2: A SIDE
HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
A SIDE :3
CONTENTS
News 12
j a n u a r y 2 0 1 5 V o l. 1 1 N o. 1 2 3
People 26 Recipe 30
26
Scoop 32 Editor’s Favorite
People
พบกับ 2 นักสร้างสรรค์ คนหนึ่งเป็นช่างภาพ อีกคนเป็นเชฟท�ำอาหาร ทัง้ คูม ่ ค ี วามฝันคล้ายกัน คืออยากท�ำในสิง่ ทีต ่ วั เองรัก และในวันนีค ้ วามฝัน ของทัง้ เขาและเธอก็สำ� เร็จไปอีกขัน ้ แล้ว
32
30 Recipe
คนไทยกินข้าวตั้งแต่เด็ก ข้าวไทยอร่อยและ มีชื่อเสียงไปทั่วโลก ข้าวไทยสามารถน�ำมา สรรค์สร้างได้หลากหลายเมนู ไม่วา่ จะอาหารคาว หรือแม้แต่ทำ� เป็นของหวานไว้ทานเล่นเป็นของว่าง ฉบับนี้จึงมีเมนูข้าวไทยสไตล์ฮิพมาน�ำเสนอ หากอยากรู ้ ว ่ า คื อ เมนู อ ะไร ก็ เ ชิ ญ ไปชมกั น ตามอัธยาศัยได้เลย
Scoop
ในสายตาคนนอก เด็กๆ ทีถ่ กู ควบคุม อยู ่ ใ นสถานพิ นิ จ และคุ ้ ม ครองเด็ ก และเยาวชนเดิ น มาไกลเกิ น กว่ า จะ กลับตัวเป็นคนดี แต่บางคนก็ไม่คิด เช่นนั้น HIP ขอน�ำเสนอเรือ่ งราวของ คนกลุ่มหนึ่งที่มอบ ‘ดนตรี’ ให้กับ คนอี ก กลุ ่ ม เพื่ อ ใช้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ เปลีย่ นแปลงชีวต ิ ตนเอง ซึง่ ไม่เพียง จะท�ำให้ชวี ต ิ ของ ‘ผูร้ บ ั ’ ดีขน ึ้ เท่านัน ้ หากยังเปลีย่ นชีวต ิ ของ ‘ผูใ้ ห้’ ด้วย
40
HIP Editor’s Favorite
เป็นเรือ่ งของความชอบส่วนตัวของ บรรณาธิการ HIP ล้วนๆ ในรอบปี 2014
4: A SIDE
HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
40
HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
A SIDE :5
สวัสดีปีแพะ ตอนทีก่ ำ� ลังพิมพ์หน้า Editor อยูน่ ้ ,ี เป็ นเช้าวันเสาร์สุดท้ายของปี -ปี เก่าทีก่ ำ� ลังจะผ่านพ้นไป และปี ใหม่จะมาถึงในอีกไม่กว่ี นั ข้างหน้า ซึง่ กว่าที่ HIP Magazine จะเดินทางผ่านกระบวนการผลิตมาถึงมือให้คณ ุ ได้อา่ น ก็คงล่วง เข้าปี ใหม่มาหลายวันแล ้วนะครับ
EDITOR j a n u a r y 2 0 1 5 V o l. 1 1 N o. 1 2 3
เวียนนา, ตุลาคม 2557
ถือโอกาสตรงนี้ สวัสดีปีใหม่ สวัสดีปีแพะ กันซะเลย คิดท�ำสิ่งใด ขอให้สำ� เร็จสมหวัง ตัง้ ใจว่าจะท�ำอะไรขอให้เริ่มต้นลงมือท�ำ เชื่อเถอะว่า หลายสิง่ หลายอย่างมันยากทีก่ ารเริม่ ต้นนัน่ แหละ ถ้าเริม่ ต้นได้แล ้ว มันตึงก้าวต่อไปได้แหละ...
แว่บแรกทีผ่ มมองเห็นงานประติมากรรมจัดวางชิ้นนี้กบั แสงแดดยามสายต้นเดือนตุลาคม ผมก็รูส้ กึ สัมผัสได้ถงึ ‘ความสุข’ และ ‘ความอบอุ่น’ ผมเลยบันทึกภาพด้วยโทรศัพท์มอื ถือ ทีต่ ดิ ตัวไป ก่อนทีจ่ ะปรับโหมดให้เป็ นภาพขาวด�ำแบบง่ายๆ เก็บเอาไว้ในโทรศัพท์ แล ้วก็เลยอยากส่งมอบ ‘ความสุข’ และ ‘ความอบอุน่ ’ ด้วยรูปภาพภาพนี้ให้กับมิตรรักนักอ่าน ชาว HIP Magazine ทุกคนนะครับ สวัสดีปีใหม่ครับ สมชาย ขันอาษา บรรณาธิการ somchai.khanasa@gmail.com
HIP CREW:
เจ้าของ
บริษัท เชียงใหม่ ฮิพ แม็กกาซีน จำ�กัด
ที่ปรึกษา
ฐานิศร์ สมบัติพิบูลย์ วรพจน์ จันทร์หนองสรวง ธนิต ชุมแสง
บรรณาธิการ
สมชาย ขันอาษา
บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ วชิรดล ไชยภูมิ
ฝ่ายศิลป์
วิศววิท เตพา
ช่างภาพ
ศมนภรณ์ สุ่นศิริ
นักเขียนประจำ�ฉบับ
นพปฎล พลศิลป์ วัฒนาวรรณ ขันอาษา
6: A SIDE
HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
หัวหน้ากองบรรณาธิการ
ผู้จัดการทั่วไป/ฝ่ายบัญชี
กองบรรณาธิการ
ติดต่อ:
ชลธิดา พระเมเด
ระพินทรนาถ บรรณจักร์ พิจิตรา สีมี่
ช่างภาพประจำ�ฉบับ รัตนพล นิลภูมิ เอกลักษณ์ ตาปวน รัฐศักดิ์ แสงศรีจันทร์ รชตะ เกตุสุวรรณ์ ชลารักษ์ เรือนชุ่มเชย ฐกฤตภัทร บุญฤทธิ์
นักศึกษาฝึกงาน
กล้าณรงค์ เสาร์ทิพย์
ศิรินันท์ ศิวเทวินทรา
กองบรรณาธิการ Mail: chontida.hip@gmail.com โทร. 08-9821-9354 การตลาด Mail: sirinun.hip@gmail.com โทร. 08-5029-9008
HIP Event
สุรภี ขันอาษา ชนัญชิตา สงวนโชคกุล ชัยชาญ คุณธรรมพิสิฐ พาวิน กะวัง ปรัชญ์ ชุ่มจิตต์ อัญชนา หอมนาน
COVER A: JIVE GADEN 9
สำ�นักงานนิตยสาร HIP Magazine บริษัท เชียงใหม่ ฮิพ แม็กกาซีน จำ�กัด เลขที่ 5/1 หมู่ 5 ตำ�บลสุเทพ อำ�เภอเมือง เชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์/ แฟ็กซ์ 053-329-420 hipthailand@windowslive.com facebook.com/hipthailand
www.hipthailand.net
COVER B: ABSOLUTLY THACHANG
COVER STORY
JIVE GARDEN 1 Jive Garden ครั้งที่ 1 ณ บ้านปิ๊ดตะลิว อ�ำเภอปาย แม่ฮ่องสอน
JIVE GARDEN 2 Jive Garden ครั้งที่ 2 ณ ร้าน BeBop อ�ำเภอปาย แม่ฮ่องสอน
ข้าม 1,864 โค้งสู่ความสนุกกลางหุบเขา วันเสาร์ที่ 17 มกราคม 2558 ณ บุระล�ำปาย รีสอร์ท อ�ำเภอปาย แม่ฮ่องสอน เริ่มสนุก 18.00 น. เป็นต้นไป
8: A SIDE
เรื่อง: ชลธิดา ภาพ: ศมนภรณ์ / Jive Garden
Jive Garden ในตอนเริ่มเป็นเพียงงานปาร์ตี้เล็กๆ เฉพาะกลุ่มคนที่รักศิลปะ ดนตรีและท่องเที่ยวมาร่วมพักผ่อน ฟังเพลงเคล้าธรรมชาติ เนื่องด้วยความสนุกสนานเป็นกันเอง จึงได้เกิด Jive Garden ในปีต่อๆ มา ซึ่งยังคงรวบรวม กลุ่มคนที่รักในเสียงเพลงและการพักผ่อนกับธรรมชาติ แต่ด้วยจ�ำนวนสมาชิกที่มากขึ้นทุกปี ในที่สุด Jive Garden ได้มาอยู่ในพื้นที่กว่า 15 ไร่ ณ บุระล�ำปาย รีสอร์ท ด้วยบรรยากาศไอหมอก สายน�้ำและขุนเขา และความสนุกทีไ่ ม่จางหาย จึงท�ำให้ Jive Garden กลายเป็นปาร์ตขี้ นาดมหึมาที่ Warm Up Cafe ภูมใิ จน�ำเสนอเป็นอย่างยิง่
HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
จุดเริม่ ต้นของ Jive Garden เริม่ ต้นเมือ่ 10 ปี ก่อน โดยมี ปุ๊ - วุฒชิ ยั ใจสมัคร หรือ DJ Shaky หนึ่งในหุน้ ส่วนของ Warm Up Cafe และผูด้ ูแล Lounge by Warm Up Cafe เป็นผู ้ริเริม่ เขาเล่าให้ฟังถึงจุดเริม่ ต้นของการน�ำดนตรีเต้นร�ำจังหวะ Jive ไปสู่เมืองเล็กๆ กลางขุนเขาอย่างปาย ว่า ด้วยความน่ารักของเมือง บวกกับความรัก ดนตรีของเขา จึงท�ำให้เกิดการเดินทางสู่ปาย และน�ำดนตรีเต้นร�ำไปเผยแพร่ทน่ี นั ่ เป็ นครัง้ แรกทีบ่ า้ นปิ ด๊ ตะลิว ก่อนจะย้ายไปทีร่ า้ น BeBop และบุระล�ำปาย รีสอร์ท “จริงๆ แล ้วผมจัด Jive Garden ขึ้นมา คิดแค่เอาเพือ่ นๆ ไปสนุก ได้มโี อกาส เฮฮา ฟังเพลงด้วยกัน สังสรรค์แบบไม่มเี จ้านายลูกน้อง ทุกคนคือเพือ่ นกันหมด เราท�ำงานมาทัง้ ปีบางทีไม่มโี อกาสได้คุยกันนะครับ เราอยากจัดปาร์ต้หี ลังจากท�ำงานหนัก มาทัง้ ปี ให้ดเี จใน Warm Up กับ Lounge ได้มาพักผ่อนกัน ในปี แรกจัดกันถึง 3 รอบ ครัง้ แรกที่ Lounge ก่อน แล ้วก็ไปจัดทีก่ รุงเทพฯ และสุดท้ายก็ไปจัดทีป่ าย เพราะตัวผมเองชอบไปเทีย่ วปายตัง้ แต่สมัยเรียนแล ้ว ชอบทัง้ บรรยากาศ และความน่ารัก ของชุมชนทีม่ กี ารอยู่ร่วมกันของคนในพื้นทีแ่ ละนักท่องเทีย่ ว เราก็ชวนเพือ่ นๆ ดีเจ ในเชียงใหม่ไปสังสรรค์กนั ทีบ่ า้ นปิ ด๊ ตะลิว ต่อมาปี ทส่ี องทีส่ ามก็จดั กันทีร่ า้ น BeBop แลว้ ก็หยุดไปปี นึง และก็กลับมาจัดอีก โดยย้ายฐานมาอยู่ท่บี ุระล�ำปาย รีสอร์ท ครัง้ นัน้ เริ่มมีคอนเส็ปท์เข้ามาจับแลว้ เพราะบุระล�ำปาย ในตอนนัน้ เขามีโครงการ ‘ปายปิ่ นโต’ งาน Jive Garden#4 เลยท�ำในคอนเส็ปท์ ‘รีมายด์ป่ิ นโต’ และก็จดั ทีน่ ่ี ต่อเนื่องมาทุกปี จนถึง Jive Garden#9 ในปี น้ ”ี
ปุ๊ - วุฒิชัย ใจสมัคร / DJ Shaky
JIVE GARDEN 3 Jive Garden ครั้งที่ 3 ณ ร้าน BeBop อ�ำเภอปาย แม่ฮ่องสอน
DJ Shaky เล่าให้ฟงั ต่อด้วยว่าหลังจากห่างหายจากการดูแลงานมาหลายปี ในปี น้ จี งึ เรียกได้วา่ เป็ นการคัมแบ็คอีกครัง้ ของเขาโดยเฉพาะเรือ่ งการคัดเลือกศิลปิ น มาแสดงโชว์ทป่ี ี น้ มี ถี งึ 3 เวที คือ Main Stage พบกับศิลปิ นดังอย่าง ตู่ ภพธร, Slot Machine, SL Music, Thank You Teacher และ DJ เหน่งน้อย รวมทัง้ DJ Zara Feat. MC Pam ส่วน Lounge Stage พบกับ Funky Gangster, DJ Kingkong, Double Trouble, Deepface & DJ Snazz, DJ Poop, DJ Jobb และ DJ Top อีกเวทีสำ� หรับศิลปิ นเชียงใหม่โดยเฉพาะ อาทิ ตุ๊ก บราสซารี่, Jui Juis, Take Me About, Oldie Band, Matchima และ วงหรอย โดยมีดเี จ จากกลุม่ Gangbang น�ำโดย SCBD & Pharoah Roxx รวมทัง้ ไฮไลท์ทเ่ี รียกผูฟ้ งั แน่นขนัดทุกงานอย่าง Greasy Cafe “ศิลปิ นในปี น้ ีจะเรียกว่าเป็ นการสนองตัณหาตัวเองก็ว่าได้ หายไปจากการ จัดงานหลายปี พอกลับมาก็อยากฟังวงที่เราอยากฟัง อยากฟังศิลปิ นที่เราชอบ อยากให้ซาวน์ดนตรีดขี ้นึ ก็ชวนเพือ่ นทีเ่ ป็ นซาวน์เอ็นจิเนียมาช่วย ส่วนเรือ่ งการจัดงาน เรือ่ งภาพรวมต่างๆ จะเป็ นหน้าทีข่ องคุณอี๋ ส่วนคุณหลุยดูแลเรือ่ งสถานที่ เต้นท์ต่างๆ คุณบอลดู เรื่องความปลอดภัย ส่วนคุณเหน่ งก็ดูภาคดนตรีทงั้ ศิ ลปิ นและดีเจ ผมก็ช่วยเพือ่ นดูรายละเอียดเพิม่ เติม เพือ่ ให้งานสมบูรณ์ข้นึ งานไจว์ฟนี่เป็ นงาน สนองนี้ด (Need) ตัง้ แต่แรกอยู่แลว้ นะ จ�ำได้ว่าไจว์ฟ 1-5 นี่ไม่เคยได้กำ� ไรเลย ปี แรกก็เอาดีเจในเชียงใหม่ท่เี ป็ นเพื่อน รวมทัง้ ดีเจใน Lounge นี่ล่ะไปเปิ ดกัน ใช้เครื่องเล่นแผ่นเสียงเปิ ดเป็ นหลัก มีเครื่องเล่นซีดดี ว้ ย แลว้ ก็มลี ำ� โพงอยู่คู่นึง HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
A SIDE :9
ก็เอาไปจัดเป็ นปาร์ต้ เี ล็กๆ ขึ้นมา ความตัง้ ใจคืออยากพาเพือ่ นๆ น้องๆ ในเชียงใหม่ ทีช่ อบดนตรีเหมือนกันไปปล่อยของ แล ้วก็เทีย่ วกัน หลังจากเหน็ดเหนือ่ ยทํางานกันมา ตัง้ แต่ปลายปี จนถึงเทศกาลปี ใหม่ ก็จะยุง่ มาตลอด ติดต่อกันเองหมดทัง้ เรือ่ งสถานที่ คนทําไฟล์เออร์กย็ งั เป็ นคนเดิมจนถึงตอนนี้คอื DJ Scoobydoo (วชิรดล ไชยภูม)ิ เมือ่ ก่อนเรายังไม่มเี ฟซบุค๊ นี่ วิธีการโปรโมทคือส่งอีเมลเชิญเพือ่ นฝูงคนรูจ้ กั ให้ไป ร่วมสนุกด้วยกัน เราจะไปก่อนงานสองวัน แล ้วก็เอาใบปลิวไปแจกตามบังกะโลเลย ไปตามทุ่งนา ตามร้านอาหารต่างๆ คือบุกถึงตัวเหมือนกองโจรเลย แล ้วก็บอกเขาว่า คืนนี้เรามีงานปาร์ต้ นี ะ ชวนเขามาจอยกัน แล ้วเขาก็มาจริงๆ แล ้วซื้อบัตรเข้างานด้วย ก็เป็ นอะไรทีน่ ่าประทับใจ จําได้วา่ ครัง้ แรกขายบัตรได้ราวๆ 180 ใบ แต่นบั คนในงาน ประมาณสองร้อยนิดๆ เห็นจะได้ ความตัง้ ใจคืออยากเอาดนตรีเต้นรําไปให้คนทัวไป ่ รูจ้ กั มากขึ้น เพราะตอนนัน้ ปายจะมีแต่ดนตรีเร้กเก้ ดนตรีบลูส ์ แล ้วศิลปิ นนักดนตรี ก็จะไปอยู่ทน่ี นั ่ หมด ก็ถอื ว่าเป็ นสถานทีท่ น่ี ่าสนใจสําหรับการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับ ศิลปะและดนตรี” นอกจากความสนุกสนานกับการเต้นรําไปตามจังหวะดนตรีแล ้ว DJ Shaky บอกว่าอยากให้ผูร้ ่วมงานได้ ‘อย่างอืน่ ’ กลับไปด้วย โดยเฉพาะเรื่องของมิตรภาพ และการซึมซับบรรยากาศของเทศกาลดนตรีอนั อบอุ่นร่วมกัน เหมือนอย่างทีเ่ ขาเอง เคยได้รบั และมีความประทับใจกับอําเภอเล็กๆ กลางหุบเขาแห่งนี้ และในวันเสาร์ท่ี 17 มกราคมนี้ Jive Garden#9 กลับมาพร้อมความยิง่ ใหญ่ และความสนุ กที่มากขึ้น ด้วยกองทัพศิลปิ นที่ Warm Up Cafe เลือกเฟ้ นมา เพือ่ สร้างความสนุกโดยเฉพาะทัง้ DJ ฝี มอื ดีและศิลปิ นชื่อดังอีกมากมาย รวมถึง เหล่ า พัน ธมิต รที่เ ข้า มาช่ ว ยเสริ ม ให้ป าร์ต้ ี ค รัง้ นี้ ม นั ยิ่ง ขึ้น ไปอีก ที่ข าดไม่ ไ ด้ และเป็ นเจตนารมณ์ของ Jive Garden มาตัง้ แต่เริ่มต้นคือการรักษาธรรมชาติ และการลดมลภาวะให้กบั เมืองปาย รวมถึงกิจกรรมคืนสิง่ ดีๆ ให้กบั สังคมทีจ่ ดั ขึ้น เป็ นประจําทุกปี อกี ด้วย โดยในปี น้ ียงั คงกิจกรรมเพือ่ สังคมอย่างการนําเงินรายได้ ส่วนหนึง่ จากการจัดงานมอบให้โรงพยาบาลปาย ใช้เป็นทุนในการซือ้ อุปกรณ์ทางการแพทย์ รวมทัง้ กิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมศิลปะแก่นอ้ งๆ เยาวชน ซึง่ ปี น้ กี ไ็ ด้รบั ความร่วมมือจาก คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ นําอาจารย์และนักศึกษา ไปร่วมทํากิจกรรมกับเด็กๆ
JIVE GARDEN 4 Jive Garden ครั้งที่ 4 ณ บุระลําปาย รีสอรท อําเภอปาย แมฮองสอน
HIP MAGAZINE MAGAZINE // JANUARY JANUARY 2015 2015 10: A SIDE HIP
JIVE GARDEN 5-8 Jive Garden ครั้งที่ 8 ณ บุระลําปาย รีสอรท อําเภอปาย แมฮองสอน
LINE UP SHOW
โดยจําหน่ายบัตรแล ้ววันนี้ท่ี Warm Up Cafe และ Thai Ticket Major (www.thaiticketmajor.com) ในราคา 500 บาท ซึง่ จัดพิมพ์มาในจํานวนจํากัด หมดแล้วหมดเลย ซึง่ เรื่องนี้มเี หตุผลของความปลอดภัยของผูเ้ ทีย่ วงานเป็ นสําคัญ DJ Shaky บอกว่าทางผู จ้ ดั ฯ ได้เตรียมความพร้อมเพื่อรักษาความปลอดภัย แก่ผูเ้ ข้าร่วมเทศกาลอย่างเต็มที่ มีทงั้ กําลังทหารและตํารวจคอยดูแลอย่างเข้มงวด เพือ่ ให้การมาท่องเทีย่ วเป็ นไปอย่างปลอดภัยสําหรับทุกคน “อยากให้ใครทีส่ นใจอยากไปเทีย่ วงานไจว์ฟในปี น้ ี รีบซื้อหาบัตรกันแต่เนิ่นๆ เพราะถ้าหมดแล ้วหมดเลย นัน่ เพราะเกรงว่าจะดูแลความปลอดภัยของคนมาเทีย่ ว ได้ไม่ทวั ่ ถึง หากมีคนมามากกว่าจํานวนที่เราคาดการณ์เอาไว้ และในส่วนของ ยานพาหนะเราจัดเตรียมทีจ่ อดรถไว้อย่างเพียงพอรอบบริเวณพื้นทีจ่ ดั งาน รวมทัง้ มีการรักษาความปลอดภัยและอํานวยความสะดวกตลอดระยะทางจากเชียงใหม่ สูป่ าย เพือ่ ให้ทกุ คนทีต่ อ้ งการมาท่องเทีย่ วได้สมั ผัสบรรยากาศความเอื้อเฟื้ อระหว่าง ผูร้ ่วมทาง และสร้างมิตรภาพให้เกิดขึ้นต่อกัน”
HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
A SIDE :11
NEWS
Pop Pongkool Live at Good View Village
เดอะ กูด๊ วิว วิลเลจ ร้านอาหารบรรยากาศดี ย่านแม่เหียะ ในเครือของเดอะ กู๊ดวิว เชียงใหม่ จั ด คอนเสิ ร ์ ต รั บ ลมหนาวกั บ ผู ้ ช ายร่ า งใหญ่ เสียงอบอุ่นอย่าง ‘ป๊อป – ปองกุล’ ให้แฟนๆ ชาวเชียงใหม่ได้รบ ั ไออุน ่ จากน�ำ้ เสียงอันนุม ่ นวล กันถ้วนหน้า งานนี้สร้างความอิ่มเอมใจให้กับ หลายคนทีต ่ งั้ อกตัง้ ใจมารอชม ชนิดทีว่ า่ ยืนกัน แน่นหน้าเวทีเลยทีเดียว
เติมฝันฟาร์มของหนู
งาน ‘เติมฝันฟาร์มของหนู’ โดยมูลนิธิ เสริมกล้า สนับสนุนโดยดีคอนโด แคมปัส รีสอร์ท และดีคอนโด ซายน์ เชียงใหม่ ซึง่ เป็นการน�ำน้องๆ จาก 19 โรงเรียน มาเปิดตลาดจ�ำหน่ายผลผลิต จากโครงการอาหารกลางวัน ที่ได้รับทุนตั้งต้น จากมู ล นิ ธิ เ สริ ม กล้ า เพื่ อ ต่ อ ยอด และระดม หารายได้ เพือ่ น�ำไปหมุนเวียนเป็นทุนอาหารกลางวัน ที่ ยั่ ง ยื น แก่ น ้ อ งๆ ในโครงการต่ อ ไป ณ ศู น ย์ สถาปัตยกรรมล้านนา สีแ่ ยกกลางเวียง เชียงใหม่
12: A SIDE HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
NEWS
Street Party 8 ปีท่าช้าง
ท่าช้าง คาเฟ่ ฉลองครบรอบ 8 ปีอย่าง สนุกสนานกับงาน Street Party ที่คราวนี้ไม่ได้ มี เ พี ย งดนตรี ส ด และดี เ จมาให้ ช าวท่ า ช้ า ง ได้ร่วมเฮฮาปาร์ตี้กันเท่านั้น ยังมี Street Market เปิดตลาดขายของเก่า, ของใหม่, อาหารการกิน บริเวณลานจอดรถด้านข้างร้านตั้งแต่ตอนบ่าย ไปจนถึงค�่ำ ก่อนจะเปิดประตูให้แฟนคลับท่าช้าง ได้เข้าไปร่วมสนุกสนานกับงานครบรอบ 8 ปี กันอย่างสุดเหวีย่ ง และในปีนกี้ ไ็ ด้วงค�ำเมืองแนวๆ อย่าง SL Music มาสร้างความบันเทิง พร้อมทั้ง ดี เ จและเอ็ ม ซี สุ ด ซี้ ด ที่ อ อเดอร์ จ ากกรุ ง เทพฯ เพื่อมามอบความสุขให้ชาวท่าช้างโดยเฉพาะ
14: A SIDE HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
NEWS
Amazing Events at Think Park
Think Park จั ด งานให้ ช าวเชี ย งใหม่ และนั ก ท่ อ งเที่ ย วได้ เ ที่ ย วชมต้ อ นรั บ ลมหนาว กั น อย่ า งจุ ใ จเมื่ อ เดื อ นที่ ผ ่ า นมา เริ่ ม ต้ น ด้ ว ย Art Scene Market (The Inspiration District) งานที่ ร วมเอาร้ า นค้ า งานดี ไ ซน์ ศิ ล ปะ แฟชั่ น ดนตรี ฟิล์มและไลฟ์สไตล์เข้าไว้ด้วยกัน ท�ำให้ บรรยากาศในงานเต็มไปด้วยผู้คนที่มาจับจ่าย งานไอเดี ย และเพลิ ด เพลิ น กั บ กิ จ กรรมต่ า งๆ ต่อด้วยงาน Nimman Snow Festival ที่เนรมิต ลาน Think Park ให้กลายเป็นเมืองหิมะ เรียกว่าคูล กับเข้าฤดูหนาวนี้ที่สุด
Chiang Mai Bike Festival 2014 ปาร์ตี้วันคริสมาสต์สุดหรรษา ที่ Wall Street English
วอลล์สตรีท อิงลิช เชียงใหม่ จัดปาร์ตี้ ฉลองวันคริสมาสต์ อีฟ อย่างชื่นมื่น ในชื่องาน ‘A Christmas to remember’ เพื่อให้นักเรียน และบุ ค คลภายนอกร่ ว มฉลอง และร่ ว มสนุ ก กับกิจกรรมการแลกของขวัญ พร้อมเพลิดเพลิน กับอาหารและของว่างในธีมวันคริสมาสต์ และมี การมอบใบประกาศส�ำหรับนักเรียนที่ได้รางวัล Always Speak English โดยมีผู้อ�ำนวยการ ของวอลล์สตรีท อิงลิช เชียงใหม่ เป็นผู้มอบ
16: A SIDE HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
เทศกาลรถถีบเชียงใหม่ 2557 ครัง้ แรกของ เชียงใหม่ทรี่ วมนักปัน ่ และร้านค้าส�ำหรับคนรักการ ปัน ่ ไว้มากทีส่ ด ุ ภายในงานนอกจากจะมีบธู สินค้า กว่า 200 บูธ แล้ว ยังมีนท ิ รรศการประวัตศ ิ าสตร์ ของจักรยานให้ได้เดินชม พร้อมกับทริปปั่นกว่า 10 ทริป และชิลล์กับโซนร้านอร่อยและของฝาก รวมไปถึงกิจกรรมการแข่งขัน Chiang Mai Classic ทีจ่ ด ั ขึน ้ เป็นปีแรกอีกด้วย แถมทิง้ ท้ายความสนุก ด้วยคอนเสิร์ตจาก Tattoo Colour, Del ritmo และ Mahasamranbanburi ทีม ่ ามอบความบันเทิง ให้กบั ผูท้ มี่ าร่วมงาน ณ ข่วงพะยอม หอนิทรรศการ ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
NEWS
เทศกาลนิทานในสวน เชียงใหม่ ปีที่ 6
‘เทศกาลนิทานในสวน เชียงใหม่ ปีที่ 6’ โดยมูลนิธิเอสซีจี เพื่อรณรงค์เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจให้พ่อแม่ ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง กับเด็กปฐมวัย รับรู้และตระหนักถึงความส�ำคัญ ของช่ ว งวั ย นี้ โดยน� ำ ‘กระบวนการเล่ า นิ ท าน อ่ า นหนั ง สื อ ’ ไปใช้ พั ฒ นาลู ก น้ อ ยเป็ น ประจ� ำ และต่อเนือ่ ง ภายในงานมีทงั้ กิจกรรมละครนิทาน, แนะน�ำวิธกี ารเลีย้ งลูกด้วยนิทานโดยผูเ้ ชีย่ วชาญ รวมทั้งกิจกรรมงานประดิษฐ์ เพื่อให้เด็กๆ ได้มี พัฒนาการทางความคิดสร้างสรรค์เพิ่มมากขึ้น ณ ลานฉ�ำฉา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่
1st Anniversary CentralFestival Chiangmai
เซ็นทรัลเฟสติวลั เชียงใหม่ ฉลองครบรอบ 1 ขวบปีกนั อีกหนกับงาน ‘CentralFestival Chiangmai 1st Anniversary’ โดยได้รับเกียรติจากคุณชนะ แพ่งพิบูลย์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธานในงาน และมอบรางวัลแก่ 11 บุคคลดีเด่น ในจังหวัดเชียงใหม่ พร้อมชมแฟชั่นโชว์สุดชิค น�ำทีมโดยดาราวัยรุน ่ ชือ่ ดังอย่าง ‘มาร์ช จุฑาวุฒ’ิ ท่ามกลางบุคคลที่มีชื่อเสียงร่วมยินดีคับคั่ง
18: A SIDE HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
ประกวด Krungsri IMAX The Viral Challenge
โรงภาพยนตร์ ก รุ ง ศรี ไ อแมกซ์ ร่ ว มกั บ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) ประกาศผล การประกวด Krungsri IMAX The Viral Challenge โครงการเพื่อสนับสนุนความคิดสร้างสรรค์ของ เยาวชน ซึง่ มีคณ ุ จิม แพตเตอร์สน ั ทีป ่ รึกษาอาวุโส ฝ่ายพัฒนาธุรกิจโรงภาพยนตร์กรุงศรีไอแมกซ์ และ คุณวรรณภา รุง่ เรือง ผูจ้ ด ั การฝ่ายกิจกรรม ภาพลักษณ์องค์กร และสปอนเซอร์ ธนาคาร กรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) ให้เกียรติเป็น ผู้มอบรางวัลกับผู้ชนะ ณ ลานโปรโมชั่น ชั้น 1 เซ็นทรัล เฟสติวัล เชียงใหม่
NEWS
Exclusive Events at Warm Up Cafe
วอร์มอัพ คาเฟ่ จัดกิจกรรมให้ได้ส�ำราญใจกันแบบอัดแน่น เริ่มต้น ด้วยคอนเสิรต ์ ม่วนๆ จากศิลปินอารมณ์ดี อย่างอ๊อฟ ปองศักดิ์ ทีม ่ าวาด ลวดลายทั้งร้องทั้งเต้นให้แฟนๆ ได้โยกตามแบบนอนสต็อป ต่อด้วย อีกหนึ่งคอนเสิร์ตจากบี พีระพัฒน์ เจ้าของเพลงเศร้าที่ท�ำให้หลายๆ คน ถึงกับต้องหลั่งน�้ำตา พร้อมตอกย�้ำความเจ็บปวดไปกับบทเพลงจาก เจ้าพ่อเพลงดาร์กอย่าง เล็ก กรีซซี่ คาเฟ่ จากนัน ้ เป็นกิจกรรมการแข่งขัน Battle Up Game of Rap ซึง่ มีขาแร็พทีเ่ ข้ารอบมาดวลกันอย่างดุเด็ดเผ็ดมัน เพื่อชิงเงินรางวัลสูงสุดถึง 15,000 บาท ปิดท้ายด้วยงานแถลงข่าว Jive Garden#9 งานที่สาวกงานไจว์ฟ ที่รักดนตรี ศิลปะ และการขับขี่ ไม่ควรพลาดไปร่วมสนุกกัน
Chiang Mai Jazz Festival
จัดเป็นครัง้ ที่ 4 แล้วส�ำหรับงาน Chiang Mai Jazz Festival ทีน ่ ำ� ศิลปินแจ๊ซซ์ทม ี่ ชี อื่ เสียงทัง้ ไทย และเทศมาให้ ช าวเชี ย งใหม่ ที่ รั ก ในดนตรี แ จ๊ ซ ซ์ ได้ชมกันสดๆ เป็นประจ�ำทุกปี โดยในปีนี้มีทั้ง ศิลปินระดับโลกอย่าง Martin Taylor และศิลปิน แถวหน้ า ของเมื อ งไทยอย่ า ง Soul After Six และ ETC. รวมทั้ ง ศิ ล ปิ น แจ็ ซ ซ์ ร ะดั บ คุ ณ ภาพ อีกมากมายมาร้องและบรรเลงดนตรีให้คอแจ็ซซ์ ได้ชมและฟังส่งท้ายปี 2014 ท่ามกลางสายลมหนาว กันอย่างเต็มอิ่ม ตลอดการจัดงานทั้งสองวัน ณ พรอมเมนาดา รีสอร์ท มอลล์ เชียงใหม่ 20: A SIDE HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
งานสถาปนิกล้านนา ’57
สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยกรรมาธิการสถาปนิกล้านนา จัดโครงการใหญ่ ประจ�ำปี งานสถาปนิกล้านนา ’57 ‘ซะป๊ะ สเปซ : SAPA SPACE’ ในงานพบกั บ การจั ด แสดง นิทรรศการเชิดชูเกียรติ 17 ศิลปินแห่งชาติ 17/80 จากเส้น/สู่/สร้าง, นิทรรศการโครงการบูรณะวัด ทีป่ ระสบภัยพิบตั แิ ผ่นดินไหวทีจ่ .เชียงราย ตลอดจน การสัม มนาและเสวนาวิชาชีพ สถาปัต ยกรรม, งานแสดงผลงานวิชาการโดยสถาบันการศึกษา รวมถึงหน่วยงานของภาครัฐและเอกชนในภูมภ ิ าค ณ พรอมเมนาดา รีสอร์ท มอลล์ เชียงใหม่
Northern Scooter Day @ Central Festival Chiangmai
งานรวมพลพรรค คนรั ก สกู ๊ ต เตอร์ จากทั่วทุกสารทิศ ทั้งเหนือ กลาง ใต้ อีสาน เรียกได้ว่างานนี้มาด้วยใจจริงๆ เพราะดูจาก จ�ำนวนประชากรที่มาร่วมงานนั้น ล้นหลาม แน่ น ลานหน้ า เซ็ น ทรั ล เฟสติ วั ล เลยที เ ดี ย ว นอกจากจะได้ชมและโชว์รถแล้ว ยังมีสนิ ค้าเกีย่ วกับ สกูด ๊ เตอร์วางจ�ำหน่ายด้วย พร้อมทัง้ สนุกไปกับ ศิลปินทีมาสร้างความบันเทิงให้สาวกสกูต ๊ เตอร์ อย่าง จุย๋ จุย๋ ส์ และกรีซซี่ คาเฟ่ ณ ลานด้านหน้า เซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่
8th Anniversary Celebrations & Eating Contest at dusitD2 Chiang Mai
โรมแรมดุสติ ดีทู เชียงใหม่ จัดงานเฉลิมฉลอง เนื่องในโอกาสครบรอบ 8 ปี โดยมีตลาดนัด ยามเย็นให้เลือกจับจ่าย ก่อนที่จะมีการแสดง เพื่ อ เปิ ด ตั ว ชุ ด เครื่ อ งแบบใหม่ ข องพนั ก งาน จาก Tube Gallery และกิจกรรมเพื่อการกุศล มาให้รว่ มอิม่ บุญกัน และอีกงานทีน่ า่ สนุกไม่แพ้กนั กับการแข่งขันกินไส้อวั่ ‘วงใน โซ้ยแหลก ครัง้ ที่ 1’ จัดโดยเว็บไซต์วงใน เพื่อชิงรางวัลมูลค่ากว่า 10,000 บาท ณ ลาน D Square ดุสติ ดีทู เชียงใหม่
NEWS
The 4th years Anniversary of ‘Britbike (Chiang Mai) Company Limited’
ปาร์ตี้ครบรอบ 4 ปีของโชว์รูม Britbike Triumph Chiang Mai อุ่นหนาฝาคั่งไปด้วยชาว ไบค์ เ กอร์ ที่ ม าร่ ว มแสดงความยิ น ดี กั น อย่ า ง อบอุ่น ในโอกาสนี้ทางโชว์รูมยังเปิดให้มีการจอง รถมอเตอร์ไซค์ Triumph รุ่นใหม่ล่าสุด ให้สาวก บิ๊กไบค์จากอังกฤษยี่ห้อนี้ได้จับจองเป็นเจ้าของ ก่อนใคร ณ โชว์รม ู Britbike Triumph แจ่งศรีภม ู ิ
Rangz Party (เป็นโสดหน้าเหงา)
ร้านมังกี้ คลับ จัดกิจกรรมความบันเทิง เอาใจคนโสดต้อนรับอากาศหนาวให้หนุ่มสาว ชาวเชี ย งใหม่ ไ ด้ ส� ำ เริ ง ส� ำ ราญกั น กั บ Rangz Party (เป็นโสดหน้าเหงา) พร้อมชมคอนเสิร์ต จากศิลปินดังอย่าง Cocktail วงร็อกจากเมืองกรุง ซึง่ มาเยือนเมืองเหนือในฤดูหนาวคราวนี้ พวกเขา ตั้ ง ใจร้ อ งและเล่ น อย่ า งเต็ ม ที่ ท� ำ เอาคนเหงา ประทับใจกลับบ้านกันเป็นแถว
22: A SIDE HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
No Signal Input 4 : Final Live Concert 2014
คอนเสิร์ตส่งท้ายรุ่นที่ 4 ของค่ายเพลง อินดี้ย่านต�ำบลสุเทพอย่าง No Signal Input งานนีเ้ รียกได้วา่ ครบทุกรสชาติทงั้ ความสนุกสนาน ความมันเกินบรรยาย กับเพลงมันๆ โดนๆ จาก หลายวงดนตรี อาทิ Shoot The Dog, Matchima, Diary Day ในบรรยากาศเป็นกันเอง ซึง่ แน่นอนว่า ทุกคนที่ไปร่วมงานจะต้องหอบความประทับใจ กลับบ้านไปด้วยแน่นอน ณ ดาดฟ้าตึก Media Art & Design ภายในหอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Boom Boom Cash Blend Party
ร้านรัชบาร์ ภายในโครงการ The Area นิ ม มานฯ ซอย9 เอาใจสาวกปาร์ ตี้ ด ้ ว ย คอนเสิ ร ์ ต สุ ด มั น จาก Boom Boom Cash วงดนตรีขวัญใจคอเพลงอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ ซึ่ ง การมาเยื อ นเชี ย งใหม่ ค รั้ ง นี้ สร้ า งความ สนุกสนานและความเร้าใจให้กับชาวเชียงใหม่ ชนิดที่ว่าล้นหน้าเวทีเลยทีเดียว
The Yuk and the Yeti Leaving Party
งานอ�ำลาศิลปินสตรีทอาร์ตอย่าง Matt และ Jake ในช่วงเวลาที่ได้มาพ�ำนักอยู่ที่เชียงใหม่ พวกเขาได้ท�ำงานสตรีทอาร์ตกับชุมชน มูลนิธิ ธุรกิจท้องถิ่น และท�ำงานร่วมกับศิลปินท้องถิ่น หลายคน ในงานมีการน�ำเสนองานของศิลปิน รวมถึงแผนที่แสดงต�ำแหน่งผลงานของ Matt และ Jake ในมุมต่างๆ ของเมืองเชียงใหม่ ทัง้ มีการ จัดศิลปะการเเสดง (Performance Art) โดยมี ศิลปินชาวเชียงใหม่ อาจารย์คณะวิจิตรศิลป์ เเละ ผู้ที่สนใจเข้าร่วมด้วย ณ ลานด้านหน้า ร�่ำเปิง คอมมูนิตี้ อาร์ต สเปซ
NEWS
พิธีเปิดนิทรรศการ ‘เรื่องราว เล่าย้อน’
หอศิลป์ฯ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดพิธี เปิดนิทรรศการ ‘เรื่องราว เล่าย้อน’ ผลงานของ ภาพตะวัน สุวรรณกูฏ ซึ่งเป็นการเล่าเรื่องราว เกีย่ วกับการกลับมาเยือนบ้านเกิดของเธอ พร้อม บันทึกเรื่องราวความทรงจ�ำเกี่ยวกับอดีตของ ล้ า นนาที่ เ ธอรั บ รู ้ ผ ่ า นอั ก ษรนู น ต�่ ำ บนผื น ผ้ า พื้ น เมื อ งสี ข าว บรรจุ เ ครื่ อ งเทศและของแห้ ง จากกาดที่เคยจ�ำได้ในวัยเด็ก ซึ่งงานนี้ยังแสดง เนื้ อ หาของความผู ก พั น ระหว่ า งศิ ล ปิ น กั บ แม่ ของเธอด้วย ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
พิธีเปิดงานเทศกาลหุ่นนานาชาติ 2014
ละครหุ่นนานาชาติ 2014 สานวัฒนธรรม ต้ อ นรั บ AEC มี พิ ธี เ ปิ ด อย่ า งเป็ น ทางการ เมื่อเดือนที่ผ่านมา ได้รับเกียรติจากคุณศุภชัย เอี่ยมสุวรรณ รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่, ผศ.นพ.ศุ ภ ชั ย เชื้ อ รั ต นพงษ์ รองอธิ ก ารบดี ฝ่ายกิจการสภาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, คุณนพดล ภาคพรต ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายกิจกรรม การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ร่วมกันเปิดงาน โดยมี ผู ้ ใ หญ่ จ ากหลากหลายประเทศ รวมถึ ง นั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวไทยและชาวต่ า งประเทศ ร่วมในพิธี ณ พิพธิ ภัณฑ์เรือนโบราณ ส�ำนักส่งเสริม ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 24: A SIDE HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
Kantary Terrace เปิดไฟต้นคริสมาสต์
แคนทารี เทอเรซ โรงแรมแคนทารี ฮิลส์ เชียงใหม่ จัดพิธเี ปิดไฟต้นคริสมาสต์ เพือ่ เฉลิม ฉลองในเทศกาลคริสมาสต์ พร้อมต้อนรับปีใหม่ ด้ ว ยไฟที่ ต กแต่ ง ระยิ บ ระยั บ ยามค�่ ำ คื น สร้างความตื่นตาตื่นใจให้กับผู้มาร่วมสัมผัส บรรยากาศ และยังได้ลุ้นรับของรางวัลจาก ซานตาคลอสมากมาย ณ แคนทารี เทอเรซ เชียงใหม่
กานต์ แอร์ จัดพิธีเจิมเครื่องบิน แบบเอทีอาร์ 72-500 ล�ำแรก
พิ ธี เ จิ ม เครื่ อ งบิ น เอที อ าร์ 7 2-500 ขนาด 66 ทีน่ งั่ ล�ำแรกของสายการบินกานต์แอร์ โดยนิมนต์พระสงฆ์จากวัดดอนจัน ่ จ.เชียงใหม่ มาประกอบพิ ธี ส วดมนต์ เจิ ม เครื่ อ งบิ น และประพรมน�้ำพระพุทธมนต์เพื่อความเป็น สิ ริ ม งคลให้ แ ก่ เ ครื่ อ งบิ น และพนั ก งานของ สายการบิ น โดย ร.อ. สมพงษ์ สุ ข สงวน ประธานกรรมการ บริษัท กานต์นิธิ เอวิเอชั่น จ�ำกัด น�ำพนักงานของสายการบินเข้าร่วมพิธี ณ ท่าอากาศยานเชียงใหม่
Cooking Class with Michelin Star Chef Roger van Damme
อนันตรา เชียงใหม่ รีสอร์ท แอนด์ สปา จัดกิจกรรม Cooking Class with Michelin Star Chef Roger van Damme ผูซ้ งึ่ ได้รบ ั การ ขนานนามว่า ก๊อดฟาเธอร์ แห่งการรังสรรค์ ขนมหวานในศาสตร์แบบ Molecular ซึ่งได้ ร่วมสนุกกับการสาธิต และท�ำขนมหวาน และ เครื่องดื่มม็อคเทลสูตรพิเศษ ที่จะเป็นส่วน หนึ่งในเมนูไฮที และอาฟเตอร์นูน ที ให้คนรัก ขนมหวานได้ลิ้มลอง พร้อมเปิดโอกาสพบปะ พูดคุยกับเชฟโรเจอร์อย่างใกล้ชิด
Exclusive Media Appreciation Dinner
โฟร์ซีซั่นส์ รีสอร์ท เชียงใหม่ จัดงานฉลอง เปิ ด ไฟต้ น คริ ส มาสต์ พร้ อ มเชิ ญ สื่ อ มวลชน และแขกผู้มีเกียรติร่วมรับประทานอาหารมื้อค�่ำ โดยมีคุณธิติยา ชูโต ผู้จัดการใหญ่ กล่าวต้อนรับ เเละเเนะน�ำทีมผูบ ้ ริหาร บรรยากาศงานเต็มไปด้วย ความชื่นมื่นของผู้ที่มาร่วมงาน ณ ห้องอาหาร เทอร์เรสเซส
HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
A SIDE :25
PEOPLE
26: A SIDE HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
TAKE A DREAM รางวัลแด่คนช่างฝัน ชลารักษ์ เรือนชุ่มเชย
เจ้าของรางวัลยุวศิลปินไทย ‘Young Thai Artist Award 2014’
ความพยายามอยู่ทไ่ี หน ความส�ำเร็จอยู่ทน่ี นั ่ อาจฟังดูเชยไปแล ้ว แต่อย่างไรซะก็เป็ นค�ำคมทีค่ นุ ้ หู และยังคงใช้ได้จริง เห็นภาพชัดเจนขึ้น จากตัวอย่างทีม่ ใี ห้เห็นมากมายในปัจจุบนั ส�ำหรับคนทีป่ ระสบความส�ำเร็จ ไม่วา่ จะเรือ่ งใดก็ตาม อย่างเช่น เรือ่ งความรัก เรือ่ งการเรียน เรือ่ งการงาน แม้กระทัง่ ทักษะอย่างอื่นทีไ่ ม่ได้ใช้แค่ความสามารถอย่างเดียว หากแต่ ต้องใช้ความพยายามอย่างยิง่ ด้วยเช่นกัน ไอซ์ – ชลารักษ์ เรือนชุ่มเชย ก็เป็ นคนหนึ่งทีใ่ ช้ความพยายามในการถ่ายภาพทีส่ ะท้อนให้เห็นเบื้องลึก ของงานภาพถ่าย โดยเล่าเรือ่ งราวผ่านภาพถ่ายเพียง 1 ใบ เกีย่ วกับสถานที่ ในความทรงจ�ำของผู ป้ ่ วยโรคอัลไซเมอร์ 1 คน ซึ่งงานที่ว่านี้ได้รบั แรงบันดาลใจเมือ่ ตอนทีเ่ ธอกลับบ้านหลังจากทีพ่ รีเซนต์โปรเจ็คท์ไม่ผา่ น ในขณะนัน้ คุณปู่ของเธอก็ป่วยเป็ นโรคอัลไซเมอร์อยู่ท่บี า้ นเหมือนกัน ท�ำให้เธออยากรูว่้ าโรคนี้จริงๆ เป็ นอย่างไร ประจวบเหมาะกับการท�ำโปรเจ็คท์ ทีไ่ ม่จำ� กัดหัวข้อ แต่สามารถต่อยอดกับโปรเจ็คท์เดิมทีเ่ กี่ยวกับสถานที่ อยูแ่ ล ้ว เธอจึงน�ำสองสิง่ นี้มารวมกันกลายเป็ นหัวข้อธีสสี ‘ภาพถ่ายสถานที่ ในความทรงจ�ำของผูป้ ่ วยโรคอัลไซเมอร์’ จุดเริ่มต้นของผลงานที่เธอ ส่งเข้าประกวดและเพิง่ คว้ารางวัลมา Not Forgotten ‘ยังไม่ลมื ’ คือชือ่ งานทีเ่ ธอใช้ประกวดในโครงการ รางวัลยุวศิลปิ นไทย หรือ Young Thai Artist Award โดยมูลนิธเิ อสซีจี เป็ นเวทีประกวดผลงานศิลปะระดับเยาวชนที่ใหญ่ท่สี ุดในประเทศไทย ผลงานที่เธอส่งไป เป็ นงานที่มคี วามเกี่ยวเนื่องในด้านการปฏิสมั พันธ์ ระหว่างคนกับสถานที่ เธอบอกว่าการเปลีย่ นทีอ่ ยูบ่ อ่ ยตัง้ แต่ตอนย้ายตามพ่อ มาอยู่ท่เี ชียงใหม่ ท�ำให้เธอต้องปรับตัวให้ชินกับสภาพแวดลอ้ มต่างๆ อยู่ตลอดเวลา “ไม่รูว้ ่าคิดไปเองหรือเปล่า ด้วยความทีย่ า้ ยทีอ่ ยู่บ่อยตัง้ แต่เด็ก ต้องปรับสภาพให้ชินกับที่ใหม่ ไอซ์ก็เลยรู ส้ กึ ว่าสถานที่มคี วามส�ำคัญ กับตัวเอง คือติดใจกับเรื่องสถานทีม่ าก” ด้วยการเห็นตัวอย่างจากรุ่นพีท่ เ่ี คยส่งงานเข้าประกวด ประกอบ กับการได้รับค�ำแนะน�ำให้ลองส่งผลงานบ้าง ท�ำให้เธอนึกอยากลองดูสกั ครัง้
และนัน่ เองก็ทำ� ให้เธอได้เรียนรูว้ ่าการจะส่งงานสักชิ้นเข้าประกวดไม่ใช่ เรื่องง่ายเลย แต่กว่าจะได้ภาพออกมาแต่ละภาพนัน้ ไอซ์ตอ้ งใช้เวลา และความเพียรอย่างสม�ำ่ เสมอ ต้องเข้าไปพบปะพูดคุยกับผูป้ ่ วยบ่อยๆ ถามค�ำถามซ�ำ้ ๆ เดิมๆ เพือ่ ให้แน่ใจว่าค�ำตอบทีเ่ ขาให้มานัน้ เป็ นสิง่ ทีเ่ ขา จ�ำได้จริงๆ “ก็ถามรายละเอียดอย่างเช่น ชอบทีไ่ หน? ตรงนี้ใช่มยั้ คะ? บางที หนู กต็ อ้ งถามว่า จุดไหนของน�ำ้ ตก ช่วงเวลาไหนทีช่ อบ เพือ่ ให้หนู สามารถ ถ่ายภาพที่เขาเห็นในหัวไว้ได้ ซึ่งจะเป็ นความทรงจ�ำที่ดีๆ สถานที่ดีๆ ทีเ่ ขาจ�ำได้และไม่ลมื ” พอได้คำ� ตอบแล ้วว่าสถานทีไ่ หนเป็ นสถานทีท่ ผ่ี ูป้ ่ วย ชอบและจ�ำได้ เธอก็จะเดินทางไปถ่ายภาพแลว้ น�ำภาพกลับมา เพือ่ ให้ ผู ป้ ่ วยเขีย นเรื่อ งราวที่จ ำ� ได้เ กี่ย วกับ ภาพนัน้ ๆ นี่ ก็ แ สดงให้เ ห็น ถึง ความพยายามทีไ่ ม่ลดละในการท�ำงาน เพือ่ ให้ผลงานออกมาสมบูรณ์ทส่ี ดุ ซึง่ ผลจากความพยายามของเธอก็สง่ ผลให้เธอคว้ารางวัล Young Thai Artist Award มาได้ และรางวัลนี้กม็ อบอะไรหลายๆ อย่างให้กับเธอ ทัง้ ชือ่ เสียง และโอกาส รวมไปถึงการได้แลกเปลีย่ นความรูกั้ บศิลปินคนอืน่ ๆ ท�ำให้เธอเองก็สามารถน�ำความรูใ้ หม่ และค�ำแนะน�ำมาใช้ในการพัฒนางาน ของเธอต่ อ ไปได้ เพราะหลัง จากนี้ เ ธอเองก็ ย งั คงลุย โปรเจ็ค ท์น้ ี ต่ อ และจะมีผลงานน่าสนใจออกมาให้ชมอีกอย่างแน่นอน
About HER ไอซ์ - ชลารักษ์ เรือนชุ่มเชย จบการศึกษาจากคณะวิจิตรศิลป์ สาขาศิลปะ การถ่ายภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นอกจากเธอจะคว้ารางวัล Young Thai Artist Award 2014 มาหมาดๆ แล้ว ผลงานของเธอยังได้แสดงร่วมกับ ศิลปินคนอืน่ ๆ ในชุดงาน MEMORANDUM ทีห่ อศิลป์ฯ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ไม่เพียงแค่งานทีก่ ล่าวมาเท่านัน้ เธอยังมีผลงานถ่ายภาพในแบบอืน่ ๆ ให้ได้ชมด้วย ติดตามผลงานของเธอได้ที่ www.flickr.com/photos/127737135@N07
เรื่อง: พิจิตรา ภาพ: ศมนภรณ์
HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
A SIDE :27
PEOPLE
THE EXTREME CHEF เต็มที่กับชีวิตแบบเชฟก้อง ก้องวุฒิ ชัยวงศ์ขจร
Head Japanese Chef, The Dhara Dhevi Chiang Mai
ช่วงหนึ่งของการสนทนากับ เชฟก้อง – ก้องวุฒิ ชัยวงศ์ขจร ท่าทางและสีหน้าทีป่ รากฏให้เห็นระหว่างทีเ่ ขาเล่าเรื่องมีด (เขาเล่าเรื่อง มีด เล่ม หนึ่ ง ที่ไ ด้ม าจากญี่ป่ ุนซึ่ง นับเป็ น ของหายากอย่ า งยิ่งให้ฟ งั ) กับการสัก (เขาบอกว่าก�ำลังเตรียมตัวจะไปสักลายใหม่กบั ช่างสักที่ พูดคุยกันถูกคอ) นัน้ บ่งบอกอย่างชัดเจนว่าไม่เพียงแต่จะชื่นชอบ เท่านัน้ หากแต่เขายัง ‘เต็มที’่ กับสิง่ ต่างๆ ทีเ่ ลือกท�ำด้วย “รุ่นพีท่ ่ผี มเคารพคนหนึ่งบอกผมว่า ถ้าท�ำอะไรแลว้ ไม่คิดจะ ท�ำให้สุด ก็อย่าไปท�ำ ถ้าจะท�ำอะไรต้องท�ำให้สุดทางไปเลย ท�ำอะไร ครึ่งๆ กลางๆ ไม่ใช่สนั ดานลูกผูช้ าย ซึง่ ผมว่าก็จริงนะ ไม่วา่ จะท�ำอะไร เราต้องท�ำให้มนั เต็มทีไ่ ปเลย ไม่ตอ้ งกั ๊ก อีกอย่างคือผมไม่ใช่คนฉลาด แล ้วการทีจ่ ะเป็ นคนโง่ทเ่ี ก่งได้คือต้องท�ำให้เยอะกว่าคนอืน่ ผมเรียนไม่เก่ง คิดอะไรก็ชา้ เพราะฉะนัน้ เราต้องท�ำให้เยอะ ท�ำให้หนัก ท�ำให้ดี เราถึง จะสูค้ นอืน่ เขาได้” เป็ นค�ำอธิบายของเชฟก้อง เขาอธิบายต่อว่าตัวเองเป็ นคนที่ใช้ชวี ติ สองด้านชัดเจน “เวลา สนุ กผมสนุ กสุดๆ เลยนะ ปล่อยตัวเต็มทีเ่ ลย (หัวเราะ) แต่ถงึ เวลา ท�ำงานก็ตอ้ งมีความรับผิดชอบ จะให้ชวี ติ ส่วนตัวมาท�ำให้งานเสียไม่ได้” ซึ่งถ้าใครได้เห็นภาพต่างๆ ที่เขาโพสต์ไว้ในอินสตาแกรมของตัวเอง เมือ่ ครัง้ ทีเ่ ขาเดินทางไปประเทศญีป่ ่ นุ เพือ่ หาวัตถุดบิ และอุปกรณ์ต่างๆ มาใช้ใน REN ห้องอาหารญี่ป่ นุ ของโรงแรมดาราเทวี เชียงใหม่ แล ้ว ก็คงจะเห็นด้วยว่าชายหนุ่ มคนนี้ ‘จริงจัง’ กับงานที่เขารับผิดชอบ มากแค่ไหน เชฟก้องบอกว่าเขาอยากเป็ นเชฟมาตัง้ แต่เด็ก โดยมีทม่ี าจากการ ช่วยคุณแม่ทำ� อาหารเพือ่ รับประทานร่วมกันในครอบครัว “ส�ำหรับผม การทานอาหารไม่ใช่แค่ได้ทานอาหารอร่อยๆ แต่ว่ามันเป็ นช่วงเวลาที่ เราจะได้ใช้ร่วมกับคนที่เรารัก และการสร้างช่วงเวลาที่น่าประทับใจ และความสุขให้กบั คนอืน่ ๆ” ขณะทีก่ ารท�ำงานในฐานะเชฟของเขานัน้ หลายคนอาจคิ ด ว่ า การเข้า แข่ ง ขัน ในรายการเชฟกระทะเหล็ก
ประเทศไทยและสามารถเอาชนะเชฟบุญธรรม ภาคโพธิ์ คือจุดเปลีย่ น ในชีวติ ของเขา แต่เชฟก้องกลับบอกว่า การต้องเข้าไปรับหน้าที่เชฟ ของร้าน Kaguya คือจุดเปลีย่ นที่สำ� คัญมากในชีวติ “คือมันไม่ใช่ แค่ตอ้ งมาท�ำอาหารญีป่ ่ นุ แต่วา่ ผมต้องเข้าไปท�ำทุกอย่าง คือเชฟคนเก่า เขาลาออกไป แล ้วงานทีเ่ ขาทิ้งไว้มนั ไม่โอเค ผมเลยต้องเข้าไปดูตงั้ แต่ เรื่องท�ำห้องครัวเลย เป็ นช่วงเวลาทีผ่ มได้ประสบการณ์เยอะมาก ไม่ใช่ แค่เรื่องท�ำอาหาร แต่รวมถึงเรื่องอืน่ ๆ ทีเ่ กี่ยวกับร้านอาหารด้วย” ทุกวันนี้แม้จะมีตำ� แหน่งเป็ น Head Chef แต่เชฟก้องก็ยงั คง ลงมือท�ำอาหารด้วยตัวเองในหลายๆ เมนู “อย่างซูชทิ เ่ี สิรฟ์ ที่ REN นี่ ผมปัน้ เองก็ 60-70% เข้าไปแล ้ว บอกได้เลยว่าผมเน้นทุกๆ ค�ำ อีกอย่าง ผมจะบอกทีมงานทุกๆ คน ว่าเราไม่ได้ทำ� แค่อาหารนะ แต่เราก�ำลังสร้าง ช่วงเวลาทีล่ ูกค้าจะประทับใจ และจดจ�ำ ซึง่ เรามีโอกาสแค่ครัง้ เดียว ถ้าลูกค้าประทับใจ เขาก็จะกลับมาหาเราอีก แต่ถ ้าไม่ ครัง้ นัน้ ก็คอื ครัง้ เดียว ทีเ่ รากับเขาจะได้เจอกัน เพราะฉะนัน้ เราต้องเต็มทีก่ บั อาหารทุกๆ จาน ทีเ่ สิรฟ์ ออกไป คนทานจะชอบอาหารของเราไหมเราไม่รูห้ รอก แต่เรา ต้องเต็มที่กบั อาหารของเราก่ อน แลว้ ถ้าลู กค้าชื่นชอบ มีความสุข กับอาหารทีเ่ ราท�ำออกไป เห็นแล ้วมันหายเหนื่อยเลยนะ”
About HIM ศิษย์เก่าด้านการบริหารจัดการการท่องเทีย่ วและการโรงแรม จากวิทยาลัย นานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล และ Le Cordon Bleu Dusit Culinary School คนนีม้ คี วามฝันว่าอยากมีฟาร์มของตัวเอง เพือ่ ทีเ่ ขาจะได้เลีย้ งโคนม ปลูกผัก และดอกไม้ตา่ งๆ อย่างทีช่ อบ ขณะเดียวกัน ในฐานะทีเ่ คยไปร�ำ่ เรียนด้านดนตรี ที่ Berklee College of Music (เขาเลิกเรียนเพราะพบว่าตัวเองชอบ ท�ำอาหารมากกว่า) เขายังคงเล่นดนตรีและหวังว่าจะได้ทำ� เพลงของตัวเอง ในอนาคต
เรื่อง: ระพินทรนาถ ภาพ: ศมนภรณ์
28: A SIDE HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
A SIDE :29
RECIPE
ข้าวไทย Thai Rice เรื่อง / ภาพ: วัฒนาวรรณ ขันอาษา
คนไทยกินข้าวตั้งแต่เกิด ข้าวไทยอร่อย ข้าวไทยมีชอื่ เสียงไปทัว่ โลก ข้าวไทยเอามาท�ำขนมได้ (เพือ่ นญีป่ นุ่ ทึง่ ) ข้าวไทยเอาไปท�ำไอติมได้ (อิฉนั ทึง่ ) ข้าวไทยเอาไปท�ำเมนูได้หลากหลาย (ทั่วโลกทึ่ง) และพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงปฏิ บั ติ พระราชกรณียกิจต่างๆ เกี่ยวกับข้าวและชาวนา มากมาย จึ ง ท� ำ ให้ แ ผ่ น ดิ น ไทยกลายเป็ น ‘แผ่นดินทอง’...เพื่อตอกย�้ำความเป็น ‘ข้าวไทย’ อิ ฉั น ขอน� ำ เสนอเมนู ข ้ า วเพิ่ ม เข้ า ไปบนโลกใบนี้ อี ก สองเมนู ทั้ ง คาวและหวาน เชิ ญ ชิ ม กั น ได้ ตามอัธยาศัย
ข้าวมันข่าไก่ย่าง
Thai Rice In Coconut Milk & Galangal With Grilled Chicken อาหารไทยนัน้ มีชอ่ื เสียงเป็นทีร่ จัู ้ กไปทัวโลก ่ หนึง่ ในนัน้ ก็คอื ต้มข่าไก่...และความภูมใิ จในต้มข่าไก่น้เี อง ท�ำให้อิฉนั สนุก ทีจ่ ะคิดเมนู ใหม่ข้นึ มาเพือ่ ความแปลกใหม่ และเพือ่ สนอง ความตื่น เต้น ของตัว เอง ตอนลุ น้ ว่ า จะท�ำ ส�ำ เร็ จ ไหม? ในคอนเส็ป ท์ ‘ข้า วไทย’ โดยคงรสชาติแ ละส่ ว นผสม ของต้มข่าไก่ ไว้ทงั้ หมด เพียงแต่เรามาเปลีย่ นวิธีการกิน และเปลีย่ นจากไก่ตม้ และเห็ดต้ม มาเป็ นไก่ยา่ งและเห็ดย่าง ในน�ำ้ มันมะกอกแทน * ส่วนผสมนี้ทำ� ได้ประมาณ 6-8 ที่ ส่วนผสม ข้าวหอมมะลิ (ดิบ) สันในไก่ เห็ดออรินจิหนั ่ บาง น�ำ้ ซุปไก่ กะทิสำ� เร็จรูป ตะไคร้หนั ่ แฉลบ ข่าอ่อนหัน่ แว่น หอมแดงทุบ ใบมะกรูดฉีก ผักชีฝรัง่ ซอยหยาบ พริกขี้หนู ทบุ พริกขี้หนู แห้งทอด น�ำ้ ปลา น�ำ้ ตาลปี บ๊ น�ำ้ มะนาว เกลือป่ น 30: A SIDE HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
2 6-8 6-8 2 ½ 500 3 25 4 15 5 5 5 7 1 1 1
ถ้วยตวง เส้น ดอก ถ้วยตวง มิลลิลติ ร ต้น แว่น หัว ใบ ใบ เม็ด เม็ด ช้อนโต๊ะ ช้อนโต๊ะ ช้อนโต๊ะ ช้อนโต๊ะ
วิธีท�ำ เรามาท�ำน�ำ้ ต้มข่ากันก่อน...น�ำน�ำ้ ซุปไก่และกะทิใส่หม้อตัง้ ไฟแรง ตามด้วยข่า ตะไคร้ หอมแดง ใบมะกรูด ผักชีฝรัง่ พริกขี้หนู ทบุ ต้มให้เดือด ปรุงรสด้วยเกลือ น�ำ้ ปลา น�ำ้ ตาลปี บ๊ และมะนาว ชิมให้ได้ 3 รส แล ้วจึงใส่พริกขี้หนู แห้งทอด ต้มให้เดือดต่อไป รวมแล ้วประมาณครึ่งชัว่ โมง จะได้นำ�้ ต้มข่าประมาณ 3 ถ้วยตวง พอเสร็จแล ้วน�ำเฉพาะน�ำ้ ต้มข่า 2 ½ ถ้วยตวง เอาไปหุงข้าว แล ้วจึงแบ่งสมุนไพรทีอ่ ยู่ในน�ำ้ ต้มข่า ลงไปผสมกับข้าวเล็กน้อย เริ่มท�ำการหุง ส่วนน�ำ้ ต้มข่าและสมุนไพรที่เหลือ น�ำไปหมักกับไก่ส่วนหนึ่ง และเห็ดออรินจิทห่ี นบางอี ั่ กส่วนหนึ่ง โดยเพิม่ เกลือป่ นลงไปในไก่และเห็ดอย่างละ 1 ช้อนชาและพริกไทยด�ำ บดหยาบอีกอย่างละ 1 ช้อนชา หมักทิ้งไว้หนึง่ คืน... แล ้วน�ำไปย่างกับน�ำ้ มันมะกอก ชิมรส ถ้ายังไม่เค็มให้โปรย เกลือป่ นกับพริกไทยด�ำระหว่างย่างไปด้วย เสร็จแล ้วน�ำไปจัดวางกินกับข้าวมันข่าทีห่ งุ สุกแล ้ว
ข้าวกะทิวุ้นมะม่วง
Thai Rice In Coconut Milk With Mango Jelly เมนู น้ เี ด็กๆ ชอบกันแน่ เพราะได้กนิ วุน้ มะม่วงคู่กบั ข้าวทีห่ วานมันหอม เพราะสูตร การปรุงข้าวแบบนี้ ได้เพิม่ รสชาติความเป็ น ‘ขนม’ มากยิง่ ขึ้น ซึง่ สูตรการปรุงข้าว อิฉนั ได้ มาจากการไปร่วมกิจกรรม Cooking Class ของทาง อนันตรา เชียงใหม่ รีสอร์ท แอนด์ สปา แลว้ ก็นำ� มาปรับเล็กน้อย… คงอยากรูก้ นั แลว้ ใช่มยั้ ว่า การปรุงข้าวให้มรี สชาติเป็ นขนม มากยิง่ ขึ้นนัน้ ท�ำอย่างไร...ไปดูกนั * ส่วนผสมนี้กนิ ได้ 6-8 ที่ * เฉพาะเมนู ขา้ วกระทิวุน้ มะม่วง มาตราชัง่ ตวงใช้เป็ นช้อนตวงและถ้วยตวง
ส่วนผสมข้าวกะทิ ข้าวหอมมะลิ (ดิบ) กะทิกระป๋ องขนาด 160 ml. วิปปิ้ งครีม น�ำ้ ตาลทราย เกลือป่ น น�ำ้ เปล่า ใบมะกรูดฉีก ใบเตยหัน่ ท่อน ตะไคร้หนั ่ ท่อนทุบ กลิน่ วานิลลา อบเชยแท่งขนาดครึ่งเซนติเมตร เปลือกเลม่อนครึ่งลูก
1 1 ¼ 1/3 1 ¼ 400 3 2 1 ¼ 1
ถ้วยตวง กระป๋ อง ถ้วยตวง ถ้วยตวง ช้อนชา มิลลิลติ ร ใบ ใบ ต้น ช้อนชา แท่ง
วิธีท�ำข้าวกะทิ น�ำ น�ำ้ เปล่ า ใส่ ห ม้อ ใส่ ใ บมะกรู ด ฉี ก ใบเตย ตะไคร้ กลิน่ วานิลลา อบเชย และเปลือกเลม่อน ต้มให้เดือดจนมีกลิน่ หอม กรองเอาแต่นำ�้ ใส่หม้อตัง้ ไฟอ่อน เทข้าวลงไป เติมเกลือป่ น คนไปเรือ่ ยๆ พอน�ำ้ เริม่ งวด ค่อยๆ หยอดกะทิทลี ะน้อยคนต่อเรือ่ ยๆ จนข้าวเริม่ สุก ใส่นำ�้ ตาล คนต่อแล ้วชิมรสให้ได้หวานและเค็มเล็กน้อย พอได้ทแ่ี ล ้ว ยกลง ทิ้งให้เย็นแล ้วจึงเติมวิปปิ้งครีมคลุกเคล ้าให้เข้ากัน เป็ นอันเสร็จ
ส่วนผสมวุ้นมะม่วง มะม่วงน�ำ้ ดอกไม้สุกขนาด 400 กรัม น�ำ้ มะม่วง 100% น�ำ้ ตาลทรายขาว ผงเจลลาติน ผงวุน้
1 2 ¼ 2 ½ 3
ลูก ถ้วยตวง ถ้วยตวง ช้อนโต๊ะ ช้อนชา
วิธีท�ำวุ้นมะม่วง ปอกเอาเนื้อมะม่วงปัน่ กับน�ำ้ มะม่วงให้ละเอียด น�ำไปใส่หม้อ ต้มให้เดือด ใส่นำ�้ ตาลทรายคนให้ละลาย ตามด้วยเจลลาติน (ผงเจลลาติน น�ำไปละลายกับน�ำ้ เปล่า ½ ถ้วยตวง คนให้เข้ากันเป็นน�ำ้ เหนียว) คนให้ละลาย ตามด้วยผงวุน้ คนให้เข้ากันจนทุกอย่างละลายหมด ยกลงเทใส่พมิ พ์... เวลาเสิรฟ์ แต่งหน้าด้วยวิปปิ้ งครีมและผลไม้แห้ง เช่น มะม่วงตากแห้ง กล ้วยตาก และมะพร้าวแก้ว
TIP
* ถ้าใช้ขา้ วไรซ์เบอรี่ ให้ตม้ น�ำ้ สมุนไพรตามสูตรก่อนแล้วแบ่งเอาเฉพาะน�ำ้ มาหุงกับข้าวไรซ์เบอรี่ในหม้อหุงข้าว พอข้าวสุกค่อยเติมเกลือ น�้ำตาล คนให้ละลาย และเติมกะทิ คนให้เข้ากันปล่อยข้าวให้ระอุในหม้อหุงข้าว พอได้ที่แล้ว ยกลงทิ้งให้เย็น แล้วจึงเติมวิปปิ้งครีมคลุกเคล้าให้เข้ากัน ช้อนชา = ช้อนทีใ่ ช้สำ� หรับชา กาแฟทัว่ ไป ช้อนโต๊ะ = ช้อนส้อมทีใ่ ช้กนิ ข้าวทัว่ ไป ทัพพี = ทัพพีเมลามีนตักข้าวทัว่ ไป
SCOOP
32: A SIDE HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
MU
USIC C H A N G I N G
L I V E S
ดนตรีเปลี่ยนชีวิต
เรื่อง: ระพินทรนาถ ภาพ: ศมนภรณ์
เรื่องที่จะได้อ่านกันต่อจากนี้ เป็นเรื่องราวของคนกลุ่มหนึ่ง ที่มีเหตุให้เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน คนที่เริ่มต้นเรื่องนี้เป็นสุภาพสตรีที่มีความสามารถทางด้านการร้องเพลงและเล่นดนตรี หลายคนเรียกเธอว่า ‘ครู’ ชีวติ ของเธอสุขสบายดี มีคนเคารพนับถือมากมาย แต่แล้ววันหนึง่ เมือ่ เธอตัดสินใจทีจ่ ะอุปการะเด็กหนุม่ กลุม่ หนึง่ การกระท�ำนี้ ถูกตั้งค�ำถามจากคนมากมายที่อยู่แวดล้อม ด้วยความหวั่นวิตกว่า เธอก�ำลังหยิบยื่น ‘โอกาส’ ให้กับคนที่อาจเดินมาไกล เกินกว่าจะ ‘เปลี่ยน’ วิถีชีวิตของตัวเอง และอาจไม่เห็นคุณค่าของความเมตตาที่มอบให้แม้แต่น้อย
ส�ำหรับวัยรุ่นชาย 3 คนทีส่ ุภาพสตรีคนแรกหยิบยืน่ ความช่วยเหลือให้ พวกเขามีสง่ิ หนึ่งทีเ่ หมือนกัน คือใช้ชวี ติ วนเวียนอยู่กบั เรื่อง ‘ไม่ด’ี ในสายตา ของคนอืน่ ต้องรับผลจากความผิดพลาดทีไ่ ด้กระท�ำไป และหากถามถึงชีวติ ในวันข้างหน้า แม้แต่เจ้าตัวเองก็คงไม่รูเ้ ลยด้วยซ�ำ้ ว่าจะพาชีวติ ของตัวเองไปสู่ สิง่ ทีด่ กี ว่าได้อย่างไร ส่วนคนกลุ่มสุดท้ายซึ่งมีทงั้ หญิงและชายนัน้ เขาและเธอมีความรู ้ ความสามารถในเรื่องดนตรี แต่ไม่เคยรู ว้ ่าสิ่งนี้สามารถท�ำอะไรได้มากกว่า บรรเลงขับกล่อมสร้างความสุขให้กับผู ้คน จนกระทังได้รู ่ จั้ กกับสุภาพสตรีคนแรก และความสัม พัน ธ์ท่ีเ กิด ขึ้น โดยมี ‘ดนตรี’ เป็ น สิ่ง ที่เ ชื่อ มโยงให้ แต่ละคนมาพบเจอกันนัน้ เปลีย่ นแปลงชีวติ ของทุกคนไปตลอดกาล
ดนตรีเพื่อชีวิตใหม่ ภายในห้องเรียนดนตรีสากลของสถานพินิจและคุม้ ครองเด็กและ เยาวชนจังหวัดเชียงใหม่ บรรดา ‘นกั เรียนชาย’ ซึง่ มีทงั้ เด็กและวัยรุน่ นังเรี ่ ยงแถว อย่างเป็ นระเบียบ ตาเพ่งมองแบบทดสอบทีอ่ ยู่ตรงหน้า พร้อมกับรอคอยให้ ครูเบลล่า – นลี อินทรนันท์ เล่นคียบ์ อร์ดตามโจทย์ในแต่ละข้อ เพือ่ ทีพ่ วกเขา จะได้ตอบค�ำถามในแบบทดสอบตามสิง่ ทีไ่ ด้ยนิ ได้ฟงั “ท�ำเองนะลูก ของใครของมัน อย่าลอกกัน ท�ำได้หรือไม่ได้ไม่เป็ นไร แต่ ว่าลู กต้องท�ำด้วยตัวเอง” คือสิ่งที่ครู เบลล่าบอกกับเด็กๆ ในระหว่าง การท�ำแบบทดสอบ การทดสอบนี้เป็ นส่วนหนึ่งของการเรียนทฤษฎีดนตรีและการขับร้อง ทีเ่ ด็กและเยาวชนในสถานพินจิ และคุม้ ครองเด็กและเยาวชนจังหวัดเชียงใหม่ จะได้เรียน ตามโครงการ ‘ดนตรีเพื่อชีวิตใหม่’ ซึ่งครู เบลล่าและคณะ ได้เข้ามาด�ำเนินการตัง้ แต่ ปี 2552 โดยเด็กและเยาวชนที่น่ีจะได้พบกับ ครูเบลล่าในช่วงสายถึงเที่ยงของทุกวันพุธ ขณะที่วนั จันทร์ พุธ และศุกร์ พวกเขาจะมีครู กิฟ๊ – คณิ ศร ภิวฒั น์ภูดิท คอยดู แลและให้ค�ำแนะน�ำ หากมีใครสนใจจะเรียนหรือซ้อมดนตรี
หลังจากท�ำแบบทดสอบเสร็จ บรรยากาศในห้องเรียนทีด่ ูจริงจังในช่วงก่อนหน้า เริม่ ผ่อนคลายขึ้น เพราะเป็ นช่วงเวลาทีว่ งดนตรีของเด็กๆ ได้ออกมาแสดงฝี มอื ให้ครูเบลล่าและครูกฟิ ๊ ได้ชม หลายๆ เพลงถูกบรรเลงท่ามกลางเสียงเชียร์ ของเด็กๆ ในห้อง ยามทีเ่ พือ่ นฝูงคนนึ่งคนใดก้าวออกมารับหน้าทีน่ กั ร้องน�ำ ก่ อนที่การเรียนการสอนจะจบลงหลังจากที่ครู เบลล่าได้พูดคุยกับเด็กๆ เป็ นการส่งท้าย ตลอดหลายปี ทผ่ี ่านมา ครูเบลล่า พร้อมด้วยครูคนอืน่ ๆ ไม่วา่ จะจาก โรงเรียนวรนันท์ทค่ี รูเบลล่าและสามี อิทธินนั ท์ อินทรนันท์ เป็ นเจ้าของ และ นักดนตรีในจังหวัดเชียงใหม่ท่อี าสาเข้ามาช่วย ได้เข้าไปถ่ายทอดความรู ้ ทางด้า นดนตรีใ ห้เ ด็ก และเยาวชนภายในสถานพินิ จ และคุ ม้ ครองเด็ก และเยาวชนจังหวัดเชียงใหม่ โดยกิจกรรมนี้ยงั ไปถึงการจัดหาเครื่องดนตรี ชนิดต่างๆ ให้เด็กและเยาวชนทีอ่ ยู่ในสถานพินิจได้ใช้ และการจัดคอนเสิรต์ เพือ่ น�ำรายได้มาเป็ นค่าใช้จ่ายในโครงการดนตรีเพือ่ ชีวติ ใหม่ ซึง่ สิง่ ต่างๆ เหล่านี้ ท�ำให้การเรียนการสอนที่เริ่มต้นจากการที่ครูเบลล่าและครูคนอื่นๆ เข้ามา สอนดนตรีเพียงสัปดาห์ละครัง้ ค่อยๆ เติบโตจนกลายเป็ นการจัดตัง้ ห้อง สอนดนตรีสากลขึ้นภายในสถานพินจิ รวมทัง้ สามารถจัดหาครูเข้ามาอยูป่ ระจ�ำ ห้องดนตรี เพือ่ ถ่ายทอดความรูให้กั ้ บเด็กๆ ได้มากยิง่ ขึ้น ดังทีเ่ ป็ นอยูใ่ นปัจจุบนั อีกทัง้ ครูเบลล่าเองก็ยงั เข้าไปสอนดนตรีในสถานทีอ่ น่ื ๆ อาทิ ทันฑสถานหญิง เชียงใหม่ ควบคู่กนั ไปด้วย อย่ างไรก็ตาม โครงการนี้คงจะไม่เกิดขึ้น หากครู เบลล่าซึ่งเป็ น ผูร้ เิ ริม่ โครงการนี้ ไม่ได้รบั ค�ำแนะน�ำจากพระทีว่ ดั ป่ าแดงมหาวิหาร ในระหว่าง ที่นำ� หนังสือไปบริจาคให้กบั ทางวัด “พระท่านเล่าให้ฟงั ว่าทางวัดได้เข้าไป สอนธรรมะให้กบั เด็กๆ ที่สถานพินิจ แลว้ ท่านก็เสนอว่าน่ าจะเอาดนตรี เข้าไปสอนบ้าง ครูเองได้ยนิ แล ้วก็รูส้ กึ ว่าน่าสนใจ อยากไปช่วย ก็เลยชวนบอย (ธีระศักดิ์ ก้อนจันทร์เทศน์) ซึ่งในตอนนัน้ สอนดนตรีอยู่ท่โี รงเรียนดนตรี วรนัน ท์ใ ห้ม าช่ ว ยกัน จากนั้น ก็ ไ ปติ ด ต่ อ พู ด คุ ย กับ ทางสถานพิ นิ จ จนเขาอนุญาตให้เข้าไปสอนได้”
การสอนดนตรีทส่ี ถานพินิจของครูเบลล่าในช่วงแรกๆ เป็ นเพียงการ เข้า ไปพบกับ เด็ก ๆ สัป ดาห์ล ะครัง้ และช่ ว ยจัด หากีต าร์เ พื่อ ให้เ ด็ก ๆ ในสถานพินิจได้ใช้เล่นและฝึ กซ้อมกัน “ตอนแรกๆ ยอมรับนะว่ากลัวนะ คิดไปเรื่อยเปื่ อยเลยว่าเข้าไปข้างในแลว้ จะเป็ นยังไง จะปลอดภัยหรือเปล่า แต่พอเข้าไปจริงๆ แล ้วไม่มอี ะไรเลย เด็กๆ ก็น่ารัก มีสมั มาคารวะดี แน่นอนว่า อาจจะมีบางคนทีเ่ ขายังไม่เปิดรับเต็มที่ เพราะการทีค่ นข้างนอกเข้าไปให้ความรู ้ กับเด็กๆ ข้างในนัน้ มีอยู่ตลอด เพียงแต่บางทีกไ็ ม่ได้ทำ� ต่อเนื่อง มาๆ หายๆ เด็กๆ บางคนเขาก็เลยรอดูทา่ ทีของเราก่อนว่าจะท�ำอะไรยังไง ว่าเราจะจริงจัง กับเขาไหม แล ้วก็จะมีเด็กอีกส่วนหนึ่งทีแ่ สดงออกว่าไม่สนใจ ฉันจะท�ำอะไร ตามใจฉัน ซึง่ ก็ตอ้ งค่อยๆ ปรับกันไป อาจจะต้องก�ำราบกันบ้างนิดหน่อย แต่พอเขารูว้ า่ เราตัง้ ใจ บวกกับเรียนไปแล ้ว เริ่มรูส้ กึ ชอบ ทุกอย่างก็ไปได้ดี ขึ้นเรื่อยๆ” การสอนดนตรี ข องครู เ บลล่ า และคณะยัง คงด�ำ เนิ น ไปเรื่ อ ยๆ จนกระทังครู ่ เบลล่าเริม่ รูสึ้ กว่า การเข้าไปให้ความรูก้ บั เด็กๆ เพียงอาทิตย์ละครัง้ ยังไม่เพียงพอ บวกกับการตอบรับของเด็กๆ ทีแ่ สดงให้เห็นถึงความสุขทีไ่ ด้ ร้องเพลงและเล่นดนตรี เป็ นสิง่ ทีผ่ ลักดันให้เธอตัดสินใจว่า จะต้องยกระดับ สิง่ ทีก่ ำ� ลังท�ำอยู่น้ ใี ห้จริงจังมากยิง่ ขึ้น ซึ่งการตัดสินใจในครัง้ นัน้ น�ำมาซึ่งความเปลีย่ นแปลงอีกหลายสิ่ง ในเวลาต่อมา
จากคุณครูสู่คุณแม่ เมือ่ ครูเบลล่าตัดสินใจว่า การสอนดนตรีให้กบั เด็กๆ ในสถานพินิจ ทีก่ ำ� ลังท�ำอยูน่ นั้ ‘จำ� เป็น’ จะต้องยกระดับความจริงจังให้มากยิง่ ขึน้ เพือ่ ตอบสนอง ความต้องการของเด็กๆ ทีแ่ สดงออกมาให้เห็น “ครูเชื่อว่าดนตรีสามารถช่วย เยียวยาและพัฒนาเด็กๆ ได้ ยิง่ พอเห็นการตอบรับของพวกเขา ก็เลยคิดกันว่า สิง่ ทีท่ ำ� อยู่น่าจะต้องท�ำกันให้จริงจังมากขึ้นแล ้วล่ะ” ความคิดดังกล่าวน�ำไปสู่การเข้าไปหารือกับสถานพินิจ เกี่ยวกับการ เปิ ดห้องเรียนดนตรีภายในสถานพินิจอย่างจริงจัง “ก่อนทีค่ รูจะเข้ามาสอน ที่นนั ่ มีแค่ หอ้ งเรียนดนตรีไทย ซึ่งก็ตอ้ งยอมรับว่าวัยรุ่นอาจจะไม่ได้ชอบ ดนตรีไทยมากเท่าไหร่ พอเป็ นดนตรีสากลพวกเขาจะรู ส้ กึ สนใจมากกว่า แต่การเรียนที่เจอกันแค่อาทิตย์ละครัง้ ท�ำให้พวกเขาไม่มโี อกาสได้ฝึกฝน หรือได้เล่นกันเท่าทีค่ วร ก็เลยคุยกับทางสถานพินจิ ว่า ถ้ามีครูเข้ามาอยูป่ ระจ�ำ เด็กๆ ก็จะได้มโี อกาสฝึ กซ้อมได้มากยิ่งขึ้น ซึ่งเราโชคดีท่ที างสถานพินิจ ก็เห็นดีดว้ ย และช่วยจัดหาห้องให้เราได้ใช้” ขณะที่ครู เบลล่าเองก็รบั ผิดชอบในการเชิญครู คนอื่นๆ เข้ามาช่วย สอนดนตรี หาครูทจ่ี ะเข้ามาอยู่ประจ�ำในสถานพินจิ และหาเครือ่ งดนตรีต่างๆ ทีจ่ ำ� เป็ น เพือ่ ให้การเรียนดนตรีมปี ระสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมถึงการริเริ่ม จัดคอนเสิรต์ Music For Their Better Days ทีน่ ำ� รายได้จากงานนี้ไปใช้ ในการจัดหาเครือ่ งดนตรี เป็ นค่าจ้างของครูทเ่ี ข้ามาท�ำงานประจ�ำทีส่ ถานพินจิ และเป็ นค่าใช้จ่ายในส่วนอืน่ ๆ ของโครงการดนตรีเพือ่ ชีวติ ใหม่ ถ้าพิจารณาจากสิง่ ต่างๆ ทีไ่ ด้กล่าวมา คงจะไม่ผดิ นักหากจะบอกว่า ครูเบลล่า ‘ทุ่มเท’ ให้กบั โครงการดนตรีเป็ นอย่างมาก ไม่วา่ จะเป็ นการอุทศิ แรงกายในการสอน หรือการคิดหาวิธกี ารทีจ่ ะช่วยให้การท�ำงานต่างๆ ด�ำเนิน ไปได้ด้วยดี แต่เมือ่ ครูเบลล่าตัดสินใจทีจ่ ะ ‘อปุ การะ’ เด็กๆ บางคนจากสถานพินจิ ความคิดดังกล่าวก็ให้ท�ำตัวเธอถูกตัง้ ค�ำถามจากคนทีอ่ ยูร่ อบตัว ว่าความคิดนัน้ จะเป็ นสิง่ ทีเ่ หมาะสมหรือไม่ “สิง่ หนึ่งทีค่ รูพบจากการเข้าไปสอนดนตรีให้กบั เด็กๆ ก็คอื สิง่ ทีเ่ ราท�ำ มันเป็ นการแก้ปญ ั หาที่ปลายเหตุ แต่ตน้ เหตุก็คือเด็กๆ ส่วนมากมาจาก ครอบครัวที่มีปญ ั หา ไม่มีคนคอยดู แล ท�ำให้พวกเขาก้าวไปสู่ทางที่ผิด ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องยาเสพติด การกระท�ำผิดหรือการใช้ความรุนแรงต่ างๆ 34: A SIDE HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
แลว้ การที่พวกเขาต้องมาอยู่ในสถานพินิจ มันท�ำให้เขารู ส้ กึ ว่าตัวเองเป็ น คนไม่ดีไปแลว้ ไม่มีอะไรจูงใจให้เขาอยากปรับปรุงตัวกลับมาเป็ นคนดี กลายเป็นว่าหลายคนพอออกไปได้ไม่นานก็มกั จะกลับเข้ามาใหม่อกี ” ประกอบกับ ตัวครูเบลล่าเองมักจะบอกกับเด็กๆ ว่า หากออกจากสถานพินิจแลว้ ไม่รูว้ า่ จะไปที่ไหน สามารถแวะมาหาเธอได้เสมอ และเมื่อพบว่ามีเด็กบางคน ทีม่ งุ่ มันเอาจริ ่ งเอาจังกับการเรียนดนตรี เธอจึงตัดสินทีจ่ ะสนับสนุนพวกเขา ด้วยการรับเด็กๆ เข้ามาอยู่ในความดูแล และหาหนทางทีจ่ ะผลักดันให้เด็กๆ ทีเ่ ธออุปการะมีชวี ติ ทีด่ ขี ้นึ สิง่ ทีค่ รูเบลล่าท�ำหลังจากตัดสินว่าจะอุปการะเด็กๆ เข้ามาอยู่ในความ ดูแล ได้แก่การมอบหมายงานให้เด็กๆ ท�ำงานในร้านอาหารซึง่ ตัง้ อยู่ในพื้นที่ ของโรงเรียนดนตรีวรนันท์ เพือ่ ทีเ่ ด็กๆ จะได้มรี ายได้เป็ นของตัวเอง จากนัน้ เธอจึงบอกกับเด็กๆ ถึงความคาดหวังทีต่ งั้ ไว้กบั พวกเขา “ครูคดิ ว่าการทีเ่ รา เข้าไปสอนดนตรีให้กบั เด็กๆ ทีส่ ถานพินจิ สิง่ แรกทีเ่ ป็ นเป้ าหมายคืออยากให้ ดนตรีช่วยเยียวยาเด็กๆ ในนัน้ ท�ำให้เขารูส้ กึ ผ่อนคลาย และคิดได้วา่ ชีวติ ยังมีความหวัง ต่อจากนัน้ เราก็หวังว่า การทีเ่ ด็กๆ ได้เล่นดนตรี แม้จะไม่ใช่ ทุกคนทีจ่ ะท�ำได้ดหี รือสนใจฝึ กฝนอย่างจริงจัง แต่อย่างน้อยก็เป็ นเหมือน การเสนอทางเลือกหนึ่งให้กบั เขาว่า ดนตรีนนั้ สามารถใช้เป็ นเครื่องมือในการ หาเลี้ยงชีพได้ในวันทีเ่ ขาออกไปจากสถานพินจิ แล ้ว และส�ำหรับเด็กๆ ทีม่ าอยู่ กับครู ครูหวังว่านอกจากพวกเขาจะได้พัฒนาตัวเองแล ้ว เขาควรทีจ่ ะน�ำความรู ้ ทีไ่ ด้กลับไปถ่ายทอดให้กบั น้องๆ ทีส่ ถานพินิจด้วย เพราะการทีพ่ วกเขาเคย ผ่านช่วงเวลาในนัน้ มาแลว้ จะเป็ นตัวอย่างทีด่ สี ำ� หรับคนรุ่นหลัง ว่าคนเรา สามารถเปลีย่ นแปลงตัวเองได้เสมอ”
ด้วยเหตุน้ ี เด็กๆ ทุกคนทีค่ รูเบลล่าอุปการะจึงได้รับการฝึ กฝนเรือ่ งดนตรี อย่างต่อเนือ่ งจากครูในโรงเรียนดนตรีวรนันท์ โดยตัง้ เป้ าหมายไว้ว่าจะผลักดัน ให้ทกุ คนได้ศึกษาต่อทางด้านดนตรีในระดับมหาวิทยาลัย เพือ่ ทีจ่ ะน�ำความรู ้ มาช่วยครูเบลล่าท�ำงานต่อไปในอนาคต แต่ถ ้าหากเด็กคนไหนค้นพบว่าตัวเอง มีสง่ิ อืน่ ทีส่ นใจและอยากก้าวเดินไปในเส้นทางนัน้ มากกว่าดนตรี ครูเบลล่า ก็ไม่ปฏิเสธทีจ่ ะสนับสนุนเช่นกัน “ครูจะบอกพวกเขาเสมอว่าเมือ่ ลูกได้รบั โอกาสจากคนอืน่ แล ้ว ลูกต้อง แบ่งปันโอกาสนี้ให้กบั คนอืน่ ๆ ด้วย ซึง่ เด็กๆ ก็จะค่อยๆ ซึมซับแนวคิดนี้ จากเราไป ในขณะเดียวกันก็จะบอกด้วยว่า สิง่ ต่างๆ ทีพ่ วกเขาท�ำนัน้ มีผล กับตัวครูดว้ ยนะ การทีพ่ วกเขามาอยูก่ บั ครู เป็ นธรรมดาทีต่ อ้ งมีคนจับตามอง เพราะฉะนัน้ ถ้าเขาท�ำตัวได้ดี คนก็จะยอมรับและเชือ่ ถือในสิง่ ทีค่ รูทำ� แต่ในทาง กลับกัน ถ้าพวกเขาท�ำตัวไม่ดี คนอื่นก็จะบอกว่าสิ่งที่ครู ทำ� นัน้ ไม่ได้ผล แล ้วมันจะเป็ นการท�ำลายโอกาสของน้องๆ คนอืน่ ๆ ต่อไปในอนาคตอีกด้วย” ครูเบลล่าบอกว่า ในสายตาคนอืน่ อาจมองว่าการเข้าไปช่วยเหลือเด็กๆ อย่างที่เธอท�ำ แลว้ ทุกอย่างเป็ นไปด้วยดี ไม่มเี ด็กคนไหนที่เธออุปการะ สร้างปัญหาให้นนั้ ถือเป็ นโชคดี แต่สำ� หรับตัวเธอเองแล ้วกลับรูส้ กึ ว่า ‘ความกลัว’ เช่นนี้ต่างหากทีเ่ ป็ นตัวฉุดรัง้ ไม่ให้หลายๆ คนท�ำแบบเดียวกับทีเ่ ธอท�ำบ้าง “ไม่ใช่วา่ เราไม่กลัวนะ อย่างสามีเขาก็เป็นห่วง แต่วา่ เขาก็สนับสนุนเราทุก อย่าง ไม่เคยห้าม คือเด็กๆ ทีเ่ ราได้เจอ คนอืน่ เขาคิดว่าพังแล ้ว แก้ไขอะไรไม่ได้ แล ้ว แต่เราเชือ่ ว่ามันซ่อมได้สิ คนเรา มันยังซ่อมได้ พวกเขาแค่ต ้องการโอกาส ต้องการคนทีจ่ ะแนะน�ำทางทีถ่ กู ต้อง โอเคว่าคงไม่ใช่ทกุ คนทีจ่ ะท�ำได้แบบนัน้ แต่ถ ้ามีคนทีอ่ ยากจะเปลีย่ นแปลงชีวติ ให้ดีขน้ ึ เราก็ควรจะลองให้โอกาสเขาดู”
ครูเบลล่า – นลี อินทรนันท์ HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
A SIDE :35
ชีวิตเก่า - ชีวิตใหม่ วันที่ HIP ท�ำการนัดหมายว่าจะพูดคุยกับ ติก๊ – เจริญ ส่วยอย่า, โอ – ภัทรภูมิ ธนสุทนิ และ แระ – ทินกร พงษ์มณี พร้อมกันทัง้ สามคน ทีร่ า้ นครูเบลล่านัน้ หนุ่มคนแรกเป็ นฝ่ ายทีเ่ ข้ามาหาเราทีน่ นั ่ ขณะทีส่ องคน หลังอยู่ประจ�ำทีร่ า้ นอยู่แล ้ว เพราะมีหน้าทีต่ อ้ งท�ำงานทีร่ า้ นในวันนัน้ พอดี ทัง้ 3 คนคือเยาวชนทีค่ รูเบลล่ารับอุปการะ ภายหลังจากทีพ่ วกเขา ออกจากสถานพินจิ โดยติก๊ เป็ นคนทีอ่ าวุโสทีส่ ดุ เพราะเข้าไปอยูใ่ นสถานพินจิ ก่อนใครๆ ส่วนและเป็ นน้องใหม่ทม่ี าอยู่กบั ครูเป็ นคนล่าสุด ขณะทีพ่ ้นื เพ ของแต่ละคนก็แตกต่างกัน ติก๊ นัน้ มาจาก อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน โอมีภมู ลิ ำ� เนา อยู่ท่ี อ.ไชยปราการ ส่วนแระเป็ นเด็กในเมือง บ้านอยู่ท่ีย่านกาดก้อม ประตูเชียงใหม่ หากดูเผินๆ ทัง้ สามหนุ่มก็ไม่ต่างไปจากวัยรุ่นทีเ่ ราสามารถพบเห็นได้ โดยทัว่ ไป ติก๊ นัน้ ดูเป็ นคนสบายๆ ขณะทีโ่ อค่อนไปทางเงียบขรึม ส่วนแระ ถ้าไม่มอี คติกบั สารพัดรอยสักทีม่ อี ยู่บนร่างกายแล ้ว ก็ดูร่นื เริงและไม่มอี ะไร ที่บ่งบอกว่าเป็ นคนที่ไม่น่าไว้วางใจตรงไหน แต่ในอดีตหนุ่ มสองคนแรก มีประวัติเกี่ยวกับคดียาเสพติด ในขณะที่หนุ่ มที่อ่อนวัยที่สุดก็มปี ระวัติ การทะเลาะวิวาท ในระดับทีเ่ คยเล่นงานคู่กรณีจน ‘ปางตาย’ มาแล ้ว ติก๊ เล่าว่าในวัยเด็กครอบครัวของเขาจัดว่ามีฐานะพอสมควร แต่รายได้ เหล่านัน้ มีทม่ี าจากการค้ายาเสพติด ดังนัน้ เมือ่ เจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจเริม่ ด�ำเนินการ ปราบปรามอย่างจริงจัง ท�ำให้สมาชิกในบ้านต้องแยกย้ายกันหลบหนีไป คนละทิศละทาง “ตัวผมไม่รูเ้ ลยว่าพ่อแม่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด มีหน้าที่ เรียนหนังสืออย่างเดียว ชีวติ สุขสบายมาก แต่พอต�ำรวจเขาเริม่ ตามจับพวกเรา ก็ตอ้ งหนี ตอนนัน้ พ่อแม่พาผมมาเชียงใหม่ก่อน แล ้วก็ส่งผมให้ไปบวชอยู่ท่ี ภาคอีสาน จะเรียกว่าโดนทิ้งก็คงใช่” หลังจากนัน้ ติก๊ ตัดสินใจกลับมาเชียงใหม่ และเริ่มหางานท�ำเลี้ยงชีพ พร้อมทัง้ คบหาเพือ่ นกลุม่ ใหม่ ซึง่ ชักน�ำให้เขาเสพ และจ�ำหน่ายยาเสพติดด้วย “กับครอบครัวนี่ก็เหมือนขาดการติดต่อไปเลย มาอยู่เชียงใหม่กต็ อ้ งดูแลตัวเอง ท�ำงานรับจ้างอะไรไปตามเรื่อง เสพยาด้วย เป็ นคนส่งยาด้วย จนวันหนึ่งผมรูส้ กึ ว่าไม่อยากใช้ชวี ติ ทีย่ งุ่ เกีย่ วกับยาเสพติด ชีวติ ทีต่ ้องพกปืนติดตัวเพราะว่ากลัวคนอืน่ จะมาท�ำร้าย ก็เลยหนีกลับไปอยูท่ ป่ี าย” ชีวติ ของติก๊ ทีป่ ายในรอบนี้ดูเหมือนจะเป็ นไปในทางทีด่ ี เขามีงานท�ำ มีรายได้ และไม่ได้ยุ่งเกี่ยวกับการค้ายาเสพติดเหมือนสมัยทีอ่ ยู่เชียงใหม่ (เขายอมรับว่าเสพยาบ้าง) แต่แลว้ วันหนึ่งเจ้าหน้าที่ตำ� รวจก็มาจับกุมเขา
ครูเป็นใครก็ ไม่รู้ ไม่ ได้มีความเกี่ยวข้องอะไร กับผมเลย แต่เขาท�ำให้ผมมากขนาดนี้ จะท�ำตัว ไร้สาระไปวันๆ ก็คงไม่ได้แล้วล่ะ
36: A SIDE HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
โดยอ้างว่าเขามีสว่ นเกี่ยวข้องในคดีเก่าทีท่ ำ� ให้ครอบครัวของเขาต้องหลบหนี ไปเมือ่ หลายปี ก่อน “ผมก็ยนื ยันตลอดนะว่าผมไม่รูเ้ รื่อง ไม่ได้เกี่ยวข้อง อะไรกับการทีค่ รอบครัวผมค้ายาเสพติดเลย แต่ตำ� รวจเขาก็บอกว่าผมเกี่ยว เลยอยู่ในสถานพินิจประมาณปี ครึ่งถึงได้ออกมา ทุกวันนี้ผมก็ยงั ไม่รูเ้ ลยว่า พ่อกับแม่ไปอยู่ทไ่ี หน” ติก๊ บอกว่าเขาโชคดีทห่ี ลังจากเข้าไปอยูใ่ นสถานพินจิ ได้ไม่นาน ได้เจอ กับครูเบลล่าทีเ่ ข้ามาสอนดนตรีให้กับเด็กๆ อีกทัง้ การได้รอ้ งเพลงซึง่ เป็ นสิง่ ที่ เขาชืน่ ชอบอยู่แล ้วยังช่วยบรรเทาความทุกข์ทเ่ี กิดขึ้นในชีวติ ลงได้พอสมควร “คือถ้าไม่ได้ทำ� อะไร ใจเราก็จะนึกถึงแต่วา่ เรื่องคดีของเราจะเป็ นยังไงต่อไป เราจะติดคุกไหม ต้องหนีหรือเปล่า เมือ่ ไหร่เรื่องถึงจะจบ คิดเรื่องพวกนี้แล ้ว เครียดมาก ถ้าไม่ได้เรียนดนตรีกค็ งเป็ นบ้าไปแล ้ว” ระหว่างทีต่ กิ ๊ อยูใ่ นสถานพินจิ เขาได้พบกับโอ ซึง่ ในเวลานัน้ ติดยาเสพติด และรับหน้าทีช่ ่วยพีช่ ายส่งยาเสพติดอยู่ “ท�ำไปท�ำมาก็โดนเจ้าหน้าทีล่ อ่ ซื้อครับ ก็เลยถูกจับกันทัง้ คู่ แล ้วผมก็ถกู ส่งเข้ามาอยู่ทส่ี ถานพินจิ ” โอเริ่มต้นเล่าเรื่อง ของตัวเอง “คนอื่นเขาอาจจะบอกว่าขาดความอบอุ่น ครอบครัวไม่รกั ถึงได้ตดิ ยาเสพติด แต่ของผมเป็ นเพราะเพือ่ นพาไป เราเคยไม่ชอบ ไม่สนใจ ไม่คดิ ว่าจะไปยุง่ เกีย่ วกับยาเสพติด แต่พออยูก่ บั กลุม่ เพือ่ น แล ้วมีเพือ่ นทีต่ ดิ ยา ก็เหมือนกับว่าเราค่อยๆ คุน้ เคยกับมัน จนวันหนึ่งก็ทดลองดูบา้ ง แล ้วก็ตดิ ในทีส่ ุด” โอเล่าว่าตอนทีเ่ ขาได้เรียนดนตรีกบั ครูเบลล่า ทุกครัง้ ทีไ่ ด้ฟังสิง่ ทีค่ รูสอน ท�ำให้เขารูส้ กึ ว่าอยากจะปรับปรุงตัวเองให้ดีข้นึ “ครูจะให้ก�ำลังใจพวกเราตลอด ก่อนจะกลับแกก็จะกอดพวกเราทุกครัง้ มีอะไรเราก็คยุ กับกับครูได้ทกุ เรื่อง” ดังนัน้ เมือ่ ออกจากสถานพินิจ โอจึงตัดสินใจติดต่อครูเบลล่า พร้อมทัง้ ขอ เข้ามาติวเรือ่ งดนตรีทโ่ี รงเรียนดนตรีวรนันท์ โดยตัง้ เป้ าว่าจะสอบเข้าเรียนต่อ ทางด้านดนตรีในระดับมหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตาม หลังจากเรียนไปได้สกั พัก โอก็หยุดเรียนไปเฉยๆ ทีแ่ ย่กว่านัน้ ก็คอื การทีย่ งั คลุกคลีอยู่ในสังคมเพือ่ นฝูงหน้าเดิมๆ ท�ำให้เขา กลับไปติดยาเสพติดอีกครัง้ “คราวนี้เป็ นฝ่ ายครูทโ่ี ทรหาพีช่ ายผม บอกว่า จะให้ผมไปอยู่ดว้ ย แถมยังมาคุยกับแม่และพีช่ ายผมถึงบ้าน คือจริงๆ แล ้ว ครูไม่ตอ้ งท�ำขนาดนี้กไ็ ด้ แต่เขาก็ทำ� หรืออย่างการทีค่ รูพาผมกลับมา ครูเอง ก็ตอ้ งอธิบายให้คนอืน่ ๆ ทัง้ ทีอ่ ยูท่ ร่ี า้ นและทีโ่ รงเรียนเข้าใจ ซึง่ ก็ไม่ใช่เรือ่ งง่าย เพราะทุกคนเขาไม่ไว้ใจ คิดว่าเดีย๋ วผมจะต้องสร้างปัญหาให้ครู อีกแน่ ๆ แต่ครูกย็ งั ออกหน้าคอยแก้ปญั หาให้ ท�ำให้ผมรูส้ กึ ว่าเราต้องท�ำตัวให้ดกี ว่านี้ ครู เป็ นใครก็ไม่รู ้ ไม่ได้มคี วามเกี่ยวข้องอะไรกับผมเลย แต่เขาท�ำให้ผม มากขนาดนี้ จะท�ำตัวไร้สาระไปวันๆ ก็คงไม่ได้แล ้วล่ะ” การตัดสินใจปรับปรุงตัวของโอส่งผลดีเกินคาด ไม่เพียงแต่เขาจะ เรียนจบ กศน.และสามารถสอบเข้าเรียนทางด้านดนตรีในระดับมหาวิทยาลัย ได้เท่านัน้ หากแต่ทกุ วันนี้เขายังเป็ นผูช้ ่วยทีต่ ดิ ตามครูไปสอนดนตรีในทุกที่ ทีค่ รูเบลล่าไป ซึง่ รวมถึงสถานพินิจ ทีท่ เ่ี ขาเคยใช้เวลาช่วงหนึ่งในชีวติ เป็ น สมาชิกของทีน่ นั ่ โดยไม่ได้ตัง้ ใจ “ถ้าผมไม่ได้เจอครู ไม่ได้มาเล่นดนตรี ชีวติ ผม คงไม่เป็ นเหมือนอย่างทุกวันนี้ ครู เป็ นจุดเปลีย่ นที่สำ� คัญมากในชีวติ ผม แล ้วสิง่ ทีค่ รูคดิ สิง่ ทีค่ รูทำ� ผมก็ได้เห็น ได้ซมึ ซับมาตลอด จนท�ำให้ผมรูส้ กึ ว่าในอนาคตถ้าครูไม่อยู่ ผมต้องรับหน้าทีส่ านต่อสิง่ ทีค่ รูทำ� เอาไว้ต่อไป”
จากซ้ายไปขวา : โอ – ภัทรภูมิ ธนสุทิน, ติ๊ก – เจริญ ส่วยอย่า, แระ – ทินกร พงษ์มณี ชีวติ ของแระดูจะมีสสี นั ฉูดฉาดมากกว่าพีๆ่ ทัง้ สองคน เพราะเด็กหนุ่ม ไม่เพียงแต่ เสพยาและค้ายาเสพติดเท่านัน้ แต่เขายังจัดว่าเป็ นคนระดับ ‘หัวโจก’ ของบรรดาวัยรุ่นทีค่ บหาและรูจ้ กั คุน้ เคยกัน ยังไม่รวมถึงวีรกรรม ที่เดินเข้าออกสถานพินิจมาแลว้ หลายหน ซึ่งทัง้ หมดนี้แระให้เหตุผลว่า เป็ นเพราะเขาขาดความรักจากแม่ บวกกับนิสยั ติดเพือ่ น ใครท�ำอะไรก็ทำ� ด้วย ทีส่ ่งผลให้ชวี ติ ของเขาเดินผิดทางไป “แม่ผมทิ้งไปตัง้ แต่ ผมยังเด็กๆ เขาทะเลาะกับตายายก็เลยย้าย ออกจากบ้านไป ทิ้งผมให้อยูก่ บั ตายาย พอเริม่ เรียน ปวช. ผมเป็ นคนติดเพือ่ น กลุม่ พวกเราจะออกแนวนักเลงหน่อย ก็เริม่ เสพยา เริม่ ไปสัก จนกระทังโดนจั ่ บ คดียาเสพติด โดนโรงเรียนไล่ออก ไปจนถึงโดนตากับยายไล่ออกจากบ้าน พอมาอยูก่ บั แม่เขาก็ไม่ได้ดูแลเอาใจใส่เราเท่าไหร่นกั เลยกลายเป็นว่าผมใช้เวลา อยู่กบั เพือ่ นในกลุม่ ซึง่ ทัง้ เสพยาและขายยาเสพติดมากกว่า” หลังจากถูกจับรอบทีส่ องในคดียาเสพติดแต่หลุดออกมาได้ แระกลับ เข้าไปในสถานพินิจเป็ นครัง้ ทีส่ าม ในความผิดฐานพยายามฆ่า จากการทีเ่ ขา และเพือ่ นรุมท�ำร้ายคู่อริจนบาดเจ็บสาหัส และความผิดในครัง้ นี้ทำ� ให้เขาถูก ส่งตัวเข้าไปรับโทษในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน เขต 7 จ.เชียงใหม่ และถูกควบคุมตัวเป็ นเวลา 11 เดือน ก่อนจะถูกปล่อยตัวออกมา “ตัวผมเอง เข้าไปอยู่ในนัน้ ก็มโี จทย์เยอะมาก อยู่ในนัน้ โดนเล่นงานจนเข็ดหลาบไปเลย คืออยู่ขา้ งนอกพวกนัน้ ไม่กล ้าท�ำอะไรผม แต่พอเป็ นข้างในปุ๊ บ มีโอกาสเขาก็ หาเรื่องเล่นงานผมตลอด”
สิ่งที่ช่วยให้ชีวติ ของแระก้าวผ่านช่ วงเวลาที่ตอ้ งอยู่ในสถานพินิจ และศู นย์ฝึก รวมทัง้ ท�ำให้เขาตระหนักว่าชีวติ สามารถเปลีย่ นแปลงไปใน ทางที่ดีได้ คือการได้เรียนดนตรีกบั ครู เบลล่า และการค้นพบว่าเขามี ความสามารถในด้านดนตรี ซึง่ จะช่วยให้ชีวติ เขาเดินไปในเส้นทางทีถ่ กู ต้องได้ “เมือ่ ก่อนผมเคยตีกลอง แต่ไม่ได้เล่นมานานมาก จนกระทังเข้ามาอยู ่ ่ ในสถานพินิจ ได้เรียนเรื่องดนตรีกบั ครูเบลล่า แลว้ พบว่าตัวเองรูส้ กึ ชอบ ท�ำได้ดี อีกทัง้ ยังได้เป็ นนักร้องของวงดนตรีท่ีศูนย์ฝึกส่งไปแข่งขันกับ ศูนย์ฝึกอืน่ ๆ มันท�ำให้ผมค้นพบว่ามีความสุขมากทีไ่ ด้เล่นดนตรี ตอนทีผ่ ม โดนเพือ่ นในศูนย์ฝึกกลันแกล ่ ้งเล่นงาน ผมเคยคิดแต่วา่ ถ้าออกไปได้เมือ่ ไหร่ จะต้องหาทางเอาคืนคนพวกนี้ให้ได้แต่พอหันมาสนใจเรือ่ งดนตรี กับฟังค�ำแนะน�ำ ของครูทบ่ี อกว่าผมสามารถเปลีย่ นแปลงชีวติ ตัวเองได้นะ มันยังไม่มคี ำ� ว่า สายไปหรอก ท�ำให้ผมเลิกคิดเรื่องแก้แค้น นึกเสียว่ามันเป็ นเวรกรรม ทีเ่ ราไปท�ำกับเขาไว้ แล ้วก็หนั มาสนใจเรื่องดนตรี ฝึ กฝนอย่างจริงจังแทน” ทุกวันนี้ตกิ ๊ เรียนจบ กศน.แล ้ว และบอกว่าสนใจอยากเรียนทางด้านอาหาร อย่างจริงจัง เพราะมีความฝันว่าอยากมีรา้ นอาหารเป็ นของตนเอง ด้านโอ ก�ำลังศึกษาในสาขาวิชาดนตรีทม่ี หาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ และเป็นก�ำลังส�ำคัญ ทีต่ ดิ ตามครูเบลล่าไปสอนดนตรีแทบทุกครัง้ ส่วนแระก�ำลังเรียน กศน.ให้จบ ชัน้ มัธยม โดยวางแผนว่าจะเรียนต่อทางด้านดนตรีในระดับมหาวิทยาลัยต่อไป นอกจากนี้ทงั้ 3 คนยังเป็ นสมาชิกในวง ‘คีตาสา’ วงดนตรีทค่ี รูเบลล่าตัง้ ขึ้น อีกด้วย HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
A SIDE :37
ความงามของการให้ ภายในห้องเรียนทีโ่ รงเรียนดนตรีวรนันท์ในช่วงเย็นวันหนึ่ง HIP มีนดั กับ ครูทอ็ ป – พงศกร หลิดชิววงศ์ และ ครูกฟิ ๊ – คณิศร ภิวฒั น์ภดู ทิ เพือ่ พูดคุยกันถึงการท�ำหน้าที่ ‘สนับสนุน’ ให้กบั ครูเบลล่าในการสอนดนตรี ให้กบั เด็กๆ ทีส่ ถานพินิจตลอดหลายปี ทผ่ี ่านมา “ผมอาจจะไม่ได้เข้าไปสอนน้องๆ ข้างในเหมือนอย่างครูกฟิ ๊ จะดูเวลา มีงานอีเวนต์หรือการบันทึกเสียงมากกว่า แล ้วก็มสี อนทฤษฎีดนตรีเพิม่ เติม ให้สองคนนี้” ครูทอ็ ปเริ่มต้นเล่าเรื่อง หลังจากเสร็จสิ้นการสอนเรื่องทฤษฎี ดนตรีให้กบั ครูกฟิ ๊ และโอ ขณะทีค่ รูกฟิ ๊ ช่วยเสริมว่า “ของโอเขาติวอยู่เรื่อยๆ อยู่แลว้ ครับ ส่วนของผมถ้ามีตรงไหนทีไ่ ม่เข้าใจก็มาให้ครูทอ็ ปช่วยติวบ้าง จะได้ไปอธิบายเด็กๆ ได้” ครูทอ็ ปเล่าว่าตัวเขาซึง่ เป็ นอาจารย์ทโ่ี รงเรียนดนตรีวรนันท์อยูแ่ ล ้วนัน้ เริม่ มีสว่ นช่วยครูเบลล่าตัง้ แต่ตอนทีค่ รูรเิ ริม่ จัดคอนเสิรต์ Music For Their Better Days “ตอนนัน้ ก็ตงั้ เป้ าแค่ว่าอยากให้มเี งินเอาไว้ซ้ อื เครื่องดนตรี ให้เด็กๆ ในสถานพินิจได้เล่นกัน ตัวผมก็ไปเล่นดนตรีในคอนเสิรต์ ด้วย แต่ตอนนัน้ ก็ไม่ได้คดิ นะว่าจะท�ำต่อเนื่องมาได้หลายปี แบบนี้” ครูทอ็ ปมองว่าการทีท่ งั้ โครงการดนตรีเพือ่ ชีวติ ใหม่ และคอนเสิรต์ Music For Their Better Days สามารถด�ำเนินมาได้จนถึงปัจจุบนั นัน้ คนทีส่ ำ� คัญทีส่ ุดทีส่ มควรได้รบั ค�ำชมก็คอื ครูเบลล่านัน่ เอง “ครูเบลล่าเป็ นคน ท�ำอะไรแล ้วท�ำจริงจังมาก ทุม่ เต็มที่ อย่างพวกเรานักดนตรีบางทีกไ็ ด้แต่คดิ ๆ นะว่าอยากท�ำอะไรทีเ่ ป็ นประโยชน์กบั สังคมบ้าง คือเรือ่ งจิตอาสาน่ะมีอยูแ่ ล ้ว แต่นึกไม่ออกว่าจะท�ำอะไรดี พอได้เห็นสิง่ ทีค่ รูเบลล่าท�ำ มันท�ำให้เราได้รูว้ า่ ดนตรีกส็ ามารถท�ำประโยชน์ สามารถช่วยเหลือคนได้ แล ้วพอมีคนท�ำแบบนี้ ท�ำไมเราถึงจะไม่ทำ� ตามล่ะ “อีกอย่างทีด่ มี ากก็คอื ดนตรีทค่ี รูเบลล่าสอนมันส่งผลไปถึงคนอืน่ ด้วย” ครูทอ็ ปอธิบายต่อ “อย่างติก๊ โอ ซึ่งครูอุปการะอยู่ ทุกวันนี้ก็เป็ นคนที่มี จิตอาสานะ ทัง้ ไปช่วยครูสอนดนตรีให้นอ้ งๆ ทีส่ ถานพินิจ ทัง้ ไปเล่นดนตรี กับครูตามงานต่างๆ คือมันเหมือนกับว่าพวกเขาได้เห็นและค่อยๆ ซึมซับ เอาสิง่ ทีค่ รูเบลล่าท�ำไป แล ้วส�ำหรับผมเองทีไ่ ด้เห็นมาตัง้ แต่ตน้ ได้มสี ว่ นร่วม ในการสอนพวกเขา มันก็ดใี จนะ อย่างโอนี่ชดั เจนเลย จากคนทีม่ พี ้นื ฐาน มานิดหน่อย แต่ตอนนี้กลายเป็ นนักดนตรีเต็มตัวแล ้ว” ด้านครูกฟิ ๊ ซึง่ รับหน้าทีเ่ ป็นครูประจ�ำในสถานพินจิ เล่าให้ฟังว่า เขาเคยคิด ว่าความฝันทีอ่ ยากเรียนและท�ำงานทีเ่ กี่ยวกับดนตรีของตัวเองคงจะเป็ นไป ไม่ได้แลว้ หลังจากความเจ็บป่ วยท�ำให้เขาไม่ได้เรียนดนตรีอย่างที่หวัง กระทัง่ ครู เบลล่ามาชักชวนให้ไปท�ำงานด้วย “คือผมเคยมาช่ วยงานครู สมัยทีค่ รูไปสอนดนตรีให้เด็กๆ ทีว่ ดั ป่ าแดง ครูกเ็ ลยชวนผมให้ไปช่วยงาน ทีส่ ถานพินิจ แต่มชี ่วงหนึ่งทีผ่ มหายไปเพราะว่าติดงาน จนกระทัง่ ครูเบลล่า ซึง่ ก�ำลังหาคนทีจ่ ะเข้าไปอยู่ประจ�ำทีน่ นั ่ แทนครูอกี ท่านหนึ่งทีไ่ ด้งานภายใน ศูนย์ฝึก โทรมาชวนผมว่าสนใจจะมาท�ำไหม ผมก็รบี ตกลงทันที”
38: A SIDE HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
ครูกิ๊ฟ – คณิศร ภิวัฒน์ภูดิท ครูกิฟ๊ บอกว่าในการท�ำงาน เขาจะบอกกับเด็กๆ เสมอว่าเขาไม่ใช่ คนทีเ่ ก่งทีส่ ดุ แต่เขาสามารถให้ค�ำแนะน�ำกับเด็กๆ เกีย่ วกับการเล่นดนตรีๆ ได้ “คือเรื่องทฤษฎี เรื่องการร้องเพลงเนี่ย ส�ำหรับบางคนอาจจะรูส้ กึ ว่ายากไป อาจจะไม่ค่อยกระตือรือร้นกัน แต่ว่าพอเป็ นเรื่องเล่นดนตรี เล่นเพลงที่ ตัวเองชอบ พวกเขาจะสนใจมาก หน้าทีข่ องผมก็คอื ให้คำ� แนะน�ำว่าถ้าอยาก จะเล่นเพลงนี้จะต้องเล่นยังไง ควรจะท�ำยังไงบ้าง แล ้วก็ดูแลอุปกรณ์ต่างๆ ที่อยู่ในห้องดนตรีทงั้ หมด รวมทัง้ คอยดู แลเด็กๆ เวลาที่เด็กเข้ามาซ้อม ดนตรี” ตามความเห็นของครูกฟิ ๊ เขาคิดว่าครูเบลล่าสมควรจะได้รบั ค�ำชืน่ ชม มากทีส่ ุดในการท�ำสิง่ ต่างๆ เหล่านี้ เพราะไม่เพียงแต่จะทุ่มเทร่างกายเท่านัน้ แต่เธอยังเสียสละเงินทองส่วนตัวเพือ่ ให้งานเดินหน้าอีกด้วย “อย่างเครือ่ งดนตรี เครื่องเสียง ถ้าซ่อมก็ใช้เงินครู เบลล่าทัง้ นัน้ บางทีผมเองยังคิดเลยว่าที่ ครูทำ� อย่างนี้มนั คุม้ ไหม เด็กรุ่นหนึ่งจะมีคนทีเ่ อาจริงเอาจังกับดนตรีกอ็ าจจะ แค่ไม่กค่ี น แล ้วบางครัง้ ก็มคี นทีไ่ ม่เข้าใจ คิดว่าครูจะท�ำไปท�ำไม แต่ครูเบลล่า เขาตัง้ ใจ อยากไปสอนไปให้ความรู ก้ บั เด็กๆ ใครจะว่ายังไงเขาก็ไม่สน ผมว่าส�ำหรับแก แค่ได้เห็นเด็กๆ มาเล่นดนตรี เล่นแลว้ ชอบ รู ส้ กึ สนุ ก แค่น้ เี ขาก็ดใี จแล ้ว” และส�ำหรับตัวเขาเอง การได้ทำ� งานนี้เป็ นโอกาสที่ทำ� ให้เขาได้ทำ� ในสิง่ ทีต่ วั เองชอบและมีความสุข “ตัวผมเองเรียนจบแค่ ปวส. จะให้ไปท�ำงาน อย่างอื่นก็ไม่รูจ้ ะท�ำอะไร แต่ พอได้มาท�ำงานกับครู เบลล่า ได้เจอเด็กๆ มาเล่นดนตรีให้ฟงั มาขอค�ำแนะน�ำจากเรา ผมรูส้ กึ ว่ามีความสุขมากเลยนะ” นอกจากครูทอ็ ปกับครูกฟิ ๊ ครูอกี คนหนึ่งทีไ่ ด้ร่วมงานกับครูเบลล่า ในการสอนดนตรีกค็ อื ครูออม – ระพีพรรณ วงศ์วชิ ยั เพียงแต่ครูออมนัน้ ไม่ได้เข้าไปสอนที่สถานพินิจ แต่ จะไปช่ วยครู เบลล่าที่ทนั ฑสถานหญิง “ออมเคยเรียนร้องเพลงกับครูมาก่อน แล ้วครูกเ็ มตตากับออมมาก พอครูมาชวน ให้ไปช่วยสอนร้องเพลงทีท่ นั ฑสถานหญิงก็เลยตกลงไปด้วย” จากความกลัวทีจ่ นิ ตนาการเอาไว้ในช่วงแรกๆ ทีเ่ ริ่มท�ำงาน ครูออม บอกว่าความรูส้ กึ ดังกล่าวค่อยๆ ลดลงเมือ่ ได้เห็นท่าทางของบรรดา ‘นักเรียน’ ที่แ สดงให้เ ห็น ว่า พวกเธอมีค วามสุ ข กับ การได้ร อ้ งเพลง ได้เ ล่น ดนตรี และยิ่ง ท�ำ งานนี้ น านมากขึ้น ครู อ อมก็ ค น้ พบว่า ไม่เ พีย งแต่ ต วั เองจะ มีประโยชน์กบั ผูอ้ ่ืน ด้วยการถ่ายทอดความรู ท้ ่ตี วั เองมี แต่เธอยังได้รบั บางสิง่ บางอย่างกลับคืนมาจากคนทีเ่ ธอไปช่วยเหลือด้วย “คือเราเคยมีชวี ติ ทีส่ บั สนวุน่ วายมาก จนบางคนเขาคิดว่าเราหลุดไปแล ้ว แต่วา่ ครูเบลล่าก็ยงั ดีกบั เรา คุยกับเรา ให้คำ� แนะน�ำต่างๆ แล ้วพอเขาชวนเรา ให้ไปช่วย เราก็ได้พบว่าตัวเองมีประโยชน์กบั คนอืน่ อยู่นะ ยังมีคนอีกมาก
ทีด่ ใี จทีไ่ ด้เจอเรา แลว้ พอเราได้เห็นชีวติ ของคนทีอ่ ยู่ในนัน้ ออมเคยคิดว่า ชีวติ ข้างในมันน่ าจะน่ ากลัว แต่จริงๆ แลว้ คือคนในนัน้ เขาถูกตีกรอบไว้ ไม่มสี ทิ ธิทจ่ี ะใช้ชวี ติ เหมือนอย่างตอนทีอ่ ยูข่ ้างนอกได้ ซึง่ มันท�ำให้เราได้คดิ นะ ว่าเรือ่ งในชีวติ ทีเ่ ราเคยคิดว่ามันหนัก มันโหดร้ายกับเรามาก แต่ในความเป็นจริง การมีชวี ติ ของคนในนัน้ เขาอาจจะร้าวรานกว่าเราอีก เรื่องของเรานี่เป็ นแค่ เรื่องเล็กๆ ไปเลย “แล ้วเวลาทีเ่ จอกัน เวลาทีเ่ ขาดีใจทีเ่ ห็นเรายิ้ม ได้กอดเรา ได้ใช้เวลา อยู่กบั เรา มันท�ำให้เรารู ส้ กึ ว่าอยากใช้ชีวติ เพื่อถ่ายทอดความรู ส้ กึ แบบนี้ ต่อไปเรื่อยๆ อีก คือพอไปถึงจุดหนึ่ง เราอาจจะคิดว่าสิง่ ทีเ่ ราท�ำคือท�ำให้เขา รูส้ กึ ดี ให้เขามีความหวัง ซึง่ ถ้าเขารูส้ กึ ดีกถ็ อื ว่าเราท�ำส�ำเร็จ แต่ในเวลาเดียวกัน เขาก็ทำ� ให้เรารูส้ กึ ว่าเรามีคณ ุ ค่านะ เหมือนกับเป็ นการเยียวยาตัวเราเองจาก ความทุกข์ความเศร้าต่างๆ ไปด้วย คือทุกวันนี้ถ ้าจะต้องเข้าไป เราจะบอกตัวเอง ว่าต้องสะสมความสุขให้มากๆ เพือ่ จะได้ถา่ ยทอดให้เขา” ครูออมพูดต่อไปว่า “เมือ่ ก่อนมีปญั หาอะไรเราจะทุกข์มาก แต่หลังจาก ได้เข้าไปสอนร้องเพลงทีท่ นั ฑสถานหญิง ความทุกข์ของเรามันเป็ นเรือ่ งเล็กๆ ไปเลย มันท�ำให้เราเรียนรูท้ จ่ี ะยอมรับความจริงได้มากขึน้ ง่ายขึน้ เข้าใจมันดีขน้ ึ เพราะเมื่อเทียบกับคนในนัน้ สิ่งที่เขาต้องยอมรับมันเยอะกว่า หนักกว่า ทีเ่ ราเจอมากนัก”
บางทีผมเองยังคิดเลยว่าทีค่ รูทำ� อย่างนีม้ นั คุม้ ไหม เด็กรุน่ หนึง่ จะมีคนทีเ่ อาจริงเอาจังกับดนตรีกอ็ าจจะ แค่ ไม่กคี่ น แล้วบางครัง้ ก็มคี นที่ ไม่เข้าใจ คิดว่าครู จะท�ำไปท�ำไม แต่ครูเบลล่าเขาตั้งใจ อยากไปสอน ไปให้ความรูก้ บั เด็กๆ ใครจะว่ายังไงเขาก็ไม่สน
ส่งต่อ ‘โอกาส’ ในระหว่างการสนทนากับ ติก๊ โอ และ แระ ยามที่ไม่ตอ้ งพูดคุย กับ HIP หนุ่มคนทีว่ ่างก็จะหันไปติดชิ้นส่วนทีท่ ำ� จากจุกไม้กอ๊ กลงบนโต๊ะ เป็ นการฆ่าเวลา “ครูให้เขาช่วยกันท�ำโต๊ะตัวใหม่ กะว่าจะเอาไปไว้ท่รี า้ นกาแฟใหม่” ครูเบลล่าบอกกับเรา ‘ร้านกาแฟใหม่’ ทีค่ รูเบลล่าพูดถึง คืออีกโครงการทีเ่ ธอวางแผนเอาไว้ ด้วยการไปเช่าตึกแถวบริเวณถนนเลียบคลองชลประทานเอาไว้ เพือ่ เปิ ดร้าน ‘กาแฟประแจใจ’ ขึ้น โดยให้เด็กๆ ที่อยู่ในความอุปการะช่ วยกันดู แล รวมทัง้ ให้พวกเขาย้ายมาพักอยู่ร่วมกันทีน่ นั ่ ด้วย HIP มีโอกาสติดตามครูเบลล่าไปยัง ‘ว่าที’่ ร้านกาแฟแห่งนัน้ พร้อมกับ ฟังอธิบายของเธอว่าจะใช้ส่วนไหนของบ้านท�ำอะไรบ้าง ซึง่ ไม่เพียงจะมีแต่ ร้านกาแฟเท่านัน้ หากเธอยังคิดไปไกลถึงการใช้พ้นื ทีส่ ว่ นหนึ่งส�ำหรับท�ำห้อง ซ้อมดนตรี และจัดสรรว่าแต่ ละคนจะได้พ้ นื ที่ตรงไหนเป็ นพื้นที่ส่วนตัว ของตัวเอง ร้านกาแฟเล็กๆ แห่งนี้ จะเป็ นสถานทีท่ ส่ี ร้างรายได้ให้กบั เด็กๆ ทีอ่ ยู่ ในความอุปการะตามความฝันของครูเบลล่า และในอนาคต หากครูรบั ใคร มาอุปการะเพิม่ เติมอีก เด็กคนนัน้ ก็จะได้ใช้ทน่ี ่ีเป็ นอยู่อาศัย และสถานที่ ท�ำงานหารายได้เลี้ยงดูตวั เอง แต่สง่ิ ทีค่ รูเบลล่าคิดฝันเอาไว้ไม่ได้มเี พียงแค่น้ ี “ฝันว่าอยากท�ำมูลนิธิ อยากเปิ ดเป็ นศูนย์ดนตรีและกีฬา ไปตัง้ อยู่ใน พื้นทีท่ ม่ี นั สุม่ เสีย่ งทัง้ หลายเลย เด็กๆ เขาจะได้มที างเลือกอืน่ นอกเหนือจาก การไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด” คือค�ำบอกเล่าถึง ‘ความฝัน’ ทีค่ รูเบลล่าคิด เอาไว้ โดยทีโ่ อช่วยยืนยันถึงความฝันทีว่ า่ “ครูเคยคุยกับผมไว้วา่ ถ้าวันหนึ่ง
ผมท�ำได้ เรียนจบด้านดนตรี เดีย๋ วอีกหน่อยครูจะไปเปิ ดศูนย์ดนตรีอยูแ่ ถวๆ บ้านผม แล ้วให้ผมไปดูแล” ความฝันเหล่านี้เป็ นสิง่ ทีโ่ อบอกว่าเขาได้ซมึ ซับจากครูมาโดยตลอด และเขาก็ตงั้ เป้ าเอาไว้ไม่ต่างกัน ไม่วา่ จะเป็ นความตัง้ ใจทีจ่ ะต้องท�ำให้การสอน ดนตรีให้กบั เด็กๆ สามารถด�ำเนินต่อไปได้เรือ่ ยๆ หรือการก้าวขึ้นมาท�ำหน้าที่ รับผิดชอบสิง่ ต่างๆ เหล่านี้แทนครูต่อไปในอนาคต ส่วนครูเบลล่าบอกว่า สิง่ ทีเ่ ธออยากให้เกิดขึ้น ไม่ใช่เสียงยกย่องชืน่ ชม ในสิ่งที่เธอท�ำ แต่อยากให้ส่งิ เหล่านี้เป็ นแรงบันดาลใจให้คนอื่นๆ หันมา ท�ำอะไรเพือ่ ผูอ้ น่ื บ้าง “สังคมเราต้องการอะไรแบบนี้นะครูวา่ เรามีคนมากมาย ทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถ แลว้ ก็ยงั มีคนอีกมากทีต่ อ้ งการโอกาส ถ้าคนทีม่ ี โอกาสหันมาหยิบยืน่ โอกาสให้คนอืน่ สังคมเราจะน่าอยู่มากขึ้น”
โอบอกกับเราว่า “สิง่ ทีเ่ ราท�ำอาจจะไม่สามารถช่วยได้ทุกคน แต่อย่างน้อย เสีย งเพลงก็ ช่ ว ยเป็ น ก�ำ ลัง ใจได้ ท�ำ ให้ค นเรามีค วามสุ ข มีค วามหวัง ทีเ่ หลือก็ข้นึ อยู่กบั ตัวของเขาแลว้ ว่าอยากทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงตัวเองหรือเปล่า ถ้าอยาก เราก็มาเดินไปด้วยกัน” และนัน่ ก็คอื สิง่ ทีค่ รูเบลล่าท�ำมาโดยตลอด และในวันนี้ โอและคนอืน่ ๆ ก็กำ� ลังส่งต่อสิง่ ทีพ่ วกเขาเคยได้รบั ต่อไป สิง่ นัน้ คือ การ ‘ให้โอกาส’ HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
A SIDE :39
EDITOR’S FAVORITE
HIP EDITOR’S F A V O R I T E 2 0 1 4 *เป็ น เรื่ อ งของความชอบส่ ว นตั ว ของบรรณาธิ ก ารล้ ว นๆ ในรอบปี 2014 เรื่อง: สมชาย ขันอาษา
01 คอนเสิ ร ์ ต THE ROLLING STONES 14 ON FIRE / TOKYO – DOME
ไม่ได้ถึงกับเป็ นแฟนเพลง ‘หนิ กลิง้ ’ เดอะ โรลลิง่ สโตนส์ แบบเข้า เส้น เลือ ด แต่ ก็ พ ยายามตะกายไปดู ค อนเสิร ์ต คุณลุงคุณปู่กลุม่ นี้ถงึ โตเกียว (ได้ดูรอบคืนวันที่ 4 มีนาคม) แลว้ ก็ถอื เป็ นหนึ่งในสุดยอดความประทับใจส่วนตัวในรอบปี เริ่มจากการลุน้ ว่าจะจองบัตรได้มยั้ และเมือ่ ไปถึงสถานทีเ่ ล่น คือ Tokyo-Dome ก็สดุ ทึง่ กับบรรยากาศ และการจัดการต่างๆ ทีส่ ำ� คัญการ ‘แสดงสด’ ของต�ำนานดนตรีทย่ี งั มีลมหายใจกลุม่ นี้ มันช่ วงเป็ นความรู ส้ ึกที่ยากจะบรรยาย ถึงวันนี้เมื่อนึกถึง เสียงเพลงยังคงก้องอยู่ในหู ลีลาท่าทางของคุณลุงแต่ละท่าน บนเวที ยังจ�ำได้ตดิ ตา!
02
03
Album: Songs of Innocence – U2
ถ้าให้บอกกันแบบสัน้ ๆ ได้ใจความ ก็อยากจะ บอกว่า นี่คอื อัลบัม้ ทีป่ ลุกเร้าอารมณ์รอ็ คของผูช้ ายวัย เฉียด 52 ได้เป็ นอย่างดี และบอกเลยปี หน้า ผมนี่โคตร อยากดูคอนเสิรต์ U2
r-bu (อาบู)
04
Album: Looking into You - A Tribute to Jackson Browne (Various Artists)
ผลงานเพลงของ แจ็คสัน บราวน์ ศิลปิ นคนโปรด ของผม ถูกน�ำมาท�ำใหม่ถงึ 23 แทร็ค เรียกว่าแทบจะตัดสินใจ กดซื้อทันทีท่ีเห็นอัลบัม้ (คู่ ) ชุดนี้ใน iTunes Store และทัง้ 23 เพลงคือความเพลิน ความสุขส่วนตัวล ้วนๆ ในรอบปี ท่ผี ่านมา ในวันเหงา วันเศร้า วันสุข วันสนุ ก หรือวันที่คิดอะไรไม่ออก ผมก็ได้อลั บัม้ ชุดนี้หล่อเลี้ยง ความรูส้ กึ (แหม - ขนาดนัน้ เชียว... ก็มนั จริงๆ นิ!) 40: A SIDE HIP MAGAZINE / JANUARY 2015
เจอะเจอได้ฟงั เสียงร้องและเสียงกีตาร์เล่นสดของ อาบู (R-BU) โดยบังเอิญจากการเสิรช์ ฟังเพลงจาก Youtube ตัง้ แต่ปลายปี ก่อน จ�ำได้วา่ เพลงแรกทีท่ ำ� ให้ ผมรูจ้ กั เขาก็คอื เพลง ‘แค่อ่อนไหว’ ของ ลานนา คัมมินส์ ที่เขาน�ำมา cover ใหม่ หลังจากนัน้ ผมก็ติดหนึบ กับสไตล์การร้องและเล่นบรรเลงกีตาร์ อัดสดลงใน Youtube ของเขา ทัง้ เพลงทีเ่ ขา Cover ผลงานของคนอืน่ (โคตรหลากหลาย) และเพลงทีเ่ ขาเขียนขึ้นเอง ชอบถึง ขนาดทีว่ า่ ปี น้ วี างแผนว่า HIP น่าจะจัดคอนเสิรต์ ของเขา ในเชียงใหม่ (อย่างนัน้ ทีเดียว) ถ้าใครไม่เคยฟัง หรือไม่รูจ้ กั อาบู แนะน�ำให้เข้า Youtube พิมพ์ r-bu แล ้วลองฟังเขาร้องและเล่นกีตาร์ บางทีคุณอาจจะชอบเขาเหมือนกับทีผ่ มชอบก็ได้
ที่จอดจักรยาน Hobart / Tasmania
05
ช่วงทีผ่ า่ นมา เดินทางเยอะ ได้เห็นทีจ่ อดรถจักรยาน มาก็เยอะ แต่ไอเดียทีจ่ อดรถจักรยานแถวๆ Salamanca Market ทีเ่ มือง Hobart บนเกาะ Tasmania โคตรจะถูกใจ ผมเลยครับ เห็นแลว้ ชอบมาก อยากให้ในเมืองเชียงใหม่ มีทจ่ี อดรถจักรยานแบบนี้บา้ ง
06
จักรยานเสือหมอบ
ผมเริม่ ปันจั ่ กรยานมาสัก 2-3 ปี ได้แล ้วมัง้ โดยเริม่ จาก จักรยานเสือภูเขาทีต่ ่อมาภายหลังต้องเปลีย่ นล ้อให้เล็กลง เพราะแทบไม่เคยเอาไปลุยขึน้ เขาลงห้วยทีไ่ หนเลย แล ้วทีส่ ำ� คัญ ก็ปนั ่ แบบไม่ค่อยจริงจังกับมันสักเท่าไหร่ จนกระทังเมื ่ อ่ ครึง่ ปี หลังมานี้ จุย๋ จุย๋ ส์ (ของพวกเรา) มายุให้ผมไปลอง ‘เสือหมอบ’ ถึงขนาดเอา GIOS ของเขา มาให้ผมลอง หลังจากนัน้ ผมก็ตดิ ใจเลยครับ ลองไปลองมา ถึงกับขอซื้อ GIOS คันนี้ไว้ใช้งานเอง และทุกวันนี้ ก็ปนั ่ ‘เสือหมอบ’ คันนี้แบบสม�ำ่ เสมอมากขึ้น สุขภาพดี พุงลด ตัวด�ำ และความสามารถในการดืม่ สุราลดลงไปเยอะ (ฮา)
07 แว่นกันแดด มือสอง(หรือ สาม...สี่...ห้า...)
ได้มาจากตลาดนัดของมือสองที่เวียนนา ตอนซื้อก็ไม่ได้ คิดว่าจะชอบมากมาย แต่ซ้ อื เพราะราคาถูก (มาก) ได้มาในราคา 5 ยูโร (ประมาณสองร้อยบาทไทย) เพราะตอนนี้ตลาดวายแลว้ เขาก�ำลังเก็บของกลับบ้านกันแล ้ว แรกทีเ่ ดียวชอบรูปทรง และแถมยัง มีกล่องสวยๆ คลาสสิคด้วย แต่เมือ่ เอามาใส่ใช้งานจริง ก็รสึู ้ กชอบเลย เป็ นของชอบในปี น้ ที ถ่ี กู ตังค์มาก (แฮ่)
ข้าวผัดสเปน Paella / ร้าน Simply Spanish, South Melbourne Market
08
ในรอบปี ทผ่ี ่าน ตัง้ ใจว่าจะขอเลือก ‘อาหาร’ เพียงอย่างเดียว (เพราะไม่อย่างนัน้ เดีย๋ วจะกลายเป็ นอาหารการกินซะหมด!) และแทบ ไม่ต ้องคิดเลยว่า Editor’s Favorite ทีเ่ ป็ นอาหารจะต้องเป็ น ‘ข ้าวผัดสเปน’ ทีต่ ลาด South Melbourne Market ชื่อร้าน Simply Spanish ตอนเดินผ่านรอบแรก เห็นร้านเขาผัดข้าวผัด Paella ในกระทะ ใบใหญ่ยกั ษ์ ก็แอบเล็งไว้แล ้ว พอถึงเวลาต้องเลือกร้านจึงขอเลือกร้านนี้ และเมนู น้ กี ส็ ุดถูกใจ รสชาติกลมกล่อม อร่อยมากจริงๆ ครับ
09
องค์ ก รบาป นวนิ ย ายสายลั บ สื บ สวน เล่มล่าสุดในชุด เกเบรียล อัลลอน โดย Daniel Silva (ผลงานแปล ไพบูลย์ สุทธิ)
นวนิยายชุดนี้ถูกแปลออกมาเป็ นภาษาไทยแลว้ 12 เล่ม เล่ม นี้ เ ป็ น เล่ม ล่า สุ ด ผมตามอ่ า นมาทุก เล่ม บ่อยครัง้ ที่อ่านแลว้ คิดว่าตัวเองคือ เกเบรียล อัลลอน สายลับ ชาวอิ ส ราเอลที่มีอ าชี พ บัง หน้า เป็ น นัก บู ร ณะ งานศิลปะ (แค่อาชีพแม่งก็เท่แล ้ว) นอกจากความสนุกใน แง่ของนวนิยายสายลับ ผมยังได้รบั ความรูต้ ่างๆ ทัง้ ทาง ประวัตศิ าสตร์ ทางโลกศิลปะ ศาสนจักร เรื่องท่องเทีย่ ว และอืน่ ๆ อีกเพียบ เป็นหนังสือนวนิยายทีอ่ า่ นแล ้ว ไม่คอ่ ยอยากให้จบเลย
10 ร้านอาหาร-บาร์ NAKED FOR SATAN, Brunswick Street, Melbourne
www.nakedforsatan.com.au แจงกับเรมโก้ ตัง้ ใจพาไปกิน ดืม่ เทีย่ ว ทีร่ า้ นนี้, แล ้วก็ชา่ งถูกใจซะจริง เพราะร้านนี้มนั ‘บ ้า’ ดี บ้าทัง้ การตกแต่ง บ้าทัง้ เมนูอาหาร เครือ่ งดืม่ ทัง้ บ้า ทัง้ สนุก ตัง้ แต่ชนั้ ล่างสุด ไปจนถึง Roof Top มีอะไรต่ออะไรให้ดูเยอะ ใครอยากรูว้ า่ ร้านนี้เป็ นอย่างไร ลองแว่บเข้าไปดูใน เว็บไซต์ของร้านสิครับ และถ้าใครมีโอกาสผ่านไปแถวนัน้ ลองแวะไปเทีย่ วเล่นนะครับ เปิ ดให้กินดืม่ กันตัง้ แต่กลางวัน และชัน้ ดาดฟ้ า ก็เต็มเร็วซะด้วยในวันทีแ่ ดดดี HIP HIPMAGAZINE MAGAZINE/ JANUARY / JANUARY2015 2015
A SIDE :41