HIP MAGAZINE ISSUE 121 : NOVEMBER 2014 (SECTION B)

Page 1




editorial November 2014 Vol.11 No.121

รักไม่ยอมเปลี่ยนแปลง

สมัยยังเป็ นนักศึกษาฝึ กงานหนังสือพิมพ์รายวันทีก่ รุงเทพฯ, มักจะได้ยนิ บรรดารุ่นพีน่ กั ข่าวพูดกันอยู่เสมอว่าถ้าเป็ นนักข่าวถึง 10 ปี เมือ่ ไหร่ ก็คงไม่แคล ้วจะต้องท�ำไปตลอดชีวติ ไอ้เราก็งงว่าท�ำไม... พีๆ่ เขาก็เลยบอกให้ “ก็เพราะไปไหนไม่รอดน่ะซี”่ ไม่รอดยังไงวะ?...อันนี้คดิ ในใจ ไม่กล ้าถาม... เก็บง�ำความสงสัยไว้ในใจ จนมาท�ำงานก็เริ่มเข้าใจขึ้นเรื่อยๆ ยิง่ นานวัน นานเดือน นานปี เผลอแป๊ บๆ ใกล ้ 10 ปี เข้าไปทุกที เออว่ะ... ท�ำหนังสือมาจะ 10 ปี อยู่แล ้ว ให้คดิ ว่าถ้าไม่ทำ� อาชีพนี้ แล ้วจะท�ำอะไรต่อไป...? นี่ยงั นึกไม่ออกจริงๆ นะ อารมณ์แบบนี้กค็ งคล ้ายๆ กับรุ่นพีน่ กั ข่าวเขาบอกล่ะมัง้ ?!? ไม่ใช่ไม่มที ไ่ี ป...แต่มนั ไปไหนไม่รอดดดด!!!

เรื่องนี้น่าจะใช้ทฤษฎีววิ ฒั นาการมาช่วยอธิบายได้... เมือ่ เราถูกพัฒนาความสามารถทางใดทางหนึ่งอย่างต่อเนื่องมาเป็ นระยะเวลายาวนาน จะก่อให้เกิดรูปแบบของวิถชี วี ติ ขึ้นมา และรูปแบบนัน้ จะบ่มเพาะกลายเป็ นตัวตนของเราในทีส่ ุด ยังไม่รวมเรื่องพอท�ำอะไรไปนานๆ หมายความว่าก็จะมีความ ‘ชัวร์’ ในระดับหนึ่ง อย่างน้อยถ้ามีปญั หาอะไรเกิดขึ้น ก็พอจะหาทางแก้ได้ละน่า เพราะก็เคยเจอมาบ้างแล ้ว

แต่ยงั มีอกี เรื่องทีเ่ ป็ นสาเหตุใหญ่... การท�ำอะไรมาได้ยาวนานนับสิบปี , อย่างน้อยต้องมี ‘ความรัก’ ประกอบด้วยส่วนหนึ่ง แล ้วคนทีม่ รี กั เดียวกับคนเดิมมาอย่างมันคง ่ ก็คงไม่ใช่คนอ่อนไหวอะไรนัก การจะเปลีย่ นใจจากอะไรไป โดยเฉพาะคนทีร่ กั ย่อมเป็ นเรื่องตัดใจยาก แม้วา่ เวลาทีผ่ ่านมาอาจจะท�ำให้รกั ลดความรูส้ กึ วูบวาบหวือหวาลง หรือบางครัง้ ทีเ่ บือ่ แทบขาดใจ จนนึกอยากจะทิ้งขว้างเธอไป แล ้วหาคนใหม่เสียให้รูแ้ ล ้วรูร้ อด แต่กป็ ฏิเสธไม่ได้วา่ อยู่กนั มานานย่อมมีความผูกพันอย่างแน่นแฟ้ น จะตัดก็ไม่ได้ จะขายก็ไม่ขาด นี่ละ่ หนอ...ความรัก นึกอยากจะตัดเธอออกไป แต่กเ็ หมือนเฉือนใจตัวเอง ชลธิดา พระเมเด หัวหน้ากองบรรณาธิการ

contents: Music Scoop Music Review Film Workshop Special Section

12 Music Review ฉลองครบรอบ 10 ปี ของ HIP จึงขอใช้โอกาสนีน ้ �ำ เสนอ 10

ผลงานเพลงทีไ่ ม่เคยถูกนำ�เสนอในคอลัมน์นม ้ี าก่อน ซึง่ เป็น ผลงานเพลงดีๆ ทีฟ ่ งั แล้วรูส้ กึ ชอบ จึงอยากจะชวนให้คณ ุ ๆ ได้ฟงั ด้วย

21 Special Section ­บรรยากาศอบอุน ่ ยิง่ ขึน ้ เริม ่ ต้นด้วยเพือ่ นร่วมรุน ่ ทีเ่ ริม ่ ทำ�อะไร

8 12 14 18 21

ต่อมิอะไรในปี 2547 เช่นเดียวกันมาพูดคุยกัน รวมทัง้ ชักชวน HIP Team รุน ่ แรกๆ มา Reunion กันอีกรอบ แถมท้ายด้วยการ ประมวลเหตุการณ์ของเชียงใหม่ทน ่ี า่ สนใจมาบอกเล่าให้ฟงั ด้วย มาดูกน ั ซิวา่ ใน 10 ปี มีอะไรเปลีย่ นแปลงไปบ้าง



ก ก ก ก ก ก ก ก ก ก โล ด ุ ล เทศกาล ม่วนห 2557 ม ค า ว น ั ธ 1 3 น ย า 14 พฤศจิก gmai n ia h C l a v ti s e lF ra t Cen

estival กุ แซบ่ เวอร์!!!! อยา่ ง CentralF สน าม คว ั น ี ส ยส ว ด้ ไป ม ต็ ่ เ ที า ค้ องศูนย์การ ในโอกาสครบรอบ 1 ปีข นื ความสุขใหช้ าวเชยี งใหม่แบบจัดเตม็ จ้าาาา.... ว่ นหลุดโลกกกกกก’ Chiangmai ทัง้ ทีงานนีต้ อ้ งคจกรรมโดนๆ มันส์ๆ ม่วนๆ ตลอด 47 วัน!!!! กับเทศกาล ‘มไมว่ า่ จะเปน็ คอนเสิรต์ เตม็ จรงิ แนน่ จัง!!! กับกิ พฤศจกิ ายน แลว้ จัดกิจกรรมม่วนๆ ยาวไปจนถงึ วันสิน้ ปี มทั้งโปรโมชั่นเด็ดๆ เริม่ สนกุ สุดมันกันตัง้ แตว่ นั ที่ 14เปลี่ยนเวียนหน้ามามอบสีสันสุดม่วนกันให้มันส์สุดติ่ง รวนเทอร์ แถมยงั เอาใจ ่ ร้อมใจกนั ลดกระหน�ำ่ รับวิ บั โชคกนั ไปทุกวัน จากศิลปินดังๆ โดนๆ ที่หมุน ะรา้ นคา้ ชัน้ น�ำภายในศนู ย์ฯ ทีพ ก็ร โดนใจขาชอ้ ปจากแบรนด์ดงั แลคุม้ กับ CentralFest Big Surprise ใครมาเดนิ ทุกวัน ุ จะต้องกรีด๊ ด!!!!! ลูกค้าผูน้ า่ รักด้วยกจิ กรรมสุดก่ บั ของรางวัลสุดเซอร์ไพรส์ ทีค่ ณ ญ rsary CentralFestival ให ่ ง ve ยิ ni าม An คว t บ 1s ่ ญ ให ่ ง ยิ ด สุ ช้อปปง้ิ คุม้ ค่ารั อง ยี งใหม่ 3 วัน 3 คืน 3 วันเตม็ !!! กับพิธเี ฉลมิ ฉล เฉลิมฉลองสุดสุขสันต์ สุขสนกุ เว่อร์ กับงานครบรอบ 1 ปีทเี่ ซ็นทรลั เฟสตวิ ลั เช ปิดไฟต้นครสิ ต์มาส Chiangmai มหกรรมความ 2557 ตืน่ ตาตืน่ ใจกับพิธเี ฉลมิ ฉลองสุดยิง่ ใหญ่ พรอ้ มทงั้ งานเ อยา่ งพร้อมเพรยี ง ตัง้ แต่ 14 ถึง 16 พฤศจกิ ายน นดก์ รีด๊ กับศิลปินดาราชือ่ ดังทีต่ อบรับเขา้ ร่วมเฉลมิ ฉลองAfter Party สุดเก๋ ส้ ดุ กับ ทีส่ งู สุดในภาคเหนอื ร่วมมที แอ ยศวดี ส่งท้ายความมนั กันใหรสาว กาละแม พัชรศรี โย า, รย อา ่ พู ชม ทิ อา ศษ ยพธิ กี ใหส้ มกบั เปน็ โอกาสพเิ นนเิ ฟอร์ คิม้ ด�ำเนนิ รายการโดรียกได้วา่ เปน็ ปาร์ตสี้ ดุ ชิคทีร่ วบรวม ะเจ แล ร าก ร จิ ๊ ะ เอ ง ่ า อย ต ฮอ ้ ี เ เพราะงานน จากศลิ ปินสุด !!! ไมอ่ ยากเอ้าท์ ต้องมา!!! นรนั เวยส์ ดุ คูล ทีจ่ ะมาพลิกประวตั ศิ าสตรแ์ ฟชนั่ ด้ ่ ไ ไม าด พล า ต้ ส นิ ่ น ชั แฟ ใหช้ าวเชยี งใหม่ได้ยลโฉมผ่า บรนดเ์ สือ้ ผ้าระดบั โลก ไอเทม็ ชิน้ เดด็ จากแบรนดด์ งั มา Show สุดอลงั การตระการตาไปกับคอลเลคชนั่ ล่าสุดจากแ พือ่ งานนโี้ ดยเฉพาะ กับการเปดิ ตัว Winter Fashionแบบ Limited Edition จากดไี ซเนอร์ชอื่ ดังทีอ่ อกแบบเี บ ตัง้ แต่ 6 โมงเยน็ พรอ้ มคดั สรรผลงานการออกอ่ นใคร รวมทงั้ กิจกรรมสุด Exclusive ภายในงานอีกเพย มาใหข้ าชอ้ ปได้เลือกไปครองก ถึงเทยี่ งคนื ตลอด 3 วัน วนหลุดโลกกกกก เทศกาล Crazy Festival ม่stival Chiangmai อด ตล รม กร ิ จ ดก ี ย เอ ละ าย มร ติดตา CentralFe iangmai หรอื ไดท้ ี่ CentralFestival Ch

6: B SIDE

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014


?

14 November 2014 Celebrate Events

- 1st Anniversary CentralFestival Chiangmai - Light Up Christmas - Super Star : - Fashion Show in House Brand ดุ เซอไพรส์ ส ษ ศ ิ เ พ ิ ญ เช ั บ ร ก ข แ ั บ @ CentralFestival Chiangmai Highlight : เตรยี มพบก

KORN A R JI E A y B : rt ce n o C i Highlight Min

15 November 2014 Winter Fashion Events. SHOW 1 - Fashion show Brand ARTIT BY ATIP Thai Designer at Elle Fashion Week 2012 in Bangkok

IFER KIM N N E J y B : rt e c n o c i Highlight min

SHOW 2 - Fashion Show International Fashion Brand @ CentralFestival Chiangmai

16 November 2014 Winter Fashion Events. SHOW 1 - Fashion Show Brand Classic Model - Thai Designer Fashion and Coulture Clothing. SHOW 2 - Fashion Show International Fashion Brand @ CentralFestival Chiangmai

ถ.ซูเปอร์ไฮเวย์ (แยกศาลเด็ก) เชียงใหม่ โทร. 0-5399-8999


MUSIC SCOOP

ย้อนรอย จุดเริ่มต้นของ

10 มือกีตาร์ กว่าจะมาเป็นเทพ เรื่อง: ลุงทอย

ไม่ใช่เรือ่ งง่ายๆ กับการทีน่ ติ ยสารเล่มหนึง่ เดินทางมาถึงปีที่ 10 จะต้องผ่านร้อน ผ่านหนาว ผ่านฝน ผ่านมือชาย ต้องมือหญิง ติดนิว้ เกย์ มาก็ไม่นอ้ ย แต่จะดุเดือด ซาบซ่าน สนุกสนานขนาดไหน ก็คงต้องให้ทมี งานทีค่ ลุกคลีหยิบมาเล่า แต่กับพื้นที่นี้ ในวันที่นิตยสารฮิพ อายุครบ 10 ปี จะพาไปดูการเริ่มต้นของมือกีตาร์ 10 คน ที่คงต้องใช้เวลามากมาย ผ่านอะไรมาไม่น้อย กว่าจะกลายเป็น ‘เทพ’ แห่งเครื่องดนตรี 6 สาย ไปดูกันว่า พวกเขาเริ่มต้นการเป็นเทพกันยังไง

JIMMY PAGE (1944 - Present):

JACK WHITE (1975 - Present):

เพจได้กตี าร์ตวั แรกในปี 1952 ตอนเขาอายุแค่ 8 ขวบ ตอนนัน้ ครอบครัวของเขาย้ายมาอยู่ทบ่ี า้ นหลังใหม่ และมีกตี าร์ถกู ทิ้งไว้ในบ้าน ซึ่งน่ าจะเป็ นของเจ้าของบ้านคนก่ อน และดู เหมือนว่าเพจจะเกิดมา เพือ่ เล่นกีตาร์ เขาหัดเล่นเพลงของเอลวิส เพรสลีย ์ และพวกเพลงสคิฟเฟิ ล ทีไ่ ด้ยนิ จากวิทยุบนเกาะอังกฤษตอนยุค 1950s ด้วยตัวเอง พออายุ 12 เขาก็เล่นได้อย่างเชี่ยวชาญ อีกหนึ่งปี ถดั มาเขาได้ออกรายการแสดง ความสามารถทางโทรทัศน์ ในฐานะสมาชิกคนหนึ่งในวงสคิฟเฟิ ล 4 ชิ้น เมือ่ โตขึ้นเขาปฏิเสธงานในห้องแล็บ และสิง่ ทีต่ ามมาหลังจากนัน้ ก็ไม่พ ้น สิง่ ทีก่ ลายเป็นประวัตศิ าสตร์ เพจกลายมาเป็นนักดนตรี ท�ำงานในลอนดอน และเคยเล่นให้กับวงอย่าง เดอะ คิงค์ส และเดอะ ฮูว ์ ซึง่ น�ำไปสูก่ ารท�ำงาน กับวง เดอะ ยาร์ดส์เบิรด์ ส์ แล ้วเขาก็เลือกโรเบิรท์ แพลนท์, จอห์น พอล โจนส์ และจอห์น บอนแฮม เพือ่ กลายเป็ นหนึ่งในวงดนตรีทย่ี ง่ิ ใหญ่ทส่ี ดุ ในโลกตลอดกาล

ลูกคนเล็กจากจ�ำนวนทัง้ หมดสิบคน และเป็ นลูกชายคนที่ 7 ของบ้าน ไวท์หดั เล่นดนตรี จากเครื่องดนตรีทพ่ี ๆ่ี ทิ้ง เริ่มจากกลองตอน 6 ขวบ โดยมีดนตรีคลาสสิคลั เป็ นเพลงโปรด จนเข้าเรียนชัน้ ประถม เขาก็ได้รูจ้ กั กับ เดอะ ดอร์ส, พิงค์ ฟลอยด์ และ เลด เซพเพลิน และ เพลงบลูส ์ ไวท์ถกู ส่งให้เข้าโรงเรียนสอนศาสนาตัง้ แต่ยงั เป็ นวัยรุ่น ซึง่ จะต้องเป็ นพระในเวลาต่อมา แต่ พอรู ว้ ่า ไม่สามารถเอาแอมพลิไฟเออร์ไปด้วยได้ เขาก็หนั มาเรียนในโรงเรียนรัฐแทน แล ้วพออายุ 15 ก็ไปฝึ กท�ำเฟอร์นเิ จอร์หนังกับไบรอัน มัลดูนเพือ่ นทีเ่ ป็ นแฟนเพลงพังค์ ทีด่ งึ เขา ไปเล่นกีตาร์ด ้วยในวงดูโอ หลังจากดูแลบริษทั เฟอร์นเิ จอร์ของตัวเองอยูพ่ กั ใหญ่ ไวท์กน็ ำ� ความคิด เรือ่ งตัง้ วงไปคุยกับเม็ก ทีเ่ ป็ นภรรยาของเขาในเวลาต่อมา และเดอะ ไวท์ สไตรป์ส, อาชีพแปลกๆ ในฐานะ นักดนตรี, โปรดิวเซอร์ และเจ้าของค่ายเพลง ก็ถอื ก�ำเนิดขึ้น

CHUCK BERRY (1926 - Present): ต�ำนานของดนตรีรอ็ คแอนด์โรลล์ เป็ นลูกคนที่ 4 จาก 6 คน การโตมาในครอบครัวชนชัน้ กลาง ท�ำให้เขามีโอกาสสัมผัสกับดนตรีตงั้ แต่ยงั เด็ก แต่แลว้ ในปี 1944 เขาก็ถูกจับ หลังปลน้ ร้านค้า ในแคนซัสซิต้ ี และถูกส่งเข้าไปอยูใ่ นสถานฟื้ นฟูเยาวชนชาย ทีน่ เ่ี ขาก็ตงั้ กลุม่ นักร้องทีม่ สี มาชิก 4 คนขึน้ มา ก่อนจะถูกปล่อยตัวตอนอายุ 21 เขาตัดสินใจแต่งงานกับเด็กสาวคนหนึ่ง และหาเลี้ยงครอบครัว ด้วยงานก๊อกๆ แก๊กๆ ไปเรื่อย จนได้งานนักดนตรีบลูสใ์ นบาร์กบั วงท้องถิน่ ซึง่ กลายเป็ นบางอย่าง ทีม่ ากกว่างานอดิเรก ต้องให้เครดิตกับจอห์นนี จอห์นสัน มือคียบ์ อร์ดของวง ทีพ่ ยายามผลักดันเขา ในปี 1953 เบอร์รไี ด้เล่นในวงสามชิ้นของจอห์นสัน หลังมือกีตาร์ประจ�ำวงไม่สบาย และต้องขอบคุณ ความสามารถในการแสดงโชว์ และทักษะในการเล่นกีตาร์ทพ่ี ฒั นาไปอย่างรวดเร็ว จากคนแทน เขากลายเป็นหัวหน้าวง และได้เซ็นสัญญากับเชสส์ เรคอร์ดส์ในปี 1955 โดยมีซงิ เกิล เพลง Maybelliene ออกมาในปีเดียวกัน และขึน้ อันดับ 1 ในชาร์ทเพลงอาร์แอนด์บี ซึง่ คนเล่นเปียโน ในเพลงนี้กค็ อื จอห์นสัน 8: B SIDE

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014


JOE BONAMASSA (1977 - Present): เป็ นเทพกีตาร์ ทีถ่ า้ ไม่คดิ จะเล่นกีตาร์ ก็ไม่มที างหนีพน้ เพราะพ่อ-แม่ของเขา เป็ นเจ้าของร้านกีตาร์ แลว้ ก็ไม่ใช่เรื่องแปลกที่โจจะจับกีตาร์ตงั้ แต่ 4 ขวบ โดยมีท่ปี รึกษาในช่วงสัน้ ๆ เป็ นมือกีตาร์ฝีมอื ดี อย่าง แดนนี แกตตอน วางรากฐานเส้นทางเดินให้ ซึ่งก็รวมไปถึงการเล่นในวงบลูส-์ ร็อค บลัดไลน์ กับสมาชิกในวงทีป่ ระกอบด้วย ลูกชายของไมลส์ เดวิส, ร็อบบี ครีเกอร์ และ เบอร์รี โอคลียใ์ นยุค 90s ทีน่ ่าสนใจก็คอื ขณะทีม่ อื กีตาร์บลูส-์ ร็อครายอืน่ ๆ จะได้อทิ ธิพลดนตรีจากพ่อเพลงบลูสอ์ เมริกนั โบนาแมสซา กลับได้อทิ ธิพลดนตรีมาจากศิลปิ นบลูสอ์ งั กฤษ หรือไอริช อย่าง เดอะ เจฟฟ์ เบ็ค กรุป็ , เอริค แคลปตัน และศิลปิ นบลูสไ์ อริช - รอรี กัลลาเกอร์ แล ้วมีอลั บัม้ ของ จอห์น มายอลล์ แอนด์ เดอะ บลูส ์ เบรคเคอร์ กับ เอริค แคลปตัน หรือ The Beano Album, Irish Tour ของรอรี กัลลาเกอร์ และ Goodbye ของครีมเป็ นอัลบัม้ ทีม่ อี ทิ ธิพลต่อชีวติ แต่กย็ งั มีอลั บัม้ Texas Flood ของสตีวี เรย์ วอห์น เป็ นงานทีม่ อี ทิ ธิพลกับเขาตอนเด็กๆ ขณะทีช่ อ่ื อัลบัม้ ชุดแรกของเขา A New Day Yesterday ในปี 2000 ก็มที ม่ี าจากเพลงชื่อเดียวกันของเจโธร ทูลล์ ทีเ่ ขาเอามาคัฟเวอร์ในอัลบัม้ ด้วย

DAN AUERBACH (1979 - Present): อาวเออร์บาคโตมาในครอบครัวที่มรี ากทางดนตรี ถึงจะฟังเพลงบลูสเ์ ก่าๆ จากแผ่นเสียงของคุณพ่อ-คุณแม่ มาตัง้ แต่เล็กแต่นอ้ ย และทัง้ คู่กพ็ าเขาไปชมคอนเสิรต์ ของ ศิลปิ นดังๆ อยูห่ ลายต่อหลายครัง้ โดยคอนเสิรต์ แรกในชีวติ ทีอ่ าวเออร์บาคได้ดูคอื การแสดงของวิทนีย ์ ฮุสตันกับแม่ ขณะทีค่ รัง้ ที่ 2 เป็ นการชมเดอะ เกรทฟูล เดด กับพ่อ แต่วา่ ที่ สมาชิกวงดนตรีเดอะ แบล็ค คียส์ ในฐานะมือกีตาร์ และ นักร้อง ก็ไม่ได้สนใจเรื่องดนตรีอย่างจริงจังเลย จนกระทัง่ เข้าเรียนในระดับคอลเลจ ซึง่ เขาเอาจริงโคตรๆ ในระดับถึงกับ ดร็อปเรียนเพือ่ ให้ความสนใจกับการเล่นกีตาร์แบบเน้นๆ หลังจากไปหลงมนตร์เสน่ หใ์ นงานของพ่อเพลงบลูสจ์ าก มิส ซิส ซิป ปี้ จู เ นี ย ร์ คิ ม บรอห์ ด้ว ยเหตุ น้ ี จึง หมดสิ้น ข้อสงสัยเลยว่า เดอะ แบล็ค คียส์ เอาซาวนด์รอ็ คแอนด์โรลล์ แบบบลูสๆ์ มาจากไหน แต่อาวเออร์บาคไปไกลกว่านัน้ เมือ่ เขาท�ำให้ตวั เอง ‘ฟิน’ สุดๆ ด้วยการท�ำงานร่วมกับ คิมบรอห์แบบคูด่ โู อในอีพี ชุด Chulahoma: The Songs of Junior Kimbrough ทีอ่ อกมาเมือ่ ปี 2006

ERIC CLAPTON (1945 - Present):

PETE TOWNSHEND (1945 - Present): สมัยเด็กๆ ทาวน์เชนด์ไม่ค่อยมีเพือ่ นมากนัก (สังเกตได้จากหน้าตา) เขามักจะใช้เวลาไปกับการอ่านนิยายอย่าง Gullivers Travels และ Treasure Island แล ้วก็สนุกกับการไปเทีย่ วทะเลช่วงหน้าร้อนกับทีบ่ า้ น และในปี 1956 ทาวน์เชนด์ในวัย 11 ปี ก็ได้ชมหนังเพลงร็อคแอนด์โรลล์ เรือ่ ง Rock Around the Clock ทีท่ ำ� ให้เขาสนใจเพลงร็อคแอนด์โรลล์ อเมริกนั โดยเฉพาะของ บิลล์ เฮลีย ์ แอนด์ เดอะ โคเม็ทส์ ซึง่ ท�ำให้เขาเป็ นลูกไม้หล่นไม่ไกลต้นในเรื่อง ความรักดนตรี แต่เป็นลูกไม้ทีห่ ล่นไกลเอาการในเรือ่ งการเป็นนักดนตรี ด้วยความที่ พ่อเป็ นมือแซ็กโซโฟนในวงของกองทัพอากาศแห่งอังกฤษ เขาชอบหนังเรื่องนี้มาก ขนาดดูอกี ซ�ำ้ แล ้วซ�ำ้ เล่า จนย่าถึงกับซื้อกีตาร์ ตัวแรกมาให้ เขาเองก็เปลีย่ นความตัง้ ใจอยากจะเป็ นนักข่าวเป็ นนักดนตรีแทน ไม่ชา้ ไม่นาน เขาก็ได้เล่นในวงดนตรีหลายต่อหลายวงร่วมกับ พอล เอนท์วสิ เทิล แลว้ ก็มคี นอย่าง โรเจอร์ ดัลทรีย ์ และมือกลองที่ปจั จุบนั เสียชีวติ ไปแลว้ อย่าง คีธ มูน มาร่วมแรง หลังจากนัน้ ทุกคนก็รูจ้ กั พวกเขาในนาม เดอะ ฮูว ์

นี่คอื มือกีตาร์ทเ่ี ป็ นยิง่ กว่าเทพ เพราะแคลปตันคือพระเจ้า นัน่ คือสิง่ ทีม่ อื ดีคนหนึ่ง พ่นข้อความเอาไว้บนก�ำแพงด้วยสีสเปรย์ แต่เชื่อเหอะ แคลปตัน นี่เมินกีตาร์มาแล ้วนะ ตอนนัน้ เขาอายุแค่ 13 ปี แล ้วได้กีตาร์ฮอยเออร์จากเยอรมันนีเป็นของขวัญวันเกิด ด้วยความที่ เป็ นกีตาร์ใช้สายเหล็กราคาถูก ท�ำให้เขารูส้ กึ ว่าการเล่นกีตาร์มนั ... เอ่อ… ยาก แต่เจ้า เครื่องดนตรีช้ นิ นี้ยงั ส่งแรงดึงดูดมหาศาล จนเขาทนไม่ไหว และเมือ่ มาจับอีกทีตอนอายุ 15 เขาก็ลากยาวต่อเนือ่ ง แคลปตันได้อิทธิพลมาจากเพลงบลูส ์ ซึง่ เขาใช้เวลาวันละหลายๆ ชัวโมง ่ ไปกับการเล่นคลอไปกับแผ่นเสียงเพลงบลูสท์ เ่ี ปิดอยู่ และบันทึกเสียงการเล่นลงเครือ่ งอัดแบบ เทปรีล จากนัน้ ก็ฟงั และเล่นอีกซ�ำ้ แลว้ ซ�ำ้ เล่าจนกว่าจะถูกเป๊ ะๆ โดยตอนได้เข้าวง เดอะ ยาร์ดเบิรด์ ส์ในปี 1963 นัน้ แคลปตันอายุแค่ 18 ปี เอง และนันคื ่ อการเริม่ ต้น หนึง่ ในการท�ำงานทีม่ เี รือ่ งราวมากมายของวงการเพลง โดยเฉพาะ การร่วมงานกับผูค้ นมากมายในแต่ละครัง้ และยอดขายอัลบัม้ มากมายไม่แพ้กนั HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014

B SIDE :9


GARY CLARK, JR. (1984 - Present):

JIMI HENDRIX (1942 - 1970): เด็กหนุ่มทีเ่ กิดและโตในออสตินอย่างคลาร์ค จับกีตาร์ มาเล่นตัง้ แต่อายุแค่ 12 ปี ในตอนทีเ่ ขาได้พบกับ ฟิ ล แอนโทน เจ้าของคลับและโปรโมเตอร์คอนเสิรต์ ในออสตินที่ใครๆ ก็ให้การยกย่องนับถือ เขายังเป็ นเด็กหนุ่ มวัยรุ่นตะลอนๆ ไปเล่นโชว์เล็กๆ ตามทีต่ า่ งๆ อยูเ่ ลย แอนโทนเกิดปิง๊ ฝี ไม้ลายมือ ของคลาร์ค แลว้ ก็จบั เขาขึ้นเวทีกบั นักดนตรีฝีมือดีอย่าง เจมส์ คอตตอน และฮูเบิรท์ ซัมลิน รวมไปถึงจิมมี วอห์น การได้เล่นร่วมกับยอดฝี มอื ระดับนี้ ท�ำให้เขาขึ้นชัน้ ได้เร็วขึ้น ซึง่ นัน่ เป็ นช่วงเวลาไม่นานก่อนหน้าทีเ่ อริค แคลปตัน จะโทรมา เชิญชวนคลาร์คไปเล่นในงานคอนเสิรต์ Crossroads Guitar Festival ของเขาในปี 2010 แคลปตันยังหนีบคลาร์คไปทัวร์บราซิลเมือ่ ปี 2011 ด้วย โดยให้เล่นเป็ นศิลปิ นเปิ ดโชว์ตลอดการแสดง

JOHN MAYER (1977 - Present): ห

หลังดูหนัง Back to the Future แล ้วเห็นไมเคิล เจ ฟ็อกซ์ ในบท มาร์ตี แม็คฟลาย เล่นกีตาร์ เมเยอร์กล็ มุ่ หลงเครือ่ งดนตรี ชิ้นนี้อย่างถอนตัวไม่ข้นึ พออายุครบ 13 พ่อก็จดั การเช่ากีตาร์ มาให้เขาเล่นตัวหนึง่ ส่วนเพือ่ นบ้านก็รใจ ู ้ ยกคาสเส็ทท์เพลงของ สตีวี เรย์วอห์นมาให้ฟงั ท�ำให้เขาเริม่ หลงใหลในเสียงเพลงบลูส ์ มานับแต่นนั้ ทีส่ ำ� คัญความรักกีตาร์ของเมเยอร์ ท�ำให้พอ่ แม่ จิตตก ถึงกับพาเขาไปพบจิตแพทย์ หลังเข้าเรียนสถาบันดนตรีเบิรค์ ลียไ์ ด้แค่ 2 เทอม เมเยอร์ ก็ถอยดีกว่า เขาเดินทางไปแอตแลนตาเพือ่ เล่นดนตรีกบั เพือ่ น ในนามวงดูโอ โลไฟ มาสเตอร์ส และพอวงแตก เมเยอร์ ตัดสินใจท�ำงานเดี่ยว ออกอีพชี ุด Inside Wants Out ซึง่ กลายเป็ นจุดเปลีย่ นของชีวติ เมือ่ เพลง No Such Thing กลายเป็ นเพลงฮิตเพลงแรกของเมเยอร์ ซึง่ ต่อมาเขาจับมาใส่ใน งานชุดแรกของตัวเอง Room for Squares ด้วย เพลงนี้ ขึ้นถึงอันดับ 13 ในชาร์ทเพลงฮิตของบิลล์บอร์ด และน�ำไปสู่ การเซ็นสัญญากับสังกัดใหญ่อย่างโคลัมเบีย

10: B SIDE

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014

ก่อนจับกีตาร์ เครื่องดนตรีช้ นิ แรกของเฮนดริกซ์คอื อูคูเลเล ทีไ่ ด้จากกองขยะของบ้านสาวใหญ่ ทีก่ ำ� ลังจะย้ายออกไป ตอนนัน้ เขาอายุแค่ 14 ปี เธอบอกให้เขาเก็บมันไว้ แม้จะมีแค่สายเดียวเขาเริ่มฝึ ก ด้วยการฟังเพลงของเอลวิส เพรสลีย ์ แกะโน้ตออกมาเป็ นตัวๆ จนปี ต่อมาเขาถึงได้เล่นกีตาร์จริงๆ ซึง่ เขาเก็บเงินซื้อด้วยราคาแค่ 5 เหรียญ และใช้เวลาฝึกฝนด้วยการดู-ศึกษา กลเม็ดต่างๆ จากเซียนๆ ในยุคนัน้ รวมไปถึงฟังเพลงบลูสข์ อง มัดดี วอเทอร์ส, บีบี คิง, ฮาวลิน วูลฟ์ และโรเบิรท์ จอห์นสัน โดยเพลงแรก ทีเ่ ขาหัดเล่นคือ เพลงธีมจากซีร่สี ท์ วี ี Peter Gunn จากนัน้ เขาก็ตงั้ วง เดอะ เวลเว็ทโทนส์ แต่เสียงกีตาร์อะคูสติคของเขาถูกเครือ่ งดนตรีช้นิ อืน่ กลบหมด ท�ำให้เขาอยากได้กตี าร์ไฟฟ้ า ซึง่ ต่อมาพ่อก็จดั หามาให้และได้เล่นในวงโนเนม แต่แค่การแสดงครัง้ แรก เขาก็โดนไล่ออกเพราะ ‘โชว์’ มากเกินไป ก่อนจะได้เล่นกับวงดนตรีอกี หลายๆ วงในเวลาต่อมา แต่ถงึ จะเล่นดนตรีอาชีพตัง้ แต่เป็ นวัยรุ่น และใช้เวลาบ่มเพาะฝี มอื ประสบการณ์อยู่นาน ในฐานะ นักดนตรีรบั จ้าง เล่นแบ็คอัพให้ศิลปิ นอย่าง วิลสัน พิคเก็ทท์, แซม คุก้ และลิตเติล ริชาร์ดส์ แต่เขาก็ยงั ไม่เป็ นโล ้เป็ นพาย จนย้ายมาลอนดอนในปี 1966 ซึง่ เขาได้กลายเป็นนักดนตรี เป็นศิลปินทีม่ ตี วั ตนของตัวเอง จริงๆ แชส แชนด์เลอร์ ผู ้จัดการของเขา เป็ นคนจับโนล เรดดิง กับมิทช์ มิทเชลล์ มาร่วมเล่นกับเฮนดริกซ์ ในแบบวง 3 ชิ้น พวกเขากลายเป็ นทีร่ ูจ้ กั จากการเล่นตามคลับต่างๆ ซึง่ มีคนดูทเ่ี ป็ นสมาชิกของวงดนตรี อย่าง เดอะ บีเทิลส์, โรลลิง สโตนส์, เดอะ ฮูว ์ หรือกระทัง่ เอริค แคลปตัน หกเดือนต่อมา เฮนดริกซ์ออกอัลบัม้ Are You Experienced งานชุดแรกจาก 4 ชุดของเขา ทีอ่ อกวางจ�ำหน่ายก่อนทีเ่ จ้าตัวจะจากไปในปี 1970 และทุกอย่างหลังจากอัลบัม้ นัน้ คือ… ประวัตศิ าสตร์


ARTIST

BEHIND THE RABBITS & THE MOON เบื้องหลังพระจันทร์และเหล่ากระต่ายบนปก HIP เรื่อง: ระพินทรนาถ

เห็นภาพบนปกทั้งสองฝั่งของ HIP กันแล้วใช่ไหม เชื่อว่าหลายๆ คนคงอยากรู้ว่าใครคือผู้ที่อยู่เบื้องหลังผลงานชิ้นนี้ ด้วยเหตุนี้เราจึงน�ำตัว Rabbit Boy เจ้าของผลงานดังกล่าวมานั่งคุยกัน เพื่อให้คุณๆ ได้รู้จักว่าเขาเป็นใครมาจากไหน รวมทั้งถามเขาถึงไอเดียและการท�ำงานตั้งแต่เริ่มต้น ก่อนที่จะได้ออกมาเป็นผลงานสวยๆ บนหน้าปก HIP ฉบับนี้

RABBIT BOY HIP : คุณเป็ นใครมาจากไหน? แล ้วก่อนหน้านี้ทำ� อะไรกันมาบ้าง? Rabbit Boy : ผมเป็ นศิลปิ นไส้แห้งที่เล่นดนตรีเลี้ยงชีพครับ ส่วนเวลาทีไ่ ม่ได้เล่นดนตรี ผมก็ทำ� งานกราฟิ กดีไซน์ตา่ งๆ เป็ นงานรอง HIP : แล ้วไปยังไงมายังไง คุณถึงมาท�ำงานนี้ได้? Rabbit Boy : คืองานทีผ่ มชอบท�ำมีบางส่วนทีใ่ กล ้เคียงกับโจทย์ ของงานนี้ โดยโจทย์ท่ีไ ด้ม าก็ คื อ อยากจะให้ใ นงานมีก ระต่ า ย กับพระจันทร์ ทีน้ ตี วั ผมเองก็ชอบกระต่าย ในงานทีเ่ คยท�ำก็มกี ระต่าย แต่ว่ากระต่ายของผมจะออกแนวโหดๆ หน่อย แลว้ งานนี้มนั จะมี โจทย์ค่อนข้างชัดเจน ก็เลยเหมือนอยากลองดู ว่าเราจะท�ำงานให้ ออกมาส�ำเร็จตรงตามนัน้ ได้ไหม อีกอย่างพอรูว้ า่ งานนี้จะท�ำให้ HIP ด้วย ก็เลยอยากลองดู HIP : กระบวนการท�ำงานชิ้นนี้เป็ นยังไงบ้าง? เล่าให้เราฟังหน่อยสิ Rabbit Boy : ตอนทีเ่ ริ่มต้นท�ำงาน ผมจะตีความก่อนว่าจะท�ำงาน ประมาณไหน คิดไว้ว่าอยากให้มันเป็ นงานทีม่ เี รือ่ งราว ก็เลยท�ำสเก็ตช์ ปกแรก (A Side) ออกมาเป็ นภาพโรงงานในอวกาศทีบ่ รรดากระต่าย ก�ำลังสร้างพระจันทร์เทียมอยู่ พอได้สเก็ตช์เบื้องต้นแลว้ ก็นึกได้ว่า เพือ่ นของผมคือ Annatar ซึง่ เคยเรียนด้วยกันทีค่ ณะวิจติ รศิลป์ มช. เขาเก่งเรื่องออกแบบคาแร็คเตอร์ แล ้วก็ชอบกระต่ายเหมือนกันด้วย ก็เลยไปชวนให้เขามาช่วยเติมดีเทลของกระต่ายแต่ละตัว ส่วนปกอีก ด้านหนึ่ง (B Side) Annatar เขาท�ำสเก็ตช์ภาพกระต่ายเหยียบ ดวงจันทร์มา ผมเห็นแล ้วเกิดไอเดีย เลยเอามาต่อยอดให้มันมีเรือ่ งราว

X

ANNATAR

ต่อเนื่องจากปกแรก ด้วยการเพิม่ ฐานปล่อยพระจันทร์เทียมเข้าไป ให้ดูเหมือนว่าจากที่กระต่ ายสร้างพระจันทร์เทียมอยู่ ในปกแรก พอมาถึงปกนี้พระจันทร์เสร็จสมบูรณ์แล ้ว ก็เลยถูกปล่อยออกไปใน อวกาศ โดยมีกระต่ายปักธงบนดวงจันทร์ตามที่ Annatar ท�ำเอาไว้ อยูด่ ้วย จากนัน้ ก็จดั การเอาสเก็ตช์มาท�ำต่อจนออกมาเป็ นผลงานจริงๆ รวมทัง้ จัดการรายละเอียดในส่วนของงานกราฟิ กทัง้ หมด ก็ทำ� อยู่พกั ใหญ่ละ่ ครับกว่าจะได้เป็ นผลงานทัง้ สองชิ้นออกมาอย่างทีเ่ ห็น HIP : หลังจากท�ำงานนี้สำ� เร็จแล ้ว รูส้ กึ ยังไงบ้าง? Rabbit Boy : ก็รูส้ กึ ดีครับทีไ่ ด้ทำ� งานกับเพือ่ น คิดว่าหลังจากนี้ คงจะต้องหาโอกาสท�ำงานด้วยกันอีก อีกอย่างก็ดใี จครับทีส่ ามารถ ท�ำงานทีม่ โี จทย์มาให้จนเสร็จสมบูรณ์ได้ เพราะยอมรับว่าปกติจะท�ำ แต่ ง านที่ไ ด้ท ำ� อะไรตามใจตัว ซะมากกว่ า แต่ พ อมาท�ำ งานที่มี โจทย์ชดั เจน มันก็สนุกไปอีกแบบหนึ่ง ทีเ่ หลือก็หวังว่าแฟนๆ HIP จะชอบงานทัง้ สองชิ้นนี้นะครับ ABOUT HIM Rabbit Boy เป็นชือ่ แคแร็คเตอร์สมมติของศิลปินหนุม่ ศิษย์เก่าจากสาขา ออกแบบ คณะวิจติ รศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทีป่ จั จุบนั ท�ำงานกราฟิกดีไซน์ หลากหลายรูปแบบควบคูไ่ ปกับการท�ำงานดนตรีทเี่ ขารัก โดยเขาเลือกใช้ชอื่ นีเ้ พือ่ แทนตัวเองในการท�ำงานทีป่ รากฏบนหน้าปก HIP ทัง้ สองด้าน ส�ำหรับใครทีเ่ ห็น ผลงานของเขาแล้วติดใจในฝีไม้ลายมือ ก็ไปพูดคุยกับเขาที่ tanzanyde@ hotmail.com กันได้เลย


MUSIC REVIEW

HIP’S PICK OF THE MONTH รวมเพลงเด็ดตกส�ำรวจจาก HIP เรื่อง: ระพินทรนาถ

MOON

JANUARY

Snowbird Bella Union

ในทุกๆ เดือน Music Review พยายามทีจ่ ะสรรหางานเพลงทีเ่ ราคิดว่า เข้าท่าและคุณๆ ก็นา่ จะชอบมาน�ำเสนอกันเป็นประจ�ำอยูแ่ ล้ว แต่ถงึ จะแนะน�ำกัน เดือนหนึง่ ตัง้ หลายแผ่น ก็ยงั มีผลงานเพลงดีๆ อีกมากมายทีเ่ ราไม่ได้เอามา แนะน�ำในแต่ละเดือน ทัง้ ด้วยเหตุทวี่ า่ ไม่มที จี่ ะลง (แล้ว) ต้องปิดเล่มก่อนจะได้ฟงั ต้องตัดใจเลือกงานอืน่ ทีเ่ ห็นว่าจะเข้ากับคอลัมน์ในฉบับนัน้ ๆ มากกว่า ไปจนถึง พลาดไม่ได้ฟัง ก็ว่ากันไปในแต่ละเดือน ดังนัน้ เมือ่ การบ้านของฉบับนี้คอื การเล่นกับเลข 10 เพือ่ ฉลองครบรอบ 10 ปีของ HIP เราจึงขอใช้โอกาสนี้นำ� เสนอ 10 ผลงานเพลงทีไ่ ม่เคยถูกน�ำเสนอในหน้านี้มาก่อน โดยเลือกจาก บรรดาอัลบัม้ ทีอ่ อกมาในแต่ละเดือน ก่อนจะเลือกเพียงเดือนละ 1 ชุดแล ้วเอามาแนะน�ำ แบบเรียงเดือน (ตัง้ แต่มกราฯ ถึงตุลาฯ) กันไปเลย งานนี้นอกจากจะเป็ นการไถ่โทษทีต่ อนผล งานเขาออกดันไม่ได้เขียนถึงแล ้ว แต่ละชุดทีจ่ ะได้เจอต่อจากนี้นนั้ เราฟังแล ้ว ‘ชอบมาก’ จนอยากชวนให้คุณๆ ได้ฟงั ด้วย

THE HADEN TRIPLETS

FEBUARY

The Haden Triplets Third Man Records

ว่ากันว่าเกิดมา เป็ น ลู ก คนเก่ ง คนดัง นัน้ ล�ำบาก (เพราะมักจะ โดนจับมาเปรียบเทียบ กับพ่อแม่) แต่ดเู หมือน สมาชิ ก สามสาวจาก The Haden Triplets ไม่จำ� เป็ นจะต้องกังวล กับ ปัญ หานี้ เพราะนอกจากพวกเธอแต่ ล ะคน จะมีคณ ุ ภาพดีเหลือเฟื อ (ไม่เชือ่ ลองฟังเสียงประสานของ พวกเธอดูกไ็ ด้) ชนิดทีค่ ุณพ่ออย่าง Charlie Haden น่ า จะภู มิใ จแล ว้ แฝดสามสาวยัง ท�ำ งานออกมา ได้กลมกล่อมดีและได้อารมณ์โฟล์ค-คันทรีท่ ค่ี รบเครือ่ ง ดีทีเดียว ถึงจะมีจุดอ่ อนอยู่บา้ งตรงที่ยงั ไม่มีเพลง เป็ นของตัวเอง แต่กไ็ ม่ได้ทำ� ให้ความดีของงานชุดแรก ของสามสาวลดน้อยลงแต่อย่างใด 12: B SIDE

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014

LOST IN THE DREAM

หลายคนอาจจะตื่น เต้น เมื่อ รู ว้ ่า Simon Raymonde หนึ่งในสมาชิกของ Cocteau Twins กลับมาท�ำเพลงอีกครัง้ หรือรายชื่อแขกทีม่ าร่วมงาน (ได้สมาชิก ของ Radiohead และ Midlake มาช่วย) จะช่ วยเพิ่มความน่ าสนใจให้กบั ตัวงาน แต่สง่ิ ทีด่ ที ส่ี ุดทีเ่ กิดจากการท�ำงานร่วมกัน ระหว่าง Simon และ Stephanie Dosen ในนาม Snowbird คือความงดงามของท่วงท�ำนองและเสียงร้องทีท่ ำ� ออกมา ได้อย่างลงตัวและไพเราะน่ าฟังเป็ นอย่างยิ่ง จนท�ำให้ผลงานชุดแรกนี้ เป็ นการเปิ ดตัวที่ฟงั แลว้ อยากจะให้เขาและเธอจับคู่ กนั ต่ อไปอีกนานๆ เหลือเกิน MARCH

The War on Drugs Secretly Canadian

งานชุ ด ที่ ส าม ของวงจากฟิ ลาเดลเฟี ย (จริงๆ น่ าจะเรียกว่า งานโซโลของ Adam Granduciel มากกว่า) ทีง่ านสองชุดก่อนหน้า สร้างชือ่ ด้วยสุม้ เสียงที่ ชวนให้นึ ก ถึ ง Bob Dylan หรือ Bruce Springsteen และดนตรีทท่ี ำ� ได้ เข้าท่า ในงานชุดใหม่ ภาคดนตรีทม่ี รี อ็ คเป็นแกนหลักนัน้ โดดเด่นด้วยเสียงกีตาร์กบั บรรดาเสียงสังเคราะห์ต่างๆ ทีถ่ กู หยิบมาใช้ เช่นเดียวกับซาวด์หลายๆ ส่วนในอัลบัม้ ซึง่ สือ่ ถึงอิทธิพลจากศิลปินรุน่ พีๆ่ ทีไ่ ม่ใช่วา่ ไปลอกกันมา หากแต่รูจ้ กั น�ำมาปรับให้กลายเป็ นสไตล์ของพวกเขาเอง ส่วนท่วงท�ำนองก็เคลือ่ นไหวได้อย่างหนักแน่นมีพลัง และฟังสนุกดีทเี ดียว

TREMORS

APRIL

SOHN 4AD

งานของหนุ่ ม ที่ เป็นทัง้ นักร้อง นักดนตรี และโปรดิว เซอร์ค นนี้ เป็ น ส่ ว นผสมที่ ล งตัว ของซาวด์อเิ ล็กทรอนิกส์ หลากแบบกับเสียงร้อง ในแบบโซล แม้ดูเผินๆ จะค่อนไปทางหม่นเศร้า มากกว่ารืน่ เริง (และชวนให้นึกถึง James Blake อยู่ พอสมควร) แต่โดยรวมแลว้ ถือว่าเป็ นผลงานเปิ ดตัว ที่แสดงถึงเอกลักษณ์ท่โี ดดเด่น (ทัง้ การเลือกใช้ซาวด์ หรือสไตล์การร้อง) แถมเพลงยังออกมาเข้าท่าเข้าทาง ดีเ สีย ด้ว ย ดู ห น่ ว ยก้า นแล ว้ ไม่ น่ า แปลกใจที่ห น้า Music Scoop เพิง่ จะแนะน�ำไว้วา่ เป็นศิลปินน่าจับตา เพราะว่าหนุ่มคนนี้เขา ‘มขี อง’ จริงๆ


WHAT HAVE WE BECOME?

MAY

Paul Heaton & Jacqui Abbott

WHAT IS THIS HEART?

JUNE

How to Dress Well

Virgin EMI

JULY

NEVER HUNGOVER AGAIN

Joyce Manor

Weird World

Epitaph

แ ค่ เ ห็ น ชื่ อ Paul Heaton และ Jacqui Abbott แฟนๆ The Beautiful South ก็นา่ จะปลืม้ แล ้ว ยิ่งถ้าได้ฟงั งานจนจบ ด้ว ยก็ น่ า จะยิ่ ง ปลื้ม มากกว่า เดิม เพราะ การท�ำ งานร่ ว มกัน ของอดีต สองสมาชิก ของวงนัน้ ให้ผลลัพธ์ทน่ี อกจากจะท�ำให้แฟนๆ ได้ระลึกถึงวันคืน เก่าๆ แล ้ว ยังช่วยบรรเทาความคิดถึง The Beautiful South ลงได้พอสมควรอีกต่างหาก ส่วนคนทีไ่ ม่คนุ ้ เคย นี่คอื ตัวอย่างของงานอินดี้ป๊อปทีไ่ ม่เพียงแต่จะฟังสนุก อย่างมีชนั้ เชิงเท่านัน้ หากแต่ยงั มีคณ ุ ภาพในทุกๆ ส่วน และแสดงให้เห็นว่า ทีช่ อ่ื เสียงโด่งดังมานานของเจ้าของงาน นัน้ ไม่ใช่เรื่องบังเอิญ

ถ้าว่ากันเฉพาะ หน้าปก งานของหนุ่ม Tom Krell (ชื่อจริงๆ ของ How to Dress Well) ก็ดูจะธรรมดาๆ ไม่ชวนให้รูสึ้ กว่าน่าสนใจ สักเท่าไหร่ แต่ข ้างในงาน ชุ ด ที่ส ามของเขานั้น มีสง่ิ ทีน่ ่าสนใจอยู่เยอะแยะ ไม่วา่ จะเป็ นเสียงร้องของ เจ้าของงานทีถ่ อื ว่าร้องดีน่าฟัง ภาคดนตรีทห่ี ยิบเอาซาวด์ หลากหลายแบบมาช่วยเสริมให้ดนตรีอาร์แอนด์บที เ่ี ป็ น แกนหลักนัน้ มีสสี นั และแตกต่างออกไปจากอาร์แอนด์บี ทีค่ นุ ้ เคย รวมถึงท่วงท�ำนองทีไ่ ม่ซำ�้ ซากแต่ฟงั เพลินติดหู และมีครบรสทุกอารมณ์ตงั้ แต่สุขจนถึงโศก เรียกว่า ถ้าใครมองเมินเพราะปกไม่ดงึ ดูดต้องบอกว่าน่าเสียดาย

ระยะเวลาของ ตัวงานตัง้ แต่ตน้ จนจบ นับว่าสัน้ (มี 10 เพลง แต่ ว่ า ยาวเพี ย งแค่ เกือบ 20 นาทีเท่านัน้ ) ถึ ง กระนั้น ความสัน้ ของแต่ละเพลงก็ไม่ได้ เป็นสิง่ ทีล่ ดทอนความดี ของงานชุดทีส่ ามจากวงป๊ อปพังค์กลุม่ นี้ลงไปแต่อย่างใด สิง่ ทีจ่ ะได้เจอในงานของ Joyce Manor คือท่วงท�ำนอง ทีฟ่ งั ง่ายติดหูแต่มชี นั้ เชิง ขณะทีภ่ าคดนตรีกเ็ คลือ่ นไหว ได้อย่างคึกคักและมีพลังชนิดสมกับการเป็ นเพลงพังค์ แถมทุกอย่างทีว่ า่ ยังอยูร่ วมกันได้อย่างเหมาะเจาะพอดี ไม่มอี ะไรแปร่งหู เป็ นงานทีจ่ ะฟังแบบเน้นเอาความมัน หรือจะฟังแบบขอดูคณ ุ ภาพฝี มอื ก็สอบผ่านได้ในทุกด้าน

AUGUST

SEPTEMBER

OCTOBER

LP1

FKA Twigs XL

ถ า ม ว่ า รู ้ จ ั ก FKA Twigs ไหม หลายคนน่าจะตอบว่าไม่ (หรือต่อให้บอกชือ่ จริง อย่าง Tahilah Barnett ก็ ไ ม่ น่ า จะรู จ้ กั อยู่ ดี) แต่นบั จากนี้ไปแนะน�ำว่า จ�ำ ชื่อ เธอคนนี้ เ อาไว้ ให้ดีๆ เพราะทุก สิ่ง ที่ป รากฏอยู่ ภ ายใน LP1 นัน้ คืองานทริป ฮอพ-อาร์แอนด์บที น่ี า่ ตืน่ ตาตืน่ ใจ ไม่วา่ จะด้วย เสียงร้องทีด่ ูลกึ ลับ หม่นเศร้าและน่าค้นหาแต่วา่ มีพลัง ท่ ว งท�ำ นองที่ ดู เ หมื อ นจะเรี ย บเรื่ อ ย หากแต่ มี รายละเอียดทีน่ า่ ติดตาม และภาคดนตรีทป่ี รุงแต่งออกมา ได้อ ย่ า งดีเ ยี่ย มและเปี่ ย มไปด้ว ยความสร้า งสรรค์ จนท�ำให้ไม่แปลกใจทีน่ กั วิจารณ์พากันชื่นชมงานของ สาวจากอังกฤษคนนี้กนั มากมายเหลือเกิน

THIS IS ALL YOURS

Alt-J

Atlantic

ถึงงานชุดทีส่ อง วงดนตรีจากลีดส์วงนี้ จะต้องเดินต่อไปโดย ไม่ มีมือ เบสส์ (และ กลายมาเป็ นวงสามชิ้น) แต่ Alt-J ก็ แ สดง ให้เห็นว่า การทีพ่ วกเขา ได้รบั รางวัลเมอร์คิวรี่ เมือ่ สองปี ทผ่ี ่านมานัน้ ไม่ใช่เรื่องฟลุค๊ ตรงไหน ตัวงาน ที่มอี งค์ประกอบอย่างสุม้ เสียงอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เสียงประสาน, ซาวด์แบบเวิลด์มวิ สิค, ไปจนถึงกลิน่ อาย ดนตรีอย่างโฟล์ค อินดี้ป๊อปและร็อคนัน้ ทุกอย่าง สอดประสานกันได้อย่างอลังการและทรงพลังภายใต้ คุณภาพทีไ่ ม่มอี ะไรให้ตอ้ งต�ำหนิ ทัง้ ยังช่วยให้แต่ละ บทเพลงของพวกเขาออกมายอดเยี่ย มและสร้า ง ความประทับใจในการรับฟังได้เป็ นอย่างดี

YOU’RE DEAD!

Flying Lotus Warp

Steven Ellison หรือ Flying Lotus ไม่ได้ท�ำแค่เพลงฮิพ ฮอพ แต่ว่าเขาพามันไปไกล มากกว่ า นั้น ด้ว ยการ น�ำซาวด์อเิ ล็กทรอนิกส์ กลิ่น อายแบบดนตรี ทดลองและเวิลด์มวิ สิค ไปจนถึงจังหวะในแบบแจ็ซซ์และฟิ วชัน่ เข้ามาผสม ก่อนจะขัดเกลาจนออกมาเป็ นผลงานทีท่ ำ� ให้เซอร์ไพรส์ ในความหลากหลายทีท่ ำ� ให้ต่นื ตาตื่นใจ สารพัดเสียง ที่ท ำ� ให้ท่ึง ในไอเดีย และความคิด สร้า งสรรค์ และ บทเพลงทีฟ่ งั แล ้วต้องซูฮกในความสามารถ นีอ่ าจไม่ใช่งาน จ�ำพวกฟังง่าย-ฟังเพลินและอาจเป็ นของยากส�ำหรับ หลายๆ คน แต่ความยอดเยีย่ มนัน้ ก็ดเี สียจนน่าเสียดาย หากจะมองข้าม HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014

B SIDE :13


FILM

LET’S TRY THESE (MUSIC) FILMS! HIP ชวนลอง 10 หนังดนตรี เรื่อง: ระพินทรนาถ

เชือ่ ว่าปีนคี้ งมีหลายๆ คนทีย่ กให้ Begin Again เป็นหนึง่ ในหนังในดวงใจประจ�ำปี ซึ่งจะว่าไปแล้วปีนี้ก็ถือเป็นอีกปีที่มีภาพยนตร์ที่มีเรื่องราวเกี่ยวกับเพลงและดนตรี (ไม่ว่าจะตรงๆ หรือเฉี่ยวๆ) มาให้ได้ชมกันหลายเรื่อง (อย่างเช่นเรื่องที่อ้างชื่อไว้ ตัง้ แต่บรรทัดแรกนัน่ แหละ) ทีนพ ี้ อได้ดหู นังทีเ่ กีย่ วกับเพลงหรือดนตรีหลายเรือ่ งเข้า ก็เลยอยากจะเขียนถึงเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวกับดนตรีเหมือนกันดูบ้าง ยิ่งเมื่อฉบับนี้ เป็นฉบับครบ 10 ปีด้วยแล้ว ก็เลยจะขอเปลี่ยนรูปแบบ หันมาน�ำเสนอภาพยนตร์ ที่มีเรื่องราวเกี่ยวกับดนตรีรวม 10 เรื่องให้เข้ากับบรรยากาศหน่อยก็แล้วกัน หมายเหตุ : เนือ่ งจากไม่อยากให้เจอแต่หนังหน้าซ�ำ้ ๆ อย่าง High Fidelity หรือ Almost Famous (ถึงเราจะชอบมากก็เถอะ) 10 เรื่องที่น�ำเสนอกันตรงนี้จึงผสมกันทั้งหนังเก่า (ไม่มาก) – หนังใหม่ และหนังดัง – หนังไม่ดงั โดยเลือกทีเ่ ราเห็นว่าดูสนุกดี และคิดว่าน่าจะโดนใจคุณผูอ้ า่ นบ้าง (ส่วนจะโดน จริงไหมก็ขอเชิญไปชมกันตามสะดวกละกันนะจ๊ะ)

AUGUST RUSH

มันเกีย่ วกับดนตรีตรงไหน? : พระเอก (Freddie Highmore จะให้ถูกควรเรียกว่า

01

พระเอกเด็กสินะ) เด็กก�ำพร้าทีเ่ ดินทางมานิวยอร์คแล ้วกลายเป็นนักดนตรีข ้างถนน เพราะเชือ่ ว่าสักวันดนตรีจะท�ำให้ได้เจอพ่อกับแม่ทพ่ี ลัดพรากกันไป ขณะทีพ่ อ่ (Jonathan Rhys Meyers) เป็ นนักร้องวงร็อค ส่วนแม่ (Keri Russell) เป็ นนักเชลโล เท่านี้กค็ งเกี่ยวกับดนตรีพอแล ้วมัง้ ? มีอะไรน่าสนอีก? : ถ้าชอบเรือ่ งน�ำ้ เน่าแบบดาวพระศุกร์กม็ าถูกเรือ่ งแล ้ว เพราะ ชีวติ พระเอกเด็กของเรานัน้ เศร้ามาก (โดนคุณตาเอาไปทิ้งเพราะเคืองที่แม่ ไปท้อ งกับ พ่ อ ที่ เ ป็ นไอ้ห นุ่ ม นัก ร้อ งที่ ไ หนก็ ไ ม่ รู )้ แต่ ใ นขณะเดี ย วกัน ก็มพี รสวรรค์ทางดนตรีมากด้วยเหมือนกัน (ได้เชื้อทัง้ พ่อและแม่เลยว่างัน้ ) ส่วนถ้าสนใจดารา นอกจากชื่อทีบ่ อกไปแล ้ว ในเรื่องยังมี Robin Williams และ Terrence Howard ร่วมแสดงด้วย ยังไม่รู้กันล่ะสิ? : Raise It Up เพลงจากหนังเรื่องนี้ (ร้องโดยหนู นอ้ ย Jamia Simone Nash ร่วมกับ Impact Repertory Theatre) ถูกเสนอชือ่ เข้าชิงรางวัลเพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยีย่ มในการประกาศรางวัล ออสการ์ครัง้ ที่ 80 แต่วา่ แพ้ให้กบั เพลง Falling Slowly จาก Once ไป

THE ROCKER

มันเกี่ยวกับดนตรีตรงไหน? : ดูโปสเตอร์หนังก็คงเห็นกันชัดแจ๋วว่าเป็ น

02

วงดนตรี ขยายความเพิม่ ก็คอื ฟิ ช (Rainn Wilson) พระเอกเคยเป็นมือกลอง วงร็อคทีโ่ ดนเพือ่ นๆ ร่วมวงไล่ออก (เพราะนายทุนไม่ปลื้ม) ความเจ็บทีโ่ ดน หักหลังท�ำให้ฟิชกลายเป็ นคนล ้มเหลวและเพี้ยนในสายตาคนอืน่ จนกระทัง่ เขาจับพลัดจับผลูมาเป็ นมือกลองให้วงดนตรีของหลานชาย ซึง่ ไปๆ มาๆ ดันชื่อเสียงโด่งดังจนถึงขัน้ ได้เล่นเป็ นวงเปิ ดให้วงเก่าของเขาเอง มีอะไรน่าสนอีก? : นอกจากความเพีย้ นของ Rainn Wilson ทีห่ ลุดโลกได้ใจ และฮากระจายแลว้ หนังเขายังรูจ้ กั เอาใจผูช้ มให้ครบทุกกลุ่มด้วยการมี Teddy Geiger กับ Emma Stone มาให้คนหนุ่มสาวได้กรีด๊ กัน อ้อ! งานนี้ พ่อหนุ่ม Teddy ซึง่ ปกติกเ็ ป็ นนักร้อง/นักดนตรีอยูแ่ ล ้วรับหน้าทีร่ อ้ งเพลงประกอบในหนังไปหลายเพลง ด้วยนะ (ซึง่ ก็ออกมาเข้าท่าดี) ยังไม่รู้กันล่ะสิ? : ในหนังมีฉากทีค่ มิ (Christina Applegate) แม่ของเคอร์ตสิ (Teddy Geiger) บอกกับฟิ ชว่าเธอเคยเป็นสมาชิกวงพังค์หญิงมาก่อนตอนเป็นวัยรุน่ ซึง่ ในชีวติ จริง เธอเป็นสมาชิกยุคแรกๆ ของกลุม่ นักเต้นทีก่ ลายเป็ น The Pussycat Dolls ในภายหลัง 14: B SIDE

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014


PIRATE RADIO

03

มันเกีย่ วกับดนตรีตรงไหน? : ในยุค 60s รัฐบาลอังกฤษห้ามไม่ให้เปิดเพลงร็อค

ผ่านทางวิทยุ แต่ของแบบนี้ยง่ิ ห้ามเหมือนยิง่ ยุ ว่าแล ้วบรรดาดีเจสุดแสบทัง้ หลาย ซึง่ น�ำขบวนโดยเดอะ เคานต์ (Philip Seymour Hoffman) จึงแหกกฎเปิ ดเพลง ที่เขาห้ามทัง้ หลายออกอากาศในรายการเถื่อนที่ส่งกระจายเสียงผ่านสถานี ทีอ่ ยู่บนเรือในทะเลเหนือกันซะเลย มีอะไรน่าสนอีก? : เห็นชือ่ Richard Curtis (Love Actually, About Time) ก็วางใจได้เยอะว่าหนังน่าจะออกมาสนุก (ซึง่ ก็บนั เทิงดีจริงๆ นันแหละ) ่ ส่วนคนที่ ชอบเรื่องเพลงทัง้ หลาย แค่ได้เห็นชื่อสารพัดศิลปิ นจากยุค 60s (น�ำขบวนโดย The Rolling Stone) ในซาวด์แทร็คหนังก็ฟินสุดๆ แล ้ว ยังไม่รกู้ นั ล่ะสิ? : แม้เรือ่ งทีเ่ กิดในหนังนัน้ เป็ นเรือ่ งแต่ง แต่จะว่าไปมันก็มที ม่ี าจากเรือ่ งจริงอยูด่ ว้ ย เพราะ รายการวิทยุทอ่ี อกอากาศอย่างผิดกฎหมายโดยจัดจากสถานีทอ่ี ยู่บนเรือนัน้ มีอยู่จริงในโลก โดย Radio Caroline รายการทีก่ ่อตัง้ ขึ้นมาในปี 1964 นัน้ ออกอากาศจากเรือเหมือนกัน ต่างกันแค่เป้ าหมายของ Radio Caroline นัน้ ต้องการจะเลีย่ งอิทธิพลทีค่ วบคุมเรือ่ งเพลงของบรรดาค่ายเพลงและสถานีวทิ ยุ BBC ไม่ได้ประท้วงรัฐเหมือนในหนังแต่อย่างใด

TAKING WOODSTOCK

04

มันเกี่ยวกับดนตรีตรงไหน? : รูจ้ กั วูด้ สต็อกกันไหมจ๊ะ? (ถ้าไม่รูจ้ กั จริงๆ

ก็เสิรช์ กูเกิลดูละกันนะ) เอาล่ะ ถึงในเรือ่ งนี้พระเอก (รวมถึงคนรอบๆ ตัวทัง้ หลาย) จะไม่มใี ครเล่นดนตรีหรือชอบดนตรีเป็ นเรือ่ งเป็ นราวอะไรเลยก็เถอะ แต่เรือ่ งของ ครอบครัวเจ้าของโมเต็ลทีเ่ ปลีย่ นสภาพจากคนทีก่ ำ� ลังจะหมดตัวมาเป็ นส่วนหนึง่ ของประวัตศิ าสตร์เทศกาลดนตรีทเ่ี ป็ นทีร่ ูจ้ กั กันทัง้ โลกนัน้ มันก็ฟงั ดูน่าสนุก และน่าสนใจดีอยู่ไม่ใช่ร?ึ มีอะไรน่าสนอีก? : เรื่องราวในหนังน่ะก็สนุกดีอยู่แล ้วนะ แถมยังชวนให้ย้ มิ กับการได้เห็นดาราฝี มอื ดีหลายๆ คนมารับบทเล็กๆ น้อยๆ ในหนัง (อาทิเช่น Liev Schreiber, Eugene Levy, Emile Hirsch, Paul Dano และ Jeffrey Dean Morgan) และอย่าลืมด้วยว่าผูก้ ำ� กับหนังเรื่องนี้น่ะชื่อ อัง้ ลี!่ ยังไม่รกู้ นั ล่ะสิ? : เรือ่ งราวทีเ่ กิดขึ้นในหนังนัน้ มีทม่ี าจากเรือ่ งจริง โดยบทภาพยนตร์พฒั นามาจากเนื้อหา ใน Taking Woodstock : A True Story of a Riot, a Concert and a Life ผลงานของ Elliot Tiber (คนเดียวกันกับชื่อพระเอกในหนังนัน่ แหละ) ทีพ่ มิ พ์เผยแพร่ในปี 2007 05 มันเกีย่ วกับดนตรีตรงไหน? : เรือ่ งนี้น่เี กีย่ วแน่ๆ เพราะตัวเอกเป็ นนักดนตรี แล ้วเพิม่ ความดราม่าเข้าไปด้วยการวางเรือ่ งให้เขาได้มาเจอกับลูกสาวทีไ่ ม่เคย เจอกันมาก่ อน (แม่ซ่ึงเป็ นอดีตแฟนเพลงพาเธอมาแลว้ ทิ้งให้อยู่กบั พ่อ) ส�ำหรับนักดนตรีขเ้ ี หล ้าทีช่ อ่ื เสียงก�ำลังร่วงโรย การทีอ่ ยูๆ่ ต้องมารูว่้ าตัวเองมีลกู แถมต้องมาดูแลรับผิดชอบด้วยนัน้ เป็นสิง่ ทีเ่ จ้าตัวคงไม่ปลืม้ สักเท่าไหร่ จนกระทัง่ การได้อยู่ดว้ ยกันค่อยๆ เปลีย่ นชีวติ ของพวกเขาทัง้ คู่ มีอะไรน่าสนอีก? : นอกจากเรือ่ งจะดราม่าได้ใจแล ้ว การมี Abigail Breslin (อดีตหนู นอ้ ยจอมป่ วนจาก Little Miss Sunshine) และการมารับบทน�ำ ของ Alessandro Nivola (ทีก่ ่อนหน้านี้ถา้ ไม่เล่นบทรองๆ ก็มกั จะได้เป็ น ผู ้ร้ายซะมากกว่า) เป็ นอีกเหตุผลทีท่ ำ� ให้เราชอบหนังเรือ่ งนี้ แถมเสียงร้องของเธอกับเขาทีม่ ใี ห้ฟังในหนังนัน้ ก็ถอื ว่าไม่เลวเลยส�ำหรับดาราทีต่ อ้ งมารับหน้าทีร่ อ้ งเพลง (เพลงในหนังเพราะด้วยนะขอบอก) ยังไม่รู้กันล่ะสิ? : David M. Rosenthal ผูก้ ำ� กับหนังเรื่องนี้ได้แรงบันดาลใจในการท�ำหนังมาจาก ประสบการณ์จริงในชีวติ ของตัวเขาเอง ทีไ่ ด้พบกับลูกสาวทีไ่ ม่เคยเจอกันมาก่อนเป็ นครัง้ แรกตอนทีเ่ ขา อายุ 30 (ส่วนเธออายุ 11) 06 มันเกี่ยวกับดนตรีตรงไหน? : เรื่องราวของสองพีน่ อ้ งชาวไอริชทีท่ ำ� วงดนตรีและ มันอกมั ่ นใจว่ ่ าอนาคตของพวกเขาจะรุ่งโรจน์ ปัญหาคือพวกเขาถูกน�ำไปเปรียบกับ วงดนตรีของเพื่อนสมัยมัธยมที่ดูเหมือนจะเป็ นที่สนใจของชาวบ้านมากกว่า มาโดยตลอดและไม่เคยแจ้งเกิดได้เลย แถมไอ้วงดนตรีของเพือ่ นทีว่ า่ นัน้ ต่อมา คนทัง้ โลกรูจ้ กั วงนี้ในชือ่ U2 ซึง่ การเห็นความส�ำเร็จของเพือ่ นเก่านัน้ มันท�ำให้พวกเขา ช�ำ้ ใจเหลือจะเอ่ย มีอะไรน่าสนอีก? : เรือ่ งราวในหนังส่วนหนึง่ มีทม่ี าจากเรือ่ งจริง (พีน่ อ้ ง McCormick นัน้ เป็ นเพือ่ นกับโบโนและสมาชิกคนอืน่ ๆ ของ U2 จริงๆ), เราว่า Ben Barnes ในหนังเรือ่ งนี้ดเู ข้าท่ากว่าบทเจ้าชายใน The Chronicles of Narnia ตัง้ เยอะ และนีค่ อื ผลงานชิ้นสุดท้ายของ Pete Postlethwaite ในโลกภาพยนตร์ ยังไม่รกู้ นั ล่ะสิ? : ในชีวติ จริงถึงจะไม่ได้เป็ นร็อคสตาร์ แต่ Neil McCormick ก็ยงั เกีย่ วข้องกับโลกดนตรีอยู่ เพราะเขากลายเป็ นนักเขียนและนักวิจารณ์เพลงทีม่ ชี อ่ื เสียงเป็ นทีร่ ูจ้ กั และได้รบั การยอมรับอย่างสูง โดยเรือ่ งราว ในหนังนัน้ ส่วนหนึ่งก็เอามาจากหนังสือเรื่อง I Was Bono’s Doppelganger ทีเ่ ขาเป็ นคนเขียนนัน่ เอง

JANIE JONES

KILLING BONO

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014

B SIDE :15


INSIDE LLEWYN DAVIS

มันเกี่ยวกับดนตรีตรงไหน? : ในเรื่องนี้ Llewyn Davis (Oscar Isaac)

07

เป็ นนักดนตรีโฟล์คซองตกอับทีช่ วี ติ ก�ำลังดิง่ ลงเหว ทัง้ อดีตเพือ่ นร่วมวงฆ่าตัวตาย, มีผลงานเพลงทีข่ ายไม่ออก, ไปเล่นดนตรีทไ่ี หนกับใครก็ไม่แคล ้ววงแตก แถมยังต้อง วุน่ วายกับการตามหาและดูแลแมวอีก ดูแลว้ จะซาบซึ้งว่าชีวติ นักดนตรีแท้จริง แสนล�ำบากและไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบกันทุกคนเสมอไป และฝี มอื ดีอย่างเดียว ก็ไม่ได้เป็ นค�ำตอบของความส�ำเร็จเสมอไปด้วยเหมือนกัน มีอะไรน่าสนอีก? : เห็นชือ่ สองพีน่ อ้ ง Joel และ Ethan Coen ท�ำหน้าทีก่ มุ บังเหียน หนังเรื่องนี้ แฟนๆ ก็มนั ่ ใจได้ในระดับหนึ่งแลว้ ว่างานของสองศรีพ่นี อ้ งนัน้ ไม่ค่อยท�ำให้ผดิ หวังเท่าไหร่ อีกอย่างเพลงประกอบในหนังนัน้ ก็แจ๋วด้วยเช่นกัน (ได้ T Bone Burnett มารับหน้าทีเ่ ป็ นโปรดิวเซอร์ให้) ยังไม่รู้กันล่ะสิ? : หนังได้แรงบันดาลใจมาจากชีวติ ของ Dave Van Ronk นักร้องเพลงโฟล์คทีม่ ผี ลงาน ชือ่ Inside Dave Van Ronk ออกมาในยุค 60s (บนปกอัลบัม้ ก็มแี มวเข้าเฟรมด้วยนะ) ส่วนตัวพระเอก Oscar Isaac ทีเ่ ห็นอยู่กบั แมวในหนังซะหลายฉากนัน้ ในชีวติ จริงแล ้วเขาเกลียดแมวอย่างแรง!

ONLY LOVERS LEFT ALIVE

มันเกีย่ วกับดนตรีตรงไหน? : ดูเผินๆ มันก็เป็ นหนังรักทีว่ า่ ด้วยความสัมพันธ์

08

ระหว่างพระเอกนางเอกซึ่งต้องเจอปัญหาเพราะคนอื่นๆ ที่เข้ามาเกี่ยวข้อง (ตัวพระเอกทีร่ บั บทโดย Tom Hiddleston นัน้ เป็ นนักดนตรี) แต่สง่ิ ทีท่ ำ� ให้ หนังเรือ่ งนี้ไม่ได้เป็ นแค่หนังรักทีพ่ บเจอกันได้ทวไปก็ ั ่ คอื คู่พระ-นางในเรือ่ งน่ะ เขาเป็ นแวมไพร์! มีอะไรน่าสนอีก? : เฉพาะพล็อตทีว่ า่ ด้วยความสัมพันธ์ระหว่างแวมไพร์หนุ่ม นักดนตรีกบั แวมไพร์สาวทีห่ ลงใหลหนังสือจะฟังดูน่าสนใจมากแลว้ การได้ Tom Hiddleston และ Tilda Swinton มารับบทคู่พระนางในหนังก็ยง่ิ เพิม่ แรงดึงดูดใจให้อยากดูมากขึ้นไปอีก ยังไม่รวมถึงการทีห่ นังเรื่องนี้เป็ นผลงาน ของ Jim Jarmusch ผูก้ ำ� กับทีม่ สี ไตล์ชดั เจนไม่วา่ จะกับตัวเองหรือภาพยนตร์ทเ่ี ขาเคยก�ำกับซึง่ ท�ำให้ งานชิ้นนี้ ‘แนว’ กันเข้าไปใหญ่ ยังไม่รกู้ นั ล่ะสิ? : จริงๆ แล ้วในหนังมีฉากบูอ๊ ยู่บา้ ง แต่พอถูกขอร้องให้เพิม่ ฉากแบบทีว่ า่ เข้าไปอีกหน่อย เพือ่ เสริมความตื่นเต้น ผูก้ ำ� กับ Jim Jarmusch เลยสนองด้วยการตัดฉากบูท๊ งั้ หลายออกไปจนหมด กันเสียอย่างนัน้ อีกอย่างถึงตัวละครในเรื่องจะเป็ นผีดูดเลือด แต่ถา้ สังเกตจะพบว่าไม่มกี ารเอ่ยค�ำว่า ‘แวมไพร์’ ในหนังเลย 09 มันเกี่ยวกับดนตรีตรงไหน? : ดิก๊ ซี่ (Jonny Owen) ยอมทิ้งงานเก่าและ ออกจากบ้านที่เวลส์มาสู่ลอนดอนเพราะมีความฝันว่าอยากจะเป็ นผูจ้ ดั การ วงดนตรีช่อื ดัง เรื่องราวดูเหมือนจะไปได้สวยเพราะเขาเจอวงดนตรีทว่ี า่ (The Premature Congratulations) และวงก็ยอมให้เขาท�ำหน้าทีด่ ูแล แต่ยง่ิ เขา พยายามจะผลักดันให้วงโด่งดังมากขึ้นเท่าไหร่ เขาก็เริม่ สงสัยว่านี่คอื ชีวติ ทีเ่ ขา ใฝ่ ฝนั ถึงมาตลอดจริงๆ หรือเปล่ามากขึ้นตามไปด้วย และสุดท้ายแล ้วระหว่าง ความฝันกับความรัก อะไรคือสิง่ ทีม่ คี ่ากับเขามากกว่ากัน มีอะไรน่าสนอีก? : ตัวหนังนัน้ บันเทิงดีทเี ดียว ส่วนอีกอย่างทีเ่ จ๋งมากก็คอื บรรดาเพลงในหนัง ซึ่ง ทัง้ หลากหลายแนวและมาจากหลากหลายศิ ล ปิ น (ทัง้ เก่า-ใหม่/ดังมาก-ดังน้อย) ใครทีช่ อบฟังเพลงเจอแล ้วน่าจะโดนไม่นอ้ ย ยังไม่รู้กันล่ะสิ? : คุณ Jonny Owen ซึง่ รับบทพระเอกในเรื่องเป็ นทัง้ ดาราและโปรดิวเซอร์ (และเป็ น คนเวลส์แท้ๆ) คงไม่คอ่ ยมีใครรูจั้ กกันนักในบ้านเรา แต่ดปู ระวัตขิ องหมอนีแ่ ล ้วสนุกดี เพราะก่อนจะมาเป็นดารา ตอนเป็ นวัยรุน่ เขาเคยเป็ นแชมป์มวย กับเป็ นมือเบสส์/นักร้องในวงดนตรีทเ่ี กือบจะได้ออกผลงานของตัวเอง มาแล ้วด้วย 10 มันเกี่ยวกับดนตรีตรงไหน? : เกี่ยวสิ ก็สองสาว (อีฟกับแคสซี)่ กับอีกหนึ่งหนุ่ม (เจมส์) ตัวละครหลักในเรือ่ ง (รับบทโดย Emily Browning, Hannah Murray และ Olly Alexander ตามล�ำดับ) มารูจ้ กั กันได้กเ็ พราะดนตรี ก่อนทีท่ งั้ สามคนจะตัดสินใจตัง้ วงดนตรีร่วมกัน แต่ ค วามรัก ของเจมส์ท่ีมีต่ อ อีฟ และความสัม พัน ธ์ข องอีฟ กับ นัก ดนตรีห นุ่ ม คนอื่น ท�ำให้อนาคตของวงดนตรีวงนี้ชกั จะไม่แน่ไม่นอนสักเท่าไหร่ มีอะไรน่าสนอีก? : แฟนหนังเห็นชือ่ Stuart Murdoch ในฐานะผู ้ก�ำกับอาจจะสงสัยว่าใคร แต่แฟนเพลง (โดยเฉพาะพวกทีฟ่ งั งานอินดี้ทงั้ หลาย) เห็นชื่อแล ้วมีกรีด๊ เพราะเขาคนนี้ คือนักร้องน�ำและคนแต่งเพลงหลักของ Belle & Sebastian วงอินดี้ป๊อปชือ่ ดังจากสก็อตแลนด์ (ใครยังไม่รูจ้ กั ก็ไปลองฟังดูนะจ๊ะ) ยังไม่รู้กันล่ะสิ? : ถ้าเสิรช์ หาข้อมูลของหนังแลว้ ไปเจอโปรเจ็คท์งานดนตรีในชื่อเดียวกันก็อย่าแปลกใจ เพราะ Stuart Murdoch เริม่ ต้น God Help the Girl จากการท�ำเพลงร่วมกับนักร้องหญิงมาก่อน แล ้วตัวงานค่อยเติบโต จนน�ำไปสู่การเป็ นภาพยนตร์เพลงในภายหลัง (โปรเจ็คท์ทว่ี า่ มีอพี แี ละอัลบัม้ ออกมาด้วยนะ)

SVENGALI

GOD HELP THE GIRL

16: B SIDE

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014


MOVIE ATTRACTION

MOVIES PROGRAM ON NOVEMBER เดือนนี้ขอน�ำเสนอหนังใหม่มาแรง หลากรส หลายอารมณ์ เริ่มต้นที่หนังไซไฟเน้นอารัมภบทถึงหายนะของโลกจากภัยธรรมชาติ จนน�ำไปสู่ภารกิจเดินทาง ข้ามจักรวาล ต่อด้วยหนังรักอารมณ์ดี จีต้ อ่ มคิดถึงให้หวนนึกถึงเพือ่ นสนิทในวันวาน พร้อมกระชากอารมณ์สค่ ู วามน่ากลัวกับโปรแกรมสยองขวัญ และอีกหลายอรรถรสส�ำหรับ โปรแกรมดีๆ ในเดือนนี้ ทีค ่ อหนังไม่ควรพลาด!!!

Interstellar

Love, Rosie

Ouija

Before I Go to Sleep

The Hunger Games: Mockingjay - Part 1

Horns

ผูก้ ำ� กับ : Christopher Nolan วันที่เข้าฉาย : 6 พฤศจิกายน 2557 แนวหนัง : Adventure, Sci-Fi นักแสดง : Matthew McConaughey, Anne Hathaway, Jessica Chastain อิน เตอร์ส เตลลาร์ ทะยานดาวกูโลก ้ เป็นเรือ่ งราว ของกลุ่ม นัก วิท ยาศาสตร์ ที่อาศัยประโยชน์จากการ ค้นพบรูหนอน ซึง่ สามารถ ท�ำ ให้ม นุ ษ ย์น ั้น ก้า วข้า ม ขีดจ�ำกัดของจักรวาล โดย จุ ด มุ่ง หมายของกลุ่ ม นัก วิทยาศาสตร์คือการหาดาว เพือ่ สร้างโลกใหม่ของมนุษย์ หลังจากทีโ่ ลกมีมลพิษ ในอากาศ จนท�ำให้พชื ผลไม่สามารถปลูกได้อกี ต่อไป

ผูก้ ำ� กับ : Rowan Joffe วันที่เข้าฉาย : 13 พฤศจิกายน 2557 แนวหนัง : Mystery, Thriller นักแสดง : Nicole Kidman, Mark Strong, Colin Firth เรือ่ งราวของ คริสทีน (นิโคล คิดแมน) ผูห้ ญิงที่ หลัง จากประสบอุบ ตั ิเ หตุ ร้ายแรง ท�ำให้เธอต้องสูญเสีย ความจ�ำทัง้ หมด โดยสมอง ของเธอจะมีความจุเพียงแค่ วันเดียวเท่านัน้ และทุกเช้า ที่ต่ืนขึ้นมาก็เหมือนกดปุ่ม รีเซ็ทตัวเอง เธอพยายาม ปะติดปะต่อเรือ่ งราวว่าตัวเองเป็ นใคร ว่าเกิดอะไรขึ้น และที่สำ� คัญก็คือการหาค�ำตอบว่าใครที่ทำ� ให้เธอ เป็ นแบบนี้ ถึงแม้ว่า คริสทีน จะมีทงั้ สามี (โคลิน เฟิ รธ์ ) และหมอ (มาร์ค สตรอง) ทีค่ อยดูแลเธอ แต่แท้จริงแล ้ว เธอจะสามารถเชือ่ ใจพวกเขาได้จริงๆ หรือไม่

ผูก้ ำ� กับ : Christian Ditter วันที่เข้าฉาย : 6 พฤศจิกายน 2557 แนวหนัง : Comedy, Romance นักแสดง : Lily Collins, Sam Claflin, Art Parkinson โรซี ดัน น์ (ลิ ล ลี่ คอลลิน ส์) กับ เพื่ อ นสนิ ท คิดไม่ซอ่ื อย่าง อเล็กซ์ สจ็วต (แซม คลาฟลิน) ทีโ่ ตมาด้วยกัน และใฝ่ ฝั น ว่ า จะเข้า เรี ย น มหาวิท ยาลัย แห่ ง เดี ย วกัน ในอเมริกา แต่หลังจากปาร์ต้ ี แบบสุดเหวีย่ งในคืนหนึ่ง โรซี กลับพบว่าตัวเองพลาดตัง้ ท้อง เธอตัดสินใจที่จะปล่อยให้อเล็กซ์กา้ วไปสู่สงั คมใหม่ โดยปราศจากเธอ จนเวลาล่วงเลยไป เพือ่ นรักทัง้ สอง ก�ำลังจะโคจรกลับมาพบกันอีกครัง้ เพือ่ ค้นหาค�ำตอบ ว่าเรื่องราวที่เกิดขึ้นนัน้ คือบททดสอบของโชคชะตา และพวกเขาคือคนทีเ่ กิดมาเพือ่ คู่กนั จริงๆ หรือไม่

ผูก้ ำ� กับ : Francis Lawrence วันที่เข้าฉาย : 20 พฤศจิกายน 2557 แนวหนัง : Adventure, Sci-Fi นักแสดง : Jennifer Lawrence, Josh Hutcherson, Liam Hemsworth จากเกมล่าชีวติ เดินทาง สูส่ งครามทีจ่ ะตัดสินอนาคตของ ทุกชะตากรรมใน The Hunger Games เมือ่ แคทนิส ในฐานะของ ม็อกกิ้งเจย์ ผนึกก�ำลังกับ เกล และ ฟิ นนิค น�ำทีมเหล่านักรบ กบฏจากเขต 13 จุดประกายไฟ สงครามครั้ ง ยิ่ ง ใหญ่ ท่ี สุ ด โดยเผชิ ญ หน้า กั บ ประธานาธิบดีสโนว์ เพือ่ น�ำพาสันติสขุ ทีแ่ ท้จริงกลับคืนสู่ พาเน็ม พร้อมกับช่วยเหลือพีตา้ คนรักของเธอให้รอดพ้น จากการควบคุมของแคปิ ตอล จุดเริ่มต้นของบทสรุป แห่งสงครามม็อกกิ้งเจย์ ทีท่ งั้ โลกรอคอย

ผูก้ ำ� กับ : Stiles White วันที่เข้าฉาย : 13 พฤศจิกายน 2557 แนวหนัง : Horror นักแสดง : Olivia Cooke, Daren Kagasoff, Ana Coto Ouija กระดานผี กระชากวิญญาณ ภาพยนตร์ สยองขวัญ เหนื อ ธรรมชาติ เรื่องราวของกลุม่ เพือ่ นทีต่ อ้ ง เผชิญกับความกลัวสุดสะพรึง จากพลัง มื ด ของกระดาน โบราณ หนุ่มสาววัยรุ่นกลุม่ นี้ ใ ช้ ก ร ะ ด า น นี้ ติ ด ต่ อ กั บ วิญญาณ เพื่อค้นหาค�ำตอบ เกีย่ วกับสาเหตุการเสียชีวติ อย่างมีเงือ่ นง�ำของเพือ่ นรัก แต่ ก ระดานนี้ กลับ น� ำ ไปสู่ เ หตุ ก ารณ์ สุ ด สยอง อย่างไม่คาดคิด

ผูก้ ำ� กับ : Alexandre Aja วันที่เข้าฉาย : 27 พฤศจิกายน 2557 แนวหนัง : Drama, Fantasy, Horror นักแสดง : Daniel Radcliffe, Juno Temple, Sabrina Carpenter H o r n s เ ล่ า ค ว า ม มหัศจรรย์ทเ่ี กิดกับ อิก๊ เพอร์รชิ (แดเนียล แรดคลิฟฟ์) ชายหนุ่ม ผู ้ตกอยูใ่ นอาการเศร้าโศกเสียใจ จากการเสียชีวิตของแฟนสาว ทีถ่ กู ฆ่าข่มขืนอย่างทารุณ ในเช้า วันหนึ่งเขาตืน่ ขึ้นมาพร้อมความ ประหลาดใจ เมื่อพบว่าตัวเอง มีเขางอกออกมาจากศีรษะ และสามารถส่งพลังพิเศษ ให้ใครก็ตามทีส่ นทนากับเขา เพือ่ สารภาพความจริงในใจ ออกมา ซึง่ รวมถึงความใจร้าย ความเห็นแก่ตวั และ ความปรารถนาอัน น่ า กลัว ที่เ ผยให้เ ห็น ด้า นมืด ของมนุษย์ ***หมายเหตุ: โปรแกรมหนังอาจมีการเปลี่ยนแปลง

เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ เชียงใหม่ เช็ครอบ จองตั๋ว โทรสายตรง

ชั้น 4 เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต โทร.053-283-939 โทร.053-288-852 ชั้น 5 เซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่ HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014

B SIDE :17


WORKSHOP

CHIANG MAI DESIGN WEEK 2014 CREATIVE SPACE WORKSHOP

ในเดือนธันวาคมทีจ่ ะถึงนี้ ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ เชียงใหม่ (TCDC Chiang Mai) ศูนย์กลางความรูด้านการออกแบบและบ่ ้ มเพาะความคิดสร้างสรรค์แห่งแรก ในพื้นทีภ่ าคเหนือตอนบน เล็งเห็นความส�ำคัญของการยกระดับและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ด้านการออกแบบท้องถิน่ เพือ่ ตอบสนองวิถชี วี ติ ผูบ้ ริโภคยุคใหม่ เตรียมจัดเทศกาล งานออกแบบครัง้ แรกในประเทศไทย Chiang Mai Design Week 2014 ร่วมกับ หลายภาคส่วนทัง้ ภาครัฐและเอกชน โดยมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ รวบรวมผลงานเชิงสร้างสรรค์ มากกว่า 56 โชว์เคส 26 เวิรก์ ช็อป และ 25 งานบรรยาย ร่วมกับกว่า 100 แบรนด์ดงั ในท้องถิน่ หน่วยงานภาครัฐ เอกชน สถาบันการศึกษา และองค์กรระหว่างประเทศ มาจัดแสดงทัวเมื ่ องเชียงใหม่ ระหว่าง 6 - 14 ธันวาคม นี้ เพือ่ เป็นสะพานเชือ่ มโยงศักยภาพ นักออกแบบและนักสร้างสรรค์สูโ่ อกาสในตลาดดีไซน์สากล โดยเฉพาะกิจกรรมทีน่ บั ว่าเป็นหนึง่ ในไฮไลท์ของงานทีน่ กั ออกแบบ และผู ้สนใจ ด้านงานออกแบบห้ามพลาด นันคื ่ อกิจกรรมเวิรก์ ช็อปทีเ่ ปิดรับสมัครผู ้สนใจให้เข้าร่วมได้ ฟรี!!! ซึง่ เป็นโอกาสอันดีทช่ี าวเชียงใหม่และผู ้สนใจในพืน้ ทีใ่ กล ้เคียงจะได้ร่วมวงสร้างสรรค์ ผลงานชัน้ เยีย่ มกับ 26 นักออกแบบ สตูดโิ อ และนักการตลาดทีป่ ระสบความส�ำเร็จ ในเชียงใหม่ ทีจ่ ะมาร่วมคิดค้น ต่อยอด และถ่ายทอดประสบการณ์ผา่ นการสัมมนา เชิงปฏิบตั กิ าร เพือ่ เรียนรูเคล็ ้ ดลับและกลยุทธ์ในการสร้างธุรกิจสร้างสรรค์ รวมทัง้ ทดลอง ผลิตผลงานจริง โดยมีนกั ออกแบบมืออาชีพคอยดูแลและให้ค�ำแนะน�ำอย่างใกล ้ชิด อาทิ กิจกรรม Why use natural products? โดย Sabu Sabu (สบู ๊ สบู)่ ร่วมเรียนรู ้ และชมขัน้ ตอนการท�ำสบู่ดว้ ยวัตถุดบิ จากธรรมชาติท่เี ป็ นมิตรต่อสุขภาพ, ค้นหา แรงบันดาลใจจากธรรมชาติรอบตัว และน�ำมาสร้างสรรค์เป็นลวดลายเพือ่ เพิม่ มูลค่าให้ผ้า กับกิจกรรม Inspiration from the Skies โดย The Tigris Moon by Sabina Fay Braxton, เรียนรูก้ รรมวิธแี ละขัน้ ตอนการย้อมสีธรรมชาติและเทคนิคการท�ำผ้ามัดหมี่ และชมคอลเลคชันสะสมส่ ่ วนตัวของ อ.แพทริเซีย ชีสแมน กับกิจกรรม Tie-dye workshop 18: B SIDE

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014

and natural dye demonstration โดย Studio Naenna (สตูดโิ อแน่นหนา), ร่วมเรียนรู ้ และสนุกไปกับการลงมือสร้างสรรค์ผลงานด้วยวัสดุเหลือใช้ แล ้วน�ำมาสร้างคุณค่าใหม่ ในรูปแบบของตัวเอง โดย Tua Pen Not, เรียนรูกระบวนการ ้ สร้างสรรค์งานเซรามิก ตัง้ แต่คณ ุ ลักษณะของดิน ขัน้ ตอนการเผา ไปจนถึงการปัน้ ถ้วยชาด้วยการขึน้ รูปด้วยมือ และการตกแต่งชิ้นงาน กับกิจกรรม นัยย์-ดิน โดย Inclay Studio เรียนรูขั้ น้ ตอนและเทคนิคการผลิตสินค้า พร้อมลงมือสร้างสรรค์สนิ ค้าเครือ่ งหนัง ขนาดเล็กด้วยตนเอง กับกิจกรรม เครื่องหนัง Handmade โดย Ars D Sine, เปิ ดประสบการณ์การผลิตกระดาษรักษ์โลกจากกากกาแฟด้วยตัวเอง พร้อมทัง้ น�ำกระดาษ ทีไ่ ด้มาสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์หลากหลายประเภท กับกิจกรรม Coffee Paper Making โดย G-Create, ร่วมเรียนรูแ้ ละแลกเปลีย่ นเกี่ยวกับงานออกแบบแพทเทิรน์ ดีไซน์ และข้อจ�ำกัดด้านเงินทุน ฝึ กคิด ออกแบบ และสร้างสรรค์ปกหนังสือจากสิง่ ใกล ้ตัว โดย นกฮูกดีไซน์ (Nokhookdesign), เดินตลาดเช้าเพือ่ สัมผัสวิถชี วี ติ ของคนต่างจังหวัด เรียนรูว้ ธิ กี ารใช้วตั ถุดบิ จากธรรมชาติทอ่ี ยูใ่ นการด�ำเนินชีวติ ของผู ้คน และเดินทางไปฟัง การบรรยายโดย อ.จุลพร นันทพานิช รวมทัง้ น�ำเสนอผลงานการออกแบบ และแลกเปลีย่ น ความคิดเห็นร่วมกัน กับกิจกรรม What I have seen : ฉันเห็นอะไร โดย Rubber Killer (รับเบอร์ คิลเลอร์), เวิรก์ ช็อปสร้างสรรค์เนื้อหาเกีย่ วกับธุรกิจท้องถิน่ ในเชียงใหม่และค้นหา ความเป็นไปได้ใหม่ๆ ในการผลิตสือ่ สิง่ พิมพ์เพือ่ การจัดจ�ำหน่าย กับกิจกรรม Print Matters! by Rabbit Studio โดย Rabbithood Studio (แร็บบิตฮูด้ สตูดโิ อ) โดยผู ้สนใจสามารถดูรายละเอียด และสมัครเข้าร่วมเวิรก์ ช็อปโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ ได้ที่ TCDC เชียงใหม่ (รับจ�ำนวนจ�ำกัด) สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมได้ทีเ่ คาน์เตอร์ประชาสัมพันธ์ TCDC โทร. 0-5208-0500 ต่อ 1 เว็บไซต์ www.chiangmaidesignweek.com อีเ มล cmdsw@tcdc.or.th เฟซบุก๊ facebook.com/TCDCChiangMai ทวิตเตอร์ twitter.com/tcdc



1 20: B SIDE

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014


0 1 O G A S R ง

A ล ป แ E น Yรักไม่ยอมเปลี่ย eam าพ: HIP T เรื่อง: / ภ

เมือ่ HIP ครบ 10 ปีในฉบับทีแ่ ล้ว และขึน ้ ปีที่ 11 ในฉบับนี,้ นอกจาก เราจะมีเรื่องราวน่าสนใจมาน�ำเสนอกันเช่นเคยเหมือนทุกๆ ฉบับแล้ว ในปีนี้เราก็มี Special Contents มาฝากไว้ในอ้อมใจในโอกาสครบรอบนี้ เช่นกัน และเพื่อให้บรรยากาศอบอุ่นยิ่งขึ้น เราได้เชิญเพื่อนร่วมรุ่นที่เริ่ม ท�ำอะไรต่อมิอะไรในปี 2547 เช่นเดียวกันมาพูดคุยถึงการท�ำงานของพวกเขา และเธอ รวมทัง้ วิธกี ารประคับประคองสิง่ ทีร่ กั ความฝัน และหน้าทีร่ บั ผิดชอบ เหล่านัน ้ ให้รอดผ่านมรสุมทัง้ ร้อนฝนหนาวมาได้โดยไม่อบ ั ปางไปเสียก่อน รวมทั้งชักชวน HIP Team รุ่นแรกๆ มา Reunion กันอีกรอบ ด้วยการ ให้โจทย์ไปว่า ขอให้ชว่ ยเขียนถึงสิง่ ทีพ ่ วกเขาและเธอก�ำลังสนใจอยูใ่ นตอนนี้ ส่งมาให้หน่อยพร้อมภาพประกอบ ซึง่ แต่ละคนก็ให้ความร่วมมืออย่างแข็งขัน แม้จะก�ำลังวุ่นกับหน้าที่ในแต่ละบทบาทของแต่ละคนอยู่ก็ตาม และ อีกส่วนหนึ่งที่อยากน�ำเสนอในฐานะสื่อมวลชนที่เห็นความเปลี่ยนแปลง ของเชียงใหม่มาเป็นเวลาถึง 10 ปี เราก็อยากจะประมวลเหตุการณ์ น่าสนใจผ่านสายตา HIP มาบอกกล่าวเล่าให้ฟังเพื่อย้อนความทรงจ�ำ กันอีกครัง้ ว่าเชียงใหม่แบบ HIP HIP เมือ่ 10 ปีทแี่ ล้ว กับปัจจุบนั นีแ้ ตกต่าง กันมากน้อยเพียงไหนหนอ...


22: B SIDE

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014


เพื่อนร่วมรุ่น

ปริญญา ไพสิฐกุลวิวัฒน์ เจ้าของร้าน 22 Mini Cocktail Bar

- ผมชอบการท�ำงานศิลปะ แล ้วก็ชอบทีจ่ ะเป็ นบาร์เทนเดอร์ดว้ ย เพราะมีบางอย่าง ทีค่ ล ้ายกัน - ทีม่ าอยูเ่ ชียงใหม่เพราะว่าสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้ทน่ี ่ี พอได้มาอยูท่ น่ี ่แี ล ้วก็ชอบมาก บอกตัวเองว่าเราอยากอยู่ทน่ี ่แี หละ รูส้ กึ ว่าเมืองนี้เหมาะกับวิถชี วี ติ ของเราดี - ตอนเรียนปี 3 มีรุ่นพีท่ ส่ี นิทกันเปิ ดร้านอาหาร และเป็ นบาร์เหล ้าด้วย ผมก็เลย ไปช่วยงานตัง้ แต่วนั แรกที่รา้ นเปิ ด พอท�ำไปเรื่อยๆ ก็รูส้ กึ ว่าชอบชีวติ ที่ได้ทำ� งาน ทัง้ กลางวันและกลางคืน ฟังดูเหมือนน่าจะเหนื่อยนะ แต่เราท�ำจนคุน้ เคย เลยไม่เคย รูส้ กึ ว่ามันเหนือ่ ย กลายเป็ นว่ากลางวันก็ทำ� งานศิลปะ ท�ำงานในวิชาเรียน ตอนกลางคืน ก็ทำ� งานทีร่ า้ น - ความรูเ้ กีย่ วกับการท�ำค็อกเทลต่างๆ ผมศึกษาเรียนรูด้ ว้ ยตัวเอง ส่วนใหญ่กไ็ ด้จาก การอ่านหนังสือนี่แหละ ทุกวันนี้ยงั มีคนทีเ่ อาหนังสือเกี่ยวกับเรื่องค็อกเทลมาให้ผม อยู่เลย - ดืม่ ค็อกเทลให้พอดีๆ : ซัก 3 แก้วก็พอแล ้ว - เดีย๋ วนี้หลายคนเข้าใจว่าการเป็ นบาร์เทนเดอร์เป็ นความเท่ แต่ในความเป็ นจริง บาร์เทนเดอร์ไม่ได้มแี ค่การท�ำเครื่องดื่ม แต่ยงั มีเรื่องของความสัมพันธ์และการ ให้บริการลูกค้าด้วย เราต้องอ่านว่าลูกค้าทีเ่ ข้ามาว่าเป็ นยังไง เขาควรจะดืม่ อะไร ไม่ใช่ สักแต่วา่ ท�ำเครื่องดืม่ ให้เขาเมาแค่นนั้ - เหตุผลทีอ่ ยากมีรา้ นของตัวเอง ก็เพราะอยากได้รา้ นทีเ่ หมาะกับตัวเรา แล ้วทีผ่ า่ นมา เรายังไม่เจอร้านแบบนัน้ - เป้ าหมายตอนทีเ่ ริม่ ท�ำร้าน คืออยากได้ร้านแบบทีต่ วั เองชอบ และถ้ามีคนอืน่ ชอบด้วย ก็น่าจะดี - ตอนทีม่ าเจอทีต่ งั้ ร้านตรงนี้ ผมรูส้ กึ ว่าขนาดมันกะทัดรัดพอดี ไม่ลำ� บากส�ำหรับผม ทีจ่ ะดูแล พื้นทีม่ พี อให้จัดอีเวนท์จดั คอนเสิรต์ เล็กๆ ได้บ้าง แล ้วผู ้คนรอบข้างก็เป็นมิตร ก็เลยอยู่ตรงนี้มาตลอด - การทีร่ า้ นมีบคุ ลิกชัดเจน มันก็เป็ นสิง่ ทีช่ ่วยคัดกรองคนทีจ่ ะเข้ามาอย่างหนึ่งด้วย - ผมบอกคนที่มาที่รา้ นเสมอว่าไม่ตอ้ งมาที่น่ีทุกวันหรอก ถ้าอยากฟังดนตรีสด อยากไปเต้น อยากไปกินอะไรอร่อยๆ ก็ไปร้านอื่น แต่วนั ไหนอยากนัง่ ดื่มเงียบๆ อยากมานัง่ คุยกันก็ค่อยมาที่น่ี เพราะถ้าทุกๆ ร้านเหมือนกันหมด แข่งกันหมด มีอะไรเหมือนๆ กัน นัง่ ทีไ่ หนก็ได้ มันคงไม่มคี วามแตกต่าง ผมคิดว่าอยู่ทเ่ี ชียงใหม่ ต้องคิดต้องสร้างสรรค์ให้มคี วามต่าง ดีไม่ดคี ่อยปรับกันไป - เพราะเชียงใหม่มรี า้ นทีม่ คี วามแตกต่างกันนี่แหละ ถึงได้มเี สน่ห ์ และท�ำให้เมืองนี้ น่าอยู่ - หลักในการท�ำงานของผม : อดทน และท�ำให้ดที ส่ี ุด - สิ่งที่ผมประทับใจตลอดเวลาที่ทำ� ร้านก็คือ ผมมีโอกาสได้เชื่อมโยงให้คนอื่นๆ ได้รูจ้ กั กัน ตัวผมชอบมีเพือ่ นใหม่ๆ อยู่แล ้ว ทีน้ เี วลาเจอคนใหม่ๆ เราก็จะพยายาม ท�ำความรูจั้ กกับเขา แล ้วก็แนะน�ำให้เขาได้รูจ้ กั กับคนอืน่ ๆ ด้วย แล ้วพอเขาไปคุยกันต่อก็ กลายเป็ นเพือ่ นกันไปเอง หลายคนคิดว่าร้านเหลา้ ก็คือที่ท่มี ากินเหลา้ แต่กบั ที่น่ี มันมีมติ รภาพเกิดขึ้นจริงๆ

- เมือ่ เราดีกบั คนอืน่ คนอืน่ ก็จะดีกบั เรา - 10 ปีทผ่ี า่ นมา ผมพบว่าความสัมพันธ์ทจ่ี ริงใจต่อกันเป็นสิง่ ทีค่ นมักจะละเลย เมือ่ ก่อน ผมเปิ ดร้านก็คิดแค่ว่าให้มเี พือ่ นฝูงมาเทีย่ วก็พอแลว้ แต่พอโตขึ้นก็ได้เรียนรูอ้ ะไร มากขึ้น รูว้ า่ ต้องคิดให้กว้างกว่านัน้ ก็เลยพยายามทีจ่ ะแบ่งปันสิง่ ดีๆ ให้กบั คนอืน่ พยายามสนับสนุนน้องๆ ทีเ่ รารูจ้ กั ทีท่ ำ� อะไรคล ้ายๆ กัน เท่าทีส่ ามารถท�ำได้ พยายาม บอกพวกเขาว่าอย่าคิดแค่เรื่องท�ำมาหากิน มีอะไรช่วยเหลือกันได้ก็ช่วยเหลือกัน เขามีงานอะไรเราก็ไปร่วม ไปพบปะพูดคุยแลกเปลีย่ นทัศนะกัน ท�ำให้ดูเป็ นตัวอย่าง ไม่ได้คดิ ว่าคนอืน่ เป็ นคู่แข่ง จนถึงทุกวันนี้ เวลามีลูกค้าไปทีร่ า้ นคนอืน่ แล ้วบอกว่า อยากกินค็อกเทล พวกน้องๆ ก็จะแนะน�ำว่าให้มาที่รา้ นของผม ซึ่งก็เป็ นเรื่องที่ สวยงามนะ - คนเอารัดเอาเปรียบมันมีอยู่แล ้ว เป็ นเรื่องปกติ อย่างผมก็เคยท�ำงานแล ้วโดนโกง แต่เรื่องลบๆ พวกนี้ผมไม่ใส่ใจเลยนะ มันเปล่าประโยชน์ คิดแลว้ เปลืองสมอง ถ้ามัวแต่จำ� อะไรแบบนี้ ก็เหมือนเรากล่อมตัวเองให้คิดว่าจะท�ำอะไรแย่ๆ หรือเอาเปรียบ คนอืน่ บ้างก็ได้ - เรื่องแย่ๆ มันต้องเกิดขึ้นกับชีวติ ทุกคนอยู่แล ้ว ไม่งนั้ ก็ไม่มอี ะไรมาสอนเราสิ - มีน ้องคนหนึง่ บอกกับผมว่า ถ้าไม่มี 22 Bar เขาคงเรียนไม่จบ เพราะสังคมทีน่ ค่ี อยเตือน ให้เขาตัง้ ใจเรียน อย่าเหลวไหล จนทุกวันนี้เขากลายเป็ นหมอทีเ่ ก่งได้ ฟังดูเหลือเชื่อ ส�ำหรับร้านเหล ้าร้านหนึ่งนะว่าจะเกิดสังคมดีๆ แบบนี้ได้ แต่มนั เป็ นอย่างนัน้ จริงๆ - ไม่เคยคิดเลยว่าจะเปิดร้านไปถึงเมือ่ ไหร่ แค่รสึู ้ กว่าอยากท�ำร้านนี้ไปเรือ่ ยๆ ไม่เคยคิดว่า เมื่อไหร่จะหยุด ร้านกลายเป็ นส่วนหนึ่งของชีวติ ไปแลว้ ส่วนหนึ่งคงเป็ นเพราะ ผมชอบใช้ชีวติ ตอนกลางคืนด้วยมัง้ เป็ นคนนอนเร็วไม่เป็ นมาตัง้ แต่ ไหนแต่ ไร วันไหนนอนตีหนึ่งนี่ถอื ว่าเร็วมาก - ทุกวันนี้ผมยังคงท�ำค็อกเทลให้ลูกค้าเองทุกแก้ว เป็ นอย่างนี้มาตัง้ แต่เริม่ ท�ำร้านแล ้ว ได้ทำ� ค็อกเทลให้คนดื่มแลว้ มีการติชม ปรับโน่ นปรับนี่หน่ อยนี่เป็ นสิ่งที่ผมรู ส้ กึ ดีใจมากเลย

About HIM นับตัง้ แต่กลับจากไปท�ำงานอยูใ่ นเมืองหลวง และตัดสินใจเปิดร้านของตัวเองทีเ่ ชียงใหม่ ในปี 2547 ดี้ – ปริญญา โยกย้ายสถานทีต่ งั้ ร้านมาแล้วสองครัง้ ก่อนจะมาพบกับสถานทีซ่ งึ่ 22 Mini Cocktail Bar ตัง้ อยูใ่ นปัจจุบนั ทุกวันนีน้ อกจากจะอยูป่ ระจ�ำทีร่ า้ นเกือบทุกวัน (ยกเว้นวันพุธทีเ่ ป็นวันหยุดของร้าน) แล้ว เขายังวางแผนเอาไว้วา่ หลังจากเปิดร้านมายาวนานได้ ถึง 10 ปี เป้าหมายต่อจากนีข้ องเขาก็คอื อยากจะเสาะหาสถานทีส่ กั แห่ง เพือ่ ท�ำธุรกิจทีพ ่ กั ตามแบบ ทีเ่ ขาชอบดูบา้ ง

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014

B SIDE :23


เพื่อนร่วมรุ่น

วริยา ขัติพิบูลย์

ครูสอนการแสดง/นักแสดง

- จะเรียกว่าการได้เป็ นนักแสดงเป็ นความฝันมัย้ ก็คงไม่นะ เล่นละครเวทีมาตัง้ แต่ เด็กๆ แล ้ว ถ้าใครเคยเรียนจะรูว้ า่ เวลาเข้าคลาสสนุกมาก ไม่เหมือนเรียน และเรา ท�ำได้ดี เลยเป็ นสิง่ ทีท่ ำ� มาตลอด - การเรียนละครท�ำให้เรารูจ้ กั ตัวเอง ว่าชอบอะไร ไม่ชอบอะไร แล ้วก็ทำ� ให้เราเข้าใจ คนอื่นด้วย การเรียนละครเป็ นการเรียนรูม้ นุ ษย์นะ ท�ำให้เราใช้ชวี ติ บนโลกอย่าง มีความสุขขึ้น - ส่วนเล่นละครคือการเล่นเป็ นคนอื่น ท�ำให้เราเข้าใจและยอมรับการกระท�ำ ของคนอืน่ ได้ ว่าท�ำไมเขาถึงท�ำแบบนี้ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าเราจะรักคนทุกคน บนโลกนะ รับได้กไ็ ด้ รับไม่ได้กจ็ ะไม่ยุ่ง - ตอนเด็กๆ เราเคยอิจฉาคนที่ได้ทำ� งานที่รกั แลว้ ก็เลี้ยงชีพด้วยการท�ำสิ่งที่รกั ความคาดหวังของเราก็คงเป็ นอย่างนัน้ คือท�ำในสิง่ ทีต่ วั เองรัก และก็เลี้ยงชีพได้ดว้ ย - บางครัง้ ก็เคยถามตัวเองว่านี่เลือกถูกรึเปล่าวะ เราเป็ นคนท�ำอะไรเพราะเราอยากท�ำ เราเรียนปริญญาโท ก็ไม่ได้คิดว่าจะเอาไปท�ำอะไร รูแ้ ค่วา่ อยากเรียนละคร เขาเปิ ดสอน เราก็เรียน เล่นละครก็เพราะมีความสุข จะไม่ทำ� อะไรที่ตวั เองไม่ชอบ เคยคิดว่า ถ้าไปท�ำอย่างอื่นก็คงจะรวยกว่านี้ แต่ คงไม่มีความสุ ขมากเท่านี้ และทุกวันนี้ เราก็มเี งินใช้ปกติ - ส�ำหรับเราเงินไม่ใช่คำ� ตอบ ใช่เงินอาจจะซื้อได้ทกุ อย่าง แต่ว่าความสุขจากการ ได้ทำ� สิง่ ทีเ่ รารักจริงๆ บางทีเงินก็ซ้อื ไม่ได้ - อยู่กบั การแสดงละครมานานมาก จนกลายเป็ นส่วนหนึ่งของกันและกันไปแล ้ว - การเป็ นนักแสดงหรือการเป็ นครูสอนการแสดงนี่ ถ้าไม่มใี ครจ้าง ก็ไม่มเี งินเลยนะ - ท�ำไมเป็ นดัชชี่เกิรล์ แลว้ ไม่เข้าวงการบันเทิงน่ะเหรอ จุดเปลีย่ นเกิดขึ้นตอนเรียน ปริญญาโท เรารู ส้ กึ ว่าตัวเองอยากเป็ นครู สอนการแสดงมากกว่า และข้อจ�ำกัด ของการเป็ นดารามีค่อนข้างเยอะ ก็เลยเลือกไม่เข้าวงการ - คุณสมบัตขิ องคนเรียนละครคือคนทีเ่ ข้าใจคนอืน่ ถ้าเราจะเป็ นครูสอนการแสดง ก็อยากเป็ นครูแบบทีน่ กั เรียนกล ้าเข้าหา และพร้อมจะเรียนรูไ้ ปด้วยกัน - ความฝันของเราก็คงอยากมีสตูดโิ อเล็กๆ ของตัวเอง เปิ ดสอนเด็กทีอ่ ยากเล่นละคร คนละอย่างกับสอนให้เป็ นดารานะ - ให้บอกอะไรกับคนทีก่ ำ� ลังรูส้ กึ ท้อแท้กบั สิง่ ทีท่ ำ� เหรอ ถ้าเขารักสิง่ นัน้ เราคงไม่บอก อะไร แต่คงถามกลับไปว่ารักจริงๆ มัย้ ถ้ารักจริงต่อให้มเี หตุตอ้ งทิ้งไปในช่วงนึง แต่สุดท้ายเขาก็จะหาทางกลับมาท�ำต่อได้เอง - เราชอบเที่ยว ชอบออกเดินทาง ชอบเจออะไรที่ในชีวติ ประจ�ำวันเราไม่เคยเจอ เลยตัดสินใจไม่ยากทีจ่ ะต้องไปอยู่พม่า 6 เดือนเพือ่ แสดงละครเวที เพราะนอกจาก เล่นละครแล ้ว ก็เหมือนการย้ายสิง่ แวดล ้อม ได้เจอคนใหม่ๆ เปลีย่ นอาหารการกิน เจอวิถชี วี ติ แบบใหม่

24: B SIDE

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014

- การเดินทางกับเล่นละครเป็ นสองอย่างทีเ่ ราชอบมาก ถ้าต้องเลือกได้แค่อย่างเดียว ก็เคยถามตัวเองนะว่าจะเลือกอะไร เรานึกอยู่นาน แล ้วก็เลือกไม่ได้ แต่เราให้คำ� ตอบ ตัวเองได้ว่าเหตุผลที่เราชอบสองอย่างนี้เพราะอะไร ในการเล่นละครเหมือนกับ การที่เราได้ลองเป็ นคนอื่นที่ไม่ใช่เรา แต่การเดินทางคือการได้ไปเที่ยวในที่อ่นื ๆ การเล่นละครเหมือนการไปเทีย่ วโดยผ่านจิตใจ ใช้ความรูส้ กึ ไปเทีย่ วผ่านการเป็ นคนอืน่ แต่การเดินทางคือใช้ร่างกายของเราไปเทีย่ ว และใช้สายตาเรามองเห็น การมาท�ำงาน ทีพ่ กุ าม ท�ำให้เราได้ใช้ความชอบทัง้ สองอย่าง ได้เทีย่ วทัง้ ร่างกาย และได้ใช้จิตใจเทีย่ วด้วย - พอท�ำงานมานานๆ การได้งานเป็ นผลมาจากงานทีเ่ คยท�ำมากกว่า ถ้าเขาชอบงานเรา เขาก็จะไปบอกต่อกันเอง ปากต่อปาก ถ้าเราท�ำดีก็มงี าน ถ้าเราห่วยก็ไม่มคี นจ้าง ก็เท่านัน้ ล่ะ - เราไม่เคยเบือ่ ทีเ่ ล่นละคร ไม่เคยรูส้ กึ เหนื่อยจังทีจ่ ะไปซ้อม เราตืน่ เต้นกับสิง่ ทีเ่ ราท�ำ ทุกๆ วัน - ไม่คาดหวังว่าตัวเองจะได้บทเด่น แต่คาดหวังว่าจะได้บทที่ดี มีความท้าทาย ถ้ายิง่ ได้บทยาก ต้องตีความ ได้ใช้ความสามารถ ก็น่าจะสนุก และเป็ นเรื่องดีนะ - ถึงในอนาคตเราจะไปท�ำอย่างอืน่ แต่ไม่จำ� เป็ นต้องเลิกเล่นละครนี่ - ต่อให้ได้เล่นบทตัวเล็กตัวน้อยที่ไม่มบี ทบาทอะไรเลย เราก็จะต้องหาโมเม้นต์ ทีจ่ ะเอ็นจอยกับมันให้ได้ สมมุตวิ า่ จะต้องเล่นเป็ นแม่คา้ เราก็ตอ้ งหากิมมิคให้ตวั เอง ว่าจะเป็ นแม่คา้ แรด หรือจะเป็ นแม่คา้ ขี้งก ซึง่ เราสนุกกับการหามุมเหล่านัน้ มาท�ำให้ บทของตัวเองน่าสนใจ - การเล่นละครได้ดี ส่วนหนึ่งก็คงเป็ นเรือ่ งของพรสวรรค์ ครูทเ่ี คยสอนเราตอนเรียน ปริญญาโทบอกไว้ว่า คนที่สามารถเล่นละครได้ดีจะต้องมีคุณสมบัติ 4 อย่าง คือต้องเป็ นคนเปิ ดเผย เป็ นคนจริงใจ เป็ นคนเซ้นซิทฟี และเป็ นคนซือ่ สัตย์กบั ตัวเอง พอเราได้ฟงั แล ้วก็ออ๋ … มิน่าล่ะเราถึงเล่นละครได้ดี เพราะนี่คอื บุคลิกของเรา About HER ตุย้ - วริยา ขัตพ ิ บิ ลู ย์ เรียนจบปริญญาตรี วิชาเอกศิลปะไทย วิชาโทการละคร คณะวิจติ รศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เข้าประกวดดัชชีเ่ กิรล์ และได้ตำ� แหน่งในปี 2006 เคยขึน้ ปกเป็นนางแบบ HIP ในฉบับที่ 4 จากนัน้ ตุย้ ไปเรียนต่อปริญญาโทด้านการละคร ทีจ่ ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระหว่างนัน้ เธอยังคงด�ำรงต�ำแหน่งดัชชีเ่ กิรล์ ไปด้วย พร้อมทัง้ ท�ำงานในวงการบังเทิง แต่ดว้ ยความรัก ในการแสดงมากกว่าจะเป็นดารา และอยากเป็นครูสอนการแสดง เธอจึงหันมาเอาดีทางการเป็น แอคติง้ โค้ชไปพร้อมกับรับงานแสดงละครเวที ผลงานล่าสุดของเธอคือแสดงละครเวทีฟอร์มยักษ์ เรือ่ งแม่เบีย้ และด้วยความสามารถทางการแสดงของเธอ ท�ำให้ตย้ ุ ได้รบั บทน�ำเป็นราชินผ ี เ้ ู ลอโฉม ในโชว์ Dandaree MYANMAR’S Most STUNNING SHOW การแสดงโชว์ ณ พระราชวัง BAGAN GOLDEN PALACE เมืองพุกาม ประเทศพม่า ซึง่ ก�ำลังจะเปิด การแสดงในเดือนพฤศจิกายนนี้ โอกาสครัง้ นีท้ ำ� ให้ตยุ้ ต้องไปเก็บตัวเพือ่ ฝึกซ้อมอยูท่ พ ี่ ม่า ถึง 6 เดือนเต็ม


ภาพ: วริยา ขัติพิบูลย์

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014

B SIDE :25


26: B SIDE

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014


เพื่อนร่วมรุ่น

จักรา ชินพงษ์ และ เจษฎา หิรัญรังสฤษดิ์ เจ้าของร้าน Cafe De Nimman

- ตัดสินใจเปิ ดร้านของตัวเองด้วยความรูส้ กึ ว่าเริม่ อิม่ ตัวกับงานประจ�ำ อยากหาจุดพัก ให้กับตัวเอง เป็ นโมเม้นต์ทต่ี อ้ งคิดถึงอนาคตแล ้วล่ะว่าเราจะแก่ไปกับงานประจ�ำ หรือ จะออกมาท�ำอะไรทีเ่ ราชอบ - การเริม่ ต้นท�ำอะไรใหม่ๆ ขึน้ มาสักอย่าง เวลา จังหวะ และโอกาสทีพ่ อดีกนั คือสิง่ ส�ำคัญ - ไม่เคยคิดว่าจะท�ำร้านไปยาวนานขนาดไหน แต่คดิ อยูเ่ สมอว่าต้องท�ำให้ดีทส่ี ดุ เท่าทีเ่ รา จะท�ำได้ เพราะนี่เป็ นอาชีพหลักอาชีพเดียวของเรา - ใช้เวลาประมาณ 22 วัน ในการตกแต่งและตระเตรียมร้านขึ้นมาจากห้องเปล่าๆ จนกลายเป็ น Cafe de Nimman ร้านแรก ริมถนนนิมมานเหมินท์ - ไม่คาดหวังว่าจะต้องประสบความส�ำเร็จ ท�ำเพราะความชอบ ท�ำเพราะอยากจะท�ำ คิดแค่วา่ อยากท�ำร้านอาหารทีท่ กุ คนมากินได้ แค่นนั้ ล่ะ - ออกจากงานประจ�ำมาท�ำร้านตัวเอง ถามว่ากลัวมัย้ ก็กลัวนะ แต่ตดั สินใจว่าจะสู ้แล ้ว ก็ตอ้ งลองดูสกั ตัง้ - แต่ละวันของการท�ำร้านอาหารมีปญั หาเข้ามาตลอดล่ะ แต่ปญั หาใหญ่ทส่ี ุดก็คือ เรื่องบริหารจัดการพนักงานในร้านมากกว่า - คิดว่าร้านอยูม่ านานขนาดนี้กด็ ้วยมิตรภาพทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างเรากับลูกค้า เรากับลูกน้อง ถือว่าเป็ นความโชคดีทเ่ี รามีคนเอ็นดู และช่วยเหลืออยู่เสมอ - ตอนต้องย้ายร้านจากทีเ่ ดิมมาอยูท่ น่ี ่ี ปิดร้านไป 10 วัน เป็ นช่วงทีข่ าดรายได้ แต่เราก็ เลือกจ่ายเงินลูกน้องเต็มจ�ำนวน ร้านขาดรายได้เราอยู่ได้ แต่ถา้ ลูกน้องขาดรายได้ แล ้วเขาจะอยู่ยงั ไง - ดีทท่ี งั้ โก้และแหม่มมีสไตล์การท�ำงานต่างกัน คนนึงช้า คนนึงเร็ว ท�ำให้การท�ำงาน ของเราเหมือนเติมเต็มในส่วนทีข่ าดของแต่ละคน - เป็ นสามีภรรยา และต้องท�ำงานด้วยกันก็ตอ้ งมีทะเลาะกันบ้าง แต่แป๊ บเดียวหาย เพราะด้วยวุฒิภาวะที่ก็เป็ นผูใ้ หญ่กนั แลว้ จะมางอ้ งแงง้ เหมือนวัยรุ่นก็คงไม่ได้ สุดท้ายก็ตอ้ งหันหน้าคุยกันอยู่ด ี - สิง่ ทีด่ ที ส่ี ุดทีเ่ กิดขึ้นในการท�ำร้านนี้กค็ อื ได้เพือ่ น รูส้ กึ โชคดีทม่ี คี นเอ็นดูอยู่ตลอด มีมติ รภาพเกิดขึ้นอยู่เสมอ ลูกค้าบางคนมาบ่อยจนกลายเป็ นเพือ่ นกันไปเลยก็มี - การทีร่ า้ นอยู่มาได้นานขนาดนี้ ก็คงเป็ นเพราะว่าเราโชคดีทท่ี ำ� อาหารรสชาติถกู ปาก คนส่วนใหญ่ - ถ้าจะเปลีย่ นรสชาติอาหารตามคอมเม้นต์อยู่ตลอดอาจจะไม่ใช่สง่ิ ทีด่ ี เราต้องรักษา มาตรฐานของตัวเองไว้ แต่กจ็ ะหมันเทสต์ ่ รสชาติอยู่ตลอดเหมือนกัน - ส�ำหรับแหม่มจะบอกโก้อยู่เสมอว่า ของในร้านเปลีย่ นอะไรก็เปลีย่ นได้ แต่หา้ ม เปลีย่ นยี่หอ้ เครื่องปรุงทีฉ่ นั สัง่ ถ้าเครื่องปรุงรสไม่เหมือนเดิมก็จะส่งผลให้รสชาติ อาหารเปลีย่ นด้วย - คุณภาพต้องมาเป็ นอันดับหนึ่ง ถ้าลูกค้าคอมเพลนมาจะรีบไปดูในครัวก่อนเลยว่า ผิดพลาดทีต่ รงไหน - ส�ำหรับร้านเราจะไม่ถอื ลูกค้าเป็ นพระเจ้า คิดว่าลูกค้าเป็ นเพือ่ นมากกว่า มีอะไร อยากให้คุยกันได้ ไม่วา่ จะติหรือชม - ร้านนี้จะไม่อนุญาติให้ลูกค้าโกรธออกไปจากร้าน สมมุตโิ กรธสองร้อยเปอร์เซ็นต์ ก็จะพยายามท�ำทุกวิถที างเพือ่ ให้เขาลดความโกรธลงให้เหลือน้อยทีส่ ุด

- การพูดคุยแบบเข้าหาลูกค้าด้วยตัวเอง ถ้าเขาไม่พอใจอะไร เราต้องขอโทษก่อนเลย จะไม่เถียงกับลูกค้า รับฟังเขา แล ้วก็แก้ปญั หาให้เขาพอใจมากทีส่ ุด - ช่วงไหนคนเงียบก็ได้คนจีนนี่ละ่ มาช่วยอุดหนุน โชคดีทล่ี ูกค้าคนจีนทีม่ าร้านเรา จะเป็ นคนจีนรุ่ นใหม่ ไม่ค่อยรุ งรัง อาจจะเพราะว่าเราดู แลสถานที่ให้สะอาด เป็ นระเบียบ เขาก็เลยเหมือนปรับตัวตามสภาพแวดล ้อม - สิง่ ทีท่ ำ� ให้เรารูส้ กึ แย่ตอนย้ายร้านคือเสียงกบ นัง่ ท�ำร้านอยูก่ บั ช่างถึงประมาณสองทุม่ เสียงกบดังชัดมาก อ๊อบแอ๊บๆ ก็คดิ ในใจว่าลูกค้าจะมามัย้ ไกลผูค้ นขนาดนี้ แต่พอ เปิ ดร้านลูกค้าก็ยงั ตามมากินอยู่เหมือนเดิม - การบริหารคนของร้านนี้คอื เราฟังเขา เขาฟังเรา บางทีลกู น้องก็อาจจะมีอะไรอยากแนะน�ำ เราก็ได้ ถ้าเราไม่ฟงั เขาเลย เขาก็คงไม่แฮปปี้ ทจ่ี ะอยู่กบั เรา - พนักงานเสิรฟ์ ทีน่ ่จี ะใช้นกั ศึกษาเป็ นพาร์ทไทม์หมด อย่างน้อยเขาก็จะได้มคี ่าขนม ค่าใช้จ่ายระหว่างเรียน ก็ค่อยๆ หัดให้เขาเรียนรูก้ ารท�ำงานไป อาจจะมีผดิ พลาดบ้าง แต่กไ็ ม่ได้ซเี รียสมากขนาดนัน้ - เวลามีปญั หาเกิดขึ้นจะปลอบใจตัวเองว่าเดีย๋ วมันก็ผา่ นไป All Things Must Pass ทุกปัญหามีทางออกของมันอยู่ - ท�ำ ร้า นอาหารมานาน 10 ปี แหม่ ม รู ส้ ึก ว่ า ตัว เองใจเย็ น ขึ้น นะ นี่ ล่ ะ มัง้ คือความเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึ้นกับตัวเอง - ถ้าให้บอกอะไรกับตัวเองเมือ่ 10 ปีทแ่ี ล ้วคงไม่กลับไปบอกอะไรนะ แต่อยากไปยืนรอ อยู่ขา้ งหน้าในอีก 10 ปี ปรบมือให้ตวั เองว่าเก่งจังเลยมาได้ถงึ ขนาดนี้ - อย่ากลัวทีจ่ ะลองผิดลองถูก และอย่าท้อในการลอง ถ้าคิดว่าสิง่ ทีเ่ ราจะท�ำมันดีทส่ี ดุ แล ้ว ก็ให้ทำ � ถ้ามันผิดก็ถอื ว่าได้ลองแล ้ว ท�ำไปเรื่อยๆ เดีย๋ วก็จะเจอสิง่ ทีถ่ กู เอง - ไม่เคยคิดว่าจะหยุดท�ำร้านเลยนะ เพราะก่อนจะท�ำคิดเป็ นอย่างดีแลว้ ว่าจะท�ำ ฉะนัน้ จะไม่มคี ำ� ว่าล ้ม - ค�ำแนะน�ำส�ำหรับคนทีอ่ ยากท�ำอะไรให้ได้ยาวนาน ก็คงต้องให้เขาถามตัวเองว่า เขารักอะไร อยากท�ำอะไร ถ้าได้ท�ำในสิง่ ทีช่ อบก็จะต่อยอดไปได้ แต่ถ ้าต้องฝื นท�ำในสิง่ ที่ ไม่มคี วามสุข ก็หยุดเถอะ - มิตรภาพเกิดขึ้นทุกวินาที ทุกครัง้ ทีเ่ ช็คบิล เวลามีปญั หาลูกค้าไม่เคยทอดทิ้งเราเลย นี่ละ่ คือน�ำ้ หล่อเลี้ยงจิตใจทีด่ มี าก - จะท�ำอะไรก็ตามอย่าพยายามเป็ นคนอืน่ ถึงเราจะเปลีย่ นไปแต่งตัวเหมือนคนอืน่ เขาอาจจะสวย เราอยากเป็ นแบบนัน้ แต่เราก็เดินไม่ถนัด เยื้องย่างไปไหนก็ดูขดั เขิน สุดท้ายก็ตอ้ งถอดทิ้งกลับมาใส่เสื้อผ้าตามสไตล์เราอยู่ดี ถ้าเราชัดเจนในตัวเอง เดีย๋ วก็จะมีคนทีช่ อบอะไรเหมือนๆ กับเราเข้ามาหาเอง About THEM โก้ - จักรา ชินพงษ์ และ แหม่ม - เจษฎา หิรญ ั รังสฤษดิ์ สองสามีภรรยาอารมณ์ดี ทัง้ คู่ ตัดสินใจออกจากงานประจ�ำเพือ่ มาปลุกปัน้ ร้าน Cafe De Nimman ริมถนนนิมมานเหมินท์ เมือ่ 10 ปีทแี่ ล้วตัง้ แต่ยา่ นนีย้ งั ไม่บมู ด้วยประสบการณ์ดา้ นร้านอาหาร บวกกับความชอบ ท�ำอาหาร เมนูทุกจานของร้านจึงได้รับความใส่ใจทั้งเรื่องรสชาติ และมิตรภาพ

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014

B SIDE :27


เพื่อนร่วมรุ่น

ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล ผู้ก�ำกับภาพยนตร์

- เราโตมาในยุคของการเปลีย่ นแปลงจากฟิ ลม์ มาเป็ นดิจติ อลพอดี เริ่มท�ำหนังตัง้ แต่ เรียนปี 2 พัฒนาจากการท�ำหนังรับน้อง ท�ำเอ็มวี ไปสู่การท�ำหนังสัน้ เข้าประกวด - หนังเปลีย่ นชีวติ เราตอนไหนรูม้ ยั้ เปลีย่ นตรงทีพ่ อเห็นคนดูหวั เราะ ร้องไห้ ไปกับหนัง ของเรา สามารถท�ำให้คนเป็ นร้อยเป็ นพันมีอารมณ์ร่วมไปกับสิง่ ทีเ่ ราท�ำ ก็รูส้ กึ ว่านี่ เป็ นอาชีพทีเ่ ราท�ำแล ้วมีความสุข - หนังจะสมบูรณ์ได้ก็เพราะมีคนดู ณ โมเม้นต์ทเ่ี ขาเอ็นจอยกับการดูหนังของเรา นัน่ ล่ะคือความส�ำเร็จของคนท�ำหนังแล ้ว - เริม่ ท�ำหนังแบบสตูดโิ อกับโปรเจ็คท์ยกั ษ์เล็ก ด้วยการชักชวนของพีป่ รัช (ปรัชญา ปิ่นแก้ว) เป็ นโปรเจ็คท์ทใ่ี ห้ทุนคนท�ำหนังสัน้ ได้มาลองท�ำหนังโปรดัคท์ชนั ่ ใหญ่ๆ ตอนนัน้ ได้ทนุ ท�ำหนังเรื่องแรกมา 5 ล ้าน - ท�ำหนังเรื่องแรกก็ไม่ได้คิดอะไรมากนะ คิดแค่ว่าจะท�ำเรื่องอะไรดี ที่ทำ� ให้คน เอ็นเตอร์เทนด้วย ใช้เงินไม่เยอะ สุดท้ายก็มาจบทีห่ นังผี (ภาพยนตร์เรือ่ ง คน ผี ปี ศาจ) - ผู ้ก�ำกับหลายๆ คนในวงการ ไม่วา่ จะเป็ นปีเตอร์ แจ็คสัน (Peter Jackson) หรือจะเป็น แซม ไรมี (Sam Raimi) ทุกคนเกิดมาจากการท�ำหนังสัน้ ทุนต�ำ่ กันทัง้ นัน้ - พี่ปรัชบอกเราว่าท�ำหนังเหมือนพาคนไปสวนสนุ ก จะท�ำยังไงให้คนไปโรงหนัง ไปดูหนัง จ่ายเงิน มีค่าเท่ากับเขาซื้อตัวขึ ๋ ้นไปเล่นเครื่องเล่น โรงหนังมัลติเพล็กซ์ เหมือนสวนสนุ กที่มีเครื่องเล่นหลากหลาย หนังฮอลลีวูด้ ระดับบล็อกบัสเตอร์ (Blockbuster) ก็เหมือนรถไฟเหาะ หวาดเสียวตืน่ เต้น ทุนสร้างเยอะ แล ้วความสนุก แบบไหนล่ะทีท่ นุ สร้างน้อย แต่สนุกสนานตืน่ เต้นพอกัน ก็คอื บ้านผีสงิ ผู ้ก�ำกับหน้าใหม่ ส่วนมากเขาก็ให้ทนุ สร้างบ้านผีสงิ ก่อนทัง้ นัน้ แหละ ก่อนจะไปสร้างรถไฟเหาะ - หนังของผมค่อนข้างเกี่ยวข้องกับคน เพราะคนมีความเป็ นปัจเจก มีความซับซ้อน อย่างตอนนี้สนใจเกี่ยวกับเรื่องคนฆ่าตัวตาย ในแง่ของคนรอบข้างที่ยงั มีชีวติ อยู่ มากกว่า เรื่องทีว่ า่ ท�ำไมคนนัน้ ถึงฆ่าตัวตาย - ท�ำหนังได้หมดทุกแบบ ไม่เคยมีหนังอะไรทีไ่ ม่คดิ ท�ำ หรือไม่อยากท�ำ มีแต่ถนัด กับไม่ค่อยถนัด - หนังมีพลังในการ Inception มีพลังในการเปลีย่ นความคิดคน เป็ นเรือ่ งของความเชือ่ ต่อสิง่ ต่างๆ ทีเ่ กิดขึ้น ท�ำให้เราคล ้อยตามไปโดยทีเ่ ราเองก็ไม่รูต้ วั - เรื่องรักแห่งสยามนี่เห็นชัดว่าเปลีย่ นแปลงสังคม เกิดความเคลือ่ นไหวในสังคม เรื่องความรักในครอบครัว เรื่องเกย์ในวัยรุ่น ท�ำให้คนเหล่านี้กลา้ แสดงตัวออกมา พ่อแม่กต็ อ้ งเริ่มมาคิดแล ้วว่า เฮ้ย…ถ้าลูกเราเป็ นเกย์แล ้วเราจะเกลียดมันเหรอ - ท�ำงานมายาวนานถึงจุดนี้ในแง่ของวิธกี ารท�ำงานก็คงจะเข้มข้น คงความสมบูรณ์แบบ ไว้เหมือนเดิม แต่ตอนนี้ประนีประนอมมากขึ้น เข้าใจสังคมมากขึ้น แต่อดุ มการณ์ ก็ยงั อยู่ - ช่วงทีพ่ อ่ ป่ วย และต้องกลับมาดูแลครอบครัว ก็พยายามหาลูท่ างเพือ่ ทีจ่ ะกลับมา อยู่เชียงใหม่ ก็เลยลาออกจากบาแรมยู แล ้วก็ตงั้ ค�ำม่วนสตูดโิ อขึ้นมา - เวลาทีเ่ ราก�ำลังจะสูญเสียคนส�ำคัญไป ก็เป็ นจุดเปลีย่ นในชีวติ ทีส่ ำ� คัญ ท�ำให้เรา เปลีย่ นความสนใจในเนื้อหาหนัง กลับมาเล่าน้อยๆ ตรงประเด็น และกระแทกใจ จนกลายมาเป็ นเรื่อง Home และเกรียนฟิ กชัน่ ในเวลาต่อมา - งานของเราช่วงก่อนๆ จะสนใจเรื่องในวงกว้างนะ อย่างรักแห่งสยาม ก็มแี นวคิด ทางสังคม ทางการเมืองอยูใ่ นนัน้ ตัง้ แต่เรือ่ งโฮมและเกรียนฟิ กชัน่ เป็ นต้นมา เริม่ มอง ความเป็ นปัจเจก พยายามเข้าใจตัวเอง เข้าใจคนรอบข้าง - ตอนแรกเปิ ดค�ำม่วนสตูดโิ อมาเพือ่ ดูแลวงออกัส ตอนนี้กไ็ ม่มวี งแล ้ว ก็เหลือแค่ พิชญ์ (โพธิ์คณั ธา) ก็ดูแลต่อ แล ้วก็มวี งเสือโคร่งทีเ่ ราดูแลมาตัง้ แต่นอ้ งอยู่ ม.4 ตอนนี้ น้องก็เข้ามหาวิทยาลัยกันแล ้ว 28: B SIDE

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014

- เรื่องงานเพลงวางแผนไว้วา่ อยากท�ำออกมาน้อยๆ แต่โดน สร้างกระแสให้อยู่ยาวๆ มากกว่า จะท�ำ อัล บัม้ ออกมา เพราะธรรมชาติข องคนในยุ ค นี้ เ ขาฟัง ทีล ะเพลง พฤติกรรมผูบ้ ริโภคเปลีย่ น เราก็ตอ้ งปรับตาม - ตัง้ แต่เรียนจบมาอายุ 23-24 ตอนนี้อายุ 33-34 ช่วงชีวติ นี้คอื การเป็น Player ต้องท�ำงาน ต้องเหนื่อย เป็ นช่วงเวลาทีค่ นมีศกั ยภาพในการท�ำงานสูงมากๆ และเราก็ยงั อยากจะ ท�ำงานนี้อยู่ - ถ้าถามว่าอยากจะท�ำอะไร ตอบกันหน้าด้านๆ เลยว่า ใครๆ ก็อยากอยูเ่ ฉยๆ แล ้วรวย แต่คงเป็ นไปไม่ได้ จริงๆ คนเรามีอะไรทีต่ อ้ งการ Archive มากกว่าการรวยรึเปล่า โอเคเราอาจจะอยูบ่ ้านเฉยๆ รวยก็ได้ แต่เราอาจจะไม่ได้สร้างผลงานทีค่ นทัง้ โลกจดจ�ำ ไม่ได้เคยมีงานทีเ่ ปลีย่ นแปลงชีวติ คน ถ้าคุณเป็ นศิลปิ นคุณวาดรูปก็อยากให้คนเห็น คุณร้องเพลงก็อยากให้มีคนฟังใช่มยั้ คุณเกิดมาเพือ่ ท�ำหนังก็อยากให้มีคนดู ซึง่ อันนี้ เป็นความแตกต่างกับการท�ำอะไรแล ้วรวย มันเป็น Soul Food เป็นอาหารทางจิตวิญญาณ - การทีผ่ ลงานของเราส่งผลกระทบต่อคนอีกจ�ำนวนมาก ท�ำให้เขาเปลีย่ นแปลงตัวเอง เปลีย่ นแปลงชีวติ เปลีย่ นแปลงครอบครัว สิง่ เหล่านี้ละ่ ทีท่ ำ� ให้เราอยากท�ำหนังต่อไปเรือ่ ยๆ - เราจะไม่ปล่อยให้คำ� วิพากษ์วจิ ารณ์มาท�ำให้ทอ้ ถอย เพราะคนเหล่านัน้ เขาก็ไม่ได้ ท�ำอะไรนี่ ก็แค่พมิ พ์อยูห่ น้าคอม แต่เราต้องรับผิดชอบคนอีกตัง้ มากมาย รับผิดชอบเงิน จ�ำนวนมหาศาลทีเ่ ขาไว้วางใจให้เรามาท�ำงาน - เราเป็นคนมองโลกในแง่ดนี ะ ฉะนัน้ เวลาท�ำงานออกไปแล ้วอาจจะมีคนด่าเรามากมาย แต่เอ๊ะ...คนกดไลค์กม็ ตี งั้ เยอะนี่ แสดงว่ามีคนชอบงานเราเหมือนกัน เพียงแต่เขาไม่ได้ พูดออกมา - การจะท�ำอะไรให้สำ� เร็จต้องอดทน เพราะสิง่ ต่างๆ ไม่ได้เกิดขึ้นภายในชัว่ ข้ามคืน ต้องใช้ความวิรยิ ะอุตสาหะในการสร้าง ในการกล่อมเกลา ทุกวันนี้จะคิดฝันมันง่าย แต่ถ ้าลงมือท�ำแล ้วถึงจะรูว้ า่ มีอปุ สรรค มีข ้อจ�ำกัดมากมาย ถ้ายอมแพ้ก็แสดงว่าห่วยไง แต่อยากท�ำต่อมัย้ ล่ะ ถ้าอยากท�ำก็ตอ้ งหาวิธที จ่ี ะท�ำออกมาให้จงได้ - ในชีวติ การท�ำงานนี่โดนเรื่องดราม่าอยู่ตลอด แต่ เรามองว่าเป็ นเรื่องไร้สาระ ถ้าไปใส่ใจก็บนั ่ ทอนชีวติ แลว้ คนสมัยนี้จะเชื่อไปก่อนเลยว่าเป็ นอย่างนัน้ อย่างนี้ ฉะนัน้ เวลาน�ำ้ เชี่ยวอย่าเอาเรือไปขวาง ก็มองเป็ นเรื่องบันเทิงไป - ความชัดเจนในตัวเรา คือสิง่ ทีย่ ดึ ถือมาตลอด ถ้าอยากท�ำแก้วทรงนี้กต็ อ้ งท�ำให้ได้ แก้วทรงนี้ จะบอกว่าศิลปะไม่มผี ดิ ไม่มถี กู ก็ไม่ใช่นะ ศิลปะก็มผี ดิ มีถกู คุณอยากจะ วาดเสือแต่คนมองเป็ นหมาก็ผดิ วัตถุประสงค์ - ท�ำธุรกิจให้อยู่รอดต้องมองให้ออกว่าลูกค้าเราเป็ นใคร มาจากไหน แล ้วค่อยมอง การลงทุนในกลุม่ เป้ าหมายของเราว่าคุม้ ค่ามัย้ ลงทุนเท่าไหร่ถงึ จะไม่เจ็บตัว ท�ำไปก่อน ให้ได้กำ� ไร แล ้วค่อยสร้างลูกค้ากลุม่ ใหม่ๆ อย่างเพลงค่ายเราอยูใ่ นชาร์ทเงียบๆ แต่ก็ อยูต่ ลอด ไปกินเอ็มเคก็ยงั ได้ยินเพลงเสือโคร่ง ในผับทุกผับก็ยงั เปิด ฉะนัน้ ค�ำม่วนสตูดโิ อ จะเน้นท�ำน้อยๆ แต่อยู่นานๆ About HIM มะเดี่ยว - ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล จบปริญญาตรีจากภาควิชาภาพยนตร์และภาพนิ่ง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เริ่มท�ำงานในฐานะผู้ก�ำกับหนังแบบสตูดิโอ จากเรือ่ ง คน ผี ปีศาจ ทีอ่ อกฉายในปี 2547 จากนัน้ รับก�ำกับทัง้ ภาพยนตร์, มิวสิควิดโี อ, ละคร, แต่งเพลง, เขียนบท ฯลฯ ย้ายกลับมาอยู่เชียงใหม่เนื่องจากต้องกลับมาดูแล ครอบครัว และตั้งค�ำม่วนสตูดิโอขึ้นมา ตอนนี้ก�ำลังถ่ายท�ำซีรีย์เรื่อง เกรียน เฮ้าส์ ซึ่งเป็นภาคต่อของภาพยนตร์เรื่องเกรียนฟิกชั่น ออกฉายเวลา 20:50 – 21:45 น. ทางโมเดิร์น ไนน์ ทีวี และในเดือนนี้มีภาพยนตร์เรื่อง The Eyes Diary : คนเห็นผี ผลงานล่าสุดที่ถือเป็นการกลับมาก�ำกับหนังผีอีกครั้งในรอบ 10 ปี


HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014

B SIDE :29


ภาพ: Frontage Music Label

30: B SIDE

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014


เพื่อนร่วมรุ่น

อภิวัฒน์ พงษ์วาท

นักร้องน�ำ-มือกลอง วง ETC. - ข้อดีของการเป็ นศิลปิ นมา 10 ปี : ไม่ตอ้ งแกะเพลงของคนอืน่ เยอะ กับเล่นเพลง ตัวเองแล ้วรูส้ กึ ดี - เมื่อก่อนตอนที่ยงั เล่นดนตรีกลางคืน ได้ยนิ ชื่อเสียงของ ETC. มาเยอะมาก รูว้ า่ พวกเขาเป็ นคนรุ่นราวคราวเดียวกัน ประกวดมาแล ้วหลายเวที แล ้วก็ฝีมอื ดีมาก - เรื่องทีห่ ลายคนไม่รู ้ : ผมสนิทกับโซ่ (แมนลักษณ์ ทุมกานนท์) ก่อน เพราะว่า เล่นดนตรีแจ็ซซ์ดว้ ยกัน กับจริงๆ แล ้วตอนที่ ETC. มาชวนให้ไปร่วมวง พวกเขา อยากให้ผมไปเป็ นนักร้อง แต่ว่าผมปฏิเสธ พอตอนหลังพวกเขากลับมาชวนใหม่ บอกว่าจะให้เป็ นมือกลอง ผมถึงตกลงเข้าวงด้วย - เป็ นสมาชิกใหม่ตอ้ งปรับตัวมากไหม? คงเพราะเป็ นคนเหนือเหมือนๆ กัน ก็เลย คุยกันง่าย - ทุกวันนี้ความสัมพันธ์ของคนในวงก็ยงั เหมือนเดิม ทีเ่ ปลีย่ นก็แค่ไม่ได้อยู่ดว้ ยกัน เหมือนแต่ก่อนเท่านัน้ อย่างตอนแต่ละคนหาบ้านก็ยงั เลือกอยูไ่ ม่ไกลกันเท่าไหร่ เวลา ไปท�ำงานจะได้ไปด้วยกันง่ายๆ - เวลาท�ำงานกับคนไฟแรง ขยัน ท�ำอะไรก็สนุกไปหมด - ประสบการณ์ทไ่ี ด้จากการเล่นดนตรีกลางคืนในร้านทีม่ ลี ูกค้าเยอะๆ ท�ำให้เรารูว้ า่ เพลงแบบไหนทีค่ นฟังจะรูส้ กึ สนุกและมีอารมณ์รว่ ม ซึง่ ประสบการณ์ตรงนี้เป็ นสิง่ ทีผ่ ม เอามาแชร์กบั เพือ่ นๆ แลว้ ค่อยๆ ปรับจนท�ำให้วงเปลีย่ นจากเดิมทีเ่ น้นเล่นดนตรี โชว์ฝีมอื อย่างเดียว มาเป็ นวงทีเ่ ล่นเพลงให้คนจ�ำนวนมากรูส้ กึ สนุกได้ดว้ ย - ตอนท�ำงานเพลงชุดแรกก็ลงมาอยู่ทก่ี รุงเทพฯ ทุกคนอยู่บา้ นหลังเดียวกัน บ้านก็ รกๆ หน่อยตามประสาวัยรุน่ ห้องหนึง่ ก็นอนกันสองสามคน แต่ไม่มใี ครคิดว่าล�ำบากอะไร ก็อยู่กนั จนบ้านพังไปเป็ นหลังๆ เลย - ตอนทีง่ านชุดแรกออกมาก็ดใี จทีท่ ำ� จนส�ำเร็จ เชื่อว่ามีเพลงเพราะๆ อยู่หลายเพลง คิดว่าน่าจะดัง แต่ปรากฏว่ามันดังแค่ ‘เจ้าชายนิทรา’ เพลงเดียว พอหยุดโปรโมททุก อย่างก็เงียบ มีงานแค่ไม่ก่งี านเท่านัน้ เอง - จริงๆ ตอนท�ำงานชุดแรกทางค่ายเขาไม่ให้วงรับงานเองนะ แต่พอถึงจุดหนึง่ ถึงจะรูว่้ า ผิดกฎแต่กต็ อ้ งรับ ไม่งนั้ ก็ไม่มเี งิน - ETC. ได้พีโ่ ก้ (มิสเตอร์แซ็กแมน) ช่วยเหลือไว้เยอะมาก ทัง้ ช่วยหางานให้ ให้พวกเรา มาเล่นแบ็คอัพให้พีโ่ ก้กับพีค่ ้มิ (เจนนิเฟอร์ คิ้ม) ซึง่ นอกจากจะช่วยให้พวกเรามีรายได้แล ้ว การท�ำงานกับพีเ่ ขาท�ำให้เราได้ประสบการณ์วา่ นักร้อง-นักดนตรีรนุ่ ใหญ่เขาเล่นกันยังไง เขาเอ็นเตอร์เทนคนดูยงั ไงด้วย - เหตุผลทีอ่ อกจากค่ายก็เพราะไม่มจี ะกิน อีกอย่างตอนนัน้ ต้องเอาเพลงให้บอร์ด พิจ ารณา ซึ่ง ส่ ง ไปทีไ รก็ ไ ม่ผ่ า นซัก ที ส่ ง แล ว้ ก็ แ ก้ เป็ น อย่ า งนี้ อ ยู่ เ กือ บครึ่ง ปี พอโปรดิวเซอร์ยา้ ยค่ ายแลว้ ชวนพวกเราไปอยู่ดว้ ย ก็เลยไปขอยกเลิกสัญญา แล ้วย้ายค่ายเลย - เพลง ‘เปลีย่ น’ คือเพลงทีบ่ อร์ดบอกให้ไปแก้ตงั้ หลายรอบนัน่ แหละ แต่ตอนใช้ ในอัลบัม้ พวกเราตัดสินใจใช้เวอร์ชนั ่ แรกทีไ่ ม่แก้ไขอะไรเลย

- คิดย้อนกลับไปก็ตอ้ งขอบคุณบอร์ดของค่ายทีไ่ ม่ให้เพลงของเราผ่านซักที ตอนนัน้ โกรธนะ รูสึ้ กสงสัยว่าเพลงมันใช้ไม่ได้เลยหรือไง พอปล่อยออกมาคนก็ชอบ แต่พอคิดอีกที ถ้าเขาไม่แย้งเราในวันนัน้ เราก็คงไม่ตดั สินใจออกจากค่ายมา แล ้วถ้ายังอยูต่ อ่ งานของเรา ก็อาจจะไม่ได้เป็ นเหมือนทุกวันนี้ - ก่อนจะท�ำงานชุดทีส่ องเสร็จน่าจะเป็ นช่วงตกต�ำ่ ทีส่ ุดของวง ไม่ค่อยมีงาน ไม่รูจ้ ะ ท�ำอะไรต่อ บางคนรู ส้ กึ ว่าพอแลว้ อยากกลับบ้านแลว้ ที่ผ่านช่วงเวลานัน้ มาได้ ก็เพราะพยายามตัง้ หน้าตัง้ ตาท�ำเพลงไปเรื่อยๆ คิดอะไรได้กท็ ำ� ไป ไม่ชอบก็ทำ� ใหม่ พอท�ำแล ้วเริ่มมีเพลงทีเ่ ราคิดว่าดี มีเพลงครบ มันก็เริ่มมีความหวังขึ้นมา - ท�ำเพลงป๊ อปมันก็ตอ้ งฟังง่ายนะ ถ้าฟังยากเกินไป คนเข้าไม่ถงึ มันก็คงไม่ใช่ - ความส�ำเร็จส�ำหรับพวกเรามันเป็ นสิง่ ทีค่ ่อยๆ เห็นผลทีละนิดมากกว่า ตอนเริ่มต้น เราไม่ใช่วงทีด่ งั เปรี้ยง ดังแค่ประมาณหนึ่ง จากนัน้ เราก็ค่อยๆ ปรับปรุงงานของเราไป ค่อยๆ เข้าใจมากขึน้ ว่าอะไรคือสิง่ ทีท่ ำ� แล ้วตัวเราชอบ แล ้วคนฟังก็ชอบด้วย จนถึงทุกวันนี้ ก็ถอื ว่าจับทางถูกแล ้ว - มุมมองในการเล่นดนตรีของผมเปลีย่ นไปนะ คือไม่ได้มองว่าเล่นอะไรยากๆ ได้ คือเก่ง คือมาตรฐานฝี มอื ต้องมีอยู่แล ้ว แต่สุดท้ายแล ้วการถ่ายทอดอารมณ์ให้เข้าถึง คนฟังได้สำ� คัญกว่า - เคยคิดเหมือนกันนะว่า ถ้าเกิด ETC. มีช่อื เสียงแล ้ว เราจะกลายเป็ นคนเรื่องมาก เหมือนศิลปิ นหลายๆ คนทีเ่ ราเคยเจอหรือเปล่า แต่จนถึงทุกวันนี้พวกเราก็ยงั เป็ น คนง่ายๆ สบายๆ ใครขออะไรถ้าท�ำให้ได้กท็ ำ� กันอยู่นะ - ถามว่าเป็ นศิลปิ นมาได้นานถึง 10 ปี ตอ้ งท�ำยังไง? ก็ตอ้ งรักงานทีท่ ำ� ก่อน สิง่ ทีผ่ มท�ำ คือสิง่ ทีร่ กั มาตัง้ แต่เด็กๆ แล ้ว หลงใหลมาก พอได้ทำ� แล ้วมันเลยดีตรงทีถ่ งึ จะเหนื่อย ถึงจะมีช่วงเวลาที่ยากล�ำบากขนาดไหน แต่ว่าเราจะไม่ทอ้ จะรู ส้ กึ ว่าเราสามารถ คิดหาทางออกได้เสมอ - เป็ นนักดนตรี ท�ำงานได้เงินมาแล ้วต้องคิดเผือ่ ถึงเวลาทีไ่ ม่มเี งินไว้ดว้ ย - ทุกวันนี้เวลาเห็นวงรุน่ พีๆ่ ยังมีงานกันอยูเ่ รือ่ ยๆ ก็หวังว่าอีกหน่อยตอนเราอายุมากขึน้ ถ้าจะยังมีงานแบบพวกพีๆ่ เขาได้กค็ งจะดี - ถ้าได้เจอตัวเองเมือ่ 10 ปี ทแ่ี ล ้ว จะบอกเขาว่าทีท่ ำ� อยูน่ ่ะดีแล ้ว อย่าหยุด ท�ำๆ ไปเถอะ เดีย๋ วอะไรๆ มันก็จะดีเอง About HIM หนึง่ – อภิวฒ ั น์ เป็นสมาชิกคนเดียวของ ETC. ทีไ่ ม่ได้ศกึ ษาทีค่ ณะดุรยิ ศิลป์ มหาวิทยาลัยพายัพ เหมือนเพือ่ นร่วมวงคนอืน่ ๆ (จบการศึกษาจากคณะการสือ่ สารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) แต่ ตลอด 10 ปีทพ ี่ วกเขาเป็นศิลปินและมีผลงานออกมาให้แฟนๆ ได้ฟงั กันแล้วถึง 4 ชุด ก็นา่ จะบอก ได้วา่ เรือ่ งดังกล่าวไม่ใช่ปญ ั หาส�ำหรับพวกเขาแต่อย่างใด ส่วนใครทีอ่ ยากอัพเดตเรือ่ งงานเพลง นอกจากช่วงนีเ้ ราจะได้ฟงั เพลงทีเ่ ขาไปร่วมงานกับศิลปินคนอืน่ ๆ แล้ว อีกไม่นานเพลงใหม่จากฝีมอื ของ ETC. ก็จะออกมาให้แฟนๆ ได้หายคิดถึงกันอีกด้วย

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014

B SIDE :31


REUNION คืนสู่เหย้า

ชวนชาวฮิพรุน ่ แรกมาคืนสูเ่ หย้ากันอีกครัง้ ในโอกาสครบรอบ 10 ปี หลังจากแต่ละคนแยกย้ายกันออกไป มีครอบครัวบ้าง ไปท�ำงานสายอืน ่ บ้าง ไปเทีย่ วหาประสบการณ์บา้ ง ตอนนีพ ้ วกเขาก�ำลังท�ำและมีความสุขกับสิง่ ใด

จุดเปลี่ยน ชื่อ : เสาวตรี ภัทราวราพันธ์ ชื่อปัจจุบัน : กัญญา โกเกียรติกุล ต�ำแหน่ง : ผู้ช่วยบรรณาธิการ HIP รุ่นก่อตั้ง ปี 2547 - 2551 ในชีวติ หนึ่งเราจะเจอกับสถานการณ์บางอย่างทัง้ ดีและไม่ดี ซึง่ จะส่งผลต่อ อนาคตข้างหน้า ราวสองถึงสามครัง้ ในชีวติ สังเกตจากชีวติ ที่ผ่านๆ มาของตัวเองก็น่าจะเป็ นอย่างนัน้ ไม่ว่าจะเป็ น การเปลีย่ นงาน มีลูก มีครอบครัว ความเจ็บป่ วย หรืออุบตั เิ หตุ เรื่องทัง้ ดีและร้าย ยิง่ แก่ลงก็ยง่ิ เห็นตรงมากขึ้น ซึง่ เหตุการณ์แต่ละครัง้ ล ้วนท�ำให้เกิดการเปลีย่ นแปลง อะไรบางอย่างไม่วา่ จะเป็ นด้านนอกหรือภายในใจเราเอง เคยมีคนบอกกับเราว่า “คนเราอยูไ่ ปนานๆ ควรเปลีย่ นตัวเอง คนทีไ่ ม่เปลีย่ นสิ แปลก” แสดงว่าถ้ามีคนไม่ได้เจอกันมานานทักทายว่านิสยั เหมือนเดิมเลยนะ โปรดอย่าเพิง่ ดีใจ ความเจริญของเมืองเชียงใหม่ เพือ่ นสนิท คนรูจ้ กั เด็กทีเ่ ติบโต คนทีเ่ รารัก เมือ่ ถึงเวลา ก็คงมีบางอย่างทีเ่ ปลีย่ นไป หรือบางอย่างไม่น่าเปลีย่ นก็ดนั เปลีย่ น หรือกระทัง่ นิตยสารเล่มนี้ก็เช่นกัน ถ้าพูดถึงความเปลีย่ นแปลง หนังสือ หน้าตาสวยงาม อ่านสนุก คอลัมน์น่าสนใจ เผลอแป๊ ปเดียวก็อ่านจบเล่มเอาง่ายๆ 32: B SIDE

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014

ไม่วา่ จะเป็ นงานเขียนทีเ่ ปลีย่ นไปในทางทีส่ นุกสนาน เป็ นตัวของตัวเอง จนน่าชืน่ ชม หรือ ทีเ่ ห็นชัดๆ กับ บอกอ คนเดิม ทีม่ สี ผี มเปลีย่ นไป (!) ครัง้ หนึ่งเคยได้มสี ่วนร่วมในจุดเปลีย่ นส�ำคัญของนิตยสาร ว่าจะ เลี้ยวซ้าย หรือ เลี้ยวขวา ตอนนัน้ อาจมีลงั เล แต่ท่ที ำ� ให้การตัดสินใจของบอกอ ไม่ยาก จนเกินไป คือจุดยืนและเป้ าหมายทีช่ ดั เจน ท�ำให้กา้ วข้ามปัญหาต่างๆ ได้ หลังจากได้ลองออกมาใช้ชีวิตครอบครัว นับเป็ นจุดเปลี่ยนครัง้ ใหญ่ จากชีวติ ทีเ่ ดินคนเดียวไม่เคยรอใคร เป้ าหมายสับสนวุน่ วาย กลายเป็ นเดินช้าลง กับเรื่องราวรอบตัวทีแ่ สนจะพะรุงพะรัง แต่กลับมีเป้ าหมายชัดเจน จุดเปลีย่ น มีได้ แต่อย่าเลี้ยวผิดจนเปลีย่ นจุดหมาย บอกอ สอนเรื่องการท�ำหนังสืออย่างที่ใครไม่เคยบอกกับเรา แต่สำ� หรับ เรื่องการใช้ชวี ติ เขาท�ำให้ดู... ภูมใิ จทุกครัง้ กับการทีเ่ คยเป็ นส่วนหนึ่งของนิตยสารเล่มนี้ ยินดีอกี ครัง้ กับการก้าวเข้าสู่ปีท่ี 11 HIP Magazine


สวนผักในบ้าน ชื่อ : เกริกวิชช์ พ่วงส�ำเภา ต�ำแหน่ง : ช่างภาพ HIP รุ่น 2 ปี 2549 - 2551

ตากล้อง โลโม่ รี โค้ก ชื่อ : อัจฉรี ถาวรประเสริฐ ต�ำแหน่ง : บรรณาธิการฝ่ายภาพ HIP รุ่นก่อตั้ง ปี 2547 - 2556

สิ่งที่ดูง่ายก็เหมือนจะไม่ง่าย สิ่งที่ดูยากก็เหมือนจะไม่ยาก ในทุกวันนี้มี ความสะดวกสบายในทุกๆ ด้าน จนเดีย๋ วนี้ผู ้คนเลยแทบจะไม่ตอ้ งท�ำอะไร เพียงออกบ้าน ไปจับ จ่ า ยก็ ไ ด้ส่ิง ของที่ต อ้ งการกลับ มาแล ว้ เพียงแค่คณ ุ มีเงิน ด้วยเหตุผลนี้ผมจึงอยากลองท�ำอะไร ด้วยตัวเองดูบา้ ง โดยเริ่มกระบวนการทัง้ หมด ด้วยตัวเอง จึงมองว่าสวนผักในบ้านนี่แหละ เป็ นจุดเริ่มต้นเล็กๆ ทีไ่ ม่งา่ ยและไม่ยากสามารถ ท�ำด้วยตัวคนเดียวได้ เหมือนกับได้คยุ กับตัวเอง เวลาลงมือท�ำ เรื่อยๆ ไม่รบี ค่อยๆ ใส่ใจลงไป คอยดู ก ารเจริ ญ เติ บ โตในทุ ก ๆ วัน ของผัก มีความสุขดีครับ

เด็กสองคนนี้เป็ นผลผลิตทีไ่ ด้มาจาก HIP Magazine การทีไ่ ด้มาท�ำ HIP Magazine กับพีโ่ หน่ง และพีน่ อ้ งชาว HIP ทุกคน ได้เรียนรู ้ อะไรหลายๆ อย่าง มีชว่ งเวลาทีด่ บี ้าง ร้ายบ้างปะปนกันไป พวกเราก็สู ้มาด้วยกัน ท�ำให้เรามีภมู คิ มกั ุ ้ นทีด่ ี มาจนถึง ทุ ก วัน นี้ เป็ น ประสบการณ์ ท่ีช่ า งผ่ า นมาอย่ า งรวดเร็ ว เหลือ เกิ น จะมีก่คี นทีโ่ ชคดีอย่างเรา ขอบคุณ พีโ่ หน่ง พีป่ ู มากๆ ค่ะ

ภาพ: คนเลี้ยงม้า เรื่อง: หนุ่มพลังม้า

A CAT AND A DOG แมวแมวหมาหมา

ชื่อ : ธนาคาร พฤกษะวัน ต�ำแหน่ง : บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ HIP รุ่นก่อตั้ง ปี 2547 - 2553 แมวสาวแสนซนโตเต็มวัย นิสยั หยิง่ นิดๆ กะล่อนหน่อยๆ รักสวยรักงาม ร่าเริง แจ่มใส ตลกดี มีนำ�้ ใจ สนุกสนาน เจ้าเล่ห ์ แสนงอน ขีอ้ ้อน เอาแต่ใจ ขีป้ ระชด ต่อปากต่อค�ำ ชอบออกสังคม รักการเดินทางท่องเทีย่ ว อยูไ่ ม่ตดิ บ้าน ชอบช้อบปิ้ ง ลีลาเยอะ เจ้าระเบียบ มีความรับผิดชอบสูง ชอบอ้อนคลอเคลียพันแข้งพันขา ฉอเลาะปะเหลาะเก่ง จนท�ำให้ เจ้าของเสียทรัพย์ได้ มีหมาเกรียนเป็ นลูกสมุนคู่ใจ พยายามจะดูแลปกป้ องน้องหมา แต่กช็ อบแกล ้ง ชอบยัว่ ข่มขูค่ ุกคาม ใช้ทงั้ ก�ำลัง อ�ำนาจและวาจาทีเ่ หนือกว่า หมาเด็กวัยเกรียน เป็ นหมาเกรียนหน้าตาใจดี ชิลล์ ดราม่า ซุ่มซ่าม เฮฮา ใจกล ้า บ้าบิน ลูกบ้าเยอะ บ้าพลัง ชอบท�ำลายข้าวของ อารมณ์ดี ตลก เจ้าส�ำราญ ติดแม่ ชอบฟัง เพลง ขี้ เ กี ย จ ดวงดี มี โ ชคตลอด พู ด ไม่ รู เ้ รื่ อ ง ใช้ค� ำ ศัพ ท์แ ปลกๆ ไม่ชอบเที่ยวเตร่ แต่ชอบเฝ้ าบ้าน ซื่อๆ แต่แอบเจ้าเล่ห ์ เริ่มเป็ นหนุ่มแอบมีความลับ ชื่อ : นารีรัตน์ สมพงษ์ แอบสร้างความประหลาดใจให้อยู่บ่อยๆ เป็ นลู กไล่ของแมวซ่าส์ แต่ ถา้ แมวไม่อยู่ ต�ำแหน่ง : กราฟิกดีไซเนอร์ หมาก็จะหงอย HIP รุ่น 2 ปี 2550 - 2552 ถ้าแมวกะหมาอยูบ่ ้านพร้อมกันจะท�ำให้บ้านมีสสี นั มีชวี ติ ชีวา อบอุน่ ไม่เงียบเหงา วุน่ วาย ตอนนี้มเี รื่องทีส่ นใจอยู่มากมายหลายเรื่อง ส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับการงาน ท�ำบ้านรก เปิ ดดาร์บ้แี มตช์กนั อยู่บา้ นแทบพัง หรือแอบชวนกันเล่นพิศดารต่างๆ นานา แต่ทส่ี นใจมากเป็ นพิเศษก็ยงั คงเป็ นเรื่องของการเปิ ดเพลงให้คนอืน่ ฟัง การหา แต่ก็ทำ� ให้บา้ นเป็ นบ้านที่แท้จริง มีความผูกพัน มีเสียน�ำ้ ตามีรอยยิ้ม มีเสียงหัวเราะ เพลงให้เข้ากับงานหลากแบบ หลายกาลเทศะ เหตุผลของความสนใจเพราะไม่วา่ จะ มีความเห็นแก่ตวั มีความเสียสละ มีความขัดแย้ง มีเสียแมวเสียหมา และมีความรักครับ คิดถึงหมากะแมวจัง ผ่านไปกีป่ ี เรายังคงสนุกและตื่นเต้นทุกครัง้ ทีไ่ ด้ทำ�

DJ. LIFE

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014

B SIDE :33


หอมกลิ่นขนมไทยเหมือนหอมกลิ่นแก้มลูก ชื่อ : พิศุทธินีย์ ปัญญา ต�ำแหน่ง : กองบรรณาธิการ HIP รุ่นก่อตั้ง ปี 2547 - 2550 ตัง้ แต่เป็ นคุณแม่ลูกสอง วันวันได้แต่เล่นวิง่ ไล่จบั ความสนุก มีมากมาย น�ำ้ ตามีเป็นครัง้ คราวเมือ่ เผลอพลัง้ หกล ้ม คล ้ายการวิง่ ไล่จบั ความฝันของตัวเองเมือ่ เรียนจบใหม่ๆ แม้ได้ทำ� งานหนังสือสมใจ แม้ได้ เปิดร้านกาแฟดังใจ แต่ใยไม่เคยรักษาฝันให้อยูน่ านเสียที แต่กบั ลูกแล ้ว แม่จะจับ ‘ความสุข’ ของเจ้าให้ยาวนานและแข็งแรง ซึ่งความสุข อย่างหนึ่งทีล่ ูกชอบมาก คือการได้กนิ ขนม แน่ละ่ ต้องเป็นขนมฝี มอื แม่ ขนมไทยทีแ่ ม่เปิดต�ำราท�ำให้ทุกวัน เตรียมพร้อมให้ลูกหลังกลับจากโรงเรียน กะทิ แป้ ง ไข่ น�ำ้ ตาล และการใส่ใจ คือปัจจัยหลักของความอร่อยชวนให้เด็กสองคนลดความซน ขยับมาลิ้มลอง ยิง่ วันไหนเป็ นวันของขนมไทยสีสนั สดใสจากธรรมชาติ อาทิ ฟ้ าจากดอกอัญชัน ชมพูแดงจากบีทรู ท เหลืองจากฟักทอง ส้มจากแครอท เขียวจากใบเตย เช่น ขนมน�ำ้ ดอกไม้ ขนมบุหลันดัน้ เมฆ ขนมลืมกลืน ฯลฯ วันนัน้ เด็กๆ ของแม่จะร่าเริงเป็นพิเศษ มีเท่าไหร่ในจาน จะสนุกสนานแข่งกันคว้าเข้าปากไม่มใี ครยอมใคร ความสุขของแม่ก็อยู่ตรงนี้ สุขกับการได้ทำ� ขนม สุขกับการ มี ‘ลูก’ ในชีวติ วันไหนไม่ได้ทำ� ขนม วันนัน้ ลูกจะบ่นร้องเรียกหา วันไหนไม่ได้หอมแก้มลูก วันนัน้ แม่กห็ มองหม่นในพริบตา เรามาถนอมและรักษา ‘ความสุข’ ให้ยาวนานด้วยกันนะ เจ้าสองซนของแม่ :)

GENTLEMEN RIDE เที่ยว พัก อ่าน ชื่อ : เกวลิน ทะสังขา ต�ำแหน่ง : ผู้จัดการทั่วไป HIP รุ่นก่อตั้ง ปี 2547 - 2550 การที่ตอ้ งผ่านช่วงเวลาของความสูญเสีย ท�ำให้มโี อกาสได้พกั และมีเวลาหยุด เพือ่ พูดคุย กับตัวเองมาพักใหญ่ๆ (แรมปี) ท�ำให้ความสนใจในวัตถุ หรือสิง่ รอบๆ ตัวลดลงไปมาก แต่กลับสนใจ สิง่ ทีท่ ำ� ให้ใจมีความสุข (อิม่ ใจ) และความอิม่ ใจ จะถูกเติมเต็มง่ายๆ ด้วยการนัง่ อ่านนิยายเงียบๆ และได้เดินทางไปพักผ่อนในทีใ่ หม่ๆ การใช้ชวี ติ ช่วงนี้เลยสนใจอยู่กบั การมองหาสถานทีท่ น่ี ่าสนใจ เพือ่ เดินทางไปพักผ่อน และร้านหนังสือในมุมทีม่ หี นังสือนิยายให้เลือกเยอะๆ 34: B SIDE

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014

ชื่อ : วิศรุจน์ ยะจา ต�ำแหน่ง : ผู้ช่วยช่างภาพ HIP รุ่น 2 ปี 2550 - 2551 ตัวผมเป็ นคนที่หลงใหลในความคลาสสิคมานานแลว้ ในความคลาสสิคมันไม่ได้แฝงแต่ความแรงไว้ภายในอย่างเดียว แต่มนั แฝงไปด้วยความทรงจ�ำต่างๆ ทีไ่ ด้ร่วมเดินทางไปกับเขาเเละเธอ เขาทีว่ า่ คือมอเตอร์ไซค์คู่ใจ และเธอทีว่ า่ คือคนรูใ้ จข้างกายเรานัน่ เอง Gentlemen`s Ride คือสิง่ ทีผ่ มสนใจและฝันมาทัง้ ชีวติ ทีอ่ ยากจะมี มอเตอไซค์แนวคาเฟ่ กบั เขาบ้าง ถึงราคามันจะไม่แพงเหมือนเวสป้ า เก่าๆ ของผม แต่มนั ก็มคี ณ ุ ค่าทางจิตใจทีไ่ ด้ร่วมเดินทางเก็บเกี่ยว ความทรงจ�ำดีๆ ไปกับคนรูใ้ จเรา


“ได้ท�ำงานที่เรารัก ถือเป็นลาภอันประเสริฐ” ชื่อ : ศรัญญา วังสมบัติ ชื่อปัจจุบัน : กัญจน์รัชต์ มหาธนนันท์ ต�ำแหน่ง : หัวหน้ากองบรรณาธิการ HIP รุ่นก่อตั้ง ปี 2547 - 2554 ค�ำโปรยในคอลัมน์เล็กๆ ของตัวเองเมือ่ สิบปี ก่อน อ่านทีไรแล ้วก็นึกข�ำว่า ตอนนัน้ ฉันคิดอะไรอยู่ (วะ) ช่างโปรยค�ำโตลงหน้าหนังสือได้อย่างอหังการขนาดนัน้ แต่ ส่งิ หนึ่งที่เด่นชัดในความทรงจ�ำ คือจากเด็กฝึ กงานปี สามเทอมสอง กับนิตยสาร a day ต่อด้วยการฝึ กกับนิตยสาร Bioscope อีกหนึ่งเล่ม คิดอยู่วา่ ถ้าอยากจะท�ำงานสายนี้ อย่างไรเสียก็คงจะต้องลงไปหางานท�ำที่กรุงเทพแน่ ๆ แต่อกี ใจอยากอยู่ท่เี ชียงใหม่มากกว่า วันหนึ่งที่คณะมีงานปัจฉิมนิเทศก็ได้เจอ บก. รุ่นเก๋า และเราก็ตามไปสมัครงานทันทีหลังเรียนจบ จ�ำได้วา่ วันสัมภาษณ์งาน บอกไปว่า “หนู อยากท�ำนิตยสารดีๆ ทีเ่ ชียงใหม่” และพีโ่ หน่ง – สมชาย ขันอาษา (หรือ ‘น้า’ ของพวกเรา) ก็คือคนแรกทีเ่ ข้าใจเด็กจบใหม่ทไ่ี ม่ประสาอะไรทัง้ สิ้น และหยิบยืน่ โอกาสในการท�ำงานนิตยสารในฐานะกองบรรณาธิการเต็มตัวเป็ นครัง้ แรก ช่วงเวลาสามเดือนแรกของการเป็ นกอง บก. หลักใหญ่ใจความของชีวติ ช่วงนัน้ คือการเขียน เขียน และเขียน ยังจ�ำคอลัมน์รวี วิ เพลงทีโ่ ดนพีโ่ หน่งแก้ดว้ ยปากกา สีแดงเถือกกกก แลว้ ก็ตอ้ งเขียนแก้แลว้ แก้อกี หลายรอบกว่าจะผ่าน ซึ่งถามว่า เครียดไหม บอกเลยว่ามาก! แต่พอนึกย้อนกลับไป ก็แปลกทีพ่ บว่า ไม่มชี ่วงเวลา ไหนทีไ่ ม่สนุก สนุกกับการท�ำงาน กับเพือ่ นร่วมงาน และคนใหม่ๆ ทีไ่ ด้เจอในชีวติ ประจ�ำวัน สนุ กกับการเริ่มตัง้ วงก๊ง… กันตัง้ แต่บ่ายสามที่รา้ นลาบข้างออฟฟิ ศ (โปรดอย่าถามว่าวงอะไร เพราะคงไม่ใช่วงดนตรีสากลอะไรเทือกนัน้ แน่ ทีท่ ำ� การอุกอาจ กันได้ขนาดนัน้ ก็เพราะมีนา้ นี่แหละเป็ นแกนน�ำ ha ha ha) สามเดือนแรกผ่านไป… แล ้ววันฟ้ าผ่าก็เข้ามา เมือ่ น้าลาออกลองไปค้นหาตัวเอง ที่ตึก แกรมมี่ (555 หนู ข อโทษนะน้า หนู เ ลีย นแบบ E ชล) ส่ ว นพวกเรา กองบรรณาธิการสามสาวก็ออกจะเวิ้งว้าง หว่าเว้ พวกเราตกลงกันว่าจะลาออกด้วย แล ้วจะท�ำนิตยสารกันเองชือ่ ว่า ‘เขียน’ แต่เดชะบุญทีน่ า้ กลับมาจากบางกอกซะก่อน พร้อมกับข่าวดีท่ีว่า “แอร์ท่ีตึกแกรมมี่มนั เย็นไปว่ะ กู กลับมาท�ำหนังสือเอง ทีเ่ ชียงใหม่ดกี ว่า” และ HIP Magazine Chiang Mai ก็เริ่มมาจากจุดนัน้ ห้องแถวเล็กๆ ขนาด 4X6 เมตร หลังร้าน ขันอาษา ‘พวกเรา’ อันหมายถึง น้าโหน่ง - บรรณาธิการ (ถือธงแมนยูฯ) พีแ่ บงค์- อาร์ตได (ถือธงลิเวอร์พูล)

พีอ่ มุ๋ – กราฟิ ก (ไม่มใี นรูป แต่คนในรูปที่ใส่หูฟงั คือ ปุ่น – กราฟิ กคนที่สอง), พีโ่ บว์ลง่ิ – การตลาด (กับคอมเก่าๆ ทีจ่ ะพังเสมอเวลาออกบิลเก็บเงินลูกค้า), พีร่ ี - ช่างภาพ (ท�ำคิ้วขมวดเสมอเวลากดชัตเตอร์) และกองบรรณาธิการอีกสาม พีเ่ ชอร์ร่ี (ผูห้ ญิงทีม่ ี น้องหนูใต้โต๊ะสองตัว), ชันญา (สาวโลกสวยริมหน้าต่าง) และเราเองใส่แว่นหน้าเป๋ อเหรอ อยู่ฝงั ่ ขวามือ รวมแล ้วก็เจ็ดชีวติ ทีอ่ ดั แน่นกันอยู่ในห้องท�ำงานเล็กๆ พวกเราพยายาม ท�ำหนังสือออกมาให้เสร็จภายในเวลาไม่ถึงสามเดือน โดยเริ่มใหม่หมดทุกอย่าง ไม่วา่ จะเป็ น การเซทออฟฟิ ศ ออกแบบหัวหนังสือ ออกแบบอาร์ตเวิรก์ ท�ำ Mock Up คิดราคาโฆษณา วางคอนเท้นท์ ซึ่งในการเริ่มต้นธุ รกิจนิตยสารท้องถิ่นช่ วงนัน้ และแจกฟรีดว้ ย มีคนถามเป็ นประจ�ำว่าแล ้วจะเอาเรื่องทีไ่ หนมาเขียน จะมีรา้ นอาหาร ร้านกาแฟสักกี่รา้ นให้แนะน�ำ ท�ำไมสัมภาษณ์คนกันเอง นางแบบหน้าแปลกนะ ถ่ายแฟชัน่ ดูบลา บลา บลา อีกหลายค�ำสบประมา และหลากหลายปัญหาทีเ่ ราเจอ แต่ก็ผ่านสถานการณ์เหล่านัน้ มาได้ดว้ ยความรูส้ กึ ซือ่ ๆ เหมือนทีโ่ ปรยไว้บนหนังสือ นัน่ ล่ะว่า “ได้ทำ� งานทีเ่ รารัก ถือเป็ นลาภอันประเสริฐ” มาจนถึงบรรทัดนี้ก็ยงั นึกไม่ออกอยู่ดวี า่ เขียนอะไรไว้ในคอลัมน์บา้ ง แต่เราก็ รักตัวเองและค�ำโปรยประโยคนี้นะ ทีท่ ำ� ให้ผา่ นช่วงเวลายากๆ มาได้ เราเองเชือ่ ว่าเพือ่ น พีน่ อ้ ง HIP แต่ละรุ่นทัง้ ฝ่ ายอาร์ต กราฟิ ก ช่างภาพ การตลาด กอง บก. เด็กฝึ กงาน ทุกคนล ้วนมีเรือ่ งราว (เหี้ยมๆ) ของตัวเองกับการท�ำงาน HIP ทีผ่ า่ นมา และเชือ่ ว่าทุกคน ย่อมมี ‘Little Pieces of Gold’ ทองค�ำก้อนเล็กๆ เป็ นความทรงจ�ำทีด่ ๆี ทีย่ งั คง ค้างอยู่ในกระเป๋ าของทุกคนเสมอ เรายังจ�ำทีพ่ โ่ี หน่งเคยบอกไว้ “ท�ำหนังสือก็เหมือน ล ้อมวงกินเหล ้าในหน้าหนาว ตราบใดทีย่ งั ไม่มใี ครลุกออกไป ยังไงเสีย กองไฟก็จะ ไม่มีวนั หมด” ตัวเราเองแม้ไม่ได้อยู่ทำ� หนังสือกับน้องๆ แลว้ และมีหน้าที่ใหม่ ในสายงานอืน่ ให้รบั ผิดชอบ แต่เราเชื่อแน่วา่ เวลาต่อจากนี้นอ้ งๆ ทีม HIP จะมี ‘Little Pieces of Gold’ เป็ นความทรงจ�ำล�ำ้ ค่าทีจ่ ะเพิม่ ขึ้นจากการท�ำงานทุกวันเช่นกัน ขอเป็ นอีกหนึ่งก�ำลังใจในการท�ำนิตยสารดีๆ ในเชียงใหม่ และยินดีดว้ ย กับอีกหนึ่งก้าวย่างแห่งการเติบโตค่ะ HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014

B SIDE :35


CHIANGMAI

10

YEARS REWIND มองเชียงใหม่ผา่ น HIP

นอกจาก 10 ปีจะเพียงพอส�ำหรับการเปลี่ยนเด็กแรกเกิดให้กลายเป็นเด็กโต เปลี่ ย นวั ย รุ ่ น เข้ า สู ่ วั ย ท�ำงาน หรื อ วั ย หนุ ่ ม สาวเข้ า สู ่ วั ย กลางคนได้ แ ล้ ว กั บ สถานที่ เวลาทีว่ า่ ก็น�ำมาซึง่ ความเปลีย่ นแปลงได้มากมายหลายสิง่ ไม่วา่ จะโดยตัง้ ใจหรือไม่กต ็ าม HIP เลื อ กมองสิ่ ง ต่ า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในเมื อ งเชี ย งใหม่ ต ลอดระยะเวลา 10 ปี ผ่านเรื่องราวต่างๆ ที่อยู่ในนิตยสารทั้ง 120 ฉบับที่ผ่านมา แล้วหยิบยกเอาบางเรื่อง มาบอกเล่ า ให้ ฟ ั ง กั น อี ก ครั้ ง ไม่ ใ ช่ เ พื่ อ อวดโอ่ ว ่ า เราเคยน�ำเสนอสิ่ ง เหล่ า นี้ ม าแล้ ว แต่เพื่อย้อนความทรงจ�ำกัน และชวนให้ทุกคนได้ทบทวนว่า เมื่อ 10 ปีที่แล้วกับปัจจุบันนี้ เชียงใหม่ที่พวกเราทุกคนใช้ชีวิตอยู่นั้น ‘เป็นไป’ ในแบบไหนบ้าง

36: B SIDE

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014


1

ปีที่ 1 (พฤศจิกายน 2547 – ตุลาคม 2548)

ศิลปะเฟื่องฟู และ (ฝันว่าจะมี) รถเมล์ของฉัน ในขวบปี แรก (2547 – 2548) สิง่ หนึ่งทีม่ ใี ห้อ่านกันอย่างสม�ำ่ เสมอใน HIP คือเรือ่ งราว เกี่ยวกับศิลปะอันหลากหลาย ทัง้ การน�ำเสนอผลงานของศิลปิ นทีม่ ชี อ่ื เสียง การแนะน�ำศิลปิ น หน้าใหม่ๆ รวมไปถึงตารางงานนิทรรศการศิลปะทีน่ ่าจะสร้างความอิม่ เอิบ (และความเหนื่อย ในการไปชมให้ครบทุกงาน) ให้กบั คนรักศิลปะได้เป็ นอย่างดี ว่ากันว่าเชียงใหม่เป็ นเมืองที่มี ‘บรรยากาศ’ ที่เอื้อต่อการท�ำงานศิลปะหรืองานที่ใช้ ความคิดสร้างสรรค์ทงั้ หลาย ถ้าพิจารณาจากการทีใ่ นฉบับนี้เรามีเรื่องราวของ Art Space ในเชียงใหม่มาให้อ่านกัน ก็คงพอจะยืนยันได้ในระดับหนึ่งว่า ‘ศิลปะ’ ทีเ่ มืองเชียงใหม่ตลอด 10 ปี ทผ่ี ่านมานัน้ เติบโตงอกงาม ได้อย่างน่าชื่นชม อีกเรื่องทีเ่ ราอุทศิ พื้นทีใ่ ห้ในหลายวาระ (แม้กระทัง่ บท บก.ของเราก็เขียนถึงเรื่องนี้ หลายหน) คือความฝันทีจ่ ะเห็น ‘ระบบขนส่งมวลชน’ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพเกิดขึ้น ในขวบปี แรก HIP มีนำ�้ เสียงตืน่ เต้นต่อการทีเ่ ชียงใหม่จะมีรถเมล์ (ภายใต้การดูแลของเทศบาลนครเชียงใหม่) ออกมา ให้บริการ และคอยบอกเล่าความเคลือ่ นไหวเรื่องดังกล่าวไปสู่ผูอ้ ่านอย่างต่อเนื่อง แต่กน็ า่ แปลกที่ ‘รถเมล์’ ที่ HIP ส่งใจเชียร์นนั้ ไม่เคยท�ำหน้าทีไ่ ด้ใกล ้เคียงกับค�ำว่าประสบ ความส�ำเร็จ ระบบขนส่งในเมืองเชียงใหม่ยงั คงเป็ นเรือ่ งทีค่ นส่ายหัวเมือ่ พูดถึงมาตลอดหลายปี และกับเวลาอีกไม่กเ่ี ดือนก็จะหมดปี 2557 ก็ยงั มีข่าวว่าเมืองเชียงใหม่คิดจะลองเอารถเมล์ มาใช้เพือ่ แก้ปญั หาการจราจร! บางทีกน็ า่ คิดว่า การใช้เวลา 10 ปีเพือ่ ให้ได้วิธกี าร ‘เดิมๆ’ นัน้ ก�ำลังบอกอะไรเราอยูห่ รือเปล่า?

2

ปีที่ 2 (พฤศจิกายน 2548 – ตุลาคม 2549)

เชียงใหม่เมืองดนตรี, รวมพลคนรักรถ, และหอมกลิ่นกาแฟ เชียงใหม่มดี นตรีดๆี ให้ฟงั มากมาย นี่เป็ นเรื่องหนึ่งทีอ่ วดได้ไม่ตอ้ งเขิน เพราะใครๆ เขาก็ยอมรับว่าจริง! HIP น�ำเรื่องราวของแวดวงดนตรีในเชียงใหม่มาน�ำเสนอในขวบปี ทส่ี อง (จริงๆ ก็มมี าตัง้ แต่ปีแรกแล ้ว) ในเรื่อง ‘เชียงใหม่ : เมืองดนตรี’ และหลังจากนัน้ HIP ก็ยงั คงมีเรื่องราวเกี่ยวดับดนตรีในเชียงใหม่มาให้อ่านกันอย่างสม�ำ่ เสมอ เช่นเดียวกับโลกดนตรีของเชียงใหม่ทย่ี งั คงเติบโตและแข็งแรงขึ้นเรื่อยๆ ในปี เดียวกันนี้ HIP มีเรื่องราวของ ‘คนรักรถ’ มาน�ำเสนอ (ทัง้ บิก๊ ไบค์ เวสป้ า และรถโฟล์ค) ส�ำหรับบางคนนีอ่ าจเป็นเพียงเรือ่ งของรสนิยม แต่การรวมตัวกัน อย่างเป็ นกลุ่มก้อนของบรรดาคนรักรถหลากหลายรู ปแบบเหล่านี้ท่ยี งั คงมีอยู่ จนถึงปัจจุบนั สะท้อนให้เห็นว่าความชอบขับจากของคนเหล่านี้เหนียวแน่ น และจริงใจแค่ไหน ส่วนอีกเรื่องทีถ่ กู น�ำเสนอในขวบปี ทส่ี อง และยังคงเป็ นสิง่ ที่ ‘อินเทรนด์’ มาจนถึงทุกวันนี้ก็คือเรื่องราวของกาแฟ ไม่ตอ้ งคิดอะไรมาก แค่ นบั ปริมาณ ร้านกาแฟทีท่ งั้ เพิม่ ขึ้นและมีรา้ นใหม่ๆ มาให้ได้รูจ้ กั กันอยู่เรื่อยๆ ตลอด 10 ปี ที่ผ่ า นมา ก็ ช วนให้คิ ด เล่น ๆ ว่ า บางทีถ า้ เชีย งใหม่ จ ะสถาปนาตัว เองเป็ น ‘เมืองแห่งร้านกาแฟ’ ก็น่าจะเข้าท่าดีเหมือนกัน HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014

B SIDE :37


3

ปีที่ 3 (พฤศจิกายน 2549 – ตุลาคม 2550)

ชวนคนนั่งคุย และเรื่องของต้นไม้ (ที่หลายคนมองผ่าน)

HIP ในขวบปี ทส่ี ามนัน้ แน่นด้วยบทสัมภาษณ์ (ทัง้ ในหน้า Interview และ คอลัมน์อน่ื ๆ) ซึง่ การชวนผู ้คนมากมายจากหลายสาขาอาชีพ (ทัง้ ทีเ่ ป็ นคนเชียงใหม่แท้ๆ หรือคนจากทีอ่ น่ื ๆ ทีห่ ลงรักและมาใช้ชวี ติ อยู่ทเ่ี ชียงใหม่) นอกจากจะท�ำให้ได้รบั รู ้ เรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับเขาเหล่านัน้ และได้เห็น ‘ประสบการณ์’ ทีส่ ามารถหยิบไปใช้ เป็ นตัวอย่างหรือแรงบันดาลใจในการใช้ชีวติ ได้แล ้ว ยังได้รับฟัง ‘มมุ มอง’ ทีเ่ ขาเหล่านัน้ มีตอ่ เชียงใหม่ในแง่มมุ ต่างๆ ซึง่ แม้อาจจะเป็ นเพียงเสียงเล็กๆ แต่กค็ วรค่าแก่การรับฟัง และน�ำไปขบคิดต่อ พูดถึงเรื่องเล็กๆ Scent of Chiang Mai อาจเป็ นเพียงคอลัมน์เล็กๆ ความยาวเพียงหนึ่งหน้า แต่ตลอดระยะเวลาที่คอลัมน์น้ ีอยู่กบั HIP พื้นที่ตรงนี้ ไม่เพียงแต่แนะน�ำให้เราได้รูจ้ กั ต้นไม้หลากหลายชนิด หากแต่ยงั ส่ง ‘สาร’ ให้เรา ได้ฉุกคิดว่า พันธุ ไ์ ม้พ้ ืนถิ่นนัน้ ก็งดงามไม่แตกต่ างจากต้นไม้แพงๆ ทัง้ หลาย ทัง้ ยังมี ‘เรื่องราว’ ทีช่ ่วยให้เราไม่หลงลืมว่ารากเหง ้าของเราคืออะไรอีกด้วย

5

7

ปีที่ 5 (พฤศจิกายน 2551 – ตุลาคม 252)

A Capella 7’s Chronicle

อาจารย์โจ – บฤงคพ วรอุไร ถือเป็ นคนคุน้ เคยคนหนึ่ง ของ HIP ในขวบปี ทห่ี า้ ของเรา เขาเป็ นหนึ่งในนักเขียนทีส่ ง่ เรื่องราว มาให้เราได้อ่านกันอย่างสม�ำเสมอ ่ และเรือ่ งของวงอะแค็ปเปลล่า เซเว่น ที่เขาบอกเล่าไว้ในคอลัมน์ Message นัน้ เป็ นเสมือน ‘บันทึก ประวัติศาสตร์’ ของวงดนตรีจากเชียงใหม่ท่ีไปแผ้วถางหนทาง ให้กบั วงรุ่นน้องๆ ได้เจริญรอยตาม ไม่บอ่ ยนักทีใ่ นบ้านเราจะมีใคร น�ำเรือ่ งราวประวัตขิ องวงดนตรีสกั วงหนึง่ มาน�ำเสนออย่างละเอียดลออ และตรงไปตรงมา ซึง่ ไม่เพียงแต่จะท�ำให้เราได้เห็นความใฝ่ ฝนั ของ คนหนุ่ม และความเหี้ยมโหดของธุรกิจดนตรีได้อย่างชัดเจนเท่านัน้ แต่มนั ยังเป็ นบทเรียนทีไ่ ม่เคยล ้าสมัยส�ำหรับใครก็ตามทีม่ คี วามฝัน ไม่วา่ เวลาจะผ่านไปกี่ปีกต็ าม

8

ปีที่ 7 (พฤศจิกายน 2553 – ตุลาคม 2554)

ปีที่ 8 (พฤศจิกายน 2554 – ตุลาคม 2555)

คอลัมน์ Project ทีอ่ ยูใ่ น HIP ในยุคขวบปีทเ่ี จ็ดนัน้ มักจะมีเรือ่ งราว เกีย่ วกับงานหรือโครงการทีม่ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ช่วยเหลือผู ้ทีด่ ้อยโอกาสกว่า มาน�ำเสนออยู่บอ่ ยครัง้ การหวนกลับไปดูเรือ่ งราวเหล่านัน้ แล ้วน�ำมาเล่า สูก่ นั ฟังอีกครัง้ ตรงนี้ ก็เพราะอยากจะชวนให้ทุกคนได้ฉุกคิดว่า ในโลกนี้ มีคนทีล่ ำ� บากกว่าเราอีกมากมาย และในเชียงใหม่น้ กี ไ็ ม่เว้น ดังนัน้ หาก 10 ปี ทผ่ี ่านมานี้ใครทีไ่ ด้ช่วยเหลือทีด่ อ้ ยโอกาสกว่าเราอยู่แล ้ว ก็ขอให้ ท่านได้ทำ� ต่อๆ ไป ส่วนใครทีย่ งั ไม่เคยหรือไม่คดิ จะท�ำ อยากจะบอกว่า การช่ ว ยเหลือ คนอื่น นัน้ ไม่ใ ช่ เ รื่อ งยากอะไรนัก หรอก ท�ำ บ้า งก็ ไ ด้ ท�ำแล ้วสุขใจดีดว้ ยนะ

เป็ นหนังสือแนะน�ำที่กินที่เที่ยว บางคนอาจจะคิดว่า HIP เน้นแต่กินหรูอยู่สบาย จริงๆ แล ้ว HIP ก็ไม่ต่างไปจากใครคนอืน่ หรอก กินข้าวแกงได้ (บ่อยด้วย) เวลาทรัพย์จาง ก็กนิ มาม่าได้ (บ่อยด้วยเหมือนกัน ฮ่าๆ) หรือตอนไหนทีเ่ ศรษฐกิจไม่เป็ นใจ อะไรทีจ่ ะช่วย ให้ส้นิ เปลืองน้อยลงได้ เราก็ทำ � ในยามทีเ่ ห็นคนบ่นกันนักว่าท�ำมาหากินไม่ค่อยคล่อง เงินทองไม่ค่อยจะมี ท�ำให้เรา หวนนึกถึงการแนะน�ำร้านทีท่ งั้ รสชาติใช้ได้และราคาน่ารักในขวบปี ทแ่ี ปด รวมไปถึงบรรดา แหล่งรวมข้าวของมือสองทีเ่ ป็ นประโยชน์ แล ้วอยากจะบอกคุณๆ ว่าลองตามไปในทีๆ่ เรา แนะน�ำดูกไ็ ด้นะ เผือ่ ว่าจะพอช่วยให้คณ ุ ๆ ประหยัดค่าใช้จ่ายกันได้บา้ ง เพราะไอ้สถานการณ์ ฝื ดเคืองเนี่ย ใน 10 ปี ทผ่ี ่านมาก็เกิดแล ้วหลายหน และดูท่าทางจากนี้ไปเดีย๋ วก็คงมีอกี

‘ให้’ กันเถอะเรา

38: B SIDE

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014

ชีวิตสุดประหยัด


4

ปีที่ 4 (พฤศจิกายน 2550 – ตุลาคม 2551)

ใครๆ ก็รักเชียงใหม่

ปี ทส่ี ข่ี อง HIP เป็ นปี ทเ่ี ต็มไปด้วยเรือ่ งราวของคนที่ ‘รัก’ เชียงใหม่ ในแง่มมุ ต่างๆ บ้างก็ถ่ายรูปเชียงใหม่ในมุมทีช่ ่นื ชอบ บ้างก็มสี ถานที่ ที่ประทับใจและระลึกถึงอยู่เสมอ บางคนก็ชอบเพราะมีส่งิ ที่ทำ� ให้เขา หรือเธอประทับใจและสนุ กสนาน กระทัง่ บางคนยังถึงกับบอกเลยว่า อยู่ทน่ี ่แี ล ้วสบายดีจะตาย เราเชื่อว่าไม่ตอ้ งถามว่าผ่านไป 10 ปี แล ้วยังรักเชียงใหม่อยู่ไหม เรื่องนี้ไม่ว่าจะถามกันเมือ่ ไหร่ คนอ่าน HIP ก็คงตอบว่ารักเชียงใหม่ เหมือนกันทัง้ นัน้ แหละ คุณว่าจริงไหม?

6

ปีที่ 6 (พฤศจิกายน 2552 – ตุลาคม 2553)

‘เหล้า’ เชียงใหม่ และยุคสมัยของฟิกซ์ เกียร์ เปล่าหรอก เราไม่ได้ตงั้ ชื่อเรื่องนี้เพราะคิดจะชวนคุณๆ ดืม่ แน่ๆ แต่ทเ่ี รา น�ำเรื่องราวเกี่ยวกับเหลา้ ในเชียงใหม่ ซึ่งเคยถูกน�ำเสนอในขวบปี ท่หี กของเรา มาบอกเล่าตรงนี้ ก็เพราะนี่คอื ตัวอย่างของการท�ำธุรกิจทีน่ ำ� องค์ความรูท้ ม่ี แี ต่เดิม มาพัฒนา ปรับปรุง และเพิม่ ความน่าสนใจเพือ่ ให้สามารถออกไปต่อสู ้ในโลกการค้า ทีแ่ ข่งขันกันอย่างรุนแรงได้ ซึง่ วิธีคิดเช่นนี้ เราเชื่อว่าใช้ได้ไม่เพียงแค่ใน 10 ปี ทว่าน่าจะเป็ นวิธคี ดิ ทีไ่ ม่มวี นหมดอายุ และไม่เสียหายทีจ่ ะทดลองมากกว่า ในช่วงเวลาเดียวกัน ท่ามกลางกระแสของจักรยานแบบฟิ กซ์ เกียร์ทใ่ี นเวลานัน้ ‘ฮิต’ สุดๆ HIP ได้บอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับสิง่ นี้เอาไว้ และแม้ทกุ วันนี้ฟิกซ์ เกียร์ จะผ่านพ้นช่วงเวลา ‘ยอดนิยม’ ไปแล ้ว แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้วา่ ‘กระแส’ ในวันนัน้ ได้ท�ำให้หลายต่อหลายคน หันมาสนใจจักรยานมากขึ้นในเวลาต่อมา

ปีที่ 10 (พฤศจิกายน 2556 – ตุลาคม 2557)

เพื่อนรักสัตว์เลี้ยง

ปีที่ 9 (พฤศจิกายน 2555 – ตุลาคม 2556)

เชียงใหม่น่าถีบ

จักรยานกับ HIP นัน้ ไม่ใช่เรือ่ งไกลตัวตรงไหน เรามีเรือ่ งเกี่ยวกับ จักรยานให้ได้อ่านกันอยู่เรื่อยๆ (อย่างเรื่อง ฟิ กซ์ เกียร์ทเ่ี พิง่ กล่าวถึง ก่ อ นหน้า นี้ ) หรือ คนท�ำ งานที่น่ี (ตัง้ แต่ เ จ้า นายยัน ลู ก น้อ ง) ก็ เ ป็ น ‘สิงห์นกั ปัน่ ’ กันอยู่หลายคน จะว่ า ไปแล ว้ การที่เ รื่ อ งราวเกี่ ย วกับ เชี ย งใหม่ แ ละจัก รยาน มาปรากฏอยู่ในขวบปี ทเ่ี ก้านัน้ อาจจะดูชา้ ไปด้วยซ�ำ ้ แต่เชื่อเถอะว่าทีเ่ รา ท�ำเรื่อง ‘เชียงใหม่น่าถีบ’ ก็เพราะอยากให้เชียงใหม่เป็ นเมืองทีจ่ กั รยาน อยูก่ บั ผู ้คน และเพือ่ นร่วมถนนชนิดอืน่ ๆ ได้อย่างแท้จริง ไม่ใช่แค่ปนั ่ กันเท่ๆ หรืออยู่กนั แบบต่างคนต่างไป ไร้ซง่ึ ความเอื้อเฟื้ อและเข้าใจซึง่ กันและกัน เพือ่ ทีเ่ ชียงใหม่จะได้น่าอยู่ และเป็ นเมืองแห่งจักรยานอย่างทีห่ ลายๆ คน ใฝ่ ฝนั เสียที อ้อ ! แต่ ก่ อ นอื่น นี่ ข อเลนจัก รยานที่จ กั รยานใช้ง านได้จ ริง ๆ ก่อนละกันนะ ไม่ใช่ทำ� เลนจักรยานมาทัง้ ที แต่ดนั กลายเป็ นที่จอดรถ (เหมือนทีเ่ ป็ นอยู่หลายๆ ทีใ่ นทุกวันนี้) กันเสียอย่างนัน้

9

เรื่องราวเกี่ยวกับเชียงใหม่ใน HIP ไม่ได้มแี ค่คน สถานที่ สิง่ ของ หรือกิจกรรมเท่านัน้ แต่ยงั เผื่อแผ่ไปถึงเพื่อนร่วมโลกที่เป็ นสัตว์เลี้ยง อย่างสุนขั และแมวด้วย เรื่องของสุนขั นัน้ มีให้อ่านกันมาเรื่อยๆ ส่วนแมว เพิง่ จะได้ฤกษ์มาปรากฏตัวใน HIP ก็ตอนขวบทีท่ ส่ี บิ นี้เอง อ่านเรือ่ งแมวๆ ทัง้ หลายไปแล ้ว เดีย๋ วอีก 10 ปี ข ้างหน้าเราจะมาถกกันอีกทีวา่ แมวครองโลก (และเชียงใหม่) ไปแล ้วหรือยัง แต่ทแ่ี น่ๆ เชียงใหม่มคี าเฟ่ แมวแล ้วนะ

10

HIP MAGAZINE NOVEMBER 2014

B SIDE :39


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.