รายงานสถานการณ์ด้านการคลังปีงบประมาณ2555

Page 1

บทสรุปผู้บริหาร ด้านรายได้

 เดือนสิงหาคม 2554 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สทุ ธิจํานวน 301,187 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 52,614 ล้านบาท หรือร้อยละ 21.2 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 18.7) เป็นผลจาก การจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลสูงกว่าประมาณการถึงร้อยละ 34.6 รวมทั้งอุตสาหกรรมยานยนต์ ที่เริ่มฟื้นตัวหลังได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์สึนามิที่ประเทศญี่ปุ่น ส่งผลให้จัดเก็บภาษีสรรพสามิต รถยนต์ได้สูงกว่าประมาณการ 2,108 ล้านบาท หรือร้อยละ 37.3  ในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – สิงหาคม 2554) รัฐบาลจัดเก็บ รายได้สุทธิ 1,789,385 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 229,181 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.7 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 11.1) เป็นผลจากการจัดเก็บรายได้ของ 3 กรมจัดเก็บ รวมทั้ง การนําส่งรายได้ของรัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นที่สูงกว่าประมาณการ 224,900 11,517 และ 12,817 ล้านบาท ตามลําดับ อันเนื่องมาจากการขยายตัวของเศรษฐกิจเป็นสําคัญ

ด้านรายจ่าย

 เดือนสิงหาคม 2554 รัฐบาลเบิกจ่ายเงินรวมทั้งสิ้น 143,543 ล้านบาท โดยแบ่งเป็น การเบิกจ่ายงบประมาณ 135,473 ล้านบาท (เป็นงบประมาณรายจ่ายประจําปี 2554 จํานวน 133,138 ล้านบาท และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจําปีงบประมาณ 2554 จํานวน 2,335 ล้านบาท) และการเบิกจ่ายเงินกันไว้เหลื่อมปี จํานวน 8,070 ล้านบาท  ในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – สิงหาคม 2554) รัฐบาล เบิกจ่ายเงินรวมทั้งสิ้น 1,984,484 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจําปี งบประมาณ 2554 จํานวน 1,865,892 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการเบิกจ่าย ร้อยละ 86.0 ของวงเงินงบประมาณ 2,169,968 ล้านบาท (โดยเป็นงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ 2554 จํานวน 1,776,380 ล้านบาท และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจําปีงบประมาณ 2554 จํานวน 89,512 ล้านบาท และการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี จํานวน 118,592 ล้านบาท  เมื่อรวมกับการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 อีกจํานวน 54,761 ล้านบาท ส่งผลให้ในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาล มีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจทั้งสิ้น 2,039,245 ล้านบาท

ฐานะการคลังรัฐบาล

 ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด ในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลมีรายได้ นําส่งคลัง 1,618,739 ล้านบาท และมีการเบิกจ่ายงบประมาณจากงบประมาณปีปัจจุบันและ ปีก่อนรวม 1,984,484 ล้านบาท ส่งผลให้ดลุ เงินงบประมาณขาดดุลจํานวน 365,745 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่เกินดุล 58,956 ล้านบาท ทําให้ดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 306,789 ล้านบาท โดยรัฐบาลได้ชดเชยการขาดดุลโดยการออกพันธบัตร จํานวน 147,517 ล้านบาท ส่งผล ให้ดุลเงินสดหลังการกู้เงินขาดดุลทั้งสิ้น 159,272 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.5 ของ GDP

1 สํานักนโยบายการคลัง


 ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค. ในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาล มีรายได้ทั้งสิ้น 1,849,299 ล้านบาท และมีรายจ่ายทั้งสิ้น 1,983,717 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงิน งบประมาณขาดดุลทั้งสิ้น 134,418 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณที่เกินดุล 33,410 ล้านบาท และหักรายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศและรายจ่ายจากโครงการไทยเข้มแข็ง จํานวน 1,738 และ 54,761 ล้านบาท ตามลําดับแล้ว ทําให้ดุลการคลังของรัฐบาลขาดดุลทั้งสิ้น 157,508 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.4 ของ GDP

ฐานะการคลัง อปท.

 ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ณ ไตรมาสที่ 3 ประจําปีงบประมาณ 2554 คาดว่า จะมีรายได้รวม 159,871.8 ล้านบาท (รายได้ที่จัดเก็บเอง 13,659.8 ล้านบาท รายได้ภาษีที่รัฐบาล จัดเก็บและแบ่งให้ 126,837.6 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 19,374.4 ล้านบาท) และ คาดว่ามีรายจ่ายจํานวน 155,945.7 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลการคลังของ อปท. เกินดุล 3,926.1 ล้านบาท  ฐานะการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 คาดว่า จะมีรายได้รวม 403,192.6 ล้านบาท (รายได้ที่จัดเก็บเอง 31,365.5 ล้านบาท รายได้ภาษีที่รัฐบาล จัดเก็บและแบ่งให้ 213,254.7 ล้านบาท และรายได้จากเงินอุดหนุน 158,572.4 ล้านบาท) และ คาดว่ามีรายจ่ายจํานวน 363,253.6 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลการคลังของ อปท. เกินดุล 39,939.0 ล้านบาท

สถานะหนี้สาธารณะ

 หนี้สาธารณะคงค้างของรัฐบาล ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2554 มีจํานวน 4,280.1 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 40.6 ของ GDP โดยร้อยละ 92.1 ของหนี้สาธารณะคงค้างเป็นหนี้ในประเทศ และส่วนที่เหลือร้อยละ 7.9 เป็นหนี้ต่างประเทศ  หนี้ระยะยาวมีจํานวน 4,216.9 พันล้านบาท ส่วนหนี้ระยะสั้นมีจํานวน 63.1 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 98.5 และ 1.5 ของหนี้สาธารณะคงค้าง ตามลําดับ

กรอบความยั่งยืนทางการคลัง (60 - 15 – 0 – 25)

 กระทรวงการคลังได้กําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีตัวชี้วัดประกอบด้วย สัดส่วนหนี้ สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 จัดทํา งบประมาณสมดุล และสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25  กรอบความยั่งยืนในระยะปานกลาง (ปีงบประมาณ 2554 – 2558) - รัฐบาลยังสามารถรักษาสัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่ให้เกินร้อยละ 60 ไว้ได้ - รัฐบาลยังสามารถรักษาสัดส่วนภาระหนี้ต่องบประมาณไม่ให้เกินร้อยละ 15 - รัฐบาลไม่สามารถจัดทํางบประมาณสมดุลในปีงบประมาณ 2554 ได้ อย่างไรก็ดี จากภาวะเศรษฐกิจที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้คาดการณ์การจัดเก็บรายได้เพิม่ สูงกว่าเป้าหมาย เป็นจํานวนมาก และเมือ่ เปรียบเทียบกับประมาณการรายจ่าย ทําให้แนวโน้มการขาดดุลงบประมาณ ในระยะปานกลางลดลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการแสดงถึงเจตนารมณ์ของรัฐบาลในการจัดทํา งบประมาณรายจ่ายสมดุลในอนาคต สํานักนโยบายการคลัง 2


- รัฐบาลไม่สามารถรักษาสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายให้ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 ในปีงบประมาณ 2554 ได้ แต่คาดว่าในปีงบประมาณ 2558 จะสามารถจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 25 ของวงเงินงบประมาณได้

การดําเนินกิจกรรมกึ่งการคลังผ่าน SFIs ของรัฐบาล รัฐบาลได้ดําเนินมาตรการกิจกรรมกึ่งการคลังผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจโดยการปล่อยสินเชื่อให้ โครงการต่างๆ ซึ่งในปัจจุบันได้มีการปล่อยสินเชื่อเพื่อสนับสนุนมาตรการต่างๆ เช่น มาตรการเพื่อสนับสนุน กิจการ SMEs มาตรการเพื่อสนับสนุนผู้มีรายได้น้อยให้มีทอี่ ยู่อาศัย และมาตรการเพื่อสนับสนุนการประกอบ อาชีพระดับฐานราก ผลการปล่อยสินเชื่อและค้าํ ประกันสินเชื่อ ในไตรมาส 2 ปี 2554 (เดือนเมษายน – มิถนุ ายน 2554) มีจํานวน 52,972.4 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วร้อยละ 25.9 และมีการปล่อยสินเชื่อและ การค้ําประกันสินเชื่อสะสมตัง้ แต่เริ่มโครงการ จนถึง ณ สิ้นไตรมาส 2 ปี 2554 จํานวน 1,270,510.5 ล้านบาท ทั้งนี้ ณ สิ้นไตรมาสที่ 2 ปี 2554 มียอดสินเชื่อคงค้าง จํานวน 397,711.8 ล้านบาท โดยเป็น หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) จํานวน 32,914.1 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 8.3 ของยอดสินเชื่อคงค้าง และมีภาระค้ําประกันหนี้จัดชั้นด้อยคุณภาพ (NPGs) ของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) จํานวน 5,053.8 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.8 ของยอดค้ําประกันคงค้าง

การกระจายอํานาจทางการคลังให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 ความคืบหน้าการพิจารณาทบทวนหลักเกณฑ์การจัดสรรรายได้ให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ (อปท.) ปีงบประมาณ 2555 คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อพิจารณาทบทวนหลักเกณฑ์การจัดสรรรายได้ให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ได้ประชุมเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2554 โดยที่ประชุมมีมติให้เสนอ หลักเกณฑ์การจัดสรรเงินภาษีอากรและเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. ปีงบประมาณ 2555 ต่อคณะกรรมการ การกระจายรายได้ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (กกถ.) เพื่อให้ความเห็นชอบ สามารถสรุปหลักเกณฑ์ การจัดสรรฯ ได้ดังนี้ - การจัดสรรภาษีอากร : จัดสรรให้ อปท. เป็นรายเดือน ซึ่งได้แก่ ภาษีมูลค่าเพิ่ม (1 ใน 9) ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีสุราและภาษีสรรพสามิต ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และ ล้อเลื่อน ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ และ ภาษีมูลค่าเพิ่มตาม พ.ร.บ. กํานดแผนและขัน้ ตอนการกระจายอํานาจให้แก่ อปท. พ.ศ. 2542 โดยหลักเกณฑ์การจัดสรรส่วนใหญ่จําแนกตามเกณฑ์ประชากร - การจัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไป : จัดสรรให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เทศบาล และ อบต. โดยนําค่าใช้จ่ายในการจัดบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานของ อปท. เป็นเกณฑ์ ในการจัดสรร

3 สํานักนโยบายการคลัง


มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ ประจําเดือนกันยายน 2554 1. เรื่อง การคืนเงินสําหรับรถยนต์คันแรก คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 13 กันยายน 2554 อนุมัติหลักการและแนวทางการคืนเงินแก่ผซู้ ื้อ รถยนต์คันแรก พร้อมทั้งอนุมตั ิและจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 งบกลาง รายการเงินสํารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเป็น เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดําเนินการ และจัดสรร งบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 เพือ่ คืนเงินสําหรับรถยนต์คันแรกเท่ากับภาษีที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน คันละ 100,000 บาท 2. เรื่อง การขยายเวลามาตรการปรับลดอัตราภาษีนา้ํ มันดีเซล คณะรัฐมนตรีมมี ติเมื่อวันที่ 13 กันยายน 2554 เห็นควรขยายเวลามาตรการการปรับลดอัตราภาษี น้ํามันดีเซลในอัตราภาษี 0.005 บาทต่อลิตร ออกไปอีก 3 เดือน นับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 3. เรื่อง การจัดทํางบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 13 กันยายน 2554 เห็นชอบการจัดทํางบประมาณรายจ่ายประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2555 โดยเป็นงบประมาณขาดดุลจํานวน 350,000 ล้านบาท และมีประมาณการรายได้ รัฐบาลสุทธิจํานวน 1,980,000 ล้านบาท สําหรับงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ 2555 จํานวน 2,330,000 ล้านบาท แบ่งเป็น (1) รายจ่ายประจํา จํานวน 1,839,653 ล้านบาท (2) รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง จํานวน 54,008 ล้านบาท (3) รายจ่ายลงทุน จํานวน 384,450 ล้านบาท (4) รายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ จํานวน 51,889 ล้านบาท ทั้งนี้ รัฐบาลจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในปีงบประมาณ 2555 จํานวน 223,200 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 24.1 4. โครงการสินเชื่อฟื้นฟู SMEs หลังภัยพิบัติ คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2554 เห็นชอบให้ธนาคารเพื่อการพัฒนาวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) ดําเนินการช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs ที่ได้รับ ความเดือดร้อนจากภัยพิบัติ โดยให้เงินกู้รายละไม่เกิน 1 ล้านบาท หรือกู้ตามความเป็นจริง มีอัตราดอกเบี้ย คงที่ร้อยละ 8 ต่อปีตลอดสัญญา ระยะเวลาผ่อนชําระ 6 ปี โดยใน 2 ปีแรก ชําระเฉพาะดอกเบี้ย และ รัฐบาลช่วยชดเชยดอกเบี้ยให้ร้อยละ 2 ทุกปี 5. มาตรการภาษีเพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2554 เห็นชอบมาตรการภาษีเพื่อช่วยเหลือประชาชน ให้มีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง โดยการยกเว้นเงินได้ตามจํานวนที่จ่ายจริงได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของมูลค่า อสังหาริมทรัพย์ แต่ไม่เกิน 500,000 บาท สําหรับเงินได้ที่จ่ายเป็นค่าซือ้ อสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคาร พร้อมที่ดิน หรือห้องชุดในอาคารชุด มูลค่าไม่เกิน 5 ล้านบาท โดยใช้สิทธิยกเว้นภาษีเป็นจํานวนเท่า ๆ กัน ในแต่ละปีเป็นเวลา 5 ปี ต่อเนื่องกัน สํานักนโยบายการคลัง 4


ทั้งนี้ คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 27 กันยายน 2554 เห็นชอบเพิ่มเติมในมาตรการดังกล่าว โดยเปลี่ยนจากการยกเว้นเงินได้ตามจํานวนที่จ่ายจริง เป็นการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาไม่เกิน จํานวนภาษีที่พึงชําระในแต่ละปีภาษีเท่ากับเงินได้ตามจํานวนที่จ่ายจริงสําหรับเงินได้ที่จ่ายเป็นค่าซือ้ อสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคารพร้อมที่ดินหรือห้องชุดในอาคารชุดเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ที่ แต่ไม่เกิน 500,000 บาท และต้องใช้สิทธิยกเว้นภาษีภายใน 5 ปีภาษี เป็นจํานวนเท่า ๆ กัน นับแต่วันที่ได้โอนกรรมสิทธิ์ ในส่วนของผลกระทบ กระทรวงการคลังชี้แจงว่าจะมี ผลกระทบต่อการบริหารการจัดเก็บภาษีอากรรวม 5 ปีภาษีประมาณ 12,000 ล้านบาท หรือปีภาษีละ ประมาณ 2,400 ล้านบาท 6. กรอบและงบประมาณของรัฐวิสาหกิจประจําปีงบประมาณ 2555 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 27 กันยายน 2554 รับทราบและเห็นชอบตามที่สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เสนอ โดยรับทราบประมาณการงบประมาณ ทําการประจําปีงบประมาณ 2555 ของรัฐวิสาหกิจที่คาดว่าจะมีกําไรสุทธิประมาณ 83,262 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2554 ร้อยละ 15.1 และประมาณการแนวโน้มการดําเนินงานช่วงปี 2556 – 2558 ของ รัฐวิสาหกิจ ทีค่ าดว่าผลประกอบการจะมีกําไรสุทธิรวม 283,189 ล้านบาท และการเบิกจ่ายลงทุนรวม 1,100,330 ล้านบาท รวมทั้งยังเห็นชอบในหลักการกรอบและงบประมาณของรัฐวิสาหกิจประจําปี งบประมาณ 2555 วงเงินดําเนินการ จํานวน 613,717 ล้านบาท และวงเงินเบิกจ่ายลงทุน จํานวน 319,732 ล้านบาท ทั้งนี้ ไม่รวมบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 7. แผนการบริหารหนีส้ าธารณะ ประจําปีงบประมาณ 2555 คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 27 กันยายน 2554 อนุมัติแผนการบริหารหนี้สาธารณะประจําปี งบประมาณ 2555 และการกูเ้ งินและการค้ําประกันเงินกู้ในประเทศและต่างประเทศของรัฐบาลและ รัฐวิสาหกิจภายใต้กรอบวงเงินของแผนการบริหารหนี้สาธารณะประจําปีงบประมาณ 2555 โดยแผนการ บริหารหนี้สาธารณะประจําปีงบประมาณ 2555 มีวงเงินดําเนินการ 1,287,004.60 ล้านบาท และเมือ่ รวม วงเงินการกู้เงินและบริหารหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องอยู่ภายใต้กรอบวงเงินกู้และบริหารหนี้ ของแผนฯ อีกจํานวน 133,983.06 ล้านบาท จะทําให้วงเงินดําเนินการบริหารและจัดการหนี้สาธารณะ ในปีงบประมาณ 2555 มีวงเงินเท่ากับ 1,420,987.66 ล้านบาท

5 สํานักนโยบายการคลัง


สถานการณ์ด้านการคลัง รวมทั้งปี งบประมาณ 2553 I รายได้ 1. ตามหน่วยงาน 1.1 กรมสรรพากร (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.2 กรมสรรพสามิต (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.3 กรมศุลกากร (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.4 รัฐวิสาหกิจ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.5 หน่วยงานอื่น (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) - ส่วนราชการอื่น - กรมธนารักษ์ 1.6 รวมรายได้จัดเก็บ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.7 รวมรายได้สุทธิ (หลังหักอปท.) (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2. ตามฐานภาษี 2.1 เงินได้ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2.2 การบริโภค (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 2.3 การค้าระหว่างประเทศ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) II รายจ่าย 1.รายจ่ายรัฐบาลจากงบประมาณ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.1 งบประมาณปีปัจจุบัน (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 1.2 งบประมาณปีก่อน 2. รายจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ (15 กองทุน) 1/ - รายจ่าย - เงินให้กู้ยืมสุทธิ 3. รายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศ (อัตราเพิ่มจากปีที่แล้ว%) 4. รายจ่ายของอปท. 5. รายจ่ายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ III ดุลการคลัง 1. ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด 2. ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบ สศค. 2/ - รัฐบาล - อปท. IV ยอดหนี้สาธารณะ 1. หนี้รัฐบาลกู้ตรง 2. หนี้รัฐวิสาหกิจ 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น 4. หนี้ FIDF 5. รวม 6. หนี้คงค้าง/GDP (ปีปฏิทิน)% 7. หนี้ที่เป็นภาระงบประมาณ/GDP (ปีปฏิทิน)%

Q1

หน่วย : พันล้านบาท

ปีงบประมาณ 2554 Q3

Q2

ก.ค.-54

รวม ต.ค. 53 -ส.ค. 54

ส.ค.-54

1,264.6 11.1 405.9 39.4 97.1 21.0 91.6 5.7 135.8 55.1 131.9 3.9 1,995.0 18.4 1,678.9 19.0

261.8 13.7 111.8 10.9 25.4 (0.1) 26.0 22.8 26.0 12.8 24.3 1.7 451.0 12.6 395.5 13.3

284.8 15.4 116.4 9.2 25.6 14.3 16.3 (13.5) 27.7 43.3 26.7 1.0 470.7 13.8 393.8 16.6

515.2 28.5 87.1 (12.0) 24.1 (3.9) 37.5 47.0 26.6 (66.9) 25.4 1.1 690.4 9.5 597.4 9.1

88.5 6.0 25.4 (26.5) 8.3 0.7 4.6 (39.2) 3.6 (11.1) 3.3 0.3 130.4 5.5 101.5 (10.9)

272.7 22.5 27.6 (15.5) 10.2 28.0 3.9 (57.2) 17.1 39.0 16.8 0.3 331.5 16.5 301.2 16.3

1,423.0 20.2 368.3 (1.4) 93.6 5.1 88.3 7.4 100.8 (27.3) 96.5 4.3 2,074.1 11.1 1,789.4 11.1

730.5 7.3 907.6 25.6 93.7 20.7

117.5 14.2 244.8 10.3 24.7 1.3

134.3 15.6 256.1 11.1 25.2 14.6

347.0 31.6 243.6 7.7 23.4 (1.1)

37.8 0.8 72.0 (7.1) 8.1 0.9

216.9 23.5 79.5 3.6 9.7 23.8

853.5 22.7 895.9 7.6 91.0 6.1

1,784.4 (6.9) 1,627.9 (9.1) 156.5 302.6 279.6 23.0 1.0 (18.0) (97.1) 123.0 2,907.5 1,261.2 62.1 4,230.7 42.0 30.4

598.4 32.6 553.3 39.7 45.0 143.9 134.9 9.0 0.1 (50.3)

560.8 16.1 517.1 19.4 43.7 65.6 60.1 5.5 0.9 101.8

538.7 33.0 521.6 38.0 17.2 81.4 78.0 3.4 0.2 183.1

143.0 0.3 138.4 2.4 4.6 11.5 10.0 1.5 0.5 251.1

143.5 30.4 135.5 31.1 8.1 15.1 11.8 3.3 121.9

1,984.5 24.7 1,865.9 29.1 118.6 317.5 294.8 22.7 1.7 89.7

(168.9)

(259.6)

160.8

(30.5)

(8.6)

(306.8)

(247.5)

(162.6)

113.6

23.5

168.4

(157.5)

3,002.4 1,249.1 30.6 4,282.1 42.4 31.3

2,988.8 1,226.2 31.1 4,246.1 41.3 30.3

3,000.5 1,232.6 30.5 1,263.6 40.7 29.9

3,016.5 1,233.0 30.6 4,280.1 40.6 29.6

หมายเหตุ 1/ ประกอบด้วย กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการทําของ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจ กองทุนอ้อยและน้ําตาล กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนช่วยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุนสนับสนุนการวิจัย 2/ ดุลการคลังภาครัฐบาลตามระบบสถิติเพื่อการศึกษาและวิเคราะห์นโยบายการคลัง (สศค.) เป็นผลรวมของดุลการคลังรัฐบาล และดุลการคลังของ อปท. 3/ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2551 เงินคงคลังจะไม่รวมเงินอื่น (บัตรภาษี) และเงินฝากธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) รวบรวมโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

สํานักนโยบายการคลัง 6


สถานการณ์ด้านรายได้  เดือนสิงหาคม 2554 รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 301,187 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 52,614 ล้านบาท หรือร้อยละ 21.2 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 18.7) ตารางสรุปรายได้รัฐบาลเดือนสิงหาคม 2554* หน่วย: ล้านบาท เทียบปีนี้กับ เทียบปีนี้กับ ที่มาของรายได้ ปีนี้ ประมาณการ ปีที่แล้ว (%) (%) กรมสรรพากร 272,707 24.9 22.5 กรมสรรพสามิต 27,639 -10.5 -15.5 กรมศุลกากร 10,206 36.4 28.0 รัฐวิสาหกิจ 3,865 23.2 -57.2 หน่วยงานอืน่ 17,060 41.6 39.0 รายได้สทุ ธิ** 301,187 21.2 18.7 หมายเหตุ * ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 5 กันยายน 2554 ** รายได้สุทธิหลังหักการจัดสรร อปท.

เดือนสิงหาคม 2554 รัฐบาลจัดเก็บ รายได้สุทธิ 301,187 ล้านบาท สูงกว่า ประมาณการ 52,614 ล้านบาท หรือร้อยละ 21.2 (สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 18.7) สาเหตุสําคัญมาจากการจัดเก็บภาษีเงินได้ นิติบุคคลที่สูงกว่าประมาณการถึง 49,285 ล้านบาท หรือร้อยละ 34.6 เป็นผลจากการชําระภาษีเงินได้ นิติบุคคลจากประมาณการกําไรสุทธิครึ่งรอบปีบัญชี 2554 (ภ.ง.ด. 51) ที่ครบกําหนดชําระในเดือนสิงหาคม 2554 นี้ ขยายตัวในอัตราที่สูง ซึ่งสอดคล้องกับ ผลประกอบการของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ ในช่วงครึ่งแรกของปี 2554 ทีม่ ีการขยายตัวสูงถึง ร้อยละ 31.3 นอกจากนี้ อุตสาหกรรมยานยนต์ ได้เริ่มฟื้นตัวหลังจากที่ได้รับผลกระทบจาก เหตุการณ์สึนามิที่ประเทศญี่ปุ่น ส่งผลให้การจัดเก็บ ภาษีสรรพสามิตรถยนต์ได้สูงกว่าประมาณการ 2,108 ล้านบาท หรือร้อยละ 37.3 รวมทั้งการจัดเก็บ รายได้จากสัมปทานปิโตรเลียมสูงกว่าประมาณการ 2,600 ล้านบาท เป็นผลจากราคาน้ํามันดิบสูงกว่า ที่ประมาณการไว้ (รายละเอียดตามตารางที่ 1)

ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลประจําปีงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553 - สิงหาคม 2554) ล้านบาท

400,000

356,160

350,000

301,187

300,000 250,000 200,000 150,000

146,108 124,903

124,493

128,332

136,701

128,752

131,248 110,025

100,000

101,478

50,000 0 ตค.

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค. จัดเก็บ 53

7 สํานักนโยบายการคลัง

เม.ย. ปมก. 54

พ.ค. จัดเก็บ 54

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.


 ในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – สิงหาคม 2554) รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ 1,789,385 ล้านบาท ผลการจัดเก็บรายได้ตามหน่วยงานจัดเก็บ สูงกว่าประมาณการ 229,181 ล้านบาท หรือร้อยละ สรุปได้ ดังนี้ 14.7 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 11.1)  กรมสรรพากร จัดเก็บรายได้รวม 1,422,995 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ ตารางสรุปรายได้รัฐบาล 199,729 ล้านบาท หรือร้อยละ 16.3 (สูงกว่า ปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – สิงหาคม 2554)* ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 20.2) เป็นผลจาก หน่วย: ล้านบาท การจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม เทียบปีนี้กับ เทียบปีนี้กับ และภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสูงกว่าประมาณการ ที่มาของรายได้ ปีนี้ ประมาณการ ปีที่แล้ว 139,037 37,675 และ 17,422 ล้านบาท (%) (%) หรือร้อยละ 33.5 7.7 และ 8.7 ตามลําดับ กรมสรรพากร 1,422,995 16.3 20.2 กรมสรรพสามิต 368,341 3.4 -1.4 โดยภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนําเข้า กรมศุลกากร 93,613 16.1 5.1 และการบริโภคในประเทศสูงกว่าประมาณการ รัฐวิสาหกิจ 88,304 15.0 7.4 ร้อยละ 11.3 และ 4.9 ตามลําดับ หน่วยงานอื่น 100,847 14.6 -27.3 รายได้สุทธิ **

1,789,385

14.7

11.1

หมายเหตุ: * ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 5 กันยายน 2554 ** รายได้สุทธิหลังจัดสรรให้ อปท.

ผลการจัดเก็บรายได้ของ 3 กรมในสังกัดกระทรวงการคลัง ปีงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553 - สิงหาคม 2554) ล้านบาท 2,000,000

1,884,949

จัดเก็บ 53 ประมาณการ 54 จัดเก็บ 54

1,800,000

1,646,691

1,660,049

1,600,000 1,422,995

1,400,000 1,200,000

1,183,978

1,223,266

1,000,000 800,000 600,000 373,603

400,000

356,173

368,341

200,000

89,110 80,610 93,613

0

กรมสรรพากร

กรมสรรพสามิต

กรมศุลกากร

รวม 3 กรม

 กรมสรรพสามิต จัดเก็บรายได้รวม 368,341 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 12,168 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.4 (ต่ํากว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 1.4) เป็นผลจาก การขยายตัวของการบริโภคภายในประเทศ รวมทั้งผู้ประกอบการคาดว่าจะมีการปรับเพิ่ม อัตราภาษีสุราและภาษียาสูบจึงเร่งการผลิต ประกอบกับอุตสาหกรรมยานยนต์ได้เริ่มฟืน้ ตัว ภายหลังจากได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์สึนามิ ที่ประเทศญี่ปุ่น ส่งผลให้จัดเก็บภาษีสรรพสามิต รถยนต์ ภาษีสุรา ภาษียาสูบ และภาษีเบียร์ ได้สูงกว่าประมาณการ 22,433 6,520 4,158 และ 2,881 ล้านบาท หรือร้อยละ 36.9 17.1 8.8 และ 5.4 ตามลําดับ ส่วนภาษีสรรพสามิตน้ํามัน จัดเก็บได้ต่ํากว่าประมาณการ 26,248 ล้านบาท เนื่องจากการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิต น้ํามันดีเซลเหลือ 0.005 บาท/ลิตร ตั้งแต่วันที่ 21 เมษายน 2554 ซึ่งส่งผลให้จัดเก็บภาษีสรรพสามิต ได้ต่ํากว่าปีก่อนหน้า 5,262 ล้านบาท  กรมศุลกากร จัดเก็บรายได้รวม 93,613 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 13,003 ล้านบาท หรือร้อยละ 16.1 (สูงกว่าช่วงเดียวกัน สํานักนโยบายการคลัง 8


ปีที่แล้วร้อยละ 5.1) เนื่องจากการจัดเก็บอากรขาเข้า ได้สูงกว่าประมาณการ 12,418 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 15.8 ทั้งนี้ อัตราการขยายตัวของมูลค่า การนําเข้าในรูปดอลลาร์สหรัฐฯ และเงินบาท ในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – กรกฎาคม 2554) เพิ่มขึ้น ร้อยละ 24.4 และ 14.8 ตามลําดับ  รัฐวิสาหกิจ นําส่งรายได้ 88,304 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 11,517 ล้านบาท หรือร้อยละ 15.0 (สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 7.4) ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการนําส่งรายได้จาก กําไรสุทธิปี 2553 ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และรายได้จากเงินปันผล ของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) สูงกว่า ประมาณการ 3,715 2,168 1,686 และ 1,677 ล้านบาท ตามลําดับ  หน่วยงานอื่น จัดเก็บรายได้รวม 100,847 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 12,817 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.6 (ต่าํ กว่าช่วงเดียวกันปี ที่แล้วร้อยละ 27.3) เนื่องจากการจัดเก็บรายได้ จากสัมปทานปิโตรเลียมสูงกว่าประมาณการ 6,100 ล้านบาท นอกจากนี้ มีเงินรับคืนจาก โครงการมิยาซาว่าและโครงการเงินกู้เพื่อปรับ โครงสร้างภาคเกษตรจํานวน 1,952 และ 445 ล้านบาท ตามลําดับ รวมทั้งมีเงินรายได้จาก เงินกันเพื่อชดเชยการส่งออกของกรมศุลกากร ส่งคืนคลัง จํานวน 2,110 ล้านบาท  การคืนภาษีของกรมสรรพากร จํานวน 208,643 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 11,551 ล้านบาท หรื อร้ อ ยละ 5.9 โดยเป็น การคื นภาษีมู ล ค่าเพิ่ม 168,759 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 4,259 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.6 และการคืนภาษีอื่นๆ 39,884 ล้านบาท สูงกว่า ประมาณการ 7,292 ล้านบาท หรือร้อยละ 22.4

9 สํานักนโยบายการคลัง


 การจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ตาม พ.ร.บ. กําหนดแผนและขัน้ ตอนการกระจายอํานาจฯ (12 งวด / ปี) จัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มไปแล้ว 8 งวด (ตุลาคม 2553 – พฤษภาคม 2554) รวม 51,834 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ จํานวน 6,524 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.4 (รายละเอียดตามตารางที่ 2)

 คาดการณ์รายได้รัฐบาลสุทธิปีงบประมาณ 2554 กระทรวงการคลังคาดว่าในปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลจะจัดเก็บรายได้สุทธิ สูงกว่าประมาณการ (1.65 ล้านล้านบาท) ประมาณ 2.35 แสนล้านบาท

จากผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณที่สูงกว่า ประมาณการ 229,181 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.7 ประกอบกับทิศทางภาวะเศรษฐกิจทีม่ ี แนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง จึงคาดว่าตลอดทั้ง ปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลจะจัดเก็บรายได้สุทธิ สูงกว่าประมาณการ (1.65 ล้านล้านบาท) ประมาณ 2.35 แสนล้านบาท

สํานักนโยบายการคลัง 10


ตารางที่ 1 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลเบื้องต้น เดือนสิงหาคม 2554

1/ หน่วย : ล้านบาท

เปรียบเทียบปีนี้กับปีที่แล้ว ที่มาของรายได้

ปีนี้

ปีที่แล้ว

จํานวน

ร้อยละ

ปมก.ตามเอกสาร

เปรียบเทียบปีนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม.

งปม.ทั้งปีเท่ากับ

จํานวน

ร้อยละ

1,650,000 ล้านบาท

272,707

222,529

50,178

22.5

218,399

54,308

24.9

16,526 191,683 8,670 51,914 3,022 869 23 27,639

14,230 153,571 7,861 44,082 2,111 654 20 32,699

2,296 38,112 809 7,832 911 215 3 (5,060)

16.1 24.8 10.3 17.8 43.2 32.9 15.0 (15.5)

15,650 142,398 9,878 47,858 1,929 665 21 30,871

876 49,285 (1,208) 4,056 1,093 204 2 (3,232)

5.6 34.6 (12.2) 8.5 56.7 30.7 9.5 (10.5)

5,322 4,781 3,478 4,563 7,756 1,163 75 204 183 90

12,664 4,198 3,303 4,279 6,701 937 140 187 170 81

(7,342) 583 175 284 1,055 226 (65) 17 13 9

(58.0) 13.9 5.3 6.6 15.7 24.1 (46.4) 9.1 7.6 11.1

12,870 3,700 3,016 4,180 5,648 1,014 89 137 124 78

(7,548) 1,081 462 383 2,108 149 (14) 67 59 12

(58.6) 29.2 15.3 9.2 37.3 14.7 (15.7) 48.9 47.6 15.4

24

39

(15)

(38.5)

15

9

60.0

10,206 9,667 4 535

7,976 7,794 17 165

2,230 1,873 (13) 370

28.0 24.0 (77.6) 224.4

7,480 7,280 10 190

2,726 2,387 (6) 345

36.4 32.8 (62.0) 181.7

310,552

263,204

47,348

18.0

256,750

53,802

21.0

4. รัฐวิสาหกิจ

3,865

9,029

(5,164)

(57.2)

3,136

729

23.2

5. หน่วยงานอื่น

17,060

1. กรมสรรพากร 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีมูลค่าเพิม่ ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ รายได้อื่น

2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุราฯ 2.4 ภาษีเบียร์ 2.5 ภาษีรถยนต์ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต์ 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2.10 ภาษีอื่น

2/

2.11 รายได้อื่น 3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่น

รวมรายได้ 3 กรม

5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์

รวมรายได้จัดเก็บ (Gross)

12,274

4,786

39.0

12,044

5,016

41.6

16,785 275 331,477

3/

12,072 202 284,507

4,713 73 46,970

11,925 119 271,930

4,860 156 59,547

19,900 18,500 1,400 1,150 1,200 309,227

4/

16,727 15,785 942 986 966 265,828

3,173 2,715 458 164 234 43,399

39.0 36.1 16.5 19.0 17.2 48.6 16.6 24.2 16.3

15,533 14,500 1,033 1,057 987 254,353

4,367 4,000 367 93 213 54,874

40.8 131.1 21.9 28.1 27.6 35.5 8.8 21.6 21.6

8,040

12,170

(4,130)

(33.9)

5,780

2,260

39.1

301,187

253,658

47,529

18.7

248,573

52,614

21.2

หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินค้าส่งออก

รวมรายได้สุทธิ (Net)

5/

หักเงินจัดสรรจาก VAT ให้ อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ

รวมรายได้สุทธิหลังหักการจัดสรรแล้ว หมายเหตุ

4/ 4/

1/

ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 5 กันยายน 2554

2/

ภาษีไพ่ แก้วฯ เครื่องหอม พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด

3/

ข้อมูลจากระบบ GFMIS

4/

ตัวเลขคาดการณ์

5/

รายได้สุทธิก่อนการจัดสรรให้ อปท. จัดทําโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

11 สํานักนโยบายการคลัง


ตารางที่ 2 ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลเบื้องต้น ปีงบประมาณ 2554 1/ ( ตุลาคม 2553 - สิงหาคม 2554 ) หน่วย : ล้านบาท

ที่มาของรายได้

ปีนี้

ปีที่แล้ว

เปรียบเทียบปีนี้กับปีที่แล้ว

ปมก.ตามเอกสาร

จํานวน

งปม.ทั้งปีเท่ากับ

ร้อยละ

เปรียบเทียบปีนี้กับ ปมก. เอกสาร งปม.

จํานวน

ร้อยละ

1,650,000 ล้านบาท

1. กรมสรรพากร

1,422,995

1,183,978

239,017

20.2

1,223,266

199,729

16.3

217,550 554,564 81,425 528,012 32,050 9,138 256 368,341

192,724 436,986 66,135 459,801 20,148 7,962 222 373,603

24,826 117,578 15,290 68,211 11,902 1,176 34 (5,262)

12.9 26.9 23.1 14.8 59.1 14.8 15.3 (1.4)

200,128 415,527 88,353 490,337 21,002 7,689 230 356,173

17,422 139,037 (6,928) 37,675 11,048 1,449 26 12,168

8.7 33.5 (7.8) 7.7 52.6 18.8 11.3 3.4

113,163 51,569 44,569 55,956 83,200 13,330 1,081 2,075 1,999 995 404

140,818 49,149 38,852 54,736 70,306 13,343 1,480 1,824 1,767 956 372

(27,655) 2,420 5,717 1,220 12,894 (13) (399) 251 232 39 32

(19.6) 4.9 14.7 2.2 18.3 (0.1) (27.0) 13.8 13.1 4.1 8.6

139,411 47,411 38,049 53,075 60,767 12,195 1,069 1,520 1,415 946 315

(26,248) 4,158 6,520 2,881 22,433 1,135 12 555 584 49 89

(18.8) 8.8 17.1 5.4 36.9 9.3 1.1 36.5 41.3 5.2 28.3

4. รัฐวิสาหกิจ

93,613 90,828 212 2,573 1,884,949 88,304

89,110 85,679 149 3,282 1,646,691 82,209

4,503 5,149 63 (709) 238,258 6,095

5.1 6.0 42.3 (21.6) 14.5 7.4

80,610 78,410 90 2,110 1,660,049 76,787

13,003 12,418 122 463 224,900 11,517

16.1 15.8 135.6 21.9 13.5 15.0

5. หน่วยงานอื่น

100,847

1.1 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 1.2 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 1.3 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 1.4 ภาษีมูลค่าเพิม่ 1.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 1.6 อากรแสตมป์ 1.7 รายได้อื่น

2. กรมสรรพสามิต 2.1 ภาษีน้ํามันฯ 2.2 ภาษียาสูบ 2.3 ภาษีสุราฯ 2.4 ภาษีเบียร์ 2.5 ภาษีรถยนต์ 2.6 ภาษีเครื่องดื่ม 2.7 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2.8 ภาษีรถจักรยานยนต์ 2.9 ภาษีแบตเตอรี่ 2/

2.10 ภาษีอื่น 2.11 รายได้อื่น

3. กรมศุลกากร 3.1 อากรขาเข้า 3.2 อากรขาออก 3.3 รายได้อื่น

รวมรายได้ 3 กรม

5.1 ส่วนราชการอื่น 5.2 กรมธนารักษ์

รวมรายได้จัดเก็บ (Gross)

138,810

(37,963)

(27.3)

88,030

12,817

14.6

96,524 4,323 2,074,100

3/

135,332 3,478 1,867,710

(38,808) 845 206,390

(28.7) 24.3 11.1

84,535 3,495 1,824,866

11,989 828 249,234

14.2 23.7 13.7

208,643 168,759 39,884 11,504 12,734 1,841,219

4/

191,366 144,035 47,331 10,191 11,079 1,655,074

17,277 24,724 (7,447) 1,313 1,655 186,145

9.0 17.2 (15.7) 12.9 14.9 11.2

197,092 164,500 32,592 10,930 11,330 1,605,514

11,551 4,259 7,292 574 1,404 235,705

5.9 2.6 22.4 5.3 12.4 14.7

51,834

44,471

7,363

16.6

45,310

6,524

14.4

1,789,385

1,610,603

178,782

11.1

1,560,204

229,181

14.7

หัก 1. คืนภาษีของกรมสรรพากร - ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีอื่นๆ 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้ อบจ. 3. เงินกันชดเชยภาษีสําหรับสินค้าส่งออก

รวมรายได้สุทธิ (Net) 5/ หักเงินจัดสรรจาก VAT ให้ อปท. ตาม พรบ. กําหนดแผนฯ

รวมรายได้สุทธิหลังหักการจัดสรร อปท. หมายเหตุ

1/ 2/

4/ 4/

ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 5 กันยายน 2554 ภาษีไพ่ เครือ่ งแก้ว เครือ่ งหอม พรม สนามม้า สนามกอล์ฟ สารทําลายชั้นบรรยากาศโอโซน ไนท์คลับและดิสโก้เธค สถานอาบน้ําหรืออบตัวและนวด

3/

ข้อมูลจากระบบ GFMIS

4/

เดือนตุลาคม 2553 - กรกฎาคม 2554 เป็นตัวเลขจริง และเดือนสิงหาคม 2554 เป็นตัวเลขคาดการณ์

5/

รายได้สทุ ธิก่อนการจัดสรรให้ อปท. ที่มา กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : ส่วนนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

สํานักนโยบายการคลัง 12


สถานการณ์ด้านรายจ่าย  พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ 2554 ซึ่งได้ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 127 ตอนที่ 60ก เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2553 ได้กําหนดวงเงินงบประมาณรายจ่าย จํานวน 2,070,000 ล้านบาท สูงกว่าวงเงินปีงบประมาณ 2553 ร้อยละ 21.8 โดยแบ่งเป็นรายจ่าย ประจํา 1,661,482 ล้านบาท เพิ่มขึน้ ร้อยละ 15.9 รายจ่ายลงทุน 345,617 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 60.7 รายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ 32,555 ล้านบาท และมีการตั้งงบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง 30,346 ล้านบาท  คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2553 เห็นชอบการกําหนดเป้าหมายการเบิกจ่าย งบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ที่อัตราร้อยละ 93.0 และกําหนดเป้าหมาย การเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 72.0 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน โดยได้กําหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายรายไตรมาส ดังนี้ ไตรมาสที่ 1 2 3 4

เป้าหมาย การเบิกจ่าย แต่ละไตรมาส (ล้านบาท) 414,000 496,800 496,800 517,500

เป้าหมาย การเบิกจ่ายสะสม ณ สิ้นไตรมาส (ล้านบาท) 414,000 910,800 1,407,600 1,925,100

เป้าหมายอัตรา เบิกจ่าย การเบิกจ่ายสะสม สะสม ณ สิ้นไตรมาส (ล้านบาท) (%) 20 553,323 44 1,070,454 68 1,592,008 93

อัตรา เบิก จ่าย % 26.7 51.7 76.9

 พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ซึ่งได้ลงประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 128 ตอนที่ 27ก เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2554 ได้กําหนดวงเงินงบประมาณไว้ จํานวน 99,968 ล้านบาท ทําให้ปีงบประมาณ 2554 มีวงเงินงบประมาณรวมทั้งสิ้น 2,169,968 ล้านบาท

13 สํานักนโยบายการคลัง


โครงสร้างงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2554 โครงสร้างงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณรายจ่าย (สัดส่วนต่อ GDP) - รายจ่ายประจํา (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่องบประมาณ) - รายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) 2. รายรับ (สัดส่วนต่อ GDP) - รายได้ - เงินกู้ 3. ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP)

ปีงบประมาณ 2553 เพิ่ม/ลด จํานวน ร้อยละ 1,700,000 -12.9 18.8 1,434,710 1.7 84.4 -100.0 214,369 -50.1 12.6 50,921 -20.0 3.0 1,700,000 -12.9 18.8 1,350,000 -15.9 350,000 0.8 10,103,000 11.7

ปีงบประมาณ 2554 เพิ่ม/ลด จํานวน ร้อยละ 2,169,968 27.6 20.0 1,667,440 16.2 76.8 114,489 100.0 5.3 355,485 65.8 16.4 32,555 -36.1 1.5 2,169,968 27.6 20.0 1,770,000 31.1 399,968 14.3 10,840,500 7.3

ที่มา : สํานักงบประมาณ

 เดือนสิงหาคม 2554 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณปี 2554 จํานวน 135,473 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกัน ของปีที่แล้ว 32,151 ล้านบาท หรือร้อยละ 31.1 และมีการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี 8,070 ล้านบาท ทําให้มีการเบิกจ่ายรวมทั้งสิน้ 143,543 ล้านบาท

 การเบิกจ่ายงบประมาณ จํานวน 135,473 ล้านบาท เป็นการเบิกจ่ายจาก 1) งบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ 2554 จํานวน 133,138 ล้านบาท แบ่งเป็น รายจ่ายประจํา จํานวน 112,037 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน จํานวน 21,101 ล้านบาท 2) งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจําปี งบประมาณ 2554 จํานวน 2,335 ล้านบาท เป็น รายจ่ายประจํา จํานวน 1,005 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุน จํานวน 1,330 ล้านบาท  การเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี มีจาํ นวน 8,070 ล้านบาท

สํานักนโยบายการคลัง 14


 ในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 - สิงหาคม 2554) ปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลได้เบิกจ่ายเงินแล้ว  การเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจําปี จํานวน 1,865,892 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว งบประมาณ 2554 จํานวน 1,865,892 ล้านบาท 420,424 ล้านบาท หรือร้อยละ 29.1 และมีการเบิกจ่าย คิดเป็นอัตราการเบิกจ่าย ร้อยละ 86.0 ของวงเงิน เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี 118,592 ล้านบาท ทําให้มี งบประมาณ 2,169,968 ล้านบาท โดยเป็น การเบิกจ่ายรวมทั้งสิ้น 1,984,484 ล้านบาท การเบิกจ่ายจาก 1) งบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ 2554 จํานวน 1,776,380 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 85.8 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจําปี งบประมาณ 2554 (2,070,000 ล้านบาท) แบ่งเป็น รายจ่ายประจํา จํานวน 1,547,945 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 90.2 ของวงเงินงบประมาณรายจ่าย ประจําหลังโอนเปลี่ยนแปลง (1,716,877 ล้านบาท) รายจ่ายลงทุน จํานวน 228,435 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 64.7 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน หลังโอนเปลี่ยนแปลง (353,123 ล้านบาท) - การเบิกจ่ายงบกลาง มีจํานวน 243,317 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 91.6 ของงบประมาณ งบกลาง (265,550 ล้านบาท) - สําหรับการเบิกจ่ายงบประมาณตาม หน่วยงาน หน่วยงานที่มีการเบิกจ่ายสูงที่สุด 3 อันดับแรก คือ หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ มีการเบิกจ่าย 18,858 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 97.5 กองทุนและเงินทุนหมุนเวียน มีการเบิกจ่าย 123,612 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 96.7 และ กระทรวงแรงงาน มีการเบิกจ่าย 27,428 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 96.3 - ในขณะที่หน่วยงานที่มีการเบิกจ่ายต่ําสุด 3 อันดับสุดท้าย คือ จังหวัดมีการเบิกจ่าย 8,228 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 45.7 สํานักนายกรัฐมนตรี มีการเบิกจ่าย 16,344 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 68.7 และกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีการเบิกจ่าย 3,027 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 68.8 2) งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจําปี งบประมาณ 2554 จํานวน 89,512 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 89.5 ของวงเงินงบประมาณรายจ่าย เพิ่มเติมประจําปีงบประมาณ 2554 (99,968 ล้านบาท) แบ่งเป็น รายจ่ายประจํา จํานวน 86,968 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 96.5 ของวงเงินงบประมาณ 15 สํานักนโยบายการคลัง


รายจ่ายประจํา (90,100 ล้านบาท) รายจ่ายลงทุน จํานวน 2,544 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 25.8 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน (9,868 ล้านบาท) 3) การเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี มีจํานวน 118,592 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 64.7 ของเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี (183,235 ล้านบาท) ล้านบาท

การเบิกจ่ายรายจ่ายประจํา รายจ่ายลงทุน และเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี (รายเดือน)

250,000 200,000 150,000 100,000 50,000 -

ต.ค. 53

พ.ย. 53

ธ.ค. 53

ม.ค. 54

ก.พ. 54

มี.ค. 54

เม.ย. 54

พ.ค. 54

มิ.ย. 54

ก.ค. 54

ส.ค. 54

รายจ่ายประจํา

189,957

196,444

133,696

146,289

122,765

141,375

120,855

188,690

161,494

120,305

113,042

รายจ่ายลงทุน

4,161

10,757

18,308

74,368

16,699

15,635

14,225

16,533

19,757

18,106

22,431

เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี

13,334

15,951

15,763

14,534

15,225

13,903

4,625

6,223

6,343

4,621

8,070

ก.ย. 54

การเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2554 (สะสม)

ล้านบาท 2,000,000 1,500,000 1,000,000 500,000 0

ต.ค. 53

พ.ย. 53

ธ.ค. 53

ม.ค. 54

ก.พ. 54

80,143

246,259

396,155

530,141

699,523

พ.ศ. 2554 194,118

401,319

553,323

773,980

913,444

พ.ศ. 2553

มี.ค. 54

เม.ย. 54

พ.ค. 54

มิ.ย. 54

ก.ค. 54

ส.ค. 54

ก.ย. 54

829,176

965,763

1,083,822

1,207,018

1,342,146

1,445,468

1,627,875

1,070,454

1,205,535

1,410,757

1,592,008

1,730,419

1,865,892

สํานักนโยบายการคลัง 16


 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุน ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ในเดือนสิงหาคม 2554 จํานวน 2,604 ล้านบาท

1 2

- เดือนสิงหาคม 2554 มีการเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุน ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 จํานวน 2,604 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.7 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ จํานวน 349,960 ล้านบาท1 และตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ มีการเบิกจ่ายรวมทั้งสิ้น 54,761 ล้านบาท - การเบิกจ่ายเงินจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการ ไทยเข้มแข็งสะสมจนถึงสิ้นเดือนสิงหาคม 2554 มีจํานวนทั้งสิ้น 289,162 ล้านบาท2 คิดเป็นร้อยละ 82.6 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ จํานวน 349,960 ล้านบาท - สําหรับสาขาที่มีการเบิกจ่ายสะสมสูงสุด 3 อันดับแรก คือ สาขาการประกันรายได้และการดําเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีการเบิกจ่าย 40,000 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 100.0 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (40,000 ล้านบาท) สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีการเบิกจ่าย 179 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 96.9 ของวงเงินที่ได้รับ การอนุมัติ (185 ล้านบาท) และสาขาสิ่งแวดล้อม มีการเบิกจ่าย 664 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 96.3 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (689 ล้านบาท) - ในขณะทีส่ าขาที่มีการเบิกจ่ายสะสมต่ําสุด 3 อันดับ คือ สาขาโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว มีการเบิกจ่าย 1,369 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 41.7 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (3,282 ล้านบาท) สาขาพัฒนา ด้านสาธารณสุข พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน มีการเบิกจ่าย 6,275 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 42.7 ของวงเงินที่ได้รับ อนุมัติ (14,692 ล้านบาท) และสาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาบุคลากร มีการเบิกจ่าย 860 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 44.6 ของวงเงินที่ได้รับอนุมัติ (1,928 ล้านบาท) - สําหรับสาขาที่ยังไม่มกี ารเบิกจ่าย ได้แก่ สาขาพลังงาน มีวงเงินที่ได้รับอนุมัติ 174 ล้านบาท

เป็นวงเงินที่ได้รับการอนุมัติตามพระราชกําหนดให้อํานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 รอบที่ 1 จํานวน 199,960 ล้านบาท และรอบที่ 2 จํานวน 150,000 ล้านบาท เป็นการเบิกจ่ายจากโครงการลงทุนภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง จนถึงสิ้นสุดปีงบประมาณ 2553 จํานวน 234,401 ล้านบาท

17 สํานักนโยบายการคลัง


 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ - ในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553 - สิงหาคม 2554) ทั้งสิน้ 2,039,245 ล้านบาท มีการเบิกจ่ายเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ จํานวนทั้งสิ้น 2,039,245 ล้านบาท แบ่งเป็น งบประมาณรายจ่าย ประจําปีงบประมาณ 2554 จํานวน 1,865,892 ล้านบาท เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี จํานวน 118,592 ล้านบาท และโครงการลงทุนไทยเข้มแข็ง 2555 จํานวน 54,761 ล้านบาท

สํานักนโยบายการคลัง 18


รายงานผลการเบิกจ่ายเงินโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 วงเงินที่ได้รับ อนุมัติ

เบิกจ่าย สะสม ณ 31 ส.ค. 54

59,503.3

50,323.3

84.6

1.1 สาขาทรัพยากรน้ําและการเกษตร

59,503.3

50,323.3

84.6

2. ปรับปรุงบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานฯ

74,781.1

59,217.1

79.2

46,586.5

43,673.0

93.7

174.3

-

-

-

-

-

3,281.7

1,368.5

41.7

14,691.5

6,275.4

42.7

9,172.9

7,057.3

76.9

2.7 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

185.0

179.3

96.9

2.8 สาขาสิ่งแวดล้อม

689.2

663.6

96.3

5,394.3

2,512.4

46.6

3.1 สาขาพัฒนาการท่องเที่ยว

5,394.3

2,512.4

46.6

4. สร้างฐานรายได้ใหม่ของประเทศฯ

1,330.6

1,274.1

95.8

4.1 สาขาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์

1,330.6

1,274.1

95.8

51,981.4

37,651.3

72.4

51,981.4

37,651.3

72.4

1,927.7

860.1

44.6

1,927.7

860.1

44.6

106,542.1

93,559.1

87.8

7.1 สาขาการลงทุนในระดับชุมชน

106,542.1

93,559.1

87.8

8. อื่น ๆ ตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด

40,000.0

40,000.0

100.0

40,000.0

40,000.0

100.0

341,460.4

285,397.2

83.6

8,500.0

3,764.9

44.3

349,960.4

289,162.1

82.6

วัตถุประสงค์ / สาขา 1. สร้างความมั่นคงทางด้านอาหารและพลังงานฯ

2.1 สาขาขนส่ง 2.2 สาขาพลังงาน 2.3 สาขาการสื่อสาร 2.4 สาขาโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว 2.5 สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 2.6 สาขาสวัสดิภาพของประชาชน

3. สร้างศักยภาพในการหารายได้จากการท่องเที่ยว

5. ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ 5.1 สาขาการศึกษา 6. ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุขฯ 6.1 สาขาพัฒนาด้านสาธารณสุข พัฒนาบุคลากร 7. สร้างอาชีพและรายได้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตฯ

8.1 สาขาการประกันรายได้และการดําเนินงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวม สํารองจ่ายตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหาร รวมทั้งสิ้น ข้อมูล ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2554

19 สํานักนโยบายการคลัง

ร้อยละของ การเบิกจ่าย สะสม


การเบิกจ่ายเงินกู้ตา่ งประเทศ ผลการเบิกจ่าย - เดือนสิงหาคม 2554 มีการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ 1.9 ล้านบาท เปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันปีที่แล้ว ที่มีการคืนเงินกู้ต่างประเทศ 8.6 ล้านบาท - 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – สิงหาคม 2554) มีการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ 1,737.5 ล้านบาท เปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้วเพิ่มขึ้นจํานวน 821.6 ล้านบาท หรือร้อยละ 89.7

สรุปการเบิกจ่ายเงินกู้ต่างประเทศ เดือนสิงหาคม 2554 และ 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 หน่วย : ล้านบาท

สิงหาคม รายการ

9.3 -17.9

อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 204.3 47.5

ตุลาคม – สิงหาคม อัตราเพิ่ม 2554 2553 (ร้อยละ) 122.2 641.3 -80.9 1,615.3 274.6 488.2

-8.6

-122.1

1,737.5

2554

2553

1. Project Loans 2. Structural Adjustment Loans (SAL)

28.3 -26.4

รวม

1.9

915.9

89.7

ที่มา : สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ

สํานักนโยบายการคลัง 20


การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค.  เดือนสิงหาคม 2554 การเบิกจ่ายเงินของกองทุนนอก งบประมาณ ต่าํ กว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว ร้อยละ 6.6 เป็นผลจากการลดลงของรายจ่าย กองทุนน้าํ มันเชื้อเพลิงและกองทุนหมุนเวียน การผลิตเหรียญกษาปณ์และการทําของ  ในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – สิงหาคม 2554) การเบิกจ่ายเงินของกองทุน ฯ สูงกว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 13.8 โดยมี สาเหตุหลักมาจากการเบิกจ่ายของกองทุน น้ํามันเชื้อเพลิง และกองทุนหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ

1. เดือนสิงหาคม 2554 มีการเบิกจ่ายรวม 15,135.9 ล้านบาท ต่ํากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 1,067.1 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.6 ประกอบด้วยรายจ่ายดําเนินงาน 11,787.0 ล้านบาท ต่ํากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 1,331.6 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.2 เนื่องจากกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงมีรายจ่ายเงินชดเชย น้อยลง ในขณะที่มีการให้กู้สทุ ธิ 3,348.9 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกัน ปีที่แล้ว 264.5 ล้านบาท หรือร้อยละ 8.6 2. ในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 มีการเบิกจ่าย รวม 317,462.4 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 38,402.2 ล้านบาท หรือร้อยละ 13.8 ประกอบด้วย 1) รายจ่ายดําเนินงาน 294,770.5 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว 36,090.3 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.0 เป็นผลมาจาก กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงและกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีการเบิกจ่ายเพิ่มขึ้น 2) รายจ่ายเงินให้กู้ยืมสุทธิ 22,691.9 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว 2,311.9 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.3 เป็นผลมาจาก การให้กู้ยืมที่เพิ่มขึ้นของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา

สรุปการเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณตามระบบ สศค. ในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – สิงหาคม 2554) หน่วย : ล้านบาท

รายการ

2554* การเบิกจ่ายของกองทุนนอกงบประมาณ 15,135.9 1. รายจ่ายดําเนินงาน 11,787.0 2. รายจ่ายเงินให้กู้ยืมสุทธิ 3,348.9

สิงหาคม 2553 16,203.0 13,118.6 3,084.4

อัตราเพิ่ม -6.6 -10.2 8.6

ในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554* 2553 อัตราเพิ่ม 317,462.4 279,060.2 13.8 294,770.5 258,680.2 14.0 22,691.9 20,380.0 11.3

ที่มา : กองทุนประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง กองทุนหมุนเวียนการผลิตเหรียญกษาปณ์และการทําของ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา กองทุนเงินทุนค่าธรรมเนียมผ่านทาง กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจฯ กองทุนอ้อยและน้ําตาลทราย กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุนส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กองทุนเพื่อการพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กองทุนรวมเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กองทุน สนับสนุนการวิจยั หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการจาก 15 กองทุนนอกงบประมาณหลัก ซึ่งมีมูลค่ารวมเป็นร้อยละ 85 จากกองทุนนอกงบประมาณทัง้ หมด โดยสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

21 สํานักนโยบายการคลัง


ฐานะการคลังรัฐบาล ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด1 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553 – สิงหาคม 2554) 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลมีรายได้  เดือนตุลาคม 2553 – สิงหาคม 2554 ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแส นําส่งคลัง 1,618,739 ล้านบาท และมีการเบิกจ่าย เงินสดขาดดุล 159,272 ล้านบาท คิดเป็น งบประมาณจากงบประมาณปีปัจจุบันและปีก่อนรวม 1,984,484 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินงบประมาณ ร้อยละ 1.5 ของ GDP 2 ขาดดุลจํานวน 365,745 ล้านบาท เมื่อรวมกับดุลเงิน นอกงบประมาณที่เกินดุลจํานวน 58,956 ล้านบาท ทําให้ดุลเงินสดขาดดุลทั้งสิ้น 306,789 ล้านบาท โดยรัฐบาลชดเชยการขาดดุลโดยการออกพันธบัตร จํานวน 147,517 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินสด หลังการกู้เงินขาดดุลทั้งสิ้น 159,272 ล้านบาท ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด หน่วย: ล้านบาท

11 เดือนแรก ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2553 รายได้ 1,618,739 1,467,436 รายจ่าย 1,984,484 1,591,709 ปีปัจจุบนั 1,865,892 1,445,468 ปีก่อน 118,592 146,241 ดุลเงินงบประมาณ -365,745 -124,273 ดุลเงินนอกงบประมาณ 58,956 -8,292 ดุลเงินสดก่อนกู้ -306,789 -132,565 กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล 147,517 232,575 ดุลเงินสดหลังกู้ -159,272 100,010 ที่มา : กรมบัญชีกลาง และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

เปรียบเทียบ จํานวน ร้อยละ 151,303 10.3 392,775 24.7 420,424 29.1 -27,649 -18.9 -241,472 194.3 67,248 -810.9 -174,224 131.4 -85,058 -36.6 -259,282 -259.3

1 2

ดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด เป็นดุลการคลังที่แสดงให้เห็นผลกระทบต่อเงินคงคลังและการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล GDP ปีปฏิทิน 2553 เท่ากับ 10,104.8 พันล้านบาท และคาดการณ์ GDP ปีปฏิทิน 2554 เท่ากับ 10,867.6 พันล้านบาท

สํานักนโยบายการคลัง 22


ดุลการคลังของรัฐบาลตามระบบ สศค.3 ในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 (ตุลาคม 2553 – สิงหาคม 2554)  ในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 รัฐบาลมีรายได้ทั้งสิน้ 1,849,299 ล้านบาท และมีรายจ่ายทั้งสิน้ 1,983,717 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 17.0 และ 18.3 ของ GDP ตามลําดับ

ด้านรายได้ รัฐบาลมีรายได้ทั้งสิ้น 1,849,299 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีท่ีแล้วร้อยละ 12.3 โดยประกอบด้วยรายได้ในงบประมาณ 1,848,123 ล้านบาท (ก่อนจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้ อปท.) และเงินช่วยเหลือจาก ต่างประเทศ 1,176 ล้านบาท ด้านรายจ่าย รัฐบาลมีรายจ่ายทั้งสิ้น 1,983,717 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 25.4 ประกอบด้วยรายจ่ายจากงบประมาณปีปัจจุบันและปีก่อน (รายจ่ายไม่รวมรายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ 1,982,541 ล้านบาท รายจ่ายเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ 1,176 ล้านบาท)

 ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิน้ 134,418 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 1.2 ของ GDP

ดุลเงินงบประมาณ ขาดดุลทั้งสิ้น 134,418 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 1.2 ของ GDP ในขณะเดียวกันปีที่แล้ว เกินดุล 63,781 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 0.6 ของ GDP

 ดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณ เกินดุล 33,410 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.3 ของ GDP

บัญชีเงินนอกงบประมาณ ประกอบด้วยเงินฝาก นอกงบประมาณ และกองทุนนอกงบประมาณ มีรายได้รวมทั้งสิ้น 385,494 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 11.7 มีรายจ่ายจํานวน 329,538 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ช่วงเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 39.1 และมีเงินให้กู้หักชําระคืน 22,546 ล้านบาท ทําให้ดุลบัญชีเงินนอกงบประมาณ เกินดุลทั้งสิ้น 33,410 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.3 ของ GDP

3

ดุลการคลังตามระบบ สศค. เป็นดุลการคลังที่สะท้อนเม็ดเงินที่แท้จริงที่ส่งกระทบต่อเศรษฐกิจ

23 สํานักนโยบายการคลัง


 ดุลการคลังของรัฐบาล ขาดดุลทั้งสิ้น 157,508 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.4 ของ GDP

ดุลเงินงบประมาณที่ขาดดุลรวมกับดุลบัญชีเงินนอก งบประมาณที่เกินดุล และเมื่อหักรายจ่ายจากเงินกู้ ต่างประเทศและรายจ่ายจากโครงการไทยเข้มแข็งแล้ว จํานวน 1,738 ล้านบาท และ 54,761 ล้านบาท ตามลําดับ ทําให้ดุลการคลังขาดดุล จํานวน 157,508 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.4 ของ GDP ในขณะที่ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว ขาดดุล 49,350 ล้านบาท สําหรับดุลการคลังเบื้องต้น ของรัฐบาล (Primary Balance) ซึ่งเป็นดุลการคลัง ที่สะท้อนถึงผลการดําเนินงานของรัฐบาลและทิศทาง ของนโยบายการคลังของรัฐบาลอย่างแท้จริง (ไม่รวม รายได้และรายจ่ายดอกเบี้ย และการชําระคืนต้นเงินกู้) เกินดุลทั้งสิ้น 15,568 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.1 ของ GDP ในขณะที่ช่วงเดียวกันปีที่แล้วเกินดุล 94,483 ล้านบาท ดุลการคลังเบือ้ งต้นตามระบบ สศค. หน่วย: ล้านบาท

ปีงบประมาณ รัฐบาล 1. รายได้ 2. รายจ่ าย 3. ดุลงบประมาณ (1-2) 4. รายจ่ายจากเงินกู้ต่างประเทศ

5. รายจ่ายจากมาตรการไทยเข็มแข็ง (TKK) 6. ดุลบัญชีนอกงบประมาณ (6.1-6.2-6.3) 6.1 รายได้ 6.2 รายจ่าย 6.3 เงินให้กู้หักชําระคืน 7. ดุลการคลังของรัฐบาล (3-4-5+6) 8. ดุลการคลังเบื้องต้นของรัฐบาล

ส.ค. 54 ส.ค. 53 เปรียบเทียบ ต.ค.53 - ส.ค. 54 ต.ค.52 - ส.ค. 53 เปรียบเทียบ ล้านบาท % of GDP ล้านบาท % of GDP ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท % of GDP ล้านบาท % of GDP ล้านบาท ร้อยละ 310,030 148,939 161,091 2 2,604 9,916 28,628 15,471 3,241 168,401 176,301

2.9 1.4 1.5 0.0 0.0 0.1 0.3 0.1 0.0 1.5 1.6

258,392 120,257 138,135 (9) 16,040 7,454 26,869 17,037 2,378 129,558 135,616

2.6 51,638 20.0 1.2 28,682 23.9 1.4 22,955 16.6 (0.0) 10 (122.2) 0.2 (13,436) (83.8) 0.1 2,462 33.0 0.3 1,759 6.5 0.2 (1,566) (9.2) 0.0 863 36.3 1.3 38,843 30.0 1.3 40,685 30.0

1,849,299 1,983,717 (134,418) 1,738 54,761 33,410 385,494 329,538 22,546 (157,508) 15,568

17.0 18.3 (1.2) 0.0 0.5 0.3 3.5 3.0 0.2 (1.4) 0.1

1,646,203 1,582,422 63,781 916 201,354 89,139 345,181 236,960 19,082 (49,350) 94,483

16.3 15.7 0.6 0.0 2.0 0.9 3.4 2.3 0.2 (0.5) 0.9

203,096 401,295 (198,199) 822 (146,593) (55,731) 40,313 92,578 3,464 (108,158) (78,916)

12.3 25.4 (310.7) 89.7 (72.8) (62.5) 11.7 39.1 18.2 219.2 (83.5)

จัดทําโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

สํานักนโยบายการคลัง 24


ฐานะการคลังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รายงานการคลังท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ไตรมาสที่ 3 และช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 ฐานะการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ 2554 (เมษายน – มิถุนายน 2554) 1. ด้านรายได้ อปท. จํานวน 7,853 แห่ง คาดว่ามีรายได้รวม 159,871.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 44,868.1 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 39.0 เนื่องจาก อปท. ได้รับการจัดสรรเงินอุดหนุน เพิ่มขึ้น ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจขยายตัวอย่างต่อเนื่องทําให้รายได้ภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ เพิ่มขึ้น นอกจากนี้รายได้ที่ อปท. จัดเก็บเองก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน ตารางที่ 1 รายได้ของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ 2554 ประเภท 1/

1. รายได้จัดเก็บเอง (ร้อยละของรายได้รวม) 1.1 รายได้จากภาษีอากร 1.2 รายได้ทไี่ ม่ใช่ภาษีอากร 2. รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 2/ (ร้อยละของรายได้รวม) 3. รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล 3/ (ร้อยละของรายได้รวม) รวม (ร้อยละของรายได้รวม)

ไตรมาส 3 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2553 13,659.83 10,106.47 8.54 8.79 9,973.98 6,999.05 3,685.85 3,107.42 126,837.57 91,764.98 79.34 79.79 19,374.40 13,132.30 12.12 11.42 159,871.80 115,003.75 100.00 100.00

หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ จํานวน 3,553.36

ร้อยละ 35.16

2,974.93 578.43 35,072.59

42.50 18.61 38.22

6,242.10

47.53

44,868.05

39.01

หมายเหตุ ที่มา

ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 26 กันยายน 2554 1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จํานวน 1,342 แห่ง จากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจํานวน 6,511 แห่ง รวม 7,853 แห่ง 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดิน และกรมการขนส่งทางบก และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง จัดทําและรวบรวมโดย ส่วนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

รายได้ของ อปท. จําแนกตามที่มาได้ ดังนี้ 1.1 รายได้ที่จดั เก็บเอง จํานวน 13,659.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 3,553.4 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 35.2 ประกอบด้วย รายได้จากภาษีอากร 9,974.0 ล้านบาท และรายได้ ที่ไม่ใช่ภาษีอากร 3,685.9 ล้านบาท 1.2 รายได้ภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จํานวน 126,837.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 35,072.6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 38.2 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน จํานวน 19,374.4 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 6,242.1 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 47.5 สํานักนโยบายการคลัง 26


2. ด้านรายจ่าย อปท.1 จํานวน 7,853 แห่ง ประมาณการว่ามีรายจ่ายทั้งสิ้น 155,945.7 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 34,801.7 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 28.7 ตารางที่ 2 รายจ่ายของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ 2554 1/ ประเภท 1. รายจ่ายงบกลาง (ร้อยละของรายจ่ายรวม) 2. รายจ่ายประจํา (ร้อยละของรายจ่ายรวม) 3. รายจ่ายเพื่อการลงทุน (ร้อยละของรายจ่ายรวม) 4. รายจ่ายพิเศษ (ร้อยละของรายจ่ายรวม) 5. รายจ่ายกันไว้เบิกเหลื่อมปี (ร้อยละของรายจ่ายรวม) รวม (ร้อยละของรายจ่ายรวม)

หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ

ไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ 2554

ปีงบประมาณ 2553

8,372.63 5.37 84,635.55 54.27 25,662.75 16.46 31,102.17 19.94 6,172.60 3.96 155,945.70 100.00

11,005.84 9.08 52,134.71 43.04 31,430.96 25.95 15,705.83 12.96 10,866.68 8.97 121,144.02 100.00

จํานวน

ร้อยละ

(2,633.21)

(23.93)

32,500.84

62.34

(5,768.21)

(18.35)

15,396.34

98.03

(4,694.08)

(43.20)

34,801.68

28.73

หมายเหตุ ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 26 กันยายน 2554 ที่มา 1/ ประมาณการจากการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) หักด้วยรายได้ อปท. จัดทําและรวบรวมโดย ส่วนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

รายจ่ายของ อปท. ประกอบด้วย 2.1 รายจ่ายงบกลาง จํานวน 8,372.6 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 2,633.2 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 24.0 2.2 รายจ่ายประจํา จํานวน 84,635.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 32,500.8 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 62.3 2.3 รายจ่ายเพื่อการลงทุน จํานวน 25,662.8 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันปีทแี่ ล้ว 5,768.2 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 18.4 2.4 รายจ่ายพิเศษ จํานวน 31,102.2 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 15,396.3 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 98.03 2.5 รายจ่ายจากเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี จํานวน 6,172.6 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 4,694.1 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 43.2

1

โดยพิจารณาจากผลต่างของรายได้กับดุลการคลังของ อปท. (การเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM)) จากธนาคารแห่งประเทศไทย

27 สํานักนโยบายการคลัง


3. ดุลการคลัง อปท.2 เกินดุล 3,926.1 ล้านบาท ขณะที่ช่วงเดียวกันปีที่แล้วขาดดุล 6,140.3 ล้านบาท เนื่องจากผลการจัดเก็บรายได้ของรัฐบาลจากภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีสรรพสามิตเพิ่มขึ้น มีผลให้รายได้ ที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ อปท. เพิ่มขึ้นในทิศทางเดียวกัน รวมทั้งการได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเพิ่มขึ้นมาก ตารางที่ 3 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ 2554 ไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2553 1/ 159,871.80 115,003.75 1. รายได้ 1.1 รายได้ทจี่ ัดเก็บเอง 13,659.83 10,106.47 1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีทรี่ ัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 126,837.57 91,764.98 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน 19,374.40 13,132.30 2. รายจ่าย 155,945.70 121,144.02 2.1 รายจ่ายงบกลาง 8,372.63 11,005.84 2.2 รายจ่ายประจํา 84,635.55 52,134.71 2.3 รายจ่ายเพือ่ การลงทุน 25,662.75 31,430.96 2.4 รายจ่ายพิเศษ 31,102.17 15,705.83 2.5 รายจ่ายกันไว้เบิกเหลื่อมปี 6,172.60 10,866.68 2/ 3. ดุลการคลัง 3,926.10 (6,140.27) ประเภท

หมายเหตุ ที่มา

จัดทําและรวบรวมโดย

หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ จํานวน ร้อยละ 44,868.05 39.01 3,553.36 35.16 35,072.59 38.22 6,242.10 47.53 34,801.68 28.73 (2,633.21) (23.93) 32,500.84 62.34 (5,768.21) (18.35) 98.03 15,396.34 (4,694.08) (43.20) 10,066.37 (163.94)

ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 26 กันยายน 2554 1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จํานวน 1,342 แห่ง จากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจํานวน 6,511 แห่ง รวม 7,853 แห่ง 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดิน และกรมการขนส่งทางบก และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ เป็นตัวเลขประมาณการจากการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKINK SYSTEM) ของ ธปท. ส่วนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

รูปที่ 1 ดุลการคลังของ อปท. ไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ 2554 ไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ 2553 ไตรมาสที่ 3 ปีงบประมาณ 2554

ล้านบาท

180,000

159,871.80

160,000

155,945.70

140,000 120,000

115,003.75

121,144.02

100,000 80,000 60,000 40,000 20,000

3,926.10

(6,140.27)

-20,000 รายได้

รายจ่าย

ดุลการคลัง

2

ดุลการคลัง อปท. พิจารณาจากข้อมูลการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKING SYSTEM) . จากธนาคารแห่งประเทศไทย

สํานักนโยบายการคลัง 28


ฐานะการคลังของ อปท. ในช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 1. ด้านรายได้ คาดว่า อปท. มีรายได้ 403,192.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 80,851.7 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 25.1 เป็นผลจากรายได้ที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 213,254.7 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 26.5 และรายได้จากเงินอุดหนุน 158,572.4 ล้านบาท เพิม่ ขึ้นถึงร้อยละ 27.2 ส่วนรายได้ ที่จัดเก็บเอง 31,365.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.6 2. ด้านรายจ่าย คาดว่า อปท. มีรายจ่ายรวม 363,253.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีทแี่ ล้ว 82,523.5 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 29.4 ประกอบด้วยรายจ่ายประจํา 213,481.3 ล้านบาท รองลงมา ได้แก่ รายจ่ายพิเศษ 54,080.8 ล้านบาท รายจ่ายเพื่อการลงทุน 52,300.5 ล้านบาท รายจ่ายงบกลาง 24,639.8 ล้านบาท และรายจ่ายกันไว้เบิกเหลื่อมปี 18,751.4 ล้านบาท 3. ดุลการคลัง คาดว่า อปท. เกินดุลการคลัง 39,939 ล้านบาท เนื่องจากรายได้ที่รัฐบาลจัดเก็บ และแบ่งให้ และได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้ว อปท. เกินดุลลดลง เนื่องจากการเบิกจ่ายงบประมาณของ อปท. ในปีนี้เพิ่มสูงขึน้ มาก ตารางที่ 4 ดุลการคลังของ อปท. ช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 ประเภท 1. รายได้ 1/ 1.1 รายได้ที่จัดเก็บเอง 1.2 รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ 1.3 รายได้จากเงินอุดหนุน 2. รายจ่าย 2.1 รายจ่ายงบกลาง 2.2 รายจ่ายประจํา 2.3 รายจ่ายเพื่อการลงทุน 2.4 รายจ่ายพิเศษ 2.5 รายจ่ายกันไว้เบิกเหลื่อมปี 3. ดุลการคลัง 2/ หมายเหตุ ที่มา

9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 2553 403,192.59 322,340.89 31,365.53 29,155.55 213,254.66 168,538.94 158,572.40 124,646.40 363,253.59 280,730.07 24,639.77 22,917.17 213,481.26 140,107.90 52,300.45 52,698.35 54,080.75 35,722.06 18,751.36 29,284.59 39,939.00 41,610.82

หน่วย : ล้านบาท เปรียบเทียบ จํานวน ร้อยละ 80,851.70 25.08 2,209.98 7.58 44,715.72 26.53 33,926.00 27.22 82,523.52 29.40 1,722.60 7.52 73,373.36 52.37 (397.90) (0.76) 18,358.69 51.39 (10,533.23) (35.97) (1,671.82) (4.02)

ข้อมูลเบื้องต้น ณ วันที่ 26 กันยายน 2554 1/ จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จํานวน 1,342 แห่ง จากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจํานวน 6,511 แห่ง รวม 7,853 แห่ง 2/ รายได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้ จากกรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กรมที่ดิน และกรมการขนส่งทางบก และสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3/ รายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล จากกรมบัญชีกลาง 4/ เป็นตัวเลขประมาณการจากการเปลี่ยนแปลงเงินฝากสุทธิของ อปท. ในระบบธนาคาร (NET CLAIMS ON BANKINK SYSTEM) ของ ธปท. จัดทําและรวบรวมโดย ส่วนระบบสถิติการคลัง สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

29 สํานักนโยบายการคลัง


รูปที่ 2 ดุลการคลังของ อปท. ช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2553 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2554

ล้านบาท 450000 400000 350000

403,192.59 363,253.59 322,340.89

300000

280,730.07

250000 200000 150000 100000

41,610.82 39,939.00

50000 0 รายได้

รายจ่าย

ดุลการคลัง

สํานักนโยบายการคลัง 30


สถานการณ์ด้านหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2554  หนี้สาธารณะคงค้าง เท่ากับ 4,280.1 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 40.6 ของ GDP เพิ่มขึ้นจากเดือนที่แล้ว 16.5 พันล้านบาท โดยเป็นหนี้คงค้าง ที่เป็นภาระงบประมาณต่อ GDP เท่ากับร้อยละ 28.8 และ แยกเป็นหนี้ในประเทศร้อยละ 92.1 ส่วนที่เหลือร้อยละ 7.9 เป็นหนี้ต่างประเทศ  หนี้คงค้างที่เพิ่มขึน้ เป็นผลจากหนีท้ ี่รัฐบาลกู้ โดยตรงเพิ่มขึ้น 16.0 พันล้านบาท และหนี้ของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้น 0.4 พันล้านบาท  หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง เพิ่มขึน้ 16.0 พันล้านบาท เมื่อเทียบกับเดือนที่แล้ว โดยหนี้ในประเทศเพิ่มขึ้น 16.3 พันล้านบาท มีสาเหตุหลัก จากการออกพันธบัตรเพื่อ การบริหารหนี้ 22.0 พันล้านบาท และการออกพันธบัตรชดเชย การขาดดุล 8 พันล้านบาท ในขณะที่รฐั บาลได้มีไถ่ถอน เงินกู้ระยะสั้น 12.0 พันล้านบาท สําหรับหนี้ต่างประเทศลดลง 0.3 พันล้านบาท

31 สํานักนโยบายการคลัง

หน่วย : ล้านบาท

1. รวมหนี้ที่รฐั บาลกู้โดยตรง หนีท้ ี่รัฐบาลกู้โดยตรง-ต่างประเทศ หนีท้ ี่รัฐบาลกู้โดยตรง-ในประเทศ 2. รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจ

หนี้ที่รฐั บาลค้ําประกัน-ต่างประเทศ หนี้ที่รฐั บาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนี้ที่รฐั บาลไม่ค้ําประกันต่างประเทศ** หนี้ที่รฐั บาลไม่ค้ําประกันในประเทศ** 3. หนี้ของหน่วยงานภาครัฐอื่น * หนีท้ ี่รัฐบาลค้ําประกัน-ในประเทศ หนีท้ ี่รัฐบาลไม่ค้ําประกัน-ในประเทศ 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟืน้ ฟูฯ FIDF 5. ยอดหนี้สาธารณะคงค้างรวม (1+2+3+4) GDP หนี้สาธารณะคงค้างรวมต่อ GDP (%) หนี้คงค้างที่เป็นภาระงบประมาณต่อ

ณ 30 มิ.ย.54 3,000,473.78 44,059.29 2,956,414.49 1,232,593.85 169,784.65 505,648.67 130,435.85

ณ 31 ก.ค.54 3,016,485.07 43,806.63 2,972,678.44 1,233,015.24 169,496.87 512,257.72 125,318.29

426,724.68

425,942.36

30,525.59 30,553.05 4,263,593.22 4,280,053.36 10,486,280 40.66 29.84

10,549,850 40.57 29.59

GDP (%) หมายเหตุ * หน่วยงานภาครัฐอื่น ได้แก่ สํานักงานคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมืองแห่งชาติและสถาบันบริหารกองทุนพลังงาน ** ไม่รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน *** สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะได้ปรับวิธีการคํานวณ GDP ในแต่ละเดือน โดยคํานวณ GDP ของเดือนกรกฎาคม 2554 จาก ( (GDP ปี 2553/12) *5) + ( (GDP ปี 2554/12)*7) = 10,549.85 พันล้านบาท ที่มา สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ


สัดส่วนหนีใ้ นประเทศและหนี้ต่างประเทศ  หนี้ของรัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้น 0.4 พันล้านบาท เมื่อเทียบกับ เดือนก่อน เนื่องจากมีการเบิกจ่าย เงินกู้มากกว่าการชําระคืนเงินกู้ โดยรัฐวิสาหกิจที่มีการชําระคืน เงินกู้สุทธิที่สําคัญ ได้แก่ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) และ การไฟฟ้านครหลวง จํานวน 3.6 และ 2.0 พันล้านบาท ตามลําดับ ในขณะที่ องค์การ ขนส่งมวลชนกรุงเทพฯ และ การรถไฟแห่งประเทศไทย เบิกจ่ายเงินกู้สุทธิ 4.6 และ 1.8 พันล้านบาท ตามลําดับ

จํานวน ร้อยละ (%)

หน่วย : พันล้านบาท หนี้ในประเทศ หนี้ต่างประเทศ 3,941.4 338.6 92.1 7.9 สัดส่วนหนีร้ ะยะยาวและหนีร้ ะยะสั้น

จํานวน ร้อยละ (%)

หน่วย : พันล้านบาท หนี้ระยะยาว หนี้ระยะสัน้ 4,216.9 63.1 98.5 1.5

สํานักนโยบายการคลัง 32


กรอบความยั่งยืนทางการคลัง กระทรวงการคลังได้กําหนดกรอบความยั่งยืนทางการคลัง เพื่อเป็นแนวทางในการดําเนินนโยบาย ทางการคลังที่สอดคล้องกับสถานะเศรษฐกิจการเงินและการคลังของประเทศ โดยมีเป้าหมายเพื่อรักษา เสถียรภาพด้านการคลังในระยะปานกลางและระยะยาว ซึ่งกรอบความยั่งยืนทางการคลังประกอบด้วยตัวชี้วัด และเป้าหมาย (60-15-0-25) ดังนี้ o o o o

ยอดหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 ภาระหนี้ต่องบประมาณไม่เกินร้อยละ 15 การจัดทํางบประมาณสมดุล สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25

สํานักงานเศรษฐกิจการคลังได้จัดทําการวิเคราะห์ความยั่งยืนทางการคลังในระยะปานกลาง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประเมินและรักษาความยั่งยืนทางการคลัง โดยมีผลการวิเคราะห์ระหว่าง ปีงบประมาณ 2554-2558 (รายละเอียดดังปรากฏในตารางสรุป) ซึ่งสรุปได้ดังนี้ o สามารถรักษาสัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ให้ไม่เกินร้อยละ 60 o สามารถรักษาสัดส่วนภาระหนี้ต่องบประมาณไม่ให้เกินร้อยละ 15 o ไม่สามารถจัดทํางบประมาณสมดุลในปีงบประมาณ 2554 อย่างไรก็ดี จากภาวะเศรษฐกิจที่ขยายตัว อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้คาดการณ์การจัดเก็บรายได้ในปีงบประมาณ 2554 สูงกว่าเป้าหมายเป็นจํานวนมาก และประมาณการรายได้ระยะปานกลางคาดว่าจะเพิ่มสูงขึ้นเช่นเดียวกัน และเมือ่ เปรียบเทียบกับประมาณการรายจ่าย พบว่าแนวโน้มการขาดดุลงบประมาณในระยะปานกลางลดลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการแสดงถึงเจตนารมณ์ ของรัฐบาลในการจัดทํางบประมาณรายจ่ายสมดุลในอนาคต o ไม่สามารถรักษาสัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายให้ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 ในปีงบประมาณ 2554 อย่างไรก็ดี รัฐบาลยังคงมีเป้าหมายในการเพิ่มสัดส่วนรายจ่ายลงทุนต่องบประมาณให้สามารถจัดสรร งบประมาณรายจ่ายลงทุนที่รอ้ ยละ 25 ของวงเงินงบประมาณในปีงบประมาณ 2558 เพือ่ การพัฒนาและการขยายตัว ของเศรษฐกิจที่ยั่งยืน

33 สํานักนโยบายการคลัง


ตารางสรุปผลการวิเคราะห์และสมมติฐาน ตัวชี้วัด 1. ยอดหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP 2. ภาระหนี้ต่องบประมาณ 3. การจัดทํางบประมาณสมดุล 4. สัดส่วนงบลงทุนต่องบประมาณรายจ่าย สมมติฐานสําคัญในการประมาณการ - อัตราขยายตัวของเศรษฐกิจไทย (Real GDP) ร้อยละ - Inflation - Revenue Buoyancy ในประมาณการรายได้

ปีงบประมาณ เป้าหมาย 2554 2555 2556 F 2557 F 2558 F ไม่เกินร้อยละ 60 43.4 44.3 45.1 45.2 44.4 ไม่เกินร้อยละ 15 10.0 11.4 11.2 11.6 11.6 สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่สมดุล ไม่ต่ํากว่าร้อยละ 25 16.4 19.9 22.0 23.4 25.0 4.0 3.4 1.79

4.9 3.5 0.98

4.1 3.8 1.00

4.3 3.8 1.05

4.7 4.0 1.05

ข้อมูล ณ เดือนกรกฎาคม 2554

สํานักนโยบายการคลัง 34


การดําเนินกิจกรรมกึง่ การคลัง ผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐบาล ไตรมาสที่ 2 ปี 2554 (เดือนเมษายน – มิถุนายน 2554) รัฐบาลมีการดําเนินมาตรการกิจกรรม กึ่งการคลังผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ในโครงการต่าง ๆ ทีส่ ําคัญอย่างต่อเนื่อง โดยมี ผลการดําเนินงาน ณ สิ้นไตรมาสที่ 2 ปี 2554 ดังนี้  การอนุมัติสนิ เชื่อและการค้ําประกัน สินเชื่อในไตรมาสที่ 2 ปี 2554 มีการอนุมัติ จํานวน 57,972.4 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว จํานวน 11,934.1 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 25.9

 การอนุมัติสนิ เชื่อสะสมและการค้ําประกัน สินเชื่อสะสมนับตั้งแต่เริ่มโครงการจนถึง ณ สิ้นไตรมาสที่ 2 ปี 2554 มีจํานวน 1,270,510.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ไตรมาสที่ผ่านมาจํานวน 57,972.4 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.8 โดยมีสาขาสนับสนุนกิจการ SMEs อนุมัติและค้ําประกันสินเชื่อสะสมสูงสุด จํานวน 760,137.6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 59.8 ของยอดสินเชื่อสะสม รองลงมาเป็นสาขา สนับสนุนการประกอบอาชีพระดับฐานราก จํานวน 299,271.3 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 23.6 ของยอดสินเชื่อสะสม และสาขา สนับสนุนผู้มรี ายได้น้อยให้มีที่อยู่อาศัยจํานวน 211,101.6 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 16.6 ของยอดสินเชื่อสะสม

35 สํานักนโยบายการคลัง

กิจกรรมกึ่งการคลัง จําแนกตามประเภทกิจกรรม หนวย : ลานบาท

อัตราการ เปลี่ยนแปลง จากไตรมาส 2/2553

การอนุมัติสินเชื่อและค้ําประกันสินเชื่อ สาขา สาขาสนับสนุน กิจการ SMEs - โครงการสินเชื่อ สําหรับกิจการ SMEs - โครงการค้ําประกัน สินเชื่อให้แก่ SMEs สาขาสนับสนุนผู้มี รายได้น้อยให้มีที่อยู่ อาศัย - โครงการปล่อย สินเชื่อของธนาคาร อาคารสงเคราะห์ - โครงการบ้านออมสิน เพื่อประชาชน - โครงการบ้านเอื้ออาทร (เพื่อประชาชนกู้ซื้อบ้าน) สาขาสนับสนุนการ ประกอบอาชีพระดับ ฐานราก - โครงการธนาคาร ประชาชน - โครงการวิสาหกิจ ชุมชน* รวม

ยอดสะสม ตั้งแต่เริ่มดําเนินโครงการ

ยอดการอนุมัติ ในไตรมาส

ไตรมาส 2/2554

ไตรมาส 1/2554

ไตรมาส 2/2554

760,137.6

718,204.9

41,932.7 32,313.8

29.8

630,542.1

601,917.7

28,624.4

22,791.9

25.6

129,595.5

116,287.2

13,308.3

9,521.9

39.8

211,101.6

207,524.1

3,577.5

3,834.4

-6.7

145,360.3

144,885.1

475.2

-

-

2,944.4

2,944.4

-

-

-

62,796.9

59,694.6

3102.3

3,834.4

-19.0

299,271.3

286,809.1

12,462.2

9,890.1

26.0

82,950.7

79,423.5

3,527.2

3,394.7

3.9

216,320.6

207,385.6

8,935.0

6,495.4

37.6

57,972.4 46,038.3

25.9

1,270,510.5 1,212,538.1

ไตรมาส 2/2553

ร้อยละ

หมายเหตุ * โครงการวิสาหกิจชุมชนของ ธ.ก.ส. เป็นการรายงานข้อมูลการอนุมัติสินเชื่อของลูกค้า วิสาหกิจรายย่อยทั่วไป ซึ่งเป็นการนับซ้ํากับลูกค้าในโครงการสินเชื่อสําหรับกิจการ SMEs


 หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) ลดลง

จากไตรมาสทีผ่ ่านมา โดย ณ สิ้นไตรมาสที่ 2 ปี 2554 ยอด NPLs เท่ากับ 32,914.1 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 8.3 ของยอดสินเชื่อคงค้าง และมีการค้ําประกันหนี้จัดชั้นด้อยคุณภาพ (NPGs) ของบรรษัทประกันสินเชื่อ อุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) อีกจํานวน 5,053.8 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.8 ของยอดค้ําประกันสินเชื่อคงค้าง

หนี้ไมกอใหเกิดรายไดของสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ หน่วย : ล้านบาท สิ้นไตรมาสที่ 2/2554 สินเชื่อ สาขา คงค้าง 1. สาขาสนันสนุนกิจการ SMEs 1.1 สินเชื่อสําหรับกิจการ SMEs 213,372.1 สินเชื่อ SMEs (ธพว.) 92,026.5 สินเชื่อ SMEs (ธสน.) 13,592.0 สินเชื่อ SMEs (ธนาคารออมสิน) 56,024.6 สินเชื่อ SMEs (ธ.ก.ส.) 51,729.0 87,135.5 1.2 การค้ําประกันสินเชื่อ (บสย.)* 2. สาขาสนับสนุนผู้มีรายได้น้อย ให้มีที่อยู่อาศัย 106,698.1 42,594.0 โครงการบ้านเอื้ออาทร 23,900.4 โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 3 8,802.3 โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 4 8,274.5 โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 5 15,363.6 โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 6 407.0 โครงการบ้าน ธอส.-กบข ระยะที่ 7 2,718.5 โครงการบ้าน ธอส. - สปส. โครงการบ้านมิตรภาพสปส. - ธอส. 4,637.8 เพื่อที่อยู่อาศัยของผู้ประกันตน 3. สาขาสนับสนุนการประกอบอาชีพ 77,641.6 ระดับฐานราก 19,026.6 โครงการธนาคารประชาชน 58,615.0 โครงการวิสาหกิจชุมชน รวมทั้งหมด 397,711.8 (ยกเว้นการค้ําประกันสินเชื่อ SMEs * ของ บสย.)

NPLs

NPLs ratio

25,662.5 12.0% 17,749.8 19.3% 1,795.8 13.2% 1,934.9 3.5% 4,182.0 8.1% 5,053.8 5.8% 1,321.0 268.9 447.0 169.0 170.2 163.5 0.0 87.7

1.2% 0.6% 1.9% 1.9% 2.1% 1.1% 0.0% 3.2%

14.7

0.3%

5,930.6

7.6%

1,092.6 4,838.0

5.7% 8.3%

32,914.1

8.3%

หมายเหตุ * เป็นภาระการค้ําประกันหนี้จัดชั้นด้อยคุณภาพ (NPGs)

สํานักนโยบายการคลัง 36


การกระจายอํานาจทางการคลัง ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ความคืบหน้าการพิจารณาทบทวนหลักเกณฑ์ การจัดสรรรายได้ให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ (อปท.) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

ตามที่มีการประชุมคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจ เพื่อการพิจารณาหลักเกณฑ์การจัดสรรรายได้ให้แก่ อปท. ครั้งที่ 3/2554 เมื่อวันที่ 1 กันยายน 25554 เพื่อพิจารณาทบทวนหลักเกณฑ์การจัดสรรเงินภาษีอากร และเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. โดยที่ประชุมมีมติให้เสนอ คณะกรรมการการกระจายรายได้ให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (กกถ.) ให้ความเห็นชอบหลักเกณฑ์ การจัดสรรภาษีและเงินอุดหนุนทั่วไปให้แก่ อปท. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ดังนี้ 1. การจัดสรรภาษีอากร 1.1 ภาษีมูลค่าเพิม่ (1 ใน 9) จัดสรรเป็น รายเดือนตามผลการจัดเก็บของหน่วยงานทีร่ ับผิดชอบให้แก่ กรุงเทพมหานคร (กทม.) เมืองพัทยา เทศบาล และ องค์การบริหารส่วนตําบล (อบต.) ดังนี้ (1) กรมสรรพากรจัดเก็บ ภาษีที่จดั เก็บในเขต กทม. จัดสรรให้ กทม. ส่วนภาษีที่จัดเก็บในเขตจังหวัด จัดสรรให้เทศบาล และ อบต. ตามเกณฑ์ประชากร (2) กรมสรรพสามิตและกรมศุลกากร จัดเก็บ จัดสรรให้ กทม. เมืองพัทยา เทศบาลและ อบต.ตามเกณฑ์ประชากร ทั้งนี้ ส่วนที่จัดเก็บ ในพื้นที่เมืองพัทยาจัดสรรโดยตรงให้เมืองพัทยา 1.2 ภาษีธุรกิจเฉพาะ จัดสรรเป็นรายเดือน ให้แก่ กทม. เมืองพัทยา เทศบาลและ อบต. โดยภาษีที่จัดเก็บ ในเขต กทม. และเมืองพัทยา จัดสรรให้กทม. และเมืองพัทยา ส่วนภาษีที่จัดเก็บในเขตจังหวัด จัดสรรให้เทศบาลและ อบต. ตามเกณฑ์ประชากร

37 สํานักนโยบายการคลัง


1.3 ภาษีสุราและภาษีสรรพสามิต จัดสรรเป็น รายเดือนให้แก่ กทม. เมืองพัทยา เทศบาล และอบต. ตามเกณฑ์ประชากร 1.4 ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และ ล้อเลื่อน จัดสรรเป็นรายเดือนให้ กทม. และองค์การบริหาร ส่วนจังหวัด (อบจ.) ตามผลการจัดเก็บภาษีในเขต กทม. และเขตจังหวัด 1.5 ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและ นิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ จัดสรรเป็นรายเดือน โดยจัดเก็บในท้องถิ่นใดให้เป็นรายได้ของท้องถิ่นนั้น 1.6 ภาษีมูลค่าเพิม่ ตามพระราชบัญญัติ กําหนดแผนและขัน้ ตอนการกระจายอํานาจให้แก่ อปท. พ.ศ. 2542 จัดสรรเป็นรายเดือนให้แก่ อปท. ทุกประเภท โดยแบ่งการจัดสรรเป็น 2 ส่วน ดังนี้ (1) จัดสรรให้แก่ อปท. ตามจํานวนเงิน ตามภาษีมลู ค่าเพิ่มตาม พ.ร.บ. กําหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอํานาจฯ ที่ได้รับในปีที่ผ่านมา (2) ส่วนที่เหลือจากข้อ (1) คือ ภาษีมูลค่าเพิ่มตาม พ.ร.บ. กําหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอํานาจฯ ที่ได้รับเพิ่มขึ้นในปีนี้ โดยแบ่งได้ ดังนี้ 1) ร้อยละ 60 แบ่งให้ อปท. ตามสัดส่วนผกผันของรายได้ก่อนรวมเงินอุดหนุน ของปีงบประมาณ 2552 2) ร้อยละ 40 จําแนกเป็น - ร้อยละ 10 แบ่งให้ อบจ. ตามจํานวนคนจนในแต่ละจังหวัด - ร้อยละ 90 แบ่งให้ กทม. เมืองพัทยา เทศบาล และ อบต. แต่ละแห่งตามจํานวน คนจนในแต่ละจังหวัด และ กทม. โดย อปท. ทีไ่ ด้รับการจัดสรรตามข้อ (1) และ (2) หากเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 มากกว่าร้อยละ 100 จะได้รับการจัดสรรเพิ่มขึ้นสูงสุด ที่ร้อยละ 100 เท่านั้น ทั้งนี้ จํานวนคนจนคิดจาก สัดส่วนคนจนตามผลการศึกษาของ UNDP ในปี 2552

สํานักนโยบายการคลัง 38


2. การจัดสรรเงินอุดหนุนทัว่ ไป ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ให้จัดสรรแก่ อบจ. เทศบาล และ อบต. โดยนําเกณฑ์ค่าใช้จ่าย ในการจัดบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานของ อปท. มาใช้เป็นเกณฑ์การจัดสรร โดย อปท. ที่มีคา่ ใช้จ่าย ในการจัดบริการสาธารณะมากกว่ารายได้ก่อนรวม เงินอุดหนุน จะได้รับการจัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไป ตามสัดส่วนของส่วนต่างที่เกิดขึ้น (การคํานวณใช้สูตร การคํานวณค่าใช้จ่ายในการจัดบริการสาธารณะ ในปีงบประมาณที่ผ่านมา) เมือ่ คํานวณการจัดสรร ตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวแล้ว อปท. ที่ได้รับการจัดสรร ลดลงกว่าปีงบประมาณที่ผ่านมาเกินกว่าร้อยละ 10 จะได้รับการจัดสรรลดลงต่ําสุดเท่ากับร้อยละ 10

39 สํานักนโยบายการคลัง


มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาคการคลังที่สําคัญ มติคณะรัฐมนตรีที่สําคัญ เดือนกันยายน 2554 13 กันยายน 2554 1. เรื่อง การคืนเงินสําหรับรถยนต์คันแรก คณะรัฐมนตรีอนุมัติตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ดังนี้ 1. อนุมัติหลักการและแนวทางการคืนเงินแก่ผู้ซื้อรถยนต์คนั แรก ตามหลักเกณฑ์ดังนี้ 1.1 เป็นรถยนต์คันแรกของผู้ที่ซื้อตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2554 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 1.2 ราคาขายปลีกไม่เกินคันละ 1,000,000 บาท 1.3 เป็นรถยนต์นั่งขนาดความจุกระบอกสูบไม่เกิน 1,500 ลูกบาศก์เซนติเมตร / รถยนต์กระบะ (Pick Up) / รถยนต์นั่งกึ่งบรรทุก (Double Cab) 1.4 เป็นรถยนต์ที่ผลิตขึ้นในประเทศ ไม่รวมถึงรถยนต์ที่ประกอบจากชิ้นส่วนนําเข้าใช้แล้ว จากต่างประเทศ (รถยนต์จดประกอบ) 1.5 คืนเงินเท่ากับค่าภาษีตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 100,000 บาทต่อคัน 1.6 ผู้ซื้อต้องมีอายุ 21 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป 1.7 ผู้ซื้อต้องครอบครองรถยนต์ไม่น้อยกว่า 5 ปี 1.8 การคืนเงินจะเริ่มจ่ายคืนให้เมื่อครอบครองรถยนต์ 1 ปีไปแล้ว (ตัง้ แต่วันที่ 1 ตุลาคม 2555 เป็นต้นไป) 2. การจัดตั้งงบประมาณในการดําเนินการ มีดังนี้ 2.1 อนุมัติและจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 งบกลางรายการ เงินสํารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเป็น จํานวน 100 ล้านบาท เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดําเนินการ 2.2 อนุมัติและจัดสรรงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 จํานวน 30,000 ล้านบาท เพื่อคืนเงินสําหรับรถยนต์คันแรกเท่ากับภาษีที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินคันละ 100,000 บาท 3. อนุมัติเป็นหลักการให้อธิบดีกรมสรรพสามิต หรือผู้ที่อธิบดีมอบหมายมีอํานาจอนุมัติให้คืนเงิน สําหรับรถยนต์คันแรกให้กับผูซ้ ื้อ 4. มอบหมายให้กรมขนส่งทางบก กระทรวงคมนาคม ให้ความร่วมมือกับกรมสรรพสามิต ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการแสดงหลักฐานการครอบครองรถยนต์คันแรก การบันทึกข้อมูลห้ามจําหน่ายโอน รถยนต์ภายใน 5 ปี ตามมาตรการดังกล่าวของรัฐบาลต่อไป 2. เรื่อง รายงานผลการกู้เงินเพื่อปรับโครงสร้างหนีเ้ งินกู้ตามพระราชกําหนดให้อาํ นาจ กระทรวงการคลังกูเ้ งิน เพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 คณะรัฐมนตรีรบั ทราบผลการกู้เงินเพื่อปรับโครงสร้างหนี้สัญญาเงินกู้ตามพระราชกําหนดให้อํานาจ กระทรวงการคลังกู้เงิน เพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 ตามทีก่ ระทรวงการคลัง เสนอ โดยกระทรวงการคลังได้ดําเนินการออกพันธบัตรรัฐบาลอายุ 10 ปี ประเภทอัตราดอกเบี้ยแปรผัน ตามการเปลี่ยนแปลงของเงินเฟ้อในวงเงิน 40,000 ล้านบาท ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 โดยจําหน่าย ให้กับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลไม่จํากัดประเภท เมื่อวันที่ 11-13 กรกฎาคม 2554 ซึ่งสามารถจําหน่าย ได้ครบทั้งจํานวน 40,000 ล้านบาท สํานักนโยบายการคลัง 40


กระทรวงการคลังได้นําเงินที่ได้จากการจําหน่ายพันธบัตรรัฐบาลดังกล่าว ไปปรับโครงสร้าง หนี้สัญญาเงินกู้ภายใต้พระราชกําหนดให้กระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคง ทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 ประกอบด้วย 1. สัญญาเงินกูส้ ําหรับโครงการตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ครั้งที่ 3 วงเงินที่ 1 จํานวน 40,000 ล้านบาท สัญญาลงวันที่ 3 มิถุนายน 2553 (ยอดเงินกู้คงค้างจํานวน 37,169,710,000 บาท) ชําระคืนต้นเงินกู้จํานวน 37,169,710,000 บาท คงเหลือเงินกู้คงค้างจํานวน 0.00 บาท 2. สัญญาเงินกูส้ ําหรับโครงการตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ครั้งที่ 3 วงเงินที่ 2 จํานวน 40,000 ล้านบาท สัญญาลงวันที่ 29 มิถุนายน 2553 ชําระต้นเงินกู้จํานวน 2,830,290,000 บาท คงเหลือเงินกู้คงค้างจํานวน 37,169,710,000 บาท 3. เรื่อง การขยายเวลามาตรการภาษีสาํ หรับวิสาหกิจชุมชน คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามข้อเสนอของกระทรวงการคลังเกี่ยวกับการขยายเวลามาตรการ ภาษีสําหรับวิสาหกิจชุมชน โดยให้การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สําหรับเงินได้พึงประเมินที่ได้รับปีละ ไม่เกิน 1,800,000 บาท ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 เพื่อช่วยให้ วิสาหกิจชุมชนที่เป็นผู้ประกอบการขนาดเล็กได้รับการสนับสนุนและบรรเทาภาระอย่างต่อเนื่อง 4. เรื่อง การขยายเวลามาตรการปรับลดอัตราภาษีนา้ํ มันดีเซล คณะรัฐมนตรีมมี ติเห็นควรขยายเวลามาตรการการปรับลดอัตราภาษีน้ํามันดีเซลทีม่ ีปริมาณกํามะถัน ไม่เกินร้อยละ 0.0035 โดยน้าํ หนัก ในอัตราภาษี 0.005 บาทต่อลิตร และน้ํามันดีเซลที่มีไบโอดีเซล ประเภทเมทิลเอสเตอร์ของกรดไขมันผสมอยู่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 4 ในอัตราภาษี 0.005 บาทต่อลิตร ออกไปอีก 3 เดือน คือ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 เพื่อลดค่าใช้จ่ายของประชาชน 5. เรื่อง การจัดทํางบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบการจัดทํางบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ตามที่สํานัก งบประมาณเสนอ โดยเป็นงบประมาณขาดดุล จํานวน 350,000 ล้านบาท มีประมาณการรายได้รัฐบาลสุทธิ จํานวน 1,980,000 ล้านบาท และงบประมาณรายจ่ายจํานวน 2,330,000 ล้านบาท มีรายละเอียด ดังนี้ 1. โครงสร้างงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ประกอบด้วย 1.1 รายจ่ายประจํา จํานวน 1,839,653 ล้านบาท หรือร้อยละ 79.0 ของวงเงินงบประมาณรวม เปรียบเทียบกับร้อยละ 76.8 ในปีงบประมาณ 2554 1.2 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง จํานวน 54,008 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.3 ของวงเงิน งบประมาณรวม เปรียบเทียบกับร้อยละ 5.3 ในปีงบประมาณ 2554 1.3 รายจ่ายลงทุน จํานวน 384,450 ล้านบาท หรือร้อยละ 16.5 ของวงเงินงบประมาณรวม เปรียบเทียบกับร้อยละ 16.4 ในปีงบประมาณ 2554 1.4 รายจ่ายชําระคืนต้นเงินกู้ จํานวน 51,889 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.2 ของวงเงินงบประมาณรวม เปรียบเทียบกับร้อยละ 1.5 ในปีงบประมาณ 2554 2. การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายตามยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณปี 2555 จํานวน 8 ยุทธศาสตร์ 1 รายการ ประกอบด้วย 2.1 ยุทธศาสตร์การสร้างรากฐานการพัฒนาที่สมดุลสู่สังคม 2.2 ยุทธศาสตร์ความมั่นคงของรัฐ 2.3 ยุทธศาสตร์การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน 41 สํานักนโยบายการคลัง


2.4 ยุทธศาสตร์การศึกษา คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต และความเท่าเทียมกันในสังคม 2.5 ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2.6 ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีการวิจัยและนวัตกรรม 2.7 ยุทธศาสตร์การต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 2.8 ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี และ 2.9 รายการค่าดําเนินการภาครัฐ 3. การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในปีงบประมาณ 2555 รัฐบาลได้จัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จํานวน 223,200 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 24.1 20 กันยายน 2554 1. โครงการสินเชื่อฟื้นฟู SMEs หลังภัยพิบัติ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลังเสนอให้ธนาคารเพื่อการพัฒนาวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) ดําเนินการช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs ที่ได้รับ ความเดือดร้อนจากภัยพิบัติตามนโยบายของรัฐบาล สําหรับใช้ฟื้นฟู ปรับปรุงและเป็นเงินทุนหมุนเวียน สําหรับกิจการที่ได้รับผลกระทบในพื้นที่ตามประกาศของทางราชการ โดยมีรายละเอียดดังนี้  ให้กู้รายละไม่เกิน 1 ล้านบาท หรือกู้ตามความเป็นจริง  อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 8 ต่อปีตลอดสัญญา โดยรัฐบาลช่วยชดเชยดอกเบี้ยให้ร้อยละ 2 ทุกปี  ระยะเวลาผ่อนชําระ 6 ปี โดยใน 2 ปีแรกชําระเฉพาะดอกเบี้ย  ไม่ต้องใช้หลักประกัน หรือการค้ําประกัน  ไม่นําการตรวจสอบประวัติทางการเงิน (Credit Bureau) มาใช้เป็นเงื่อนไขในการปฏิเสธการให้ สินเชื่อ 2. เรื่อง รายงานสถานะหนีส้ าธารณะ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2554 และผลการดําเนินงานตามแผนการ บริหารหนีส้ าธารณะประจําปีงบประมาณ 2554 ระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ถึงเดือนมีนาคม 2554 คณะรัฐมนตรีรบั ทราบสถานะหนี้สาธารณะของประเทศ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2554 และผลการ ดําเนินงานตามแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําปีงบประมาณ 2554 ระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ถึงเดือนมีนาคม 2554 ตามทีก่ ระทรวงการคลังรายงาน โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. สถานะหนี้สาธารณะของประเทศ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2554 หนี้สาธารณะคงค้างของประเทศ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2554 มีจํานวนทั้งสิ้น 4,246,114.68 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 41.28 ของ GDP 2. ภาพรวมของผลการดําเนินงานตามแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ในช่วง 6 เดือนแรก กระทรวงการคลังสามารถดําเนินงานตามแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําปีงบประมาณ 2554 ปรับปรุงครั้งที่ 1 ซึ่งมีวงเงินรวม 1,291,504.27 ล้านบาท ประกอบด้วย 3 แผนงานย่อย ได้แก่ แผนการก่อหนี้ใหม่ จํานวน 602,604.17 ล้านบาท แผนโครงการปรับโครงสร้างหนี้ จํานวน 608,900.10 ล้านบาท และแผนการบริหารความเสี่ยง จํานวน 80,000.00 ล้านบาท โดยในช่วง เดือนตุลาคม 2553 ถึงเดือนมีนาคม 2554 กระทรวงการคลังและรัฐวิสาหกิจได้ดําเนินการก่อหนี้ใหม่ การปรับโครงสร้างหนี้ และการบริหารความเสี่ยงแล้ว เป็นวงเงินทั้งสิ้น 513,692.23 ล้านบาท สํานักนโยบายการคลัง 42


3. มาตรการภาษีเพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง คณะรัฐมนตรีเห็นชอบมาตรการภาษีเพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง ตามที่ กระทรวงการคลังเสนอ โดยการบรรเทาภาระภาษีให้แก่ผมู้ ีเงินได้ซึ่งได้ซื้ออสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคาร พร้อมที่ดิน หรือห้องชุดในอาคารชุด เพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัย ด้วยการยกเว้นภาษีเงินได้สําหรับเงินได้พึง ประเมินหลังหักค่าใช้จ่าย เสมือนเป็นค่าลดหย่อน สําหรับเงินได้เท่าที่จ่ายเป็นค่าซื้ออสังหาริมทรัพย์ทเี่ ป็น อาคารพร้อมที่ดิน หรือห้องชุดในอาคารชุด เพื่อเป็นที่อยู่อาศัย ตามเงื่อนไขดังนี้ 1. ยกเว้นเงินได้ตามจํานวนที่จ่ายจริงสําหรับเงินได้ที่จ่ายเป็นค่าซื้ออสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคาร พร้อมที่ดิน หรือห้องชุดในอาคารชุด เพื่อเป็นที่อยู่อาศัย ไม่เกินร้อยละ 10 ของมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ที่เป็น อาคารพร้อมที่ดิน หรือห้องชุดในอาคารชุด แต่ไม่เกิน 500,000 บาท 2. ใช้สทิ ธิยกเว้นภาษีเป็นจํานวนเท่า ๆ กันในแต่ละปีเป็นเวลา 5 ปีต่อเนื่องกันตามจํานวนที่จ่าย จริง แต่รวมกันแล้วไม่เกิน 500,000 บาท (สําหรับการใช้สิทธิลดหย่อนภาษีให้ใช้สิทธิได้ทันทีหรือในปีถัดไป ก็ได้) 3. อสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคารพร้อมที่ดินหรือห้องชุดในอาคารชุดมีมูลค่าไม่เกิน 5 ล้านบาท 4. ผู้มีเงินได้ต้องไม่มีที่อยู่อาศัยเป็นกรรมสิทธิ์ของตนเอง หรือไม่มีชื่อเป็น หรือเคยเป็น “เจ้าบ้าน” ในทะเบียนบ้านที่ใช้เป็นหลักฐาน ยกเว้นถ้าพิสูจน์ได้ว่าไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่อยู่อาศัยของตนเองหรือคู่สมรส ตามทะเบียนบ้าน 5. กรณีผู้มีเงินได้มีคู่สมรส ให้สามารถใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีในการซื้ออสังหาริมทรัพย์ที่เป็น อาคารพร้อมที่ดิน หรือห้องชุดในอาคารชุด เพื่อเป็นที่อยู่อาศัยได้เพียงแห่งเดียว 6. ผู้มีเงินได้ต้องไม่เคยเป็นผู้ใช้สิทธิหักลดหย่อนดอกเบี้ยกู้ยืมซื้อบ้านสําหรับการกู้ยืมเงินเพื่อซื้อ เช่าซื้อ หรือสร้างอาคารอยู่อาศัย 7. ผู้มีเงินได้ต้องไม่เคยเป็นผู้ใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้จากการซื้ออสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคารพร้อม ที่ดิน หรือห้องชุดในอาคารชุดเพื่อเป็นที่อยู่อาศัย ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 271 (พ.ศ. 2552) 8. ผู้มีเงินได้ต้องไม่เคยเป็นผู้ใช้สิทธิยกเว้นเงินได้จากการขายที่อยู่อาศัยเดิมและซื้อที่อยู่อาศัยใหม่ ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 241 (พ.ศ. 2546) 9. กรณีเป็นการกู้ร่วม โดยผู้กรู้ ่วมมีกรรมสิทธิ์ในที่อยู่อาศัยของตนเองและเคยใช้สิทธิหกั ลดหย่อน หรือยกเว้นกับกรมสรรพากรแล้ว ผู้กรู้ ่วมจะไม่ได้รับสิทธิยกเว้นภาษีในส่วนของเงินได้ที่ใช้กู้ร่วม 10. ต้องมีการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิใ์ นอสังหาริมทรัพย์นั้นให้แล้วเสร็จ ตั้งแต่วันที่ 21 กันยายน 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 11. ผู้มีเงินได้ต้องมีชื่อเป็นเจ้าของกรรมสิทธิใ์ นอสังหาริมทรัพย์ที่ซื้อเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปีนับแต่วันทีจ่ ดทะเบียนโอนกรรมสิทธิใ์ นอสังหาริมทรัพย์ และอสังหาริมทรัพย์นั้นต้องไม่เคยผ่านการจด ทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์มาก่อนไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน 27 กันยายน 2554 1. กรอบและงบประมาณของรัฐวิสาหกิจประจําปีงบประมาณ 2555 คณะรัฐมนตรีรบั ทราบและเห็นชอบตามที่สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ (สศช.) เสนอดังนี้ 1. รับทราบประมาณการงบประมาณทําการประจําปีงบประมาณ 2555 ของรัฐวิสาหกิจที่คาดว่า จะมีกําไรสุทธิประมาณ 83,262 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2554 ร้อยละ 15.1 โดยสามารถจัดหาเงินสดเพื่อ ใช้ลงทุนได้ประมาณ 228,612 ล้านบาท และรับทราบประมาณการแนวโน้มการดําเนินงานช่วงปี 2556 – 2558 ของรัฐวิสาหกิจที่คาดว่าผลประกอบการจะมีกําไรสุทธิรวม 283,189 ล้านบาท หรือเฉลี่ยประมาณปี ละ 94,396 ล้านบาท และการเบิกจ่ายลงทุนรวม 1,100,330 ล้านบาท หรือเฉลี่ยประมาณปีละ 366,777 ล้านบาท 43 สํานักนโยบายการคลัง


2. เห็นชอบในหลักการกรอบและงบประมาณของรัฐวิสาหกิจประจําปีงบประมาณ 2555 วงเงิน ดําเนินการ จํานวน 613,717 ล้านบาท และวงเงินเบิกจ่ายลงทุน จํานวน 319,732 ล้านบาท [ไม่รวมบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)] ทั้งนี้ ให้กระทรวงเจ้าสังกัดรับข้อเสนอแนะเชิงนโยบายไปพิจารณาดําเนินการ รวมทั้งรายงานผล ความก้าวหน้าของการดําเนินงานต่างๆ อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเห็นชอบในหลักการให้ สศช. ปรับวงเงินลงทุน ของรัฐวิสาหกิจประจําปีงบประมาณ 2555 ให้สอดคล้องกับผลการจัดสรรงบประมาณปี 2555 2. แผนการบริหารหนีส้ าธารณะ ประจําปีงบประมาณ 2555 คณะรัฐมนตรีอนุมัติตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ประธานกรรมการนโยบายและกํากับ การบริหารหนี้สาธารณะเสนอ ดังนี้ 1. อนุมัติแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําปีงบประมาณ 2555 2. อนุมัติการกูเ้ งินและการค้ําประกันเงินกู้ในประเทศและต่างประเทศของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ภายใต้กรอบวงเงินของแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําปีงบประมาณ 2555 3. อนุมัติให้กระทรวงการคลัง (กค.) เป็นผู้พจิ ารณาการกู้เงิน วิธีการกู้เงินเงื่อนไข และรายละเอียด ต่าง ๆ ของการกู้เงินและการค้ําประกันในแต่ละครั้งได้ตามความเหมาะสมและจําเป็น ภายใต้แผนการ บริหารหนี้สาธารณะ ประจําปีงบประมาณ 2555 แต่หากรัฐวิสาหกิจสามารถดําเนินการกู้เงินได้เอง ก็ให้ สามารถดําเนินการได้ตามความเหมาะสมและจําเป็นของรัฐวิสาหกิจนั้น ๆ 4. อนุมัติให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหรือผู้ที่รฐั มนตรีว่าการกระทรวงการคลังมอบหมายให้ เป็นผู้ลงนามผูกพันการกู้เงินและหรือการค้าํ ประกันเงินกู้และเอกสารที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ กค. จะรายงานผล การดําเนินการตามแผนการบริหารหนี้สาธารณะดังกล่าวตามที่กําหนดไว้ในพระราชบัญญัติการบริหาร หนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการบริหาร หนี้สาธารณะ พ.ศ. 2549 ทั้งนี้ ภาพรวมของหนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 2554 มียอดหนี้สาธารณะคงค้าง 4,263,393.22 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 40.69 ของ GDP ประกอบด้วยหนี้ต่างประเทศ 344,279.79 ล้านบาทและหนี้ในประเทศ 3,919,113.43 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 8.08 และร้อยละ 91.92 ตามลําดับ แผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําปีงบประมาณ 2555 มีวงเงินดําเนินการ 1,287,004.60 ล้านบาท แบ่งเป็น (1) แผนการกู้เงินใหม่ 469,166,76 ล้านบาท (2) แผนการปรับโครงสร้างหนี้ 640,837.84 ล้านบาท และ (3) แผนการบริหารความเสี่ยง 177,000 ล้านบาท เมื่อรวมวงเงินการกู้เงินและบริหารหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องอยู่ภายใต้กรอบวงเงินกู้ และบริหารหนีข้ องแผนฯ อีกจํานวน 133,983.06 ล้านบาท จะทําให้วงเงินดําเนินการบริหารและจัดการ หนี้สาธารณะในปีงบประมาณ 2555 มีวงเงินเท่ากับ 1,420,987.66 ล้านบาท แบ่งเป็น (1) แผนการ กู้เงินใหม่ 508,776.27 ล้านบาท (2) แผนการปรับโครงสร้างหนี้ 641,007.84 ล้านบาท โดยเป็นการปรับ โครงสร้างหนี้ในประเทศทั้งสิน้ และ (3) แผนการบริหารความเสี่ยง 271,203.55 ล้านบาท 3. มาตรการภาษีเพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง คณะรัฐมนตรีอนุมัติตามที่กระทรวงการคลังเสนอการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาไม่เกิน จํานวนภาษีที่พึงชําระในแต่ละปีภาษีให้แก่บุคคลธรรมดาที่ซื้ออสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคารพร้อมที่ดินหรือ ห้องชุดในอาคารชุดที่มีมูลค่าไม่เกิน 5 ล้านบาท เป็นจํานวนไม่เกินร้อยละ 10 ของมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ ที่เป็นอาคารพร้อมที่ดินหรือห้องชุดในอาคารชุดที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 500,000 บาท ตามเงื่อนไขดังนี้ 1. ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาไม่เกินจํานวนภาษีที่พึงชําระในแต่ละปีภาษีเท่ากับเงินได้ตาม จํานวนที่จ่ายจริงสําหรับเงินได้ที่จ่ายเป็นค่าซื้ออสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคารพร้อมที่ดินหรือห้องชุดในอาคาร ชุด เพื่อเป็นที่อยู่อาศัย ไม่เกินร้อยละ 10 ของมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคารพร้อมที่ดิน หรือห้องชุด ในอาคารชุด แต่ไม่เกิน 500,000 บาท สํานักนโยบายการคลัง 44


2. ต้องใช้สิทธิยกเว้นภาษีภายใน 5 ปีภาษีนับแต่วันที่ได้โอนกรรมสิทธิ์ โดยใช้สิทธิยกเว้นภาษีเป็น จํานวนเท่า ๆ กันในแต่ละปีภาษีติดต่อกันเป็นเวลา 5 ปี ตามจํานวนที่จ่ายจริงแต่รวมกันแล้วไม่เกิน 500,000 บาท 3. ผู้มีเงินได้ต้องไม่มีที่อยู่อาศัยเป็นกรรมสิทธิ์ของตนเอง หรือไม่มีชื่อเป็น หรือ เคยเป็น “เจ้าบ้าน” ในทะเบียนบ้านที่ใช้เป็นหลักฐาน ยกเว้นถ้าพิสูจน์ได้ว่าไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่อยู่อาศัยของตนเองหรือคู่สมรส ตามทะเบียนบ้าน 4. กรณีผู้มีเงินได้มีคู่สมรส ให้สามารถใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีในการซื้ออสังหาริมทรัพย์ที่เป็น อาคารพร้อมที่ดิน หรือห้องชุดในอาคารชุด เพื่อเป็นที่อยู่อาศัยได้เพียงแห่งเดียว 5. ผู้มีเงินได้ต้องไม่เคยเป็นผู้ใช้สิทธิหักลดหย่อนดอกเบี้ยกู้ยืมซื้อบ้านสําหรับการกู้ยืมเงินเพื่อซื้อ เช่าซื้อ หรือสร้างอาคารอยู่อาศัย 6. ผู้มีเงินได้ต้องไม่เคยเป็นผู้ใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้จากการซื้ออสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคาร อาคารพร้อมที่ดิน หรือห้องชุดในอาคารชุดเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยตามกฎกระทรวงฉบับที่ 271 (พ.ศ.2552) 7. ผู้มีเงินได้ต้องไม่เคยเป็นผู้สิทธิยกเว้นเงินได้จากการขายที่อยู่อาศัยเดิมและซื้อที่อยู่อาศัยใหม่ตาม กฎกระทรวง ฉบับที่ 241 (พ.ศ.2546) 8. กรณีเป็นการกู้ร่วม โดยผู้กรู้ ่วมมีกรรมสิทธิ์ในที่อยู่อาศัยของตนเองและเคยใช้สิทธิหกั ลดหย่อน หรือยกเว้นกับกรมสรรพากรแล้ว ผู้กรู้ ่วมจะไม่ได้รับสิทธิยกเว้นภาษีในส่วนของเงินได้ที่ใช้กู้ร่วม 9. ต้องมีการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิใ์ นอสังหาริมทรัพย์นั้นให้แล้วเสร็จ ตั้งแต่วันที่ 21 กันยายน 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 10. ผู้มีเงินได้ต้องมีชื่อเป็นเจ้าของกรรมสิทธิใ์ นอสังหาริมทรัพย์ที่ซื้อเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปีนับแต่วันทีจ่ ดทะเบียนโอนกรรมสิทธิใ์ นอสังหาริมทรัพย์ และอสังหาริมทรัพย์นั้นต้องไม่เคยผ่านการ จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์มาก่อนไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน 11. ผู้มีเงินได้ต้องยื่นหนังสือรับรองต่ออธิบดีกรมสรรพากรว่าไม่เคยมีที่อยู่อาศัยเป็นกรรมสิทธิ์ของ ตนเองมาก่อน 12. กรณีผู้มีเงินได้ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่ง ให้สทิ ธิที่จะได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้สิ้นสุด ลงตั้งแต่ปีภาษีแรกที่ใช้สิทธิ และให้รับผิดเสียเงินเพิ่มตามกฎหมาย ในส่วนของผลกระทบ กระทรวงการคลังชี้แจงว่า จะมีผลกระทบต่อการบริหารการจัดเก็บภาษี อากรรวม 5 ปีภาษีประมาณ 12,000 ล้านบาท หรือปีภาษีละประมาณ 2,400 ล้านบาท อย่างไรก็ดี มาตรการนี้นอกจากจะเป็นการบรรเทาภาระภาษีให้กับประชาชนที่ต้องการมีบ้านหลังแรกแล้วจะมีส่วน ในการกระตุ้นเศรษฐกิจรวมทัง้ เป็นการส่งเสริมให้ผมู้ ีเงินได้เข้าสู่ระบบภาษี อันจะทําให้ประเทศไทยมี ฐานภาษีที่ยั่งยืนต่อไปในอนาคต ทั้งนี้ ขอให้กระทรวงการคลังหามาตรการในส่วนที่จะสามารถช่วยเหลือผู้ที่มีรายได้น้อยในการที่จะ มีบ้านหลังแรกด้วย

45 สํานักนโยบายการคลัง


สถิติด้านการคลัง


ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลตั้งแต่ปี 2533 จนถึงปัจจุบัน (ฐานข้อมูลรายปี) (หน่วย: ล้านบาท) 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 กรมสรรพากร 192,488 237,308 261,042 300,805 366,957 444,512 508,832 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 39,338 48,913 52,945 57,237 67,651 86,190 109,396 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 58,900 75,032 87,273 103,975 133,268 157,078 172,235 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 1,794 2,870 2,884 3,448 3,603 3,196 3,430 ภาษีการค้า 88,035 106,183 37,783 2,739 1,441 1,082 572 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 66,614 112,582 134,791 163,122 184,227 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 9,629 16,764 21,227 28,311 33,410 อากรแสตมป์ 3,780 3,691 3,781 3,876 4,752 5,284 5,286 รายได้อนื่ ๆ 642 620 134 184 224 249 276 กรมสรรพสามิต 73,279 92,493 102,028 125,789 138,670 155,308 167,160 ภาษีน้ํามันฯ 32,014 44,415 41,346 43,711 46,131 53,501 58,005 ภาษียาสูบ 13,636 15,904 15,490 15,638 19,708 20,717 24,057 ภาษีสุราฯ 13,754 15,734 15,247 16,679 19,272 19,759 21,548 ภาษีเบียร์ 6,625 7,973 7,818 9,478 12,262 15,131 17,360 ภาษีรถยนต์ 15,713 34,350 34,515 38,147 37,343 ภาษีเครื่องดื่ม 5,142 6,224 5,125 5,158 5,636 6,598 6,845 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 301 546 899 1,190 1,729 ภาษีรถจักรยานยนต์ ภาษีแบตเตอรี่ ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอนื่ ๆ 1,813 1,927 695 73 136 156 153 รายได้อนื่ ๆ 295 316 294 157 111 109 119 กรมศุลกากร 91,025 93,196 86,246 105,910 116,872 128,548 129,543 อากรขาเข้า 89,869 91,998 85,082 104,651 115,540 127,124 128,212 อากรขาออก 55 13 11 11 14 9 6 รายได้อนื่ ๆ 1,102 1,185 1,153 1,247 1,318 1,415 1,324 รวม 3 กรม 356,792 422,997 449,316 532,504 622,499 728,368 805,535 หน่วยงานอื่น 48,147 53,977 76,048 75,603 85,047 86,775 89,756 ส่วนราชการอืน่ 29,527 30,225 42,896 36,701 41,794 41,250 40,650 กรมธนารักษ์ รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ 18,620 23,752 33,152 38,902 43,253 45,525 49,106 รวมรายได้จัดเก็บ 404,939 476,974 525,364 608,106 707,546 815,143 895,291 หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 41,432 48,723 52,937 37,813 - ภาษีมูลค่าเพิ่ม 38,354 45,330 49,143 34,148 - ภาษีอนื่ ๆ 3,078 3,393 3,794 3,665 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 3. เงินกันชดเชยการส่งออก 10,348 6,262 7,108 7,473 รวมรายได้สุทธิ 404,939 476,974 525,364 556,326 652,561 755,098 850,005 จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ 404,939 476,974 525,364 556,326 652,561 755,098 850,005 รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) 2,183,545 2,506,635 2,830,914 3,165,222 3,629,341 4,681,212 4,611,041 สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) 18.5 19.0 18.6 17.6 18.0 16.1 18.4 หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2554 เป็นตัวเลขประมาณการ จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 22 สิงหาคม 2554 ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง


ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลตั้งแต่ปี 2533 จนถึงปัจจุบัน (ฐานข้อมูลรายปี) (หน่วย: ล้านบาท) 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 กรมสรรพากร 518,620 498,966 452,317 461,322 499,711 544,281 627,682 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 115,137 122,945 106,071 91,790 101,136 108,371 117,309 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 162,655 99,480 108,820 145,554 149,677 170,415 208,859 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 5,322 5,316 10,872 10,739 17,154 19,128 21,773 ภาษีการค้า 264 342 186 126 84 99 45 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 195,813 232,388 201,976 192,510 215,158 228,196 261,306 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 34,286 35,241 21,311 17,015 12,852 13,715 12,757 อากรแสตมป์ 4,734 2,992 2,824 3,351 3,408 4,122 5,348 รายได้อนื่ ๆ 408 263 258 236 242 236 286 กรมสรรพสามิต 180,168 155,564 163,892 168,822 177,600 208,153 246,641 ภาษีน้ํามันฯ 63,983 65,373 66,584 64,832 64,124 68,840 73,605 ภาษียาสูบ 29,816 28,560 26,655 28,134 32,310 31,697 33,289 ภาษีสุราฯ 22,763 20,257 22,800 8,276 8,933 22,290 25,676 ภาษีเบียร์ 21,383 23,191 24,992 26,438 29,991 31,650 36,987 ภาษีรถยนต์ 32,295 8,557 13,941 26,781 30,330 41,560 56,474 ภาษีเครื่องดื่ม 7,519 7,023 6,484 7,444 8,100 7,748 8,621 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 1,765 1,003 904 1,104 1,429 1,793 2,347 ภาษีรถจักรยานยนต์ 129 538 482 791 932 1,224 1,581 ภาษีแบตเตอรี่ 168 442 419 444 713 582 591 ภาษีการโทรคมนาคม 6,420 ภาษีอนื่ ๆ 204 481 474 579 525 556 813 รายได้อนื่ ๆ 142 139 158 3,999 213 212 239 กรมศุลกากร 104,160 69,338 68,095 87,195 92,838 98,629 111,819 อากรขาเข้า 102,704 67,108 66,994 85,338 91,359 96,326 110,054 อากรขาออก 8 17 36 75 82 163 216 รายได้อนื่ ๆ 1,448 2,213 1,064 1,782 1,397 2,139 1,549 รวม 3 กรม 802,947 723,868 684,303 717,338 770,149 851,062 986,142 หน่วยงานอื่น 106,101 91,813 109,042 100,257 104,617 108,375 118,485 ส่วนราชการอืน่ 38,102 42,518 52,679 56,182 45,482 46,965 50,772 กรมธนารักษ์ 2,483 3,599 รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน แปรรูปรัฐวิสาหกิจ 1,065 รัฐวิสาหกิจ 68,000 49,295 56,364 44,075 59,135 57,862 64,114 รวมรายได้จัดเก็บ 909,049 815,681 793,346 817,595 874,766 959,437 1,104,627 หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 58,400 74,660 75,325 57,036 77,920 79,902 80,150 - ภาษีมูลค่าเพิ่ม 55,313 63,858 64,655 47,358 65,682 65,769 69,261 - ภาษีอนื่ ๆ 3,087 10,802 10,670 9,679 12,239 14,133 10,888 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 2,994 3,198 3,732 4,109 5,042 3. เงินกันชดเชยการส่งออก 7,073 7,559 5,916 7,278 7,698 8,234 10,501 รวมรายได้สุทธิ 843,576 733,462 709,111 750,082 785,416 867,192 1,008,934 จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ 16,525 40,604 843,576 733,462 709,111 750,082 785,416 850,667 968,330 รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) 4,732,610 4,626,447 4,637,079 4,922,731 5,133,502 5,450,643 5,917,369 สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) 17.8 15.9 15.3 15.2 15.3 15.6 16.4 หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2554 เป็นตัวเลขประมาณการ จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 22 สิงหาคม 2554 ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง


ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลตั้งแต่ปี 2533 จนถึงปัจจุบัน (ฐานข้อมูลรายปี) (หน่วย: ล้านบาท) 2547 2548 2549 2550 2551 2552 กรมสรรพากร 772,236 937,149 1,057,200 1,119,194 1,276,080 1,138,565 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 135,155 147,352 170,079 192,795 204,847 198,095 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 261,890 329,516 374,689 384,619 460,650 392,172 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 31,935 41,178 56,524 65,735 74,033 90,712 ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม 316,134 385,718 417,772 434,272 503,439 431,775 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 20,024 26,304 30,623 34,406 25,133 18,099 อากรแสตมป์ 6,820 6,816 7,268 7,137 7,724 7,488 รายได้อนื่ ๆ 278 266 244 230 254 223 กรมสรรพสามิต 275,773 279,395 274,095 287,231 278,303 291,221 ภาษีน้ํามันฯ 76,996 76,458 70,742 76,944 67,211 91,059 ภาษียาสูบ 36,325 38,193 35,657 41,824 41,832 43,936 ภาษีสุราฯ 26,181 28,620 29,143 33,298 36,816 37,982 ภาษีเบียร์ 42,749 45,483 44,207 52,088 53,465 48,993 ภาษีรถยนต์ 65,012 58,760 59,810 55,844 57,822 49,278 ภาษีเครื่องดื่ม 9,350 10,106 10,765 11,735 12,391 12,186 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 2,859 3,712 3,525 3,727 3,769 3,111 ภาษีรถจักรยานยนต์ 1,641 1,849 2,010 1,665 1,673 1,608 ภาษีแบตเตอรี่ 763 762 1,178 1,426 1,708 1,479 ภาษีการโทรคมนาคม 12,625 13,935 15,523 7,229 111 0 ภาษีอนื่ ๆ 993 1,121 1,169 1,183 1,196 1,062 รายได้อนื่ ๆ 280 398 367 269 309 528 กรมศุลกากร 106,122 110,403 96,232 90,625 99,602 80,288 อากรขาเข้า 103,635 106,917 93,633 88,169 96,944 77,187 อากรขาออก 267 285 314 345 501 404 รายได้อนื่ ๆ 2,220 3,202 2,285 2,112 2,157 2,697 รวม 3 กรม 1,154,132 1,326,948 1,427,528 1,497,050 1,653,985 1,510,074 หน่วยงานอื่น 135,747 147,472 153,996 206,724 183,659 174,224 ส่วนราชการอืน่ 49,086 60,664 73,500 80,593 77,546 83,761 กรมธนารักษ์ 2,976 3,210 3,330 3,052 4,682 3,822 รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์ 25,075 เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน 36,951 แปรรูปรัฐวิสาหกิจ 6,000 1,484 รัฐวิสาหกิจ 52,611 82,114 77,165 86,129 101,430 86,641 รวมรายได้จัดเก็บ 1,289,880 1,474,420 1,581,524 1,703,775 1,837,643 1,684,297 หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 115,574 131,220 162,951 181,793 202,716 199,408 - ภาษีมูลค่าเพิ่ม 96,947 109,625 138,206 150,035 173,994 157,838 - ภาษีอนื่ ๆ 18,627 21,594 24,745 31,758 28,723 41,570 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 6,368 7,451 9,172 9,514 11,625 9,040 3. เงินกันชดเชยการส่งออก 11,226 12,421 12,399 10,416 12,044 11,160 รวมรายได้สุทธิ 1,156,713 1,323,328 1,397,002 1,502,051 1,611,258 1,464,690 จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ 47,726 58,400 57,312 57,592 65,420 53,832 1,108,986 1,264,928 1,339,691 1,444,460 1,545,837 1,410,858 รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) 6,489,476 7,092,893 7,844,939 8,525,197 9,080,466 9,041,551 สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) 17.1 17.8 17.1 16.9 17.0 15.6 หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2554 เป็นตัวเลขประมาณการ จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 22 สิงหาคม 2554 ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง


ผลการจัดเก็บรายได้รัฐบาลตั้งแต่ปี 2533 จนถึงปัจจุบัน (ฐานข้อมูลรายปี) (หน่วย: ล้านบาท) 2553 2554 (11 เดือน) กรมสรรพากร 1,264,584 1,422,995 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 208,374 217,550 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 454,565 554,564 ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 67,599 81,425 ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม 502,176 528,012 ภาษีธุรกิจเฉพาะ 22,892 32,050 อากรแสตมป์ 8,735 9,138 รายได้อนื่ ๆ 243 256 กรมสรรพสามิต 405,862 368,341 ภาษีน้ํามันฯ 152,825 113,163 ภาษียาสูบ 53,381 51,569 ภาษีสุราฯ 42,398 44,569 ภาษีเบียร์ 58,831 55,956 ภาษีรถยนต์ 77,202 83,200 ภาษีเครื่องดื่ม 14,245 13,330 ภาษีเครื่องไฟฟ้า 1,615 1,081 ภาษีรถจักรยานยนต์ 1,979 2,075 ภาษีแบตเตอรี่ 1,947 1,999 ภาษีการโทรคมนาคม ภาษีอนื่ ๆ 1,039 995 รายได้อนื่ ๆ 400 404 กรมศุลกากร 97,148 93,613 อากรขาเข้า 93,512 90,828 อากรขาออก 169 212 รายได้อนื่ ๆ 3,467 2,573 รวม 3 กรม 1,767,594 1,884,950 หน่วยงานอื่น 235,453 189,151 ส่วนราชการอืน่ 140,031 96,524 กรมธนารักษ์ 3,868 4,323 รายได้จากการขายหุ้นให้กองทุนวายุภักษ์ เงินจากการยุบเลิกทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน แปรรูปรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจ 91,553 88,304 รวมรายได้จัดเก็บ 2,003,047 2,074,101 หัก 1.คืนภาษีของกรมสรรพากร 208,733 208,643 - ภาษีมูลค่าเพิ่ม 160,052 168,759 - ภาษีอนื่ ๆ 48,681 39,884 2. จัดสรรรายได้จาก VAT ให้อบจ. 11,096 11,504 3. เงินกันชดเชยการส่งออก 13,005 12,734 รวมรายได้สุทธิ 1,770,213 1,841,220 จัดสรรให้ อปท. ตาม พรบ.กําหนดแผนฯ 65,736 51,834 1,704,477 1,789,386 รวมรายได้สุทธิหลังหักจัดสรร GDP (ปีปฏิทิน) 10,104,821 10,867,600 สัดส่วนรายได้สุทธิหลังจัดสรรต่อ GDP (ร้อยละ) 16.9 16.5 หมายเหตุ : ข้อมูล GDP ปี 2554 เป็นตัวเลขประมาณการ จากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ วันที่ 22 สิงหาคม 2554 ที่มา : กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมธนารักษ์ กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ จัดทําโดย : ส่วนโยบายการคลังและงบประมาณ สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง


โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ

2532

2533

2534

2535

2536

2537

1. วงเงินงบประมาณ

285,500.0

335,000.0

387,500.0

460,400.0

560,000.0

625,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP)

16.9

16.7

16.1

17.6

17.9

17.9

(อัตราเพิ่ม)

17.2

17.3

15.7

18.8

21.6

11.6

210,571.8

227,541.2

261,932.2

301,818.2

351,060.8

376,382.3

(สัดส่วนต่อ GDP)

12.5

11.3

10.9

11.5

11.2

10.8

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

73.8

67.9

67.6

65.6

62.7

60.2

(อัตราเพิ่ม)

13.3

8.1

15.1

15.2

16.3

7.2

53,592.4

82,043.2

105,647.6

130,652.6

171,606.7

212,975.6

3.2

4.1

4.4

5.0

5.5

6.1

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

18.8

24.5

27.3

28.4

30.6

34.1

(อัตราเพิ่ม)

32.9

53.1

28.8

23.7

31.3

24.1

21,335.8

25,415.6

19,920.2

27,929.2

37,332.5

35,642.1

7.5

7.6

5.1

6.1

6.7

5.7

22.9

19.1

(21.6)

40.2

33.7

(4.5)

1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง

-

-

-

-

-

-

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

-

-

-

-

-

-

2. ประมาณการรายได้

262,500.0

310,000.0

387,500.0

460,400.0

534,400.0

600,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP)

15.5

15.5

16.1

17.6

17.1

17.1

9.4

18.1

25.0

18.8

16.1

12.3

(23,000.0)

(25,000.0)

0.0

0.0

(25,600.0)

(25,000.0)

(1.4)

(1.2)

0.0

0.0

(0.8)

(0.7)

1.1 รายจ่ายประจํา

1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP)

1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)

(อัตราเพิ่ม) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ

1,690,500.0 2,005,254.0 2,400,000.0 2,620,000.0 3,130,000.0 3,499,000.0

(GDP) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2552 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2533 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 1,507.5 ล้านบาท


โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ

2538

2539

2540

2541

2542

2543

1. วงเงินงบประมาณ

715,000.0

843,200.0

944,000.0

830,000.0

825,000.0

860,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP)

17.4

18.0

18.1

16.4

16.5

16.7

(อัตราเพิ่ม)

14.4

17.9

12.0

(10.3)

3.1

4.2

434,383.3

482,368.2

528,293.4

519,505.8

586,115.1

635,585.1

(สัดส่วนต่อ GDP)

10.6

10.3

10.1

10.2

11.7

12.4

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

60.8

57.2

56.0

62.6

71.0

73.9

(อัตราเพิ่ม)

15.4

11.0

9.5

(0.2)

14.4

8.4

253,839.8

327,288.6

391,209.7

279,258.1

233,534.7

217,097.6

6.2

7.0

7.5

5.5

4.7

4.2

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

35.5

38.8

41.4

33.6

28.3

25.2

(อัตราเพิ่ม)

19.2

28.9

19.5

(26.5)

(8.9)

(7.0)

26,776.9

33,543.2

24,496.9

31,236.1

5,350.2

7,317.3

3.7

4.0

2.6

3.8

0.6

0.9

(24.9)

25.3

(27.0)

27.5

(82.9)

36.8

1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง

-

-

-

-

-

-

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

-

-

-

-

-

-

2. ประมาณการรายได้

715,000.0

843,200.0

925,000.0

782,020.0

800,000.0

750,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP)

17.4

18.0

17.8

15.4

16.0

14.6

(อัตราเพิ่ม)

19.2

17.9

9.7

(15.5)

2.3

(6.3)

3. การขาดดุล/เกินดุล

0.0

0.0

0.0

(47,980.0)

0.0

0.0

0.0

(0.9)

1.1 รายจ่ายประจํา

1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP)

1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)

(สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ

(25,000.0) (110,000.0) (0.5)

(2.1)

4,099,000.0 4,684,000.0 5,205,500.0 5,073,000.0 5,002,000.0 5,137,000.0

(GDP) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2552 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2540 เป็นตัวเลขที่ปรับลดจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จํานวน 984,000 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2541 เป็นตัวเลขที่ปรับลดและปรับเพิ่มจาก พ.ร.บ.ที่ประกาศใช้จํานวน 923,000 ล้านบาท


โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดส่วนต่อ GDP)

2544

2545

2546

910,000.0 1,023,000.0

2547

2548

2549

999,900.0 1,163,500.0 1,250,000.0 1,360,000.0

17.5

19.3

17.2

18.0

17.4

17.5

5.8

12.4

(2.3)

16.4

7.4

8.8

679,286.5

773,714.1

753,454.7

836,544.4

881,251.7

958,477.0

(สัดส่วนต่อ GDP)

13.0

14.6

13.0

12.9

12.2

12.3

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

74.6

75.6

75.4

71.9

70.5

70.5

6.9

13.9

(2.6)

11.0

5.3

8.8

218,578.2

223,617.0

211,493.5

292,800.2

318,672.0

358,335.8

4.2

4.2

3.6

4.5

4.4

4.6

24.0

21.9

21.2

25.2

25.5

26.3

0.7

2.3

(5.4)

38.4

8.8

12.4

12,135.3

25,668.9

34,951.8

34,155.4

50,076.3

43,187.2

1.3

2.5

3.5

2.9

4.0

3.2

65.8

111.5

36.2

(2.3)

46.6

(13.8)

1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง

-

-

-

-

-

-

(สัดส่วนต่องบประมาณ)

-

-

-

-

-

-

2. ประมาณการรายได้

805,000.0

823,000.0

(สัดส่วนต่อ GDP)

15.5

15.5

14.2

16.4

17.4

17.5

7.3

2.2

0.2

28.9

17.5

8.8

(105,000.0) (200,000.0) (174,900.0)

(99,900.0)

0.0

0.0

(1.5)

0.0

0.0

(อัตราเพิ่ม) 1.1 รายจ่ายประจํา

(อัตราเพิ่ม) 1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม)

(อัตราเพิ่ม) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ

(2.0)

(3.8)

825,000.0 1,063,600.0 1,250,000.0 1,360,000.0

(3.0)

5,208,600.0 5,309,200.0 5,799,700.0 6,476,100.0 7,195,000.0 7,786,200.0

(GDP) ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2552 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2547 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 135,500 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2548 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 50,000 ล้านบาท


โครงสร้างงบประมาณ ปีงบประมาณ 1. วงเงินงบประมาณ (สัดส่วนต่อ GDP) (อัตราเพิ่ม) 1.1 รายจ่ายประจํา (สัดส่วนต่อ GDP) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.2 รายจ่ายลงทุน (สัดส่วนต่อ GDP) (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.3 รายจ่ายชําระต้นเงินกู้ (สัดส่วนต่องบประมาณ) (อัตราเพิ่ม) 1.4 รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง (สัดส่วนต่องบประมาณ) 2. ประมาณการรายได้ (สัดส่วนต่อ GDP) (อัตราเพิ่ม) 3. การขาดดุล/เกินดุล (สัดส่วนต่อ GDP) 4. ผลิตภัณฑ์รวมของประเทศ (GDP)

2550

2551

2552

2553

2554

1,566,200.0 1,660,000.0 1,951,700.0 1,700,000.0

2,169,967.5

18.6

18.0

22.4

17.5

20.0

15.2

6.0

17.6

(12.9)

27.6

1,135,988.1 1,213,989.1 1,411,382.4 1,434,710.1

1,667,439.7

13.5

13.1

16.2

14.8

15.4

72.5

73.1

72.3

84.4

76.8

18.5

6.9

16.3

1.7

16.2

374,721.4

400,483.9

429,961.8

214,369.0

355,484.5

4.5

4.3

4.9

2.2

3.3

23.9

24.1

22.0

12.6

16.4

4.6

6.9

7.4

(50.1)

65.8

55,490.5

45,527.0

63,676.1

50,920.9

32,554.6

3.5

2.7

3.3

3.0

1.5

28.5

(18.0)

39.9

(20.0)

(36.1)

-

-

46,679.7

-

114,488.7

-

-

2.4

-

5.3

1,420,000.0 1,495,000.0 1,604,639.5 1,350,000.0

1,770,000.0

16.9

16.2

18.4

13.9

16.3

4.4

5.3

7.3

(15.9)

31.1

(146,200.0) (165,000.0) (347,060.5) (350,000.0)

(399,967.5)

(1.7)

(1.8)

(4.0)

(3.6)

(3.7)

8,399,000.0 9,232,200.0 8,712,500.0 9,726,200.0

10,840,500.0

ที่มา : งบประมาณโดยสังเขป สํานักงบประมาณ ประจําปีงบประมาณ 2539-2553 ตารางที่ 1-1 รวบรวมโดย : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง หมายเหตุ : 1. ปีงบประมาณ 2552 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 116,700 ล้านบาท และเป็นปีแรกที่มีการตั้ง งบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง จํานวน 46,679.7 ล้านบาท 2. ปีงบประมาณ 2554 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม จํานวน 99,967.5 ล้านบาท


ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2549 หน่วย : ล้านบาท ต.ค. 48 122,209 116,991 99,728 17,263 5,218 122,209 116,991 99,728 17,263 5,218

พย. 48 ธ.ค. 48 ม.ค. 49 ก.พ. 49 127,243 112,309 116,800 112,468 111,573 83,444 110,090 100,881 78,860 66,634 89,768 74,638 32,713 16,810 20,322 26,243 15,670 28,865 6,710 11,587 249,452 361,761 478,561 591,029 228,564 312,008 422,098 522,979 178,588 245,222 334,990 409,628 49,976 66,786 87,108 113,351 20,888 49,753 56,463 68,050 1,508,592 1,526,126 1,526,642 1,527,243 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 980,494 980,494 980,494 980,494 980,494 379,506 379,506 379,506 379,506 379,506 148,592 166,126 166,642 167,243

1. รายจ่ายรวม (1.1+1.2) 1.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน - รายจ่ายประจํา - รายจ่ายลงทุน 1.2 รายจ่ายจากปีก่อน 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม - รายจ่ายประจําสะสม - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีก่อนสะสม 3. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 3.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจํา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 3.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบ: นายวิธีร์ พานิชวงศ์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที:่ 31 กรกฎาคม 2554

ปีงบประมาณ 2549 มี.ค. 49 เม.ย. 49 พ.ค. 49 มิ.ย. 49 ก.ค. 49 ส.ค. 49 ก.ย. 49 127,437 99,960 88,993 117,304 98,591 116,508 154,750 109,598 96,123 82,286 110,650 92,368 111,095 144,929 87,879 72,008 68,998 95,519 75,520 84,487 112,842 21,719 24,115 13,288 15,131 16,848 26,608 32,087 17,839 3,837 6,707 6,654 6,223 5,413 9,821 718,466 818,426 907,419 1,024,723 1,123,314 1,239,822 1,394,572 632,577 728,700 810,986 921,636 1,014,004 1,125,099 1,270,028 497,507 569,515 638,513 734,032 809,552 894,039 1,006,881 135,070 159,185 172,473 187,604 204,452 231,060 263,147 85,889 89,726 96,433 103,087 109,310 114,723 124,544 1,528,823 1,528,840 1,528,778 1,529,524 1,529,771 1,529,898 1,529,571 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,360,000 980,494 980,494 980,494 980,494 1,007,032 1,006,090 1,010,489 379,506 379,506 379,506 379,506 352,968 353,910 349,511 168,823 168,840 168,778 169,524 169,771 169,898 169,571


ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2550 หน่วย : ล้านบาท ต.ค. 49 พย. 49 ธ.ค. 49 ม.ค. 50 ก.พ. 50 89,559 111,439 99,181 97,054 200,314 81,266 93,466 83,126 87,123 191,229 75,534 84,896 77,650 74,971 136,792 5,732 8,570 5,476 12,152 54,437 8,293 17,973 16,055 9,931 9,085 89,559 200,998 300,179 397,233 597,547 81,266 174,732 257,858 344,981 536,210 75,534 160,430 238,080 313,051 449,843 5,732 14,302 19,778 31,930 86,367 8,293 26,266 42,321 52,252 61,337 1,515,327 1,515,622 1,515,769 1,722,023 1,722,021 1,360,000 1,360,000 1,360,000 1,566,200 1,566,200 980,482 980,637 983,670 1,230,747 1,227,904 379,518 379,363 376,330 335,453 338,296 155,327 155,622 155,769 155,823 155,821

1. รายจ่ายรวม (1.1+1.2) 1.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน - รายจ่ายประจํา - รายจ่ายลงทุน 1.2 รายจ่ายจากปีก่อน 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม - รายจ่ายประจําสะสม - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีก่อนสะสม 3. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 3.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจํา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 3.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบ: นายวิธีร์ พานิชวงศ์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 31 กรกฎาคม 2554

ปีงบประมาณ 2550 มี.ค. 50 เม.ย. 50 พ.ค. 50 139,900 115,830 137,086 127,872 111,216 131,311 106,881 97,682 90,381 20,991 13,534 40,930 12,028 4,614 5,775 737,447 853,277 990,363 664,082 775,298 906,609 556,724 654,406 744,787 107,358 120,892 161,822 73,365 77,979 83,754 1,722,389 1,722,287 1,722,271 1,566,200 1,566,200 1,566,200 1,246,571 1,246,335 1,245,965 319,629 319,865 320,235 156,189 156,087 156,071

มิ.ย. 50 164,381 158,603 126,402 32,201 5,778 1,154,744 1,065,212 871,189 194,023 89,532 1,722,266 1,566,200 1,245,109 321,091 156,066

ก.ค. 50 146,556 142,784 119,440 23,344 3,772 1,301,300 1,207,996 990,629 217,367 93,304 1,722,241 1,566,200 1,244,236 321,964 156,041

ส.ค. 50 122,778 118,609 101,347 17,262 4,169 1,424,078 1,326,605 1,091,976 234,629 97,473 1,722,322 1,566,200 1,242,815 323,385 156,122

ก.ย. 50 150,888 144,234 116,157 28,077 6,654 1,574,966 1,470,839 1,208,133 262,706 104,127 1,722,364 1,566,200 1,239,641 326,559 156,164


ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2551 หน่วย : ล้านบาท ต.ค. 50 พ.ย. 50 ธ.ค. 50 ม.ค. 51 ก.พ. 51 1. รายจ่ายรวม (1.1+1.2) 155,389 127,018 110,867 158,402 118,658 1.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 147,936 112,113 97,846 146,917 108,633 - รายจ่ายประจํา 121,123 93,861 88,182 93,934 97,960 - รายจ่ายลงทุน 26,813 18,252 9,664 52,983 10,673 1.2 รายจ่ายจากปีก่อน 7,453 14,905 13,021 11,485 10,025 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 155,389 282,407 393,274 551,676 670,334 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม 147,936 260,049 357,895 504,812 613,445 - รายจ่ายประจําสะสม 121,123 214,984 303,166 397,100 495,060 - รายจ่ายลงทุนสะสม 26,813 45,065 54,729 107,712 118,385 2.2 รายจ่ายจากปีก่อนสะสม 7,453 22,358 35,379 46,864 56,889 3. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 1,769,427 1,809,505 1,810,026 1,810,883 1,812,516 3.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,660,000 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจํา 1,295,140 1,295,113 1,327,235 1,327,187 1,327,191 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 364,860 364,887 332,765 332,813 332,809 3.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน 109,427 149,505 150,026 150,883 152,516 ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบ: นายวิธีร์ พานิชวงศ์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 31 กรกฎาคม 2554

ปีงบประมาณ 2551 มี.ค. 51 เม.ย.51 พ.ค.51 125,147 154,636 126,767 113,533 150,029 119,962 100,423 104,918 108,354 13,110 45,111 11,608 11,614 4,607 6,805 795,481 950,117 1,076,884 726,978 877,007 996,969 595,483 700,401 808,755 131,495 176,606 188,214 68,503 73,110 79,915 1,811,083 1,811,181 1,811,408 1,660,000 1,660,000 1,660,000 1,327,071 1,327,087 1,326,271 332,929 332,913 333,729 151,083 151,181 151,408

มิ.ย.51 143,198 137,088 107,295 29,793 6,110 1,220,082 1,134,057 916,050 218,007 86,025 1,811,408 1,660,000 1,326,029 333,971 151,667

ก.ค.51 138,838 134,497 115,870 18,627 4,341 1,358,920 1,268,554 1,031,920 236,634 90,366 1,811,408 1,660,000 1,326,205 333,795 151,925

ส.ค.51 124,629 120,424 107,822 12,602 4,205 1,483,549 1,388,978 1,139,742 249,236 94,571 1,811,940 1,660,000 1,325,380 334,620 151,940

ก.ย.51 149,856 143,501 125,248 18,253 6,355 1,633,405 1,532,479 1,264,990 267,489 100,926 1,812,063 1,660,000 1,319,724 340,276 152,063


ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2552 หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ 2552 ต.ค.51 พ.ย.51 ธ.ค.51 ม.ค.52 ก.พ.52 มี.ค.52 เม.ย.52 พ.ค.52 1. รายจ่ายรวม (1.1+1.2) 93,718 165,200 145,422 192,417 179,679 195,346 141,681 161,006 1.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 85,193 149,303 127,825 178,000 166,569 178,473 137,194 154,745 - รายจ่ายประจํา 84,630 131,280 118,357 125,971 132,739 164,251 117,227 114,772 - รายจ่ายลงทุน 563 18,023 9,468 52,029 33,830 14,222 19,966 39,973 1.2 รายจ่ายจากปีก่อน 8,525 15,898 17,596 14,417 13,110 16,873 4,487 6,261 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 93,718 258,919 404,340 596,757 776,436 971,782 1,113,463 1,274,469 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม 85,193 234,495 362,321 540,321 706,890 885,362 1,022,556 1,177,301 - รายจ่ายประจําสะสม 84,630 215,909.44 334,267 460,238 592,977 757,228 874,455 989,227 - รายจ่ายลงทุนสะสม 563 18,585.96 28,054 80,082 113,913 128,135 148,101 188,074 2.2 รายจ่ายจากปีก่อนสะสม 8,525 24,423.18 42,019 56,437 69,547 86,420 90,907 97,168 2,009,163 2,026,393 2,026,061 2,026,212 2,026,408 2,143,222 2,143,223 2,143,228 3. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,835,000 1,951,700 1,951,700 1,951,700 3.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจํา 1,481,992 1,481,939 1,481,885 1,481,864 1,481,268 1,573,602 1,578,601 1,576,929 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 353,008 353,062 353,115 353,136 353,732 378,098 373,045 374,771 3.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน 174,163 191,393 191,061 191,212 191,408 191,522 191,523 191,528 หมายเหตุ ปีงบประมาณ 2552 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมจํานวน 116,700 ล้านบาท มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 8 มีนาคม 2552 ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบ: นายวิธีร์ พานิชวงศ์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 31 กรกฎาคม 2554

มิ.ย. 52 ก.ค. 52 ส.ค. 52 139,498 164,118 142,162 131,026 158,730 136,915 110,789 128,632 119,691 20,237 30,098 17,224 8,472 5,388 5,247 1,413,967 1,578,085 1,720,247 1,308,327 1,467,057 1,603,972

1,100,016 1,228,648 1,348,339 208,311 238,409 255,633 105,640 111,028 116,275 2,143,228 2,143,240 2,143,240 1,951,700 1,951,700 1,951,700

1,575,694 1,574,977 1,574,085 376,006 376,723 337,615 191,528 191,540 191,540

ก.ย. 52 196,842 186,851 159,555 27,336 9,991 1,917,089 1,790,823 1,507,894 282,969 126,266 2,143,252 1,951,700 1,569,678 382,022 191,552


ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2553 หน่วย : ล้านบาท ต.ค.52 พ.ย.52 ธ.ค.52 ม.ค.53 ก.พ.53 90,339 188,614 172,221 150,008 182,850 80,143 166,116 149,895 133,986 169,382 79,470 160,782 112,293 128,316 117,878 673 5,334 37,602 5,670 51,504 10,196 22,498 22,326 16,022 13,468 90,339 278,953 451,175 601,183 784,033 80,143 246,259 396,155 530,141 699,523 79,470 240,252 352,546 480,862 598,740 673 6,007 43,609 49,279 100,783 10,196 32,694 55,020 71,042 84,510 1,927,800 1,941,156 1,941,859 1,942,592 1,942,939 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,700,000 1,485,631 1,481,529 1,480,072 1,479,996 1,479,954 214,369 218,471 219,928 220,004 220,046 227,800 241,156 241,859 242,592 242,939

1. รายจ่ายรวม (1.1+1.2) 1.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน - รายจ่ายประจํา - รายจ่ายลงทุน 1.2 รายจ่ายจากปีก่อน 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม - รายจ่ายประจําสะสม - รายจ่ายลงทุนสะสม 2.2 รายจ่ายจากปีก่อนสะสม 3. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 3.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจํา - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 3.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบ: นายวิธีร์ พานิชวงศ์ ปรับปรุงครังสุดท้ายวันที: 31 กรกฎาคม 2554

ปีงบประมาณ 2553 มี.ค.53 เม.ย.53 149,981 145,528 129,653 136,587 119,986 125,819 9,667 10,768 20,328 8,941 934,014 1,079,542 829,176 965,763 718,726 844,545 110,450 121,218 104,838 113,779 1,943,152 1,943,152 1,700,000 1,700,000 1,479,843 1,479,558 220,157 220,442 243,152 243,152

พ.ค.53 123,967 118,059 110,268 7,791 5,908 1,203,509 1,083,822 954,813 129,009 119,687 1,943,152 1,700,000 1,479,100 220,900 243,152

มิ.ย. 53 135,455 123,196 111,500 11,696 12,259 1,338,964 1,207,018 1,066,313 140,705 131,946 1,943,174 1,700,000 1,476,716 223,284 243,174

ก.ค. 53 142,627 135,128 124,850 10,278 7,499 1,481,591 1,342,146 1,191,163 150,983 139,445 1,943,255 1,700,000 1,474,315 225,685 243,255

ส.ค. 53 110,118 103,322 92,492 10,830 6,796 1,591,709 1,445,468 1,283,655 161,813 146,241 1,943,505 1,700,000 1,472,692 227,308 243,505

ก.ย. 53 192,704 182,407 161,105 21,302 10,297 1,784,413 1,627,875 1,444,760 183,115 156,538 1,943,547 1,700,000 1,468,655 231,345 243,547


ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจําปีงบประมาณ 2554 หน่วย : ล้านบาท

ปีงบประมาณ 2554 ต.ค.53 พ.ย.53 ธ.ค.53 ม.ค.54 ก.พ.54 มี.ค.54 เม.ย.54 1. รายจ่ายรวม (1.1+1.2) 207,452 223,152 167,767 235,191 154,689 170,913 139,705 1.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 194,118 207,201 152,004 220,657 139,464 157,010 135,081 - รายจ่ายประจํา 189,957 196,444 133,696 146,289 122,765 141,375 120,855 - รายจ่ายลงทุน 4,161 10,757 18,308 74,368 16,699 15,635 14,225 1.2 รายจ่ายจากปีก่อน 13,334 15,951 15,763 14,534 15,225 13,903 4,625 2. รายจ่ายรวมสะสม (2.1+2.2) 207,452 430,604 598,371 833,562 988,251 1,159,164 1,298,870 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบันสะสม 194,118 401,319 553,323 773,980 913,444 1,070,454 1,205,535 - รายจ่ายประจําสะสม 189,957 386,401 520,097 666,386 789,151 930,526 1,051,382 - รายจ่ายลงทุนสะสม 4,161 14,918 33,226 107,594 124,293 139,928 154,153 2.2 รายจ่ายจากปีก่อนสะสม 13,334 29,285 45,048 59,582 74,807 88,710 93,335 3. วงเงินงบประมาณรวม (3.1+3.2) 2,230,628 2,233,968 2,249,378 2,252,646 2,252,896 2,253,208 2,353,188 3.1 วงเงินงบประมาณปีปัจจุบัน 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,070,000 2,169,968 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจํา 1,725,583 1,725,423 1,725,489 1,725,245 1,725,191 1,725,003 1,724,938 - วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 344,417 344,577 344,511 344,755 344,809 344,997 345,062 3.2 วงเงินงบประมาณปีก่อน 160,628 163,968 179,378 182,646 182,896 183,208 183,221 หมายเหตุ ปีงบประมาณ 2554 ได้มีการจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมจํานวน 99,968 ล้านบาท มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 18 เมษายน 2554 ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบ: นายวิธีร์ พานิชวงศ์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 31 สิงหาคม 2554

พ.ค.54 211,446 205,223 188,690 16,533 6,223 1,510,316 1,410,757 1,240,071 170,686 99,558 2,353,189 2,169,968 1,813,687 356,280 183,221

มิ.ย. 54 187,593 181,250 161,493 19,757 6,343 1,697,909 1,592,008 1,401,565 190,443 105,901 2,353,191 2,169,968 1,810,757 359,211 183,224

ก.ค. 54 143,032 138,411 120,305 18,105 4,621 1,840,941 1,730,419 1,521,871 208,548 110,522 2,353,192 2,169,968 1,808,951 361,017 183,225

ส.ค. 54 143,543 135,473 113,042 22,431 8,070 1,984,484 1,865,892 1,634,913 230,979 118,592 2,353,203 2,169,968 1,806,977 362,991 183,235

ก.ย. 54


ตารางฐานะการคลังตามระบบกระแสเงินสดของรัฐบาล ปีงบประมาณ 1. รายได้นําส่งคลัง (Revenue) 2. รายจ่าย (Expenditure) - ปีปัจจุบัน (Current Year) - ปีก่อน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (Cash Balance Before Financing) 6. กู้เพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (Cash Balance After Financing) ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผู้รับผิดชอบข้อมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย์ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายวันที่: 12 กันยายน 2554

2552 1,409,653 1,917,129 1,790,862 126,266 (507,476) 131,190 (376,286) 441,061 64,775

2553 1,708,625 1,784,413 1,627,875 156,538 (75,788) (21,301) (97,088) 232,575 135,487

หน่วย: ล้านบาท 11 เดือนแรก 2554 1,618,739 1,984,484 1,865,892 118,592 (365,745) 58,956 (306,789) 147,517 (159,272)


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi

ต.ค. 44 55,425.10 100,049.96 90,062.75 9,987.21 (44,624.86) 19,378.63 (25,246.23) 0.00 (25,246.23)

ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

พ.ย. 44 62,156.09 85,918.77 73,774.53 12,144.24 (23,762.68) (11,119.21) (34,881.89) 18,000.00 (16,881.89)

ธ.ค. 44 57,848.99 72,432.29 60,235.39 12,196.90 (14,583.30) (6,436.38) (21,019.68) 22,000.00 980.32

ม.ค. 45 66,738.15 78,848.96 69,253.94 9,595.02 (12,110.81) 16,745.52 4,634.71 11,000.00 15,634.71


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ก.พ. 45 54,488.57 81,164.16 72,824.92 8,339.24 (26,675.59) 14,026.04 (12,649.55) 19,000.00 6,350.45

ปงบประมาณ 2545 มี.ค. 45 เม.ย. 45 76,384.30 71,471.73 106,000.75 74,669.56 96,192.66 69,233.75 9,808.09 5,435.81 (29,616.45) (3,197.83) (3,820.75) (15,701.93) (33,437.20) (18,899.76) 15,000.00 33,000.00 (18,437.20) 14,100.24

พ.ค. 45 83,477.86 73,606.26 68,969.47 4,636.79 9,871.60 (3,307.64) 6,563.96 17,000.00 23,563.96

มิ.ย. 45 103,154.68 75,724.03 72,404.49 3,319.54 27,430.65 (14,309.61) 13,121.04 6,000.00 19,121.04


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ก.ค. 45 63,596.81 79,078.33 75,909.41 3,168.92 (15,481.52) (8,772.60) (24,254.12) 10,000.00 (14,254.12)

ส.ค. 45 63,270.72 67,111.93 64,041.41 3,070.52 (3,841.21) (3,201.63) (7,042.84) 11,000.00 3,957.16

ก.ย. 45 90,694.37 108,995.56 104,864.46 4,131.10 (18,301.19) 20,990.52 2,689.33 8,000.00 10,689.33

ต.ค. 45 63,866.99 87,469.20 77,465.35 10,003.85 (23,602.21) 2,866.57 (20,735.64) 0.00 (20,735.64)

พ.ย. 45 65,853.71 85,991.04 78,387.53 7,603.51 (20,137.33) (12,475.75) (32,613.08) 14,500.00 (18,113.08)


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ธ.ค. 45 76,597.35 71,767.18 63,556.22 8,210.96 4,830.17 (14,081.38) (9,251.21) 12,000.00 2,748.79

ม.ค. 46 78,963.93 72,712.45 65,672.68 7,039.77 6,251.48 (6,256.83) (5.35) 19,000.00 18,994.65

ก.พ. 46 72,577.44 67,944.32 60,629.66 7,314.66 4,633.12 (31,478.01) (26,844.89) 20,500.00 (6,344.89)

ปงบประมาณ 2546 มี.ค. 46 เม.ย. 46 78,045.85 71,084.74 70,814.78 99,528.82 60,722.72 97,198.30 10,092.06 2,330.52 7,231.07 (28,444.08) (20,171.24) 42,616.21 (12,940.17) 14,172.13 0.00 0.00 (12,940.17) 14,172.13


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

พ.ค. 46 76,847.65 76,029.76 70,487.83 5,541.93 817.89 (31,533.33) (30,715.44) 4,500.00 (26,215.44)

มิ.ย. 46 134,398.68 81,883.44 75,777.31 6,106.13 52,515.24 (21,583.36) 30,931.88 4,000.00 34,931.88

ก.ค. 46 74,115.05 91,158.28 87,175.00 3,983.28 (17,043.23) 16,248.76 (794.47) 1,500.00 705.53

ส.ค. 46 73,441.92 74,328.64 68,825.45 5,503.19 (886.72) 15,826.01 14,939.29 0.00 14,939.29

ก.ย. 46 101,047.42 99,878.14 92,401.05 7,477.09 1,169.28 31,924.61 33,093.89 0.00 33,093.89


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ต.ค. 46 81,873.68 83,154.55 73,127.36 10,027.19 (1,280.87) (13,762.21) (15,043.08) 0.00 (15,043.08)

พ.ย. 46 68,985.30 86,343.15 74,669.43 11,673.72 (17,357.85) (24,780.42) (42,138.27) 0.00 (42,138.27)

ธ.ค. 46 105,945.66 131,699.42 118,931.97 12,767.45 (25,753.76) 2,006.94 (23,746.82) 0.00 (23,746.82)

ม.ค. 47 88,994.15 94,457.93 86,714.71 7,743.22 (5,463.78) 10,099.83 4,636.05 13,000.00 17,636.05

ก.พ. 47 66,317.88 74,960.10 65,653.35 9,306.75 (8,642.22) (27,842.96) (36,485.18) 0.00 (36,485.18)


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ปงบประมาณ 2547 มี.ค. 47 เม.ย. 47 92,302.62 81,144.53 86,329.03 98,726.51 76,347.35 94,085.57 9,981.68 4,640.94 5,973.59 (17,581.98) (3,760.85) 11,578.89 2,212.74 (6,003.09) 8,000.00 18,500.00 10,212.74 12,496.91

พ.ค. 47 78,294.72 85,310.34 81,337.85 3,972.49 (7,015.62) (6,321.48) (13,337.10) 3,500.00 (9,837.10)

มิ.ย. 47 167,553.56 94,594.90 89,927.40 4,667.50 72,958.66 (24,203.78) 48,754.88 0.00 48,754.88

ก.ค. 47 82,369.12 98,056.31 94,429.25 3,627.06 (15,687.19) 3,527.31 (12,159.88) 0.00 (12,159.88)


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ส.ค. 47 78,747.85 97,739.39 94,164.26 3,575.13 (18,991.54) 10,608.35 (8,383.19) 10,960.00 2,576.81

ก.ย. 47 134,624.31 108,738.42 103,271.37 5,467.05 25,885.89 7,832.93 33,718.82 36,040.00 69,758.82

ต.ค. 47 63,128.73 89,877.24 86,902.43 2,974.81 (26,748.51) (15,026.49) (41,775.00) 0.00 (41,775.00)

พ.ย. 47 80,493.63 99,995.83 92,444.25 7,551.58 (19,502.20) (28,238.72) (47,740.92) 0.00 (47,740.92)

ธ.ค. 47 105,599.21 108,367.14 98,217.20 10,149.94 (2,767.93) 17,770.72 15,002.79 0.00 15,002.79


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ม.ค. 48 109,572.54 131,441.63 124,068.03 7,373.60 (21,869.09) (2,574.89) (24,443.98) 0.00 (24,443.98)

ก.พ. 48 82,220.73 78,642.63 69,554.07 9,088.56 3,578.10 (4,637.83) (1,059.73) 0.00 (1,059.73)

ปงบประมาณ 2548 มี.ค. 48 เม.ย. 48 90,209.51 96,049.87 94,434.28 103,612.91 83,724.98 93,171.27 10,709.30 10,441.64 (4,224.77) (7,563.04) 13,092.30 6,734.24 8,867.53 (828.80) 0.00 0.00 8,867.53 (828.80)

พ.ค. 48 95,991.57 99,011.99 91,541.35 7,470.64 (3,020.42) (2,059.19) (5,079.61) 0.00 (5,079.61)


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

มิ.ย. 48 181,585.93 111,946.80 103,941.67 8,005.13 69,639.13 (14,681.67) 54,957.46 0.00 54,957.46

ก.ค. 48 85,035.00 90,468.84 82,914.17 7,554.67 (5,433.84) 1,918.59 (3,515.25) 0.00 (3,515.25)

ส.ค. 48 92,744.13 103,686.17 94,959.67 8,726.50 (10,942.04) (967.19) (11,909.23) 0.00 (11,909.23)

ก.ย. 48 182,297.15 133,695.46 118,335.91 15,359.55 48,601.69 (26,393.08) 22,208.61 0.00 22,208.61


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ต.ค. 48 83,151.90 125,509.55 116,991.55 8,518.00 (42,357.65) (22,475.41) (64,833.06) 0.00 (64,833.06)

พ.ย. 48 92,336.70 123,942.84 111,572.84 12,370.00 (31,606.14) 7,527.05 (24,079.09) 0.00 (24,079.09)

ธ.ค. 48 78,738.60 112,308.49 83,443.49 28,865.00 (33,569.89) 38,616.09 5,046.20 0.00 5,046.20

ม.ค. 49 102,039.40 116,800.23 110,090.23 6,710.00 (14,760.83) 27,213.95 12,453.12 0.00 12,453.12

ก.พ. 49 88,199.20 112,467.96 100,880.96 11,587.00 (24,268.76) 17,558.83 (6,709.93) 0.00 (6,709.93)


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ปงบประมาณ 2549 มี.ค. 49 เม.ย. 49 110,019.90 115,364.00 127,437.29 100,074.26 109,598.29 96,226.26 17,839.00 3,848.00 (17,417.39) 15,289.74 20,845.92 (6,660.59) 3,428.53 8,629.15 0.00 0.00 3,428.53 8,629.15

พ.ค. 49 107,845.70 88,878.80 82,182.80 6,696.00 18,966.90 (26,537.37) (7,570.47) 0.00 (7,570.47)

มิ.ย. 49 214,818.20 117,303.38 110,649.38 6,654.00 97,514.82 (22,994.19) 74,520.63 0.00 74,520.63

ก.ค. 49 73,583.00 98,591.67 92,368.67 6,223.00 (25,008.67) 9,901.37 (15,107.30) 0.00 (15,107.30)


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ส.ค. 49 93,270.80 116,507.14 111,094.14 5,413.00 (23,236.34) 6,863.00 (16,373.34) 0.00 (16,373.34)


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ก.ย. 49 180,323.20 155,461.55 145,640.55 9,821.00 24,861.65 43,231.28 68,092.93 0.00 68,092.93

ต.ค. 49 110,228.35 89,558.95 81,266.44 8,292.51 20,669.40 (50,427.78) (29,758.38)

พ.ย. 49 97,895.04 111,438.22 93,464.94 17,973.28 (13,543.18) (25,856.30) (39,399.48)

ธ.ค. 49 96,686.52 99,182.26 83,126.82 16,055.44 (2,495.74) 8,754.64 6,258.90

(29,758.38)

(39,399.48)

6,258.90

ม.ค. 50 107,034.75 97,053.24 87,122.34 9,930.90 9,981.51 192.14 10,173.65 18,000.00 28,173.65


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ก.พ. 50 90,660.38 200,314.37 191,229.42 9,084.95 (109,653.99) 27,531.98 (82,122.01) 21,500.00 (60,622.01)

ปงบประมาณ มี.ค. 50 110,251.71 139,900.26 127,872.18 12,028.08 (29,648.55) (24,937.83) (54,586.38) 65,760.00 11,173.62

2550 เม.ย. 50 88,717.27 115,829.71 111,215.46 4,614.25 (27,112.44) (802.58) (27,915.02) 12,395.00 (15,520.02)

พ.ค. 50 108,693.26 137,086.33 131,311.65 5,774.68 (28,393.07) 1,629.11 (26,763.96) 26,005.00 (758.96)

มิ.ย. 50 259,906.17 164,380.91 158,603.01 5,777.90 95,525.26 (41,114.60) 54,410.66 54,410.66


หนวย: ลานบาท รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ก.ค. 50 84,981.74 146,554.95 142,783.24 3,771.71 (61,573.21) 10,415.72 (51,157.49)

ส.ค. 50 110,234.72 122,778.40 118,609.07 4,169.33 (12,543.68) 22,625.91 10,082.23

(51,157.49)

10,082.23

ก.ย. 50 179,428.01 150,888.99 144,234.89 6,654.10 28,539.02 43,550.81 72,089.83 2,540.00 74,629.83


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ต.ค. 50 116,253.36 155,388.77 147,936.01 7,452.76 (39,135.41) (20,659.94) (59,795.35) 11,500.00 (48,295.35)

พ.ย. 50 102,332.24 127,018.47 112,112.92 14,905.55 (24,686.23) (26,908.07) (51,594.30) 13,500.00 (38,094.30)

ธ.ค. 50 108,087.37 110,866.76 97,846.06 13,020.70 (2,779.39) (2,051.81) (4,831.20) 17,500.00 12,668.80

ม.ค. 51 99,967.16 158,402.13 146,916.71 11,485.42 (58,434.97) 23,962.97 (34,472.00) 16,500.00 (17,972.00)

ก.พ. 51 108,209.40 118,658.14 108,633.38 10,024.76 (10,448.74) 11,214.11 765.37 15,269.73 16,035.10


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ปงบประมาณ มี.ค. 51 95,822.28 125,147.22 113,532.92 11,614.30 (29,324.94) 5,464.24 (23,860.70) 11,178.15 (12,682.55)

2551 เม.ย. 51 124,153.48 154,636.48 150,029.48 4,607.00 (30,483.00) 7,744.69 (22,738.31) 35,943.45 13,205.14

พ.ค. 51 168,954.93 126,766.19 119,961.33 6,804.86 42,188.74 (48,861.72) (6,672.98) 11,500.00 4,827.02

มิ.ย. 51 208,079.74 143,198.27 137,088.31 6,109.96 64,881.47 32,513.48 97,394.95 19,000.00 116,394.95

ก.ค. 51 104,134.25 138,837.60 134,497.09 4,340.51 (34,703.35) (32,798.66) (67,502.01) 5,808.67 (61,693.34)


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ส.ค. 51 107,658.48 124,628.30 120,423.44 4,204.86 (16,969.82) 22,917.98 5,948.16 6,635.64 12,583.80

ก.ย. 51 202,184.00 149,855.93 143,501.13 6,354.80 52,328.07 36,284.47 88,612.54 664.36 89,276.90


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ต.ค. 51 93,001.00 93,718.12 85,192.72 8,525.40 (717.12) (58,699.02) (59,416.14) 10,000.00 (49,416.14)

พ.ย. 51 90,411.00 165,200.46 149,302.68 15,897.78 (74,789.46) (29,544.46) (104,333.92) 15,000.00 (89,333.92)

ธ.ค. 51 95,078.00 145,421.61 127,825.37 17,596.24 (50,343.61) 5,960.05 (44,383.56) 15,000.00 (29,383.56)

ม.ค. 52 95,525.00 192,417.15 177,999.96 14,417.19 (96,892.15) 53,963.72 (42,928.43) 19,000.00 (23,928.43)


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ก.พ. 52 80,821.00 179,678.99 166,568.90 13,110.09 (98,857.99) 50,435.15 (48,422.84) 69,530.00 21,107.16

ปงบประมาณ 2552 มี.ค. 52 เม.ย. 52 96,646.00 102,914.00 195,344.61 141,682.20 178,472.53 137,194.07 16,872.08 4,488.13 (98,698.61) (38,768.20) 4,436.68 (872.92) (94,261.93) (39,641.12) 87,000.00 86,688.00 (7,261.93) 47,046.88

พ.ค. 52 104,550.00 161,005.90 154,745.07 6,260.83 (56,455.90) 8,972.12 (47,483.78) 51,312.00 3,828.22


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

มิ.ย. 52 264,932.00 139,497.85 131,025.26 8,472.59 125,434.15 (21,309.46) 104,124.69 9,500.00 113,624.69

ก.ค. 52 98,714.00 164,117.96 158,730.02 5,387.94 (65,403.96) 64,048.01 (1,355.95) 65,000.00 63,644.05

ส.ค. 52 93,284.00 142,161.71 136,915.13 5,246.58 (48,877.71) 31,960.66 (16,917.05) 9,000.00 (7,917.05)

ก.ย. 52 193,777.00 196,882.16 186,890.53 9,991.63 (3,105.16) 21,839.05 18,733.89 4,031.00 22,764.89


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ต.ค. 52 115,827.09 90,339.40 80,143.48 10,195.92 25,487.69 (36,797.17) (11,309.48) (11,309.48)

พ.ย. 52 118,129.19 188,614.47 166,115.98 22,498.49 (70,485.28) (31,434.50) (101,919.78) 31,000.00 (70,919.78)

ธ.ค. 52 119,168.87 172,221.38 149,895.70 22,325.68 (53,052.51) (8,812.18) (61,864.69) 20,572.00 (41,292.69)

ม.ค. 53 115,404.41 150,007.77 133,985.77 16,022.00 (34,603.36) (9,988.42) (44,591.78) 39,000.00 (5,591.78)


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ก.พ. 53 95,323.16 182,849.88 169,382.08 13,467.80 (87,526.72) 36,749.58 (50,777.14) 20,000.00 (30,777.14)

ปงบประมาณ 2553 มี.ค. 53 เม.ย. 53 120,436.56 164,648.18 149,980.78 145,528.30 129,652.57 136,587.12 20,328.21 8,941.18 (29,544.22) 19,119.88 (21,848.54) 9,222.02 (51,392.76) 28,341.90 36,000.00 29,000.00 (15,392.76) 57,341.90

พ.ค. 53 117,738.28 123,967.00 118,058.80 5,908.20 (6,228.72) (18,495.17) (24,723.89) 37,000.00 12,276.11


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

มิ.ย. 53 283,384.03 135,455.10 123,196.34 12,258.76 147,928.93 6,910.15 154,839.08 17,000.00 171,839.08

ก.ค. 53 109,897.17 142,627.17 135,128.19 7,498.98 (32,730.00) 20,746.76 (11,983.24) 3,003.46 (8,979.78)

ส.ค. 53 107,479.35 110,117.62 103,322.30 6,795.32 (2,638.27) 45,454.80 42,816.53 0.00 42,816.53

ก.ย. 53 241,188.48 192,703.75 182,406.65 10,297.10 48,484.73 (13,007.97) 35,476.76 0.00 35,476.76 (21,300.64)


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ต.ค. 53 124,860.14 207,451.52 194,117.58 13,333.94 (82,591.38) (25,359.71) (107,951.09) 16,000.00 (91,951.09)

พ.ย. 53 125,436.76 223,152.35 207,201.24 15,951.11 (97,715.59) (20,178.59) (117,894.18) 20,021.00 (97,873.18)

ธ.ค. 53 144,670.62 167,767.26 152,004.31 15,762.95 (23,096.64) 80,028.11 56,931.47 17,000.00 73,931.47

ม.ค. 54 129,901.61 235,191.75 220,657.29 14,534.45 (105,290.13) (37,800.43) (143,090.56) 15,000.00 (128,090.56)


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

ก.พ. 54 126,713.21 154,688.49 139,463.92 15,224.58 (27,975.28) (8,644.77) (36,620.05) 21,084.00 (15,536.05)

ปงบประมาณ 2554 มี.ค. 54 127,479.10 170,913.02 157,009.62 13,903.40 (43,433.92) (36,482.91) (79,916.83) 24,500.00 (55,416.83)

เม.ย. 54 141,447.99 139,705.36 135,080.55 4,624.81 1,742.63 (16,913.92) (15,171.29) 16,000.00 828.71

พ.ค. 54 128,161.89 211,446.62 205,223.49 6,223.13 (83,284.73) 117,891.87 34,607.14 5,334.00 39,941.14


รายเดือน 1. รายไดนําสงคลัง (Revenue) 2. รายจาย (Expenditure) - ปปจจุบัน (Current Year) - ปกอน (Carry Over) 3. ดุลเงินงบประมาณ (Budgetary Balance) 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (Non Budgetary Balan 5. ดุลเงินสดกอนกู (Cash Balance Before Finan 6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล (Financing) 7. ดุลเงินสดหลังกู (Cash Balance After Financi ที่มา: กรมบัญชีกลาง จัดทําโดย: สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจก ผูรับผิดชอบขอมูล: นายณัฐพล สุภาดุลย ปรับปรุงครั้งสุดทายวันที่: 11 สิงหาคม 2554

มิ.ย. 54 342,222.77 187,592.72 181,249.74 6,342.98 154,630.05 (13,242.07) 141,387.98 4,500.00 145,887.98

ก.ค. 54 101,588.15 143,031.74 138,411.12 4,620.62 (41,443.60) 10,945.01 (30,498.59) 8,000.00 (22,498.59)

ส.ค. 54 128,543.29 143,542.87 135,472.91 8,069.96 (14,999.58) 6,426.88 (8,572.70) 78.00 (8,494.70)


สัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2540-2543

ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

ปี 2540 จํานวนเงิน สัดส่วน 93,879.49 100.00 16,985.70 18.09 47,386.19 50.48 29,507.60 31.43 843,576.00 11.13

ที่มา : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 18 พฤษภาคม 2554

ปี 2541 จํานวนเงิน สัดส่วน 96,055.80 100.00 16,758.90 17.45 48,666.90 50.67 30,630.00 31.89 733,462.00 13.10

ปี 2542 จํานวนเงิน สัดส่วน 100,805.27 100.00 17,808.20 17.67 44,869.87 44.51 38,127.20 37.82 709,111.00 14.22

หน่วย : ล้านบาท ปี 2543 จํานวนเงิน สัดส่วน 94,721.30 100.00 17,403.60 18.37 45,095.60 47.61 32,222.10 34.02 749,948.60 12.63


เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2544-2554

ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุนและการถ่ายโอนงาน1/ 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

ปี 2544 จํานวนเงิน สัดส่วน 159,752.58 100.00 17,701.88 11.08 55,651.90 34.84 12,669.00 7.93 73,729.80 772,574.00

46.15 20.68

ปี 2545 จํานวนเงิน สัดส่วน 175,850.29 100.00 21,084.47 11.99 58,143.52 33.07 19,349.00 11.00 77,273.30 803,651.00

43.94 21.88

ปี 2546 จํานวนเงิน สัดส่วน 184,066.03 100.00 22,258.28 12.09 60,217.74 32.72 35,504.44 19.29

ปี 2547 จํานวนเงิน สัดส่วน 241,947.64 100.00 24,786.27 10.24 82,623.37 34.15 43,100.00 17.82

ปี 2548 จํานวนเงิน สัดส่วน 293,750.00 100.00 27,018.96 9.20 102,520.34 34.90 49,000.00 16.68

หน่วย : ล้านบาท ปี 2549 จํานวนเงิน สัดส่วน 327,113.00 100.00 29,110.41 8.90 110,189.59 33.69 61,800.00 18.89

66,085.60 829,495.56

91,438.00 1,063,600.00

115,210.70 1,250,000.00

126,013.00 1,360,000.00

35.90 22.19

หมายเหตุ : 1/ ในปีงบประมาณ 2544 และ 2545 มีงบประมาณการถ่ายโอนงานซึ่งตั้งอยู่ที่ส่วนราชการที่ถ่ายโอนงานให้ อปท. แต่นับรวมในสัดส่วนรายได้ของ อปท. เป็นจํานวน 32,339.60 ล้านบาท และ 27,061.80 ล้านบาท ตามลําดับ

37.79 22.75

39.22 23.50

38.52 24.05


เป้าหมายสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปีงบประมาณ 2544-2554

ประเภทรายได้ 1. รายได้รวมของ อปท. 1.1 รายได้ที่ อปท. จัดหาเอง 1.2 ภาษีอากรที่รัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้ 1.3 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลแบ่งให้ (ตาม พ.ร.บ.กําหนดแผนฯ) 1.4 เงินอุดหนุน 2. รายได้สุทธิของรัฐบาล 3. สัดส่วนรายได้ อปท.ต่อรัฐบาล (%)

ปี 2550 จํานวนเงิน สัดส่วน 357,424.15 100.00 32,021.46 8.96 120,728.69 33.78 65,300.00 18.27

ปี 2551 จํานวนเงิน 376,740.00 35,223.60 128,676.40 65,000.00

139,374.00

147,840.00 1,495,000.00

38.99

1,420,000.00

25.17

สัดส่วน 100.00 9.35 34.16 17.25 39.24 25.20

ปี 2552 ปี 2553 จํานวนเงิน สัดส่วน จํานวนเงิน สัดส่วน 414,382.23 100.00 340,995.18 100.00 38,745.96 9.35 29,110.41 8.54 140,679.27 33.95 126,589.59 37.12 71,900.00 17.35 45,400.00 13.31 163,057.00 1,604,640.00

หน่วย : ล้านบาท ปี 2554 จํานวนเงิน สัดส่วน 431,305.00 100.00 38,745.96 8.98 148,109.04 34.34 70,500.00 16.35

139,895.18 41.03 173,950.00 2/ 40.33 1,350,000.00 1,650,000.00 25.82 25.26 26.14 39.35

หมายเหตุ : 2/เป็นตัวเลขก่อนการจัดทํางบประมาณรายจ่ายของรัฐบาลเพิ่มเติมระหว่างปี 100,000 ล้านบาท ซึ่งได้จัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เพิ่มเติม 5,957.84 ล้านบาท ทั้งนี้ เงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เมื่อรวมกับที่ได้รับการจัดสรรเพิ่มเติมระหว่างปีแล้ว เท่ากับ 179,907.84 ล้านบาท - เป้าหมายสัดส่วนรายได้ของ อปท. ในแต่ละปีงบประมาณผ่านขั้นตอนการพิจารณาของสํานักงบประมาณเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว ที่มา : สํานักนโยบายการคลัง สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง วันที่ 19 สิงหาคม 2554


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.