สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone พร 8 www.cpn www.cpn@cgd.go.th
คํานํา สํ า นั ก ง านคลั ง เขตต 8 และกลุ มงานวิ ช ากการด า นกา รคลั ง การบับั ญ ชี ของสํานักงานคลังจังหวั ง ดในเขต 8 ไดตระหนันักถึงปญหา/อุปสรรค ในนกลุมงานวิชาการ า ซึ่งมีหนาที า ่ใหคําปรึกษาดานกฎหมมาย ระเบียบ ขอบังคับ หลลักเกณฑ ดานนการเงินการรคลัง และระบบพัสดุภาครัฐแก ฐ บุคลากรขของสวนราชกการ ปรากฏวาใหคําปรึกษาแนะนําดานตตาง ๆ แกบุคลาากร ของสวนราชการ ว กาารใหคําปรึกษายั ษ งขาดความมนาเชื่อถือ แลละขาดความชัดเจน ด จึงมีแนววคิดที่จะดําเนินินโครงการ “คลินิกความมรูสูความเขมแข็ ม งทางวิชชาการของจังหวัด Zone ๘” ๘ เพื่อพัฒนาาองคความรู กฎหมาย ก ระเบียบ ขอบังคัับ และหลักเกกณฑดานการรเงิน การคลั งแก ง บุ ค ลากรรกลุ ม งานวิ ชาการด า นกการคลั ง การรบั ญ ชี และกกลุ ม งานอื่ น ของ สํานั ก งาานคลั งจั งหวัวั ด เมื่อ กลุม งานภายในข ง องสํ านั ก งานนคลัง จัง หวั ด มีค วามเขมแข็ ม ง มีความพพรอม ทั้งความรู ความสามมารถ และมีความเชื ค ่อมั่นในองค ใ ความรูรู พรอมที่จะขขยาย สู ห น ว ยงานภายนอ ย อก โดยจั ด ทํ าคู มื อ สํ า หรัรั บ วิ ท ยากร จํ า นวน 8 วิ ชา สํ า หรั บ คูค มื อ การเบิ ก จ า ยเงิ น การรเก็ บ รั ก ษาเงิ น และการนํนํ า เงิ น ส ง คลั งของส ง ว นราาชการ เป น คู มื อ ที่สํานักงานคลั ง งจังหวัดชุมพร กลลุมงานวิชาการดานการคลังการบัญชี เปนตัวแทนนของ สํานักงานคลังเขต 8 และกลุ แ มงานวิวิชาการดานกการคลังการบััญชี ของสํานักงานคลังจังหวัด ในเขต 8 เปนผูดําเนินการจั น ดทํา คูมือฉบัับนี้ ไดร วบรรวมสาระสําคัญ เกี่ย วกับระเบี บ ย บเบิกกจา ยเงิน จากกคลัง น ง คลัง ของงสว นราชกา ร พ.ศ.2551 เพื่อ ให บุค ลากร ล การเก็บ รัก ษาเงิน แลละการนํ า เงิ นส กลุมงานนวิชาการดานการคลังการบบัญชี กลุมงานนอื่นของสํานักงานคลังจังงหวัดภายในเขขต 8 และหนวยงานภายนอ ว อก ไดใชประะโยชนจากคูมืมือ และมีแนววปฏิบัติที่เปนนแนวทางเดียวกัน ทั้งนี้เพื่อใหนําความรูจากคูมือไปใชประโยชนในการปฏิ ใ บัติราชการอย ร างมีมีประสิทธิภาพ า กลุ ม งานนวิ ช าการด านการคลั ง การบั ญ ชี สานั สํ ก งานคลัลั ง จั ง หวั ด ชุ มพร ม ก ดทําในนนามของสํานักงานคลั ก งเขต 8 และกลุมงานวิชาการดานนการคลังการบบัญชี ผูดําเนินการจั ของสํานักงานคลังจังหวั ห ดในเขต 8 หวั ห งเปน อยางยิ ง ่งวาคูมือฉบัับนี้จะเปนประะโยชนตอบุคลากร กลุมงานนวิชาการดานการคลั น งการรบัญชี กลุมงานอื่น ของสํสํานักงานคลังงจังหวัดในเขขต 8 และหนวยงานภายนอก ว ในการนําไปปประกอบการปฏฏิบัติราชการตตามวัตถุประสงงคที่ไดกําหนดดไว กลุมงานดานการคลั น งการรบัญชี สํานักงานนคลังจังหวัดชุมพร กุมภาพั ภ นธ 2555
สารบัญ หนา ที่มาระเบียบเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551
1
ขอบเขตการบรรยาย
3
พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แกไขเพิ่มเติม
5
การเบิกจายเงินจากคลัง
6
การกันเงินไวเบิกเหลื่อมป
9
คาใชจายคางเบิกขามป
13
เงินยืมคาบเกี่ยว
21
วิธีการเบิกจายเงินจากคลัง
24
การขอเบิกเงินเพื่อจายในระบบ GFMIS
27
การเบิกจายเงินยืม
31
กําหนดสงใบสําคัญ
35
การรับเงิน
43
การจายเงิน
52
ผูมีอํานาจอนุมัติการจายเงิน
69
วิธีปฏิบัติในการจายเงิน
70
การเก็บรักษาเงิน
75
การนําเงินสงคลัง
81
สารบัญ (ตอ) ภาคผนวก 1. 2. 3. 4. 5.
โครงการ “คลินิกความรูสูความเขมแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8” คําสั่งแตงตั้งคณะทํางาน “คลินิกความรูสูความเขมแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8” แบบทดสอบความรูพื้นฐานกอนการอบรม (Pretest) แบบทดสอบความรูพื้นฐานหลังการอบรม (Posttest) เฉลยขอสอบ Pretest และ Posttest
ภาพนิ่ง 1
การเบิกจายเงิน การเก็บรักษาเงินและ การนําเงินสงคลังของสวนราชการ
คําชี้แจง ความเปนมาโดยที่เปนการสมควรปรับปรุงระเบียบเกี่ยวกับการเบิกจายเงินจาก คลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง ใหเหมาะสมกับสภาวการณปจจุบันและสอดคลองกับ การปฏิ บั ติ ง านด า นการเงิ น การคลั ง ตามระบบการบริ ห ารการเงิ น การคลั ง ภาครั ฐ ด ว ยระบบ อิเล็กทรอนิกส (Government Fiscal Management Information System) อาศัยอํานาจตามความใน มาตรา 21 (2) แหงพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี กําหนดระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนํ า เงิ น ส ง คลั ง พ.ศ.2551 ขึ้ น ระเบี ย บนี้ ใ ห ใ ช บั ง คั บ ตั้ ง แต วั น ถั ด จากวั น ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 125 ตอนพิเศษ 50 ง วันที่ 7 มีนาคม 2551 กอนที่จะมาเปน ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงิน สงคลัง พ.ศ.2551 เดิม เปนระเบียบเบิกจายเงินจากคลัง พ.ศ.2520 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2525 (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2526 (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2531 (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2536 (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2538 (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2548 และระเบียบการเก็บรักษาและการนําเงินสงคลังของสวนราชการ พ.ศ. 2520 และที่แกไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2531 (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2543 สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 1
ซึ่งระเบียบเดิมกําหนดเปนเรื่องของการทํางานที่อยูบนพื้นฐานของการใชเอกสาร ประกอบการเบิกจาย ปจจุบันรัฐบาลมีนโยบายใหเบิกจายเงินผานระบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS) โดยใช smart card / User name /Password เครื่อง Terminal แทนเอกสาร เพื่อสงขอมูลขอเบิกเงิน ไปยังคลังจังหวัด จึงตองปรับปรุงระเบียบใหสอดรับกับวิธีการเบิกจายเงินผานระบบ GFMIS ซึ่ง ระบบดังกลาวเริ่มใชตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2547 เปนตนมา แตระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ.2551 ประกาศใชในเดือน มีนาคม 2551 ซึ่งในชวง ป 2547 - มีนาคม 2551 ตองมีระเบียบรองรับการทํางาน ผานระบบ GFMIS ซึ่งขณะนั้นระบบยังไม สมบูรณ กระทรวงการคลังโดยกรมบัญชีกลางไดมีหนังสือสั่งการ คือ ว 115 เปนการรองรับการ ทํางานในระบบ GFMIS และหนังสือสั่งการดังกลาวตองผานการเห็นชอบ จากคณะ รัฐมนตรี เชนกัน เมื่อปรับการเบิกจายเงินผานระบบ GFMIS คอนขางสมบูรณแลว จึงทําการปรับปรุง ระเบียบเบิกจายเงินจากคลัง พ.ศ. 2520 และที่แกไขเพิ่มเติม กับระเบียบการเก็บรักษาเงินและการ นําเงินสงคลังของสวนราชการ พ.ศ.2520 และที่แกไขเพิ่มเติม เปนระเบียบเบิกจายเงินจากคลัง การ เก็บรักษาเงินและการ นําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 ใหใชบังคับตั้งแต วันที่ 8 มีนาคม 2551
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 2
ภาพนิ่ง 2
ขอบเขตการบรรยาย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
กฎหมายที่เกี่ยวของ หลักการเบิกจายเงินจากคลัง วิธีการเบิกจายเงินจากคลัง การเบิกจายเงินยืม การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนําเงินสงคลัง
คําชี้แจง ขอบเขตการบรรยาย 1. กฎหมายที่เกี่ยวของ เพื่อใหผูเขาอบรมทราบวากระทรวงการคลังอาศัยอํานาจอะไรใน การกําหนดระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ.2551 ขึ้น 2. หลักการเบิกจายเงินจากคลัง มีหลักการอยางไร มาจากกฏหมายอะไร ซึ่งสรุปไดวา ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ.2551 ที่ปรับปรุงใหม นี้หลักการไมเปลี่ยนแปลงเพราะหลักการมาจาก พรบ.วิธีการงบประมาณเหมือนระเบียบเดิม สิ่งที่ เปลี่ยนแปลงคือวิธีการ เบิกจายเงินจากคลัง เพราะเดิมการเบิกจายเงินเปนการใชเอกสารประกอบ การวางฎีกาเบิกจายเงิน มีการตรวจสอบเอกสารกอนการสั่งจาย แตปจจุบันการเบิกจายเงินจาก คลัง เราใชระบบ GFMIS จึงตองออกระเบียบเพื่อรองรับการเบิกจายเงิน ผานระบบ GFMIS 3. วิธีการเบิกจายเงินจากคลัง ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงทั้งหมด ตามระเบียบฯ สวนที่ 3 วิธีการ เบิกเงิน ขอ 23 - ขอ 27 สวนที่ 4 การเบิกเงินของสวนราชการที่มีสํานักงานในตางประเทศ ขอ 28 – ขอ 30 4. การเบิกจายเงินยืม ตามระเบียบฯ หมวด 5 การเบิกจายเงินยืม ขอ 50 – ขอ 63
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 3
5. การรับเงิน ตามระเบียบฯ หมวด 6 การรับเงินของสวนราชการ สวนที่ 1 ใบเสร็จรับเงิน ขอ 64 – ขอ72 สวนที่ 2 การรับเงิน ขอ 73 – ขอ 78 6. การจายเงิน ตามระเบียบฯ หมวด 4 การจายเงินของสวนราชการ สวนที่ 1 หลักเกณฑ การจายเงิน ขอ 31 – ขอ 38 สวนที่ 2 หลักฐานการจาย ขอ 39 – 46 สวนที่ 3 วิธีปฏิบัติในการ จายเงิน ขอ 47 - 49 7. การเก็บรักษาเงิน ตามระเบียบฯ หมวด 7 การเก็บรักษาเงินของสวนราชการ สวนที่ 1 สถานที่เ ก็ บรัก ษา ข อ 79 – ข อ 81 ส ว นที่ 2 กรรมการเก็ บรัก ษาเงิ น ข อ 82 – ข อ 87 ส ว นที่ 3 การเก็บรักษาเงิน ขอ 88 – ขอ 94 8. การนําเงินสงคลัง ตามระเบียบฯ หมวด 8 การนําเงินสงคลังและฝากคลัง ขอ 95 – ขอ 100
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 4
ภาพนิ่ง 3
พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แกไขเพิ่มเติม มาตรา 21 บั ญ ญั ติ ว า ให รั ฐมนตรี เ ป น ผู รั บ ผิ ด ชอบในการควบคุ ม งบประมาณเพื่อปฏิบั ติการใหเป นไปตามกฎหมายระเบียบหรือข อบังคั บ และใหมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (2) กํ าหนดระเบียบหรือขอบั งคับเกี่ ยวกับการเบิกจ ายเงิน จากคลั ง การเก็ บ รั ก ษาเงิ น และการนํ า เงิ น ส ง คลั ง ด ว ยความเห็ น ชอบของ คณะรัฐมนตรี
คําชี้แจง ขอบเขตการบรรยายเรื่องแรก กฎหมายที่เกี่ยวของ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 21 (2) แหงพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังโดยความ เห็นชอบของคณะรัฐมนตรี กําหนดระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนํา เงินสงคลัง พ.ศ.2551 มาตรา 21 กําหนดวาใหรัฐมนตรี ในที่นี้หมายถึงรัฐมนตรีวาการกระทรวง การคลังเปนผูรับผิดชอบในการควบคุมงบประมาณใหการปฏิบัติเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และรัฐมนตรีมีอํานาจที่จะกําหนดระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับการเบิกจายเงิน การเก็บ รักษาเงิน และการนําเงินสงคลัง ซึ่งระเบียบนี้ตองผานความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ซึ่งหลายทานอาจสงสัยวาตอนที่ใช ว 115 ปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ชวงป 47 - 51 กอนที่จะมีระเบียบป 51 ซึ่ง ว 115 ตองผานการเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีหรือไม ก็ตองบอกวา ตองผานการเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เพราะอาศัยฐานอํานาจอยางเดียวกัน ก็คือ พระราชบัญญัติ วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 5
ภาพนิ่ง 4
หลักการเบิกจายเงินจากคลัง 1. การจ า ยเงิ น หรื อ ก อ หนี้ ผู ก พั น ได เ ฉพาะมี ก ฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่ง มติคณะรัฐมนตรี หรือไดรับอนุญาตจาก กระทรวงการคลัง 2. การเบิกเงินเพื่อการใดจะตองนําไปจายเพื่อการนั้น 3. หนี้ตองถึงกําหนดชําระหรือใกลจะถึงกําหนดชําระ 4. คาใชจา ยที่เ กิดขึ้นในปง บประมาณใด ใหเบิก จาก เงิน งบประมาณรายจายของปนั้น
คําชี้แจง ขอบเขตการบรรยาย เรื่องที่ 2 หลักการเบิกจายเงินจากคลัง ประการแรก ตามระเบียบขอ 31 การจายเงินของสวนราชการใหกระทําเฉพาะที่มีกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่ง กําหนดไว หรือมติคณะรัฐมนตรีอนุญาตใหจายได หรือตามที่ไดรับ อนุญาตจากกระทรวงการคลัง และผูมีอํานาจไดอนุมัติใหจายได ถาไมมีอะไรมารองรับการเบิกเงิน จากคลังก็ไมสามารถจะเบิกจายเงินไดจะเอาเงินสวนราชการไปใชจายอะไรตองมีหลักฐานมีการ อนุมัติจากผูมีอํานาจ ถึงจะเบิกจายได ประการที่สองการเบิกเงินเพื่อการใดจะตองนําไปจายเพื่อการนั้น เทานั้น ยกตัวอยางเชน เราเปนเจาหนาที่การเงิน มีขาราชการ นาย ก. มาขอยืมเงินจากสวนราชการเพื่อไปจัดฝกอบรม นาย ก. ทําสัญญายืมเงินมายื่น เราในฐานะเปนเจาหนาที่การเงินก็ทําการยืมเงินให นาย ก. แต นาย ก. ยังไมมารับเงิน นาย ข. มาขอรับเงินยืม ซึ่งเจาหนาที่การเงินยังไมไดทําการยืมในระบบจะนํา เงินยืม นาย ก. จายให นาย ข. กอน ทําอยางนี้ไมได เพราะหลักการเบิกจายเงินจากคลัง บอกวาการ เบิกเงินเพื่อการใดจะตองนําไปจายเพื่อการนั้น เบิกให นาย ก. ก็ตองจายให นาย ก. ประการที่ 3 หนี้ตองถึงกําหนดชําระหรือใกลจะถึงกําหนดชําระ เราถึงจะเบิกเงินจากคลัง มาชําระหนี้ได ซึ่งหลักการนี้มีความยืดหยุนคอนขางสูง เพราะระเบียบฯ พ.ศ. 2551 ไมไดพูดถึง สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 6
การอนุมัติเบิกเงินจากคลัง พูดถึงแตการอนุมัติจายเงิน เราสามารถเบิกเงินจากคลังมาเพื่อเตรียมที่ จะจายชําระหนี้ หรือผูมีสิทธิรับเงินไดสิ่งที่จะบอกเราไดวาหนี้ของสวนราชการถึงกําหนดชําระ หรือใกลถึงกําหนดชําระ ก็คือ เอกสารที่เรียกวาใบแจงหนี้ จะบอกเราไดวาหนี้ถึงกําหนดชําระแลว อยางเชน คาน้ํา คาไฟ เราก็จะไดรับใบแจงหนี้จากการประปา จากการไฟฟา ซึ่งนํามาขอเบิกเงิน เพื่อจายชําระหนี้ นอกจากใบแจงหนี้แลวยังมีอะไรอีกบางที่จะบอกวาสวนราชการเราจะตองจาย ชําระหนี้แลว เชน ใบตรวจรับพัสดุหรือใบตรวจรับงานจาง ตามสัญญา เมื่อทําการตรวจรับแลว ตองเบิกจายเงินใหเจาหนี้หรือผูรับจางภายใน 5 วันทําการ เราก็ตองเตรียมตัวเบิกจายเงินเพื่อจาย ใหทัน 5 วันทําการ หรือกรณีอื่น อยางเชน สัญญาเชาเครื่องถายเอกสาร ตองจายเงินทุกสิ้นเดือน เราก็จะทราบแลววาเรามีหนี้คาเชาเครื่องถายเอกสารรออยู เจาหนาที่การเงินก็จะตองเตรียมขอเบิก เงินเพื่อที่จะตองจายชําระในวันสิ้นเดือนที่ยกตัวอยางมาทั้งหมดคือหลักการหนี้ใกลจะถึงกําหนด ชําระ ประการสุดทายในหลักการเบิกจายเงินจากคลัง คือ คาใชจายที่เกิดขึ้นในปงบประมาณใด ให เบิกจายเงินงบประมาณรายจายของปนั้น แตความเปนจริงในทางปฏิบัติโอกาสที่ทําใหเบิกจาย ไมทันในปงบประมาณ มีหนี้แลวจายไมทัน มีโอกาสเกิดขึ้นสูง เราจะมาดูในขอยกเวนวาเรา สามารถเอาเงินของปที่แลวมาเปนคาใชจายของปถัดไปไดอยางไร เอาเงินของปปจจุบันไปเบิก เปนคาใชจายของปที่แลวไดอยางไร
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 7
ภาพนิ่ง 5
โดยปกติคาใชจายที่เกิดขึ้นในปใดใหเบิกจากเงิน งบประมาณรายจายของปนั้นไปจาย
เวนแต กันเงินไวเบิกเหลื่อมป คาใชจายคางเบิกขามป คาใชจายที่ใหถือเปนรายจายเมื่อไดรับแจงใหชําระหนี้ เงินยืมคาบเกี่ยว
คําชี้แจง ขอยกเวนจากปกติที่คาใชจายที่เกิดขึ้นในปใดใหเบิกจากเงินงบประมาณรายจายของปนั้น ไปจาย ไดแก ขอยกเวนที่ 1 คือ เวนแตสวนราชการไดทําการกันเงินไวเบิกเหลื่อมป ขอยกเวนที่ 2 คือ เขาเงื่อนไขเปนคาใชจายคางเบิกขามป ขอยกเวนที่ 3 คือ เขาเงื่อนไขเปนคาใชจายที่ใหถือเปนรายจายเมื่อไดรับแจงใหชําระหนี้ ขอยกเวนที่ 4 คือ เงินยืมคาบเกี่ยว
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 8
ภาพนิ่ง 6
การกันเงินไวเบิกเหลื่อมป 1. กรณีมีหนี้ผูกพัน 2. กรณีไมมีหนี้ผูกพัน
คําชี้แจง ขอยกเวนแรก เรื่องของการกันเงินไวเบิกเหลื่อมป ตามระเบียบฯ หมวด 9 การกันเงินไว เบิกเหลื่อมป ขอ 101 – ขอ 102 มีทั้งกรณีที่มีหนี้ผูกพัน และกรณีไมมีหนี้ผูกพัน กรณีมีหนี้ผูกพัน จะกันเงินไดหรือไมมีหลักเกณฑอยางไร
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 9
ภาพนิ่ง 7
กรณีมีหนี้ผูกพัน 1. 2. 3. 4.
กอหนี้กอนสิ้นปงบประมาณ สั่งซื้อ / จาง / เชา 50,000 บาท ขึ้นไป คาดวาจะเบิกจายไมทันสิ้นป
คําชี้แจง การกันเงินกรณีมีหนี้ผูกพัน ตามระเบียบฯ ขอ 101 สวนราชการใดไดกอหนี้ผูกพันไวกอน สิ้นปงบประมาณ โดยการซื้อทรัพยสิน จางทําของ หรือเชาทรัพยสินที่มีใบสั่งซื้อ ใบสั่งจาง หรือ สัญญา หรือขอตกลง และมีวงเงินตั้งแตหาหมื่นบาทขึ้นไปหรือตามที่กระทรวงการคลังกําหนด กรณีที่ไมสามารถเบิกเงิน ไปชําระหนี้ไดทันสิ้นปงบประมาณ ใหถือวาใบสั่งซื้อหรือใบสั่งจาง หรือสัญญาหรือขอตกลงที่ไดจัดทํา PO นําเขาขอมูลไวในระบบGFMIS เปนการขอกันเงินไวเบิก เหลื่อมปตอไปไดอีกเปนเวลาหกเดือนนับจากวันสิ้นปงบประมาณ หากเขาหลักเกณฑที่กลาว เปน การกันเงินกรณีมีหนี้ผูกพัน
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 10
ภาพนิ่ง 8
กรณีไมมีหนี้ผูกพัน 1. ไมไดกอหนี้ผูกพัน 2. แตมีความจําเปนตองใชจายเงินนั้นตอไป
คําชี้แจง การกันเงินกรณีไมมีหนี้ผูกพัน ในกรณีที่สวนราชการไมไดกอหนี้ผูกพันไวกอนสิ้นปงบ ประมาณ แตมีความจําเปนตองใชจายเงินนั้นตอไปอีกใหกระทรวงเจาสังกัดขอทําความตกลงกับ กระทรวงการคลัง เมื่อไดรับอนุมัติจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังแลว ใหขอกันเงินไวเบิก เหลื่อมปได แตทั้งนี้จะตองดูนโยบายของกระทรวงการคลังวาในแตละปกระทรวงการคลังมี นโยบาย อยางไรในเรื่องของการกันเงินกรณีไมมีหนี้ผูกพัน เพราะกระทรวงการคลังอาจกําหนด รายการ หรือวงเงินแตละปไมเหมือนกัน ปนี้อาจจะอนุมัติใหกันเงิน กรณีไมมีหนี้ได แตในป ถัดไปอาจไมอนุมัติรายการนี้ ในวงเงินเทานี้ ก็ได เพราะฉะนั้นสวนราชการจะตองมีการบริหาร วงเงินงบประมาณที่ไ ดรับภายในปงบประมาณนั้น ๆ ใหดี ยึดหลั กที่วาคาใชจายเกิดขึ้น ในป งบประมาณใดใหเบิกจายจากปงบประมาณนั้นกอน หากสุดวิสัยจึงจะใชขอยกเวนขอกันเงินไว เบิกเหลื่อมป เพราะถาเกิดกระทรวงการคลังไมอนุญาตใหกันเงิน อาจทําใหงบประมาณนั้นตอง พับไป ไมสามารถใชประโยชนของเงินงบประมาณได สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 11
ภาพนิ่ง 9
วิธีปฏิบัติการกันเงินไวเบิกเหลื่อมป 1. กรณีการกันเงินแบบมีหนี้ผูกพัน • ใบสั่งซื้อ / ใบสั่งจางที่จัดทําในระบบ GFMIS เปนการขอกันเงินไวเบิกเหลื่อมป 2. กรณีการกันเงินแบบไมมีหนี้ผูกพัน • ขอทําความตกลงกับกระทรวงการคลัง • กอนสิ้นปงบประมาณ
คําชี้แจง สําหรับวิธีปฏิบัติการกันเงินไวเบิกเหลื่อมป จําแนกเปนแตละกรณี ดังนี้ 1. การกันเงินกรณีมีหนี้ผูกพัน เวลาเรากอหนี้ผูกพันแลวจะตองรีบจัดทําใบ PO หรือ ใบสั่งซื้อ สั่งจาง ในระบบ GFMIS ซึ่งใบสั่งซื้อ สั่งจาง นี้ภายในสิ้นปยังเบิกจายไมทันระบบก็จะกัน เงินไวเบิกเหลื่อมปใหโดยอัตโนมัติ แตทั้งนี้วงเงินตามสัญญาจะตองเขาขายที่สามารถกันเงินไดไว เบิกเหลื่อมป คือ จะตองมีวงเงิน ตั้งแต 50,000 บาทขึ้นไป แมวาจะมีการเบิกจายไปบางแลววงเงิน คงเหลือจะมีไมถึง 50,000 บาท ก็สามารถที่จะกันเงินไวเบิกเหลื่อมปได 2. การกันเงินแบบไมมีหนี้ผูกพัน ทางสวนราชการจะตองขอทําความตกลงกับกระทรวง การคลัง ภายในป ง บประมาณ ทําหนังสือชี้ แ จงเหตุผ ล ความจํา เปน ไปยัง กระทรวง การคลั ง โดยตรง ซึ่งจะไดรับอนุมัติหรือไมตองขึ้นอยูกับการพิจารณาของกระทรวงการคลังโดยกรมบัญชี กลาง ภายใตนโยบายในแตละป วาจะใหกันเงินแบบไมมีหนี้ผูกพันหรือไม อยางไร ซึ่งการกันเงิน ไวเบิกเหลื่อมป กระทรวงการคลังอนุญาตกันเงินในชวงแรกใหระยะเวลา 6 เดือน ถาภายใน 6 เดือนยังเบิกจายไมเสร็จสิ้น ตองขอขยายเวลาเบิกจายเงินไวเบิกจายตอไปอีก 6 เดือน โดยทั้งนี้ จะตองสงเอกสารการขอขยายเวลาใหกระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) ใหทันภายใน 31 มีนาคม
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 12
ภาพนิ่ง 10
คาใชจายคางเบิกขามป หมายความวา คาใชจายที่ไมสามารถเบิกจายไดทัน * ในปงบประมาณที่เกิดคาใชจาย หรือ * ภายในปงบประมาณที่ไดกอหนี้
คําชี้แจง ขอยกเวนที่สอง คาใชจายคางเบิกขามป หมายความวา คาใชจายที่สวนราชการไมสามารถ เบิกจายไดทันในปงบประมาณที่เกิดคาใชจายนั้น หรือภายในปงบประมาณที่ไดกอหนี้ ถาหากวา สวนราชการมีคาใชจายคางเบิกขามปจํานวนมาก ๆ จะคอนขางเปนปญหากับสวนราชการในการ บริหารงบประมาณในปปจจุบัน จะมีปญหาเพราะวาคาใชจายคางเบิกขามป กระทรวงการคลัง กําหนดใหสามารถเบิกจายไดในบางรายการ ตามหนังสือที่ กค 0409.3/ ว 14 ลงวันที่ 27 มกราคม พ.ศ.2548 ไดกําหนดหลักเกณฑการเบิกคาใชจาย คางเบิกขามปเอาไว ซึ่งหลักเกณฑคอนขางเปน เกณฑลงโทษสวนราชการ
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 13
ภาพนิ่ง 11
หลักเกณฑการเบิกคาใชจายคางเบิกขามป 1. คาใชจายนั้นจะตองไมเปนการกอหนี้ผูกพันเกินงบประมาณที่ไดรับอนุมัติ 2. นํามาเบิกจากงบประมาณของปปจจุบัน 3. หัวหนาสวนราชการรับรองเงินงบประมาณของปที่เกิดคาใชจายตามแบบที่ กค. กําหนด 4. ใหเบิกจายจากเงินงบประมาณรายจายของปงบประมาณที่เบิก หนังสือ กค 0409.3/ว.14 ลงวันที่ 27 มกราคม 2548
คําชี้แจง หลั ก เกณฑ ก ารเบิก คาใชจา ยคา งเบิก ขามป ตามหนังสื อ กค 0409.3/ว.14 ลงวั น ที่ 27 มกราคม 2548 หลักเกณฑประการแรก คือ คาใชจายนั้นจะตองไมเปนการกอหนี้ผูกพันเกินงบประมาณที่ ไดรับอนุมัติ เชน ขณะนี้เปนปงบประมาณ 2555 สมมุติวาในปงบประมาณ 2554 เรามีคาใชจายคาง จายอยูแตเรายังไมไดจา ยจะดวยเหตุใดๆ ก็แลวแต เชน อาจจะหลงลืมเก็บใบแจงหนี้ใบนั้นไวไมได นํามาเบิกภายในปงบประมาณนั้นๆ และไมไดกันเงินไวเบิกเหลื่อมป (หรืออาจไมเขาขายที่จะกัน เงิน) กรณีนี้ก็จะเรียกวาเปนคาใชจายคางเบิกขามปกอนที่จะจัดการอยางไรกับใบแจงหนี้ใบนี้เรา ตองกลับไปดูวาไดกอหนี้ไปไมเกินกวาวงเงินงบประมาณที่ไดรับจัดสรรจากสํานักงบประมาณ ขอย้ําวาตองไมกอหนี้เกินวงเงินงบประมาณที่ไดรับจัดสรร วิธีการดูวาเงินเกินหรือไมเกิน จากที่ไดรับจัดสรร ใหดูวาในปที่เกิดคาใชจาย (2554) ไดรับงบประมาณเทาใด ใชไปแลวเทาใด มี ยอดคงเหลือมากกวาหรือเทากับใบแจงหนี้ใบนี้หรือไม หากเอายอดใบแจงหนี้ใบนี้ บวกกับยอดที่ ใชจายไปแลวไมเกินยอดงบประมาณที่ไดรับจัดสรรจากสํานักงบประมาณ แสดงวาไมเกินวงเงิน งบประมาณที่ไดรับจัดสรร (การดูยอดที่ไดรับจัดสรรและยอดคงเหลือจะดูในภาพรวมของกรมแต ละกรมไมไดดูภายในจังหวัด) สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 14
หลักเกณฑประการที่สอง จะตองนํามาเบิกในปงบประมาณปจจุบัน คือ เมื่อดูวาปกอน หรื อ ป ที่ เ กิ ด ค า ใช จ า ยมี ย อดเงิ น คงเหลื อ แล ว ให นํ า ใบแจ ง หนี้ ใ บนี้ ม าเบิ ก เงิ น ในป ป จ จุ บั น เพราะฉะนั้นในปปจจุบันจึงตองมีเงินดวย หลักเกณฑประการที่สาม หัวหนาสวนราชการจะตองมีการรับรองเงินงบประมาณของปที่ เกิดคาใชจายตามแบบที่กระทรวงการคลังกําหนด หัวหนาสวนราชการ คือ หัวหนาสวนราชการ เจาของงบประมาณ (อธิบดี) จะเห็นไดวาการเบิกจายจากเงินงบประมาณรายจายของปงบประมาณที่เบิก กรณีนี้เปน การสู ญ เสี ย งบประมาณ 2 ป เป น การสู ญ เสี ย ทั้ ง งบประมาณป ที่ เ กิ ด ค า ใช จ า ยและป ที่ เ บิ ก ซึ่ ง ค า ใช จ า ยถ า เกิ ด ค า งเบิ ก ข า มป ม ากๆ จะกระทบงบประมาณในป ป จ จุ บั น เพราะเราไม ไ ด ตั้ ง งบประมาณเผื่อไว ทําใหการใชจายงบประมาณปจจุบันคอนขางลําบาก ขอแนะนําสําหรับสวน ราชการใกลสิ้นปงบประมาณตองดําเนินการสํารวจงบประมาณโดยการดึงสถานะงบประมาณมา ตรวจสอบ สํารวจคาใชจายที่ตองจายในปนั้น และปองกันการหลงลืม โดยการจัดทําทะเบียนใบ แจงหนี้ดวยก็ได พยายามจายใหทันภายในปงบประมาณ เพื่อที่จะไมใหเปนปญหากับการบริหาร งบประมาณในปปจจุบัน
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 15
ภาพนิ่ง 12
รายการตอไปนี้ ถาคางเบิกใหนํามาเบิก งบกลางในปตอ ๆ ไป • • • •
เบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ เงินชวยเหลือขาราชการ ลูกจาง พนักงานรัฐ เงินสํารอง เงินสมทบ เงินชดเชยของขาราชการ คาใชจายในการรักษาพยาบาลของขาราชการ ลูกจางประจํา
คําชี้แจง คาใชจายใน 4 รายการตอไปนี้ ถาคางเบิกใหนํามาเบิกจากงบกลางในปตอ ๆ ไป โดยไมถือเปน คาใชจายคางเบิกขามป สามารถนํามาเบิกจากงบกลางเปนคาใชจายของปปจจุบันได ไดแก เบี้ ย หวั ด บํ า เหน็จ บํา นาญ เชน บํา เหน็จ บํา นาญปกติ บํา นาญพิเ ศษ บํ า เหน็ จ ตกทอด บําเหน็จดํารงชีพ ฯลฯ เงินชวยเหลือขาราชการ ลูกจาง พนักงานรัฐ เชน คาเลาเรียนบุตร เงินชวยคาทําศพ ฯลฯ เงินสํารอง เงินสมทบ เงินชดเชยของขาราชการ เชน กบข. กสจ. คาใชจายในการรักษาพยาบาลของขาราชการ ลูกจางประจํา คางเบิกสามารถนํามาเบิกได แตตามระเบียบการเบิกจายเงินสวัสดิการคารักษาพยาบาลฯ กําหนดใหสามารถนํามาเบิกไดไมเกิน 1 ป ตามวันที่ ที่ระบุในใบเสร็จรับเงิน
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 16
ภาพนิ่ง 13
คาใชจายใหถือวาเปนรายจาย เมื่อไดรับแจงใหชําระหนี้
คําชี้แจง ขอยกเวนขอที่สาม โดยปกติคาใชจายที่เกิดขึ้นในปใดใหเบิกจากเงินงบประมาณรายจาย ของปนั้นไปจาย เวนแต คาใชจายที่ใหถือวาเปนรายจายเมื่อไดรับแจงใหชําระหนี้ ที่กลาวมากอน หนานี้เปนคาใชจายคางเบิกขามปตามหนังสือสั่งการที่คอนขางที่จะเปนเชิงลงโทษสวนราชการ วา ตองบริหารงบประมาณในแตละปใหดี คาใชจายที่เกิดขึ้นในแตละปเบิกจายใหหมด เพราะถาไม ตรวจสอบจะกระทบกับงบประมาณในปปจจุบัน แตถาเปนคาใชจายใหถือวาเปนรายจายเมื่อไดรับ แจงใหชําระหนี้ จะเปนหนังสือสั่งการที่คอนขางจะชวยเหลือสวนราชการ ไมตองนํามาเบิกตาม หลักเกณฑการเบิกคาใชคางเบิกขามป เพราะสวนใหญแลวเปนคาใชจายที่เรียกเก็บในสิ้นเดือน ถัดไป ทําใหไมสามารถเบิกจายไดทัน เชน คาใชจายในเดือนกันยายน สวนราชการจะไดรับแจง หนี้ ใ นเดื อ นตุ ล าคม ทํ า ให ส ว นราชการไม ส ามารถเบิ ก จ า ยค า ใช จ า ยในเดื อ นกั น ยายนจาก งบประมาณในปนั้นได จึงตองนํามาเบิกในปงบประมาณถัดไป โดยไมถือวาเปนคาใชจายคางเบิก ขามป
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 17
ภาพนิ่ง 14
1. รายการคาใชจายที่เกิดขึ้นไมวาเดือนใด 1.1 1.2 1.3 1.4
คาเชาบานขาราชการ คาบอกรับสิ่งพิมพ คาบัญชีพลโดยสารรถไฟ คาขนสง
คําชี้แจง คาใชจายที่ใหถือเปนรายจายเมื่อไดรับแจงใหชําระหนี้ แบงได 3 ประการ ประการแรกก็คือ รายการคาใชจายที่เกิดขึ้นในปกอน ๆ ไมวาจะเดือนใดก็ตามหากวาเพิ่ง ไดรับใบแจงหนี้ในปปจจุบัน เชน 1. คาเชาบานขาราชการ สมมุติวาเราเพิ่งทราบวามีขาราชการมาขอเบิกคาเชาบานที่คางมา หลายป เราสามารถเบิกไดจากงบประมาณปปจจุบันไดเลย โดยไมตองมีการรับรองงบประมาณ คงเหลือของปที่เบิกคาใชจายตามแบบที่ กระทรวงการคลังกําหนด เหมือนการเบิกคาใชจายคาง เบิกขามป 2. คาบอกรับสิ่งพิมพ 3. คาบัญชีพลโดยสารรถไฟ 4. คาขนสง ทั้ง 4 รายการ ไดรับแจงใหชําระหนี้ เมื่อใด ก็สามารถเบิกไดจากงบประมาณปปจจุบันไดเลย
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 18
ภาพนิ่ง 15
2. รายการคาใชจายเฉพาะเดือนกันยายน 2.1 คาเบี้ยเลี้ยงผูตองหา 2.2 คาน้ํามันเชื้อเพลิง 2.3 คาเครื่องบริโ ภค อันประกอบดวย คาขาว คากับขาว และ คาเชื้อเพลิง ของผูตองขัง 2.4 คาเครื่องบริโภค อันประกอบดวย คาขาว คากับขาว และคา เชื้อเพลิงของคนไขนักเรียน พยาบาล และนักเรียนผูชวยพยาบาล
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร /Zone 8
คําชี้แจง ประการที่สองก็คือ รายการคาใชจายที่เปนคาใชจายเฉพาะเดือนกันยายนของปกอน เชน อนุญาตใหเฉพาะคาใชจายที่เปน คาเบี้ยเลี้ยงผูตองหา คาน้ํามันเชื้อเพลิง คาเครื่องบริโภค อัน ประกอบดวย คาขาว คากับขาว และคาเชื้อเพลิง ของผูตองขัง หรือวาคาเครื่องบริโภค อันประกอบ ดวย คาขาว คากับขาว และคาเชื้อเพลิงของคนไข นักเรียนพยาบาล และนักเรียนผูชวยพยาบาล ใน 4 รายการตรงนี้ ไมถือวาเปนคาใชจายคางเบิกขามป สามารถนํามาเบิกจากงบประมาณป ปจจุบันที่ไดรับแจงใหชําระหนี้ไดเลย
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 19
ภาพนิ่ง 16
3. รายการคาใชจายเฉพาะเดือนสิงหา-กันยา 3.1 คากําจัดขยะมูลฝอย 3.2 คาน้ํา 3.3 คาไฟฟา 3.4 คาโทรศัพท 3.5 คาเชาพูดโทรศัพททางไกล 3.6 คาเชาคูสายโทรศัพท 3.7 คาติดตั้งโทรศัพท 3.8 คาฝากสงไปรษณียภัณฑและพัสดุไปรษณียที่ชําระคาฝากสงเปนรายเดือน 3.9 คาเชาวิทยุโทรศัพทเคลื่อนที่ 3.10 คาใชจายเกี่ยวกับการใชเครื่องโทรสารที่ขึ้นทะเบียนเปนครุภัณฑของทางราชการ 3.11 คาใชจายในการเชาใชบริการวิทยุติดตามตัว เพื่อใชในการปฏิบัติราชการสําคัญ กรณีเรงดวน 3.12 คาเชาบริการสัญญาณเคเบิลทีวี
คําชี้แจง ประการสุดทาย รายการคาใชจายเฉพาะเดือนสิงหาคม – กันยายน อีก 12 รายการ นี้ เปน คาใชจายที่เกิดขึ้นเฉพาะเดือนสิงหา – กันยา สวนใหญจะเปนคาสาธารณูปโภค ซึ่งไดแก คากําจัด ขยะมูลฝอย คาน้ํา คาไฟ คาโทรศัพท คาติดตั้งโทรศัพท คาฝากสงไปรษณียเปนรายเดือน คาเชา วิทยุโทรศัพทเคลื่อนที่ คาเชาบริการสัญญาณเคเบิลทีวี ไมตองเบิกแบบคางเบิก ถาสวนราชการเพิ่ง ไดรับแจงหนี้ในปงบประมาณปจจุบันก็สามารถนํามาเบิกจากงบประมาณปปจจุบันไดเลย โดยไม ถือเปนคาใชจายคางเบิกขามป
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 20
ภาพนิ่ง 17
เงินยืมคาบเกี่ยว
คําชี้แจง ในหลักการเบิกจายเงินจากคลังจะบอกวา คาใชจายที่เกิดขึ้นในปงบประมาณใด ใหเบิก จ า ยเงิ น งบประมาณรายจ า ยของป นั้ น ข อ ยกเว น ประการสุ ด ท า ย คื อ การเบิ ก เงิ น ยื ม คาบเกี่ ย ว กอนอื่นมาทําความเขาใจเรื่อง เงินยืม กอน ผูที่มีสิทธิยืมเงินตองทําสัญญาการยืมเงิน ตามที่กระทรวงการคลังกําหนด ใหผูมีอํานาจ อนุมัติการจายเงินเปนผูมีอํานาจอนุมัติการจายเงินยืมดวย ถาหากผูยืมไมมีเงินใด ๆ ที่สวนราชการ ผู ใ ห ยื ม จะหั ก ส ง ใช คื น เงิ น ยื ม ได ให ผู ยื ม นํ า หลั ก ทรั พ ย ม าวางเป น ประกั น หรื อ หาบุ ค คลที่ กระทรวงการคลังกําหนดมาทําสัญญาค้ําประกันไว ตอสวนราชการผูใหยืม การอนุมัติใหยืมเฉพาะ เทาที่จําเปน สัญญาการยืมเงินทําขึ้น 2 ฉบับ เมื่อผูยืมไดรับเงินใหลงลายมือชื่อรับเงินในสัญญา การยืมเงินทั้ง 2 ฉบับ สวนราชการผูใหยืมเก็บรักษาไวเปนหลักฐานหนึ่งฉบับ ใหผูยืมเก็บไวหนึ่ง ฉบับ กรณี ที่ ต อ งจ า ยเงิ น ยื ม สํ า หรั บ การปฏิ บั ติ ร าชการที่ ติ ด ต อ คาบเกี่ ย วจากป ง บประมาณ ปจจุบันไปถึงปงบประมาณถัดไปใหเบิกเงินยืมงบประมาณในปปจจุบัน โดยใหถือวาเปนรายจาย ของงบประมาณปปจจุบัน และใหใชจายเงินยืมคาบเกี่ยวปงบประมาณถัดไป
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 21
ภาพนิ่ง 18
การยืมเงินคาบเกี่ยว คือ การยืมเงินงบประมาณปปจจุบัน เพื่อไปใชจายในปงบประมาณถัดไป หลัก ตองมีเวลาปฏิบัติราชการในปปจจุบันคาบเกี่ยวไปใน ปงบประมาณถัดไป
คําชี้แจง เงินยืมคาบเกี่ยวก็คือ การยืมเงินงบประมาณปปจจุบัน เพื่อนําไปใชจายในปงบประมาณ ถัด ไป โดยมีห ลั ก คื อ จะตอ งมีระยะเวลาการปฏิบัติร าชการในปปจจุบันคาบเกี่ย วไปในป ง บ ประมาณถัดไป แบงเปนเงินยืมสําหรับคาใชจายในการเดินทางไปราชการ และเงินยืมสําหรับ ปฏิบัติราชการอื่น ๆ การเบิกเงินเพื่อจายเปนเงินยืมใหแกบุคคลใดในสังกัดยืมเพื่อปฏิบัติราชการ ใหกระทําไดเฉพาะงบรายจายหรือรายการ ดังตอไปนี้ (1) รายการคาจางชั่วคราว สําหรับคาจางซึ่งไมมีกําหนดจายเปนงวดแนนอนเปนประจํา แตจําเปนตองจายใหลูกจางแตละวันหรือแตละคราวเมื่อเสร็จงานที่จาง (๒) รายการคาตอบแทนใชสอยและวัสดุ (๓) รายการคาสาธารณูปโภค เฉพาะคาบริการไปรษณียโทรเลข (๔) งบกลาง เฉพาะที่จายเปนเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตร หรือเงินสวัสดิการ เกี่ยวกับเงินเพิ่ม คาครองชีพชั่วคราวสําหรับลูกจางชั่วคราวซึ่งไมมีกําหนดจายคาจางเปนงวด แนนอนเปนประจํา แตจําเปนตองจายใหลูกจางแตละวันหรือแตละคราวเมื่อเสร็จงานที่จาง (๕) งบรายจายอื่น ๆ ที่จายในลักษณะเดียวกันกับ (๑) (๒) หรือ (๓)
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 22
ภาพนิ่ง 19
คําชี้แจง ระยะเวลาการยืมเงิ ม นคาบเกี่ยว มี 2 กรณี ก็คือ 1. เงิเ นยืมสําหรับค บ าใชจายในนการเดินทางไปราชการ ให ใ ใชจายไดไมเกินเกาสิบวัวนนับแต วั น เริ่ ม ต น ป ง บประมาณ ณใหม ถ า เป นการยื ม เงินเพื น ่ อ เดิ น ทางงไปราชการ ยื ม ได ไ ม เ กิ น 90 วั น นับตั้งแตวันที น ่ 1 ตุลาคมม ของปงบปรระมาณถัดไปป ยกตัวอยางเช ง น ไดรับออนุญาตใหเดิินทางไป ราชการตั้งแต แ วันที่ 15 กันยายน 25554 เดินทางไปปฏิบัติราชการตางจังหววัด และมีกําหนดต ห อง เดินทางถึงสิส้นเดือนตุลาคม า สามารถถยืมเงินจากงบประมาณปป 2554 ไปใชชในเดือนเดือนตุลาคม ซึ่ ง เป น งบ ประมาณป 2555 ได ห ลั ก ก็ คื อ ต อ งปฏิ ง บั ติ ร าช การในป ป จจจุ บั น ต อ เนื่ องไปใน อ ปงบประมาาณถัดไป แตถถาเกิดวาไดรับอนุ บ มัติใหเดินทางตั้งแตวัวันที่ 15 กันยาายน 2554 แลลวกลับมา ปฏิบัติงานใในสํานักงาน วันที่ 29 -300 กันยายน 25554 แตวันที่ 1 ตุลาคม 25554 จะตองเดิดินทางไป ราชการใหมม ถามีวันปฏิฏิบัติงานคั่นอยูตรงกลางกับวั บ นเดินทางไไปราชการอยยางนี้ ไมถือวาเปนเงิน ยืมคาบเกี่ยว โดยหลักแลลว ตองเดินทางไปปฏิบัตราชการติ ิร ดตอคาบเกี อ ่ยวกันไไป 2. เงินยืมสําหรัรับปฏิบัติราชชการอื่น ๆ ใหหใชจายไดไม ไ เกินสามสิบบวันนับแตวัวันเริ่มตน ปงบประมาาณใหม ถาเปปนการปฏิบัติติราชการอื่นที่ไมใชเกี่ยวกักับการเดินทาางไปราชการ ระเบียบ บอกวาใหยืมไดไมเกิน 30 3 วัน เชน การยืมเงินเพื่อการจัดฝกอบรม วันที่ 15 กก.ย. - 10 ต.ค..54 สํานักงานคลังจังหวั ง ดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในนเอกสารนี้ไมวารูปปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 23
ภาพนิ่ง 20
วิธีการเบิกจายเงินจากคลัง 1. หน ว ยงานผูเ บิก เปด บัญ ชี กับ ธนาคารรั ฐ วิส าหกิ จ เงินงบประมาณ 1 บัญชี เงินนอกงบประมาณ 1 บัญชี 2. สรางขอมูลหลักผูขายในระบบ GFMIS 3. ตรวจสอบความถูกตองของคําขอเบิกเงิน 4. ตรวจสอบการจายเงินของกรมบัญชีกลาง
คําชี้แจง สําหรับระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 สวนที่ 3 วิธีการเบิกเงิน ขอ 23 การเบิกเงินจากคลัง ใหหนวยงานผูเบิกปฏิบัติ ดังนี้ (1) เปดบัญชีเงินฝากไวกับธนาคารที่เปนรัฐวิสาหกิจ สําหรับเงินงบประมาณหนึ่งบัญชี และเงินนอกงบประมาณหนึ่งบัญชี (2) นําขอมูลของหนวยงานผูเบิกตาม (๑) หรือของเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงินสรางเปน ขอมูลหลักผูขายในระบบ GFMIS (3) ตรวจสอบความถู ก ต อ งครบถ ว นของคํ า ขอเบิ ก เงิ น ก อ นส ง คํ า ขอเบิ ก เงิ น ไปยั ง กรมบัญชีกลางหรือสํานักงานคลังจังหวัด แลวแตกรณี (4) ตรวจสอบการจายเงินของกรมบัญชีกลางใหกับหนวยงานผูเบิกหรือจายเงินตรงแก เจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงินตามคําขอเบิกเงินจากรายงานในระบบ GFMIS
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 24
ภาพนิ่ง 21
หนวยงานผูเบิก • ส ว นราชการ หน ว ยงานในกํ า กั บ ของรั ฐ องค ก ารมหาชน รัฐวิสาหกิจ องคกรจัดตั้งขึ้นตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ • ไดรับจัดสรรงบประมาณรายจาย • เบิกเงินจากกรมบัญชีกลาง / สํานักงานคลังจังหวัด
คําชี้แจง ซึ่งระเบียบนี้ คําวาหนวยงานผูเบิก หมายความถึง สวนราชการ หนวยงานในกํากับของรัฐ องคการมหาชนรัฐวิสาหกิจ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา หนวยงานขององคกรที่จัดตั้งขึ้นตาม บทบัญญั ติ ของรัฐธรรมนูญ หรื อ หนว ยงานอื่น ใดในลั ก ษณะเดี ย วกัน ทั้งนี้ ตองไดรับจัดสรร งบประมาณรายจายและเบิกเงินจากกรมบัญชีกลางหรือสํานักงานคลังจังหวัด แลวแตกรณี แตหนวยงานที่ปฏิบัติตามระเบียบการเบิกจายจริง ๆ อาจจะมีเฉพาะสวนราชการเทานั้น รัฐวิสาหกิจ หรือ อปท. ไมไดถือปฏิบัติตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง แตเรียกวาเปนหนวย งานผูเบิกดวยเหมือนกัน ตามระเบียบการเบิกจาย เพราะวาอาจจะมีในขั้นตอนแรกที่เขาเบิกเงินจาก คลังไป เขาตองสงขอมู มายังกรมบัญชีกลางหรือสํานักงานคลังจังหวัดเหมือนกัน
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 25
ภาพนิ่ง 22
ขอมูลหลักผูขาย • ขอมูลของหนวยงานผูเบิก / เจาหนี้ / ผูมีสิทธิรับเงิน • เกีย่ วกับชื่อ ที่อยู เลขประจําตัวประชาชน • ชื่อ และเลขที่บัญชีธนาคาร เลขที่สัญญา เงื่อนไข การชําระเงิน
คําชี้แจง สําหรับระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 สวนที่ 3 วิธีการเบิกเงิน ขอ 23 การเบิกเงินจากคลัง ใหหนวยงานผูเบิกปฏิบัติ นําขอมูลของหนวย งานผูเบิก หรือของเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงิน สรางเปนขอมูลหลักผูขายในระบบ GFMIS ขอมูลหลักผูขาย หมายความวา ขอมูลของหนวยงานผูเบิกหรือเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงินเกี่ยวกับ ชื่อ ที่อยู เลขประจําตัวประชาชน เลขประจําตัวผูเสียภาษี ชื่อและเลขที่บัญชีธนาคาร เลขที่สัญญา เงื่อนไขการชําระเงิน หรือขอมูลอื่นใดที่จําเปนแลวแตกรณี เพื่อใชสําหรับการรับเงินขอเบิกจาก คลัง
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 26
ภาพนิ่ง 23
การขอเบิกเงินเพื่อจายในระบบ GFMIS 1. จายเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของเจาหนีข้ องสวนราชการโดยตรง 2. จายเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของ สวนราชการ
คําชี้แจง ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ.2551 สวนที่ 3 วิธีการ ขอเบิกเงิน กรมบัญชีกลางจะสั่งจายเงินที่สวนราชการขอเบิกจากระบบ GFMIS โดย 1. จายเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของเจาหนี้ของสวนราชการโดยตรง เชน กรณีจัดหาพัสดุ มีใบสั่งซื้อ ใบสั่งจาง สัญญาหรือขอตกลง มีวงเงินตั้งแตหาพันบาทขึ้นไป หรือคาไฟฟา คาประปา คาโทรศัพท คาบริการไปรษณียโทรเลข ฯลฯ 2. จายเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของสวนราชการ เชน สวนราชการขอเบิกเงินเปนเงิน สวัสดิการ คาตอบแทน ฯลฯ เพื่อจายใหแกขาราชการในสังกัด
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 27
ภาพนิ่ง 24
การจายตรงเจาหนี้ หลักเกณฑ 1. มีใบสั่งซื้อ / จาง หรือสัญญา วงเงินตั้งแต 5,000 บาทขึ้นไป 2. ไมมีใบสั่งซื้อ / จาง /สัญญา หรือ มีใบสัง่ ซื้อ / จาง หรือสัญญาแตวงเงิน ไมถึง 5,000 บาท
คําชี้แจง ข อ 24 การขอเบิก เงิน ของสว นราชการสําหรับ การซื้อ ทรัพ ย สิน จางทํ า ของ หรื อเช า ทรัพยสินตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุใหปฏิบัติ ดังนี้ (1) ในกรณีที่มีใบสั่งซื้อ ใบสั่งจาง สัญญาหรือขอตกลง ซึ่งมีวงเงินตั้งแตหาพันบาทขึ้นไป หรือตามที่กระทรวงการคลังกําหนด ใหสวนราชการจัดทําหรือลงใบสั่งซื้อ หรือใบสั่งจางเพื่อทํา การจองงบประมาณในระบบ โดยกรมบัญชีกลางจายเงินเขาบัญชีใหกับเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงิน ของสวนราชการโดยตรง (2) สวนราชการไมตองจัดทําหรือลงใบสั่งซื้อหรือใบสั่งจางในระบบ วงเงินไมถึงหาพัน บาท กรมบั ญชีกลางจะจายเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของสวนราชการเพื่อใหสวนราชการ จายเงินใหเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงินตอไป หรือหากสวนราชการตองการใหจายเงินเขาบัญชีใหกับ เจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงินของสวนราชการโดยตรงก็ได ขอ 25 การขอเบิกเงินของสวนราชการสําหรับคาไฟฟา คาประปา คาโทรศัพท คาบริการ ไปรษณียโทรเลข คาบริการสื่อสารและโทรคมนาคม ใหกรมบัญชีกลางจายเงินเขาบัญชีเงินฝาก ธนาคารใหกับเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงินโดยตรง สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 28
ภาพนิ่ง 25
การจายใหสวนราชการ หลักเกณฑ 1. ไมมีใบสั่งซื้อ / จาง หรือสัญญา หรือ 2. มีใบสั่งซื้อ / จาง หรือสัญญา แตวงเงินไม ถึง 5,000 บาท
คําชี้แจง การจายใหแกสวนราชการ พิจารณาจากหลักเกณฑ ดังนี้ 1. สวนราชการไมตองจัดทําสัญญาหรือลงใบสั่งซื้อหรือใบสั่งจางในระบบ ถาวงเงินที่ จัดซื้อหรือจัดจาง ไมถึง 5,000 บาท กรมบัญชีกลางจะจายเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของสวน ราชการเพื่อใหสวนราชการ จายเงินใหเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงินตอไป 2. การขอเบิกเงินของสวนราชการสําหรับเงินสวัสดิการ คาตอบแทน หรือกรณีอื่นใดที่ กระทรวงการคลังกําหนด ใหกรมบัญชีกลางจายเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของสวนราชการ เพื่อใหสวนราชการจายเงินใหผูมีสิทธิรับเงินตอไป เงิ น ประเภทใดซึ่ ง โดยลั ก ษณะจะต อ งจา ยประจํา เดื อ นในวั น ทํ า การสิ้ น เดือ นให ส ว น ราชการสงคําขอเบิกเงินภายในวันที่สิบหาของเดือนนั้น หรือตามที่กระทรวงการคลังกําหนด
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 29
สรุป การจายตรงใหเจาหนี้ หรือการจายใหสวนราชการ สวนราชการจะตองตรวจสอบ ความถูกตอง ของคําขอเบิก เชน สวนราชการเลือกจายตรงเจาหนี้ ก็ตองระบุบัญชีเงินฝากธนาคาร ของเจาหนี้ที่สรางขอมูลหลักผูขายไวในระบบ และตองตรวจสอบวาบัญชีเงินฝากธนาคารยังมี ความเคลื่อนไหวอยู ถาหากบัญชีเงินฝากธนาคารของผูขายถูกยกเลิกไปแลว เมื่อกรมบัญชีกลางสั่ง จายเงินเขาบัญชี จะทําใหไมสามารถโอนเงินเขาบัญชีผูขายได ทําใหสวนราชการตองเปลี่ยนแปลง ขอมูลหลักผูขายใหม และขอเบิกเงินจากคลังใหม ทําใหใชระยะเวลาในการเบิกเงินนาน อาจจะทํา ใหผูขายไดรับความเดือดรอน การซื้อทรัพยสิน จางทําของ หรือเชาทรัพยสิน ใหสวนราชการดําเนินการขอเบิกเงินจาก คลังโดยเร็ว อยางชาไมเ กินห าวัน ทําการนับจากวันที่ไดต รวจรับทรัพยสิน หรือตรวจรับงาน ถูกตองแลวหรือนับจากวันที่ไดรับแจงจากหนวยงานยอย
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 30
ภาพนิ่ง 26
การเบิกจายเงินยืม
คําชี้แจง การเบิกจายเงินยืม อยูในหมวด 5 ของระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 ขอ 50 – ขอ 63
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 31
ภาพนิ่ง 27
เงิ น ยื ม หมายความว า เงิ น ที่ ส ว นราชการจ า ยให แ ก บุ ค คลใดยื ม เพื่ อ เป น ค า ใช จ า ยในการเดิ น ทางไปราชการ หรือปฏิบัติราชการอื่น ประเภทของเงินยืม • เงินงบประมาณ • เงินนอกงบประมาณ
คําชี้แจง เงินยืม หมายความวา เงินที่สวนราชการจายใหแกบุคคลใดบุคคลหนึ่งยืมเพื่อเปนคาใชจาย ในการเดินทางไปราชการหรือการปฏิบัติราชการอื่นใด ทั้งนี้ ไมวาจะจายจากงบประมาณรายจาย หรือเงินนอกงบประมาณ การจายเงินยืมจะจายไดแตเฉพาะที่ผูยืมไดทําสัญญาการยืมเงิน และผูมี อํานาจไดอนุมัติใหจายเงินยืม ตามสัญญาการยืมเงินนั้นแลวเทานั้น คําถาม กรณีที่บุคคลถูกยืมตัวมาชวยราชการสามารถยืมเงินจากตนสังกัดที่มาชวยราชการ ไดหรือไม คําตอบ ได คําถาม ถาเปนบุคคลภายนอกที่มาชวยงานที่หนวยงานไมไดเปน ขาราชการ และเปนบุคคลที่ไมมีเงินที่พึงจะไดรับจากสวนราชการเลย หนวยงานจางใหเขามา ทํางานในหนวยงานยืมเงินไดหรือไม คําตอบ ไมได แตสมมุติวาเปนงาน/โครงการที่เขาตอง รับผิดชอบ มีเงินที่พึงไดรับจากทางราชการ ตามระเบียบสามารถยืมไดแตตองนําหลักทรัพยมา วางเปนประกัน พรอมทั้งทําสัญญาวางหลักทรัพยหรือหาบุคคลที่กระทรวงการคลังกําหนดมาทํา สัญญาค้ําประกันไว ตอสวนราชการผูใหยืม ในทางปฏิบัติสวนราชการจะไมคอยใหยืมกลัวจะไม จายคืน เนื่องจากสัญญาจางมีกําหนดระยะเวลาเปนรายปหรือไมถึงป ถาเกิดผูยืมออกจากงานโดย ไมแจงใหหนวยงานทราบ ติดตามทวงถามเงินยืมคืนคอนขางลําบาก สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 32
ภาพนิ่ง 28
เงินงบประมาณ 1. รายการค าจ างชั่วคราว สํา หรั บ คา จา งซึ่ ง ไมมี กํา หนดจา ยเปน งวด แนนอนเปนประจํา แตจําเปนตอ งจายใหลูก จางแตละวัน หรือแตละคราวเมื่อ เสร็จงานที่จาง 2. รายการคาตอบแทนใชสอยและวัสดุ 3. รายการคาสาธารณูปโภค เฉพาะคาบริการไปรษณียโทรเลข 4. งบกลาง เฉพาะที่จายเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การศึกษาบุตร เงินเพิ่มคาครองชีพชั่วคราว 5. งบรายจายอื่น ๆ ที่จายในลักษณะเกี่ยวกับ (1) (2) (3)
คําชี้แจง การเบิกเงินเพื่อจายเปนเงินยืมใหแกบุคคลใดในสังกัดยืมเพื่อปฏิบัติราชการใหกระทําได เฉพาะงบรายจายหรือรายการดังตอไปนี้ ตามระเบียบขอ 58 1. รายการคาจางชั่วคราว สําหรับคาจางชั่วคราวซึ่งไมมีกําหนดจายเปนงวดแนนอนเปน ประจํา แตจําเปนตองจายใหลูกจางแตละวันหรือแตละคราวเมื่อเสร็จงานที่จาง 2. รายการคาตอบแทนใชสอยวัสดุ 3. รายการคาสาธารณูปโภคเฉพาะคาบริการไปรษณียโทรเลข 4. งบกลางเฉพาะที่ จ า ยเปน เงิ น สวัส ดิก ารเกี่ย วกั บ การศึก ษาบุต ร หรื อเงิน สวั สดิ ก าร เกี่ยวกับเงินเพิ่มคาครองชีพชั่วคราวสําหรับลูกจางชั่วคราว ซึ่งไมมีกําหนดจายคาจางเปนงวด แนนอนเปนประจํา แตจําเปนตองจายแตละวันหรือแตละคราวเมื่อเสร็จงานที่จาง 5. งบรายจายอื่น ๆ ที่จายในลักษณะเดียวกันกับ ขอ 1 ขอ 2 ขอ 3 คําถาม ยืมเงินเพื่อเปนคาใชจายเกี่ยวกับการศึกษาบุตร ไดหรือไม คําตอบ ยืมได เขา เงื่อนไขขอ 4 ถาเปนงบลงทุนแตเปนรายการคาจางชั่วคราวสามารถใหยืมเงินนําไปจายไดหรือไม
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 33
คําตอบ ยืมได เพราะเขาเงื่อนไข ขอ 5 ที่กําหนดวางบรายจายอื่น ๆ ที่จายในลักษณะเดียวกันกับ ขอ 1 ขอ 2 และขอ 3 รายจายงบอะไรก็ได เปนงบลงทุนแตจายในลักษณะเดียวกับ (1) (2) (3) สวนเงินนอกงบประมาณ การยืมเงินจากเงินนอกงบประมาณสามารถยืมได ตามระเบียบ ขอ 55 การจายเงินยืมจากเงินนอกงบประมาณ ใหสวนราชการกระทําไดเฉพาะเพื่อใชจายในการ ดําเนินงาน ตามวัตถุประสงคของเงินนอกงบประมาณประเภทนั้น หรือกรณีอื่น ซึ่งจําเปนเรงดวน แกราชการ และไดรับอนุมัติจากหัวหนาสวนราชการผูใหยืมนั้น
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 34
ภาพนิ่ง 29
กําหนดสงใบสําคัญ 1. เดินทางไปประจําตางสํานักงาน : สงทางไปรษณียลงทะเบียน หรือธนาณัติ ภายใน 30 วัน นับจากวันไดรับเงิน 2.เดินทางไปราชการอื่น:สงภายใน 15 วัน นับจากวัน กลับมาถึง 3. ปฏิบัติราชการอื่นนอกจาก (1) – (2) :สงภายใน 30 วัน นับจากวันไดรับเงิน
คําชี้แจง การยืมเงิน ขอ 60 ใหผูยืมสงหลักฐานการจายและเงินเหลือจายที่ยืมไป (ถามี) ภายใน กําหนดระยะเวลา ดังนี้ (1) กรณี เ ดิ น ทางไปประจํ า ต า งสํ า นั ก งาน หรื อ การเดิ น ทางไปราชการประจํ า ใน ตางประเทศ หรือกรณีเดินทางกลับภูมิลําเนาเดิม ใหสงแกสวนราชการผูใหยืมโดยทางไปรษณีย ลงทะเบียน หรือ ธนาณัติ แลวแตกรณี ภายในสามสิบวันนับจากวันไดรับเงิน (2) กรณีเดินทางไปราชการอื่น รวมทั้งการเดินทางไปราชการตางประเทศชั่วคราว ใหสง แกสวนราชการ ผูใหยืมภายในสิบหาวันนับจากวันกลับมาถึง (3) การยืมเงินเพื่อปฏิบัติราชการนอกจาก (1) หรือ (2) ใหสงแกสวนราชการผูใหยืม ภายในสามสิบวันนับจากวันไดรับเงิน ในกรณีที่ผูยืมไดสงหลักฐานการจาย เพื่อสงใชคืนเงินยืมแลวมีเหตุตองทักทวง ใหสวน ราชการผูใหยืม แจงขอทักทวงใหผูยืมทราบโดยดวน แลวใหผูยืมปฏิบัติตามคําทักทวงภายใน สิบหาวันนับจากวันที่ไดรับคําทักทวง หากผูยืมมิไดดําเนินการตามคําทักทวงและไมไดชี้แจง สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 35
เหตุผลใหสวนราชการผูใหยืมทราบ ใหสวนราชการผูใหยืมดําเนินการตามเงื่อนไขในสัญญาการ ยืมเงิน โดยถือวาผูยืมยังมิไดสงใชคืนเงินยืมไวเปนหลักฐาน ตัวอยางเชน สมมุติวาทานไดรับคําสั่งยายไปประจําที่จังหวัดเชียงใหม กอนเดินทางตอง ยืมเงินเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการที่จะตองยายไปอยูตางสํานักงาน พอเดินทางถึง จังหวัดเชียงใหมแลวทานไมตองเดินทางกลับมากรุงเทพเพื่อมาเคลียรเงินยืม ใหทานสงใบสําคัญ (รายงานการเดินทาง) ทางไปรษณียลงทะเบียน และถามีเงินยืมเหลือก็สงเปนธนาณัติกกลับมา ภายในระยะเวลา 30 วัน นับตั้งแตวันที่ไดรับเงิน กรณีเดินทางไปราชการอื่นชั่วคราว เชนสมมติวา เดินทางไปจังหวัดเชียงใหมเหมือนกัน แตระยะเวลา แค 10 วัน เมื่อกลับมาถึงสํานักงานแลว กรณีนี้ระยะเวลาการสงใชคืนเงินยืมจะตาง กับกรณีแรก กรณีแรกบอกวา 30 วัน นับตั้งแตวันที่ไดรับเงิน กรณีไปราชการชั่วคราวนี้บอกวาให สงใชเพื่อเคลียรเงินยืมภายใน 15 วัน นับแตวันกลับมาถึง สวนกรณีสุดทายการยืมเงินเพื่อปฏิบัติราชการอื่น ในการปฏิบัติราชการอื่นอยาง เชน ยืม เพื่อจัดฝกอบรม คาใชจายในการฝกอบรม ตอนจัดฝกอบรมเราตองดูวายืมเงินมาตั้งแตวันไหน อัน นี้ก็ใชระยะเวลาในการสงใชใบสําคัญ ก็เปนระยะเวลา 30 วัน นับแตวันที่รับเงิน การฝกอบรมตางประเทศ ถาเดินทางไปชั่วคราว ก็เขากรณีไปราชการอื่นเปนการชั่วคราว กลับมาถึง ก็ลางใบยืมภายใน 15 วัน นับแตกลับมาถึง
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 36
ภาพนิ่ง 30
การจายเงินยืม 1. ทําสัญญายืมตามที่ ก.ค. กําหนดและรับรองวาจะปฏิบัติตามระเบียบหรือ ขอบังคับของทางราชการและผูมีอํานาจไดอนุมัติ 2. สัญญายืมทํา 2 ฉบับ • ผูยืมเก็บ 1 ฉบับ • สวนราชการเก็บ 1 ฉบับ 3. เงื่อนไขการจายเงินยืม • ใหยืมเฉพาะเทาที่จําเปน • หามใหยืมครั้งใหม หากยังไมลางครั้งเกา • การจายเงินยืมเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร ไมเกิน 90 วัน เวนแตขอตกลงกับ ก.ค.
คําชี้แจง การจ า ยเงิ น ยื ม ไม ว า เป น เงิ น ยื ม จากเงิ น งบประมาณ หรื อ เงิ น นอกงบประมาณ ตาม ระเบียบ ขอ 50 จะตองทําสัญญาการยืมเงิน สัญญาวางหลักทรัพย และสัญญาค้ําประกัน ตามแบบที่ กระทรวงการคลังกําหนดเทานั้น สวนราชการไมสามารถกําหนดรูปแบบเองได ใหผูมีอํานาจ อนุมัติ การจายเงินยืม ตามขอ 32 คือ สวนกลาง เปนอํานาจของหัวหนาสวนราชการระดับกรม หรือผูที่ไดรับมอบหมาย ดํารงตําแหนงตั้งแตระดับ 7 หรือเทียบเทาขึ้นไป สวนราชการในภูมิภาค เปนอํานาจของหัวหนาสวนราชการในภูมิภาคเปนผูอนุมัติ ตามระเบียบขอ 56 สัญญาการยืมเงินใหจัดทําขึ้นสองฉบับ โดยเมื่อผูยืมไดรับเงินตาม สัญญาการยืมแลว ใหลงลายมือชื่อรับเงินในสัญญาการยืมเงินทั้งสองฉบับ พรอมกับมอบใหสวน ราชการผูใหยืมเก็บรักษา ไวเปนหลักฐานหนึ่งฉบับ ใหผูยืมเก็บไวหนึ่งฉบับ
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 37
ตามระเบียบขอ 54 การอนุมัติใหยืมเงินเพื่อใชในราชการ ใหผูมีอํานาจพิจารณาอนุมัติ ใหยืมเฉพาะ เทาที่จําเปน และหามมิใหอนุมัติใหยืมเงินรายใหมในเมื่อผูยืมมิไดชําระคืนเงินยืมราย เกาใหเสร็จสิ้นไปกอน ซึ่งผูยืมจะตองประมาณการวาในการเดินทางแตละครั้งตองไปราชการ จํานวนกี่วัน มีคาใชจายอะไรเกิดขึ้นบาง เชน คาพาหนะเทาไหร คาเบี้ยเลี้ยงกี่วัน คาที่พักกี่คืน ตาม สิทธิที่ไดรับจากทางราชการ แลวรวมจํานวนคาใชจายที่คํานวณไดเพื่อทําสัญญาการยืมเงิน ผูมี อํานาจอนุมัติก็จะตรวจสอบวาวงเงินที่ขอยืมเหมาะสมหรือไม กับการเดินทางไปราชการในแตละ ครั้ง และขอ 59 การจายเงินยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักรให จายไดสําหรับระยะเวลาการเดินทางที่ไมเกินเกาสิบวัน หากมีความจําเปนจะตองจายเกินกวา กําหนดเวลาดังกลาว สวนราชการจะตองขอทําความตกลงกับกระทรวงการคลังกอน โดยชี้แจง เหตุผลความจําเปนที่ตองเดินทางเกินกวา 90 วัน
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 38
ภาพนิ่ง 31
ผูมีอํานาจอนุมัติการจายเงินยืม
1. สวนราชการในราชการบริหาร สวนกลาง
2. สวนราชการในราชการบริหาร สวนกลางที่มีสํานักงานอยูใน ภูมิภาคหรือแยกตางหากจาก กระทรวง ทบวง กรม 3. สวนราชการในภูมิภาค
หัวหนาสวนราชการระดับกรมหรือ ผูที่ไดรับมอบหมายซึ่งดํารงตําแหนง ตั้งแตระดับ 7 หรือเทียบเทาหรือผูมี ยศตั้งแต พันโท นาวาโท นาวา อากาศโท หรือพันตํารวจโท ขึ้นไป หัวหนาสวนราชการระดับกรมจะ มอบหมายใหหวั หนาหนวยงานเปน ผูอนุมัติจายเงินก็ได หัวหนาสวนราชการในภูมิภาค
คําชี้แจง สําหรับผูมีอํานาจอนุมัติการจายเงินยืม ตามขอ 51 ใหผูมีอํานาจอนุมัติการจายเงินตามขอ 32 เปนผูมีอํานาจอนุมัติการจายเงินยืมดวย ผูมีอํานาจอนุมัติการจายเงินตามขอ 32 ไดแก 1. สวนราชการในราชการบริหารสวนกลาง ใหเปนอํานาจของหัวหนาสวนราชการระดับ กรม หรือ ผูที่ หัวหนาสวนราชการระดับกรมมอบหมาย ซึ่งดํารงตําแหนงตั้ งแตระดับ 7 หรือ เทียบเทาขึ้นไปหรือผูที่มียศ ตั้งแตพันโท นาวาโท นาวาอากาศโท หรือพันตํารวจโทขึ้นไป เมื่อ ปรับตําแหนงจากซีเปนแทงทางกรมบัญชีกลาง ไดมีการออกหนังสือสั่งการไปวาใหเปนระดับ ชํานาญการในประเภทวิชาการ หรือวาเปนประเภทอาวุโสที่สามารถมอบหมายใหเปนผูอนุมัติการ จายเงินยืม 2. สวนราชการในราชการบริหารสวนกลางที่มีสํานักงานอยูในสวนภูมิภาคหรือแยก ต า งหากจาก กระทรวง ทบวง กรม หั ว หน า ส ว นราชการระดั บ กรมจะมอบหมายให หั ว หน า สํานักงานเปนผูอนุมัติสําหรับหนวยงานนั้นก็ได เพราะโดยปกติแลว ถาเกิดจะใหหัวหนาสวนใน
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 39
ระดับกรมเปนผูอนุมัติอาจจะไมเกิดความคลองตัว จึงกําหนดใหหัวหนาสวนระดับกรมสามารถ มอบหมายใหกับหัวหนาหนวยงานที่เปนสวนกลาง ในภูมิภาคอนุมัติจายเงินได 3. สวนราชการในราชการบริหารสวนภูมิภาค ใหเปนอํานาจของหัวหนาสวนราชการใน ภูมิภาคสําหรับการอนุมัติการจายเงินยืมในสวนราชการที่เปนสวนราชการในภูมิภาค ตามระเบียบ บอกวา ใหหัวหนาสวนราชการในภูมิภาคเปนผูมีอํานาจอนุมัติการจายเงินยืม ยกตัวอยางเชน กรมบัญชีกลาง มีหนวยงาน ที่ตั้งอยูในภูมิภาคก็คือสํานักงานคลังจังหวัด หัวหนาสวนราชการ ก็ คือ คลังจังหวัดเปนผูมีอํานาจอนุมัติ กรณีที่คลังจังหวัดไมอยู ผูรักษาราชการแทนคลังจังหวัด ก็ สามารถอนุมัติการจายเงินยืมได
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 40
ภาพนิ่ง 32
ชดใชเงินยืม • รับคืนเงินยืมใหออกใบเสร็จรับเงิน / ใบรับใบสําคัญ และบันทึกการรับคืน • เก็บรักษาสัญญายืมที่ยังไมชําระเงินคืนใหปลอดภัย • เรงรัดชดใชเงินยืม
คําชี้แจง
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 41
ในเรื่องของการชดใชเงินยืม ในกรณีที่ผูยืมไดสงหลักฐานการจายเพื่อสงใชคืนเงินยืม แลวมีเหตุตองทักทวง ใหสวนราชการผูใหยืมแจงขอทักทวงใหผูยืมทราบโดยดวน แลวใหผูยืม ปฏิบัติตามคําทักทวงภายใน สิบหาวันนับจากวันที่ไดรับคําทักทวง หากผูยืมมิไดดําเนินการตามคํา ทักทวงและไมไดชี้แจงเหตุผลใหสวนราชการ ผูใหยืมทราบ ใหสวนราชการผูใหยืมดําเนินการ ตามเงื่อนไขในสัญญาการยืมเงิน โดยถือวาผูยืมยังมิไดสงใชคืนเงินยืมเทาจํานวนที่ทักทวงนั้น ตามระเบียบขอ 61 เมื่อผูยืมสงหลักฐานการจายและหรือเงินเหลือจายที่ยืม (ถามี) ให เจาหนาที่ผูรับคืนบันทึกการรับคืนในสัญญาการยืมเงินพรอมทั้งออกใบเสร็จรับเงินและหรือใบรับ ใบสําคัญตามแบบที่กรมบัญชีกลางกําหนดใหผูยืมไวเปนหลักฐาน ตามระเบียบขอ 62 ใหสวนราชการเก็บรักษาสัญญาการยืมเงินซึ่งยังมิไดชําระคืนเงินยืม ใหเสร็จสิ้นไวใน ที่ปลอดภัยอยาใหสูญหายและเมื่อผูยืมไดชําระคืนเงินยืมเสร็จสิ้นแลวใหเก็บ รักษาเชนเดียวกับหลักฐานการจาย ตามระเบีย บขอ 63 ในกรณีที่ ผูยืมมิ ไ ด ชําระคืน เงิน ยื ม ภายในระยะเวลาที่ กํา หนด ให ผูอํานวยการกองคลังเรียกใหชดใชเงินยืมตามเงื่อนไขในสัญญาการยืมเงินใหเสร็จสิ้นไปโดยเร็ว อยางชาไมเกินสามสิบวันนับแตวันครบกําหนด
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 42
กรณีที่ผูยืมสงหลักฐานชดใชเงินยืม ปรากฏวามียอดคาใชจายสูงกวาจํานวนเงินที่ยืมไป ผู ยืมสามารถ ขอรับเงินในสวนที่สูงกวาเงินยืมได กรณีที่ถึงเวลาตองชดใชเงินยืมแตผูยืมยังไมชดใชเงินยืม ทางกองคลังมีหนาที่ตองเรงรัด ชดใช จะใหเวลาอีก 30 วัน นับตั้งแตครบกําหนดในแตละกรณี เชนยืมเงินไปจัดฝกอบรม ตองคืน ภายใน 30 วัน นับแตวันที่ ไดรับเงิน พอครบกําหนด 30 วัน ผูยืมยังไมสงหลักฐาน ทางกองคลัง ตองเรงรัดใหชดใชเงินยืมภายใน 30 วัน นับแตวันครบกําหนด ถาผูยืมยังไมสงหลักฐาน ทางกอง คลังมีจะตองแจงใหกับหัวหนาสวนราชการ เพื่อพิจารณาสั่งการใหเปนไปตามสัญญายืมเงิน ก็คือ บังคับใหเปนไปตามสัญญายืมโดยใหหักเงินจากเงินที่เขาจะไดรับจาก ทางราชการอยางเชน เงิน ที่เขาพึงจะไดจากราชการอื่น ๆ เชน เงินเดือน คาจาง คาตอบแทน ทางกองคลังสามารถเสนอ หัวหนาสวนราชการเพื่อใหหักเงินมาชดใชคืนตามสัญญายืมได ยกตัวอยางเชน เจาหนาที่ยืมเงินไป 20,000.- บาท เพื่ อเป น คา ใชจ ายในการเดินทาง เมื่อครบกํ าหนดตามสัญญา 15 วัน ยัง ไม สง หลักฐานชดใชทางกองคลังเรงรัด 30 วัน ก็ยังไมสงหลักฐานชดใช ผอ.กองคลังตองรายงานไปยัง หัวหนาสวนราชการเพื่อสั่งการใหหักจากเงินเดือนเขามาชดใชคืนเงินยืม ในเรื่องของเงินยืมในการ ปฏิบัติราชการเปนแนววินิจฉัยของกระทรวงการคลังวาหักไดทั้งหมดเลยทั้งเดินทางไปราชการ และการปฏิบัติราชการอื่นเพราะเนื่องจากวา เปนขอตกลงตามสัญญาอยูแลว วาเขาจะตองปฏิบัติ ตามสัญญา เมื่อถึงกําหนดแลวไมใชคืนเงินยืมก็จะสามารถหักชดใชไดเลย หักไดทั้งจํานวนเทากับ วงเงินที่ยืมไป
ภาพนิ่ง 33
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 43
การรับเงิน
คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 6 การรับเงินของสวนราชการประกอบดวย สวนที่ 1 ใบเสร็จรับเงิน ขอ 64 ถึง ขอ 72 สวนที่ 2 การรับเงิน ขอ 73 ถึงขอ 78
ภาพนิ่ง 34
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 44
ใบเสร็จรับเงิน 1. ใชตามแบบ กค หรือทีไ่ ดรบั ความตกลง 2. จัดทําทะเบียนคุม 3. ใชเฉพาะภายในปงบประมาณ 4. รายงานภายในวันที่ 31 ตุลาคมของ ปงบประมาณถัดไป 5. เก็บรักษาไวในที่ปลอดภัย
คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 6 การรับเงินของสวนราชการ ประกอบดวย สวนที่ 1 ใบเสร็จรับเงิน ขอ 64 ใบเสร็จรับเงินใหใชตามแบบที่กระทรวงการคลังกําหนด และใหมีสําเนาเย็บติดไว กับเลมอยางนอยหนึ่งฉบับหรือตามแบบที่ไดรับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง ใบเสร็จรับเงินที่ออกดวยคอมพิวเตอรใหเปนไปตามที่กระทรวงการคลังกําหนด ขอ 65 ใบเสร็จรับเงินใหพิมพหมายเลขกํากับเลม และหมายเลขกํากับใบเสร็จรับเงินเรียง กันไปทุกฉบับ ขอ 66 ใหสวนราชการจัดทําทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงินไวเพื่อใหทราบ และตรวจสอบได ว า ได จั ด พิ มพ ขึ้ น จํ า นวนเท าใด ได จ า ยใบเสร็ จ รั บ เงิน ไปจํา นวนกี่ เ ลม เลขที่ ใ ดถึ ง เลขที่ ใ ด ให หนวยงานใด หรือเจาหนาที่ผูใด ไปดําเนินการจัดเก็บเงินเมื่อ วัน เดือน ป ใด ขอ 67 การจายใบเสร็จรับเงินใหหนวยงานหรือเจาหนาที่ไปจัดเก็บเงินใหพิจารณา จายในจํานวนที่เหมาะสมแกลักษณะงานที่ปฏิบัติ และใหมีหลักฐานการรับสงใบเสร็จรับเงินนั้นไว ดวย ขอ 68 ใบเสร็จรับเงินเลมใด เมื่อไมมีความจําเปนตองใช เชน ยุบเลิกสํานักงานหรือไมมี การจัดเก็บเงินตอไปอีก ใหหัวหนาหนวยงานที่รับใบเสร็จรับเงินนั้นนําสงคืนสวนราชการที่จาย ใบเสร็จรับเงินนั้นโดยดวน สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 45
ขอ 69 เมื่อสิ้นปงบประมาณ ใหหัวหนาหนวยงานซึ่งรับใบเสร็จรับเงินไปดําเนินการ จัดเก็บเงินรายงานใหผูอํานวยการกองคลังหรือหัวหนาสวนราชการในราชการบริหารสวนภูมิภาค ทราบวามีใบเสร็จรับเงินอยูในความรับผิดชอบเลมใด เลขที่ใดถึงเลขที่ใด และไดใชใบเสร็จรับเงิน ไปแลวเลมใด เลขที่ใดถึงเลขที่ใด อยางชาไมเกินวันที่ 31 ตุลาคม ของปงบประมาณถัดไป ขอ 70 ใบเสร็จรับเงินเลมใดสําหรับรับเงินของปงบประมาณใด ใหใชรับเงินภายใน ปงบประมาณนั้นเมื่อขึ้นปงบประมาณใหม ใหใชใบเสร็จรับเงินเลมใหม ใบเสร็จรับเงินฉบับใดยัง ไมใชใหคงติดไวกับเลมแตใหปรุเจาะรู หรือประทับตราเลิกใช เพื่อใหเปนที่สังเกตมิใหนํามาใชรับ เงินไดอีกตอไป ขอ 71 หามขูดลบเพื่อแกไขเพิ่มเติมจํานวนเงินหรือชื่อผูชําระเงินในใบเสร็จรับเงิน หากใบเสร็จรับเงินฉบับใดลงรายการรับเงินผิดพลาด ใหขีดฆาจํานวนเงินและเขียนใหม ทั้งจํานวน โดยใหผูรับเงินลงลายมือชื่อกํากับการขีดฆานั้นไว หรือขีดฆาเลิกใชใบเสร็จรับเงินนั้น ทั้งฉบับแลวออกใหม โดยใหนําใบเสร็จรับเงินที่ขีดฆาเลิกใชนั้นติดไวกับสําเนาใบเสร็จรับเงินใน เลม ขอ 72 ใหสวนราชการเก็บรักษาสําเนาใบเสร็จรับเงินซึ่งสํานักงานตรวจเงินแผนดินยัง มิไดตรวจสอบไวในที่ปลอดภัยอยาใหสูญหายหรือเสียหายได และเมื่อไดตรวจสอบแลวใหเก็บไว อยางเอกสารธรรมดาได
ภาพนิ่ง 35
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 46
เลขที่ ............... เลมที่ ............... ใบเสร็จรับเงิน ในราชการกรม.......................................... ที่ทําการ.......................................... วันที่..........เดือน..................พ.ศ. ................. ไดรับเงินจาก............................................................................................................... เปนคา........................................................................................................................ จํานวน................บาท...............สตางค (ตัวอักษร)...................................................... ไวเปนการถูกตองแลว (ลงชื่อ)............................................ผูรับเงิน (ตําแหนง)........................................
คําชี้แจง ตั ว อย า ง ใบเสร็จ รับ เงิ น ที่ ก ระทรวงการคลัง กํ า หนด มีสํ า เนาเย็ บติ ด เล ม ไว 1 ฉบั บ มี หมายเลขกํากับเลมเรียงกันไปทุกเลม หมายเลขกํากับใบเสร็จ เรียงกันไปทุกฉบับ สาระสําคัญ 11 รายการ ไดแก ครุฑ เลขที่ เลมที่ ใชในราชการอะไร ที่ทําการอยูที่ไหน วันเดือนปที่รับเงิน รับเงิน จากใคร เปนคาอะไร จํานวนเงินทั้งที่เปนตัวเลขและตัวอักษร มีขอความวารับไวเปนการถูกตอง แลว ลงชื่อผูรับเงิน ตําแหนงผูรับเงิน ในใบเสร็จรับเงินดวย ถาสวนราชการมีความจําเปนตองใชที่ รูปแบบไมเหมือนกับที่กระทรวงการคลังกําหนด ตองไดรับความตกลงกับกระทรวงการคลังกอน จึงจะใชได และใหมีการจัดทําทะเบียนคุม วาเบิกมาใชตั้งแตเลมที่เทาไหรถึงเลมที่เทาไหร จํานวน กี่เลม ในปนั้น จายใหใครไปแลวบาง เลมไหนที่ใชในปงบประมาณไหนก็ใหใชในปงบประมาณ นั้น ถามีใบเสร็จรับเงินเหลือก็ใหปรุเจาะรู หรือประทับตราเลิกใช ใหขึ้นเลมใหม มีการรายงาน การใชใบเสร็จรับเงินตอนสิ้นปงบประมาณ ภายในวันที่ 31 ตุลาคม ของทุกป สวนกลางรายงาน ผอ.กองคลัง สวนภูมิภาครายงานใหกับหัวหนาสวนราชการทราบดวย ในสวนที่ใชแลว จะมีสําเนา ตองเก็บรักษาไวในที่ปลอดภัย ถา สตง.ยังไมตรวจสอบ ทําลายไมได ตองเก็บรักษาไว 10 ป ตาม ระเบียบงานสารบรรณ จึงจะทําลายได ภาพนิ่ง 36
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 47
เงินที่รับ 1. เงินสด 2. เช็ค 3. ดราฟท 4. ตั๋วแลกเงิน
คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ.2551 หมวด 6 การรับเงินของสวนราชการ ประกอบดวย สวนที่ 2 การรับเงิน ขอ 73 ถึงขอ 78 ขอ 73 การรับเงินใหรับเปนเงินสด เวนแตการรับเปนเช็ค ดราฟต หรือตราสารอยางอื่น หรือโดยวิธีอื่นใดใหปฏิบัติตามที่กระทรวงการคลังกําหนด เงินที่สวนราชการรับ โดยปกติรับเปนเงินสด สามารถรับเปนเช็ค ดราฟต หรือวาตั๋วแลก เงินก็ไดแตตองเปนไปตามที่กระทรวงการคลังกําหนด
ภาพนิ่ง 37
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 48
เช็คที่รับ 1. เช็คธนาคารแหงประเทศไทย (เช็คประเภท ก.) 2. เช็คที่ธนาคารค้ําประกัน (เช็คประเภท ข.) 3. เช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจาย (เช็คประเภท ค.) 4. เช็คที่ผูมีหนาที่ชําระเงินผลประโยชนเปนผูเซ็นสั่ง จายและใชชําระโดยตรง (เช็คประเภท ง.)
คําชี้แจง ในเรื่องของการรับเช็ค ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการรับเงินผลประโยชน เปนเช็ค กําหนดวา ในการรับเช็คมีทั้งหมด 4 ประเภท 1. ประเภท ก. เปนเช็คธนาคารแหงประเทศไทย 2. ประเภท ข. เปนเช็คที่ธนาคารค้ําประกัน 3. ประเภท ค. เปนเช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจาย เปนแคชเชียรเช็ค 4. ประเภท ง. เปนเช็คที่ผูมีหนาที่ที่ชําระเงินผลประโยชนเปนผูเซ็นสั่งจายและ ใชชําระโดยตรง การรับเงิน 3 ประเภท คือ ก ข ค สวนกลาง สั่งจายในนามกระทรวงการคลัง แต ถาสวนภูมิภาคจะสั่งจายในนามกระทรวงการคลังผานสํานักงานคลังจังหวัด แตถาเปนเช็คประเภท ง ไมวาสวนกลางหรือสวนภูมิภาค จะตองสั่งจายในนามสวนราชการ เช็คประเภท ง เปนเช็คสวน บุคคล มีโอกาสที่เช็คจะถูกปฏิเสธการจายเงินคอนขางสูงกวาเช็ค 3 ประเภท จึงกําหนดใหสั่งจาย ในนามสวนราชการผูรับเงิน เพราะวาสามารถติดตามไดถูกตองในกรณีที่ธนาคารปฏิเสธการ จายเงิน สําหรับการรับเปน ดราฟต หรือวาตั๋วแลกเงิน ปฏิบัติตาม ว 56 การรับเช็คประเภท ค คือ ในการรับแคชเชียรเช็ครับยังไง ดราฟต หรือตั๋วแลกเงินก็ใหปฏิบัติเชนเดียวกัน ภาพนิ่ง 38
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 49
การรับเงิน 1. ออกใบเสร็จรับเงินทุกครั้ง 2. โดยปกติใชเลมเดียว 3. บันทึกการรับเงินภายในวันที่รับเงิน 4. ตองมีการตรวจสอบ
คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 ขอ 74 ในการจัดเก็บหรือรับชําระเงิน ใหสวนราชการซึ่งมีหนาที่จัดเก็บ หรือรับชําระเงินนั้น ออกใบเสร็จรับเงินใหแกผูชําระเงินทุกครั้ง เวนแตเปนการรับชําระเงินคาธรรมเนียมที่มีเอกสาร ของทางราชการระบุจํานวนเงินที่รับชําระอันมีลักษณะเชนเดียวกับใบเสร็จรับเงินโดยเอกสาร ดังกลาวจะตองมีการควบคุมจํานวนที่รับจายทํานองเดียวกันกับใบเสร็จรับเงิน หรือเปนการรับเงิน ตามคําขอเบิกเงินจากคลัง ในกรณีที่มีความจําเปนตองใหเจาหนาที่ไปจัดเก็บหรือรับชําระเงินนอกที่ตั้งสํานักงาน ปกติ ใหปฏิบัติเชนเดียวกัน ขอ 75 ใหใชใบเสร็จรับเงินเลมเดียวกันรับเงินทุกประเภท เวนแตเงินประเภทใดที่มีการรับ ชําระเปนประจําและมีจํานวนมากราย จะแยกใบเสร็จรับเงินเลมหนึ่งสําหรับการรับชําระเงิน ประเภทนั้นก็ได
ขอ 76 ใหสวนราชการบันทึกขอมูลการรับเงินในระบบภายในวันที่ไดรับเงิน
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 50
เงินประเภทใดที่มีการออกใบเสร็จรับเงินในวันหนึ่ง ๆ หลายฉบับ จะรวมเงินประเภทนั้น ตามสําเนาใบเสร็จรับเงินทุกฉบับมาบันทึกเปนรายการเดียวในระบบก็ไดโดยใหแสดงรายละเอียด วาเปนเงินรับ ตามใบเสร็จเลขที่ใดถึงเลขที่ใดและจํานวนเงินรวมรับทั้งสิ้นเทาใดไวดานหลังสําเนา ใบเสร็จรับเงินฉบับสุดทาย ในกรณีที่มีการรับเงินภายหลังกําหนดเวลาปดบัญชีสําหรับวันนั้นแลวใหบันทึกขอมูลการ รับเงินนั้นในระบบในวันทําการถัดไป ขอ 77 เมื่อสิ้นเวลารับจายเงิน ใหเจาหนาที่ผูมีหนาที่จัดเก็บหรือรับชําระเงินนําเงินที่ไดรับ พรอมกับสําเนาใบเสร็จรับเงินและเอกสารอื่นที่จัดเก็บในวันนั้นทั้งหมดสงตอเจาหนาที่การเงิน ของสวนราชการนั้น ขอ 78 ใหหัวหนาสวนราชการหรือผูที่ไดรับมอบหมายเปนลายลักษณอักษร จากหัวหนา สวนราชการตรวจสอบจํานวนเงินที่เจาหนาที่จัดเก็บและนําสงกับหลักฐานและรายการที่บันทึกไว ในระบบวาถูกตองครบถวนหรือไม เมื่อไดตรวจสอบความถูกตองตามวรรคหนึ่งแลว ใหผูตรวจแสดงยอดรวมเงินรับตาม ใบเสร็จรับเงินทุกฉบับที่ไดรับในวันนั้นไวในสําเนาใบเสร็จรับเงินฉบับสุดทาย และลงลายมือชื่อ กํากับไวดวย สรุป ในการรับเงินของสวนราชการ ตองมีการออกใบเสร็จรับเงินทุกครั้ง กําหนดใหใช ใบเสร็จรับเงิน เลมเดียวรับเงินทุกประเภท แตมีขอยกเวนอยูวา ถาเกิดการรับเงินของหนวยงานที่ รับประเภทไหนเปนการเฉพาะคอนขางมากก็ใหแยกออกมารับเงินประเภทนั้นอยางเดียวก็ได ใน การรับเงินจะตองมีการบันทึกวันที่ในการรับเงิน ยกตัวอยางเชน มีคนนําเงินมาชําระใหกับทาง ราชการ หลั ง จากป ด บั ญ ชี แ ล ว หลั ง 3 โมงครึ่ ง ให ส ว นราชการรั บ ไว แล ว หมายเหตุ ใ น ใบเสร็ จ รั บเงินฉบั บนั้ น ว ารั บเงิ น หลังป ด บัญชี พรอมเก็บรัก ษาเงิ น ไวใ นตูเซฟ ถ า เปน เงิน สด เก็บไวในตูเซฟลักษณะหีบหอ พอวันรุงขึ้นมีการบันทึกวารับเงินหลังจากปดบัญชี
ภาพนิ่ง 39 สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 51
กรณีใบเสร็จรับเงินที่ยังมิไดใชสูญหาย 1. แจงความนับแตทราบวาหาย 2. ติดประกาศยกเลิกไวในที่พบเห็นและ ตรวจสอบไดงาย 3. ทําหนังสือแจงเวียนการยกเลิกให สวนราชการตาง ๆ ทราบ คําชี้แจง ในกรณีที่ใบเสร็จรับเงินที่ยังมิไดใชสูญหาย กรณีนี้เปนแนววินิจฉัยของกระทรวงการคลัง กําหนดวา ใหสวนราชการตองแจงความนับตั้งแตที่ทราบวาใบเสร็จรับเงินที่ยังมิไดใชนั้นสูญหาย และตองมีการติดประกาศยกเลิกในที่เปดเผย พบเห็นไดงายดวยวา มีใบเสร็จรับเงินเลมใดบางที่ หายไป ทําหนังสือเวียนใหสวนราชการตางๆ ทราบวามีการยกเลิกใบเสร็จรับเงินเหลานั้น เพื่อ ปองกันการนําใบเสร็จรับเงินที่หาย นํากลับมาใชใหม แตถาเปนใบเสร็จรับเงินที่ใชแลวสูญหาย สตง. ยังไมไดทําการตรวจสอบ ก็ตองขอทําความตกลงกับกระทรวงการคลัง วาเราจะใชเอกสาร หลักฐานอะไรให สตง. ตรวจสอบ ทุกครั้งที่เกิดการสูญหายของใบเสร็จรับเงินที่ใชแลว
ภาพนิ่ง 40
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 52
การจายเงิน
คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 4 การจายเงินของสวนราชการ ประกอบดวย สวนที่ 1 หลักเกณฑการจายเงิน ขอ 31 ถึงขอ 38 สวนที่ 2 หลักฐานการจาย ขอ 39 ถึงขอ 46 และสวนที่ 3 วิธีปฏิบัติในการจายเงิน ขอ 47 ถึงขอ 49
ภาพนิ่ง 41
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 53
หลักฐานการจาย หมายความถึง หลักฐานซึง่ แสดงวา ไดมีการจายเงินใหแกเจาหนี้หรือ ผูรับตามขอผูกพันแลว
คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 4 การจายเงินของสวนราชการ สวนที่ 2 หลักฐานการจาย ขอ 39 ถึงขอ 46 กําหนดนิยาม ของคําวา หลักฐานการจายไววา คือหลักฐานที่แสดงวาไดมีการจายเงินใหแกผูรับหรือเจาหนี้ตาม ขอผูกพันโดยถูกตองแลว ขอ 39 การจายเงินของสวนราชการ ใหใชใบเสร็จรับเงินหรือใบสําคัญรับเงิน ซึ่งผูรับเงิน เป น ผู อ อกให ห รื อ ใบรั บ รองการจ า ยเงิ น หรื อ เอกสารอื่ น ใดที่ ก ระทรวงการคลั ง กํ า หนดเป น หลักฐานการจาย ข อ 40 การจ า ยเงิ น โดยกรมบั ญชี ก ลาง เพื่อ เข าบั ญชี ใ ห กับ เจ าหนี้ ห รือ ผูมี สิท ธิ รั บ เงิ น โดยตรง ใหใชรายงานในระบบตามที่กระทรวงการคลังกําหนด เปนหลักฐานการจาย
ขอ 41 ใบเสร็จรับเงินอยางนอยตองมีรายการดังตอไปนี้ 1.ชื่อ สถานที่อยู ที่ทําการของผูรับเงิน สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 54
2. วัน เดือน ป ที่รับเงิน 3. รายการแสดงการรับเงินระบุวาเปนคาอะไร 4. จํานวนเงินทั้งตัวเลขและตัวอักษร 5. ลายมือชื่อของผูรับเงิน ขอ 42 กรณีสวนราชการจายเงินรายการใด ซึ่งตามลักษณะไมอาจเรียกใบเสร็จรับเงินจาก ผูรับเงินไดใหผูรับเงินลงชื่อรับเงินในใบสําคัญรับเงินเพื่อใชเปนหลักฐานการจาย ขอ 43 กรณีขาราชการหรือลูกจางของสวนราชการจายเงินไป โดยไดรับใบเสร็จรับเงินซึ่ง มีรายการไมครบถวนตามที่กระทรวงการคลังกําหนด หรือไมอาจเรียกใบเสร็จรับเงินจากผูรับเงิน ไดใหขาราชการหรือลูกจางนั้นทําใบรับรองการจายเงินเพื่อนํามาเปนเอกสารประกอบการขอเบิก เงินตอสวนราชการ และเมื่อมีการจายเงินแลวใหขาราชการหรือลูกจางนั้น ทําใบสําคัญรับเงินและ ลงชื่อในใบสําคัญรับเงินและลงชื่อในใบสําคัญรับเงินนั้น เพื่อเปนหลักฐานการจาย ในกรณีที่ไดรับใบเสร็จรับเงินแลว แตเกิดสูญหาย ใหใชสําเนาใบเสร็จรับเงินซึ่งผูรับเงิน รับรองเปนเอกสารประกอบการขอเบิกเงินแทนได ในกรณีที่ไมอาจขอสําเนาใบเสร็จรับเงินได ใหขาราชการหรือลูกจาง ทําใบรับรองการ จายเงินโดยชี้แจงเหตุผล พฤติการณที่สูญหายหรือไมอาจขอสําเนาใบเสร็จรับเงินไดและรับรองวา ยั ง ไม เ คยนํ า ใบเสร็ จ รั บ เงิ น นั้ น มาเบิ ก จ า ย แม พ บภายหลั ง จะไม นํ า มาเบิ ก จ า ยอี ก แล ว เสนอ ผูบังคับบัญชา ตั้งแตชั้นอธิบดีหรือตําแหนงเทียบเทาขึ้นไป สําหรับสวนราชการในราชการบริหาร สวนกลาง หรือผูวาราชการจังหวัดสําหรับสวนราชการในราชการบริหารสวนภูมิภาค แลวแตกรณี เพื่อพิจารณาอนุมัติ เมื่อไดรับอนุมัติแลวใหใชใบรับรองนั้นเปนหลักฐานประกอบการขอเบิกเงิน ไดและเมื่อมีการจายเงินแลว ใหขาราชการหรือลูกจางนั้น ทําใบสําคัญรับเงินและลงชื่อในใบ สําคัญรับเงินนั้นเพื่อเปนหลักฐานการจาย ข อ 44 กรณี ห ลั ก ฐานการจ า ยของส ว นราชการสู ญ หายให ถื อ ปฏิ บั ติ ต ามวิ ธี ก ารที่ กระทรวงการคลังกําหนด ขอ 45 หลักฐานการจายตองพิมพหรือเขียนดวยหมึก การแกไขหลักฐานการจายใหใชวิธี ขีดฆา แลวพิมพหรือเขียนใหม และใหผูรับเงินลงลายมือชื่อกํากับไวทุกแหง ขอ 46 ให สว นราชการเก็ บรัก ษาหลักฐานการจา ยไวใ นที่ปลอดภัย มิ ใ ห สูญ หายหรือ เสียหายได ทั้งนี้ เมื่อสํานักงานตรวจเงินแผนดินไดตรวจสอบแลวใหเก็บอยางเอกสารธรรมดาได
ภาพนิ่ง 42 สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 55
ใบเสร็จรับเงิน
ซึ่งเปนหลักฐานการจาย อยางนอยตองมีสาระสําคัญ ดังนี้ 1. ชื่อ สถานที่อยู หรือที่ทําการของผูรบั เงิน 2. วัน เดือน ป ที่รบั เงิน 3. รายการแสดงการรับเงินระบุวา เปนคาอะไร 4. จํานวนเงินทั้งตัวเลขและอักษร 5. ลายมือชื่อของผูรับเงิน
คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 4 การจายเงินของสวนราชการ สวนที่ 2 หลักฐานการจาย ขอ 41 ใบเสร็จรับเงินอยางนอยตองมีรายการดังตอไปนี้ 1. ชื่อ สถานที่อยู ที่ทําการของผูรับเงิน 2. วัน เดือน ป ที่รับเงิน 3. รายการแสดงการรับเงินระบุวาเปนคาอะไร 4. จํานวนเงินทั้งตัวเลขและตัวอักษร 5. ลายมือชื่อของผูรับเงิน
ภาพนิ่ง 43 สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 56
ใบเสร็จรับเงิน ที่ทําการ อาคาร A วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2553 เปนคา ปากกา จํานวนเงิน 500 บาท – สตางค (หารอยบาทถวน) (ลงชื่อ) @ ผูรับเงิน
คําชี้แจง ตัวอยางใบเสร็จรับเงินฉบับนี้ สามารถใชเปนหลักฐานการจายได ใบเสร็จรับเงินที่เปน หลักฐานการจาย หมายความวาหลักฐานที่แสดงวาสวนราชการไดมีการจายเงินไปใหกับบุคคล ภายนอก เชน จายชําระคาวัสดุสํานักงาน เจาหนี้จะออกใบเสร็จรับเงินใหกับสวนราชการ เพื่อเปน หลักฐานวาไดจายชําระหนี้คาสินคาแลว ซึ่งสาระสําคัญของใบเสร็จรับเงินตองระบุ อยางนอย 5 ขอ คือ ชื่อ สถานที่อยู ที่ทําการของผูรับเงิน วัน เดือน ป ที่รับเงิน รายการที่รับชําระเปนคาอะไร มีจํานวนเงินทั้งที่เปนตัวเลขและตัวอักษรรวมอยูดวย พรอมทั้งมีลายมือชื่อของผูรับเงินดวย
ภาพนิ่ง 44
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 57
บิลเงินสด บริษัท ปากกาไทย จํากัด พญาไท กทม. 10400
วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2553 เปนคา ปากกาลูกลื่น จํานวนเงิน 500 บาท – สตางค (หารอยบาทถวน) (ลงชื่อ) @ ผูขาย
คําชี้แจง ตัวอยางใบเสร็จรับเงินฉบับนี้ไมสามารถใชเปนหลักฐานการจายไดเพราะรายการลงชื่อ จะตองลงชื่อผูรับเงิน ลงชื่อผูขายไมได สวนหัวใบเสร็จรับเงินจะเรียกใบเสร็จรับเงินหรือบิลเงิน สดก็ได ไมใชสาระสําคัญ
ภาพนิ่ง 45 สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 58
ที่ ................................... (สวนราชการเปนผูให)
ใบสําคัญรับเงิน วันที่ ...... เดือน ................... พ.ศ............ ขาพเจา ..............................................................อยูบา นเลขที่ ....................................................... ตําบล .............................................. อําเภอ ........................................... จังหวัด ................................................. ไดรับเงินจากแผนกการ ..................................จังหวัด ................................. ดังรายการตอไปนี้ รายการ
จํานวนเงิน
บาท จํานวนเงิน (ตัวอักษร) ....................................................... ลงชื่อ ................................................ผูรบั เงิน ลงชื่อ ................................................ผูจายเงิน
คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 4 การจายเงินของสวนราชการ สวนที่ 2 หลักฐานการจาย ขอ 43 กรณีขาราชการหรือลูกจางของสวนราชการจายเงินไป โดยไดรบั ใบเสร็จรับเงินซึ่ง มีรายการไมครบถวนตามทีก่ ระทรวงการคลังกําหนด หรือไมอาจเรียกใบเสร็จรับเงินจากผูรับเงิน ไดใหขาราชการหรือลูกจางนั้นทําใบรับรองการจายเงินเพื่อนํามาเปนเอกสารประกอบการขอเบิก เงินตอสวนราชการ และเมื่อมีการจายเงินแลวใหขาราชการหรือลูกจาง ทําใบสําคัญรับเงินและลง ชื่อในใบสําคัญรับเงิน เพื่อเปนหลักฐานการจาย
ภาพนิ่ง 46
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 59
ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน สวนราชการ ............................................. วัน เดือน ป
รายละเอียดรายจาย
จํานวนเงิน
หมายเหตุ
รวมทั้งสิ้น
รวมทั้งสิ้น (ตัวอักษร ) ......................................................................................................... ขาพเจา ........................................... ตําแหนง ................................................... กอง ........................................... ขอรับรองวารายจายขางตนนี้ไมอาจเรียกใบเสร็จรับเงินจากผูรับได และขาพเจาไดจายไปในนามของราชการโดยแท (ลงชื่อ)........................…………....... วันที่ ........................................
คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 4 การจายเงินของสวนราชการ สวนที่ 2 หลักฐานการจาย ขอ 39 การจายเงินของสวนราชการ ใหใชใบเสร็จรับเงินหรือใบสําคัญรับเงิน ซึ่งผูรับ เงินเปนผูออกใหหรือใบรับรองการจายเงิน หรือเอกสารอื่นใดที่กระทรวงการคลังกําหนดเปน หลักฐานการจาย ขอ 43 กรณีขาราชการหรือลูกจางของสวนราชการจายเงินไป โดยไดรับใบเสร็จรับเงินซึ่ง มีรายการไมครบถวนตามที่กระทรวงการคลังกําหนด หรือไมอาจเรียกใบเสร็จรับเงินจากผูรับเงิน ไดใหขาราชการหรือลูกจางนั้นทําใบรับรองการจายเงินเพื่อนํามาเปนเอกสารประกอบการขอเบิก เงินตอสวนราชการ และเมื่อมีการจายเงินแลวใหขาราชการหรือลูกจางนั้น ทําใบสําคัญรับเงินและ ลงชื่อในใบสําคัญรับเงินนั้น เพื่อเปนหลักฐานการจาย หลั ก ฐานการจ า ยในกรณี ยื ม เงิ น มาจั ด ฝ ก อบรม เช น ค า ปากกา ร า นค า ไม อ อก ใบเสร็จรับเงิน สามารถใชใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน เพื่อเปนหลักฐานการจายเงินได แตถาเปน โครงการใหญ ในกรณีเชารถ จะตองทําตามระเบียบพัสดุ ถาวงเงินที่จัดหาครั้งละ เกิน 5 พันบาท ตองจายตรงเจาหนี้ ภาพนิ่ง 47
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 60
ใบเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล โปรดทําเครื่องหมาย9 ลงในชอง พรอมทั้งกรอกขอความเทาที่จําเปน
แบบ 7131
1. ขาพเจา..........................................................................ตําแหนง........................................................... สังกัด...................................................................................................................................................... 2. ขอเบิกเงินคารักษาของ ตนเอง คูสมรส ชื่อ ...........................................................เลขประจําตัวประชาชน.............................. บิดา ชื่อ ...........................................................เลขประจําตัวประชาชน............................. มารดา ชื่อ...........................................................เลขประจําตัวประชาชน............................. บุตร ชื่อ ...........................................................เลขประจําตัวประชาชน............................. เกิดเมื่อ............................................................เปนบุตรลําดับที่................................. ยังไมบรรลุนิติภาวะ เปนบุตรไรความสามารถ หรือเสมือนไรความสามารถ ปวยเปนโรค..................................................................................................................................................... และไดเขารับการตรวจรักษาพยาบาลจาก(ชื่อสถานพยาบาล)......................................................................... ซึ่งเปนสถานพยาบาลของ ทางราชการ เอกชน ตั้งแตวันที่.................................................ถึงวันที่ ..............................................................เปนเงินรวมทั้งสิ้น.........................................................................บาท (............................................................................................)ตามใบเสร็จรับเงินที่แนบ จํานวน..............ฉบับ 3. ขาพเจามีสิทธิไดรับเงินคารักษาพยาบาล ตามพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล ตามสิทธิ เฉพาะสวนที่ขาดอยูจากสิทธิที่ไดรับจากหนวยงานอื่น เฉพาะสวนที่ขาดอยูจากสัญญาประกันภัย เปนเงิน..........................................................บาท (.........................................................................................)และ (1) ขาพเจา ไมมีสิทธิไดรับคารักษาพยาบาลจากหนวยงานอื่น มีสิทธิไดรับคารักษาพยาบาลจากหนวยงานอื่นแตเลือกใชสิทธิจากทางราชการ มีสิทธิไดรับคารักษาพยาบาลตามสัญญาประกันภัย เปนผูใชสิทธิเบิกคารักษาพยาบาลสําหรับบุตรแตเพียงฝายเดียว (2) ........ขาพเจา ไมมีสิทธิไดรับคารักษาพยาบาลจากหนวยงานอื่น มีสิทธิไดรับคารักษาพยาบาลจากหนวยงานอื่น แตคารักษาพยาบาลที่ไดรับต่ํากวาสิทธิตามพระราชกฤษฎีกาฯ มีสิทธิไดรับคารักษาพยาบาลตามสัญญาประกันภัย มีสิทธิไดรับคารักษาพยาบาลจากหนวยงานอื่นในฐานะเปนผูอาศัยสิทธิของผูอื่น
คําชี้แจง - หลักฐานการจายเงินอีกรูปแบบหนึ่ง -
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 61
ภาพนิ่ง 48
4. เสนอ........................................................................... ขาพเจาขอรับรองวา ขาพเจามีสิทธิเบิกคารักษาพยาบาลสําหรับตนเองและบุคคลในครอบครัว ตามจํานวนที่ขอเบิก ซึ่งกําหนดไวในกฎหมาย และขอความขางตนเปนจริงทุกประการ (ลงชื่อ).....................................................ผูขอรับเงินสวัสดิการ (.....................................................) วันที่..............เดือน...................................พ.ศ............ 5. คําอนุมัติ อนุมัติใหเบิกได (ลงชื่อ).................................................................... (.................................................................) ตําแหนง................................................................. 6. ใบรับเงิน ไดรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล จํานวน..................................................บาท (.............................................................................................................) ไวถูกตองแลว (ลงชื่อ)...........................................................ผูรับเงิน (..........................................................) (ลงชื่อ)..........................................................ผูจายเงิน (..........................................................) วันที่...........เดือน...................................พ.ศ............. (ลงชื่อตอเมื่อไดรับเงินแลวเทานั้น)
คําชี้แจง หลักฐานการจายอีก 1 แบบ คือ แบบคําขอเบิกเงินที่มีชองชื่อผูรับเงินอยูในแบบ เชน ใบ เบิกเงินคารักษาพยาบาล ปกติเวลามาขอเบิกเงินคารักษาพยาบาล ถายังไมไดรับเงิน ก็ยังเปน เอกสารประกอบการเบิกเงินอยู พอไดรับเงินในขอที่ 6 จะมีสาระสําคัญลงลายมือชื่อผูรับเงิน เมื่อ สวนราชการจายเงินคารักษาพยาบาลใหกับผูมีสิทธิ ผูมีสิทธิลงลายมือชื่อผูรับเงิน ผูจายเงินลง ลายมือชื่อ แบบใบเบิกเงินคารักษาพยาบาลฉบับนี้ก็จะกลายเปนหลักฐานการจายเงิน อีกรูปแบบ หนึ่ง
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 62
ภาพนิ่ง 49
รายงานการจายในระบบ
คําชี้แจง รายงานการจายในระบบ มาจากกรณีการจายตรงเจาหนี้ พอจายตรงเจาหนี้ไปแลวใหพิมพ ตัวรายงานการจายในระบบออกมาเปนหลักฐานการจายดวย แตวายังไมสิ้นสุดแคนั้น พอพิมพตัว รายงานในระบบออกมา เปนหลักฐานการจายในกรณีจายตรงเจาหนี้แลว สวนราชการยังมีหนาที่ ที่จะตองติดตามใหผูรับเงินหรือวาเจาหนี้ของเราออกใบเสร็จใหกับเราดวย ถาเกิดวาเราติดตามแลว ก็ ยั ง ไม อ อกใบเสร็ จ รั บ เงิ น ให กั บ เรา ให แ จ ง สรรพากร เหตุ ผ ล ที่ ใ ห ติ ด ตามใบเสร็ จ รั บ เงิ น เนื่องจากวาเปนรายไดของเจาหนี้ จะเปนประโยชนในเรื่องภาษีที่รัฐจะได เปนหนาที่ของทาง สรรพากรที่จะติดตามกับตัวเจาหนี้เอง เพื่อที่จะใหเจาหนี้ออกใบเสร็จรับเงินฉบับนั้น ใหกับสวน ราชการ
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 63
ภาพนิ่ง 50
แบบที่ กค. กําหนด
คําชี้แจง หลักฐานการจายตัวสุดทายเปนแบบที่กระทรวงการคลังกําหนด ในเรื่องของการจายเงิน ผานธนาคาร ทางกระทรวงการคลังก็ไดกําหนดวาเปนกรณีการจายเงินใหเจาหนี้ผานธนาคาร จะ ให ใ ช ห ลั ก ฐานที่ ท างธนาคารออกใหเ ป น หลั ก ฐานการจา ย จะมี ทั้ ง ที่ บุ ค คลที่ จ ะรั บ เงิ น ที่ เ ป น บุคลากรของรัฐเอง แลวก็เปนบุคคลภายนอก
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 64
ภาพนิ่ง 51
การจายเงิน 1. มีกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่ง มติ ค.ร.ม. หรือไดรับอนุญาตจากกระทรวงการคลัง 2. เปนรายจายในการดําเนินงานตามปกติ 3. ผูมีอํานาจไดอนุมัติ 4. มีหลักฐานการจาย 5. หามเรียกใบเสร็จหรือใหผูรับเงินลงชื่อรับเงิน โดยยังมิไดจายเงิน
คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 4 การจายเงินของสวนราชการ สวนที่ 1 หลักเกณฑการจายเงิน ขอ 31 ถึงขอ 38 ข อ 31 การจา ยเงิน ให ก ระทํา เฉพาะที่มี ก ฎหมาย ระเบีย บ ขอบังคับ คํ าสั่ ง กํา หนดไว หรือมติคณะรัฐมนตรีอนุญาตใหจายได หรือตามที่ไดรับอนุญาตจากกระทรวงการคลัง และผูมี อํานาจไดอนุมัติ ใหจายได ขอ 34 การจายเงินตองมีหลักฐานการจายไวเพื่อประโยชนในการตรวจสอบ ขอ 35 การจาย โดยที่ยังมิไดมีการจายเงินใหแกเจาหนี้หรือผูมีสิทธิการรับเงิน หามมิใหผูมี หนาที่ จายเงินเรียกหลักฐานการจายหรือใหผูรับเงินลงลายมือชื่อรับเงินในหลักฐาน
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 65
ภาพนิ่ง 52
การจายเงิน
(ตอ)
6. ไมมารับเงินใหทําใบมอบฉันทะ /มอบอํานาจ 7. การโอนสิทธิเรียกรองใหปฏิบัติตามที่ กค. กําหนด 8. บันทึกการจายเงินในวันที่จาย 9. สิ้นวันตรวจสอบ
คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 4 การจายเงินของสวนราชการ สวนที่ 1 หลักเกณฑการจายเงิน ขอ 36 ขาราชการ ลูกจาง หรือผูรับบํานาญหรือเบี้ยหวัดที่ไมสามารถรับเงินไดดวยตนเอง จะมอบฉันทะใหผูอื่นเปนผูรับเงินแทนก็ได โดยใชใบมอบฉันทะตามแบบที่กระทรวงการคลัง กําหนด การจายเงินใหแกบุคคลภายนอก(ไมใชขาราชการ ลูกจาง หรือผูรับเบี้ยหวัดบํานาญ) หาก บุคคลนั้น ไมสามารถมารับเงินไดดวยตนเองจะทําหนังสือมอบอํานาจใหบุคคลอื่นมารับเงินแทน ก็ได การจายเงินในกรณีที่มีการโอนสิทธิเรียกรอง ใหเปนไปตามที่กระทรวงการคลังกําหนด (ตามหนังสือที่ กค 0526.5/ว 110 ลว 3 พ.ย. 41)
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 66
ขอ 37 ใหเจาหนาที่ผูจายเงินประทับตราขอความวา “จายเงินแลว” โดยลงลายมือชื่อ รับรองการจาย และระบุชื่อผูจายเงินดวยตัวบรรจง พรอมทั้งวัน เดือน ป ที่จายกํากับไวในหลักฐาน การจายเงินทุกฉบับเพื่อประโยชนในการตรวจสอบ ในกรณีที่หลักฐานการจายเปนภาษาตางประเทศ ใหมีคําแปลเปนภาษาไทยตามรายการที่ กําหนดวาใบเสร็จรับเงินตองมีสาระสําคัญ 5 รายการไวดวย และใหผูใชสิทธิขอเบิกเงินลงลายมือ ชื่อรับรองคําแปลดวย ขอ 38 การจายเงินทุกรายการตองมีการบันการจายเงินไวในระบบ และตองตรวจสอบการ จายเงิน กับหลักฐานการจายทุกสิ้นวัน
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 67
ภาพนิ่ง 53
1. ขาราชการ ลูกจาง ผูรับบํานาญ เบี้ยหวัด ใบมอบฉันทะ
จาย
เงินสด เช็ค
สั่งจาย
* ตองไดรับอนุมัติจากผูเบิก *
2. นอกจากบุคคล 1. ใชใบมอบอํานาจ
ผูมอบฉันทะ ผูรับมอบฉันทะ จาย เช็ค
สั่งจายผูมอบอํานาจ คําชี้แจง ในกรณีที่ผูรับเงินไมสามารถมาขอรับเงินกับทางสวนราชการได ใหทําใบมอบฉันทะ หรือใบมอบอํานาจ ใบมอบฉันทะจะเปนกรณีที่เปนขาราชการหรือวาลูกจาง ผูรับบํานาญหรือวา เบี้ยหวัด การจายเงินของสวนราชการใหผูมอบฉันทะ จายได 2 แบบ ทั้งเงินสดหรือเปนเช็คก็ได ถา เกิดวาสั่งจายเปนเช็ค การสั่งจาย สั่งจายใหกับผูมอบฉันทะหรือผูรับมอบฉันทะก็ได แตวาถาเกิด เปนกรณีของบุคคลภายนอกไมสามารถเดินทางมารับเงินดวยตัวเองได ตองใชใบมอบอํานาจ ตอง ทําหนังสือมอบอํานาจใหบุคคลอื่นมารับเงินแทน (แบบหนังสือมอบอํานาจตองเปนแบบหนังสือ มอบอํานาจทั่วไป แตใบมอบฉันทะเปนแบบที่กระทรวงการคลังกําหนด) การจายเงินตองจายเปน เช็คเทานั้น เปนเงินสดไมไดและจะตองสั่งจายเฉพาะผูมอบอํานาจเทานั้น สั่งจายผูรับมอบไมได ตางจากกรณีมอบฉันทะ (หนังสือมอบอํานาจ ไมตองติดอากรแสตมป ในเรื่องของการมอบอํานาจ ใหมารับทรัพยสินหรือวาสิ่งของแทนกัน ตรงนี้ประมวลรัษฎากรกรยกเวนเอาไวไมตองติดอากร แสตมป) การแนบเอกสารระเบียบกระทรวงการคลังไมไดกําหนด
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 68
ในเรื่องของการโอนสิทธิเรียกรองใหเปนตามที่กระทรวงการคลังกําหนด ตามหนังสือ สั่งการ ที่ กค 0526.5/ว 110 ลว 3 พ.ย. 2541 ในเรื่องของการโอนสิทธิเรียกรองการรับเงินใหบุคคล อื่น เวลาที่จะจายเงิน สมมุติวาสวนราชการเราทําสัญญากับนาย A มาทํากอสรางใหเรา กําหนด จายเปนงวดๆไป 10 เดือน สมมติวาจายไปใหแลว 2 งวด ในระหวางนั้นโอนสิทธิการรับเงิน ใหกับธนาคาร B ธนาคาร B ไดรับ โอนสิทธิมา เขาก็แจงมายังสวนราชการ เรื่องการโอนสิทธิ ของนาย A กับธนาคาร B เราไมตองใหความยินยอม เรารับทราบเฉยๆ วามีการโอนสิทธิเรียกรอง พอเรารับทราบวามีการโอนสิทธิเรียกรองแลว เวลาจายเงิน สิทธิในการรับเงินกลายไปเปนของ ธนาคาร B จายเงินเราก็จายใหกับธนาคาร B โดยยอดเงินสุทธิหมายถึงยอดเงิน หลังหักภาษี ณ ที่จายแลว ธนาคาร B ก็จะตองเปนผูออกใบเสร็จรับเงินใหกับสวนราชการ ตามยอดเงินสุทธิหลัง หักคาใชจายแลว สวนในเรื่องของการหักภาษี ณ ที่จาย การออกใบกํากับภาษี ตรงนี้คูสัญญาเดิม คือนาย A ยังตองเปนผูรับภาระในเรื่องของภาษีอยู ใบกํากับภาษีเราตองออกใหนาย A เปนไปตาม หนังสือของกระทรวงการคลัง ตาม ว 110 ก็คือหนาที่ในการออกใบเสร็จรับเงินคือผูที่รับเงินจริง
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 69
ภาพนิ่ง 54
ผูมีอํานาจอนุมัติการจายเงิน 1. สวนราชการในราชการบริหาร สวนกลาง
2. สวนราชการในราชการบริหาร สวนกลางที่มีสํานักงานอยูใน ภูมิภาคหรือแยกตางหากจาก กระทรวง ทบวง กรม 3. สวนราชการในภูมิภาค
หัวหนาสวนราชการระดับกรมหรือ ผูที่ไดรับมอบหมายซึ่งดํารงตําแหนง ตั้งแตระดับ 7 หรือเทียบเทาหรือผูมี ยศตั้งแต พันโท นาวาโท นาวา อากาศโท หรือพันตํารวจโท ขึ้นไป หัวหนาสวนราชการระดับกรมจะ มอบหมายใหหัวหนาหนวยงานเปน ผูอนุมัติจายเงินก็ได หัวหนาสวนราชการในภูมิภาค
คําชี้แจง ขอ 32 การอนุมัติการจายเงินใหเปนอํานาจ ของบุคคลดังตอไปนี้ 1. สวนราชการในราชการบริหารสวนกลาง ใหเปนอํานาจของหัวหนาสวนราชการระดับ กรม หรือผู ที่ หัว หน าส ว นราชการระดั บ กรมมอบหมาย ซึ่งดํ า รงตํ า แหนงตั้ง แตร ะดับ 7 หรื อ เทียบเทาขึ้นไป หรือผูที่มียศตั้งแตพันโท นาวาโท นาวาอากาศโท หรือพันตํารวจโทขึ้นไป เมื่อปรับตําแหนงจากซีเปนแทงทางกรมบัญชีกลางไดมีการออกหนังสือสั่งการไปวาให เปนระดับชํานาญการ ในประเภทวิชาการ หรือวาเปนประเภทอาวุโส ที่สามารถมอบหมายใหเปน ผูอนุมัติการจายเงิน สวนราชการในราชการบริหารสวนกลางที่มีสํานักงานอยูในสวนภูมิภาคหรือ แยกต า งหาก กระทรวง ทบวง กรม หั ว หนา สว นราชการระดับ กรมจะมอบหมายใหหั ว หน า สํานักงานเปนผู อนุมัติสําหรับหนวยงานนั้นก็ได เพราะโดยปกติแลว ถาเกิดจะใหหัวหนาสวนใน ระดับกรมเปนผูอนุมัติอาจจะไมเกิดความคลองตัวแนนอน 2. สวนราชการในราชการบริหารสวนภูมิภาค ใหเปนอํานาจของหัวหนาสวนราชการใน ภูมิภาค สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 70
ภาพนิ่ง 55
วิธีปฏิบัติในการจายเงิน
1. จายเช็ค 2. จายเงินสด เฉพาะ
(1) การจายเงินจากเงินทดรองราชการซึ่ง เก็บรักษาเปนเงินสด (2) การจายใหขาราชการ ลูกจาง ผูรับบํานาญ ผูรบั เบี้ยหวัด (3) การจายเงินที่มีวงเงินต่ํากวา 5,000 บาท
3. จายผานธนาคาร
คําชี้แจง วิธีปฏิบัติในการจายเงิน สวนราชการตองจาย 1. เปนเช็ค 2. จะจายเปนเงินสด เฉพาะการ จายเงินจากเงินทดรองราชการซึ่งเก็บรักษาเปนเงินสด เปนการจายใหขาราชการ ลูกจาง หรือวา ขาราชการบํานาญ หรือ เปนการจายเงินที่มีวงเงินต่ํากวา 5,000 บาท 3 กรณี นี้จายเปนเงินสดได (แตละขอแยกจากกัน) 3. การจายผานธนาคาร ตองจายเปนเช็ค กรณีที่ไมใชเปน การซื้อ จาง เชา เช น การจ า ยเงิ น ค า รั ก ษาพยาบาล เราก็ จ า ยเป น เช็ ค ให กั บ ข า ราชการ สั่ ง จ า ยในนามเจ า หนี้ คือตัวขาราชการผูขอรับเงิน คารักษาพยาบาล จะตองขีดฆาหรือผูถือ ออก จะขีดครอมหรือไมขีด ครอมก็ได
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 71
ภาพนิ่ง 56
การเขียนเช็ค 1. ซื้อ / เชา / จาง • สั่งจายในนามเจาหนี้ • ขีดฆาคําวา “หรือผูถือ” ออก • ขีดครอมเช็ค
คําชี้แจง ในเรื่องของการจายผานธนาคาร ถาเกิดวาเปนกรณีของการซื้อ จาง เชา การเขียนเช็คตอง สั่งจายในนามเจาหนี้ โดยจะตองขีดฆาคําวาหรือผูถือออก แลวก็ตองขีดครอมเช็คดวย
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 72
ภาพนิ่ง 57
การเขียนเช็ค 2.
(ตอ)
นอกจาก 1.
• สั่งจายในนามเจาหนี้ • ขีดฆาคําวา “หรือผูถือ” ออก • ขีดครอมหรือไมก็ได
คําชี้แจง ถาเกิดวาไมใชกรณีของการ ซื้อ จาง เชา เชนการจายเงินคารักษาพยาบาลเราก็จายเปนเช็ค ใหกับขาราชการ จายก็สั่งจายในนามเจาหนี้คือตัวผูมารับเงินคารักษาพยาบาล ขีดฆาคําวาหรือผูถือ ออก ขีดครอมหรือไมขีดก็ได (ขีดฆาผูถือออกเพื่อปองกันกรณีเช็คสูญหาย)
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 73
ภาพนิ่ง 58
การเขียนเช็ค
(ตอ)
3. รับเงินสดมาจาย • สั่งจายในนามเจาหนาที่ของสวนราชการ • ขีดฆาคําวา“หรือผูถือ” ออก • หามออกเช็คสั่งจายเงินสด
คําชี้แจง ในการเขียนเช็คเพื่อรับเงินสดมาจาย เชน กรณีขาราชการเบิกคารักษาพยาบาล ตองการรับ เปนเงินสด ไมตองการรับเปนเช็ค ทางเจาหนาที่การเงินก็เขียนเช็คเพื่อรับเงินสดมาจาย ตองสั่ง จายในนามเจาหนาที่ของสวนราชการ ตามระเบียบใหสั่งจายในนามเจาหนาที่ของสวนราชการ ปกติคือเจาหนาที่การเงิน หรือบุคคลที่ไดรับมอบหมายใหทําหนาที่การเงิน ซึ่งการเขียนเช็คจะตอง ขีดฆาหรือผูถือดวย
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 74
ภาพนิ่ง 59
วิธีปฏิบัติในการจายเงิน (ตอ) 3. จายผานธนาคาร - ใหขาราชการ ลูกจาง (ว 7930) - ใหบุคคลภายนอก (ว 143)
คําชี้แจง วิธีปฏิบัติของการจายเงินในเรื่องของการสั่งจายผานธนาคาร ตรงนี้ คลังมีหนังสือสั่งการ อยู 2 ฉบับ คือ ว 7930 กับ ว 143 ถาเปนการจายใหกับขาราชการหรือวาลูกจางของสวนราชการ ไม วาจะเปนการจายคาตอบแทน หรือวาเงินที่เปนสวัสดิการตางๆ ว 7930 บอกวาถาตองการรับเงิน ผานธนาคาร ใหมาแสดงเจตนากับสวนราชการวาตองการรับเงินผานธนาคาร ก็จะมีแบบฟอรมให กรอกวาใหจายเงินเขาบัญชีใครบาง ภาระในเรื่องคาธรรมเนียมโอนเงินคนที่จะขอรับเงินผาน ธนาคารจะตองเปนผูรับผิดชอบ (กรณีบุคคลภายนอก ตาม ว 143 ปจจุบันไมไดใชแลว มันมีเรื่อง ของการจายตรง มันถูกจายเขาบัญชีของเจาหนี้อยูแลว เพราะฉะนั้น จะไมมีกรณีเจาหนี้มาแสดง ความจํานงขอรับเงินผานธนาคาร )
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 75
ภาพนิ่ง 60
การเก็บรักษาเงิน
คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 7 การเก็บรักษาเงินของสวนราชการ ประกอบไปดวย สวนที่ 1 สถานที่เก็บรักษา ขอ 79 ถึงขอ 81 สวนที่ 2 กรรมการเก็บรักษาเงิน ขอ 82 ถึงขอ 87 และสวนที่ 3 การเก็บรักษาเงิน ขอ 88 ถึงขอ 94
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 76
ภาพนิ่ง 61
การเก็บรักษาเงินของสวนราชการ 1. ตูนิรภัย 2. กรรมการ 3. วิธีการเก็บรักษาเงิน
คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 7 การเก็บรักษาเงินของสวนราชการ มีสาระสําคัญประกอบดวย 1 ตูนิรภัย 2 กรรมการ 3 วิธีการเก็บรักษาเงิน ขอ 79 ใหสวนราชการเก็บรักษาเงินสดที่จัดเก็บหรือไดรับไวในตูนิรภัยซึ่งตั้งอยูในที่ ปลอดภัยของสวนราชการนั้น
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 77
ภาพนิ่ง 62
ตูนิรภัย 1. กําปน หรือตูเหล็ก หรือหีบเหล็กอันมัน่ คง 2. ปกติตองมีลูกกุญแจอยางนอย 2 ดอก แตละดอกมีลักษณะ ตางกัน 3. ลูกกุญแจตูนิรภัยหนึง่ ๆ อยางนอยตองมี 2 สํารับ มอบให กรรมการถือกุญแจ 1 สํารับ อีกสํารับฝากเก็บในลักษณะหีบหอ - สวนกลาง สํานักบริหารเงินตรา กรมธนารักษ - สวนภูมิภาค ณ สํานักงานคลังจังหวัด 4. ตั้งไวในที่ปลอดภัยในสํานักงาน
คําชี้แจง ตูนิรภัย หมายถึง กําปน หรือตูเหล็ก หรือหีบเหล็กอันมั่นคง ปกติมีลูกกุญแจอยางนอย 2 ดอก แต ล ะดอกมี ลั ก ษณะต า งกั น ลู ก กุ ญ แจตู นิ รภั ย หนึ่ ง ๆ อย า งน อ ยต อ งมี 2 สํ า รั บ มอบให กรรมการถือกุญแจ 1 สําหรับ อีกสํารับฝากเก็บในลักษณะหีบหอ สวนกลางตองนําไปฝากที่ สํานักบริหารเงินตรา กรมธนารักษ สวนภูมิภาค ตองนําไปฝากหองเก็บเงินคลังใน ณ สํานักงาน คลังจังหวัด จังหวัดนั้น ๆ โดยตูนิรภัยตองเก็บไวในที่ปลอดภัยในสํานักงาน
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 78
ภาพนิ่ง 63
กรรมการ • แตงตั้งขาราชการระดับ 3 / เทียบเทาขึ้นอยางนอย 2 คน • กรณีกรรมการไมสามารถปฏิบัติหนาที่ - แตงตั้งกรรมการชั่วคราว - มอบกุญแจ ตรวจนับตัวเงินและหลักฐานแทนตัวเงินให ถูกตองตามรายงานฯ เมือ่ กุญแจหาย หรือสงสัยวาจะมีการ ปลอมแปลงใหรีบรายงานหัวหนาสวนราชการเพือ่ สัง่ การ โดยดวน
คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 7 การเก็บรักษาเงินของสวนราชการ ขอ 82 ใหหัวหนาสวนราชการพิจารณาแตงตั้งขาราชการซึ่งดํารงตําแหนง ระดับสามหรือ เทียบเทาขึ้นไปในสวนราชการนั้นอยางนอยสองคนเปนกรรมการเก็บรักษาเงินของสวนราชการ นั้น ขอ 84 ถากรรมการเก็บรักษาเงินผูใดไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ใหหัวหนาสวนราชการ พิจารณาแตงตั้งขาราชการ ปฏิบัติหนาที่กรรมการเก็บรักษาเงินแทนใหครบจํานวน การแตงตั้งผู ปฏิบัติหนาที่กรรมการเก็บรักษาเงินแทน จะแตงตั้งไวเปนการประจําก็ได
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 79
สําหรับกรรมการเก็บรักษาเงินของสวนราชการ ตาม ว 113 แกจากระดับ 3 เปนระดับ ปฏิบัติการหรือปฏิบัติงาน อยางนอย 2 คน เหมือนเดิม ซึ่งถาเกิดในกรณีกรรมการไมสามารถ ปฏิบัติหนาที่ได ตองมีการแตงตั้งกรรมการเก็บรักษาเงินชั่วคราวขึ้นมาไวดวย เพราะวาการแตงตั้ง กรรมการเก็บรักษาเงินชั่วคราวจะตั้งไวเปนการประจํา หรือเปนครั้งเปนคราวก็ได ซึ่งกรรมการที่ ปฏิบัติหนาที่ชั่วคราว หรือประจํา ตองมีการสงมอบกุญแจและตรวจนับตัวเงินและหลักฐานแทน ตัวเงินวาถูกตองตรงกันตามรายงานฯ ตอมาถาเกิดวามีพฤติการณวากุญแจหาย หรือสงสัยวาจะ หาย หรือถูกปลอมแปลงกุญแจ ตัวกรรมการเก็บรักษาเงินตองรีบรายงาน หัวหนาสวนราชการ ทราบเพื่อสั่งการตอไป วาจะตองทําอยางไรตอไปเปนอํานาจหนาที่ของหัวหนาสวนราชการ
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 80
ภาพนิ่ง 64 หัวหนา สวนราชการ
เจาหนาที่การเงิน รายงานฯ เงิน
กรรมการ รายงานฯ
ถูกตอง
-นําเงินเขาตู -ลงลายมือชื่อ ในรายงานฯ รายงานฯ รายงานฯ
รายงานฯ
รายงานฯ
เงิน
ไมถูกตอง -รวมกับ จนท. การเงินบันทึกเงิน ที่ตรวจนับได -ลงลายมือชื่อ รวมกับจนท. การเงินในรายงานฯ -นําเงินเขาตู รายงานฯ
* รายงานฯ = รายงานเงินคงเหลือ ประจําวัน
คําชี้แจง โดยวิธีในการเก็บรักษาเงิน เปนหนาที่ของการเงินตองนําตัวเงินหรือเอกสารแทนตัวเงิน กั บ รายงานเงิ น คงเหลื อ ประจํ า วัน ส งให ก รรมการเก็ บ รั ก ษาเงิ น กรรมการเก็ บ รั ก ษาเงิ น ก็ จ ะ ตรวจสอบดูวาตัวเงินเอกสารแทนตัวเงิน กับรายงานเงินคงเหลือประจําวันถูกตองตรงกันหรือ เปลา ถาถูกตองตรงกัน จะนําเงินเก็บเขาตูนิรภัย ลงลายมือชื่อในรายงานเงินคงเหลือประจําวัน แลวรายงานทางกองคลังทราบ ทางกองคลัง ก็จะรายงานใหหัวหนาสวนราชการทราบ แตวาถาตัว เงินและรายงานเงินคงเหลือประจําวัน กรรมการตรวจสอบแลววาไมถูกตองตรงกัน กรรมการเก็บ รักษาเงินรวมกับเจาหนาที่การเงินรวมกันบันทึกวาเงินที่รับไวมีจํานวนเทาไหร ลงลายมือชื่อ รวมกัน เก็บไวในตูนิรภัย แลวรายงานใหหัวหนาสวนราชการทราบ เพื่อพิจารณาสั่งการ โดยให รายงานทันที ที่ทราบวาตัวเงินกับรายงาน ฯ ไมตรงกัน
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 81
ภาพนิ่ง 65
การนําเงินสงคลัง
คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 8 การนําเงินสงคลังและฝากคลัง ขอ 95 ถึงขอ 100 ขอ 95 เงินที่เบิกจากคลัง ถาไมไดจายหรือจายไมหมด ใหสวนราชการผูเบิกนําสงคืนคลัง ภายใน สิบหาวันทําการนับจากวันรับเงินจากคลัง ในกรณีที่สวนราชการมีการรับคืนเงินที่ไดจายไปแลว ใหนําสงคืนคลังภายในสิบหาวันทํา การ นับจากวันที่ไดรับคืน ขอ 96 การนําเงินสงคลัง ถานําสงกอนสิ้นปงบประมาณหรือกอนสิ้นระยะเวลาเบิกเงิน ที่กันไวเบิกเหลื่อมป ใหสวนราชการนําสงเปนเงินเบิกเกินสงคืน แตถานําสงภายหลังกําหนด ดังกลาว ใหนําสงเปนรายไดแผนดินประเภทเงินเหลือจายปเกาสงคืน
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 82
ภาพนิ่ง 66
กําหนดเวลานําเงินสงหรือนําฝากคลัง ของสวนราชการผูเบิก 1. เช็ค - วันที่ไดรับ หรืออยางชาภายในวันทําการถัดไป 2. เงินรายไดแผนดิน - เกินหมื่นบาทนําสงโดยดวนไมเกิน 3 วันทําการ
คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 8 การนําเงินสงคลังและฝากคลัง ขอ 97 เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบของสวนราชการ ใหนําสงหรือนําฝากคลังภายในกําหนดเวลา ดังตอไปนี้ 1. เช็ค ดราฟต หรือตั๋วแลกเงิน ใหนําสงหรือนําฝากในวันที่ไดรับหรืออยางชาภายในวัน ทําการถัดไป 2. เงินรายไดแผนดิน ใหนําสงอยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง แตถาสวนราชการใด มีเงิน รายไดแผนดินเก็บรักษาในวันใดเกินหนึ่งหมื่นบาท ก็ใหนําเงินสงโดยดวนแตอยางชาตองไมเกิน สามวันทําการ ในกรณีที่สวนราชการไดรับเปนเช็คมา ตองนําเช็คที่ไดรับสงคลังหรือฝากคลังในวันที่ ไดรับ หรืออยางชาภายในวันทําการถัดไป ยกเวนเช็คที่เปนหลักประกันซอง สามารถเก็บไวได 7 วัน ถาเกิน 7 วัน ตองนําฝากคลัง
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 83
ภาพนิ่ง 67
กําหนดเวลานําเงินสงหรือฝากคลังของสวน ราชการผูเบิก 3. เงินเบิกเกินสงคืนหรือเงินเหลือจายปเกาสงคืน
(ตอ)
- ภายใน 15 วันทําการ นับจากวันไดรับเงินจากคลังหรือไดรับเงินคืน
4. เงินนอกงบประมาณ - อยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง
5. เงินนอกงบประมาณเบิกจากคลังเพื่อรอการจาย - ภายใน 15 วัน นับจากวันรับเงินจากคลัง
คําชี้แจง ตามระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 8 การนําเงินสงคลังและฝากคลัง ขอ 97 เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบของสวนราชการ ใหนําสงหรือนําฝากคลังภายในกําหนดเวลา ดังตอไปนี้ 3. เงินเบิกเกินสงคืน หรือเงินเหลือจายปเกาสงคืนใหนําสงภายในสิบหาวันทําการ นับจาก วันรับเงิน จากคลังหรือนับจากวันที่ไดรับคืน 4. เงินนอกงบประมาณ ใหนําฝากคลังอยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง แตสําหรับเงินที่เบิกจาก คลัง เพื่อรอการจายใหนําฝากคลังภายในสิบหาวันนับจากวันรับเงินจากคลัง แตถาเปนเงินเบิกเกินสงคืนหรือเงินเหลือจายปเกาสงคืน เงินเบิกเกินสงคืนหมายถึง เงินที่ เบิกจากคลัง ออกมาแลวไมไดจาย หรือวาจายไมหมด สวนนั้นตองนําสงคืนภายใน 15 วันนับแต วันที่ไดรับเงิน แตถาจายไปแลวมีเหตุตองรับเงินคืนมาใหนําสงคืนภายใน 15 วันทําการ นับจากวัน ไดรับเงินคืน ถาเปนเงินนอกงบประมาณตองนําฝากคลังอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง แตถาเปนเงิน นอกงบประมาณที่เบิกจากคลังเพื่อรอการจายถายังไมไดจายภายใน 15 วัน นับจากวันรับเงินจาก คลัง ตองนําฝากใหม
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 84
ภาพนิ่ง 68
จัดทํา pay-in slip ที่มี barcode เพื่อนําฝากเงินสด/เช็คเขาบัญชีกรมบัญชีกลางหรือสํานักงานคลัง
สวนราชการ 3 บันทึกขอมูล การนําสง
2
1
รับฝาก บันทึก ขอมูล และคืน สําเนา pay-in slip + deposit slip
สาขาธนาคารกรุงไทย กรมบัญชีกลาง/สํานักงานคลัง
4 บันทึกขอมูลและโอน เงินที่รับฝากไปรวมที่ สาขานานาเหนือ / สิ้นวันโอนเงินเขา TR 1* ที่ ธปท. และ ธปท. สงขอมูล เขาระบบ GFMIS
ระบบ GFMIS
5
เขาระบบ GFMIS เพื่อผานรายการและ กระทบยอดการนําสง
* TR1 : บัญชีเงินคงคลังบัญชีที่ 1
คําชี้แจง สุดทายวิธีการการนําเงินสงคลังในระบบ GFMIS ดาวนโหลดใบเปอินสลิปจาก Web Report ที่มี barcode เปนรหัสศูนยตนทุนของหนวยงาน เพื่อนําเงินสดหรือเช็คนําฝากเขาบัญชี กรมบัญชีกลางหรือสํานักงานคลัง โดยการกรอกขอมูลลงในใบเปอินสลิปที่เปนศูนยตนทุนของ หนวยงาน พรอมกับนําเงินสดหรือเช็คไปฝากที่สาขาธนาคารกรุงไทย ซึ่งธนาคารจะรับฝากเงิน และทํ าการบัน ทึ ก ข อมู ล เมื่อบั น ทึกเสร็จ จะคืน สํ า เนา ใบเปอินสลิ ปให กับส ว นราชการ สว น ราชการไดรับกลับมาใหนํามาเปนหลักฐานในการบันทึกขอมูล การนําเงินสงคลัง หรือนําเงินฝาก คลัง กรมบัญชีกลางหรือสํานักงานคลังจังหวัดก็จะเขาระบบ GFMIS เพื่อผานรายการและกระทบ ยอดนําสง ขอควรระวังในการนําสงเงินของสวนราชการ คือการบันทึกในเปอินสลิป การทํา เครื่องหมายใหเลือกใหถูกตองวานําสง หรือนําฝากคลัง เวลาบันทึกขอมูลในระบบ GFMIS ให บันทึกตรงกัน เพื่อใหการกระทบยอดเปนไปดวยความรวดเร็ว ถูกตอง
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 85
ภาพนิ่ง 69
• • • • •
กลุมงานวิชาการดานการคลังการบัญชี สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร โทร 0 77 511207 โทรสาร 0 77 501025 www.cpn@cgd.go.th
คําชี้แจง กรณี มี ป ญ หาหรื อ ข อ สงสั ย สามารถติ ด ต อ สอบถามได ต ามหมายเลขโทรศั พ ท และ e-mail ที่ปรากฏ
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 86
เอกสารอางอิง 1. “ระเบียบเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลัง พ.ศ. 2551” 2. หนังสือเวียนตาง ๆ ที่เกี่ยวของ 2.1 หนั ง สื อ ด ว นที่ สุ ด ที่ กค 0409.3/ว 115 ลงวั น ที่ 30 กั น ยายน 2547 เรื่ อ ง หลักเกณฑและวิธีปฏิบัติในการเบิกจายเงินและการนําเงินสงคลังตามระบบการ บริหารการเงินการคลังภาครัฐดวยระบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS) 2.2 หนังสือดวนที่สุด ที่ กค 0409.3/ว 14 ลงวันที่ 27 มกราคม 2548 เรื่อง การเบิก ค า ใช จ า ยค า งเบิ ก ข า มป ใ นระบบบริ ห ารการเงิ น การคลั ง ภาครั ฐ ด ว ยระบบ อิเล็กทรอนิกส (GFMIS) 2.3 หนังสือที่ กค 0526.5/ว 110 ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2541 เรื่อง วิธีปฏิบัติในการ จายเงินกรณีโอนสิทธิเรียกรอง 2.4 หนังสือที่ กค 0530.1/ว 143 ลงวันที่ 22 ธันวาคม 2543 เรื่อง การจายเงินใหกับ เจาหนี้โดยผานธนาคาร 2.5 หนังสือที่ กค 0526.7/ว 7930 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ 2540 เรื่อง การขอรับเงิน ของทางราชการโดยวิธีผานธนาคาร 2.6 หนังสือ ที่ กค 0423.3/ว 370 ลงวันที่ 13 ตุลาคม 2554 เรื่อง แนวปฏิบัติทางบัญชี เกี่ยวกับการนําเงินสงคลังเปนเช็ค
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร/Zone 8 ขอสงวนการผลิต การคัดลอก และการลอกเลียนเนือ้ หาในเอกสารนี้ไมวารูปแบบใด ๆ ทั้งสิ้น หนา 87
ภาคผนวก
คลินกิ ความรู้สคู่ วามเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด ZONE 8 1. หลักการและเหตุผล ตามที่กรมบัญชีกลางได้กําหนดวิสัยทัศน์ “กํากับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดิน ให้เกิดประโยชน์สูงสุด” โดยมีพันธกิจหลักในการกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ แนวทางปฏิบัติและพัฒนา ขีดความสามารถของบุคลากรภาครัฐด้าน กฎหมายการคลัง การบัญชี การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ การตรวจสอบภายใน ค่าตอบแทนและสวัสดิการ เงินนอกงบประมาณและอื่นๆ เพื่อเป็นการรักษาวินัย และความยั่งยืนทางการคลัง รวมถึงการบริหารเงินสดภาครัฐให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพด้วยระบบ เทคโนโลยีที่ทันสมัย ตลอดถึงการสนับสนุนการบริหารเศรษฐกิจการคลัง และเป็นศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ ทางการคลัง สํานักงานคลังจังหวัดเป็นหน่วยงานในสังกัดกรมบัญชีกลางซึ่งปฏิบัติภารกิจอยู่ในส่วนภูมิภาค มีภารกิจหน้าที่ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของกรมบัญชีกลางให้สําเร็จตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย ที่กําหนด ประกอบกับได้มีการปรับเปลี่ยนบทบาทจากเดิมที่ปฏิบัติหน้าที่ในการตรวจสอบมาเป็นกํากับดูแล และเน้นการให้บริการเป็นสําคัญ การปรั บเปลี่ ยนบทบาทจากการตรวจสอบ มาเป็ นการกํ ากั บดู แลและเน้ นการให้ บริ การ กลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี ซึ่งมีหน้าที่ให้คําปรึกษาด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์ ด้านการเงินการคลังและระบบพัสดุภาครัฐแก่บุคลากรของส่วนราชการ รวมทั้งกํากับระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วย ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government procurement : E-gp) ระบบบําเหน็จค้ําประกันในส่วนภูมิภาค ระบบฐานข้ อมู ลบุ ค ลากรภาครั ฐ แต่ ขณะนี้ ปรากฏว่ าบุ คลากรของกลุ่ มวิ ชาการด้ านการคลั งการบั ญ ชี และกลุ่มงานอื่น ๆ ขาดความเข้มแข็งด้านองค์ความรู้ และประสบการณ์ในการให้คําปรึกษาแนะนําด้านต่าง ๆ แก่บุคลากรของส่วนราชการ ประกอบกับมีข้าราชการบรรจุใหม่ ทําให้การปฏิบัติงานในการให้คําปรึกษาแนะนํา ปรึ ก ษาเกี่ ย วกั บ กฎหมายการเงิ น การคลั ง การบั ญ ชี ยั ง ขาดความน่ า เชื่ อ ถื อ และไม่ มี ค วามชั ด เจน ทําให้การปฏิบัติงานดังกล่าวไม่บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กําหนดไว้ สํานักงานคลังเขต 8 และกลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี ของสํานักงานคลังจังหวัดในเขต 8 ได้ตระหนักถึงปัญหา/อุปสรรคดังกล่าว จึงมีแนวคิดที่จะดําเนินโครงการ “คลินิกความรู้สู่ความเข้มแข็ง ทางวิชาการของจังหวัด zone 8” เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และหลักเกณฑ์ ด้านการเงินการคลังแก่บุคลากรกลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี และกลุ่มงานอื่นของสํานักงานคลังจังหวัด เมื่ อกลุ่ มงานภายในของสํ านั กงานคลั งจั งหวั ด มี ความเข้ มแข็ ง มี ความพร้ อม ทั้ งความรู้ ความสามารถ และมีความเชื่อมั่นในองค์ความรู้ พร้อมทั้งจะขยายออกสู่หน่วยงานภายนอก 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างองค์ความรู้ทางวิชาการให้แก่บุคลากรกลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี และกลุ่มอื่น ๆ ของสํานักงานคลังจังหวัด รวมทั้งบุคลากรของส่วนราชการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2. เพื่อความเป็นเอกภาพในทางวิชาการ (การให้ความรู้ คําปรึกษา ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน) 3. เป็นการสร้างเครือข่ายทางวิชาการเพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนความรู้ 3. กลุ่มเป้าหมาย 1. บุคลากรของกลุ่มวิชาการด้านการคลังการบัญชี และกลุ่มอื่น ๆ ของสํานักงานคลังจังหวัด 2. บุคลากรของส่วนราชการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ผูป้ ฎิบัติ และผูบ้ ริหาร) /4. ระยะเวลา...
- 2 4. ระยะเวลา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 – 2556 5. สถานที่ จังหวัดในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของสํานักงานคลังเขต 8 6. วิทยากร วิทยากรจากสํานักงานคลังเขต 8 และสํานักงานคลังจังหวัดในเขต 8 7. ขอบเขตการดําเนินการในองค์ความรู้ - การเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนําเงินส่งคลังของส่วนราชการ - ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ - ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม - สวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร - เบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน - การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ - กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ - เงินนอกงบประมาณ 8. วิธีการพัฒนา 1. การบรรยาย การฝึกปฏิบัติ ทดสอบความรู้ รวมทั้งการจัดทําคู่มือการบรรยาย 2. ศึกษา/วิเคราะห์ เวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และประสบการณ์ระหว่างกัน 9. การรับรองผลการร่วมโครงการ ผู้ผ่านการทดสอบหลังการเข้าร่วมโครงการ โดยใช้เกณฑ์ ๖๐ % จะได้รับใบรับรองผ่านการอบรม โครงการคลินิกความรู้สู่ความเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8 จากสํานักงานคลังเขต 8 10. งบประมาณ งบดําเนินงานของสํานักงานคลังจังหวัด 11. การประเมิน 1. การประเมินความรู้ก่อนเข้าร่วมโครงการ (Pre test) 2. การประเมินความรู้หลังเข้าร่วมโครงการ (Post test) 3. การสังเกตการณ์ระหว่างการฝึกอบรม เพื่อประเมินการเรียนรู้และการมีส่ วนร่วม ของผู้เข้าร่วมโครงการ 4. ผู้เข้าร่วมโครงการกรอกแบบประเมินความพึงพอใจ 5. สํานักงานคลังเขต 8 จะติดตามประเมินผล (Follow Up) เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ของโครงการ ภายหลังเสร็จสิ้นโครงการ และผู้ผ่านการอบรมกลับไปปฏิบัติหน้าที่ราชการแล้ว อย่างน้อย ๓ – 4 เดือน /11. ตัวชี้วัดความสําเร็จ...
แผนปฏิบัติการ โครงการคลิ แผนปฏบตการ โครงการคลนกความรู นิกความร้สูค่ วามเข้ วามเขมแขงทางวชาการของจงหวด มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8 กลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี ระยะเวลาดําเนินงาน ลําดับั ทีี่
ขันั้ ตอนและกิจกรรมในการดํ ใ าเนินงาน
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2556 ไตรมาส
ผู้รับผิดชอบ
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.. ธ.ค. 1 2 3 4
1
2
ก่อนดําเนินการ 1.1 จดทาคาสงแตงตงคณะทางาน จัดทําคําสั่งแต่งตั้งคณะทํางาน ประชุ ประชมระดมสมอง มระดมสมอง ทปรกษา ที่ปรึกษา และคณะทางาน และคณะทํางาน 1.2 เขียนโครงการคลินิกความรู้สู่ความเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8 1.3 กําหนดรูปแบบ/วิธีการ การดําเนิน หลักเกณฑ์ ต่าง ๆ 1.4 นําเสนอคลังเขต ๘ เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ ระหว่างดําเนินการ ๒.๑ ศึกษาค้นคว้ากฎหมายระเบียบ และหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง ๒.๒ ติดต่อประสาน ทําหนังสือเชิญวิทยากร จัดทําเอกสารประกอบการบรรยาย 2.3 ทําหนังสือเชิญคณะทํางาน เข้าร่วมรับฟังการบรรยายจากวิทยากร 2.4 นําเสนอโครงการ รายงานผลการดําเนินงานต่าง ๆ ต่อคลังเขต และคลังจังหวัด ในเขต 8 (รอบที่ 1) เพื่อพิจารณาคัดเลือกประกวด 2.5 จัดทําแบบประเมินความรู้ก่อน - หลังการร่วมโครงการ ๒.6 วิทยากรถ่ายทอดความรูู้แก่คณะทํางานกลุุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี 2.7 จัดทําร่างคู่มือการบรรยายในวิชาที่ได้รับมอบหมาย 2.8 นําส่งร่างคู่มือให้คลังเขต 8/วิทยากร/ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบ 2.9 ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบร่างคู่มือ/ผ่านร่างคู่มือ 2 10 แกไข 2.10 แก้ไข ปรบปรุ ปรับปรงง และจั และจดทาคู ดทําค่มอฉบบสมบู ือฉบับสมบรณ์ รณสงคลงเขต ส่งคลังเขต 8/กรมบญชกลาง 8/กรมบัญชีกลาง 2.11 คลังเขต 8 และคลังจังหวัดในเขต 8 จัดทําข้อสอบแต่ละหัวข้อวิชา (เพื่อวัดความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการ โดยจัดทํา Pre test และ Post test) ๒.12 ถ่ายทอดความรู้แก่บุคลากรสํานักงานคลังจังหวัด ในกลุ่มงานวิชาการด้านการคลัง ั ี ี ป ี่ ี ้ โ ้ ่ โ ้ ํ
คณะทางานกลุ คณะทํ างานกล่มงาน วิชาการด้านการคลัง การบัญชี
คณะทํางานกลุ่มงาน วิชาการด้านการคลัง การบัญชี
แผนปฏิบัติการ โครงการคลิ แผนปฏบตการ โครงการคลนกความรู นิกความร้สูค่ วามเข้ วามเขมแขงทางวชาการของจงหวด มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8 กลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี ระยะเวลาดําเนินงาน ลําดับั ทีี่
ขันั้ ตอนและกิจกรรมในการดํ ใ าเนินงาน
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2556 ไตรมาส
ผู้รับผิดชอบ
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.. ธ.ค. 1 2 3 4
2
3
ระหว่างดําเนินการ (ต่อ) 2 ถายทอดความรู 2.13 ถ่ายทอดความร้แก่กบุบคลากรสํ คลากรสานกงานคลงจงหวดในกลุ านักงานคลังจังหวัดในกล่มอน อื่น ๆ (เวทการแลกเปลยน (เวทีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ โดยผู้ร่วมโครงการต้องทําแบบทดสอบ Pre test และ Post test) 2.14 จัดอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรของหน่วยงานภายนอก 2.15 สรุปผลคะแนนแบบทดสอบ 2.16 จัดทําใบรับรองฯ นําเสนอคลังเขต คลังจังหวัด ลงนาม และมอบแด่ ผู้ผ่านโครงการตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ หลังดําเนินการ 3.1 ทดสอบ และติดตามผลผู้ผ่านโครงการตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด โดยคลังเขต 8 (ติดตามประเมินผล รอบที่ 2) ๓.2 การจัดทํารายงานสรุปการประเมินผล ๓.3 รายงานสรุปผลโครงการเสนออธิบดีกรมบัญชีกลาง
กําหนดการอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
คณะทางานกลุ คณะทํ างานกล่มงาน วิชาการด้านการคลัง การบัญชี
คณะทํางานกลุ่มงาน วิชาการด้านการคลัง การบัญชี
คําสัง่ สํานักงานคลังเขต ๘ ที่ 20 /๒๕๕4 เรือ่ ง แต่งตั้งคณะทํางานคลินกิ ความรูส้ คู่ วามเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8 ของกลุม่ งานวิชาการด้านการคลังการบัญชี .................................... การบริหารงานแบบบูรณาการด้วยการทํางานเชิงรุกระหว่างสํานักงานคลังเขต ๘ และสํานักงานคลังจังหวัด ในเขต ๘ ซึ่งได้มีมติร่วมกันในการจัดทํายุทธศาสตร์การเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการคลังการบัญชีและเศรษฐกิจ (Zone ๘) สําหรับใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ของกลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี ภายในเขต ๘ เพื่อเป็นการ สร้ า งองค์ ค วามรู้ ท างวิ ช าการให้ แ ก่ บุ ค ลากร ทั้ ง ภายในและภายนอกองค์ ก ร ความเป็ น เอกภาพทางวิ ช าการ และเป็ น การสร้ า งเครื อ ข่ า ยทางวิ ช าการ ซึ่ ง จะช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการให้ บ ริ ก ารทางวิ ช าการ เกี่ ย วกั บ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับด้านการเงิน การคลัง การบัญชี เพื่ อ ให้ ก ารบริ ห ารงานและการดํ า เนิ น การตามอํ า นาจหน้ า ที่ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายในภาพรวม มี ค วามเป็ น เอกภาพเป็ น ไปตามเป้ า หมายของกระทรวงการคลั ง เพื่ อ สนั บ สนุ น การบริ ห ารงานแบบบู ร ณาการ ตลอดจนการบริหารจัดการเป็นไปในเชิงรุกและบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงเห็นสมควรแต่งตั้ง ที่ปรึกษาและคณะทํางานคลินิกความรู้สู่ความเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8 กลุ่มงานวิชาการด้านการคลัง การบัญชี โดยมีองค์ประกอบและอํานาจหน้าที่ ดังนี้ (๑) นางสาวอรุณ สว่างสินอุดมชัย คลังจังหวัดกระบี่ ที่ปรึกษาคณะทํางาน (๒) นางธิดา บุญรัตน์ คลังจังหวัดภูเก็ต ทีป่ รึกษาคณะทํางาน (๓) นางวชิราพร บุญคล่อง นักวิชาการคลังชํานาญการ รักษาการในตําแหน่งผู้อํานวยการส่วนตรวจสอบและติดตามประเมินผล ประธานคณะทํางาน (๔) นายปิยพงษ์ เพ็ญสวัสดิ์ นักวิชาการคลังชํานาญการ รักษาการในตําแหน่งนักวิชาการคลังชํานาญการพิเศษ คณะทํางาน (๕) นายเพ็ญลดา สายสวัสดิ์ นักวิชาการคลังชํานาญการ รักษาการในตําแหน่งนักวิชาการคลังชํานาญการพิเศษ คณะทํางาน (๖) นางสาวจินาพร ทวีวัฒนะพงษ์ นักวิชาการคลังชํานาญการ คณะทํางาน (๗) นางกรองจิต แซ่เอี้ย นักวิชาการคลังชํานาญการ คณะทํางาน (๘) นางจรรยา ชัยฤทธิ์ นักวิชาการคลังชํานาญการ คณะทํางาน (๙) นางเอมอร อ่อนวงศ์ นักวิชาการคลังชํานาญการ คณะทํางาน (10) นางสาวเสาวลักษณ์ จันทร์ทิพย์ นักวิชาการคลังชํานาญ คณะทํางาน (11) นางสาวสุนีย์ หวันเดาะเลาะ นักวิชาการคลังชํานาญการ คณะทํางานและเลขานุการ (12) นางสาวลักขณา สุภาพ นักวิชาการคลังชํานาญ คณะทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ (๑3) นางรุ่งกานต์ ทองบํารุง นักวิชาการคลังชํานาญการ คณะทํางานและผู้ช่วยเลขานุการ อํานาจหน้าที่ 1. ดําเนินการตามนโยบาย การกําหนดยุทธศาสตร์การทํางาน การอํานวยการ การบริหารจัดการและติดตาม ประเมิ นผลในงานของกลุ่ มตามภารกิ จ ภายใต้ ความสอดคล้ องกั บนโยบาย/ยุ ทธศาสตร์ /แนวทาง และเป้าหมาย ที่คณะกรรมการการจัดทํายุทธศาสตร์การเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการคลัง การบัญชี และเศรษฐกิจ Zone 8 กําหนด รวมทั้งงานที่เป็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล กระทรวงการคลัง กรมบัญชีกลาง และสํานักงานคลังเขต 8 /2. เสนอแนะเชิงนโยบาย...
-22. เสนอแนะเชิ ง นโยบายและรายงานผลการดํ า เนิ น งาน ปั ญ หาและอุ ป สรรคหรื อ ข้ อ เสนอแนะ ต่ อคณะทํ างานการจั ดทํ ายุ ทธศาสตร์ การเสริ มสร้ างความเข้ มแข็ งด้ านการเงิ นการคลั งการบั ญชี และเศรษฐกิจ Zone 8 เพื่อทราบหรือนําไปพิจารณากําหนดแนวทางรวมทั้งการแก้ไขปัญหา และอุปสรรค 3. สร้างความร่วมมือระหว่างบุ คลากรภายในองค์กร ส่วนราชการ องค์ กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ภาคส่วนต่าง ๆ ในการดําเนินงานภายใต้ภารกิจที่รับผิดชอบ 4. ให้คําแนะนําปรึกษา ตอบข้อหารือ รวมทั้งสนับสนุนและให้ความช่วยเหลือทางวิชาการเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบี ย บ ข้ อบั งคั บ และวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ด้ า นการเงิ น การคลั ง การบั ญ ชี การตรวจสอบภายใน และการพัสดุ 5. ดําเนินการจัดคู่มือการบรรยายเกี่ยวกับกฎหมายการเงินการคลัง 6. ดําเนินการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ภายในสํานักงาน 7. ดําเนินการเกี่ยวกับการฝึกอบรม และพัฒนาบุคลากรด้านการเงินการคลังการบัญชี การตรวจสอบภายใน และพัสดุ แก่หน่วยงานภาครัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัด ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบ 8. ติดตามประเมินผลดําเนินงานตามโครงการ 9. ดําเนินงานตามภารกิจอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย ทั้งนี้ ตัง้ แต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕4
(นางกิตติยา เมธิโยธิน) คลังเขต ๘
แบบทดสอบความรูก้ ่อนการประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร (Pretest) โครงการ “Follow Up & Evaluation คลินกิ ความรูส้ คู่ วามเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8” วันที่ 4 มีนาคม 2555 ณ ห้องประชุมสํานักงานคลังเขต 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี วิชา การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนําเงินส่งคลังของส่วนราชการ ----------------------จงเลือกคําตอบทีถ่ ูกต้องเพียงคําตอบเดียว โดยทําเครื่องหมายกากบาท (X) ในกระดาษคําตอบ 1. หลักฐานการจ่าย คือความหมายในข้อใด ก. หลักฐานทีม่ ีการจ่ายเงินให้เจ้าหนี้หรือผูม้ ีสิทธิรับเงินตามภาระผูกพัน ข. ใบเสร็จรับเงิน ค. ใบสําคัญรับเงิน ง. ถูกทุกข้อ 2. เงินรายได้แผ่นดิน คือความหมายในข้อใด ก. เงินที่ส่วนราชการจัดเก็บหรือรับไว้เป็นกรรมสิทธิตามกฎหมาย ข. เงินที่มีกฎหมายบัญญัติไม่ให้ส่วนราชการนําไปใช้จ่ายหรือหักไว้เพื่อการใด ค. เงินทีส่ ่วนราชการจัดเก็บหรือรับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และ กฎหมายว่าด้วยเงินคงคลังและพ.ร.บ.วิธีการงบประมาณบังคับไม่ให้ส่วนราชการไปใช้จา่ ย หรือหักไว้เพื่อการใด ง. ไม่มีข้อใดถูก 3. ข้อมูลหลักผู้ขาย ประกอบด้วยข้อใด ก. ขื่อ ที่อยู่ เลขประจําตัวประชาชน ข. เลขประจําตัวผู้เสียภาษี เลขที่บญ ั ชีธนาคาร ค. ข้อมูลของหน่วยผู้เบิกหรือเจ้าหนี้ที่ใช้สาํ หรับการขอรับเงินขอเบิกจากคลัง ง. ทุกข้อรวมกัน 4. ระบบ ตามระเบียบฉบับนี้ หมายความถึง ก. ช่องทางที่กระทรวงการคลังกําหนดในการนําเข้าข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ข. ระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ค. ทั้งข้อ ก. และ ข. ง. ไม่มีข้อใดถูก 5. ผู้ใดเป็นผูม้ สี ิทธิถือบัตรกําหนดสิทธิ์การใช้รหัสผู้ใช้งานและรหัสย่อย ก. ผู้เบิก ข. ผูท้ ี่ผู้เบิกมอบหมาย ค. เจ้าหน้าทีก่ ารเงิน ง. ผู้ที่หัวหน้าหน่วยงานผู้เบิกจัดนําส่งหรือมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร
หน้า 1
6. ผู้เบิกหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย มีหน้าที่ ก. เป็นผู้เบิกเงินจากคลัง ข. เป็นผู้อนุมตั ิการจ่ายเงินให้เจ้าหนี้ ค. กําหนดหน้าที่ความรับผิดชอบและแนวทางการควบคุมการปฏิบัติงานของหน่วยงานผู้เบิก ง. ไม่มีข้อใดถูก 7. การจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันตามงบประมาณการจ่ายประจําปี ส่วนราชการสามารถดําเนินได้ ก. ตามวัตถุประสงค์ของพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปี ข. ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เกี่ยวกับการจ่ายเงินของแผ่นดิน ค. ถูกทั้ง ก และ ข ง. ไม่ถูกทั้ง ก และ ข 8. ผู้ได้รับมอบหมายจากผู้ถือบัตร กําหนดสิทธิการใช้ SMART CARD รหัสผูใ้ ช้งาน User name และ รหัสผ่าน มีหน้าที่ ก. การได้รับมอบหมายต้องจัดทําเป็นคําสั่ง และมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร ข. ผู้ได้รับมอบหมายดําเนินการเบิกเงินจากคลังอนุมัติจ่ายเงิน นําเงินส่งคลัง ค. บันทึก และปรับปรุงข้อมูลและการเรียกรายงานในระบบ ง. ทุกข้อประกอบกัน 9 การเบิกจ่ายเงินให้ข้าราชการ ลูกจ้าง หรือผู้รับบํานาญ หากมารับเงินเองไม่ได้ ให้ใช้ ก. ใบมอบฉันทะ ข. ใบมอบอํานาจ ค. ถูกทั้ง ก และ ข ง. ไม่มีข้อใดถูก 10. ค่าใช้จ่ายรายการใดที่ไม่ถือเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อได้รับจ้างให้ชําระหนี้ ก. ค่าเบี้ยเลี้ยง ข. ค่าไฟฟ้า ค. ค่าเช่าบ้านข้าราชการ ง. ค่ากําจัดขยะมูลฝอย 11. การชดใช้เงินยืมต้องนําหลักฐานมาส่งต่อส่วนราชการภายในกําหนด ก. กรณีเดินทางไปราชการประจําต่างสํานักงาน ต้องส่งคืนเงินยืมภายในกําหนด 15 วัน นับแต่วันทีไ่ ด้รับเงิน ข. การเดินทางไปราชการชั่วคราว ต้องส่งคืนเงินภายในกําหนด 15 วัน นับจากวันกลับ มาถึง ค. การปฏิบัติราชการอื่น ต้องส่งคืนเงินภายในกําหนด 15 วัน นับจากวันที่ได้รับเงิน ง. ถูกหมดทุกข้อ 12. การเบิกเงินจากคลังไปจ่ายเป็นเงินสด จ่ายได้ในกรณีใด ก. การจ่ายเงินให้ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ ผู้รับบํานาญ ข. การจ่ายเงินที่วงเงินการขอเบิกต่ํากว่า 5000 บาท ค. ถูกทั้ง ก และ ข ง. ไม่มีข้อใดถูก
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร
หน้า 2
13. สาระสําคัญในการเขียนเช็คสั่งจ่าย กรณี ซื้อ/จ้าง/เช่า ตรงกับข้อใด ก.ขีดคร่อมเช็ค สั่งจ่ายในนามเจ้าหนี้หรือผู้มสี ิทธิ ข.ขีดคร่อมเช็ค สั่งจ่ายในนามเจ้าหน้าที่การเงินส่วนราชการ ค.ไม่ต้องขีดคร่อมเช็ค สั่งจ่ายในนามเจ้าหน้าที่การเงินส่วนราชการ ง.ไม่มีข้อใดถูก 14. ใบสําคัญรับเงิน ใช้ได้ในกรณีใด ก.ใบเสร็จรับเงินสูญหาย ข.เรียกใบเสร็จรับเงินจากผู้รับเงินไม่ได้ ค.ใบรับรองการจ่ายเงินสูญหาย ง.ไม่มีข้อใดถูก 15. ประเภทหลักฐานการจ่ายตรงกับข้อใด ก.ใบรับรองการจ่ายเงิน ข.หนังสือมอบฉันทะ ค.หนังสือมอบอํานาจ ง.ไม่มีข้อใดถูก 16. เงินรายได้แผ่นดิน ประกอบด้วย ก. รายได้จากภาษีอากร ข. รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ ค. รายได้จากรัฐพาณิชย์และรายได้อื่น ๆ ง. ถูกทุกข้อ 17. รายจ่ายงบกลางได้แก่ ก. เงินเบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ ข. ค่าทดแทนสําหรับผู้ได้รับอันตรายในการรักษาความมัน่ คง ค. เงินสํารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเป็น ง. ถูกทุกข้อ 18. การจ่ายเงินยืมเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ กรณีคาบเกีย่ วปีงบประมาณ ให้ใช้จ่ายได้ไม่เกินกี่วัน ก. 90 วัน ข. 80 วัน ค. 70 วัน ง. 60 วัน 19. เหตุผลในการปรับปรุงระเบียบเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.๒๕๒๐ มาเป็นระเบียบเบิกจ่ายเงินจากคลังฯ พ.ศ. ๒๕๕๑ คือข้อความในข้อใด ที่ถูกที่สดุ ก. เป็นการรวมระเบียบเบิกจ่ายและระเบียบเก็บรักษาเงินนําเงินส่งคลังเข้าด้วยกัน ข. ระเบียบที่ใช้อยู่เดิมไม่ทันสมัยกับระบบการบริหารการเงินการคลังฯ (GFMIS) ค. รวมระเบียบเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ง. เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันและสอดคล้องกับการปฏิบัติงานการเงินการ คลัง ตามระบบ (GFMIS)
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร
หน้า 3
20. การกําหนดระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและนําเงินส่งคลังอาศัยอํานาจตามความใน มาตราใด ในมาตราใด และพ.ร.บ.ใด ก. มาตรา 23 (2) พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ ข. มาตรา 23 พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ ค. มาตรา 21 (5) พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ ง. มาตรา 21 (2) พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร
หน้า 4
1 .ในการกําหนดระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและนําเงินส่งคลังอาศัยอํานาจตามความในมาตราใด และพ.ร.บ.ใด ก. มาตรา 23 (2) พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ ข. มาตรา 23 พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ ค. มาตรา 21 (5) พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ ง. มาตรา 21 (2) พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ 2. ใบสําคัญรับเงิน ใช้ได้ในกรณีใด ก.ใบเสร็จรับเงินสูญหาย ข.เรียกใบเสร็จรับเงินจากผู้รับเงินไม่ได้ ค.ใบรับรองการจ่ายเงินสูญหาย ง.ไม่มีข้อใดถูก 3. ประเภทหลักฐานการจ่ายตรงกับข้อใด ก.ใบรับรองการจ่ายเงิน ข.หนังสือมอบฉันทะ ค.หนังสือมอบอํานาจ ง.ไม่มีข้อใดถูก 4.เงินรายได้แผ่นดิน ประกอบด้วย ก. รายได้จากภาษีอากร ข. รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ ค. รายได้จากรัฐพาณิชย์และรายได้อื่น ๆ ง. ถูกทุกข้อ 5.. การจ่ายเงินยืมเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ กรณีคาบเกี่ยวปีงบประมาณ ให้ใช้จ่ายได้ ไม่เกินกี่วัน ก. 90 วัน ข. 80 วัน ค. 70 วัน ง. 60 วัน 6. การเบิกจ่ายเงินให้ข้าราชการ ลูกจ้าง หรือผู้รับบํานาญ ถ้ามารับเงินเองไม่ได้ ให้ใช้ ก. ใบมอบฉันทะ ข. ใบมอบอํานาจ ค. ถูกทั้ง ก และ ข ง. ไม่มีข้อใดถูก 7. ค่าใช้จ่ายรายการใดที่ไม่ถือเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อได้รับจ้างให้ชําระหนี้ ก. ค่าเบี้ยเลี้ยง ข. ค่าไฟฟ้า ค. ค่าเช่าบ้านข้าราชการ ง. ค่ากําจัดขยะมูลฝอย 8. การชดใช้เงินยืมต้องนําหลักฐานมาส่งต่อส่วนราชการภายในกําหนด ก. กรณีเดินทางไปราชการประจําต่างสํานักงาน ต้องส่งคืนเงินยืมภายในกําหนด 30 วัน สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร
หน้า 5
นับแต่วันที่ได้รับเงิน ข. การเดินทางไปราชการชั่วคราว ต้องส่งคืนเงินภายในกําหนด 15 วัน นับจากวันกลับ มาถึง ค. การปฏิบัติราชการอื่น ต้องส่งคืนเงินภายในกําหนด 30 วัน นับจากวันที่ได้รับเงิน ง. ถูกหมดทุกข้อ 9. การเบิกจ่ายเงินให้ข้าราชการ ลูกจ้าง หรือผู้รับบํานาญ ถ้ามารับเงินเองไม่ได้ ให้ใช้ ก. ใบมอบฉันทะ ข. ใบมอบอํานาจ ค. ถูกทั้ง ก และ ข ง. ไม่มีข้อใดถูก 10. ค่าใช้จ่ายรายการใดที่ไม่ถือเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อได้รับจ้างให้ชําระหนี้ ก. ค่าเบี้ยเลี้ยง ข. ค่าไฟฟ้า ค. ค่าเช่าบ้านข้าราชการ ง. ค่ากําจัดขยะมูลฝอย 11 การเบิกเงินจากคลังไปจ่ายเป็นเงินสด จ่ายได้ในกรณีใด ก. การจ่ายเงินให้ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ ผู้รับบํานาญ ข. การจ่ายเงินที่วงเงินการขอเบิกต่ํากว่า 5000 บาท ค. ถูกทั้ง ก และข ง. ไม่มีข้อใดถูก 12. สาระสําคัญในการเขียนเช็คสั่งจ่าย กรณี ซื้อ/จ้าง/เช่า ตรงกับข้อใด ก.ขีดคร่อมเช็ค สั่งจ่ายในนามเจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิ ข.ขีดคร่อมเช็ค สั่งจ่ายในนามเจ้าหน้าที่การเงินส่วนราชการ ค.ไม่ต้องขีดคร่อมเช็ค สั่งจ่ายในนามเจ้าหน้าที่การเงินส่วนราชการ ง.ไม่มีข้อใดถูก 13. ใครเป็นผู้อนุมัติการจ่ายเงินของส่วนราชการในราชการบริหารส่วนภูมิภาค ก. ผู้ที่หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมมอบหมาย ซึ่งดํารงตําแหน่งตั้งแต่ระดับ 7 หรือ เทียบเท่าขึ้นไป ข. หัวหน้าสํานักงานที่หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมมอบหมาย ค. หัวหน้าส่วนราชการในภูมิภาค ง. ผู้ว่าราชการจังหวัด 14. กรรมการเก็บรักษาเงินของส่วนราชการอย่างน้อยต้องมีกี่คน ก. 2 คน ข. 3 คน ค. 4 คน ง. 5 คน ง.ไม่มีข้อใดถูก 15. ผู้ได้รับมอบหมายจากผู้ถือบัตร กําหนดสิทธิการใช้ SMART CARD รหัสผู้ใช้งาน User name และ รหัสผ่าน มีหน้าที่ ก. การได้รับมอบหมายต้องจัดทําเป็นคําสั่ง และมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร ข. ผู้ได้รับมอบหมายดําเนินการเบิกเงินจากคลังอนุมัติจ่ายเงิน นําเงินส่งคลัง ค. บันทึก และปรับปรุงข้อมูลและการเรียกรายงานในระบบ ง. ทุกข้อประกอบกัน 16. การเบิกเงินที่มิได้กําหนดในระเบียบนี้ หรือมีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบ ต้องทําความ ตกลงกับ ก. สํานักงบประมาณ สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร
หน้า 6
ข. สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ค. กรมบัญชีกลาง ง. กระทรวงการคลัง 17.เหตุผลในการปรับปรุงระเบียบเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.๒๕๒๐ มาเป็นระเบียบเบิกจ่ายเงินจากคลังฯ พ.ศ. ๒๕๕๑ คือ ข้อความในข้อใดที่ถูกที่สุด ก. เป็นการรวมระเบียบเบิกจ่ายและระเบียบเก็บรักษาเงินนําเงินส่งคลังเข้าด้วยกัน ข. ระเบียบที่ใช้อยู่เดิมไม่ทันสมัยกับระบบการบริหารการเงินการคลังฯ (GFMIS) ค. รวมระเบียบเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ง. เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันและสอดคล้องกับการปฏิบัติงานการเงินการคลัง ตามระบบ (GFMIS) 18. การซื้อทรัพย์สิน จ้างทําของ หรือเช่าทรัพย์สินที่มีวงเงินตั้งแต่ 5,000 ขึ้นไป ก. ส่วนราชการจัดทําหรือลงใบสั่งซื้อ/สั่งจ้างเพื่อทําการจองงบประมาณในระบบ ข. กรมบัญชีกลางจ่ายเงินเข้าบัญชีให้เจ้าหนี้โดยตรง ค. จ่ายเข้าบัญชีเงินฝากของส่วนราชการ ง. ถูกทุกข้อ 19. การขอเบิกเงินจากคลัง ในการซื้อทรัพย์สิน จ้างทําของหรือเช่าทรัพย์ต้องดําเนินภายใน ก. 3 วันทําการนับจากการตรวจรับทรัพย์สิน ข. 3 วันทําการนับจากการตรวจรับงานถูกต้อง ค. 5 วันทําการนับจากการตรวจรับทรัพย์สินหรือตรวจรับงานหรือจากวันที่ได้รับแจ้งจาก หน่วยงานย่อย ง. 5 วันนับจากการตรวจรับทรัพย์สินหรือตรวจรับงานหรือวันที่ได้รบั แจ้งจากหน่วยงานย่อย 20 การเบิกเงิน หมวดค่าสาธารณูปโภค กรมบัญชีกลางสัง่ จ่ายเงินเข้าบัญชีใด ก. เข้าบัญชีเงินฝากส่วนราชการ ข. เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารให้กับเจ้าหนี้โดยตรง ค. เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารเจ้าหน้าที่การเงิน ง. เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารให้กับเจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิรับโดยตรง
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร
หน้า 7
แบบทดสอบความรูห้ ลังการประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร (Posttest) โครงการ “Follow Up & Evaluation คลินกิ ความรูส้ คู่ วามเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8” วันที่ 4 มีนาคม 2555 ณ ห้องประชุมสํานักงานคลังเขต 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี วิชา การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนําเงินส่งคลังของส่วนราชการ ----------------------จงเลือกคําตอบทีถ่ ูกต้องเพียงคําตอบเดียว โดยทําเครื่องหมายกากบาท (X) ในกระดาษคําตอบ 1. ในการกําหนดระเบี ยบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรั กษาเงิ นและนําเงินส่งคลังอาศัยอํานาจ ตามความในมาตราใด และพ.ร.บ.ใด ก. มาตรา 23 (2) พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ ข. มาตรา 23 พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ ค. มาตรา 21 (5) พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ ง. มาตรา 21 (2) พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ 2. ใบสําคัญรับเงิน ใช้ได้ในกรณีใด ก.ใบเสร็จรับเงินสูญหาย ข.เรียกใบเสร็จรับเงินจากผู้รับเงินไม่ได้ ค.ใบรับรองการจ่ายเงินสูญหาย ง.ไม่มีข้อใดถูก 3. ประเภทหลักฐานการจ่ายตรงกับข้อใด ก.ใบรับรองการจ่ายเงิน ข.หนังสือมอบฉันทะ ค.หนังสือมอบอํานาจ ง.ไม่มีข้อใดถูก 4. เงินรายได้แผ่นดิน ประกอบด้วย ก. รายได้จากภาษีอากร ข. รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ ค. รายได้จากรัฐพาณิชย์และรายได้อื่น ๆ ง. ถูกทุกข้อ 5. การจ่ายเงินยืมเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ กรณีคาบเกี่ยวปีงบประมาณ ให้ใช้จ่ายได้ ไม่เกินกี่วนั ก. 90 วัน ข. 80 วัน ค. 70 วัน ง. 60 วัน สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร
หน้า 1
6. การเบิกจ่ายเงินให้ข้าราชการ ลูกจ้าง หรือผู้รับบํานาญ หากมารับเงินเองไม่ได้ ให้ใช้ ก. ใบมอบฉันทะ ข. ใบมอบอํานาจ ค. ถูกทั้ง ก และ ข ง. ไม่มีข้อใดถูก 7. ค่าใช้จ่ายรายการใดที่ไม่ถอื เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อได้รับจ้างให้ชําระหนี้ ก. ค่าเบี้ยเลี้ยง ข. ค่าไฟฟ้า ค. ค่าเช่าบ้านข้าราชการ ง. ค่ากําจัดขยะมูลฝอย 8. การชดใช้เงินยืมต้องนําหลักฐานมาส่งต่อส่วนราชการภายในกําหนด ก. กรณีเดินทางไปราชการประจําต่างสํานักงาน ต้องส่งคืนเงินยืมภายในกําหนด 30 วัน นับแต่วันทีไ่ ด้รับเงิน ข. การเดินทางไปราชการชั่วคราว ต้องส่งคืนเงินภายในกําหนด 15 วัน นับจากวันกลับ มาถึง ค. การปฏิบัติราชการอื่น ต้องส่งคืนเงินภายในกําหนด 30 วัน นับจากวันที่ได้รับเงิน ง. ถูกหมดทุกข้อ 9. การเบิกจ่ายเงินให้ข้าราชการ ลูกจ้าง หรือผู้รับบํานาญ ถ้ามารับเงินเองไม่ได้ ให้ใช้ ก. ใบมอบฉันทะ ข. ใบมอบอํานาจ ค. ถูกทั้ง ก และ ข ง. ไม่มีข้อใดถูก 10. ค่าใช้จ่ายรายการใดที่ไม่ถือเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อได้รับจ้างให้ชําระหนี้ ก. ค่าเบี้ยเลี้ยง ข. ค่าไฟฟ้า ค. ค่าเช่าบ้านข้าราชการ ง. ค่ากําจัดขยะมูลฝอย 11 การเบิกเงินจากคลังไปจ่ายเป็นเงินสด จ่ายได้ในกรณีใด ก. การจ่ายเงินให้ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ ผู้รับบํานาญ ข. การจ่ายเงินที่วงเงินการขอเบิกต่ํากว่า 5000 บาท ค. ถูกทั้ง ก และ ข ง. ไม่มีข้อใดถูก 12. สาระสําคัญในการเขียนเช็คสั่งจ่าย กรณี ซื้อ/จ้าง/เช่า ตรงกับข้อใด ก.ขีดคร่อมเช็ค สั่งจ่ายในนามเจ้าหนี้หรือผู้มสี ิทธิ ข.ขีดคร่อมเช็ค สั่งจ่ายในนามเจ้าหน้าที่การเงินส่วนราชการ ค.ไม่ต้องขีดคร่อมเช็ค สั่งจ่ายในนามเจ้าหน้าที่การเงินส่วนราชการ ง.ไม่มีข้อใดถูก สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร
หน้า 2
13. ใครเป็นผู้อนุมัติการจ่ายเงินของส่วนราชการในราชการบริหารส่วนภูมิภาค ก. ผู้ทหี่ ัวหน้าส่วนราชการระดับกรมมอบหมาย ซึ่งดํารงตําแหน่งตั้งแต่ระดับ 7 หรือ เทียบเท่าขึน้ ไป ข. หัวหน้าสํานักงานที่หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมมอบหมาย ค. หัวหน้าส่วนราชการในภูมิภาค ง. ผู้ว่าราชการจังหวัด 14. กรรมการเก็บรักษาเงินของส่วนราชการอย่างน้อยต้องมีกี่คน ก. 2 คน ข. 3 คน ค. 4 คน ง. 5 คน ง.ไม่มีข้อใดถูก 15. ผู้ได้รับมอบหมายจากผู้ถือบัตร กําหนดสิทธิการใช้ SMART CARD รหัสผูใ้ ช้งาน User name และ รหัสผ่าน มีหน้าที่ ก. การได้รับมอบหมายต้องจัดทําเป็นคําสั่ง และมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร ข. ผู้ได้รับมอบหมายดําเนินการเบิกเงินจากคลังอนุมัติจ่ายเงิน นําเงินส่งคลัง ค. บันทึก และปรับปรุงข้อมูลและการเรียกรายงานในระบบ ง. ทุกข้อประกอบกัน 16. การเบิกเงินที่มิได้กําหนดในระเบียบนี้ หรือมีปัญหาเกีย่ วกับการปฏิบัติตามระเบียบ ต้องทําความ ตกลงกับ ก. สํานักงบประมาณ ข. สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ค. กรมบัญชีกลาง ง. กระทรวงการคลัง 17. เหตุผลในการปรับปรุงระเบียบเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.๒๕๒๐ มาเป็นระเบียบเบิกจ่ายเงินจากคลังฯ พ.ศ. ๒๕๕๑ คือ ข้อความในข้อใดที่ถกู ที่สุด ก. เป็นการรวมระเบียบเบิกจ่ายและระเบียบเก็บรักษาเงินนําเงินส่งคลังเข้าด้วยกัน ข. ระเบียบที่ใช้อยู่เดิมไม่ทันสมัยกับระบบการบริหารการเงินการคลังฯ (GFMIS) ค. รวมระเบียบเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ง. เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันและสอดคล้องกับการปฏิบัติงานการเงินการ คลัง ตามระบบ (GFMIS) 18. การซื้อทรัพย์สิน จ้างทําของ หรือเช่าทรัพย์สินที่มวี งเงินตั้งแต่ 5,000 ขึ้นไป ก. ส่วนราชการจัดทําหรือลงใบสั่งซื้อ/สั่งจ้างเพื่อทําการจองงบประมาณในระบบ ข. กรมบัญชีกลางจ่ายเงินเข้าบัญชีให้เจ้าหนี้โดยตรง ค. จ่ายเข้าบัญชีเงินฝากของส่วนราชการ ง. ถูกทุกข้อ สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร
หน้า 3
19. การขอเบิกเงินจากคลัง ในการซื้อทรัพย์สิน จ้างทําของ หรือเช่าทรัพย์ต้องดําเนินภายใน ก. 3 วันทําการนับจากการตรวจรับทรัพย์สิน ข. 3 วันทําการนับจากการตรวจรับงานถูกต้อง ค. 5 วันทําการนับจากการตรวจรับทรัพย์สินหรือตรวจรับงานหรือจากวันที่ได้รับแจ้งจาก หน่วยงานย่อย ง. 5 วันนับจากการตรวจรับทรัพย์สินหรือตรวจรับงานหรือวันที่ได้รับแจ้งจากหน่วยงานย่อย 20 การเบิกเงิน หมวดค่าสาธารณูปโภค กรมบัญชีกลางสั่งจ่ายเงินเข้าบัญชีใด ก. เข้าบัญชีเงินฝากส่วนราชการ ข. เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารให้กับเจ้าหนี้โดยตรง ค. เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารเจ้าหน้าที่การเงิน ง. เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารให้กับเจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิรับโดยตรง
สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร
หน้า 4
เฉลยข้อสอบแบบทดสอบความรู้การประชุมเชิงปฏิบัติการ โครงการ "Follow Up & Evaluation คลินิกความรู้สู่ความเข้มแข็งทางวิชาการของจังหวัด Zone 8" วันที่ 4 มีนาคม 2555 ณ ห้องประชุมสํานักงานคลังเขต 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี 5. วิชา การเบิกจ่ายเงินการเก็บรักษาเงินและการนําเงินส่งคลังของส่วนราชการ ข้อที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
Pretest ก ค ง ค ง ค ค ง ก ก ข ค ก ข ก ง ง ก ง ง สํานักงานคลังจังหวัดชุมพร
ข้อที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
Posttest ง ข ก ง ก ก ก ง ก ก ค ก ค ก ง ง ง ง ค ง