Copyright Š 2014 by the Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand)
All rights reserved. Published in Thailand by Parbpim Printing Ltd., Bangkok, Thailand ISBN First Edition October 2014 800 Copies
“To see the world as others see it and to allow for the possibility that others may see something that we have failed to see, or may see it more accurately. ”
Senator J. William Fulbright, 1989
“เพื่อจะไดมองโลกอยางที่คนอื่นมอง และเพื่อเปดใจรับวาอาจเปนไปไดที่คนอื่นจะเห็นใน สิ่งที่เราไมเห็น หรือเห็นไดชัดเจนกวาเรา” วุฒิสมาชิก เจ วิลเลียม ฟุลไบรท 1989
Editors’ Note Pornthip Kanyaniyot: An Exemplary Cultural Ambassador These 25 essays, by Thai and American Fulbrighters, are dedicated to Khun Pornthip Kanyaniyot in deep appreciation for her inspiring service as Executive Director of the Thailand-U.S. Educational Foundation (TUEF/Fulbright) and life-long commitment to promoting cross-cultural understanding. After Khun Pornthip announced her decision to step down from her TUSEF leadership position, many of her admirers wondered what we could do to acknowledge her contributions to deepening Thai-U.S. understanding while expressing our profound gratitude for them. Knowing that Khun Pornthip is more interested in promoting the work of cross-cultural understanding than in the more conventional fancy plaque, gold watch or well-orchestrated farewell party, we decided that dedicating a book of essays directly related to her life’s work was the far more appropriate thing to do. Since Khun Pornthip was an undergraduate at Chulalongkorn University and a Thai Government Scholarship Recipient at Teachers College, Columbia University, she has been keenly interested in the challenges and
rewards
of
foreign
language
learning
and
cross-cultural
understanding. This interest led her to work in the ASEAN University Network
Secretariat,
the
International
Institute
for
Trade
and
Development, the Ministry of University Affairs and before coming to
TUSEF as Director, Bureau of International Cooperation Strategy, Commission of Higher Education within the Ministry of Education. This collection of essays reveals the triumphs and pitfalls of learning about other cultures. The essays poignantly convey the challenges of daily tasks undertaken in a foreign culture to the joys of horizons opened, relationships built and understandings forged. dramatically
raise
questions
about
identify
and
They
representation,
suggesting what is important varies markedly by culture.
In these
essays, eating a mango is a metaphor for ways of understanding, and regular library visits provide revelatory insights about another culture. These essays also provide practical and insightful advice for Thais and Americans on how best to navigate the potentially turbulent seas of cultural differences. cultural
Collectively, they suggest that genuine cross-
understanding
begins
by
making
a
sincere
effort
to
communicate on somebody else’s terms. That process builds empathy critical to understanding and opens remarkable doors to worlds previously unknown and relationships not possible otherwise. None of these essays would have happened without Khun Pornthip’s remarkable leadership at TUSEF these past eleven years.
Khun
Pornthip’s contributions to TUSEF/Fulbright will endure since so many of us Fulbrighters have been touched by her inspiring example of bridging cultural differences, as well as her tireless dedication to promoting greater cross-cultural understanding.
Khun Pornthip is a
wonderful example of how a single individual can make a significant difference in the lives of so many people by the simple act of genuine
caring and understanding. She has made us all feel the sense of community that evolves from being a part of the Fulbright program. As we continue in our own unique ways to promote better cross-cultural understanding, we each acknowledge our debt to Khun Pornthip and express our gratitude for her life-long work.
Kevin F. F. Quigley, Ph.D.
Bruce B. Svare, Ph.D.
Country Director
State University of New York
Peace Corps Thailand
at Albany
2007 Fulbright U.S. Specialist
2006 and 2014 Fulbright U.S.
Program
Scholar Program
จากใจบรรณาธิการ คุณพรทิพย กาญจนนิยต: แบบอยางทูตวัฒนธรรม เราขออุทิศหนังสือรวมเรือ ่ งเลา 25 เรื่องโดยชาวฟุลไบรทไทยและอเมริกน ั เลมนี้ ใหแกคุณพรทิพย กาญจนนิยต ดวยความชื่นชมที่มีตอ ความทุม เทเพือ ่ สงเสริม ความเขาใจขามวัฒนธรรมมาโดยตลอด ทั้งในฐานะที่เปนผูอํานวยการบริหาร มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุลไบรท) และเปนผูสรางแรงบันดาลใจใหกับเรา ทุกคน หลังจากทีค ่ ุณพรทิพยตัดสินใจวางมือจากตําแหนงผูบริหารของฟุลไบรท บรรดา แฟนคลับตางก็ชวยกันคิดวาจะทําอะไรเพื่อเปนทีร่ ะลึกและแสดงความขอบคุณที่ คุณพรทิพยไดทุมเทใหกบ ั การสงเสริมความเขาใจอันดีระหวางไทยกับสหรัฐ เรารู ดีวาคุณพรทิพยใหความสําคัญกับเนือ ้ หาของความเขาใจขามวัฒนธรรมมากกวา โลรางวัลหรูหรา นาฬิกาทองคํา หรืองานเลี้ยงอําลาอันวิจิตรพิสดาร เราจึง ตัดสินใจมอบหนังสือรวมเรือ ่ งราวที่เกี่ยวของกับงานซึง่ คุณพรทิพยไดทุมเทมา โดยตลอดแทน ตั้งแตยังศึกษาระดับปริญญาตรีทจ ี่ ุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
จนไดรบ ั ทุนรัฐบาล
ไทยไปศึกษาตอระดับปริญญาโทที่ Teacher’s College มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย คุณพรทิพยก็ไดใหความสนใจเรื่องการเรียนภาษาตางประเทศและความเขาใจ ขามวัฒนธรรมทั้งในดานบวกและดานลบมาโดยตลอด ความสนใจนี้ยังคงติดตัว คุณพรทิพยไปเมื่อทํางานที่สํานักงานเลขานุการเครือขายมหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN University Network Secretariat) สถาบันระหวางประเทศเพือ ่ การคา และพัฒนา ทบวงมหาวิทยาลัย และสํานักยุทธศาสตรในสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา กอนจะมาถึงทีฟ ่ ุลไบรท หนังสือรวมเรือ ่ งเลาเลมนี้ บันทึกความสําเร็จและความทาทายในการเรียนรู เกี่ยวกับวัฒนธรรมอื่น มีเรื่องราวหลากสีสน ั ทัง้ ทีส ่ ะทอนความทาทายใน ชีวิตประจําวันเมื่ออยูตางวัฒนธรรม และที่เปนความสุขใจเมื่อไดเปดโลกทัศน สรางมิตรภาพและความเขาใจระหวางกัน เรื่องเลาเหลานีท ้ ําใหเกิดคําถาม เกี่ยวกับอัตลักษณและการแสดงออกอันเปนผลจากคานิยมที่ตางกันไปตาม วัฒนธรรม อดีตผูรบ ั ทุนฟุลไบรทคนหนึง่ ใชการกินมะมวงมาเปรียบเทียบใหเห็น
ถึงวิธีการสรางความเขาใจตอกัน ขณะที่อก ี คนหนึง่ แนะวาแคการเขาหองสมุดก็ สามารถชวยใหเราเรียนรูเกี่ยวกับวัฒนธรรมของที่นน ั้ ๆ ไดแลว เรื่องราวเหลานีย ้ ังมีคาํ แนะนําที่รูลึกรูจริงสําหรับคนไทยและคนอเมริกัน วาเราจะ สามารถนําพาตัวเองฝาคลื่นลมอันไมแนนอนของความแตกตางทางวัฒนธรรมไป ไดอยางไร โดยรวมแลวหนังสือเลมนีบ ้ อกกับเราวา การทําความเขาใจวัฒนธรรม ที่แตกตางนั้น ที่แทตอ งเริม ่ จากความพยายามอยางจริงใจที่จะสือ ่ สารดวยภาษา ของผูอ ื่น ซึ่งจะทําใหเราสามารถเขาถึงใจคนเหลานั้น อันเปนสิง่ สําคัญยิ่งในการ สรางความเขาใจและเปดประตูสูโลกใหมและมิตรภาพที่เราไมเคยสัมผัสมากอน ถาฟุลไบรทไมมีผูนําที่โดดเดนอยางคุณพรทิพยในชวง 11 ปที่ผา นมา เรือ ่ งราว เหลานี้ก็คงจะไมเกิดขึ้น ทั้งนี้ ผลจากความทุมเทของคุณพรทิพยที่มีตอ ฟุลไบรท จะยังคงอยูตอ ไป เพราะเราชาวฟุลไบรทจํานวนมากตางก็ไดรับแรงบันดาลใจ จากคุณพรทิพยในการอุทิศตนอยางไมรูจักเหน็ดเหนือ ่ ย เพื่อสงเสริมความเขาใจ ตางทางวัฒนธรรม คุณพรทิพยเปนแบบอยางที่วิเศษสุดทีแ ่ สดงใหเห็นวาคนคน หนึ่งสามารถสรางความแตกตางที่ยงิ่ ใหญตอ ชีวิตของคนอีกหลายคนได เพียงแค มีความอาทรอยางจริงใจและความเขาอกเขาใจผูอน ื่ คุณพรทิพยทาํ ใหพวกเรา รูสึกถึงความเปนครอบครัวนับแตกาวเขามาเปนสวนหนึ่งของฟุลไบรท ในขณะที่ เราชวยกันสานตอความพยายามของคุณพรทิพยที่จะสงเสริมความเขาใจขาม วัฒนธรรมในแบบฉบับเฉพาะของแตละคนนัน ้ เราทุกคนลวนตระหนักถึงสิ่งทีค ่ ุณ พรทิพยไดฝากใหไวกับเราดวยความขอบคุณ
เควิน เอฟ เอฟ ควิกลีย
บรูซ บี สแวเรอร
Country Director
State University of New York
Peace Corps Thailand
at Albany
2007 Fulbright U.S. Specialist
2006 and 2014 Fulbright U.S.
Program
Scholar Program
Table of Content สารบัญ Page/หนา Cross-Cultural Key Words and Strategies
11
กาวผานความตางทางวัฒนธรรม By Porntip Kanjananiyot เรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ
Being More Thai or American
23
ผมไมแนใจวาผมเปนไทยหรืออเมริกันมากกวากัน By Apivat Hanvongse แปลและเรียบเรียงโดย ภูริพันธุ รุจิขจร
Being an Asian in Thailand
29
คนเอเชียในไทย และคนเอเชีย-อเมริกันในอเมริกา By Hong Chhuor แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ
Thai-American: How Much They Culturally Understand
35
Each Other ไทย-อเมริกน ั : เขาใจกันแคไหน เพียงใด โดย ผ.ศ. พิมพาภรณ สุวัตถิกุล Translated by Talisa Likanonsakul
Phra Pathom Chedi, Me, and Oedipus
44
เปดโลกอารยธรรมตะวันตกดวยตํานานพระปฐมเจดีย By Assoc. Prof. Chalermsri Chantasingh, Ph.D. แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ
Social Norms and Family Culture: A Cross-Cultural Analysis มองสังคมและครอบครัวจากมุมตางวัฒนธรรม
51
By Jessica M. Sadler แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ
Fulbright-Hays Seminar Abroad Program: Reflections
56
on Thailand and Vietnam Summer 2007 ภาพสะทอนจากประเทศไทยกับประเทศเวียดนามจากโครงการ ฟุลไบรท-เฮส 2550 By Jeanette Barbari แปลและเรียบเรียงโดย จักรี เตจะวารี
Fun-to-Learn Fair
63
นิทรรศการการเรียนรูสไตลฟุลไบรท By Piya Kerdlap แปลและเรียบเรียงโดย ธาริต นิมมานวุฒิพงษ
Caring Hearts for Our Soldiers
67
ถุงน้ําใจใหทหาร By Korin Tangtrakul แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ
“From Apprehension to Appreciation”
72
แบงปนประสบการณเรือ ่ ง “จากความกังวล” By Ronda Kjelgren แปลและเรียบเรียงโดย ปาริชาติ มั่นสกุล
Food for Brain and Big Tummy!
81
อาหารสมอง...และทอง By Assist. Prof. Sumalee Wongwitit แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ
How to Eat a Mango มะมวงและบทเรียนชีวิตอื่น ๆ ที่ฉันไดรบ ั จากประสบการณการ เปนฟุลไบรท ETA ในประเทศไทย By Elizabeth Pratt แปลและเรียบเรียงโดย บัญชา รัตนมธุวงศ
85
From ‘The Red Pony’ to ‘The Grapes of Wrath’: The
92
National Steinbeck Center…more than a museum จาก ‘The Red Pony’ สู ‘The Grapes of Wrath’: The National Steinbeck Center … ยิ่งกวาพิพธ ิ ภัณฑ By Sasima Charubusp แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ
Best of Both World
99
สองสุดยอดสถาบัน By Assist Prof. Proadpran Punyabukkana, Ph.D. แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ
Learning the ‘Wai’ Way of Thailand
111
เรียนรูจากการไหว By Xie Alicia Rayes, Ph.D. แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ
Oh! My Beloved Thais!
116
ขําขามวัฒนธรรม
โดย พรทิพย กาญจนนิยต Translated by Chotima Chaitiamwong
My Cultural Ambassador Role as Seen through the
123
U.S. Presidential Election ทูตวัฒนธรรมจําเปนระหวางการเลือกตัง้ สหรัฐ By Chike Aguh แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ
A Fulbright Couple Experiences Thai Hospitals สามีภรรยาฟุลไบรทในโรงพยาบาลไทย By Cleste M. Brody, Ph.D. แปลและเรียบเรียงโดย สกล ซื่อธนาพรกุล92
129
English Camp: Not All About English Learning
143
คายภาษาอังกฤษ: ไมใชแคเรียนภาษาอังกฤษ โดย วนิดา ไชยสาร Translated by Talisa Likanonsakul
Thais’ Generosity Does Not Always Please Farangs
155
โอบออมอารีแบบไทย ๆ ใชวาจะถูกใจฝรั่งไปทุกอยาง
โดย ธิติวรรณ เลิศปยะ Translated by Talisa Likanonsakul
How to Enjoy Your Fulbright Experience and Thai
162
Culture เราควรจะเก็บเกี่ยวประสบการณและวัฒนธรรมไทยจาก Fulbright อยางไร By Mark G. Robson, Ph.D. แปลและเรียบเรียงโดย วีรินทร ชัยอริยะกุล
Q & A with an English Teaching Assistant
174
เปดใจครู ETA By Katie Oreskovich แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ
Being Productive and Enjoying Your Fulbright
191
Experience in Thailand ใชชีวิตใหเต็มที่และสนุกกับประสบการณฟุลไบรทในประเทศ ไทย By Raymond Greenlaw, Ph.D. แปลและเรียบเรียงโดย ดิญะพร วิสะมิตนันท
Cultural Shock in One’s Own Home Cultural Shock เมื่อกลับบาน By Morgan Springle แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ
218
Fulbright Changes Me…For a Better ‘Me!’
224
ฟุลไบรทเปลี่ยนฉันใหดีขึ้น By Gracie Raver แปลและเรียบเรียงโดย นภัทรพร ทองใบ
Acknowledgement
231
Cross-Culture: Key Words and Strategies From talks, presentations, and papers by Porntip Kanjananiyot, Executive Director, Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand) Compiled by Chotima Chaitiamwong, Outreach Officer, Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand)
Throughout Fulbright Thailand’s history, we have been promoting crosscultural understanding, not only between Thais and Americans, but also among individuals because of the fact that we are all different. Interestingly, after decades of cross-cultural campaigns, we found that there are only a few key words to promote mutual understanding. The world is smaller but more complicated! Before moving to the key words, we need to understand this simple truth. On the surface, the world is linked together with advanced technology, international business networks, mobility of people, global media, and etc. Underneath, within and across nations, there are increasing societal gaps in terms of generations, genders, beliefs, professionals, and many more. In a family, we may have up to four generations living together, namely, Traditionalists-- 65 up (before 1945), Baby Boomers-- 46-64 (1945-1964), X’ers 30-45 (1965-1978), and Y’ers/Millennials-- 29 and younger(1979-2000)1. In a class, there could be representatives from
Lesbian, Gay, Bisexual, Transgender,
1
Samuelson, Robert J, “The Millennial Generation is Getting Clobbered” at
http://www.newsweek.com/millennial-generation-getting-clobbered-69309 [filed March 4, 2010. Updated March 13, 2010]
and Queer (LGBTQ) groups. In an organization, staffs may practice various faiths and favor different political doctrines. Cross-cultural issues are, therefore, complicated…and often times sensitive. Cultural differences then seem to be widened and deepened by times and the issue of cross-cultural understanding has become a top agenda of
governments,
businesses,
and
education
institutions.
This
emphasizes Fulbright vision and mission in fostering friendship across cultures. We do believe everything starts with mindset. It is important and much easier to work first from our end. In order to ‘reset’ our mind for more tolerance, understanding, and, if possible, appreciation of different cultures, we suggest four useful key words as a thinking baseline. Key Words # 1: Pride and Prejudice! It is human nature that we have pride in ourselves/group and prejudice against others. It is a challenge to lessen or even eliminate our inherited bias. Being aware of the fact, however, could make us less prejudicial and more open – the very first and crucial step towards cross-cultural understanding. Key Words # 2:
Mirror Mirror!
Knowing ourselves is the best way to understand others because we can see with critical eyes the reasons for differences. The self-reflection necessarily includes views from other perspectives. How are ‘seniority’, ‘face-saving’, and ‘krengjai’ seen and practiced by Thais and by Americans? Likewise, how are ‘democracy’, ‘human rights’, and
assertiveness’ seen and practiced in Thai and American contexts? What are factors behind-the-scenes? How could we best adjust as Thais…and as Americans? The knowing-me-knowing-you approach helps us become more practical and more creative when dealing crossculturally. Key Words # 3
Salad Bowl
In cross-cultural situations, we, of course, have to adjust ourselves. Adjust – not change. We are living in a multicultural world or a salad bowl. We should not and must not change ourselves into someone else. In a salad bowl, tomato, tofu, onion, lettuce, and etc. coexist as their own selves, making the salad rich with a variety of ingredients, offering different flavors yet a blended and delicious taste. Life is a salad bowl. We have to learn how to live together harmoniously and benefit from diversity to be happy. Key Words # 4
Sabai Box (Comfort Zone)
Naturally, we feel uncomfortable and less confident when being in unfamiliar places or situations because our sabai box is too small or too big. What happens next is we do not know whether we behave properly or not. Fortunately, the sabai box is something adjustable. In different social situations, we may have to shrink it and forget some old habits at home. Better still, our sabai box may be adjusted into some new size and form, enabling us to have increased flexibility wherever we are. Common Standards and Lintegration Skills Across cultures, we believe there are some common standards – the practices and thinking that could be adopted internationally, what we
wish to call “international culture”. The international culture could include issues on punctuality, “cell phone etiquette”, sexual harassment, responsibility vs entitlement, and even such small matters as email writing and Facebook. Adjusting ourselves toward international culture is, in fact, to adjust our sabai boxes. The task is challenging and not easy. We need adequate information on cultural differences, and we to be observant, and think critically in order to strike a balance. We are then able to link different ideas, to develop creativity, and to integrate it into our practices, be they professional or personal. These are supporting skills beyond cross-cultural management. Indeed, they are useful skills for work and life that Fulbright Thailand has encouraged during the recent years. We call them lintegration skills. The 10 Strategies2 No idea how to get started? We have 10 strategies that have proved to be useful for both Thais and Americans (and should be so for other nationalities). 1. Acquire as much information as possible on cultural context(s) of the country you’re going to. 2. Observe both verbal and nonverbal languages 3. Ask when you are not certain while trying to avoid imposition on others 4. Explore “Me” in different cultural contexts 5. Give yourself time to adjust 6. Accept and be open to the fact that people can think differently 7. Have a sense of humor
2
ดัดแปลงจาก Kate Berardo, Ten Strategies for Success Abroad. Curiosity.com
8. Be patient when there is uncertainty and unpredictable events 9. Be positive and consider every situation is a life lesson. 10. Constantly develop your cross-cultural skills Cross-cultural skills are difficult to train because cultures gradually change and the skills depend largely upon an individual’s mindset. A thousand training programs won’t help us to get better if we cannot tackle the very basic human nature of pride and prejudice. Fulbright Thailand,
therefore,
encourages
open-mindedness,
self-
awareness/assessment, critical thinking, curiosity for knowledge, and the thirst for challenges. Check these out! For more than a decade, we have gathered some thoughts on various aspects of cross cultures and found that, unbelievably, cross-cultural issues are subsets of almost everything! The following links are samples of our findings. 1. Networking: Starting with Learning about Context and Culture
http://www.fulbrightthai.org/ArticlesDetail.asp?id=776&type=arti cles 2. Cool Curriculum for Classy, Connected and Cultured Citizens: Rethinking Curriculum for Global Citizens
http://www.fulbrightthai.org/ArticlesDetail.asp?id=571&type=arti cles 3. Gen Gappers in Communication: Getting Wider and Wilder
http://www.fulbrightthai.org/ArticlesDetail.asp?id=572&type=arti cles 4. Managing M Exchange
http://www.fulbrightthai.org/ArticlesDetail.asp?id=775&type=arti cles 5. Education Exchange Excellence with “Lintegration”
http://www.fulbrightthai.org/ArticlesDetail.asp?id=773&type=arti cles The key words, the strategies, and the stories suggested here are about the “Knowledge Management” we have learned from our years of intercultural exposure. We will certainly keep learning and exploring the issues. Practice can be done through direct and indirect experiences (reading, watching, listening, etc.). The latter might yield less involvement but are easier to access and offer vast variety of samples. Directly or indirectly, however, remember that practice makes perfect!
กาวผานความตางทางวัฒนธรรมอยางสบายใจ
รวบรวมและสรุปการบรรยายและงานเขียนของ พรทิพย กาญจนนิยต ผูอํานวยการบริหาร มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุลไบรท) เรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุล ไบรท)
นับตัง้ แตกอตัง้ โครงการฟุลไบรทในประเทศไทยเปนตนมา เราพยายามรณรงค สงเสริมความเขาใจระหวางวัฒนธรรมไมแตเฉพาะไทยกับอเมริกันเทานั้น แตยัง ลงไปถึงระดับปจเจกบุคคล เพราะเราเชือ ่ วา ทุกคนลวนแตกตาง และมีแงมม ุ แง คิด ที่นาสนใจ ผานไปหลายทศวรรษ เราพบความจริงที่นาสนใจวา แทที่จริงแลว การทําความเขาใจขามวัฒนธรรม มีคําหลัก ๆ ที่สําคัญเพียงไมกี่คําเทานัน ้ เอง โลกเล็กลงแตซบ ั ซอนขึน ้ กอนจะไปถึงคําสําคัญ เราจะตองเขาใจความจริงบางอยางเสียกอน ดูเหมือนวา ปจจุบันนี้ โลกของเราถูกเชื่อมกันดวยความกาวหนาเทคโนโลยี เครือขายธุรกิจ ระหวางประเทศ การเคลื่อนยายของผูคน สือ ่ ทีค ่ รอบคลุมทัว ่ โลก และปจจัยอื่น ๆ อีกมากมาย แตถามองลึกลงไปในแตละประเทศและในโลกแลว ชองวางทางสังคม ที่เกิดจากความแตกตางระหวางชวงอายุ เพศ ความเชือ ่ อาชีพ และอืน ่ ๆ กลับ กวางยิง่ ขึ้น ในครอบครัวหนึง่ อาจมีสมาชิกจาก 4 ชวงอายุอาศัยอยูดว ยกัน คือ กลุมที่เรียกกวา Traditionalist ซึ่งอายุ 65 ปขน ึ้ ไป (เกิดกอนป 2488) กลุม Baby Boomers ซึ่งอายุ 46-64 ป (เกิดชวง 2488 – 2507) กลุม X’ers ซึ่งอายุ 30-45 ป (เกิดชวง 2508 – 2521) และกลุม Y’ers/Millennials ซึ่งอายุตา่ํ กวา 29 ปลงมา (เกิดชวง 2522 –2543)3 สวนในหองเรียนก็อาจจะมีนักเรียนทีอ ่ ยูในทุกกลุมของ LGBTQ (Lesbian/เลสเบี้ยน Gay/เกย Bisexual/รักสองเพศ Transgender/ แปลงเพศ และ Queer/เพศอืน ่ ๆ) ในองคกรหนึ่ง ๆ ก็อาจจะมีพนักงานทีน ่ ับถือ
3
Samuelson, Robert J, “The Millennial Generation is Getting Clobbered” at
http://www.newsweek.com/millennial-generation-getting-clobbered-69309 [filed March 4, 2010. Updated March 13, 2010]
ศาสนา มีความเชื่อ และมีอด ุ มการณทางการเมืองที่ตางกัน ดังนั้นประเด็นขาม วัฒนธรรมจึงมีความซับซอน...และมักจะออนไหว (เกินคาด) เมื่อเวลาผานไป ความแตกตางทางวัฒนธรรมดูจะมากขึน ้ และลึกซึ้งขึ้น จน ประเด็นเรือ ่ งความเขาใจตางวัฒนธรรมไดกลายเปนวาระหลักของรัฐบาล หนวยงานธุรกิจ และสถาบันการศึกษา ซึง่ เทากับเปนการตอกย้ําถึงปณิธานและ ภารกิจของฟุลไบรทที่จะชวยกระชับความสัมพันธขามวัฒนธรรม พวกเราเชือ ่ วา ทุกอยางเริ่มตนที่ทศ ั นคติ ที่จริงเปนเรือ ่ งสําคัญและงายมากที่จะเริ่มตนที่ตัวเรา โดยเริ่ม “รีเซ็ท--ตั้ง โปรแกรมใหม” ใหกับความคิดเพื่อใหมค ี วามอดทนมากขึ้น มีความเขาอกเขาใจ มากขึ้น และจะยิ่งดีขึ้น หากเราใหคุณคากับวัฒนธรรมที่แตกตาง ฟุลไบรทจงึ รูสึก ภูมิใจที่จะนําเสนอคําสําคัญที่จะเปนแนวทางในการปรับความคิดสูค วามเขาใจ ขามวัฒนธรรม คําสําคัญ 1: ทิฐแ ิ ละอคติ เปนธรรมชาติของมนุษยที่จะรูส ึกเขาขางตัวเอง/กลุมของตัวเอง และมีอคติกับคน อื่น จึงเปนความทาทายที่จะลด ละ หรือเลิกความลําเอียงทีต ่ ิดตัวมานี้ แตแครูจัก ธรรมชาติของทิฐิและอคตินี้ เราก็สามารถลดการดวนตัดสินคนอื่นและเปดใจให กวางขึ้น อันเปนขั้นแรกและขัน ้ สําคัญที่จะนําไปสูค วามเขาใจขามวัฒนธรรม คําสําคัญ 2: รูเ ราแลวคอยรูเ ขา การรูจักตัวเองเปนทางดีที่สุดทีจ ่ ะเขาใจคนอืน ่ เพราะเราจะสามารถวิเคราะหได วาความแตกตางนั้นมีสาเหตุมาจากอะไร แตการมองตัวเองจําเปนตองมองจากมุม ของคนอื่นดวย คนอเมริกันมองหลายเรือ ่ งทีค ่ นไทยประพฤติปฏิบัติ เปนสวนหนึ่ง ของชีวิต (โดยรูตัวหรือไมรูตว ั ก็ตาม) อยางไร เชน “ระบบอาวุโส” “การรักษา หนา” และ “ความเกรงใจ” ในทํานองเดียวกัน เรือ ่ ง “ประชาธิปไตย” “สิทธิ มนุษยชน” และ “ความกลาในการแสดงความคิดเห็น” ทีค ่ นอเมริกันให ความสําคัญอยางมากนัน ้ คนไทยเองเห็นวาเหมือนหรือตางกันอยางไร ในบริบทไทยและอเมริกน ั ยังคงมีปจจัยหลายอยางที่เรามองไมเห็นหรือไมทันคิด ไมทันมอง เราจะปรับตัวใหดท ี ี่สุดไดอยางไรในฐานะที่เปนคนไทย...และคน อเมริกัน การรูเขารูเรานั้นจะชวยใหเราปฏิบัตต ิ ัวไดเหมาะสมกับความเปนจริงมาก ขึ้น เพื่อใหสามารถรับมือกับความตางทางวัฒนธรรมไดอยางมีประสิทธิภาพ ใน
ขณะเดียวกัน การรูเขารูเราเพิ่มความคิดสรางสรรค การคิดทีร่ อบดานขึ้น และใน หลายครั้ง มีความสนุกปนอยูอยางมาก คําสําคัญ 3: โลกคือชามสลัด ในสถานการณตางวัฒนธรรม แนนอนวาเราตองปรับตัว แตตองระลึกวา แคการ ปรับตัว ไมใชเปลี่ยนตัวตนของเราไปเลย การมีชีวิตอยูในโลกพหุวัฒนธรรม เหมือนอยูในชามสลัด เราไมควรและตองไมเปลี่ยนตัวตนของเราโดยสิ้นเชิง ใน ชามสลัดนั้น อาจจะมีผักนานาชนิด ทั้งมะเขือเทศ เตาหู หอมใหญ ผักกาด และ ผักอื่น ๆ อยูรว มกันอยางที่เราเห็นแลวก็รูไดทน ั ทีวา แตละอยางคือผักผลไมชนิด ใด เมื่อรวมทุกอยางเขาดวยกันก็จะทําใหสลัดชามนั้นอุดมไปดวยสวนผสมที่ หลากหลาย ใหรสชาติที่แตกตางแตเขากันไดอยางดี ชีวต ิ ก็เปรียบเหมือนสลัด ชามใหญที่เราตองเรียนรูท ี่จะอยูรว มกันอยางสันติและใชประโยชนจากความ แตกตางเพื่อใหมีความสุข คําสําคัญ 4: สบายบ็อกซ (พืน ้ ทีป ่ ลอดภัย) เปนเรือ ่ งธรรมชาติที่เราจะรูสก ึ ไมสบายใจและไมมน ั่ ใจเมือ ่ ตองอยูในสถานที่ ใหมๆ หรือสถานการณซึ่งไมคุนเคย เนื่องจากสบายบอกซของเราใหญหรือเล็ก เกินไปจนไมรว ู า เราควรจะทําตัวอยางไรดี โชคดีที่เราสามารถปรับขนาดสบายบ็ อกซได ในสถานการณที่ตา งกัน เราอาจจะตองหดมันลงและลืมนิสัยเกา ๆ ที่ติด ตัวมาจากบาน หรือบางครั้ง เราจําเปนตองปรับขนาดสบายบ็อกซใหใหญขึ้น เพื่อใหเรามีความยืดหยุน สอดรับกับสภาพแวดลอมอยางเหมาะสม มาตรฐานสากลและทักษะการ Lintegration ไมวาจะอยูในวัฒนธรรมใดก็จะมีแนวความคิดและวิถีปฏิบต ั ซ ิ ึ่งสามารถนํามาปรับ ใชเปนสากล เราเชือ ่ วาทุกคนจําเปนตองฝกแนวปฏิบัตท ิ ี่เปนมาตรฐานสากล ซึ่ง เราขอเรียกวา “วัฒนธรรมสากล” วัฒนธรรมสากลนีอ ้ าจรวมถึงเรื่องตาง ๆ เชน การตรงตอเวลา มารยาทการใชโทรศัพทมอ ื ถือ การคุกคามทางเพศ การมีความ รับผิดชอบ และสิทธิพึงมีพึงได แมกระทั่งเรือ ่ งเล็ก ๆ เชนการเขียนอีเมลและเฟ ซบุก ที่จริงการปรับตัวเองใหเขากับวัฒนธรรมสากลก็คือการปรับสบายบอกซของเรา นั่นเอง งานนี้ทาทายและไมใชเรือ ่ งงายเลย เราจําเปนตองมีขอ มูลเพียงพอ เกี่ยวกับความแตกตางทางวัฒนธรรม การสังเกต การคิดวิเคราะห เพือ ่ ที่จะหาจุด สมดุล เราตองสามารถเชื่อมโยงความคิดตาง ๆ พัฒนาความคิดสรางสรรค และ
นํามาประยุกตใชทั้งเพือ ่ หนาทีก ่ ารงานและสวนตัว ทักษะเหลานี้เปนทักษะที่ จําเปนนอกเหนือจากการจัดการขามวัฒนธรรม เปนทักษะที่มป ี ระโยชนสาํ หรับ การทํางานและการใชชว ี ิตซึ่งเปนทักษะที่ฟุลไบรทพยายามสงเสริมในชวงหลาย ปที่ผา นมา เราเรียกทักษะเหลานี้รวม ๆ วา ทักษะการ Lintegration ซึ่งหมายถึง การพยายามเชือ ่ มโยงความคิด ความรูและประสบการณแลวนําไปบูรณาการปรับ ใชกับชีวิตของเราตอ ๆ ไปโดยใหมีชองวางนอยที่สุดเทาทีจ ่ ะเปนไปได 10 กลยุทธแนะนํา4 หากยังไมรจ ู ะเริ่มตรงไหน เราขอเสนอกลยุทธ 10 ประการที่ไดพิสูจนแลววา มี ประโยชนทั้งกับคนไทยและคนอเมริกน ั (รวมทั้งคนชาติอื่น ๆ ดวย) 1. หาขอมูลเกี่ยวกับบริบททางวัฒนธรรมของประเทศทีจ ่ ะไปใหมากที่สุด เทาทีจ ่ ะทําได 2. คอยสังเกตทั้งวัจนภาษาและอวัจนภาษา (ภาษาพูด ภาษากายหรือทาทาง) ของคนในประเทศนัน ้
และการสื่อดวย
3. ถามเมื่อไมแนใจ แตอยายัดเยียดความคิดของตัวเอง 4. สํารวจตัวเองวา ตนมีพฤติกรรมอยางไร เมือ ่ อยูในบริบททางวัฒนธรรม อื่น 5. ใหเวลาตัวเองในการปรับตัว 6. ยอมรับและเปดใจวาคนเราคิดตางได 7. มีอารมณขัน หัวเราะกับเรือ ่ งทีเ่ ราทําไปโดยไมรูเทาทันได 8. ปรับตัวใหรบ ั ตอความไมแนนอน/สิง่ ที่ไมคาดฝน 9. มองโลกในแงดี ทุกอยางที่เกิดขึ้นลวนเปนบทเรียนชีวต ิ
10. พัฒนาทักษะการจัดการขามวัฒนธรรมอยางตอเนือ ่ งอยางมี Lintegration การอบรมทักษะที่เกี่ยวกับความตางทางวัฒนธรรมนัน ้ ตองใชเวลาและการสังเกต เพราะวัฒนธรรมมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา อีกทั้งทักษะเหลานีจ ้ ะขึน ้ อยูกับ ทัศนคติของบุคคลเปนสวนใหญ การอบรมไปเปนพันครัง้ ก็อาจจะไมไดผลเต็มที่ หากเราไมสามารถแกใหตรงจุดที่พน ื้ ฐานของมนุษยเรือ ่ งทิฐิและอคติ ดังนั้น ฟุล
4
Improved from Kate Berardo, Ten Strategies for Success Abroad.
Curiosity.com
ไบรทจงึ ไดพยายามสงเสริมการเปดใจกวาง การรูจักและประเมินตนเอง ความคิด วิเคราะห ความกระตือรือรนในการเรียนรู และความกระหายตอความทาทาย มุมมองจากฟุลไบรท เปนเวลากวาทศวรรษที่เราไดรวบรวมความคิดและแงมุมเกี่ยวกับความแตกตาง ทางวัฒนธรรม ซึ่งเราพบวาทีแ ่ ทแลวประเด็นนี้แฝงอยูใ นเกือบทุกเรือ ่ งอยางไมนา เชื่อ และนีค ่ อ ื ผลงานบางสวนที่เราไดรวบรวมไว 1. Networking: Starting with Learning about Context and Culture
http://www.fulbrightthai.org/ArticlesDetail.asp?id=776&type=arti cles 2. Cool Curriculum for Classy, Connected and Cultured Citizens: Rethinking Curriculum for Global Citizens
http://www.fulbrightthai.org/ArticlesDetail.asp?id=571&type=arti cles 3.
Gen Gappers in Communication: Getting Wider and Wilder
http://www.fulbrightthai.org/ArticlesDetail.asp?id=572&type=arti cles 4. Managing M Exchange
http://www.fulbrightthai.org/ArticlesDetail.asp?id=775&type=arti cles 5. Education Exchange Excellence with “Lintegration” http://www.fulbrightthai.org/ArticlesDetail.asp?id=773&type=arti cles คําสําคัญ กลยุทธ และเรือ ่ งเลาทัง้ หมดนี้เปนการรวบรวมองคความรูเกี่ยวกับการ จัดการขามวัฒนธรรมที่เราไดสะสมมาเปนเวลาหลายป เรายังตองเรียนรูและ ศึกษาเรือ ่ งนีต ้ อไป ยังตองฝกฝนผานประสบการณทงั้ ทางตรงและทางออม (จาก การอาน การหาประสบการณตรง ฯลฯ) ซึ่งอยางหลังแมวาอาจจะใหความรูสึก รวมนอยกวา แตก็หาไดงา ยกวาและมีตว ั อยางที่หลากหลายกวา
ทั้งนี้ทงั้ นั้น ไมวาจะทางตรงหรือทางออม อยาลืมวา ผูที่หมัน ่ ฝกฝนยอมเกิดความ เชี่ยวชาญ!
Being More Thai or American?5 Apivat Hanvongse 2005 Open Competition Scholarship Program @ Industrial Psychology, University of Tulsa, Oklahoma
The original mission of the Fulbright Program has been to ‘promote mutual understanding between the people of the United States of America and Thailand through a wider exchange of knowledge and professional talents through educational contacts’. Having received the opportunity to further my education in the U.S., I felt it my duty to reap the benefits of the experience to the fullest possible extent. I was determined to further my educational horizons, but also immerse myself in American culture, specifically, in the South and Midwestern region. Psychologists define culture as a multidimensional construct. This means there are many perspectives in which to look at culture. It defies simplistic characterizations and warrants detailed explanations of its many faces. My personal background, in addition to the specific context of my graduate education here in Tulsa, Oklahoma, affords me a unique look into American culture. I am a native Thai who had spent a number of his younger years (age 4-9) living in the United States. By the time I was 10 years old, my family and I had migrated back to Thailand were I would spend the next 14 years of my life.
5
Originally published in Fulbright Newsletter Issue 17, December 2006
Although my English is fluent, I found myself undergoing major adjustments upon arriving in Tulsa. Of the two cultures, I had always been identified more so with western culture, a product of my upbringing, even while I was living in Thailand. Ironically, it is only when I came here to Tulsa, being the only Thai student at the University of Tulsa, did I realize how “Thai” I really am. Two weeks after I had arrived in Tulsa, I received an e-mail inviting to an informal orientation at a professor’s house. It was designed to allow the new master’s students, myself included, to get to know the 2nd year master’s and doctoral students as well as faculty members in the department. Already, I was experiencing something new for in all my years as an undergraduate at Thammasat University, I had never been invited to a professor’s house for an informal get together. At the time, I thought that perhaps it was a normal practice for graduate students. Nevertheless, I continued to be amazed at the manner in which professor and students interacted. In a previous cross-cultural class, I had learned that western and eastern cultures, especially Thailand and the United States, differed on a cultural dimension known as ‘power distance’. In our psychology department, I certainly experienced a very different degree of power distance interacting with my professor. First of all, I had to adjust to calling my professor by their first names. I had referred to them as “Dr. so and so” or “Professor so and so” before being told to just refer to them by their first names. This was strange indeed. Suddenly I was supposed to refer to my professors in the same manner I call my college buddies.
I quickly learned, through classes and research meetings, that professors in the United States, do not really see themselves as elders to be ‘looked up to and respected’ by their students. Although they do want respect, they viewed their students more as colleagues with meaningful views and ideas to contribute. They did not see students as an entity waiting to receive knowledge but as someone who could readily contribute. I’ve learned that it is not uncommon for faculty and student to go to lunch or even a local bar to have a beer. This level of informality provided the opportunity for me to see my professors as regular people, something that would be challenging to do back home in Thailand At times however, the informality caused some minor discomfort. I remember a particular incident with one of my professors. I was sitting in his office talking about possible research ideas, when he suddenly took out his sandwich and proceeded to eat while I was still explaining my research proposal. Furthermore, he placed both of his feet on his own work table. Under normal circumstances, I would not be bothered by this, however, in this particular instant, his foot was pointed in my direction. I was a little annoyed and slightly offended, which left me to realize how ‘Thai’ I was. If thereis something that both Thai and U.S. cultures have in common, it is the fact that, whether among faculty or students, gossip is a normal occurrence. At times, when I hear my peers talk about some professors, I am surprised at the seemingly lack of respect for seniority. Again I am surprised at how the Thai side of me generally feels that despite
whatever minor flaws they may have, professors, as elders, deserve respect. Aside from the issue of power distance, I had always been aware that the U.S. was a more individualistic culture. Although this knowledge can be gleaned from any cross-cultural studies textbook, it was interesting to witness this phenomena first hand. Cultural introductions to the United States will tell you that the idea of the ‘rugged individual’ is an integral part of the culture here. This has resulted in many of my peers having the mindset of ‘what is in this for me?’ and how am I being compensated for my time?’ At times this position is taken to extreme and group work becomes challenging because everyone has an individualistic approach. At these times, I miss my Thai peers and hope, at the best of times, that we are more easily able to set aside our individual goals for the sake of the group. One thing I’ve learned is that culture is relativistic. In Thailand I felt more western relative to my Thai peers, while in Tulsa, I see myself as being more eastern. I now find myself occupying a precarious position between two cultures. Regardless, the context makes a huge different on how we see ourselves.
ผมไมแนใจวาผมเปนไทยหรืออเมริกันมากกวากัน6 อภิวัฒน หาญวงศ
2005 Open Competition Scholarship Program, University of Tulsa, Oklahoma แปลและเรียบเรียงโดย ภูริพันธุ รุจข ิ จร 2010 International Fulbright Science and Technology Award Program State University of New York, Stony Brook
เป า หมายดั้ ง เดิ ม ของโครงการฟุ ล ไบรท คื อ “การสนั บ สนุ น ความเข า ใจร ว มกั น ระหว า งประชาชนชาวเมริ กั น และชาวไทยโดยการแลกเปลี่ ย นความรู แ ละ ความสามารถผานทางการศึกษา” ผมไดรับโอกาสไปศึกษาตอที่สหรัฐอเมริกา จึง รูสึกถึงหนา ที่ในการเก็บเกี่ย วประสบการณในครั้ง นี้ใหไดประโยชนคุมคา มาก ที่สุด ผมมุงมั่นที่จะขยายวิสัยทัศนทั้งทางดานการศึกษา และใหโอกาสตนเองได เปดรับวัฒนธรรมอเมริกันไปในเวลาเดียวกัน โดยเฉพาะวัฒนธรรมทางตอนใต และทางฝงภูมิภาคตะวันตกตอนกลางของประเทศ นั ก จิ ต วิ ท ยาได นิ ย ามวั ฒ นธรรมว า มี ห ลายมิ ติ กล า วคื อ เราสามารถพิ จ ารณา วัฒนธรรมไดหลายมุมมอง วัฒนธรรมจึงไมเอื้อตอคําอธิบายที่เรียบงายเกินไป แต เหมาะกับคําอธิบายอยางละเอียดในหลายดานมากกวา นอกจากการไปศึกษาตอที่มหาวิทยาลัย Tulsa รัฐโอกลาโฮมา สิ่งที่หลอหลอมให ผมมีมุมมองตอวัฒนธรรมอเมริกันในมิติที่ไมเหมือนใคร คือ ผมเปนคนไทยที่เคย ใช ชี วิ ต อยู ใ นสหรั ฐ อเมริ ก าสมั ย วั ย เยาว (อายุ 4-9 ขวบ) เมื่ อ อายุ 10 ขวบ ครอบครัวของผมก็ยายกลับมาตั้งรกรากที่เมืองไทย ประเทศที่ผมใชชีวิตตอมา เปนเวลา 14 ป แมวาผมจะสามารถใชภาษาอังกฤษไดอยางคลองแคลว ก็ยังรูสึกวาผมเองตอง ปรับตัวอยางมากเมื่อมาถึง Tulsa เมื่อลองเทียบระหวางสองวัฒนธรรมที่ผมเติบโต มา ผมมั ก รู สึ ก ว า ตั ว เองเต็ ม ปริ่ ม ไปด ว ยความเป น วั ฒ นธรรมตะวั น ตกมากกว า
6
พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 17, ธันวาคม 2549
ถึงแมในขณะที่ผมอยูเมืองไทยก็ตาม ซึ่งก็มาจากการเลี้ยงดูของครอบครัว แตที่ น า ขั น คื อ เมื่ อ ผมได เ ข า ไปเป น นั ก เรี ย นไทยคนเดี ย วในมหาวิ ท ยาลั ย ในเมื อ ง Tulsa ผมถึงรูตัววาผมมีความเปน "ไทย" มากขนาดไหน หลังจากที่ผมมาถึง Tulsa ไดสองอาทิตย ผมไดรับอีเมลเชิญไปงานปฐมนิเทศ อย า งไม เ ป น ทางการที่ บ า นของอาจารย ท า นหนึ่ ง งานนี้ ตั้ ง ใจจะให นั ก ศึ ก ษา ปริญญาโทนองใหม (รวมทั้งผมดวย) ไปรูจักกับนักศึกษาปริญญาโทปสองและ นั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาเอก ตลอดจนคณาจารย ที่ ค ณะ กิ จ กรรมนี้ เ ป น สิ่ ง แปลกใหม สําหรับผม เพราะตลอดเวลาที่เรียนปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ผมไม เคยไดรับเชิญใหไปพบปะสังสรรคที่บานอาจารยทานใดเลย ในตอนนั้น ผมนึกวา นี่ ค งเป น เรื่ อ งปกติ สํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาโทและเอก แต ก ระนั้ น ผมก็ ต อ ง ประหลาดใจกับกิริยาทาทางที่อาจารยและนักศึกษาปฏิสัมพันธตอกัน ผมเคยเรียนวิชาตางๆ ที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมและไดเรียนรูถึงความแตกตางระหวาง วัฒนธรรมตะวันตกและตะวันออก โดยเฉพาะระหวางเมืองไทยและอเมริกานั้น มี ความแตกตางกันในมิติหนึ่งที่เรียกวา "ความเหลื่อมล้ําทางอํานาจ" ที่ภาควิชา จิตวิทยาที่สหรัฐอเมริกา ผมประสบกับระดับของความเหลื่อมล้ําทางอํานาจ เมื่อ ต อ งปฏิ สั ม พั น ธ กั บ อาจารย ห ลาย ๆ ท า น ในลั ก ษณะที่ ไ ม เ หมื อ นกั บ ที่ ผ มเคย ประสบพบเจอในเมืองไทย เริ่มแรก ผมตองปรับตัวในการเรียกชื่ออาจารย ผมเคย ใชคํานําหนาวา "ด็อกเตอร" หรือ "อาจารย" กอนที่จะมีคนบอกวาใหเรียกดวยชื่อ ก็พอ ผมรูสึกแปลก ๆ ที่อยู ๆ ก็ตองเรียกอาจารยเหมือนกับที่เรียกเพื่อนรวมชั้น เรียน ผมเรียนรูอยางรวดเร็วจากการเขาเรียนและการประชุมวิจัยตาง ๆ วาอาจารยใน อเมริกาไม คิด วา ตัวเองเปน ผูอ าวุ โ สที่ "สูง ส ง และควรไดรับ ความเคารพนับ ถือ " จากนักศึกษา แมวาพวกเขาจะตองการความเคารพนับถือ แตก็มองวานักศึกษา เปนเพื่อนรวมงานที่มีความคิดเห็นที่นาสนใจเชนกัน อาจารยไมไดคิดวานักศึกษา เปนเพียงผูที่รอรับความรูเทานั้น แตในขณะเดียวกันก็เปนผูที่พรอมจะใหดวย ผม เรียนรูวา มัน ไมใชเ รื่อ งแปลกเลยที่อ าจารยและนักศึกษาจะออกไปทานอาหาร กลางวั น หรื อ แม ก ระทั่ ง ไปดื่ ม เบี ย ร ที่ บ าร ด ว ยกั น ความเป น กั น เองระดั บ นี้ เ ป ด โอกาสใหผมมองวาอาจารยก็เปนคนธรรมดาสามัญ ซึ่งถือเปนสิ่งที่ทําไดยากใน เมืองไทย อยา งไรก็ต าม ความเปน กัน เองเชน นี้ บางครั้ง ก็ทํา ใหผ มกระอักกระอว นใจอยู เหมือ นกัน มีเหตุการณหนึ่ง ที่ผมจํา ไดดี ครั้ง นั้น ผมคุย อยูกับ อาจารยทานหนึ่ง เกี่ ย วกั บ แนวคิ ด งานวิ จั ย ต า ง ๆ ในห อ งทํ า งานของเขา อยู ๆ อาจารย ก็ ห ยิ บ
แซนดวิชขึ้นมากินขณะที่ผมกําลังอธิบายแผนงานวิจัยคางอยู และยังยกเทาทั้ง สองขางขึ้นมาวางบนโตะทํางานอีกดวย ซึ่งปกติแลวผมก็คงจะไมไดรูสึกอะไรนัก แตครั้ง นั้น เทา ของอาจารยชี้มาทางผมพอดี ทํา ใหผมรูสึกเหมือ นถูกดูหมิ่นและ ออกจะเคือง ๆ กับกิริยาแบบนั้น ซึ่งทําใหผมตระหนักขึ้นมาทันที่วาผมมีความเปน "ไทย" มากขนาดไหน จะวาไป ก็มีสิ่งที่วัฒนธรรมไทยและอเมริกันมีเหมือนกันก็คือเรื่องซุบซิบนินทาใน กลุมอาจารยหรือนักศึกษา บางครั้ง ผมไดยิน เพื่อน ๆ พูดถึงอาจารยบ างคน ผม รู สึ ก แปลกใจที่ เ พื่ อ น ๆ ไม มี สั ม มาคารวะกั บ อาจารย เ สี ย เลย ซึ่ ง ทํ า ให ผ ม ประหลาดใจกับความรูสึกอีกดานที่มาจากความเปนไทยในตัวผม เพราะผมสํานึก วาอาจารยในฐานะผูอาวุโสสมควรไดรับความเคารพแมวาเขาจะมีขอเสียบางเล็ก ๆ นอย ๆ ก็ตาม นอกจากประเด็ น เรื่ อ งความเหลื่ อ มล้ํ า ทางอํ า นาจแล ว นั้ น ผมรู สึ ก อยู เ สมอว า อเมริกามีวัฒนธรรมที่เปนปจเจกมากกวา แมวาความจริงขอนี้จะหาอานไดจาก หนังสือเรียนทั่วไปเกี่ยวกับการศึกษาทางวัฒนธรรม การไดมีประสบการณรวมใน เรื่อ งนี้โดยตรงถือเปน สิ่ง ที่นาสนใจ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวัฒนธรรมอเมริกัน อธิบายวา แนวคิดเรื่อง "ปจเจกนิยมตกขอบ" หรือ "ปจเจกนิยมแบบไมพึ่งพาใคร" เปนสวนสําคัญของวัฒนธรรมที่นี่ ซึ่งทําใหเพื่อน ๆ อเมริกันมีทัศนคติที่วา "จะได อะไรจากเรื่องนี้" และ "จะคุมเวลาที่เสียไปหรือไม" บางครั้งความคิดสุดโตงเชนนี้ ทําใหทํางานกลุมไดยากเพราะทุกคนมีวิธีคิดเปนของตนเอง เหตุการณหลายครั้ง ทําใหผมหวนนึกถึงเพื่อนคนไทยที่อยางนอยเราก็สามารถพักเปาหมายสวนตัวไว กอนเพื่อประโยชนของกลุมไดอยางเต็มใจ สิ่งหนึ่งที่ผมไดเรียนรูคือ วัฒนธรรมเปนสิ่ง ที่ผันแปรไปตามบริบท ในเมืองไทย ผมรูสึกวา ตัว ผมมีค วามเปน ตะวันตกมากกวา เมื่อ เทีย บกับ เพื่อนคนไทย ขณะที่ เรียนอยูที่ Tulsa นั้น กลับเปนชวงเวลาที่ทําใหผมสัมผัสถึงความเปนตะวันออกใน ตัวผมมากกวา ณ ขณะนี้ ผมอยูกึ่งกลางระหวางสองวัฒนธรรม ซึ่งจะโนมเอียงไป ทางฝงไหนมากกวากัน ขึ้นอยูกับบริบทแวดลอมรอบตัวผมที่แตกตางไปเปนตัว แปร
Being an Asian in Thailand and Asian-American in America?7 Hong Chhuor 2006 Fulbright U.S. Student Program @ Faculty of Economics, Chulalongkorn University
What inspired me to come to Thailand? How does it feel to look Thai but be American? What do I hope to achieve in my time here? These are the questions I was asked to reflect on during a recent trip to Ubon Ratchathani University. So what inspired me to come to Thailand? The simple answer is that I wanted to reconnect with my roots. I feel a certain draw toward Southeast Asia because of where I was born: Cambodia. Also, my topic is business and economics and Thailand, which provides a very interesting case study as an economy that has experienced rapid and successful industrialization. Also, Thailand’s culture and society shares many common threads with Cambodia and the majority of the large Chinese population in Thailand is Tae-Chiew, the same ethnic group as my family.
7
Originally published in Fulbright Newsletter Issue 18, April 2007
Many people tell me I look Thai, but I often think and operate as an American. It has its ups and downs. For example, I don’t get honked at by the tuk-tuk drivers trying to pick me up. The street vendors aren’t always aggressively trying to sell me their wares and trinkets. I don’t get the same types of solicitations from the Thai women who work in the various bars whenever I walk down Sukhumvit Road. On the flip side, everyone speaks Thai to me. Sometimes I understand, sometimes I don’t. Lucky for me, my parents did a good job of instilling some important Asian values in me. Respect for elders and for religion, proper social conduct and the ability to be aware of and show sensitivity to different cultural practices. Actually, I feel very much at home in Thailand now. The values, customs and cultural sensitivities seem like they have always been with me. I should mention that there are things that Americans and Thais may learn from each other. Perhaps Americans should be more jai yen. Maybe Thais can learn to check their email more frequently and reply in a timely manner. This is what I want to achieve while I am here: I want to learn as much as I can and let things run their course. I am doing all I can to be open to new experiences. I’m eating as much food as I can and going on as many weekend excursions as I can. I’m also telling ‘my story’ as to why I’m in Thailand to as many people as will listen. From this, I have been able to meet and get introductions (or at least contact information) to many people who will perhaps play a role in helping me to learn and accomplish more of what I came here to do. I am doing my best to learn the language here because I don’t think you can fully grasp a culture and people if you cannot speak their language. Fortunately for me, I have found Thai to be more than manageable as it shares many words
in common with Khmer and grammar is very similar for the two languages, although they come from different families. In closing, I just have to say that in my short four months here, I had learned much more than I was able to appreciate as I went. It is only in reflecting back and the ‘looking into the mirror effect’ that comes from being in a culture and society that is different from my own that I have come to appreciate our differences and mentally document my learning and growth. Thanks to Fulbright and the wonderful staff at TUSEF for giving me these life-changing experiences!
คนเอเชียในไทย และคนเอเชีย-อเมริกันในอเมริกา8
ฮอง ชัว
2006 Fulbright U.S. Student Program @ คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน (ฟุลไบรท)
อะไรทําใหผมอยากมาประเทศไทย รูส ึกอยางไรที่หนาตาเหมือนคนไทยแตที่จริง เปนคนอเมริกัน แลวผมหวังอะไรจากการมาครั้งนี้ นี่คอ ื คําถามที่ผมตองตอบระหวางการเดินทางไปมหาวิทยาลัยราชภัฎ อุบลราชธานี อะไรทําใหผมอยากมาประเทศไทยนะหรือ คําตอบงาย ๆ เลยก็คือ ผมอยากจะหา อะไรที่ยึดโยงกับรากของตัวเอง ที่ผมรูสึกถึงแรงดึงดูดบางอยางระหวางผมกับ เอเชียตะวันออกเฉียงใตก็เพราะผมเกิดที่นี่ – ที่ประเทศกัมพูชา อีกอยางหนึ่งคือ หัวของานวิจัยของผมเปนเรือ ่ งเกี่ยวกับธุรกิจและเศรษฐศาสตร ซึง่ ประเทศไทยถือ เปนกรณีศึกษาที่นาสนใจมาก ๆ เนื่องจากมีการพัฒนาดานอุตสาหกรรมอยาง รวดเร็วและประสบความสําเร็จ นอกจากนี้ สังคมวัฒนธรรมของไทยและกัมพูชาก็ มีความคลายคลึงกันหลายอยาง เชน คนจีนกลุมใหญที่สด ุ ในประเทศไทยก็เปน คนแตจว ิ๋ เหมือนครอบครัวผม หลายคนบอกวาผมหนาตาเหมือนคนไทย แตผมมักจะคิดและทําอะไรเหมือนคน อเมริกัน มันก็มท ี ั้งดีและไมดี อยางเชน ผมไมถูกคนขับตุกตุกบีบแตรตือ ้ ใหขน ึ้ รถ ไมถูกคนขายของขางถนนยื้อยุดใหซอ ื้ ของ ไมเปนเปาหมายของผูหญิงตามบาร ตาง ๆ บนถนนสุขุมวิท แตในมุมกลับ ทุกคนคอยแตจะพูดภาษาไทยกับผม บางครั้งผมก็เขาใจ บางครั้งก็ไมเขาใจ โชคดีที่พอ แมคอยพร่ําสอนผมเกี่ยวกับ คานิยมความคิดแบบเอเชีย อยางการเคารพผูอาวุโส ความเชือ ่ ทางศาสนา มารยาทสังคม และความละเอียดออนเกี่ยวกับความแตกตางทางวัฒนธรรม ที่จริง ผมรูสึกเหมือนอยูบา นเวลาอยูท ี่เมืองไทย คงเพราะผมมีพน ื้ ฐานดานคานิยม ธรรม
8
พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 18, เมษายน 2550
เนียมประเพณี และไวตอความแตกตางทางวัฒนธรรม ผมคิดวามีหลายเรือ ่ งทีค ่ น อเมริกันและคนไทยนาจะเรียนรูจากกันและกันได บางทีคนอเมริกน ั ควรเรียนรูท ี่ จะใจเย็นขึ้น สวนคนไทยก็ควรจะเช็คอีเมลใหบอยขึน ้ จะไดตอบไดทันเวลา สวนความคาดหวังของผมระหวางทีอ ่ ยูทน ี่ ี่คอ ื เรียนรูใหมากที่สุดเทาที่จะมากได ผมจึงขวนขวายหาประสบการณใหม ๆ กินทุกอยาง และพยายามไปไหนมาไหน แทบทุกวันหยุด ผมยังชอบเลา “นิทานของผม” ใหคนรอบ ๆ ตัวฟงวาผมมาทํา อะไรที่เมืองไทยนี่ ซึ่งทําใหผมไดพบและรูจ ักกับคนมากมาย (อยางนอยก็รูชื่อ และเบอรตด ิ ตอ) นั่นอาจจะชวยใหผมไดเรียนรูอ ะไรมากขึน ้ จากการมาเมืองไทย ครัง้ นี้ ผมยังตั้งใจเรียนภาษาไทยใหไดดีเพราะถาไมเขาใจภาษา เราก็จะไม เขาถึงวัฒนธรรมและผูค นไดอยางถองแท โชคดีที่ภาษาไทยไมยากจนเกินไป เพราะมีไวยากรณและคําศัพทหลายคําใกลเคียงกับภาษาเขมรถึงแมวา จะมาจาก คนละตระกูลกันก็ตาม ผมขอสารภาพวาในชวงเวลาสั้น ๆ สี่เดือนทีอ ่ ยูทน ี่ ี่ ผมเรียนรูอ ะไรมากเกินกวาที่ ผมจะทันซาบซึง้ ในตอนนั้น พอมามองยอนไป และ “สองตัวเองในกระจก” การมา อยูในสังคมวัฒนธรรมที่แตกตางจากของผม ทําใหผมเห็นคุณคาความตางนัน ้ เห็นวาตัวเองไดเรียนรูอ ะไรบางและมีการเติบโตทางความคิดอยางไร ผมตอง ขอขอบคุณฟุลไบรทและพี่ ๆ ทุกคนทีท ่ ําใหผมไดประสบการณทเี่ รียกไดวา เปลี่ยนชีวิตครัง้ นี้
Thai-American:
How
Much
They
Culturally
Understand Each Other?9 Assist. Prof. Pimpaporn Suwatthigul President of the Language Institution Project, Prince of Songkla University, Phuket Translated by Talisa Likanonsakul Junior Program Officer, Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand)
If asking how well Thais and Americans understand each other, many would say “not so much.” And if asking why that is so, they would agree on the language difference. It is believed that few Thais are able to understand English very well and apply those skills up to the level of “those who study abroad.” Is it actually the language that causes misunderstanding? It might not be the case. It might be helpful to look back and see if we have misunderstood others even though we communicated in the same language—Thai? I believe that we have. An example of this is when former Prime Minister Thaksin Shinawatra used the word “gulee” (laborers) in the opening of an aviation technique-related event at Suvarnabhumi Airport on September 29, 2005. This caused some people to misunderstand that the ex-premier was disrespectful to Thai laborers as “gulee” in standard
9
Originally published in “Knitting the Fulbright Family” Year 2, November 2005
Thai is an offensive and insulting term. However, it is said that the people in Northern Thailand commonly use “gulee� to refer to laborers and the word signifies neutral, not negative, connotations. A lesson learned from this example is that even people of the same country but different regions and cultures are prone to misunderstand one another. Our differences in cultural background possibly lead to discrepancies in how we view some subjects. I would like to share some other stories that tell more about how Americans think or feel. When we are aware of different cultural perspectives, we will be likely to understand them better. Before starting the story, I would like to note that the following is shared through my own experience and perspective. I have my own ways of perceiving things while other Thais might share different viewpoints or even feel indifferent towards some particular subjects. This is due to the fact that we can experience different levels of Thai culture, within the society as a whole and individually. Let’s begin with the idea of flexibility and thoughtfulness in Thai culture. I learned from cross-culture studies that Americans usually plan their tasks very well and proceed accordingly. I have been affected by this and now I prefer planning ahead. That also depends on the context as I am Thai after all. However, my experience in July when organizing an academic exchange program for a group of American university faculty made me realize that general rules have exceptions just as every culture has exceptions at the individual and group level. I had carefully planned this program to make sure that the trip for American visitors to
Thailand would be worthwhile. I forwarded the program plan to coordinators and received their approvals to proceed as proposed. But two weeks prior to the day that faculty were scheduled to arrive in Phuket, the program coordinators proposed to making a number of changes in the plan. This was difficult for us to accept on such short notice. Nonetheless, Thais usually compromise so my team made changes as requested and charged the visitors extra only for the cost because the travel agency owner was my student. Everything, however, seemed to run smoothly. The visitors were apparently appreciative. What I have learnt from this experience is how thoughtful we are as Thais; my students were glad to be of service to me. In Thai culture, the student usually gives the best deal to the teacher as well as his or her guests. However, our visitors were unlikely to understand the cultural difference, viewing our program as a type of business. They also probably heard of the high expenses in Phuket; thus, they directly contacted the tour agent owner (who was my student) to negotiate the deal as not every one of them could participate in every session of the entire program. A lesson drawn here is that every group of people might share similar general characteristics just like what cross-culture theories indicate, but we cannot generalize to whether or not people of different cultures might share the same perspective on the subject mentioned above. From this story, it is seemingly obvious that Americans are not as flexible as Thais, especially when changes on a short notice are expected. I learned that we need to take better care of the planning process and we need to make a written agreement that any changes after confirmation require a compensation fee. In this case, there should be confirmation of the program fee such that it must not vary under any circumstances (e.g. people withdrawing from the program).
One more lesson to share here is the overall level of Thais’ thoughtfulness. It is, however, often viewed differently by American people possibly because they are direct and proceed as planned; i.e., no business among close or beloved friends—no ties between the teacher and the student that will lead to benefits for the teacher without charges. I feel that Americans do not combine their relationships or thoughtfulness with business. Compared with Thais, Americans do not seem to have as deep or close bonds with people at work or school as Thais. As a result, American visitors frequently ask if “special treatment” is associated with special charges. For example, my student arranged to get a very big car for an American faculty member because he thought it was appropriate as “his teacher’s guests.” He wanted to make certain that they would be seated comfortably and would not cost extra. However,
from
a
business-focused
perspective,
they
were
unnecessarily worried about how much extra they would have to pay. The experience I have shared above is not intended to point out that Thais are more thoughtful than Americans. Rather, the story signifies different cultural perspectives. Globalization has brought people from many countries and cultures closer together. Consequently, we have to be culturally aware and patient with unfamiliar behaviors that people of different cultures might exhibit. If possible, we should try to share our understanding or explanation to avoid cultural misunderstanding. The lesson above explains that thoughtfulness may be a virtue but needs to be used depending on the occasion. It is also essential for completing the tasks that the two parties are clear, within the context and meaning, of their communication with each other.
Understanding culture over the full range of human behavior patterns including speaking, thinking, and acting towards others, is a complex job. I think that we should not combine all of our cultural diversity into one particular pattern of conduct. Instead, we should understand one another to achieve our goals and happiness without any of us feeling uncomfortable or taken advantage of in terms of feelings or benefits.
ไทย-อเมริกน ั : เขาใจกันแคไหน เพียงใด10 ผ.ศ. พิมพาภรณ สุวัตถิกุล ประธานโครงการสถาบันภาษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตภูเก็ต
ถาถามวาคนไทยกับคนอเมริกันเขาใจกันไดลึกซึ้งแคไหนเพียงใด หลายคนอาจ พูดตรงกันวานาจะไมมาก และถาถามตอวาเพราะเหตุใด หลายคนอาจจะพูด ตรงกันอีกวาก็ภาษาไง จะมีใครสักกี่คนที่ใชภาษาไดลึกซึง้ เชน “นักเรียนนอก” โดยเฉพาะ “นอกจาก ยู เอส เอ” แทจริงแลว เปนเพราะภาษาจริง ๆ ละหรือทีท ่ ํา ใหคนเขาใจหรือไมเขาใจกัน นาจะไมใช ลองหวนกลับไปคิดดูวา เราเคยเขาใจ ผิดเพราะการสือ ่ สารกับคนไทยดวยกันหรือไม เชื่อวาไมมีใครปฏิเสธวา “ไมเคย” จริงไหมคะ ตัวอยางระดับชาติลาสุดหมาด ๆ ตอนที่ ฯพณฯ ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีของเราใชคําวา “กุลี” ในงานเปดตัวดานเทคนิคการบินของ สนามบินสุวรรณภูมิเมือ ่ วันที่ 29 กันยายน 2548 ที่ผานมาจนแทบจะมีการ ประทวงวาทานนายกฯ ของเราไมใหเกียรติผใ ู ชแรงงาน ตอเมื่อมีคนออกมาบอก วาทางเหนือเขาใชคาํ วา “กุลี” กับผูใชแรงงานในความหมายปกติที่ไมไดมีนัย ของการดูหมิน ่ เหมือนกับทีค ่ นไทยทัว ่ ไปใหนัยผูกติดกับคํา ๆ นี้ เรื่องราวจึงเงียบ ไป ไทยดวยกันแท ๆ แตตางภาคตางวัฒนธรรมก็มป ี ญหาตอกันบอย ๆ นับประสา อะไรกับคนอีกซีกโลกหนึ่งซึ่งพระอาทิตยก็ไมไดตกเวลาเดียวกัน ความรอนความ หนาวก็ตา งกัน และที่สําคัญทีส ่ ุด คือ การบมเพาะทางภูมิหลังที่แตกตางกันทําให การตกผลึกทางความคิดและวิถีของวัฒนธรรมตางก็แปลกแยกแตกตางกันใน หลาย ๆ เรื่องราว ดังนั้นผูเขียนจึงขอถือโอกาสใชสนามนี้เลาประสบการณที่นึก ไมถึงหลายครัง้ หลายคราสูกน ั ฟงเพื่อที่จะไดเขาใจเพื่อนรวมโลกชาวอเมริกันของ เราไดดีขน ึ้ แตกอนที่จะเลาตอง “หมายเหตุ” ไวตรงนีใ ้ หชัด ๆ เสียกอนวาทัง้ หมดนี้เปน ประสบการณและมุมมองของผูเ ขียนเทานัน ้ อาจจะเปนเพราะผูเขียนเองมี วัฒนธรรมเฉพาะตัวตนของผูเขียนเองจึงทําใหเกิดอาการ “ช็อค” ในบางครั้ง ในขณะทีค ่ นไทยอืน ่ อาจมองตางมุมออกไป หรืออาจรูสึกเฉย ๆ ก็ได ทั้งนีเ้ พราะ วัฒนธรรมมีหลายระดับ มีทั้งวัฒนธรรมของสังคมในวงกวางและวัฒนธรรมระดับ “ปจเจก”คือเปนวัฒนธรรมเฉพาะบุคคล
10
พิมพครั้งแรกใน “รอยถอยถักใย สื่อฟุลไบรทในสากล” ปที่ 2, พฤศจิกายน 2548
เขาเรื่องแลวคะ เรื่องทีอ ่ ยากจะเลาสูกันฟง คือ ความยืดหยุนและความมีน้ําใจแบบ ไทย ๆ จากการศึกษาเรื่องวัฒนธรรมและการสือ ่ สารระหวางวัฒนธรรมไดเรียนรู วาคนอเมริกันจะวางแผนการทํางานทุกอยางไวลวงหนาและจะเปนไปตามนัน ้ ผูเขียนก็ชักจะไดรบ ั อิทธิพบอเมริกันเหมือนกัน คือ ชอบวางแผนลวงหนา แตดวย ความเปนไทยก็สามารถเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ในระยะเวลาที่เหมาะสม แตประสบการณในเดือนกรกฎาคมที่ผานมา เมื่อตองทําโครงการการแลกเปลี่ยน ทางวิชาการและการทองเที่ยวเชิงวิชาการใหกับคณาจารยจากมหาวิทยาลัย อเมริกันกลุมหนึ่งไดพบวา กฎทุกกฎมีขอยกเวนเชนเดียวกับวัฒนธรรมทุก วัฒนธรรมก็มีขอ ยกเวนในระดับของกลุม หรือของบุคคล ในการจัดทําโครงการ ครัง้ นี้ ผูเขียนไดวางแผนและดําเนินการติดตอลวงหนาไวทุกอยางครบถวน กระบวนความเพื่อใหผูมาเยือนไดรบ ั ประโยชนคม ุ คากับการเดินทางมาไกลจาก อีกซึกโลกหนึง่ ไดจัดสงโปรแกรมดังกลาวกลับไปใหผูประสานงานดูและไดรบ ั “ไฟเขียว” วาขอใหเปนไปตามเสนอ แตสักประมาณสองสัปดาหกอนถึงวันทีค ่ ณะ จะเดินทางไปถึงภูเก็ต ผูประสานงานของคณาจารยกลุมนีข ้ อเปลี่ยนแผน คอนขางมาก ซึ่งเปนเรือ ่ งยากที่จะเนินการตามที่ขอในระยะเวลากระชั้นชิด แต คนไทยจะยอมเสมอ คณะทํางานไดปรับเปลี่ยนใหทุกอยางและดวยน้าํ ใจไทยมี การคิดราคาทุนใหดวยเพราะบริษท ั ทองเที่ยวที่ตด ิ ตอเปนลูกศิษยลูกหากัน คน ที่มาก็ไดรบ ั การแนะนํามาจาก “คนรักใครชอบพอกัน” (สํานวนที่พวกเราคนไทย ชอบใช) ทุกอยางก็ดูเหมือนผานไปดวยดี ผูม าเยือนก็ดป ู ระหนึ่งจะขอบคุณและ ซาบซึ้งในสิง่ ทีผ ่ ูเขียนและคณะทําใหโดยที่เราไมไดคิด “คาเสียหาย” ในการ เสียเวลาและการประสานงานใหมทั้งหมด แตสิ่งหนึง่ ที่ไดพบ คือ ความแตกตาง ของวิธีคิดซึ่งยากที่จะขามเขตวัฒนธรรมกันได สิ่งนั้นคือน้าํ ใจทีค ่ นไทยมีตอกัน ผูเขียนไดใชบริการของลูกศิษย ซึ่งในสังคมไทยและดวยวัฒนธรรมไทย ลูกศิษย จะใหราคาที่พิเศษสุดกับครูบาอาจารยและแขกของอาจารย ปรากฏวา “แขกของ เรา” ไมสามารถมองขามขอบฟาของวัฒนธรรมได เขาอาจจะใช “แวนวัฒนธรรม” ที่ตางกันจึงมองเปนวา ธุรกิจ คือ ธุรกิจ และอาจจะไดยน ิ มาดวยกระมังวาภูเก็ต แพงนักจึงไปติดตอขอปรับลดราคาใหตรงกับเจาของ tour agent (ซึ่งเปนลูกศิษย ของผูเขียน) ทั้งนี้เพราะมีบางคนในคณะที่มาเยือนไทยไมสามารถเขารวมไดทุก โปรแกรม สิ่งที่ผูเขียนไดเรียนรูจ ากการทํางานครั้งนี้คอ ื คนทุกกลุมวัฒนธรรมจะมีลก ั ษณะ รวมเหมือน ๆ กัน เหมือนกับทีท ่ ฤษฏีการสือ ่ สารระหวางวัฒนธรรมกลาวไว แต อยาเหมารวมเปนอันขาดวาคนทุกคนจะเหมือนกัน ในกรณีนี้เปนเรือ ่ งทีป ่ ระจักษ ชัดวาคนทีอ ่ ยูในวัฒนธรรมอเมริกันซึง่ โดยทัว ่ ไปจะมีความยืดหยุนตอการ เปลี่ยนแปลงนอย โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงในระยะเวลากระชัน ้ ชิด ก็ไมไดทํา ตามแผนเสมอไป อยางไรก็ตาม สิ่งที่ผูเขียนไดเรียนรูและไดบทเรียนวา เรานาจะ
ระมัดระวังในการทํางานครัง้ ตอไป คือ ควรใชความเปนสากลในการจัดการ ปญหา เราจําเปนที่จะตองมีการตกลงกันเปนลายลักษณอักษรใหชัดเจนวา การ เปลี่ยนแปลงใด ๆ หลังจากคํายืนยันจะตองมี “คาธรรมเนียมการเสียเวลา” หรือถา ไมถึงกับเครงครัดอยางนั้น อยางนอยก็ตองมีการยืนยันราคาโดยไมผกผันกับ จํานวนคนที่จะขาดหายไป หรือการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ทีฝายผูขอรับบริการเปน ฝายขอเปลี่ยน ฯลฯ เปนตน อีกประการหนึง่ ที่ไดเรียนรูและคิดวานาจะเปนประโยชนที่จะนํามาแลกเปลี่ยนกัน การรับรูค วามมีน้ําใจของคนไทย บอยครั้งที่น้ําใจของคนไทยอาจถูกตีความ แปลกแยกออกไปโดยคนอเมริกัน ทั้งนีอ ้ าจเปนเพราะคนอเมริกันจะทําอะไรไป ตามกรอบที่ชด ั เจน เชน ธุรกิจ คือ ธุรกิจ สัญญา คือ สัญญา ไมมีธรุ กิจของคน ชอบพอกัน ความผูกพันของครูและศิษยที่จะทําอะไรพิเศษใหกันในปริบทของ งาน หรือธุรกิจ น้ําใจ กับ ราคาของธุรกิจมิใชประเด็นทีค ่ วรจะนํามาเชือ ่ มโยงกัน จากประสบการณ ผูเขียนมองวาคนอเมริกน ั แยกกันเปนคนละสวน หองของ “สายใยแหงความผูกพันตอกัน” ในเรื่องการงานอาจจะมีบา งสําหรับคนอเมริกัน แตนาจะมิใชความรูส ึกลึกซึง้ เหมือนทีค ่ นไทยมีตอกัน และทําอะไรใหกน ั ก็ได ดังนัน ้ ความเขาใจที่เห็นการมอบ “สิ่งพิเศษ” ใหกันจึงมักจะเกิดชองวางทาง วัฒนธรรมและถูกแทนทีด ่ วยคําถามจากผูร วมงานชาวอเมริกน ั วาจะคิดราคาเพิ่ม หรือไม เชน การที่ลูกศิษยจัดรถคันใหญกวาที่ตกลงกันไปใหคณะอาจารยชาว อเมริกันที่มาเยือนเพราะเห็นวา “เปนแขกของอาจารย” จึงอยากใหมีความ สะดวกสบายทีส ่ ุดโดยไมไดเพิม ่ ราคาแมแตนอ ย กอใหเกิดความกังวลกับผูมา เยือนวาเขาจะตองเสียเงินเพิ่มเทาไร ทําใหเกิดความระแวงแคลงใจโดยที่ไมควร จะเปน ประสบการณทน ี่ ํามาเลาสูกันฟงขางตนมิไดตั้งใจที่จะบอกวาคนไทยดีเลิศ ประเสริฐ และคนอเมริกันไมมน ี ้ําใจ แตเปนเรื่องที่ “ตางคนตางมอง ตางฝายตาง คิด” สิง่ ทีต ่ องการจะบอกกลาวกันคือวาในโลกทุกวันนี้ ...วันที่เทคโนโลยีอัน หลากหลายไดเชื่อมเสนขอบฟาของหลากหลายประเทศ หลากหลายสังคม และ หลากหลายวัฒนธรรมเขาดวยกัน พวกเราอาจจะตองตัง้ หลักใหมั่นทีจ ่ ะสงบ ไม หงุดหงิดและไมพอใจกับความคิดและพฤติกรรมที่เราไมเคยคุน และถามีโอกาสก็ ควรจะพูดทําความเขาใจตอกัน เรียนรูซ ึ่งกันและกัน รับสิ่งที่ดีของกันและกัน เหมือนเชนตัวอยางขางตนที่ผูเขียนพบ สิง่ ที่ดค ี อ ื ความชัดเจนของการทํางาน น้ําใจแมจะเปนเรื่องดีแตก็ตองเลือกที่จะหยิบยืน ่ ในวาระและโอกาสอันควร และ สรางปริบทใหชัดเจนเปนที่เขาใจของทุกฝายที่เกี่ยวของ เปนตน
เรื่องของวัฒนธรรมเปนเรือ ่ งทีล ่ ึกซึ้งและตกผลึกชัดเจนในการพูด การคิด และ การกระทํา เราไมควรอยางยิ่งที่จะนําความหลากหลายมาหลอมรวมเขาดวยกัน แตเราจําเปนทีจ ่ ะตองทําความเขาใจซึ่งกันและกัน เพือ ่ ทีจ ่ ะทํางาน หรือคบคากัน ดวยความสุขที่เทาเทียมกัน ไมมีใครทีจ ่ ะตองรูสึกวาถูกเอาเปรียบไมวาจะเปนใน แงของความรูสก ึ หรือในแงของวัตถุเงินทองใด ๆ
Phra Pathom Chedi, Me, and Oedipus11 Assoc. Prof. Chalermsri Chantasingh, Ph.D. 1992 Open Competition Scholarship Program @ University of Kansas 2009 Thai Visiting Scholar Program From Faculty of Arts, Silpakorn Univeristy @ Department of History, Harvard University
I am not quite sure whether this will count as a “cross-cultural anecdote” in the sense that the Fulbright wants to collect. But it is a good story that I want to share. After having finished an MA program, I was encouraged to continue with the PhD. So, I needed to find a job which paid enough to keep my body and soul together. The best job on campus at the time was to be Graduate Instructor for the Western Civilization Program. Once accepted you were (almost) guaranteed four years of a teaching job with tuition waiver and minimal fees. Not very confident of my knowledge of Western Civilization, I did some brief research on the program and finally applied for the position. Before the job interview, I changed my mind back and forth several times. But the Goddess Fortuna finally brought me to face my fate in the interview room. The screening committee was composed of six or seven professors and senior Graduate Instructors from the program. Among tens of applicants, I was the only one from Thailand with only two years of
11
Originally published in” Knitting the Fulbright Family” Year 8, March 2012
experience in the USA. Even I doubted if I could perform the task of teaching two courses of Western Civilization, from the Sumerians to the Twentieth Century, to American undergrads. So I did not blame the committee if they had the same doubt – which I think they did. The interview went something like this.
Interviewers: Why do you think you – as an Asian can teach Western Civilization? Me: Err…I checked the texts for these courses and I think I can do it. I was brought up in a Presbyterian school so I know something about the Bible. Most of the other books I have read in my literature classes and European history classes in college. Interviewers: Still, what makes you think you can teach Western Civilization? Me: (thinking hard now about how to tackle this question) well, after all Western Civilization began in the East. Interviewers: Why did you say that? Me: You see, in the town where I came from there’s a pagoda, supposed to be the biggest in the world. The original pagoda was built by a ruling prince to repent the sin of patricide. He unknowingly killed his father and almost – almost- took his mother as a wife. Does that ring a bell?
(Now all interviewers looked more interested in my story and looked at each other! I bet it was the very first time in their life that they heard this story.) Interviewers: Well, that sounds very much like the story of Oedipus. Me. Exactly. The only difference is in the Thai version he didn’t take his mother as is wife. On his way up the stairs to her room, he stepped over a mother cat and her kitty. The kitty said to its mother – you see in those days animals could talk so humans could understand (here all the professors laughed and I felt a little better!) – the kitty said “Look at this man. He’s very rude. He stepped over us and didn’t apologize.” And the mother cat said, “What can we expect from such a person? He’s even thinking of taking his mother as his wife.” The cat’s talk made the prince wonder and began an investigation. He eventually found out the truth of his birth. That he was actually born in that city and sent into exile because of the prophecy. He was so furious at the old lady who brought him up for not having told him the truth that he was not her natural child, causing him to kill his birth father. In his rage, he went home and killed the old lady. Anyway after a while he was sorry for his deeds. He built a pagoda as high as a dove could fly to repent his sin of patricide, and another pagoda for having killed the old lady who had raised him. So you can see we have two pagodas to prove our story; the Greeks do not have anything. That’s why I said Western Civilization must have come from the East…Oh. And after having read this story I always apologize to any animal I have to step over (more laughs here!)
Then all the professors began talking among themselves and we discussed how the Thai story could cross over to Greece. I made the point that Alexander the Great of Macedonia had come to Punjab in the West of India which must have served as a transit hub of western and eastern cultures in those days. The interview ended on a better note than when it started (at least for me!) and I felt good for myself. The committee might still have some doubts about me and they must have checked with my academic advisor. A few days after that my advisor called me in and informed me that I got the job! For me, teaching Western Civilization classes was a blessing, and an eye-opener in every senses of the world. It accentuated my sensitivity to cultural differences between the East and the West. And since then I realized that the two can blend and co-exist in harmony within me.
เปดโลกอารยธรรมตะวันตกดวยตํานานพระปฐมเจดีย1 2 รศ. ดร. เฉลิมศรี จันทสิงห 1992 Fulbright Open Competition Program @ University of Kansas 2009 Thai Visiting Scholar คณะศิลปะศาสตร มหาวิทยาลับศิลปากร @ Department of History, Harvard University แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน (ฟุลไบรท)
ฉันไมคอยจะแนใจวานี่เปนเรือ ่ งเลา ‘ขามวัฒนธรรม’ แบบทีฟ ่ ุลไบรทอยากไดหรือ เปลา แตเปนเรือ ่ งดี ๆ ทีฉ ่ ันอยากจะแบงปนกับคนอืน ่ หลังจากเรียนจบปริญญาโท ฉันก็ไดแรงยุใหเรียนตอปริญญาเอก จึงจําเปนตอง หางานที่มรี ายไดพอใหอยูร อดไดโดยไมทุกขกายทุกขใจนัก ในตอนนั้น งาน ดีที่สด ุ ในมหาวิทยาลัยคือการเปนอาจารยสอนวิชาอารยธรรมตะวันตกแก นักศึกษาปริญญาโท ซึง่ ถาไดรบ ั เลือกคุณก็ (เกือบ) มั่นใจไดวา จะมีงานสอนสี่ป พรอมไดรับการยกเวนคาหนวยกิตและเหลือเงินที่ตองจายเพื่อการศึกษาเพียง เล็กนอยเทานั้น เนื่องจากไมคอยจะมั่นใจกับความรูเรือ ่ งอารยธรรมตะวันตกของ ตัวเอง ฉันจึงศึกษารายละเอียดของหลักสูตรสักเล็กนอยกอนจะตัดสินใจสมัครใน ที่สุด กอนการสัมภาษณ ฉันก็เปลี่ยนใจไปมาหลายครั้ง แตเทพีแหงโชคไดนําฉัน ไปเผชิญกับโชคชะตาในหองสัมภาษณจนได คณะกรรมการคัดเลือกประกอบดวยศาสตราจารยและผูชวยสอนระดับอาวุโสของ หลักสูตรหกถึงเจ็ดคน ในจํานวนผูสมัครสิบกวาคน ฉันเปนเพียงคนเดียวทีม ่ าจาก ประเทศไทย แถมยังมีประสบการณในอเมริกาเพียงแค 2 ปเทานัน ้ แมกระทั่ง ตัวเองยังสงสัยวาจะทําหนาทีส ่ อนวิชาอารยธรรมตะวันตกตั้งแตสมัยยุคสุเมเรียน จนถึงศตวรรษที่ยี่สบ ิ สองใหนก ั เรียนปริญญาตรีอเมริกันไดอยางไร ดังนั้นฉันจึง
12
พิมพครั้งแรกใน “รอยถอยถักใย สื่อฟุลไบรทในสากล” ปที่ 8, มีนาคม 2555
ไมโทษคณะกรรมการหรอกหากพวกเขาจะสงสัยแบบเดียวกัน – ซึงฉันคิดวาเขา สงสัยแน บรรยากาศในหองสัมภาษณเปนไปในลักษณะนี้
กรรมการสัมภาษณ: ทําไมคุณถึงคิดวาคุณ – ในฐานะที่เปนคนเอเชีย – จะ สามารถสอนวิชาอารยธรรมตะวันตกได ฉัน: เออ...ฉันเช็คขอมูลรายละเอียดของวิชาพวกนี้แลวและคิดวาทําไดคะ คือวา ฉันโตมาในโรงเรียนเพรสไบทีเรียน ก็เลยรูเรือ ่ งไบเบิลมาบาง สวนหนังสืออื่น ๆ ฉันก็อา นมาแลวในวิชาวรรณคดีกับประวัติศาสตรยโุ รปสมัยปริญญาตรี กรรมการสัมภาษณ: ยังงั้นก็เถอะ อะไรทําใหคุณคิดวาคุณจะสอนวิชาอารยธรรม ตะวันตกได ฉัน: (ตอนนี้ชักคิดหนักแลววาจะตอบยังไง) คือ อันทีจ ่ ริงแลวอารยธรรมตะวันตก ทั้งหลายแหลลว นเริ่มตนในตะวันออก กรรมการสัมภาษณ: ทําไมคิดอยางนัน ้ ฉัน: คุณคิดดูนะ จังหวัดที่ฉน ั อยูมีเจดียอ งคหนึ่ง เขาใจวาจะเปนเจดียท ี่ใหญที่สด ุ ในโลก เจดียอ งคดงั้ เดิมสรางขึ้นโดยเจาชายผูปกครองเมือง เพื่อเปนการไถบาปที่ ทรงทําปตุฆาต พระองคสงั หารพระบิดาโดยไมรูและเกือบ – เกือบจะรับพระมารดา เปนมเหสี รูสึกคุน ๆ บางไหม (ตอนนี้กรรมการสัมภาษณทุกคนดูสนใจขึน ้ และยังสบตากันดวย! พนันไดเลยวา เกิดมาพวกเขาเพิ่งจะเคยไดยินเรื่องแบบนี้เปนครัง้ แรก) กรรมการสัมภาษณ: อืม ฟงคลาย ๆ กับเรื่องอีดิปสอยูนะ ฉัน: แนนอน ในฉบับของไทยจะไมเหมือนกันอยูอ ยางเดียวคือ เจาชายไมไดรบ ั พระมารดาเปนมเหสี ระหวางทางทีพ ่ ระองคเดินขึน ้ บันใดไปยังหองของพระ มารดา ทรงเผอิญเหยียบถูกแมแมวกับลูกแมวเขา ลูกแมวพูดกับแมของมันวา –
ออ สมัยโนนพวกสัตวสามารถพูดใหคนเขาใจได (ตอนนี้บรรดาอาจารยตางก็ หัวเราะออกมา ทําใหฉันรูสึกดีขึ้นเล็กนอย!) – ลูกแมวพูดวา “ดูชายคนนีส ้ ิ ชาง หยาบคายจริง ๆ เหยียบพวกเราแลวยังไมขอโทษอีก” แมแมวตอบวา “เราจะไป คาดหวังอะไรกับคนแบบนีล ้ ะ ขนาดแมแท ๆ เขายังจะเอามาเปนเมียไดเลย” คําพูดของแมวทําใหเจาชายรูส ึกสงสัยและเริม ่ สอบสวนหาความจริง ในที่สด ุ พระองคกค ็ นพบชาติกําเนิดของตัวเองวาพระองคประสูติในเมืองแหงนี้และถูก เนรเทศออกไปเพราะคําพยากรณ ทรงโกรธหญิงชราที่เลี้ยงพระองคมาโดยที่ไม ยอมบอกความจริงทําใหเจาชายสังหารพระบิดาของพระองคเอง เจาชายทรง โกรธจนผลุนผลันกลับบานและพลัง้ มือฆาหญิงชรา แตหลังจากนั้นก็ทรงสํานึกได จึงไดสรางเจดียสูงเทากับนกพิราบบินเพื่อไถบาปทีท ่ รงทําปตุฆาต และสรางเจดีย อีกองคหนึ่งเพือ ่ ไถบาปที่สงั หารหญิงชราซึง่ เลี้ยงดูพระองคมา พวกคุณเห็นแลวใชไหม เรามีเจดียถึงสององคเปนหลักฐาน แตพวกกรีกไมมอ ี ะไร เลย ฉันถึงวาอารยธรรมตะวันตกตองมีรากมาจากตะวันออกแน ๆ ...โอ และพอ อานเรื่องนี้แลว เวลาเผลอเหยียบสัตวอะไรไปฉันก็ตอ งขอโทษพวกมันทุกครั้ง (กรรมการหัวเราะหนักกวาเดิม!) หลังจากนัน ้ บรรดาอาจารยก็หน ั มาคุยกันเอง แลวเราก็ถกกันวาเรือ ่ งที่เกิดในไทย จะขามไปกรีกไดอยางไร ฉันใหความเห็นวาอเล็กซานเดอรมหาราชแหง มาซิโดเนียไดเคยเดินทางมาถึงแควนปญจาบในอินเดียตะวันตก และนัน ่ นาจะ เปนแหลงเปลี่ยนผานอารยธรรมระหวางตะวันตกและตะวันออก การสัมภาษณสน ิ้ สุดลงดวยบรรยากาศที่ดีกวาตอนแรก (อยางนอยก็สําหรับฉัน!) และฉันก็รูสึกดีกับตัวเอง คณะกรรมการอาจจะยังคงมีขอสังสัยเกี่ยวกับตัวฉัน ซึ่ง พวกเขาก็คงตองตรวจสอบกับอาจารยทป ี่ รึกษาของฉัน ไมกี่วันตอมาที่อาจารยที่ ปรึกษาก็เรียกฉันไปพบและแจงวาฉันไดงานแลว! สําหรับฉัน การสอนวิชาอารยธรรมตะวันตกเปนเรือ ่ งฟาประทานมาก ๆ เปนการ เปดหูเปดตาในทุก ๆ เรื่อง ทําใหฉันยิ่งไวตอความแตกตางทางวัฒนธรรมระหวาง ตะวันออกและตะวันตก และนับแตนั้นมาฉันก็ตระหนักวาวัฒนธรรมทั้งสอง สามารถผสมผสานและอยูร วมกันไดอยางกลมกลืนภายในตัวฉันนี่เอง
Social Norms and Family Culture: A Cross-Cultural Analysis13 Jessica M. Sadler 2010 English Teaching Assistantship Program @Yangtaladwittayakarn, Kalasin
I recently met an Australian woman who works in India creating business contacts between the two countries. I’ve never been to India so I asked about the culture. Here are her paraphrased comments: It is very conservative; the women dress conservatively; and the people stick to their traditions. It’s the same in Thailand, but you wouldn’t know it by just visiting Bangkok. The traditions and social/cultural norms are bent quite a bit in Bangkok, as opposed to the more rural settings. For example, you may see a young couple smooching while waiting for the BTS sky train or women in min-skirts with bare shoulders and backs at Siam Paragon, but don’t expect to see this in the provinces in Isaan and Northern Thailand. Dress is conservative. The people do stick to their traditions. During the practice of rice harvesting, for instance, Thais utilize the same traditional tools even though global technological advances have made these tools obsolete. Supposedly, traditional rice harvesting produces better flavored rice.
13
Originally published in Fulbright Newsletter Issue 31, August 2011
Besides these external displays of culture, the most prominent social/cultural norms are those living in the minds and hearts of Thais in the rural regions. Family is most important. After work, most Thais spend their time eating and talking with family. Life is quite simple. Thais prefer to stay at home rather than travel to neighboring countries or events in neighboring provinces. They find that the foreigner’s love for travel is both fascinating and confusing. In the U.S., I had the status of an adult. I bought a second car, started teaching high school, and finally moved out of a shared house into an apartment. But in rural Thailand, if you are young and unmarried, you are a dek dek, or child. Being a dek dek can be frustrating and confusing for a Westerner familiar with independence at a young age, but it can also bring love and caring. (Currently, I have two Thai moms and two Thai dads.) It took three months to learn all of the intricate meanings and responsibilities of being a ‘Thai mom.’ Thai moms worry a great deal, and they tend to worry about everything. When you are sad, they are sad; when you are happy, they are happy. They learn what you like. For example, I love cappuccino (some say that I am “khon waan” , an addict). On many mornings, I would wake up to find coffee and cappuccino flavored pastries on my kitchen counter. “You can eat and use everything in here,” my Thai father said, when he first gave me a tour of the house.
My Thai mother and father paid for my groceries and bought me my dinner. No matter how much I protested, they would give money back to me immediately. They also would tell me how many showers to take, where to go, how to eat, how to sit, and who to date. After three months of trying to convince them that I can only take one shower per day, I would still hear them say “gee aop naam”, or how many showers? This was very frustrating, indeed. However, when they visited me after school hours to inquire as to whether or not I had food, I realized that I would never go hungry. In this regard, their supervision of me was all worth it. There is always a yin-and yang, give-and-take, two-sides-tothe-scale. I always feel like I am on the winning side when it comes to my Thai parents.
มองสังคมและครอบครัวจากมุมตางวัฒนธรรม
14
เจสสิกา เอ็ม แซดเลอร
2010 English Teaching Assistantship Program @ โรงเรียนบานจานทองกวาววิทยา ศรีสะเกษ และโรงเรียนยางตลาดวิทยาคม กาฬสินธุ แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน (ฟุลไบรท)
เมื่อไมนานมานีฉ ้ ันมีโอกาสรูจก ั ผูหญิงชาวออสเตรเลียคนหนึง่ ซึ่งอยูในอินเดีย และทํางานเกี่ยวกับการสงเสริมความรวมมือทางธุรกิจระหวางสองประเทศ ฉันไม เคยไปอินเดียมากอนจึงถามเธอถึงวัฒนธรรมของที่นน ั่ และคําตอบที่ไดคอ ื โบราณ พวกผูห ญิงยังแตงตัวแบบดั้งเดิม และผูคนก็ยังยึดมัน ่ ในประเพณีเกาแกที่ สืบทอดกันมา ที่เมืองไทยก็เชนกัน แตคุณจะไมรูหรอกถาอยูแคกรุงเทพฯ เพราะที่นี่ คานิยม ดั้งเดิมและบรรทัดฐานทางสังคมวัฒนธรรมไดถูกปรุงแตงจนผิดแผกไปจากชนบท ที่อยูหา งไกลออกไป ยกตัวอยางเชน คุณอาจจะเห็นคูร ักหนุมสาวนัวเนียกัน ระหวางรอรถไฟฟา หรือผูหญิงนุง กระโปรงสั้นใสเสือ ้ เปดไหลแถว ๆ สยามพารา กอน แตอยาคิดวาจะไดเห็นอะไรแบบนี้ในจังหวัดอืน ่ ๆ ทางภาคอีสานและ ภาคเหนือของประเทศไทย คนที่นน ั่ ยังสวมเสื้อผาแนวอนุรก ั ษนิยม ความคิดความ เชื่อก็ยังเปนแบบดั้งเดิม เมื่อถึงฤดูเกี่ยวขาว พวกเขาก็ยังใชอป ุ กรณแบบเกาที่ดู ลาสมัยเมือ ่ เทียบกับความล้ําหนาทางเทคโนโลยีของโลกยุคใหม แตบางทีการ เกี่ยวขาวแบบดัง้ เดิมอาจจะทําใหรสชาติของขาวอรอยกวาแบบอื่นก็เปนได นอกจากสิ่งที่ตามองเห็นแลว คานิยมและวัฒนธรรมทีโ่ ดดเดนที่สด ุ ก็คอ ื สิง่ ที่ยงั คง ฝงอยูในความคิดจิตใจของคนตางจังหวัด พวกเขาถือวาครอบครัวสําคัญที่สด ุ หลังเลิกงาน คนสวนใหญจะใชเวลาอยูกับครอบครัว กินขาวและพูดคุยกัน เปน ชีวิตที่เรียบงาย หลายคนชอบอยูบ านมากกวาจะเดินทางทองเที่ยวไปประเทศ ใกลเคียงหรือแมกระทั่งจังหวัดใกลเคียง พวกเขาจึงมองความกระหายในการ เดินทางของคนตางชาติดว ยความรูส ึกทึง่ กึ่งสับสน
14
พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 31, สิงหาคม 2554
ที่อเมริกา ฉันจัดวาโตเปนผูใ หญแลว ฉันซื้อรถคันที่สอง สอนหนังสือในโรงเรียน มัธยม และยายออกมาอยูใ นอพารตเมนตคนเดียว แตทช ี่ นบทของเมืองไทย ถา คุณยังเปนหนุม สาวและไมไดแตงงาน คุณจะเปน “เด็ก ๆ” หรือ “เด็กนอย” ซึง่ การ ถูกเหมาวาเปนเด็ก ๆ นี้อาจทําใหคนตะวันตกที่เคยชินกับการพึ่งพาตัวเองตั้งแต อายุนอ ยรูสึกหงุดหงิดและสับสนได แตมันก็ทําใหไดรบ ั ความรักและการดูแลเอา ใจใสดว ยเชนกัน (ตอนนี้ ฉันมีแมกับพอคนไทยสองคู) ฉันใชเวลาถึงสามเดือนกวาจะเขาใจวา “แม” ในความหมายของคนไทยมีความ ซับซอนและความรับผิดชอบขนาดไหน แมแบบไทย ๆ จะมีความเปนหวงเปนใย ตลอดเวลา...อยางมาก และกับทุกเรือ ่ ง เมื่อคุณเศรา แมก็เศรา เมื่อคุณมีความสุข แมก็มีความสุข แมจะจําไดวาคุณชอบอะไรบาง อยางเชน ฉันติดกาแฟคาปูชิโน ใสนมขนหวานมาก เชาวันหนึ่งเมื่อตื่นขึ้นมา ฉันก็ไดเห็นกาแฟกับขนมรสคาปูชิ โนที่แมวางทิง้ ไวใหบนโตะในครัว “หนูจะกินอะไรใชอะไรในนี้ไดทุกอยางตามสบายเลยนะ” พอคนไทยของฉันบอก ตั้งแตวน ั แรกทีพ ่ าฉันเดินสํารวจบาน แมกับพอคนไทยจะออกคาจายตลาดและอาหารเย็นใหฉน ั ไมวาฉันจะพยายาม หามปราม หรือชิงควักเงินจากกระเปาตัดหนาพวกเขาก็ตาม พวกเขายังคอยเตือน ฉันใหอาบน้ํา บอกวาควรไปไหนบาง กินอะไรถึงจะดี จะนัง่ ยังไง และแมกระทั่ง จะเดทกับใคร ฉันพยายามอยูถึงสามเดือนที่จะโนมนาวพวกเขาวาฉันอาบน้ําแค วันละครั้งเทานัน ้ แตฉันก็ยังคงไดยินประโยค อาบน้ํากีค ่ รัง้ อยูนั่นเอง นี่เปนเรื่อง ที่ชวนหงุดหงิดจริง ๆ แตพอพวกเขาแวะมาหาหลังโรงเรียนเลิกเพื่อเช็คดูวาฉันมี อาหารกินหรือเปลา หิวหรือเปลา เรื่องอื่น ๆ ก็เลยไมเปนไร โลกนี้มักจะมีทงั้ หยิน และหยาง ใหและรับ เหรียญมีสองดาน เพียงแตพอแมคนไทยของฉันมักจะทําให ฉันรูส ึกเปนผูร บ ั เสมอ
Fulbright-Hays Seminar Abroad Program Reflections on Thailand and Vietnam Summer 200715 Jeanette Barbari 2007 Fulbright-Hays Seminar Abroad Program From Montgomery Country Public Schools, Silver Spring, MD
Being selected to participate in the Fulbright-Hays Thailand and Vietnam Seminar Abroad Program was a true blessing and an unforgettable worldly experience for me. The program was well organized with a variety of outings, seminars and hands on-activities, allowing for a rich and enlightening experience that will last a lifetime. The knowledge I gained from this experience has impacted my personal and professional growth, allowing me to make many cross-cultural connections within may own life. Thailand and Vietnam both revealed cross-cultural connections throughout the trip and they will remain in my memory as part of a new personal perspective I’ve gained. Being an Arab-American of Palestinian decent, my upbringing included an integration of both American and Arabic culture. While in Thailand, on many occasions, my new found Thai friends and acquaintances realized similarities within our different cultures. One interesting aspect in both cultures refers to
15
Originally published in Fulbright Newsletter Issue 20, December 2007
dating and marriage. In the Arabic culture, traditionally a male and female do not go on typical one-on-one dates. Instead, the couple will get to know each other by a group outing. This is very similar to the Thai style of dating, yet different from traditional American dating, where it is typically a one-on-one date. Family bonds are very strong in both cultures as well. With this type of bond in the Thai and Arabic cultures, it is common for children, both male and female, to live with their parents until they are married. In an American family, it is typical for a young adult to move out, heading out to college first, and then living independently. These are just a few examples of the cross-cultural connections. Superstitions are universal, and the examples in the different cultures are unlimited. Amulets, charms and icons are used in the various cultures as part of daily beliefs and lifestyle. Amulets are prominent in Thailand and many amulets are sanctified in ceremonies to empower the amulet with supernatural powers. One new trend in Thailand is the Jatukarm charm used for good luck and fortune. In many Middle Eastern cultures, an evil eye, in the form of a blue eye amulet, is used to ward off evil spirits, jealousy and envy, and other negative energy. In the United States, many Americans believe in good luck charms such as a rabbit foot or a horseshoe. Other American superstitions include not walking under a ladder or you will have bad luck, or not letting a black cat pass you, or you will have bad luck. Americans have lucky numbers as well, such as lucky seven, or bad luck from the number thirteen. In Thai and Middle Eastern culture, palm reading and fortune telling is a common practice. Now, palm reading has become a trendy new business in American society. In Thailand, it is poor etiquette and
bad luck to have the sole of your shoe facing upward. It is offensive to God and is depicted as walking on heaven. In Thai culture, spirit houses are created outside of any new dwelling, home, or business for the spirit guarding the land. It is customary to leave offerings of food, flowers, incense sticks and candles to show respect and give tribute to the spirit. The list of various superstitions and practices are endless and are apparent in all cultures. Another commonality was discovered while learning about the Hill Tribes of Thailand and Vietnam. Each Hill Tribe group is distinguished by their unique dress and jewelry. This is similar to what is seen in various towns in Palestine. Each town has a special dress with specific patterns and colors that represent that town. Both Hill Tribes and Palestinians utilize embroidery in their clothing and other textiles. Other similarities between Vietnam, Thailand and Palestine, are the buying and selling of products. You can bargain, haggle, and compliment to purchase an item at any flea market in Asia and the Middle East. It is a skill that takes much practice and patience to master! While walking in the flea markets, in all three countries, your appetite can be tempted by fresh food markets, and fresh meat markets along the streets. Although all three countries have distinctive and authentic cultures, there are many similarities between them. My Fulbright experience encompassed a stimulating education and thrilling adventure that will last a lifetime. My experiences will remain in my heart and continue to influence my personal growth. Hearing monks chanting in monasteries, exploring ancient Thai parks and historical temples, leisurely floating down the Perfume River in Vietnam, listening
to classic Vietnamese music, and learning traditional Thai dance steps and hand movements are just a few irreplaceable experiences. More importantly, and more valuable are the lasting friendship formed while traveling for five weeks throughout Asia. This included my friendships with other Fulbright teachers who were rewarded with a scholarship and the various members of the organizations that worked to prepare each seminar, outing and hands-on activity. Together, we learned about each other, shared laughter, smiles and knowledge, and engaged in active learning with openness and willingness. The seminar was well organized, very detailed, and with exceptional collaboration, allowed the opportunity for a deep, meaningful experience that will stay within my heart for many years to come.
ภาพสะทอนจากประเทศไทยกับประเทศเวียดนาม จากโครงการฟุลไบรท-เฮส 255016 เจเน็ท บารบารี 2007 Fulbright-Hays Seminars Abroad Program From Montgomery County Public Schools, Silver Spring M.D. แปลและเรียบเรียงโดย จักรี เตจะวารี ผูจัดการสวน สํานักกลยุทธ บริษัทเอส แอนด พี ซินดิเคท จํากัด มหาชน, 2011 Open Competition Scholarship Program @ Fordham University
การไดรับคัดเลือกใหเขารวมโครงการฟูลไบรท-เฮสทป ี่ ระเทศไทยและประเทศ เวียดนามนับเปนเรื่องโชคดียงิ่ และเปนประสบการณระดับโลกที่ลืมไมลงสําหรับ ฉัน โครงการนี้ไดรบ ั การจัดขึ้นอยางดี โดยมีทั้งกิจกรรมการเดินทางที่ หลากหลาย การสัมมนา และกิจกรรมที่ไดลงมือปฏิบัติดว ยตนเอง ทําใหฉันไดรบ ั ประสบการณทเี่ ขมขนและรูจ ริงซึ่งจะอยูตด ิ ตัวไปตลอดชีวิต ความรูท ฉ ี่ น ั ไดรบ ั จากประสบการณครัง้ นี้มีผลอยางสําคัญกับการเติบโตทางความคิดและงานของ ฉัน ทําใหฉันสามารถเชือ ่ มโยงการเรียนรูขา มวัฒนธรรมที่หลากหลายเขากับชีวิต ของฉันเองได ทั้งในประเทศไทยและประเทศเวียดนามลวนปรากฏการเชือ ่ มโยงขามวัฒนธรรม ใหเห็นตลอดชวงการเดินทาง ทําใหฉันไดเกิดมุมมองใหมที่จะคงอยูในความทรง จํา...การที่ฉน ั เปนคนอเมริกันอาหรับที่มีเชือ ้ สายปาเลสติเนียน ทําใหฉน ั ไดรบ ั การ เลี้ยงดูมาแบบผสมผสานทัง้ วัฒนธรรมอเมริกน ั และวัฒนธรรมอาหรับ หลาย ๆ ครั้ง ในชวงทีอ ่ ยูในประเทศไทย ฉันพบวาเพือ ่ นหรือคนไทยที่ไดรูจักมีอะไรคลายกัน หลายอยางแมจะตางวัฒนธรรมกัน มุมมองหนึ่งที่นาสนใจของทั้งสองวัฒนธรรมก็ คือเรื่องเกี่ยวกับการหาคูค รองและการแตงงาน ในวัฒนธรรมอาหรับ ตามธรรม เนียมแลวผูชายและผูหญิงจะไมนัดพบกันแบบสองตอสอง แตจะเรียนรูจักกันโดย การไปพบเจอกันแบบเปนกลุม เรื่องนี้นบ ั วาคลายคลึงกับการนัดพบกันของไทย ซึ่งแตกตางจากการนัดพบกันของหนุมสาวอเมริกันทั่วไปซึง่ มัก จะนัดเจอกันแบบ
16
พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 20, ธันวาคม 2550
สองตอสอง เชนเดียวกันกับสายใยความสัมพันธในครองครัวที่มค ี วามเหนียวแนน ในวัฒนธรรมไทยและอาหรับ ทําใหเปนเรือ ่ งปกติที่ลูก ๆ ไมวาจะเปนผูหญิงหรือ ผูชายจะอยูร วมชายคากับพอแมจนกระทัง่ พวกเขาแตงงานออกไป ในขณะที่ ครอบครัวอเมริกันนั้นจะถือเปนเรื่องปกติที่เด็กที่โตแลวจะยายออกบานไป โดยไป เขามหาวิทยาลัยกอน จากนัน ้ ก็แยกไปอยูเองอยางอิสระ นี่เปนเพียงบางตัวอยาง ของความเชือ ่ มโยงขามวัฒนธรรม ความเชื่อในทางไสยศาสตรก็ถือเปนเรื่องสากล และมีตว ั อยางทีไ ่ มจํากัดในหลาย วัฒนธรรม ไมวาจะเปนเครือ ่ งราง เวทยมนต และรูปเคารพบูชา ก็ไดถูกนํามาใช ในหลายวัฒนธรรม โดยเปนสวนหนึ่งของความเชือ ่ ในชีวิตประจําวันและรูปแบบ การใชชว ี ิต เครื่องรางมีความโดดเดนมากในประเทศไทย และเครื่องรางจํานวน มากไดรบ ั การปลุกเสกในพิธีเพื่อเสริมกําลังใหเครือ ่ งรางนั้นดวยอํานาจเหนือ ธรรมชาติ กระแสใหมในไทยอันหนึง่ ก็คอ ื จาตุคามรามเทพซึ่งไดรบ ั การบูชาเพื่อ ความโชคดีและมีลาภ ในหลายวัฒนธรรมแถบตะวันออกกลาง ดวงตาปศาจซึง่ เปนเครื่องรางรูปดวงตาสีฟาก็ไดรบ ั การนํามาใชเพื่อปดรังควาญจากวิญญาณ ปศาจ ความอิจฉาริษยา และพลังงานดานลบอืน ่ ๆ ขณะที่ในสหรัฐอเมริกา คน อเมริกันหลายคนเชื่อวาเครื่องรางบางชนิดจะทําใหโชคดี เชน ขากระตาย เกือก มา เปนตน ความเชื่อทางไสยศาสตรแบบอื่น ๆ ของอเมริกน ั ก็เชน การหามเดิน ลอดใตบน ั ไดเพราะจะทําใหโชคราย หรืออยาปลอยใหแมวดําวิ่งตัดหนาเพราะจะ ทําใหโชคราย เปนตน นอกจากนี้คนอเมริกันก็ยังมีความเชื่อในเรื่องของตัวเลข นําโชค เชน เลขเจ็ดนําโชคดี หรือเลขสิบสามนําโชคราย ในวัฒนธรรมไทยและ วัฒนธรรมตะวันออกกลาง การอานลายมือและทํานายโชคชะตาถือเปนเรือ ่ ง สามัญทีท ่ ํากันทั่วไป ขณะที่ในตอนนี้การอานลายมือกําลังเปนกระแสธุรกิจใหม ในสังคมอเมริกน ั ในประเทศไทยการใชเทาชี้ไปที่พระพุทธรูปหรือใครก็ตาม โดยเฉพาะในวัดถือเปนเรื่องทีไ ่ รมารยาทและอัปมงคล ในหลายวัฒนธรรมของ ทางตะวันออกกลางก็ถือเปนเรื่องอัปมงคลทีจ ่ ะหงายฝาเทาขึ้น โดยถือเปนการลบ หลูพระเจาและถูกมองวาเปนเหมือนการเหยียบพื้นสวรรค ในวัฒนธรรมไทย ศาล พระภูมิไดรบ ั การสรางไวนอกชายคาอาคารไมวาจะเปนบานพักอาศัยหรือ สํานักงานทางธุรกิจเพื่อใหวิญญาณเจาที่ไดชว ยมาปกปกรักษา และก็ถือเปน ธรรมเนียมปฏิบต ั ิที่จะถวายอาหาร ดอกไม ธูปและเทียนเพื่อแสดงความเคารพ บูชาแกดวงวิญญาณ จํานวนของความเชือ ่ และแนวทางปฏิบัติดานไสยศาสตรจงึ มีอยูอ ยางนับไมถวนและปรากฏใหเห็นไดทว ั่ ไปในทุกวัฒนธรรม จุดรวมทีค ่ ลายคลึงกันอีกอยางหนึ่งที่ไดคน พบในชวงทีฉ ่ ันเรียนรูเกี่ยวกับชาวเขา ในไทยและเวียดนามก็คือ ชาวเขาแตละเผาจะจําแนกความแตกตางกันไดจากชุด และเครื่องประดับที่เปนเอกลักษณเฉพาะตัว ซึ่งลักษณะดังกลาวนีก ้ ็มีความ
คลายคลึงกับเมืองตาง ๆ ในปาเลสไตน โดยในแตละเมืองจะมีชุดพิเศษซึง่ มีลาย และสีจาํ เพาะที่เปนสัญลักษณของเมืองนั้น ๆ ทั้งชาวเขาและชาวปาเลสไตนยัง อาศัยการเย็บปกถักรอยเพื่อทําเสื้อผาเครือ ่ งนุงหมของพวกเขาอีกดวย ความ คลายคลึงอืน ่ ๆ ในเวียดนาม ไทย และปาเลสไตนกค ็ ือเรื่องรูปแบบของการซือ ้ การขาย คุณสามารถเจรจาตอรองราคา และพูดจาเกลี้ยกลอม หวานลอมในการ ซื้อสินคาในทุกตลาดทั้งในเอเชียและตะวันออกกลาง โดยถือเปนทักษะทีต ่ องใช การฝกฝนและความอดทนมากทีเดียวกวาจะชํานาญ ในขณะที่เราเดินผานตลาด ในประเทศทั้งสาม เราจะรูส ึกหิวขึ้นมาทันทีเพราะเมือ ่ ไดกลิ่นและเห็นอาหารที่ เรียงรายอยูส องขางทาง แมวาทั้งสามประเทศจะมีวัฒนธรรมที่เปนเอกลักษณ เฉพาะตัว แตก็ความความคลายคลึงกันดังปรากฏใหเห็นตามที่ไดกลาวมาแลว ประสบการณทไ ี่ ดรบ ั จากฟุลไบรทไมวาจะเปนเรื่องกระตุนการเรียนรูไปจนถึงการ ผจญภัยทีน ่ าตืน ่ เตนจะอยูกบ ั ฉันไปชั่วชีวิต ประสบการณนี้จะคงอยูในใจฉันและ ชวยทําใหความคิดอานของฉันไดเติบโตตอไป การไดยินเสียงพระสวดมนตในวัด วาอาราม การไดสํารวจเมืองโบราณและวัดเกาแกทั้งหลาย การลองเรือไปเรือ ่ ยๆ ตามลําน้ําหอมในเวียดนาม การไดสดับเสียงดนตรีคลาสสิคของเวียดนาม และ การไดเรียนกระบวนทาและลีลาของมือในการรําไทย ลวนเปนเพียงตัวอยาง ประสบการณเพียงเล็กนอยทีไ ่ มอาจหาสิง่ ไหนมาทดแทนได และทีส ่ ําคัญและมีคา ยิ่งไปกวานัน ้ ก็คือมิตรภาพซึ่งเกิดขึ้นจากการเดินทางในชวงหาสัปดาหทั่วทัง้ เอเชียที่จะคงอยูตลอดไป เชนเดียวกับครูในโครงการฟุลไบรทคนอื่น ๆ ทีไ ่ ดรบ ั ทุนนี้และบรรดาเหลาผูจัดงานจากหนวยงานตาง ๆ การเดินทางทองเที่ยว รวมทั้ง กิจกรรมที่ไดลงมือปฏิบัติ เราไดรูจักกัน แลกเปลี่ยนเสียงหัวเราะ รอยยิ้ม และ ความรูอ ยางกระตือรือรนดวยใจที่เปดกวางและอยางตัง้ ใจ การสัมมนาไดรบ ั การ จัดขึ้นอยางดี มีการเก็บรายละเอียด และมีการรวมมือกันเปนอยางดียงิ่ อันนําไปสู ประสบการณทม ี่ ีความหมายและลึกซึง้ ซึง่ จะอยูในใจฉันไปอีกนานหลายป
Fun-to-learn Fair17 Piya Kerdlap 2013 Fulbright U.S. Student Program @King Mongkut’s University of Technology Thonburi
On November 28, 2013, the Fulbright Thailand organization hosted a Fun-to-Learn Fair at Chulalongkorn University as part of the 180th anniversary celebration of Thai-U.S. relations. This event brought together all the 2013-2014 Fulbright grantees comprising of English teachers, researchers, and scholars from different career and academic background with a common mission of raising awareness about major issues in the U.S. Participants in the Fun-to-Learn fair included high school students and teachers from the Bangkok Metropolitan Area and students at Chulalongkorn University. They engaged with Fulbright grantees at different activity stations to learn about US issues such as democracy, human rights, peace diversity, harassment, plagiarism, and LGBTQ (“L”esbian, “G”ay, “B”isexual, “T”ransgender, “Q”ueer or “Q”uestioning). One activity station at the Fun-to-learn Fair focused on the issue of harassment in the U.S. This group focused specifically on bullying as a form of harassment since the participants of the Fun-to-learn Fair could
17
Originally published in Fulbright Newsletter Issue 38, December 2013
better relate to bullying than other forms of harassment. At this activity station the Thai students learned about the different forms of bullying such as physical, social, and mental and the effects on the victims of each type of bullying. The Thai participants then had a chance to write an example of bullying in Thailand on a post-it note and put it up on one side of a large board while the Fulbright grantees posted examples of bullying that exist in the U.S. on the other side of the board. Through this engaging activity, the students were able to compare bullying in both Thailand and the U.S. Before leaving the booth, the Thai students had a chance to write down how they would stop bullying on a sign and have their picture taken. Different ideas on how students would stop bullying included “telling a teacher” and “acting kindly towards others”. This last part of the activity was a fun and simple way for the participants to think about what they learned about bullying at the harassment activity booth and how they could apply this knowledge to help prevent bullying in their daily lives. A great deal of knowledge on the issue of bullying was exchanged between the Thai student participants and the Fulbright grantees. The Thai students learned about how bullying is an issue that is taken very seriously in the U.S. whereas in Thailand bullying is not taken very seriously. Both the Thai students and Fulbright grantees came to a mutual understanding that there is more bullying in the U.S. due to the greater ethnic diversity that exists. They also concluded that the issue is taken more seriously in the U.S. simply because the amount of people in this country who have suffered from the effects of bullying such as depression, self-mutilation, suicides, and deaths are much greater. Therefore it makes sense that bullying in the U.S. is taken very
seriously. At the same time, these negative effects of bullying could very well exist in Thai society but may not be well documented. Through engagement with some of the college students at Chulalongkorn who visited the harassment learning station, the Fulbright grantees learned that some forms of bullying (e.g., racial comments) exist between Thai people and people from bordering countries such as Cambodia, Laos, and Myanmar. This event was a great opportunity for both Thai students and Fulbright grantees to exchange knowledge on a variety of topics. While the Thai students learned about the different issues in the U.S., the Fulbright grantees were able to learn about how these issues exist in current Thai society from the perspective of young students. By the end of the day all participants walked out with a greater understanding of not only the differences between the US and Thailand but also their similarities.
Fun-to-Learn Fair18 ปยะ เกิดลาภ 2013 Fulbright U.S. Student Program @ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี แปลโดย ธาริต นิมมานวุฒิพงษ, 2008 Open Competition Scholarship Program @ University of California, Davis
เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2556 ฟุลไบรทประเทศไทยเปนเจาภาพจัดงาน “สนุกที่ จะเรียนรู (Fun-To-Learn)" ที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยงานนี้เปนสวนหนึ่ง ของการเฉลิมฉลอง ความสัมพันธระหวางไทย – สหรัฐฯ ครบรอบ 180 ป เมื่อปที่ แลว ซึ่งมีผูรวมงานคับคั่ง ในสวนผูจัดจะนําโดยผูรับทุนฟุลไบรทในปการศึกษา 2556-57 จากหลากทุน อาทิ ครูสอนภาษาอังกฤษ นักวิจัย และนักวิชาการสาขา ตาง ๆ โดยมีภารกิจรวมกันที่จะกระตุนใหผูเขารวมงานตระหนักถึงประเด็นตาง ๆ ที่ สํ า คั ญ ในสหรั ฐ ฯ ผู เ ข า ร ว มงานครั้ ง นี้ ป ระกอบด ว ยนั ก เรี ย นและครู จ ากเขต กรุ ง เทพมหานคร รวมทั้ ง นั ก ศึ ก ษาจากจุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย ได ร ว มกั น ทํ า กิจ กรรมกั บ พี่ ๆ ผู รั บ ทุ น ฟุ ล ไบรท ที่ ฐ านกิจ กรรมต า ง ๆ โดยมี วัต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ นํ า เสนอเรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ ประชาธิ ป ไตย สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน สั น ติ ภ าพ ความ หลากหลาย การคุกคาม การละเมิดทรัพยสินทางปญญา และกลุมเพศทางเลือก จากมุมมองของคนอเมริกัน ฐานเรียนรูฐานหนึ่งในงาน “สนุกที่จะเรียนรู” เนนปญหาการคุกคามในสหรัฐฯ โดยเฉพาะเรื่ อ งการล อ เลี ย น เนื่ อ งจากผู ร ว มกิ จ กรรมอาจเข า ใจการล อ เลี ย น มากกวาการคุกคามในรูปแบบอื่นๆ ที่ฐานนี้เองนักเรียนไทยไดเรียนรูเกี่ยวกับการ ล อ เลี ย นในรู ป แบบต า ง ๆ ทั้ ง ทางกายภาพ ทางสั ง คมและทางจิ ต ใจ รวมถึ ง ผลกระทบจากการตกเปนเหยื่อของการลอเลียนในรูปแบบตาง ๆ ทุกคนรวมกันทํา กิจกรรมเปรียบเทียบการลอเลียนที่มีในประเทศไทยกับในสหรัฐฯ เพื่อทําความ เขา ใจถึงความแตกตาง และกอ นที่จะออกจากฐานนี้ ยังเปด โอกาสใหนักเรียน ไทยไดเขียนแนะนําวิธีหยุดการกลั่นแกลงบนปายและถายภาพเปนที่ระลึกอีกดวย
18พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท
ฉบับที่ 38, ธันวาคม 2556
คํ า แนะนํ า นั้ น ต า งกั น ออกไป เช น “ไม นิ่ ง เฉย บอกคุ ณ ครู " และ “ประพฤติ ดี ต อ ผูอื่น” กิจกรรมสุดทายนี้ถือเปนวิธีที่สนุกสนานและเรียบงาย แตทําใหทุกคนได ใคร ค รวญถึ ง สิ่ ง ที่ พ วกเขาได เ รี ย นรู เ กี่ ย วกั บ การล อ เลี ย นที่ ฐ านกิ จ กรรม และ สามารถใชความรูนี้เพื่อชวยปองกันไมใหเกิดการลอเลียนในชีวิตประจําวันของ พวกเขาเองได ในงานนี้มีการแลกเปลี่ยนความรูเกี่ยวกับการลอเลียนระหวางผูเขารวมกิจกรรม ทั้ ง นั ก เรี ย นและผู รั บ ทุ น ฟุ ล ไบรท อ ย า งเป ด กว า ง โดยนั ก เรี ย นได เ รี ย นรู ว า การ ลอเลียนเปนปญหาที่มีการดําเนินการปองกันและแกไขอยางจริงจังมากในสหรัฐฯ ในขณะที่ประเทศไทยไมไดดําเนินการอยางจริงจังเทาใดนัก นอกจากนี้ ทุกคน ไดเรียนรูและเขาใจรว มกัน วา การที่ส หรัฐฯ มีอัตราการลอเลียนอยูในระดับสูง เนื่องจากความหลากหลายทางชาติพันธุ และการดําเนินการอยางจริงจังมากขึ้น นั้น ก็เปนเพราะผูที่ไดรับความเดือดรอนจากการถูกลอเลียนมีการแสดงออกดวย อาการตางๆ เชน ซึมเศรา ทํารายตัวเอง ฆาตัวตาย และ เสียชีวิต มีจํานวนมาก ขึ้นนั่นเอง เรื่องราวการลอเลียนตาง ๆ เหลานี้ แมจะไมไดมีการติดตามหรือบันทึก ขอมูลในสังคมไทย แตก็ปฏิเสธไมไดวาอาจเกิดขึ้นในวงกวางเชนกัน ตัวอยางหนึ่งที่ผูรับทุนฟุลไบรทไดเรียนรูจากนักเรียนนักศึกษาที่เขารวมกิจกรรม คือ การลอเลียนและการกลั่นแกลงระหวางคนไทยดวยกันเองและคนจากประเทศ เพื่ อ นบ า น เช น กั ม พู ช า ลาว และพม า ในรู ป แบบของการเหยี ย ดเชื้ อ ชาติ กิจกรรมนี้ถือเปนโอกาสที่ดีสําหรับทั้งนักเรียนไทยและผูรับทุนฟุลไบรทในการ แลกเปลี่ยนความรูในหลากหลายหัวขอ ในขณะที่นักเรียนไทยไดเรียนรูเกี่ยวกับ ปญหาที่แตกตางกันในสหรัฐฯ ผูรับทุนฟุลไบรทก็ไดเรียนรูเกี่ยวกับปญหาเหลานี้ ที่แฝงตัวอยูในสังคมไทยในปจจุบันจากมุมมองของเด็กรุนใหม ทายนี้ ผูเขารวม กิจ กรรมทุก คนต า งได รั บ ความรู แ ละความเข า ใจติ ด ตัว กลับ บ า นไปมากขึ้น ไม เพี ย งเฉพาะความแตกต า งระหว า งสหรัฐ ฯ และไทยเท า นั้ น แต ยั ง รวมถึ ง ความ คลายคลึงกันของทั้งสองประเทศอีกดวย
Caring Hearts for Our Soldiers19 Korin Tangtrakul 2011 English Teaching Assistantship Program @Sawan Anan Wittaya School, Sukhothai
On November 16th and 17th; Sawananan Wittaya School held a fundraiser for the soldiers in Bangkok that have been working so hard during the flood, but don’t get much attention for their diligence and bravery. Many resources and fundraisers went toward victims. Soldiers delivered goods, built sandbag walls, and carried people through the flood waters. However, the soldiers themselves rarely received any aid. With the generous help of my host teachers, P’Sonya, we decided to have a benefit concert as a fundraiser, and open it up to the community. By the following week, I was following P’Sonya around as she met the band director, the mayor and the sheriff. Before we knew it, we had three bands, a banner, and donation boxes. The entire foreign language department set up at the night market in Sawankhalok for two nights of a benefit concert. I arrived at Soi 8, our night market, as the sun was setting. The band was already set up, the banner that read ‘Bags of caring Hearts’ was already hung, and P’Sonya was waiting for the American voice to make the announcement at the fundraiser. After my introduction, the band commenced our fundraiser. I couldn’t believe the amount of people that
19
Originally published in Fulbright Newsletter Issue 32, December 2011
donated money. Even laborers and market vendors dropped in 20 baht as they passed by. 20 baht may not be much, but 20 baht at our market can easily buy you a whole dinner. Can you imagine spending an entire dinner’s worth of money on the American’s cause, who just stepped foot in your hometown for the first time three weeks ago? Charities are an amazing thing in Thailand because people are so generous, even if they have very little to offer. It was incredibly inspiring to see a mother on her motorbike, handing money to her daughter on her lap, so her daughter could put the money into the donation and receive the good karma associated with giving. Out of everyone, I think the band had the most fun. With every song, the size of the band increased, and eventually the band had fifteen kids behind the set, most of them still outfitted in their school uniforms, waiting for a chance to play. They played longer than we could stay on our feet, and when some of my students had a break, they took the leadership role from me and walked around the market asking for donations. Though still too shy to speak English to my teacher, I think the event brought me immeasurably closer to those students who became involved. On Thursday night after the second night of fundraising, we counted how much money we had made. In two nights, we raised 24,000 baht, about $775! On Friday morning during the morning announcements at school, I gave a huge thanks to the school and P’Sonya for putting together the exciting fundraiser. To go along with the 24,000 baht, I also had my students craft their own letters to the soldiers, and sent it all to ‘Bags of Caring Hearts’ in care of the Fulbright office in Bangkok.
ถุงน้าํ ใจใหทหาร20 โคริน ตั้งตระกูล
2011 Fulbright English Teaching Assistantship Program @ โรงเรียนสวรรคอนันตวิทยา จังหวัดสุโขทัย แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน (ฟุลไบรท)
เมื่อวันที่ 16-17 พฤศจิกายน 2554 โรงเรียนสวรรคอนันตวิทยาจัดกิจกรรมระดม ทุนเพื่อทหารผูเหนื่อยยากจากภารกิจชวยเหลือผูประสบภัยน้ําทวมในกรุงเทพฯ แตดูเหมือนความทุมเทและความยากลําบากของเหลาทหารจะไมคอยไดรับความ สนใจสักเทาใดนัก ทรัพยากรและเงินชวยเหลือหลั่งไหลไปยังผูประสบภัยเสียเปน สวนใหญ โดยทหารผูนําสงสิ่งของ สรางกําแพงกั้นน้ําจากถุงทราย และชวยเหลือ ผูคนในการสัญจรไปมาในเขตพื้นที่น้ําทวม กลับเปนกลุมสุดทายที่จะไดรับความ ชวยเหลือ หลังจากปรึกษากับพี่ซอนญา ครูพี่เลี้ยงของฉัน เราก็ตกลงวาจะจัดงานแสดง ดนตรี ก ารกุ ศ ลเพื่ อ ระดมทุ น ในชุ ม ชนของเรา อาทิ ต ย ถั ด มา ฉั น ตระเวนตามพี่ ซอนญาไปพบผูอํานวยการวงดนตรี นายกเทศมนตรี และนายอําเภอ แลวเราก็ได วงดนตรีมาถึงสามวง พรอมปายชื่องาน และกลองรับบริจาค ผานไปแคพริบตา กลุมสาระตางประเทศก็สามารถจัดงานแสดงดนตรีการกุศลในตลาดกลางคืนเมือง สวรรคโลกไปแลวถึงสองคืนติดกัน เมื่อฉันมาถึงตลาดกลางคืนที่ซอย 8 หลังพระอาทิตยตก วงดนตรีก็พรอมอยูแลว และมีปายเขียนขอความวา “ถุงน้ําใจใหทหาร” หอยอยูเรียบรอย พี่ซอนญาเพียง แครอคนอเมริกันอยางฉันมาประกาศประชาสัมพันธงานเทานั้น ไมนาเชื่อเลยวา จะมีค นมาบริจ าคเงิน กัน เยอะขนาดนี้ แมกระทั่ ง คนงานกรรมกร พอ คาแมคา ที่ ผานไปมาก็ยังอุตสาหชวยสมทบทุนกันคนละ 20 บาท แมวาเงิน 20 บาทอาจจะ ไมมากนัก แต 20 บาทที่ตลาดของเราสามารถซื้ออาหารไดทั้งมื้อเลย เหลือเชื่อ จริง ๆ วาจะมีคนบริจาคเงินที่จะเปนคาอาหารเย็นใหกับโครงการของคนอเมริกัน ที่เพิ่งโผลเขามาในชุมชนเมื่อสามอาทิตยกอนหนานี่เอง การทําบุญเปนเรื่องนาทึ่ง
20
พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 32, ธันวาคม 2554
ในเมือ งไทย เพราะผูคนที่นี่ใจกวางอยางมาก แมพวกเขาแทบจะไมมีเงินเลยก็ ตาม ฉันซึ้งใจอยางมากที่เห็นคุณแมซึ่งขี่มอเตอรไซคผานมายื่นเงินใหลูกสาวที่ อยูบนตักเพื่อเอามาหยอดใสตูบริจาคเพราะอยากใหลูกสาวไดทําบุญดวย ทั้งหมดทั้งมวลแลว ฉันคิดวานักดนตรีดูจะสนุกที่สุด สมาชิกในวงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามจํานวนเพลง จนทายที่สุดก็มีคนรอตอคิวเลนกันถึง 15 คนและสวนใหญยัง สวมชุด นักเรี ย นอยู เลย พวกเขาเลน เพลงนานขึ้ นเรื่อ ย ๆ ทํ า ใหเ มื่อ ยจนยืน กั น แทบไมไหว บางคนพอไดพักก็ควากลองจากมือฉันไปเดินขอรับบริจาคเสียเอง ถึง พวกเขายั ง อาย ๆ ที่ จ ะพู ด ภาษาอั ง กฤษด ว ย แต ฉั น รู สึ ก ว า งานนี้ ทํ า ให เ ราได ใกลชิดกันมากขึ้น คืน วั น พฤหั ส หลั ง จบงานระดมทุ น คืน ที่ ส องเราก็ ม านั บ เงิ น กัน ปรากฏว า ได เ งิ น บริจาคถึง 24,000 บาท หรือ 775 เหรียญในเวลาเพียงแคสองคืน! ตอนเชาวัน ศุกรตอนเขาแถวเคารพธงชาติ ฉันจึงถือโอกาสขอบคุณทุกคนรวมทั้งพี่ซอนญาที่ ช ว ยกั น จั ด งานอั น น า ประทั บ ใจครั้ ง นี้ นอกจากเงิ น บริ จ าคแล ว ฉั น ยั ง ขอให นักเรียนรวมกันเขียนจดหมายถึงทหารสงไปใหพี่ ๆ ที่ฟุลไบรท ใหชวยใสไวใน “ถุงน้ําใจใหทหาร” ดวย
‘From Apprehension to Appreciation’21 Ronda Kjelgren Spouse of Prof. Roger Kjelgren, Ph.D. 2005 Fulbright U.S. Scholar Program From Utah State University @Faculty of Forestry, Kasetsart University
If you are a spouse considering coming to Thailand with your family under the Fulbright Program, I would happily advise, “Please do!” We were a bit apprehensive at first, but we feel that coming here and living as a family unit among the Thai perhaps made us more understandable to them, and opened the way for us to become a part of their lives. It is an experience we will not soon forget. It is important to understand that the Thai people see themselves as one big family, and children are treated as this family’s treasures. This feeling of being treasured as a child may be one reason why they smile so readily as adults. They are loved and nurtured by everyone around them. Each person here is a relative to them, and this national connection continues throughout their lives. Friends are introduced as “younger sister”, “older brother”, “aunt”, etc. In fact, there is no distinction in the Thai language between a blood relative and a friend! My daughter Kajsa, 17, felt immediately welcomed and cared for by them. She seemed to become part of their family, and by association, my husband Roger and I were also welcomed. One young woman even
21
Originally published in Fulbright Newsletter Issue 15, April 2006
told us that since Kajsa was now her friend, Roger was now her daddy! Though odd from an American viewpoint, this is quite logical to a people who see themselves as one very large family who just happen to inhabit an entire country. As you are deciding what to pack, there are some important Thai customs to consider. What you wear is particularly important in imageconscious Thailand. “Farangs� (westerners) are stared at in all but heavy tourist areas, but dressing according to local customs does reduce the intensity. All office people wear dressy casual, though women professionals may wear suits. All students, from first grade through undergraduate, wear uniforms. Jeans or long pants are common casual wear, with skirts or Capri pants added for women. Button-down shirts, golf shirts, and stylized tees are common. Sleeveless shirts and shorts are rare except among trendy young Thai women, or Farangs in tourist areas. Thais wear long shorts (to the knees) and tees to swim instead of swimsuits (or perhaps over them?). Workout clothing is quite modest for women but less so for men. Long pants and oversized tees are the norm for women. Be aware that more rural areas require more modest attire to be respectful. Clothing is cheap to purchase here in smaller sizes, though quality varies greatly. Anything sized 14 or over for women or X-Large for men is difficult to find and more expensive. Generally, Thais are smaller in stature than most Americans, so there are very few larger sizes available. 100% cotton is expensive and rare. Sandals are great for shoes, though professionals do not wear them. Flip-flops are quite common for casual wear. Slip-ons are really nice to
have because shoes are taken off to go inside homes, or in some businesses. Female shoes are readily available for size 8 and below. We haven’t looked at sizes in different makes, but we’ve heard that sizes above 10 are hard to find. So, try to bring most of the clothes and shoes that you’ll need for your stay in Thailand. We did have our family send us one care package from home of things we did not originally think to bring (above the knee denim skirts, extra jeans, and our preferred herbal remedies for colds). This was quite expensive because of shipping and customs taxes, but worth every cent to us in comfort. As Americans, there are several aspects to living in Thailand that take some getting used to. What we call a restroom or bathroom in English is called “toilet” or “hogn naam” by the Thais. The traditional Thai toilet is a low squatter type where you actually stand on the sides of the ”bowl” and take aim. They use water for cleansing, and flush by pouring water into the toilet, both activities accomplished with a nearby container of water and bowl. Sometimes there is a separate hose for personal cleansing. If one does use paper, it is thrown into a waste basket beside the toilet. Western toilets are becoming more common, though finding tissue in public is unusual. If you are in a place with multiple stalls and are faced with using a Thai toilet, do check further down the row, there just may be a western surprise waiting for you! Bring some pocket-sized tissue packs with you from the U.S. until you can buy more, which you can easily get at any city supermarket. They are not available in rural areas. Keep some handy at all times (guys too)! Although most hong naams have a place to rinse your hands, soap is a luxury. Bring hand sanitizer to last until you can find some more here.
Where you do find bathroom tissue is everywhere else but the hong naam. Thais do appreciate its marvelous qualities, as it is found on surfaces everywhere in prettily crafted holders to be used as tissues or napkins for quick clean-ups. Thais prefer using a paper product only once when dabbing at mouths or spills, so tissue-weight products in small sheets are just right for them. Interestingly you can even find roll tissue in some public restrooms near the sinks for drying your hands. Personally, we think the Thais are a very neat society, and we Americans tend to feel large and messy when we eat in their company! Our stack of use tissues can get quite high by the end of a meal. Eating is another aspect that requires some adaptations. Thais eat with a large spoon in the right hand and a fork (used as a pusher) in the left. We try to use the spoon and fork as the locals do, though they have been very accepting when we revert to our normal use of a fork. Knives are not used while eating because they are a sign of violence. Fortunately most food is served in bite-sized pieces. Thai food is not what we have seen in American Thai restaurants. Here it is closer to the original, fresh every day, often unique, sometimes quite hot, and frequently delicious. Find someone immediately to teach you how to pronounce, “Mai ped kha/khrup” which means, “not hot please!” Polite toothpick use is always done behind the cover of one’s other hand. Drinking from a bottle without a straw is quite impolite, so use a straw. City supermarkets carry many essentials for homesick American tummies: PB & J (import), bread (White), milk, cereal, juice, ice cream, ketchup (it tastes a bit different), pasta and sauce, spices, etc., along with fresh fruit, veggies, eggs (never refrigerated), meats (pork is the
main staple), and seafood. Cheese and Parmesan are available, but expensive. Newer gourmet supermarkets in downtown Bangkok also carry many imports, but they can be costly, such as Cheerios selling for $8.00 per small box. Also speaking of American tastes, there are an amazing number of American fast food franchises in cities. However, they are geared to Thai tastes, so alongside some of the old American favorites you will find such foods as shrimp pizza, pork burgers, fish nuggets and corn flavored ice-cream! Is it hard living in Thailand? Yes, at times it is, but it is amazingly wonder filled also. Please come as a family. Give your children the experience of being loved by all the adults around them who become family. Let them see that there are more ways of looking at the world than as an American. Come and see what these wonderful people think of the world. And know that for those times when you need to feel like an American, there are options in place for you! Most importantly, remember that coming to Thailand as a family is an opportunity to step outside of all your family’s knowledge about how the world operates, and experience life from a new perspective; within the eyes of the great Thai family.
แบงปนประสบการณ เรื่อง “จากความกังวล”22 รอนดา เจลเกรน ภรรยาของศ. ดร. โรเจอร เจลเกรน
2005 Fulbright U.S. Scholar Program @ คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร แปลและเรียบเรียงโดย ปาริชาต มั่นสกุล, ผูพิพากษาประจําสํานักงานศาลยุติธรรม, 2007 Open Competition Program @ University of California, Berkeley
ถาคุณเปนคนหนึ่งที่กําลังตัดสินใจวาจะติดตามคูสมรสของคุณที่ไดรับทุนฟุล ไบรทมาเมืองไทยดีหรือไม ฉันขอบอกเลยวา “มาเถอะ” ตอนแรกพวกเราก็กังวล นิดหนอย แตพวกเราคิดวาการเดินทางมาที่นแ ี่ ละใชชีวิตแบบครอบครัวทามกลาง คนไทยนาเปนโอกาสอันดีทท ี่ าํ ใหเราเขาใจพวกเขาและมีโอกาสเปนสวนหนึ่ง ของชีวิตพวกเขา มันชางเปนประสบการณที่เราไมมีทางลืมมันไดงาย ๆ เลย ทีเดียว กอนอื่นตองเขาใจกอนวาคนไทยอยูกน ั เปนครอบครัวใหญและใหความสําคัญกับ ลูกหลานมาก และการไดรบ ั ความใสใจจากคนรอบขางตัง้ แตเด็ก ๆ นี่เองอาจเปน เหตุผลทีท ่ ําใหพวกเขาโตขึ้นมาเปนผูใหญทม ี่ ีความสุข พวกเด็ก ๆ ไดรับความรัก และการทนุถนอมจากทุกคนรอบขาง เขานับทุกคนเปนญาติหมดและ ความสัมพันธอน ั ยิ่งใหญนี้ดาํ เนินตอไปตลอดชีวิต เขานับเพือ ่ นเปนนองสาว พี่ชาย หรือปา ที่จริงแลว ภาษาไทยใชคําเดียวกันเรียกญาติทางสายเลือดและ เพื่อนเสียดวยซ้าํ คนไทยใหการตอนรับและดูแล Kajsa ลูกสาวอายุ 17 ป ของ เราอยางดีเสมือนวาเธอเปนสวนหนึ่งของครอบครัวเขา เลยทําใหฉันและ Roger สามีของฉันไดรับการตอนรับอยางดีไปดวย เพื่อนของ Kajsa คนนึงถึงกับบอกวา ในเมื่อ Kajsa เปนเพือ ่ นเธอ Roger ก็เปรียบเสมือนคุณพอของเธอดวย แมมันจะดู แปลกในสายตาของคนอเมริกันแตนี่เปนเรื่องธรรมดามากของประเทศไทยทีจ ่ ะ นับวาตนเองเปนสวนหนึ่งของครอบครัวใหญยักษ สําหรับการจัดของเตรียมตัวไปเมืองไทย เรื่องสําคัญที่จะตองคํานึงถึงคือ การ แตงตัวสงผลกับภาพลักษณของคุณมาก ฝรัง่ จะถูกมองในทุก ๆ ที่เวนแตสถานทีท ่ ี่
22
พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 15, เมษายน 2549
มีนักทองเที่ยวเยอะ ๆ การแตงตัวใหเขากับทองถิ่นจะชวยลดความตึงเครียดลงได บาง คนทํางานที่นี่มักแตงตัวสบายๆ แตนักธุรกิจหญิงมักใสสท ู นักเรียนตั้งแตชั้น ประถมศึกษาจนถึงมหาวิทยาลัยลวนใสเครื่องแบบ ผูคนสวนใหญใสกางเกงยีนส หรือกางเกงขายาว บางครั้งผูหญิงอาจจะใสกระโปรงหรือกางเกงครึ่งนอง สวน เสื้อเชิ้ต เสื้อยืดคอปก หรือเสื้อยืดก็พบเห็นไดทั่วไป เสื้อแขนกุดและขาสัน ้ ไมเปน ที่นิยมเวนแตวย ั รุนผูหญิงหรือฝรั่งตามแหลงทองเที่ยว คนไทยมักใสเสื้อยืด กางเกงขาสัน ้ เลนน้ํามากกวาใสชุดวายน้าํ หรือบางทีอาจจะใสคลุมชุดวายน้ําไวก็ ได ชุดออกกําลังกายของผูหญิงคอนขางสุภาพกวาของผูช าย ผูหญิงมักสวมเสื้อ ยืดใหญเกินตัวกับกางเกงขายาว อยาลืมวาการแตงตัวสุภาพของคนตางจังหวัด นั้นเรียบรอยกวาการแตงตัวสุภาพของคนในเมืองใหญ เสื้อผาขนาดเล็กราคา คอนขางถูกแตคุณภาพก็หลากหลายมาก
เสื้อผาผูหญิงขนาด
14
ขึ้นไปหรือ
เสื้อผาผูชายขนาด XL หาซื้อยากและราคาแพง โดยทั่วไป คนไทยตัวเล็กกวาคน อเมริกันสวนใหญ ราคาแพง
ดังนั้นเสือ ้ ผาขนาดใหญจงึ มีนอ ย
เสื้อผาฝายแทหายากและ
คนไทยนิยมใสรองเทาเปดสน แตนักธุรกิจชายไมนิยมใส หากแตงตัวตามสบายก็ มักใสรองเทาแตะ ควรจะมีรองเทาสวมเดินในบานดวยเพราะตองถอดรองเทาเดิน ในบานหรือสํานักงานบางแหง รองเทาผูหญิงเบอร 8 ลงมาหาไดงาย เรายังไม เคยมองหารองเทาผูชายแตทราบมาวาหารองเทาเบอร 10 ขึ้นไปยาก ดังนั้นจึง ควรเตรียมเสือ ้ ผาและรองเทาไปใหพรอม เราขอใหครอบครัวสงของที่เราลืม เตรียมตามไปทีหลัง เชน กระโปรงยีนสเหนือเขา กางเกงยีนส สมุนไพรรักษา ไขหวัด เปนตน ซึ่งคาขนสงและภาษีคอ นขางแพง แตก็คุมเพราะเราไดใชมน ั มีหลายเรือ ่ งที่คนอเมริกน ั ตองใชเวลาปรับตัวสักพักเพื่ออยูในเมืองไทย หองน้าํ ที่นี่ เรียกวา “toilet” ไมใช “restroom or bathroom” อยางที่เคยใช ถาเปนภาษาไทย เรียกวา “หองน้าํ ” หองน้ําแบบดั้งเดิมเปนแบบหองน้ําแบบหลุม ตองนัง่ ยองๆ ตอน ขับถาย เวลาทําความสะอาดก็ราดน้าํ ลงไป โดยจะมีถังน้ําและขันเตรียมไวให บางครั้งจะมีสายชําระไวใหลางกนดวย ถาใชกระดาษทิชชู ก็ใหทิ้งลงถังขยะที่ เตรียมไว สุขภัณฑแบบตะวันตกเริ่มใชกันแพรหลายแตมักจะไมมบ ี ริการกระดาษ ทิชชู หากไปเขาหองน้ําที่มีหลาย ๆ หอง แลวเจอหองน้ําแบบหลุม ใหลองเดินไปดู หองทีอ ่ ยูดานใน บางครัง้ อาจจะเจอหองน้ําแบบสุขภัณฑตะวันตกรอคุณอยูก็ได นําทิชชูขนาดพกพาติดมาจากอเมริกาดวยจนกวาคุณจะหาซื้อเพิ่มได ซึง่ หาได งายตามซุปเปอรมารเก็ต ไมมข ี ายตามตางจังหวัด ควรพกติดตัวไวตลอดเวลานะ ผูชายก็ดวย หองน้ําสวนใหญจะมีอางลางมือให บางทีอ ่ าจจะมีสบูลา งมือใหดวย ควรนําเจลลางมือติดตัวมาดวยจนกวาจะหาซื้อเพิ่มที่นี่ได
ทิชชูมีใหบริการแทบทุกที่ ยกเวนในหองน้ํา คนไทยชอบใชกระดาษทิชชูมาก มี กระดาษทิชชูวางอยูท ุกที่ ใสไวในกลองสวยงามสําหรับใชในหองน้ําหรือเช็ดปาก คนไทยมักใชกระดาษทิชชูครัง้ ตอครั้งในการเช็ดปากหรือเช็ดเวลามีอะไรหก เพราะฉะนั้นทิชชูแผนเล็กจึงเหมาะมาก บางครัง้ จะเห็นกระดาษทิชชูวางอยูที่อา ง ลางหนาเปนมวนสําหรับเช็ดมือ โดยสวนตัวแลว เราคิดวาคนไทยเรียบรอยและ คนอเมริกันจะรูส ึกวาเราตัวใหญและเลอะเทอะเวลากินขาวกันพวกเขา กวาจะกิน ขาวเสร็จกองกระดาษทิชชูก็สงู เชียว การกินขาวก็เปนอีกอยางหนึ่งที่ตอ งปรับตัว คนไทยทานขาวโดยใชมอ ื ขวาจับ ชอนและมือซายจับสอมเพือ ่ ดันอาหารเขาชอน พวกเราพยายามใชชอ นสอม เหมือนพวกเขาแตพวกเขาก็รบ ั ไดหากเราเปลีย ่ นมาใชสอมแบบทีค ่ ุนเคย เขาไม ใชมีดบนโตะอาหารเพราะเปนสัญลักษณของความรุนแรง โชคดีที่อาหารสวน ใหญอาหารมีขนาดพอดีคํา อาหารไทยทีน ่ ี่แตกตางจากอาหารไทยที่อเมริกา อาหารที่นี่เปนแบบดั้งเดิม สดใหมทุกวัน มีเอกลักษณ บางครั้งคอนขางเผ็ด สวน ใหญอาหารอรอย หาคนทีส ่ อนคุณพูดคําวา “ไมเผ็ดคะ/ครับ” ดวนเลย การใชไม จิ้มฟนแบบสุภาพคือใชอีกมือหนึ่งปดปากไว คอนขางไมสภ ุ าพ ดังนัน ้ ควรใชหลอด
การดื่มน้ําจากขวดโดยไมใชหลอด
ซุปเปอรมาเก็ตในเมืองมีขายอาหารทีค ่ นอเมริกันชอบหลายอยาง เชน เนยถัว ่ และ แยมนําเขา ขนมปงขาว นม ซีเรียล น้ําผลไม ไอศกรีม ซอสมะเขือเทศ (รสชาติ ประหลาดนิดหนอย) เสนพาสตาพรอมน้าํ ปรุงรส เครื่องเทศ เปนตน นอกจากนั้น ยังมีผลไมสด ผัก ไข (ไมแชตูเย็น) เนื้อสัตว (เนื้อหมูเปนหลัก) และอาหารทะเล ชีสก็มีขายแตราคาแพง ซุปเปอรมาเก็ตระดับสูงทีค ่ อ นขางใหมมีของนําเขา มากมายแตราคาสูง เชน Cheerios กลองเล็กราคาประมาณ 8 ดอลลาร เมื่อพูด ถึงรสชาติอเมริกันก็นึกไดวาทีน ่ ี่มีอาหารจานดวนของอเมริกน ั ขายเยอะมาก แตมี การปรับใหเขากับรสชาติแบบไทย ๆ ดังนั้น นอกจากจะมีรายการอาหารอเมริกัน แท ๆ แลว คุณยังจะไดเห็นพิซซากุง แฮมเบอรเกอรหมู ปลากอนทอด และ ไอศกรีมรสขาวโพดดวย ถาถามวาเมืองไทยอยูยากไหม ตอนแรกก็ยากอยู แตมันก็เปนเรือ ่ งที่นาอัศจรรย ขอแนะนําใหมาเปนครอบครัว ใหโอกาสลูก ๆ ของคุณสัมผัสความรักจากผูใหญ รอบขางที่กลายเปนครอบครัวใหญ ใหลูก ๆ ไดเห็นวามีการมองโลกในแบบอืน ่ ๆ นอกจากแบบทีค ่ นอเมริกันมอง มาใหเห็นวาผูคนเหลานี้เขาคิดอยางไร และใหรู วานอกจากจะรูส ึกแบบคนอเมริกันแลว ยังมีทางเลือกอื่นอีกนะ ที่สําคัญที่สด ุ โปรด จําไววาการมาเมืองไทยเปนครอบครัวเปนโอกาสทีท ่ ําใหคุณไดกาวออกมานอก
กรอบความรูของครอบครัวคุณเองเพือ ่ เห็นวาโลกนี้เปนอยางไร และไดใชชีวิตใน มุมมองที่แตกตาง ในสายตาของครอบครัวคนไทยที่ยิ่งใหญ
Food for Brain and Big Tummy!23 Assist. Prof. Sumalee Wongwitit, Ph.D. 2008 Thai Visiting Scholar Program From Faculty of Law, Ramkhamhaeng University @ Indiana University
What do we all know and think about libraries? I believe you know that each library serves as the research arm of people. They contain millions of books, recording, photographs, maps and manuscripts in their collections. Yet, this is a story that you may not know. I had an interesting experience while I visited Indiana University, Bloomington, as a visiting scholar. There are several libraries in the university such as Herman B. Well Library, Music Library, Neal-Marshall Black Culture Library, Law Library and so on. The Herman B. Well library or the so-called main library is located on 10th Street and Jordan Avenue. The library is separated into two buildings, east and west. I like the west side since there are about a hundred modern computers and it is open 24 hours. I enjoyed visiting the underground floor at the media room where I could borrow various video, CDs or DVDs and also XBOX, PS2 and PS3 games. To me, this library is really modern, yet, within my expectations!
23
Originally published in Fulbright Newsletter Issue 25, August 2009
What was more fascinating and completely different was the Law Library. It is in the Mechael Maurer School of Law. I know you too will love it like I do. This library seems to be similar to others as it has a reading area, where you have to keep quiet. Otherwise someone will come to warn you politely. Well! The special area is when you first enter the library, you will see a big lobby where students group together and discuss issues loudly (yes, LOUDLY!). At the left side of the lobby, there is a counter for checking in and checking out books. Besides this area, most of the time you will see some food and drink, like salads, pizza or pasta, that you just pick up and eat without any charge. Sometimes you can even get coffee and tea, including snacks. People feel free to speak out loud too. It is the wonderful eating and discussion zone for all! As people can read and eat at the same time, sometimes when I was reading or writing, I became hungry from smelling delicious food in the area! The remarkable thing that also impressed me was that all law students here are very responsible when they are in the library. They never make the library messy or noisy. I like to stay that I love this library best because the books satisfy our curiosity, and the food satisfies our “tummy” Swasdee ka for now!
อาหารสมอง...และทอง24 ดร. สุมาลี วงศวท ิ ิต
2008 Thai Visiting Scholar Program คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง @ Indiana University แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ
Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทย-
อเมริกัน (ฟุลไบรท)
พูดถึงหองสมุดเราจะนึกถึงอะไร รูกันอยูแลววาหองสมุดแตละแหงนั้นเปนแหลง สืบคนขอมูลที่เก็บรวบรวมหนังสือ บันทึก รูปภาพ แผนที่ ตนฉบับ ฯลฯ เปนลาน ๆ แตก็อาจมีบางเรื่องเกี่ยวกับหองสมุดทีค ่ ุณอาจจะยังไมรูก็ได ขอเลาจากประสบการณทไ ี่ ดไปเยือนมหาวิทยาลัยอินเดียนา-บลูมมิงตันในฐานะ นักวิชาการรับเชิญ ที่มหาวิทยาลัยแหงนี้มีหอ งสมุดหลายแหง เรียกชื่อตาง ๆ กัน เชน Herman B. Well, Neal-Marshall Black Culture, หองสมุดกฎหมาย ฯลฯ หองสมุด Herman B. Well หรือที่รูจักกันวาหองสมุดกลางนัน ้ ตั้งอยูบ นถนน เลขที่ 10 และ Jordan Ave. มีดวยกันสองตึก ฝงตะวันออกและตะวันตก ฉันชอบ ตึกฝงตะวันตกเพราะมีคอมพิวเตอรทันสมัยเปนรอยเครือ ่ งใหเลือกใช แถมยังเปด ตลอด 24 ชั่วโมงดวย ที่โปรดของฉันคือหองโสตชั้นใตดินซึ่งฉันสามารถขอยืม วีดีโอ ซีดี หรือดีวด ี ี รวมทัง้ เกม XBOX, PS2 และ PS3 ได นี่เปนหองสมุดนี้ ทันสมัยสุด ๆ และมีทุกอยาง! ที่มหัศจรรยกวานั้นคือหองสมุดกฎหมายที่ Michael Maurer School of Law ซึ่ง ทุกคนนาจะชอบเหมือนฉัน หองสมุดแหงนี้ดูเผิน ๆ ก็คลายกับทีอ ่ ื่น ๆ คือมีโซน อานหนังสือที่ตอ งการความเงียบ ใครเสียงดังเปนตองโดนกระซิบเตือน
24
พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 25, สิงหาคม 2552
แต เมื่อยางเทาเขาไปที่นค ี่ รัง้ แรก คุณจะพบกับหองโถงขนาดใหญ เปนบริเวณที่มี นักศึกษานัง่ กันเปนกลุมพูดคุยกันเสียงดัง (ย้ําวาดังมากก) ดานซายของโถงจะ เปนเคานเตอรสําหรับขอยืมและคืนหนังสือ ถัดจากนั้นจะมีมุมบริการของวาง จําพวก สลัด พิซซา หรือพาสตา พรอมน้าํ ดืม ่ ไวบริการตลอดเวลาโดยไมตอ งเสีย เงิน บางครัง้ อาจจะมีกาแฟ ชา และขนมขบเคีย ้ วดวย ใครจะสงเสียงดังยังไงก็ได ชางเปนโซนแสนวิเศษสําหรับการกินไปคุยไปจริง ๆ เนื่องจากสามารถอานและกินไปพรอมกันไดดวย บางครั้งทํางานไปสักพักฉันจะ รูสึกหิวเพราะไดกลิ่นอาหารทีล ่ อยฟุง อยูร อบ ๆ บริเวณ ฉันยังประทับใจนักศึกษากฎหมายทีน ่ ี่มาก พวกเขามีความรับผิดชอบสูงเมือ ่ อยูใ น หองสมุด ไมเคยทําอะไรสกปรกและสงเสียงดังเลย ฉันชอบหองสมุดที่นท ี่ ี่สด ุ เพราะนอกจากจะมีหนังสือใหอานเยอะแยะหลากหลาย แลว ยังมีอาหารทีช ่ วยเติมเต็มกระเพาะของเราดวย สวัสดีแคนี้กอ นนะคะ!
How to Eat Mango25 Elizabeth Pratt 2006 English Teaching Assistantship Program @Phathumratpittayakom School, Roi-Et
..and Other Life Lessons I Learned as a Fulbright ETA in Thailand Last night I was cutting up mangos to serve to my friends and my family along with the stories I was sharing about just what I’d been doing off in Thailand for the last 6 months. Having just returned from Thailand, I am a jumble of thoughts and emotions – excitement at being home and nostalgia for the new home I’ve just left. The challenge of distilling six months into the most significant experiences to share is only matched by the desire to capture and retain every detail before time and distance take their toll on the vividness of my memories. My cousin asked me the perfectly specific yet open-ended question to capitalize on my *** “What did you learn in Thailand?” I excitedly rambled about cultural differences, the universality of kids in any country, personal strength and my own cultural identity. Then I added, “And I learned how to cut a mango, and how to eat a mango, and that you can eat them when they’re green!” Reflection on this, I realized a lot of things I learned living in Thailand could be related to mangos:
25
Originally published in Fulbright Newsletter Issue 21, April 2008
1. Prepare them for your seniors. As the youngest teacher in the English department, I learned to show respect for my Piis (seniors) by peeling and preparing mangos and any other fruit or snacks brought into the English department. Likewise, Pi’s Pink (the second youngest teacher) and I would arrive early to open the windows, start the hot water for coffee and sweep out the office. 2. Cut them carefully. I’d always learned to cut away from myself, but Ajarn Rainbow taught me instead to focus first on cutting away from other people – which I think symbolizes an underlying difference between our two cultures. 3. Eat them with thanks and then return the gift. Often when teachers, neighbors, or even students would go out of town, they would bring back a small gift for the English department, friends, or family. It didn’t matter what the gift was, just that they brought one. My favorites were fresh fruit or the sticky, sweet, dried mango slices. I learned to graciously accept such tokens of thoughtfulness and to return the favor when I left town. 4. Buy them from the market, and talk to the vendor. I had some of my best conversations and learned the most Thai from buying things in the market. My fruit lady would watch out for me and tell me not to go jogging alone at night 5. Buy them from a vendor on the street in order to meet potential husbands. I once brought sliced mangos near the park, and the vendor told me her son was on the other side of the park, that he was young and handsome, and she’d call him if I’d like to meet him. I laughed but had to say no thanks.
6. Eat them in class. My first week in school I thought it would be fun for the M2 students studying the senses to do an experiment tasting different fruits. I was quickly reminded this wasn’t a typical American school as students brought out their own sharp knives to cut the fruit saying “teacher, don’t worry, we have band aids in case we get cut.” 7. Eat them at the bus station green and tart and with bag of sugar and hot pepper. This helps to pass the time while waiting for the bus or the song-tao to take you to Bangkok, Chiang Mai, or Roiet. I spent a lot of time on buses and at bus stations and tasty snacks always helped the time go by faster. 8. Eat them fresh off the tree. One of my students invited me to her birthday party. She had a yard full of mango trees and we spent the afternoon picking, peeling, and cutting mangos into a tart and spicy mango salad. 9. Eat them with coconut milk and sticky rice. This is only good when they are ripe and juicy orange, but good things come to those who wait for the season. 10. Eat the last piece and get a handsome boyfriend! (as the Thai saying goes). From eating mangos in Thailand, I learned lessons I should have already known about thinking about others before myself, showing respect for seniors, demonstrating friendship through small acts, and that great food always tastes better when shared with friends, “family”, and even strangers.
I also learned that Thailand is like the mangos I miss so much. There is much more to the fruit than what Americans know of the often flavorless fruit that comes from a box shipped half-way across the world. Likewise, Thailand and its people are more than the postcard beaches that come to most people’s mind. The true richness and depth of the many flavors – sweet and delicious, but also tangy, tart, salty, and hot – can only be appreciated first hand. Mangos and Thailand will always be associated in my mind, and I’ll continue to treat myself to an overpriced and under-flavored mango if just to let the sticky juice conjure up fresh memories of markets, and streets, friends, and food.
มะมวงและบทเรียนชีวต ิ อืน ่ ๆ ทีฉ ่ น ั ไดรบ ั จากประสบการณ การเปนฟุลไบรท ETA ในประเทศไทย26 อลิซาเบธ แพลทท 2006 English Teaching Assistantship Program @ Phathumratpittayakom School, Roi-Et แปลและเรียบเรียงโดย บัญชา รัตนมธุวงศ, 2013 Open Competition Scholarship Program @ University of Oregon
เมื่อคืนวานนี้ขณะทีป ่ อกมะมวงใหเพื่อน ๆ และครอบครัวกินฉันก็ไดเลา ประสบการณชว งหกเดือนในประเทศไทยใหพวกเขาฟง เพราะฉันเพิง่ เดินทาง กลับมาจากประเทศไทย ในหัวจึงเต็มไปดวยความคิดความรูส ึกที่หลายหลาก ทั้ง ตื่นเตนทีไ ่ ดกลับบาน แตก็อดคิดถึงบานอีกหลังที่เพิง่ จากมาไมได ไมงายเลยที่จะ กลั่นกรองประสบการณอันแสนล้ําคาตลอดระยะเวลาหกเดือนออกมาเพื่อสรุปเปน คําพูดใหทุกคนฟงทัง้ ๆ ที่อีกใจหนึ่งก็อยากจะเลาและจดจําทุกรายละเอียดกอนที่ ความทรงจําของฉันจะลางเลือนไปตามระยะทางและการเวลา ญาติของฉันถามฉันวา“ไดเรียนรูอ ะไรมาบางชวงทีอ ่ ยูทป ี่ ระเทศไทย”
คําถามนี้
ชางเจาะจงแตก็เปดกวางไมนอ ย ฉันเลาใหพวกเขาฟงอยางตื่นเตนเกี่ยวกับความแตกตางทางวัฒนธรรม ความ เหมือนกันของเด็ก ๆ ในทุกประเทศ ความเขมแข็งและอัตลักษณทางวัฒนธรรม ของตัวฉันเอง จากนั้นจึงพูดเสริมวา “นอกจากนั้น ฉันยังไดฝกปอกและกินมะมวง ดวยนะ แถมยังรูดวยวามะมวงเนี่ย ไมสุกก็กินได!” พอมาคิด ๆ ดูแลว รูสึกวาบทเรียนหลายอยางที่ฉันเรียนรูจ ากประเทศไทยตางก็ เชื่อมโยงกับมะมวงทั้งนั้น ไมวา จะเปน 1. ผูนอยตองเตรียมมะมวงใหผอ ู าวุโส... เพราะความที่ฉน ั เปนครูทอ ี่ ายุนอยที่สุดในกลุม สาระภาษาอังกฤษ ฉันได เรียนรูว ิธีการแสดงความนอบนอมตอพี่ ๆ ที่อาวุโสกวาในกลุมสาระดวย
26
พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 21, เมษายน 2551
การปอกและเตรียมมะมวงหรือผลไมอน ื่ ๆ รวมถึงขนมที่คนนํามาฝากให พี่ ๆ ในกลุมสาระภาษาอังกฤษ นอกจากเรือ ่ งของกินแลว ฉันและพี่พงิ ค (ครูทอ ี่ ายุนอยที่สุดรองจากฉัน)
มักจะมาถึงโรงเรียนแตเชาเพื่อเปด
หนาตาง ตมน้ํารอนสําหรับชงกาแฟ และกวาดหองทํางานดวย 2. ตองระวังเวลาตัด... ปกติฉันมักจะตัดมะมวงใหออกจากตัว แตอาจารยเรนโบวสอนฉันวา สิ่ง แรกที่เราตองระวังเวลาตัดมะมวง คือ การตัดไมใหมีดไปโดนคนอืน ่ ฉัน คิดวาวิธีการตัดมะมวงนี้เองสะทอนความแตกตางทางวัฒนธรรมระหวาง สองประเทศไดเปนอยางดี 3. ขอบคุณผูให และแสดงน้ําใจดวยการมอบสิ่งตอบแทน... บอยครั้งเวลาครู เพื่อนบาน หรือนักเรียนออกไปนอกเมือง พวกเขามักจะ ซื้อของฝากเล็ก ๆ นอย ๆ มาใหกลุมสาระภาษาอังกฤษ เพื่อน ๆ หรือ ครอบครัว ของฝากจะเปนอะไรไมสําคัญเทาน้ําใจที่มีใหตอ กัน ของฝาก ที่ฉันชอบคือผลไมสด หรือไมก็มะมวงกวนเหนียวแหงรสหวาน สิง่ นีท ้ ํา ใหฉันรูจ ักการรับของฝากแสดงน้ําใจ และตอบแทนความเอื้อเฟอ ของ พวกเขาเมื่อฉันออกนอกเมืองบาง 4. ซื้อมะมวงจากตลาด...อยาลืมคุยกับคนขายดวย การไดพด ู คุยกับพอคาแมคา เปนหนึ่งในประสบการณที่ดท ี ี่สด ุ ของฉัน และสวนมากฉันก็ไดเรียนภาษาไทยจากพอคาแมคานี่เอง คนขายผลไม คอยเปนหวงเปนใยฉันตลอด คอยเตือนฉันวาอยามาวิง่ ออกกําลังกาย คนเดียวตอนดึก ๆ 5. ซื้อมะมวงจากคนขายริมถนน...เผื่อจะไดเจอสามีในอนาคต ฉันเคยซื้อมะมวงจากคนขายผลไมใกล ๆ สวนสาธารณะ ปาคนขายบอก ฉันวาลูกชายของปาอยูอ ีกฝงหนึ่งของสวน ทั้งหนุม และหลอมากดวย เธอจะโทรเรียกใหเขามาถาฉันอยากเจอ ฉันหัวเราะ แตก็ตองตอบ ปฏิเสธพรอมขอบคุณคุณปาทานนี้ไป 6. กินในหองเรียน... สัปดาหแรกที่ฉน ั ไดไปสอนในโรงเรียน ฉันคิดวาคงนาสนุกไมนอย ถา ใหเด็กชั้นม.2 ซึ่งกําลังเรียนเกี่ยวกับประสาทสัมผัส ไดลองลิ้มรสผลไม ชนิดตาง ๆ กิจกรรมนีท ้ ําใหฉน ั รูตว ั วาที่นไ ี่ มเหมือนโรงเรียนทั่วไป ๆ ใน อเมริกา เพราะเด็ก ๆ นํามีดปอกผลไมมาโรงเรียนได พรอมยังบอกฉัน อีกวา “คุณครู ไมตองหวงครับ พวกเรามีพลาสเตอร เผื่อเพื่อนโดนมีด บาด” 7. กินมะมวงที่ทา รถประจําทาง...
กินมะมวงตอนที่ยังดิบและเปรีย ้ วจิ้มน้าํ ตาลกับพริกปนระหวางรอรถ ประจําทางหรือรถสองแถวเขากรุงเทพฯ เชียงใหม หรือ รอยเอ็ด เวลาที่ ตองรอรถนาน ๆ ของกินเลนรสเลิศมักจะชวยใหเวลาผานไปเร็วขึ้นได 8. กินมะมวงตอนเพิ่งเก็บ... นักเรียนคนหนึง่ เชิญฉันไปงานเลี้ยงวันเกิด ที่บา นเธอมีสวนมะมวงขนาด ใหญ เราใชเวลาชวงบายเก็บ ปอก และหั่นมะมวงเพื่อทําขนมและยํากิน กัน 9. กินกับกะทิและขาวเหนียว… เมนูนี้ตองกินกับมะมวงสุกหวานฉ่ําสีเหลืองอรามถึงจะอรอย ชา ๆ ได พราเลมงาม 10. กินชิ้นสุดทาย....จะไดแฟนหลอ
(ตามคําพูดติดปากทีค ่ นไทยชอบพูด
กัน) จากประสบการณการกินมะมวงชวงทีอ ่ ยูป ระเทศไทย ฉันไดเรียนรูสงิ่ ที่ฉันควรได รูมาตัง้ นานแลว นั่นคือ การคิดถึงผูอน ื่ กอนตนเอง การแสดงความเคารพตอ ผูใหญ การสรางมิตรภาพจากการแสดงน้ําใจเล็ก ๆ นอย ๆ ที่สําคัญ ฉันยังเรียนรู อีกวา อาหารทีอ ่ รอยจะอรอยยิง่ ขึ้นถาไดแบงปนกับเพื่อน "ครอบครัว" และแมแต คนแปลกหนา ฉันยังไดเรียนรูอ ีกวาประเทศไทยก็เหมือนกับมะมวงที่ฉันคิดถึงมาก ๆ มันมีอะไร มากกวาที่ชาวอเมริกันรู มันไมไดเปนเพียงผลไมรสชืดที่บรรจุใสกลองขามน้ํา ขามทะเลมา ประเทศไทยและคนไทยเปนอะไรมากกวาโปสการดรูปชายหาดทีค ่ น ทั่วไปมักนึกถึง รสชาติหลายหลากอันรุมรวยและลุมลึก หวานอรอย แตก็เผ็ด เค็ม และจัดจาน ทั้งหมดนี้ตอ งลิม ้ รสดวยตนเองจึงจะเขาใจ มะมวงจะเปนสิง่ ที่ยา้ํ เตือนใหฉันนึกถึงประเทศไทยเสมอ และฉันจะยังคงซือ ้ มะมวงรสฝาดราคาแพงที่ขายอยูทน ี่ ี่ เผื่อวามันจะชวยใหฉันหายคิดถึงตลาด ถนน ผูคน และของกินในประเทศไทยไดบาง
From ‘The Red Pony’ to ‘The Grapes of Wrath’ The National Steinbeck Center….More Than a Museum27 Sasima Charubusp 2009 Junior Research Scholarship Program From School of Liberal Arts, Mae Fah Luang University @Monterey Institute of International Studies For those who study English literature, there must be a moment when they are touched by the work of the famous American writer, John Steinbeck. On Friday, November 20, 2009, I had a great opportunity to visit the National Steinbeck Center in Salinas, California. The visit was hosted by Khun Sirie Thongchua, the Director of Development and Deborah Silguero, the curator of exhibitions and collections of the Center. Apart from the well known writer’s exhibits, this Center presents some socio-cultural aspect of Salinas, a small and agricultural city in California, which were told through some of Steinbeck’s novels. The main purpose of the National Steinbeck Center is to tell the stories of John Steinbeck’s life journey as a writer. Through his travel to different places in Monterey Peninsula and around the United States, Steinbeck documented his experiences and impressions towards peoples’ lives in each of his novels. His masterpiece is about the
27
Originally published in Fulbright Newsletter Issue 27, April 2010
hardship of Oklahoma laborers who struggled to get a job on farms in California and fought for their fair wages. This story has been portrayed in one of his famous works, ‘The Grapes of Wrath’. With regard to the exhibition, the Steinbeck Center offers interactive exhibits that make it remarkably different from other museums. Children who visit the museum can have hands-on experiences with the literature that they study in classrooms. Apart from videos, film clips and hearing Steinbeck’s voice while he accepted the Nobel Prize for Literature, they can touch the displayed objects, climb on the ‘Red Pony’ house exhibit in the Exhibition Hall and smell the odor of food on the dinner table at the Agriculture Museum which is a section of Steinbeck Center. This is just to create a new face of a ‘touchable’ museum which is hoped to attract children and visitors and help them to become more interested in museums. I have learned with concern that because it is a non-profit institution, apart from the admission fee, this museum has to struggle to find funds to support itself. What impressed me most was the Center’s effort to serve the local community and to tell the world about the pain of discrimination that Salinas’ population has experienced. Residents of Salinas are of diverse cultures. Most of the population is Mexican and they are considered to be in a low socioeconomic class in the United Sates. Compared to other cities in the Monterey Peninsula, Salinas is a quiet city, with no attractions. However, it is a great place for agricultural products that feed Monterey Peninsula. In contrast to nearby cities like Monterey, Carmel, Big Sur and others which have their natural attractions, people do not want to visit Salinas and it is considered an
unsafe place because according to statistics, it has a high record of homicide and violence. Sadly enough, the high crime was perceived as associated with high population of Mexican immigrants. I was told by my two hosts that there is a mental barrier between the city of Salinas and Monterey known among people of these two cities as ‘lettuce curtain’. This invisible boundary splits both neighboring cities. The cities have organized a lot of mutual projects to bring down this ‘curtain’ and unite the people of the two cities. Also, the Center has worked its best to promote the development of positive attitude toward the people of Salinas. On the day of my visit, there was an art exhibition under the theme, ’Day of the Dead’ featuring Mexican children’s paintings that reflected a traditional day of remembrance for their departed ones. In addition, the Center also has some education programs, providing activities that promote English literacy to locals. My visit to the National Steinbeck Center gave me more than knowledge about John Steinbeck’s life and works. The Center is not only an introduction to his life but it is also a portrait of his country and the cities where he was born, lived and travelled. It left me wondering about socio-cultural issues in this particular area of the United States. It was definitely a valuable visit. I wish to thank Khun Nalinee Cain, the Program officer of East Asia Pacific Fulbright Program , Department of State; Khun Sirie Thongchua, the Director of Development and Deborah Silguero, the curator of exhibitions and collections, National Steinbeck Center for offering me this special opportunity. Also, thanks to ThailandUnited States Educational Foundation (Fulbright Thailand) for the research grant that has brought me to Monterey County, California
which is an abundant source of knowledge and experiences to learn from.
จาก “The Red Pony”28 สู “The Grapes of Wrath”29 The National Steinbeck Center....ยิง่ กวาพิพธ ิ ภัณฑ30 ศศิมา จารุบุษป 2009 Junior Research Scholarship Program @ School of Languages and Educational Linguistics Monterey Institute of International Studies แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน (ฟุลไบรท)
สําหรับคนที่เรียนวรรณคดีอังกฤษแลว จะตองมีสักชวงเวลาหนึ่งที่เราซาบซึ้งไป กับจอหน สไตนเบ็ค นักเขียนเลื่องชื่อชาวอเมริกัน และแลวในวันศุกรที่ 20 พฤศจิกายน 2552 ฉันก็มีโอกาสไปเยี่ยมชม National Steinbeck Center ที่ซาลิ นาส รัฐแคลิฟอรเนีย โดยมีคณ ุ สิรี ทองเชือ ้ ผูอํานวยการฝายพัฒนา และคุณเด บเบอราห ซิลเกโร ภัณฑารักษผูดูแลนิทรรศการและของสะสมในศูนย นอกจาก จะมีการจัดแสดงเกี่ยวกับนักเขียนชื่อดังแลว ทางศูนยยงั เสนอแงมุมดานสังคม วัฒนธรรมของซาลินาส ซึง่ ปนเมืองเกษตรกรรมเล็ก ๆ ในแคลิฟอรเนีย อันมี ปรากฏอยูในนิยายของสไตนเบ็คบางเรือ ่ งดวย วัตถุประสงคหลักของ National Steinbeck Center คือเลาเรือ ่ งเสนทางชีวิต นักเขียนของจอหน สไตนเบ็ค ซึง่ เขาไดบน ั ทึกประสบการณและความประทับใจ เกี่ยวกับชีวต ิ ของผูค นที่พบเห็นจากการเดินทางในแถบมอนเทอรเรยและทั่วสหรัฐ
28
แปลเปนไทยในชื่อ “ลูกมาสีทองแดง” โดย อ.สนิทวงศ (2507), “ลูกมาสีแดง” โดย รัชนี
รัชชระเสวี (2524), “โจดี้” โดย วัลยา (2025) และ “มานอยสีแดง” โดย ณรงค จันทรเพ็ญ (2536) 29
แปลเปนไทยในชื่อ “ผลพวงแหงความคับแคน” โดย ณรงค จันทรเพ็ญ (2536)
30
พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 27, เมษายน 2553
ลงในผลงานชิน ้ โบวแดงของเขาคือ “The Grapes of Wrath” ที่สะทอนเรือ ่ งราว ความยากลําบากของกรรมกรในโอกลาโฮมา ซึ่งตองดิ้นรนเพื่อใหไดงานทําใน ฟารมที่แคลิเฟอรเนียและตอสูเ พื่อใหไดคาแรงที่ยุติธรรม Steinbeck
Center
จัดนิทรรศการแบบใหผูชมมีปฏิสม ั พันธ
ซึ่งตางจาก
พิพิธภัณฑอื่นอยางมาก ทีน ่ ี่เด็ก ๆ จะไดรับประสบการณแบบเดียวกับที่เคยอาน จากหนังสือในชั้นเรียน นอกจากจะไดดูวด ี ีโอ คลิปสั้น และฟงเสียงของสไตนเบ็ค ที่กลาวตอนรับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมแลว เด็ก ๆ ยังจะไดสนุกกับของที่ จัดแสดงไวดวย พวกเขาสามารถปนขึ้นไปนั่งบนหลัง “ลูกมาสีแดง” ที่โถง นิทรรศการ หรือจะลองดมกลิ่นอาหารบนโตะกินขาวทีพ ่ ิพธ ิ ภัณฑการเกษตรอัน เปนสวนหนึง่ ของ Steinbeck Center นี่คอ ื โฉมหนาใหมของพิพิธภัณฑที่ “จับ ตองได” ซึง่ ตองการดึงดูดเด็ก ๆ และผูเยี่ยมชม ทําใหพวกเขาสนใจพิพิธภัณฑ ยิ่งขึ้น แตฉน ั ออกจะเปนหวงอยูบางเมือ ่ รูวาสถาบันที่ไมหวังผลกําไรนี้ ตองดิ้นรน หาทุนมาเลี้ยงตัวเองนอกเหนือจากเงินคาเขาชมเพื่อใหสามารถอยูร อดได สิ่งทีฉ ่ ันประทับใจมากทีส ่ ุดคือความพยายามของศูนยในการบริการชุมชน และ สื่อสารใหโลกรับรูถึงความเจ็บปวดจากการถูกเหยียดผิวดังเชนทีค ่ นในซาลินาส เคยประสบมา ประชากรของซาลินาสมีความหลากหลาย สวนใหญจะเปนชาว เม็กซิกันที่ถูกเหมาวาเปนชนชั้นลางทางเศรษฐกิจสังคมของสหรัฐ เมือ ่ เทียบกับ เมืองอื่น ๆ ในแถบมอนเทอเรย ซาลินาสจัดวาเปนเมืองเงียบ ๆ ไมมีสถานที่ ทองเที่ยว แตเปนแหลงผลิตทางเกษตรชัน ้ เลิศที่เลี้ยงคนทัง้ มอนเทอเรย ตางจาก เมืองใกล ๆ อยางคารเมล บิ๊กซูร ซึง่ มีแหลงทองเที่ยวตามธรรมชาติ ใคร ๆ ก็ไม อยากมาซาลินาสเพราะรูสึกวาไมปลอดภัย เนื่องจากมีสถิติความรุนแรงและ ฆาตกรรมสูง ที่นาเศราคือสถิตินี้ถูกมองวาเกีย ่ วของกับผูอ พยพชาวเม็กซิกัน คุณสิรีและคุณเด บเบอราหเลาวามีกําแพงจิตวิทยากั้นขวางระหวางเมืองซาลินาสและมอนเทอเรย ซึ่งเปนทีร่ ูกันดีระหวางคนสองเมืองวา “มานผักกาดหอม” เสนแบงทีม ่ องไมเห็นนี้ ไดแยกเพื่อนบานสองเมืองออกจากกัน ที่จริงทัง้ สองเมืองมีการทําโครงการ รวมกันมากมายเพื่อทีจ ่ ะปลด “มาน” นี้ลงและสรางความสามัคคีในหมูป ระชากรทัง้ สองเมือง ศูนยแหงนี้ก็เชนเดียวกัน มีความพยายามอยางเต็มที่ในการสงเสริม ทัศนคติทีดีตอ ซาลินาส ในวันที่ฉน ั ไปเยี่ยมชมนั้น ทางศูนยกําลังจัดนิทรรศการ ศิลปะภายใตแนวคิด “วันของผูวายชนม” โดยแสดงภาพเขียนของเด็ก ๆ เกี่ยวกับ วันระลึกถึงผูท ล ี่ วงลับไปแลว นอกจากนี้ ทางศูนยยงั มีโครงการการศึกษาที่มี กิจกรรมสงเสริมความรูภ าษาอังกฤษใหกับคนในทองถิน ่ อีกดวย
การไปเยี่ยมชม National Steinbeck Center ทําใหฉน ั รูจักชีวิตและผลงาน ของสไตนเบ็คมากขึ้น ศูนยแหงนี้ไมเพียงแตจะแนะนําเรื่องราวชีวิตของเขา แต ยังใหภาพประเทศและเมืองที่เขาเกิด ทีท ่ ี่เขาใชชีวิต และทีท ่ ี่เขาเดินทางไปเยือน เรื่องราวเหลานีท ้ ําใหฉันไดแงคิดเกี่ยวกับสังคมวัฒนธรรมในแถบนี้ของอเมริกา การมาครัง้ นี้จงึ มีคาอยางมาก ตองขอบคุณคุณนลินี เคน เจาหนาที่บริหาร โครงการผูดูแลฟุลไบรทภูมภ ิ าคเอเชียแปซิฟก กระทรวงตางประเทศสหรัฐ คุณสิรี ทองเชือ ้ ผูอํานวยการฝายพัฒนา และคุณเดบเบอราห ซิลเกโร ภัณฑารักษผด ู ูแล นิทรรศการและของสะสม National Steinbeck Center ที่ทาํ ใหฉน ั มีโอกาสดี เชนนี้ ขอบคุณมูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกน ั (ฟุลไบรท) สําหรับทุนวิจัยที่ทาํ ให ฉันไดมามอนเทอเรย แคลิฟอรเนีย แหลงความรูและประสบการณทม ี่ ีคา แหงนี้
Best of Both Worlds Assist Prof. Proadpran Punyabukkana, Ph.D. 1996 University Staff Development Program From Faculty of Engineering, Chulalongkorn Univerity @ Claremont Graduate School 2013 Fulbright Visiting Scholar Program @ Massachusetts Institute of Technology (MIT) and Stanford University
I owe it to Fulbright for a wonderful educational journey during my career. The experiences that I gained from MIT and Stanford are rare and priceless. My first four months at MIT showed me what I considered to be the pinnacle of academia. Young and competent students together with intelligent professors full of passion are not the only ingredients for achieving success. It is the combination of fine management, environment, equipment, activities, and a unique culture that brings out the best. The admission is undoubtedly one of the toughest, if not the toughest in the world. Among all programs, Electrical Engineering and Computer Science (EECS) or “Course 6� is the most competitive, said Chancellor Cynthia Barnhart, my host. The international student body is kept at 7% for undergraduate studies. However, in graduate school, that number grows to 50 and 70% for Masters and Doctoral programs. Perhaps, there are only 100 successful applicants out of 3,000 for graduate school each year. Clearly, MIT has a superb pool of students to choose from.
I was fortunate to witness how talented they are when I participated in 6.811 Principles and Practice of Assistive Technologies, led by Professor Seth Teller.
The course is one of a kind, designed to
invigorate science and engineering students to save the world by applying their knowledge and creativity to design and implement solutions to the problems presented by persons with disabilities. Though there are more male students at MIT, this class attracts slightly more female--14 females to 13 males. Seth said that it may be the only class of this nature. He believes that female students may be attracted to the opportunities to help other human beings, particularly people with disabilities. Each week classes would consist of two 1-hour lectures and two 2-hour labs. As its name implies, lectures are given on the principles of Assistive Technologies. In addition, the practicum part of the class is shared by many experts in the area, a few are people with disabilities. During the first lab session, students were asked to use wheelchairs and engage in some activities around the campus, like drinking water from the fountain, using restrooms, crossing the street, etc. After the two hours, at 6PM, students requested more time. I was later told by the TA that some came back at midnight. After they learned some principles, students were grouped according to their interest and background to match with their clients. There were eight groups of 3 to 4. The problems were highly challenging, and the solutions were brilliant. One that I particularly liked was a bird watching apparatus to allow a lady who loves to bird watch before she became a wheelchair user, to bird-watch again.
I have observed how
compassionate students were to try to understand the problems, how thorough they did the survey of existing solutions, how careful they
were with several iterations of design, how regularly they touched base with the clients, and how systematic they measured the results. These characteristics clearly showed me how world-class engineers should execute their work. One other thing that makes this class so successful may stem from the fact that it was so well prepared. Seth has excellent connection with the community and had involved several clients and speakers. To me, one can never learn these lessons from textbooks. Though the class is intense, people are friendly.
In fact, students
regard their advisors as P.I. (Principle Investigator), and they are on first-name basis. I truly appreciated my time at MIT. Seth invited me to departmental meetings, where I learned that announcing ground-breaking discoveries can be fun and exciting in an intellectual community. I also attended several talks and workshops presented by MIT and speakers from different continents. Through Seth, I also met with more organizations within MIT to learn about how they offer services to students with disabilities. I found MIT to be professional and efficient in every aspect. Another major event that I attended was the “Abilities Expo� that was conveniently timed during my stay. I met several exhibitors, but the most important one is the Perkins School for the Blind, with which I shared my experiences, while I learned a great deal from them. At MIT, I was very lucky to occupy an office space in Building 1, with a view of the Charles River. I came to know many scholars, researchers, and post-docs from other institutions or other countries, aside from Thai students at MIT.
I often strolled along the Charles during the fall
season, but never in the winter. Nothing tops beautiful foliage and
Maine lobster in Boston and its vicinities. However, this winter was utterly brutal. Some said it was the worst in 30 years. As a matter of fact, the only Fulbright social trip that I could join was cancelled due to that first snow storm. My original plan was to write a book and work on research during the winter after the semester ended in December. Encouraged by the OLF that Fulbright offers, I wrote to Stanford in the hope to visit and learn about their class in Assistive Technology led by David Jaffe, the class after which I modeled mine. Amazingly, David invited me to stay for the whole winter quarter. CIES kindly worked with me on this addendum and added Stanford as an additional site of activity while MIT remained the main site. Escaping snow storms, I transferred to Stanford the first week of January to enjoy the California sun, in spite of the unfortunate drought. I found Stanford an exciting place, full of energy. Dave is one of the best engineers I have ever met. He has devoted himself to the field of Assistive Technologies and started his class seven years ago. His focus is on hands-on projects, experiences from speakers, and visits. The class size was double that of MIT at 48 undergraduate and graduate students from various majors – science and otherwise.
Students
enjoyed the flexibility that Dave has to offer by taking the class for 1 to 3 credits and selecting a project, solo or group, to match their hours and background. Dave also welcomed people from the community, some of whom have attended the class for 7 times. We became friends. The class visited a VA Hospital, as well as Gait Analysis Lab to experience assistive devices first-hand. The highlight, in my opinion, was the
technology fair, where many startups, inventors and companies showcased their products on campus. Stanford’s strength seems to be the connections with these companies. Being in the Silicon Valley, it is a luxury that only Stanford has to offer. Most term-projects are offered by the companies as well as the communities. I had a chance to give a presentation during the first month. It was a fun experience in a more relaxed environment. Stanford owns huge beautiful grounds. I cannot imagine how they can maintain it that well. It offers various activities including a golf course. Most students bike and they do it so fast that they name one of the intersections the “intersection of death,” said Dave, who showed me around campus. We also spent time at the Gates Building which houses a portion of the Computer Museum. Dave walked me down the famous Palm Drive (although Palm is not native to this area) to Palo Alto’s University Drive during the first week. I found myself going here frequently in the future. Palo Alto is a nice, vibrant, yet expensive town. It must be due to the fact that most hi-tech companies are situated in this area. This includes Facebook, Google, Apple, and the like. Because a number of my students are working in this area, I paid visits to Facebook, Apple, and Twitter, learned the different atmospheres, while having free meals. During the last session at Stanford, Dave gave me a card and students signed them. He also presented me with a Stanford cap. It was so touching and memorable.
I returned to MIT and more snow to complete my Fulbright post by giving a talk which I considered the highlight of my time in the US, if not one of the highlights of my career. Though the content is based on my experiences in the area of Speech and Assistive Technologies, I was extremely nervous. After all, it is MIT. In my opinion, I think it turned out well. At least I didn’t have a heart attack or faint. The talk was open to the public and the audience was comprised of approximately 30-40 professors, students, and more. From the talk, I found this community to be friendly, respectful, and open-minded. My host was Professor Jim Glass,
who
originated
the
segment-based
speech
recognition
technique, the algorithm on which we at Chulalongkorn University base our Thai speech recognition. I went to see Seth before I left. He said that we should engage more students and engineers in the field to help people with disabilities. “They are engineers. They just need the inspiration.” By the end of our conversation, Seth told me to “think like MIT,” which leaves me much to contemplate. I treasured my academic sojourn at MIT and Stanford and would encourage every faculty to do the same. Taking six months off from my obligations at Chulalongkorn University paid off very well. I am more ready to share new ideas with ever more energy and more collaboration. At the same time, I hope I have promoted my beloved Thailand to a wider circle, as the cultural ambassador that Fulbright intended.
My special thanks go to my host, Professor Cynthia Barnhart, MIT Chancellor; Professor Seth Teller of MIT’s CSAIL; and Dave Jaffe of Stanford’s Mechanical Engineering Department. All of these individuals gave me an unparalleled opportunity I could never imagine. It is an honor that I will forever cherish.
สองสุดยอดสถาบัน
ผ.ศ. ดร. โปรดปราน บุญยพุกกณะ 1996 University Staff Development Program From Faculty of Engineering, Chulalongkorn University @ Claremont Graduate School 2013 Fulbright Visiting Scholars @ Massachusetts Institute of Technology (MIT) and Stanford University แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน (ฟุลไบรท)
นับวาฉันเปนหนี้ฟุลไบรทสําหรับการเดินทางอันแสนพิเศษในชวงชีวต ิ การทํางาน นี้ เพราะประสบการณทไ ี่ ดจากเอ็มไอทีและสแตนฟอรดนั้นมีคา และหาไดยากยิ่ง ชวงเวลาสี่เดือนที่เอ็มไอทีถอ ื เปนจุดสูงสุดทางดานวิชาการของฉัน ความสําเร็จ ของเอ็มไอทีนน ั้ ไมไดเกิดจากการมีนักศึกษาที่เกงกาจและคณาจารยทรงภูมิผูเต็ม ไปดวยความกระหายใครรูเทานั้น แตเปนการผสมผสานระหวางการบริหาร จัดการ สิ่งแวดลอม อุปกรณเครือ ่ งมือเครือ ่ งใช กิจกรรมตาง ๆ และวัฒนธรรม เฉพาะตัวอันนําไปสูค วามเปนสุดยอดแบบเอ็มไอที แนนอนวาการรับนักศึกษาที่นี่ ขึ้นชื่อวาหินสุด ๆ หรืออาจจะหินที่สุดในโลกก็ได ซึ่งฉันไดรูจากอธิการซินเธีย บารนฮารท ผูเปนเจาภาพการแลกเปลี่ยนครัง้ นี้วา หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟาและ คอมพิวเตอร (Electrical Engineering and Computer Science – EECS) หรือ “คอรส 6” เปนสาขาที่มีการแขงขันกันมากที่สุดในบรรดาหลักสูตรทั้งหมด โดย จํากัดสัดสวนนักศึกษาตางชาติไวแค 7% ในระดับปริญญาตรี และจะสูงขึน ้ เปน 50% ในระดับปริญญาโท และ 70% ในระดับปริญญาเอก บางปก็รบ ั แค 100 คน เทานั้นจากผูสมัครทัง้ หมด 3,000 คน เห็นชัดวาเอ็มไอทีมก ี ลุมผูสมัครเกรดเออยู ในมือ ฉันโชคดีที่มโี อกาสสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาผูมีพรสวรรคเหลานั้นดวยตัวเอง โดยไดเขาหองเรียนวิชา 6.811 เรื่องทฤษฎีและปฏิบัติการดานเทคโนโลยีเพื่อ ชวยเหลือ (Principles and Practice of Assistive Technologies) ของ ศาสตราจารยเซ็ท เทลเลอร ซึ่งวิชานี้มีความพิเศษไมเหมือนใครเพราะตองการ
สงเสริมใหนักศึกษาที่เรียนดานวิทยาศาสตรและวิศวกรรมศาสตรใชความรูแ ละ ความคิดสรางสรรคใหเปนประโยชนตอ ผูอ ื่น ดวยการคิดหาทางแกปญหาใหกับผู พิการดานตาง ๆ นอกจากนี้ ปกติแลวเอ็มไอทีมีจํานวนนักศึกษาชายมากกวา นักศึกษาหญิง แตเซ็ทบอกวาอาจจะมีวิชานี้วช ิ าเดียวที่มจ ี ํานวนนักศึกษาหญิง มากกวานักศึกษาชาย คือมีถึง 14 คน ในขณะที่มน ี ักศึกษาชาย 13 คน เขาเชื่อวา นักศึกษาหญิงนาจะอยากมีโอกาสชวยเหลือคนอื่น โดยเฉพาะคนพิการ วิชานี้มีการบรรยายอาทิตยละสองครั้ง ครัง้ ละหนึง่ ชั่วโมง ซึง่ ชื่อก็บอกวาเปนการ บรรยายเกี่ยวกับหลักการดานเทคโนโลยีเพื่อชวยเหลือ และมีการทํางานใน หองปฏิบัติการสองครั้ง ครัง้ ละสอง ชัว ่ โมง โดยมีทั้งผูเชี่ยวชาญและผูพ ิการ มารวมแบงปนประสบการณ ในชวงการทดลอง นักศึกษาจะตองลองนั่งเกาอี้เข็น ทํากิจกรรมอยางใดอยางหนึ่งในบริเวณมหาวิทยาลัย เชน ดืม ่ น้ําจากที่กดน้าํ เขา หองน้ํา ขามถนน ฯลฯ หลังจากผานไปสองชั่วโมง ประมาณหกโมงเย็น นักศึกษา ก็รองขอตอเวลา ซึ่งฉันมารูจากผูชวยสอนทีหลังวาบางคนก็อยูจนถึงเที่ยงคืน เมี่อเรียนรูทฤษฏีไปบางแลว นักศึกษาก็จะแบงเปนแปดกลุม กลุมละสามถึงสี่คน ตามความสนใจและพืน ้ ฐานความรูเพือ ่ จับคูกบ ั คนพิการที่เปนโจทย ซึ่งจะทาทาย มาก แตพวกเขาก็มีวิธีการจัดการอยางฉลาด กลุมที่ฉน ั ชอบมากเปนพิเศษคือกลุม ที่สรางอุปกรณดูนกเพื่อชวยใหผูหญิงคนหนึง่ สามารถกลับไปดูนกอยางทีช ่ อบได อีกครั้งหลังจากที่เลิกไปเพราะตองนั่งรถเข็น ฉันรูสึกไดวานักศึกษาเอาใจใสและ พยายามทําความเขาใจกับโจทย พวกเขาศึกษาวิธีแกปญ หาอยางถี่ถว น ออกแบบ เครือ ่ งมืออยางระมัดระวัง แกแลวแกอีกอยูห ลายครั้ง ขณะเดียวกันก็หารือกับ โจทยของตัวเองอยางสม่าํ เสมอและมีการวัดผลอยางเปนระบบ นี่เปนการทํางาน แบบวิศวกรระดับโลก สิ่งที่ทาํ ใหวิชานี้ประสบความสําเร็จอีกอยางหนึ่งก็นาจะเปน การเตรียมการที่ดีเยี่ยม เพราะเซ็ทมีสายสัมพันธที่เหนียวแนนกับชุมชน และยังดึง เอาวิทยากรพิเศษกับคนพิการที่เปนโจทยมามีสวนรวมดวย ซึ่งฉันคิดวาเราไมมี ทางเรียนรูเรื่องแบบนี้ไดจากในหนังสือ วิชานี้หนักมากแตทก ุ คนก็เปนกันเองดี ที่ จริงแลวพวกนักศึกษาถือวาอาจารยทป ี่ รึกษาเปนนักวิจัยหลัก หรือพีไอ (Principle Investigator) และเรียกกันดวยชือ ่ ตัว ฉันชอบชวงเวลาที่เอ็มไอทีมาก เซ็ทเชิญใหฉันเขารวมการประชุมของภาควิชา ดวย และฉันก็ไดรูวา เวลามีใครคนพบอะไรใหม ๆ นั้น คนในวงการรูส ึกสนุกและ ตื่นเตนแคไหน ฉันยังไดฟงการบรรยายและอบรมโดยวิทยากรทั้งของเอ็มไอทีเอง และจากประเทศตาง ๆ นอกจากนี้ เซ็ทยังจัดการใหฉน ั ไดพด ู คุยกับหนวยงานตาง ๆ ของเอ็มไอทีเพื่อดูวา เขาใหบริการนักศึกษาที่พิการอยางไร ซึ่งเอ็มไอทีมค ี วาม
เปนมืออาชีพอยางยิ่งและทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพในทุกดาน
ฉันยังได
รวมงาน“Abilities Expo” ซึ่งจัดขึ้นในระหวางนัน ้ พอดี ไดพบกับผูอ อกงานหลาย ราย แตทส ี่ ําคัญที่สด ุ คือโรงเรียนเพอรกน ิ สําหรับคนตาบอด (Perkins School for the Blind) ซึ่งฉันก็ไดแลกเปลี่ยนประสบการณและเรียนรูอ ยางมากจากโรงเรียน นี้ ที่เอ็มไอที ฉันโชคดีมากที่ไดหองทํางานอยูในอาคารหนึง่ มองออกไปก็เห็นวิว แมน้ําชารลส และนอกจากนักศึกษาไทยที่อยูใ นเอ็มไอทีแลว ฉันยังไดรจ ู ัก นักวิชาการ นักวิจัย และนักศึกษาวิจัยหลังปริญญาเอกจากสถาบันอื่นและประเทศ อื่นอีกหลายคน ฉันมักจะเดินเลียบแมนา้ํ ชารลสในชวงฤดูใบไมรวง แตไมเคยทํา แบบนั้นในฤดูหนาว ในแถบบอสตันและบริเวณรอบ ๆ ไมมีอะไรจะดีไปกวาตนไม ใบหญาและเมน ลอบสเตอรอีกแลว แตฤดูหนาวปนี้ถอ ื วาแยมาก บางคนบอกวา เลวรายที่สด ุ ในรอบ 30 ป ทําใหกิจกรรมทัศนศึกษาอยางเดียวที่ฟล ุ ไบรทจัดไวให ตองถูกยกเลิกไปตั้งแตเจอพายุหิมะลูกแรก เดิมฉันตัง้ ใจวาจะเขียนหนังสือทําวิจัยระหวางชวงฤดูหนาวหลังปดภาคเรียนใน เดือนธันวาคม แตทุนวิจัย Occasional Lecturing Fund ของฟุลไบรทออกจะลอ ใจ
เลยติดตอไปทีส ่ แตนฟอรดเพื่อขอเยี่ยมชมและเรียนรูเ กี่ยวกับการสอนวิชา
เทคโนโลยีเพือ ่ ชวยเหลือ (Assistive Technology) ของเดวิด จาฟฟ ซึ่งฉันใช เปนแนวทางในการสอนวิชาตัวเอง
แตฉน ั ไมไดคาดเลยวาเดฟจะเชิญใหฉันอยู
ตอในชวงฤดูหนาวที่เหลือ ซึง่ ทาง Council for International Exchange of Scholars
(CIES)
ซึ่งเปนผูดูแลโครงการแลกเปลี่ยนนักวิชาการรวมกับมูลนิธิ
การศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุลไบรท) ก็ชว ยจัดการเพิ่มชือ ่ สแตนฟอรดใหเปน หนวยงานแลกเปลี่ยนอีกแหงหนึ่งของฉัน นอกเหนือจากเอ็มไอทีที่เปนหนวยงาน แลกเปลี่ยนหลัก ในอาทิตยแรกของเดือนมกราคม ฉันหนีพายุหิมะไปสแตนฟอรด และมีความสุข กับแสงแดดของแคลิฟอรเนีย แมวาอากาศจะแหงไปหนอยก็ตาม สแตนฟอรดเปน สถานทีท ่ น ี่ าตื่นตาตื่นใจและเต็มไปดวยพลังอยางมาก และเดฟก็เปนวิศวกรที่ดี ที่สุดเทาที่ฉันเคยเจอมา เขาทุมเทอยางมากใหกับวิชาเทคโนโลยีเพือ ่ ชวยเหลือ ซึ่งเปดสอนในครัง้ แรกเมื่อเจ็ดปกอน วิชานี้จะเนนที่การลงมือทําโครงงาน การ แลกเปลี่ยนประสบการณกับวิทยากร และทัศนศึกษา ขนาดของหองที่นใ ี่ หญกวา ที่เอ็มไอทีเทาหนึ่ง มีนักศึกษาปริญญาตรีและปริญญาบัณฑิต 48 คนจาก
หลากหลายสาขาวิชาเอก ทั้งที่เปนสายวิทยาศาสตรและสายอืน ่ การเรียนการ สอนคอนขางจะยืดหยุน โดยนักศึกษาสามารถเลือกเรียนไดหนึ่งถึงสามหนวยกิต และเลือกโครงงานหนึ่งอยาง จะเดี่ยวหรือกลุมก็ได แตตองใหเหมาะกับเวลาและ พื้นฐานความรูข องตัวเอง นอกจากนี้ เดฟยังเปดหองใหบค ุ คลทั่วไปเขามาฟงได บางคนมาฟงแลวถึงเจ็ดครัง้ คุนจนเปนเพือ ่ นกันไปแลว ยิ่งไปกวานั้น เรายังไดไป เยี่ยมชมโรงพยาบาล VA และหองทดลอง Gat Analysis เพื่อศึกษาการใช เทคโนโลยีเพือ ่ ชวยเหลือดวยตาของตัวเอง แตประสบการณที่สุดยอดที่สด ุ ของฉัน คืองานนิทรรศการเทคโนโลยีที่มีกลุมธุรกิจเปดใหม นักลงทุน และบริษท ั ตาง ๆ นําสินคาของตัวเองมาออกแสดงทีม ่ หาวิทยาลัย ความสัมพันธที่แนบแนนกับธุรกิจ เหลานี้ถือเปนจุดแข็งของสแตนฟอรด และการที่ตั้งอยูในซิลิคอน วัลเลย หรือ ศูนยกลางของนวัตกรรมและเทคโนโลยีนั้นเปนความพิเศษซึ่งสแตนฟอรดเทานั้น ที่มี โครงงานของนักศึกษาสวนใหญก็ไดรบ ั การสนับสนุนจากบริษัทหรือชุมชน และในเดือนแรกที่ไปถึงฉันก็ไดมีโอกาสกลาวบรรยาย ซึ่งถือเปนประสบการณที่ สนุกทามกลางบรรยากาศอันผอนคลาย สแตนฟอรดมีอาณาเขตทีส ่ วยงามและกวางขวางมาก จนฉันนึกภาพไมออกเลยวา จะดูแลบํารุงรักษากันไดอยางไร ในมหาวิทยาลัยมีกิจกรรมหลากหลายอยาง ทั้ง ยังมีสนามกอลฟเปนของตัวเองดวย ขณะที่พาฉันเดินสํารวจบริเวณรอบ ๆ เดฟก็ เลาวา นักศึกษาสวนใหญมักจะขี่มอเตอรไซค แถมขี่เร็วมากขนาดวามีแยกหนึ่งที่ เรียกกันวา “สี่แยกมรณะ” เราไปเยี่ยมชมตึกเกตส (Gates Building) ซึ่งเปนที่ตงั้ ของพิพิธภัณฑคอมพิวเตอรดวย อาทิตยแรกที่ไปถึง เดฟพาฉันเดินไปตามปาลม ไดรฟอันมีชื่อเสียงเรือ ่ ยไปจนถึงยูนิเวอรซิตี้ ไดรฟ ทีป ่ าโล อัลโต ซึ่งหลังจากนั้น ฉันก็ไปเดินทีน ่ น ั่ บอย ๆ ปาโล อัลโตเปนเมืองนาอยู คึกคักมีชีวิตชีวา แตคา ครอง ชีพสูง นาจะเพราะบริษัทไฮเทคสวนใหญตั้งอยูในแถบนัน ้ มีทั้งเฟซบุก กูเกิ้ล แอป เปล และบริษท ั ทํานองนีอ ้ ีกหลายแหง เนื่องจากลูกศิษยหลายคนของฉันทํางานใน ยานนี้ ฉันเลยไดไปเยี่ยมชมเฟซบุค แอปเปล และทวิตเตอร ไดเห็นบรรยากาศ การทํางานทีต ่ างกันและไดกินอาหารฟรีดวย ในชั่วโมงสุดทายที่สแตนฟอรด เดฟ มอบการดพรอมลายเซ็นนักเรียนทัง้ หองเปนที่ระลึก แถมยังใหหมวกสแตนฟอรด มาดวยอีกใบหนึ่ง ซึ่งฉันรูสึกซาบซึ้งอยางยิ่ง ฉันกลับไปที่เอ็มไอทีและพายุหิมะที่รออยูเพือ ่ จบภารกิจของฟุลไบรทดวยการ บรรยายทางวิชาการ ซึง่ ถือเปนประสบการณที่สําคัญที่สด ุ ของฉันที่อเมริกา หรือ อาจจะทั้งชีวิตการทํางานเลยก็วาได แมวาเนือ ้ หาที่บรรยายจะเปนเรือ ่ ง ประสบการณของฉันเกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อชวยเหลือดานการพูด (Speech and Assistive Technologies) แตฉันก็ยังอดตืน ่ เตนไมได ยังไงก็ตาม นีค ่ อ ื เอ็มไอที
แตฉันก็คด ิ วาตัวเองทําไดดี อยางนอยก็ไมไดหัวใจวายหรือเปนลมไปกอน การ บรรยายนี้เปดใหคนทั่วไปเขามาฟงได ซึง่ คนที่มาฟงก็เปนอาจารย นักศึกษา และ คนที่สนใจอื่น ๆ รวมกันประมาณ 30-40 คน การบรรยายครัง้ นีท ้ ําใหฉันพบวา สังคมเอ็มไอทีเต็มไปดวยมิตรภาพ ความเคารพซึ่งกันและกัน และใจที่เปดกวาง คนที่เปนโตโผหลักในครั้งนี้คอ ื ศาสตราจารยจิม กลาส ซึ่งเปนผูร ิเริ่มเทคนิค segment-based
speech
recognition
อันเปนวิธอ ี ัลกอริทึ่มซึง่ พวกเราที่
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยใชเปนพื้นฐานในการจดจําเสียงภาษาไทย ฉันแวะไปหาเซ็ทกอนทีจ ่ ะกลับ เซ็ทบอกวาเราควรจะกระตุนใหมีนักศึกษาและ วิศวกรมาทํางานชวยเหลือคนพิการใหมากกวานี้ “พวกเขาเปนวิศวกร แค ตองการแรงบันดาลใจเทานัน ้ เอง” กอนจากกัน คําพูดที่เซ็ทใหฉัน “คิดแบบเอ็มไอ ที” นัน ้ ทําใหฉน ั ตองเก็บเอามาคิดตอ การทีฉ ่ ันไดไปศึกษาดูงานไปที่เอ็มไอทีและสแตนฟอรดนัน ้ มีคามาก จึงอยากเชิญ ชวนใหอาจารยทุกคนไดทําเชนเดียวกันหกอาทิตยที่เวนวรรคไปจากจุฬาฯ นั้น ใหผลตอบแทนคุมคาอยางยิง่ ฉันรูส ึกวามีพลังเพิ่มขึ้น ไดสรางความรวมมือมาก ขึ้น และแทบรอไมไหวทีจ ่ ะแบงปนความคิดใหม ๆ ขณะเดียวกัน ฉันก็หวังวาฉัน ไดมีสวนชวยเผยแพรความรูเกี่ยวกับประเทศไทยที่รักของฉัน ไดทําหนาที่เปนทูต วัฒนธรรมอยางที่ฟล ุ ไบรทตั้งใจ ขอขอบคุณเจาภาพของฉัน ศาสตราจารยซน ิ เธีย บารนฮารด อธิการบดีเอ็มไอที ศาสตราจารยเซ็ท เทลเลอร แหงหองปฏิบัตก ิ าร CSAIL (Computer Science and Artificial Intelligence Laboratory) ของเอ็มไอที และเดฟ จาฟฟ จาก ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องยนต มหาวิทยาลัยสแตนฟอรด ทุกทานเหลานี้ลว นหยิบ ยื่นโอกาสอันหาที่เปรียบไมไดและเกินกวาที่ฉน ั จะคาดคิด ซึ่งจะเปนเรื่องทีฉ ่ ัน จดจําไมมีวน ั ลืม
Learning the ‘Wai’ Way of Thailand31 Xie Alicia Reyes, Ph.D. 2009 Fulbright U.S. Specialist Program From University of Connecticut @ Burapha University International College
“Just as students abroad benefit most from a total integration into cultural differences and the unpredictable, so too do faculty members stand to gain more from teaching in a different institution with different students, in circumstances outside their academic comfort zone. The proverbial yellowed lecture notes, stained and crossed from years of use rarely work with students whose assumptions and frames of reference are very different from those of American undergraduates.” Hall (2007) As I ponder all the ways in which my experiences in Thailand will enhance my teaching and my work upon my return to the U.S., I can’t help but focus first on the manner in which these experiences change and renew our worldviews and our lives in deeper ways. In my case, I felt surrounded by an aura of gentleness and kindness. Perhaps the novelty of having a “stranger” in their midst and the concern communicated and modeled by the chief administrator, had fueled the attentiveness. But I felt totally convinced that it is the “wai” way of Thailand and its people, to be concerned for your well-being. Everyone from the administrators, to the office staff, to the students wanted to
31
Originally published in Fulbright Newsletter Issue 25, August 2009
know if I had plans for dinners, weekends, and any times that they perceived that I might need company. Their graciousness and care was unparalleled and so were their surprised reactions when they found that I had gone out on my own. I made new friends at a church that one of my son’s found for me on the internet, I shopped, and I even went bowling. Nonetheless, I took them up on the numerous invitations to share an outing and learn more about surrounding towns and cemented friendships in the process. When I return to my classrooms in the fall I will remember to add some of the elements I experienced in Thailand for the first time. Although I have lived in places where teachers are revered, no activity I recall can parallel the significance and ceremony of the Wai Kru I attended while at Burapha University. The students playing traditional instruments and singing en masse, the chanting of the Monks, the University President leading the processional of faculty, and the fragrance of flowers of massive arrangements and garlands offered by the students to teachers, were impressive and unforgettable. The students’ polite greetings – everywhere on campus, regardless of whether or not they were your students – were absolutely amazing. The experience has also helped me confirm once more, how the context influences the behaviors of our student. In the U.S., my students are eager to engage in debates and discussions in class while students in Thailand (both Thai and Chinese) are more passive and need to be prodded to speak up in class. Once in a while a student would email me to state that they wanted me to clarify something in class even though I had asked numerous times if they had questions
and understood the material. In examining the issue of saving face for oneself and/or for one’s group, I saw that it had implications for our own class’ behavior patterns.
I was happy to use these examples and
students began to understand how this might affect them if they were to study abroad. In the same manner, my U.S. students might be seen as overpowering if they were to interact among Asian students as they do in the U.S. Because many of my students will probably be teachers of diverse students, it is important for them to have knowledge of the cultural patterns associated with our students’ backgrounds. Although this is something I have always emphasized in my teaching, Thailand has strengthened my resolve to encourage them to live these experiences through working abroad. No amount of research can fully inform the understanding of other cultures as lived experiences do. The opportunity offered by these short-term Senior Specialist projects is invaluable, and the long lasting transformations they can spawn may impact the lives of many more through our teaching. Getting to know colleagues and students outside of the classroom is a practice I will continue to encourage because these dialogues can result in shared research and in facilitating opportunities for each others’ professional growth. Conversations with the Assistant Dean of Student Affairs, Ajarn Aom, reaffirmed my belief that these cultural events contribute to a well-rounded educational experience and long lasting networks. Finally, in Thailand I felt right at home sharing smiles and sharing the joy of our encounters with each other during this fabulous journey.
เรียนรูจ ากการ ‘ไหว’32 ดร. เซีย อลิเซีย เรเยส 2009 Fulbright U.S. Specialist Program University of Connecticut, Storrs @ มหาวิทยาลัยบูรพา แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน (ฟุลไบรท)
“ในขณะทีน ่ ักเรียนตางชาติเรียนรูจากการซึมซับวัฒนธรรมที่แตกตางและ
สถานการณทค ี่ าดเดาไมได ครูอาจารยเองก็ไดเรียนรูจ ากการไปสอนในสถาบัน หลายแหง ไดเจอนักเรียนที่หลากหลาย และไดกาวออกมาจาก comfort zone หรือพืน ้ ทีส ่ ุขสบายทางวิชาการอันคุนชิน โนตคําบรรยายเกากรอบจนเหลืองผาน การใชงานมานับปนั้น แทบจะใชไมไดกับนักศึกษาที่มค ี วามคิดความเขาใจ แตกตางอยางมากจากนักศึกษาปริญญาตรีชาวอเมริกัน” ฮอล 2007 เมื่อมานึกดูวาประสบการณในประเทศไทยจะเปนประโยชนอยางไรตอการสอน และงานของฉันเมื่อกลับไปถึงสหรัฐแลว สิ่งแรกที่นึกไดคอ ื ประสบการณเชนนี้จะ ผลิกเปลี่ยนทัศนะและชีวิตของเราอยางลึกซึง้ ในกรณีของฉัน ฉันสัมผัสไดถึง ความสุภาพออนโยนและความมีน้ําใจทีอ ่ บอวลอยูร อบตัว บางทีเหลาผูบริหาร อาจจะมีสวนแพรความรูสึกตืน ่ เตนที่มี “คนแปลกหนา” หลุดเขามาในกลุม รวมทั้ง ความเปนหวงเปนใยเชนนี้ก็ได ฉันเองนั้นเชื่ออยางสนิทใจวาวัฒนธรรมการ “ไหว” ของไทยนั้นเกี่ยวของกับความเอาใจใสตอผูอ ื่น ทุกคนที่นี่ตงั้ แตผบ ู ริหาร เจาหนาที่ ไปจนถึงนักเรียนตางก็อยากรูวาฉันจะกินขาวเย็นทีไ ่ หน วันหยุดจะทํา อะไร และเมื่อไหรทต ี่ องการเพื่อน ความเอาใจใสเชนนี้ไมมีอะไรเทียบได พวก เขาจึงออกจะประหลาดใจทีร่ ูวา ฉันไปไหนมาคนเดียว ไดไปรูจักเพือ ่ นใหมที่ โบสถซึ่งลูกชายเจอจากอินเตอรเน็ท ไปซือ ้ ของและแมแตไปเลนโบวลิ่งคนเดียว อยางไรก็ตาม ฉันออกไปเที่ยวกับพวกเขาหลายครัง้ ไดเรียนรูเรื่องราวของ จังหวัดใกล ๆ และไดเพิ่มความสนิทสนมกันไปในตัว
32
พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรทฉบับที่ 25, ตุลาคม 2552
เมื่อกลับไปสอนอีกครั้งในฤดูใบไมรวง ฉันจะไมลืมแทรกเกร็ดเล็กเกร็ดนอย เกี่ยวกับประสบการณใหม ๆ ในประเทศไทยใหนักศึกษาฟง แมวาที่ ๆ ฉันอยูจะ ใหความเคารพนับถืออาชีพครู แตไมมีอะไรเทียบไดเลยกับประเพณีไหวครูซึ่งฉัน ไดมีสวนรวมทีม ่ หาวิทยาลัยบูรพา ไดเห็นนักศึกษาเลนดนตรีไทย รองเพลง สวด มนต เห็นอธิการบดีเดินนําขบวนอาจารยเขามา เห็นนักศึกษามอบพานดอกไมที่ ตกแตงสวยงามหอมฟุง ใหกับอาจารย ชางเปนภาพทีน ่ าประทับใจไมมว ี ันลืม ที่นี่ ไมวาจะไปมุมไหนของมหาวิทยาลัย นักศึกษาจะทักทายอาจารยอยางสุภาพแมวา จะไมไดสอนพวกเขาก็ตาม เหลือเชือ ่ ทีส ่ ุด ประสบการณไหวครูย้ําใหเห็นถึงความสําคัญของบริบทตอพฤติกรรมของ นักศึกษาในไทยและสหรัฐ ทีส ่ หรัฐ นักศึกษาของฉันจะกระตือรือรนในการแสดง ความคิดเห็นและถกเถียงกันในชั้นเรียน แตในไทย นักศึกษา (ทั้งไทยและจีน) ออกจะเงียบกวาและตองถูกกระตุนจึงจะพูด บางครั้งบางคราวก็มีนักศึกษาเขียน อีเมลมาขอใหฉน ั ชวยอธิบายบทเรียนเพิ่มเติม แมวาในหองเรียนฉันจะถามแลว ถามอีกวาใครมีคําถามอะไรหรือไม เขาใจหรือเปลา ถาจะวิเคราะหกค ็ ิดวาเปน เรื่องของการรักษาหนาไมวาจะของตัวเองหรือของกลุม เรื่องนี้เปนอิทธิพลแบบ แผนพฤติกรรมของชัน ้ เรียน ซึ่งฉันก็ยกตัวอยางจนนักศึกษาเริ่มเขาใจแลววา พฤติกรรมนี้จะสงผลกระทบอยางไรถาพวกเขาไปเรียนทีต ่ างประเทศ และ เชนเดียวกัน นักศึกษาอเมริกันก็อาจจะถูกมองวากาวราวเมื่อเรียนรวมกับ นักศึกษาจากเอเชียดังเชนที่เปนอยูตอนนี้ เนือ ่ งจากนักศึกษาหลายคนของฉันจะ จบไปเปนอาจารยสอนนักเรียนที่มค ี วามหลากหลาย จึงจําเปนที่พวกเขาตองมี ความรูเกี่ยวกับวัฒนธรรมของนักเรียน แมฉันมักจะย้ําเรือ ่ งนีก ้ ับนักศึกษาเสมอ แต การมาเมืองไทยครัง้ นีท ้ ําใหฉน ั มุงมัน ่ ทีจ ่ ะผลักดันใหพวกเขาลองหาประสบการณ ทํางานในตางประเทศ เพราะงานวิจัยสักกี่ฉบับก็ไมสามารถชวยใหเราเขาใจ วัฒนธรรมอื่นไดเทากับการไปเรียนรูดว ยตัวเอง ชวงเวลาสัน ้ ๆ ระหวางโครงการ Fulbright Specialist นั้นนับวามีคา อยางยิง่ และประโยชนที่ไดรบ ั ก็จะสงผลตอ คนอีกหลายคนที่ฉันสอน การทําความรูจก ั กับเพื่อนรวมงานและนักศึกษานอกหองเรียนนั้นเปนสิ่งที่ฉน ั จะ สงเสริมตอไป เพราะอาจจะทําใหไดคูรว มวิจัย ทัง้ ยังชวยสรางโอกาสในการ เติบโตทางวิชาชีพดวย ยิง่ ไดคุยกับอาจารยออม ซึ่งเปนผูชวยอธิการบดีฝาย กิจการนักศึกษา ฉันยิ่งเชือ ่ วากิจกรรมทางวัฒนธรรมตาง ๆ จะสงผลให ประสบการณการเรียนรูของเราเปนไปอยางรอบดาน และยังชวยสรางเครือขายที่ ยั่งยืนไดดวย สุดทายนี้ ฉันอยูใ นเมืองไทยดวยความรูส ึกเหมือนอยูบา น ได แบงปนรอยยิ้มและความสุขกับคนทีร่ ูจักระหวางการเดินทางครั้งนี้
Oh My Beloved Thais!33 Porntip Kanjananiyot Executive Director Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand) Translated by Chotima Chaitiamwong, Outreach Officer, Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand)
There are always funny stories among our Fulbright Family and life has never been quiet. Some stories are trivial but brought a good laugh every time we thought of them. Many make us smile and many make us go wild (and embarrassed at times!). Many encourage us to think further and improve…finally! How are you? It is commonly known that Thai students study English like parrots. It is particularly true with their greeting. Do not ask them “How are you?” Almost 100% of students will reply harmoniously “Fine, thank you. And you?”
33
Originally published in “Knitting the Fulbright Family” Year 9, April 2013
Our American Fulbrighters teaching in the provincial schools felt annoyed with the same answers and then encouraged students to use alternative phrases such as “Wonderful!” and “Great!”. During a sport day at one of the host schools while students were playing in the field, a student accidentally fell on the floor. The Fulbright teacher rushed to him and asked with concern “How are you?” He replied automatically “Fine, thank you!” The Fulbrighter dropped! Matchmaking Expert American Fulbrighters teaching English in Thai provincial schools are almost at the same age as their high school students. This helps them to connect easily with each other. At the same time, Thai teachers and their communities are very interested in the Fulbrighters and feel they have to take extra care of young foreigners. A young male teacher called TUSEF grumbling that he had been asked to be a matchmaker too many times and felt overwhelmed. Personally, he was not interested in matchmaking. Another male teacher recalled “There is a senior teacher at my school. She has two daughters and asked me to choose between them. I can marry the elder or the younger one.”
The situation was not different for female teachers. One said she was puzzled when a Thai teacher measured her height with the measuring tape. She was even stunned when the same teacher came to her the next day saying with satisfaction “Great! My son is a bit taller so you are matched!” We laughed though we were also quite embarrassed. When Farang Teacher Met a Ghost One day, teacher Matt told his students that he met a female ghost in his house (which was located in the school compound). The news shocked not only the students but also the teachers. They asked older school people if they remembered whether there was a women who may have died in Matt’s house. Matt himself invited students to look for the ghost at his house. They could not find her. Matt said it might be the daylight and the electricity that made it difficult to see her. The ghost story heightened the students’ interest in Matt. They did not miss any of Matt’s classes but it was not because they were ‘worried’ about him. In fact, they wished to hear more of Matt’s ‘ghost stories’. Even when they were told in English, the students followed every word with extreme interest. Behind the Story Matt was teaching English at one of the small schools in the north. Generally, he got along well with students. For one class, however, he tried everything but could not encourage the students to attend his class.
Matt observed his students’ behavior and found that the ghost story always captured the students’ interest. Matt then ‘made up’ a story to attract students to his English class. The result was more than expected. When asked how he could tell stories every class, Matt replied in Thai “Chin-ta-na-karn! (Imagine). He asked his student whether they saw the ghost. Some even said “yes!”. That response always made him laugh. Thais and ghost stories are inseparable over time. But integrating ghost stories in lessons based upon the imagination of an American teacher is not common, is it?
ขําขามวัฒนธรรม34
พรทิพย กาญจนนิยต ผูอํานวยการบริหาร มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุลไบรท)
เรื่องขําๆ มีอยูในชีวิตเราชาวฟุลไบรทเสมอ ทําใหชีวต ิ ไมเคยเงียบเหงา บางเรื่อง เล็กมากแตพอนึกถึงทีไร ก็เพิ่มรอยยิ้มและเสียงหัวเราะเปนประจํา บางเรือ ่ งก็ทั้ง ขําทั้งเขินที่พบวา พีน ่ องชาวไทยของเราหนอ ‘เปนไปไดขนาดนี’้ หลายเรือ ่ งอาจ กลายเปนประเด็นชวนใหคิดและลงมือปรับปรุง........ซะที! How are you? เปนทีร่ ูกันทั่วไปวาเด็กไทยเรียนภาษาอังกฤษแบบนกแกวนกขุนทอง โดยเฉพาะ การทักทาย อยาไดถามวา 'How are you?' เชียว รอยทัง้ รอยของนักเรียน จะประสานกันสง เสียงวา 'Fine, thank you. And you?' ผูรับทุนฟุลไบรทชาวอเมริกันที่ไปสอนภาษาอังกฤษในตางจังหวัดเกิดอาการ สะทานกับคําตอบอยางเดิม ๆ นี้มากเราก็เชียรใหหาคําอื่น ๆ ใหเด็ก ๆ ไดเรียนได ฝก เชน Wonderful! Great! เปนตน เมื่อโรงเรียนแหงหนึ่งทีค ่ รูฟล ุ ไบรทเราสอนอยูจัดกีฬาสี ขณะที่กาํ ลังเลนกันอยาง สนุกสนาน ปรากฏวามีเด็กคนหนึ่งเกิดบาดเจ็บ ครูฟุลไบรทคนนี้เลยรีบวิ่งเขาไป ดวยความเปนหวงแลว ถามวา 'How are you?' เด็กคนนัน ้ ตอบทันทีวา 'Fine, thank you.' ครูฟล ุ ไบรทของเราหมดแรงชวยเลยละคะ
!
34
พิมพครั้งแรกใน “รอยถอยถักใย สื่อฟุลไบรทในสากล” ปที่ 9, เมษายน 2556
ไทยถนัดนักกับการจับคู ชาวอเมริกันที่มาเปนครูสอนภาษาอังกฤษของเรา เปนครูรุนหนุมสาวทีว ่ ัยจะ ใกลเคียงกับนักเรียนมัธยม ทีไ ่ มเพียงทําใหเด็ก ๆ รูสึกคุนเคยไดงายขึน ้ แมแตครู อาจารยและคนในชุมชนเพิ่มก็ความสนใจและใสใจกับครูฟุลไบรทในแทบทุก ดาน ครูหนุมของเราคนหนึง่ โทรศัพทมาคุยและคร่ําครวญวา ถูกจับคูบอ ยมาก จนจะ ทนไมไหวแลว เพราะตัวเขาเองไมสนใจเลย หนุมอีกคนก็เลาวา ‘ที่โรงเรียน มีพี่ครูคนหนึง่ บอกวา เคามีลก ู สาวสองคน ใหผม เลือกไดเลยวา ตองการจะแตงกับคนพี่หรือคนนองก็ไดอีกตางหาก’ ขางสาว ๆ อเมริกันก็ไมแพกน ั ครูฟุลไบรทคนหนึง่ เลาวา ครูไทยที่โรงเรียนนํา สายวัดมาวัดสวนสูงของเขา ทําใหสาวนอยคนนี้งงมาก และสิ่งทีง่ ุนงงก็กลายเปน เรื่อง ‘จังงัง’ เพราะวันรุงขึน ้ ครูไทยคนเดิมเดินมาบอกวา ‘ใชได ลูกชายของพีส ่ ูง กวาหนูหนอยนึง เขาคูกันได’ พวกเราทั้งขําทัง้ อาย ก็ไดแตบอกวา ‘นอง ๆ เอย พวกเราคนไทย โตมาใน สิ่งแวดลอมและบริบทที่ตา งจากนอง ๆ นะจะ นี่เปนสวนหนึ่งของการเรียนรูขาม วัฒนธรรมในฐานะที่เปนคนฟุลไบรทนะจะ ขอใหพยายามทําใหเปนเรือ ่ งขํา ๆ ฮา ๆ เลน ๆ กับพี่ ๆ ที่โรงเรียนไปดวย แลวจะดีเอง (ที่จริง ก็คือ แลวจะชินไปเอง แหละจะนอง!)’ เมือ ่ ครูฝรัง่ เจอผี วันหนึง่ ครูแม็ทบอกเด็ก ๆ วา ครูแม็ทเจอผีผูหญิงในบานพักทีอ ่ ยูในบริเวณ โรงเรียน ขาวนี้ไมเพียงแตทําใหเด็ก ๆ ตกใจ แตครูในโรงเรียนก็ตกใจกันยก ใหญ พยายามหาคนเกาแกทอ ี่ ยูโรงเรียนมานาน เพื่อถามดูวา เคยมีผูหญิงตายใน บานของครูแม็ทหรือเปลา ครูแม็ทยังบอกเด็ก ๆ ใหไปทีบ ่ านดวยกันเพือ ่ ไปหา ผูหญิงคนนัน ้ ปรากฏวา เด็ก ๆ ไมพบผูหญิงคนนั้น ครูแม็ทก็บอกเด็ก ๆ วา อาจ เปนเพราะยังไมมืดและพอเปดไฟสวางอยู ก็เลยทําใหเห็นยากก็ได
เหตุการณฝรัง่ เจอผีครัง้ นั้น ทําใหเด็ก ๆ ติดครูแม็ทหนึบทันที ทุกคนเขาหองเรียน พรอมหนากัน ไมใชเพราะวา “หวงครูแม็ท” หรอกนะคะ แตเขาไปเพื่อฟงครูแม็ท เลาเรื่องผี ทั้ง ๆ ที่เปนภาษาอังกฤษ เด็ก ๆ ก็จะนั่งฟงอยางสนอกสนใจทุกชัว ่ โมง ภาพเบือ ้ งหลังเปนอยางนีค ้ ะ ครูแม็ทสอนภาษาอังกฤษอยูท โี่ รงเรียนมัธยมเล็ก ๆ แหงหนึ่งทางภาคเหนือ ครู แม็ทสนิทกับเด็ก ๆ พอควร แตไมวาจะวิธีไหน เด็ก ๆ ที่ครูแม็ทสอนอยูหองหนึ่งไม ยอมเขาเรียนซะที ครูแม็ทเลาใหพวกเราฟงวา สังเกตพฤติกรรมของเด็ก ๆ ก็เห็นวา พอคุยกันเรื่องนี้ ทีไร เด็ก ๆ ดูสนใจที่จะนั่งฟงทุกครั้ง ครูแม็ทก็เลย “แตงเรื่อง”ขึ้นมาเพื่อหลอกลอ ใหเด็ก ๆ สนใจเพื่อจะเขาเรียนวิชาภาษาอังกฤษบาง ปรากฏวาไดผลมากกวาที่ คิดไวดวยซ้ํา พอถามตออีกวา เลาเรือ ่ งผีไดยังไงทุกชัว ่ โมง ครูแม็ทพูดเปน ภาษาไทยชัดเจนวา “จินตนาการ” แลวยังแถมอีกเรือ ่ งที่ครูแม็ทยังขําไมหายนั่นก็ คือ พอถามเด็ก ๆ วา เคยเจอผีผูหญิงคนนีบ ้ างมั้ย เด็ก ๆ บางคนตอบวา “เคย”! แยกกันไมออกระหวางคนไทยกับเรื่องผี ๆ ไมวาสมัยไหน แตการผูกเรื่องผีเขาไป ในการเรียนการสอน ที่มาจากจิตนาการของคนอเมริกันไมใชเรือ ่ งธรรมดาเลย จริงไหมคะ
My Cultural Ambassador Role as Seen through the U.S. Presidential Election35 Chike Aguh 2008 English Teaching Assistantship Program @ Warinchamrab School, Ubonratchathani
“Chike, who will you vote for?” Ajahn Benjamai asked me. I looked up from my desk in the foreign language office at Warin Chamrab School. I had been teaching English there for about one week and it was the day before the U.S. presidential election. All the foreign language teachers had a desk in that office along with Ajarn Benjamai. She was an older woman who taught social studies at the school and no one had ever explained to me why her desk was in the foreign language office but there she was asking me who I was going to vote for. I looked up from my computer to meet her eyes, which lay behind thick glasses. It gave her the look of an owl: old, wise and all seeing. When the department had taken me out for dinner the week before to welcome me, she told me to call her grandmother.
“Who will you vote for?” She asked again. Now like most kids in the United Sates, my parents told me to never discuss two things in public, particularly when you were around new people: religion and politics. Over my six weeks in Thailand thus far,
35
Originally published in Fulbright Newsletter Issue 23, December 2008
that norm had gone out the window because this was at least the sixth time I had been asked. My sensibilities were just catching up. I told my colleague whom I had voted for and she smiled.
“So if he gets the most votes, he will be the president.” She said. Now the farang in me that was absolutely unconfident in their Thai wanted to let this oversimplification of the complicated U.S. electoral system pass. There’s no way I would be able to explain this. There are Americans who don’t understand the Electoral College and we speak the same language. This thought had come to my mind many times in many conversations with many Thais. The conversation would go to a question that I thought could not be answered with my limited Thai language. So, instead of attempting, I would answer with something much simpler that really didn’t answer the question. Anything to get my interlocutor and I steered away from that potential ditch of misunderstanding. However, this time the political science major in me overwhelmed the farang. “It’s not actually that simple…” I said. Ajarn Benjamai’s owl eyes looked at me quizzically. Ok, smart guy. Go ahead and explain the Electoral College to this person who does not speak much English when at the same time you do not speak much Thai. Suddenly a thought entered in my head. I motioned for Ajarn to follow me and we headed over to one of the computers. I brought up a
website that I knew and showed it to her. The website showed a map of the United States with each state colored red or blue for Democrat or Republican depending on who the polls said was going to win the state. The map also labeled each state with their number of electoral votes. And it was here I began. I explained that it was the person who won the most states who won the presidency. It was like a game, each state was worth a certain number of points. The bigger the state the more points you get. Winning California was better than winning Rhode Island. Whoever got to 270 ‘points’ first would become the president. I looked at Ajarn Benjamai to see if she understood. I sighed imperceptibly as I watched her nod. The ditch of misunderstanding had been averted but not by getting off the conversational road which is the easy way out which I had taken too many times in Thailand. I found out later in the week that she had used the website I had showed her and my explanation of the Electoral College as a game with her classes that week. Victories in understanding come in all sizes, great and small, and this one was mine. I look for more every day.
ทูตวัฒนธรรมจําเปนระหวางการเลือกตัง้ สหรัฐ36 ชิเก อากู 2008 English Teaching Assistant @ โรงเรียนวารินชําราบ อุบลราชธานี แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน (ฟุลไบรท)
“ชิเก เธอจะเลือกใครนะ” อาจารยเบญจมัยถาม ผมเงยหนาขึ้นจากโตะทํางานในหองกลุมสาระภาษาตางประเทศของโรงเรียนวา รินชําราบ ผมมาสอนภาษาอังกฤษที่นรี่ าวสัปดาหหนึ่งแลว และวันนี้เปนวันกอน การเลือกตัง้ ประธานาธิบดีสหรัฐ อาจารยกลุม สาระภาษาตางประเทศทุกคนตางก็ มีโตะของตัวเองอยูท ี่หอ งพักครู อาจารยเบญจมัยก็เหมือนกัน เพียงแตเธอเปน อาจารยอาวุโสที่สอนวิชาสังคมศึกษาทีโ่ รงเรียน ไมเคยมีใครอธิบายใหผมฟงเลย วาทําไมเธอถึงมานั่งอยูในหองกลุมสาระภาษาตางประเทศได เมื่อเธอถามวาผมจะ เลือกใคร ผมก็เงยหนาขึ้นจากคอมพิวเตอรสบสายตาทีซ ่ อ นอยูหลังแวนตาหนา เตอะซึ่งทําใหเธอดูเหมือนนกฮูก สูงวัย หลักแหลม และรอบรู เมือ ่ อาทิตยกอนที่ บรรดาอาจารยกลุมสาระพาผมไปเลี้ยงตอนรับ เธอบอกใหผมเรียกเธอวาคุณยา “เธอจะเลือกใคร” เธอถามซ้ํา ก็เหมือนกับเด็กสวนใหญในอเมริกา พอแมผมหามเด็ดขาดวาถาอยูในที่ สาธารณะ โดยเฉพาะในกลุมคนหนาใหม ๆ ละก็ หามคุยสองเรื่องนี้เด็ดขาด – ศาสนาและการเมือง แตหกอาทิตยท่ผ ี านมาในเมืองไทย ขอหามนั้นถูกลมพัดปลิว ไปนอกหนาตางเรียบ เพราะผมถูกถามคําถามนี้มาอยางนอยก็หกครั้งแลว เมื่อตั้ง หลักได ผมก็ตอบเธอไปวาผมเลือกใคร เธอยิม ้ “ถาเขาไดคะแนนเสียงมากที่สด ุ เขาก็จะไดเปนประธานาธิบดีใชมั๊ยละ”
36
พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 23, ธันวาคม 2551
ตอนนี้ความเปนฝรั่งในตัวผม ซึ่งไมมค ี วามมัน ่ ใจในภาษาไทยของตัวเองเอา เสียเลย อยากจะหลับหูหลับตาปลอยใหเธอสรุประบบการเลือกตั้งสหรัฐอัน ซับซอนอยางงาย ๆ แบบนัน ้ ก็มันไมมท ี างที่ผมจะสามารถอธิบายเรือ ่ งนี้ได เพราะแมแตคนอเมริกันบางคนก็ยังไมคอ ยจะเขาใจการเลือกคณะผูเลือกตัง้ (electoral college)37 เลย ทั้ง ๆ ที่พูดภาษาเดียวกันแท ๆ ความคิดนี้เกิดขึ้นหลาย ตอหลายครั้งทีผ ่ มคุยกับคนไทย เวลาที่มค ี ําถามซึ่งผมคิดวาไมสามารถจะตอบ ดวยภาษาไทยอันจํากัด แทนที่ผมจะพยายามผมกลับหาทางออกงาย ๆ ทีแ ่ ทบจะ ไมไดเปนการตอบคําถามอะไรเลย อะไรก็ไดที่จะชวยใหคส ู นทนากับผมหลีกเลี่ยง โอกาสที่จะเขาใจผิดกัน แต ณ ขณะนั้น วิญญาณนักศึกษาวิชาเอกรัฐศาสตร สามารถเอาชนะความเปนฝรั่งในตัวผมได “มันไมงายอยางงั้นนะครับ...” ผมบอก ตานกฮูกของอาจารยเบญจมัยจองผมอยางสงสัย โอเค คนเกง เอาเลย ใช ภาษาไทยงู ๆ ปลา ๆ อธิบายใหคนที่พูดภาษาอังกฤษไมคอ ยไดเขาใจหนอยสิวา คณะผูเลือกตัง้ คืออะไร แลวผมก็ไดความคิด ผมขอใหอาจารยตามผมไปที่คอมพิวเตอรตว ั หนึง่ ผมเปด เว็บที่ผมรูจ ักใหเธอดู มันแสดงภาพแผนที่ของสหรัฐอเมริกา แตละรัฐจะเปนสีแดง หรือฟาตามสีของเดโมแครตและรีพับลิกน ั ขึ้นอยูกับวาผลการเลือกตัง้ พรรคไหน ชนะในรัฐนั้น แผนที่ยังแสดงจํานวนคะแนนเสียงของคณะผูเ ลือกตั้ง จากตรงนัน ้ ผมก็อธิบายวาผูสมัครทีไ ่ ดเสียงสวนใหญของรัฐทั้งหมดจะไดเปนประธานาธิบดี เหมือนเลนเกม แตละรัฐก็จะมีจํานวนแตมตางกัน ยิ่งรัฐมีขนาดใหญก็จะยิง่ มีแตม มาก ไดคะแนนจากแคลิฟอรเนียก็ยอมจะมากกวาไดจากโรดไอแลนด และใครก็ ตามที่ได “270 แตม” กอนก็จะไดเปนประธานาธิบดี ผมมองอาจารยเบญจมัยเพื่อ ดูวาเธอตามทันรึเปลาและแอบถอนใจเมือ ่ เธอพยักหนา ความเขาใจผิดสามารถ แกไขได แตไมใชดว ยการหลบเลี่ยงแมมน ั จะเปนวิธีทงี่ ายกวาอยางผมมักทําอยู บอย ๆ ในไทย ผมมารูหลังจากนั้นหลายสัปดาหวาเธอใชเว็บไซดนั้นและแนวคิด
37
การเลือกตั้งประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกานั้น แมวาประชาชนจะไปใชสิทธิออกเสียง
เลือกผูสมัครแขงขันชิงตําแหนงประธานาธิบดีแลวก็ตาม แตการที่ผูสมัครคนใดจะไดเปน ประธานาธิบดีไมไดอยูที่เสียงของประชาชนซึ่งลงคะแนนเลือก แตขึ้นอยูกับกลุมบุคคลกลุม หนึ่งซึ่งเรียกวาคณะผูเ ลือกตัง้ (Electoral College) ซึ่งจะเปนผูลงคะแนนเสียงเลือกวาใคร จะไดเปนประธานาธิบดี คะแนนนีเ้ รียกวา คะแนนเสียงของคณะผูเ ลือกตัง้ (electoral vote) – http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=2210
เรื่องเกมของผมไปอธิบายการลงคะแนนของคณะผูเลือกตัง้ ใหนักเรียนฟงใน อาทิตยนน ั้ เอง ชัยชนะในการสรางความเขาใจเกิดขึ้นไดเสมอไมวาจะเรือ ่ งเล็ก หรือเรือ ่ งใหญ ครัง้ นี้เปนชัยชนะของผมและผมจะพยายามใหมันเกิดขึ้นทุกวัน
A Fulbright Couple Experience Thai Hospitals38 Celeste M. Brody, Ph.D. 2006 Fulbright U.S. Scholar Program @ Burapha University John Holmberg Celeste M. Brody’s husband
This is a story of two hospital experiences in Thailand: the first by my husband, John, in a private hospital in Chantaburi; the second by me in a public hospital located on my campus, Burapha University in Bang Saen. John’s story began in Koh Chang, the southeastern island close to Cambodia and the first stop in our holiday exploration of Thailand. John and I were experienced with parasite illnesses. John had been hospitalized years before with a nasty water-born amoeba and we had both been victims of the more common, giardiasis. Consequently John was assiduous about where and what to eat. If a restaurant seemed too casual about cleanliness on first inspection, we didn’t enter. On Koh Chang we found the beach barbecues with fresh fish, prawns and chicken to be appealing; select what you want to eat from the display and it is cooked on the spot for you. John indulged vigorously. He loved Thai food. During our last night on Koh Chang John developed a fever and diarrhea. We thought it might be a virus. But by the next afternoon with
38
Originally published in “Knitting the Fulbright Family” Year 4, December 2007
no change in his condition we began the antibiotics that we had brought with us. By this time we were back in Chantaburi, preparing to travel the following morning on a plane to Chiang Mai with friends. I made a special trip to a Thai pharmacy in the city to secure another antibiotic since the ones we carried were having no effect. But by 3 a.m. it was obvious that John was not going to make a plane that day. I headed to the lobby of the hotel and through my Fulbright “talking cards” and the night managers’ spare English we agreed to hustle to the hospital. He assured me that we were going to the best hospital in Chantaburi, a private hospital. From that moment until John was taken to his hospital room, the hotel night manager never left our side. We arrived at Bangkok Hospital, Chantaburi branch. Chantaburi is not an English-speaking haven so a full cadre of nurses, orderlies and aides-perhaps 10-clustered around to assist, or at least, experience the curiosity of foreigners in the emergency room. I used my “talking cards” once again and interpreted the Thai-English for John. The hospital was nearly empty at 4 a.m. so our progress through admissions was swift. I think my Fulbright identification helped a bit, too. Immediately after the decision to admit John for diagnosis and treatment of dehydration, I was shown pictures of different grades of accommodations. I choose the most basic, of course, since we were not expecting a long stay but I was surprised at the array of available accommodations. It was obvious that families typically moved in with the patient. In rooms that help sick children, mattresses were placed on the floor and the family slept with the child. Some rooms were set up as suites with additional beds, couches and tables. But even in our basic
room hot tea water was waiting; dishes were available along with a microwave oven, fresh fruit and a cot for me to sleep. A steady stream of nurses and aides began with John’s arrival in the room. All were dressed in the traditional nursing uniform I last saw in the 1960s-white dress, nursing cap, stockings and white dress shoes. I applied my archaic knowledge of nursing hierarchy, scanning the caps for the telltale colored stripe indicating nurse status since I couldn’t make sense of the name tags on the uniforms. USA hospitals typically use a white board to write the name of the doctor on duty, the nurse, nurse’s aide or medical assistant because the generic surgical-type dress no longer convey status. I had to guess, based on the functions they conducted who was a nurse and who was an aide. There were so many beautiful and charming women coming through our room all of the time. Whether it was John’s feverish state or the recognition of my seniority and deference to that, the staff communicated with me and not John. It was clear that I was his primary helper and thus, part of the healthcare unit. They asked me what John would like to eat. I answered for John. Then the nurse handed me specimen jars and through a few gestures I gathered that I was to procure samples. OK, I smiled. I knew how to do that. I also knew to ask for latex gloves, since they were not available in the room. I was surprised at the number of invasive procedures that the staff did without them including the placement and removal of the IV drip. But in the end I couldn’t figure out how to gather John’s specimens so I pressed the call button and with more gesturing between us the
nurse realized John required a special pan. I would never have found it on my own! John’s doctor was very knowledgeable about his condition, called amoebic dysentery. He shook his head at the idea of eating at a Koh Chang beach barbecue (“Very dangerous!”). He took the precaution to have John checked for malaria (pronounced “mal a REEa”), since “Malarial mosquitoes do not know borders.” He talked of people, including a doctor, who returned from Koh Chang to Bangkok and died because of malaria contracted on the island and overlooked in an urban hospital. We were relieved when we learned John did not have malaria, but found it odd that I had to go in search of the test results when we had been told that they would be available within the hour. It did not seem to occur to the hospital staff that we might be waiting on pins and needles for the results. But perhaps like other encounters we had with staff at my university, the Thais did not think we needed to know. Or at least, not just then! And the drama continued…. When John and I left for the hospital in those early morning hours, we told our American friends that they should go on to Chiang Mai with the driver that would arrive to transport us to the airport in a few hours. I saw no need for them to hold up their travel plans; we did not know how long we would be detained. But most drivers do not speak English and when he arrived to procure four of us and there were only two, he immediately called the Chantaburi campus of Burapha University (he was a university driver) and alerted the administrators “responsible” for
us of our situation. It never occurred to me to call the administrative staff at such an early hour! But by 9.30 a.m. three campus representatives burst into our room-after a 40 minute drive from the campus to the hospital-just to check on John and support me. Of course, they had already called my own campus in Bang Saen and alerted the Vice President to our situation. I realized then that I had better call my staff personally. It would never occur to me to do this so quickly – I did not want to worry anyone. But there they were worrying. When she insisted that we return to Burapha University so we could be under her watchful eye, I assured my administrator that John would be fit to travel. After all, even the hotel night manager had deemed him “very strong.” Ah, yes. All but his stomach. My own hospital experience occurred near the end of my Fulbright assignment. John had already returned to the USA. I planned to meet as many requests for my workshops on faculty development as I could. I thought I had made the adjustment to the food and climate, and thought I had learned how to be careful in my food choices. But when I traveled I simply ate whatever my hosts provided. And, this usually included seafood. I had learned of my fate: infectious dysentery. (“Fish not very good right now. Many many Thai cases of dysentery.”) Ajarn Suchinda never left my side. She interpreted and assisted throughout the admissions process in the emergency clinic. I was already dehydrated and needed specific antibiotic treatment. The first question the aide asked was whether I would be willing to be admitted to the common room. I had already seen the hospital rooms in this public facility, both the private and common rooms. No question in my
mind: Given the nature of my illness, I wanted a private room. But this meant Suchinda would need to be available for me. A public hospital in Thailand is not the same as a private hospital. Many public hospitals act as clinics for the community, treating everything from back aches to colds. Already I knew several faculty and staff who spent days at a time in Burapha University’s hospital. It was a well loved and accepted part of their lives. Picture a US hospital room of 50 years ago: The old, but well maintained hospital bed adjusts manually through a crank at the foot. In front of the bed is a tired refrigerator with a heating thermos resting on it for boiling water. Unlike the private hospital there are no cups or utensils, towels or soap. Without towels the worn-down shower is particularly uninviting. Families are expected to move in to assist the patient, bring in food, dishes, soap and towels. Temperatures are taken with oral thermometers. Blood pressure monitors are wheeled in on ancient tri-pods. The bedding is a beach sized towel. These are all useful basics, still functioning well, reminding me that one does not need high tech to provide basic hospital care for such things as dysentery and dehydration. Of course, in the US, I would not likely be admitted to a hospital for this condition, either. I was very disturbed at the lack of basic sanitation available to both the staff, patients and helpers in the public hospital. After all, I gathered my own specimens and worried about Suchinda’s exposure to this contagious disease. It was Sunday and I knew that Suchinda would prefer to alert my staff at the university that I was in the hospital. But I was persuasive in asking that she not contact them. They had been working six days straight, and
despite their fatigue I knew they would drop everything to come visit me. I had already witnessed how important it was for Thais to visit a newly admitted patient in the hospital even while she was in a feverish state. The Vice President for Academic Affairs was hospitalized the month prior and as soon as word reached the staff of the Teaching and Learning Center, we hurried to the hospital to pay our respects and bring a food basket. She still lay in her street clothes on the plastic cot, too warm to get in bed. My American sensibilities told me that she should have the first 24 hours to collect herself and gather her strength while waiting for a diagnosis. But not the Thais! Suchinda stayed with me through the night, attending to my every move and bringing me the comfort foods I craved: jello-like treats and mashed potatoes from KFC. When the fever broke in the night, and I had emptied two IV drips into my veins, I was ready to return to my condominium. But not before Suchinda alerted my staff when she had to go teach a class that I was not to be left alone! Once back in my condo I warded off the anticipated onslaught of Thai visitors by asserting that I needed to sleep. “No visitors,” I protested. These may have been the strongest request I made to my hosts since my arrival in Thailand. But mai pen rai. John and I now have powerful memories from two hospital experiences: one in a well-equipped private hospital and the other in a well-loved public one. In both settings we experienced how relationships and connectivity contribute to health care. We also felt the power of the whole “village” as the university staff, hotel management and even the drivers came to our assistance, embraced us and cared
for us. Whatever shortcomings in the system, we were both grateful for excellent hospital care, responsive physicians and nurses and above all, our Thai friends and guardians.
สามีภรรยาฟุลไบรทในโรงพยาบาลไทย39 เซเลส เอ็ม โบรดี้ และจอหน โฮลมเบิรก 2006 U.S. Scholar Program Central Oregon Community College @ มหาวิทยาลัยบูรพา แปลและเรียบเรียงโดย สกล ซื่อธนาพรกุล 2008 Open Competition Scholarship Program and Fulbright’s 175th Thailand-U.S. Friendship Award @ University of Hawaii, Manoa
เรื่องที่เราจะเลาตอไปนีค ้ อ ื ประสบการณการรักษาตัวในโรงพยาบาลในประเทศ ไทย เรือ ่ งแรกเปนประสบการณทโี่ รงพยาบาลเอกชนในจังหวัดชลบุรีของจอหน สามีของฉัน และเรือ ่ งที่สองเปน เหตุการณที่เกิดกับตัวฉันเองในโรงพยาบาลรัฐ ที่ตั้งอยูในมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตบางแสน เรื่องของจอหนเริ่มตนขึ้นที่เกาะชาง เกาะทางตะวันออกเฉียงใตใกลกับประเทศ กัมพูชาที่เปนเปาหมายแรกของพวกเราในการทองเที่ยวในประเทศไทย ฉันและ จอหนตางเคยปวยจากปรสิต หลายปกอ นหนานี้จอหนตองเขาโรงพยาบาลรักษา ตัวเพราะติดเชือ ้ อะมีบา
ในขณะที่เราทั้งคูก ็เคยปวยจากการติดเชือ ้
giardia
ประสบการณนท ี้ ําใหจอหนระมัดระวังทัง้ เรือ ่ งรานและอาหารการกินเปนอยางมาก เราจะไมรบ ั ประทานอาหารในรานที่ดูไมสะอาด แตที่เกาะชางเราพบรานบารบค ี ิว ริมชายหาดที่ขายปลาสด กุง และไก ทัง้ หมดดูนารับประทานเปนอยางมาก เรา สามารถเลือกอาหารที่เราตองการและคนขายจะปรุงใหเราเดี๋ยวนัน ้ วันนัน ้ จอหน กินเยอะมาก เขารักอาหารไทยจริง ๆ ในคืนวันสุดทายบนเกาะชาง จอหนมีไขสูงและทองรวง เราคิดวามันอาจจะเกิด จากไวรัส แตจนถึงบายวันตอมาอาการของจอหนก็ยังไมดีขน ึ้ เราจึงตัดสินใจใช ยาปฏิชว ี นะทีน ่ าํ ติดตัวมา เมื่อเรากลับมาถึงจันทบุรีเพือ ่ เตรียมตัวเดินทางไป เชียงใหมกับเพือ ่ น ๆ ของพวกเราในเชาวันตอไป ฉันตัดสินใจไปรานขายยาใน ตัวเมืองเพื่อซื้อยาปฏิชว ี นะเพราะยาที่เรามีนั้นใชไมไดผล แตพอถึงเวลาประมาณ
39
พิมพครั้งแรกใน “รอยถอยถักใย สื่อฟุลไบรทในสากล” ปที่ 4, ธันวาคม 2550
ตีสามฉันก็รูแลววาจอหนไมสามารถเดินทางไปกับพวกเราไดแน ๆ ฉันจึง ตัดสินใจลงไปที่ลอ ็ บบี้ของโรงแรมและคุยกับผูจัดการกะกลางคืนดวยการดภาษา ของฟุลไบรทผสมกับภาษาอังกฤษกระทอนกระแทนของผูจ ด ั การ เราตัดสินใจกัน วาจะรีบพาจอหนไปที่โรงพยาบาล ผูจัดการยืนยันกับฉันวาจะพาจอหนไปที่ โรงพยาบาลทีด ่ ีที่สด ุ ในจังหวัดที่เปนโรงพยาบาลเอกชน ผูจ ัดการคอยชวยเหลือ ฉันและจอหนตลอดเวลาโดยไมทิ้งเราไปไหนเลยนับตัง้ แตวน ิ าทีนน ั้ จนกระทัง่ จอหนเขาโรงพยาบาล เมื่อเรามาถึงโรงพยาบาลกรุงเทพ สาขาจันทบุรี พยาบาลและผูชว ยเกือบสิบคนก็ รีบรุดมาชวยเหลือ หรืออยางนอยก็มาสัมผัสฝรั่งในหองฉุกเฉิน ดวยความที่ จันทบุรีไมใชสถานทีท ่ ี่จะไดยน ิ ไดฟงภาษาอังกฤษบอยนัก ฉันก็ไดใชการดภาษา อีกครั้งเพือ ่ คอยชวยแปลไทยเปนอังกฤษใหจอหน ขั้นตอนทั้งหลายเปนไปอยาง รวดเร็วเพราะขณะนัน ้ เปนเวลา 4:00 น. โดยโรงพยาบาลก็แทบรางไรซึ่งผูค น แต ฉันก็อดคิดไมไดวาสถานภาพของความเปนฟุลไบรทของฉันก็ชวยทําใหทก ุ อยาง เร็วขึ้นเชนกัน ทันทีทจ ี่ อหนถูกพาเขาตรวจและรักษาอาการขาดน้ํา เจาหนาที่กน ็ ํารูปหองพัก ประเภทตาง ๆ มาใหฉันเลือก แนนอนวาฉันเลือกหองพักแบบพื้นฐานเพราะไมได คาดหวังวาจอหนจะตองอยูใ นโรงพยาบาลนานนัก แตฉันก็อดแปลกใจไมไดที่ โรงพยาบาลนีม ้ ห ี องพักหลายแบบมากใหเลือก ครอบครัวหลายครอบครัวมักมา อยูเฝาไขคนปวย สําหรับหองพักของเด็ก ๆ เรามักเห็นที่นอนวางอยูบ นพื้นเพื่อให ครอบครัวไดนอนพักเวลามาเฝาไข บางหองถูกจัดเปนหองสวีท โดยมีเตียงเสริม โซฟาและโตะ ถึงแมวาหองเราจะเปนหองแบบมาตรฐานก็ยงั มีทั้งน้ํารอนใหเราชง ชา จานชามและเตาไมโครเวฟ ผลไมสด และที่นอนสําหรับฉัน นางพยาบาลและผูชว ยทยอยเขามาดูแลนับตัง้ แตจอหนเขาพักในหอง ทุกคน แตงตัวดวยชุดนางพยาบาลแบบโบราณที่ฉน ั เห็นครัง้ สุดทายตั้งแตชว งปค.ศ. 1960 ทั้งชุดสีขาว หมวกนางพยาบาล ถุงเทาและรองเทาขาว ฉันจึงตองใช ความรูท ี่พอมีเกี่ยวกับตําแหนงนางพยาบาลโดยมองหาแถบสี ที่แสดงสถานะของ นางพยาบาลแตละคนเพราะฉันไมสามารถอานปายชื่อของพวกเขาออก โดยปรกติโรงพยาบาลในสหรัฐอเมริกาจะมีกระดานที่เขียนชื่อแพทยทอ ี่ อกปฏิบัติ หนาที่ และพยาบาล ผูชวยพยาบาล หรือผูช วยทางการแพทย เพราะวาชุดทีท ่ ุก คนใสนั้นไมไดระบุ ตําแหนงหรือสถานะ ฉันตองพยายามเดาจากหนาที่และการ ปฏิบัตงิ านวาใครเปนนางพยาบาล และใครเปนผูชวย
เจาหนาที่ของโรงพยาบาลลวนสื่อสารกับฉัน อาจจะเปนเพราะวาสภาพของจอหน ที่มีไขสงู หรืออาจจะเปนเพราะความอาวุโสของฉัน ตัวฉันจึงกลายเปนผูดูแลหลัก ของจอหน และเปนสวนหนึ่งของกระบวนการรักษา ฉันกลายเปนผูตด ั สินใจเลือก อาหารที่จอหนจะไดรบ ั ประทาน ยิ่งไปกวานั้นนางพยาบาลก็ยังยื่นกระปุกเก็บ ตัวอยางอุจจาระและแสดงทาทางบอกใหฉันรูว าฉันตองเก็บตัวอยางอุจจาระของ จอหน ฉันยิ้มตอบ แนนอนวาฉันรูว าตองทําอะไร ฉันจึงขอถุงมือจากนางพยาบาล เพราะไมมีถุงมืออยูใ นหองเลย ฉันประหลาดใจมากที่เจาหนาที่ปฏิบัติงานหลาย ๆ อยาง รวมถึงการใสและถอดสายน้ําเกลือโดยไมใสถุงมือ หลังจากพยายามอยู พอสมควรฉันก็ตัดสินใจขอความชวยเหลือ เพราะฉันไมสามารถเก็บตัวอยางได ดวยตัวเอง เราสื่อสารผานทาทางกันอีกพอสมควรจนนางพยาบาลเขาใจวาจอหน ตองการถาดพิเศษ คุณหมอทีด ่ ูแลจอหนบอกวาจอหนเปนโรคบิดมีตัว คุณหมอถึงกับสายหัวเมื่อไดรู วาเราไปกินบารบค ี ิวบนเกาะชาง (“มันอันตรายมากนะ”) หมอยังไดตรวจหาเชื้อ มาลาเรียในจอหนเพราะ “ยุงที่เปนพาหะนําโรคกระจายอยูทก ุ พื้นที”่ คุณหมอเลา ใหฉันฟงเรื่องหมอคนหนึง่ ที่กลับมาจากเกาะชางและเสียชีวต ิ ดวยโรคมาลาเรีย เพราะไมไดรักษาใหทน ั ทวงที เรารูสึกโลงใจอยางมากที่รว ู าจอหนไมไดเปน มาลาเรีย แตกวาฉันจะไดรูผลตรวจก็ตอ งไปตามเอง ทั้ง ๆ ที่โรงพยาบาลบอกวา เราจะทราบผลตรวจภายในหนึ่งชัว ่ โมง เจาหนาที่อาจไมไดคด ิ วาเรากระวน กระวายใจอยากรูผลตรวจแคไหน แตนี่ก็อาจจะเปนเหมือนเรื่องอีก ๆ ที่เราเคยพบ เจอในมหาวิทยาลัย คนไทยมักคิดวาเราไมจาํ เปนตองรู หรือถึงแมวา จะจําเปน ก็ คงไมใชเดี๋ยวนัน ้ ! เรือ ่ งยังไมจบแคนน ั้ เมื่อฉันพาจอหนมาเขาโรงพยาบาล เราไดบอกเพื่อน ๆ ชาวอเมริกันของเราวา พวกเขาควรขึน ้ รถตู ทีค ่ นขับจะขับมารับไปสนามบิน สําหรับการเดินทางไป เชียงใหม ฉันคิดวามันไมสมควรทีจ ่ ะใหเพื่อน ๆ ตองยกเลิกแผนการทองเที่ยว ของพวกเขา เพราะฉันไมรูวาจอหนตองอยูใ นโรงพยาบาลอีกนานแคไหน คนขับรถสวนใหญไมสามารถพูดภาษาอังกฤษได พอคนขับรถที่เปนพนักงานขับ รถของมหาวิทยาลัยมาถึง และพบวามีแคเพือ ่ น ๆ ของเราสองคน เขาก็รีบโทรแจง เจาหนาที่ทงั้ สามคนที่ดูแลรับผิดชอบพวกเรา ถาเปนฉัน ฉันคงไมกลาจะโทรหา เจาหนาที่ตั้งแตเชาตรูขนาดนัน ้ ! แตพอ ถึงเวลา 9:30 ตัวแทนมหาวิทยาลัยสาม คนก็มาถึงโรงพยาบาลหลังจากนั่งรถมาเกือบ 40 นาทีจากมหาวิทยาลัยเพือ ่ จะมา ดูอาการจอหนและอยูใ หกําลังใจฉัน แนนอนวาเขาไดบอกเรื่องของเรากับ มหาวิทยาลัย ที่วท ิ ยาเขตบางแสน และรองอธิการบดีแลว ฉันตระหนักวาฉันควร
จะตองบอกเรื่องนี้กับเจาหนาทีท ่ ี่ทาํ งานกับฉันเชนกัน กอนหนานี้ฉน ั คิดวาฉันไม ควรบอกพวกเขาเพราะไมตอ งการทําใหพวกเขาตองกังวล แตแนนอนพวกเขา รูสึกกังวล เมื่อเจาหนาที่ยน ื กรานใหพวกเรากลับไปที่มหาวิทยาลัยเพื่อจะไดดูแล เราไดอยางทัว ่ ถึง ฉันยืนยันกับพวกเขาวาจอหนแข็งแรงดีพอจะไปเที่ยวได แมกระทั่งผูจด ั การกะกลางคืนก็ยังยืนยันวาจอหนแข็งแรง ใชเขาแข็งแรง ยกเวน กระเพาะของเขา ประสบการณการเขาโรงพยาบาลของฉันเกิดขึ้นในชวงทายของระยะเวลาทุนฟุล ไบรท ขณะนัน ้ จอหนไดเดินทางกลับอเมริกาไปเรียบรอยแลว ในชวงทายฉัน พยายามอยางเต็มกําลังที่จะจัด workshop อบรมใหกับอาจารยใหไดมากที่สุด เทาทีจ ่ ะทําได ฉันคิดวาฉันปรับตัวเขากับสภาพภูมอ ิ ากาศและอาหารไทยไดเปน อยางดี และฉันก็ระมัดระวังเวลาเลือกอาหารรับประทาน แตเมื่อตองเดินทางไป อบรมในที่ตา ง ๆ ฉันก็จําเปนตองรับประทานสิ่งที่เจาภาพไดเตรียมไวให รวมถึง อาหารทะเล อยางไรก็ดี ฉันพยายามเลี่ยงอาหารเผ็ด (เผ็ดไหม?) กระเพาะอาหาร ของผูสงู อายุปรับตัวกับการเปลีย ่ นแปลงอยางรวดเร็วไดไมคอ ยดีนัก เหตุการณเกิดขึ้นในวันอาทิตยภายหลังจากฉันเพิ่งจัดอบรมหนึ่งวันเต็มใหกับ อาจารยที่มหาวิทยาลัยบูรพา ฉันเตรียมพรอมออกเดินทางไปนครวัด แหลง โบราณสถานมรดกโลกในเชาวันจันทร ฉันเริ่มรูสึกมีไขจึงขอใหอาจารยสุจินดา พาไปกินแกงจืดเปนอาหารเย็น ถึงแมฉันจะมีอาการทองเสีย ฉันก็บอกอาจารยสุ จินดาวาไทลินอลก็นาจะพอชวยได ฉันวางแผนจะออกจากที่พักตั้งแต 5:30 น. เพื่อไปสนามบิน แตแผนการทุกอยางก็ตอ งพังลง ผูร วมทางหนึ่งคนที่เปนนาง พยาบาลรูส ึกผิดที่จะทิ้งฉันไปเที่ยว ฉันจึง “สั่ง” ใหเธอไปเที่ยวโดยไมตอ งมีฉัน อาจารยสจ ุ ินดานําสมุนไพรมาหลายอยางแตก็ไมไดชวยอะไร ฉันยังคงมีไขสูง เราจึงตัดสินใจรุดไปหองฉุกเฉินของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพาที่เปน โรงพยาบาลรัฐ ในเวลาไมนานนักฉันก็ไดเรียนรูวา ฉันติดเชื้อโรคบิด (“ปลามีเชื้อ โรคเยอะชวงนี้ คนไทยเจอโรคนี้หลายรายแลว”) อาจารยสจ ุ ินดาไมเคยทิง้ ฉันไปไหน เธอคอยชวยแปลและชวยเหลือฉันตลอดทุก ขั้นตอน ตอนนัน ้ ฉันมีอาการขาดน้ําและตองใชยาปฏิชว ี นะเพื่อรักษาโรค คําถาม แรกที่ผูชว ยแพทยถามฉันคือ ฉันจะพักในหองรวมไดหรือไม ฉันเคยเห็นสภาพ หองพักทั้งหองสวนตัวและหองรวมของโรงพยาบาลมากอนหนาแลว ดวยสภาพ รางกายปจจุบน ั ของฉัน ฉันตอบไดอยางไมลงั เลเลยวาฉันตองการหองสวนตัว แต นั่นหมายความวาอาจารยสจ ุ ินดาจะตองคอยอยูชวยเหลือฉันตลอดเวลา
โรงพยาบาลของรัฐตางกับโรงพยาบาลเอกชนอยางสิน ้ เชิง โรงพยาบาลรัฐหลาย แหงเปรียบเสมือนคลินิกประจําชุมชนทีร่ ักษาตั้งแตอาการเจ็บหลังจนถึงไขหวัด ฉันคุน เคยกับอาจารยและเจาหนาที่หลายคนที่ทาํ งานอยูทโี่ รงพยาบาลของ มหาวิทยาลัยบูรพา โรงพยาบาลแหงนี้เปนสวนหนึ่งของชีวิตและเปนที่รักของทุก ๆ คน เพื่อใหเห็นภาพ ลองนึกถึงหองพักในโรงพยาบาลทีป ่ ระเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อ 50 ปที่แลว เตียงนอนเกาแตยังอยูในสภาพดี โดยมีทห ี่ มุนปรับเตียงดานทาย ของเตียง ทีป ่ ลายเตียงมีตูเย็นเกา ๆ พรอมเครือ ่ งทําความรอนสําหรับตมน้ํา แตไม มีชอนสอม แกวน้ํา ผาเช็ดตัว หรือ สบู เมือ ่ ไมมีผาเช็ดตัว หองอาบน้ําเกา ๆ ก็ดูไม นาเขาไปใช ครอบครัวมักมาเฝาไขคนปวย และนําอาหาร จานชาม สบู และ ผาเช็ดตัวติดตัวมาดวย คนไขยังตองอมปรอทเพื่อวัดไข เครื่องตรวจวัด ความดัน ตั้งอยูบ นขาตั้งโทรม ๆ ผาปูทน ี่ อนมีขนาดแคเทากับผาเช็ดตัวชายหาด แตของใช พื้นฐานทั้งหลายยังสามารถใชงานไดดี สิ่งทัง้ หลายลวนเตือนฉันวาเราไมได ตองการของไฮเทคเพือ ่ รักษา โรคบิดหรืออาการขาดน้ํา แนนอนวาฉันคงไมตอง เขาโรงพยาบาลในสหรัฐอเมริกาเพียงเพราะอาการขาดน้ํา อยางไรก็ดบ ี ุคลากร ทางการแพทย ผูปวย และเจาหนาทีไ ่ มรักษาสุขอนามัยพื้นฐาน และสิง่ นีท ้ ําใหฉัน รูสึกกังวลเปนอยางมาก ทายที่สุดฉันตองเก็บตัวอยางอุจจาระของฉันเองและกลัว วาอาจารยสจ ุ ินดาอาจจะติดเชือ ้ โรคเหลานี้ได ฉันรูด ีวาถึงแมจะเปนวันอาทิตย อาจารยสุจินดาก็อยากจะแจงเรื่องทีฉ ่ ันเขา โรงพยาบาลกับเจาหนาที่ทท ี่ ํางานกับฉัน แตฉน ั ขอไมใหอาจารยแจง เพราะพวก เขาทํางานมาทัง้ หกวัน และ ฉันก็รูดีวา ตอใหพวกเขาเหนื่อยแคไหน ก็จะรีบรุดมา เยี่ยมฉัน ฉันไดพบเห็นดวยตาตนเอง วาคนไทยใหความสําคัญกับการเยี่ยมไข ผูปวยมากเพียงใด ถึงแมวาคนไขจะมีไขสงู ขนาดไหนก็ตาม รองอธิการบดีฝาย วิชาการเพิ่งเขาโรงพยาบาลหนึ่งเดือนกอนหนาฉัน พอเราไดยินขาวก็ตางรุดไป เยี่ยมไขเธอพรอมทั้งกระเชาเยี่ยมไข ทั้งๆทีท ่ านรองยังนอนปวยอยูในชุดอยูบา น จิตใตสํานึกความเปนคนอเมริกันของฉันบอกตัวเองวา ทานรองอธิการบดีควรได มีเวลากับตัวเองอยางนอย
24
ชั่วโมงแรกเพื่อพักฟน
และรวบรวมพละกําลัง
ระหวางรอผลตรวจ แตนค ี่ งไมใชวิถีทางของไทย! อาจารยสจ ุ ินดาอยูกับฉันตลอดทั้งคืน และคอยดูแลทุกความเคลื่อนไหวของฉัน นอกจากนั้นเธอยังคอยนําอาหารที่ฉันอยากกินมาให ทัง้ ขนมเยลลี่และมันฝรั่งบด จาก KFC หลังจากไดรบ ั น้าํ เกลือไปถึงสองถุง และอาการไขคอย ๆ ลดลง ฉันรูสึก วาฉันสามารถกลับบานไดแลว แตกอนทีฉ ่ ันจะไดกลับ อาจารยสุจน ิ ดาตองจัดการ ใหมีเจาหนาทีข ่ องฉันมาเฝาไขฉันระหวางที่เธอไปสอน เมื่อกลับมาที่ คอนโดมิเนียมเปนที่เรียบรอย ฉันตองตอสูก ับเพื่อนคนไทยที่รุมกระหน่ํามาเยี่ยม
ไขฉันจนฉันตองประทวงวาฉันไมรบ ั เยี่ยมเพือ ่ ใหฉน ั ไดมีเวลาพักผอน เปนการขอรองที่ดุดน ั ทีส ่ ุดของฉันตั้งแตมาอยูเมืองไทย
นีอ ่ าจจะ
ไมเปนไร ฉันและจอหนตางมีความทรงจําอันล้าํ คากับประสบการณใน โรงพยาบาลของเราทั้งคู ทัง้ โรงพยาบาลเอกชนที่เพียบพรอม กับโรงพยาบาลรัฐ ที่เต็มไปดวยความรัก ทัง้ สองสถานการณ เราไดเรียนรูว าความสัมพันธสง ผลตอ การรักษาสุขภาพไดอยางไร เรายังไดเรียนรูพลังของชุมชน จากเจาหนาที่ของ มหาวิทยาลัย ผูจัดการโรงแรม และแมกระทัง่ คนขับรถ ที่มาชวยเหลือเราและรับ เราเปนสวนหนึง่ ของครอบครัวพวกเขา ถึงแมระบบสุขภาพของประเทศไทยจะมี ขอจํากัด เรากลับรูส ึกทราบซึง้ กับการดูแลอยางยอดเยี่ยมของแพทย และพยาบาล ที่คอยหวงใยดูแลเรา และเหนือสิง่ อื่นใด เราสํานึกในบุญคุณของเพือ ่ น ๆ ชาว ไทยของพวกเราทุกคน
English Camp: Not All About English Learning40 Wanida Chaiyasan Program Officer, Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand) Translated by Talisa Likanonsakul Junior Program Officer, Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand)
Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand) introduced English camps into one of the foundation’s activities in 2004. The goal of the program is to encourage American students or researchers under Fulbright Scholarship Program to participate in the English camps organized by many English Institutions in Thailand. It aims not only to promote students to study with native English speakers, but also to create an opportunity for Thai students, Thai faculty, and American grantees to have first-hand experience in cultural exchange. The end result of this is to promote a better understanding of cultural differences between people. One of our Fulbright grantees was able to participate in an English camp held at a college in a rural community. It marked the fourth year of the program and 110 Thai students from many schools in the community took part. While only 50 students participated in the first year of the camp, a coordinating teacher told us that this activity has
40
Originally published in “Knitting the Fulbright Family” Year 2, November 2005
become more popular each year with a steady growth in the number of participants. In the first year, we could not accommodate all of the institutions with English native speakers so they sought assistance from other colleges to send their native speakers to participate in the program. Thus, the college decided to terminate the English Camp project. However, with requests from many parents together with the cooperation of the school director (who hoped that the students would improve perceptions about learning English), the program flourished and turned into an annual event. During the 3-day program, the college had the participants stay and do activities on its campus. On the second day, the participants went for a field trip and were able to converse in English with tourists at Sukhothai Historical Park in Sukhothai Province.
Thai teachers (they do not give up easily nor do they seek assistance solely from the government. They rely upon themselves) The college received cooperation from the nearby schools’ English teachers. The activities consisted of 5 learning stations, games, recreation at lunch, and camping at night. All of the English teachers were full-time primary school teachers with excellent command of English and skills in organizing Camp activities. The students seemed to gain knowledge while having fun. The program also gave a new generation of English teachers a chance to observe the activities so that they could practice and serve as guest speakers in the future. A senior teacher said that the teachers had not received any support on personnel improvement from the government. As a result, they cooperated in organizing the English camp and invited their English speaker friends residing in the neighborhood to participate in the program. The lack of support from the government made us realize the
importance of public sector provisions for sufficient funding to every rural community. However, this also gave an impression of how active the teachers were to improve their competence in the field without solely relying on the government’s support.
Thai students are afraid of speaking English—(Perceptions that need to be improved). The participants seemed very excited with the three guest speakers from North America. Two of them were Fulbrighters from the United States, named Crisan and Carrie, the other was a student from Canada, named Evan. The school director emphasized that the main purpose of the English Camp was to give an opportunity for the students to speak English with native speakers and have better perceptions about English learning. Thais should not find it to be too difficult to study or practice English skills, and they should not be afraid or shy when making grammatical or pronunciation mistakes. If students are confident to speak with native speakers only one sentence, then that would be considered to be a great start for success. Thus, the content taught in the English Camp was created to be fun and easy to understand so that the students enjoyed it and did not find it too difficult to learn. We recalled the first day of the English camp. During the lunch break, one of the students did not want to continue the program and asked for a refund. When being asked, the student said that three of her college friends had already left because they thought most of the secondary school students who participated were very smart (probably “smarter”
than college students like them). Her friends thought that their English was not good enough and felt that they might make mistakes when speaking in front of the others. However, they did not speak their mind or explain to the organizer what they felt because they thought they would not be allowed to leave. Thus, they just left without notifying anyone. The organizer was speechless that the college students did not even give themselves the opportunity to adjust their perception or attitudes towards English learning. Nevertheless, the organizer was glad that all of the younger students had stayed for the entire program, giving hope for continuing the English camp project for the benefits of the students in the community in the following years.
Different cultural perspectives When speaking about ‘farang,’ the picture of Caucasians or tall white people usually comes to our mind. It was not surprising when the participating teachers and students asked Crisan, who was from the U.S. but looked very much like Thai or Asian, why she did not speak Thai but spoke English really well. Crisan explained to them that she was born and raised in the U.S.; her parents were from Myanmar but immigrated to the U.S. However, the participants still felt that Crisan was from Myanmar based on her appearance. Crisan then was asked to demonstrate Myanmar dancing or a greeting. I was worried that Crisan would be uncomfortable as it is known that race/color discrimination is a very sensitive issue in American culture.
However, it was Carrie who turned out to be more uncomfortable when she witnessed what Crisan had gone through. She brought it up to the organizer and asked for advice on how the participants should treat Crisan as an American just like her. I requested that the teacher and speaker not accentuate Crisan’s ethnic background. As expected, the teacher totally forgot about how important that was. The teacher was slightly confused and laughed like it was simply a misunderstanding caused by cultural differences. I realized that we needed to inform all the participants of the different cultural perspectives between Thais and Americans. Thais are not as aware of cultural diversity issues as Americans. Therefore, greater importance should be placed on this subject among Thai people so that they learn to take this issue more seriously.
Farangs (white people) are not always straightforward During the campfire, the participants were broken into smaller groups to give a 10-minute performance in English. After the first group’s show had ended, both Thai and non-Thai participants became puzzled and confused. The organizer then announced new rules: the non-Thai participants were assigned to select the best performance and if they did not understand, the performance had to be re-run. The two American Fulbrighters felt uncomfortable when they realized that the results would be decided by them. After watching the first show, they wondered how they would be direct without upsetting the students and destroying their confidence. However, if they pretended that they understood, they would not be able to explain what it was all about. After discussing this with each other, they came up with an idea.
Instead of evaluating the English content, they decided to evaluate the dancing or singing, even though this was not in accordance with the teacher’s evaluation guidelines. When the campfire ended, the two Fulbrighters felt relieved. We learned that sometimes Thais are indirect while Caucasians are direct and occasionally it is the other way around. This is a cultural difference that we should acknowledge. Farangs believe that it is important to support the participants; therefore, compliments are usually given to students in American classrooms more often than Thai ones. When serving as guest speakers, the two American female teachers were careful not to be too straightforward in their evaluation. This is another lesson that could be further discussed in regards to other cultural differences.
Different viewpoint, different cultures—Choose what fits best in different contexts. Carrie and Crisan felt exhausted from lesson planning, travelling, teaching students of different English skill levels, and adjusting themselves to the work schedules of Thai people. Additionally, they were living in an unfamiliar climate with different types of food. However, they did their best in the English Camp. When the Thai participants saw them working really hard, they wanted to check in on the two American speakers. The two smiled and replied in Thai that they were “exhausted but had so much fun.” This kind of American attitude in exploring and learning reminded me of an American
researcher who concluded that all experiences we go through, both good and bad, can become lessons for us in our lives. In Thai culture, diversity is not clearly emphasized. This contrasts to the United States where people of different ethnicities have immigrated and awareness of cultural differences in language, traditions, lifestyles, and perspectives has become familiar and well established.
Therefore,
Americans tend to be open-minded and they are able to adjust to ethnic differences. They are likely to learn and understand new or different subjects faster than those in less culturally diverse societies. Fulbright Thailand was glad to be a part of promoting cultural exchanges with cooperation from the English camp project. This helped the participants to adjust and prepare for cultural diversity. This is crucial since immigration is occurring in many parts of the world today. Culture is not stable; it always changes. Cultural exchanges give us different perspectives on our own values, help us to appreciate the values of other societies, and allow us to share our own culture. It would not hurt if we were more open to embracing other cultures, while maintaining our own cultural identity.
คายภาษาอังกฤษ : ไมใชแคเรียนภาษาอังกฤษ41 วนิดา ไชยสาร เจาหนาที่บริหารทุน (ไทย, อเมริกัน) มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุลไบรท)
ตั้งแตป 2547 เปนตนมา มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุลไบรท) ไดนํา โครงการคายภาษาอังกฤษเขาเปนกิจกรรมหนึ่งของมูลนิธิฯ โดยสนับสนุนให นักศึกษาหรือนักวิจัยชาวอเมริกันภายใตทน ุ ฟุลไบรท เขารวมกิจกรรมคาย ภาษาอังกฤษกับสถาบันการศึกษาตาง ๆ โดยมูลนิธิฯ เห็นวา โครงการนี้ไม เพียงแตจะเปนประโยชนดา นการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในสภาบันการศึกษา ไทยที่ยังขาดแคลนบุคลากรทีเ่ ปนเจาของภาษาเทานั้น ยังเปดโอกาสใหนก ั เรียน นักศึกษา คณาจารยไทยและผูรบ ั ทุนชาวอเมริกันที่มีเวลาเวนวางจากการปฏิบัติ หนาที่หลัก ไดมีประสบการณตรงในการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม เกิดการเรียนรู รวมกันในวัฒนธรรมที่แตกตางซึ่งจะนําไปสูความเขาใจอันดีตอ กันอีกทางหนึง่ ดวย เรามีโอกาสสงผูรับทุนของเราไปรวมงานในคายภาษาอังกฤษที่วท ิ ยาลัยชุมชน แหงหนึ่งซึ่งในปนี้ จัดขึ้นเปนปทส ี่ ี่ มีนักเรียน นักศึกษาจากโรงเรียนตาง ๆ ใน ชุมชนนั้นเขารวมประมาณ 110 คน อาจารยผูประสานงานเลาใหฟงวา กิจกรรม นี้ไดรบ ั ความสนใจเกินคาดหมาย มีนักเรียน นักศึกษาเขารวมโครงการมากขึ้น ทุกป โดยเริ่มจากประมาณ 50 กวาคนในปแรกเทานั้น ดวยปญหาขาดแคลน บุคลากร ทางวิทยาลัยเคยคิดจะยกเลิกโครงการนีไ ้ ปเสียแลว แตเพราะเสียง เรียกรองจากบรรดาผูปกครองและความตั้งใจของผูบ ริหารทีอ ่ ยากเห็นการพัฒนา ทัศนคติของนักเรียน นักศึกษาที่มีตอ ภาษาอังกฤษ กิจกรรมนี้จึงดําเนินมาอยาง ตอเนือ ่ ง ในระยะเวลาสามวันของกิจกรรมนี้ ทางวิทยาลัย ฯ จัดรูปแบบงาย ๆ โดย ใหผูเขาคายทุกคนพักและทํากิจกรรมในบริเวณวิทยาลัยฯ เปนสวนใหญ นอกจากวันที่สองของคายที่จด ั ใหผูเขาคายไดไปทัศนศึกษาและฝกสนทนา ภาษาอังกฤษกับนักทองเที่ยวที่อท ุ ยานประวัติศาสตรสุโขทัย ครูไทย ใจไมทอ ไมงอ รัฐ พัฒนาแตเพียงฝายเดียว วิทยาลัยแหงนีไ ้ ดรบ ั ความรวมมือจากอาจารยผูสอนภาษาอังกฤษจากโรงเรียน ใกลเคียงกลุมหนึ่ง ทําหนาที่เปนผูดาํ เนินการ กิจกรรมของคายมีทั้งการสอนตาม
41
พิมพครั้งแรกใน “รอยถอยถักใย: สื่อฟุลไบรทในสากล” ปที่ 2
ฐานที่แบงเปนหาฐานตามเนื้อหา มีการเลนเกม นันทนาการตอนกลางวันและ แคมปไฟตอนค่าํ อาจารยทุกทานในกลุมนีล ้ ว นแตเปนอาจารยประจําในโรงเรียน ประถม แตมีความสามารถในการใชภาษาอังกฤษไดเปนอยางดีและมีทักษะใน การจัดคายไดอยางสนุกสนานไมติดขัด เด็ก ๆ ไดรับความรูแ ละความสนุกสนาน ไปพรอม ๆ กัน ขณะเดียวกัน ก็เปดโอกาสใหผูสอนภาษาอังกฤษรุน ใหมที่สนใจ การจัดคาย เขารวมสังเกตการณเพื่อฝกทําหนาที่เปนวิทยากรตอไปดวย ในเรื่อง การพัฒนาทักษะดานภาษาอังกฤษและการจัดคายของผูสอนนี้ อาจารยอาวุโส ทานหนึ่งบอกกับผูเขียนวาพวกเขาเปนบุคลากรที่ยังไมไดรับการสนับสนุนการ พัฒนาจากรัฐ จึงตองรวมตัวกันพัฒนาทักษะดานภาษาอังกฤษของตน โดยการจัด คายภาษาอังกฤษในหมูอาจารยดวยกันเมื่อมีโอกาส ใครมีเพื่อนชาวตางประเทศ หรือรูจักชาวตางชาติทอ ี่ ยูละแวกนั้นก็ชวนกันมาเพื่อที่จะไดฝก ภาษากับเจาของ ภาษาโดยตรง ฟงดูแลวชวนใหตระหนักถึงความจําเปนทีร่ ัฐตองดูแลใหทั่วถึง แต ก็รูสึกประทับใจในการขวนขวายเพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเองในวิชาชีพโดย ไมตองรอใหรัฐมาพัฒนา (ซึง่ ไมรูวาเมือ ่ ไร) เด็กไทยกลัวภาษา ตองพัฒนาทัศนคติ นักเรียน นักศึกษาทีม ่ าเขาคายดูจะตื่นเตนอยูท ีเดียวทีม ่ ีชาวตางชาติรว มเปน วิทยากร ปนี้มน ี ักศึกษาทุนฟุลไบรทชาวอเมริกันสองคนคือ คริแซนและเครี และ ยังมีหนุมฝรั่งเปนนักศึกษาจากประเทศแคนาดาอีกคนหนึง่ ชือ ่ เอเวนมารวมดวย วัตถุประสงคหลักของการจัดคายภาษาอังกฤษในครั้งนี้ ผูบริหารของวิทยาลัยฯ เนนวาอยากใหนักเรียน นักศึกษา ไดมีโอกาสพูดคุยกับชาวตางชาติโดยตรง และ ที่สําคัญคือมีทศ ั นคติทด ี่ ีตอภาษาอังกฤษ ไมมองวายากเกินเรียน เลิกอายหรือกลัว เมื่อพูดผิด ถานักเรียนกลาพูดกับชาวตางชาติสักหนึ่งประโยคก็ถือวาประสบ ความสําเร็จระดับหนึง่ แลว การจัดคาย สําหรับเด็กกลุมนี้ จึงพยายามใหเด็กเรียน ดวยความสนุกสนานเปนหลัก สอนเนือ ้ หาที่เด็กเขาใจไดงา ย ไมเครียด ผูเขียนนึกถึงวันแรกของคายในชวงพักครึ่งเชาหลังการเปดคาย มีนักศึกษาจาก วิทยาลัยแหงหนึ่งมาขอถอนตัวและขอคืนเงินคาสมัคร ถามกันไปมาก็เลาวาเพื่อน สามคนแอบหนีกลับบานไปกอนซะแลวเพราะเห็นเด็กนักเรียนตัวเล็กตัวนอย เด็ก มัธยมมากันเยอะ แตละคนดูจะเปนเด็กเรียนกันทั้งนั้น ภาษาอังกฤษของตัวเองก็ ไมดี กลววาถาตองพูดแลวพูดไมถูกตองก็จะอายเด็ก ๆ ครั้นจะมาขอยกเลิกกับ ทางผูจัดดวยตัวเองก็เกรงวาจะถูกดุและไมไดรับอนุญาต จึงแอบหนีกลับดื้อ ๆ ซะ อยางนั้น เจออยางนี้ บรรดาผูจ ัดถึงกับอึง้ นักศึกษาโต ๆ ไมเปดโอกาสใหตัวเอง
ไดปรับทัศนคติเสียอีก!! ยังดีทรี่ ุนเด็กยังอยูกันครบและเยอะเกินเปาหมาย ทําใหมี ความหวังและกําลังใจลุยสรางทัศนคติใหไดตามวัตถุประสงคตอไป มุมมองทางวัฒนธรรมทีแ ่ ตกตาง เมื่อพูดถึง “ฝรั่ง” เรามักจะนึกถึงชาวตางชาติผว ิ ขาว ตัวสูงใหญ ดังนั้นจึงไมแปลก ที่จะไดยินอาจารย นักเรียน นักศึกษาที่มารวมคาย ถามคริแซนผูรบ ั ทุนฟุลไบรท ชาวอเมริกันซึ่งมีหนาตาละมายคลายคลึงกับคนไทยวา ทําไมจึงไมพูดภาษาไทย ทําไมพูดภาษาอังกฤษเกง หรือมาจากไหน ไดยินคริแซนอธิบายกับหลาย ๆ คน วา พอแมเปนพมาซึ่งไดยา ยถิ่นฐานไปอยูท ี่อเมริกา ตัวเองจึงเกิดและโตทีน ่ ั่น แทนที่ชาวคายจะเขาใจ กลับกลายเปนวาคริแซนเปนตัวแทนของชาวพมาตาม ภาพลักษณที่มองเห็นเปนรูปธรรมไป คริแซนจึงไดรับการขอรองใหเตนรําแบบ พมาบาง ใหแสดงการทักทายแบบพมาบาง หรือใหรวมแสดงวัฒนธรรมแนวนี้ใน กิจกรรมอื่น ๆ อีก ประเด็นนี้ ขณะทีผ ่ ูเขียนมัวแตกลัววาคริแซนจะอึดอัดใจ เพราะ รู ๆ กันอยูวาเรือ ่ งของการแบงแยกสีผิวและเผาพันธุเปนเรื่องละเอียดออนนัก สําหรับคนอเมริกัน แตผูทอ ี่ ึดอัดใจกวากลับเปนแครี สาวอเมริกันอีกคนทีล ่ ุกมา สะกิดวา เราควรจะบอกอาจารยผูดําเนินกิจกรรมอยางไรดีเพื่อใหเขาปฏิบต ั ิตอค ริแซนในฐานะที่เปนชาวอเมริกันเชนเดียวกับตน เราจึงไดกระซิบขอใหอาจารย วิทยากรชวยลดดีกรีความเปนพมาของคิรแซนลงเสียหนอย และเปนไปตามคาด ...อาจารยผด ู ําเนินกิจกรรมของเราคงลืมนึกถึงประเด็นนี้ไป อาจารยดจ ู ะงุนงงสัก นิดกอนจะหัวเราะออกมาก
ทํานองวา
ออ!
เรื่องเทานี้เอง!
แนนอน...ไมใช
ความผิดของใครหรอก เปนเรือ ่ งของความตางทางวัฒนธรรมเทานัน ้ ผูเขียนจึงไดเรียนรูเพิ่มเติมวา เราคงตองมีการ “บอกเลาเกาสิบ” ใหผูเกี่ยวของทั้ง ผูจัดคาย และผูรับทุนของเราทราบถึง “ความเขาใจไปคนละทาง” ของชาวไทย และชาวอเมริกน ั ทั้งสองขางควรจะไดเขาใจวา คนไทยยังไมคอ ยไดนึกถึงความ หลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรมมากนัก และควรไดเนนใหคนไทยทุกวัย รูวเรือ ่ งทํานองนี้ สําหรับตางชาติ หลาย ๆ ชาติคงไมใช “เรื่องเทานี้เอง” ฝรัง่ ไมไดพด ู ตรงไปซะทุกเรือ ่ ง อีกเรื่องหนึง่ ในคืนที่จด ั แคมปไฟ ผูเขาคาย ถูกแบงเปนกลุม ยอยเพื่อนําเสนอการ แสดงเปนภาษาอังกฤษ กลุมละประมาณสิบนาที การแสดงละครสัน ้ ของกลุมที่หนึง่ จบลงดวยความงงงวยของฝรั่งและความสับสนของคนไทย อาจารยผูดาํ เนินงาน จึงประกาศกติกาขึ้นมาใหมทน ั ใดวา จะใหฝรั่งเปนผูตัดสิน คือ ถาพูด ภาษาอังกฤษแลวฝรัง่ ไมรูเรื่องจะตองแสดงใหม สองสาวฝรัง่ ฟุลไบรทพอรูตว ั เขา วาจะตองเปนผูต ัดสินก็รส ู ึกลําบากใจขึน ้ มาทันที การแสดงของกลุมแรกผานไป
แลว ไมรูเรือ ่ ง จะบอกตรง ๆ ไดยังไง เรือ ่ งแบบนี้ ฝรัง่ ก็ฝรัง่ เถอะจะบอกกันตรง ๆ ไดยังไง ดีไมดีเด็กก็อุตสาหแสดง การทําใหเด็กและเยาวชนสูญเสียความมั่นใจ ในตัวเองไมใชวิถีอเมริกน ั ชนเอาเสียเลย ครั้นจะบอกวาเขาใจก็อธิบายไมไดวา เขาใจยังไง ปรึกษากันอยูครูห นึ่ง ยังไงก็ตอ งตอบวาเขาใจละ โชคดีทส ี่ องสาวมี ไหวพริบดีจึงเอาตัวรอดไดดว ยการอธิบายขาง ๆ คู ๆ วาเห็นนักเรียนทําอะไรบาง เชน เตน รองเพลง ซึง่ ไมคอ ยจะตรงวัตถุประสงคของอาจารยที่ใหประเมิน ทางดานภาษาเทาไร แตก็ผานมาได แตละกลุมผานการประเมินจากสองสาวดวย ความอึดอัดใจ แอบถอนหายใจโดยที่ผูดําเนินงานไมรู และในที่สด ุ แคมปไฟก็จบ ลงดวยความโลงใจของสองสาว คิด ๆ ดูก็สับสนดีแท บางเรือ ่ งเราพูดออมฝรั่งพูด ตรง บางเรื่องเราพูดตรงฝรั่งพูดออม นี่ก็...ความตางทางวัฒนธรรมอีกเหมือนกัน ในความรูสึกของฝรั่ง การใหกําลังใจแกผูเรียนและผูรว มกิจกรรมเปนเรือ ่ งใหญ เราจึงมักไดยินคําชมหรือการใหกําลังใจในการตอบ และการแสดงออกของฝรั่ง อยูบอ ยกวาทีจ ่ ะไดยินหรือไดเห็นในหองเรียนของไทย ยิ่งไดรับเชิญเปนแขก ฝรั่งยิ่งจะรูสึกระวัง ไมอยากพูดหรือประเมินตรงเกินไป เรื่องนี้เปนเรื่องที่ “ตองคิดตอ” อีกหลายประเด็นทีเดียว ตางแนวคิด ตางวัฒนธรรม เลือกนํามาใชใหเหมาะสม ในดานภาระงาน สองสาวอเมริกัน แครีและคริแซน ถึงแมจะรูส ึกเหน็ดเหนื่อย เริ่ม ตั้งแตการเตรียมการสอน การเดินทาง การสอนนักเรียนตางระดับจํานวนมาก รวมถึงการปรับตัวใหเขากับการทํางานแบบไทย ๆ สภาพอากาศที่ไมคน ุ เคย และ อาหารการกินที่ไมสามารถจะเลือกได ก็ยังทําหนาทีอ ่ ยางตั้งใจ คนไทยเราเห็น สาวตางแดนทํางานเหงือ ่ ไหลไคลยอยก็อดที่จะถามถึงทุกขสข ุ ดวยความหวงใย ไมได ซึ่งก็มักจะไดรับคําตอบเปนรอยยิ้มและภาษาไทยสั้น ๆ วา “เหนื่อยแตสนุก” ทัศนคติในการเรียนรูแ บบนีข ้ องคนอเมริกน ั และความเปนนักแสวงหา ทําใหนึก ถึงนักวิจัยอเมริกันคนหนึ่งที่ใหแงคิดวา ประสบการณใด ๆ ในโลกกวางใบนีเ้ ปน บทเรียนไดทงั้ นัน ้ ไมวา จะนายินดีหรือไมพงึ ปรารถนาแคไหน ก็ถอ ื วาเปนการ เรียนรูท ด ี่ ไ ี ดเหมือนกัน ในบานเราถึงจะมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม แตก็ยังไมชัดเจนเหมือนกับ ประเทศอเมริกาที่มีผค ู นจากหลายเชื้อชาติ มีความตางทางภาษา ประเพณี วิถี ชีวิต และแนวคิด อาศัยปนเปกันในสังคมจนเปนเรือ ่ งปกติ จึงเปนเรื่องธรรมดาอยู ที่คนในสังคมทีม ่ ีความหลากหลายทางวัฒนธรรมจะสามารถปรับตัว เปดใจและ เปดความรูสึกในการเรียนรูสงิ่ ใหมไดเร็วกวาสังคมที่ยงั มีความหลากหลาย
คอนขางนอย ฟุลไบรทจงึ ยินดีทจ ี่ ะมีสวนรวมในการสงเสริมการแลกเปลี่ยนทาง วัฒนธรรม โดยใหความรวมมือในโครงการคายภาษาอังกฤษซึ่งนาจะมีสว นชวย ใหผูคนปรับตัว ปรับใจ เตรียมรับกระแสการเคลือ ่ นยายของพลโลกที่จะขยาย กวางขึ้นไมเฉพาะเพียงแตในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยทีว ่ ฒ ั นธรรมไมใชสงิ่ ทีห ่ ยุดนิง่ ตายตัว มีการเปลีย ่ นแปลงอยูต ลอด การ แลกเปลีย ่ นวัฒนธรรม ซึง่ เปนการเรียนรูแ นวคิด คานิยมทางสังคมของผูค นใน วัฒนธรรมอืน ่ พรอมกับเผยแพรวฒ ั นธรรมของเราเองดวยนัน ้ ไมใชเรือ ่ งเสียหาย ถาเราจะเปดรับวัฒนธรรมจากภายนอก โดยทีย ่ งั คงรักษา “อัตลักษณ” คือความ เปนตัวตนของเราเอาไวดว ย
Thais’
Generosity
Does
Not
Always
Please
Farangs42 Thitiwan Lertpiya Former Junior Program Officer, Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand) Translated by Talisa Likanonsakul Junior Program Officer, Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand)
It has become common for Thais to hear foreigners share their appreciation of Thai values of generosity and thoughtfulness. However, looking from a different angle, there are times when farangs are uncomfortable with some Thai behaviors. It might not be surprising that this could happen within our Fulbright family. “He is overly trying to take care of me, so much that I have no
personal space.” This was written by an American grantee who was assigned to work with Thai lecturers at an institute in a rural area. A month’s time sounds like only a short period; however, for the American grantee from the Western United States, it was long enough to write a number of pages portraying her pleasant experiences and frustration.
42
Originally published in “Knitting the Fulbright Family” Year 2, November 2005
The story of the difficulty she experienced in adjusting to Thai culture began with excessive attempts from host teachers to take care of her by not letting her make her own decision or have her own space. Language is probably one of the main obstacles that prevent the two parties from understanding each other. However, the extreme differences between Thai and American cultural perspectives were obvious and often in conflict. While the host teachers tried to make the American grantee feel at home by paying a lot of attention and taking good care of her, the grantee made it clear that she preferred having her own space and time. She was okay to travel or do anything on her own just like when she was in the U.S. Well, just to clarify “doing on one’s own,” that means spending time doing stuff or traveling alone without needing someone else’s company. So now you may have an idea how fun she would be for her one-month stay in Thailand. After the first week in the country, she filled an A4 sheet, writing to us that she had no problem with the program’s tight schedule because she was willing to learn from the Thai teachers. The only problem was that they desired to join her for every meal and she had company at her place until late at night. The reason provided was it was not safe enough for farangs to live on their own in Thailand, especially for ladies. However, this reason did not make sense to the American grantee. She tried to explain to the host teachers she was fine on her own and she really needed some time to herself. Still, the teachers, who are “super nice,” persisted in taking care of her and keeping her company almost all the time.
In the letter, the grantee also made a sincere apology to us as she felt that her attempts to be clear with the host teachers had turned too straightforward. Also, she was not sure speaking her mind would be appropriate in Thai culture. Considering the situation, as a coordinator and facilitator, I supported her in saying that she be direct and clear to the host teachers. I also offered to call and explain to them the cultural difference. I pointed out that American females are able to be on their own and suggested that the host teachers let her manage her travel by herself and not worry if she gets lonely or homesick. Another story I found funny and cute is that our host teachers do not speak much, but would like to please their foreign guests so much that it confused and worried the American lady. One morning one of the host teachers went to pick her up from her place. He just told her to get in the car but did not say where they were heading to. After being on the road for about an hour, the teacher did not seem to pull over anywhere. She, then, asked him again where he was taking her to. Still, he did not respond but only said that she would know soon. The American grantee, though usually being fine on her own, started to be afraid of his intention and was hesitant to ask him to pull over. Fortunately, he finally pulled over before she lost her patience. Actually the teacher’s intention was to drive her around town to enjoy the views in the city. This trip ended with nice dinner at a popular Thai place. The whole experience totally panicked the female grantee; thus, she did not enjoy the food as much despite the great taste.
On the other hand, we sometimes feel very uncomfortable with American perspectives, especially their individualism and enjoying freedom, which I find slightly over the top. When one of the host teachers offered to drive her to Chiang Mai after she told them she wanted to enjoy
Northern Thailand before leaving for the U.S.
Definitely, she wanted to travel on her own. I guessed that the two parties had to communicate about this subject more than once until the teachers agreed to let her make a trip to Chiang Mai by herself. However, the fact she turned off her cellphone for the entire trip so she could fully enjoy her spacewas beyond reasonable. That was because if something had happened to her during the trip, how would we, as coordinators in Thailand, help her in time? The stories that reflect cultural differences between the American grantee and the host teachers who do not speak their mind definitely gave us lessons to learn and improve our program. It took almost the entire program for both parties to better understand each other. However, we were glad to be part of facilitating communication between the two, resulting in a budding friendship. The good relationship of the grantee and the host teachers are the absolute goal Fulbright Thailand would like to achieve even though it means we have to go through cultural barriers that could cause misunderstanding and frustration much of the time.
โอบออมอารีแบบไทย ๆ ใชวา จะถูกใจฝรัง่ ไปทุกอยาง43
ฐิติวรรณ เลิศปยะ อดีตเจาหนาที่ฝายผูรับทุนชาวไทย มูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุลไบรท)
ดูเหมือนเปนเรือ ่ งที่แสนจะธรรมดาสําหรับเราชาวฟุลไบรทไปเสียแลวเวลาไดยิน ชาวตางชาติบอกเลาถึงความซาบซึ้งใจตอความโอบออมอารี หรือความมีน้ําใจ ของคนไทยและคุณคาของวัฒนธรรมไทย แต...หากมีใครบอกเราวาในอีกดาน หนึ่ง ยังมีอีกหลายเรื่องที่ฝรัง่ มองวา สิ่งทีค ่ นไทยแสดงออกนั้น บางครั้งอาจทําให เขารูสึกอึดอัดใจอยูไมนอย ไมตองแปลกใจหรอกคะ มันเปนไปไดและเกิดขึ้นอยูบ อยครัง้ ทีเดียว ครอบครัวฟุลไบรทแหงนี้ก็ตาม
แมแตใน
“เขาพยายามทีจ ่ ะดูแลฉันมากเกินไป จนฉันแทบจะไมมีความเปนสวนตัวเลย” คํา บอกเลาผานตัวหนังสือของผูร บ ั ทุนชาวอเมริกน ั คนหนึ่งใหขอ มูลกับเรา เธอคนนี้ ไดรบ ั มอบหมายใหทํางานรวมกับอาจารยชาวไทยในสถาบันการศึกษาแหงหนึ่ง ในตางจังหวัด เวลากวาหนึ่งเดือนที่ฟง ดูแลวอาจเปนเพียงระยะเวลาสัน ้ ๆ แตสําหรับเธอคนนีซ ้ ึ่ง เปนสาวมั่นชาวอเมริกันจากรัฐที่อยูท างตะวันตกของสหรัฐอเมริกาแลว เชือ ่ เถอะ วาชวงเวลานีน ้ านพอทีจ ่ ะทําใหเธอเขียนเลาความรูสึกทั้งดีและที่หงุดหงิดใจมาให เราไดอานกันเปนหนา ๆ เลยทีเดียว เรื่องราวความลําบากในการปรับตัวใหเขากับวัฒนธรรมไทยของเธอ เริ่มตนจาก ความรูสึกที่วา อาจารยที่เธอรวมงานดวยพยายามทีจ ่ ะดูแลเธอมากเกินไป โดยไม ปลอยใหเธอทําอะไรดวยตัวเอง หรือมีเวลาเปนสวนตัวบาง แนนอนวา ภาษาอาจ เปนอุปสรรคทีส ่ ําคัญอยางหนึง่ ที่ขวางกัน ้ การทําความเขาใจของทั้งสองฝาย แตก็ คงปฏิเสธไมไดวา งานนี้เราเห็นกันชัด ๆ วา ทั้งความเปนไทยที่เขมขนและความ เปนอเมริกันสุดโตงจูงมือกันออกมาทําหนาที่ของมันอยางเต็มที่
43
พิมพครั้งแรกใน “รอยถอยถักใย สื่อฟุลไบรทในสากล” ปที่ 2, พฤศจิกายน 2548
ในขณะทีอ ่ าจารยเจาบานใหการดูแลแขกชาวอเมริกันผูซงึ่ มาเยือนประเทศไทย เปนครั้งแรกใหรูสึกอบอุนเหมือนอยูบา น สาวมั่นแดนลุงแซมของเรากลับตองการ มีเวลาเปนตัวของตัวเองอยางชัดเจน เพราะเธอพรอมที่จะไปไหนมาไหนหรือทํา อะไรดวยตัวเองเหมือนทีท ่ ํามาโดยตลอดเมือ ่ อยูที่ประเทศของเธอ ขอขยายนิดนึง วาการทําอะไรดวยตัวเองคือ การทําอะไรคนเดียวโดยไมตองมีใครตามมาเปน เพื่อน หรือโทรตาม แคนค ี้ งทําใหคุณพอมองเห็นแลววาชีวิตกวาหนึ่งเดือนของ เธอจะสนุกสนานอลเวงแคไหน เพียงสัปดาหแรก เธอเขียนมาบนกับเราเต็มหนากระดาษ A4 วาโปรแกรมแนน เอี้ยดตั้งแตเชาจรดเย็นนั้นไมมีปญหา เพราะตั้งใจจะมารวมมือและเรียนรูจาก อาจารยชาวไทย แตที่มีปญ หาก็คือ การทีจ ่ ะตองทานอาหารรวมกันทุกมื้อ ทัง้ ยังมี คนมาอยูเปนเพือ ่ นคุยทีบ ่ านจนมืดค่ําทุกวัน จนเธอ (จําตองยอม) ลืมเรื่องการไป ไหนมาไหนคนเดียวไดเลย เหตุผลที่ไดคอ ื มันอันตรายเกินไปสําหรับฝรัง่ ทีม ่ าอยู เมืองไทยเปนครั้งแรก โดยเฉพาะผูหญิงยิง่ ไมควรจะไปไหนมาไหนคนเดียว เรื่อง กลัวนี้ยิ่งเปนเรือ ่ งที่สาวฝรัง่ รับไมไดเขาไปใหญ ไมวาเธอจะพยายามอธิบายแค ไหนวา เธอสามารถอยูค นเดียวได และขอเวลาเธออยูค นเดียวบาง อาจารยชาว ไทยที่แสนดีของเราก็ยังคงทําหนาที่เจาบานที่แสนดีเหมือนเดิมไมเปลี่ยนแปลง โดยการตามดูแลเธอไปทุกที่ ทุกวัน และอาจจะเปนทุกชัว ่ โมงถาทําได ผูรับทุนสาวของเราตองออกตัวขอโทษขอโพยกับเราเปนการใหญ เพราะเริ่มจะ รูสึกวาความพยายามที่จะทําใหเกิดความชัดเจนกับอาจารยเจาภาพนัน ้ เริ่ม กลายเปนการพูดที่ตรงจนเกินไป ซึง่ เธอเองก็ไมแนใจวาในสังคมไทยนัน ้ เปน เรื่องที่ไมเหมาะสมหรือไม เมื่อดูจากสภาพการณแลว ในฐานะที่เราทําหนาที่ ประสานงานและเสริมความเขาใจอันดีระหวางผูเขาโครงการ เรายังยืนยันใหเธอ พูดกับอาจารยเจาภาพใหชด ั ตรงถึงความตองการของเธอ และเสนอวา เราเองจะ โทรศัพทไปอธิบายใหทานเขาใจถึงความแตกตางทางวัฒนธรรมเรือ ่ งนี้ เราจึงได คุยย้ําใหอาจารยเขาใจวาผูหญิงอเมริกันเกงจะตาย ไมตองเปนหวงเลยนะคะ เขา อยากไปไหนก็ใหเขาไปเถอะ เขาดูแลตัวเองได และไมตองกลัวเขาเหงาหรือ คิดถึงบานหรอก เขาอยูได อีกเรื่องหนึง่ ทีค ่ อ นขางนาขําแกมนารักคือ ความที่อาจารยชาวไทยของเรานั้น เปนคนทีพ ่ ูดนอย แตก็อยากจะเอาใจแขกตางชาติของตัวเองเสียเหลือเกิน บางครั้งก็สรางความงุนงงใหสาวนอยของเราเพิ่มขึ้น เรือ ่ งมีอยูว าเชาวันหนึ่ง อาจารยเจาประจําทานนี้ขบ ั รถมารับแขกตางเมืองทีบ ่ านพัก ทานเรียกใหแขก ของทานขึ้นรถโดยทีไ ่ มพูดพร่าํ ทําเพลงอะไรสักอยางวาจะไปทําอะไรหรือไปไหน
ถามอะไรก็ไมพด ู บอกแตใหขน ึ้ รถ ขางสาวนอยของเราก็ไมกลาปฏิเสธ เอา! ขึ้นก็ ขึ้น พอขับรถไปไดสักประมาณเกือบชัว ่ โมง ก็ยังไมมีวี่แวววาอาจารยจะจอด ถาม ก็ไมตอบวาจะไปไหน บอกแตวาเดี๋ยวก็รู สาวฝรั่งของเรา ถึงแมจะกลาหาญชาญ ชัยแคไหนก็ชักจะเริ่มกลัว ครัน ้ จะบอกใหจอดก็กระไรอยู โชคยังดีที่รถจอดกอนที่ เธอจะหมดความอดทน สรุปแลว อาจารยตองการพาเธอมานัง่ รถเลน ชม บรรยากาศรอบ ๆ เมืองที่เธอไปอยู แลวจบลงดวยอาหารไทยรานอรอยที่อยากจะ ใหเธอไดลองชิมดู เลนเอาแขกตางชาติของเราลุนจนตัวโกง อาหารรานอรอยก็ เลยกลายเปนกรอยไปโดยไมไดตั้งใจ มองอีกดาน ก็ยังมีอยูบ างเรือ ่ งที่แมแตเราเอง ก็ยงั อดหนักใจกับความคิดแบบ อเมริกันไมได โดยเฉพาะในเรื่องความเปนตัวของตัวเองและรักอิสระทีอ ่ าจจะดู เกินไปบาง เรื่องเกิดขึ้นตอนอาจารยเจาภาพขออาสาทีจ ่ ะขับรถไปสงเธอถึง เชียงใหม หลังจากที่เธอบอกวาอยากเดินทางไปทองเที่ยวชมความงดงามของ ภาคเหนือของไทยกอนจะกลับบาน และแนนอนวาเธอตองการตามลําพัง เราเดา ไดเกือบจะทันทีวา ทัง้ สองคนคงตองใชเวลาคุยกันมากกวาหนึ่งครัง้ แนนอน กวา จะเปนอันตกลงวาสาวมั่นของเราสามารถไปเชียงใหมคนเดียวได สิง่ ที่เราคิดวา อาจจะดูเกินกวาเหตุก็คือ การที่เธอปดโทรศัพทมอ ื ถือของเธอตลอดการเดินทาง เพียงเพื่อตองการใชเวลาสวนตัวอยางเต็มที่ ลองคิดดูสว ิ า ถามีอะไรผิดปกติเกิด ขึ้นกับเธอระหวางเดินทาง เราในฐานะผูดูแลความเปนอยูของเธอในประเทศไทย จะชวยเหลือเธอไดอยางไร เรื่องราวระหวางผูรบ ั ทุนชาวอเมริกันจากแดนลุงแซมกับอาจารยพูดนอยนี้ เปน กรณีตัวอยางของความแตกตางทางวัฒนธรรมที่นา สนใจและนานํามาปรับใชเพื่อ การพัฒนาโครงการตอไป สําหรับทั้งสองคน กวาจะเขาใจกันได เวลาก็ผา นไป จนเกือบจะถึงเวลาที่อีกฝายตองกลับบาน อยางไรก็ตาม พวกเราก็ยังดีใจที่เราได มีสวนชวยเหลือใหเกิดมิตรภาพในทายทีส ่ ุด และแนนอนวามิตรภาพระหวางคน ทั้งสองประเทศคือเปาหมายสูงสุดทีฟ ่ ุลไบรทตอ งการไปใหถึง แมวาจะตองเหงื่อ ตก หงุดหงิดจนน้ําตาซึมกันบาง
How to Enjoy Your Fulbright Experience and Thai Culture44 Mark G. Robson, Ph.D. 2004 Fulbright U.S. Specialist Program From New Jersey Agricultural Experiment Station, Rutgers University @ Faculty of Environmental Management, Prince of Songkla University
I have been fortunate in my twenty five-years as a health scientist to work in many international settings. When I first started I was fairly young and inexperienced. Over the years, I finally realized that in most cases the cultures and institutions I worked in had been in existence for hundreds of years longer than my own, and that the richness and diversity of the host institution is really what made the experience more fulfilling. I have been asked to share a few experiences in this brief article with you. Let me be very clear that while I am candid in my comments, in no way are they meant to be disrespectful or condescending. My experiences have been remarkable and wonderful; I continue to work in these countries and hope to for a very long time. I made the changes and I just want to tell you how and why. In 2005 I was fortunate enough to be a Fulbright Senior Specialist in Thailand at Prince of Songkla University (PSU) in Hat Yai, Songkhla Province. Originally the assignment was designed to work with PSU to set up a Center for Risk Assessment and Public Health, the Tsunami of December 2004
44
Originally published in “Knitting the Fulbright Family” Year 3, December 2006
changed the assignment to include some post-tsunami environmental assessment. TIME Americans as a rule are very impatient. In Asian countries being impatient simply will not work. The only notable exception is when I teach my graduate course at Chulalongkorn, there I do not accept “Thai Time� something the students and I have a little fun with. Classes are 9 AM to 12 Noon and I start promptly at9 AM, usually on day two of the course a brief but straightforward quiz on the previous day’s lecture will almost guarantee an on time start for the rest of the course. It is simply standard practice to arrive almost too late to the airport or other places where one would normally leave in plenty of time. I simply tell them my flight is earlier than it really is; no harm, no foul. Meals are very serious events, rushing meals, even if you are very late is not standard practice. EATING Asian cuisine is exciting, flavorful, and delicious. Other than an occasional chili pepper problem where things are spiced too hot, I have had no real problems. Common sense needs to be applied. I never eat off the street. I never use ice cubes. I request bottled water unless I am in a location, like a very expensive restaurant, where I know the water is purified. I usually let my Thai hosts order and I try to sample everything. Not eating a particular dish can cause hurt feelings or even insult so it is
best to try a little of everything. I have weight problems and I have been losing weight. My Thai hosts and students have noticed this and have tried to accommodate me. Typically I send the leftovers home with the students to enjoy at another time. THE THAI ROYAL FAMILY The Thai Royal Family is highly revered by the Thai people. His Royal Highness the King has been on the throne for over sixty years. He has been a constant source of inspiration and guidance for the Thai people. The Royal Family must always be regarded with respect. GESTURES Asian people are usually rather conservative. Now, after all these years some old friends who trained in Europe or the US will offer a small hug but in general the handshake is the best way to go. Thai people have a beautiful tradition of using the wai, a polite bow with hand clasped. Typically students will do this to faculty, younger to older, and so on. It is a beautiful custom, but should not be overdone. In governmental or business settings, especially with a foreigner, Thais like to shake hands. If the entire group is Thai then everyone wais as a greeting. I use this gesture when I know the individuals and they are in position that deserves respect. VISITING TEMPLES AND OTHER SACRED PLACES Most Thai people are Buddhist. The Buddhist tradition is a beautiful and rich religion. When traveling with my students we often “stop in at a temple�, I follow the required custom of removing my shoes, keeping
fairly quiet, and making certain not to point my feet towards the Buddha image. Pointing ones feet towards the image is very disrespectful and very offensive. I enjoy the beauty and surroundings but I would not offend as trying to “look or act” Buddhist. I am Catholic, and I appreciate my religion and appreciate others, but I try not to imitate my hosts, I will, however, put some coins in the donation box for the good work being carried out by the monks. Loud talking is considered very impolite and offensive. I have taken colleagues as visitors with me in recent years and even when they were enthusiastic about something I suggested to them that they should lower the volume a bit. Loud talking is the fastest way to offend and lose your colleague’s attention. HOW TO KNOW IF YOU MADE YOUR POINT Thai people will handle disagreement a couple of ways. None of them direct. One way is to simply not respond. When we have had ideas and plans to work on something, my Thai colleagues will not say they do not like the idea. Instead, they will simply never respond or provide the information you have requested. Another option is to supply you with what they want, which may be completely different from the requested information; this is the Thai way of telling you they disagree. I have left thinking I had everything in place, only to come back six months later and see nothing has progressed. The reason for this is that they never wanted to do this in the first place, but they did not want to offend me. Consequently, they said yes and then did nothing.
This is probably the toughest part to work around. Thinking you have a plan, thinking you have agreement, and never knowing what the result is. Thai people respect and respond to superiors. If you feel strongly about something, you need to buy in from the higher level faculty or agency people, and then you will get results and movement, assuming of course that it is what they want, too. HOLIDAYS Thai people take their holidays, and other people’s holidays seriously. An example is my Fulbright Senior Specialist assignment which I had planned for a year and had arranged my calendar at my home university and had everything place. Two weeks before it was time to come to Hat Yai, Thailand, I got an e-mail saying that the dates I had chosen conflicted with the Chinese New Year and perhaps we should reschedule the month long visit. I made it clear that this was not going to happen. I went, I worked with people who did not celebrate the Chinese New Year, and started the other projects when the other folks returned. More recently, I had moved a lot of things around to accommodate a Ph.D. exam for a Thai student. One week before I was to arrive in Bangkok the Thai faculty member from another university decided to travel and wanted to push the exam up to the week before I arrived. That was the only time in recent memory that I really reacted strongly and in an angry tone. The mood when I arrived was a bit somber, but we all got past that. Schedule changes are not a big issue in Thailand; they are in the rest of the world.
WHO PAYS THE BILL I prefer to pay for everything when I come to Thailand. At times I will accept a dinner from a high level university person, but I always cover the costs of the meals when I dine or travel with the students or junior faculty. Thai food is not only delicious; it is a great bargain and a good value. I always make it clear that I prefer to pay. Only in selected circumstances, say with a Dean or Department Chair, do I let someone else collect and pay the bill. There are also circumstances where someone may offer to pay for themselves and one other person but this can be awkward. It is good to either pay the entire bill, or establish that each person pay their own. This is particularly important when there is a mix of senior and junior faculty or staff present. There is a tendency for the junior folks to pick up the check and typically they are the least able to afford this. SCIENTIFIC ISSUES My experience is that the scientists are well trained and competent. There are occasions when, especially as an outsider, I do disagree with a research design, a thesis outcome, or the way an analysis is performed, etc. I have the advantage of being rather senior as a full professor and director at my home university. That status counts for a great deal in the eyes of my Thai colleagues. My main goal has always been to protect the interests of the student or junior faculty member. When Thai academics disagree, it is one of the rare occasions when a foreigner will see Thais openly disagree in public with an outsider around. In these instances, I find myself needing to step in and provide
my assessment. Otherwise the real casualty will be the student or the lecturer. WHEN IN ROME… After fighting the system, sending dozens of e-mails, worrying about all the little stuff, I have finally decided I needed to change. This is a wonderful country. The students are among the best I have worked with here and at home, and the kindness and generosity of the people are remarkable. Without question there are times, especially on long trips, when I want to scream; but then I see the research that my colleagues are doing, or the progress a student has made since the last visit, or an opportunity to start a new project, and I realize that this is a good place to work and to do research. Education and educators are highly respected, not necessarily over-paid, but education has a high value to all members of society. The uniqueness and beauty of the Thai culture, music, history, food, and religion make this a highly desirable assignment. Watch and learn from the Thai people; they have been doing this for the last 5,000 years and with a very high success rate. Avoid being “the ugly American”. Cheat a little, like I do, and go to Starbucks if you want a taste of home, but try and appreciate all that is available for your experience. Remember ….Mai pen rai…it doesn’t matter.
เราควรจะเก็บเกี่ยวประสบการณและวัฒนธรรมไทยจาก Fulbright อยางไร45 ดร. มารค จี ร็อบสัน 2004 Fulbright U.S. Specialist Program University of Medicine & Dentistry of New Jersey @ คณะการจัดการสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร แปลและเรียบเรียงโดย วีรินทร ชัยอริยะกุล, อาจารยประจําคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2006 Foreign Language Teaching Assistantship Program @ University of Hawaii, Manoa
ผมรูสึ ก วา ตั ว ผมเองเป น ผูโ ชคดี ค นหนึ่ ง ในฐานะที่ ทํา งานเปน นั กวิ ท ยาศาสตร สุขภาพ เปนเวลานานถึงยี่สิบหาป และไดไปทํางานในหลายประเทศ เมื่อแรกเริ่ม งานผมคอนขางจะเปนหนุมและออนประสบการณ พอทํางานหลายปเขา ผมก็ได ประจักษวา ในหลาย ๆ แหงที่ผมไปทํางาน ทั้งสถาบัน และวัฒนธรรมเหลานั้นมี อายุนานเปนรอย ๆ ป มากกวาอายุผมเสียอีก ความรุงเรืองและความหลากหลาย ทางวัฒนธรรมและสถาบันเหลานั้นไดมอบประสบการณใหผมอยางเต็มเปยม ผมไดรับการขอรองใหแบงปนประสบการณเหลานั้นสักเล็กนอยในบทความสั้น ๆ นี้ ขอใหผมอธิบายกอนวา ผมใหขอมูลอยางตรงไปตรงมา ไมไดตั้งใจจะลบหลู ใครหรือถอมตัว ประสบการณของผมเปนประสบการณที่สุดยอดและเยี่ยมจริง ๆ ผมไดทํางานในประเทศเหลานี้อยางตอเนื่อง ผมไดเปลี่ยนแปลงตัวเองมากมาย และผมก็อยากจะบอกกับคุณวาผมเปลี่ยนแปลงตัวเองอยางไร และทําไมจึงตอง เปลี่ยน ในป พ.ศ.2548 ผมเปน ผูโชคดีไดรับทุน ฟุลไบรทใหม าประเทศไทย ที่ มหาวิท ยาลัยสงขลานครินทร วิท ยาเขตหาดใหญ จังหวัดสงขลา ครั้งแรกงาน ของผมคือทํางานรวมกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรเพื่อตั้งศูนยประเมินความ เสียหาย และสาธารณสุข (Center for Risk Assessment and Public Health) แต เ หตุ ก ารณ สึ น ามิ เ มื่ อ ป 2547 ได ทํ า ให ท างศู น ย เ พิ่ ม งานด า นการประเมิ น สิ่งแวดลอมหลังสึนามิเขาไปดวย
45
พิมพครั้งแรกใน “รอยถอยถักใย สื่อฟุลไบรทในสากล” ปที่ 3, ธันวาคม 2549
เวลา (Time) คนอเมริกันไมคอยจะอดทนตอกฎเกณฑตาง ๆ แตในหลายประเทศในเอเชียถา คุณเปนคนไมอดทนก็จะอยูลําบาก จากประสบการณที่เห็นไดชัดก็คือ เมื่อครั้งผม สอนนิสิตปริญญาโทที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผมรับไมไดกับการไมรักษาเวลา แบบไทย ๆ ซึ่งเปนเรื่องฮาเล็กนอยสําหรับผมและนิสิต เวลาเรียนเริ่มเกาโมงเชา ถึงเที่ยงวัน และผมก็จะเริ่มตรงเวลาทุกครั้ง และในวันที่สองของวิชาที่ผมสอน ผม จะใหนิสิตทําแบบทดสอบสั้น ๆ เกี่ยวกับบทเรียนที่ผานมา วิธีนี้จะทําใหนิสิตเขา เรียนตรงเวลาตลอดเทอม การรับประทาน (Eating) อาหารของคนเอเชี ย เป น อะไรที่ น า ตื่ น เตน มี ร สชาติ ดี และอร อ ย ผมไม ค อ ยมี ป ญ หาเรื่ อ งอาหาร นอกจากบางครั้ ง จะเจอพริ ก เผ็ ด ๆ ในอาหาร ผมจะใช วิจ ารณญาณในการหาที่รับ ประทาน คื อ ผมจะไมท านอาหารขางถนน ไมท าน น้ําแข็ง ดื่มแตน้ําขวด นอกจากผมจะอยูในรานอาหารแพง ๆ ที่แนใจวาเขาใชน้ํา สะอาดเสิรฟแขก ผมมักจะใหเพื่อนคนไทยเปนผูสั่งอาหาร และผมก็จะชิมทุกจาน การเลี่ยงไมทาน อาหารจานใดจานหนึ่ง อาจทํารายความรูสึกหรืออาจถือไดวาดูถูกเจาภาพ ผมจึง ใชวิธีชิมทุกอยา ง แตอยางละเล็กนอย ผมมีปญหาเรื่อ งน้ํา หนัก และน้ําหนักผม ลดลง ทําใหเพื่อนคนไทยและนิสิตของผมเปนหวงเมื่อเขาสังเกตเห็นน้ําหนักผม ลด พวกเขาก็เลยพยายามจะขุนผมใหอวน เวลาไปทานอาหาร ถาอาหารเหลือ ผมก็จะใหทางรานหอใหนิสิตเอากลับบาน ราชวงศไทย (The Thai Royal Family) ราชวงศไทย เปน ที่เคารพนับถือ ของคนไทยทั้ง หลายมาก พระบาทสมเด็จ พระ เจาอยูหัว ทรงครองราชยยาวนานมากกวาหกสิบป พระองคทรงเปนแรงบันดาล ใจและทรงเปนผูชี้แนะหลาย ๆ สิ่งใหแกปวงชนชาวไทย กริยามารยาท (Gesture) คนเอเชียสวนใหญจะเปนคนหัวเกา แตปจจุบันคนบางคนที่เคยไปเรียนที่ยุโรป หรืออเมริกาก็จะสวมกอดกัน หรือไมก็จับมือกัน แตคนไทยจะมีประเพณีที่สวยงาม นั่นคือ การไหว
การไหว นี้ เด็ ก นัก เรีย น นัก ศึ ก ษา จะไหวค รู บ าอาจารย ผู อ อ นอาวุโ สจะไหว ผู อาวุโสกวา แตในวงการราชการหรือธุรกิจ โดยเฉพาะกับชาวตางชาติ คนไทย เลือกที่จะจับมือมากกวา แตถาในกลุมคนไทยดวยกัน เขาก็จะใชวิธีไหวเพื่อแสดง การทักทาย ผมไหวคนที่รูจักเปนการสวนตัว และเขาอยูในฐานะที่สมควรแกการ ไหว สํา หรับการไปวัดและเยี่ยมชมสถานที่ศักดิ์สิท ธิ์ คนไทยสว นใหญนับถือศาสนา พุทธ ประเพณีชาวพุทธเปนประเพณีที่งดงาม และรุงเรืองมาก เมื่อผมเดินทางไปที่ ตาง ๆ กับพวกนักศึกษาเรามักจะแวะวัดตาง ๆ และผมก็จะทําตามประเพณีไทย คือ ถอดรองเทา ไมทําเสียงดังในวัด ไมหันเทาไปทางพระพุทธรูป เพราะการหัน เทาไปทางพระพุทธรูปเปนการแสดงความไมเคารพพระพุทธรูป จึงเปนกริยาที่ไม ควรทํา ผมชอบบรรยากาศและสิ่งแวดลอมของวัด ผมนักถือคาทอลิก ผมซาบซึ้ง ในศาสนาของผม และศาสนาอื่น ๆ ดวย เมื่อผมไปวัด ผมก็มักจะหยอดเหรียญลง ในตูรับบริจาค การพูดเสียงดังเปนกริยาที่ไมสุภาพจึงไมควรทํา เมื่อผมพาเพื่อน ๆ ไปไหน ๆ ถา เขาเห็นอะไรเปนที่หนาตื่นเตน ผมจะบอกใหพวกเขาหรี่เสียงลงบาง คุณจะรูไดอยางไรวา สิ่งที่คุณพูดออกไปคนอื่นเขาใจกระจางชัด คนไทยจะมีวิธีแสดงความไมเห็นดวยกับขอขัดแยงอยูสองทางคือ ทางหนึ่งคือ ไม แสดงกริ ยาโตต อบ ถ า เราตอ งทํา งานที่ ตอ งแสดงแผนงานหรื อ ความคิ ด เพื่ อ น รวมงานคนไทย ถาเขาไมชอบใจความคิดของเรา เขาจะไมพูดออกมาตรง ๆ แต เขาจะเงียบ และไมใหความคิดเห็นใด ๆ ทั้งสิ้น อีกวิธีหนึ่งที่จะบอกวาเขาไมเห็น ดวยกับคุณคือ เขาจะทําตามแบบของเขาซึ่งอาจจะแตกตางจากของคุณ ตัวอยาง อัน หนึ่ ง ก็ คื อ ผมคิ ด ว า ทุ กอย า งเราตกลงกั น ลงตั ว แล ว ผมก็ จ ากไปหกเดื อ น พอ กลับมาทุกอยางเหมือนเดิม ไมมีอะไรคืบหนา เหตุผลก็คือ เขาไมชอบตั้งแตแรก แตเขาไมกลาบอกผม กลัวผมจะคัดคาน เขาก็เลยไมทําตามที่ผมบอก สิ่ ง นี้ เ ป น สิ่ ง ที่ ย ากที่ สุ ด ในการทํ า งานของผม คิ ด ดู ซิ ว า เรามี แ ผนงาน เรามี ขอตกลง แตเราไมรูวาผลลัพธจะออกมาเปนอยางไร คนไทยนับถือผูอาวุโสมาก ถาคุณตองการอะไรจริง ๆ คุณตองบอกผูอาวุโสใหเขาสั่งการจึงจะไดผล วันหยุด คนไทยจะถือวาวันหยุดของไทย และของคนอื่นสําคัญมาก ยกตัวอยางเชน ผม ได รั บ มอบหมายงานจากผู เ ชี่ ย วชาญฟู ล ไบรท รุ น พี่ และผมก็ ไ ด ก ะแผนการ
ลวงหนาเปนป แตอีกสองอาทิตยจะถึงเวลาไปหาดใหญ ผมก็ไดรับอีเมลวาวันที่ ผมเลือกจะไปทํางานนั้นตรงกับวันตรุษจีนจึงขอเลื่อนไป แตผมบอกไปวาผมไม ยอม อยางไรก็ตามผมไมยอมลมเลิกแผนการ ผมไปทํางานตามเวลาที่ผมแพลนไวกับ คนที่ไมไปฉลองตรุษจีน อีกครั้งหนึ่งเมื่อไมนานมานี้ ผมไดจัดสอบใหกับนักศึกษา ปริ ญ ญาเอกคนไทย แต พ ออี ก หนึ่ ง สั ป ดาห ก อ นที่ ผ มจะมากรุ ง เทพฯ มี พ วก คณาจารยจากสถาบันอื่นจะเดินทางไปเที่ยวกัน จึงขอเลื่อนเวลาสอบเขามาอีก อาทิ ต ย ห นึ่ ง ผมจํ า ได ว า ผมมี ป ฏิ กิ ริ ย าโต ต อบแบบโกรธมาก จะเห็ น ได ว า การ เปลี่ยนแปลงเวลาไมใชเรื่องใหญสําหรับคนไทย ใครจะเปนผูจายเงินเวลาไปทานอาหาร ถึงผมยินดีรับผิดชอบคาใชจายในประเทศไทยของผมเอง แตถาผูบริหารจะเลี้ยง ผมก็ตองยอม ถาผมไปกับนักศึกษา หรือพวกอาจารยเด็ก ๆ ผมก็จะเปนฝายจาย อาหารไทยมิใชแตเพียงอรอยเทานั้น แตยังถูก และเต็มไปดวยคุณคาทางอาหาร อีกดวย บางครั้ ง ก็ จ ะมี ส ถานการณ ที่ ค นใดคนหนึ่ ง เสนอที่ จ ะจ า ยค า อาหารให แ ก ค น ทั้งหมด แตก็ดูแปลก ๆ ทางที่ดีคือจะจายทั้งหมดก็ได หรือตางคนตางจายก็ดี บาง ทีเวลาไปทานอาหารมีทั้งผูอาวุโส และผูออนอาวุโสไปดวยกัน แตผูออนอาวุโส มักจะไมสามารถจายทั้งหมดได เรื่องเกี่ยวกับทางวิทยาศาสตร จากประสบการณของผม นักวิทยาศาสตรไทยเกงมาก และไดรับการฝกฝนมา เปนอยางดี แตก็มีบางครั้งเหมือนกันที่คนนอกอยางผมไมคอยจะเห็นดวยกับการ ออกแบบการวิ จั ย และผลของวิ ท ยานิ พ นธ หรื อ การวิ เ คราะห ต า ง ๆ ผมมี ข อ ได เ ปรี ย บจากการที่ เ ป น ผู มี คุ ณ วุ ฒิ เ นื่ อ งจากผมเป น อาจารย ป ระจํ า และเป น ผูอํา นวยการที่ม หาวิท ยาลัยในประเทศของผม และสําหรับ คนไทยมันเปน สิ่ง ที่ นาเชื่อถือมาก เปาหมายหลักของผมคือการปกปองสิ่งที่นักศึกษาและผูรวมงานให ความสําคัญเสมอ เมื่อนักวิชาการไทยมีความคิดเห็นขัดแยงกัน ซึ่งเปนเพียงไมกี่ครั้งที่ชาวตางชาติ จะไดเห็นคนไทยแสดงความไมเห็นดวยอยางเปดเผยในที่สาธารณะที่มีคนนอก อยู ด ว ย บางครั้ ง ผมก็ ต อ งเข า ไปร ว มแสดงความคิ ด เห็ น ด ว ย มิ เ ช น นั้ น ความ เสียหายอาจเกิดขึ้นกับนักศึกษาและอาจารยทานอื่น ๆ
เมื่ออยูในโรมใหทําตามคนโรมัน (เขาเมืองตาหลิ่ว ใหหลิ่วตาตาม) หลังจากที่ตอสูกับระบบสงอีเมลเปนโหล ๆ เปนกังวลกับเรื่องเล็ก ๆ นอย ๆ ในที่สุด ผมก็ตัดสินใจเปลี่ยนแปลงตัวเอง ประเทศไทยเปนประเทศที่ดีทีเดียว นักศึกษาที่ ผมสัมผัสไดเปนนักศึกษาที่ดีที่สุดเทาที่ผมเคยสอนมา คนไทยก็เปนผูที่มีความเอื้อ อารีมาก มีบางครั้งเหมือนกันโดยเฉพาะในระหวางเดินทางไกล ๆ ที่ผมอยากจะ รองออกมาดัง ๆ แตพอไดเห็นผลงานวิจัยของเพื่อนรวมงาน หรือความกาวหนา ของนักศึกษา หรือ โอกาสที่จะเริ่มทําโครงการใหม ๆ ผมก็ตระหนักวาไทยเปน ประเทศที่วิเศษที่สุดที่จะทํางาน หรือทําวิจัย คนที่นี่ใหความสําคัญกับการศึกษา และนั ก การศึ ก ษามาก ค า ใช จา ยสํ า หรั บ การศึ ก ษาก็ ไ ม ไ ด แพงอะไรเท า ไร แต การศึกษาถือเปนสิ่งที่มีคามากในสังคมไทย ความมีเอกลักษณ ความสวยงามของ ประเพณีไทย ดนตรี ประวัติศาสตร อาหาร และศาสนา ทําใหการมาครั้งนี้ของผม นาสนใจยิ่ง ผมขอแนะนําใหคุณลองสังเกตและเรียนรูจากคนไทยในสิ่งที่พวกเขา ทําตอ ๆ กันมากวา 50,000 ป หลีกเลี่ยงการทําตัวแบบอเมริกันที่นาเกลียด อาจจะ ใชเทคนิคเล็ก ๆ นอย ๆ บางอยางที่ผมเคยทํา เวลาคิดถึงบานก็เดินเขารานสตาร บัคส ทั้งนี้ทั้งนั้น ขอใหคุณพยายามซาบซึ้งในสิ่งดี ๆ จากประสบการณของคุณ จําไววา “ไมเปนไร”..ไมเปนไร
Q&A with an English Teaching Assistant46 Katie Oreskovich 2007 English Teaching Assistantship Program @ Warin Chamrab School, Ubon Ratchathani
Nong Katie is assigned to help teach conversational English in a school in Ubon Ratchathani, a northeastern province of Thailand. This is under a project entitled, ‘English Language Teaching Assistantship – ETA’. She shared with us her experiences through the Q&A below. You’ve been in Thailand for well – over a month. How would you describe your experience thus far? I have been in Thailand for exactly seven weeks today, more than doubling the amount of time I have spent abroad up to this point in my life. The only way to describe my experience thus far, very generally, is like a roller coaster. One can basically know what to expect on days in the U.S. There is never a major question about what is in store for the day. That is not the case here. The Fulbright people told us during the training, “Expect the unexpected.” I cannot stress how important this is and how I really have to carry this within me as an actual mindset. There are good days here where everything I touch turns to gold. I can bargain with the tuk tuk (three wheeled taxi) drivers, order my food in Thai, stay busy, and enjoy my surroundings. There are other days when it feels like I have forgotten all the Thai I know, everyone is staring at
46
Originally published in “Knitting the Fulbright Family” Year 4, December 2007
me, and I can’t get anything right. The little things I take for granted become monumental chores here. Finding food is usually a big struggle. Is it safe to eat? Is it spicy? Do I need a gallon of water to drink with it? Is it a fish with bones in it? Is it a pork ball, a fish ball, or some other substance? Do I eat it with chopsticks, a fork and spoon, or a combination of the two? In Bangkok sometimes I would just give up and eat instant noodles or find Western food in Siam Paragon, the huge department store. I cannot do that anymore here in Ubon; there is much less Western food here! The best I can do is to eat peanut butter and jelly from the grocery store, fruit, and instant noodles. Overall though, I think that The Thai people are really welcoming as a people. I would immediately get discounts when I would say I was an English teacher in Bangkok. I have heard on more than one occasion. “I’m glad that you’re here. Thais need to learn English.” There is not a pervasive hostility here toward foreigners like there is in some parts of the world. Tourism is a big industry for the Thais, and I think they like foreigners and the money they bring into the country. There are good days and bad days here, but definitely more good than bad. The only things that you can always count on are that usually you will be surprised and every day is a new adventure. Give us an example of your typical day. Daily life in Bangkok consisted of Thai language instruction in the morning at Chulalongkorn University (the oldest and one of the most prestigious universities in Thailand), some kind of lesson or teaching
practicum in the afternoons, lunch at the university cafeteria in between, and dinners were always an adventure. What kind of food do you want? How do we get there‌by taxi, tuk tuk, walking, or BTS (Bangkok Transportation System)? Then it was either hanging out with friends at the dorm, on the computer, or going to find something to do in Bangkok whether it was shopping, a movie, or whatever else we could think of. On the weekends, I tried to do the touristy things as much as my stomach would allow (Some Westerners really don’t know how to behave here and it makes me sick). I saw Wat Pra Kaew and the Grand Palace, Wat Pho, and Wat Arun. (Wat means temple in Thai). I also went to the Jim Thompson House, ate at cool places on Sukhumvit Road, and braved the incessant crowds at Jatujak Market (known locally as JJ market), which is thought to be one of the biggest, if not the biggest, outdoor markets in the world. On more mundane life, I would wash my laundry once a week and hang it outside on my balcony to dry. I thought it was an inconvenience just because we did not have a dryer. I could have a warm shower in my room whenever I needed one. Maids came into our dorm rooms, gave us fresh towels, made our beds, and cleaned every day. Things are completely different here in Ubon. I wake up much earlier, teach during the day, then Maricel (my Filipino roommate) and I scramble into Ubon on a song-taeo, which functions as a bus but is a pickup truck with benches and a metal frame around it. They stop running at 6 pm, so when we have to do a lot of shopping, we take at
least 35 minutes by song-taeo. I have not yet timed it. That is a minimum time depending on how long we have to wait for the right one! I have to wash my clothes by hand, hang them on the line to dry, and I have a squat toilet and a series of buckets and a faucet for a shower. I usually get soap in my eyes before it’s all over. I am just glad that I can heat a pitcher of water to mix in with the cold. Sometimes I eat lunch in the office with the teachers and was mortified the first time I ate sticky rice with them as they dished it out onto my plate with their bare hands then ate it the same way. More often, I eat lunch at my house which consists of peanut butter, jelly, instant tom yam gung, and fruit. Like I said before, everyday is an adventure. I teach 13 hours a week for nine different classes. There are between 25-37 students in all of my classes. I am finding it impossible to learn their names. These names are so foreign to my Western ears! I have just now mastered the names of the teachers in the English department: Ajarn Nongyao, Tirathaya, Lakkana, Nittayaporn, Jintana, Praneewan, Prapatsorn, Anchalee, Maneesaeng, and Tumkaew. How are you adjusting to living so far from home? How do you deal with missing your family and friends? A Fulbrighter spoke to us, myself and the nine other ETAs, in Bangkok about living and adjusting in Thailand. He rambled on about many things, but the theme of his talk was, “This is Thailand�. My friend and I have since shortened it to T.I.T! Gecko lizards, cockroaches, mosquitoes, and spiders? T.I.T! By reminding myself that, indeed, I am not in American and I should not have American expectations has been
the best way to adjust. It sounds silly, but it has really worked for me. If I have no expectations, I am usually pleasantly surprised. It also helps me to reserve judgment on a culture that is not my own. Sometimes I do not deal well with missing my family and friends. No matter how difficult my physical environment may be, the homesickness is always worse. Globalization and technology really have made the world smaller, and for my own convenience, I am grateful for this. I brought my laptop with me to Thailand and have used it more than anything else I think I have brought. I know some reactions from those who think I am chatting more with friends and family from home rather than going out and exploring. My response to that would be that I know myself. I know my own limitations. I know that I need to stay in contact with my loved ones for my emotional well-being so that I can be a better teacher here. I think that my world would be much more foreign and my days more gloomy without the aid of today’s technology. For that, I am very grateful. I would rather spend an hour in the evenings chatting online than crying by myself in my room! Describe your experience learning the Thai language as well as your interactions with native speakers who know no English….and….Do many people know English in Thailand? Learning Thai is like learning any other language. It is really fun some days, frustrating on others, but rewarding when applied successfully. Language learning does not follow a linear progression. This has been one of the most frustrating parts for me. Some days I know words that I
forget the next day. I have somewhat of a photographic memory, so I can see the beginning letters for some words on worksheets but forget the rest. Obviously, I have become fairly good at what I needed to apply immediately. I know how to hold a very general introductory conversation, introduce myself, ask for directions, use common verbs, order food, and I know my numbers for bargaining. The most exciting days are when I have a whole conversation (very short mind you) in Thai without a word in English. I should learn more Thai and I have several books and aids to learn from as I continue my endeavor. However, things are a little different here in Ubon. The language spoken here is Isaan, which is almost entirely different from central (Bangkok) Thai. To say “delicious” in central Thai is “Aroi kha.” To say “delicious” in Issan is “Saap ka.” Thai is also different from English in that adjectives follow nouns, like in Spanish. Verbs also do not get conjugations into different tenses; they just add words to indicate the tense. For example, the verb ‘to go’ is ‘bpai’. Question words also come at the ends of the sentences. I usually do not think about all of this grammar; I instead learn the meaning of the sentence as a whole and learn it as a phrase, not in its individual parts. In Bangkok, almost everyone knows at least some English. Asking for information, ordering, and getting help was not usually a problem there. Unfortunately, that is not the case here in the ‘upcountry.’ Thai people do not let their friends travel along generally, that is not part of the culture. If I need to go into town, I go with Maricel whose Thai is better
than my own because she has been here for two years. I usually only have longer conversations with the English department teachers in my school. I am insulated, not because I want to be, but because the culture has done that to me in a way. The assistant director of the school actually told me the day that I arrived not to speak Thai to anyone at the school, teachers and students included, because they all needed to work on their English. However, I found this to be next to impossible. There is only so far that gesturing and picture-drawing will take you sometimes. For my own sanity I am working on Thai language so that I do not feel completely left out from the conversations around me which are all in Thai. Finally, if I do not know the right Thai words and the person I’m speaking with doesn’t know the English, gesturing is the international language. Pointing, saying “a nee” (this one), and over-acting all go a long way in crossing a language barrier. Tell us about some of your favorite experiences thus far. I have had a few favorite experiences thus far. The first would definitely have to be my home stay during a weekend with a Thai family while I was in Bangkok. The mom was an English teacher, her husband owned a shop (they lived above it, very Thai) that sold motorcycle parts, and they had two daughters a little younger than me and one son who was the youngest. The youngest daughter spoke very good English and she had traveled to Australia as part of an English intensive program for a while I think.
They were really welcoming. They gave me a glimpse into Thai life, even though they were obviously very wealthy compared with most. They woke me up early on Saturday and we went to a beautiful market on the water where I ate many tasty treats, got a few favors, and had my fortune told by an old Thai gypsy. It was surprisingly accurate, but those things are just fun for me! After that we went to the Erawan museum which is housed in a giant elephant one of the Hindu gods rode on to heaven. In the basement was artwork imported from other artists and then moved to Thai and Asian art as you climbed higher. In the head, the most sacred part, were Buddhas in different poses and the cosmos were painted on the ceiling. The room was incredibly breathtaking. After the Erawan elephant museum, we went to the Ancient City which is basically Thailand laid out across many acres where you can drive your car through it. After that we went to the Crocodile Farm which I believe has the most crocodiles in one place in the world. The next day was an even earlier day. They had a merit making ceremony because they were opening their building next door. It is a building for further study and tutoring, similar to Kaplan. They had nine monks there (nine is the lucky Thai number). They did a whole ceremony in the morning where they blessed the building and everything. There were over a hundred people there including friends and family of the family. They fed the monks and then they fed all the guests. Watching the monks chant and seeing everyone at the party was one of my favorite experiences thus far.
One of my other favorite places in Bangkok was at Wat Arun, the Temple of Dawn. It overlooks. One can climb to the top of the temple and see the city from there. The artwork is incredible on the temple. There are bits of china that have all been put together. The detail in the work is really impressive. The climb to the top was really steep and scary, but the rewards from the top were awesome. I think my pictures from this trek speak better for the aesthetic beauty of it. My favorite experience as far as Thai culture is concerned would have to be the trip that I took with two of the teachers and Marcel to the Thailand-Laos border. We drove for over an hour to get there. The Mekong River draws the border between Thailand and Laos here. We were surrounded by a few hundred other Thai people. There is a Buddhist belief that the Naga snake protected the Buddha from the rains and it is the Buddha pose for Saturday. The Naga is a giant snake with seven heads and it lives in the Mekong River (Loch Ness Monster). The monks had been having some sort of ceremony for three days and at the end of the ceremony the Naga shoots fireballs out of the river to celebrate the Buddha. Mysteriously, a red ball of light came out of the river. I do not know how it happened. It did not have a tail like a regular firework. The teachers said they thought that it was man-made now, but it is one of those things that is more fun to believe in, like Christmas. Still, I have no idea how this red ball of light came right out of the river into the air. I am still mystified by it and I love it! Apparently, you can only see it if you are a good person and have a good heart. I saw four
balls, but the other three I was with saw only three balls. They were joking saying that I was a better person than them. I left that night with a new appreciation for Thai culture and Buddhism. It was beautiful. What have been some of the difficulties you’ve experienced? I feel like I have faced some difficulties throughout my stay and you picked up on them in the questions you gave me. The most difficult is being homesick. The two tied for second are not knowing the language well and adjusting to the different environment and culture. It is not an instinct for me to bow and say “Sawaddii ka” to everyone that I meet. Also, they do not want me to speak Thai. Am I supposed to say, “Sawaddii ka” or “Good morning”? I usually just say both. Along with being homesick, I also feel like I miss out on the things that are most American. The first hard day where this was concerned was during Halloween. I did not get to trick-or-treat for canned goods. I made a costume and taught all my students about Halloween. It is really challenging to teach an entire school about a holiday and then to be the only one celebrating it!
เปดโจครู ETA47 เคที โอเรสโกวิช 2007 English Teaching Assistantship Program @ Warin Chamrab School, Ubon Ratchathani แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน (ฟุลไบรท)
เคทีไดรบ ั ทุน English Teaching Assistantship หรือ ETA ใหไปสอนวิชา สนทนาภาษาอังกฤษที่โรงเรียนแหงหนึง่ ในจังหวัดอุบลราชธานี ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และไดเปดใจตอบคําถามตอไปนี้
ทาง
เคทีมาอยูเ มืองไทยไดเดือนหนึง่ แลว ชวยเลาประสบการณใหฟง หนอย เคทีมาที่เมืองไทยวันนี้ก็ครบเจ็ดอาทิตยพอดีเลย นานกวาที่เคยไปอยูท อ ี่ ื่นเกิน เทานึงอีก ถาจะใหอธิบายถึงประสบการณจนถึงตอนนีอ ้ ยางคราว ๆ ก็นา จะบอก วาเหมือนรถไฟเหาะตีลงั กา ถาเปนที่อเมริกา สวนใหญเราจะบอกไดวา วันนี้จะ เปนยังไง ไมเคยตองถามวาวันนี้ในรานจะมีอะไรขาย แตไมใชทน ี่ ี่ ที่พี่ ๆ ฟุล ไบรทเคยเตือนไวตอนปฐมนิเทศวา “อยาคาดหวัง” นัน ้ สําคัญมากอยางไมนาเชือ ่ และเคทีก็ถือคําพูดนี้เปนคติประจําตัว คอยย้ําเตือนตัวเองตลอดเวลา ที่นบ ี่ างวันก็เปนวันที่ดี ทําอะไรก็สาํ เร็จ ตอราคารถตุก ๆ ได สั่งอาหารเปน ภาษาไทยได สนุกไปกับสิง่ รอบตัวไดทงั้ ๆ ที่งานยุง มาก และก็มีวันที่เคทีรูสึก เหมือนจําภาษาไทยไมไดเลย โดนทุกคนจอง แลวก็ทําอะไรไมถูกเลยสักอยาง สิ่ง เล็ก ๆ นอย ๆ ที่ไมเคยใสใจกลายเปนเรื่องใหญทน ี่ ี่ จะหาอะไรกินก็ตอ งพยายาม อยางมาก กินแลวจะปลอดภัยมั๊ย เผ็ดรึเปลา ตองมีน้ําสักเหยือกเตรียมไวมั๊ย ปลามี กางรึเปลา อันนั้นมันลูกชิ้นหมู ปลา หรือวาเนื้ออะไร แลวตองกินดวยตะเกียบ สอม ชอน หรือวาใชทั้งสองอยางเลยดี
47
พิมพครั้งแรกใน “รอยถอยถักใย สื่อฟุลไบรทในสากล” ปที่ 4, ธันวาคม 2550
ตอนอยูท ี่กรุงเทพฯ บางครัง้ เคทีก็ยอมแพไปกินบะหมี่สําเร็จรูป หรือไมก็ไปสยาม พารากอนกินอาหารฝรั่ง แตตอนนี้อยูท อ ี่ ุบลเลยทําอยางนั้นไมได ทีน ่ ี่หาอาหาร ฝรั่งยากมาก ๆ ! ทางดีทส ี่ ุดคือกินเนยถั่วกับเยลลีทซ ี่ ื้อไดในรานขายของชํา และก็ ซื้อผลไมและบะหมี่สําเร็จรูปมาเก็บไว แตโดยรวม ๆ แลว เคทีคิดวาคนไทยอบอุนมาก ๆ ที่กรุงเทพฯ เวลาไปซื้อของแลว บอกวาเปนครูสอนภาษาอังกฤษก็มักจะไดลดราคาเสมอ หลายครั้งที่มค ี นบอกวา “ดีใจทีค ่ ุณอยูท น ี่ ี่นะ คนไทยจําเปนตองเรียนภาษาอังกฤษ” คนไทยไมเย็นชากับ คนตางชาติเหมือนบางที่ในโลก การทองเที่ยวเปนอุตสาหกรรมขนาดใหญของ ประเทศ เคทีคิดวาคนไทยชอบชาวตางชาติและผลจากการทองเที่ยวทําให เงินตราไหลเขาประเทศดวย แมจะมีวันดีและวันราย แตสวนใหญแลวก็มักจะเปน วันดีมากกวา อยางหนึ่งที่มน ั่ ใจไดก็คอ ื จะมีเรื่องใหประหลาดใจเสมอ และทุกวัน คือการผจญภัย ลองเลาตัวอยางวันปกติของเคทีใหฟง หนอย วันปกติที่กรุงเทพฯ ก็ตองเรียนภาษาไทยตอนเชาทีจ ่ ุฬาฯ (เปนมหาวิทยาลัยที่เกา ที่สุดและมีชื่อเสียงที่สด ุ แหงหนึง่ ของประเทศไทย) เรียนเรื่องอื่น ๆ แลวก็ฝกสอน ชวงบาย ตอนกลางวันกินขาวทีโ่ รงอาหารของมหาวิทยาลัย สวนอาหารเย็นก็ถือ เปนการผจญภัยในแตละวัน อยากกินอาหารประเภทไหน จะไปรานอาหารยังไง ...ตุกตุก เดิน หรือ BTS (รถไฟฟาบีทีเอส) หลังจากนัน ้ ก็แลวแตวา จะอยูกบ ั เพื่อน ที่หอพัก เลนคอมพิวเตอร หรือไปหาอะไรทําในเมือง ไมซอ ื้ ของ ดูหนัง หรืออะไร อื่น ๆ แลวแตจะคิดได ชวงวันหยุด เคทีพยายามจะทําตัวเปนนักทองเที่ยวใหมากที่สด ุ เทาที่จะทําได (แต นักทองเที่ยวตะวันตกบางคนก็ทําตัวไมดจ ี นเคทีรูสึกแยมาก) เคทีไปวัดพระแกว พระบรมมหาราชวัง วัดโพธิ์ แลวก็วัดอรุณ เคทีไดไปบานจิมทอปมสันดวย ไดกิน อาหารที่รานเก ๆ ยานสุขุมวิท แลวก็ไดเดินเบียดฝูงคนที่ตลาดจตุจักร (ทีน ่ ี่ เรียกวาตลาดเจเจ) ซึ่งเชือ ่ กันวาเปนตลาดกลางแจงที่ใหญที่สุดแหงหนึง่ ในโลก หรืออาจจะใหญที่สด ุ ในโลกก็ได ตามปกติเคทีจะซักผาอาทิตยละครั้งแลวก็ตากไวทรี่ ะเบียงใหแหง เคทีวามันไม คอยสะดวกเพราะเราไมมีเครือ ่ งอบผา แตแคทีก็มีน้ํารอนอาบตลอด มีแมบา นมา ทําความสะอาดหองให เอาผาเช็ดตัวมาเปลี่ยน แลวก็ทําเตียงใหทุกวัน
แตชีวิตเปลี่ยนไปเมื่ออยูอ ุบล เคทีตอ งตื่นเชาขึ้น มีสอนระหวางวัน แลวเย็นก็ชวน มาริเซล (เพือ ่ นฟลิปปนสทอ ี่ ยูหองเดียวกัน) อัดกันขึน ้ รถสองแถว ทีค ่ ลาย ๆ รถเมลแตหนาตาเหมือนรถปคอัพมีเกาอี้แลวก็ราวโลหะรอบ ๆ รถสองแถวจะหมด เวลาประมาณหกโมงเย็น เพราะฉะนัน ้ ถาเราตองซื้อของหลายอยาง เราก็จะขึ้น รถตุกตุกกลับบาน การนัง่ รถสองแถวเขาไปในตัวเมืองอุบลจะใชเวลาประมาณ 35 นาที แตเคทียงั ไมเคยลองจับเวลาดูเลย เวลาจริง ๆ ขึ้นอยูกบ ั เราตองรอรถ นานแคไหนดวย! เคทีตอ งซักผาดวยมือแลวเอาไปตากบนราวเคที มีสวมหลุมพรอมขันหลายขนาด มีกอกอาบน้ํา เวลาอาบน้ําทีไรสบูตอ งเขาตาทุกที อยางนอยก็ดีที่มีกาตมน้ําเอามา ผสมกับน้าํ เย็นอาบ บางครั้งเคทีก็กินอาหารกลางวันในทีท ่ าํ งานกับครูคนอื่น ๆ ครัง้ แรกเคทีตกใจแทบตายที่กน ิ ขาวเหนียวอยูดวยกันแลวครูใชมอ ื เปลาบิขา ว เหนียวให เขาก็กินกันแบบนัน ้ แตสวนใหญแลวเคทีกินอาหารกลางวันทีบ ่ าน ซึ่ง ก็มักจะเปนพวกเนยถั่ว เยลลี ตมยํากุงสําเร็จรูป กับผลไม อยางทีบ ่ อกนั่นแหละ ทุกวันเปนการผจญภัย เคทีสอนอาทิตยละ 13 ชั่วโมง มี นักเรียนเกาหอง หองละประมาณ 25-37 คน เปนไปไมไดเลยที่เคทีจะจําชือ ่ นักเรียนไดทุกคน แถมชือ ่ แตละคนยังฟงดูประหลาดสําหรับฝรัง่ อีกดวย เคทีเพิ่ง จําชือ ่ ครูในกลุม สาระภาษาอังกฤษได อาจารยนงเยาว ธิรัถญา ลักขณา นิตยพร จินตนา ปราณีวัลย ประภัสสร อัญชลี มณีแสง และตุมแกว เคทีปรับตัวยังไงเวลาอยูห า งจากบาน รับมือกับความคิดถึงครอบครัวคิดถึงเพือ ่ น ไดยงั ไง ที่กรุงเทพฯ มีนก ั เรียนทุนฟุลไบรทคนหนึง่ มาพูดใหเคทีกับเพื่อน ETA อีกเกาคน ฟงเรือ ่ งการใชชีวิตและการปรับตัวเมือ ่ อยูในประเทศไทย เขาพูดหลายอยาง แต ประเด็นหลัก ๆ ของเขาก็คอ ื “ทีน ่ ี่ประเทศไทย” ซึง่ เคทีกับเพื่อนจําเอามาเรียกวา T.L.T เคทีบอกไมหมดหรอกวาคํา ๆ นี้มันมีความหมายแคไหนสําหรับเคที สวม หลุมรึ T.L.T! ซักผาดวยมือรึ T.L.T! จิ้งจก กิง้ กา แมลงสาบ ยุง แมลงมุมรึ T.L.T! การเตือนตัวเองวาจริง ๆ แลวเราไมไดอยูในอเมริกา และไมควรมีความคาดหวัง แบบอเมริกัน นี่เปนวิธีที่ดท ี ี่สด ุ ในการปรับตัว ฟงดูโงนะ แตมันไดผลกับเคที ก็ ถาเคทีไมมีความคาดหวัง ก็จะมีอะไรดี ๆ ใหประหลาดใจ แลวก็ยังทําใหเคทีไม ดวนตัดสินวัฒนธรรมที่แตกตางดวย
แตบางครั้งเคทีก็ยังจัดการเรื่องความคิดถึงครอบครัวกับเพื่อนไมคอ ยได ไมวา สภาพแวดลอมตอนนี้จะลําบากแคไหน เรือ ่ งคิดถึงบานนีม ่ ก ั จะแยกวาเสมอ ดีที่ โลกาภิวัฒนและเทคโนโลยีชว ยยอโลกใหเล็กลงและงายขึน ้ ดวยสําหรับเคที ตอง ขอบคุณตรงนี้ เคทีเอาแลปท็อบมาประเทศไทยดวย และนาจะใชมน ั มากกวาอยาง อื่นที่เอาติดมา บางคนอาจจะคอนวาเคทีติดคุยกับเพือ ่ นและครอบครัวที่โนน มากกวาจะออกไปสํารวจโลก เคทีบอกไดแควา เคทีรูจักตัวเอง รูวา ขอจํากัดของ ตัวเองคืออะไร รูวาจําเปนตองติดตอกับคนที่เคทีรักเพื่อชวยดานอารมณและจิตใจ จะไดเปนครูที่ดท ี ี่นี่ ถาไมมีเทคโนโลยีแบบทุกวันนี้ เคทีคิดวาตัวเองคงรูสึกแปลกแยกและแยยิ่งกวานี้ มาก เคทีถงึ รูสก ึ ขอบคุณอยางมาก ใหใชเวลาเปนชัว ่ โมง ๆ ตอนเย็นคุยกับที่บา น ดีกวารองใหคนเดียวในหองเปนไหน ๆ ! เลาใหฟง หนอยวาการตองเรียนภาษาไทย และตองติดตอกับคนไทยทีพ ่ ด ู ภาษาอังกฤษไมไดเลยเปนยังไง...แลว...คนไทยพูดภาษาอังกฤษกันไดเยอะมัย ๊ เรียนภาษาไทยก็เหมือนเรียนภาษาอืน ่ ๆ นะ บางวันก็สนุกดี บางวันก็ปวดหัวมาก แตก็คุม ถาวันไหนเอาไปใชการได การเรียนภาษามันไมไดเปนการเรียงลําดับ นี่ เปนเรือ ่ งทีท ่ ําใหเคทีปวดหัวทีส ่ ุด บางวันเคทีรค ู ํานี้แลววันรุงขึน ้ ก็ลืม เคทีมี ความจําแบบถายภาพ คือเห็นตัวอักษรแรก ๆ ของคําบนกระดาษ แตจะไมเห็นคํา อื่น จริง ๆ แลวเคทีคอนขางเกงเวลาที่ตอ งใชภาษาเฉพาะหนา เคทีรว ู าจะพูดเรื่อง ทั่ว ๆ ไปยังไง อยางแนะนําตัว ถามทาง ใชคาํ กริยางาย ๆ สั่งอาหาร และตอราคา วันที่ตื่นเตนที่สด ุ คือวันที่เคทีตอ งพูดเปนภาษาไทยโดยไมมภ ี าษาอังกฤษปนเลย (แมจะสั้น ๆ ก็เถอะ) เคทีควรจะเรียนภาษาไทยใหมากกวานี้ ทั้งที่มีหนังสือหลาย เลมและอุปกรณชวยเรียนอีกหลายอยาง ยังไงก็ตาม สถานการณเปลี่ยนไปเมือ ่ มาถึงอุบล คนทีน ่ ี่พด ู ภาษาอีสาน ซึ่งแตกตางอยางสิ้นเชิงกับภาษากลาง (กรุงเทพฯ) จะพูดวา “delicious” ในภาษากลางคือ “อรอยคะ” แตพูดวา “delicious” ในภาษา อีสานคือ “แซบคะ” ภาษาไทยตางจากภาษาอังกฤษตรงที่ตัวขยายจะวางไวหลัง นามแบบเดียวกับภาษาสเปน แถมคํากริยาก็ยังไมมีการผันตามกาล แคเราเติมคํา ขยายเขาไปเพือ ่ บอกเวลาก็พอ อยางเชน คํากริยา “go” คือ “ไป” ถาจะบอกวา “will go” ก็เติม “จะ” เปน “จะไป” ซึ่งก็แปลวา “will go” คําแสดงการถามก็จะวาง
ไวหลังประโยค ปรกติแลวเคทีจะไมคอยนึกถึงไวยากรณเทาไร ความหมายของประโยคทัง้ หมดมากกวา เรียนเปนวลี ไมไดเปนคํา ๆ
แตเรียน
ที่กรุงเทพฯ ทุกคนรูภาษาอังกฤษอยางนอยคําสองคํา การถามขอมูล สั่งของ หรือ ขอความชวยเหลือไมเปนปญหาที่นี่ นาเสียดายที่ “บานนอก” ไมเปนแบบนัน ้ ตาม ปรกติคนไทยไมชอบใหเพือ ่ นเดินทางคนเดียว มันไมใชวฒ ั นธรรม ถาเคที ตองการเขาไปในตัวเมือง เคทีก็ไปกับมาริเซล ซึ่งพูดภาษาไทยไดดีกวาเพราะเขา อยูทน ี่ ี่มาสองปแลว เคทีมักจะคุยยาว ๆ ไดแคกับอาจารยทก ี่ ลุมสาระภาษาอังกฤษ ของโรงเรียน ที่ตอ งเปนแบบนั้นไมไดเพราะเคทีชอบ แตเพราะถูกสถานการณ บังคับ รองผูอ ํานวยการโรงเรียนบอกเคทีตั้งแตวันแรกวาหามพูดภาษาไทยกับคน ในโรงเรียน ครูหรือนักเรียนก็ไมได เพราะตองการใหทุกคนฝกพูดภาษาอังกฤษ แตเคทีพบวาเรือ ่ งนี้เปนไปแทบไมได บางครั้งจะใชแคภาษาทาทางหรือการวาด รูปสอนไมได และสําหรับสุขภาพจิตของตัวเอง เคทีตอ งฝกภาษาไทยบางเพือ ่ ไมใหรูสึกเปนคนนอกเวลาคนอื่น ๆ พูดภาษาไทยกันหมด อีกอยาง ถาไมรค ู ํา ภาษาไทยที่ถูกตองแลวคนที่พด ู ดวยเกิดไมรูภาษาอังกฤษ ก็ตองใชภาษาทาทาง อันเปนภาษาสากล เชนชี้มอ ื ไปแลวบอกวา “อันนี้” พรอมทําทาทางเกินจริง มันคง จะตองอธิบายกันยาว ทีผ ่ า นมาชอบอะไรทีส ่ ด ุ มีหลายอยางนะ อยางแรกคือชวงที่อยูกรุงเทพฯ แลวไดไปอยูโฮมสเตยชวง วันหยุดเสารอาทิตยกับครอบครัวไทย คุณแมของครอบครัวนี้เปนอาจารย ภาษาอังกฤษ สามีเปนเจาของรานขายอะไหลรถมอรเตอรไซค (เขาอาศัยอยูชั้น บนของราน) มีลูกสาวสองคน เด็กกวาเคทีนิดหนอย แลวก็มีลูกชายคนสุดทอง หนึ่งคน ลูกสาวคนรองพูดภาษาอังกฤษดีมาก เขาเคยไปเรียนคอรสสั้น ๆ ที่ ออสเตรเลียนะถาจําไมผิด พวกเขาตอนรับเคทีดีมาก ๆ ทําใหเคทีไดรูจักชีวต ิ คนไทย ถึงแมวาพวกเขาจะ ร่ํารวยกวาบานอื่น ๆ หลายเทา เขาปลุกเคทีแตเชามืดวันเสารเพื่อพาไปตลาดน้ํา พาไปกินอาหารอรอย ๆ ซื้อของที่ระลึก แลวยังไดดด ู วงดวย แมนอยางไมนา เชื่อ แตเคทีก็ฟง เลนแคสนุก ๆ เทานั้น หลังจากนัน ้ เราก็ไปพิพิธภัณฑเอราวัณที่มีชางขนาดยักษทําเปนชางพาหนะของ เทพเจาฮินดูบนสวรรค ดานลางเปนงานศิลปะจากศิลปนตางประเทศ ไลขึ้นไปจะ เปนผลงานของศิลปนไทยและเอเชีย ดานบนหัวซึ่งเปนสวนที่ศักดิ์สท ิ ธิท ์ ี่สุด เปนที่
รวบรวมพระพุทธรูปปางตาง ๆ บนเพดานวาดเปนรูปจักรวาล สวยจนแทบลืม หายใจเลยทีเดียว จบจากพิพิธภัณฑเอราวัณเราก็ไปตอกันที่เมืองโบราณ เปน ประเทศไทยจําลองบนเนือ ้ ที่หลายเอเคอรซึ่งเราสามารถขับรถเขาไปได จากนั้น เราก็ไปที่ฟารมจระเข เคทีวา ทีน ่ ี่นาจะมีจระเขมากที่สด ุ ในโลกเลย วันตอมาเราตื่นเชากวาเดิมอีก
พวกเขามีทําบุญเปดตึกขาง
ๆ
เปนตึกสําหรับ
โรงเรียนกวดวิชาคลาย ๆ กับ Kaplan เขานิมนตพระมาเการูป (เลขเกาเปนเลข นําโชคของไทย) พิธีทั้งหมดทําในชวงเชา มีการใหศีลใหพรเปนสิริมงคลกับตึก และอืน ่ ๆ มีคนมารวมงานกวารอยคน เปนเพือ ่ นและญาติ ๆ เลี้ยงพระแลวก็เลี้ยง แขกตอ การเห็นพระสวดมนตรและเห็นทุกคนที่นั่นเปนประสบการณที่เคทีชอบ มากที่สด ุ ในตอนนี้ สถานทีท ่ ี่ชอบอีกอยางในกรุงเทพฯ คือวัดอรุณ หรือ Temple of Dawn ทีอ ่ ยูอีก ฝากหนึ่งของแมน้ํา ถาปนขึน ้ ไปขางบนก็จะไดเห็นเมืองจากอีกฝง ศิลปะทีว ่ ัดก็ สวยงามมาก มีความเปนจีนผสมอยูดว ย รายละเอียดแตละอยางลวนนาประทับใจ การจะปนขึ้นไปออกจะลําบากเพราะบันใดแคบและนากลัว แตพอขึ้นไปแลวจะ รูสึกดีสด ุ ๆ อันที่จริงภาพที่เคทีถายไวจะเห็นความสวยของวัดไดดว ี าเคทีเลามาก เรื่องที่เคทีชอบเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยคือการไปเที่ยวกับครูสองคนพรอมกับมาริ เซลตรงชายแดนไทย-ลาว เราขับรถไปเกือบชั่วโมงกวาจะถึงทีน ่ ั่น แมน้ําโขงเปน ตัวขีดเสนชายแดนระหวางไทยกับลาว นอกจากเราแลวยังมีคนไทยอีกหลายรอย คนตรงนั้น มีความเชือ ่ ทางศาสนาพุทธวานาคเปนผูชว ยปองกันฝนใหพระพุทธเจา ถึงไดมี พระพุทธรูปปางนาคปรกซึง่ เปนพระประจําวันเสาร นาคเปนงูยักษ มีเจ็ดเศียร อาศัยอยูใตแมน้ําโขง (ประมาณล็อคเนส) พระสงฆทาํ พิธีอยูสามวันและในวัน สุดทายเชื่อวานาคจะปลอยลูกไฟขึ้นมาจากน้ําเปนพุทธบูชา นาประหลาดที่มี ลูกไฟสีแดงลอยขึ้นจากน้าํ จริง ๆ เคทีไมรูวา เปนไปไดยงั ไง มันไมมีหางเหมือนพลุ ทั่ว ๆ ไป ครูที่ไปดวยบอกวานาจะเปนฝมือคน แตบางทีการทําใหเปนเรื่อง มหัศจรรยจะสนุกกวา เหมือนคริสตมาสไง แตเคทีก็นึกไมออกอยูด ีวาลูกบอลไฟสี แดงจะลอยขึ้นมาจากน้าํ ไดยงั ไง
ยังรูส ึกมหัศจรรยอยูแตกช ็ อบมาก!
ที่จริงเขา
บอกวาคนดีมีจต ิ ใจดีเทานั้นถึงจะเห็นลูกไฟได เคทีเห็นตัง้ สี่ลก ู ครูคนอืน ่ ๆ เห็น แคสามลูก พวกเขาเลยลอวาเคทีตอ งเปนคนดีกวาคืนอืน ่ ๆ แน คืนนัน ้ เคทีไดความ
ประทับใจใหม ๆ เกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยและพุทธศาสนา ชางเปนเรื่องที่สวยงาม จริง ๆ ! รูส ก ึ ลําบากอะไรไหม เคทีคิดวาเลาไปบางแลว ที่ลําบากทีส ่ ุดคือเรื่องคิดถึงบาน อีกเรื่องคือเรือ ่ งการไมรู ภาษาดีพอ การปรับตัวเขากับสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมใหม เคทียงั ไมถึงขั้นกม ตัวไหวแลวพูดวา “สวัสดีคะ ” กับทุกคนที่เจอโดยอัตโนมัติ และเขาก็ไมคอยอยาก ใหเคทีพด ู ภาษาไทย แลวเคทีจะพูดวา “สวัสดีคะ ” หรือ “Good Morning” ดีละ ปกติเคทีพูดทั้งสองอยางเลย นอกจากเรือ ่ งคิดถึงบานแลว เคทียงั คิดถึงบางสิ่งบางอยางทีเ่ ปนอเมริกัน วันที่แย วันแรกคือวันฮัลโลวีน เคทีไมไดไปเลน trick-or-treat ขอขนม เคทีทําชุดฮัล โลวีนแลวสอนนักเรียนเรือ ่ งวันนี้ แตมันยากเหมือนกันนะที่สอนนักเรียนทัง้ โรงเรียนใหรูจก ั วันฮัลโลวีนแตมีเพียงเคทีคนเดียวที่เคยฉลองวันนี้
Being Productive and Enjoying Your Fulbright Experience in Thailand48 Raymond Greenlaw, Ph.D. 2005 Fulbright U.S. Scholar Program From Armstrong Atlantic State University @Faculty of Sciences, Chiang Mai University
1. Introduction The Executive Director of the Thailand Fulbright Foundation, Porntip Kanjananiyot, asked me to write an article where I share some of my experiences and viewpoints with the Fulbright family about how to make a Fulbright experience in Thailand as productive and enjoyable as possible. This article is my response to her request, and by the way, thanks for asking. I will begin with a snippet of my background. I have a Ph.D. in computer science from the University of Washington in Seattle. I worked as a professor at a research institution, the University of New Hampshire, for nine years. Currently, I am on leave from Armstrong Atlantic State University In Savannah, Georgia where I serve as the Dean for the College of Computing. Although I work as an administrator, I enjoy research, and I have published 13 books on computing, about 50 papers, and given over 135 invited lectures throughout the world. Previously, I won senior research Fulbrights to Spain and Iceland. My award to Thailand is a lecturing and research
48
Originally published in “Knitting the Fulbright Family” Year 3, December 2006
award. I am an avid outdoorsman having climbed 5 of the 7 summits, run many marathons and ultramarathons, completed about 10 Ironman triathlons, and walked across the USA both on the Appalachian and the Pacific Crest Trails. Traveling is one of my main hobbies, and I have visited 49 of the United States, 64 countries, and many remote islands. I traveled to Thailand alone, so this article will not address issues relating to significant others and children. Armed with this context, now let me share some of my thoughts. I will break this article into three main sections: Philosophy, Professional, and Personal. 2. Philosophy Be Flexible Moving to another country for a prolonged period of time can be a challenging experience, but the rewards are well worth accepting the discomforts and risks. Be patient in everything you do and keep an open mind; embrace the people and culture; fit in with the lifestyle of the country that you are in and do not expect things to be the same as in your home country. In Thailand you will find most people friendly. The pace of life will be different than what you are accustomed to. You must be willing to adapt to the culture where you are living and go with the flow, as opposed to insisting that things be done in the way in which you are used to. People in Thailand are very open and accepting of many different view points. Finding a Bobby You should have at least one solid contact in Thailand. In my case I worked with Dr. Sanpawat “Bobby� Kantabutra. I met Bobby through
email when I was searching for a university to visit in Thailand. He received his Ph.D. at Tufts University, and since I grew up and worked in New England for many years, I knew that we would have some things in common. Bobby helped me to find an apartment, set up my banking account, learn the ropes at Chiang Mai University, figure out transportation, and make contacts with other universities in Thailand. He assisted me with many other tasks as well. Without his excellent help and support, without his friendship, without our gigantic lunches, the Fulbright visit would not have been anywhere near as rewarding. You must try to find your own “Bobby”. Thanks, Bobby. You are a remarkable man, and you represent your country beautifully. Be a Great Problem Solver All travelers should realize that there will be times when things do not go as expected. I try not to set a lot of expectations, and instead, I like to experience things as they are. Nearly all situations can have a positive outcome, if you are a good problem solver. When faced with a tough situation, think about the outcome that you would like to achieve, and then determine the best way to go about achieving that outcome. Do not vent or get angry. Work with those around you to find a satisfactory solution. As an example, the apartment that I rented came with “high-speed’ wireless Internet. The Domain Name Server (DNS) would often not be running properly. I spoke to my landlady, Jo, and let her know that this problem could usually be solved simply by toggling the power on the wireless-access point. Since I often work late at night, I asked Jo if I could reset the access-point myself when there was a problem. She obliged and was happy that I was able to be part of the
solution to this problem. Jo then taught others in the housing complex how to solve the problem for themselves as well. Stay Focused Set some goals for yourself and for your stay in Thailand. For example, I wanted to learn to speak Thai, make some lifetime friends, write and complete at least two papers, finish a book that I was working on, teach a class, visit at least five other Universities in Thailand, give at least ten research talks, visit at least twenty provinces in Thailand, and so on. Periodically, evaluate your progress. If you are not being as successful as you had hoped, you may need to readjust your goals. Within several iterations, you should have realistic expectations for what you can achieve. Remain disciplined and with periodic monitoring of your progress, you should be able to achieve most of what you set out to do. Remain Optimistic A visitor can get further with a smile and a positive attitude than one can by being a curmudgeon. Good things tend to happen to good people who are happy and optimistic. When I was traveling to Taiwan, the airport check-in clerk wanted to charge me about $100 for extra weight on some Fulbright business baggage. I politely asked her if there was anything she could do to help me out. After a pleasant conversation, where I explained what I was doing, she waved the baggage fee. Countless times while I was walking in Chiang Mai local people (not cab drivers) offered me rides. I won’t forget the pizza-delivery guy who gave me a ride right to my destination.
Home Base You will need an extremely reliable person taking care of financial matters, mail, and other important issues at home. This person can greatly enhance your overseas stay by being totally reliable and by being an excellent communicator. For example, when a bill for my auto insurance arrived unexpectedly, I was informed about it and then we were able to make a plan for payment. By minimizing or eliminating worries relating to home-base activities, you can better enjoy your trip abroad. Language Issues Learning the Thai language is not easy. As Fulbrighters, we work hard and most days use a lot of brain power on research and teaching activities. When we return home after a long day at the office, our minds are tired. Nevertheless, by exercising strong discipline, we can still learn Thai. In my case I did not have the time to learn to write and read Thai. My goal was to learn how to speak Thai. I focused on learning a subset of Thai that would be most useful for me. I hired a private tutor, and Toey met me ten hours per week for about two months. Toey and I worked together. I let her know what practical vocabulary I needed. After working on theoretical computer science all day, it often took a lot of concentration to learn new Thai vocabulary. However, Toey made it fun and with our schedule set up in advance and with her meeting me at my apartment, I could not skip any lessons. Like many things, if you “build in� the discipline, the task becomes easier to carry out.
Cellphone I do not like to use a cell phone in the US. However, in Thailand I found the cellphone very useful for business, for keeping in touch with new friends, and just for basic logistical reasons. For example, if due to language issues a meeting point was misinterpreted by one of the parties, the cellphone became extremely useful in bringing the scheduled rendezvous to fruition. Cellphone numbers in Thailand are currently 9 digits long and begin with a 0. If you can, get a GSM phone; it is simple to buy new SIM cards for each new country that you visit. In Thailand many convenience stores sell phone recharge cards, usually for a maximum of 500 Baht. My phone had a maximum capacity of 5,000 Baht. The cellphone network is oversubscribed and often times during peak hours calls would fail. I recommend storing telephone numbers to the phone. Backup your phone directory as well. For lowerrate from Thailand lots of people dial 009 when calling other countries. 3. Professional Primary Contact As I noted earlier, you must find your own Bobby. You must never take advantage of this person’s good will, and you should do your best to contribute to his/her work and reputation within the country and internationally. In my case Bobby and I co-authored an article together, visited a university in Thailand together, worked together on a joint conference, and talked about many professional activities such as journal submissions to editors, curriculum issues, and research topics.
Your University It is important to learn to speak some Thai shortly after your arrival so that you can fit in with your colleagues. If you cannot make small talk in the hallways, it is tough to make new contacts and friends. Try to learn about the campus and the activities on campus. Many of the campuses in Thailand are very beautiful and extremely large geographically. Sometimes I like to eat in the dining halls on campus, and these are a good place to meet new people. Thai food in these locales can be spicy, but a good meal can be had for 20 Baht. I attended a number of parties for students initially and that was a good place to meet people and learn some Thai culture. Early on I met with the Department Chair and then later with the Dean. Goals Thailand is such an interesting and diverse country, and there are many distractions. I mentioned earlier under the heading of �Stay Focused’ that I felt it is important to set some tangible goals. You can set a goal, for example, of writing two hours per day or of publishing two papers or of doing whatever else is appropriate for you and your discipline. Assess your own performance periodically and make sure that you are on track to meet your goals. Adjust your work habits and goals as necessary. It is most important to monitor yourself early on while you still have time to make adjustments. Having greater discipline initially will pay big dividends later. Do not get discouraged if you cannot achieve your goals, simply work harder.
Equipment Although your host may offer to provide you with a computer and printing facilities, I chose to bring my own laptop and printer. Since I work in front of a computer for long periods of time, I like to have a very large screen. I prefer to edit hard copies as well. In my case the extra weight of the computer and printer were well worth it. Fulbright can often assist with reasonable excess baggage charges. Prices for computers in Thailand for high-end systems seem to be a little more than in US. Supplies such as toner cartridges seem to be cheaper in Thailand. I used a thumb drive and email to the U.S. to backup my system. I found that bringing certain specialty items was worthwhile, as I did not want to spend time shopping for such items in Thailand. I also brought some small supplies with me; paper clips, post-its, folders, pens, and so on. These can easily be obtained in Thailand, but I felt that I had enough to do initially without worrying about these trivial items. So, again, I was glad that I had packed these. All household items that I needed were easy to obtain with Bobby’s help, and the prices were reasonable as was the quality. Visiting Other Schools I visited ten other Universities on my Fulbright, including institutions in Taiwan and Vietnam, as part of the Asian Fulbright Program. If you have the time and energy to go to other institutions, it can be a rewarding experience for all parties; you, your host, your U.S. institution, the Fulbright commissions, and, of course, your “home� institution in Thailand.
I am establishing exchange programs with
several schools and my U.S. institution. I also hope to help arrange an all expenses paid-for visit for Bobby to visit some universities in Taiwan.
Hiring a Graduate Student I asked Bobby to introduce me to his top graduate student. When I met Yui, she was shy to speak English and spoke little. Now I usually speak Thai to her and she speaks English to me. Her English has improved dramatically. I hired Yui early on to assist me with mailing and editing. An express letter to the U.S. runs about 600 Baht. Yui has done a tremendous job for me. I have helped her to learn the LaTeX document formatting system. Yui receives an hourly rate from me that is good for supplementing her income. We work well together, and we have become good friends. I will try to help her get accepted to a good PhD. Program in the U.S. Sharing Information and Time As a Dean and a Commissioner for the Accreditation Board for Engineering Technology (ABET) in the US, I know quite a bit about computing curricula and accreditation issues. I have reviewed curriculum for the Department of Computer Science at Chiang Mai University and also spoken to a number of colleagues here about accreditation. Whatever expertise you have, your colleagues in Thailand will greatly appreciate your sharing information and your time to work on ways to help improve their educational system. It is amazing how many good ideas can be generated when two different cultures and viewpoints are brought together to brainstorm. Helping Out Where Possible If you can, try to help out the faculty at your host institution with their research. This can mean reviewing their papers for technical accuracy
and for quality of writing. It could mean checking the grammar on a brochure or commenting on the English version of the departmental Web site. The same comments apply to any help you can give relating to teaching .Your help will be greatly appreciated. 4. Personal Know Yourself We all have different comfort zones and mood swings. Through my travels and solo hikes across the mountains through the U.S., I have learned a great deal about myself. I know what things I enjoy and how to keep myself productive and happy. For example, I like to walk. With this fact in mind, I rented an apartment that was about four kilometers from my office. Even though many Thai people think I am crazy, I walk to and from work everyday. My walk has me traversing several interesting streets where I go through markets, pass by a boxing camp, numerous stores, lots of barking dogs, and so on. I have met many people on my walks through these neighborhoods. Another benefit of walking is you notice more about the transformations that the neighborhoods are undergoing. Chiang Mai is a rapidly changing city, but if you do not look closely, you may miss some of the changes. I prefer to live in a good-size apartment that is quiet; I like good lighting. Also important to me is a place where I have good running nearby and a pool. Remember, the climate in Thailand can be hot and humid. Whatever you like, try to find a place that suits your needs and one where you can be happy. If necessary, spend more money to find the type of place where you can be productive. I also require a place with high-speed Internet. Choose your own apartment if possible according
to your likes and dislikes. Of course, anything is acceptable, but I find that I can be more productive if I have a place that suits my needs. Thailand has many interesting creatures that may visit your apartment. In my rustic setting in Chiang Mai I have encountered huge spiders, scorpions, and even a cobra. I like to play the guitar to relax, and I also like to lift weights. Bobby helped me to buy a guitar and some dumbbells. These conveniences were well worth purchasing. When I purchased the guitar, I was not allowed to play it until I bought it, so the purchase was sound unheard. You may have other hobbies or things that keep you on track. The guitar or weights are perfect for occupying a small chunk of my time here and there, and I can also entertain my friends with the guitar. Moving 12,000 miles from home can be a traumatic experience. At some point feeling slightly depressed is normal. For example, if you ate some food that you shouldn’t have and have been confined to a toilet for three days‌If you traveled to Thailand alone, at times, well, you will feel lonely. You may not be used to be eating alone so often. It is important to make yourself comfortable enough so that the new environment, the longing for family and friends, the missed comforts from home, the professional obligations, the difficulty with language, and so on, do not get you down. Monitor your feelings. If you are longing for Italian food, go eat Italian. If you feel tense, treat yourself to a massage. From time–to-time reflect on how lucky you are to be in Thailand. If necessary, take a break. Use your cellphone to call home and touch base with some good friends. Keep in touch with friends via email. I maintained a Web stie (www.cs.armstrong.edu/greeenlaw), so
that I could update my friends on my Thailand activities. New entries there generated welcome emails from my friends. The site also provides me with a log of my trip almost like a diary. People I feel the most important part of a Fulbright experience is the people that you meet and the friendship that you form. Thai people usually embrace friendly foreigners. Through friendships, knowledge about cultures can be exchanged. Be ready to make new friends at any time, as you never know when you are going to meet a special person. Try to make it a habit to go out on your own at least a couple of times per week. Thailand has many shops, local hangouts, and restaurants, as well as interesting markets. I make it a point to see some of the major sites when I travel, and when I go alone, I always make new friends. When I first came to Thailand, I printed up business cards with one side in Thai and the other in English. I printed up about 200 of these and now I am realizing that I should have printed even more. People like to exchange cards in Thailand and if you included your email address and cellphone number, the cards are a very good way for people to be able to contact you. Customs and Culture I try to respect all customs and cultures. About 95% of Thais practice Buddhism, and they are very peaceful and spiritual. When I travel, I usually do little to no additional background research on a country. I prefer to visit places without having any preconceived notions or expectations. Try not to judge things and try not to compare things. For example, I went to a bank with a check in US dollars to deposit into my
account, and there I was told that it would take two months for the check to clear. Once I have that information, there was no point in comparing that duration to the five days that it would take a check to clear in the US. I quickly realized that I simply needed to mail the check home and have my trusted home-base guy, put the check in my account for me. Be observant and mimic what others are doing if you are encountering a particular situation for the first time. Weather Thailand can be hot and humid. Bring lightweight clothes and protect yourself from the intense sun. I found it useful to keep a hat and umbrella handy. If you have a favorite brand of sunscreen, bring it with you, as well as your favorite sunglasses. I prefer to run in extreme heat, but you may decide to exercise early in the morning while it is still relatively cool. Language I tried to use my Thai as often as possible. You cannot rush things. Results do not come for free. Sometimes you will undoubtedly get frustrated and feel like you are moving backwards. My “kuun nii” sounded like “prung nii”, and I once waited half an hour for a friend who planned to arrive tomorrow. Like most things in this world, we rarely break new ground ourselves. Many have gone before us, and we just need to keep plugging ahead one word at a time. I tried not to get too hung up on absolutely perfect pronunciation. Gradually, you will speak more clearly. Just keep talking and try to learn a few new words each day. If people do not understand you, say things in a different way. Also it helps to have more than one person to speak to at the same time. If
multiple people are listening to you, I have found that combined they can often figure out what you are trying to say. Again, the cellphone comes in handy as a way to practice Thai by calling your Thai friends. Travel Although travel is relatively cheap, you will need to budget some money for your trips. Initially, I think it is a good idea to explore your local area. Once you have more language skills, it is easier to venture farther. I love to travel, so I made it a point to go somewhere new at least once a week. When I go, I like to bring some work with me. This makes me more productive and makes the waits for delayed flights and the flights themselves feel shorter. On the other hand, if I am seated next to an interesting person on the plane and he/she is in the mood to talk, I put my work aside and enjoy a good conversation. I ran three marathons while in Thailand and those races took me into areas that I otherwise would not have explored. Whatever your passion is, use it to your advantage to enhance your trip. I recommend traveling with earplugs, eye mask, eye drops, and passport photos, as well as a large number of small US bills, and adequate amount of US cash, credit cards, and debit cards. Leave copies of important documents with friends, bring copies of your passport with you and keep some passport photos with you at all times. It is a good idea to travel with toilet paper and any special items you need. Never check luggage items that are critical to your travels. Baht As of this writing, there are about 37 Baht in a dollar. Early on I recommend establishing a bank account. If possible, I would
recommend bringing about $5,000 with you to open your account. You can then use your Thai bank card at ATM machines. In using your US ATM card, you will normally pay about 10% on a 20,000 Baht withdraw. When you charge items with a Visa card, you often pay an additional 3% fee. Thus, by paying cash, you can save money. Taxi rides are often negotiable, and I have paid as little as 100 Baht for a 30-minute ride. Bank machines usually dispense 1,000 Baht notes, but I recommend you carry lots of small bills – 20s, 50s, and 100s. Miscellaneous Reflect on what you are doing and your level of satisfaction with the way things are going. If you are not happy, make some changes. Evaluate again, and then make more changes. Eventually, you will find a rhythm that suits you. Listen to advice and opinions from others, but then make your own informed decisions. Oftentimes, there is no right or wrong way, but there is a way that will make you happy and one that won’t. Check your energy level and if you feel that it is not as high as usual, monitor your diet. A new diet can alter your mood. Spicy food can alter your stomach. Pay attention to all you do and all you eat. Think on your feet. If you need to, ask for help. The Fulbright Commission in Thailand has many wonderful people working there, and they are more than happy to assist you. 5. Summary I hope that you were able to take away one or two useful items from this article that will help you on your trip to Thailand. Like life, your Fulbright experience depends on you. Take complete responsibility for all you do and make the best of every experience. I hope your visit to Thailand is
one of the best and most-productive times of your life! Mine was thanks to Bobby, Jo, Yui, the Department of Computer Science at Chiang Mai University, and the Fulbright Commission of Thailand.
ใชชีวต ิ ใหเต็มที่และสนุกกับประสบการณการฟุลไบรทใน ประเทศไทย49 ดร. เรมอนด กรีนลอว
2005 Fulbright U.S. Scholar Program From Armstrong Atlantic State University @ มหาวิทยาลัยเชียงใหม แปลและเรียบเรียงโดย ดิญะพร วิสะมิตนันท, ผูชวยคณบดีฝายพัฒนานิสิต คณะ มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร, มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2011 Hubert H. Humphrey Fellowship Program @ Pennsylvania State University
1. บทนํา คุณพรทิพย กาญจนนิยต ผูอํานวยการบริหารมูลนิธก ิ ารศึกษาไทย-อเมริกัน ขอใหผมเขียนบทความเพือ ่ แบงปนประสบการณกับครอบครัวฟุลไบรท วาจะทํา อยางไรใหประสบการณฟุลไบรในประเทศไทยคุมคาและมีความสุขมากทีส ่ ด ุ เทาทีจ ่ ะเปนไปได แมวาผมจะเขียนบทความนีข ้ ึ้นตามคําขอของคุณพรทิพยแตผม ตองขอบคุณอยางมากที่ใหโอกาสผม โดยผมจะเริ่มจากประวัติยอของผม ผมจบปริญญาเอกสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร จากมหาวิทยาลัยวอชิงตันในเมือง ซีแอตเติ้ล ผมเคยทํางานเปนอาจารยที่สถาบันการวิจัยของมหาวิทยาลัย นิวแฮมปเชียรเปนเวลาเกาป ปจจุบันผมกําลังอยูในชวงลาราชการของ มหาวิทยาลัย Armstrong Atlantic State University ในเซวันนา รัฐจอเจียร ซึ่ง ผมดํารงตําแหนงคณบดีคณะคอมพิวเตอร ถึงแมผมจะเปนผูบ ริหารแตผมก็ชอบ การทํางานวิจัย ผมไดตีพิมพหนังสือเกี่ยวกับคอมพิวเตอรประมาณ 50 เรื่อง จํานวน 13 เลม และไดรับเชิญใหไปบรรยายมากกวา 135 ครัง้ ทัว ่ โลก กอนหนา นี้ผมเคยไดทุนฟุลไบรทไปที่สเปนและไอซแลนด ครัง้ นี้ผมไดทุนฟุลไบรทมาสอน และทําวิจัยในประเทศไทย ผมสนใจกิจกรรมกลางแจง เคยเขาปนยอดเขา มาแลวหาจากเจ็ด แขงมาราธอนและอัลตรามาราธอน แขงไตรกีฬาไอรอนแมน มาประมาณสิบครัง้ และเดินขามสหรัฐอเมริกาโดยใชทั้งเสนทางแอพพาลาเชียน
49
พิมพครั้งแรกใน “รอยถอยถักใย สื่อฟุลไบรทในสากล” ป 3, ธันวาคม 2549
และเสนทางเลียบ Pacific Crest Trails ทองเที่ยวคืองานอดิเรกอยางหนึง่ ของผม ผมเคยเที่ยวมาแลว 49 รัฐในอเมริกา 64 ประเทศและเกาะหางไกลอืน ่ ๆ อีก หลายแหง ผมเดินทางมาประเทศไทยคนเดียว ดังนัน ้ บทความนี้จะไมกลาวถึงครอบครัว นอกจากผม ผมจะนําเสนอแนวความคิดโดยแบงออกเปนสามสวน คือ หลักการ ความเปนมืออาชีพและเรือ ่ งสวนตัว 2. หลักการ มียด ื หยุน การยายไปประเทศอืน ่ เปนเวลานานเปนประสบการณทท ี่ าทาย แตรางวัลของมันมี คามากพอที่จะยอมรับความลําบากและความเสี่ยง อดทนกับทุกอยางและเปดใจ กวาง อาแขนรับผูค นและวัฒนธรรม ทําตัวใหเขากับวิถีชว ี ต ิ ของคนในประเทศที่ ตนเองอยูและอยาหวังใหทุกสิง่ เปนเหมือนในประเทศของตน คุณจะเห็นวาคน ไทยเปนมิตร ยอมรับการดําเนินชีวิตแตกตางจากทีค ่ ุณคุนเคย คุณตองเต็มใจที่จะ ปรับตัวเขากับวัฒนธรรมทีท ่ ค ี่ ณ ุ อยูและทําตามคนสวนใหญ อีกทัง้ เลิกยึดติดกับสิ่ง ที่คณ ุ คุน เคยในอดีต คนไทยใจกวางและยอมรับความคิดที่แตกตาง หา “Bobby” ของคุณ คุณควรจะคบคนทีค ่ ุณสามารถพึ่งพาไดอยางนอยหนึง่ คนในประเทศไทย สําหรับผม ผมไดทาํ งานกับคุณสันพวัฒน “บอบบี”้ กันตะพุทธ ผมรูจักเขาผาน อีเมลตอนที่ผมหามหาวิทยาลัยกอนเดินทางมาประเทศไทย เขาสําเร็จการศึกษา ระดับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยทัฟส (University of Tufts) และผมก็เติบโต และทํางานอยูท ี่นว ิ อิงแลนดเปนเวลาหลายป ผมรูสึกวาเราสองคนมีบางอยางที่ คลายกัน เขาชวยผมหาทีพ ่ ัก ชวยเปดบัญชีธนาคาร แนะนําการทํางานกับ มหาวิทยาลัยเชียงใหมและการเดินทาง รวมถึงชวยติดตอกับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ในประเทศไทยอีกดวย อีกทั้งเขายังชวยผมในเรื่องอืน ่ ๆ เชนเดียวกัน ถาไมไดรบ ั ความชวยเหลือ การสนับสนุนอยางดียิ่ง ปราศจากมิตรภาพของเพือ ่ นและอาหาร เที่ยงมือ ้ ใหญของเรา การมาประเทศไทยในนามของฟุลไบรทของผมก็คงไม ประสบความสําเร็จได คุณตองหา “บอบบี้” สักคน ขอบคุณนะบอบบี้ คุณเปนคน ในความทรงจํา และเปนตัวแทนประเทศของคุณไดอยางสมบูรณแบบ
เปนนักแกปญ หาตัวยง นักเดินทางทุกคนควรจะตระหนักวา มักจะมีเหตุการณที่ไมคาดคิดเกิดขึน ้ ผม พยายามที่จะไมตั้งความคาดหวังไวมาก ในทางตรงขามผมชอบที่จะเผชิญกับสิ่ง ที่มันเปนไปตามแบบของมัน เกือบทุกสถานการณจะผานไปถาคุณเปนนัก แกปญหาที่ดี เมื่อพบกับภาวะคับขัน ใหคิดถึงผลลัพธที่คณ ุ อยากได จากนั้น หาทางที่ดท ี ี่สุดที่จะไปถึงผลลัพธที่วา นั้น จงอยาโกรธ รวมมือกับคนรอบขางเพื่อ หาแนวทางแกปญหาทีน ่ าพอใจ ตัวอยางเชน ผมเชาหอพักทีม ่ ีอน ิ เตอรเน็ต ความเร็วสูงบริการ โดเมนอินเตอรเน็ตมักจะมีปญ หาติดขัดอยูบอ ย ๆ ผมพูดกับ เจาของหอพักที่ผมเชาอยูและบอกเธอวาปญหานี้สามารถแกไขไดอยางงายดาย โดยการสลับไฟในจุดเขาระบบของอินเตอรเน็ต เนื่องจากผมมักจะทํางานดึกใน ตอนกลางคืน ผมจึงขออนุญาตแกไขปญหาการเขาใชอินเตอรเน็ตดวยตัวผมเอง ที่ผมเขามาชวยแกปญหานี้ จากนั้นเธอสอนใหคนอืน ่ แกไขปญหานี้ดว ยตัวพวก เขาเองอีกดวย มีความมุง มัน ่ ตั้งเปาหมายของตัวเองในการอยูประเทศไทย ตัวอยางเชน ผมตั้งใจวาจะเรียนพูด ภาษาไทย หาเพื่อนแท เขียนรายงานใหเสร็จอยางนอยสองเรื่อง เขียนหนังสือ เลมที่กําลังเขียนอยูในขณะนัน ้ ใหเสร็จ สอนหนังสือ เดินทางไปมหาวิทยาลัยที่ อื่นอยางนอยหาแหง สักระยะหนึ่งแลวคอยประเมินความกาวหนา ถายังไมประสบ ความสําเร็จตามที่ตั้งใจไว คุณอาจตองเปลีย ่ นแปลงเปาหมายของคุณเล็กนอย ขอ ย้ําอีกครั้งวาคุณควรคาดหวังสิ่งที่เปนไปไดและคุณสามารถทําได ตองหมัน ่ ประเมินความกาวหนาของตัวเองเปนระยะ ๆ แลวคุณจะสามารถไปถึงจุดหมายที่ คุณวางไวได มองโลกในแงดี จงเปนคนยิ้มแยมและคิดบวก สิ่งดี ๆ มักจะเกิดขึ้นกับคนที่มองโลกในแงดี เมื่อ ตอนที่ผมเดินทางไปไตหวัน เจาหนาที่เช็คอินที่สนามบินจะคิดเงิน 100 ดอลลาร จากกระเปาน้าํ หนักที่เกินของผม ผมขอรองเธออยางสุภาพ หลังจากคุยใหเธอฟง วาผมจะมาทําอะไร เธอก็ยอมยกเวนคาธรรมเนียมให นับครั้งไมถว นที่ผมเดินบน ถนนในเชียงใหมแลวมีชาวบานขี่รถผานไปมา (ไมใชรถยนต) พวกเขามักใหผม ติดรถไปดวย ผมไมเคยลืมคนสงพิซซาที่ใหผมซอนทายติดรถไปดวยเลย มีทพ ั หลังทีบ ่ า น จําเปนอยางยิ่งที่คณ ุ ตองมีคนที่ไวใจไดสักคนไวชว ยดูแลการเงิน ไปรษณียและ เรื่องสําคัญอื่น ๆ อยูทบ ี่ าน คนที่วา นี้จะทําใหการอยูตางประเทศของคุณราบรื่น มากขึ้น โดยควรเปนคนทีค ่ ุณเชือ ่ ใจไดและเปนคนสามารถติดตอสือ ่ สารกันได
สะดวก ตัวอยางเชน เมื่อใบแจงชําระคาประกันรถยนตสงมาที่บา นโดยไมคาดคิด ผมรับทราบแลวสามารถวางแผนการชําระเงินได เมื่อคุณสามารถลดความกังวล เรื่องตาง ๆ ทีบ ่ านได คุณก็จะสามารถสนุกกับการอยูตา งประเทศของคุณไดมาก ขึ้น ภาษา เรียนภาษาไทยไมใชเรือ ่ งงาย การเปนคนฟุลไบรททําใหเราตองทํางานหนักใช สมองตลอดวันในการทําวิจัยและสอน เมื่อกลับที่พักหลังจากใชเวลาทัง้ วันที่ ทํางานก็รส ู ึกเหนื่อย อยางไรก็ตาม หากมีวินัยเราก็สามารถเรียนภาษาไทยได กรณีของผม ผมไมมีเวลาที่จะเรียนเขียนและอานภาษาไทย เปาหมายของผมคือ เรียนพูดภาษาไทย ผมตั้งใจเรียนการสรางคําของภาษาไทยซึ่งผมเชือ ่ วามันจะมี ประโยชนแกผม ผมจางครูสอนสวนตัว เธอชือ ่ เตย เตยสอนผมสัปดาหละสิบ ชั่วโมงเปนเวลาสองเดือน ผมบอกเธอวาผมอยากเรียนคําศัพทที่นาํ ไปใชไดจริง หลังจากเจอทฤษฎีดานวิทยาศาสตรคอมพิวเตอรมาทัง้ วัน ผมจึงตองใชสมาธิ อยางมากในการเรียนรูคาํ ศัพทภาษาไทยใหม ๆ อยางไรก็ตามบรรยากาศการ เรียนสนุกสนาน การที่เรานัดเวลาสอนลวงหนาและเธอตองมาสอนผมทีท ่ ี่พักทํา ใหผมไมสามรถขาดเรียนได ก็ทํานองเดียวกับเรือ ่ งอื่น ๆ ถาคุณมีวน ิ ัย งานตาง ๆ ก็จะงายขึ้นและบรรลุผลสําเร็จได โทรศัพทมอ ื ถือ ตอนอยูอ เมริกาผมไมชอบใชโทรศัพท แตทป ี่ ระเทศไทย โทรศัพทมป ี ระโยชน มากในการทําธุระ ติดตอเพือ ่ นใหม และจัดการเรื่องเล็ก ๆ นอย ๆ เชน เมื่อมีการ สื่อสารผิดพลาดเกี่ยวกับสถานที่นัดหมาย เราก็สามารถโทรตามกันได เบอร โทรศัพทในไทยปจจุบันมีเกาหลักและขึ้นตนดวยเลขศูนย ถาเปนไปไดคณ ุ ควรซือ ้ ระบบจีเอสเอ็ม อันทีจ ่ ริง ถาไปประเทศไหนคุณก็สามารถ ซื้อซิมการดของประเทศนัน ้ ได รานสะดวกซื้อในประเทศไทยมีบัตรเติมเงินขาย โดยทัว ่ ไปราคามากสุดที่หารอยบาท โทรศัพทของผมสามารถมียอดเงินไดสูงสุด ถึง 5,000 บาท แตเครือขายโทรศัพทมักจะลมระหวางเวลาที่มีการใชงานมาก ที่สุดของวัน ผมแนะนําใหบันทึกเบอรโทรศัพทไวในเครือ ่ งและควรมีสมุด โทรศัพทอีกดวย เพื่อเปนการประหยัดในการโทรไปตางประเทศคนไทยมักจะกด 009
3. ความเปนมืออาชีพ ผูป ระสานงานหลัก อยางที่ผมกลาวไวแลววาคุณตองหาเพื่อนสนิท คุณตองไมหวังผลประโยชนจาก ความหวังดีของเขาและคุณก็ควรพยายามที่จะชวยสงเสริมงานและชือ ่ เสียงของ เขาทั้งในระดับประเทศและตางประเทศดวย ในกรณีของผม ผมและเพื่อนของผม เขียนบทความดวยกัน ไปเยีย ่ มมหาวิทยาลัยในไทยดวยกัน จัดการประชุม ดวยกัน และปรึกษาพูดคุยกันในหลายเรือ ่ ง ตัวอยางเชน การสงบทความไปเสนอ บรรณาธิการ เรื่องหลักสูตรและหัวขอการทําวิจัย มหาวิทยาลัยของคุณ จําเปนอยางยิ่งที่คณ ุ ตองเรียนพูดภาษาไทยหลังจากคุณถึงประเทศไทยเพื่อที่จะ เขากับเพื่อนรวมงานไดงา ยขึน ้ ถาคุณไมสามรถสรางบทสนทนาสั้น ๆ ไดระหวาง เดินขามตึก มันก็ยากทีจ ่ ะหาเพือ ่ นและเครือขายใหม พยายามคนหาขอมูล เกี่ยวกับมหาลัยและกิจกรรมทีจ ่ ะจัดขึน ้ มหาวิทยาลัยหลายแหงในประเทศไทย สวยงามและกวางขวางมาก บางครัง้ ผมชอบกินอาหารที่โรงอาหารของ มหาวิทยาลัยเพราะมันเปนทีท ่ ท ี่ ําใหผมพบเพือ ่ นใหม อาหารเหลานี้มักจะเผ็ด แต เพียงแคยี่สบ ิ บาทคุณก็ซื้ออาหารดี ๆ ไดมื้อหนึ่งเลย ผมเขารวมกิจกรรมของ นักศึกษาหลายชมรม ซึ่งทําใหผมไดพบเพื่อนใหมและเรียนรูวัฒนธรรมไทย แรก ๆ ผมรูจักกองเชียรของคณะ จากนั้นผมจึงไดรูจักคณบดี เปาหมาย ประเทศไทยเปนประเทศที่นาสนใจ
มีความหลากหลายและมีสงิ่ ทีท ่ ําใหวอกแวก
มากมาย ผมกลาวไวขา งตนภายใตหัวขอ “มุงมั่น” วาการตั้งเปาหมายที่เปนไปได คุณสามารถตัง้ เปาหมายไดสาํ คัญมาก ตัวอยางเชน เขียนหนังสือสองชั่วโมงตอ วัน หรือ เขียนผลงานเพื่อตีพิมพ หรือไมกท ็ ําอะไรที่เหมาะกับคุณและตองสราง วินัยกับตัวเอง ประเมินตัวเองเปนระยะ ๆ เพื่อใหแนใจวาคุณมาถูกทางเพื่อจะ บรรลุถึงเปาหมาย ถาจําเปนคุณก็ตอ งสามารถปรับเปลี่ยนการทํางานและ เปาหมายของคุณได ที่สําคัญที่สุดคือตองประเมินตัวเองตั้งแตเนิ่น ๆ ในขณะที่ยงั มีเวลาแกไข การมีวน ิ ัยจะนําไปสูค วามสําเร็จในอนาคต อยาหมดหวังถาคุณบรรลุ เปาหมายไมไดงาย ๆ แคพยายามใหมากยิ่งขึ้นก็พอ
อุปกรณ ถึงแมวามหาวิทยาลัยเจาภาพจะมีคอมพิวเตอรและเครื่องพริน ้ เตอร แตผมเลือกที่ เอาแล็ปท็อปและเครื่องพริน ้ เตอรมาเอง ผมชอบหนาจอคอมพิวเตอรขนาดใหญ เพราะตองจองหนาจอนานเวลาทํางาน ผมชอบที่จะแกไขขอความบนกระดาษ ดวย กรณีของผมนับวาคุมคาเพราะฟุลไบรทชว ยจายคาธรรมเนียมของน้าํ หนัก กระเปาเกิน คอมพิวเตอรรน ุ ดี ๆ ในไทยคอนขางแพงกวาในอเมริกา อุปกรณเสริม อื่น ๆ เชน ตลับหมึกจะราคาถูกในประเทศไทย ผมใช thumb drive และอีเมล เพื่อสํารองขอมูล ผมพบวาการนําอุปกรณบางอยางที่พิเศษมาคุมคาเพราะผมไม ตองเสียเวลาไปหาซือ ้ ของเหลานี้ ทั้งนี้ผมยังนําอุปกรณเครือ ่ งเขียนเล็ก ๆ ติดตัว มาดวย เชน คลิปหนีบกะดาษ กระดาษโนต แฟม ปากกาและอื่น ๆ ผมรูว า ของ เหลานี้สามารถหาซือ ้ ไดในไทย แตผมก็รูวาผมมีอยางอืน ่ ตองทํามากกวาจะมา คิดถึงของเหลานี้อยู ผมดีใจทีผ ่ มเตรียมของเหลานี้มาเรียบรอยแลว สวนของใช ในบานนัน ้ บอบบีช ้ วยผมเลือกซื้อมาในราคาที่สมเหตุสมผล เยีย ่ มมหาวิทยาลัยอืน ่ ๆ ระหวางการรับทุนฟุลไบรท ผมไดมีโอกาสไปเยี่ยมชมมหาวิทยาลัยกวาสิบแหง รวมถึงสถาบันการศึกษาในไตหวันและเวียดนาม ถาคุณมีเวลาและมีแรงพอที่จะ ไปมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ก็จะเปนประสบการณที่ดีสาํ หรับทุกคน ทั้งตอตัวคุณเอง มหาวิทยาลัยเจาภาพ มหาวิทยาลัยของคุณในอเมริกา และฟุลไบรท ตอนนี้ผม กําลังจะทําโครงการความรวมมือระหวางโรงเรียนหลาย ๆ แหงกับมหาวิทยาลัย ของผมในอเมริกา นอกจากนี้ ผมยังหวังวาจะสามารถชวยหาทุนใหบอ บบี้ไปดู งานที่มหาวิทยาลัยในไตหวันดวย จางนิสต ิ ปริญญาโท ผมขอใหบอบบีแ ้ นะนํานิสิตปริญญาโทที่ใหผมสักคน เมือ ่ ผมไดพบยุย ดูเธอเปน คนขีอ ้ ายที่จะพูดภาษาอังกฤษและยังเปนคนพูดนอยอีกตางหาก ตอนนี้ผมพูด ภาษาไทยกับเธอขณะที่เธอก็จะพูดภาษาอังกฤษกับผม ภาษาอังกฤษของเธอ พัฒนาขึน ้ มาก ผมจางยุยใหชวยชวยผมสงไปรษณียและตรวจแกงาน จดหมาย ดวนที่สง ไปอเมริกาจะอยูท ป ี่ ระมาณ 600 บาท ยุยชวยงานผมไดดีมาก และผมก็ ชวยสอนเธอจัดเอกสารดวย LaTex ผมใหคาตอบแทนยุย เปนรายชั่วโมง ซึ่ง นับเปนการชวยเพิ่มรายไดใหเธอ เราทํางานดวยกันดวยดีและเปนเพื่อนทีด ่ ต ี อกัน ผมจะพยายามชวยเธอใหไดเขาเรียนปริญญาเอกทีอ ่ เมริกาดวย
แบงปนขอมูลและเวลา ในฐานะที่ผมเปนคณบดีและเปน Commissioner for the Accreditation Board for Engineering Technology (ABET) ในอเมริกา ผมพอจะรูเรื่องหลักสูตร คอมพิวเตอรและการใหการรับรอง (accreditation) ผมชวยตรวจหลักสูตรของ สาขาวิทยาศาสตรคอมพิวเตอรของมหาวิทยาลัยเชียงใหมและบรรยายเรือ ่ ง accreditation ใหเพื่อนรวมงานฟง ไมวาคุณจะมีความเชี่ยวชาญดานไหน คน ไทยก็จะรูสึกชืน ่ ชมที่คุณยินดีแบงปนขอมูลและเวลาของคุณเพื่อชวยพัฒนาระบบ การศึกษาที่นี่ เมื่อคนจากสองวัฒนธรรมไดแลกเปลีย ่ นเรียนรูซ ึ่งกันและกัน ความคิดดี ๆ ก็สามารถผุดขึ้นไดอยางเหลือเชื่อ ชวยเหลือหากมีโอกาส ถาหากทําได ลองชวยงานวิจัยของอาจารยที่สถาบันเจาภาพดู อาจจะเปนการ ชวยอานงานของพวกเขา ตรวจทานความถูกตองของศัพททางเทคนิคเพื่อเพิ่ม คุณภาพของงานเขียนชิ้นนั้น ๆ ตรวจไวยากรณบนแผนพับ หรือชวยให ความเห็นเกี่ยวกับเว็บไซตเปนภาษาอังกฤษของคณะ หรืออาจชวยดานการสอน 4. เรือ ่ งสวนตัว รูจ ก ั ตนเอง เราทุกคนลวนมีที่ทต ี่ นเองคุน เคยและในบางครัง้ มีอารมณขน ึ้ ๆ ลง ๆ ตลอดระยะ การเดินทางและการปนเขาทัว ่ ทั้งอเมริกา ผมไดเรียนรูเกี่ยวกับตัวเองมากขึ้น ผมรู วาอะไรทีผ ่ มชอบ อะไรทีท ่ ําใหผมมีความสุขและทํางานไดดี ผมเปนคนชอบเดิน ผมเลยเชาอพารทเมนต ทีอ ่ ยูไ กลจากมหาวิทยาลัยออกไปสี่กิโลเมตร หลายคน อาจจะคิดวาผมเพี้ยนไปแลว แตผมก็มีความสุขกับการเดินไปกลับมหาวิทยาลัย ทุกวัน การเดินทําใหผมไดทอ งเที่ยวไปยังสถานทีท ่ ี่นา สนใจมากมาย เชนตลาด คายมวย รานคาทั้งหลาย ไดเดินผานสุนัขทีเ่ หาผม เจอคนมากมายในละแวกนัน ้ ประโยชนอีกขอหนึง่ ของการเดินคือคุณจะไดสังเกตความเปลี่ยนแปลงของละแวก ที่คณ ุ อยู เชียงใหมเปนเมืองที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว แตหากไมไดสงั เกตอยาง ใกลชิด คุณก็พลาดโอกาสทีจ ่ ะเห็นการเปลีย ่ นแปลงนั้น ผมชอบที่จะอยูในอพาร ทเมนตที่เงียบสงบ มีแสงสวาง สามารถไปวิง่ ออกกําลังกายใกล ๆ ได และมีสระ วายน้าํ ประเทศไทยนีอ ้ ากาศรอนชืน ้
คุณควรพยายามหาสถานทีท ่ ี่ตอบสนองความตองการของคุณและที่ทค ี่ ุณจะอยู อยางมีความสุข ถาจําเปนคุณก็สามารถเพิ่มเงินอีกเล็กนอยใหไดทท ี่ ค ี่ ุณสามารถ จะทํางานไดอยางมีความสุข อยางผม ผมเลือกทีท ่ ี่มอ ี ินเตอรเน็ตความเร็วสูง พยายามเลือกอพารทเมนตใหตรงกับความชอบของคุณ แนนอน ทุกอยางก็โอเค เพียงแตผมจะทํางานไดมากขึน ้ ถาอยูในทีท ่ ี่เหมาะสม ประเทศไทยนี้มีสัตว นาสนใจหลายอยางทีอ ่ าจจะแวะมาเยี่ยมเยือนอพารทเมนตของคุณ ตอนผมไป พักบานโทรม ๆ ในเชียงใหม ผมเจอทั้งแมงมุมยักษ แมงปอง และงูเหา ผมชอบเลนกีตารเพื่อผอนคลาย และก็ชอบยกน้ําหนักดวย บอบบี้ชว ยผมเลือกซือ ้ กีตารกับดัมเบล ซึ่งถือเปนการจายเงินเพือ ่ ความสบายอยางคุมคา ตอนไปซือ ้ กีตาร คนขายไมยอมใหลอง ผมก็เลยตองซือ ้ มาโดยไมไดรูเลยวาเสียงมันเปน ยังไง คุณอาจจะมีงานอดิเรกหรืออะไรที่ชว ยใหคุณไมเหงา ทั้งกีตารและดัมเบล ชวยใหผมมีอะไรทําในเวลาวางเล็ก ๆ นอย ๆ และผมยังโชวฝมือเลนกีตารให เพื่อนฟงไดอีกดวย การจากบานมา 12,000 ไมล อาจเปนประสบการณที่เลวราย ถาจะรูสึกหดหูบ าง บางเวลาก็เปนเรื่องธรรมดา เชน ถาคุณกินอาหารผิดสําแงจนตองหางหองน้ํา ไมไดไปสามวัน ถาคุณเดินทางมาประเทศไทยคนเดียว ก็ตอ งมีบางทีจ ่ ะเหงา คุณ อาจไมชินกับการกินอาหารตามลําพังบอย ๆ จําเปนทีค ่ ุณจะตองทําตัวใหสบาย พอที่จะไมใหตว ั เองจิตตกกับการหางครอบครัว หางเพื่อนฝูง หางสิ่งที่เคยชิน ภาระหนาที่ อุปสรรคทางภาษา ฯลฯ หมั่นสํารวจตรวจตราความรูส ึกของตัวเอง ถาอยากกินอาหารอิตาเลียนก็กินเลย ถาเครียดก็ไปนวด คอยบอกตัวเองวาโชคดี แคไหนที่ไดมาอยูในประเทศไทย หากจําเปนก็พักเสียบาง โทรศัพทกลับบาน คุย กับเพื่อน หรือจะอีเมลหากัน ผมสรางเว็บของตัวเอง (www.cs.armstrong.edu/greenlaw) เพื่อจะไดแชรใหเพือ ่ น ๆ รูความเปนมา เปนไปของผมในประเทศไทย เวลาโพสอะไรใหม ๆ ทีไรก็จะไดรบ ั อีเมลจากเพื่อน เสมอ เว็บนี้ชว ยใหผมเลาเรือ ่ งราวการเดินทางไดเหมือนเขียนบันทึกประจําวันเลย ผูค น ประสบการณฟล ุ ไบรทที่สาํ คัญที่สุดอยางหนึง่ คือ ผูค นที่ไดพบและมิตรภาพทีค ่ ุณ สรางขึ้น โดยปกติคนไทยเปนมิตรกับชาวตางชาติ คุณจะไดแลกเปลี่ยนความรู เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่ตางกัน ตองพรอมที่จะสรางเพื่อนใหมตลอดเวลา เพราะไมรู วาจะไปพบคนนาสนใจเขาเมือ ่ ไร พยายามออกไปขางนอกเองใหเปนนิสัย อยาง นอยสองสามครั้งตอสัปดาห ประเทศไทยมีรา นคามากมาย มีที่ทค ี่ นทองถิ่นชอบไป กัน มีรานอาหาร และตลาดที่นา สนใจหลายแหง
ผมพยายามจะไปสถานทีส ่ ําคัญ ๆ ในจังหวัดที่ผมอาศัย เมื่อเดินทางตามลําพังผม จะพยายามหาเพื่อนใหมอยูเสมอ ผมมีนามบัตรชึ่งดานหนึง่ เปนภาษาอังกฤษอีก ดานหนึง่ เปนภาษาไทยอยูป ระมาณ 200 ใบ ตอนนี้ผมคิดวาผมตองทําเพิ่มแลว เพราะคนไทยชอบแลกเปลี่ยนนามบัตรกันมาก ถาคุณใสอีเมลและหมายเลข โทรศัพทไปดวยในนามบัตรก็จะทําใหคนอื่นสามารถติดตอคุณไดสะดวกขึน ้ วัฒนธรรม ประเพณี ผมพยายามที่จะเคารพทุกวัฒนธรรมประเพณีทุกอยาง คนไทยประมาณ 95% นับ ถือศาสนาพุทธ และพวกเขาอยูกันอยางสงบ เมื่อผมเดินทาง ผมมักจะคนควา เกี่ยวกับสถานที่นั้น ๆ ไวบาง ผมชอบที่จะไปไหน ๆ โดยมีภาพอะไรในใจและไมมี ความคาดหวังอะไรลวงหนา ผมพยายามที่จะไมตัดสินและเปรียบเทียบสิง่ ตาง ๆ ตัวอยางเชน ผมเคยไปธนาคารเพื่อฝากเช็คดอลลารเขาบัญชี เจาหนาทีบ ่ อกวา ตองใชเวลาถึงสองเดือนในการเคลียรเช็ค พอไดยน ิ ผมก็คด ิ วาไมมีประโยชนถา จะเทียบวาที่อเมริกาเราสามารถเคลียรเช็คไดภายในหาวัน ผมรูดว ี าผมแคตองสง เช็คกลับไปอเมริกาใหเพื่อนทีไ ่ วใจไดเอาเขาบัญชีใหผม คุณควรเปนคนชาง สังเกตและทําตามคนอืน ่ เมื่อตกอยูในสถานการณที่ไมเคยเจอมากอน อากาศ ประเทศไทยมีอากาศรอนชื้น คุณควรนําเสือ ้ ผาบาง ๆ ที่สามารถปองกันความรอน จากแสงแดด ควรจะมีรมและหมวกติดตัว ถาคุณมีโลชัน ่ กันแดดยี่หอ ทีช ่ อบก็อาจ เอามาดวยพรอมทั้งแวนกันแดด สําหรับผม ผมชอบวิ่งเวลาอากาศรอน แตคุณ อาจจะชอบออกกําลังกายในตอนเชาขณะทีอ ่ ากาศกําลังเย็นสบายก็ได ภาษา ผมพยายามที่จะใชภาษาไทยใหบอ ยทีส ่ ุดเทาที่จะเปนไปได แตคุณไมสามารถที่ จะรีบเรงทําสิง่ ใด ๆ ได บางครัง้ คุณอาจจะหงุดหงิดและรูสก ึ วาภาษาไทยคุณไม พัฒนา คําวา “คืนนี”้ ออกเสียงคลาย “พรุง นี”้ และคืนหนึง่ ผมตองรอเพื่อนกวาครึ่ง ชั่วโมงเพราะคิดวาเพือ ่ นจะมาทั้งที่เพื่อนวางแผนจะมาเยี่ยมวันพรุง นี้ ผมพยายาม ไมบังคับใหตว ั เองตองออกเสียงอยางถูกตองสมบูรณแบบ ตามธรรมดาแลว คุณจะ พูดไดดีขน ึ้ เองถาหัดพูดบอย ๆ และพยายามเรียนรูค ําศัพทใหมทุกวัน ถาคนอื่นไม เขาใจคุณ ลองพูดอธิบายดวยวิธีอื่น และควรจะพูดกับคนมากกวาหนึ่งคนในเวลา เดียวกัน ถาฟงกันหลายคน พวกเขาคงพอจะนึกออกวาคุณตองการพูดอะไร การ โทรศัพทคุยกับเพื่อนก็เปนวิธีฝก ฝนภาษาไทยที่ดอ ี ีกวิธีหนึง่
การเดินทาง การเดินทางทีน ่ ค ี่ อนขางถูก แตคุณก็ตอ งเผือ ่ เงินไวเพือ ่ การทองเที่ยวดวย ผมคิด วาคุณควรจะเทีย ่ วที่ใกล ๆ กอน เมื่อภาษาของคุณดีขึ้นคอยเที่ยวไกลออกไป ผม ชอบเดินทาง ดังนัน ้ ผมจึงวางแผนวาจะตองไปเที่ยวที่ใหมสก ั แหงอยางนอยหนึ่ง ครัง้ ตอสัปดาห เมื่อเดินทาง ผมมักเอางานติดไปดวยเพือ ่ ทําใหผมไมเสียงานถา ตองรอเครือ ่ งนาน และยังชวยใหรูสึกวาการเดินทางสัน ้ ขึ้นดวย ในทางตรงกัน ขาม หากผมไดนั่งใกลคนที่นา สนใจบนเครือ ่ งบินหรือเห็นคนที่พรอมพูดคุย ผมก็ จะวางงานไวขา ง ๆ และเพลิดเพลินกับบทสนทนา ผมลงแขงวิ่งมาราธอนถึงสาม ครัง้ ขณะทีอ ่ ยูในประเทศไทย แตละครัง้ พาทําใหผมไดไปยังที่ที่ผมยังไมเคยไปมา กอน หากคุณชอบทําอะไรก็จงใชมน ั ใหเปนประโยชน เพื่อใหการเดินทางของ คุณคุมคา ผมขอแนะนําใหคณ ุ พกสิ่งเหลานีต ้ ิดตัว - ที่อุดหู ที่ปด ตา ยาหยอดตา และรูปถายพาสปอรต รวมทัง้ แบงคยอยเยอะ ๆ เงินดอลลาร บัตรเครดิตและเดบิต เอาเอกสารสําคัญฝากไวกบ ั เพือ ่ น พกสําเนาพาสปอรตติดตัวแทนและเก็บรูปถาย พาสปอรตไวกับตัวตลอดเวลา นอกจากนี้ คุณควรจะมีกระดาษทิชชูสาํ หรับใชใน หองน้ําและสิ่งทีค ่ ิดวาจําเปนติดตัวไวเสมอ เงินบาท ณ ปจจุบน ั ขณะที่กําลังเขียนเรื่องนี้ คาเงินบาทอยูที่ 37 บาทตอดอลลาร เมื่อคุณ มาถึงประเทศไทยใหรบ ี เปดบัญชีธนาคาร ถาเปนไปไดผมแนะนําใหคุณพก เงินดอลลารมาประมาณ 5,000 ดอลลารเพื่อเปดบัญชีธนาคาร เพื่อคุณจะได สามารถใชบัตรเอทีเอ็มกับธนาคารในประเทศไทยได หากคุณใชบัตรเอทีเอ็มจาก อเมริกาคุณจะตองจายประมาณ 10 ดอลลารในการถอนเงินไทย 20,000 บาท หากคุณชําระคาสินคาผานบัตรเครดิตวีซา คุณจะตองจายคาธรรมเนียมประมาณ 3% ดังนั้นเมือ ่ คุณจายเงินสด คุณจะประหยัดเงินกวามาก คาแท็กซีใ ่ นประเทศ ไทยมักตอรองได ผมจายแคประมาณ 100 บาทตอการเดินทาง 30 นาที ตู เอทีเอ็มมักจายเงินเปนธนบัตร 1,000 บาท แตผมแนะนําใหคณ ุ เอาธนบัตรฉบับละ 20 บาท 50 บาท 100 บาท พกติดตัวเอาไวเยอะ ๆ เรือ ่ งอืน ่ ๆ ทบทวนสิง่ ทีค ่ ณ ุ กําลังทําและระดับความพึงพอใจตอสถานการณรอบตัว ถาคุณไม มีความสุข จงหาทางเปลี่ยนแปลงบางสิง่ บางอยาง ประเมินอีกและเปลี่ยนอีก ใน ไมชาคุณจะคนพบจังหวะที่เหมาะกับคุณ ขอใหฟงคําแนะนําและความคิดเห็นจาก ผูอื่น แตทา ยทีส ่ ุดคุณตองเปนคนตัดสินใจเรือ ่ งตาง ๆ เอง มันอาจจะไมมอ ี ะไรถูก อะไรผิด แตตองมีอะไรสักอยางหนึ่งทีท ่ ําใหคุณมีความสุขไดมากกวาอีกอยาง หนึ่ง เช็คระดับพลังงานของคุณ หากรูสึกวามันไมไดสูงอยางที่เคยเปน คุณควร ตรวจสอบอาหารของคุณ อาหารใหม ๆ อาจทําใหอารมณดีขน ึ้ แตอาหารรสเผ็ดก็
อาจมีผลตอกระเพาะได จงใสใจกับสิง่ ทีค ่ ุณทําและอาหารที่กิน ใชวิจารณญาณ แตหากจําเปนก็ตองขอความชวยเหลือ ฟุลไบรททป ี่ ระเทศไทยมีเจาหนาทีท ่ ี่ พรอมชวยเหลือคุณอยูเสมอ สรุป ผมหวังวาคุณจะสามารถนําขอแนะนําเหลานี้ไปใชไดบา งเพราะมันจะทําใหการ เดินทางและการใชชว ี ิตอยูในประเทศไทยของคุณราบรืน ่ ประสบการณฟุลไบรท ของคุณจะเปนอยางไรก็ขึ้นอยูกับตัวคุณเอง จงรับผิดชอบตอสิ่งทีค ่ ุณทําและใช เวลาใหคุมคาทีส ่ ุด ผมหวังวาคุณจะไดประสบการณที่เยี่ยมที่สุดในประเทศไทย ผมขอขอบคุณบอบบี้ โจ ยุย ภาควิทยาศาสตรคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยเชียงใหม และมูลนิธิการศึกษาไทย-อเมริกัน (ฟุลไบรท) เปนอยางยิ่ง
Cultural Shock in one’s Own Home50 Morgan Springle 2006 English Teaching Assistantship Program @Kelangnakorn School, Lampang
When it came time to go home, I thought I was pretty mentally prepared. I’d been abroad and back before, though never for quite so long, and never quite as immersed as I was in Thailand. I knew that food portions would be huge, people would be a bit more ใจรอน (hasty) and I’d be driving a car to traverse the urban sprawl, not a “motorcycle”. I thought I was all prepared. But just as preparation eases, but doesn’t eliminate normal culture shock, nor can any amount of anticipation succeed in preventing landing shock. It started in Chicago’s O’Hare airport. I ordered a sandwich and only ate half of it before feeling like my stomach might burst. I accidently bumped a woman with my bag and before I could even utter a confused “ขอ, umm, sorry, so sorry” She glared at me as if had just purposely thrown a rock through her window or cursed her in the foulest words known to English-speaking man. I asked a woman who was standing in front of a United counter as to the whereabouts of my flight to Miami, and received as a response, “I have no idea. I would never fly to Miami. Go ask someone who works for United.” She then flashed her ID tag of another airline and turned to another customer.
50
Originally published in Fulbright Newsletter Issue 21, April 2008
It wasn’t just negatives though. The informality, the abrupt friendliness of American culture also threw me off. A man asked to share an outlet I was using for my electronics, sat down next to me and commented on my in-progress journal-writing (“You don’t see many people doing that these days”). We discussed his job, my travels, and then suddenly, without warning, returned to our individual spheres, to not speak anymore for the remaining hours before we went to our respective flights. No ending of “good luck, have a great trip, I wish you great prosperity and fortune,” just a quick cut and run. It was as if I, though clearly an American, had forgotten how we do things over here. I was shocked by the distances we drive to get anywhere in suburban South Florida, confused by the abundance of plazas, and overwhelmed by the sensationalism of the news. I didn’t know what to call banana peppers and just, kind of pointed and said “those.” I didn’t wonder why everyone gets so stressed out by driving, work, money, etc., but I did wonder why they had to all go around expressing it to everyone within earshot or honking range. I was introduced to a group of unfamiliar adults at a dinner, and I had to restrain my instant-wai to instead shake hands. I ended my sentences with นะ (na) and mumble to myself in Thai in the midst of normal conversations. I pronounced the word “orchard” as “orkerd.” I asked my friends “how does one get the check in his country?” and เกรงใจed (feeling not to express one’s own need for fear of troubling others) at a birthday party of a friend of a friend (“Oh I’ll eat anything, don’t worry, order what you want,” “ Well, I guess I can go, if you have room, and it’s not an imposition, and if you’re sure that it’s okay…”, “No no, you have the last ___,I’m quite full”). There’s not even a word for how I was acting in my language.
For a brief moment (well, one week), I thought my ความเปน American (American-ness) was broken, that I’d need to go back to elementary school, pledge allegiance to the flag, eat cookies and milk, and read stories about anthropomorphic animals with morals like “The squeaky wheel gets the grease” or “if you give a mouse cookies…” until I learned how to live in the country again. But at the same time, I knew that soon all of these slightly bizarre phenomena would fade away, that I’d become a standardized American again, and that was actually of greater concern to me. Reverse culture shock isn’t a sign of some failure, nor the depressing end of an exciting adventure. Reverse culture shock means that one has acquired a whole new way of being, interacting, and maneuvering through society. Now I was in possession of not just one way of expressing myself, but more like 1.76 modes of expressing myself (I wouldn’t call my Thai set of manners complete quite yet). Just like many other multilingual or multicultural types, part of me is very clearly still an American, but with a whole new set of people skills, perspectives and ideas in my reserves. I at least felt confident after that realization, confident that my Thailand experiences would not fade away, but are rather a permanent part of a slightly more interesting and versatile me.
Cultural Shock เมือ ่ กลับบาน51 มอแกน สปริงเกิล 2006 English Teaching Assistantship Program @ โรงเรียนเขลางคนคร ลําปาง แปลและเรียบเรียงโดย โชติมา ใชเทียมวงศ Outreach Officer มูลนิธิการศึกษาไทยอเมริกัน (ฟุลไบรท)
ผมเขาใจวาตัวเองมีสภาพจิตคอนขางพรอมเมือ ่ ถึงเวลาตองกลับบาน ทีจ ่ ริงผมก็ เคยกลับจากตางประเทศมากอน แตไมไดไปอยูน านขนาดนี้ แลวก็ไมไดไปใช ชีวิตคลุกคลีอยูท ี่ไหนเหมือนทีเ่ มืองไทย ผมรูว าอาหารทีบ ่ านจานใหญ ผูคนก็ออก จะใจรอน และเวลาออกไปนอกเมืองก็ตอ งขับรถไปไมสามารถขี่มอเตอรไซคได ผมคิดวาผมพรอมแลวเชียว แตการเตรียมพรอมก็ไมไดชวยลด cultural shock เลย และไมวาจะคาดการณไวลวงหนาอยางไรก็ไมชวยปองกันอาการช็อกเมื่อ เครือ ่ งลงจอดได เรื่องมันเริ่มที่สนามบินโอแฮรในชิคาโก ผมสั่งแซนวิชมาแตกินไมหมดเพราะรูสึก เหมือนกระเพาะจะระเบิด และเมื่อบังเอิญแกวงกระเปาไปโดนผูหญิงคนหนึ่งผมก็ เผลอพูดไปวา “ขอ..เออ sorry, so sorry” เธอจองเหมือนโดนผมขวางหินใส หนาตางและสบถใสเธอดวยภาษาอังกฤษหยาบ ๆ คาย ๆ เมื่อผมถามผูหญิงที่ยืน อยูหนาเคานเตอรสายการบินยูไนเต็ดแอรไลนวาเที่ยวบินทีจ ่ ะไปไมอามีขน ึ้ ที่ไหน ผมไดคาํ ตอบวา “ไมรส ู ิ ฉนไมเคยบินไปไมอามี ไปถามคนของสายการบิน ยูไนเต็ดสิ” จากนั้นก็ยื่นปายสายการบินอืน ่ ใหผมดูแลวก็หันไปหาลูกคาคนอืน ่ นี่ไมใชแคการมองโลกในแงลบเทานั้น ผมรูสึกรับไมไดกับความไมแยแสและ มิตรภาพแบบมาไวไปไวในวัฒนธรรมอเมริกัน มีผูชายคนหนึ่งมาขอแบงใช ปลั๊กไฟกับผม เขานั่งลงขาง ๆ แลววิจารณบทความที่ผมกําลังเขียนอยู (“ตอนนี้ คนไมคอ ยทําแบบนี้กันแลว”) เราคุยกันถึงงานของเขา การเดินทางของผม และ ทันทีทน ั ใดโดยไมมีปมีขลุย เราก็กลับเขาสูโลกของตัวเอง และไมไดพูดอะไรกัน อีกเลยเปนเวลาหลายชั่วโมงกอนที่จะแยกยายกันไปขึ้นเครือ ่ ง ไมมีคาํ ลงทาย
51
พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 21, เมษายน 2551
ประมาณวา “โชคดีนะ ขอใหสนุกกับการเดินทาง หรือโชคดีมีเงินใช” แคตัดบท แลวก็รบ ี รอนจากไป ทัง้ ที่เปนคนอเมริกันแท ๆ แตมันเหมือนกับผมลืมไปแลววา เราเคยอยูกันยังไง ผมรูสึกช็อกที่ตอ งขับรถเปนเวลานานเพื่อไปที่ไหนสักแหงแถวชานเมืองในเซาท ฟลอริดา รูสึกสับสนกับสารพัดแยก เหลือทนกับการใสสีตไ ี ขของสื่อ ไมรจ ู ะเรียก พริก banana pepper วายังไงเลยไดแตชี้แลวบอกวา “นี”่ ผมไมประหลาดใจถา ใครจะเครียดจัดกับการขับรถ ทํางาน เงิน และอื่น ๆ แตผมออกจะแปลกใจวา ทําไมตองแสดงใหทุกคนทีอ ่ ยูใกล ๆ รูหมด ผมเผอิญไดรูจักกับคนแปลกหนากลุม หนึ่งในระหวางอาหารเย็น และผมก็ตอ งคอยหามไมใหตว ั เองเผลอไหวแทนที่จะ จับมือ ผมลงทายประโยคดวยคําวา “นะ” พึมพํากับตัวเองเปนภาษาไทยระหวาง การพูดคุย ผมออกเสียงคําวา Orchard เปน Orkerd ถามเพื่อนวา “ประเทศนี้เขา ซื้อเช็คกันยังไง” และทําตัวเปนแขกขี้เกรงใจ (คือไมอยากจะแสดงใหใครรูว าจริง ๆ แลวผมตองการอะไรเพราะกลัวจะทําใหคนอื่นตองลําบากโดยใชเหตุ) ในงาน วันเกิดเพื่อนของเพื่อน (“ออ ผมกินไดทุกอยาง ไมตองหวง สัง่ ตามสบายเลย” “เออ ผมคิดวาไปไดถาคุณมีที่เหลือ ไมไดจะอะไรนะ แตถาคุณแนใจวาโอเค..” “ไม ไม คุณจัดการชิน ้ สุดทายไดเลย...ผมอิ่มแลวละ”) ซึ่งสิ่งที่ผมทําลงไปนี้ไมมค ี ําอธิบาย ในภาษาอังกฤษ ชวงระยะเวลาสัน ้ ๆ (เออ ก็สักหนึ่งอาทิตย) ผมคิดวาความเปนอเมริกน ั ของผมคง จะบกพรองจนนาจะตองไปเริม ่ เรียนอนุบาลใหม สาบานตนกับธงชาติอีกครั้ง กลับไปกินคุกกีก ้ ับนม และอานนิทานที่ใชสัตวเปนสื่อสอนใจตาง ๆ อยาง “The squeaky wheel gets the grease (โวยดังกวายอมไดรับความสนใจกวา)” หรือ “If you give a mouse cookies…(ถาเธอใหคุกกี้กับเจาหนู มันก็จะอยากได... ดวย)” จนกวาจะเรียนรูการใชชีวิตในอเมริกาอีกครั้ง แตขณะเดียวกัน ผมก็รูวา ปรากฏการณอน ั แปลกประหลาดนี้จะคอย ๆ หายไปเอง และผมจะกลับมาเปน อเมริกันชนปกติทั่วไปในไมชา ซึ่งผมออกจะวิตกอยู ปรากฏการณชอ ็ กทางวัฒนธรรมแบบมุมกลับนี้ ไมใชสญ ั ญาณของความลมเหลว แตอยางใด ทั้งไมใชบทสรุปอันนาหดหูของการผจญภัยที่สด ุ แสนจะตื่นเตน การที่ จะเกิดอาการช็อกมุมกลับเชนนี้ไดหมายความวาคน ๆ นัน ้ ไดพัฒนาแนวทางใน การดําเนินชีวิต การมีปฏิสัมพันธ และการเอาตัวรอดในสังคมแบบใหมยกชุด ตอนนี้ผมไมไดมีแคแนวทางดําเนินชีวิตแบบเดียวเทานั้น แตนาจะเปน 1.76 แบบ
(เพราะความเปนไทย ๆ ของผมยังไมนา จะสมบูรณรอ ยเปอรเซ็นต) ก็เหมือนกับ การพูดไดหลายภาษาหรือมีหลายวัฒนธรรมนั่นแหละ ในขณะทีส ่ วนหนึง่ ของผม ยังคงเปนอเมริกันแทแนนอน แตผมก็มีชุดทักษะชีวิตเกี่ยวกับผูคน และมุมมองชุด ใหมดวย เมื่อรูอ ยางนี้แลว อยางนอยผมก็มั่นใจไดวาประสบการณเกี่ยวกับประเทศไทยของ ผมจะไมสูญหายไป แตจะฝงอยูในตัวผมอยางถาวรและทําใหผมเปนคนทีม ่ ีความ หลากหลายนาสนใจ
Fulbright Changes Me…For a Better “Me”!52 Gracie Raver 2011 English Teaching Assistantship Program @Yangtalad Wittayakarn School, Kalasin Province
In June, a solid nine months into my year as a Fulbright ETA, I was beyond excited to find out that one of my good friends from college, Valerie, was planning a trip to come visit me in Thailand. As soon as her flight was booked, I began to pour every free minute into planning her trip. I made time for the beach and a weekend in Bangkok, but most importantly, Valerie and I agreed that she would spend a week teaching with me at my school, Yangtalad Wittayakarn, in Kalaasin Province. Even though Valerie was one of my closest friends, I found I was nervous to see her. Yes, I was still primarily excited about her visiting, but as I waited for her at the airport I suddenly had a million questions that I hadn’t thought of before. Would Valerie feel comfortable at my school? Would she get bored? What if she couldn’t eat the food? Did I even ask her if she liked rice?! Worst of all, what if Val didn’t like Thailand? My anxiety mostly dissipated the moment I saw Valerie making her way out of the exit gate. While you could feel an abnormal hesitation in our initial conversations as we both readjusted to being around each other, I
52
Originally published in Fulbright Newsletter Issue 34, August 2012
was happy to find that it was still easy to spend time with her. While we both were undoubtedly different, our interactions were still very much the same. She was still Val, and I was still Gracie. We were just a little older. As I took Valerie around Thailand, I loved to watch her soak up her new surroundings. It reminded me of what it was like to experience everything for the first time, back when Thailand was still brand new and unknown to me. While we both had a fantastic time throughout our two weeks together, some of my anxiety did not disappear. There were still moments I felt hyperaware of Thailand’s quirks and nervously waited to see how Valerie would deal with them. I found myself feeling extremely proud when Val pointed out something she found beautiful or ate a food she thought was delicious (plumeria flowers and green curry!) and a touch insecure when she thought something was weird or uncomfortable, even though she insisted it didn’t bother her (the smell of Bangkok and the geckos living in my house). Ultimately, Valerie’s visit didn’t show me how much I have grown. I already knew, as cliché as it sounds, that I had changed. Change, after all, is a part of life: You get older. You experience things. You change. Besides, I didn’t need a friend from home visiting to show me these differences in myself. I feel them every day when I confidently teach an English class, share a funny moment with one of my Thai co-workers, or happily eat the fishiest, spiciest of somtam. I now can accomplish all of these things with what I hope is ease and grace. Would I have been able to say the same a year ago? Probably not.
Valerie’s visit instead showed me how beautiful, and yes, a little scary, it can be when personal changes happen when you’re geographically separate from those you love the most. As Fulbrighters, it’s a given that we all have a touch of wanderlust fueled by our pursuits of seeing new places and meeting new people. We love how the experiences give us new stories, and we take pride in integrating ourselves into new communities. We wouldn’t be so committed to the goals and mission of the Fulbright organization if we didn’t. However, at the end of the day, we too still have family and friends back at home. It ‘s a unique experience to be temporarily thousands of miles away and not have our loved ones be able to see the daily routines and experiences that so deeply shape us. Personally, one of the most challenging parts of this year for me has not only been being far from my family and friends but also imagining what it will be like to come back to them. I think of my life before I became a teacher in Thailand and I think of my life now. How could I ever explain to those I love back home how important Thailand is to me, how much I felt like Thailand is now a part of me. I wasn’t even sure how the two could fit together? At the end of her visit as we sat at a café in Bangkok hours before her return flight, I asked Valerie what her favorite part of the trip has been. A part of me expected her to pick one of the days we spent lounging on a beautiful beach in Phuket or the sticky afternoon spent exploring Bangkok’s most beautiful temples. Valerie thoughtfully tilted her head and looked at me over her drink. “You know, I think my favorite day was that one in Issan.”
I knew exactly which day she was talking about. After classes were finished, Valerie, my host teacher, P’Moo, and I hopped into his silver pick-up truck and set off to see Kalasin’s sights. Our afternoon adventure included stops at the Sirindhorn Dinosaur, beautiful local temple, and a trip to a local market to grasp some thoroughly Isaan food for dinner: grilled catfish, sticky rice, and an array of kanom. As we drove home I remember quietly sitting in the back of the truck soaking in the seemingly endless views of bright green rice paddles. I listened to P’Moo laugh as Valerie squealed with excitement over seeing another water buffalo. My two very different friends began to conspire over how she could try to fit one of the very large animals in her carry-on luggage. There it was – hope that my two worlds could indeed combine. And they were both awesomely compatible.
ฟุลไบรทเปลีย ่ นฉันใหดีขน ึ้ 53 เกรซี่ เรเวอร 2011 English Teaching Assistantship Program @ โรงเรียนยางตลาดวิทยาคาร จังหวัดกาฬสินธุ แปลและเรียบเรียงโดย นภัทรพร ทองใบ, ผูพิพากษาศาลชั้นตนประจําสํานักประธานศาลฏี กา, 2005 Open Competition Program @ University of Virginia
ในเดื อ นมิ ถุ น ายน ตอนที่ ฉั น มาเป น ครู ผู ช ว ยสอนภาษาอั ง กฤษในโครงการ Fulbright ETA ไดเกาเดือน ฉันก็ไดรับขาวนาตื่นเตนวาวาเลอรี เพื่อนสมัย มหาวิทยาลัยจะมาเยี่ยมฉันที่ประเทศไทย ทันทีที่วาเลอรีจองตั๋วเครื่องบิน ฉันก็ เริ่มใชเวลาวางวางแผนพาเธอเที่ยว ฉันกะวาในเวลาหนึ่งสัปดาหเราจะไปเที่ยว ทะเลและเที่ยวกรุง เทพฯ กัน แตที่สําคัญก็คือ วาเลอรีรับปากจะมาชว ยฉันสอน หนังสือที่ โรงเรียนยางตลาดวิทยาคาร จังหวัดกาฬสินธุ ถึงแมวาวาเลอรีจะเปน เพื่อนที่สนิททีส ่ ุดคนหนึง่ ของฉัน แตฉันก็อดรูสึกกังวลไมไดที่จะไดเจอเธอ ทั้ง ๆ ที่ ฉันก็ตื่นเตนที่เธอจะมาเยี่ยม ขณะรออยูที่สนามบิน ฉันเริ่มมีคําถามเกิดขึ้นในใจ อยางที่ไมเคยนึกมากอน วาเลอรีจะชอบโรงเรียนของฉันไหม เธอจะเบื่อไหม จะ ทํา อยา งไรถาเธอกิน อาหารที่นี่ไมได เอะ ฉัน ไดถามเธอหรือ ยังวา ชอบกิน ขา ว หรือเปลา และเรื่องที่นากังวลที่สุด คือ วาเลอรีจะชอบประเทศไทยไหม ความตื่ น เต น และความกั ง วลของฉั น หายไปเกื อ บหมดเมื่ อ ฉั น เห็ น วาเลอรี เ ดิ น ออกมาทางประตูผูโดยสารขาเขา แมชวงแรกเราจะตองใชเวลาทําความคุนเคย กันอีกครั้งเพราะไมไดเจอกันมานาน ฉันยังพบวา ฉันมีความสุขที่จะไดใชเวลา รว มกั บ วาเลอรี ถึ ง เราทั้ ง สองคนจะแตกต า งกั น แต ค วามสั ม พั น ธ ข องเรายั ง คง เหมือนเดิม เธอยังคงเปนวาล และฉันยังคงเปนเกรซีเหมือนสมัยกอน เพียงแตเรา ทั้งสองโตขึ้น ระหวางที่ฉันพาวาเลอรีตระเวนไปทั่วประเทศไทย ฉันชอบดูเวลา เธอซึมซับสิ่ง ใหม ๆ รอบตัว มัน ทําใหฉัน ยอนนึกถึง ตัวเองเมื่อ ครั้ง ไดพ บเจอสิ่ง ใหมรอบตัวเปนครั้งแรกตอนที่เพิ่งมาถึงเมืองไทย แม ว า เราทั้ ง สองจะมี ช ว งเวลาที่ ดี ม ากด ว ยกั น ก็ ไ ม อ าจกล า วได ว า ความกั ง วล ทั้งหมดของฉันจะหายไป มีบางครั้งที่ฉันรูสึกกังวลกับเรื่องแปลก ๆ ในเมืองไทย
53
พิมพครั้งแรกในจดหมายขาวฟุลไบรท ฉบับที่ 34, สิงหาคม 2555
และรอดูวาวาเลอรีจะรับมือกับเรือ ่ งเหลานั้นอยางไร ฉันรูสึกภูมิใจเวลาเห็นวาลชม อะไรวาสวย และกินอาหารไทยไดอยางเอร็ดอรอย (แกงเขียวหวานและดอกลีลา วดี) ฉันจะรูสึกไมสบายใจเวลาวาลบอกวา มีอะไรประหลาดหรือรูสึกอึดอัด แม วาลจะยืนยันวาเธอไมเปนไร (เชน กลิ่นเหม็นในกรุงเทพและจิ้งจกที่อยูในบาน ของฉัน) ทายที่สุด การที่วาเลอรีมาเยี่ยมไมไดทําใหฉันรูสึกวาฉันเติบโตขึ้น เพราะนั่นเปน เรื่องที่ฉันรูอยูแลว แตทําใหฉันรูวาฉันเปลี่ยนไป การเปลี่ยนแปลงเปนสวนหนึ่ง ของชีวิต เราโตขึ้น เรามีประสบการณกับสิ่งตาง ๆ เราเปลี่ยนไป จะวาไปแลวฉัน ไมจํา เปน ตอ งมีเพื่อ นจากประเทศเดีย วกันมาบอกวา ฉัน เปลี่ยนแปลงไปมากแค ไหน ฉันรับรูความเปลี่ยนแปลงอยูทุกวัน เมื่อฉันสอนภาษาอังกฤษ เลาเรื่องขําขัน ใหครอบครัวไทยของฉันฟงหรือ นั่งกินสมตําปลารารสเผ็ดมาก ๆ ฉันคิดวาฉัน รับมือกับสิ่งเหลานี้ไดอยางราบรื่นและสงางาม ฉันจะพูดแบบนี้ไดมั้ยเมื่อหนึ่งปที่ แลว คําตอบคือ อาจจะไม การมาเยี่ยมของวาเลอรีทําใหฉันเห็นวา ความเปลี่ยนแปลงในตัวคนเราเกิดขึ้น เมื่อเราอยูหางไกลจากคนที่เรารักมากที่สุด ซึ่งเปนทั้งสิ่งสวยงามและนากลัว ใน ฐานะผูรับทุนฟุลไบรท เราทุกคนมีความตองการที่จะเดินทางเพื่อไปเห็นสถานที่ ใหมๆ และพบเจอผูคนใหม ๆ เรารักประสบการณที่มอบเรื่องราวใหมๆใหเรา และ เรารูสึกภาคภูมิใจเมื่อเรากลายเปนสวนหนึ่งของสังคมใหม หากเราไมรูสึกภูมิใจ เราก็คงไมไดผูกพันกับเปาหมายและภารกิจของฟุลไบรทมากเทาใดนัก อยางไรก็ ตาม เราทุกคนมีครอบครัวเพื่อนฝูงอยูที่บานเกิด เปนประสบการณแสนแปลกเมื่อ เราอยูหางจากบานเกิดหลายพันไมล และคนที่เรารักก็ไมไดเห็นชีวิตประจําวัน และประสบการณซึ่งเปลี่ยนแปลงตัวเรา โดยสวนตัวแลว สิ่งที่ทาทายฉันมากที่สุด ในป นี้ ไม ใ ช เ พี ย งแต ก ารอยู ห า งไกลจากครอบครั ว และเพื่ อ น แต เ ป น การ จินตนาการวา ชีวิตจะเปนอยางไรหลังกลับไปหาพวกเขา ฉันนึกถึงชีวิตตัวเอง กอนที่จะมาเปนครูในประเทศไทยกับชีวิตของฉันในตอนนี้ ฉันจะอธิบายใหคนที่ ฉันรักเขาใจไดอยางไรวา ประเทศไทยสําคัญกับฉันขนาดไหน ตอนนี้ฉันรูสึกวา ประเทศไทยเปนสวนหนึ่งของฉัน แมฉันจะยังไมรูโลกสองใบของฉันจะมารวมกัน ไดอยางไร ในชวงกอนที่วาเลอรีจะกลับบาน เราสองคนไปนั่งคุยกันในรานกาแฟที่กรุงเทพฯ อยูหลายชั่วโมง ฉันถามวาเลอรีวาเธอชอบวันไหนมากที่สุด ฉันแอบเดาวาเธอจะ เลือกวันใดวันหนึ่งที่พวกเรานอนเลนบนชายหาดที่ภูเก็ต หรือบายวันที่ไปเยี่ยม ชมวัดสวย ๆ ในกรุงเทพฯ วาเลอรีเอียงศีรษะอยางใชความคิดและมองมาที่ฉัน
แลวตอบวา “เธอรูไหม ฉันคิดวาวันที่ฉันชอบมากที่สุดตั้งแตมาที่นี่ คือวันที่เราอยู ในอีสาน” ฉันรูทันทีวาวาเลอรีหมายถึงวันไหน มีอยูวันหนึ่ง หลังจากที่เราสอนหนังสือเสร็จ วาเลรี พี่หมู ครูประจําชั้นของฉัน และฉันกระโดดขึ้นรถปกอัพสีเงินเพื่อไปเที่ยว สถานที่ ต า ง ๆ ในจั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ การผจญภั ย ช ว งบ า ยของเรามี ทั้ ง การชม พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ไ ดโนเสาร สิ ริ น ธร วั ด ท อ งถิ่ น ที่ ส วยงาม และตลาดพื้ น เมื อ งเพื่ อ กิ น อาหารเย็ น แบบอี ส าน อั น ได แก ปลาดุ ก ยา ง ข า วเหนี ยว และขนมถาด เมื่ อ เรา เดินทางกลับบาน ฉันจําไดวา ฉันนั่งเงียบ ๆ ทายรถมองวิวขางทางที่เต็มไปดวย ทุงนา ฉันนั่งฟงพี่หมูหัวเราะที่วาเลอรีตื่นเตนกับควายในนา เพื่อนที่แตกตางของ ฉัน สองคนสมคบคิด กัน วา จะจับเจา สัตวตัวใหญนี้ซอนไวในกระเปาถือ แอบขึ้น เครื่องบินไดอยางไร ชวงเวลานั้นเอง โลกทั้งสองของฉันก็สามารถมาบรรจบกัน และเขากันไดอยางเยี่ยมยอด
Acknowledgement This book project would not be possible without the following contributors: Editors English Kevin F. F. Quigley, Ph.D., Country Director, Peace Corps Thailand (2007 Fulbright U.S. Specialist Program) Bruce B. Svare, Ph.D., State University of New York at Albany (2006 and 2014 Fulbright U.S. Scholar Program) Thai Benjawan Ubonsri, Executive Director, Fulbright Thailand (2003 Fulbright Administrator Exchange Program) Siriporn Tantsetthi, Senior Program Officer (American Program), Fulbright Thailand Cheewarat Kaewsaengkwan, Program Administrative Assistant, CEDAW Southeast Asia Programme, UN Women, former Junior Program Officer, Fulbright Thailand Translators Bancha Rattanamathuwong, Graduate Student, University of Oregon (2013 Open Competition Scholarship Program) Chotima Chaitiamwong, Outreach Officer, Thailand-United States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand) Diyaporn Wisamitanan, lecturer, Faculty of Humanities & Social Science, Thaksin University (2011 Hubert H. Humphrey Fellowship Program) Jakkree Tejawaree, Strategic Manager, S&P Syndicate PCL (2011 Open Competition Scholarship Program) Napatporn Tongbai, Judge of the Office of the President of the Supreme Court (2005 Open Competition Scholarship Program)
Parichart Munsgool, Judge of the Office of the Judiciary (2007 Open Competition Scholarship Program) Puripant Ruchikachorn, Ph.D. Candidate, State University of New York, Stony Brook (2010 International Fulbright Science and Technology Award Program) Sakol Suethanapornkul, Ph.D. Candidate, Georgetown University (2008 Open Competition Scholarship Program and 175th Thailand-U.S. Friendship Award) Talisa
Likanonsakul,
Junior
Program
Officer,
Thailand-United
States
Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand) Tarit Nimmanwudipong, Research Engineer/ New Business Unit Haldor Topsøe A/S, Denmark (2008 Open Competition Scholarship Program) Weerin Chaiariyakul, Lecturer, Faculty of Humanities, Chiang Mai University (2006 Foreign Language Teaching Assistantship Program) Cover Design Wanida Chaiyasan, Program Officer (Thai and American Programs), ThailandUnited States Educational Foundation (TUSEF/Fulbright Thailand) Donors Andrea Henricks, Fulbright Teacher, Ban Phai Pittayakom School, Khon Kaen (2013 English Teaching Assistantship Program) Ann Kennedy, Reading Specialist, Arlington Mill High School (2011 FulbrightHays Seminars Abroad Program) Anwida Prompijit (2010 International Fulbright Science and Technology Award Program) Anongvan Prompijit, Krungthai Bank Goh Beng Kok, College of Human Sciences, Texas Tech University (2012 Fulbright U.S. Scholar Program) Bruce Svare, State University of New York at Albany (2006 and 2014 Fulbright U.S. Scholar Program) Cambria Hamburg (2003 Fulbright U.S. Student Program) Celeste Brody, Retired, Bend, Oregon (2006 Fulbright U.S. Scholar Program)
Diyaporn Wisamitanan, lecturer, Faculty of Humanities & Social Science, Thaksin University (2011 Hubert H. Humphrey Fellowship Program) Jan Ormasa, Independent School District , Hopkins, Minnesota (2007 Administrator Exchange Program) Jack Van de Water, Oregon State University (1993 Fulbright U.S. Scholar Program and 2004 Fulbright U.S. Specialist Program) Joseph Ball, Educator, Newark Academy, New Jersey (2004 Administrator Exchange Program) Judy Chin, Arvida Middle School, Florida (2006 Fulbright-Hays Seminars Abroad Program) Kathleen Naughton (2011 English Teaching Assistantship Program) Kevin Quigley, Country Director, Peace Corps Thailand (2007 Fulbright U.S. Specialist Program) Kuldeep Nagi, Assistant Professor, Graduate School of eLearning (GSeL), Assumption Leslie Woodhouse (2004 Fulbright U.S. Student Program) Luis M Calingo, School of Business and Leadership, Dominican University of California (2007 Fulbright U.S. Specialist Program) Michael Zager, Director of Commercial Music, Florida Atlantic University (2006 Fulbright U.S. Specialist Program) Morgan Springer, Co-Founder, Sprig Inc. (2006 Foreign Language Teaching Assistantship Program) Nancy Chism, Professor Emerita from Indiana University Purdue University Indianapolis (2007 Fulbright U.S. Scholar Program) Pissmai Khanobdee, President, Thai Fund Foundation, and Advisor, Thai Fulbright Alumni Association (1982 Hubert H. Humphrey Fellowship Program) Ruangkhao Chanchai, Programme Specialist, UN Women Regional Office for Asia and the Pacific (2003 Open Competition Scholarship Program) Seksan Laitrakun, Lecturer, School of Information Technology, Mae Fah Luang University (2007 University Staff Development Program)
Siriporn Lerdpaisalwong, Ph.D. Candidate, University of Wisconsin, Milwaukee (2008 Foreign Language Teaching Assistantship Program) Stan Jacobs, Retired from Midland College (2003 Administrator Exchange Program) Theodore Chin Foin, Professor Emeritus, Department of Plant Sciences, University of California Davis (2005 Fulbright U.S. Scholar Program) Tossatham Singalavahija, Graduate Student, Urban Planning, Tufts University (2013 Open Competition Scholarship Program)