บทสรุปผู้บริหาร ด้านรายได้
เดือนพฤษภาคม 2554 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 351,227 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 53,529 ล้านบาท หรือร้อยละ 18.0 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 25.6) สาเหตุสําคัญ มาจากการจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลที่สูงกว่าประมาณการ 54,526 ล้านบาท เนื่องจาก ในเดือนนี้ ครบกําหนดการชําระภาษีเงินได้นิติบุคคลจากกําไรสุทธิของรอบระยะเวลาบัญชี ระหว่าง 1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2553 (ภ.ง.ด. 50) ซึ่งผลกําไรของธุรกิจต่างๆ ในช่วงปี 2553 ขยายตัวในอัตราที่สูงมาก ในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – พฤษภาคม 2554) รัฐบาล จัดเก็บรายได้สุทธิ 1,271,798 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 174,076 ล้านบาท หรือร้อยละ 15.9 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 12.0) โดยเป็นการจัดเก็บภาษีของ 3 กรมจัดเก็บภาษี การนําส่งรายได้ของรัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นที่สูงกว่าประมาณการ 163,795 12,749 และ 8,707 ล้านบาท ตามลําดับ
ด้านรายจ่าย
เดือนพฤษภาคม 2554 รัฐบาลเบิกจ่ายเงินรวมทั้งสิ้น 211,446 ล้านบาท โดยแบ่งเป็น การเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2554 จํานวน 121,050 ล้านบาท (เป็นรายจ่าย ประจํา 104,547 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 16,503 ล้านบาท) และการเบิกจ่ายงบประมาณ รายจ่ายเพิ่มเติมประจําปีงบประมาณ 2554 จํานวน 84,173 ล้านบาท (เป็นรายจ่ายประจํา 84,143 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 30 ล้านบาท) และมีการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี จํานวน 6,223 ล้านบาท ในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – พฤษภาคม 2554) รัฐบาล เบิกจ่ายเงินรวมทั้งสิ้น 1,510,315 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นการเบิกจ่ายงบประมาณประจําปี งบประมาณ 2554 จํานวน 1,326,585 ล้านบาท (เป็นรายจ่ายประจํา 1,155,929 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 170,656 ล้านบาท) คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 64.1 ของวงเงิน งบประมาณ 2,070,000 ล้านบาท และการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจําปี งบประมาณ 2554 จํานวน 84,173 ล้านบาท (เป็นรายจ่ายประจํา 84,143 ล้านบาท และ รายจ่ายลงทุน 30 ล้านบาท) คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 84.2. ของวงเงินงบประมาณ รายจ่ายเพิ่มเติมประจําปี 2554 และมีการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกจ่ายเหลื่อมปีจํานวน 99,558 ล้านบาท เมื่อรวมกับการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 อีกจํานวน 44,913 ล้านบาท ส่งผลให้ในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาล มีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจทั้งสิ้น 1,555,228 ล้านบาท
1 สํานักนโยบายการคลัง
ฐานะการคลังรัฐบาล
ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด ในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลมีรายได้ นําส่งคลัง 1,051,922 ล้านบาท และมีการเบิกจ่ายงบประมาณจากงบประมาณปีปัจจุบันและ ปีก่อนรวม 1,510,316 ล้านบาท ส่งผลให้ดลุ เงินงบประมาณขาดดุลจํานวน 458,324 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่เกินดุล 49,218 ล้านบาท ทําให้ดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 409,106 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.8 ของ GDP โดยรัฐบาลได้ชดเชยการขาดดุลโดยการออกพันธบัตร จํานวน 134,939 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินสดหลังการกู้เงินขาดดุลทั้งสิ้น 274,167 ล้านบาท ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค. ในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาล มีรายได้ทั้งสิ้น 1,308,214 ล้านบาท และมีรายจ่ายทั้งสิ้น 1,527,034 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงิน งบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 218,820 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณที่เกินดุล 14,779 ล้านบาท และเมื่อหักรายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศและรายจ่ายจากโครงการไทยเข้มแข็ง จํานวน 1,230 และ 44,913 ล้านบาท ตามลําดับแล้ว ทําให้ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุลทั้งสิ้น 250,184 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.3 ของ GDP
ฐานะการคลัง อปท.
ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ณ ไตรมาสที่ 2 ประจําปีงบประมาณ 2554 คาดว่า จะมีรายได้รวม 153,775.7 ล้านบาท (รายได้ที่จัดเก็บเอง 12,351.6 ล้านบาท รายได้ภาษีที่รัฐบาล จัดเก็บและแบ่งให้ 44,078.1 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 97,346.0 ล้านบาท) และคาดว่า มีรายจ่ายจํานวน 91,768.3 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลการคลังของ อปท. เกินดุล 62,007.5 ล้านบาท ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2554 คาดว่า จะมีรายได้รวม 243,320.8 ล้านบาท (รายได้ที่จัดเก็บเอง 17,705.7 ล้านบาท รายได้ภาษีที่รัฐบาล จัดเก็บและแบ่งให้ 86,417.1 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 139,198.0 ล้านบาท) และคาดว่า มีรายจ่ายจํานวน 206,044.8 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลการคลังของ อปท. เกินดุล 37,276.0 ล้านบาท
สถานะหนี้สาธารณะ
หนี้สาธารณะคงค้างของรัฐบาล ณ สิ้นเดือนเมษายน 2554 มีจํานวน 4,248.4 พันล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 41.0 ของ GDP โดยร้อยละ 91.8 ของหนี้สาธารณะคงค้างเป็นหนี้ในประเทศ และส่วนที่เหลือร้อยละ 8.2 เป็นหนี้ต่างประเทศ หนี้ระยะยาวมีจํานวน 4,218.9 พันล้านบาท ส่วนหนี้ระยะสั้นมีจํานวน 29.5 พันล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 99.3 และ 0.7 ของหนี้สาธารณะคงค้าง ตามลําดับ
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง (60 - 15 – 0 – 25)
กระทรวงการคลังได้กําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีตัวชี้วัดประกอบด้วย สัดส่วนหนี้ สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 จัดทํา งบประมาณสมดุล และสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 กรอบความยั่งยืนในระยะปานกลาง (ปีงบประมาณ 2554 – 2558) - รัฐบาลยังสามารถรักษาสัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่ให้เกินร้อยละ 60 ไว้ได้ - รัฐบาลยังสามารถรักษาสัดส่วนภาระหนี้ต่องบประมาณไม่ให้เกินร้อยละ 15 สํานักนโยบายการคลัง 2
- รัฐบาลไม่สามารถจัดทํางบประมาณสมดุลในปีงบประมาณ 2554 ได้ เนื่องจากยังมี ความจําเป็นต้องจัดทํางบประมาณแบบขาดดุล เพื่อกระตุ้นการเจริญเติบโตเศรษฐกิจของประเทศ และจากแนวโน้มภาระงบประมาณรายจ่ายที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้มขี ้อจํากัดในการดําเนินการจัดทํา งบประมาณรายจ่ายแบบสมดุลระหว่างปีงบประมาณ 2554-2558 - รัฐบาลไม่สามารถรักษาสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายให้ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 ในปีงบประมาณ 2554 ได้ แต่คาดว่าในปีงบประมาณ 2558 จะสามารถจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 25 ของวงเงินงบประมาณได้
การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผ่าน SFIs ของรัฐบาล รัฐบาลได้ดําเนินมาตรการกิจกรรมกึ่งการคลังผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจโดยการปล่อยสินเชื่อให้ โครงการต่างๆ ซึ่งในปัจจุบันได้มีการปล่อยสินเชื่อเพื่อสนับสนุนมาตรการต่างๆ เช่น มาตรการเพื่อสนับสนุน กิจการ SMEs มาตรการเพื่อสนับสนุนผู้มีรายได้น้อยให้มีทอี่ ยู่อาศัย และมาตรการเพื่อสนับสนุนการประกอบ อาชีพระดับฐานราก ผลการปล่อยสินเชื่อและค้าํ ประกันสินเชื่อ ในไตรมาส 1 ปี 2554 (เดือนมกราคม – มีนาคม 2554) มีจํานวน 61,509.8 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีทแี่ ล้วร้อยละ 0.9 และมีการปล่อยสินเชื่อและ การค้ําประกันสินเชื่อสะสมตัง้ แต่เริ่มโครงการ จนถึง ณ สิ้นไตรมาส 1 ปี 2554 จํานวน 1,216,747.6 ล้านบาท ทั้งนี้ ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ปี 2554 มียอดสินเชื่อคงค้าง จํานวน 384,050.5 ล้านบาท โดยเป็น หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) จํานวน 30,280.1 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.9 ของยอดสินเชื่อคงค้าง และมีภาระค้ําประกันหนี้จัดชั้นด้อยคุณภาพ (NPGs) ของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) จํานวน 4,874.0 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.4 ของยอดค้ําประกันคงค้าง
การกระจายอํานาจทางการคลังให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผลการสัมมนาแลกเปลี่ยนความรู้ด้านการปกครองท้องถิน่ ระหว่างประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส กับประเทศไทย (จัดโดยสํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี) สาระของการสัมมนา ประกอบด้วย รูปแบบการปกครองท้องถิ่น (เทศบาลและกลุม่ เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด และองค์กรระดับภาค) โครงสร้างรายได้ (ภาษีอากร และเงินอุดหนุน) การจัดทํางบประมาณรายจ่ายประจําปี รวมทั้งการบริหารการคลังในด้านต่าง ๆ ทั้งนี้ เมื่อเปรียบเทียบการปกครองท้องถิ่นของประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศสกับประเทศไทยในมิติ การบริหารการคลังด้านต่าง ๆ ได้แก่ ด้านการจัดแบ่งภารกิจระหว่าง อปท. ด้านการดําเนินนโยบายและ การกํากับดูแล ด้านเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการเงินการคลัง และด้านการบริหารเงินสดแล้ว สํานักงานเศรษฐกิจการคลังมีความเห็นว่า การปกครองท้องถิ่นของประเทศไทยควรได้รับการปรับปรุง การดําเนินการ เพื่อให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในประเด็นต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ (1) การกําหนดขอบเขต ของภารกิจให้แก่ อปท. แต่ละประเภทให้ชัดเจนขึ้น (2) การโอนงานที่เกีย่ วข้องกับการบริหารด้านการเงิน และบัญชีของ อปท. ให้เป็นภาระหน้าที่ของรัฐบาล และ (3) ความเป็นอิสระของ อปท. ในการกําหนด อัตราภาษีที่ท้องถิ่นจัดเก็บเองภายใต้กรอบของกฎหมาย
3 สํานักนโยบายการคลัง
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ ประจําเดือนมิถุนายน 2554 1. เรื่อง การปรับปรุงแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําปีงบประมาณ 2554 ครั้งที่ 2 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2554 รับทราบการปรับปรุงแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําปีงบประมาณ 2554 ครั้งที่ 2 ที่มีการปรับลดวงเงินลงเหลือ 1,258,124.14 ล้านบาท ลดลงจาก การปรับปรุงแผนครั้งที่แล้ว 33,380.13 ล้านบาท และการปรับปรุงแผนหนี้สินของรัฐวิสาหกิจที่ได้รับยกเว้น ไม่ต้องอยู่ภายใต้กรอบวงเงินแผนการบริหารหนี้สาธารณะที่มีวงเงินปรับเพิ่มขึ้นเป็น 139,793.22 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดิม 6,587.96 ล้านบาท 2. เรื่อง รายงานผลการดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่อง การชดเชยรายได้เกษตรกรโครงการ ประกันรายได้เกษตรกรผูป้ ลูกข้าว ปี 2552/53 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2554 รับทราบรายงานผลการดําเนินการตามมติ คณะรัฐมนตรี เรื่อง การชดเชยรายได้เกษตรกรโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปี 2552/53 ให้เกษตรกรเพิม่ เติมตั้งแต่ช่วงวันที่ 15 มีนาคม - 25 เมษายน 2553 ซึ่งจะต้องจ่ายเงินชดเชยเพิ่มเติมให้ เกษตรกรทีใ่ ช้สทิ ธิปริมาณข้าวเปลือก 1,807,716 ตัน เป็นเงิน 651.73 ล้านบาท โดยธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร ได้รายงานว่าได้มีการดําเนินการจ่ายเงินชดเชยรายได้เกษตรกรโครงการประกัน รายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปี 2552/53 ให้แก่เกษตรกรแล้วทั้งสิ้นจํานวน 76,798 ราย เป็นเงิน 386.29 ล้านบาท
สํานักนโยบายการคลัง 4
สถานการณ์ด้านการคลัง หน่วย : พันล้านบาท
รวมทั้งปี งบประมาณ 2553 I รายได้ 1. ตามหน่วยงาน 1.1 กรมสรรพากร (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.2 กรมสรรพสามิต (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.3 กรมศุลกากร (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.4 รัฐวิสาหกิจ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.5 หน่วยงานอื่น (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) - ส่วนราชการอื่น - กรมธนารักษ์ 1.6 รวมรายได้จัดเก็บ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.7 รวมรายได้สุทธิ (หลังหักอปท.) (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2. ตามฐานภาษี 2.1 เงินได้ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2.2 การบริโภค (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2.3 การค้าระหว่างประเทศ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) II รายจ่าย 1.รายจ่ายรัฐบาลจากงบประมาณ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.1 งบประมาณปีปัจจุบัน (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.2 งบประมาณปีก่อน 2. รายจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ (15 กองทุน) 1/ - รายจ่าย - เงินให้กู้ยืมสุทธิ 3. รายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 4. รายจ่ายของอปท. 5. รายจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ III ดุลการคลัง 1. ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด 2. ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบ สศค. 2/ - รัฐบาล - อปท. 3. เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือน3/ - วันทําการ IV ยอดหนี้สาธารณะ 1. หนี้รัฐบาลกู้ตรง 2. หนี้รัฐวิสาหกิจ 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น 4. หนี้ FIDF 5. รวม 6. หนี้คงค้าง/GDP (ปีปฏิทิน)% 7. หนี้ที่เป็นภาระงบประมาณ/GDP (ปีปฏิทิน)%
ปีงบประมาณ 2554 Q2 เม.ย.-54
Q1
รวม ต.ค. 53 -พค. 54
1,264.6 11.1 405.9 39.4 97.1 21.0 91.6 5.7 135.8 55.1 131.9 3.9 1,995.0 18.4 1,678.9 19.0
261.8 13.7 111.8 10.9 25.4 (0.1) 26.0 22.8 26.0 12.8 24.3 1.7 451.0 12.6 395.5 13.3
284.8 15.4 116.4 9.2 25.6 14.3 16.3 (13.5) 27.7 43.5 26.7 1.0 470.8 13.8 393.8 16.7
92.7 17.4 39.5 13.5 7.7 (19.3) 21.3 37.0 4.4 (92.7) 3.8 0.7 165.6 (17.0) 131.2 (20.5)
324.9 36.3 24.0 (21.4) 7.7 11.1 12.6 95.0 14.0 12.0 13.8 0.1 383.3 30.0 351.2 27.9
964.2 21.4 291.7 7.0 66.4 3.3 76.3 22.8 72.1 (37.7) 68.7 3.4 1,470.7 12.3 1,271.8 12.0
730.5 7.3 907.6 25.6 93.7 20.7
117.5 14.2 244.8 10.3 24.7 1.3
134.3 15.6 256.1 11.1 25.2 14.6
38.5 20.9 90.0 14.0 7.4 (12.7)
266.1 35.8 79.2 13.5 7.6 10.8
556.4 24.5 670.1 11.4 64.9 5.2
1,784.4 (6.9) 1,627.9 (9.1) 156.5
598.4 32.6 553.3 39.7 45.0
560.8 16.1 517.1 19.4 43.7
139.7 (4.0) 135.1 (1.1) 4.6
211.4 70.6 205.2 73.8 6.2
1,510.3 25.5 1,410.8 30.2 99.6
302.6 279.6 23.0 1.0 (18.0) (97.1)
143.9 134.9 9.0 0.1 (50.3)
65.6 60.1 5.5 0.9 101.8
14.3 13.1 1.2 0.2 377.6
24.2 23.1 1.1 (100.4)
248.0 231.2 16.8 1.2 138.2
(168.9)
(259.6)
(15.2)
34.6
(409.1)
(246.8)
(162.6)
12.8
143.3
(250.2)
337.4 42.0
114.4 14.0
115.2 14.0
155.2 18.0
3,002.4 1,249.1 30.6 4,282.1 42.4 31.3
2,988.8 1,226.2 31.1 4,246.1 41.3 30.3
2,995.1 1,222.3 31.0 4,248.4 41.0 30.1
(88.5) 429.3 65.0 2,907.5 1,261.2 62.1 4,230.7 42.0 30.5
หมายเหตุ 1/ ประกอบด้วย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการทําของ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจ กองทุนอ้อยและน้ําตาล กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนช่วยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย 2/ ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาและวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค.) เป็นผลรวมของดุลการคลังรัฐบาล และดุลการคลังของ อปท. 3/ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2551 เงินคงคลังจะไม่รวมเงินอื่น (บัตรภาษี) และเงินฝากธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) รวบรวมโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
5 สํานักนโยบายการคลัง
พ.ค.-54
สถานการณ์ด้านรายได้ เดือนพฤษภาคม 2554 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 351,227 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 53,529 ล้านบาท หรือร้อยละ 18.0 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 25.6) ตารางสรุปรายได้รัฐบาลเดือนพฤษภาคม 2554* หน่วย: ล้านบาท เทียบปีนี้กับ เทียบปีนี้กับ ที่มาของรายได้ ปีนี้ ประมาณการ ปีที่แล้ว (%) (%) กรมสรรพากร 324,942 24.3 36.3 กรมสรรพสามิต 23,952 -24.5 -21.4 กรมศุลกากร 7,747 14.3 11.1 รัฐวิสาหกิจ 12,639 25.8 95.0 หน่วยงานอืน่ 13,989 5.7 12.0 รายได้สทุ ธิ** 351,227 18.0 25.6 หมายเหตุ * ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 6 มิถุนายน 2554 ** รายได้สุทธิหลังหักการจัดสรร อปท.
เดือนพฤษภาคม 2554 รัฐบาลจัดเก็บ รายได้สุทธิ 351,227 ล้านบาท สูงกว่า ประมาณการ 53,529 ล้านบาท หรือร้อยละ 18.0 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 25.6) สาเหตุสําคัญมาจากการจัดเก็บภาษีเงินได้ นิติบุคคลที่สูงกว่าประมาณการ 54,526 ล้านบาท เนื่องจากในเดือนนี้ ครบกําหนดการชําระภาษีเงินได้ นิติบุคคลจากกําไรสุทธิของรอบระยะเวลาบัญชี ระหว่าง 1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2553 (ภ.ง.ด. 50) ซึ่งผลกําไรของธุรกิจต่างๆ ในช่วงปี 2553 ขยายตัวในอัตราที่สูงมากทําให้จัดเก็บภาษีเงินได้ นิติบุคคลได้ถึง 180,606 ล้านบาท สอดคล้องกับ ผลประกอบการบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยในปี 2553 ที่ขยายตัวร้อยละ 30.7 นอกจากนี้ การบริโภคและการนําเข้ายังคง ขยายตัวต่อเนื่อง ประกอบกับจะมีการเลือกตั้งทั่วไป ในวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 ซึ่งจะช่วยกระตุ้น การบริโภคภายในประเทศอีกทางหนึ่ง ส่งผลให้ จัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มและอากรขาเข้าได้สูงกว่า ประมาณการ 11,476 และ 1,012 ล้านบาท หรือร้อยละ 26.2 และ 15.4 ตามลําดับ สําหรับรายได้นําส่งของรัฐวิสาหกิจสูงกว่า ประมาณการ 2,593 ล้านบาท ส่วนหนึ่งเป็นผลจาก บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) และบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) จ่ายเงินปันผลสูงกว่า ที่ประมาณการไว้ อย่างไรก็ดี การจัดเก็บภาษีสรรพสามิตน้ํามัน และภาษียาสูบในเดือนนี้ต่ํากว่าประมาณการ 7,674 และ 577 ล้านบาท ตามลําดับ เนื่องจาก มีการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ํามันดีเซล ลงชั่วคราว ลิตรละ 5.305 บาท ตั้งแต่วันที่ 21 เมษายน 2554 รวมทั้งโรงงานยาสูบมีการหยุด การผลิตจากการประท้วงของพนักงาน นอกจากนี้ ในช่วงที่ผ่านมามีการเร่งผลิตยาสูบเพื่อชําระภาษี สํานักนโยบายการคลัง 6
ไว้ล่วงหน้า เนื่องจากคาดว่าจะมีการปรับเพิ่ม อัตราภาษี ในเดือนนี้ได้มีการจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตาม พ.ร.บ.กําหนด แผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจฯ งวดที่ 5 จํานวน 6,242 ล้านบาท (รายละเอียดตามตารางที่ 1) ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลประจําปีงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553 - พฤษภาคม 2554) ล้านบาท 400,000 351,227
350,000 300,000 250,000 200,000 150,000
124,906
146,107 124,497
128,351
136,702
128,757
131,250
100,000 50,000 0 ตค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค. จัดเก็บ 53
เม.ย. ปมก. 54
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
จัดเก็บ 54
ในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – พฤษภาคม 2554) รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 1,271,798 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการตามเอกสารงบประมาณ 174,076 ล้านบาท หรือร้อยละ 15.9 (สูงกว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 12.0)
ผลการจัดเก็บรายได้ตามหน่วยงานจัดเก็บ สรุปได้ ดังนี้ กรมสรรพากร จัดเก็บรายได้รวม 964,181 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 126,200 ล้านบาท หรือร้อยละ 15.1 (สูงกว่า ตารางสรุปรายได้รัฐบาล ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 21.4) เป็นผลจาก ปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – พฤษภาคม 2554)* การจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม หน่วย: ล้านบาท และภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สูงกว่าประมาณการ เทียบปีนี้กับ เทียบปีนี้กับ 81,346 29,756 และ 12,857 ล้านบาท ที่มาของรายได้ ปีนี้ ประมาณการ ปีที่แล้ว หรือร้อยละ 34.0 8.5 และ 8.5 ตามลําดับ (%) (%) โดยภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนําเข้าและ กรมสรรพากร 964,181 15.1 21.4 กรมสรรพสามิต 291,661 11.2 7.0 การบริโภคในประเทศสูงกว่าประมาณการ กรมศุลกากร 66,405 14.0 3.3 ร้อยละ 10.8 และ 6.8 ตามลําดับ รัฐวิสาหกิจ 76,329 20.1 22.8 หน่วยงานอื่น รายได้สุทธิ **
72,092 1,271,798
หมายเหตุ: * ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 6 มิถุนายน 2554 ** รายได้สุทธิหลังจัดสรรให้ อปท.
7 สํานักนโยบายการคลัง
13.7 15.9
-37.7 12.0
กรมสรรพสามิต จัดเก็บรายได้รวม 291,661 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ
ผลการจัดเก็บรายได้ของ 3 กรมในสังกัดกระทรวงการคลัง ปีงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553 - พฤษภาคม 2554) ล้านบาท 1,400,000 1,200,000 1,000,000 800,000
1,322,247 1,158,452 1,131,260
จัดเก็บ 53 ประมาณการ 54 จัดเก็บ 54
964,181 837,981 794,299
600,000 400,000
272,690 262,211291,661
200,000
64,271 58,260 66,405
0
กรมสรรพากร
กรมสรรพสามิต
กรมศุลกากร
รวม 3 กรม
29,450 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.2 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 7.0) เนื่องจากการบริโภคภายในประเทศขยายตัว ประกอบกับคาดว่าจะมีการปรับเพิ่มอัตราภาษีสุรา และภาษียาสูบ ส่งผลให้จัดเก็บภาษีสรรพสามิต รถยนต์ ภาษีสรุ า ภาษียาสูบ และภาษีเบียร์ ได้สูงกว่าประมาณการ 18,368 6,389 3,764 และ 2,719 ล้านบาท หรือร้อยละ 42.2 22.0 10.6 และ 6.8 ตามลําดับ สําหรับภาษีสรรพสามิต น้ํามันจัดเก็บได้ต่ํากว่าประมาณการ 3,552 ล้านบาท เป็นผลจากการปรับลดอัตราภาษี สรรพสามิตน้ํามันดีเซลลงชั่วคราวที่มีผลตั้งแต่ วันที่ 21 เมษายน 2554 กรมศุลกากร จัดเก็บรายได้รวม 66,405 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 8,145 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.0 (สูงกว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 3.3) เนื่องจาก จัดเก็บอากรขาเข้าได้สูงกว่าประมาณการ 8,084 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.3 เป็นผลจาก การขยายตัวของมูลค่าการนําเข้าที่เพิ่มขึ้น แม้จะได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ภัยพิบัติ ในประเทศญี่ปนุ่ ก็ตาม ทั้งนี้ อัตราการขยายตัว ของมูลค่าการนําเข้าในรูปดอลลาร์สหรัฐฯและ เงินบาทในช่วง 7 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – เมษายน 2554) เท่ากับ ร้อยละ 24.6 และ 14.1 ตามลําดับ รัฐวิสาหกิจ นําส่งรายได้ 76,329 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 12,749 ล้านบาท หรือร้อยละ 20.1 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว ร้อยละ 22.8) ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการนําส่ง รายได้จากกําไรสุทธิปี 2553 ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย การประปาส่วนภูมิภาค การประปานครหลวง และธนาคารออมสินสูงกว่า ประมาณการ 3,715 1,266 1,162 และ 1,050 ล้านบาท ตามลําดับ นอกจากนี้ เงินปันผล ของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) และกองทุนรวม วายุภักษ์ยังสูงกว่าประมาณการ 1,677 และ สํานักนโยบายการคลัง 8
1,100 ล้านบาท ตามลําดับ หน่วยงานอื่น จัดเก็บรายได้รวม 72,092 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 8,707 ล้านบาท หรือร้อยละ 13.7 (ต่ํากว่าช่วงเดียวกัน ปีที่แล้วร้อยละ 37.7) เนื่องจากมีการนําส่ง ค่าภาคหลวงปิโตรเลียมสูงกว่าประมาณการ 3,650 ล้านบาท นอกจากนี้มเี งินรับคืนจาก โครงการมิยาซาว่าและโครงการเงินกู้เพื่อปรับ โครงสร้างภาคเกษตรจํานวน 1,952 และ 445 ล้านบาท ตามลําดับ สําหรับสาเหตุที่ทําให้ การจัดเก็บรายได้ของหน่วยงานอื่นต่ํากว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 43,558 ล้านบาท เนื่องจาก ปีที่แล้วมีรายได้พิเศษจากการยึดทรัพย์ฯ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร จํานวน 49,016 ล้านบาท การคืนภาษีของกรมสรรพากร จํานวน 151,929 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 6,550 ล้านบาท หรือร้ อ ยละ 4.5 โดยเป็น การคื นภาษีมู ล ค่าเพิ่ม 117,352 ล้านบาท ต่ํากว่าประมาณการ 1,648 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.4 และการคืนภาษีอื่นๆ 34,577 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 8,198 ล้านบาท หรือร้อยละ 31.1 การจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ตาม พ.ร.บ. กําหนดแผนและขัน้ ตอนการกระจายอํานาจฯ ในปีงบประมาณ 2554 การจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่ม ให้ อปท.จะแบ่งการจัดสรรออกเป็น 12 งวด (จากเดิมจัดสรร 6 งวด) โดยมีการจัดสรร ภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว 5 งวด (ตุลาคม 2553 – กุมภาพันธ์ 2554) รวม 30,506 ล้านบาทสูงกว่า ประมาณการจํานวน 3,186 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.7 (รายละเอียดตามตารางที่ 2)
9 สํานักนโยบายการคลัง
ตารางที่ 1 ผลการจัดเก็บรายได้รฐั บาลเบื้องต้น เดือนพฤษภาคม 2554
1/ หน่วย : ล้านบาท
เปรียบเทียบปีนี้กับปีทแี่ ล้ว ทีม่ าของรายได้
ปีนี้
ปีทแี่ ล้ว
จํานวน
ร้อยละ
เปรียบเทียบปีนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม.
ปมก.ตามเอกสาร
จํานวน
งปม.ทั้งปีเท่ากับ
ร้อยละ
1,650,000 ล้านบาท
324,942
238,470
86,472
36.3
261,448
63,494
24.3
20,160 180,606 65,309 55,296 2,746 801 24 23,952
17,392 126,957 51,587 39,361 2,480 674 19 30,489
2,768 53,649 13,722 15,935 266 127 5 (6,537)
15.9 42.3 26.6 40.5 10.7 18.8 26.3 (21.4)
18,173 126,080 70,819 43,820 1,862 674 20 31,706
1,987 54,526 (5,510) 11,476 884 127 4 (7,754)
10.9 43.2 (7.8) 26.2 47.5 18.8 20.0 (24.5)
4,915 3,650 3,610 4,383 5,784 1,106 53 169 172 86
11,939 4,160 3,203 4,205 5,249 1,232 135 135 140 71
(7,024) (510) 407 178 535 (126) (82) 34 32 15
(58.8) (12.3) 12.7 4.2 10.2 (10.2) (60.7) 25.2 22.9 21.1
12,589 4,227 3,348 4,722 5,280 1,101 98 123 125 78
(7,674) (577) 262 (339) 504 5 (45) 46 47 8
(61.0) (13.7) 7.8 (7.2) 9.5 0.5 (45.9) 37.4 37.6 10.3
24
20
4
20.0
15
9
60.0
7,747 7,592 38 117
6,970 6,859 28 83
777 733 10 34
11.1 10.7 34.2 41.5
6,780 6,580 8 192
967 1,012 30 (75)
14.3 15.4 369.7 (38.8)
356,641
275,929
80,712
29.3
299,934
56,707
18.9
4. รัฐวิสาหกิจ
12,639
6,480
6,159
95.0
10,046
2,593
25.8
5. หน่วยงานอื่น
13,989 13,845 144 383,269
12,490 12,415 75 294,899
1,499 1,430 69 88,370
13,239 13,142 97 323,219
750 703 47 60,050
13,601 9,953 3,648 904 812 279,582
9,999 8,347 1,652 296 188 77,887
12.0 11.5 92.0 30.0 73.5 83.9 45.3 32.7 23.2 27.9
18,311 14,500 3,811 970 830 303,108
5,289 3,800 1,489 230 170 54,361
5.7 5.3 48.5 18.6 28.9 26.2 39.1 23.7 20.5 17.9
6,242
-
5,410
832
15.4
71,645
25.6
297,698
53,529
18.0
1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อื่น
2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุราฯ 2.4 ภาษีเบียร์ 2.5 ภาษีรถยนต์ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต์ 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2/
2.10 ภาษีอื่น
2.11 รายได้อื่น 3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่น
รวมรายได้ 3 กรม
5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์
รวมรายได้จัดเก็บ (Gross)
3/
หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินค้าส่งออก
รวมรายได้สุทธิ (Net)
5/
หักเงินจัดสรรจาก VAT ให้ อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ
รวมรายได้สุทธิหลังหักการจัดสรรแล้ว หมายเหตุ
1/
23,600 18,300 5,300 1,200 1,000 357,469 6,242 351,227
4/
4/ 4/
279,582
ตัวเลขเบื้องต้น ณ.วันที่ 6 มิถุนายน 2554 2/ ภาษีไพ่ แก้วฯ เครื่องหอม พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด 3/
ข้อมูลจากระบบ GFMIS
4/
ตัวเลขคาดการณ์
5/
รายได้สุทธิก่อนการจัดสรรให้อปท. ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
สํานักนโยบายการคลัง 10
ตารางที่ 2 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลเบื้องต้น ปีงบประมาณ 2554 1/ ( ตุลาคม 2553 - พฤษภาคม 2554 ) หน่วย : ล้านบาท
ทีม่ าของรายได้
ปีนี้
ปีทแี่ ล้ว
เปรียบเทียบปีนี้กับปีทแี่ ล้ว
ปมก.ตามเอกสาร
จํานวน
งปม.ทั้งปีเท่ากับ
ร้อยละ
เปรียบเทียบปีนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม.
จํานวน
ร้อยละ
1,650,000 ล้านบาท
1. กรมสรรพากร 1.1 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 1.2 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 1.3 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 1.4 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป์ 1.7 รายได้อื่น
2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุราฯ 2.4 ภาษีเบียร์ 2.5 ภาษีรถยนต์ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต์ 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2/
2.10 ภาษีอื่น 2.11 รายได้อื่น
3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่น
รวมรายได้ 3 กรม 4. รัฐวิสาหกิจ 5. หน่วยงานอื่น 5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์
รวมรายได้จัดเก็บ (Gross)
964,181
794,299
169,882
21.4
837,981
126,200
15.1
163,562 320,383 72,497 378,747 22,248 6,558 186 291,661
146,753 243,683 56,463 328,892 12,586 5,770 152 272,690
16,809 76,700 16,034 49,855 9,662 788 34 18,971
11.5 31.5 28.4 15.2 76.8 13.7 22.4 7.0
150,705 239,037 78,473 348,991 15,082 5,536 157 262,211
12,857 81,346 (5,976) 29,756 7,166 1,022 29 29,450
8.5 34.0 (7.6) 8.5 47.5 18.5 18.5 11.2
97,857 39,236 35,404 42,623 61,919 9,828 841 1,442 1,438 738 335
102,986 35,251 29,671 41,636 48,603 9,943 1,057 1,273 1,268 724 278
(5,129) 3,985 5,733 987 13,316 (115) (216) 169 170 14 57
(5.0) 11.3 19.3 2.4 27.4 (1.2) (20.4) 13.3 13.4 1.9 20.5
101,409 35,472 29,015 39,904 43,551 8,954 779 1,110 1,039 710 268
(3,552) 3,764 6,389 2,719 18,368 874 62 332 399 28 67
(3.5) 10.6 22.0 6.8 42.2 9.8 8.0 29.9 38.4 3.9 25.0
66,405
64,271
2,134
3.3
58,260
8,145
14.0
64,744 153 1,508 1,322,247 76,329
61,602 103 2,566 1,131,260 62,135
3,142 50 (1,058) 190,987 14,194
5.1 48.5 (41.2) 16.9 22.8
56,660 64 1,536 1,158,452 63,580
8,084 89 (28) 163,795 12,749
14.3 139.1 (1.8) 14.1 20.1
115,650 112,648 3,002 1,309,045
(43,558) (43,993) 435 161,623
(37.7) (39.1) 14.5 12.3
63,385 60,235 3,150 1,285,417
8,707 8,420 287 185,251
13.7 14.0 9.1 14.4
137,581 97,632 39,949 7,236 7,074 1,157,154
14,348 19,720 (5,372) 1,168 957 145,150
10.4 20.2 (13.4) 16.1 13.5 12.5
145,379 119,000 26,379 7,762 7,234 1,125,042
6,550 (1,648) 8,198 642 797 177,262
4.5 (1.4) 31.1 8.3 11.0 15.8
30,506
22,038
8,468
38.4
27,320
3,186
11.7
1,271,798
1,135,116
136,682
12.0
1,097,722
174,076
15.9
72,092 68,655 3,437 1,470,668
3/
หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินค้าส่งออก
รวมรายได้สุทธิ (Net)
6/
หักเงินจัดสรรจาก VAT ให้ อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ
รวมรายได้สุทธิหลังหักการจัดสรร อปท. หมายเหตุ
151,929 117,352 34,577 8,404 8,031 1,302,304
4/
4/ 5/
1/ ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 6 มิถุนายน 2554 2/ ภาษีไพ่ เครื่องแก้ว เครื่องหอม พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด 3/ ข้อมูลจากระบบ GFMIS 4/ เดือนตุลาคม 2553 - เมษายน 2554 เป็นตัวเลขจริง และเดือนพฤษภาคม 2554 เป็นตัวเลขคาดการณ์ 5/ เดือนตุลาคม 2553 - มีนาคม 2554 เป็นตัวเลขจริง และเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2554 เป็นตัวเลขคาดการณ์ 6/ รายได้สุทธิก่อนการจัดสรรให้ อปท.
ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
11 สํานักนโยบายการคลัง
สถานการณ์ด้านรายจ่าย พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ 2554 ซึ่งได้ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 127 ตอนที่ 60ก เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2553 ได้กําหนดวงเงินงบประมาณรายจ่าย จํานวน 2,070,000 ล้านบาท สูงกว่าวงเงินปีงบประมาณ 2553 ร้อยละ 21.8 โดยแบ่งเป็นรายจ่าย ประจํา 1,661,482 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 15.9 รายจ่ายลงทุน 345,617 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 60.7 รายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ 32,555 ล้านบาท และมีการตั้งงบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง 30,346 ล้านบาท คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2553 เห็นชอบการกําหนดเป้าหมายการเบิกจ่าย งบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ที่อัตราร้อยละ 93.0 และกําหนดเป้าหมาย การเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 72.0 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน โดยได้กําหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายรายไตรมาส ดังนี้ ไตรมาสที่ 1 2 3 4
เป้าหมาย การเบิกจ่าย แต่ละไตรมาส (ล้านบาท) 414,000 496,800 496,800 517,500
เป้าหมาย การเบิกจ่ายสะสม ณ สิ้นไตรมาส (ล้านบาท) 414,000 910,800 1,407,600 1,925,100
เป้าหมายอัตรา เบิกจ่าย อัตรา การเบิกจ่ายสะสม สะสม เบิก ณ สิ้นไตรมาส (ล้านบาท) จ่าย (%) % 20 553,323 26.7 44 1,070,454 51.7 68 93
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ซึ่งได้ลงประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 128 ตอนที่ 27ก เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2554 ได้กําหนดวงเงินงบประมาณไว้ จํานวน 99,968 ล้านบาท ทําให้ปีงบประมาณ 2554 มีวงเงินงบประมาณรวมทั้งสิ้น 2,169,968 ล้านบาท
สํานักนโยบายการคลัง 12
โครงสร้างงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2554 โครงสร้างงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณรายจ่าย (สัดส่วนต่อ GDP) - รายจ่ายประจํา (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) 2. รายรับ (สัดส่วนต่อ GDP) - รายได้ - เงินกู้ 3. ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP)
ปีงบประมาณ 2553 เพิ่ม/ลด จํานวน ร้อยละ 1,700,000 -12.9 18.8 1,434,710 1.7 84.4 -100.0 214,369 -50.1 12.6 50,921 -20.0 3.0 1,700,000 -12.9 18.8 1,350,000 -15.9 350,000 0.8 10,103,000 11.7
ปีงบประมาณ 2554 เพิ่ม/ลด จํานวน ร้อยละ 2,169,968 27.6 20.0 1,667,440 16.2 76.8 114,489 100.0 5.3 355,485 65.8 16.4 32,555 -36.1 1.5 2,169,968 27.6 20.0 1,770,000 31.1 399,968 14.3 10,840,500 7.3
ที่มา : สํานักงบประมาณ
เดือนพฤษภาคม 2554 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณปี 2554 จํานวน 205,223 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกัน ของปีที่แล้ว 87,164 ล้านบาท หรือร้อยละ 73.8 และมีการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี 6,223 ล้านบาท ทําให้มีการเบิกจ่ายรวมทั้งสิน้ 211,446 ล้านบาท
13 สํานักนโยบายการคลัง
การเบิกจ่ายงบประมาณ จํานวน 205,223 ล้านบาท เป็นการเบิกจ่ายจาก 1) งบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ 2554 จํานวน 121,050 ล้านบาท แบ่งเป็น รายจ่ายประจํา จํานวน 104,547 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน จํานวน 16,503 ล้านบาท 2) งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจําปี งบประมาณ 2554 จํานวน 84,173 ล้านบาท แบ่งเป็น รายจ่ายประจํา จํานวน 84,143 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน จํานวน 30 ล้านบาท การเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี มีจาํ นวน 6,223 ล้านบาท
ในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 - พฤษภาคม 2554) ปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลได้เบิกจ่ายเงิน การเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจําปี แล้ว จํานวน 1,410,758 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกัน งบประมาณ 2554 จํานวน 1,410,758 ล้านบาท ปีที่แล้ว 326,935 ล้านบาท หรือร้อยละ 30.2 และ คิดเป็นอัตราการเบิกจ่าย ร้อยละ 65.0 ของวงเงิน มีการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี 99,558 ล้านบาท งบประมาณ 2,169,968 ล้านบาท โดยเป็น ทําให้มีการเบิกจ่ายรวมทั้งสิน้ 1,510,315 ล้านบาท การเบิกจ่ายจาก 1) งบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ 2554 จํานวน 1,326,585 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 64.1 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจําปี งบประมาณ 2554 (2,070,000 ล้านบาท) แบ่งเป็น รายจ่ายประจํา จํานวน 1,155,929 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 67.1 ของวงเงินงบประมาณรายจ่าย ประจําหลังโอนเปลี่ยนแปลง (1,723,587 ล้านบาท) รายจ่ายลงทุน จํานวน 170,656 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 49.3 ของวงเงิน งบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง (346,413 ล้านบาท) - การเบิกจ่ายงบกลาง มีจํานวน 178,630 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 67.2 ของงบประมาณ งบกลาง (265,763 ล้านบาท) - สําหรับการเบิกจ่ายงบประมาณตาม หน่วยงาน หน่วยงานที่มีการเบิกจ่ายสูงที่สุด 3 อันดับแรก คือ กระทรวงแรงงานมีการเบิกจ่าย 26,053 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 91.5 หน่วยงานอิสระ ตามรัฐธรรมนูญมีการเบิกจ่าย 16,871 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 87.8 และรัฐวิสาหกิจมีการเบิกจ่าย 95,104 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 82.3 - ในขณะที่หน่วยงานที่มีการเบิกจ่ายต่ําสุด 3 อันดับสุดท้าย คือ จังหวัดมีการเบิกจ่าย 3,767 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 20.9 กระทรวงคมนาคม มีการเบิกจ่าย 33,355 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 41.5 และกระทรวงพลังงานมีการเบิกจ่าย 911 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 45.3 2) งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจําปี งบประมาณ 2554 จํานวน 84,173 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 84.2 ของวงเงินงบประมาณรายจ่าย เพิ่มเติมประจําปีงบประมาณ 2554 (99,968 ล้านบาท) แบ่งเป็น รายจ่ายประจํา จํานวน 84,143 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 93.4 ของวงเงินงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง 14
รายจ่ายประจํา (90,100 ล้านบาท) รายจ่ายลงทุน จํานวน 30 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.3 ของวงเงิน งบประมาณรายจ่ายลงทุน (9,868 ล้านบาท) 3) การเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี มีจํานวน 99,558 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 54.3 ของเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี (183,221 ล้านบาท) ล้านบาท
การเบิกจ่ายรายจ่ายประจํา รายจ่ายลงทุน และเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี (รายเดือน)
250,000 200,000 150,000 100,000 50,000 รายจ่ายประจํา
ต.ค. 53
พ.ย. 53
ธ.ค. 53
ม.ค. 54
ก.พ. 54
มี.ค. 54
เม.ย. 54
พ.ค. 54
189,957
196,444
133,696
146,289
122,765
141,375
120,855
188,690
รายจ่ายลงทุน
4,161
10,757
18,308
74,368
16,699
15,635
14,225
16,533
เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี
13,334
15,951
15,763
14,534
15,225
13,903
4,625
6,223
ล้านบาท
มิ.ย. 54
ก.ค. 54
ส.ค. 54
ก.ย. 54
การเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2554 (สะสม)
2,000,000 1,500,000 1,000,000 500,000 0
ต.ค. 53
พ.ย. 53
ธ.ค. 53
ม.ค. 54
ก.พ. 54
มี.ค. 54
เม.ย. 54
พ.ค. 54
มิ.ย. 54
80,143
246,259
396,155
530,141
699,523
829,176
965,763
1,083,822
1,207,018
พ.ศ. 2554 194,118
401,319
553,323
773,980
913,444
1,070,454
1,205,535
1,410,758
พ.ศ. 2553
15 สํานักนโยบายการคลัง
ก.ค. 54
ส.ค. 54
ก.ย. 54
1,342,146 1,445,468
1,627,875
รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุน - เดือนพฤษภาคม 2554 มีการเบิกจ่ายเงินจาก โครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ในเดือนพฤษภาคม 2554 จํานวน 3,448 ล้านบาท จํานวน 3,448 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.0 ของวงเงิน ที่ได้รับอนุมัติ จํานวน 349,960 ล้านบาท1 และ ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณมีการเบิกจ่ายรวมทั้งสิ้น 44,913 ล้านบาท - การเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุนภายใต้แผน ปฏิบัติการไทยเข้มแข็งสะสมจนถึงสิ้นเดือนพฤษภาคม 2554 มีจํานวนทั้งสิ้น 279,314 ล้านบาท2 คิดเป็น ร้อยละ 79.8 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ จํานวน 349,960 ล้านบาท - สําหรับสาขาที่มีการเบิกจ่ายสะสมสูงสุด 3 อันดับแรก คือ สาขาการประกันรายได้และการดําเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องมีการเบิกจ่าย 40,000 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 100.0 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (40,000 ล้านบาท) สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีการเบิกจ่าย 179 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 96.5 ของวงเงินที่ได้รับ การอนุมัติ (185 ล้านบาท) และสาขาสิ่งแวดล้อม มีการเบิกจ่าย 664 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 96.3 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (689 ล้านบาท) - ในขณะทีส่ าขาที่มีการเบิกจ่ายสะสมต่ําสุด 3 อันดับ คือ สาขาโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว มีการเบิกจ่าย 1,027 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 31.3 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (3,282 ล้านบาท) สาขาพัฒนา ด้านสาธารณสุข พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานมีการเบิกจ่าย 4,795 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 32.6 ของวงเงินที่ได้รับ อนุมัติ (14,692 ล้านบาท) และสาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาบุคลากรมีการเบิกจ่าย 766 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 39.8 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (1,928 ล้านบาท) - สําหรับสาขาที่ยังไม่มกี ารเบิกจ่าย ได้แก่ สาขาพลังงาน มีวงเงินที่ได้รับอนุมัติ 174 ล้านบาท
1
เป็นวงเงินที่ได้รับการอนุมัติตามพระราชกําหนดให้อํานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 รอบที่ 1 จํานวน 199,960 ล้านบาท และรอบที่ 2 จํานวน 150,000 ล้านบาท 2 เป็นการเบิกจ่ายจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง จนถึงสิ้นสุดปีงบประมาณ 2553 จํานวน 234,401 ล้านบาท
สํานักนโยบายการคลัง 16
รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ - ในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553 - พฤษภาคม 2554) ทั้งสิน้ 1,555,228 ล้านบาท มีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ จํานวนทั้งสิ้น 1,555,228 ล้านบาท แบ่งเป็น งบประมาณรายจ่าย ประจําปีงบประมาณ 2554 จํานวน 1,410,757 ล้านบาท เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี จํานวน 99,558 ล้านบาท และโครงการลงทุนไทยเข้มแข็ง 2555 จํานวน 44,913 ล้านบาท
17 สํานักนโยบายการคลัง
รายงานผลการเบิกจ่ายเงินโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 วงเงินที่ได้รับ อนุมัติ
เบิกจ่าย สะสม ณ 31 พ.ค. 54
ร้อยละของ การเบิกจ่าย สะสม
59,503.3
47,853.5
80.4
1.1 สาขาทรัพยากรน้ําและการเกษตร
59,503.3
47,853.5
80.4
2. ปรับปรุงบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานฯ
74,781.1
56,225.5
75.2
46,586.5
42,968.9
92.2
174.3
-
-
-
-
-
3,281.7
1,027.0
31.3
14,691.5
4,795.2
32.6
9,172.9
6,592.3
71.9
2.7 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
185.0
178.5
96.5
2.8 สาขาสิ่งแวดล้อม
689.2
663.6
96.3
5,394.3
2,449.3
45.4
3.1 สาขาพัฒนาการท่องเที่ยว
5,394.3
2,449.3
45.4
4. สร้างฐานรายได้ใหม่ของประเทศฯ
1,330.6
1,273.8
95.7
4.1 สาขาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์
1,330.6
1,273.8
95.7
51,981.4
35,531.8
68.4
51,981.4
35,531.8
68.4
1,927.7
766.4
39.8
1,927.7
766.4
39.8
106,542.1
91,951.8
86.3
7.1 สาขาการลงทุนในระดับชุมชน
106,542.1
91,951.8
86.3
8. อื่น ๆ ตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด
40,000.0
40,000.0
100.0
40,000.0
40,000.0
100.0
341,460.4
276,052.0
80.8
8,500.0
3,261.6
38.4
349,960.4
279,313.6
79.8
วัตถุประสงค์ / สาขา 1. สร้างความมั่นคงทางด้านอาหารและพลังงานฯ
2.1 สาขาขนส่ง 2.2 สาขาพลังงาน 2.3 สาขาการสื่อสาร 2.4 สาขาโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว 2.5 สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 2.6 สาขาสวัสดิภาพของประชาชน
3. สร้างศักยภาพในการหารายได้จากการท่องเที่ยว
5. ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ 5.1 สาขาการศึกษา 6. ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุขฯ 6.1 สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาบุคลากร 7. สร้างอาชีพและรายได้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตฯ
8.1 สาขาการประกันรายได้และการดําเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวม สํารองจ่ายตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหาร รวมทั้งสิ้น ข้อมูล ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2554
สํานักนโยบายการคลัง 18
การเบิกจ่ายเงินกู้ตา่ งประเทศ ผลการเบิกจ่าย - เดือนพฤษภาคม 2554 มีการคืนเงินกู้ต่างประเทศ 0.1 ล้านบาท เปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันปีที่แล้วที่มี การเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ จํานวน 25.4 ล้านบาท - 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 - พฤษภาคม 2554) มีการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ 1,230.3 ล้านบาท เปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้วเพิ่มขึ้นจํานวน 713.8 ล้านบาท หรือร้อยละ 138.2
สรุปการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ เดือนพฤษภาคม 2554 และ 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 หน่วย : ล้านบาท
พฤษภาคม รายการ
2554
2553
1. Project Loans 2. Structural Adjustment Loans (SAL)
-0.1
1.4 24.0
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -
รวม
-0.1
25.4
-100.4
ที่มา : สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ
19 สํานักนโยบายการคลัง
ตุลาคม - พฤษภาคม อัตราเพิ่ม 2554 2553 (ร้อยละ) 92.3 479.3 -80.7 1,138.0 37.2 2,959.1 1,230.3
516.5
138.2
การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. เดือนพฤษภาคม 2554 การเบิกจ่ายเงินของกองทุนนอก งบประมาณ สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว ร้อยละ 111.4 เป็นผลจากการเพิ่มขึ้น ของรายจ่ายกองทุนน้าํ มันเชือ้ เพลิง และ กองทุนอ้อยและน้าํ ตาลทราย
1. เดือนพฤษภาคม 2554 มีการเบิกจ่ายรวม 24,192.4 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 12,748.4 ล้านบาท หรือร้อยละ 111.4 ประกอบด้วยรายจ่ายดําเนินงาน 23,079.3 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 12,415.6 ล้านบาท หรือร้อยละ 116.4 ในขณะทีม่ ีการให้กู้สทุ ธิ 1,113.1 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 332.8 ล้านบาท หรือร้อยละ 42.7
ในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 - พฤษภาคม 2554) การเบิกจ่ายเงินของกองทุนฯ สูงกว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 13.1 โดยมี สาเหตุหลักมาจากการเบิกจ่ายของกองทุน น้ํามันเชื้อเพลิง และกองทุนหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ
2. ในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 มีการเบิกจ่าย รวม 247,966 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 28,718.6 ล้านบาท หรือร้อยละ 13.1 ประกอบด้วย 1) รายจ่ายดําเนินงาน 231,192.8 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว 25,638.4 ล้านบาท หรือร้อยละ 12.5 เป็นผลมาจาก กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงและกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีการเบิกจ่ายเพิ่มขึ้น 2) รายจ่ายเงินให้กู้ยืมสุทธิ 16,773.2 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว 3,080.2 ล้านบาท หรือร้อยละ 22.5 เป็นผลมาจาก การให้กู้ยืมที่เพิ่มขึ้นของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
สรุปการเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. ในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – พฤษภาคม 2554) หน่วย : ล้านบาท
รายการ 2554* การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ 24,192.4 1. รายจ่ายดําเนินงาน 23,079.3 2. รายจ่ายเงินให้กู้ยืมสุทธิ 1,113.1
พฤษภาคม 2553 11.444.0 10,663.7 780.3
อัตราเพิ่ม 111.4 116.4 42.7
ในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554* 2553 อัตราเพิ่ม 247,966.0 219,247.4 13.1 231,192.8 205,554.4 12.5 16,773.2 13,693.0 22.5
ที่มา : กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการทําของ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจฯ กองทุนอ้อยและ น้ําตาลทราย กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนรวมเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ โดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
สํานักนโยบายการคลัง 20
ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด1 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553 – พฤษภาคม 2554) เดือนตุลาคม 2553 – พฤษภาคม 2554 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลมีรายได้ ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแส นําส่งคลัง 1,051,992 ล้านบาท และมีการเบิกจ่าย เงินสดขาดดุล 409,106 ล้านบาท คิดเป็น งบประมาณจากงบประมาณปีปัจจุบันและปีก่อนรวม 1,510,316 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณ ร้อยละ 3.8 ของ GDP 2 ขาดดุลจํานวน 458,324 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอก งบประมาณที่เกินดุลจํานวน 49,218 ล้านบาท ทําให้ ดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 409,106 ล้านบาท โดยรัฐบาล ชดเชยการขาดดุลโดยการออกพันธบัตร จํานวน 134,939 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินสดหลังการกู้เงิน ขาดดุลทั้งสิ้น 274,167 ล้านบาท ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด หน่วย: ล้านบาท
8 เดือนแรก ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2553 รายได้ 1,051,992 966,641 รายจ่าย 1,510,316 1,203,509 ปีปัจจุบนั 1,410,758 1,083,822 ปีก่อน 99,558 119,687 ดุลเงินงบประมาณ -458,324 -236,868 ดุลเงินนอกงบประมาณ 49,218 -81,370 ดุลเงินสดก่อนกู้ -409,106 -318,238 กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล 134,939 212,572 ดุลเงินสดหลังกู้ -274,167 -105,666 ที่มา : กรมบัญชีกลาง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
เปรียบเทียบ จํานวน ร้อยละ 85,351 8.8 306,807 25.5 326,936 30.2 -20,129 -16.8 -221,456 93.5 130,588 -160.5 -90,868 28.6 -77,633 -36.5 -168,501 159.5
1 2
ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด เป็นดุลการคลังที่แสดงให้เห็นผลกระทบต่อเงินคงคลังและการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล GDP ปีปฏิทิน 2553 เท่ากับ 10,104.8 พันล้านบาท และคาดการณ์ GDP ปีปฏิทิน 2554 เท่ากับ 10,852.6 พันล้านบาท
21 สํานักนโยบายการคลัง
ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค.3 ในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 - พฤษภาคม 2554) ในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลมีรายได้ทั้งสิน้ 1,308,214 ล้านบาท และมีรายจ่ายทั้งสิน้ 1,527,034 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 12.1 และ 14.1 ของ GDP ตามลําดับ
ด้านรายได้ รัฐบาลมีรายได้ทั้งสิ้น 1,308,214 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีท่ีแล้วร้อยละ 13.3 โดยประกอบด้วยรายได้ในงบประมาณ 1,307,343.3 ล้านบาท (ก่อนจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้ อปท.) และเงินช่วยเหลือจาก ต่างประเทศ 870.7 ล้านบาท ด้านรายจ่าย รัฐบาลมีรายจ่ายทั้งสิ้น 1,527,034 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 29.7 ประกอบด้วยรายจ่ายจากงบประมาณปีปัจจุบันและปีก่อน (รายจ่ายไม่รวมรายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ 1,526,163.3 ล้านบาท รายจ่ายเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ 870.7 ล้านบาท)
ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิน้ 218,820 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 2.0 ของ GDP
ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิ้น 218,820 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 2.0 ของ GDP ในขณะเดียวกันปีที่แล้ว ขาดดุล 23,112 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 0.2 ของ GDP
ดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณ เกินดุล 14,779 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.1 ของ GDP
บัญชีเงินนอกงบประมาณ ประกอบด้วยเงินฝากนอก งบประมาณ และกองทุนนอกงบประมาณ มีรายได้รวมทั้งสิน้ 287,392 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 17.1 มีรายจ่ายจํานวน 256,195 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 45.7 และมีเงินให้กู้หักชําระคืน 16,418 ล้านบาท ทําให้ดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณ เกินดุลทั้งสิ้น 14,779 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.1 ของ GDP
3
ดุลการคลังตามระบบ สศค. เป็นดุลการคลังที่สะท้อนเม็ดเงินที่แท้จริงที่ส่งกระทบต่อเศรษฐกิจ
สํานักนโยบายการคลัง 22
ดุลการคลังของรัฐบาล ขาดดุลทั้งสิ้น 250,184 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.3 ของ GDP
ดุลเงินงบประมาณที่ขาดดุลรวมกับดุลบัญชีเงินนอก งบประมาณที่เกินดุล และเมื่อหักรายจ่ายจากเงินกู้ ต่างประเทศและรายจ่ายจากโครงการไทยเข้มแข็งแล้ว จํานวน 1,230 ล้านบาท และ 44,913 ล้านบาท ตามลําดับ ทําให้ดุลการคลังขาดดุล จํานวน 250,184 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.3 ของ GDP ในขณะที่ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว ขาดดุล 103,271 ล้านบาท สําหรับดุลการคลังเบื้องต้น ของรัฐบาล (Primary Balance) ซึ่งเป็นดุลการคลัง ที่สะท้อนถึงผลการดําเนินงานของรัฐบาลและทิศทาง ของนโยบายการคลังของรัฐบาลอย่างแท้จริง (ไม่รวม รายได้และรายจ่ายดอกเบี้ย และการชําระคืนต้นเงินกู้) ขาดดุลทั้งสิ้น 151,386 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.4 ของ GDP ในขณะที่ช่วงเดียวกันปีที่แล้วเกินดุล 11,901 ล้านบาท ดุลการคลังเบือ้ งต้นตามระบบ สศค. หน่วย: ล้านบาท
ปีงบประมาณ พ.ค. 54 ล้านบาท % of GDP รัฐบาล 1. รายได้ 358,293 3.3 2. รายจ่าย 209,559 1.9 3. ดุลงบประมาณ 148,734 1.4 (1-2) นกู้ต่างประเทศ 4. รายจ่ายจากเงิ (0) (0.0) 5. รายจ่ายจากมาตรการไทยเข็ มแข็ง (TKK) 3,448 0.0 (1,905) 6. ดุลบัญชีน อกงบประมาณ (6.1-6.2-6.3) (0.0) 25,772 6.1 รายได้ 0.2 าย 26,917 0.2 6.2 รายจ่ 760 6.3 เงิ นให้กู้หกั ชําระคืน 0.0 7. ดุลการคลั งของรัฐบาล (3-4-5+6) 143,381 1.3 8. ดุลการคลั งเบื้องต้นของรัฐบาล 161,206 1.5 จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
23 สํานักนโยบายการคลัง
พ.ค. 53
เปรียบเทียบ
ล้านบาท % of GDP ล้านบาท
ต.ค.53 - พ.ค. 54
ร้อยละ
ต.ค.52 - พ.ค. 53
เปรียบเทียบ
ล้านบาท % of GDP ล้านบาท % of GDP ล้านบาท
ร้อยละ
280,258
2.6
78,035
27.8
1,308,214
12.1 1,154,326
11.4
153,888
13.3
102,875
0.9
106,684
103.7
1,527,034
14.1 1,177,438
11.7
349,596
29.7
177,383
1.6
(28,649)
(16.2)
(218,820)
(2.0)
(23,112)
846.8
25
0.0
(26) (100.5)
1,230
0.0
517
(0.2) (195,708) 714 0.0
22,949
0.2
(19,502)
(85.0)
44,913
0.4
135,410
1.3
(90,498)
(66.8)
10,266
0.1
(12,171) (118.6)
14,779
0.1
55,768
0.6
(40,989)
(73.5)
24,916
0.2
856
3.4
287,392
2.6
245,346
2.4
42,046
17.1
13,870
0.1
13,047
94.1
256,195
2.4
175,885
1.7
80,310
45.7
780
0.0
(20)
(2.6)
16,418
0.2
13,693
0.1
2,725
19.9
164,675
1.5
(21,292)
(12.9)
(250,184)
(2.3)
(103,271)
192,658
1.8 (31,451.6)
(16.3)
(151,386)
(1.4)
11,901
138.2
(1.0) (146,913) 142.3 0.1 (163,287) (1,372.1)
ฐานะการคลังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รายงานการคลังท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ไตรมาสที่ 2 และครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2554 ฐานะการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 2 ปีงบประมาณ 2554 (เดือนมกราคม – เดือนมีนาคม 2554) 1. ด้านรายได้ อปท. จํานวน 7,852 แห่ง คาดว่ามีรายได้รวม 153,775.7 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 47,524.7 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 44.7 เนื่องจาก อปท. ได้รับการจัดสรรเงินอุดหนุน เพิ่มขึ้นมาก ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจขยายตัวอย่างต่อเนื่องทําให้รายได้ภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ เพิ่มขึ้น นอกจากนี้รายได้ที่ อปท. จัดเก็บเองก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน ตารางที่ 1 รายได้ของ อปท. ไตรมาสที่ 2 ปีงบประมาณ 2554 ประเภท 1/
1. รายได้จัดเก็บเอง (ร้อยละของรายได้รวม) 1.1 รายได้จากภาษีอากร 1.2 รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร 2. รายได้ภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 2/ (ร้อยละของรายได้รวม) 3. รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล 3/ (ร้อยละของรายได้รวม) รวม (ร้อยละของรายได้รวม) ที่มา
จัดทําและรวบรวมโดย ผู้รับผิดชอบ จัดทําขึ้น
หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ
ไตรมาส 2 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2553 12,351.64 10,442.01
จํานวน 1,909.63
ร้อยละ 18.29
8.03 9,386.95 2,964.69 44,078.09
9.83 6,931.05 3,510.96 38,035.96
2,455.90 (546.27) 6,042.13
35.43 (15.56) 15.89
28.67 97,346.00
35.80 57,773.10
39,572.90
68.50
63.30 153,775.73 100.00
54.37 106,251.07 100.00
47,524.66
44.73
1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จํานวน 1,024 แห่ง และจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจํานวน 6,828 แห่ง รวม 7,852 แห่ง 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดิน และกรมการขนส่งทางบก กรมสรรพากร กรมบัญชีกลาง 3/ รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง ส่วนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง นายกิจจา ยกยิ่ง ณ วันที่ 8 มิถุนายน 2554
รายได้ของ อปท. จําแนกตามที่มาได้ ดังนี้ 1.1 รายได้ที่จดั เก็บเอง จํานวน 12,351.6 ล้านบาท เพิ่มขึน้ จากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 1,909.6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 18.3 แยกเป็นรายได้จากภาษีอากร 9,387.0 ล้านบาท และรายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร 2,964.7 ล้านบาท 1.2 รายได้ภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จํานวน 44,078.1 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 6,042.1 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 15.9 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน จํานวน 97,346.0 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 39,572.9 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 68.5 25 สํานักนโยบายการคลัง
2. ด้านรายจ่าย อปท.1 จํานวน 7,852 แห่ง ประมาณการว่ามีรายจ่ายจํานวนทั้งสิ้น 91,768.3 ล้านบาท ล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้จ่ายช่วงเดียวกันปีที่แล้วเพิ่มขึน้ จํานวน 9,314.4 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 11.3 ซึ่งเป็นผลจากรายจ่ายประจําและรายจ่ายงบกลางเพิ่มขึ้น ขณะทีร่ ายจ่ายประเภทอื่นลดลง ตารางที่ 2 รายจ่ายของ อปท. ไตรมาสที่ 2 ปีงบประมาณ 2554 1/ ประเภท 1. รายจ่ายงบกลาง (ร้อยละของรายจ่ายรวม) 2. รายจ่ายประจํา (ร้อยละของรายจ่ายรวม) 3. รายจ่ายเพื่อการลงทุน (ร้อยละของรายจ่ายรวม) 4. รายจ่ายพิเศษ (ร้อยละของรายจ่ายรวม) 5. รายจ่ายกันไว้เบิกเหลื่อมปี (ร้อยละของรายจ่ายรวม) รวม (ร้อยละของรายจ่ายรวม) ที่มา
หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ
ไตรมาสที่ 2 ปีงบประมาณ 2554
ปีงบประมาณ 2553
7,524.30 8.20 59,868.32 65.24 10,809.31 11.78 9,418.82 10.26 4,147.53 4.52 91,768.28 100.00
5,103.07 6.19 45,329.55 54.98 11,344.24 13.76 10,346.39 12.55 10,330.60 12.53 82,453.85 100.00
จํานวน
ร้อยละ
2,421.23
47.45
14,538.77
32.07
(534.93)
(4.72)
(927.57)
(8.97)
(6,183.07)
(59.85)
9,314.43
11.30
1/ พิจารณาจากผลต่างของรายได้กับดุลการคลังของ อปท. (การเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM)) จากธนาคารแห่งประเทศไทย
จัดทําและรวบรวมโดย
ส่วนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ผู้รับผิดชอบ
นายกิจจา ยกยิง่
จัดทําขึ้น
ณ วันที่ 8 มิถุนายน 2554
รายจ่ายของ อปท. ประกอบด้วย 2.1 รายจ่ายงบกลาง จํานวน 7,524.3 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 2,421.2 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 47.5 2.2 รายจ่ายประจํา จํานวน 59,868.3 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 14,538.8 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 32.1 2.3 รายจ่ายเพื่อการลงทุน จํานวน 10,809.3 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันปีทแี่ ล้ว 534.9 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.7 2.4 รายจ่ายพิเศษ จํานวน 9,418.8 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 927.6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 9.0 2.5 รายจ่ายจากเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี จํานวน 4,147.5 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 6,183.1 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 59.9
1
โดยพิจารณาจากผลต่างของรายได้กับดุลการคลังของ อปท. (การเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM)) จากธนาคารแห่งประเทศไทย
สํานักนโยบายการคลัง 26
3. ดุลการคลัง อปท.2 เกินดุลจํานวน 62,007.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 38,210.2 ล้านบาท เนื่องจากผลการจัดเก็บรายได้ของรัฐบาลจากภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีสรรพสามิตเพิ่มขึ้น มีผลให้รายได้ ที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ อปท. เพิ่มขึ้นในทิศทางเดียวกัน รวมทั้งการได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเพิ่มขึ้นมาก ตารางที่ 3 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 2 ปีงบประมาณ 2554 ประเภท 1. รายได้ 1/ 1.1 รายได้ที่จัดเก็บเอง 1.2 รายได้ภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน 2. รายจ่าย 2.1 รายจ่ายงบกลาง 2.2 รายจ่ายประจํา 2.3 รายจ่ายเพือ่ การลงทุน 2.4 รายจ่ายพิเศษ 2.5 รายจ่ายกันไว้เบิกเหลื่อมปี 3. ดุลการคลัง 2/
ไตรมาสที่ 2 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2553 153,775.73 106,251.07 12,351.64 10,442.01 44,078.09 38,035.96 97,346.00 57,773.10 91,768.28 82,453.85 7,524.30 5,103.07 59,868.32 45,329.55 10,809.31 11,344.24 9,418.82 10,346.39 4,147.53 10,330.60 62,007.45
23,797.22
หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ จํานวน ร้อยละ 47,524.66 44.73 1,909.63 18.29 6,042.13 15.89 39,572.90 68.50 9,314.43 11.30 2,421.23 47.45 14,538.77 32.07 (534.93) (4.72) (927.57) (8.97) (6,183.07) (59.85) 38,210.23
ที่มา
1/ รายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จํานวน 1,024 แห่งและข้อมูลจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจํานวน 6,828 แห่ง รวม 7,852 แห่ง
จัดทําและรวบรวมโดย
ส่วนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ผู้รบั ผิดชอบ
นายกิจจา ยกยิ่ง
จัดทําขึ้น
ณ วันที่ 8 มิถุนายน 2554
160.57
2/ เป็นตัวเลขประมาณการจากการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKINK SYSTEM) ของ ธปท.
รูปที่ 1 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 2 ปีงบประมาณ 2554 ไตรมาสที่ 2 ปีงบประมาณ 2553 ไตรมาสที่ 2 ปีงบประมาณ 2554
ล้านบาท 180,000 153,775.73
160,000 140,000 120,000
106,251.07
100,000
91,768.28 82,453.85
80,000
62,007.45
60,000 40,000
23,797.22
20,000 0 1. รายได้
2
2. รายจ่ าย
3. ดุลการคลัง
ดุลการคลัง อปท. พิจารณาจากข้อมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) . จากธนาคารแห่งประเทศไทย
27 สํานักนโยบายการคลัง
ฐานะดุลการคลังของ อปท. ในช่วงครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2554 1. ด้านรายได้ คาดว่า อปท. มีรายได้จาํ นวน 243,320.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีทแี่ ล้ว 35,983.7 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 17.4 เป็นผลจากรัฐบาลโอนเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. 139,198 ล้านบาท เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 24.8 และรายได้ที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 86,417.1 เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.6 ส่วนรายได้ ที่จัดเก็บเอง 17,705.7 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 7.1 2. ด้านรายจ่าย คาดว่า อปท. มีรายจ่ายรวมทั้งสิ้น 206,044.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 46,458.7 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 29.1 ประกอบด้วยรายจ่ายประจํา 127,582.6 ล้านบาท ซึ่งเป็นรายจ่ายหลัก รองลงมา ได้แก่ รายจ่ายเพื่อการลงทุน 26,637.7 ล้านบาท รายจ่ายพิเศษ 22,978.6 ล้านบาท รายจ่ายงบกลาง 16,267.1 ล้านบาท และรายจ่ายกันไว้เบิกเหลื่อมปี 12,578.8 ล้านบาท 3. ดุลการคลัง คาดว่า อปท. เกินดุลทั้งสิ้น จํานวน 37,276 ล้านบาท เนื่องจากรายได้ที่รัฐบาล จัดเก็บให้และแบ่งให้ และได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ อปท. มีรายได้เพิ่มขึ้น แต่เมื่อเทียบกับครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2553 อปท. เกินดุลลดลง จํานวน 10,475.1 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 21.9 ตารางที่ 4 ดุลการคลังของ อปท. ช่วงครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2554 ประเภท 1. รายได้ 1/ 1.1 รายได้ที่จัดเก็บเอง 1.2 รายได้ภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน 2. รายจ่าย 2.1 รายจ่ายงบกลาง 2.2 รายจ่ายประจํา 2.3 รายจ่ายเพือ่ การลงทุน 2.4 รายจ่ายพิเศษ 2.5 รายจ่ายกันไว้เบิกเหลื่อมปี 3. ดุลการคลัง 2/ ที่มา
ครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ 2554 2553 243,320.79 207,337.14 17,705.70 19,049.08 86,417.09 76,773.96 139,198.00 111,514.10 206,044.78 159,586.05 16,267.14 11,911.33 127,582.60 87,973.19 26,637.70 21,267.39 22,978.58 20,016.23 12,578.76 18,417.91 37,276.01 47,751.09
หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ จํานวน ร้อยละ 35,983.65 17.36 (1,343.38) (7.05) 9,643.13 12.56 27,683.90 24.83 46,458.73 29.11 4,355.81 36.57 39,609.41 45.02 5,370.31 25.25 2,962.35 14.80 (5,839.15) (31.70) (10,475.08) (21.94)
1/ รายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จํานวน 1,024 แห่งและข้อมูลจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจํานวน 6,828 แห่ง รวม 7,852 แห่ง 2/ เป็นตัวเลขประมาณการจากการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKINK SYSTEM) ของ ธปท.
จัดทําและรวบรวมโดย
ส่วนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ผู้รับผิดชอบ
นายกิจจา ยกยิ่ง
จัดทําขึ้น
ณ วันที่ 8 มิถุนายน 2554
สํานักนโยบายการคลัง 28
รูปที่ 2 ดุลการคลังของ อปท. ช่วงครึง่ ปีแรกของปีงบประมาณ 2554 ช่วงครึ่งปีแรกของปี 2553 ช่วงครึ่งปีแรกของปี 2554 ล้านบาท 300,000.00 243,320.79
250,000.00 207,337.14
206,044.78
200,000.00 159,586.05 150,000.00 100,000.00
47,751.09
50,000.00
37,276.01
0.00 1. รายได้
29 สํานักนโยบายการคลัง
2. รายจ่ าย
3. ดุลการคลัง
สถานการณ์ด้านหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนเมษายน 2554 หน่วย : ล้านบาท
หนี้สาธารณะคงค้าง เท่ากับ 4,248.4 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 41.0 ของ GDP เพิ่มขึ้นจากเดือนที่แล้ว 2.2 พันล้านบาท โดยเป็นหนี้คงค้าง ที่เป็นภาระงบประมาณต่อ GDP เท่ากับร้อยละ 30.1 และ แยกเป็นหนี้ในประเทศร้อยละ 91.8 ส่วนที่เหลือร้อยละ 8.2 เป็นหนี้ต่างประเทศ หนี้คงค้างที่เพิ่มขึน้ เป็นผลจากหนีท้ ี่รัฐบาลกู้ โดยตรงเพิ่มขึ้น 6.2 พันล้านบาท โดยหนี้ของรัฐวิสาหกิจลดลง 3.9 พันล้านบาท หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง เพิ่มขึน้ 6.2 พันล้านบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว โดยหนี้ในประเทศเพิ่มขึ้น 6.6 พันล้านบาท มีสาเหตุหลัก จากการกู้เงินเพื่อชดเชย การขาดดุลงบประมาณ 16.0 พันล้านบาท การไถ่ถอนตั๋ว สัญญาใช้เงินและตั๋วเงินคลัง รวม 9.0 พันล้านบาท โดยที่ หนี้ต่างประเทศลดลง 0.4 พันล้านบาท
1. รวมหนี้ที่รฐั บาลกู้โดยตรง หนีท้ ี่รัฐบาลกู้โดยตรง-ต่างประเทศ หนีท้ ี่รัฐบาลกู้โดยตรง-ในประเทศ 2. รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจ
หนี้ที่รฐั บาลค้ําประกัน-ต่างประเทศ หนี้ที่รฐั บาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รฐั บาลไม่ค้ําประกันต่างประเทศ** หนี้ที่รฐั บาลไม่ค้ําประกันในประเทศ** 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น* หนีท้ ี่รัฐบาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนีท้ ี่รัฐบาลไม่ค้ําประกัน-ในประเทศ 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟืน้ ฟูฯ FIDF 5. ยอดหนี้สาธารณะคงค้างรวม (1+2+3+4) GDP หนี้สาธารณะคงค้างรวมต่อ GDP (%) หนี้คงค้างที่เป็นภาระงบประมาณต่อ
ณ 31 มี.ค.54 2,988,845.39 53,311.65 2,935,533.74 1,226,212.40 166,129.09 502,900.70 130,891.14
ณ 30 เม.ย.54 2,995,070.58 52,930.29 2,942,140.29 1,222,273.16 166,359.39 500,346.30 130,457.44
426,291.47
425,110.03
31,056.89 31,055.80 4,246,114.68 4,248,399.54 10,291,760 41.26 30.29
10,354,070 41.03 30.14
GDP (%) หมายเหตุ * หน่วยงานภาครัฐอื่น ได้แก่ สํานักงานคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมืองแห่งชาติและสถาบันบริหารกองทุนพลังงาน ** ไม่รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน *** สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะได้ปรับวิธีการคํานวณ GDP ในแต่ละเดือน โดยคํานวณ GDP ของเดือนมีนาคม 2554 จาก ( (GDP ปี 2553/12) *9) + ( (GDP ปี 2554/12) x 3) = 10,291.76 พันล้านบาท และ GDP ของเดือนเมษายนเท่ากับ 10,354.07 พันล้านบาท ที่มา สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ
สํานักนโยบายการคลัง 30
สัดส่วนหนี้ในประเทศและหนี้ต่างประเทศ หนี้ของรัฐวิสาหกิจลดลง 3.9 พันล้านบาท เมื่อเทียบกับ เดือนก่อน เนื่องจากมีการเบิกจ่าย เงินกู้น้อยกว่าการชําระคืนเงินกู้ โดยรัฐวิสาหกิจที่มีการชําระคืน เงินกู้สุทธิที่สําคัญ ได้แก่ ธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร และ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย จํานวน 2.2 และ 1.9 พันล้านบาท ตามลําดับ ในขณะที่องค์การขนส่งมวลชน กรุงเทพฯ และการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค เป็นรัฐวิสาหกิจ ที่เบิกจ่ายเงินกู้สุทธิ จํานวน 1.2 และ 1.0 พันล้านบาท ตามลําดับ
31 สํานักนโยบายการคลัง
หน่วย : พันล้านบาท หนี้ในประเทศ หนี้ต่างประเทศ 3,898.7 349.7 91.8 8.2
จํานวน ร้อยละ (%)
สัดส่วนหนี้ระยะยาวและหนี้ระยะสั้น
จํานวน ร้อยละ (%)
หน่วย : พันล้านบาท หนี้ระยะยาว หนี้ระยะสัน้ 4,218.9 29.5 99.3 0.7
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง กระทรวงการคลังได้กําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง เพื่อเป็นแนวทางในการดําเนินนโยบาย ทางการคลังที่สอดคล้องกับสถานะเศรษฐกิจการเงินและการคลังของประเทศ โดยมีเป้าหมายเพื่อรักษา เสถียรภาพด้านการคลังในระยะปานกลางและระยะยาว ซึ่งกรอบความยั่งยืนทางการคลังประกอบด้วยตัวชี้วัด และเป้าหมาย (60-15-0-25) ดังนี้ o o o o
ยอดหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 การจัดทํางบประมาณสมดุล สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25
สํานักงานเศรษฐกิจการคลังได้จัดทําการวิเคราะห์ความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประเมินและรักษาความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีผลการวิเคราะห์ระหว่าง ปีงบประมาณ 2554-2558 (รายละเอียดดังปรากฏในตารางสรุป) ซึ่งสรุปได้ดังนี้ o สามารถรักษาสัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ให้ไม่เกินร้อยละ 60 o สามารถรักษาสัดส่วนภาระหนี้ต่องบประมาณไม่ให้เกินร้อยละ 15 o ไม่สามารถจัดทํางบประมาณสมดุลในปีงบประมาณ 2554 เนื่องจากจําเป็นต้องจัดทํางบประมาณ แบบขาดดุล เพื่อกระตุ้นการเจริญเติบโตเศรษฐกิจของประเทศ และจากแนวโน้มภาระงบประมาณรายจ่าย ที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้มขี ้อจํากัดในการดําเนินการจัดทํางบประมาณรายจ่ายแบบสมดุล ระหว่างปีงบประมาณ 2554 – 2558 o ไม่สามารถรักษาสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายให้ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 ในปีงบประมาณ 2554 อย่างไรก็ดี คาดว่าในปีงบประมาณ 2558 รัฐบาลจะสามารถจัดสรรงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 25 ของวงเงินงบประมาณได้ เพื่อการพัฒนาและการขยายตัวของเศรษฐกิจที่ยั่งยืน
สํานักนโยบายการคลัง 32
ตารางสรุปผลการวิเคราะห์และสมมติฐาน ตัวชี้วัด 1. ยอดหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP 2. ภาระหนี้ต่องบประมาณ 3. การจัดทํางบประมาณสมดุล 4. สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่าย สมมติฐานสําคัญในการประมาณการ - อัตราขยายตัวของเศรษฐกิจไทย (Real GDP) ร้อยละ - Inflation - Revenue Buoyancy ในประมาณการรายได้ ข้อมูล ณ เดือนเมษายน 2554
33 สํานักนโยบายการคลัง
ปีงบประมาณ เป้าหมาย 2554 2555 2556 F 2557 F 2558 F ไม่เกินร้อยละ 60 44.4 46.4 47.7 49.0 50.4 ไม่เกินร้อยละ 15 10.0 11.0 12.3 12.5 12.7 สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 16.5 17.0 20.0 23.0 25.0 4.0 3.3 1.09
4.4 3.4 0.95
4.5 3.0 1.07
4.5 3.0 1.04
4.5 3.0 1.02
การดําเนินกิจกรรมกึง่ การคลัง ผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล ไตรมาสที่ 1 ปี 2554 (เดือนมกราคม – มีนาคม 2554) รัฐบาลมีการดําเนินมาตรการกิจกรรม กึ่งการคลังผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ในโครงการต่าง ๆ ทีส่ ําคัญอย่างต่อเนื่อง โดยมี ผลการดําเนินงาน ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ปี 2554 ดังนี้ ● การอนุมัติสินเชื่อและการค้ําประกัน สินเชื่อในไตรมาสที่ 1 ปี 2554 มีการอนุมัติ จํานวน 61,509.8 ล้านบาท ลดลง จากช่วงเดียวกันของปีท่แี ล้ว จํานวน 573.0 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.9
การอนุมัติสนิ เชื่อสะสมและการค้ําประกัน สินเชื่อสะสมนับตั้งแต่เริ่มโครงการจนถึง ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ปี 2554 มีจํานวน 1,216,747.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ไตรมาสที่ผ่านมาจํานวน 61,509.8 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.3 โดยมีสาขาสนับสนุนกิจการ SMEs อนุมัติสนิ เชื่อสะสมสูงสุดจํานวน 718,060.6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 59.0 ของยอดสินเชื่อสะสม รองลงมาเป็นสาขา สนับสนุนการประกอบอาชีพระดับฐานราก จํานวน 286,809.1 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 23.6 ของยอดสินเชื่อสะสม และสาขาสนับสนุน ผู้มีรายได้น้อยให้มีที่อยู่อาศัยจํานวน 211,877.9 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 17.4 ของยอดสินเชื่อสะสม
1
กิจกรรมกึ่งการคลัง จําแนกตามประเภทกิจกรรม หนวย : ลานบาท
การอนุมัติสินเชื่อและค้ําประกันสินเชื่อ ยอดสะสม ตั้งแต่เริ่มดําเนินโครงการ
สาขา สาขาสนับสนุน กิจการ SMEs - โครงการสินเชื่อ สําหรับกิจการ SMEs - โครงการค้ําประกัน สินเชื่อให้แก่ SMEs สาขาสนับสนุนผู้มี รายได้น้อยให้มีที่อยู่ อาศัย - โครงการปล่อย สินเชื่อของธนาคาร อาคารสงเคราะห์ - โครงการบ้านออมสิน เพื่อประชาชน - โครงการบ้านเอื้ออาทร (เพื่อประชาชนกู้ซื้อบ้าน) สาขาสนับสนุนการ ประกอบอาชีพระดับ ฐานราก - โครงการธนาคาร ประชาชน - โครงการวิสาหกิจ ชุมชน* รวม
ยอดการอนุมัติ ในไตรมาส
ไตรมาส 1/2554
ไตรมาส 4/2553
ไตรมาส 1/2554
718,060.6
681,065.6
36,995.0 37,819.7
-2.2
601,773.4
571,535.2
30,238.2
29,206.6
3.5
116,287.2
109,530.4
6,756.8
8,613.1
-21.6
211,877.9
207,185.8
4,692.1
5,609.0
-16.3
147,507.0
147,389.3
117.7
1
2,621.9
-95.5
2,944.4
2,944.4
-
-
-
61,426.5
56,852.1
2,987.1
53.1
286,809.1
266,986.4
19,822.7 18,654.1
6.3
79,423.5
76,162.8
3,260.7
4,845.9
-32.7
207,385.6
190,823.6
16,562.0
13,808.2
19.9
1,216,747.6* 1,155,237.8 61,509.8* 62,082.8
-0.9
4,574.4
ไตรมาส 1/2553
อัตราการ เปลี่ยนแปลง จากไตรมาส 1/2553 ร้อยละ
หมายเหตุ * มีการนับซ้ําระหว่างโครงการวิสาหกิจชุมชนในส่วนของผู้ประกอบการรายย่อย และโครงการสินเชื่อสําหรับกิจการ SME ของ ธกส. ในไตรมาสที่ 1 ปี 2554 จํานวน 12,721 ล้านบาท และทําให้ยอดอนุมัติสะสมตั้งแต่เริ่มดําเนินโครงการมีการนับซ้ํา 12,721 ล้านบาท อันเกิดจากข้อมูลไตรมาสที่ 1 ปี 2554 เช่นเดียวกัน
โครงการธอส.-กองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ (กบข.) ระยะที่ 7 เริ่มโครงการเมื่อ 14 ก.พ. 54
สํานักนโยบายการคลัง 34
หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) ลดลงจาก ไตรมาสทีผ่ ่านมา ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ปี 2554 ยอด NPLs เท่ากับ 30,280.1 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 7.9 ของยอดสินเชื่อคงค้าง และมีภาระ ค้ําประกันหนี้จัดชั้นด้อยคุณภาพ (NPGs) ของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) อีกจํานวน 4,874.0 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.4 ของยอดค้ําประกันคงค้าง
หนี้ไมกอใหเกิดรายไดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ หน่วย : ล้านบาท สิ้นไตรมาสที่ 1/2554 สินเชื่อ NPLs สาขา NPLs คงค้าง ratio 1. สาขาสนันสนุนกิจการ SMEs 1.1 สินเชื่อสําหรับกิจการ SMEs 202,146.1 23,996.3 11.9% สินเชื่อ SMEs (ธพว.) 87,074.7 17,815.1 20.5% สินเชื่อ SMEs (ธสน.) 14,199.7 1,772.2 12.5% สินเชื่อ SMEs (ธนาคารออมสิน) 50,866.7 1,110.0 2.2% สินเชื่อ SMEs (ธ.ก.ส.) 50,005.0 3,299.0 6.6% 1.2 การค้ําประกันสินเชื่อ (บสย.) 76,156.7 4,874.0* 6.4% 2. สาขาสนับสนุนผู้มีรายได้น้อยให้มี ที่อยู่อาศัย 106,514.7 1,262.7 1.2% โครงการบ้านเอื้ออาทร 40,727.1 213.8 0.5% โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 3 24,778.5 452.3 1.8% โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 4 9,200.5 163.5 1.8% โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 5 8,538.5 157.2 1.8% โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 6 15,623.2 135.6 0.9% โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 7 64.9 0.0% โครงการบ้าน ธอส. - สปส. 2,770.0 81.6 2.9% โครงการบ้านมิตรภาพสปส. - ธอส. 4,812.0 58.7 1.2% เพื่อที่อยู่อาศัยของผู้ประกันตน 3. สาขาสนับสนุนการประกอบอาชีพ ระดับฐานราก 75,389.7 5,021.1 6.7% โครงการธนาคารประชาชน 18,817.7 1,156.1 6.1% โครงการวิสาหกิจชุมชน 56,572.0 3,865.0 6.8% รวมทั้งหมด (ยกเว้นการค้ําประกันสินเชื่อ SMEs 384,050.5 30,280.1** 7.9% * ของ บสย.) หมายเหตุ * เป็นภาระการค้ําประกันหนี้จัดชั้นด้อยคุณภาพ (NPGs) ** มีการนับซ้ําระหว่างโครงการวิสาหกิจชุมชนในส่วนของผู้ประกอบการ รายย่อยและโครงการสินเชื่อสําหรับกิจการ SME ของ ธกส. ในไตรมาสที่ 1 ปี 2554 จํานวน 3,299 ล้านบาท
35 สํานักนโยบายการคลัง
การกระจายอํานาจทางการคลัง ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผลการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านการปกครองท้องถิ่นระหว่างประเทศ สาธารณรัฐฝรัง่ เศสกับประเทศไทย
ตามที่สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีได้มี การจัดสัมมนาการแลกเปลี่ยนความรู้ด้านการปกครอง ส่วนท้องถิ่นระหว่างประเทศสาธารณรัฐฝรัง่ เศสกับ ประเทศไทย โดยเชิญ Mr. Benoit Sablayrolles ตําแหน่ง Head of the Centralizations and the Valaution Of the Accounts of the local collectivities สังกัด Public Finance General Directorate of the Ministry of Budget มาบรรยาย เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้กับคณะกรรมการการกระจายอํานาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผู้แทนส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และนักวิชาการ ในระหว่างวันที่ 26 – 28 เมษายน 2554 โดย สศค. ได้มอบหมายให้สํานักนโยบายการคลังและสํานักนโยบาย ภาษีเข้าร่วมการสัมมนา สรุปผลการสัมมนาในประเด็น สําคัญดังนี้ ข้อมูลทั่วไป 1. รูปแบบการปกครองท้องถิ่น ของประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส แบ่ง อปท. ออกเป็น 3 รูปแบบ คือ - เทศบาลและกลุ่มเทศบาล (Communes and Communities) ซึ่งทั้งประเทศมีจํานวน 36,682 แห่ง และ 2,600 กลุ่ม ตามลําดับ มีภารกิจจัดการศึกษา โรงเรียนระดับประถมศึกษา จัดบริการน้ําสําหรับอุปโภค บริโภค จัดเก็บขยะ การขนส่งภายในเมือง การจัดการ ด้านการกีฬาและวัฒนธรรม และการวางผังเมือง - องค์การบริหารส่วนจังหวัด (Departments) จํานวน 101 จังหวัด โดยมีภารกิจจัดการศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ถนนในท้องถิ่น และจัด สวัสดิการสําหรับผู้สูงอายุ เด็ก คนพิการและคนยากจน
สํานักนโยบายการคลัง 36
- องค์การระดับภาค (Regions) จํานวน 26 ภาค โดยมีภารกิจจัดการศึกษาโรงเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ระบบรถไฟท้องถิ่น (Local Railway) และการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว อปท. ทั้ง 3 รูปแบบมีสมาชิกสภาท้องถิ่น ที่ได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน มีวาระคราวละ 6 ปี และสภาชิกสภาฯ เป็นผู้เลือกผู้บริหารของ อปท. โดยผู้บริหารมีอํานาจหน้าที่ในการกําหนดอัตราภาษี ที่ท้องถิ่นจัดเก็บเองและการกําหนดงบประมาณรายจ่าย ของ อปท. โดยความเห็นชอบของสภาท้องถิ่น สําหรับ เรื่องการบริหารด้านการเงินและบัญชีที่เกี่ยวข้องกับ การรับจ่ายเงินของ อปท. รัฐบาลจะจัดส่งข้าราชการประจํา ที่เรียกว่า Public Account เป็นผู้ดําเนินการ 2. โครงสร้างรายได้ 2.1 การแบ่งภาษีอากรระหว่าง อปท. และรัฐบาล - ภาษีอากรที่เป็นของรัฐบาล เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา เป็นต้น - ภาษีที่ใช้ฐานร่วมกันระหว่างรัฐบาล กับ อปท. เช่น ภาษีการจดทะเบียนทรัพย์สิน และ ภาษีผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม เป็นต้น - ภาษีที่เป็นของท้องถิ่น เช่น ภาษีทรัพย์สิน ภาษีถิ่นที่อยู่ (Residences tax) ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีการเก็บขยะ ภาษีท่องเที่ยว (Tourism tax) และภาษีการพัฒนาพิเศษ (Special Development taxes) เป็นต้น 2.2 เงินอุดหนุนจากรัฐบาล - เงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรเพื่อให้ อปท. ดําเนินการได้ตามวัตถุประสงค์ของ อปท. โดยจัดสรร ตามหลักเกณฑ์ต่าง ๆ เช่น จํานวนประชากร ขนาดพื้นที่ รายได้จากภาษีอากร และรายได้ประชากร เป็นต้น - เงินอุดหนุนที่จัดสรรให้ตามโครงการลงทุน (Global capital allocation) และเงินอุดหนุนที่จัดสรร ให้ตามจํานวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่ อปท. จ่ายให้แก่รัฐบาล ในโครงการลงทุนต่าง ๆ (Value added compensation on capital expenditure) 37 สํานักนโยบายการคลัง
3. การจัดทํางบประมาณรายจ่ายประจําปี ผู้บริหารของ อปท. แต่ละประเภทเป็นผู้จัดทําและเสนอ งบประมาณรายจ่ายประจําปีเพื่อให้แต่ละสภาท้องถิ่นให้ ความเห็นชอบ โดยรอบระยะเวลาปีงบประมาณของ อปท. และรัฐบาลมีความแตกต่างกัน คือ อปท. เริม่ ปีงบประมาณ วันที่ 1 เมษายน ถึงวันที่ 31 มีนาคม ในขณะที่รัฐบาล เริ่มปีงบประมาณวันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 31 ธันวาคม เพื่อให้ อปท. ทราบประมาณการรายได้จากเงินอุดหนุน และเงินภาษีอากรที่จะมาใช้จัดทํา งบประมาณรายจ่าย ประจําปี เปรียบเทียบการปกครองท้องถิ่นของประเทศ สาธารณรัฐฝรั่งเศสกับประเทศไทย ในประเด็นที่น่าสนใจ ดังนี้ 1. ด้านการจัดแบ่งภารกิจระหว่าง อปท. - อปท. ประเทศฝรั่งเศสแต่ละระดับมี การแบ่งแยกอํานาจหน้าที่กันอย่างชัดเจน โดยเทศบาล รับผิดชอบภารกิจที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดและองค์การระดับภาคจะรับผิดชอบภารกิจ ที่ยุ่งยากซับซ้อนขึ้นตามลําดับ และสําหรับภารกิจ ที่เหมือนกัน เช่น การจัดการศึกษา จะมีการแบ่ง ความรับผิดชอบกันอย่างชัดเจนคือ เทศบาลดูแลให้ การบริการในระดับประถมศึกษา องค์การบริหารส่วนจังหวัด ให้บริการระดับมัธยมศึกษาตอนต้น องค์การระดับภาค ให้บริการระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งแตกต่างจาก ประเทศไทยที่ยังมีความซ้ําซ้อนของภารกิจบางอย่าง เช่น การจัดการศึกษา การก่อสร้างสาธารณูปโภคต่าง ๆ เป็นต้น 2. ด้านการดําเนินนโยบายและการกํากับดูแล - ในการจัดทํางบประมาณของ อปท. ในประเทศฝรั่งเศสใช้ กฎการสมดุล ในการจัดทํา งบประมาณ โดยงบประมาณต้องมีความสมดุลระหว่าง รายได้กับรายจ่าย ทั้งในส่วนการดําเนินงานและการลงทุน คือ รายจ่ายเพื่อการดําเนินงาน (เช่น เงินเดือน ค่าสาธารณูปโภคต่างๆ เป็นต้น) จะต้องเท่ากับรายได้เพื่อ การดําเนินงาน (รายได้จากภาษี รายได้จากเงินอุดหนุน เพื่อการดําเนินงาน และรายได้จากการให้บริการต่างๆ) และรายจ่ายเพื่อการลงทุน (รายจ่ายเพื่อการได้มาซึ่ง สินทรัพย์ถาวร รายจ่ายเพื่อการชําระคืนเงินกู้ รายจ่ายเงินอุดหนุนเพื่อการลงทุน) จะต้องเท่ากับรายได้ สํานักนโยบายการคลัง 38
เพื่อการลงทุน (เงินอุดหนุนเพื่อการลงทุนจากรัฐบาล และหน่วยงานอื่นๆ เงินกู้ และการรับโอนรายได้จาก การดําเนินงาน) ในกรณีประเทศไทยไม่มกี ารแยก งบประมาณเพื่อการดําเนินงานกับงบประมาณ เพื่อการลงทุน และไม่มีกฎหมายหรือระเบียบที่กําหนดให้ อปท. ต้อง จัดทํางบประมาณสมดุล แต่มรี ะเบียบที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ที่เป็นการควบคุมและรักษาวินัยทางการคลังทางอ้อม เช่น การกําหนดให้รายจ่ายเงินเดือน ประโยชน์ตอบแทนอื่น และเงินค่าจ้างของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น และลูกจ้างของ อปท. ต้อง ไม่เกินร้อยละสี่สิบของ งบประมาณรายจ่ายประจําปีของ อปท. - อปท. ในฝรั่งเศสห้ามก่อหนี้ใหม่เพื่อชําระคืน หนี้เก่า งบประมาณเพื่อการชําระหนี้ต้องมาจากเงินอุดหนุน และ/หรือรายได้จากการดําเนินงานเท่านั้น สําหรับการกู้เงิน อปท. ในประเทศไทยกําหนดให้ต้องผ่านการพิจารณาให้ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการพิจารณากลั่นกรอง การกู้เงินที่แต่งตั้งโดยกระทรวงมหาดไทย เป็นต้น - ผูบ้ ริหารท้องถิ่นในฝรั่งเศสสามารถกําหนด อัตราภาษีของ อปท. อย่างเป็นอิสระภายใต้กรอบ ที่กฎหมายกําหนด ในขณะที่ อปท. ของไทยมีอิสระ ค่อนข้างจํากัดในการกําหนดอัตราภาษี และประเภทภาษี ที่จัดเก็บมีมูลค่าไม่มากนักเช่น ภาษีบํารุง อบจ. เป็นต้น - นอกจากนี้ อปท. ในฝรั่งเศสต้องอยู่ภายใต้ การกํากับดูแลของผู้ว่าราชการจังหวัด โดยผู้ว่าฯ มีหน้าที่ตรวจสอบว่าการดําเนินงานของ อปท. เป็นไป ตามกฎหมายหรือระเบียบที่เกี่ยวข้องหรือไม่ และหากมี ข้อสงสัยให้ส่งเรือ่ งดังกล่าวให้ศาลปกครองวินิจฉัย โดยมุ่งเน้น ตรวจสอบ 5 กรณี คือ 1) เมื่อข้อบัญญัติงบประมาณไม่ผ่าน การพิจารณาตามกรอบระยะเวลาที่กําหนด 2) เมื่อการจัดทํางบประมาณไม่สมดุล หรือ มีการก่อหนี้ใหม่เพื่อชําระคืนหนี้เก่า 3) เมื่อการดําเนินงานของ อปท. ขาดดุล 4) เมื่อไม่ได้ตั้งงบประมาณสําหรับรายจ่าย ที่ต้องจ่ายตามกฎหมาย 5) เมื่องบประมาณไม่ผ่านการพิจารณา ของสภาท้องถิ่น 39 สํานักนโยบายการคลัง
3. ด้านเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการเงินการคลัง - อปท. ในฝรั่งเศสมีข้าราชการส่วนกลาง สังกัดกระทรวงการงบประมาณ คือ Public Account ทําหน้าที่ควบคุมกิจกรรมด้านการเงิน ทั้งการจัดเก็บ รายได้ การจ่ายเงินและการทําบัญชีให้แก่ อปท. รวมทั้งให้ คําปรึกษาแก่ อปท. ในการจัดทํางบประมาณรายจ่าย ประจําปี ให้ขอ้ มูลผลกระทบในการปรับเพิ่มหรือลดอัตรา ภาษีเพื่อประกอบการตัดสินใจ โดยไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในการ ตัดสินใจเชิงนโยบายเพื่อให้เป็นไปตามหลักความมีอสิ ระ ของ อปท. (Free Local administration Rule) ซึ่งมี ข้อดี คือ 1) ทําให้การจัดเก็บภาษีมีประสิทธิภาพมาก ขึ้นจากการใช้เจ้าหน้าที่ที่มีความเชี่ยวชาญมากกว่า 2) ทําให้ไม่มีปัญหาในการจัดเก็บและจัดทํา ข้อมูลในภาพรวมของ อปท. ทั้งประเทศ เนื่องจาก Public Account เป็นผู้ดําเนินการทางการเงินและบัญชีทั้งหมด แต่วิธีการนี้ ทําให้รัฐบาลต้องรับภาระรายจ่ายด้าน บุคลากรเพิ่มขึน้ 4. ด้านการบริหารเงินสด - อปท. ในฝรั่งเศสใช้ระบบการจ่ายเงินล่วงหน้า (The Advance System) เพือ่ ให้รองรับกับการใช้จ่าย ของ อปท. ซึ่งเป็นไปอย่างสม่ําเสมอในแต่ละเดือน รัฐบาลจะโอนเงินในสัดส่วน 1:12 ของประมาณการ รายได้ภาษีของ อปท. และเงินอุดหนุนของปีนั้น ๆ ทุกวันที่ 25 ของเดือน และจ่ายส่วนที่เหลือทั้งหมด ในเดือนสุดท้ายของปี ในขณะที่ประเทศไทยการโอนเงิน ให้ อปท. ตามประเภทภาษีและเงินอุดหนุน เช่น รายได้ จากภาษีที่รัฐจัดเก็บให้และแบ่งให้จะโอนให้ อปท. หลังการจัดเก็บเป็นรายเดือน ส่วนเงินอุดหนุนทั่วไปจะ แบ่งเป็น 2 – 3 งวดต่อปี เป็นต้น ความเห็นของสํานักนโยบายการคลัง เมื่อเปรียบเทียบการปกครองท้องถิ่นของ อปท. สาธารณรัฐฝรั่งเศสและไทยในมิติการบริหารการคลังแล้ว การปกครองท้องถิ่นของประเทศไทยควรได้รบั การปรับปรุง การดําเนินการเพื่อความมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นในประเด็น ต่าง ๆ ดังนี้
สํานักนโยบายการคลัง 40
1. ด้านการจัดแบ่งภารกิจระหว่าง อปท. แต่ละประเภท เพื่อไม่ให้เกิดความซ้ําซ้อนในการทํางาน ตามภารกิจ โดยอาจปรับปรุงประกาศคณะกรรมการ การกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อกําหนดขอบเขตของภารกิจให้แก่ อปท. แต่ละประเภท 2. ด้านเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการเงินการคลัง อาจให้มีการโอนงานที่เกีย่ วข้องกับการบริหารด้านการเงิน และบัญชีของ อปท. ให้เป็นภาระหน้าที่ของรัฐบาล โดยให้ส่วนราชการที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องดังกล่าว เช่น คลังจังหวัด เป็นผู้ดําเนินการ ซึ่งทําให้สามารถปรับปรุง การดําเนินงานได้หลายประการ คือ 1) ทําให้การดําเนินงานด้านดังกล่าวมี ประสิทธิภาพและมาตรฐานเดียวกัน 2) เป็นประโยชน์ต่อการจัดทําฐานข้อมูล ด้านบัญชีการเงินการคลังของ อปท. เพื่อนําไปสู่การบริหาร การเงินการคลังของ อปท. อย่างมีประสิทธิภาพ 3) แก้ไขปัญหาการขาดแคลนบุคลากร ด้านการเงินและบัญชีของ อปท. 3. ด้านการดําเนินนโยบายและการกํากับดูแล ควรให้อิสระ อปท. ในการกําหนดอัตราภาษีที่ท้องถิ่น จัดเก็บเองภายใต้กรอบของกฎหมาย โดยเฉพาะภาษี ที่เป็นแหล่งของรายได้สําคัญ เช่น ภาษีโรงเรือนและที่ดิน และภาษีบํารุงท้องที่ และควรมีหน่วยงานที่เชี่ยวชาญ ทําหน้าที่กํากับดูแลและตรวจสอบการดําเนินนโยบาย การคลังของ อปท. ให้มีวินัยเพื่อความยั่งยืน
41 สํานักนโยบายการคลัง
มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ มติคณะรัฐมนตรีที่สําคัญ เดือนมิถุนายน 2554 14 มิถุนายน 2554 1. เรื่อง การปรับปรุงแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําปีงบประมาณ 2554 ครั้งที่ 2 คณะรัฐมนตรีรบั ทราบตามที่คณะกรรมการนโยบายและกํากับการบริหารหนี้สาธารณะเสนอ ดังนี้ 1. รับทราบการปรับปรุงแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําปีงบประมาณ 2554 ครั้งที่ 2 ที่มีการปรับลดวงเงินลง 33,380.13 ล้านบาท จากการปรับปรุงแผนครั้งที่ 1 ซึ่งมีวงเงินรวม 1,291,504.27 ล้านบาท เหลือ 1,258,124.14 ล้านบาท 2. รับทราบการปรับปรุงแผนหนี้สินของรัฐวิสาหกิจที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องอยู่ภายใต้กรอบวงเงิน แผนการบริหารหนี้สาธารณะที่มีวงเงินปรับเพิ่มขึ้น 6,587.96 ล้านบาท จากเดิม 133,205.26 ล้านบาท เป็น 139,793.22 ล้านบาท 2. เรื่อง รายงานผลการดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่อง การชดเชยรายได้เกษตรกรโครงการ ประกันรายได้เกษตรกรผูป้ ลูกข้าว ปี 2552/53 คณะรัฐมนตรีรบั ทราบรายงานผลการดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่อง การชดเชยรายได้ เกษตรกรโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปี 2552/53 โดยสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ได้ประสานติดตามความคืบหน้าในเรื่องที่ให้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) จ่ายเงินชดเชยรายได้เกษตรกรโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปี 2552/53 ให้เกษตรกรเพิ่มเติม ตั้งแต่ช่วงวันที่ 15 มีนาคม - 25 เมษายน 2553 ซึ่งจะต้องจ่ายเงินชดเชยเพิ่มเติมให้เกษตรกรที่ใช้สิทธิ ปริมาณข้าวเปลือก 1,807,716 ตัน เป็นเงิน 651.73 ล้านบาท ธ.ก.ส. รายงานว่าได้มีการดําเนินการจ่ายเงินชดเชยรายได้เกษตรกรโครงการประกันรายได้ เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปี 2552/53 ให้แก่เกษตรกรแล้วทั้งสิน้ จํานวน 76,798 ราย เป็นเงิน 386,298,234.52 บาท ซึ่งแบ่งเป็นโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปี 2552/53 (รอบที่ 1) จํานวน 8,794 ราย เป็นเงินทั้งสิ้น 12,637,606.12 บาท และโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปี 2552/53 (รอบที่ 2) จํานวน 68,004 ราย เป็นเงินทั้งสิ้น 373,660,628.40 บาท
สํานักนโยบายการคลัง 42
สถิติด้านการคลัง
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลเป็นรายปี ตั้งแต่ปี 2533 จนถึงปัจจุบัน (ฐานข้อมูลรายปี) (หน่วย: ล้านบาท) 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 กรมสรรพากร 192,488 237,308 261,042 300,805 366,957 444,512 508,832 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 39,338 48,913 52,945 57,237 67,651 86,190 109,396 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 58,900 75,032 87,273 103,975 133,268 157,078 172,235 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 1,794 2,870 2,884 3,448 3,603 3,196 3,430 ภาษีการค้า 88,035 106,183 37,783 2,739 1,441 1,082 572 ภาษีมูลค่าเพิม่ 66,614 112,582 134,791 163,122 184,227 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 9,629 16,764 21,227 28,311 33,410 อากรแสตมป์ 3,780 3,691 3,781 3,876 4,752 5,284 5,286 รายได้อื่นๆ 642 620 134 184 224 249 276 กรมสรรพสามิต 73,279 92,493 102,028 125,789 138,670 155,308 167,160 ภาษีน้ํามันฯ 32,014 44,415 41,346 43,711 46,131 53,501 58,005 ภาษียาสูบ 13,636 15,904 15,490 15,638 19,708 20,717 24,057 ภาษีสุราฯ 13,754 15,734 15,247 16,679 19,272 19,759 21,548 ภาษีเบียร์ 6,625 7,973 7,818 9,478 12,262 15,131 17,360 ภาษีรถยนต์ 15,713 34,350 34,515 38,147 37,343 ภาษีเครื่องดื่ม 5,142 6,224 5,125 5,158 5,636 6,598 6,845 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 301 546 899 1,190 1,729 ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ 1,813 1,927 695 73 136 156 153 รายได้อื่นๆ 295 316 294 157 111 109 119 กรมศุลกากร 91,025 93,196 86,246 105,910 116,872 128,548 129,543 อากรขาเข้า 89,869 91,998 85,082 104,651 115,540 127,124 128,212 อากรขาออก 55 13 11 11 14 9 6 รายได้อื่นๆ 1,102 1,185 1,153 1,247 1,318 1,415 1,324 รวม 3 กรม 356,792 422,997 449,316 532,504 622,499 728,368 805,535 หน่วยงานอืน่ 48,147 53,977 76,048 75,603 85,047 86,775 89,756 ส่วนราชการอื่น 29,527 30,225 42,896 36,701 41,794 41,250 40,650 กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ 18,620 23,752 33,152 38,902 43,253 45,525 49,106 รวมรายได้จัดเก็บ 404,939 476,974 525,364 608,106 707,546 815,143 895,291 หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 41,432 48,723 52,937 37,813 - ภาษีมูลค่าเพิม่ 38,354 45,330 49,143 34,148 - ภาษีอื่นๆ 3,078 3,393 3,794 3,665 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก 10,348 6,262 7,108 7,473 404,939 476,974 525,364 556,326 652,561 755,098 850,005 รวมรายได้สุทธิ จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ 476,974 525,364 556,326 652,561 755,098 850,005 404,939 รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทนิ ) 2,183,545 2,506,635 2,830,914 3,165,222 3,629,341 4,681,212 4,611,041 สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) 18.5 19.0 18.6 17.6 18.0 16.1 18.4 หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2554 เป็นตัวเลขประมาณการ จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2554 ทีม่ า : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลเป็นรายปี ตั้งแต่ปี 2533 จนถึงปัจจุบัน (ฐานข้อมูลรายปี) (หน่วย: ล้านบาท) 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 กรมสรรพากร 518,620 498,966 452,317 461,322 499,711 544,281 627,682 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 115,137 122,945 106,071 91,790 101,136 108,371 117,309 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 162,655 99,480 108,820 145,554 149,677 170,415 208,859 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 5,322 5,316 10,872 10,739 17,154 19,128 21,773 ภาษีการค้า 264 342 186 126 84 99 45 ภาษีมูลค่าเพิม่ 195,813 232,388 201,976 192,510 215,158 228,196 261,306 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 34,286 35,241 21,311 17,015 12,852 13,715 12,757 อากรแสตมป์ 4,734 2,992 2,824 3,351 3,408 4,122 5,348 รายได้อื่นๆ 408 263 258 236 242 236 286 กรมสรรพสามิต 180,168 155,564 163,892 168,822 177,600 208,153 246,641 ภาษีน้ํามันฯ 63,983 65,373 66,584 64,832 64,124 68,840 73,605 ภาษียาสูบ 29,816 28,560 26,655 28,134 32,310 31,697 33,289 ภาษีสุราฯ 22,763 20,257 22,800 8,276 8,933 22,290 25,676 ภาษีเบียร์ 21,383 23,191 24,992 26,438 29,991 31,650 36,987 ภาษีรถยนต์ 32,295 8,557 13,941 26,781 30,330 41,560 56,474 ภาษีเครื่องดื่ม 7,519 7,023 6,484 7,444 8,100 7,748 8,621 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 1,765 1,003 904 1,104 1,429 1,793 2,347 ภาษีรถจักรยานยนต์ 129 538 482 791 932 1,224 1,581 ภาษีแบตเตอรี่ 168 442 419 444 713 582 591 ภาษีการโทรคมนาคม 6,420 ภาษีอื่นๆ 204 481 474 579 525 556 813 รายได้อื่นๆ 142 139 158 3,999 213 212 239 กรมศุลกากร 104,160 69,338 68,095 87,195 92,838 98,629 111,819 อากรขาเข้า 102,704 67,108 66,994 85,338 91,359 96,326 110,054 อากรขาออก 8 17 36 75 82 163 216 รายได้อื่นๆ 1,448 2,213 1,064 1,782 1,397 2,139 1,549 รวม 3 กรม 802,947 723,868 684,303 717,338 770,149 851,062 986,142 หน่วยงานอืน่ 106,101 91,813 109,042 100,257 104,617 108,375 118,485 ส่วนราชการอื่น 38,102 42,518 52,679 56,182 45,482 46,965 50,772 กรมธนารักษ์ 2,483 3,599 รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน แปรรูปรัฐวิสาหกิจ 1,065 รัฐวิสาหกิจ 68,000 49,295 56,364 44,075 59,135 57,862 64,114 รวมรายได้จัดเก็บ 909,049 815,681 793,346 817,595 874,766 959,437 1,104,627 หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 58,400 74,660 75,325 57,036 77,920 79,902 80,150 - ภาษีมูลค่าเพิม่ 55,313 63,858 64,655 47,358 65,682 65,769 69,261 - ภาษีอื่นๆ 3,087 10,802 10,670 9,679 12,239 14,133 10,888 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 2,994 3,198 3,732 4,109 5,042 3. เงินกันชดเชยการส่งออก 7,073 7,559 5,916 7,278 7,698 8,234 10,501 843,576 733,462 709,111 750,082 785,416 867,192 1,008,934 รวมรายได้สุทธิ 16,525 40,604 จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ 843,576 733,462 709,111 750,082 785,416 850,667 968,330 รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทนิ ) 4,732,610 4,626,447 4,637,079 4,922,731 5,133,502 5,450,643 5,917,369 สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) 17.8 15.9 15.3 15.2 15.3 15.6 16.4 หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2554 เป็นตัวเลขประมาณการ จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2554 ทีม่ า : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลเป็นรายปี ตั้งแต่ปี 2533 จนถึงปัจจุบัน (ฐานข้อมูลรายปี) (หน่วย: ล้านบาท) 2547 2548 2549 2550 2551 กรมสรรพากร 772,236 937,149 1,057,200 1,119,194 1,276,080 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 135,155 147,352 170,079 192,795 204,847 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 261,890 329,516 374,689 384,619 460,650 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 31,935 41,178 56,524 65,735 74,033 ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิม่ 316,134 385,718 417,772 434,272 503,439 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 20,024 26,304 30,623 34,406 25,133 อากรแสตมป์ 6,820 6,816 7,268 7,137 7,724 รายได้อื่นๆ 278 266 244 230 254 กรมสรรพสามิต 275,773 279,395 274,095 287,231 278,303 ภาษีน้ํามันฯ 76,996 76,458 70,742 76,944 67,211 ภาษียาสูบ 36,325 38,193 35,657 41,824 41,832 ภาษีสุราฯ 26,181 28,620 29,143 33,298 36,816 ภาษีเบียร์ 42,749 45,483 44,207 52,088 53,465 ภาษีรถยนต์ 65,012 58,760 59,810 55,844 57,822 ภาษีเครื่องดื่ม 9,350 10,106 10,765 11,735 12,391 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2,859 3,712 3,525 3,727 3,769 ภาษีรถจักรยานยนต์ 1,641 1,849 2,010 1,665 1,673 ภาษีแบตเตอรี่ 763 762 1,178 1,426 1,708 ภาษีการโทรคมนาคม 12,625 13,935 15,523 7,229 111 ภาษีอื่นๆ 993 1,121 1,169 1,183 1,196 รายได้อื่นๆ 280 398 367 269 309 กรมศุลกากร 106,122 110,403 96,232 90,625 99,602 อากรขาเข้า 103,635 106,917 93,633 88,169 96,944 อากรขาออก 267 285 314 345 501 รายได้อื่นๆ 2,220 3,202 2,285 2,112 2,157 รวม 3 กรม 1,154,132 1,326,948 1,427,528 1,497,050 1,653,985 หน่วยงานอืน่ 135,747 147,472 153,996 206,724 183,659 ส่วนราชการอื่น 49,086 60,664 73,500 80,593 77,546 กรมธนารักษ์ 2,976 3,210 3,330 3,052 4,682 รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์ 25,075 เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน 36,951 แปรรูปรัฐวิสาหกิจ 6,000 1,484 รัฐวิสาหกิจ 52,611 82,114 77,165 86,129 101,430 รวมรายได้จัดเก็บ 1,289,880 1,474,420 1,581,524 1,703,775 1,837,643 หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 115,574 131,220 162,951 181,793 202,716 - ภาษีมูลค่าเพิม่ 96,947 109,625 138,206 150,035 173,994 - ภาษีอื่นๆ 18,627 21,594 24,745 31,758 28,723 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 6,368 7,451 9,172 9,514 11,625 3. เงินกันชดเชยการส่งออก 11,226 12,421 12,399 10,416 12,044 1,156,713 1,323,328 1,397,002 1,502,051 1,611,258 รวมรายได้สุทธิ 47,726 58,400 57,312 57,592 65,420 จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ 1,108,986 1,264,928 1,339,691 1,444,460 1,545,837 รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทนิ ) 6,489,476 7,092,893 7,844,939 8,525,197 9,080,466 สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) 17.1 17.8 17.1 16.9 17.0 หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2554 เป็นตัวเลขประมาณการ จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2554 ทีม่ า : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
2552 1,138,565 198,095 392,172 90,712 431,775 18,099 7,488 223 291,221 91,059 43,936 37,982 48,993 49,278 12,186 3,111 1,608 1,479 0 1,062 528 80,288 77,187 404 2,697 1,510,074 174,224 83,761 3,822
86,641 1,684,297 199,408 157,838 41,570 9,040 11,160 1,464,690 53,832 1,410,858 9,041,551 15.6
ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลเป็นรายปี ตั้งแต่ปี 2533 จนถึงปัจจุบัน (ฐานข้อมูลรายปี) (หน่วย: ล้านบาท) 2553 2554 (8 เดือน) กรมสรรพากร 1,264,584 964,181 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 208,374 163,562 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 454,565 320,383 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 67,599 72,497 ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิม่ 502,176 378,747 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 22,892 22,248 อากรแสตมป์ 8,735 6,558 รายได้อื่นๆ 243 186 กรมสรรพสามิต 405,862 291,659 ภาษีน้ํามันฯ 152,825 97,857 ภาษียาสูบ 53,381 39,236 ภาษีสุราฯ 42,398 35,404 ภาษีเบียร์ 58,831 42,623 ภาษีรถยนต์ 77,202 61,919 ภาษีเครื่องดื่ม 14,245 9,828 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 1,615 841 ภาษีรถจักรยานยนต์ 1,979 1,442 ภาษีแบตเตอรี่ 1,947 1,438 ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอื่นๆ 1,039 738 รายได้อ่นื ๆ 400 335 กรมศุลกากร 97,148 66,405 อากรขาเข้า 93,512 64,744 อากรขาออก 169 153 รายได้อื่นๆ 3,467 1,508 รวม 3 กรม 1,767,594 1,322,244 หน่วยงานอืน่ 227,371 148,421 ส่วนราชการอื่น 131,950 68,655 กรมธนารักษ์ 3,868 3,437 รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ 91,553 76,329 รวมรายได้จัดเก็บ 1,994,966 1,470,665 หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 222,709 151,929 - ภาษีมูลค่าเพิม่ 170,280 117,352 - ภาษีอื่นๆ 52,429 34,577 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 11,942 8,404 3. เงินกันชดเชยการส่งออก 13,518 8,031 1,746,797 1,302,301 รวมรายได้สุทธิ 67,886 30,506 จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ 1,678,911 1,271,795 รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทนิ ) 10,104,821 10,852,600 สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) 16.6 11.7 หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2554 เป็นตัวเลขประมาณการ จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2554 ทีม่ า : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ
2532
2533
2534
2535
2536
2537
1. วงเงินงบประมาณ
285,500.0
335,000.0
387,500.0
460,400.0
560,000.0
625,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP)
16.9
16.7
16.1
17.6
17.9
17.9
(อัตราเพิ่ม)
17.2
17.3
15.7
18.8
21.6
11.6
210,571.8
227,541.2
261,932.2
301,818.2
351,060.8
376,382.3
(สัดส่วนต่อ GDP)
12.5
11.3
10.9
11.5
11.2
10.8
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
73.8
67.9
67.6
65.6
62.7
60.2
(อัตราเพิ่ม)
13.3
8.1
15.1
15.2
16.3
7.2
53,592.4
82,043.2
105,647.6
130,652.6
171,606.7
212,975.6
3.2
4.1
4.4
5.0
5.5
6.1
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
18.8
24.5
27.3
28.4
30.6
34.1
(อัตราเพิ่ม)
32.9
53.1
28.8
23.7
31.3
24.1
21,335.8
25,415.6
19,920.2
27,929.2
37,332.5
35,642.1
7.5
7.6
5.1
6.1
6.7
5.7
22.9
19.1
(21.6)
40.2
33.7
(4.5)
1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง
-
-
-
-
-
-
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
-
-
-
-
-
-
2. ประมาณการรายได้
262,500.0
310,000.0
387,500.0
460,400.0
534,400.0
600,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP)
15.5
15.5
16.1
17.6
17.1
17.1
9.4
18.1
25.0
18.8
16.1
12.3
(23,000.0)
(25,000.0)
0.0
0.0
(25,600.0)
(25,000.0)
(1.4)
(1.2)
0.0
0.0
(0.8)
(0.7)
1.1 รายจ่ายประจํา
1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP)
1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)
(อัตราเพิ่ม) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
1,690,500.0 2,005,254.0 2,400,000.0 2,620,000.0 3,130,000.0 3,499,000.0
(GDP) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2552 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2533 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 1,507.5 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ
2538
2539
2540
2541
2542
2543
1. วงเงินงบประมาณ
715,000.0
843,200.0
944,000.0
830,000.0
825,000.0
860,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP)
17.4
18.0
18.1
16.4
16.5
16.7
(อัตราเพิ่ม)
14.4
17.9
12.0
(10.3)
3.1
4.2
434,383.3
482,368.2
528,293.4
519,505.8
586,115.1
635,585.1
(สัดส่วนต่อ GDP)
10.6
10.3
10.1
10.2
11.7
12.4
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
60.8
57.2
56.0
62.6
71.0
73.9
(อัตราเพิ่ม)
15.4
11.0
9.5
(0.2)
14.4
8.4
253,839.8
327,288.6
391,209.7
279,258.1
233,534.7
217,097.6
6.2
7.0
7.5
5.5
4.7
4.2
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
35.5
38.8
41.4
33.6
28.3
25.2
(อัตราเพิ่ม)
19.2
28.9
19.5
(26.5)
(8.9)
(7.0)
26,776.9
33,543.2
24,496.9
31,236.1
5,350.2
7,317.3
3.7
4.0
2.6
3.8
0.6
0.9
(24.9)
25.3
(27.0)
27.5
(82.9)
36.8
1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง
-
-
-
-
-
-
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
-
-
-
-
-
-
2. ประมาณการรายได้
715,000.0
843,200.0
925,000.0
782,020.0
800,000.0
750,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP)
17.4
18.0
17.8
15.4
16.0
14.6
(อัตราเพิ่ม)
19.2
17.9
9.7
(15.5)
2.3
(6.3)
3. การขาดดุล/เกินดุล
0.0
0.0
0.0
(47,980.0)
0.0
0.0
0.0
(0.9)
1.1 รายจ่ายประจํา
1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP)
1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)
(สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
(25,000.0) (110,000.0) (0.5)
(2.1)
4,099,000.0 4,684,000.0 5,205,500.0 5,073,000.0 5,002,000.0 5,137,000.0
(GDP) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2552 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2540 เป็นตัวเลขที่ปรับลดจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จํานวน 984,000 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2541 เป็นตัวเลขที่ปรับลดและปรับเพิ่มจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จํานวน 923,000 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดส่วนต่อ GDP)
2544
2545
2546
910,000.0 1,023,000.0
2547
2548
2549
999,900.0 1,163,500.0 1,250,000.0 1,360,000.0
17.5
19.3
17.2
18.0
17.4
17.5
5.8
12.4
(2.3)
16.4
7.4
8.8
679,286.5
773,714.1
753,454.7
836,544.4
881,251.7
958,477.0
(สัดส่วนต่อ GDP)
13.0
14.6
13.0
12.9
12.2
12.3
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
74.6
75.6
75.4
71.9
70.5
70.5
6.9
13.9
(2.6)
11.0
5.3
8.8
218,578.2
223,617.0
211,493.5
292,800.2
318,672.0
358,335.8
4.2
4.2
3.6
4.5
4.4
4.6
24.0
21.9
21.2
25.2
25.5
26.3
0.7
2.3
(5.4)
38.4
8.8
12.4
12,135.3
25,668.9
34,951.8
34,155.4
50,076.3
43,187.2
1.3
2.5
3.5
2.9
4.0
3.2
65.8
111.5
36.2
(2.3)
46.6
(13.8)
1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง
-
-
-
-
-
-
(สัดส่วนต่องบประมาณ)
-
-
-
-
-
-
2. ประมาณการรายได้
805,000.0
823,000.0
(สัดส่วนต่อ GDP)
15.5
15.5
14.2
16.4
17.4
17.5
7.3
2.2
0.2
28.9
17.5
8.8
(105,000.0) (200,000.0) (174,900.0)
(99,900.0)
0.0
0.0
(1.5)
0.0
0.0
(อัตราเพิ่ม) 1.1 รายจ่ายประจํา
(อัตราเพิ่ม) 1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)
(อัตราเพิ่ม) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ
(2.0)
(3.8)
825,000.0 1,063,600.0 1,250,000.0 1,360,000.0
(3.0)
5,208,600.0 5,309,200.0 5,799,700.0 6,476,100.0 7,195,000.0 7,786,200.0
(GDP) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2552 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2547 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 135,500 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2548 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 50,000 ล้านบาท
โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดส่วนต่อ GDP) (อัตราเพิ่ม) 1.1 รายจ่ายประจํา (สัดส่วนต่อ GDP) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (อัตราเพิ่ม) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ (GDP)
2550
2551
2552
2553
2554
1,566,200.0 1,660,000.0 1,951,700.0 1,700,000.0
2,169,967.5
18.6
18.0
22.4
17.5
20.0
15.2
6.0
17.6
(12.9)
27.6
1,135,988.1 1,213,989.1 1,411,382.4 1,434,710.1
1,667,439.7
13.5
13.1
16.2
14.8
15.4
72.5
73.1
72.3
84.4
76.8
18.5
6.9
16.3
1.7
16.2
374,721.4
400,483.9
429,961.8
214,369.0
355,484.5
4.5
4.3
4.9
2.2
3.3
23.9
24.1
22.0
12.6
16.4
4.6
6.9
7.4
(50.1)
65.8
55,490.5
45,527.0
63,676.1
50,920.9
32,554.6
3.5
2.7
3.3
3.0
1.5
28.5
(18.0)
39.9
(20.0)
(36.1)
-
-
46,679.7
-
114,488.7
-
-
2.4
-
5.3
1,420,000.0 1,495,000.0 1,604,639.5 1,350,000.0
1,770,000.0
16.9
16.2
18.4
13.9
16.3
4.4
5.3
7.3
(15.9)
31.1
(146,200.0) (165,000.0) (347,060.5) (350,000.0)
(399,967.5)
(1.7)
(1.8)
(4.0)
(3.6)
(3.7)
8,399,000.0 9,232,200.0 8,712,500.0 9,726,200.0
10,840,500.0
ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2553 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2552 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 116,700 ล้านบาท และเป็นปีแรกที่มีการตั้ง งบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง จํานวน 46,679.7 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2554 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 99,967.5 ล้านบาท
ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปีงบประมาณ 1. รายได้นําส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 29 มิถุนายน 2554
2552 1,409,653 1,917,129 1,790,862 126,266 (507,476) 131,190 (376,286) 441,061 64,775
หน่วย: ล้านบาท 2553 8 เดือนแรก 2554 1,699,431 1,051,992 1,784,413 1,510,316 1,627,875 1,410,758 156,538 99,558 (84,982) (458,324) (12,107) 49,218 (97,088) (409,106) 232,575 134,939 135,487 (274,167)
รายเดือน 1. รายได้นําส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 13 มิถุนายน 2554
ต.ค. 44 55,425.10 100,049.96 90,062.75 9,987.21 (44,624.86) 19,378.63 (25,246.23) 0.00 (25,246.23)
พ.ย. 44 62,156.09 85,918.77 73,774.53 12,144.24 (23,762.68) (11,119.21) (34,881.89) 18,000.00 (16,881.89)
ธ.ค. 44 57,848.99 72,432.29 60,235.39 12,196.90 (14,583.30) (6,436.38) (21,019.68) 22,000.00 980.32
ม.ค. 45 66,738.15 78,848.96 69,253.94 9,595.02 (12,110.81) 16,745.52 4,634.71 11,000.00 15,634.71
ก.พ. 45 54,488.57 81,164.16 72,824.92 8,339.24 (26,675.59) 14,026.04 (12,649.55) 19,000.00 6,350.45
ปีงบประมาณ 2545 มี.ค. 45 เม.ย. 45 76,384.30 71,471.73 106,000.75 74,669.56 96,192.66 69,233.75 9,808.09 5,435.81 (29,616.45) (3,197.83) (3,820.75) (15,701.93) (33,437.20) (18,899.76) 15,000.00 33,000.00 (18,437.20) 14,100.24
พ.ค. 45 83,477.86 73,606.26 68,969.47 4,636.79 9,871.60 (3,307.64) 6,563.96 17,000.00 23,563.96
มิ.ย. 45 103,154.68 75,724.03 72,404.49 3,319.54 27,430.65 (14,309.61) 13,121.04 6,000.00 19,121.04
ก.ค. 45 63,596.81 79,078.33 75,909.41 3,168.92 (15,481.52) (8,772.60) (24,254.12) 10,000.00 (14,254.12)
ส.ค. 45 63,270.72 67,111.93 64,041.41 3,070.52 (3,841.21) (3,201.63) (7,042.84) 11,000.00 3,957.16
ก.ย. 45 90,694.37 108,995.56 104,864.46 4,131.10 (18,301.19) 20,990.52 2,689.33 8,000.00 10,689.33
ต.ค. 45 63,866.99 87,469.20 77,465.35 10,003.85 (23,602.21) 2,866.57 (20,735.64) 0.00 (20,735.64)
พ.ย. 45 65,853.71 85,991.04 78,387.53 7,603.51 (20,137.33) (12,475.75) (32,613.08) 14,500.00 (18,113.08)
รายเดือน 1. รายได้นําส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 13 มิถุนายน 2554
ธ.ค. 45 76,597.35 71,767.18 63,556.22 8,210.96 4,830.17 (14,081.38) (9,251.21) 12,000.00 2,748.79
ม.ค. 46 78,963.93 72,712.45 65,672.68 7,039.77 6,251.48 (6,256.83) (5.35) 19,000.00 18,994.65
ก.พ. 46 72,577.44 67,944.32 60,629.66 7,314.66 4,633.12 (31,478.01) (26,844.89) 20,500.00 (6,344.89)
ปีงบประมาณ 2546 มี.ค. 46 เม.ย. 46 78,045.85 71,084.74 70,814.78 99,528.82 60,722.72 97,198.30 10,092.06 2,330.52 7,231.07 (28,444.08) (20,171.24) 42,616.21 (12,940.17) 14,172.13 0.00 0.00 (12,940.17) 14,172.13
พ.ค. 46 76,847.65 76,029.76 70,487.83 5,541.93 817.89 (31,533.33) (30,715.44) 4,500.00 (26,215.44)
มิ.ย. 46 134,398.68 81,883.44 75,777.31 6,106.13 52,515.24 (21,583.36) 30,931.88 4,000.00 34,931.88
ก.ค. 46 74,115.05 91,158.28 87,175.00 3,983.28 (17,043.23) 16,248.76 (794.47) 1,500.00 705.53
ส.ค. 46 73,441.92 74,328.64 68,825.45 5,503.19 (886.72) 15,826.01 14,939.29 0.00 14,939.29
ก.ย. 46 101,047.42 99,878.14 92,401.05 7,477.09 1,169.28 31,924.61 33,093.89 0.00 33,093.89
ต.ค. 46 81,873.68 83,154.55 73,127.36 10,027.19 (1,280.87) (13,762.21) (15,043.08) 0.00 (15,043.08)
พ.ย. 46 68,985.30 86,343.15 74,669.43 11,673.72 (17,357.85) (24,780.42) (42,138.27) 0.00 (42,138.27)
ธ.ค. 46 105,945.66 131,699.42 118,931.97 12,767.45 (25,753.76) 2,006.94 (23,746.82) 0.00 (23,746.82)
ม.ค. 47 88,994.15 94,457.93 86,714.71 7,743.22 (5,463.78) 10,099.83 4,636.05 13,000.00 17,636.05
รายเดือน 1. รายได้นําส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 13 มิถุนายน 2554
ก.พ. 47 66,317.88 74,960.10 65,653.35 9,306.75 (8,642.22) (27,842.96) (36,485.18) 0.00 (36,485.18)
ปีงบประมาณ 2547 มี.ค. 47 เม.ย. 47 92,302.62 81,144.53 86,329.03 98,726.51 76,347.35 94,085.57 9,981.68 4,640.94 5,973.59 (17,581.98) (3,760.85) 11,578.89 2,212.74 (6,003.09) 8,000.00 18,500.00 10,212.74 12,496.91
พ.ค. 47 78,294.72 85,310.34 81,337.85 3,972.49 (7,015.62) (6,321.48) (13,337.10) 3,500.00 (9,837.10)
มิ.ย. 47 167,553.56 94,594.90 89,927.40 4,667.50 72,958.66 (24,203.78) 48,754.88 0.00 48,754.88
ก.ค. 47 82,369.12 98,056.31 94,429.25 3,627.06 (15,687.19) 3,527.31 (12,159.88) 0.00 (12,159.88)
ส.ค. 47 78,747.85 97,739.39 94,164.26 3,575.13 (18,991.54) 10,608.35 (8,383.19) 10,960.00 2,576.81
ก.ย. 47 134,624.31 108,738.42 103,271.37 5,467.05 25,885.89 7,832.93 33,718.82 36,040.00 69,758.82
ต.ค. 47 63,128.73 89,877.24 86,902.43 2,974.81 (26,748.51) (15,026.49) (41,775.00) 0.00 (41,775.00)
พ.ย. 47 80,493.63 99,995.83 92,444.25 7,551.58 (19,502.20) (28,238.72) (47,740.92) 0.00 (47,740.92)
ธ.ค. 47 105,599.21 108,367.14 98,217.20 10,149.94 (2,767.93) 17,770.72 15,002.79 0.00 15,002.79
ม.ค. 48 109,572.54 131,441.63 124,068.03 7,373.60 (21,869.09) (2,574.89) (24,443.98) 0.00 (24,443.98)
ก.พ. 48 82,220.73 78,642.63 69,554.07 9,088.56 3,578.10 (4,637.83) (1,059.73) 0.00 (1,059.73)
ปีงบประมาณ มี.ค. 48 90,209.51 94,434.28 83,724.98 10,709.30 (4,224.77) 13,092.30 8,867.53 0.00 8,867.53
รายเดือน
2548
1. รายได้นําส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 13 มิถุนายน 2554
เม.ย. 48 96,049.87 103,612.91 93,171.27 10,441.64 (7,563.04) 6,734.24 (828.80) 0.00 (828.80)
พ.ค. 48 95,991.57 99,011.99 91,541.35 7,470.64 (3,020.42) (2,059.19) (5,079.61) 0.00 (5,079.61)
มิ.ย. 48 181,585.93 111,946.80 103,941.67 8,005.13 69,639.13 (14,681.67) 54,957.46 0.00 54,957.46
ก.ค. 48 85,035.00 90,468.84 82,914.17 7,554.67 (5,433.84) 1,918.59 (3,515.25) 0.00 (3,515.25)
ส.ค. 48 92,744.13 103,686.17 94,959.67 8,726.50 (10,942.04) (967.19) (11,909.23) 0.00 (11,909.23)
ก.ย. 48 182,297.15 133,695.46 118,335.91 15,359.55 48,601.69 (26,393.08) 22,208.61 0.00 22,208.61
รายเดือน 1. รายได้นําส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 13 มิถุนายน 2554
ต.ค. 48 83,151.90 125,509.55 116,991.55 8,518.00 (42,357.65) (22,475.41) (64,833.06) 0.00 (64,833.06)
พ.ย. 48 92,336.70 123,942.84 111,572.84 12,370.00 (31,606.14) 7,527.05 (24,079.09) 0.00 (24,079.09)
ธ.ค. 48 78,738.60 112,308.49 83,443.49 28,865.00 (33,569.89) 38,616.09 5,046.20 0.00 5,046.20
ม.ค. 49 102,039.40 116,800.23 110,090.23 6,710.00 (14,760.83) 27,213.95 12,453.12 0.00 12,453.12
ก.พ. 49 88,199.20 112,467.96 100,880.96 11,587.00 (24,268.76) 17,558.83 (6,709.93) 0.00 (6,709.93)
ปีงบประมาณ 2549 มี.ค. 49 เม.ย. 49 110,019.90 115,364.00 127,437.29 100,074.26 109,598.29 96,226.26 17,839.00 3,848.00 (17,417.39) 15,289.74 20,845.92 (6,660.59) 3,428.53 8,629.15 0.00 0.00 3,428.53 8,629.15
พ.ค. 49 107,845.70 88,878.80 82,182.80 6,696.00 18,966.90 (26,537.37) (7,570.47) 0.00 (7,570.47)
มิ.ย. 49 214,818.20 117,303.38 110,649.38 6,654.00 97,514.82 (22,994.19) 74,520.63 0.00 74,520.63
ก.ค. 49 73,583.00 98,591.67 92,368.67 6,223.00 (25,008.67) 9,901.37 (15,107.30) 0.00 (15,107.30)
ส.ค. 49 93,270.80 116,507.14 111,094.14 5,413.00 (23,236.34) 6,863.00 (16,373.34) 0.00 (16,373.34)
หน่วย: ล้านบาท รายเดือน 1. รายได้นําส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 13 มิถุนายน 2554
ก.ย. 49 180,323.20 155,461.55 145,640.55 9,821.00 24,861.65 43,231.28 68,092.93 0.00 68,092.93
ต.ค. 49 110,228.35 89,558.95 81,266.44 8,292.51 20,669.40 (50,427.78) (29,758.38)
พ.ย. 49 97,895.04 111,438.22 93,464.94 17,973.28 (13,543.18) (25,856.30) (39,399.48)
ธ.ค. 49 96,686.52 99,182.26 83,126.82 16,055.44 (2,495.74) 8,754.64 6,258.90
(29,758.38)
(39,399.48)
6,258.90
ม.ค. 50 107,034.75 97,053.24 87,122.34 9,930.90 9,981.51 192.14 10,173.65 18,000.00 28,173.65
ก.พ. 50 90,660.38 200,314.37 191,229.42 9,084.95 (109,653.99) 27,531.98 (82,122.01) 21,500.00 (60,622.01)
ปีงบประมาณ 2550 มี.ค. 50 เม.ย. 50 110,251.71 88,717.27 139,900.26 115,829.71 127,872.18 111,215.46 12,028.08 4,614.25 (29,648.55) (27,112.44) (24,937.83) (802.58) (54,586.38) (27,915.02) 65,760.00 12,395.00 11,173.62 (15,520.02)
พ.ค. 50 108,693.26 137,086.33 131,311.65 5,774.68 (28,393.07) 1,629.11 (26,763.96) 26,005.00 (758.96)
มิ.ย. 50 259,906.17 164,380.91 158,603.01 5,777.90 95,525.26 (41,114.60) 54,410.66
ก.ค. 50 84,981.74 146,554.95 142,783.24 3,771.71 (61,573.21) 10,415.72 (51,157.49)
ส.ค. 50 110,234.72 122,778.40 118,609.07 4,169.33 (12,543.68) 22,625.91 10,082.23
54,410.66
(51,157.49)
10,082.23
ก.ย. 50 179,428.01 150,888.99 144,234.89 6,654.10 28,539.02 43,550.81 72,089.83 2,540.00 74,629.83
รายเดือน 1. รายได้นําส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 13 มิถุนายน 2554
ต.ค. 50 116,253.36 155,388.77 147,936.01 7,452.76 (39,135.41) (20,659.94) (59,795.35) 11,500.00 (48,295.35)
พ.ย. 50 102,332.24 127,018.47 112,112.92 14,905.55 (24,686.23) (26,908.07) (51,594.30) 13,500.00 (38,094.30)
ธ.ค. 50 108,087.37 110,866.76 97,846.06 13,020.70 (2,779.39) (2,051.81) (4,831.20) 17,500.00 12,668.80
ม.ค. 51 99,967.16 158,402.13 146,916.71 11,485.42 (58,434.97) 23,962.97 (34,472.00) 16,500.00 (17,972.00)
ก.พ. 51 108,209.40 118,658.14 108,633.38 10,024.76 (10,448.74) 11,214.11 765.37 15,269.73 16,035.10
ปีงบประมาณ 2551 มี.ค. 51 เม.ย. 51 95,822.28 124,153.48 125,147.22 154,636.48 113,532.92 150,029.48 11,614.30 4,607.00 (29,324.94) (30,483.00) 5,464.24 7,744.69 (23,860.70) (22,738.31) 11,178.15 35,943.45 (12,682.55) 13,205.14
พ.ค. 51 168,954.93 126,766.19 119,961.33 6,804.86 42,188.74 (48,861.72) (6,672.98) 11,500.00 4,827.02
มิ.ย. 51 208,079.74 143,198.27 137,088.31 6,109.96 64,881.47 32,513.48 97,394.95 19,000.00 116,394.95
ก.ค. 51 104,134.25 138,837.60 134,497.09 4,340.51 (34,703.35) (32,798.66) (67,502.01) 5,808.67 (61,693.34)
ส.ค. 51 107,658.48 124,628.30 120,423.44 4,204.86 (16,969.82) 22,917.98 5,948.16 6,635.64 12,583.80
ก.ย. 51 202,184.00 149,855.93 143,501.13 6,354.80 52,328.07 36,284.47 88,612.54 664.36 89,276.90
รายเดือน 1. รายได้นําส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 13 มิถุนายน 2554
ต.ค. 51 93,001.00 93,718.12 85,192.72 8,525.40 (717.12) (58,699.02) (59,416.14) 10,000.00 (49,416.14)
พ.ย. 51 90,411.00 165,200.46 149,302.68 15,897.78 (74,789.46) (29,544.46) (104,333.92) 15,000.00 (89,333.92)
ธ.ค. 51 95,078.00 145,421.61 127,825.37 17,596.24 (50,343.61) 5,960.05 (44,383.56) 15,000.00 (29,383.56)
ม.ค. 52 95,525.00 192,417.15 177,999.96 14,417.19 (96,892.15) 53,963.72 (42,928.43) 19,000.00 (23,928.43)
ก.พ. 52 80,821.00 179,678.99 166,568.90 13,110.09 (98,857.99) 50,435.15 (48,422.84) 69,530.00 21,107.16
ปีงบประมาณ 2552 มี.ค. 52 เม.ย. 52 96,646.00 102,914.00 195,344.61 141,682.20 178,472.53 137,194.07 16,872.08 4,488.13 (98,698.61) (38,768.20) 4,436.68 (872.92) (94,261.93) (39,641.12) 87,000.00 86,688.00 (7,261.93) 47,046.88
พ.ค. 52 104,550.00 161,005.90 154,745.07 6,260.83 (56,455.90) 8,972.12 (47,483.78) 51,312.00 3,828.22
มิ.ย. 52 264,932.00 139,497.85 131,025.26 8,472.59 125,434.15 (21,309.46) 104,124.69 9,500.00 113,624.69
ก.ค. 52 98,714.00 164,117.96 158,730.02 5,387.94 (65,403.96) 64,048.01 (1,355.95) 65,000.00 63,644.05
ส.ค. 52 93,284.00 142,161.71 136,915.13 5,246.58 (48,877.71) 31,960.66 (16,917.05) 9,000.00 (7,917.05)
ก.ย. 52 193,777.00 196,882.16 186,890.53 9,991.63 (3,105.16) 21,839.05 18,733.89 4,031.00 22,764.89
รายเดือน 1. รายได้นําส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 13 มิถุนายน 2554
ต.ค. 52 115,827.00 90,339.40 80,143.48 10,195.92 25,487.60 (36,797.08) (11,309.48) (11,309.48)
พ.ย. 52 118,116.00 188,614.47 166,115.98 22,498.49 (70,498.47) (31,421.31) (101,919.78) 31,000.00 (70,919.78)
ธ.ค. 52 119,156.00 172,221.38 149,895.70 22,325.68 (53,065.38) (8,799.31) (61,864.69) 20,572.00 (41,292.69)
ม.ค. 53 115,389.00 150,007.77 133,985.77 16,022.00 (34,618.77) (9,973.01) (44,591.78) 39,000.00 (5,591.78)
ก.พ. 53 95,301.00 182,849.88 169,382.08 13,467.80 (87,548.88) 36,771.74 (50,777.14) 20,000.00 (30,777.14)
ปีงบประมาณ 2553 มี.ค. 53 เม.ย. 53 120,318.00 168,923.00 149,980.78 145,528.30 129,652.57 136,587.12 20,328.21 8,941.18 (29,662.78) 23,394.70 (21,729.98) 4,947.20 (51,392.76) 28,341.90 36,000.00 29,000.00 (15,392.76) 57,341.90
พ.ค. 53 117,690.00 123,967.00 118,058.80 5,908.20 (6,277.00) (18,446.89) (24,723.89) 37,000.00 12,276.11
มิ.ย. 53 283,324.00 135,455.10 123,196.34 12,258.76 147,868.90 6,970.18 154,839.08 17,000.00 171,839.08
ก.ค. 53 109,953.00 142,627.17 135,128.19 7,498.98 (32,674.17) 20,690.93 (11,983.24) 3,003.46 (8,979.78)
ส.ค. 53 103,148.00 110,117.62 103,322.30 6,795.32 (6,969.62) 49,786.15 42,816.53 42,816.53
ก.ย. 53 232,286.00 192,703.75 182,406.65 10,297.10 39,582.25 (4,105.49) 35,476.76 0.00 35,476.76
รายเดือน 1. รายได้นําส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 13 มิถุนายน 2554
ต.ค. 53 124,860.10 207,451.52 194,117.58 13,333.94 (82,591.42) (25,359.67) (107,951.09) 16,000.00 (91,951.09)
พ.ย. 53 125,436.07 223,152.35 207,201.24 15,951.11 (97,716.28) (20,177.90) (117,894.18) 20,021.00 (97,873.18)
ธ.ค. 53 144,682.25 167,767.26 152,004.31 15,762.95 (23,085.01) 80,016.48 56,931.47 17,000.00 73,931.47
ปีงบประมาณ 2554 ม.ค. 54 ก.พ. 54 129,916.41 126,718.29 235,191.75 154,688.49 220,657.29 139,463.92 14,534.45 15,224.58 (105,275.34) (27,970.21) (37,815.22) (8,649.84) (143,090.56) (36,620.05) 15,000.00 21,084.00 (128,090.56) (15,536.05)
มี.ค. 54 127,481.93 170,913.02 157,009.62 13,903.40 (43,431.10) (36,485.73) (79,916.83) 24,500.00 (55,416.83)
เม.ย. 54 141,448.90 139,705.36 135,080.55 4,624.81 1,743.54 (16,914.83) (15,171.29) 16,000.00 828.71
พ.ค. 54 131,448.32 211,445.98 205,222.85 6,223.13 (79,997.66) 114,604.80 34,607.14 5,334.00 39,941.14
สัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2540-2543
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)
ปี 2540 จํานวนเงิน สัดส่วน 93,879.49 100.00 16,985.70 18.09 47,386.19 50.48 29,507.60 31.43 843,576.00 11.13
ที่มา : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 18 พฤษภาคม 2554
ปี 2541 จํานวนเงิน สัดส่วน 96,055.80 100.00 16,758.90 17.45 48,666.90 50.67 30,630.00 31.89 733,462.00 13.10
ปี 2542 จํานวนเงิน สัดส่วน 100,805.27 100.00 17,808.20 17.67 44,869.87 44.51 38,127.20 37.82 709,111.00 14.22
หน่วย : ล้านบาท ปี 2543 จํานวนเงิน สัดส่วน 94,721.30 100.00 17,403.60 18.37 45,095.60 47.61 32,222.10 34.02 749,948.60 12.63
เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2544-2554
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุนและการถ่ายโอนงาน1/ 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)
ปี 2544 จํานวนเงิน สัดส่วน 159,752.58 100.00 17,701.88 11.08 55,651.90 34.84 12,669.00 7.93
ปี 2545 จํานวนเงิน สัดส่วน 175,850.29 100.00 21,084.47 11.99 58,143.52 33.07 19,349.00 11.00
ปี 2546 จํานวนเงิน สัดส่วน 184,066.03 100.00 22,258.28 12.09 60,217.74 32.72 35,504.44 19.29
ปี 2547 จํานวนเงิน สัดส่วน 241,947.64 100.00 24,786.27 10.24 82,623.37 34.15 43,100.00 17.82
73,729.80 772,574.00
77,273.30 803,651.00
66,085.60 829,495.56
91,438.00 1,063,600.00
46.15 20.68
43.94 21.88
35.90 22.19
หมายเหตุ : 1/ ในปีงบประมาณ 2544 และ 2545 มีงบประมาณการถ่ายโอนงานซึ่งตั้งอยู่ที่ส่วนราชการที่ถ่ายโอนงานให้ อปท. แต่นับรวมในสัดส่วนรายได้ของ อปท. เป็นจํานวน 32,339.60 ล้านบาท และ 27,061.80 ล้านบาท ตามลําดับ
37.79 22.75
ปี 2548 จํานวนเงิน 293,750.00 27,018.96 102,520.34 49,000.00 115,210.70 1,250,000.00
สัดส่วน 100.00 9.20 34.90 16.68 39.22 23.50
หน่วย : ล้านบาท ปี 2549 จํานวนเงิน สัดส่วน 327,113.00 100.00 29,110.41 8.90 110,189.59 33.69 61,800.00 18.89 126,013.00 1,360,000.00
38.52 24.05
เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2544-2554
ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)
2/
ปี 2550 จํานวนเงิน สัดส่วน 357,424.15 100.00 32,021.46 8.96 120,728.69 33.78 65,300.00 18.27
ปี 2551 จํานวนเงิน สัดส่วน 376,740.00 100.00 35,223.60 9.35 128,676.40 34.16 65,000.00 17.25
ปี 2552 จํานวนเงิน สัดส่วน 414,382.23 100.00 38,745.96 9.35 140,679.27 33.95 71,900.00 17.35
139,374.00 1,420,000.00
147,840.00 1,495,000.00
163,057.00 1,604,640.00
38.99 25.17
39.24 25.20
39.35 25.82
ปี 2553 จํานวนเงิน สัดส่วน 340,995.18 100.00 29,110.41 8.54 126,589.59 37.12 45,400.00 13.31 139,895.18 1,350,000.00
41.03 25.26
หมายเหตุ : 2/ ตัวเลขปี 2552 เป็นเป็นตัวเลขซึ่งรวมรายได้เพิ่มเติมจากการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมระหว่างปีงบประมาณ 2552 โดยรายได้รวมเพิ่มจาก เป้าหมายเดิม 14,043.48 ล้านบาท ประกอบด้วยภาษีอากรที่รัฐบาลจัดเก็บเพิ่มให้ 1,486.48 ล้านบาท และเงินอุดหนุน 12,557 ล้านบาท ในส่วนของรายได้สุทธิของรัฐบาลเพิ่มขึ้นจากเป้าหมายเดิม 19,140 ล้านบาท และสัดส่วนรายได้ อปท. ต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 25.25 เป็น 25.82 - เป้าหมายสัดส่วนรายได้ของ อปท. ในแต่ละปีงบประมาณผ่านขั้นตอนการพิจารณาของสํานักงบประมาณเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว ที่มา : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 18 พฤษภาคม 2554
หน่วย : ล้านบาท ปี 2554 จํานวนเงิน สัดส่วน 431,305.00 100.00 38,745.96 8.98 148,109.04 34.34 70,500.00 16.35 173,950.00 1,650,000.00
40.33 26.14