4
a side
CONT EN TS
S e p t e m b e r
2 0 1 7
V o l. 1 3
N o. 1 5 5
News 10 People 16 Food & Place 20 Feature 22 Art 28 Music 30 Cover Story 32
HILIGHT Cover Story
digital contents www.hipthailand.net
22 Feature
30 Music
32 Cover Story
รู้จัก Digital Nomad กันไหม? แล้วรูห้ รือเปล่าว่าเชียงใหม่คอื ฮับที่ Digital Nomad จากทั่วโลกที่มาใช้ชีวิตและท�ำงาน อยู่ที่นี่ มาติดตามกันว่าท�ำไมวิถีการท�ำงาน แบบนี้จึงเติบโตอย่างรวดเร็ว และพวกเขา อยู ่ กั น อย่ า งไรในเชี ย งใหม่ เมื อ งที่ ก� ำ ลั ง กลายเป็น ‘เมืองของมนุษย์ไร้ออฟฟิศ’
HIP ส่ง โบ Sustainer ไปสนทนา กับ ทอย – ธันวา บุญสูงเนิน หรือ The Toys ที่ เ พลงของเขาก� ำ ลั ง ฮิ ต ติ ด ใจคนมากมาย อยู่ในตอนนี้ ด้วยเหตุผลว่าเป็นมือกีตาร์ เหมื อ นกัั น น่ า จะมี เ รื่ อ งให้ คุ ย กั น เยอะ! ส่วนผลที่ได้จะออกมาเป็นยังไง ติดตามใน Music กันได้เลย
แม้ จรัล มโนเพ็ชร จะจากโลกนี้ไป 16 ปีแล้ว แต่สิ่งที่เขาได้ท�ำไว้ยังคงอยู่ใน ความทรงจ�ำของผูค้ นอยูเ่ สมอ HIP สนทนา กั บ ค น รุ ่ น ห ลั ง ที่ ไ ด ้ รู ้ จั ก ผ ล ง า น แ ล ะ ชี วิ ต ในแง่ มุ ม ต่ า งๆ ของจรั ล มโนเพ็ ช ร พร้อมตั้งค�ำถามถึงสิ่งที่พวกเขาได้เรียนรู้ และน�ำมาปรับใช้กับชีวิตของตัวเอง
6
a side
EDI T OR S e p t e m b e r
2 0 1 7
เจ้าของ บริษัท เชียงใหม่ ฮิพ แม็กกาซีน จำ�กัด ที่ปรึกษา ฐานิศร์ สมบัติพิบูลย์ / วรพจน์ จันทร์หนองสรวง / ธนิต ชุมแสง
บรรณาธิการ สมชาย ขันอาษา
บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ วชิรดล ไชยภูมิ
V o l. 1 3
N o. 1 5 5
บรรณาธิการผู้ช่วย (Magazine) ระพินทรนาถ บรรณจักร์
บรรณาธิการผู้ช่วย (Digital) ศมนภรณ์ สุ่นศิริ
บรรณาธิการ BIKE SECTION ธันยภฤศ ฟองดาวิรัตน์
ผู้จัดการทั่วไป/ฝ่ายบัญชี สุรภี ขันอาษา
นักเขียนประจำ�ฉบับ วัฒนาวรรณ ขันอาษา ชลธิดา พระเมเด อรอุษา สุขจันทร์ ต้องจักษ์ ศุภผลศิริ อำ�นาจ เจริญประสพสุข วรมันต์ ชาญสูงเนิน ศีลวัตร สาธร รัตน์ชฎา วงศ์วสุ
รถม้าลำ�ปางที่หน้าวัดสวนดอก
HIP EVENT สุรภี ขันอาษา ชนัญชิตา สงวนโชคกุล ชัยชาญ คุณธรรมพิสฐิ อัญชนา หอมนาน
นักศึกษาฝึกงาน
เช้าวันเสาร์ของเดือนสิงหาคมทีผ่ า่ นมา, ในตัวเมืองจังหวัดล�ำปาง อากาศดีอย่างมาก เพราะฝน ตกไปแล ้วเมือ่ คืนวันศุกร์ และหยุดตกก่อนรุ่งเช้า ผมพบว่าการปัน่ จักรยานพับท่องเทีย่ วเมือง อย่างล�ำปางในเช้าวันหยุด ส�ำรวจเมือง ปัน่ ไปหาอาหารเช้ากิน ไปผ่านดูวดั สวยๆ ดูสถานีรถไฟ ดูตลาดเช้า ก็ให้ความรูส้ กึ สบายใจอย่างบอกไม่ถกู
ทนงศักดิ์ ดวงจันทร์ตุ้ย
ติดต่อ: กองบรรณาธิการ / การตลาด Mail: hipthailand.cm@gmail.com โทร. 0-5332-9420 / 08-1681-0037
ล�ำปางยังคงเป็ นเมืองทีม่ รี ถม้าให้บริการนักท่องเทีย่ วอยู่ในปัจจุบนั ผมพบรถม้าหลายคันทีเ่ ริ่ม วิง่ ออกมาเตรียมให้บริการนักท่องเทีย่ วตัง้ แต่เช้าตรู่ ในตัวเมืองล�ำปางมีสถานทีจ่ อดรถม้า เป็ นเรื่องเป็ นราว และเชื่อว่ายังคงมีนกั ท่องเทีย่ วทีม่ าจากถิน่ อืน่ ใช้บริการนัง่ รถม้าล�ำปางชมเมือง กันอยู่ไม่นอ้ ย ไม่เช่นนัน้ รถม้าล�ำปางคงไม่อยู่ยนื ยงมาจนถึงทุกวันนี้ นัน่ หมายถึงว่า แม้เทคโนโลยีของโลกจะก้าวรุดหน้าไปอย่างรวดเร็วขนาดไหน แต่ของบางสิง่ บางอย่างทีม่ เี สน่หใ์ นตัวของมันเอง ก็อาจจะไม่ได้สูญหายไปตามกาลเวลา อยู่ทว่ี า่ ยังมีคน มองเห็นเสน่หห์ รือความงดงามของสิง่ เหล่านัน้ ในจ�ำนวนทีเ่ พียงพอทีจ่ ะหล่อเลี้ยงหรือไม่, การคงอยู่ของรถม้าทีล่ ำ� ปางคงเป็ นสิง่ ทีย่ นื ยันความคิดนี้ได้
COVER : Memories and Inspiration
จรัล มโนเพ็ชร : จดจำ�-บันดาลใจ
การคงอยู่ของหนังสือและนิตยสารทีพ่ มิ พ์ออกมาเป็ นเล่มก็เช่นกัน. สมชาย ขันอาษา บรรณาธิการ Email : somchai.khanasa@gmail.com IG : hip_editor_thailand ID Line : s.khan-asa
ส�ำนักงานนิตยสาร HIP Magazine
บริษัท เชียงใหม่ ฮิพ แม็กกาซีน จำ�กัด เลขที่ 5/1 หมู่ 5 ต.สุเทพ อ.เมือง เชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์/ แฟ็กซ์ 0-5332-9420 hipthailand.cm@gmail.com facebook.com/hipthailand www.hipthailand.net
www.hipthailand.net 8
a side
9
a side
N E W S
Music Is The Best @ Warm Up Cafe
เ ดื อ น ที่ ผ ่ า น ม า กิ จ ก ร ร ม ท า ง ด น ต รี ข อ ง วอร์มอัพ คาเฟ่จดั ว่าเด็ดทุกงาน เริม่ กันตัง้ แต่งานประจ�ำ อย่างปาร์ตี้ดีเจ ที่ได้ Dj Jeffy & Mc PAM มารับหน้าที่ สร้ า งความบั น เทิ ง ต่ อ กั น ด้ ว ยการมาเยื อ นเชี ย งใหม่ อีกครั้งของวง Klear ที่ยังคงน�ำบทเพลงของพวกเขา มาให้แฟนๆ ได้ประทับใจเหมือนเช่นเคย และส่งท้ายด้วย Hennessy X Rubber Killer Collaboration : Never Stop, Never Settle Project การร่วมงาน ระหว่ า งแบรนด์ เ ครื่ อ งดื่ ม ชื่ อ ดั ง กั บ แบรนด์ ย อดฮิ ต ของเชียงใหม่ ที่ได้ จีน กษิดิศ มาสร้างงสีสันให้ค�่ำคืนนั้น สนุกสุดๆ (ภาพ siam2nite)
Warm Welcome @ โตโยต้า เชียงใหม่
Mr. Michinobu Sugata เจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท มอเตอร์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด และกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จ� ำ กั ด พร้ อ มคณะผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง เดิ น ทางมา ตรวจเยี่ยมและดูการบริหารงานของบริษัท โตโยต้า เชียงใหม่ จ�ำกัด โดยทางบริษัทซึ่งเป็นผู้แทนจ�ำหน่าย รถยนต์โตโยต้าแห่งแรกในเชียงใหม่ ได้แนะน�ำการด�ำเนิน งานในด้ า นต่ า งๆ เพื่ อ แสดงถึ ง ความพร้ อ มในการ ให้บริการลูกค้า ทั้งในจังหวัดเชียงใหม่และล�ำพูน
10
a side
11
a side
N E W S
Atom Live
@ The Good View Bar & Restaurant อะตอม ชนกั น ต์ คื อ ศิ ล ปิ น รายล่ า สุ ด ที่ The Good View Bar & Restaurant น� ำ มา สร้างความบันเทิงให้กบั แฟนๆ และท�ำให้บรรยากาศในร้าน แน่ น ขนั ด ด้ ว ยแฟนเพลงที่ ตั้ ง ใจมารอชมอะตอม ร้ อ งและเล่ น ดนตรี กั น แบบสดๆ ขณะที่ เ จ้ า ของงาน ก็ขนเพลงฮิตของตัวเองมาให้แฟนเพลงชาวเชียงใหม่ ได้เพลิดเพลินกันเต็มที่ เรียกว่างานนี้คนร้องปลื้มใจ ที่แฟนๆ ตอรับเป็นอย่างดี ส่วนคนฟังก็สุขใจที่ได้ฟัง เพลงดีๆ ในบรรยากาศที่ยอดเยี่ยม (ภาพ อ.เก็ต)
‘Currencies of the Contemporary’ Book Launch @ MAIIAM Contemporary Art Museum
ในงานเปิดตัวหนังสือ Thai Art : Currencies of the Contemporary ผลงานของ Dr. David Teh ณ พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัยใหม่เอี่ยม นอกจาก ผู้ร่วมงานจะได้ฟังเรื่องราวการค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับแวดวงงานศิลปะในเมืองไทย ของผู้เขียนแล้ว ยังได้ฟังการอภิปรายในหลายแง่มุมที่น่าสนใจจากกฤติยา กาวีวงศ์ และทัศนัย เศรษฐเสรี ที่มาร่วมสนทนาถึงหนังสือเล่มนี้ในวันนั้นอีกด้วย
บ๊อบ แอนด์ เฟรนด์ส ตอน ปาร์ตี้ข้าใครอย่าแตะ @ Bobspace
บ๊อบ แอนด์ เฟรนด์ส นึกสนุกเปิดโกดังร้าง Bobspace จัด ‘ปาร์ตี้ข้า ใครอย่าแตะ’ กับบรรยากาศแบบจีนๆ ที่ชวนให้กระท�ำความหว่องเป็นอย่างยิ่ง กับ 2 กิจกรรมสุดแนวอย่าง ‘Party สายสัมพันธ์สองแผ่นดิน’ ที่คนจัดงาน บอกว่าใครอยากจะท�ำอะไรก็ทำ� ไป กับ ‘โต๊ะจีนแต่ไม่จนี ’ ทีเ่ สิรฟ ์ อาหารค�ำ่ แบบโต๊ะไม่จนี ให้ผู้มาร่วมงานได้อิ่มอร่อยกันถ้วนหน้า
12
a side
13
a side
N E W S
Events In August
@ CentralFestival Chiangmai เดือนทีผ ่ า่ นมาเป็นเดือนของแม่ เซ็นทรัลเฟสติวลั เชี ย งใหม่ จึ ง มี กิ จ กรรมดี ๆ ให้ กั บ แม่ ข องแผ่ น ดิ น ถึงสองงาน ได้แก่การจัดนิทรรศการ ‘รอยยิ้มแห่งรัก’ เนือ่ งในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 85 พรรษา สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 และ การจุดเทียนชัยถวายพระพร ณ ลานโปรโมชั่น ชั้น 1 นอกจากนี้ยังมีงาน ‘IDEA FEST’ ที่เปิดโอกาสให้ ผูป้ ระกอบการ นักออกแบบ และนักศึกษา น�ำผลิตภัณฑ์ ที่ออกแบบและพัฒนามาแสดงและทดสอบตลาด
UberART
@ Chiangmai Uber จับมือกับ 5 ศิลปินสตรีทอาร์ตในเชียงใหม่ สร้างสรรค์ผลงาน 5 แบบ 5 สไตล์ภายในรถ Uber พร้อมทั้งเชิญสื่อมวลชนมาพบปะพูดคุยกับศิลปินเจ้าของ ผลงานอย่าง Brightside และ Toddyinthemood ถึงแรงบันดาลใจในการ สร้างสรรค์ผลงาน และประสบการณ์ทไี่ ด้รว่ มเป็นส่วนหนึง่ ของการสร้างแกลเลอรี่ เคลือ่ นทีเ่ ป็นครัง้ เเรกในจังหวัดเชียงใหม่
8th UOB Painting of the Year @ Chiangmai
มาถึงเชียงใหม่เพื่อให้ข้อมูลโครงการ พร้อมทั้งชักชวนศิลปินให้ส่งผลงาน เข้าประกวด ส�ำหรับ ‘การประกวดจิตรกรรมยูโอบี ครัง้ ที่ 8’ การประกวดจิตรกรรม งานเดียวในไทยที่หนุนศิลปินให้เติบโตในเวทีระดับภูมิภาค โดยนอกจากจะพบปะกับ สื่อมวลชนเพื่อให้ข้อมูลโครงการแล้ว ยังมีกิจกรรมเวิร์คช็อปกับน้องๆ นักศึกษา คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนา (เจ็ดยอด) อีกด้วย
14
a side
Variety Activities
@ Central Plaza Chiangmai Airport กิจกรรมในเดือนที่ผ่านมาของเซ็นทรัล พลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต เริม่ ต้นด้วยกิจกรรม ‘ชาวเชียงใหม่ ร่วมใจประดิษฐ์ดอกดารารัตน์ ถวายพ่อ’ ทีก่ ลุม่ เซ็นทรัล ร่วมกับจังหวัดเชียงใหม่ เชิญชวนประชาชนมาร่วมใจ ประดิษฐ์ดอกดารารัตน์ถวายเพื่อแสดงความจงรักภักดี และความอาลั ย ที่ มี ต ่ อ ในหลวงรั ช กาลที่ 9 ต่ อ ด้ ว ย ‘Time To Travel 2017 งานเดียว...เที่ยวทั่วโลก’ ที่ น� ำ แพ็ ค เก็ จ ท่ อ งเที่ ย วมากมายทั้ ง ในและต่ า งประเทศ มาให้เลือก และส่งท้ายด้วยการชม ชิม และช้อปผลิตภัณฑ์ ข้าวคุณภาพ ในงาน Lanna Premium Rice
Meet & Greet Concert ‘หนึ่งเดียวคนนี้...ที่มีเธอ’ @ ศูนย์ประชุมนานาชาติคุ้มค�ำ
เป็นคอนเสิร์ตที่มีแฟนๆ หลั่งไหลมาร่วมงาน กันแน่นขนัดจริงๆ ส�ำหรับ ‘หนึ่งเดียวคนนี้...ที่มีเธอ’ ที่ ปุ๊ – อัญชลี จงคดีกิจ และวง Papa ที่มีสมาชิกอย่าง ต้น แมคอินทอช, จืด ฟอร์เอฟเวอร์, พีรสันต์ ดิ อินโน เซ้นท์, สายชล ดิ อินโนเซ้นท์ และเต้ย อินคา มาพบปะกับ แฟนๆ แบบใกล้ ชิ ด แน่ น อนว่ า มากั น ครบที ม ขนาดนี้ ย่ อ มไม่ พ ลาดที่ จ ะจั ด ความสนุ ก แบบเต็ ม ที่ จนท� ำ ให้ แฟนเพลงที่มางานนี้ฟินไปตามๆ กัน
15
a side
P E O P L E
MAKE IT IMPRESS มากกว่าบริการคือความประทับใจ เรื่อง/ภาพ : อรอุษา
ณัฐวดี ยืนธรรม
Owner, Thunder Bird Hostel เชื่อได้เลยว่าในช่วง 2 – 3 เดือนทีผ่ ่านมา เราจะต้องเห็น เพื่อนหรือคนใกลต้ วั เช็คอินและแชร์รูปเก๋ๆ จากสถานที่สุดฮิพ แห่งนี้ ‘Thunder Bird Hostel’ นกสุดแสบตัวใหม่ของวงการทีพ่ กั ในเชียงใหม่ ที่ ฟ้ า - ณัฐวดี ยืนธรรม ผูเ้ ป็ นเจ้าของ ตัง้ ใจจะให้ ที่ น่ี เ ป็ นคอมมู นิ ต้ ี เล็ ก ๆ ที่ แ สนอบอุ่ น ของนั ก ท่ อ งเที่ ย ว และชาวเชียงใหม่ จากอาคารเก่ าในตลาดสมเพชรใจกลางเมืองเชียงใหม่ ฟ้ าชุ บ ชี วิต ที่แ ห่ ง นี้ ข้ ึน มาใหม่ ให้ก ลายเป็ น ทัง้ โฮสเทลและ ทีแ่ ฮงค์เอาท์เล็กๆ ทีใ่ ครๆ ต่างพูดถึง “ตอนนัน้ มาซื้อผักทีต่ ลาด แล ้วเดินมาเจอตึกนี้เข้า มันเป็ นสเปซทีส่ วยมาก อยู่ในย่านชุมชน เดิน ทางสะดวก เกิ ด ภาพในหัว ขึ้น มาทัน ทีว่ า ที่ต รงนี้ ไ ม่ ค วร ถู ก ปล่ อ ยให้เ สื่อ มโทรม และเราจะเปลี่ย นแปลงให้ม นั ดีข้ ึน ในทิศ ทางใดได้บ า้ ง บวกกับ เป็ น จัง หวะที่อ ยากขยายกิจ การ ทีพ่ กั เดิม (Early Bird Bed and Breakfast ถนนพระปกเกล ้า) ทีท่ ำ� อยู่พอดี ทีแ่ ห่งนี้จงึ เกิดขึ้น โดยไม่ได้เป็ นแค่โฮสเทล แต่ยงั มี ทัง้ ร้านอาหาร ร้านขนมปัง ร้านกาแฟ บาร์เล็กๆ และพื้นทีส่ ำ� หรับ ท�ำกิจกรรมต่างๆ ของใครก็ตามทีส่ นใจและอยากใช้พ้นื ทีข่ องเรา เป็ นส่วนหนึ่งของกิจกรรมดีๆ ทัง้ หมดนี้เป็ นสิ่งที่ฝนั อยากจะท�ำ มานานแล ้ว” แม้จ ะมีป ระสบการณ์ด า้ นงานบริก ารและที่พ กั มาก่ อ น แต่ การรีโนเวทตึกเก่ าในย่านชุมชนดัง้ เดิมแบบนี้ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ ก็ ไ ม่ ไ ด้ย ากเกิ น ความสามารถของฟ้ า ที่จ ะท�ำ ให้ท่ีแ ห่ ง นี้ น่ าสนใจ และสามารถอยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างเป็ นมิตรต่อกัน “ด้ว ยความที่ตึ ก แห่ ง นี้ อ ยู่ ใ นย่ า นชุ ม ชนเก่ า แก่ การรี โ นเวท ต้องค�ำนึงถึงผลกระทบต่อชุมชนเป็ นอันดับแรก ในช่วงแรกทีท่ ำ� จึง ติด ขัด นิ ด หน่ อ ย เพราะชาวบ้า นไม่เ ข้า ใจว่า เราจะสามารถ เปลี่ยนแปลงที่ตรงนี้ให้มนั ดีข้ นึ จากเดิมได้อย่างไร เราใช้เวลา กับ มัน อยู่ น านเกือ บปี จากความสงสัย ของชาวบ้า นในวัน นัน้ กลายมาเป็ นก�ำลังใจและเสียงชื่นชมเมื่อที่แห่งนี้เป็ นรู ปเป็ นร่าง ขึ้นมา เพราะเราแทบไม่เปลีย่ นแปลงอะไรเลย ใช้แปลนเดิมของตึก
ที่มีอ ยู่ แล ว้ เพิ่ม เติ ม สไตล์ก ารตกแต่ ง และการจัด สรรพื้น ที่ ของเราเข้าไป จนมันสวยงามขึ้นอย่างไม่น่าเชื่อ เป็ นเหมือนภาพ ที่เราวาดไว้ในวันแรกที่เดินมาเจอตึกนี้ และที่สำ� คัญยังสามารถ อยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างเอื้อเฟื้ อต่อกัน เพราะลูกค้าทีม่ าพักกับเรา ก็จะไปซื้อหาวัตถุดบิ ในตลาดมาท�ำอาหารเองในส่วนของ Pantry ที่เราเตรียมไว้ให้ หรือเดินเล่นหาซื้อสินค้าแฮนด์เมดในย่านนี้ ได้อ ย่ า งสะดวกสบาย เราจึ ง มีก ารพู ด คุ ย กับ ผู น้ �ำ ชุ ม ชนว่ า อยากจัดกิจกรรมดีๆ ขึ้น ณ ทีต่ รงนี้ เช่นการท�ำเป็ นถนนคนเดิน เฉพาะซอยของเราสัปดาห์ละ 1 วัน มีเพือ่ นๆ มาขายของแฮนด์เมด หรื อ ให้พ่ อ ค้า แม่ ค า้ น�ำ พืช ผัก ปลอดสารพิษ มาขาย ซึ่ง ได้ร บั เสียงตอบรับที่ดี และมีหลายๆ คนยินดีท่ีจะให้ความร่ วมมือ เพือ่ เป็ นการกระตุน้ เศรษฐกิจในย่านนี้ให้ดขี ้นึ และชาวบ้านจะได้ มีรายได้เพิม่ ขึ้นอีกช่องทางหนึ่ง” ความตัง้ ใจของฟ้ าไม่ใช่แค่ อยากท�ำให้ Thunder Bird เป็ นทีพ่ กั แต่อยากให้พ้นื ทีต่ รงนี้ตอบโจทย์และเป็ นส่วนหนึ่งของ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงใหม่ และสามารถ ต่ อยอดไปภาคส่วนอื่นๆ ได้อย่ างมีประสิทธิภาพ “เชียงใหม่ เป็ นเมื อ งน่ า รัก และมี ส าธารณู ป โภคครบครัน ในทุ ก ด้า น จึ ง ไม่ แ ปลกที่จ ะมีน ัก ท่ อ งเที่ย วจากทุ ก ชนชาติ แ วะเวีย นมา เกือบตลอดทัง้ ปี การเป็ นเจ้าบ้านที่ดแี ละให้การต้อนรับที่อบอุ่น กับ แขกผู ม้ าเยือ นจึ ง เป็ น หน้า ที่ข องคนในท้อ งถิ่น ทุ ก ๆ คน เราจึงอยากให้ Thunder Bird เป็ นคอมมูนิต้ ีเล็กๆ ส�ำหรับ จัดกิจกรรม เวิรค์ ช็อป หรือ Exhibition ต่างๆ ด้วย เพราะเมืองเรา เป็ นเมืองของศิ ลปะ งานฝี มือ และแหล่งรวมไอเดียน่ าสนใจ มากมาย การท�ำให้พ้ นื ที่ของเราสามารถรองรับสิง่ ดีๆ เหล่านี้ได้ จึงเป็ นความภูมใิ จของคนท�ำงานบริการ เพราะสิง่ ทีจ่ ะได้กลับมา ก็คือมิตรภาพ ความสุข ความประทับใจ และเสียงตอบรับที่ดี จากนักท่องเทีย่ ว ซึง่ สิง่ นี้ละ่ ทีจ่ ะท�ำให้อตุ สาหกรรมการท่องเทีย่ ว ของเมืองเรามีคุณภาพและยัง่ ยืนอย่างแท้จริง” 16
a side
ABOUT HER
ด้วยใจรักในงานบริการ บวกกับ อยากเห็ น เมื อ งเชี ย งใหม่ มี พื้ น ที่ ดี ๆ ไว้ต้อนรับนักท่องเที่ยว Thunder Bird Hostel จึงเกิดขึน้ โดยฟ้าตัง้ ใจให้นกตัวนี้ เป็นตัวแทนความอิสระในการท่องเที่ยว เหมือนที่เธอชอบท่องเที่ยวและเก็บเกี่ยว ประสบการณ์ จ ากการเดิ น ทางทุ ก ครั้ ง มาต่ อ ยอดให้ ธุ ร กิ จ ของตนเอง ซึ่ ง ฟ้ า บอกว่ า สิ่ ง ที่ ไ ด้ ไ ม่ ใ ช่ แ ค่ ลู ก ค้ า แต่ เ ป็ น มิตรภาพจากทุกมุมโลกที่ยังแวะเวียนมา ทักทายกันอยู่เสมอ แวะไปเช็คอิน ถ่ายรูป สวยๆ กันได้ที่ Thunder Bird Hostel ตลาดสมเพชร ถนนมู ล เมื อ งซอย 6 โทร. 0 5328 9654, 06 4324 2654 หรือไปติดตามกันได้ทาง Facebook : Thunder Bird Hostel
17
a side
P E O P L E
ABOUT HIM
หนึ่งจบการศึกษาจากคณะเทคนิคการแพทย์ สาขาวิชากิจกรรมบ�ำบัด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นอกเหนือจากงานทีโ่ รงพยาบาลสันทราย หนึง่ ยังท�ำงาน ร่ ว มกั บ มู ล นิ ธิ ดุ ล ภาทร จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ซึ่ ง เป็ น มู ล นิ ธิ ที่ ส นั บ สนุ น ด้ า น การศึกษาและคุณภาพชีวิตแก่เด็กด้อยโอกาสและเด็กที่มีความต้องการพิเศษ โดยหนึ่งมีหน้าที่จัดแคมป์ทุกวันเสาร์สุดท้ายของเดือน และใช้กิจกรรมต่างๆ ที่ออกแบบมา เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านการเล่นและการบ�ำบัดรักษา ให้กับกลุ่มเด็กที่มีความต้องการพิเศษ เช่น กิจกรรมศิลปะ การฝึกท�ำอาหาร การเล่นกีฬา เป็นต้น นอกจากนี้หนึ่งยังเคยออกปฏิบัติการในหน่วยแพทย์ เคลือ่ นที่ พอ.สว. ไปให้ความรูแ้ ละบริการบ�ำบัดรักษาแก่ผปู้ ว่ ยในพืน้ ทีห่ า่ งไกล ที่ยากล�ำบากต่อการเดินทางเข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาลชุมชนอีกด้วย
18
a side
EVERY LIFE IS PRECIOUS เพราะทุกชีวิตมีค่า เรื่อง /ภาพ : อรอุษา
อาทิตย์ ร่มโพธิ์
นักกิจกรรมบ�ำบัดปฏิบตั กิ าร โรงพยาบาลสันทราย ทุกครัง้ ที่เราเจ็บป่ วย หรือมีเหตุอนั ใดก็แลว้ แต่ท่จี ำ� เป็ น ต้องใช้บริการของสถานพยาบาล เราคงจะเห็นระบบการท�ำงาน ของบุคลากรในทุกต�ำแหน่ง ไม่ว่าจะเป็ นแพทย์ พยาบาล หรือ เจ้าหน้าที่ตำ� แหน่ งต่ างๆ ว่าเขาเหล่านัน้ ต้องใช้ความเสียสละ และความรับผิดชอบในวิชาชีพมากเพียงใด ยิ่งเป็ นการท�ำงาน กับ ผู ป้ ่ วยที่พิก ารและเด็ ก ที่มีค วามต้อ งการพิเ ศษด้ว ยแล ว้ ความเสียสละนัน้ ยิ่งเพิ่มขึ้นเป็ นทวีคูณ เช่ นเดียวกับสายงาน ในหน้าทีร่ บั ผิดชอบของ หนึ่ง - อาทิตย์ ร่มโพธิ์ นักกิจกรรมบ�ำบัด ปฏิบตั กิ าร ซึง่ ต้องใช้ ‘กิจกรรม’ เป็ นเครื่องมือในการบ�ำบัดรักษา ผูป้ ่ วยตามศาสตร์ทไ่ี ด้เรียนมา เพือ่ ให้ผูป้ ่ วยเหล่านัน้ กลับมามีชวี ติ ทีส่ มบูรณ์แบบให้ได้มากทีส่ ุด “หน้าที่รบั ผิดชอบของผม คือจะท�ำอย่างไรให้กิจกรรม ที่เราออกแบบมา สามารถช่ วยบ�ำบัดและฟื้ นฟูผูป้ ่ วยได้อย่าง มีประสิทธิภาพทีส่ ุด ผูป้ ่ วยในทีน่ ้ ี คือผูป้ ่ วยโรคหลอดเลือดสมอง อัมพาตครึ่งซีก ครึ่งท่อน หรือมีความพิการ เด็กทีม่ คี วามต้องการ พิเศษ เด็กพัฒนาการล่าช้า ดาวน์ซนิ โดรม ออทิสติก สมาธิสนั้ สมองพิการ ทารกแรกเกิดที่มีปญ ั หาด้านการดู ดกลืน ภาวะ กลืน ล�ำ บาก หรือ กลุ่ม เด็ก ที่มีค วามบกพร่ อ งทางการเรีย นรู ้ ซึง่ ทัง้ หมดต้องใช้ทงั้ ความรูแ้ ละความเสียสละควบคู่กนั ไป” ในแต่ ละเคสที่หนึ่งต้องพบเจอนัน้ จะมีความยากง่าย แตกต่างกันออกไป แต่สง่ิ ทีเ่ หมือนกันคือความหวังและก�ำลังใจ ของผู ป้ ่ วยเป็ นสิ่ ง ที่ ส �ำ คัญ ที่ สุ ด จึ ง ไม่ ใ ช่ แ ค่ ก ารใช้ค วามรู ้ ที่ได้เรียนมาเท่านัน้ แต่ ย่ิงไปกว่านัน้ คือส�ำนึกในการเป็ นผู ใ้ ห้ อย่ า งแท้จ ริ ง ที่จ ะท�ำ ให้ผู ป้ ่ วยไว้ว างใจและเปิ ด ใจยอมรับ กระบวนการต่างๆ ของนักกิจกรรมบ�ำบัด “เนื่องจากลักษณะงาน ส่วนใหญ่จะเป็ นการลงพื้นทีไ่ ปพบผูป้ ่ วยในชุมชนต่างๆ ทัง้ ผูป้ ่ วย พิการอัมพาต และผูป้ ่ วยเด็กทีม่ คี วามต้องการพิเศษ นอกเหนือ จากการบ�ำบัดรักษาตัวผูป้ ่ วยเองแลว้ การจัดการและปรับสภาพ สิง่ แวดลอ้ มภายในบ้าน เพือ่ ให้ผูป้ ่ วยหรือแม้กระทัง่ ญาติทด่ี ูแล ผู ป้ ่ วยเองมีคุ ณ ภาพชีวิต ที่ดี จึง เป็ น อีก สิ่ง ที่เ ราต้อ งค�ำ นึ ง ถึง เช่ น การท�ำทางลาดส�ำหรับรถวีลแชร์ หรือการจัดการห้องน�ำ้
19
a side
ให้สะดวกต่อการใช้งานของผูป้ ่ วย เป็ นต้น ดังนัน้ เราจึงต้องท�ำให้ ผู ป้ ่ วยและครอบครัวเปิ ดใจยอมรับ และมองเห็นถึงเจตนาดี ที่เราอยากจะช่วยบ�ำบัดรักษา เพือ่ ให้เขาสามารถกลับมาใช้ชีวติ ได้อย่างเป็ นปกติมากทีส่ ุด หนึ่ ง กล่ า วว่ า สิ่ ง ที่ ห ลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้คื อ ความเครี ย ด และความท้อ แท้ใ จ ทัง้ จากตัว ผู ป้ ่ วยเองและญาติ เขาจึง น�ำ ทุ ก ค� ำ พู ด และความรู ส้ ึ ก ของผู ป้ ่ วยกับ ญาติ ม าเป็ นข้อ มู ล เพือ่ น�ำมาวิเคราะห์และหาทางออกทีเ่ หมาะสมทีส่ ุด “หน้าทีข่ องเรา คือเติมเต็มก�ำลังใจให้เขาเหล่านัน้ ท�ำให้เขามีความหวัง มีเป้ าหมาย และยังมองเห็นคุณค่ าในตนเองอยู่ เพราะก�ำลังใจที่ดีถือเป็ น ตัวแปรทีส่ ำ� คัญมาก ในการทีจ่ ะท�ำให้กระบวนการบ�ำบัดนัน้ ได้ผล อย่างมีประสิทธิภาพทีส่ ุด” เมื่อถามว่าหนึ่งได้อะไรจากการเป็ นผู ใ้ ห้ ซึ่งต้องใช้ทงั้ ความเสียสละและใจเย็นค่ อนข้างมากในงานที่ท ำ� หรือแม้แต่ ตัวนักกิจกรรมบ�ำบัดเองจะเกิดความเครียดหรือท้อแท้ข้ ึนมา บ้างหรือไม่ หากผลลัพธ์ทไ่ี ด้ไม่เป็ นไปตามทีห่ วัง “อย่างแรกเลย คือได้ความอิม่ เอมใจ เพราะจะด้วยข้อจ�ำกัดอะไรก็แล ้วแต่ทท่ี ำ� ให้ ผูป้ ่ วยเหล่านี้ขาดโอกาสในการได้รบั การบ�ำบัดรักษาด้วยวิธีการ ทีถ่ กู ต้อง อย่างน้อยการทีเ่ ราเข้าไปหาเขาถึงที่ ได้ให้ความรูต้ ่างๆ และกระบวนการของเราสามารถช่วยเยียวยาทัง้ ร่างกายและจิตใจ ให้ผู ป้ ่ วยกลับ มามีชี วิต ที่ป กติ ม ากที่สุ ด หรื อ ท�ำ ให้เ ด็ ก ๆ มี พัฒนาการที่ดีข้ นึ ตามล�ำดับขัน้ ที่ตงั้ เป้ าหมายไว้ ถือเป็ นแรงใจ ในการท�ำงานให้เราได้มากเลยทีเดียว อาจจะมีบางเคสทีผ่ ลลัพธ์ ไม่ ไ ด้เ ป็ นไปตามที่ เ ราคาดหวัง เสี ย ทัง้ หมด แต่ น ัน่ ถื อ เป็ น ประสบการณ์ ใ ห้เ ราเรี ย นรู ไ้ ด้ดี ก ว่ า ค�ำ สอนในต�ำ ราเสี ย อี ก แน่ น อนว่า แต่ ล ะคนเกิด มามีโ อกาสไม่เ ท่ า กัน แต่ ส่ิง ที่ทุก คน มีเท่ากันคือคุณค่าในชีวติ และทุกคนก็ควรได้รบั สิทธิขนั้ พื้นฐาน ในด้านสาธารณสุขอย่างเท่าเทียมกัน”
F O O D & P L A C E
DON’T FORGET TO BE AWESOME EVERY DAY 4 สถานที่เอาใจสายกินแหลก เรื่อง / ภาพ : HIP Team
ฉบับนี้เราน�ำเสนอ 4 ร้านใหม่เอาใจคนชอบตระเวนชิมร้านใหม่ๆ อย่าลืมที่จะพาเพื่อนหรือคนที่คุณรักไป แล้วถ่ายรูปลง อินสตราแกรมโชว์ความว่าง (เหรอ) แล้วอย่าลืมใส่ #HIPTHAILAND ด้วยนะ เราจะได้ตามคุณไปยังสถานที่ใหม่ๆ บ้างไงล่ะ
THE WALL CHIANGMAI Cafe.Bar.Restaurant
ความโดดเด่ น ที่เ ป็ น เอกลัก ษณ์ข องสถานที่แ ห่ ง นี้ คือก�ำแพง (ตามชื่อร้านเลย) เมือ่ เข้าไปในร้านจะเห็นก�ำแพง อิฐ ด้า นหลัง บาร์ท่ีถูก ออกแบบให้ก ลมกลืน กับ ผนัง สีข าว เรียบง่ายได้เป็ นอย่างดี ภายในร้านกว้างขวางนัง่ สบายและมี มุมให้ถา่ ยรูปหลายมุม เมนู ทข่ี ายก็เอาใจสายกิน มีทงั้ เครื่อง ดืม่ เค้ก ขนม และอาหารจานเดียวให้กนิ แบบครบครัน เปิด : 09:00 - 21:00 น. โทร : 09 8249 1656 ที่ตั้ง : ถนนศรีดอนไชย (ซ้ายมือก่อนถึงสุริวงศ์บุ๊คเซ็นเตอร์) Facebook : THE WALL
ราเมงอร่อยร้องไห้ うまくて号泣らーめん
59ramen
หลังจากร้านราเมงโลคอลทยอยหายหน้าหายตาไป ก็มแี ต่รา้ นนี้แหละ ที่เข้ามาท�ำให้จิตใจของเราได้เบิกบานอีกครัง้ ร้านนี้เคยเปิ ดในโครงการ เวีย งบัว สัน ติธ รรม ส่ ว นปัจ จุบนั ย้า ยมาอยู่ ท่ีโครงการกาดกลางเวียง ให้แฟนคลับมัน่ ใจว่ายังไม่หายไปไหน สไตล์รา้ นออกแบบเป็ นเคาน์เตอร์ รู ปตัว U ให้ลูกค้านัง่ ลอ้ มรอบครัว ท�ำให้ได้เห็นทุกขัน้ ตอนของการท�ำ และด้วยตัวเลือกทีม่ หี ลากหลาย เราจึงสามารถเลือกน�ำ้ ซุป (ส่วนตัวชอบซุป แบบมิโซะกระดู กหมูสุดเข้มข้น ซดหมดชาม) เลือกเส้น หรือท๊อปปิ้ ง (ตัวเด็ดคือหมูชาชูละลายในปาก) ได้เองตามความชอบ แถมยังมีของกิน อย่างอืน่ ทีเ่ ราสามารถสังมาแชร์ ่ กบั เพือ่ นๆ ได้แบบสบายกระเป๋ า เปิด : 10:30 - 22:00 น. โทร : 09 8249 1656 ทีต่ งั้ : โครงการกาดกลางเวียง (ด้านหลังวาวีกลางเวียง) Facebook : ราเมงอร่อยร้องไห้うまくて号泣らーめん59ramen Website : http://chiangmai-ramen.com/
20
a side
GORO
Japanese Restaurant เป็ นร้านอาหารญี่ป่ ุนสไตล์ Izakaya มีป้ ิ งย่ างเสียบไม้ทงั้ ประเภทไก่ (Yakitori) และหมู (Motsuyaki) หอมอร่อยมาก (เห็ดออรินจิย่างก็หอมอร่อย) ส่วนเมนู อน่ื ๆก็มที งั้ ซาซิมิ (บางช่วงมีปลา น�ำเข้าจากญีป่ ่ นุ มาให้สงด้ ั ่ วย), ซูชกิ ม็ แี ต่ไม่มากนัก, สลัดต่างๆ, เครื่องเคียง (Side Dish) เช่นผักปวยเล ้ง ราดน�ำ้ ซีอ้วิ ดาชิกเ็ ริ่ด กินแล ้วสดชื่น, ข้าวหน้าต่างๆ ก็เพียบ (ข้าวหน้าเนื้อย่างซอสกระเทียมอร่อยมาก), ปลาอินทรียย์ ่างมิโสะก็หอม ย่างได้ดีทเี ดียว, ปลาหมึกย่างเกลือก็ดี ส่วนพวกเนื้อวัว ปลาย่างอื่นๆ เมนู เส้น เมนู ของทอดก็มคี รบครัน คุณภาพ ความอร่อยและปริมาณคุม้ เกินราคา เปิด : 12:00 - 0:30 น. (หยุดทุกวันที่ 15 - 16 ของเดือน) โทร : 0 5323 4563 ที่ตั้ง : ถนนอัษฎาธร ติดโรงแรม Royal Peninsula Facebook : Goro japanese restaurant 五郎 โกโร่
MAAJAIDUM COFFEE จิบกาแฟในโรงเหล้า
พูดถึง ‘หมาใจด�ำ’ หลายคนรู จ้ กั นั ดีว่านี่คือ แบรนด์เ หล า้ ที่ส กัด จากน�ำ้ หวานดอกมะพร้า วที่อ ยู่ คู่เชียงใหม่ มา 10 ปี แล ้ว และตอนนี้ทโ่ี รงงานเขาก็ทำ� ห้องรับแขกเป็ นศาลากลางสวน เอาไว้ให้ทกุ ท่านได้มา ลองนัง่ จิบกาแฟ และช้อปปิ้ งไอเท็มเก๋ๆ กันแล ้วด้วยนะ ใครไปแต่เช้าเขาก็มเี มนู อาหารเช้า Breakfast Big Set ส�ำหรับเริ่มวันใหม่ ส่วนใครทีม่ าบ่าย ต้องไม่พลาดเมนู ชาเขียว เจลลี่ ว้อดก้า หรือ คอฟฟี่ เจลลี่ ว้อดก้า ที่รสชาติเข้มข้น แถมยังมีเจลลี่ท่ีมีรสชาติของเหลา้ หมาใจด�ำให้เคี้ยวหนึบหนับเบาๆ ทานคู่กบั เค้กโฮมเมด อย่าง บราวนี่หมาใจด�ำราดซอสว้อดก้าช็อกโกแลต สูตร ลับฉบับออสเตรเลีย รับรองว่าฟิ น... และส�ำหรับคนที่ อยากนัง่ จนถึงเย็นๆ ก็มีค็อกเทลสู ตรต่ างๆ อย่ าง หมามองเครือ่ งบิน, หมาจิโต้, หมาไว้ลาย, หมาในกาแฟ สู ต รต่ า งๆ พร้อ มเมนู ก บั แกล ม้ อย่ า งไส้ก รอกย่ า ง รมควัน, เอ็นไก่ทอด, เฟรนช์ฟราย ให้ดม่ื กินกันไปจน ร้านปิ ดเลยทีเดียว
เปิด : 9:00-18:00 น. โทร : 08 5030 5003, 08 1993 0050 ที่อยู่ : 141 หมู่ 7 ต�ำบลแม่ปูคา อ�ำเภอสันก�ำแพง Facebook : maajaidum chiangmai
21
a side
F E A T U R E
OFFICE-LESS เชียงใหม่ - เมืองมนุษย์ ไร้ออฟฟิศ เรื่อง / ภาพ : ชลธิดา
เทรนด์การท�ำงานที่เปลี่ยนแปลงไป การขยายตัวของเทคโนโลยีดิจิทัลที่ท�ำให้เราสามารถท�ำงานได้ทุกที่ทุกเวลา เพียงมีแลปท็อป อินเตอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือ หรือแค่พกพาอุปกรณ์จ�ำเป็นส�ำหรับการท�ำงาน แล้วสรรหา สถานที่เหมาะๆ ก็สามารถลงมือสร้างสรรค์ผลงานได้แล้ว
ด้วยเหตุผลเหล่านี้ จึงไม่น่าแปลกใจที่จะเกิดกระแสของ ไลฟ์ สไตล์การท�ำงานแบบใหม่ ที่ทุกคนสามารถดีไซน์การท�ำงาน ของตัวเองได้แบบทุกที่ทุกเวลา หลายเดือนที่ผ่านมาจะเห็นว่า ตามสื่อต่างๆ เริ่มน�ำเสนอวิถกี ารท�ำงานแบบ Digital Nomad ให้เป็ นทีร่ ูจ้ กั ในวงกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิง่ หลังจากการรายงานข่าว ของ VOA Thai (รายการวิทยุ Voice of America ภาคภาษาไทย) ทีร่ ะบุวา่ เชียงใหม่ เป็ นฮับใหญ่ของเหล่า Digital Nomad ความครบครันของเมืองใหญ่ทม่ี สี ง่ิ อ�ำนวยความสะดวกและ ความบันเทิงหลากหลาย เครือข่ายอินเตอร์เน็ตทัว่ ถึงทุกมุมเมือง ร้านอาหาร ร้านกาแฟส่วนใหญ่มกั ปล่อย Free-WiFi ให้สำ� หรับ ผู ใ้ ช้บ ริ ก าร หรื อ หากอยากได้ค วามเป็ นส่ ว นตัว มากหน่ อ ย Co-Working Space ก็เปิ ดให้บริการอยู่ทวั ่ เมืองเช่นเดียวกัน 22
a side
หากมองในแง่ของการอยู่อาศัย ก็มอี พาร์ทเมนต์ ห้องพัก โรงแรม ให้บริการในราคาย่อมเยา อาหารการกินหลากหลาย ผูค้ นเป็ นมิตร กับนักท่องเที่ยว สภาพอากาศเอื้ออ�ำนวยต่อการใช้ชีวติ รวมทัง้ สภาพแวดลอ้ มทีม่ ธี รรมชาติอยู่ใกลเ้ มือง จึงไม่แปลกทีเ่ ชียงใหม่ จะติด Top List ของเหล่า Digital Nomad มาโดยตลอด บทความนี้ไม่เพียงพาคุณไปรูจ้ กั กับเหล่า Digital Nomad เท่านัน้ แต่ จะพาไปพบกับไลฟ์ สไตล์การท�ำงานของคนรุ่นใหม่ ที่การมีออฟฟิ ศอาจไม่ใช่เรื่องจ�ำเป็ นอีกต่อไป อะไรคือเหตุจูงใจ ให้พวกเขาเลือกออกมาจาก Comfort Zone อย่างการท�ำงาน ในระบบ แล ้วท่องเทีย่ วไปทัว่ โลก การเริ่มต้นเข้าสู่วถิ มี นุษย์เร่ร่อน รวมทัง้ สิง่ ทีต่ อ้ งรู ้ และความเสีย่ งทีจ่ ะต้องเจอ หากคุณอยากจะออกผจญภัยในโลกที่ - ไร้ออฟฟิ ศ
It’s not a job, It’s just lifestyle.
“ภายในปี 2035 จะมีคนท�ำงานอิสระทีเ่ รียกตัวเองว่า Digital Nomad หนึ่ ง พัน ล า้ นคน” คือ การคาดคะเนของปี เ ตอร์ เลเวลส์ (Pieter Levels) โปรแกรมเมอร์ และดีไซเนอร์ชาวดัตช์ ผู ก้ ่ อตัง้ nomadlist.com เว็บไซต์ทเ่ี ปรียบเหมือนเข็มทิศส�ำหรับการตัดสินใจ เดินทางไปทัว่ โลกของชาว Digital Nomad ในปัจจุบนั ข้อมูลเมือ่ วันที่ 21 สิงหาคม 2560 ในเว็บไซต์ nomadlist.com ระบุว่าเมืองที่เหมาะกับการใช้ชีวติ ของผูม้ อี าชีพอิสระ ชาวฟรีแลนซ์ และเหล่า Digital Nomad และได้รบั คะแนนมาเป็ นอันดับหนึ่ง คือ กรุงเทพมหานคร ส่วนเชียงใหม่ จัดอยู่ในอันดับที่ 5 โหวตโดยสมาชิก ของเว็บไซต์ทม่ี มี ากกว่าหมืน่ คน ผูค้ นเหล่านัน้ ให้คะแนนในหลายหัวข้อ เป็ นต้นว่า อากาศ, อุณหภูม,ิ อาหาร, การเดินทาง, ความปลอดภัย และ ที่สำ� คัญคือสัญญาณอินเตอร์เน็ต เพราะปฏิเสธไม่ได้ว่าการท�ำงาน ในทุกวันนี้ อินเตอร์เน็ตคือปัจจัยอันดับต้นๆ ส�ำหรับการเสิรช์ ข้อมูล ติดต่อสือ่ สาร ส่ง - รับงาน ซึง่ ทัง้ กรุงเทพฯ และเชียงใหม่ ต่างมีความ เพียบพร้อมต่อการท�ำงานออนไลน์ รวมทัง้ การใช้ชวี ติ แต่สง่ิ ทีเ่ ชียงใหม่ ชนะขาดคือบรรยากาศ และค่าครองชีพทีถ่ กู กว่ามาก แลว้ เหตุใดคนเหล่านี้จงึ เลือกออกมาเร่ร่อนท�ำงานในโลกกว้าง แทนทีจ่ ะท�ำงานอยู่ในออฟฟิ ศเหมือนเดิมล่ะ? เว็บไซต์ของมูลนิธสิ ถาบันวิจยั นโยบายเศรษฐกิจการคลัง หรือ มูลนิธิ สวค. สังกัดกระทรวงการคลัง (www.fpri.or.th) จ�ำกัดความว่า Digital Nomad (ดิจทิ ลั นอแมด) คือ กลุม่ คนทีท่ ำ� งานโดยอาศัย เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นหลัก และชอบเปลีย่ นแปลงสถานที่ทำ� งาน อาจท�ำงานที่บา้ น ร้านกาแฟ หรือสถานที่สาธารณะต่ างๆ ที่มีการ จัดสรร WiFi ไว้บริการ จากการได้เข้าร่วมโครงการศึกษาวิจยั ชิ้นหนึ่ง ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาซอฟต์แวร์ และมีโอกาสเดินทางลงพื้นที่ เพือ่ เก็บข้อมูลเชิงลึกจากผูป้ ระกอบการซอฟต์แวร์ในเชียงใหม่ พบว่า กลุม่ คนท�ำงานอิสระเหล่านัน้ นิยมเดินทางมาท�ำงานทีเ่ ชียงใหม่ เนื่องจาก ปัจจัยหลัก 3 ประการ คือ ง่าย ถูก และสบาย
Novi Kresnamurti
Novi Kresnamurti คอลัมนิสต์/นักเขียน ชาวอินโดนีเซีย ผูผ้ นั ตัวมาเป็ น Digital Nomad ได้กว่า 5 ปี แลว้ เล่าว่าเธอเอง ก็เริ่มต้นการท�ำงานเหมือนคนทัว่ ไป คืออยู่ในองค์กรมาก่อน จนถึงปี 2012 เธอตัดสินใจลาออกจากต�ำแหน่ งก็อปปี้ ไรท์เตอร์ของเอเจนซี่ แห่งหนึ่งในกรุงจาการ์ตา้ ประเทศอินโดนีเซีย เพือ่ ‘ออกเดินทาง’ ไปหา ประสบการณ์แปลกใหม่ในโลกกว้าง ซึง่ ในตอนนัน้ Digital Nomad ยังไม่เป็ นที่นิยม การเริ่มต้นของเธอจึงไม่งา่ ยนัก แต่โชคดีท่เี มือ่ เธอ ลาออก และตัดสินใจเดินทางไปประเทศเกาหลีใต้ ทีน่ นั ่ เธอได้พบกับเหล่า Digital Nomad หลายเชื้อชาติ ค�ำแนะน�ำจากพวกเขาท�ำให้เธอ มันใจมากขึ ่ ้น ว่าจะต้องท�ำงานในไลฟ์ สไตล์น้ ใี ห้อยู่รอดได้อย่างไร “ส�ำหรับฉันแลว้ การมีไลฟ์ สไตล์แบบนี้ไม่ใช่เรื่องท่องเทีย่ วนะ ความคิดแรกในตอนนัน้ คือ ฉันอยากไปอาศัยอยู่ทเ่ี กาหลีใต้ แต่ไม่รูว้ า่ จะต้องท�ำยังไง ฉันไม่อยากท�ำงานในบริษทั ของเกาหลี ฉันจึงเริ่มคิด ค่ อยๆ หาหนทางอย่างค่ อยเป็ นค่ อยไป จากค�ำแนะน�ำของเพื่อนๆ ที่ได้เจอใน Co-Working Space ที่นนั ่ บวกกับการที่ฉนั ก็ได้รบั โทรศัพท์จาก Project Manager ของบริษทั ในลอนดอน ถามฉันว่า สนใจอยากจะร่วมงานกับพวกเขามัย้ เป็ นงานในสายโรงแรม แล ้วก็ยงั มี ลูกค้าชาวอินโดนีเซียที่ประกอบธุ รกิจโรงแรมในบาหลี ให้ฉนั เขียน ก็อปปี้ โฆษณาให้กบั เขา รวมทัง้ ลูกค้าเก่าๆ ทีฉ่ นั เคยท�ำงานให้เมือ่ ตอน อยู่ทจ่ี าการ์ตา้ ฉันค่อยๆ เริ่มจากลูกค้าเดิมก่อน แลว้ หาลูกค้าใหม่ๆ ทางอินเตอร์เน็ ตผ่านเว็บไซต์ต่างๆ ที่มกั จะประกาศหาคนท�ำงาน ทางออนไลน์อยูต่ ลอดเวลา นัน่ คือวิธที ฉ่ี นั เริม่ แล ้วฉันก็ค่อยๆ เข้าใจว่า ต้องท�ำอย่างไร แต่การจะออกมาท�ำงานแบบ Digital Nomad ได้ ไม่ใช่ เรื่องง่าย การที่ฉนั เคยท�ำงานในบริษทั มาก่ อนนัน้ ช่ วยได้มาก เพราะท�ำให้ได้ทงั้ ประสบการณ์ และความไว้เนื้อเชื่อใจ” 23
a side
ปัจจุบนั Novi รับเขียนบทความให้กบั เว็บไซต์ รวมทัง้ เผยแพร่ งานเขียนของตัวเองผ่าน www.novikresna.com เพื่อเก็บผลงาน ในฐานข้อมูลส่วนตัว และเป็ น Portfolio ชัน้ ดีสำ� หรับผูท้ ก่ี ำ� ลังมองหา Digital Nomad สักคนที่สามารถสร้างสรรค์ผลงานอย่างที่พวกเขา ต้องการได้ โดยไม่ตอ้ งประกาศรับสมัครงานแบบเดิมๆ อีกต่อไป “การที่คุณจะเปลีย่ นแปลงบางอย่างต้องใช้ความกลา้ โอเค... การออกมาจาก Comfort Zone อาจท�ำให้ไม่มนใจเรื ั ่ ่องการเงิน แต่น่ี เป็ นสิ่งที่ทา้ ทายส�ำหรับทุกคน ส�ำหรับฉันการท�ำงานแลว้ ก็เดินทาง ไปด้วยในช่วงปี แรกก็ตน่ื เต้นดี เพราะได้เจอเพือ่ นใหม่ ทัง้ น่าตืน่ เต้นและ มี ค วามท้า ทาย แต่ ข ณะเดี ย วกัน ก็ ต อ้ งท�ำ งานให้ส �ำ เร็ จ ลุ ล่ ว ง ความรู ส้ ึก เหล่ า นี้ เ กิ ด ขึ้น พร้อ มๆ กัน ในปี แ รกเป็ น เรื่ อ งท้า ทาย ที่จะต้องหารายได้ให้คงที่ คนส่วนใหญ่ไม่รูว้ ่าจะต้องท�ำยังไง แต่ถา้ มีป ระสบการณ์อยู่ บา้ ง ก็ค วรเริ่ม จากแวดวงคนที่มีค วามสัมพันธ์ ใกลช้ ิดก่อน ถ้าคุณได้รบั หนึ่งหมืน่ บาท ก็เก็บไว้ เก็บเล็กผสมน้อย แลว้ ก็ตอ้ งค�ำนวนรายจ่ายอย่างถีถ่ ว้ นส�ำหรับในอีกสองหรือสามเดือน ข้างหน้า ทุกอย่างต้องวางแผนเป็ นอย่างดี แต่ฉนั ก็ชอบชีวติ แบบนี้ ได้เจอผูค้ นใหม่ๆ ได้เดินทาง มีประสบการณ์ใหม่ๆ ไปทัว่ โลก โดยที่ ก็ยงั คงมีรายได้จากการท�ำงานอยู่ เพราะส�ำหรับฉันแลว้ การเป็ น Digital Nomad ‘It’s not a job, It’s just lifestyle.’”
สันต์ สุวรรณวงค์
ในปัจจุบนั อาชีพ Freelance เริ่มเป็ นทีย่ อมรับในไทยมากขึ้น คนวัยท�ำงานรุ่ นใหม่ๆ ที่รกั อิสระ ไม่อยากอยู่ ในกรอบของระบบ การท�ำงานแบบเดิม จึงหันมารับงานด้วยตัวเอง แต่การจะมีงานให้ทำ� อย่างต่อเนื่องอาจไม่ใช่เรือ่ งง่าย เพราะเมือ่ เลือกทางสายนี้แล ้ว แน่นอนว่า นอกจากจะต้องสร้างงานให้ได้มาตรฐานที่ดแี ลว้ การสร้างสรรค์งาน Freelance, Working for Free. ไม่ใช่แค่ Digital Nomad เท่านัน้ นะทีฮ่ ติ มาเชียงใหม่ เหล่า ให้โดดเด่นน่ าสนใจกว่า Freelance คนอื่นๆ ในสายงานเดียวกัน ฟรีแลนซ์เองก็มีอยู่เต็มเมือง ทัง้ ที่เรียนจบแลว้ และท�ำงานที่น่ีต่อ ก็เป็ นอีกโจทย์ยาก หากจะอยู่ให้ได้ในฐานะ Freelance สันต์ สุวรรณวงค์ กราฟิ กดีไซน์เนอร์ อดีตพนักงานบริษทั หรือแม้กระทัง่ คนต่างถิน่ ทีช่ อบบรรยากาศสบายๆ ของเมืองนี้ ก็พากัน ในกรุงเทพฯ เขาเคยท�ำงานประจ�ำกับองค์กรใหญ่ หลายแห่ง อาทิ โยกย้ายมาลงหลักปักฐาน และรับงานจากทีอ่ น่ื ก็มไี ม่นอ้ ย แล ้ว Digital Nomad นี่เหมือนหรือแตกต่างกับ Freelance Mass Univers, MTV Thai, GMM Grammy ในฐานะ Art Director ่ และก้าวหน้า อย่างไร? ในลักษณะการท�ำงานมีความคล ้ายคลึงกัน คือไม่จำ� เป็ นต้อง และกราฟิ กดีไซเนอร์ แม้หน้าทีก่ ารงานจะดูมคี วามมันคง ไปได้ ด ี แต่ เ ขาอยากใช้ ค วามสามารถ สร้ า งสรรค์ ง านตามสไตล์ ของตัวเอง มีสงั กัด หรืออาจจะมีสงั กัด แต่ไม่ตอ้ งเข้าท�ำงานในออฟฟิ ศเหมือน พนักงานทัว่ ไป Digital Nomad นัน้ จะเน้นไปทางด้านงานออนไลน์ มากกว่า ประกอบกับอยากเปลีย่ นวิถชี วี ติ ลองเปิ ดประสบการณ์ใหม่ๆ มากกว่า ส่วน Freelance ไม่จำ� เป็ นต้องท�ำงานผ่านอินเตอร์เน็ตก็ได้ ในการท�ำงาน รวมทัง้ เปลี่ยนที่อยู่อาศัย เขาจึงตัดสินใจย้ายขึ้นมา และ Freelance บางคนก็ ไ ม่ ไ ด้อ ยากจะออกท่ อ งเที่ย วไปด้ว ย อยู่ เ ชี ย งใหม่ แล ว้ สร้า งบริ ษ ทั กราฟิ ก ดีไ ซน์ช่ือ HOOFHOUSE ท�ำงานไปด้วยเหมือนชาว Digital Nomad อย่างไรก็ตาม ในเรื่องของ (hoofhouse.wixsite.com) “ตอนลาออกจากงาน ก็เหมือนทุบหม้อข้าวตัวเองเหมือนกันนะ การท�ำงานล ้วนต้องมีระเบียบ แบบแผน มีวนิ ยั ในการท�ำงาน การหางาน ตอนนั น ้ ผมยังท�ำงานอยู่ท่ี GAYRAY (เกเร บริษทั จัดคอนเสิรต์ ในเครือ เข้ามาเพือ่ สร้างรายได้อย่างต่อเนื่อง รวมทัง้ Keep Connection ให้เรา จี เ อ็ ม เอ็ ม แกรมมี)่ ของพีเ่ ต็ด (ยุทธนา บุญอ้อม) แล ้วมีงานฟรีแลนซ์ ยังอยู่ในสายตาของลูกค้าอยู่เสมอ ท�ำ Art Direction คอนเสิรต์ H2O ของพีว่ ูด้ ดี้ (วุฒธิ ร มิลนิ ทจินดา) ในปี แรก พอหลังจบงานนัน้ ผมก็ได้เซ็นสัญญาท�ำต่อในปี ต่อมา นัน่ เป็ น เหตุผลใหญ่ทต่ี ดั สินใจลาออกจากงานประจ�ำได้งา่ ยขึ้น เพราะมันใจว่ ่ า มีงานรองรับแน่ๆ บวกกับทีผ่ มอยากเปลีย่ นวิถชี วี ติ ด้วย เพราะตัง้ แต่ เรียนจบก็ทำ� งานประจ�ำมาตลอด แต่ลกั ษณะงานภายใต้ออฟฟิ ศ อาจจะ ยังไม่ได้สร้างสรรค์งานอย่างทีต่ วั เองคิดทัง้ หมด พอมีโอกาสได้โชว์ไอเดีย ได้คดิ ได้ทดลองมากขึ้น ก็คดิ ว่าน่าจะถึงเวลาแล ้วทีจ่ ะออกมาท�ำอะไร ของตัวเอง” หลังก้าวเข้ามาสู่ทางสาย Freelance กว่าสองปี สันต์บอกว่า สิง่ ทีท่ ำ� ให้ยงั มีงานอย่างต่อเนื่อง คือคุณภาพ และคอนเนคชัน่ เขาอาจจะ โชคดีกว่าคนอืน่ ตรงทีม่ งี านดีๆ เข้ามาหาอยู่เสมอ แต่สง่ิ ส�ำคัญทีส่ ุดและ ท�ำให้เขามีงานเข้ามาอย่างต่อเนื่องคือความพยายาม โดยคิดเสมอว่า งานของลู กค้า ไม่ใช่ งานตัวเอง เพราะฉะนัน้ จะสร้างสรรค์ออกมา ในรูปแบบไหน จะต้องยึดความต้องการของลูกค้ามาเป็ นอันดับหนึ่ง “ตอนนี้ ผ มมีลู ก ค้า ประจ�ำ อยู่ ส องกลุ่ ม คื อ เอเจนซี่จ ดั งาน คอนเสิรต์ อย่างของแกรมมี่ และบริษทั แซ๊ปปาร์ต้ ี จ�ำกัด อีกกลุม่ หนึ่ง คื อ ลู ก ค้า ใหม่ ท่ี ไ ด้ค อนเนคชัน่ มาจากโซเชี ย ลมีเ ดี ย ล ว้ นๆ เลย 24
a side
ผมมีโอกาสได้ทำ� โลโก้ให้ เป๊ ก ผลิตโชค จากการท�ำงานนี้ทำ� ให้เหล่า แฟนคลับของเขาอินบ็อกซ์มาหาผมเยอะมาก ให้ออกแบบแพ็คเกจบ้าง โลโก้บา้ ง แต่กต็ อ้ งปฏิเสธไปบ้างเหมือนกัน เพราะบางโปรดัคท์กอ็ าจจะ ไม่ใช่ความถนัดของเรา ปัญหาแรกทีเ่ จอเลยตัง้ แต่ออกจากงานมาเป็ น ฟรีแลนซ์คอื บางทีเงินก็ออกช้า กว่าจะเบิกเงินได้กห็ ลายเดือน ช่วงแรก ก็ชอ็ ตบ้างเหมือนกัน แต่พอเราเริม่ วางแผนการใช้จ่ายให้ดแี ล ้วก็ไม่ค่อย มีปญั หา แต่ผมคิดว่าปัญหาใหญ่ของผมคือไม่ค่อยพูดน่ะ เราก็คดิ ว่า เออ... มีงานก็ทำ� ไป ไม่ได้คิดว่าจะต้องโปรโมทหรือบอกใครว่าตัวเอง ท�ำอะไรบ้าง แต่การเป็ นฟรีแลนซ์เรื่องนี้จำ� เป็ นมากนะ เพราะคนอืน่ เขา ไม่รูห้ รอกว่าคุณท�ำอะไรได้บา้ ง ผมว่าการทีเ่ รามีโซเชียลมีเดียให้อพั เดท ผลงาน ท�ำให้มงี านเข้ามาหาเราเยอะมาก และติดต่อเราได้เลยโดยตรง” ในฐานะฟรีแลนซ์ทม่ี งี านเข้ามาหาอย่างไม่ขาดสาย เราเชือ่ ว่าไม่ใช่ แค่คอนเนคชัน่ ทีด่ หี รอก แต่ความสามารถน่าจะเป็ นส่วนส�ำคัญพอกัน สันต์บอกว่าสิง่ ทีท่ ำ� ให้เขาเป็ นทีร่ ูจ้ กั ของเหล่าเอเจนซี่ มีโอกาสได้รบั งาน ขนาดใหญ่ เป็ นเพราะเขาเคยท�ำงานประจ�ำมาก่อน และงานเหล่านัน้ ท�ำให้ เขาได้เรียนรู ้ ฝึ กฝน จบพบแนวทางของตัวเอง กระทังสามารถก้ ่ าวออก จากระบบเข้าสู่วถิ ฟี รีแลนซ์ได้อย่างทีต่ อ้ งการ “การจะออกมาท�ำฟรีแลนซ์แล ้วให้อยูร่ อดได้ ผมว่าจ�ำเป็ นจะต้อง อยู่ ใ นระบบก่ อ นนะ ส�ำ หรับ ผมรู ส้ ึ ก ว่ า หกปี ที่ ท � ำ งานประจ� ำ ก็เหมือนเข้าไปเรียน เข้าไปศึกษา หาความชัดเจนให้ตวั เอง แล ้วก็สร้าง คอนเนคชัน่ ด้วย ถ้าผมไม่ได้ทำ� งานประจ�ำมาก่ อน ก็อาจจะไม่รอด เหมือนกันนะ และเมือ่ เราท�ำให้ลูกค้าเชื่อใจได้แลว้ การมูฟไปท�ำงาน ทีอ่ น่ื อย่างการย้ายมาอยู่เชียงใหม่ ก็ไม่ได้มผี ลต่อการจ้างงาน หรือว่า
ติดต่อสื่อสารกับลูกค้า ถ้าต้องเข้าประชุมจริงๆ ก็บนิ ไปแป๊ บเดียว จัดตารางเวลาให้ดี คุยงานจบก็บนิ กลับมาท�ำงาน บางคนอาจจะบอกว่า สภาพแวดล อ้ มที่เ ชี ย งใหม่ เ หมาะส�ำ หรับ การท�ำ งานสร้า งสรรค์ แต่สำ� หรับผมคิดว่าดีต่อสุขภาพจิต และคุณภาพชีวติ ถ้าเป็ นเรื่องงาน เป็ นความจ�ำเป็ นทีย่ งั ไงก็ตอ้ งท�ำให้จบ ต้องคิดงานให้ออก เชียงใหม่ ก็ช่วยให้ชวี ติ เราสบายขึ้น มีสมาธิมากขึ้น”
Freedom Life Jobs.
โอชิน - สาริสา ธรรมลังกา คืออีกหนึ่ง Digital Nomad ทีน่ ่าสนใจ หลายคนน่าจะคุน้ ตาเธอในบทบาทนักร้องน�ำของวงมัชฌิมา หรื อ หลายปี ก่ อ นเธอเปิ ด ร้า นอาหารชื่ อ ‘สีน วลในสวนหลัง บ้า น’ แต่ ตอนนี้เธอเล่าให้ฟงั ว่า หลังวางมือจากร้านอาหาร ก็ได้รูจ้ กั กับ การท�ำงานแบบ Digital Nomad จากเพือ่ นชาวต่างชาติ ด้วยรายได้ ที่สู ง บวกกับ การท�ำ งานที่ส ามารถยืด หยุ่ น ได้เ องตามไลฟ์ ส ไตล์ และไม่จำ� เป็ นต้องท�ำให้กบั บริษทั ใดบริษทั หนึ่งเท่านัน้ เธอจึงสามารถ ท�ำเงินในแต่ละสัปดาห์ได้หลายร้อยเหรียญสหรัฐ แม้สง่ิ ทีเ่ ธอเล่าให้ฟงั จะน่าตืน่ ตาตืน่ ใจ โดยเฉพาะเรือ่ งรายได้ แต่กต็ อ้ งแลกมาด้วยการท�ำงาน วันละ 4 - 5 อย่างต่อวัน รวมทัง้ การมีพ้นื ฐานด้านภาษาอังกฤษในระดับ สือ่ สารได้ เพราะภาษาอังกฤษเรียกได้วา่ เป็ นภาษากลางพวกเขาเชียวล่ะ 25
a side
โอชิน ก็เริม่ การท�ำงานเหมือนนักศึกษาจบใหม่ทวไป ั ่ หลังจบจาก คณะวิจติ รศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เธอท�ำงานประจ�ำในต�ำแหน่ง กราฟิ กดีไซเนอร์ แต่ดว้ ยความไม่ชอบอยู่ในระบบ และไม่อยากใช้ชวี ติ อยูใ่ นเมืองกรุง เธอจึงเลือกกลับบ้านทีเ่ ชียงใหม่ มาเปิ ดกิจการของตัวเอง พร้อมท�ำเพลงไปด้วย ซึง่ ชีวติ แบบนี้สะดวกตรงทีส่ ามารถเลือกได้เอง ว่าจะท�ำอะไร หาเงินอย่างไร ใช้ชีวติ แบบไหน โดยไม่ตอ้ งมีองค์กร เป็ นผูก้ ำ� หนด เธอเริ่มชีวติ Digital Nomad ราวสองปี ทแ่ี ล ้วจากการ ชักชวนของเพือ่ นชาวต่างชาติทท่ี ำ� อยู่ก่อน แน่นอนว่าสิง่ ทีด่ งึ ดูดใจเธอ แทบจะในทันทีกค็ อื ตัวเลขของรายรับทีเ่ พือ่ นโชว์ให้ดู “ตอนแรกเพื่อนท�ำอยู่ก่อน แลว้ เขาค้นเจองานกราฟิ กดีไซน์ ในเว็บไซต์ Upworth ก็ชวนหนู วา่ สนใจมัย้ เขาก�ำลังอยากได้ Remote Job ตอนนัน้ ยังไม่เรียกว่า Digital Nomad นะ คือท�ำจากบริษทั แม่ ผ่านออนไลน์ แลว้ หนู ก็รูจ้ กั เพือ่ นอีกคนหนึ่ง เป็ นคนอังกฤษ ท�ำเป็ น Front-End Developer ตอนแรกนางก็จะลาออกจากงาน ทางบริษทั ก็บอกว่าไม่ได้ ยูจะไปไหน นางบอกไอจะไปไทยแลนด์ บริษทั ก็บอกว่า ไม่ได้ ยูทำ� งานดี เอาอย่างนี้ละกัน ยูจะไปไทยแลนด์ใช่มยั้ งัน้ ยูกท็ ำ� งาน ให้บริษทั เหมือนเดิมนี่แหละ แต่ทำ� ผ่านอินเตอร์เน็ต หลังจากนัน้ นางก็ บินมาเมืองไทย เช่าคอนโด แล ้วก็ทำ� งานเหมือนเดิมนะ มีเวลาเข้างาน เลิกงานปกติ แต่ได้นงั ่ ท�ำงานริมสระว่ายน�ำ้ พักเทีย่ งก็กนิ ข้าว กลับมา ท�ำงานถึงห้าโมงเย็น จากนัน้ ก็พกั ผ่อนอะไรก็ว่าไป นางก็ชวนหนู มาท�ำด้วยกัน ท�ำแบบฟรีแลนซ์ แล ้วจ่ายเงินผ่าน PayPal ก็มาคิดว่า ถ้างานเดียวได้เงินขนาดนี้ แล ้วถ้าเราท�ำหลายๆ งานล่ะ ก็เลยไปเสิรช์ หา ในเว็บไซต์ จนเจอว่ามีงานแปล ชิ้นนึงได้รอ้ ยดอลลาร์ แปลแป๊ บๆ ส่งงานก็ได้เงินแลว้ จากนัน้ ก็ได้งานในบริษทั โลจิสติกส์ของเยอรมัน ถึงตอนนี้กท็ ำ� ให้กบั Hunter Global ต้องไปหาลูกค้าตามโรงแรมต่างๆ ลักษณะบริการจะเหมือน agoda แต่ทำ� ให้กบั ยูสเซอร์ชาวจีนโดยเฉพาะ ตอนแรกเราก็แค่ ส่งข้อมูล คอยอัพเดทข้อมูล พอท�ำมานานเขาก็ เลือ่ นต�ำแหน่งให้เป็ น Bussiness Development Manager จาก รับเงินเป็ นจ็อบก็รบั เป็ นเงินเดือนแทน ในขณะที่เราก็ยงั รับจ็อบอื่น ได้อกี ซึง่ ตอนนี้หนู รบั อยู่สามงาน ข้อดีคอื เรามีเวลามากขึ้น เพียงแต่วา่ เราจะเอาเวลานัน้ ไปท�ำอะไร”
โอชิน - สาริสา ธรรมลังกา
26
a side
ในความเห็นของโอชิน เธอมองว่าไม่ใช่คนท�ำงานทีต่ อ้ งปรับตัว เข้ากับออนไลน์ แต่เจ้าของกิจการต่างหากที่ตอ้ งเปลีย่ น เพราะการ ท�ำ งานในปัจ จุ บ นั ทุ ก คนต้อ งใช้ค อมพิว เตอร์ และอิ น เตอร์เ น็ ต การท�ำงานออนไลน์จงึ ไม่ใช้เรื่องทีเ่ ป็ นไปไม่ได้ ทัง้ ยังเป็ นข้อดีต่อบริษทั อีกด้วย เพราะท�ำให้ลดต้นทุน และได้คนท�ำงานทีม่ คี ณ ุ ภาพ จากตัวเลือก ทีม่ อี ยู่มากมายทัว่ โลก “แต่ไม่ใช่วา่ ทุกสัมมาอาชีพจะเป็ น Digital Nomad ได้นะ อย่าง หมอ พยาบาล หรือลักษณะงานทีต่ อ้ งสแตนบายตลอด ต้องลงพื้นที่ มีการท�ำงานเป็ นหลักแหล่ง อาจจะไม่เหมาะ ซึ่งในอนาคตก็อาจจะ เป็ นไปได้มากขึ้นเรือ่ ยๆ ไม่ใช่แค่เราต้องเตรียมตัว แต่วา่ นายจ้างจะต้อง สร้างวัฒนธรรม Digital Nomad ให้เกิดขึ้น ข้อดีก็คือว่าลดต้นทุน บริษทั ลง ไม่ตอ้ งมาจ่ายค่าเช่า ค่าน�ำ้ ค่าไฟ แต่ทกุ คนสามารถท�ำงานได้ แล ้วค่อยมาจอยมีตติ้งกันผ่านช่องทางต่างๆ หมดปัญหาเรือ่ งวัฒนธรรม องค์กร การแข่งขันกันของคนในออฟฟิ ศ เพราะทุกคนโฟกัสกับงาน เป็ นหลัก ถ้าบริษทั สามารถวางโครงสร้างองค์กรให้สามารถท�ำงาน ออนไลน์ได้ วัฒนธรรมการท�ำงานของมนุ ษย์โลกก็จะเปลีย่ นไปเลย อย่างทีห่ นู ทำ� ทัง้ สามอันนี้เป็ น Startup หมดเลย เขาก็มแี อพให้เลย หนู ก็ทำ� งานปุ๊ บ เปิ ดแอพมา วันนี้ตอ้ งไปโรงแรมนี้ อัพรู ปภาพนะ ต้องใส่รายละเอียดตรงไหนบ้าง ใส่ปบุ๊ กดส่ง อัพโหลด อ๋อ... เงินเหรอ จ่ายผ่าน PayPal โอนเข้าบัญชี รับตังค์ จบ คือง่ายมาก เพียงแต่วา่ เราอาจจะต้องมีแพลทฟอร์มบางอย่างเพือ่ รองรับการท�ำงาน” แล ้วการจะเริ่มท�ำงานแบบ Digital Nomad ต้องมีคุณสมบัติ อะไรบ้าง โอชิน บอกว่า สิง่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ุดคือเรื่องของภาษา และจะต้อง รูศ้ กั ยภาพของตัวเองว่าสามารถท�ำงานอะไรได้บ ้าง จากนัน้ ก็ถงึ เวลาเสิรช์
“ก่อนอื่นเลยต้องรู ส้ กิลล์ก่อนว่าเราท�ำอะไรได้บา้ งในงานของ ดิจติ อล เสร็จปุ๊ บให้ไปเสิรช์ ตามเว็บต่างๆ เริม่ จากคียเ์ วิรด์ Online Job ก็ได้ มีเว็บมากมายทีเ่ ปิ ดรับสมัครงานอยู่แล ้ว แต่เราก็ตอ้ งใช้ Search Engine ให้เป็ นนะ เสิรช์ TOOL-torial ให้เป็ น แล ้วก็ตอ้ งดูดว้ ยว่า เว็บทีเ่ ราไปเสิรช์ เป็ น Skimmer รึเปล่า ซึง่ Skimmer นี่กเ็ ป็ น Digital Nomad อย่างหนึ่งนะคะ ดู ว่างานที่เขารับสมัครกันอยู่เราสามารถ ท�ำได้มยั้ ก่ อนที่เราไปสัมภาษณ์ Requirement ของเราผ่านมัย้ ในเมืองไทยยังไม่ค่อยเห็นบริษทั ทีเ่ ปิ ดรับ Digital Nomad เท่าไหร่ ส่วนมากจะเป็ นของต่างชาติ เพราะฉะนัน้ ภาษาจึงเป็ นสิ่งส�ำคัญมาก เพราะนี่คอื การรับสมัครงานแบบหว่านแหไปทัว่ โลก บริษทั ก็มตี วั เลือก มากมายในการทีจ่ ะแสวงหาคนทีม่ คี ุณภาพมาร่วมงาน โอเค เมืองไทย อาจจะเห็นว่ายังไม่จำ� เป็ น แต่ในการท�ำงานเวิลด์ ไวด์ พอเป็ นเรื่องงาน หรือการติดต่ อในระดับอินเตอร์ข้ นึ ไป ยังไงก็ตอ้ งใช้ภาษาอังกฤษ สรุปคือการจะเริม่ เป็ น Digital Nomad ได้ อย่างแรกคือ ภาษา แล ้วก็ ต้องรูว้ า่ สกิลล์ดจิ ติ อลของเราคืออะไร จากนัน้ ก็เสิรช์ ออนไลน์ เพราะว่า งานของเราคือออนไลน์ ต้องเสิรช์ ออนไลน์เท่านัน้ ค่ะ”
เจง - กิตติชัย พิพัฒน์บุญญารัตน์
Hello Telecommuting.
“ผู ค้ นไม่ได้ตอ้ งการเป็ นเศรษฐีเงินลา้ น แต่ พวกเขาต้องการ มีประสบการณ์ในสิง่ ทีค่ ดิ ว่าต้องเป็ นคนรวยเท่านัน้ ถึงจะท�ำได้ ดังนัน้ คนรวยทีแ่ ท้จริงคือคนทีไ่ ด้ใช้เวลาท�ำสิง่ ทีอ่ ยากท�ำ ได้เดินทางไปในที่ ที่อ ยากไป และได้ใ ช้เ งิน ซื้อ สิ่ง ที่อ ยากซื้อ และผู ท้ ่ีส ามารถสร้า ง ประสบการณ์เหล่านี้ให้เกิดขึ้นได้ จะได้สมั ผัสกับความรวยแบบใหม่ (New Rich) ที่มอี สิ รภาพได้ โดยไม่ยดึ ติดกับการต้องเป็ นเจ้าของ เงินลา้ นแต่อย่างใด” ค�ำกล่าวของ ทิม เฟอร์ริสส์ (Tim Ferriss) หนึ่งในผูบ้ ุกเบิกการท�ำงานสไตล์ Digital Nomad นักเขียนระดับ เบสต์เซลเลอร์จากหนังสือชื่อว่า The 4-Hour Work Week : Escape the 9-5 Live Anywhere and Join the New Rich เศรษฐีผูท้ ำ� งาน วันละ 4 ชัว่ โมง และใช้เวลาทีเ่ หลือออกท่องเทีย่ วไปทัว่ โลก ชีวติ ที่เป็ นความใฝ่ ฝนั ของคนรุ่นใหม่น้ ี ช่ วยกระตุน้ ให้ต่อม การเดิน ทางของบางคนตื่น ตัว ทัง้ ยัง กระตุก ให้บ างคนเริ่ม ค้น หา ศักยภาพในตัวเองอย่างจริงจัง แม้จริงๆ แล ้วการเป็ น Remote Job หรือ Digital Nomad จะไม่ใช่เรื่องใหม่บนโลก แต่ดว้ ยเทคโนโลยี ที่ถึง พร้อ ม บวกกับ ความเปลี่ย นแปลงของไลฟ์ ส ไตล์ก ารท�ำ งาน ท�ำให้การใช้ชีวิตเร่ ร่อนตามเมืองต่ างๆ โดยหอบหิ้วงานไปท�ำด้วย จึงเป็ นไปได้ในโลกยุคดิจติ อลนี้ “วิถีการท�ำงานแบบนี้มมี านานแลว้ นะ คุณพ่อของเพื่อนผม ก็เคยเป็ น Digital Nomad มาก่อน เพียงแต่อาจจะไม่ได้เป็ นทีร่ ูจ้ กั แพร่หลายนัก อย่างในเชียงใหม่เองก็มนี กั ท่องเที่ยวที่เป็ น Digital Nomad ด้วย เข้ามานานแล ้ว บางคนก็ไปๆ กลับๆ มาหลายรอบ บางคน ก็อยู่อาศัยถาวรไปเลย การที่พวกเขาเลือกเชียงใหม่เป็ นอันดับต้นๆ ก็เพราะความสะดวกสบายของเชียงใหม่ทม่ี ใี ห้ทกุ อย่าง ทัง้ ความเจริญ ธรรมชาติ อินเตอร์เน็ตทีเ่ ข้าถึงได้ ค่าครองชีพไม่สูง และบรรยากาศ สบายๆ แบบเชียงใหม่” คุณเจง - กิตติชยั พิพฒั น์บญ ุ ญารัตน์ กรรมการ สมาคมการค้า เพือ่ ส่งเสริมผูป้ ระกอบการเทคโนโลยีรายใหม่ (Startup) และ Managing Director บริษทั Aristo Solution Technology จ�ำกัด ผูผ้ ลิตซอฟต์แวร์ในจังหวัดเชียงใหม่ รวมทัง้ เป็ นหนึ่งในผูก้ ่อตัง้
Punspace พื้นทีก่ ารท�ำงานในรูปแบบ Co-Working Space แห่งแรก ในเชียงใหม่ เล่าให้ฟงั ถึงกระแสของ Digital Nomad ผ่านสายตาเขา ซึง่ อยูท่ งั้ ในฐานะผูป้ ระกอบการ และผูส้ ร้างสรรค์ Startup ว่าการเข้ามา ของ Digital Nomad เหล่านี้ ข้อดีอย่างแรกคือสร้างรายได้ให้กบั เมือง ผ่านการท่องเทีย่ ว ต่อมาคือการน�ำองค์ความรู ้ ความเชี่ยวชาญต่างๆ ของพวกเขาติด ตัว มาด้ว ย และคนเหล่า นี้ เมื่อ ชอบออกเดิน ทาง หมายความว่ า พวกเขาพร้อ มที่จ ะ Plug-In กับ คนอื่น ๆ ฉะนัน้ เมือ่ เชียงใหม่กลายเป็ นฮับของ Digital Nomad สิง่ ส�ำคัญคือท�ำอย่างไร ให้เราสามารถเรียนรูค้ วามเชี่ยวชาญจากพวกเขาเหล่านัน้ ซึง่ จากการ ท�ำธุรกิจ Co-Working ทีผ่ า่ นมา พบว่าเหล่า Digital Nomad พยายาม ทีจ่ ะคืนกลับให้เมืองด้วยเหมือนกัน ผ่านการจัดมีตติ้ง เสวนา เวิรค์ ช็อป ต่างๆ แต่คนทีเ่ ข้าร่วมส่วนใหญ่ยงั เป็ นต่างชาติ ไม่ค่อยมีคนไทย อาจจะ เพราะข้อจ�ำกัดด้านภาษา แต่ถา้ เราสามารถเข้ารับการถ่ายทอดความรู ้ เหล่านี้ไว้ได้ ก็จะเป็ นประโยชน์ในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรต่อไป “อีกมุมหนึ่งในฐานะผูป้ ระกอบการ การทีค่ นเริ่มออกมาท�ำงาน นอกออฟฟิ ศมากขึ้นเรื่อยๆ เป็ นกระแสของโลกทีก่ ำ� ลังจะเปลีย่ นโฉม การท�ำงานให้เป็ นดิจติ อลมากขึ้น เราปฏิเสธไม่ได้วา่ สิง่ เหล่านี้มบี ทบาท ต่อการท�ำงานของคนรุ่นใหม่ ทีก่ ารมีออฟฟิ ศไม่ใช่เรื่องจ�ำเป็ นอีกต่อไป เราท�ำงานที่ไหนก็ได้ แลว้ ค่ อยมาจอยกันในช่องทางต่างๆ ซึ่งมีอยู่ หลากหลาย บริษทั ก็ไม่ตอ้ งแบกรับค่ าใช้จ่ายของออฟฟิ ศ ตอนนี้ ในต่างประเทศปรับตัวเพือ่ รองรับการท�ำงานรูปแบบนี้มากขึ้น แต่ในไทย ยังไม่ค่อยแพร่หลาย อาจจะเป็ นเพราะเรื่องของ Comfort Zone ด้วย ที่ทำ� ให้ไม่กลา้ เปลี่ยน บริษทั เองก็ยงั ไม่ได้มีการพัฒนาเทคโนโลยี ให้ส ามารถตอบสนองการท�ำ งานออนไลน์ไ ด้ แต่ ด ว้ ยโลกที่ก�ำ ลัง จะเปลีย่ นไป การเริ่มได้เร็วก็จะท�ำให้สามารถไปได้ไกลกว่า”
27
a side
A R T
THE ART OF CURATION อาดาดล อิงคะวณิช เรื่อง : ระพินทรนาถ ภาพ : ศมนภรณ์
HIP สนทนากับ เม – อาดาดล อิงคะวณิช ภัณฑารักษ์และ นักวิชาการในสายภาพเคลือ่ นไหวจากมหาวิทยาลัยเวสมินสเตอร์ ประเทศอั ง กฤษ ในช่ ว งที่ เ ธอมาเป็ น หนึ่ ง ในภั ณ ฑารั ก ษ์ ที่ ม าร่ ว มบรรยายในการสั ม มนา ‘งานภั ณ ฑารั ก ษ์ ใ นเอเชี ย (Curator Practice in Asia Symposium)’ ซึ่งจัดโดย Asian Culture Station ถึงเหตุผลของการท�ำหน้าที่เป็น ภัณฑารักษ์, ความแตกต่างของ ‘ภาพเคลื่อนไหว’ กับงานศิลปะ ประเภทอื่ น ๆ, ประเด็ น ที่ น ่ า สนใจในผลงานของศิ ล ปิ น ที่ เ ธอ ติดตาม, สิ่งที่เธอได้เรียนรู้จากการท�ำหน้าที่เป็นภัณฑารักษ์ และ บทบาทที่ภัณฑารักษ์ควรเป็นในมุมมองของเธอ
- วิชาการ + ภัณฑารักษ์ -
“จริงๆ แลว้ เราเป็ นนักวิชาการมากกว่าทีจ่ ะเป็ นภัณฑารักษ์ มืออาชีพ แต่วา่ ในคณะทีเ่ ราท�ำงานอยูม่ ี Research Center ทีช่ อ่ื ว่า Center of Research and Education in Arts and Media (CREAM) ซึง่ มีช่อื ในเรื่องการท�ำวิจยั แนวปฏิบตั ใิ นทางศิลปะ คือ ท�ำงานทฤษฎีท่สี มั พันธ์กบั ปฏิบตั ิ เพราะฉะนัน้ ตรงนี้มนั ก็มที ่ที าง ให้เราสามารถท�ำงานในฐานะภัณฑารักษ์ได้ “อีก อย่ า งหนึ่ ง ก็ คื อ งานวิจ ยั ที่เ ราท�ำ เนี่ ย เป็ น เรื่ อ งของ ภาพเคลือ่ นไหว โดยเน้นไปทีผ่ ลงานของศิลปิ นในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ซึง่ เราพบว่าศิลปิ นหลายๆ คนทีเ่ ราท�ำงานด้วยหรือเขียนถึง งานของเขา อย่างเช่นในไทยก็มคี ุณไทกิ ศักดิ์พสิ ษิ ฐ์ หรือศิลปิ น เวียดนามชื่อ เหงียวน ตรินห์ ตี (Nguyen Trinh Thi) คนเหล่านี้ ยังไม่มพี ้นื ทีใ่ นการฉายหนังของเขามากเท่าไหร่ เพราะฉะนัน้ ในเมือ่ ตัวเราในฐานะนักวิชาการสนใจทีจ่ ะสัมพันธ์กบั เขา สนใจทีจ่ ะเขียน ถึงหนังของเขา ในทางวิชาการมันก็เป็ นหน้าที่ของเราเหมือนกัน ที่ จ ะสวมหมวกเป็ น ภัณ ฑารัก ษ์ และพยายามเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ทีจ่ ะช่วยให้งานของคนเหล่านี้เผยแพร่ไปได้ ตรงนี้มนั ก็เริ่มมาจาก 28
a side
ความตระหนักที่ว่า ในบางกรณี การเป็ นนักวิชาการไม่ได้สกั แต่ ตะบี้ตะบันเขียนเพียงอย่างเดียว คุณจะท�ำงานอย่างนี้ได้ คุณเอง ก็ตอ้ งมีความรับผิดชอบต่อสิง่ ทีค่ ุณคิด ต่อทฤษฎี ต่อศิลปิ นทีค่ ุณ สนใจและต้องการจะท�ำงานด้วย ซึง่ ในบางกรณีมนั ก็ตอ้ งมาท�ำหน้าที่ เป็ นภัณฑารักษ์ดว้ ยเหมือนกัน”
-ความแตกต่างของ ‘งานภาพเคลื่อนไหว’-
“ความต่างของภาพเคลือ่ นไหวกับงานศิลปะแขนงอืน่ ๆ ก็คอื เป็ นสิง่ ทีผ่ ลิตซ�ำ้ ได้ค่อนข้างจะง่าย เมือ่ ผลิตซ�ำ้ ได้งา่ ย มันก็สามารถ ไปตามที่ต่างๆ ได้มากกว่า ก็เลยเกิดเป็ นค�ำถามขึ้นมาว่า ถ้างาน ชิ้นหนึ่งสามารถไปได้ในหลายๆ บริบท จะไปแสดงในพิพธิ ภัณฑ์กไ็ ด้ ไปโผล่ในเว็บไซต์ก็ได้ มาแบบของเถือ่ นหรือเป็ นทางการก็ได้ สิง่ นี้ เป็ นการลดคุณค่าหรือเพิม่ คุณค่าของงาน โดยเฉพาะในวัฒนธรรม และเทคโนโลยีทเ่ี รามีอยู่ตอนนี้ คือในเชิงทฤษฎีศิลปะ การให้คุณค่า กับงานศิลปะในยุคสมัยใหม่แบบหนึ่ง คือให้ค่าผ่านสิง่ ทีเ่ ราเรียกว่า Aura ก็ คื อ ว่ า มัน ต้อ งมีอ นั เดี ย วชิ้ น เดี ย วถึ ง จะมีคุ ณ ค่ า ที น้ ี เมื่อภาพเคลือ่ นไหวเข้ามาอยู่ในพื้นที่ศิลปะ ภาพเคลือ่ นไหวมันมี หนึ่งเดียวไม่ได้หรอก ยังไงก็ตอ้ งผลิตซ�ำ้ ได้อยู่แลว้ เพราะฉะนัน้ มัน ก็ เ ข้า มากระทบกับ นิ ย ามของคุ ณ ค่ า ทางศิ ล ปะ ตรงนี้ ก็ เ ลย เป็ นลักษณะพิเศษทีท่ ำ� ให้มนั น่าสนใจ
“แต่ ว่ า ในบางกรณี สิ่ง ที่เ ราคิ ด ว่ า ต้อ งระมัด ระวัง ในการ เอางานภาพเคลือ่ นไหวมาแสดง ก็คอื การทีต่ วั งานมันสามารถผลิตซ�ำ้ ได้งา่ ยๆ การเอาไปฉายมันท�ำได้งา่ ย บางทีคนก็อาจจะลืมคิดกันไป ว่าการเอาหนังไปฉายเนี่ยมันไม่ใช่ของฟรี เพราะฉะนัน้ ช่วงหลังๆ ถ้าเราเป็ นคนจัดโปรแกรมเอางานไปฉาย เราก็จะพยายามเปิ ดประเด็น ตรงๆ กับทางผูจ้ ดั และศิลปิ นว่าจะมี Screening Fee ให้ศิลปิ นไหม คือจะมากจะน้อยไม่เป็ นไร อย่างน้อยเราก็ถอื ว่ามันเป็ นการสร้าง กติกาบางอย่างว่างานทีเ่ อามาฉายมันไม่ใช่ของฟรีเสมอไป และมันก็ ไม่ควรจะเป็ นอย่างนัน้ ”
-Space เป็นเรื่องส�ำคัญ-
“สิ่งที่เราได้รูจ้ ากประสบการณ์การท�ำงานก็คือ เรื่องพื้นที่ เป็ นปัจจัยทีต่ อ้ งคิดถึงมากๆ ถ้าสังเกตก็จะเห็นว่าภัณฑารักษ์มอื อาชีพ เขาจะเน้นมากๆ ว่า Real Space ทีค่ ณ ุ ต้องเข้าไปจัดการกับมันเนี่ย มันเป็ นยังไง ทัง้ มิติในทางกายภาพ แลว้ ก็มติ ิอ่ืนๆ ไม่ว่าจะเป็ น ประเพณี ป ฏิ บ ัติ ห รื อ ว่ า เงื่ อ นไขบางอย่ า งที่ จ ะมี ผ ลกระทบ ต่ อพื้นที่ทางกายภาพ เรื่องพวกนี้ตอ้ งคิดให้เยอะ ตอนที่เริ่มจัด โปรแกรมหนังใหม่ๆ เราไม่ค่อยนึกถึงเรื่องนี้เท่าไหร่ แต่ตอนนี้คดิ ถึง ความส�ำคัญของเรื่องพวกนี้มากขึ้นเยอะ ว่าก่อนทีจ่ ะเริ่มเพ้อเจ้อว่า จะเอาหนังอะไรมาฉาย ต้องไปท�ำการบ้านเรื่อง Space ให้ดๆี ก่อน “ยกตัวอย่างเช่ น อย่างตอนที่เราจัดโปรแกรมหนังเพื่อจะ เอามาฉายในงานของ Asian Culture Station ก่อนทีจ่ ะเลือกหนัง เราก็ ข อข้อ มู ล จากที ม งานก่ อ นแล ว้ ว่ า พื้น ที่ ฉ ายเป็ น แบบไหน โปรเจ็กเตอร์เป็ นยังไง มันเอื้อต่อการฉายภาพและเสียงแบบไหน ส่ ว นหนัง ทัง้ 6 เรื่อ งที่เ ลือ กมาฉาย เราก็ ต อ้ งคิด ว่า จะท�ำ ยัง ไง ให้แต่ละเรื่องทีเ่ อามาใส่ในโปรแกรมแล ้วเขาสัมพันธ์กนั โดยทีเ่ ราเอง ไม่ ไ ด้ไ ปสร้า งกรอบที่ บี บ หนั ง แต่ ละเรื่ อ งให้เ ป็ นในสิ่ ง ที่ จริงๆ เขาไม่ได้เป็ น เรื่องพวกนี้เป็ นเรื่องที่คนดูไม่จำ� เป็ นที่จะต้อง ค�ำนึงถึง แต่สำ� หรับคนทีเ่ ป็ นภัณฑารักษ์ตอ้ งคิดเยอะๆ เพราะการ จัด โปรแกรมมัน ดู เ หมือ นง่า ย แต่ จ ริง ๆ แล ว้ มัน มีร ายละเอีย ด ทีม่ องไม่เห็นเยอะ”
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้วา่ เป็ น ‘โซเมีย (Zomia)’ หมายถึงพื้นที่ ที่มมี าก่อนการเกิดของรัฐชาติและหลีกเร้นการครอบง�ำของรัฐชาติ ซึ่งความสนใจในเรื่องแบบนี้ก็มศี ิลปิ นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หลายคนทีส่ นใจเรือ่ งพวกนี้มานานแล ้ว อย่างงานของคุณอภิชาติพงศ์ (อภิชาตพงศ์ วีระเศรษฐกุล) หรืองานของเหงียวน ตรินห์ ตี เพราะฉะนัน้ สิ่งเหล่านี้ก็จะท�ำให้เราพอจะเห็นภาพว่านี่คือความสนใจร่ วมกัน ของศิลปิ นในแถบนี้ แลว้ เราสามารถตัง้ ค�ำถามต่อได้ว่า อะไรคือ ค�ำถามที่ศิลปิ นจ�ำนวนหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้กำ� ลังถาม เขาก�ำลังคัดงา้ งกับอะไร อะไรที่มนั เป็ นลักษณะร่ วม อะไรที่เป็ น ความแตกต่าง อะไรทีม่ นั เป็ นความย้อนแย้งในการท�ำงานเป็ นศิลปิ น หรือการย้อนแย้งในการพยายามท�ำให้งานมีพ้นื ที่ เป็ นต้น”
-บทบาทของ ‘ภัณฑารักษ์’-
“คนทีอ่ ธิบายได้ดที ส่ี ุดว่าหน้าทีข่ องภัณฑารักษ์ทค่ี วรจะเป็ น โดยเฉพาะในพื้นที่อย่างเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ คือภัณฑารักษ์ ทีท่ ำ� งานอยู่ในเวียดนาม ชื่อ Zoe Butt ข้อเสนอในบทความของเขา ทีล่ งในเว็บไซต์ Asia Art Archive บอกว่า ความสัมพันธ์ระหว่าง ภัณฑารักษ์กบั ศิลปิ นควรจะเป็ นความสัมพันธ์ท่ไี ปกันในระยะยาว และหน้าที่ของภัณฑารักษ์คือเป็ นคนที่ช่วยสนับสนุ นกระบวนการ ความคิดและกระบวนการท�ำงานของศิ ลปิ น เพื่อช่ วยให้ศิลปิ น สามารถให้เวลากับตัวเองเพือ่ ทีจ่ ะท�ำงานดีๆ ออกมา เพราะฉะนัน้ เราอาจจะตีความได้ว่าภัณฑารักษ์เนี่ยเป็ นเพือ่ นช่วยคุย ไม่ใช่คนที่ พอศิลปิ นท�ำงานเสร็จแลว้ ค่อยเข้าไปช้อปปิ้ งเลือกงาน แลว้ ก็ไม่ใช่ คนทีแ่ ฝงรอยเข้าไปเป็ นศิลปิ น ไปขโมยบทบาทของศิลปิ นคนนัน้ มา และหน้า ที่ อี ก อย่ า งก็ คื อ ต้อ งช่ ว ยให้ค่ า กับ ผลงานของศิ ล ปิ น ช่วยจัดวางต�ำแหน่ งงานของศิลปิ นในบริบทต่างๆ ที่สามารถท�ำได้ ซึง่ การจะท�ำอย่างนัน้ ไม่วา่ จะผ่านการสือ่ สารวิธใี ดก็ตาม ภัณฑารักษ์ ก็ ต อ้ งมีกึ๋น ที่ จ ะบอกได้ว่ า ท�ำ ไมงานของศิ ล ปิ น คนนี้ ถึง ส�ำ คัญ หรือน่าสนใจ โดยทีไ่ ม่ใช่เป็ นการพูดแทนศิลปิ นนะ แต่ขณะเดียวกัน ก็ไม่ได้หมายความว่าเราจะพูดถึงงานของศิลปิ นโดยที่จะตีความ ยังไงก็ได้ “ส่วนบทบาทของภัณฑารักษ์ โดยเฉพาะภัณฑารักษ์ทท่ี ำ� งาน -‘ค�ำถาม’ ของศิลปินอาเซียนกับ ศิ ล ปิ น ที่ส นใจจะท�ำ งานแนววิพ ากษ์ท่ีมีช นั้ เชิ ง การช่ ว ยให้ “ค�ำถามหนึ่งที่เราสนใจ เมื่อดู ผลงานภาพเคลื่อนไหวของ กระบวนการการท�ำงานของศิลปิ นมันลึกจริงๆ เนี่ยน่ าจะส�ำคัญ ศิลปิ นทีท่ ำ� งานและหาวัตถุดบิ ต่างๆ อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อีกเรื่องหนึ่งก็คือกลยุทธ์ในการแสดงงาน เราว่าในยุคนี้มนั ต้อง ก็คือว่างานทีม่ าจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เนี่ย มันมีรูปแบบหรือ เหนือชัน้ ในสภาวะทีม่ นั ปิ ดแบบนี้ ไม่ได้หมายความว่าเราแสดงงาน ลักษณะอะไรที่มรี ่ วมกันอยู่หรือเปล่า? มันมีเงือ่ นไข หรือปัญหา ไม่ได้เลย แต่ว่าต้องคิดให้ดกี ่อนว่าเวลาแสดงงาน จะแสดงที่ไหน ในการในการผลิตและการไหลเวียนของงานยังไงบ้าง? หรืออย่างเรือ่ ง อย่างไร จะท�ำยังไงไม่ให้เสียของ เราคิดว่าคนเป็ นภัณฑารักษ์ศิลปะ ทีค่ ุณถัง ฟุ เกวีย๋ น (Tang Fu Kuen) เปิ ดประเด็นไว้ทง่ี านของ ร่วมสมัยในพื้นทีอ่ ย่างเชียงใหม่ หรือหลายๆ พื้นทีใ่ นเอเชียตะวันออก Asian Culture Station ก็น่าสนใจ เขาบอกว่าส�ำหรับเขาแลว้ เฉียงใต้ หน้าทีค่ ือคุณคือต้องน�ำเสนองานทัง้ ในพื้นที่ แลว้ ก็นำ� งาน สิ่งที่โดดเด่ นก็คือการที่ศิลปิ นในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้หนั มา ออกไปสือ่ สารกับโลกข้างนอกด้วย ต้องคิดเยอะๆ ว่าจะท�ำยังไงทีจ่ ะ มองพรมแดนชายขอบกันมากขึ้น อย่างเช่นผลงานของศิลปิ นชาว ช่ วยให้งานของศิลปิ นสื่อสารได้ว่าเขาก�ำลังท�ำอะไรอยู่ โดยที่ไม่ เมียนมา – ไต้หวัน ชื่อ มิดิ ซี (Midi Z) ทีเ่ ขาไปถ่ายท�ำหนังแถวๆ สุม่ เสีย่ งต่อศิลปิ นหรือคนรอบข้าง การคิดเรื่องนี้ไม่ใช่วา่ เราปอดแหก เชีย งดาว ติด ชายแดนเมีย นมา โดยเขาไม่ไ ด้ม องว่า นี่ คือ พื้น ที่ แต่ตอ้ งคิดให้มนั ครอบคลุม เพือ่ ที่จะได้หาทางให้มนั เหนือชัน้ กว่า ในจังหวัดเชียงใหม่ในประเทศไทย แต่น�ำเสนอในมุมที่ว่ามันเป็ น คนที่เขาต้องการจะมาปิ ดกัน้ พื้นที่ ซึ่งถ้าดูประวัติศาสตร์ มีศิลปะ พรมแดนชายขอบข้ามชาติ หรือผลงานของศิลปิ นชาวสิงคโปร์ช่ือ สมัยใหม่ ศิลปะร่ วมสมัยมากมายที่ผลิตมาในสภาวะสังคมที่ปิด โฮ ซือ เงียน (Ho Tzu Nyen) ซึง่ สิง่ ทีเ่ ขาสนใจได้แรงบันดาลใจจาก ก็อาจจะลองหาตัวอย่างจากนอกประเทศก็ได้วา่ เขาใช้กลยุทธ์อะไรกัน งานเขียนของนักมานุ ษยวิทยาชื่อ เจมส์ ซี. สก็อตต์ (James C. เราว่ามันท�ำได้อยู่แล ้ว” Scott) ทีไ่ ด้ให้นยิ ามพื้นทีส่ ูงทีม่ พี ้นื ทีข่ า้ มพรมแดนรัฐชาติหลายๆ รัฐ 29
a side
M U S I C
SUNDAY afternoon WITH
THE TOYS ส น ท น า บ่ า ย วั น อ า ทิ ต ย์ เรื่อง / ภาพ : โบ
ที่มาที่ไปของเรื่องที่จะได้อ่านกันต่อจากนี้ไม่มีอะไรซับซ้อน : The Toys ศิลปินหน้าใหม่ ที่ต อนนี้ ดั ง ระเบิดมาเล่นคอนเสิร ์ตที่เชียงใหม่ 4 วั น รวด และ HIP อยากคุ ย กั บ เขามาก! เราก็เลยจัดการติดต่อขอนัดหมายกับเขา (ขอขอบคุณทางค่าย What The Duck ที่ช่วย อ�ำนวยความสะดวกเป็นอย่างดีไว้ ณ ทีน่ )ี้ พร้อมทัง้ ชักชวนคุณโบ มือกีตาร์จาก Sustainer และ Foxy มารับหน้าที่เป็นผู้ร่วมสนทนากับ ทอย – ธันวา บุญสูงเนิน เพราะคิดว่าถ้าให้ มือกีตาร์มาคุยกันมันน่าจะได้อะไรสนุกๆ แน่ๆ ส่วนผลที่ได้จากการคุยกันของมือกีตาร์ ในตอนบ่ายๆ ของวันอาทิตย์จะเป็นยังไง (แล้วมันเกี่ยวกับวันอาทิตย์ตรงไหนเนี่ย?) ก็ขอเชิญติดตามกันได้เลย ทอยเริ่มต้นเล่นดนตรีได้ยังไง?
- เท่าทีจ่ ำ� ได้กค็ อื ตอนเด็กๆ ผมฟังเพลงเยอะมาก ฟังเพลงทีแ่ ม่ชอบเปิ ดในรถตอนส่งผม ไปโรงเรียน ก็จะเป็ นพวกเพลงแจ๊ซซ์ซะเป็ นส่วนใหญ่ ผมก็เลยจะซึมซับตรงนัน้ มา ส่วนเรื่อง เล่นดนตรี ผมเริ่มหัดเล่นกีตาร์จริงๆ จังๆ ตอนอายุ 12 เรื่องของเรื่องคือก่อนหน้านัน้ ผมเป็ นเด็กที่ติดเกมมาก ที่บา้ นก็เลยห้ามไม่ให้เล่น พอเล่นเกมไม่ได้มนั ก็ว่างมาก ไม่รูจ้ ะท�ำอะไรดี เลยหันมาเล่นกีตาร์แทน ท�ำไมถึงเลือกว่าจะเล่นกีตาร์?
- พอดีท่บี า้ นมีกีตาร์อยู่แลว้ เป็ นของคุณพ่อ เห็นตัง้ อยู่นานละ เลยหยิบ มาลองเล่นซะหน่อย กะว่าเล่นข�ำๆ เล่นไปเล่นมาปรากฏว่าทีน้ยี าวเลย (หัวเราะ) เล่นมันทัง้ วันจนทีบ่ ้านจะไม่ยอมให้เล่นต่อเพราะกลัวจะเสียการเรียน แล้วนึกยังไงถึงไปเข้าประกวดในงาน Overdrive Guitar Contest?
- ผมติดตามงานนี้มาตัง้ แต่ครัง้ แรกๆ แล ้วครับ รูส้ กึ ว่ามันเหมือนเกมเลย ตอนทีร่ ูว้ า่ มีงานนี้อยูค่ อื แบบ เฮ้ย ดนตรีน่มี นั แข่งกันได้ดว้ ยเหรอ สูก้ นั ได้ดว้ ย ก็เลยติดตามมาเรือ่ ยๆ จนตอนผมอายุ 19 เริม่ รูส้ กึ ว่าอยากจะ ทดลองเล่นอะไรแปลกๆ กับกีตาร์ดูบ ้าง คือตอนนัน้ ชอบเพลง EDM อยากเอา EDM มาเล่นกับกีตาร์ แล ้วงานก็เริ่มเปิ ดรับสมัครพอดี ก็ตดั สินใจอยู่นานว่าจะลงแข่งดีไหม คิดว่าลงไปเราก็แพ้เขาแน่ๆ เพราะงานนี้มแี ต่คนเก่งๆ ทัง้ นัน้ จนถึงวันสุดท้ายทีจ่ ะปิ ดรับสมัคร ก็คดิ ได้วา่ มันน่าจะสนุกดีนะ ถึงไม่ชนะก็ยงั ดีกว่าอยูว่ า่ งๆ บวกกับ เพือ่ นเอากีตาร์มาให้ช่วยเปลีย่ นสายพอดี ก็เลยเอากีตาร์ของเพือ่ น มาถ่ายคลิปส่งประกวด ตอนนัน้ ผมยังไม่มกี ตี าร์เป็ นของตัวเองเลย แล ้วก็ได้เข้ารอบ ตอนแข่งรอบสุดท้ายก็แอบเกร็งเหมือนกัน ปีนนั้ กรรมการ เป็ น John McLaughlin กับ Guthrie Govan เรียกว่าตัวเทพๆ ทัง้ นัน้ แต่ทผ่ี ม เป็ นแชมป์ ได้ น่าจะเป็ นเพราะเอาเพลง EDM ไปประกวด แล ้วใช้เทคนิคอย่าง Tapping ไปประยุกต์กบั ดนตรีอเิ ล็คทรอนิกส์ ก็เลยไม่เหมือนคนอืน่ หลังจากได้แชมป์ Overdrive แล้ว ก็เลยเริ่มท�ำ The Toys เลยหรือเปล่า กับรู้มาว่าทอยท�ำงานเบื้องหลังด้วย?
- จริงๆ The Toys นี่ผมเริม่ ท�ำมาตัง้ แต่ก่อนประกวดอีกนะพี่ แต่ตอนนัน้ ยังไม่มคี น 30
a side
ให้ความสนใจเท่าไหร่ แนวเพลงก็ใกล ้เคียงกับทีท่ ำ� ตอนนี้ แทบจะไม่มี กีตาร์เลย ส่วนทีท่ ำ� งงานเบื้องหลังให้คนอืน่ ก็มหี ลายคนครับ อย่างเช่น พีท่ อม Room 39,น้อง เบียร์ เดอะวอยซ์, นิวจิว๋ , เบล สุพล, วงพริกไทย, Potato, Retrospect ส่วนใหญ่ผมจะรับหน้าที่ Arrange ครับ
ท่าทางจะเป็นคนที่ชอบเพลงหลายแนว?
- ผมฟังไปเรื่อยเลยครับ ฟังเยอะ อย่างละนิดละหน่ อย ผมชอบ Dubstep ชอบ Metal ชอบ Djent ชอบอาร์แอนด์บี แล ้วเอาเสน่หข์ อง แต่ละอย่างมาผสมกัน หรืออย่างการเล่นกีตาร์ ผมก็มคี นทีช่ อบหลายคน พูดตรงๆ คือตอนนัน้ ใครก�ำลังดังก็ชอบคนนัน้ ล่ะ แต่วา่ ผมจะไม่ได้ชอบ แบบเจาะจงใครเป็ นพิเศษ แต่เราจะชอบแต่ละคนอย่างละนิดละหน่อย อาจจะชอบเสน่หข์ องเขาหรือว่าชอบเทคนิคบางอย่างของเขา อย่างเช่น ผมชอบ Masa Sumide เป็ นคนญีป่ ่ นุ เขาใช้น้ วิ โป้ งเล่น แต่ปนั ่ เร็วกว่า ใช้ปิ๊กอีกนะ อย่างเทคนิค Tapping ของหลายๆ คนเราก็ดู ชอบ Tommy Emmanuel เวลาเล่นฮาร์โมนิค ก็คือจะเอาอย่างละนิด อย่างละหน่อยของทุกคนมาผสมกัน
อยากรู้กระบวนการท�ำเพลงของ The Toys?
- ผมเริม่ จากพาร์ทเรียบเรียงก่อน คือเริม่ จากกลองเลย หาห้องอัดทีช่ อบ เลือกกลองทีละใบ ลองตีดูวา่ ซาวด์โอเคมัย้ ตัง้ ไมค์จบั รูมจับโอเวอร์เฮด เลือกซาวด์แล ้วก็ลองตีดู พอได้กลองแล ้วก็เริ่มคิดเป็ นเพลง ผมจะเริ่ม คิดเพลงจากกลองก่อน เสร็จแลว้ ก็ต่อด้วยเปี ยโน พอกลองกับเปี ยโน เสร็จแลว้ ก็ค่อนข้างจะฟรีละส�ำหรับการท�ำชิ้นอื่นต่อ ที่เหลือก็อดั เบส กีตาร์ ซินธ์ แล ้วถึงจะเริ่มเขียนเนื้อเพลง
จากที่ท�ำงานเบื้องหลังมานาน พอต้องออกมายืนอยู่ข้างหน้า เราต้องปรับตัวเยอะมั้ย?
กีต้าร์นี่รู้อยู่แล้วว่าเล่นมานาน แต่พวกชิ้นอื่นไปหัดตอนไหน พวกกลอง เบส?
แล้วเนื้อร้องมาทีหลัง พร้อมกับเมโลดี้เลยหรือเปล่า?
- พร้อมๆ กันครับ คือเมโลดี้เนี่ย ผมว่ามันจะถูกทีถ่ กู ทางถ้ามันออกมา พร้อมเนื้อร้อง สมมติวา่ บางเพลงเมโลดี้ดมี าก แต่เนื้อร้องไม่ไปด้วยกัน ผมจะเจออาการนี้เยอะ เลยเปลี่ยนวิธีการคิดให้มนั ไปพร้อมๆ กัน คิดให้เป็ นเส้นขนานมากขึ้นครับ
- แรกๆ มันก็ไม่ชนิ ครับ เพราะเราเคยอยู่แต่ในห้องสีเ่ หลีย่ มคนเดียว ท�ำเพลงให้คนอื่นร้อง แต่วนั หนึ่งต้องออกมายืนข้างหน้าเอง มันก็จะ เขินๆ ตอนแรกใช้เวลาเตรียมตัวนานมาก พยายามหาวิธวี า่ จะท�ำยังไง ให้คนชอบ ท�ำยังไงให้โชว์ของเราเป็ นโชว์ทด่ี ี ซีง่ ออกมามันก็เกร็งๆ แต่พอผมเปลีย่ นความคิดว่า เฮ้ย! วันนี้เราจะไปเล่นอะไรที่เป็ นเรา กูจะขึ้นไปเป็ นกู จะเล่นในสิง่ ที่อยากเล่น ท�ำในสิง่ ที่อยากท�ำ เท่านัน้ ทุกอย่างก็จบเลย เริ่มง่ายละ กลายเป็ นว่าเราไม่ตอ้ งพยายามจะท�ำ เหมือนคนอืน่ ไม่ตอ้ งไปเครียดว่าจะต้องเป็ นโชว์ทด่ี หี รืออะไร เราก็ทำ� ไป ในแบบของเราเลย แล ้วสุดท้ายคนดูกโ็ อเคกับมัน
เนื้อร้องนี่มาจากประสบการณ์ตรง หรือจินตนาการเอา?
ถ้าให้ระบุแนวเพลงของ The Toys จะเรียกว่าเป็นแนวอะไร?
- คือพวกนัน้ ผมไม่ได้เล่นเก่งหรอกครับ ก็เลยเล่นตามทีไ่ ด้ยนิ อ่ะครับ ง่ายๆ ไม่ยาก
- ส่วนใหญ่กเ็ ป็ นเรื่องของเพือ่ นครับ เพราะเจอบ่อยทีส่ ุด สมมติเราฟัง เพือ่ นพูด เฮ้ย กูไปเจออย่างนี้มาว่ะ ถ้าตอนนัน้ หัวเรามันจับทีค่ ำ� ไหน ผมจะเอาค�ำนัน้ มาขยายแลว้ เขียนเป็ นเรื่องราวออกมา เช่ น เพื่อน ขีม่ อเตอร์ไซค์อยู่ แฟนมันเคยซ้อน แลว้ วันนี้แฟนมันไม่ได้ซอ้ นแลว้ อะไรแบบนี้ คือมันจะเป็ นเรื่องทัว่ ๆ ไป เป็ นค�ำที่เราฟังแลว้ เรารู ส้ กึ เราจะเอาค�ำพวกนัน้ มาลงไว้ในสิง่ ทีเ่ ราอยากเขียน ถ้าผมรูส้ กึ กับค�ำไหน ก็จะเก็บไว้
- ผมว่าเพลงของผมเป็ น Experimental ครับ เป็ นการทดลอง ไม่มแี นวเพลงแน่ชดั ทีม่ นั มีความเป็ นอาร์แอนด์บกี เ็ พราะผมชอบด้วย กับอีกอย่างคือเสียงร้องของผมมันเบาครับ ก็เลยร้องเป็ นอาร์แอนด์บี ไปก่อน แต่วา่ ไม่ใช่สายพ่นไฟนะ (หัวเราะ) นี่กเ็ คยคิดอยู่ครับว่าอาจจะ ลองท�ำเพลงหนักๆ ดูบา้ ง เพราะอย่างทีบ่ อกว่า Djent ก็เป็ นอีกแนว ทีผ่ มชอบ ผมชอบซาวด์กตี าร์แบบ Twang เสียงดร็อปๆ อะไรอย่างนัน้ ติดตรงที่ว่าเสียงร้องเราอาจจะไม่ค่อยเหมาะ แลว้ ผมว่ารสนิยมผม มันก็เปลีย่ นไปเรื่อยๆ นะครับ สมมติปีหน้ามีแนวเพลงอะไรซักอย่าง ทีก่ ำ� ลังได้รบั ความนิยมในต่างประเทศ ผมอาจจะหยิบแนวนัน้ มาผสม มาประยุกต์ใช้กบั งานของตัวเองก็ได้
อย่างเพลง ‘ก่อนฤดูฝน’ นี่เริ่มต้นจากค�ำว่าอะไร?
- ค�ำแรกใช่มยั้ ครับ ถ้าย้อนกลับไป อย่างทีผ่ มบอกว่าผมท�ำดนตรีก่อน เสร็จเรียบร้อย ตอนนัน้ ฝนมันตกอยู่พอดี เข้าหน้าฝนวันแรก แล ้วเพือ่ น ก็อทุ านว่า เชี่ย! ฝนตก มึงดูขา้ งนอกดิ มันก็พดู ไปเรื่อยอ่ะ ผมก็นงั ่ ฟัง มันบอกว่า ดูสิ ฝนแม่งตกลงมาแต่ละหยด แลว้ ข้างนอกตรงนัน้ น่ ะ เป็ นทีท่ ก่ี ูเคยยืนกับแฟนเก่า ตอนนี้ฝนก็ยงั ตกอยู่ทเ่ี ดิม แค่นนั้ เลยครับ ผมได้ยนิ แลว้ แบบว่า... มันจุดประกาย จุดไอเดียของเราได้ทะลุมาก ขณะทีเ่ พือ่ นมันเล่าเรื่องของมัน เราก็หยิบมาเขียนเลย
นอกจากงานของตัวเองแล้ว ช่วงนี้เห็นมีงานที่ไป Featuring กับศิลปินคนอื่นๆ ออกมาด้วย?
- จริงๆ มีตดิ ต่อเข้ามาหลายคนเลยครับ เยอะมาก แต่ช่วงนี้คงจะต้อง ของดไปก่ อน ทางค่ ายขอไว้ เพราะอยากให้เน้นเรื่องท�ำซิงเกิ้ลใหม่ ก็แอบเสียดายอยู่เหมือนกันครับ ถ้ามีคนมาขอค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการท�ำเพลง ทอยจะบอกเขา ว่ายังไงบ้าง?
ตอนท�ำเพลงมี Reference บ้างหรือเปล่า?
- ไม่มคี รับ เพราะสิง่ ทีผ่ มคิดมันค่อนข้างจะ Random ผมเคยนะทีล่ อง หา Reference เอามาใช้ทำ� งาน แต่ผมว่ามันไม่เวิรค์ คือมันจะออกมา เป็ นเพลงทีอ่ ยู่ทส่ี อง เป็ นเพลงแบบทีเ่ คยมีคนท�ำไปแล ้ว ส่วนเราก็เป็ น แค่คนทีท่ ำ� ตาม ไม่ใช่คนแรกอยู่ดี แต่ถา้ เรา Random อะไรไปมัว่ ๆ อย่างเรานัง่ คุยกันตอนนี้ ผมเจอน�ำ้ ส้ม ผมอาจเอาเรื่องน�ำ้ ส้มมาเขียน เพราะน่าจะยังไม่มใี ครท�ำ
- ผมเคยคิ ด ว่ า จุด หมายของการท�ำ ดนตรีม นั คื อ มัน คื อ ความเก่ ง ความดัง ความรวย แต่ตอนทีค่ ดิ อย่างนัน้ ผมไม่ประสบความส�ำเร็จเลย ผมเคยเอาเพลงทีต่ วั เองท�ำไปขาย ตอนนัน้ ทัศนคติของผมคือตัง้ ใจว่า จะท�ำเพลงนี้ให้ดงั ที่สุด ให้ขายที่สุด ก็ทำ� ไปเสนอค่ายเพลงค่ายหนึ่ง แต่ว่าเขาไม่ซ้ อื ผมเลยลองมาคิดกลับกันดู คือผมอยากท�ำอะไรก็ได้ เพลงผมไม่ตอ้ งฟังรู เ้ รื่องก็ได้ ผมไม่ตอ้ งร้องชัดไม่ตอ้ งร้องดังก็ได้ ผมไม่ตอ้ งใส่กตี าร์ทผ่ี มถนัด หรือร้องแร็ปเร็วๆ ให้คนฟังไม่รูเ้ รื่องก็ได้ ซึง่ สิง่ เหล่านี้มนั ก็สะท้อนกลับมาว่า ความส�ำเร็จมันเป็ นแค่ผลพลอยได้ แต่หลักๆ คือเราต้องมีความสุขกับสิ่งที่เราท�ำก่อน ลองท�ำอะไรโง่ๆ หรือท�ำอะไรบ้าๆ สุดโต่งแบบไม่ตอ้ งคิดมากดูบ ้างก็ได้ ซึง่ พอเรากล ้าคิด อะไรใหม่ๆ ท�ำอะไรที่ตวั เราชอบจริงๆ ไม่ได้คิดว่าว่าต้องดังต้องฮิต กลายเป็ นว่าเพลงดัง คนชอบ ซึง่ ผมว่านี่ละ่ คือเส้นทางทีท่ ำ� ให้เราไปถึง ความสุข แล ้วก็ความส�ำเร็จในเส้นทางดนตรีนะ 31
a side
C O V E R S T O R Y
MEMORIES AND INSPIRATIONS จรัล มโนเพ็ชร : จดจ�ำ – บันดาลใจ เรื่อง : ระพินทรนาถ
จรัล มโนเพ็ชร จากโลกนี้ไปได้ 16 ปีแล้ว นับตั้งแต่ ‘โฟล์คซองค�ำเมือง’ เริ่มเป็นที่รู้จักของผู้ฟัง วงการดนตรีไทยไม่เพียง ได้รู้จักนักดนตรีจากเชียงใหม่ที่มากความสามารถ ซึ่งมาพร้อมกับดนตรีที่แปลกใหม่ มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเองเท่านั้น แต่ยิ่งนานวัน จรัลยิ่งแสดงให้เห็นว่าความสนใจ ของเขาไม่ ไ ด้ จ� ำ กั ด อยู ่ แ ค่ โ ฟล์ ค ซองค� ำ เมื อ งเท่ า นั้ น แต่ ยั ง แพร่ ข ยายไปสู ่ ด นตรี อีกมากมายหลายแบบ ที่เขาขวนขวายสร้างสรรค์มาน�ำเสนอสู่ผู้ฟังอยู่เสมอ
ไม่เพียงแต่ในเรื่องของดนตรี ความสามารถของจรัล มโนเพ็ชรยังเผื่อแผ่ไปถึงงานศิลปะ แขนงอืน่ ๆ อย่างการแสดงภาพยนตร์ ละครทีวี ละครเวที ไปจนถึงการเป็ นผู ้ทีอ่ ยูเ่ บื้องหลังการสร้างสรรค์ งานแสดงแสง สี เสียง ส�ำคัญๆ ต่างๆ อีกมากมาย ยังไม่รวมถึงความรักในรากเหง ้าของตนเอง ทีท่ ำ� ให้ ไม่เคยเกีย่ งงอนในการท�ำงานทางด้านวัฒนธรรมทัง้ หลาย แม้จะจากโลกนี้ไปนานหลายปี แต่บทเพลงของเขายังคงถูกขับขาน ชือ่ ของเขายังคงถูกกล่าวถึง งานของเขายังมีคนเสาะหา และแน่นอนว่าทุกๆ ปี ยงั มีคนจัดงานเพือ่ ระลึกถึงเขาอยูเ่ สมอ และเรื่องราวจากการสนทนากับผู ค้ นจากต่ างที่มา แต่ มจี ุดร่ วมคือความชื่นชมในตัวตน และผลงานของจรัล มโนเพ็ชรทีจ่ ะพบต่อจากนี้ คือสิง่ ทีท่ ำ� ให้เราได้ตระหนักว่า ชายผูน้ ้ ีไม่เพียงแต่ จะเป็ นทีจ่ ดจ�ำเท่านัน้ แต่เขายังเป็ นแรงบันดาลใจให้ผู ้คนคิดฝันและลงมือท�ำสิง่ ต่างๆ อีกด้วย
32
a side
จรัล มโนเพ็ชรมากแค่ ไหน แต่ เขาก็ไม่เคยมีความคิดว่าอยากจะ ร้องเพลงเป็ นศิลปิ นเหมือนอย่างจรัลเลย “อย่างทีบ่ อกว่าผมอยากเป็ น นักแต่งเพลง การท�ำเพลงของผมเกิดจากการทีไ่ ม่ได้เป็ นคนทีเ่ ล่นดนตรี เก่งอะไรมากมาย ก็เลยคิดว่าแทนทีจ่ ะร้องเพลงของคนอืน่ ถ้าร้องเพลง ของเราเองมันก็น่าจะดีกว่า” แต่ถา้ ถามว่างานของศิลปิ นรุ่นพีส่ ง่ ผลอะไร ต่อเขาบ้าง สายกลางยอมรับว่าทัง้ บทเพลงและวิธกี ารบอกเล่าเรื่องราว เป็ น สิ่ง ที่ป ระทับ อยู่ ใ นจิต ใจและความคิ ด และมีอิท ธิ พ ลต่ อ การ สร้างสรรค์ผลงานของเขาให้ออกมาอย่างทีไ่ ด้ยนิ ได้ฟงั กัน “หลายๆ งานที่ผ มท�ำ ออกมา มัน จะมีก ลิ่น อายบางอย่ า ง ที่ค ล า้ ยกับ งานของจรัล ซึ่ง ต้อ งบอกก่ อ นว่ า ผมเองไม่ ไ ด้ต งั้ ใจว่ า จะเล่าเรื่องราวในแบบเดียวกัน หรือจะเล่นดนตรีให้ได้อารมณ์ใน ลักษณะนัน้ นะครับ ไม่ได้ใช้งานของพีเ่ ขาเป็ นต้นแบบ แต่วา่ พอท�ำงาน ออกมา ผมพบว่าเราเล่าเรือ่ งคล ้ายๆ กัน อารมณ์ของดนตรีใกล ้เคียงกัน ซึง่ พอมาคิดดูแล ้ว มันคือสิง่ ทีอ่ ยู่ในตัวเรานี่ละ่ เป็ นเสียงทีเ่ ราเคยได้ยนิ ได้ฟงั เป็ นเพลงทีเ่ ราชอบ เป็ นเรื่องราวทีเ่ รามีความรูส้ กึ กับมัน สิง่ ต่างๆ เหล่านี้ฝงั อยู่ ในตัวเรา จนพอถึงวันหนึ่งที่เราแต่ งเพลงของตัวเอง เมือ่ เราพยายามท�ำเพลงในแบบที่ตวั เองชอบ สิ่งเหล่านี้ก็เลยปรากฏ ออกมาโดยทีเ่ ราไม่รูต้ วั ”
“ในเพลงของจรัลมีความฝัน และมีความหวัง” สายกลาง จินดาสุ : นักดนตรี, นักแต่งเพลง
ถ้าพิจารณา จากความคล ้ายคลึง ในหลายสิ่ง (เล่ น กี ต าร์เ หมื อ นกัน , เนื้ อ ร้อ งเป็ น ภาษา ค�ำเมืองเหมือนกัน, เป็ น คนภาคเหนื อ เหมื อ นกัน ) หาก บอกว่า สายกลาง จินดาสุ คือศิลปิ น นักดนตรีทเ่ี ดินตามแนวทางเดียวกันกับศิลปิ นรุ่นพีอ่ ย่าง จรัล มโนเพ็ชร ก็คงไม่ใช่เรื่องเสียหายอะไร แต่นนั ่ คงไม่ได้หมายความว่า ผูท้ ม่ี าทีหลัง ก�ำลังพยายาม ‘เลียนแบบ’ งานของศิลปิ นรุ่นพีด่ ว้ ยเช่นกัน “ผมคิดว่างานในแบบของจรัล มโนเพ็ชร ก็มแี ค่จรัล มโนเพ็ชร เท่านัน้ ครับทีท่ ำ� ได้ ไม่วา่ จะเป็ นท่วงท�ำนองหรือวิธกี ารถ่ายทอดเรือ่ งราว ผมว่าเหมือนพี่เขาสร้างงานสกุลช่ างแบบใหม่เอาไว้ ไม่มที างที่ใคร จะลอกเลียนแบบได้ ท�ำยังไงก็ไม่มที างเหมือน” เป็ นค�ำตอบของเขา สายกลางซึง่ ในวัยเยาว์โตมากับการฟังเพลงของจรัล มโนเพ็ชร ร่ วมกับพ่อที่ช่ืนชอบศิ ลปิ นชาวเหนือผู น้ ้ ีเป็ นหนักหนา ไม่ต่างจาก แฟนเพลงของจรัลอีกมากมายที่เริ่มรู จ้ กั ศิลปิ นผูน้ ้ ีจากงานคลาสสิค อย่าง ‘โฟล์คซองค�ำเมือง’ และสารพัดเพลงฮิตทัง้ หลายทีเ่ ป็ นทีน่ ิยมกัน แต่เมือ่ โตขึ้น นอกจากจะได้รูจ้ กั ผลงานอืน่ ๆ ของจรัลเพิม่ มากขึ้นแล ้ว ความใฝ่ ฝนั ทีอ่ ยากจะแต่งเพลงของตัวเอง ยังมีส่วนท�ำให้เขาตัง้ ใจฟัง งานของศิลปิ นรุ่นพีอ่ ย่างจริงจัง เพราะต้องการศึกษาวิธีการถ่ายทอด เรื่องราวเพือ่ เป็ นแนวทางในการท�ำงานของตัวเอง ซึง่ ท�ำให้เขาค้นพบ ‘เอกลักษณ์’ บางอย่าง ทีเ่ ขาเห็นว่าเป็ นสิง่ ทีเ่ ป็ นทัง้ ‘ตัวตน’ ของศิลปิ น และเป็ น ‘สาร’ ทีถ่ กู บอกเล่าผ่านบทเพลงอยู่เสมอ “ในเพลงของจรัลมีความฝัน และมีความหวัง สองค�ำนี้คอื สิง่ ที่ เราจะได้เจออยู่เสมอ ผมคิดว่ามันเป็ นสิง่ ทีบ่ ง่ บอกถึงตัวตนของศิลปิ น ว่าเขาคิดและเชื่ออย่างนัน้ จริงๆ คือต่ อให้เรื่องราวในเพลงของเขา มันเศร้ามากแค่ ไหน แต่ฟงั แลว้ เราก็ยงั จะรู ส้ กึ ว่ามันมีความหวังอยู่ แล ้วในความฝันกับความหวัง เพลงของจรัลยังมีความเชื่อรวมอยู่ดว้ ย เขาเชื่อมัน่ ในความเป็ นมนุ ษย์ เชื่อในวิถี เชื่อในรากเหงา้ ของตัวเอง แลว้ ก็ลงมือท�ำในสิ่งที่ตวั เองเชื่อ กับอีกสิ่งหนึ่งที่ผมคิดว่าเป็ นเรื่องที่ ดีมากๆ คือในเพลงของจรัลยังบอกให้เรามี ‘ความรัก’ ในคนอืน่ ด้วย หมายความว่า ในเนื้ อ เพลงของเขาจะพู ด ถึง การเผื่อ แผ่ ค วามรัก ให้กบั คนอืน่ ๆ ในสังคมด้วย” หลายคนอาจะมองว่ า การมีบ ทบาทเป็ น ศิ ล ปิ น ในทุ ก วัน นี้ ของสายกลาง เกิดจากความชื่นชอบในตัวตนและผลงานเพลงของ ศิลปิ นรุ่นพี่ แต่ เขาให้คำ� อธิบายว่า ถึงเขาจะชื่นชอบงานเพลงของ
“เขาไม่ใช่คนที่ชอบสั่งสอน แต่การสอนของเขาคือลงมือ ท�ำให้เห็นเป็นตัวอย่าง” พิชิต โยธา : ศิลปิน
การเป็ น ‘นัก เรีย น ทุน ’ ที่มีผู ด้ ู แ ลรับ ผิด ชอบ เรื่องค่ าใช้จ่ายในการศึกษา ชื่อจรัล มโนเพ็ชร ส�ำหรับ หลายๆ คนแล ว้ อาจฟัง ดู เป็ นเรื่องทีช่ วนให้รูส้ กึ อิจฉา ซึง่ พิชติ โยธา ก็ยอมรับว่า ในวัน ที่ จ รัล ตัด สิ น ใจว่ า จะให้การช่วยเหลือแก่เขานัน้ เขาเองก็แทบไม่อยากจะเชื่อ เหมือนกันว่าเรื่องนี้จะเป็ น ความจริง “ผมรู จ้ กั กับอาจารย์ บารเมศ (บารเมศ วรรณสัย) ก่ อน แลว้ อาจารย์บารเมศ เป็ นคนไปคุ ย กับ จรัล ว่ า อยากจะให้ช่วยส่งผมเรียนหนังสือหน่ อย เพราะแกดูแลว้ เห็นว่าผม พอจะมีแวว อยากจะส่งเสริมให้ได้เรียนศิลปะ ตอนแรกจรัลจะไม่รบั เพราะว่าเขามีเด็กที่เขาให้ทุนการศึกษาอยู่เยอะแลว้ แต่สุดท้ายเขาก็ ตัดสินใจให้ทุนผม เรียกว่าเป็ นคนสุดท้ายทีไ่ ด้เลยด้วย ตอนนัน้ เขามาหา ทีบ่ า้ นทีล่ ำ� พูนเลยนะ มาดูวา่ ฝี มอื เราเป็ นยังไง คนแถวบ้านผมแตกตื่น กันใหญ่วา่ มีศิลปิ นดังมาหาถึงที”่ 33
a side
การเป็ นนักเรียนทุนในช่วงเวลาทีต่ รงกันกับช่วงทีจ่ รัลมีบทบาท ในการจัดงานแสดงส�ำคัญๆ หลายๆ งานในภาคเหนือ ท�ำให้จรัลดึงตัว พิชติ มาเป็ นลูกมือช่วยท�ำงาน ซึง่ ท�ำให้เขาได้เห็นกระบวนการท�ำงานของ ศิ ลปิ นผู โ้ ด่ งดังคนนี้อย่ างใกลช้ ิด ซึ่งพิชิตอธิบายว่า ค�ำกล่าวที่ว่า จรัล มโนเพ็ชรนัน้ เป็ นคนจริงจังกับการท�ำงานมากๆ นัน้ เป็ นเรื่องจริง อย่างไม่ตอ้ งสงสัย “เวลาท�ำงานของจรัลก็คือท�ำงาน เขาเป็ นคนใส่ใจ ในรายละเอียดต่างๆ ไม่มองข้ามแม้แต่เรื่องเล็กๆ น้อยๆ เรียกว่าเป็ น คนทีเ่ นี้ยบมาก บรรยากาศการท�ำงานก็เลยอาจจะเคร่งเครียดจริงจัง แต่ พ อท�ำ งานเสร็ จ ก็ คื อ จบ หลัง เลิก งานเขาก็ จ ะกลายเป็ น อีก คน จากคนทีจ่ ริงจังมากๆ กลายเป็ นคนรืน่ เริงสนุกสนาน ชอบเล่าเรือ่ งตลก ชอบสังสรรค์กบั คนอืน่ ๆ” แต่พชิ ติ ก็บอกว่าครัง้ หนึ่งเขาเองก็เคยถูกจรัลด่าแบบ ‘ไม่มชี ้ นิ ดี’ มาแลว้ ด้วยเช่นกัน เพราะแอบออกไปเทีย่ วเล่นสนุกสนานตามประสา วัยรุ่น โดยที่งานตัดตุงที่จรัลฝากฝังกับเขายังไม่เสร็จสิ้น “วันนัน้ เรียกว่าโดนด่าจนแทบจะร้องไห้เลย เพราะเขาต้องเอางานพวกนี้ไปใช้ อีกไม่ก่ีวนั แลว้ แต่ผมยังท�ำไม่เสร็จ ตัง้ แต่รูจ้ กั กันมาไม่เคยรู ส้ กึ ว่า ท�ำผิดอะไรขนาดนี้มาก่อน แต่หลังจากถูกด่าไปแลว้ เย็นวันนัน้ เขาก็ มานัง่ ช่ วยผมตัดตุงที่ยงั ค้างอยู่นะ กับไปตามคนอื่นๆ มาช่ วยกัน ก็นงั ่ ท�ำกันเงียบๆ ไม่ได้พดู อะไรไปจนเสร็จ” แม้จะเป็ นคนที่พิชิตใช้ค�ำว่า ‘มีพรสววรค์’ เพราะมีความรู ้ ความเชี่ยวชาญในหลากหลายเรื่องราว รวมทัง้ สามารถท�ำหลายๆ สิง่ ได้เป็ นอย่างดีทงั้ ทีไ่ ม่ได้รำ� ่ เรียนมาโดยตรง แต่จรัล มโนเพ็ชรไม่เคย บังคับเคี่ยวเข็ญให้คนที่อยู่แวดลอ้ มใกลช้ ิดต้องฝึ กหัดหรือสืบทอด ความรู ต้ ่ า งๆ จากเขาเลย มีเ พีย งการท�ำ ให้ดู เ ป็ น ตัว อย่ า งเท่ า นัน้ “อย่างพวกงานฝี มอื ต่ างๆ อย่างเช่ นการตัดตุง เขาก็ไม่ได้บงั คับว่า ต้อ งท�ำ นะ ส่ ว นใหญ่ ก็ คื อ เรีย กมานัง่ ดู แ ล ว้ ก็ ท ำ� ให้ดู เ ป็ น ตัว อย่ า ง เสร็จแลว้ ก็ไปหัดท�ำกันต่อเอาเอง คือถ้าไม่สนใจเขาก็ไม่วา่ แต่ถา้ ใคร สนใจอยากรูเ้ รื่องอะไร ไปคุยไปถาม เขาก็จะเล่าจะอธิบายให้ฟงั ” พิชิตถือว่าศิลปิ นผูเ้ ป็ นเหมือนครูและผูม้ พี ระคุณของเขาคนนี้ คือคนที่ช่วยให้เขามองเห็นเส้นทางของชีวติ ชัดเจนขึ้น และยังเป็ น ตัว อย่ า งอัน ดีท่ีท ำ� ให้เ ขาได้เ รีย นรู แ้ ละน�ำ มาปรับ ใช้ก บั การท�ำ งาน ของตัวเอง “ตอนเป็ นเด็กเราอาจจะชอบวาดรูป พอมีฝีมอื ทางศิลปะบ้าง แต่กย็ งั ไม่รูห้ รอกว่าจะไปเรียนทีไ่ หน จะไปท�ำมาหากินอะไร พอได้ทนุ ได้ไปเรียนเทางด้านศิลปะอย่างจริงจัง บวกกับได้เป็ นลูกมือช่วยงานจรัล หลายๆ อย่าง เราก็เริม่ เห็นแล ้วว่ามันยึดเป็ นอาชีพได้ แล ้วถ้าจะท�ำก็ตอ้ ง ท�ำให้ดี ท�ำให้จริงจัง อย่างทีบ่ อกว่าเขาไม่ใช่คนทีช่ อบสังสอน ่ แต่การสอน ของเขาคือลงมือท�ำให้เห็นเป็ นตัวอย่าง ซึง่ ผมก็ได้เห็นแล ้วว่าการท�ำงาน ให้ดมี นั ต้องจริงจัง ต้องตัง้ ใจท�ำให้ดที ส่ี ุด ซึง่ เราก็ยดึ เอามาเป็ นแนวทาง ในการท�ำงานของเรา”
“เราโตมากับการหัดเล่นกีตาร์ เพลงของเขา เหมือนเป็น ต้นทางให้ชีวิตเราเดินมาทางนี้”
เสกสรร บุญตันจีน : เจ้าของแบรนด์ ‘สุราสิวะดี’
การที่ เสกสรร บุญตันจีน ตัดสินใจ เข้ามารับหน้าที่จดั ท�ำ เสื้อยืดของงาน ‘๑๖ ปี แด่ ค นช่ า งฝัน จรัล มโนเพ็ชร’ นอกจากจะ เป็ นการช่วยสนับสนุน คณะผู ้จัดงานดังกล่าว ซึ่ง จะน�ำ เสื้อ ยืด ออก จ�ำ หน่ า ยภายในงาน เพือ่ น�ำรายได้มาจัดตัง้ กองทุนจัดท�ำหนังสือ บทเพลง จรัล มโนเพ็ชร ฉบับสมบูรณ์ ทีต่ งั้ เป้ า จะมอบหนังสือเพลงนี้ ให้กบั ห้องสมุดโรงเรียนในจังหวัดเชียงใหม่, โรงเรียนอื่นๆ ในเขต ภาคเหนือ รวมทัง้ โรงเรียนทัว่ ประเทศทีส่ นใจแล ้ว เขาอธิบายว่ายังเป็ น ผลมาจากความผู ก พัน กับ ศิ ล ปิ น ชื่อ ดัง ที่เ ขาถือ ว่ า เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของชีวติ มานาน “ตอนเราเป็ นเด็กวัยรุ่น เริ่มหัดเล่นกีตาร์ ก็เริ่มหัดเล่นเพลงของ จรัล มโนเพ็ชรนี่ละ่ แล ้วก็เหมือนกับว่าชีวติ เราได้ต่อยอดมาจากตรงนัน้ พอวันหนึ่งพีเ่ ขาจากไป เราเห็นว่ามีการจัดงานร�ำลึกถึงเขาเป็ นประจ�ำ ทุกปี เราก็แวะไปงาน ไปฟังเพลง ไปดูกจิ กรรมต่างๆ พอมีคนชักชวน ให้เข้ามาช่วยงาน เราก็เลยเข้ามามีสว่ นร่วมกับงานตรงนี้” เสกสรรอธิบายว่าส�ำหรับเขาแลว้ บทเพลงของจรัล มโนเพ็ชร มีทงั้ ความไพเราะของท�ำนอง และเสน่หข์ องเนื้อร้องทีร่ อ้ งด้วยค�ำเมือง ทีค่ นุ ้ ชิน ยิง่ เมือ่ บวกกับการทีบ่ ทเพลงฟังง่ายไม่ซบั ซ้อนด้วยแล ้ว ก็ทำ� ให้ เพลงของจรัล มโนเพ็ชร เป็ นแบบฝึ กหัดเบื้องต้นทีถ่ กู อกถูกใจของเขา และเพือ่ นอีกหลายๆ คน “ตอนนัน้ เราเพิง่ จะเริ่มหัดเล่นกีตาร์ ถ้าไปแกะ เพลงยากๆ มาเล่นเลย บางทีมนั ก็ทอ้ นะ ท�ำไมเล่นไม่ได้ซกั ที แต่กบั เพลงของพีจ่ รัลแล ้วมันไม่ยาก ทางคอร์ดของเขาไม่ซบั ซ้อน พอเราเล่น เพลงแรกได้กม็ กี ำ� ลังใจอยากเล่นเพลงอืน่ ๆ ตามมา ยิง่ ร้องเป็ นค�ำเมือง ด้วยแล ้วยิง่ ร้องง่ายใหญ่เลย” แม้เส้นทางชีวติ ของเสกสรรจะไม่ได้อยู่ในแวดวงดนตรี เพราะ เขาตัดสินใจให้ความส�ำคัญกับการท�ำงานออกแบบตามทีไ่ ด้รำ� ่ เรียนมา มากกว่า แต่เขาก็ยอมรับว่า ช่วงชีวติ ที่เริ่มหัดเล่นดนตรี จนกระทัง่ มีว งดนตรีท่ีเ คยไปชนะเลิศ การประกวดในระดับ ประเทศมาแล ว้
34
a side
เป็ นความทรงจ�ำที่ยงั คงมีความสุขทุกครัง้ ที่นึกถึง และความชื่นชอบ ในดนตรีน้ เี อง ท�ำให้ช่วงหนึ่งของชีวติ เขาและเพือ่ นๆ ได้กลายมาเป็ น เจ้าของร้าน ‘สุราสิวะดี’ สถานทีส่ งั สรรค์ในยามค�ำ่ คืนอีกด้วย “ถึงเรา จะหันมาท�ำงานออกแบบ ไม่ได้เล่นดนตรีแล ้ว แต่ความทีเ่ รามีเพือ่ นเป็ น นักดนตรี ยังคุน้ เคยกับคนในแวดวงนี้ วันหนึ่งก็ทำ� ให้มโี อกาสได้เปิ ด ร้านของตัวเอง ซึง่ ถ้ามองย้อนกลับไป เราคิดว่าก็เป็ นอิทธิพลจากการที่ เราชื่นชอบงานของพีจ่ รัลและหัดเล่นเพลงของเขานี่ละ่ คือไม่ได้มคี วาม ใฝ่ ฝนั ว่าอยากเป็ นศิลปิ นหรือเป็ นนักร้องนะ แต่เหมือนกับว่าชีวติ เราก็ได้ มาเกีย่ วข้องกับแวดวงนี้ตลอด ถึงไม่ได้เป็ นนักดนตรีกย็ งั ได้ทำ� ร้านเหล ้า แล ้วพอนักดนตรีเขามีงานกุศลอะไรกัน เรารูเ้ ราก็ไปช่วย พอรูว้ า่ มีงาน ร�ำลึกให้พจ่ี รัล เราก็เลยเริ่มจากเป็ นผูช้ มก่อน แล ้วถึงกลายมาเป็ นคนที่ มีส่วนร่วมด้วย” ในมุมมองของเสกสรร จรัล มโนเพ็ชร คือตัวแทนของความเป็ น ลา้ นนาที่คนมากมายจดจ�ำ ทัง้ จากผลงานในด้านต่างๆ หรือสิ่งที่เขา น�ำเสนอในบทเพลง “ผมว่าแทบจะทุกด้านเลยนะ คือถ้าพูดถึงอะไร ทีเ่ กี่ยวกับความเป็ นล ้านนา คนก็จะนึกถึงจรัล มโนเพ็ชร” นอกจากนี้ เขายังรู ส้ ึกว่า บทเพลงของจรัลนัน้ ‘จู งใจ’ ให้เป็ นคนใจเย็นและ ละเอียดอ่อนมากขึ้นด้วย “อย่างตัวผมเองเป็ นคนใจร้อน แต่การทีเ่ รา ฟังเพลงของพีจ่ รัล เรารูส้ กึ ว่าเพลงมันท�ำให้เราใจเย็นมากขึ้น อาจจะ เพราะเพลงของเขาจะมาแบบนุ่มนวลไม่แข็งกระด้าง มันก็เลยมีผลให้ เราละเมียดละไมกับสิง่ ทีก่ ำ� ลังท�ำอยู่เพิม่ ขึ้น”
มาฟังให้มากยิง่ ขึ้น รวม ไปถึง งานในด้า นอื่น ๆ นอกเหนื อ จากดนตรี ด้วย” ณัฐพงษ์อธิบาย ว่างานในด้านอืน่ ๆ ทีเ่ ขา กล่าวถึงนัน้ คือการที่ จรั ล ไม่ ไ ด้มี บ ทบาท ในด้า นดนตรี เ ท่ า นั้น หากยัง มี บ ทบาทใน ด้านอื่นอีกหลายอย่ าง โดยเฉพาะในแวดวง ที่เกี่ยวกับเรื่องของงาน ศิลปวัฒนธรรมท้องถิน่ “ผมเคยดูบนั ทึกการแสดงสดของคุณจรัล แล ้วพบว่าในงานไม่ได้มแี ค่ ดนตรี แต่เขาน�ำเอาศิลปวัฒนธรรมล ้านนาหลายๆ อย่างเข้ามาใส่ไว้ใน งานเพือ่ ให้ผูช้ มได้เห็น หรือทีห่ ลายคนอาจจะไม่ค่อยรูก้ ค็ อื คุณจรัลเป็ น คนทีม่ บี ทบาทอย่างมากในการฟื้ นฟูการเล่นพิณเปี ย๊ ะ ด้วยการจัดท�ำหัว พิณเปี ย๊ ะโลหะออกแจกจ่ายให้กับคนทีส่ นใจจะหัดเล่น ให้ฟรีๆ เลยด้วย เรียกว่านี่เป็ นตัวอย่างของงานในด้านอืน่ ๆ ทีค่ ุณจรัลท�ำนอกเหนือจาก ดนตรีทค่ี นคุน้ เคย” บทเพลงของจรัล มโนเพ็ช รอาจจะสร้า งความประทับ ใจ และท�ำให้ณฐั พงษ์หดั เล่นกีตาร์ตามศิลปิ นคนโปรด แต่เขากล่าวว่าสิง่ ที่ จรัลมีอทิ ธิพลต่อชีวติ ของเขา คือการท�ำให้เขามองเห็นศิลปวัฒนธรรม ล ้านนาในภาพทีก่ ว้างขึ้น ไม่ได้เจาะจงอยู่ทด่ี นตรีเพียงอย่างเดียว และ ท�ำให้เขาพบทิศทางทีต่ วั เองจะเดินไปในอนาคต “พอจะเข้าเรียนในระดับ มหาวิทยาลัย ผมเลือกศึกษาต่อทางด้านภาษา เพราะรูส้ กึ ว่าเราสนใจ เรื่องภาษาและเรื่องวรรณกรรมท้องถิ่น ผมคิดว่าพื้นฐานที่เราได้มา ตอนเป็ นเด็กส่งผลให้เรามาเป็ นอย่างในทุกวันนี้ คือจากความชอบ ในบทเพลง เมือ่ ติดตามคุณจรัลมากขึ้น ท�ำให้เรามองเห็นมิตทิ เ่ี ขาท�ำ ในเรื่องของวัฒนธรรมท้องถิ่น และท�ำให้เราได้เห็นว่าเรื่องนี้มแี ง่มมุ ทีน่ ่าสนใจอีกมากมาย จนท�ำให้ผมค้นพบว่าตัวเองสนใจเรื่องภาษาและ วรรณกรรมท้องถิน่ ในที่สุด จนกระทัง่ กลายเป็ นอาจารย์และได้สอน เรื่องเหล่านี้ให้กบั นักศึกษาในปัจจุบนั ” ณัฐพงษ์กล่าวว่า สิง่ ทีจ่ รัล มโนเพ็ชรท�ำส�ำเร็จ คือการน�ำเสนอ วัฒนธรรมลา้ นนาให้กลายเป็ นที่รูจ้ กั ในระดับประเทศ น�ำความเป็ น ท้องถิ่นมาน�ำเสนอและถ่ายทอดโดยใช้ดนตรีเป็ นสื่อ จนคนค่ อยๆ ซึมซับและเห็นความสวยงามของวัฒนธรรมของภาคเหนือ นอกจากนี้ สิ่งส�ำคัญที่สุดที่จรัล มโนเพ็ชรได้สร้างไว้ ก็คือการสร้างรูปแบบของ ‘โฟล์คซองค�ำเมือง’ ทีแ่ ม้คนสร้างสรรค์สง่ิ นี้จะจากไปแลว้ แต่ก็ยงั คง มีคนสืบทอดดนตรีรูปแบบนี้ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบนั “ตัวอย่างง่ายๆ คือมีคนอื่นมากมายที่พยายามเดินตามรอย คุณจรัล แต่กไ็ ม่เป็ นทีจ่ ดจ�ำเท่าเขา และถึงทุกวันนี้ เวลาทีใ่ ครหัดเล่น โฟล์คซอง ก็ยงั เริ่มต้นด้วยเพลงของจรัล มโนเพ็ชรกันทัง้ นัน้ ”
“เราพบว่าจรัล มโนเพ็ชร ไม่ได้เป็นแค่นักร้อง แต่เขา ท�ำอะไรมากกว่านั้น”
ณัฐพงษ์ ปัญจบุรี : อาจารย์ประจ�ำภาควิชา ภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ “เรื่องหนึ่งทีเ่ ป็ นสิง่ ทีต่ ามมาจากการทีผ่ มชอบเพลงของคุณจรัล ชอบเรื่องวัฒนธรรมพื้นบ้านลา้ นนาเมือ่ ตอนยังเด็กก็คือ พอมีอะไรที่ เกีย่ วกับเรือ่ งประเพณีวฒั นธรรมพื้นเมืองทัง้ หลาย เพือ่ นๆ ก็จะยกให้ผม เป็ นคนจัดการ เพราะเขามองว่าเรื่องเหล่านี้ผมถนัด ก็กลายเป็ นสิ่งที่ ติดตัวเราจนถึงทุกวันนี้” ณัฐพงษ์ ปัญจบุรี เล่าถึง ‘ผลพลอยได้’ ทีเ่ กิดขึ้น กับตัวเขา ซึง่ มีทม่ี าจากความชืน่ ชอบฟังวิทยุรายการ ‘รอบเวียงเจียงใหม่’ ของสถานี วิทยุ สวท.เชีย งใหม่ และความชื่น ชอบในบทเพลงของ จรัล มโนเพ็ชร ทีเ่ ขาได้ยนิ เป็ นประจ�ำจากรายการนี้ จากเด็กชายทีข่ อผูป้ กครองหัดเล่นเครื่องดนตรีพ้นื เมืองเพราะ ตัวเองสนใจ และเป็ นแฟนรายการวิทยุทม่ี เี พลงค�ำเมืองให้ฟงั เป็ นประจ�ำ ท�ำให้เขาได้รูจ้ กั กับจรัล มโนเพ็ชร และน�ำไปสูก่ ารติดตามฟังผลงานต่างๆ ของศิลปิ นผูน้ ้ ีเพิ่มมากขึ้นตามวัย “สิ่งแรกที่ทำ� ให้ผมสนใจเพลงของ คุณจรัลก็คือการที่เขาน�ำท�ำนองเพลงพื้นเมืองมาท�ำใหม่ และเมือ่ เขา เสียชีวติ ลง ก็เป็ นแรงผลักดันให้ผมพยายามหาผลงานต่างๆ ของเขา
35
a side