มาลัยกลีบบัว / เรียบเรียงโดย อาจารย์วศิน อินทสระ / บันทึกโดย ขวัญ เพียงหทัย
มาลั ย กลี บ บั ว
เรียบเรียงโดย อาจารย์วศิน อินทสระ บันทึกโดย2 ขวัญ เพียงหทัย
ม า ลั ย ก ลี บ บั ว
มาลัยกลีบบัว
เรียบเรียงโดย อาจารย์วศิน อินทสระ บันทึกโดย ขวัญ เพียงหทัย จัดพิมพ์โดย กิตติพล มัญชุวิสิฐ พิมพ์ครั้งแรก เมษายน 2557 ศิลปกรรม ประทีป ปัจฉิมทึก พิสูจน์อักษร เรวดี บุณยดิษฐ์ ผลิต รัตนา โค้ว พิมพ์ที่โรงพิมพ์โอเอส พริ้นติ้ง โทรศัพท์ 0-2424-6944 ขอขอบคุณและอนุโมทนาบุญแด่ กัลยาณมิตรผู้เป็นเจ้าภาพร่วมจัดพิมพ์ทุกท่าน ขอให้มีความสุขในธรรมโดยทั่วกัน
2
รสแห่งธรรมชนะรสทั้งปวง ความยินดีใ นธรรมทั้ง ปวง ย่อมชนะความยินดีทั้งปวง ความสิ้นตัณหาย่อมชนะทุกข์ทั้งปวง พุุทธพจน์
3
คำ � อนุ โ มทนา
ขวั ญ เพี ย งหทั ย ศิ ษ ย์ ผู ้ ห นึ่ ง ของข้ า พเจ้ า มี วิ ริ ย อุต สาหะเป็น อัน ดีใ นการเขีย นหนังสือเพื่อเผยแผ่ธรรม น่า อนุโมทนายิ่งนัก หนัง สือ “มาลัยกลีบบัว ” เล่มนี้ ก็ เ ช่ น เดี ย วกั น ขวั ญ ได้ ร วบรวมน�ำมาเล่ า ให้ ญ าติ ธ รรม ทั้ ง หลายได้ รู ้ ไ ด้ เ ข้ า ใจ เนื้ อ หาเป็ น พระสุ ต ตั น ตปิ ฎ ก ซึ่ ง ข้าพเจ้าได้เ รีย บเรีย งไว้นานแล้ว นอกจากนี้ ขวัญยังได้ ใส่เกร็ดเล็กเกร็ดน้อยจากที่เธอบันทึกได้ในห้องเรียนวัน อาทิ ต ย์ ด ้ ว ย ข้ า พเจ้ า ได้ ส อนพระไตรปิ ฎ กแก่ ป ระชาชน ทั่ ว ไปในวั น อาทิ ต ย์ ที่ ตึ ก มหาวิ ท ยาลั ย มหามกุ ฏ ราช วิ ท ยาลั ย ในวั ด บวรนิ เ วศวิ ห าร มาเป็ น เวลาประมาณ 25 ปี จนสอนไม่ไหวเพราะหมดก�ำลังที่จะสอนเพราะโรคภัย เบี ย ดเบี ย นจึ ง ได้ เ ลิ ก ไป ทุ ก คนเสี ย ดายรวมทั้ ง ขวั ญ ด้ ว ย แต่ขอให้นึกเสีย ว่า “สิ่งทั้ง หลายไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน เกิด ขึ้น ตั้ง อยู่ และดับไป” แต่ขวัญ เพียงหทัยยังได้สืบสาน เจตนารมณ์ของข้าพเจ้าต่อไปอีก โดยการน�ำพระไตรปิฎก ที่ เ ธอได้ ศึ ก ษามา น�ำมาเผยแผ่ ใ ห้ แ พร่ ห ลายและอย่ า งที่ ประจักษ์อยู่นี้ 4
เรื่ อ งอื่ น ที่ จ ะพึ ง กล่ า ว ขวั ญ เพี ย งหทั ย คงจะได้ กล่ า วไว้ ใ นค�ำปรารภหรื อ ค�ำน�ำของเธอแล้ ว ข้ า พเจ้ า ขออนุ โ มทนาต่ อ กุ ศ ลเจตนาของขวั ญ เพี ย งหทั ย มา ณ โอกาสนี้ ขอให้เธอมีสุขภาพดี มีพลานามัยสมบูรณ์ มีความสุขความเจริญ ในธรรมยิ่ง ๆ ขึ้นไป ด้วยความปรารถนาดีอย่างยิ่ง วศิน อิน ทสระ 18 มีนาคม 2557
5
มาลั ย กลี บ บั ว ในตู ้ ห นั ง สื อ ฉั น พบหนั ง สื อ ที่ เ รี ย นกั บ ท่ า นอาจารย์ วศิน อิน ทสระ ฉันหยิบ มาเปิด อ่านและได้รับความรู้สึก เดิมกลับมา คือมีความสุขใจในการอ่านเรื่องราวเกี่ยวกับ พระพุท ธเจ้า ในสมั ย พุ ท ธกาล มี เ พี ย งพระธรรมคื อ ค�ำสอนของ พระพุ ท ธเจ้ า และพระวิ นั ย คื อ ระเบี ย บที่ ว างไว้ ใ ห้ ภิ ก ษุ ปฏิ บั ติ เรี ย กว่ า พระธรรมวิ นั ย สมั ย ต่ อ มาได้ มี ก ารน�ำ ส่ ว นส�ำคั ญ เรื่ อ ง จิ ต เจตสิ ก รู ป นิ พ พาน มารวมเพื่ อ ขยายรายละเอี ย ดออกไปมากจนกลายมาเป็ น อี ก หมวด หนึ่ง ชื่อว่า พระอภิธรรม พระไตรปิฎกจึง มีสามส่ว น คือ พระธรรม เรีย กว่า พระสูตร พระวินัย และพระอภิธรรม ในส่วนพระสูตรนี้เอง ไทยวัฒนาพานิชได้เรียนเชิญ อาจารย์ ว ศิ น อิ น ทสระ ผู้ มี ค วามเข้ า ใจอย่ า งลึ ก ซึ้ ง ใน พระธรรมและเป็ น นั ก ประพั น ธ์ ด ้ ว ย มาท�ำการย่ อ และ ย่อยพระสูตรให้อ่านง่ายส�ำหรับยุคสมัย อาจารย์ได้น�ำมา จั ด ท�ำเป็ น เล่ ม ส�ำหรั บ สอนในชั้ น เรี ย นวั น อาทิ ต ย์ ส�ำหรั บ ผู้สนใจจะเรีย นพระสูตรซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาทั่ว ไป เมื่อฉัน เริ่มเรียน เล่มแรกจะเป็น พระสุตตันตปิฎก 6 เล่มที่ 12 ตอน 2 มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ ซึ่งเป็น ส่วนที่สั้น เรื่องหนึ่ง ยาวประมาณ 2-3 หน้าเท่านั้น 6
ฉั น จึ ง อยากจะเล่ า เรื่ อ งจากหนั ง สื อ เล่ ม แรกนี้ แต่ เป็ น ลั ก ษณะบอกเล่ า ที่ เ ป็ น กั น เองเหมื อ นเล่ า นิ ท าน กลายๆ นะคะ เพื่อการอ่า นง่ายขึ้น ในโอกาสนี้ กราบขอบพระคุ ณ ด้ ว ยความเคารพแด่ อาจารย์ ว ศิ น อิ น ทสระ ผู ้ เ ปิ ด โลกแห่ ง พระสู ต รแก่ ฉั น ท�ำให้ ไ ด้ ท ่ อ งไปในสมั ย พุ ท ธกาลและรั บ ค�ำสั่ ง สอน อัน วิเ ศษมหัศ จรรย์ของพระพุทธเจ้า เนื่องจากเป็นเรื่องราวของพระพุทธเจ้า ขอแทนด้วย ดอกบั ว เนื่ อ งจากเป็ น เรื่ อ งราวแต่ ล ะครั้ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ขอแทนด้ ว ยกลี บ บั ว และน�ำมาเรี ย งร้ อ ยไว้ ด ้ ว ยกั น เพื่ อ การศึกษา ขอเรียงร้อยดังเป็นมาลัย “มาลัยกลีบบัว ” ขอน้ อ มบู ช าพระคุ ณ พระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า อรหั น ต สัมมาสัมพุทธเจ้า ด้วยความเคารพอันสูงยิ่ง อนึ่ ง ในระหว่ า งการสอนพระสู ต ร อาจารย์ ไ ด้ เ สริ ม เรื่องอื่นๆ รวมทั้งมีเกร็ดเล็กๆ น้อยๆ ที่น่าสนใจ ฉันจึง รวบรวมเกร็ ด เหล่ า นี้ เ ข้ า ไว้ ใ นหนั ง สื อ ด้ ว ย เพื่ อ เป็ น ประโยชน์เ พิ่มขึ้น หวั ง ว่ า ท่ า นผู ้ อ ่ า น คงจะเพลิ ด เพลิ น ไปในวั น เวลาที่ ย้อ นกลับ ไป 2557 บวก 45 ปีอันงดงาม ขวัญ เพีย งหทัย อังคาร 21 มกราคม 2557 7
1 อุ ป มาด้ ว ยเลื่ อ ย (กกจู ป มสู ต ร) พระศาสดาประทั บ อยู ่ ที่ วั ด เชตวั น เมื อ งสาวั ต ถี พระโมลิยผัคคุนะ ในที่นี้ขอให้นิคเนมว่า พระโม พระโม ชอบคลุ ก คลี กั บ ภิ ก ษุ ณี ม ากเกิ น ไปและเกิ น เวลาอั น สมควร พอพระอื่ น ติ เ ตี ย น ทั้ ง พระโมและภิ ก ษุ ณี ก็ จ ะ โกรธ ท�ำให้ เ กิ ด เรื่ อ งทะเลาะวิ ว าทกั น พระรู ป หนึ่ ง กราบทูลพระผู้มีพระภาค พระศาสดาตรัสถามพระโมว่า เป็นจริงอย่างนั้นหรือไม่ พระโมทูลรับว่าจริง พระศาสดา ทรงโอวาท ดังนี้ 1. การคลุ ก คลี กั บ ภิ ก ษุ ณี เ กิ น ไปเกิ น เวลานั้ น ไม่ สมควรแก่ พ ระ เมื่ อ ถู ก ติ เ ตี ย นก็ ไ ม่ ค วรโกรธ ควรรั ก ษา จิ ต ให้ ส งบ ให้ มั่ น คง ไม่ ก ล่ า ววาจาชั่ ว ร้ า ย มี เ มตตาจิ ต ต่อเขา 8
ไม่ควรมีโ ทสะ ควรท�ำใจแม้เขาจะท�ำร้ายเธอก็ตาม 2. ตรั ส เรี ย กพระอื่ น มาให้ โ อวาทพร้ อ มกั บ พระโม ดังนี้ เมื่อก่อนพระทั้งหลายท�ำให้พระองค์พอพระทัยมาก เพราะว่า ง่า ย แนะน�ำง่าย เพียงแต่พระองค์ตรัสว่า “เราฉันอาหารหนเดียว รู้สึกว่ามีอาพาธน้อย มีความ ล�ำบากกายน้อย กายเบา มีก�ำลัง อยู่อย่างผาสุก ขอภิกษุ ทั้ง หลายจงฉันหนเดียวเถิด ” เท่านี้ พระทั้งหลายก็ท�ำตามโดยง่าย ไม่ต้องพร�่ำสอน มาก เปรียบเหมือนม้าอาชาไนย เป็นม้าที่ฝึกดีแล้วไปได้ ตามที่คนขับอยากให้ไปโดยไม่ต้องให้ลงแส้ เธอทั้งหลาย จงเป็ น ดั ง ม้ า อาชาไนย จงละอกุ ศ ล มี ค วามพากเพี ย ร พอกพู น กุ ศ ลธรรมเสมอ จะมี ค วามงอกงามไพบู ล ย์ ในธรรมวินัย นี้ เปรียบเหมือนชายผู้เป็นเจ้าของต้นรัง มีต้นละหุ่งขึ้น แซมในป่ารังนั้น เขาจะถอนต้นละหุ่งทิ้ง และก�ำจัดต้นรัง เล็กๆ ที่ไม่ดีออก เมื่อท�ำแล้ว ต้นรังที่ดีก็จะเจริญงอกงาม 3. ตรั ส เล่ า ว่ า ที่ น ครสาวั ต ถี นี่ เ อง หญิ ง แม่ บ ้ า น คนหนึ่ ง ชื่ อ เวเทหิ ก า เล่ า กั น ว่ า เป็ น คนสงบเสงี่ ย ม เรียบร้อย อ่อนโยน เธอมีห ญิง รับใช้คนหนึ่งเป็นคนขยัน วันหนึ่ง หญิงรับใช้ต้องการทดลองนายหญิงว่าเป็นคนยัง มี ค วามโกรธอยู ่ ห รื อ เปล่ า จึ ง แกล้ ง นอนตื่ น สาย วั น แรก 9
เวเทหิกาโกรธ กล่าวค�ำหยาบด่าว่า วันที่สอง ก็แผดเสียง ด่ า ด้ ว ยถ้ อ ยค�ำหยาบคาย วั น ที่ ส าม ตื่ น สายกว่ า วั น ก่ อ น อี ก คราวนี้ เ วเทหิ ก านอกจากจะด่ า แล้ ว ยั ง คว้ า ลิ่ ม ประตู เขวี้ยงหัวคนรับใช้ด้ว ย หญิงรับใช้หัวแตก วิ่งออกไปบอกชาวบ้านว่าเวเทหิกา ไม่ไ ด้สงบ อ่อนโยน ดังที่เ ล่าลือกันหรอก 4. พระบางรูป สงบเสงี่ยมเรียบร้อย อ่อนโยนอยู่ได้ เพราะยั ง ไม่ มี ถ ้ อ ยค�ำที่ ไ ม่ ช อบใจเข้ า มากระทบ เมื่ อ ใด ที่มีถ้อยค�ำอันไม่น่าพอใจเข้ามากระทบแล้วยังสงบอยู่ได้ จึง จะเป็นผู้สงบเสงี่ย มเรีย บร้อยแท้จริง 5. พระที่ ว ่ า ง่ า ยสอนง่ า ย เพราะอยากได้ ป ั จ จั ย สี่ เป็นลาภ ก็ไม่เรียกว่าเป็นผู้ว่าง่าย เพราะถ้าไม่ได้ปัจจัย สี่ก็จะว่า ยากขึ้น มาทันที ส่วนพระใดว่าง่าย เพราะเคารพธรรม สักการะธรรม จึง จะเป็นผู้ว่า ง่ายแท้ 6. ค�ำที่ผู้อื่นจะพูดกับพวกเธอนั้น จะมีอยู่ 5 ประการคือ 6.1 พูด ในเวลาที่สมควรหรือไม่สมควร 6.2 พูด เรื่อ งจริงหรือเรื่องไม่จ ริง 6.3 พูด มีป ระโยชน์ห รือไม่มีประโยชน์ 6.4 พูด อ่อนหวานหรือหยาบคาย 6.5 พูด ด้วยเมตตาจิต หรือพูดด้ว ยโทสะ 10
เขาจะพู ด อย่ า งไรก็ ต าม พระจะต้ อ งท�ำในใจว่ า จิ ต ของเราจะไม่แปรปรวน คือท�ำใจให้มั่นคงไว้ จะไม่เปล่ง ค�ำไม่ดีออกไป เราจะอนุเ คราะห์เขาด้ว ยค�ำพูดที่ดีและมี ประโยชน์ จะมี เ มตตาต่ อ บุ ค คลนั้ น เราจะแผ่ เ มตตาไป ทั่ว ทั้งโลก เราจะท�ำใจให้เ หมือน 1. แผ่นดินซึ่งใครๆ จะขุดให้หมดไม่ได้ 2. อากาศซึ่งใครๆ จะระบายสีให้ติดไม่ได้ 3. แม่ น�้ ำ คงคาที่ ใ ครๆ จะเอาคบเพลิ ง มาจุ ด ให้ ติ ด ไม่ไ ด้ คบเพลิงนั้นย่อมดับ ไปเอง 4. ถุ ง หนั ง แมวที่ น ายช่ า งฟอกดี แ ล้ ว อ่ อ นนุ ่ ม ดั ง ปุยนุ่น และส�ำลี ซึ่งใครๆ จะตีให้ดังไม่ได้ 7. ทรงเตือนพระทั้งหลายเป็นประการสุดท้ายว่า หาก พวกโจรใจเหี้ยมเอาเลื่อยที่มีด้ามจับสองข้างมาเลื่อยเธอ หากเธอมี ใ จคิ ด ร้ า ยต่ อ โจรนั้ น ก็ ไ ม่ เ รี ย กว่ า ท�ำตามค�ำ สั่งสอนของเรา พวกเธอจงใส่ใจในโอวาทอันเปรียบด้วย เลื่อยนี้เสมอๆ แล้วจะท�ำให้เห็นว่า ไม่มีถ้อยค�ำใดมาท�ำให้ เธออดทนไม่ได้ แล้วจะท�ำให้เธอมีความสุขตลอดไป ภิ ก ษุ ทั้ ง หลายต่ า งชื่ น ชมยิ น ดี ต ่ อ ภาษิ ต ของพระผู้ มี พระภาค 11
วันแรกที่เรียน ฉันรออาจารย์ด้วยการนั่งอ่านบทแรก นี้ พอได้ อ ่ า นว่ า จงท�ำใจให้ เ หมื อ นแผ่ น ดิ น ที่ ใ ครๆ จะ ขุ ด ให้ ห มดไม่ ไ ด้ ฉั น ร้ อ งในใจว่ า โอ้ โ ฮ แล้ ว ร้ อ งไห้ กระซิกๆ อยู่ใ นใจด้วยความตื้นตัน ช่า งเป็น ค�ำสอนที่ยิ่งใหญ่อะไรปานนั้น รักพระพุท ธเจ้า มากเลย
12
เซน เมื่อถามอาจารย์เรื่องเซน ท่านตอบว่า “เราจะอยู่บนยอด ไม้ อย่างเดีย วไม่ไ ด้ มัน ต้อ งลงมาบนพื้ นดิ น” หมายความว่ า เราจะอยู ่ กั บ สุ ญ ญตาได้ เ ป็ น บางครั้ ง บางคราว เราต้ อ งอยู ่ กั บปรมัต ถสั จ จะบ้ าง สมมุ ติสัจ จะบ้ า ง สุญญตาเป็นปรมัตถสัจจะ ฉะนั้นถ้าเราอยู่กับปรมัตถ์ตลอด เวลา เราจะอยู ่กั บคนอื่น ไม่ ไ ด้ เช่ น เราใส่ เ สื้ อ แดงไปงานศพ ไม่ เ ห็ น เป็ น ไร สี ก็ สั ก แต่ ว ่ า สี อย่ า งนั้ น เขาก็ จ ะต�ำหนิ เ รา เราอยู ่ บ นยอดไม้ คนอื่ น อยู ่ บ น พื้ นดิน คืองานศพใส่สี ด�ำ ฉะนั้น เราต้ อ งเข้ า ใจทั้ ง สองอย่ า ง คื อ ปรมั ต ถสั จ จะ และสมมุ ติ สั จ จะ และยอมรั บ และปฏิ บั ติ ใ ห้ สอดคล้องไป
13
เกร็ ด เรื่ อ งกรรม คนส่ ว นมากเข้ า ใจว่ า กรรมเป็ น เรื่ อ งตายตั ว เปลี่ ย นแปลง ไม่ ไ ด้ ไม่ มี เ งื่ อ นไข ท�ำอย่ า งไรได้ อ ย่ า งนั้ น ไม่ มี ท างแก้ ไ ข ให้ เบาบางลงได้ เหมือ นน�้ำกั บน�้ำ มัน แต่ใ นคั ม ภี ร์ ไ ม่ พ บว่ า มี ก ารเปรี ย บเทีย บบุ ญ บาปเหมื อนน�้ ำ กั บน�้ ำ มั น พระพุ ท ธเจ้ า เปรี ย บว่ า เหมื อ นน�้ำ กั บ เกลื อ บาปกรรมที่ ท�ำ แล้วย่อมละเสียได้ด้วยกุศล บาปกรรมที่ท�ำแล้ว ย่อมปิดกั้นได้ ด้ วยกุ ศ ล การท�ำดี ชั่ ว มี เ งื่ อ นไขเยอะ ท�ำดี ไ ม่ ไ ด้ ดี ก็ ไ ด้ ถ้ า ท�ำไม่ เ ป็ น เหมื อ นคนล้างพื้ นด้ ว ยน�้ำสกปรก พื้น ก็ไ ม่ ส ะอาด ถาม : ท�ำกรรมอย่ างไรได้ผ ลอย่า งนั้ นเสมอหรื อ ตอบ : การให้ ผ ลของกรรมมี เ งื่ อ นไข ปลู ก ข้ า วอาจไม่ ไ ด้ ข้ า ว ถ้ า น�้ ำ ท่ ว มหรื อ น�้ ำ แล้ ง ไม่ ไ ด้ ข ้ า ว เมล็ ด พั น ธุ ์ ดี ห รื อ เปล่ า ดิ น เป็ น อย่ า งไร การให้ ผ ลประกอบด้ ว ยเงื่ อ นไขหลายอย่ า ง เป็ น อจิ น ไตย พระพุ ท ธเจ้ า ไม่ ใ ห้ คิ ด ถ้ า เราเคยท�ำบาป ก็ เ ร่ ง สร้ า งบุ ญ สะสมบุ ญ ไว้ แต่ จ ะได้ ผ ลอย่ า งไรเมื่ อ ไหร่ ห นั ก เบา เท่ าไร ไม่ต ้องคิด
14
ถาม : ถ้ า เราเคยท�ำไม่ ดี แ ล้ ว มาท�ำดี เ พื่ อ ละลายกรรมเก่ า เป็ น การท�ำดีเ พื่อ หวัง เอาผลดี หรื อ เปล่ า ตอบ : เราคิ ดเอาดีห รือ ไม่ คิดก็ ไ ด้ ผลก็ อ อกมาเอง เหมื อ น พื้ น สกปรก เราเอาน�้ ำ สะอาดมาล้ า ง จะหวั ง หรื อ ไม่ ห วั ง พื้ น ก็ ต้องสะอาดอยู ่แล้ว พระพุ ทธเจ้ าบอกว่า ไข่ที่ ฟั กดี แล้ ว อย่ า งไรก็ ต ้ อ งได้ ลู กไก่ ถาม : การท�ำความดี ท�ำอย่ า งไรจึ ง จะถู กต้ อ ง ตอบ : 1. ท�ำดี ไ ม่ เอาดี ไม่ร อไม่ห วั ง ไม่ อ ยาก ให้ ใครชม 2. ท�ำความดีเพื่อความดี ให้ผลหรือไม่ เป็นหน้าที่ของกรรม ไม่ ใช่หน้าที่ ข องเรา 3. ท�ำดี เพราะว่า มัน ดี
15
ขอเพี ย งไม่ ใ ห้ ฉั น ดู ห นั ง นั ก สื บ เรื่ อ ง Closer ในที ม สื บ สวนมี ค นหนึ่ ง ที่ แก่ ม าก ไม่ ว ่ า กรมจะตั ด งบหรื อ ลดคนหรื อ ท�ำงานผิ ด พลาด โพรเวนซ่ า จะต้ อ งถู ก มองว่ า ให้ เ กษี ย ณทุ ก ที แต่ เ ขาไม่ ย อม โดนเกษี ยณ ถ้าหากว่า กรมจะย้ ายเขาจากงานสื บ สวนไปอยู ่ ง าน เอกสาร เขาก็ จ ะกอดงานนั้ น จนตายคาที่ เ ย็ บ กระดาษ เจ้ า นาย ถามเหตุ ผล ในที่สุด เขาตอบว่า “ตอนที่ ผ มหย่ า กั บ ภรรยาคนแรก ผมสั ญ ญาว่ า จะแบ่ ง เงิ น เกษี ย ณให้ เ ธอครึ่ ง หนึ่ ง ” เขามองหน้ า เจ้ า นายอย่ า งหวั ง ความ เข้ าใจ “แต่ผมจะไม่ ให้เ ธอสัก เก๊เ ดี ย ว” ฉั น หั ว เราะออกมา เพราะนั่ น หมายความว่ า โพรเวนซ่ า เอง ก็ ไม่ ได้ เงิ นอีก ครึ่ง หนึ่ ง เหมือ นกั น ไม่เ ป็ นไร ขอเพี ย งไม่ ต ้ อ งให้ เธอก็ แ ล้ วกัน สะใจพอแล้ว ตัว เองไม่ไ ด้ ไ ม่ เป็ นไร แวบนี้ท�ำให้นึ กถึ ง นิท านธรรมเรื่ องหนึ่ ง พระราชาเสนอให้ลูกชายสองคนบอกว่าต้องการอะไร จะให้ แต่ ด ้ วยความรัก ในลูก คนหนึ่ง มากกว่ าอี กคนหนึ่ ง จึ ง มี ข ้ อ แม้ ว ่ า ถ้ าคนแรกขออะไร คนที่ สองจะได้ม ากกว่ า เท่ า ตั ว ด้ ว ยความน้ อ ยใจที่ ไ ด้ รั บ ความรั ก น้ อ ยกว่ า เสมอ และด้ ว ย ความอิ จฉาอย่างมาก คนแรกกราบทูล ว่า “ขอให้หม่อมฉัน ตาบอดข้ างหนึ่ง ” 16
หัว ใจคนเราซับ ซ้ อนยิ่ ง นัก การท�ำร้ า ยแม้ จ ะเป็ นเรื่ อ งทุ กข์ ทรมาน แต่ก็หอมหวานในความเจ็บปวดส�ำหรับคนที่มีดวงใจอัน ร้ าวราน การให้ อภั ย คื อความพ่า ยแพ้ ที่ย อมรั บ ไม่ ไ ด้ ในหนั ง นั ก สื บ ของฝรั่ ง จึ ง มี ฆ าตกรต่ อ เนื่ อ งที่ ร ้ า ยกาจและ ฉลาดมากอยู่ เ รื่ อ ยๆ ฉั น ไม่ รู ้ เ หมื อ นกั น ว่ า คนเขี ย นเรื่ อ งเอา ข้ อ มูลมาจากแฟ้ มประวัติข องต�ำรวจหรื อ ว่ า คิ ด ขึ้ นเอง แต่ ค วามเจ็ บ ปวดของฆาตกรมั ก จะมาจากความเจ็ บ ปวด ทางจิตใจที่ได้รับจากครอบครัวในวัยเด็ก พอโตขึ้นก็มาแก้แค้น เอากับคนแปลกหน้า ดูแล้วก็เป็นเรื่องน่ากลัวมาก ได้แต่ภาวนา ว่ าขอให้อยู่ แต่ใ นหนัง เท่ านั้ นเถอะ
17
สนทนาธรรม ครั้งหนึ่ง ภิกษุรูปหนึ่งเที่ยวเดินหาร้านขายน�้ำผึ้งเพื่อน�ำไป ปรุ ง ยาให้ แ ก่ ภิ ก ษุ อื่ น แต่ ห าไม่ พ บ จึ ง ถามหญิ ง คนหนึ่ ง นาง ชี้ ท างให้ และเฝ้ามองดูอ ยู ่ ชายผู ้ ข ายน�้ ำ ผึ้ ง ถวายน�้ ำ ผึ้ ง จนเต็ ม บาตร และอธิ ษ ฐานขอ ให้ ไ ด้ เ กิ ด เป็ น พระราชา หญิ ง นั้ น จึ ง อธิ ษ ฐานขอให้ ไ ด้ เ กิ ด เป็ น มเหสี ของชายผู้นั้ น ค�ำถาม : การอธิ ษ ฐานเช่ นนี้ ไ ม่ ถือ เป็ นความโลภหรื อ ค�ำตอบ : โลภเหมื อ นกั น เป็ น โลภในบุ ญ อาศั ย ไปก่ อ น อาศั ย โลภะละโลภะ อาศั ย ตั ณ หาละตั ณ หา การอธิ ษ ฐานเป็ น ของดีระดับหนึ่ง จะตัดรอนเสียทั้งหมดเลยไม่ได้ คนจะไม่กล้า ท�ำความดี พอจิ ต ขึ้ น ถึ ง ระดั บ หนึ่ ง แล้ ว อี ก หน่ อ ยก็ จ ะค่ อ ยๆ เลิ ก ไปเอง การอธิษ ฐานไม่ไ ด้ ห้ าม ท่ านจึ ง เล่ า ถึ ง อานิ ส งส์ ข อง การอธิษฐานไว้มากมายแต่ท่านห้ามโลภในทางทุจริต เช่น โลภ อยากได้ ทรัพย์ข องผู ้อื่ น เป็ นต้ น
18
19
2 เปรี ย บเหมื อ นงู พิ ษ (อลคั ท ทู ป มสู ต ร)
พระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า ประทั บ อยู ่ ที่ วั ด เชตวั น เมื อ ง สาวัต ถี ภิ ก ษุ รู ป หนึ่ ง ชื่ อ อริ ฏ ฐะ มี ค วามเห็ น ผิ ด ว่ า สิ่ ง ใดที่ พระพุ ท ธเจ้ า ตรั ส ว่ า เป็ น อั น ตราย สิ่ ง นั้ น ไม่ เ ป็ น อั น ตราย จริง ภิกษุทั้งหลายเตือนเขาว่า การคิดอย่างนั้นไม่ถูกต้อง ขอให้ เ ปลี่ ย นความคิ ด เสี ย เพราะความจริ ง แล้ ว เมื่ อ พระองค์ ต รั ส ว่ า สิ่ ง ใดเป็ น อั น ตรายต่ อ ผู ้ ป ระพฤติ สิ่ ง นั้ น เป็น อัน ตรายจริง ตัวอย่างเช่นเรื่องโทษของกาม (ความ ใคร่ ความติด ใจ หลงใหลในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส) ก็เป็น โทษจริง 20
แต่ไม่มีใครท�ำให้อริฏฐะเปลี่ยนความคิดได้ จึงทูลให้ พระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า ทราบ พระองค์ รั บ สั่ ง ให้ เ ขาเข้ า เฝ้ า และถามว่าเป็นเช่นนั้นจริงหรือไม่ เขายอมรับ พระองค์ ทรงติเ ตีย นเป็นอันมาก พระศาสดาตรั ส ถามภิ ก ษุ ทั้ ง หลายได้ ค วามว่ า ไม่ มี ใครมีความเห็นอย่า งเดีย วกับ อริฏฐะเลย จึงตรัสสอนภิกษุทั้ง หลายว่า บางคนเล่ า เรี ย นเพี ย งเพื่ อ ยกตนข่ ม ผู ้ อื่ น เพี ย งเพื่ อ โต้ เ ถี ย งเอาชนะผู ้ อื่ น ไม่ ไ ด้ ไ ตร่ ต รองธรรมด้ ว ยปั ญ ญา ไม่ ไ ด้ ป ระโยชน์ จ ากการเรี ย นธรรม เป็ น ไปเพื่ อ โทษและ ทุก ข์แ ก่ต นเอง เปรี ย บเหมื อ นคนต้ อ งการงู พิ ษ เมื่ อ เจองู พิ ษ แล้ ว ก็ จั บ มั น ที่ ห าง งู พิ ษ ย่ อ มจะเอี้ ย วตั ว มาฉกกั ด คนนั้ น ถึ ง ตายได้ บางคนเรี ย นธรรมไม่ ดี ก็ เ หมื อ นกั น ย่ อ มได้ รั บ โทษ ทุก ข์ต ลอดไป ส่วนคนเรียนธรรมด้วยดี ไตร่ตรองเนื้อความในธรรม ด้วยปัญญา เขาเอาไม้ง่ามหนีบคองูไว้ก่อน แล้วจับที่คอ งูกัด ไม่ไ ด้ แม้ห างมันจะพันแขนพันขาบ้าง ก็ไม่ถึงตาย หรื อ ทุ ก ข์ ป างตาย เขาย่ อ มน�ำงู ไ ปใช้ ป ระโยชน์ ต ามที่ ต้องการได้ 21
ถ้ า ภิ ก ษุ เ รี ย นธรรมแล้ ว ไม่ เ ข้ า ใจ ควรสอบถามผู ้ รู ้ และตรัสว่า “ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย เราแสดงธรรม เปรี ย บเหมื อ นเรื อ หรือแพ สมมุติว่าชายคนหนึ่งเห็นฝั่งนี้มีภัย เห็นฝั่งโน้น ปลอดภั ย น่ า อยู ่ ต้ อ งการจะข้ า มไปฝั ่ ง โน้ น แต่ ไ ม่ มี เ รื อ ไม่มีแพ เขาจึงเอาเชือกบ้างกิ่งไม้บ้างมาท�ำเป็นแพ แล้ว อาศั ย แพนั้ น ข้ า มฝั ่ ง โดยปลอดภั ย เมื่ อ ถึ ง ฝั ่ ง โน้ น แล้ ว เขาคิ ด ว่ า แพนี้ มี อุ ป การะมากเลยยกแพขึ้ น เหนื อ หั ว แบก ไปด้วย อย่า งนี้เ รียกว่าเขาท�ำถูกต้องหรือไม่” ภิกษุต อบว่า “ไม่เลยพระเจ้าข้า” “ภิ ก ษุ ทั้ง หลาย สิ่ง ที่ค นนั้ นควรท�ำก็ คื อ ยกแพขึ้ น บก แล้วทิ้ง ไว้ที่ฝ ั่ง น�้ำนั่นเอง แล้ว ตนเองก็เดินทางต่อไป ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย เราแสดงธรรมเปรี ย บเหมื อ นแพ ส�ำหรับข้า มฝั่ง เมื่อถึง ฝั่ง แล้ว ต้องละแพเสีย เราแสดงธรรมเพื่อการสละออก ไม่ใช่เพื่อให้ยึดถือ เราไม่ใช่สอนให้ละเพียงแค่อธรรม แต่ว่าให้ละธรรม ด้วย” หมายเหตุ ประโยคสุ ด ท้ า ยอาจารย์ ว ศิ น อิ น ทสระ อธิบายเพิ่มเติมไว้ว ่า เปรี ย บอี ก อย่ า งหนึ่ ง คื อ คนไข้ ที่ ต ้ อ งกิ น ยา กิ เ ลส 22
เปรี ย บเหมื อ นโรค ธรรมเปรี ย บเหมื อ นยา เมื่ อ กิ น ยา หายโรคแล้ ว ก็ ไ ม่ ต ้ อ งกิ น อี ก ต่ อ ไป ผู ้ ป ระพฤติ ธ รรมเพื่ อ ก�ำจัดกิเลสหรืออธรรม เมื่อก�ำจัดกิเลสได้หมดแล้ว ก็ไม่ ต้อ งใช้ธ รรมเพื่อก�ำจัดกิเ ลสอีก เรียกว่าทิ้งธรรมได้ แต่ ยัง คงประพฤติธ รรมเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น
23
3 เปรี ย บเหมื อ นจอมปลวก (วั ม มิ ก สู ต ร)
พระกุ ม ารกั ส สป เป็ น สาวกอรหั น ต์ อ งค์ ห นึ่ ง ของ พระพุ ท ธเจ้ า พั ก อยู ่ ที่ ป ่ า อั น ธวั น คื น หนึ่ ง มี เ ทวดาองค์ หนึ่ง มาถามท่า นเกี่ยวกับปริศนาธรรม 15 ข้อ และบอก ว่าไม่มีใ ครแก้ป ัญหานี้ได้นอกจากพระพุทธเจ้า ปริศนาธรรมนั้นมีดัง นี้ มีจอมปลวกอยู่จอมหนึ่ง กลางคืนพ่นควัน กลางวัน เป็ น เปลวไฟ พราหมณ์ ค นหนึ่ ง บอกกั บ ศิ ษ ย์ ชื่ อ สุ เ มธว่ า จงเอาศั ส ตราขุ ด ลงไปที่ จ อมปลวก สุ เ มธขุ ด ลงไป เจอ ลิ่มสลัก พราหมณ์บอกให้ยกขึ้นวางไว้เมื่อขุดต่อไปได้พบ อึ่ ง อ่ า ง ทางสองแพร่ ง หม้ อ กรองน�้ ำ ด่ า ง เต่ า เขี ย งหั่ น เนื้อ ชิ้นเนื้อ และนาค โดยล�ำดับ ทุกอย่างพราหมณ์บอก 24
ให้ ย กมาวางไว้ นอกจากนาคซึ่ ง พราหมณ์ บ อกให้ นอบน้อมต่อนาค พระกุมารกัสสป น�ำปัญหานี้ไปทูลถามพระศาสดาใน วันรุ่งขึ้น พระองค์ต รัสแก้ป ริศ นา ดังนี้ 1. จอมปลวก หมายถึงร่างกายคนเรานี้ ซึ่งประกอบ ด้ ว ยธาตุ คื อ ดิ น น�้ ำ ลม ไฟ มี ค วามทรุ ด โทรมเป็ น ธรรมดา 2. กลางคื น เป็ น ควั น หมายถึ ง คนเราต้ อ งนอน ตรึ ก ตรองว่ า พรุ ่ ง นี้ จ ะท�ำอะไร อาการครุ ่ น คิ ด นั้ น เปรี ย บ เหมือนควัน 3. กลางวันเป็นเปลวไฟ หมายถึง กลางวันเราต้อง ท�ำงานด้วยกายและวาจา มีความเหน็ดเหนื่อย 4. พราหมณ์ หมายถึ ง พระตถาคตอรหั น ตสั ม มา สัม พุทธเจ้า 5. สุ เ มธ หมายถึ ง ภิ ก ษุ ผู ้ ยั ง ต้ อ งศึ ก ษาและปฏิ บั ติ เพื่อพ้น ทุกข์ 6. ศัสตรา หมายถึง ปัญ ญาอันประเสริฐ 7. การขุ ด หมายถึ ง วิ ริ ย ารั ม ภะ คื อ การท�ำความ เพีย รเสมอต้นเสมอปลาย 8. ลิ่มสลัก หมายถึง อวิชชา 9. อึ่งอ่า ง หมายถึงความคับแค้นเพราะความโกรธ 25
10. ท างสองแพร่ ง หมายถึ ง วิ จิ กิ จ ฉา ความลั ง เล สงสัยไม่อาจตกลงใจได้ 11. ห ม้ อ กรองน�้ ำ ด่ า ง หมายถึ ง นิ ว รณ์ 5 มี กามฉัน ทะ ความพอใจในกาม เป็นต้น 12. เ ต่ า หมายถึ ง อุ ป าทานขั น ธ์ 5 คื อ อุ ป าทาน (ความยึ ด มั่ น ) ในรู ป เวทนา สั ญ ญา สั ง ขาร วิ ญ ญาณ ว่า เป็น เรา เป็น ตัว ตนของเรา 13. เขียงหั่นเนื้อ หมายถึง กามคุณ 5 คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพ พะ(สัมผัส) 14. ชิ้ น เนื้ อ หมายถึ ง ความก�ำหนั ด เพราะความ เพลิด เพลิน 15. น าค หมายถึ ง พระอรหั น ต์ ขี ณ าสพ (ขี ณ าสพ แปลว่า สิ้น กิเ ลสแล้ว) พระกุมารกัสสปฟังพุทธพยากรณ์แล้วมีใจชื่นชมยินดี ............................ อาจารย์วศิน อินทสระ ได้สรุปคติไว้โ ดยย่อ ดังนี้ ร่า งกายนี้ดุจจอมปลวก มีรูมาก เป็นที่ไหลออกของ ตั ว ปลวก คื อ สิ่ ง สกปรกต่ า งๆ เช่ น ขี้ ต าออกจากตา เป็น ต้น ร่ า งกายต้ อ งการอาศั ย ข้ า ว น�้ ำ เครื่ อ งนุ ่ ง ห่ ม ที่ อ ยู่ 26
อาศัย ยารักษาโรค ซึ่งได้มาจากการท�ำงาน คนเราจึงต้อง ทุกข์ยากในการท�ำงาน บางคนท�ำมาไม่พอใช้ต้องท�ำงาน หนั ก บางคนท�ำมาพอใช้ แต่ ค วามเพลิ ด เพลิ น นั้ น ก็ เร่งเร้า ให้ท�ำงานหนักขึ้นอีก พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงรู้เห็นธรรมทั้งปวง มอบศั ต ราคื อ อริ ย ปั ญ ญาให้ แ ก่ ส าวก ให้ ใ ช้ ค วามเพี ย ร เพื่อ ขุด หาสิ่งดี ในการแสวงหาย่อมพบสิ่ง ดีบ้างไม่ดีบ้าง เมื่อเจอสิ่ง ไม่ ดี ท่ า นก็ ใ ห้ ย กขึ้ น พิ จ ารณาแล้ ว ทิ้ ง เสี ย เมื่ อ เจอสิ่ ง ดี ก็ยกไว้บูช า กิ เ ลสเป็ น สิ่ ง ไม่ ดี ค วรละ คุ ณ ธรรมเป็ น สิ่ ง ดี ค วร พอกพู น รั ก ษา พระอรหั น ต์ เ ป็ น ผู ้ ป ระเสริ ฐ ท่ า นละ ความชั่ ว ได้ ห มดสิ้ น แล้ ว เป็ น ตั ว อย่ า งที่ ดี แ ก่ ผู ้ มุ ่ ง ดี จึ ง ควรเคารพบูชาท่าน
27
4 รถ 7 ผลั ด (รถวิ นี ต สู ต ร)
พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับที่วัดเชตวัน เมืองสาวัตถี ภิกษุชาวชาติภูมิ (ต�ำบลหนึ่งในแคว้นสักกะ) ออกพรรษา แล้ ว ได้ ม าเฝ้ า พระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า พุ ท ธองค์ ต รั ส ถามว่ า ที่ ช าติ ภู มิ มี ภิ ก ษุ ใ ดที่ เ พื่ อ นภิ ก ษุ ด ้ ว ยกั น ยกย่ อ งว่ า เป็ น ผู ้ มั ก น้ อ ย สั น โดษ ชอบสงั ด ไม่ ค ลุ ก คลี ด ้ ว ยหมู่ ค ณะ มี ค วามเพี ย รสม�่ ำ เสมอ สมบู ร ณ์ ด ้ ว ยศี ล ปั ญ ญา วิ มุ ต ติ (ความหลุด พ้น ) และวิมุตติญาณทัส สนะ (ความรู้เห็นซึ่ง ความหลุ ด พ้ น ) และพรรณนาคุ ณ ของคุ ณ ธรรมเหล่ า นี้ พร้อมทั้งชักจูงแนะน�ำผู้อื่นให้ท�ำเช่นนั้นด้ว ย ภิ ก ษุ ช าวชาติ ภู มิ ทู ล ว่ า ผู ้ มี คุ ณ สมบั ติ เ ช่ น นั้ น คื อ พระปุณณะ มันตานีบุตร 28
ครั้ ง นั้ น พระสารี บุ ต รอยู่ ใ นที่ เ ฝ้ า ด้ ว ย มี ค วาม ปรารถนาจะได้พบพระปุณ ณะบ้าง ต่ อ มาพระศาสดาเสด็ จ มายั ง เชตวั น อี ก ครั้ ง พระ ปุ ณ ณะทราบข่ า วจึ ง ได้ ม าเข้ า เฝ้ า สนทนากั บ พระผู ้ มี พระภาค พอสมควรแล้วก็ทูล ลาไปพักที่ป่าอันธวัน พระสารี บุ ต รตามไปที่ ป ่ า อั น ธวั น ได้ พ บพระปุ ณ ณะ สนทนากั น ตามสมควรแล้ ว พระสารี บุ ต รก็ ถ ามพระ ปุณณะเรื่องวิสุทธิ 7 ว่า “ท่ า นประพฤติ พ รหมจรรย์ ใ นส�ำนั ก ของพระผู ้ มี พระภาคเพื่อความบริสุทธิ์แห่งศีล หรือเพื่อความบริสุทธิ์ แห่งจิต หรือเพื่อความบริสุท ธิ์แห่ง ความเห็น เป็นต้น” พระปุณ ณะปฏิเสธทั้งหมด ตอบว่า “เราประพฤติ พ รหมจรรย์ เ พื่ อ อนุ ป าทาปริ นิ พ พาน คือ ความดับ กิเลสโดยไม่มีเชื้อ ส�ำหรับวิสุทธิ 7 นั้นเป็น เพีย งข้อปฏิบัติเพื่อให้ถึง อนุปาทาปรินิพพาน เปรียบเหมือนรถม้า 7 ผลัด จากเมืองสาวัตถีไปเมือง สาเกต รถทั้ ง 7 ผลั ด ไม่ ใ ช่ จุ ด หมายปลายทาง ส่ ว น จุดหมายปลายทางคือเมืองสาเกต” พระสารีบุตรชื่นชมยินดีใ นค�ำตอบเป็นอย่างยิ่ง และ เมื่ อ พระปุ ณ ณะทราบว่ า ท่ า นที่ ส นทนาด้ ว ยนั้ น คื อ พระ สารีบุตร อัครสาวกเบื้องขวาของพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว 29
ก็ถ่อมตนว่า ถ้าทราบอย่างนี้เสียก่อน คงพูดอะไรไม่ค่อย ออกเป็นแน่ ................................ เพื่อนๆ คงเคยได้ยินนิทานเซนที่อาจารย์ชี้ดวงจันทร์ ให้ลูกศิษ ย์ดู แล้วบอกว่า “นิ้วที่ชี้ด วงจันทร์ไม่ใช่ด วงจันทร์” บางที เ ราง่ ว นอยู่ กั บ สิ่ ง ที่ จ ะท�ำเพื่ อ ไปถึ ง จุ ด หมายจน ลืมจุด หมาย (หรือบางทีท�ำจุดหมายหล่นหายไปเลยนิ)
30
การให้ ในเรื่องการให้ มีค�ำสอนน่ าสนใจอยู ่ ห ลายข้ อ ดั ง นี้ 1. ผู ้ใ ห้ บัน เทิ ง อยู่ ด้ว ยการให้ ผู ้ รั บ อ่ อ นน้ อ ม ถนอมน�้ ำ ใจ ด้ วยปิย วาจา ฉะนั้ น บั ณฑิตจึง สอนว่ า อย่ า ติ ข องที่ เขาให้ 2. การให้ เ ป็ น ยาเสน่ ห ์ การไม่ ใ ห้ เ ป็ น ยาให้ ค นเกลี ย ดชั ง การให้เ ป็นยาให้ไ ด้ ย ศ การไม่ ให้ เป็ นยาให้ ก�ำพร้ า พวกพ้ อ ง 3. การให้ 1. ให้สิ่ ง ที่ควรให้ 2. ให้แก่คนที่ควรให้ 4. การให้เป็นการฝึกคนที่ยังไม่ได้ฝึก คือให้เขาฝ่ายเดียว เรื่ อ ยๆ ให้ เขาเรี ย นรู ้ถึ ง การให้ 5. การไม่ให้เป็นการประทุษร้ายผู้ที่ได้ฝึกแล้ว คือท่านฝึก ดีแล้ว เช่น สงฆ์ที่ดี บิดามารดาที่ดี ถ้าเราไม่ให้ก็คือไม่สนับสนุน ท่าน 6. มีทรัพย์แล้วแบ่งปัน ท่านกล่าวว่าเทวดาจะรักษา ดังนี้ “ผู้เกื้อกูลท�ำโภคะให้เป็นประโยชน์แก่ชนหมู่มาก เทวดาย่อม รักษาเขาผู้นั้น ผู้ซึ่งธรรมคุ้มครองแล้ว ผู้เป็นพหูสูตร สมบูรณ์ ด้วยศีลและวัตร เกียรติย่อมไม่ละบุคคลผู้ตั้งอยู่ในธรรม”
31
5 เหยื่ อ ล่ อ (นิ ว าปสู ต ร) พระผู ้ มี พ ระภาคทรงสั่ ง สอนภิ ก ษุ ทั้ ง หลายเรื่ อ ง กามคุณ 5 คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (สัมผัส) ว่ า เป็ น เหยื่ อ ล่ อ ของมาร เปรี ย บเหมื อ นนายพรานปลู ก หญ้ า ไว้ เ พื่ อ ล่ อ หมู่ เ นื้ อ ไม่ ใ ช่ ด ้ ว ยความหวั ง ดี แต่ เ พื่ อ จะจั บ เนื้ อ ภิ ก ษุ ผู ้ ติ ด ในกามคุ ณ 5 ย่ อ มจะพิ น าศ มี รายละเอีย ด ดัง นี้ 1. เ นื้ อ พวกที่ 1 เข้ า ไปในป่ า หญ้ า ที่ น ายพรานปลู ก ไว้ กิน หญ้า เพลินอยู่ ลืมตัว ประมาท ถูกพรานจับได้ 2. เ นื้ อ พวกที่ 2 เห็ น เนื้ อ พวกที่ 1 ถู ก จั บ จึ ง หนี เข้า ป่า ไม่ย อมกินหญ้าที่นายพรานปลูก แต่เมื่อถึงหน้า แล้ ง เป็ น เวลาขาดแคลนน�้ ำ และหญ้ า ฝู ง เนื้ อ ซู บ ผอม หมดเรี่ ย วแรง อดทนไม่ ไ หว ต้ อ งพากั น มากิ น หญ้ า ของ 32
นายพรานและถูกจับ ได้ 3. เ นื้อพวกที่ 3 รู้เรื่องของพวกที่ 1 และ 2 แล้ว จึง ซุ่มอยู่ในป่าใกล้ๆ ป่า หญ้า ของนายพราน แต่ไม่ยอม กิ น หญ้ า นั้ น พรานและบริ ว ารจึ ง ออกไปหาที่ อ ยู ่ ข องเนื้ อ แล้วล้อมจับจนได้ 4. เ นื้อพวกที่ 4 รู้เรื่องทั้ง หมดนี้แล้ว ก็ชวนกันไป อยู ่ ใ นที่ ที่ พ รานตามล่ า ไม่ ถึ ง ไม่ ส นใจหญ้ า ที่ น ายพราน ปลูกไว้ จึง ปลอดภัย พระศาสดาตรั ส ต่ อ ไปว่ า ป่ า หญ้ า หมายถึ ง กามคุ ณ 5 พรานเนื้ อ หมายถึ ง มาร (กิ เ ลสที่ ท�ำลายคุ ณ งาม ความดี ) บริ ว ารของพราน คื อ บริ ว ารของมาร ฝู ง เนื้ อ หมายถึง นักบวช สมณพราหมณ์ สมณพราหมณ์บางพวกหลงใหลในกามคุณ บางพวก อยากหนีแต่อดทนไม่ได้ บางพวกไม่ติดในกามคุณ แต่ไป ติดข่าย คือ ทิฐิ (ความเห็นผิดและชักจูงให้คนอื่นเห็นผิด ตาม) บางพวกพ้นไปได้เหมือนเนื้อพวกที่ 4 ทรงแสดงว่า ที่ ที่ ม ารไปไม่ ถึ ง คื อ ฌานทั้ ง 8 ระดั บ และสั ญ ญาเวทยิ ต นิโรธ คือ ความดับสัญญาและเวทนาอันเป็นระดับ 9 แต่ ไม่จัดเป็นฌาน มีความสงบประณีตอย่างยิ่ง ธรรมดังกล่าว นี้ตรัสว่าท�ำให้มารตาบอด ท�ำให้มารไม่เห็นร่องรอย 33
หมายเหตุ : กามคุณ ไม่ใช่แ ปลว่า คุณ ของกาม แต่แปลว่า กลุ่ม ของกาม มี 5 ประการ มนุษย์เกิดจากกามคุณ คลุกคลีอยู่ด้วยกามคุณตั้งแต่ เล็ ก จนโตท�ำให้ เ คยชิ น โดยเฉพาะคนในวั ย ต้ น ทั้ ง ร่ า งกายจิ ต ใจหมกมุ ่ น อยู่ ใ นกามคุ ณ เกื อ บตลอดเวลา มี แต่ บ�ำเรอตนด้ ว ยกามคุ ณ อั น ประณี ต น้ อ ยนั ก ที่ จ ะเห็ น โทษ เมื่ อ รู้ ว ่ า เป็ น โทษแล้ ว ก็ ล ะยากอย่ า งยิ่ ง กามคุ ณ จึ ง เป็ น เหยื่ อ ล่ อ ของโลก ท�ำให้ ค นติ ด อยู่ ใ นโลกและได้ รั บ ความทุกข์ทรมานไม่ใช่น้อย ถ้าบรรเทาความกระหายใน กามคุณลงได้ โลกก็จ ะสงบเย็นมากขึ้น
34
ไม่ มี วั น โกรธ นิท านธรรมเรื่อ งหนึ่ ง เล่า ไว้ถึ ง เรื่ อ งความอดทน พระราชาผู ้ โ หดเหี้ ย มพบฤาษี นั่ ง ปลี ก วิ เ วกอยู่ เมื่ อ สนทนา กั น พระราชาไม่ พอพระทัย อยากทดลองความอดทนของฤาษี ให้ เพชฌฆาตตั ดแขน ฤาษีก็ ไ ม่ โกรธ ให้ เพชฌฆาตตั ด ขา ฤาษี ก็ ไ ม่ โ กรธ ให้ ท�ำร้ า ยิ่ ง ขึ้ น ก็ ไ ม่ โ กรธ ก่ อ นจะถู ก ตั ด หั ว ฤาษี ยั ง อวยพรให้พ ระราชาและเอ่ ย ยกโทษให้ ด้ ว ย ค�ำถาม : ตรงจุ ดที่ส อนเรื่ องไม่ ให้ โกรธ เช่ นเรื่ อ งนี้ ท�ำให้ ความอดทนของคนคนหนึ่ ง ไปสนองความโกรธของอี ก คนหนึ่ ง จุ ดนี้ต ้องการแสดงอะไร ค�ำตอบ : ท่ า นสอนภิ ก ษุ เพื่ อ ไม่ ใ ห้ คิ ด ประทุ ษ ร้ า ยผู ้ อื่ น สมณะมีอดทนเป็น ก�ำลัง ฤาษี ท่ านบ�ำเพ็ ญ ธรรมโดยอธิ ษ ฐานจิ ต ไม่ โกรธ ท่า นจึง ยอมให้ ท�ำโดยไม่ โกรธ มองในมุมกลับ คือถ้าทุกคนคิดอย่างนี้ ความสงบจะมีมากขึ้น เพราะถ้ามีก ารไม่ ย อม มีก ารสนองตอบ เหตุ ร้ า ยก็ จ ะลุ กลาม คนอาจจะกลัว การสนองตอบ ก็ อ าจจะไม่ ค่ อ ยท�ำร้ า ยผู ้ อื่ น เพราะกลั ว ได้ รั บ โทษมาก คื อ มองในแง่ ว ่ า ถ้ า คนอื่ น มองอย่ า ง เรา สัง คมจะสงบ เป็ นการเสี ย สละ
35
บั น เทิ ง ธรรม จากคติว ่า “ถ้า แบ่ ง กัน ก็จ ะได้ ทุก คน ถ้ า แย่ ง กั นก็ ไ ม่ มีใคร ได้ สั ก คน” นิ ท านธรรมเรื่อ งลากับ เจ้ าของลา วันหนึ่งมีคนมาเช่าลาแล้วเดินทางไปด้วยกันสองคน ต่อมา ก็ ห ยุ ด เพื่ อ ให้ ล าได้ พั ก คนเช่ า คิ ด ว่ า เราเช่ า ลามาแล้ ว เงาลาก็ เป็ น ของเราด้ ว ย จึ ง นั่ ง พั ก ในเงาลานั้ น จนเต็ ม พื้ น ที่ ค นเดี ย ว ปล่ อ ยให้ เจ้าของลายืน ตากแดดร้ อนอยู่ ครั้นเจ้าของลารู้สึกร้อนมากเกินไปหน่อยแล้ว ก็คิดว่า เรา ให้ เช่ าลา ไม่ไ ด้ใ ห้ เช่ าเงาลาด้ ว ย ก็รี บจู ง ลาเดิ นหน้ า แล้ ว รี บ นั่ ง ลงในเงาลา ทั้ง สองคนจึ ง ทะเลาะกัน ลาเลยหนี ไ ป เรื่ อ งที่สอง พระเจ้าโกศล เป็น พระราชาที่ มีน�้ำ ใจเผื่ อ แผ่ เป็ นที่ รักของ ราษฎร วันหนึ่งพระเจ้าพรหมทัตยกทัพมารุกราน พระเจ้าโกศล พ่ า ยแพ้ ห นี ไ ป พระเจ้ า พรหมทั ต ประกาศให้ ร างวั ล แก่ ผู ้ จั บ ได้ แต่ ก็ ไม่ มีใ ครจับเพราะทุก คนรั กท่า น วั นหนึ่ง ชายคนหนึ่ ง เรื อแตก ซมซานเข้ า ไปในป่ า พบพระ เจ้ าโกศลแต่ไ ม่รู้จั ก เขาพู ดว่า “ถ้า พระเจ้ า โกศลยั ง ครองราชย์ อยู ่ เราคงไม่เ ดือดร้ อน” 36
พระเจ้ าโกศลไม่ไ ด้ แสดงตัว หากแต่ บ อกชายคนนั้ นว่ า “เจ้าจงไปกับ ฉั น ฉัน จะพาไปหาลาภ” แล้วพาชายคนนั้นไปพบพระเจ้าพรหมทัต บอกให้พระองค์ มอบรางวัลแก่ ชายคนนั้น พระเจ้ า พรหมทั ต ลงจากบั ล ลั ง ก์ แ ละ บอกว่า “ท�ำความดี เ ป็ น แต่ พ ระเจ้ า โกศลเท่ า นั้ น หรื อ เราก็ ท�ำเป็ น เหมือนกัน ” พระเจ้ า พรหมทั ต ยกเมื อ งคื น ให้ พ ระเจ้ า โกศล เพราะเห็ น ว่ า มี น�้ ำ ใจ เอื้ อ เฟื ้ อ แม้ กั บ คนที่ ไ ม่ รู ้ จั ก นี่ เ ป็ น การแข่ ง กั น ท�ำ ความดี
37
6 การแสวงหาที่ ป ระเสริ ฐ (ปาสราสิ สู ต ร)
พระศาสดาประทับ ณ วัดเชตวัน เมืองสาวัตถี เวลา เช้ า เสด็ จ เข้ า บิ ณ ฑบาตในเมื อ งสาวั ต ถี เมื่ อ บิ ณ ฑบาต และเสวยเสร็ จ แล้ ว ก็ ช วนพระอานนท์ ไ ปพั ก ที่ ป ราสาท ของนางวิ ส าขาที่ บุ พ พาราม ตอนเย็ น เสด็ จ ออกจาก บุ พ พารามไปสรงน�้ ำ ที่ ท ่ า อาบน�้ ำ ชื่ อ บุ พ พโกฏฐกะ มี หาดทรายขาวสะอาด สรงน�้ ำ เสร็ จ แล้ ว ทรงยื น ผึ่ ง พระ องค์ อ ยู่ พระอานนท์ ทู ล ให้ เ สด็ จ ไปพั ก ณ อาศรมของ พราหมณ์ชื่อรัมมกะ ทูลว่าเป็นที่รื่นรมย์และอยู่ไม่ไกล ขณะที่เสด็จไปถึง ภิกษุหลายรูปนั่งสนทนากันอยุู่ใน อาศรม คงจะเป็นภิกษุที่มาคอยฟังธรรม ทรงประทับยืน ฟัง การสนทนานั้นจนจบ ตรัสว่า 38
“ภิ ก ษุ ค วรสนทนาธรรม หรื อ มิ ฉ ะนั้ น ก็ อ ยู่ เ ฉยๆ” คือนิ่งเสีย ดีกว่าพูดพล่อยๆ หาสาระอะไรไม่ได้ ทรงแสดงธรรมแก่ภิกษุทั้ง หลายว่า การแสวงหาสิ่ง ที่มีการเกิด แก่ เจ็บ ตาย เช่น คน ช้ า ง ม้ า วั ว ควาย ทรั พ ย์ สิ น นั้ น ไม่ ป ระเสริ ฐ ส่ ว นการ แสวงหานิพ พานนั้นเป็นสิ่ง ประเสริฐ ตรัสเล่าเรื่องในอดีตของพระองค์ก่อนได้ตรัสรู้ ก็ทรง แสวงหาสิ่งที่ไม่ประเสริฐอยู่ระยะหนึ่ง แล้วออกแสวงหา โมกขธรรมหรื อ พระนิ พ พาน จนได้ บ รรลุ พ ระโพธิ ญ าณ อั น ประเสริ ฐ และทรงสั่ ง สอนให้ ป ระชาชนแสวงหาสิ่ ง ประเสริ ฐ ก่ อ นจะทรงแสดงธั ม มจั ก กั ป ปวั ต นสู ต รหรื อ อริย สัจ 4 แก่ป ัญจวัคคีย ์นั้น ได้ทรงแสดงเรื่องกามคุณ 5 ก่อน ดังนี้ “ภิกษุทั้ง หลาย กามคุณ 5 คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐั พ พะ อั น น่ า ใคร่ น ่ า พอใจ สมณพราหมณ์ พ วกใด ใฝ่ ฝ ั น หมกมุ ่ น ติ ด อยู ่ พวกเขาย่ อ มประสบความพิ น าศ เปรีย บเหมือนเนื้อติดบ่วงนายพราน ส่วนสมณพราหมณ์ผู้ไม่หลงใหล ไม่ใฝ่ฝัน ไม่หมกมุ่น พัวพันในกามคุณ มีปัญญาคิดสลัดออก แม้บริโภคกามคุณ ก็ ไ ม่ ถึ ง ความพิ น าศ เหมื อ นเนื้ อ ที่ ไ ม่ ติ ด บ่ ว ง แม้ น อน ทับบ่วงอยู่ เมื่อนายพรานมาถึงก็ลุกวิ่งหนีไปได้” 39
หมายเหตุ : การเกี่ ย วข้ อ งกั บ กามคุ ณ ที่ มี โ ทษนั้ น ผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งจะ ต้ อ งมี ส ติ ป ั ญ ญาเลื อ กเอาเฉพาะส่ ว นที่ เ ป็ น ประโยชน์ เว้นส่วนที่เป็นโทษ เหมือนคนกินปลาที่มีก้าง ต้องระวัง เอาก้างออกเสียก่อน บางคนเบื่อที่จะระวังก็เลิกกินปลา เสียเลย ก็นับ ว่า ปลอดภัยดี อนึ่ ง คนที่ เ กี่ ย วข้ อ งอยู ่ กั บ โซ่ ต รวน ติ ด โซ่ ต รวนก็ มี เช่น นักโทษ ไม่ติด โซ่ตรวนก็มี เช่นผู้คุมนักโทษ คนอยู่ ในโลกก็ท�ำนองเดียวกัน ติดโลกก็มี ไม่ติดโลกก็มี คนติด โลกย่อมได้รับ ทุกข์เ ป็นอันมาก คนไม่ติดโลก อาศัยโลก นั่น เองท�ำประโยชน์แก่ชาวโลก
40
41
7 เหมื อ นรอยเท้ า ช้ า ง (จู ฬ หั ต ถิ ป โทปมสู ต ร)
ชาณุ ส โสณี พ ราหมณ์ ออกจากเมื อ งสาวั ต ถี ด ้ ว ยรถ ใหญ่เทียมด้วยลา เครื่องประดับรถขาวล้วน ตอนนั้นเป็น เวลาเที่ย งวัน สวนทางกับปริพาชกชื่อโลติกะ พราหมณ์ ถามว่า ไปไหน เขาตอบว่าไปเฝ้าพระสมณโคดมมา พราหมณ์ถามปิโลติกะว่าเหตุใดจึงเลื่อมใสพระโคดม ยิ่ ง นั ก เหตุ ใ ดผู ้ ค นต่ า งสรรเสริ ญ ว่ า สมณโคดมเป็ น ผู ้ ป ระเสริ ฐ กว่ า เทวดาและมนุ ษ ย์ ทั้ ง หลาย ปิ โ ลติ ก ะ จึง กล่า วว่า “ท่ า นพราหมณ์ เปรี ย บเหมื อ นนั ก ล่ า ช้ า งผู ้ ฉ ลาด เข้ า ไปในป่ า เห็ น รอยเท้ า ช้ า งอั น ใหญ่ ทั้ ง กว้ า งทั้ ง ยาว เขาย่อมสั น นิษ ฐานได้ทันทีว่ าช้า งเชื อกนั้ นใหญ่ จ ริ งหนอ 42
ข้ า พเจ้ า เองก็ ฉั น นั้ น ได้ เ ห็ น ร่ อ งรอย 4 ประการใน พระสมณโคดม ท่ า นพราหมณ์ ข้ า พเจ้ า ได้ เ ห็ น 1 บั ณ ฑิ ต ผู ้ เ ป็ น กษัตริย์ 2 บัณฑิตผู้เป็นพราหมณ์ 3 บัณฑิตผู้เป็นคหบดี 4 บั ณ ฑิ ต ผู ้ เ ป็ น สมณะ ท่ า นเหล่ า นี้ เ ป็ น ผู ้ มี ป ั ญ ญาอั น เฉี ย บแหลมลึ ก ซึ้ ง ยิ่ ง นั ก เมื่ อ ได้ ข ่ า วว่ า พระสมณโคดม เสด็ จ ยั ง หมู ่ บ ้ า นโน้ น แล้ ว พวกเขาเตรี ย มตั ว ไปสนทนา กั บ สมณโคดม คิ ด ผู ก ปั ญ หาค�ำถาม และคิ ด ว่ า ถ้ า สมณ โคดมพูดอย่างนี้ เราจะแก้อย่างนั้นๆ แต่ พ อได้ เ ข้ า เฝ้ า จริ ง พระสมณโคดมทรงชี้ แ จง ชักชวน ปลุกใจให้ร่าเริงแจ่มใสด้วยพระวาจาอันประกอบ ด้ ว ยธรรมอั น ประเสริ ฐ บั ณ ฑิ ต เหล่ า นั้ น ได้ แ ต่ เ ป็ น ผู ้ ฟ ั ง ฝ่ า ยเดี ย ว บางท่ า นเลื่ อ มใสถึ ง กั บ ออกบวช ประพฤติ พรหมจรรย์ในส�ำนักของพระผู้มีพระภาคและส�ำเร็จเป็น พระอรหันต์” ชาณุ ส โสณี พ ราหมณ์ ซ าบซึ้ ง ลงจากรถ ท�ำผ้ า ห่ ม เฉวี ย งบ่ า ข้ า งหนึ่ ง ประนมมื อ นมั ส การไปทางทิ ศ ที่ พ ระ ผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า ประทั บ อยู ่ เปล่ ง วาจานอบน้ อ มแด่ พระองค์ เ ขาตั ด สิ น ใจไปเฝ้ า พระศาสดา ทู ล เล่ า เรื่ อ งที่ สนทนากับ ปิโ ลติกะ พระศาสดาตรัสว่า 43
“พราหมณ์ เรื่ อ งที่ อุ ป มาดั ง รอยเท้ า ช้ า งเพี ย งเท่ า นี้ ยังไม่สมบูรณ์ เราจะกล่าวให้บริบูรณ์ ขอให้ท่านจงตั้งใจ ฟัง เถิด อั น รอยเท้ า ใหญ่ ทั้ ง ยาวทั้ ง กว้ า ง และรอยเสี ย ดสี ใ น ที่สูง นั้น ของช้า งพังชื่อวามนิกาบ้า ง ชื่อกฬาริกาบ้าง ก็ มี อ ยู่ คนล่ า ช้ า งผู ้ ฉ ลาดได้ เ ห็ น เพี ย งเท่ า นี้ ย่ อ มยั ง ไม่ ตกลงใจว่ า ช้ า งนี้ ใ หญ่ แ ท้ ต่ อ เมื่ อ ตามรอยเท้ า ช้ า งนั้ น ไป เห็นที่ซึ่งงาแซะให้ขาดในที่สูง เห็นกิ่งไม้หักในที่สูง และ แลเห็น ตัวช้า งที่โคนต้นไม้ จะยืน เดิน นั่ง หรือนอนอยู่ ก็ต าม เขาจึงตกลงใจได้ว ่า ช้างนี้ใหญ่จริง ดูก่อนพราหมณ์ ข้ออุปมานี้ฉันใด อุปมัยก็ฉันนั้น คือ ตถาคตเกิ ด ขึ้ น เป็ น พระอรหั น ต์ ตรั ส รู ้ เ องโดยชอบ แสดงธรรมงามทั้ ง ในเบื้ อ งต้ น ท่ า มกลาง และในที่ สุ ด กุ ล บุ ต รเกิ ด ในตระกู ล ใดก็ ต าม ฟั ง ธรรมแล้ ว เลื่ อ มใส ออกบวช ประพฤติพ รหมจรรย์ เว้นสิ่ง ที่ควรเว้น ท�ำสิ่ง ที่ควรท�ำ มีศีล สันโดษ ส�ำรวมอินทรีย์ มีสติสัมปชัญญะ อยู่ในเสนาสนะอันสงัด ได้ฌานระดับต่างๆ และท�ำวิชชา ให้ เ กิ ด ขึ้ น จนจิ ต หลุ ด พ้ น จากกิ เ ลสทั้ ง ปวง เขาย่ อ ม ตกลงใจได้ว่า พระผู้มีพ ระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์ ข้ อ เปรี ย บเที ย บเรื่ อ งรอยเท้ า ช้ า งโดยสมบู ร ณ์ เ ป็ น อย่างนี้แลพราหมณ์” 44
ชาณุสโสณีพราหมณ์ กล่าวสรรเสริญพระธรรมเทศนา เป็ น อั น มาก พร้ อ มแสดงตนเป็ น อุ บ าสกนั บ ถื อ พระ รัตนตรัย ตลอดชีิวิต
45
8 วิ ธี พิ จ ารณาธาตุ (มหาหั ต ถิ ป โทปมสู ต ร)
พระผุู ้ มี พ ระภาคเจ้ า ประทั บ อยู่ ที่ วั ด เชตวั น เมื อ ง สาวัต ถี พระสารีบุต รได้โ อวาทภิกษุทั้ง หลาย ดังนี้ กุ ศ ลธรรมทั้ ง หลายย่ อ มรวมลงในอริ ย สั จ 4 เปรี ย บ เหมื อ นรอยเท้ า ช้ า งเป็ น รอยใหญ่ รอยเท้ า สั ต ว์ อื่ น ย่ อ มรวมลงในรอยเท้ า ช้ า งได้ ความเกิ ด แก่ เจ็ บ ตาย เป็นทุกข์ ความยึดมั่นในขันธ์ 5 เป็นทุกข์ อุปาทาน ขั น ธ์ 5 คื อ รู ป (ร่ า งกาย) เวทนา (สุ ข ทุ ก ข์ เฉยๆ) สั ญ ญา (ความจ�ำได้ ) สั ง ขาร (การปรุ ง แต่ ง ) วิ ญ ญาณ (การรับ รู้) รูป นั้น เป็น การรวมตัว ของดิน (ปฐวีธาตุ) น�้ำ (อาโป ธาตุ) ไฟ (เตโชธาตุ) ลม (วาโยธาตุ) 46
ธาตุดิน มีลักษณะแข็ง เช่น ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง ธาตุน�้ำ มีลักษณะเอิบอาบ เช่น น�้ำดี น�้ำเสลด น�้ำเลือด น�้ ำ เหงื่ อ ธาตุ ไ ฟ มี ลั ก ษณะร้ อ น เช่ น ไฟที่ ท�ำกาย ให้ อ บอุ ่ น ไฟที่ ท�ำกายให้ ท รุ ด โทรม ไฟที่ ท�ำกายให้ กระวนกระวาย (มี ไ ข้ สู ง ) ไฟที่ เ ผาผลาญอาหารให้ ย่ อ ย ธาตุ ล ม มี ลั ก ษณะพั ด ไปพั ด มา เช่ น ลมในท้ อ ง ลมหายใจ อากาศธาตุ คื อ ความว่ า งในกาย เช่ น ช่ อ งหู ช่ อ ง จมูก ช่องปาก เป็นต้น พระสารีบุตรอธิบายว่า “เรื อ นก็ คื อ อากาศที่ ไ ม้ หรื อ เชื อ ก ดิ น เหนี ย ว หรื อ หญ้า แวดล้อมอยู่ ร่า งกายคือ อากาศที่กระดูก เอ็น เนื้อ และหนัง แวดล้อมอยู่” วิญญาณธาตุ คือธาตุรู้ชนิดหนึ่งซึ่งอยู่ในกายนี้ อาศั ย ตา อาศั ย รู ป และอาศั ย ก�ำหนดหมาย ซึ่ ง เกิ ด จากตาและรูปนั้น จักษุวิญญาณจึงเกิดขึ้น (จักษุวิญญาณ คือ การรับรู้ทางตา) เป็นต้น ธาตุ 6 ดั ง กล่ า วมานี้ พึ ง พิ จ ารณาด้ ว ยปั ญ ญา ว่ า ไม่ ใ ช่ เ รา ไม่ ใ ช่ ข องเราเมื่ อ พิ จ ารณาเนื อ งๆ ย่ อ ม เบื่อหน่า ย 47
เมื่ อ เบื่ อ หน่ า ย ย่ อ มคลายก�ำหนั ด พอใจ เห็ น ธาตุ ทั้ ง หลายเป็ น ของไม่ เ ที่ ย ง เป็ น ทุ ก ข์ มี ค วามปรวนแปร เป็ น ธรรมดา เมื่ อ เป็ น เช่ น นี้ ความยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ด้ ว ย อ�ำนาจตัณ หา มานะ ทิฐิ ย่อมไม่มี
48
ท�ำเหตุ ใ ห้ ม ากพอ ถาม : มีค�ำสอนว่า เมื่อเราต้องการสิ่งใด ต้องท�ำเหตุให้ตรง กั บ ผลที่ ต ้ อ งการ ปริ ม าณของเหตุ แ ละคุ ณ ภาพของเหตุ ต้ อ ง เพียงพอ ผลก็จะเกิดตามมา เราจะรู้ได้อย่างไรว่ามันพอ เพราะ สั งเกตตามนิ ทาน บางที ท�ำเหตุ นิดเดี ย ว แต่ ไ ด้ ผ ลมาก ตอบ : ต้อ งท�ำเหตุ ใหญ่ม าก ผลก็ จ ะมาก เหมื อ นในนิ ทาน เหมื อ นกั น ในนิ ท านเหตุ น ้ อ ยผลมาก ดั ง นั้ น ถ้ า เราท�ำเหตุ ม าก ผลก็ยิ่ง มาก เช่ น โจรขโมยมาหลายเรื่ อ ง พอออกไปรบแล้ ว ชนะ โทษ ทุ ก อย่างก็ หมดไป ยัง ได้ ย ศและทรั พ ย์ ด้ ว ย เช่น เรื่องโฆสกะ เป็นสุนัขเห่าต้อนรับพระปัจเจกพุทธเจ้า จึ ง ได้ ผ ลมาก แต่ เ มื่ อ ตอนทิ้ ง ลู ก ท�ำให้ ช าติ ต ่ อ มาตั ว เองถู ก น�ำ ไปทิ้ ง แต่ มี บุ ญ คุ ้ ม ครองอยู ่ เ พราะความดี ที่ ท�ำกั บ พระปั จ เจก พุ ทธเจ้าซึ่ ง เป็น บุญใหญ่ กว่ าบาปที่ ท�ำ
49
กตั ญ ญู พระพุท ธเจ้า ตรัส ว่า คนหายากในโลกมี 2 ประเภท 1. คนกตัญญู มีน ้อ ย 2. บุ พ การี ผู ้ อุ ป การะต่ อ เราด้ ว ยจิ ต อนุ เ คราะห์ จ ริ ง ๆ มี น้ อ ย ผู ้ อ กตัญ ญู เพ่ ง หาโทษอยู่ เสมอ แม้ จ ะให้ แ ผ่ นดิ นทั้ ง หมด แก่เขา ก็ไม่สามารถท�ำให้เขายินดีได้ (จากชาดกที่พระพุทธเจ้า ตรั ส ไว้ เกี่ย วกับพระเทวทั ตคิ ดร้ ายพระองค์ ) ถ้ า เราอยู ่ ใ นฐานะผู ้ อุ ป การะ ก็ อ ย่ า เพ่ ง โทษตั ว เองมากนั ก ว่ าเราไม่ ดี แต่เ ป็ นเพราะเขาอกตัญญู ฉะนั้น เขาไม่กตัญญูก็แล้วไป เรื่องของเขา ให้ส�ำนึกอยู่เสมอว่า “ถ้ า เราไปหวั ง สิ่ ง ที่ ไ ม่ มี อ านุ ภ าพ เขาก็ ท�ำไม่ ไ ด้ ” เช่ น จะให้ แ มวลากเกวีย น เป็น ไปไม่ไ ด้ ต้อ งให้ ม้ า มาลาก แต่ จ ะให้ ม้ า จั บ หนู ก็ ไ ม่ ไ ด้ ต้ อ งให้ แ มวมาจั บ ถ้ า ไปหวั ง สิ่ ง ที่ เ ขาไม่ มี เขาก็ ท�ำให้เ ราไม่ ไ ด้ เราก็ผิ ดหวัง มีบางคนบอกว่า พึ่งใครไม่ได้เลย พึ่งได้แต่ตัวเอง อย่าพูด อย่ า งนั้ น พู ด แล้ ว เสี ย คนเราพึ่ ง ได้ ทุ ก คน แต่ ต ้ อ งให้ ต รงกั บ อานุภาพ (ความสามารถ) ของเขา การพูดอย่างนี้ มันอาจแสดง ว่ า เราเป็น อย่างไรเล่า จึ ง พึ่ง ใครไม่ไ ด้
50
นิท านเรื่อ งฤาษี เมื่อน�้ำหลากมา คน หนู งู นกแขกเต้ า ลอยตามน�้ ำ มาบน แผ่น กระดาน เมื่ อลอยมาถึ ง อาศรมของฤาษี ท่ า นก็ ช ่ ว ยไว้ ให้ ผิงไฟให้กินข้าว ฤาษีเห็นว่าสัตว์นั้นตัวเล็กตัวน้อยคงหนาวมาก จึ งจัด ให้ผิง ไฟก่ อน คนยัง แข็ง แรงอยู ่ ให้ ผิ ง ไฟที ห ลั ง คนนั้น เป็น ราชกุม าร พอฟื ้น ดี แล้ ว คิ ด ว่ า ฤาษี นี้ไ ม่ รู้ จั กเรา ไม่ ใ ห้ เ กี ย รติ เ รา ให้ สั ต ว์ ผิ ง ไฟก่ อ น ถ้ า รอดกลั บ เมื อ งจะตอบ แทนให้น ่า ดู ส่วนหนู งู บอกฤาษีว่าตนมีทรัพย์อยู่ (ชาติก่อนเป็นคนเคย ฝังไว้ เมื่อเกิดเป็นสัตว์ก็ไปเฝ้าทรัพย์) ส่วนนกแขกเต้าบอกว่า พอหาข้าวสาลีใ ห้ ไ ด้ ต่ อ มาวั น หนึ่ ง ฤาษี จึ ง ทดลองไปหาสั ต ว์ สั ต ว์ ก็ อ อกมาบอก ว่ าฤาษีต ้องการอะไรจะให้ ฤาษี บ อกว่ า ฝากไว้ ก่ อ น ฤาษีไปหาราชกุมารซึ่งตอนนี้ครองราชย์แล้ว เป็นพระราชา พระราชาขี่ช้างเลียบพระนครมองเห็นฤาษีมาก็ให้คนจับไปเฆี่ยน ฤาษีพูด ว่า “ไม้ลอยน�้ำนั้นดีกว่าคนบางคน” คนเฆี่ยนได้ยินจึงถามถึง ความหมายที่ พู ด ฤาษี ก็ เ ล่ า ให้ ฟ ั ง ชาวเมื อ งจึ ง รู ้ ว ่ า พระราชา อกตั ญ ญู เลยจั บ พระราชาประหารชี วิ ต แล้ ว ให้ ฤ าษี เ ป็ น พระราชาแทน 51
สั ท ธรรม สั ท ธรรม คือธรรมที่ ถูก ต้อ งดี ง าม 1. ปริ ยั ติ สั ท ธรรม การศึ ก ษาเล่ า เรี ย นที่ ถู ก ต้ อ งที่ ดี ต้ อ ง ไม่เป็นเหมือนจับงูที่หาง แล้วมันจะเอี้ยวมากัดคนจับ ต้องระวัง เช่ น เรี ยนมาก มีม านะมากขึ้น เรีย นมาก มี ทิฐิ มากขึ้ น เรี ย น มาก มี อ หั ง การ (นี่ เ ป็ น ตั ว เรา) มากขึ้ น เรี ย นมาก มี ม มั ง การ (นี่ เ ป็ น ของเรา) มากขึ้ น เรี ย นมาก มี อ ติ ม านะ (ดู ห มิ่ น ผู ้ อื่ น ) มากขึ้ น ความรู ้ เ ป็ น อั น ตรายก็ มี ความรู ้ เ กิ ด แก่ ค นพาล เพื่ อ ความ พิ น าศของคนพาลนั้ น ฆ่ า ส่ ว นดี ข องเขาเสี ย ท�ำให้ ป ั ญ ญา ของเขาตกไป 2. ปฏิปัต ติสัท ธรรม คื อการปฏิ บัติธ รรม 3. ปฏิเ วธสัท ธรรม การได้ บรรลุ ผลของการปฏิ บั ติ ปฏิ บั ติ มาอย่ างไรได้รับผลของการปฏิบั ตินั้น
52
ตัวอย่าง ปฏิเวธ คนบริจาค เป็นคนมักให้ ให้จนผลปรากฏ มั่ น ใจในผลของทาน มีพระรูป หนึ่ ง ท่า นได้ ลาภก็ แบ่ ง ปั นผู ้ อื่ น จนมั่ นใจในทาน ของท่าน วันที่พระราชาจะท�ำทานถวายผ้า ท่านพูดว่า คอยดูเถิด จี ว รที่ ดี ที่ สุ ด จะได้ แ ก่ ท ่ า น ปรากฏว่ า เป็ น จริ ง มหาอ�ำมาตย์ ทู ล พระราชาว่ า พระองค์ นี้ พู ด ไว้ ตั้ ง แต่ เ มื่ อ วานแล้ ว ว่ า จะได้ ข องที่ ดี ที่สุด พระราชาถามว่าได้อนาคตังสญาณ (รู้อนาคต) ตั้งแต่เมื่อไร ท่านตอบว่า ไม่ ใช่ แต่มั่ นใจในทานที่ เคยท�ำมา นี่ คื อ อานิ ส งส์ ข องการปฏิ บั ติ ปฏิ บั ติ ม าอย่ า งไรย่ อ มได้ ผ ล ของการปฏิ บัติอ ย่า งนั้น สัทธรรม เป็นส่วนหนึ่งของสัจธรรม สัจธรรม คือความจริง มี ค วามหมายคลุม สัท ธรรม ธรรมของคนดี
53
9 แก่ น พระพุ ท ธศาสนา (มหาสาโรปมสู ต ร)
พระพุทธเจ้าประทับ ณ ภูเขาคิชฌกูฏ เมืองราชคฤห์ ตรัสสอนภิกษุทั้งหลายว่า บางคนมีศรัทธาออกบวช เมื่อบวชแล้วได้ลาภสักการะ เป็นอันมาก พอใจหลงใหลในลาภสักการะนั้น ยกตนข่ม ผู้อื่น เขาพอใจเพียงแค่นั้นว่าเป็นผลสูง สุดของการบวช ไม่ ข วนขวายเพิ่ ม เติ ม อยู ่ อ ย่ า งประมาท เมื่ อ ประมาทก็ เป็ น ทุ ก ข์ เปรี ย บเหมื อ นคนต้ อ งการแก่ น ไม้ ม าเพื่ อ ท�ำ ของอย่างหนึ่ง เที่ยวไปหาแก่นไม้ใ นป่า แต่ไม่รู้จักแก่น ไม้ ได้ กิ่ ง และใบก็ คิ ด ว่ า เป็ น แก่ น ไม้ เขาย่ อ มท�ำสิ่ ง ที่ ต้องการท�ำด้วยแก่นไม้ไม่ส�ำเร็จ บางคนไม่ พ อใจเพี ย งลาภสั ก การะและชื่ อ เสี ย ง จึ ง 54
ท�ำศี ล ให้ ส มบู ร ณ์ แ ล้ ว จึ ง พอใจ ศี ล เปรี ย บเหมื อ นสะเก็ ด ไม้ บางคนไม่พอใจเพียงศีล จึงท�ำสมาธิให้บริบูรณ์ แล้ว พอใจอยู่ในสมาธิ อันเปรียบเหมือนเปลือกไม้ บางคนไม่ พ อใจเพี ย งสมาธิ จึ ง ท�ำปั ญ ญาให้ เ กิ ด ขึ้ น แล้วพอใจในปัญญานั้นอันเปรียบด้ว ยกระพี้ บางคนไม่พอใจเพียงลาภสักการะ ชื่อเสียง ศีล สมาธิ ปั ญ ญา เขาท�ำจิ ต ให้ ห ลุ ด พ้ น จากกิ เ ลสทั้ ง ปวง เรี ย กว่ า ได้แ ก่น ของพระพุทธศาสนา ถ้าเปรียบพุทธศาสนาเหมือนต้นไม้ทั้งต้น จะเปรียบ ได้ ดังนี้ 1. ลาภสักการะ ชื่อเสีย ง เปรียบเหมือนใบและกิ่ง 2. ศีล เปรีย บเหมือนสะเก็ด 3. สมาธิ เปรียบเหมือนเปลือก 4. ป ัญญา เปรียบเหมือนกระพี้ 5. วิ มุติ เปรียบเหมือนแก่น พระพุทธองค์ทรงสรุปว่า ภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการ ดังกล่าวมานี้จึงประมวลลงได้ว่า เราประพฤติพรหมจรรย์ นี้ มิ ใ ช่ เ พื่ อ ลาภสั ก การะ ชื่ อ เสี ย ง ศี ล สมาธิ ปั ญ ญา (ญาณทั ส สนะ) แต่ เ ราประพฤติ พ รหมจรรย์ นี้ เ พื่ อ ความ หลุ ด พ้ น แห่ ง จิ ต อั น ไม่ ก�ำเริ บ ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น แก่ น สารที่ 55
แท้จริง ภิ ก ษุ ทั้ ง หลายฟั ง แล้ ว ชื่ น ชมยิ น ดี ต ่ อ ภาษิ ต ของพระ ผู้มีพระภาคเจ้า ...................................... อาจารย์วศิน อินทสระ อธิบายเพิ่มเติมว่า ปั ญ ญาในพระสู ต รนี้ ทรงใช้ ค�ำว่ า ญาณทั ส สนะ หมายถึง การรู้เ ห็นตามเป็นจริง ไม่ใ ช่รู้ตามที่ปรากฏ เพราะสิ่ ง ที่ ป รากฏอาจหลอกเราได้ เช่ น สี เ ขี ย ว เมื่ออยู่ภ ายใต้ไฟสีเหลือง จะเห็นเป็นสีน�้ำตาล อุณหภูมิ ซึ่ ง ไม่ ร ้ อ นไม่ เ ย็ น แต่ ถ ้ า เราออกมาจากห้ อ งเย็ น จะรู ้ สึ ก ว่าร้อน ทางจิ ต ก็ เ หมื อ นกั น ถ้ า จิ ต เราถู ก กิ เ ลสครอบง�ำ ก็ จ ะ เห็ น ไปอย่ า งหนึ่ ง พอจิ ต เป็ น อิ ส ระไม่ ถู ก ครอบง�ำ มี ปัญ ญาเต็ม ก็จ ะเห็นเป็นอีกอย่างหนึ่ง พุทธศาสนาต้อง ให้ เ ห็ น สิ่ ง ต่ า งๆ ด้ ว ยปั ญ ญาอั น ชอบ (สั ม มาปั ญ ญา) ไม่ใ ช่เห็นตามอ�ำนาจของกิเ ลส เกี่ยวกับ ความหลุด พ้น (วิมุติ) มี 3 แบบ 1. หลุ ด พ้ น ที่ ยั ง ก�ำเริ บ (ตทั ง ควิ มุ ติ ) หมายถึ ง หลุด พ้น ชั่วคราว 2. หลุ ด พ้ น เพราะข่ ม กิ เ ลสไว้ ด ้ ว ยก�ำลั ง ฌาน 56
(วิขัมภนวิมุติ) 3. หลุ ด พ้ น อย่ า งเด็ ด ขาด ไม่ ก�ำเริ บ อี ก (สมุ จ เฉท วิ มุ ติ ) กิ เ ลสใดที่ ล ะได้ แ ล้ ว ก็ เ ป็ น อั น ละได้ ข าด ไม่ ก ลั บ เกิดขึ้น อีก เช่น ความหลุดพ้นของพระอริยบุคคลตั้งแต่ โสดาบัน ขึ้นไป
57
ความอั ศ จรรย์ ความอั ศ จรรย์ ข องพระธรรมวิ นั ย เมื่ อ เที ย บกั บ มหาสมุ ท ร มี 8 ประการ 1. มหาสมุทรลึกลงโดยล�ำดับ ค่อยๆ ลาดลงตามล�ำดับ ไม่ โกรกชั น เหมื อ นเขาขาดพระธรรมวิ นั ย มี ก ารศึ ก ษา การกระท�ำ การปฏิ บัติ ค่อยๆ เป็น ไปตามล�ำดั บ 2. ม หาสมุ ท รน�้ ำ ไม่ ล ้ น ฝั ่ ง พระธรรมวิ นั ย นั้ น อริ ย สาวก ทั้ งหลายไม่ล่ว งสิ กขาบท (ละเลยค�ำสั่ ง สอน) แม้ ต ้ อ งเสี ย ชี วิ ต 3. มหาสมุทรไม่ อยู่ กับ ซากศพ จะซั ดเข้ า หาฝั ่ ง หมด พระ ธรรมวิ นัย ภิก ษุทุศี ลจะถู กสงฆ์ ก�ำจั ดให้ อ อกจากหมู่ 4. แ ม่ น�้ ำ ทุ ก สายเมื่ อ ไหลลงสู่ ม หาสมุ ท รแล้ ว ก็ ล ะทิ้ ง นาม และโคตรของตน ภิก ษุ ทั้ง หลายเมื่ อบวชแล้ ว ก็ ล ะวรรณะทั้ ง 4 มาเป็ นสมณศากยบุ ตรทั้ ง หมด 5. สายน�้ำในโลก แม้จะไหลลงสู่มหาสมุทร แต่ไม่เห็นความ พร่องและความเต็มนั้น ภิกษุแม้จะนิพพานไปแล้วด้วยอนุปาทิ เสสะนิพพานธาตุ แต่ความพร่องและความเต็มก็ไม่ปรากฏแก่ นิพพานธาตุ (คนทั่วไปนึกนิพพานเหมือนสถานที่แห่งหนึ่ง กลัว ว่าคนนิพพานไปเยอะๆ แล้วสถานที่แห่งนั้นจะเต็ม ทรงบอกว่า ไม่มีวันเต็ม เหมือนน�้ำในมหาสมุทรไม่มีวันเต็ม) 58
6. ม หาสมุ ทรมี รสเดีย วคือรสเค็ ม พระธรรมวินัย มีร สเดี ย ว คื อ วิมุติร ส 7. มหาสมุทรมีรัตนะเป็นอันมาก เช่น มุกดา เป็นต้น พระ ธรรมวินัย มีรั ตนะเป็ นอั นมาก เช่ น สติ ป ั ฏฐาน 4, โพชฌงค์ 7 เป็ น ต้น 8. ม หาสมุ ทรเป็น ที่อ ยู ่ข องภู ติเป็ นอั นมาก เช่ น ปลา นาค อสู ร พระธรรมวิ นัย เป็ นที่ อยู่ ข องภู ติเป็ นอั นมาก เช่ น โสดาบั น, ผู ้ ปฏิบัติเ พื่ อโสดาบัน , อนาคามี เป็ นต้ น
59
10 คุ ณ ธรรมแห่ ง ผู ้ อ ยู ่ ร ่ ว มกั น (จู ฬ โคสิ ง คสาลสู ต ร)
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ ที่พักสร้าง ด้ ว ยอิ ฐ ในนาทิ ก คาม ตอนเย็ น เสด็ จ ออกจากที่ พั ก แล้ ว เสด็ จ ไปยั ง ป่ า โคสิ ง คสาลวั น (ป่ า สาละซึ่ ง มี ต ้ น สาละใหญ่ ต้ น หนึ่ ง ลั ก ษณะเหมื อ นเขาโค) คนรั ก ษาป่ า ไม่ ย อมให้ เข้า ไป อ้า งว่า มีกุลบุตร 3 ท่านซึ่งต้องการความสงบพัก อยู่ ไม่อยากให้เ ข้า ไปรบกวน กุ ล บุ ต ร 3 ท่ า นนั้ น คื อ พระอนุ รุ ท ธะ พระนั น ทิ ย ะ และพระกิมิละ พระอนุรุทธะได้ยินเสียงสนทนานั้นจึงรีบ ชวนเพื่อนอีก 2 รูปออกมาต้อนรับ พระศาสดา พระศาสดาเสด็จ เข้าไปในป่าโคสิง คสาลวัน ตรัสถาม พระเถระทั้งสามว่า อยู่สุขสบายดีหรือ ล�ำบากด้วยอาหาร 60
บิ ณ ฑบาตหรื อ ไม่ พวกเธอยั ง พร้ อ มเพรี ย งกั น มี ค วาม ชื่นชมต่อกันอยู่ห รือ พระเถระทั้งสามทูลว่า อยู่สุขสบายดี ไม่ล�ำบากด้ว ย อาหารบิณฑบาต และยังมีความชื่นชมต่อกันอยู่ เข้ากัน ได้เหมือนน�้ำ กับน�้ำ นม พระศาสดาตรัสถามว่า ที่เป็นเช่นนั้นได้ด้วยคุณธรรม อะไร พระเถระทั้ง สามทูลว่า เพราะมี เ มตตาต่ อ กั น ทั้ ง ทางกาย วาจา และใจ ทั้ ง ต่ อ หน้ า และลั บ หลั ง ไม่ ป ระพฤติ ต นกระท�ำตามใจตน แต่ พ ยายามตามใจผู ้ อื่ น เมื่ อ เป็ น เช่ น นี้ กายของข้ า พระองค์ทั้งสามแม้ต ่างกัน แต่จิตเป็นอย่างเดียวกัน “พวกเธอมีความเพียรไม่ประมาทหรือ” พระศาสดา ตรัสถามต่อไป “เป็น อย่า งนั้นพระเจ้าข้า” พระอนุรุทธะทูลตอบ “พวกเธอเป็นอย่างนั้นได้เพราะอะไร” “พวกข้ า พระองค์ ป ฏิ บั ติ อ ย่ า งนี้ คื อ เมื่ อ ออก บิ ณ ฑบาต ใครกลั บ มาก่ อ นก็ ปู ผ ้ า อาสนะไว้ ตั้ ง น�้ ำ ฉั น น�้ำใช้ ถาดส�ำรับไว้ ผู้ใดกลับทีหลัง เมื่อฉันเสร็จแล้ว ถ้า มี อ าหารเหลื อ ฉั น ก็ ทิ้ ง เสี ย ในที่ ไ ม่ มี ห ญ้ า หรื อ เทลงในน�้ ำ ที่ ไ ม่ มี สั ต ว์ เก็ บ อาสนะ เก็ บ น�้ ำ ฉั น น�้ ำ ใช้ หากน�้ ำ ช�ำระ ว่างเปล่าก็จัดแจงใส่ให้เต็ม ถ้าท�ำคนเดียวไม่ไหวก็เรียก 61
ให้เพื่อนช่วย พวกข้าพระองค์ไม่บ่นเกี่ยวกับเรื่องเหล่านี้ อนึ่ ง ทุ ก ๆ 5 วั น เราจะสนทนาธรรมกั น ตลอดคื น พวกข้า พระองค์ไม่ป ระมาท มีความเพียรอยู่อย่างนี้” พระพุ ท ธองค์ ท รงชื่ น ชมยิ น ดี ต ่ อ คุ ณ ธรรมของ พระสาวก และตรัสถามถึงคุณ ธรรมที่สูง ยิ่งๆ ขึ้นไป พระอนุรุทธะตอบว่า มีอยู่ตั้งแต่ฌาน 4 ฌาน 8 และ นิโรธสมาบัติ รวมเป็น 9 ระดับ เรียกโดยชื่อว่า อนุปุพพ วิหาร เป็น ธรรมเครื่องอยู่ข องพระอริยเจ้า พระศาสดาทรงพอพระทั ย เสด็ จ กลั บ ไป เมื่ อ พระศาสดาเสด็ จ กลั บ แล้ ว พระนั น ทิ ย ะและพระกิ มิ ล ะ ได้ ก ล่ า วกั บ พระอนุ รุ ท ธะว่ า พระอนุ รุ ท ธะประกาศคุ ณ วิเศษของพวกตนทั้งที่ต นไม่เคยบอกเลยว่ามีหรือไม่มี พระอนุ รุ ท ธะตอบว่ า ไม่ เ คยบอกก็ จ ริ ง แต่ ท ่ า น ก�ำหนดรู ้ ด ้ ว ยใจว่ า ท่ า นทั้ ง สองมี คุ ณ ธรรมอั น วิ เ ศษอยู ่ ภายในจนเป็น พระอรหันต์
62
บารมี บารมี มี 3 ขั้น 1. บารมี 2. อุป บารมี 3. ปรมัตถบารมี ยกตัวอย่างเรื่องทาน การให้วัตถุสิ่งของภายนอกเป็นทานบารมี การให้เลือดเนื้อเป็นอุปบารมี การให้ชีวิตเป็นปรมัตถบารมี ในเรื่องศีล ประพฤติ ศีล อย่ า งไรเป็ นบารมี ศีลบารมี ยอมเสีย สมบั ติ แต่ ไ ม่ เสี ย ศี ล ศีลอุปบารมี ยอมเสีย อวั ย วะ แต่ ไ ม่ เสี ย ศี ล ศีลปรมั ตถบารมี ยอมเสีย ชีวิ ต แต่ ไ ม่ เสี ย ศี ล นี่เป็นการอธิบายตามต�ำรา หากแต่ตามความเห็นของอาจารย์ วศิน อินทสระ กล่าวดังนี้ บารมี ถ้าเราท�ำอะไรเพื่อตนเอง (อะไร คือ ทาน ศีล ภาวนา เนกขัมมะ ฯลฯ สิ่งที่เราท�ำ) อุปบารมี ถ้าเราท�ำอะไรเพื่อผู้อื่นปรมัตถบารมี ถ้าเราท�ำอะไร เพื่อสิ้นกิเลส ท�ำให้เ ราบ�ำเพ็ญบารมีไ ด้ ตลอดเวลา
63
ปฏิ จ จสมุ ป บาท ปฏิ จจสมุปบาท มี กิเ ลส 3 ตัว อวิ ชชา ตัณ หา อุป าทาน 3 ตั ว นี้ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น อยู ่ จะละตั ว ไหนก่ อ นก็ ไ ด้ อี ก 2 ตั วจะถูก ละไปด้ว ยเหมื อนไม้ 3 อั นพิ ง กั นอยู ่ ดึ ง ออก 1 อั น อี ก 2 อั น ก็จ ะล้ม ไปด้ ว ย ถ้ าตั วไหนเกิ ดมาก อี ก 2 ตั ว ก็จ ะเกิ ดมากตามไป หมายเหตุ : ฉั น คิ ด ว่ า ละตั ณ หาง่ า ยสุ ด เวลามั น อยากได้ อะไร ตอบว่า “ไม่ อ่ ะ” แล้ ว เดิน หนี ไ ป 555 (ไม่ นับ ตอนที่ เดิ น กลั บมา 666)
64
ปั จ จุ บั น ที่ ดี เราสร้ า งอนาคตด้ ว ยปั จ จุ บั น ที่ ดี คนฉลาดในการด�ำรงชี วิ ต ก็ คื อ ปิ ด กั้ น อดี ต อนาคต ให้ อ ยู ่ กั บ ปั จ จุ บั น สุ ภ าษิ ต จี น “ผู ้ ก ้ า วย่ า งอย่ า งละม่ อ ม ย่ อ มก้ า วได้ ไ กล” (คื อ ก้ า วดี ๆ ไม่ พ ลาด) สุ ภ าษิ ต ในชาดก “ความหวั ง ผลย่ อ มส�ำเร็ จ แก่ ผู ้ ที่ รู ้ จั ก รอคอย ไม่ รี บ ร้ อ น” สุ ภ าษิ ต ฝรั่ ง “ความส�ำเร็ จ ย่ อ ม มี แ ก่ ผู ้ ที่ มี จิ ต ใจจดจ่ อ แต่ ร อได้ ” เราตั้ ง มั่ น อยู ่ แ ต่ ป ั จ จุ บั น ที่ ดี อนาคตช่ า งมั น เพราะอนาคต เป็ น ความหวั ง อาจส�ำเร็ จ หรื อ ไม่ ส�ำเร็ จ ก็ ไ ด้ ถ้ า ไม่ ส�ำเร็ จ เอามา วิ เ คราะห์ เ พื่ อ หาความส�ำเร็ จ ต่ อ ไป ความล้ ม เหลวในวั น นี้ อาจ เป็ น ความส�ำเร็ จ ในวั น หน้ า ความคิ ด นี้ ท�ำให้ เ รามั่ น คงบึ ก บึ น ใน ทิ ศ ทางของเรา เป็ น คนประเภทดวงดาว คื อ โคจรไปตามวิ ถี ท าง ของตน แน่ ว แน่ มั่ น คง (ไม่ ใ ช่ แ บบใบไม้ ร ่ ว ง คื อ แล้ ว แต่ ล ม พาไป) ไม่ เ บื่ อ หน่ า ย ความล้ ม เหลวเอามาเป็ น บทเรี ย น “เป็ น คนพยายามร�่ ำ ไป บั ณ ฑิ ต ย่ อ มไม่ เ บื่ อ หน่ า ย” ใช้ วิ ธี อ ยู ่ ไ ปที ล ะวั น ที ล ะชั่ ว โมง คิ ด แบบอยู ่ ใ นขณะปั จ จุ บั น ชั่ ว โมงนี้ ดี แ ล้ ว ส�ำหรั บ เรา อย่ า เหนี่ ย วรั้ ง อดี ต อย่ า คาดหวั ง อนาคต มันท�ำให้เวลาปัจจุบันถูกแบ่งไป ไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วย เหมื อ นสายน�้ ำ ไหลไปหลายทิ ศ ทางก็ ไ ม่ แ รง ถ้ า ไหลไปทาง 65
เดี ย วก็ ไ หลแรง กระแสจิ ต กระแสความคิ ด ก็ เ หมื อ นกั น ถ้ า คิ ด ไปทางเดี ย ว กระแสก็ แ รงขึ้ น การท�ำสมาธิ ก็ เ พื่ อ รวมกระแสจิ ต ให้ มี อ ารมณ์ เ ดี ย ว ขอให้ เ ห็ น คุ ณ ค่ า ของขณะปั จ จุ บั น ว่ า มี คุ ณ ค่ า มากที่ สุ ด ....................................... ค�ำสอนนี้ถ้าดูโดยรวม บางคนจะรู้สึกเหมือนสอนให้ไม่รู้จัก วางแผน ให้ เ ป็ น คนลอยๆ ไปเรื่ อ ยๆ ท�ำให้ คิ ด ว่ า เป็ น ชี วิ ต ที่ ไร้ ส าระมาก ฉันเคยผูกชีวิตไว้เป็นแพอย่างนี้เหมือนกัน เอาอดีตอนาคต และวั น นี้ ชั่ ว โมงนี้ ม ารวมกั น หมดและอยากให้ ทุ ก อย่ า งดี แม้ แ ต่ อดี ต ที่ ไ ม่ ดี ซึ่ ง ผ่ า นไปแล้ ว ท�ำอะไรไม่ ไ ด้ แ ล้ ว ก็ ยั ง อยากให้ มั น กลั บ มาดี ซึ่ ง การมองชี วิ ต เป็ น แพแบบนี้ ส ร้ า งความยุ ่ ง เหยิ ง ให้ หั ว ใจมากมาย ตอนนี้ ฉั น ใช้ ชี วิ ต ตามค�ำสอนข้ า งบนนี้ อดีตคือสิ่งที่ผ่านไปแล้ว อะไรไม่ดีไม่ท�ำอีก อะไรเคยเสียใจ ตั้งใจขอโทษกลับไปแล้วเลิกกัน ถ้าวิบากจะมาถึงก็ยอมรับโดยดี แล้ ว เลิ ก คิ ด ถึ ง อดี ต อี ก อนาคตคื อ สิ่ ง ที่ นั ก วางแผนต้ อ งล้ ม เหลวเสมอ เพราะมั น ไม่ ค ่ อ ยเป็ น ไปตามแผนเท่ า ไหร่ นั ก ดั ง นั้ น วางแผนไว้ ค ร่ า วๆ หรื อ ส�ำรองสั ก แผนสองแผน คิ ด ให้ ดี แล้ ว จบกั น รอดู เ มื่ อ เรื่ อ ง มั น มาจริ ง ๆ แล้ ว เลื อ กเอาแผนใดที่ ว างไว้ แ ล้ ว ออกมาใกล้ เ คี ย ง 66
ที่ สุ ด แต่ ก ระนั้ น ก็ พ บว่ า ยั ง ต้ อ งปรั บ ใหม่ อี ก บ้ า งเหมื อ นกั น ก่ อ น จะลงตัว แต่มันท�ำให้เราไม่ต้องกังวลเรื่องอนาคตอีกต่อไป แล้ว ก็คิดว่า อะไรจะเกิดก็เกิดมาเถอะ ห้ามไม่ได้อยู่แล้ว “แล้วค่อย ว่ า กั น ” ลงท้ า ยจึ ง เหลื อ อยู่ แ ค่ ป ั จ จุ บั น ก็ ท�ำไปเท่ า ที่ ท�ำได้ แ ม้ ใ น ปั จ จุ บั น เองก็ ยั ง มี น าที ที่ บ างเรื่ อ งโผล่ ม าในความคิ ด วิ น าที นั้ น เองที่ ใ ช้ ค�ำสอนข้ า งบนนี้ เ ต็ ม ที่ คื อ “ช่ า งมั น ฉั น ไม่ คิ ด เรื่ อ งนี้ ” แล้ ว ดู ล มหายใจเป็ น อย่ า ง สั จ ธรรมจริ ง ๆ คื อ วิ น าที ต ่ อ มาอยู ่ กั บ ลมหายใจและวิ น าที ต ่ อ มา เรื่ อ งอื่ น ก็ เ ข้ า มาในความคิ ด ต่ อ ไป อยู ่ ที่ ว ่ า เราจะคิ ด หรื อ ไม่ คิ ด กั บ มั น ถ้ า ชี วิ ต ไม่ ผู ก อดี ต อนาคต ปั จ จุ บั น ไว้ เ ป็ น แพเราก็ จ ะได้ ไผ่ล�ำเดียวและน�ำมาท�ำขลุ่ยได้ เอามาท�ำข้าวหลามได้ ชีวิตสนุก ขึ้ น เยอะพอสมควร
67
โลกของจิ ต ใจ มงคล 38 ข้ อหนึ่ง กล่ าวว่ า “จิ ตของผู ้ ใดถู กโลกธรรมแล้ ว ไม่ ห วั่ นไหว เป็นมงคลอั นสู ง สุด” ปฏิ จจสมุปบาท คื อ อาศัย กั นและกั นเกิ ดขึ้ น เมื่ อ มี สิ่ ง นี้ จึ ง มี สิ่ ง นี้ คนตาดี ไม่มี แสงสว่า ง ก็ม องไม่เ ห็ น คนตาไม่ดี มี แสงสว่า ง ก็ม องไม่เ ห็ น พระพุ ท ธเจ้ า มาให้ แ สงสว่ า งแก่ ค นตาดี เ ห็ น ธรรมได้ (ตาดี ประโยคนี้ ไม่ไ ด้ หมายถึ ง ดวงตา หมายถึ ง ตาที่ ใจ) ธรรมะมี อ ยู ่ ต ลอดเวลาเหมื อ นป้ า ยบอกทาง คนที่ อ ่ า นป้ า ย ไม่ อ อกก็ ไ ปไม่ ถู ก นี่ เ ที ย บให้ เ ห็ น ว่ า มี สิ่ ง ที่ บ อกความจริ ง อยู ่ มากมาย แต่คนไม่เห็นความจริง เพราะอ่านไม่ออก เป็นหน้าที่ ของเราช่ ว ยให้ ค นอ่ า นป้ า ยออก เป็ น ผู ้ น�ำทาง เป็ น ผู ้ ฉ ลาด ในทาง จิ ต น�ำโลกไป สั ต ว์ โ ลกย่ อ มดิ้ น รนไปเพราะจิ ต พอจิ ต สงบ โลกก็ ส งบ สั ต ว์ โ ลกเป็ น ไปตามอ�ำนาจของจิ ต คนเก่ ง คื อ คนที่ สามารถเอาจิตไว้ในอ�ำนาจได้ เพราะคนทั่วไปข่มไว้ไม่อยู่ ท�ำให้ คนคิ ด ในสิ่ง ที่ไ ม่อยากคิ ด 68
ในชีวิต ประจ�ำวั น เราถู กครอบง�ำ เช่ น รส แสวงหาอาหาร อร่ อ ย คนขายก็ พ ยายามท�ำให้ อ ร่ อ ย การโฆษณาชวนให้ ไ ป ถู ก ครอบง�ำ คนก็ สมั ครใจไปถู กครอบง�ำด้ ว ย เราคิ ด ว่ า เราอยู ่ ใ นโลกของวั ต ถุ ความจริ ง เราอยู ่ ใ นโลก ของจิต ใจ สั ง คมจะเย็ น หรื อ ร้ อ นก็ เ ป็ น ไปตามจิ ต ใจ สั ง คมไม่ เ ปลี่ ย น ถ้ าจิต ใจไม่เ ปลี่ ย น
69
อนั ต ตา อนั ต ตา ไม่ เ ป็ น สาระ ที่ เ ห็ น ว่ า เป็ น สาระ เพราะใจเราไป ยึ ด ไว้ เอง สุ ภ าษิ ต ฝรั่ ง ว่ า ทุ ก อย่ า งไม่ เ ที่ ย งไม่ ด�ำรงอยู ่ ยกเว้ น ความ เปลี่ ยนแปลงเท่านั้ นที่ เที่ ย ง ดั ง นั้น อนิ จ จตาในพุ ทธศาสนาจึ ง ทอนลงมาเป็น ขณิก ะ (ชั่ว ขณะ) “ทุ ก อย่างเกิ ดขึ้ นชั่ว ขณะ แล้ว ก็ ดับ ไป” ฉะนั้ น สุภ าษิตกรีก จึ ง บอกว่ า “ไม่มีใครกระโดดลงไปในกระแสน�้ำเดิมเป็นครั้งที่สองได้” (เพราะว่ ากระแสเก่า มัน ไหลไปแล้ว ) อสารั ต ถะ อนั ต ตา แปลว่ า ชื่ อ ว่ า เป็ น อนั ต ตา เพราะว่ า หาสาระมิ ไ ด้ ทอนลงมาเป็น ศูน ย์ คือ สุญญตา เมื่อไม่มีอะไร ก็ไม่มีความหมาย เช่น เครื่องบิน บินไปบิน มาไม่ มีค วามหมายอะไร พอมี คนที่ เรารั กนั่ ง เครื่ อ งบิ นล�ำนั้ นมา เครื่ อ งบิ นนั้น จะมีความหมายขึ้ นมาทั นที เพราะใจเราไปยึ ด
70
เพชรบนหั ว คางคก เพชรบนหัว คางคก คือ เก็ บเอาสาระดี ๆ ไว้ ส่ ว นอื่ นปล่ อ ย ไป เช่น มีคนพูดเรื่อ งดี แต่ตัว คนพู ดไม่ น่ า ศรั ทธา เราก็ เอาแต่ ค�ำพูด นั้น มาใช้ ไม่ ต้อ งสนใจคนพู ด สิ่ง ที่มี คุณและโทษปนกั นอยู ่ ก็ เลื อ กเอาเฉพาะสิ่ ง มี คุณ เหมือนร่างกายนี้มีทุกข์โทษมากแต่ใช้ประโยชน์ได้ ก็บ�ำรุง รั ก ษาเอาไว้ใ ช้ป ระโยชน์
71
11 ป่ า นี้ ง ามส�ำหรั บ ใคร (มหาโคสิ ง คสาลสู ต ร)
พระผู ้ มี พ ระภาคประทั บ ที่ ป ่ า โคสิ ง คสาลวั น พร้ อ ม ด้วยสาวกผู้มีชื่อเสีย งหลายรูป เช่น พระสารีบุตร พระ มหาโมคคัลลานะ เป็นต้น เวลาเย็น พระมหาโมคคัลลานะชวนพระกัสสปไปหา พระสารีบุตรเพื่อฟังธรรม และชวนพระอนุรุทธะไปด้วย พระอานนท์ เ ห็ น ดั ง นั้ น จึ ง ชวนพระเรวตะไปฟั ง ธรรม ของพระสารีบุตรด้วย พระสารีบุตรกล่าวกับพระอานนท์ว่า ป่าโคสิงคสาลวัน วันนี้น่ารื่นรมย์ ค�่ำคืนก็แจ่มกระจ่าง ดอกสาละบาน สะพรั่ ง เต็ ม ต้ น ฟุ ้ ง ขจรกลิ่ น คล้ า ยกลิ่ น ทิ พ ย์ ป่ า นี้ ง าม ส�ำหรับพระเช่น ไร 72
พระอานนท์ ต อบว่ า งามส�ำหรั บ พระที่ เ ป็ น พหู สู ต ร เป็ น แน่ พระสารีบุตรถามพระรูปอื่นอีก พระเรวตะตอบว่ า งามส�ำหรั บ พระที่ ช อบอยู ่ ป ่ า มี ความสงบภายในอย่ า งยิ่ ง พระอนุ รุ ท ธะตอบว่ า งาม ส�ำหรั บ พระที่ มี ต าทิ พ ย์ ตรวจดู โ ลกด้ ว ยตาทิ พ ย์ บ ่ อ ยๆ พระมหากัสสปตอบว่า ป่านี้ง ามส�ำหรับพระที่ชอบอยู่ป่า เป็ น วั ต ร ถื อ บิ ณ ฑบาตเป็ น วั ต ร นุ ่ ง ผ้ า บั ง สุ กุ ล เป็ น วั ต ร และสรรเสริ ญ ธุ ด งคคุ ณ เช่ น นั้ น ด้ ว ย พระมหาโมคคั ล ลานะตอบว่ า ป่ า นี้ ง ามเหมาะสมที่ พ ระทั้ ง หลายจะมา คุยธรรมะอันลึกซึ้งต่อกัน พระมหาโมคคั ล ลานะถามพระสารี บุ ต รบ้ า ง พระ สารี บุ ต รตอบว่ า งามส�ำหรั บ พระที่ ส ามารถบั ง คั บ จิ ต ของ ตนเองได้ อยากจะอยู่ด้ว ยธรรมใดก็อยู่ด้ว ยธรรมนั้นได้ เปรียบเหมือนพระราชาทรงมีภูษามาก ปรารถนาจะแต่ง องค์ด ้วยผ้าใดก็ย ่อมทรงใช้ได้ตามปรารถนา พระสารี บุ ต รชวนพระทั้ ง หมดไปเฝ้ า พระศาสดา ทู ล เล่ า เรื่ อ งที่ ส นทนากั น ให้ ท รงทราบ และทู ล ถามว่ า พระองค์ทรงเห็นว่า ป่านี้งามส�ำหรับพระเช่นไรและความ เห็นของใครถูกต้องดีงาม พระศาสดาตรัสตอบว่า ทุกท่านพูดถูกต้องดีงาม แต่ ส�ำหรับพระองค์เองเห็นว่า ป่าโคสิงคสาลวันนี้งามส�ำหรับ 73
พระที่ นั่ ง สมาธิ ตั้ ง กายตรงด�ำรงสติ ไ ว้ เ ฉพาะหน้ า แล้ ว ตั้ง ปณิธ านว่า “จิ ต ของเรายั ง ไม่ ห ลุ ด พ้ น จากกิ เ ลสเพี ย งใด เราจั ก ไม่ลุกเพีย งนั้น ” .................................... อาจารย์วศิน อินทสระ อธิบายเพิ่มเติมท้ายบทว่า จะเห็ น ได้ ว ่ า พระเหล่ า นั้ น เห็ น ว่ า ป่ า นี้ ง ามส�ำหรั บ พระที่เป็นอย่างเดียวกับคุณสมบัติที่ตัวท่านเองมีอยู่ และ ท่านเหล่านั้นล้วนเป็นผู้ที่หลุดพ้นจากกิเลสแล้ว แต่พระ ศาสดาทรงมี ค วามเห็ น เอื้ อ เฟื ้ อ ต่ อ พระที่ ยั ง มี กิ เ ลส ยั ง บ�ำเพ็ ญ เพี ย รเพื่ อ ความหลุ ด พ้ น อยู ่ ทรงมี ค วามเห็ น เกื้ อ กู ล แก่ ผู ้ มี ค วามเพี ย รด้ ว ย และไม่ ท รงปฏิ เ สธความ เห็น ของผู้ห ลุด พ้นแล้ว ป่ า เป็ น สถานที่ น ่ า รื่ น รมย์ แ ละงามโดยธรรมชาติ เกื้ อ กู ล แก่ ค วามสงบผ่ อ งแผ้ ว แห่ ง จิ ต เหมาะส�ำหรั บ ผู้ต ้องการท�ำความเพียรเพื่อถ่ายถอนกิเลส
74
75
12 คนเลี้ ย งโค (มหาโคปาลสู ต ร)
พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ เชตวนาราม เมือง สาวั ต ถี ตรั ส สอนภิ ก ษุ ทั้ ง หลายเรื่ อ งคุ ณ สมบั ติ ข องคน เลี้ยงโค เทียบด้วยคุณสมบัติของภิกษุ 11 ประการ ดังนี้ 1. รู ้ จั ก รู ป ของโค เที ย บด้ ว ยภิ ก ษุ ที่ รู ้ จั ก รู ป คื อ มหาภูต รูป 4 (ดิน น�้ำ ไฟ ลม) และรูปที่อาศัยมหาภูต รูป จึง เกิดขึ้น ได้ เช่น สี กลิ่น รส 2. ฉลาดในลั ก ษณะของโค (ว่ า ดี ห รื อ ไม่ ดี ) เที ย บ ด้วยคุณ สมบัติของภิกษุ คือ รู้จักดูลักษณะคนว่าอย่างนี้ เป็ น ลั ก ษณะคนพาล อย่ า งนี้ เ ป็ น ลั ก ษณะบั ณ ฑิ ต โดยดู ที่การกระท�ำของเขา (ไม่ใ ช่ดูที่รูป ร่าง) 3. เมื่อโคมีแผล และแมลงวันมาหยอดไข่ไว้ที่แผล 76
นั้ น คนเลี้ ย งโคย่ อ มคอยเขี่ ย ไข่ นั้ น ออก เที ย บด้ ว ย คุ ณ สมบั ติ ข องภิ ก ษุ คื อ การละบรรเทาการคิ ด ถึ ง เรื่ อ ง กาม เรื่องพยาบาท และเรื่องการเบียดเบียน ไม่ให้ทับถม อยู่ใ นจิต คอยท�ำให้ห มดไป 4. เมื่อโคมีแผล โคบาลย่อมรู้จักปิดแผล เทียบด้วย คุณ สมบัติของภิกษุ คือ รู้จักส�ำรวมอินทรีย์ 6 คือ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย และใจ ไม่ ใ ห้ ค วามยิ น ดี ยิ น ร้ า ยครอบง�ำ ได้ เมื่อตาเห็นรูป หูฟังเสียง เป็นต้น 5. รู ้ จั ก สุ ม ไฟให้ โ คเพื่ อ ไล่ สั ต ว์ ที่ ม ารบกวน เที ย บ ด้ ว ยคุ ณ สมบั ติ ข องภิ ก ษุ คื อ แสดงธรรมที่ ต นได้ ยิ น ได้ฟังได้ศึกษามาโดยละเอีย ด 6. รู ้ จั ก ท่ า น�้ ำ ท่ า ข้ า มฝั ่ ง เที ย บด้ ว ยคุ ณ สมบั ติ ข อง ภิกษุ คือ รู้จักเข้าไปหาพระเถระผู้เป็นพหูสูตร ทรงธรรม ทรงวิ นั ย และไต่ ถ ามถึ ง ข้ อ สงสั ย ของตนเกี่ ย วกั บ พระ ธรรมวินัย 7. รู ้ จั ก ให้ โ คดื่ ม สิ่ ง ที่ ค วรดื่ ม และไม่ ค วรดื่ ม เที ย บ ด้ ว ยคุ ณ สมบั ติ ข องภิ ก ษุ คื อ เมื่ อ ฟั ง ธรรมได้ ดื่ ม รสแห่ ง พระธรรม รู้อรรถ รู้ธ รรม ได้ปิติปราโมทย์ในธรรม 8. รู ้ จั ก ทางที่ โ คควรไปและไม่ ค วรไป เที ย บด้ ว ย คุณ สมบัติข องภิกษุ คือ รู้จักอริยมรรคมีองค์ 8 อันเป็น ทางประเสริฐแท้จ ริง 77
9. ฉลาดในที่ห ากินของโค เทียบด้ว ยคุณสมบัติของ ภิ ก ษุ คื อ ฉลาดในสติ ป ั ฏ ฐาน 4 คื อ กาย เวทนา จิ ต ธรรม อัน เป็น ทางของพระอริยเจ้า ทั้ง หลาย 10. รีด นมโคให้เ หลือไว้ ไม่รีด จนเกลี้ยงเต้า เทียบ ด้ ว ยคุ ณ สมบั ติ ข องภิ ก ษุ คื อ เมื่ อ มี ผู ้ ศ รั ท ธา ปวารณา ถวายปัจจัย 4 ภิกษุควรประมาณในการรับ 11. ยกย่ อ งโคจ่ า ฝู ง เที ย บด้ ว ยคุ ณ สมบั ติ ข องภิ ก ษุ คื อ เคารพยกย่ อ งภิ ก ษุ ผู ้ เ ป็ น เถระ เป็ น บิ ด าสงฆ์ เป็ น ผู้น�ำสงฆ์ มีกาย วาจา ใจ ประกอบด้ว ยเมตตาต่อท่าน ทั้ง ต่อหน้า และลับหลัง พระศาสดาทรงแสดงว่ า โคบาลผู ้ ป ระกอบด้ ว ย คุณ สมบัติ 11 ประการนี้ ควรเป็นเจ้าของฝูงโค สามารถ ท�ำให้ ฝู ง โคเจริ ญ ได้ ภิ ก ษุ ผู ้ ป ระกอบด้ ว ยคุ ณ สมบั ติ 11 ประการ ก็ เ ป็ น ผู ้ ค วรเจริ ญ งอกงามไพบู ล ย์ ใ นธรรมวิ นั ย นี้ ภิ ก ษุ ทั้ ง หลายต่ า งชื่ น ชมยิ น ดี ต ่ อ พระพุ ท ธภาษิ ต เป็น อย่า งมาก
78
เทวตาสั ง ยุ ต เทวดาถามพระพุ ทธเจ้ าว่ า ให้ อ ะไรจึ ง ชื่ อ ว่ า ให้ พระพุ ทธเจ้ าทรงตอบว่ า 1. ให้ข ้ าวน�้ำ ชื่ อว่ าให้ ก�ำลัง 2. ให้ ผ้ าชื่อ ว่า ให้ผิ ว พรรณ 3. ให้ยานพาหนะ(รวมร่ม, รองเท้า) ชื่อว่าให้ความสุขหรือ ความสะดวก 4. ให้ แสงสว่า งชื่ อว่ าให้ จั กษุ 5. ให้ ที่อ ยู ่อ าศั ย ชื่ อว่ าให้ ทุก อย่ า ง 6. ผู้ใ ดสอนธรรม ผู ้นั้ นชื่อ ว่ า ให้ อ มตะ (สิ่ ง ที่ ไ ม่ ต าย)
79
13 ผู ้ น�ำข้ า มฝั ่ ง (จู ฬ โคปาลสู ต ร)
พระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า ประทั บ อยู ่ ที่ ริ ม ฝั ่ ง แม่ น�้ ำ คงคา เมืองอุกกเวลา เขตแคว้นวัชชี ทรงสั่งสอนภิกษุทั้งหลาย เกี่ยวกับเรื่องผู้น�ำชุมชนที่ฉลาดและไม่ฉลาด เทียบด้วย โคบาลซึ่งน�ำฝูงข้ามแม่น�้ำ มีใจความส�ำคัญดังนี้ เคยมีโคบาลชาวมคธผู้ไม่ฉลาด ในเดือนท้ายฤดูฝน เขาไม่ ไ ด้ พิ จ ารณาให้ ดี ว ่ า ตรงนั้ น ไม่ ใ ช่ ท ่ า ข้ า ม เขาน�ำโค ข้ า มฝั ่ ง ไปสู ่ รั ฐ วิ เ ทหะ ฝู ง โคว่ า ยไปสู ่ ก ระแสน�้ ำ วนกลาง แม่น�้ำคงคา ท�ำให้จมน�้ำตายหมด เปรี ย บเหมื อ นสมณพราหมณ์ บ างพวกที่ ไ ม่ ฉ ลาด เรื่องโลกนี้โลกหน้า ไม่ฉลาดในธรรมอันเป็นบ่วงมารและ ที่ให้พ้นจากบ่วงมาร หมู่ชนที่เลื่อมใสและปฏิบัติตาม จึง 80
ไม่ไ ด้รับ ประโยชน์ มีแต่ทุกข์โ ทษตลอดกาลนาน ส่ ว นโคบาลชาวมคธผู ้ ฉ ลาด น�ำฝู ง โคข้ า มฝั ่ ง โดย ปลอดภัย โดยให้โคนายฝูงข้ามไปก่อน ต่อไปเป็นโคที่มี ก�ำลังและโคฝึก โคหนุ่ม โคสาว ลูกโค แม้แต่ลูกอ่อนที่ เกิด ในวัน นั้น ก็สามารถลอยตามเสียงแม่ไปได้ ทรงเปรียบโคกับ สาวกดัง นี้ 1. โคจ่าฝูง เทีย บด้วยพระอรหันต์ 2. เหล่ า โคที่ มี ก�ำลั ง และโคฝึ ก เที ย บด้ ว ยพระ อนาคามี 3. โคหนุ่มสาว เทีย บด้วยพระสกทาคามี 4. ลูกโค เทีย บด้วยพระโสดาบัน 5. ลู ก โคอ่ อ นแม้ ที่ เ กิ ด ในวั น นั้ น เที ย บกั บ ผู ้ ที่ ก�ำลั ง ปฏิบัติเ พื่อโสดาปัตติมรรค โสดาปัตติผล “ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย เราแลเป็ น ผู ้ ฉ ลาดในโลกนี้ แ ละ โลกหน้า ฉลาดในธรรมอันเป็ นบ่ว งมารและพ้นจากบ่ว ง มาร ใครปฏิบัติตามค�ำสอนของเรา ย่อมได้ประโยชน์และ ความสุข สิ้นกาลนาน”
81
อุ เ บกขา อุ เบกขา การวางเฉยในสิ่ ง ที่ควรเฉย แต่ ไ ม่ ล ะเลยกิ จ ที่ เป็ น หน้ า ที่ ข องตน ไม่ ไ ปวุ ่ น วายในหน้ า ที่ ข องคนอื่ น มี ก ารระลึ ก ว่ า สั ต ว์ โ ลกมีก รรมเป็น ของของตน ท่ า นพุ ท ธทาสให้ ค�ำนิ ย ามว่ า อุ เ บกขา คื อ จ้ อ งดู อ ยู ่ ว่ า ควร จะเข้ า ไปช่ ว ยเมื่ อ ไหร่ เช่ น ลู ก เล็ ก ๆ เล่ น อยู ่ แม่ จ ะคอยดู ใกล้ ๆ ลู ก จะล้ ม บ้ า งลุ ก บ้ า งก็ ค อยดู อ ยู ่ หากถึ ง คราวต้ อ งช่ ว ยก็ เข้ าไปช่ วย อุ เ บกขามี 2 ระดั บ เบื้ อ งต�่ ำ คื อ ปุ ถุ ช นจะคอยวุ ่ น วายไป หมดทุ ก เรื่ อ ง แต่ ผู ้ บ�ำเพ็ ญ อุ เ บกขาจะไม่ เ ข้ า ไปเกี่ ย วข้ อ งกั บ ทุ ก เรื่ อ ง จะเกี่ย วข้องแต่ กับ เรื่ องที่ เป็น ประโยชน์ เบื้ อ งสู ง ผู ้ บ�ำเพ็ ญ อุ เ บกขาจะท�ำประโยชน์ ด ้ ว ยความสงบ ดูตัวอย่างต้นไม้ ต้นไม้อยู่นิ่งๆ เงียบๆ แต่ท�ำประโยชน์มากมาย ตลอดเวลา ให้ออกซิเ จน ให้อ าหาร ให้ ร ่ มเงา ให้ ด อกสวยท�ำให้ คนเห็ น แล้ ว สบายใจ ให้ ก ลิ่ น หอมขจรไปไกล ไม่ ว ่ า ใครก็ ด มได้ ไม่ ห วง คนที่ สงบมากคื อคนที่ท�ำประโยชน์ไ ด้ มาก ....................
82
อุเ บกขา 10 มีดัง นี้ 1. ฌฬั ง คุ เ ปกขา ไม่ เ ร่ า ร้ อ นในเวทนา เมื่ อ ตาเห็ น รู ป เป็ นต้น ไม่ เกิ ดยิ นดียิน ร้ าย เห็น สั กแต่ ว ่ า เห็ น 2. พรหมวิหารุเปกขา วางเฉย ไม่วุ่นวายกับเรื่องที่ควรวาง เฉย เช่ น ช่ ว ยเหลื อ คนคนหนึ่ ง ด้ ว ยความเมตตาก็ แ ล้ ว ด้ ว ย กรุณาก็แล้ว ช่วยอยู่นั่นแล้วไม่ดีขึ้น ก็ให้วางเฉยเพราะสัตว์โลก มี ก รรมเป็นของของตน 3. โ พชฌั ง คุ เ ปกขา วางเฉยไม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ความก�ำหนั ด เมื่ อได้สมาธิ แล้ ว ความก�ำหนัดก็ ระงั บ ไป 4. วี ริ ยุ เ ปกขา ปฏิ บั ติ ส ายกลางในการท�ำความเพี ย ร ไม่ หย่อนเกินไป ไม่ ตึง เกิ นไป 5. สัง ขารุ เปกขา วางเฉยในสั ง ขาร ไม่ ยึ ด มั่ นในสั ง ขาร 6. เ วทนู เปกขา ไม่สุ ข ไม่ ทุก ข์ รู ้ สึ กเฉยๆ เองโดยไม่ ต ้ อ ง อาศัย อะไร 7. วิปัสสนูเปกขา อาศัยการพิจารณาไตรลักษณ์ ท�ำให้รู้สึก วางเฉยได้ 8. ตัต รมั ชฌัตตุเ ปกขา วางเฉยในอารมณ์ ทุกอย่ า ง 9. ฌานุเ ปกขา อุ เบกขาในฌาน 10. ปาริ สุ ท ธุ เ ปกขา อุ เ บกขาอั น บริ สุ ท ธิ์ มี ส ติ บ ริ สุ ท ธิ์ อยู ่ ใ นฌานที่ 4 83
14 ตั ว ตนหรื อ มิ ใ ช่ ตั ว ตน (จู ฬ สั จ จกสู ต ร)
พระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า ประทั บ ณ กู ฏ าคารศาลา ป่ า มหาวั น เมื อ งเวสาลี เมื อ งเวสาลี นี้ มี นิ ค รนถ์ ค นหนึ่ ง ชื่ อ สั จ จกะ เป็ น คนมี ชื่ อ เสี ย งว่ า มี ค วามรู ้ ดี เขาประกาศ กับชาวเมืองว่าไม่มีสมณหรือพราหมณ์ใดจะโต้วาทะชนะ เขาได้ แม้ผู้ที่ปฏิญาณตนว่าเป็นสัมมาสัมพุทธะก็ยังต้อง เหงื่อตก ถ้า คิดจะโต้วาทะกับเขา เช้ า วั น หนึ่ ง พระอั ส สชิ เ ข้ า ไปบิ ณ ฑบาตในเมื อ ง สั จ จกนิครนถ์ออกมาเดินเล่นพบเข้า จึง ถามว่า “พระคุ ณ เจ้ า อั ส สชิ ท่ า นเป็ น สาวกของพระโคดม อยากทราบว่า พระโคดมสอนว่า อย่า งไร” พระอั ส สชิ ต อบว่ า “พระผู ้ มี พ ระภาค สอนว่ า รู ป 84
เวทนา สัญญา สังขาร และวิญ ญาณ ไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัว ตน (อนัต ตา)” “ท่านอัสสชิ ท่านฟังมาผิดกระมัง ถ้าสมณโคดมสอน อย่า งนี้จ ริง ข้า พเจ้าจะช่วยสอนพระสมณโคดมเสียใหม่ ให้มีความเห็นถูกต้องกว่า นี้” สั จ จกนิ ค รนถ์ เ ข้ า ไปยั ง ลิ จ ฉวี ส ภา เล่ า เรื่ อ งให้ เ จ้ า ลิ จ ฉวี ฟ ั ง และชวนให้ ต ามตนไปฟั ง การโต้ ว าทะกั บ พระ โคดม เจ้าลิจฉวีตามสัจจกนิครนถ์เข้าไปในป่ามหาวัน เมื่อ พบพระพุ ท ธเจ้ า เขาถามเช่ น เดี ย วกั บ ที่ ถ ามพระอั ส สชิ พระพุทธเจ้า ตอบเช่นเดีย วกับ ที่พระอัสสชิตอบ สัจจกะ จึง ว่า “พระโคดม ต้ น ไม้ แ ละพื ช พั น ธุ ์ ทั้ ง หลายจะเจริ ญ งอกงาม ต้องอาศัยพื้นดิน การงานที่มนุษย์ท�ำก็ต้องอาศัย พื้นดิน ฉันใด บุคคลอาศัยรูปเป็นตัวตน มีเวทนา สัญญา สัง ขาร และวิญ ญาณเป็นตัวตน จึง มีบุญมีบาปได้ ถ้ารูป เป็นต้น ไม่เป็นตัว ตนแล้ว บุญ บาปจะมีได้อย่างไร” พระพุทธเจ้า ตรัสว่า “อัค คิเวสสนะ ท่านยืนยันหรือ ว่า รูป เป็นต้นนั้นเป็นตัว ตนของเรา” “ข้า พเจ้ายืนยันอย่างนั้น” “อั ค คิ เ วสสนะ ถ้ า อย่ า งนั้ น เราถามท่ า นข้ อ หนึ่ ง คื อ 85
กษั ต ริ ย ์ ที่ ไ ด้ รั บ มู ร ธาภิ เ ษกแล้ ว เช่ น พระเจ้ า ปเสน ทิ โ กศล เป็ น ต้ น ย่ อ มสามารถฆ่ า คนที่ ค วรฆ่ า เนรเทศ คนที่ควรเนรเทศได้มิใช่ห รือ” “เป็นอย่า งนั้นพระโคดม” “ก็ท่า นบอกว่ารูป เป็นต้น เป็นตัว ตนของเรา ท่านมี อ�ำนาจเหนื อ รู ป เป็ น ต้ น อย่ า งนั้ น หรื อ ท่ า นปรารถนาได้ หรือว่า ขอรูปของเราจงเป็นอย่างนั้นเถิด อย่าเป็นอย่าง นี้เลย” พระศาสดาตรั ส ถามถึ ง สองครั้ ง สั จ จกนิ ค รนถ์ ก็ นิ่ ง อึ้ง อยู่ จึงตรัสเตือนว่า เวลานี้ไม่ใ ช่เวลานิ่ง แต่เป็นเวลา ต้ อ งพู ด ในที่ สุ ด สั จ จกนิ ค รนถ์ ก็ ทู ล รั บ ว่ า ไม่ อ าจบั ง คั บ รูป ได้ พระศาสดาจึ ง ตรั ส ว่ า “เปรี ย บเหมื อ นคนถื อ ขวาน เข้ า ไปในป่ า ต้ อ งการแก่ น ไม้ พบต้ น กล้ ว ย จึ ง ตั ด ที่ โ คน แล้ ว ตั ด ใบออก เขาไม่ พ บแม้ แ ต่ ก ระพี้ จะพบแก่ น ได้ อย่างไร วาจาของท่านหาแก่นสารอะไรไม่ได้ พอซักไซ้ ไล่ เ รี ย งเข้ า ก็ ว ่ า งเปล่ า ท่ า นเคยพู ด ไว้ ใ นเมื อ งเวสาลี ว ่ า อย่ า งไร จงพิ สู จ น์ ค�ำพู ด นั้ น เถิ ด เหงื่ อ ของท่ า นหยดลง จากหน้าผากแล้ว แต่ของเราไม่มีเลย” ในที่ สุ ด เขากล่ า วขอโทษจากพระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า แล้ ว ทู ล ถามว่ า “ต้ อ งปฏิ บั ติ อ ย่ า งไรจึ ง จะได้ ชื่ อ ว่ า ได้ ท�ำ 86
ตามค�ำสั่ ง สอนของพระองค์ ข้ า มความสงสั ย เสี ย ได้ ถึง ความแกล้ว กล้า ไม่ต้องเชื่อในค�ำสอนของผู้อื่น” พระศาสดาตรัสตอบว่า “สาวกของเราย่ อ มพิ จ ารณาเห็ น รู ป เวทนา สั ญ ญา สั ง ขาร และวิ ญ ญาณว่ า มิ ใ ช่ ตั ว ตนของเรา เพี ย งเท่ า นี้ ก็ ชื่อ ว่า ได้ท�ำตามค�ำสอนของเรา” เขาทู ล ถามว่ า “อย่ า งไรภิ ก ษุ จึ ง ได้ ชื่ อ ว่ า ป็ น พระ อรหัน ต์” “สาวกของเราพิ จ ารณาเห็ น เบญจขั น ธ์ ต ามเป็ น จริ ง คือ ไม่ใช่ตัวตนของเรา หลุดพ้นแล้วเพราะไม่ยึดมั่น ถือ มั่ น เท่ า นี้ แ หละได้ ชื่ อ ว่ า เป็ น อรหั น ต์ สิ้ น อาสวะแล้ ว ประกอบด้วยคุณอันยอดเยี่ยม 3 ประการ คือ ความเห็น อันยอดเยี่ยม (ทัสสนานุตตริยะ) การปฏิบัติอันยอดเยี่ยม (ปฏิป ทานุตตริยะ) ความหลุด พ้นอันยอดเยี่ยม (วิมุตตา นุตตริย ะ) สัจ จกนิครนถ์ทูลรับ สารภาพและสรรเสริญว่า “ข้าพเจ้าเป็นผู้มีนิสัยคอยก�ำจัดคุณของผู้อื่น คะนอง วาจา คิ ด ว่ า จะรุ ก รานพระสมณโคดมด้ ว ยถ้ อ ยค�ำ พระ สมณโคดมผู้เ จริญ บุคคลเจอช้างซับมันก็ดี เจอกองไฟ ที่ ลุ ก โพลงก็ ดี เจออสรพิ ษ ก็ ดี ยั ง พอเอาตั ว รอดได้ บ ้ า ง แต่มาเจอพระสมณโคดมไม่มีทางรอดเลย ต้องยอมแพ้” 87
สั จ จกนิ ค รนถ์ อ าราธนาพระศาสดาพร้ อ มด้ ว ยภิ ก ษุ สงฆ์ เ พื่ อ เสวยในวั น รุ ่ ง ขึ้ น พระศาสดาทรงรั บ นิ ม นต์ โดยดุษณี เมื่อเสวยเสร็จแล้ว สัจจกนิครนถ์ทูลว่า “ขอผลบุ ญ ในทานนี้ จ งเป็ น ความสุ ข แก่ ผู ้ ใ ห้ เ ถิ ด ” พระศาสดาตรัส ว่า “ผลบุ ญ ในทานที่ ใ ห้ แ ก่ ผู ้ มี ร าคะ โทสะ โมหะ เช่ น ท่าน จงมีแ ก่ท ายก (ผู้มาร่วมงาน) ส่ว นผลบุญในท่านที่ ให้ แ ก่ ผู ้ ป ราศจากราคะ โทสะ โมหะ เช่ น เรา ขอจงมี แก่ท ่าน”
88
ใจสงบ หลิ น ยู ่ ถั ง กล่ า วว่ า “ความสงบที่ แ ท้ จ ริ ง ของดวงจิ ต คื อ ยอมรับสิ่งที่ เลวที่สุ ด” เมื่ อ สิ่ ง ที่ เ ลวที่ สุ ด เรายั ง ยอมรั บ ได้ เรื่ อ งอื่ น ก็ เ ล็ ก น้ อ ยรั บ ไว้ ด้ วยจิต สงบ รู้ มัน ไม่สู ้ ไม่ หนี แต่ ให้ ก�ำหนดรู ้ ท�ำความเข้ า ใจ ว่ า นี่ คื อ ทุ ก ข์ ทุ ก ข์ นี่ มั น เป็ น ผลไปแล้ ว เราสู ้ ไ ม่ ไ ด้ ถ้ า จะสู ้ ต ้ อ ง ไปสู้ที่เ หตุ คนกล้ า หาญ เมื่ อ ความทุ ก ข์ ค รอบง�ำก็ ต ่ อ สู ้ กั บ ทุ ก ข์ ไ ด้ ทุ ก คนต้องเดิ นทางนี้ เกิ ด แก่ เจ็ บ ตาย ท่ า นให้ “มองทุ กข์ ให้ เห็ น จึง เป็นสุ ข ” (พุท ธปรัชญาเถรวาท) เมื่ อ เห็ นทุ กข์ ก็ห น่ า ยใน ทุ ก ข์ ท�ำให้ล ะความยึ ดมั่น ใจจึง สงบแล้ ว พบความสุ ข ตามดูทุ กข์ ตามดู ไ ม่ เที่ ย ง ตามดู อ นั ต ตา เหมื อ นหมอมอง หาโรค เพื่ อแก้ไ ขโรค ไม่ใ ช่เ พื่อ เป็ นโรค
89
15 การอบรมกายและการอบรมจิ ต (มหาสั จ จกสู ต ร)
พระศาสดาประทั บ อยู ่ ที่ กู ฏ าคาร ป่ า มหาวั น เมื อ ง เวสาลี ตอนเช้ า เสด็ จ ออกบิ ณ ฑบาตในเมื อ งเวสาลี มี พระอานนท์ ต ามเสด็ จ ขณะนั้ น สั จ จกนิ ค รนถ์ อ อกเดิ น เล่ น เข้ า ไปในป่ า มหาวั น พระอานนท์ เ ห็ น เขาเดิ น มาแต่ ไกล จึง ขอให้พ ระศาสดาทรงรออยู่ก่อน เพื่ออนุเคราะห์ เขา ในการสนทนากั น คราวนี้ สั จ จกนิ ค รนถ์ ก ล่ า วว่ า สมณพราหมณ์บางพวกอบรมกายอย่างเดียว ไม่ได้อบรม จิ ต บางพวกอบรมจิ ต อย่ า งเดี ย ว ไม่ ไ ด้ อ บรมกาย พระศาสดาตรั ส ถามว่ า ที่ ว ่ า อบรมกายนั้ น หมายความว่ า อย่างไร อบรมจิต หมายความว่า อย่า งไร 90
สัจ จกนิครนถ์ตอบว่า “อบรมกาย ข้าพเจ้าหมายถึง การทรมานกายด้ ว ยวิ ธี ต ่ า งๆ ที่ นั ก พรตนิ ย มท�ำกั น อยู ่ ส่วนการอบรมจิต ข้า พเจ้าไม่เข้าใจความหมาย ข้าพเจ้าเคยทราบมาว่า ผู้ที่อบรมกายอย่างเดียว ไม่ ได้อบรมจิต เมื่อทุกขเวทนาเกิดในกายก็เป็นโรค อัมพาต บ้าง หทัยแตกบ้าง (น่าจะเป็นโรคหัวใจหรือเส้นโลหิตใน สมองแตก) พวกเขามี จิ ต ฟุ ้ ง ซ่ า นเป็ น บ้ า ไปบ้ า ง กายมี อ�ำนาจเหนื อ จิ ต เพราะพวกเขาไม่ อ บรมจิ ต สมณพราหมณ์ บ างพวกอบรมจิ ต แต่ ไ ม่ ไ ด้ อ บรมกาย เมื่ อ ทุกขเวทนากระทบจิต ย่อมเกิดโรคอย่างเดียวกัน เพราะ จิตมีอ�ำนาจเหนือกาย” พระพุ ท ธองค์ ท รงแสดงกายภาวนาและจิ ต ภาวนา ในความหมายของพระองค์ ว ่ า ผู ้ ที่ ไ ด้ อ บรมกายและ อบรมจิ ต แล้ ว ดู กั น ที่ ไ หน ดู กั น ที่ เ มื่ อ สุ ข เวทนาหรื อ ทุ ก ขเวทนาทางกายหรื อ ทางจิ ต เกิ ด ขึ้ น เวทนานั้ น ครอบง�ำจิ ต เขาได้ ห รื อ ไม่ ถ้ า ครอบง�ำได้ ท�ำให้ เ ขาต้ อ ง เศร้ า โศก เสี ย ใจ พิ ไ รร�ำพั น ต่ า งๆ แสดงว่ า เขายั ง ไม่ ไ ด้ อบรมกายอบรมจิตด้วยดี ถ้าครอบง�ำไม่ได้ เขาไม่เศร้า โศก เสียใจ พิไรร�ำพันต่างๆ แสดงว่าเขาอบรมกายอบรม จิตดีแ ล้ว สัจจกนิครนถ์ทูลว่า “ข้าพเจ้าเลื่อมใสพระสมณโคดม 91
เพราะพระองค์ทรงอบรมกายและอบรมจิตดีแล้ว ” ต่ อ จากนั้ น พระพุ ท ธองค์ ท รงเล่ า เรื่ อ งของพระองค์ ที่ทรงปรารภออกบวช ไปศึกษาในส�ำนักของอาจารย์ ทรง บ�ำเพ็ ญ ทุ ก รกิ ริ ย าเข้ ม งวดอย่ า งยิ่ ง ต้ อ งอดกลั้ น ต่ อ ทุ ก ขเวทนาแสนสาหั ส ทรงบ�ำเพ็ ญ เพี ย รทางจิ ต จนได้ บรรลุอนุต ตรสัมมาสัมโพธิญ าณ เมื่อทรงเล่าจบลง สัจจกนิครนถ์ทูลถามว่า ทรงหลับ กลางวันบ้างหรือไม่ ตรัสตอบว่าหลับบ้างเหมือนกัน แต่ ก่ อ นหลั บ ทรงมี ส ติ สั ม ปชั ญ ญะ ไม่ ไ ด้ ห ลั บ อย่ า งผู ้ ห ลง หรือมัวเมาในการหลับ สั จ จกนิ ค รนถ์ ทู ล ว่ า สมณพราหมณ์ บ างพวกพู ด ว่ า การนอนหลั บ กลางวั น เป็ น การอยู ่ ด ้ ว ยความหลง ตรั ส ตอบว่ า บุ ค คลชื่ อ ว่ า เป็ น ผู ้ ห ลงด้ ว ยเหตุ เ พี ย งเท่ า นี้ ก็ ห าไม่ เรากล่ า วว่ า ผู ้ ใ ดยั ง ละอาสวะ (กิ เ ลส) ไม่ ไ ด้ ผู ้ นั้ น เป็ น ผู ้ ห ลง ผู ้ ใ ดละได้ แ ล้ ว ผู ้ นั้ น เป็ น ผู ้ ไ ม่ ห ลง ตถาคตเป็ น ผู ้ ล ะอาสวะได้ ห มดแล้ ว จึ ง ไม่ เ ป็ น ผู ้ ห ลง อย่า งแน่น อน สั จ จกนิ ค รนถ์ ส รรเสริ ญ พระศาสดาว่ า แม้ เ ขาจะ พู ด จากระทบกระทั่ ง แต่ พ ระศาสดาก็ ยั ง มี ผิ ว พรรณ ผ่ อ งใส สี พ ระพั ก ตร์ เ ปล่ ง ปลั่ ง สมกั บ เป็ น พระอรหั น ตสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า เขาจ�ำได้ ว ่ า เคยสนทนากั บ ครู ทั้ ง 6 92
มี ปู ร ณกั ส สป เป็ น ต้ น เมื่ อ เริ่ ม สนทนาก็ เ อาเรื่ อ งอื่ น มา พู ด กลบเกลื่ อ นเสี ย แสดงความโกรธ ความไม่ พ อใจ ให้ป รากฏ สัจ จกนิครนถ์ทูลลาไปด้ว ยความพอใจ
93
การมี ชี วิ ต ที่ เ ป็ น สุ ข อย่ าต้องการอะไรให้ม ากนัก ผลมั นมาตามเหตุ ความรู ้ สึ ก ต้องการเป็นทุกข์เสมอ ชีวิตของเรา (ที่มีความสุข) มีค่ามากกว่า สิ่ งที่ เราอยากได้ ฝึ ก ตนให้รับรสของความสงบ จะมี ความสุ ข ความทุก ข์เ กิดจาก - ความต้องการมากเกิ นไป - ต้ อ งการให้ไ ด้ มาอย่ างรวดเร็ ว หลั ก 5 ประการ วิ ธีที่ จ ะให้อ ยู ่เ ป็ นสุ ข 1. เราจะมี ส ติ ส�ำรวมตนอยู ่ เ สมอ จะได้ ไ ม่ เ กิ ด ผิ ด พลาด เพราะจะมีทุกข์ตามมา ไม่ก้าวร้าวผู้อื่น ไม่ก่อทุกข์ให้ผู้อื่นและ ก่ อ ทุ ก ข์ ใ ห้ต นเองในภายภาคหน้ า 2. บริ ก รรมเสมอว่ า เราจะไม่ ต ้ อ งการอะไร สั น โดษในผล แต่ ไ ม่ สั น โดษในเหตุ คื อ ว่ า เราจะไม่ ต ้ อ งการอะไร แต่ ยั ง ต้ อ ง ท�ำอะไรๆ ไปตามปกติ
94
3. ไม่กังวลกับการถูกวิพากษ์วิจารณ์ เห็นว่าความสงบสุข ทางใจมีค่า มากกว่า เป็น การง่ ายยิ้ มได้ ไ ม่ ต ้ อ งฝื น 4. นึ ก เสมอว่ า ไม่ ต ้ อ งการค�ำเยิ น ยอ ชื่ อ เสี ย ง อบรมใจให้ ไม่ ต้องการจริ ง ๆ ให้ใ จคุ ้น กับ ความสงบจนเคย 5. สิ่ ง ใดที่ ไ ด้ ม า ให้ ถื อ ว่ า มาตามเหตุ ที่ เ คยประกอบเอา ไว้ ไม่ปฏิเสธสิ ริม งคลหรือ ความสุ ข ที่ ไ ด้ มาโดยชอบธรรม สิ่งที่เราไม่ต้องการ (มักน้อย) เมื่อได้มารู้สึกเหมือนได้มาก สิ่ งที่เ ราต้องการมาก เมื่ อได้ มาจะรู ้ สึ กว่ า ได้ น้ อ ย
95
ข้ อ ธรรมน�ำใจ อาจารย์วศิน อินทสระ ท่านจะให้ถ้อยค�ำเตือนใจไว้เสมอๆ เพื่ อ ให้ ลู ก ศิ ษ ย์ ที่ ยั ง ร้ อ นรนเอาไปแก้ ค วามคั บ ข้ อ งใจ ให้ มี ทางออก ให้คลายเร่ าร้อ น ให้ นอนสบาย 1. “ได้ก็ดี ไม่ไ ด้ ก็เ ป็ นกุ ศล” บางอย่ า งที่ เราอยากได้ แต่ ท�ำด้ วยตั ว เองไม่ไ ด้ ก็ร อดูว ่ ามั นจะได้ มาหรื อ ไม่ ไ ด้ มา ถ้ า ได้ มา อย่ า งใจต้ อ งการก็ ดี ถ้ า ไม่ ไ ด้ ม าก็ ดี เ หมื อ นกั น คิ ด ว่ า เป็ น กุ ศ ล เพราะบางทีไ ด้มาแล้ ว เป็น ทุก ขลาภ 2. “ภิกษุทั้งหลาย เธอพึงอย่าน�ำบาป แม้เพียงเท่าเส้นผม ไปวางไว้ บ นศี ร ษะของสั ต ว์ ผู ้ ห าความผิ ด มิ ไ ด้ ” เกิ ด อะไรขึ้ น ก็ อย่ าพยายามไปโทษคนอื่ น ยอมรั บสิ่ ง ที่เ กิ ดขึ้ น 3. การละมิจฉาทิฐิ เมื่อมีความเห็นใดเกิดขึ้น ท�ำให้เราเกิด อารมณ์ยึดมั่นถือมั่น ให้ละโดยการนึกว่า เราไม่ใช่นั่น นั่นไม่ใช่ เรา การยึ ด มิ จ ฉาทิ ฐิ เ อาไว้ ถ้ า มั น ไม่ ถู ก ต้ อ ง ต้ อ งกล้ า เปลี่ ย น ไม่ ต ้ อ งกลัว เสีย หน้ า 4. มุทิตา ให้คิดว่า “เราเป็นเพื่อนเกิดแก่เจ็บตายด้วยกัน ทั้ ง สิ้ น ดั ง นั้ น ถ้ า เขาได้ ดี ก็ เ ป็ น เรื่ อ งน่ า ยิ น ดี และถ้ า เป็ น คน ใกล้ชิด เขาได้ดี เราก็ดีใจด้วย จะได้ไม่ต้องมาพึ่งเรา อาจท�ำให้ เราล�ำบากได้” 96
5. กายภายในคื อกายของเรา กายภายนอกคื อ กายของคน อื่ น คื อ ระลึ ก ว่ า กายของเราเป็ น อย่ า งไร กายของผู ้ อื่ น ก็ เ ป็ น อย่ า งนั้ น จิ ต ก็ เ หมื อ นกั น เช่ น โทสะ เมื่ อ เกิ ด แล้ ว เรารู ้ สึ ก อย่างไร คนอื่นก็รู้สึกอย่างนั้น ไม่ใช่ไปพิจารณาโทสะของผู้อื่น แต่ ใ ห้รู้ว ่าผู ้อื่ นรู ้สึ กอย่า งไร หมายเหตุ : ข้อนี้น�ำมาใช้ ไ ด้ม าก เวลาเราโกรธ เรารู ้ ว ่ า เราร้ อ นเราเจ็ บ ปวด แต่เวลาเราเห็นคนอื่นโกรธ เราไม่ค่อยคิดว่าเขาก�ำลังรู้สึก อย่างไร มักไปเพ่งอาการ (กิริยาภายนอก) และเนื้อเรื่องที่ก�ำลัง โกรธ ท�ำให้เ ห็น ใจกั นไม่ไ ด้
97
16 คุ ณ ธรรมเพื่ อ ความสิ้ น ตั ณ หา (จู ฬ ตั ณ หาสั ง ขยสู ต ร)
พระศาสดาประทับ ณ บุพพาราม ซึ่งนางวิสาขาสร้าง ถวาย ใกล้ เ มื อ งสาวั ต ถี ท ้ า วสั ก กะจอมเทพชั้ น ดาวดึ ง ส์ เสด็จไปเฝ้า ทูลถามว่า ภิกษุปฏิบัติเพียงเท่าใดจึงได้ชื่อ ว่ า น้ อ มไปในธรรมเป็ น ที่ สิ้ น ตั ณ หา เป็ น ผู ้ ป ระเสริ ฐ กว่ า เทวดาและมนุษ ย์ พระศาสดาตรัสตอบว่า ภิกษุในธรรมวินัยนี้ได้ฟังว่า “สิ่ง ทั้งปวง (รวมถึงนิพ พานด้ว ย) อันบุคคลไม่ควร ยึด มั่น ถือมั่น ” เธอย่ อ มทราบชั ด ถึ ง ธรรมทั้ ง ปวงด้ ว ยปั ญ ญาอั น ยิ่ ง ก�ำหนดรู้ธ รรมทั้งปวง เมื่อได้เ สวยเวทนาคือ สุข ทุกข์ ไม่สุขไม่ทุกข์ ย่อม 98
พิ จ ารณาเห็ น ความไม่ เ ที่ ย งของเวทนานั้ น พิ จ ารณาเห็ น ความเบื่ อ หน่ า ย ความดั บ และการสละคื น (คื อ เบื่ อ ที่ เดี๋ ย วสุ ข เดี๋ ย วทุ ก ข์ ) จึ ง ไม่ ยึ ด มั่ น ในสิ่ ง ใดในโลก (ทั้ ง สุ ข และทุ ก ข์ ) เมื่ อ ไม่ ยึ ด มั่ น ก็ ไ ม่ ส ะดุ ้ ง หวาดหวั่ น สามารถ ดับกิเลสได้ทราบชัดด้วยตนเองว่า ความเกิดสิ้นแล้ว ภพ ใหม่ไ ม่มีอีกต่อไป” ด้ ว ยเหตุ เ พี ย งเท่ า นี้ ภิ ก ษุ ผู ้ นั้ น ชื่ อ ว่ า ได้ น ้ อ มไปใน ธรรมอัน เป็นที่สิ้นตัณ หา มีความส�ำเร็จอย่างยิ่ง มีความ ปลอดโปร่ ง อย่ า งยิ่ ง เป็ น พรหมจารี อ ย่ า งยิ่ ง เป็ น ผู ้ ประเสริฐกว่าเทวดาและมนุษย์ทั้ง หลาย ท้ า วสั ก กะจอมเทพทรงพอพระทั ย ในพระด�ำรั ส ตอบแห่ ง พระศาสดา ถวายบั ง คมลาแล้ ว ท�ำประทั ก ษิ ณ (เวีย นขวาแสดงความเคารพ) แล้ว อันตรธานไป พระมหาโมคคั ล ลานะนั่ ง อยู ่ ไ ม่ ไ กลพระผู ้ มี พ ระภาค เมื่อ ท้า วสักกะทูลลาจากไปแล้ว ท่านสงสัยว่าท้าวสักกะ ชื่นชมยินดีต่อพุทธพจน์นั้นโดยรู้เรื่องเข้าใจดีหรือว่าไม่รู้ เรื่อ งไม่เข้า ใจ แสดงความชื่นชมไปอย่างนั้นเอง ท่านจึง หายไปจากบุ พ พาราม ไปปรากฏตน ณ สวรรค์ ชั้ น ดาวดึงส์ เวลานั้นท้าวสักกะและท้าวเวสสวรรณ (เจ้าแห่งยักษ์ ชั้น จาตุมหาราช) ก�ำลัง ฟังดนตรีอยู่ในสวนดอกบุณฑริก 99
เห็น พระมหาโมคคัลลานะมาจึงรีบ ต้อนรับ พระมหาโมคคั ล ลานะทู ล ถามว่ า ที่ ฟ ั ง พระด�ำรั ส ตอบ ของพระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า นั้ น มี ใ จความส�ำคั ญ อย่ า งไร ขอให้เล่าให้ฟังด้วย ท้าวสักกะตอบว่า พระองค์มีภารกิจ มาก ทรงลืมหมดแล้ว เพื่ อ เลี่ ย งไปหาเรื่ อ งอื่ น ท้ า วสั ก กะจึ ง ชวนพระมหา โมคคั ล ลานะไปชมเวชยั น ตปราสาทซึ่ ง สร้ า งอย่ า งวิ จิ ต ร สวยงาม มีถึง 100 ชั้น มีเทพธิด ามากมาย พระมหาโมค คั ล ลานะถวายพระพรว่ า เป็ น สถานที่ อั น น่ า รื่ น รมย์ แม้ พ วกมนุ ษ ย์ เ มื่ อ เห็ น สถานที่ ใ ดๆ อั น น่ า รื่ น รมย์ ก็ มั ก ออกปากชมว่า เหมือนสถานที่ข องเทพชั้นดาวดึงส์ ขณะนั้ น พระมหาโมคคั ล ลานะคิ ด ว่ า ท้ า วสั ก กะนี้ ประมาทอยู ่ ด ้ ว ยทรั พ ย์ สิ น สมบั ติ อั น เป็ น ทิ พ ย์ เพื่ อ ให้ ท้ า วสั ก กะสั ง เวชสลดใจ จึ ง เอาหั ว แม่ เ ท้ า ของท่ า นกด เวชยันตปราสาท ท�ำให้เวชยันตปราสาทสั่นสะเทือน หวั่น ไหว ท้าวสักกะจึงสังเวชสลดใจ เห็นพระมหาโมคคัลลานะ เป็น ผู้มีฤ ทธิ์มาก มีอานุภาพมาก เมื่ อ เห็ น ว่ า ท้ า วสั ก กะสั ง เวชสลดใจแล้ ว พระมหา โมคคัลลานะจึงถามถึงเรื่องที่พ ระศาสดาตรัส ท้าวสักกะ จึงเล่าถวายทุกประการ พระมหาโมคคัลลานะชื่นชมยินดี ต่อค�ำของท้าวสักกะ แล้วกลับจากดาวดึงส์มาปรากฏตน 100
ที่บุพพาราม เข้า เฝ้าพระศาสดาทูลถามเรื่องนั้นอีกครั้ง พระศาสดาตรั ส เล่ า ให้ ฟ ั ง เหมื อ นที่ ท ้ า วสั ก กะเล่ า ถวายแล้ ว ท่ า นมหาโมคคั ล ลานะชื่ น ชมต่ อ ภาษิ ต ของ พระผู้มีพระภาคเป็นอย่างยิ่ง
101
การเกิ ด พระพุท ธเจ้าทรงปรารภเรื่ องการเกิ ด ดั ง นี้ 1. การเกิ ด เป็ น มนุ ษ ย์ เ ป็ น ของยาก นิ ท านเปรี ย บเที ย บ คือ มีเต่าตาบอดอยู่ในท้องทะเล ลมเหนือพัดมาก็ไปทางใต้ ลม ใต้ พัด มาก็ไ ปทางเหนือ มีห ่ว งอยู่ใ นทะเล เต่ า จะโผล่ หั ว ขึ้ นมา ให้ ห ่ ว งคล้ อ งคอมั น เป็ น เรื่ อ งยาก แต่ ก ารเกิ ด ของมนุ ษ ย์ ย าก กว่านั้น เพราะฉะนั้น เมื่อเกิดเป็นคนแล้ว ก็พยายามพัฒนาให้ ดี ขึ้ น 2. การมี ชี วิ ต อยู ่ เ ป็ น ของยาก การรั ก ษาชี วิ ต ไว้ ก็ เ ป็ น ของ ยาก 3. การได้ฟั ง พระสัท ธรรม (ธรรมแท้ ) เป็ นของยาก 4. การเกิด ขึ้น ของพระพุ ทธเจ้ าเป็ นของยาก
102
ขณะสมบั ติ ขณะสมบัติ (สมบัติแปลว่ าถึ ง พร้ อ ม) การถึงพร้อมด้วยขณะสมบัติเป็นของยาก การถึงพร้อมด้วย ขณะสมบั ติ คื อ ได้ เ วลาดี เช่ น บางคนมี ศ รั ท ธา แต่ ไ ม่ มี เ วลาฟั ง ธรรม บางคนมี เวลา แต่ ไ ม่ ศรั ทธาจะฟั ง ธรรม สุภ าษิตของพระมหากั ปปิน ะเถระ “ผู ้ มี ป ั ญ ญา แม้ จ ะสิ้ น ทรั พ ย์ ก็ มี ชี วิ ต อยู ่ ไ ด้ แต่ ถ ้ า ไม่ ไ ด้ ปั ญ ญา แม้ มีท รัพ ย์ก็ ไ ม่ ข อมี ชีวิ ตอยู ่ ”
103
ความปรารถนา ความปรารถนาที่ สมหวัง ได้ ย าก มี 4 ประการ 1. ขอให้ท รัพ ย์จ งบั ง เกิ ดมีแก่เ ราโดยทางที่ ช อบ 2. ขอยศจงบั ง เกิ ดแก่ เราและแก่ ญาติ พ วกพ้ อ งบริ ว าร (ยศ = ชื่อเสี ย ง ค�ำสรรเสริ ญ เกี ย รติ บริ ว าร ทรั พ ย์ ) 3. ขอเราจงมี อายุ ยื นนาน 4. เมื่อสิ้น ชีพ แล้ ว ขอให้ เกิ ดในสวรรค์ ท่านแสดงปฏิปทาเพื่อการได้สมปรารถนาในสิ่งที่หวังไว้ว่า 1. ศรัท ธา 2. ศี ล 3. จาคะ (บริจ าค) 4. ปัญ ญา
104
ธรรมะสมาทาน ธรรมะสมาทาน สิ่ง ที่ ควรยึดไว้ ป ฏิ บั ติ บางอย่ างให้ สุข ในปัจ จุบั น ให้ ทุกข์ ในภายหน้ า บางอย่ างให้ สุข ในปัจ จุบั น ให้ สุ ข ในภายหน้ า บางอย่ างให้ ทุก ข์ใ นปัจ จุบั น ให้ ทุกข์ ในภายหน้ า บางอย่ างให้ ทุก ข์ใ นปัจ จุบั น ให้ สุ ข ในภายหน้ า เราต้ อ งรอดู เ หตุ ก ารณ์ ใ ห้ ต ลอดสาย เราไม่ อ าจตั ด สิ น เหตุก ารณ์ ใดเหตุก ารณ์เ ดี ย ว ว่า อั นนี้ ดีห รื อ ไม่ ดี ถ้าดีใจกับสิ่งที่ได้มาหรือเสียใจกับสิ่งที่เสียไป ต่อไปมันอาจ เปลี่ย นได้ ดีที่สุด คื อ ยอมรั บสิ่ ง ที่เ ลวร้า ยที่ สุ ดได้ จิ ต ใจก็ จ ะสงบได้
105
เลื อ กเก็ บ ดอกไม้ เราจะแผ่ เ มตตาไปถึ ง ใคร ให้ ร ะลึ ก ถึ ง ส่ ว นดี ข องเขา ก่ อ น ท�ำให้ มี จิ ต ใจอ่ อ นโยนต่ อ ผู ้ นั้ น ได้ ส่ ว นที่ ไ ม่ ดี อ ย่ า เพิ่ ง ไป นึ ก เพราะคนเราดีไ ม่ทั่ ว ชั่ ว ไม่ หมด เลื อ กเก็ บ แต่ ด อกไม้ ห อมใส่ ก ระเช้ า เก็ บ แต่ สิ่ ง ดี ๆ ใส่ ตั ว สิ่ งไม่ ดี ไม่เ อา นานๆ เข้า ก็จ ะมี แต่สิ่ ง ดี มี เมตตามโนกรรม จิ ต เปี ่ ย มด้ ว ยเมตตา ดี ก ว่ า คิ ด ด้ ว ยโทสะ พยาบาท เบี ย ดเบี ย น ฯลฯ
106
107
17 มนุ ษ ย์ เ กิ ด ได้ อ ย่ า งไร (มหาตั ณ หาสั ง ขยสู ต ร)
พระศาสดาประทั บ ณ เชตวั น เมื อ งสาวั ต ถี ภิ ก ษุ รูป หนึ่ง ชื่อสาติ บุตรชาวประมง มีค วามเห็นว่า วิญญาณ เที่ยง คือ วิญญาณดวงนี้แหละไปเกิด มาเกิด ไม่มีการ เปลี่ ย นแปลง เมื่ อ ภิ ก ษุ ทั้ ง หลายทราบก็ เ ตื อ นว่ า อย่ า คิดอย่างนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ได้สอนอย่างนั้น แต่ ทรงสอนว่ า วิ ญ ญาณเกิ ด ขึ้ น เพราะเหตุ ป ั จ จั ย ไม่ มี เ หตุ ปัจจัยแล้ววิญญาณก็ไม่มี แต่ภิกษุสาติยังคงความคิดเดิม บอกว่ า ตั ว ท่ า นเองรู ้ ทั่ ว ถึ ง ธรรมของพระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า แล้ว ภิ ก ษุ ทั้ ง หลายเมื่ อ ไม่ อ าจเปลี่ ย นความคิ ด ของเขาได้ จึ ง ไปทู ล พระศาสดา ทรงตรั ส เรี ย กเขามาถาม เขาตอบ 108
ว่าเป็น เช่นนั้นจริง ตรัสติเตียนเป็นอันมากว่าเป็นความเห็นที่ไม่ถูกต้อง ที่ แ ท้ แ ล้ ว วิ ญ ญาณเป็ น ของไม่ เ ที่ ย ง เกิ ด ขึ้ นเพราะมี เ หตุ ปั จ จั ย ไม่ มี เ หตุ ป ั จ จั ย วิ ญ ญาณก็ ไ ม่ มี เมื่ อ ทรงเตื อ น ภิ ก ษุ ส าติ แ ล้ ว ก็ ต รั ส ถามภิ ก ษุ ทั้ ง หลายว่ า เห็ น อย่ า ง ภิกษุสาติหรือไม่ ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่าไม่ได้เห็นอย่าง นั้น ตรัสว่า ถูกต้องแล้ว และทรงแสดงตัว อย่างว่า อาศัย ตาและรู ป จึ ง เกิ ด จั ก ษุ วิ ญ ญาณ (ความรั บ รู ้ ท างตา) ขึ้ น อาศัยเสียงและหูจึงเกิดโสตวิญญาณ (การรับรู้ทางหู) ขึ้น เป็ น ต้ น เรี ย กวิ ญ ญาณตามเหตุ ที่ เ กิ ด เหมื อ นไฟที่ เ กิ ด จากไม้เ รีย กว่า ไฟไม้ เกิด จากหญ้าเรียกว่าไฟหญ้า เกิด จากแกลบเรีย กว่า ไฟแกลบ เป็นต้น ต่ อ จากนั้ น พระพุ ท ธองค์ ท รงแสดงปฏิ จ จสมุ ป บาท (สิ่ ง ที่ อ าศั ย กั น เกิ ด ขึ้ น ) โดยทรงยกอาหารขึ้ น มาเป็ น บท ตั้ง ว่า เกิดขึ้นเพราะอะไร ตรัส ว่าอาหาร 4 เกิดขึ้นเพราะ ตัณ หา ตัณหาเกิด เพราะเวทนา เวทนาเกิ ด เพราะผั ส สะ (การกระทบกั น เช่ น ตา กระทบรูป ) ผัสสะเกิดเพราะมีอายตนะ (สิ่งเชื่อมต่อ) มี 2 อย่า ง อายตนะภายใน ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ และ อายตนะภายนอก รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (สัมผัส 109
ทางกาย) ธรรมารมณ์ (สัมผัสทางใจ) ไล่เรื่อยไป จนถึง อวิช ชา (ความไม่รู้ห รือไม่รู้จ ริง) ทรงแสดงปฏิ จ จสมุ ป บาทสายดั บ ด้ ว ยเหมื อ นกั น คื อ เพราะ อวิ ช ชาดั บ สั ง ขารจึ ง ดั บ เรื่ อ ยลงมาจนถึ ง ความทุก ข์ทั้งมวลก็ดับ ไป ทรงแสดงเหตุเกิดแห่งทารกในครรภ์ว่า เพราะปัจจัย 3 ประการ คือ 1. มารดาบิดาร่วมเพศกัน 2. มารดาอยู่ในวัยที่มีระดู (ไม่เ ด็กไปหรือแก่ไป) 3. มี วิ ญ ญาณมาปฏิ ส นธิ เมื่ อ พร้ อ มด้ ว ยปั จ จั ย ทั้ ง 3 ประการนี้ ทารกจึงเกิดมาในครรภ์ มารดาต้องอุ้มท้อง 9 เดื อ นบ้ า ง 10 เดื อ นบ้ า ง เป็ น ภาระอั น หนั ก เมื่ อ ถึ ง คราวคลอดก็ต้องเสี่ยงชีวิตเป็นอย่างมาก และเลี้ยงทารก ด้วยโลหิต (น�้ำนม) ของตน เมื่ อ ได้ รั บ การเลี้ ย งอย่ า งดี เด็ ก ก็ ค ่ อ ยเจริ ญ ขึ้ น จน เล่น ได้ เพลิด เพลินอยู่ด ้วยการเล่นต่างๆ เมื่อเติบโตยิ่ง พรั่ ง พร้ อ มด้ ว ยกามคุ ณ 5 ย่ อ มรั ก ใคร่ ใ นรู ป อั น เป็ น ที่ ตั้ ง ของความก�ำหนั ด ขั ด เคื อ งในอารมณ์ อั น เป็ น ที่ ตั้ ง ของความขั ด เคื อ ง มี จิ ต เป็ น อกุ ศ ลอยู ่ ไม่ รู ้ ชั ด ถึ ง เจโต วิ มุ ต ติ (ความหลุ ด พ้ น จากกิ เ ลสด้ ว ยอ�ำนาจสมาธิ ) 110
และปั ญ ญาวิ มุ ต ติ (ความหลุ ด พ้ น จากกิ เ ลสด้ ว ยอ�ำนาจ ปั ญ ญาหรื อ วิ ป ั ส สนา) อั น เป็ น ที่ ดั บ ไม่ เ หลื อ แห่ ง อกุ ศ ล ทั้งปวง เขาพรั่งพร้อมด้วยความยินดียินร้ายอยู่อย่างนี้ ย่อม ทุกข์บ ้า ง สุขบ้าง เฉยๆ บ้า ง ย่อมเพลิดเพลินบ้าง บ่น เพ้ อ ร�ำพั น บ้ า ง ติ ด ใจในเวทนาทั้ ง หลายบ้ า ง จึ ง เกิ ด อุ ป าทาน (ความยึ ด มั่ น ) ขึ้ น เพราะอุ ป าทานเป็ น ปั จ จั ย ให้เ กิด ภพเพราะมีภพจึง มีเกิด แก่ เจ็บ ตาย เศร้าโศก เสีย ใจ พิไรร�ำพัน คับ แค้นใจ เป็นต้น พระผู้มีพระภาคตรัสเล่าถึงพระประวัติของพระองค์ ที่ ท รงเห็ น โทษในกามแล้ ว เสด็ จ ออกบวช ได้ ต รั ส รู ้ แ ล้ ว ทรงแสดงธรรมอันงามในเบื้องต้น ท่ามกลาง และในที่สุด ผู ้ เ ลื่ อ มใสออกบวชประพฤติ พ รหมจรรย์ จ นได้ บ รรลุ ฌาน 4 เมื่ อ บรรลุ เ ช่ น นั้ น แล้ ว ย่ อ มไม่ มี จิ ต ก�ำหนั ด หรื อ ขั ด เคื อ งในอารมณ์ ย่ อ มทราบชั ด ซึ่ ง เจโตวิ มุ ต ติ ปั ญ ญา วิ มุ ต ติ อั น เป็ น ที่ ดั บ ไม่ เ หลื อ ซึ่ ง อกุ ศ ลทั้ ง หลายเธอละ ความยิ น ดี ยิ น ร้ า ยในอารมณ์ ต ่ า งๆ ไม่ เ พลิ ด เพลิ น ใน เวทนาทั้งหลาย จึงไม่มีอุปาทาน เมื่อไม่มีอุปาทานจึงดับ ภพได้ เมื่ อ ดั บ ภพก็ เ ป็ น อั น ดั บ ความเกิ ด แก่ เจ็ บ ตาย 111
เศร้ า โศก เสี ย ใจ พิ ไ รร�ำพั น ต่ า งๆ ได้ กองทุ ก ข์ ทั้ ง มวล ย่อมดับลงอย่า งนี้ “ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย พวกเธอจงจ�ำความหลุ ด พ้ น เพราะ ความสิ้น ไปแห่ งตัณหานี้ไว้ใ ห้ดี พวกเธอจงจ�ำไว้ว ่าภิกษุ สาติ เ ป็ น ผู ้ ต กอยู ่ ใ นข่ า ยแห่ ง ตั ณ หา” พระศาสดาตรั ส ใน ที่สุด ............................ อธิ บ าย : ตามหลั ก พุ ท ธศาสนาเห็ น ว่ า วิ ญ ญาณ ไม่ เ ที่ ย ง เป็ น ทุ ก ข์ เป็ น อนั ต ตา จึ ง ไม่ ค วรยึ ด มั่ น ถื อ มั่ น ว่าเป็น เราเป็น ของเรา ที่ ดู เ หมื อ นวิ ญ ญาณเที่ ย ง เพราะปรากฏการสื บ ต่ อ เหมื อ นกระแสไฟหรื อ กระแสน�้ ำ ที่ ไ หลตลอดเวลา ดู เหมื อ นเป็ น กระแสเดิ ม แต่ จ ริ ง ๆ แล้ ว มี ก ารเกิ ด ดั บ อยู ่ ตลอดเวลา เพี ย งแต่ มี ก ระแสใหม่ เ ข้ า มาแทนที่ จึ ง ดู เหมื อ นเที่ ย ง กระแสไฟฟ้ า เกิ ด ดั บ ถึ ง วิ น าที ล ะ 50-60 ครั้ง เราจึงมองไม่เห็นการดับ ในแต่ละครั้ง วิญญาณก็ท�ำนองเดียวกัน คือกระแสความรู้สึกที่ไหล ติ ด ต่ อ กั น อยู ่ เ สมอ ไม่ ใ ช่ ด วงเดิ ม และไม่ ใ ช่ ด วงใหม่ เ สี ย ทีเดียว อาศัย ดวงเก่า ดวงใหม่จึง เกิดขึ้น เปรี ย บเหมื อ นต้ น กล้ ว ยกั บ หน่ อ กล้ ว ย เป็ น ต้ น 112
หน่อกล้วยนั้นไม่ใช่ต้นเก่าและไม่ใช่ต้นใหม่โดยประการ ทั้ ง ปวง แต่ อ าศั ย ต้ น เก่ า หน่ อ ใหม่ จึ ง เกิ ด ขึ้ น ต้ น เก่ า ได้ ถ่ายทอดคุณ สมบัติให้ห น่อใหม่อีกด้ว ย การไปปฏิ ส นธิ (เกิ ด ) ใหม่ ข องวิ ญ ญาณก็ ท�ำนอง เดีย วกัน
113
ปฏิ จ จสมุ ป บาท ท่ า นพุ ท ธทาสเขี ย นหนั ง สื อ ปฏิ จ จสมุ ป บาท ไว้ เ ล่ ม หนึ่ ง ท่ า นที่ ส นใจควรหามาอ่ า น ท่ า นเขี ย นอ่ า นไม่ ย ากค่ ะ ในที่ นี้ ขอย่ อ มาง่ายๆ ดัง นี้ ปฏิ จจสมุปบาท คื อ 1. การแสดงให้รู้เรื่องความทุกข์ที่เกิดขึ้นในรูปสายฟ้าแลบ ในจิ ต ใจของคนเป็น ประจ�ำวั น 2. เป็น สิ่ง ที่มี ในคนเราแทบตลอดเวลา 3. ถ้าเป็นเรื่องที่ผู้ใดเข้าใจแล้ว ก็อาจปฏิบัติเพื่อความดับ ทุ ก ข์ ของตนได้ 4. ท�ำไมต้องรู ้เ รื่อ งนี้ เพื่อ ให้รู ้ถู กต้ อ งและดั บ ทุ กข์ เสี ย ได้ 5. จ ะดั บ ทุ ก ข์ โ ดยวิ ธี ใ ด โดยวิ ธี ที่ ป ฏิ บั ติ ใ ห้ ถู ก ต้ อ งตาม กฎเกณฑ์ของปฏิจจสมุปบาท คืออย่าให้กระแสปฏิจจสมุปบาท มั นเกิ ด ขึ้ นมาได้ โดยให้ มีส ติ รู้ สึก ตั ว ตลอดเวลาเท่ า ที่ จ ะท�ำได้ 6. ปฏิ จ จสมุ ป บาท มี จ�ำนวนธรรม 11 แสดงให้ เ ห็ น ว่ า เพราะอาศัย สิ่ง หนึ่ ง เกิ ดขึ้ น อี กสิ่ ง หนึ่ ง จึ ง เกิ ดขึ้ น 1. เพราะอวิชชา เป็ นปัจ จั ย จึ ง มี สั ง ขาร 2. เพราะสัง ขาร ” วิ ญ ญาณ 3. เพราะวิญญาณ ” นามรู ป 114
4. เพราะนามรูป เป็ นปั จ จั ย จึ ง มี อายตนะ 6 5. เพราะอายตนะ 6 ” ผั ส สะ 6. เพราะผั สสะ ” เวทนา 7. เพราะเวทนา ” ตั ณ หา 8. เพราะตั ณหา ” อุ ป าทาน 9. เพราะอุป าทาน ” ภพ 10 เพราะภพ ” ชาติ 11. เพราะชาติ ” ชรา มรณะ โสกะ ปริ เทวะ (แวะไปกิน ยาหอมก่ อนได้ค่ ะ) อวิชชา คือ ความไม่ รู้ จ ริง ความเขลา สังขาร คือ การปรุงแต่งกาย วาจา ใจ เช่น ความรู้สึกอร่อย หรื อ ไม่อร่อ ย วิญ ญาณ คื อ การรับ รู้ นามรูป คื อตัว เรา นามคือ จิ ต รู ป คื อ กาย อายตนะ 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้ น กาย ใจ ผัสสะ คื อ การกระทบ เช่ น ลิ้ นกระทบอาหาร 115
เวทนา คือ ความรู้ สึก สุข ทุ กข์ พอใจ ไม่ พ อใจ เฉยๆ ตั ณ หา คื อ ความอยากได้ อยากมี อยากเป็ น อยากไม่ มี อยากไม่ เป็น อุ ปาทาน คือ ความยึดมั่ นในตัว ตน ภพ คือ กระบวนการแห่ ง การเกิด ชาติ คือ ความเกิ ด ชรา มรณะ คื อ ความดั บ สิ้ น ไปของเรื่ อ งนั้ น ๆ ในคราว หนึ่ งๆ ปฏิ จ จสมุ ป บาท มี ลั ก ษณะเป็ น ลู ก โซ่ ค ล้ อ งกั น เป็ น วงกลม จึ ง ไม่ มี ต ้ น ปลาย และไม่ ต ้ อ งเรี ย งล�ำดั บ ว่ า อวิ ช ชาต้ อ งเป็ น ข้ อ หนึ่ งเสมอไป มีความเป็น ไปใน 2 ลัก ษณะ คื อ 1. สายเกิ ด อาศั ย สิ่ ง หนึ่ ง เกิ ด อี ก สิ่ ง หนึ่ ง จึ ง เกิ ด ขึ้ น เช่ น เมื่ อ ความชอบเกิด ความอยากได้จึง เกิดขึ้ น 2. สายดั บ อาศั ย สิ่ ง หนึ่ ง ดั บ อี ก สิ่ ง หนึ่ ง จึ ง ดั บ ไป เช่ น เมื่ อ ความชอบหมดไป ความอยากได้จึง หมดไป ปฏิ จจสมุปบาท คื อสิ่ ง ต่า งๆ อาศัย กั นและกั นเกิ ด ขึ้ น เป็ น ความสัมพันธ์ของทุกอย่าง ทั้งในธรรมชาติ เรื่องรอบตัวเรา และ เรื่ อ งในตั วเรา ความสัม พันธ์ใ นธรรมชาติ เช่น เพราะตั ด ต้ นไม้ ➔ ภู เขา จึ ง หั ว โล้ น ➔ ท�ำให้ ฝ นตกลงมา ➔ ไม่ มี ต ้ น ไม้ ก รองน�้ ำ ฝน ➔ ท�ำให้ น�้ ำ พั ด ลงมากั บ ซุ ง ➔ ท�ำให้ ห มู ่ บ ้ า นพั ง ➔ ท�ำให้ มี ก าร 116
เรี่ ย ไร ➔ ท�ำให้มี การรั บบริจ าคทางที วี ➔ ท�ำให้ คนรวยได้ อ อก ไปร้องเพลงทางที วี อุ๊ ย แต่ ที่ เ ราควรสนใจมากที่ สุ ด คื อ ปฏิ จ จสมุ ป บาทที่ ท�ำให้ เ รา ทุ ก ข์ ใ จ แล้ ว เกิ ด ความพอใจ ไม่ พ อใจ เร่ ง เร้ า ให้ เ กิ ด อยากได้ ไม่ อ ยากได้ ท่านพุทธทาสสอนให้ตัดตั้งแต่ผัสสะ คือการกระทบทันทีที่ ตาเห็ น รู ป แล้ ว พระพุ ท ธเจ้ า สอนว่ า เห็ น ก็ สั ก แต่ ว ่ า เห็ น อย่ า ปล่อยใจให้ไปรับเวทนา ถ้าสติวิ่งไม่ทันจะเกิดตัณหา ต้องรีบวิ่ง ไปตัด ตัณ หา สกัดมั นไว้ ถ้ ายัง วิ่ง ไม่ ทันอี ก เราก็ แ พ้ แ ล้ ว งานนี้ เป็ น ทุก ข์ไ ปก่อ น แต่ถ ้า ตั ดได้ทั น ก็ รอดตั ว ไป ไม่ ต้ อ งทุ กข์ ใจ บทเสริ ม นี้ ล งไว้ เ พื่ อ อธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม บทที่ 17 มนุ ษ ย์ เ กิ ด ได้ อ ย่ า งไรเผื่ อ เพื่ อ นคนใดยั ง ไม่ เ คยพบเรื่ อ งปฏิ จ จสมุ ป บาท มาก่อนค่ะ
117
18 คุ ณ ธรรมอั น ท�ำให้ เ ป็ น สมณะ (มหาอั ส สปุ ร สู ต ร)
พระศาสดาประทั บ อยู ่ ณ อั ส สบุ ร นิ ค มของอั ง คราช กุมาร ในแคว้นอัง คะตรัสสอนภิกษุทั้ง หลายว่า มหาชนรู้จักพวกเธอทั้งหลายว่าเป็นสมณะ เมื่อเป็น เช่ น นี้ พวกเธอพึ ง ส�ำเหนี ย กว่ า เราจะสมาทาน (ยึ ด ถื อ ปฏิบัติ) และประพฤติธรรมอันท�ำให้เป็นสมณะ เมื่อเป็น เช่นนี้ ปฏิญญาของพวกเธอก็จะสมจริง อนึ่ง เธอบริโภค ใช้สอยปัจ จัย 4 ของทายก (ผู้ให้) เหล่าใด ทายกเหล่า นั้ น ก็ จ ะได้ อ านิ ส งส์ ม าก บรรพชาของพวกเธอก็ จ ะไม่ ไร้ผ ล แต่จ ะมีผ ลมาก มีความเจริญ มาก ก็ อ ะไรเล่ า คื อ ธรรมอั น ท�ำให้ เ ป็ น สมณะ? พวกเธอ พึง ส�ำเหนีย กว่า เราจะเป็นผู้มีหิริและโอตตัปปะ (ความ 118
ละอายบาปและเกรงกลัว ต่อผลของบาป) เธออาจคิดว่า เท่ า นี้ เ พี ย งพอแล้ ว แต่ ที่ จ ริ ง ไม่ พ อ ยั ง มี สิ่ ง ที่ ค วรท�ำให้ ยิ่ง ขึ้น ไปกว่า นี้ ต่อจากนั้น พระพุทธองค์ทรงแสดงสิ่งที่ควรท�ำให้ยิ่ง ขึ้น ไป คือ 1. มีกายสมาจารบริสุทธิ์ คือความประพฤติทางกาย บริสุทธิ์ 2. มีว จีสมาจารบริสุทธิ์ 3. มี ม โนสมาจารบริ สุ ท ธิ์ และไม่ ย กตนข่ ม ผู ้ อื่ น เพราะกายสมาจารอั น บริ สุ ท ธิ์ เป็ น ต้ น (บริ สุ ท ธิ์ คื อ บริ สุ ท ธิ์ เปิ ด เผย ไม่ มี ช ่ อ งทางให้ ใ ครๆ ต�ำหนิ ไ ด้ คอย ระวังอยู่เสมอ) 4. มีอาชีวะ (การเลี้ยงชีพบริสุทธิ์) และไม่ยกตนข่ม ผู้อื่น เพราะเหตุนั้น 5. ส�ำรวมอินทรีย ์ 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ ใ ห้ยิน ดียินร้า ยเมื่อเห็นรูป ฟัง เสียง เป็นต้น (หมายเหตุ : เมื่ อ ยิ น ดี ยิ น ร้ า ยแล้ ว ท�ำให้ บ าปอกุ ศ ล เกิ ด ขึ้ น ควรเว้ น ไม่ ใ ห้ เ กิ ด ขึ้ น ถ้ า ยิ น ดี ยิ น ร้ า ยแล้ ว ท�ำให้ กุศลเกิด ขึ้น ก็ยินดีได้) 6. รู้จักประมาณในการบริโ ภคอาหาร 7. ประกอบความเพียรอยู่เสมอ ไม่เห็นแก่หลับนอน 119
8. มีสติสัมปชัญญะ 9. อยู่ในเสนาสนะอันสงัด ท�ำความเพียรช�ำระจิตให้ บริสุท ธิ์ ปราศจากนิว รณ์ 5 เมื่อปราศจากนิว รณ์ 5 แล้ว ย่อมรู้สึกปีติปราโมทย์ เหมือนคนเป็นหนี้แล้วพ้นจากหนี้ เป็ น โรคแล้ ว หายจากโรค ติ ด คุ ก แล้ ว หลุ ด จากคุ ก เป็ น ทาสแล้วพ้นจากความเป็นทาส เดินทางไกลแล้วพ้นจาก ทางไกลกัน ดาร ถึงที่อันปลอดภัย พิ จ ารณานิ ว รณ์ 5 ที่ ยั ง ละไม่ ไ ด้ ว ่ า เหมื อ นเป็ น หนี้ เป็ น โรค เหมื อ นเรื อ นจ�ำ เหมื อ นความเป็ น ทาสและ เหมือนทางไกลกันดาร เมื่อละนิวรณ์ 5 ได้แ ล้ว ท�ำฌานระดับต่างๆ ให้เกิด ขึ้ น มี ค วามสุ ข สงบอั น เกิ ด จากฌานนั้ น ท�ำอภิ ญ ญาคื อ ความรู ้ ยิ่ ง ต่ า งๆ ให้ เ กิ ด ขึ้ น มี ก ารระลึ ก ชาติ ไ ด้ เ ป็ น ต้ น จนถึง อาสวักขยญาณคือการท�ำกิเ ลสให้สิ้นไป เมื่อเป็นดังนี้ เธอย่อมเป็นผู้สมควรแก่นามว่าสมณะ บ้า ง พราหมณ์บ ้าง ผู้อาบน�้ำ แล้ว บ้า ง เป็นผู้จบเวทบ้าง เป็น อริยะบ้า ง เป็นอรหันต์บ้า ง ดัง นี้ พระสูต รนี้ ทรงแสดงคุณของสมณะ ตั้งแต่เบื้องต้น จนถึ ง สู ง สุ ด คื อ ความเป็ น พระอรหั น ต์ เ ริ่ ม ตั้ ง แต่ หิ ริ โอตตัปปะ กายสมาจาร วจีสมาจาร มโนสมาจารบริสุทธิ์ มี อ าชี ว ะบริ สุ ท ธิ์ ส�ำรวมอิ น ทรี ย ์ รู ้ จั ก ประมาณในการ 120
บริ โ ภคอาหาร ประกอบความเพี ย รอยู ่ เ สมอ มี ส ติ สั ม ปชัญญะ อยู่ในเสนาสนะอันสงัด บ�ำเพ็ญฌานและอภิญญา จนสิ้น สุด กระบวนการแห่งการพัฒนาตน หมายเหตุ : มโนสมาจารบริสุทธิ์ ประกอบด้ว ย 1. อนภิชฌา ไม่โลภอยากได้ของผู้อื่น 2. อพยาบาท ไม่ป องร้า ยผู้ใด 3. อวิหิงสา ไม่เ บีย ดเบีย น
121
19 คุ ณ ธรรมอั น ท�ำให้ เ ป็ น สมณะ (ต่ อ ) (จู ฬ อั ส สปุ ร สู ต ร) พระศาสดาทรงเตื อ นให้ ภิ ก ษุ ทั้ ง หลายส�ำนึ ก ถึ ง ความ เป็ น สมณะ ทรงแสดงคุ ณ ธรรมที่ ท�ำให้ เ ป็ น สมณะจาก บทที่ แ ล้ ว แต่ ใ นบทนี้ ท รงเพิ่ ม เติ ม ว่ า ถ้ า ยั ง ละมลทิ น 12 ประการไม่ได้ก็ไม่เรียกว่าเป็นสมณะที่ดี การบวชของเธอ น่ า หวาดเสี ย ว เป็ น อั น ตราย เหมื อ นอาวุ ธ ที่ ค มและ ซ่อนไว้ใ นฝักมีผ้า พันไว้อย่างเรีย บร้อย มลทิน 12 ประการคือ 1. อภิช ฌา โลภอยากได้ข องผู้อื่น 2. พยาบาท คิด ปองร้ายผู้อื่น 3. โกธะ โกรธเคือง 4. อุป นาหะ ผูกโกรธไว้ (โกรธแล้ว ไม่หาย) 122
5. มักขะ (เนรคุณ) ลบหลู่คุณท่าน (ผู้มีคุณบอกว่า ไม่มีคุณ ปฏิเ สธ) 6. ปลาสะ (ปะ-ลา-สะ) ตีเสมอท่าน ยกตนเทียม ท่าน (ในขณะที่ยังไม่เ ทียมท่า น) 7. อิสสา ริษยา คือเห็นใครดีทนไม่ได้ 8. มัจ ฉริยะ ตระหนี่ 9. สาไถยะ โอ้อวด 10. มายา เจ้า เล่ห ์ ไม่ซื่อ ตรง 11. ปาปิ จ ฉา ปรารถนาลามก คื อ มี ป กติ คิ ด ชั่ ว อยู ่ เสมอ 12. มิ จ ฉาทิ ฐิ เห็ น ผิ ด เห็ น ไม่ ถู ก ต้ อ งตามท�ำนอง คลองธรรม หมายเหตุ : 12 ข้อนี้ถ้า เติมอีก 4 ข้อ ก็จะเป็น อุปกิเลส 16 จึง ขอน�ำมาแทรกไว้ต รงนี้ด ้วย เพื่อให้อยู่ในที่เดียวกันค่ะ 13. มานะ ทะนงตน 14. อติมานะ ดูห มิ่นผู้อื่น 15. มทะ มัว เมา 16. ปมาทะ ประมาท 123
บุคคลจะเป็นสมณะด้วยเหตุต่อไปนี้ก็หาไม่ คือครอง ผ้ า สั ง ฆาฏิ เปลื อ ยกาย คลุ ก ตั ว ด้ ว ยฝุ ่ น ลงอาบน�้ ำ ใน แม่น�้ำศักดิ์สิทธิ์ วันละ 3 ครั้ง อยู่โ คนไม้ ฯลฯ ถ้าบุคคล จะเป็ น สมณะได้ เ พี ย งห่ ม ผ้ า สั ง ฆาฏิ แ ล้ ว ญาติ มิ ต รก็ จ ะ ชวนกั น ครองผ้ า สั ง ฆาฏิ ตั้ ง แต่ เ กิ ด ที เ ดี ย ว เพื่ อ ให้ ล ะ อภิ ช ฌาและพยาบาท เป็ น ต้ น แต่ ค วามจริ ง แล้ ว บุ ค คล บางคน แม้ ค รองผ้ า สั ง ฆาฏิ อ ยู ่ ก็ ยั ง เป็ น ผู ้ มี อ ภิ ช ฌามาก มีพยาบาทมาก มีมลทินทั้ง 12 ประการมาก ภิ ก ษุ ชื่ อ ว่ า ปฏิ บั ติ ข ้ อ ปฏิ บั ติ อั น ยิ่ ง ก็ ต ่ อ เมื่ อ รู ้ ว ่ า มี อภิ ช ฌาก็ ล ะอภิ ช ฌาเสี ย ได้ มี พ ยาบาทก็ ล ะพยาบาทเสี ย ได้ เป็น ต้น เมื่อเป็นดังนี้ ย่อมพิจารณาเห็นตนบริสุทธิ์ อยู ่ ย่ อ มเกิ ด ปราโมทย์ ได้ ป ี ติ อิ่ ม ใจ มี ค วามสุ ข มี จิ ต ตั้ง มั่น มีเ มตตา แผ่เ มตตาไปในทิศ ทั้ง ปวง ได้ความสงบ จิ ต ระงั บ ความกระวนกระวายเสี ย ได้ เหมื อ นบุ ค คล กระวนกระวายเพราะความร้อนจากการเดินทาง กระหาย น�้ำ ได้ดื่มน�้ำในสระอันมีน�้ำใสไหลเย็น จืดสนิท ต่อมาเขา จึ ง ท�ำให้ แ จ้ ง ซึ่ ง เจโตวิ มุ ต ติ ปั ญ ญาวิ มุ ต ติ (หลุ ด พ้ น จาก กิ เ ลสด้ ว ยก�ำลั ง แห่ ง สมาธิ แ ละก�ำลั ง แห่ ง ปั ญ ญา) ชื่ อ ว่ า เป็น สมณะอย่างแท้จ ริง
124
* * * ท่า นพุท ธทาสภิ ก ขุ เขี ย นไว้ ใ นหนั งสื อ ตาม รอยพระอรหันต์ ตอนหนึ่ง ว่า “ถ้าเมื่อทุกคนถือเอาความเป็นอยู่ในชีวิตของตนเอง เป็ น ทางสายกลางแล้ ว ก็ ย ากที่ จ ะกล่ า วว่ า ภาวะแห่ ง ความเป็ น อยู ่ เ ช่ น ไรเป็ น การบวชหรื อ ควรนั บ รวมเข้ า ใน การบวช? และเช่ น ไรเป็ น คนบริ โ ภคกามแท้ ? บวชของ คนพวกนี้ อ าจสู ง หรื อ ต�่ ำ เกิ น ไปส�ำหรั บ อี ก พวกหนึ่ ง โดย นัย นี้ เราไม่ควรจะเรีย กรูปแบบหรือพิธี หรือการกระท�ำ ภายนอกว่ า เป็ น การบวชที่ แ ท้ จ ริ ง เลย ควรถื อ เอาด้ ว ย การละเว้นด้วยหัวใจจริงๆ ว่ าเป็นแก่นแท้ของการบวช เช่นนี้จึงจะเป็นหนทางที่ให้เราปักหลักลงไปว่า การบวช คืออะไร? ได้โ ดยถูกต้อง เราลองมาเฟ้นความจริง ข้อนี้กันดู : สมมุติว ่า มีคน ที่ เ ราเรี ย กกั น ว่ า นั ก บวชผู ้ ห นึ่ ง อยู ่ ตึ ก ใหญ่ โ ตกว้ า งขวาง มี เ ครื่ อ งประดั บ ห้ อ งราคานั บ หมื่ น มี ศิ ษ ย์ ห รื อ คนใช้ ปรนนิ บั ติ เ อาใจใส่ ป ระคั บ ประคอง ด้ ว ยการกิ น อยู ่ อ ย่ า ง เลิศ เพราะนักบวชผู้นั้นฉุนเฉียว ใจเร็วมาก การงานของ เขาปรารภโลกจัดเกินไป คือมุ่ง แต่ท�ำตามที่มหาชนนิยม หรือผู้มีอ�ำนาจเหนือตนต้องการ ทีนี้ก็มีชาวนาอีกคนหนึ่งในพวกคนจน ค่าอาหารและ ค่าใช้จ่ายรวมทั้งครอบครัวเดือนหนึ่งๆ ยังไม่เท่าโคมไฟ 125
และน�้ ำ ใช้ ข องนั ก บวชนั้ น เพี ย งวั น เดี ย ว เขามี ค วามเป็ น อยู่ตามประสาชาวนา ใจคอสงบเยือกเย็น อดทน สันโดษ มัธ ยัสถ์ ข่มใจตนเองไว้ใ นอ�ำนาจได้ ไม่ฉุนเฉียว ท�ำบุญ ให้ ท านตามประสาคนจน ซึ่ ง บางที ก็ เ จื อ จานเข้ า มาถึ ง นักบวชผู้นี้ด ้วย เมื่อความจริงเป็นดังนี้และให้เราตัดสินใจว่า ใครควร จะถูกเรียกว่านักบวช จึงจะยุติธรรม เราก็ตอบยากเต็มที มิใ ช่หรือ นอกจากเราจะตอบตามประเพณี แต่ เ ราจะประสงค์ ก ารบวชเพื่ อ ตามรอยพระอรหั น ต์ กันจริงแล้ว จะถือตามประเพณีไม่ได้ เพราะผลแห่งการ บวชที่แท้จริงไม่เกิดจากประเพณีเป็นอันขาด เกิดได้จาก การกระท�ำที่ถูก ต้องจริง ๆ เท่านั้น”
126
มั ก ขะ มัก ขะ (เนรคุณ) ลบหลู ่คุณท่ า น (ผู ้ มีคุณ บอกว่ า ไม่ มีคุณ ) ปฏิ เ สธ อกตัญ ญู ไม่รู ้คุณท่า น ไม่ส�ำนึ กคุ ณ รู ้ ว ่ า มี คุณ แต่ ไ ม่ ส�ำนึ ก อกตเวที ไม่ ตอบแทนคุ ณท่ า น 3 ข้อนี้ มั กขะ ถื อว่ าแรงที่สุ ด
127
ตระหนี่ มั จฉริย ะ ตระหนี่ ท่า นให้ ละความตระหนี่ ความตระหนี่ มี ดัง นี้ 1. ตระหนี่ ล าภ ไม่ ก ล้ า ให้ เ พราะกลั ว จน คนโง่ ไ ม่ ก ล้ า ให้ เพราะกลั วจน คนฉลาดเพราะกลั ว จนจึ ง กล้ า ให้ 2. ตระหนี่ ที่ อ ยู ่ เช่ น ที่ อ ยู ่ ใ นวั ด มี 80 ห้ อ ง เจ้ า อาวาส รั บ พระเพี ย ง 20 ห้ อ งก็ ห ยุ ด รั บ แล้ ว เพราะอยู ่ ม ากก็ เ รื่ อ งมาก ปกครองยาก 3. ตระหนี่ ต ระกู ล สมั ย ก่ อ นตระกู ล ใหญ่ ถื อ ตระกู ล เข้ ายาก คัด เลือกเขยหรื อสะใภ้ม าก 4. ตระหนี่วรรณะ คนอินเดียมีชั้นวรรณะที่แบ่งแยกชัดเจน ไม่ข้ามวรรณะกัน สมัยนี้เราแบ่งชั้นกันตามเศรษฐกิจ การศึกษา ฯลฯ
128
หมายเหตุ : วรรณะแปลว่า สรรเสริ ญก็ไ ด้ ในที่ นี้ห มายถึ ง สรรเสริ ญ คื อ ตระหนี่ ก ารสรรเสริ ญ ไม่ อ ยากให้ ช มคนอื่ น พระพุ ท ธเจ้ า สอน ถ้ า เขาชมอย่ า เพิ่ ง รั บ ถ้ า ติ อ ย่ า รี บ โกรธ เอามาพิ จ ารณาว่ า จริ ง หรื อไม่ ถ้ าจริ ง ก็รั บไว้ ถ้ าไม่จ ริ ง ก็ ชี้แจงให้ ทราบความจริ ง 5. ต ระหนี่ธ รรม คื อตระหนี่ ความรู ้ รู ้ แ ล้ ว ไม่ อ ยากให้ ใครรู ้ เดี๋ ย วรู้ม ากกว่ าเรา เก่ง กว่า เรา คนโง่ ก ลั ว เหนื่ อ ยไม่ ท�ำความเพี ย ร คนฉลาดกลั ว เหนื่ อ ย ในวัน หน้า จึ ง รีบ ท�ำความเพีย ร มัธยัสถ์ อยู่ระหว่างความฟุ่มเฟือยกับความตระหนี่ มัธยัสถ์ คื อ ใช้ ใ ห้ พ อดี กั บ ความจ�ำเป็ น ใช้ ข องให้ คุ ้ ม ราคา ไม่ ต ระหนี่ แต่ไ ม่ฟุ่ม เฟือ ย แก้ ก ารตระหนี่ ด ้ ว ยทาน คื อ การให้ ให้ สิ่ ง ที่ ค วรให้ แก่ ค น ที่ ควรให้
129
สาไถยะและมายา อุ ปกิ เ ลสข้อ 9 สาไถยะ โอ้ อ วด กลั ว เขาจะไม่ รู ้ ว ่ า มี สิ่ ง นั้ น สิ่ ง นี้ จึ ง โอ้ อ วด บางที ก็ โอ้ อ วดเกิ นจริง หรื อต้ องการลบปมบางอย่ า ง บั ณ ฑิ ต จะไม่ ก ลั ว คนอื่ น เขาจะไม่ รู ้ คุ ณ ธรรมของตน กลั ว แต่ ว่ าจะมีคุณ ธรรมไม่ม ากเท่า ที่คนอื่น เข้ า ใจ อุ ปกิ เลสข้อ 10 มายา เจ้า เล่ห ์ ไม่ ซื่ อ ตรง ไม่ กระท�ำตาม ที่ เป็ นจริ ง เจตนาเพื่อ จะหลอกลวง นิ ท านสอนเรื่อ งโอ้อ วดและมายา สุ นั ข จิ้ ง จอกบอกไก่ ว ่ า “เจ้ า ขั น ได้ เ พราะอย่ า งพ่ อ เจ้ า หรื อ เราไม่ เชื่ อ” ไก่จึ ง หลั บตา ตั้ง อกตั้ง ใจขั นอย่ า งดี เพื่ อ ให้ เพราะ สุ นั ข จิ้ ง จอกจึ ง คาบคอไก่ ไ ปชาวบ้ า นวิ่ ง มาตามไก่ ไก่ บ อกสุ นั ข จิ้งจอกว่า “บอกชาวบ้านสิว่าไก่ของเจ้า ไม่ใช่ไก่ของชาวบ้าน” สุ นัขจิ้ งจอกก็ว างไก่ ลง พูดว่ า “ไก่ข องข้ า ” ไก่ ห ลุ ด ได้ ก็บิ นไป ขึ้ นต้ นไม้ สุนัข จิ้ง จอกก็ เอาปากถูดิน บอกว่ า “ปากเอ๋ ย ถ้ า พู ด น้ อ ยเสี ยหน่อย ก็ไ ด้ กิน ไก่ แล้ ว ” กุ ศ โลบาย ไม่ ใ ช่ เ จ้ า เล่ ห ์ คื อ ต้ อ งการให้ เ ป็ น ผลดี แม้ จ ะ เป็ นการไม่จ ริง
130
ปาปิ จ ฉา ปาปิจ ฉา คื อปรารถนาลามก (ลามก=ชั่ ว ร้ า ย) มี ป กติ คิด ชั่ ว อยู ่ เ สมอ อยากหรื อต้ องการในทางที่ ชั่ว ทางบาป ถ้ า จะถอนความอยากในทางที่ ชั่ ว ก็ ต ้ อ งตั้ ง ใจให้ ต ้ อ งการ ในทางที่ดี อิ จ ฉา คื อ ความอยาก ควรละ ถ้ า ละไม่ ไ ด้ มี ค วามอยาก เพิ่มพูนมากขึ้นเรื่อยๆ ก็เป็นปาปิจฉานี่เป็นมลทินทางใจที่ต้อง ละ ในลั ก ษณะตั ด สิ น พระธรรมวิ นั ย มี ว ่ า พระธรรมวิ นั ย นี้ เ ป็ น ไปเพื่อความปรารถนาน้อ ย (เท่ าที่ จ�ำเป็ น) ไม่ ใช่ ป รารถนามาก (เกิน จ�ำเป็ น) ปรารถนามาก คื อ ไม่มี ขี ดจ�ำกั ดของความปรารถนา ฉะนั้น การปฏิบั ติเพื่ อละปาปิ จ ฉา คื อ ปรารถนาแต่ สิ่ ง ที่ ดี และเท่าที่จ�ำเป็น
131
มานะ มานะ ในความหมายของสั ง คม หมายถึ ง มี ค วามพยายาม ไม่ ย ่ อ ท้ อ เป็ น สิ่ ง ดี ไม่ ค วรละ เพราะมาในรู ป แบบวั ฒ นธรรม เลยไม่ เห็ น ว่าเป็น กิเ ลส มานะ ในความหมายทางธรรม เป็นกิเลส เป็นสังโยชน์เบื้อง สู ง ต้ อ งระดับพระอรหัน ต์จึง จะละได้ มานะ มี แ จกออกไปหลายตั ว เพราะความรู ้ สึ ก ในใจเรามี หลายระดั บ มีมุมมองตนเองที่ซั บซ้อ น มานะ ทะนงตน อติ ม านะ ดู ห มิ่ น ผู ้ อื่ น อวมานะ ดู ห มิ่ น ตั วเอง อธิม านะ ส�ำคั ญผิด เข้า ใจผิ ด
132
มานะมี 9 ข้ อ 1. ตนเองเลิ ศกว่า เขา ส�ำคั ญตนว่ า เลิ ศ กว่ า เขา 2. ตนเองเลิ ศกว่า เขา ส�ำคั ญตนว่ า เสมอเขา 3. ตนเองเลิศ กว่ าเขา ส�ำคั ญตนว่ า ต�่ ำ กว่ า เขา 4. ตนเองเสมอเขา ส�ำคัญตนว่ า เลิ ศ กว่ า เขา 5. ตนเองเสมอเขา ส�ำคัญตนว่ า เสมอเขา 6. ตนเองเสมอเขา ส�ำคัญตนเองว่ า ต�่ ำ กว่ า เขา 7. ตนเองต�่ำกว่า เขา ส�ำคั ญตนว่ า เลิ ศ กว่ า เขา 8. ตนเองต�่ำกว่า เขา ส�ำคั ญตนเองว่ า เสมอเขา 9. ตนเองต�่ำ กว่ าเขา ส�ำคั ญตนเองว่ า ต�่ ำ กว่ า เขา พระพุ ทธเจ้ าสอนว่า “ถอนอัส สมิ มานะเสีย ได้ เป็ นสุ ข อย่ า งยิ่ ง ”
133
มทะและปมาทะ อุ ปกิ เ ลสข้อ 15 มทะ มัว เมา มี 3 อย่าง 1. เมาในวั ย คื อ ยั ง หนุ ่ ม สาวอยู ่ ยั ง ไม่ ต ายหรอก แต่ ผลไม้แก่อ่อนก็หล่นได้ เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเราจะตายตอนแก่ เพราะเราตายเมื่อไหร่ก็ ไ ด้ 2. เมาในความไม่มี โรค 3. เมาในชีวิต คิดว่าชีวิตเรายังอยู่อีกนาน ยังไม่ตาย จริงๆ แล้ ว เราคาดไม่ ไ ด้ ว ่ า เมื่ อ ไหร่ จึ ง ควรรี บ ท�ำความดี โ ดยเร็ ว คื อ ไม่ เมาชี วิต อุ ปกิ เลสข้อ 16 ปมาทะ เลิน เล่อ หรื อ ประมาท คื อ อยู ่ อ ย่ า ง ปราศจากสติ สติ กับ ประมาท ใช้ร วมกั นไป มี ส ติ คือ ไม่ ป ระมาท ไม่ ประมาทคือมีสติ ควรท�ำความไม่ป ระมาทอย่ างไร ควรท�ำใน 4 ประการ 1. ละกายทุจ ริ ต ประพฤติ กายสุจ ริ ต 2. ละวจีทุจริ ต ประพฤติ ว จี สุจ ริ ต 3. ละมโนทุ จ ริต ประพฤติม โนสุจ ริ ต 4. ละความเห็ นผิ ด ท�ำความเห็ นให้ ถูก 134
ความเห็น ผิด (มิจ ฉาทิฐิ) นั้ นเห็ นอย่ า งไร 1. ทานที่ ให้แล้ว ไม่มี ผล 2. การบู ชาไม่มี ผล 3. การบวงสรวงไม่มีผล (การท�ำบุญอุทิศให้ผู้ตายไม่มีผล) 4. ผลของกรรมดี กรรมชั่ ว ไม่ มี 5. โลกนี้ไ ม่มี 6. โลกอื่น ไม่ มี 7. มารดาไม่มี บุญคุณ 8. บิ ดาไม่มี บุญคุณ 9. โอปปาติ กะไม่มี 10. สมณพราหมณ์ป ระพฤติ ดีป ระพฤติ ช อบไม่ มี ความเห็ น ถู ก (สั ม มาทิ ฐิ ) คื อ เห็ น ตรงข้ า มกั บ ข้ า งบนนี้ ทั้ งหมด ท�ำไมจึงเห็นผิดว่าโลกนี้ไม่มีทั้งๆ ที่เห็นอยู่ อาจารย์อธิบาย ว่ า จะได้ไม่ต้ องประพฤติจ ริ ย ธรรมเพื่ อ โลกนี้ พวกฝรั่ ง แดกดั น กล่าวไว้ว ่า กิน ดื่ มเที่ย วให้ เต็ม ที่ พรุ ่ ง นี้ อ าจตาย, อยากท�ำอะไร ก็ ท�ำ อยู่ใ ห้ สบาย พวกนี้ วั ตถุนิ ย มจั ด ท�ำไมจึ ง เห็ นผิ ด ว่ า มารดา บิดาไม่มี เพื่อปฏิเสธจริยธรรม จะได้ไม่ต้องตอบแทนคุณมารดา บิ ด า บางคนทวงบุ ญ คุ ณ กั บ พ่ อ แม่ ว ่ า ท�ำให้ พ ่ อ แม่ ไ ด้ ห น้ า ได้ ต า เพราะตัว เองเรีย นจบ 135
ท�ำไมจึง เห็น ว่า สมณพราหมณ์ ปฏิ บัติดีไ ม่ มี คื อ คิ ด ว่ า หลอก ลวงทั้ งนั้ น ท�ำไมจึงเห็นว่าโอปปาติกะไม่มี คือไม่เชื่อโลกหน้า (โอปปา ติ ก ะ (โอ-ปะ-ปา-ติ - กะ) เป็ น การเกิ ด โดยไม่ ต ้ อ งอาศั ย พ่ อ แม่ อาศัยแต่อดีตกรรมอย่างเดียว เกิดแล้วสมบูรณ์เต็มตัว ไม่เจริญ เติบโตขึ้นเรื่อยๆ ได้แก่ เทวดา พรหม สัตว์นรก เปรต อสุรกาย มนุ ษ ย์ ส มั ย ต้น กัปป์) เราท�ำความไม่ ป ระมาทโดยรั ก ษาจิ ต พึ ง รั ก ษาจิ ต ด้ ว ยสติ ในฐานะ 4 อย่าง 1. (ราคะ) ระวั ง จิ ต ไม่ ใ ห้ ก�ำหนั ด ในอารมณ์ อั น เป็ น ที่ ตั้ ง แห่ งความก�ำหนัด รัก ใคร่พ อใจในสิ่ง น่า รั กทั้ ง หลาย เพราะระวั ง ยาก 2. (โทสะ) ระวัง ไม่ป ระมาทในอารมณ์ ที่ชั กชวนให้ โกรธ 3. (โมหะ) ระวั ง ใจไม่ ใ ห้ ห ลงในอารมณ์ อั น เป็ น ที่ ตั้ ง แห่ ง ความหลง เช่น หลงติ ดยาเสพติ ด ติ ดการพนั น 4. (มทะ) ระวังใจไม่ให้มัวเมาในอารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่ง ความมัวเมา คือไปหลงผิดเข้าแล้วยังมัวเมาต่อไป เช่น กินเหล้า (หลงผิ ด ) แต่ยัง กิ นต่ อ (มัว เมา)
136
บั ณ ฑิ ต บั ณ ฑิ ต หมายถึ ง คนดี ที่ ฉ ลาด เขาเป็ น คนดี แม้ ไ ม่ ถู ก กั บเรา เขาก็ จ ะมีก รุณา ถ้ าปรึก ษาเขา เขาก็ ยั ง ไม่ ท�ำร้ า ยเรา “บัณ ฑิตเป็ นศั ตรูดีก ว่า คนโง่ เป็ นมิ ต ร” คนโง่ คนพาล คนชั่ ว เพราะคนโง่ ช ่ ว ยเหลื อ แบบคนโง่ แล้ ว กลายเป็ นท�ำร้า ย นิท าน คนโง่ คิดช่ว ยกั นไปปราบยุ ง คว้ า ดาบไปแทงยุ ง เลย ถู ก กั น เอง บาดเจ็ บ กั น ไปหมดยุ ง กั ด หั ว ของคนหั ว ล้ า น ให้ ลู ก ไล่ ยุง ลูก เอาขวานจามยุ ง บนหัว บัณ ฑิ ตแม้ เป็น ศัตรู ถ้า เอาความกรุ ณ ามาตั้ ง อยู ่ เฉพาะหน้ า ก็ จะเกื้อกูลจริง ๆ ชายคนหนึ่ ง ออกเงิ น ให้ กู ้ เ ป็ น ล้ า นให้ แ ก่ ญ าติ เขาไม่ ใ ช้ ห นี้ ทั้ งต้น ทั้ง ดอกเบี้ ย ก็เ ลยซื้ อปืน จะไปยิ ง พบบัณฑิ ตเข้ าก็ เล่า ให้ฟ ัง บั ณฑิ ตบอกว่ า “เสียเงินไปเป็นล้านแล้วยังอยากจะไปติดคุกอีก คนอื่นเขา เสี ย เงิ น เป็ น ล้ า นเพื่ อ จะออกจากคุ ก กั น ” เลยคิ ด ได้ ไม่ ไ ปฆ่ า ญาติ ให้ รู ้ จั ก ตั ด ตอนและจ�ำกั ด ความสู ญ เสี ย คื อ เสี ย ไปแล้ ว เท่ า นั้น อย่ าให้ เสี ย เพิ่ มอี ก
137
สั ง ขะเศรษฐี สั งขะเศรษฐี อยู่เ มือ งราชคฤห์ เป็น เพื่ อ นกั บ ปิ ลิ ย ะเศรษฐี อยู ่ เ มื อ งพาราณสี ทั้ ง สองเป็ น เพื่ อ นกั น แบบไม่ เ คยพบกั น แต่ เ ป็ น เพื่ อ นกั น ด้ ว ยการส่ ง ข่ า ว เพราะได้ ยิ น ชื่ อ เสี ย งของกั น และกั น ปิ ลิ ย ะเกิ ด สิ้ น เนื้ อ ประดาตั ว เดิ น ทางไปหาสั ง ขะ สั ง ขะ ต้ อ นรับ อย่ า งดี 3 วั น แล้ ว จึ ง ถามถึ ง สาเหตุ ที่ม าหา เมื่ อ ทราบ ความแล้ ว ก็ แ บ่ ง สมบั ติ ใ ห้ ค รึ่ ง หนึ่ ง ไปตั้ ง ตั ว พร้ อ มด้ ว ยช้ า งม้ า และข้ าทาสบริว ารเขาก็ไ ปตั้ ง ตั ว ได้จ ริ ง ๆ ต่ อ มา สั ง ขะเกิ ด สิ้ น เนื้ อ ประดาตั ว ขึ้ น มาบ้ า ง จึ ง ไปหา ปิลิยะ ไปถึงแล้วก็เข้าเมืองไปคนเดียว ให้ภรรยาคอยอยู่ที่ศาลา หน้ าเมื อ งก่อน มี ค นไปรายงานปิ ลิ ย ะว่ า สั ง ขะมาหา เขาให้ เ ข้ า พบแต่ ก็ ไม่ ไ ด้ ต ้ อ นรั บ เท่ า ที่ ค วร ถามว่ า สั ง ขะได้ ที่ พั ก ที่ ไ หนแล้ ว สั ง ขะ ใจหาย ว่านี่หรือคนที่ตนเคยช่วยเหลือ เขาตอบว่ายังไม่ได้ที่พัก ภรรยาคอยอยู ่ ที่ ศ าลาหน้ า เมื อ ง ปิ ลิ ย ะก็ ใ ห้ ข ้ า วสารหั ก ๆ ไป บอกให้ ไปหุง หากิ นเอง
138
สั ง ขะรั บ มาด้ ว ยความเสี ย ใจมาก แต่ ภ รรยาโกรธว่ า รั บ มา ท�ำไม แต่สัง ขะก็ เอาข้ าวสารไปหุ ง กิ นกั น ระหว่ า งกิ นก็ กัง วลว่ า จะท�ำอย่างไรกัน ต่อ ไป คนรับใช้ของสังขะที่เคยให้มาอยู่กับปิลิยะ เดินผ่านมาเห็น เข้ า ก็ จ�ำเจ้ า นายเก่ า ได้ เขาพาสั ง ขะไปที่ บ ้ า น ปรนนิ บั ติ ดี ทุ ก อย่าง แล้วไปกราบทูลพระราชาให้ทรงทราบเรื่องของสองเศรษฐี พระราชาก็ เ รี ย กไปสอบถาม และพิ โ รธปิ ลิ ย ะว่ า อกตั ญ ญู ลบหลู ่ คุ ณ ท่ า น พระราชาให้ ป ิ ลิ ย ะมอบเงิ น ที่ มี ทั้ ง หมดให้ สั ง ขะ แต่ สัง ขะไม่รั บ ขอเพี ย งแค่ 40 โกฏิ ที่เคยให้ ป ิ ลิ ย ะมาเท่ า นั้ น นิท านชาดกประกอบเรื่อ งความอกตั ญ ญู อกตัญ ญู ไม่รู ้คุณท่า น ไม่ส�ำนึ กคุ ณ รู ้ ว ่ า มี คุณ แต่ ไ ม่ ส�ำนึ ก อกตเวที ไม่ ต อบแทนคุ ณ มั ก ขะ (เนรคุ ณ ) ลบหลู ่ คุ ณ ท่ า น ผู ้ มีคุณ บอกว่ าไม่มี คุณ ปฏิ เสธ
139
20 เหตุ ใ ห้ ไ ปสุ ค ติ แ ละทุ ค ติ (สาเลยยกสู ต ร)
พระศาสดาเสด็ จ จาริ ก ไปยั ง แคว้ น โกศลพร้ อ มด้ ว ย หมู ่ ภิ ก ษุ จ�ำนวนมาก เสด็ จ ถึ ง หมู ่ บ ้ า นชื่ อ สาละ ครั้ ง นั้ น พราหมณ์ แ ละคหบดี ช าวบ้ า นสาละได้ ยิ น กิ ต ติ ศั พ ท์ ข อง พระองค์แ ล้วพากันมาเฝ้า ทูลถามว่าอะไรเป็นเหตุเป็น ปั จ จั ย ให้ ค นในโลกนี้ ต ายแล้ ว ไปสู ่ สุ ค ติ โ ลกสวรรค์ บาง พวกตายแล้วไปนรก พระศาสดาตรัสตอบว่า ผู้ที่ประพฤติธรรม ประพฤติ สุ จ ริ ต สิ้ น ชี พ แล้ ว ไปสุ ค ติ โลกสวรรค์ ผู ้ ที่ ไ ม่ ป ระพฤติ ธรรม ไม่ ป ระพฤติ สุ จ ริ ต สิ้ น ชี พ แล้ ว ไปทุ ค ติ วิ นิ บ าต นรก ชาวบ้ า นทู ล ขอให้ อ ธิ บ ายค�ำว่ า ประพฤติ ธ รรม 140
ประพฤติ สุ จ ริ ต โดยละเอี ย ดกว่ า นี้ พ ระศาสดาจึ ง ตรั ส จ�ำแนกกุ ศ ลกรรมบถ 10 ว่ า เป็ น การประพฤติ ธ รรม ประพฤติสุจ ริต กุศลกรรมบถ 10 คือ 1. เว้นจากการฆ่าสัต ว์ 2. เว้นจากการลักทรัพ ย์ 3. เว้นจากการประพฤติผิดในกาม 4. เว้นจากการพูดเท็จ 5. เว้นจากการพูดส่อเสียด 6. เว้ น จากการพู ด ค�ำหยาบ (เสี ย ดสี ประชด กระทบกระแทกแดกดัน กระทบกระเทียบเปรียบเปรย) 7. เว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ (พูดพล่อย) 8. เว้นจากโลภอยากได้ ของผู้อื่น 9. เว้นจากการปองร้ายผู้อื่น 10. เว้นจากการเห็นผิดจากท�ำนองคลองธรรม การไม่ เ ว้ น คื อ ประพฤติ ล ่ ว งละเมิ ด 10 ประการ จั ด เป็ น อกุ ศ ลกรรมบถ ทางแห่ ง อกุ ศ ล เป็ น การไม่ ประพฤติธ รรม ไม่ป ระพฤติสุจริต 141
นอกจากเว้ น สิ่ ง ที่ ค วรเว้ น ดั ง กล่ า วแล้ ว ควรท�ำสิ่ ง ที่ ควรท�ำด้ ว ย เช่ น เว้ น การฆ่ า สั ต ว์ แ ล้ ว ควรมี เ มตตาต่ อ สัต ว์ด ้วย เป็น ต้น เมื่ อ สิ้ น ชี พ แล้ ว ย่ อ มไปเกิ ด เป็ น เทพชั้ น ต่ า งๆ ตาม สมควรแก่ธ รรมที่ประพฤตินั้น
142
เวทนาของพระอรหั น ต์ พระอรหันต์ เวทนาของท่านดับเย็น ท่านไม่มีทั้งทุกขเวทนา หรื อสุข เวทนาที่เ จื อด้ ว ยอามิส ท่ า นมี แต่ นิรามิ ส บางที ใ ช้ ค�ำว่ า ฉฬั ง คุ เ บกขา มี อุ เ บกขาประกอบด้ ว ย องค์ 6 คื อ วางเฉยในอารมณ์ ทั้ ง 6 คื อ รู ป เสี ย ง กลิ่ น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ วางเฉยไม่เกิดอารมณ์อย่างที่คนอื่นเกิด เช่ น ฉั น อาหาร ก็ รู ้ ว ่ า อร่ อ ย แต่ ค วามอร่ อ ยนั้ น ไม่ ท�ำให้ อารมณ์ท ่านติ ด ท่ านยั ง เสวยอารมณ์ อ ยู ่ แต่ ไ ม่ เร่ า ร้ อ น อามิ ส สุ ข หรื อ สามิ ส สุ ข คื อ สุ ข ที่ อ าศั ย กามคุ ณ 5 ได้ ตอบสนองต่อ กามคุณ 5 (รู ป เสี ย ง กลิ่ น รส โผฏฐั พ พะ) แล้ ว มี ความสุข นิร ามิ สสุ ข คือ สุข ที่ ไ ม่ อาศัย กามคุ ณ 5 เช่ น ท�ำความดี แ ล้ ว มี ความสุข
143
ปฏิ บั ติ ธ รรมให้ เ หมาะสม “ปฏิ บั ติ ธ รรมให้ เ หมาะสมแก่ ฐ านะของตน” คื อ เราอยู ่ ใ นฐานะ อย่ า งนี้ ก็ ป ฏิ บั ติ เ ท่ า นี้ ไ ปก่ อ น มิ ฉ ะนั้ น เราจะอยู ่ ไ ม่ ไ ด้ เพราะไม่ เหมาะสมกับฐานะของเรา อั น นี้ อ ธิ บ ายเรื่ อ ง การปฏิ บั ติ ธ รรมจะให้ ถู ก 100 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ไม่ได้ เช่น ก�ำจัดปลวก ผิดไหม-ผิด แต่ต้องท�ำ สมควรไหม-สมควร ท�ำ ทหารไปรบ ฆ่ า กั น ผิ ด ไหม-ผิ ด สมควรท�ำไหม-สมควรท�ำคื อ จ�ำเป็นต้องท�ำไปก่อน ถ้าเราอยู่ในฐานะที่เราไม่ท�ำเลยได้ ก็จึงไม่ท�ำ
144
รั ต นะ 5 ประการ การเกิดขึ้นของรัตนะ 5 ประการ เป็นสิ่งที่หาได้ยากในโลก 1. การเกิดขึ้นของพระพุทธเจ้า 2. การเกิดขึ้นของผู้รู้จริงในพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้า 3. ผู้แสดงพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้าก็หาได้ยาก 4. ผู้ปฏิบัติธรรมของพระพุทธเจ้าให้เหมาะสมกับฐานะของตน ก็หายาก 5. ผู ้ ก ตั ญ ญู ก ตเวที ก็ ห ายากในโลก (ผู ้ รู ้ คุ ณ ของผู ้ มี พ ระคุ ณ หาได้ยาก ผู้ตอบแทนคุณของผู้มีพระคุณ หาได้ยาก)
145
ส�ำรวมอิ น ทรี ย ์ ส�ำรวมอิน ทรี ย ์ 6 คื อ ตา หู จมูก ลิ้ น กาย ใจ ส�ำรวมไว้ ไม่ ใ ห้ ยิ น ดี ยิ น ร้ า ยกั บ สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ไม่ ว ่ า จะทางใด ตาเห็ น รู ป หู ได้ ยินเสีย ง เป็น ต้น การยิ น ดี เช่ น ฟั ง ธรรมแล้ ว รู ้ สึ ก ยิ น ดี อย่ า งนี้ ไ ม่ เ สี ย การ ส�ำรวมอิ น ทรีย ์ เพราะบุ ญกุศ ลเกิดขึ้น ได้ ป ี ติป ราโมทย์ แต่ ถ ้ า การยิ น ดี เช่ น ดู ต ลกเล่ น ดู แ ล้ ว เกิ ด ความสบายใจ แต่ในความหรรษานั้น บาปอกุศลเกิดขึ้น เช่นนี้ควรระวังส�ำรวม ใจไม่ ใ ห้ ยิน ดียิน ร้า ย
146
สุ ญ ญตา สุญ ญตามี 2 ซี ก 1. ซี ก โลกี ย ะ สิ่ ง ทั้ ง หลายเกิ ด ขึ้ น เพราะมี เ หตุ ใ ห้ เ กิ ด เกิ ด ตามเหตุ ป ั จ จั ย เปลี่ ย นแปลงไปตามเหตุ ป ั จ จั ย ดั บ ไปตามเหตุ ปั จ จัย 2. ซีก โลกุตตระ สิ่ง ทั้ ง หลายไม่ มีส าระ อนั ต ตา และ นิ พ พาน ชื่ อ ว่ า เป็ น สุ ญ ญตา เพราะว่ า งจาก ราคะ โทสะ โมหะ
147
21 การถามปั ญ หาและตอบปั ญ หา แบบเวทั ล ละ (มหาเวทั ล ลสู ต ร) เรื่ อ งนี้ พระมหาโกฏฐิ ก ะ เป็ น ผู ้ ถ ามปั ญ หา พระ สารีบุต รเป็น ผู้ต อบแนวการถามตอบเป็นท�ำนองว่า เมื่อ ผู ้ ถ ามได้ รั บ ค�ำตอบเป็ น ที่ พ อใจแล้ ว ก็ ตั้ ง ค�ำถามอื่ น ต่ อ เนื่ อ งยิ่ ง ๆ ขึ้ น ไป และดู เ หมื อ นจะเป็ น ปั ญ หาที่ สู ง ขึ้ น ไป โดยล�ำดั บ ในที่ นี้ ไ ด้ เ ลื อ กเอาเฉพาะบางข้ อ มากล่ า วพอ เป็น ตัวอย่า ง 1. ถามว่า อะไรท�ำให้เ ราบอกว่ าคนนี้เป็นผู้มีปัญญา ไม่ดี ตอบว่า เพราะไม่รู้อริย สัจ 4 ตามเป็นจริง 2. ถามว่า อะไรท�ำให้เรีย กว่า เป็นผู้มีปัญญาดี ตอบ ว่า เพราะรู้อริย สัจ 4 ตามเป็นจริง 148
หมายเหตุ : เนื่ อ งจากในเรื่ อ งนี้ มี ค�ำตอบเพี ย งสั้ น ๆ ดั ง ข้ า งบนนี้ อาจารย์ ไ ด้ อ ธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม ให้ ฉั น จึ ง ขอ แทรกค�ำอธิบายลงไว้ตรงนี้ เพื่อง่ายแก่การเข้าใจไปทีละ หัว ข้อในที่เ ดีย วกันนะคะ อธิ บ าย : ไม่ รู ้ อ ริ ย สั จ 4 ตามเป็ น จริ ง คื อ อย่ า งไร พระพุ ท ธเจ้ า ตรั ส ว่ า “เมื่ อ ใดญาณทั ศ นะในอริ ย สั จ 4 ประกอบด้ ว ยรอบ 3 อาการ 12 ยั ง ไม่ บ ริ สุ ท ธิ์ แ ก่ เ รา เราจะไม่ ปฏิญ าณตนว่าเป็นสัม มาสัมพุทธะ” คือ ต้องรู้อริย สัจ ด้ว ยรอบ 3 อาการ 12 ไม่ใช่แค่รู้ ว่า อริย สัจ 4 มีอะไรบ้าง เท่านั้นไม่พอ รอบ 3 คือ รู้ญาณ 3 อย่าง คือ สัจญาณ กิจญาณ กตญาณ อาการ 12 คือ ญาณแต่ละข้อต้องก�ำหนดได้ 3 อย่าง การยอมรับ การรู้ว ่าควรละ ละได้แล้ว มีอริยสัจ อยู่ 4 ข้อ คูณ 3 อาการ รวมได้ 12 อาการ อริย สัจ ข้อ 1 ทุกข์ สัจ ญาณ ยอมรับว่าชีวิตประกอบด้ว ยทุกข์จริง กิจญาณ ความทุกข์เป็นสิ่งที่ต้องก�ำหนดรู้ ไม่สู้ และ ไม่ห นี 149
กตญาณ บัดนี้เ ราก�ำหนดรู้แล้ว อริยสัจ ข้อ 2 สมุทัย เหตุแห่ง ทุกข์ สัจญาณ ยอมรับว่าตัณหาเป็นเหตุแห่งทุกข์ กิจญาณ ยอมรับว่าตัณหาเป็นสิ่ง ที่ควรละ กตญาณ บัดนี้เ ราละได้แล้ว อริยสัจ ข้อ 3 นิโรธ สัจญาณ ยอมรับว่าการดับ ทุกข์มีจริง กิจญาณ ยอมรับว่าการดับ ทุกข์ควรท�ำให้แจ้ง กตญาณ บัดนี้เ ราท�ำให้แจ้งได้แล้ว อริยสัจ ข้อ 4 มรรค สัจญาณ ยอมรับว่ามรรคมีองค์ 8 เป็นทางด�ำเนินไป สู่การดับ ทุกข์ไ ด้จ ริง กิ จ ญาณ ยอมรั บ ว่ า มรรคมี อ งค์ 8 เป็ น ทางที่ ค วร ปฏิบัติ กตญาณ บัดนี้เ ราได้ปฏิบัติแ ล้ว .................................... 3 ถามว่ า ที่ เ รี ย กว่ า วิ ญ ญาณ เพราะเหตุ ไ รจึ ง เรี ย ก ว่า วิญญาณ ตอบว่า เพราะรู้แ จ้ง ซึ่ง สุข ทุกข์ และไม่สุขไม่ทุกข์ (สั ง เกตว่ า ในที่ ทั่ ว ไป อธิ บ ายว่ า รู ้ แ จ้ ง อารมณ์ 6 คื อ 150
รูป เสีย ง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ ในที่นี้แปลก ออกไป) ................................... 4 ถามว่า ปัญ ญาและวิญ ญาณ 2 อย่างนี้แยกกันได้ หรือไม่ ตอบว่า แยกกันไม่ได้ ถามว่า ถ้า อย่า งนั้นต่างกันอย่างไร ตอบว่ า ต่ า งกั น ที่ กิ จ คื อ ปั ญ ญาเป็ น สิ่ ง ที่ ค วรอบรม ให้มีขึ้น ส่ว นวิญ ญาณเป็นสิ่ง ที่ควรท�ำความเข้าใจ อธิบ าย : ปัญ ญาและวิญญาณ แปลว่า “รู้” เหมือน กั น ต่ า งกั น ที่ ว ่ า ปั ญ ญา เป็ น ธรรมที่ ท�ำให้ เ จริ ญ ส่ ว น วิญ ญาณเป็นธรรมที่ควรก�ำหนดรู้ ควรเข้าใจ แต่ไม่ต้อง ละ เช่น ขันธ์ 5 ยกเว้นสังขาร (การปรุงแต่ง) ไม่ต้อง ละ แต่ควรคิด ปรุง แต่งไปในทางที่ดี ................................... 5 ถามว่า อย่า งไรจึงเรียกว่า เวทนา ตอบว่า ที่เรียกว่าเวทนาเพราะเสวยสุขบ้าง ทุกข์บ้าง ไม่ ทุกข์ไ ม่สุขบ้าง 151
อธิ บ าย : เวทนาคื อ เสวยอารมณ์ ก็ คื อ ความรู ้ สึ ก อุ เ บกขาเวทนา ไม่ ทุ ก ข์ ไ ม่ สุ ข คื อ เป็ น สุ ข อ่ อ นๆ สุ ข น้ อ ยๆ จนไม่ รู ้ สึ ก ว่ า เป็ น สุ ข เหมื อ นลมไหวน้ อ ยๆ จน รู้สึกว่าไม่มีลม แต่จริง ๆ มีลมอยู่ห น่อยหนึ่ง เวทนาเป็ น ตั ว ส�ำคั ญ ในการปฏิ บั ติ ธ รรม เพราะสั ต ว์ โลกตกเป็นทาสของเวทนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งสุขเวทนา ยิ่ง มีสุข ยิ่งอยากท�ำซ�้ำ ท�ำให้เป็นเชื้อของตัณหา ฉะนั้น พระพุ ท ธเจ้ า จึ ง สอนให้ เ ราก�ำจั ด ความต้ อ งการที่ ไ ม่ จ�ำเป็น แทนการสนองความต้องการ เพื่อไปจัดการกับสุขเวทนานี้ ท่านจึงสอนให้พิจารณา ว่า “ให้ เ ห็ น สุ ข เวทนาโดยความเป็ น ทุ ก ข์ ให้ เ ห็ น ทุกขเวทนาโดยความเป็นลูกศร ให้เห็นอทุกขมสุขเวทนา โดยความเป็น ของไม่เที่ย ง” ที่ จ ริ ง ก็ ไ ม่ เ ที่ ย งทั้ ง 3 อย่ า ง แต่ ไ ม่ พู ด รวมเสี ย เลย ทีเดียว เพราะต้องการเน้นให้เห็นชัดเจน เพื่อไม่ติดใน สุข ไม่วิ่งแสวงหาความสุข ทุกข์ก็ใ ห้รู้ทัน .................................. 6 ถามว่า ทั้ง 3 อย่า งคือ เวทนา สัญญา วิญญาณ แยกกัน ได้ห รือไม่ 152
ตอบว่ า แยกกั น ไม่ ไ ด้ เปรี ย บเหมื อ นน�้ ำ แกง ส่ ว น ผสมต่างๆ ที่รวมกันอยู่ในน�้ำแกง ย่อมแยกบริโภคไม่ได้ แต่รู้ไ ด้ว่าเป็นรสของอะไร ................................... 7 ถามว่า สิ่ง ที่ท�ำให้เกิด สัมมาทิฐิมีกี่อย่าง ตอบว่า มี 2 อย่า ง คือ 1. ปรโตโฆสะ การได้ยินได้ฟัง จากผู้อื่น 2. โยนิ โ สมนสิ ก าร คิ ด เป็ น การท�ำไว้ ใ นใจโดย แยบคาย ท�ำไว้ในใจอย่างถูกต้องมีเหตุผล อธิบ าย : การได้ยินจากผู้อื่น ค�ำว่ า ผู ้ อื่ น หมายถึ ง สิ่ ง แวดล้ อ ม การเข้ า ส�ำนั ก ถู ก ต้อง มีกัลยาณมิตรถูกต้อง ได้เห็นสิ่งที่ถูกต้อง พบต�ำรา ถูกต้อง ฯลฯ บางคนสิ่งแวดล้อมไม่ดี แต่โยนิโสมนสิการ ดี คิด เป็น ก็เ อาตัวรอดได้ ........................... 8 ถามว่า สัมมาทิฐิอาศัยธรรมอะไรเกื้อหนุน จึงจะ ได้ผ ลเป็นเจโตวิมุตติและปัญ ญาวิมุตติ ตอบว่า อาศัยธรรม 5 อย่างคือ ศีล การฟังธรรมมาก 153
การสนทนาธรรม สมถะ วิปัสสนา อธิ บ าย : ศี ล เน้ น ที่ ค วามประพฤติ ดี ไม่ ใ ช่ แ ค่ ศีล 5, 10, 227 เพราะมันมีเ ยอะที่ป ระพฤติไม่ดี แต่ไม่ ผิด ศีล ไปผิด เอาที่อภิสมาจาร ฉะนั้น ต้องเน้นว่าศีลคือ ความประพฤติดี อภิ ส มาจาร ความประพฤติ ที่ ดี อ ย่ า งยิ่ ง ไม่ อ ยู ่ ใ น ศีล 227 ข้อของพระ แต่ป ระพฤติแ ล้ว ท�ำให้พระงาม อริยกันตศีล ศีลที่พระอริยะชื่นชม ศีลที่ไม่มีขอบเขต ไม่ มี ที่ สุ ด ศี ล ของพระรวมอยู ่ ใ นนี้ อะไรที่ ไ ม่ เ หมาะ ไม่ควร จะท�ำไม่ได้เลย ................................... 9 ถามว่า ภพ 3 คือกามภพ รูปภพ อรูปภพ ท�ำไม ต้องมีการเกิด ในภพเหล่า นี้ต่อไป ตอบว่า มีการเกิด ต่อไป เพราะสัตว์มีใจยินดีในการ เกิด (อยากเกิด) สัตว์ทั้งหลายมีอวิชชา (ความไม่รู้) เป็น เครื่องกางกั้น มีตัณหา (ความอยาก) เป็นเครื่องร้อยรัด เอาไว้ ถามว่า ท�ำอย่างไรจึงจะไม่มีการเกิดในภพใหม่ต่อไป ตอบว่ า เมื่ อ สั ต ว์ ผู ้ นั้ น ไม่ มี อ วิ ช ชา และไม่ มี ตั ณ หา 154
แล้ว ก็ไ ม่ต้องเกิด ต่อไป ................................... 10 ถามว่า เพราะกายไม่มีอะไร จึงนอนนิ่งเหมือน ท่อนไม้ ตอบว่า เพราะไม่มี 3 อย่างคือ ไม่มีอายุ ไออุ่น และ วิญ ญาณ ถามว่า คนตายกับภิกษุผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ ต่าง กันอย่า งไร ตอบว่ า คนตาย กายสั ง ขาร วจี สั ง ขาร จิ ต ตสั ง ขาร ดับอายุก็สิ้น ไออุ่นก็ดับ อินทรีย์ (ตา หู จมูก ลิ้น กาย) ใช้ก ารไม่ได้ แตกท�ำลายไป กายสังขาร คือสิ่งปรุงแต่งกาย คือลมหายใจเข้าออก วจี สั ง ขาร คื อ สิ่ ง ปรุ ง แต่ ง วาจา คื อ วิ ต ก (ความตรึ ก ) วิ จ าร (ความตรอง) จิ ต ตสั ง ขาร สิ่ ง ปรุ ง แต่ ง จิ ต คื อ เวทนา (ความรู้สึก) สัญญา (ความจ�ำได้) ส่ ว นภิ ก ษุ ผู ้ เ ข้ า สั ญ ญาเวทยิ ต นิ โ รธนั้ น กายสั ง ขาร วจี สั ง ขาร จิ ต ตสั ง ขาร ดั บ เหมื อ นกั น แต่ อ ายุ ยั ง ไม่ สิ้ น ไออุ่น ยังอยู่ และอินทรีย์ยังผ่องใส ท่ า นพระมหาโกฏฐิ ก ะชื่ น ชมยิ น ดี ต ่ อ ภาษิ ต ของพระ สารีบุต ร 155
อิ น ทรี ย ์ อิ น ทรี ย ์ พละก�ำลั ง ประกอบด้ ว ย ศรั ท ธา วิ ริ ย ะ (ความ เพี ยร) สติ สมาธิ ปัญญา ความหมายของ “อิ นทรีย ์ แก่ กล้า ” คื อ ท�ำให้ 5 อย่ า งนี้ มี ความพร้ อ ม (maturity) พอที่จ ะเข้า ใจธรรมข้ อ นั้ นๆ 5 อย่ า งต้ อ งพร้ อ มกั น ก่ อ นจึ ง จะมี พ ลั ง เปรี ย บเหมื อ นนิ้ ว 5 นิ้ ว เมื่ อ แยกเป็ น นิ้ ว ก็ ยั ง ไม่ มี ก�ำลั ง เมื่ อ รวมกั น เป็ น ก�ำปั ้ น จึ งมี ก�ำลั ง
156
157
22 การถาม-ตอบปั ญ หา แบบเวทั ล ละ(ต่ อ ) (จู ฬ เวทั ล ลสู ต ร) พระผู ้ มี พ ระภาคประทั บ อยู ่ ณ เวฬุ ว นาราม เมื อ ง ราชคฤห์ ครั้ ง นั้ น วิ ส าขอุ บ าสก ซึ่ ง เป็ น สามี ข องนาง ธรรมทิ น นาเถรี เข้ า ไปสนทนาธรรมกั บ นางธรรมทิ น นา เถรี ถาม-ตอบกั น อย่ า งน่ า สนใจยิ่ ง ขอน�ำมากล่ า วใน ที่ นี้ เ พี ย งบางประการเท่ า นั้ น ที่ ส มควรวิ ส าขอุ บ าสกเป็ น ผู้ถาม นางธรรมทินนาเป็นผู้ต อบ กล่าวโดยย่อดัังนี้ 1. ถามว่ า ที่ พ ระผู ้ มี พ ระภาคตรั ส เรี ย กว่ า สั ก กายะ นั้น คืออะไร ตอบว่า ความยึดมั่นในขันธ์ 5 คือ รูป เวทนา สัญญา สัง ขาร วิญญาณ เรีย กว่า สักกายะ (สักกายทิฏฐิ การเห็น 158
ขัน ธ์ 5 ว่าเป็นตัวตน) ......................................... 2. อะไรท�ำให้เกิด สักกายะ (สักกายสมุทัย) ตอบว่า คือตัณหา 3 ได้แก่ ตัณหาในกาม ตัณหาใน ความมีความเป็น ตัณ หาในความไม่มี ไม่เป็น ......................................... 3. จะท�ำให้สักกายะหมดไปได้อย่างไร ตอบว่า ต้องละตัณ หา 3 เสียได้ ถามว่า จะปฏิบัติอย่างไรให้ละตัณหาได้ ตอบว่า ปฏิบัติต ามหลักอริยมรรคมีองค์ 8 ......................................... 4. ถามว่ า อุ ป าทานขั น ธ์ 5 กั บ อุ ป าทาน เป็ น อั น เดีย วกัน หรือไม่ ตอบว่า ไม่เป็นอันเดียวกันและไม่แยกจากกัน (เชื้อ อย่ า งหนึ่ ง ไฟอย่ า งหนึ่ ง ระหว่ า งเวลาไหม้ เชื้ อ กั บ ไฟ เป็นอันเดียวกัน ถ้าเราดับไฟได้ เชื้อยังมีอยู่ แต่ไฟไม่มี) อุปาทานก็คือ ความยึดมั่น ความก�ำหนัดพอใจในอุปาทาน ขัน ธ์ 5 นั่นเอง 159
5. สักกายทิฐิมีได้อย่างไร ตอบว่ า ปุ ถุ ช นผู ้ ไ ม่ ไ ด้ ฟ ั ง ธรรมของพระอริ ย ะ ย่ อ ม เห็น รูป เวทนา สัญ ญา สัง ขาร และวิญ ญาณ 1. โดยความเป็นตัวตนบ้า ง 2. โดยเห็นตนว่ามีขันธ์ 5 3. โดยเห็นตนในขันธ์ 5 4. โดยเห็นขันธ์ 5 ในตน โดยมี ค วามเห็ น 4 อย่ า งนี้ ต ่ อ รู ป เวทนา สั ญ ญา สั ง ขาร วิ ญ ญาณ รวม 4 คู ณ 5 เท่ า กั บ 20 รวมเป็ น สักกายะ 20 ถามว่า ท�ำอย่างไรจึง จะไม่มีสัก กายทิฐิ ตอบว่า อริยสาวก (สาวกของพระอริยะ หรือ สาวก ที่เป็นอริยะ) พิจารณาอยู่ ไม่เห็นอย่างปุถุชน คือไม่เห็น ขัน ธ์ 5 ว่า เป็น ตัว ตน เป็นต้น ก็จะไม่มีสักกายทิฐิ อธิ บ าย : ไม่ เ ห็ น ขั น ธ์ 5 ว่ า เป็ น ตั ว ตน คื อ อบรม บ่ อ ยๆ ท�ำให้ ม ากจนแนบแน่ น อยู ่ ใ นความรู ้ สึ ก ก็ จ ะละ ไปได้ ในทางโลก เราสอนให้มีสักกายทิฐิ ดังนั้น เราจึงต้อง มั่ น คงมากๆ มองด้ ว ยปั ญ ญาที่ สุ ขุ ม ลึ ก ซึ้ ง มองให้ เ ห็ น 160
ทุ ก ข์ ที่ สุ ขุ ม ลึ ก ซึ้ ง ที่ ซ ่ อ นอยู ่ เช่ น มี ห ลานสิ แล้ ว จะรู ้ ว ่ า น่ า รั ก ขนาดไหน ทางโลกดู เ หมื อ นเป็ น ความสุ ข เราจึ ง เห็ น อย่ า งนั้ น ไม่ ไ ด้ ม องอย่ า งลึ ก ซึ้ ง ว่ า นี่ เ ป็ น ทุ ก ข์ ข อง วัฏ ฏะ ......................................... 6. ถามว่า อริยมรรคมีองค์ 8 เป็นสังขตธรรม (ธรรม ที่ มี ป ั จ จั ย ปรุ ง แต่ ง ) หรื อ เป็ น อสั ง ขตธรรม (ธรรมที่ ไ ม่ มี ปัจจัย ปรุง แต่ง) ตอบว่า เป็นสังขตธรรม ถามว่า ขันธ์ 3 คือสีลขันธ์ สมาธิขันธ์ ปัญญาขันธ์ รวมลงในอริยมรรคมีองค์ 8 หรืออริยมรรคมีองค์ 8 รวม ลงในขัน ธ์ 3 ตอบว่า อริยมรรคมีองค์ 8 รวมลงในขันธ์ 3 คือ 1. สั ม มาทิ ฐิ สั ม มาสั ง กั ป ปะ รวมลงในปั ญ ญา ขันธ์ 2. สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ รวม ลงในสีลขันธ์ 3. สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ รวมลง ในสมาธิขันธ์ ......................................... 161
7. ถามว่า ผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธหรือนิโรธสมาบัติ สั ง ขาร 3 คื อ กายสั ง ขาร วจี สั ง ขาร จิ ต ตสั ง ขาร อย่ า ง ไหนดับ ก่อน ตอบว่า วจีสัง ขารดับ ก่อน ต่อจากนั้นกายสังขารจึง ดับ และจิต ตสั งขารก็ดับตามไป ถามว่า เมื่อออกจากนิโรธสมาบัติ สังขารทั้ง 3 อย่าง ไหนเกิด ขึ้น ก่อน ตอบว่ า จิ ต ตสั ง ขารเกิ ด ขึ้ น ก่ อ น ต่ อ จากนั้ น กาย สัง ขารและวจีสัง ขารจึง เกิด ขึ้น อธิบ าย : เข้า นิโรธสมาบัติเ ป็นการเข้าสมาบัติระดับ ลึ ก มาก บางท่ า นนั่ ง ได้ 7 วั น ไม่ ไ หวติ ง ในค�ำตอบจึ ง บอกว่า หยุดการพูดก่อน แล้วกายนิ่ง จากนั้นจิตสงบลึก เมื่ อ ออกจากนิ โ รธสมาบั ติ จิ ต ตื่ น ก่ อ น กายเริ่ ม ไหวติ ง การเอ่ยวาจาจึงได้มีต ามมา ......................................... 8. ถามว่า เมื่อออกจากนิโ รธสมาบัติ จิตน้อมไปใน ธรรมอะไร ตอบว่า น้อมไปในวิเวก (ความสงัด) อธิบ าย : วิเวกมี 3 อย่าง 1. กายวิ เ วก อยู ่ ใ นที่ ส งบเงี ย บ ไม่ ค ลุ ก คลี ด ้ ว ย 162
หมู ่ ค ณะ แต่ พ ระพู ด ไม่ ไ ด้ ว ่ า “อาตมายิ น ดี ใ นที่ ส งั ด ” เพราะจะกลายเป็นอวดอุตริฯ คืออวดฌาน แต่ชาวบ้าน พูด ได้ 2. จิ ต ตวิ เ วก ตามต�ำราคื อ ได้ ฌ าน 8 ส�ำหรั บ บุคคลทั่วไป คราวใดได้ความสงบทางใจ ก็เป็นจิตตวิเวก 3. อุป ธิวิเวก ความสงัดจากกิเลส หมายถึงหมด กิ เ ลส จะแบบเป็ น ขั้ น เป็ น ตอน หรื อ หมดเป็ น บางส่ ว น ก็ตาม หรือสงัดทั้ง หมดก็ต าม ......................................... 9. ถามว่า สุข เวทนาเป็นสุขเพราะอะไร ตอบว่า เป็นสุขเพราะยังตั้งอยู่ ยังด�ำรงอยู่ เป็นทุกข์ เพราะแปรปรวนไป ทุ ก ขเวทนาก็ เ หมื อ นกั น เป็ น ทุ ก ข์ เพราะยังตั้ง อยู่ เป็นสุขเพราะแปรปรวนไป อธิ บ าย : ถ้ า เราทุ ก ข์ เราจะสุ ข เมื่ อ ทุ ก ข์ นั้ น เปลี่ ย น แปรไป ถ้าเราสุข เราจะทุกข์เพราะสุขนั้นเปลี่ยนแปรไป “โลกธรรมมี ความไม่เ ที่ ยง เป็ นทุ ก ข์ มี ความปรวนแปร เป็นธรรมดา” ......................................... 10. อนุสัยคือกิเลสที่แนบแน่นอยู่ในสันดาน ถามว่า 163
อนุ สั ย อะไรแนบสนิ ท อยู ่ ใ นสุ ข เวทนา? อนุ สั ย อะไร แนบอยู ่ ใ นทุ ก ขเวทนา? อนุ สั ย อะไรอยู ่ ใ นอทุ ก ขมสุ ข เวทนา? ตอบว่ า ราคานุ สั ย ราคะคื อ กิ เ ลสที่ แ นบสนิ ท อยู ่ ใ น สัน ดาน อยู่ใ นสุข เวทนา ปฏิฆ านุสัย คือความหงุด หงิด อยู่ในทุกขเวทนา อวิช ชานุสัย (คืออวิชชา) อยู่ใ นอทุกขมสุขเวทนา อธิบาย : คราวใดที่ได้รับความสุข ให้ระวังราคานุสัย ราคะ คือ ความติด เหมือนน�้ำ ย้อม วัตถุก็ติดสีนั้น ได้รับ ความสุข ถ้า เป็นความสุข ที่อาศัยกามคุณ 5 (อามิสสุข) ก็ ร ะวั ง ราคานุ สั ย ติ ด ไปในสั น ดาน เพราะความติ ด ใจใน ความสุข อยากจะได้เพิ่มขึ้นเรื่อยจนติดไปในสันดาน แต่ ความรู้สึกของคนทั่วไปจะเห็นว่าดี เพราะมันรู้สึกสุข แต่ มี โ ทษซ่ อ นอยู่ คื อ ราคานุ สั ย ที่ ค ่ อ ยๆ สะสมแนบแน่ น เข้าไปในสัน ดาน แต่ ถ ้ า เป็ น สุ ข ที่ ไ ม่ ไ ด้ อ าศั ย กามคุ ณ 5 (นิ ร ามิ ส สุ ข ) ก็ จ ะไม่ ก ่ อ เกิ ด ราคานุ สั ย ติ ด ไป เช่ น บ�ำเพ็ ญ ความดี ท�ำความดีแ ล้วรู้สึกสุข ความโกรธ ถ้า ไม่ระวัง ก็จะสะสมเป็นอนุสัยได้ เป็น ความเครีย ดสะสมเป็นปฏิฆ านุสัย มีสันดานโกรธง่าย 164
อทุกขมสุขเวทนา ไม่สุขไม่ทุกข์ จริงๆ แล้วมันสบาย ดีคือ ไม่สุขไม่ทุกข์ โบราณว่า “ทั้งชั่วทั้งดีอัปรีย์ทั้งเพ” ค�ำพู ด นี้ พู ด กั บ คนทั่ ว ไปที่ ไ ม่ ไ ด้ เ รี ย นธรรมะไม่ ไ ด้ เดี๋ ย ว เขาเอาไปท�ำผิด การเรีย นธรรมะสอนให้เราละวางทั้งชั่ว และละดี อย่าติดดี (การละดีเป็นขั้นสูงแล้ว ) ไม่ สุ ข ไม่ ทุ ก ข์ เช่ น อิ่ ม มากไปก็ ไ ม่ ดี หิ ว มากไปก็ ไม่ ดี ถ้ า ก�ำลั ง ดี ไม่ หิ ว ไม่ อิ่ ม ก็ ส บาย บางที เ รี ย กว่ า อุเบกขาเวทนา ให้ระวังอวิชชานุสัยคือโง่ ไม่รู้ แต่ถ ้าอุเ บกขาได้เพราะรู้ อันนี้ดี อวิชชานุสัยไม่เข้า มาแทรก เช่น ถ้าเราชมหรือด่าหมา มันจะเฉยๆ เพราะ ไม่รู้ คือเฉยโง่ถ้าเราชมหรือด่าคน แต่เขาเฉยได้ เพราะ เขารู้ คือ อุเบกขา การดับอนุสัย คือพยายามละสิ่ง นั้นเสีย ......................................... 11. ถามว่า อะไรเทีย บด้ว ยนิพพาน ตอบว่า ท่านถามมากไปเสียแล้ว อย่างไรก็ตาม พอ พู ด ได้ ว ่ า พรหมจรรย์ (ระบบแห่ ง การประพฤติ คุ ณ งาม ความดี) นี้มุ่งเอานิพพานเป็นจุดหมายปลายทาง ถ้าท่าน อยากทราบเรื่ อ งนี้ ก็ พึ ง เฝ้ า พระศาสดาทู ล ถามพระองค์ เถิด ทรงตอบอย่า งไรพึงจ�ำไว้อย่างนั้น 165
วิสาขอุบาสกชื่นชมภาษิตของนางธรรมทินนาภิกษุณี แล้วลาไปเฝ้าพระศาสดา ทูลเล่าเรื่องทั้งหมดถวาย พระ ศาสดาตรั ส ว่ า ธรรมทิ น นาภิ ก ษุ ณี เ ป็ น บั ณ ฑิ ต มี ป ั ญ ญา มาก หากท่ า นพึ ง ถามเราในเรื่ อ งเหล่ า นี้ เราก็ จ ะตอบ อย่า งเดีย วกับ ที่นางธรรมทินนาตอบแล้ว นั่นแล
166
ตั ณ หา ถาม : มีคนบอกว่ า “ที่ สอนว่ า ตั ณหาเป็ นสิ่ ง ที่ ควรละ นั้ น ถ้ า คนเราไม่มี ตัณหา ก็ ไ ม่ กระตื อ รื อ ร้ น ไม่ แ สวงหาความส�ำเร็ จ เราควรต้องมีตัณหา มีสิ่งเร้าให้เกิดความต้องการ” ปัญหานี้ควร ตอบอย่างไร ตอบ : เรากระตือ รือ ร้ นได้ ด้ ว ยการมี “ธรรมฉั นทะ” เป็ น ตั ว กระตุ ้ น คื อ อยากท�ำสิ่ ง ดี ท�ำแล้ ว ได้ ผ ลอย่ า งไรก็ ไ ม่ ทุ ก ข์ ความเร่าร้ อนไม่ มี ส่ว นคนมี ตัณหา ท�ำไม่ เลื อกทาง เช่ น คอรั ป ชั่ น ท�ำให้ เกิ ด ทุ ก ข์แ ก่ตัว และสัง คม จะเป็น ตั ณหาหรื อไม่ ให้ ดูที่ตัว กระตุ ้ น เช่ น อยากได้ เงิน เดือ นขึ้น 1. ธรรมฉัน ทะ อยากเอาเงิ นไปให้ พ ่ อ แม่ 2. ตัณหา อยากเอาเงิ นไปกิ นเหล้ า
167
ความโลภ ถาม : เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งความโลภ ที่ ม หาตมคานธี กล่ า วว่ า “คนหนึ่ ง มี ท รั พ ย์ ม ากเกิ น ไป ท�ำให้ ผู ้ อื่ น ขาดแคลน” บางคน สะสมที่ ดิ น ควรคิดถึ ง คนที่ ไ ม่ มีที่ ดินบ้า ง ไม่ เ ข้ า ใจนั ย นี้ ว ่ า คื อ อย่ า งไร เพราะคนขยั น มี ก�ำลั ง ทรั พ ย์ สมมุติเขาไปซื้อที่ดินส่วนหนึ่ง ที่ดินอื่นปล่อยไว้ให้คนอื่นซื้อ แต่ คนอื่ น ก็ ซื้ อ ไม่ ไ ด้ ไม่ มี ก�ำลั ง จะซื้ อ เพราะเขาไม่ มี เ งิ น อยู ่ แล้ ว หรื อถ้าคนอื่น มีเ งิ น เขาก็ คงซื้อ ไปแล้ ว เหมื อ นกั น ตอบ : หลักของคานธี คือ การสะสมเกินความจ�ำเป็นถือว่า ขโมย คนไม่ ค วรสะสมเกิ น จ�ำเป็ น ก็ อ ย่ า สะสม เปิ ด โอกาสให้ คนอื่ น ข้ อ นี้ เ ป็ น เรื่ อ งเฉพาะกาล เพราะอิ น เดี ย สมั ย นั้ น มี ค นจน มาก ในศาสนาพุ ท ธมี ห ลั ก ว่ า “มี ท รั พ ย์ แ ล้ ว ท�ำประโยชน์ แ ก่ ผู ้ อื่ นต่ อ ไป (บริจาค)” ไม่ ไ ด้ห ้า มรวย
168
สิ่ ง ที่ รู ้ ไ ด้ ย าก สิ่ง ที่รู้ ไ ด้ย าก รู ้แล้ว แสดงให้ค นอื่ นเห็ นก็ ย าก มี 4 อย่ า ง 1. สัจจะ ความจริงเป็นอย่างไร เรื่องต่างๆ ที่เกิดขึ้น จริงๆ แล้ ว เป็น อย่ างไร ก็รู ้ไ ด้ ย าก 2. สั ต ว์ (คื อ บุ ค คล) คื อ เราไม่ รู ้ ว ่ า ใครเป็ น อย่ า งไร มี ก าร เปลี่ ย นแปลงตลอดไปตามปั จ จั ย ปรุ ง แต่ ง วั น นี้ ว ้ า วุ ่ น พรุ ่ ง นี้ อารมณ์ดี 3. ปฏิส นธิ การเกิดใหม่ เราไม่ รู ้ ว ่ า ไปเกิ ด ที่ ไ หน 4. ปฏิจ จสมุป บาท
169
23 แนวการด�ำเนิ น ชี วิ ต 4 แบบ (จู ฬ ธรรมสมาทานสู ต ร)
จากข้ อ ความในจู ฬ ธรรมสมาทานสู ต ร กล่ า วถึ ง แนวทางที่บุคคลยึดไว้ปฏิบัติ 4 แบบด้ว ยกัน คือ 1. การประพฤติ ห รื อ การกระท�ำที่ ใ ห้ ทุ ก ข์ ใ นปั จ จุ บั น และมีทุกข์เ ป็น ผลต่อไป เช่น พวกประพฤติวัตรทรมาน กายในสมั ย พุ ท ธกาล เช่ น นอนบนหนาม เป็ น ต้ น หรื อ ผู ้ ที่ ท�ำชั่ ว ประพฤติ อ กุ ศ ลด้ ว ยความยากล�ำบาก แต่ จ�ำใจต้ อ งท�ำ เช่ น พวกที่ ถู ก บั ง คั บ ให้ เ ป็ น โจร เป็ น ต้ น มีความทุกข์ทั้งในปัจจุบันและอนาคต 2. ความประพฤติหรือการกระท�ำที่ให้ทุกข์ในปัจจุบัน แต่ใ ห้สุข เป็น ผลในภายหน้า เช่น บุคคลประพฤติดีด้ว ย ความยากล�ำบาก มีความขยันหมั่นเพียร สะสมทรัพย์และ 170
คุ ณ ธรรมด้ ว ยความเหน็ ด เหนื่ อ ย แต่ มี ค วามสุ ข ความ พอใจในภายหน้า 3. ความประพฤติ ห รื อ การกระท�ำที่ ใ ห้ สุ ข ในปั จ จุ บั น แต่ ใ ห้ ทุ ก ข์ ใ นอนาคต เช่ น คนที่ ห ลงมั ว เมาในความชั่ ว เช่น อบายมุขต่างๆ ลุ่มหลงเพลิดเพลินอยู่ด้วยความชั่ว เหล่า นั้น ต่อมาได้รับทุกข์เพราะกรรมชั่ว ให้ผล 4. ความประพฤติ ห รื อ การกระท�ำที่ ใ ห้ สุ ข ทั้ ง ปั จ จุ บั น และอนาคต เช่ น คนมี กิ เ ลสเบาบาง ประพฤติ คุ ณ งาม ความดี ด ้ ว ยความสบายใจ เต็ ม ใจ เด็ ก ศึ ก ษาเล่ า เรี ย น ด้ ว ยความรั ก ในความรู ้ ไม่ ต ้ อ งฝื น ใจท�ำ ได้ ค วามสนุ ก เพลิ ด เพลิ น ในการศึ ก ษาและในการท�ำดี สิ่ ง เหล่ า นั้ น ส่ ง ผลให้มีค วามสุขต่อไป ส�ำหรับเรื่องที่เรียกว่า มหาธรรมสมาทานสูตร เนื้อหา บางส่วนเหมือนกับเรื่องจูฬธรรมสมาทานสูตร ข้อความ ที่ต ่า งกันมีดังนี้ พระศาสดาตรัสกับ ภิกษุทั้ง หลายว่า สัตว์ทั้งหลายใน โลกย่อมปรารถนาให้สิ่งที่น่าพอใจเจริญขึ้น ขอให้สิ่งที่ไม่ น่ า พอใจเสื่ อ มไป แต่ ทั้ ง ๆ ที่ ป รารถนาอย่ า งนี้ สิ่ ง ที่ น ่ า ปรารถนากลั บ เสื่ อ มไป สิ่ ง ไม่ น ่ า ปรารถนากลั บ เพิ่ ม ขึ้ น 171
เพราะอะไร ภิ ก ษุ ทั้ ง หลายขอให้ พ ระองค์ อ ธิ บ าย พระศาสดาจึ ง ตรั ส ว่ า ที่ เ ป็ น เช่ น นั้ น เพราะปุ ถุ ช นผู ้ มิ ไ ด้ ส ดั บ ธรรมของ พระอริ ย ะ ไม่ ไ ด้ เ ห็ น พระอริ ย ะ ไม่ ฉ ลาดในธรรมของ พระอริยะ ทั้งไม่ได้ฝ ึกฝนในธรรมของพระอริ ย ะ ไม่ ได้ คบคนดีจึงไม่รู ้จักธรรมที่ควรท�ำและที่ควรเว้น เมื่อเป็น ดั ง นั้ น เขาก็ ไ ม่ ไ ด้ ป ระพฤติ ธ รรมที่ ค วรประพฤติ ไม่ ไ ด้ เว้น สิ่ง ที่ค วรเว้น สิ่ง น่าใคร่น่าปรารถนาจึงเสื่อมไป สิ่งที่ เขาไม่ต ้องการกลับ เจริญขึ้น ส่ ว นอริ ย สาวกมี ค วามรู ้ ที่ ถู ก ต้ อ ง ประพฤติ ธ รรม ที่ ค วรประพฤติ เว้ น สิ่ ง ที่ ค วรเว้ น สิ่ ง ที่ น ่ า ปรารถนาจึ ง เจริญ ขึ้น สิ่งไม่น่าปรารถนาจึง เสื่อมไป เรื่ อ งนี้ แ สดงให้ เ ห็ น ว่ า ล�ำพั ง เพี ย งความปรารถนา ย่ อ มไม่ ส ามารถให้ ผ ลตามที่ ต ้ อ งการได้ ต้ อ งลงมื อ ประพฤติ ป ฏิ บั ติ สิ่ ง ที่ ถู ก ต้ อ งด้ ว ย จึ ง จะสามารถบั น ดาล สิ่งที่น่าปรารถนาให้เกิดขึ้นได้ถ้าเพียงแต่ความปรารถนา สามารถท�ำให้ บุ ค คลประสบความส�ำเร็ จ แล้ ว ใครเล่ า จะ ผิ ด หวั ง เพราะทุ ก คนสามารถปรารถนาสิ่ ง ที่ ต นต้ อ งการ ทั้งสิ้น พระศาสดาทรงเปรียบเทียบธรรมสมาทาน 4 ประการ ไว้ดัง นี้ 172
1. เปรียบเหมือนหม้อน�้ำขมที่เจือด้วยยาพิษ กินแล้ว อาจถึงตายหรือเจีย นตาย 2. เปรี ย บเหมื อ นยาดองด้ ว ยน�้ ำ มู ต ร(น�้ ำ ปั ส สาวะ) (โดยปกติทั่วไปใช้สมอดองด้วยน�้ำปัสสาวะทิ้งไว้ประมาณ 15 วัน แล้ว กินผลสมอนั้น) ทั้ง ที่กลิ่น รส ไม่น่าดื่ม แต่ แก้โรคได้ห ลายอย่า ง 3. เปรีย บเหมือนน�้ำหวานเจือด้ว ยยาพิษ 4. เปรียบเหมือนนมส้ม น�้ำผึ้ง เนยใส น�้ำอ้อย ระคน เข้ า ด้ ว ยกั น ทั้ ง สี กลิ่ น รส ชวนบริ โ ภค บริ โ ภคแล้ ว มีค วามสุข สบาย ทรงเปรียบต่อไปว่า ดวงอาทิตย์ท้ายฤดูฝน ท้องฟ้า ปราศจากเมฆหมอก ย่ อ มลอยเด่ น ไพโรจน์ สว่ า งไสว ฉั น ใด ธรรมสมาทานที่ ใ ห้ สุ ข ในปั จ จุ บั น และให้ สุ ข ใน อนาคต ก็ฉันนั้น พราหมณ์ เ หล่ า อื่ น เป็ น อั น มากนิ ย มยกย่ อ งปฏิ บั ติ ข้อที่ให้ทุกข์ในปัจจุบันเพื่อสุขภายหน้าแต่พระพุทธองค์ เห็นว่า ข้อปฏิบัติที่ให้สุขในปัจจุบันและให้สุขในภายหน้า มีอยู่ เป็น ทางที่ควรด�ำเนิน
173
นิ พ พาน พระพุท ธเจ้าทรงแสดงนิพ พานเปรี ย บด้ ว ยอะไรไว้ ว ่ า 1. เหมื อ นไฟหมดเชื้ อ แล้ ว ก็ ดั บ ไป พระอรหั น ต์ นิ พ พาน แล้ วก็ เปรีย บอย่า งนี้เ หมื อนกัน 2. เหมือนมหาสมุ ทร ไม่พ ร่ อง ไม่ เต็ ม แม้ จ ะมี บุ คคลเป็ น อั นมากจะเข้านิพพาน นิ พพานมี 2 นัย 1. อนุปาทิเสสนิ พพาน ดั บกิ เลสแล้ ว ดั บ ขั นธ์ (ตายแล้ ว ) 2. สอุปาทิเสสนิ พพาน ดั บกิ เลสแล้ ว แต่ ขั นธ์ ยั ง อยู ่ (ยั ง มี ชี วิต อยู ่ ) นั ยที่ ส อง 1. สอุ ป าทิ เ สสนิ พ พาน ได้ นิ พ พานแล้ ว บางส่ ว น แต่ ยั ง มี กิ เลสเหลื ออยู่ เช่ น โสดาบัน 2. อนุปาทิเสสนิพพาน ได้นิพพานแล้ว ไม่มีกิเลสใดเหลือ อยู ่ คื อ เป็ นพระอรหัน ต์
174
มี ผู ้ ถ ามว่ า คนเราทุ ก คนเกิ ด มาเพื่ อ ไปสู ่ นิ พ พานหรื อ พระพุ ท ธเจ้ า ตอบว่ า “เฉพาะผู ้ ป ฏิ บั ติ ช อบเท่ า นั้ น จึ ง จะโน้ ม เอี ยงไปสู่นิ พพาน” การถามแบบข้อนี้ถือว่าเป็นลัทธิสังสารสุทธิกวาทะ ที่ถือว่า บุ ค คลท่ อ งเที่ ย วไปในสั ง สารวั ฏ ท่ อ งเที่ ย วไปเรื่ อ ยๆ ก็ ถึ ง นิ พพานเองเป็ นลั ทธิ มิจ ฉาทิฐิอั นหนึ่ ง
175
นิ โ รธ นิ โ รธ เป็ น ไวพจน์ (ค�ำความหมายเดี ย วกั น ) ของนิ พ พาน และยั งมี ค�ำอื่น ๆ อี ก ได้ แก่ 1. การย�่ำ ยีความเมา เมาในวัย คิ ดว่ า ยั ง ไม่ แ ก่ ยั ง ไม่ ต าย ยั งรวยอยู่ ยัง แข็ ง แรงอยู ่ เป็ นต้ น 2. น�ำความกระหายออก น�ำความกระหายออกไปเสี ย ได้ หมายถึ ง ความกระหายทางจิ ต เหมื อ นคนหิ ว น�้ ำ ต้ อ งดื่ ม น�้ ำ กระหายอารมณ์ ใ ดต้ อ งหาสิ่ ง นั้ น และมี ค วามประสงค์ จ ะดื่ ม อารมณ์ นั้น พอมาถึ ง นิพ พาน เหมื อนคนอิ่ ม ไม่ มีการแสวงหา พระพุทธเจ้าตรัสว่า “ดื่มอารมณ์ที่กระหาย (การสนองความ ต้องการทางอารมณ์) เหมือนดื่มน�้ำเค็มเพื่อบ�ำบัดความกระหาย ยิ่ งดื่ มยิ่ งกระหาย” เหมื อนเติม เชื้อ ให้ไ ฟก็ ดับ ไม่ ไ ด้ ยิ่ ง สนองยิ่ ง ต้ อ งการ ฉะนั้ น เศรษฐกิ จ แบบพุ ท ธเหมื อ นถอนเชื้ อ จากกอง เพลิ ง (คื อ ไม่ ต ามความอยากมากไป) ไฟจะค่ อ ยๆ ดั บ ไปเอง ท่ า นใช้ ค�ำว่ า “น�ำออก” บ่ อ ยในหลายเรื่ อ ง เช่ น น�ำออกซึ่ ง อั ส สมิ มานะเสีย ได้ เป็น สุข อย่า งยิ่ ง 3. ถอนอาลัยออกได้ สัตว์โลกมีความอาลัยในสิ่งต่างๆ โดย เฉพาะอย่างยิ่ง ในกามคุ ณ พระพุท ธเจ้า ร�ำพึ ง ว่ า “เราเทศน์ ไ ปเขาจะรู ้ ไ หมหนอ ในท่ า มกลางความอาลั ย ใน 176
กามคุณ ธรรมที่ เรารู ้แล้ว นี้ รู้ ตามได้ย าก ไม่ เป็ นวิ สั ย ของตรรกะ (คิ ด เอาไม่ ไ ด้ ) แต่ บั ณ ฑิ ต พอรู ้ ไ ด้ สั ต ว์ ทั้ ง หลายที่ มี ธุ ลี ใ นจั ก ษุ น้ อ ยก็ยัง พอมี อยู่ พอรู้ ตามได้” 4. ตัดวัฏฏะ วัฏฏะมันยาวนาน พอถึงนิพพานก็ถูกตัดขาด ไม่ ยื ด เยื้ อ ต่ อ ไป พระพุ ท ธเจ้ า สอนว่ า “อย่ า เดิ น ทางไกล (คื อ สังสารวัฏ) อย่าถูกทุกข์ติดตาม (ตราบใดที่ยังมีวัฏฏะจะมีทุกข์) สั งสารวัฏ ของคนพาลผู ้ไ ม่รู ้สั ทธรรมนั้ นยาวนานนั ก” 5. เป็ น ที่ สิ้ น ตั ณ หา “ธรรมทานชนะทานทั้ ง ปวง รสแห่ ง ธรรมชนะรสทั้ ง ปวง ความยิ น ดี ใ นธรรมชนะความยิ น ดี ทั้ ง ปวง ความสิ้น ตัณหาชนะทุก ข์ทั้ ง ปวง” 6. ส�ำรอกราคะ (วิ ราโค) แปลว่ า ปราศจากราคะ 7. นิโ รธ ดั บเพลิ ง กิเ ลสและเพลิ ง ทุ กข์ 8. นิพ พาน ทั้ง 8 ค�ำนี้มี ความหมายเดี ย วกั น
177
อนุ สั ย อนุสัย กิเลสอย่างละเอียดที่นอนนิ่งอยู่ในสันดาน เมื่อมีสิ่ง มายั่ วยวนถึง จะแสดงออกให้เ ห็น กิ เลสชนิด นี้ ก�ำจัดได้ ด้ว ยปัญญา มี 7 อย่ า ง คื อ 1. กามราคะ ความก�ำหนัดในกาม หมายถึงธรรมชาติที่เป็น ความยินดีติดใจหลงใหลในกาม ทั้งที่เป็นส่วนของวัตถุกามและ กิ เลสกาม 2. ปฏิ ฆ ะ ความหงุ ด หงิ ด ด้ ว ยอ�ำนาจโทสะ หมายถึ ง ธรรมชาติ ที่มีความไม่ พอใจในอารมณ์ 3. ทิฐิ ความเห็ น หมายถึง ความเห็ นผิ ดจากธรรมดา 4. วิ จิกิจ ฉา ความลั ง เล หมายถึ ง ความสงสั ย ลั ง เลใจในสิ่ ง ที่ ค วรเชื่ อ 5. มานะ ความถือ ตั ว ทะนงตน หมายถึ ง ความโอ้ อ วด 6. ภ วราคะ ความก�ำหนั ดในภพ หมายถึ ง ความยิ นดี ในสิ่ ง ที่ ต นมี ตนเป็น อยู่ 7. อวิชชา ความเขลาไม่ รู้ จ ริง หมายถึ ง ความหลงความโง่ ความไม่ รู ้สภาพธรรมตามเป็ นจริ ง ลอกจาก : “ไข่ป ลาหมึ ก” 3 มกราคม 2011
178
อนุสัย
อนุ สั ย หมายถึ ง ความเคยชิ น คื อ ทุ ก ครั้ ง ที่ จิ ต ของเราได้ เกิ ดกิเ ลสตัว ใดขึ้ นมาแล้ว แม้ จ ะดั บ ไปแล้ ว ก็ ต าม แต่ มันจะทิ้ ง ความเคยชิ นไว้ ให้ คื อมั นจะท�ำให้ จิ ตของเราเกิ ด กิ เลสตั ว นั้ นได้ ง่ ายยิ่ง ขึ้น ยิ่ง ถ้า เกิ ดกิเ ลสขึ้ นมาบ่ อ ยๆ ก็ ยิ่ ง มี อ นุ สั ย มากขึ้ น อนุสัยมี 3 ประเภท 1. ร าคานุ สั ย ความเคยชิ น ที่ จ ะเกิ ด กิ เ ลสประเภท ราคะ ขึ้ น มาอีก 2. ป ฏิ ฆ านุ สั ย ความเคยชิ น ที่ จ ะเกิ ด กิ เ ลสประเภท โทสะ ขึ้ น มาอีก 3. อวิชชานุสัย ความเคยชินที่จะเกิดกิเลสประเภท อวิชชา ขึ้ นมาอีก พระพุ ท ธเจ้ า ตรั ส ว่ า “ไม่ ว ่ า กิ เ ลสตั ว ใดจะเกิ ด ขึ้ น มาในจิ ต เรา มัน หาได้ ทิ้ง ความเคยชิ นที่ จ ะเกิ ดเฉพาะกิ เลสของตั ว นั้ นไว้ ไม่ แต่มันจะเกิดความเคยชินของกิเลสที่เหลืออีกสองตัวทิ้งเอา ไว้ ให้แ ก่จิ ตด้ว ยเสมอทุ กครั้ ง ” สรุ ป ว่ า ไม่ ว ่ า กิ เ ลสตั ว ใดจะเกิ ด ขึ้ น มั น จะทิ้ ง อนุ สั ย ของ กิเลสทุกตัวไว้ให้ด้วยเสมอ เช่น คนที่มีราคะมากๆ ก็จะมีโทสะ มาก มีอวิชชามาก ตามไปด้ว ย จากหนั ง สือ พุท ธศาสนาในฐานะวิ ทยาศาสตร์ 179
24 ทรงอนุ ญ าตให้ ส อบสวน ความประพฤติ ข องพระองค์ (วี มั ง สกสู ต ร) พระศาสดาประทับ ณ เชตวนาราม เมืองสาวัตถีตรัส กั บ ภิ ก ษุ ทั้ ง หลายว่ า ส�ำหรั บ ภิ ก ษุ ที่ ยั ง ไม่ รู ้ ว าระจิ ต ของ ผู ้ อื่ น และไม่ รู ้ พ ระทั ย ของพระองค์ ก็ พึ ง ใช้ ต าและหู สอบสวน พิจารณาการกระท�ำทางกาย วาจาของพระองค์ ว่ า มี ค วามเศร้ า หมองอยู ่ ห รื อ ไม่ หรื อ ว่ า มี ที่ ป นกั น ทั้ ง ดี ทั้งชั่ว ทั้งที่เศร้าหมองและผ่องแผ้วเมื่อพิจารณาอยู่ก็จะ ทราบว่า ไม่มีความเศร้า หมองและไม่มีส่ว นที่คละกัน (มี แต่ความบริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ปราศจากกิเลสทั้งทางกายทาง วาจา) พิ จ ารณาต่ อ ไปว่ า ศาสดาของเราสมบู ร ณ์ ด ้ ว ยความ ดี เ ช่ น นี้ ม านานแล้ ว หรื อ เพิ่ ง สมบู ร ณ์ ด ้ ว ยความดี เ ช่ น นี้ 180
เมื่อเร็วๆ นี้เอง ก็จ ะพบว่าท่า นทรงสมบูรณ์ด้ว ยความดี เช่น นี้มานานแล้ว พิจ ารณาต่อไปว่า ศาสดาของเรามีชื่อเสียง มียศ สิ่ง นั้นก่อให้เ กิดโทษอันเศร้าหมองแก่ท่านหรือไม่ ก็จะพบ ว่าไม่มี ไม่เหมือนภิกษุบางรูปหรือบางคน เมื่อมีชื่อเสียง มี ย ศ ก็ มี โ ทษบางอย่ า งเกิ ด ตามมา คื อ เป็ น คนเย่ อ หยิ่ ง ถือ ตัว เป็นต้น พิ จ ารณาสอบสวนต่ อ ไปว่ า ท่ า นเว้ น ความชั่ ว เพราะ กลัว (กลัวถูกติเตียน กลัวถูก ท�ำโทษ เป็นต้น) หรือไม่ ก็ พ บว่ า ท่ า นเว้ น ความชั่ ว เพราะมี อั ธ ยาศั ย สะอาด ไม่ ปรารถนาแปดเปื้อนด้วยความชั่ว ท่านไม่เสพกาม เพราะ เป็น ผู้ป ราศจากราคะ ท่านไม่ดูห มิ่นภิกษุทั้งหลาย ทั้งดี ทั้ ง เลว เพราะมี พ ระหฤทั ย กรุ ณ าในบุ ค คลทั้ ง ปวง ทรง สรรเสริญภิกษุที่ดี และกรุณาต่อภิกษุที่ยังไม่ดี ถ้ า ภิ ก ษุ จ ะทู ล ถามพระองค์ ว ่ า ทรงมี สิ่ ง เศร้ า หมอง หรื อ สิ่ ง เศร้ า หมองปนกั บ สิ่ ง ที่ ผ ่ อ งแผ้ ว หรื อ ไม่ ก็ จ ะตรั ส ตอบว่ า ไม่ มี ทรงมี สิ่ ง ที่ ผ ่ อ งแผ้ ว ทั้ ง ทางพระกาย พระ วาจา และพระมนั ส เพราะนั่ น เป็ น ทางด�ำเนิ น ของ พระองค์ ที่ เ ป็ น เช่ น นี้ เ พราะพระองค์ ไ ม่ มี ตั ณ หาด้ ว ย ประการดัง กล่าว สาวกจึงควรเข้าไปเฝ้าพระศาสดาเพื่อ ฟังธรรม พระศาสดาย่อมแสดงธรรมให้ฟังทั้งฝ่ายดีและ 181
ฝ่า ยชั่วอัน ประณีตยิ่งๆ ขึ้นไป เธอรู ้ ทั่ ว ถึ ง ธรรมแล้ ว ย่ อ มตกลงใจได้ ว ่ า “พระผู ้ มี พระภาคเจ้ า ตรั ส รู ้ เ องโดยชอบ พระธรรมอั น พระผู ้ มี พระภาคตรัสไว้ดีแ ล้ว พระสงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติดี เป็นต้น” พระศาสดาตรัสต่อไปว่า “ภิกษุทั้งหลาย ศรัทธาของ บุคคลผู้ใ ดผู้ห นึ่ง ตั้ง ลงมั่นในตถาคตดัง กล่าวมา เรียกได้ ว่าเป็นศรัทธาที่มีเหตุผล มีความเห็นถูกต้อง เป็นศรัทธา ที่ มั่ น คง อั น ใครท�ำให้ ห วั่ น ไหวคลอนแคลนไม่ ไ ด้ การ ตรวจสอบธรรมในพระตถาคตเป็นอย่างนี้ และโดยนัยนี้ เองตถาคตเป็นอันได้พิจารณาตรวจสอบดีแล้ว ”
182
ก�ำลั ง ใจ อาจารย์ใ ห้ ก�ำลั ง ใจในวัน ที่อ ่อ นล้า ว่ า “พึ ง ศึ ก ษาและปฏิ บั ติ เ รื่ อ งบุ ญ ที่ี สุ ข เป็ น ก�ำไร การท�ำบุ ญ ปฏิ บั ติ เ ป็ น การลงทุ น แต่ ก็ มี บ างอย่ า งที่ เ ราท�ำด้ ว ยความทุ ก ข์ นั่ น เป็น หนี้ที่ เราต้ องชดใช้ ก็ ให้ช ดใช้ ด้ ว ยความเต็ มใจ จะต้ อ ง หมดแน่นอน ถ้าเราท�ำความดีใหญ่ๆ อาจหมดหนี้เก่าได้เร็วขึ้น เหมือนมีเ งิ นก้อ นใหญ่ มาใช้ หนี้ ”
183
ธั ม มุ ท เทส 4 พระศาสดาแสดงธั ม มุ ท เทส 4 แก่ พ ระรั ฐ บาล ท�ำให้ พระรั ฐบาลออกบวชธั มมุ ทเทส 4 มี ดัง นี้ 1. สัต ว์โ ลกไม่ยั่ง ยืน ต้อ งแก่ ชรา 2. สัตว์โลกไม่มีผู้ป้องกัน ไม่มีผู้ต้านทาน ไม่มีผู้เป็นใหญ่ (ในที่ สุ ด ต้องตายไป) 3. สัต ว์โ ลกไม่มี สิ่ง ใดเป็น ของๆ ตน จ�ำต้ อ งทิ้ ง สิ่ ง ทั้ ง ปวง ไป 4. สั ต ว์ โ ลกพร่ อ งอยู ่ เ ป็ น นิ ต ย์ ไม่ รู ้ จั ก อิ่ ม ไม่ รู ้ จั ก เบื่ อ จึ งเป็ นทาสของตั ณหา
184
สมชี ว ธรรม สมชี ว ธรรม คนที่ จ ะอยู ่ ร ่ ว มกั น ได้ ดี คนจะอยู ่ ร ่ ว มกั น ได้ ดี ต้ องมีสิ่ง เหล่ านี้ เสมอกัน 1. ศรัท ธา 2. ศี ล 3. จาคะ(บริ จ าค) 4. ปัญญา หากคู ่ใ ดมีสิ่ ง เหล่ านี้ แตกต่ างกั นมาก จะไม่ มีความสุ ข
185
25 ภิ ก ษุ ช าวเมื อ งโกสั ม พี (โกสั ม พิ ย สู ต ร)
พระผู้มีพระภาคเจ้า ประทับ อยู่ ณ โฆสิตาราม เมือง โกสั ม พี ภิ ก ษุ รู ป หนึ่ ง เข้ า ไปเฝ้ า พระพุ ท ธองค์ กราบทู ล ว่า ภิกษุ 2 พวกในเมืองโกสัมพีนี้วิว าทกัน ไม่ปรองดอง กั น ทิ่ ม แทงกั น ด้ ว ยหอกคื อ ปาก พระศาสดาให้ ภิ ก ษุ รู ป หนึ่ ง ไปตามภิ ก ษุ ทั้ ง สองพวกนั้ น มาเฝ้ า ตรั ส ถามว่ า ทะเลาะวิวาทกันจริงหรือ เมื่อภิกษุเหล่านั้นทูลรับว่าจริง จึง ตรัสโอวาทภิกษุเหล่า นั้นให้สามัคคีกัน ที่ต้องทะเลาะ กั น นั้ น เพราะไม่ ตั้ ง เมตตาทางกาย วาจา ใจ ไว้ ต ่ อ กัน ทรงสั่งสอนภิกษุเหล่านั้นในสาราณียธรรม (ธรรมอัน เป็น เหตุใ ห้ระลึกถึง กัน) 6 ประการ คือ 1. เมตตากายกรรม จะท�ำอะไรๆ ก็ให้ท�ำด้วยเมตตา 186
ต่อ กัน 2. เมตตาวจีกรรม จะพูดอะไรๆ ก็ให้พูดด้วยเมตตา ต่อ กัน 3. เมตตามโนกรรม จะคิดอะไรๆ ก็ให้คิดเมตตาต่อ กัน 4. แบ่ ง ปั น ลาภที่ ไ ด้ ม าโดยชอบธรรมให้ แ ก่ กั น ไม่ หวงไว้บ ริโภคแต่ผู้เดียว 5. เป็ น ผู ้ มี ศี ล คื อ ความประพฤติ ดี เ สมอกั น ไม่ รัง เกีย จกันเรื่องความประพฤติ 6. มี ค วามเห็ น ถู ก ต้ อ งเหมื อ นกั น เป็ น ความเห็ น ที่ ท�ำให้ สิ้ น ทุ ก ข์ อนึ่ ง แม้ จ ะมี ค วามเห็ น ไม่ ต รงกั น ก็ ไ ม่ ทะเลาะวิวาทกัน เมื่ อ มี ธ รรม 6 ประการนี้ อ ยู ่ ย่ อ มเป็ น ไปเพื่ อ การ ระลึกถึงกัน สร้างความรักความเคารพต่อกัน เป็นไปเพื่อ การสงเคราะห์กัน ไม่วิวาทกัน สามัคคีกัน เป็นเอกภาพ คือ มีความเป็นน�้ำหนึ่ง ใจเดียวกัน ในพระสูตรนี้เ ล่าว่า เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงโอวาท ภิ ก ษุ เ หล่ า นี้ แ ล้ ว ภิ ก ษุ ต ่ า งชื่ น ชมยิ น ดี ต ่ อ ภาษิ ต ของพระ ศาสดา 187
ฝ่ า ยอรรถกถาธรรมบทเล่ า ว่ า ภิ ก ษุ เ หล่ า นั้ น มิ ไ ด้ เ ชื่ อ ฟัง พระโอวาท ยัง คงทะเลาะวิวาทกันต่อไป จนพระผู้มี พระภาคเจ้ า เสด็ จ ปลี ก พระองค์ ไ ปอยู ่ ที่ ป ่ า รั ก ขิ ต วั น ได้ ช้างและลิงคอยเฝ้า บ�ำรุง ปรนนิบัติ ต่ อ มา พวกชาวบ้ า นเห็ น ว่ า พระศาสดาต้ อ งเสด็ จ ไป อยู ่ ป ่ า เพราะการทะเลาะวิ ว าทของภิ ก ษุ เ หล่ า นั้ น ท�ำให้ พวกเขาไม่มีโอกาสได้เข้าเฝ้า ฟังธรรม และท�ำบุญ จึง รวมกันไม่เคารพนอบน้อม ไม่ยอมใส่บาตรแก่ภิกษุเหล่า นั้น เมื่อไม่มีอาหารและไม่มีใครเคารพ ภิกษุจึงปรองดอง สามั ค คี กั น พระศาสดาเสด็ จ กลั บ เข้ า เมื อ ง แต่ เ สด็ จ ไป เมืองสาวัต ถี ภิกษุที่ป รองดองกันแล้ว พากันไปเฝ้าพระพุทธองค์ ที่ เ มื อ งสาวั ต ถี ท รงแสดงธรรมโปรดจนภิ ก ษุ เ หล่ า นั้ น ตั้ ง อยู่ใ นคุณ ธรรมต่า งๆ ตามสมควรแก่อุปนิสัยแห่งตน
188
การท�ำความดี เราจะท�ำดี อ ย่ า งไรให้ ไ ด้ ดี “ท�ำความดี ถ้ า องค์ ป ระกอบไม่ พอ ความดี ก็ยัง ไม่ใ ห้ ผล” ต้องท�ำปัจจัยหลักคือปัญญา ต้องท�ำความดีด้วยความฉลาด ไม่ ท�ำด้ว ยความโง่ เหตุเ ราท�ำไปแล้ว คือ ท�ำดี แต่ เราต้ อ งท�ำปั จ จั ย ให้ ดี เท่ า ที่ จ ะ ท�ำได้ ก็ ห มดหน้ า ที่ ความดี จ ะให้ ผ ลเมื่ อ ใดก็ แ ล้ ว แต่ ถ้ า ท�ำ เหตุดียัง ไม่พ อ ความดีก็ ยั ง ไม่ ให้ผ ลกั บ เรา เหมือนปลูกต้นไม้ เหตุคือปลูกต้นไม้แล้วปัจจัยคือ ให้แสง ให้ น�้ ำ ให้ ปุ ๋ ย เท่ า ที่ มั น จ�ำเป็ น ต้ อ งมี ถ้ า ไม่ พ อต้ น ไม้ ก็ ไ ม่ โ ต ผลจะได้เ มื่อ ไหร่ก็ แล้ ว แต่ต้ นไม้ ความหวังผลย่อมส�ำเร็จแก่ผู้รอคอย ไม่รีบร้อน เราท�ำความ ดี เ พื่ อ ผู ้ อื่ น เราไม่ ไ ด้ ผู ้ อื่ น ก็ ไ ด้ เมื่ อ ผู ้ อื่ น ได้ รั บ เราก็ ค วรจะ พอใจแล้ว ก็ ท�ำให้ สบายใจ การสบายใจก็ เป็ นผลของความดี
189
มองแนวพุ ท ธ ศาสนาพุท ธสอนเรื่อ งทุก ข์ ไม่ ใช่ม องโลกในแง่ ร้า ย เพราะ สอนเรื่ อ งการดับ ทุก ข์ ซึ่ ง เป็น แง่ดีด้ ว ย ปรั ชญา Idealism มโนภาพนิ ย ม โลกไม่ ไ ด้ เป็ นจริ ง ตามที่ ปรากฏ เช่ น เรากิ น ของหวานแล้ ว กิ น น�้ ำ น�้ ำ เลยหวาน แต่ ที่ จริ ง น�้ ำ ไม่ ไ ด้ ห วาน แบงก์ 20 สี เ ขี ย ว ไปอยู ่ ใ นแสงสี เ หลื อ ง ท�ำให้ดูเป็นสีน�้ำตาล คนคนหนึ่งตาย มีคนร้องไห้ อีกคนหัวเราะ พุ ท ธศาสนาไม่ใ ช่และไม่ ปฏิ เสธ Idealism และ Realism เพราะไม่ ไ ด้เ ป็น ทั้ง สองอย่า ง แต่ เป็น “ตามความเป็น จริง ” เป็ น Buddhism
190
เมตตา อาจารย์ ส อนว่ า “ชอบกั น สรรเสริ ญ เจริ ญ สิ้ น ชั ง กั น สาปแช่ง ทุก แห่ ง หน” คนอื่ น จะรั ก จะชั ง ช่ า งเขา เราดี แ ล้ ว เขาท�ำให้ เ ราชั่ ว ไม่ ไ ด้ อยู ่ ให้สบาย ตายแล้ ว ไปสุ คติ บางคน อยู ่ เ ป็ น ทุ ก ข์ แ ม้ กั บ เรื่ อ งเล็ ก น้ อ ย อย่ า งนี้ มี โ อกาส ไปทุคติไ ด้ง ่ าย อี ก พวกตรงข้ า ม มี ป กติ อ ยู ่ เ ป็ น สุ ข ด้ ว ยเมตตาธรรมที่ ห า ประมาณมิ ไ ด้ (อัป ปมั ญญา) คือ พรหมวิ ห าร 4 การแผ่เ มตตาแบบเจาะจง เป็ นพรหมวิ ห าร การแผ่เ มตตาแบบไม่ เจาะจงเป็ นอั ป ปมั ญ ญา อัปปมั ญญา แปลว่ า หาประมาณมิ ไ ด้
191
26 พกพรหม (พรหมนิ มั น ตนสู ต ร)
พระศาสดาประทับอยู่ ณ วัดเชตวัน เมืองสาวัตถีตรัส เล่าให้ภิกษุทั้งหลายฟังว่า สมัยหนึ่ง พระองค์ประทับอยู่ ณ ใต้ต ้นรังใหญ่ใ นสุภควัน ใกล้เ มืองอุกกัฏฐา ครั้ง นั้น พรหมผู้ห นึ่ง นามว่า พกะ มีความเห็นผิดว่า ฐานะแห่ ง พรหมนี้ เ ที่ ย ง ยั่ ง ยื น ไม่ ต ้ อ งเปลี่ ย นแปลง เคลื่ อ นย้ า ย ไม่ มี เ กิ ด แก่ ตาย ไม่ จุ ติ (เคลื่ อ นจากภพ เก่ า ) ไม่ อุ บั ติ (เกิ ด ในภพใหม่ ) เหตุ อ อกจากทุ ก ข์ นอกจากฐานะแห่ง พรหมนี้ไม่มีอีกแล้ว พระองค์ ท รงทราบความคิ ด ของพกพรหมแล้ ว จึ ง เสด็ จ ไปโปรดถึ ง พรหมโลก สั่ ง สอนเขาว่ า พรหมถู ก 192
อวิ ช ชาครอบง�ำแล้ ว เพราะเข้ า ใจผิ ด ในสิ่ ง ไม่ เ ที่ ย งว่ า เที่ ย ง ตรั ส ว่ า พกพรหมจุ ติ ม าจากพรหมโลกชั้ น อาภัสสระ สุภกิณหะ และเวหัปผละ แต่เนื่องจากมาอยู่ ในพรหมโลกชั้ น นี้ เ สี ย นาน (ชั้ น พรหมปาริ สั ช ชะ หรื อ พรหมบริษัท ซึ่งเป็นพรหมชั้นต�่ำสุดในรูปพรหม 16 ชั้น) จึง ลืมไปหรือเห็นผิดไปว่า เที่ย ง พกพรหมประสงค์จะหายตัว ไปจากพระผู้มีพระภาค แต่ ห ายไม่ ไ ด้ แต่ พ ระพุ ท ธองค์ ท รงหายไปได้ โ ดยให้ พกพรหมและพวกพ้องของพรหมได้ยินแต่พระด�ำรัส แต่ ไม่ เ ห็ น พระองค์ พวกพรหมรู ้ สึ ก แปลกใจมากในฤทธานุ ภาพแห่งพระผู้มีพ ระภาคเจ้า พระสูตรนี้เล่าว่า มารตนหนึ่งเข้าสิงพรหมปาริสัชชะ ท่ า นหนึ่ ง ให้ ทู ล พระศาสดาว่ า อย่ า ได้ แ สดงธรรมแก่ สาวกและบรรพชิตเลย เพราะเคยมีมาแล้ว สมณะที่บอก ว่ า เป็ น พระอรหั น ตสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ก่ อ นพระองค์ สั่ ง สอนสาวกและบรรพชิ ต เมื่ อ สิ้ น ชี พ แล้ ว กลั บ ได้ เ กิ ด ใน กายที่ดีกว่า ประณีตกว่า เพราะฉะนั้นขอพระสมณโคดม จงมีความปรารถนาน้อย หาความสุขในปัจจุบันเถิด
193
พระศาสดาตรัสกับมารว่า ทรงรู้จักเขาดี มารเป็นผู้ มุ่งร้ายต่อพระองค์ สมณพราหมณ์ที่มารอ้างถึงนั้น มิได้ ตรัสรู้ แต่ป ฏิญาณตนไว้ว ่าได้ตรัสรู้ ส�ำหรับพระองค์เอง ตรั ส รู ้ จ ริ ง ไม่ มี กิ เ ลสแล้ ว จะแสดงธรรมหรื อ ไม่ แ สดง ธรรม พระองค์ก็เท่าเดิม แต่ทรงแสดงธรรมแก่สาวกเพื่อ ประโยชน์แก่สาวกเอง หาใช่เพื่อประโยชน์แห่งพระองค์ ไม่ ความอยู่นานในพรหมโลกของพรหม ท�ำให้เข้าใจผิด ไปว่าฐานะแห่งความเป็นพรหมนั้นเที่ยง อันที่จริงโลกทั้ง ปวงตลอดจนถึ ง พรหมโลกก็ ไ ม่ เ ที่ ย ง ความไม่ เ ที่ ย งจึ ง เป็น ลักษณะส�ำคัญของโลกทั้งปวงรวมทั้ง เทวโลกด้ว ย เมื่ อ พระศาสดาตรั ส พรรณนาให้ เ ห็ น คุ ณ ของพระ นิ พ พานซึ่ ง ดี ก ว่ า ประณี ต กว่ า ความสุ ข อย่ า งพรหม พกพรหมก็เ ห็น จริง ละมิจ ฉาทิฐิเ สียได้
194
สิ่ ง อั น เลิ ศ
อนุ ต ตริ ย ะ 6 คื อ สิ่ ง อั น เลิ ศ 6 ประการอั น น�ำไปสู่ ก าร พ้ นทุก ข์ 1. ทั สสนานุตตริ ย ะ การเห็น อั นยอดเยี่ ย ม คื อ การได้ เห็ น พระตถาคตหรื อภิ กษุผู ้ป ฏิบั ติดี 2. สวนานุ ตตริย ะ การได้ฟ ัง ธรรมอั นยอดเยี่ ย ม 3. ลาภานุ ต ตริ ย ะ การได้ ศ รั ท ธาในพระตถาคตหรื อ สาวก ของพระตถาคต 4. สิก ขานุ ตตริย ะ การได้ศึ กษาธรรมอั นยอดเยี่ ย ม 5. ปาริจริยานุตตริยะ การบ�ำรุงเลี้ยงดูอันยอดเยี่ยม (บ�ำรุง พระตถาคตหรื อภิ กษุผู ้ป ระพฤติดี) 6. อนุ ส สตานุ ต ตริ ย ะ การระลึ ก ที่ ย อดเยี่ ย ม (ระลึ ก ถึ ง พระตถาคตหรือ ภิก ษุ ผู้ ปฏิ บัติดี)
195
วิ ญ ญาณ 1. วิ ญญาณ คื อ รู้ แจ้ง ในอารมณ์ ทั้ง 6 เช่ น จั กษุ วิ ญ ญาณ (การรั บรู ้ ท างตา) โสตวิญญาณ (การรับ รู ้ ทางหู ) เป็ นต้ น 2. อารมณ์ คือ อายตนะภายนอก ซึ่ ง เป็ นสิ่ ง ที่ ถูกรู ้ 3. อายตนะ แปลว่า ที่ต่อ ที่เชื่อม คือจิตออกมารับอารมณ์ (เช่น รูป) ทางตา ท�ำให้จิตรู้รูปได้ จิตออกมารับอารมณ์ทางตา ถ้าตาบอดจิตไม่อาจรับรู้ทางตาได้ เพราะเครื่องมือเสียไป 4. อายตนะภายใน (อยู ่ ใ นร่ า งกาย) คื อ ตา หู จมู ก ลิ้ น กาย ใจ อายตนะภายนอก (อยู่นอกร่างกาย) คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐั พพะ ธรรมารมณ์ ธรรมารมณ์ คือ สิ่ง ที่ ใจคิด mind object เมื่ อ เช้ า ดมดอก กุ ห ลาบ พอตอนสายนึ ก ถึ ง ดอกกุ ห ลาบอี ก ดอกกุ ห ลาบ เป็ น ธรรมารมณ์ 5. อายตนะ 5 เรี ย ก perception ใจเรี ย ก conception รวมเป็ นอายตนะ 6 percept without concept is blind, concept without percept is empty ใจที่ไม่มีข้อมูลก็ว่างเปล่า (นั่งเทียน)ไม่มีข้อมูลคือไม่มีการ รั บรู ้ โ ดยอายตนะ 196
6. (ใจ) มโนวิ ญญาณเหมื อนที่ ลุ ่ ม วิญ ญาณทั้ ง 5 เหมื อนที่ดอน วิญญาณทั้ง 5 ต้องไหลไปสู่มโนวิญญาณ มโนวิญญาณต้อง เข้าร่วม จึงจะส�ำเร็จ ถ้ามโนวิญญาณไม่เข้าร่วม ก็ไม่ส�ำเร็จ คือ เห็ น แต่ไ ม่ รู้ อะไร ไม่ มีตัว ตัดสิ น (ใจ) ใจที่ จ ะเป็ น ตั ว ตั ด สิ น ได้ ต้ อ งเป็ น ใจที่ มี โ ยนิ โ สมนสิ ก าร (คิ ดเป็น คิ ดดี ) ซึ่ง จะท�ำให้ มีป ัญญา ถ้าไม่ มีโ ยนิโ สมนสิ การ คิดทางไม่ ดีก็เกิ ด กิ เลส 7. อายตนะ 6 อารมณ์ 6 วิ ญญาณ 6 (อายตนะ-ตั ว รั บ รู ้ , อารมณ์- สิ่ง ที่ ถูก รู้ , วิญญาณ-การรั บ รู ้ ) 1. จักขุ-ตา เป็นที่รับรู้รูป เกิดการรับรู้คือจักขุวิญญาณ-เห็น 2. โสตะ-หู เป็นที่รับรู้เสียง เกิดการรับรู้คือ โสตวิญญาณได้ยิน 3. ฆานะ-จมูก เป็นทีร่ บั รูก้ ลิน่ เกิดการรับรูค้ อื ฆานวิญญาณได้กลิ่น 4. ชิวหา-ลิ้น เป็นที่รับรู้รส เกิดการรับรู้คือชิวหาวิญญาณรู้รส 5. กาย-กาย เป็ นที่ รับ รู้ โผฏฐั พ พะ เกิ ด การรั บ รู ้ คือ กาย วิ ญ ญาณ-รู้ สึก สิ่ง ที่ ถูก ต้อ งกาย 6. มโน-ใจ เป็ น ที่ รั บ รู ้ ธ รรมารมณ์ เกิ ด การรั บ รู ้ คื อ มโน วิ ญญาณ-รู้ เรื่ องในใจ 197
27 มารกั บ พระโมคคั ล ลานะ (มารตั ช ชนี ย สู ต ร) พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ ป่าเนื้อในเภสกฬาวัน เมืองสุง สุมารศีระ แคว้นภัคคะ ครั้งนั้น พระมหาโมคคัลลานะเดินจงกรมอยู่ในที่แจ้ง มารเข้ า ไปในท้ อ งของพระเถระ ท่ า นรู ้ สึ ก หนั ก ท้ อ งมาก จึง เลิกเดิน จงกรม เข้า ไปในที่อยู่ พิจารณาด้ว ยอุบายวิธี แยบคาย รู ้ ว ่ า มารเข้ า ไปในท้ อ ง จึ ง เรี ย กให้ ม ารออกมา บอกว่าอย่าเบียดเบียนพระตถาคตหรือสาวกพระตถาคต เลย จะเป็น โทษทุกข์แ ก่มารตลอดกาลนาน มารคิดว่า พระเถระไม่รู้จักเขา แม้พระตถาคตเจ้าก็ ยั ง ไม่ รู ้ จั ก เขาเร็ ว ขนาดนี้ ท�ำไมพระผู ้ เ ป็ น สาวกจะรู ้ จั ก เขาได้ พระมหาโมคคั ล ลานะทราบความคิ ด ของมาร จึ ง บอกว่ า มารคิ ด อย่ า งไรท่ า นทราบมารจึ ง ออกจากท่ า นไป ยืน อยู่ใ กล้บ านประตู 198
พระเถระจึงเตือนว่า มารนั้นเคยเป็นหลานชายของ ท่ า นเอง สมั ย พระพุ ท ธเจ้ า มี น ามว่ า กกุ สั น ธะ ท่ า นเป็ น มารชื่ อ ทุ สี มี น ้ อ งสาวชื่ อ กาลี มารเป็ น ลู ก ของกาลี เมื่ อ มารรู้ว่า พระเถระรู้จักตนดี จึง หายตัว ไป พระพุทธศาสนาแสดงเรื่องมารไว้ 5 พวกด้วยกัน คือ 1. กิ เ ลสมาร มารคื อ กิ เ ลส ท�ำให้ สั ต ว์ ที่ ต กอยู ่ ใ น อ�ำนาจของกิ เ ลสพบความพิ น าศนานาประการ ขั ด ขวาง ไม่ใ ห้บุคคลบรรลุตามเป้าหมาย 2. ขัน ธมาร มารคือขันธ์ 5 ซึ่ง มีความทรุดโทรม ขัด แย้งอยู่ในตัว มีความเจ็บป่วยอยู่เนืองนิตย์ ท�ำให้ประกอบ คุณงามความดีไม่สะดวก 3. อภิสังขารมาร มารคืออภิสัง ขาร เป็นตัว ปรุงแต่ง กรรม ท�ำให้ดีให้ชั่ว เวียนเกิดเวียนตายไม่มีที่สิ้นสุด 4. เทวปุ ต ตมาร มารคื อ เทพบุ ต ร เทพผู ้ ยิ่ ง ใหญ่ ชั้ น กามาวจรคอยขัดขวางเหนี่ยวรั้งบุคคลไว้ไม่ให้พ้นอ�ำนาจ ของตน ชวนให้ห ่ว งใยในกามสุข ไม่อาจสละเพื่อคุณอัน ยิ่ง ใหญ่ไ ด้ 5. มัจจุมาร มารคือความตาย มาตัดรอนโอกาสที่คน ดีจะท�ำความดี หรือก�ำลังท�ำดีอยู่ แต่มารคือความตายมา ถึงเข้า ตัด รอนโอกาสแห่ง ความดีนั้นเสีย 199
ชี วิ ต ที่ ส มบู ร ณ์ ชี วิต ที่สมบูร ณ์คือ ชี วิต ที่ไ ม่มีอะไร คื อ มี ได้ทุก อย่า ง แต่ ไม่ไ ด้ไ ปยึดมั่ นถื อมั่ นว่ ามั นเป็ นของเรา มี แ บบไม่ มี อยู ่ กั บทุก ข์ได้ โดยไม่ทุ กข์ อยู ่ กั บความวุ ่น วายได้ โดยสงบ เหมื อ นน�้ำบนใบบั ว บุ ค คลผู้มีปัญ ญา ย่ อ มหาความสุ ข ได้ ในสภาวะที่น ่า ทุ กข์ บุ ค คลผู้ไ ม่มี ปั ญญา ย่ อ มหาความทุ กข์ ไ ด้ ในสภาวะที่น ่ า สุ ข
200
เราจะแผ่เ มตตาไปทั่วทั้งโลก เราจะท�ำใจให้เหมือน 1. แผ่น ดิน ซึ่งใครๆ จะขุดให้ห มดไม่ได้ 2. อากาศซึ่งใครๆ จะระบายสีให้ติดไม่ได้ 3. แม่น�้ำคงคาที่ใครๆ จะเอาคบเพลิง มาจุดให้ติด ไม่ไ ด้ คบเพลิงนั้นย่อมดับไปเอง 4. ถุงหนังแมวที่นายช่างฟอกดีแล้ว อ่อนนุ่มดังปุยนุ่น และส�ำลี ซึ่งใครๆ จะตีให้ดังไม่ได้