เฮา (How) issue 3

Page 1

ฉบับที่

03

ธันวาคม 2558

แม่นำ�้ เจียงฮาย.. แม่(น�ำ้ )ของบ้านเฮา

แผนที่แม่น�้ำ ในเชียงราย

แม่กกน�้ำฮ้าย

แม่น้ำ� สายยาวที่สุด ของแต่ละประเทศในอาเซียน

ในน�้ำมีปลา

ความทรงจ�ำที่ล�ำน�ำ้ หอม A

ZI

1

FR

EE

M

G A

N

E


2


3


4


Editor’s Talk นิตยสาร “เฮา” ฉบับที่ 3 เดินทางมาพบกับคุณผูอ้ ่านแลว้ ครับ “เฮา” ไดร้ ับเกียรติจากคุณนพรัตน์ ละมุน (นักเขียนหนุม่ ผูป้ ั กหลักอยูร่ ิมน้�ำของมานานหลายปี และเป็ นอดีต บรรณาธิการนิตยสาร “แมโ่ ขงโพสต”์ ) มาถ่ายทอดเรื่องราวเกีย่ วกับ “แมน้่ �ำของเฮา” ลองอ่านกันดูนะครับ เรื่องราวในนิตยสาร “เฮา” เป็ นเสมือนสายน้�ำแตล่ ะสายทีห่ ลากไหลมารวมกัน ทุกสายน้�ำมาจากตน้ ก�ำเนิดทีเ่ ป็ น อิสระ มีเรื่องเลา่ เป็ นของตัวเอง แตแ่ มน้่ �ำทุกสายก�ำลังเดินทางมุง่ หนา้ ไปในนิทศทางเดียวกัน นัน่ คือการสง่ ตอ่ ความรู้ ความเข้า ใจ ความรู้ สึก ความผูกพัน ระหว่างคนกั บคน คนกั บธรรมชาติ ที่นั บวั น จะยิ่ง เหิ น ห่า งกั น ออกไปทุ กที พูดอีกที “เฮา” ก�ำลังร่วมกันรดน้�ำให้กับมิตรภาพทีแ่ สนงามให้ยงิ่ งามมากขึ้น ผมหวังวา่ ทุกทา่ นจะชุ่มฉ่�ำหัวใจในยามสัมผัส พลิกอ่าน นิตยสาร “เฮา” กันนะครับ ขอบคุณครับ สืบสกุล

Contents 06 แวดเวียงเจียงฮาย 07 เทศบาลบา้ นเฮา 08 Cover Story - แมน้่ �ำเจียงฮาย แม(่ น้�ำ)ของบา้ นเฮา 12 เชียงรายไกลบา้ น - แม(่ ของ)น้�ำ? 14 ศิลปะ - แมน้่ �ำกับปลายพูก่ ัน 15 กวีนิพนธ์ - เสมอ 16 ร้อยแกว้ - แมน้่ �ำโขง 17 ดนตรี - จากสายน้�ำสูบ่ ทเพลง 18 คนบา้ นเฮา - มานะ จันทร์หอม 20 ชวนอ่านกับห้องสมุดเสมสิกขาลัย - ความทรงจ�ำที่ ล�ำน้�ำหอม 22 แผนทีข่ องเฮา - แผนทีแ่ มน้่ �ำในเชียงราย 24 มองโลกในแงง่ าม - แมน้่ �ำมีชีวิต ห้องเรียนของเด็กๆ 25 คนเล็กเชียงรายแลนด์ - สายน้�ำเล็กๆ ทีห่ ายไปฯ 26 กลางแปลง - เชียงราย 2050 28 Another Chapter - แม(่ คุณ)น้�ำ 30 เฮารักสุขภาพ - สายน้�ำไมไ่ หลยอ้ นกลับ 31 จากเกียวโตถึงเจียงฮาย - ความทรงจ�ำของแมน้่ �ำ 32 อาเซียนและเฮา - แมน้่ �ำสายยาวในอาเซียน 34 เทใจใสจ่ าน - ในน้�ำมีปลาในนามีขา้ ว 36 ตามรอยลอ้ - น้�ำกกแมฮ่ าย 38 เรื่องเลา่ จากโฮสเทล - เสนห่ ์ของความไมม่ ีอะไร 39 เรื่องเลา่ ในรอยทาง - Goodbye Kashmir 40 ของกิน๋ บา้ นเฮา@เจียงฮาย - ริมโขง 41 ขีดเป็ นเลน่ ไป - Live your Life 42 fototalk - ริมน้�ำ

พิมพท์ ี่ ห้างหุ้นสว่ นสามัญ บลูมมิง่ ครีเอชัน่ กองบรรณาธิการนิตยสาร “ เฮา “ 154 หมูท่ ี่ 4 ต�ำบลริมกก อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57000 โทร. 095-4493070 Email: haohowmagazine@hotmail.com Facebook: http://www.facebook.com/nitiyasanhow บรรณาธิการ: สืบสกุล สนิทกุล กองบรรณาธิการ: กฤติยา ค�ำมูล, ชิดเดือน พฤกษพ์ งศาวลี, ปี ยญ ์ านันท์ รัตนจันทร์ ช่างภาพ : krittiya.k ออกแบบและภาพประกอบ: กะปิ นักเขียนประจ�ำ : ปากกาปากหัก, มาดามกนก สาวสองพันปี , เล็ก, ชูตองเป้, ปฐมพงษ,์ นา้ ปาน, May Wannalak, เมถุนารี, กะปิ , ชาลี จินย,์ บิณฑ,์ อภิชิต ศิริชัย, สันติภาพ วัฒนะ, เด็กแวน่ , Be Phumirat, idrawwhatieat , นางเกษร , อุรุดา โควินท์ , เธียรชัย จันทร์ตระกูล , เกียวโตโคะมาชิ , เจ้าหมูอ้วนกับยัยตัวเล็ก 5


แวดเวียงเจียง

พัฒนาระบบข้อมูล GIS ระดับต�ำบล

วันที่ 3-4ธันวาคม พ.ศ. 2558 ได้ มเี วทีฝึกอบรมคณะ ท�ำงานโครงการแก้ ไขปั ญหาที่ดินท�ำกินและที่อยู่อาศัยชนบท พื ้นทีต่ ำ� บลทานตะวัน ณ ห้ องประชุมองค์การบริหารส่วนต�ำบล ทานตะวัน อ�ำเภอพาน จังหวัดเชียงราย โดยเป็ นความร่วมมือกัน ระหว่าง สภาองค์กรชุมชนต�ำบลทานตะวัน ก�ำนัน และองค์การ บริหารส่วนต�ำบลทานตะวัน มีสมาชิกสภาองค์กรชุมชนต�ำบล ทานตะวันและผู้ใหญ่บ้าน เข้ าร่วมในการฝึ กอบรม จ�ำนวน 30 คน

การฝึ กอบรมครัง้ นี ้เกิดขึ ้นมาสืบเนื่องจากสภาพปั ญหา ความเดือดร้ อนของประชาชนภายในต�ำบล โดยเฉพาะอย่างยิง่ ชาวบ้ านในหมูท่ ี่ 7, 8 และ9ซึง่ มีทดี่ นิ ท�ำกันอยูใ่ นพื ้นทีป่ ่ าสงวน แห่งชาติดอยหัวง้ มและอุทยานแห่งชาติแม่ปืม นอกจากนี ้ยังมี แผนการก่อสร้ างพิเศษระหว่างเมืองแนวใหม่ (มอเตอร์ เวย์) สาย เชียงใหม่-เชียงราย พาดผ่านพื ้นทีอ่ กี ด้ วย ทุกฝ่ ายจึงเห็นความ ส�ำคัญในการมีส่วนร่ วมเพื่อแก้ ไขปั ญหาของชุมชนอย่างยัง่ ยืน โดยมีจดุ เริ่มต้ นทีก่ ระบวนการพัฒนาระบบข้ อมูล GIS ทีช่ มุ ชนมี ส่วนร่วมในระดับต�ำบล ผู้เข้ าร่วมการฝึ กอบรมได้ ฝึกท�ำแผนที่ทำ� มือเพื่อให้ เห็น ผังชุมชนคร่ าวๆ ต่อด้ ว ยกระบวนการการใช้ เ ครื่ อง GPS เพือ่ ทดลองปฏิบัติการจริ งในการจัดเก็บข้ อมูลพืน้ ที่ขอบเขตที่อยู่ อาศัย หลังจากนันจึ ้ งได้ น�ำค่าพิกดั มาจัดพิมพ์และน�ำเข้ าสูร่ ะบบ GIS ในคอมพิวเตอร์ ผลทีไ่ ด้ จากการทดลองท�ำจริงคือขอบเขต ทีด่ นิ เป็ นรายแปลงของชาวบ้ านในพื ้นที่ ภายหลังจากการฝึ กอบรมเสร็ จสิ ้นแล้ วคณะท�ำงาน ที่ ม าจากทุ ก ภาคส่ ว นในการฝึ กอบรมได้ ก� ำ หนดแผนงาน จัดแบ่ง บทบาทในการพัฒ นาระบบข้ อมูลร่ ว มกัน เพื่อจัดท�ำ ข้ อ มูล ให้ เ ป็ นเครื่ อ งมื อ ในการแก้ ไขปั ญ หาและการพัฒ นา ชุมชนท้ องถิ่นที่ยงั่ ยืนต่อไป

อ่าน(พระญา)มังรายและ(พระญา)มังรายที่ยังไม่ได้อ่าน โครงการจั ด ตั ง้ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ อ ารยธรรมลุ่ ม น� ำ้ โขง มหาวิ ท ยาลัย แม่ ฟ้ าหลวงร่ ว มกั บ นิ ต ยสารล้ อ ล้ า นนาและ นิ ตยสารเฮา จัดการเสวนา เรื่ อง อ่า น(พระญา)มัง ราย และ (พระญา) มังรายที่ยังไม่ได้ อ่านโดยมีวิทยากรน�ำเสวนา โดย ดร.พลวัฒ ประพัฒน์ ทอง อาจารย์ ชริ นทร์ แจ่มจิตต์ คุณอภิชติ ศิริชยั ซึง่ การเสวนานันได้ ้ ข้อคิด สามประเด็นดังนี ้ ประเด็ น แรก เรื่ องของพระญามังรายนันยั ้ งขาดหายในมิตทิ าง สังคมวัฒนธรรมที่สืบเนื่องมาจนถึงปั จจุบนั เราพบว่าข้ อเขียน ทังหมดนั ้ นเมื ้ ่อพระญามังรายสร้ างเมืองเชียงใหม่แล้ วก็จบเรื่ อง ไม่มปี ระเด็นอะไรทีเ่ ขี ย นกั น ต่ อ ไปอี ก และสังคมต้ องการข้ อถก เถียงทางวิชาการใหม่ๆเกี่ยวกับพระญามังรายอีกและการโต้ เถียงไม่เห็นด้ วยนันต้ ้ องไม่ใช่การใช้ ความรู้สกึ ส่วนตัวหรื อความ เชื่อส่วนตัวเป็ นหลัก ประเด็นทีส่ องคนรุ่นใหม่ควรศึกษาตัวเมือง และการรื อ้ อฟื ้นตัวเมืองขึน้ ในเชียงรายเพราะเป็ นตัวอักษรที่ บันทึกความรู้ตา่ งๆไว้ ประเด็นสุดท้ ายการท�ำงานทางวัฒนธรรม ต้ องการคนรุ่ นใหม่ที่เข้ ามาร่ วมคิดร่ วมเขียนร่ วมปฏิบตั ิดงั ที่มี หนังสือเรื่ อง 777 ปี ชาตกาลพระญามังรายเป็ นการเริ่มต้ นทีด่ ี 6


น� ้ำเป็ นสิ่งจ�ำเป็ นในชีวิตประจ�ำวัน เมือ่ เราใช้ น� ้ำเสร็จ แล้ วผลทีต่ ามมาคือน� ้ำเสีย หากอยูใ่ นพื ้นทีช่ มุ ชนขนาดเล็ก การ ก�ำจัดน� ้ำเสียก็คงไม่ยงุ่ ยากอะไรนัก แต่สำ� หรับเมืองใหญ่ทกี่ ำ� ลัง ขยายตัวดังเช่นเมืองเชียงรายแล้ ว การบ�ำบัดน� ้ำเสียย่อมกลาย เป็ นเรื่ องที่ต้องมีการจัดการอย่างเป็ นระบบและมีประสิทธิภาพ ด้ วย คอลัมน์เทศบาลบ้ านเฮาทีเ่ ริ่มต้ นในเดือนธันวาคมเป็ นฉบับ แรกขอน�ำผู้อ่านไปเรี ยนรู้ ระบบการบ�ำบัดน�ำ้ เสียของเทศบาล นครเชียงรายที่สามารถบ�ำบัดน� ้ำเสียได้ เป็ นอย่างดี ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานได้ อย่างเต็มภาคภูมิ ระบบบ�ำบัดน� ้ำเสียของเทศบาลนครเชียงรายตังอยู ้ ่ที่ ต�ำบลรอบเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย มีพื ้นทีต่ งระบบ ั้ บ�ำบัดประมาณ 80 ไร่ ทางเทศบาลได้ มกี ารจัดสร้ างระบบบ�ำบัด น� ้ำเสียรวมของชุมชนแล้ วเสร็จเมือ่ เดือนมิถนุ ายน พ.ศ.2546 เป็ น ระบบบ�ำบัดน� ้ำเสียแบบสระเติมอากาศ (Aerated Lagoon : AL ระบบบ� ำบัดน� ำ้ เสียที่ อาศัยการเติมออกซิเจนจากเครื่ องเติม อากาศ เพื่อเพิ่มออกซิเจนในน� ้ำให้ มีปริ มาณเพียงพอ)ส�ำหรับ จุลินทรี ย์สามารถน�ำไปใช้ ยอ่ ยสลายสารอินทรี ย์ในน� ้ำเสียได้ เร็ ว ขึ ้นกว่าการปล่อยให้ ยอ่ ยสลายตามธรรมชาติ ท�ำให้ ระบบบ�ำบัด น� ำ้ เสี ย แบบบ่ อ เติ ม อากาศสามารถบ� ำ บัด น� ำ้ เสี ย ได้ อ ย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ ระบบบ�ำบัดน� ้ำเสียของเทศบาลนครเชียงราย สามารถรองรับน� ้ำเสียได้ 27,200 ลูกบาศก์เมตรต่อวันมีสถานีสบู น� ้ำจ�ำนวน 4 สถานี และอาคารดักน� ้ำเสีย (CSO) จ�ำนวน 9 แห่ง น� ้ำเสียจากชุมชนและแหล่งต่างๆ ในเขตเทศบาลจะถูก ส่งต่อมายังระบบบ�ำบัดน� ้ำเสีย เมือ่ ผ่านกระบวนการบ�ำบัด และ ได้ รับการตรวจสอบคุณภาพน� ำ้ ในระดับที่ไม่ก่อให้ เกิดผลเสีย หายต่อแหล่งน� ้ำธรรมชาติหรือสิง่ แวดล้ อมโดยรอบแล้ ว น� ้ำทีผ่ า่ น การบ�ำบัดจะถูกระบายลงสูแ่ หล่งน� ้ำสาธารณะ ส่วนหนึง่ น�ำกลับ มาใช้ ประโยชน์ในการรดน� ้ำต้ นไม้ สวนสาธารณะในเขตเทศบาล และอืน่ ๆ ต่อไป มิเพียงแต่ตัวระบบบ�ำบัดน� ำ้ เสียเท่านัน้ ที่สร้ างหลัก ประกันให้ การจัดการน� ้ำเสียเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เทศบาล นครเชียงรายยังได้ นำ� เอาระบบการจัดการน� ้ำเสียชุมชน (MunicipalSewage Management System: MSMS2008)

เทศบาลบา้ นเฮา

การจัดการน�้ำเสียในเมืองใหญ่

มาใช้ อีกด้ วย โดยระบบ MSMS 2008 ที่ว่านี ้ เป็ นการก�ำหนด มาตรฐานเพื่ อ ใช้ ในการปรั บ ปรุ ง การด� ำ เนิ น งานด้ านการ จัดการน�ำ้ เสียชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นให้ มีการ บริ ห ารอย่า งยั่ง ยื น และสร้ างการมี ส่ว นรวมของทุก ภาคส่ว น ทัง้ นี จ้ ะต้ องมีผ้ ูประเมินภายนอกเข้ าท� ำการตรวจสอบให้ การ รับรองระบบการจัดการน� ้ำเสียชุมชน เทศบาลนครเชี ย งรายได้ ใ บประกาศรั บ รองระบบ MSMS 2008 มาแล้ วครั ง้ หนึ่งเมื่อเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2554 โดยใบประกาศรั บ รองระบบฯดั ง กล่ า วครบก� ำ หนดการ รับรองในปี พ.ศ.2557 เทศบาลจึงได้ ขอรับการตรวจประเมิน ภายนอกเพื่อต่ออายุการรับรองระบบอีกครัง้ หนึ่ง และผลการ ประเมินจากคณะผู้ตรวจประเมินภายนอกมีความเห็นร่ วมกัน ว่า เทศบาลนครเชียงราย ได้ มีการด�ำเนินงานตามข้ อก�ำหนด ของระบบMSMS2008 โดยไม่พบข้ อบกพร่ อง พร้ อมทังมี ้ การ ด�ำเนินงานของระบบรวบรวม ระบบบ�ำบัดน� ้ำเสีย และการ วางแผนบริ หารจัดการระบบบ�ำบัดน� ้ำเสียอย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีมติให้ เทศบาลนครเชียงรายได้ รับการต่ออายุการรั บรอง ระบบการจัดการน� ้ำเสียชุมชน (MSMS2008) โดยมีระยะการ รับรองระบบตังแต่ ้ 7 สิงหาคม 2557ถึง 7 สิงหาคม 2560 กรมควบคุมมลพิ ษในฐานะผู้รับผิ ดชอบดูแลระบบ MSMS 2008 ได้ มีการมอบโล่และใบประกาศรับรองระบบการ จัดการน� ้ำเสียชุมชน(MSMS 2008) ให้ กบั เทศบาลนครเชียงราย ในการประชุมประจ�ำปี กรมควบคุมมลพิษ 2557 ในวันที่ 7 สิงหาคม 2557 ณ โรงแรมโพธิ์วดล รี สอร์ ทแอนด์สปา จังหวัด เชียงราย เพื่อเป็ นต้ นแบบและผลักดันให้ องค์กรปกครองส่วน ท้ องถิ่ น อื่ น ให้ ความสนใจและพิ จ ารณาประยุ ก ต์ ใ ช้ ระบบ MSMS 2008 ในการจัด การน� ำ้ เสี ย อย่ า งเป็ นระบบและมี ประสิ ท ธิ ภ าพต่ อ ไป จะเห็ น ได้ ว่ า ระบบการบ� ำ บัด น� ำ้ เสี ย ของเทศบาล นครเชียงรายที่เป็ นอยู่ ได้ สร้ างความมัน่ ใจให้ กบั ผู้อยู่อาศัยใน เมืองได้ เป็ นอย่างดีว่าน� ้ำเสียจะผ่านการบ�ำบัด ได้ มาตรฐาน มี ระบบตรวจสอบ และเป็ นที่ ย อมรั บ เมืองเชียงรายของเราก็ คงจะเติบโตได้ อย่างสมดุลย์และยัง่ ยืนต่อไป

7


Cover Story เรื่ อง: นพรัตน์ ละมุน

แม่น้ำ� เจียงฮาย.. แม่ (น�้ำ) ของบ้านเฮา แม่น� ้ำทุกสายในเจียงฮายไหลลงสูแ่ ม่น� ้ำของ (แม่น� ้ำโขง) แต่เมือ่ ใช้ Google ค้ นหาค�ำว่า “เจียง” มันกลับไหล ไปโผล่วา่ ด้ วยแม่น� ้ำในภาษาจีน โดยส่วนใหญ่เท่าทีศ่ กั ยภาพของกูเกิลท�ำได้ ณ ขณะนี ้คือ ระบุวา่ “แม่น� ้ำแยงซีเกียง” เป็ นตัวอย่างค�ำว่า ‘แม่น� ้ำกับเจียง’ มีความหมายเดียวกัน ส่วนใหญ่ออกเสียงไทยเป็ น “เกียง” พูดง่ายๆ ได้ วา่ “เจียง” คือแม่น� ้ำในภาษาอังกฤษว่า “river” หมายความว่า ผมจะเขียนถึงแม่น� ้ำในเจียงหนึง่ ของหลาย ‘เชียง’ ในพื ้นทีซ่ งึ่ เรียกกันว่า แอ่งลุม่ น� ้ำกกและลุม่ น� ้ำอิงอันมีแม่ใหญ่ทชี่ อื่ “น� ้ำแม่ของ” เป็ นองค์ประธาน และคงต้ องน�ำโคตรเหง้ าจากโยนกนาคพันธุ์”เวียงหนองหล่ม” ทีป่ ั จจุบนั เป็ น Wetland ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในเจียงฮายเป็ นการ ยากมากหากกล่าวถึงแม่น� ้ำโดยไม่พดู ถึงดงดอยหรือต้ นน� ้ำ และเป็ นการเอาเปรียบกันเกินไปหากไม่พดู ถึงคนในลุม่ น� ้ำ เช่นเดียวกันทีเ่ ราพูดถึงแม่น� ้ำแล้ วต้ องมีปลาในสายน� ้ำเหล่านันทั ้ งหมดนี ้ ้คือเรื่องทีผ่ มจะเล่าใน Cover Story คือเล่าให้ เป็ นเรื่องว่า “แม่น� ้ำของเจียงฮายเฮา”“น� ้ำแม่ของเฮา” “แม่น� ้ำของบ้ านเฮา”

ต้นก�ำเนิดของสายน�้ำและการตั้งถิ่นฐานของผู้คนในยุคเก่า ว่ากันว่า นับแต่ครังโอปาติ ้ กะ ปู่ เจ้ าลาวจกโน้ นแล้ว ซึง่ ควรจะเขียนประโยคแรกในเรื่องนี ้คือปู่ เจ้ าลาวจกเป็ นต้ นโคตรฯ ของเรื่ อ งผู้ค นที่ นี่ โดยนับแม่น� ำ้ กกหรื อ กุก เป็ นอันดับแรก ด้ วยค�ำว่า “กก” ซึง่ เป็ นค�ำหรือพยางค์ทมี่ ตี วั ก ข ค ฆ สะกดว่า แม่กก หรือมาตรากก หรือแปลว่า ตัด บัน่ หรือเป็ นต้ น เป็ นโคน หรือเป็ นไม้ ล้มลุกในทีช่ มุ่ แฉะ และค�ำนี ้ไปปรากฏในก�ำแพงนคร วัดแห่งกัมพูชาว่า “เนะสย�ำกุก” ทีจ่ ติ ร ภูมศิ กั ดิ์ กล่าวว่า เป็ นกอง ทัพสยามจากลุม่ แม่น� ้ำกกไปร่ วมรบกับกษัตริ ย์พระเจ้ าสุริยว รมันที่ ๒ ในปี พ.ศ. ๑๖๕๖ แม่ น� ้ำ กกหรื อกกนที คื อ พื น้ ที่ อั น เรี ยกได้ ว่ า แอ่งเชียงราย-เชียงแสน รับน� ้ำจากแม่น� ้ำสาขาทีส่ ำ� คัญคือน� ้ำแม่ ลาวแม่น� ้ำฝางต้ นน� ้ำกกมาจากแนวเทือกเขาแดนลาว รัฐฉาน ไหลล่องสูท่ า่ ตอน แม่อาย มารวมกับน� ้ำฝาง เชียงใหม่ เข้ าสูเ่ ขต อ�ำเภอเมืองเชียงราย เวียงชัย เวียงเชียงรุ่ง แม่จนั มารวมกับน� ้ำ ลัวซึง่ รับน� ้ำจากเวียงหนองหล่มซึง่ รับน� ้ำซ�ำ น� ้ำซับ จากน� ้ำแม่จนั ทีม่ า “จว้ า” (แปลว่าแผ่ซา่ น)ในเขตนี ้ท�ำให้ เกิดพื ้นทีช่ มุ่ น� ้ำขนาด ใหญ่ พื ้นที่ท�ำเกษตรกรรมที่แผ่ซา่ นรวมกับน� ้ำแม่ค�ำซึง่ ไหลมา จากหัวแม่ค�ำ 88

อี ก สายหนึ่ง ของต้ น น� ำ้ กกคื อ น� ำ้ แม่ล าวที่ ก� ำ เนิ ด ทางดอยนางแก้ วอันเป็ นส่วนหนึ่งของผีปันน� ้ำตะวันตก ที่มี ยอดสูงสุดคือดอยลังกา จ า ก บ้ า น ขุ น ล า ว ต�ำบลแม่เจดีย์ เวียงป่ าเป้า มีน� ้ำแม่เจดีย์ น� ้ำแม่ปนู หลวง น� ้ำแม่ตาช้ าง และน� ้ำ แม่สรวยไหลลงมาสมทบพบน� ้ำกก น� ้ำแม่ลาวไหลมาบรรจบ น� ้ำกกณ”สบลาว” หรื อท้ ายเขื่อนเชียงราย บ้ านป่ ายางมน น� ้ำ แม่ลาวมีความส�ำคัญเป็ นแอ่งวัฒนธรรมหนึ่ง มีบ้านเมือง ส�ำคัญในโบราณคือ เวียงกาหลง ในอ�ำเภอเวียงป่ าเป้าใน ปั จจุบนั ต้ นก�ำเนิดของแม่น�ำ้ และหุบเขาในแอ่งเชียงรายเชียงแสน มีความสัมพันธ์กบั ผู้คนทีม่ าตังถิ ้ ่นฐาน ต�ำนานมัก เล่ า ตั ง้ แต่ ดอยสามเส้ า มี พ วกลั ว ะที่ “ปู่ เจ้ าลาวจก” เป็ นหัวหน้ า ผู้มีเทคโนโลยีในการถลุงเหล็กมาท�ำเครื่ องมือ การเกษตรในยุคโบราณ เรี ยกกันว่าเสียมตุ่นหรื อขวานหิน และพัฒนามาเป็ น “ขอบก” หรือ จอบต�ำนานเล่าว่า ปู่ เจ้ า ลาวจกมีจอบหรื อขอบกให้ ผ้ คู นยืมใช้ และเป็ นที่มาของฐาน อ�ำนาจจากสังคมชนเผ่ามาเริ่ มก่อร่ างเป็ นอาณาจักรหรื อรัฐ จารี ตในยุคต่อมา


ดอยสามเส้ าคือส่วนประกอบของ ดอยจ้ อง ดอยปู่ เฒ่า และดอยตุง คนในปั จจุบนั เรี ยกว่า ดอยนางนอน เพราะมองภูมิ ทัศน์เป็ นรูปผู้หญิงนอนสง่างามอยูเ่ บื ้องหน้ า ดังที่คณ ุ เห็นเมื่อขับ รถไปตามถนนพหลโยธินจากเชียงรายไปสูแ่ ม่สาย จากดอยสามเส้ าในอาณาบริ เวณนี ใ้ ห้ ก� ำเนิดน� ำ้ สาย ส�ำคัญคือน� ้ำแม่สาย น� ้ำแม่ค�ำ น� ้ำแม่มะ และอาจนับรวมไปถึงน� ้ำ แม่จนั ที่ไหลมาจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ ของอ�ำเภอแม่จนั ก่อนที่ จะลงสูแ่ ม่น� ้ำของนัน้ พื ้นที่รับน� ้ำหรื อภาษาในเวลานี ้คือ “แก้ มลิง” มีอาณาบริ เวณกว้ างขวาง คือหนองหลากหลายหนอง ที่ส�ำคัญ คือหนองหล่มหรื อเวียงหนองหล่ม อันนับรวมหนองบงกายหรื อ ทะเลสาบเชียงแสนไว้ ด้วย คนยุคแรกหาอยูห่ ากินกับหนองน� ้ำและแม่น� ้ำซึง่ เป็ นเส้ น ทางสัญจรใหญ่เรียกว่าเป็ นถนนในยุคปั จจุบนั ก็ได้ ต่อมา จึงมีการ สร้ างบ้ านแปงเมือง ณ เชิงดอยตุง อันต�ำนานเมืองหิรัญนครเงิน ยางว่า ผู้นำ� ทีช่ อื่ พญาลวจักราชในกลุม่ ของปู่ เจ้ าลาวจก ได้ นำ� คน จากที่สงู ของเทือกเขาดอยตุงลงมาสร้ างบ้ านแปงเมืองอยูร่ ิมล�ำน� ้ำ ตีนเขา แล้ วเกิดการขยายตัวไปตามเขาและทีส่ งู ตามบริเวณโดย รอบ เช่นที่ สบรวก เชียงแสน ดอยจัน การสร้ างบ้ านแปงเมืองโยนก นาคพันธุ์ เวียงพางค�ำ เวียงสี่ตวง และเมืองหิรัญนครเงินยาง เชียงแสน รวมกับผู้คนที่อพยพเข้ ากลุ่มหลังจากตอนเหนือของ ลุ่มน� ้ำของ จนกลายเป็ นเมืองเชียงราย ในยุคพญามังราย พ.ศ. ๑๘๐๕ จึงสถาปนาเมืองเจียงฮายขึน้ มากล่าวสันๆ ้ ได้ ว่า

เชียงราย-เชียงแสนคืออาณาบริเวณการก�ำเนิดของกลุม่ คนทีม่ ชี อื่ เรียกว่า คนยวน ในแอ่งโยนกคือแอ่งอารยธรรมลุม่ น� ้ำของคนยวน จากฟากลุ่มน�ำ้ กกข้ ามดอยแปเมืองหรื อดอยหลวงมา ทางตะวันออกเป็ นแอ่งลุ่มน� ้ำอิง หรื อแม่น� ้ำขุนภูจากเทือกเขาผี ปั นน� ้ำตอนกลาง จากอ�ำเภอแม่ใจ พะเยาซึง่ มีอยูช่ ว่ งหนึง่ ถูกนับ มาสังกัดจังหวัดเชียงราย จากล�ำห้ วย ๑๒ ล�ำห้ วย ไหลสูห่ นองเล็ง ทราย สูก่ ว๊ านพะเยา ไหลวกขึ ้นเหนือผ่านดอกค�ำใต้ ภูกามยาว จุน เชียงค�ำ ผ่านเข้ าป่ าแดด เทิง พญาเม็งราย ขุนตาล และพบ แม่น� ้ำของ ณ บ้ านปางอิงใต้ นับความยาวประมาณ ๒๖๐ ก.ม. นับเป็ นแอ่งวัฒนธรรมส�ำคัญมาแต่โบราณ มีเวียงพะเยา เวียงลอ เวียงเทิง และเวียงเจียงของ เป็ นเมืองส�ำคัญ ลุ่มน� ำ้ อิงคืออาณาบริ เวณนับแต่ปลายเทือกเขาผี ปัน น� ้ำในรอยต่อพะเยา-ล�ำปาง-เชียงราย สายน� ้ำไหลลงใต้ แล้ ววก ขึ ้นเหนือเบื ้องขวาเป็ นส่วนหนึง่ ของแนวเทือกเขาหลวงพระบาง อัน มีดอยยาววางตัวไปจรดริมน� ้ำโขง ส่วนเบื ้องซ้ ายมีดอยแปเมืองหรือ ทีเ่ รียกกันทัว่ ไปว่า ดอยหลวง พื ้นทีใ่ นแอ่งลุม่ น� ้ำอิงทังหมดมี ้ เนื ้อที่ ๗,๓๘๘ ตร.กม.พบการตังถิ ้ น่ ฐานของผู้คนมาแต่วฒ ั นธรรมหินตัง้ เช่น กองหินตังบ้ ้ านหลวง ต�ำบลครึ่ง อ�ำเภอเชียงของ และอีกหลาย ที่ในเมืองเซิงหรื อเมืองเทิงอีกในยุคพุทธศาสนาเข้ ามาแล้ วมีชมุ ชน บ้ านเมืองสร้ างพระพุทธรูปหินทรายไว้ เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมลุม่ น� ้ำอิง-พะเยาไว้ สืบต่อมาจนสมัยพญาง�ำเมือง ลุม่ น� ้ำอิงนับเป็ น แว่นแคว้ นส�ำคัญทางเหนือ

ลาบปลา: สายสัมพันธ์ของคน ระบบนิเวศน์ และวัฒนธรรม การหาอยูห่ ากินของผู้คนกับแม่น� ้ำมาแต่ครัง้ บรรพกาลได้ ก่อเกิดวัฒนธรรมความเชือ่ สานสัมพันธ์คนกับคนในลุม่ น� ้ำเดียวกัน จนเกิดแว่นแคว้ น อาณาจักรประเทศในกาลต่อมา ในยุคสมัยใหม่ ความสัมพันธ์ ระหว่างคนกับคน คนกับ ธรรมชาติ และคนกับสิง่ เหนือธรรมชาติ อาหารพื ้นฐานของคนในลุม่ น� ้ำของ –กก-อิง นับว่าลาบ ปลาเป็ นเมนูตวั อย่างส�ำคัญทีแ่ สดงให้ เห็นถึงการไปมาหาสูร่ ะหว่าง คนกับแม่น� ้ำทีท่ ำ� ให้ เกิดวัฒนธรรมขึ ้นมาด้ วย มันเป็ นวัฒนธรรมของ ชีวติ ผู้คนทีใ่ ช้ ชวี ติ หากินกับนิเวศทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรมการกินลาบคือการกินอาหารแบ่งปั นร่ วมกัน หลังจากเสร็จพิธีไหว้ ผีทเี่ คารพนับถือ ผีในอดีตคือกฎหมายในการ ใช้ ประโยชน์ทรัพยากรร่วมกัน ผีแม่น� ้ำมีการเคารพบูชาทังก่ ้ อนและ หลังจากลงไปหาปลามาแล้ ว การจับปลาในบริเวณทีห่ าปลาร่วม กันเรี ยกว่า “ลังหรื ้ อลวง” ต้ องท�ำพิธีกรรมไหว้ ผีลวงก่อน ลวงแปล ว่าใหญ่ คือการไหว้ ผีใหญ่ของวังน� ้ำทีจ่ ะหาปลา เมือ่ หามาได้ แล้ ว จึงท�ำพิธีขอบคุณอีกครัง้ จึงมีการลาบปลาแบ่งกันกิน ปั จจุบนั การ หาปลามิได้ สมั พันธ์กบั ผีหรื อส่วนรวมมากนัก เพราะต่างคนต่างหา และสัมพันธ์กบั การขายปลาสูต่ ลาดมากกว่า ลังลวงที ้ ย่ งั คงเหลือ ให้ เห็นอยูบ่ ้ าง เช่น บริเวณหาดใกล้ บ้านเมืองกาน บริเวณบ้ านปาก อิงใต้ บริเวณใกล้ บ้านแจ่มป๋ อง และบ้ านห้ วยลึก ในล�ำน� ้ำโขง

อย่ า งไรก็ ต าม หากท่านเดินทางมาเทีย่ วชมแม่น� ้ำของ จากเชียงแสนเลียบล�ำน� ้ำมาจนถึงเชียงของแล้ วผ่านไปยังเวียงแก่น สุดปลายแม่น� ้ำของในเขตเชียงราย ณ แก่งผาได อันมีพื ้นทีท่ ี่ สวยงามมากมาย ทังเกาะแก่ ้ งหาดทราย โดยเฉพาะการล่องเรือชม ความงามของแม่น� ้ำในหน้ าแล้ งนับแต่เดือนธ.ค. –พ.ค. ท่านอาจจะ หาซื ้อปลาจากชาวบ้ านมาลาบกินได้ ด้วย โดยเฉพาะบริเวณชุมชน ทีผ่ ้ คู นยังหาปลาอยู่ เช่น บ้ านสบค�ำ บ้ านสบกก บ้ านหาดบ้ ายทราย ทอง บ้ านเมืองกาน บ้ านปากอิงใต้ บ้ านแจ่มป๋ อง บ้ านห้ วยลึกฯลฯ ในหน้ าหนาว เล่ า กั น ว่ า จะมีปลาแกงเป็ นปลาเลิศรส ส่วนหน้ าแล้ งน� ้ำแห้ งลงเป็ นช่วงเวลาของปลากว่าง ส่วนหน้ าน� ้ำที่ น� ้ำของขุน่ จะเป็ นช่วงเวลาของปลาเพี ้ย ปลาจะหากินตามฤดูกาล อาหารลาบปลา หากกินให้ ได้ รสอร่อยก็ต้องกินตามฤดูกาลของ ปลาด้ วย คนหาปลาจะรู้เรื่ องเหล่านี ้ดี ปลาส�ำหรับเหมาะกับการ ลาบให้ ได้ รสชาติดีต้องขนาดเกิน ๑ กิโลกรัม การลาบปลาเป็ น ส�ำรับกับข้ าวที่ช่วยกันท�ำช่วยกันปรุ งหลายคนดังที่กล่าวแล้ วว่า เป็ นอาหารส� ำ หรั บ ไหว้ ผี ด้ วย การกินลาบจึงเป็ นการกินรวมหมู่ หรื อเฮากินกันหลายคน

9


ปลาบึกที่หายไป ??? เมื่อกล่าวถึงแม่น�ำ้ โขงในเขตเชียงราย หลายคนคิดถึง “ปลาบึก” ณ เชียงของ ทว่าแม่น� ้ำของมิใช่มีเฉพาะปลาบึก ดังที่ หนังสือวิจยั จาวบ้ านเชียงของ- เวียงแก่นเล่าไว้ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖๒๕๔๗ มีปลาในเขตนับแต่สามเหลี่ยมทองค�ำ- เชียงแสน ถึงผาได –เวียงแก่น ถึง ๙๖ ชนิด หนึง่ ในนันคื ้ อปลาบึก ปลาที่เป็ นมากกว่า อาหาร แต่เป็ นหน่วยชีวิตส�ำคัญของแม่น� ้ำ โดยสัมพันธ์กบั นิเวศ ทัง้ ๑๑ ระบบย่อย ของน� ้ำแม่ของในเขตนี ้คือ ผา คก ดอน หาด ร้ อง หลง หนอง แจ๋ม น� ้ำห้ วย ริ มฝั่ ง และกว๊ าน การหายไปของปลาบึกและปลาอื่นๆ ในล�ำน� ้ำของ น� ้ำอิง น� ้ำกก มิใช่เกิดจากการจับมาเป็ นอาหารของชาวประมง หรื อเพียง การจับปลามาขายเป็ นรายได้ แต่ปัจจัยส�ำคัญคือการที่ระบบนิเวศ ของแม่น� ้ำเปลี่ยนไป ทังจากการขุ ้ ดลอกแม่น� ้ำ หนอง บึง โดย เฉพาะการสร้ างเขื่อนในล�ำน� ้ำโขงและล�ำน� ้ำสาขาที่ปิดกันเส้ ้ นทาง

อพยพของปลา เพราะส่วนใหญ่ปลาในล�ำน� ้ำของเป็ นปลาอพยพ ระหว่างถิ่น เช่นระหว่างล�ำน� ้ำสาขากับล�ำน� ้ำโขง แม่น� ำ้ อิ ง และแม่น� ำ้ กกจึง เปรี ย บเป็ นแม่น� ำ้ ที่ ผ ลิต ลูก หลานปลาให้ แก่แม่น� ้ำของ เช่น กรณีพื ้นที่ชมุ่ น� ้ำเวียงหนองหล่มที่ กินอาณาบริ เวณกว้ าง ๒๐,๐๐๐ กว่าไร่ ในหน้ าน� ้ำหลากปลาจาก ล� ำ น� ำ้ ของจะมุ่ง สู่ล�ำ น� ำ้ สาขาไปยัง พื น้ ที่ ป่าชุ่มน� ำ้ ซึ่ง ให้ อาหาร มากมายแก่ปลา เช่น แมลง ไส้ เดือน ใบไม้ เปื่ อยเน่า เช่น ต้ นไคร้ ต้ นชุมแสง ฯลฯ เมื่อน� ้ำลดลงปลาเหล่านันได้ ้ วางไข่ในหนอง ใน บึง ในวัง ริ มล�ำน� ้ำสาขา อีกเมื่อน� ้ำหลากครัง้ ต่อมาปลาที่ใหญ่โต แล้ วจึงล่องลงสูแ่ ม่น� ้ำของอีกครัง้ วิถีน� ้ำหลากล้ นและน� ้ำแห้ งจึง เป็ นวิถีธรรมชาติที่เอื ้อให้ ปลาเติบใหญ่ หนองหล่มพื ้นที่ชมุ่ น� ้ำ ใหญ่จงึ เปรี ยบดังมดลูกของแม่น� ้ำที่ให้ ก�ำเนิดปลา ฐานความ อุดมสมบูรณ์เหล่านี ้จึงเป็ นฐานในการสร้ างบ้ านแปงเมืองในอดีต

เวียงหนองหล่ม: เรื่องเล่า เรื่องราวในต�ำนานและกระแสการพัฒนา กล่าวส�ำหรับเวียงหนองหล่ม นอกจากเป็ นหนองน� ้ำทีม่ ี ความงามตามธรรมชาติในวิถีของคนเลี ้ยงควายแหล่งสุดท้ ายของ เชียงรายแล้ ว ยังเป็ นพื ้นทีอ่ พยพของนกต่างๆ มาอาศัยมากมาย มี ปลา มีก้ งุ และพืชอาหารให้ ชาวบ้ านทัง้ ๑๙ ชุมชนรอบเวียงหนอง ได้ เลี ้ยงชีพ เลี ้ยงครอบครัว อย่างไรก็ตาม มีการบุกรุกพื ้นทีช่ มุ่ น� ้ำนี ้ มาท�ำนา ท�ำสวนยาง สวนส้ ม สวนปาล์ม ฯลฯ รวมไปถึงโครงการ ขุดลอก ตัดถนน ถมพื ้นทีใ่ นหนองน� ้ำจากโครงการของท้ องถิ่นและ รัฐ ภายใต้ ความงามยามเช้ า ยามเย็น แลเห็นนกเป็ ดน� ้ำบินอยูฝ่ งู ใหญ่เหนือวังน�ำ้ พุร้อนกลางหนอง ยังมีความร้ อนระอุอยูภ่ ายใน ความงาม เช่นเดียวกับพื ้นทีใ่ ต้ แผ่นเปลือกโลก ดังต�ำนานปลาไหลเผือก ซึง่ มีหลายส�ำนวน แต่ในครานี ้ จะขอเล่าส�ำนวนหลักจากพงศาวดารโยนกเล่าว่า อดี ตหนองล่ม หรื อหนองหล่มเคยเป็ นเวียงหรื อเป็ นเมืองโบราณของอาณาจักร โยนกที่ก่อตังโดยเจ้ ้ าชายสิงหนวัติที่น�ำผู้คนมาจากเมืองไทเทศซึง่ อยู่ทางตอนใต้ จีนยูนนานมาสร้ างบ้ านแปงเมืองในแอ่งลุ่มน�ำ้ กก ประมาณ พ.ศ.๖๓๘ โดยมีพญานาคและบริ วารมาช่วยสร้ างเมือง สันนิษฐานว่าน่าจะเป็ นคนท้ องถิ่นเดิมคือคนลัวะหรื อลูกหลาน ของปู่ เจ้ าลาวจก จนได้ ชื่อเมืองว่า นครโยนกนาคพันธุ์สงิ หนวัติ สร้ างเมืองจนเจริญรุ่งเรื องมาได้ กว่า ๔๕๐ปี ในสมัยพญามหาไชย ชนะ กษัตริย์องค์ที่ ๔๕ วันหนึง่ ชาวบ้ านจับปลาไหลเผือกมาจาก แม่น� ้ำกก ตัวใหญ่โตเท่าล�ำตาลประมาณ ๗ วาเศษ จึงน�ำมา ถวายกษั ต ริ ย์ แ ล้ วพระองค์ รั บ สั่ ง ให้ น� ำ ปลาไหลไปแล่ เ นื อ้ แจกจ่ายให้ ชาวเมืองทุกคน มีเพียงหญิงม่ายชราคนหนึ่งเท่านัน้ ไม่ได้ ไปรั บส่วนแบ่งตกค�่ ำวันนัน้ จึงเกิ ดแผ่นดินสั่นสะเทื อนจน เมืองทัง้ เมืองล่มจมหายไป เหลือเพียงบริเวณบ้ านหญิงม่ายชรา ส่ ว นอื่ น กลายเป็ นหนองน� ำ้ หมด บริ เ วณเกาะกลางหนอง 10

จึงเรี ยกกันว่า ดอนหรื อเกาะแม่มา่ ย ปั จจุบนั คือวัดพระทศพลหรือ วัดปางหมากหน่อ บ้ านห้ วยน� ้ำราก ต�ำบลจันจว้ า อ�ำเภอแม่จนั หากท่านมีโอกาสมาเยี่ยมชมหนองล่มจนถึงวังน� ้ำพุร้อน กลางหนอง ท่านจะรู้ในทันทีวา่ บริเวณแห่งนี ้ตังอยู ้ บ่ นรอยแยก ของแผ่นเปลือกโลก การล่มสลายของเมืองโบราณจึงเกิดจากภัย แผ่นดินไหวธรรมชาติ ในพื ้นทีช่ มุ่ น� ้ำแห่งนี ้จะมีปลาไหลอาศัยอยู่ จ�ำนวนมาก ในโบราณปลาไหลขนาดยักษ์ ยอ่ มมีแน่นอน ก่อนแผ่นดินไหวใหญ่ สัตว์ธรรมชาติหรื อปลาไหลยักษ์ ย่อมรับคลื่นสัญญาณได้ ก่อนจึงหนีออกมาจากใต้ ดิน ก่อนภัย พิบตั จิ ะเกิดขึ ้น จนคนจับมากิน หากมองในทางนิเวศวัฒนธรรม แล้ วจะเห็นว่า ปลาไหลคือสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ หรือ ตัวแทนของพญานาคตามต�ำนานการกิ นปลาไหลยักษ์ คือการ ท�ำร้ ายพญานาค ซึง่ ซ่อนนัยจากต�ำนานว่า ไม่ควรท�ำลายความ อุดมสมบูรณ์ เพราะเชื่อว่าเป็ นปลาผี เช่น เดียวกับปลาบึก หากจะ จับ กิ น ต้ อ งท� ำ พิ ธี ข อปลาจากผี ล วงหรื อ ผี ผ้ ูเ ป็ นใหญ่ นี่จงึ เป็ น ภูมปิ ั ญญาในเรื่ องเล่าทีใ่ ห้ ร้ ูจกั ยังคิ ้ ด ยังการจั ้ บปลา หรื อให้ กินแต่ พอเพียง ส่วนแม่มา่ ยรอดเพราะอะไร ท่านลองมาตีความหรือมา เทีย่ วศึกษากันเอาเองกับชาวบ้ านรอบเวียงหนองหล่มเถอะ ด้ วยสภาพเวียงหนองหล่มในปั จจุบนั มีทงการขุ ั้ ดลอก ถมที่ มีโครงการพัฒนามากมายในนามเพื่อการท่องเที่ยวและ การพัฒนาแหล่งน�ำ้ ทว่าชาวบ้ านแทบจะหาปลา หาอยูห่ ากิน ล� ำ บากยิ่ ง ขึน้ จ� ำ นวนปลาลดลง ที่ ดิน ของชาวบ้ า นเองลดลง ที่ เ ลี ย้ ง ควายเหลื อ ลดน้ อ ยลง ภายใต้ ความงามของหนองน� ้ำ หรื อทะเลสาบที่เราเห็นนกสวยงามมากมายเหล่านัน้ ยังมี ชี วิต หลายชี วิ ตที่ ค่อยๆล่มสลายไปด้ ว ย เพราะปลา และหนองน� ำ้ บึง น� ำ้ ก็ มีชี วิ ตเช่น เดี ยวกับแม่น� ำ้


สายน�้ำ ชีวิตวัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลงไป เรื่ องราวของแม่น�ำ้ ที่เล่ามาก่อนนีเ้ ป็ นภาพที่อิงอยู่กับ อดี ต และปั จจุ บัน เป็ นส่ ว นใหญ่ อดีตของแม่น� ้ำเปรี ยบดังถนน ใหญ่น้อยที่มิคอ่ ยมีคนใช้ ประโยชน์มากนักในปั จจุบนั แม่น� ้ำของ คือซุปเปอร์ ไฮเวย์ น� ้ำแม่กก น� ้ำแม่อิงคือถนนเชื่อมสายใหญ่ที่มี ถนนซอยเป็ นล�ำห้ วย ที่พกั ในระหว่างทางของหมูป่ ลาคือหนองน� ้ำ บึงน� ้ำ เรื อ เป็ นยานพาหนะที่ ส� ำ คัญ ในอดี ต ชีวิตในปั จจุบนั ซึง่ ผู้คนสัมพันธ์กบั รถมากกว่าเรื อในการเดินทางขนส่งหรื อประกอบ อาชี พ มีผ้ คู นที่สมั พันธ์หรื อใช้ ประโยชน์โดยตรงจากแม่น� ้ำอยูไ่ ม่ มากนัก แม้ เมืองส่วนใหญ่จะใช้ น� ้ำกิน น� ้ำอาบจากน� ้ำประปาซึง่ ได้ มาจากแม่น� ้ำด้ วยเช่นในเมืองเชียงราย แต่คนกับแม่น� ้ำกลับยิ่ง ห่างออกไปไกล จะกลับมาอย่างน้ อยปี ละครัง้ ในช่วงลอยกระทง หากให้ นบั ชีวิตวิถีชาวแม่น� ้ำจริ งๆ ก็คือชาวประมงกับ ชาวเรื อ ชาวประมงที่ เ หลื อ อยู่ก็ น้ อ ยลงมาก หาปลาเพือ่ เลี ้ยง ครอบครั ว หรื อ ยัง ชี พ ในครอบครั ว เป็ นหลัก เหลื อ กิ น จึ ง ขาย ส่วนชาวเรื อขนส่งสินค้ ายังมีพบเห็นในล�ำน� ้ำแม่ของ เป็ นเรือเล็ก ดัดแปลงหรื อปรับตัวจากเรื อหาปลามาใช้ ต่างคนและสินค้ าเล็ก น้ อยๆ ระหว่างถิน่ เช่น เชียงแสน-ต้ นผึ ้ง เชียงของ-ห้ วยทราย เวียง แก่น(แจ่มป๋ อง-ด่านติน) ส่วนใหญ่จะเป็ นท่าด่านผ่อนปรนระหว่าง ไทย-ลาว ส่ ว นเรื อ ท่ อ งเที่ ย วนั น้ ในล�ำน� ้ำโขงมักเป็ นเรือใหญ่ที่ สามารถโดยสารไปยังจีนหรือลาวได้ เป็ นเรือสัญชาติไทยไม่กลี่ ำ� แต่ ในหลายครัง้ เรื อต่างของหรื อเรื อประมงก็ปรับตัวเองมาเป็ นเรื อรับ ส่งท่องเที่ยวชมแม่น� ้ำโขงมากขึ ้นด้ วย เพราะการหาปลาและต่าง ของมีรายได้ ไม่พอเพียงกับครอบครัว อย่างเรือของชมรมเรือท่า วัดหลวง อ�ำเภอเชียงของ ทีใ่ ห้ บริการนักท่องเทีย่ วชมความงามของ แม่น� ้ำและวิถชี วี ติ สองฝั่ งโขง เรื อท่องเที่ยวในล�ำน�ำ้ ที่ยงั คึกคักมีชีวิตชีวาคือเรื อท่อง เที่ ย วในล� ำ น� ำ้ กกจากท่าตอน-เชี ย งใหม่ มายั ง อ� ำ เภอเมื อ ง เชี ย งราย ซึง่ มีนกั ท่องเที่ยวมาใช้ บริ การอย่างสม�่ำเสมอทังเที ้ ่ ยว ล่องและเที่ยวขึ ้น ซึง่ เส้ นทางนี ้เดิมทีนิยมล่องแพโดยใช้ ไม้ ไผ่ท�ำ แพจากท่าตอนลงมา เมื่อถึงเมืองเชียงรายจึงสามารถขายไม้ ไป ท�ำตู๊บหรื อกระท่อม ท�ำเก้ าอี ้หรื องานจักสานจากไม้ ไผ่ได้ อีก แต่ ด้ ว ยไม้ ไ ผ่ ห ายากและแพงขึ น้ ท� ำ ให้ ก ารล่ อ งแพมี จ� ำ นวนผู้ใ ช้ บริ การน้ อยลง อย่างไรก็ตาม ท่านสามารถมาล่องแพในน� ้ำกกที่ ยังมีให้ บริ การอยู่บ้าง

โครงการขนาดใหญ่ของรัฐ เช่น การสร้ างเขื่อน ฝาย กัน้ ล�ำน� ้ำ ต่อมาคือการระเบิดเกาะแก่งล�ำน� ้ำโขง การขุดลอกและถม พื ้นทีช่ มุ่ น� ้ำ การเดินเรื อพานิชย์ขนาดใหญ่ สารเคมีจากการเกษตร และน� ้ำเสียจากบ้ านเรื อนหรื อโรงงานหรื อโรงแรม รวมไปถึงการที่ พื น้ ที่ ป่าบนดอยและป่ าชุ่มน� ำ้ ริ มน� ำ้ ลดลง เหล่านี ้ช่วยกันท�ำให้ สภาพแม่น� ้ำอิง-กก-โขง เปลีย่ นแปลงไป จนกระทัง่ ชุมชนชาวบ้ าน ที่ ห่ ว งใยแม่ น� ำ้ ได้ รวมตั ว เป็ นเครื อข่ า ยในการอนุ รั กษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมในท้ องถิ่นของตนในช่วงกว่า สิบห้ าปี ทแี่ ล้ ว จนถึงบัดนี ้เกิดรูปธรรมป่ าชุมชนหลายพื ้นที่ เกิดวัง สงวนพันธุ์ปลาไม่น้อยกว่า ๖๒ หมูบ่ ้ านตลอดลุม่ น� ้ำอิง และเกิด การรวมตัวกันของชุมชนเหล่านันเป็ ้ นสภาประชาชนลุม่ น� ้ำอิง หากให้ ทา่ นลองเดินทางจากเชียงรายมายังชุมชนริ มฝั่ ง ล�ำน� ้ำอิงในเขตอ�ำเภอขุนตาล อ�ำเภอเชียงของ เช่น บ้ านน� ้ำแพร่ บ้ านงามเมือง บ้ านบุญเรื อง บ้ านม่วงชุม ดูจากภายนอกชุมชน เหล่า นี ก้ ็ เ หมื อนชุมชนเชิ ง ดอยกับริ มฝั่ ง น� ำ้ ทั่ว ไปในภาคเหนื อ แต่เมื่อนัง่ รถอีแต๋น แต่หากให้ ดีกว่า ควรเดินเลาะชายทุง่ ไปยังป่ า ชุม่ น� ้ำที่มีต้นชุมแสงขึ ้นหนาแน่น พร้ อมชาวบ้ า นสัก คนน� ำ ทาง ระหว่ า งทางก็ เ ก็ บ ผัก กูด ผัก หญ้ าอื่ น ๆ ไปด้ ว ย แล้ ว ตัง้ เต็ น ฑ์ ในป่ า ใช้ เวลาตกปลาในล�ำน� ้ำอิง นอกเขตวังสงวน เมื่อได้ ปลา สดๆแล้ ว มาท� ำ อาหารร่ ว มกับผักที่ เ ก็ บได้ มา น�ำมาใส่กระบอก ไม้ ไผ่เป็ นหลาม พร้ อมข้ าวนึ่งอุ่นๆ ยามหนาวหน้ าแล้ งเช่นนี ้ก่อ กองไฟสนทนากับเจ้ าของบ้ านในป่ าชุมชน ท่านจะรู้วา่ ปลากลับ คื นมาเพราะวัง สงวนพัน ธุ์ปลาที่ ช าวบ้ า นดูแ ลรั กษา พร้ อมกับ เรี ยนรู้ ชีวิตธรรมดาของคนที่อาศัยแม่น� ้ำและป่ าเป็ นวิถีชีวิตง่ายๆ เป็ นชีวิตวัฒนธรรมที่ยงั เหลืออยูอ่ ย่างแท้ จริ ง ที่เขียนเชิญชวนมาเที่ยวมาสัมผัสแม่น�ำ้ และผู้คนแห่ง สายน� ้ำนี ้ เพราะมิมีในโปรแกรมการท่องเที่ยวของทัวร์ ใดๆ ไม่มี แนะน�ำในเว็บไซต์ใด ท่านจะหาทางรู้จกั แม่น� ้ำที่มีชีวิตวัฒนธรรม แบบกิ น ได้ ก็ ด้ ว ยการออกเดิ น ทาง เพื่อจะได้ ร้ ูจกั แม่น� ้ำของเฮา เจียงฮายยิ่งขึ ้น หากไม่เกรงใจท่านลองติดต่อ “เฮา” มาตามที่อยู่ ของนิตยสารดูสิ แล้ วจะรู้วา่ ปลา แม่น� ้ำและผู้คนยังเอื ้ออิงกันเช่น ชีวิตดัง่ เก่าก่อน แต่ อ ย่ า ลื ม ก็ แ ล้ ว กัน ว่ า หากจะกินปลาให้ อร่อยเลิศรส จ�ำเป็ นต้ องมาให้ ตรงฤดูกาลธรรมชาติของแม่น� ้ำ

ข้ อมูลอ้ างอิง คณะนักวิจยั จาวบ้านเชียงของ-เวียงแก่น. ความรู้ทอ้ งถิ่ นเรื ่องพันธุ์ปลาแม่น�้ำโขง. เชียงใหม่ : โครงการ l แม่น�้ำเพือ่ ชีวิต เครื อข่ายแม่น�้ำเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กลุม่ รักษ์ เชียงของ เครื อข่ายอนุรกั ษ์ l ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมลุม่ น�้ำโขง-ล้านนา, 2549 l สมาคมแม่น�้ำเพือ่ ชีวิต. วังสงวนในลุม่ น�้ำอิง. เชียงใหม่ : สมาคมข้อมูลภูมิวฒ ั นธรรม (ออนไลน์) แหล่งทีม่ า http://lek-prapai.org/ l ข้อมูลอืน่ ๆ จากการลงพืน้ ทีศ่ ึกษาและท�ำงานกับชุมชนในเจี ยงฮาย ๑๒ ปี ทีผ่ า่ นมา 11


เชียงรายไกลบ้าน เรื่ อง: นางเกษร

แม่(ของ)น�ำ้ ?

สวั ส ดี ทุ ก ท่ า น ในฉบับนี ้เราจะคุยกันภายใต้ ขอบเขต เรื่ อง “แม่น� ้ำ” ข้ าพเจ้ าจึงมาเสนอตัวพูดคุยกับท่านเพราะคิดว่า ตนรู้เรื่ องนี ้ค่อนข้ างดี และเพื่อประหยัดเวลา ขอแนะน�ำตัวเองเลย ว่า ข้ าพเจ้ าชื่อ“ไฮโดรเจน” (Hydrogen) อาชีพตอนนี ้คือเกาะคอ เพื่อนชื่อ “ออกซิเจน” ให้ แน่นเพราะเราเพิ่งรวมตัวพากันไหลออก มาจากดอยนางแก้ ว ในอ�ำเภอเวียงป่ าเป้า คาดว่าลมและความ ชันคงพาเราเข้ าแม่สรวยภายใน 3 วันนี ้ ทัง้ นี ้ หลายท่ านอาจไม่ เคยรู้ ว่าชื่อของข้ าพเจ้ ามาจากภาษากรี ก มีความหมายว่ า “ตัวก่ อให้ เกิดน�ำ้ ”...คราวนี ้ท่ านคงถึ ง บางอ้ อว่ า เหตุใด ข้ าพเจ้ าจึงอาสามาคุยในฉบับนี .้ ..ข้ าพเจ้ าท�ำให้ เกิดน�ำ้ ได้ อย่ างไร?เดี๋ยวจะอธิบายให้ ฟัง... หากท่านเชื่อในเรื่ องเอกภพ หรื อ จักรวาล (universe) ข้ าพเจ้ า ซึง่ ก็คือ ไฮโดรเจน เป็ นสสารสถานะคือ พลาสมา กล่าวคือ อยูใ่ นรูปก๊ าซที่มีสภาพไอออนลบ ข้ าพเจ้ าเป็ น ธาตุ ตั ว เบาที่ สุ ด และพบมากที่ สุ ด ในที่ แ ห่ ง นี .้ ..คิ ด ง่ า ยๆ ทังจั ้ กรวาลที่ทา่ นเคยดูในภาพยนตร์ ที่มีหินโน่นนี่ลอยเคว้ งคว้ าง ฉากด�ำๆ ที่มีโลก มีดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์ มียานอวกาศ สารพัด ทังหมดนั ้ นมี ้ ข้าพเจ้ าประกอบอยู่ 75 เปอร์ เซ็นต์!จึงอาจกล่าวได้ ว่า แม้ นท่านจะไปทัวร์ ดาวพลูโต ท่านก็จะเจอข้ าพเจ้ าที่นนั่ 1212

ข้ าพเจ้ าจ�ำนวน 2 ตัวหรืออะตอมหากวิง่ เข้ าขนาบข้ าง คุณ ออกซิ เ จนจ� ำ นวน1 ตั ว หรื ออะตอมยื น เกาะแขนท� ำ มุ ม สามเหลีย่ มกัน 104.45 องศา ในตอนทีอ่ ณ ุ หภูมกิ บั ความดันเป็ นใจ (อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส และความดันบรรยากาศทีร่ ะดับน� ้ำ ทะเล) เราก็จะสามารถร่วมกันแปลงร่างจาก “ก๊ า ซ” กลายเป็ น “ของเหลว”ได้ สงิ่ ทีเ่ รียกกันว่า “น� ้ำ”จ�ำนวน1 โมเลกุล (โมเลกุลเรา เรียก เมือ่ เกิดเหตุการณ์ทธี่ าตุมากกว่า 1 อะตอมมารวมตัวกัน)เมือ่ ชัง่ น� ้ำหนักรวมกัน เรียกว่า มวลโมเลกุล จะได้ น� ้ำหนักพวกเรา เท่ากับ 18.02 g/mol จาก “ก๊ าซ” อย่างข้ าพเจ้ า ตอนนี ้จึงออกมาเป็ น “น� ้ำ” รอ แค่ให้ เกิดกระแสการไหลตามทางธรรมชาติขนาดใหญ่ขึ ้น ก็จะได้ สิง่ ทีเ่ รียกกันว่า “แม่ น� ำ้ ” ให้ ทกุ ท่านได้ อปุ โภค บริโภคกันตาม สะดวกนัน่ เอง น� ้ำ ส�ำคัญมากไหม คงไม่ต้องสาธยายกันให้ เหนื่อย แต่ เพื่อให้ ทา่ นมี “น� ้ำ” กิน-ใช้ กนั อยูอ่ ย่างไม่ขาด ข้ าพเจ้ าคิดว่า ท่าน ก็ควรจะได้ ร้ ูกนั สักนิดว่า ข้ าพเจ้ า หรื อ “ก๊ าซไฮโดรเจน” ที่เกิด ขึน้ เองตามธรรมชาติหาได้ ค่อนข้ างยากบนโลกที่ท่านอาศัย ที่ มี อ ยู่ ก็ มั ก เป็ นรู ปสารประกอบอื่ นอย่ าง น�ำ้ น�ำ้ มัน ปิ โตรเลียม สารอินทรี ย์แก๊ สธรรมชาติ เป็ นต้ น และการจะ ผลิ ต ข้ า พเจ้ า ขึ น้ มาก็ ใ ช้ ก ระบวนการซั บ ซ้ อ น นั่งท�ำเองที่ บ้ านไม่ ได้ แต่ เคราะห์ ดี ในส่ วนของออกซิเจน ท่ านสามารถ เพิ่มจ�ำนวนพวกเขาได้ โดยไม่ เปลืองอะไร เพราะพวกเขาเป็ น ผลผลิตจากการสังเคราะห์ แสงของพืช สาหร่ าย แพลงตอน และสิ่งมีชวี ติ แปลได้ วา่ หากท่าน อยากช่วยให้ เกิดน� ้ำ ซึง่ เป็ น สารประกอบระหว่างตัวข้ าพเจ้ ากับออกซิเจน สิง่ ทีท่ า่ นพอจะท�ำได้ ง่ายๆ ก็คอื การปลูกต้ นไม้ หรือ รักษาแหล่งป่ าไม้ เอาไว้ ให้ มาก เพือ่ ให้ คุณ ออกซิ เ จนมี จ� ำ นวนมากและมี โ อกาสได้ วิ่ ง มาเกาะกับ ข้ าพเจ้ าได้ โดยง่ายเมือ่ อยูใ่ นสภาพทีเ่ หมาะสมฟ้าฝนเป็ นใจ พวก เราก็จะช่วยกันแปลงร่างเป็ นน� ้ำเพือ่ ตอบแทนการลงแรงของท่าน ในการณ์ นี ้ จึงขอทิง้ ท้ ายไว้ ว่าจึงหาใช่ ข้าพเจ้ าและ คุ ณ ออก ซิ เ จ นแต่ อย่ าง ใด ที่ เป็ นผู้ ชี ้ข าด ท� ำ ให้ เกิ ด “น�ำ้ ” “ล�ำน�ำ้ ” หรื อ “แม่ น�ำ้ ”หากเป็ น “ท่ าน” แต่ โดยแท้ ผู้เป็ น “แม่ (ของ) น�ำ้ ” (ไฮโดรเจนช่างจ�ำนรรจ์ อะตอมหนึ่งที่เคยลอยอยู่แถว เวียงป่ าเป้า)


13


ศิลปะ เรื่ อง: ปากกาหัก

แม่น้ำ� กับปลายพู่กัน ทุกครัง้ เวลาเดินเลาะไปตามล�ำน� ้ำ เรามักอดไม่ได้ ที่จะ เก็บบางอย่างตรงริ มน�ำ้ ติดมือมาด้ วย สิง่ เหล่านันอาจเป็ ้ นก้ อน หิน ก้ อนกรวด บางครัง้ ไม่ร้ ูด้วยซ� ้ำว่าจะเก็บมาท�ำอะไร สุดท้ าย มันเลยกองไว้ รกหูรกตาหรื อวางเรี ยงอยูใ่ นสวนหย่อม เฮียแดง บางไทร อดีตเจ้ าของร้ านข้ าวต้ มบางไทรกับ ครอบครัวเป็ นหนึง่ ในกลุม่ คนรักศิลปะที่เอาวัสดุจากธรรมชาติมา ท�ำเป็ นชิ ้นงาน ทังไม้ ้ ที่ลอยน� ้ำมา ไม้ เก่าแก่ผเุ ปื่ อยถูกประกอบ เป็ นชันวางของ ้ ชันวางโชว์ ้ ของประดับบ้ าน จนสุดท้ ายงานเหล่า นันก็ ้ สร้ างอาชีพที่พอเลี ้ยงตัวได้ นอกจากงานประกอบไม้ เก่าแล้ ว งานเพ้ นท์ก้อนหินเป็ น อีกอย่างหนึง่ ที่ได้ รับความสนใจ เพราะเป็ นสิง่ ที่หาได้ งา่ ย มีน� ้ำ หนักพอเหมาะแก่การหยิบจับ ไม่บบุ สลาย ใครที่ชอบซื ้อมักจะ เอาไปวางในตู้บ้าง ทับกระดาษบนโต๊ ะท�ำงานบ้ าง แล้ วแต่จดุ ประสงค์ งานประเภทนี ้เราจะพบได้ มากที่ถนนคนเดิน บางชิ ้นถูก ที่ร้านคาร์ เพนเทอร์ โฮม ร้ านขายของแต่ งบ้ านสไตล์ ไม้ เก่ าที่ น�ำมาเพ้ นท์เป็ นหัวหรื อล�ำตัวสัตว์ ประกอบกับรูปวาดบนแผ่นไม้ รายล้ อมด้ วยต้ นไม้ ของเฮียแดงก็เช่ นกัน ที่น่ ันเต็มไปด้ วย กลายเป็ นงานศิลปะแบบผสมผสาน ติดพ่วงตะขอเกี่ยวก็กลาย งานไม้ เก่ า เซรามิค และหินแม่ น�ำ้ ที่เพ้ นท์ ลวดลายต่ างๆ เป็ นที่แขวนกุญแจ แขวนผ้ ากันเปื อ้ นแล้ ว มีทัง้ ที่วางขายหน้ าร้ านและขายทางออนไลน์ คนขายใจดี ชอบท�ำเป็ นชุดส่ งไปทัง้ ชัน้ วาง ทัง้ หินเพ้ นท์ ลายที่เป็ นลาย ยอดฮิตคือลายนกฮูกหลากสีสนั แสดงอารมณ์ ผ่านแววตา ขยับตัวเล็กน้ อยตามรูปทรงของก้ อนหิน แต่ ละตัวใช้ เวลาท�ำ ครึ่งค่ อนวันเลยทีเดียว หลายครั ้ง เวลาเราเดิน ผ่ า นร้ านที่ข ายงานศิล ปะ เห็นรูปลายเส้ นดูง่าย ๆ บนก้ อนหิน มีบ้างที่มกั จะหลุดค�ำพูด ออกมาว่ า “แบบนีฉ้ ันก็ทำ� ได้ ไม่ เห็นยากเลย” แต่ จริง ๆแล้ ว หาได้ เป็ นเช่ นนัน้ การจะเพ้ นท์ บนก้ อนหินแล้ วท�ำเส้ นให้ คม เนียนต้ องใช้ การฝึ กฝนมานาน ใช้ สมาธิอย่ างมากเพราะการ ท�ำพลาดเพียงเล็กน้ อยบนก้ อนหิน เราไม่ สามารถลบออกได้ มีแต่ ต้องท�ำใหม่ หรือลบลงสีใหม่ ซึ่งเราก็ไม่ สามารถจะหยั่งรู้ ได้ ว่าสีและลายเส้ นจะเป็ นที่น่าพอใจอย่ างเดิมหรือเปล่ าการ จะมีภาพบนก้ อนหินสักก้ อนเลยไม่ ใช่ เรื่องง่ ายเลย และมัน คุ้มเกินคุ้มถ้ าเราพบเห็นคนท�ำวางให้ เราเลือกซือ้ อุดหนุนกัน ในราคาไม่ แพง หนึ่งงานศิลปะที่ดเู หมือนไม่ มคี วามขลังอะไรมากนัก อาจเป็ นงานที่สวยในสายตาใครสักคน และต่ อชีวติ ให้ ใคร สักคน เราจึงต้ องเสพศิลปะ และสร้ างงานศิลปะจากทุกสิ่ง ทุกอย่ างที่หาได้ แม้ แต่ ก้อนหินที่สายน�ำ้ พัดพามาพบเรา 14 14


กวีนิพนธ์ เรื่ อง: สันติภาพ วัฒนะ

ข้ามิได้อิจฉา อะไรก็ตามที่มาก่อนข้า

เสมอ

มาพร้อมกับคนคนหนึ่ง บนไหล่ของเจ้า มาพร้อมกับคนนับร้อยบนเส้นผมของเจ้า มาพร้อมกับคนนับพันระหว่างหน้าอกและเท้าของเจ้า มาดั่งสายน�้ำ อันเต็มไปด้วยคนท่วมท้น ที่ไหลลงสู่ท้องทะเลบ้าคลั่ง สู่คลื่นแห่งนิรันดร์ สู่กาลเวลา! น�ำพวกเขาทั้งหมด ไปยังที่ที่ข้าก�ำลังรอเจ้า เราจะอยู่เพียงล�ำพังเสมอ เราจะมีเจ้าและข้าเสมอ เดียวดายบนโลก เพื่อเริ่มต้นชีวิตของเรา! ปาโบลเนรูด้ากวีชาวชิลี เจ้าของรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมประจ�ำปี ค.ศ. 1971 สันติภาพ วัฒนะ แปล

15 15


ร้อยแก้ว เรื่ อง: ค�ำสม เขื่อนเชียงสา

แม่น้ำ� โขง ใต้โค้งขอบฟ้าบนภูผาสูงก่อนรุ่งสาง ม่านฟ้าเปิดรับแสงตะวัน ความเยือกเย็นสีขาวละลายกลายเป็นสายน�้ำ ห้วงเวลาของการเดินทางได้เริ่มต้น ณ ถิ่นดินแดนหลังคาโลก ผู้คนด�ำรงอยู่อย่างสงบ สมถะ ท่ามกลางความงดงาม ไกลห่างความโลภ ชาวธิเบตเรียกขานแม่น้ำ� ว่า ต้าจู หมายถึงแม่น้ำ� หิน.. ผ่านทางคดเคี้ยว ไหลเชี่ยวกรากกระเพื่อมผ่านเกาะแก่ง สายน�้ำสีเขียวมรกต หล่อเลี้ยงผู้คนหลากเผ่าพันธุ์ ก่อเกิด เติบโต มะลายไปหลายชั่วคน ชาวจีนเรียกแม่น้ำ� สายนี้ว่า หลานซาง ข้องเกี่ยวกับอาณาจักรล้านช้าง ภูผาสูงลดหลั่นเรียงสลับ ลับหายไปในขอบฟ้า สายน�้ำไหลล่องผ่านท้องทุ่งราบ เล็กบ้าง กว้างใหญ่บ้าง ผ่านหมู่บ้านคนลื้อ ไทยใหญ่ ลีซู อาข่า ลาว ไทย และอีกนับร้อยเผ่าพันธุ์ที่ได้พึ่งพาอาศัย จนกระทั่งไหลลงที่ราบลุ่มกว้างใหญ่ ชาวลาว-ไทยเรียกแม่น้�ำของผูกพันความเชื่อเรื่องพญานาค ข้ามผ่านเกาะแก่งสี่พันดอน หล่อเลี้ยงตนเลสาบบ้านของปลา ชาวขะแมร์เรียกแม่น้ำ� สายนี้ว่าตนเลธม.. ปลายทางสู่เวียตนามใต้สายน�้ำเริ่มแยกตัวเป็นสอง สายแรกเรียกว่า เตี่ยน หมายถึงข้างหน้า อีกสายเรียกว่า เหิ่ว หมายถึงข้างหลัง แตกแขนงต่อรวมกันเป็นเก้าสาย ชาวเวียตนามเรียกขานว่า กิ๋วลอง อันหมายถึงเก้ามังกร ตะกอนดินขุ่นข้นปนสายน�ำ้ หลาก สงบนิ่งในฤดูร้อนแล้ง สายน�้ำคืนความสดใส สะท้อนแสงสีเขียวมรกตอีกครั้ง หลังลดหลั่นจากภูผาสูงแผ่กระจายลงปลายทาง บนเส้นทาง สี่พันเก้าร้อยเก้ากิโลเมตร..ก่อนอันตรธานกลางทะเล.. แ ม่ น�้ำ โ ข ง . .

16 16


ดนตรี เรื่ อง: ปากกาหัก

จากสายน�้ำสู่บทเพลง พอได้ ธี ม เล่ ม จากกองบรรณาธิ ก ารว่ า เป็ นเรื่ อง แม่ น�ำ้ เพลงที่มีค�ำว่ าแม่ น�ำ้ และริ เวอร์ หลายเพลงก็ผุดเข้ า มาในหัวมากมาย ตอนแรกกะไว้ ว่ าจะเขี ย นเกี่ ยวกั บ Doe Bay Sessions การแจมดนตรี โฟล์ กริมน�ำ้ ที่จดั ขึน้ โดย Sound on the sound A Seattle music blog ครั น้ มาเปิ ดดู ข้ อมูลอีกรอบก็พบว่ า Doe Bay Sessions นัน้ จัดบนเกาะ ไม่ ใช่ ริมแม่ น�ำ้ อย่ างที่เห็นในเทปบันทึกภาพของทางผู้จัด เลยเปลี่ยนใจมาพูดถึงเพลงที่เกี่ยวพันกับสายน�ำ้ ดีกว่ า พอคิดไอเดียที่จะเขียนได้ แล้ ว ก็มีค�ำถามหนึ่งผุด มาในหัว ค�ำถามซึ่งเกิดจากการสอดส่ ายสายตาและหูไปเห็น หรือได้ ยนิ คนเขาถามว่ าท�ำไมเพลงจะต้ องพูดถึงเรื่องความรัก ท�ำ ไมไม่ พู ด ถึ ง อย่ า งอื่ น บ้ า ง ได้ ยินมาหลายครั ง้ แต่ ไม่ เคย ตอบสิ่งที่อยู่ในใจตัวเองให้ เขารู้ เลย เมื่อมีคนถามแบบนี ้ ผมมักจะตอบไปแบบส่ งๆ ว่ า “ก็ตลาดมันต้ องการแบบนัน้ คนส่ วนมากฟั งกันอยู่แค่ นัน้ ” ซึ่งจริ งๆ แล้ วก็มคี ำ� ตอบอื่นที่ ยาวกว่ านัน้ และเห็นต่ างอยู่หน่ อย ถ้ า หากเราเอามาคิ ด ดู ใ ห้ ดี แ ล้ ว บางครั ง้ ความ รั กที่อยู่ในเพลงอาจเป็ นเพียงส่ วนประกอบเล็กๆเท่ านั น้ จริ งอยู่ความรั กเป็ นสิ่งที่มีอยู่รอบตัวเรา ปะปนในทุกอย่ าง แต่ ด้ วยบริ บ ทชี วิ ต ของแต่ ละคน ความรั กนัน้ ได้ ถูกแปร สภาพและแทรกซึมไปยังสรรพสิ่งทัง้ หลายแหล่ โลกหาได้ มี แต่ เ พีย งความรั กของหนุ่ มสาว ผู้ชายผู้หญิงอย่ างเดียวไม่ มั น แตกแขนงออกไปหลายอย่ าง เปลี่ยนแปลงสภาพและ รู ปร่ างไปเป็ นอะไรอีกหลายสิ่งและคนก็น�ำมาแต่ งเพลง เมื่ อ เอาเพลงของทัง้ ไทยและเทศมาเปิ ดฟั ง มากๆ จะเห็นว่าสิง่ ที่เป็ นจุดก�ำเนิดของเพลง บางครัง้ ไม่ใช่ความรัก แต่ อาจเป็ นความทรงจ�ำหรื อความผูกพันกับบางสิง่ หรื อแรงบันดาล ใจจากสิง่ รอบๆ ตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพลงที่มาจากประเทศฝั่ ง

ตะวันตกซึง่ สายน� ้ำนันเป็ ้ นหนึง่ ในแรงบันดาลใจในการแต่งเพลง จนท�ำให้ มีเพลงมากมายที่มีเนื ้อหาเกี่ยวกับแม่น�ำ้ ออกมาให้ เรา ได้ ฟังกันที่ผมฟั งบ่อยๆ และพอยกตัวอย่างมาให้ ไปหาฟั งกันได้ ก็ อย่างเพลง Yellow River ของ Christie , Endless River ของ Pink Floyd ถ้ าสายอินดี ้โฟล์กยิ่งมีเยอะ อย่างเพลง River And Road ของ The Head And The Heart เพลงที่สามนี่ เป็ นเพลงโปรดผมเลย เพราะเพลงนี ้ศิลปิ นเอาไปเล่นใน Doe Bay Sessions ด้ วย ตรงนี ้จะขอเหลา เอ้ ย! เล่าเกี่ยวกับเนื ้อหาของ เพลงสักหน่อย เพลง River And Road ที่กล่าวถึงนี ้ เป็ นเพลงซึง่ เกี่ยวกับมิตรภาพของเพื่อนที่จ�ำต้ องย้ ายออกจากรัฐไปค้ นหาทาง ของตัว เอง พวกเขาก็ เ ปรี ย บถนนเป็ นสิ่ ง ที่ พ าเพื่ อ นจากไป แต่แม่น� ้ำนันจะเป็ ้ นสิง่ ที่พาพวกเขามาเจอกันอีกครัง้ เมือ่ เอาเพลงของทังไทยและเทศมาเปิ ้ ดฟั งมากๆ จะเห็น ว่าสิง่ ทีเ่ ป็ นจุดก�ำเนิดของเพลง บางครัง้ ไม่ใช่ความรัก แต่อาจเป็ น ความทรงจ�ำหรื อความผูกพันกับบางสิง่ หรื อแรงบันดาลใจจากสิง่ รอบๆ ตัว โดยเฉพาะอย่างยิง่ เพลงทีม่ าจากประเทศฝั่ งตะวันตก ซึง่ สายน� ้ำนันเป็ ้ นหนึง่ ในแรงบันดาลใจในการแต่งเพลงจนท�ำให้ มี เพลงมากมายที่มีเนื ้อหาเกี่ยวกับแม่น� ้ำออกมาให้ เราได้ ฟังกันที่ผม ฟั งบ่อยๆ และพอยกตัวอย่างมาให้ ไปหาฟั งกันได้ ก็อย่างเพลง Yellow River ของ Christie , Endless River ของ Pink Floyd ถ้ าสายอินดี ้โฟล์กยิง่ มีเยอะ อย่างเพลง River And Road ของ The Head And The Heart เพลงทีส่ ามนี่เป็ นเพลงโปรดผมเลย เพราะ เพลงนี ้ศิลปิ นเอาไปเล่นใน Doe Bay Sessions ด้ วย ตรงนี ้จะขอ เหลา เอ้ ย! เล่าเกี่ยวกับเนื ้อหาของเพลงสักหน่อย เพลง River And Road ทีก่ ล่าวถึงนี ้ เป็ นเพลงซึง่ เกี่ยวกับมิตรภาพของเพือ่ นทีจ่ �ำ ต้ องย้ ายออกจากรัฐไปค้ นหาทางของตัวเอง พวกเขาก็เปรี ยบถนน เป็ นสิง่ ที่พาเพื่อนจากไปแต่แม่น� ้ำนันจะเป็ ้ นสิง่ ที่พาพวกเขามาเจอ กันอีกครัง้ 1717


คนบ้านเฮา

มานะ จันทร์หอม

General Manager โรงแรมดุสิต ไอส์แลนด์ รีสอร์ท

“เชียงรายต้องเติบโต จึงจ�ำเป็นต้องให้ความสนใจต่อ สิง่ แวดล้อม การท่องเทีย่ ว และการเกษตร ไปพร้อมๆ กัน” คอลัม น์ ค นบ้ านเฮาฉบับ นี ข้ อน� ำ เสนอมุม มองของ คุณมานะ จันทร์หอม ผู้จดั การทัว่ ไป (GM: General Manager) ของ โรงแรมดุสติ ไอส์แลนด์ รีสอร์ท เชียงรายโดยจะเริ่มต้ นทีก่ ารจัดการ น� ้ำเสียของโรงแรมที่ได้ ท�ำการบ�ำบัดน� ้ำเสียจนสามารถน�ำกลับมา ใช้ ใหม่ได้ อีกทังมี ้ การพัฒนาต่อยอดไปสูก่ ารสร้ างสวนผักอินทรีย์ ในทีด่ นิ ของโรงแรม จนได้ ผลผลิตทางการเกษตรปลอดสารพิษ และ ท�ำให้ โรงแรมเป็ นจุดเรียนรู้การจัดการสิง่ แวดล้อม และ ปิ ดท้ ายด้ วย ข้ อคิดส�ำหรับภาคธุรกิจกับการดูแลสิง่ แวดล้อมและท้ องถิน่ คุ ณ มานะ จันทร์ หอม เป็ นคนกรุงเทพมหานครโดย ก�ำเนิดมีประสบการณ์ท�ำงานในโรงแรมในเมืองหลวงมานานถึง 25 ปี ก่อนจะย้ ายมารับต�ำแหน่งที่เชียงรายนาน 4 ปี ครึ่งแล้ ว และ ปั จจุ บั น คุ ณ มานะยั ง ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ประธานชมรมโรงแรม เชียงรายอีกด้ วยคุณมานะกล่าวถึงความประทับใจที่มีตอ่ จังหวัด เชี ย งรายเอาไว้ ว่ า “ผมชอบในเรื่องความเป็ นธรรมชาติ ความ ร่ มรื่น สดใส สิง่ แวดล้ อมดีมาก ไม่ เหมือนกรุงเทพทีผ่ มอยู่มา ตลอด คนเชียงรายก็เป็ นมิตรและมีไมตรีจติ รดีมาก” คุณมานะกล่าวย้ อนกลับไปถึงจุดเริ่ มต้ นของการบ�ำบัด น� ำ้ เสี ย ของโรงแรมว่ า “โรงแรมเราอยู่ในจุดทีต่ ้ องพึงระวังให้ มากๆ เราล้ อมรอบโดยน�้ำกกทัง้ สายในและสายนอก ระบบ บ�ำบัดน�้ำเสียจึงถูกติดตัง้ มาเมือ่ ครั้ งแรกเริ่ม” การบ� ำ บัด น� ำ้ เสี ย มี ห ลัก การส� ำ คัญ คื อ “ต้ องมีการบ�ำบัดให้ น�้ำเสียกลับ มามีคุณภาพทีเ่ หมาะสม ไม่ เป็ นพิษต่ อแม่ น้�ำกก ทุกเดือน ต้ องส่ งน�้ำไปวิเคราะห์ กับหน่ วยงานภายนอกด้ วย” วิธีการบ�ำบัดน� ้ำเสียใช้ ระบบแอกทิเวเต็ดสลัดจ์ (Activated Sludge Return) คุณมานะอธิบายขันตอนการบ� ้ ำบัดน� ้ำว่า 18

“ในแต่ ละวันน�้ำเสียจากโรงแรมซึง่ มีประมาณ 280 ลูกบาศก์ เมตร จะถูกส่ งไปรวมกันในบ่ อพัก เพือ่ เติมอากาศและสารอี เอ็มช่ วยย่ อยสลายสารอินทรีย์ในน�้ำเสีย หลังจากนั้นน�้ำจะ ถูกส่ งไปยังบ่ อพักให้ ตกตะกอน เติมคลอรีน ตรวจสอบ คุณภาพเป็ นขั้นสุดท้ าย น�้ำทีผ่ ่ านการบ�ำบัดแล้ วก็จะถูกน�ำ ไปใช้ ต่อเราจะเอาน�้ำมาใช้ ประโยชน์ ภายในโรงแรม รดน�้ำ ต้ นไม้ สนามหญ้ า และพืชผักสวนครั วของโรงแรมทีม่ เี นื้อที่ ประมาณ 20 ไร่ ” คุณมานะได้ เล่าถึงการปลูกสร้ างสวนผักอินทรี ย์ของ โรงแรมว่า “เมื่อราว 3 ปี ทีผ่ ่ านมา โรงแรมเราได้ สร้ างสวนผัก และผลไม้ อินทรี ย์ขึ้นมาจากที่ดินเปล่ าที่ไม่ ได้ ใช้ ประโยชน์ เราปลูกทั้งผักสวนครั ว ผลไม้ และสมุนไพร ท� ำ ให้ โรงแรม มี ท้ั ง ความสวยงามและใช้ ประโยชน์ ได้ จริ ง อย่ างผัก สวนครัวเราใช้ ปรุงอาหารให้ บริการกับแขกและพนักงาน เรา ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ทใ่ี ช้ เศษผักและผลไม้ ทเี่ หลือ น�ำ้ หมักชีวภาพ และเลีย้ งไส้ เดือนทุกวันนี้เราสามารถผลิตชาดอกปี ป ตะไคร้ และอัญชันเอาไว้ ใช้ เองด้ วย ลูกประคบทีใ่ ช้ ในการนวดแผน โบราณเราก็ทำ� กันเองจากผลผลิตทีเ่ ราปลูกกันในโรงแรม” สวนผัก อิ น ทรี ย์ มิ เ พี ย งแต่ เ พิ่ ม มูล ค่ า ทางเศรษฐกิ จ เท่านัน้ แต่ยงั สร้ างคุณค่าขึ ้นมาด้ วย ดังทีค่ ณ ุ มานะได้ อธิบายว่า ่ ้ “มันสร้ างเรืองราวขึนมาจนท�ำให้ ลูกค้ าหลายรายกลับมาพัก ที่โรงแรมของเราอีก เพราะเขาเยีย่ มชมสวนผักอินทรีย์ของ เราประทับใจในการดูแลสิง่ แวดล้ อมของโรงแรม มันท�ำให้ คนตระหนักในการใช้ พื้นที่ว่างเปล่ า ปลู ก ผั ก ให้ แ ขกและ พนั ก งานบริ โ ภค เป็ นสิ่ ง ที่ ดี ส� ำ หรั บ โรงแรม”


ผลที่ตามมาอีกประการหนึ่งต่อเนื่องจากการบ�ำบัดน�ำ เสี ย และสวนผัก อิ น ทรี ย์ก็คื อ โรงแรมดุสติ ไดกลายเป็ นแหล่งท่อง เทีย่ วเรียนรู้ทางด้ านสิง่ แวดล้ อมอีกจุดทีส่ ำ� คัญ คุณมานะกล่าวว่า “โรงแรมเป็ นจุ ด จอดแรกของเส้ น ทางรถรางท่ อ งเที่ย วสี เขียว(Green Tour Tram) ทุกวันจันทร์ อังคาร และพุธ จะมี รถรางน� ำ เที่ย วของเทศบาลพานั ก ท่ อ งเที่ย วมาเยี่ ย มชม สวนผักและผลไม้ อนิ ทรี ย์ของเรา” น อ ก จ า ก นี โ้ ร ง แ ร ม ดุ สิ ต ยั ง ไ ด้ ส นั บ ส นุ น สิ น ค้ า การเกษตรที่ผลิตขึ ้นในจังหวัดเชียงรายอีกด้ วย “โรงแรมดุสิต ของเราใช้ ผลผลิตทางเกษตรทีม่ ีในเชียงรายเป็ นหลัก โดย เฉพาะ ข้ าว กาแฟ และชา ซึง่ เป็ นสินค้ าคุณภาพเราสั่งซื้อ จากเชียงรายทั้งหมด 100 เปอร์ เซ็นต์ ข้ าวมาจากโครงการ ของท่ านพระอาจารย์ ว.วชิรเมธี กาแฟจากดอยช้ าง ชาของ ดอยแม่ สลองและไร่ บุญรอด ในอนาคตเราก็อยากจะเปิ ด รั บสินค้ าตัวอื่นๆ เพิม่ ขึน้ เพื่อประโยชน์ ต่อทั้งตัวโรงแรม และท้ องถิน่ ของเรา” คุณมานะได้ กล่าวถึงความส�ำคัญของการรับซื ้อผลผลิต ทางการเกษตรภายในจังหวัดเชียงรายว่า “การใช้ สนิ ค้ าที่ผลิตได้ ในท้ องถิ่นเป็ นลัก เป็ นการช่วยสร้ างเม็ดเงินให้ หมุนเวียนภายใน

ได้ ชว่ ยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึง่ เมื่อใช้ สนิ ค้ าท้ องถิ่นก็เป็ นการ ช่วยลดการใช้ พลังงานในการขนส่งลงไปด้ วย ถ้ าโรงแรมเก้ าสิบ เปอร์ เซ็นต์ในเชียงรายท�ำแบบนี ้จะเป็ นเรื่ องที่ดีมาก” เวลา 4 ปี กว่าของการใช้ ชีวิตในเชียงราย คุณมานะ ได้ เห็นความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ และได้ มองถึงอนาคตของ เชี ยงรายเอาไว้ ว่า “ เชียงรายต้ องเติบโต จึงจ�ำเป็ นต้ องให้ ความสนใจต่ อสิ่งแวดล้ อม การท่ องเทีย่ ว และการเกษตร ไปพร้ อมๆ กัน จังหวัดเรายังน่ าสนใจ น่ ามาท่ องเทีย่ วและ พักผ่ อน ปี แรกๆ ทีผ่ มมาเงียบมากในแง่ ตัวเลขรายได้ แต่ ตอนนี้เราก�ำลังโตในระดับ 10 – 15 เปอร์ เซ็นต์ ” คุ ณ มานะได้ ฝากข้ อคิ ด ถึ ง ภาคธุ ร กิ จ ที่ ต้ องค� ำ นึ ง ถึ ง ความยั่ ง ยื น เอาไว้ ว่ า “การท่ องเทีย่ วมีแนวโน้ มเติบโตขึน้ เป็ นล�ำดับ ผมอยากเห็นผู้ประกอบการโรงแรม ร้ านอาหาร คิดถึงผลกระทบทีจ่ ะตามมาว่ าทีล่ ูกค้ ามาเชียงรายเพราะว่ า มีความเป็ นธรรมชาติ ความงามของสิ่งแวดล้ อม แตกต่ าง จากจังหวัดอื่น เมื่อการท่ องเทีย่ วโตขึน้ อย่ าดูแค่ ธุรกิจอย่ าง เดียว อยากให้ ช่วยอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อมทีม่ ีอยู่อย่ างยั่งยืน จังหวัดต้ องเติบโต เราก็ต้องช่ วยกันทะนุถนอมธรรมชาติให้ คงไว้ ตลอดไป”

19


ชวนอ่านกับห้องสมุดเสมสิกขาลัย เรื่ อง: ชาลี จินย์

ความทรงจ�ำที่ลำ� น�้ำหอม

เรื่ องและภาพโดย ธีรภาพ โลหิตกุล สัญจรสารคดีรวมเล่ม จากคอลัมน์ “สายน� ้ำและความทรงจ�ำ” ในนิตยสารแพรว (ตุลาคม 2536 – พฤษภาคม 2537) จัดพิมพ์โดย แพรวส�ำนักพิมพ์

20

“ความดีทีท่ �ำให้ข้าพเจ้าตรึ งใจจะคบหากับสายน�้ำเป็ นมิ ตรสนิ ท เสมอมา คือ การทีเ่ ขาไม่เลือกคบเพือ่ น ใครมี เรื ่องเดือดเนือ้ ร้อน ใจไปร�่ ำไห้ระบายให้ฟัง สายน�้ำก็รบั ฟั งอย่างหมดใจ และมี แต่ ความเยือกเย็นเป็ นเครื ่องปลอบโยน ใครมี ความปี ติ ยินดีในชี วิต ไปเล่าให้รบั รู้ สายน�้ำก็ร่วมยิ นดีอย่างจริ งใจด้วย จึงไม่ว่าผูด้ ี หรื อไพร่ ชาวนาผูย้ ากไร้หรื อกษัตริ ย์ผูท้ รงสิ ทธิ์ สายน�้ำก็เก็บรับ เรื ่องราวและความทรงจ� ำอันหลากหลาย ทัง้ ลบบวกไว้โดยไม่ เลื อกชัน้ วรรณะแม้บางความทรงจ� ำจะพิ ลึกพิ ลนั่ ราวนวนิ ยาย น�้ำเน่าก็ตามที”/ธี รภาพ โลหิ ตกุล ผมก็แอบมีโมเมนต์นี ้กับมิตรสหายสายน� ้ำด้ วยเหมือน กันนะ เรี ยกว่าโตมากับคลองข้ างบ้ าน ทังที ้ ่เป็ นที่เล่น เรี ยนรู้ ทักษะชีวิต ที่พกั ผ่อนหย่อนใจ หลากหลายเรื่ องราวจากความ ทรงจ�ำเกิดขึ ้นที่คลองข้ างบ้ าน พัฒนาเป็ นคลองไกลบ้ าน ล�ำธาร และห้ วยบึง บางเรื่ องยังแจ่มชัด แต่บางเรื่ องกลับพลัดหายไป จวบจนได้ กลับมาเยือน บางความทรงจ�ำที่เริ่ มพร่าเลือนกลับผุด พรายขึ ้นมาอีกครัง้ มีข้อเท็จจริ งอยู่เรื่ องหนึ่งที่เคยได้ ยินครู บาอาจารย์สงั่ สอนมา แล้ วก็ปักใจเชื่อเช่นนัน้ ว่าแท้ จริ งแล้ วทุกชีวิตต่างมี ธรรมชาติของความดีความบริ สทุ ธ์เป็ นปฐมอยูแ่ ล้ ว แต่อาจด้ วย สิง่ กระทบภายนอกที่เกิดจากการด�ำเนินชีวิต ทังรั้ ก โลภ โกรธ หลง ท�ำให้ เราพลอยหลงลืมธรรมชาติที่แท้ จริ งนันไปจนกลาย ้ เป็ นความคุ้นชิน การได้ กลับมานัง่ พินิจพิเคราะห์อยูก่ บั ตัวตน อีกครัง้ เรี ยนรู้ธรรมชาติภายในภายใต้ ธรรมชาติภายนอกนี ้ ใน ความสงัดเงียบดังเช่นวัยเยาว์อนั บริ สทุ ธิ์ พลันเกิดการตระหนัก รู้ตวั ตน และพอจะเห็นแนวทางสืบเสาะลงลึกเข้ าไปในแก่นแท้ ให้ มากยิ่งขึ ้นกว่าเดิม อาจจะพอกล่าวได้ วา่ “นอกจากขุนเขาแล้ ว ก็ยังมี สายน� ำ้ อยู่อี ก หนึ่ง ที่ นับ เป็ นสัป ปายะสถานแห่ ง การเดิ น ทาง เรี ยนรู้ ภายในจิตใจตนเช่นกัน” มนุษย์เรานันนั ้ บแต่ช้านานโบราณเก่าต่างก็ได้ อาศัย ที่ราบลุม่ สองฝั่ งแม่น� ้ำทังหลายเป็ ้ นแหล่งพ�ำนัก ได้ กินได้ ใช้ และ ท�ำเกษตรกรรมเลี ้ยงชีพ สร้ างครอบครัว มากกว่านันจึ ้ งพัฒนา เป็ นสังคม และบ้ านเมือง แม่น� ้ำจึงได้ เก็บง�ำทุกความก่อเกิดและ การดับสูญสลายไปไว้ ในร่องรอยแห่งกาลเวลา


การด�ำรงอยู่ของแม่น� ้ำจึงเท่ากับเป็ นการประกาศการยัง คงมีอยู่ของสรรพชีวิต ยึดโยงเป็ นคูข่ นานกันสืบไป แม่น� ้ำจึงมี คุณูปการมากมายหลากหลายมิติ เช่นนี ้แล้ ว หากโลกยังไม่แล้ ง ไร้ สายน� ้ำ ก็ยงั คงมีเรื่ องราวเล่าขานบนล�ำน� ้ำล�ำธารไม่ร้ ู จบ ทุก เรื่ องทุก ตอนในหนังสือ ‘ความทรงจ�ำที่ล�ำน� ้ำหอม’ ได้ บอกเล่าบางส่วนเสี ้ยวของนาฏกรรมชีวิตสองฝั่ งน�ำ้ ทังที ้ ่เคย เกิดขึ ้นและที่ยงั คงอยู่ได้ อย่างงดงาม เรื่ องที่ไม่เคยรู้ ก็ได้ ร้ ู เรื่องทีอ่ าจจะเคยรู้ แต่ไม่ลกึ ซึ ้ง ก็ได้ กระจ่างชัดยิง่ กว่าเดิม ธีรภาพ โลหิตกุล เป็ นนักเขียนหนึ่งในหัวขบวนของ การผลิตสารคดีการเดินทางในยุคหนึ่งสมัยหนึ่ง ต่ อเนื่องจน มาถึงปั จจุบนั เป็ นต้ นแบบ เป็ นแรงบันดาลใจของนักเขียน รุ่ นหลังไม่ น้อยมีผลงานรวมเล่มมากมาย อาทิ คืนสูพ่ งไพรและ สายน� ้ำ,ซอกแซกสเปน-โปรตุเกส,สีสนั บนรอยทาง,แม่น� ้ำเจ้ าพระยา, คือแรงใจและใฝ่ ฝั น, สายน� ้ำและความทรงจ�ำ, สายน� ้ำตะวันออก ซึง่ โดยมากก็มกั จะไม่ไกลไปจากสายน� ้ำเท่าใดนัก เป็ นไปได้ หรือไม่วา่ ด้ วยการเดินทางหลากหลายรู ปแบบที่มีนนเส้ ั ้ นทางน� ้ำอาจให้ มิติ เรื่องราวแนบชิดกับชีวติ มนุษย์มากกว่าพื ้นปูนหรือบนอากาศ

‘ความทรงจ�ำที่ล�ำน�ำ้ หอม’เป็ นหนังสือรวมเล่ม จาก คอลัมน์ ‘สายน� ำ้ และความทรงจ� ำ’ที่ตีพิมพ์ ต่อเนื่ องในนิตยสาร แพรวรายปั กษ์ (ตุลาคม 2536 – พฤษภาคม 2537) และพิ มพ์ รวมเล่มครั ง้ แรกและครั ง้ ที่ 2 ในปี 2538 โดยใช้ ชื่ อตอน‘ความ ทรงจ� ำ ที่ ล� ำ น� ำ้ หอม’เป็ นชื่ อ หนัง สื อ ที่ ร วบรวมร่ ว มกั บ สารคดี ชิ น้ อื่ น ๆ ซึ่ง เป็ นภาคที่ สองต่อจากผลงานรวมเล่มชุด ‘สายน� ำ้ และความทรงจ� ำ’ ภาคแรก เป็ นงานสารคดีที่ลื่นไหลด้ วย วรรณศิลป์ ครบถ้ วนสมบูรณ์ ในข้ อมูล ข้ อเท็จจริ ง สาระความรู้ ประกอบกั บ ภาพถ่ า ยที่ ส วยงามพาให้ คล้ อยเคลิ ม้ ไปตาม เนื อ้ หา โดยเฉพาะอย่า งยิ่ ง มุมมองในการถ่ า ยทอดด้ ว ยภาษา เรี ยบง่า ยแต่ง ดงาม เพลิดเพลิน กว่า สารคดี ทั่ว ไปมากนัก ‘ ค ว า ม ท ร ง จ� ำ ที่ ล� ำ น� ้ ำ ห อ ม ’ จึ ง เ ป็ น ค ว า ม เพลิ ด เพลิ น แบบเหงาๆ คล้ า ยนั่ งฟั ง เรื่ องเล่ า จากผู้ เ ฒ่ า ใต้ ร่ มไม้ ริ ม น� ำ้ พลอยให้ อยากคอนเป้ เดิน ทางเลาะไป ตามเส้ น ทางแห่ ง น� ำ้ เผื่ อสั ก วั น อาจจะได้ พบกั บ บางร่ องรอยความ ทรงจ�ำ ...ที่ห ายไป

2121


แผนที่ของเฮา เรื่ อง: papamungming

แผนที่ แม่น้ำ� ในเชียงราย แม่น้ำ� สาย

1

ต้ นน� ้ำเกิดอยู่ในเขตรัฐฉานของประเทศพม่าไหลผ่านมาทาง ทิ ศ ตะวัน ออก เป็ นเส้ นกันพรมแดนระหว่ ้ างประเทศไทยและ ประเทศพม่า ผ่านอ�ำเภอแม่สายและอ�ำเภอเชียงแสน แล้ วไหล ลงสูแ่ ม่น� ้ำโขงที่ สบรวก มีความยาวประมาณ 30 กิโลเมตร ชาวอ�ำเภอแม่สายใช้ ประโยชน์ในด้ านเกษตรกรรมเกือบทัง้ อ�ำเภอ พืชทีไ่ ด้ ประโยชน์มี ข้ าว พืชไร่ เช่น ผักกาด กะหล�ำ่ ปลี สตอเบอร์ รี่ เป็ นต้ น และยังเป็ นเส้ นกันอาณาเขตระหว่ ้ างไทย กับพม่าอีกด้ วย

2

แม่น้ำ� ค�ำ

ต้ นน� ้ำเกิดจากเทือกเขาในเขตอ�ำเภอแม่จนั ไหลลงสูแ่ ม่น� ้ำโขง ตรง สบค�ำ ในเขตท้ องทีอ่ ำ� เภอเชียงแสน มีความยาวประมาณ 85 กิโลเมตร มีฝายหรือท�ำนบกันน� ้ ้ำเพือ่ การเกษตรกรรม 2 แห่ง ซึ่ง สร้ างขึน้ โดยชาวนาเอง แม่น� ำ้ สายนี ช้ าวอ� ำเภอแม่จัน กิง่ อ�ำเภอดอยหลวง อ�ำเภอเชียงแสน ใช้ ประโยชน์ในการเกษตร โดยเฉพาะข้ าว และพืชไร่ตา่ งๆ แม้ วา่ จะเป็ นแม่น� ้ำสายเล็กๆ แต่กม็ ปี ระโยชน์ในด้ านเกษตรกรรมมากกว่าแม่น� ้ำสายอืน่ ๆ อีก หลายสาย

3

แม่น้ำ� กก

ต้ นน�ำ้ เกิดอยู่ในเขตรั ฐฉานของประเทศพม่า ไหลผ่านเข้ า สูป่ ระเทศไทยทีอ่ ำ� เภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ แล้วไหลวกมาทาง ทิศตะวันออกผ่านอ�ำเภอเมืองเชียงราย เข้ าไปในทางอ�ำเภอ แม่จนั ไหลลงสูแ่ ม่น� ้ำโขงบริเวณ สบกก ในเขตท้ องทีอ่ ำ� เภอ เชียงแสน มีความยาวประมาณ 114.5 กิโลเมตร มีฝายหรือ ท�ำนบกันน� ้ ้ำเพือ่ เกษตรกรรม 1 แห่ง ทีต่ ำ� บลริมกก แม่น� ้ำสายนี ้ ชาวอ�ำเภอเมืองเชี ย งราย อ� ำ เภอเวี ย งชัย อ� ำ เภอแม่ จัน อ� ำ เภอเชี ย งแสน ใช้ ประโยชน์ในการเพาะปลูก เช่น ข้ าว ยาสูบ พืชไร่ตา่ งๆ 22

4

แม่น้ำ� ลาว

ต้ นน� ำ้ เกิ ดจากเทื อกเขานางแก้ วในเขตอ� ำเภอเวี ยงป่ าเป้า ไหลผ่านอ�ำเภอแม่สรวย อ�ำเภอเมืองเชียงราย มาบรรจบกับ แม่น� ้ำกกที่ สบลาว ใกล้ บ้านแม่ข้าวต้ ม มีความยาวประมาณ 117 กิ โ ลเมตร มี ฝ ายหรื อ ท� ำ นบกัน้ น� ำ้ เพื่ อ ท� ำ การเกษตร 1 แห่ง ที่ต�ำบลดงมะดะ แม่น�ำ้ สายนีช้ าวอ�ำเภอเวียงป่ าเป้า อ�ำเภอแม่สรวย อ�ำเภอพาน อ�ำเภอแม่ลาว อ�ำเภอเมือง เชียงราย ใช้ ประโยชน์ด้านเกษตรกรรม โดยเฉพาะการปลูกข้ าว มีการกันฝายแม่ ้ น� ้ำนี ้ส่งผ่านไปยังอ�ำเภอพานอีกหลายต�ำบล นับว่าเป็ นแม่น� ้ำทีม่ ปี ระโยชน์ในด้ านเกษตรกรรมอีกสายหนึง่


1

2 6

3

4 5

6 5

แม่น้ำ� อิง

ต้ นน� ้ำเกิดจากเทือกเขาในเขตอ�ำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา ไหลผ่านอ�ำเภอเชียงค�ำ อ�ำเภอเทิง ลงสูแ่ ม่น� ้ำโขงในเขต อ�ำเภอเชียงของ เรี ยกว่า สบอิง มีความยาวประมาณ 136 กิโลเมตร แม่น� ้ำสายนี ้ชาวเชียงรายโดยเฉพาะชาวอ�ำเภอเทิง อ�ำเภอพญาเม็งราย อ�ำเภอเชียงของ ใช้ ประโยชน์ในการ ท�ำเกษตรกรรม เช่น ปลูกข้ าว พืชผักต่างๆ

ข้ อมูล : ส�ำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย http://www.cots.go.th/

แม่น้ำ� โขง

ต้ นน� ้ำเกิดอยูใ่ นประเทศจีน ไหลผ่านเขตประเทศไทยทีอ่ ำ� เภอ เชียงแสน บ้านสบรวก (บริเวณสามเหลีย่ มทองค�ำ) ผ่านไปทาง อ�ำเภอเชียงของ แล้วไหลผ่านไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ลงสู่ ทะเลที่ ป ระเทศเวี ย ดนามใต้ แม่น� ้ำสายนี ้เท่าทีผ่ า่ นจังหวัด เชียงราย นับเป็ นเส้ นกันพรมแดนระหว่ ้ างประเทศลาวกับ ประเทศไทยด้ วย มีความยาวประมาณ 94 กิโลเมตร ชาว เชียงรายได้ ใช้ ประโยชน์จากแม่น� ้ำสายนี ้ โดยเฉพาะชาว อ� ำ เภอเชี ย งแสน ใช้ ประโยชน์ ใ นด้ านเกษตรกรรม การปลูกพืชไร่ เช่น ยาสูบ ผักกาด กะหล�่ำปลี เป็ นต้ น 23


มองโลกในแง่งาม เรื่ อง: น้ าปาน

แม่น้ำ� มีชีวิต ห้องเรียนของเด็ก ๆ เด็กๆ ที่มีบ้านอยู่บนภูเขามักตื่นกันตังแต่ ้ เช้ าตรู่เสมอ ตื่นขึ ้นมา เพื่อมองดูดวงตะวันโผล่ขึน้ พ้ นจากหุบเขา เพราะหุบเขาเป็ นแหล่งก�ำเนิด ของแม่น� ้ำหลายสาย แล้ วสอดสายตามองหายอดผักยอดไม้ และลูกไม้ ที่บน ต้ นน� ้ำเป็ นแหล่งมีอาหารมากมายเกินกว่าจะนับได้ พวกเขาเลื อ กเด็ ด ยอดผัก ยอดไม้ แ ละเก็ บ ลูก ไม้ เ พี ย งบางชนิ ด อย่า งผักกูดและผลมะเดื่ อสายลูกไทรสุก และผลไม้ ป่าบางชนิดเพื่อกิน เล่น แล้ วปล่อยที่เหลือเก็บเหลือกินให้ ไหลล่องลอยจากต้ นน� ้ำ ผ่านเกาะแก่ง และแง่งหินรูปร่างต่างๆ นานา ลัดเลาะไปตามกระแสน� ้ำลงสูล่ �ำธารสาขา น้ อยใหญ่ของแม่น� ้ำ ให้ งอกงามและเติบโตขยายพันธุ์ตอ่ ไป เพื่อแบ่งปั นให้ เป็ นอาหารของนก หนู กระรอก กระแต และแมลง สัตว์อีกหลากหลายชนิด ได้ ร่วมหาอยูห่ ากินกัน ส่ วนเด็กๆ ที่มีบ้านแถวกลางแม่ น�ำ้ ล�ำธารก็เช่นกัน มักจะตื่น กันตังแต่ ้ ได้ ยินเสียงไก่โห่ เสียงของไก่ตวั ผู้ที่ขนั ร้ องแข่งกัน ปลุกปลอบโยน ผู้คนให้ ตื่นจากความฝั นอันเลวร้ าย ตื่นขึ ้นมาพร้ อมกับความหวังของเช้ าวัน ใหม่ เพราะเชื่อว่าความหวังนันคื ้ อก�ำลังใจ ความหวังนันคื ้ อพลัง และคือแรง ผลักดันให้ ชีวิตด�ำรงอยูร่ อดปลอดภัย แล้ วสอดสายตามองหาทางแยกของ สายน� ้ำล�ำธาร มองหาก้ อนหินน้ อยใหญ่ ใต้ ก้อนหินในล�ำธารนัน้ มีสตั ว์น� ้ำ มากมายแอบซ่อนอาศัยอยู่ พวกเขามีวิธีหาอาหารอันน่าสนใจ พวกเขาจะเลือกก้ อนหินเพียง บางก้ อนเท่านัน้ ก้ อนที่ไม่ใหญ่เกินไป และไม่หนักเกินไป เพื่อท�ำเป็ นฝาย แนวทางขวางกันสายน� ้ำให้ ไหลไปในทิศทางเดียว ก่อนลงจับกุ้ง หอย ปู ปลา และแมลงน� ้ำในทางอีกทิศทางที่สายน� ้ำเหือดแห้ งลง ใช้ เวลาไม่นาน นักก็ได้ อาหารกลางวันท�ำกินกันข้ างล�ำธารนัน้ ระหว่างรอสายน� ้ำเหือดแห้ ง ลง พวกเขาอาจเก็บเห็ดเก็บหน่อไม้ ตดิ มือมาด้ วย และเด็กๆ ที่มีบ้านอยู่ปลายแม่ น�ำ้ ล�ำน�ำ้ ก็อีกเช่นกัน มักจะตื่น กันตังแต่ ้ ได้ ยินเสียงนกร้ อง เสียงของนกริ มน� ้ำร้ องในยามเช้ าดุจเสียงสุขสันต์ ปลุกให้ ลกุ ขึ ้นมาเริ งระบ�ำในเช้ าของวันอันสดใส บางคนวิ่งเล่นไปหยิบเสียม เพือ่ ไปขุดหาไส้ เดือนมาเป็ นเหยือ่ ตกปลา บางคนวิ่งไปคว้ าจักรยานปั่ นไปยก ตุ้มดักกุ้งที่วางไว้ ตงแต่ ั ้ เมื่อคืนวาน พวกเขาใช้ ปลาร้ าเป็ นเหยื่อล่อกุ้งฝอยให้ เข้ า มาในตุ้ม บางคนเลือกด�ำผุดด�ำว่ายทวนกระแสน� ้ำแล้ วใช้ ปืนยิงปลาที่ ประดิษฐ์ ขึ ้นง่าย ๆ จากปลอกปากกา ก้ านร่ม และหนังยาง ชีวติ ของเด็กๆ ที่อยู่กับน�ำ้ ไม่ เคยอดอยากยากไร้ หิวเมื่อไหร่ ออกไปหากินได้ เมื่อนัน้ ส�ำหรั บเด็ก ๆ แม่ น�ำ้ จึงเป็ นห้ องเรี ยนที่มีชีวติ คือแหล่ งอาหารหล่ อเลีย้ งให้ เติบโตเป็ นผู้ใหญ่ ทงั ้ กายและจิตใจ

24


คนเล็กเชียงรายแลนด์ เรื่ อง:ปฐมพงษ์

สายน�้ำเล็กๆ ที่หายไปพร้อมกับอ�ำนาจ การจัดการน�้ำของชาวบ้าน ผมก�ำลังสงสัยอยู่ว่าอ�ำนาจการจัดการน�ำ้ ของชาว บ้ า นมั น หลุ ดมื อพวกเขาไปตัง้ แต่ เ มื่ อ ไหร่ ถึงขนาดที่ไม่ สามารถจะผั น น� ำ้ เข้ านาตั ว เองได้ ใ นช่ วงที่ ต้ อ งท� ำ นา ดังปรากฏเป็ นข่ าวทางสื่อมวลชนเวลาที่ประเทศเราเผชิญ กั บ สภาวะขาดแคลนน� ำ้ แต่ กลับกันผมอยู่ท่ โี รงแรมแห่ ง หนึ่ ง ใน กทม.จะเปิ ดน�ำ้ ให้ เต็มอ่ างแล้ วลงไปแหวกว่ ายยัง ไงก็ได้ ไม่ มีใครมาคุมการใช้ น�ำ้ ผมนึก กลับ ไปหาความทรงจ� ำเก่ าๆ ตอนลงพื ้นที่ท�ำ วิทยานิพนธ์ในพื ้นที่แห่งหนึง่ ในจังหวัดเชียงราย ก็พบว่าก่อนปี 2504 ชาวบ้ านท�ำนาปี ละครัง้ ช่วงก่อนฤดูท�ำนาผู้ใหญ่บ้าน แก่ เหมืองแก่ฝายจะมีหน้ าที่รับผิดชอบเกณฑ์ ชาวบ้ านไปขุดลอก คลองเพื่อผันน� ้ำจากแม่น� ้ำกกที่ไหลผ่าน 2 ต�ำบลชาวบ้ านแต่ละ หมู่บ้านที่อาศัยน�ำ้ จากคลองดังกล่าวจะต้ องผลัดเวรกันมาขุด ลอกตามระยะทางที่ตกลงกัน แต่นนั่ เป็ นยุคที่ชาวบ้ านยังท�ำนาปี ละครัง้ ข้ าวก็ยงั เป็ น ข้ าวพันธุ์พื ้นเมืองที่ไม่ใช่ข้าวพันธุ์ กข. กระบวนการจัดการน� ้ำก็ อิงอยูก่ บั อ�ำนาจในท้ องถิ่นที่ชาวบ้ านจัดวางกันเอง หลังจากขุด ลอกผัน น� ำ้ เสร็ จ แล้ ว การผัน น� ำ้ เข้ า นาแต่ ล ะแปลงก็ จ ะมี แ ก่ เหมื อ งแก่ ฝ ายเป็ นผู้รั บ ผิ ด ชอบ ทรัพยากรน� ้ำจึงเป็ นเรื่ องของ หน้ าหมู่ มีระบอบการจัดการที่อิงอยูก่ บั วัฒนธรรมการปลูกข้ าว หลัง 2510 - 2512 นี่แหละที่ข้าวพันธุ์ กข. ได้ ขยายตัว เข้ ามาในหมูบ่ ้ าน ด้ วยการแนะน�ำจากหน่วยงานเกษตรจังหวัด ผ่ า นผู้ใ หญ่ บ้ า นก� ำ นัน มีการปลูกข้ าวเพื่อขายมากขึ ้น การจัดการน� ้ำในท้ องถิ่นเริ่ มแปรผันไปตามตลาดข้ าวที่ขยายตัว แต่การท�ำนาก็ยงั ท�ำได้ เพียงปี ละ 1 ครังเท่ ้ านัน้ เนือ่ งจาการขุดลอก

คลองของชาวบ้ านกินเวลานานพอสมควร จนกระทัง่ ช่วง2540 2541ที่หน่วยงานรัฐเข้ ามาขุดคลองชลประทานแทนที่ชาวบ้ าน ผลที่ตามมาคือชาวบ้ านสามารถท�ำนาได้ ปีละ 2 ครัง้ แต่ ก็ ท� ำ ให้ ร ะบบการจัด การน� ำ้ แบบดัง้ เดิ ม ลดบทบาทลงแก่ เหมื องแก่ฝายกลายเป็ นคนเปิ ดปิ ดประตูน�ำ้ คลองชลตามข้ อ ก�ำหนดของรัฐ กระบวนการขยายตัวของคลองชลนี่เองที่ผมมอง ว่ าน�ำ้ ของชาวบ้ านถูกเปลี่ยนความหมายไป น�ำ้ ไม่ ได้ เป็ น ของหน้ า หมู่ ท่ ีช าวบ้ า นดู แ ลกั น เองอี ก แล้ ว น� ำ้ กลายเป็ น ทรั พย์ สินของรั ฐโดยมีอ�ำนาจบริ หารจัดการน�ำ้ อย่ างเต็ม รู ปแบบ ระบอบทรั พย์ สินเท่ าที่มีอยู่ในปั จจุบันที่ยอมรั บ กันมีแค่ 2 ระบอบ คือทรั พย์ สินของรั ฐและเอกชน น�ำ้ ใน โรงแรมที่แขกเปิ ดเต็มอ่ างอาบน�ำ้ ได้ อย่ างสะดวกสบายก็ ไม่ มีใครมาบังคับควบคุม ก็เพราะว่ าได้ มีการยอมรั บแล้ ว ว่ าเป็ นทรั พย์ สินเอกชนที่แขกได้ จ่ายเงินไปแล้ ว ส่ วนน�ำ้ ที่ ชาวนาใช้ ป ลู ก ข้ า วล่ ะ ท�ำไมชาวนาจึงไม่ มีสิทธิใช้ น�ำ้ ตาม ความต้ อ งการของตั ว เองที่ ค วบคุ ม โดยคนของตั ว เอง เหมือนในอดีต นั่นเป็ นเพราะว่ า น�ำ้ ชาวนาใช้ ปลูกข้ าวเป็ น ทรั พย์ สินของรั ฐไปแล้ ว? ในโลกทุนนิยมมีความเชื่อว่าใครมีอ�ำนาจซื ้อย่อมเป็ น ฝ่ ายได้ ใช้ ทรัพยากรมากกว่าคนขาดความสามารถในการจ่าย ชาวบ้ านที่เคยใช้ ของหน้ าหมูอ่ ย่างในอดีตถูกพรากเอาน� ้ำไปเป็ น ของรัฐ พวกเขาขาดอ�ำนาจซื ้อโดยเปรี ยบเทียบ ผมก็ได้ แต่สงสัย ว่ารัฐควรเป็ นมิตรกับใครในโลกทุนนิยม 25


กลางแปลง เรื่ อง: บิณฑ์

เชียงราย 0250 : เพื่อฉัน เพื่อเธอ หรือเพื่อใคร

กิจกรรมหนึ่งที่ผมมักใช้ ประโยชน์จากอินเตอร์ เน็ต คื อการเข้ าเว็บไซต์ ที่ หลายๆ ท่านรู้จกั กันดีอย่าง www.youtube.com ซึง่ เป็ นแหล่งรวบรวมคลิปวีดโิ อ มากมายจากทั่วโลก โดยเฉพาะหนังสันสั ้ นดี ้ ๆ จ�ำนวนมากที่เผยแพร่ ผ่านเว็ปนี ้ หนังสันที ้ ่ผมอยากจะน�ำเสนอครัง้ นี ้เป็ นผลงานของคุณอุรุพงศ์ รักษาสัตย์ ผู้ก�ำกับชาวเชียงราย ทีม่ รี างวัลการันตีฝีมอื มาอย่างมากมาย โดยเฉพาะผลงานเรื่อง “สวรรค์บ้านนา” (Agrarian Utopia) (2552) ทีไ่ ด้ รับรางวัลผู้ก�ำกับภาพยนตร์ ยอด เยีย่ ม และรางวัลถ่ายภาพยอดเยีย่ ม จากเวทีการประกาศผลรางวัลภาพยนตร์ แห่ง ชาติสพุ รรณหงส์ ครัง้ ที่ 20 ประจ�ำปี 2553 ของสมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์ แห่งชาติ รางวัลภาพยนตร์ ยอดเยีย่ มและรางวัลก�ำกับภาพยอดเยีย่ ม จากเวทีการประกาศผล รางวัลภาพยนตร์ ไทยยอดเยีย่ ม ประจ�ำปี 2553 โดยชมรมวิจารณ์บนั เทิง และ ส� ำ นัก งานศิล ปวัฒ นธรรมร่ วมสมัย นอกจากนี ้แล้ วยังได้ รับรางวัลจากเทศกาล ภาพยนตร์ ในต่างประเทศอีกหลายรางวัล และผลงานล่าสุดคือ เพลงของข้ าว (The Songs of Rice) (2558) ซึง่ ได้ รับเสียงวิจารณ์เชิงบวกจากผู้ชมทังในและ ้ ต่างประเทศ ในทีน่ ี ้จะขอแนะน�ำผลงานของคุณอุรุพงศ์เรื่อง “เชียงราย 0250” (2555 ความยาว 20.42 นาที) ซึง่ มีเนื ้อเรื่องเกีย่ วกับการจัดการทรัพยากรในพื ้นที่ “ชนบท” แห่งหนึง่ ในจังหวัดเชียงรายโดยเฉพาะการจัดการ “แหล่งน� ้ำใช้ เพือ่ การเกษตร” ตัวหนังเริ่มต้ นด้ วยการบรรยายถึงสภาพพื ้นทีท่ เี่ รียกว่า “สลาบหิ ้น” เป็ นทุง่ ร้ างกว้ า ง ปกคลุม ไปด้ ว ยแขมสูง ท่ ว มหัว เป็ นพื น้ ที่ ส าธารณะที่ ไ ม่ มี เ จ้ า ของ ทุก คนสามารถเข้ า มาใช้ ป ระโยชน์ ท� ำ มาหากิ น ได้ มี แ หล่ ง น� ำ้ ที่ ส ามารถหาปู หาปลา กระจัดกระจายไปทัว่ ทังพื ้ ้นที่ แต่เมือ่ กาลเวลาผ่านไป ก็เริ่มมีคนเข้ าไปจับจอง แผ้ วถางพื ้นทีส่ าธารณะเพือ่ เพาะปลูก ท้ ายทีส่ ดุ แล้ วก็ได้ ขายทีด่ นิ ให้ กบั นายทุนทีเ่ ข้ า มากว้ านซื ้อทีด่ นิ จากชาวบ้ าน โดยมีขา่ วลือว่าจะมีการเข้ ามาตังโรงงานอุ ้ ตสาหกรรม อันจะท�ำให้ ชาวบ้ านมีงานท�ำ ท้ องถิ่นเจริ ญ ชาวบ้ านมีความเป็ นอยูท่ ี่ดีขึ ้น จึงท�ำให้ จากพืน้ ที่สาธารณะใช้ ประโยชน์ ของชาวบ้ านกลายมาเป็ นพืน้ ที่ส่วนตัวอย่างถูก กฎหมายของนายทุน 26


คุณอุรุพงศ์ดำ� เนินเรื่องผ่านบทสนทนาของตัวละคร 5 คน เกี่ยวกับการด�ำรงชีวติ ของตัวเองในห้ วงเวลาหลังจากทีน่ ายทุนเข้ า มายึดครองผืนทีด่ นิ กว่า 4,500 ไร่ และตระหนักถึงความฝั นของ โรงงานอุตสาหกรรมที่ไม่มีวนั เป็ นจริ ง จากการบอกกล่าวของผู้ที่ เรี ยกตนเองว่าเป็ นพ่อเลี ้ยงซึง่ เป็ นตัวแทนในพื ้นที่ของนายทุนต่าง ถิน่ ชาวนาอย่างเดือน นึก ต๋อย และตาแหว้ น จึงต้ องด�ำรงวิถชี วี ติ ของตนต่ อ ไปโดยเช่ า ท� ำ นาบนที่ น าเดิ ม ของตนจากนายทุน จากสภาวะทีแ่ ห้ งแล้ งและอ่างน� ้ำสาธารณะที่ “ลึกและกว้ าง” “ขุดไว้ ให้ ชาวบ้ านหากิน แต่ปลาที่ไหนจะเข้ า เพราะคัน มันสูง” “หาไม่ได้ หรอก ลึกตัง้ 3-4 เมตร จะจมน� ้ำตายเสียก่อน” ซึง่ ขุดมาแล้ วก็ไม่ได้ ก่อให้ เกิดประโยชน์ตอ่ คนในพื ้นที่ ซ� ้ำจากมุม มองของชาวนาที่มองเห็นปั ญญาคอรัปชัน่ แล้ ว ยังตังค� ้ ำถามถึง โครงการคลองส่งน� ้ำที่ก�ำลังจะเกิดขึ ้นต่อไปว่า “งบของรัฐบาลที่ มันขอเข้ าไป ... ผลประโยชน์จะตกอยูท่ ี่ใคร ลองคิดดู ...” เมือ่ ชาวบ้ าน (ในหนัง) มองว่า ภาครัฐเอื ้อประโยชน์ตอ่ นายทุนให้ เข้ ามาเอาเปรี ยบชาวบ้ านในพื ้นที่ แล้ วชาวบ้ านจะหัน หน้ าไปพึง่ ใคร เดือน นึก ต๋อย และตาแหว้ นจะท�ำอย่างไรต่อไปกับ ผืนแผ่นดินทีอ่ ยูเ่ บื ้องหน้ า หรือว่าพวกเขาจะไม่สามารถท�ำอะไรได้ เลย ต้ องยอมรับชะตากรรมต่อไป

จุดร่ วมที่ส�ำคัญในภาพยนตร์ ของคุณอุรุพงศ์ที่ปรากฏ อย่างเด่นชัดคือ บทบาทของตัวละครทีม่ าจาก 3 ฝ่ าย โดยฝ่ ายแรก ได้ แก่ชาวบ้ าน ฝ่ ายที่ สองได้ แ ก่ นายทุน และฝ่ ายสุดท้ ายคือรัฐ (ผ่านเจ้ าหน้ าทีร่ ัฐ) ซึง่ มุง่ วิพากษ์สงั คมว่า ฝ่ ายนายทุนจะมีความ สัมพันธ์ กับเจ้ าหน้ าที่ของรั ฐ และเป็ นคูป่ ะทะกันกับฝ่ ายชาวบ้ าน ทังในเรื ้ ่องการจัดสรรทรัพยากร แนวความคิด และภาพของชาว บ้ านหรื อชาวนาที่ยงั คงถูกเอาเปรี ยบอยูเ่ สมอมา แม้ ในความเป็ น จริ งแล้ วความรู้สกึ นึกคิดของชาวบ้ านจะมีความเปลีย่ นแปลงและ ซับ ซ้ อ นขึ น้ มากกว่ า ที่ ป รากฏออกมาในตัว ภาพยนตร์ ก็ ต าม เช่น ความรู้เกีย่ วกับอ�ำนาจต่อรองทางการเมือง การเข้ าถึงข่าวสาร ข้ อมูลได้ หลากหลายช่องทางมากขึ ้น เป็ นต้ น ภาพยนตร์ ของคุณอุรุพงศ์ ถือได้ ว่าเป็ นภาพยนตร์ เชิง สารคดีที่พยายามเล่าเรื่ องของคนตัวเล็กตัวน้ อยในสังคมที่ถูก โครงสร้ างใหญ่ ของสังคมกดทับเอารั ดเอาเปรี ยบได้ อย่างตรง ประเด็น ชัดเจน จริงใจ และซือ่ ตรงต่อเป้าหมาย ชนบททีป่ รากฏจึง ไม่ได้ เป็ น “ชนบททีส่ วยงาม” ไม่ได้ มี “วัฒนธรรมชุมชนทีเ่ ข้ มแข็ง” และไม่ได้ เป็ นอย่าง “ภาพฝั น” ทีค่ นชันกลางในเมื ้ องวาดไว้ ในขณะ เดี ยวกันตัวภาพยนตร์ ก็ตัง้ ค� ำถามต่อนโยบายของรั ฐและการ ด�ำเนินการของรัฐทีผ่ า่ นมานัน้ “ท�ำเพือ่ ใคร” และ “ใครเป็ นคนทีถ่ กู กระท�ำ”

27


Another Chapter เรื่ อง: เมถุนารี ภาพประกอบ : กะปิ

แม่(คุณ)น�้ำ - Chapter 3

-

ปลายนิ ้วปรับเลนส์กล้ องหมุนเข้ าหาสิ่งที่จบั จ้ องให้ ได้ ภาพ ดัง่ ปรารถนา สายธารสีน� ้ำตาลเบื ้องหน้ าไหลเอื่อยๆ อย่างเกียจคร้ าน แต่ใช่วา่ มันจะหยุดนิ่ง ถึงจะไปข้ างหน้ าอย่างเอื่อยๆ แต่ก็ไปโดยไม่รอ ใครไม่มี อ ะไรหยุดสายน� ำ้ ได้ และถึง แม้ มัน จะไหลลงทะเล มันก็ยัง เคลื่อนที่อยู่เสมอ ลลิลอิจฉา “แม่น� ้ำ” .....ทางน� ้ำขนาดใหญ่ตามธรรมชาติที่มี แต่การมุง่ ไปข้ างหน้ าอยูใ่ นหัว หล่อนไม่สนใจอดีต ไม่เคยติดค้ างอยูก่ บั ความผิดพลาดใดๆ จนดูไม่แยแสกับเรื่ องเลวร้ ายที่เกิดขึ ้น หญิงสาวลด กล้ อง DSLR ในมือลง ปล่อยให้ มนั คล้ องกับคออยูอ่ ย่างนันแล้ ้ วนัง่ ลง กับพื ้นดินช้ าๆ ปล่อยสายตาให้ ไหลไปกับสายน� ้ำ วันนีห้ ญิ งสาวไม่ได้ เปิ ดร้ าน เธอไม่อยากฉลองวันครบรอบ ความเฮงซวยของชีวิตด้ วยการยิ ้มต้ อนรับลูกค้ า วันครบรอบตอนเจอ กันและตกลงคบกันของ “เขา” และเธอ เป็ นความผิดพลาดที่เธอคิด ว่า ต่อให้ เธอเป็ นแม่น� ้ำแอมะซอน แยงซีหรื อโขงก็ไม่อาจจะปล่อยให้ เรื่ องของ “เขา” ไหลออกไป นายลูกหมาแฟรปปูชิโน่ก็คงไม่มีกาแฟกินไปหนึ่งวัน... เธออดนึกถึงลูกค้ าประจ�ำที่ดื่มกาแฟร้ านเธอราวเป็ นงานประจ�ำวันไป เสียแล้ วไม่ได้ “คุณเคยดูการ์ ตนู เรื่ อง Spirited Away ไหมครับ” เสียง ขัดจังหวะของใครคนหนึง่ ดังขึ ้นมาจากทางด้ านหลัง ลลิลหันไปมองก็พบว่าเป็ นคนที่เธอบ่นถึงอยูเ่ มื่อครู่ หญิง สาวถอนหายใจเบาๆ ตกใจไม่น้อยที่อยูๆ่ ตัวเองก็เหม่อไปไกลเสียจน แทบไม่ร้ ูตวั ว่าเขาเดินเข้ ามา “ท�ำไมเหรอ” เธอถาม แล้ วหันกลับไปมองแม่น� ้ำอีกครัง้ “ผมชอบอยูฉ่ ากนึง ตอนที่เซนไปท�ำงานในโรงอาบน� ้ำ แล้ ว เทพแห่งน� ้ำก็มาใช้ บริ การ...” เขาเริ่ มต้ นเล่าด้ วยน� ้ำเสียงตื่นเต้ นเหมือน เล่านิทานให้ เด็กฟั ง “ตอนที่เทพแห่งน� ้ำมาเป็ นลูกค้ าที่โรงอาบน� ้ำนะครับตัวของ เขามีแต่กลิน่ เหม็น....เหม็นเน่าจนไม่มีใครอยากเข้ าใกล้ ยูบาบาเลยเลือกให้ เซนเป็ นคนดูแลแขกคนนี ้แล้ วเซนก็จบั โดนอะไรบาง อย่างที่ปักอยูใ่ นตัวเทพแห่งน� ้ำเลยคิดว่าคงจะเจ็บ พอดึงออกมานะ.... ”คุณรู้ไหมว่าเป็ นอะไร” 28

“ฉั น ไม่ ดู ก าร์ ตู น ” ค�ำพูดตัดบทเหมือนทุกครัง้ แต่สิ่งที่ต่าง ออกไปคื อดวงตาที่ จ้องกลับมาหาเขา มันบอกว่าเธอก�ำลังตังใจฟั ้ ง เขา ชายหนุ่มอมยิ ้มเหมือนได้ ร้ ู อะไรเพิ่มขึ ้นมาอีกอย่างแล้ ว! “แฮนด์รถจักรยานน่ะคุณ... ไม่ใช่แค่นนนะ ั ้ ---- มีต้ วู างของ เก่าๆ เศษผ้ า ไม้ ถพู ื ้น ทีวี แล้ วก็พวกของที่ไม่ใช้ แล้ วตังหลายอย่ ้ าง ไหล ออกมาหมดเลย ฉากนี ้เขาท�ำออกมาเหมือนเวลาคนอ๊ วกเลยนะ เมือกๆ หยึยๆน่ะ” ลลิลกลืนน� ้ำลายอย่างยากล�ำบากเมื่อนึกภาพตาม “ให้ เห็นปั ญหาสิง่ แวดล้ อมน่ะเหรอ” เธอพูดในที่สดุ “ผมก็คดิ อย่างนันนะ...” ้ ตาเป็ นประกายแบบลูกหมาของเขา สว่างขึ ้นมาอีกครัง้ “แต่ถ้าคิดเป็ นประเด็นอื่นบ้ าง คนคิดว่าทิ ้งขยะลงแม่น� ้ำแล้ ว มันจะหายสาบสูญไปจากชีวิต ขยะก็เหมือนเรื่ องแย่ๆ ที่เกิดขึ ้นกับเรา น่ะแหละ ผมว่าเราทิ ้งมันไปไม่ได้ หรอก คุณทิ ้งตรงนัน้ มันก็อยูต่ รงนัน้ คุณว่าไหม ความทรงจ�ำสุดท้ ายน่ะ “มันไม่เหมือนในการ์ ตนู หรอก” เสียงชายหนุม่ อ่อนลงอย่าง ชัดเจน “ถึงยังไง รอยของมันทีอ่ ยูใ่ นแม่น� ้ำก็กลายเป็ นส่วนหนึง่ ของ แม่น� ้ำ... น� ้ำก็ยงั ไหลต่อไป เราหยุดสายน� ้ำไม่ได้ ทุกอย่างก็ต้องด�ำเนิน ต่อไปนะครับ” ลลิลสังเกตเห็นมือเขา... ตัวหนังสือขยุกขยิกทีเ่ ขียนเอาไว้ ด้ วยหมึก ถึงชายหนุม่ จะพยายามปิ ดแต่เธอก็เห็นได้ อย่างชัดเจน “ถามจริ ง....”เธอหันไปมองหน้าเขาด้วยสีหน้าทีไ่ ม่อยากเชือ่ “โธ่คณ ุ .... ผมอุตส่าห์คดิ บทตังนานนะ ้ แล้ วกว่าผมจะตามหา คุณเจอเนี่ย รู้ไหมว่าผมต้ องถามแม่ค้าในตลาดไปกี่เจ้ า” ลลิลลุกขึ ้นปั ดฝุ่ นออกจากตัว เธอดึงสายกล้ องให้ กระชับกับ ไหล่แล้ วเดินไปโดยไม่สนใจเขา ชายหนุม่ รีบเดินตามมาข้ างๆ “ถ้ าคุณไม่ปล่อยให้ ผมไหลผ่านเข้ ามา คุณจะรู้ได้ ยงั ไงว่าผม จะเป็ นขยะหรือของดี หา...คุณแม่น� ้ำ” หญิงสาวหันกลับมามองเขา เป็ นครัง้ แรกทีร่ อยยิ ้มน้ อยๆ ตรง มุมปากนันเผยให้ ้ ชายหนุม่ เห็นโดยตรง เขาไม่ร้ ูวา่ รอยยิ ้มนันหมายถึ ้ ง อะไร ตอบรับ หรือ ปฏิเสธ แต่เขารู้สกึ ว่าขาข้ างหนึง่ จุม่ ลงไปในสายน� ้ำที่ เย็นชื่นฉ�่ำโดยไม่ร้ ูตวั เสียแล้ ว เป็ นความรู้สกึ ทีด่ อี ย่างทีค่ ดิ ไว้ เสียด้ วย!


สมัครสมาชิกกับเฮา 1 ปี 12 เล่ม ราคา 300.-บาท/ปี ชื่อ-สกุล .......................................................................อายุ...............ปี อาชีพ........................................... สถานทีท่ �ำงาน............................................................................................................................................ สถานทีจ่ ัดสง่ นิตยสาร เลขที.่ .............หมูท่ .ี่ ................อาคาร/หมูบ่ า้ น.......................ซอย....................ถนน....................................... ต�ำบล...................อ�ำเภอ....................... จังหวัด..........................รหัlสไปรษณีย.์ ............................................ โทรศัพท.์ ........................................E-mail.................................................................................................... กรุณาช�ำระเงินเขา้ บัญชี ชิดเดือน พฤกษพ์ งศาวลี หมายเลขบัญชี 504-0-85495-1 ธนาคารกรุงไทย สาขา เชียงราย สง่ หลักฐานพรอ้ มใบโอนมาที่ haohowmagazine@hotmail.com หรือ Facebook fanpage : How Magazine ( http://www.facebook.com/nitiyasanhow )

29


เฮารักสุขภาพ เรื่ อง : มาดามกนก สาวสองพันปี

สายน�้ำ ไหล ผ่านไป ไม่มวี ัน ไหล ย้อนกลับ

30

เป็ นประโยคความจริ งที่ได้ ยินมานานแสนนาน สายน� ้ำที่ไหล ผ่ า นจากจุด เริ่ ม ต้ น เดิ น ทางลัด เลาะห้ ว ยน้ อ ยใหญ่ เ พื่ อ รวมตัว กัน ณ แหล่งน� ้ำที่ใหญ่กว่า กระทัง่ ไปไกลถึงมหาสมุทรอันกว้ างใหญ่ไพศาล และไม่มีแม้ แต่หยดน�ำ้ เดียวที่จะสามารถไหลย้ อนกลับคืนมาที่จุดเริ่ ม ต้ นได้ อีก ฉันนัง่ ลงบนพื ้นหญ้ าเขียวนุม่ ๆในสวนสาธารณะ ริมแม่น� ้ำกก นัง่ มองสายน� ้ำทีไ่ หลผ่านอย่างช้ าๆ สายลมเย็นพัดเอื่อยผสานกลิ่นหอม นวลของดอกพิกลุ สีขาวบนต้ นใหญ่ครึ ม้ ความสวยงามและธรรมชาติที่ อยูเ่ บื ้องหน้ าช่วยท�ำให้ ความรู้สกึ เครียดภายในจิตใจทุเลาเบาบางลงบ้ าง เชือ่ ว่าฉันคงไม่ใช่คนแรก หรือคนสุดท้ าย ทีร่ ับรู้และเกิดภาวะความเครียด (Stress)เมื่อต้ องเผชิญความกดดันและปั ญหาจากสิ่งแวดล้ อมรอบข้ าง ทังจากสถานที ้ ท่ ำ� งาน บุคคลรอบตัว ภาระทีต่ ้ องรับผิดชอบต่างๆ ซึง่ มัก ก่อเกิดความไม่สบายใจ และส่งผลให้ มคี วามไม่สขุ สบายทางกาย เมื่อเราเผชิญกับสิ่งเร้ าหรื อสาเหตุของความเครี ยด(stressor) การรับรู้ทางประสาทสัมผัสต่างๆจะเข้ าไปสูป่ ระสาทส่วนกลางในสมอง ส่วนทีแ่ ปลผล และส่งต่อทางร่างกาย รวมถึงจิตใจจนเกิดปฏิกิริยาตอบ สนองเพือ่ รับกับปั ญหาโดยเมือ่ จิตใจเกิดความเครี ยด ประสาทอัตโนมัติ ภายในร่างกายจะถูกกระตุ้นให้ ท�ำงานเพิ่มขึ ้น ระบบอวัยวะภายในซึง่ ถูก ก�ำกับโดยประสาทอัตโนมัตจิ ะถูกเร้ าให้ ทำ� งานมากกว่าปกติโดยแสดงออก ทางอาการและมีอาการแสดง เช่น หัวใจ มีอาการใจเต้ น ใจสัน่ หัวใจเต้ น ผิดจังหวะหลอดเลือดถูกกระตุ้นจน เกิดการหดตัว ท�ำให้ ความดันโลหิต สูงปอด หลอดลมจะตีบลง ท�ำให้ หายใจล�ำบาก กระเพาะอาหาร จะมี การหลัง่ กรดออกมาจ�ำนวนมาก จนเกิดแผลในกระเพาะอาหาร ล�ำไส้ มีการบีบตัวบ่อยครัง้ ขึ ้น ท�ำให้ มอี าการถ่ายบ่อย ปวดบิดท้ อง มีคลืน่ ไส้ อาเจียนกระเพาะปั สสาวะมีการบีบตัว ท�ำให้ ปัสสาวะบ่อยครัง้ มากขึ ้น ระบบกล้ ามเนื ้อจะถูกกระตุ้นมากจนเกิดการสัน่ เกร็ง กระตุกอาการ เหล่านี ้ยังส่งผลให้ เกิดความวิตกกังวล ไม่สบายใจ เบือ่ อาหาร นอนไม่ หลับ ซึง่ หากปล่อยให้ เกิดความเครี ยดมากขึ ้นๆอย่างต่อเนื่อง อาจส่งผล รุนแรงถึงขันท� ้ ำร้ ายตนเองและผู้อนื่ ได้ หลายครัง้ มนุษย์เรามีปัญหาเกิดขึ ้นในทุกช่วงจังหวะของชีวิต บางปั ญหาก็ถาโถมเข้ ามาเหมือนมวลกระแสน� ้ำยามที่ฝนตกหนัก หาก ปริ มาณน� ้ำมากและรุนแรง ก่อให้ เกิดน� ้ำท่วมหาทางระบายออกไม่ทนั คล้ ายกับทุกปั ญหาที่รุมเร้ าในชีวิตจริ ง ด้ วยสายฝนหรื ออคติในใจเราที่ บดบัง จึงอาจท�ำให้ เรามองไม่เห็นทางออก แต่หากเราไม่ฝืนธรรมชาติ เมื่ อ ปั ญ หามัน เกิ ด ขึน้ แล้ ว เป็ นธรรมดาของโลกที่ เ ราต้ อ งพบเจอกับ ปั ญหาตามวัฏจักรของมนุษย์ที่ต้องเวียนว่าย ตาย เกิด อยูบ่ นสังสารวัฎ อาจค่อยๆตังสติ ้ เพื่อมองหาสาเหตุในการแก้ ไขปั ญหา อดทนรอให้ พายุ ฝนที่กระหน�่ำเบาบางลง เราอาจจะมองเห็นหลายทางแก้ ไข จนสามารถ ผ่านพ้ นมันไปได้ ฉันลุกขึ ้นยืน สูดลมหายใจบริสทุ ธิ์ เข้ าปอดลึกๆอีกครัง้ หันมอง แม่น� ้ำกก ทีท่ อดยาวสุดสายตา แล้ วนึกย� ้ำเตือนตัวเองอีกครัง้ ว่า ปั ญหา คล้ ายดังสายน� ้ำทีไ่ หลผ่านเข้ ามา ไม่นานก็จะไหลผ่านไป….


จากเกียวโตมาเจียงฮาย เรื่ อง: เกียวโตโคะมาชิ

ความทรงจ�ำของแม่น�ำ้ กรุ ง เทพฯมี แ ม่ น� ำ้ เจ้ าพระยาเชี ย งใหม่ มี แ ม่ น� ำ้ ปิ ง ส่วนเชียงรายมีแม่น� ้ำกกเช่นเดียวกับที่บ้านเกิดของฉันในเกียวโตมี แม่น� ้ำคะโมะอยู่กลางเมืองไหลจากทางทิศเหนือลงไปทางทิศใต้ แม่ น� ำ้ ในประเทศญี่ ปุ่ นรวมทัง้ แม่ น� ำ้ คะโมะมี ป ริ ม าณน� ำ้ น้ อ ย ยกเว้ นตอนมีฝนตก น� ้ำไหลเร็ว ใสแจ๋ว แตกต่างจากแม่น� ้ำของไทย ทีม่ ขี นาดใหญ่ น� ้ำเยอะ ไหลช้ า และน� ้ำมีสนี � ้ำตาลขุน่ ครัง้ แรกฉัน ตกใจทีเ่ ห็นสภาพของแม่น� ้ำแตกต่างกันอย่างนี ้ ฉันแล่นที่แม่น� ้ำตังแต่ ้ ตอนเป็ นเด็ก มีแม่น� ้ำที่ฉนั เดินไป เองได้ เพียงสิบนาที่จากบ้ าน บรรยากาศเหมือนกับน� ้ำตกขุนกรณ์ แต่ว่ามีขนาดใหญ่กว่าสองถึงสามเท่า ในสมัยประถมฉันมักจะ นัด กับ เพื่ อ นไปเที่ ย วแม่น�ำ้ นี เ้ สมอๆ ตอนแรเราจะเล่นขว้ างก้ อน หินจากริ มฝั่ งน� ้ำ เพื่อนบางคนก็ถอดรองเท้ า ถลกขากางเกงขึ ้น แล้ วลงไปเดินลุยในน� ้ำ สุดท้ ายพวกเราทุกคนก็ลงไปอยูใ่ นแม่น� ้ำ ด้ วยกันทังหมดเราเดิ ้ นไปจนถึงสันดอนกลางแม่น� ้ำ ข้ ามไปอีกฝั่ ง หนึง่ บางคนก้ าวเข้ าไปยังจุดที่แม่น� ้ำลึกจนเปี ยกไปครึ่งตัว บาง คนก็เหยียบโดนก้ อนหินลื่นล้ มลงบางทีเรายกก้ อนหินขึ ้นมาก็มีปู แม่น� ้ำซ่อนอยู่ เราก็จะตังหน้ ้ าตังตาหาเจ้ ้ าปูนนั ้ เล่นสนุกกันไม่ทนั ไรเวลาก็ลว่ งเข้ าเป็ นตอนเย็นเสียแล้ ว บางที ฉั น ก็ ไ ปตกปลาที่ แ ม่ น� ำ้ กั บ พ่ อ ในวั น อาทิ ต ย์ เนื่องจากฉันตัวเล็กก็เลยมีหน้ าที่คอยหาแมลงตัวเล็กๆ ชนิดหนึง่ ที่ซอ่ นอยูใ่ ต้ ก้อนหิน เอามาให้ พอ่ ท�ำเป็ นเหยื่อตกปลาเราตังใจตก ้ ให้ ได้ ปลา AYU และ AMAGO ที่มีรสชาติอร่อย ฉันจ�ำได้ วา่ เราใช้ เวลาทังวั ้ นจับปลาได้ ราวๆ สิบถึงยี่สบิ ตัวกันเลยทีเดียว อาหาร ตอนเย็นของเราก็คือปลาสดๆ ทอดเทมปุระฝี มือของแม่ มันอร่อย มากๆ เลย ระหว่างทางกลับบ้ านเราจะเก็บผักที่หน้ าตาคล้ ายกับ ผักชีฝรั่งขึ ้นริ มฝั่ งน� ้ำ และผักอีกอย่างหนึง่ สีเขียวชื่อ YOMOGI เอา ไปให้ แม่ทอดเป็ นอาหารเย็นกันด้ วย

ทุกๆ ปี ครอบครัวของเราจะพากันขับรถไปปิ กนิคริ มฝั่ ง แม่น� ้ำที่อยูห่ า่ งจากบ้ านไปหน่อยหนึง่ เราเก็บก้ อนหินมาวางเรียง กันเป็ นเตาไฟ เก็บกิง่ ไม้ แห้ งมาท�ำเป็ นฟื น ก่อไฟ หุงข้ าว แม่ท�ำยา กิโซบะ และบาร์ บคี วิ (อาหารหลักเวลาปิ กนิค) พอทานจนอิม่ กัน แล้ ว เด็กๆ จะพากันไปเล่นแม่น� ้ำ ส่วนพ่อก็จะนอนหลับพักผ่อน ทุกวันนี ้เวลาที่ฉนั เดินทางกลับญี่ปนุ่ ชีวิตก็ยงั คงผูกพัน อยูก่ บั แม่น� ้ำ พ่ อ กับ แม่ ย้ า ยบ้ า นเข้ า ไปอยู่ใ นตัว เมื อ งเกี ย วโต ที่มี แ ม่ น� ำ้ คะโมะอยู่ใ กล้ ๆ ฝั่ งแม่น� ้ำคะโมะเป็ นที่ให้ คนเดินเล่น วิ่ ง ออกก� ำ ลัง กาย เมื่อสองปี ที่แล้ วลูกสาวของฉันกลับไปญี่ปนุ่ และเข้ าโรงเรี ยนอนุบาลที่ นั่นสองเดือนเราต้ องปั่ นจักรยานไป ประมาณสิบนาที ขากลับจากโรงเรี ยนก็มกั จะปั่ นจักรยานเล่นริ ม ฝั่ งแม่น� ้ำคะโมะบ่อยๆ ในวันอากาศดี ฉันกลับลูกเดินจูงจักรยานไป เรื่อยๆ บางทีกพ็ ากันแวะแถวๆ Demachiyanagi ที่เราลงไปเดิน เล่นในแม่น� ้ำได้ พอตกเย็นนักศึกษาและคนท�ำงานก็จะพากันแวะ พักผ่อนก่อนกลับบ้ านและมันเป็ นที่นดั เจอกันของคู่หนุ่มสาวอีก ด้ วย น่าแปลกใจนะทีน่ ี่มแี ต่สายน� ้ำและก้ อนหิน แต่มนั ก็ทำ� ให้ อนุ่ ใจทุกครัง้ ทีไ่ ป ที่ Demachiyanag iมีนกั ท่องเที่ยวต่างชาติไปเที่ยว บ่อยๆ ถ้ าคุณมีโอกาสไปเกียวโตก็ลองแวะไปบ้ างนะ

31


อาเซียนและเฮา เรื่ อง: กะปิ

ท�ำความรู้จัก แม่นำ้� สายยาวที่สุดใน อาเซียนแต่ละประเทศ ‘แม่น� ้ำ’ คือทรัพยากรทางธรรมชาติที่ส�ำคัญอันดับต้ นๆ ของแต่ละ ประเทศ ส�ำหรับประเทศอาเซียนนัน้ มีแม่น�ำ้ สายหลักที่ส�ำคัญๆ อยูม่ ากมาย มาดูกนั ว่าแม่น� ้ำสายที่ยาวที่สดุ อาเซียน มีความยาวกี่ กิโลเมตร ประเทศไหนยาวและประเทศไหนที่สนที ั ้ ่สดุ

1. พม่า แม่น� ้ำอิราวดี ความยาว 2,170 กิโลเมตร เป็ นแม่น� ้ำเศรษฐกิจทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของพม่า

3. ฟิลิปปินส์ แม่น� ้ำคายากัน ความยาว 1,524 กิโลเมตร ตังอยู ้ ใ่ นเกาะลูซอน เป็ นต้ นน� ้ำหล่อเลี ้ยง ป่ าใหญ่ของฟิ ลปิ ปิ นส์

32

2. ลาว แม่น� ้ำโขง มีความยาว 1,850 กิโลเมตร แต่ประเทศนี ้ไม่มพี ื ้นทีต่ ดิ ทะเลเลย

4. เวียดนาม แม่น� ้ำแดง ความยาว 1,149 กิโลเมตร ไหลจากทางตะวันตกเฉียงใต้ ของประเทศจีน ผ่านทางตอนเหนือของเวียดนาม ไปสิ ้นสุดทีอ่ า่ วตังเกีย๋


5. อินโดเนเซีย

แม่น� ้ำกาปั วส์ ความยาว 1,143 กิโลเมตร อยูใ่ นเกาะบอร์ เนียว

7. มาเลเซีย

แม่น� ำ้ รางจาง ความยาว 563 กิ โ ลเมตร อยู่ ใ นรั ฐ ซาราวัก ใช้ ผลิ ต กระแส ไฟฟ้ าให้ มาเลเซี ย

9. บรูไน

น� ้ำกัวลาแบไลท์ ความยาว 32 กิโลเมตร เป็ นทีต่ งของท่ ั้ าเรือส�ำคัญของบรูไน

6. ไทย แม่น� ้ำชี ความยาว 765 กิโลเมตร แต่คอ่ นข้ างตื ้นและมีน� ้ำน้ อยกว่า แม่น� ้ำมูลทีย่ าวเป็ นอันดับสอง

8. กัมพูชา แม่น� ้ำโขง ช่วงผ่านกัมพูชา ความยาว 500 กิโลเมตร แม่น� ้ำส่วนใหญ่ เป็ นแม่น� ้ำสายสันๆ ้ แต่มที ะเลสาบทีใ่ หญ่มาก

10. สิงค์โปร

แม่น� ้ำคาลลัง ความยาว 10 กิโลเมตร แม่น� ้ำส่วนใหญ่มคี วามตืน่ เขิน

33


เทใจใส่จาน เรื่ อง: อุรุดา โควินท์

ใน น�้ำ มี ปลา

34

ฉันพาสมิงพระราหู (หมาของฉัน) ไปเดินเล่นในสวนใกล้ หาดเชียงราย ทุกวัน ฉันชอบที่นนั่ มาก เพราะหลังจากเดินเล่น เราจะได้ นงั่ ดูแม่น� ้ำกกด้ วยกัน ฉันกับสมิงพระราหู แม่น�ำ้ เปลี่ ยนไปทุกฤดู บางครั ง้ กราดเกรี ย้ ว บางคราวสงบ และ แม่น�ำ้ ในฤดูห นาวมักเศร้ า อื ม... ไม่ว่า อะไรในฤดูหนาวมัน ก็ ดูอึมครึ ม และ เศร้ าทัง้ นัน้ ล่ะ ฉัน ลูบหัว สมิ ง พระราหู และฝั น...(อี กแล้ ว ) ฉัน ฝั น จะมี บ้า นที่ มองเห็นแม่น� ำ้ “ถ้ า เรามี บ้า นติดแม่น� ำ้ สมิ ง จะได้ กิ นปลาทุกวันเลย” ฉันบอกสมิ ง สมิ ง พระราหูเ ป็ นโกลเด้ นรี ท รี ฟเวอร์ ที่ ไ ม่ชอบเล่นน� ำ้ ไม่ชอบนอน บนพื น้ สกปรก มันชอบนอนตักฉัน แล้ ว หลับตาพริ ม้ เมื่ อฉัน นวดหัว ให้ แต่ส มิ งชอบกิ น ปลาที่ สุด เมื่ อได้ ยิ น ค� ำ ว่า ปลา หูสมิ ง จะตัง้ เช่น เดี ยวกับ ได้ ยินค� ำว่า ไปเที่ ยว ฉัน ไม่เ ลี ย้ งหมาด้ ว ยอาหารส� ำ เร็ จ รู ป ฉันเชื่ อว่า อาหารท� ำ เองต้ องดี กว่า ทัง้ ในแง่ความอร่ อย และสุข ภาพ อาหารส� ำ หรั บสัตว์ เ ลี ย้ งที่ ข ายในท้ อง ตลาดมี รสเค็ม ซึ่ง มันจะพาหมาของเราไปพบโรคไตในที่ สุด อี กทัง้ หมาย่อยคาร์ โ บไฮเดรตไม่เ หมื อนเรา บางชนิ ดอย่า งข้ า วสาลี หมาย่อ ยได้ ไ ม่สมบูร ณ์ อาหารเม็ดส� ำ เร็ จรู ปที่ มีข้ า วสาลี เ ป็ นส่ว นประกอบจึง ไม่ดีต่อ สุข ภาพหมา เคยมี คนบอกฉัน ว่า จะอะไรนักหนากับอาหารหมา หมากิ น ง่า ยจะ ตาย ทิ ชชูก็กิ น ให้ อะไรมัน มันกิ นหมด นั่น ก็ ถูก แต่อีกความจริ ง หมาคื อชี วิ ตหนึ่ง ซึ่ง มี ความหมายต่อฉัน อี กทัง้ ชี วิ ตน้ อ ยๆ ของมัน นัน้ ต่า งจากฉัน มาก หมาเป็ นสัต ว์ กิ น เนื อ้ ต่างจากเรา(คน)ซึง่ เป็ นสัตว์กินพืชและอาหารหมาไม่ควร ปรุง ไม่วา่ รสใด เพราะมันจะส่งผลต่อไตโดยตรง อาหารที่เหมาะกับหมา คือเนื ้อสัตว์ 70 เปอร์ เซ็นต์ ส่วนที่เหลือคือผัก และข้ าวขาวหรื อข้ าวกล้ อง ทังหมดนั ้ นไม่ ้ ปรุง ในปริ มาณที่พอดี เหมาะกับกิจกรรม ของหมา หมาอ้ วนอาจดูนา่ รัก แต่สขุ ภาพไม่ดี โดยเฉพาะโกลเด้ นรี ทรี ฟเวอร์ อ้วนๆ สิง่ แรกที่ฉนั มอบให้ คน(สัตว์)รัก คืออาหารอร่อย ฉันเชื่อมัน่ ในอาหาร และเชื่อว่าความร�่ ำรวยที่แท้ จริ ง คืออาหารดีๆ และเวลาที่เหลือ อาหารดีไม่ได้ หมายถึงความหรูหรา บางครัง้ อาหารง่ายทีส่ ดุ นัน่ ล่ะ ดีทสี่ ดุ มื ้อแสนอร่อยซึง่ อยูใ่ นความทรงจ�ำของฉัน คือปลาย่างกินกับน� ้ำจิ ้มแจ่ว ข้ าวเหนียว และผักสด บ้ านเพื่อนของฉันอยูใ่ กล้ แม่น� ้ำ ฉันก่อไฟเตาถ่านเตรี ยมไว้ เขาตกปลา มาได้ ก็ฆา่ ตรงนัน้ และเสียบไม้ ยา่ งไฟอ่อนๆ นัน่ เป็ นครัง้ แรกทีฉ่ นั ฆ่าปลา และ...การได้ ร้ ูจกั ฆ่า(เพือ่ กิน)นันส� ้ ำคัญมาก ทุกวัน เรากินปลา กินหมู กินไก่ ในฐานะอาหาร เราหลับตาข้ างหนึง่ ราวกับไม่ร้ ูเห็น ว่ามันเคยเป็ นชีวิตมาก่อน การฆ่าตอกย� ้ำให้ เราตระหนักรู้ ว่ากินสิง่ ใดเข้ าไป และอย่างรู้คณ ุ เรา ควรกินให้ หมด อย่างเกลี ้ยงเกลา และอร่อย


“ให้ ปลาหนึง่ ตัวตายอย่างสมค่า” เพื่อนของฉันกล่าว ขณะทุบหัวปลา ปั งเดียว ตายสนิท เขาขอดเกล็ดผ่าท้ อง ล้ างน� ้ำ ก่อนส่งปลาให้ ฉนั “ปลาช่อน” ฉันอยากปรุงรสสักหน่อย ด้ วยขมิ ้น เกลือ และพริ กไทยด�ำ ต�ำให้ ละเอียด แล้ วทาทัว่ ตัวปลา ก่อนย่างไฟอ่อน ปลาสองตัวส�ำหรับเรา สองชีวิตเพื่ออีกสองชีวิต “ข้ าวเหนียวนึง่ แล้ ว ผักก็เก็บมาแล้ ว เท่าที่มี” เขาชี ้ถาด เคลือบใบใหญ่ ข้ าวเหนียวใหม่ด้วยสิ กระติ๊บเดียวจะพอมัยนะ ้ ฉันคิด “รออะไรอยูล่ ะ่ เธอ จะท�ำน� ้ำจิ ้มแจ่วมัย” ้ เขาว่า เป็ นหน้ าที่ฉนั เหรอ ก็ได้ ก็ได้ ถือว่าเธอตกปลาแล้ ว ฉันท�ำก็ได้ เคล็ดลับของน� ้ำจิ ้มแจ่ว อยูท่ ี่พริ ก ต้ องคัว่ ใหม่ คัว่ แล้ วต�ำให้ ละเอียด ข้ าวก็ด้วย เราต้ องคัว่ เอง ใช้ ไฟอ่อน ค่อยๆ คัว่ จนข้ าวสุก ก่อนจะต�ำ ได้ ข้าวคัว่ กับพริ กป่ นแล้ ว ฉันเดินไปเก็บผักชีฝรัง่ มาสองใบ ซอยละเอียดยิบ หัวหอมสามหัว ซอยละเอียดเช่นกัน ตวงน� ้ำปลา สองส่วน น� ้ำมะนาวสองส่วน น� ้ำตาลหนึง่ ส่วน คนจนกว่าน� ้ำตาล ละลาย จึงค่อยเติมพริ กป่ น แน่นอน น� ้ำจิ ้มแจ่วของฉันต้ องเผ็ด ได้ รสที่ชอบ จึงโรยหอมซอย ผักชีฝรั่ง และข้ าวคัว่ “มาแล้ ว...” ฉันยกถ้ วยมาใกล้ เตาย่าง บอกเขา “น� ้ำจิ ้ม แจ่วรุ่นแซบกว่านี ้ไม่มีแล้ ว” เขาหัวเราะก๊ าก วันนันเรากิ ้ นปลาทีละตัว เริ่ มจากปลาที่ยา่ งโดยไม่ใส่ อะไรก่อน แล้ วค่อยกินปลาย่างขมิ ้น ทังสองตั ้ วอร่อยคนละแบบ และเข้ ากับน� ้ำจิ ้มแจ่วราวกับ เป็ นชู้กนั มาสามชาติภพ(ชาติหน้ า-ถ้ ามี ก็คงเป็ นอีก) คงปฏิเสธไม่ได้ ว่าความพิเศษที่แท้ จริ ง คือน� ้ำสายนัน้ ลมซึง่ โชยมา และกลิน่ ของแม่น� ้ำ กลิน่ ที่น�ำชีวิตชีวามาสูเ่ ราเสมอ ฉันก้ มลงหอมเหม่งสมิงพระราหู “กินปลาย่างมัยวั ้ นนี ้” สมิงหูตงั ้ ฉั น หั ว เราะ “อย่าหวังว่าจะได้ กินแจ่วนะ ปลาก็ไม่ทา เกลือด้ วย”

35


ตามรอยล้อ เรื่ อง: อภิชิต ศิริชยั

แม่กกน�้ำฮ้าย

ภาพน� ้ำแม่กกนอง (น� ้ำท่วม) เมื่อ พ.ศ.๒๕๑๔

ก่อนพ.ศ. ๒๔๘๐ น� ้ำแม่กก ( ชาวล้านนาจะเรียก น� ้ำแม่ ชาวสยามจะเรี ยก แม่น� ้ำ ) มีขนาดกว้ างตังแต่ ้ วงั ค�ำ-วังซางซึง่ วังค�ำปั จจุบนั คือบริ เวณโรงแรมดุสิตไอส์แลนด์รีสอร์ ทส่วนวัง ซางคนรู้จกั เป็ นชื่อหมูบ่ ้ านน� ้ำลัดเรี ยกว่า “น� ้ำลัดวังซาง” อยูเ่ ชิง สะพานแม่ฟ้าหลวงที่ตงศาลากลางจั ั้ งหวัดเชียงรายหลังที่ ๓ บริ เวณวังค�ำ-วังซางคือห้ วงน� ้ำกว้ างใหญ่ด้านวังซาง จะกว้ างกว่าเพราะมีบริ เวณนับแต่เชิงดอยตุ๊ปแต่ ู่ เดิมกว่า ๑๐๐ ปี มาแล้ วช่องทางน� ้ำแบ่งเลียบเลาะเทือกดอย “เถิงราชา” หรื อ “เทิงราชา” ขึ ้นไปทางเหนือเป็ นล�ำน� ้ำกกสายใหญ่มีชื่อหมูบ่ ้ าน หลายต่อหลายหมู่บ้านและยังเหลือหลักฐานทิง้ ไว้ หลายชื่ อ เช่นห้ วยกัง,้ ผากุบกับ, หนองป่ าไม้ , ป่ าไคร้ ลึ ้ง, โละห้ อไห้ , หนองปึ๋ ง, แม่ข้าวต้ ม, แม่งามฯลฯ ส่วนวังค�ำคือบริ เวณส�ำนักงานประปาเชียงรายเชิง สะพานแม่ฟ้าหลวงฝั่ งใต้ มาถึงส�ำนักงานปฏิรูปที่ดนิ เมื่อ ๖๐ ปี กว่าที่ผ่านมาเป็ นส่วนหนึ่งของห้ วงน� ้ำกว้ างซึง่ แบ่งกันระหว่ ้ าง วังค�ำกับวังซางอยูก่ นั คนละฝั่ งแต่รวมกันมีพื ้นทีเ่ กินกว่า ๕๐๐ ไร่

36

ทางฝั่ งขวาด้ านตัวเมืองฝั่ งแม่กกด้ านนี ้ถูกกระแสน� ้ำ กัดเซาะตลิง่ พังลงเรื่อยๆจึงจัดสร้ างคันดินเสริมมูลดินเดิมทีม่ มี า ก่อนราว พ.ศ. ๒๔๖๔ พระยาไกรสรสิทธิ์อดีตพะท�ำมะรงเรือนจ�ำ กลางเชียงราย (พ.ศ. ๒๔๗๙ เปลี่ยนเรี ยกต�ำแหนงเป็ นพัสดี ปั จจุบนั เรี ยกผู้บญ ั ชาการเรื อนจ�ำ) ได้ นำ� นักโทษมาท�ำการซ่อม เสริมคันดินพนังกันน� ้ ้ำบนฝั่ งให้ มคี วามกว้ างและตัดแนวตรงทาง ราชการได้ ปลูกต้ นฉ�ำฉาหรื อจามจุรีเรี ยงรายตามแนวถนนทัง้ สองข้ างแล้ วตังชื ้ อ่ ว่า “ถนนไกรสรสิทธิ์” เพือ่ เป็ นเกียรติและร�ำลึก ถึง “พะท�ำมะรง” มาจนถึงปั จจุบนั บริเวณทีเ่ ป็ นพื ้นทีบ่ นฝั่ งเป็ น เขตทหารทังหมดมี ้ โรงเรื อนบ้ านพักและโรงเลี ้ยงล้ อมรัว้ เหล็ก ตลอดแนวฝั่ งกกบุคคลทัว่ ไปไม่กล้ าเข้ าไปใกล้ เพราะกลัวทหาร พ.ศ. ๒๔๖๔ บันทึกเชียงรายของครู บาปั ญญาลัง การว่ า น� ำ้ แม่ ก กนองที่ ท หารล้ อ มรั ว้ เหล็ ก ถู ก น� ำ้ แม่ ก กซัด ตลิ่งพังลงไปเรื่ อยๆทหารต้ องระดมก� ำลังพลขนย้ ายสิ่งของ ที่สามารถช่วยกันเอาออกมาวางไว้ บนถนนหน้ าที่ท� ำการซึ่ง ไม่ทันการโรงเรื อนริ มฝั่ งถูกน� ำ้ แม่กกถล่มลงไปกับสายน� ำ้ ที่ เชี่ยวกรากและหนุนเนื่องกันมา


ในที่สดุ ที่ท�ำการโรงเลี ้ยงและบ้ านพักทหารส่วนหนึ่ง ก็ไหลลงไปในกระแสน�ำ้ กกร้ ายรั ว้ ลวดหนามทัง้ หมดหายไป พร้ อมๆกั น ทหารต้ องขนย้ ายส่ ว นที่ เ หลื อ มาไว้ ที่ บ ริ เ วณ “ที่ ท� ำ การกองทหารเมื อ งเชี ย งราย” ที่เป็ นอาคารไม้ เชิง ดอยทอง ช่วงที่เกิดน� ้ำหลาก “นองแดง” ล้ นฝั่ งนันที ้ ่วงั ค�ำหน้ า ดอยทอง “ปึ๋ งกระดาน” ที่ทบั ถมกันแน่นและทรงอยูบ่ นผิวน� ้ำ ด้ านบนของแผ่นปึ๋ งที่กลายเป็ นแผ่นดินลอยน� ้ำผืนกว้ างมีหญ้ า อ่ อ นหญ้ าขนที่ วั ว ควายชอบลงไปกิ น ขอบๆและที่ เ ว้ ามี “บัว ลอย” คือผักตบชวาลอยเบียดกันหนาแน่นถูกแม่กกผลัก ดันเข้ าไปใน“แควเชี่ยว”ที่พอ่ เลี ้ยงบริ กส์ให้ ขดุ เพื่อชักน� ้ำแม่กก เข้ า “ฅืเวียง” ให้ ผลักดันน� ้ำเสียออกไปจากคูเมือง “ฅืเวียงผาก วัดสิงห์ราม”ตามโครงการพัฒนาเมืองเชียงรายที่หมอบริ กส์รับ นโยบายมาจากรั ฐ บาลสยามเมื่ อ หลายปี ก่ อ นขุด แต่ ง ร่ อ ง เหมื อ งเข้ า คื อ เวี ย งที่ ห น้ าดอยหัว เวี ย งจอมทองแล้ ว ขุ ด ไป ทางออกจากคูเวียงที่แจ่งสรี บญ ุ เรื องก่อนถึงประตูทอ่ นับจากวังค�ำ-ดอยหัวเวียงจอมทองน� ้ำแม่กกเปิ ดเข้ า มาทางคูเวียงน� ้ำกกเดิมลดขนาดลงเพราะพื ้นดินแข็งฝั่ งสูงกว่า แม่กกด้ านนี ้จึงลึกและลดขนาดลงเรื่อยๆด้ านวังซางน� ้ำกกสายที่ แยกขึ ้นเหนือเลียบดอยเถิงราชาทางปากน� ้ำด้ านนี ้ตื ้นเขินและ ปิ ดไปแต่ยงั มีแควน้ อยที่ขนานไปกับแม่กกสายเดิมอีกสายที่ตื ้น เขินท�ำให้ “น� ้ำขาดฅ้ อ” คือหยุดไหลกลายเป็ น “ล้ อง” (หนองน� ้ำ เล็กๆลึกแต่ยาว) ทางด้ านสายน�ำ้ ที่เกิดใหม่จากการขุดร่ องชักน�ำ้ เข้ า คูเมืองท�ำให้ แม่กกเปลี่ยนทางเดินเข้ ามาสู่ริมเมืองมากขึ ้นฝั่ ง ด้ านเหนือที่ไม่มีคนั ดินแม่กกกัดเซาะขยายกว้ างไปเรื่ อยๆกลาย เป็ นหาดทรายยาวไปตลอดสายน� ้ำนองแดงที่แม่กกอาละวาด ครัง้ ใหญ่ พ.ศ. ๒๔๖๔ จนมีคำ� เรียกว่า “แม่ กกน�ำ้ ฮ้ าย” เพราะมี คนและสัตว์เลี ้ยงตายทรัพย์สนิ เสียหายน� ้ำแม่กกเปลีย่ นเส้ นทาง เดินคนสมัยนันส่ ้ วนหนึง่ เชือ่ ว่ามาจาก “ค�ำแช่ง” ของคนเฒ่าคน แก่ไม่พอใจการชักน� ้ำเข้ าคูเมืองโดยบัญชาของนายแพทย์บริกส์ ฝั่ งกกแควเชีย่ วด้ านในเวียงเริ่มสูญเสียแนวตลิง่ จึงมีการ “ลงหลักรอ” คือปั กเสาไม้ เป็ นแผงริ มฝั่ งกกตังแต่ ้ หน้ าดอยทอง ถึงท่านาคเว้ นท่านาคเป็ นทางลงน� ้ำแม่กกข้ ามฟากไปที่“ท่าสัน มะกัง”ฝั่ งเหนือจนถึงประตูทา่ นาง (นางอิง) เพราะตรงนันเรี ้ ยกว่า “วังธาร” ฝั่ งกกเป็ นดินธารคือศิลาแลงฝั่ งสูงอยูห่ า่ งจากศาลา กลางหลัง เก่ า ราว๓๐๐เมตรการลงหลัก รอเริ่ ม จากท่ า นาง จนถึงท่าทรายตามแนวก�ำแพงเมืองหรื อ “เมกเวียง” ถึงแจ่งสรี บุญเรื องเว้ นก�ำแพงเวียงที่คเู มืองไปออกประตูทอ่

ส่วนที่ขุดร่ องเหมืองแยกจากคูเมืองไปทางเหนือไป เชื่อมกับแม่กกสายเดิมที่ตรงข้ ามกับบ้ าน “ล้ องเสือเต้ น” เป็ น ร่องน� ้ำกว้ างเพียง๑วายาวถึงแม่กกเดิมราว ๘๐๐ เมตร โดย เกณฑ์แรงงานไพร่เมืองจากชุมชนต่างๆในเขตเวียงและโดยรอบ เมื่ อ น� ำ้ แม่ ก กเปลี่ ย นทางเดิ น เข้ ามาทางคู เ มื อ ง ทางการได้ ป้องกันไม่ให้ แม่กกกัดเซาะตลิ่งด้ านตัวเมืองโดย การลงหลักรอแต่ความร้ ายกาจของแม่กกถึงจะไม่ใช่การนอง แดงฝั่ งกกที่เริ่ มจากร่องเชี่ยวหรื อแควเชี่ยวก็ท�ำให้ ฝั่งซ้ ายถูกกัด เซาะไม่หยุด ฝั่ ง ซ้ า ยตัง้ แต่ ห น้ า ดอยทองเมื่ อ ๖๐-๗๐ปี เคยเป็ น เกาะที่ทางการสงวนไว้ เป็ นที่สาธารณะส�ำหรับเลี ้ยงวัว-ควาย ของประชาชนพื ้นที่ราว ๕๐๐ ไร่ มีต้น “บ่าตัน” คือพุทราขึ ้น เองทัว่ ไปชาวบ้ านเรี ยกว่า “เกาะบ่าตัน” ฝั่ งกกด้ านในเวียง เรี ย ก“ท่ า บ่า ตัน ”ซึ่ง ฝั่ ง นี อ้ ยู่ไ ด้ เ พราะหลัก รอแต่บ างปี น� ำ้ มา มากหลัก รอก็ เ อาไม่ อ ยู่จึ ง เปลี่ ย นแปลงอยู่ใ นช่ ว งเวลาสัก ๔-๕ปี ครั ง้ แต่วนั นีไ้ ม่มีเลย แม่ ก กฮ้ า ยในอดี ต กลับ สงบเงี ย บหลับ ไหลไปวัน นี ้ แควเชี่ ย วหรื อ ร่ อ งเชี่ ย วจะมี น� ำ้ เปี่ ยมฝั่ ง เหมื อ นเมื่ อ ก่ อ นคง หาไม่เหลือเพียงความทรงจ�ำไว้ ร�ำลึกเท่านัน้

3737


เรื่องเล่าจากโฮสเทล เรื่ อง: เธียรชัย จันทร์ ตระกูล

เสน่ห์ของความไม่มีอะไร “จากอ�ำเภอท่าตอน เดินทางมาโฮสเทลยังไงครับ? เราไม่ได้ขบั รถมา” ประโยคค�ำถามจากชาวต่างชาติทา่ นหนึง่ ท�ำเอาเราต้ องค้ นหาข้ อมูล กันสักพัก เนือ่ งด้ วยอ�ำเภอนี ้อยูค่ อ่ นข้ างไกล และไม่มรี ถโดยสาร สาธารณะผ่ า นมากนัก เราบอกข้ อมูลการเดินทางโดยรถประจ�ำ ทางให้ แก่ลกู ค้ า แต่ดเู หมือนว่าเขาจะอยากนัง่ เรือล่องแม่น� ้ำกกมา มากกว่า… “นัง่ เรือสามสีช่ วั่ โมงล่องแม่น� ้ำกกเข้ าเมืองจะมีอะไรให้ ดนู ะ?” พวกเรานึกฉงนในใจ เพราะเราอยูก่ บั แม่น� ้ำกกมาตังแต่ ้ เด็ก ได้ ขบั รถข้ ามสะพานมานับครัง้ ไม่ถ้วนแต่ก็ยงั นึก“สิ่งน่าดู”ตามสองฝั่ ง แม่น� ้ำไม่ออก ผมนึกย้ อนไปถึงครัง้ ที่ไปเที่ยวพม่าและกัมพูชา… ที่พม่ า มี ส ถานที่ ท่ อ งเที่ ย วที่ ชื่ อ ว่ า ทะเลสาบอิ น เล ซึง่ เป็ น ทะเลสาบน� ้ำจืดขนาดใหญ่เป็ นอันดับ 2 ของพม่า ตังอยู ้ ใ่ นรัฐ ฉานผมและเพื่อนๆเริ่ มล่องจากท่าเทียบเรื อหางยาวที่เรี ยงราย กันอยู่ในตัวเมือง ลัดเลาะไปตามคลองเล็กๆประมาณ20นาที พอพ้ นป่ าโกงกางมาสักพัก เรื อก็พาเรามายังใจกลางทะเลสาบ อินเลที่กว้ างสุดลูกหูลกู ตา “โหววว...” ผมกับเพือ่ นๆอุทานด้ วย ความตกใจกับขนาดมหึมาทีเ่ ราไม่ได้ คาดหวัง บนทะเลสาบนันมี ้ ชุม ชนที่ มี ผ้ ูค นอาศัย อยู่จ ริ ง มี แ ปลงเกษตรกรรมพื ช ลอยน� ำ้ มีบ้านเรื อน มีโรงเรี ยน มีร้านค้ าร้ านอาหาร มีวดั ใหญ่ๆ (ทีม่ ชี ื่อ เสียงทีส่ ดุ คือวัดแมวกระโดด) และหนึง่ ในไฮไลท์ คือการได้ ชมชาว อิ น เลใช้ เ ท้ า พายเรื อ โดยเขาจะใช้ เท้ าข้ างหนึ่งทรงตัวบนเรื อ เท้ าอีกข้ างร่วมแรงกับมือข้ างหนึง่ คอยบังคับไม้ พาย ให้ เรื อแล่น ไปตามทิศทางที่พวกเขาก�ำหนดไว้ ภาพนันมองดู ้ เพลินมากครับ เหมือนทะเลสาบก�ำลังเป็ นเวทีขนาดมหึมา และมีนักแสดงพาย เรื อด้ วยลีลาที่งดงามอ่อนช้ อย วิถีชีวิตนี ้สินะที่ผ้ คู นทัว่ โลกต่าง พากันเดินทางมาดูด้วยตา มันงดงามไร้ ซงึ่ การปรุงแต่ง ซึง่ ชาว บ้ านที่นนั่ ก็คงมองว่าเป็ นเรื่ องธรรมดาไม่มีอะไรแปลกใหม่เพราะ เป็ นภาพคุ้นชินของพวกเขาตังแต่ ้ เกิด… 38

ที่กมั พูชา ผมและเพื่อนได้ เดินทางไปยังเสียมเรี ยบ ซึง่ เป็ นทีต่ งั ้ ของหนึง่ ในศาสนสถานที่ มี ข นาดใหญ่ ที่ สุ ด ในโลกอย่ า งนคร วัด (Angkor Wat) นอกจากนี ้ เสียมเรียบยังมีทะเลสาบชือ่ ดังที่ บรรดานัก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งแวะเวี ย นไปอย่ า งไม่ ข าดสายชื่ อ ว่ า “โตนเลสาบ”โตนเลสาบเป็ นทะเลสาบน� ้ำจืดทีม่ ขี นาดใหญ่ทสี่ ดุ ใน ภูมิ ภ าคเอเชี ย ตะวัน ออกเฉี ย งใต้ ซึง่ มีขนาดใหญ่กว่ากรุงเทพฯ ประมาณ 7 เท่า กินพื ้นทีค่ รอบคลุม 5 จังหวัดของกัมพูชา พวกเรา เดินทางไปยังชุมชนที่ชื่อว่าก�ำปงแคลง “Kampong Khleang” ซึ่ง เป็ นชุม ชนลอยน� ำ้ ที่ มี ข นาดใหญ่ ที่ สุด ในโตนเลสาบเดื อ น สิงหาคมที่เราไปเยือนนันยั ้ งไม่ใช่ฤดูน� ้ำหลาก เราจึงยังมองเห็น บ้ านเรื อนสองข้ างทางที่ท�ำโครงสร้ างยกสูงจากพื ้นอย่างน้ อยๆก็ 7-8 เมตร ผมตื่นเต้ นกับภาพที่เห็นมาก เด็กๆพากันปั่ นจักรยาน ไปโรงเรียน บ้ างก็ออกมาวิง่ เล่นบนถนน ราวกับว่าอยากสนุกกับ พื ้นดินให้ เต็มทีก่ อ่ นทีน่ � ้ำจะหลาก และการสัญจรหลักจะกลายเป็ น เรือเสีย สักพักเราก็ไปถึงท่าเรือหางยาว และเรือก็แล่นออกไปสู่ ทะเลสาบ สองข้ างทางเป็ นชุมชน มีชาวบ้ านขายของบนเรือ หรือ ก�ำลังขนส่งสินค้ า ภาพวิถชี วี ติ ง่ายๆ เป็ นความปกติเป็ นความไม่ ปรุงแต่ง แต่ชา่ งมีเสน่ห์มากจนผมยอมออกมานัง่ ตากแดดทีด่ ้ าน หน้ าของเรือ เพือ่ เก็บภาพความทรงจ�ำให้ ได้ มากทีส่ ดุ แต่สำ� หรับ คนพื ้นทีน่ นั ้ เขาจะสัมผัสได้ ถงึ เสน่ห์พวกนี ้หรือเปล่า หรือเขาก็จะ รู้สกึ ว่ามันเป็ นแค่ความธรรมดาทีค่ ้ นุ ชิน เป็ นวิถชี วี ติ ปกติของพวก เขาตังแต่ ้ เกิด… ถึงตรงนีผ้ มกลับมานึกภาพสองฝั่ งแม่ นำ� ้ กกของเรา ธรรมชาติ บ้านเรือน ชุมชน แค้มป์ช้าง หมู่บ้านกะเหรี่ยง น�ำ้ พุ ร้ อนผาเสริฐสวนดอกไม้ สะพานข้ ามแม่ นำ� ้ กกสัตว์ เลีย้ งที่ลงมา วิ่งเล่ นริมน�ำ้ นกที่กำ� ลังอพยพ ดอกไม้ เมืองเหนือ แสงแดด อุ่นๆ…สิ่งเหล่ านีก้ ระมังที่เป็ นเสน่ ห์ของวิถชี วี ติ ธรรมดาๆที่นกั ท่องเที่ยวใฝ่ หาและตัง้ ใจมาสัมผัส มันเป็ นความสวยงามของ ความปกติ ความไม่ มอี ะไรที่พวกเราคุ้นชินมาแต่ เกิดเช่ นกัน


เรื่องเล่าในรอยทาง เรื่ อง: เล็ก

วันนี้เป็นวันสุดท้ายในแคชเมียร์ ฉันตื่นเช้าอยากนั่งเงียบๆ มองบรรยากาศของทะเลาสาบดาล ในขณะที่ผู้คนยังคงหลับใหล เรือชิคาราสีสันฉูดฉาดจอดเรียงรายอยู่ฝั่งตรงข้าม มองไปไกลๆนู่นคือภาพของภูเขาที่ถูกโอบล้อมด้วยม่านหมอกสีขาว เวลานี้ทุกอย่างรอบกาย แม้แต่สายน�้ำก็นิ่งสงบ อีกสักครู่ฉันก็ต้องออกเดินทางแล้ว และไม่รู้ว่าฉันจะได้กลับมาที่นี่อีกหรือไม่ นกตัวน้อยบินมาเกาะขอบเรือ เอียงหน้าเมียงมอง แล้วบินจากไป.... ฉันไม่เคยโกรธหรือเกลียดเธอเลย แต่ที่เลือกการจากลา เพราะไม่อยากให้ราท�ำร้ายความรู้สึกกันอีก อย่างน้อยเราก็ยังมีภาพความทรงจ�ำดีๆ หลงเหลืออยู่ไวปลอบโยนหัวใจไม่ให้เศร้าจนเกินไป นกตัวน้อยบินกลับมาอีกแล้ว ส่งเสียงร้องร่าเริง แล้วบินจากลา... Goodbye Kashmir… Goodbye Little Bird… 39 39


ของกิน๋ บ้านเฮา@เจียงฮาย เรื่ องและภาพ: เจ้ าหมูอ้วนกับยัยตัวเล็ก

ริมโขง เมื่อเดือนที่ผ่านมาได้ เห็นเพื่อนในเฟซบุ๊คแชร์ ภาพเก่าจากเพจร้ านหลู้ล�ำริ ม น� ้ำกกพร้ อมค�ำโปรยที่วา่ “ หลู้ล�ำอยูค่ เู่ ชียงรายมากว่า...30ปี ” ชวนให้ นกึ ถึงร้ านอาหาร เก่าแก่คเู่ มืองเชียงรายที่มีอายุเกิน 30 ปี ร้ านอื่นบ้ างถ้ าให้ นกึ เร็ วๆ ยังคงนึกไม่ออก แต่อาจ จะสรุปความได้ วา่ ไม่คอ่ ยจะมีมากนัก จนได้ มาเจออีกร้ าน อยูไ่ กลถึงเชียงของตังอยู ้ ร่ ิ มฝั่ งแม่น� ้ำเหมือนกัน แต่เป็ น แม่น� ้ำระหว่างประเทศ คือ แม่น� ้ำโขง ที่มีความยาวเกือบ 5,000 กิโลเมตร ไหลผ่าน 6 ประเทศ จีน พม่า ลาว ไทย กัมพูชา และเวียดนาม ขึ ้นชื่อว่ามีความหลากหลายทาง ชีวภาพ โดยเฉพาะเรื่ องพันธุ์ปลา ไม่เป็ นสองรองใครในโลกโดยเฉพาะปลาบึกปลาน� ้ำจืด ที่ มี ข นาดใหญ่ ที่สุดที่ ยัง ไม่สูญ พันธุ์เ คยพบมากที่ สุดที่ เ ชี ย งของ สถิตบิ นั ทึกไว้ วา่ ในปี 2533 ชาวประมงจับได้ จ�ำนวนมากถึง 65 ตัว

ซึง่ ทุกวันที่ 18 เมษายนของทุกปี ก็จะมีพิธีบวงสรวงเจ้ าพ่อปลาบึก บริ เวณหาดไคร้ ก่อนจะเข้ าสู่ฤดูกาลจับปลาบึก หลายปี หลังตัวเลข จ�ำนวนปลาบึกที่จบั ได้ ลดลงอย่างมาก หลายปี จับไม่ได้ เลยซักตัว สาเหตุใ หญ่ น่ า จะมาจากระบบนิ เ วศน์ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปเป็ นผล จากการสร้ างเขื่อน และระเบิดเกาะแก่งในแม่น� ้ำโขงตอนบน ปลา บึกที่ใช้ เป็ นวัตถุดิบของร้ านอาหารจึงไม่ใช่ปลาบึกที่จบั ได้ ในแม่น�ำ้ โขง (เช่นหลายคนเข้ าใจ) แต่เป็ นปลาบึกเลี ้ยงที่มีแหล่งเพาะพันธุ์ ใหญ่อยู่ที่ อ.พาน จ.เชียงราย

40

แม้ จะไม่เป็ นที่ร้ ู จักเท่ากับเชียงแสนหรื อเชียงคาน แต่เชียงของ กลับมีเสน่ห์อย่างบอกไม่ถกู คราใดก็ตามทีไ่ ด้ มาพักค้ างแรมทีน่ ี่ ‘เรา’ มักจะมา กินมื ้อค�ำ่ ทีร่ ้ านนี ้ร้ านอาหารเก่าแก่ของอ�ำเภอ เปิ ดขายเมือ่ ปี 2528 สมัยนัน้ บริเวณชายแดนยังมีลกั ษณะของพื ้นที่ ‘สุดเขต’ ‘สุดแดน’ ‘สุดปฐพี’ อยูม่ าก สุด แท้ แต่จะเรี ยกเต็มไปด้ วยหน่วยงานราชการที่มีภารกิจด้ านความมัน่ คงก่อนที่ จะมีนโยบายเปลีย่ นสนามรบให้ เป็ นสนามการค้ า ยั ง ผลให้ ชายแดนกลาย เป็ นพื ้นที่ ‘เปิ ด’ ยิง่ ขึ ้น เฉพาะอย่างยิง่ ในมิตทิ างเศรษฐกิจ ร้ านนีเ้ ริ่มจากขายไก่ อบฟาง ในชื่อ “ริมโขงไก่ อบฟาง” ต่ อมา จึงเหลือเพียง “ริมโขง” มาจนทุกวันนีร้ ายการที่ต้องสั่งก็พวกเมนูปลาน�ำ้ โขงทัง้ หลาย ไม่ ว่าจะต้ มย�ำ, ผัดฉ่ า,ลวกจิม้ , ทอดกระเทียม ปลาในที่นีก้ ็ มีหลายชนิดให้ เลือก อาทิ ปลาบึก, ปลาโจก, ปลาแข้ , ปลาคัง, ปลาเนือ้ อ่ อนมี“ป้านิด”เป็ นเจ้ าของร้ านจะอยู่ใกล้ ๆ ท่ าผาถ่ าน (ลานกว้ างริมน�ำ้ โขง) บนถนนริมโขง หนหลังที่ ไปร้ านได้ รับการปรั บปรุ ง-ตกแต่งใหม่ตามสมัยนิ ยม เพราะระยะหลังต้ องรับคณะทัวร์ นกั ท่องเทีย่ วต่างชาติ โดยเฉพาะจากจีนอีก ด้ วย ถ้ าอยากรับลมเย็น และเห็นวิวฝั่ งลาว ควรเลือกนัง่ ชันบนสุ ้ ด (ร้ านแบ่ง เป็ น 3 ชัน)ถ้ ้ าต้ องการใกล้ ชดิ สายน� ้ำโขง ก็ต้องลงมานัง่ ชันล่ ้ างสุดทีม่ เี พียง ทางเดินเล็กๆ คัน่ อยูก่ บั แม่น� ้ำ ร้ านเปิ ดทุกวันตัง้ แต่ สิบโมงเช้ าไปจนถึงสี่ท่ มุ สนนราคา ย่ อมเยา หลายปี มานี ้ เชียงของต้ องเผชิญหน้ ากับความเปลีย่ นแปลงใหญ่ อีกครัง้ ภายหลังสะพานข้ ามแม่น� ้ำโขงแห่งที่ 4 เปิ ดใช้ งานจริงปลายปี 2556 โดยถูกวางให้ เป็ นศูนย์กลางการเปลี่ยนถ่ายและกระจายสินค้ าหลายรูปแบบ (Logistic City)ตามมาด้ วยการจัดตังให้ ้ เป็ น 1 ใน 3 อ�ำเภอของเขตพัฒนา เศรษฐกิ จ พิ เ ศษจัง หวัด เชี ย งราย ขณะทีภ่ าคประชาสังคมในพื ้นทีพ่ ยายาม ทัดทานเอาไว้ ด้วยการผลักดันแนวคิด“1 เมือง 2 แบบ”


ขีดเป็นเล่นไป เรื่ องและภาพ: Be Phumirat

4141


fototalk ภาพ: krittiyafoto http://instagram.com/krittiyaamm

“ นั่งริมน�้ำ หลับตา ฟังเสียง

ปล่อยสิ่งหนักๆ ในหัว ไหลไป เบาๆ... เสียงของน�้ำ พลังของแม่น�้ำ ที่ส่งผ่าน เสียงสูดหายใจ ลึกๆ ยาวๆ แล้วมันก็ผ่านไปอีกวัน.....”

42 42


43


44


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.