แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ 1

Page 1

แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ สาขาวิชา เคมี รายวิชา ว30232 จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี จานวน 1.5 หน่วยกิต ระยะเวลา 4 คาบ/สัปดาห์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ครูผู้สอน นาสถาพร สุติบุตร ************************************************************************************* 1. คาอธิบายรายวิชา ศึกษาความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี การ คานวณเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี กฎอัตราและกฎอัตราอินทิเกรต แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา เคมี พลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี กลไกของปฏิกิริยา และปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา เคมี ศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ ภาวะสมดุล ค่าคงที่สมดุล การคานวณค่าคงที่สมดุล ปัจจัยที่ผลต่อภาวะสมดุล หลักเลอชาเตอลิเอ และสมดุลเคมีในชีวิตประจาวันและในสิ่งมีชีวิต ศึกษาเกี่ยวกับสารละลายอิเล็กโทรไลต์ ทฤษฎีกรด-เบส คู่กรด-เบส ปัจจัยที่มีผลต่อความแรงของกรด-เบส การแตกตัวของกรดและเบส การแตกตัวเป็นไอออนของน้า ศึกษาและคานวณเกี่ยวกับค่าคงที่สมดุลของกรด ค่าคงที่สมดุลของเบส ค่าคงที่สมดุลของน้าและ pH ของสารละลาย ศึกษาปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส อินดิเคเตอร์สาหรับกรด-เบส ศึกษาการไทเทรตและสารละลายบัฟเฟอร์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีเจตคติและเห็นคุณค่าของ วิทยาศาสตร์ สามารถนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา นาความรู้และหลักการเกี่ยวกับ เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุลเคมีและกรด-เบส ไปใช้เป็นพื้นฐานในการศึกษาวิชาเคมีขั้นสูงต่อไป 2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1) อธิบายความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและคานวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ 2) อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใช้ทฤษฎีการชน (Collision Theory) และทฤษฎีภาวะ ทรานซิ-ชัน (Transition State Theory) ได้ 3) แปลความหมายจากกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมีได้ 4) อธิบายกลไกปฏิกิริยาและเขียนสมการแสดงกลไกปฏิกิริยาได้ 5) ทดลองและอธิบายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ 6) อธิบายกฎอัตราและคานวณเกี่ยวกับกฎอัตราได้ 7) อธิบายภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของสารได้ 8) เขียนความสัมพันธ์และคานวณหาค่าคงที่สมดุลของสารต่างๆ ในระบบได้


9) ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนภาวะสมดุล เมื่อภาวะสมดุลนั้นถูกรบกวนโดยปัจจัยบางอย่าง เช่น ความเข้มข้น ความดัน และอุณหภูมิ ได้ 10) ใช้หลักของเลอชาเตอลิเอในการอธิบายผลที่เกิดขึ้นกับระบบเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงภาวะสมดุล ของระบบได้ 11) อธิบายความหมายของกรดเบสตามทฤษฎีของอาร์เรเนียส เบรินสเตด-เลาว์รีและลิวอิส พร้อม ทั้งบอกคู่กรด-เบสโดยใช้ทฤษฎีกรดเบสของเบรินสเตด-เลาว์รีได้ 12) อธิบายและคานวณหาค่าคงที่การแตกตัวของน้า (Kw) ของกรด (Ka) และของเบส (Kb) ได้ 13) บอกความหมายของ pH ของสารละลายและคานวณเกี่ยวกับ pH ของสารละลายและยกตัวอย่าง สารละลายกรดเบสในชีวิตประจาวันได้ 14) อธิบายความหมายของปฏิกิริยาสะเทิน จุดสมมูล จุดยุติ ในปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรดกับ สารละลายเบสและเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นได้ 15) อธิบายและเขียนสมการเคมีแสดงการเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสของเกลือและคานวณหาค่าคงที่ ไฮโดรไลซีส (Kh) ได้ 16) ใช้ค่าคงที่การแตกตัวของอินดิเคเตอร์ในการอธิบายสมดุลของอินดิ เคเตอร์ การเปลี่ยนสีของ อินดิเคเตอร์เมื่ออยู่ในสารละลายกรดและสารละลายเบสและใช้อินดิเคเตอร์ตรวจสอบความเป็น กรดเบสของสารละลายได้ 17) บอกหลักการไทเทรต วิธีการไทเทรตและเลือกใช้อินดิเคเตอร์ให้เหมาะสมกับการไทเทรตได้ 18) ทาการทดลองและคานวณหาปริมาณสารโดยการไทเทรตและอธิบายกราฟการไทเทรตกรดเบส ได้ 19) ทาการทดลองการเปลี่ยนแปลง pH ของสารละลายบางชนิดเมื่อเติมกรดหรือเบสลงไปได้ 20) อธิบายความหมายของสารละลายบัฟเฟอร์ การเกิดสารละลายบัฟเฟอร์และ การเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้นเมื่อเติมกรดหรือเบสลงในสารละลายบัฟเฟอร์ได้ 21) คานวณเกี่ยวกับสารละลายบัฟเฟอร์ได้


3. กาหนดการสอนและจุดประสงค์การเรียนรู้ สัปดาห์ที่

1

2

3-6

คาบที่

1-3

4-6

7-18

หัวข้อ/สาระการเรียนรู้ บทที่ 1 จลนศาสตร์เคมี ปฐมนิเทศ 1. ความหมายของอัตราการ เกิดปฏิกิริยาเคมี 1.1 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1.2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย 1.3 อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใด ขณะหนึง่ การทดลองเรื่อง การหาอัตราการ เกิดปฏิกิริยา 2. แนวคิดเกี่ยวกับปฏิกริ ิยาเคมี 2.1 ทฤษฎีการชน 2.2 ทฤษฎีสารเชิงซ้อนกัมมันต์ 2.3 พลังงานก่อกัมมันต์ (Activated Energy; Ea) 2.4 พลังงานกับการดาเนินไปของ ปฏิกิริยาเคมี (ปฏิกิริยาดูดความร้อน และปฏิกิริยาคายความร้อน)

3. ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี 3.1 ธรรมชาติของสารตั้งต้น (reactant) และผลิตผล (product) 3.2 ความเข้มข้นของสารตั้งต้นและ ผลิตผล 3.3 กฎอัตราและการหากฎอัตรา 3.4 กฎอัตราอินทิเกรต การทดลองเรื่อง การศึกษาผลของความ เข้มข้นที่มตี ่ออัตราการเกิดปฏิกิรยิ า 3.5 กลไกของปฏิกิริยา 3.6 พื้นทีผ่ ิว 3.7 อุณหภูมิและสมการอาร์เรเนียส 3.8 ตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst) และตัว

จุดประสงค์การเรียนรู้

มาตรฐานและตัวชี้วัด มาตรฐาน ว 3.2

แนะนารายวิชา วิธีการเรียน การวัด และประเมินผลการ เรียน 1. อธิบายความหมายของอัตรา การเกิดปฏิกิริยาเคมีและ คานวณหาอัตราการ เกิดปฏิกิริยาเคมีได้

เข้าใจหลักการ และธรรมชาติ ข องการ เปลี่ ย นสถานะของสาร การเกิ ด สารละลาย การ เ กิ ด ป ฏิ กิ ริ ย า เ ค มี มี กระบวนการสื บเสาะหา ค ว า ม รู้ แ ล ะ จิ ต วิ ท ย า ศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ แ ล ะ น า ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้

2. อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยใช้ทฤษฎีการชน (Collision Theory) และทฤษฎี ภาวะ ทรานซิชัน (Transition State Theory) ได้ 3. แปลความหมายจากกราฟ แสดงการเปลี่ยนแปลง พลังงานกับการดาเนินไปของ ปฏิกิริยาเคมีได้

ประโยชน์ ตัวชี้วัดม4-6/1 ทดลอง อธิบายและเขียนสมการ ของปฏิกิริยาเคมีทั่วไปที่ พบในชีวิตประจาวัน รวมทั้งอธิบายผลของ สารเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิต และสิง่ แวดล้อม

มาตรฐาน ว 3.2

4. อธิบายกลไกปฏิกิริยาและ เขียนสมการแสดงกลไก ปฏิกิริยาได้ 5. ทดลองและอธิบายอัตราการ เกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผล ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ได้ 6. อธิบายกฎอัตราและคานวณ เกี่ยวกับกฎอัตราได้

เข้าใจหลักการ และธรรมชาติ ข องการ เปลี่ ย นสถานะของสาร การเกิ ด สารละลาย การ เ กิ ด ป ฏิ กิ ริ ย า เ ค มี มี กระบวนการสื บเสาะหา ค ว า ม รู้ แ ล ะ จิ ต วิ ท ย า ศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ แ ล ะ น า ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้ ประโยชน์


หน่วง (Inhibitor) การทดลองเรื่อง การศึกษาผลของ อุณหภูมิที่มีต่ออัตราการเกิดปฏิกริ ิยา การทดลองเรื่อง การศึกษาผลของ ตัวเร่งปฏิกิริยาและตัวหน่วงปฏิกริ ิยาที่ มีต่อ อัตราการเกิดปฏิกิริยา

7

7

7-8

8-9

9 10 - 11 11-12

19

20

21-23

24-25

บทที่ 2 สมดุลเคมี 4. การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ 4.1 ภาวะสมดุลประเภทต่างๆ (ภาวะ สมดุลระหว่างสถานะ ภาวะสมดุลใน สารละลายอิ่มตัว และภาวะสมดุลใน ปฏิกิริยาเคมี) 5. การดาเนินเข้าสู่ภาวะสมดุลของ ระบบ 5.1 กราฟแสดงการเกิดภาวะสมดุล 6. ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้น ของสารต่างๆ ณ ภาวะสมดุล 6.1 ค่าคงที่สมดุลกับสมการเคมี 6.2 การคานวณเกี่ยวกับค่าคงที่สมดุล 6.2 ค่าคงที่สมดุลต่าง ๆ เช่น Kp Ksp 7. ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล การทดลองเรื่อง การศึกษาผลของการ เปลี่ยนแปลงความดันและอุณหภูมิ ที่มีต่อภาวะสมดุล

8. หลักของเลอชาเตอริเอ การทดลองเรื่อง การศึกษาผลของการ 26-17 เปลี่ยนแปลงความเข้มข้นที่มีต่อภาวะ สมดุล สอบกลางภาค บทที่ 3 กรด เบส 31-36 9. สารละลายอิเล็กโทรไลต์และ นอนอิ เล็กโทรไลต์

ตัวชี้วัดม4-6/2 ทดลองและ อธิบายอัตราการเริด ปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผล ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา เคมีและนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์

7. อธิบายภาวะสมดุลที่เกิดขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงของสาร ได้

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลักการ และธรรมชาติของการ เปลี่ยนสถานะของสาร

8. เขียนความสัมพันธ์และ คานวณหาค่าคงที่สมดุลของ สารต่างๆ ในระบบได้

การเกิดสารละลาย การ เกิดปฏิกิริยาเคมี มี กระบวนการสืบเสาะหา ความรู้และจิตวิทยา ศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้

9. ทดลองและอธิบายการ และนาความรู้ไปใช้ เปลี่ยนภาวะสมดุล เมื่อภาวะ ประโยชน์ สมดุลนั้นถูกรบกวนโดยปัจจัย บางอย่าง เช่น ความเข้มข้น ความดัน และอุณหภูมิ ได้ 10. ใช้หลักของเลอชาเตอลิเอ ในการอธิบายผลที่เกิดขึ้นกับ ระบบเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง ภาวะสมดุลของระบบได้ 11. อธิบายความหมายของ กรดเบสตามทฤษฎีของอาร์เร เนียส เบรินสเตด-เลาว์รีและ


10. สารละลายกรดและสารละลายเบส กับการทดสอบเบื้องต้น 10.1 ไอออนในสารละลายกรด 10.2 ไอออนในสารละลายเบส 11. การจาแนกประเภทของกรดเบส 11.1 กรดและเบสอินทรีย์ 11.2 กรดและเบสอนินทรีย์ 12. ทฤษฎีกรด เบส 12.1 ทฤษฎีอาร์เรเนียส 12.2 ทฤษฎีเบรินสเตด-เลาว์รี และคู่ กรด-เบส 12.3 ทฤษฎีลิวอิส การทดลองเรื่อง ปฏิกิริยาของ ไฮโดรเจนคาร์บอเนต

15

43-44

13-14

37-42

15

43-44

14. การแตกตัวเป็นไอออนของน้า 14.1 การแตกตัวของน้า 14.2 ค่าคงที่สมดุลของน้า 14.3 การเปลี่ยนความเข้มข้นของ ไฮโดรเนียมไอออนและไฮดรอกไซด์ ไอออนในน้า การทดลองเรื่อง การนาไฟฟ้าของน้า 13. การแตกตัวของกรดและเบส 13.1 การแตกตัวของกรดแก่เบสแก่ กรดอ่อน และ เบสอ่อน 13.2 ความแรงของกรดกับโครงสร้าง โมเลกุล 13.3 เปอร์เซ็นต์การแตกตัวของกรด เบส 13.4 ค่าคงที่การแตกตัวของกรดอ่อน และเบสอ่อน 13.5 สารแอมโฟเทอริก 14. การแตกตัวเป็นไอออนของน้า 14.1 การแตกตัวของน้า 14.2 ค่าคงที่สมดุลของน้า 14.3 การเปลี่ยนความเข้มข้นของ

ลิวอิส พร้อมทั้งบอกคู่กรดเบสโดยใช้ทฤษฎีกรดเบส ของเบรินสเตด-เลาว์รีได้

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลักการ และธรรมชาติของการ เปลี่ยนสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การ เกิดปฏิกิริยาเคมี มี กระบวนการสืบเสาะหา ความรู้และจิตวิทยา ศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์

12. อธิบายและคานวณหา ค่าคงที่การแตกตัวของน้า (Kw) ของกรด (Ka) และของ เบส (Kb) ได้


15-16

17-18

45-48

49-53

ไฮโดรเนียมไอออนและไฮดรอกไซด์ ไอออนในน้า การทดลองเรื่อง การนาไฟฟ้าของน้า 15. pH และ pOH ของสารละลาย 15.1 ความสัมพันธ์ระหว่าง pH [H3O+] และ [OH-] 16. อินดิเคเตอร์สาหรับกรด เบส 16.1 การทางานของอินดิเคเตอร์ 16.2 อินดิเคเตอร์และช่วง pH ของการ เปลี่ยนสี 16.3 สารละลายกรดเบสในชีวิตประจา วัน 17. ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส การทดลองเรื่อง ปฏิกิริยาระหว่าง สารละลายกรดและเบส การทดลองเรื่อง ปฏิกิริยาระหว่าง สารละลายกรดหรือเบสกับสารบาง ชนิด 18. ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส 18.1 ค่าคงที่ไฮโดรไลซิสของเกลือ

19. การไทเทรตกรด เบส 19.1 การไทเทรตระหว่างกรดแก่ เบส แก่ 19.2 การไทเทรตระหว่างกรดแก่ เบส อ่อน และ กรดอ่อน เบสแก่ การทดลองเรื่อง การไทเทรตของ ปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่กับเบสแก่

13. บอกความหมายของ pH ของสารละลายและคานวณ เกี่ยวกับ pH ของสารละลาย และยกตัวอย่างสารละลายกรด เบสในชีวิตประจาวันได้ 14. อธิบายความหมายของ ปฏิกิริยาสะเทิน จุดสมมูล จุด ยุติ ในปฏิกิริยาระหว่าง สารละลายกรดกับสารละลาย เบสและเขียนสมการแสดง ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นได้ 15. อธิบายและเขียนสมการ เคมีแสดงการเกิดปฏิกิริยา ไฮโดรไลซิสของเกลือและ คานวณหาค่าคงที่ไฮโดรไล ซีส (Kh) ได้ 16. ใช้ค่าคงที่การแตกตัวของ อินดิเคเตอร์ในการอธิบาย สมดุลของอินดิเคเตอร์ การ เปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์เมื่อ อยู่ในสารละลายกรดและ สารละลายเบสและใช้อินดิเค เตอร์ตรวจสอบความเป็นกรด เบสของสารละลายได้ 17. บอกหลักการไทเทรต วิธีการไทเทรตและเลือกใช้ อินดิเคเตอร์ให้เหมาะสมกับ การไทเทรตได้ 18. ทาการทดลองและ คานวณหาปริมาณสารโดยการ ไทเทรตและอธิบายกราฟการ ไทเทรตกรดเบสได้ 19. ทาการทดลองการ

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลักการ และธรรมชาติของการ เปลี่ยนสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การ เกิดปฏิกิริยาเคมี มี กระบวนการสืบเสาะหา ความรู้และจิตวิทยา ศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์


18-19

54-57

20. สารละลายบัฟเฟอร์ (Buffer solution) การทดลองเรื่อง การเตรียมสารละลาย บัฟเฟอร์ (Buffer solution) การทดลองเรื่อง การวิเคราะห์หา ปริมาณคาร์บอเนตและไฮโดรเจน คาร์บอเนตในสารตัวอย่าง

เปลี่ยนแปลง pH ของ สารละลายบางชนิดเมื่อเติม กรดหรือเบสลงไปได้ 20. อธิบายความหมายของ สารละลายบัฟเฟอร์ การเกิด สารละลายบัฟเฟอร์และ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อ เติมกรดหรือเบสลงใน สารละลายบัฟเฟอร์ได้ 21. คานวณเกี่ยวกับสารละลาย บัฟเฟอร์ได้

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลักการ และธรรมชาติของการ เปลี่ยนสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การ เกิดปฏิกิริยาเคมี มี กระบวนการสืบเสาะหา ความรู้และจิตวิทยา ศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์

19 20

37-38

สอบปฏิบัติ สอบปลายภาค


4. แผนการประเมินผลการเรียนรูแ้ ละการมอบหมายงาน การสอนรายวิชา ว30232 จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี ประจาภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 มีแผนการ ประเมินผลการเรียนรู้ ดังนี้ 4.1 ประเมินจากการทดลองและเขียนรายงานการทดลอง 4.1.1 ก่อนการสอบกลางภาค 5 คะแนน 4.1.2 หลังการสอบกลางภาค 5 คะแนน 4.2 ประเมินจากงาน หรือ แบบฝึกหัด และการทดสอบย่อย 4.2.1 ก่อนการสอบกลางภาค 10 คะแนน 4.2.2 หลังการสอบกลางภาค 10 คะแนน 4.3 ประเมินจากคุณลักษณะของนักเรียน (จิตพิสัย) 10 คะแนน 4.4 ประเมินจากการสอบกลางภาค 20 คะแนน 4.5 ประเมินจากการสอบภาคปฏิบัติ 10 คะแนน 4.6 ประเมินจากการสอบปลายภาค 30 คะแนน รวม 100 คะแนน รายละเอียดการประเมินผลแต่ละหัวข้อ เป็นดังนี้ 4.1 ประเมินจากแบบฝึกหัด การสอบย่อย และรายงานการทดลอง (30 คะแนน)

รายการ 1. การทดลองเรื่อง การหาอัตราการ เกิดปฏิกิริยา 2. การทดลองเรื่อง การศึกษาผลของความ เข้มข้นที่มตี ่ออัตราการเกิดปฏิกิรยิ า 3. การทดลองเรื่อง การศึกษาผลของอุณหภูมิที่ มีต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา 4. การทดลองเรื่อง การศึกษาผลของตัวเร่ง ปฏิกิริยาและตัวหน่วงปฏิกิริยาทีม่ ีต่ออัตรา การเกิดปฏิกิริยา 5. การทดลองเรื่อง การศึกษาผลของการ เปลี่ยนแปลงความดันและอุณหภูมิที่มีต่อ ภาวะสมดุล

รูปแบบ ของงาน

สัปดาห์ที่ มอบหมาย

สัปดาห์ที่ ส่งงาน

เวลาที่นักเรียน ควรใช้ (นาที)

งานกลุ่ม

1

2

20

งานกลุ่ม

4

5

20

งานกลุ่ม

5

6

20

คะแนน

5 งานกลุ่ม

6

7

20

งานกลุ่ม

8

9

20


รายการ 6. การทดลองเรื่อง การศึกษาผลของการ เปลี่ยนแปลงความเข้มข้นที่มีต่อภาวะสมดุล 7. แบบฝึกหัดย่อย ในหัวข้อจลนศาสตร์เคมีและ สมดุลเคมี 8. สอบย่อย ก่อนการสอบกลางภาค 9. การทดลองเรื่อง ปฏิกิริยาของไฮโดรเจน คาร์บอเนต

รูปแบบ ของงาน

สัปดาห์ที่ มอบหมาย

สัปดาห์ที่ ส่งงาน

งานกลุ่ม

9

9

เวลาที่นักเรียน ควรใช้ (นาที) 20

งานเดี่ยว

4-8

5-9

120

สอบ งานกลุ่ม

6 12

13

30 20

16 17

20 20

17

20

19

20

19

20

19

20

12-19 -

120 30 300 260

งานกลุ่ม 15 10. การทดลองเรื่อง การนาไฟฟ้าของน้ากลั่น 16 11. การทดลองเรือ่ ง ปฏิกิริยาระหว่างสารละลาย งานกลุ่ม กรดและเบส 16 12. การทดลองเรื่อง ปฏิกิริยาระหว่างสารละลาย งานกลุ่ม กรดหรือเบสกับสารบางชนิด 18 13. การทดลองเรื่อง การไทเทรตของปฏิกิริยา งานกลุ่ม ระหว่างกรดแก่กับเบสแก่ งานกลุ่ม 19 14. การทดลองเรื่อง การเตรียมสารละลาย บัฟเฟอร์ (Buffer solution) งานกลุ่ม 19 15. การทดลองเรื่อง การวิเคราะห์หาปริมาณ คาร์บอเนตและไฮโดรเจนคาร์บอเนตในสาร ตัวอย่าง งานเดี่ยว 11-18 แบบฝึกหัดย่อย ในหัวข้อกรด เบส สอบ 16 สอบย่อย หลังการสอบกลางภาค เวลาทั้งหมดที่ใช้ในการทาแบบฝึกหัดและสอบย่อย เวลาทั้งหมดที่ใช้ในการเขียนรายงานนอกห้องเรียน รวมคะแนนทั้งหมด

คะแนน

5 5

5

5 5 30

หมายเหตุ 1. เวลาที่นักเรียนควรใช้ หมายถึง เวลาที่ครูได้พิจารณาว่า ในการทางานหรือการบ้านชิ้นนั้น ๆ นักเรียนควรใช้ เวลาทาประมาณเท่าใด การประมาณการดังกล่าว ครูได้พิจารณาจากความยาก ความซับซ้อน และปริมาณของงานหรือ การบ้านชิ้นนั้น ๆ 2. รายงานการทดลอง เป็นงานกลุม่ ควรให้นักเรียนทาการทดลองและเขียนรายงานให้เสร็จภายในเวลาเรียน แต่ถ้านักเรียน ทาไม่เสร็จ ให้นักเรียนทาเป็นการบ้านต่อไป ซึ่งใช้เวลาไม่เกิน 20 นาทีต่อหนึ่งการทดลอง


4.2 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน : จิตพิสัย (10 คะแนน) การประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนรายวิชา ว30232 จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี ประจาภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ได้กาหนดหัวข้อการประเมินได้ดังแสดงในตารางข้างล่าง ผลการประเมิน หัวข้อการประเมิน

ดีเยี่ยม (5)

ดีมาก (4)

ดี (3)

ปานกลาง (2)

1. ความสนใจใฝ่รู้ หรือ ความอยากรู้อยากเห็น 2. การรับผิดชอบ ความมุ่งมั่น ความอดทน 3. ความมีเหตุผล 4. ความมีระเบียบและรอบคอบ 5. ความซื่อสัตย์ 6. ความใจกว้างร่วมแสดงความคิดเห็นและรับฟังความ คิดเห็นของผู้อนื่ 4.3 การประเมินจากการสอบย่อย รายวิชานี้จะมีการสอบย่อย 2 ครั้ง ดังนี้ 4.3.1 กาหนดการสอบย่อยครั้งที่ 1 สัปดาห์ที่ 6 เวลาที่ใช้สอบ 30 นาที 5 คะแนน 4.3.2 กาหนดการสอบย่อยครั้งที่ 2 สัปดาห์ที่ 16 เวลาที่ใช้สอบ 30 นาที 5 คะแนน เนื้อหาที่สอบ ลักษณะข้อสอบ จานวนข้อสอบของการสอบย่อยแต่ละครั้ง มีรายละเอียดดังตารางข้างล่าง หัวข้อ/เนื้อหาที่ใช้ในการสอบ การสอบย่อยครั้งที่ 1 1. หัวข้ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี รวม การสอบย่อยครั้งที่ 2 2. หัวข้อกรด-เบส รวม

ลักษณะข้อสอบ อัตนัย

คะแนน 5.0

อัตนัย อัตนัย

5.0 5.0

อัตนัย

5.0

ต้อง ปรับปรุง (1)


4.4 การประเมินจากการสอบกลางภาค (20 คะแนน) กาหนดสอบกลางภาคสัปดาห์ที่ 10 เวลาที่ใช้ในการสอบ 90 นาที หัวข้อ/เนื้อหาและลักษณะของข้อสอบมีรายละเอียดดัง ตาราง หัวข้อ/เนื้อหาที่ใช้ในการสอบกลางภาค 1. ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและแนวคิดเกี่ยวกับ ปฏิกิริยาเคมี  อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย และ อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึง่ ทฤษฎีการชน และทฤษฎีสารเชิงซ้อนกัมมันต์ 2. ปัจจัยที่มีผลต่อต่อการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี  กฎอัตราและสมการกฎอัตรา ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการ เกิดปฏิกิริยาเคมี สมการเคมีกับกฎอัตรา และความสัมพันธ์ ของอาร์เรเนียส อินทิเกรตกฎอัตรา ค่าคงที่อัตรา และ halflife 3. ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารต่างๆ ณ ภาวะสมดุล  ค่าคงที่สมดุลกับสมการเคมีการคานวณเกี่ยวกับค่าคงที่ สมดุล และค่าคงที่สมดุลต่างๆ เช่น Kp และ Ksp 4. ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล  การเปลี่ยนความเข้มข้น ความดัน อุณหภูมิ 5. หลักเลอชาเตอริเอ  การคานวณค่าคงที่สมดุลเมื่อรบกวนสมดุล การใช้หลักเลอ ชาเตอริเอในอุตสาหกรรมและชีวิตประจาวัน 6. การประยุกต์ใช้และบูรณาการสมดุลเคมีและ/หรือจลนศาสตร์ เคมี รวม

ลักษณะและจานวนข้อสอบ

คะแนน

อัตนัย 2 ข้อ

2.0

อัตนัย 4 ข้อ

7.0

อัตนัย 3 ข้อ

3.0

อัตนัย 1 ข้อ

2.0

อัตนัย 2 ข้อ

4.0

อัตนัย 1 ข้อ

2.0

อัตนัย 13 ข้อ

20.0

4.5 การประเมินจากการสอบปลายภาค (40 คะแนน) กาหนดสอบปลายภาคแบบปฏิบตั ิสัปดาห์ที่ 18-19 เวลาที่ใช้ในการสอบ 30 นาที/คนและลักษณะของข้อสอบมี รายละเอียดดังตาราง กาหนดสอบปลายภาคแบบอัตนัยสัปดาห์ที่ 20 เวลาที่ใช้ในการสอบ 120 นาที หัวข้อ เนื้อหาและลักษณะของ ข้อสอบมีรายละเอียดดังตาราง


หัวข้อ/เนื้อหาที่ใช้ในการสอบปลายภาค การไทเทรตเพื่อหาปริมาณกรด – เบส 8. สารละลายอิเล็กโทรไลต์และนอนอิเล็กโทรไลต์และสารละลายกรด และสารละลายเบสและทฤษฎีกรด-เบส  สมบัติของสารละลายอิเล็กโทรไลต์กับนอนอิเล็กโทรไลต์ และไอออนในสารละลายกรดและสารละลายเบส ทฤษฎี อาร์เรเนียส เบรินสเตด-เลาว์รี ลิวอิส และคู่กรด-เบส 9. การแตกตัวของกรดและเบสและการแตกตัวของน้า  การแตกตัวของกรดแก่และเบสแก่และการคานวณค่าการ แตกตัวการแตกตัวของกรดอ่อน เบสอ่อน การคานวณ ค่าคงที่การแตกตัวและเปอร์เซ็นต์การแตกตัว การแตกตัว ของน้าและค่าคงที่สมดุลของน้า 10. pH ของสารละลาย  ความสัมพันธ์ระหว่าง pH กับความเข้มข้นของไฮโดรเนียม ไอออน ความสัมพันธ์ระหว่าง pOH กับความเข้มข้นของไฮ ดรอกไซด์ไอออน ความสัมพันธ์ระหว่าง pH pOH [H3O+] และ [OH-] 11. อินดิเคเตอร์สาหรับกรด เบส  การทางานของอินดิเคเตอร์และช่วง pH ของการเปลี่ยนสี ค่า pI และสารละลายกรด เบสในชีวติ ประจาวัน 12. ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส  ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส ปฏิกิริยาไฮโดรลิซีสและการ หาค่าคงที่ไฮโดรลิซีส และความสัมพันธ์ของค่า pH pOH [H3O+] และ [OH-] 13. การไทเทรตกรด เบส  การไทเทรตเพื่อหาปริมาณกรดกับเบสและการประยุกต์ หลักการไทเทรตเพื่อใช้ในชีวิตประจาวัน 14. สารละลายบัฟเฟอร์  สารละลายบัฟเฟอร์ รวม

ลักษณะและจานวนข้อสอบ ปฏิบตั ิ

คะแนน 10.0

อัตนัย 2 ข้อ

3.0

อัตนัย 3 ข้อ

7.0

อัตนัย 3 ข้อ

6.0

อัตนัย 2 ข้อ

2.0

อัตนัย 2 ข้อ

6.0

อัตนัย 2 ข้อ

4.0

อัตนัย 1 ข้อ

2.0

ปฏิบัติ 1 ข้อ อัตนัย 15 ข้อ

40.0


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.