ใบกิจกรรมอัตรา

Page 1

การทดลอง ความเขมขนของสารกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี !

จุดมุงหมายเพื่อศึกษาผลของความเขมขนของสารที่มีตออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

จุดประสงคการทดลอง 1. ทาการทดลองเพื่อศึกษาผลของความเขมขนของสารตออัตราการเกิดปฏกิริยาเคมีได 2. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางความเขมขนของสารกับเวลาในการเกิดปฏิกิริยา และสามารถ แปลผลจากกราฟได 3. สรุปผลของความเขมขนของสารตั้งตนที่มีตออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีได เวลาที่ใช อภิปรายกอนการทดลอง ๕ นาที ทดลอง ๓๐ นาที อภิปรายหลังการทดลอง ๑๕ นาที รวม ๕๐ นาที สารเคมีและอุปกรณ


กอนทาการทดลองครูไดเตรียมการลวงหนา ดังนี้ ! เตรียมสารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต 0.3 mol/dm3 1000 cm3 โดยละลาย โซเดียมไทโอซัลเฟต (Na2S2 O3.5H2O) 74.4 g ในนากลั่น (ที่ตมใหมๆ และตั้งทิ้งไวใหเย็น แลว) ใหไดสาระลายปริมาตร 1000 cm3 (ไมควร เตรียมไวลวงหนานาน เพราะ สารละลายอาจเกิดปฏิกิริยากลายเปนกามะถันและซัลเฟอรไดออกไซด สารละลายกรดไฮ โดรคลอริก 2 mol/dm3 1000 cm3 โดยใชก รดไฮโดรคลอรกิ เขม ขน 12 mol/dm3 167 cm3 เตมิ ลงในนา อยา งชาๆ และทาใหส ารละลายมป รมิ าตรเปน็ 1000 cm3 สารละลา ยกรดไฮโดรคลอรกิ 0.3 mol/dm3 1000 cm3 โดยใชก รดไฮโดรคลอริกเขมขน 2 mol/ dm3 75 cm3 เตมิ ลงในนา อยา งชา ๆ และทาใหส ารละลายมป ริมาตรเปน 500 cm3 ! ครูนาอภิปรายกอนการทดลอง เพื่อแนะนาเกี่ยวกับการทดลอง ดังนี้ ใชหลอด ทดลองที่แหงและสะอาดสังเกตการเปลี่ยนแปลงและจับเวลาอยางละเอียด ควบคุมตัว แปลใหเหมือนกันทุกครั้งตลอดการทดลองเชนการเทสารละลายผสมกนัตองเทใหเหมือน กันทุกครั้ง และถาเขยาหลอดก็ตองเขยาใหเหมือนกันทุกหลอดขณะทดลองจะมีแกส SO2 เกิดขึ้นซึ่งเปนพิษ จึงควรหลีกเลี่ยงการสูดดม ไมควรเขียนเครื่องหมายกากบาทเบาหรือ หนักเกินไป เพราะเบาเกินไปจะสังเกตยาก ถาหนักเกินไปจะตองใชเวลาในการสังเกตเพิ่ม ขึ้นหรืออาจยังมองเห็นกากบาทอยูแมวาปฏิกิริยาสิ้นสุดลง ใหเริ่มจับเวลาตั้งแตเท สารละลายผสมกันจนกระทั้งมองไมเห็นเครื่องหมายกากบาท ถาปฏิกิริยาในหลอดใดเกิด เร็วมากจนจับเวลาไมทัน ใหบันทึกวาปฏิกิริยาเกิดเร็วมากหรือเกิดทันทีทันใด !

ทำการทดลองตามรายละเอียดการทดลอง เรื่อง ความเขมขนของสารกับอัตราการ

เกิดปฏิกิริยาเคมีในหนังสือเรียน และบันทึกผลการทดลอง ตัวอยางผลการทดลองตอนที่ 1 (นาขอมูลไปเขียนกราฟ)


5.ตัวอยางผลการทดลองตอนที่ 2 (นาขอมูลไปเขียนกราฟ)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.