การศึกษาไทยในยุคบูรพาภิวัตน์

Page 1

เวที Think Tank ครัง้ ที่ 5 และ 6 “การศึกษาไทยในยุคบูรพาภิวตั น์ ” จัดโดย สถาบันคลังปั ญญาด้ านยุทธศาสตร์ วิทยาลัยบริ หารรั ฐกิจและรั ฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรั งสิต ร่ วมกับ แผนงานสร้ างเสริ มนโยบายสาธารณะที่ดี (นสธ.) และ สานักงานกองทุนสนั บสนุนการสร้ างเสริ มสุขภาพ (สสส.) ณ ห้ องพินนาเคิล 1-3 โรงแรมอินเตอร์ คอนติเนนตัล ถนนเพลินจิต กรุ งเทพฯ วันที่ 31 กรกฎาคม 2555

ภาคเช้า: ศักยภาพของอุดมศึกษาไทยกับการผลิต ทรัพยากรมนุษย์ ในยุคบูรพาภิวฒ ั น์ ดร. วิชัย ตันศิริ ที่ปรึ กษาอธิการบดี มหาวิทยาลัย รั งสิต: กล่ าวเปิ ดการสัมมนา แนวคิดเรื่องคลังปั ญญาไม่ใช่ของใหม่ แต่ที่ใหม่ก็ คือวิธีการบริ หารงานและการขับเคลื่อนเพื่อให้ เกิดผลลัพ ธ์ และพลัง ตลอดจนการเกิ ดเวที ใ ห้ ก ว้ า งเพี ยงพอที่ จ ะรั บ ความคิดเห็น และข้ อ มูลจากหลายๆ แง่มุมทั ้งทางวิชาการ และทางปฏิบตั ิ ขณะเดียวกันแนวคิดเรื่ องบูรพาภิ วัตน์ ก็เป็ น แนวคิดที่ท้าทายต่อกระแสวัฒนธรรมตะวัน ตกซึ่งครอบงํ า PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


2

เวที Think Tank ครัง้ ที่ 5 และ 6

อารยธรรมของโลกมานานนับตัง้ แต่ คริ สต์ ศตวรรษที่ 17 อะไรจะเกิ ดขึน้ ในอนาคตเป็ นสิ่ง ที่ อาจจะยากที่จ ะคาดคะเน แต่ เจตนารมณ์ ข องมนุษ ย์ บ างครัง้ ก็มี บทบาทสํา คัญที่ จะกํา หนด อนาคตของตนเองได้ ประชาคมอาเซียนที่เรียกกันว่า AEC กําลังจะเป็ นเป้ าหมายปลายทางโดยกรอบของ ข้ อตกลงทางเศรษฐกิจภายในปี 2558 การเดินทางไปสู่เป้าหมายนี ้มิใช่ว่าจะมาบังเกิดเมื่อ 5-6 ปี ที่ แ ล้ ว หรื อเมื่ อ ทศวรรษที่ แ ล้ ว แต่บุคคลรุ่ น ผมทราบดี ว่ าเริ่ ม ต้ น มาอย่ า งไรและเมื่ อ เริ่ ม ต้ น ประมาณเกือบครึ่งศตวรรษมาแล้ ว ผู้คนในสมัยนั ้นก็ยังไม่ได้ ฝากความหวังอะไรมากนัก บางที ดูเหมือนจะมาร่วมมือกันตามกระแสนิยมโดยที่ไม่ได้ มีความคาดหวังมากนัก อย่างไรก็ตามความร่ วมมือระหว่างประเทศในอาเซียนซึ่งสมัยก่อนจะใช้ คําว่าเอเชีย อาคเนย์ โดยเฉพาะทางการศึกษานั ้นได้ ก่อตัวเป็ นโครงสร้ างหรื อประชาคมที่เรี ยกว่าโครงการ SEAMEO (Southeast Asian Ministers of Education Organization) หรื อองค์ การรัฐมนตรี ศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งทุกๆ กระทรวงศึกษาธิ การของประเทศในภูมิภาคนี ้เป็ น สมาชิ ก และได้ ดํ า เนิ น การพัฒ นาทางการศึกษาร่ ว มกัน ทุกระดับ จากประถมถึง อุดมศึกษา เครื อข่า ยทางการศึกษาของ SEAMEO ของประเทศต่ างๆ ซึ่ง ปั จจุบันก็ คืออาเซี ยนนั่นเองได้ กลายเป็ นเครือข่ายที่ถาวรและทําให้ เกิดความร่วมมือทางการศึกษา วิจยั และพัฒนา เราไม่เคยพูดถึงการแข่งขัน เราพูดถึงแต่ ความร่ วมมือ เรามีข้ อตกลงร่ วมกันในเรื่ อ ง การจ่ายเงินสนับสนุนตามตัวชี ้วัดทางเศรษฐกิจของแต่ละประเทศ จากประสบการณ์ นี ท้ ําให้ เรา ได้ เรียนรู้ที่จะทํางานร่วมกันในฐานะที่เป็ นประชาคมในเอเชียอาคเนย์และผลที่ตามมาคือ มีการ ประชุมนานาชาติซึ่ง UNESCO ได้ จัดขึ ้น พวกเราในกลุ่มอาเซียนก็ดูจะกลายเป็ นอนุภาคของ เอเชีย นัน่ คือร่วมมือกันในการลงคะแนนเสียงและโครงการต่างๆ นี่คือจุ ดเริ่ มต้ นของความเป็ น ประชาคมอาเซียน ท่านผู้มีเกียรติครับ การอภิปรายเรื่องอุดมศึกษาของเราในวันนี ้ วิทยากรเป็ นผู้ทรงคุณวุฒิ มีประสบการณ์ กว้ า งขวางและยาวนานและรอบรู้ คงจะได้ ชี ้ประเด็นที่สําคัญ ที่เราไม่ควรลืม เพื่อนําไปสู่ความเป็ นอาเซียนและบูรพาภิ วัตน์ ที่ แท้ จริ ง การแข่งขันและความร่ วมมือเป็ นของ คู่กนั หากแข่งขันอย่างเดียวอาจนําไปสูค่ วามพินาศทั ้งสองฝ่ าย ความร่วมมือกัน ทํางานร่ วมกัน ด้ ว ยความเห็ น อกเห็ น ใจน่ า จะนํ า ไปสู่ชัย ชนะของทัง้ สองฝ่ ายที่ เ รี ยกว่ า win-win ฉะนั น้ PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


การศึกษาไทยในยุคบูรพาภิวัตน์

3

ในหลักสูตรการศึกษาของไทยจึ ง ต้ อ งมี อ งค์ ป ระกอบของการศึ ก ษา ศิ ลปวัฒ นธรรม และ ประวัติศาสตร์ ของเพื่อนบ้ านโดยเฉพาะวีรบุรุษของเขา ในประสบการณ์ ของผมนั ้น ไม่มีวิธีใดที่ จะชนะใจประเทศเพื่อนบ้ านได้ ดีไปกว่าการสรรเสริ ญคุณความดีของวีรบุรุษของเขาและการ เข้ าใจเข้ าถึงวีรบุรุษของเขาก็เท่ากับเป็ นการเข้ าใจเข้ าถึงตัวเขานัน่ เอง ศาสตราจารย์ ดร. เกื อ้ วงศ์ บุ ญสิ น รองอธิ การบดี จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย : ถ้ าในส่วนที่ผมเชี่ยวชาญ ผมเป็ น นัก ประชากรศาสตร์ ผมจะเน้ น ในเรื่ อ งของทรั พ ยากรมนุษ ย์ ทรัพยากรมนุษย์ ก็เป็ นเรื่ องของการศึกษา สุขภาพอนามัยและ การอบรมเพิ่มเติม การศึกษาแบบที่อาจารย์ กฤษณพงศ์ บอกว่า เป็ น flow ของ labor เราจะมีนักเรี ยนชั ้นประถมศึกษาปี ที่ 1 ถึง มัธยมศึกษาปี ที่ 6 ประมาณ 10 ล้ า นคน และก็ระดับปริ ญญา ตรี -ปริ ญญาเอกอีกประมาณเกือบ 30 ล้ านคน และ stock ของ labor ก็เ ป็ นแรงงานที่อยู่ใ น ตลาดแรงงานประมาณ 40 กว่าล้ านคน ในส่ว นศักยภาพของอุดมศึกษาไทย ผมคิดว่ า ตอนนี เ้ ราอยู่ใ นช่ ว งที่ ทางประชากร เรี ย กว่ า เป็ นช่ ว งการปั นผลทางประชากรคื อ เรามี สัดส่ ว นประชากรที่ อ ยู่ใ นวัยแรงงาน ประมาณ 67% ในขณะที่ยโุ รปจะเหลือประมาณตํ่ากว่า 50% เพราะว่าเขาเป็ นผู้สงู อายุเกือบ 30% อย่างไรก็ตาม การปั นผลทางประชากร ปี ที่แล้ วเป็ นปี ที่สดั ส่วนของประชากรในวัยแรงงาน ของเราที่มีประมาณ 67% จะเริ่มลดลงเนื่องจากว่าสัดส่วนประชากรผู้สงู อายุมีเพิ่มขึ ้น สาเหตุก็ เนื่องจากเรามีภาวะเจริญพันธุ์ตํ่ากว่าระดับทดแทน ระดับทดแทนคือครอบครัวหนึ่งจะต้ องมีลกู 2.1 คน เพื่อที่จ ะทดแทนประชากรในรุ่ นต่อไป แต่ ปัจจุบันภาวะเจริ ญพันธุ์ เ ราอยู่ที่ประมาณ 1.54 ก็คือตํ่ากว่าระดับทดแทนประมาณ 0.6 คน สาเหตุก็เพราะว่าเราเริ่ มเปลี่ยนจากสังคมที่มี พ่อแม่ลกู เริ่มเปลีย่ นเป็ นสังคมที่เรี ยกว่าเป็ นสังคม DINK ก็คือ Double Income No Kid คือคน ที่แต่งก็ไม่มีลกู แล้ วก็เริ่ มที่จะเปลี่ยนจากสังคมที่เป็ น DINK เป็ นสังคมที่เรี ยกว่าเป็ น SINK คือ เป็ น Single Income No Kid คือเริ่ มที่จะไม่แต่ง เพราะฉะนั ้นภาวะเจริ ญพันธุ์ที่บอกว่าระดับ ทดแทน 2.1 คน 0.1 เผื่อลูกที่เสียชีวิต ตอนนี ้ระดับทดแทนต้ องประมาณ 2.4-2.5 ก็คือว่าคนที่ PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


4

เวที Think Tank ครัง้ ที่ 5 และ 6

แต่งต้ องมีลูกเผื่อ คนไม่ แต่งด้ วย ถึงจะทําให้ โครงสร้ างประชากรเราอยู่ในระดับที่ บอกว่ าการ ปั นผลทางประชากรยืดระยะเวลาออกไป ถ้ าเรามองเปรี ยบเทียบทั ้งโลกใน OECD ก็จะมีปัญหาเนื่องจากว่าเขาเป็ นสังคมที่ ผู้สงู อายุเกื อบ 30% และ OECD ที่อยู่ในกลุ่มประเทศเอเชี ยตะวันออก ไม่ว่า จะเป็ นญี่ ปุ่ น เกาหลีใต้ ก็เป็ นสังคมที่เป็ น aging society ปี ที่แล้ วญี่ ปนเป็ ุ่ นปี แรกที่มีคนตายมากกว่าคนเกิด เกาหลีจะเป็ นประเทศที่มีภาวะเจริญพันธุ์ตํ่าที่สดุ ในเอเชียเหมือนอย่างอิตาลี เพราะฉะนั ้น ก็จะ ทําให้ กลุม่ พวกนี ้เริ่มที่จะเน้ นศักยภาพของอุดมศึกษาของเขาหรื อเน้ นทรัพยากรมนุษย์ ของเขา จึงมีการพิจารณาถึงเรื่ องอาเซียนบวก 3 ให้ มีประชากรในเอเชียใต้ ไปทดแทนอุดมศึกษาของเขา ในยุโรปมีโครงการที่เรี ยกว่า Erasmus Program แล้ วเขาก็ จะให้ ทุน สาเหตุคือ ตอนเริ่ มต้ น ยุโรปตะวันตกนี่เป็ น aging population ยุโรปตะวันออกยังเป็ น labor สัดส่วนอยู่ในวัยแรงงาน เขาก็ มี Erasmus อยู่ใ น EU เพื่ อ ให้ มี qualification framework เพื่ อ จะทํ า ให้ เ ด็ กที่ จ บใน มหาวิทยาลัยที่อยู่ในประเทศตะวันออก ก็สามารถมาเรียนอยู่ในประเทศตะวันตกได้ ศาสตราจารย์ ดร. ศุภชัย ยาวะประภาษ คณบดี คณะรั ฐศาสตร์ จุฬ าลงกรณ์ มหาวิ ทยาลัย : สิ่งที่ อยากจะ แบ่งปั นกับที่ประชุมคือ เวลาเรามองศักยภาพของอุดมศึกษา ไทย โดยประสบการณ์ เมื่ อ ก่ อนกลับ มาทํ า งานที่ รัฐ ศาสตร์ ก็ ทํางานที่ SEAMEO ซึง่ ท่านอาจารย์ วิชัยบอกอยู่หลายปี และมี โอกาสเห็ น landscape อุดมศึก ษาของยุ โ รป ของอเมริ ก า อย่างหนึง่ ที่เห็นคือ เวลาที่เราพูดถึงเรื่องของที่ท่านอาจารย์เอนกใช้ คําว่าบูรพาภิ วัตน์ นี่ จริ งๆ ผม ก็คิดว่าภาพตรงนี ้เป็ นฉากที่เคลือ่ นไปเรื่อยๆ ไม่ได้ อยู่กับที่และในระหว่างที่เราตระหนัก ว่าตัวที่ เป็ นกลุ่มประเทศที่กําลังเติบโต เช่น BRICS ที่อาจารย์ เอนกเขียนไว้ ในหนังสือบูรพาภิ วัฒ น์ ภาพหนึง่ ที่เห็นก็คือว่าอุดมศึกษาของโลกใบนี ้ไม่ได้ อยู่นิ่ง เปลี่ยนไปตลอด ซึ่งท่านอาจารย์ เกื ้อ พูด ถึง เรื่ อ งของญี่ ปุ่ น จริ ง ๆ ทุ กประเทศมี การเคลื่ อ นไหวในเรื่ อ งอุดมศึกษาค่ อ นข้ า งเยอะ ข้ อสังเกตของผมก็คือ โลกไม่ได้ ออกมาในลักษณะที่ว่าประเทศที่เป็ น BRICS หรื อว่าเติม K เติม S เข้ าไปเป็ นเกาหลีหรือว่า South Korea ลงไปด้ วยนี่ มันไม่ได้ แยกกันเด็ดขาด ปี นี ้มีโอกาสไป ร่ วมประชุมกับทางโปรแกรมที่จัดโดย EU ชื่อว่า CODOC ก็คือ co-doctoral degree นะครับ

PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


การศึกษาไทยในยุคบูรพาภิวัตน์

5

ภาพอย่างหนึง่ ที่เห็นก็คือว่ายุโรปวันนี ้ก้ าวจากการส่งเสริ ม mobility ของนักเรี ยน อาจารย์ เดิน มาจนถึงจุดที่ยุโรปให้ ความสําคัญกับเรื่ อ งของปริ ญญาร่ วม (joint degree) ที่ เขาทดลองทํ า กันเองในยุโรปซึง่ ไม่ใช่ของง่ายเพราะว่า joint degree แปลว่า degree ที่สภามหาวิทยาลัยของ แต่ละแห่งจะต้ อง endorse ซึ่งระบบอุดมศึกษาของแต่ละประเทศไม่เหมือนกัน ในหลายประเทศ การ endorse ตรงนี ้ต้ องไปที่รัฐสภา ไม่ได้ จบอยู่แค่สภามหาวิทยาลัย ไปไกลกว่านั ้นเยอะแต่ ว่ายุโรปก็ทําตรงนี ้และ CODOC นี่เขากําลังสํารวจ ว่าถ้ าจะมีงานในลักษณะที่เป็ น co-doctoral degree ระหว่างยุโรปกับเอเชีย กับแอฟริกา กับประเทศทางอเมริ กาใต้ จะทําได้ หรื อไม่ หน้ าตา จะออกมาเป็ นอย่ า งไร ตัว CODOC ที่ ผมมี โ อกาสไปร่ ว มประชุม ก็ คือ ว่ า landscape ไม่ ไ ด้ แยกกันเด็ดขาดแต่ออกมาในลักษณะที่ในระหว่างที่เราอาจจะมองว่าบูรพาภิ วัตน์ กําลังเติบโต ขึ ้นมานี ้ใหญ่ขึ ้นมาเรื่อยๆ แต่ในขณะเดียวกันยุโรปกับอเมริกาก็ไม่ได้ หยุดอยู่กบั ที่ ศาสตราจารย์ ดร. กฤษณพงศ์ กีรติกร กรรมการ สภามหาวิทยาลั ยรั งสิต : มหาวิทยาลัยปิ ดของเรามีคนเข้ า เรียนปี ละประมาณ 3-4 แสนคน แล้ วถ้ าคูณ 4 ปี ก็คือประมาณ 1.2-1.3 ล้ า นคน เราไปกับคนล้ านสองล้ านสามมากเลยโดยที่ เราไม่ ไ ด้ ใ ส่ แ รงเลยกับ คน 40 ล้ า นคนนอกระบบการศึ กษา ประเด็นที่ผมกําลังจะชี ้ให้ เห็น งบประมาณอุดมศึกษา รัฐบาล ใส่ไปประมาณ 7-8 หมื่นล้ านบาท กองทุนให้ ก้ ยู ืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ใส่อีกประมาณ 2-3 หมื่นล้ านบาท งบแสนล้ านใส่เพื่อคนประมาณ 1.2-1.3 ล้ านคน แต่ไม่ได้ ใส่อะไรเลยสําหรับคน 40 ล้ านคน ผมจะชี ้ให้ เห็นว่าถ้ าเราดูอ ย่างนี ้ ขณะนี ้ทางซ้ ายมือเป็ นประเทศเอเชียที่พัฒนาแล้ ว (มี Powerpoint ประกอบ) เขาแก่ด้วย แก่กว่าเราเยอะในเทอมของอายุประชากร อาจารย์ เกื ้อ จะตอบได้ GDP per capita วัดเป็ น PPP แล้ วเขาสูงกว่าเราพอสมควรประมาณ 5-10 เท่า กลุ่มที่สองเป็ นประเทศในอาเซียน เป็ น higher middle income กับ lower middle income กลุ่ม ที่ สามเป็ นกลุ่ม BRICS ของเรานี่ ตรงกลางยัง ไม่ แ ก่ ซ้ า ยมื อ นี่ แ ก่ แ ล้ ว นี่ เ ป็ นโครงสร้ าง ประชากร อันนั ้นปี 1950 ข้ างล่างก็จะเป็ นเด็กในวัยเรี ยน สีเส้ นล่างนี่จะเป็ นเด็กจบมัธยมเข้ า PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


6

เวที Think Tank ครัง้ ที่ 5 และ 6

อุดมศึกษา สีฟ้าบนอย่างผมนี่เกิน 60 ปี ระหว่างสีฟ้าสองเส้ นนี ้เป็ น workforce เราก็จะเห็นเลย ว่าภายใน 50 ปี เด็กเกิดน้ อยลง นั่นคือเหตุผลที่ ทําไมโรงเรี ยนมัธยมล้ างมาประมาณ 5-10 ปี แล้ ว ต่ อ ไปเรายัง จัดการศึกษาสํา หรั บ age group มหาวิท ยาลัยก็ จ ะล้ า งเหมื อ นยุโ รปกับ อเมริกาที่ล้างมาแล้ วเพราะคนไม่เกิดมาแล้ ว และปี 2050 จะเป็ นอย่างนั ้น จะมีคนแก่มากขึ ้น ด้ วยโครงสร้ างแบบนี ้เราจะเห็นว่าประเทศไทยแก่แล้ ว แล้ วที่โ ชคร้ ายก็คือเมื่อกี ้ที่เราไปดู GDP per capita นี่ เราไม่ รวย เพราะฉะนัน้ เราแก่ ก่อ นรวยและยัง โง่ด้ว ยโดยภู มิ หลัง การศึกษา ดูทางขวาก็เอามา plot ใหม่ วัดเอาปี 2000 เป็ นฐานเราก็จะเห็นเลยว่ากลุ่มอายุ 10-14 ปี ตกลง มาตลอดและตกลงไปเรื่อยๆ วิธีจะแก้ ก็ต้องให้ พวกเรามีลกู 3-4 คน แต่ไม่ร้ ู ทําได้ หรื อเปล่า กว่า จะเห็ น ผลคงอี ก 10-20 ปี เส้ น สีเ ขี ยวก็ เ หมื อ นกัน ก็ เ ป็ น age group 15-29 ปี ก็ ตกลง แต่ workforce ยังไม่ตก แต่ไม่มีคนที่มีการศึกษาเยอะ อย่างผมเกิน 60 ปี นี่จะขึ ้นจาก 100% ขึ ้นไป เป็ นประมาณ 2.75 เท่า ไปอีกประมาณ 20 ปี เทียบกับประเทศอาเซียนกับ East Asia นี่จะเห็น เลยว่ า เด็ กของเราน้ อ ย สิง คโปร์ น้ อ ยกว่ าแต่ เ ขารวย ที่ เ หลือ เด็ กเราน้ อ ยกว่ า เขาหมด อัน นี ้ หมายความว่าในระยะยาว อินโดนีเซีย เวียดนาม ฟิ ลิปปิ นส์ พม่านี่เขามีพลเมืองมากกว่าเรา อินโดนีเซีย 250 ล้ านคน เวียดนาม 90 ล้ านคน ฟิ ลิปปิ นส์ 90 ล้ านคน พม่าประมาณ 60 ล้ าน คน เขามีพลเมือ งมากและมีเด็กและเยาวชนสูง แล้ วต่อไปผมคิดว่า workforce เขาจะสูง ถ้ า เขาพัฒนาคนได้ ดี เขาจะพัฒนาได้ ดีและนานกว่าไทยในความเห็นของผม เราอาจจะต้ องนํา สมองและแรงงานเข้ ามาจากประเทศเหล่านี ้ระยะยาว ผมมีความเชื่ อ ส่ว นตัว ว่า หลัง 20 ปี เราอาจจะต้ อง import ทัง้ สมองและแรงงาน เข้ ามาจากประเทศเหล่านี ้ อันนี ้ก็ไม่ต้องพูดแล้ วนะครับแก่แล้ วก็ยังโง่และยังจน ทีดีอาร์ ไอเอา กราฟอันนี ้มาให้ ดเู มื่อต้ นปี ดู income กับ consumption ของคนไทยวัดต่างกัน 10 ปี income ก็เป็ นเส้ นโค้ งเริ่มมีเมื่อเริ่มทํางานและสูงขึน้ มากตอนวัยทํางานและตกลงเมื่อแก่ เส้ นที่ค่อนข้ าง fact นั่นเป็ น consumption ตอนแรกก็ตํ่า ตอนหลังก็คงที่ จับหักกันก็เป็ น deficit แต่เขา plot กลับหัว ในภาพรวม ภาพ macro นี่จะต้ องให้ พื ้นที่เหนือ curve กับใต้ curve เท่ากัน ตอนนี ้ พื ้นที่เหนือ curve กับใต้ curve ไม่เท่ากัน สิง่ ที่ต่างคือเรากินบุญเก่า เรากินมรดกที่สะสมมากับ natural resource เปลีย่ นมาให้ เป็ น income เพราะฉะนั ้นวิธีที่จะทําภาพใหญ่ ให้ income กับ consumption เท่ากันก็ได้ คือต้ องเพิ่ม productivity ในช่วงทํางานกับยืดอายุทํางานให้ ยาวขึ ้น PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


การศึกษาไทยในยุคบูรพาภิวัตน์

7

ภราดา ดร.บั ญ ชา แสงหิ รั ญ อธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลัย อั สสั มชั ญ : สํา หรั บ การอภิ ปรายในวัน นี ้ อย่าถือว่าผมเป็ นวิทยากร ที่จริ งผมตั ้งใจมาเพื่อมารับเอา ความรู้กับการเสวนาในเวทีครัง้ นี ้ แต่ก็แน่นอน หน้ าที่ของ ผมก็ คือ ว่ าจะดํ าเนิ นการอภิ ป รายต่ อไป แต่ ใ นกรอบการ อภิปรายของผมในวันนี ้เอาหนังสือเล่มนี ้เป็ นหลัก หนังสือ บูรพาภิวตั น์ของ ดร. เอนกเพราะว่ากรอบอยู่ตรงนั ้น กรอบ ของมันคืออะไร คําจํ ากัดความของบูรพาภิ วัตน์ ว่ าเป็ นอย่า งไรก็ อยู่ในนั ้น นั่นหมายความว่ า ประเทศตะวัน ออกทัง้ หลายกํ า ลัง พัฒนาเศรษฐกิ จ อย่ า งรวดเร็ ว มุ่ง ไปข้ า งหน้ า และดึง โลก ทั ้งมวลให้ วิ่งไปตาม ท่านก็เลยถามว่า แล้ วเราประเทศไทยเองจะขึ ้นรถด่วนขบวนนี ้ทันกับเขา หรื อ ไม่ คํา จํ า กัดความของตะวัน ออก-ตะวัน ตกท่ านก็ ใ ห้ ไ ว้ กว้ า งมาก ตะวัน ออกก็ คือ ไม่ ใ ช่ ประเทศทางเอเชียอย่างเดียว ก็เป็ นทั ้งละตินอเมริกา แอฟริ กาด้ วย ส่วนตะวันตกก็เป็ นอเมริ กา กับยุโรป ในยุคบูรพาภิ วัตน์ ได้ เกิดขึ ้นแล้ ว และจะต้ อ งภิ วัตน์ ต่อ ไป แล้ ว ก็ตั ้งคํ าถามขึ ้นมาว่ า อัตราการเปลีย่ นแปลงที่เกิดขึ ้นนี่จะรวดเร็วขนาดไหน จะสะดุดหรื อไม่และจะไปนานเท่าไร ทีนี ้ มาดูในบริบทของโลกปั จจุบนั เป็ นกระแสที่เมื่อกี ้ท่านประธานก็บอกไว้ แล้ วว่าโลกปั จจุบันมีการ เปลี่ยนแปลงอย่ างรวดเร็ ว ช่ว งทศวรรษที่ ผ่านมา ส่งผลให้ ประเทศทั ้งหลายต้ องเตรี ยมตัวกัน เพื่ อ ดูศักยภาพของคนในประเทศของตน เตรี ยมพร้ อมกับ สิ่ง ที่ จ ะเปลี่ยนแปลงไป พัฒ นา ศักยภาพให้ สงู ขึ ้นให้ สามารถปรับตัวและรู้ เท่ากันต่ อกระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิ ดขึ ้นเพื่อให้ ประเทศของเราก้ าวหน้ าต่อไปให้ ได้ มีวิจยั และการศึกษาอย่างมากมาย ประเทศที่มีประชากรที่ มีความรู้สงู และมีการศึกษาสูงไม่ว่าจะเป็ นประเทศไทยหรือที่ไหนก็แล้ วแต่ ชาติไหนที่สงู อย่างนี ้ ถือว่ามีนวัตกรรมสูง มีความเจริญก้ าวหน้ าอย่างมากและสามารถพัฒนาประเทศในด้ านต่างๆ สามารถแก้ ปั ญหาที่เ กิดขึ ้นได้ เพราะฉะนัน้ การศึกษาจึงถื อว่า เป็ นสิ่งที่ ค้ มุ ค่าเป็ นอย่ างมาก เพราะฉะนั ้นคนไหนที่ไม่มีการศึกษาก็จะเสียเปรียบในสังคมและสังเกตในประเทศไทยอยู่อย่าง ไม่ว่าจะมีวิกฤติในปี 1997 ปี 2008 หรื อเมื่อไหร่ ก็แล้ วแต่ การศึกษาต้ องเดินหน้ าต่อไป พ่อแม่ จะส่งลูกไปเรี ยนเสมอถึงแม้ จะต้ องกระเบียดกระเสียรหาเงินมาให้ เรี ยน สหประชาชาติเองใน PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


8

เวที Think Tank ครัง้ ที่ 5 และ 6

ด้ านการศึกษาก็ต้องการให้ ทุกคนเข้ าถึงการศึกษาให้ ได้ และมี การเรี ยนรู้ ตลอดชี วิต เพราะฉะนัน้ การศึก ษาในระดับอุดมศึกษาจึง ไม่ ได้ จํ า กัดอยู่เ ฉพาะคนบางกลุ่ม แต่ ถือ เป็ นมวลชน เป็ น massification of higher education คราวนี ้มาดูในบริ บทของไทย ประเทศไทยอยู่ในช่วงความท้ าทายและโอกาส เราจะ ประสบปั ญหาต่ า งๆ จากภายนอกมาก เช่ น การเปลี่ยนแปลงของสภาพภู มิ อ ากาศ การ เปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี การเคลือ่ นย้ ายประชากรซึง่ ดร. เกื ้อได้ พูดไปแล้ วและประเทศไทย กําลังจะเข้ าสูป่ ระชาคมอาเซียน ต้ องการจะเป็ นศูนย์ กลางของหลายเรื่ องในภูมิภาคนี ้ไม่ว่าจะ เป็ นด้ า นการแพทย์ ด้ านการศึกษา ด้ า นการท่อ งเที่ ยว เราต้ องการเป็ นหลายๆ ด้ า นแต่ จ ะ เป็ นไปได้ หรือเปล่านั ้นก็ขึ ้นอยู่กบั ประชากรในประเทศไทยของเรา ขณะเดียวกันประเทศไทยก็มี ความได้ เปรี ยบทางด้ านภูมิศาสตร์ ในที่ตั ้งของประเทศเรา ปั ญหาต่างๆ ในประเทศไทยมีอยู่มาก เช่น แผ่นดินไหว นํ ้าท่วม เราก็คาดกันว่าปี นี ้จะท่วมหรื อไม่ ต่างคนก็ต่างเตรี ยมตัวกัน ปั ญหา ยาเสพติด ปั ญหาการอยู่ร่วมกันอย่างสันติร่วมกันคิดร่ วมกันทํา การว่างงานของประเทศไทย เริ่มมีอตั ราสูงขึน้ เรื่ อยๆ ในอดีตนั ้นไม่ค่อยจะมี กรอบการพูดของผมจะวกเข้ ามาในมหาวิทยาลัย ในระดับอุดมศึกษามากกว่าในแง่ของการปฏิบตั ิ ซึง่ ประเทศไทยเรานั ้นยังไม่ค่อยมีมากเท่าไหร่ หรื อ มีม ากทํา ไปก็บ่น ไป บ่ นว่ านักศึกษาจากสถาบัน นี ้ไม่เอาไหนเลย ถ้ า เผื่อ ว่า เราคิ ดว่ าคน เหล่านี ้เป็ นลูกหลานของเรา เราต้ องพัฒนาเขาเป็ นคนในชาติของเรา เราต้ องมาส่งทอดมรดก ของเราต่อไปให้ กบั ลูกหลาน ทําไมเราจะไม่ยอมฝึ กให้ กบั เขา ยอมเสียเปรี ยบนิดหน่อยก็คือเป็ น การสร้ า ง CSR (Corporate Social Responsibility) นั่นเองให้ กับคนของเราเอง ถ้ าเผื่อทํ า อย่างนี ้ได้ ไม่ต้องบ่นครับ ทุกแห่งเปิ ดรับได้ หมด แต่นี่จะไปปลูกต้ นไม้ หรื อไปปลูกหญ้ าเขียวๆ แล้ วก็ออกไปประชาสัมพันธ์ เพื่อเอาหน้ าเอาตาอย่างเดียว แต่การเอาเด็กเข้ าไปฝึ กนี่ ผมว่าได้ ประโยชน์มากกว่า อย่างอื่นก็ทําด้ วยแต่ทําสิง่ เหล่านี ้ด้ วย เพราะว่าเด็กเหล่านี ้จะสามารถไปฝึ ก ตัว ของตั ว เองได้ เพราะฉะนัน้ สหกิ จ ศึ กษาที่ สกอ . ส่ ง เสริ ม อยู่ ข ณะนี ท้ ํ า ยากมากเพราะ เนื่องจากว่าเด็กทั ้งประเทศไม่สามารถไปลงมือทําได้ หมดเพราะคนเยอะมาก และอุตสาหกรรม ก็ต้องเร่งผลิตของตนเอง เพราะฉะนั ้นความร่วมมือควรจะมีมากขึ ้น เรื่ องต่อไปคือ การจัดระบบองค์ ความรู้ เพื่ อพัฒนาชาติ ในทุกประเทศ มันสมองของ ประเทศอยู่ที่อุดมศึกษา เป็ นไปได้ หรื อไม่ที่ ในยุคต่ อไปความรู้ จ ะมาจากทุกสารทิ ศและจาก PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


การศึกษาไทยในยุคบูรพาภิวัตน์

9

บุค คลมากมาย มาจากหลายสถาบัน เราให้ ส ถาบัน ต่ า งๆ เหล่ า นี ม้ าจั ดองค์ ความรู้ แล้ ว แก้ ปัญหาของประเทศชาติให้ ได้ ผมยังจําได้ ว่าในสมัยของนายกทักษิ ณ ท่านได้ เรี ยกอธิ การบดี เข้ าไปพบหมดเพราะท่ านเห็ นว่ าอธิ การบดี ทัง้ หลายต้ องเป็ นมันสมองของประเทศและต้ อ ง แก้ ปั ญหาประเทศให้ ไ ด้ แ ละท่ า นจะชี เ้ ลยว่ า ปั ญหาอย่ า งนี ท้ ่ า นต้ อ งเอาไปแก้ ต้ อ งการเงิ น เท่าไหร่ ท่านจะให้ ท่านชี ้ไว้ ให้ ในขณะนี ้ประเทศของเรามี ปัญหา เช่น ปั ญหาแก้ รัฐธรรมนูญ ถามว่าถ้ าเผื่อสถาบันทุกสถาบันรวมตัวกันเข้ า เอามันสมองของประเทศมา แล้ วมาวางแล้ วมาทํา ถามว่าจะได้ หรือไม่ หรือเรื่องนํ ้าท่วม ความแห้ งแล้ ง ขณะที่มีนํ ้าท่วมแห่งหนึ่ง ก็แห้ งแล้ งอีกแห่งหนึ่ง ประเทศเราประสบปั ญหาเพราะเราพึ่งธรรมชาติ แต่เรายังไม่ได้ ใช้ มันสมองของเราแก้ ปัญหา ของประเทศ เรามาจัดระบบองค์ความรู้ แก้ ปัญหาต่างๆ เหล่านี ้ได้ หรื อไม่ แล้ วก็มีปัญหาอื่ นอีก เยอะแยะที่ปะเทศไทยเราต้ องจัดทํา เพราะฉะนั ้น สถาบันการศึกษาโดยอาจารย์ ผ้ สู อนร่ วมมือ กับ ผู้ป ฏิ บัติ จะทํ าอยู่คนเดียวไม่ ได้ ต้องร่ วมมื อกับ ผู้ป ฏิ บัติแ ละผู้ที่ มี ผลกระทบมาสร้ างองค์ ความรู้ต่างๆ เหล่านี ้ โดยสถาบันเป็ นศูนย์ กลางนําความคิด คลังสมองด้ านยุทธศาสตร์ อย่างที่ สถาบันคลังสมองทําอยู่ขณะนี ้และระดมสมองกันเข้ ามา แล้ วก็มาช่วยกันคิด แต่ต้องมีความ จริงใจต่อกัน ไม่ใช่ว่าต่างคนต่างกัก๊ ความรู้ของตนเองเอาไว้ เพราะว่าคนที่มานั่งที่นี่อยู่คนละพัก คนละฝ่ าย อันนี ้ก็ไม่ใช่ เพราะฉะนั ้น เราก็ต้องมาร่วมกันทําโดยเอาวิจยั เป็ นตัวนํา หาข้ อเท็จจริ ง และหาข้ อสรุปให้ ได้ ผมขอสรุ ป ที่ พู ดมาสักเล็ ก น้ อยนะครั บ ว่ า ถ้ าไปอ่ า นยุ ท ธศาสตร์ ใ นแผนพั ฒ นา เศรษฐกิ จและสัง คมแห่ง ชาติ จะเขียนไว้ ว่ าในการพัฒ นาคุณภาพคนต้ อ งพัฒ นาคุณภาพคน และสัง คมไทยสู่สังคมแห่ ง ภูมิ ปั ญญาและการเรี ยนรู้ ก็ พูดไว้ อ ย่ างกว้ า งๆ เลย และถ้ า ไปดู ยุทธศาสตร์ อดุ มศึกษาไทยในการเตรียมความพร้ อมสูก่ ารเป็ นประชาคมอาเซียนในปี 2558 ใน หัวข้ อวิสยั ทัศน์ได้ เขียนไว้ ว่าบัณฑิตไทยสามารถแข่งขันได้ ในระบบสากลและมีความรับผิดชอบ ในฐานะพลเมืองอาเซียนและพลเมืองโลกเพราะฉะนั ้นจะแบ่งไว้ เป็ น 2 ส่วน ส่วนที่หนึ่ง คือว่า ในยุทธศาสตร์ อดุ มศึกษาไทยนั ้น อันที่หนึ่งก็คือ เพิ่มขีดความสามารถของการแข่งขันของบัณฑิต ในยุคบูรพาภิวตั น์และในเวทีนานาชาติ นัน่ ก็หมายความว่าความสามารถด้ านประกอบวิชาชีพ ต้ องมี ด้ านการเสริมสมรรถนะเพื่อสร้ าง productivity หรื อผลผลิตให้ มากขึ ้น ในขณะเดียวกัน ต้ องมีทกั ษะทางด้ านชีวิตหรือที่เรียกว่า life skill เช่นความเป็ นผู้นํา การทํางานเป็ นทีม แต่มีอยู่ PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


10

เวที Think Tank ครัง้ ที่ 5 และ 6

เรื่องหนึง่ ที่ต้องเน้ นเป็ นพิเศษก็คือ ทักษะทางด้ านความคิด ต้ องสอนคนให้ คิดเป็ น เด็กที่เรี ยน ในมหาวิทยาลัยกับเด็กที่เรียนอาชีวะตรงๆ ในเรื่ องเดียวกันเรี ยนด้ วยกันต้ องต่างกัน คนที่เรี ยน ทางด้ านอาชีวะเพื่อฝึ กฝนทางด้ านการทํางานโดยตรงให้ เก่ง ศาสตราจารย์ ดร.เอนก เหล่ าธรรมทั ศ น์ : คณบดี วิ ท ยาลั ย บริ ห ารรั ฐ กิ จและรั ฐ ศาสตร์ เราคง ไม่ ไ ด้ มุ่ง ให้ ทุกท่า นตอบคํ าถามให้ เ ราได้ ห มด ผมว่า เป็ น เรื่องที่พวกเราจะต้ องไปหาคําตอบเองด้ วย เราคงไม่ใช่เป็ น ลูกนกที่มาอ้ าปากคอยว่าเมื่อไหร่ วิทยากร 4 ท่านจะป้อน อาหารให้ เรา ผมคิดว่าคงไม่ใช่ แต่ว่าเป็ นส่วนหนึ่งของการ เรียนรู้ ที่จะทําให้ เราเข้ าสู่ปัญหาได้ เร็ วเป็ นพิเศษในเรื่ องที่ เราหลายๆ ท่านเริ่มจะสนใจหรื อว่ายังไม่เคยสนใจมากนัก และที่ผมถูกใจก็คือว่าความรู้ไม่ได้ มีใครผูกขาด หลายๆ ท่านที่นงั่ ตรงนี ้มีความรู้ มีแง่คิดอะไรดีๆ เกี่ยวกับการศึกษาเยอะเลย ผมคุยกับ อาจารย์เกื ้อตลอดนะครับเนื่องจากนัง่ ติดกัน ผมคุยกับท่านกึ่งเล่นกึ่งจริ งว่าน่าจะตั ้งกลุ่มศึกษา หรือกลุ่มสร้ างยุทธศาสตร์ ของชาติทางด้ านการศึกษา แล้ วก็เลยถามท่านว่าในประเทศไทยมี หรือไม่ยทุ ธศาสตร์ การศึกษา อาจารย์เกื ้อก็บอกว่าพอมี แต่ว่าไม่ใช่คิดแบบที่ทุกท่านในวันนี ้คิด อันนี ้คงขึ ้นอยู่กบั พวกเราที่จะสนใจกันมากน้ อยแค่ไหน แต่ว่าผมจะลองทาบทามไปก็แล้ วกันว่า ใครสนใจกัน เข้ า มาตัง้ กลุ่ม นี แ้ ล้ ว เราจะได้ คุยกัน ในวงเล็กขึน้ แลกเปลี่ ยนอ ะไรกัน มากขึ น้ หลายๆ เรื่องผมว่าเป็ นอาหารทางความคิดที่ดีทีเดียว ตามที่ท่ านอาจารย์ กฤษณพงศ์ บ อกว่าจะวัดผลการศึกษาวัดที่ชุมชน นี่ก็ท้ าทายมาก เพราะว่ าปกติ เราจะวัดที่ บุคคล แล้ ว ก็ที่ เราตัง้ โจทย์ ม าว่ าในยุคบูรพาภิ วัตน์ การศึกษาปกติ ของเราคือการศึกษาเพื่อสร้ างชาติเท่านั ้น เราสร้ างให้ คนเป็ นคนไทย แต่ในวันนี ้เราหยุดแค่นั ้น หรื อเปล่า เราจะต้ องตอบคํ าถามแบบที่อาจารย์ สเุ นตรถามเมื่อกี ้ว่าเราจะวาง position ของ ตนเองตรงไหน PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


การศึกษาไทยในยุคบูรพาภิวัตน์

11

อย่างไรก็ตาม ต้ องขอขอบพระคุณท่านวิทยากรทุกๆ ท่านและขอขอบคุณท่านผู้ที่เข้ า มาร่ วมรั บฟั ง และรวมคิดในวัน นี ้นะครั บ อย่ า ให้ การคุยกัน ในวันนี จ้ บแค่ ตรงนี ้นะครั บ เรามี อีเมล์ มีอะไรกันด้ วยนะครับ ประเดี๋ยวเราแลกเปลี่ยนคุยกันและถ้ าอาจารย์ เกื ้อตกลงนะครั บ ประเดี๋ ยวอาจารย์ เกื อ้ ก็จ ะไปริ เ ริ่ ม ที่ จะตัง้ กลุ่ม อะไรพวกนี ข้ ึน้ ผมก็บ อกอาจารย์ เกื อ้ ว่า ยิ น ดี สนับสนุนเต็มที่นะครับ อาจารย์ ศุภชัยเคยทํา ASEAN University Network มามีขอบเขต มีวิธี คิดอะไรที่ดีๆ เยอะรวมทั ้งคิดอย่างไรที่จะทําให้ ได้ ด้วย อันนี ้ผมคิดว่าถ้ าอาจารย์ ศุภชัยมาช่วย ด้ วยก็คงจะยิ่งดี ท่านอาจารย์ กฤษณพงศ์ ต้องมาช่วยอยู่แล้ วนะครับเพราะว่ามีความคิดความ อ่านดีเหลือเกิน เอาเป็ นอย่างนี ้ก็แล้ วกันว่าถ้ าท่านไม่มาช่วยพวกผม ผมก็จะไปช่วยท่านก็แล้ วกัน แล้ วผมคิดว่าเราอย่าไปหวังที่รัฐบาลอะไรให้ มากนัก ผมว่าเชยจริ งๆ ที่คิดแบบนั ้น เชยที่สดุ ทั ้ง ไม่มีสติปัญญา ทั ้งไม่มีเวลา ทั ้งไม่ร้ ูจะเอาเงินไปทําอะไร ผมว่าไม่ใช่เฉพาะแค่รัฐบาลนี ้ รัฐบาล หลายชุดมากที่เราไม่สามารถฝากอะไรเอาไว้ ได้ มากนัก รัฐบาลก็สําคัญ เพราะฉะนั ้นผมคิดว่า ถ้ าการศึกษาจะก้ าวไปข้ างหน้ าได้ อย่างไร ผมคิดว่าอยู่ที่พวกเราทุกคน เราไม่ต้องพยายามชี ้ไป ที่คนอื่นว่ามีคนไหนผิดเพราะว่าได้ ตวั คนผิดแล้ วเราจะได้ สบายใจเพราะเราไม่ใช่คนผิด เราไปชี ้ เขาว่าเขาผิด ผมคิดว่าเราไม่ใช้ วิธีชี ้ แต่เราคิดว่าเมื่อเรารู้ ปัญหาแล้ ว เราใช้ ด้านที่ว่าเราคิดถึง ประโยชน์ของส่วนรวมแล้ วเราเข้ ามาช่วยกันผลักดันเท่าที่จะทําได้ ผมเชื่อว่าถ้ าพวกเราทุกๆ คน ที่นงั่ อยู่ตรงนี ้ช่วยกันผมว่าการศึกษาในยุคบูรพาภิวัตน์ ก็จะขยับได้ ผมขออนุญาตท่านอาจารย์ วิชยั ปิ ดการสัมมนาของเราในตอนเช้ าแต่เพียงแค่นี ้นะครับ ขอบพระคุณครับ

PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


12

เวที Think Tank ครัง้ ที่ 5 และ 6

ภาคบ่ าย: ระบบการศึกษาไทยกับการก้ าวสู่ประชาคมอาเซียนในยุคบูรพาภิวัตน์ ดร. อาทิตย์ อุไรรั ตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัย รั งสิ ต : ที่ รวมของการแก้ ปั ญหาและยุท ธศาสตร์ อ ยู่ที่ นี่ แต่ ว่ า พอเราไปเริ่ ม ต้ น จากระดับ ต้ นเลย เราก็ ไ ปโทษว่ า วัตถุดิบไม่ดี อะไรต่ออะไรก็ไม่ดีทั ้งหลาย แล้ วก็ไม่ดีจริ งๆ ด้ ว ย ในฐานะที่ ท่ า นรองเลขาธิ ก าร สพฐ. (สํา นั กงาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื น้ ฐาน) มาอยู่ที่ นี่ แล้ ว ใน วัน นี จ้ ึง อยากจะเรี ยนถามเพื่ อ แลกเปลี่ยนกัน ว่ า ทํ า ไม การศึกษา กระทรวงศึกษา สพฐ. ยิ่งใหญ่ มาก เป็ นระดับ แท่งถึงระดับปลัดกระทรวงฯ งบประมาณก็มากมาย ปั ญหาแรกคือ มีความเหลื่อมลํ ้าการเข้ าถึง ทางการศึกษาตํ่าสุดในบรรดาหลายๆ ประเทศในภู มิภาคนี ้ บอกว่าเด็กไทยได้ เข้ า เรี ยนภาค บังคับไม่ ถึง 50% คื อ เรี ยนไป ตกออกบ้ าง อะไรบ้ าง ปั ญหาหลากหลาย รู้ เหมือนกัน ทําไม กระทรวงศึกษาถึงยอมให้ มีเด็กเข้ าเรี ยนแล้ วก็ตกออก เหลืออยู่เพียงไม่ถึง 50% จนกว่าจะจบ ม.6 นี่เป็ นคําถามแรก พอมันเป็ นอย่างนี ้ คุณภาพของเด็กก็มีอยู่นิดเดียว ทีนี เ้ ด็กที่เหลืออยู่อีก 50% ปั ญหาที่ สอง คื อ ประสิ ท ธิ ผลของการศึ กษา โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ด้ านวิ ท ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ทุกด้ านก็ตํ่ ากว่ า 50% เหมือ นกัน มันอะไรกัน นี่คือ ความสําเร็ จของการปฏิ รูป การศึกษาตั ้งไม่ร้ ูกี่ครั ้งแล้ วหรืออันที่สาม คือ เมื่อครูขาดแคลนตําแหน่งว่างอยู่กว่า 40,000 กว่า คน เท่าที่ทราบ ทําไมไม่ทําอะไรเลย ผมไม่ได้ โทษว่า สพฐ. แต่โทษว่าบ้ านเมืองไทยบกพร่ องอยู่ ที่ไหน นักการเมืองที่เวียนว่ายมาเป็ นรัฐมนตรี กระทรวงศึกษานี่ ผมเคยวิจารณ์ แรงๆ สมัยหนึ่ง ท่า นเสีย ไปแล้ ว พลเอก มานะ รั ตนโกเศศ ผมสนิ ทกับ ท่ าน ตอนนัน้ ผมก็ อ ยู่ใ นวงการเมื อ ง เหมือนกัน ท่านก็อยากเป็ นรัฐมนตรี แต่ท่านไม่อยากมาเป็ นรัฐมนตรี กระทรวงศึกษามากที่สดุ นี่คือจุดอะไรสักอย่างที่ทําให้ เมืองไทยมันเป็ นอย่างนี ้ พยายามทําแต่ก็ไม่ดีเท่าไร แล้ วก็ได้ เลขาฯ คือ คุณชัยภักดิ์ ศิริวฒ ั น์ มาเป็ นรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาแทน อันที่สี่เรื่ องภาษาอังกฤษ เราเรี ยน กัน 12 ปี เรี ยนกันไม่ ร้ ู อะไร อ่ อนมากหรื อตํ่ า สุด ซึ่ง เรารู้ กันอยู่ว่า ใช้ ไ ม่ ได้ เ ลย เรี ยนไปตาม requirement ของมหาวิท ยาลัย จบออกมาแล้ วก็ ใช้ การไม่ ได้ เลย เทียบกับประสิทธิ ผลของ ภู ฏ านของเนปาลที่ ม าเรี ยนอยู่ ม หาวิ ท ยาลัย รั ง สิต เก่ ง มาก แม้ ข นาดเด็ กยากจนในภู ฏ าน

PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


การศึกษาไทยในยุคบูรพาภิวัตน์

13

ที่ห่างไกลบนภูเขา ที่กษั ตริ ย์ส่งมาเรี ยน เขาพูดภาษาอังกฤษดีกว่า คนไทยเยอะเลย คนไทย ชิดซ้ ายเลย หนีเลย ไม่อยากพูดด้ วย ทําไมมันเป็ นอย่างนั ้น ผมเชื่อว่าท่านรองเลขาฯ สพฐ. (ดร. เบญจลักษณ์ นํ ้าฟ้า) ก็คงหนักใจเหมือนกัน ทีนี ้ พอไปปฏิ รูปการศึกษาลงไปก็กลายเป็ นเขตการศึกษา แล้ วเขตการศึกษาก็ ไปแสดงอํ านาจ บาตรใหญ่ อย่างที่ผมเจอ ยกตัวอย่าง โรงเรี ยนสาธิ ตมหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งผมเชื่อว่ารู ปแบบ การศึกษาที่เป็ นระบบทวิภาษา น่าจะต้ องเป็ นคําตอบของชาติในเรื่ องของการเรี ยนภาษาอังกฤษ ต้ องเรียนเป็ นแบบวิธีธรรมชาติและเป็ นธรรมชาติอย่างนี ้ เด็กจะภาษาอังกฤษดี เราทํางานวิจัย มาแล้ วว่า เด็ก ม.3 สามารถมี proficiency ในการใช้ ภาษา ทั ้งอังกฤษและไทย คิด พูด อ่าน เขียน ได้ เหมือนกัน มีประสิทธิผลเหมือนกัน เมื่อเป็ นอย่างนี ้เราจึงคิดว่า แบบนี ้น่าจะเป็ นโมเดล อยากจะเรียนเสนอทางกระทรวงศึกษา ต้ องเรี ยนแบบ bilingual ไม่ใช่เรี ยนภาษาอังกฤษแบบ แปลกแยก เราตั ้งผู้อํานวยการเป็ น ดร. แต่สาํ นักเขตศึกษา สัง่ ให้ ปลดออก เพราะไม่มีคุณสมบัติ แต่สดุ ท้ าย กระทรวงก็สงั่ ให้ ศกึ ษาเขตฯ เปลีย่ นคําสัง่ อะไรแบบนี ้ ซึ่งถือว่าไร้ สาระจริ งๆ ในเรื่ อง การบริหารการศึกษา ดร. พิ จิ ต ต รั ต ตกุ ล อธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย นวมนิทราธิราช สังกัดกรุ งเทพมหานคร: ในการที่เราจะมา ดูเรื่องหลักสูตรการศึกษา เพราะฉะนั ้นในการที่เราจะพยายาม เอาสิ่ง ที่เป็ นตะวัน ตกมากๆ มาใส่ โดยไม่ไ ด้ ดูถึง ข้ อได้ เปรี ยบ เชิงเปรียบเทียบของบ้ านเรา ก็อาจจะไม่ตรงกับความต้ องการ ซึ่ง ดร. อาทิ ตย์ ได้ กล่า วไปแล้ ว ถึง 4 ข้ อ ด้ ว ยกัน ได้ แ ก่ ข้ อ ได้ เปรียบในเรื่องพื ้นที่ที่กว้ างขวาง ข้ อได้ เปรียบในเรื่ องของการ บริ การ การแพทย์ เป็ นประเทศที่ มี ก ารส่ง เสริ ม ในเรื่ อ งการ ท่องเที่ยว และ creativity หรือการเป็ นชนชาติที่มีนวัตกรรมเป็ นพื ้นฐานของจิตใจ ผมคิดว่าเป็ น สิง่ สําคัญที่เราน่าจะต้ องเริ่มต้ นจากตรงจุดนั ้นก่อน ไม่ใช่ว่าเราคิดแต่เพียงว่า บัณฑิตของเราที่ จบออกไป ผลผลิตของเราที่จบไป จะไปเป็ น CEO แต่เพียงอย่างเดียว เป็ น tough CEO แล้ วก็ PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


14

เวที Think Tank ครัง้ ที่ 5 และ 6

คิดถึงแต่เพียงเรื่องประเพณีวฒ ั นธรรมตะวันตกแต่เพียงอย่างเดียว ซึ่งมันไม่สอดคล้ องกับสิ่งที่ เราทําอยู่แล้ ว เพราะฉะนั ้นจึงอยากจะสนับสนุนข้ อคิดเห็นของ ดร.อาทิตย์ ประเด็นที่ 2 จากที่ อาจารย์ เอนก ได้ พูดถึง AEC ผมก็ไปรวบรวมข้ อคิดเห็นจากผู้ร้ ู นักปราชญ์ หลายท่าน ก็จะนําเสนอคร่ าวๆ สั ้นๆ ว่า ความฝั นที่อาจารย์ บอกว่า มันเป็ นโอกาส ที่ดีของเรา ในการที่จะรวมตัวเป็ นประชาคมในอีก 3 ข้ างหน้ านั ้น จะเป็ นอย่างไรบ้ าง ลําดับแรก คื อ มี ก ารสํ า รวจโดยองค์ กรแห่ ง หนึ่ง แล้ ว ก็ มี ป ระเด็ น ที่ ซัก ถามว่ า ถามจริ ง ๆ ว่ า คนไทย ที่ถูกสํารวจมีความรู้ สกึ ถึงการเป็ นพลเมืองอาเซียนไหม ก่อ นอื่นใดก็คงต้ องดูทัศนคติของคน ในประเทศไทยก่อ นว่า 64 ล้ า นคน มีความรู้ สกึ อย่างไรในการที่จ ะเข้ าสู่ 2015 กับ ความเป็ น อาเซียน ก็ปรากฏว่าเราอยู่ในลําดับท้ ายๆ ทีเดียว ซึ่งน่าสนใจมาก ตรงนี ้ก็คือว่าความพร้ อม ในด้ านจิตใจ ทัศนคติของเราอยู่ในระดับหนึง่ เท่านั ้น ส่วนในเรื่องความรู้ รู้ เรื่ องราวจากไหนบ้ าง ก็ปรากฏว่ามีเรื่ องราวของคนไทยที่ร้ ู จาก สื่อต่า งๆ เช่น ภาพรวมของเศรษฐกิจ ของการค้ า ของอาเซียน จริ งอย่า งที่ว่า ภาพรวมของเรา ทั ้งหมด 600 ล้ านคน หรื อเกือบครึ่งหนึ่งของประเทศจีน แล้ วก็ มีรายได้ มีการลงทุนโดยตรง เกือบๆ 60% ของจีน ที่ใครๆ คิดว่าทุกวันนี ้ ใครๆ ก็ไปลงทุนในจีน แต่ที่จริ งแล้ วเราก็ครองตลาด โดยที่มี direct investment หรื อการลงทุนโดยตรงจากตะวันตกเหมือนกัน หรื อจากในเอเชีย ด้ วยกัน และเรื่ องการท่องเที่ยวก็ปรากฏว่าเรามีถึง 65 ล้ านคน และในส่วนนี ้ก็มีไทยเข้ าไปถึง 15-16 ล้ านคน แล้ ว ไต่ขึ ้นไปเรื่อยๆ ก็ถือว่าเป็ นอัตราส่วนที่มีนัยยะสําคัญทีเดียว รายได้ ต่อหัว ของประชาชนในอาเซียน ของเรายังเป็ นอันดับ 4 ของอาเซียน เป็ นรองจากมาเลเซียไป อย่างที่ อาจารย์ เอนก ได้ พูดถึงเมื่อสักครู่ เรื่ องการเติบโตของลาว เขมร พม่า ซึ่งก็น่าชื่นชม แล้ วก็น่า ตกใจเหมือนกัน อัน นี เ้ ป็ นเรื่ องจริ งทีเ ดียว ผมเคยฟั งตอนผมเด็กๆ ว่า ในยุคหลังสงครามโลก ครัง้ ที่ 2 เราเหนือกว่าประเทศอื่นๆ มาก สมัยนั ้นญี่ ปนแพ้ ุ่ สงคราม ไต้ หวันยังเพิ่งยิงกับจีนอยู่ เกาหลีก็กําลังแบ่งเป็ นสองประเทศ ยังสู้กันอยู่ ตอนนั ้นจะมีก็ประเทศไทยกับฟิ ลิปปิ นส์เท่านั ้น ที่เ ป็ นดาวรุ่ ง ของเอเชี ยทัง้ หมด อิ น เดี ยก็ ยัง มี ปัญหาอยู่ แล้ วเราก็ผ่า นไป แล้ วเราก็ ปลอบใจ ตัวเองว่าไม่เป็ นไร ผ่านไปสักพักแม้ ญี่ปนแซงหน้ ุ่ าไป เกาหลีใต้ แซงหน้ าไป เราก็บอกว่าเรายังมี อาเซียน เรายังเป็ นหนึ่ง มาวัน นี ้แม้ ว่าเราไม่ใช่เป็ นหนึ่งแล้ ว เราก็ปลอบใจตัวเองต่อไปอีกว่ า แม้ ว่ าอาเซียนยัง ไม่ เป็ นหนึ่ง เราก็ ยัง เหนือ กว่า เพื่ อนบ้ า นทางด้ านอาเซี ยนตอนบน คื อ ลาว PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


การศึกษาไทยในยุคบูรพาภิวัตน์

15

เขมร พม่า วันนี ้สิ่งที่อาจารย์ เอนกพูดเป็ นจริ งแล้ ว เรากําลังจะเป็ นรองประเทศเหล่านี ้สังเกต จากรายได้ ต่อหัว ซึง่ เราคงไม่อยากเห็นที่มนั จะไหลลงมาเรื่อยๆ ผมคิดว่าเจตนารมณ์ ของอาเซียน อันนี ้เป็ นที่ทราบกันดีอยู่แล้ วว่า ที่ต้องการจะเปิ ด ตลาด เปิ ดเป็ นเศรษฐกิจร่วมกันของอาเซียนในปี 2015 คือ เป้าหมายด้ านการผลิต เป้าหมาย เรื่องการมีความสามารถในการแข่งขันสูง การพัฒนาภาพรวมของเศรษฐกิจ อันนี ้ก็คงเป็ นเรื่ อง ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ อะไรต่างๆ ที่ไล่ลงมา พอมาถึงประเทศไทย เมื่อเช้ าผมบังเอิญ ไม่มีโอกาสได้ มาฟั ง แต่เข้ าใจว่าคงจะมีโอกาสพูดถึงประเด็นที่ว่า ในปี 2015 เรามีอะไรได้ เรามี อะไรเสีย สิ่ง ที่เ ห็ นได้ ชัดเจนก็คือ ว่า ตลาดเราจะใหญ่ ขึน้ แต่ ใ นขณะเดียวกัน การขยายการ ส่งออกที่เพิ่มขึ ้น ทางเลือก การเพิ่มขึ ้นในการนําเข้ าวัตถุดิบของสินค้ าต่างๆ ขณะเดียวกันเราก็ ต้ องเผชิญกับเรื่องของต้ นทุน การแข่งขัน คู่แข่งขัน และสินค้ าประเภทเดียวกันจากตลาดของ อาเซียนที่มาเพิ่มขึ ้น ผมคิดว่าเหตุการณ์ทั ้งข้ อได้ เปรี ยบและเสียเปรี ยบทํานองนี ้ มันอาจจะนํามาซึ่งการที่ จะมีนโยบายในเรื่องของการ ผลิตคน มีอยู่ข้อหนึง่ คือ ในเรื่ องของแรงงานฝี มือที่เคลื่อนย้ ายได้ อย่างเสรีนั ้น เราหวังว่าจะเป็ นการแก้ ไขปั ญหาแรงงานฝี มือที่ขาดแคลนในประเทศไทย แต่ก็ไม่ แน่ ว่า เราอาจจะสูญเสียแรงงานฝี มือ ให้ กับมาเลเซี ยหรื อ สิงคโปร์ ไปได้ ในวันหน้ า เหมื อนกัน เพราะฉะนั ้นมีสองด้ าน คือ มีทั ้งโอกาสและอุปสรรคในประเด็นต่างๆ เรื่องของการศึกษาที่เห็นว่า มาตรฐานในการศึกษาของเราที่ทําการสํารวจ ก็ยังเห็นว่า มีอยู่ในสภาพที่ไม่น่าพึงพอใจ และอันดับที่มีการจัดการคุณภาพการศึกษาขั ้นสูงโดยเครื อข่าย มหาวิทยาลัยที่ว่านี ้ ซึง่ ผมก็ไปอ้ างเขามา ก็เห็นว่าประเทศไทยอยู่ในอันดับ 8 ของเอเชีย นั่นคือ การศึกษาในระดับสูง มีตวั อย่างเล็กๆ อันหนึ่ง มันอาจจะไม่มีความหมายต่อนักการศึกษา แต่ สําหรับผมที่ไม่ใช่นกั การศึกษาพิจารณาดูแล้ ว ก็ร้ ูสกึ ว่าเรากําลังอยู่ในภาวะที่เป็ นรองกับคนอื่น เขามากเหมือนกัน เมื่อเห็นมาตรฐานในการสอบของ PISA (Programme for International Student Assessment) ของเราเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้ านแล้ วนั ้น เราอยู่ในภาวะที่ตํ่ากว่า เขามาก โจทย์ของการศึกษา ผมคิดว่าตรงนี ้เรื่องสําคัญแล้ ว คือ ในเมื่อเรารู้ ว่าเป้าหมาย เราจะ ไปตรงจุดนั ้น ก็คือ 2015 เรามีข้อได้ เปรียบเชิงเปรียบเทียบอะไร เรามีเป้าหมายอะไร เราจะเป็ น ประเทศที่จะเก่งทุกอย่าง ทําทุกอย่าง ผลิตบัณฑิตเพื่อจะทําทุกอย่างให้ ได้ ครบถ้ วนหรื อไม่ หรื อ PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


16

เวที Think Tank ครัง้ ที่ 5 และ 6

ว่าเราจะเลือกเป็ นประเด็นสําคัญๆ เฉพาะสิ่งที่เราได้ เปรี ยบเท่านั ้น เพราะฉะนั ้น เป้าหมายข้ อ ได้ เปรี ยบเชิงเปรี ยบเทียบ น่าที่จะเป็ นจุดที่เริ่ มต้ นในเรื่ องของการจัดการโจทย์ ของการศึกษา เช่น การสร้ างคนไทยที่พึงประสงค์ ในยุคอาเซียนด้ วย การสร้ างความรู้ ความเข้ าใจ การสร้ าง ความรัก รากเหง้ าของความเป็ นไทยในอาเซียน 3 ปี ที่เหลือ เราจะมีเรื่ องของการเตรี ยมการ สอนอย่างไร สถานศึกษาจะมีการเตรี ยมคนทุกระดับอย่างไร ผมคิดว่าความเข้ าใจของเรากับ เป้าหมายที่ว่า เราจะผลิตคนขึ ้นเพื่อป้อนตลาดแรงงานภายในประเทศอย่างไร อันนี ้น่าจะมีการจัด กําหนดให้ ชดั เจนว่า คนของเราจะผลิตเพื่อป้อนตลาดแรงงานภายในประเทศ ไม่ว่าจะเป็ นด้ าน เกษตร อุตสาหกรรมหรื อการบริ การก็ ตาม จะมีการลงทุนโดยตรง หรื อการลงทุนของไทยเอง ที่เกิดขึ ้น หรื อการลงทุนของผู้ประกอบการรายย่อยที่เกิด ขึ ้นนั ้น เราจะมีคนที่ผลิตเพื่อมาตาม สายการผลิต ทั ้งเกษตร อุตสาหกรรม และการบริ การอย่างไร เรื่ องการบริ การก็คงไม่ใช่ว่าต้ อง ครอบคลุมทุกอย่าง ก็คงจะต้ องมีการคัดเลือกตามสิง่ ที่เรามีความถนัด มีความเก่ง เพราะฉะนั ้น การที่เราจะผลิตคนอย่างไรนั ้น ขึ ้นอยู่กบั การใช้ คนในตลาดแรงงานด้ วย ดร. เบญจลั ก ษณ์ น า้ ฟ้า รองเลขาธิ ก าร คณะกรรมการศึ กษาขั น้ พืน้ ฐาน: เมื่ อปี พ.ศ. 2547 กระทรวงศึกษาธิการปฏิรูปโครงสร้ าง เมื่อก่อนนี ้จะมีผ้ ทู ี่ รั บ ผิ ดชอบ 3 หน่ ว ยงานหลัก พอตรงนี เ้ ราก็ ม าปฏิ รู ป โครงสร้ าง ด้ วยเหตุผลที่ว่าการจัดการศึกษาน่าจะเข้ าไป อยู่รวมกันหมดเพื่อการใช้ ทรัพยากรร่ วมกัน ก็กลายเป็ น ว่ากระทรวงศึกษาเป็ นกระทรวงที่ unique มากในโลกนี ้ คือ มีปลัดกระทรวง 5 คน ซึ่ง จริ ง ๆ แล้ ว ไม่ ได้ ชื่ อตํ าแหน่ง แต่ โดยบทบาทอํา นาจ คื อ มี ปลัด กระทรวง 5 คน ถ้ าจะติดต่อกับการศึกษาขั ้นพื ้นฐานก็ไปที่ สพฐ. ถ้ าจะติดต่อ กับอาชีวะก็ไ ป อาชีวะ มหาวิทยาลัยก็ไปที่ สกอ. ถ้ าเรื่ องของการวิจัย การนําเสนอนโยบาย ก็ไปที่เลขาธิ การ สภาการศึกษา แล้ วส่วนทางสํานักปลัดกระทรวงฯ ก็จะเป็ นผู้ประสานงาน เมื่อก่อนนี ้ถ้ าใคร ติด ต่ อ อะไรกับ กระทรวงไป สกอ. ปลัดกระทรวง คราวนี พ้ อมาดูเ รื่ อ งการศึกษาขั ้นพื น้ ฐาน การศึกษาขัน้ พื ้นฐาน เป็ น 1 ใน 5 แห่งของกระทรวง อันเนื่ องจากว่ าเรากระจายอํา นาจจาก PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


การศึกษาไทยในยุคบูรพาภิวัตน์

17

ตรงส่วนกลาง พอลงมาที่ 225 สํานักงานเขตพื ้นที่ ซึง่ ในนี ้ก็จะเป็ น 42 เขตมัธยม และ 183 เขต ประถม ครอบคลุมโรงเรียนประมาณ 30,000 กว่าโรงเรียน ตัวการศึกษาขั ้นพื ้นฐานเอง เรารวม 3 กรมหลักๆ ในอดีต คือ เรารวมตั ้งแต่กรมสามัญซึ่งทํามัธยมอย่างเดียว ประถมซึ่งรับผิดชอบ ประถม แล้ วก็กรมวิชาการที่ทํางานวิชาการ งานหลักสูตรของประเทศ รวมเข้ าเป็ นสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั ้นพื ้นฐานใหญ่ มาก ตรงนี ้ก็ออกมาเป็ นหน่วยงานเยอะแยะที่จะทํ า อย่างไรการศึกษาขั ้นพื ้นฐานจะมีคณ ุ ภาพเพิ่มขึ ้น อันนี ้เป็ นการตั ้งหลักตอนที่ปฏิ รูป แต่ขณะนี ้ ก็เห็นอยู่แล้ วว่าเราคิดว่าหน่วยงานเขตพื ้นที่เป็ นเขตพื ้นที่ที่ดแู ลตั ้งแต่ระดับประถม ระดับมัธยม ไม่ได้ เราก็แยกมาเป็ นเขตประถมกับเขตมัธยม เริ่มกลับเข้ ามาสูก่ ระบวนการที่เราพยายามปรับ ว่าอะไรที่จะดีที่สดุ

คราวนี ้เวลาที่พวกเราคุยกัน ขณะนี ้เราพยายามดูว่าแล้ ว การศึกษาขั ้นพื ้นฐานที่เรา ทําแบบนี ้แล้ วที่ไหนบ้ าง ถ้ าเราจะเป็ นประชาคมอาเซียนเราจะเป็ นประชาคมโลก ดูว่าระดับ การศึกษาใด ที่ไหนดี ดูมิติที่ว่าประเทศต่างๆ เขามี จุดเด่น จุดเน้ นอย่างนิวซีแลนด์ พัฒนาการ การอ่า นของเขาเยอะมากในคะแนน PISA ในงานที่ท่ านวิทยากรพูดถึง ขณะที่ประเทศไทย ดิฉัน เพิ่ งได้ พ บกับคณะกรรมการสิท ธิ เ ด็ก เขาถามว่า “We wondered that what is the PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


18

เวที Think Tank ครัง้ ที่ 5 และ 6

Ministry of Education of Thailand doing, regarding to the score in the PISA, you may realize that you are far below the average” นี่คือที่กรรมการสิทธิ พูดกับดิฉันว่า เราดูแลเด็ก อย่างไร คือ แต่ละประเทศก็มีจดุ เน้ นแล้ วถามว่าประเทศไทยมีจดุ เน้ นไหมว่า มีอะไรที่เป็ นที่หนึ่ง ของโลก คําตอบคือ มี ถามว่า มีอะไร ซึ่งคิดกันใหญ่ เลยในที่ป ระชุมครู ว่าคืออะไร อันนี ้ที่เป็ น ที่หนึ่ง ในโลก ซึ่งก็คื อ ปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียง ซึ่ง เป็ นมิติที่สําคัญมาก เราคงทราบว่า UN ขอพระราชทานอนุญาตแปลเป็ นภาษาอังกฤษ และมีไม่น้อย 160 กว่าประเทศ ในโลกนี ้มี 190 กว่าประเทศ แต่ 160 กว่าประเทศได้ นําตรงนี ้ไปศึกษา เด็กไทยในเวทีก้าวสูอ่ าเซียนในเรื่องของการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ในเรื่ องของการมี ความภาคภู มิใจว่า เรามีอ ะไรดี เด็กไทยเราเตรี ยมตรงนี อ้ ย่า งไร ตรงนี ้ในส่ว นของการศึกษา ขั ้นพื ้นฐานได้ พยายามเอาตรงนี ้ลง แล้ วนี่ก็เป็ นคําถาม ทีนี ้เวลาเรี ยนก็ถามกันในเรื่ องคุณภาพ ถ้ าเราดูเวลาเรียนในประเทศต่างๆ ถ้ าเราดูญี่ปนกั ุ่ บเยอรมัน ดูเหมือนเรียนมากกว่าประเทศไทย แต่ เ วลาเรี ยนของเขาน้ อ ยกว่ า ในแต่ ละวัน เด็ กไทยเราเรี ยนยาวนานกว่ า 8-9 ชั่ว โมง บาง โรงเรียนถึง 10 ชัว่ โมง อันนี ้เวลาที่เราถามคุณครู เสมอว่า ถ้ าหากว่าจํานวนวันที่เรี ยน หมายถึง คุณภาพสูงขึ ้นแล้ วทําไมประเทศอื่นที่เขาเรี ยนน้ อยกว่าเรา จึ งได้ คุณภาพสูงขึ ้น มันมีอะไรผิด มันต้ องมีอะไรสักอย่างที่มันเป็ นเหตุเป็ นผลที่ทําให้ เกิดตรงนี ้ คือก็พยายามชวนพวกเราคิดว่า ตอนนี ้ที่เราจะเข้ าสู่ประชาคมอาเซียน ที่ไหนๆ เขาก็ ให้ ความสําคัญกับการศึกษา ทั ้งรัฐบาล สหรัฐอเมริกา ก็บอกว่า No child left behind, รัฐบาลอังกฤษ ก็บอกว่า Every child is matter ฟิ นแลนด์ บอกว่า We can not loose anyone โดยเฉพาะเรื่ องของเด็ก รัสเซียตอนนี ้บอกว่ า Children are the wealth of country เพราะว่าโลกในอนาคตวัดกันด้ วยเรื่ องคุณภาพคน แล้ ว ถามว่าประเทศไทย ตอนนี ้ทําอย่างไร เมื่อ 2 ปี ที่แล้ ว เราประกาศในเรื่ องของจุดเน้ นการพัฒนา คุณภาพ ก็เชื่อมมาถึงตรงที่ว่า ขณะนี ้เราต้ องเป็ นอาเซียนแล้ ว เราก็ร้ ู ว่าในโลกนี ้เขาต้ องรวมกัน เป็ นแบบกลุ่ม ประเทศ เพิ่ มเติ ม จากวิท ยากรข้ า งหน้ า จริ งๆ แล้ ว อาเซี ยนเราประมาณนี ค้ น ถ้ า ASEAN+3 เรามีป ระชากรกว่ า 31% ของประชากรโลก ถ้ าเป็ น ASEAN+6 เป็ น 50 กว่ า เปอร์ เซ็นต์ของประชากรโลก อันนี ้ 16 ประเทศในกว่า 190 ประเทศ เพิ่มเติมจากที่ท่านอาจารย์ พิจิตตว่า ตัวเลขที่ท่านอาจารย์นําเสนอ คุณครูก็จะบอกว่าตัวเลขตรงนี ้ประมาณ 4-5 ปี มาแล้ ว PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


การศึกษาไทยในยุคบูรพาภิวัตน์

19

คราวนี ้ พอมาดูตวั เลขปั จจุบัน ซึ่งบ้ านสมเด็จฯ โพล เขาพูดถึงความรู้ ความเข้ าใจใน ประชาคมอาเซียนของประชากรในกรุ งเทพฯ สํารวจเมื่อเร็ วๆ นี ้เอง ความพร้ อมของประเทศ ไทยในการเข้ า สู่ป ระชาคมอาเซี ยน ไม่ มีความพร้ อม 52.3% ไม่ แ น่ใ จ 31% รั บ ทราบข้ อ มูล เกี่ยวกับการเข้ าสูป่ ระชาคมอาเซียนไหม ไม่ทราบประมาณ 41 % สมาชิกอาเซียนมีกี่ประเทศ ไม่ทราบ 49% ไม่แน่ใจอีก 20% ขณะที่นิด้าฯ ทําสํารวจโพลเกี่ยวกับอนาคตทางการศึกษาไทย คือ อยากจะดูว่า ขณะนี ้ถึงแม้ เราจะมี ตอนไทยเข้ มแข็งตอนนั ้นเราก็ทําเรื่ อง ASEAN ขึ ้นมา ทําอะไรหลายๆ เรื่ องขึ ้นมา แต่ขณะเดียวกันการรับรู้ ในเรื่ องการเตรี ยมการก็ยังค่อนข้ างน้ อ ย อย่างที่สอบถามว่าท่านทราบเรื่องการเข้ าสูป่ ระชาคมอาเซียนของไทยมาจากแหล่งใดมากที่สดุ คือ โทรทัศน์ ที่ทํางาน หนังสือพิมพ์ โรงเรี ยน มีประมาณ 20 เปอร์ เซ็นต์ ถ้ าพูดว่ามีความรู้ ใน การเข้ าสูป่ ระชาคมอาเซียนในระดับใด ส่วนใหญ่ ก็จะเป็ นปานกลาง 43% มากที่สดุ ก็ประมาณ 9% คือ ยังมีน้อยอยู่พอสมควร ถ้ าถามว่ามีความพร้ อมจะเข้ าสู่ประชาคมอาเซียนไหมก็ยังหนัก อยู่ที่ระดับปานกลาง ถ้ าถามว่าเตรียมการเข้ าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอย่างไร 33% ก็จะ พูดถึงการฝึ กใช้ ภาษาอังกฤษ ในขณะที่ 34% จะติดตามข่าวสารจากสื่อต่างๆ ก็จะมีประมาณ 3.1 % ที่พูดถึงเรื่ อ งการเตรี ยมแผนการสอนให้ สอดคล้ องกับ ประชาคมอาเซียน คาดหวังว่ า อนาคตการศึกษาของเด็กไทยในการเข้ าสู่ป ระชาคมอาเซียน ส่วนใหญ่ 78% ก็จะพูดถึงเรื่ อ ง การพัฒนาหลักสูตร การเรี ยนการสอนให้ มี ความเป็ นสากล และเรื่ อ งของเด็ กไทยได้ รับ การ พัฒนาทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษ อันนั ้นเป็ นเรื่องของกลุม่ ประชากรในกรุงเทพฯ เป็ นส่วนหลัก คราวนี ้ถ้ าหากว่าเราดูของนิ ด้าฯ ที่สํารวจประชากรทั่ว ทุกภูมิภาค ก็จะเห็นว่าทราบ เรื่องการเข้ าสูป่ ระชาคมอาเซียนของไทย โดยผลรวมก็จะประมาณ 54% ยังเหลืออีกประมาณ 45 เปอร์ เซ็นต์ ที่ต้องทํางาน ทีนี ้ถ้ ากระจายทุกภูมิภาคก็จะมีความต่าง มากบ้ าง น้ อยบ้ าง ถ้ า หากเป็ นรู ปธรรมมากยิ่งขึ ้น ก็คือว่า นับจากวันที่ 31 กรกฎาคม 2555 จนถึงวันที่ 1 มกราคม 2558 ที่ประเทศไทยจะก้ าวเข้ าสูป่ ระชาคมอาเซียนเราเหลือเวลา 883 วัน คือตรงนี ้พูดเพราะว่า เราอยากให้ คณ ุ ครูติดเอาไว้ แล้ วต้ องนับถอยหลัง คุณครูของการศึกษาขั ้นพื ้นฐานอยากให้ เขารู้ แล้ วต้ องนับถอยหลังว่ามันจะอย่างไร แล้ วก็ต้องติดตาม ในเรื่ องของประชาคมอาเซียนเพราะ อะไร ก็ อ ย่ างที่ ท่ านวิ ท ยากรบอกไว้ ว่า รู ปธรรมที่เ กิ ดขึ ้นเร็ วมาก ก็ คือ เรื่ อ งของถนนหนทาง มีถนนตั ้ง 23 สาย ที่ติดต่อประชาคมอาเซียนอยู่ด้วยกัน เป็ น AH คือ เราจะเห็นป้ ายสีนํ ้าเงิน PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


20

เวที Think Tank ครัง้ ที่ 5 และ 6

ไปไหนมาไหน ก็จะบอกอย่างนั ้น เราก็จะบอกคุณครู ว่าดูนะถนนเส้ นนี ้ คุณวิ่งๆ ไป ก็จะไปถึง ประเทศเพื่อนบ้ าน มันเป็ น AH (Asian Highway) จะมีถนนกี่สาย ออกตกมีหมด ทางรถไฟ รถไฟหัวกระสุน แต่ว่าถ้ าเราดูดีๆ ไม่ว่าอะไรก็ต้องผ่านประเทศไทย ทําเลประเทศไทยเป็ นอย่าง นี ้ ดิฉันบอกคุณครู คือ อันเนื่องมาจากการศึกษาขั ้นพื ้นฐานของ สพฐ. เราแตะคนรากหญ้ า เยอะ แตะเด็กขยายโอกาสที่เตรียมพร้ อมจะออกสูต่ ลาดแรงงานเยอะ เราบอกว่าแม้ กระทั่งเด็ก ปั๊ มนํ ้ามัน เดี๋ยวนี ้รถที่จะเข้ าไปจอดในอนาคตข้ างหน้ าคุณต้ องรู้เลยว่าถนนสายนี ้ มีรถอะไรผ่าน เงินที่เข้ ามามี 9 แบบ และอัตราแลกเงิน ฉะนัน้ ความรู้ จึงสําคัญใน 2-3 เรื่ อง เราควรจะต้ อ ง เตรียมเด็กในเรื่องรู้อะไรบ้ าง เขาก็มีแผนปฏิบตั ิการของอาเซียนที่เราทําร่วมกัน ก็มีเรื่ องของการ สร้ างความตระหนัก การเข้ าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ การเตรี ยมเรื่ อ งการย้ ายพรมแดน และ เรื่องการสนับสนุน ล่าสุดเมื่อต้ นเดือน ในที่ประชุมรัฐมนตรี ศึกษาอาเซียน ทางสํานักเลขาธิ การอาเซียน ก็ได้ ให้ ผ้ เู ชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัย Hawaii ทํา curriculum source book อันนี ้หมายถึงว่า เราจะเป็ นพลเมื องอาเซียนร่ ว มกันแล้ ว ก็น่ าจะต้ อ งมี อะไรที่ คนอาเซียนได้ เรี ยนเป็ นพื น้ ฐาน เขาทําขึ ้นมา 5 unit เกี่ยวกับเรื่ อง knowing ASEAN, valuing identity and diversity, connecting global and local, promoting equality and justice และ working together for a sustainable future ซึง่ อันนี ้ก็เป็ นมิติของประเด็นนานาชาติเป็ นที่สนใจ เพราะฉะนั ้นตรงนี ้โดยสํานักวิชาการ ที่ทําหลักสูตรของชาติ เราก็จ ะต้ อ งทํา ตรงนี อ้ อกไป เพื่อ ให้ เ ด็กที่ไ ด้ รับ การศึกษาขั ้นพื น้ ฐาน อย่างน้ อยที่สดุ เขาจะได้ เรียน มีความรู้พื ้นฐานใน 10 ประเทศ ที่ทั ้ง 10 ประเทศ ก็จะรับไปแล้ ว เอาไปใส่หลักสูตรของตนเอง ในขณะเดียวกันก็จะมีการทําสื่อการทําตรงนี ้ซึ่งจะประกาศแล้ ว จะเอาขึ ้นเว็บไซต์ ในวันที่ 8 สิงหาคม เข้ าใจว่าซึง่ เป็ นวันอาเซียน คราวนี ท้ ี่ผ่านมาในส่วนของ สพฐ. ในฐานะที่ทํ าหลักสูตรเตรี ยมเด็ ก ก็จะมีอี ก 2-3 เรื่ องที่ต้องทํา คุณลักษณะเด็กไทยที่จะเข้ าสู่อาเซียน คือ สพฐ.ค่อนข้ างที่จะเตรี ยมพื ้นฐานที่ จะต้ องเน้ นในเรื่ องของทักษะชีวิต ทักษะและคุณลักษณะ มีการนําเสนอว่าความรู้ อะไรบ้ า ง อย่างที่ขณะนี ้เราบอกคุณครูว่าอาเซียนไม่ใช่วิชาเพิ่มเติมอย่างเดียว คุณเรี ยนรัฐธรรมนูญไทย ในหน้ าที่พลเมือง คุณต้ องเรี ยนรัฐธรรมนูญอาเซียนด้ วย แล้ วให้ เด็กเปรี ยบเทียบกัน เพราะว่า รัฐธรรมนูญอาเซียนจะดูแลเด็ก เพื่อนของเธออีก 9 ประเทศ ที่เข้ ามาอยู่ในประเทศไทย และจะ PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


การศึกษาไทยในยุคบูรพาภิวัตน์

21

ดูแลเธอเวลาเธอไปอยู่ใน 9 ประเทศ คุณเรียนศิลปะ คุณก็ต้องเรียนให้ ไปถึงอาเซียน คุณเรี ยนพละ คุณก็ ต้อ งเรี ยนให้ ถึง กี ฬ าอาเซี ยน คุณเรี ย นอะไรก็ ต้อ งเรี ยนให้ ถึง ประเทศอาเซี ย น ดัง นั น้ อาเซียนจึงเป็ นการเตรียมเด็กของเราให้ เป็ นพลเมืองของอาเซียน เมื่อก่อนเราจะพูดถึงเรื่ องตัวเรา บ้ านของเรา ประเทศของเรา โลกของเรา เดี๋ยวนี ้เราเรี ยนเรื่ องตัวเรา บ้ านของเรา ประเทศของเรา อาเซียนของเราและโลกของเรา ตรงนี ้ก็จะเป็ นลักษณะอย่างนี ้ ดร. พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ เลขาธิ การส านั กงาน คณะกรรมการนโยบายวิ ทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรมแห่ งชาติ (สวทน.): เราพยายามมา 2 ปี แล้ ว กับ ASEAN Committee on Science and Technology หรื อ ASEAN COST ASEAN COST เป็ นคณะกรรมการในอาเซียน ที่ดูแลเรื่ องวิท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยีข องทั ้ง 10 ประเทศ ที่ผ่านมามีกิจกรรมอยู่ม ากทีเ ดี ยว แต่เ มื่อ ไปประเมิน ดูแ ล้ ว ก็พ บว่ า มี กิจ กรรมที่ ห ลวมมาก และไม่ ค่อ ยเห็ น output ที่ แท้ จริง ส่วนใหญ่ก็จะบ่นว่าไม่มีเงิน และที่บ่นนี่ ก็ไม่ค่อยจะ justify เพราะก็ไม่เคยยินดีที่จะลง ขันกันเลย แม้ แต่ป ระเทศเดียว ส่วนใหญ่ ก็จะขอจาก dialogue partner และ International Organization เมื่อ ปลายปี 2553 สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) จึงขอเชิญผู้ใหญ่ ของอาเซียนทัง้ 10 ประเทศ มาประชุม ที่กระบี่ กระบี่นี่สาํ คัญ เพราะถ้ าจัดที่กรุงเทพฯ อาจจะไม่สําเร็ จ แต่ความเป็ นกระบี่ ช่วยได้ เยอะ เพราะ ทุกคนเริ่ ม ยอมถอดหมวก อยู่กัน 2 วัน 2 คืน ก็ป รากฏว่า ตกลงกันได้ อันนี ้ก็ คือ target ของ อาเซียนทางด้ านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ซึง่ จะเห็นได้ ชัดว่าไม่ใช่ด้านเทคโนโลยีอย่างเดียว มันเป็ น target เรื่องความเป็ นอยู่ของอาเซียน เรื่ อง competitiveness ของอาเซียน แต่บทบาท ของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีจะต้ องเข้ าไปสนับสนุนหรื อทําให้ เกิดความเข้ มแข็ง อันนี ้เป็ น ประเด็นสําคัญอันหนึ่ง โดยสรุ ปก็คือ อาเซียนยังไม่ค่อยสํารวจตัวเองว่า ตัวเองมีดีอะไร ที่จะ ขายให้ กบั คนทัว่ โลก โดยใช้ ปัญญาของตัวเอง อาเซียนยังไม่ได้ ใช้ ประโยชน์ จาก digital economy ทั ้งๆ ที่เด็กของอาเซียน รวมทั ้งเด็กไทย วันๆ ใช้ digital economy เยอะมาก จนกระทั่งไม่ค่อย

PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


22

เวที Think Tank ครัง้ ที่ 5 และ 6

เจอกับพ่อแม่ หลายท่านในที่นี ้ก็คงประสบปั ญหาเดียวกัน เรื่ อง green technology อันนี ้ต้ องทํา เพราะ climate change มารุนแรงมาก ท่านอาจารย์พิจิตต ก็คงจะพูด ได้ ดี เรื่ อง food security กับ energy security อันนี ้ก็เป็ นความเป็ นความตายของประเทศในอาเซียนเช่นเดียวกัน เรื่ องนํ ้า อันนี ้เราทราบดีจากปลายปี ที่แล้ ว เรื่องความหลากหลายทางชีวภาพ อาเซียนบวกกันแล้ วเยอะ มาก แล้ วมันไม่ใช่ปล่อยให้ อยู่เฉยๆ มันสร้ างความมัง่ คัง่ ได้ และสร้ างสุขภาพที่ดีได้ เรื่ องสุดท้ าย ก็คือ ให้ อาเซี ยนซึมเข้ า ไปในวิ ถีชี วิต ทั ้งหมดนี ้พอจะสรุ ป sense ใหญ่ ๆ ของที่ป ระชุมได้ ว่ า นอกเหนือจาก 8 sector แล้ ว ที่ประชุมมีความเห็นคล้ ายๆ กันในภาพรวมของอาเซียนว่า ต้ อง address bottom of the pyramid ของอาเซียน กับอันที่ 2 คือ ส่งเสริ มเยาวชน โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง นวัตกรรมเยาวชน อันนี ้ก็เป็ น message ใหญ่ ๆ ที่จะเรี ยนที่ประชุม ทีนี ้ ผมขอวกกลับ เมือ งไทย แล้ วภาพที่ เหลือ นี่ก็คือภาพเมือ งไทย แต่ ว่า มันจะมี นัยยะในเรื่ องของสิ่งที่เ ราต้ อ ง position ตัวเองกับสิง่ ที่เราต้ องร่วมงานกับอาเซียนเป็ นหนึง่ เดียว อัน ที่ 1 คื อ เรื่ อ ง แรงงานในประเทศไทย โดยสรุ ป ปี ๆ หนึ่ง เราผลิตคนที่ เ รี ยนสาย วิทยาศาสตร์ ออกมาก็ ไม่น้อ ย ถึงแม้ ว่ าโดยสัดส่วนสัง คมศาสตร์ จะเยอะกว่า เข้ าใจว่า สกอ . (สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ดมศึ กษา) เคยบอกว่ า สัง คมศาสตร์ บั ณ ฑิ ต ปริ ญ ญาตรี ประมาณ 60-70% ในขณะที่วิทยาศาสตร์ ประมาณ 20 กว่าเปอร์ เซ็นต์ ซึ่งถ้ าหากว่าต้ องการ พัฒ นาเศรษฐกิ จ คิ ด ว่ า นโยบายไม่ ค่อ ยตรงเท่ า ไร เพราะว่ า เราขาดคนด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ ค่อนข้ างเยอะ แต่ที่มากไปกว่ านั ้น จํานวนนักวิทยาศาสตร์ ที่ ผลิตออกมาครึ่ง หนึ่งหายไปเป็ น MBA เป็ นเถ้ าแก่ ไปนิเทศศาสตร์ อะไรอย่างนี ้ เพราะฉะนั ้นความสูญเสียทางการลงทุนในการ สร้ างคนของเรา เป็ นเรื่ อ งที่เราไม่ค่อยได้ คํานึงถึง ในขณะเดียวกันพอขึ ้นไปถึง Master กับ Ph.D. จํานวนของเราฮวบลงอย่างเห็นได้ ชดั และในจํานวนนี ้ยังไม่ full time อีก แล้ วถ้ าเอา full time equivalence มาจับ ปั จจุบันเราก็จะมีคนที่ทําหน้ าที่วิจัยและพัฒนาให้ กับทั ้งประเทศ ประมาณ 40,000 กว่าคนเท่านั ้นเอง ซึ่งน้ อยมาก อันนี ้รวม Lab boy ผู้ช่วยนักวิจัยแล้ ว อันนี ้ อยากจะชี ้ให้ เห็นประเด็นว่า เรา under invest เรื่ องพวกนี ้ไปเยอะ ณ วันนี ้ เรามีแผนฯ 10 ปี แผนฯ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ตอนนี ้มีคําว่านวัตกรรมเข้ ามาด้ วย เพราะมันอาจจะเป็ นตัว ช่วยฉุดวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีออกจากห้ องแล็บได้ เอามาใช้ ประโยชน์ ได้ จริ ง ตรงข้ างๆ สี่ วงกลม เป็ นตัวที่เราคิดว่า มองไป 10 ปี ข้ างหน้ า มากระทบวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแน่นอน PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


การศึกษาไทยในยุคบูรพาภิวัตน์

23

ตั ว แรก เป็ นของท่ า นอาจารย์ เ อนกล้ ว นๆ คื อ การเปลี่ ย นแปลงทางประชากรและการ เปลีย่ นแปลงทางสังคม ถามว่าตรงนี ้เกี่ยวข้ องกับวิทยาศาสตร์ อย่างไร ยกตัวอย่างเช่น ถ้ าเป็ น aging society มากขึ ้นเรื่ อยๆ นอกเหนือจากที่ดูแลผู้สงู วัยด้ วยเทคโนโลยีแล้ ว ที่ตรงกลาง วัย แรงงานจะต้ อ งมี productivity ที่ สูง กว่ า ปั จ จุ บัน เพราะว่ า สัด ส่ว นมัน น้ อ ยลง และการที่ productivity ที่สงู ขึ ้นได้ ต้ องมีเทคโนโลยีเข้ าไปประกบ อันนี ้ก็เป็ นความท้ าทายอย่างหนึ่ง ทาง สังคม เราอยากจะเห็นมากว่า นอกเหนือจากการใช้ เงิน อบต. อบจ. ใช้ เงินมาสร้ างถนน สร้ าง สะพาน มาสร้ างวิท ยาศาสตร์ ด้วย ถ้ าทํ าตรงนี ้ได้ เ ป็ นองค์ รวมทั่ว ไป ผมว่ าประเทศไทยก็คง เจริญขึ ้น อย่างน้ อยก็คงจะไสยศาสตร์ น้อยลงตัว energy environment ก็เป็ นตัวที่เมืองไทยจะ suffer มากในอนาคต ท่ านอาจารย์ มิ่ง สรรพ์ จะตอบได้ ดีกว่ าผม เพราะว่ าปั จจุบัน นี ้เราซื อ้ เชื ้อเพลิง โดยเฉพาะ fossil fuel เข้ ามากว่า 10% ของ GDP ถ้ าไม่ทําอะไรแล้ ว ต่อไปจะทํ า อย่างไร เราก็มีคําตอบอยู่สองคําตอบ หนึ่งก็คือ พลังงานทดแทน ต้ องลงทุนมากขึ ้นทางด้ า น เทคโนโลยี โดยเฉพาะ biomass ซึ่งประเทศไทยมี ทรัพยากรมาก กับอันที่สอง คือ การสร้ า ง ประสิทธิภาพของพลังงาน หรือ energy efficiency ซึง่ อันนี ้ทําง่ายกว่า แต่ทําน้ อยเกินไป เรื่อง climate change เราทํางานกับ UN แล้ ว พบว่าเมืองไทยควรจะทําสัก 2-3 เรื่ อง เรื่องแรกคือ การปรับตัวของภาคการเกษตรต่อภาวะความเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ตรงนี ้จะทํา ให้ เราอยู่รอดได้ และมี safety net ที่เหนือกว่าประเทศอื่น กับอันที่สอง คือ การบริ หารจัดการนํ ้า อันนี ้ก็ชัดเจน Green innovation เป็ นคําที่เราอยากจะให้ เกิด แต่ตอนนี ้ยังคิดยากมาก เป็ น คําสมาสระหว่าง green กับ innovation แต่ว่ามันจะเป็ นตัวที่ช่วย นอกเหนือจากทําให้ ผลผลิต ภายในห้ อ งแล็บออกไปสู่ commercialization ได้ หรื อการนําไปใช้ ในชุมชนได้ มัน ยังต้ องใส่ ความเป็ น green เข้ า ไปด้ วย ซึ่ง green ตรงนี ไ้ ม่ ใ ช่ แค่ สิ่ง แวดล้ อ มอย่ างเดี ยว แต่ อ าจจะ หมายถึง sustainability อาจจะหมายถึง ความพอเพียงในบางลักษณะเข้ าไปด้ วย อันนี ้ก็เป็ น สิ่งที่เราทํา ซึ่งตอนนี ้ก็กําลังทํางานกับ World Bank ในเรื่ อง concept ของ inclusive innovation ทําอย่างไรนวัตกรรมจะไปถึงคนจนได้ ถึงแม้ จะเป็ น high-tech ก็ตาม แต่คนจนไม่ค่อยได้ อยู่ใน ภาพ ส่วนใหญ่ จะไปอยู่ที่ภาคเศรษฐกิจ ส่วนอันสุด ท้ ายก็คือเรื่ องอาเซียนที่พูดกัน อันนี ้ก็เป็ น ตัวอย่างว่า เวลาเราทําแผนฯ เราก็เข้ าใจว่าเงินประเทศไม่ค่อยมี เพราะฉะนั ้นจึงวางเป้าหมาย อยู่ที่ 12 sector นี ท้ ี่คิดว่า จะทํ างานนอกเหนื อจากภายในประเทศแล้ ว กับ อาเซียนก็ทํ าได้ PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


24

เวที Think Tank ครัง้ ที่ 5 และ 6

โดยเฉพาะอย่างยิ่งตัวสําคัญ อย่างเช่น logistics ท่านก็เห็นเรื่ องที่รัฐบาลทั ้งหลายพูดถึงเรื่ อง การสร้ า งทางรถไฟความเร็ วสูง รถไฟฟ้ าในกรุ งเทพฯ ต่อไปไม่ ใช่ เรื่ องของประเทศไทยอย่า ง เดียว แต่เป็ นเรื่ องของภูมิภาค เป็ นเรื่ องของ competitiveness เป็ นเรื่ องของ trade เป็ นเรื่ อง ของวัฒนธรรมที่จะไหลผ่านเส้ นทางรถไฟเหล่านี ้ เราได้ ทําการศึกษาแล้ วพบว่าเฉพาะรถไฟฟ้า ในกรุ งเทพฯ จะขาดคน ตั ้งแต่ operator ไปจนถึงวิศวกร ประมาณ 3,600 คน ซึ่ง ณ วันนี ้ก็มี ปรากฏการณ์ อยู่แล้ วว่า แย่งคนระหว่าง BTS, MRT, Airport Link ถ้ าคํานึงถึงความปลอดภัย อัน นี ก้ ็ ไ ม่ ค่ อ ยดี เ ท่ า ไร อั น นี ก้ ็ ย กตั ว อย่ า งให้ ท่ า นเห็ น ยัง มี อี ก หลายเรื่ อ งที่ จ ะต้ องทํ า ใน ขณะเดียวกันบทบาทของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ต่อภาคสังคมก็ต้องทํามากขึ ้น ตั ้งแต่เรื่ อง การศึกษาของเราก็จะเน้ นเรื่ องการศึกษาทางด้ านวิทยาศาสตร์ ซึ่งเราคิดว่าถ้ าเป็ นไปได้ ก็ยก เครื่องสักหน่อย อันนี ้เป็ นเป้าหมายที่จะชี ้ให้ เห็นว่า อันที่หนึง่ คือ เรา under invest ในเรื่ องการ วิจัยและพัฒ นา ปั จ จุบันเราอยู่ที่ ลงทุน ในการวิจัยประมาณ 0.2-0.25 ของ GDP ในขณะที่ ตัว เลขของมาเลเซี ยอยู่ที่ 0.8 ของสิง คโปร์ อ ยู่ที่ 2.09 สิงคโปร์ มากกว่ าเรา 9 เท่ า มาเลเซี ย มากกว่าเรา 3 เท่า อันนี ้ถ้ าลงไปพูดถึงเอกชนแล้ ว เอกชนในสิงคโปร์ ลงทุนมากกว่าไทย 14 เท่า พวกนี ้เป็ นเรื่ องที่เวลาพูดเรื่ อง competitiveness แล้ ว ถ้ าตัวเลขพวกนี ม้ ันไม่ up ขึ ้น ก็ไม่ต้อง พูด เพราะว่ามันไม่มีผลต่อ competitiveness ของประเทศ ในขณะเดียวกันเรื่องคน ณ. ปั จจุบัน เรามีคนอยู่ประมาณ 9 คน ที่เป็ นบุคลากรวิจัย ทั ้งหลาย ต่อประชากร 10,000 คน สถิติของ IMD (Institute for Management Development) โดยเฉลีย่ ปั จจุบนั อยู่ที่ 25 แล้ ว เราก็ conservative มาก บอกสภาพัฒน์ ฯ ว่า แผนฯ 11 ขอ 15 ก็พอ 15 นี่ก็ทํายากแล้ ว ก็ต้องพยายาม เพราะมิฉะนั ้นไปไม่ถึงสักที และอันสุดท้ ายก็คือ เราคง ต้ องให้ เ อกชนเข้ ามาลงทุน มากขึ ้น ในอัตราที่ มากกว่า ภาครัฐ ลงทุน ทําอย่างไรให้ ระบบการ เรี ยนการสอนเป็ น enquiry base learning ของ science education ไม่ใช่เปลี่ยนครู เลยนะ พูด เรื่ อ งวิ ธี การเรี ยนการสอน ซึ่ง ตรงนี ้ที่ อ อสเตรเลียทํ า แล้ ว เห็ น ผลดีม าก เรื่ อ งอาชี ว ะทาง เทคนิค เราคิดว่ าเป็ นเรื่ องที่ ภาคเอกชนสนใจ เพราะมี ภาคเอกชนเริ่ ม มาลงทุน ด้ วย เพราะ มิฉะนั ้นจะแย่ไปกว่านี ้อีกเยอะ ทําอย่างไรคนถึงจะมาเรียนอาชีวะ ทุกวันนี ้พ่อแม่ผ้ ปู กครองบอก ว่าใครส่งลูกไปเรียนอาชีวะ ก็เหมือนส่งลูกไปตาย ซึ่งมันเริ่ มผิดเพี ้ยนไปหมดด้ วยสื่อ ด้ วยสิ่งที่ ประโคมมา ทั ้งๆ ที่ความเป็ นจริ งในภาคการผลิตต้ องการตรงนี ้มาก เมื่อปี ที่แล้ วผมไปที่ญี่ปนุ่ PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


การศึกษาไทยในยุคบูรพาภิวัตน์

25

พบกับท่านทูตไทยที่ญี่ปนุ่ ท่านบอกว่าก่อนนํ ้าท่วม กลุม่ ธุรกิจญี่ ปนมาคุ ุ่ ยกับท่านทูต บอกว่ามี ความประสงค์อยากจะย้ ายฐานการผลิตอุตสาหกรรมรถยนต์ มาที่เมืองไทย ท่านถามว่าญี่ ปนุ่ ต้ องการอะไร ญี่ปนบอกว่ ุ่ า ขออย่างเดียว คน 5 แสนคน ญี่ ปนต้ ุ่ องการคนเท่านั ้นเอง อย่างอื่น เขาทําได้ หมด คนมาเป็ นช่างเทคนิค มาเป็ นวิศวกร ณ วันนี ้ เราอยากจะเห็นอย่างนี ้ว่า อาจารย์ มหาวิ ท ยาลัย นั กวิ จั ยในสถาบั น วิ จัย ภาครั ฐ สามารถที่ จ ะได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ไปทํ า งานให้ ภาคเอกชนได้ เต็มเวลา สัก 1-2 ปี หลักการก็คือว่า ณ ขณะนี ้ มีความขาดแคลนในภาคเอกชน มากแต่ว่าแนวคิดเรายังแยกส่วนว่า เอกชนฝั่ งหนึ่ง ภาครัฐฝั่ งหนึ่งร่ วมกัน มากไม่ได้ เดี๋ยวไม่ ดี ทํานองนี ้ แต่ในขณะเดียวกันมหาวิทยาลัยเอง ก็อยากจะได้ อาจารย์ ที่มี hand on experience มากขึ ้น ในขณะเดียวกันอาจารย์ เองก็ต้องการโอกาสที่จะออกไปข้ างนอก สิ่งที่เราเสนอก็คือ ถ้ าอาจารย์ไป 1 คน ช่วยพานักเรี ยนไปด้ วยอีกสัก 3 คน นักเรี ยนก็อาจจะได้ งานกับบริ ษัทนั ้น ด้ วย มันก็จะลงตัว แต่ว่าตรงนี ้ก็ติดระเบียบเยอะมาก ณ วันนี ้เรายังไม่เห็นระบบของการสร้ าง คน เพื่อที่จะมารองรับระบบรางตรงนี ้ ตรงนี ้ทางเราก็สนใจ 2 เรื่ อง คือ หนึ่ง ผลิตคนล่วงหน้ า กับ สองมี technology development บ้ า ง เพื่อ ที่ จ ะให้ อุตสาหกรรมไทยบางส่วนแจ้ ง เกิ ด เพราะว่าในอนาคตเข้ าใจว่าจะมีการลงทุน 1,000,000 ล้ านบาท เพื่อให้ อุตสาหกรรมของเรา แจ้ งเกิด ขอสัก 10% ได้ ไหม เพราะว่าบางอย่างเราก็ทําเองได้ พวก hi-tech เกินไป ก็ให้ ฝรั่ ง ให้ ญี่ปุ่ น ให้ เ กาหลีทํ า อั น สุดท้ า ยเรื่ อ งยาง ซึ่ง ก็ เ ป็ นสิ่ง ที่ ป ระเทศไทยมี ความได้ เ ปรี ยบสูง แต่ ณ วันนี ้ ยางส่วนใหญ่ เป็ นยางดิบส่งออก การ process ยาง เพื่อที่จะทําเป็ นสินค้ า เช่ น ยางล้ อหรือถุงมือยาง ยังทําน้ อย ทั ้งๆ ที่มลู ค่าสูงประมาณ 6 เท่า เราก็จะพยายามทํากับบริ ษัท ยาง ซึง่ เป็ นบริษัทยักษ์ ใหญ่ของโลก ความลับทางการค้ าเต็มไปหมด แต่ว่าเราจับจุดเขาถูก คือ เขาขาดคน เพราะฉะนั ้นเราไปช่วยเสริ มเขาในเรื่ องคน เช่น Michelin ตรงนี ้เขามีความสนใจก็ ไปสร้ าง ปวส. ให้ เขาที่อาชีวะ สัตหีบ อย่างนี ้เป็ นต้ น คือ เราทําตรงๆ ไม่ได้ เราก็พยายามเลี ้ยว ไปเลี ้ยวมา เราก็พยายามจะจับจุดให้ ได้ ว่าผลประโยชน์ที่มนั win-win สําหรับทุกฝ่ ายคืออะไร

PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


26

เวที Think Tank ครัง้ ที่ 5 และ 6

PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


การศึกษาไทยในยุคบูรพาภิวัตน์

27

PDF compression, OCR, web optimization using a watermarked evaluation copy of CVISION PDFCompressor


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.