“มูลค่า” ของธรรมชาติ และนวัตกรรมทางการเงินเพื่อ การอนุรักษ์ สฤณี อาชวานันทกุล 27 เมษายน 2561
บริษัท ป่าสาละ จากัด Sal Forest Co. Ltd.
สงิ่ แวดล ้อมแย่ลง -> คุณภาพชวี ต ิ แย่ลง
ทีม ่ า: OCED, Towards Green Growth, 2011.
2
เรากาลังทะลุขด ี การรองรับของธรรมชาติ Planetary Boundaries:
ทีม ่ า: The Biosphere Economy, http://www.volans.com/lab/projects/biosphere-economy/
3
ี่ ง “ความเสย โลก” ใน มุมมองของ World Economic Forum 2017
4
ี่ งที่ “โอกาสเกิด” และ “ผลกระทบ” ความเสย สูงกว่าค่าเฉลีย ่
5
ี หายจากภัยธรรมชาติ = ต ้นทุน ความเสย • ปี 2011 ภัย ธรรมชาติทั่วโลก ี หาย ก่อความเสย 380,000 ล ้าน เหรียญสหรัฐ สูง เป็ นประวัตก ิ ารณ์ • ทศวรรษ 20002010 ภัย ธรรมชาติรน ุ แรง เพิม ่ ขึน ้ 200%+ จากทศวรรษก่อน หน ้า
6
ี หายและประโยชน์ชด ั ขึน เราวัดความเสย ้ • ธนาคารโลก (2007) ประเมินว่าการใชน้ ้ าใต ้ดินเกินขนาดในจีน ี หาย 0.3% ของจีดพ ก่อความเสย ี ี และมลพิษอากาศและน้ าก่อ ี หาย 5.8% ของจีดพ ความเสย ี ี ื่ มโทรมจะก่อ • Diao and Sarpong (2007) ประเมินว่าดินเสอ ี หาย 5% ของจีดพ ความเสย ี เี กษตรกรรมในกานาระหว่างปี 2006-2015 • The Economics of Ecosystems & Biodiversity (TEEB) (2010)
7
TEEB : ตัวอย่างมูลค่าของบริการนิเวศ
ทีม ่ า: TEEB, Mainstreaming the Economics of Nature, 2010.
8
คนจนพึง่ พาบริการระบบนิเวศมากกว่า
ั สว่ นค่อนข ้างน ้อยของจีด ี • เกษตรกรรม ประมง และป่ าไม ้คิดเป็ นสด พี แต่บริการนิเวศของธรรมชาติเป็ นสว่ นสาคัญใน “จีดพ ี ค ี นจน”
• ‘เศรษฐกิจเขียว’ จึงจาเป็ นต่อการลดความจนและความเหลือ ่ มล้า
10
ธุรกิจทีพ ่ งึ่ พาพันธุกรรมธรรมชาติ
ทีม ่ า: TEEB, Mainstreaming the Economics of Nature, 2010.
ี่ งต่อพันธุกรรมเหล่านี้ = ความเสย ี่ งทางธุรกิจ • ความเสย ี หายทางธุรกิจทีเ่ กิดจากการสูญเสย ี • การป้ องกันความเสย ความหลากหลายทางชวี ภาพ = “มูลค่า” ทางธุรกิจ 11
ี่ งจาก “ฟองสบูค ่ าร์บอน” & ความเสย stranded assets
• ถ ้าหากปั ญหาโลกร ้อนรุนแรงขึน ้ เรือ ่ ยๆ หลังปี 2020 น้ ามัน ถ่านหิน และก๊าซธรรมชาติสารองของบริษัทต่างๆ ้ ได ้ อาจขุดขึน ้ มาใชไม่
12
ี่ งจาก “ฟองสบูค ่ าร์บอน” & ความเสย stranded assets (ต่อ)
ิ ทรัพย์” เหล่านีจ ิ ทรัพย์สญ • ในกรณีนัน ้ “สน ้ ะกลายเป็ น “สน ู เปล่า” หรือ stranded assets สง่ ผลต่อราคาหุ ้นในอนาคต • นักลงทุนสถาบันหลายรายเริม ่ ย ้ายเงินออกจากหุ ้นของบริษัททีม ่ ี ิ ทรัพย์เหล่านีส สน ้ งู
13
ความคุ ้มค่าของ Climate Change Policy
• งานวิจัยจาก MIT (เม.ย. 2018) ประเมินว่า มูลค่าของการที่ ประชาชนชาวจีนตายน ้อยลง มีสข ุ ภาพดีขน ึ้ เพราะคุณภาพ อากาศดีขน ึ้ มีขนาดราว 339,000 ล ้านเหรียญสหรัฐในปี 2030 ้ • คิดเป็ นสเี่ ท่าของต ้นทุนทีจ ่ น ี ต ้องใชในการบรรลุ เป้ าการลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกตามข ้อตกลงปารีส (ปล่อยสูงสุดปี 2030) 14
หลักการ ขัน ้ ตอน และสถานะความรู ้
้ • วิธป ี ระเมินทางเศรษฐศาสตร์ไม่ควรใชประเมิ นมูลค่าของระบบ ้ นิเวศทัง้ ระบบ แต่ใชประเมิ นมูลค่า การเปลีย ่ นแปลง ทีเ่ กิดจาก
การเปลีย ่ นนโยบาย • ปั จจุบน ั วิธป ี ระเมินทางวิชาการคืบหน ้าไปมากแล ้ว แต่ยงั มี ่ งว่างบางสาขา เชน ่ มูลค่าของระบบนิเวศในทะเล ชอ • ปั จจุบน ั เราประเมินมูลค่าของนิเวศบริการด ้าน การผลิต ่ อาหาร เสนใย ้ (provisioning) ทรัพยากร เชน และน้ า และด ้าน ่ การพักผ่อนหย่อนใจ การท่องเทีย วัฒนธรรม เชน ่ ว ได ้ดีกว่า ่ วงจรน้ าและสภาพภูมอ นิเวศบริการด ้าน กากับดูแล เชน ิ ากาศ
15
จาก “มูลค่า” สู่ “เครือ ่ งมือ” 1.
ให้รางว ัลการอนุร ักษ์ดว้ ยเงินอุดหนุนและกลไกตลาด ่ Payment for ecosystem services (PES) ระดับท ้องถิน เชน ่ ื้ จัดจ ้างส ี หรือโลก (REDD+), มาตรฐานผลิตภัณฑ์, วิถจ ี ัดซอ ิ ค ้า เขียว, ฉลากสน
2.
ปฏิรป ู ระบบเงินอุดหนุนทีท ่ าร้ายสงิ่ แวดล้อม ทัว่ โลก จ่ายเงินอุดหนุนในภาคเกษตร ประมง พลังงาน ขนสง่ และ อืน ่ ๆ รวมกันกว่า 1 ล ้านล ้านเหรียญต่อปี ประมาณ 1/3 ของ ื้ เพลิงฟอสซล ิ จานวนนีอ ้ ด ุ หนุนเชอ
3.
ี หายด้วยระบบกาก ับดูแลและติดป้ายราคา ฟื้ นฟูความเสย ่ กฎหมายกาหนดมาตรฐานด ้านสงิ่ แวดล ้อม ระบบความรับ เชน ผิดทางกฎหมาย (liability) บนหลัก “ใครก่อมลพิษคนนัน ้ จ่าย” และหลัก “คืนทุนทัง้ หมด” (full cost recovery)
16
จาก “มูลค่า” สู่ “เครือ ่ งมือ” (ต่อ) 4.
้ ทีอ เพิม ่ มูลค่าให้ก ับพืน ่ นุร ักษ์ ทัว่ โลกมีพน ื้ ทีอ ่ นุรักษ์ 13.9% ของพืน ้ ทีบ ่ นดิน และ 6.4% ของพืน ้ ทีใ่ นทะเล คนกว่าพันล ้าน ั พืน ้ คนอาศย ้ ทีเ่ หล่านีใ้ นการดารงชวี ต ิ การใชกลไก PES และ ขยายพืน ้ ทีอ ่ นุรักษ์ จะชว่ ยดารงความหลากหลายทางชวี ภาพ และขยายนิเวศบริการ
5.
้ ฐาน” ของระบบนิเวศ สามารถ ลงทุนใน “โครงสร้างพืน สร ้างโอกาสทีค ่ ุ ้มค่าการลงทุนเพือ ่ บรรลุเป้ าหมายเชงิ นโยบาย ่ เพิม เชน ่ ความยืดหยุน ่ ต่อภาวะสภาพภูมอ ิ ากาศเปลีย ่ นแปลง ี่ งจากภัยธรรมชาติ เพิม ลดความเสย ่ ขีดความมัน ่ คงทางอาหาร และน้ า และบรรเทาความยากจน การลงทุนบารุงและอนุรักษ์ นัน ้ มักจะ “ถูกกว่า” ความพยายามทีจ ่ ะฟื้ นฟูระบบนิเวศที่ ี หายหลายเท่า เสย
17
ตัวอย่าง: PES ในเม็กซโิ ก ้ • ตัง้ แต่ปี 2003 เม็กซโิ กใชระบบ payment for ecological services (PES) สาหรับป่ าทั่วประเทศ • แก ้กฎหมาย กันป่ าบางสว่ นเป็ นพืน ้ ทีอ ่ นุรักษ์ ให ้เจ ้าของ ทีด ่ น ิ สมัครรับค่าตอบแทน แลกกับการดูแลพืน ้ ทีป ่ ่ า โดย ั ญาว่าจะไม่ใชที ้ ด ั ว์ สญ ่ น ิ ทาการเกษตร หรือปศุสต • ระหว่างปี 2003-2010 มีเจ ้าของป่ า (ปั จเจกและชุมชน) ิ ของระบบนีก เป็ นสมาชก ้ ว่า 3,000 ราย รวมพืน ้ ทีก ่ ว่า 2,300 ตารางกิโลเมตร รัฐจ่ายค่าตอบแทนกว่า 300 ล ้านเหรียญสหรัฐ • ระบบนีช ้ ว่ ยลดอัตราการตัดไม ้ทาลายป่ าลงกว่า 1,800 ตร.กม. หรือจาก 1.6% เป็ น 0.6% ลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจก 3.2 ล ้านตัน (CO2 equivalent)
18
ตัวอย่าง: PES ในจีน ื่ Grains• หลังน้ าท่วมใหญ่ปี 1998 จีนเริม ่ ระบบ PED ชอ ื่ ม to-Greens Programme (GTGP) เพือ ่ แก ้ปั ญหาดินเสอ สาเหตุสาคัญของน้ าท่วมใหญ่บริเวณริมฝั่ งแม่น้ าแยงซ ี และแม่น้ าเหลือง ้ นกว่า • หนึง่ ในโครงการอนุรักษ์ทใี่ หญ่ทส ี่ ด ุ ในโลก รัฐใชเงิ 70,000 ล ้านเหรียญสหรัฐ • ชาวนาในภาคตะวันตกของประเทศได ้รับเงินอุดหนุนราย ปี 450 เหรียญสหรัฐต่อเฮกเตอร์ (72 เหรียญสหรัฐต่อไร่) ให ้แปลงทีด ่ น ิ เกษตรผลผลิตตา่ กลับไปเป็ นผืนป่ า • ถึงปี 2006 ชว่ ยแปลงพืน ้ ทีเ่ กษตรกว่า 1.4 ล ้านไร่ กลับไปเป็ นผืนป่ า ชว่ ยยึดหน ้าดิน ชะลอการไหลของน้ า เพิม ่ ความอุดมสมบูรณ์ให ้กับศูนย์อนุรักษ์หมีแพนด ้าวูลอง
19
ตัวอย่าง: นิวยอร์กและนาโกยา • เทศบาลนิวยอร์กในอเมริกาจ่ายเจ ้าของทีด ่ น ิ ในภูเขา Catskills รวม 1.5 พันล ้านเหรียญสหรัฐ ให ้ปรับปรุง ี ทีไ่ หลลงแม่น้ าใน เทคนิคการจัดการฟาร์ม กาจัดน้ าเสย บริเวณ แทนทีจ ่ ะสร ้างโรงกรองน้ าราคา 6-8 พันล ้าน ่ มบารุงปี ละ 300-500 ล ้านเหรียญ เหรียญ ไม่รวมค่าซอ • ชาวนิวยอร์กจ่ายค่าน้ าประปาแพงขึน ้ 9% แทนทีจ ่ ะแพง ขึน ้ สองเท่า ้ • ปี 2010 เทศบาลนาโกยาในญีป ่ นเริ ุ่ ม ่ ใชระบบ “ใบอนุญาตพัฒนาทีด ่ น ิ ” เปลีย ่ นมือได ้ นักพัฒนาที่ อยากสร ้างตึกสูงกว่ากาหนดสามารถออฟเซตผลกระทบ ื้ และอนุรักษ์ พน ุ่ เสย ี่ ง ได ้ด ้วยการซอ ื้ ทีส ่ เี ขียวทีส ่ ม 20
21
การลงทุนเพือ ่ การอนุรักษ์เติบโตต่อเนือ ่ ง
ทีม ่ า: State of Private Investment in Conservation 2016, A Landscape Assessment of an Emerging Market. NatureVest & Nature Conservancy, sponsored by JP Morgan Chase.
22
ผลตอบแทนจากการลงทุนทีค ่ าดหวัง
ทีม ่ า: State of Private Investment in Conservation 2016, A Landscape Assessment of an Emerging Market. NatureVest & Nature Conservancy, sponsored by JP Morgan Chase.
23
Environmental Impact Bond: Pay-for-Success Key Factors of Success - นั กลงทุนเข ้าใจ ั ว่ามีโอกาสได ้ ชด ผลตอบแทน เท่าไร - ผลลัพธ์ทางสงั คม ถูกประเมินและ รับรองโดย ี่ วชาญ ผู ้เชย
24
ความท ้าทายระดับสากล: อุปสงค์มากกว่า อุปทาน ขาด “biodiversity broker”
ทีม ่ า: Ezzine de Blas, D., Kettunen, M., Russi, D., Illes, A., Lara-Pulido, J.A., Arias, C. and Guevara, A. (2017) Innovative mechanisms for financing biodiversity conservation: a comparative summary of experiences from Mexico and Europe, an executive summary in the context of a project “Innovative financing mechanisms for biodiversity in Mexico / N°2015/368378”. Brussels, Belgium
25
ความท ้าทายในไทย • เรา (สงั คม) มองเห็น “มูลค่า” ของการอนุรักษ์แล ้วหรือ ่ ณ ยัง? (มูลค่าทางเศรษฐกิจและธุรกิจ ไม่ใชค ุ ค่าทาง จิตใจ) • เราใสใ่ จกับผลลัพธ์ทางสงั คมระยะยาว ไม่ใชโ่ ครงการซ ี ั ้ มากพอแล ้วหรือยัง? เอสอาร์ระยะสน • กฎหมายต่างๆ เอือ ้ อานวยต่อการอนุรักษ์ และการใช ้ นวัตกรรมใหม่ๆ ในการอนุรักษ์แล ้วหรือยัง? • เราให ้ความสาคัญกับการเก็บข ้อมูลด ้านสถานการณ์ อนุรักษ์ และระบบนิเวศมากพอแล ้วหรือยัง? ั เจนและตรงจุดแล ้วหรือยัง ใน • รัฐบาลสร ้างแรงจูงใจทีช ่ ด การกระตุ ้นให ้ภาคธุรกิจ ชุมชน และประชาชนมีสว่ นร่วม?
26
ิ ใจ คุณก็จะเปลีย “ถ ้าคุณเปลีย ่ นวิธท ี ค ี่ ณ ุ ใชตั้ ดสน ่ นการ ิ ใจของคุณ” ตัดสน - จิม แม็คนีลผู ้เขียนหลัก Brundtland Report, 1987
“คุณไม่มวี ันเปลีย ่ นอะไรก็ตามด ้วยการต่อกรกับ ความจริงทีเ่ ป็ นอยู่ ถ ้าคุณอยากเปลีย ่ นอะไรก็ตาม จงไปสร ้างโมเดลใหม่ ทีท ่ าให ้โมเดลเดิมล ้าสมัย” - อาร์. บัคมินสเตอร์ ฟุลเลอร์ 27