 (4.3) 13.0 5.3
29,826 13,739 768 46,086 1,803 724 24 33,795
1,167 1,225 (710) 2,412 1,082 115 2 8,057
3.9 8.9 (92.4) 5.2 60.0 15.9 8.3 23.8
13,536 5,007 5,776 6,693 8,731 1,513 97 174 194 102
14,603 6,135 4,528 6,736 5,754 1,404 154 158 151 96
(1,067) (1,128) 1,248 (43) 2,977 109 (57) 16 43 6
(7.3) (18.4) 27.6 (0.6) 51.7 7.8 (37.0) 10.1 28.5 6.3
12,606 3,983 4,271 5,842 5,354 1,270 101 131 123 92
930 1,024 1,505 851 3,377 243 (4) 43 71 10
7.4 25.7 35.2 14.6 63.1 19.1 (4.0) 32.8 57.7 10.9
29
26
3
11.5
22
7
31.8
9,540
8,390
1,150
13.7
7,280
2,260
31.0
9,334 3 203
8,184 1 205
1,150 2 (2)
14.1 (1.0)
7,080 8 192
2,254 (5) 11
31.8 (64.6) 5.7
149,655
141,751
7,904
5.6
134,045
15,610
11.6
4. รัฐวิสาหกิจ
3,045
7,578
(4,533)
(59.8)
1,621
1,424
87.8
5. หน่วยงานอื่น
4,263
3,614
649
18.0
3,918
345
8.8
1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อื่น
2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุราฯ 2.4 ภาษีเบียร์ 2.5 ภาษีรถยนต์ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต์ 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2/
2.10 ภาษีอื่น
2.11 รายได้อื่น 3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่น
รวมรายได้ 3 กรม
5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์
รวมรายได้จัดเก็บ (Gross)
4,000 263 156,963
3/
3,398 216 152,943
602 47 4,020
17.7 21.8 2.6
3,683 235 139,584
317 28 17,379
8.6 11.9 12.5
22,500 16,300 6,200 1,100 1,100 132,263
4/
26,585 15,340 11,245 949 995 124,414
(4,085) 960 (5,045) 151 105 7,849
(15.4) 6.3 (44.9) 15.9 10.6 6.3
21,216 15,500 5,716 1,018 1,017 116,333
1,284 800 484 82 83 15,930
6.1 5.2 8.5 8.1 8.2 13.7
หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินค้าส่งออก
รวมรายได้สุทธิ (Net) 5/ หมายเหตุ
1/
4/ 4/
ตัวเลขเบื้องต้น ณ.วันที่ 7 เมษายน 2554 2/
ภาษีไพ่ แก้วฯ เครื่องหอม พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด
3/
คาดการณ์โดย สศค.
4/
ตัวเลขคาดการณ์
5/
รายได้สุทธิก่อนการจัดสรรให้อปท. จัดทําโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
11 สํานักนโยบายการคลัง
ตารางที่ 2 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลเบื้องต้น ปีงบประมาณ 2554
1/
( ตุลาคม 2553 - มีนาคม 2554 ) หน่วย : ล้านบาท
ที่มาของรายได้
ปีนี้
ปีที่แล้ว
เปรียบเทียบปีนี้กับปีที่แล้ว
ปมก.ตามเอกสาร
จํานวน
งปม.ทั้งปีเท่ากับ
ร้อยละ
เปรียบเทียบปีนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม.
จํานวน
ร้อยละ
1,650,000 ล้านบาท
1. กรมสรรพากร 1.1 ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา 1.2 ภาษีเงินได้นิตบิ คุ คล 1.3 ภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม 1.4 ภาษีมูลค่าเพิม่ 1.5 ภาษีธรุ กิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป์ 1.7 รายได้อื่น
2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุราฯ 2.4 ภาษีเบียร์ 2.5 ภาษีรถยนต์ 2.6 ภาษีเครื่องดืม่ 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต์ 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2/
2.10 ภาษีอื่น 2.11 รายได้อื่น
3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่น
รวมรายได้ 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หน่วยงานอื่น 5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์
รวมรายได้จัดเก็บ (Gross)
546,308
476,933
69,375
14.5
493,476
52,832
10.7
122,814 122,310 6,556 272,917 16,664 4,913 134 228,201
111,532 102,665 4,876 245,335 7,992 4,421 112 207,395
11,282 19,645 1,680 27,582 8,672 492 22 20,806
10.1 19.1 34.5 11.2 108.5 11.1 19.6 10.0
113,624 99,244 6,861 258,291 11,167 4,175 114 197,633
9,190 23,066 (305) 14,626 5,497 738 20 30,568
8.1 23.2 (4.4) 5.7 49.2 17.7 17.5 15.5
79,696 29,406 27,692 33,246 47,021 7,445 732 1,055 1,063 556 289
77,194 26,936 22,839 32,582 37,047 7,233 816 958 980 571 239
2,502 2,470 4,853 664 9,974 212 (84) 97 83 (15) 50
3.2 9.2 21.2 2.0 26.9 2.9 (10.3) 10.1 8.5 (2.6) 20.9
75,944 26,536 22,102 30,297 33,146 6,584 592 860 791 544 237
3,752 2,870 5,590 2,949 13,875 861 140 195 272 12 52
4.9 10.8 25.3 9.7 41.9 13.1 23.6 22.7 34.4 2.2 21.9
51,001 49,774 78 1,149 825,510 42,355
47,807 46,280 41 1,486 732,135 40,077
3,194 3,494 37 (337) 93,375 2,278
6.7 7.5 90.2 (22.7) 12.8 5.7
44,400 43,200 48 1,152 735,509 34,872
6,601 6,574 30 (3) 90,001 7,483
14.9 15.2 62.5 (0.3) 12.2 21.5
42,320 40,029 2,291 814,532
8,780 8,484 296 104,433
20.7 21.2 12.9 12.8
46,344 43,868 2,476 816,725
4,756 4,645 111 102,240
10.3 10.6 4.5 12.5
107,662 77,191 30,471 5,319 5,315 696,236
(4,591) 7,188 (11,779) 679 (95) 108,440
(4.3) 9.3 (38.7) 12.8 (1.8) 15.6
106,655 89,000 17,655 5,705 5,435 698,930
(3,584) (4,621) 1,037 293 (215) 105,746
(3.4) (5.2) 5.9 5.1 (4.0) 15.1
11,266
10,778
488
4.5
10,380
886
8.5
793,410
685,458
107,952
15.7
688,550
104,860
15.2
51,100 48,513 2,587 918,965
3/
หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินค้าส่งออก
รวมรายได้สุทธิ (Net) 6/ หักเงินจัดสรรจาก VAT ให้ อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ
รวมรายได้สุทธิหลังหักการจัดสรร อปท. หมายเหตุ
103,071 84,379 18,692 5,998 5,220 804,676
4/
4/ 5/
1/ ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 7 เมษายน 2554 2/ ภาษีไพ่ เครื่องแก้ว เครื่องหอม พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด 3/ เดือนตุลาคม 2553 - กุมภาพันธ์ 2554 เป็นข้อมูลจากระบบ GFMIS และเดือนมีนาคม 2554 เป็นตัวเลขคาดการณ์โดย สศค. 4/ เดือนตุลาคม 2553 - กุมภาพันธ์ 2554 เป็นตัวเลขจริง และเดือนมีนาคม 2554 เป็นตัวเลขคาดการณ์ 5/ เดือนตุลาคม 2553 - มกราคม 2554 เป็นตัวเลขจริง และเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2554 เป็นตัวเลขคาดการณ์
6/ รายได้สุทธิก่อนการจัดสรรให้ อปท. ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
สํานักนโยบายการคลัง 12
สถานการณ์ด้านรายจ่าย พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ 2554 ซึ่งได้ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 127 ตอนที่ 60 ก เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2553 ได้กําหนดวงเงินงบประมาณรายจ่ายจํานวน 2,070,000 ล้านบาท สูงกว่าวงเงินปีงบประมาณ 2553 ร้อยละ 21.8 โดยแบ่งเป็นรายจ่ายประจํา 1,661,482 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 15.9 รายจ่ายลงทุน 345,617 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 60.7 รายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ 32,555 ล้านบาท และมีการตั้งงบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง 30,346 ล้านบาท โครงสร้างงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณรายจ่าย (สัดส่วนต่อ GDP) - รายจ่ายประจํา (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) 2. รายรับ (สัดส่วนต่อ GDP) - รายได้ - เงินกู้ 3. ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP)
ปีงบประมาณ 2553 เพิ่ม/ลด จํานวน ร้อยละ 1,700,000 -12.9 17.5 1,434,710 1.7 84.4 -100.0 214,369 -50.1 12.6 50,921 -20.0 3.0 1,700,000 -12.9 17.5 1,350,000 -15.9 350,000 0.8 9,726,200 7.5
ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป ประจําปีงบประมาณ 2554 สํานักงบประมาณ
13 สํานักนโยบายการคลัง
ปีงบประมาณ 2554 เพิ่ม/ลด จํานวน ร้อยละ 2,070,000 21.8 20.0 1,661,482 15.9 80.3 30,346 100.0 1.5 345,617 60.7 16.6 32,555 -36.1 1.6 2,070,000 21.8 20.0 1,650,000 22.2 420,000 20.0 10,358,400 6.5
คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2553 เห็นชอบการกําหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณ รายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ที่อัตราร้อยละ 93.0 และกําหนดเป้าหมาย การเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 72.0 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน โดยได้กําหนด เป้าหมายการเบิกจ่ายรายไตรมาส ดังนี้ ไตรมาสที่ 1 2 3 4
เป้าหมาย การเบิกจ่าย แต่ละไตรมาส (ล้านบาท) 414,000 496,800 496,800 517,500
เป้าหมาย การเบิกจ่ายสะสม ณ สิ้นไตรมาส (ล้านบาท) 414,000 910,800 1,407,600 1,925,100
เดือนมีนาคม 2554 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณปี 2554 จํานวน 157,010 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกันของ ปีที่แล้ว 27,357 ล้านบาท หรือร้อยละ 21.1 และมี การเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี 13,903 ล้านบาท ทําให้มีการเบิกจ่ายรวมทั้งสิน้ 170,913 ล้านบาท
เป้าหมายอัตรา เบิกจ่าย อัตรา การเบิกจ่ายสะสม สะสม เบิก ณ สิ้นไตรมาส (ล้านบาท) จ่าย (%) % 20 553,323 26.7 44 1,070,454 51.7 68 93
- การเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2554 จํานวน 157,010 ล้านบาท แบ่งเป็น รายจ่ายประจํา จํานวน 141,375 ล้านบาท และ รายจ่ายลงทุน จํานวน 15,635 ล้านบาท - การเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี มีจํานวน 13,903 ล้านบาท
ครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 - มีนาคม 2554) ครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลได้ - การเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ เบิกจ่ายเงินแล้ว จํานวน 1,070,454 ล้านบาท 2554 จํานวน 1,070,454 ล้านบาท คิดเป็น สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 241,278 ล้านบาท อัตราการเบิกจ่าย ร้อยละ 51.7 ของวงเงิน หรือร้อยละ 29.1 และมีการเบิกจ่ายเงินกันไว้ งบประมาณ 2,070,000 ล้านบาท แบ่งเป็น เบิกเหลื่อมปี 88,710 ล้านบาท ทําให้มีการเบิกจ่าย รายจ่ายประจํา จํานวน 930,526 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 53.9 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจํา รวมทั้งสิน้ 1,159,164 ล้านบาท หลังโอนเปลี่ยนแปลง (1,725,003 ล้านบาท) รายจ่ายลงทุน จํานวน 139,928 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 40.6 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน หลังโอนเปลี่ยนแปลง (344,997 ล้านบาท) - การเบิกจ่ายงบกลาง มีจํานวน 135,885 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 51.1 ของงบประมาณ งบกลาง (265,763 ล้านบาท)
สํานักนโยบายการคลัง 14
- สําหรับการเบิกจ่ายงบประมาณตามหน่วยงาน หน่วยงานที่มีการเบิกจ่ายสูงที่สุด 3 อันดับแรก คือ กระทรวงแรงงานมีการเบิกจ่าย 25,281 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 88.7 รัฐวิสาหกิจ มีการเบิกจ่าย 91,474 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 79.2 และหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ มีการเบิกจ่าย 14,757 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 76.8 - ในขณะที่หน่วยงานที่มีการเบิกจ่ายต่ําสุด 3 อันดับสุดท้าย คือ จังหวัดมีการเบิกจ่าย 1,714 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 9.5 กระทรวงคมนาคม มีการเบิกจ่าย 19,558 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 24.3 และกระทรวงพลังงานมีการเบิกจ่าย 659 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 32.8 - การเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี มีจํานวน 88,710 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 48.4 ของ เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี (183,208 ล้านบาท) การเบิกจายรายจายประจํา รายจายลงทุน และเงินกันไวเบิกเหลื่ อมป (รายเดือน)
ล านบาท 300,000 200,000 100,000 0
ต.ค. 53
พ.ย. 53
ธ.ค. 53
ม.ค. 54
ก.พ. 54
มี.ค. 54
รายจายประจํา
189,957
196,444
133,696
146,289
122,765
141,375
รายจายลงทุน
4,161
10,757
18,308
74,368
16,699
15,635
เงินกันไวเบิกเหลื่อมป
13,334
15,951
15,763
14,534
15,225
13,903
ล านบาท
เม.ย. 54
พ.ค. 54
มิ.ย. 54
ก.ค. 54
ส.ค. 54
ก.ย. 54
การเบิกจายงบประมาณประจําปงบประมาณ 2554 (สะสม)
2,000,000 1,500,000 1,000,000 500,000 0
ต.ค. 53
พ.ย. 53
ธ.ค. 53
ม.ค. 54
ก.พ. 54
มี.ค. 54
เม.ย. 54
พ.ค. 54
มิ.ย. 54
ก.ค. 54
ส.ค. 54
ก.ย. 54
พ.ศ. 2553
80,143
246,259
396,155
530,141
699,523
829,176
965,763
1,083,822
1,207,018
1,342,146
1,445,468
1,627,875
พ.ศ. 2554
194,118
401,319
553,323
773,980
913,444
1,070,454
15 สํานักนโยบายการคลัง
รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุน ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ในเดือนมีนาคม 2554 จํานวน 5,972 ล้านบาท
- เดือนมีนาคม 2554 มีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการ ลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 จํานวน 5,972 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.7 ของวงเงินที่ได้รับ อนุมัติ จํานวน 349,960 ล้านบาท1 และตั้งแต่ต้น ปีงบประมาณมีการเบิกจ่ายรวมทั้งสิ้น 36,998 ล้านบาท - การเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุนภายใต้แผน ปฏิบัติการไทยเข้มแข็งสะสมจนถึงสิ้นเดือนมีนาคม 2554 มีจํานวนทั้งสิ้น 271,399 ล้านบาท2 คิดเป็น ร้อยละ 77.6 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ จํานวน 349,960 ล้านบาท - สําหรับสาขาที่มีการเบิกจ่ายสะสมสูงสุด 3 อันดับแรก คือ สาขาการประกันรายได้และการดําเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องมีการเบิกจ่าย 40,000 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 100.0 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (40,000 ล้านบาท) สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีการเบิกจ่าย 178 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 96.5 ของ วงเงินที่ได้รับการอนุมัติ (185 ล้านบาท) และสาขา สิ่งแวดล้อมมีการเบิกจ่าย 664 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 96.3 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (689 ล้านบาท) - ในขณะทีส่ าขาที่มีการเบิกจ่ายสะสมต่ําสุด 3 อันดับ คือ สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานมีการเบิกจ่าย 3,699 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 25.2 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (14,692 ล้านบาท) สาขาโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยวมีการเบิกจ่าย 946 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 28.8 ของวงเงินที่ได้รับ อนุมัติ (3,282 ล้านบาท) และสาขาพัฒนาด้าน สาธารณสุข พัฒนาบุคลากรมีการเบิกจ่าย 715 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 37.1 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (1,928 ล้านบาท) - สําหรับสาขาที่ยังไม่มีการเบิกจ่าย ได้แก่ สาขา พลังงาน มีวงเงินที่ได้รับอนุมัติ 174 ล้านบาท
1
เป็นวงเงินที่ได้รับการอนุมัติตามพระราชกําหนดให้อํานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 รอบที่ 1 จํานวน 199,960 ล้านบาท และรอบที่ 2 จํานวน 150,000 ล้านบาท 2 เป็นการเบิกจ่ายจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง จนถึงสิ้นสุดปีงบประมาณ 2553 จํานวน 234,401 ล้านบาท
สํานักนโยบายการคลัง 16
รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ - ในช่วง 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553 - มีนาคม 2554) มีการเบิกจ่ายเงิน ทั้งสิน้ 1,196,162 ล้านบาท เข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ จํานวนทั้งสิ้น 1,196,162 ล้านบาท แบ่งเป็น งบประมาณรายจ่ายประจําปี งบประมาณ 2554 จํานวน 1,070,454 ล้านบาท เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี จํานวน 88,710 ล้านบาท และ โครงการลงทุนไทยเข้มแข็ง 2555 จํานวน 36,998 ล้านบาท
17 สํานักนโยบายการคลัง
รายงานผลการเบิกจ่ายเงินโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 วัตถุประสงค์ / สาขา 1. สร้างความมั่นคงทางด้านอาหารและพลังงานฯ
วงเงินที่ได้รับ อนุมัติ
เบิกจ่าย ร้อยละของ สะสม การเบิกจ่าย ณ 31 มี.ค. 54 สะสม
59,503.3
46,067.4
77.4
1.1 สาขาทรัพยากรน้ําและการเกษตร
59,503.3
46,067.4
77.4
2. ปรับปรุงบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานฯ
74,781.1
53,659.8
71.8
46,586.5
42,041.6
90.2
174.3
-
-
-
-
-
3,281.7
946.5
28.8
14,691.5
3,699.0
25.2
9,172.9
6,130.6
66.8
2.7 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
185.0
178.4
96.5
2.8 สาขาสิ่งแวดล้อม
689.2
663.6
96.3
5,394.3
2,206.4
40.9
3.1 สาขาพัฒนาการท่องเที่ยว
5,394.3
2,206.4
40.9
4. สร้างฐานรายได้ใหม่ของประเทศฯ
1,330.6
1,270.0
95.4
4.1 สาขาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์
1,330.6
1,270.0
95.4
51,981.4
34,327.7
66.0
51,981.4
34,327.7
66.0
1,927.7
715.0
37.1
1,927.7
715.0
37.1
106,542.1
90,473.9
84.9
7.1 สาขาการลงทุนในระดับชุมชน
106,542.1
90,473.9
84.9
8. อื่น ๆ ตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด
40,000.0
40,000.0
100.0
40,000.0
40,000.0
100.0
341,460.4
268,720.3
78.7
8,500.0
2,678.8
31.5
349,960.4
271,399.1
77.6
2.1 สาขาขนส่ง 2.2 สาขาพลังงาน 2.3 สาขาการสื่อสาร 2.4 สาขาโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว 2.5 สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 2.6 สาขาสวัสดิภาพของประชาชน
3. สร้างศักยภาพในการหารายได้จากการท่องเที่ยว
5. ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ 5.1 สาขาการศึกษา 6. ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุขฯ 6.1 สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาบุคลากร 7. สร้างอาชีพและรายได้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตฯ
8.1 สาขาการประกันรายได้และการดําเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวม สํารองจ่ายตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหาร รวมทั้งสิ้น ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2554
สํานักนโยบายการคลัง 18
การเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ ผลการเบิกจ่าย - เดือนมีนาคม 2554 มีการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ 2.5 ล้านบาท เปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันปีที่แล้ว ลดลง 90.4 ล้านบาท หรือร้อยละ 97.3 - ครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 - มีนาคม 2554) มีการเบิกจ่ายเงินกู้ ต่างประเทศ 1,036.1 ล้านบาท เปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้วเพิ่มขึ้นจํานวน 585.7 ล้านบาท หรือร้อยละ 130.0
สรุปการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ เดือนมีนาคม 2554 และ ครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2554 รายการ 2554 1. Project Loans 2. Structural Adjustment Loans (SAL) รวม ที่มา : สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ
19 สํานักนโยบายการคลัง
2.5 2.5
มีนาคม 2553 อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 80.2 80.2 12.7 97.3 92.9
หน่วย : ล้านบาท ตุลาคม - มีนาคม 2554 2553 อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 92.3 437.2 78.9 943.7 13.2 7,049.5 1,036.1 450.4 130.0
การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. เดือนมีนาคม 2554
•
การเบิกจ่ายเงินของกองทุนนอกงบประมาณ สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 125.9 เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของรายจ่ายกองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติและกองทุนอ้อย และน้ําตาลทราย
• ครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 - มีนาคม 2554) การเบิกจ่ายเงินของกองทุน ฯ สูงกว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 12.5 โดยมี สาเหตุหลักมาจากการเบิกจ่ายของกองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติและกองทุน อ้อยและน้ําตาลทราย
- เดือนมีนาคม 2554 มีการเบิกจ่ายรวม 29,790.4 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 16,604.7 ล้านบาท หรือร้อยละ 125.9 ประกอบด้วยรายจ่ายดําเนินงาน 28,223.2 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 16,172.9 ล้านบาท หรือร้อยละ 134.2 ในขณะที่มีการให้กู้สุทธิ 1,567.2 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 431.8 ล้านบาท หรือร้อยละ 38.0 - ครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2554 มีการเบิกจ่ายรวม 209,518.4 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 23,236.4 ล้านบาท หรือร้อยละ 12.5 ประกอบด้วย 1) รายจ่ายดําเนินงาน 195,089.1 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว 20,786.4 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.9 เป็นผลมาจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมีการเบิกจ่ายเพิ่มขึ้น 2) รายจ่ายเงินให้กู้ยืมสุทธิ 14,429.3 ล้านบาท สูงกว่า ช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว 2,450.0 ล้านบาท หรือร้อยละ 20.5 เป็นผลมาจากการให้กู้ยืมที่เพิ่มขึ้นของกองทุนเงินให้กู้ยืม เพื่อการศึกษา
สรุปการเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. ครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 - มีนาคม 2554) หน่วย : ล้านบาท รายการ
มีนาคม
ครึ่งแรกของปีงบประมาณ
2554*
2553
การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ
29,790.4
13,185.7
125.9 209,518.4 186,282.0
12.5
๑. รายจ่ายดําเนินงาน
28,223.2
12,050.3
134.2
195,089.1
174,302.7
11.9
1,567.2
1,135.4
38.0
14,429.3
11,979.3
20.5
๒. รายจ่ายเงินให้กู้ยืมสุทธิ
อัตราเพิ่ม
2554*
2553
อัตราเพิ่ม
ที่มา : กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการทําของ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจฯ กองทุนอ้อยและน้ําตาลทราย กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนรวมเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุน การวิจัย หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ โดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
สํานักนโยบายการคลัง 20
ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด1 ครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553 – มีนาคม 2554) ครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลมีรายได้ เดือนตุลาคม 2553 – มีนาคม 2554 ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแส นําส่งคลัง 784,567 ล้านบาท และมีการเบิกจ่าย เงินสดขาดดุล 428,541 ล้านบาท คิดเป็น งบประมาณจากงบประมาณปีปัจจุบันและปีก่อนรวม 1,159,164 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณขาด ร้อยละ 3.9 ของ GDP 2 ดุลจํานวน 374,597 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอก งบประมาณที่ขาดดุลจํานวน 53,944 ล้านบาท ทําให้ ดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 428,541 ล้านบาท โดยรัฐบาล ชดเชยการขาดดุลโดยการออกพันธบัตร จํานวน 113,605 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินสดหลังการกู้เงิน ขาดดุลทั้งสิ้น 314,936 ล้านบาท ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด หน่วย: ล้านบาท
รายได้ รายจ่าย ปีปัจจุบนั ปีก่อน ดุลเงินงบประมาณ ดุลเงินนอกงบประมาณ ดุลเงินสดก่อนกู้ กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล ดุลเงินสดหลังกู้
ครึ่งแรกของปี ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2553 784,567 684,114 1,159,164 934,014 1,070,454 829,176 88,710 104,838 -374,597 -249,900 -53,944 -71,956 -428,541 -321,856 113,605 146,572 -314,936 -175,284
เปรียบเทียบ จํานวน ร้อยละ 100,453 14.7 225,150 24.1 241,278 29.1 -16,128 -15.4 -124,697 49.9 18,012 -25.0 -106,685 33.1 -32,967 -22.5 -139,652 79.7
1 2
ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด เป็นดุลการคลังที่แสดงให้เห็นผลกระทบต่อเงินคงคลังและการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล GDP ปีปฏิทิน 2553 เท่ากับ 10,103.0 พันล้านบาท และคาดการณ์ GDP ปีปฏิทิน 2554 เท่ากับ 10,840.5 พันล้านบาท
21 สํานักนโยบายการคลัง
ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค.1 ครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 - มีนาคม 2554) ครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาล มีรายได้ทั้งสิน้ 808,938 ล้านบาท และมีรายจ่ายทั้งสิน้ 1,170,644 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.5 และ 10.8 ของ GDP ตามลําดับ
ด้านรายได้ รัฐบาลมีรายได้ทั้งสิ้น 808,938 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 15.6 ประกอบด้วยรายได้ในงบประมาณ 808,273.9 ล้านบาท (ก่อนจัดสรรภาษีมลู ค่าเพิ่มให้ อปท.) และเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ 664.1 ล้านบาท ด้านรายจ่าย รัฐบาลมีรายจ่ายทั้งสิ้น 1,170,644 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 25.1 ประกอบด้วยรายจ่ายจากงบประมาณปีปัจจุบันและ ปีก่อน (รายจ่ายไม่รวมรายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ 1,169,979.9 ล้านบาท รายจ่ายเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ 664.1 ล้านบาท)
ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิน้ 361,706 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 3.3 ของ GDP
ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิ้น 361,706 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 3.3 ของ GDP ในขณะเดียวกันปีที่แล้ว ขาดดุล 236,007 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 2.6 ของ GDP
บัญชีเงินนอกงบประมาณ ประกอบด้วยเงินฝากนอก ดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณ ขาดดุล 9,482 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.1 ของ งบประมาณ และกองทุนนอกงบประมาณ มีรายได้ รวมทั้งสิ้น 218,769 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกัน GDP ปีที่แล้วร้อยละ 26.0 มีรายจ่ายจํานวน 213,822 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 53.8 และมี เงินให้กู้หักชําระคืน 14,429 ล้านบาท ทําให้ดุลบัญชี เงินนอกงบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 9,482 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.1 ของ GDP
สํานักนโยบายการคลัง 22
ดุลการคลังของรัฐบาล ขาดดุลทั้งสิ้น 409,222 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.8 ของ GDP
ดุลเงินงบประมาณที่ขาดดุลรวมกับดุลบัญชีเงินนอก งบประมาณที่ขาดดุล และเมือ่ หักรายจ่ายจากเงินกู้ ต่างประเทศและรายจ่ายจากโครงการไทยเข้มแข็งแล้ว จํานวน 1,036 ล้านบาท และ 36,998 ล้านบาท ตามลําดับ ทําให้ดุลการคลังขาดดุล จํานวน 409,222 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.8 ของ GDP ในขณะที่ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว ขาดดุล 305,167 ล้านบาท สําหรับดุลการคลังเบื้องต้นของ รัฐบาล (Primary Balance) ซึ่งเป็นดุลการคลังที่สะท้อนถึง ผลการดําเนินงานของรัฐบาลและทิศทางของนโยบายการคลัง ของรัฐบาลอย่างแท้จริง (ไม่รวมรายได้และรายจ่ายดอกเบี้ย และการชําระคืนต้นเงินกู้) ขาดดุลทั้งสิ้น 337,691 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.1 ของ GDP ในขณะที่ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว ขาดดุล 235,686 ล้านบาท
ดุลการคลังเบื้องต้นตามระบบ สศค. หน่วย: ล้านบาท ปงบประมาณ
มี.ค. 54
มี.ค. 53
ลานบาท % of GDP
ลานบาท
เปรียบเทียบ
% of GDP
ลานบาท
ต.ค.53 - มี.ค. 54
รอยละ
ต.ค.52 - มี.ค. 53
เปรียบเทียบ
ลานบาท % of GDP ลานบาท % of GDP ลานบาท
รอยละ
รัฐบาล 1. รายได 2. รายจาย 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. รายจายจากเงินกูตางประเทศ 5. รายจายจากมาตรการไทยเข็มแข็ง (TKK) 6. ดุลบัญชีนอกงบประมาณ (6.1-6.2-6.3) 6.1 รายได 6.2 รายจาย 6.3 เงินใหกูหักชําระคืน 7. ดุลการคลังของรัฐบาล (3-4-5+6) 8. ดุลการคลังเบื้องตนของรัฐบาล
133,036 172,576 (39,540) 3 5,972 (1,207) 31,001 30,641 1,567 (46,721) (23,331)
1.2 1.6 (0.4) 0.0 0.1 (0.0) 0.3 0.3 0.0 (0.4) (0.2)
จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
23 สํานักนโยบายการคลัง
124,951 149,877 (24,926) 93 19,739 (10,173) 28,792 37,830 1,135 (54,932) (31,095)
1.2 1.4 (0.2) 0.0 0.2 (0.1) 0.3 0.3 0.0 (0.5) (0.3)
8,085 22,699 (14,613) (90) (13,767) 8,966 2,209 (7,189) 432 8,210 7,763.8
6.5 15.1 58.6 (97.3) (69.7) (88.1) 7.7 (19.0) 38.0 (14.9) (25.0)
808,938 1,170,644 (361,706) 1,036 36,998 (9,482) 218,769 213,822 14,429 (409,222) (337,691)
7.5 699,885 10.8 935,891 (3.3) (236,007) 450 0.0 91,317 0.3 22,607 (0.1) 2.0 173,576 2.0 138,990 11,979 0.1 (3.8) (305,167) (3.1) (235,686)
7.7 109,053 10.3 234,752 (2.6) (125,700) 586 0.0 (54,319) 1.0 (32,089) 0.2 45,194 1.9 74,833 1.5 2,450 0.1 (3.4) (104,055) (2.6) (102,005)
15.6 25.1 53.3 130.0 (59.5) (141.9) 26.0 53.8 20.5 34.1 43.3
ฐานะการคลังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รายงานการคลังท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ประจําไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2554 ฐานะการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2553) ดุลการคลังขาดดุล 24,731 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว 778 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 3 ดังนี้ 1. ด้านรายได้ อปท. คาดการณ์เบื้องต้นมีจํานวนประมาณ 89,545 ล้านบาท ลดลงจากช่วง เดียวกันปีที่แล้ว 11,541 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 11) ทัง้ นี้ รายได้ของ อปท. ประกอบด้วย (รายละเอียด ตามตารางที่ 1) 1.1 รายได้ที่จดั เก็บเอง จํานวน 5,354 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 3,253 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 38) แยกเป็นรายได้จากภาษีอากร 2,548 ล้านบาท และรายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร 2,806 ล้านบาท เนื่องจากไตรมาสที่ 1 อปท. ที่ได้รับความเสียหายจากภัยน้ําท่วมทําให้ผู้ประกอบการที่ได้รับ ความเสียหายจากภัยดังกล่าวได้รับการลดหย่อนค่าภาษีทําให้มีรายได้น้อยลง 1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จํานวน 42,339 ล้านบาท สูงกว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 3,601 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 47 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน จํานวน 41,852 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 11,889 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 22
ตารางที่ 1 รายได้ของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2554 ประเภท 1. รายได้จัดเก็บเอง 1/ (ร้อยละของรายได้รวม) 1.1 รายได้จากภาษีอากร 1.2 รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร 2. รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 2/ (ร้อยละของรายได้รวม) 3. รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล 3/ (ร้อยละของรายได้รวม) รวม (ร้อยละของรายได้รวม) ที่มา
ไตรมาส 1 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2553 5,354 8,607 6 9 2,548 5,864 2,806 2,743 42,339 38,738 47 38 41,852 53,741 47 53 89,545 101,086 100 100
หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ
จํานวน (3,253)
ร้อยละ (38)
(3,316) 63 3,601
(57) 2 9
(11,889)
(22)
(11,541)
(11)
1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จํานวน 1,299 แห่ง จากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจํานวน 6,572 แห่ง รวม 7,871 แห่ง 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดิน และกรมการขนส่งทางบก 3/ รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จัดทําและรวบรวมโดย ส่วนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง นายกิจจา ยกยิ่ง ผู้รับผิดชอบ จัดทําขึ้น ณ วันที่ 10 มีนาคม 2554
25 สํานักนโยบายการคลัง
2. ด้านรายจ่าย อปท. คาดการณ์เบื้องต้นมีจํานวน 114,276 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกัน ปีที่แล้ว 10,764 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 9) สาเหตุที่รายจ่ายของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2554 ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีทแี่ ล้ว เนื่องจากประสบปัญหาน้ําท่วม ทําให้ อปท. ไม่สามารถใช้จ่ายงบประมาณ ได้ตามแผนการใช้จ่ายที่ได้เสนอไว้ในข้อบัญญัติของแต่ละ อปท. (รายละเอียดตามตารางที่ 2) 2.1 รายจ่ายงบกลาง เบิกจ่ายจํานวน 8,743 ล้านบาท เพิม่ ขึ้นจากไตรมาสเดียวกันปีที่แล้ว 1,935 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 28) 2.2 รายจ่ายประจํา เบิกจ่ายจํานวน 67,714 ล้านบาท เพิม่ ขึ้นจากไตรมาสเดียวกันปีที่แล้ว 16,956 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 33) 2.3 รายจ่ายเพื่อการลงทุน เบิกจ่ายจํานวน 15,828 ล้านบาท ลดลงจากไตรมาสเดียวกันปีที่ แล้ว 28,057 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 64) 2.4 รายจ่ายพิเศษ เบิกจ่ายจํานวน 13,560 ล้านบาท ลดลงจากไตรมาสเดียวกันปีที่แล้ว 240 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 2) 2.5 รายจ่ายจากเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี เบิกจ่ายจํานวน 8,431 ล้านบาท ลดลงจากไตรมาส เดียวกันปีที่แล้ว 1357 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 14)
ตารางที่ 2 รายจ่ายของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2554 1/ ประเภท 1. รายจ่ายงบกลาง (ร้อยละของรายจ่ายรวม) 2. รายจ่ายประจํา (ร้อยละของรายจ่ายรวม) 3. รายจ่ายเพื่อการลงทุน (ร้อยละของรายจ่ายรวม) 4. รายจ่ายพิเศษ (ร้อยละของรายจ่ายรวม) 5. รายจ่ายกันไว้เบิกเหลื่อมปี (ร้อยละของรายจ่ายรวม) รวม (ร้อยละของรายจ่ายรวม)
หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ
ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2553 8,743 8 67,714 59 15,828 14 13,560 12 8,431 7 114,276 100
6,808 5 50,758 41 43,885 35 13,800 11 9,788 8 125,040 100
จํานวน
ร้อยละ
1,935
28
16,956
33
(28,057)
(64)
(240)
(2)
(1,357)
(14)
(10,764)
(9)
ที่มา
1/ประมาณการจากการให้สินเชื่อและเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) หักด้วยรายได้ อปท.
จัดทําและรวบรวมโดย
ส่วนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ผู้รับผิดชอบ
นายกิจจา ยกยิ่ง
จัดทําขึ้น
ณ วันที่ 10 มีนาคม 2554
สํานักนโยบายการคลัง 26
3. ดุลการคลัง อปท. จากการให้สินเชื่อและเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) ของ ธปท. ขาดดุลการคลัง จํานวน 24,731 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 778 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 3 (รายละเอียดตามตารางที่ 3 และรูปที่ 1)
ตารางที่ 3 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2554 ประเภท 1. รายได้ 1/
หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ
ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2553
จํานวน
ร้อยละ
89,545
101,086
(11,541)
(11)
5,354
8,607
(3,253)
(38)
1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐจัดเก็บหรือแบ่งให้
42,339
38,738
3,601
9
1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน
41,852
53,741
(11,889)
(22)
114,276
125,040
(10,764)
(9)
2.1 รายจ่ายงบกลาง
8,743
6,808
1,935
28
2.2 รายจ่ายประจํา
67,714
50,758
16,956
33
2.3 รายจ่ายเพื่อการลงทุน
15,828
43,885
(28,057)
(64)
2.4 รายจ่ายพิเศษ
13,560
13,800
(240)
(2)
8,431
9,788
(1,357)
(14)
(24,731)
(23,954)
(777)
3
1.1 รายได้ที่จัดเก็บเอง
2. รายจ่าย
2.5 รายจ่ายกันไว้เบิกเหลื่อมปี 3. ดุลการคลัง 2/ ที่มา
1/ รายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จํานวน 1,299 แห่ง และข้อมูลจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจํานวน 6,572 แห่ง 2/เป็นตัวเลขประมาณการจากการให้สินเชื่อและเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKINK SYSTEM) ของ ธปท.
จัดทําและรวบรวมโดย ส่วนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบ
นายกิจจา ยกยิ่ง
จัดทําขึ้น
ณ วันที่ 10 มีนาคม 2554
รูปที่ 1 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2554
27 สํานักนโยบายการคลัง
สถานการณ์ด้านหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2554 หน่วย : ล้านบาท
หนี้สาธารณะคงค้าง เท่ากับ 4,257.4 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 41.6 ของ GDP ลดลงจากเดือนที่แล้ว 5.6 พันล้านบาท โดยเป็นหนี้ คงค้างที่เป็นภาระงบประมาณ ต่อ GDP เท่ากับร้อยละ 30.5 และแยกเป็นหนี้ในประเทศ ร้อยละ 91.6 ส่วนที่เหลือ ร้อยละ 8.4 เป็นหนี้ ต่างประเทศ หนี้คงค้างที่ลดลง เป็นผลจากหนีข้ องรัฐวิสาหกิจ ลดลง 9.3 พันล้านบาท โดยหนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง เพิ่มขึ้น 3.7 พันล้านบาท หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง เพิ่มขึน้ 3.7 พันล้านบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว โดยหนี้ในประเทศเพิ่มขึ้น 4.8 พันล้านบาท มีสาเหตุหลัก จากการกู้เงินเพื่อชดเชยการ ขาดดุลงบประมาณ 21.1 พันล้านบาทและการไถ่ถอนตั๋ว เงินคลัง 16.0 พันล้านบาท โดยที่หนี้ต่างประเทศลดลง 1.1 พันล้านบาท
1. รวมหนี้ที่รฐั บาลกู้โดยตรง หนีท้ ี่รัฐบาลกู้โดยตรง-ต่างประเทศ หนีท้ ี่รัฐบาลกู้โดยตรง-ในประเทศ 2. รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจ
หนี้ที่รฐั บาลค้ําประกัน-ต่างประเทศ หนี้ที่รฐั บาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รฐั บาลไม่ค้ําประกันต่างประเทศ** หนี้ที่รฐั บาลไม่ค้ําประกันในประเทศ** 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น * หนีท้ ี่รัฐบาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนีท้ ี่รัฐบาลไม่ค้ําประกัน-ในประเทศ 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟืน้ ฟูฯ FIDF 5. ยอดหนี้สาธารณะคงค้างรวม (1+2+3+4) GDP หนี้สาธารณะคงค้างรวมต่อ GDP (%) หนี้คงค้างที่เป็นภาระงบประมาณต่อ
ณ 31 ม.ค.54 2,984,473.43 55,638.08 2,928,835.35 1,247,940.05 174,366.05 511,644.56 134,700.29
ณ 28 ก.พ.54 2,988,172.17 54,522.92 2,933,649.25 1,238,628.40 171,999.32 507,306.70 132,356.13
427,229.15
426,966.25
30,583.50 30,582.51 4,262,996.98 4,257,383.08 10,164,460 41.9 30.6
10,225,920 41.63 30.46
GDP (%) หมายเหตุ * หน่วยงานภาครัฐอื่น ได้แก่ สํานักงานคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมืองแห่งชาติและสถาบันบริหารกองทุนพลังงาน ** ไม่รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน *** สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะได้ปรับวิธีการคํานวณ GDP ในแต่ละเดือน โดย คํานวณ GDP ของเดือนกุมภาพันธ์ 2554 จาก ( (GDP ปี 2553/12) *10 ) + ( (GDP ปี 2554/12) x 2) = 10,225.92 ล้านบาท ที่มา สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ
สํานักนโยบายการคลัง 28
หนี้สาธารณะ ณ 28 กุมภาพันธ์ 2554 หนี้ของรัฐวิสาหกิจลดลง 9.3 พันล้านบาท เมื่อเทียบ กับเดือนก่อน เนื่องจากมีการ เบิกจ่ายเงินกู้น้อยกว่าการชําระ คืนเงินกู้ โดยรัฐวิสาหกิจที่มีการ ชําระคืนเงินกู้สุทธิที่สําคัญ ได้แก่ บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) และ ธกส. จํานวน 3.1 และ 2.3 พันล้านบาท ตามลําดับ ในขณะที่ ธอส. เป็น รัฐวิสาหกิจแห่งเดียวที่เบิกจ่าย เงินกู้ จํานวน 1 พันล้านบาท
29 สํานักนโยบายการคลัง
หน่วย : พันล้านบาท หนี้ในประเทศ หนี้ต่างประเทศ 3,898.5 358.9 91.6 8.4
จํานวน ร้อยละ (%)
หนี้สาธารณะ ณ 28 กุมภาพันธ์ 2554
จํานวน ร้อยละ (%)
หน่วย : พันล้านบาท หนี้ระยะยาว หนี้ระยะสัน้ 4,206.4 51.0 98.8 1.2
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง กระทรวงการคลังได้กําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง เพื่อเป็นแนวทางในการดําเนินนโยบาย ทางการคลังที่สอดคล้องกับสถานะเศรษฐกิจการเงินและการคลังของประเทศ โดยมีเป้าหมายเพื่อรักษา เสถียรภาพด้านการคลังในระยะปานกลางและระยะยาว ซึ่งกรอบความยั่งยืนทางการคลังประกอบด้วยตัวชี้วัด และเป้าหมาย (60-15-0-25) ดังนี้ o o o o
ยอดหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 การจัดทํางบประมาณสมดุล สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25
สํานักงานเศรษฐกิจการคลังได้จัดทําการวิเคราะห์ความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประเมินและรักษาความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีผลการวิเคราะห์ระหว่าง ปีงบประมาณ 2554-2558 (รายละเอียดดังปรากฏในตารางสรุป) ซึ่งสรุปได้ดังนี้ o สามารถรักษาสัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ให้ไม่เกินร้อยละ 60 o สามารถรักษาสัดส่วนภาระหนี้ต่องบประมาณไม่ให้เกินร้อยละ 15 o ไม่สามารถจัดทํางบประมาณสมดุลในปีงบประมาณ 2554 เนื่องจากจําเป็นต้องจัดทํางบประมาณ แบบขาดดุล เพื่อกระตุ้นการเจริญเติบโตเศรษฐกิจของประเทศ และจากแนวโน้มภาระงบประมาณรายจ่ายที่ เพิ่มขึ้น ส่งผลให้มีข้อจํากัดในการดําเนินการจัดทํางบประมาณรายจ่ายแบบสมดุล ระหว่างปีงบประมาณ 2554 – 2558 o ไม่สามารถรักษาสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายให้ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 ในปีงบประมาณ 2554 อย่างไรก็ดี คาดว่าในปีงบประมาณ 2558 รัฐบาลจะสามารถจัดสรรงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 25 ของวงเงินงบประมาณได้ เพื่อการพัฒนาและการขยายตัวของเศรษฐกิจที่ยั่งยืน
สํานักนโยบายการคลัง 30
ตารางสรุปผลการวิเคราะห์และสมมติฐาน ตัวชี้วัด 1. ยอดหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP 2. ภาระหนี้ต่องบประมาณ 3. การจัดทํางบประมาณสมดุล 4. สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่าย สมมติฐานสําคัญในการประมาณการ - อัตราขยายตัวของเศรษฐกิจไทย (Real GDP) ร้อยละ - Inflation - Revenue Buoyancy ในประมาณการรายได้ ข้อมูล ณ เดือนเมษายน 2554
31 สํานักนโยบายการคลัง
ปีงบประมาณ เป้าหมาย 2554 2555 2556 F 2557 F 2558 F ไม่เกินร้อยละ 60 44.4 46.4 47.7 49.0 50.4 ไม่เกินร้อยละ 15 10.0 11.0 12.3 12.5 12.7 สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 16.5 17.0 20.0 23.0 25.0 4.0 3.3 1.09
4.4 3.4 0.95
4.5 3.0 1.07
4.5 3.0 1.04
4.5 3.0 1.02
การดําเนินกิจกรรมกึง่ การคลัง ผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล ไตรมาสที่ 4 ปี 2553 (เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2553) รัฐบาลมีการดําเนินมาตรการกิจกรรม กึ่งการคลังผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจใน โครงการต่าง ๆ ทีส่ ําคัญอย่างต่อเนื่อง โดยมี ผลการดําเนินงาน ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ปี 2553 ดังนี้ การอนุมัติสินเชื่อและการค้าํ ประกัน สินเชื่อในไตรมาสที่ 4 ปี 2553 มีการอนุมัติ จํานวน 68,054.1 ล้านบาท ลดลง จากช่วงเดียวกันของปีทแี่ ล้ว จํานวน 11,903.5 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 14.9
การอนุมัติสนิ เชื่อสะสมและการค้ําประกัน สินเชื่อสะสมนับตั้งแต่เริ่มโครงการจนถึง ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ปี 2553 มีจํานวน 1,155,237.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ไตรมาสที่ผ่านมาจํานวน 68,054.1 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.3 โดยมีสาขาสนับสนุนกิจการ SMEs อนุมัติสนิ เชื่อสูงสุดจํานวน 681,065.6 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 59.0 ของยอด สินเชื่อสะสม สาขาสนับสนุนผู้มีรายได้น้อยให้ มีที่อยู่อาศัยจํานวน 207,185.8 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 17.9 ของยอดสินเชื่อสะสม และสาขาสนับสนุนการประกอบอาชีพระดับ ฐานรากจํานวน 266,986.4 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 23.1 ของยอดสินเชื่อสะสม
กิจกรรมกึ่งการคลัง จําแนกตามประเภทกิจกรรม หนวย : ลานบาท
อัตราการ เปลี่ยนแปลง จากไตรมาส 4/2553
การอนุมัติสินเชื่อและค้ําประกันสินเชื่อ สาขา สาขาสนับสนุนกิจการ SMEs - โครงการสินเชื่อ สําหรับกิจการ SMEs - โครงการค้ําประกัน สินเชื่อให้แก่ SMEs สาขาสนับสนุนผู้มี รายได้น้อยให้มีที่อยู่ อาศัย - โครงการปล่อยสินเชือ่ ของธนาคารอาคาร สงเคราะห์ - โครงการบ้านออมสิน เพื่อประชาชน - โครงการบ้านเอื้ออาทร (เพื่อประชาชนกู้ซื้อบ้าน) สาขาสนับสนุนการ ประกอบอาชีพระดับ ฐานราก - โครงการธนาคาร ประชาชน - โครงการวิสาหกิจ ชุมชน* รวม
ยอดสะสม ตั้งแต่เริ่มดําเนินโครงการ
ยอดการอนุมัติ ในไตรมาส
ไตรมาส 4/2553
ไตรมาส 3/2553
ไตรมาส 4/2553
ไตรมาส 4/2552
681,065.6
628,892.9 52,172.7 44,981.9
16.0
571,535.2
532,858.0 38,677.2
29,646.3
30.5
15,335.6
-12.0
4,624.1 11,776.7
-60.7
109,530.4
96,034.9
207,185.8
202,561.7
147,389.3
147,389.3
-
5,373.9
-
2,944.4
2,944.4
-
-
-
56,852.1
52,228.0
4,624.1
6,402.8
27.8
255,729.1 11,257.3
23,199.0
-51.5
266,986.4
13,495.5
ร้อยละ
76,162.8
73,486.5
2,676.3
9,854.0
-72.8
190,823.6
182,242.6
8,581.0
13,345.0
-35.7
1,155,237.8 1,087,183.7 68,054.1 79,957.6
-14.9
หมายเหตุ * โครงการวิสาหกิจชุมชนของ ธ.ก.ส. เป็นการรายงานข้อมูลการอนุมัติสินเชื่อของลูกค้า วิสาหกิจรายย่อยทั่วไป ซึ่งเป็นการนับซ้ํากับลูกค้าในโครงการสินเชื่อสําหรับกิจการ SMEs
สํานักนโยบายการคลัง 32
หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) ลดลงจาก ไตรมาสทีผ่ ่านมา ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ปี 2553 ยอด NPLs เท่ากับ 31,176.5 ล้านบาท คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 8.4 ของยอดสินเชื่อคงค้าง และมี ภาระค้ําประกันหนี้จัดชั้นด้อยคุณภาพ (NPGs) ของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) อีกจํานวน 4,446.3 ล้านบาท คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 6.1 ของยอดค้ําประกันคงค้าง
หนี้ไมกอใหเกิดรายไดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ หนวย : ลานบาท
สิ้นไตรมาสที่ 4/2553 สินเชื่อ สาขา คงค้าง 1. สาขาสนันสนุนกิจการ SMEs 1.1 สินเชื่อสําหรับกิจการ SMEs 190,068.2 สินเชื่อ SMEs (ธพว.) 81,286.5 สินเชื่อ SMEs (ธสน.) 13,738.0 สินเชื่อ SMEs (ธนาคารออมสิน) 47,050.7 สินเชื่อ SMEs (ธ.ก.ส.) 47,993.0 1.2 การค้ําประกันสินเชื่อ (บสย.) 72,890.1 2. สาขาสนับสนุนผู้มีรายได้น้อยให้มีที่ อยู่อาศัย 106,556.9 โครงการบ้านเอื้ออาทร 38,653.3 โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 3 25,848.8 โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 4 9,660.1 โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 5 8,801.9 โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 6 15,887.2 โครงการบ้าน ธอส. - สปส. 2,755.8 โครงการบ้านมิตรภาพสปส. - ธอส. 4,949.8 เพื่อทีอ่ ยู่อาศัยของผู้ประกันตน 3. สาขาสนับสนุนการประกอบอาชีพ 72,582.4 ระดับฐานราก โครงการธนาคารประชาชน 18,878.4 โครงการวิสาหกิจชุมชน 53,704.0 รวมทั้งหมด 369,207.5 (ยกเว้นการค้ําประกันสินเชื่อ SMEs ของ บสย.)
หมายเหตุ * หนี้จัดชั้นด้อยคุณภาพ (NPGs)
33 สํานักนโยบายการคลัง
NPLs
NPLs ratio
23,789.8 16,509.6 1,748.4 1,056.8 4,475.0 4,446.3*
12.5 % 20.3 % 12.7 % 2.2 % 9.3 % 6.1 %
1,283.2 251.3 459.0 165.6 146.0 121.4 72.4
1.2 % 0.7 % 1.8 % 1.7 % 1.7 % 0.8 % 2.6 %
67.5
1.4 %
6,103.5
8.4 %
956.5 5,147.0
5.1 % 9.6 %
31,176.5
8.4 %
การกระจายอํานาจทางการคลัง ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ความคืบหน้าการจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. ปีงบประมาณ 2554
ในการประชุมคณะกรรมการการกระจายอํานาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (กกถ.) เมือ่ วันที่ 11 มีนาคม 2554 ได้มีการพิจารณาหลักเกณฑ์และ แผนการจัดสรรเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ รายการ เงินอุดหนุนสําหรับพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) กรณีเร่งด่วน จํานวน 8,142.1105 ล้านบาท ซึ่งกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นร่วมกับสํานัก งบประมาณนําเสนอ สรุปดังนี้ 1. ความเป็นมา การจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. ในภาพรวมที่ผา่ นการพิจารณาตามพระราชบัญญัติ รายจ่ายประจําปีงบประมาณ 2554 สรุปตามประเภท อปท. ที่ได้รับการจัดสรร ดังนี้ 1.1 กทม. ได้รับการจัดสรรเงินอุดหนุนจํานวน 13,6798,570,000 บาท 1.2 เมืองพัทยา ได้รับการจัดสรรเงินอุดหนุน จํานวน 1,395,000,000 บาท 1.3 อบจ. เทศบาล และ อบต. ได้รับจัดสรร เงินอุดหนุนจํานวน 159,375,430,000 บาท เป็นเงิน อุดหนุนให้แก่ อปท. ที่ตั้งไว้ที่สํานักงานปลัด สํานักนายกรัฐมนตรี จํานวน 500,000,000 บาท และเป็นเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. ที่ตั้งไว้ที่กรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น จํานวน 158,875,430,000 บาท โดยจําแนกตามประเภทเงินอุดหนุนได้ดังนี้ 1.3.1 เงินอุดหนุนทัว่ ไป ได้รับจัดสรร เพื่อดําเนินการตามอํานาจหน้าที่ของ อปท. และเพื่อ ดําเนินการภารกิจที่ได้รับถ่ายโอน เช่น เงินอุดหนุน สําหรับดําเนินงานตามอํานาจหน้าที่และภารกิจถ่ายโอน เลือกทํา เงินอุดหนุนสําหรับสนับสนุนอาหารเสริม (นม) และเงินอุดหนุนสําหรับสนับสนุนอาหารกลางวัน เป็นต้น จํานวนทั้งสิ้น 80,028,997,700 บาท 1.3.2 เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ได้รับจัดสรร เพื่อให้ อปท. นําไปใช้ตามวัตถุประสงค์ที่กําหนด เช่น เงินอุดหนุนเพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษา (เงินเดือนครู สํานักนโยบายการคลัง 34
และค่าจ้าง) เงินอุดหนุนโครงการสร้างหลักประกันรายได้ ผู้สูงอายุ เงินอุดหนุนโครงการส่งเสริม อสม. เชิงรุก เงินอุดหนุนสนับสนุนศูนย์เด็กเล็ก และเงิน อุดหนุนเพื่อพัฒนา อปท. กรณีเร่งด่วน เป็นต้น จํานวน ทั้งสิ้น 78,846,432,300 บาท 2. ผลการพิจารณา สรุปได้ดังนี้ 2.1 หลักเกณฑ์การจัดสรร ที่ประชุมได้มีมติ เห็นชอบหลักเกณฑ์และแผนการจัดสรรเงินอุดหนุน เฉพาะกิจรายการเงินอุดหนุนสําหรับพัฒนา อปท. กรณี เร่งด่วน จํานวน 8,142,110,500 บาท ดังนี้ (1) เป็นโครงการที่อยู่ในอํานาจหน้าที่ ของ อปท. และอยู่ในแผนพัฒนา อปท. หรือสอดคล้อง กับแผนชุมชน (2) เป็นโครงการในลักษณะงบลงทุน เฉพาะรายการที่เป็นสิ่งก่อสร้าง ได้แก่ (2.1) ก่อสร้างถนนไร้ฝุ่น (2.2) ก่อสร้างลานกีฬา (2.3) ก่อสร้างโครงการตามยุทธศาสตร์ เช่น โครงการพระราชดําริ โครงการตามนโยบายของรัฐ โครงการก่อสร้างหรือซ่อมแซมโครงสร้างพื้นฐานทาง เศรษฐกิจที่ได้รับถ่ายโอนจากส่วนราชการต่าง ๆ และ โครงการตามอํานาจหน้าที่ของ อปท. เกี่ยวกับการพัฒนา คุณภาพชีวิต เป็นต้น (3) วงเงินงบประมาณโครงการละ ไม่ต่ํากว่า 500,000 บาท และไม่ถึง 10,000,000 บาท (4) โครงการมีความพร้อมที่จะดําเนินการ ได้ทันทีที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ และสามารถ ดําเนินการแล้วเสร็จใน 1 ปี (5) มีรูปแบบรายการก่อสร้างที่ชัดเจน และมีประมาณค่าใช้จ่ายของโครงการตามหลักเกณฑ์ของ ราชการ (6) กรณีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงโครงการ (6.1) การโอนเปลี่ยนแปลง รายละเอียดของรายการในแต่ละ อปท. โดยไม่กระทบ วัตถุประสงค์และวงเงิน ให้เป็นอํานาจของกรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น (6.2) การเปลีย่ นแปลงสถานที่ให้ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ขออนุมัติ กกถ. เว้นแต่โครงการที่ดําเนินการบรรลุวัตถุประสงค์แล้ว 35 สํานักนโยบายการคลัง
หรือสถานที่เดิมไม่สามารถดําเนินการได้ โดยยังคง วัตถุประสงค์ และ อปท. เดิมให้เป็นอํานาจของ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (6.3) การเปลี่ยนแปลงกรณีอื่น นอกเหนือจากข้อ (6.1) และ (6.2) หรือเปลีย่ นแปลง อปท. ให้ขออนุมัติ กกถ. (7) หากมีเงินเหลือจ่ายจากการดําเนินการ จัดซื้อจัดจ้างแล้ว ให้ อปท. เจ้าของงบประมาณนําเงิน เหลือจ่ายไปใช้จ่ายตามวัตถุประสงค์ของเงินอุดหนุนที่ กําหนดไว้เดิมเป็นลําดับแรก การดําเนินการตามข้อ (6) และ (7) ให้ เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และมติคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้อง โดยคํานึงถึงสัดส่วนรายได้ของ อปท. ตามที่ กกถ. กําหนด และให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น รายงานผลการดําเนินการเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และแผน การจัดสรรเงินอุดหนุนเฉพาะกิจดังกล่าวให้ กกถ. และ สํานักงบประมาณทราบ 2.2 แผนการจัดสรร งบประมาณที่จัดสรรเป็น เงินอุดหนุนเฉพาะกิจรายการเงินอุดหนุนสําหรับพัฒนา อปท. กรณีเร่งด่วน ทั้งสิ้น 8,142,110,500 บาท จํานวน 5,432 โครงการ ประกอบด้วย 1) การก่อสร้างถนนไร้ฝุ่น 2,407 โครงการ งบประมาณ 3,406,238,000 บาท 2) การก่อสร้างลานกีฬา 644 โครงการ งบประมาณ 720,000,000 บาท 3) การก่อสร้างตามโครงการ ยุทธศาสตร์ 2,381 โครงการ งบประมาณ 4,015,872,500 บาท โดยสรุปแผนการจัดสรรได้ดังนี้ 2.2.1 จังหวัดที่ได้รับการจัดสรร จังหวัด นครราชสีมาได้รับจัดสรรงบประมาณตามรายการนี้ มากที่สุด 307 โครงการเป็นจํานวน 403,483,000 บาท หรือร้อยละ 4.96 ของเงินอุดหนุนเฉพาะกิจรายการเงิน อุดหนุนสําหรับพัฒนา อปท. กรณีเร่งด่วน และจังหวัด ระนองได้รับจัดสรรน้อยที่สุด 5 โครงการ รองลงมาได้แก่ จังหวัดสิงห์บุรี 11 โครงการ จังหวัดตราด 13 โครงการ เป็นจํานวนเงิน 15,000,000 บาท เท่ากันทัง้ 3 จังหวัด หรือร้อยละ 0.18 โดยแบ่งตามประเภทโครงการดังนี้ (1) โครงการก่อสร้างถนนไร้ฝุ่น จังหวัดนครราชสีมาได้รับจัดสรรเงินอุดหนุนมากที่สุด 180 โครงการ เป็นจํานวนเงิน 206,781,000 บาท หรือ สํานักนโยบายการคลัง 36
ร้อยละ 6.07 ของเงินอุดหนุนสําหรับก่อสร้างถนนไร้ฝุ่น และจังหวัดสิงห์บุรีเป็นจังหวัดที่ได้รับจัดสรรเงินอุดหนุน น้อยที่สุด 4 โครงการ จํานวน 5,200,000 บาท หรือ ร้อยละ 0.15 (2) โครงการก่อสร้างลานกีฬา จังหวัดที่ได้รับจัดสรรเงินอุดหนุนมากที่สุดคือจังหวัด ศรีสะเกษ 23 โครงการ จํานวน 32,935,000 บาทคิด เป็นร้อยละ 4.57 ของเงินอุดหนุนสําหรับก่อสร้างลาน กีฬา และจังหวัดเพชรบุรี สตูล ภูเก็ต สมุทรสงคราม และสิงห์บุรี ไม่ได้รับจัดสรร (3) โครงการก่อสร้างตามยุทธศาสตร์ จังหวัดนครราชสีมาได้รับการจัดสรรเงินอุดหนุนมากที่สุด 105 โครงการ จํานวน 170,502,000 บาท หรือร้อยละ 4.25 ของเงินอุดหนุนสําหรับโครงการก่อสร้างตาม ยุทธศาสตร์ ส่วนจังหวัดตราดและระนอง ไม่ได้รับการ จัดสรรในส่วนนี้ 2.2.2 การกระจายตัวตามประเภท อปท. มี อปท. ที่ได้รบั การจัดสรร 3,104 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 39.54 ของจํานวน อปท. ทั้งหมด แบ่งเป็น (1) อบจ. 39 แห่ง ได้รับการจัดสรร 866 โครงการ เป็นจํานวนเงิน 1,370,183,500 บาท คิดเป็นร้อยละ 16.83 ของเงินอุดหนุนเฉพาะกิจรายการ เงินอุดหนุนสําหรับพัฒนา อปท. กรณีเร่งด่วน ทั้งหมด (2) เทศบาล 645 แห่ง ได้รับการ จัดสรร 936 โครงการ เป็นจํานวนเงิน 1,557,624,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 19.13 ของเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ รายการเงินอุดหนุนสําหรับพัฒนา อปท. กรณีเร่งด่วน (3) อบต. 2,420 แห่ง ได้รับจัดสรร 3,630 โครงการ เป็นจํานวน 5,214,303,000 บาท คิด เป็นร้อยละ 64.04 ของเงินอุดหนุนเฉพาะกิจรายการเงิน อุดหนุนสําหรับพัฒนา อปท. กรณีเร่งด่วน 2.2.3 การกระจายตัวของงบประมาณ (1) โครงการส่วนใหญ่มีวงเงิน 0.5 – 2 ล้านบาท จํานวน 5,168 โครงการ คิดเป็น ร้อยละ 95.14 ของโครงการทั้งหมด เป็นจํานวนเงิน 6,948,542,000 บาท หรือร้อยละ 85.34 ของเงินอุดหนุนเฉพาะ กิจรายการเงินอุดหนุนสําหรับพัฒนา อปท. กรณีเร่งด่วน (2) โครงการส่วนที่เหลือมีวงเงินเกิน 2 ล้านบาทแต่ไม่ถึง 10 ล้านบาท จํานวน 264 โครงการ 37 สํานักนโยบายการคลัง
คิดเป็นร้อยละ 4.86 ของโครงการทั้งหมด เป็นจํานวน เงิน 1,193,568,500 บาท หรือร้อยละ 14.66 ของเงิน อุดหนุนเฉพาะกิจรายการเงินอุดหนุนสําหรับพัฒนา อปท. กรณีเร่งด่วน 2.2.4 การกระจายตัวตามพื้นที่ เมื่อพิจารณาการจัดสรรทุกประเภทโครงการพบว่าทุก จังหวัดได้รับการจัดสรรเงินอุดหนุนรายการนี้ รวมทั้งมี การกระจายไปยังอําเภอต่าง ๆ 736 อําเภอ จากจํานวน 878 อําเภอ หรือร้อยละ 83.83 ของจํานวนอําเภอ ทั้งหมด
สํานักนโยบายการคลัง 38
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ มติคณะรัฐมนตรีที่สําคัญ เดือนเมษายน 2554 4 เมษายน 2554 1. เรื่อง การบริหารโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 คณะรัฐมนตรีอนุมัติ รับทราบ และเห็นชอบ ตามที่กระทรวงการคลังเสนอดังนี้ 1. อนุมัติจัดสรรวงเงินสํารองจ่ายตามแผนปฎิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ในวงเงินรวม 2,494,510 บาท สําหรับโครงการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดของจังหวัดเพชรบุรีและกรุงเทพมหานคร 2. อนุมัติให้หน่วยงานโอนคืนวงเงินเหลือจ่ายจากโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 3. อนุมัติการขยายระยะเวลาการลงนามในสัญญาและการเบิกจ่ายเงิน หากหน่วยงานเจ้าของ โครงการไม่สามารถดําเนินการได้ตามกําหนดเวลาทีข่ อขยาย เห็นควรพิจารณายกเลิกเงินกูข้ องโครงการดังกล่าว ทั้งนี้ โครงการที่ได้รับการขยายระยะเวลาจะต้องทําการเบิกจ่ายเงินให้แล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ 2555 สําหรับส่วนที่เกินปีงบประมาณ 2555 หน่วยงานจะต้องจัดหาแหล่งเงินอื่นมาสนับสนุนการดําเนินโครงการ ต่อไป 4. อนุมัติการขอยกเลิกโครงการติดตั้งทุ่นผูกเรือเพื่อป้องกันปะการัง ภายใต้โครงการตามแผนพัฒนา จังหวัดและกลุ่มจังหวัดตรัง 5. รับทราบและอนุมัติแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จา่ ยเงินให้แล้วเสร็จภายใน 15 วันทําการ หลังจากคณะรัฐมนตรีอนุมัติการขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดของโครงการและสํานักงบประมาณจะดําเนินการ อนุมัติภายใน 15 วันทําการ โดยหลังจากได้รับการอนุมัติแล้ว หน่วยงานจะต้องลงนามในสัญญาให้แล้วเสร็จ ภายใน 15 วันทําการ 6. เห็นชอบการจัดตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองและบริหารโครงการเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อพิจารณากลั่นกรองกํากับดูแลและบริหารโครงการเงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (Development Policy Loan: DPL) ที่อยู่นอกเหนือกรอบการพิจารณาของ คณะกรรมการกลั่นกรองและบริหารโครงการตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 โดยคณะกรรมการ ดังกล่าวจะมีองค์ประกอบ ดังนี้ ปลัดกระทรวงการคลังเป็นประธาน เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผู้อํานวยการสํานักงบประมาณ อธิบดีกรมบัญชีกลาง ผู้อํานวยการสํานักงาน เศรษฐกิจการคลัง และผู้อํานวยการสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจเป็นกรรมการ ผู้อํานวยการ สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ ผู้แทนสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ ผู้แทนสํานักงบประมาณเป็นกรรมการและเลขานุการร่วม 7. เห็นชอบให้คณะกรรมการกลั่นกรองและบริหารโครงการตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 พิจารณากลั่นกรองโครงการตามวัตถุประสงค์ของการใช้จ่ายเงินกู้ DPL ในส่วนของโครงการที่อยู่ภายใต้ แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
39 สํานักนโยบายการคลัง
12 เมษายน 2554 1. เรื่อง สิทธิประโยชน์ทางภาษีสําหรับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีสําหรับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ โดยลดการจัดเก็บภาษีนิติบุคคลเหลืออัตราร้อยละ 25 จากเดิมที่จัดเก็บในอัตราร้อยละ 30 เพื่อส่งเสริมบริษัทจดทะเบียนเดิมในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ให้สามารถยกระดับเป็นบริษัทขนาดใหญ่ โดยลดต้นทุนและสนับสนุนให้มีการเพิ่มทุนจดทะเบียน รวมทั้งจูงใจให้มบี ริษัทขนาดกลางและขนาดย่อม เข้ามาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ มากขึ้น ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ดังนี้ 1. บริษัทที่ยื่นคําขอจดทะเบียนหลักทรัพย์กับตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2550 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และได้รับการจดทะเบียนหลักทรัพย์ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ตาม พรฎ. ฉบับที่ 467 ให้ได้รับสิทธิประโยชน์ต่อจากเดิมต่อไปจนครบระยะเวลา จึงจะได้รับสิทธิประโยชน์ ดังกล่าวข้างต้น แต่ไม่เกินรอบระยะเวลาบัญชี 2558 ทีส่ นิ้ สุดในหรือหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2558 2. บริษัทที่ได้รับการจดทะเบียนหลักทรัพย์กับตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ก่อนวันที่ 1 มกราคม 2551 ตาม พรฎ. ฉบับที่ 475 และบริษทั ที่ได้รับการจดทะเบียนหลักทรัพย์กับตลาด เอ็ม เอ ไอ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ซึ่งไม่รวมถึงบริษัทที่ได้รับสิทธิประโยชน์ตาม พรฎ. ฉบับที่ 467 มาก่อนให้ได้รับสิทธิประโยชน์ดังกล่าวขั้นต้นนับแต่รอบระยะเวลาบัญชีแรกที่เริม่ ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 แต่ไม่เกินรอบระยะเวลาบัญชี 2558 ทีส่ ิ้นสุดในหรือหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2558 3. บริษัทที่ได้รับการจดทะเบียนหลักทรัพย์กับตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ให้ได้รับสิทธิ์ประโยชน์เป็นเวลา 5 รอบระยะเวลาบัญชีนับแต่รอบบัญชีที่ เริ่มในหรือหลังวันที่บริษัทนั้นได้รับการจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ 2. เรื่อง การค้าํ ประกันสินเชือ่ ในลักษณะ Portfolio Guarantee Scheme ระยะที่ 3 ในปี 2554 ของ บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลัง เสนอดังนี้ 1. ให้บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) ดําเนินโครงการ Portfolio Guarantee Scheme (PGS) ระยะที่ 3 2. กําหนดวงเงินค้ําประกันโครงการ PGS ระยะที่ 3 ไว้ที่ 36,000 ล้านบาท 3. ชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการดําเนินโครงการ PGS ระยะที่ 3 ให้กับ บสย. ไม่เกิน ร้อยละ 3.0 ต่อปีของภาระค้ําประกันเฉลี่ยในปีนั้น หรือไม่เกินร้อยละ 15 ของภาระค้ําประกันทั้งโครงการ โดยคิดเป็นวงเงินไม่เกิน 2,250 ล้านบาท [(15% - 8.75%)*36,000] โดยให้ทบส่วนต่างไปปีถดั ไปได้ และให้ บสย. ประสานกับสํานักงบประมาณ ในการเบิกจ่ายต่อไป 4. กรณี บสย. พิจารณาลดค่าธรรมเนียมค้ําประกันในปีแรกลงต่ํากว่าอัตราปกติ ให้ บสย. รับภาระ ค่าธรรมเนียมดังกล่าวเอง ทั้งนี้ บสย. ต้องคํานึงถึงฐานะทางการเงินของ บสย. โดยรัฐไม่รับภาระชดเชย ในส่วนที่ บสย. พิจารณาลดค่าธรรมเนียมลง 3. เรื่อง การรายงานผลการลงนามในสัญญาเงินกู้จากธนาคารพัฒนาเอเชียเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและ พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน (เงินกู้ Capital Market Development Program: CMDP) คณะรัฐมนตรีรบั ทราบรายงานผลการลงนามในสัญญาเงินกู้จากธนาคารพัฒนาเอเชียสําหรับเงินกู้ เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (เงินกู้ Capital Market Development Program: CMDP) เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2554 ในสัญญาเงินกู้เลขที่ 2665-THA สําหรับเงินกู้ CMDP วงเงิน 300 สํานักนโยบายการคลัง 40
ล้านดอลล่าร์สหรัฐ โดยมีรฐั มนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง (นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์) เป็นผูล้ งนาม ในนามรัฐบาลไทย และ Mr. Kunio Senga, Director General, Southeast Asia Department เป็น ผู้ลงนามในนามธนาคารพัฒนาเอเชีย พร้อมกับให้ลงประกาศกระทรวงการคลังเกี่ยวกับการกู้เงินเพื่อฟื้นฟู เศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในราชกิจจานุเบกษาภายในวันที่ 9 พฤษภาคม 2554 ต่อไปด้วย ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ 20 เมษายน 2554 1. มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน คณะรัฐมนตรีเห็นชอบให้ขยายระยะเวลาของมาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการ ใช้พลังงานออกไปอีก 2 ปี และอนุมัติหลักการร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามทีก่ ระทรวงการคลังเสนอ และให้ส่งสํานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกาตรวจพิจารณา แล้วดําเนินการต่อไปได้ สาระสําคัญของร่างพระราชกฤษฎีกา 1. กําหนดให้ยกเว้นเงินได้ สําหรับเงินได้ที่จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สินประเภทวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักร ที่มผี ลต่อการประหยัดพลังงาน แต่ไม่รวมถึงยานพาหนะและวัสดุ อุปกรณ์ หรือ เครื่องจักรที่ใช้กับยานพาหนะ เป็นจํานวนร้อยละยี่สิบห้าของค่าใช้จ่ายนั้น ให้แก่บุคคลธรรมดา บริษัทจํากัด บริษัทมหาชนจํากัด ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล โดยค่าใช้จ่ายดังกล่าวต้องจ่ายไปตั้งแต่วันที่พระราชกฤษฎีกานี้มี ผลใช้บังคับถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศ กําหนด (ร่างมาตรา 3) 2. กําหนดให้ทรัพย์สินประเภทวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงานตาม มาตรา 3 ต้องเป็นทรัพย์สินทีไ่ ม่เคยผ่านการใช้งาน ซึ่งได้ซื้อมาและอยู่ในสภาพพร้อมใช้งานได้ตามประสงค์ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 โดยได้รับการรับรองจากกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ว่าเป็นวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักร ที่มีผลต่อการประหยัด พลังงาน ภายในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 และต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กําหนดในพระราช กฤษฎีกานี้ ทั้งนี้ ต้องหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่าห้าปีนับแต่วันที่ทรัพย์สินนั้น อยู่สภาพพร้อมที่จะใช้งานได้ตามประสงค์ (ร่างมาตรา 4 – ร่างมาตรา 5) 2. การทบทวนการดําเนินมาตรการกระตุน้ การท่องเที่ยว คณะรัฐมนตรีอนุมัติในหลักการการดําเนินมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยว ตามที่กระทรวงการ ท่องเที่ยวและกีฬาเสนอ ดังนี้ 1. ไม่ขยายระยะเวลาการดําเนินมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยว ตามนัยมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2553 ดังนี้ 1.1 การยกเว้นค่าธรรมเนียมวีซ่าสําหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 1.2 การลดหย่อนค่าธรรมเนียมการขึ้นลงของอากาศยานและที่เก็บอากาศยาน (Landing & Parking Fee) 1.3 การประกันภัยคุ้มครองชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยกรณีเกิดจลาจล ซึ่งจะสิ้นสุดลงในวันที่ 31 มีนาคม 2554 1.4 การปรับแผนการฝึกอบรม จัดประชุมสัมมนา และดูงานในประเทศให้มากขึ้นแทนการ ฝึกอบรม จัดประชุมสัมมนา และดูงานในต่างประเทศ 41 สํานักนโยบายการคลัง
2. ขยายระยะเวลาการดําเนินมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยว ตามนัยมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2553 ออกไปอีก 1 ปี จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2555 ดังนี้ 2.1 การลดหย่อนค่าประกันการใช้ไฟฟ้าสําหรับผู้ประกอบธุรกิจโรงแรม 2.2 ให้ผู้ประกอบการสามารถนําค่าใช้จ่ายการจัดประชุม สัมมนา อบรม และการจัดการ ท่องเที่ยวเป็นรางวัลในประเทศแก่พนักงานมาหักเป็นค่าใช้จ่ายได้ 2 เท่า ของที่จ่ายจริง 3. เพิ่มมาตรการเพื่อส่งเสริมและกระตุน้ การท่องเที่ยว โดยอนุมัติหลักการให้ส่วนราชการและ รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องดําเนินการ ดังนี้ 3.1 ให้เร่งรัดการดําเนินการยกเว้นการตรวจลงตราสําหรับนักท่องเที่ยวชาวจีนและไต้หวัน ให้แล้วเสร็จโดยเร็ว 3.2 ให้ Visa on Arrival แก่ชาวต่างชาติประเทศต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะภูมิภาค ตะวันออกกลาง อาทิ อิหร่าน เลบานอน จอร์แดน เป็นต้น 3.3 ให้มีการปรับปรุงบริการการตรวจลงตรา ณ ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิให้มี ความสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น เพื่อเป็นการดึงดูดนักท่องเที่ยวต่างชาติและเป็นการสร้างรายได้เข้าประเทศ 3.4 ควรเปิดสถานกงสุล (ใหญ่) และสถานกงสุล (กิตติมศักดิ์) ในต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น เพื่ออํานวยความสะดวกในการขออนุญาตเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทย รวมทั้งควรขยาย ระยะเวลาการพํานักอยู่ในประเทศไทยให้แก่นักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น 3.5 เพิ่มช่องทางพิเศษในการตรวจลงตราให้แก่คนพิการและคนชราเพื่อเป็นการอํานวย ความสะดวกและสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของประเทศ 3.6 กําชับให้กระทรวงมหาดไทย (มท.) ดําเนินการสนับสนุนให้สถานประกอบการโรงแรม มีการจดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย รวมทั้งให้ผู้ประกอบการด้าน Service Apartment ดําเนินการให้ ถูกต้องตามระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้องด้วย 3.7 ในการจัดประชุมสัมมนาของหน่วยงานภาครัฐควรใช้บริการผ่านบริษัทนําเที่ยวเพื่อ เป็นการช่วยเหลือผู้ประกอบการมากขึ้น 3.8 ภาครัฐไม่ควรจัดบริการนําเที่ยวแข่งขันกับภาคเอกชน 3.9 ให้การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ดําเนินโครงการสร้างรายได้จากนักท่องเที่ยว เดินทางระหว่างประเทศ (Transfer Passenger) ต่อไปได้ โดยไม่กําหนดระยะเวลาสิ้นสุดโครงการฯ เนื่องจากผลการดําเนินการประสบความสําเร็จระดับหนึ่ง มีนักท่องเที่ยวผู้เข้าร่วมโครงการ จํานวน 4,337 คน สร้างรายได้ 18,510,940 บาท
สํานักนโยบายการคลัง 42
สถิติด้านการคลัง
ผลการจัดเก็บรายได้รฐั บาลเป็นรายปี ตั้งแต่ปี 2533 จนถึงปัจจุบัน (ฐานข้อมูลรายปี) (หน่วย: ล้านบาท) กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมลู ค่าเพิ่ม ภาษีธรุ กิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครือ่ งดื่ม ภาษีเครือ่ งไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ รายได้อื่นๆ กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อื่นๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอืน่ ส่วนราชการอื่น กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์
2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 192,488 237,308 261,042 300,805 366,957 444,512 508,832 39,338 48,913 52,945 57,237 67,651 86,190 109,396 58,900 75,032 87,273 103,975 133,268 157,078 172,235 1,794 2,870 2,884 3,448 3,603 3,196 3,430 88,035 106,183 37,783 2,739 1,441 1,082 572 66,614 112,582 134,791 163,122 184,227 9,629 16,764 21,227 28,311 33,410 3,780 3,691 3,781 3,876 4,752 5,284 5,286 642 620 134 184 224 249 276 73,279 92,493 102,028 125,789 138,670 155,308 167,160 32,014 44,415 41,346 43,711 46,131 53,501 58,005 13,636 15,904 15,490 15,638 19,708 20,717 24,057 13,754 15,734 15,247 16,679 19,272 19,759 21,548 6,625 7,973 7,818 9,478 12,262 15,131 17,360 15,713 34,350 34,515 38,147 37,343 5,142 6,224 5,125 5,158 5,636 6,598 6,845 301 546 899 1,190 1,729
1,813 1,927 695 73 136 156 153 295 316 294 157 111 109 119 91,025 93,196 86,246 105,910 116,872 128,548 129,543 89,869 91,998 85,082 104,651 115,540 127,124 128,212 55 13 11 11 14 9 6 1,102 1,185 1,153 1,247 1,318 1,415 1,324 356,792 422,997 449,316 532,504 622,499 728,368 805,535 48,147 53,977 76,048 75,603 85,047 86,775 89,756 29,527 30,225 42,896 36,701 41,794 41,250 40,650
เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน
แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จดั เก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมลู ค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) รายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ)
18,620 23,752 33,152 38,902 43,253 45,525 49,106 404,939 476,974 525,364 608,106 707,546 815,143 895,291 41,432 38,354 3,078
จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
52,937 49,143 3,794
37,813 34,148 3,665
10,348 6,262 7,108 7,473 404,939 476,974 525,364 556,326 652,561 755,098 850,005 404,939 476,974 525,364 556,326 652,561 755,098 850,005 2,183,545 2,506,635 2,830,914 3,165,222 3,629,341 4,681,212 4,611,041 18.5 19.0 18.6 17.6 18.0 16.1 18.4
หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2554 เป็นตัวเลขประมาณการ จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554 ทีม่ า : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร สํานักงบประมาณ กรมธนารักษ์ และกรมบัญชีกลาง
48,723 45,330 3,393
ผลการจัดเก็บรายได้รฐั บาลเป็นรายปี ตั้งแต่ปี 2533 จนถึงปัจจุบัน (ฐานข้อมูลรายปี) (หน่วย: ล้านบาท) กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมลู ค่าเพิ่ม ภาษีธรุ กิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครือ่ งดื่ม ภาษีเครือ่ งไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ รายได้อื่นๆ กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อื่นๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอืน่ ส่วนราชการอื่น กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภกั ษ์
2540 2541 2542 2543 2544 2545 518,620 498,966 452,317 461,322 499,711 544,281 115,137 122,945 106,071 91,790 101,136 108,371 162,655 99,480 108,820 145,554 149,677 170,415 5,322 5,316 10,872 10,739 17,154 19,128 264 342 186 126 84 99 195,813 232,388 201,976 192,510 215,158 228,196 34,286 35,241 21,311 17,015 12,852 13,715 4,734 2,992 2,824 3,351 3,408 4,122 408 263 258 236 242 236 180,168 155,564 163,892 168,822 177,600 208,153 63,983 65,373 66,584 64,832 64,124 68,840 29,816 28,560 26,655 28,134 32,310 31,697 22,763 20,257 22,800 8,276 8,933 22,290 21,383 23,191 24,992 26,438 29,991 31,650 32,295 8,557 13,941 26,781 30,330 41,560 7,519 7,023 6,484 7,444 8,100 7,748 1,765 1,003 904 1,104 1,429 1,793 129 538 482 791 932 1,224 168 442 419 444 713 582 204 481 474 579 525 556 3,999 213 212 142 139 158 104,160 69,338 68,095 87,195 92,838 98,629 102,704 67,108 66,994 85,338 91,359 96,326 8 17 36 75 82 163 1,448 2,213 1,064 1,782 1,397 2,139 802,947 723,868 684,303 717,338 770,149 851,062 106,101 91,813 109,042 100,257 104,617 108,375 38,102 42,518 52,679 56,182 45,482 46,965 2,483
2546 627,682 117,309 208,859 21,773 45 261,306 12,757 5,348 286 246,641 73,605 33,289 25,676 36,987 56,474 8,621 2,347 1,581 591 6,420 813 239 111,819 110,054 216 1,549 986,142 118,485 50,772 3,599
เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน
แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จดั เก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมลู ค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) รายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ)
1,065 68,000 49,295 56,364 44,075 59,135 57,862 64,114 909,049 815,681 793,346 817,595 874,766 959,437 1,104,627 58,400 55,313 3,087
74,660 63,858 10,802
75,325 57,036 77,920 79,902 80,150 64,655 47,358 65,682 65,769 69,261 10,670 9,679 12,239 14,133 10,888 2,994 3,198 3,732 4,109 5,042 7,073 7,559 5,916 7,278 7,698 8,234 10,501 843,576 733,462 709,111 750,082 785,416 867,192 1,008,934 16,525 40,604 843,576 733,462 709,111 750,082 785,416 850,667 968,330 4,732,610 4,626,447 4,637,079 4,922,731 5,133,502 5,450,643 5,917,369 17.8 15.9 15.3 15.2 15.3 15.6 16.4
หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2554 เป็นตัวเลขประมาณการ จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554 ทีม่ า : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร สํานักงบประมาณ กรมธนารักษ์ และกรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ผลการจัดเก็บรายได้รฐั บาลเป็นรายปี ตั้งแต่ปี 2533 จนถึงปัจจุบัน (ฐานข้อมูลรายปี) (หน่วย: ล้านบาท) กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธรุ กิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครือ่ งดื่ม ภาษีเครือ่ งไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ รายได้อื่นๆ กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อื่นๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอื่น ส่วนราชการอื่น กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์
2547 772,236 135,155 261,890 31,935
2548 937,149 147,352 329,516 41,178
2549 2550 1,057,200 1,119,194 170,079 192,795 374,689 384,619 56,524 65,735
316,134 385,718 20,024 26,304 6,820 6,816 278 266 275,773 279,395 76,996 76,458 36,325 38,193 26,181 28,620 42,749 45,483 65,012 58,760 9,350 10,106 2,859 3,712 1,641 1,849 763 762 12,625 13,935 993 1,121 280 398 106,122 110,403 103,635 106,917 267 285 2,220 3,202 1,154,132 1,326,948 135,747 147,472 49,086 60,664 2,976 3,210 25,075
417,772 434,272 30,623 34,406 7,268 7,137 244 230 274,095 287,231 70,742 76,944 35,657 41,824 29,143 33,298 44,207 52,088 59,810 55,844 10,765 11,735 3,525 3,727 2,010 1,665 1,178 1,426 15,523 7,229 1,169 1,183 367 269 96,232 90,625 93,633 88,169 314 345 2,285 2,112 1,427,528 1,497,050 153,996 206,724 73,500 80,593 3,330 3,052 36,951
เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน
แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จดั เก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) รายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ)
6,000 1,484 52,611 82,114 1,289,880 1,474,420
77,165 86,129 1,581,524 1,703,775
115,574 131,220 96,947 109,625 18,627 21,594 6,368 7,451 11,226 12,421 1,156,713 1,323,328 47,726 58,400 1,108,986 1,264,928 6,489,476 7,092,893 17.1 17.8
162,951 181,793 202,716 199,408 138,206 150,035 173,994 157,838 24,745 31,758 28,723 41,570 9,172 9,514 11,625 9,040 12,399 10,416 12,044 11,160 1,397,002 1,502,051 1,611,258 1,464,690 57,312 57,592 65,420 53,832 1,339,691 1,444,460 1,545,837 1,410,858 7,844,939 8,525,197 9,080,466 9,041,551 17.1 16.9 17.0 15.6
หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2554 เป็นตัวเลขประมาณการ จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554 ทีม่ า : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร สํานักงบประมาณ กรมธนารักษ์ และกรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
2551 2552 1,276,080 1,138,565 204,847 198,095 460,650 392,172 74,033 90,712 503,439 431,775 25,133 18,099 7,724 7,488 254 223 278,303 291,221 67,211 91,059 41,832 43,936 36,816 37,982 53,465 48,993 57,822 49,278 12,391 12,186 3,769 3,111 1,673 1,608 1,708 1,479 111 0 1,196 1,062 309 528 99,602 80,288 96,944 77,187 501 404 2,157 2,697 1,653,985 1,510,074 183,659 174,224 77,546 83,761 4,682 3,822
101,430 86,641 1,837,643 1,684,297
ผลการจัดเก็บรายได้รฐั บาลเป็นรายปี ตั้งแต่ปี 2533 จนถึงปัจจุบัน (ฐานข้อมูลรายปี) (หน่วย: ล้านบาท) กรมสรรพากร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีการค้า ภาษีมลู ค่าเพิ่ม ภาษีธรุ กิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อื่นๆ กรมสรรพสามิต ภาษีน้ํามันฯ ภาษียาสูบ ภาษีสุราฯ ภาษีเบียร์ ภาษีรถยนต์ ภาษีเครือ่ งดื่ม ภาษีเครือ่ งไฟฟ้า ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ รายได้อื่นๆ กรมศุลกากร อากรขาเข้า อากรขาออก รายได้อื่นๆ รวม 3 กรม หน่วยงานอื่น ส่วนราชการอื่น กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน
แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ รวมรายได้จัดเก็บ หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมลู ค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) รายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ)
2553 2554 (6 เดือน) 1,264,584 546,307 208,374 122,814 454,565 122,310 67,599 6,556 502,176 272,917 22,892 16,664 8,735 4,913 243 134 405,862 228,201 152,825 79,696 53,381 29,406 42,398 27,692 58,831 33,246 77,202 47,021 14,245 7,445 1,615 732 1,979 1,055 1,947 1,063 1,039 556 400 289 97,148 51,000 93,512 49,774 169 78 3,467 1,149 1,767,594 825,509 227,371 93,455 131,950 48,513 3,868 2,587 91,553 42,355 1,994,966 918,964 222,709 170,280 52,429 11,942 13,518 1,746,797 67,886 1,678,911 10,102,986 16.6
103,071 84,379 18,692 5,998 5,220 804,674 11,266 793,408 10,840,500 7.3
หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2554 เป็นตัวเลขประมาณการ จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554 ทีม่ า : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร สํานักงบประมาณ กรมธนารักษ์ และกรมบัญชีกลาง จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ
2532
2533
2534
2535
2536
2537
1. วงเงินงบประมาณ
285,500.0
335,000.0
387,500.0
460,400.0
560,000.0
625,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP)
16.9
16.7
16.1
17.6
17.9
17.9
(อัตราเพิ่ม)
17.2
17.3
15.7
18.8
21.6
11.6
210,571.8
227,541.2
261,932.2
301,818.2
351,060.8
376,382.3
(สัดส่วนต่อ GDP)
12.5
11.3
10.9
11.5
11.2
10.8
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
73.8
67.9
67.6
65.6
62.7
60.2
(อัตราเพิ่ม)
13.3
8.1
15.1
15.2
16.3
7.2
53,592.4
82,043.2
105,647.6
130,652.6
171,606.7
212,975.6
3.2
4.1
4.4
5.0
5.5
6.1
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
18.8
24.5
27.3
28.4
30.6
34.1
(อัตราเพิ่ม)
32.9
53.1
28.8
23.7
31.3
24.1
21,335.8
25,415.6
19,920.2
27,929.2
37,332.5
35,642.1
7.5
7.6
5.1
6.1
6.7
5.7
22.9
19.1
(21.6)
40.2
33.7
(4.5)
1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง
-
-
-
-
-
-
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
-
-
-
-
-
-
2. ประมาณการรายได้
262,500.0
310,000.0
387,500.0
460,400.0
534,400.0
600,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP)
15.5
15.5
16.1
17.6
17.1
17.1
9.4
18.1
25.0
18.8
16.1
12.3
(23,000.0)
(25,000.0)
0.0
0.0
(25,600.0)
(25,000.0)
(1.4)
(1.2)
0.0
0.0
(0.8)
(0.7)
1.1 รายจ่ายประจํา
1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP)
1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)
(อัตราเพิ่ม) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
1,690,500.0 2,005,254.0 2,400,000.0 2,620,000.0 3,130,000.0 3,499,000.0
(GDP) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2552 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2533 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 1,507.5 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ
2538
2539
2540
2541
2542
2543
1. วงเงินงบประมาณ
715,000.0
843,200.0
944,000.0
830,000.0
825,000.0
860,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP)
17.4
18.0
18.1
16.4
16.5
16.7
(อัตราเพิ่ม)
14.4
17.9
12.0
(10.3)
3.1
4.2
434,383.3
482,368.2
528,293.4
519,505.8
586,115.1
635,585.1
(สัดส่วนต่อ GDP)
10.6
10.3
10.1
10.2
11.7
12.4
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
60.8
57.2
56.0
62.6
71.0
73.9
(อัตราเพิ่ม)
15.4
11.0
9.5
(0.2)
14.4
8.4
253,839.8
327,288.6
391,209.7
279,258.1
233,534.7
217,097.6
6.2
7.0
7.5
5.5
4.7
4.2
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
35.5
38.8
41.4
33.6
28.3
25.2
(อัตราเพิ่ม)
19.2
28.9
19.5
(26.5)
(8.9)
(7.0)
26,776.9
33,543.2
24,496.9
31,236.1
5,350.2
7,317.3
3.7
4.0
2.6
3.8
0.6
0.9
(24.9)
25.3
(27.0)
27.5
(82.9)
36.8
1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง
-
-
-
-
-
-
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
-
-
-
-
-
-
2. ประมาณการรายได้
715,000.0
843,200.0
925,000.0
782,020.0
800,000.0
750,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP)
17.4
18.0
17.8
15.4
16.0
14.6
(อัตราเพิ่ม)
19.2
17.9
9.7
(15.5)
2.3
(6.3)
3. การขาดดุล/เกินดุล
0.0
0.0
0.0
(47,980.0)
0.0
0.0
0.0
(0.9)
1.1 รายจ่ายประจํา
1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP)
1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)
(สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
(25,000.0) (110,000.0) (0.5)
(2.1)
4,099,000.0 4,684,000.0 5,205,500.0 5,073,000.0 5,002,000.0 5,137,000.0
(GDP) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2552 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2540 เป็นตัวเลขที่ปรับลดจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จํานวน 984,000 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2541 เป็นตัวเลขที่ปรับลดและปรับเพิ่มจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จํานวน 923,000 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดส่วนต่อ GDP)
2544
2545
2546
910,000.0 1,023,000.0
2547
2548
2549
999,900.0 1,163,500.0 1,250,000.0 1,360,000.0
17.5
19.3
17.2
18.0
17.4
17.5
5.8
12.4
(2.3)
16.4
7.4
8.8
679,286.5
773,714.1
753,454.7
836,544.4
881,251.7
958,477.0
(สัดส่วนต่อ GDP)
13.0
14.6
13.0
12.9
12.2
12.3
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
74.6
75.6
75.4
71.9
70.5
70.5
6.9
13.9
(2.6)
11.0
5.3
8.8
218,578.2
223,617.0
211,493.5
292,800.2
318,672.0
358,335.8
4.2
4.2
3.6
4.5
4.4
4.6
24.0
21.9
21.2
25.2
25.5
26.3
0.7
2.3
(5.4)
38.4
8.8
12.4
12,135.3
25,668.9
34,951.8
34,155.4
50,076.3
43,187.2
1.3
2.5
3.5
2.9
4.0
3.2
65.8
111.5
36.2
(2.3)
46.6
(13.8)
1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง
-
-
-
-
-
-
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
-
-
-
-
-
-
2. ประมาณการรายได้
805,000.0
823,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP)
15.5
15.5
14.2
16.4
17.4
17.5
7.3
2.2
0.2
28.9
17.5
8.8
(105,000.0) (200,000.0) (174,900.0)
(99,900.0)
0.0
0.0
(1.5)
0.0
0.0
(อัตราเพิ่ม) 1.1 รายจ่ายประจํา
(อัตราเพิ่ม) 1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)
(อัตราเพิ่ม) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
(2.0)
(3.8)
825,000.0 1,063,600.0 1,250,000.0 1,360,000.0
(3.0)
5,208,600.0 5,309,200.0 5,799,700.0 6,476,100.0 7,195,000.0 7,786,200.0
(GDP) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2552 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2547 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 135,500 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2548 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 50,000 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดส่วนต่อ GDP) (อัตราเพิ่ม) 1.1 รายจ่ายประจํา (สัดส่วนต่อ GDP) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคง คลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (อัตราเพิ่ม) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ (GDP)
2550
2551
2552
2553
2554
1,566,200.0 1,660,000.0 1,951,700.0 1,700,000.0
2,070,000.0
18.6
18.0
22.4
17.5
20.0
15.2
6.0
17.6
(12.9)
21.8
1,135,988.1 1,213,989.1 1,411,382.4 1,434,710.1
1,662,604.2
13.5
13.1
16.2
14.8
16.1
72.5
73.1
72.3
84.4
80.3
18.5
6.9
16.3
1.7
15.9
374,721.4
400,483.9
429,961.8
214,369.0
344,495.1
4.5
4.3
4.9
2.2
3.3
23.9
24.1
22.0
12.6
16.6
4.6
6.9
7.4
(50.1)
60.7
55,490.5
45,527.0
63,676.1
50,920.9
32,554.6
3.5
2.7
3.3
3.0
1.6
28.5
(18.0)
39.9
(20.0)
(36.1)
-
-
46,679.7
-
30,346.1
-
-
2.4
-
1.5
1,420,000.0 1,495,000.0 1,604,639.5 1,350,000.0
1,650,000.0
16.9
16.2
18.4
13.9
15.9
4.4
5.3
7.3
(15.9)
22.2
(146,200.0) (165,000.0) (347,060.5) (350,000.0)
(420,000.0)
(1.7)
(1.8)
(4.0)
(3.6)
(4.1)
8,399,000.0 9,232,200.0 8,712,500.0 9,726,200.0
10,358,400.0
ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2553 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2552 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 116,700 ล้านบาท และเป็นปีแรกที่มีการตั้ง งบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง จํานวน 46,679.7 ล้านบาท
ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบ ปีงบประมาณ 1. รายได้นําส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฎพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 24 เมษายน 2554
2552 1,409,653 1,917,129 1,790,862 126,266 (507,476) 131,190 (376,286) 441,061 64,775
หน่วย: ล้านบาท 2553 6 เดือนแรก 2554 1,699,431 784,567 1,784,413 1,159,164 1,627,875 1,070,454 156,538 88,710 (84,982) (374,597) (12,107) (53,944) (97,088) (428,541) 232,575 113,605 135,487 (314,936)
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financi 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 25 เมษายน 2554
ต.ค. 44 55,425.10 100,049.96 90,062.75 9,987.21 (44,624.86) 19,378.63 (25,246.23) 0.00 (25,246.23)
พ.ย. 44 62,156.09 85,918.77 73,774.53 12,144.24 (23,762.68) (11,119.21) (34,881.89) 18,000.00 (16,881.89)
ธ.ค. 44 57,848.99 72,432.29 60,235.39 12,196.90 (14,583.30) (6,436.38) (21,019.68) 22,000.00 980.32
ม.ค. 45 66,738.15 78,848.96 69,253.94 9,595.02 (12,110.81) 16,745.52 4,634.71 11,000.00 15,634.71
ก.พ. 45 54,488.57 81,164.16 72,824.92 8,339.24 (26,675.59) 14,026.04 (12,649.55) 19,000.00 6,350.45
ปงบประมาณ 2545 มี.ค. 45 เม.ย. 45 76,384.30 71,471.73 106,000.75 74,669.56 96,192.66 69,233.75 9,808.09 5,435.81 (29,616.45) (3,197.83) (3,820.75) (15,701.93) (33,437.20) (18,899.76) 15,000.00 33,000.00 (18,437.20) 14,100.24
พ.ค. 45 83,477.86 73,606.26 68,969.47 4,636.79 9,871.60 (3,307.64) 6,563.96 17,000.00 23,563.96
มิ.ย. 45 103,154.68 75,724.03 72,404.49 3,319.54 27,430.65 (14,309.61) 13,121.04 6,000.00 19,121.04
ก.ค. 45 63,596.81 79,078.33 75,909.41 3,168.92 (15,481.52) (8,772.60) (24,254.12) 10,000.00 (14,254.12)
ส.ค. 45 63,270.72 67,111.93 64,041.41 3,070.52 (3,841.21) (3,201.63) (7,042.84) 11,000.00 3,957.16
ก.ย. 45 90,694.37 108,995.56 104,864.46 4,131.10 (18,301.19) 20,990.52 2,689.33 8,000.00 10,689.33
ต.ค. 45 63,866.99 87,469.20 77,465.35 10,003.85 (23,602.21) 2,866.57 (20,735.64) 0.00 (20,735.64)
พ.ย. 45 65,853.71 85,991.04 78,387.53 7,603.51 (20,137.33) (12,475.75) (32,613.08) 14,500.00 (18,113.08)
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financi 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการค ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 25 เมษายน 2554
ธ.ค. 45 76,597.35 71,767.18 63,556.22 8,210.96 4,830.17 (14,081.38) (9,251.21) 12,000.00 2,748.79
ม.ค. 46 78,963.93 72,712.45 65,672.68 7,039.77 6,251.48 (6,256.83) (5.35) 19,000.00 18,994.65
ก.พ. 46 72,577.44 67,944.32 60,629.66 7,314.66 4,633.12 (31,478.01) (26,844.89) 20,500.00 (6,344.89)
ปงบประมาณ 2546 มี.ค. 46 เม.ย. 46 78,045.85 71,084.74 70,814.78 99,528.82 60,722.72 97,198.30 10,092.06 2,330.52 7,231.07 (28,444.08) (20,171.24) 42,616.21 (12,940.17) 14,172.13 0.00 0.00 (12,940.17) 14,172.13
พ.ค. 46 76,847.65 76,029.76 70,487.83 5,541.93 817.89 (31,533.33) (30,715.44) 4,500.00 (26,215.44)
มิ.ย. 46 134,398.68 81,883.44 75,777.31 6,106.13 52,515.24 (21,583.36) 30,931.88 4,000.00 34,931.88
ก.ค. 46 74,115.05 91,158.28 87,175.00 3,983.28 (17,043.23) 16,248.76 (794.47) 1,500.00 705.53
ส.ค. 46 73,441.92 74,328.64 68,825.45 5,503.19 (886.72) 15,826.01 14,939.29 0.00 14,939.29
ก.ย. 46 101,047.42 99,878.14 92,401.05 7,477.09 1,169.28 31,924.61 33,093.89 0.00 33,093.89
ต.ค. 46 81,873.68 83,154.55 73,127.36 10,027.19 (1,280.87) (13,762.21) (15,043.08) 0.00 (15,043.08)
พ.ย. 46 68,985.30 86,343.15 74,669.43 11,673.72 (17,357.85) (24,780.42) (42,138.27) 0.00 (42,138.27)
ธ.ค. 46 105,945.66 131,699.42 118,931.97 12,767.45 (25,753.76) 2,006.94 (23,746.82) 0.00 (23,746.82)
ม.ค. 47 88,994.15 94,457.93 86,714.71 7,743.22 (5,463.78) 10,099.83 4,636.05 13,000.00 17,636.05
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financi 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการค ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 25 เมษายน 2554
ก.พ. 47 66,317.88 74,960.10 65,653.35 9,306.75 (8,642.22) (27,842.96) (36,485.18) 0.00 (36,485.18)
ปงบประมาณ 2547 มี.ค. 47 เม.ย. 47 92,302.62 81,144.53 86,329.03 98,726.51 76,347.35 94,085.57 9,981.68 4,640.94 5,973.59 (17,581.98) (3,760.85) 11,578.89 2,212.74 (6,003.09) 8,000.00 18,500.00 10,212.74 12,496.91
พ.ค. 47 78,294.72 85,310.34 81,337.85 3,972.49 (7,015.62) (6,321.48) (13,337.10) 3,500.00 (9,837.10)
มิ.ย. 47 167,553.56 94,594.90 89,927.40 4,667.50 72,958.66 (24,203.78) 48,754.88 0.00 48,754.88
ก.ค. 47 82,369.12 98,056.31 94,429.25 3,627.06 (15,687.19) 3,527.31 (12,159.88) 0.00 (12,159.88)
ส.ค. 47 78,747.85 97,739.39 94,164.26 3,575.13 (18,991.54) 10,608.35 (8,383.19) 10,960.00 2,576.81
ก.ย. 47 134,624.31 108,738.42 103,271.37 5,467.05 25,885.89 7,832.93 33,718.82 36,040.00 69,758.82
ต.ค. 47 63,128.73 89,877.24 86,902.43 2,974.81 (26,748.51) (15,026.49) (41,775.00) 0.00 (41,775.00)
พ.ย. 47 80,493.63 99,995.83 92,444.25 7,551.58 (19,502.20) (28,238.72) (47,740.92) 0.00 (47,740.92)
ธ.ค. 47 105,599.21 108,367.14 98,217.20 10,149.94 (2,767.93) 17,770.72 15,002.79 0.00 15,002.79
ม.ค. 48 109,572.54 131,441.63 124,068.03 7,373.60 (21,869.09) (2,574.89) (24,443.98) 0.00 (24,443.98)
ก.พ. 48 82,220.73 78,642.63 69,554.07 9,088.56 3,578.10 (4,637.83) (1,059.73) 0.00 (1,059.73)
ปงบประมาณ มี.ค. 48 90,209.51 94,434.28 83,724.98 10,709.30 (4,224.77) 13,092.30 8,867.53 0.00 8,867.53
รายเดือน
2548 เม.ย. 48 96,049.87 103,612.91 93,171.27 10,441.64 (7,563.04) 6,734.24 (828.80) 0.00 (828.80)
1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financi 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing
ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการค ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 25 เมษายน 2554
พ.ค. 48 95,991.57 99,011.99 91,541.35 7,470.64 (3,020.42) (2,059.19) (5,079.61) 0.00 (5,079.61)
มิ.ย. 48 181,585.93 111,946.80 103,941.67 8,005.13 69,639.13 (14,681.67) 54,957.46 0.00 54,957.46
ก.ค. 48 85,035.00 90,468.84 82,914.17 7,554.67 (5,433.84) 1,918.59 (3,515.25) 0.00 (3,515.25)
ส.ค. 48 92,744.13 103,686.17 94,959.67 8,726.50 (10,942.04) (967.19) (11,909.23) 0.00 (11,909.23)
ก.ย. 48 182,297.15 133,695.46 118,335.91 15,359.55 48,601.69 (26,393.08) 22,208.61 0.00 22,208.61
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financi 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการค ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 25 เมษายน 2554
ต.ค. 48 83,151.90 125,509.55 116,991.55 8,518.00 (42,357.65) (22,475.41) (64,833.06) 0.00 (64,833.06)
พ.ย. 48 92,336.70 123,942.84 111,572.84 12,370.00 (31,606.14) 7,527.05 (24,079.09) 0.00 (24,079.09)
ธ.ค. 48 78,738.60 112,308.49 83,443.49 28,865.00 (33,569.89) 38,616.09 5,046.20 0.00 5,046.20
ม.ค. 49 102,039.40 116,800.23 110,090.23 6,710.00 (14,760.83) 27,213.95 12,453.12 0.00 12,453.12
ก.พ. 49 88,199.20 112,467.96 100,880.96 11,587.00 (24,268.76) 17,558.83 (6,709.93) 0.00 (6,709.93)
ปงบประมาณ 2549 มี.ค. 49 เม.ย. 49 110,019.90 115,364.00 127,437.29 100,074.26 109,598.29 96,226.26 17,839.00 3,848.00 (17,417.39) 15,289.74 20,845.92 (6,660.59) 3,428.53 8,629.15 0.00 0.00 3,428.53 8,629.15
พ.ค. 49 107,845.70 88,878.80 82,182.80 6,696.00 18,966.90 (26,537.37) (7,570.47) 0.00 (7,570.47)
มิ.ย. 49 214,818.20 117,303.38 110,649.38 6,654.00 97,514.82 (22,994.19) 74,520.63 0.00 74,520.63
ก.ค. 49 73,583.00 98,591.67 92,368.67 6,223.00 (25,008.67) 9,901.37 (15,107.30) 0.00 (15,107.30)
ส.ค. 49 93,270.80 116,507.14 111,094.14 5,413.00 (23,236.34) 6,863.00 (16,373.34) 0.00 (16,373.34)
หนวย: ลานบาท รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financi 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการค ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 25 เมษายน 2554
ก.ย. 49 180,323.20 155,461.55 145,640.55 9,821.00 24,861.65 43,231.28 68,092.93 0.00 68,092.93
ต.ค. 49 110,228.35 89,558.95 81,266.44 8,292.51 20,669.40 (50,427.78) (29,758.38)
พ.ย. 49 97,895.04 111,438.22 93,464.94 17,973.28 (13,543.18) (25,856.30) (39,399.48)
(29,758.38)
(39,399.48)
ธ.ค. 49 96,686.52 99,182.26 83,126.82 16,055.44 (2,495.74) 8,754.64 6,258.90 6,258.90
ม.ค. 50 107,034.75 97,053.24 87,122.34 9,930.90 9,981.51 192.14 10,173.65 18,000.00 28,173.65
ก.พ. 50 90,660.38 200,314.37 191,229.42 9,084.95 (109,653.99) 27,531.98 (82,122.01) 21,500.00 (60,622.01)
ปงบประมาณ มี.ค. 50 110,251.71 139,900.26 127,872.18 12,028.08 (29,648.55) (24,937.83) (54,586.38) 65,760.00 11,173.62
2550 เม.ย. 50 88,717.27 115,829.71 111,215.46 4,614.25 (27,112.44) (802.58) (27,915.02) 12,395.00 (15,520.02)
พ.ค. 50 108,693.26 137,086.33 131,311.65 5,774.68 (28,393.07) 1,629.11 (26,763.96) 26,005.00 (758.96)
มิ.ย. 50 259,906.17 164,380.91 158,603.01 5,777.90 95,525.26 (41,114.60) 54,410.66
ก.ค. 50 84,981.74 146,554.95 142,783.24 3,771.71 (61,573.21) 10,415.72 (51,157.49)
ส.ค. 50 110,234.72 122,778.40 118,609.07 4,169.33 (12,543.68) 22,625.91 10,082.23
54,410.66
(51,157.49)
10,082.23
ก.ย. 50 179,428.01 150,888.99 144,234.89 6,654.10 28,539.02 43,550.81 72,089.83 2,540.00 74,629.83
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financi 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการค ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 25 เมษายน 2554
ต.ค. 50 116,253.36 155,388.77 147,936.01 7,452.76 (39,135.41) (20,659.94) (59,795.35) 11,500.00 (48,295.35)
พ.ย. 50 102,332.24 127,018.47 112,112.92 14,905.55 (24,686.23) (26,908.07) (51,594.30) 13,500.00 (38,094.30)
ธ.ค. 50 108,087.37 110,866.76 97,846.06 13,020.70 (2,779.39) (2,051.81) (4,831.20) 17,500.00 12,668.80
ม.ค. 51 99,967.16 158,402.13 146,916.71 11,485.42 (58,434.97) 23,962.97 (34,472.00) 16,500.00 (17,972.00)
ก.พ. 51 108,209.40 118,658.14 108,633.38 10,024.76 (10,448.74) 11,214.11 765.37 15,269.73 16,035.10
ปงบประมาณ มี.ค. 51 95,822.28 125,147.22 113,532.92 11,614.30 (29,324.94) 5,464.24 (23,860.70) 11,178.15 (12,682.55)
2551 เม.ย. 51 124,153.48 154,636.48 150,029.48 4,607.00 (30,483.00) 7,744.69 (22,738.31) 35,943.45 13,205.14
พ.ค. 51 168,954.93 126,766.19 119,961.33 6,804.86 42,188.74 (48,861.72) (6,672.98) 11,500.00 4,827.02
มิ.ย. 51 208,079.74 143,198.27 137,088.31 6,109.96 64,881.47 32,513.48 97,394.95 19,000.00 116,394.95
ก.ค. 51 104,134.25 138,837.60 134,497.09 4,340.51 (34,703.35) (32,798.66) (67,502.01) 5,808.67 (61,693.34)
ส.ค. 51 107,658.48 124,628.30 120,423.44 4,204.86 (16,969.82) 22,917.98 5,948.16 6,635.64 12,583.80
ก.ย. 51 202,184.00 149,855.93 143,501.13 6,354.80 52,328.07 36,284.47 88,612.54 664.36 89,276.90
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financi 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการค ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 25 เมษายน 2554
ต.ค. 51 93,001.00 93,718.12 85,192.72 8,525.40 (717.12) (58,699.02) (59,416.14) 10,000.00 (49,416.14)
พ.ย. 51 90,411.00 165,200.46 149,302.68 15,897.78 (74,789.46) (29,544.46) (104,333.92) 15,000.00 (89,333.92)
ธ.ค. 51 95,078.00 145,421.61 127,825.37 17,596.24 (50,343.61) 5,960.05 (44,383.56) 15,000.00 (29,383.56)
ม.ค. 52 95,525.00 192,417.15 177,999.96 14,417.19 (96,892.15) 53,963.72 (42,928.43) 19,000.00 (23,928.43)
ก.พ. 52 80,821.00 179,678.99 166,568.90 13,110.09 (98,857.99) 50,435.15 (48,422.84) 69,530.00 21,107.16
ปงบประมาณ 2552 มี.ค. 52 เม.ย. 52 96,646.00 102,914.00 195,344.61 141,682.20 178,472.53 137,194.07 16,872.08 4,488.13 (98,698.61) (38,768.20) 4,436.68 (872.92) (94,261.93) (39,641.12) 87,000.00 86,688.00 (7,261.93) 47,046.88
พ.ค. 52 104,550.00 161,005.90 154,745.07 6,260.83 (56,455.90) 8,972.12 (47,483.78) 51,312.00 3,828.22
มิ.ย. 52 264,932.00 139,497.85 131,025.26 8,472.59 125,434.15 (21,309.46) 104,124.69 9,500.00 113,624.69
ก.ค. 52 98,714.00 164,117.96 158,730.02 5,387.94 (65,403.96) 64,048.01 (1,355.95) 65,000.00 63,644.05
ส.ค. 52 93,284.00 142,161.71 136,915.13 5,246.58 (48,877.71) 31,960.66 (16,917.05) 9,000.00 (7,917.05)
ก.ย. 52 193,777.00 196,882.16 186,890.53 9,991.63 (3,105.16) 21,839.05 18,733.89 4,031.00 22,764.89
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financi 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการค ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 25 เมษายน 2554
ต.ค. 52 115,827.00 90,339.40 80,143.48 10,195.92 25,487.60 (36,797.08) (11,309.48) (11,309.48)
พ.ย. 52 118,116.00 188,614.47 166,115.98 22,498.49 (70,498.47) (31,421.31) (101,919.78) 31,000.00 (70,919.78)
ธ.ค. 52 119,156.00 172,221.38 149,895.70 22,325.68 (53,065.38) (8,799.31) (61,864.69) 20,572.00 (41,292.69)
ม.ค. 53 115,389.00 150,007.77 133,985.77 16,022.00 (34,618.77) (9,973.01) (44,591.78) 39,000.00 (5,591.78)
ก.พ. 53 95,301.00 182,849.88 169,382.08 13,467.80 (87,548.88) 36,771.74 (50,777.14) 20,000.00 (30,777.14)
ปงบประมาณ 2553 มี.ค. 53 เม.ย. 53 120,318.00 168,923.00 149,980.78 145,528.30 129,652.57 136,587.12 20,328.21 8,941.18 (29,662.78) 23,394.70 (21,729.98) 4,947.20 (51,392.76) 28,341.90 36,000.00 29,000.00 (15,392.76) 57,341.90
พ.ค. 53 117,690.00 123,967.00 118,058.80 5,908.20 (6,277.00) (18,446.89) (24,723.89) 37,000.00 12,276.11
มิ.ย. 53 283,324.00 135,455.10 123,196.34 12,258.76 147,868.90 6,970.18 154,839.08 17,000.00 171,839.08
ก.ค. 53 109,953.00 142,627.17 135,128.19 7,498.98 (32,674.17) 20,690.93 (11,983.24) 3,003.46 (8,979.78)
ส.ค. 53 103,148.00 110,117.62 103,322.30 6,795.32 (6,969.62) 49,786.15 42,816.53 42,816.53
ก.ย. 53 232,286.00 192,703.75 182,406.65 10,297.10 39,582.25 (4,105.49) 35,476.76 0.00 35,476.76
รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Financi 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financing ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการค ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 25 เมษายน 2554
ต.ค. 53 124,852.00 207,451.52 194,117.58 13,333.94 (82,599.52) (25,351.57) (107,951.09) 16,000.00 (91,951.09)
พ.ย. 53 125,407.00 223,153.00 207,201.89 15,951.11 (97,746.00) (20,148.18) (117,894.18) 20,021.00 (97,873.18)
ปงบประมาณ 2554 ธ.ค. 53 ม.ค. 54 144,683.00 129,899.00 167,766.18 235,192.18 152,003.65 220,657.29 15,762.52 14,534.88 (23,083.18) (105,293.18) 80,014.65 (37,797.38) 56,931.47 (143,090.56) 17,000.00 15,000.00 73,931.47 (128,090.56)
ก.พ. 54 126,693.00 154,688.49 139,463.91 15,224.58 (27,995.49) (8,624.56) (36,620.05) 21,084.00 (15,536.05)
มี.ค. 54 133,033.00 170,913.03 157,009.62 13,903.41 (37,880.03) (42,036.80) (79,916.83) 24,500.00 (55,416.83)
สัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2540-2542
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)
ปี 2540 จํานวนเงิน สัดส่วน 93,879.49 100.00 16,985.70 18.09 47,386.19 50.48
29,507.60 843,576.00
ที่มา : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 23 พฤศจิกายน 2553
31.43 11.13
ปี 2541 จํานวนเงิน สัดส่วน 96,055.80 100.00 16,758.90 17.45 48,666.90 50.67
30,630.00 733,462.00
31.89 13.10
ปี 2542 จํานวนเงิน สัดส่วน 100,805.27 100.00 17,808.20 17.67 44,869.87 44.51
38,127.20 709,111.00
37.82 14.22
เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2544-2554 1/
ปี 2543 จํานวนเงิน สัดส่วน 1. รายได้รวมของ อปท. 94,721.30 100.00 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 17,403.60 18.37 47.61 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่ง 45,095.60 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุนและการถ่ายโอนงาน2/ 32,222.10 34.02 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 749,948.60 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%) 12.63 ประเภทรายได้
ปี 2544 จํานวนเงิน สัดส่วน 159,752.58 100.00 17,701.88 11.08 55,651.90 34.84 12,669.00 7.93 73,729.80 772,574.00
46.15 20.68
ปี 2545 จํานวนเงิน สัดส่วน 175,850.29 100.00 21,084.47 11.99 58,143.52 33.07 19,349.00 11.00 77,273.30 803,651.00
43.94 21.88
ปี 2546 จํานวนเงิน สัดส่วน 184,066.03 100.00 22,258.28 12.09 60,217.74 32.72 35,504.44 19.29
ปี 2547 จํานวนเงิน สัดส่วน 241,947.64 100.00 24,786.27 10.24 82,623.37 34.15 43,100.00 17.82
66,085.60 829,495.56
91,438.00 1,063,600.00
35.90 22.19
หมายเหตุ : 1/ตัวเลขปี 2543 เป็นตัวเลขจริง 2/ ในปีงบประมาณ 2544 และ 2545 มีงบประมาณการถ่ายโอนงานซึ่งตั้งอยู่ที่ส่วนราชการที่ถ่ายโอนงานให้ อปท. แต่นับรวมในสัดส่วนรายได้ของ อปท. เป็นจํานวน 32,339.60 ล้านบาท และ 27,061.80 ล้านบาท ตามลําดับ
37.79 22.75
หน่วย : ล้านบาท ปี 254 จํานวนเงิน 293,750.00 27,018.96 102,520.34 49,000.00 115,210.70 1,250,000.00
8 สัดส่วน 100.00 9.20 34.90 16.68 39.22 23.50
เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2544-2554
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)
ปี 2549 จํานวนเงิน สัดส่วน 327,113.00 100.00 29,110.41 8.90 110,189.59 33.69 61,800.00 18.89
ปี 2550 จํานวนเงิน สัดส่วน 357,424.15 100.00 32,021.46 8.96 120,728.69 33.78 65,300.00 18.27
ปี 2551 จํานวนเงิน สัดส่วน 376,740.00 100.00 35,223.60 9.35 128,676.40 34.16 65,000.00 17.25
ปี 2552 จํานวนเงิน สัดส่วน 414,382.23 100.00 38,745.96 9.35 140,679.27 33.95 71,900.00 17.35
หน่วย : ล้านบาท ปี 2553 จํานวนเงิน สัดส่วน 340,995.18 100.00 29,110.41 8.54 126,589.59 37.12 45,400.00 13.31
126,013.00 1,360,000.00
139,374.00 1,420,000.00
147,840.00 1,495,000.00
163,057.00 1,604,640.00
139,895.18 1,350,000.00
38.52 24.05
38.99 25.17
39.24 25.20
3/
39.35 25.82
หมายเหตุ : 3/ ตัวเลขปี 2552 เป็นเป็นตัวเลขซึ่งรวมรายได้เพิ่มเติมจากการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมระหว่างปีงบประมาณ 2552 โดยรายได้รวมเพิ่มจาก เป้าหมายเดิม 14,043.48 ล้านบาท ประกอบด้วยภาษีอากรที่รัฐบาลจัดเก็บเพิ่มให้ 1,486.48 ล้านบาท และเงินอุดหนุน 12,557 ล้านบาท ในส่วนของรายได้สุทธิของรัฐบาลเพิ่มขึ้นจากเป้าหมายเดิม 19,140 ล้านบาท และสัดส่วนรายได้ อปท. ต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 25.25 เป็น 25.82 - เป้าหมายสัดส่วนรายได้ของ อปท. ในแต่ละปีงบประมาณผ่านขั้นตอนการพิจารณาของสํานักงบประมาณเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว ที่มา : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 20 เมษายน 2554
41.03 25.26
ปี 2554 จํานวนเงิน สัดส่วน 431,305.00 100.00 38,745.96 8.98 148,109.04 34.34 70,500.00 16.35 173,950.00 1,650,000.00
40.33 26.14