HIP MAGAZINE ISSUE 145 : NOVEMBER 2016 (SECTION B)

Page 1

1

b side



CONTENTS n o v e m b e r 2 0 1 6 V o l. 1 3 N o. 1 4 5

digital contents www.hipthailand.net

Bike Route 04 Bike Trip 08 Bike Safe 11 Bike Special 12 Travel 14 Interview 20

HILIGHT 04 Bike Route

Weekend Warrior ขอน้อมร�ำลึกถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล อดุลยเดช ด้วยการน�ำ 13 เส้นทางไปสู่ 13 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงในจังหวัด เชียงใหม่ กับเส้นทางหลากหลายรูปแบบทัง้ ง่ายและยาก ทีไ่ ม่เพียงแต่จะสวยงามและ น่าปั่น แต่ยังท�ำให้เราได้ซาบซึ้งกับพระมหากรุณาธิคุณ ที่ทรงช่วยเหลือและพัฒนา ให้ราษฎรมีชีวิตที่ดีขึ้น

08 Bike Trip

ก่อนหน้านีเ้ คยบอกไว้ในคอลัมน์วา่ ‘กิว่ ฝิน่ ’ เป็นเส้นทางแสนหฤโหดส�ำหรับนักปัน่ แต่ เ ดื อ นนี้ acidslapper มี เ ส้ น ทางใหม่ ชื่ อ ว่ า ‘แม่ ตุ ง ติ ง ’ มาน� ำ เสนอ พร้อมกับขยายความว่า ความอ�ำมหิตของเส้นทางนี้ช่างสวนทางกับชื่อที่น่ารัก ฟรุ้งฟริ้งซะเหลือเกิน ส่วนจะโหดร้ายกันขนาดไหน นักปั่นสายทรมานบันเทิง ทั้งหลายไม่ควรพลาด

14 Travel

Travel ฉบั บ นี้ ไ ด้ จั น จิ ร า อิ น ทรศั ก ดิ์ ช่ า งภาพอิ ส ระและเจ้ า ของแฟนเพจ ดอยอ่างขาง 360 องศา ผู้ที่หลงรักดอยอ่างขางตั้งแต่แรกพบ มาบอกเล่า เรื่ อ งราวความประทั บ ใจที่ มี ต ่ อ สถานที่ แ ห่ ง นี้ พร้ อ มทั้ ง น� ำ ภาพสวยๆ ของดอยอ่างขางจากฝีมือการถ่ายภาพของเธอมาให้ได้ชมกัน

20 Interview

จ่อย - สเริงรงค์ วงษ์สวรรค์ บอกว่าเขาเป็นคน ‘เรื่องมาก’ แต่หลังจาก HIP ได้สนทนากับเขาแล้ว เราพบว่าความเรื่องมากเพราะต้องการให้งานของตัวเอง ออกมาดีที่สุดนี่ล่ะ ที่ท�ำให้ Rubber Killer แบรนด์ที่สเริงรงค์ก่อตั้งจนเป็นที่รู้จัก ได้รับการตอบรับด้วยดีอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน

3

b side


Bike Route

THE ROYAL PROJECT for cycling

รวมฮิตเส้นทางปั่นโครงการหลวง เรื่อง : Weekend Warrior ภาพ : HIP & Bike Section Team

เพื่ อ เป็ น การน้ อ มสั ก การะไว้ อ าลั ย ด้ ว ยความส� ำ นึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช อย่างหาที่สุดมิได้ และในวาระที่ นิตยสาร HIP ของเราพุ่งชนหลักกิโลปีที่ 13 ฉบับนี้ผมถือโอกาสแนะน� ำเส้นทาง ปั ่ น จั ก รยานท่ อ งเที่ ย วไปยั ง ศู น ย์ พั ฒ นาโครงการหลวงในพื้ น ที่ บ ริ เ วณโดยรอบ จังหวัดเชียงใหม่ ที่สวยงามเหมาะส�ำหรับนักปั่นขาฟรุ้งฟริ้งไปจนถึงขาแรง ซึ่งมีความ ยาก-ง่ า ย ตามแต่ เ ส้ น ทาง ก็ ว ่ า กั น ไปตามแต่ คุ ณ ผู ้ อ ่ า นสะดวกเลยแล้ ว กั น ครั บ กับ 13 โครงการหลวงน่าปั่น เริ่มต้นด้วย...

1. สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์

จุ ด เริ่ ม ต้น ของสถานี เ กษตรหลวงอิน ทนนท์ เริ่ ม จากพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หวั ทรงตระหนักถึงภัยคุกคามต่ อความมัน่ คงของประเทศ การท�ำไร่ เลือ่ นลอย การปลูกฝิ่ น และการตัดไม้ทำ� ลายป่ า ซึง่ ท�ำให้เกินปัญหาต่างๆ ตามมา จึงทรงมีพระราชประสงค์ให้ชาวเขามีพ้นื ทีท่ ำ� กินเป็ นหลักแหล่ง ส่งเสริมการปลูกพืช ทดแทนฝิ่ น เส้นทางการปัน่ จักรยานมีความท้าทายอย่างยิ่ง ไม่ยากเกินไปส�ำหรับ มือใหม่ และเป็ นระยะทางทีก่ ำ� ลังสนุกส�ำหรับขาแรง เริ่มต้นจากในตัวอ�ำเภอเมือง ปัน่ มาอ�ำเภอจอมทอง เลี้ยวขวาขึ้นดอยอินทนนท์ จนถึงหลักกิโลเมตรที่ 31 จะมี แยกขวามือ จากแยกนี้ไป 1 กิโลเมตรจะถึงสถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ 4

b side


2. สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง

ความส�ำคัญของสถานีเกษตรหลวงอ่างขาง คือเป็ นสถานีวจิ ยั แห่งแรก ของโครงการหลวง จัดตัง้ ขึ้นตามพระราชด�ำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทีว่ า่ ‘ให้ช่วยเขา ช่วยตัวเอง’ เส้นทางขึ้นสถานีเกษตรหลวงอ่างขางนี้เป็ นเส้นทาง ในฝันของนักปัน่ จักรยานหลายท่าน สามารถขึ้นได้สองทาง คือจากทางอ�ำเภอฝาง จากฝัง่ นี้ข้นึ ชัน แต่ไม่ยาวมาก เรียกว่าเจ็บแต่จบ ไต่ประมาณ 25 กิโลเมตรจนถึง ดอยอ่างขาง อีกเส้นทางคือขึ้นจากฝัง่ อ�ำเภอเชียงดาว แยกเมืองงาย เลี้ยวซ้าย ผ่านบ้านอรุโณทัย ฝัง่ นี้ไม่ชนั มากแต่ยาวประมาณ 45 กิโลเมตร เรียกว่าเจ็บ แต่ไม่จบ สรุปเป็ นเส้นทางทรมานบันเทิงทีน่ กั ปัน่ ควรต้องไปพิชติ ให้ได้สกั ครัง้ (อนึ่ง เส้นทางนี้แหละครับที่ บก. Bike Section เน้นนักเน้นหนาว่าเด็ดกว่า ดอยอินทนนท์!!!)

3. ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงขุนวาง

จุดเริม่ ต้นของศูนย์พฒั นาโครงการหลวงขุนวางนี้คล ้ายๆ กับสถานีเกษตรหลวง ดอยอินทนนท์ ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงทอดพระเนตรเห็นว่าบริเวณนี้ ยังมีการปลูกพืชเสพติดอยู่เป็ นจ�ำนวนมาก จึงเห็นควรส่งเสริมให้มกี ารปลูกพืช ชนิดอืน่ ๆ ทีม่ รี ายได้ทดั เทียมหรือดีกว่าการปลูกฝิ่ น จึงเป็ นจุดเริ่มต้นของโครงการ ดังกล่าว ส�ำหรับเส้นทางการปัน่ สามารถมาได้สองเส้นทาง คือมาทางสถานีเกษตรหลวง อินทนนท์ก่อน แล ้วปัน่ ไต่ดอยต่อมาอีกประมาณ 14 กิโลเมตรก็จะถึง แต่อกี เส้นทาง ทีถ่ อื ว่าเป็ นเส้นทางใหม่ และเพิง่ มีการท�ำถนนคอนกรีต สามารถเริ่มต้นจากในเมือง ปัน่ มาทางอ�ำเภอแม่วาง แล ้วปัน่ ผ่านแม่วางมาบ้านป๊ อก จนถึงบ้านห้วยเกีย๋ ง จากนัน้ เลี้ยวซ้ายอีกประมาณ 16 กิโลเมตร ซึง่ เส้นทางนี้มคี วามลาดชันพอสมควร และมี วิวทิวทัศน์ทส่ี วยงาม สามารถมองเห็นยอดดอยอินทนนท์ได้ชดั เจนจากเส้นทางนี้

4. ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงทุ่งเริง

อยู่ไม่ไกลจากตัวเมืองมากนัก สามารถปัน่ จักรยาน ไปกันได้แบบสบายๆ เหมาะส�ำหรับปัน่ ออกก�ำลังกาย ตอนเย็นหรือตอนเช้าได้สบายมาก เริ่มต้นจากตัวเมือง มาทางคลองชลประทาน จนถึงแยกหนองควาย (แยกสะเมิง) เลี้ยวขวามาทางสะเมิง ไปต่ออีกประมาณ 18 กิโลเมตร ตัง้ อยู่ทางขวามือทางเข้าหย่อมห้วยผักไผ่ ถ้านักปัน่ ท่านใด นึกไม่ออก ก็ให้นึกถึงร้านกาแฟท่าช้างฮิลล์เอาไว้ ปัน่ เลย ร้านกาแฟนี้ไปอีกหน่ อย ก็ถงึ ศู นยพัฒนาโครงการหลวง ทุ่งเริงแล ้ว (ในวงการจักรยานโรคจิต เขาเรียกเส้นนี้กนั ว่า ‘ศาลายอดเจ็ดพับ - ถ�ำ้ ตั ๊กแตน’ นัน่ เองงงงงงง)

5. สถานีเกษตรหลวงปางดะ

แรกเริ่มเดิมทีพ้ นื ที่แห่งนี้เป็ นสถานีทดลองข้าวไร่และธัญพืชเมืองหนาว สะเมิง เมือ่ ปริมาณความต้องการด้านพันธุพ์ ชื เริ่มมากขึ้นท�ำให้ผลิตต้นพันธุไ์ ด้ ไม่เพียงพอ จึงได้มกี ารขยายพื้นที่ และได้รบั พระราชทานชื่อใหม่ว่า ‘สถานี เกษตรหลวงปางดะ’ การปัน่ จักรยานมาสถานีเกษตรแห่งนี้สามารถมาได้สองทาง คือ จากทางแม่รมิ และทางหางดง ปัน่ มาเส้นสะเมิงตามปกติ เมือ่ ถึงสามแยกสะเมิง ที่มปี ้ อมต�ำรวจ ซึ่งนักจักรยานน่ าจะรู จ้ กั กันดี จากจุดนี้ไหลลงไปทางสะเมิง ประมาณ 1 กิโลเมตร สถานีเกษตรหลวงปางดะจะตัง้ อยู่ทางขวามือ 5

b side


6. ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงตีนตก

ในอดีต ตัง้ อยู่ ใ นหมู่บ า้ นเล็ก ๆ ห่ า งไกลความเจริ ญ ชาวบ้า นประกอบอาชีพ เกษตรกรรมมีรายได้นอ้ ย ความเป็ นอยู่ลำ� บาก จนกระทัง่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ จ�ำนวน 300,000 บาท เพือ่ ใช้เป็ นทุนทรัพย์ ในการก่อตัง้ ศูนย์พฒั นาโครงการหลวงตีนตก โดยมีเป้ าหมายให้เป็ นศูนย์สาธิตและส่งเสริม การเพาะเห็ดและกาแฟพันธุอ์ าราบิกา้ ให้แก่ราษฎร นอกเหนือจากการปลูกเมีย่ ง ซึง่ เส้นทาง การปัน่ จักรยานมา ถ้าบอกว่ามา แม่กำ� ปอง หรือร้านกาแฟชมนกชมไม้ ทุกท่านจะร้องอ๋อ (และอาจจะเอ๋อ) ขึ้นมาทันที แต่ศูนย์พฒั นาโครงการหลวงตีนตกอยู่ถงึ ก่อนหน้าไม่ไกลนัก และถ้าท่านใจถึงพอ แนะน�ำให้เลยต่อไปกิ่วฝิ่ นเลยครับ!

8. ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง หนองหอย

7. สถานีวิจัยโครงการหลวงแม่หลอด

ก่ อ ตั้ง ขึ้ น เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ประชาชนในพื้ น ที่ ใ ห้มี ความเป็ นอยู่ทด่ี ขี ้นึ เน้นการวิจยั กาแฟอาราบิกา้ ควบคู่ไปกับ การวิจยั พืชเสริมชนิดอืน่ ร่วมด้วย เป็ นเส้นทางการปัน่ จักรยาน ที่หลายท่านคุน้ เคยเป็ นอย่างดี นัน่ คือ ร้านกาแฟแป้ นเกล็ด ที่ตงั้ อยู่ประมาณกิโลเมตรที่ 57 จากเชียงใหม่ตามเส้นทาง ไปอ�ำ เภอปาย เมื่อ ถึง ร้า นกาแฟแป้ นเกล็ด เลี้ย วซ้า ยไปยัง น�ำ้ ตกหมอกฟ้ าอีกประมาณ 3 กิโลเมตรก็จะถึงสถานีวิจยั โครงการหลวงแม่หลอด น�ำ้ ตกธรรมชาติสวยงามจับใจครับ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เสด็จเยีย่ ม ราษฎรหมูบ่ ้านหนองหอย และทรงมีพระราชด�ำริ ว่าควรจะมีการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร เพราะบริเวณนี้ยงั มีการปลูกฝิ่ นอยู่มาก จึงได้ จัดตัง้ ศูนย์พฒั นาโครงการหลวงหนองหอยขึ้น เพือ่ แก้ปญั หาต่างๆ โดยเฉพาะปัญหาพืชเสพติด เส้นทางการปัน่ จักรยานทีอ่ ยากแนะน�ำให้ปนั ่ คือ จากอ�ำเภอเมืองมาอ�ำเภอแม่รมิ เลี้ยวซ้ายขึ้นทาง แม่สา (แม่รมิ - สะเมิง) ประมาณ 5 กิโลเมตร จะมีป้ายเลีย้ วขวา แยกแม่ขิ เส้นทางนี้เป็ นเส้นทาง ทีส่ วยงาม มีความชันก�ำลังพอดี (พอดี?) ไต่เขา สนุก สามารถชืน่ ชมกับวิวทิวทัศน์ได้เกือบตลอด เส้นทาง เมือ่ ถึงบ้านแม่ขิ จะเจอแยกซ้ายมือมา ศูนย์พฒั นาโครงการหลวงหนองหอย หรือท่าน สามารถมาจากทางม่อนแจ่มก็ได้นะครับ (อร่อย คนละแบบ อิอ)ิ

9. ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงวัดจันทร์

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั เสด็จเยี่ยมเยียนราษฎร ทรงทราบถึงความทุกข์ขากของชาวเขาในพื้นที่ จึงมีพระราชด�ำริ ให้มกี ารพัฒนา และจัดตัง้ ศูนย์พฒั นาโครงการหลวงวัดจันทร์ เพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ ส�ำหรับเส้นทางจักรยานในการปัน่ มา ถือว่าเป็ นเส้นทางทีย่ ากมากๆ เรียกว่าพอๆ กับการปัน่ ไปสถานี เกษตรหลวงอ่างขางเลยทีเดียว เริ่มต้นจากอ�ำเภอเมือง ออกมา ทางแม่ริม เลี้ยวซ้ายมาอ�ำเภอปาย ปัน่ มาตามเส้นทางเรื่อยๆ ก่อนจะถึงอ�ำเภอปายให้เลี้ยวซ้ายไปวัดจันทร์ ซึง่ ตรงเส้นทาง ที่จะไปวัดจันทร์น่ีแหละเป็ นจุดวัดใจเลยทีเดียวว่าจะไปต่ อ หรือจะไหลรถลงไปหาความศิวไิ ลซ์ในอ�ำเภอปาย ระยะทาง ทัง้ หมดจากอ�ำเภอเมืองมาจนถึงศู นย์พฒั นาโครงการหลวง วัดจันทร์ รวม 157 กิโลเมตร คาดว่าระยะเวลาในการปัน่ ไม่น่าจะต�ำ่ กว่า 6-7 ชัว่ โมง... ขอพลังจงสถิตอยู่กบั ท่าน... 6

b side


10. ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแม่สะป๊อก

เดิมเป็ นชุมชนของชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง ซึง่ ชาวเขาเหล่านี้ ท�ำไรเลือ่ นลอย มีการบุกรุกท�ำลายป่ าอย่างต่อเนื่อง ตลอดจน หาของป่ าเพือ่ ยังชีพ ความเป็ นอยู่ค่อนข้างล�ำบาก โครงการหลวง จึงเข้าไปด�ำเนินการส่งเสริมเศรษฐกิจ และจัดตัง้ เป็ น ‘ศูนย์พฒั นา โครงการหลวงแม่สะป๊ อก’ การปัน่ จักรยานไปเส้นทางนี้ไม่ยากและ ไม่งา่ ย เหมาะส�ำหรับเป็ นทริปวันหยุด ระยะทางไปกลับก�ำลังดี เริม่ ต้นจากตัวเมือง ออกมาทางคลองชลประทาน จนถึงแยกแม่วาง เลี้ยวมาทางแม่วาง มาตามทางหลักเรือ่ ยๆ จนถึงแยกซ้ายเข้าบ้าน แม่สะป๊ อกเหนือ ระยะทางประมาณ 70 กิโลเมตร

12. ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงม่อนเงาะ

ในอดีตชาวเขาเผ่าม้งอาศัยอยู่ดว้ ยการถางพื้นทีป่ ่ าเพือ่ ท�ำไร่เลือ่ นลอย ปลูกฝิ่ นและ พืชอืน่ ๆ แผนพัฒนาจึงได้ถกู ก�ำหนดขึ้นให้สอดคล ้องกับความต้องการของชาวเขา ด้วยการ ส่งเสริมให้ปลูกพืชทดแทนฝิ่ น เส้นทางการปัน่ เริ่มจากตัวเมือง ผ่านอ�ำเภอแม่รมิ มุง่ หน้า อ�ำเภอแม่แตง เลี้ยวซ้ายมาทางอ�ำเภอปาย จากนัน้ เลี้ยวขวาแยกขึ้นศูนย์พฒั นาโครงการหลวง ม่อนเงาะ (หน้าวัดสบเปิ ง) ระยะทางประมาณ 65 กิโลเมตร

13. ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแม่สาใหม่

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงเฮลิคอปเตอร์พระที่นงั ่ เสด็จผ่านไร่ฝ่ิ นทีก่ ำ� ลังออกดอกบาน และเสด็จพระราชด�ำเนินถึง หมูบ่ ้านชาวเขาเผ่าม้งแม่สาใหม่ พระองค์ทรงทอดพระเนตรเห็นสุกร ซึ่งเป็ นสัตว์เลี้ยงในการด�ำรงชีพตามวิถีชีวติ ของชาวม้ง ซึ่งสุกร มีขนาดเล็ก และพุงลากดิน ได้ทรงพระราชทานลูกสุกรพันธ์ดจี ำ� นวน 2 ตัวพร้อมพันธุพ์ ชื อาหารสัตว์เพือ่ การเพาะปลูก จึงเป็ นจุดเริ่มต้น ของศูนย์พฒั นาโครงการหลวงแม่สาใหม่ ซึง่ เส้นทางการปัน่ จักรยาน มาทีน่ ่นี นั้ ไม่ยากนัก จากอ�ำเภอเมืองมาทางอ�ำเภอแม่รมิ เลี้ยวซ้าย ไปสะเมิง จนถึงวัดโป่ งแยงเฉลิมพระเกียรติ จากวัดนี้เลี้ยวซ้าย ประมาณ 3 กิโลเมตรก็จะถึงศูนย์พฒั นาโครงการหลวงแม่สาใหม่ ระยะทางทัง้ สิ้น 38 กิโลเมตร

11. ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแม่แพะ

ก่อตัง้ เพือ่ ด�ำเนินงานศึกษาข้อมูลผลผลิตไปส่งเสริมแก่เกษตรกร ให้มคี วามรู ค้ วามสามารถในการเพาะปลู กอย่างถูกวิธี เส้นทางการปัน่ ถือว่าเป็ นเส้นทางที่ทรมานน่ องพอสมควร เริ่มต้นจากตัวเมือง ปัน่ มา อ�ำเภอสะเมิง สังเกตเส้นทางมาหมู่บา้ นแม่ตุงติง ระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตร ซึง่ ความทรมานจะเริ่มเกิดขึ้นจากสะเมิงมาถึงบ้านแม่ตงุ ติง จากนี้ ไ ปอี ก ไม่ ไ กลนัก ก็ จ ะเห็ น ศู น ย์พ ฒ ั นาโครงการหลวงแม่ แ พะ ถัดจากแม่ตุงติง (อ่านข้อมูลความเร่าร้อนของเส้นทางนี้ได้จากคอลัมน์ Bike Trip ‘ตุง้ ติ้งหฤโหด’ เพราะล่าสุด บก. Bike Section จัดให้เส้นทางนี้ ขึ้นเป็ นอันดับหนึ่งของชาร์ทเรียบร้อยแล ้ว)

พระราชกรณียกิจของพ่อหลวงแห่งปวงชนชาวไทยเรานี่สุดยอดเลยนะครับ สมกับทีเ่ ป็ นกษัตริยแ์ ห่งเกษตรกรรมจริงๆ เลยครับ เราๆ ท่านๆ ในฐานะประชาชนชาวไทย ต่างก็สำ� นึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ ทีท่ รงตรากตร�ำทรงงานหนักเพือ่ พสกนิกรของท่าน และในฐานะนักปัน่ ทีร่ กั การปัน่ จักรยานออกก�ำลังกายท่องเทีย่ ว เพือ่ ชมธรรมชาติทส่ี วยงาม และมักใช้สถานทีโ่ ครงการหลวงทัง้ หลายเป็ นจุดพักหรือจุดหมายในทริปปัน่ ขอน้อมร�ำลึกถึงพระองค์ท่าน และขอน้อมเกล ้าน้อมกระหม่อม ถวายความอาลัย กราบพระบาทส่งเสด็จสู่สวรรคาลัย ณ โอกาสนี้ดว้ ยครับ 7

b side


Bike Trip

TUNG TING ตุ้งติ้งหฤโหด เรื่อง: acidslapper ภาพ: Wachakorn Sriboonruang

ย้ อ นกลั บ ไปเมื่ อ เกื อ บหนึ่ ง ปี ก ่ อ น ผมเคยเขี ย นรวมฮิ ต เส้ น ทาง การปั่นจักรยานของเชียงใหม่เรื่อง ‘เทวากับซาตาน’ (HIP ฉบับธันวาคม 58) ซึ่งในคอลัมน์ได้เขียนถึง 10 เส้นทางหฤโหด ว่าด้วยปีศาจที่อัศวินนักปั่น ควรมาพิชิตให้ได้ เพื่อความเป็นสิริมงคลกับโปรไฟล์นักปั่นของท่าน 8

b side


เข็มนาฬกิ าเดินวนได้ไม่นานก็มอี สูรร้ายตัวใหม่ทยอยแวะเวียนกันมาสร้าง ความทรมานบันเทิงกันไม่ขาดสาย แม่แจ่ม (ฉบับมกราคม 59) และกิ่วฝิ่ น (ฉบับกันยายน 59) ซึง่ ผมได้นำ� มาเล่าใน Bike Section อยู่เนืองๆ ก่อนที่ การอัพเดทเส้นทางอ�ำมหิตจะเงียบหายไปเพราะถูกลักพาตัวโดยวสันตฤดู หยาดวรินทร์ทก่ี ระหน�ำ่ โหดจนท�ำให้ประเทศทีม่ ปี ญั หาภัยแลง้ ต้องเจอปัญหา อุทกภัยต่ออีก! มิหน�ำซ�ำ ้ พีๆ่ มักสาดเทลงมาเวลาทีเ่ ราจะออกปัน่ เสียด้วย! ใจร้ายจังเนาะ 555 (เสียงครวญจากเทรนเนอร์แบบสามลูกกลิ้ง) ล่ า สุ ด ! ผมได้มีโ อกาสไปเข้า ร่ ว มงานประเพณี ส งครามภายใน ของชมรมจักรยานซอยตันหรรษา ซึ่งมีช่ืองานว่า ‘SINGHA SOITAN GENTLEMEN’ S RACE’ หลายท่านคงผ่านหูผ่านตาในสังคมออนไลน์ มาบ้างแล ้วนะฮะ ก็ไอ้ทเ่ี ขาติด Hash Tag #ปิ ดซอยตีกนั นัน่ แหละครับ รายละเอีย ด การแข่ ง ขัน ทีม ที่เ ข้า ร่ ว ม และเกมการละเล่น นัน้ ไม่ใช่ประเด็นที่จะพูดถึงครับ เพราะประเด็นที่ผมจะน�ำเสนอก็คือเส้นทาง ในการแข่งต่างหาก! ถ้าท่านผูอ้ ่านอยู่ในแวดวงสังคมออนไลน์ชุมชนนักปัน่ แล ้วล่ะก็ ท่านคงจ�ำได้วา่ ช่วงสัปดาห์ตน้ เดือนตุลาคมทีผ่ า่ นมา หน้า Facebook Feed ของท่านคงจะปนเปื้ อนไปด้วยกระแสการบ่นก่นด่าถึงความโหดของทริป จักรยานอะไรสักอย่าง มันมาจากเส้นทางการปัน่ เส้นนี้น่แี หละครับ 555 เดีย๋ วฮะๆ ก่อนจะไปพูดถึงเส้นทาง ผมขอแนะน�ำผูร้ งั สรรค์เส้นทาง เพือ่ ให้เครดิตคนโรคจิตท่านนี้ก่อนครับ หมอนี่ไม่ใช่คนอืน่ คนไกลทีไ่ หนครับ ก็นกั เขียนคอลัมน์ใน Bike Section ของเรานี่แหละ ยามที่อาศัยอยู่ใน หน้ากระดาษ HIP แกจะสวมใส่นามปากกาว่า Weekend Warrior ไงครับ วิธกี ารออกแบบเส้นทางแกเล่าว่าไม่ยาก ก็เปิ ดแผนทีใ่ นอินเตอร์เน็ต ไล่หาระยะ ไปเรื่อยเปื่ อยให้ได้ประมาณ 120 กิโลเมตร ค�ำนวณดูระยะการไต่ความสูง และความชันให้ได้เกิน 2,000 เมตร และเกิน 20% ดาวน์โหลดออกมาเป็ นไฟล์ .GPX แล ้วอัพลงในมิเตอร์จกั รยาน แล ้วจึงลองไปปัน่ ทดสอบเพือ่ ประกอบการ ตัดสินใจ จนในทีส่ ุดแกก็คน้ พบเส้นทาง ซึง่ ผมยกให้เป็ น New Entry และ เบียดแซงอันดับสอง (ดอยอินทนนท์) และอันดับหนึ่ง (อ่างขาง) ขึ้นมาผงาดง�ำ้ อยู่บนต�ำแหน่งแชมเปี้ ยนไปในบัดดล! เส้นทางทีว่ า่ นี้กค็ อื อออออออ.... ‘แม่ตงุ ติง ราชันย์อำ� มหิต’ (ดูภาพความชันประกอบ) แหม ชื่อเส้นทาง ดูน่ารัก กระหนุงกระหนิง ตุง้ ติ้ง มุงมิ ้ ้ง กุง๊ กิง๊ เหลือเกิน แต่อย่าตัดสินเจ้าหล่อน จากชื่อนะคะ! เราเริ่มเส้นทางกันตัง้ แต่หน้าสนามกีฬา 700 ปี มุง่ ตรงขึ้นเหนือไปทาง แม่รมิ - แม่แตง เลี้ยวซ้ายท�ำทีเหมือนจะไปปายเลย อีตา Weekend Warrior บอกผมว่าถ้าเปรียบเป็ นเพลง เส้นทางช่วงนี้ยงั ไม่ถอื เป็ นท่อนอินโทรเลยนะ ไต่กนั มาจนถึงบ้านป่ าแป๋ (ชุมชนทีอ่ ยูร่ ะหว่างทางไปปาย) นี่แค่มอื กลองเคาะไม้ แก๊กๆๆๆ นับ “วัน ทู วัน ทู ทรี โฟร์” คุณแพะ! (ค�ำอุทาน) ถึงป่ าแป๋ ปบุ๊ เลี้ยวซ้ายเลยพ่อม้าหนุ่ม! เส้นทางถนนไม่เล็กไม่ใหญ่ลดั เลาะในชุมชนไปเรือ่ ยๆ สองข้างทางประดับไว้ด้วยวิวธรรมชาติ ภูเขาสวยงามตระการตา แต่ผมกล ้าพนัน ว่าจะไม่มใี ครได้ชมวิวทิวทัศน์พวกนี้หรอกครับ! 555 ก็พ่เี ล่นอุดมไปด้วย เนินคุณภาพระดับ 20%+++ สวรรค์ของนักไต่! ร่ายยาวไปจนถึงวันแม่ตงุ ติง ระยะทางร่วม 30-40 กิโลเมตร ใช้เวลาไปร่วม 4 ชัว่ โมง!!! แมะ แมะ แมะ (เสียงแพะภูเขาร้องด้วยความเจ็บปวด) ใครที่เ ตรี ย มตัว มาไม่ ดี ตอนนี้ ร่ า งกายและจิ ต ใจจะเริ่ ม ส�ำ แดง อาการอ่อนแอออกมาแล ้ว ไงล่ะ? นักดืม่ นอนน้อย ซ้อมน้อย กินอาหารไม่พอ พกน�ำ้ ไม่พอ ตุนขนมไม่พอ ฯลฯ เริ่มโปรแกรมชดใช้กรรม... เพราะนี่คอื นรก! ความชันระดับนี้แลว้ ดันยาวต่อเนื่องแบบหูพร่าตามัวกันถ้วนหน้า จะหวังให้ ร้านขายของช�ำข้างทางมี Power Bar ก็คงหมดสิทธิ์ แค่ถามซื้อยานวดตะคริว ยังไม่มเี ลย! อดทนกลืนกล�ำ้ ตอกย�ำ้ ลูกบันไดไปทีละจ�ำ้ อย่างแท้ทอ้ เหมือนเด็ก ไม่รกั เรียน งอแงอยากกลับบ้านตัง้ แต่คาบเรียนทีส่ อง

9

b side


วิทยาศาสตร์การกีฬาบอกผมว่า ส�ำหรับคนทัวๆ ่ ไปเนี่ย อาหารหนึ่งมื้อ จะสนับสนุนพลังชีพเราได้ประมาณ 3-4 ชัว่ โมง คนออกก�ำลังกาย 2-3 ชัว่ โมง และนักกีฬาในโหมดแข่งขันน้อยกว่า 2 ชัว่ โมงตามล�ำดับ เมือ่ คืนนี้ ผมตืน่ เต้น จนนอนไม่หลับ จึงใช้นำ�้ ยาอ�ำมฤตกล่อมเกลาจิตวิญญาณไป 2 กระป๋ อง ตกใจตื่นตอนเช้ามืด ตาลีตาเหลือกรีบท�ำทุกอย่าง กุลกี จุ อจนประมาทมื้อเช้า (ซึง่ ส�ำคัญมาก) ส�ำหรับทริปโหดๆ นี้ คิดในใจว่าแค่แซนวิชคู่หนึ่ง นมอีกกล่อง ก็พอ เดีย๋ วค่อยไปหาแวะกินเอาดาบหน้า ผิดถนัด! ผิดทุกข้อเลย! แล ้วผล ก็แสดงออกมาชัดเจน ไอ้ทเ่ี ขาว่า ‘กรรมมันติดจรวด’ นี่เรื่องจริง ตะคริวขึ้น ทัง้ ขา แม้แต่จดุ ทีค่ ดิ ไม่ถงึ ว่ามันจะเกิด เช่น หน้าแข้งเหนือข้อเท้าเนี่ยมันก็ยงั อุตส่าห์ตะคริวขึ้น ท�ำไงล่ะทิด? เลื้อยสิครับ! บรรยากาศเหมือนประเพณี จักรยานซิกแซกนานาชาติเลยครับ เลื้อยสยองโลกกันทัง้ ดอย 555 (อนึ่ง การเลื้อยคือการปัน่ ขึ้นดอยแบบซิกแซกเพื่อเลีย่ งความชันของเนิน ซึ่งการ ท�ำแบบนี้อนั ตรายเสีย่ งต่อการเกิดอุบตั เิ หตุหากมีรถสวนทาง ดังนัน้ ถ้าไม่จำ� เป็ น อย่าท�ำนะคะ ยาหยี!) จนแลว้ จนรอดเราก็พาตัวเองมาถึงชุมชนบ้านแม่ตุงติงจนได้ ปัน่ มา ตัง้ แต่ตหี ้าครึง่ ตอนนี้บา่ ยโมงแล ้ว ในตัวมีแต่ขนมหลอกเด็ก (เด็กดื้อ นอนน้อย และไม่ยอมกินข้าวเช้า) ระยะทางที่เหลือคือ 20 กิโลเมตรจะพุ่งชนเส้นชัย ที่อำ� เภอสะเมิง ห๊า! นี่ยงั ต้องอ้อมไปสะเมิงอีกเหรอเนี่ย! แมะ แม่ะ แม้ะ (เสียงแพะภูเขาโอดครวญกระเส่าอย่างแผ่วเบา) ตอนแรกเราก็คดิ ว่าคงจบแล ้ว ไม่มอี ะไรหนักกว่านี้แล ้ว ผิดมหันต์! เพลงนี้มที อ่ นฮุควนสองรอบก่อนจบครับ!

ช่วง 20 กิโลเมตรสุดท้ายนี้เนินชันมาก เรื่องค่ าความชันไม่รูค้ รับ ตาพร่ า ไปหมดแล ว้ ! ไต่ ข้ ึน มาด้ว ยความเร็ ว ระดับ ยุ ง บิน มากัด แขนได้ เนิบๆ หนืดๆ โหมดรักษาชีวติ เหมือนจะจบยอดดอย ปรากฏว่ามีป้ายเตือน ทางขึ้นเขาปักไว้อกี ! เอางี้เลยละกัน จอดตัง้ สติก่อน มีอะไรค่อยพูดค่อยจากัน ไอ้ทดิ เอ๊ย เอ็งจะตลกร้ายเกินไปแล ้ว! ลงยืนท่าไหนก็คา้ งอยู่ท่านัน้ กระดิกปุ๊ บ ตะคริวมาปั ๊บ ในใจคิดแผนเรื่อง “เลิกปัน่ จักรยาน ไปหากิจกรรมอย่างอืน่ ท�ำ ที่มนั อยู่ในร่ม อากาศเย็นๆ สบายๆ เป็ นมิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม เก๋ๆ ดีฝ่า!” “นี่ก็บ่ายสามโมงแลว้ แดดร้อนขนาดนี้ ท�ำไมเราถึงรู ส้ ึกหนาวอย่างงี้วา้ ?” “ร่างกายของเราผ่านขีดจ�ำกัดมาแล ้วสินะ” “ตอนแข่งหวังถ้วยรางวัล ยางรัวประจ� ่ ำ แต่ทำ� ไมวันนี้ยางมันไม่ยอมรัว่ ซะทีฟะ อยากขึ้นรถเซอร์วสิ จังเล ้ยยยยยยยย” รวบรวมพลังชีพเฮือกสุดท้ายกระทืบบันไดพุ่งเข้าเส้นชัยด้วยความเร็วสู ง (กว่าเดินนิดหน่อย) จอดรถด้วยการพิงเสาไฟฟ้ าไปทัง้ ตัว ไม่สามารถดีดเท้า ออกจากบันไดได้ พีต่ ะคริวสแตนด์บายรอรุมเล่นงานหลายจุด! เรื่องผลการแข่งขันนี่ไม่ตอ้ งพูดถึง ไม่มใี ครเขาสนกันหรอก เชอะ! หิวแทบขาดใจ สัง่ ข้าวมาเต็มโต๊ะ แต่ ดนั ไม่มีปญ ั ญากลืนอะไรลงได้เลย กลับบ้านนัง่ เล่นเฟสบุค๊ แบบตัวเบี้ยวๆ ทิ้งตัวลงนอนเหมือนโดนดึงปลั ๊ก กะทันหัน ภาพตัดพรึ่บ! ตื่นเช้ามา ปวดตัวราวกับว่าเมือ่ วานไปต่อยกับบัวขาว นัง่ เหม่อลอย เซาซึม หงอยเหงา ตาลอย อ้อยอิ่ง เข้าสู่โหมด Slow Life ของแท้! จิตใจลอยเลื่อน หู ยงั อื้อๆ ได้ยินไม่ค่อยชัด ประสาทรับรู แ้ ละ ตอบสนองประมวลผลล่าช้า นัง่ เท้าคางปล่อยกาแฟเย็นชืด ...และอุทานขึ้นว่า... “อยากกลับไปซ�ำ้ อีกสักครัง้ ว่ะ!” ...โอ้ววว เสพติด ความทรมาน! 10

b side


Bike Safe

WALK

Way Far

เดิน ทาง ไกล เรื่อง / ภาพ : @T

เนื่องในวาระที่ HIP Magazine เดินทางเข้าสู่ปีที่ 13 ประกอบกับ เชียงใหม่บ้านเราก�ำลังจะเข้าสู่ฤดูกาลที่อากาศดี๊ดีเหมาะแก่การออกทริป ระยะไกล ฉบั บ นี้ ผ มเลยมาแนะน� ำ 13 วิ ธี ก ารเตรี ย มตั ว ส� ำ หรั บ การ ปั่นจักรยานระยะไกลครับ

เตรียมเส้นทาง

1. ไปไหน? และทีส่ ำ� คัญกว่าคือ ไปทางไหน? - ไกลแค่ไหน? สภาพเส้นทาง เป็ นอย่างไร? และส�ำคัญกว่านัน้ อีกคือ แล ้วจะกลับอย่างไร? 2. เตรียมเผชิญกับสภาวะอากาศ แดด ลม ฝน หิมะ! ต้องการอุปกรณ์ต่างกัน 3. เตรียมเอกสารทีต่ อ้ งมีตดิ ตัว เอกสารทีถ่ า้ ไม่มแี ลว้ อาจเดือดร้อน ถูกจับ ข้ามแดนไม่ได้ ฯลฯ เช่น บัตรประชาชน Passport พร้อม Visa รูปถ่าย เอกสารแสดงว่ามีการประกันสุขภาพ ฯลฯ

เตรียมรถจักรยาน

4. เตรียมจักรยานให้เหมาะสมกับเส้นทางและผูข้ ่ี ว่ากันตัง้ แต่อตั ราทดเกียร์ ไปจนถึงอุปกรณ์ประกอบอืน่ ๆ (บังโคลน ไฟส่องสว่าง ไฟท้าย) เฟรม OEM ควรแขวนโชว์ไว้ทบ่ี า้ นเท่านัน้ ไม่ควรขึ้นขีโ่ ดยเด็ดขาดไม่วา่ กรณีใดๆ ดีกว่านัน้ คืออย่าซื้อเลย สูญเสียกันมานักต่อนักแล ้วกับการเห็นแก่ประหยัด แล ้วเอาชีวติ ไปแขวนไว้กบั เส้น (ใยคาร์บอน) บางๆ ซึง่ ไม่ได้มาตรฐานความปลอดภัย 5. ตรวจสอบสภาพทัว่ ไปของจักรยาน ตัง้ แต่ผา้ เบรค สายเบรค สายเกียร์ ยางนอก ยางใน โซ่ ถ้ามีสภาพไม่น่าไว้ใจเหมือน บก. Bike Section อย่าเอาไว้ เปลีย่ นเลย ดีกว่าไปเสียอารมณ์ในทริป ไปเป็ นภาระเดือดร้อนเพือ่ นฝูงในทริป 6. เตรียมอุปกรณ์พกพาและอะไหล่ให้พร้อม แบ่งกันในกลุม่ ก็ได้ อุปกรณ์ บางอย่างใช้บอ่ ยก็ควรพกของใครของมัน เช่น ยางใน ชุดปะยาง แต่บางอย่าง ใช้ไม่บอ่ ย เช่นชุดตัดโซ่ เลือ่ ยวงเดือน แท่นขุดเจาะก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทย! ไม่ตอ้ งเอาไปซ�ำ้ กัน

เตรียมคน

7. ซ้อมปัน่ ให้พอ โดยเฉพาะถ้าระยะไต่มากๆ ความแข็งแรงที่ไม่เพียงพอ อาจหมายถึงการเดินจูงรถจักรยานเป็ นระยะทางไกลๆ... จักรยานเสือภูเข็น! 8. ซ้อมกิน ซ้อมดื่ม ตอนซ้อมกินอย่างไร ตอนเดินทางก็ควรกินอย่างนัน้ อย่าลองของใหม่หรือเห็นแก่อาหารฟรีหน้างาน ส่วนการดืม่ ก็ควรดืม่ ให้พอดี อย่าให้ถงึ กับพูดไม่รูเ้ รื่อง เดินไม่ตรง และอย่าลืม... พักผ่อนให้เพียงพอ

เตรียมรับมือสิง่ ทีไ่ ม่อยากให้เกิด บาดเจ็บ เจ็บป่วย ฉุกเฉิน

9. เครื่องมือสือ่ สาร (พร้อมซองกันน�ำ้ ) หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉินในท้องถิน่ (เน้นว่าในท้องถิน่ ด้วยนะ) 10. เตรียมความสามารถในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น รูไ้ ว้มปี ระโยชน์นะ 11. เตรียมข้อมูลส่วนตัว ยาที่แพ้ หมายเลขที่ติดต่ อได้ในกรณี ฉุกเฉิ น ใส่กระดาษเคลือบกันน�ำ ้ หรือสลักใส่แผ่นเหล็กห้อยคอ Dog Tag แบบทหาร สงครามเวียดนามประมาณนัน้ เลย 12. เงิน บัตรเครดิต ประกันฯ หรือเอกสารอืน่ ๆ ทีจ่ ำ� เป็ น

เตรียมใจ

13. เตรียมใจ สนุกกับความเหนื่อยล ้าและปัญหาทีต่ อ้ งเผชิญ ถ้าตอนเหนื่อยๆ แล ้วคุณมีความคิดว่า “นี่เรามาท�ำอะไรทีน่ ่ี ท�ำไมไม่นอนอยู่ทบ่ี ้าน” แสดงว่าคุณ ยังไม่บรรลุนิตภิ าวะในการออกทริป! แต่ถา้ คุณรูส้ กึ ว่า “โชคดีจงั เลยทีอ่ ยู่ทน่ี ่ี ในสภาพนี้ ตอนนี้” ถือว่าเสพติดเข้าขัน้ แล ้ว 11

b side


Bike Special

The Story of

CHIANGKHAN CYCLING บันทึกปั่นเชียงคาน (ครั้งแรก) เรื่อง : สมชาย ภาพ : HIP Team

เมือ่ ต้นเดือนตุลาคมทีผ ่ า่ นมา ฝ่ายกิจกรรม ของสายการบินไทยแอร์เอเชีย โทรมาชวนไปปั่น จักรยานที่ เชียงคาน จังหวัดเลย เรือ่ งของเรือ่ งคือ เขามีการจัดการแข่งขันจักรยานเสือภูเขากันที่นั่น และแอร์เอเชียเป็นสปอนเซอร์ ตัวผมไม่มจี กั รยาน เสือภูเขา แต่ก็อยากไปเที่ยวและไปปั่นจักรยาน ทีเ่ ชียงคาน (เพราะไม่เคยไปทีน่ นั่ ได้ยนิ แต่เสียงร�ำ่ ลือ) จึงถามทางแอร์เอเชียไปว่า ขอไปปัน่ จักรยานด้วย (เที่ ย วด้ ว ย) โดยจะไปหาเส้ น ทางปั ่ น แถวๆ เชียงคานดูจะได้มยั้ ? ทางแอร์เอเชียบอกไม่มปี ญ ั หา อย่างนัน้ ผมก็เซ็ตทีมเตรียมรถถีบ เพือ่ เดินทางไป ปั่นเชียงคานกัน...

เสาร์ 8 ตุลาคม 2559, พวกเรา 4 คน โหลดจักรยาน 4 คัน (เสือหมอบ 3 รถจักรยานพับล ้อ 20” อีก 1) บินจาก เชียงใหม่ไปถึงดอนเมืองราวบ่ายสองโมง ก่อนทีจ่ ะต่อเครื่อง จากดอนเมือง ซึ่งแอร์เอเชียมีไฟลท์บนิ ไปจังหวัดเลยตอน บ่ายสี่โมงกว่าๆ ไปถึงสนามบินเลยประมาณห้าโมงครึ่ง แล ว้ ทางแอร์เ อเชีย ก็ จ ดั รถตู ม้ ารับ พวกเราจากสนามบิน ต่อไปยังอ�ำเภอเชียงคาน (อีกประมาณ 60 กม.) เรียกว่า ถึงโรงแรมที่พกั ตอนค�ำ่ ๆ ก็ได้เวลาอาหาร (หิว) กันพอดี เราได้นอนโรงแรมที่ดา้ นหน้าโรงแรมอยู่ ติดถนนคนเดิน เชียงคานและด้านหลังอยู่ติดแม่นำ�้ โขง เรียกได้ว่าได้นอน ใจกลางย่านฮิตของเชียงคานเลยก็วา่ ได้ พู ด ถึง การเดิน ทางไปเชีย งคาน ด้ว ยสายการบิน แอร์เอเชีย ส�ำหรับนักท่องเทีย่ วทีบ่ นิ จากดอนเมือง ต้องบอกว่า สะดวกมากๆ เพราะมีบนิ ออกจากดอนเมืองวันละ 2 เทีย่ ว เที่ยวแรกสายๆ 10:15 น. อีกเที่ยวคือตอน 16:20 น. ที่สะดวกกว่านัน้ คือ แอร์เอเชียมีบริการเชื่อมต่อรถตูจ้ าก สนามบินไปถึงเชียงคานได้เลยตัง้ แต่ ตอนจองเครื่องบิน

ไม่ตอ้ งเสียเวลาไปหารถตูต้ ่อที่สนามบิน (การเชื่อมต่อด้วย รถตูน้ ้ มี ใี ห้บริการทัง้ ขาไปและขากลับ) ไม่ถึงกับเช้ามากของวันอาทิตย์ 9 ตุลาคม 2559 ซึ่งเป็ นวันที่เขามีงานแข่งขันจักรยานเสือภูเขาในเชียงคาน แต่ พ วกเราขอเลือ กเส้น ทางปัน่ จากโรงแรมที่พ กั ใจกลาง เชียงคานไปยังอ�ำเภอปากชม จากการสอบถามคนทีน่ นั ่ และ ดูจาก Google Map ก็พบว่ามีถนนเลียบแม่นำ�้ โขง ระยะทาง วันเวย์ประมาณ 40 กม. ค�ำนวณแล ้วว่าถ้าปัน่ กันแบบสบายๆ ปัน่ ไปแบบไม่เร่ งรีบนัก เพราะ 3 เสือหมอบ ต้องปัน่ รอ จักรยานพับด้วย ไปถึงปากชม กินข้าว กินกาแฟ แล ้วปัน่ กลับ ก็ได้ระยะทางประมาณ 80 กม. น่าจะก�ำลังดี ขาไปช่ วงเวลาประมาณ 08:30-10:00 น. วันนัน้ แดดไม่ค่อยจะมีและอากาศเย็นสบาย เส้นทางช่ วงแรกๆ 12

b side


ปล่อยให้เสือหมอบอีกคันปัน่ ความเร็วท่องเทีย่ วดูแลรถพับไป ขากลับพอได้ใช้ความเร็วมากขึ้นกว่าขาไป และปัน่ ในช่วงที่ ถนนดีก็เรียกได้ว่าปัน่ กันสนุ กเลยล่ะครับ พอกลับเข้ามาถึง เชีย งคานแล ว้ ก็ เ ลยลองปัน่ เบาๆ เลีย บน�ำ้ โขงตรงเส้น ในตัวเมืองเชียงคานดู แวะถ่ายรู ปโน่ นนี่บา้ ง กว่าจะกลับ เข้าโรงแรมก็บ่ายสองแลว้ ครับ หาอะไรเย็นดื่มที่รา้ นอาหาร ริมโขงกันดีกว่า สรุประยะทางปัน่ กันไปประมาณ 85 กม. (ซึง่ เอาเข้าจริงๆ ก็รูส้ กึ ว่าถ้าได้อกี สัก 30-40 กม. ก็น่าจะดี) จันทร์ 10 ตุลาคม 2559, ฝนตกแต่เช้ามืด และเรา (บางคน) ก็ต่ืนแต่ เช้ามืดเช่ นกัน เพื่อใส่บาตรข้าวเหนียว ทีด่ า้ นหน้าโรงแรม ตอนพระมาบิณฑบาตร ฝนขาดเม็ดไปแล ้ว ใส่บาตรเสร็จ ผมก็กนิ อาหารเช้าทีโ่ รงแรม ก่อนจะปัน่ รถพับ FSIR 20” ออกไปส�ำรวจตัวเมืองเชียงคาน ซึ่งบอกเลยว่า ถ้าหากจะปัน่ แค่ในตัวเชียงคาน ใช้รถพับสะดวกทีส่ ุดครับ จากช่วงก่อนเทีย่ งไปจนบ่ายแก่ๆ ก่อนทีจ่ ะไปสนามบิน จังหวัดเลย ทางแอร์เอเชียก็พาเทีย่ วชมของดีเมืองเชียงคาน อย่างเช่น แก่งคุด้ คู ้ และของดีจงั หวัดเลยอีกหลายที่ แต่มี ที่หนึ่งที่ผมอยากจะแวะไปดู ก็คือ ‘ห้องสมุด อัสนี-วสันต์ โชติกุล ’ ที่ส องพี่น อ้ งศิ ล ปิ น เพลงมาสร้า งไว้ท่ีโ รงเรี ย น ในตัวจังหวัดเลย ส�ำหรับผม-ถ้าใครชวนไปเชียงคานอีก ก็อยากจะไป นะครับ แต่ อยากไปเพื่อปัน่ จักรยานมากกว่าไปเที่ยวเล่น นัง่ ชิลล์ เพราะรูส้ กึ ว่า แถวๆ นัน้ ยังมีอกี หลายเส้นทางให้ได้ ไปลอง หรือจะว่าไปแลว้ คนที่ปนั ่ จักรยานคงเป็ นโรคแบบ ถ้าได้ไปปัน่ ในเส้นทางใหม่ๆ ทีไ่ ม่เคยปัน่ ทีไ่ ม่คนุ ้ เคย ทีไ่ หนๆ ก็สนุกหมดนัน่ แหละ

จะมีถนนที่กำ� ลังปรับก�ำลังท�ำอยู่บา้ ง แลว้ ก็มี Bike Lane ให้ใช้ดว้ ย แต่พอหลังจากออกมานอกตัวอ�ำเภอแล ้ว ก็พบว่า ถนนค่อนข้างจะดีมาก ถึงแม้ว่าจะไม่มี Bike Lane แต่ก็ ไม่ค่ อ ยจะมีร ถยนต์ว่ิง มากนัก ท�ำ ให้ป นั ่ กัน แบบสบายๆ หมอบปัน่ ไป รอจักรยานพับไป ด้วยความเร็วท่องเทีย่ ว มีเนิน ให้เ ล่น อยู่ บ า้ ง แต่ เ ส้น นี้ ก็ ไ ม่ ไ ด้มีเ นิ น อะไรที่ช นั หนัก หน าเหมือนกับเนินทีค่ ุน้ เคยแถวๆ บ้าน (จากแม่เหียะขึ้นดอย ไปทางสะเมิง) อีกทัง้ ด้านซ้ายมือก็พอจะมีแม่นำ�้ โขงให้ได้เห็น เป็ นระยะ จนกระทัง่ ปัน่ มาได้เกือบ 40 กม. ใกล ้จะถึงจุดที่ ตัง้ ใจไว้ ทางรถตูเ้ ซอร์วสิ ซึง่ เป็ นคนท้องถิน่ แนะน�ำว่ามีรา้ น อาหารริมแม่นำ�้ โขง มีปลาและมีสม้ ต�ำให้กนิ บรรยากาศดีกว่า นัง่ กินร้านในเมือง เมือ่ บอกกันขนาดนัน้ ก็ตอ้ งแวะซิครับ นัง่ กินกันไปเพลินๆ เวลาขยับเข้าไปใกล ้เทีย่ ง อากาศ ทีว่ า่ ดีๆ ในตอนสายๆ เปลีย่ นเป็ นแดดร้อนเปรี้ยง แต่ไหนๆ เราก็มาถึงตรงนี้แลว้ เลยคุยกันว่า ขอปัน่ เข้าไปหากาแฟกิน ทีต่ วั ปากชมก่อนทีจ่ ะปัน่ กลับเชียงคานดีกว่า แต่เอาเข้าจริงๆ ปัน่ เข้าไปแลว้ ก็หาร้านกาแฟนัง่ ไม่ได้ เพราะร้านที่มีอยู่ 2-3 ร้านปิ ด ก็เลยตัดสินใจว่า อย่างนัน้ ปัน่ กลับไปหาอะไรดืม่ ทีเ่ ชียงคานดีกว่า (ตอนนัน้ คิดว่าไม่กนิ แล ้วกาแฟ ถ้ากลับไปถึง คงหาอะไรเย็นๆ ขมๆ ดืม่ ให้ช่นื ใจดีกว่า) ว่าแล ้วเสือหมอบ 2 คัน ก็ ล องใช้ค วามเร็ ว แบบหนี แ ดด ปัน่ เข้า เชีย งคาน

ขอขอบคุณ: สายการบินไทยแอร์เอเชีย จากกรุงเทพ (ดอนเมือง) ไป-กลับ จังหวัดเลย (ต่อไป เชียงคาน) วันละ 2 เที่ยวบิน ดูรายละเอียดได้ที่ www.airasia.com

13

b side


Travel

THE STORY OF Angkhang ดอยอ่างขาง 360 องศา เรื่อง / ภาพ : จันจิรา อินทรศักดิ์

ย้อนไปเมื่อหลายปีก่อน ได้มีโอกาสได้ไปถ่ายภาพงานที่ดอยอ่างขาง จ�ำได้ว่าช่วงที่ ไปนั้นเป็นเดือนสิงหาคม ฝนตกแทบทุกวัน แทบไม่มีแสงแดดให้เห็น ทั่วทั้งดอยชุ่มฉ�่ำไป ด้วยสายฝน มองไปทางไหนก็เขียวขจีไปหมด แต่ห ลัง ฝนซาเราก็ได้พ บเจอความ มหัศจรรย์ของดอยอ่างขาง หมอกบางๆ ลอยเอื่อยๆ อยู่ท่ามกลางขุนเขาน้อยใหญ่ นัน่ คือภาพประทับใจภาพแรกของเราทีน่ ่ี ในครัง้ นัน้ ได้มโี อกาสเข้าไปถ่ายภาพในแทบทุกพื้นที่ของดอยอ่างขาง ไม่ว่าจะเป็ นด้านในสถานีเกษตร ไร่ชาแปลง 2000 ไร่สตรอเบอรี่บา้ นนอแล แปลงผักอินทรียท์ บ่ี า้ นขอบด้ง โรงเลี้ยงแพะ หมูบ่ า้ นขอบด้ง หมู่บา้ นนอแล เจ้าหน้าที่ของสถานีเกษตรก็คอยอธิบายถึงความเป็ นมาของดอยอ่างขาง และให้ความรู ้ เกี่ยวกับการปลูกผักท�ำไร่ต่างๆ และในทุกครัง้ เจ้าหน้าทีก่ จ็ ะกล่าวถึงในหลวงอยู่ตลอดเวลา ท�ำให้เราได้เห็น ความตัง้ ใจของในหลวง ทีพ่ ยายามจะเปลีย่ นดอยหัวโล ้นทีเ่ ต็มไปด้วยฝิ่ นและท�ำไร่เลือ่ นลอย ให้กลายเป็ น ดอยอ่ างขางที่เต็มไปด้วยพืชผักเมืองหนาวนานาพันธุ ์ หลังจากนัน้ เป็ นต้นมาเราก็หลงเสน่ หข์ องที่น่ี เพราะมีมมุ ให้ถา่ ยภาพสวยๆ เยอะมาก และผูค้ นทีน่ ่กี น็ ่ารักมากเช่นกัน ไม่วา่ จะเป็ นเจ้าหน้าทีห่ รือชาวบ้าน การมาเยือนในแต่ละครัง้ เรามักจะได้พบกับมิตรภาพใหม่ๆ เสมอ เรียกได้ว่าช่วงเวลา 6-7 ปี ทผ่ี ่านมา ขึ้นมาเทีย่ วบ่อยมาก จนแทบจะกลายเป็ นบ้านหลังทีส่ องไปแล ้ว

14

b14 side b side


นัก ท่ อ งเที่ยวทัว่ ไปที่ม าเที่ยวดอยอ่ า งขาง ส่วนมากอยากจะ มาเยือ นเพราะอยากชมวิว สวยๆ อยากมาสัม ผัส กับ อากาศหนาวๆ บนดอย แต่ส่วนใหญ่มากินมาเทีย่ วแล ้วก็จากไป หลายครัง้ ทีม่ กั จะบอก กับเพือ่ นๆ ทีม่ าเทีย่ วหรือถ่ายรูปด้วยกันว่าอยากให้มาเทีย่ วดอยอ่างขาง ไม่ใช่แค่มาสัมผัสกับอากาศดีๆ ชมวิวสวยๆ แต่อยากให้มาดูวา่ ในหลวง ได้ทำ� อะไรให้กบั ชาวบ้านที่น่ีบา้ ง เราก็ได้แต่บอกเพือ่ นๆของเราเท่านัน้ ก็เลยเกิดความคิดว่า ไหนๆ รูปก็มเี ยอะแล ้ว ขึ้นมาเทีย่ วบนดอยอยูบ่ อ่ ยๆ มาเทีย่ วทุกฤดู เอารูปทีเ่ ราได้ถ่ายไว้แบ่งให้คนอืน่ ได้ดูดว้ ยดีกว่า จึงท�ำ Fanpage Facebook ขึ้นมา โดยตัง้ ชื่อเพจว่า ‘ดอยอ่างขาง 360 องศา’ (www.facebook.com/doiangkhang.story) ในช่วงแรกเราก็โพสต์

อยู่คนเดียว ส่วนมากจะโพสต์รูปวิวทิวทัศน์ แนะน�ำสถานที่ท่องเที่ยว บนดอยอ่างขาง ไม่คดิ ว่าจะมีคนให้ความสนใจเยอะมาก คิดว่าท�ำคนเดียว คงไม่ไหวแน่ ๆ จึงได้ชกั ชวน คุณค�ำใส เจ้าของเพจ ‘เช้านี้ท่อี ่างขาง’ มาช่วยค่ะ พีเ่ ขาเป็ นเจ้าหน้าทีโ่ รงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลอ่างขาง ชอบถ่ายรูป แลว้ ก็อยู่บนดอยเกือบทัง้ ปี ก็ช่วยโพสต์อพั เดทวิวสวยๆ บนดอยให้ไ ด้ช มกัน ก็ ส ลับ ๆ กัน โพสต์ภ าพค่ ะ มีเ พื่อ นช่ า งภาพ ทีไ่ ด้ไปดอยอ่างขางส่งภาพมาให้โพสต์บ ้าง ช่วยกันตอบข้อความ ข้อความ ทีส่ ่งมาถามมีแทบทุกวัน โดยเฉพาะช่วงหน้าหนาวข้อความจะเยอะมาก เป็ นพิเศษ ส่วนมากก็จะถามเกีย่ วกับวิธกี ารเดินทาง ทีพ่ กั สถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว สภาพอากาศ เราก็ให้ขอ้ มูลเบื้องต้นกับเพือ่ นๆ ทีส่ นใจจะมาเทีย่ วค่ะ 15

b side


ดอยอ่างขางมีจดุ ท่องเทีย่ วอยู่หลายแห่ง เช่น สถานีเกษตรหลวง อ่างขาง มีจดุ เทีย่ วชมส�ำหรับนักท่องเทีย่ ว ทัง้ สวนกลางแจ้งและโรงเรือน โดยทางสถานีได้ปลูกพืช ผัก ผลไม้ เมืองหนาว มีเส้นทางเดินศึกษา ธรรมชาติ มีนกให้ชมหลากหลายสายพันธุ ์ โดยเฉพาะช่วงฤดู หนาว จะมีนกอพยพเข้ามาเป็ นจ�ำนวนมาก นอกจากนัน้ ยังสามารถเทีย่ วชมวิถชี วี ติ ของชาวเขาได้ทห่ี มู่บา้ น ขอบด้งและหมูบ่ า้ นนอแล ชมไร่ชาแปลง 2000 ไร่สตรอเบอรี่บา้ นนอแล ชมพระอาทิตย์ข้นึ ได้ตรงจุดชมวิวม่อนสน หรือถ้าอยากจะเป็ นผูพ้ ชิ ติ ยอดดอยอ่างขาง ที่ระดับความสู ง 1,928 เมตรจากระดับน�ำ้ ทะเล ก็สามารถเดินขึ้นไปได้ โดยใช้เวลาเดินประมาณ 30 นาที ทีจ่ ดุ ชมวิว ด้านบน เราจะมองเห็นดอยอ่างขางได้แบบ 360 องศาเลยค่ะ 16

b side


ดอยอ่างขางนัน้ มีเสน่หท์ กุ ฤดู ไม่วา่ จะเป็ นฤดูไหนๆ ก็มาเทีย่ วได้ อย่างฤดูรอ้ นแม้ในเมืองจะอากาศร้อนมาก แต่อากาศบนดอยเย็นสบาย ดอกไม้เมืองหนาวก็ยงั เบ่งบานสะพรัง่ ไปทัวทั ่ ง้ สถานีเกษตร นักท่องเทีย่ ว ไม่เยอะมาก เหมาะกับการมาพักผ่อนชื่นชมธรรมชาติ ส่วนฤดู ฝน เป็ นฤดูทช่ี อบมากทีส่ ุด เพราะมีโอกาสจะได้เจอกับทะเลหมอกมากกว่า ฤดูอน่ื ๆ คนทีช่ อบถ่ายรูปเรามักจะเรียกฤดูกาลนี้วา่ ฤดูแห่งการล่าหมอก บนดอยอ่างขางมีจดุ ชมทะเลหมอกอยู่หลายจุด เช่น จุดชมวิวม่อนสน เป็ นจุดทีถ่ า่ ยทะเลหมอกยามเช้าได้สวยทีส่ ุด วันไหนฝนตกหนัก เช้าตรู่ อีกวันไปรอได้เลย มีทะเลหมอกให้ได้ช มกันแน่ ๆ แม้ในยามบ่าย ก็มโี อกาสได้เจอทะเลหมอกเช่นกัน อย่างจุดชมวิวบ้านนอแลใกล ้ๆ กับ ค่ายทหาร หลังฝนซาหมอกมักจะลอยเอือ่ ยๆ มาตามร่องเขาผ่านแนว ต้นสน ค่ อยๆ เคลือ่ นผ่านหมู่บา้ นไป สวยอย่างกับภาพวาดเลยล่ะ แต่ อาจจะเดินทางมายากสักหน่ อยเพราะฝนมักจะตกหนักถนนลื่น เรียกว่าถ้าไม่รกั ทีน่ ่จี ริงๆ คงไม่มใี ครดัน้ ด้นขึ้นมาแน่ๆ ส่วนฤดูหนาวนัน้ เรียกได้ว่าเป็ นช่ วงที่สวยที่สุดของดอยอ่ างขาง เพราะแทบทัง้ ดอย จะกลายเป็ นสีชมพู ดอกซากุระสีหวานและดอกนางพญาเสือโคร่ ง จะพร้อมใจกันเบ่งบานไปทัว่ ทัง้ ดอย โดยเฉพาะด้านในสถานีเกษตร จะเป็ นซากุระแท้ๆ ที่ทางโครงการได้เพาะพันธุ เ์ อง มีทงั้ ซากุระญี่ป่ ุน ซากุระไต้หวัน และมีการปลู กเพิ่มทุกปี ณ วันนี้ปลู กทัว่ สถานีแลว้ อยากชมซากุระแท้ในประเทศไทยต้องมาชมกันทีด่ อยอ่างขางนะคะ

17

b side


จ�ำรัส อินทร 001 ต�ำนานแห่งโครงการหลวง

ลุงจ�ำรัสเป็ นคนอารมณ์ดี ยิ้มง่าย หัวเราะร่าเริงอยู่เสมอ เมือ่ ได้เจอกัน 001 แทบจะกลายเป็ นชื่อเรียกแทนตัวของลุงจ�ำรัส ไปซะแล ้ว ทีม่ าของรหัส 001 ก็เพราะลุงจ�ำรัส เป็ นเจ้าหน้าทีค่ นแรก ที่ข้ ึน ทะเบีย นกับ มูล นิ ธิโ ครงการหลวง ลุง เคยเล่า ให้เ ราฟัง ว่า ได้ข้ นึ มาท�ำงานที่ดอยอ่างขางตัง้ แต่ปี 2514 ตัง้ แต่ดอยอ่างขาง ยังไม่มถี นนหนทางขึ้นมาเลย การเดินทางแต่ละครัง้ ยากล�ำบากมาก กว่าจะถึงต้องใช้เวลาเกือบทัง้ วัน ทัง้ ดอยในตอนนัน้ เต็มไปด้วยฝิ่ น มีการท�ำไร่เลือ่ นลอย ตัดไม้ท�ำลายป่ าจนแทบจะไม่เหลือต้นไม้ใหญ่ สักต้น เรียกว่าดอยหัวโล ้นก็คงไม่ผดิ นัก ลุงบอกว่าภูมใิ จทีไ่ ด้ทำ� งาน เพื่อในหลวง เพราะได้เห็นท่านทรงงานหนักมาก การเปลี่ยน ดอยหัวโลน้ ให้กลายเป็ นผืนป่ าที่อุดมสมบูรณ์อย่างทุกวันนี้ไม่ใช่ เรื่องง่าย แต่ในหลวงท่านทรงท�ำได้ ท่านท�ำเพือ่ ประชาชนของท่าน โดยไม่รูจ้ กั ค�ำว่าเหน็ดเหนื่อยเลย เวลาทีล่ งุ เล่าเรื่องราวในวันเก่าๆ ให้เราฟังนัน้ ในแววตาของลุงมีแต่ความรูส้ กึ ประทับใจ ซาบซึ้งใจ ในพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระองค์ทา่ นอย่างเปี่ ยมล ้น ลุงเคยบอกว่า คงท�ำงานทีน่ ่จี นกว่าจะเกษียณนัน่ แหละ ลุงรักทีน่ ่ี รักทีจ่ ะได้ทำ� งาน ให้กบั ในหลวง... แม้ตอนนี้ลงุ จ�ำรัสจะเกษียณไปแล ้ว แต่ลงุ ก็ยงั คง ถ่ายทอดวิชาความรูใ้ ห้กบั คนรุ่นหลังอย่างต่อเนื่อง ด้วยการเป็ น วิทยากรให้กบั ทางสถานีเกษตร

ABOUT ME

จันจิรา อินทรศักดิ์

ช่างภาพอิสระ ที่หลงรักดอยอ่างขางตั้งแต่แรกพบ เจ้าของแฟนเพจ ‘ดอยอ่างขาง 360 องศา’ www.facebook.com/doiangkhang.story ตั้งใจถ่ายทอดความสวยงามของดอยอ่างขางผ่านรูปถ่าย อยากชวนให้ออกมาเที่ยวตามรอยพ่อด้วยกันค่ะ 18

b side


สถานที่ตั้งและประชากร

สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง ตัง้ อยู่ในเขตหมู่บา้ นคุม้ หมู่ท่ี 5 ต.แม่งอน อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ อยูบ่ นดอยอ่างขาง อยูส่ ูงจากระดับน�ำ้ ทะเล ประมาณ 1,400 เมตร มีพ้นื ทีท่ ใ่ี ช้ทำ� การเกษตรในงานวิจยั ประมาณ 1,989 ไร่ มีหมูบ่ า้ นชาวเขาทีท่ างสถานีฯ ให้การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ รวม 9 หมู่บา้ น ได้แก่ บ้านหลวง บ้านคุม้ บ้านนอแล บ้านปางม้า บ้า นป่ าคา บ้า นขอบด้ง บ้า นผาแดง บ้า นสิน ชัย และบ้า นถ�ำ้ ง๊อบ ซึง่ ประกอบไปด้วยประชากร จ�ำนวน 4 เผ่า อันได้แก่ ไทยใหญ่ มูเซอด�ำ ปะหล่อง และ จีนยูนนาน

การด�ำเนินงานของสถานีเกษตรหลวงอ่างขาง

1. เป็ นสถานีดำ� เนินงานวิจยั หลักของโครงการวิจยั ต่างๆ โดยเฉพาะ งานวิจยั ไม้ผลเขตหนาวและงานวิจยั ป่ าไม้ และงานเกษตรทีส่ ูง เนื่องจาก ตัง้ อยู่ในพื้นทีท่ ม่ี อี ากาศเย็นตลอดปี นับเป็ นสถานีวจิ ยั ไม้ผลเมืองหนาว ทีส่ ำ� คัญทีส่ ุดของประเทศไทย ทีไ่ ด้ดำ� เนินการศึกษาวิจยั และขยายพันธุ ์ พืชชนิดต่างๆ - งานรวบรวมและศึกษาพันธุไ์ ม้ผลเขตหนาวชนิดต่างๆ เช่น พีช, สาลี,่ พลับ, พลัม, บ๊วย, กีวฟี รุท้ และสตรอเบอรี่ - งานศึกษาพันธุไ์ ม้โตเร็วชนิดต่างๆ และไผ่ต่าง ๆ ส�ำหรับใช้ปลูกทดแทน ป่ าไม้ทีถ่ กู ท�ำลาย เช่น ไม้โตเร็ว กระถินดอย, เมเปิ ลหอม, จันทร์ทองฯ, เพาโลเนีย และไผ่หวานอ่างขาง, ไผ่หยก - งานศึกษาและทดสอบพันธุไ์ ม้ตดั ดอกบางชนิด เช่น กุหลาบ, ฟรีเซีย, โปรเทีย ไม้หวั และไม้ดอกกระถาง - งานศึกษาและรวบรวมพันธุพ์ ชื สมุนไพร พืชผักเมืองหนาวชนิดต่างๆ และผักใหม่ชนิดต่างๆ - งานศึกษาพืชชนิดต่างๆ ได้แก่ ข้าวสาลี, ลินิน

ความเป็นมา สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง สื บ เนื่ อ งจากพระบาทสมเด็ จ พระเจ้า อยู่ ห วั พร้อ มด้ว ย สมเด็ จ พระนางเจ้า พระบรมราชิ นี น าถ ได้เ สด็ จ พระราชด�ำ เนิ น เยีย่ มราษฎรทีห่ มูบ่ า้ นผักไผ่ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ และได้เสด็จผ่านบริเวณ ดอยอ่ างขาง ทรงทอดพระเนตรเห็นว่าชาวเขาส่วนใหญ่ ท่ีอาศัยอยู่ บริเวณนี้ยงั คงปลูกฝิ่ น ทัง้ ยังท�ำลายทรัพยากรป่ าไม้ตน้ น�ำ้ ล�ำธารทีเ่ ป็ น แหล่งส�ำคัญต่อระบบนิเวศ ซึ่งจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อส่วนอื่น ของประเทศได้ จึงทรงมีพ ระราชด�ำริว่า พื้น ที่น้ ีมีภูมิอากาศหนาวเย็น มีการ ปลูกฝิ่ นมาก ไม่มปี ่ าไม้อยูเ่ ลย และสภาพพื้นทีไ่ ม่ลาดชันนัก ประกอบกับ พระองค์ทรงทราบว่าชาวเขาได้เงินจากฝิ่ นเท่ากับที่ได้จากการปลูกท้อ พื้ น เมื อ ง และทรงทราบว่ า ที่ ส ถานี ท ดลองไม้ผ ลเมื อ งหนาว ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ทดลองวิธีติดตา ต่อกิ่งกับท้อฝรัง่ จึงทรงสละพระราชทรัพย์สว่ นพระองค์ จ�ำนวน 1,500 บาท เพือ่ ซื้อทีด่ นิ และไร่จากชาวเขาในบริเวณดอยอ่างขางส่วนหนึ่ง จากนัน้ จึงโปรดเกล ้าฯ ตัง้ โครงการหลวงขึ้น เป็ น โครงการส่ ว นพระองค์ เมื่อ พ.ศ.2512 โดยทรงแต่ ง ตั้ง ให้ หม่ อ มเจ้า ภี ศ เดช รัช นี เป็ นผู ร้ ับ สนอง พระบรมราชโองการในต�ำ แหน่ ง ประธานมู ล นิ ธิ โ ครงการหลวง ใช้เป็ นสถานีวจิ ยั และทดลองปลูกพืชเมืองหนาวชนิดต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ น ไม้ผล ผัก ไม้ดอก เมืองหนาว เพือ่ เป็ นตัวอย่างแก่ชาวเขาในการน�ำพืช เหล่านี้มาเพาะปลูกเป็ นอาชีพ ซึง่ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ฯ ได้พระราชทานนามว่า ‘สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง’ 19

b side

2. เป็ นสถานทีฝ่ ึ กอบรม และเผยแพร่ผลงานแก่เจ้าหน้าทีแ่ ละเกษตรกร เนื่องจากสถานีเกษตรหลวงอ่ างขาง เป็ นแหล่งทางวิชาการ ปลูกพืชบนทีส่ ูงทีส่ ำ� คัญของประเทศ ในแต่ละปี ใช้เป็ นสถานทีฝ่ ึ กอบรม แก่เจ้าหน้าทีแ่ ละเกษตรกรของมูลนิธฯิ จ�ำนวนมาก ประกอบกับมีผูส้ นใจ จากองค์ก รและสถาบัน ต่ า งๆ เข้า เยี่ย มชมและดู ง านเป็ น อัน มาก มูลนิธิโครงการหลวงจึงได้จดั สร้างอาคารฝึ กอบรมการเกษตรที่สูง ที่สถานีเกษตรหลวงอ่ างขาง โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อฝึ กอบรมและ เผยแพร่ งานของโครงการหลวงในด้านต่ างๆ ให้แก่ เกษตรกรและ เจ้าหน้าที่ของโครงการหลวง ส่วนราชการ ผูส้ นใจ และแก่ประเทศ เพือ่ นบ้าน โดยได้เปิ ดอย่างเป็ นทางการในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.2540 3. ด�ำเนินการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ แก่เกษตรกรชาวเขาในหมูบ่ า้ น รอบๆ สถานีฯ กิจกรรมทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ การพัฒนาแหล่งน�ำ ้ การวางแผนการ ใช้ทด่ี นิ การส่งเสริมการปลูกไม้ผล ไม้ตดั ดอก พืชผัก ชาจีน การผลิต ไหลสตอเบอรี่ การฟื้ นฟู ร ะบบนิ เ วศในพื้น ที่ต น้ น�ำ้ ด้ว ยการฟื้ นฟู ป่ าโดยธรรมชาติและการปลู กป่ าชาวบ้าน รวมทัง้ งานส่งเสริมอื่นๆ ทีน่ ำ� ไปสู่เกษตรกร

ข้อมูลจาก www.angkhangstation.com สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง หมู่ 5 ต.แม่งอน อ.ฝาง จ. เชียงใหม่ โทรศัพท์ 0-5396-9476-78 ต่อ 114 ศูนย์บริการนักท่องเทีย่ วสถานีฯ อ่างขาง โทรศัพท์ 0-5396-9489


Interview

THE DEMANDING Man

‘เรื่องมาก’ แบบ สเริงรงค์ วงษ์สวรรค์ เรื่อง : ระพินทรนาถ ภาพ : ศมนภรณ์ 20

b side

น อ ก จ า ก จ ะ อ อ ก ตั ว บ ่ อ ย ค รั้ ง ในการสนทนาว่าเป็น ‘คนเรื่องมาก’ แล้ว จ่อย – สเริงรงค์ วงษ์สวรรค์ ยังบอกด้วยว่า เขาเป็ น คนพู ด จาตรงไปตรงมา ชอบเอา ความจริงมาคุยกันมากกว่าการอวยกันเพื่อ ผลประโยชน์ที่อาจจะเกิดขึ้น แต่เอาเข้าจริงแล้ว ตลอดระยะเวลา ทีไ่ ด้สนทนากัน ถึงจะมีบางช่วงทีร่ สู้ กึ ได้วา่ เขา ‘ใส่อารมณ์’ กับการสนทนาอยูบ่ า้ ง ซึง่ จะว่าไป ก็ เ ป็ น ไปตามเรื่ อ งราวที่ บ อกเล่ า แต่ ใ น ภาพรวมแล้ว เรากลับรู้สึกว่าเขาเป็นคนที่ สุภาพมากๆ และสังเกตเห็นถึงการพยายาม สรรหาถ้อยค�ำที่เหมาะสม เพื่อจะตอบค�ำถาม ห รื อ อ ธิ บ า ย ค ว า ม ต า ม ที่ เ ข า ต ้ อ ง ก า ร ซึ่งต่างไปจากสิ่งที่เราเห็นเขาโพสต์เกี่ยวกับ ประเด็นต่างๆ ผ่านทางโซเชียลมีเดียของเขา ทีค่ อ่ นข้าง ‘ร้อนแรง’ อยู่พอสมควร


ยอมรับตามตรงว่า ส่วนหนึ่งที่ HIP อยากคุยกับชายผูน้ ้ ี ก็มาจาก ความเห็นแบบ ‘ร้อนแรง’ ที่เขาแสดงออกผ่านโซเชียลมีเดียของตัวเอง แต่อกี ด้านหนึ่ง การเป็ นเจ้าของแบรนด์ Rubber Killer ทีผ่ ูบ้ ริโภคให้การ ตอบรับเป็ นอย่างดี สินค้าออกไปวางขายในหลายทีท่ วั ่ โลก และในบ้านเรา ต่อให้มเี งินก็ไม่แน่วา่ จะได้ของของเขามาครอบครองได้งา่ ยๆ (เพราะขายดี จนแทบไม่มขี องขาย) ก็เป็ นสิง่ ทีบ่ ง่ บอกว่า ไม่เพียงแต่ความคิดความอ่าน ของเขาทีน่ ่าสนใจ แต่งานทีเ่ ขาท�ำนัน้ ก็พสิ ูจน์ตวั เองได้อย่างชัดเจนแลว้ ว่า นี่คอื คนทีเ่ อาจริงเอาจังกับสิง่ ทีต่ วั เองท�ำ หรือเรียกให้สำ� บัดส�ำนวนอีกหน่อย ก็ตอ้ งบอกว่า ‘ไม่ได้มาเล่นๆ’ และเมือ่ การสนทนาจบลง ต่อเนื่องมาจนถึงเรื่องราวต่างๆ ทีผ่ ูอ้ ่าน ก�ำลังจะได้อ่านต่อจากนี้ เราพบว่า ‘ความเรื่องมาก’ ของสเริงรงค์ไม่ใช่ สิง่ ทีใ่ ครต้องหวาดกลัวอะไร เพราะท้ายทีส่ ุดแล ้ว ‘ความเรื่องมาก’ เป็ นผล สืบเนื่องมาจาก ‘ความปรารถนา’ ที่อยากจะให้ผลงานที่ตนเองท�ำออกมา ดีทส่ี ุด สมบูรณ์ทส่ี ุด เท่าทีจ่ ะสามารถท�ำได้ ซึ่ง การที่ใ ครสัก คนจะเรื่ อ งมากกับ สิ่ง เหล่ า นี้ ก็ ไ ม่ เ ห็น จะเป็ น เรื่องเสียหายตรงไหน

คนเราท�ำอาชีพอะไรมันต้องมีศักดิ์ศรี ยิ่งงานออกแบบเนี่ยงานมันจับต้องได้ มันชัดเจนมากว่าคุณไปเอางาน ของใครมา ถ้าให้ผมลอกงานคนอื่น ผมไปโดดน�้ำปิงตายดีกว่า อยากให้ คุ ณ อธิ บ ายกระบวนการท� ำ งานของคุ ณ ให้ เ ราฟั ง หน่ อ ย สมมติว่าคุณจะท�ำงานขึ้นมาสักชิ้นหนึ่ง ขั้นตอนการท�ำงานของคุณ เป็นยังไงบ้าง?

ผมว่าก็คงเหมือนกับวิธกี ารออกแบบโดยพื้นฐานทัวไป ่ ก็คอื เริ่มจาก ตัง้ โจทย์ก่อนว่าอยากจะท�ำอะไร เพือ่ วัตถุประสงค์ไหน สมมิตวิ า่ จะท�ำกระเป๋ า ก็คดิ ก่อนว่าจะท�ำกระเป๋ าอะไร จะใช้งานแบบไหน แล ้วก็ลองสเก็ตช์วา่ หน้าตา Rubber Killer ก�ำลังจะเปิดตัวรองเท้าซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ ใหม่ (Andy ของของชิ้นนัน้ จะออกมาเป็ นยังไง สัดส่วนควรจะเป็ นเท่าไหร่ ระหว่างนัน้ สนี ก เกอร์ ส ที่ เ ปิ ด ตั ว ในงาน BIG & BIH October 2016 ก็พดู คุยปรึกษากับทีมงานไปด้วย พอสเก็ตช์เสร็จปุ๊ บก็เอาแบบไปคุยกับช่าง หลังจากที่ HIP สัมภาษณ์สเริงรงค์ ไปแล้ว) อยากให้คุณเล่าถึงที่มา เรามีโรงงานของเราเอง หัวหน้าช่างเราเก่ง เขาผ่านงานโรงงานญีป่ ่ นุ มาก่อน จะเข้าใจว่าการแกะแพทเทิรน์ จะต้องท�ำยังไง ขึ้นแพทเทิรน์ ยังไง อีกอย่าง ของผลิตภัณฑ์ชิ้นนี้ให้เราได้รู้จักกันสักหน่อย? เราคิดมานานแล ้วว่าอยากท�ำรองเท้า คือเราเป็ นคนทีท่ ำ� งานตอบโจทย์ เขาท�ำงานกับผมมา 6 ปี แล ้ว รูว้ า่ ผมชอบอะไรไม่ชอบอะไร ไม่ตอ้ งพูดอะไร ความต้องการของตัวเองก่อน อย่างตอนทีท่ ำ� กระเป๋ าก็เพราะว่าชอบกระเป๋ า กันมาก ช่ างเขาก็จะไปขึ้นแบบมาให้ดู แต่ แน่ นอนว่ามันไม่เ คยจบลง ตัง้ ใจจะท�ำไว้ใช้เอง แต่ พอมันขายได้ดว้ ยก็เลยกลายเป็ นว่าท�ำกระเป๋ า ทีแ่ บบแรกหรอก ต้องท�ำอีกหลายแบบกว่าจะจบ เพราะเราเป็ นคนเรื่องมาก Rubber Killer มาถึงตอนนี้ก็ 6 ปี ละ ส่วนเรื่องรองเท้า เราคิดมาตลอดว่า บ้าความเนี้ยบ ยกตัวอย่างระเป๋ าสตางค์ใบนี้ (หยิบกระเป๋ าสตางค์รุ่น Billy จะเอายางในรถยนต์ม าท�ำ ยัง ไงให้ม นั กลายเป็ น รองเท้า ได้ แต่ ว่า ก็ย งั มาถือไว้ในมือ) เรามีป้ายยีห่ อ้ เป็ นป้ ายผ้าอยู่ แต่พอเอามาติดแล ้วมันไม่สวย ่ ำป้ ายมาใหม่อกี อันให้ขนาดมันลงตัวกับกระเป๋ าใบนี้ หรืออย่าง นึกไม่ออก เมือ่ 4-5 ปี ทแ่ี ล ้วเคยลองท�ำมารอบหนึ่งละ แต่วา่ ไม่สำ� เร็จ ก็เลย ก็เลยไปสังท� พับโปรเจ็คท์น้ ไี ป จนกระทัง่ เมือ่ ต้นปี เราท�ำรองเท้าแตะ (Sleep Walk) ซึง่ ตัวห่วงทีใ่ ช้ขา้ งใน ตอนท�ำกระเป๋ ารุ่นก่อนเราใช้ห่วงครึ่งวงกลม แต่พอมาท�ำ มีเ ฉพาะตรงตัว คาดที่เ ป็ น ยางใน พอท�ำ ปุ๊ บ ความคิ ด ที่จ ะท�ำ รองเท้า กระเป๋ ารุ่นนี้ เอ้า! ไม่สวย งัน้ มีอะไรให้ใช้ได้อกี บ้าง ก็เสิรช์ จนเจอว่ามีห่วง แบบนี้ (ชี้ไปที่ห่วงที่ติดอยู่ในกระเป๋ า) แต่ว่าที่เมืองไทยไม่มี ถ้าอยากได้ ก็กลับมา ่ หวัน ก็สงมา ั ่ ต้องรอของส่งมาอีก กว่ากระเป๋ าจะได้ทำ� จริงๆ จริ ง ๆ แล ว้ มัน เป็ น แค่ ก ารเปลี่ย นมุม มองและวิธี คิ ด ที่เ รามีต่ อ ต้องสังจากไต้ วัตถุดบิ นะ พอคิดได้วา่ เราจะเอามันมาใช้ยงั ไง คิดแพทเทิรน์ ได้กล็ องท�ำดู ก็ใช้เวลาเป็ นเดือน วิธกี ารท�ำงานก็จะประมาณนี้ คิดแบบ สเก็ตช์ออกมา คุยกันในทีม ซึง่ เราก็ไม่ได้ทำ� ทุกอย่างเองหรอก เพราะเราเย็บรองเท้าไม่เป็ น แต่เราเชื่อว่า เรารูจ้ กั รองเท้าดีพอสมควร เพราะเราเป็ นคนชอบรองเท้า เก็บสะสมรองเท้า หอบแบบไปให้ช่างดู ให้ช่างขึ้นแบบออกมาจนกว่าจะถูกใจเรา ซึง่ มันก็จะมี ก็มาดู ว่าทรงไหนที่มคี วามเป็ นไปได้มากที่สุด เสร็จแลว้ ก็เอาไอเดียที่มี ปัญหาให้ปรับกันเรื่อยๆ อย่างกระเป๋ าสตางค์อนั นี้ ตอนท�ำออกมาแลว้ ไปคุ ย กับ คนท�ำ รองเท้า มือ อาชีพ พอดีเ รามีเ พื่อ นที่ท ำ� รองเท้า ส่ ง ออก ลองเอามาใส่แบงค์พนั รูส้ กึ ว่ามันแน่นไป เลยบอกช่างว่าให้ขยายออกไปอีก ท�ำรองเท้าหนังเนี้ยบๆ คู่ ละหลายพัน ก็ไปคุยกับเขา เขาก็ไม่เคยเย็บ 3 มิลลิเมตร ช่างถามว่างัน้ ท�ำไมไม่เอาหนึ่งเซนติเมตรไปเลย ง่ายดี ไม่เอา รองเท้ายางหรอก ก็ลองผิดลองถูกกันมาจนขึ้นเป็ นรู ปเป็ นร่ างได้สำ� เร็จ กูจะเอา 3 มิล (หัวเราะ) คือถ้าหนึ่งเซ็นสัดส่วนมันผิดไง นี่แค่ใบเล็กๆ นะ ซึง่ ในฐานะของดีไซเนอร์เราก็ดใี จนะทีท่ ำ� ได้ แล ้วงานนี้เราไม่ได้ขายคอนเส็ปท์ ส่วนถ้าเป็ นกระเป๋ าใบใหญ่รายละอียกจะยิง่ เยอะกว่านี้ แก้กนั เป็ น 20 รอบ ไม่ได้ขายแค่วา่ เป็ นการใช้วสั ดุรไี ซเคิล แต่วา่ คนทีซ่ ้อื ไปแล ้วต้องใส่ได้จริงๆ บางทีทำ� แล ้วไม่เวิรก์ จริงๆ ก็ตอ้ งยอมแพ้ ไม่ทำ � ไม่ขาย ล ้มโปรเจ็คท์ไปเลย คือเราเชื่อว่าถ้าเราท�ำเองแล ้วยังรูส้ กึ ว่ามันไม่สวย เราก็ไม่เชื่อว่าจะมีใครเขา แล ้วก็ตอ้ งใส่สบายด้วย ตอนนี้รองเท้ายังเหลือขัน้ ตอนของการท�ำกล่อง แลว้ ก็สงั ่ ท�ำพื้น ซื้อของของเรา อย่ า งฝากระเป๋ าสตางค์อ นั นี้ ผ้า ที่ ใ ช้เ นี่ ย เป็ นผ้า Condura รองเท้า เพราะว่าพื้นทีใ่ ช้จะเป็ นยางทีฉ่ ีดจากยางพารา พวกนี้ตอ้ งสังให้ ่ ฉีด เป็ นแบบของเราเอง ส่วนตัวรองเท้าก็จะเป็ นยางในรถยนต์ ตัวที่เห็นเนี่ย ขอโฆษณาหน่อย ยีห่ อ้ นี้เนี่ยเป็ นผูผ้ ลิตไนลอนทีด่ ที ส่ี ุดในโลก คือถ้าไปเห็น (ชี้ไปทีร่ องเท้าตัวอย่างทีอ่ ยู่ในห้อง) ก็ถอื ว่าเป็ นตัวต้นแบบตัวท้ายๆ แลว้ ของอะไรที่มปี ้ ายยี่หอ้ นี้ติดอยู่แสดงว่าใช้เส้นด้ายของยี่หอ้ นี้ ซึ่งของเขา ดีจ ริ ง ๆ กว่ า จะได้ม าใช้เ ราต้อ งดีล กับ เขามาปี ก ว่ า ๆ คื อ ไม่ ใ ช่ ว่ า เขา เป็ นแบบทีค่ ่อนข้างลงตัวละในความเห็นของเรา จะขายของให้ทกุ คนนะ ต้องดูก่อนว่าคุณเป็ นใคร จะเอาผ้าของเขาไปท�ำอะไร รองเท้าทีค่ ณ ุ เคยคิดจะท�ำเมือ่ 4-5 ปีกอ่ นก็เป็นแบบเดียวกันกับรองเท้า เราก็ตอ้ งส่งโปรไฟล์ไปให้เขาดูวา่ เราท�ำอะไรมาบ้าง ส่งแบบทีจ่ ะท�ำไปให้เขา ที่ท�ำอยู่ตอนนี้หรือเปล่า? ดู ด ว้ ย แลว้ เจ้านี้เขาไม่ได้มผี า้ ที่ทำ� ส�ำเร็จไว้แลว้ มีแต่ ดา้ ยอยู่ในสต็อก ก็คลา้ ยๆ กัน แต่ว่าแพทเทิรน์ ไม่เหมือนกัน วิธีคิดในการขึ้นทรง หมายความว่าถ้าคุณอยากได้ผา้ สีอะไรก็ตอ้ งสัง่ เขาจะส่งตัวอย่างมาให้เลือก ก็ ไ ม่ เ หมื อ นกัน ในตอนนั้น เรายัง ไม่ รู จ้ ัก ยางในรถยนต์ ม ากพอ พอเราตกลงเลือกแลว้ เขาถึงจะทอส่งมาให้เรา ซึ่งออเดอร์ก็ตอ้ งว่ากัน ยังไม่รูค้ ุณสมบัติของมันว่าควรจะต้องท�ำงานกับมันแบบไหน ก็ลองผิด หลายพันหลา พันรอบคู เมืองได้หลายรอบ แลว้ ผ้าตัวนี้ก็แพงกว่าด้วย ลองถูกกันมาเรื่อย พอเราท�ำงานกับยางในรถยนต์มา 6 ปี ใช้ยางไปแลว้ เรียกว่าเสียเวลา เสียเงินเสียทองไปตัง้ เยอะกว่าจะได้มาใช้ แต่เราก็เอา เยอะมากๆ ก็รูจ้ กั มันมากขึ้น เรียกว่ารูจ้ กั จากน้อยไปหามากดีกว่า ท�ำไป อยากได้เพราะของมันดี มากเท่าไหร่กย็ ง่ิ เรียนรูก้ นั มากขึ้น เข้าใจมันมากขึ้น นี่ละ่ วิธกี ารท�ำงานของ Rubber Killer (หัวเราะ) 21

b side


ดูเหมือนคุณจะไม่กงั วลกับเรือ่ งก�ำไร – ขาดทุนสักเท่าไหร่ ถ้ามีของดีๆ มาให้ใช้ท�ำงาน ถึงแพงคุณก็เอา?

จริงๆ ก็คิดนะ คือท�ำแลว้ ก็ไม่ควรจะขาดทุนหรอก แต่ว่าบางที เราก็ ไ ม่ เ ข้า ใจคนที่เ ขาพยายามจะลดต้น ทุ น การผลิต ไปซะทุ ก อย่ า ง ด้วยเหมือนกัน อาจจะเป็ นเพราะว่าเราเป็ นองค์กรเล็กๆ ด้วยมัง้ ยอดขาย ของเราไม่ได้เยอะอะไรขนาดนัน้ ดังนัน้ การที่จะลดต้นทุนอะไรบางอย่าง เลยไม่ได้ทำ� ให้เรารู ส้ กึ ว่าท�ำแลว้ จะรวยมากขึ้น แต่ถา้ เป็ นองค์กรใหญ่ๆ ยอดผลิตยอดขายเขาเยอะ ยิง่ ควบคุมต้นทุนได้มากเท่าไหร่ พอขายได้เยอะ เขาก็ยง่ิ ได้กำ� ไรมากขึ้นไปด้วย เราเป็ นคนชอบใช้ของดีอยู่แลว้ พอท�ำของขาย เราก็เลยอยากใช้ ของดีๆ มาท�ำขายด้วย เราเชือ่ ว่าคนส่วนใหญ่ในโลกก็เป็ นแบบนี้ ถ้าคุณภาพ เหมาะสม ทุกคนก็จะยอมจ่ายแพงขึ้นเพือ่ ให้ได้ของคุณภาพดีๆ คุ ณ บอกว่ า คุ ณ เป็ น คน ‘เรื่ อ งมาก’ และ ‘บ้ า ความเนี้ ย บ’ คุ ณ มี บรรทัดฐานยังไงในการท�ำงาน ว่าอันนี้คือใช้ ได้ ผ่าน หรือว่าอันนี้ ยังใช้ ไม่ ได้ ยังไงก็ ไม่ยอมให้ผ่าน?

จริงๆ ก็มหี ลายองค์ประกอบนะในการตัดสินใจ ที่ Rubber Killer เราบอกกับผูบ้ ริโภคเสมอว่าถึงงานของเราเป็ นงานรีไซเคิลก็จริง แต่เราไม่เชือ่ ว่างานรีไซเคิลจะต้องออกมาไม่เนี้ยบ ในอดีตเรามีความคิดกันว่าผลิตภัณฑ์ ทีใ่ ช้วสั ดุรไี ซเคิลเนี่ย มันจะไม่เนี้ยบ เพราะว่าเป็ นการเอาวัสดุเก่ามาท�ำใหม่ แต่เราไม่เชื่ออย่างนัน้ เราเชื่อว่ามันท�ำให้ออกมาเนี้ยบได้ เพียงแต่วา่ อาจจะ ต้องใช้เวลาเพิ่มขึ้นอีกเยอะ ท�ำงานยากขึ้น ซึ่งเราตัดสินใจว่าเราจะท�ำ คื อ ถ้า มองในเชิ ง เวลาหรื อ ต้น ทุ น แล ว้ มัน อาจจะไม่ ไ ด้คุ ม้ อะไรหรอก แต่เราอยากจะท�ำ บรรทัดฐานของเราคือ ท�ำงานให้เนี้ยบทีส่ ุดเท่าทีเ่ ทคโนโลยีการผลิต จะเอื้อต่อเรา บางอย่างถ้าเราท�ำไม่ได้ เทคโนโลยีการผลิตทีม่ มี นั ยังไม่ถงึ เราก็ยอม แต่ว่าในศักยภาพที่เราท�ำได้ เราจะท�ำให้มนั ดีท่สี ุด อะไรไม่มี ก็หามา สมัยนี้อนิ เตอร์เน็ตเชือ่ มโยงกันได้ทงั้ โลก ไม่จำ� เป็ นว่าต้องมองเฉพาะ ของทีม่ อี ยู่แถวนี้ หาจากทีอ่ น่ื ก็ได้ อาจจะวุน่ วายกว่านิดหนึ่ง แต่ก็ได้ของ ทีถ่ กู ใจเรา เรายอมลงทุนเสียเวลากับเรื่องพวกนี้เพือ่ หาของทีม่ นั ดีมาใช้งาน ซึง่ ส�ำหรับเราแล ้วเราคิดว่าเป็ นเรื่องทีส่ ำ� คัญมาก เราเป็ นคนเรื่องมากจริงๆ นะ (หัวเราะ) คุณคิดว่ามีเรื่องอะไรบ้างที่หล่อหลอมให้ตัวคุณเองกลายเป็นคน ชอบใช้ของดีๆ อยากใช้ของดีๆ ในการท�ำงาน และอยากท�ำงานดีๆ อย่างที่คุณบอกกับเรา?

เราว่ามันคงเริ่มจากตอนสมัยวัยรุ่นนะ เริ่มมาจากการแต่งตัวก่อน เราเป็ นคนชอบแต่งตัว การทีช่ อบแต่งตัวท�ำให้เรารูจ้ กั เสื้อผ้า รองเท้า กระเป๋ า รูว้ ่ายี่หอ้ นี้ผา้ ดี ยี่หอ้ นัน้ แพทเทิรน์ ดี ตัดเย็บดี คือสมัยนัน้ ยังไม่มสี ตางค์ ยังไม่ได้สะสมของอย่างอืน่ ก็เริ่มจากเสื้อผ้าก่อนเพราะมันไม่แพง โตมากับ ห้อ งเสื้อ สัน ป่ าข่อ ย (หัว เราะ) ได้เ รีย นรู อ้ ะไรหลายๆ อย่ า งจากที่น นั ่ พอโตขึ้นความสนใจของเราก็ขยับไปสู่ส่งิ อื่นๆ อย่างเช่นรถมอเตอร์ไซค์ รถยนต์ เฟอร์นิเจอร์ ซึง่ เราว่ามันก็เป็ นเรื่องของไลฟ์ สไตล์นนั ่ ล่ะ ทุกอย่าง มันเชื่อมโยงกันได้หมด อีกอย่างคือเราเรียนทางด้านการออกแบบ เป็ นคนชอบงานออกแบบ เวลาที่ได้อะไรมาเราก็จะมองในมิติท่ีมนั ละเอียดมากกว่า ซื้อเสื้อผ้านี่ ดู กนั ยันตะเข็บเลย เวลาเราสนใจเรื่องอะไรเราจะจริงจังกับเรื่องนัน้ มาก พอโตขึ้นเริ่มสนใจเรื่องรถ เรื่องเฟอร์นิเจอร์ เราก็เรียนรูไ้ ปด้วยจนเข้าใจว่า ท�ำไมของแท้ถงึ ได้แพง เพราะว่าคุณภาพมันดีกว่าจริงๆ ก็เลยท�ำให้เรา ชอบของที่มนั ดี คือของดีไม่จำ� เป็ นว่าจะต้องแพงนะ แต่ของดีส่วนใหญ่ มักจะแพง เพราะว่าพอคุณท�ำของดีออกมาแล ้ว มันสามารถจะขายในราคา แพงๆ ได้ไง ซึง่ พอเรามาท�ำผลิตภัณฑ์ของตัวเอง เราก็พยายามจะท�ำของ ทีด่ ที ส่ี ุดเท่าทีเ่ ราจะสามารถท�ำได้

การสร้ า งผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มของคุ ณ มี ที่ ม าที่ ไ ปอย่ า งไร อะไรคือสิ่งที่ผลักดันให้คุณตัดสินใจท�ำงานแบบนี้ออกมา?

มันอาจจะเป็ นเพราะว่าเราโตมาจากที่โป่ งแยง บ้านเราอยู่บนดอย ทีน่ นั ่ เราเห็นความเปลีย่ นแปลงเรื่องสิง่ แวดล ้อมชัดเจนมาก แค่ในช่วงชีวติ ของเราเองนี่ละ่ ไม่ตอ้ งย้อนไปไหนไกลเลย เราย้ายจากกรุงเทพฯ มาอยู่ท่ีเชียงใหม่ตอนอายุ 12 สมัยก่ อน บ้านที่โป่ งแยงไม่มไี ฟฟ้ า ไม่มโี ทรศัพท์ ฤดู รอ้ นอากาศแถวๆ นัน้ ถือว่า ยังเย็นอยู่ แม่จะให้เราอาบน�ำ้ ตัง้ แต่ตอนบ่ายๆ เพราะว่าถ้ารอจนค�ำ่ จะหนาว อาบไม่ไหว ถ้าเป็ นหน้าหนาวนี่บางทีก็ไม่อาบเลยเพราะมันหนาวมาก แต่ พอถึงตอนนี้ทุกอย่างเปลี่ยนไปหมดแลว้ หน้าร้อนอากาศร้อนมาก ต้องเปิ ดแอร์ ส่วนฤดูหนาวระยะเวลาก็สนั้ ลง แหล่งน�ำ้ ซับทีเ่ ราเคยมีใช้ในบ้าน ไม่เคยแห้งก็แห้ง นี่คอื สิง่ ทีเ่ ราเห็น พอมาถึงวันหนึ่งที่เราคิดจะท�ำงานออกแบบของตัวเอง เรารูส้ กึ ว่า ปัญหาสิง่ แวดล ้อมเป็ นสิง่ ทีท่ กุ คนต้องช่วยกันแก้ไข แล ้วในฐานะดีไซเนอร์ เราก็ตอ้ งรับผิดชอบในฐานะของผูอ้ อกแบบผลิตภัณฑ์ดว้ ย ซึง่ ถ้าผลิตภัณฑ์

เราอยากจะเป็นแบรนด์ไทย ที่อยู่ในตลาดสากลได้จริงๆ ไม่ใช่แค่บอกว่ามีสินค้า ไปขายเมืองนอกนะแค่นั้น ที่เราออกแบบสามารถหยิบฉวยวัสดุท่ีใช้แลว้ มาใช้อีกได้ มันก็น่าจะดีกว่า แล ้วส�ำหรับตัวผมเองก็รูส้ กึ ว่ามันท้าทายกว่า เราคิ ด ว่ า การจะช่ ว ยเรื่ อ งสิ่ ง แวดล อ้ ม สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ส �ำ คัญ มากคื อ อย่าให้มนั ฝื นเกินไป ให้พอเหมาะพอดีกบั ชีวติ ตัวเอง ถ้าฝื นเกินไปท�ำได้ไม่นาน ก็ตอ้ งเลิก ต้อหาสมดุลให้ดๆี คุณบอกว่าตัวเองรักโลกรักสิง่ แวดล ้อม แต่ถา้ คุณ ใช้ชวี ติ แบบนัน้ ไม่ได้จริงๆ มันก็เท่านัน้ ใช้ชวี ติ ให้มันพอดีๆ ให้การรักสิง่ แวดล ้อม เป็ นส่วนหนึ่งในชีวติ คุณจริงๆ ดีกว่า เป็ นสิ่งที่ทำ� บ่อยๆ จนเคยชินไปเอง อย่างตัวผมเองก็ไม่ได้กรีนอะไรขนาดนัน้ แอร์ผมก็เปิ ด บ้านเรามันร้อน แต่วา่ เราก็ไปท�ำตรงงานของเรา มันเป็ นอาชีพของผมไง ผมก็ทำ� แบบนี้ คนอื่น จะไปปลูกป่ าหรือบริจาคเงินอะไรก็ได้ถา้ รูส้ กึ ว่ามันสะดวกกับวิถชี วี ติ ของคุณเอง หรือง่ายๆ เลยก็เวลาไปซื้อของตามร้านสะดวกซื้อ แค่ไม่ใช่ถงุ พลาสติก ปี หนึ่ง ก็ลดปริมาณการใช้ถงุ ไปได้ตงั้ หลายใบแล ้ว อีกเรื่องหนึ่งที่คุณเคยให้สัมภาษณ์เอาไว้ ก็คือการที่อาจารย์ ในระดับ มหาวิทยาลัยของคุณ ทั้งที่เมืองไทยและต่างประเทศ มีผลต่อกระบวน ความคิดของคุณด้วย?

ก็จะมีอาจารย์จลุ พร นันทพานิช ซึง่ เรียกว่าเป็ นคนทีท่ ำ� ให้สง่ิ ทีเ่ ราเชื่อ มันชัดเจนมากขึ้นดีกว่า อย่างทีบ่ อกว่าเราโตมากับบ้านในป่ า ปลูกต้นไม้จนเป็ น เรื่องปกติของชีวิตไปแลว้ แต่ ตอนที่เราได้เจออาจารย์จุลพรซึ่งมาสอนเรา ตอนเรียนอยู่ปี 4 มันท�ำให้สง่ิ ทีเ่ ราเชือ่ เรือ่ งเกี่ยวกับสิง่ แวดล ้อมเนี่ย มีคนมาช่วย แนะน�ำให้ชดั เจนมากขึ้น มาช่วยจัดระบบความคิดว่าควรจะต้องไปทางนี้นะ คือยุคนัน้ ยังไม่ค่อยมีใครพูดถึงเรื่องการออกแบบอย่างยัง่ ยืน (Sustainable Design) กัน หรอก คนที่เ รีย นสถาปัต ย์ใ นตอนนัน้ ก็ พ ยายามจะท�ำ งาน ให้อ อกมาโมเดิร ์น ที่สุ ด ไม่มีใ ครมาคิด เรื่อ ง Green Design หรือ ถ้า มี ก็จะไปในแนวอาคารประหยัดพลังงานอะไรแบบนัน้ ซึง่ ก็เป็ นคนละศาสตร์กนั ไม่ใช่การมองภาพโดยรวม 22

b side


ส่ ว น Eric Bruntmyer ที่เ ราท�ำ งานด้ว ยที่ Dallas Baptist University นัน้ น่าจะเป็ นเรื่องของการให้โอกาส เพราะว่าเขาไม่ได้เป็ นอาจารย์ ของเราโดยตรง แต่ ว่าเป็ น Vice President แลว้ ก็ถา้ เคยอ่านเรื่องที่เรา ให้ส มั ภาษณ์ ไ ว้ก็ ค งจะจ�ำ ได้ว่ า ตอนเรี ย นที่น ัน่ เราท�ำ งานอยู่ ใ นห้อ งสมุด ความที่งานมันน่ าเบื่อมาก เราเลยรวบรวมเอากระดาษใช้แลว้ ที่อีกด้านหนึ่ง ยังว่างอยู่มาเย็บเป็ นสมุดใช้ ปกก็เอากระดาษลังมาท�ำเพราะกราฟิ กมันสวยดี แลว้ ในห้องสมุดก็มอี ุปกรณ์ต่างๆ ครบอยู่แลว้ พอท�ำไปแลว้ มีเพื่อนมาเห็น แลว้ อยากได้ มาขอผมก็ทำ� ให้ไป เป็ นแบบนัน้ อยู่เดือนสองเดือน ความที่ มหาวิทยาลัยที่ผมเรียนมันไม่ได้ใหญ่มาก ก็เลยกลายเป็ นข่าวรู ก้ นั ไปทัว่ ว่า มีนกั เรียนไทยเพี้ยนๆ ท�ำสมุดแจกอยู่ในห้องสมุด ทีน้ ี Eric ก็เลยมาถามว่า ผมใช่คนทีเ่ ขาลือกันหรือเปล่า ก็ได้คุยกัน แลว้ เขาก็บอกว่าคุณไม่ตอ้ งท�ำงาน ที่หอ้ งสมุดแลว้ มาท�ำงานกับผมดีกว่า หลังจากนัน้ ผมก็ยา้ ยไปท�ำงานกับเขา ไปช่วยเขาคิดเรื่องโปรเจ็คท์เกี่ยวกับสิง่ แวดลอ้ มภายในมหาวิทยาลัย ก็ทำ� งาน ร่วมกับ Eric นานเป็ นปี เหมือนกัน ตอนที่เริ่มต้นท�ำ RE-Leaf และ Rubber Killer นอกจากจะตอบโจทย์ เรื่ อ งที่ คุ ณ อยากท� ำ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มแล้ ว เป็ น เพราะคุ ณ มองว่าทั้งสองแบรนด์นี้เป็น ‘โอกาส’ ในทางธุรกิจด้วยหรือเปล่า?

เรื่องธุ รกิจมันมาทีหลังความอยากท�ำของเรา เป็ นความถูกที่ถูกเวลา มากกว่า อาจจะเป็ นจังหวะดีท่ตี วั เราเองสนใจเรื่องสิ่งแวดลอ้ ม สนใจเรื่อง การออกแบบอย่างยัง่ ยืน แล ้วก็เป็ นจังหวะทีเ่ ทรนด์ของโลกมาโฟกัสตรงเรื่องนี้ พอดี เป็ นความโชคดีของจังหวะเวลาทีเ่ กิดขึ้น กับการทีส่ ง่ิ ทีเ่ ราสนใจมันตรงกับ การที่ค นในสัง คมก�ำ ลัง พู ด ถึง ปัญ หาสิ่ง แวดล อ้ มพอดี แล ว้ เราก็ ล งมือ สร้างผลิตภัณฑ์ในเวลานัน้ ด้วย ถ้าใครเคยอ่านบทสัมภาษณ์ของคุณเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของ Rubber Killer จะรู้ว่าคุณเคยเอ่ยถึง ‘การเปลี่ยนมุมมอง’ ที่มีต่อการออกแบบ และการลองเอาวัสดุอื่นๆ มาใช้ในการสร้างผลิตภัณฑ์ อยากให้อธิบาย ว่ามันมีผลยังไง?

มันเป็ นการเปิ ดโลกความคิดของตัวเองเสียใหม่ พอก้าวออกจากกรอบ ความคิดเดิมๆ การท�ำงานต่อจากนัน้ มันก็งา่ ยขึ้น งานของ Rubber Killer ช่วงแรกๆ กระเป๋ าเราทัง้ ใบท�ำจากยางในรถยนต์หมดเลย เพราะไปตัง้ กรอบ ไว้ว่า ต้อ งเป็ น วัส ดุ รีไ ซเคิล 100 เปอร์เ ซ็น ต์ แต่ เ ราก็ พ บในเวลาต่ อ มาว่า กระเป๋ ามันหนัก มันจ�ำกัดโลกการออกแบบของตัวเราเอง พอวันหนึ่งทีเ่ รามาท�ำ Tote Bag ซึง่ ขายดีจนกลายเป็ นซิกเนเจอร์ของเราไปแล ้ว เราก็พบว่าไม่จำ� เป็ น ต้องใช้วสั ดุรีไซเคิลทัง้ หมดก็ได้ ก็ลองเอาผ้าใบมาใช้ทำ� ตัวกระเป๋ าข้างบน ส่วนยางในอยู่ทก่ี น้ กระเป๋ า เพราะเราอยากกระเป๋ าใบนี้สามารถวางทีไ่ หนก็ได้ จะไปไหนต่อก็หยิบมาปัดๆ แล ้วก็ไปได้เลย ก็เลยกลายเป็ นเอกลักษณ์ของเราไป บางคนอาจจะบอกว่าเอายางในมาใช้แค่น้ ีเองเหรอ ใช่ เราใช้แค่น้ ีแหละ แต่วา่ มันตอบโจทย์ท่ตี อ้ งการไง แลว้ เราก็ใช้มาตัง้ เยอะแลว้ ด้วย ในเมือ่ ใช้แบบนี้ มันตอบโจทย์ทงั้ ในการออกแบบและการใช้งานในชีวติ จริง คนเขาก็ซ้อื ไปใช้กนั เราว่ามันโอเคแล ้วนะส�ำหรับเรา เราคิ ด ว่ า งานออกแบบมัน ไม่ ไ ด้มีก ฎตายตัว ความคิ ด สร้า งสรรค์ มันไหลไปได้เรื่อยๆ การออกแบบบางอย่างก็ดูเหมือนเป็ นแค่เรื่องเล็กๆ ซึง่ ก็ใช่ แต่ประเด็นคือตอบโจทย์และท�ำให้ผลิตภัณฑ์ทอ่ี อกมาตรงกับความต้องการไหม บางงานออกแบบสวย แต่การใช้งานไม่ตอบโจทย์ หรือการใช้งานตอบโจทย์ ทุกอย่างแต่ว่าไม่สวยเลย ส�ำหรับเราแลว้ เราอยากอยู่ตรงกลางๆ อยากให้ ทัง้ สวยด้วยและตอบโจทย์การใช้งานด้วย

ตั้งใจเอาไว้แต่แรกอยู่แล้วไหมว่าจะต้องมีแบรนด์เป็นของตัวเอง?

ไม่ได้คิดว่าอยากจะท�ำแบรนด์หรือเป็ นเจ้าของแบรนด์นะ คิดแค่ ว่า อยากท�ำ งานออกแบบ อยากมีผ ลิต ภัณ ฑ์ท่ี มีช่ื อ เราเป็ นของออกแบบ เรื่องมีแบรนด์ของตัวเองคือถ้ามีก็ดแี หละ แต่ตอนนัน้ คิดว่าเป็ นเรื่องไกลตัว การท�ำแบรนด์ของเรา มันเริ่มต้นมาจากความมัน ความสนุก จนกระทัง่ มาถึง จุดหนึ่งที่ทำ� ให้รูส้ กึ ว่าต้องจริงจังกับการท�ำแบรนด์แลว้ ล่ะ คือพอมาถึงจุดที่ ผลิตภัณฑ์มนั ขายได้ มีผูร้ ่วมงานทีเ่ ราต้องดูแล มีโอกาสดีๆ หลายๆ อย่างเข้ามา ก็เลยเป็ นจุดเปลีย่ นทีท่ ำ� ให้เรารูส้ กึ ว่าจะต้องจริงจังมากยิง่ ขึ้นแล ้ว แต่วา่ พวกเรา ก็ยงั ท�ำงานโดยอยู่บนพื้นฐานของความสนุ กอยู่นะ เพียงแต่ก็ตอ้ งมองภาพ ทีใ่ หญ่ข้นึ ด้วย เพราะโจทย์มนั เปลีย่ นไปแล ้ว ตอนทีเ่ ริ่มต้นท�ำเมือ่ 6 ปี ก่อน โจทย์ในตอนนัน้ มีแค่วา่ อยากท�ำ แต่วา่ ในตอนนี้ เราอยากจะเป็ นแบรนด์ไทยที่อยู่ในตลาดสากลได้จริงๆ ไม่ใช่แค่ บอกว่ามีสนิ ค้าไปขายเมืองนอกนะแค่นนั้ ความท้าทายมันเปลีย่ น โจทย์คือ เราอยากเป็ นไทยแบรนด์หรือเอเชียนแบรนด์ท่ขี ายแข่งกับฝรัง่ ได้ เพราะเรา เชื่ อ ว่ า เราไม่ แ พ้ห รอก เราอาจจะต้อ งท�ำ งานหนัก มากว่ า เขาเยอะหน่ อ ย อย่ า งไรเสีย ผู บ้ ริโ ภคก็ ย งั ศรัท ธางานออกแบบของโลกตะวัน ตกมากกว่ า ซึง่ เป็ นสิง่ ทีร่ ูก้ นั อยู่แล ้ว แต่วา่ ก็ถอื เป็ นความท้าทายทีเ่ ราก�ำลังเผชิญกันอยู่ เราถูกถามบ่อยว่าท�ำแบรนด์กนั ยังไง ซึง่ เราก็บอกว่าท�ำกันแบบลูกทุ่งๆ นี ่ ล ่ ะ แต่ ว่าความจริงจังมาเริ่มต้นขึ้นเมื่อเราเริ่มส่งออก เมื่อซัก 4 ปี ท่แี ลว้ ทุ ก วั น นี้ Rubber Killer ตอบโจทย์ ข องคุ ณ ในการท� ำ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เริ ่ ม จากออเดอร์ ท่ไี ม่ได้เยอะอะไร จนมาเป็ นออเดอร์ท่ใี หญ่ข้ นึ ผลิตภัณฑ์ เพื่อสิ่งแวดล้อมมากน้อยแค่ ไหน? ตอบโจทย์นะ ตอบมากเลย จากของทีเ่ มือ่ ก่อนไม่ได้มคี ่าอะไร กองทิ้งๆ ของเราเริ่มไปอยู่ในตลาดต่างประเทศจริงๆ ไปอยู่ในร้านดีๆ ทีเ่ ราไม่เคยคิดว่า ไว้หลังอู่รถ อันไหนที่พอจะจุลมได้เขาก็จะเอาไปท�ำห่วงยางกัน จะหามาใช้ จะได้ไ ปอยู่ ใ นที่แ บบนั้น พอมาถึง จุ ด นี้ มัน ไม่ ใ ช่ แ ค่ เ รื่ อ งเงิน ทองแล ว้ ต้องไปคุย้ กองยางเองอยู่ตงั้ หลายปี ไปไหนเจอร้านก็แวะถาม ขับรถไล่หาซื้อ แต่เป็ นแบบ... กูทำ� ได้เว้ย วันหนึ่งที่งานที่เราออกแบบได้ไปขายในร้านดีๆ ไปทัว่ จนถึงทุกวันนี้ รูแ้ ลว้ ว่าจะไปหาที่ไหน ก็ไปสัง่ เขาไว้ จะได้เอาเวลา ขายได้จริงๆ เราก็ดีใจ แต่ เรายังรู ส้ ึกว่าอยากท�ำให้แบรนด์เข้มแข็งกว่านี้ ไปท�ำอย่างอืน่ แล ้วเรามีสถิตขิ องจ�ำนวนยางในทีเ่ ราใช้ไปแล ้วอยู่ ซึง่ พอมาดูแล ้ว อยากให้ Rubber Killer เป็ น ที่รู จ้ กั มากยิ่ง กว่ า นี้ อยู่ ใ นวงกว้า งกว่ า นี้ อยู่ในตลาดโลกจริงๆ เวลาคนเห็นแบรนด์แล ้วรูจ้ กั ว่า Rubber Killer คืออะไร ก็ตกใจเหมือนกันว่าเราใช้ไปเยอะจริงๆ และให้การยอมรับ เพราะทุกวันนี้ในโลกนี้เรายังเป็ นแค่แบรนด์เล็กๆ เท่านัน้ เอง โลกใบนี้มนั ใหญ่มาก แล ้วเราก็อยากจะอยู่ในเวทีของโลกนี้จริงๆ 23

b side


ทุกวันนี้ คุณรู้สึกอย่างไรกับการท�ำงานออกแบบบ้าง?

พูดยากนะ เราท�ำงานออกแบบเป็ นอาชีพมาตัง้ แต่ยงั เรียนอยู่ เป็ นสิง่ ที่ ท�ำจนเคยชินไปแล ้ว ท�ำจนเห็นว่าเป็ นเรือ่ งธรรมดา เป็ นส่วนหนึง่ ของชีวติ ไปแล ้วน่ะ ถ้าถามว่ารูส้ กึ อะไรกับมัน ก็คงจะมีความสุขทีไ่ ด้เห็นสิง่ ทีเ่ ราออกแบบ ออกมาเป็ น รู ป เป็ น ร่ า ง ออกมาเป็ น ผลิต ภัณ ฑ์จ ริง ๆ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ง ได้อ อกแบบและท�ำ ผลิ ต ภัณ ฑ์ข องตัว เอง มี แ บรนด์เ ป็ นของตัว เอง มีเพื่อนร่ วมงานดีๆ ที่มวี ธิ ีคิดเหมือนกัน มันก็เป็ นความสุขของการท�ำงาน ความสุขของการใช้ชีวติ ด้วย ซึ่งเราว่าคนเราถ้าท�ำอะไรแลว้ มีความสุขกับมัน แค่น้ กี ด็ จี ะแย่อยู่แล ้ว ถ้าท�ำงานแล ้วขายได้ขายดีดว้ ยนี่จะยิง่ ดีใจใหญ่เลย คุ ณ มี เ คล็ ด ลั บ อะไรที่ ท� ำ ให้ ตั ว เองมี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ ใหม่ ๆ เกิดขึ้นได้เรื่อยๆ?

เราไม่มสี ู ตรตายตัวนะ ไอเดียของเราส่วนหนึ่งมาจากการที่เราดู งาน มาเยอะ อย่างที่บอกว่าตอนเป็ นวัยรุ่นเราสนุ กกับการแต่ งตัว สนุ กกับการ เก็บสะสมของต่างๆ สนุ กกับการดู งานที่น่าสนใจตลอดเวลา เดีย๋ วนี้อาจจะ ดู นอ้ ยลงเพราะมีเวลาน้อยลง แต่ ว่าข้อมูลต่ างๆ ก็ยงั อยู่ในหัว เราเชื่อว่า โลกของเราค่อนข้างกว้าง ดูมาแลว้ ทัง้ ที่ดแี ละไม่ดี อะไรที่ดๆี ก็จำ� ไว้ อะไร ทีไ่ ม่ดกี ็จำ� ไว้ว่าอย่าไปเอาอย่าง อีกอย่างเราไม่เชื่อด้วยว่าความคิดสร้างสรรค์ จะเกิ ด จากตัง้ ใจเฟ้ นหา ต้อ งอยู่ ใ นสภาพแวดล อ้ มดีๆ ถึง จะคิ ด งานได้ หลายๆ งานทีเ่ ราคิดได้กต็ อนรถติดอยู่ในกรุงเทพฯ หรือบางทีกต็ อนไปกินข้าว กินเหล ้าเฮฮากัน ไอ้เรื่องตลกโปกฮาในวงเหล ้าเนี่ยได้งานดีๆ มานักต่อนักแล ้ว เราจะมีสมุดโน้ตติดตัวตลอด คิดอะไรได้กจ็ ดโน้ตหรือไม่กส็ เก็ตช์เอาไว้ แลว้ ก็จะบอกน้องๆ เสมอว่าคิดอะไรได้ คุยกันแลว้ มีอะไรดีๆ ก็ให้จดเก็บไว้ ไอ้เรื่องข�ำๆ ทัง้ หลายทีค่ ุยกันเนี่ย ถ้าไม่จดไว้ พรุ่งนี้กล็ มื หมดแล ้ว แต่ถา้ จดไว้ ยังไม่ตอ้ งเอามาท�ำต่อพรุ่งนี้ อาทิตย์หน้าเดือนหน้าค่อยมาท�ำก็ได้ แต่จดไว้ จะได้ไม่ลมื ส�ำคัญมากนะ คิดอะไรได้ก็ตอ้ งจดไว้ แลว้ ก็ตอ้ งท�ำ เพราะว่า เราเห็นมาเยอะแลว้ คนที่คิดว่าจะท�ำโน่ นท�ำนี่ ก�ำลังหาไอเดียจะท�ำงานเจ๋งๆ แต่พอไม่ทำ� ก็เท่านัน้ คุ ณ ถู ก ถามความรู ้ สึ ก เรื่ อ งที่ ถู ก ลอกเลี ย นแบบผลงานบ่ อ ยมาก รับมือกับเรื่องนี้ยังไง?

เราพูดเสมอว่าเราไม่ใช่ คนแรกที่เอายางในรถยนต์มาใช้ทำ� กระเป๋ า ยางในเป็ นวัสดุท่ใี ครจะหยิบมาใช้ก็ได้ เพียงแต่ว่าเราเอามาใช้จนกลายเป็ น ซิกเนเจอร์ของเราไปแล ้ว ใครจะเอามาใช้บ ้างก็ไม่เห็นเป็ นไร ผมไม่ได้วา่ อะไรคุณ แต่คุณก็ควรจะเอาไปใช้ทำ� แบบอื่น ไม่ใช่เอามาท�ำของที่หน้าตาซ�ำ้ กับของผม แค่นนั้ เอง ถ้าคุณท�ำของออกมาหน้าตาเหมือนผมเป๊ ะ ผมก็คดิ ว่าผมไม่ผดิ นะ ทีจ่ ะรูส้ กึ โกรธ ใช่ไหมล่ะ คือเรื่องโดนลอกเลียนเนี่ยโดนมาตลอด ถามว่าหงุดหงิดไหมก็หงุดหงิด แต่ ก็ชินแลว้ เพียงแต่ อย่างตอนที่เจอว่ามีท่ีเชียงใหม่ดว้ ยก็รูส้ ึกว่าโหดร้าย ไปหน่ อย อยู่ ปลายจมูกเลย ก็เลยต้องขอบ่นนิดหนึ่ง คืออยากใช้ยางใน เหมือนกันก็ได้ ไม่วา่ แต่ทำ� ให้ดกี ว่าสิ ไม่ใช่มาท�ำทรงเดียวกัน มันเป็ นการแข่งขัน ทางด้านไอเดีย กระเป๋ าในโลกนี้มตี งั้ กี่รอ้ ยกี่พนั แบรนด์ บางทีทรงแทบจะ เหมือนกันเลย แต่วา่ มันก็ยงั มีความแตกต่างกันทีร่ ายละเอียดอยู่ คุณก็มาแข่งขัน กันตรงนี้สิ ไม่ใช่มาลอกของผมไปดื้อๆ ทัง้ ดุน้ ก็เป็ นธรรมดาทีผ่ มต้องหงุดหงิด ไม่หงุดหงิดผมบวชเป็ นพระไปแล ้ว สิง่ ทีผ่ มบอกตัวเองเวลาเจออะไรแบบนี้คอื ใครจะลอกก็ลอกไป ผมก็จะ ท�ำงานใหม่เพือ่ หนีไปเรือ่ ยๆ ถ้าคุณจะท�ำแบบนัน้ คุณก็เป็ นได้แค่ของเลียนแบบ ซึง่ เลียนแบบแล ้วคุณภาพก็ไม่เท่าด้วย ให้ผมท�ำอย่างนัน้ ผมท�ำไม่ได้ นึกไม่ออก ว่า จะมีชีวิต อยู่ ไ ด้ย งั ไงถ้า ต้องเอาแต่ ล อกงานคนอื่น คนเราท�ำอาชีพ อะไร มันต้องมีศกั ดิ์ศรี ยิง่ งานออกแบบเนี่ยงานมันจับต้องได้ มันชัดเจนมากว่าคุณ ไปเอางานของใครมา ถ้าให้ผมลอกงานคนอืน่ ผมไปโดดน�ำ้ ปิ งตายดีกว่า ทุกวันนี้ก็เลยคิดว่าถ้าเจออะไรแบบนี้เราจะสู ด้ ว้ ยการท�ำงานที่ดีกว่า เราเชื่อว่ามืออาชีพแข่งกันที่ผลงาน ถ้าคุณจะลอกงานผม ผมก็จะตอบโต้ ด้วยการท�ำงานดีๆ ให้คุณละอาย ยิง่ ใครท�ำกับเราแบบนัน้ เรายิง่ มีแรงผลักดัน ให้อยากท�ำงานดีๆ เพิม่ ขึ้น บางทีโกรธมาก อีกวันนี่ตน่ื เช้าเลย เกิดขยันอยากจะ รีบท�ำงานให้มนั ดีๆ เรียกว่ามีแรงขึ้นมาทันที (หัวเราะ)

ผลิตภัณฑ์ของคุณออกไปวางขายหลายที่แล้วในโลกนี้ พอได้ออกไปข้าง นอก เมือ่ มองย้อนกลับมาในบ้านเรา คุณคิดว่าอะไรคือจุดเด่นของดี ไซเนอ ร์ ไทย แล้วอะไรคือสิ่งที่เรายังขาดกันอยู่?

เราว่าคนไทยมีเซนส์เรื่อง Aesthetic ค่อนข้างสูง แล ้วก็เป็ นสิง่ ทีค่ นต่าง ชาติให้การยอมรับ เซนส์เรื่องการออกแบบของคนไทยค่อนข้างดี งานเราเก๋กว่า ประเทศเพื่อนบ้านตัง้ เยอะ รสนิยมเราดี การออกแบบดี ตรงนี้เป็ นจุดแข็ง ของคนไทย ส่วนสิง่ ทีเ่ รายังสูเ้ ขาไม่ได้อาจจะเป็ นเรื่องของเทคโนโลยีการผลิต และโอกาสต่างๆ ทุกวันนี้โลกมันเชือ่ มโยงถึงกัน เราเห็นงานใหม่ๆ กันอยู่เรื่อยๆ แต่บางครัง้ พออยากจะท�ำอะไรแบบนัน้ บ้าง เมื่อมาถึงขัน้ ตอนการผลิตแลว้ บ้านเรายังท�ำไม่ได้ อาจจะยังไม่มเี ทคโนโลยีการผลิตถึงระดับนัน้ หรือว่า ไม่มเี งินทุนท�ำ ในขณะที่หลายๆ ประเทศ ดีไซเนอร์อาจจะไม่มตี น้ ทุนเยอะ เหมือนกันกับเรานี่ละ่ แต่วา่ เขามีระบบการท�ำงานทีช่ ่วยสร้างโอกาสให้เขา ก็คอื ถ้าคุณมีไอเดียแต่ไม่มเี งินทุน ไม่มคี วามสามารถในการผลิต คุณเอาไอเดีย ของคุณไปขายให้บริษทั ผูผ้ ลิตทีเ่ ขาสนใจได้ ถ้าไอเดียคุณดีเขาก็สนใจจะลงทุน ให้คุณลองท�ำงานออกมา ตกลงท�ำสัญญาแบ่งผลประโยชน์ยงั ไงก็ว่ากันไป ซึง่ มันก็เป็ นผลดีกนั ทัง้ สองฝ่ าย ดีไซเนอร์ทไ่ี ม่มเี งินทุนก็จะมีโอกาสได้ทำ� งาน ของตัวเองออกมา ขณะทีผ่ ูผ้ ลิตเองก็จะได้ไอเดียใหม่ๆ เพิม่ เข้ามา ซึง่ การมีระบบ แบบนี้มนั เอื้อให้ดีไซเนอร์ในหลายประเทศท�ำงานง่ายขึ้น แต่ว่าระบบแบบนี้ ยังไม่มใี นบ้านเรา ในด้า นหนึ่ ง การที่ไ ม่ มีโ อกาสแบบนี้ ม นั ก็ เ ป็ น เรื่ อ งน่ า น้อ ยใจและ น่าเบือ่ หน่าย แต่ในเมือ่ มันไม่มี แลว้ จะให้ทำ� ยังไงล่ะ ก็ตอ้ งหาอะไรอย่างอื่น ที่ทำ� ได้ไปสิ อย่ างเราอยากท�ำเฟอร์นิเจอร์มาก แต่ รูว้ ่าไม่มีตน้ ทุนมากพอ ยอดขายก็ ไ ม่น่ า จะหล่อ เลี้ย งชีวิต ทีม งานของเราได้ งัน้ ก็ ท ำ� กระเป๋ า ดีก ว่า คือเรารู ส้ ึกว่า แทนที่จะมาบ่นกันว่าภาครัฐไม่สนับสนุ นเรื่องการออกแบบ ไม่ตอ้ งบ่นหรอก เขาบ่นกันมาตัง้ นานแลว้ และมันก็ไม่มอี ะไรเปลีย่ นแปลง ภาครัฐเขาก็พยายามช่วยในจุดที่เขาท�ำได้ แต่ดไี ซเนอร์ก็ตอ้ งช่วยตัวเองด้วย ไม่ใช่เอาแต่บน่ มันไม่มใี ครแก้ปญั หาให้คณ ุ ได้หรอก คุณต้องช่วยตัวเอง แม้แต่ ระบบที่ว่าเขาก็ไม่ได้ให้เงินได้ทุกคน ดีไซเนอร์เองก็ตอ้ งแข่งขันกันอย่างหนัก เพือ่ ให้งานของตัวเองเตะตาผูผ้ ลิตเหมือนกัน แล้วทีเ่ ชียงใหม่ละ่ ในแง่มมุ ของการท�ำงานออกแบบ คุณมองว่าเป็นยังไงบ้าง?

เรามองว่าเชียงใหม่เป็ นเมืองที่ส่ิงแวดลอ้ มต่ างๆ เอื้อต่ อการท�ำงาน ออกแบบนะ มีศิลปิ น มีคนท�ำงานออกแบบเยอะ มีสถาบันการศึกษาที่สอน ทางด้านนี้หลายแห่ง มีชมุ ชนทีท่ ำ� งานในด้านนี้ อย่างบ่อสร้าง บ้านถวาย ซึง่ เขา ท�ำกันมานานแล ้วและมีทกั ษะดีมากๆ เรามีช่างฝี มอื ทีท่ ำ� งานเนี้ยบมาก คิดงาน ออกมาแล ้วมีฐานการผลิตทีเ่ กื้อหนุนให้คนท�ำงานออกแบบท�ำงานง่าย คือเราว่า มันมีคนทีท่ ำ� งานออกแบบกันอยู่ตลอดเวลาในเมืองนี้ มีบรรยากาศของศิลปะ ของการออกแบบอยู่ตลอดเวลาอยู่แล ้ว ในเชิงของการท�ำงานเราอาจจะไม่ค่อยรูห้ รอก เพราะเราจะให้ความส�ำคัญ กับการท�ำงานของตัวเองเป็ นหลัก แต่ เท่าที่เราเห็น ความเคลื่อนไหวมีอยู่ ตลอดเวลา เราได้เห็นงานใหม่ๆ ไอเดียใหม่ๆ ทีน่ ่าสนใจเกิดขึ้นทุกๆ ปี และใน ขณะเดียวกันก็ได้เห็นไอเดียแบบทีผ่ า่ นไปกีป่ ีกย็ งั ท�ำแบบนี้กนั อยูด่ ้วยเหมือนกัน 24

b side


ดูเหมือนคุณจะเป็นคนเชื่อในเรื่องของการท�ำงานหนัก?

เรื่องหนึ่งที่คุณเคยพูดไว้ในโซเชียลมีเดีย คือเรื่องที่คุณถูกตั้งค�ำถามถึง ‘ความเป็นเชียงใหม่’ ในผลงานของคุณ ตกลงคุณมีมุมมองเกี่ยวกับ เรื่องนี้ยังไง?

เราว่าอยู่ท่พี ูดว่าเราก�ำลังพูดถึงเรื่อง ‘ความเป็ นเชียงใหม่’ ในเนื้อหา แบบไหน แน่นอนว่าถ้าคุณท�ำงานทีเ่ น้นเรื่องประเพณีวฒั นธรรม การน�ำเสนอ ก็ควรจะยึดตามขนบ แต่อย่างผมท�ำกระเป๋ าขาย ผมก็สงสัยว่าแลว้ จะให้มนั เป็ นลา้ นนายังไง ผมไม่เอากาแลใส่ลงไปหรอก มันไม่เข้ากัน แต่ผมภูมใิ จว่า ผมมาจากเชียงใหม่ โรงงานผมก็อยู่ ท่ีเชียงใหม่น่ีล่ะ ถ้าใครจะว่างานผม ไม่มอี ตั ลักษณ์ความเป็ นเชียงใหม่กแ็ ล ้วแต่เขา แต่สำ� หรับผม ความเป็ นเชียงใหม่ ในงานของผมคือเราท�ำกันที่น่ี การเริ่มต้นจากเชียงใหม่แลว้ ออกไปสู่ท่อี ่ืนๆ คือจิตวิญญาณของมัน แล ้วก็ความเป็ นงานฝี มอื ของมัน ผมมีช่างทีเ่ ขาสืบทอด ฝี มือ การเย็บผ้า กัน มาตัง้ แต่ รุ่ น พ่อ แม่ เป็ น ความเนี้ ย บในการท�ำ งานที่เ ขา ส่งต่อกันมา ซึง่ นี่ละ่ คือความเป็ นเชียงใหม่สำ� หรับผม การออกแบบในยุ ค หนึ่ ง ก็ ท ำ� เพื่อ แก้ไ ขปัญ หาตามสภาพแวดล อ้ ม ในตอนนัน้ แต่ ในเมื่อโลกมันเปลี่ยนไป บางทีก็ตอ้ งปรับให้งานออกแบบ มันเปลีย่ นไปตามโลกด้วย ถ้าคุณท�ำงานเชิงอนุรกั ษ์ แน่นอนว่าคุณก็ตอ้ งท�ำให้ ถูกต้องตามขนบทีส่ ุด ตามทีค่ รูบาอาจารย์เขาสังสอนกั ่ นมา ผมเห็นด้วย ไม่ได้ มีปญั หากับเรื่องพวกนี้เลยนะ ตัวผมเองก็ศึกษาเรื่องศิลปะไทยมาพอสมควร แต่ ว่ า สิ่ง ที่ผ มท�ำ หาเลี้ย งชีพ ไม่ ไ ด้เ กี่ ย วอะไรกับ เรื่ อ งพวกนัน้ ความชอบ กับการท�ำงานมันคนละเรื่องกัน แต่ ก็เข้าใจนะว่าคนเรามองงานออกแบบ ไม่เหมือนกัน เรามองมุมหนึ่ง คนอืน่ เขาอาจจะมองในอีกมุมหนึ่ง

เราเชื่อว่ามืออาชีพแข่งกันที่ผลงาน ถ้าคุณจะลอกงานผม ผมก็จะตอบโต้ ด้วยการท�ำงานดีๆ ให้คณ ุ ละอาย อีกเรื่องที่เหมือนคุณจะพูดถึงบ่อยๆ บนโซเชียลมีเดียของคุณ คือประเด็น ที่ว่าชีวิตคนเราไม่ต้อง ‘ออกแบบ’ อะไรขนาดนั้นก็ ได้ คุณมีอะไรขัดข้องใจ กับเรื่องนี้หรือเปล่า?

เรื่องนี้น่ตี อบไม่ดมี คี นเกลียดแน่ๆ แต่อยากพูด ทุกวันนี้บางทีเราก็เขินที่จะเรียกตัวเองว่าเป็ นดีไซเนอร์ คือเรารู ส้ กึ ว่า มันก็คอื อาชีพอย่างหนึ่ง เหมือนกับอาชีพอืน่ ๆ อีกมากมายบนโลกนี้ แล ้วนี่กเ็ ป็ น อาชีพที่เราเลือกจะท�ำ ซึ่งเวลาท�ำงานเราใส่ใจมากกับการออกแบบชิ้นงาน เราโคตรใส่ใจเลย รายละเอียดต่างๆ เราเป๊ ะมาก แต่บางทีเรารูส้ กึ ว่าบางคนก�ำลัง เข้าใจอะไรผิดๆ เกี่ยวกับการเป็ นดีไซเนอร์หรือเปล่า เวลาเห็นดีไซเนอร์ ที่พยายามน�ำเสนอตัวเองว่าทุกองค์ประกอบในชีวิตต้องผ่านการออกแบบ มาอย่างดี เป๊ ะไปหมดทุกอย่างเนี่ย เรารูส้ กึ ว่ามันเป็ นการใส่ใจแต่เรื่องของการ น�ำเสนอตัวเองมากไปหรือเปล่า สนใจแต่เรื่ององค์ประกอบในการเป็ นตัวเอง ไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งงาน คื อ จริ ง ๆ ก็ ไ ม่ ใ ช่ ธุ ร ะกงการอะไรของเราหรอกนะ ถ้าเขามีความสุขดีแล ้วก็ควรจะปล่อยเขาไป แต่บางทีมนั ก็แบบว่า ต้องขนาดนัน้ เลยเหรอวะ ถ้า ลดเวลาตรงนั้น แล ว้ เอาเวลาไปสนใจเรื่ อ งการท�ำ งาน มันจะดีกว่าไหม นี่คอื สิง่ ทีเ่ ราอยากจะบอก เพียงแต่เราไม่ได้พดู ตรงๆ เราเชื่อ ว่า ดีไ ซเนอร์ท่ีมีช่ือ เสียงในโลกนี้เขาก็ใช้ชีวิตสบายๆ กันนะ ไม่จำ� เป็ นจะต้องแต่งตัวคุมโทนสีอะไรกันขนาดนัน้ แต่เวลาท�ำงานนี่เขาโคตร ใส่ใจทุกรายละเอียดเลย เพราะฉะนัน้ เรื่องพรีเซนต์ตวั เองเนี่ยน้อยๆ ลงหน่อย ก็ได้ มันน่าเบือ่ นะ ดูประดิษฐ์ไป ฉาบฉวย เน้นแต่เรื่องภาพลักษณ์ ไม่ได้สนใจ เรื่องการท�ำงาน เราเข้าใจว่าการเป็ นดีไซเนอร์มนั ก็ตอ้ งมีภาพลักษณ์ แต่บางคน มันไม่สมดุลไง ท�ำงานก็แค่น้ ีแต่จะสร้างภาพอะไรขนาดนัน้ หมันไส้ ่ (หัวเราะ) เพื่อนเราบางคนท�ำงานโคตรดีเลย ลุคมันก็ไม่เห็นจะเป็ นดีไซเนอร์ตรงไหน เรารู ส้ ึกว่าเด็กๆ เดีย๋ วนี้กำ� ลังหลงทาง คิดว่าอะไรแบบนัน้ คือความส�ำเร็จ ซึง่ มันไม่ใช่ อีกหน่อยคุณจะกลับมาถามตัวเองว่าเอาเวลาไปท�ำอะไร คือท�ำงาน กันเถอะ ใส่ใจเรื่องงานกันเยอะๆ มากกว่าการประดิษฐ์ประดอยชีวติ ตัวเอง แทนทีจ่ ะมัวแต่นำ� เสนอไลฟ์สไตล์เก๋ๆ เอาเวลาไปหาความรูม้ าท�ำงานดีๆ ดีกว่า 25

b side

ใช่ เราเชื่ออย่างนัน้ เราเชื่อว่างานทีด่ จี ะให้ผลตอบรับทีด่ ๆี กลับคืนมา เราคิดว่าต้นทุนของเราก็เท่ากับคนอืน่ ๆ นะเคยมีคนพูดตอนเราเริ่มท�ำ Rubber Killer ใหม่ๆ ว่าเรามีเงินเราก็ทำ� ได้สิ โยงไปถึงพ่อแม่ครอบครัว อะไรโน่ น เราก็นึกในใจว่ากูขายรถตัวเองเพื่อเอามาเป็ นทุนท�ำงานต่ างหาก เริ่มต้นด้วยเงินไม่เท่าไหร่เอง แต่วา่ เวลาท�ำงานเราใส่ใจ คนชอบคิดว่าทีง่ านเรา ดู ดีเพราะเรามีสตางค์จา้ งคนท�ำงานโปรดักชัน่ ดีๆ มึงบ้าแลว้ กลอ้ งก็กลอ้ ง ธรรมดา ถ่ายรูปกูกถ็ า่ ยเอง แค่กูใส่ใจเอามาจัดรายละเอียดให้มนั ดูดขี ้นึ ต่างหาก ถ้าอยากรูว้ า่ กูทำ� ยังไงก็มาฝึ กงานทีน่ ่ี เดีย๋ วจะบอกให้วา่ ท�ำงานยังไง (หัวเราะ) ส�ำหรับเราลูกค้าส�ำคัญทีส่ ดุ เราให้สิง่ ดีๆ กับเขาแล ้วเขาก็จะกลับมา ล่าสุด เราตัดสินใจท�ำบัตรสมาชิก เพราะเรามีลูกค้าเยอะมากที่ตามซื้องานของเรา เจอกันบ่อยจนกลายเป็ นลู กค้าประจ�ำ กลายเป็ นเพื่อนกันไปเลย เราก็เลย ตัดสินใจว่าท�ำบัตรสมาชิกดีกว่า ซึ่งด้านหนึ่งก็เป็ นความโชคดีท่มี คี นติดตาม งานของเรา แต่อกี ด้านถ้างานไม่ดเี ขาก็ไม่กลับมาซื้อหรอก เรื่องแบบนี้เป็ นสิง่ ที่ เติมเต็มความรู ส้ ึก ท�ำให้เรามีความสุข มันมากกว่าเรื่องรายรับ แต่ว่าเป็ น ความดีใ จที่เ ขากลับ มาซื้อ ผลิต ภัณ ฑ์ข องเราตลอด บางคนมาเชี ย งใหม่ มาซื้อกระเป๋ าเราไปเป็ นของฝากคนอื่น เรียกกระเป๋ าเราว่ากระเป๋ าเชียงใหม่ ถ่ายรูปส่งไปให้เพือ่ นเลือกว่าจะเอาอันไหน มันเป็ นเรื่องทีเ่ รารูส้ กึ ดีนะ ยังมีผลิตภัณฑ์อะไรอีกบ้างที่คุณอยากจะลองท�ำ?

มีเยอะมาก อยากท�ำเฟอร์นิเจอร์ อยากท�ำของใช้ในครัวเรือนต่างๆ แต่ตอ้ งย้อนกลับไปตรงที่ว่ามันมีเรื่องของต้นทุนที่เรามี ในที่น้ ีไม่ได้หมายถึง เรือ่ งเงินอย่างเดียวนะ แต่รวมถึงเรือ่ งเทคนิคต่างๆ เราอยู่กบั การตัดเย็บกระเป๋ า มา 6 ปี เราอยู่กบั ยางในรถยนต์มา 6 ปี รูส้ กึ ว่าเราถนัดตรงนี้ เราเน้นตรงนี้ ก่อนดีกว่า ถ้าวันหนึ่งเรารูส้ กึ ว่าเราพร้อม รูส้ กึ ว่าต้นทุนในการท�ำงานชนิดอื่น ของเราพร้อม ก็ค่อยกระโดดไปท�ำงานด้านอืน่ ๆ ดูบา้ ง ถ้ามีคนมาขอค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการท�ำงานออกแบบ หรือคุณมีโอกาส ได้เป็นอาจารย์สอนเรือ่ งการออกแบบ อะไรคือสิง่ ทีค่ ณ ุ จะบอกกับคนอืน่ ๆ?

เอาเป็ นเรื่องสอนหนังสือดีกว่า ถ้ามีโอกาสได้สอนคนที่เรียนทางด้าน การออกแบบ ก็ จ ะบอกเขาว่า ต้อ งศึ ก ษาประวัติศ าสตร์ข องงานออกแบบ ให้เข้าใจด้วย เราเชื่อว่าทุกอย่างในโลกนี้มที ม่ี าทีไ่ ป ก่อนทีจ่ ะเกิดงานใหม่ๆ ขึ้น คุณต้องรูจ้ กั ครูบาอาจารย์ รูจ้ กั งานออกแบบดีๆ รูจ้ กั งานออกแบบชิ้นทีม่ นั ส�ำคัญ ชิ้นทีม่ นั เปลีย่ นแปลงประวัตศิ าสตร์การออกแบบของโลก คุณต้องรูว้ า่ ดีไซเนอร์ ส�ำคัญๆ แต่ละคนเขาท�ำงานในยุคไหน งานทีเ่ ขาท�ำออกมามันคืออะไร แล ้วมัน มีผล มีอทิ ธิพลกับวิธีคิดของดีไซเนอร์รุ่นหลังอย่างไร เพราะว่าเราเคยคุยกับ น้องๆ ทีเ่ ป็ นดีไซเนอร์ หลายคนไม่รูเ้ รือ่ งพวกนี้ รูแ้ ค่วา่ ของหน้าตาแบบนี้มนั สวย แต่สง่ิ ทีอ่ ยู่เบื้องหลังความสวยของมัน บางทีมนั มีเรื่องของเทคโนโลยีการผลิต เรื่องภาวะเศรษฐกิจในยุคนัน้ ที่มผี ลกับการท�ำงานของดีไซเนอร์ เราคิดว่าเขา ควรจะต้องท�ำความเข้าใจถึงที่มาที่ไปว่าท�ำไมมันถึงเกิดสิง่ เหล่านี้ข้นึ พื้นฐาน มันต้องแน่นนะ จะได้ออกแบบงานส�ำหรับอนาคต ส�ำหรับวันพรุ่งนี้ให้มนั ดีๆ เท่าทีเ่ ราเห็น เด็กไทยเนี่ยสไตล์ดี งานเก๋ รูห้ มดแหละอะไรสวย แต่ไม่รูว้ า่ ที่มาของมันคืออะไร มันจะดีมากกว่านะถ้าเรารู ว้ ่าที่มาของของแต่ ละอย่าง เป็ นยังไง เราว่าสิ่งเหล่านี้สำ� คัญ มันมากกว่าการมองด้วยภาพทางสายตา ว่าผลิตภัณฑ์หน้าตาเป็ นยังไง แต่คุณต้องรูด้ ว้ ยว่ามันมีทม่ี ายังไง พอพื้นฐาน คุณแน่นแลว้ คุณจะท�ำอะไรต่อไปก็ได้หมด ถ้าสนใจแค่ภาพที่เกิดขึ้นมันก็จะ ฉาบฉวย งานทีด่ มี นั ต้องเกิดจากข้างในแก่นของมัน แลว้ มันก็จะอยู่ไปเรื่อยๆ ส่วนงานทีเ่ กิดจากแค่เปลือกมันจะฉาบฉวย มาแล ้วก็ไป คุ ณ เลื อ กประโยค ‘Your Trash Is My Treasure’ มาใช้ ใ นการ ประชาสัมพันธ์งานของคุณตอนทีน่ ำ� ผลิตภัณฑ์ ไปออกงานในต่างประเทศ เราคิ ด ว่ า ประโยคนี้ น ่ า สนใจดี อยากให้ คุ ณ อธิ บ ายว่ า ท� ำ ไมถึ ง เลื อ ก ประโยคนี้มาใช้?

เพราะเราก็หากินกับขยะมาตลอด เราเอาสิง่ ทีค่ ุณเห็นว่ามันไม่มคี ุณค่า กลับมาใช้ใหม่ ท�ำให้เกิดมูลค่ าขึ้นมาจริงๆ มันชัดเจนมาก แลว้ ขยะเหล่านี้ ไม่ เ พี ย งแต่ จ ะท�ำ ให้เ รามี ง านท�ำ ช่ า งที่ โ รงงานมี ง านท�ำ แต่ ท �ำ ให้ผ ม และเพือ่ นร่วมงานทุกคนสามารถมีชวี ติ อยู่ได้ มีเงินซื้อข้าวกินด้วย นัน่ ล่ะคือ ‘ขยะของคุณเป็ นขุมทรัพย์ของเรา’


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.