05 07 2017 recommendation letters to eod

Page 1

วันที่ 5 กรกฎาคม 2560 เรื่อง ข้ อเรี ยกร้ องเครื อข่ายองค์กรด้ านประชากรข้ ามชาติตอ่ การบริ หารจัดการแรงงานข้ ามชาติ เรียน นายกรัฐมนตรี สำเนำ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงแรงงาน นับแต่รัฐบาลได้ ดาเนินนโยบายเร่งด่วนในการดาเนินการบริ หารจัดการแรงงานข้ ามชาติ โดยเฉพาะกลุ่มที่ ไม่มี เอกสารในการขึน้ ทะเบียนเป็ นแรงงานกับรั ฐบาลไทย ตัง้ แต่ปี 2557 โดยข้ อมูล กระทรวงแรงงาน ณ เดือน พฤษภาคม 2560 สามารถขึ ้นทะเบียนแรงงานที่ไม่มีเอกสารสาร (ถือบัตรชมพู) ได้ จานวนทังสิ ้ ้น 1,178,679 ล้ านคน มีสิทธิอาศัยและทางานในประเทศได้ ชวั่ คราวถึงวันที่ 31 มีนาคม 2561 และแรงงานประมงและแปรรูปสัตว์น ้า (ถือ บัตรชมพู) รวม 93,089 คน มีสิ ทธิ อาศัยและทางานในประเทศได้ ชั่วคราวถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2560 และให้ แรงงานที่ถือบัตรชมพูทงหมดเข้ ั้ าสู่กระบวนการพิสจู น์สญ ั ชาติกบั ประเทศต้ นทาง เนื่องจากรัฐบาลไทยไม่มีนโยบาย ขยายระยะเวลาให้ กบั แรงงานข้ ามชาติทางานและอาศัยอยูช่ วั่ คราวได้ อีกต่อไป เครื อข่ายองค์กรด้ านประชากรข้ ามชาติได้ จัดเวทีเสวนาเพื่อติดตามกระบวนการพิสูจน์สัญชาติ พบว่า แรงงานข้ ามชาติสญ ั ชาติพม่าที่ขึ ้นทะเบียนและถือบัตรชัว่ คราวจานวน 793,576 ราย ได้ รับเอกสารพิสจู น์ตนจาก ประเทศต้ นทาง (Certificate of Identity: CI) ประมาณ 200,000 ราย หรื อ ประมาณ 25% ในขณะที่แรงงานจาก กัมพูชา (406,670 ราย ) และลาว (71,521 ราย) ไม่มีข้อมูลของแรงงานที่ผ่านการพิสูจน์สัญชาติ ดังนัน้ ยังมี แรงงานอีกประมาณ 1 ล้ านคนที่มีสถานะการทางานและอาศัยอยูใ่ นไทยชัว่ คราวเพื่อรอการพิสจู น์สญ ั ชาติ วันที่ 23 มิถุนายน 2560 ได้ มีการบังคับใช้ พระราชกาหนดการบริ หารจัดการการทางานของคนต่างด้ าว พ.ศ.2560 ซึง่ มีบทกาหนดโทษที่รุนแรง จนเกิดกระแสความกังวลทังฝ่้ ายลูกจ้ างและนายจ้ างว่า หากมีการบังคับใช้ กฎหมาย จะมีการดาเนินการจับกุมนายจ้ างและลูกจ้ างที่แม้ จะมีการขึ ้นทะเบียนแล้ ว แต่มิได้ เป็ นไปตามเงื่อนไข ด้ านนโยบายการจ้ างงาน โดยข้ อมูลจากสมาชิ กเครื อข่ายฯ พบว่า ณ วันที่ 4 กรกฎาคม 2560 มี แรงงานพม่า เดินทางกลับประเทศต้ นทางแล้ ว ประมาณ 200,000 ราย ทัง้ ผ่านช่องทางด่านตรวจคนเข้ าเมือง และช่องทาง ธรรมชาติ ในขณะที่แรงงานกัมพูชาเดินทางกลับประเทศต้ นทางแล้ ว ผ่านด่านตรวจคนเข้ าเมืองอรัญประเทศ จานวน 4,921 ส่วนด่านตรวจคนเข้ าเมืองและช่องทางธรรมชาติอื่นๆ ยังไม่มีข้อมูลที่ชดั เจน การไหลกลับโดยไม่มี ทิศทางด้ านการแก้ ไขปั ญหาดังกล่าวนี ้ ส่งผลโดยตรงต่อความพยายามของรัฐในการบริ หารจัดการแรงงานข้ าม ชาติให้ มีสถานะที่ถกู กฎหมายเพื่อป้องกันการขยายตัวของปั ญหาของการละเมิดสิทธิมนุษยชนและการกระทาอัน เป็ นการค้ ามนุษย์ จากสภาพปั ญหาของการบังคับใช้ กฎหมายดังกล่าว เครื อข่ายองค์กรด้ านประชากรข้ ามชาติมีข้อเสนอ เร่งด่วน ดังต่อไปนี ้


กำรออกข้ อกำหนดเพื่อแก้ ไขสถำนภำพของแรงงำนกลุ่มต่ ำงๆ กลุ่มทีม่ ี เอกสาร แต่เอกสารไม่ตรงกับสภาพการจ้างงานจริ ง 1. เปิ ดศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ (OSS) ให้ มีการเปลี่ยนเงื่อนไขการทางานให้ ถกู ต้ อง (นายจ้ าง สถานที่ ประเภท กิจการ) โดยรวมหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องกับการขึ ้นทะเบียนแรงงานทังหมด ้ ได้ แก่ ตม. จัดหางาน สธ. มท. 2. ดาเนินการเปลี่ยนเงื่อนไข นายจ้ าง และอาชีพให้ ถกู ต้ อง โดยตัดเงื่อนไขการดาเนินงานด้ านเอกสารออก 3. ออกประกาศ กาหนดเงื่อนไขการขอเปลี่ยนนายจ้ างภายใน 15-30 วัน ถ้ านายจ้ างเก่าไม่แจ้ งออกภายใน กาหนด ให้ นายจ้ างคนปั จจุบนั สามารถไปแจ้ งการเปลี่ยนนายจ้ างได้ ที่ศนู ย์บริการเบ็ดเสร็จ (เพื่อแก้ ปัญหา นายจ้ างรับจ้ าง) กลุ่มทีเ่ คยมี เอกสาร แต่ปัจจุบนั เอกสารหมดอายุ 1. วีซา่ และ/หรื อ ใบอนุญาตทางานหมดอายุ แต่หนังสือเดินทางยังมีอายุ อนุญาตให้ มีการตรวจลงตราวีซา่ อายุ 2 ปี และสามารถดาเนินการขออนุญาตทางานได้ ตามปกติ โดยมีเงื่อนไขดังต่อไปนี ้ ก. ให้ ตรวจลงตราตามอายุของหนังสือเดินทางที่เหลือ กาหนดระยะเวลาไม่เกินสองปี ทังนี ้ ้ ในกรณี ที่ตอ่ อายุ/ เปลี่ยนเล่มหนังสือเดินทางใหม่ ให้ ย้ายวีซา่ ตามระยะเวลาที่เหลือ รวมกันแล้ วไม่เกิน 2 ปี (อิงตามมติ ครม. 25 ตุลาคม 2559) ข. เมื่อครบวาระการจ้ างงาน 2 ปี หากแรงงานประสงค์จะกลับเข้ ามาทางานอีกครัง้ จะต้ องเข้ าสู่ กระบวนการตามระบบ MOU ที่ถกู ต้ อง 2. บัตรสีชมพูหมดอายุ (ไม่ตอ่ อายุบตั ร) เสนอให้ ดาเนินการผ่อนผันให้ อยูใ่ นราชอาณาจักรเป็ นการชัว่ คราว โดยมีแนวทางดังนี ้ ก. ให้ แรงงานเข้ าสูร่ ะบบการตรวจสัญชาติ ได้ แก่ การขอ CI หรื อทาหนังสือเดินทางที่สถานทูต (สาหรับผู้ที่มีบตั รประจาตัวประชาชนพม่า) ข. ให้ มท. ดาเนินการเชื่อมต่อฐานข้ อมูล เพื่อให้ แรงงานเข้ าระบบการทา CI ได้ รวมถึงดาเนินการ ให้ มีการตรวจลงตรา และอนุญาตให้ ทางานได้ ถึงเดือนมีนาคม 2561 3. กลุม่ ที่ขาดการรายงานตัว 90 วัน มีหนังสือเดินทาง และใบอนุญาตทางาน ให้ ยกเว้ นโทษ ให้ ไปรายงานตัว และมีโทษปรับอัตราเดียวเท่ากัน 4. หนังสือเดินทางหมดอายุ ติดต่อขอจัดทาหนังสือเดินทางใหม่จากสถานทูต โดยไทยควรเจรจากับประเทศ ต้ นทางเพื่อเร่งรัดระยะเวลาการดาเนินการออกหนังสือเดินทาง กลุ่มทีไ่ ม่มีเอกสาร 1. กรณีแรงงานที่เดินทางกลับประเทศต้ นทางเพื่อดาเนินการเข้ าระบบ MOU ก. เจรจากับประเทศต้ นทางเพื่อลดเงื่อนไข ขันตอน ้ และระยะเวลาให้ สนลง ั ้ รวมถึงเจรจาให้ มีการ เปิ ดศูนย์บริการเบ็ดเสร็จในประเทศต้ นทาง เพื่ออานวยความสะดวกในการนาเข้ าแรงงานโดย นายจ้ างไทย


ข. การดาเนินการในฝั่ งประเทศไทย ควรลดเงื่อนไข ขันตอน ้ และระยะเวลาการดาเนินงานนาเข้ า แรงงานโดยระบบ MOU ให้ สนลง ั้ ค. ควรมีเวทีรับฟั งความคิดเห็น ข้ อเสนอแนะ และข้ อท้ าทายในการจ้ างแรงงานผ่าน MOU จากทุก ภาคส่วนที่เกี่ยวข้ อง 2. กลุม่ ที่เดินทางกลับประเทศต้ นทางเพื่อทาหนังสือเดินทาง แต่ไม่พร้ อมทา MOU และยังไม่ได้ รับการตรวจ ลงตรา ก. ให้ เปิ ดศูนย์บริการเบ็ดเสร็จในพื ้นที่ชายแดน โดยให้ แรงงานนาหนังสือเดินทางมารายงานตัวที่ ศูนย์บริการฯ และนายจ้ างต้ องทาเอกสารการจ้ างงานและสัญญาจ้ างไปรอที่ชายแดนเพื่อยืนยัน การจ้ างแรงงาน โดยดาเนินการตรวจลงตรา และออกใบอนุญาตทางานให้ แล้ วเสร็จ ณ ศูนย์ บริการฯ 3. กลุม่ ที่ทางานโดยผิดวัตถุประสงค์ของการตรวจลงตรา (เช่น วีซา่ ท่องเที่ยว จึงไม่สามารถทางานใน ประเทศไทยได้ ) ก. เปิ ดให้ แรงงานมารายงานตัวพร้ อมนายจ้ างที่ศนู ย์บริการเบ็ดเสร็จ เพื่อเปลี่ยนการตรวจลงตรา และขอใบอนุญาตทางาน (ในรูปแบบเดียวกับที่เคยดาเนินการในกรณีแรงงานเวียดนาม) 4. กลุม่ แรงงานที่ไม่มีเอกสารใดๆ ทังสิ ้ ้น ก. เดินทางกลับประเทศต้ นทางเพื่อทาเอกสาร และขออนุญาตทางานตามระบบ MOU หรื อ เปิ ด ศูนย์จดั ทา CI ร่วมกันระหว่างประเทศไทยและประเทศต้ นทาง กำรออกมำตรกำรเพิ่มเติมเพื่อแก้ ไขสถำนกำรณ์ ปัญหำในปั จจุบัน 1. ออกมาตรการเพื่อเปิ ดช่องทางให้ แรงงานฯ เดินทางกลับโดยมีกาหนดเวลา เพื่อลดปั ญหาการแสวงหา ประโยชน์โดยมิชอบจากแรงงานฯ 2. ลดขันตอนการขออนุ ้ ญาตทางาน และการยื่นคาขอนาเข้ าแรงงานในระบบ MOU ให้ มีระยะเวลาสันลง ้ ทังนี ้ ้ เครื อข่ายฯ เห็นว่าในระยะต่อไป รัฐบาลควรจัดทาร่าง พรก. การบริหารจัดการการทางานของคนต่าง ด้ าว แก้ ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่…) พ.ศ…. เพื่อทบทวน ยกเลิก หรื อแก้ ไขกฎหมายบางมาตราที่ไม่นามาสู่การแก้ ไข ปั ญหาการบริ หารจัดการแรงงานข้ ามชาติ ทังนี ้ ้ รัฐบาลควรจัดให้ มีกระบวนการรับฟั งความคิดเห็น โดยจัดตังคณะ ้ กรรมการฯ ซึง่ ประกอบด้ วยกรรมการจากทุกภาคส่วน ก่อนให้ การพิจารณารับรองร่าง พรก.ฯ ด้ วยควำมเคำรพในสิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรี ควำมเป็ นมนุษย์ เครื อข่ายองค์กรด้ านประชากรข้ ามชาติ ---------------------------------------------------------------------ข้ อมูลเพิ่มเติมติดต่อ นายอดิศร เกิดมงคล ผู้ประสานงานเครื อข่ายองค์กรด้ านประชากรข้ ามชาติ โทรศัพท์ 089 788 7138 หรื อ อีเมล adisorn.keadmongkol@gmail.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.