Think Tank Forum

Page 1


แนวโน้มใหญ่ๆทีค่ อ่ นข้างชัดเจนแล้วและจะกําหนดพัฒนาการของโลกในระยะยาว มีดงั ต่อไปนี้ 1.ดุลอํานาจโลกเปลีย่ น อํานาจทางเศรษฐกิจ ทางทหาร การเมืองและเทคโนโลยีซง่ึ เคยอยูใ่ นมือ ตะวันตกอันหมายถึงสหรัฐอเมริกากับยุโรปตะวันตก จะกระจายไปยังประเทศอื่นๆในโลกมากขึน้ โดยเฉพาะเอเชียจะมีน้ําหนักต่อเศรษฐกิจและการเมืองโลกมากกว่าสหรัฐบวกกับยุโรปอันเนื่องมาจาก การเติบโตทางเศรษฐกิจ ขนาดประชากร การใช้จา่ ยทางทหารและการลงทุนทางเทคโนโลยี เศรษฐกิจ ของจีนจะมีขนาดใหญ่ทส่ี ดุ ในโลกอีกไม่กป่ี ีขา้ งหน้า ขนาดเศรษฐกิจของอินเดียและบราซิลก็จะอยูใ่ น อันดับต้นๆของโลกเช่นกัน ไม่เพียงจีน อินเดีย และบราซิล แต่ยงั มีมหาอํานาจทางเศรษฐกิจแถวสอง เช่น รัสเซีย อิหร่าน อินโดนีเซีย แอฟริกาใต้ เม็กซิโก ตุรกี ไนจีเรีย ก้าวตามขึน้ มาด้วย ประเทศทีค่ าดว่าจะเติบโตทาง เศรษฐกิจมากขึน้ คือ บังกลาเทศ อียปิ ต์ ปากีสถาน ฟิลปิ ปินส์ เกาหลีใต้และเวียดนาม (ประเทศในกลุ่ม The Next Eleven) เศรษฐกิจของประเทศแถวสองเหล่านี้เมือ่ บวกกับของจีนอินเดียและบราซิล ดุลอํานาจโลกก็เอียงมาทางตะวันออกอย่างชัดเจน นํ้าหนักของเศรษฐกิจโลกตะวันออกทีม่ ตี ่อเศรษฐกิจโลกดังกล่าวจะมีผลทําให้การเมืองระหว่าง ประเทศเป็ นประชาธิปไตยมากขึน้ ด้วย กล่าวคือ ประเทศในโลกตะวันออกจะมีอาํ นาจต่อรองมากขึน้ ใน องค์กรระหว่างประเทศ เช่น องค์การสหประชาชาติ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ องค์กรการค้าโลก กลุ่มประเทศ G-20 จะแทนทีก่ ลุ่ม G-8 มากขึน้ ระเบียบโลกจะเป็ นแบบหลายศูนย์อาํ นาจอย่างชัดเจน อันได้แก่ สหรัฐ จีน รัสเซีย สหภาพยุโรป อินเดีย ญีป่ นุ่ และบราซิล 2.อํานาจในสังคมจะไหลจากบนลงล่าง ประชาธิปไตยไม่เพียงเกิดทีร่ ะดับโลกเท่านัน้ แต่จะเกิด ในสังคมภายในด้วย กล่าวคือ อํานาจจะไหลจากชนชัน้ นํามาสูป่ ระชาชนมากขึน้ ไหลจากส่วนกลางมาที่ ท้องถิน่ มากขึน้ อํานาจไหลจากรัฐมาสูส่ งั คมมากขึน้ ในขณะเดียวกันปจั เจกจะมีอาํ นาจมากขึน้ เช่นกัน การไหลลงของอํานาจมาจากการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ การเติบโตทางเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดชนชัน้ กลางมากขึน้ ประชาชนมีรายได้เพิม่ ขึน้ การศึกษาสูงขึน้ บวกกับความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีดา้ น IT ทําให้ประชาชนมีชอ่ งทางสือ่ สารมากขึน้ การพัฒนาด้านโครงสร้างพืน้ ฐานด้านการ

สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์

1


คมนาคมขนส่งก็ทาํ ให้ประชาชนเดินทาง เคลื่อนไหวได้สะดวกรวดเร็วขึน้ เช่น การมี low cost airline, hi-speed train 3.โลกจะเป็ นสังคมเมืองมากขึน้ ชนบทจะน้อยลง ขณะนี้ประชากรราวครึง่ ของโลกอาศัยอยูใ่ น เมืองแล้ว ประชากรโลกมีประมาณ 7.1 พันล้านคน มีประชากรทีอ่ าศัยอยูใ่ นเมืองราว 3.5 พันล้านคน 4.บทบาทของเมือง เมืองขนาดใหญ่จะมีบทบาทต่อเศรษฐกิจโลกมากขึน้ แทนทีร่ ฐั หรือประเทศ The McKinsey Global Institute บอกว่าจะมีเมือง 600 เมืองทัวโลกขึ ่ น้ มากุมเศรษฐกิจโลกในอีกไม่กป่ี ี ข้างหน้า 5.โครงสร้างประชากรโลก สัดส่วนประชากรสูงวัยจะเพิม่ สูงขึน้ ยุโรปตะวันตก ญีป่ นุ่ กําลังประสบ ปญั หานี้แล้ว จีนจะเผชิญกับปญั หานี้ในอีกไม่กป่ี ีขา้ งหน้า 6.การแข่งขันและแย่งชิงแหล่งแร่ธาตุและพลังงานของโลก การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ต่างๆทัวโลกทํ ่ าให้ความต้องการพลังงานและแร่ธาตุเพิม่ สูงขึน้ เพือ่ ป้อนการเติบโตทางเศรษฐกิจ ชนชัน้ กลางทีเ่ พิม่ จํานวนมากขึน้ ทัวโลกซึ ่ ง่ ขณะนี้มถี งึ 1-2 พันล้านคนเป็ นนักบริโภคตัวยง ในขณะทีค่ วาม ต้องการแร่ธาตุและพลังงานเพิม่ สูงขึน้ การขุดเจาะแหล่งพลังงาน เช่น ก๊าซธรรมชาติและนํ้ามันทําได้ ยากขึน้ และลงทุนสูงขึน้ อาจกล่าวได้วา่ ขณะนี้หมดยุค easy energy แล้ว ก๊าซธรรมชาติอาจเข้ามา แทนทีน่ ้ํามันในอีกไม่ก่ี 10 ปีขา้ งหน้า พลังงานสะอาดจะสําคัญมากขึน้ 7.การเกิดขึน้ ของทุนนิยมโดยรัฐ (state capitalism) แทนทีท่ ุนนิยมเอกชนมากขึน้ (private capitalism) จีน สิงคโปร์ กลุ่มประเทศตะวันออกกลางทํากองทุนความมังคั ่ งแห่ ่ งรัฐ (sovereign wealth fund) แข่งขันทางธุรกิจกับวิสาหกิจเอกชนของตะวันตกมากขึน้

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ใกล้ชดิ ทางภูมศิ าสตร์กบั ประเทศทีก่ าํ ลังกลายเป็ นศูนย์กลางเศรษฐกิจ โลก ด้านตะวันออกคือ จีน ญีป่ นุ่ เกาหลีใต้ ไต้หวัน ฮ่องกง ด้านตะวันตก คือ อินเดีย ส่วนทางใต้คอื ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ จีนกับอินเดียจะมีขนาดเศรษฐกิจอันดับต้นๆของโลกในอีกไม่กป่ี ี ขา้ งหน้า ส่วน ออสเตรเลียมีแร่ธาตุและพลังงานมากโดยเฉพาะออสเตรเลียภาคตะวันตกซึง่ อยูต่ ดิ กับเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ขณะนี้ จีนมีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็ นอันดับ 2 ของโลก ญีป่ นุ่ อันดับ 3 อินเดียมีเศรษฐกิจใหญ่ เป็ นอันดับ 10 ของโลก เกาหลีใต้อยูใ่ นกลุ่มประเทศ The Next-11 และเป็ นประเทศในกลุ่ม G-20 ส่วน ออสเตรเลียอยูใ่ นกลุ่มประเทศ G-20

สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์

2


อาเซียนเองก็เป็ นกลุ่มประเทศทีก่ าํ ลังเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมาก หากคิดอาเซียนเป็ น ประเทศ ขนาดเศรษฐกิจของอาเซียนจัดเป็ นประเทศกลุ่มบริกส์ แต่หากคิดเป็ นรายประเทศ อินโดนีเซีย ฟิลปิ ปินส์และเวียดนามเป็ นประเทศในกลุม่ The Next-11 ในขณะทีอ่ นิ โดนีเซียเป็ นประเทศในกลุ่ม G20 ด้วย กล่าวโดยสรุป ก็คอื อาเซียนอยูใ่ นภูมภิ าคกําลังเติบโตและมีน้ําหนักทางเศรษฐกิจต่อโลกมาก ยิง่ ขึน้ เรือ่ ยๆ ไม่เพียงอาเซียนตัง้ อยูใ่ นภูมภิ าคทีร่ อ้ นแรงทางเศรษฐกิจ แต่ขอ้ ได้เปรียบทีส่ าํ คัญของอาเซียนที่ สําคัญอีกประการหนึ่งก็คอื อาเซียนคุมช่องทางเข้าออกระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก การค้าระหว่างตะวันออกกลางกับเอเชียแปซิฟิกผ่านมหาสมุทรอินเดียคิดเป็ นร้อยละ 70 ของการค้าโลก และ 1ใน 4 ของการค้านํ้ามันดิบของโลกกระทําผ่านช่องแคบมะละกา นอกจากนี้เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยงั สําคัญต่อจีน อินเดียและสหรัฐอเมริกาอย่างยิง่ ทัง้ ในทาง ยุทธศาสตร์และทางเศรษฐกิจ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้สาํ คัญต่อจีนในทางเศรษฐกิจคือเป็ นทัง้ ตลาดและ แหล่งทรัพยากร แร่ธาตุและพลังงาน แต่สาํ คัญไปกว่าคือทางยุทธศาสตร์กล่าวคือ จีนต้องการใช้เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้เพือ่ ทํายุทธศาสตร์เชื่อมสองมหาสมุทร (Two Ocean Strategy) โดยจีนต้องการ จุดเชื่อม 3-4 จุดทีส่ าํ คัญคือ ใช้พม่าเพือ่ ลงสูม่ หาสมุทรอินเดียทีอ่ า่ วเบงกอล ไทยและกัมพูชา นอกจากนี้ จีนยังต้องการทําทางรถไฟความเร็วสูงเชือ่ มจากตอนใต้ของจีนลงไปถึงสิงคโปร์ซง่ึ คุมช่องแคบมะละกา อยูด่ ว้ ย อนึ่งการทีจ่ นี ทํายุทธศาสตร์สองมหาสมุทรก็เพราะจีนต้องการลดการพึง่ พาช่องแคบมะละกาใน การขนส่งสินค้า แร่ธาตุและพลังงานแต่เพียงจุดเดียว ซึง่ จีนกลัวว่าหากมีปญั หากับไต้หวัน จีนอาจถูกปิด ล้อมจากช่องแคบนี้ได้ พม่าเป็ นจุดทีจ่ นี จะใช้เชื่อมเข้าสูย่ นู นาน ในขณะทีไ่ ทยและกัมพูชา หากขุดคอ คอดกระของไทยได้กจ็ ะเป็ นจุดทีเ่ ชื่อมเข้าสูจ่ นี ได้เร็วขึน้ และไม่ตอ้ งผ่านช่องแคบมะละกา ในขณะทีจ่ นี ทํายุทธศาสตร์เคลื่อนลงใต้ อินเดียก็ทาํ นโยบายมุง่ สูต่ ะวันออกเช่นกัน นโยบายมุง่ สู่ ตะวันออกของอินเดีย นอกจากอินเดียต้องการเชื่อมกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทก่ี าํ ลังเติบโตทาง เศรษฐกิจแล้ว อินเดียยังต้องมีจุดมุง่ หมายทางยุทธศาสตร์ คือ ขยายอิทธิพลของตนมายังแปซิฟิก ถ่วงดุลจีนและต้องการให้เอเชียตะวันออกเป็ นระบบหลายขัว้ อํานาจด้วย สําหรับอเมริกา อเมริกาจะใช้ อาเซียนเป็ นจุดทํายุทธศาสตร์เกีย่ วพัน-ถ่วงดุลจีน (engagement and balancing) โดยพยายามเชื่อม เข้าหาอาเซียนด้วยการทํา หุน้ ส่วนข้ามแปซิฟิก(Trans-Pacific Partnership-TPP) กับบรูไน มาเลเซีย สิงคโปร์และเวียดนาม และพยายามทํากับไทยด้วย และในอนาคตอาจทําข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาอาเซียน (US-ASEAN FTA) ด้วย

สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์

3


อาเซียนมีจุดแข็งหลายประการดังต่อไปนี้ 1.อาเซียนมีหลายอารยะธรรมอยูใ่ นตัว ไม่ได้รบั อิทธิพลจากอินเดียสายเดียว (Indianization) แต่ มีหลาย ism มีทงั ้ คริสเตียนนิต้ี (Christianity) อิสลามแบบทางสายกลาง (moderate Islamism) วัฒนธรรมแบบขงจื๊อ (Confucianism) และศาสนาพุทธ 2.อาเซียนเป็ นภูมภิ าคสันติ ไม่มอี าวุธนิวเคลียร์ 3.อาเซียนเป็ นภูมภิ าคทีส่ ร้างความเอกภาพ สร้างสมานฉันท์ เริม่ ต้นด้วยการต่อต้านเวียดนาม จากนัน้ ดึงจีนและอเมริกาเข้ามาสนับสนุน ต่อมาเอาเวียดนามเข้ามาร่วม และอินเดียกําลังเข้ามาเชื่อม มากขึน้ 4.อาเซียนเป็ นภูมภิ าคทีเ่ ดินทางสายกลางและประนีประนอม การทหาร

ใช้การทูตและการเมืองมากกว่า

5.อาเซียนไม่เข้าข้างมหาอํานาจใดอย่างชัดเจน ไม่วา่ จะเป็ นสหรัฐ จีน ญีป่ นุ่ หรืออินเดีย 6.กําลังเติบโตทางเศรษฐกิจ

ประเทศไทยมีขอ้ ได้เปรียบดังนี้ 1. มีทต่ี งั ้ ทางภูมศิ าสตร์เชื่อมทัง้ มหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก ทวีปและคาบสมุทร ดังนัน้ จึงอยูใ่ นจุดทีเ่ ป็ น regional hub

เชื่อมทัง้ อาเซียนภาคพืน้

2. หากจีนเคลื่อนลงใต้ และอินเดียเดินสูต่ ะวันออก ก็จะผ่านไทยทัง้ สิน้ 3. ไทยมีจุดแข็งทางวัฒนธรรมสูงมาก กลุ่มตระกูลภาษาไทย-ไต-ลาวเป็ นภาษาทีใ่ ช้พดู กัน มากทีส่ ดุ ภาษาหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตัง้ แต่ตอนใต้ของจีนลงมาถึงชายแดนมาเลเซีย พูดกันใน สิบสองปนั นาของจีน รัฐฉานของพม่า จังหวัดเดียนเบียนฟูของเวียดนาม ลาว ประเทศไทยและตอน เหนือของมาเลเซีย อาจมีคนถึง 100 ล้านคนทีพ่ ดู ภาษาไต-ไทย-ลาว ภาษาไทยอาจเป็ นภาษาธุรกิจทีใ่ ช้ กันบริเวณพรมแดนไทยกับประเทศเพือ่ นบ้านไม่น้อย นอกจากนี้มชี าวตะวันตกไม่น้อยทีใ่ ช้ภาษาไทยได้ ั่ อาหารไทยก็จดั เป็ นอาหารระดับโลก (Thai cuisine) มีภตั ตาคารอาหารไทยอยูท่ วโลก

สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์

4


สิ่ งที่ไทยควรทําในเชิงยุทธศาสตร์ มีดงั ต่อไปนี้

ยุทธศาสตร์ด้านประชากร  ควรส่งเสริ มให้ประชากรวัยเจริญพันธุม์ ีบตุ รทดแทน ในอัตรา 2.4 คนต่อประชากร 1,000 คน เพือ่ ให้ภาวะปนั ผลทางประชากรยังคงอยูต่ ่อไป เนื่องจาก โครงสร้างประชากร ของไทยกําลังเกิดการเปลีย่ นแปลงครัง้ สําคัญ แม้ในปจั จุบนั (พ.ศ. 2555) จะมีวยั แรงงาน สูงถึง 2 ใน 3 ของโครงสร้างประชากรทัง้ หมด ซึง่ อยูใ่ นภาวะ “การปนั ผลทางประชากร” แต่คาดว่าภาวะดังกล่าวจะสิน้ สุดลงในปี พ.ศ. 2568 ซึง่ จะส่งผลให้วยั แรงงานในอนาคต รับภาระเลีย้ งดูประชากรวัยชราเพิม่ ขึน้ ยุทธศาสตร์ด้านการศึกษา  ควรส่งเสริ มและพัฒนาศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ของไทยอย่างทัวถึ ่ ง โดยขยาย การเผยแพร่ค วามรู้ เอกสารวิช าการในอิน เตอร์เ น็ ต ที่เ ข้า ถึง ง่า ยขึ้น ในลัก ษณะ Public Domain  ควรสร้างเสริ มสังคมแห่ งการเรียนรู้ตลอดชี วิต เนื่องจากตลอดช่วงชีวติ ของคนจะอยู่ นอกสถานศึกษาและใช้เวลากับการประกอบอาชีพมากกว่า นัน่ ย่อมหมายถึงวัยแรงงานทัง้ ในระบบและนอกระบบซึง่ มีราว 40 ล้านคน รัฐควรให้ความสําคัญ ขยายการจัดการศึกษา และเพิม่ การจัดสรรงบประมาณเพื่อส่งเสริมพัฒนาศักยภาพให้กบั วัยแรงงานกลุ่มดังกล่าว ซึ่งจะช่วยยกระดับคุณภาพและผลิตภาพการผลิตของประเทศ วัยแรงงานนี้ถือเป็ นกําลัง หลักของสังคมทีข่ บั เคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศให้กา้ วหน้า  ในส่วนของแวดวงอุดมศึกษานัน้ ต้องปรับตัวให้ความรูท้ ถ่ี ่ายทอดสู่ผเู้ รียนนัน้ เป็ นความรูท้ ่ี กินได้ ใช้ได้ ขายได้ เน้ นทักษะแบบสหสาขา (multi-disciplines) –และพึงตระหนักใน ศักยภาพแห่งการเรียนรูแ้ ละถ่ายทอดความรูข้ องมนุ ษย์ทุกคน เพราะทุกๆคนล้วนมีความรู้ แฝงอยูใ่ นตนทัง้ สิน้  ระบบอุดมศึกษาต้องปรับรูปแบบทีเ่ น้นด้านอุปสงค์ (Demand Size) มากกว่าด้านอุปทาน (Supply Size) โดยให้ความสําคัญกับความต้องการของผูเ้ รียนและตลาดแรงงานมากขึน้  ควรส่งเสริ มการศึกษาในด้านวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากขึน้ จากปจั จุบนั ทีม่ ี นักศึกษาในสาขาวิชาดังกล่าวเพียงร้อยละ 20 ของการศึกษาทัง้ ระบบ ซึง่ ไม่เพียงพอต่อ ตลาดแรงงานและการยกระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศ  ควรสนับสนุนส่งเสริมเนื้อหาการศึกษา โดยการปรับหลักสูตรวิชาประวัตศิ าสตร์และ ภูมศิ าสตร์ให้เป็ นการศึกษาเพือ่ อาเซียนมากขึน้ ไม่ใช่การศึกษาเพือ่ ชาติเท่านัน้

สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์

5


ยุทธศาสตร์ด้านการลงทุน  ไทยอาจจะตัง้ กองทุนความมังคั ่ งขึ ่ น้ มา การทํากองทุนดังกล่าวจะต้องไม่ใช้เงินสํารอง ระหว่างประเทศมาทํา อาจจะต้องหาจากแหล่งอื่น ซึง่ เงินดังกล่าวสามารถนําไปลงทุนเชิง ยุทธศาสตร์ในท่าเรือทวาย โดยอาจจะร่วมทุนกับต่างประเทศเช่น ญีป่ นุ่ ประโยชน์ทไ่ี ทยจะ ได้คอื เนื่องจากไทยมีทา่ เรือหลักๆเพียงสองแห่งคือ มาบตาพุดกับแหลมฉบัง ซึง่ ทัง้ สอง ั ่ าวไทย การทํากองทุนความมังคั แห่งอยูใ่ นฝงอ่ ่ งเข้ ่ าไปลงทุนในทวาย จะทําให้ไทยได้ทา่ เรือ อีกแห่งหนึ่งในมหาสมุทรอินเดียเชื่อมกับท่าเรือของเวียดนามทีด่ านัง  ไทยควรสร้างท่าเรือนํ้าลึก (Deep Water Port) ที่ปากบาราในรูปแบบของท่าเรือ ขนส่งสิ นค้า เพือ่ เชื่อมกับการขนส่งระบบรางทีม่ าจากจีนและประเทศอาเซียนตอนบน รวมทัง้ สร้างระบบคลังสินค้าขนาดใหญ่ในเส้นทางการขนส่งดังกล่าว และกําหนดบทบาท ของไทย ในฐานะประเทศที่ทาํ ธุรกิ จ repackaging สิ นค้า เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ มให้กบั สิ นค้า ก่อนส่งออกไปยังประเทศกลุ่มมหาสมุทรอินเดียและยุโรปต่อไป  ไทยควรสร้างคลังสินค้าแบบทีท่ าํ ในเมืองอูอ้ ขี๋ องจีน อาจสร้างทีจ่ .สระบุรเี พือ่ รองรับสินค้า จากพม่า ลาว กัมพูชาทีม่ ากับรถไฟขาลงจากจีน และเอาสินค้าจากไทยขึน้ ไปกับรถไฟขา ขึน้ สูจ่ นี หากทําเช่นนี้ ไทยจะเกิดพ่อค้าขึน้ อีกจํานวนมาก  เนื่องจากการลงทุนไม่ถูกล้อมกรอบด้วยภูมศิ าสตร์ แม้ไทยจะลงทุนในสิงคโปร์ยาก แต่ไทย สามารถทํา SME เข้าไปลงทุนในลาว กัมพูชา พม่า อินโดนีเซียได้ ดังเช่น ขณะนี้บริษทั ไทย คุมตลาดวัสดุก่อสร้างในอินโดนีเซียไว้ได้แล้ว ไทยเป็นผูผ้ ลิตเฟอร์นิเจอร์และถังเก็บนํ้าราย ใหญ่ในลาว ประเทศลาว พม่า กัมพูชา อินโดนีเซียต้องการสินค้า consumer goods มาก ไทยมีขอ้ ได้เปรียบเพราะมี know how มากกว่าประเทศเหล่านี้ และประเทศเหล่านี้ไม่มี private capital มากเหมือนไทย ไทยเป็ น King of consumer products ดังนัน้ ไทยจึงมี โอกาสรุกเข้าไปลงทุนในตลาดของประเทศได้อกี มาก ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งเพื่อรองรับและสนับสนุนการค้าไทย อาเซียน จีน อิ นเดีย  ในการรองรับเส้นทางการขนส่งสิ นค้าระหว่าง อาเซี ยน จีน รวมทัง้ อิ นเดียนัน้ ไทย ควรพัฒนาระบบคมนาคมขนส่ งที่ เชื่ อมโยงการค้ าระหว่างประเทศ เช่น สร้างถนน เชื่อม East-West Corridor และรองรับแผนระเบียงเศรษฐกิจใหญ่ (land bridge) ของจีน พัฒนาการขนส่งระบบราง และสร้างท่าเรือนํ้ าลึก โดยใช้ขอ้ ได้เปรียบทีม่ ที ต่ี งั ้ อยู่ตรงกลาง ระหว่า งจีน-อิน เดีย รวมทัง้ ยังเป็ นจุดเชื่อมอาเซีย นตอนบนกับ อาเซียนตอนล่ า งให้เ ป็ น ประโยชน์มากทีส่ ดุ  ไทยควรกระจายศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งทางอากาศ ด้วยการสร้างสนามบินเพือ่ รองรับการเดินทางทางอากาศระหว่าง ไทย อาเซียน และจีน ไปทีจ่ งั หวัดหรือภูมภิ าคต่างๆ ทีม่ รี ะยะทางใกล้เขตชายแดนกับอาเซียนและใกล้กบั จีน เช่น สร้างสนามบินเพิม่ ในภาคอีสาน

สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์

6


หนองคายเพือ่ เชือ่ มอีสานกับเมืองหนานหนิง มณฑลกวางสีของจีน สร้างและขยายสนามบินที่ เชียงใหม่และเชียงรายให้เป็ น hub ทางการบินเชือ่ มเข้าสูพ่ ม่า-อินเดีย เชือ่ มจีนและเวียดนามตอน เหนือ เป็ นต้น เพือ่ ร่นระยะเวลาการเดินทางและเป็ นการกระจายการพัฒนาทางเศรษฐกิจและ

การค้าแทนทีจ่ ะรวมศูนย์อยูท่ ก่ี รุงเทพฯเพียงอย่างเดียว  ไทยควรพัฒนาสาธารณู ปโภคขัน้ พื้นฐาน สิ่ งอํานวยความสะดวกระหว่างเส้ นทาง คมนาคมขนส่งทางบกทีไ่ ด้มกี ารริเริม่ ไปแล้ว เช่น เส้นทางทีเ่ ชื่อมระหว่างเชียงของ-ห้วย ทราย-หลวงนํ้าทา-บ่อเต็น ไปจิง่ หง เส้นทางทีเ่ ชื่อมมุกดาหาร-สะหวันนะเขต-เว้-ดานัง ซึง่ ยังขาดความพร้อมในการรองรับและอํานวยความสะดวกแก่ผเู้ ดินทางอยูม่ าก ทําให้แผน ทีจ่ ะพัฒนาเป็ นเส้นทางการค้าหรือเส้นทางการท่องเทีย่ วยังไม่ประสบความสําเร็จเท่าทีค่ วร ยุทธศาสตร์ในการสร้างความพร้อมของไทยสู่ประชาคมอาเซียน  ไทยควรสร้างองค์ความรู้และสร้างการตระหนั กรู้ในเรื่ องประชาคมอาเซี ยนและ ประเทศต่ างๆในอาเซี ยนให้มากขึ้นในหมู่ประชาชนทัวไปรวมทั ่ ง้ ทัง้ นักเรียนนักศึกษา และภาคประชาสังคม เพราะ คนส่วนมากยังไม่รสู้ กึ ถึงการเป็ นส่วนหนึ่งของอาเซียนและยังมี การรับรูเ้ กีย่ วกับประเทศต่างๆในอาเซียนและผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ จากประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนตํ่ามาก  สถาบันการศึกษาและนั กวิ ชาการควรเป็ นหัวหอกในการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ อาเซียนและสร้างการตระหนักรู้ให้แก่สงั คม ไม่ควรปล่อยให้เป็ นหน้าทีข่ องรัฐบาลหรือ ราชการเพียงฝา่ ยเดียว  ไทยควรเร่งรัดในการจัดเตรียมกฎหมายที่จะมารองรับการเคลื่อนย้ายเสรีของสิ นค้า แรงงาน และการลงทุนทีไ่ ม่ได้มาในรูปของบริษทั เพียงอย่างเดียว แต่ยงั มีการลงทุนในรูป ของ State Capitalism หรือทุนของชาติดว้ ย เช่น TEMASEK ของสิงคโปร์  ในการจัดการกับ ปั ญหาเขตแดนนั น้ นอกจากจะพิ จารณาตามหลักเขตแดนและ อธิ ปไตยของชาติ แล้ว ไทยควรพิ จารณาด้านผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิ จด้วย โดยหาก สามารถเจรจาตกลงกันได้กค็ วรทํา กรณีทต่ี กลงกันไม่ได้กใ็ ห้พกั ไว้ก่อน หรือหากตกลงกัน ไม่ได้แต่ยงั สามารถมีผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจร่วมกันได้กค็ วรจะทําร่วมกัน  ไทยควรพัฒนาพื้นที่ ชายแดนเพื่อเพิ่ มศักยภาพทางการค้าบริ เวณชายแดนไทยที่มี อาณาเขตติด กับ เพื่อ นบ้า นในอาเซีย นและเพื่อ กระจายการพัฒ นาและความมังคั ่ ง่ ไปสู่ ภูมภิ าคต่างๆแทนที่จะมุ่งพัฒนาแบบรวมศูนย์ไปทีก่ รุงเทพเพียงอย่างเดียวซึ่งไม่สามารถ รองรับกับการเปลีย่ นแปลงได้ทงั ้ หมด  ใช้ความได้เปรียบในการผลิ ตสิ นค้าเกษตรและอาหารที่มีมาตรฐานสากลเป็ นจุดแข็ง ในการต่อรองกับประเทศอื่นๆ โดยไทยและอาเซียนสามารถนําเอาเรื่องนี้มาเป็ นอํานาจ ต่อรองได้ไม่แพ้การใช้ politics of oil ของกลุ่มประเทศทีม่ ที รัพยากรนํ้ามัน

สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์

7


ยุทธศาสตร์ด้านวัฒนธรรม  ไทยควรสร้างการทูตเชิ งวัฒนธรรม เช่น ทํากับกลุ่มไทย-ไต-ลาวซึง่ มีความใกล้ชดิ ทาง ชาติพนั ธุ-์ ภาษา-วัฒนธรรม กับลาว รัฐฉาน และตอนใต้ของจีน และทําการทูตเชิงศาสนารุก เข้าประเทศเพือ่ นบ้าน เช่น พม่า กัมพูชา และศรีลงั กา  ไทยควรสร้างการทูตทางวัฒนธรรมกับอิ นเดีย เช่น การทํานุบาํ รุงสถานทีส่ าํ คัญที่ เกีย่ วกับพระพุทธเจ้า การท่องเทีย่ วทางศาสนา ยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและสิ่ งแวดล้อม  ไทยควรตระเตรียมเรือ่ งการพัฒนาเมืองมหานคร เนื่องจากปจั จุบนั มีเมืองขนาดใหญ่เพิม่ มากขึน้ ในประเทศไทย เช่น หาดใหญ่ ภูเก็ต เชียงใหม่ ขอนแก่น เป็ นต้น รัฐควรมีนโยบาย ให้เมืองขนาดใหญ่มอี าํ นาจในด้านการบริหารจัดการ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ การเงินการ คลัง และการปกครองตนเองมากขึน้  ไทยควรเตรียมรับมือกับปัญหาพลังงานขาดแคลน เนื่องจากไทยนัน้ อาจต้องเผชิญกับ การขาดแคลนพลังงานหากนํ้ามันและก๊าซธรรมชาติหมดลง ต้องหันมาพึง่ พาการผลิต กระแสไฟฟ้าจากเพื่อนบ้าน คือ ลาว และพม่า ซึง่ จะทําให้ไทยต้องประสบกับปญั หาความ มันคงทางพลั ่ งงาน

สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์

8


การจัดเวทีคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ (Think Tank Forum) สรุปการจัดเวทีคลังปญั ญาด้านยุทธศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2554-2555 จํานวน 8 ครัง้ ดังต่อไปนี้ วันที่ จัดเวที รายละเอียด สถานที่ ห้องบอลรูมเอ วันที่ 7 ธันวาคม เวที Think Tank เรือ่ ง เพือ่ นําเสนอเกีย่ วกับข้อมูลสถานการณ์น้ําลุม่ โรงแรมปทุมวันปริน๊ 2554 เวลา “มหาอุทกภัย : บทเรียน เจ้าพระยา รวมทัง้ ประสบการณ์และบทเรียน การบริหารจัดการมหาอุทกภัยครัง้ นี้ และร่วม เซส 13.30-16.30 น. และข้อเสนอทาง ยุทธศาสตร์สาํ หรับ ระดมความคิดเพือ่ สร้างยุทธศาสตร์สาํ หรับการ อนาคต” จัดการมหาอุทกภัยในอนาคต ห้องบอลรูม ชัน้ 4 วันอังคารที่ 31 เวที Think Tank เรือ่ ง แลกเปลีย่ นความคิดเห็นระหว่างผูท้ รงคุณวุฒ ิ มกราคม 2555 บูรพาภิวตั น์ : ฤๅโลกจะ และเปิ ดยุทธศาสตร์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิ โรงแรมอินเตอร์คอน กลับขัว้ อํานาจ เวลา 13.30วัตน์ พร้อมทัง้ เปิดตัวหนังสือ บูรพาภิวตั น์: ภูม ิ ติเนนตัล 16.30 น. รัฐศาสตร์และเศรษฐกิจโลกใหม่ วันที่ 15 มีนาคม เวที Think Tank เรือ่ ง เพือ่ กระตุน้ ให้สงั คมเกิดการเรียนรูเ้ รือ่ งอนาคต ห้องประชุม 716 ชัน้ 2555 เวลา จีนและอาเซียนในยุค ในยุคการเปลีย่ นแปลงทีร่ วดเร็วท่ามกลาง 7 มหาวิทยาลัย 13.30-16.30 น. บูรพาภิวตั น์ รังสิต ศูนย์ กระแสบูรพาภิวตั น์ การศึกษาสาทรธานี วันที่ 31 เวที Think Tank เรือ่ ง เพือ่ ร่วมแลกเปลีย่ นเรียนรูเ้ กีย่ วกับความ ห้อง 802 ชัน้ 8 พฤษภาคม อาเซียนตอนบนกับจีน เปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม ของประเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต 2555 เวลา ในยุคบูรพาภิวตั น์ ในกลุม่ อาเซียนตอนบนกับจีนในยุคบูรพาภิวตั น์ ศูนย์การศึกษาสาทร 13.30-16.30 น. ธานี เวที Think Tank เรือ่ ง เพือ่ ร่วมกันระดมข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์ วันที่ 31 ห้องพินนาเคิล ระดับอุดมศึกษา ในการเชื่อมโยงกับภูมภิ าค กรกฎาคม 2555 ศักยภาพอุดมศึกษา โรงแรมอินเตอร์คอน ไทยในยุคบูรพาภิวตั น์ อาเซียน และเน้นการตระเตรียมกําลังคนของ เวลา 9.30ติเนนตัล ชาติให้พร้อมต่อการก้าวสู่ AEC 12.30 น. เวที Think Tank เรือ่ ง เพือ่ ร่วมกันระดมข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์ในด้าน ห้องพินนาเคิล วันที่ 31 กรกฎาคม 2555 ระบบการศึกษาไทยกับ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา และตระเตรียม โรงแรมอินเตอร์คอน กําลังคนของชาติให้พร้อมต่อการก้าวสู่ AEC การก้าวสูป่ ระชาคม เวลา 13.30ติเนนตัล อาเซียนในยุคบูรพาภิ 16.30 น. วัตน์ วันที่ 27 เวที Think Tank เรือ่ ง เพือ่ ให้ขอ้ เสนอแนะต่อบทบาทของภาครัฐใน ณ ห้องบอลรูม 1 การจัดตัง้ กองทุนความมังคั ่ งของรั ่ ฐกับ กันยายน 2555 กองทุนความมังคั ่ งของ ่ โรงแรมอินเตอร์คอน ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 13.30-16.30 น. รัฐกับยุทธศาสตร์การ ติเนนตัล พัฒนาประเทศ เวที Think Tank เรือ่ ง เพือ่ ระดมสมองในการพัฒนานโยบายด้านการ ห้องกมลฤดี 3 วันที่ 29 จัดการสิง่ แวดล้อมและพลังงาน ในยุคทีก่ าร บูรพาภิวตั น์กบั โรงแรมเดอะสุโกศล พฤศจิกายน พัฒนาเน้นการดูแลสิง่ แวดล้อมและเน้นความ เศรษฐกิจสีเขียว 2555 เวลา 13.30-16.30 น. (Green East) ยังยื ่ นเป็ นสําคัญ

สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์

9


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.