คู่มือและสมุดบันทึก ผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว

Page 1


หน้าที่ของหัวใจ

หัวใจ

เป็นอวัยวะที่เป็นกล้ามเนื้อ มีหน้า ที่สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกาย โดยหัวใจเป็นศูนย์กลางของระบบไหลเวียน เลือด มีระบบกระแสไฟฟ้าหัวใจควบคุม การท�ำงานและส่งสัญญาณไฟฟ้าให้หัวใจ บี บ ตั ว เพื่ อ สู บ ฉี ด เลื อ ดเข้ า สู ่ ร ะบบไหล เวียน และมีลิ้นหัวใจปิด-เปิดเพื่อช่วยให้ เลือดไหลไปในทิศทางที่ต้องการ โดยเลือด จะน� ำ ออกซิ เ จนและสารอาหารที่ จ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ การท� ำ งานอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ไปยังอวัยวะต่างๆ นอกจากนี้ เลือดยังน�ำ คาร์บอนไดออกไซด์กลับเข้าสู่ปอดเพื่อขับออก นอกร่างกายโดยการหายใจออก

หัวใจ

ที่แข็งแรงจะสามารถสูบฉีดเลือดในปริมาณ และอั ต ราที่ เ หมาะสมตามความต้ อ งการของ


ภาวะหัวใจล้มเหลว

เป็ น ภาวะเรื้ อ รั ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการที่ กล้ามเนื้อหัวใจไม่สามารถสูบฉีดในปริมาณที่ ร่างกายซึ่งในระยะแรก หัวใจจึงพยายามที่ จะปรับตัวโดย • ขยายขนาดขึน้ ร่างกายจะเริม่ เก็บสะสม ของเหลว ของเหลวคั่งในปอด และ หัวใจเริ่มเต้นไม่เป็นจังหวะ • สร้างกล้ามเนื้อหัวใจมากขึ้น เพื่อให้บีบ ตัวได้แรงขึ้นในระยะแรก • หัวใจสูบฉีดเร็วขึน้ เพือ่ ให้มเี ลือดเพียงพอ ไปเลี้ยงร่างกาย

นอกจากนี้ ร่างกายอาจปรับตัวโดยหลอดเลือดหด แคบลงท�ำให้ความดันเลือดสูงขึ้น มีการส่งเลือดไป เลี้ยงอวัยวะที่ส�ำคัญน้อยกว่าลดลง วิธีดังกล่าวข้างต้นจะ บดบังปัญหาของภาวะหัวใจล้มเหลว แต่ไม่ได้แก้ปัญหา กลับ ท�ำให้ภาวะหัวใจล้มเหลวแย่ลง


สาเหตุหรือภาวะที่น�ำไปสู่ภาวะหัวใจล้มเหลว • หลอดเลือดหัวใจตีบ ท�ำให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวก เกิดความดันโลหิตสูงและหัวใจ ล้มเหลวในที่สุด • กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ท�ำให้กล้ามเนื้อหัวใจบางส่วนไม่สามารถบีบตัว จึงสูบฉีดเลือด ได้ไม่ดี • ความดันโลหิตสูง ท�ำให้หัวใจต้องท�ำงานหนักขึ้นกว่าปกติ น�ำไปสู่ภาวะหัวใจล้มเหลว • ลิ้นหัวใจผิดปกติ จากการติดเชื้อ หรือความผิดปกติแต่ก�ำเนิด เมื่อลิ้นหัวใจไม่สามารถ เปิด-ปิดอย่างปกติ ในขณะที่หัวใจบีบ-คลายตัว ท�ำให้หัวใจท�ำงานหนักขึ้น • กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ พยาธิสภาพของกล้ามเนื้อหัวใจ ซึ่งอาจเกิดจากยาเสพติด สุรา การติดเชื้อ หรือภาวะอื่นๆ ท�ำให้หัวใจไม่สามารถท�ำงานได้เป็นปกติ • หัวใจพิการแต่ก�ำเนิด • โรคปอดรุนแรง ท�ำให้หัวใจต้องท�ำงานหนักขึ้น เพื่อส่งออกซิเจนไปเลี้ยงทั่วร่างกาย • เบาหวาน ผูป้ ว่ ยเบาหวานมีแนวโน้มทีจ่ ะมีความดันโลหิตสูงและหลอดเลือดตีบจากระดับ ไขมันในเลือดที่สูงขึ้น ซึ่งทั้งสองประการเป็นสาเหตุของหัวใจล้มเหลวความอ้วน หัวใจ ของคนอ้วนจะท�ำงานหนักกว่าคนไใอ้วน • ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ เป็นปัจจัยเสี่ยงของความดันโลหิตสูง ภาวะหัวใจล้มเหลว เบาหวาน และโรคหลอดเลือดสมอง • ภาวะอื่นๆ เช่น โลหิตจาง ภาวะต่อมไทรอยด์ท�ำงานเกิด หัวใจเต้นผิดจังหวะ • พันธุกรรม • ไม่ทราบสาเหตุ


อาการของภาวะหัวใจล้มเหลว • บวมที่เท้า/ข้อเท้า เมื่อกดดู เนื้อจะบุ๋ม คืนตัวช้า น�้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น • หายใจหอบเหนื่อยระหว่างท�ำกิจกรรมปกติ ขณะพักหรือขณะ นอนหลับ หายใจล�ำบากขณะนอนราบหรือตื่นขึ้นกลางดึกจากการ หายใจล�ำบาก ต้องนั่งหรือยืนขึ้นเพื่อให้หายใจสะดวกขึ้น • ไอเรื้อรัง • อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย • หัวใจเต้นเร็วขึ้น

การวินิจฉัยภาวะหัวใจล้มเหลว ยิ่งตรวจพบภาวะหัวใจล้มเหลวเร็วเท่าไร ยิ่งท�ำให้ผู้ป่วยรับมือได้ง่ายขึ้น การวินิจฉัย ยืนยันอย่างละเอียดอาจต้องใช้หลายวิธีร่วมกัน โดยแพทย์จะเป็นผู้ประเมินว่าผู้ป่วยควรได้ รับการตรวจด้วยวิธีใดบ้าง • การซักประวัติและตรวจร่างกาย • การถ่ายภาพรังสีช่องอก (Chest X-ray, CXR) • การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG) • การตรวจเลือด • การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงหัวใจ (Echocardiography) • การสวนหลอดเลือด • การตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกก�ำลังกายด้วยการเดินสายพาน (exercise stress test : EST)


การรักษาภาวะหัวใจล้มเหลว การรักษาภาวะหัวใจล้มหลวต้องอาศัยหลายวิธีร่วมกัน ซึ่งรวมถึง การปรับเปลี่ยน แนวทางการด�ำเนินชีวิต การใช้ยา การใช้เครื่องมือหรือการผ่าตัดในการรักษาพยาธิสภาพ ของหัวใจเพื่อให้หัวใจสามารถท�ำงานได้ขึ้น เช่น การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจกรณีที่ลิ้นหัวใจ ผิดปกติ และรักษาความผิดปกติที่เป็นสาเหตุของภาวะหัวใจล้มเหลว

การรักษาที่มีประสิทธิผลจะช่วยให้ • หัวใจมีความแข็งแรงมากขึ้น • สามารถควบคุมอาการของหัวใจล้มเหลวได้ • ลดความเสี่ยงที่อาการก�ำเริบ • ท�ำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และมีอายุที่ยืนยาวขึ้น

การปฏิบัติตัวเมื่อคุณมีภาวะหัวใจล้มเหลว การดูแลภาวะหัวใจล้มเหลวต้องอาศัยทีมผู้ดูแลทั้งอายุรแพทย์โรคหัวใจและพยาบาล เฉพาะทางส�ำหรับผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว และผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพอื่นๆ ได้แก่ เภสัชกร โภชนากร นักายภาพบ�ำบัด นักจิตวิทยา ผู้ให้บริการสาธารณสุขพื้นฐาน และนัก สังคมสงเคราะห์ ครอบครัวและญาติซึ่งจะเป็นผู้สนับสนุนที่ดีและเป็นก�ำลังใจที่ส�ำคัญของผู้ ป่วยในการรับมือกับภาวะหัวใจล้มเหลว รวมถึงความร่วมมือของผู้ป่วย ในการติดตามการ เปลี่ยนแปลงของอาการ ไม่ว่าจะเป็นอาการที่เกิดขึ้นใหม่ หรืออาการที่เป็นอยู่มีภาวะเลวลง หรือมีการเปลี่ยนแปลงใดๆ เกี่ยวกับอาการ ผู้ป่วยควรแจ้งแพทย์ให้ทราบโดยทันที


หากคุณมีภาวะหัวใจล้มเหลว อย่าท้อแท้สิ้นหวัง แพทย์และทีมผู้ดูแลพร้อมที่จะให้ ความช่วยเหลืออยางเต็มที่ ปัจจุบนั มีวธิ ดี แู ลภาวะหัวใจล้มเหลวอย่งมีประสิทธิภาพ หลาย วิธขี อเพียงคุณตั้งใจพร้อมรับมือและปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำของแพทย์ คุณก็สามารถมี ความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดีได้เช่นกัน การเริ่มต้นปรับเปลี่ยนอาจดูเหมือนยากในช่วง แรก แต่หากคุณเริ่มแล้ว คุณจะพบว่าไม่ได้ยากอย่างที่คิด การปฏิบัติตัวที่แพทย์แนะน�ำ แก่คุณ คือ 1. การเฝ้าระวังภาวะคั่งน�้ำและเกลือ อาการของภาวะคั่งน�้ำหรือเกลือ ได้แก่ น�้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น บวม เหนื่อย นอนราบไม่ได้ หรือต้องลุกขึ้นมานั่งหอบตอนกลางคืน และเพื่อเป็นการเฝ้าระวังอาการดังกล่าว ผู้ป่วยควร ชั่งน�้ำหนักทุกวัน เนื่องจากเป็นวิธีหนึ่งที่จะบอกว่า ภาวะหัวใจล้มเหลวลงหรือไม่ และช่วย ประเมินภาวะน�้ำเกินในร่างกาย โดยหลักการในการชั่งน�้ำหนัก คือ • ใช้เครื่องชั่งน�้ำหนักตัวเดิมทุกครั้ง • สวมเสื้อผ้าในลักษณะเดียวกันทุกครั้งที่ชั่งน�้ำหนัก ไม่ควรสวมเสื้อผ้าที่หนาหนัก ไม่สวมรองเท้า • บันทึกน�้ำหนักตัวที่เหมาะสม (ขณะไม่มีน�้ำคั่ง หรือขาดน�้ำ) • ชั่งน�้ำหนักในตอนเช้า หลังจากเข้าห้องน�้ำและก่อรับประทานอาหารเช้าทุกครั้ง • จัดบันทึกน�้ำหนักตัว และเปรียบเทียบกับน�้ำหนักในวันก่อนหน้า ถ้ามีน�้ำหนักตัว เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว (1 กิโลกรัมภายใน 1-2 วันหรือ 2 กิโลกรัมภายใน 3 วัน) แสดงว่ามีภาวะคั่งน�้ำและเกลือแล้ว ควรแจ้งให้แพทย์/พยาบาลรับทราบ


2. ควบคุมปริมาณของเหลวที่ดื่มหรือรับประทาน การจ�ำกัดปริมาณของเหลวที่ได้รับอย่างเคร่งครัดไม่มีความจ�ำเป็นในผู้ป่วยที่มีอาการ รุนแรง ยกเว้นในผู้ป่วยที่มีอาการหอบเหนื่อยมาก บวม นอนราบไม่ได้ ต้องใช้ยาขับ ปัสสาวะในขนาดสูง ผู้ป่วยโรคไตที่มีน�้ำและเกลือคั่งง่าย และผู้ป่วยที่มีภาวะโซเดียมในเลือดต�่ำ ปริมาณของเหลวที่ดื่มหรือรับประทาน จะรวมถึง น�้ำดื่ม น�้ำผลไม้ นม น�้ำอัดลม ชา กาแฟ น�้ำแกง เป็นต้น (ไม่ควรดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์) หน่วยวัด 1 ถ้วย = 240 ซี.ซี. 1 มล. = 1 ซี.ซี.

ตัวอย่างปริมาณของเหลว ถ้วยกาแฟ = 200 ซี.ซี. แก้วน�้ำ = 240 ซี.ซี. นมกล่อง = 200 ซี.ซี. ชามน�้ำแกง = 160 ซี.ซี.

3. รับประทานอาหารที่เหมาะสมกับสภาวะร่างกายตามค�ำแนะน�ำของแพทย์/พยาบาล รับประทานอาหารให้หลากหลาย และเพิ่มสัดส่วนอาหารที่มีกากใยสูง


4. จ�ำกัดปริมาณเกลือ (โซเดียม) ที่รับประทาน การจ�ำกัดปริมาณเกลือ(โซเดียม) จะช่วยลดความเสีย่ งในการเกิดการคัง่ น�ำ้ ในร่างกาย โดย • หลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสเค็มทุกชนิด ไม่ใช้เครื่องปรุงประเภทเกลือ น�้ำปลา กะปิ ปลาร้า ซีอิ้ว เต้าเจี้ยว เต้าหู้ยี้ ซุปก้อน และผงปรุงรสต่างๆ ซึ่งมักมีเกลือผสมอยู่ • หลีกเลี่ยงอาหารพวก “ฟาสต์ฟู้ด” ซึ่งมักมีเกลือสูง • หลีกเลี่ยงอาหารหมัก ดอง อาหารกระป๋อง อาหารอบแห้งที่ปรุงรสด้วยเกลือ • อ่านฉลากโภชนาการทุกครั้งก่อนซื้ออาหาร โดยดูปริมาณเกลือแกง หรือโซเดียม (Sodium) ที่มีอยู่ในอาหารนั้นๆ • จ�ำกัดปริมาณโซเดียมไม่เกินวันละ 2-3 กรัม ในผูป้ ว่ ยทีม่ อี าการภาวะหัวใจล้มเหลว แต่ใน ผูป้ ว่ ยทีม่ อี าการปานกลางถึงรุนแรงควรจ�ำกัดการบริโภคโซเดียมน้อยกว่า 2 กรัมต่อวัน 5. รับประทานยาตามที่แพทย์สั่ง • รับประทานยาตามที่แพทย์สั่งให้ครบถ้วนสม�ำเสมอ ห้ามหยุดยา ลดหรือเพิ่มขนาดยา เอง โดยที่ไม่ได้ปรึกษาแพทย์ • หากยาที่รับไปมีปริมาณไม่เพียงพอจนถึงการนัดหมายครั้งต่อไป ให้ติดต่อพยาบาลที่ คลินิกหัวใจล้มเหลวก่อนยาหมด • หลีกเลี่ยงการรับประทานยาอื่นๆ หรืออาหารเสริมใดๆ และควรแจ้งให้แพทย์ทราบทุก ครั้งก่อนเริ่มยาหรืออาหารเสริม • น�ำบันทึกรายการยามาด้วยเมื่อพบแพทย์


6. การควบคุมน�้ำหนักให้เหมาะสม ผู้ป่วยควรลดน�้ำหนักหากมีน�้ำหนักเกิน เพราะน�้ำหนักที่เพิ่มขึ้นท�ำให้ต้องท�ำงานหนัก ขึ้น โดยพิจารณาตามดัชนีมวลกาย (body mass index, BMI) ที่เหมาะสมคือ ต�้ำกว่า 25 กก./ตร.ม. ผู้ป่วยสามารถค�ำนวณดังชรีมวลกาย โดยค�ำนวณจากน�้ำหนักตัวเป็นกิโลกรัม หารด้วยส่วนสูงเป็นเมตรยกก�ำลังสอง ดัชนีมวลกาย = น�้ำหนักตัว(หน่วยเป็นกิโลกรัม) ความสูง2 (หน่วยเป็นเมตร)2 เช่น หากมีน�้ำหนักตัว 60 กก. สูง 1.6 เมตร จะมีดัชนีมวลกาย = 60/1.6 2 = 23.43 กก./ตร.ม. ถือว่าน�้ำหนักตัวอยู่ในช่วงที่เหมาะสม 7. การออกก�ำลังกาย การออกก�ำลังกายจะช่วยให้หัวใจแข็งแรงขึ้น และไม่อ่อนเพลียง่าย อย่างไรก็ตามควร ปรึกษาแพทย์ว่าการออกก�ำลังกายลักษณะใดเหมาะสมกับสภาวะร่างกายของคุณ • • • •

ไม่ควรออกก�ำลังกายทันทีหลังหลังรับประทานอาหารมื้อหลัก หลีกเลี่ยงการออกก�ำลังกายภายในสภาพอากาศที่ร้อนจัด หรือเย็นจัด ไม่ควรออกก�ำลังกายหากคุณรู้สึกอ่อนเพลีย หรือไม่สบาย การออกก�ำลังกายแบบแอโรบิคที่อาจเริ่มท�ำได้ง่ายๆ เช่น การเดิน การปั่น จักรยาน ว่ายน�้ำ เต้นร�ำ เป็นต้น • ปรึกษาแพทย์หากคุณมีอาการเวียนศรีษะ หายใจล�ำบาก หัวใจเต้นเร็ว หรือไม่ สม�่ำเสมอ หรือเหนื่อยมากขณะออกก�ำลังกาย


ตัวอย่างการออกก�ำลังกายอย่างง่าย สัปดาห์ที่

อบอุน่ ร่างกาย เดินช้าๆ (นาที)

เดินเร็วๆ (นาที)

ผ่อนลง เดิน ช้าๆ (นาที)

รวมเวลา (นาที)

1

5

5

5

15

2

5

10

5

20

3

5

15

5

25

4

5

20

5

30

5

5

25

5

35

6

5

30

5

40

7

5

35

5

45

8

5

40

5

50

ดัดแปลงจาก : http://www.nhlbi.nih.gov/health-pro/resources/heart/hispanic-manual/session-3/ sample-walking-program


8. เลิกสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด 9. ด้านเพศสัมพันธ์ การมีเพศสัมพันธ์เป็นการออกก�ำลังกายชนิดหนึ่ง ดังนั้นหากคุณมีภาวะหัวใจล้มเหลว คุณสามารถมีเพศสัมพันธ์ได้หากคุณยังสามารถเดินขึ้นลง บันได 20 ขั้นได้โดยไม่มีอาการเจ็บแน่นหน้าอกหรือเหนื่อยหอบ โดยจะต้องระมัดระวังเป็น พิเศษดังต่อไปนี้ • • • •

ควรมีการพักผ่อนให้เพียงพอ ทั้งก่อนและหลังมีเพศสัมพันธ์ ควรจัดสถานที่ให้มีอุณหภูมิเหมาะสม และมีอากาศถ่ายเทสะดวก หลีกเลี่ยงอาหารมื้อหนัก หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ งดการมีเพศสัมพันธ์หากรู้สึกไม่สบายหรือร่างกายไม่พร้อม

10. การพักผ่อน ควรพักผ่อนนอนหลับให้เพียงพออย่างน้อยวันละ 8 ชั่วโมง หาเวลาไปพักผ่อนในที่ อากาศปลอดโปร่ง อย่าเครียดหรือกังวลมากเกินไป 11. มาพบแพทย์ตามนัด พร้อมน�ำสมุดบันทึกเล่มนี้มาด้วยทุกครั้ง


ท่านควรปรึกษาแพทย์ หากมีอาการดังต่อไปนี้ • ไอแห้ง • อาการหอบเหนื่อยเลวลงขณะท�ำกิจกรรมทั่วไป • อาการบวมที่ขา เท้า และข้อเท้ามากขึ้น • รู้สึกไม่สบายท้อง หรือมีอาการบวมที่ท้อง • นอนหลับยาก ท่านควรติดต่อแพทย์ทันที หากมีอาการดังต่อไปนี้ • ไอแห้งๆ บ่อยขึ้น • อาการหอบเหนื่อยขณะพัก • รู้สึกไม่สบาย หรือมีอาการบวมบริเวณส่วนล่างมากขึ้น • มีน�้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 1 กิโลกรัมภายใน 1-2 วัน (หรือ 2 กิโลกรัมภายใน 3 วัน) • มีอาการเวียนศีรษะ สับสน ซึมเศร้าเกิดขึ้นใหม่ หรืออาการเดิมเลวลง • ไม่อยากอาหาร • นอนหลับยากขึ้น ไม่สามารถนอนราบ


สมุดบันทึกส�ำหรับผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ชื่อ.............................................. นามสกุล................................................................ โทรศัพท์.................................................................................................................... แพทย์ผู้รักษา......................................... .โรงพยาบาล.............................................. เลขที่เวชระเบียน....................................................................................................... บุคคลที่ติดต่อในกรณีฉุกเฉิน............................. โทรศัพท์.......................................... โรคประจ�ำตัว ........................................................................................................... .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. ..................................................................................................................................


สมุดบันทึกส�ำหรับผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว ประวัติการแพ้ยา ...................................................................................................... .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. ..................................................................................................................................


รายการยาที่ผู้ป่วยได้รับ วันที่

ชื่อยา

ขนาดยา

เวลารับยา ก่อน/หลัง กลาง ก่อน เช้า เย็น อาหาร วัน นอน O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง

หมายเหตุ


รายการยาที่ผู้ป่วยได้รับ วันที่

ชื่อยา

ขนาดยา

เวลารับยา ก่อน/หลัง กลาง ก่อน เช้า เย็น อาหาร วัน นอน O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง O ก่อน O หลัง

หมายเหตุ


ตารางบันทึกการเฝ้าระวังอาการโดยผู้ป่วย วันที่

น�้ำนักตัว (กิโลกรัม)

ชีพจร (ครั้ง/นาที)

ปริมาณของเหลวทีด่ มื่ ปริมาณปัสสาวะ * หรือรับประทาน * (ซี.ซี.) (ซี.ซี.)

* การบันทึกปริมาณของเหลวที่ดื่มหรือรับประทาน และปริมาณปัสสาวะ


อาการบวม (ขีด √ หากมี อาการ)

หายใจเหนือ่ ยหอบ เจ็บแน่นหน้าอก (ขีด √ หากมี (ขีด √ หากมี อาการ) อาการ)

อาการอื่นๆ (โปรดระบุ)

ให้บันทึกตั้งแต่ 8.00 น. ของวันที่บันทึกจนถึง 8.00 น. ของวันรุ่งขึ้นเป็น 1 วัน (24 ชั่วโมง)


ตารางบันทึกการเฝ้าระวังอาการโดยผู้ป่วย วันที่

น�้ำนักตัว (กิโลกรัม)

ชีพจร (ครั้ง/นาที)

ปริมาณของเหลวทีด่ มื่ ปริมาณปัสสาวะ * หรือรับประทาน * (ซี.ซี.) (ซี.ซี.)

* การบันทึกปริมาณของเหลวที่ดื่มหรือรับประทาน และปริมาณปัสสาวะ


อาการบวม (ขีด √ หากมี อาการ)

หายใจเหนือ่ ยหอบ เจ็บแน่นหน้าอก (ขีด √ หากมี (ขีด √ หากมี อาการ) อาการ)

อาการอื่นๆ (โปรดระบุ)

ให้บันทึกตั้งแต่ 8.00 น. ของวันที่บันทึกจนถึง 8.00 น. ของวันรุ่งขึ้นเป็น 1 วัน (24 ชั่วโมง)


ตารางบันทึกการเฝ้าระวังอาการโดยผู้ป่วย วันที่

น�้ำนักตัว (กิโลกรัม)

ชีพจร (ครั้ง/นาที)

ปริมาณของเหลวทีด่ มื่ ปริมาณปัสสาวะ * หรือรับประทาน * (ซี.ซี.) (ซี.ซี.)

* การบันทึกปริมาณของเหลวที่ดื่มหรือรับประทาน และปริมาณปัสสาวะ


อาการบวม (ขีด √ หากมี อาการ)

หายใจเหนือ่ ยหอบ เจ็บแน่นหน้าอก (ขีด √ หากมี (ขีด √ หากมี อาการ) อาการ)

อาการอื่นๆ (โปรดระบุ)

ให้บันทึกตั้งแต่ 8.00 น. ของวันที่บันทึกจนถึง 8.00 น. ของวันรุ่งขึ้นเป็น 1 วัน (24 ชั่วโมง)


ตารางบันทึกการเฝ้าระวังอาการโดยผู้ป่วย วันที่

น�้ำนักตัว (กิโลกรัม)

ชีพจร (ครั้ง/นาที)

ปริมาณของเหลวทีด่ มื่ ปริมาณปัสสาวะ * หรือรับประทาน * (ซี.ซี.) (ซี.ซี.)

* การบันทึกปริมาณของเหลวที่ดื่มหรือรับประทาน และปริมาณปัสสาวะ


อาการบวม (ขีด √ หากมี อาการ)

หายใจเหนือ่ ยหอบ เจ็บแน่นหน้าอก (ขีด √ หากมี (ขีด √ หากมี อาการ) อาการ)

อาการอื่นๆ (โปรดระบุ)

ให้บันทึกตั้งแต่ 8.00 น. ของวันที่บันทึกจนถึง 8.00 น. ของวันรุ่งขึ้นเป็น 1 วัน (24 ชั่วโมง)



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.