เวที Think Tank ครั้งที่ 3 “จีนและอาเซียนในยุคบูรพาภิวัตน” จัดโดย สถาบันคลังปญญาดานยุทธศาสตร วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต รวมกับ แผนงานสรางเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี (นสธ.) และสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ณ ศูนยศึกษาสาทรธานี มหาวิทยาลัยรังสิต (อาคารสาทรธานี 1) วันที่ 15 มีนาคม 2555
ดร. อาทิตย อุไรรัตน กลาวเปดงาน เรียน ทานผูมีเกียรติทุกทาน สถาบันคลังปญญาดานยุทธศาสตร วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร มหาวิทยาลัย รังสิต แผนงานสรางเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี หรือ นสธ. และ สสส. ไดรวมกันจัดเวทีความคิด เพื่อระดมสมองจากนักวิชาการ ผูเชี่ยวชาญ ผูมีประสบการณ นักวางนโยบาย นักธุรกิจและ นักการเมืองเพื่อหาขอสรุปทางยุทธศาสตรใหญๆ ใหกับประเทศในลักษณะแบบนี้มาสองครั้งแลว ครั้งแรกจัดเมื่อปลายปที่แลวเรื่อง “มหาอุทกภัย : บทเรียนและขอเสนอทางยุทธศาสตร” ครั้งที่สอง จัดเมื่อเดือนมกราคมตนปนี้ เรื่อง “บูรพาภิวัตน : ฤาโลกจะกลับขั้วอํานาจ” และครั้งนี้เปน ครั้งที่สาม หัวขอ “ยุคบูรพาภิวัตน : ไทย จีนและอาเซียนควรทําอะไรและอยางไร?”
2
เวที Think Tank ครั้งที่ 3
ครั้งแรกนั้นเปนปญหาเรงดวนและเปนปญหาเฉพาะของเราคือเรื่องน้ําทวมใหญที่เรา ไมเคยเจอมากอนซึ่งสะทอนใหเห็นถึงความออนแอและความลมเหลวของแทบทุกระบบของ ประเทศ สวนครั้งที่สองนั้นเราไดรวมกันใหภาพทั้งดานกวางและดานลึกของการเปลี่ยนทาง เศรษฐกิจการเมืองโลก ซึ่งชี้วาโลกกําลังพลิกผันทางอํานาจครั้งใหญ เอเชียกําลังกาวขึ้นมานําโลก แทนที่อเมริกาและยุโรป หรืออยางนอยก็ทัดเทียมกันทางอํานาจมากขึ้น จีน อินเดีย ตะวันออกกลาง ตุรกี อิหราน รัสเซียและบราซิลขยับขึ้นมาเปนหัวหอกของเศรษฐกิจโลก อเมริกา ยุโรป ญี่ปุน ถดถอยลงไป ในขณะเดียวกันหลายประเทศในโลกที่เคยยากจนทั้งในแอฟริกา ลาตินอเมริกา บัดนี้กลับร่ํารวยขึ้น นั่นคือภาพใหญที่เราไดปูพื้นเอาไวในการประชุมครั้งกอน
การประชุมเวทีระดมความคิดครั้งนี้ จะลงลึกไปอีกขั้นหนึ่ง เพราะจะเขาสูประเด็น สําคัญทีเดียวคือ เมื่อศูนยอํานาจเศรษฐกิจโลกยายมาที่เอเชียตะวันออก เราซึ่งอยูในภูมิภาคนี้ อยูในเอเชียตะวันออกเฉียงใต อยูในอาเซียน โดยเฉพาะอยางยิ่งอยูในเอเชียตะวันออกเฉียงใต สวนที่เปนภาคพื้นทวีป (mainland) ประกอบดวย พมา ลาว ไทย กัมพูชา และเวียดนาม ซึ่ง ประชิดติดกับทั้งจีนทางดานตะวันออก และอินเดียทางดานตะวันตก นอกจากนั้นประเทศไทย ยังตอเชื่อมลงไปทางใตกับมาเลเซีย และอินโดนีเซียซึ่งเปนประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ ที่สดุ ในอาเซียนอีกดวย ในอนาคตอันใกลเศรษฐกิจอาเซียนทั้งมวลจะเปนอันหนึ่งอันเดียวกันและเศรษฐกิจ ของจีนจะแผลงมาในอาเซียนมากขึ้น เศรษฐกิจของจีนกับอาเซียนจะเปดเขาหากันมากขึ้น จะ เชื่อมโยงกันลึกซึ้งยิ่งขึ้น ประเด็นที่เราอยากไดคําตอบในวันนี้ก็คือก็คือแลว จีน อาเซียน และ
จีนและอาเซียนในยุคบูรพาภิวัตน 3
ไทยควรจะมียุทธศาสตรรวมกันอยางไร จะตอเชื่อมเขาดวยกันในมิติตางๆ อยางไร ทั้งในทาง การคา การลงทุน พลังงาน โครงสรางพื้นฐานเทคโนโลยี วิชาการ และจีน กับไทยควรจะมี ยุทธศาสตรตอกันอยางไรเปนพิเศษในมิติตางๆ เหลานั้น การประชุมเวที Think Tank ในครั้งนี้นับวาเหมาะสมและทันตอสถานการณมาก และ นาจะไดเห็นแนวทางในเชิงนโยบายและเชิงยุทธศาสตรที่ชัดเจนมากขึ้น กระผมจึงขอเปดการประชุมเวทีความคิดครั้งสําคัญนี้ ณ บัดนี้ ขอบคุณครับ
การเสวนารวมแสดงความคิดเห็น ศาสตราจารย ดร. เอนก เหลาธรรมทัศน: สวนใหญ ที่ทานวิทยากรจะมาชวยนําเสนอคือในยุคที่โลกในดานอื่นเปน บูรพาภิวัตนมากขึ้น หมายความวาซีกโลกตะวันออกมีบทบาท มากขึ้น โลกไมไดเปนของตะวันตกแตผูเดียวอีกตอไป ซึ่งถือ เปนการเปลี่ยนแปลงที่ใหญมาก ในขณะเดียวกันประเทศรอบๆ บานเราก็กําลังเกิดกระบวนการประชาคมอาเซียน ทําใหเราจะ เปนสวนหนึ่งของอาเซียนมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ผมจึงเชิญวิทยากร ทั้งสามมานําเสวนาและการสนทนา พรอมกันนี้ไดเชิญแขกผูมี เกียรติผูทรงภูมิและมีประสบการณอีกหลายๆ ทานมานั่งอยูในที่นี้ดวยแลว จึงขอตกลงวาทาน วิทยากรแตละทานนําเสวนาทานละ 20-30 นาที รวมสามทานตกประมาณ 1 ชั่วโมงเศษๆ หลังจากนั้นก็เชิญทานที่เขารวมเสวนารวมแสดงความคิดเห็น รวมถกเถียงในประเด็นตางๆ ซึ่งตอนนี้ผมขอยังไมแนะนําผูที่เขามารวมเสวนา แตหลังจากที่จบการนําเสนอของวิทยากร ทั้ง 3 ทานแลวจะแนะนํากันใหมากขึ้น ผมมีความคิดเห็นวาเมื่อถึงเวลาประมาณ 4 นาฬิกา กว า ๆ เราอย าเพิ่ งกลั บ เพราะอาจมี ค วามคิ ดเห็ น ที่ สามารถแลกเปลี่ ยนเพิ่ มเติ มกั น ได จะ สามารถ เห็นอนาคต เห็นทางออกของบานเมือง สําหรับวิทยากรทานแรก ขอกราบเรียนเชิญ ดร. สารสิน วีระผล
4
เวที Think Tank ครั้งที่ 3
ดร. สารสิน วีระผล: กอนอื่น ผมรูสึกเปนเกียรติที่ไดรับเชิญ จากมหาวิทยาลัยรังสิต ผมจึงรูสึกยินดีเปนพิเศษที่ไดรับเชิญใหมา พูดในครั้งนี้ อันที่จริงเวทีนี้เปนเวทีระดมสมอง เปนคลังสมองที่ทุกคน มีสิทธิที่จะเติมเต็มและใสเขาไป เพราะฉะนั้นผมก็จะเปนคนหนึ่ง เทานั้นที่นําเสนอ เพราะ ณ ที่นี้ยังมีทานรัฐมนตรีสุรเกียรติ์ เสถียรไทย และอีกหลายทานดวยกันซึ่งเปนผูที่มีความรูมากกวาผมหลายเทา ผมจึงอยากรับฟงทานเชนเดียวกัน แตสิ่งที่ผมรูสึกเสียดายก็คือวา วันนี้เรามีคลังสมองที่ใหญมากขึ้น แตในขณะเดียวกันการระดมสมองไมไดเกิดขึ้นในสถานที่ ซึ่งควรจะเกิดขึ้นบอยมากนัก เชน รัฐสภา ซึ่งเปนที่กําหนดบทบาทของฝายนิติบัญญัติ และ ทําเนียบรัฐบาล ซึ่งเปนที่บัญชาการของฝายบริหาร สวนตุลาการผมไมทราบวาเราจะ expect ใหทานมาระดมสมองดวยหรือเปลาก็ไมทราบได แตอยางนอยในฐานะที่เปนคนไทย และเปน ชนชั้นที่มีปญญานั้น ผมจึงมีสิทธิที่จะเรียกรองวาสิ่งที่เรากําลังทําอยูทุกวันนี้ อยางนอยที่สุด นาจะมีเสียงสะทอนไปถึงสถาบันเหลานี้บาง ไมวาจะเปนยุดใดก็ตาม โดยเฉพาะอยางยิ่งในแง ที่ทานอธิการบดีไดพูดวาเวลานี้เรากําลังอยูในยุคที่กําลังเปลี่ยนแปลงอยางสําคัญ และทาน ดร. เอนก ก็ไดนิยามศัพทขึ้นมาวา "บูรพาภิวัตน" ซึ่งเปนครั้งแรกที่ผมเคยไดยิน ซึ่งผมคิดวาเปน สิ่งที่ดีมากและเปนคําที่จะเปลี่ยนความคิดของคนไทยไปมากพอสมควร จากโลกาภิวัฒนมา เปนบูรพาภิวัตน ทําใหพวกเราตระหนักมากยิ่งขึ้นถึงภาระและหนาที่ วิกฤติและโอกาส ที่ทาน อธิการบดีไดพูดไวในตอนเปดเสวนาแลว ถามองในหัวขอที่ผมไดรับมอบหมายนั้น ไทย-จีน-อาเซียน ควรจะทําอะไร? และ อยางไร? ผมคิดวาประเทศที่เดือดรอนนอยที่สุด และโชคดีที่สุดก็คือประเทศไทย นั่นคือไมตอง ทําอะไร ไมตองทําอยางไร เราอยูในอาเซียนจึงมี 10 ประเทศที่จะเปรียบเทียบกันได และเรา เคยอยูอันดับสูงสุดใน 10 ประเทศนี้ ถึงแมเราจะตกลงมาบางก็ตกมา 2-3 ตําแหนง เรายังมีอีก หลายตําแหนง ที่สามารถตกไปได คนไทยจึง ไมเดือดรอน สวนประเทศที่เดือดรอนที่สุด ใน อาเซียนคือสิงคโปร เดือดรอนกันทุกภาคสวนตั้งแตสถาบันการศึกษา ไปจนถึงธุรกิจตางๆ นั้น ระดมสมองกันเต็ มที่ แตประเทศไทยไม คอยระดมเทาไหร เพราะเราอยูในอาเซียนก็สบาย เหมือนนอนอยูบนฟูกที่วันดีคืนดีทุกอยางก็ผานไป ทุกคนคิดใหประเทศไทยหมด ไมวาจะเปน
จีนและอาเซียนในยุคบูรพาภิวัตน 5
เขตการคาเสรี หรืออื่นๆ ประเทศไทยก็ไมเดือดรอน เพราะทุกอยางไมตองดิ้นรนมาก หากถาม วาประเทศไทยจะสามารถอยูรอดใน 5 ปนี้หรือไม นักลงทุนใหความมั่นใจวาประเทศไทยอยูรอด แตไมแนใจวาประเทศจีนจะสามารถอยูรอดหรือไมใน 5 ปนี้ มีความมั่นใจนอยลงในกรณีของ สิงคโปร หรือแมแตอินโดนีเซียซึ่งกําลังมีบทบาทอยางมากในเรื่องการดึงดูดการลงทุนจาก ตางประเทศอยางคึกคักนั้น เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศไทยแลว ประเทศไทยถือเปนอันดับหนึ่ง จะไมมีอยางที่ทานอธิการบดีเปนหวง ดังนั้นผมจึงใหคําตอบวาประเทศไทยไมตองทําอะไร แลวเราก็บอกวาเรามีทรัพยากร มีอะไรตางๆ มากมาย อยางในกรณีการศึกษาเชนกันที่จะมีคน เขามาจากตางประเทศเพื่อมาศึกษา ทั้งจากจีน ออสเตรเลีย และที่อื่นๆ เพราะประเทศไทยมี เงื่อนไขหลายอยางที่คนอยากมา เพราะฉะนั้นสําหรับผมคิดวาไมเดือดรอน แตผมเดือดรอนแทนจีน อยางทุกวันนี้ปญหารุมเรารอยแปดพันเรื่อง โดนเฉพาะชวงที่ มีการประชุมรัฐสภาที่กําลังประชุมอยูตอนนี้จะเห็นวาปญหาตางๆ มีเยอะมาก ปญหาของจีนมี ตั้งแตใครจะเปนผูมาสืบทอดอํานาจ 10 ป ขางหนาใครจะมาเปนเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต ซึ่งไมเหมือนกับสมัยกอนที่ไมตองคิดมาก แตเมื่อถึงยุคโลกาภิวัฒนทําใหจีนตองคิดมากขึ้น อยางที่เวิน เจีย เปา พูดกับผูสื่อขาววาเรื่องการจับอดีตนายตํารวจที่นครฉงชิ่ง ซึ่งจริงๆ แลวเปน เรื่องภายในจีน วาเปนที่หวงใยของคนในประเทศ และประเทศตางๆ ทั่วโลก จึงแสดงวาจีน ตอนนี้ตระหนักวาอะไรก็ตามที่เกิดขึ้นในประเทศจีนนั้นมีผลสะทอนออกไปขางนอกดวย และ มันก็จะมีผลสะทอนกลับมาที่จีนดวย เพราะฉะนั้นปญหาของจีนมีตั้งแตเรื่องดังกลาว ไปจนถึง เรื่องที่ใหญ อยางจีนตอนนี้กําไรจากการสงออกลดนอยลงอยางมาก การกระตุนอุปทานภายใน ประเทศทํ า ได ไ ม เต็มที่ เรื่อ งกองกํ า ลัง ตา งชาติโดยเฉพาะสหรัฐ อเมริกาที่จ ะมาเปน ภั ยต อ ประเทศจีนก็เปนเรื่องใหญ ทุกเรื่องเปนเรื่องใหญทั้งนั้น ตรงขามกับประเทศไทยที่ไมมีเรื่องใด เปนเรื่องใหญที่เราจะตองหวง ดังนั้นการที่เรากําลังดําเนินไปสู "ภิวัตน" ตางๆ นั้น นํามาซึ่ง ภาระทั้ ง หลายที่เ ราต อ งยอมรั บ ว า ไม เพี ย งแค ที่ เ กษี ย ณอายุ แ ล ว ที่ ตอ งมานั่ง เป น ห ว ง ยั ง มี ลู ก หลานเราก็ ต อ งเป น ห ว งจึ ง ต อ งแบกรั บ ภาระตรงนี้ ด ว ย ไม ว า จะเป น บู ร พาภิ วั ต น หรื อ โลกาภิวัตน ตองมากับความพรอมของเราที่จะเกาะขบวนรถไฟนี้ เปน bullet train หรือ high speed train หรือจะเปนรถไฟถึงก็ชางไมถึงก็ชางที่เรามีอยูทุกวันนี้ เราก็ตองยอมรับวามันมี ดีกรีของ comfort และ discomfort ที่มาพรอมกัน
6
เวที Think Tank ครั้งที่ 3
ในกรณีของจีน 30 ปที่ผานมา ประเทศจีนไดเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว แต cost ตรงนี้มหาศาลมาก ไมใชวาอยูดีๆ ประเทศจะสามารถเปนผูนําเศรษฐกิจโลกที่นําสหรัฐอเมริกา ในชวง 15-16 ปขางหนา แตความพยายามของคนจีนในชวง 30 ปที่ผานมาตองยอมรับวามัน มาพรอมกับการลงทุนขนาดใหญ ซึ่งตองใชทั้งหยาดเหงื่อ ทั้งสมอง ฉะนั้นถาอยากเรียนรูวา อะไรกําลังเกิดขึ้นในรุนตอไปขางหนา อยางบูรพาภิวัตนเราตองไปเรียนรูจากประเทศจีนดวย เนื่องจากประเทศจีนไดเปดประเทศเปนเวทีที่จะใหทุกคนในโลกมาเลนไดเต็มที่ แตประเทศไทย ผมคิดวาเรายังไมพรอมขนาดนั้น แตถาสักวันหนึ่งเราพรอมก็จะไดประสบการณจากจีนวา ตลอด 30 ปที่ผานมานี้มี cost-benefit หรือวามีประโยชน หรือวาเสียประโยชนอะไรบาง เปน บทเรียนที่ดีในแงยุทธศาสตร เพื่อที่จะไดเขาใจวาอีก 30 ปขางหนาเราจะรวมมือกันไดอยางไร ไทย-จีนจึงมีบทเรียนที่ตองเรียนรูซึ่งกันและกัน เหมือนจีน-อาเซียน นั้นจีนเปดความสัมพันธมา ประมาณ 30-40 ป จีนสั่งสมความรูอยางไรเปนสิ่งที่นาคิด ตองทําอะไรบาง ไมไดอยูดีๆ วันนี้ ขึ้นมาทําเลย แตเพราะมีประสบการณ มีการเรียนรูการตัดสินใจอยางไรถาเกิดความผิดพลาด นโยบายขึ้นอยูกับกลั่นกรองและศึกษาความเปลี่ยนแปลง การผลักดันอาเซียนใหมีตอนนี้สวนหนึ่งก็คือขอเสนอของจีนเมื่อเกือบ 10 ปที่แลว วา จะจัดตั้งเขตการคาเสรีระหวางจีน-อาเซียน ซึ่งถือเปนกาวแรกที่สําคัญที่เรากําลังใหความสําคัญ กันอยูทุกวันนี้ อาเซียนโชคดีอยูอยางคือผูที่คิดสถาปนาอาเซียนในป ค.ศ. 1967 ที่ตั้งเปน
จีนและอาเซียนในยุคบูรพาภิวัตน 7
สมาคมอาเซี ย นท า นมองการไกล เพื่ อ สนองความต อ งการทางยุ ท ธศาสตร ไม ว า จะเป น เศรษฐกิจ หรือวาการเมือง หรือความมั่นคงของภูมิภาคเราตั้งแตนั้นมา แตสิ่งที่ไดนําพาให อาเซียนเปนอยูทุกวันนี้มีความพยายามสวนหนึ่งที่ผลักดันมาจากประเทศนอกภูมิภาค เพราะ คิดวาอาเซียนมีโมเดลที่ดีตอสวนรวมดวย จึงผลักดันใหอาเซียนไดอานิสงจากสวนนี้ดวย หลัง สงครามเย็นเมื่อ 20 ปที่แลว อาเซียนรูสึกหลงทางวาไมรูจะไปไหน ก็มีประเทศจีนเขามาชวย set เสนแนวทางใหเกิดความชัดเจนวาจะเปนความรวมมือทางเศรษฐกิจ ผมจึงอยากจะให เครดิตตรงนี้เหมือนกัน และในเวลา 10 ปที่จีนใหเวลาในการจัดตั้งองคกรที่เรียกวา ASEANChina Free Trade Area (ACFTA) ประกอบดวยคน 1,700 ลานคน ซึ่งเราเพิ่งเริ่มใชในทาง ปฏิบัติเมื่อป พ.ศ. 2554 มานี้เอง ก็ถือเปนความพยายามจากประเทศจีน และก็ใหสุดที่อาเซียน รับรางและปฏิบัติการ จนกระทั่งกลายเปนตัวผลักดันใหอาเซียน และประเทศอื่นเขามาทํา ความรวมทางการคาเสรีได ไมวาจะเปน ASEAN-Australia- New Zealand Free Trade Area หรือญี่ปุนก็ดี ทั้งๆ ที่ญี่ปุนเปน partner เรามานานแลว แตทําไมความรวมมืออาเซียน-ญี่ปุน เกิดขึ้นหลังจากประเทศจีน ฉะนั้นตองยอมรับวาบทบาทและอิทธิพลของจีนมีมาก ที่ผมยกตัวอยางนี้ขึ้นมาเพื่อชี้ใหเห็นวาเราจะ expect ตอไปไดวาในอนาคตจีนจะเปน ตัวผลักดันการการขับเคลื่อนของอาเซียนไปได สวนอาเซียนเองนั้นสบายอยางที่ผมกลาวไป แลว มีคนมาชวยอุมชู ชวยประคองตลอด บทเรียนหนึ่งคือเวลาประเทศสหรัฐอเมริกามากดดัน ใหเราตองเลือกขางวาตอไปนี้ความมั่นคงของเราจะไปขึ้นอยูกับอเมริกา หรือขึ้นอยูกับจีน เรา จะไมเลือกขาง จะดูไปตามสถานการณที่พัฒนาตอไป คงไมจําเปนที่ตองเลือกขาง อยางที่สี จิ้น ผิง ซึ่งถูกคาดการณวาจะเปนผูนํารุนใหมของจีนไดตอบคําถามนักขาววามหาสมุทรแปซิฟกนาจะ กวางใหญพอที่จะรับสหรัฐอเมริกาและจีนได ถาเปนเชนนี้ก็นาคิดสําหรับประเทศไทย อันที่จริง ความสัมพันธไทย-จีนเปนความสัมพันธที่ลึกซึ้ง ในรูปแบบที่ชัดเจนมาก คือเราตองพึ่งพาอาศัย จีน แตในยุคหลังมานี้บางครั้งประเทศไทยก็สามารถที่จะมีบทบาทนํา แตในปจจุบันนี้ประเทศ ไดละทิ้งความเปนผูนําของตนเองไปแลว ทําใหจีนกลายเปนผูนํา แตอยางไรก็ตามเรายังมี อาเซียนคอยเปนตัวชวยในการขับเคลื่อนนโยบายที่เปนประโยชนตอภูมิภาคและเปนประโยชน ตอประเทศไทย
8
เวที Think Tank ครั้งที่ 3
ศาสตราจารย ดร. เอนก เหล าธรรมทั ศน : จากที่ ฟ งดู แล วรู สึ กว าถ าไม ติ ดเป น หมายเลข หนึ่งนั้นงายขึ้นเยอะ แตถาอยากจะเปนจีนนั้นตองเหนื่อย ถาเปนอันดับสองลงไปไม คอยเหนื่อยเทาไหร คิดเรื่องที่ดีๆ ไมกี่เรื่องก็พอแลว ไมตองคิดมาก เชน ตั้งอาเซียนใหถูกตอง กําหนดความสัมพันธกับจีนใหถูกตอง หลังจากนั้นจีนก็จะนําพาเราไป แตขณะเดียวกันก็ไม ควรทิ้งสหรัฐอเมริกา อยาไปตะโกนบอกอเมริกาวาอเมริกาแยแลว เราสบาย เราเปนลูกนองจีน หรือแมแตอาเซียนก็อยาทิ้งเพราะเปนกําแพงใหญที่หลายๆ ฝายรวมกันเขาและพรอมที่จะคุย กับจีน และประเทศอื่นๆ ไดอยางมีน้ําหนัก สําหรับวิทยากรทานตอไปขอเชิญ ม.ล.สุภสิทธิ์ ชุม พล ซึ่งจะพูดเรื่อง "ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน: บทเรียนที่สําคัญจาก EU" เชิญครับ ม.ล. สุภสิทธิ์ ชุมพล: ผมตองขอออกตัวกอนครับวา ผมรูสึกเครียดที่สุดเพราะวาผมไดรับจดหมายมา ทาน อ. พิรุณ บอกวาใหมาพูดใหนักเรียนฟง ผมก็เตรียมมาเพื่อใหนักเรียนฟง เพราะวาก็ไมมีใครจะมาบอกวาตัวเองเปนผูเชี่ยวชาญ ASEAN Economic Community อะไรทั้งสิ้น มีบทความที่ผมเคยเขียนไว เรื่องเมืองไทยตามปกติคือวาฝายนักวิชาการกับฝายธนาคาร แหงประเทศไทยมี conflicting คือคนหนึ่งเห็นอยางหนึ่ง แตอีก คนเห็นอยางหนึ่ง แตจริงๆ แลวไมเคยไปดูวาปญหาที่แทจริงเปนอยางไร ก็เหมือนกับเรื่อง อาเซียน จริงๆ แลวผมอยากใหทานสุรเกียรติ หรือวาทานภูมิธรรม ขึ้นมาพูดแทน วันนี้ผมมาพูด ในฐานะที่อยูขาง practical side เรื่อง AEC เปนปญหาที่คอนขางใหญพอสมควร วันนี้ เนื่องจากทานที่นั่งอยูใน panel เปน policy-maker ทั้งนั้น ผมอาจจะพูดในมุมผูประกอบการที่ ไมใชรายใหญเหมือน อ. สารสิน เพราะวาบริษัท ผูประกอบการใหญๆ ของไทยมีความสามารถ มากพอที่จะปรับตัวในเรื่องการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เรื่อง policy change, architectural change ของภาพที่กํา ลังจําเกิดขึ้นในอีกสามปขางหนา ผมจะมาพูดเรื่องผูประกอบการรายเล็กใน ประเทศไทย โดยเฉพาะในภาคเกษตร ซึ่งหนังสือ บูรพาภิวัตน ที่อาจารยเอนกนํามาให เปน หนังสือที่ดีมาก เปน detail เกี่ยวกับ information ทั้งหลาย ซึ่งทุกคนในเมืองไทยควรจะรับรูวา โลกที่กํา ลั ง เปลี่ย นแปลงไปมี แ รงผลักดัน ในเรื่อ งอะไร มีการเปลี่ยนแปลงในดา นความคิ ด
จีนและอาเซียนในยุคบูรพาภิวัตน 9
ความรู เทคโนโลยีที่เราจะตองปรับตัว และตัวอยางใหเห็นอยูแลวตลอด แตจะทําอยางไรที่ทําให คนไทยที่เปน stakeholder ซึ่งมีคนไทย 30-40 ลานคนที่เกี่ยวพันกับการเปลี่ยนแปลง ใหเรง เรียนรูใหทันเพื่อที่จะปรับตัวใหพรอม ก็คงเปนเรื่องของผูที่กําหนดนโยบายคงจะตองรีบทํา เพราะถาเราพูดถึงในอีก 3 ปจะรวมอาเซียนใหเปน common marketplace ไมมีภาษี เราคํานึงถึง ผลกระทบทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สถาบันการเงินอยางไร อยางสมมติวาถา SME ของ ไทยเกิดเปน NPL ประมาณรอยละ 30-40 ผลกระทบกับธนาคารพาณิชยไทยจะเปนอยางไร อันที่จริงผมพยายามที่จะคาดการณวาเมืองไทยถาเทียบกับ EU จะเปนอยางไร ซึ่ง จริงๆ ก็เทียบกันลําบากเพราะอาเซียนแครวมกันเปนประชาคม สวน EU นั้นมีการพูดกันมา นานตั้งแตสมัยนโปเลียนวาจะรวมยุโรป ผานสงครามโลกครั้งหนึ่ง สงครามโลกครั้งที่สอง ผาน สงครามเย็น และจริงๆ แลวยุโรปเปน business lake environment คือวาธุรกิจในยุโรปมี การคาขาย และเคลื่อนยายกันขามพรมแดนกันมายาว แลวจึงขามไปฝงอเมริกาซึ่งก็มีการ ปรับตัวในภาคธุรกิจ อยางที่อาจารยสารสิน บอกวาจีนจะเปนบทเรียนใหกับไทย จริงๆ แลวผม กลับมองสิ่งที่เกิดขึ้นในประเทศไทยชวง 10-15 ปที่ผานมาหลายๆ อยาง กลับเปนบทเรียน ใหกับโลก อยางในอดีตผมเปน investment banker ผมไมไดเปนนักวิชาการ เมื่อตอนป ค.ศ. 1990 เราก็เคยพูดถึงวาเมืองไทยที่กําลังจะเปนหนึ่งในผูนําของอาเซียน และสุดทายเราก็ตก รถไฟนั้นในป พ.ศ. 2540 หากมองยอนกลับไป ผมกลัววาสิ่งที่กําลังจะเกิดขึ้นกับเราใน 3 ป ขางหนา จะเปนการ repeat ป 40 และทานอาจารยสุรเกียรติ์อาจจะพอมีขอมูล เพราะจริงๆ แลว ถาเราจําไดวาในป 40 ที่เราไปกูเงิน IMF มาจํานวน 17,000 ลานเหรียญแลว ทําไมถึงยัง แกปญหาไมได ทําไมคาเงินบาทถึงลอยตัวไปถึง 60-70 บาท ตอ 1 ดอลลาสหรัฐ เพราะจริงๆ เงินประเทศไทยที่ขาดไป มันไมใช 17 billion U.S. Dollars มันเปนประมาณ 35-40 billion Dollars อยางใน trade deficit ของประเทศที่มี export นอยกวา import และก็มี short-term debt ของทั้งภาคเอกชนและภาครัฐที่มัน deal ก็เนื่องจาก BIBF เพราะวาโครงสรางเงินทุน สมัยนั้น เราพยายามจะ force ใหธนาคารตางชาติไดรับ BIBF(Bangkok International Banking Facilities) และก็โครงสรางภาษีที่ผิด ที่เราพยายามเปลี่ยนภาคเกษตรมาเปน ภาคอุตสาหกรรม ดังนั้นเวลาเปลี่ยนภาคเกษตรซึ่งมีการซื้อขายสินคา มาเปนอุตสาหกรรมมัน ตองการเงินทุนระยะยาว 5ป หรือ 7ป หรือ 10 ป และตอนนั้นธนาคารตางประเทศก็อยากจะ
10
เวที Think Tank ครั้งที่ 3
lend money เพราะวายิ่งให lend money ไดมากๆ พอไดเปน BIBF ก็จะเปดเปนสาขา มันมี สวนของภาษีที่ผิดแผกไป คือไมแนใจวากระทรวงการคลังหรือธนาคารแหงประเทศไทย บอกวา ถากูเงินไมถึง 365 วัน เปน short term หนึ่งป เสีย withholding tax 10 เปอรเซ็นต ถากูเงิน ระยะยาวเกินหนึ่งปเสีย withholding tax 15 เปอรเซ็นต ตอนนั้นผมไปเรียนทานรัฐมนตรี กระทรวงการคลังวาเรากําลังจะมีปญหาเรื่อง capital structure เพราะเงินระยะยาวมันเปน สิ่งสําคัญ ถาคุณจะเอาไปทําโรงงานอุตสาหกรรม ตอง financing 5 ป 10 ป ทําไมทานไมแกวา ถาจะทํา 5 ป 10 ป withholding tax มันจะกลับกันจาก 15 เปน 10 เปอรเซ็นต แตถากูเงิน short term มา finance ให long term project มันควรจะเสีย withholding tax เยอะๆ เพราะ capital structure มันจะไดถูก ผมก็ไปพูดอยูหลายครั้งก็ไมไดรับความคิดเห็นอะไร มันทําให capital structure ของเมืองไทยมันผิดไปหมด สวนใหญใน 3.5 billion dollars ที่พูดถึงเมื่อสักครู ผม คิดวาเกิดครึ่งเปน short-term debt deal เพราะวาธนาคารตางชาติที่เปน BIBF facilitator นั้น ตอนเศรษฐกิจดีใหกู 364 วัน แลวก็ roll over แตพอเมืองไทยนั้น highest price มันสูงเกินไป แมเราจะมีกลไกเรื่องดอกเบี้ย และกลไกหลายอยางที่จะดึง highest price แตเราไมไดทํา เพราะฉะนั้นเมื่อความเชื่อมั่นมันหายไป คนที่เคย roll over เงิน 365 วันมันก็ดึงเงินกลับหมด เลย และเราก็มีเรื่อง swap ของแบงกชาติ เรื่อง trade deficit ที่เรา export นอยกวา import และเราก็มี short-term debt deal ก็เลยทําใหเราขาดเงิน ในตลาดหุนคนก็ขายหุนทิ้งหมด และ เราก็ไมไดดูกันจริงๆวาปญหาที่แทจริงคืออะไร คือเงินมันขาด 36,000 ลานเหรียญ เราไปกู IMF แค 17,000 ลานเหรียญ และก็เหมือนกันเราเปนโรคเรื้อรังที่ตองกินยาฆาเชื้อแลวเรากินไมครบ มันทําใหเศรษฐกิจเราเสีย ซึ่งไมมีใครพูดใหชัดเจนและก็ทําใหลอยหายไป
จีนและอาเซียนในยุคบูรพาภิวัตน 11
เหตุการณนี้ก็มาเกิดขึ้นอีกทีหนึ่ง ตอนที่ทานผูวาแบงกชาติบอกวามีเงินไหลเขามา มากเปน hot money และที่ทานไปปดตลาดหุน จริงๆ แลวเงินที่เขามาไมใชเงินจาก exclude investor แตเปนเงินจาก fixed income investor ซึ่งเปน hot money สิ่งที่เกิดขึ้นคือเรารูแควา เงินที่ไหลเขามาในประเทศมาจากประเทศไหน มีเงินของนักลงทุนในหุน ในพันธบัตร ก็จะมี จําแนกไววามาจากสหรัฐอเมริกากี่เปอรเซ็นต มาจากอังกฤษเทาไหร สิงคโปรเทาไหร แตเรา สามารถลงลึกไปไดอีกวานักลงทุนเหลานี้เปนนักลงทุนระยะยาวจริงหรือไม เปนนักลงทุนในหุน เปนนักลงทุนใน global investor หรือ regional investor หรือ specialist investor เราก็ไมไดทํา หรือวาเปน Hedge Fund ถาเปน Hedge Fund ดูงายๆก็คือวาถากองทุนมี 100 ลานเหรียญ แลวลงทุนใน paper ของไทย 80 ลานเหรียญ สามารถบอกไดชัดเจน และเราก็หลับหูหลับตา ไปปดตลาดหุน พอเรื่องนี้เงียบหายไปเราก็ไมพยายามที่จะลงไปดูวาเปนอยางไร เอาเฉพาะ เรื่องตลาดหุนกับตลาดพันธบัตรในรอบสิบกวาปที่ผานมา ซึ่งควรจะเปน information ที่สําคัญ มาก นี่ก็จะเปนความเสี่ยงที่จะมากับการลงทุนอยางเดียว เมื่อเราพูดถึง AEC ในอนาคต เรากําลังจะเคลื่อนยายทุน เคลื่อนยายสินคาและ บริการ มันยังมี detail มากกวานี้อีกเยอะแยะ เชนเวลาเราเปรียบเทียบ AEC-EU-NAFTA เพียง แคพูดถึงภาพใหญๆก็จะดูเหมือนเปนโอกาสสําหรับประเทศไทยที่มีประชากร 62 ลานคนที่ กําลังจะเปดไปสูอาเซียนที่มีประชากร 600 ลานคน และเมื่อเทียบกับ EU ที่มี 500 ลานคน สวน NAFTA มี 450 ลานคนก็ยังรวมกันได ถามองในแงของภาพรวมยังไงก็เปนโอกาสไดทั้งนั้น อยาง GDP ของอาเซียนในป 2010 รวม 1.8 ลานลานเหรียญ เมื่อเทียบกับ EU นั้นมากกวา เปนสิบเทาคือ 15.2 ลานลานเหรียญ สวนของ NAFTA คือ 17 ลานลานเหรียญ เพราะฉะนั้นถา มองในแงนักลงทุนนั้นมีศักยภาพมหาศาล แตเมื่อเจาะลงไปในรายละเอียดนั้นถามวาเมืองไทย พรอมแลวหรือยัง และจะทํายังไง เพราะในการเปดตลาด 600 ลานคนนั้นไมไดมีแตคนไทย คนเดียวที่มีโอกาส แตยังมีสิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย เปนตน อยางแรกคือเรื่องภาษานั้น คนไทยมีความรูภาษาอังกฤษที่จะ practical งายๆนั้นเราคอนขางชา ในแงกฎหมายนั้น ประเทศไทยเรายังมีปญหาอยางในเรื่องหุนชินวัตร กับเอไอเอส วาเรื่องกฎหมายโทรคมนาคม ยังเปนอยางไร ตอนนี้ก็ยังมีเรื่อง state capitalism ที่เปนทุนนิยมของชาติ ไมใชทุนของบริษัท เชน สิงคโปรใช Temasek และ GIC (Government of Singapore Investment Corporation)
12
เวที Think Tank ครั้งที่ 3
เปนหัวหอก ที่นาเสียใจคือมีการพูดมากวาสิบปแลววาสิงคโปรเปนประเทศที่ไมมีอะไรเลย แต ถา เรามี ก ารจัด การอยา งดี ภ าคเอกชนและภาครั ฐ ของสิง คโปรนั้ น รว มมือ กัน อย า งไร คื อ มี public-private panel ที่ดูวาถาภาคเอกชนตองการจะไปใน area นี้ตองการคนแบบไหน เทคโนโลยีแบบไหน และบางทีรัฐตองเปนคนทํากอนดวยซ้ํา สวนของเรานั้นทะเลาะกันมา หลายปแลวทําใหเปนการทําลานทุนไทย ซึ่ง currency ของประเทศควรจะแข็งแกรงมากกวานี้ เราไมมีคนคิดวาเมืองไทยมีจุดยุทธศาสตรตั้งอยู ตัวอยางเชนบริษัทการบินไทยเปนบริษัทชั้นนํา ของไทย มีขนาดพอๆ กับ Singapore Airlines แตมีรายไดนอยกวา 3 เทา มีกําไรนอยกวา 4-6 เทา มี market gap เล็กกวา 6 เทา มีพนักงานมากกวา 1 เทา เปนตน แลวเมื่อไหรที่ภาครัฐจะผลักดัน ไปเปน efficiency driven เราชอบพูดอะไรที่เปนภาพใหญ แตในภาคปฏิบัติจริงๆ แลวเราไมชอบ พูดกัน ผมกลัวจะเกิดซ้ําประวัติศาสตรของป 40 เหมือนเมื่อ 2-3 ปที่แลวที่เกิดในภาคการเงิน
ศาสตราจารย ดร. เอนก เหลาธรรมทัศน: ฟงดูที่ ม.ล. สุภสิทธิ์ ชุมพล เหมือนจะ ตรงกันขามกับทานอาจารยสารสิน วีระผล วารูกวางๆ ไมได ตองรูรายละเอียด อยางประเทศ เราเองถาเปดเสรีก็จะไมดีถาไมมีรายละเอียด แมกระทั่งจะยืมเงิน IMF เทาไหรเราก็ไมไดคิดกัน นั่นก็คือเรายังตองการความรูที่ละเอียดอีกมาก โจทยที่ทานตั้งไวก็มีหลายโจทย เชน ภาคธุรกิจ ของเรายังไมคอยเขมแข็งเทาไหร รัฐบาลหลายๆ รัฐบาลที่ผานมาก็เขมแข็ง แตวาโลกที่เปนอยู ทุกวันนี้ไมใชทุนนิยมแบบปกติธรรมดา แตเปน state capitalism ซึ่งมีอยูในหนังสือบูรพาภิวัตน เทาที่ฟงดูแลวเรายังตองการความรูที่เปนรายละเอียด ที่จะทําใหอาเซียนไปไดดี
จีนและอาเซียนในยุคบูรพาภิวัตน 13
ม.ล. สุภสิทธิ์ ชุมพล: ผมมีความรูสึกวาเรายังไมไดพยายามทําอะไรที่เต็มความ สามารถเทาไหร เมื่อสองวัน กอนอานในหนัง สือ พิมพกรุงเทพธุรกิจ อยูดีๆ สิงคโปรบอกว า เมืองไทยเปนประเทศที่พรอมที่สุดสําหรับ AEC ซึ่งผมก็ยังฟงไมคอยเขาใจ พิรุณ ฉัตรวนิชกุล: ถาเรามีความรูสึกไมเดือดรอน ก็อยา เดือดรอน ปญหาก็คือการแสวงหาความถูกตอง และทําอยางไร ใหความถูกตองไดรับการปฏิบัติ ที่ผานมีหลายอยางที่ควรไดรับ การปฏิบัติมายาวนานแตไมเคยไดรับปฏิบัติเลยเสียที สวนเรื่อง จีนในขณะนี้ที่ดําเนินการไปในชวงสิบปหลังนี้ อาจารยสารสิน เปนคนพาผมไปเยี่ยมประเทศจีน ไปมาสามแหง ความจริงคาดวา จะไปแปดแหง อีกหาแหงยังไมไดไป ที่ไปดูมาสามแหงมีบทเรียน หลายอยา งที่ น า จะมี ป ระโยชน วั น นี้ เนื่อ งจากเวลามี จํา กัด และอยากฟง ความคิ ด เห็น ของ ผูเขารวมเสวนา ผมเลยขอพูดเรื่องซินเกียงกอน ที่ไปดูมาซินเกียงมีปญหาเรื่องความขัดแยง ระหวางมุสลิมกับคนฮั่น ที่นั่นพื้นเพเปนชนชาติอุยกูร เวลาไปซินเกียงก็อดคิดถึงสามจังหวัด ภาคใตไมได ที่นั่นคนฮั่นประมาณ 40 เปอรเซ็นต คนอุยกูรประมาณ 41 เปอรเซ็นต มากนอย กวากันไมมาก แตคนอุยกูรอยูมานานกวา คนฮั่นที่เขาไปหลังจากปฏิวัติแลวพรรคคอมมิวนิสต จีนสงคนจีนจากฮั่นเจียงเขาไป ในขณะนี้สัดสวนของพลเมืองก็ใกลเคียงกัน ก็ยังมีความขัดแยง อยูเหมือนกัน ชวงที่ผมไปก็มีรถถังหุมเกราะวิ่งในเมืองหลวง ดูเหมือนมีอะไรตึงเครียดอยู ตอนที่ไปดูมัสยิดที่เกาแก คนที่พาไปก็ยังเตือนวาหนาตาเราเปนฮั่น อยาเพิ่งไปตอนนี้ เลยดีกวา อยางนี้เปนตน ที่มีกรณีที่ตึงเครียดอยูบาง เมื่อหลายวันที่แลวก็ยังมีการปะทะกัน แต ดูแลวสภาพทั่วไปผมเขาใจวาถาเปรียบเทียบกับสามจังหวัดชายแดนภาคใตอาจจะไมถึงขนาดนั้น คือไมไดรุนแรงและมีการจัดการปญ หาขั้นพื้นฐานพอสมควร เนื่ องจากวาซินเจียงเปนเขต ปกครองพิเศษ ผูที่ขึ้นมาเปนผูเหมือนกับผูวาการมณฑลของจีนก็เปนชาวอุยกูร คือมีการเลือก คนของทองถิ่นขึ้นมา ที่ไปดูคือ เปน ดูงานของบริษัทซีพี ในขณะนี้ภ าครัฐมีนโยบายที่จะทํ า เกษตรกรรมแผนใหมทั่วประเทศซึ่งเปนคําชี้แนะที่ผมมาคนควาดูแลว วาในป พ.ศ. 2550 นั้น ทางหู จิน เถา ไดทํารายงานการเมืองของหู จิน เถา ในที่ประชุมพรรค ไดพูดถึงเกษตรกรรมแผน
14
เวที Think Tank ครั้งที่ 3
ใหมเพื่อแกไขปญหาชนบท ที่นาสนใจสําหรับอาจารยเอนก ก็คือใจความคอนขางเหมือนกับที่ อาจารยเขียนไวในป พ.ศ. 2537 ในสองนคราประชาธิปไตย ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกันแลวมีอะไรที่ คลายคลึงกันมาก งานของอาจารยเอนกผานมาสิบกวาปยังไมมีใครเอาไปทําเลย สวนรายงาน ของหู จิน เถาเมื่อรายงานเสร็จทั่วทั้งพรรคไมทําไมได เพราะฉะนั้นจีนแซงหนาแนวคิดสอง นคราที่พูดเกี่ยวกับภาคเกษตรที่บอกวา การปฏิรูปการเมืองตองปฏิรูปเศรษฐกิจกอน เหมือน กับเติ้ง เสี่ยว ผิง ซึ่งก็เปนขอแตกตาง เมื่อจีนเริ่มจากการทํารายงานการเมือง หลังจากนั้นเพียง 3 ป ทั่วทั้งพรรคจัดประชุม เรื่ องเกษตรกรรมแผนใหม เริ่มจากทํารายงานการเมือ งของหู จิน เถา ก็เขาสมัชชา และก็ ออกมาเปนแผน รองนายกรัฐมนตรีฝายเศรษฐกิจที่รับผิดชอบดานการเกษตรเรียกประชุมทั่วทั้ง ประเทศ แลวก็ดําเนินการทันที สิ่งที่ผมไปดูก็คือที่เซี่ยงไฮไดมีคําชี้แนะออกมาวาทุกมณฑลตอง มีพื้ น ที่ เ กษตรกรรมเพิ่ ม ขึ้น ถ า มณฑลใดมี พื้ น ที่ เ กษตรกรรมน อ ยต อ งทํ า ทุก วิถี ท างที่ จะให เพิ่มขึ้น ในเซี่ยงไฮไมมีพื้นที่เกษตรกรรมเพราะนําไปสรางตึกสูงหมด แตมีพื้นที่ที่ตะกอนน้ําเค็ม มาทับถมกัน จึงกั้นเขื่อนสูบน้ําทะเลออก และหาทางกําจัดความเค็มของดินออกไปแตก็ไมได หมดไป จึงหาพันธุขาวที่สามารถปลูกในพื้นที่ดินเค็มใหได เมื่อภาครัฐตัดสินใจแบบนี้ ก็ตอง ลงทุนทุกอยาง ตั้งแตทําที่ดิน สรางถนน ระบบชลประทาน ไฟฟาพลังลม ระบบสาธารณูปโภค ครบทุกอยาง ที่รัฐเขาไปดําเนินการกอน เสร็จแลวก็เชิญชวนทั้งในประเทศและประเทศอื่นๆ เพราะฉะนั้นพลังการผลิตที่ทําขึ้นมาแลวไมไดอยูกับพลังการผลิตที่ยากจน แตพลังการผลิต ที่สําคัญคือเทคโนโลยีสมัยใหม ดวยเทคโนโลยีสมัยใหมที่จีนเชิญชวน ตัวอยางที่เห็นคือการเชิญซีพีเขาไป เพราะวา ทางซีพีประสบความสําเร็จเลี้ยงไกไข ไกเนื้อ หมูสารพัด ก็เขาไปรวมเพื่อรวมพิจารณา พื้นที่มี แบงให 10,000 ไร มีทุกอยางซึ่งภาครัฐเปนฝายลงมือทําระบบชลประทาน ซึ่งเปนการวางแผน ลวงหนาของจีน เมื่อซีพีมาลงทุนก็ใหซีพีไปคิดวาใน 10,000 ไรนี้จะทําอะไรบาง และมี ประชาชนเซี่ยงไฮผูบริโภคประมาณ 100 ลานคนที่อยูบริเวณรอบๆ ที่จะรับผลิตผลเหลานี้ไป อั น ที่ จริ ง ซีพีก็มีความสั มพั น ธกับ นานชาติดว ย จึง ดึ ง เอาอเมริกา ฮอลแลนด เข า ไปสํา รวจ ดวยกัน วันที่ผมไปเปนวันที่ทุกคนลงไปขุดดิน ไปทดลองน้ําทะเล ฝรั่งที่ไปชุดเดียวกันที่ไ ป สํารวจก็มีความมั่ นใจ และคิดวาจะปลูกอะไร จะทําอะไร เพื่อ ที่จะทําเกษตรที่อ ยูในตูและ
จีนและอาเซียนในยุคบูรพาภิวัตน 15
ประกันผลผลิตออกมา ในสวนนี้จีนคิด infrastructure ที่ลงไปแลว 15 เปอรเซ็นต ใหซีพีลงทุน 15 เปอรเซ็นต แบงคนละครึ่ง สวนอีก 75 เปอรเซ็นตนั้นเปนของภายในประเทศ เปนเกษตรกร และธนาคารการเกษตรทั้ ง ของจี น เองและของประเทศอื่ น วั น ที่ ผ มไปดู เ ป น ธนาคารของ เนเธอรแลนดที่เขาไปรวม ธนาคารมองวาถาเปนเกษตรกรลวนๆ ก็จะไมคอยมั่นใจ แตถาซีพีกับ รัฐรวมดวย 30 เปอรเซ็นต ทําใหธนาคารคอนขางมั่นใจและกลาที่จะใหเงินกูกับเกษตรกร สวน เกษตรกรที่ผมไปเจอ เขาไปทดลองปลูกพันธุขาวที่เหมาะกับดินเค็ม และก็เปนคนอธิบายให พวกเราฟง ทุกคนที่มาลวนเปน stakeholder ที่รวมกันไป
ซินเกียงเปนเมืองชายแดน ซึ่งพื้นที่ตรงนั้นมีทหารเปนผูดูแล ถามองในโมเดลนี้ รัฐของ ซินเกียงก็คือมีผูบัญชาการฝายทหารเปนคนรับผิดชอบ ที่จัดการแบบเดียวกัน คือทําผืนดินใหญ ใหเหมาะสําหรับการเกษตร มีโรงไฟฟา สาธารณูปโภคพรอมแลวก็ชวนซีพีไปดู สวนบริษัทอื่น ยังไมไดเชิญไป มีพื้นที่ดินเปนทะเลทราย ไปเลี้ยงไกไขไดผลผลิตวันละ 1-2 ลานฟอง เลี้ยงหมู เปนลานตัว สําหรับดินทรายนั้นมีการไปคนควาวาจะทําอยางไรกับดินทราย พบวาสามารถ
16
เวที Think Tank ครั้งที่ 3
ปลูกองุนหวานได ความแตกตางของอุณหภูมิในชวงเชากับเย็นทําใหเกิดองุนที่ดีสามารถไปทํา ไวนได นี่คือการพูดถึงรัฐที่นําเอาภาคเอกชนไป ซีพีนั้นเปนบริษัทไทยที่เขาไป แตอันที่จริงไมได ขาดแคลนพลังการผลิตภายในประเทศ หรือความรูความสามารถที่จะทํา ขนาดจีนยังขอรองให ไปทํา แตภาครัฐตองเปนฝายเริ่มตน ทําพื้นที่ขนาดใหญใหเหมาะทําพื้นที่เกษตรกรรมขนาด ใหญแบบใหม และตองเตรียมสาธารณูปโภคตางๆใหพรอม และรัฐก็ถือ 15 เปอรเซ็นต ที่ปกกิ่ง ก็ถือ 15 เปอรเซ็นต โดยมีตัวแทนของรัฐเปนฝายดําเนินการ และทางซีพีเองก็มีนโยบายชัดเจน วาผูบริหารที่จะมาอยูกับซีพีตองเปนสมาชิกพรรคคอมมิวนิสตจีน และพรรคคอมฯ ก็ชวนหาคน ที่เหมาะสมมาเปนกรรมการผูจัดการ ที่ซินเจียงนั้นผูหญิงเปน M.D. และเปนสมาชิกพรรค สวนบรรดาผูบริหารนั้นเปนนายทหาร ผูบังคับกองพันที่ลาออกไปอยูกับบริษัทซีพี และซีพีก็ตั้ง นโยบายวาถามาเปนผูบริหารของซีพีตองเปนสมาชิกพรรคเทานั้น และผูบังคับกองพันที่อยาก ไปอยูกับซีพี เนื่องจากในจีนถาอายุ 45 ป แลวยังไมไดเปนพลตรี แสดงวาจะเปนพันเอกพิเศษ ไปจนเกษีย ณอายุ เปน ที่ รูกัน ทั่ว ไป ดัง นั้ น ไปอยูกั บ ซี พีดีก วา เพราะบํา นาญก็ยัง ได และได เงินเดือนจากซีพีอีกซึ่งสมประโยชนกัน ที่ผมยกซินเกียงมาพูดในวันนี้เนื่องจาก เวลาเราพูดกับฝายบริหารจัดการวาไขไกมาก ขนาดนี้จะขายหมดหรือไม รวมทั้งขายหมูไดหรือไมเพราะมีอิสลาม 41 เปอรเซ็นต ฝายบริหาร จัดการบอกวาเวลาคิดมองออกไปเปนประเทศเพื่อนบานตางประเทศ มีอัฟกานิสถาน ปากีสถาน อินเดีย รัสเซีย และเปนกลุมที่สามารถไปขายของได เรามาตั้งอยูในซินเกียงก็จริง แตไมไดขาย ในซินเกียงเทา นั้น จะขายกับ 8 ประเทศในยูเรเซี ย จีนในขณะนี้ก็มีนโยบายกับยูเรเซีย ซึ่ ง อาจจะไมไดตั้งแบบอาเซียน แตไดมีการจัดงานเอ็กซโปไป 2-3 ครั้งแลว เปน China-Eurasia Expo ทําใหชายแดนคึกคัก ยิ่งกวาเมืองหลวงของหลายประเทศ ทั้งถนนหนทาง รถราที่วิ่ง และ ไฟฟาตางๆ คือสภาพเปนเมืองชายแดนที่มีความสะดวกไมแพเมืองหลวงของหลายประเทศ ทํา ใหผมคิดวาความสัมพันธของไทย และอาเซียน กับจีนไมใชแค20-30 ป แตมีความสัมพันธมา เปน ร อ ยปแ ลว และก อนหน า ที่จ ะมาจัดตั้ง เปน องคกรอาเซียน ประเทศในอาเซียนมีค วาม สัมพันธกันมาลึกซึ้งกอนหนายาวนานรวมทั้งกับจีนดวย เชนความสัมพันธจีนกับมลายู เจิ้งเหอ เขามาในภูมิภาคนี้หลายรอยปที่แลว มาชวยจัดตั้งกลุมมุสลิมของประเทศตางอยางอินโดนีเซีย บรูไน มาเลเซีย ไทย รวมเขากันเหมือนกับสหพันธมุสลิมตั้งแตสมัยเจิ้งเหอ และมุสลิมของพื้นที่
จีนและอาเซียนในยุคบูรพาภิวัตน 17
เหลานี้ก็ถือวาเจิ้งเหอเปนตัวแทนการตั้งอิสลามของภูมิภาคนี้เลย เพราะฉะนั้นความสัมพันธจีน กับประเทศอาเซียน มีมาแลวยาวนาน สวนอาเซียนในทัศนะของผมมีชายแดนที่ติดกันอยูแลว ทั้งไทย-พมา ไทย-ลาว ไทยกัมพูชา ไทย-มาเลเซีย ประเทศกลุมพวกนี้ผมเคยเดินลาดตระเวนสํารวจเสนทางเรามีพรมแดน ที่ติดกันอยูแลว รัฐบาลนาจะคิดเรื่องนี้อยางจริงจัง และทุกวันนี้การคาระหวางชายแดนของแต ละจัง หวัด เดือ นหนึ่ ง เปน หมื่ น ล า น ดู จ ากในธนาคารแห ง ประเทศไทย ตรงไทย-ลาว ตั้ง แต สมัยใหมพลเอกชาติชายที่แปรสนามรบเปนสนามการคา ผมคิดวาไทยเราเกงเรื่องสรางทาง สรางสะพาน แตสิ่งที่ควรสรางคือการทําใหจังหวัดชายแดนมีศักยภาพในการผลิตดวยเทคโนโลยี สมัยใหม เติมพลังการผลิตเขาไป ซึ่งความจริงอาจารยเอนกก็เสนอไวในสองนคราประชาธิปไตย ดีมากเลย วาจะตองทําใหภาคชนบทมีความเขมแข็งขึ้นมา สวนใหญหมื่นกวาลานเปนการคา ขาย ที่สงไปจากเมืองใหญอยางกรุงเทพ เปนรถสิบลอที่ขนไปขายเชน มามา ผงชูรส และก็จะมี ทุนอุสาหกรรมและการเงินอื่น ๆ ชายแดนโดยทั่วไปมีทั้งที่ผานดานศุลกากร และทําการคา นอกระบบที่ไมผานดาน ซึ่งถือเปน 4-5 เทาของการคาในระบบ และการคาในระบบเทาที่มี ขอมูลของธนาคารแหงประเทศไทยเดือนๆหนึ่งเปนหมื่นลาน ตรงนี้นาสนใจวาจะทําใหจังหวัด ชายแดนของเรามีความสําคัญกับประเทศอาเซียนที่มีพรมแดนติดกัน สวนประเทศที่พรมแดน ไมติดกันขณะนี้ก็มีที่เราคาขายกับลาว แลวสงตอไปถึงเวียดนาม คาขายกับมาเลเซียไปถึง อินโดนีเซีย บรูไน ในภาคใตเองหากเราสนใจทํามาตั้งแตแรกปญหาสามจังหวัดอาจจะไมเกิดขึ้น เชนเดียวกันเรื่องปญหาชายแดนไทย-กัมพูชา เขาพระวิหาร ถาทําเรื่องการคามาตั้งแตแรก ปญหาพวกนี้อาจเปนเรื่องเล็ก ไมตองมาแยงแคเขาพระวิหาร จริงๆ แลวเราเปนญาติพี่นองกัน ทั้งนั้น ถาเราทําชายแดนใหดีๆ ตัวไทยเราเองก็มีประเทศอาเซียนอยูรอบชายแดนไทยเราอยู ผมอยากเสนอใหมาทําจังหวัด โดยเริ่มตนมีแผนอยางจริงจัง ใหเปนเขตเศรษฐกิจพิเศษ ตอนนี้ หลายแหงมีเทศบาลระดับนครเชนแมสอด แตทําอยางไรใหไมเปนแครูปแบบ เวลาเราทําอะไร ขึ้นมาเราจะลอกจากสวนกลางแลวไปแคสวมใสตรงนั้น นักวิชาการสามจังหวัดภาคใตตอนนี้ ก็ออกแบบใหมีรัฐสภา ใหมีพรรคการเมือง มีกรรมการเลือกตั้งก็จะลมจมไปกับระบบใหญ แตหากแตละแหงมีการเสริมศักยภาพ ผมคิดวามันจะแกปญหาชายแดนได แทนที่จะเสริม กําลังกองทัพตามชายแดนมาเปนเสริมความมั่นคงดวยความสัมพันธทางเศรษฐกิจ และทําให
18
เวที Think Tank ครั้งที่ 3
ที่กรุงเทพเปนเมืองโตเดี่ยวกลายเปนโตในหลายๆแหง ถาเรามีเมืองตั้งเปนเขตเศรษฐกิจพิเศษ ชายแดนไทย-ลาว ชายแดนไทย-พมา เขตชายฝงทะเล และเขตเศรษฐกิจภาคใต มีการบริหาร งานแบบไหนดี แลวในชวงรอยตอระหวางเมืองหลวงอาจมีบางจังหวัดที่ยกระดับขึ้นมา เชน พิษณุโลก ขอนแกน โคราช จะจัดการเมืองเหลานี้ใหมีศักยภาพในการเชื่อมและเปนแนวหลัง ใหกับเขตเศรษฐกิจชายแดน จะเปนวงแหวนเขามาสามรอบ เรากําลังจะเขาสูอาเซียน ถาแขง กันอยางอื่นจะเสียเปรียบ แตถาเริ่มเอาจริงเอาจังกับอาเซียนที่มีความสัมพันธที่ชายและเสริม ศักยภาพแบบนี้ นาจะไปดวยกันไดดีและสามารถเสริมความมั่นคงได
ศาสตราจารย ดร. เอนก เหลาธรรมทัศน: ทั้งสามทานเปนอาหารทางความคิด ที่เยี่ยมมาก อาเซียนไมจําเปนตองทําจากเมืองหลวง เพราะมีชายแดนมีภูมิภาค ถาดําเนินการ อาเซียนจากภูมิภาคจะเปนมิตรมากกวา ผมกําลังคนควาประวัติศาสตรลานนา ผมไมเขาใจวา ลานนามีความสัมพันธที่ดีกับพมา ลานชาง และจีน ฉะนั้นถาใชเชียงใหมเปน hub อาเซียนตรงนั้น จะเปนมิตรมาก มีความสัมพันธที่ไมไกลจากเวียดนามตอนเหนือ แตเพราะเราคิดวาอาเซียน ตองเริ่มที่กรุงเทพเทานั้นซึ่งเปนเรื่องที่นาจะตองแกไข ผมอยากจะเรียนเชิญทาน ดร. สุรเกียรติ ดร. สุรเกียรติ์ เสถียรไทย: เรื่องที่อาจารยพิรุณพูด ผมเห็นดวยอยางยิ่งเรื่องการเชื่อม ไทยกับเพื่อนบาน 5-6 ประเทศ ความจริงแลวเราก็นับวาจีนเปนดวย ผมพูดกับประธานาธิบดีจีน เสมอวาเราไมไดเชื่อมกันดวยเขตแดน แตเชื่อมดวยสายน้ําและสายเลือด เวียดนามก็ถือวาเปน เพื่อนบาน ถึงแมจะไมเปน immediate neighbor ไปจนถึงสิงคโปรดวย ผมพยายามใชคําวา ยุทธศาสตรครองจังหวัด แตยุทธศาสตรกลุมจังหวัดเมื่อเขาสูสภาพัฒนฯ ก็มีปญหาคือกลุม
จีนและอาเซียนในยุคบูรพาภิวัตน 19
จังหวัดที่เราจัดจะมียุทธศาสตรเหมือนกัน เชน ภาคเหนือมีเชียงใหม ลําปาง ลําพูน แพร เมื่อ เสนอเขามาผานมหาดไทยแลวเขาสภาพัฒนฯ ทุกจังหวัดก็จะทําคลายๆ กัน คือเปนศูนยกลาง OTOP ศูนยกลางการทองเที่ยว ศูนยกลางพยาบาล ฯลฯ แทนที่จะมีขุดเดนวาเชียงใหมและ เชี ย งรายเป น เมื อ งหลั ก เมื อ งรองที่ มี ยุ ท ธศาสตร เ ชื่ อ มพม า กั บ ลาว จนไปถึ ง จี น เพราะ ยุทธศาสตรเราทําถนนเชื่อมไวสองทาง คือ แมสายไปเชียงตุงและไปจิ่งหงที่พมาทําเพราะเรา ชาอยู สวนเสนทาง R-3 ผมไปริเริ่มทํา แบงกันทํากับจีนและลาว ที่ผานเชียงของ - หวยทราย หลวงน้ําทา - บอเต็น และไปจิ้งหงเหมือนกัน ซึ่งเวลานี้กําลังทําสะพานที่เชียงของ-หวยทรายอยู สว นแผนที่มุกดาหาร-สะหวันนะเขต-เว-ดานัง ยุทธศาสตรกลุมจังหวัดตรงนั้นจะเปน อะไร ที่สะหวันนะเขตมีสนามบิน ที่ดานังมีทาน้ําลึก มีคนบอกวาของเราจะเปน logistic แตจน ทุกอยางเสร็จแลวก็ยังไมเห็นเปน logistic และยังมีถนนที่ศรีสะเกษเชื่อมไปที่เสียมเรียบ ที่ทํา ถนนบริเวณชองสะงํา-อัลลองเวง เพื่อเชื่อมทางดานทองเที่ยว เรามีปราสาทที่นาสนใจที่พอ connect กันได มีสุรินทร บุรีรัมย ศรีสะเกษ แทนที่จะเปนแหลงช็อปปงก็ยังไมเปน แทนที่จะ เชื่อมอารยธรรมก็ยังไมเปน โรงแรม facility ก็ยังไมมี ผมคิดวาเปนสิ่งจําเปนที่ตองทํา คําศัพท ที่ใชกันมาพยายามทําใหเปนกลางๆ ใหมียุทธศาสตรกลุมจังหวัด และก็ออกมาเปนอยางที่นั้น อยากฝากใหรัฐบาลไปซักลางเสียใหมใหเปนเหมือนที่ทานอาจารยเอนก และอาจารยพิรุณ พูดไดก็จะเปนประโยชนอยางยิ่ง ประเด็นที่สองเรื่องเขตแดน เปนสิ่งที่ตะวันตกเขามาสรางใหเราในเรื่องเขตแดนทาง การเมือง หลังจากที่มาสรางแลวในยุโรปก็กาวขามกันหมด ในเวลานี้ขับรถผานไปยังไมรูวาเสน เขตแดนอยู ต รงไหน ผมคิ ด ว า เราต อ งหั ด ก า วข า มบางจุ ด บ า ง มิ ฉ ะนั้ น แล ว เขตเศรษฐกิ จ ชายแดนจะเกิดขึ้นไมได ถาจะทะเลาะกันแลวก็สามารถทะเลาะกันไดทุกจุด ตรงกัมพูชาก็มี หลายปราสาทที่เสนเขตแดนพาดกลางปราสาท เขตแดนแมน้ําโขงกับลาวก็ไมไดคุยกันเลย ทํา ใหรองน้ําลึกเปลี่ยนแปลงไปภายหลัง 40 ป มีเกาะเปนรอยไรที่คนไทยอยูเปนของลาว ที่คนลาว อยูกลายเปนของไทย แบบนี้ตกลงกันไมได ดังนั้นจึงมีสามหลักคือ หนึ่งถาตกลงไดก็ตกลง สอง ถาตกลงไมไดแลวไมมีอะไรก็ทิ้งไวกอน สามถาตกลงไมไดแลวมีผลประโยชนทางเศรษฐกิจก็ให ทํารวมกัน ทางดานกฎหมายระหวางประเทศก็ทํากันไป เพราะพรมแดนดานมาเลเซีย พมา นั้น อังกฤษเปนผูเขียน สวนดานลาว กัมพูชานั้น ฝรั่งเศสเปนผูเขียน เรื่องที่เห็นดวยอยางยิ่งวา
20
เวที Think Tank ครั้งที่ 3
ความสัมพันธอันดีกับเพื่อนบานควรจะเปน asset ของไทยที่จะเขาไปสูอาเซียน วันนี้ก็ไปพูดกับ ผูการตํารวจทั่วประเทศฟงวาอาเซียนมีสามเรื่องหลัก ที่เราเริ่มจากกรุงเทพนั้น ความจริงแลว ควรใหคนไทยมีความรูสึกวาเปนสวนหนึ่งของประชาชน มีความรูสึกวาเปนเจาของใหได เมื่อ สักครูที่ ม.ล. สุภสิทธิ์ หรือวาอาจารยสารสินพูดวาภาคเอกชนใหญเตรียมตัวพรอมแลว แต ป ญ หาคื อ องค ค วามรู อ าเซี ย นในระดั บ รากหญ า ประชาสั ง คม เกษตรกร เป น คนที่ ไ ด รั บ ผลกระทบคอนขางมาก เชน สินคาเกษตรที่จะเขามา ผมไมแนใจวามีการตระหนักมากแคไหน และมีการเตรียมตัวใหคนเหลานี้มากนอยแลวหรือยังก็ยังเปนปญหา คนไทยนั้นมีปญหาใน เรื่องของการเตรียมใจ เพราะเรามีความรูสึกวาเปนมหาอํานาจ และเราไมคอยไปดูวาเพื่อน บานพัฒนาไปถึงไหนแลว อยางที่ผมไปพูดถามวามีใครรูบางวาอินโดนีเซียมีอะไร ฟลิปปนส มี อ ะไร ก็ย กมือ กัน ไม ม าก แตถ า ถามว า ใครเคยไปฮอ งกง เกาหลี ญี่ปุ น ยกมื อ กัน ครึ่ ง ห อ ง ซึ่งสอดคลองกับการสํารวจวาการรับรูของไทยตออาเซียนนั้นอยูลําดับที่ 8 สวนลาวไดที่ 1 อยางธงอาเซียนที่ชักคูกับธงประเทศก็ทํากันแลวทั้งนั้น เหมือนอยางที่อาจารยสารสินบอกวา อยูเฉยๆ ก็สามารถไปดวยกันได อยูที่ 8 ก็ยังตกลงไปไดอีก ไมตองทําอะไร แตถาอยากใหมี ประสิทธิผลกับประชาชนในวงกวางก็ตองทําอะไรมากขึ้น นี่เปนขอสังเกตที่หนึ่ง ขอ สั ง เกตที่ส อง จากที่ ห ลายๆ ท า นพู ด มา เราขาดยุท ธศาสตร ที่เ ราไมค อ ยมีกั บ อาเซียน และไมสามารถผลักดันในอาเซียนมียุทธศาสตรตอใคร เชนที่ ม.ล. สุภสิทธิ์ พูดหลาย อยางที่สําคัญ เราควรมียุทธศาสตรเรื่อง Asia financial architecture ที่จะผลักดันผานอาเซียน และ ASEAN+3 คือจีน เกาหลีใต ญี่ปุน ซึ่งเคาก็ใหเราเปนตัวขับเคลื่อนสําคัญ อยางจีน อยากจะมีบทบาทนําในเรื่องนี้โดยใหไทยอยูขางหนา ในหลายเรื่องจีนเปนคนเสนอแตใหไทย พูด เพราะเราเพื่อนเยอะ พูดไปก็ไมคอยเปนภัยคุกคาม ถาจีนเสนอเองเกิดความรูสึกวานากลัว คูไหนทะเลาะกันเราก็จะเปนเพื่อนกับทั้งคู ไมวาจีน/ญี่ปุน ปากีสถาน-อินเดีย หรือพยัคฆทมิฬ อีแลม เปนตน ยกเวนในชวงหลังๆ ที่เราไมคอยจะรอด แตที่ผานมาไทยเขากับทุกคนได แตไม คอยมียุทธศาสตรแบบนี้ รวมถึงไมมียุทธศาสตรเรื่องการเงิน และไมวายุทธศาสตรเรื่องบูรพาภิวัตน วาเกิดอะไรขึ้นในเอเชียกลาง เอเชียใต และระเบียงอิสลาม คือเราไป classify เพื่อนบานที่เลย พมาไปถึงตุรกีวา "แขก" เลยตุรกีเปน "ฝรั่ง" โดยไมเขาใจความสัมพันธระหวางแขกที่เรารวมเปน กอนใหญวาทํางานกันอยางไร ฉะนั้นการเชื่อมโยงเรื่องทอกาซทั้งหลายจากอินเดียไปตุรกี
จีนและอาเซียนในยุคบูรพาภิวัตน 21
เหลานั้นคือ politics of oil ทั้งสิ้น รวมทั้งสงครามอิรักดวย แตไทยไมมียุทธศาสตรการเมืองเรื่อง พลังงาน ในขณะที่จีนมี energy security ในแอฟริกา ในตะวันออกลางมากมาย มีความ เชื่อมโยงตางๆ และอเมริกันก็พยายามมากันที่จอรเจีย ถือเปนเกมสสําคัญมาก ที่เราไมเคยทํา เรื่องพวกนี้เลย ขอสังเกตที่สามเรื่อง food security เรามีอํานาจตอรองดีกวา politics of oil ดวย แต เราไมมียุทธศาสตรนี้และไมมีที่จะผลักดันในอาเซียน และเราก็ไมเคยศึกษาวาประเทศที่สัมพันธ กับอาเซียนมียุทธศาสตรอะไร เชนอินเดียมองมหาสมุทรอินเดียอยางไร เราเขาใจวาจีนใช ยูนานเชื่อมกับเรา จนป 2007-2008 ที่จีนเสนอแผน Pan-Beibu Gulf Cooperation ขึ้นมา โดย ใชหนึ่งแกนสองป ใชหนานหนิงเชื่อมสิงคโปร และสองปก อันหนึ่งเปน GMS อีกอันเปนพวกอยู ในทะเล ผมคุยกับ professor Wang Gungwu ที่สิงคโปร เคาเปลี่ยนยุทธศาสตรแลว โดยเชื่อม เอเชียตะวันออกเฉียงใตโดย Plan Pan-Beibu แตยูนนานเคาเชื่อมไปทางพมา บังคลาเทศ อินเดีย ซึ่งถาเปนแบบนั้นเราก็ตองปรับวิถีคิดกันใหม นอกจากเรายังไมศึกษาแลว เรายังไมได ตามที่เคาเดินเทาไหร ในแวดวงวิชาการถาจะหาผูเชี่ยวชาญอเมริกา อังกฤษ คงมีจํานวนเยอะ มาก แตผูเชี่ยวชาญการเมืองการปกครอง วัฒนธรรมในประเทศอาเซียนคงคิดกันนาน ประเด็นสุดทายคือ อาเซียนเปน ASEAN Way Community เราจะทําสามเรื่อง คือ เรื่องเศรษฐกิจ การเมืองความมั่นคง และสังคมวัฒนธรรม แตเราไมไดทําทุกเรื่อง แต EU เปน ประชาคมที่ทําทุกเรื่อง เราทําสามเรื่อง มีเรื่องเศรษฐกิจที่ทํากันจริงจัง มีลดภาษี เปดใหมีการ ลงทุนมากขึ้น บางเรื่องก็ทําไมจริงจัง อยางการรวมมือเรื่องภัยพิบัติ เรื่องหมอกควัน ก็ยังไมคิด จะทํา เพราะเปน ASEAN WAY แบบไทยๆ ASEAN เปนองคกรที่มีอายุ 40 กวาปเพิ่งจะมี กฎบัตร ฝรั่งก็งง ที่อื่นจะตั้งองคกรตองนั่งรางตั้งแตวันแรก เราอยูมา 40 ปไมตองมีกฎบัตร ถามี กฎบัตรตั้งแตวันแรกอาจจะพังไปแลว ในปฏิญญาหลายอยางที่มีการลงนามกันไมใครทํา และ ไมมีใครวาอะไรที่ไมทํา ขณะเดียวกันบางอยางไมเคยลงนามอะไรเลยแตทํากันจริงจัง ฉะนั้น เราจะเปนประชาคมอาเซียนแบบสไตลอาเซียน เราไมมีวนั เปนแบบยุโรป แตก็ไมไดหลวมจนไม มีอะไร ถาเราเขาใจวาลักษณะเปนอยางไร รัฐบาลของอาเซียนนั้นมีทุก shed of democracy มีตั้งแตสมบูรณาญาสิทธิราชย จนประชาธิปไตยเขมขน สิงคโปรก็อีกแบบหนึ่ง บรูไนก็อีกแบบหนึ่ง ลาว เวียดนาม กัมพูชาก็แบบหนึ่ง ไทยก็แบบหนึ่ง เพราะฉะนั้นในโลกนี้มีการปกครองแบบไหน
22
เวที Think Tank ครั้งที่ 3
ตองมีประเทศใดประเทศหนึ่งในอาเซียนที่สนิทกับเคาได จึงมี comfort level ที่จะทํางานกับ อาเซียน แตที่อยากย้ําก็คือยุทธศาสตรที่มีเปนเรื่องๆ และที่จะผลักดันในอาเซียนเราไมมี ถามี องคกรที่จัดยุทธศาสตรก็จะดี สวนสภาพัฒนฯ นั้นมีแผนฯ 11 แตไมใชยุทธศาสตรอยางที่เรา พู ด กั น เท า ไหร เรื่ อ งที่ ส องที่ อ าจารย พิ รุ ณ พู ด นั้ น สํ า คั ญ มาก เรื่ อ งเพื่ อ นบ า นควรจะเดิ น ได มากกวานี้ เปนเรื่องเปนราว เรื่อง connectivity และคงจะตองรวมสรรพกําลังในประเทศ พอสมควรเพื่อทําอยางนี้ใหเกิดขึ้น ภู มิ ธ รรม เวชยชั ย : เรี ย นท า นผู มี เ กี ย รติ ที่ เ คารพ หลั ง จากฟ ง หลายท า นพู ด มา ผมก็ คิ ด ว า ขณะนี้ เ รารู ว า โลก กําลังเปลี่ยนแปลง รูวาประชาคมอาเซียนกําลังจะมา กระแส ลมตะวัน ออกกํา ลัง แรง แตตอ งถามว า เราจะรู เ ทา ทัน ความ เปลี่ยนแปลงและปรับเปลี่ยนตัวเองเพื่อจะไดประโยชนจากการ เปลี่ยนแปลงนี้อยางไร ปญหาคือวาคนในสังคมเราที่รับรูเรื่อง การเปลี่ยนแปลงนี้เปนเรื่องของชนชั้นนําเสียเปนสวนใหญ เปน business rule ใหญๆ แตสําหรับประชาชนไทยสวนใหญซึ่งไดรับผลกระทบจริงๆ ยังนอย นี่ก็ เปนปญหาเพราะการเปลี่ยนแปลงของอาเซียนมาพรอมกับกฎกติกาที่รวดเร็วและรุนแรงกวา แตการไปดูผลกระทบของสิ่งที่จะมาเปนภูมิคุมกันในการรับและเก็บประโยชนจากมันยังเปน ปญหา ประชาชนคนไทยตอนนี้ยังเขาใจนอย หรือตื่นตัวไมมากนัก แตบทบาทที่จะทําเชนนี้ไดมี อยู 2 สวนใหญๆ ที่จะเขาไปเปนมีสวนใหคนในสังคมไดรับสถานการณที่กําลังเปลี่ยนแปลง สวนที่เปนหลักและนาจะเปนประโยชนคือฝายวิชาการนาจะมีบทบาทใหมาก เห็นดวยกับ อาจารยสุรเกียรติ์ที่ตองมีเรื่องใหญที่คิดเรื่องยุทธศาสตร ประเทศจะขับเคลื่อนเดินไปไดตอง มียุทธศาสตร ตองรูวาทิศทางจะเดินไปยัง มีการเตรียมตัวใหพรอมที่จะเดินไป ไมอยางนั้นจะ เปนไปตามสถานการณ ถูกกระบทและแกสถานการณไปวันๆ อีกสวนหนึ่งที่สําคัญที่มีผลตอ การรองรับและเปนประโยชนกับประเทศคือรัฐ แตผมคิดวารัฐออนแอในสถานการณปจจุบัน เพราะประเทศไทยมีปจจัยทั้งบวกและลบกับเรื่องที่กําลังจะเกิดขึ้น โลกที่กําลังเปลี่ยนแปลงอีก 2-3 ปขางหนา สิ่งที่เปนประโยชนนั้น เราไดเปรียบในแงภูมิศาสตรการเมือง ติดตออาณาเขต
จีนและอาเซียนในยุคบูรพาภิวัตน 23
ทั้งหมดในอาเซียน ทางใตมาเลเซียทะลุไปสิงคโปร อินโดนีเซีย ฟลิปปนส ทางตะวันตกเจอพมา ตะวันออกเจออินโดจีน เหนือเจอจีน เรามีทําเลที่เปนประโยชนอยางมากในการใชภูมิศาสตร การเมืองใหเปนประโยชน อยางที่สอง เราเปนประเทศที่เปนศูนยกลางแหลงทุนมหาศาลที่อยากจะเขามา ถาเรา บอกว า เวลานี้ เ ศรษฐกิ จ อยู ที่ ต ะวั น ออก จี น อิ น เดี ย อาเซี ย นคื อ อนาคตที่ ค นสนใจ ดั ง นั้ น ศูนยกลางที่งดงามที่สุดที่อยากจะเขามาคือประเทศไทย ในแงที่เขามาแลว facility มีพรอมทุก อยาง กฎระเบียบทางกฎหมายที่รองรับในหมูภูมิภาค หรืออยูในระดับตนๆ เพียงแตชวงหลัง เริ่มเกิดความไมม่ันใจวาจะรองรับไดจริงหรือไม เรามีความพรอมที่แหลงทุนสนใจ หลายคน บอกวาน้ําทวมคราวนี้เปนมหาอุทกภัยใหญ นักลงทุนจากญี่ปุนอยากถอน จริงๆ ไมมีใครอยาก ถอน ทุ ก คนไปล็ อ บบี้ แ ทนเราหมด เพราะอยูที่ นี่ มี ทุ ก อยา ง พร อ มที่สุ ด กว า ทุ กที่ ที่ มี อ ยู ทั้ ง facility เสนทางตางๆเรามีระบบเหลานี้รองรับไดดีที่สุด เศรษฐกิจชายแดนที่เปนพื้นฐานอยางที่ คุณพิรุณบอกวาเศรษฐกิจชายแดนโตนั้น จริงๆ โตมากถาไปดูตัวเลขทางเศรษฐกิจรอบประเทศ หลายหมื่ น หลายแสนล า น ถ า เราสามารถเข า ใจและมองถึ ง ยุ ท ธศาสตร ทั้ ง ระบบ โดยใช ทรัพยากรเหลานี้มาพัฒนาประเทศ ก็จะถือเปนตนทุนที่ประเทศไทยมีอยู และพรอมจะรองรับ การเติบโตของอาเซียน
สิ่งที่เปนปญหาคือ ปจจัยดานลบที่เปนอยูของเรา หัวใจสําคัญคือความขัดแยงทาง การเมืองที่ดํารงอยู และจะเปนอุปสรรคตอความเปลี่ยนแปลงที่กําลังจะเกิดขึ้นใน 3 ปขางหนา ถาเราไมสามารถจัดการความขัดแยงใหอยูตัวและพรอมรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได
24
เวที Think Tank ครั้งที่ 3
ซึ่งทําใหเราเหนื่อยและลําบาก สิ่งที่จะเกิดขึ้นแนคือเสียโอกาส ความขัดแยงจึงเปนโจทยใหญ ซึ่งคนที่มีสวนทําใหประเด็นนี้ไดรับการถกเถียงวิพากษวิจารณ หาจุดที่จะเดินไปได ผมคิดวา นักวิชาการนาจะตองทําหนาที่น้ีใหมากที่สุด เนื่องจากเปนหนวยสถาบันเดียวยังไดรับความ ไววางใจจากสวนตางๆ วายังพอมีอะไรที่ฟงไดจากทุกฝง สื่อมวลชนนั้นก็ขึ้นอยูกับทัศนคติและ ความสนใจของคน พรรคการเมืองไมตองพูดถึง หรือแมแตคนในสังคมไทยทุกระดับชั้นวิชาชีพ กําลังกาวไปสูการเลือกขางเลือกฝายซึ่งเปนอุปสรรคตอการสรางความพรอมของประเทศที่จะ เจริญเติบโตไปในทิศทางนี้ ในวันนี้ถานักวิชาการ สถาบันการศึกษา สามารถทําหนาที่เปน ตัวแทน ที่อาจจะรวมมือบางสวนกับสื่อมวลชนใหประเทศมีการขับเคลื่อนอยางเปนยุทธศาสตร ในหลายๆ เรื่องอยางที่อาจารยสุรเกียรติ์ไดพูด ในทิศทางใหญๆ ทุกๆ ดานซึ่งเปนธงนําสําคัญ ทําใหประเทศเดินไปอยางมีจังหวะ มีประโยชนที่จะเกิดขึ้นกับสังคมไทยโดยสวนรวม สวนที่ สองคื อ ต อ งรี บ จั ด การความขั ด แย ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ผมยกตั ว อย า งที่ เ ป น ความขั ด แย ง ของระบบ ความคิดคนในสังคม เชนเรื่องเสนชายแดนที่ตางประเทศสรางขึ้นมา แตเขาก็ขามไปหมดแลว คุณพิรุณบอกวาปญหาความขัดแยงกับเขมร ถาเรากาวผานไมได เราจะสรางประโยชนใหกับ สังคมไดอยางไร อยางไรก็ตามปนี้ถาผลการตัดสินของศาลโลก มันก็อาจจะเปนปมความขัดแยงของ คนในสังคมไทยได ถาตราบใดความคิดของคน ผมไมไดบอกวาใหไมใสใจความเปนชาติของเรา กับการเปนเจาของเขาพระวิหาร แตที่เราคุยกันคือโลกที่กําลังเปลี่ยนแปลงและความสําคัญ ของอาณาบริเวณที่ลดนอยลงจะอยูรวมกันไดอยางไรจึงจะไดประโยชนทุกฝาย ถาไมทะลุ แนวความคิดเชิงอนุรักษที่จมติดอยูกับแนวความคิดแบบเดิมที่กาวไมพนสิ่งตางๆ คุณจะอยู รวมกันในประชาคมที่ใหญ ถาติดอยูตรงนี้จะไมมีวันกาวขามได นี่คือตัวอยางรูปธรรมที่ชัดเจน ถายังคิดวาการคิดออกนอกกรอบแบบนี้คือคนที่คิดไมดีตอประเทศชาติ ก็อยาไปคิดเรื่องการ กาวไปสูประชาคมอาเซียนจะพัฒนาไปสูขางนอกเลย เพราะจึงหนาที่ของนักวิชาการ สถาบัน การศึกษา วาเราจะตองคิดใหกาวไกล เรารักชาติ หวงแหนในสมบัติของชาติ แตการจะอยู รวมกันเพื่อใหไดประโยชนสูงสุดทุกฝายจะจัดการอยางไร ถาสามารถผานตรงนี้ไปได ผมคิดวา การรวมอาเซียนในโลกที่เปลี่ยนแปลงจะเกิดประโยชนสูงสุดได เปนถือเปนโจทยใหญที่สุด ถา กรอบคิดนี้ไมมี ไมมียุทธศาสตรดานนี้ และหวังใหรัฐมีบทบาทเปนตัวนํา ขณะที่ภายใตท่ีรัฐก็
จีนและอาเซียนในยุคบูรพาภิวัตน 25
เปนตัวแทนประโยชนพรรคการเมืองที่ขัดแยงอยางรุนแรงจะกาวไปไดอยางไร สิ่งที่หวงที่สุดคือ ประชาชนไทยทั้งหมด และสถาบันทางเศรษฐกิจทางธุรกิจ ซีพีไดรับการยอมรับจากประเทศ ใหญๆ สามารถนําไปสูการพัฒนาที่อํานาจประโยชนสูงสุด แตทรัพยากรนั้นอยูในประเทศที่ ความขัดแยงภายในยังเปนปญหาใหญ ซึ่งอาจเปนตนทุนที่ตองผาไปใหไดกอนที่จะฝาไปสู ทิศทางอยางที่เราพูดกัน
ศาสตราจารย ดร. เอนก เหลาธรรมทัศน: ผมเองไปพูดเรื่องบูรพาภิวัตน พูดไป คนฟงก็จะถามวายังขัดแยงกันอยางนี้จะเปนบูรพาภิวัตนไดอยางไร บรรยากาศก็จะเศราซึม คนไทยก็ไมคอยคิดที่จะไดประโยชนจากความสัมพันธระหวางประเทศ เพราะถูกฝกมาใหกลัว ไปหมด แตกอนกลัวฝรั่ง พอผมไปบอกวาฝรั่งกําลังถดถอยลงแลวก็มากลัวจีนแทน ความมั่นใจ ที่เราจะใชอะไรที่เปนประโยชนกับทรัพยากรคนก็ไมคอยตามเทาไหร ผมก็อดคิดไมไดวาทําไม ตอง AEC คําตอบงายๆ คือในป ค.ศ. 2015 จะเปน AEC คนที่พูดเรื่องอาเซียนจะเปนเรื่อง กฎหมายกฎระเบียบ เมื่อประชุมก็บอกวาจะตองทะสิ่งตางๆ ขนาดแคมาตรฐานไทยก็หนักอยูแลว จะเอามาตรฐานอาเซียนมาอีกก็ยุงยาก แตอยางที่อาจารยสารสิน หรืออาจารยพิรุณพูด บางคน ทําไดเลยไมตองคิดเรื่องระเบียบมาก และสามารถผสมไดหลายแบบ ไมไดไทยไปรวมกับจีน อยางเดียว แบบนี้นาสนใจ ถาคาชายแดนไดเปรียบเราก็ทําคาชายแดนใหมากๆ แตเมื่อพูดวา วิชาชีพตางๆ ตองเปนมาตรฐานเดียวกันก็ไมคอยอยากทํา จึงตองวางยุทธศาสตรใหดี ในยุโรป
26
เวที Think Tank ครั้งที่ 3
เองก็ถกเถียงกันอยู แบบอังกฤษนั้นรวมอยูใน EU แตไมเอาเงินยูโรเลย ตอนนี้ขอเชิญอาจารย ศิริพร วัชชวัลคุ คณบดีคณะรัฐศาสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทานเปนผูเชี่ยวชาญดานการ ตางประเทศ ดร. ศิริพร วัชชวัลคุ: มีประเด็นอยากจะแชรกับทาน วิทยากร และผูรวมเสวนา หลายทานพูดเรื่องชายแดน ถึงจุดหนึ่ง การเคลื่อนยายทุนแรงงานและการคาระหวางเมืองชายแดนของ ประเทศหนึ่งกับ อีกประเทศหนึ่งกําลังโตขึ้น และเปนโอกาส มี หลายประเทศที่ ใ ช ยุท ธศาสตรนี้ซึ่ง เปน สิ่ง ที่ดีแ ละก็มีขอ จํา กั ด กําลังคิดวาสนับสนุนความคิดที่เราไดพูดกันวานี้วา เราจะลอง ศึ ก ษาดู ว า มี ค วามเป น ไปได ข องการขยายโอกาสทางการค า นอกเหนือจากการคา ณ จุดชายแดน ไปเปน transboundary production เพื่อ maximize comparative advantage ของแตละประเทศ ขณะเดียวกันก็ตองไมลืมวาเวลาเราขยาย ทางดานเศรษฐกิจมากก็มีผลกระทบเชนเดียวกันในเชิงภาคสังคม แตเหมือนที่อาจารยเอนก บอกวามีคนไปทําขอตกลงไวแลว เราก็หยุดไมไดที่จะตองเขตเสรีการคา เมื่อเราหยุดไมได หลักการพื้นฐานก็คือตอง maximize สําหรับคนที่ไปไกลที่สุดได หมายความวาภาครัฐตอง สนับสนุนคนที่จะไปใหไกลที่สุดใหได ในเวลาเดียวกันจะมีคนที่เปน loser ของกระบวนการเปด เสรีทางการคา คําถามที่กลับมาคือถามวาเราจะ compensate เยียวยาคนที่เปน loser ได อยางไร มิฉะนั้นคนที่ maximize ก็ไปไมถึงที่สุด สวน compensation ของ loser เราก็ชวยเหลือ ไมได การศึกษาเรื่องนี้จึงนาจะเปนโอกาสอยางหนึ่ง มี ค นบอกว า หนองคายเป น จั ง หวั ด ชายแดน ซึ่ ง ฝ ง ตรงข า มคื อ เวี ย งจั น ทร ซึ่ ง เป น เมืองหลวงของลาว มีความหลากหลายเยอะมากในการคิดและพัฒนาพื้นที่ชายแดน สิ่ง ที่ นาสนใจอีกเรื่องที่วิทยากรทานหนึ่งพูดถึงเรื่องภาคใตซึ่ง IMT-GT (Indonesia-MalaysiaThailand Growth Triangle) เปนเขตสามเหลี่ยมเศรษฐกิจของภาคใตที่อยูในแผนมานานแลว แตการขยายตัวของIMT-GT ของประเทศไทยไดประโยชนนับนอยมากเทื่อเทียบกับมาเลเซีย และอินโดนีเซีย เขตสามเหลี่ยมเศรษฐกิจเปนยุทธศาสตรที่รัฐบาลญี่ปุนใชกับจีนและเกาหลี
จีนและอาเซียนในยุคบูรพาภิวัตน 27
และยังใชกับกลุม GMS ดวย ซึ่งนับวานาสนใจที่จะลองทําดูที่จะขยับจาก trade ขึ้นเปน production เรื่องนี้เชื่อมตอกับความสัมพันธระหวางอาเซียน-จีน เรารูวาจีนเปนสะพานเชื่อม อาเซียนกับ production network ของญี่ปุน สิ่งที่เราตองถามในกรณีประเทศไทย และ ความสัมพันธระหวางอาเซียนกับจีนคือเราเปนอะไรสําหรับจีน เราไมใชแคเปนพันธมิตรทาง การเมืองอยางเดียว และไมใชแคพื้นที่ใหจีนสงแรงงานลงมา สงวัตถุดิบและสินคานการเกษตร มาขายอยางเดียว อาจจะมีอะไรมากกวานั้นหรือไมที่จะยกระดับอาเซียนขึ้นมา ถาเราจะใช ประโยชนจากอาเซียน ตอนนี้เราคิดจะ maximize ประโยชนจากอาเซียนในระดับ national อยางเดียว แตอาเซียนกําลังเปนกลุมกอน มีความเปนไปไดหรือไมที่เราจะขยับขามจาก FTA แต maximize ประโยชนในเชิง tariff สําหรับอาเซียนในภาพรวมที่เปนภูมิภาค คือทํา custom union เพื่อสรางแรงตอรองสําหรับกลุมประเทศอาเซียนดวยกันเอง ขณะนี้มีความคิดเรื่อง ASEAN minus X เพราะความสามารถของประเทศในอาเซียนไมเทากัน ถาจะทํา custom union จึงทําไดยาก แตถาไมทํา custom union โอกาสของอาเซียนที่จะ maximize ผลประโยชนจะนอย อาจจะเปนอีกจุดหนึ่งที่ตองคิด ทั้ง national strategy และ regional strategy ดวย ถาไมมี national strategy ที่ไทยจะผลักดัน และไปผลักในระดับภูมิภาคที่ไปผลักประเทศนอกภูมิภาค นั้นจะทําไมได อีกประเด็นที่นาสนใจคือมาตรฐานสินคาเกษตรสําหรับอาเซียนสามารถทําไดมาก ที่สุด เพราะอาเซียนภูมิภาคอาเซียนสามารถจัดการสินคาเกษตรไดมากที่สุด ประเด็นสุดทาย คือสิ่งที่ ม.ล. สุภสิทธิ์พูดถึง efficiency driven เปนสิ่งที่เราอาจจะขาดมากที่สุดสําหรับประเทศ ไทยและอาเซียน เพราะเมื่อเราเปดเขตเสรีการคานั้น competitive match จะมีความหมาย แตจะเกิดไดก็ตอเมื่อรูสึกวาอยากทําอะไรที่มีคุณภาพ ในฐานะที่มาจากสถาบันการศึกษานั้น เราตระหนักวาเปนภาระที่เราตองทํา อยางที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรเกี่ยวอาเซียนเราไดทําไป หลายเรื่อง เชนงานวิจัย และเปดรายวิชาไป แตคิดวายังไมพอ อยางที่หลายทานบอกวาเรา ไมสามารถมี efficiency driven ถาเราไมเตรียมคนใหพรอมและตระหนักในสิ่งเหลานี้ ม.ล. สุภสิทธิ์ ชุมพล: อาจารยสุรเกียรติ์บอกวาเรายังไมมียุทธศาสตร ทั้งๆ ที่เรารูวา มันสําคัญ นั่นเพราะเราไมมี detail ฉะนั้นเราก็จะวางยุทธศาสตรไมได เพราะเราไมรูวาจะ ออกแบบยุทธศาสตรอยางไร
28
เวที Think Tank ครั้งที่ 3
พิรุณ ฉัตรวนิชกุล: ผมกําลังจะเสนออาจารยเอนกเหมือนกันวาคลังสมอง นาจะมี วิจัยทํายุทธศาสตร ทําไวกอนก็ดี
ศาสตราจารย ดร. เอนก เหลาธรรมทัศน: การทํายุทธศาสตรพอจะทําได แตทาน ภูมิธรรมบอกวารัฐไทยคอนขางออนแอ และดวยเหตุที่เราไมปรองดองกันก็ยิ่งทําอะไรไดยาก จึงฝากใหสถาบันการศึกษาเปนคนทํา ถาถามสถาบันการศึกษาก็ทําเองไมได เพราะรัฐควร จะตองทํา เราควรจะชวยกันคิดวายุทธวิธีที่จะสามารถทํา strategy ไดนั้นจะทําอยางไร เชิญ ทานสุรเกียรติ์
จีนและอาเซียนในยุคบูรพาภิวัตน 29
ดร. สุรเกียรติ์ เสถียรไทย: หลายทานพูดถึงวาเปด เสรี อ าเซี ย นมาจากไหน และจะเป น อย า งไร ซึ่ ง ค อ นข า งเป น จุดออนของอาเซียน เพราะที่ผานมาเปนองคกรของขาราชการ และรัฐมนตรี เพราะฉะนั้ นจึง อธิบายไดวา ทํา ไมประชาชนจึง ไมรูสึกวา มีความรูสึกวา เปน สวนหนึ่งของประชาคมที่ถือเปน หัวใจ ที่สําคัญคือในหนึ่งที่มีการประชุมพันกวาครั้งตอปนั้นเปน ขาราชการไปประชุม ถาหากไมมีการสวนรวมในกระบวนการ ตัดสินใจตั้งแตตน ประเด็นเหลานี้ก็จะไมมีการพูดถึง อยางในเรื่องสุขภาพเราจะเปดเสรีการ ลงทุนแคไหน อาเซียนเขามาลงทุนสรางโรงพยาบาลไดเหรอไม เรื่องการศึกษา อาเซียนมาตั้ง โรงเรียนสอนหนังสือในไทยไดหรือไม ถาเปดใหฝรั่งเต็มที่ สามารถเปดใหอาเซียนไดหรือไม ซึ่งเวลานี้กําลังพัฒนาโดยเจรจาไปศึกษาไป อยางในยุโรป อเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด และจีนนั้นศึกษากันเสร็จแลวจึงมียุทธศาสตรไปเจรจาซึ่งสามารถประกาศได และมีกลยุทธ หรือ tactic ในการเจรจาซึ่งเปนความลับ ของเราเวลานี้กําลังเจรจาเปดเสรีการคาบริการ ซึ่งเปนรอบที่ 8 และกําลังรับฟงความคิดเห็นจากภาคเอกชน แตที่ยังไมมีความเห็นคือจาก ภาคประชาสังคม อีกประเด็นคือประชาคมอาเซียนเกิดขึ้นมาในตอนผมเปนรัฐมนตรี แลวมาตกใจตอน เหตุการณ 9/11 ซึ่งอาเซียนมี vision 20-20 ซึ่งไมมีใครรูวาแปลงวาอะไร เมื่อเกิดเหตุการณ 9/11 มีการประชุม APEC ที่เซี่ยงไฮปลายปนั้นพอดี ซึ่งประธานาธิบดีบุช หูจิน เถา และปูติน บอกวาเราจะตองไมตกเปนเหยื่อผูกอการราย ฉะนั้นการเปดเสรีใน APEC ซึ่งมี 21 เขต เศรษฐกิจที่ใหญกวาอาเซียนนั้นเลื่อนเขามา ในประเทศที่พัฒนาแลวเลื่อนจาก 2015 เปน 2010 สวนประเทศกําลังพัฒนาเลื่อนจาก 2020 เปน 2015 ขณะที่ประเทศในอาเซียนที่อยูใน APEC เจ็ดประเทศ เลยเกิดปญหาขึ้นวาการรวมกลุมที่ใหญกวานั้นเปดเขตเสรีเร็วกวาอาเซียน ฉะนั้น AEC ก็คือการไปกวาดของที่มีอยูแลวขึ้นมารวม ไมใชสิ่งที่เกิดขึ้นใหม เชน AFTA การ เจรจาบริการตั้งแตป พ.ศ. 2537 หรือ ARF (ASEAN Regional Forum) ขึ้นมาตกแตงใหม โดย มีเปาหมาคือประชาคมอาเซียน ซึ่งมี 3 เสาหลัก ฉะนั้นผมมองวา AEC มีที่มาจากอาการตกใจ วากลุมใหญเปดเสรีเร็วกวากลุมเล็ก อยางที่ ม.ล. สุภสิทธิ์ ถามถึงเรื่องยุทธศาสตรนั้น รัฐบาลมี
30
เวที Think Tank ครั้งที่ 3
กรรมการแหง ชาติ มีค นมาประชุ ม ประมาณร อยคน และนานๆ ประชุมกั นครั้ง หนึ่ง และมี คณะอนุ ก รรมการด า นต า งๆ และแผนสภาพั ฒ น แต ไ ม มี พ ลั ง องคาพยพของรั ฐ ที่ จ ะดึ ง ยุทธศาสตรเหลานี้มาดวยกัน ที่เราพูดกันอยูนี้ความจริงแลวก็มีการคิดแผนยุทธศาสตรที่ปรับ ในหนวยงานของรัฐ แตยังไมมีการบูรณาการที่เราจะนําไปปฏิบัติมันไมมี ตัวอยางในสิงคโปรนั้น ประชุ ม คณะรั ฐ มนตรี เ ดื อ นละ 2 ครั้ ง ก อ นเข า ประชุ ม ครม. จะมี ก ารคุ ย เรื่ อ งยุ ท ธศาสตร ประมาณ 45 นาที เชน มาคนมาเลา ใหฟ ง ว า อิน เดีย ประกาศอะไร เกิ ด นโยบายอะไรที่ส ง ผลกระทบตอสิงคโปร ซึ่งไทยไมมีในแบบนี้ ดร. สารสิน วีระผล: เวลาพูดวาอาเซียน สําคัญ แตกับสิงคโปรอาจจะไมมีประโยชน เพราะ สิงคโปรเปนแชมปที่อยูในอาเซียนอยูแลว ไมตองพึ่ง AEC แตทีสิงคโปรตองพึ่งพาอาเซียนในสวนที่เปน ประโยชน กั บ สิ ง คโปร เมื่ อ พู ด ถึ ง ไทยไม ว า จะเป น รั ฐ บาลชุ ด ไหน สิ่ ง แรกที่ ทํ า คื อ ไปแสดงความเป น อัน หนึ่ ง อัน เดีย วกั บ อาเซีย น ทุ ม เงิ น ไปพบปะผู นํ า และปรากฏตัวที่สิงคโปร จาการตา ยางกุงเพื่ออะไร หรื อ ต อ งมี อ ะไรมากกว า นั้ น ภาระหนั ก ไปอยู ที่ กระทรวงการตางประเทศที่ใหเด็กซี 3 ทํา briefing ซึ่ง เอาของเกา ๆ มาใส เข า ไปแล ว ใหน ายกรั ฐ มนตรี และนายกก็ไ มไ ดใ หค วามสํ า คั ญ อะไร ถาลงทุนแบบนี้แลวไมเคยคิดวายุทธศาสตรอาเซียนคืออะไร ถาเปนบริษัทก็เจง ผมจึงถามวา เราจริงจังกับอาเซียนมากแคไหน ผมเปนหวงเรื่อง AEC ที่ทานเลขาธิการอาเซียน ดร.สุรินทร พิศสุวรรณ ถูกถามวาในป 2015 นั้น AEC จะมาถึงแลวคิดเห็นอยางไร ทานตอบวาป 2015 เปนเปาหมายที่เคลื่อนได ศาสตราจารย ดร. เอนก เหลาธรรมทัศน: ผมก็คิดอยูเหมือนกันวา AEC ทําแลว จะไดอะไร แตอาเซียนนั้นมีประโยชนไวติดตอกับจีน อเมริกา แมแตเปดหนาไปเอเชียกลางก็ได ตะวันออกกลางก็ได ไมจําเปนตองอยูเฉพาะใน AEC เพราะโลกทุกวันนี้ไมเหมือนสมัยกอนมี
จีนและอาเซียนในยุคบูรพาภิวัตน 31
ตลาดเสรีขนาดอาเซียนถือเปนเรื่องใหญ ปจจุบันนี้ทั่วโลกเปนตลาดเสรีหมด เมื่อกอนผมก็ไม กลาพูดวาจะทํา AEC ไปทําไม แตพอเห็นยุโรปปวยก็คิดวาขนาดตนแบบยังปวย แลวเราจะ เปน AEC โดยคิดวายุโรปทําไดเพราะเห็นตอนที่ยุโรปรุงโรจน แตในที่สุดขนาดที่ใหญเทอะทะ และรายละเอียดเราก็ยังไมคอยมีแลวจะเปน AEC แตจะไมทําก็คงไมได ฉะนั้นจะทําอยางไรที่ เราพอทําได เราไมจําเปนตองทําอยางที่ AEC บอกมาทุกอยาง เราสามารถมาคิดไดวาจะทํา เรื่องตางๆ มากนอยแคไหน จะทําอยางไรถามาแลวเราไดประโยชน ภูมิธรรม เวชยชัย: สิ่งที่สะทอนจริงๆ คืออาการปวยของสังคมไทย ที่ไมใชแครัฐบาล ที่เปนเพียงสัญลักษณและตัวแทนของอาการปวย ที่ควรใหสังคมรับรูขาวสารตางๆ และเปนผูรู ที่กําหนดทิศทางของสังคม ที่ผานมาของอาการปวยจําเลยหลักอยูที่กระทนวงการตางประเทศ ถามองใหใหญกวานั้นคือขาราชการทั้งหมดที่เปนตัวกําหนดทิศทางการขับเคลื่อนทิศทางของ สังคม นักการเมืองเปนแคสวนหนึ่ง ขาราชการและกระทวงการตางประเทศถือเปนหนวยงาน หนักที่ไมไดข บคิดและนําเสนอ แตก็มีหลายอยางที่พัฒนาไป ผมคอนขางฝากความหวัง ที่ สถาบันการศึกษา ภาคธุรกิจนั้นสามารถดิ้นรนใหอยูรอดได แตถาเราวางระบบใหมียุทธศาสตร ของประเทศก็จะพรอมที่จะเปนกําลังขับเคลื่อน ในบานเมืองเรากลไกหลักคือระบบราชการที่ พัฒนามากขึ้น รับฟงความคิดเห็นมากขึ้น แตยังไมเพียงพอ ทั้งหมดที่คุยมาก็เปนเรื่องที่จอง ชวยกันและใชเวลา สวนใหญแลวเรากําลังพูดเรื่องยุทธศาสตรใหญที่ควรมองทุกทิศทางที่เรา กําลังจะกาวไปอยางมีประสิทธิภาพ ดร. สุรเกียรติ์ เสถียรไทย: ความคิดเรื่อง regionalism เปนเรื่องใหญ เพราะเกิดมา จาก multiracalism ซึ่งใหญกวาระบบภูมิภาคลมเหลว จึงเกิดความรวมมือระดับภูมิภาคขึ้นมา เปนดอกเห็ด ทั้งในแอฟริกา หมูเกาะแปซิฟก แคริบเบียน หรือในเอเชียก็มี sub-regional เต็ม ไปหมด การทําเราจะตองเลือกวาทํากี่เรื่อง ในยุโรปทําทุกเรื่อง แตอังกฤษทําทุกเรื่องยกเวน การเงิน ในอาเซียนเราทําแค 3 เรื่อง ก็ไมได integrate มากมาย คือเรื่องเศรษฐกิจ เรื่อง การเมืองความมั่นคง และสังคมวัฒนธรรม ฉะนั้นสิ่งที่ทานอาจารยศิริพร เสนอวาใหทําเรื่อง custom union เปนสิ่งที่อยูนอกเหนือที่อาเซียนจะทํา และสิงคโปร หรือประเทศที่ภาษีสูงก็ไม
32
เวที Think Tank ครั้งที่ 3
เอาดวย ฉะนั้นสินคาภายนอกที่เขามาในอาเซียนไมมีทางเปนภาษีเดียวกันได เราไมไดเปน ตลาดรวม ไมมี currency เดียว ปญหาที่เกิดขึ้นคือตอนเลือกวาจะทํา 3 เรื่องดังกลาว ภาค ประชาสังคมไมไดมีสวนรวมรับรูดวย การมีสวนรวมไมมากพอ ฉะนั้นตอไปนี้ถาจะเพิ่มเสาหลัก ที่ 4 หรือใหเสาหลักใดออนลงไปก็สามารถอยูวิสัยที่จะทําได ประการที่สองผมเห็นดวยกับทาน รัฐมนตรีภูมิธรรม เพราะผมสังเกตการณตลอดวาสังคมไทยมีองคความรูแตไมมีพลังในการ ขับเคลื่อ นยุท ธศาสตร สว นภาคเอกชนนั้น มี พ ลัง ผมเคยเสนอ สกว. วา สิ่ ง ที่นา ทํ า มากคื อ literature review เพราะทุกมหาวิทยาลัย คณะ สาขาวิชามี ASEAN unit ผมจึงอยากรูมากวา แตละ unit ทําอะไรกัน อยางมีผลสํารวจนาสนใจวายิ่งเผยแพรขอมูล ASEAN มากเทาไหร คนไทยยิ่งรับรูนอยลง ในมหาวิทยาลัยถามีการทํา literature review เพื่อดูวาหนวยนี้เปน อยางไรและเชื่อมโยงอยางไรจะเปนประโยชน อาจจะมีรัฐบาลเปนเจาภาพก็เปนได ศาสตรจารย ดร. เอนก เหลาธรรมทัศน: ไดใหขอสรุปในเชิงยุทธศาสตรวาไทย ไมควรใหน้ําหนัก หรือจํากัดตนเองอยูกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมากจนเกินไป ไทยแต อาจมุง ออกไปยังเอเชียกลาง หรือตะวันออกกลางก็ไ ด และควรทํา ใหประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนเปนของเรา เชน ไทยจะทําเรื่องนี้ จะไมทําเรื่องนั้น เปนตน ไทยควรใชอาเซียนไวตอรอง จีนและสหรัฐอเมริกาจะมีประโยชนมากกวา