โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (Rate of Chemical Reaction) จากการศึกษาวิชาเคมีที่ผานมา เราไดศึกษาสมบัติตาง ๆ ของกาซ ของเหลว ของแข็ง และ สารละลาย สมบัติในระดับโมเลกุลและพิจารณาปฏิกิริยาประเภทตาง ๆ ไปแลว การศึกษาขั้น ตอไปคือการศึกษาวาเมื่อปฏิกิริยาเกิดขึ้นแลวจะดําเนินตอไปไดรวดเร็วเพียงใด และจะเกิดขึ้นได มากนอยเพียงใดจึงจะสิ้นสุด
ภาพที่ 1 The Wide range of reaction rates. (Silberberg . 2003) (A) An explosion is much faster than the process of ripening (B) Process of ripening which is much faster than the process of rusting (C) Process of rusting which is much faster than the process of human age (D) Process of human age.
1
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
เคมี ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การศึ ก ษาอั ต ราการ Note เกิด ปฏิ กิ ริย าเรี ย กว า จลนศาสตรเคมี (Chemical Kinetics) ซึ่งตามปกติคําวา “จลนศาสตร” มี ความหมายเกี่ยวเนื่องกับการเคลื่อนที่ ซึ่งเปนเรื่องที่ เกี่ ย วข อ งกั บ อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย า (rate of chemical reaction) ซึ่งปฏิกิริยาหนึ่ง ๆ ภายใน สภาวะเดียวกัน จะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉพาะคา หนึ่ ง ซึ่ ง ขึ้ น อยู กั บ ธรรมชาติ ข องสารตั้ ง ต น เช น ปฏิกิริยาของกาซไฮโดรเจนกับกาซฟลูออรีนและ กาซไนโตรเจน 2HF H2 (g) + F2 (g) 3H2 (g) + N2 (g) 2NH3
very fast very slow
การศึกษาอัตราของปฏิกิริยาเคมีเปนวิชาหนึ่งของวิชาเคมี ไมเพียงแตวัดอัตราของปฏิกิริยา เทานั้น ยังศึกษาถึงปจจัยตาง ๆ ที่มีอิทธิพลตออัตราของปฏิกิริยานั้น 1. ปจจัยที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยา ไดแก 1.1 ธรรมชาติของสารตั้งตน (reactant) และ ผลิตผล (product) ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นชาหรือเร็วขึ้นอยูกับ ธรรมชาติของสาร เชน โดยทั่วไปสารที่ทําปฏิกิริยาเปน สารไอออนิกทั้งคูจะเกิดปฏิกิริยาเร็วกวาสารที่เปนโควา เลนท สารที่ทําปฏิกิริยาเปนกาซทั้งคูจะทําปฏิกิริยาไดเร็ว กวาปฏิกิริยาที่สารอยูในสถานะตางกัน
Note
1.2 ความเขมขนของสารตั้งตนและผลิตผล ความเขมขนของสารจะมีผลตออัตรา การเกิด ปฏิ กิกิ ริยาเคมี จากปฏิกิ ริยาระหวางโลหะแมกนีเ ซีย มกับกรดไฮโดรคลอริก ชว งแรก ปฏิกิริยาจะเกิดเร็วมากและจะคอย ๆ ชาลงในการเกิดกาซ H2 ยิ่งเวลาผานไปนานเทาใดอัตราการ เกิดปฏิกิริยาจะยิ่งลดลงเทานั้น
2
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
1.3 พื้นที่ผิว พื้นที่ผิวจะมีผลตออัตรา Note การเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาวิวิธพันธุเกิดขึ้นที่ผิว ของวัฏภาค ดังนั้นยิ่งเพิ่มพื้นที่ผิวของตัวทําปฏิกิริยา ปฏิกิริยาก็ยิ่งเกิดขึ้นเร็ว เชนปฏิกิริยาของสังกะสีกับ กรดไฮโดรคลอริกเจือจางซึ่งใหกาซไฮโดรเจน ถา ใชสังกะสีชิ้นโตปฏิกิริยาเกิดชาแตถาใชสังกะสีชิ้น เล็ ก หรื อ ผงสั ง กะสี ป ฏิ กิ ริ ย าจะเกิ ด รวดเร็ ว ทั้ ง นี้ เพราะในปริมาณที่เทากันเมื่อขนาดชิ้นวัตถุยิ่งเล็กลง พื้นที่ผิวยิ่งมากขึ้น 1.4 อุ ณ หภู มิ การเพิ่ ม อุ ณ หภู มิ ทํ า ให ปฏิ กิ ริ ย าเร็ ว ขึ้ น เป น ที่ พ บเห็ น อยู เ สมอว า เมื่ อ ใด ตองการใหปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น เราจะตองตมหรือเผา ตัวทําปฏิกิริยา ถาปลอยใหสารทําปฏิกิริยากันเองใน อุณหภูมิธรรมดา บางทีอาจไมเกิดปฏิกิริยาขึ้นเลยก็ ไดหรือเกิดชามาก น้ํามันตั้งทิ้งไวในอากาศเฉย ๆ ไม ลุ ก ไหม แ ต พ อจุ ด ไฟเข า ที่ น้ํ า มั น น้ํ า มั น จะทํ า ปฏิกิริยากับออกซิเจนลุกไหมเปนเปลวไฟ 1.5 ตัวเรงปฏิกิริยา ตัวเรงปฏิกิริยาคือ สารซึ่ ง เพิ่ ม อั ต ราของปฏิ กิ ริ ย าโดยตั ว เองไม ไ ด เปลี่ยนแปลงไปดวยเมื่อเสร็จสิ้นปฏิกิริยา เชนใน การเผาโพแทสเซียมคลอเรต แมงกานีสไดออกไซด ที่ใสลงไปเปนตัวเรงปฏิกิริยาอาจเปนชนิดกอนเล็ก ๆ แต เ มื่ อ เสร็ จ ปฏิ กิ ริ ย าแล ว ก อ นแมงกานี ส ได ออกไซดแปรสภาพเปนผงละเอียด 1.6 ความดัน ความดันจะมีผลตอปฏิกิริยาในกรณีปฏิกิริยาที่เกี่ยวกับกาซ กลาวคือเมื่อ เพิ่มความดันโมเลกุลของกาซจะชนกันมากขึ้นปฏิกิริยาจะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น
3
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
2. การอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นไดอยางไร นักวิทยาศาสตรพยายามอธิบาย ทฤษฎีหนึ่งที่ตอบ คําถามนี้ไดคือ ทฤษฎีการชน (Collision theory) และ ทฤษฎีทรานซิชันสเตด (Transition state theory) 2.1 ทฤษฎีการชน (Collision theory) มีหลักทั่วไปกลาววา การเกิดปฏิกิริยาเคมี โมเลกุลของ สารตั้งตนหรือสารที่เขาทําปฏิกิริยาจะตองเกิดการชนกัน กอน พิจารณาปฏิกิริยาระหวางโมเลกุลของสาร A กับ B โดยตรง ถาเพิ่มความเขมขนของ A เปนสองเทา จํานวน การชนระหวาง A – B ก็จะเพิ่มเปนสองเทาเนื่องจาก จํานวนโมเลกุลของ A ที่จะชนกับ B เพิ่มเปนสองเทา ดั ง นั้ น อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าก็ เ พิ่ ม เป น สองเท า ด ว ย ใน ทํานองเดียวกันการเพิ่มความเขมขนของ B เปนสองเทาก็ จะทําใหอัตราเพิ่มเปนสองเทาเชนกัน นอกจากนี้โมเลกุล ของสารตั้งตนจะตองชนกันในทิศทางที่เหมาะสมดวย เชน ปฏิกิริยาระหวางกาซไฮโดรเจนกับกาซไอโอดีนเกิดกาซ ไฮโดรเจนไอโอไดด โมเลกุลของกาซไฮโดรเจนและกาซ ไอโอดี น หรื อ ปฏิ กิ ริ ย าของออกซิ เ จนกั บ ไนโตเจน ออกไซด
Note
4
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
ภาพที่ 2 การจัดตัวของโมเลกุล H2 และ I2 เมื่อพิจารณาการชนกันของโมเลกุล H2 และ I2 พบวาการชนกันแบบ ข. มีโอกาสที่จะ เกิดปฏิกิริยาเคมีไดมากกวาแบบ ก เนื่องจากมีทิศทาง ในการชนกั น ของทั้ ง สองโมเลกุ ล มี ค วามเหมาะสม ทฤษฎีการชนมีหลักการที่สอดคลองกับหลักความเปน จริง แตเราพบวาความสัมพันธระหวางอัตรากับการ ชนของโมเลกุ ล ซับซ อ นกว า นี้ ในทางปฏิ บัติพ บว า หลาย ๆ กรณีปฏิกิริยาไมไดเกิดขึ้นเพราะการชนกันแต เพี ย งอย า งเดี ย ว จากการทดลองและคํ า นวณพบว า จํานวนครั้งของการชนกันที่ไดผลเปนเพียงเศษสวน นอยมากของจํานวนครั้งของการชนกันทั้งหมด จาก การคํานวณพบวาในปฏิกิริยาทั่วไป การชนกันทีไ่ ดผล มีเพียง 1 ใน 107 ครั้งเทานั้นโดยประมาณ
5
Note
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
โมเลกุลที่เขาชนกันจะมีการเปลี่ยนแปลงของพลังงานจลนและพลังงานศักย เมื่อ สองโมเลกุลเขาใกลกันและกันจะเกิดแรงผลักระหวางกลุมหมอกของอิเล็กตรอน เปนเหตุให โมเลกุลเคลื่อนที่ชาลง พลังงานจลนของโมเลกุลจะลดลง ในขณะเดียวกันพลังงานศักยจะเพิ่มขึ้น หรือกลาวอีกนัยหนึ่งวา พลังงานจลนเปลี่ยนไปเปนพลังงานศักยขณะที่โมเลกุลชนกัน ถาโมเลกุล เคลื่อนที่ชา (พลังงานจลนต่ํา) เขาชนกัน พลังงานศักยที่ไดจากพลังงานจลนไมเพียงพอที่จะ เอื้ออํานวยใหกลุมหมอกอิเล็กตรอนจัดเรียงตัวใหม โมเลกุลทั้งสองจะเคลื่อนที่ออกจากกันโดยไม มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ตรงกันขาม ถาโมเลกุลเคลื่อนที่ดวยความเร็วสูง (พลังงานจลนสูง) เขา ชนกันพลั งงานศั ก ยที่ ไ ดจากพลังงานจลนสูงพอที่จะเอื้ออํานวยให ก ลุมหมอกอิเ ล็กตรอนทะลุ ทะลวงกันและกัน เกิดการสลายของพันธะเดิมและสรางพันธะใหมเกิดผลิตผลขึ้น และเมื่อผลิตผล ที่ไดเคลื่อนที่ออกไป พลังงานศักยจะลดลงขณะที่พลังงานจลนเพิ่มขึ้น โมเลกุลเหลานี้จึงเคลื่อนที่ เร็วขึ้น สรุปไดวาโมเลกุลที่มีพลังงานจลนสูง (พลังงานศักยสูงเมื่อชนกัน) เทานั้นที่เกิดปฏิกิริยาได และพลังงานขั้นต่ําสุดที่โมเลกุลจะตองมีเพื่อเอื้ออํานวยใหเกิดปฏิกิริยาก็คือพลังงานกอกัมมันต (activation energy , Ea) นั่นเอง ถามีพลังงานไมถึงคานี้โมเลกุลก็จะไมมีการเปลี่ยนแปลงหลังจาก การชน
ภาพที่ 3 การเปลี่ยนแปลงพลังงานศักยสําหรับปฏิกิริยาคายความรอนและดูดความรอน Note
6
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
2.2 ทฤษฎี ท รานซิ ชั น สเตด (Transition state theory) หรือทฤษฎีสถานะ ทรานซิชัน หรือทฤษฎีสารเชิงซอนกัมมันต เปนอีก ทฤษฎีหนึ่งที่เกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาและอัตราการ เกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าทฤษฎี นี้ ข ยายความคิ ด เรื่ อ งการชน ออกไปอีก อธิบายไดวา ในการเกิดปฏิกิริยาจะตอง มีการเปลี่ยนแปลงที่พันธะบางพันธะอาจยืดและแตก ออกไปแลวเกิดพันธะใหมชั่วขณะหนึ่งที่อนุภาคเขา มาปะทะกันมันจะรวมกันเกิดเปนสารเชิงซอนชนิด หนึ่ ง เรี ย กว า แอกติ เ วเตดคอมเพล็ ก (activated complex) ซึ่งไมเสถียรและปรากฏอยูบนสุดยอด ของเสนโคงของแผนภาพแสดงพลังงานศักยกับการ ดําเนินไปของปฏิกิริยา แอกติเวเตดคอมเพล็กนีไ้ มใช สารตั้ ง ต น หรื อ สารผลิ ต ผล แต เ ป น การรวมเข า ดวยกันของอะตอมของสารที่เขาทําปฏิกิริยา ดังนี้ A–A B–B
A B
Note
A B
A B
A + B
แอกติเวเตดคอมเพล็ก
เสนขีด ---- ระหวางอะตอมในแอกติเวเตดคอมเพล็ก แสดงใหเห็นวาพันธะ ระหวาง A-A และ B-B เริ่มสลายลง และพันธะ A-B ของผลิตผลเริ่มเกิดขึ้น และวงเล็บมี ความหมายวา แอกติเวเตดคอมเพล็กนี้ไมเสถียร ซึ่งอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงได 2 อยางคืออาจเกิด เปนผลิตผลหรือสารตั้งตนก็ไดสุดยอดของเสนโคงของพลังงานศักยที่พบแอกติเวเตดคอมเพล็ กเรียกวา ทรานซิชันสเตด (transition state แปลวาภาวะที่เกิดการเปลี่ยนแปลง)
7
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
ภาพที่ 4 แสดงทรานซิชันสเตด และแอกติเวเตดคอมเพล็ก
ภาพที่ 5 Reaction energy diagram for the reaction between CH3Br and OH-
8
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
ถาสารตั้งตน มีพลังงานจลนสูงไม มาก การปะทะกั นจะใหพลังงานศัก ยสูงไม พอที่จะทําใหเกิดสารเชิงซอนกอกัมมันต โมเลกุลทั้งสองก็อาจแยกออกจากกันไปเลยโดยไมเกิด อะไรขึ้น ความแตกตางระหวางพลังงานของสารเชิงซอนกอกัมมันต (พลังงานที่เปนคาสูงสุด) กับ พลังงานของตัวทําปฏิกิริยา คือ พลังงานกอกัมมันต นั่นเอง 3. พลังงานกอกัมมันต ดังที่เสนอไว ในทฤษฎีของการชนวา การชนกันที่จ ะใหเ ปนผลสําเร็ จนั้นต อง ประกอบดวยการชนในทิศทางที่เหมาะสม และพลังงานของอนุภาคก็ตองสูงพอเพียงดวย เราเรียก พลังงานจํานวนนอยที่สุดที่จะทําใหเกิดปฏิกิริยาขึ้นไดวา พลังงานกอกัมมันต เมื่อพลังงานกอกัม มั น ต มี ค าน อย ปฏิ กิ ริย ามี อั ต ราเร็ว ปฏิ กิริย าเร็ว บางปฏิกิ ริย าแทบไมมี พ ลั ง งานกอกั มมัน ต เ ลย อนุภาคของตัวทําปฏิกิริยามีพลังงานรวมกันแลวเกินคาพลังงานกอกัมมันตไดงาย ถาพลังงานกอกัม มันตมีคามาก ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นชา การเพิ่มอุณหภูมิทําใหอัตราของปฏิกิริยาเพิ่มเร็วขึ้นเพราะเปน การเพิ่ มพลั งงานจลนใ หแก อนุภาคของตั ว ทําปฏิกิริย า และเพิ่มจํานวนอนุภาคที่มี พ ลังงานสูง พอที่จะทําใหพลังงานศักยของระบบเกินพลังงานกอกัมมันต ซึ่งทําใหปฏิกิริยาเกิดไดสําเร็จ
ภาพที่ 6 การเดินทางขามภูเขา จากภาพคนที่จะเดินขามภูเขาไดจะตองแข็งแรกมาก เปรียบเสมือนอนุภาคของสารที่มี พลังงานสูง ดังนั้นจํานวนคนที่จะขามภูเขาไดภายในเวลาที่กําหนดจึงขึ้นอยูกับองคประกอบที่ สําคัญ 2 ประการคือ (1) จํานวนคนที่แข็งแรงหรือมีพลังงานมาก และ (2) ความสูงของภูเขา เมื่อ พลังงานกอกัมมันตมีคานอย อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะมีคา…………. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเร็วบาง ปฏิกิริยาแทบไมมีพลังงานกอกัมมันตเลย อนุภาคของตัวทําปฏิกิริยามีพลังงานรวมกันแลวเกินคา พลังงานกอกัมมันตไดงาย ถาพลังงานกอกัมมันตมีคามาก ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้น……… การเพิ่ม อุณหภูมิ ทําใหอัตราของการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มเร็วขึ้นเพราะเปนการเพิ่มพลังงานจลนใหแกอนุภาค ของตัวทําปฏิกิริยา และเพิ่มจํานวนอนุภาคที่มีพลังงานสูงพอที่จะทําใหพลังงานศักยของระบบเกิด กวาพลังงานกอกัมมันต ซึ่งทําใหปฏิกิริยาเกิดไดสําเร็จ 9
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
แบบฝกหัด 1. จงยกตัวอยางปฏิกิริยาที่เกิดชามาก (ใชเวลาหลาย ๆ วันจึงเกิดสมบูรณ) และปฏิกิริยาที่ เกิดขึ้นเร็วมาก (ปฏิกิริยาสิ้นสุดภายในไมกนี่ าทีหรือไมกวี่ ินาที) มาชนิดละ 2 ตัวอยาง …………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………. 2. พลังงานกอกัมมันตคืออะไร มีบทบาทในจลนศาสตรเคมีอยางไร …………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………. 3. จงระบุปจจัยทีท่ ําใหอนุภาคชนกันแลวเกิดปฏิกิริยาเคมีได …………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. 4. จงเขียนรูปแสดงการจัดตัวของโมเลกุลและทิศทางการชนกันของโมเลกุลที่นาจะทําให เกิดปฏิกิริยาเคมีไดในปฏิกิรยิ าตอไปนี้ H2 (g) + CO2 (g) ก. H2O (g) + CO (g) ข. NO2 (g) + CO (g) NO (g) + CO2 (g) …………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
10
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
4. พลังงานกับการดําเนินไปของปฏิกิริยาเคมี การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีพลังงานมาเกี่ยวของดวย เนื่องจากมีการสลายและสราง พันธะระหวางอะตอมของสารในปฏิกิริยา อาจแสดงไดดวยกราฟดังรูป
ภาพที่ 7 Reaction energy diagrams and possible transition states for three reaction(silberberg.2003) 2 NO(g) + Cl2 (g) NO2 (g) + O2 (g) Cl2 (g) + O2 (g)
(A) 2NOCl(g) (B) NO (g) + O3 (g) (C ) 2ClO (g)
จากกราฟ (A) สารตั้งตนมีพลังงานต่ํากวาสารผลิตภัณฑ กราฟนี้เปนปฏิกิริยาดูด พลังงานหรือดูดความรอน (Endothermic Reaction) กราฟ (B) และ (C) สารตั้งตนมีพลังงานสูง กวาสารผลิตภัณฑ กราฟนี้เปนปฏิกิริยาคายพลังงานหรือคายความรอน (Exothermic Reaction) Note
11
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
พลังงาน
ก
ข
ภาพที่ 8 การเปลี่ยนพลังงานในแบบคายพลังงานและดูดพลังงาน จากรูป ก C และ D มีพลังงานต่ํากวา A และ B แสดงวาปฏิกิริยานี้ปลอยพลังงาน ออกมา พลังงานที่ปลอยออกมาเปนความรอนของปฏิกิริยา ปฏิกิริยานี้เปนแบบคายความรอน ตาม รูปจะเห็นไดวาความรอนของปฏิกิริยาไมเกี่ยวของกับพลังงานกอกัมมันตแตอยางใด ถาพลังงาน ของ C กับ D สูงกวาพลังงานของ A กับ B ดังรูป ข ปฏิกิริยาเปนแบบดูดกลืนความรอน ถา ตองการใหปฏิกิริยาดําเนินตอไป จะตองใสพลังงานเขาไปเรื่อย ๆ
ภาพที่ 9 พลังงานกอกัมมันตของ ปฏิกิ ริย าไปข างหนา และของปฏิกิ ริย า ผันกลับ
สมมติวาปฏิกิริยาระหวาง A และ B ไปเปน C และ D เปนปฏิกิริยาคายความรอน และสามารถผันกลับได กลาวคือ C และ D สามารถทําปฏิกิริยากันกลับมาเปน A และ B ปฏิกิริยาที่ ผันกลับก็จะเปนปฏิกิริยาแบบดูดความรอน เราจะเห็นไดวาพลังงานกอกัมมันตของปฏิกิริยาผัน กลับคือ C กับ D ไปเปน A กับ B นั้นมีคามากกวาพลังงานกอกัมมันตของปฏิกิริยาระหวาง A กับ B ไปเปน A กับ C 12
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
แบบฝกหัด 5. จากสมการ O3 (g) + O (g) 2O2 (g) พลังงานกอกัมมันตของปฏิกิริยาไปขางหนาเทากับ 19 kJ และพลังงานของปฏิกิริยานี้เทากับ – 392 kJ จงวาดกราฟแสดงความสัมพันธของพลังงานกับการดําเนินไปของปฏิกิริยา และคํานวณหาคา พลังงานกอกัมมันตของปฏิกิริยายอนกลับ
6. จากภาพที่กําหนดให
2 OH + 72 kJ
78 kJ
O + H2O จงเขียน Ea (fwd) , Ea (rev) และ ΔHrxn ที่ตําแหนงที่ถกู ตองในภาพ พรอมวาดแอกติเวเตดคอมเพล็กบริเวณทรานซิชันสเตด และ คํานวณ Ea (rev) ของปฏิกิริยานี้ …………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. 13
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
4. อัตราการเกิดปฏิกิริยาและการวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา อัตราของปฏิกิริยา (rate of chemical reaction) คืออัตราซึ่งสารตั้งตน (reactant) ทําปฏิกิริยาไป หรืออัตราซึ่งผลิตผล (product) ปรากฏขึ้นหรือเกิดขึ้นจากปฏิกิริยา ในการศึกษา จลนศาสตรเคมี มักระบุอัตราเปนการลดลงความเขมขนของสารตั้งตนหรือการเพิ่มขึ้นของผลิตผล กับเวลา ซึ่งสามารถวัดไดจากการทดลองไดแก (1) ปริมาณกาซที่เกิดขึ้น กรณีที่การวัดความเขมขนโดยตรงของสาร (2) ความดันที่เปลี่ยนแปลง ทําไดยาก นักเคมีมักวัดสมบัติที่สัมพันธ (3) การเปลี่ยนสี โดยตรงกับความเขมขน เชน ความดัน สี (4) การเกิดตะกอน แลวจึงเปลีย่ นเปนความเขมขน (5) การเกิดกรดหรือเบส ในวิชาจลนศาสตรเคมี ปริมาณของสารตั้งตนที่ลดลงหรือผลิตภัณฑที่เกิดขึ้นนิยม ระบุหนวยเปนความเขมขน โมล/ลิตร หรือ M เสมอ และเขียนแทนดวยวงเล็บ [ ] ดังนั้นความ เขมขนเปนโมล/ลิตรของ N2O5 จึงเขียนแทนดวย [N 2O 5 ] เชน [N 2O 5 ] = 0.1 หมายความวา N2O5 มีความเขมขน 0.1 โมล/ลิตร อัตราการเกิดปฏิกิริยาระบุใหทราบวาการเปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยาเกิดรวดเร็ว เพียงใด ซึ่งโดยทั่วไปจะระบุในเทอมของการเปลี่ยนแปลงความขมขนของสารตั้งตนหรือผลิตผลที่ เกิดในชวงเวลาที่กําหนด เชน สมการ A + 2B C อัตราการเกิดปฏิกิริยา = ความเขมขนของ C ที่เปลี่ยนไป เวลาที่เปลี่ยนไป อัตราการเกิดปฏิกิริยา = Δ (ความเขมขนของ C) ΔT =
Δ[P ] Δt
เนื่องจากอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่เวลาตาง ๆ ไมเทากัน จึงควรเขียนวา อัตราการเกิดปฏิกิริยา =
d [C ] dt
หรือถาเขียนในรูปของการเปลี่ยนความเขมขนของสารตั้งตน A และ B จะเขียนได ดังนี้ อัตราการเกิดปฏิกิริยา
=−
d [A] d [B ] =− dt dt
14
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
จากสมการ A + 2B C ดวยเหตุที่วาอัตราการลดลงไปของ A เปนครึ่งหนึ่งของการลดลงไปของ B เพราะฉะนั้น จึงเขียนความสัมพันธระหวางอัตราการเกิดปฏิกิริยาในรูปของสารตาง ๆ ได จะตอง คิดตอ 1 โมลของสารนั้น ๆ จึงเขียนไดดังนี้ อัตราการเกิดปฏิกิริยา
=−
d [ A] 1 d [B ] d [P ] =− = dt 2 dt dt
คําวา อัตราการเกิดปฏิกิริยา หมายถึงอัตราสุทธิ (net rate) มิไดหมายถึงอัตราการ เกิดปฏิกิริยาดําเนินไปขางหนา (forward reaction) อยางเดียว เพราะปฏิกิริยายอนกลับ (backward reaction) ก็อาจเกิดไดเชนกัน จะเห็นวาหนวยของอัตราเร็วของปฏิกิริยา คือหนวยของความเขมขนหารดวยเวลา เราทราบวาหนวยความเขมขนที่นิยมคือ mol dm-3 หรือ mol l-1 และหนวยของเวลาคือ s (second) ดังนั้น หนวยของอัตราการเกิดปฏิกิริยาจึงเปน mol dm-3 s-1 และจะติดตามสารที่วัดไดงายที่สุด เชน ปฏิกิริยาระหวาง 0.10 mol ของ CO กับ 0.10 mol ของ NO2 ในภาชนะปริมาตร 1 ลิตรที่ อุณหภูมิหนึ่ง CO2 (G) + NO (g) CO (g) + NO2 (g) เราอาจเลือกติดตามความเขมขนของ CO ที่เปลี่ยนไปที่เวลาตาง ๆ แลวนําคาที่ ไดมาเขียนกราฟกับเวลา จะไดกราฟตามภาพที่ 9 ความเร็วของปฏิกริ ิยาที่เวลาใด ๆ ก็คือความชัน ของกราฟที่เวลานั้น ตัวอยางเชนที่ t = 20 s ความชันมีคา เทากับ 0.0010 mol dm-3 s-1
ภาพที่ 10 การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา
15
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
ตัวอยาง ปฏิกิริยาระหวางแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก ดังสมการ Mg (s) + 2 HCl (aq) MgCl2 (aq) + H2 (g) สามารถวัดความเขมขนของสารละลายกรดไฮโดรคลอริกในระหวางเกิดปฏิกิริยา ไดดังนี้ เวลา (s) 0 50 100 150 200 250
ความเขมขนของ HCl (mol/dm3) 1.80 1.65 1.50 1.30 1.00 0.85
จากขอมูล สามารถหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาไดดังนี้ 1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ย วัดจากการเปลี่ยนแปลงปริมารสารตั้งตน ทั้งหมด หรือสารผลิตภัณฑทั้งหมดตอเวลาทั้งหมดที่ใชในการเกิดปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ย = ปริมาณสารตั้งตนที่ลงลงทั้งหมด เวลาทั้งหมดทีใ่ ชในการเกิดปฏิกิริยาเคมี หรือ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ย = ปริมาณสารผลิตภัณฑที่เกิดขึ้นทัง้ หมด เวลาทั้งหมดที่ใชในการเกิดปฏิกิริยาเคมี =
1 . 80 − 0 . 85 250
= 3.8 x 10 –3 mol dm-3 s-1 2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในชวงวินาทีที่ 150 – 200 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในชวงเวลาหนึง่ = ปริมาณสารตั้งตนที่ลดลงในชวงเวลานั้น เวลาในชวงนัน้ ๆ
16
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในชวงเวลาหนึง่ = ปริมาณสารผลิตภัณฑที่เพิ่มขึ้นในชวงเวลานั้น เวลาในชวงนัน้ ๆ อัตราการเกิดปฏิกิริยาของปฏิกิริยานี้จึง = ปริมาณสารตั้งตนที่ลดลงในชวงวินาทีที่ 150-200 เวลาในชวงวินาทีที่ 150 - 200 =
1 . 30 − 1 . 00 200 − 150
= 6 × 10 −3
mol dm-3 s-1
3. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่วินาทีที่ 200 หาไดจากความชันของกราฟระหวาง ความเขมขนกับเวลา อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่วินาทีที่ 200 =
y x
ภาพที่ 11 การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่เวลาหนึ่ง ๆ Note
17
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
แบบฝกหัด 1 เมื่อสาร A ทําปฏิกิริยากับสาร B ไดผลิตภัณฑเปนสาร C เพียงชนิดเดียวจากการทดลอง พบวาอัตราการเกิดปฏิกิริยาถาคิดจากสาร A จะเทากับ ½ เทาของอัตราการลดลงของสาร A ถาคิด จากสาร B จะเทากับ 2 เทาของอัตราการลดลงของสาร B และถาคิดจากสาร C จะเทากับ 1/3 เทา ของอัตราการเพิ่มขึ้นของสาร C จงเขียนสมการเคมีที่ใชแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น …………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. 2. จากปฏิกิริยาตอไปนี้ 2 Al + 3 H2SO4 Al2(SO4)3 + 3 H2 จากการทดลองพบวาในเวลา 10 นาที ใช Al หมดไป 13.5 กรัม จงคํานวณ ก. จงคํานวณอัตราการเปลี่ยนแปลง H2SO4 และ H2 เปนโมลตอนาที ข. จงคํานวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยจากการทดลองนี้ …………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………….
18
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
3. จงเขียนอัตราการเกิดปฏิกิริยาตอไปนี้ในรูปของการลดความเขมขนของสารตั้งตนและ การเพิ่มความเขมขนของสารผลิตภัณฑ CO2(g) + 2H2O(g) CH4 (g) + 2O2 (g) …………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. Note
19
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
5. กฎอัตราและลําดับของปฏิกิริยา การศึ ก ษาผลของความเข ม ข น ของ สารตั้งต น ตออั ตราการเกิด ปฏิ กิริย าวิธีห นึ่งคือหาวา ความเขมขนเริ่มตนมีผลตออัตราเริ่มตน (initial rate) อย า งไรบ า ง โดยทั่ ว ไปเรามั ก นิ ย มวั ด อั ต ราเริ่ ม ต น เพราะเมื่ อ ปฏิ กิ ริ ย าดํ า เนิ น ไปสารตั้ ง ต น จะมี ค วาม เขมขนลดลง และอาจทําใหการวัดการเปลี่ยนแปลง ความเขมขนไดยากขึ้น นอกจากนี้ยังอาจเกิดปฏิกิริยา ยอนกลับจากผลิตภัณฑไปเปนสารตั้งตน ทําใหการวัด อัตราผิดพลาดไดแตที่เริ่มตนปฏิกิริยาจะไมมีปญหา ดังกลาวนี้ ในทางปฏิบัติอาจติดตามความเขมขนของ สารตั้ งตน หรื อผลิ ตผลที่ เ วลาตาง ๆ แลว นํามาเขีย น กราฟระหวางความเขมขนกับเวลา จากนั้นจึงคํานวณ ความเขมขนที่เวลา t = 0 ดังแสดงในภาพ
Note
ความเขมขน อัตราเริ่มตน คิดจากสารเริ่มตน
ผลิตภัณฑ
สารเริ่มตน อัตราเริ่มตน คิดจากผลิตภัณฑ
เวลา ภาพที่ 12 การเปลี่ยนแปลงความเขมขนของสารตั้งตนและสารผลิตภัณฑ กับเวลา
20
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
การศึกษาอัตราของปฏิกิริยา ใชวิธีทําการทดลองหลาย ๆ การทดลอง โดยที่แตละการ ทดลองใชความเขมขนเริ่มตน (initial concentration) ของสารตั้งตนตางกันแลวบันทึกอัตราเริ่มตน ที่ไดจากการทดลอง และสามารถเขียนความสัมพันธระหวางอัตราการเกิดปฏิกิริยากับความเขมขน ของสารไดในรูปของคณิตศาสตรดังนี้ A+B C+D อัตราการเกิดปฏิกิริยา α [A] [B] หรือ อัตราการเกิดปฏิกิริยา = k [A] [B] หรือ R (Rate) = k [A] [B] สมการแสดงความสัมพันธระหวางอัตราการเกิดปฏิกิริยากับความเขมขนของสารตั้งตนที่มี ผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เรียกวา กฎอัตรา (rate law) คา k เปนคาคงที่เรียกวา คาคงที่ อัตรา (rate constant) คา k จะมีคาเทากับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเมื่อสารตั้งตนทุกชนิดมีความ เขมขนเทากับหนึ่งหนวย และ k จะมีคามากหรือนอยขึ้นกับปจจัยตาง ๆ เชน ธรรมชาติของสารตั้ง ตน อุณหภูมิ ฯลฯ −
d [ A] d [B ] d [C ] d [D ] =− = = = k [ A][ B ] dt dt dt dt
สําหรับปฏิกิริยาตอไปนี้ 3A + 2B C+D สามารถเขียนกฎอัตราในเทอมของผลคูณของความเขมขนของสารตั้งตนยกกําลังดวยเลข บางตัวไดดังนี้ −
1 d [ A] 1 d [B ] d [C ] d [D ] =− = = = k [ A]m [B ]n 3 dt 2 dt dt dt
สําหรับเลขยกกําลัง m และ n อาจมีคาเทาใดก็ได จะเปนบวกหรือลบก็ได โดย m คือ อันดับ (order) ของปฏิกิริยา เมื่อถือ A เปนหลัก n คือ อันดับ (order) ของปฏิกิริยา เมื่อถือ B เปนหลัก m + n คือ อันดับรวมของปฏิกิริยา (overall order of reaction) (คา m และ n ไมจําเปนตองเทากับคาสัมประสิทธิ์ในสมการปริมาณสัมพันธ ดังนั้นคา ของ m และ n จะตองหาจากการทดลองเทานั้น)
21
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
m+n m+n m+n m+n m+n
เทากับ เทากับ เทากับ เทากับ เทากับ
0 เรียกวา 1 เรียกวา 2 เรียกวา 3 เรียกวา 3/2 เรียกวา
ปฏิกิริยาอันดับศูนย (zero – order reaction) ปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง (first – order reaction) ปฏิกิริยาอันดับสอง (second – order reaction) ปฏิกิริยาอันดับสาม (third – order reaction) ปฏิกิริยาอันดับสามสวนสอง (three – halves
order reaction) ตัวอยางเชน การทดลองปฏิกิริยาระหวางออกซิเจนและไนโตรเจนออกไซด O2(g) + 2NO(g) การทดลองที่ 1 2 3 4 5
2NO2 (g)
ความเขมขนเริม่ ตนของปฏิกิริยา (โมล/ลิตร) O2 NO 1.10 x 10-2 1.30 x 10-2 1.10 x 10-2 2.60 x 10-2 1.10 x 10-2 3.90 x 10-2 2.20 x 10-2 1.30 x 10-2 3.30 x 10-2 1.30 x 10-2
อัตราเริ่มตน (mol dm-3 s-1) 3.21 x 10-3 12.8 x 10-3 28.8 x 10-3 6.40 x10-3 9.60 x 10-3
จากตาราง การทดลองที่ 1 และ 4 จะเห็นวาถาเพิ่มความเขมขนเริ่มตนของ O2 (g) เปนสอง เทา โดยที่ความเขมขนของ NO (g) คงที่ อัตราการเกิดปฏิกิริยาก็จะเพิ่มขึ้น และจากการทดลองที่ 1 และ 2 จะเห็นวาถาเพิ่มความเขมขนเริ่มตนของ NO (g) เปนสองเทา โดยที่ความเขมขนของ O2 (g) คงที่ อัตราการเกิดปฏิกิริยาก็จะเพิ่มขึ้น
[ ] [ ]
m n Rate 4 k O 2 4 [NO ] 4 = m n Rate 1 kO 2 1 [NO ] 1 Rate 4 ⎛ [O 2 ] 4 =⎜ Rate 1 ⎜⎝ [O 2 ]1
⎞ ⎟⎟ ⎠
m
6.40 x 10-3 mol dm-3s-1 = 3.21 x 10-3 mol dm-3s-1
22
2.20 x 10-2 mol dm-3s-1 1.10 x 10-3 mol dm-3s-1
m
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
= (2.00)m ดังนั้น m = 1
1.99 2 = 2m
จะเห็นวาปฏิกิริยานี้เปนปฏิกิริยาอันดับหนึ่งเมื่อยึด O2 เปนหลัก แสดงวาเมื่อเพิ่ม ความเขมขนของ O2 เปนสองเทา อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา
[ ] [ ]
m n Rate 2 k O 2 2 [NO ] 2 = m n Rate 1 kO 2 1 [NO ] 1 Rate 2 ⎛ [NO ]2 =⎜ Rate 1 ⎜⎝ [NO ]1
⎞ ⎟⎟ ⎠
n
12.8 x 10-3 mol dm-3s-1 = 3.21 x 10-3 mol dm-3s-1
2.60 x 10-2 mol dm-3s-1 1.30 x 10-3 mol dm-3s-1
n
= (2.00)n ดังนั้น n = 2
3.99 4 = 2m
จะเห็นวาปฏิกิริยานี้เปนปฏิกิริยาอันดับสองเมื่อยึด NO เปนหลัก แสดงวาเมื่อเพิ่ม ความเขมขนของ NO เปนสองเทา อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้นเปน 4 เทา ดังนั้นจะเขียนกฎ อัตราของปฏิกิริยานี้ไดวา Rate = k[O2][NO]2 นักเรียนอาจจะใชตวั อยางนีค้ ํานวณโดยใชการทดลองครั้งอื่น ๆ เพื่อตรวจสอบผลการทดลองได Note
23
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
แบบฝกหัด 1. Determining Reaction Orders from Initial Rate Data Many gaseous reactions occur in a car engine and exhaust system. One of these is NO2(g) + CO (g) NO(g) + CO2(g) rate = k[NO2]m[CO]n Experiment Initial Rate (mol/L.s) Initial [NO2](mol/L) Initial [CO](mol/L) 1 0.0050 0.10 0.10 2 0.0800 0.40 0.10 3 0.0050 0.10 0.20 ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
24
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
การหาคาคงที่อัตรา (Determining the Rate Constant) เมื่อทราบกฎอัตราของปฏิกิริยาตาง ๆ แลวก็สามารถหาคาคงที่อัตราได คาคงที่อัตรานี้เปนคาเฉพาะที่อุณหภูมิหนึ่ง ในที่นี้จะใชขอมูลจากการทดลองปฏิกิริยาระหวาง ออกซิเจนและไนโตรเจนออกไซด (หนา 19) k =
=
rate 1 [O 2 ][ NO ] 2
=
(1.10 x 10
3 . 21 x 10 −3 mol / L.s 1 . 86 x 10
−6
mol
3
3
3 . 21 x 10 −3 mol / L.s −2
)(
mol / L 1 . 30 x 10 − 2 mol / L
)
2
= 1 . 73 x 10 3 L2 / mol 2 .s
/L
นักเรียนสามารถตรวจสอบไดจากการทดลองครั้งอื่น ๆ ไดดวยวิธีเดียวกันนี้ จะสังเกตเห็น ไดวาคา k นี้จะมีหนวยขึ้นอยูกับอันดับของปฏิกิริยา ดังนั้นคา k จึงไมนิยมเขียนหนวยไว นักเรียน ลองตรวจสอบหนวยของคา k ในเมื่อเวลามีหนวยเปน s ในตารางนี้ Overall Reaction Oder 0 1 2 3
Unit of k (t in seconds) Mol/L.s (or mol L-1s-1) 1/s (or s-1) L/mol.s (or L mol-1 s-1) L2/mol2.s (or L2 mol-1 s-1)
สามารถสรุปเปนสูตรทั่วไปไดวา Unit of k = Note
25
(L/mol)order – 1 unit of t
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
6. กลไกของปฏิกิริยาและอัตราการเกิดปฏิกิริยา 6.1 กระบวนการปฐม สมการแสดงปฏิกิริยาเคมีไมไดบอกใหเราทราบวาปฏิกิริยาเกิดขึ้นอยางไร ใน หลาย ๆ กรณี สมการเคมีแสดงผลรวมของปฏิกิริยายอยหลาย ๆ ขั้น และปฏิกิริยาสวนใหญมิได เกิดขึ้นภายในขั้นเดียว เชน 2 O3 (g) 3 O2 (g) 3 ปฏิกิริยานี้ไมไดหมายความวา 2 โมเลกุลของ O3 เขามาชนกัน แลวได O2 โมเลกุลเปนผลิตผลในทันที ปฏิกิริยานี้ดําเนินไปโดยมี 2 ขั้นตอน ดังนี้ O3 (g) O2 (g) + O (g) 2 O2 (g) O3 (g) + O (g) แตละขั้นของปฏิกิริยาที่เชื่อวาเกิดขึ้นนี้ เรียกวา กระบวนการปฐม (elementary process or elementary steps or elementary reactions) เปนการแสดงขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยา ในระดับโมเลกุล เราเรียกการแสดงขั้นตอนการเกิดปฏิกิริยายอยเหลานี้ตามลําดับวา กลไกของ ปฏิกิริยา (reaction mechanism) O2 (g) + O (g) กระบวนการปฐม O3 (g) O3 (g) + O (g) 2 O2 (g) กระบวนการปฐม 3 O2 (g) + O (g) ปฏิกิริยารวม 2 O3 (g) + O (g) เราเรียก O (g) ในปฏิกิริยานี้วา สารมัธยันต (Intermediate) หมายถึงสาร ที่เกิดขึ้นในกลไกของปฏิกิริยาแตไมปรากฏในสมการแสดงปฏิกิริยารวม สังเกตวาสารมัธยันตรจะ เกิดในขั้นแรกของกลไกและจะถูกใชตอไปในขั้นใดขั้นหนึ่ง สารมัธยันตหรืออินเตอรมิเดียตนี้ แตกตางกับแอกติเวเตดคอมเพล็ก เพราะอินเตอรมีเดียตเกิดขึ้นจริง ๆ และสามารถตรวจสอบไดแม ในบางกรณีอาจจะไมงายนัก เพราะอาจเกิดขึ้นแลวถูกใชไปอยางรวดเร็วมาก Note
26
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
พิ จ ารณากระบวนการปฐมข า งต น ทํ า ให แ บ ง ออกเป น ชนิ ด ต า ง ๆตาม จํานวนโมเลกุลของสารที่เขาทําปฏิกิริยากันในแตละขั้นดังนี้ 1. กระบวนการโมเลกุลเดี่ยว (unimolecular reaction) เปนกระบวนการ ที่มีสารเริ่มตนเพียงโมเลกุลเดียว เชน O3 (g) O2 (g) + O (g) N2O4 (g) 2 NO2 (g) 2. กระบวนการโมเลกุลคู (bimolecular reaction) เปนกระบวนการที่มี สารเริ่มตน 2 โมเลกุลเขาทําปฏิกิริยากัน เชน 2 O2 (g) O3 (g) + O (g) NO2Cl (g) + Cl (g) NO2 (g) + Cl2 (g) 3. กระบวนการโมเลกุลสาม (termolecular reaction) เปนกระบวนการ ชนิดที่สารเริ่มตน 3 โมเลกุลเขาทําปฏิกิริยากัน กระบวนการโมเลกุลสามนี้ไมคอยพบบอยนัก Note
เนื่องจากเชื่อวาปฏิกิริยาเกิดขึ้นจริง ฉะนัน้ จึงเขียนกฎอัตราสําหรับแตละ กระบวนการได โดยดูจากปริมาณสัมพันธไดทันที ดังนี้ Elementary Step A Product 2A Product A+B Product 2A + B Product
Molecularity Unimolecular Bimolecular Bimolecular Termolecular
27
Rate Law Rate = k[A] Rate = k[A]2 Rate = k[A][B] Rate = k[A]2[B]
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
6.2 ขั้นกําหนดอัตรา การเขียนปฏิกริ ิยาเคมี ถาแยกออกเปนกระบวนการปฐมแสดงวาเราทราบ กลไกหรือวิถีทางของการเกิดปฏิกิริยา อัตราการเกิดปฏิกิริยาในกระบวนการปฐมแตละขั้นนัน้ มีคา ไมเทากัน และอัตราของปฏิกิริยารวมยอมขึ้นอยูก ับกระบวนการปฐม ในทางปฏิบัติเราศึกษา กลไกของปฏิกิริยาโดยเริ่มจากการรวบรวมขอมูล (จากการวัดอัตราการเกิดปฏิกิรยิ า) นําขอมูล เหลานี้มาวิเคราะหเพื่อหาคาคงที่อัตราและอันดับของปฏิกิริยา เขียนกฎอัตรา แลวจึงเสนอกลไก ของปฏิกิริยาในรูปของกระบวนการปฐมโดยมีหลักการ 2 ขอ - กระบวนการปฐมทั้งหมดตองรวมกันไดสมการแสดงปฏิกิริยารวม - ขั้นกําหนดอัตรา (rate determining step) ซึ่งหมายถึงกระบวนการ ปฐมขั้นที่ชาที่สุดในกลไกจะตองใหกฎอัตราที่เหมือนกับกฎอัตราที่ไดจากการทดลอง นอกจากนี้ในการเสนอกลไกของปฏิกิริยาเคมี จะตองมีวิธีตรวจสอบได วาสารมัธยันตรในกระบวนการปฐมแตละขั้นเกิดขึ้นจริงดังแสดงในกลไก ปฏิกิริยาระหวางไนโตรเจนไดออกไซดกับคารบอนมอนนอกไซด ดังสมการ
NO2 (g) + CO (g)
NO (g) + CO2 (g)
ถาเราเขียนกฎอัตราโดยดูจากปริมาณสัมพันธทันที ก็จะผิด ซึ่งนักเรียน ไดเคยหากฎอัตราของปฏิกิริยานี้แลวจากแบบฝกหัดขอที่ 10 และคําตอบคือ Rate = k[NO2]2 กลไกของปฏิกิริยานี้เปนดังนี้ (1) NO2(g) + NO2(g)
NO3(g) + NO(g) [slow;rate determining]
(2) NO3(g) + CO (g)
NO2(g) + CO2(g) [fast]
พิจารณาจากกลไกของปฏิกิริยาจะเห็นวา NO3 (g) เปนสารมัธยันตร หรือ สารอินเทอรมิเดียต และสามารถเขียนกฎอัตราของกระบวนการปฐมไดดังนี้ (1) Rate1 = k1[NO2][NO2] =
k1[NO2]2
(2) Rate2 = k2[NO3][CO]
28
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
ถา k1 = k จะไดวากฎอัตราของกระบวนการปฐมที่ 1 เทากับกฎอัตรา ของปฏิกิริยานี้ และกระบวนการปฐมที่ 1 เปนขั้นที่ชาเมื่อเทียบกับขั้นที่ 2 ดังนั้นกระบวนการ ปฐมขั้นที่ 1 นี้จึงเปนขั้นกําหนดอัตราของปฏิกิริยา ถึงตรงนี้เมื่อนักเรียนพิจารณาแบบฝกหัดที่ 12 จะตอบไดวาเพราะเหตุใด CO จึงเปนปฏิกิริยาอันดับศูนย ทั้งนี้เนื่องจาก CO เปนการ เกิดปฏิกิริยาหลังจากขั้นกําหนดอัตรานั่นเอง แบบฝกหัด 11. เชื่อกันวาการสลายตัวของไนตรัสออกไซด (N2O) เกิดขึ้นดวยกลไก 2 ขั้น ดังนี้ ขั้นที่ 1
N2O
N2 + O
ขั้นที่ 2
N2O + O
N2 + O2
กฎอัตราที่ไดจากการทดลองคือ r = k[N2O] (ก) จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยารวม (ข) สารใดเปนสารมัธยันตร (ค) กระบวนการปฐมทั้งสองขั้นมีอัตราการเกิดตางกันอยางไร ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………
29
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
7. อุณหภูมิกับอัตราการเกิดปฏิกิริยา ทําไมเราจึงเก็บอาหารไวในตูเย็น คําตอบคือเนื่องจากสารบางชนิดในอาหาร สามารถทําปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศได น้ํามันและไขมันในอาหารหลายชนิดมีกลิ่นเหม็น หืนเมื่อตั้งทิ้วไวในอากาศ อุณหภูมิต่ําในตูเย็นจะชวยใหปฏิกิริยาที่เปนสาเหตุใหอาหารบูดชาลง อนุภาคมีการเคลื่อนที่อยางไรเมื่อไดรับความรอน อนุภาคที่มีพลังงานมากขึ้น มี การเคลื่อนที่รอบ ๆ ไดเร็วขึ้น เมื่อมีการเคลื่อนที่เร็วขึ้น ทําใหมีการชนกันเพิ่มมากขึ้นภายในเวลาที่ กําหนด ดังนั้นปฏิกิริยาจะเกิดไดเร็วขึ้นเมื่อเราเพิ่มอุณหภูมิใหสูงขึ้น ในบางครั้งการชนกันของ อนุภาคทําใหเกิดการเดงกลับ เนื่องจากการชนกันไมมีความรุนแรงเพียงพอที่จะเริ่มปฏิกิริยาได เพราะอนุภาคไมมีพลังงานเพียงพอ อยางไรก็ตามอุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้นทําใหอนุภาคมีการเคลื่อนที่ เร็วขึ้น ทําใหเกิดการชนที่รุนแรงยิ่งขึ้น ดังนั้นจึงมีการชนที่ทําใหเกิดปฏิกิริยามากขึ้น ดังนั้น การเพิ่มอุณหภูมิ 1. ทําใหอนุภาคมีการชนกันบอยครั้งขึ้นในชวงเวลาทีก่ ําหนด 2. การชนกันชองอนุภาคที่มากขึ้นเปนผลใหเกิดปฏิกิริยามากขึ้น เนื่องจากมีการชนที่บอยครั้งขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น อุณหภูมิมีอิทธิพล เปนอยางมากตออัตราการเกิดปฏิกิริยา ถาเพิ่มอุณหภูมิขึ้น 10°C จะประมาณไดวาอัตรา เกิดปฏิกิรยิ าเพิม่ ขึ้นเปน 2 เทา
ภาพที่ 13 The effect of temperature on the distribution of collision energies. At the higher temperature (T2) , A larger fraction of collisions occurs with enough energy to exceed Ea.
30
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
ตามสมการทั่วไป r = k[A]a[B]b ถาความเขมขนของ A และความเขมขนของ B คงที่ แตอัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น เมื่ออุณหภูมิเพิ่ม แสดงวา k มีคาสูงขึ้น ความเขมขนนั้น เกี่ยวของกับจํานวนการปะทะกัน สวน k จะตองเกี่ยวของกับจํานวนการปะทะกันที่ใหผลสําเร็จอัน ขึ้นอยูกับพลังงานกอกัมมันตและทิศทางชนที่เหมาะสมของอนุภาค ทั้งยังเกี่ยวของกับอุณหภูมิดวย ดังสมการของอารเรเนียส
k = A e-Ea / RT k = A = เหทิศทาง และอื่น ๆ ) e = Ea = R = T
=
คาคงตัวอัตรา อารเรเนียสแฟกเตอร (เกีย่ วกับจํานวนการปะทะ การหัน 2.718 (ฐานของลอการิทึมธรรมชาติ) พลังงานกอกัมมันต คาคงตัวของกาซ เทากับ 8.314 JK-1 mol-1 หรือ 1.98 คอลอรี /โมล-องศา หรือ 0.0821 l atm mol-1K-1 อุณหภูมิสัมบูรณ
จากสมการของแอรเรเนียส ln k = ln A −
Ea RT
ทําใหเปน log10 log k = log A −
Ea 2 . 303 RT
จะเห็นไดวา เมื่อ T เปลี่ยนไปเล็กนอย k จะเปลี่ยนไปไดมาก ซึ่งหมายถึงวา r ยอมเปลี่ยนไปไดมากดวย (Higher T larger k increased rate) เราอาจให A เปนคาคงตัว โดยประมาณวาไมขึ้นตออุณหภูมิ ดังนั้น สามารถเขียน สมการใหมไดวา log k = −
Ea 2 . 303 RT
+ คาคงตัว 31
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
เมื่อหาคา k ที่อุณหภูมิตาง ๆ หลายอุณหภูมิแลวทํากราฟของ log k กับ 1/T จะได กราฟของเสนตรง มีความชันเทากับ –Ea/2.303 R จากนี้ก็อาจคํานวณพลังงานกอกัมมันต (Ea) ได จากความชัน ถาหากทราบคา k ที่อุณหภูมติ างกันเพียงสองอุณหภูมิ เชน ที่ T1 และ T2 ก็อาจ เขียนเปนสมการไดดังนี้ - Ea/2.303R T1 + คาคงตัว log k1 = log k2 = - Ea/2.303R T2 + คาคงตัว ⎛ 1 1 ⎞ ⎜⎜ − ⎟⎟ ⎝T 2 T 1 ⎠ k Ea ⎛ 1 1 ⎞ ⎜⎜ − ⎟ log 2 = k1 2 . 303 R ⎝T1 T 2 ⎟⎠
log k 2 − log k 1 = −
Ea 2 . 303 R
จากคา k1 , k2 , T1 และ T2 ก็จะสามารถคํานวณหาคา Ea ไดวา ⎛ TT ⎞ k Ea = 2 . 303 R ⎜⎜ 1 2 ⎟⎟ log 2 k1 ⎝T 2 − T1 ⎠
Note
32
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
แบบฝกหัด 1. การศึกษาการสลายตัวของ N2O5 ที่อุณหภูมิตาง ๆ ผลที่ไดบันทึกในตาราง และเมื่อวาด กราฟระหวาง log k กับ
1 T
พบวาผลที่ไดคือเสนตรง มีความชัน – 5400 องศา-1 ใหคํานวณหาคา
พลังงานกระตุนของปฏิกิริยานี้ อุณหภูมิ °C 65 55 45 35 25 0
k x 105 นาที-1 987 150 99.8 13.5 3.46 0.0787
1/T 0.002959 0.003048 0.003145 0.003247 0.003357 0.003663
log k -2.313 -2.824 -3.303 -3.871 -4.461 -6.104
……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….
33
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
2. จงคํานวณหาพลังงานกระตุนสําหรับปฏิกิริยาหนึ่ง ซึ่งเมื่อเพิ่มอุณหภูมิจาก 300 K เปน 310 K อัตราของปฏิกิริยาเพิม่ ขึ้นเปน 2 เทา ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. Note
34
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
8. ตัวเรงและตัวหนวงปฏิกิริยากับอัตราการเกิดปฏิกิริยา ในหลายกรณี ที่ พ บว า มี ค วามจํ า เป น ที่ ต อ งการเพิ่ ม อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย า โดยเฉพาะในทางอุตสาหกรรมการเพิ่มผลิตผลมีความจําเปนอยางมาก ในบางครั้งการเพิ่มอัตรา การเกิดปฏิกิริยาอาจทําไดโดยการเพิ่มอุณหภูมิ แตการไดมาซึ่งพลังงานตองเสียคาใชจายมาก และความรอนทําใหสารหลายตัวอาจเกิดการสลายหรือเปลี่ยนสภาพไดงาย เราจึงไดยินคําวา การเรงปฏิกิริยา (catalysis) เปนกลไกที่ชวยเพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิริยาโดยตัวเรงปฏิกิริยา (catalyst) ตัวเรงปฏิกิริยา หมายถึงสารซึ่งทําใหอัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้นโดยตัวเรง ปฏิกิริยาเองไมเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีอยางถาวรในปฏิกิริยา ดังนั้น เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดลง แลวจะไดตัวเรงปฏิกิริยากลับคืนมา ตัวเรงปฏิกิริยามีความสําคัญเปนอยางมากในกระบวนการ ผลิ ต ทางอุ ต สาหกรรม และประเทศที่ ผ ลิ ต ตั ว เร ง ปฏิ กิ ริ ย าสํ า หรั บ ปฏิ กิ ริ ย าต า ง ๆ คื อ สหรัฐอเมริกา สิ่งสําคัญเกี่ยวกับตัวเรงปฏิกิริยามี 2 ประการดังนี้ 1. ตัวเรงปฏิกิริยาสามารถทําใหปฏิกิริยาเกิดไดเร็วขึ้น แตผลผลิตไมไดเพิ่มมากขึ้น เมื่อเทียบกับไมไดใชตัวเรงปฏิกิริยา เพียงแตผลผลิตเกิดขึ้นไดเร็วกวาเทานั้น เมื่อเปนเชนนี้ พลังงานของปฏิกิริยาที่มีตัวเรงปฏิกิริยาและไมมีตัวเรงปฏิกิริยาจะมีคาเทากันดวย ถึงแมวา พลังงานกอกัมมันตของปฏิกิริยาจะเปลี่ยนไปก็ตาม 2. ตัวเรงปฏิกิริยาสามารถทําใหปฏิกิริยาเกิดไดเร็วขึ้น โดยตัวเรงปฏิกิริยาจะทําให เกิดกลไกใหมที่มีพลังงานกอกัมมันตต่ํากวากลไกที่มิไดมีตัวเรงปฏิกิริยา
ภาพที่ 14 Reaction energy diagram of a catalyzed and uncatalyzed process. 35
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
จากภาพที่ 14 เมื่อไมมีตัวเรงปฏิกิริยา ปฏิกิริยานี้เกิด 1 ขั้น ดวยกระบวนการแบบสอง โมเลกุล A
+
B
Product
[Slower]
และเมื่อมีตัวเรงปฏิกิริยา ตัวเรงปฏิกิริยาทําใหเกิดกลไกขึ้น 2 ขั้น ดังนี้ A + Catalyst C C + B Product + Catalyst
[Faster] [Faster]
การเรงปฏิกิริยาโดยทั่วไปอาจแบงไดเปน 2 ชนิด คือ (1) การเรงปฏิกิริยาประเภทเอกพันธ (Homogeneous catalysis) (2) การเรงปฏิกิริยาประเภทวิวิธพันธ (Heterogeneous catalysis) 8.1 การเรงปฏิกิริยาประเภทเอกพันธ (Homogeneous catalysis) ในการเรง ปฏิกิริยาเอกพันธ สารตั้งตน สารผลิตภัณฑ และตัวเรงปฏิกิริยาตางก็อยูในวัฏภาคเดียวกัน ซึ่ง มักไดแก วัฏภาคของเหลว ตัวอยางที่สําคัญที่สุดของการเรงปฏิกิริยาเอกพันธคือการเรงปฏิกิริยา ดวยกรดหรือเบสในสารละลายของเหลว ตัวอยางเชนปฏิกิริยาระหวางเอทิลแอซีเตตกับน้ํา ได กรดแอซิติกกับเอทานอล ตามปกติปฏิกิริยานี้เกิดไดชามากถาไมมีตัวเรงปฏิกิริยา กฎอัตราจะ เปนดังนี้ r = k [CH3COOC2H5] แตถามีตัวเรงปฏิกิริยาซึ่งปกติใชกรด กฎอัตราจะเปลี่ยนเปน r = k [CH3COOC2H5] [H+] การเรงปฏิกิริยาเอกพันธอาจเกิดขึ้นไดในสถานะกาซ ตัวอยางเปนที่รูจักกันดีไดแกกระบวนการ หองตะกั่ว (lead chamber process) ซึ่งเปนกระบวนการหลักในการผลิตกรดซัลฟวริก ดัง สมการ 2 SO2 (g) + 2 NO2 (g)
2 SO3 (g) + 2 NO (g)
2 NO (g) + O2 (g)
2 NO2 (g)
2 SO2 (g) + O2 (g)
2 SO3 (g)
ในปฏิกิริยานีส้ ารใดคือตัวเรงปฏิกิริยา 36
ปฏิกิริยารวม
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
8.2 การเรงปฏิกิริยาประเภทวิวิธพันธ (Heterogeneous catalysis) ในการเรง ปฏิกิริยาแบบวิวิธพันธ สารตั้งตนและตัวเรงปฏิกิริยามีวัฏภาคตางกัน ตามปกติตัวเรงปฏิกิริยา จะเปนของแข็งและสารตั้งตนเปนกาซหรือของเหลว ในเคมีอุตสาหกรรมการเรงปฏิกิริยาวิวิธ พันธนับวามีความสําคัญมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งในการสังเคราะหสารเคมีสําคัญ ๆ หลายชนิด ตัวอยางการนําไปใชในชีวิตประจําวันเชน ตัวเรงกําจัดไอเสีย ที่อุณหภูมิสูงในเครื่องยนตของ รถยนต กาซไนโตรเจนกับออกซิเจนทําปฏิกิริยากันเปนไนตริกออกไซด ดังสมการ N2 (g) + O2 (g)
2 NO (g)
NO (g) จะทําปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศเกิดเปน NO2 (g) ซึ่งกาซนี้เปน แหลงสําคัญของภาวะมลพิษทางอากาศ ปจจุบันนี้รถยนตสวนใหญจะมีอุปกรณพิเศษที่เรียกวา ตัวเรงกําจัดไอเสีย (catalytic converter) ดังแสดงในภาพที่ 15 ตัวเรงกําจัดไอเสียจะทําหนาที่ 2 อยางคือ ออกซิไดซ CO กับไฮโดรคารบอนที่เหลืออยูใหกลายเปน CO2 กับ H2O และรีดิวซ NO กับ NO2 เปน N2 กับ O2 ตามลําดับ วิธีการทํางานของอุปกรณนี้คือ ฉีดอากาศเขาไปผสมกับ ไอเสียรอนแลวผานกาซทั้งหมดเขาไปยังตัวเรงปฏิกิริยาในชองแรกเพื่อเรงการเผาไหมของ ไฮโดรคารบอนใหสมบูรณและลดปริมาณของ CO ในภาพแสดงลักษณะภายในตัวเรงกําจัดไอ เสียซึ่งประกอบดวย Pt หรือ Pd หรือออกไซดของโลหะทรานซิชัน เชน CuO หรือ Cr2O3) อยางไรก็ตาม เนื่องจากกาซ NO เกิดไดเร็วขึ้นที่อุณหภูมิสูง ชองที่สองจึงบรรจุตัวเรงอีกชนิด หนึ่ง (ซึ่งเปนโลหะทรานซิชันหรือออกไซดของโลหะทรานซิชัน) ซึ่งสามารถแยกสลาย NO เปน N2 และ O2 ไดที่อุณหภูมิต่ํา กอนที่กาซทั้งหมดจะถูกพนออกทางทอไอเสียตอไป
ภาพที่ 15 อุปกรณตัวเรงกําจัดไอเสีย (catalytic converter) สําหรับรถยนต 37
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
การเรงปฏิกิริยาแบบวิวิธพันธนั้น ถึงแมกลไกยังไมแนชัด แตก็เชื่อวาโมเลกุลของตัวทํา ปฏิกิริยาถูกดูดซับอยูที่ผิวของตัวเรงปฏิกิริยา และอยูในสภาพที่จะทําใหเกิดสารเชิงซอนกอกัมมันต ไดงาย พันธะภายในตัวทําปฏิกิริยาที่ถูกดูดซับอยูบนผิวของตัวเรงปฏิกิริยาอาจยืดออกและออนแรง ลง ไมตองการพลังงานมากนักก็เกิดปฏิกิริยาได หรือบางทีระหวางที่ถูกดูดซับอยูบนผิวอาจหัน เหตัวไดในทิศทางที่เหมาะสมตอการปะทะกับโมเลกุลของอีกสารหนึ่ง นอกจากนั้น การถูกดูดซับ บนผิวของตัวเรงปฏิกิริยาทําใหตัวทําปฏิกิริยาเขามารวมอยูใกลเคียงกันมาก นับเปนสาเหตุหนึ่งที่ ใหอัตราของปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น
ภาพที่ 16 The metal – catalyzed hydrogenation of ethylene. 8.3 ตัวหนวงปฏิกิริยา (Inhibitor) ตัวหนวงปฏิกิริยาหรือตัวยับยั้ง เปนสารบางชนิดที่เติม ลงไปในของผสมที่นํามาทําปฏิกิริยา อาจทําใหปฏิกิริยาเกิดชาลงหรือหยุดยั้งปฏิกิริยาไดอยาง สิ้นเชิง เชนการแยกสลายของ H2O2 เปนน้ําและออกซิเจน โดยปกติจะสลายไดงายแตถาใสสาร บางอยางเชนฟอสเฟต จะทําใหเกิดการสลายชาลง ในสารละลาย H2O2 มักมี Fe3+ ปนอยูเล็กนอย ซึ่ง Fe3+ นี้ จะเปนตัวเรงปฏิกิริยาการสลายของ H2O2 เมื่อใสฟอสเฟตลงไป ฟอสเฟตจะรวมกับ Fe3+ ซึ่งเทากับชวยทําลายตัวเรงปฏิกิริยา บางกรณีตัวยับยั้งอาจไปแยงทําปฏิกิริยากับตัวเรงปฏิกิริยา เชน สาร As เปนตัวยับยั้งของปฏิกิริยาการสลายของ HI เปน H2 และ I2 ซึ่งมี Pt เปนตัวเรง ปฏิกิริยา ทั้งนี้ เพราะอะตอมของ As ถูกดูดติดบนผิว Pt ไดดีกวาโมเลกุล HI ซึ่งแยงพื้นที่ผิว ของ Pt เสียหมด HI จึงหาชองวางเขามาเกาะบนอะตอมของ Pt ไมได ปฏิกิริยาจึงเกิดยาก 38
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
แบบฝกหัด 1. ตัวเรงปฏิกิริยาชวยเพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิริยาอยางไร …………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 2. จงบอกความแตกตางระหวางการเรงปฏิกิริยาเอกพันธกับการเรงปฏิกิริยาวิวิธพันธ และ ยกตัวอยางกระบวนการทางอุตสาหกรรมที่ใชการเรงปฏิกิริยาวิวิธพันธมา 1 ตัวอยาง …………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 3. ตัวเรงปฏิกริ ิยามีผลอยางไรตอสิ่งตอไปนี้ 3.1 ความรอนของปฏิกิริยา 3.2 พลังงานศักยของสารตั้งตน 3.3 ทรานซิชันสเตด 3.4 พลังงานกอกัมมันต 3.5 กลไกของปฏิกิริยา …………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
39
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) โรงเรียนวิทยาศาสตรของรัฐ เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี 3 (ว40123) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549
สรุปทายบท 1. อั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย า คื อ การเปลี่ ย นแปลงความเข ม ข น ของสารตั้ ง ต น หรื อ สาร ผลิ ต ภั ณ ฑ ต อ หนึ่ ง หน ว ยเวลา อั ต รามี ค า ไม ค งที่ แต จ ะเปลี่ ย นไปเรื่ อ ย ๆ เมื่ อ ความเข ม ข น เปลี่ยนแปลง 2. กฎอัตรา คือสมการที่แสดงความสัมพันธระหวางอัตราการเกิดปฏิกิริยากับคาคงที่ อัตราและความเขมขนของสารตั้งตน คาคงที่อัตรา (k) เปลี่ยนแปลงไดตามอุณหภูมิ 3. อันดับรวมของปฏิกิริยา คือผลรวมของเลขชี้กําลังของความเขมขนของสารตั้งตนใน กฎอัตรา ทั้งกฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยาจะหาไดจากการทดลองเทานั้น จะหาจากสัมประสิทธิ์ ปริมาณสัมพันธในสมการที่ดุลแลวไมได สําหรับปฏิกิริยาอันดับศูนยอัตราการเกิดปฏิกิริยามีคา เทากับคาคงที่อัตรา 4. ทฤษฎีการชน ปฏิกิริยาเกิดขึ้นไดเมื่อโมเลกุลชนกันดวยพลังงานสูงพอที่จะทําให พันธะสลายแลวเกิดปฏิกิริยาตอไป พลังงานนี้เรียกวาพลังงานกอกัมมันต 5. ปจจัยที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยาไดแก ธรรมชาติของสารตั้งตน ความเขมขน ของสารตั้งตนและผลิตผล พื้นที่ผิว อุณหภูมิ ตัวเรงปฏิกิริยาและตัวหนวงปฏิกิริยา และ ความ ดัน 6. คาคงที่อัตราและพลังงานกอกัมมันตมีความสัมพันธกันตามสมการของอารเรเนียส คือ -Ea/RT k=A 7. สมการแสดงปฏิกิริยารวมที่ดุลแลวอาจแบงออกเปนขั้นตอนยอย ๆ ไดมากกวา 1 ขั้น เรียกวากระบวนการปฐม กระบวนการปฐมทั้งหมดรวมกันเรียกวากลไกของปฏิกิริยา 8. กระบวนการปฐมขั้นที่ชาที่สุดในกลไกเรียกวา ขั้นกําหนดอัตรา 9. ตัวเรงปฏิกิริยาทําใหปฏิกิริยาเกิดไดเร็วขึ้นโดยการลด Ea ของปฏิกิริยา เมื่อปฏิกิริยา สิ้นสุดลงแลวจะไดตัวเรงปฏิกิริยากลับคืนมา 10. ในการเรงปฏิกิริยาวิวิธพันธ ซึ่งมีความสําคัญมากในอุตสาหกรรม ตัวเรงมักเปน ของแข็งและสารตั้งตนเปนของเหลวหรือกาซ ในการเรงปฏิกิริยาเอกพันธ ตัวเรงและสารตั้งตนอยู ในวัฏภาคเดียวกัน
40