สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone งา 8 www.phangnga.go.th
คํานํา สํานักงานคลังจังหวัดพังงา ไดรับมอบหมายใหจัดทําคูมือ “ เงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การศึกษาของบุตร ” ตามโครงการ “ คลินิกความรูสูความเขมแข็งทางวิชาการของจังหวัด ZONE 8 ” เพื่อพัฒนาองคความรู กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และหลักเกณฑตางๆ ดานการเงินการคลัง ใหกับเจาหนาที่ในกลุมงานวิชาการดานการคลังการบัญชีและกลุมงานอื่นในสํานักงานคลังจังหวัด ใหมีความเขมแข็ง มีความพรอมทั้งความรูความสามารถและมีความเชื่อมั่นในองคความรู ในการเปน ที่ปรึกษาหรือการบรรยายแกสวนราชการใหเปนมาตรฐานเดียวกันภายในเขตจังหวัด ZONE 8 สํานัก งานคลังจั ง หวัด พังงา หวั ง เป นอยางยิ่งวา คูมือ “ เงิน สวัสดิการเกี่ย วกั บ การศึกษาของบุตร ” ฉบับนี้ จะเปนประโยชนแกผูที่จะนําไปบรรยายหรือศึกษาหาความรูไมมาก ก็นอย หากมีขอทักทวงหรือขอเสนอแนะใดๆ โปรดแจงใหทราบดวย และหากมีขอผิดพลาดเกิดขึ้น ผูจัดทําขอนอมรับดวยความยินดี กลุมงานวิชาการดานการคลังการบัญชี สํานักงานคลังจังหวัดพังงา กุมภาพันธ 2555
สารบัญ กฎหมายทีเ่ กีย่ วของ หลักเกณฑการจายเงินการศึกษาของบุตร ผูมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการการศึกษาของบุตร ความหมายของบุตรและการแทนที่บุตร ตัวอยางการแทนที่บุตรและการนับอายุบุตรเพื่อเบิกเงินสวัสดิการการศึกษาของบุตร สถานศึกษาของทางราชการ สถานศึกษาของเอกชน ปการศึกษา การยื่นเรื่องขอเบิกเงินและการยื่นเรื่องขอใชสิทธิ หลักเกณฑการจายเงินคาการศึกษาบุตรฯ ภาคผนวก 1. โครงการ “คลินิกความรูสูความเขมแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8” 2. คําสั่งแตงตั้งคณะทํางาน “คลินิกความรูสูความเขมแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8” 3. แบบทดสอบความรูพื้นฐานกอนการอบรม (Pretest) 4. แบบทดสอบความรูพื้นฐานหลังการอบรม (Posttest) 5. เฉลยขอสอบ Pretest และ Posttest
หนา 2 3 5 7 11 14 18 19 20 24
ภาพนิง่ 1
เงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การศึกษาของบุตร
คําชี้แจง เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตร หรือคาเลาเรียนบุตรเปนสวัสดิการหนึ่งของขาราชการที่ กําหนดใหมีขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตร พ.ศ. ๒๕๒๓ โดยอาศัย อํานาจตามความของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และมาตรา 3 แหงพระราชบัญญัติการกําหนด หลั ก เกณฑ เ กี่ ย วกั บ การจ า ยเงิ น บางประเภทตามงบประมาณรายจ า ย พ.ศ. 2518 ให เ ป น ไปตาม เจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และ พรบ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ตลอดจน เพื่อใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และความเจริญกาวหนาทางวิทยาการ และ เพื่อใหผูมีสิทธิไดรับเงินชวยเหลือเกี่ยวกับคาใชจายในการศึกษาบุตรที่เหมาะสมจากทางราชการ
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 1
ภาพนิง่ 2
กฎหมายที่เกี่ยวของ พระราชบัญญัติ การกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการจายเงินบางประเภทตามงบประมาณรายจาย พ.ศ. 2518
พระราชกฤษฎีกา เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. 2523 และทีแ่ กไขเพิ่มเติม 2533, 2534 และ 2548)
(พ.ศ. 2532,
ระเบียบ กระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. 2551 และที่แกไขเพิ่มเติม หนังสือเวียน อัตราคาเลาเรียน/การศึกษาบุตร ฯลฯ
คําชี้แจง โดยอาศัยอํานาจของกฎหมายวาดวย พรบ.การกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการจายเงินบางประเภท ตามงบประมาณรายจาย พ.ศ. 2518 มาตรา 3 (6) เงินสวัสดิการจากทางราชการ และ พรฎ. เงิน สวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตร พ.ศ. 2523 และที่แกไขเพิ่มเติม พ.ศ.2532 2533 2534 2548 2550 2554 ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. 2551 ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 หนังสือเวียนที่ กค0422.3/ว390 ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2552 เรื่อง ประเภทและอัตราเงินบํารุง การศึกษาและคาเลาเรียน หนังสือที่ กค0422.3/ว92 ลงวันที่ 16 มีนาคม 2553 ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจายเงิน ชวยเหลือการศึกษาของบุตรของขาราชการและลูกจางประจําที่เสียชีวิตจากการปฏิบัติงานในเขตพื้นที่ จังหวัดยะลา จังหวัดปตตานี จังหวัดนราธิวาส และในเขตพื้นที่อําเภอจะนะ อําเภอเทพา อําเภอนาทวี และอําเภอสะบายอย จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2553 หนังสือกรมบัญชีกลางที่ กค 0422.2/ว 456 ลงวันที่ 20 ธันวาคม 2554 เรื่อง ซอมความเขาใจเอกสาร การจดทะเบี ย นรั บ รองบุ ต รเพื่ อ ขอใช สิ ท ธิ เ บิ ก เงิ น สวั ส ดิ ก ารเกี่ ย วกั บ การรั ก ษาพยาบาลและเงิ น สวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตร สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 2
ภาพนิง่ 3
หลักเกณฑการจายเงินการศึกษาบุตร • ผูมีสิทธิ • บุตรเขาศึกษาในสถานศึกษา • คาการศึกษาฯเบิกตามที่กําหนด
คําชี้แจง หลักเกณฑการจายเงินการศึกษาของบุตร หลักเกณฑการจายเงินการศึกษาของบุตรประกอบดวย ผูมีสิทธิ บุตรที่เขาศึกษาในสถานศึกษา และคา การศึกษาซึ่งไดกําหนดไว ดังนี้ ผูมีสิทธิ กําหนดไวตามมาตรา 6 ของ พรฎ.เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. 2523 ใหผูมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร บุตรที่เขาศึกษาในสถานศึกษา ตามมาตรา 7 ของ พรฎ.เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของ บุตร พ.ศ. 2523 และที่แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2532 พ.ศ. 2533 ใหผูมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การศึกษาของบุตรตามมาตรา (6) มีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรไดเพียงคนที่ หนึ่งถึงคนที่สาม การนับลําดับบุตรคนที่หนึ่งถึงคนที่สามใหนับเรียงตามลําดับการเกิดกอนหลังทั้งนี้ไม วาเปนบุตรที่เกิดจากการสมรสครั้งใด หรืออยูในอํานาจปกครองของตนหรือไม มาตรา 7 แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2532 ผูมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการฯ ถาตอมามีบุตรแฝดซึ่งทําใหจํานวนบุตรเกินสามคน ใหผูมี สิทธิไดรับเงินสวัสดิการฯ สําหรับบุตรคนที่หนึ่งถึงคนสุดทาย กรณีบุตรของผูมีสิทธิฯ เกินกวาสามคน และบุตรคนใดคนหนึ่งในจํานวนสามคน ตายลงกอนมีอายุครบ 25 ปบริบูรณ ก็ใหเลื่อนบุตรลําดับ ถัดไปใหครบสามคนจึงมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการฯ เพิ่ม มาตรา 7 แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2533 กรณีบุตร สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 3
ของผูมีสิทธิฯ เกินกวาสามคนและบุตรคนใดคนหนึ่งในจํานวนสามคนตาย กายพิการจนไมสามารถเลา เรียนได หรือเปนคนไรความสามารถ คนเสมือนไรความสามารถ วิกลจริต จิตฟนเฟอนไมสมประกอบ กอนมีอายุครบ 25 ปบริบูรณ ก็ใหเลื่อนบุตรลําดับถัดไปใหครบสามคนจึงมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการฯ เพิ่ม คาการศึกษาเบิกตามที่กําหนดตามมาตรา 8 ของ พรฎ.เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. 2523 และที่แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 ใหเปนไปตามหลักเกณฑและประเภทที่กระทรวงการคลังกําหนด ตามหนังสือที่ กค0422.3/ว390 ลว 30 ต.ค.52
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 4
ภาพนิง่ 4
ขาราชการ บํานาญ พิเศษเหตุ ทุพพลภาพ
ผูมีสิทธิ
บํานาญ
ยกเวน
ลูกจาง ประจํา
เบี้ยหวัด
ขาราชการการเมือง ขาราชการตํารวจชั้นพลตํารวจที่อบรมในสถานศึกษาของกรมตํารวจกอน ปฏิบัติหนาที่
คําชี้แจง ผูมีสิทธิ ไดรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรตาม มาตรา 6 ของ พรฎ. เงินสวัสดิการ เกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. 2523 หมายถึง ขาราชการ ลูกจางประจํา และผูรับเบี้ยหวัดบําเหน็จ บํานาญตามกฎหมายวาดวยบําเหน็จบํานาญขาราชการ ยกเวน ขาราชการการเมือง และขาราชการ ตํารวจชั้นพลตํารวจที่อบรมในสถานศึกษาของกรมตํารวจกอนปฏิบัติหนาที่ ขาราชการและลูกจางประจําที่มีสิทธิ์นั้นจะตองเปนขาราชการและลูกจางประจําซึ่งไดรับ เงินเดือนหรือคาจางประจําจากเงินงบประมาณรายจายหมวดเงินเดือนและคาจางประจําของกระทรวง ทบวงกรม (ปจจุบันคืองบบุคลากร) โดยขาราชการซึ่งไดรับเงินเดือนจากเงินงบประมาณรายจายหมวด เงินเดือนและคาจางประจํา ประกอบดวย 1. ขาราชการพลเรือน 2. ขาราชการครู 3. ขาราชการฝายตุลาการ 4. ขาราชการฝายอัยการ 5. ขาราชการตํารวจ 6 . ขาราชการทหาร 7. ขาราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย 8. ขาราชการฝายรัฐสภา สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 5
ผู รับเบี้ย หวั ด บํ านาญที่ จ ะถือว า เปน ผูมีสิทธิต ามพระราชกฤษฎีก าเงิ นสวั ส ดิ การเกี่ ย วกั บ การศึกษาของ บุตร พ.ศ. 2523 และที่แกไขเพิ่มเติม จะตองเปนผูรับบํานาญปกติตามมาตรา 9 แหง พรบ.บําเหน็จบํานาญขาราชการ พ.ศ. 2494 หรือ ผูรับบํานาญพิเศษเหตุทุพพลภาพตามมาตรา 36 แหงพรบ.บําเหน็จบํานาญขาราชการและทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัดตามขอบังคับกระทรวงกลาโหม วาดวยเงินเบี้ยหวัด พ.ศ. 2495 เทานั้น ผูรับบําเหน็จตามกฎหมายบําเหน็จบํานาญขาราชการไมใชผูมี สิทธิตามพรฎ. นี้ กรณีลูกจางประจํานั้น จะเปนผูมีสิทธิก็ตอเมื่อไดรับคาจางจากเงินงบประมาณรายจายหมวด เงินเดือนและคาจางประจําเทานั้น ลูกจางประจําที่ไดรับคาจางจากเงินประเภทอื่นๆลูกจางที่ไดรับ เงินนอกงบประมาณไมใชผูมีสิทธิตามพรฎ.นี้
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 6
ภาพนิง่ 5
ชอบดวย กฎหมาย
บุตร บุตร ลําดับ ที่ 1 - 3
ยกเวนบุตร บุญธรรม
อายุครบ 3 ป แตไม เกิน 25 ป
คําชี้แจง บุตรของผูมีสิทธิที่ผูมีสิทธิสามารถนําคาการศึกษาบุตรมาเบิกจากทางราชการได หมายถึงบุตร ชอบดวยกฎหมายที่มีอายุครบ 3 ป แตไมเกิน 25 ปบริบูรณ และตองเปนบุตรลําดับที่หนึ่งถึงสาม แต ทั้งนี้ไมรวมถึงบุตรบุญธรรม หรือบุตรซึ่งไดยกใหเปนบุตรบุญธรรมของผูอื่นแลว การเปนบุตรชอบดวยกฎหมายของผูมีสิทธิ แยกพิจารณาเปน 2 กรณี ดังนี้ 1. กรณีมารดาเปนผูมีสิทธิ เด็กที่เกิดจากหญิงผูเปนมารดาผูใหกําเนิดยอมเปนบุตรชอบดวยกฎหมาย ของหญิงนั้นเสมอไมวากรณีใดๆ 2. กรณีบิดาเปนผูมีสิทธิถือวาเปนบุตรชอบดวยกฎหมาย โดย 2.1 บิดาไดจดทะเบียนสมรสกับมารดาของบุตร 2.2 บิดาไดจดทะเบียนรับรองวาเปนบุตรของตน 2.3 มีคําพิพากษาของศาลวาเปนบุตรของตน การนําคาการศึกษาบุตรมาเบิกจาย ผูมีสิทธิสามารถนําคาการศึกษาของบุตรมาเบิกจายได เฉพาะบุตรลําดับที่1-3 โดยนับเรียงลําดับการเกิดกอนหลัง ทั้งนี้ไมวาจะเปนบุตรที่เกิดจากการสมรส ครั้งใดหรืออยูในอุปการะการเลี้ยงดูหรืออยูในอํานาจการปกครองของตนหรือไม บุตรแฝด สําหรับผูมีสิทธิผูใดยังไมมีบุตร หรือมีบุตรที่มีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การศึ ก ษาของบุ ต รยั ง ไม ค รบ 3 คน ต อ มามี บุ ต รแฝดทํ า ให จํ า นวนบุ ต รนั้ น เกิ น 3 คน ก็ ใ ห เ บิ ก ค า สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 7
การศึกษาของบุตรไดสําหรับบุตรคนที่ 1 ถึงคนสุดทาย แตบุตรแฝดดังกลาวจะตองเปนบุตรซึ่งเกิดจาก คูสมรสกรณีบิดาเปนผูใชสิทธิ หรือเปนบุตรที่มารดาเปนผูใชสิทธิ
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 8
ภาพนิง่ 6
บุตร เรียงลําดับการเกิด
ไมรวมบุตร บุญธรรม
การแทนที่ของบุตร 1. 2. 3. 4.
ตาย พิการ ไร / เสมือนไรความสามารถ วิกลจริต / จิตฟนเฟอน (ตองกอนอายุครบ 25 ปบริบูรณ)
คําชี้แจง การเรียงลําดับการเกิด สําหรับบุตรคนที่1 ถึงคนที่3ใหนบั เรียงตามลําดับการเกิดกอนหลังทั้งนี้ ไมวาจะเปนบุตรที่เกิดจากการสมรสครั้งใดหรืออยูในอุปการะการเลี้ยงดูหรืออยูในอํานาจการปกครอง ของตนหรือไม แตไมรวมถึงบุตรบุญธรรมและบุตรที่บดิ ามารดาไดยกใหเปนบุตรบุญธรรมของผูอื่น แลว การแทนที่ สําหรับผูมีสิทธิมีบุตรเกิน 3 คน และตอมาบุตรคนใดคนหนึ่งในจํานวนสามคนตาย กายพิการ จนไมสามารถเลาเรียนได หรือเปนคนไรความสามารถคนเสมือนไรความสามารถที่มิไดศึกษาใน สถานศึกษาที่มีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการฯ หรือวิกลจริต จิตฟนเฟอนไมสมประกอบ กอนอายุครบ 25 ปบริบูรณ ผูมีสิทธิสามารถนําบุตรในลําดับถัดไปซึ่งแตเดิมไมสามารถนําคาการศึกษาบุตรมาเบิกจาก ทางราชการได เขามาแทนที่บุตรที่ตายหรือพิการดังกลาวไดจนครบ 3 คน และสามารถใชสิทธิเบิกได จนกวาบุตรจะมีอายุครบ 25 ป บริบูรณ
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 9
การนับอายุ ตัวอยาง เชน ผูมีสิทธิมีบุตร 5 คน ตอมาบุตรคนที่ 1 ซึ่งมีอายุ 24 ป 11 เดือน 22 วัน ไดเสียชีวิต จากอุบัติเหตุ ก็ใหเลื่อนบุตรคนลําดับถัดไป คือคนที่4 ซึ่งมีอายุ 5 ป มาแทนที่คนที่ 1 ซึ่งไดตายไป และ สามารถใชสิทธิไดจนอายุ ครบ 25 ปบริบูรณ (นับอายุคนที่ไปแทนไมใชนับอายุคนทีถ่ ูกแทน)
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 10
ภาพนิง่ 7
ตัวอยาง ชาคริต
วุนเสน
ณเดช อายุ 17 ป อั้ม อายุ 16 ป ออน อายุ 12 ป อุย อายุ 10 ป ออ อายุ 9 ป
คําชี้แจง จากตัวอยางนายชาคริตซึ่งเปนขาราชการสมรสแลวกับนางจักจั่น มีบุตร 2 คน คือ ณเดช กับ อั้ม และไดหยาจากกัน ตอมานายชาคริตไดสมรสใหมกับนางวุนเสนซึ่งเปนลูกจางประจํา มีบุตร 3 คน คือ ออน อุย และออ ในกรณีนี้ถาชาคริตเปนผูใชสิทธิก็สามารถเบิกคาการศึกษาของบุตรลําดับที่ 3 คือออน ไดเพียงคนเดียวแตหากวุนเสนเปนผูใชสิทธิก็สามารถนําคาการศึกษาของบุตรทั้ง 3 คนมา เบิกจากทางราชการได
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 11
ภาพนิง่ 8
ตัวอยาง ชาคริต
วุนเสน
ณเดช อายุ 17 ป อั้ม อายุ 16 ป ออน อายุ 11 ป อุย อายุ 11 ป
แฝด
ออ อายุ 11 ป
คําชี้แจง ถ า สมมุติ ต อไปอี ก ว า หากอ อ น อุย และอ อ เปน บุ ต รแฝด นายชาคริ ต ซึ่ ง ได ใ ช สิ ท ธิ เ บิก ค า การศึกษาบุตรไปแลว 2 คน หลักเกณฑการจายเงินกําหนดไววากรณีผูมีสิทธิผูใดยังไมมีบุตรหรือมี บุตรที่มีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการฯ ยังไมครบ 3 คนตอมามีบุตรแฝดทําใหมีจํานวนบุตรเกิน 3 คนใหผู นั้นมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการสําหรับบุตรคนที่ 1 ถึงคนสุดทาย แตบุตรแฝดดังกลาวจะตองเปนบุตร ซึ่งเกิดจากคูสมรส หรือเปนบุตรของตนเองในกรณีที่หญิงเปนผูใชสิทธิ กรณีนี้ถาชาคริตจดทะเบียน สมรสกับวุนเสน ก็สามารถใชสิทธิเบิกคาการศึกษาของบุตรแฝดไดทั้ง 3 คน แตถาไมไดจดทะเบียน สมรสกับวุนเสนแตไดจดทะเบียนรับรองบุตร ชาคริตสามารถใชสิทธิเบิกคาการศึกษาบุตรซึ่งเปน บุตรแฝดไดเพียงคนเดียวเทานั้นคือออน แตสําหรับวุนเสนถาเปนผูใชสิทธิก็สามารถเบิกไดทั้งหมด ถึงแมจะไมไดจดทะเบียนสมรสดวยกันก็ตาม อันเนื่องมาจากที่กฎหมายบัญญัติเอาไววาเด็กที่เกิดจาก หญิงผูเปนมารดาผูใหกําเนิดยอมเปนบุตรชอบดวยกฎหมายของหญิงนั้นเสมอ
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 12
ภาพนิง่ 9
ตัวอยางการนับอายุบุตร ณ โรงเรียนแหงหนึ่ง ภาคเรียน ที่ 1 วันที่ 16 พฤษภาคม – 11 ตุลาคม ของทุกป ภาคเรียน ที่ 2 วันที่ 3 พฤศจิกายน – 12 มีนาคม ของทุกป เด็กชายณเดช เกิดวันที่ 27 มิถุนายน 2551 ปการศึกษา 2554 จะเบิกคาเลาเรียนภาคเรียนที่ 1 ไดหรือไม อยางไร ?
คําชี้แจง ตาม พรฎ. เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตร ฉบับที่ 5 พ.ศ.2548 กําหนดใหการนับอายุบุตร นับเมื่ออายุครบ 3 ป แตไมเกิน 25 ปบริบูรณ ตามตัวอยางการนับอายุบุตร เด็กชายณเดช เกิดวันที่ 27 มิถุนายน 2551 ตามประมวลกฎหมายแพงฯ การนับอายุตัวบุคคลใหเริ่มตั้งแตวันเกิด เพราะฉะนั้น ในกรณีนี้เด็กชายณเดช จะมีอายุครบ 3 ป ในวันที่ 26 มิถุนายน 2554 แต ณ โรงเรียนแหงหนึ่งไดเปด ภาคเรียนที่ 1 วันที่ 16 พฤษภาคม เด็กชายณเดชไดเขาเรียนแลว ณ วันที่เขาเรียนสิทธิยังไมเกิด สิทธิจะ เกิดในวันที่ 26 มิถุนายน 2554 ซึ่งเปนวันที่เปดภาคเรียนที่ 1 ฉะนั้นตามตัวอยางภาคเรียนที่ 1 ป การศึกษา 2554 ก็สามารถนําคาเลาเรียนมาเบิกได ถึงแมอายุจะครบ 3 ประหวางภาคเรียนก็ตาม และณเดชจะมีอายุครบ 25 ปบริบูรณที่จะเบิกคาเลาเรียนไดในวันที่ 26 มิถุนายน 2576 ซึ่งอยูในภาค เรียนที่ 1 เทานั้น
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 13
ภาพนิง่ 10 และ ภาพนิง่ 11
สถานศึกษาของทางราชการ 1
มหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาที่เรียกชื่ออยางอื่นใน สังกัด ศธ.หรือสวนราชการอื่น หรือที่อยูในกํากับของรัฐ
2
วิทยาลัยหรือสถานศึกษาที่เรียกชื่ออยางอื่นซึ่งมีฐานะ เทียบเทาวิทยาลัยในสังกัดหรืออยูในกํากับของ ศธ.หรือ สวนราชการอื่นที่ ก.พ.รับรองคุณวุฒิ
3
โรงเรียนในสังกัด หรือ อยูในกํากับของ ศธ. มหาวิทยาลัย วิทยาลัย อบจ. เทศบาล อบต. กทม. เมืองพัทยา อปท.อื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง และใหหมายความรวมถึงโรงเรียนที่เรียกชื่ออยางอื่นที่มีการจัด ระดับชัน้ เรียนดวย
สถานศึกษาของทางราชการ 4
โรงเรียนในสังกัดหรืออยูในกํากับของสวนราชการอื่น หรือองคการของรัฐบาล ที่ ก.พ.รับรองคุณวุฒิ
5
โรงเรียนในสังกัดสวนราชการที่กระทรวงการคลัง กําหนด
6
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีการจัดระดับชั้นเรียนใน สังกัดสวนราชการ
คําชี้แจง ตาม พรฎ.เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร 2523 มาตรา 4 และที่แกไขเพิ่มเติม พ.ศ.2532 พ.ศ. 2548 ใหบทนิยามไวดังนี้ สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 14
สถานศึกษาของทางราชการ (1) มหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาที่เรียกชื่ออยางอื่นในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย (2) วิทยาลัยในสังกัดกระทรวงกระทรวงศึกษาธิการ หรือสังกัดสวนราชการอื่นที่ กพ. รับรองคุณวุฒิ (3) โรงเรียนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ มหาวิทยาลัย วิทยาลัย กทม. เทศบาล หรือ อบจ. (4) โรงเรียนในสังกัดสวนราชการอื่น หรือองคกรของรัฐบาลที่ กพ. รับรองคุณวุฒิ แกไขเพิ่มเติม พ.ศ.2532 เพิ่มขอ(5) (5) โรงเรียนในสังกัดสวนราชการที่กระทรวงการคลังกําหนด แกไขเพิ่มเติม พ.ศ.2548 ใหยกเลิกความในมาตรา 4 และที่แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2532 และให ใชความตอไปนี้ (1) มหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาที่เรียกชื่ออยางอื่นในสังกัดกระทรวงกระทรวงศึกษาธิการ หรือ สวนราชการอื่น หรือที่อยูในกํากับของรัฐ (2) วิทยาลัยหรือสถานศึกษาที่เรียกชื่ออยางอื่นซึ่งมีฐานะเทียบเทาวิทยาลัยในสังกัดหรืออยูในกํากับ ของกระทรวงกระทรวงศึกษาธิการ หรือสวนราชการอื่นที่ กพ. รับรองคุณวุฒิ (3) โรงเรียนในสังกัดหรืออยูในกํากับของกระทรวงศึกษาธิการ มหาวิทยาลัย วิทยาลัย อบจ. เทศบาล อบต. กทม. เมืองพัทยา อปท.อื่นที่มีกฎหมายจัดตั้งและใหหมายความรวมถึงโรงเรียนที่เรียกชื่ออยาง อื่นที่มีการจัดระดับชั้นเรียนดวย (4) โรงเรียนในสังกัดหรืออยูในกํากับของสวนราชการอื่น หรือองคการของรัฐบาลที่ กพ. รับรอง คุณวุฒิ (5) โรงเรียนในสังกัดสวนราชการที่กระทรวงการคลังกําหนด (6) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีการจัดระดับชั้นเรียนในสังกัดสวนราชการ
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 15
ภาพนิง่ 12
สถานศึกษาของเอกชน 1
สถาบันอุดมศึกษาเอกชนตามกฎหมายวาดวย สถาบันอุดมศึกษาเอกชน
2
โรงเรียนตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนเอกชนที่จัด การศึกษาในระบบโรงเรียน และใหรวมถึงโรงเรียน นานาชาติ
คําชี้แจง - สถานศึกษาของเอกชน (1) วิ ท ยาลั ย ตามกฎหมายว า ด ว ยสถาบั น อุ ด มศึก ษาเอกชน ซึ่ งจั ด หลั ก สู ต รระดับ อนุป ริ ญ ญาหรื อ เทียบเทาแยกตางหากจากปริญญาตรี (2) โรงเรียนตามกฎหมายวาดวยโรงเรียนราษฎร แตไมรวมถึงโรงเรียนราษฎรประเภทอาชีวศึกษาที่ใช หลักสูตรของโรงเรียนเอง และโรงเรียนการศึกษาพิเศษ แกไขเพิ่มเติม พ.ศ.2532 ใหยกเลิกความใน (1) ของบทนิยาม สถานศึกษาของเอกชน และใหใชความ ตอไปนี้ (1) สถาบั นอุดมศึกษาเอกชนตามกฎหมายวาดวยสถาบัน อุด มศึกษาเอกชน ซึ่ งจัดหลัก สูตรระดับ อนุปริญญาหรือเทียบเทาแยกตางหากจากปริญญาตรี แกไขเพิ่มเติม พ.ศ.2548 ใหยกเลิกความในมาตรา 4 และที่แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2532 และใหใช ความตอไปนี้ (1) สถาบันอุดมศึกษาเอกชนตามกฎหมายวาดวยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (2) โรงเรีย นตามกฎหมายวาด ว ยโรงเรีย นเอกชนที่จัด การศึก ษาในระบบโรงเรี ย นและใหรวมถึ ง โรงเรียนนานาชาติ
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 16
ภาพนิง่ 13
ปการศึกษา ปการศึกษากําหนดโดยกระทรวงศึกษาธิการ สวนราชการเจาสังกัดหรือที่กํากับ มหาวิทยาลัย องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล องคการ บริหารสวนตําบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่มีกฎหมาย จัดตั้ง หรือ องคการของรัฐบาล
คําชี้แจง ปการศึกษา หมายความวาปการศึกษาทีก่ ําหนดโดยกระทรวงศึกษาธิการ สวนราชการเจา สังกัดหรือที่กาํ กับ มหาวิทยาลัย องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล องคการบริหารสวนตําบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา โดยใหดูตามประกาศกําหนดเปด-ปดภาคเรียนของสวนราชการเจาสังกัด ของสถานศึกษานั้น ๆ
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 17
ภาพนิง่ 14
การยื่นเรื่องขอเบิกเงินฯ ภายใน 1 ป นับแตวันเปดภาคเรียนของแตละภาค สําหรับสถานศึกษาที่เรียกเก็บเปนรายภาคเรียน หรือ วันเปดภาคเรียนภาคตนของปการศึกษา สําหรับสถานศึกษาที่เรียกเก็บเงินคาการศึกษา ครั้งเดียวตลอดป
คําชี้แจง- การยื่นขอเบิก กรณีสถานศึกษาเรียกเก็บเงินเปนรายภาคเรียน ผูมีสิทธิตองยื่นหลักฐานการขอเบิกตอผูมี
อํานาจอนุมัติภายใน 1 ป นับตั้งแตวันเปดภาคเรียนของแตละภาค เชน สถานศึกษาเรียกเก็บเงินเปน 2 ภาคเรียน โดยภาคเรียนที่ 1กําหนดเปดเรียนในวันที่ 16 พฤษภาคม ภาคเรียนที่ 2 กําหนดเปดเรียนใน วันที่ 3 พฤศจิกายน ดังนั้นภาคเรียนที่ 1 ผูมีสิทธิสามารถยื่นเบิกไดตั้งแตวันที่ 16 พฤษภาคม ถึง 2 พฤศจิกายน กรณีสถานศึกษาเรียกเก็บเงินเปนรายปการศึกษา หรือเก็บครั้งเดียวตลอดป ผูมีสิทธิตองยื่น
หลักฐานการขอเบิกตอผูมีอํานาจอนุมัติภายใน 1 ป นับแตวันเปดภาคเรียนแรกของปการศึกษานั้นๆ หากพนกําหนดเบิกเกินป ตองขอทําความตกลงกับกระทรวงการคลัง
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 18
ภาพนิง่ 15
การยื่นเรื่องขอใชสิทธิเกิน 1 ป กรณี ถูกสั่งพักราชการ/ออกจากราชการ (1 ป) กรณี ขอผอนผันของสถานศึกษา (30วัน) กรณี กูยืมเงินจาก กยศ. / กรอ. (30วัน)
คําชี้แจง – การยื่นขอใชสิทธิเกิน 1 ป ใหใชสิทธิไดในกรณีดังตอไปนี้ โดยไมตองขอทําความตกลงกับกระทรวงการคลัง 1. กรณีผูมีสิทธิถูกสั่งพักราชการหรือถูกสั่งใหออกจากราชการไวกอนและปรากฏในภายหลังวา ไดรับ เงินเดือนในระหวางถูกสั่งพักราชการหรือถูกสั่งใหออกจากราชการไวกอน ใหผูมีสิทธิยื่น หลักฐานการขอเบิกเงินสวัสดิการฯภายใน 1 ป นับแตวันที่กรณีถึงที่สุด 2. กรณีผูมีสิทธิมีความจําเปนตองขอผอนผันตอสถานศึกษาในการชําระเงินลาชา หรือกรณีกูยืมเงิน จาก กยศ. หรือ กรอ. เพื่อชําระเงินตอสถานศึกษา ใหผูมีสิทธิยื่นหลักฐานการขอเบิกเงินสวัสดิการฯ ภายใน 30 วัน นับแตวันที่ออกหลักฐานการรับเงินของสถานศึกษา
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 19
ภาพนิง่ 16
การยื่นเรื่องขอใชสิทธิ กรณี เปนผูมีสิทธิทั้งสองฝาย (แจงการใชสิทธิ) กรณี หยาขาดจากคูสมรส (แจงการใชสิทธิ) กรณี มีสิทธิจากหนวยงานอื่น (เฉพาะสวนที่ขาด)
คําชี้แจง กรณีเปนผูมีสิทธิทั้งสองฝาย
แตตางสวนราชการผูเบิก ผูมีสิทธิตองแจงใหสวนราชการเจา
สังกัดของอีกฝายทราบกอนวาจะใชสิทธิเบิกของใครสําหรับบุตรทุกคน ตามแบบที่ กรมบัญชีกลางกําหนด จึงจะใชสิทธิเบิกได และถาจะเปลี่ยนสิทธิจะตองขอทําความตกลง กับกระทรวงการคลัง กรณีเปนผูมีสิทธิทั้งสองฝายและไดหยาขาดจากกัน
ตองแจงการใชสิทธิของฝายใดฝายหนึ่ง
ดวยเชนกัน เพราะความเปนบุตรชอบดวยกฎหมายยังมีอยู สําหรับกรณีผูมีสิทธิมีคูสมรสปฏิบัติงานในหนวยงานอื่น เชนหนวยงานรัฐวิสาหกิจไฟฟา
ประปา ตองใชสิทธิของหนวยงานอื่นกอน แลวจึงนําสวนที่ขาดมายืน่ เบิกจาก กระทรวงการคลัง นั้น ไดแกไขยกเลิกตาม พรฎ. ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2554
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 20
ภาพนิง่ 17
ประเภทและอัตราการจายเงินคาการศึกษาบุตร อนุบาล - ปริญญาตรี หนังสือ ดวนที่สดุ ที่ กค 0422.3/ ว.390 ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2552
คําชี้แจง กรมบั ญ ชี ก ลางได กํ า หนดประเภทและอั ต ราเงิ น บํ า รุ ง การศึ ก ษาและค า เล า เรี ย นเพื่ อ ให ขาราชการ ลูกจางประจําและผูไดรับบํานาญเบี้ยหวัดซึ่งเปนผูมีสิทธิ สามารถนําหลักฐานการรับเงิน ของสถานศึกษาของทางราชการและสถานศึกษาของเอกชนมาเบิกจายเปนเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การศึกษาบุตรจากทางราชการไดตั้งแตระดับอนุบาล ถึง ปริญญาตรี ตามหนังสือดวนที่สุด ที่ กค 0422.3/ว 390 ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2552
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 21
ภาพนิง่ 18
หลักเกณฑการจายเงินคาการศึกษาบุตร เอกชน ราชการ อนุบาล ถึง ปริญญาตรี = เต็มตามที่เรียกเก็บ
อนุบาลถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทา = เต็มตามที่เรียกเก็บ อนุปริญญาหรือเทียบเทา ถึง ปริญญาตรี = ครึ่งหนึ่งของที่จายไปจริง
ทั้งนี้ ตองไมเกินประเภทและอัตราที่กระทรวงการคลังกําหนด
คําชี้แจง การจายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตร ใหเปนไปตามประเภทและอัตราที่กระทรวง การคลังกําหนด ดังนี้ (ปจจุบันใชตามหนังสือที่ กค 0422.3/ว 390 ว.390 ลงวันที่ 30 ต.ค.2552 ) 1. กรณีศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการ ในหลักสูตรตัง้ แต อนุบาล ถึง ปริญญาตรี ให เบิกเงินบํารุงการศึกษาไดเต็มจํานวนตามที่สถานศึกษาเรียกเก็บ แตทั้งนี้ตองไมเกิน ประเภทและอัตราที่กระทรวงการคลังกําหนด 2. กรณีศึกษาในสถานศึกษาเอกชน 2.1 ประเภทสามัญ ในหลักสูตรระดับอนุบาล ถึงมัธยมปลายหรือเทียบเทาใหเบิกคาเลา เรียนบุตรไดเต็มจํานวนตามที่สถานศึกษาเรียกเก็บ แตทั้งนี้ตองไมเกินประเภทและ อัตราที่ระทรวงการคลังกําหนด 2.2 ประเภทอาชีวศึกษาในหลักสูตร ปวช. หรือเทียบเทาใหเบิกคาเลาเรียนบุตรไดเต็ม จํานวนตามที่สถานศึกษาเรียกเก็บ แตทั้งนี้ตองไมเกินประเภทและอัตราที่ระทรวงการ คลังกําหนด
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 22
สําหรับในหลักสูตรปวส. หรือเทียบเทา ใหเบิกคาเลาเรียนบุตรไดครึ่งหนึ่งของจํานวน ที่ จ า ยจริ ง แต ไ ม เ กิ น ค า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษาในประเภทวิ ช าหรื อ สายวิ ช าที่ กระทรวงการคลังกําหนด 3. หลักสูตรระดับปริญญาตรี ใหเบิกคาเลาเรียนบุตรได ครึ่งหนึ่ง ของจํานวนที่จายไปจริง ตามที่สถานศึกษาไดรับอนุมัติใหเรียกเก็บ แตไมเกิน 20,000 บาท (สําหรับคาใชจายที่จะ เบิกจายไดจะตองเปนคาใชจายตางๆ ที่สถานศึกษาไดรับอนุมัติใหเรียกเก็บตามระเบียบของ สถานศึกษานั้นๆ)
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 23
ภาพนิง่ 19
เงินบํารุงการศึกษา (โรงเรียนของรัฐ) เงินประเภทตางๆที่สถานศึกษาของทางราชการเรียก เก็บตามอัตราที่ไดรับอนุมัติจาก กระทรวงศึกษาธิการ สวนราชการเจาสังกัด หรือ ที่กํากับมหาวิทยาลัย องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล องคการบริหาร สวนตําบล กทม. เมืองพัทยา อปท.อื่นที่มีกฎหมาย จัดตั้ง หรือองคการของรัฐบาล
คําชี้แจง เงินบํารุงการศึกษา คือ คาใชจายตางๆที่สถานศึกษาของทางราชการเรียกเก็บ ตามอัตราที่ไดรับอนุญาต จากกระทรวงศึกษาธิการ - เอาไวเรียกกลุม คํา อาจไมใชชื่อตรงๆก็ได แตตองเปนคาใชจายทีไ่ ดรับอนุญาต
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 24
ภาพนิง่ 20
อัตราการเบิกจายสถานศึกษาของทางราชการ อนุบาลหรือเทียบเทา
ไมเกินปละ 4,650 บาท
ประถมศึกษาหรือเทียบเทา
ไมเกินปละ 3,200 บาท
มัธยมศึกษาตอนตนหรือเทียบเทา
ไมเกินปละ 3,900 บาท
มัธยมศึกษาตอนปลาย / ปวช.
ไมเกินปละ 3,900 บาท
อนุปริญญาหรือเทียบเทา
ไมเกินปละ 11,000 บาท
คําชี้แจง ถาเปนสถานศึกษาของทางราชการ อนุบาล ถึง ปริญญาตรี เบิกไดเต็มตามที่เรียกเก็บแตทั้งนี้ ตองไมเกินประเภทและอัตราที่กระทรวงการคลังกําหนด (ปจจุบันปริญญาตรีเบิกไดไมเกิน 20,000 บาท)
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 25
ภาพนิง่ 21 การเบิกจายในสถานศึกษาของทางราชการ เรียนฟรี 15 ป (อนุบาล – มัธยมปลายหรือ ปวช.) คาสอนคอมพิวเตอร กรณีโรงเรียนจัดสอนคอมพิวเตอรใหนักเรียนเกิน มาตรฐานที่รัฐจัดให
หองเรียนพิเศษ EP (English program) หองเรียนพิเศษ MEP (mini English program) หองเรียนพิเศษดานภาษาตางประเทศดานวิชาการและดานอื่นๆ คาจางครูชาวตางประเทศ คาจางครูที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาเฉพาะ คําชี้แจง กรณีเรี ยนฟรี 15 ป สถานศึ กษาที่จัดการเรียนการสอนตามหลัก สู ตรการศึกษาขั้ นพื้นฐานไม สามารถเรียกเก็บเงินสนับสนุนจากนักเรียนหรือผูปกครองไดเพราะรัฐบาลไดจายเงินงบประมาณเพื่อ อุดหนุนคาใชจายใหแลว (ตามหนังสือศธ04002/ว.688 ลงวันที่ 5 เมษายน 2553) แตถาสถานศึกษาที่ จัดการเรียนการสอนนอกเหนือหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อสงเสริมและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ใหนักเรียนเกินมาตรฐานที่รัฐจัดให ก็สามารถขอรับการสนับสนุนคาใชจายไดตามความสมัครใจของ ผูปกครองและนักเรียน โดยตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และ ประกาศประชาสัมพันธใหผูปกครองและนักเรียนทราบลวงหนาเพื่อสมัครใจเขาเรียน โดยสนับสนุน คาใชจาย ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6.
คาสอนคอมพิวเตอร กรณีโรงเรียนจัดคอมพิวเตอรใหนักเรียน เกินมาตรฐานที่รัฐจัดให คาหองเรียนพิเศษ EP (English program) คาหองเรียนพิเศษ MEP (mini English program) คาหองเรียนพิเศษดานภาษาตางประเทศ ดานวิชาการและดานอื่นๆ คาจางครูชาวตางประเทศ คาจางครูที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ
สามารถดูรายละเอียดไดที่ หนังสือ ศธ04002/ว.688 ลงวันที่ 5 เมษายน 2553 สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 26
ภาพนิ่ง 22
เงินคาเลาเรียน (สถานศึกษาของเอกชน) เงินคาธรรมเนียมการศึกษาตามประกาศของ คณะกรรมการของสถานศึกษานั้นๆ ตาม พ.ร.บ. ของโรงเรียนเอกชน พ.ศ.2550 มี 2 ประเภท คือ 1. คาธรรมเนียมการศึกษาที่สถานศึกษาไมรับ เงินอุดหนุน 2. คาธรรมเนียมการศึกษาที่สถานศึกษารับ เงินอุดหนุน
คําชี้แจง เพื่อใหเห็นวาโรงเรียนเอกชนชวยแบงเบาภาระโรงเรียนของทางราชการ อันนี้ตองไปดู ว.390 วา การเบิกเงินคาเลาเรียนกรณีสถานศึกษาไมรบั เงินอุดหนุน และรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลเปนอยางไร เชน 1. สายสามัญ 1.1 กรณีไมรับเงินอุดหนุน คาธรรมเนียมปละไมเกิน - ระดับอนุบาล หรือเทียบเทา เบิกไดไมเกิน 10,856 บาท - ระดับประถมศึกษา หรือเทียบเทา เบิกไดไมเกินปละ 10,556 บาท ดูรายละเอียดใน ว.390 1.2 กรณีรับเงินอุดหนุน - ระดับอนุบาล หรือเทียบเทา เบิกไดไมเกิน 3,874 บาท - ระดับประถมศึกษา หรือเทียบเทา เบิกไดไมเกินปละ 3,404 บาท ดูรายละเอียดใน ว.390 ได สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 27
2. สายอาชีวศึกษา 2.1 กรณีไมรับเงินอุดหนุน คาธรรมเนียมการศึกษาในประเภทวิชาหรือสายวิชา ดังนี้ - คหกรรมหรือคหกรรมศาสตร ปละไมเกิน 13,217 บาท - พาณิชยกรรม หรือบริหารธุรกิจ ปละไมเกิน 15,877 บาท 2.2 กรณีรับเงินอุดหนุน คาธรรมเนียมการศึกษาในประเภทวิชาหรือสายวิชา ดังนี้ - คหกรรมหรือคหกรรมศาสตร ปละไมเกิน 1,148 บาท - พาณิชยกรรม หรือบริหารธุรกิจ ปละไมเกิน 4,142 บาท สามารถไปดูรายละเอียดทั้งหมดไดที่ หนังสือ กค0422.3/ว.390 ลงวันที่ 30 ต.ค. 2552
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 28
ภาพนิง่ 23
การเบิกจายคาการศึกษาบุตรระดับปริญญาตรี คาการศึกษาของบุตรที่จะเบิกไดตองเปนคาใชจายตางๆ ที่สถานศึกษาไดรับอนุมัติใหเรียกเก็บ ตามระเบียบ ขอบังคับ หรือประกาศของสถานศึกษานั้นๆ แตไมรวมถึง คาปรับตางๆ คาลงทะเบียนลาชา การลงทะเบียนซ้ําเพื่อปรับผลการเรียน (รีเกรด) คาประกันอุบัติเหตุ คาประกันของเสียหาย คาหอพัก คาอาหาร คาซักรีด และคารักษาสถานภาพการเปนนักศึกษา กรณีสวนราชการใดสงสัยวาบางรายการที่ไมชัดเจนวาจะเปน คาใชจายประเภทใดใหประสานกับสถานศึกษานั้นโดยตรง
คําชี้แจง •
ถาเปนสถานศึกษาของทางราชการ เบิกไดเต็มจํานวนตามที่จายไปจริง แตไมเกินปการศึกษา ละ 20,000 บาท
•
ถาเปนสถานศึกษาของเอกชน เบิกไดครึ่งหนึ่งของจํานวนที่จายไปจริง แตไมเกินปการศึกษา ละ 20,000 บาท
และเบิกไดหลักสูตรแรกเทานั้น (กรณีเรียนจบแลว) และถากรณียังเรียนไมจบใหเลือกไดเพียง หลักสูตรเดียวจนกวาจะอายุครบ 25 ปบริบูรณ
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 29
ภาพนิง่ 24
ตัวอยางการเบิกคาการศึกษาบุตร โรงเรียนเอกชนประเภทอาชีวศึกษา โรงเรียนบานนอกนาพาณิชยการ ระดับ ปวช. สาขาวิชาชางอุตสาหกรรม กระทรวงการคลังกําหนดอัตราคาธรรมเนียมการศึกษา ไดตามที่จายจริงปละไมเกิน 19,487 บาท โรงเรียนบานนอกนาพาณิชยการเรียกเก็บ 25,000 บาท ตอป ณเดชสามารถเบิกได = ?
คําชี้แจง ตามตัวอยาง คาธรรมเนียมการศึกษาที่สถานศึกษาเรียกเก็บ คือ 25,000 บาท/ป
ว.390 บอกวา
ประเภทและอัตราที่กระทรวงการคลังกําหนดของโรงเรียนเอกชนประเภทสายอาชีวศึกษา หลักสูตร ระดับ ปวช.หรือเทียบเทาสามารถเบิกไดเต็มตามที่เรียกเก็บ และสถานศึกษาที่ไมรับเงินอุดหนุนของ สาขาชางอุตสาหกรรม คือ 19,487 บาท ดังนั้น เด็กชายณเดช เบิกได ปละไมเกิน 19,487 บาท แตถาสมมติวา โรงเรียนบานนอกนาพาณิชยการรับ เงินอุดหนุนจากรัฐบาล เด็กชายณเดช จะเบิกไดเพียง ปละไมเกิน 5,791 บาท
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 30
ภาพนิง่ 25
ตัวอยางการเบิกคาการศึกษาบุตร โรงเรียนเอกชนประเภทอาชีวศึกษา โรงเรียนบานนอกนาพาณิชยการ ระดับ ปวส. สาขาพาณิชยกรรม กระทรวงการคลังกําหนดอัตราคาธรรมเนียมการศึกษา ไดตามที่จายจริงปละไมเกิน 25,000 บาท โรงเรียนบานนอกนาพาณิชยการเรียกเก็บ 40,000 บาท ตอป ณเดชสามารถเบิกได = ?
คําชี้แจง ตามตัวอยาง คาธรรมเนียมการศึกษาที่สถานศึกษาเรียกเก็บ คือ 40,000 บาท/ป ว.390 บอกวา ประเภท และอัตราที่กระทรวงการคลังกําหนดของโรงเรียนเอกชนประเภทสายอาชีวศึกษาหลักสูตรระดับ ปวส. หรือเทียบเทาสามารถเบิกได ครึ่งหนึ่ง ของจํานวนที่จายไปจริง (กรณีสาขาพาณิชยกรรมไมเกินปละ 25,000 บาท) ดังนั้น ณเดชเบิกได ครึ่งหนึ่งของ 40,000 บาท คือ 20,000 บาท และไมเกิน 25,000 บาท ตาม ว.390
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 31
ภาพนิ่ง 26
ตัวอยางการเบิกคาการศึกษาบุตรโรงเรียนเอกชน มหาวิทยาลัยไกลปนเที่ยง ภาคเรียนที่ 1 เรียกเก็บคาใชจายตางๆ จํานวน 40,000 บาท ภาคเรียนที่ 2 เรียกเก็บคาใชจายตางๆ จํานวน 30,000 บาท กระทรวงการคลังกําหนดอัตราคาการศึกษาไดครึ่งหนึ่งของ ที่จายจริงเฉพาะคาใชจายที่ไดรับอนุญาตและไมรวม ขอยกเวนแตไมเกินปละ 20,000 บาท ภาคเรียนที่ 1 จะเบิกได = ? ภาคเรียนที่ 2 จะเบิกได = ?
คําชี้แจง ตาม ว. 390 กําหนดประเภทและอัตราเงินบํารุงการศึกษาและคาเลาเรียนในหลักสูตรระดับปริญญาตรี สถานศึกษาของเอกชน ใหเ บิก จายไดครึ่ งหนึ่งของจํานวนที่ไดจายไปจริง แตไม เกินป การศึ กษาละ 20,000 บาท ดังนั้น ตามตัวอยาง สามารถเบิกภาคเรียนที่ 1 ได 10,000 บาท และภาคเรียนที่ 2 เบิก ได 10,000 บาท
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนื้อหาในเอกสารนี้ ไมวารูปใด ๆ ทั้งสิ้น
หนา| 32
ภาคผนวก
คลินกิ ความรู้สคู่ วามเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด ZONE 8 1. หลักการและเหตุผล ตามที่กรมบัญชีกลางได้กําหนดวิสัยทัศน์ “กํากับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดิน ให้เกิดประโยชน์สูงสุด” โดยมีพันธกิจหลักในการกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ แนวทางปฏิบัติและพัฒนา ขีดความสามารถของบุคลากรภาครัฐด้าน กฎหมายการคลัง การบัญชี การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ การตรวจสอบภายใน ค่าตอบแทนและสวัสดิการ เงินนอกงบประมาณและอื่นๆ เพื่อเป็นการรักษาวินัย และความยั่งยืนทางการคลัง รวมถึงการบริหารเงินสดภาครัฐให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพด้วยระบบ เทคโนโลยีที่ทันสมัย ตลอดถึงการสนับสนุนการบริหารเศรษฐกิจการคลัง และเป็นศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ ทางการคลัง สํานักงานคลังจังหวัดเป็นหน่วยงานในสังกัดกรมบัญชีกลางซึ่งปฏิบัติภารกิจอยู่ในส่วนภูมิภาค มีภารกิจหน้าที่ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของกรมบัญชีกลางให้สําเร็จตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย ที่กําหนด ประกอบกับได้มีการปรับเปลี่ยนบทบาทจากเดิมที่ปฏิบัติหน้าที่ในการตรวจสอบมาเป็นกํากับดูแล และเน้นการให้บริการเป็นสําคัญ การปรั บเปลี่ ยนบทบาทจากการตรวจสอบ มาเป็ นการกํ ากั บดู แลและเน้ นการให้ บริ การ กลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี ซึ่งมีหน้าที่ให้คําปรึกษาด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์ ด้านการเงินการคลังและระบบพัสดุภาครัฐแก่บุคลากรของส่วนราชการ รวมทั้งกํากับระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วย ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government procurement : E-gp) ระบบบําเหน็จค้ําประกันในส่วนภูมิภาค ระบบฐานข้ อมู ลบุ ค ลากรภาครั ฐ แต่ ขณะนี้ ปรากฏว่ าบุ คลากรของกลุ่ มวิ ชาการด้ านการคลั งการบั ญ ชี และกลุ่มงานอื่น ๆ ขาดความเข้มแข็งด้านองค์ความรู้ และประสบการณ์ในการให้คําปรึกษาแนะนําด้านต่าง ๆ แก่บุคลากรของส่วนราชการ ประกอบกับมีข้าราชการบรรจุใหม่ ทําให้การปฏิบัติงานในการให้คําปรึกษาแนะนํา ปรึ ก ษาเกี่ ย วกั บ กฎหมายการเงิ น การคลั ง การบั ญ ชี ยั ง ขาดความน่ า เชื่ อ ถื อ และไม่ มี ค วามชั ด เจน ทําให้การปฏิบัติงานดังกล่าวไม่บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กําหนดไว้ สํานักงานคลังเขต 8 และกลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี ของสํานักงานคลังจังหวัดในเขต 8 ได้ตระหนักถึงปัญหา/อุปสรรคดังกล่าว จึงมีแนวคิดที่จะดําเนินโครงการ “คลินิกความรู้สู่ความเข้มแข็ง ทางวิชาการของจังหวัด zone 8” เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และหลักเกณฑ์ ด้านการเงินการคลังแก่บุคลากรกลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี และกลุ่มงานอื่นของสํานักงานคลังจังหวัด เมื่ อกลุ่ มงานภายในของสํ านั กงานคลั งจั งหวั ด มี ความเข้ มแข็ ง มี ความพร้ อม ทั้ งความรู้ ความสามารถ และมีความเชื่อมั่นในองค์ความรู้ พร้อมทั้งจะขยายออกสู่หน่วยงานภายนอก 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างองค์ความรู้ทางวิชาการให้แก่บุคลากรกลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี และกลุ่มอื่น ๆ ของสํานักงานคลังจังหวัด รวมทั้งบุคลากรของส่วนราชการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2. เพื่อความเป็นเอกภาพในทางวิชาการ (การให้ความรู้ คําปรึกษา ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน) 3. เป็นการสร้างเครือข่ายทางวิชาการเพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนความรู้ 3. กลุ่มเป้าหมาย 1. บุคลากรของกลุ่มวิชาการด้านการคลังการบัญชี และกลุ่มอื่น ๆ ของสํานักงานคลังจังหวัด 2. บุคลากรของส่วนราชการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ผูป้ ฎิบัติ และผูบ้ ริหาร) /4. ระยะเวลา...
- 2 4. ระยะเวลา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 – 2556 5. สถานที่ จังหวัดในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของสํานักงานคลังเขต 8 6. วิทยากร วิทยากรจากสํานักงานคลังเขต 8 และสํานักงานคลังจังหวัดในเขต 8 7. ขอบเขตการดําเนินการในองค์ความรู้ - การเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนําเงินส่งคลังของส่วนราชการ - ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ - ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม - สวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร - เบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน - การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ - กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ - เงินนอกงบประมาณ 8. วิธีการพัฒนา 1. การบรรยาย การฝึกปฏิบัติ ทดสอบความรู้ รวมทั้งการจัดทําคู่มือการบรรยาย 2. ศึกษา/วิเคราะห์ เวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และประสบการณ์ระหว่างกัน 9. การรับรองผลการร่วมโครงการ ผู้ผ่านการทดสอบหลังการเข้าร่วมโครงการ โดยใช้เกณฑ์ ๖๐ % จะได้รับใบรับรองผ่านการอบรม โครงการคลินิกความรู้สู่ความเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8 จากสํานักงานคลังเขต 8 10. งบประมาณ งบดําเนินงานของสํานักงานคลังจังหวัด 11. การประเมิน 1. การประเมินความรู้ก่อนเข้าร่วมโครงการ (Pre test) 2. การประเมินความรู้หลังเข้าร่วมโครงการ (Post test) 3. การสังเกตการณ์ระหว่างการฝึกอบรม เพื่อประเมินการเรียนรู้และการมีส่ วนร่วม ของผู้เข้าร่วมโครงการ 4. ผู้เข้าร่วมโครงการกรอกแบบประเมินความพึงพอใจ 5. สํานักงานคลังเขต 8 จะติดตามประเมินผล (Follow Up) เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ของโครงการ ภายหลังเสร็จสิ้นโครงการ และผู้ผ่านการอบรมกลับไปปฏิบัติหน้าที่ราชการแล้ว อย่างน้อย ๓ – 4 เดือน /11. ตัวชี้วัดความสําเร็จ...
แผนปฏิบัติการ โครงการคลิ แผนปฏบตการ โครงการคลนกความรู นิกความร้สูค่ วามเข้ วามเขมแขงทางวชาการของจงหวด มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8 กลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี ระยะเวลาดําเนินงาน ลําดับั ทีี่
ขันั้ ตอนและกิจกรรมในการดํ ใ าเนินงาน
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2556 ไตรมาส
ผู้รับผิดชอบ
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.. ธ.ค. 1 2 3 4
1
2
ก่อนดําเนินการ 1.1 จดทาคาสงแตงตงคณะทางาน จัดทําคําสั่งแต่งตั้งคณะทํางาน ประชุ ประชมระดมสมอง มระดมสมอง ทปรกษา ที่ปรึกษา และคณะทางาน และคณะทํางาน 1.2 เขียนโครงการคลินิกความรู้สู่ความเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8 1.3 กําหนดรูปแบบ/วิธีการ การดําเนิน หลักเกณฑ์ ต่าง ๆ 1.4 นําเสนอคลังเขต ๘ เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ ระหว่างดําเนินการ ๒.๑ ศึกษาค้นคว้ากฎหมายระเบียบ และหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง ๒.๒ ติดต่อประสาน ทําหนังสือเชิญวิทยากร จัดทําเอกสารประกอบการบรรยาย 2.3 ทําหนังสือเชิญคณะทํางาน เข้าร่วมรับฟังการบรรยายจากวิทยากร 2.4 นําเสนอโครงการ รายงานผลการดําเนินงานต่าง ๆ ต่อคลังเขต และคลังจังหวัด ในเขต 8 (รอบที่ 1) เพื่อพิจารณาคัดเลือกประกวด 2.5 จัดทําแบบประเมินความรู้ก่อน - หลังการร่วมโครงการ ๒.6 วิทยากรถ่ายทอดความรูู้แก่คณะทํางานกลุุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี 2.7 จัดทําร่างคู่มือการบรรยายในวิชาที่ได้รับมอบหมาย 2.8 นําส่งร่างคู่มือให้คลังเขต 8/วิทยากร/ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบ 2.9 ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบร่างคู่มือ/ผ่านร่างคู่มือ 2 10 แกไข 2.10 แก้ไข ปรบปรุ ปรับปรงง และจั และจดทาคู ดทําค่มอฉบบสมบู ือฉบับสมบรณ์ รณสงคลงเขต ส่งคลังเขต 8/กรมบญชกลาง 8/กรมบัญชีกลาง 2.11 คลังเขต 8 และคลังจังหวัดในเขต 8 จัดทําข้อสอบแต่ละหัวข้อวิชา (เพื่อวัดความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการ โดยจัดทํา Pre test และ Post test) ๒.12 ถ่ายทอดความรู้แก่บุคลากรสํานักงานคลังจังหวัด ในกลุ่มงานวิชาการด้านการคลัง ั ี ี ป ี่ ี ้ โ ้ ่ โ ้ ํ
คณะทางานกลุ คณะทํ างานกล่มงาน วิชาการด้านการคลัง การบัญชี
คณะทํางานกลุ่มงาน วิชาการด้านการคลัง การบัญชี
แผนปฏิบัติการ โครงการคลิ แผนปฏบตการ โครงการคลนกความรู นิกความร้สูค่ วามเข้ วามเขมแขงทางวชาการของจงหวด มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8 กลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี ระยะเวลาดําเนินงาน ลําดับั ทีี่
ขันั้ ตอนและกิจกรรมในการดํ ใ าเนินงาน
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2556 ไตรมาส
ผู้รับผิดชอบ
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.. ธ.ค. 1 2 3 4
2
3
ระหว่างดําเนินการ (ต่อ) 2 ถายทอดความรู 2.13 ถ่ายทอดความร้แก่กบุบคลากรสํ คลากรสานกงานคลงจงหวดในกลุ านักงานคลังจังหวัดในกล่มอน อื่น ๆ (เวทการแลกเปลยน (เวทีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ โดยผู้ร่วมโครงการต้องทําแบบทดสอบ Pre test และ Post test) 2.14 จัดอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรของหน่วยงานภายนอก 2.15 สรุปผลคะแนนแบบทดสอบ 2.16 จัดทําใบรับรองฯ นําเสนอคลังเขต คลังจังหวัด ลงนาม และมอบแด่ ผู้ผ่านโครงการตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ หลังดําเนินการ 3.1 ทดสอบ และติดตามผลผู้ผ่านโครงการตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด โดยคลังเขต 8 (ติดตามประเมินผล รอบที่ 2) ๓.2 การจัดทํารายงานสรุปการประเมินผล ๓.3 รายงานสรุปผลโครงการเสนออธิบดีกรมบัญชีกลาง
กําหนดการอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
คณะทางานกลุ คณะทํ างานกล่มงาน วิชาการด้านการคลัง การบัญชี
คณะทํางานกลุ่มงาน วิชาการด้านการคลัง การบัญชี
คําสัง่ สํานักงานคลังเขต ๘ ที่ 20 /๒๕๕4 เรือ่ ง แต่งตั้งคณะทํางานคลินกิ ความรูส้ คู่ วามเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8 ของกลุม่ งานวิชาการด้านการคลังการบัญชี .................................... การบริหารงานแบบบูรณาการด้วยการทํางานเชิงรุกระหว่างสํานักงานคลังเขต ๘ และสํานักงานคลังจังหวัด ในเขต ๘ ซึ่งได้มีมติร่วมกันในการจัดทํายุทธศาสตร์การเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการคลังการบัญชีและเศรษฐกิจ (Zone ๘) สําหรับใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ของกลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี ภายในเขต ๘ เพื่อเป็นการ สร้ า งองค์ ค วามรู้ ท างวิ ช าการให้ แ ก่ บุ ค ลากร ทั้ ง ภายในและภายนอกองค์ ก ร ความเป็ น เอกภาพทางวิ ช าการ และเป็ น การสร้ า งเครื อ ข่ า ยทางวิ ช าการ ซึ่ ง จะช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการให้ บ ริ ก ารทางวิ ช าการ เกี่ ย วกั บ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับด้านการเงิน การคลัง การบัญชี เพื่ อ ให้ ก ารบริ ห ารงานและการดํ า เนิ น การตามอํ า นาจหน้ า ที่ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายในภาพรวม มี ค วามเป็ น เอกภาพเป็ น ไปตามเป้ า หมายของกระทรวงการคลั ง เพื่ อ สนั บ สนุ น การบริ ห ารงานแบบบู ร ณาการ ตลอดจนการบริหารจัดการเป็นไปในเชิงรุกและบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงเห็นสมควรแต่งตั้ง ที่ปรึกษาและคณะทํางานคลินิกความรู้สู่ความเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8 กลุ่มงานวิชาการด้านการคลัง การบัญชี โดยมีองค์ประกอบและอํานาจหน้าที่ ดังนี้ (๑) นางสาวอรุณ สว่างสินอุดมชัย คลังจังหวัดกระบี่ ที่ปรึกษาคณะทํางาน (๒) นางธิดา บุญรัตน์ คลังจังหวัดภูเก็ต ทีป่ รึกษาคณะทํางาน (๓) นางวชิราพร บุญคล่อง นักวิชาการคลังชํานาญการ รักษาการในตําแหน่งผู้อํานวยการส่วนตรวจสอบและติดตามประเมินผล ประธานคณะทํางาน (๔) นายปิยพงษ์ เพ็ญสวัสดิ์ นักวิชาการคลังชํานาญการ รักษาการในตําแหน่งนักวิชาการคลังชํานาญการพิเศษ คณะทํางาน (๕) นายเพ็ญลดา สายสวัสดิ์ นักวิชาการคลังชํานาญการ รักษาการในตําแหน่งนักวิชาการคลังชํานาญการพิเศษ คณะทํางาน (๖) นางสาวจินาพร ทวีวัฒนะพงษ์ นักวิชาการคลังชํานาญการ คณะทํางาน (๗) นางกรองจิต แซ่เอี้ย นักวิชาการคลังชํานาญการ คณะทํางาน (๘) นางจรรยา ชัยฤทธิ์ นักวิชาการคลังชํานาญการ คณะทํางาน (๙) นางเอมอร อ่อนวงศ์ นักวิชาการคลังชํานาญการ คณะทํางาน (10) นางสาวเสาวลักษณ์ จันทร์ทิพย์ นักวิชาการคลังชํานาญ คณะทํางาน (11) นางสาวสุนีย์ หวันเดาะเลาะ นักวิชาการคลังชํานาญการ คณะทํางานและเลขานุการ (12) นางสาวลักขณา สุภาพ นักวิชาการคลังชํานาญ คณะทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ (๑3) นางรุ่งกานต์ ทองบํารุง นักวิชาการคลังชํานาญการ คณะทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ อํานาจหน้าที่ 1. ดําเนินการตามนโยบาย การกําหนดยุทธศาสตร์การทํางาน การอํานวยการ การบริหารจัดการและติดตาม ประเมิ นผลในงานของกลุ่ มตามภารกิ จ ภายใต้ ความสอดคล้ องกั บนโยบาย/ยุ ทธศาสตร์ /แนวทาง และเป้าหมาย ที่คณะกรรมการการจัดทํายุทธศาสตร์การเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการคลัง การบัญชี และเศรษฐกิจ Zone 8 กําหนด รวมทั้งงานที่เป็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล กระทรวงการคลัง กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคลังเขต 8 /2. เสนอแนะเชิงนโยบาย...
-22. เสนอแนะเชิ ง นโยบายและรายงานผลการดํ า เนิ น งาน ปั ญ หาและอุ ป สรรคหรื อ ข้ อ เสนอแนะ ต่ อคณะทํ างานการจั ดทํ ายุ ทธศาสตร์ การเสริ มสร้ างความเข้ มแข็ งด้ านการเงิ นการคลั งการบั ญชี และเศรษฐกิจ Zone 8 เพื่อทราบหรือนําไปพิจารณากําหนดแนวทางรวมทั้งการแก้ไขปัญหา และอุปสรรค 3. สร้างความร่วมมือระหว่างบุ คลากรภายในองค์กร ส่วนราชการ องค์ กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ภาคส่วนต่าง ๆ ในการดําเนินงานภายใต้ภารกิจที่รับผิดชอบ 4. ให้คําแนะนําปรึกษา ตอบข้อหารือ รวมทั้งสนับสนุนและให้ความช่วยเหลือทางวิชาการเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบี ย บ ข้ อบั งคั บ และวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ด้ า นการเงิ น การคลั ง การบั ญ ชี การตรวจสอบภายใน และการพัสดุ 5. ดําเนินการจัดคู่มือการบรรยายเกี่ยวกับกฎหมายการเงินการคลัง 6. ดําเนินการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ภายในสํานักงาน 7. ดําเนินการเกี่ยวกับการฝึกอบรม และพัฒนาบุคลากรด้านการเงินการคลังการบัญชี การตรวจสอบภายใน และพัสดุ แก่หน่วยงานภาครัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัด ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบ 8. ติดตามประเมินผลดําเนินงานตามโครงการ 9. ดําเนินงานตามภารกิจอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย ทั้งนี้ ตัง้ แต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕4
(นางกิตติยา เมธิโยธิน) คลังเขต ๘
แบบทดสอบความรูห้ ลังการประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร (Pretest) โครงการ “Follow Up & Evaluation คลินกิ ความรูส้ คู่ วามเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8” วันที่ 3 มีนาคม 2555 ณ ห้องประชุมสํานักงานคลังเขต 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี วิชา สวัสดิการเกีย่ วกับการศึกษาของบุตร -------------------จงเลือกคําตอบทีถ่ ูกต้องเพียงคําตอบเดียว โดยทําเครื่องหมายกากบาท (X) ในกระดาษคําตอบ กรณี นาย ก กั บ นาง ข สมรสจดทะเบี ย นถู ก ต้ อ งตามกฎหมายมี ค รอบครั ว ทั้ ง คู่ เ ป็ น ข้ า ราชการ มีบุตรด้วยกัน 6 คน ในฐานะภรรยา นาง ข ใช้สิทธิเบิกเงินสวัสดิการศึกษาบุตรสําหรับบุตรตามสิทธิ ต่อมา ได้จดทะเบียนหย่ากัน และทั้งคู่ได้แต่งงานใหม่ โดย 1. นาย ก ได้แต่งงานกับนาง ง ซึ่งไม่ได้เป็นข้าราชการมีบุตรด้วยกัน 4 คน 2. นาง ข แต่งงานใหม่กับนาย จ. เป็นลูกจ้างประจํามีบุตรด้วยกัน จํานวน 2 คน 1. นาง ข สามารถใช้สิทธิเบิกเงินสวัสดิการการศึกษาบุตรได้จํานวน กี่ คน ก. 2 คน ข. 3 คน ค. 4 คน ง. 5 คน 2. ในขณะที่นาย ก และนาง ข อยู่กินกันฉันสามีภรรยา บุตรลําดับที่สองเสียชีวิตลง นาง ข จะใช้สิทธิเบิกเงิน สวัสดิการศึกษาบุตรสําหรับบุตรได้หรือไม่ถ้าได้จะได้สิทธิในลําดับที่เท่าไหร่ ก. ลําดับที่ 4 ตามการเกิดก่อนหลังของบุตร ข. ลําดับที่ 5 เนื่องจากลําดับที่ 5 เป็นบุตรที่มีความพิการ ค. ลําดับที่ 6 เนื่องจากเป็นบุตรลําดับสุดท้าย ง. ไม่สามารถใช้สิทธิได้อีกเนื่องจากได้ใช้สิทธิครบตามระเบียบกําหนดแล้ว 3. กรณีนาย ก ได้แต่งงานกับนาง ง ซึ่งไม่ได้เป็นข้าราชการมีบุตรด้วยกัน 4 คน นายก จะสามารถใช้สิทธิเบิกเงิน สวัสดิการการศึกษาบุตรได้หรือไม่ ก. เบิกไม่ได้แล้ว ข. เบิกได้ 1 คน ค. เบิกได้ 2 คน ง. เบิกได้ 3 คน สํานักงานคลังจังหวัดพังงา
หน้า 1
4. นาง ข แต่งงานใหม่กับนาย จ. เป็นลูกจ้างประจํา มีบุตรด้วยกัน จํานวน 2 คน บุตรที่เกิดจาก นาง ข กับนาย จ สามารถใช้สิทธิเบิกเงินสวัสดิการการศึกษาบุตรได้หรือไม่ ก. นาง ข ใช้สิทธิเบิกเงินสวัสดิการได้เนื่องจากเป็นบุตรของ สามีใหม่ ข. นาย จ ใช้สิทธิเบิกเงินสวัสดิการศึกษาบุตรเนื่องจากเป็นบุตรตนเองที่ถูกต้องตามกฎหมาย ค. ทั้งนาง ข และนาย จ ไม่สามารถใช้สิทธิเบิกเงินสวัสดิการการศึกษาบุตรได้อีก ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง 5. ผู้รับเบี้ยหวัด บํานาญ สามารถใช้สิทธิเบิกเงินสวัสดิการสําหรับการศึกษาของบุตรได้หรือไม่ อย่างไร ก. ได้ หากบุตรนั้นเป็นบุตรที่ถูกต้องตามกฎหมาย ข. ได้ เนื่องจากบุตรมีครอบครัวแล้ว ค. ไม่ได้ เนื่องจาก ผู้รับเบี้ยหวัด บํานาญ ไม่ได้เป็นข้าราชการประจํา ง. ไม่ได้ เนื่องจากบุตรไม่ประสงค์จะขอใช้สิทธิ 6. ในกรณี นางสาว นก เข้ารับการศึกษาในระดับปริญญาตรีหลักสูตร สาขานิติศาสตร์จบการศึกษาในปี 2551 (อายุ 21 ปี ) และต่อมาในปี 2553 เข้ารับการศึกษาในระดั บปริ ญญาตรี สาขาบั ญ ชี ผู้ มี สิ ท ธิ์ ส ามารถ เบิกค่าศึกษาบุตรได้หรือไม่อย่างไร ก. เบิกได้ทั้งสองหลักสูตร เนื่องจาก เป็นหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ข. เบิกได้ทั้งสองหลักสูตร เนื่องจาก ทางราชการกําหนดวงเงินที่อนุญาตให้เบิกได้ตามสิทธิ์ ค. เบิกได้เพียง 1หลักสูตร เนื่องจากเป็นหลักสูตรแรกของการศึกษาระดับปริญญาตรี ง. ไม่มีข้อใดถูก 7. บุตรของผู้มีสิทธิจะได้รับสิทธิเงินสวัสดิการการศึกษาของบุตรได้ จะต้องมีอายุเท่าไหร่ ก. ไม่จํากัดอายุ แล้วแต่สถานศึกษานั้นจะรับเข้ารับการศึกษา ข. ไม่จํากัดอายุ หากการศึกษาไม่สูงกว่าระดับอนุปริญญา หรือเทียบเท่า ค. อายุไม่เกิน 25 ปีบริบูรณ์ ในวันที่ 1 พฤษภาคม ของทุกปี ง. อายุครบ 3 ปีแต่ไม่เกิน 25 ปี 8. กฎหมายได้กําหนดสิทธิของผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร ไว้อย่างไร ก. มี สิ ทธิ ได้ รั บเงิ นสวั สดิ การเกี่ ยวกั บการศึ กษาของบุ ตรได้ เพี ยงคนที่ หนึ่ งถึ งคนที่ สามการนั บลํ าดั บบุ ตร คนที่หนึ่งถึงคนที่สามให้นับเรียงตามลําดับการเกิดก่อนหลังทั้งนี้ไม่ว่าเป็นบุตรที่เกิดจากการสมรสครั้งใด หรืออยู่ในอํานาจปกครองของตนหรือไม่ ข. มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรได้เพียงคนที่หนึ่งถึงคนที่สองการนับลําดับบุตร คนที่หนึ่งถึงคนที่สองให้นับเรียงตามลําดับการเกิดก่อนหลังทั้งนี้ไม่ว่าเป็นบุตรที่เกิดจากการสมรส ครั้งใด หรืออยู่ในอํานาจปกครองของตนหรือไม่ ค. มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรได้เพียงคนที่หนึ่งถึงคนที่สาม การนับลําดับบุตร คนที่หนึ่งถึงคนที่สามให้นับเรียงบุตรที่เกิดจากการสมรสก่อน นอกการสมรสนับเป็นลําดับถัดไป ง. มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรได้เพียงคนที่หนึ่งถึงคนที่สอง การนับลําดับบุตร คนที่หนึ่งถึงคนที่สองให้นับเรียงบุตรที่เกิดจากการสมรสก่อน นอกการสมรสนับเป็นลําดับถัดไป
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา
หน้า 2
9. นายดํา เป็นลูกจ้างประจําของกรมสรรพสามิต มีบุตรชอบด้วยกฎหมาย 1 คน คือ นางสาวแดงอายุ 19 ปี รับราชการกรมสรรพากร หลังเลิกจากงานได้ไปศึกษาภาคสมทบที่สถาบันราชภัฎ ในหลักสูตรปริญญาตรี นายดําซึ่งเป็นบิดา สามารถนําหลักฐานการจ่ายเงินค่าการศึกษาบุตร มาเบิกจากทางราชการได้หรือไม่ ก. มีสิทธิ เนื่องจากเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายและศึกษาในระดับปริญญาตรี ข. ไม่มีสิทธิ เนื่องจาก บุตรทํางานแล้ว ค. ไม่มีสิทธิ เนื่องจาก นางสาวแดงต้องใช้สิทธิของตนเองเพราะมีสิทธิอยู่แล้ว ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง 10. ข้อใดถูกต้องที่สุด ก. ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการฯ ถ้าต่อมามีบุตรแฝดซึ่งทําให้จํานวนบุตรเกินสามคน ให้ผู้มีสิทธิได้รับเงิน สวัสดิการฯ สําหรับบุตรคนที่หนึ่งถึงสามเท่านั้น ข. ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการฯ ถ้าต่อมามีบุตรแฝดซึ่งทําให้จํานวนบุตรเกินสามคน ให้ผู้มีสิทธิได้รับเงิน สวัสดิการฯ สําหรับบุตรคนที่หนึ่งถึงคนสุดท้าย กรณีบุตรของผู้มีสิทธิฯ เกินกว่าสามคนและบุตรคนใด คนหนึ่งในจํานวนสามคน ตายลงก่อนมีอายุครบ 25 ปีบริบูรณ์ก็ตาม บุตรลําดับถัดไปก็ไม่มีสิทธิได้รับ เงินสวัสดิการ ค. ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการฯ ถ้าต่อมามีบุตรแฝดซึ่งทําให้จํานวนบุตรเกินสามคน ให้ผู้มีสิทธิได้รับเงิน สวัสดิการฯ สําหรับบุตรคนที่หนึ่งถึงสามเท่านั้น กรณีบุตรของผู้มีสิทธิฯ เกินกว่าสามคนและบุตรคนใด คนหนึ่งในจํานวนสามคน ตายลงก่อนมีอายุครบ 25 ปีบริบูรณ์ก็ตาม บุตรลําดับถัดไปก็ไม่มีสิทธิได้รับ เงินสวัสดิการ ง. ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการฯ ถ้าต่อมามีบุตรแฝดซึ่งทําให้จํานวนบุตรเกินสามคน ให้ผู้มีสิทธิได้รับเงิน สวัสดิการฯ สําหรับบุตรคนที่หนึ่งถึงคนสุดท้าย กรณีบุตรของผู้มีสิทธิฯ เกินกว่าสามคนและบุตรคนใด คนหนึ่งในจํานวนสามคน ตายลงก่อนมีอายุครบ 25 ปีบริบูรณ์ ก็ให้เลื่อนบุตรลําดับถัดไปให้ครบสามคน จึงมีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการ 11. คําตอบข้อใดถูกต้องที่สุด ก. กรณีบุตรของผู้มีสิทธิฯ เกินกว่าสามคนและบุตรคนใดคนหนึ่งในจํานวนสามคนตาย กายพิการจนไม่สามารถ เล่าเรียนได้ หรือเป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ วิกลจริต จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ก่อนมีอายุครบ 25 ปีบริบูรณ์ ก็ให้เลื่อนบุตรลําดับถัดไปให้ครบสามคนจึงมีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการฯ เพิ่ม ข. กรณี บุ ต รของผู้ มี สิ ท ธิ ฯ เกิ น กว่ า สามคนและบุต รคนใดคนหนึ่ ง ในจํ า นวนสามคนตาย กายพิ ก าร จนไม่ ส ามารถเล่ า เรี ย นได้ หรื อ เป็ น คนไร้ ค วามสามารถ คนเสมื อ นไร้ ค วามสามารถ วิ ก ลจริ ต จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ก่อนบรรลุนิติภาวะ บุตรลําดับถัดไปก็ไม่มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการฯ ค. กรณี บุ ต รของผู้ มี สิ ท ธิ ฯ เกิ น กว่ า สามคนและบุต รคนใดคนหนึ่ งในจํ า นวนสามคนตาย กายพิ ก าร จนไม่ ส ามารถเล่ า เรี ย นได้ หรื อ เป็ น คนไร้ ค วามสามารถ คนเสมื อ นไร้ ค วามสามารถ วิ ก ลจริ ต จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ก่อนบรรลุนิติภาวะ ก็ให้เลื่อนบุตรลําดับถัดไปให้ครบสามคนจึงมีสิทธิได้รับเงิน สวัสดิการฯ เพิ่ม ง. กรณี บุ ต รของผู้ มี สิ ท ธิ ฯ เกิ น กว่ า สามคนและบุ ต รคนใดคนหนึ่ ง ในจํ า นวนสามคนตาย กายพิ ก าร จนไม่ ส ามารถเล่ า เรี ย นได้ หรื อ เป็ น คนไร้ ค วามสามารถ คนเสมื อ นไร้ ค วามสามารถ วิ ก ลจริ ต จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ก็ให้ตัดสิทธิไม่ได้รับเงินสวัสดิการ สํานักงานคลังจังหวัดพังงา
หน้า 3
12. ผู้สิทธิ ได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรตาม มาตรา 6 ของ พรฎ. เงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การศึกษาของบุตร พ.ศ. 2523 หมายถึง ก. ข้าราชการ ลูกจ้างประจํา และผู้รับเบี้ยหวัดบําเหน็จบํานาญตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญ ข้ า ราชการ ข้ า ราชการการเมื อ ง และข้ า ราชการตํ า รวจชั้ น พลตํ า รวจที่ อ บรมในสถานศึ ก ษา ของกรมตํารวจก่อนปฏิบัติหน้าที่ ข. ข้าราชการ ลูกจ้างประจํา และผู้รับเบี้ยหวัดบําเหน็จบํานาญตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญ ข้าราชการ ยกเว้นข้าราชการการเมือง และข้าราชการตํารวจชั้นพลตํารวจที่อบรมในสถานศึกษา ของกรมตํารวจก่อนปฏิบัติหน้าที่ ค. ข้ า ราชการ ข้ า ราชการการเมื อ ง และข้ า ราชการตํ า รวจชั้ น พลตํ า รวจที่ อ บรมในสถานศึ ก ษา ของกรมตํารวจก่อนปฏิบัติหน้าที่ ง. ข้ า ราชการ ลู ก จ้ า งประจํ า ลู ก จ้ า งชั่ ว คราวเงิ น งบประมาณ และผู้ รั บ เบี้ ย หวั ด บํ า เหน็ จ บํ า นาญ ตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญข้าราชการ ยกเว้นข้าราชการการเมือง และข้าราชการตํารวจ ชั้นพลตํารวจที่อบรมในสถานศึกษาของกรมตํารวจก่อนปฏิบัติหน้าที่ 13. บุตรของผู้มีสิทธิที่ผู้มีสิทธิสามารถนําค่าการศึกษาบุตรมาเบิกจากทางราชการได้ หมายถึง ก. บุตรชอบด้วยกฎหมายที่มีอายุครบ 3 ปี แต่ไม่เกิน 25 ปีบริบูรณ์ และต้องเป็นบุตรลําดับที่หนึ่งถึงสาม แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม หรือบุตรซึ่งได้ยกให้เป็นบุตรบุญธรรมของผู้อื่นแล้ว ข. บุตรชอบด้วยกฎหมายที่มีอายุครบ 3 ปี แต่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ และต้องเป็นบุตรลําดับที่หนึ่งถึงสาม แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม หรือบุตรซึ่งได้ยกให้เป็นบุตรบุญธรรมของผู้อื่นแล้ว ค. บุตรชอบด้วยกฎหมายที่มีอายุครบ 3 ปี แต่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ บุตรลําดับที่หนึ่งถึงสาม รวมถึงบุตร บุญธรรมด้วย ง. บุตรชอบด้วยกฎหมายที่มีอายุครบ 3 ปี แต่ไม่เกิน 25 ปีบริบูรณ์ และต้องเป็นบุตรลําดับที่หนึ่งถึงสาม รวมถึงบุตรบุญธรรม หรือบุตรซึ่งได้ยกให้เป็นบุตรบุญธรรมของผู้อื่นแล้ว 14. ข้ อ ความใดไม่ ถู ก ต้ อ ง เกี่ ย วกั บ การเป็ น บุ ต รชอบด้ ว ยกฎหมายของผู้ มี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ เงิ น สวั ส ดิ ก ารเกี่ ย ว กับการศึกษาบุตร ก. กรณี ม ารดาเป็ น ผู้ มี สิ ท ธิ เด็ ก ที่ เ กิ ด จากหญิ ง ผู้ เ ป็ น มารดาผู้ ใ ห้ กํ า เนิ ด ย่ อ มเป็ น บุ ต รชอบ ด้วยกฎหมายของหญิงนั้นเสมอไม่ว่ากรณีใดๆ ข. กรณีบิดาเป็นผู้มีสิทธิถือว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย โดยบิดาได้จดทะเบียนสมรสกับมารดาของบุตร ค. กรณีบิดาเป็นผู้มีสิทธิถือว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย โดยบิดาได้จดทะเบียนรับรองว่าเป็นบุตรของตน ง. ผู้มีสิทธิสามารถนําค่าการศึกษาของบุตรมาเบิกจ่ายได้เฉพาะบุตรลําดับที่1-3 โดยนับเรียงลําดับ การเกิดก่อนหลัง และเป็นบุตรที่อยู่ในอุปการะการเลี้ยงดูหรืออยู่ในอํานาจการปกครองของเท่านั้น 15. เด็กชายดิว เกิดวันที่ 27 มิถุนายน 2551 ดิว จะมีอายุครบ 3 ปี ในวันที่ 26 มิถุนายน 2554 เด็กชายดิว ได้เข้าเรียน โรงเรียนพุทธรักษาซึ่งเปิดภาคเรียนที่ 1 วันที่ 16 พฤษภาคม ข้อความใด ไม่ถูกต้อง สําหรับกรณีนี้ ก. ณ วันที่เข้าเรียนสิทธิยังไม่เกิด สิทธิจะเกิดในวันที่ 26 มิถุนายน 2554 ซึ่งเป็นวันที่เปิดภาคเรียน ที่ 1 ข. ภาคเรี ย นที่ 1 ปี ก ารศึ ก ษา 2554 (16 พ.ค. – 11 ต.ค. ) สามารถนํ า ค่ า เล่ า เรี ย นมาเบิ ก ได้ ถึงแม้อายุจะครบ 3 ปีระหว่างภาคเรียนก็ตาม ค. ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 (16 พ.ค. – 11 ต.ค. ) ไม่สามารถนําค่าเล่าเรียนมาเบิกได้ จะสามารถเบิกได้ในภาเรียนที่ 2 (3 พ.ย. – 12 มี.ค.) สํานักงานคลังจังหวัดพังงา
หน้า 4
ง. ดิว จะมีอายุครบ 25 ปีบริบูรณ์ ที่จะเบิกค่าเล่าเรียนได้ในวันที่ 26 มิถุนายน 2576 ซึ่งอยู่ในภาคเรียนที่ 1 เท่านั้น ข้อ 16. ข้อความใดไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับการยื่นเบิกค่าการศึกษาบุตร ก. ผู้ มี สิ ท ธิ ต้ อ งยื่ น หลั ก ฐานการขอเบิ ก ต่ อ ผู้ มี อํ า นาจอนุ มั ติ ภ ายใน 1 ปี นั บ ตั้ ง แต่ วั น เปิ ด ภาคเรี ย น ของแต่ละภาค ข. กรณีสถานศึกษาเรียกเก็บเงินเป็นรายปีการศึกษา หรือเก็บครั้งเดียวตลอดปี ผู้มีสิทธิต้องยื่นหลักฐาน การขอเบิกต่อผู้มีอํานาจอนุมัติภายใน 1 ปี นับแต่วันเปิดภาคเรียนแรกของปีการศึกษานั้นๆ หากพ้น กําหนดเบิกเกินปี ไม่มีสิทธิเบิกไม่ว่ากรณีใดๆทั้งสิ้น ค. กรณีสถานศึกษาเรียกเก็บเงินเป็นรายปีการศึกษา หรือเก็บครั้งเดียวตลอดปี ผู้มีสิทธิต้องยื่นหลักฐาน การขอเบิกต่อผู้มีอํานาจอนุมัติภายใน 1 ปี นับแต่วันเปิดภาคเรียนแรกของปีการศึกษานั้นๆ หากพ้น กําหนดเบิกเกินปี ต้องขอทําความตกลงกับกระทรวงการคลัง ง. กรณีผู้มีสิท ธิมีความจําเป็นต้องขอผ่อนผันต่อสถานศึกษาในการชําระเงินล่าช้า หรือกรณีกู้ยืมเงิน จาก กยศ. หรือ กรอ. เพื่อชําระเงินต่อสถานศึกษา ให้ผู้มีสิทธิยื่นหลักฐานการขอเบิกเงินสวัสดิการฯ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ออกหลักฐานการรับเงินของสถานศึกษา ข้อ 17. ข้อความใดไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับการยื่นขอใช้สิทธิ ก. กรณีเป็นผู้มีสิทธิทั้งสองฝ่าย แต่ต่างส่วนราชการผู้เบิก ผู้มีสิทธิต้องแจ้งให้ส่วนราชการเจ้าสังกัด ของอีกฝ่ายทราบก่อนว่าจะใช้สิทธิเบิกของใครสําหรับบุตรทุกคน ตามแบบที่กรมบัญชีกลางกําหนด จึงจะใช้สิทธิเบิกได้ และถ้าจะเปลี่ยนสิทธิจะต้องขอทําความตกลงกับกระทรวงการคลัง ข. กรณีเป็นผู้มีสิทธิทั้งสองฝ่ายและได้หย่าขาดจากกัน ต้องแจ้งการใช้สิทธิของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งด้วยเช่นกัน เพราะความเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายยังมีอยู่ ค. สํ าหรับกรณีผู้ มีสิ ทธิ มีคู่ สมรสปฏิบัติงานในหน่วยงานอื่น เช่นหน่วยงานรัฐวิ สาหกิจไฟฟ้า ประปา ต้องใช้สิทธิของหน่วยงานอื่นก่อน แล้วจึงนําส่วนที่ขาดมายื่นเบิกจากกระทรวงการคลัง นั้น ง. สํ าหรับกรณี ผู้มี สิทธิ มี คู่ส มรสปฏิบัติงานในหน่วยงานอื่ น เช่นหน่วยงานรัฐวิสาหกิ จไฟฟ้ า ประปา ต้องใช้สิทธิเบิกจากกระทรวงการคลังก่อน แล้วจึงนําส่วนที่ขาดยื่นต่อหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ข้อ 18. กรณีผู้มีสิทธิ์พ้นจากราชการหรือถึงแก่กรรมจะใช้สิทธิ์เบิกเงินสวัสดิการการศึกษาบุตรที่ใด ก. เบิกเงินสวัสดิการทางส่วนราชการส่วนกลาง ตามที่ตนสังกัดอยู่ ข. เลือกใช้สิทธิที่ใดก็ได้ ขอให้สังกัดกรม กระทรวงเดียวกันเท่านั้น ค. เบิกเงินสวัสดิการฯ ณ. สํานักงานที่รับราชการครั้งสุดท้าย ง. ถูกทุกข้อ ข้อ 19. นายนวลน้อย เป็นข้าราชการสังกัดกรมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไปช่วยราชการกรมศิลปากร เป็นเวลา 2 ปี นายนวลน้อยจะต้องยื่นคําร้องขอเบิกเงินสวัสดิการ การศึกษาบุตรที่ใด ก. เลือกใช้สิทธิที่ใดก็ได้ เนื่องจากเป็นการเบิกเงินงบกลางเช่นเดียวกัน ข. กรมศิลปากรเนื่องจากเป็นสถานที่ปฏิบัติราชการจริง ค. กรมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเนื่องจากเป็นสํานักเบิกเงินเดือน ง. ถูกทุกข้อ สํานักงานคลังจังหวัดพังงา
หน้า 5
ข้ อ 20. ใครคื อผู้ มี อํ านาจรั กษาการตามระเบี ยบกระทรวงการคลั งว่ าด้ วยการเบิ กจ่ ายเงิ นสวั สดิ การการศึ กษาบุ ตร พ.ศ. 2538 ก. อธิบดีกรมบัญชีกลาง ข. ปลัดกระทรวงการคลัง ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ง. นายกรัฐมนตรี
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา
หน้า 6
แบบทดสอบความรูห้ ลังการประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร (Posttest) โครงการ “Follow Up & Evaluation คลินกิ ความรูส้ คู่ วามเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8” วันที่ 3 มีนาคม 2555 ณ ห้องประชุมสํานักงานคลังเขต 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี วิชา สวัสดิการเกีย่ วกับการศึกษาของบุตร -------------------จงเลือกคําตอบทีถ่ ูกต้องเพียงคําตอบเดียว โดยทําเครื่องหมายกากบาท (X) ในกระดาษคําตอบ กรณี นาย ก กั บ นาง ข สมรสจดทะเบี ย นถู ก ต้ อ งตามกฎหมายมี ค รอบครั ว ทั้ ง คู่ เ ป็ น ข้ า ราชการ มีบุตรด้วยกัน 6 คน ในฐานะภรรยา นาง ข ใช้สิทธิเบิกเงินสวัสดิการศึกษาบุตรสําหรับบุตรตามสิทธิ ต่อมา ได้จดทะเบียนหย่ากัน และทั้งคู่ได้แต่งงานใหม่ โดย 1. นาย ก ได้แต่งงานกับนาง ง ซึ่งไม่ได้เป็นข้าราชการมีบุตรด้วยกัน 4 คน 2. นาง ข แต่งงานใหม่กับนาย จ. เป็นลูกจ้างประจํามีบุตรด้วยกัน จํานวน 2 คน 1. ในกรณี นางสาว นก เข้ารับการศึกษาในระดับปริญญาตรีหลักสูตร สาขานิติศาสตร์จบการศึกษาในปี 2551 (อายุ 21 ปี ) และต่อมาในปี 2553 เข้ารับการศึกษาในระดับปริ ญญาตรี สาขาบั ญ ชี ผู้ มี สิ ท ธิ์ ส ามารถ เบิกค่าศึกษาบุตรได้หรือไม่อย่างไร ก. เบิกได้ทั้งสองหลักสูตร เนื่องจาก เป็นหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ข. เบิกได้ทั้งสองหลักสูตร เนื่องจาก ทางราชการกําหนดวงเงินที่อนุญาตให้เบิกได้ตามสิทธิ์ ค. เบิกได้เพียง 1หลักสูตร เนื่องจากเป็นหลักสูตรแรกของการศึกษาระดับปริญญาตรี ง. ไม่มีข้อใดถูก 2. บุตรของผู้มีสิทธิจะได้รับสิทธิเงินสวัสดิการการศึกษาของบุตรได้ จะต้องมีอายุเท่าไหร่ ก. ไม่จํากัดอายุ แล้วแต่สถานศึกษานั้นจะรับเข้ารับการศึกษา ข. ไม่จํากัดอายุ หากการศึกษาไม่สูงกว่าระดับอนุปริญญา หรือเทียบเท่า ค. อายุไม่เกิน 25 ปีบริบูรณ์ ในวันที่ 1 พฤษภาคม ของทุกปี ง. อายุครบ 3 ปีแต่ไม่เกิน 25 ปี 3. กฎหมายได้กําหนดสิทธิของผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร ไว้อย่างไร ก. มี สิ ทธิ ได้ รั บเงิ นสวั สดิ การเกี่ ยวกั บการศึ กษาของบุ ตรได้ เพี ยงคนที่ หนึ่ งถึ งคนที่ สามการนั บลํ าดั บบุ ตร คนที่หนึ่งถึงคนที่สามให้นับเรียงตามลําดับการเกิดก่อนหลังทั้งนี้ไม่ว่าเป็นบุตรที่เกิดจากการสมรสครั้งใด หรืออยู่ในอํานาจปกครองของตนหรือไม่ ข. มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรได้เพียงคนที่หนึ่งถึงคนที่สองการนับลําดับบุตร คนที่หนึ่งถึงคนที่สองให้นับเรียงตามลําดับการเกิดก่อนหลังทั้งนี้ไม่ว่าเป็นบุตรที่เกิดจากการสมรส ครั้งใด หรืออยู่ในอํานาจปกครองของตนหรือไม่ สํานักงานคลังจังหวัดพังงา
หน้า 1
ค. มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรได้เพียงคนที่หนึ่งถึงคนที่สาม การนับลําดับบุตร คนที่หนึ่งถึงคนที่สามให้นับเรียงบุตรที่เกิดจากการสมรสก่อน นอกการสมรสนับเป็นลําดับถัดไป ง. มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรได้เพียงคนที่หนึ่งถึงคนที่สอง การนับลําดับบุตร คนที่หนึ่งถึงคนที่สองให้นับเรียงบุตรที่เกิดจากการสมรสก่อน นอกการสมรสนับเป็นลําดับถัดไป 4. นายดํา เป็นลูกจ้างประจําของกรมสรรพสามิต มีบุตรชอบด้วยกฎหมาย 1 คน คือ นางสาวแดงอายุ 19 ปี รับราชการกรมสรรพากร หลังเลิกจากงานได้ไปศึกษาภาคสมทบที่สถาบันราชภัฎ ในหลักสูตรปริญญาตรี นายดําซึ่งเป็นบิดา สามารถนําหลักฐานการจ่ายเงินค่าการศึกษาบุตร มาเบิกจากทางราชการได้หรือไม่ ก. มีสิทธิ เนื่องจากเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายและศึกษาในระดับปริญญาตรี ข. ไม่มีสิทธิ เนื่องจาก บุตรทํางานแล้ว ค. ไม่มีสิทธิ เนื่องจาก นางสาวแดงต้องใช้สิทธิของตนเองเพราะมีสิทธิอยู่แล้ว ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง 5. ข้อใดถูกต้องที่สุด ก. ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการฯ ถ้าต่อมามีบุตรแฝดซึ่งทําให้จํานวนบุตรเกินสามคน ให้ผู้มีสิทธิได้รับเงิน สวัสดิการฯ สําหรับบุตรคนที่หนึ่งถึงสามเท่านั้น ข. ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการฯ ถ้าต่อมามีบุตรแฝดซึ่งทําให้จํานวนบุตรเกินสามคน ให้ผู้มีสิทธิได้รับเงิน สวัสดิการฯ สําหรับบุตรคนที่หนึ่งถึงคนสุดท้าย กรณีบุตรของผู้มีสิทธิฯ เกินกว่าสามคนและบุตรคนใด คนหนึ่งในจํานวนสามคน ตายลงก่อนมีอายุครบ 25 ปีบริบูรณ์ก็ตาม บุตรลําดับถัดไปก็ไม่มีสิทธิได้รับ เงินสวัสดิการ ค. ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการฯ ถ้าต่อมามีบุตรแฝดซึ่งทําให้จํานวนบุตรเกินสามคน ให้ผู้มีสิทธิได้รับเงิน สวัสดิการฯ สําหรับบุตรคนที่หนึ่งถึงสามเท่านั้น กรณีบุตรของผู้มีสิทธิฯ เกินกว่าสามคนและบุตรคนใด คนหนึ่งในจํานวนสามคน ตายลงก่อนมีอายุครบ 25 ปีบริบูรณ์ก็ตาม บุตรลําดับถัดไปก็ไม่มีสิทธิได้รับ เงินสวัสดิการ ง. ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการฯ ถ้าต่อมามีบุตรแฝดซึ่งทําให้จํานวนบุตรเกินสามคน ให้ผู้มีสิทธิได้รับเงิน สวัสดิการฯ สําหรับบุตรคนที่หนึ่งถึงคนสุดท้าย กรณีบุตรของผู้มีสิทธิฯ เกินกว่าสามคนและบุตรคนใด คนหนึ่งในจํานวนสามคน ตายลงก่อนมีอายุครบ 25 ปีบริบูรณ์ ก็ให้เลื่อนบุตรลําดับถัดไปให้ครบสามคน จึงมีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการ 6. เด็ ก ชายดิ ว เกิ ด วั น ที่ 27 มิ ถุ น ายน 2551 ดิ ว จะมี อ ายุ ค รบ 3 ปี ในวั น ที่ 26 มิ ถุ น ายน 2554 เด็กชายดิว ได้ เ ข้ าเรี ยน โรงเรี ยนพุทธรั กษาซึ่ง เปิด ภาคเรี ยนที่ 1 วันที่ 16 พฤษภาคม ข้ อ ความใด ไม่ถูกต้อง สําหรับกรณีนี้ ก. ณ วันที่เข้าเรียนสิทธิยังไม่เกิด สิทธิจะเกิดในวันที่ 26 มิถุนายน 2554 ซึ่งเป็นวันที่เปิดภาคเรียน ที่ 1 ข. ภาคเรี ย นที่ 1 ปี ก ารศึ ก ษา 2554 (16 พ.ค. – 11 ต.ค. ) สามารถนํ า ค่ า เล่ า เรี ย นมาเบิ ก ได้ ถึงแม้อายุจะครบ 3 ปีระหว่างภาคเรียนก็ตาม ค. ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 (16 พ.ค. – 11 ต.ค. ) ไม่สามารถนําค่าเล่าเรียนมาเบิกได้ จะสามารถเบิกได้ในภาเรียนที่ 2 (3 พ.ย. – 12 มี.ค.) ง. ดิว จะมีอายุครบ 25 ปีบริบูรณ์ ที่จะเบิกค่าเล่าเรียนได้ในวันที่ 26 มิถุนายน 2576 ซึ่งอยู่ในภาคเรียนที่ 1 เท่านั้น สํานักงานคลังจังหวัดพังงา
หน้า 2
7. ข้อความใดไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับการยื่นเบิกค่าการศึกษาบุตร ก. ผู้ มี สิ ท ธิ ต้ อ งยื่ น หลั ก ฐานการขอเบิ ก ต่ อ ผู้ มี อํ า นาจอนุ มั ติ ภ ายใน 1 ปี นั บ ตั้ ง แต่ วั น เปิ ด ภาคเรี ย น ของแต่ละภาค ข. กรณีสถานศึกษาเรียกเก็บเงินเป็นรายปีการศึกษา หรือเก็บครั้งเดียวตลอดปี ผู้มีสิทธิต้องยื่นหลักฐาน การขอเบิกต่อผู้มีอํานาจอนุมัติภายใน 1 ปี นับแต่วันเปิดภาคเรียนแรกของปีการศึกษานั้นๆ หากพ้น กําหนดเบิกเกินปี ไม่มีสิทธิเบิกไม่ว่ากรณีใดๆทั้งสิ้น ค. กรณีสถานศึกษาเรียกเก็บเงินเป็นรายปีการศึกษา หรือเก็บครั้งเดียวตลอดปี ผู้มีสิทธิต้องยื่นหลักฐาน การขอเบิกต่อผู้มีอํานาจอนุมัติภายใน 1 ปี นับแต่วันเปิดภาคเรียนแรกของปีการศึกษานั้นๆ หากพ้น กําหนดเบิกเกินปี ต้องขอทําความตกลงกับกระทรวงการคลัง ง. กรณีผู้มีสิท ธิมีความจําเป็นต้องขอผ่อนผันต่อสถานศึกษาในการชําระเงินล่าช้า หรือกรณีกู้ยืมเงิน จาก กยศ. หรือ กรอ. เพื่อชําระเงินต่อสถานศึกษา ให้ผู้มีสิทธิยื่นหลักฐานการขอเบิกเงินสวัสดิการฯ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ออกหลักฐานการรับเงินของสถานศึกษา 8. ข้อความใดไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับการยื่นขอใช้สิทธิ ก. กรณีเป็นผู้มีสิทธิทั้งสองฝ่าย แต่ต่างส่วนราชการผู้เบิก ผู้มีสิทธิต้องแจ้งให้ส่วนราชการเจ้าสังกัด ของอีกฝ่ายทราบก่อนว่าจะใช้สิทธิเบิกของใครสําหรับบุตรทุกคน ตามแบบที่กรมบัญชีกลางกําหนด จึงจะใช้สิทธิเบิกได้ และถ้าจะเปลี่ยนสิทธิจะต้องขอทําความตกลงกับกระทรวงการคลัง ข. กรณีเป็นผู้มีสิทธิทั้งสองฝ่ายและได้หย่าขาดจากกัน ต้องแจ้งการใช้สิทธิของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งด้วยเช่นกัน เพราะความเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายยังมีอยู่ ค. สํ าหรับกรณีผู้ มีสิ ทธิ มีคู่ สมรสปฏิบัติงานในหน่วยงานอื่น เช่นหน่วยงานรัฐวิ สาหกิจไฟฟ้า ประปา ต้องใช้สิทธิของหน่วยงานอื่นก่อน แล้วจึงนําส่วนที่ขาดมายื่นเบิกจากกระทรวงการคลัง นั้น ง. สํ าหรับกรณี ผู้มี สิทธิ มี คู่ส มรสปฏิบัติงานในหน่วยงานอื่ น เช่นหน่วยงานรัฐวิสาหกิ จไฟฟ้ า ประปา ต้องใช้สิทธิเบิกจากกระทรวงการคลังก่อน แล้วจึงนําส่วนที่ขาดยื่นต่อหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ 9. กรณีผู้มีสิทธิ์พ้นจากราชการหรือถึงแก่กรรมจะใช้สิทธิ์เบิกเงินสวัสดิการการศึกษาบุตรที่ใด ก. เบิกเงินสวัสดิการทางส่วนราชการส่วนกลาง ตามที่ตนสังกัดอยู่ ข. เลือกใช้สิทธิที่ใดก็ได้ ขอให้สังกัดกรม กระทรวงเดียวกันเท่านั้น ค. เบิกเงินสวัสดิการฯ ณ. สํานักงานที่รับราชการครั้งสุดท้าย ง. ถูกทุกข้อ 10. นายนวลน้อย เป็นข้าราชการสังกัดกรมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไปช่วยราชการกรมศิลปากร เป็นเวลา 2 ปี นายนวลน้อยจะต้องยื่นคําร้องขอเบิกเงินสวัสดิการ การศึกษาบุตรที่ใด ก. เลือกใช้สิทธิที่ใดก็ได้ เนื่องจากเป็นการเบิกเงินงบกลางเช่นเดียวกัน ข. กรมศิลปากรเนื่องจากเป็นสถานที่ปฏิบัติราชการจริง ค. กรมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเนื่องจากเป็นสํานักเบิกเงินเดือน ง. ถูกทุกข้อ
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา
หน้า 3
11. ใครคื อผู้ มี อํ านาจรั กษาการตามระเบี ยบกระทรวงการคลั งว่ าด้ วยการเบิ กจ่ ายเงิ นสวั สดิ การการศึ กษาบุ ตร พ.ศ. 2538 ก. อธิบดีกรมบัญชีกลาง ข. ปลัดกระทรวงการคลัง ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ง. นายกรัฐมนตรี 12 นาง ข สามารถใช้สิทธิเบิกเงินสวัสดิการการศึกษาบุตรได้จํานวน กี่ คน ก. 2 คน ข. 3 คน ค. 4 คน ง. 5 คน 13 ในขณะที่นาย ก และนาง ข อยู่กินกันฉันสามีภรรยา บุตรลําดับที่สองเสียชีวิตลง นาง ข จะใช้สิทธิเบิกเงิน สวัสดิการศึกษาบุตรสําหรับบุตรได้หรือไม่ถ้าได้จะได้สิทธิในลําดับที่เท่าไหร่ ก. ลําดับที่ 4 ตามการเกิดก่อนหลังของบุตร ข. ลําดับที่ 5 เนื่องจากลําดับที่ 5 เป็นบุตรที่มีความพิการ ค. ลําดับที่ 6 เนื่องจากเป็นบุตรลําดับสุดท้าย ง. ไม่สามารถใช้สิทธิได้อีกเนื่องจากได้ใช้สิทธิครบตามระเบียบกําหนดแล้ว 14. กรณีนาย ก ได้แต่งงานกับนาง ง ซึ่งไม่ได้เป็นข้าราชการมีบุตรด้วยกัน 4 คน นายก จะสามารถใช้สิทธิเบิกเงิน สวัสดิการการศึกษาบุตรได้หรือไม่ ก. เบิกไม่ได้แล้ว ข. เบิกได้ 1 คน ค. เบิกได้ 2 คน ง. เบิกได้ 3 คน 15. นาง ข แต่งงานใหม่กับนาย จ. เป็นลูกจ้างประจํา มีบุตรด้วยกัน จํานวน 2 คน บุตรที่เกิดจาก นาง ข กับนาย จ สามารถใช้สิทธิเบิกเงินสวัสดิการการศึกษาบุตรได้หรือไม่ ก. นาง ข ใช้สิทธิเบิกเงินสวัสดิการได้เนื่องจากเป็นบุตรของ สามีใหม่ ข. นาย จ ใช้สิทธิเบิกเงินสวัสดิการศึกษาบุตรเนื่องจากเป็นบุตรตนเองที่ถูกต้องตามกฎหมาย ค. ทั้งนาง ข และนาย จ ไม่สามารถใช้สิทธิเบิกเงินสวัสดิการการศึกษาบุตรได้อีก ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง 16. ผู้รับเบี้ยหวัด บํานาญ สามารถใช้สิทธิเบิกเงินสวัสดิการสําหรับการศึกษาของบุตรได้หรือไม่ อย่างไร ก. ได้ หากบุตรนั้นเป็นบุตรที่ถูกต้องตามกฎหมาย ข. ได้ เนื่องจากบุตรมีครอบครัวแล้ว ค. ไม่ได้ เนื่องจาก ผู้รับเบี้ยหวัด บํานาญ ไม่ได้เป็นข้าราชการประจํา ง. ไม่ได้ เนื่องจากบุตรไม่ประสงค์จะขอใช้สิทธิ
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา
หน้า 4
17. คําตอบข้อใดถูกต้องที่สุด ก. กรณีบุตรของผู้มีสิทธิฯ เกินกว่าสามคนและบุตรคนใดคนหนึ่งในจํานวนสามคนตาย กายพิการจนไม่สามารถ เล่าเรียนได้ หรือเป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ วิกลจริต จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ก่อนมีอายุครบ 25 ปีบริบูรณ์ ก็ให้เลื่อนบุตรลําดับถัดไปให้ครบสามคนจึงมีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการฯ เพิ่ม ข. กรณี บุ ต รของผู้ มี สิ ท ธิ ฯ เกิ น กว่ า สามคนและบุต รคนใดคนหนึ่ ง ในจํ า นวนสามคนตาย กายพิ ก าร จนไม่ ส ามารถเล่ า เรี ย นได้ หรื อ เป็ น คนไร้ ค วามสามารถ คนเสมื อ นไร้ ค วามสามารถ วิ ก ลจริ ต จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ก่อนบรรลุนิติภาวะ บุตรลําดับถัดไปก็ไม่มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการฯ ค. กรณี บุ ต รของผู้ มี สิ ท ธิ ฯ เกิ น กว่ า สามคนและบุต รคนใดคนหนึ่ งในจํ า นวนสามคนตาย กายพิ ก าร จนไม่ ส ามารถเล่ า เรี ย นได้ หรื อ เป็ น คนไร้ ค วามสามารถ คนเสมื อ นไร้ ค วามสามารถ วิ ก ลจริ ต จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ก่อนบรรลุนิติภาวะ ก็ให้เลื่อนบุตรลําดับถัดไปให้ครบสามคนจึงมีสิทธิได้รับเงิน สวัสดิการฯ เพิ่ม ง. กรณี บุ ต รของผู้ มี สิ ท ธิ ฯ เกิ น กว่ า สามคนและบุ ต รคนใดคนหนึ่ ง ในจํ า นวนสามคนตาย กายพิ ก าร จนไม่ ส ามารถเล่ า เรี ย นได้ หรื อ เป็ น คนไร้ ค วามสามารถ คนเสมื อ นไร้ ค วามสามารถ วิ ก ลจริ ต จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ก็ให้ตัดสิทธิไม่ได้รับเงินสวัสดิการ 18. ผู้สิทธิ ได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรตาม มาตรา 6 ของ พรฎ. เงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การศึกษาของบุตร พ.ศ. 2523 หมายถึง ก. ข้าราชการ ลูกจ้างประจํา และผู้รับเบี้ยหวัดบําเหน็จบํานาญตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญ ข้ า ราชการ ข้ า ราชการการเมื อ ง และข้ า ราชการตํ า รวจชั้ น พลตํ า รวจที่ อ บรมในสถานศึ ก ษา ของกรมตํารวจก่อนปฏิบัติหน้าที่ ข. ข้าราชการ ลูกจ้างประจํา และผู้รับเบี้ยหวัดบําเหน็จบํานาญตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญ ข้าราชการ ยกเว้นข้าราชการการเมือง และข้าราชการตํารวจชั้นพลตํารวจที่อบรมในสถานศึกษา ของกรมตํารวจก่อนปฏิบัติหน้าที่ ค. ข้ า ราชการ ข้ า ราชการการเมื อ ง และข้ า ราชการตํ า รวจชั้ น พลตํ า รวจที่ อ บรมในสถานศึ ก ษา ของกรมตํารวจก่อนปฏิบัติหน้าที่ ง. ข้ า ราชการ ลู ก จ้ า งประจํ า ลู ก จ้ า งชั่ ว คราวเงิ น งบประมาณ และผู้ รั บ เบี้ ย หวั ด บํ า เหน็ จ บํ า นาญ ตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญข้าราชการ ยกเว้นข้าราชการการเมือง และข้าราชการตํารวจ ชั้นพลตํารวจที่อบรมในสถานศึกษาของกรมตํารวจก่อนปฏิบัติหน้าที่ 19. บุตรของผู้มีสิทธิที่ผู้มีสิทธิสามารถนําค่าการศึกษาบุตรมาเบิกจากทางราชการได้ หมายถึง ก. บุตรชอบด้วยกฎหมายที่มีอายุครบ 3 ปี แต่ไม่เกิน 25 ปีบริบูรณ์ และต้องเป็นบุตรลําดับที่หนึ่งถึงสาม แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม หรือบุตรซึ่งได้ยกให้เป็นบุตรบุญธรรมของผู้อื่นแล้ว ข. บุตรชอบด้วยกฎหมายที่มีอายุครบ 3 ปี แต่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ และต้องเป็นบุตรลําดับที่หนึ่งถึงสาม แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม หรือบุตรซึ่งได้ยกให้เป็นบุตรบุญธรรมของผู้อื่นแล้ว ค. บุตรชอบด้วยกฎหมายที่มีอายุครบ 3 ปี แต่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ บุตรลําดับที่หนึ่งถึงสาม รวมถึงบุตร บุญธรรมด้วย ง. บุตรชอบด้วยกฎหมายที่มีอายุครบ 3 ปี แต่ไม่เกิน 25 ปีบริบูรณ์ และต้องเป็นบุตรลําดับที่หนึ่งถึงสาม รวมถึงบุตรบุญธรรม หรือบุตรซึ่งได้ยกให้เป็นบุตรบุญธรรมของผู้อื่นแล้ว สํานักงานคลังจังหวัดพังงา
หน้า 5
20. ข้ อ ความใดไม่ ถู ก ต้ อ ง เกี่ ย วกั บ การเป็ น บุ ต รชอบด้ ว ยกฎหมายของผู้ มี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ เงิ น สวั ส ดิ ก าร เกี่ยวกับการศึกษาบุตร ก. กรณี ม ารดาเป็ น ผู้ มี สิ ท ธิ เด็ ก ที่ เ กิ ด จากหญิ ง ผู้ เ ป็ น มารดาผู้ ใ ห้ กํ า เนิ ด ย่ อ มเป็ น บุ ต รชอบ ด้วยกฎหมายของหญิงนั้นเสมอไม่ว่ากรณีใดๆ ข. กรณีบิดาเป็นผู้มีสิทธิถือว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย โดยบิดาได้จดทะเบียนสมรสกับมารดาของบุตร ค. กรณีบิดาเป็นผู้มีสิทธิถือว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย โดยบิดาได้จดทะเบียนรับรองว่าเป็นบุตรของตน ง. ผู้มีสิท ธิสามารถนําค่าการศึกษาของบุตรมาเบิ กจ่ายได้ เฉพาะบุตรลําดับที่1-3 โดยนับเรียงลําดับ การเกิดก่อนหลัง และเป็นบุตรที่อยู่ในอุปการะการเลี้ยงดูหรืออยู่ในอํานาจการปกครองของเท่านั้น
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา
หน้า 6
เฉลยข้อสอบแบบทดสอบความรู้การประชุมเชิงปฏิบัติการ โครงการ "Follow Up & Evaluation คลินิกความรู้สู่ความเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8" วันที่ 3 มีนาคม 2555 ณ ห้องประชุมสํานักงานคลังเขต 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี 3. วิชา สวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร ข้อที่
ข้อที่
Posttest
1
Pretest ข
1
ค
2
ก
2
ง
3
ง
3
ก
4
ข
4
ก
5
ก
5
ง
6
ค
6
ค
7
ง
7
ข
8
ก
8
ง
9
ก
9
ค
10
ง
10
ข
11
ก
11
ข
12
ข
12
ข
13
ก
13
ก
14
ง
14
ง
15
ค
15
ข
16
ข
16
ก
17
ง
17
ก
18
ค
18
ข
19
ข
19
ก
20
ข
20
ง
สํานักงานคลังจังหวัดพังงา